Macro Views March 2013
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
์ ก ี้ ารลดรายจ่ายร ัฐบาลจะไม่สง ่ ผลให้มก HighLight : ฟิ ทชช ี ารลดเครดิตสหร ัฐ
■ อเมริ กา : สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือระหว่างประเทศ (ฟิทช์ เรทติง้ ส์) เผยการลดรายจ่ายโดยอัตโนมัตทิ จ่ี ะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มี.ค. จะไม่กระตุน้ ให้มกี ารปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือของสหรัฐ โดยการขยายเพดานหนี้ไปจนถึงวันที่ 19 พ.ค.2555 ได้ลดแรงกดดัน ระยะใกล้ต่ออันดับความน่าเชื่อถือที่ AAA ของสหรัฐ ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของฝรังเศส ่ (Insee) เผยการใช้จา่ ยของผูบ้ ริโภคในเดือนม.ค. ลดลง 0.8% (m-o-m) และลดลง 0.2% (y-o-y) จากภาคครัวเรือนลดการซือ้ สินค้าภาคการผลิตและสินค้าคงทน แม้วา่ การใช้จา่ ยด้านพลังงานขยายตัวเพิม่ ขึน้ ก็ตาม สะท้อน เศรษฐกิจฝรังเศสยั ่ งคงตกตํ่าต่อเนื่อง ■ จีน : สหพันธ์พลาธิการและการจัดซือ้ ของจีน (CFLP) เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตเดือนก.พ.อยูท่ ร่ี ะดับ 50.1 เทียบ กับ 50.4 ในเดือนม.ค. ตํ่ากว่านักวิเคราะห์คาดการณ์ แต่ระดับทีส่ งู กว่า 50 บ่งชีว้ า่ กิจกรรมในภาคการผลิตของจีนยังมีการขยายตัว ■ อิ นเดีย : กระทรวงคลังอินเดียนําเสนองบประมาณประจําปี 2556 ต่อรัฐสภา มีเป้าหมายทีจ่ ะทําให้เศรษฐกิจกลับมาขยายตัวในระดับสูง และควบคุมเงินเฟ้อทีป่ รับตัวขึน้ รวมถึงลดการขาดดุลด้านการคลัง โดยเร่งดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศเพือ่ ฟื้นฟูเศรษฐกิจ และทําให้ ฐานะการคลังของประเทศกลับมาดีขน้ึ และการลดการใช้จา่ ยของรัฐบาล ■ ญี่ปนุ่ : นายกรัฐมนตรีญป่ี นุ่ แถลงนโยบายต่อสภาผูแ้ ทนราษฎร สรุปดังนี้ เริม่ ดําเนินการโรงงานไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์อกี ครัง้ , ตัดสินใจว่าจะ ร่วมการหารือว่าด้วยข้อตกลงการค้าหุน้ ส่วนยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาคพืน้ แปซิฟิก (TPP) หรือไม่, เร่งฟื้นฟูพน้ื ทีท่ างภาค ตะวันออกเฉียงเหนือจากความเสียหายแผ่นดินไหวและคลื่นยักษ์สนึ ามิเมือ่ ปี 2554, ส่งเสริมการหารือในประเทศเกีย่ วกับการแก้ไข รัฐธรรมนูญ ส่งเสริมการเป็ นพันธมิตรด้านความมันคงกั ่ บสหรัฐ และมีบทบาทมากขึน้ ในการดําเนินมาตรการปกป้องในเอเชีย : ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนม.ค. ปรับตัวขึน้ 1% (m-o-m) ติดต่อกันเดือนที่ 2 จากภาวะเศรษฐกิจทัวโลกที ่ ฟ่ ้ืนตัวดีขน้ึ และเงินเยนทีอ่ ่อนค่าลง
Thailand updates : ■ ธนาคารแห่งประเทศไทย(ธปท.) เผยดัชนีความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจในเดือนม.ค. 2556 อยูท่ ่ี 51.1 เพิม่ จากเดือนธ.ค. 2555 ที่ 50.6 จาก ความเชื่อมันของผู ่ ป้ ระกอบการภาคทีม่ ใิ ช่อุตสาหกรรมเป็ นสําคัญ โดยเกือบทุกองค์ประกอบอยูส่ งู กว่าระดับ 50 ยกเว้นด้านต้นทุน ประกอบการทีป่ รับแย่ลงจากการเพิม่ ขึน้ ของราคาพลังงานและค่าจ้างขัน้ ตํ่า ขณะทีด่ ชั นีคาํ สังซื ่ อ้ ในเดือนนี้ปรับสูงขึน้ มากและกลับมาอยูเ่ หนือระดับ 50 เป็ นครัง้ แรกในรอบ 7 เดือนจากดัชนีคาํ สังซื ่ อ้ ในประเทศเป็ นสําคัญ กรณีคาํ สังซื ่ อ้ ต่างประเทศยังคงตํ่ากว่าระดับ 50 แต่มที ศิ ทางปรับดีขน้ึ ในอีก 3 เดือนข้างหน้า ผูป้ ระกอบการทัง้ ในภาคอุตสาหกรรมและทีม่ ใิ ช่ภาคอุตสาหกรรมเชื่อมันว่ ่ า ภาวะธุรกิจจะปรับดีขน้ึ โดยดัชนีความ เชื่อมันอยู ่ ส่ งู กว่าระดับ 50 ในเกือบทุกองค์ประกอบยกเว้นด้านต้นทุนประกอบการ คาดการณ์ทท่ี ร่ี ะดับ 56.5 ■ เงินบาทปิดตลาด (28 ก.พ.) ทีร่ ะดับ 29.74/76 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวแข็งค่าจากช่วงเช้าทีร่ ะดับ 29.81/83 บาท/ดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (28 ก.พ.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับเพิม่ ขึน้ 175.24 จุด หรือ 1.26% ปิดที่ 14,075.37 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 19.05 จุด หรือ 1.27% ปิดที่ 1,515.99 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 32.61 จุด หรือ 1.04% ปิ ดที่ 3,162.26 จุด จากเฟดแถลงปกป้องมาตรการผ่อน คลายเชิงปริมาณ (QE) ต่อสภาคองเกรสสหรัฐ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิ เพิม่ ขึน้ 305.39 จุด หรือ 2.71% ปิดที่ 11,559.36 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 52.37 จุด หรือ 2.26%ปิดที่ 2,365.59 จุด เนื่องจากนักลงทุนมีมมุ มองเป็ นบวกต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 443.26 จุด หรือ 1.96% ปิดที่ 23,020.27 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,541.58 จุด เพิม่ ขึน้ 23.53 จุด (+1.55%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL RESEARCH : หลุดพ้นวิกฤตหนีย้ โู รโซน
้ าตรการลดการใชจ ้ า HighLight : ประธานาธิบดีสหร ัฐลงนามคําสง่ ั เริม ่ บ ังค ับใชม ่ ย และด ัชนีความ
Global :
ื่ มน เชอ ่ ั ผูบ ้ ริโภคสหร ัฐเดือนก.พ.ดีเกินคาด
■ อเมริ กา : ประธานาธิบดีสหรัฐ ลงนามในคําสังเพื ่ อ่ เริม่ บังคับใช้มาตรการลดการใช้จา่ ยของรัฐบาล วงเงินรวม 8.5 หมืน่ ล้านดอลลาร์ : รอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชแิ กน เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐปลายเดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 77.6 จากระดับ 73.8 ในเดือนม.ค. สูงกว่า คาดการณ์ทร่ี ะดับ 76.3 บ่งชีม้ มุ มองของชาวอเมริกนั ต่อสถานการณ์ทางการเงินของตนเองดีขน้ึ : สถาบันจัดการอุปทานของสหรัฐ (ISM) เผยดัชนีภาคการผลิตของสหรัฐในเดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 54.2 จากระดับ 53.1 ในเดือนม.ค. สูงกว่าคาดการณ์วา่ จะลดลงสูร่ ะดับ 52.5 บ่งชีว้ า่ กิจกรรมภาคการผลิตของสหรัฐยังคงขยายตัว ■ ยุโรป : ผลสํารวจของมาร์กติ เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของยูโรโซนในเดือนก.พ.เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยสูร่ ะดับ 47.9 จาก ระดับ 47.8 ในเดือนม.ค. จากดัชนีต่าํ กว่าระดับ 50 บ่งชีภ้ าคการผลิตในยูโรโซนยังคงหดตัวต่อเนื่อง หลังจากทีด่ ชั นี PMI ภาคการผลิตของ ประเทศรายใหญ่อย่าง ฝรังเศสและอิ ่ ตาลี ยังคงปรับตัวลงในเดือนก.พ. แม้วา่ ภาคการผลิตของเยอรมนีมกี ารขยายตัวเพิม่ ขึน้ ก็ตาม : สํานักงานสถิตแิ ห่งสหภาพยุโรป เผยอัตราว่างงานในกลุม่ ยูโรโซนในเดือนม.ค. อยูท่ ่ี 11.9% สูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ จาก 11.8% ในเดือนธ.ค. 2555 และสําหรับกลุม่ อียอู ตั ราว่างงานในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 10.8% จาก 10.7% ในเดือนธ.ค. : อัตราเงินเฟ้อในยูโรโซนในเดือนก.พ. ลดลงสูร่ ะดับ 1.8% ตํ่าสุดในรอบ 2 ปี สอดคล้องกับธนาคารกลางยุโรป (อีซบี )ี ทีก่ าํ หนดไว้ไม่เกิน 2% ■ เยอรมนี : ผลสํารวจของมาร์กติ เผยดัชนี PMI ภาคการผลิตของเยอรมนีในเดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 50.3 สูงสุดนับแต่ตน้ ปี 2555 จากระดับ 49.8 ในเดือนม.ค. บ่งชีก้ จิ กรรมภาคการผลิตมีการขยายตัว : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของเยอรมนี (Destatis) เผยยอดค้าปลีกของเยอรมนีใน เดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ 3.1% จากเดือนธ.ค.ปี 2555 ทีม่ ยี อดขายลดลง 2.1% บ่งชีผ้ บู้ ริโภคชาวเยอรมันมีความต้องการจับจ่ายมากขึน้ ในช่วงปีใหม่ ■ ฝรังเศส ่ : ผลสํารวจของมาร์กติ เผยดัชนี PMI ภาคการผลิตของฝรังเศสในเดื ่ อนก.พ. เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 43.9 จากระดับ 42.9 ในเดือนม.ค. แต่ ดัชนียงั คงตํ่ากว่า 50 บ่งชีว้ า่ กิจกรรมภาคการผลิตยังคงหดตัวจากเดือนก่อนหน้า ■ สเปน : สํานักงานสถิตแิ ห่งสหภาพยุโรป (ยูโรสแตท) เผยอัตราว่างงานเดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ 0.1% อยูท่ ่ี 26.2% บ่งชีค้ วามกังวลเกีย่ วกับ แนวโน้มเศรษฐกิจสเปน ■ จีน : เอชเอสบีซี โฮลดิงส์เผย PMI ภาคการผลิตของจีนในเดือนก.พ. ลดลง อยูท่ ่ี 50.4 จากระดับ 52.3 ในเดือนม.ค. และดัชนี PMI ภาค บริการของจีนในเดือนก.พ. ลดลง อยูท่ ่ี 54.5% บ่งชีก้ จิ กรรมในภาคการผลิตและบริการมีอตั ราการขยายตัวทีช่ ะลอลงเมือ่ เทียบกับเดือนก่อน
Thailand updates : ■ กระทรวงพาณิชย์ เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภคทัวไป ่ (CPI) เดือนก.พ.56 อยูท่ ่ี 104.66 เพิม่ ขึน้ 3.23% (y-o-y) และเพิม่ ขึน้ 0.21% (m-o-m) และ ดัชนีราคาผูบ้ ริโภคพืน้ ฐาน อยูท่ ่ี 102.88 เพิม่ ขึน้ 1.57% (y-o-y) และเพิม่ ขึน้ 0.09% (m-o-m) โดยอัตราเงินเฟ้ออยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสมกับภาวะ เศรษฐกิจและมีเสถียรภาพ จากแรงกดดันต่อเงินเฟ้อด้านราคาสินค้าไม่ได้สงู ขึน้ มากนัก ตามการบริหารนโยบายเศรษฐกิจทีส่ าํ คัญของภาครัฐในการ ดูแลควบคุมราคาสินค้าและพลังงาน โดยอัตราเงินเฟ้อในปี 56 ยังอยูใ่ นกรอบทีก่ ระทรวงพาณิชย์คาดการณ์ไว้ระหว่าง ร้อยละ 2.80-3.40 ■ เงินบาทปิ ดตลาด (1 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.77/79 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าจากเปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.75/77 บาท/ดอลลาร์ ตามค่าเงินในภูมภิ าค ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (1 มี.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับเพิม่ ขึน้ 35.17 จุด หรือ 0.25% อยูท่ ่ี 14,089.66 จุด ดัชนี S&P 500 ปิ ดบวก 3.52 จุด หรือ 0.23% อยูท่ ่ี 1,518.20 จุด และดัชนี Nasdaq ปิดบวก 9.55 จุด หรือ 0.30% อยูท่ ่ี 3,169.74 จุด จากดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐทีเ่ พิม่ ขึน้ มพ์ยขดัอ้ ความ] หน้าน1 โยบายผ่อน ■ ตลาดหุน้ [พิ เอเชี ชนีนิเกอิ เพิม่ ขึน้ 47.02 จุด หรือ 0.41% ปิดที่ 11,606.38 จุด จากความคาดหวังว่าธนาคารกลางญีป่ นุ่ จะใช้ คลายการเงินต่อไป ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 140.05 จุด หรือ 0.61% ปิดที่ 22,880.22 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต ลดลง 6.09 จุด หรือ 0.26% ปิดที่ 2,359.51 จุด หลังจากทีจ่ นี เผยดัชนี PMI ภาคการผลิตเดือนก.พ.ลดลง ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,539.60 จุด ลดลง 1.98 จุด (-0.13%) ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau GLOBAL RESEARCH :
ฉบ ับที่ 8 ประจําว ันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
้ โู รโซน หลุดพ้นวิกฤตหนีย
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจกลุม่ ประเทศยุโรปตอนใต้ ซึง่ เป็ นกลุ่มประเทศทีม่ ี ld และเป็ นสาเหตุหลักของปญั หาวิกฤตหนี้ยโู รทีย่ ดื เยือ้ มาจนปจั จุบนั โดย เศรษฐกิจอ่อนแอ กระบวนการฟื้นฟูเศรษฐกิจได้เริม่ ดําเนินการบ้างแล้ว แต่กลับเห็นสัญญาณฟื้นตัวใน d ประเทศสเปน และโปรตุ เกส เท่านัน้ คําถามที่สาํ คัญคือจะทําอย่างไรให้ประเทศใน แถบยุโรปตอนใต้สามารถยกระดับความสามารถในการแข่งขันเพื่อนําพาประเทศ และกลุ่มยูโรโซนหลุดพ้นจากภาวะวิ กฤตที่ยาวนานนี้ ได้ และมีวิธีการอื่น นอกเหนื อจากการขอรับเงิ นอุดหนุนจากประเทศในกลุ่มยูโรโซนอื่นหรือไม่ ซึ่งใน กรณี นี้ถือเป็ น zero-sum game1/ ท้ายที่สดุ จะนําไปสู่การสร้างความตึงเครียด ระหว่างประเทศสมาชิ กยูโรด้วยกัน วิกฤตเศรษฐกิจทีเ่ กิดขึน้ ในสหภาพยุโรปเริม่ ก่อตัวจากกลุม่ ประเทศยุโรปใต้ หรือกลุม่ PIIGS ได้แก่ กรีซ โปรตุเกส อิตาลี ไอร์แลนด์ และ สเปน ได้ดาํ เนินเศรษฐกิจล้มเหลวและก่อหนี้สาธารณะจํานวนมาก ในช่วงปี 2553 ทําให้กลุม่ ประเทศในยูโรโซนและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ระดมเงินเข้าไปช่วยเหลือ แต่การแก้ปญั หาในช่วงทีผ่ า่ นมาเป็ นเพียงการอัดฉีดสภาพคล่องเข้าสูร่ ะบบการเงินผ่านกลไกต่างๆ ซึง่ เป็ นการ แก้ปญั หาในระยะสัน้ เท่านัน้ ยังไม่ใช่การแก้ปญั หาเชิงโครงสร้าง นักวิเคราะห์มองว่าการจะหลุดพ้นจากวิกฤตครัง้ นี้แต่ละประเทศควรต้องมีการ พัฒนาศักยภาพภายในประเทศ อาทิ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันหรือลดต้นทุนการผลิต พัฒนาระบบอุตสาหกรรมใหม่เพือ่ เพิม่ ความสามารถในการส่งออก รวมทัง้ การสร้างงานใหม่ เป็ นต้น กลยุทธ์ในการหลุดพ้นภาวะวิกฤตของกลุม่ PIIGS นักวิเคราะห์เชื่อว่าประเทศในกลุ่ม PIIGS ควรต้องปรับสมดุลบัญชีเดินสะพัดเพื่อเรียกคืนความเชื่อมันจากภายนอก ่ และนําพาเศรษฐกิจ กลับสู่สมดุลอีกครัง้ ด้วยการลดการนํ าเข้า เนื่องจากอุปสงค์ในประเทศที่ลดลงก่อให้เกิดอัตราการว่างงานที่เพิม่ ขึน้ อย่างมาก ประเทศเหล่านนี้จะ หลุดพ้นจากภาวะวิกฤตได้กต็ ่อเมื่อสามารถปรับสมดุลภายนอกได้ดว้ ยการกระตุน้ ภาคการส่งออก เพิม่ การลงทุน สร้างงาน และเพิม่ การผลิตของ ภาคอุตสาหกรรม ผ่านการฟื้นฟูความสามารถในการแข่งขัน ผลการฟื้นฟูเศรษฐกิจจากภาวะวิกฤต ในณะทีป่ จั จุบนั ประเทศในกลุม่ นี้ยงั คงห่างไกลจากกลยุทธ์ดงั กล่าวข้างต้นมาก เห็นได้ชดั จากการลงทุนทีล่ ดลง และอัตราการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายใน ประเทศยังคงติดลบรวมถึงอัตราการว่างงานยังคงเพิม่ สูงต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามยังคงเห็น สัญญาณทีด่ ขี น้ึ ในบางประเทศ เห็นได้ชดั จากการเปลีย่ นแปลงต้นทุนค่าจ้างต่อหน่วย ซึง่ สะท้อนขีดความสามารถในการแข่งขันทีเ่ พิม่ ขึน้ ในสเปน โปรตุเกส และกรีซ ในขณะทีอ่ ติ าลี กลับส่งสัญญาณในทางตรงกันข้าม เนื่องจากผลิตภาพแรงงานลดลงอย่างต่อเนื่อง เมื่อพิจารณาด้านการส่งออกและการจ้างงาน พบมีสญ ั ญาณฟื้ นตัวเฉพาะในสเปนและโปรตุเกสเท่านัน้ ส่งผลให้ดุลการค้าและบริการ ปรับตัวดีขน้ึ สะท้อนความสามารถในการแข่งขันด้านต้นทุนที่ดขี น้ึ ในขณะที่การจ้างงานในภาคการผลิตยังคงลดลงอย่างต่อเนื่องในทุกประเทศ ส่งผลให้ภาพรวมกลุ่มประเทศยุโรปตอนใต้ยงั คงขาดดุลการค้าและบริการในสัดส่วนทีส่ งู จากการชะลอตัวของภาคการผลิตและการจ้างงาน รวมถึง การชะลอการลงทุน เป็ นต้น ประเด็นทีน่ ่าสนใจคือ ค่าใช้จา่ ยในการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศเหล่านี้ควรจะใช้เงินช่วยเหลือจากแหล่งใด จากกรณีศกึ ษาการฟื้ นฟูเศรษฐกิจของประเทศสเปน พบว่าการฟื้ นฟูเศรษฐกิ จในภาคการค้าระหว่างประเทศ ใช้เงิ นช่ วยเหลือจาก ประเทศในกลุ่มยูโรโซนอื่นๆ ถึงร้อยละ 70 สะท้อนให้เห็นตามแนวทางของ zero-sum games ผลได้ของประเทศหนึ่ งมาจากความ สูญเสียของอีกประเทศหนึ่ ง ดังนัน้ การฟื้ นฟูเศรษฐกิจของประเทศในแถบยุโรปตอนใต้หรือกลุม่ PIIGS สิง่ ทีไ่ ม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ คือการปรับโครงสร้าง ภายในประเทศ โดยปรับปรุงส่วนแบ่งการตลาด และฟื้นฟูภาคการส่งออก เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน นําไปสูก่ ารปรับสมดุลการค้าทีด่ ี ขึน้ ซึง่ ค่าใช้จา่ ยการฟื้นฟูสว่ นใหญ่มาจากประเทศในกลุม่ ยูโรโซน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการฟื้ นตัวของกลุ่มประเทศเหล่านี้ ยงั คงต้องพึ่งพิ งความ [พิมพ์ขอ้นความ] ่หน้า 2 เห็นได้ชดั จาก ช่วยเหลือด้านการเงิ จากประเทศสมาชิ กในกลุ่มยูโรโซนเป็ นหลัก ทัง้ กลุ่มประเทศในแถบยุโรปตอนเหนื อ รวมทัง้ ฝรังเศส กรณี ศึกษาประเทศสเปน ท้ายสุดอาจนําไปสู่ภาวะความตึงเครียดระหว่างประเทศสมาชิ กได้ __________________________________________________________________________________________________________ 1/
ทฤษฎีเกมส์ทมี ่ ผี ลรวมเป็ นศูนย์ (zero-sum game) เป็ นเกมส์ทมี ่ ผี ลรวมของผลได้ของผูช้ นะมีคา่ เท่ากับผลรวมของความเสียหายของผูแ้ พ้ Natisix \21 Feb 2013
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําวันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
HighLight : บริษท ั วิจัยดานยานยนตสหรัฐเผยยอดขายรถยนตเดือนก.พ.เพิ่มขึน ้ 3.7% บงชี้เศรษฐกิจ เริ่มฟนตัว
■ สหรัฐ : บริษัทวิจัยดานยานยนตของสหรัฐ เผยยอดขายรถยนตโดยรวมในสหรัฐในเดือนก.พ. เพิ่มขึ้น 3.7% อยูที่ 1,192,249 คัน สุงสุด นับตั้งแตป 2550 สะทอน เศรษฐกิจเริ่มฟนตัวขึ้น ■ ยุโรป : สํานักงานสถิติแหงชาติของสหภาพยุโรป เผยดัชนีราคาผูผลิต (PPI) ของยูโรโซนในเดือนม.ค. ปรับเพิ่มขึ้น 0.6% (m-o-m) และ เพิ่มขึ้น 1.9% (y-o-y) สําหรับดัชนี PPI ของสหภาพยุโรป (อียู) ปรับขึ้น 0.6% (m-o-m) และเพิ่มขึ้น 1.8% (y-o-y) จากตนทุนพลังงาน เพิ่มขึ้น ■ จีน : รายงานการดําเนินงานของรัฐบาล เผยรัฐบาลจีนประเมินยอดขาดดุลงบประมาณในป 2556 อยูที่ 1.2 ลานลานหยวน (1.91 แสน ลานดอลลาร) สูงกวาตัวเลขงบประมาณปที่แลวอยู 4 แสนลานหยวน จากยอดขาดดุลรัฐบาลกลางที่เพิ่มสูงขึ้น : ที่ประชุมสภานิติบัญญัติจีนเผย คงเปาหมายการเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) ไวที่ 7.5% ในปนี้ และปรับลดเปาหมาย อัตราการขยายตัวของดัชนีราคาผูบริโภค (CPI) ไวที่ 3.5% ต่ํากวาเปาหมายที่กาํ หนดในป 2555 อยูที่ 0.5% จากแรงกดดันภาวะเงินเฟอ
■ ญี่ปุน : กระทรวงกิจการภายในประเทศและการสื่อสาร เผยอัตราวางงานของญี่ปุนในเดือนม.ค. ลดลง อยูที่ 4.2% จากอัตรา 4.3% ใน เดือนธ.ค. จากความคาดหวังวา เศรษฐกิจจะฟนตัวดีขึ้น ■ ออสเตรเลีย : สํานักงานสถิติแหงชาติออสเตรเลีย เผยจํานวนที่อยูอาศัยที่ไดรับอนุญาตกอสรางในเดือนม.ค. ลดลง 2.4% ซึ่งเปนการ ลดลงติดตอกันเปนเดือนที่ 2 บงชี้ถึงภาคกอสรางที่อยูอาศัยเอกชนยังคงออนแอในเดือนม.ค. ■ เกาหลีใต : สํานักงานสถิติแหงชาติเกาหลีใต เผยราคาผูบริโภค (CPI) เดือนก.พ.เพิ่มขึ้น 1.4% (y-o-y) และเพิ่มขึ้น 1.5 (m-o-m) โดยอยู ที่ระดับ 1% ติดตอกันเปนเดือนที่ 4 จากราคาเนื้อสุกรลดลง สําหรับราคาผูบริโภคพื้นฐาน เพิ่มขึ้น 1.3% (y-o-y)
Thailand updates : ■ อธิบดีกรมบัญชีกลาง เผยกรมสรรพาสามิตแจงขอมูลวาไดมีประชาชนที่ไมสามารถถือครองรถยนตไดในระยะเวลา 5 ป ตามเงื่อนไขของ โครงการรถคันแรก และไดมีการสงคืนเงินภาษีที่ไดรับในชวงกอนหนานั้นคืนมาแลว จํานวน 4 ราย นอกจากนี้ ยังมีอีก 10 ราย ที่อยูระหวาง การตรวจสอบขอมูลวาไมสามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑของโครงการรถคันแรกได และอาจตองมีการขอคืนเงินภาษีที่ไดรับไปกอนหนานี้ทั้ง 10 ราย โดยเบื้องตนกรมสรรพสามิตจะเปนผูดําเนินการกอน หากไมไดถึงสงมาใหกรมบัญชีกลางฟองรองเรียกเงินคืนตอไป ■ เงินบาทปดตลาด (4 มี.ค.) ที่ระดับ 29.83/85 บาท/ดอลลาร ออนคาจากชวงเชาที่ระดับ 29.79/81 บาท/ดอลลาร
US & Asian markets : ■ ตลาดหุนนิวยอรก ดัชนีดาวโจนส เพิ่ม 38.16 จุด หรือ 0.27% ปดที่ 14,127.82 จุด ดัชนี S&P เพิ่ม 7.00 จุด หรือ 0.46% ปดที่ 1,525.20 จุด และดัชนี Nasdaq เพิ่ม 12.29 จุด หรือ 0.39% ปดที่ 3,182.03 จุด นายวอรเรนน บัฟเฟตต เจาของบริษัทเบิรกเชียร แฮทธาเวย แสดง ความคิดเห็นในดานบวกตอตลาดหุน ■ ตลาดหุนเอเชีย ดัชนีนเิ กอิ เพิ่ม 45.91 จุด หรือ 0.40% ปดที่ 11,652.29 จุด หลังจากผูวาการธนาคารกลางญี่ปุนไดใหคํามั่นวาจะจัดการ กับภาวะเงินฝดเรื้อรัง กอใหเกิดความคาดหวังวาญี่ปุนจะใชนโยบายผอนคลายการเงินแบบเชิงรุกมากขึ้น ดัชนีฮั่งเส็งลดลง 342.41 จุด หรือ 1.50% ปดที่ 22,537.81 จุด ดัชนีเซี่ยงไฮคอมโพสิตลดลง 86.10 จุด หรือ 3.65% ปดที่ 2,273.40 จุด เนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับการใช มาตรการเพื่อดึงราคาอสังหาริมทรัพยใหออนตัวลง ตลาดหุนไทย SET เพิ่ม 1.12 จุด หรือ 0.07% ปดที่ 1,540.72 จุด ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
HighLight : ดัชนีภาคบริการสหรัฐในเดือนก.พ.เพิ่ม ชี้กจ ิ กรรมภาคบริการขยายตัวขึ้น
Global :
■ อเมริกา : สถาบันจัดการอุปทานของสหรัฐ (ISM) เผยดัชนีภาคบริการของสหรัฐในเดือนก.พ. เพิ่มขึ้นอยูที่ 56.0 จาก 55.2 ในเดือนม.ค. เปนไปในทิศทางเดียวกับขอมูลภาคการผลิต บงชึ้กิจกรรมในภาคบริการของสหรัฐขยายตัวขึ้น ■ ยุโรป : มารกิตเผย ดัชนีผูจัดการฝายจัดซื้อ (PMI) รวมทั้งภาคการผลิตและภาคบริการของยูโรโซนในเดือนก.พ. ลดลงอยูที่ 47.9 จาก 48.6 ในเดือนม.ค. บงชี้วา กิจกรรมทางเศรษฐกิจยังคงอยูในภาวะหดตัว ผลจากการปรับตัวลงของ PMI ของประเทศสมาชิกสวนใหญลดลง ■ เยอรมนี : มารกิตเผย ดัชนี PMI ภาคบริการของเยอรมนีในเดือนก.พ.ลดลง อยูที่ 54.7 จาก 55.7 ในเดือนม.ค.และดัชนี PMI รวมทั้งภาคการ ผลิตและภาคบริการของเยอรมนี อยูที่ระดับ 53.3 บงชี้กิจกรรมของภาคบริการยังคงมีการขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงจากเดือนกอนหนา ■ ฝรั่งเศส : กระทรวงแรงงานฝรั่งเศส เผยอัตราวางงานของฝรั่งเศสในเดือนม.ค. เพิ่มขึ้น 1.4% (m-o-m) และเพิ่มขึ้น 10.7% (y-o-y) สงผลใหฝรั่งเศสมีจํานวนผูวางงานทั้งสิ้น 3.169 ลานคน สูงสุดนับแตป 2540 บงชี้เศรษฐกิจของฝรั่งเศสอาจหดตัวในไตรมาสแรก ป 2556 ■ อิตาลี : มารกิตเผย ดัชนี PMI ภาคบริการของอิตาลีในเดือนก.พ. ลดลงอยูที่ 43.6 จาก 43.9 ในเดือนม.ค. ปรับตัวลงตอเนื่องมาเปนเวลา เกือบ 2 ป ขณะที่ตัวเลขที่ต่ํากวา 50 บงชี้กิจกรรมภาคบริการของอิตาลีลดลงจากเดือนกอนหนา ■ สเปน : มารกิตเผยดัชนี PMI ภาคบริการของสเปนในเดือนก.พ. ลดลง อยูที่ 44.7 จากระดับ 47.0 ในเดือนม.ค. บงชี้วากิจกรรมในภาค บริการของสเปนหดลดลงอีกจากเดือนกอนหนา ■ จีน : กระทรวงการคลังจีน เผยงบประมาณกลางและทองถิ่นในป 2556 มูลคา 12.663 ลานลานหยวน เพิ่มขึ้น 8% (y-o-y) โดยคาใชจาย ทั้งหมดอยูที่ 13.963 ลานลานหยวน ซึ่งสงผลใหขาดดุลงบประมาณที่ 1.2 ลานลานหยวน หรือราว 2% ของผลิตภัณฑมวลรวม ภายในประเทศ (จีดีพี) และเพิ่มขึ้น 4 แสนลานหยวนจากปที่แลว ■ ออสเตรเลีย : สํานักงานสถิติแหงชาติออสเตรเลีย เผยยอดขาดดุลบัญชีเดินสะพัดของออสเตรเลียในไตรมาสที่สิ้นสุดในเดือนธันวาคม 2555 ลดลง 370 ลานดอลลารออสเตรเลีย หรือ 2.0% (q-o-q) อยูที่ 1.468 หมื่นลานดอลลารออสเตรเลีย สงผลใหผลิตภัณฑมวลรวม ภายในประเทศ (จีดีพี) ขยายตัว 0.6% ในไตรมาสสิ้นสุดเดือนธันวาคม 2555
Thailand updates : ■ ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติวันที่ 5 มี.ค. 2556 เห็นชอบการปรับปรุงกรอบวงเงินลงทุนของแผนพัฒนาระบบไฟฟาในชวง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 (2550-2554) ของการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) ตามมติของคณะกรรมการกลั่นกรอง เรื่องเสนอ ครม.คณะที่ 3 (ฝายเศรษฐกิจ) ที่มีนายกิตติรัตน ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.คลัง เปนประธาน โดยปรับวงเงินลงทุน จากเดิมจํานวน 67,120 ลานบาท เพิ่มเปน 90,982.41 ลานบาท ■ เงินบาทปดตลาด (5 มี.ค.) ที่ระดับ 29.78/80 บาท/ดอลลาร แข็งคาจากชวงเชาที่ระดับ 29.80/82 บาท/ดอลลาร
US & Asian markets : ■ ตลาดหุนนิวยอรก ดัชนีดาวโจนสเพิ่ม 125.95 จุด หรือ 0.89% ปดที่ 14,253.77 จุด ดัชนี NASDAQ เพิ่ม 42.10 จุด หรือ 1.32% ปดที่ 3,224.13 จุด ดัชนี S&P เพิ่ม 14.59 จุด หรือ 0.96% ปดที่ 1,539.79 จุด จากคาดธนาคารกลางจะยังคงมาตรการผอนคลายทางการเงินตอไป ■ ตลาดหุนเอเชีย ดัชนีนิเกอิ เพิ่ม 31.16 จุด หรือ 0.27% ปดที่ 11,683.45 จุด จากนักลงทุนยังคงคาดหวังวาธนาคารกลางญี่ปุนจะใช นโยบายผอนคลายการเงินตอไป ดัชนีฮั่งเส็งเพิ่มขึ้น 22.69 จุด หรือ 0.1% ปดที่ 22,560.50 จุด ดัชนีเซี่ยงไฮคอมโพสิตเพิ่มขึ้น 52.90 จุด หรือ 2.33% ปดที่ 2,326.31 จุด ขานรับเปาหมายเศรษฐกิจป 2556 ตลาดหุนไทย SET ปดที่ 1,549.31 จุด เพิ่มขึ้น 8.59 จุด หรือ 0.56% ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบับประจําวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL RESEARCH : จับตามองมาตรการใหม...จีนคุมเขมตลาดอสังหา
HighLight : ขอมูลวิจัยตลาดแรงงานเผย ภาคเอกชนสหรัฐมีการจางงานเพิ่มขึ้น
Global : ■ สหรัฐ : บริษัทวิจัยตลาดแรงงานสหรัฐ(ADP) เผยการจางงานภาคเอกชนในเดือนก.พ.เพิ่มขึ้น 198,000 ตําแหนง เมื่อเทียบกับเดือนม.ค. ที่ เพิ่มขึ้น 192,000 ตําแหนง บงชี้ตลาดแรงงานสหรัฐกําลังฟนตัว : กระทรวงพาณิชยสหรัฐ เผยคําสั่งซื้อภาคโรงงานในเดือนม.ค. ลดลง 2.0% เนื่องจากยอดสั่งซื้ออุปกรณขนสงลดตัวลง โดยคําสั่งซื้อใหมสําหรับสินคาคงทน ลดลง 4.9% และคําสั่งซื้อใหมสําหรับสินคาที่ไมคงทน เพิ่มขึ้น 0.6% ■ ยุโรป : สํานักงานสถิติแหงสหภาพยุโรป เผยผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ยูโรโซนไตรมาส 4/2555 หดตัวลง 0.6% (q-o-q) ไม เปลี่ยนแปลงจากตัวเลขประมาณการเบื้องตน สงผลใหเศรษฐกิจยูโรโซนทั้งป 2555 หดตัว 0.9% (y-o-y) ■ สเปน : ศูนยวิจัยดานสังคมวิทยาของสเปน เผยดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคในเดือนก.พ.ลดลง 5 จุด เมื่อเทียบกับเดือนม.ค. อยูที่ 50.7 จุด สะทอนผูบริโภคชาวสเปนสวนใหญมีมุมมองเชิงลบเกี่ยวกับเศรษฐกิจของประเทศ ■ ออสเตรเลีย : สํานักงานสถิติแหงชาติออสเตรเลีย (ABS) เผยผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ในไตรมาส 4/2555 ขยายตัว 0.6% สงผลใหจีดีพีตลอดป 2555 ใหขยายตัวที่ระดับ 3.1% ■ จีน : กระทรวงพาณิชยจีน เผยรายไดทางการคลังในชวง 2 เดือนแรกของป 2556 อยูที่ 2.2426 ลานลานหยวน เพิ่มขึ้น 7.2% (y-o-y) โดย เปนรายไดจากการเก็บภาษี 1.9594 ลานลานหยวน เพิ่มขึ้น 5.9% (y-o-y) ขณะที่การใชจายทางการคลังปรับตัวขึ้น 15.7% (y-o-y) ที่ 1.61 ลานลานหยวน ■ ญี่ปุน : สมาคมผูนําเขารถยนตแหงญี่ปุน (JAIA) เผยยอดขายรถยนตนําเขาใหมรวมรถญี่ปุนที่ผลิตในตางประเทศในเดือนก.พ. เพิ่มขึ้น 3.7% (y-o-y) จําแนกเปนรถยนตญี่ปุนมียอดขายเพิ่มขึ้น 1% และยอดขายรถแบรนดตางประเทศ เพิ่มขึ้น 4.7%
Thailand updates : ■ สํานักงานบริหารหนี้สาธารณะและธนาคารผูรวมจัดจําหนาย 4 แหง ไดจัดสรรพันธบัตรตามความตองการของนักลงทุน โดยจัดสรรใหนัก ลงทุนในประเทศคิดเปนรอยละ 40 ของวงเงินจําหนายพันธบัตร (ประมาณ 16,000 ลานบาท) และจัดสรรใหนักลงทุนตางชาติรอยละ 60 ของ วงเงินจําหนายพันธบัตร (ประมาณ 24,000 ลานบาท) ■ คาเงินบาทปด (6 มี.ค.) ที่ระดับ 29.72/74 บาท/ดอลลาร แข็งคาเล็กนอยจากเปดตลาดที่ระดับ 29.74/76 บาท/ดอลลาร
US & Asian markets : ■ ตลาดหุนนิวยอรก ดัชนีดาวโจนส เพิ่ม 42.47 จุด หรือ 0.30% ปดที่ 14,296.24 จุด ดัชนี S&P เพิ่ม 1.67 จุด หรือ 0.11% ปดที่ 1,541.46 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 1.76 จุด หรือ 0.05% ปดที่ 3,222.37 จุด จากภาคเอกชนของสหรัฐมีการจางงานเพิ่มขึ้น ■ ตลาดหุนเอเชีย ดัชนีนิเกอิ เพิ่ม 248.82 จุด หรือ 2.13% ปดที่ 11,932.27 จุด ดัชนีฮั่งเส็งเพิ่ม 217.34 จุด หรือ 0.96% ปดที่ 22,777.84 จุด ดัชนีเซี่ยงไฮคอมโพสิตเพิ่มขึ้น 20.87 จุด หรือ 0.90% ปดที่ 2,347.18 จุด ตามดัชนีหุนสหรัฐที่ปรับตัวขึ้น ตลาดหุนไทย SET ปดตลาดที่ มพ่มขขึอ้นความ] หนา 1 1,559.35 จุ[พิ ด เพิ 10.04 จุด หรือ 0.65% ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau GLOBAL RESEARCH :
ฉบับที่ 9 ประจําวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
จับตามองมาตรการใหม...จีนคุมเขมตลาดอสังหา
จากสถานการณราคาบานในจีนยังคงพุงขึ้นอยางตอเนื่อง โดย ขอมูลจากสํานักงานสถิติแหงชาติของจีนระบุวา ราคาบานโดย เฉลี่ยในเมืองใหญ 70 เมืองของจีนในเดือนมกราคม 2556 เพิ่มขึ้น 0.7% จากเดือนธันวาคมปกอน ขณะที่ราคาบานมือสองก็มีความ รอนแรงไมแพกัน โดยราคาบานเฉลี่ยในหกเมืองใหญของจีนใน เดือนกุมภาพันธพุงสูงขึ้นมากกวา 1% จากเดือนกอนหนา นับเปน
การเพิ่มขึ้นติดตอกันเปนเดือนที่ 11 โดยราคาบานมือสองใน
กรุงปกกิ่งมีอัตราการเพิ่มขึ้นสูงสุด โดยเพิ่ม 3.04% จากเดือนกอนหนา และเพิ่ม 22.19% เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน สงผลให รัฐบาลกลางออกมาตรการคุมเขมอสังหาริมทรัพย ทั้งการเพิ่มภาษีโอนยาย และการเพิ่มเงินดาวนขั้นต่ํา ตอกย้ําถึงความมุงมั่นของ รัฐที่จะชะลอความรอนแรงของราคาบานในตลาด ที่มีแนวโนมวาจะยังคงสูงขึ้นตอไปในอนาคต จากมติสภารัฐมนตรีที่มีขึ้นเมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ 2556 คณะรัฐมนตรีจีนประกาศ มาตรการคุมเขมการครอบครองอสังหาริมทรัพย โดยมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 1 มีนาคมทีผ่ านมา ผลจากนโยบายกระตุนเศรษฐกิจของรัฐบาลจีน เมื่อป 2555 ใหเมืองตางๆปรับใหมกี ารอนุมัติ สินเชื่อใหงายขึ้น เพื่อกระตุนภาคอสังหาริมทรัพย อันเปนตัวผลักดันเศรษฐกิจจีนที่สําคัญ มาตรการควบคุมภาคอสังหาดังกลาวเปนไปตามการคาดการณของนักวิเคราะห เพื่อชะลอความรอนแรงของราคาบาน โดยในขั้นแรก รัฐบาลจะเรงจํากัดขอบเขตการ ครอบครองทรัพยสินประเภทอสังหาริมทรัพยที่มีอยู หลังจากนั้นจึงจะดําเนินการออก มาตรการใหม เพื่อสรางเสถียรภาพใหกับตลาดอสังหาริมทรัพยภายในประเทศ วิธีการดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคของมาตรการดังกลาวขางตน คือการเพิ่มรายรับสุทธิจากภาษีที่จะเก็บไดจากธุรกรรม โอนยายสินทรัพยประเภทอสังหาริมทรัพย โดยเพิ่มภาษีขึ้นสูอัตรา 20% ซึ่งในความเปนจริง รัฐบาลกลางจีนไดออกมาตรการนี้มาตั้งแตป 2006 แตยังไมเคยถูกบังคับใชอยางเขมงวด ในปจจุบันธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติในเมืองตางๆของจีนในขณะนี้ คือ การจัดเก็บภาษีเพียง 1-2% ของมูลคาการทําธุรกรรม ซึ่งนักวิเคราะหคาดการณวา หากมีการจัดเก็บภาษีในจํานวนเต็ม 20% ขึ้นมาอยางจริงจัง ยอดขายบานจะตกลงอยาง เห็นไดชัด จากตนทุนทางธุรกรรมที่สูงขึ้น โดยผลกระทบที่ตามมา จะมีมากในเมืองใหญอาทิ เซี่ยงไฮ และปกกิ่ง เนื่องจากเมืองเหลานี้มีสวนแบง การตลาดการซื้อขายทรัพยสินประเภทอสังหาริมทรัพยที่ใหญกวาเมืองเล็กอื่นๆ นอกจากวิธีการดังกลาวขางตน เพื่อใหการควบคุมภาคอสังหาเปนไปอยางมีเสถียรภาพ รัฐบาลกลางยังไดออกมาตรการระยะสั้น ซึ่ง รวมถึงการเพิ่มความพยายามในการควบคุมราคาบาน โดยการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินกูเพื่อซื้อบานหลังที่สอง ซึ่งในปจจุบัน อัตราดอกเบี้ยจํานอง สําหรับการซื้อบานดังกลาวอยูที่ 1.1 เทาของดอกเบี้ยอางอิงของธนาคารกลาง และการเพิ่มสัดสวนเงินดาวนขั้นต่ําสําหรับการซื้อบานหลังที่สอง ซึ่งในปจจุบัน อัตราเงินดาวนขั้นต่ําอยูในระดับ 60% ของมูลคาบาน โดยนักวิเคราะหคาดวาผลจากการออกมาตรการระยะสั้นดังกลาว ธนาคารจะ สามารถลดจํานวนการปลอยกูเพื่อซื้อบานหลังที่สองไดในอีกหลายสัปดาหถัดจากนี้ ราคาบานในจีนยังทะยานสูงขึ้นแมจะเขาป 2013 โดยดัชนีราคาบานใหมในเมืองที่ใหญ 100 เมือง ปรับตัวเพิ่มขึน้ 1.0% และ 0.8% ในเดือน มกราคม และกุมภาพันธตามลําดับ ในอัตราที่เร็วกวาเดือนกอนๆ ซึ่งประสบการณในอดีตไดเตือนวาบัดนี้ราคาบานในประเทศจีนไดเขาสู ภาวะอันตรายแลว ซึ่งนอกจากมาตรการคุมเขมอสังหาริมทรัพยที่เพิ่งจะถูกบังคับใชอยางเขมงวด รัฐบาลกลางจีนอาจมีความจําเปนที่ จะตองหามาตรการใหมๆในการจํากัดขอบเขตอุปสงคบานที่กําลังอยูในภาวะเสี่ยง เพื่อสรางเสถียรภาพใหกับตลาดอสังหาริมทรัพย ภายในประเทศ ปองกันการกวานซื้ออสังหาฯ เพื่อการเกร็งกําไร อันจะนําไปสูภาวะฟองสบู และความไมเทาเทียมกันในสังคม ซึ่งเปนที่ ขอความ] หนา 2 ยในชวง นาจับตามอง[พิเนืม่อพงจากผลของมาตรการดั งกลาวไดสง กระทบตอความวิตกกังวลของนักลงทุนในตลาดหุน ทั่วทั้งภูมิภาคเอเชี สัปดาหกอน __________________________________________________________________________________________________________ เมืองใหญหกเมืองของจีน ไดแก ปกกิ่ง เซี่ยงไฮ กวางโจว เซินเจิ้น เฉิงตู และเทียนจิน Phatra 1 Mar 2013
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
HighLight : จํานวนผูข อรับสวัสดิการวางงานลด สะทอนตลาดแรงงานสหรัฐเริม ่ ฟนตัว
Global: ■ สหรัฐ : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยจํานวนผูขอรับสวัสดิการวางงานในรอบสัปดาหสิ้นสุด ณ วันที่ 2 มี.ค. 2556 ลดลง 7,000 ราย อยูที่ ระดับ 340,000 ราย สวนจํานวนผูขอรับสวัสดิการวางงานอยางตอเนื่องโดยเฉลี่ย 4 สัปดาห ลดลง 7,000 ราย อยูที่ระดับ 348,750 ราย นับเปนระดับต่ําสุดตั้งแตเดือนมี.ค. 2551 สะทอนตลาดแรงงานของสหรัฐเริ่มฟนตัว ■ ยุโรป : ธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) มีมติคงอัตราดอกเบี้ยไวที่ 0.75% พรอมคาดเศรษฐกิจยูโรโซนในปนี้จะหดตัว 0.5% มากกวากอน หนาที่เคยคาดวาจะหดตัว 0.4% สวนเศรษฐกิจยูโรโซนในป 2557 คาดวาจะขยายตัวราว 0.2-2.2% ■ ฝรั่งเศส : สํานักงานสถิติแหงชาติของฝรั่งเศส (Insee) เผยอัตราวางงานในชวงไตรมาส 4 ป 2555 เพิ่มขึ้นอยูที่ 10.6% จาก 10.2% ใน ไตรมาสกอนหนา นับเปนระดับสูงสุดในรอบ 14 ป บงชี้เศรษฐกิจของฝรั่งเศสกําลังเผชิญกับความทาทายมากขึ้น ■ โปรตุเกส : สถาบันจัดอันดับความนาเชื่อถือ สแตนดารด แอนด พัวร (S&P) ปรับอันดับความนาเชื่อถือระยะยาวของโปรตุเกส จากเชิง ลบ เปนมีเสถียรภาพ และคงอันดับความนาเชื่อถือระยะสั้นและระยะยาวอยูที่ 'BB/B' พิจารณาจากความมุงมัน่ ของรัฐบาลโปรตุเกสในการ ปฏิรูปงบประมาณและโครงสราง ■ ญี่ปุน : รัฐบาลญี่ปุนเผย ดัชนีภาวะเศรษฐกิจในเดือนม.ค.ปรับตัวลดลง โดยดัชนีปจจัยพองเศรษฐกิจ (index of coincident indicators) ปรับตัวลงมาอยูที่ 92.0 จากระดับ 92.3 ในเดือนพ.ย. เมื่อเทียบกับระดับฐานที่ 100 ในป 2548 : ธนาคารกลางญี่ปุน (บีโอเจ) มีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ระดับ 0-0.1% และยังไมประกาศผอนคลายการเงินเพิ่มเติม ทั้งนี้ บีโอเจยังคง ขนาดโครงการซื้อสินทรัพยไวที่วงเงิน 101 ลานลานเยน พรอมกับปรับเพิ่มการประเมินเศรษฐกิจ ระบุเศรษฐกิจญี่ปุนเริ่มฟนตัว
Thailand updates : ■ ผูอํานวยการศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เผยดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคในเดือน ก.พ. 2556 อยูที่ 84.0 เพิ่มขึ้นจากเดือน ม.ค. ที่ 81.7 โดยไดรับปจจัยบวกจากภายในประเทศ ไดแก GDP ไตรมาส 4/2555 เพิ่มขึ้น 18.9% การคงอัตราดอกเบี้ย นโยบายของของคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ไวที่ 2.75% การสงออกในเดือนม.ค. ที่ขยายตัว 16.1% การปรับตัวแข็งคาขึ้นของ เงินบาท และการใชจายเพื่อกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐ : ผูอํานวยการฝายนโยบายเศรษฐกิจการเงิน ธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) เผย เปนไปไดที่ธปท.จะปรับเพิ่มประมาณการณอัตราการ ขยายตัวเศรษฐกิจไทยป 2556 ใหสูงขึ้น จากลาสุดคาดไวที่ 4.9% โดยนาจะเปดเผยไดในวันที่ 3 เม.ย. จากแรงสงของเศรษฐกิจในประเทศที่ ดีกวาที่คาดไว สวนป 2557 ยังคงใกลเคียงกับที่คาดการณไวในระดับ 4.8% ■ คาเงินบาทปด (7 มี.ค.) ที่ระดับ 29.72/74 บาท/ดอลลาร ปรับตัวแข็งคาจากเปดตลาดที่ระดับ 29.79/81 บาท/ดอลลาร
US & Asian markets : ■ ตลาดหุนนิวยอรก ดัชนีดาวโจนส เพิ่ม 33.25 จุด หรือ 0.23% ปดที่ 14,329.49 จุด ดัชนี S&P เพิ่ม 2.80 จุด หรือ 0.18% ปดที่ 1,544.26 จุด และดัชนี Nasdaq เพิ่ม 9.72 จุด หรือ 0.30% ปดที่ 3,232.09 จุด จากจํานวนผูขอรับสวัสดิการวางงานสหรัฐปรับตัวลดลง ■ ตลาดหุนเอเชีย ดัชนีนิเกอิ เพิ่มขึ้น 35.81 จุด หรือ 0.30% ปดที่ 11,968.08 โดยไดรับแรงหนุนจากตลาดหุนนิวยอรก ดัชนีฮั่งเส็ง ลดลง 6.40 จุด หรือ 0.03% ปดที่ 22,771.44 จุด ดัชนีเซี่ยงไฮคอมโพสิต ลดลง 22.89 จุด หรือ 0.98% ปดที่ 2,324.29 จุด จากนักลงทุนเทขายหุน กลุมธนาคารจีนที่ทะยานขึ้นเมื่อวันกอน ตลาดหุนไทย SET ปดตลาดที่ 1,560.98 จุด เพิ่มขึ้น 1.63 จุด หรือ 0.10% ที่มา : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จัดทําโดย : สวนวิเทศและสถาบันสัมพันธ สํานักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL RESEARCH : สถานการณ์ ส่อเค้ า...เศรษฐกิจฝรั่ งเศส-อิตาลี ฟื ้ นตัวยาก
้ิ ปี 2551 HighLight : อ ัตราว่างงานสหร ัฐลดลงสูร่ ะด ับ 7.7% ตํา ่ สุดน ับตงแต่ ั้ สน ี้ ลาดแรงงานเริม ชต ่ ฟื้ นต ัว
Global :
■ สหรัฐ : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยตัวเลขการจ้างงานนอกภาคการเกษตรในเดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ 236,000 ตําแหน่ง ในขณะทีอ่ ตั ราว่างงาน ลดลงสูร่ ะดับ 7.7% ซึง่ เป็ นระดับตํ่าสุดนับตัง้ แต่สน้ิ ปี 2551 บ่งชีถ้ งึ การปรับตัวทีด่ ขี น้ึ อย่างต่อเนื่องของตลาดแรงงาน ■ ยุโรป : ประธานธนาคารกลางยุโรป (อีซบี )ี ระบุหลังการประชุมนโยบายการเงินว่า เศรษฐกิจยุโรปภายในสิน้ ปี 2556 มีแนวโน้มเติบโตมาก ขึน้ และคาดว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจของยุโรปจะเริม่ มีเสถียรภาพในช่วงครึง่ แรกของปีน้ี พร้อมกับยืนยันว่าอีซบี จี ะยังคงจุดยืนด้านการใช้ นโยบายผ่อนคลายทางการเงินต่อไป ■ เยอรมัน : กระทรวงเศรษฐกิจของเยอรมนี เผยผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในเดือนม.ค.ได้ลดลงอย่างเกินคาด ท่ามกลางการชะลอตัวลงของยอด สังซื ่ อ้ ของภาคการผลิต โดยผลผลิตรวมของภาคอุตสาหกรรมในเดือนม.ค.ยังคงไม่เปลีย่ นแปลง หลังจากทีเ่ พิม่ ขึน้ 0.6% ในเดือนธ.ค. ■ ฝรังเศส ่ : ธนาคารกลางฝรังเศส ่ เผยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดพี )ี จะขยายตัวในไตรมาสแรกปี น้ี 0.1% หลังจากดัชนีความ เชื่อมันทางธุ ่ รกิจในภาคอุตสาหกรรมในเดือนก.พ. ปรับตัวขึน้ อยูท่ ่ี 96 จาก 95 ในเดือนม.ค. ขณะทีด่ ชั นีความเชื่อมันในภาคบริ ่ การในเดือน ก.พ. ลดลงอยูท่ ่ี 88 จาก 90 ในเดือนก่อนหน้า ■ จีน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของจีน เผยการลงทุนในภาคอสังหาริมทรัพย์ขยายตัว 22.8% (y-o-y) อยูท่ ่ี 6.67 แสนล้านหยวน หรือ 1.062 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ การลงทุนในสินทรัพย์ถาวรขยายตัว 21.2% (y-o-y) ยอดค้าปลีกขยายตัว 12.3% (y-o-y) อยูท่ ร่ี ะดับ 3.78 ล้านล้าน หยวน หรือ 6.021 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ผลผลิตอุตสาหกรรมมูลค่าเพิม่ ขยายตัว 9.9% (y-o-y) ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) ขยายตัว 3.2% (yo-y) ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดในรอบ 10 เดือน และดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) หดตัวลง 1.6% (y-o-y) เท่ากับเมือ่ เดือนม.ค. : ธนาคารกลางจีน เผยยอดการปล่อยเงินกูส้ กุลเงินหยวนในเดือนก.พ. ลดลง 9.07 หมืน่ ล้านหยวน อยูท่ ่ี 6.20 แสนล้านหยวน หรือ 9.9 หมืน่ ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ส่วนยอดเงินกูส้ กุลเงินต่างประเทศในเดือนก.พ.อยูท่ ่ี 1.14 แสนล้านหยวน เพิม่ ขึน้ 6.23 หมืน่ ล้านหยวนเมือ่ เทียบเป็ นรายปี ■ ญี่ปนุ่ : รัฐบาลญีป่ นุ่ เผยยอดสังซื ่ อ้ เครือ่ งจักรพืน้ ฐานของภาคเอกชนในเดือนธ.ค. ร่วงลง 13.1% จากเดือนธ.ค.ปีทแ่ี ล้ว ซึง่ เป็ นการปรับตัว ลงครัง้ แรกในรอบ 4 เดือน
Thailand updates : ■ ผูอ้ าํ นวยการสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เผย บริษทั Fitch Ratings ได้ปรับเพิม่ อันดับความน่าเชื่อถือของตราสารหนี้ระยะยาว สกุลเงินต่างประเทศของรัฐบาล จากระดับ BBB เป็ น BBB+ โดยมุมมองทีม่ เี สถียรภาพ และยืนยันอันดับความน่าเชื่อถือของตราสารหนี้ระยะ ยาวสกุลเงินบาทของรัฐบาล ทีร่ ะดับ A- โดยมุมมองทีม่ เี สถียรภาพ และปรับเพิม่ อันดับความน่าเชื่อถือของตราสารหนี้ระยะสัน้ สกุลเงิน ต่างประเทศของรัฐบาล จากระดับ F3 เป็ น F2 และปรับเพิม่ ระดับเพดานอันดับความน่าเชื่อถือของประเทศ (Country Ceiling) จากระดับ BBB+ เป็ น A■ ค่าเงินบาทปิ ด (8 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.73/75 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ เล็กน้อยจากเปิดตลาดช่วงเช้าทีร่ ะดับ 29.74/76 บาท/ดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ เพิม่ ขึน้ 67.58 จุด หรือ 0.47% ปิดที่ 14,397.07 จุด ดัชนี S&P เพิม่ ขึน้ 6.92 จุด หรือ 0.45% ปิ ดที่ 1,551.18 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 12.28 จุด หรือ 0.38% ปิดที่ 3,244.37 จุด จากตัวเลขจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐขยายตัวขึน้ ■ ตลาดหุน้[พิเอเชี ชนีนิกเกอิ เพิม่ ขึน้ 315.54 จุด หรือ 2.64% ปิดที่ 12,283.62 จุด จากค่าเงินเยนทีอ่ ่อนลง ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิหน้ ม่ ขึา น้ 1 320.51 จุด มพ์ยขอ้ ดัความ] หรือ 1.41% ปิ ดที่ 23,091.95 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 5.68 จุด หรือ 0.24% ปิดที่ 2,318.61 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดที่ 1,566.92 จุ ด เพิม่ ขึน้ 5.94 จุด หรือ 0.38% ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 10 ประจําว ันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
่ เค้า...เศรษฐกิจฝรง่ ั เศส-อิตาลี ฟื้ นต ัวยาก GLOBAL RESEARCH : สถานการณ์สอ
ld 1990 เป็ นต้นมา ประเทศจากกลุม่ เศรษฐกิจเกิดใหม่ได้แย่งส่วนแบ่ง ตัง้ แต่กลางทศวรรษ การตลาด จากกลุม่ ประเทศพัฒนาแล้ว ทัง้ ตลาดภายในประเทศและตลาดระหว่างประเทศ d โดยกลุม่ ประเทศเศรษฐกิ จเกิดใหม่อาศัยต้นทุนค่าแรงทีถ่ กู กว่า ผลิตสินค้าราคาถูก ่ ตาลี ป้อนเข้าสูต่ ลาด ส่งผลให้ประเทศพัฒนาแล้ว ซึง่ ณ ทีน่ ้ีหมายถึงประเทศฝรังเศสและอิ ขาดดุลการค้าเรื่อยมา โดยสถานการณ์ได้สอ่ แววเลวร้ายลง เมื่ออ้างอิงข้อมูลมูลค่าการ นําเข้าส่งออก พบว่า ปัจจุบนั ฝรังเศสและอิ ่ ตาลีไม่ได้กาํ ลังขาดดุลการค้ากับเฉพาะ กลุ่มประเทศเศรษฐกิ จเกิ ดใหม่เท่านัน้ แต่ยงั ขาดดุลการค้า ให้กบั ประเทศในกลุ่ม องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิ จและการพัฒนา หรือ OECD อันได้แก่ สหรัฐ อังกฤษ และสเปน ซึ่งถือเป็ นประเทศที่พฒ ั นาแล้วเช่นกัน โดยคูแ่ ข่งทีเ่ พิม่ ขึน้ มาใหม่น้ี นับเป็ นคูแ่ ข่งตัวฉกาจ ทีอ่ าจเป็ นสาเหตุสาํ คัญทีจ่ ะฉุดเศรษฐกิจของฝรังเศสและอิ ่ ตาลี ให้ เลวร้ายลงไปมากกว่านี้ หากพิจารณาตัวเลขอัตราค่าแรง และภาระทีผ่ ปู้ ระกอบการมีสว่ นรับผิดชอบต่อสังคม โดยเปรียบเทียบระหว่างฝรังเศสและอิ ่ ตาลี กับสมาชิกกลุม่ ประเทศ OECD อันได้แก่ สหรัฐ อังกฤษ และสเปน พบว่า ประเทศกลุม่ หลังมีอตั รา
ค่าแรง และภาระของผูป้ ระกอบการต่อสังคมที่ตาํ่ กว่า โดยในปี 2011 อัตราค่าแรงต่อชัวโมงของฝรั ่ งเศสอยู ่ ท่ ่ี 35.3 ยูโร อิตาลี 25.8 ยูโร สหรัฐ 25.6 ยูโร อังกฤษ 22.1 ยูโร และสเปน 22.3 ยูโร นอกจากนี้ สัญญาณทีบ่ ่งชีว้ า่ ฝรังเศสและอิ ่ ตาลีกาํ ลังเผชิญกับคู่แข่งทางการค้า มีสามปจั จัยหลัก ได้แก่ 1. ในประเทศฝรังเศสและอิ ่ ตาลี ส่วนแบ่งการตลาดของสหรัฐและสเปน มีมากขึน้ ในขณะทีส่ ว่ นแบ่งการตลาดในสหรัฐและสเปน ของ ฝรังเศสและอิ ่ ตาลี กําลังลดลงอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ตวั เลขมูลค่าการส่งออกไปยังต่างประเทศโดยรวมของสหรัฐ เริม่ เพิม่ ปริมาณมากขึน้ ตัง้ แต่ปี 2010 และเช่นเดียวกับประเทศสเปน ทีต่ วั เลขมูลค่าการส่งออกไปยังต่างประเทศโดยรวม เพิม่ ปริมาณมากขึน้ ตัง้ แต่ปี 2012 2. แนวโน้มการลงทุน และการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิต ของสหรัฐและอังกฤษปรับตัวดีขน้ึ อย่างต่อเนื่อง สวนทางกับประเทศ ฝรังเศสและอิ ่ ตาลีทป่ี รับตัวลดลง 3. การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศทีเ่ พิม่ มากขึน้ ในสเปน ในอดีต ฝรังเศสและอิ ่ ตาลี สามารถรับมือกับคูแ่ ข่งทางการค้าจากกลุม่ ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ได้ โดยอาศัยข้อมูลทีว่ า่ ประเทศเหล่านัน้ มีสวัสดิการแรงงานทีต่ ่าํ มาตรฐานการคุม้ ครองแรงงานไม่ดี และการไม่ให้ความร่วมมือกับกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วในการลดก๊าซเรือนกระจก ซึง่ ในปจั จุบนั นอกจากฝรังเศสและอิ ่ ตาลี จะเสียส่วนแบ่งการตลาดให้กบั กลุม่ ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่แล้ว ยังกําลังเข้าสูภ่ าวะขาดดุลทางการค้า กับประเทศพัฒนาแล้วอย่างสหรัฐ อังกฤษ และสเปนอีกด้วย โดยอาศัยข้อได้เปรียบทางด้านอัตราค่าแรงทีถ่ กู กว่า จึงเป็ นที่น่าจับตามองว่า ฝรังเศสและอิ ่ ตาลี จะงัดกลยุทธอะไร หรือใช้นโยบายเศรษฐกิ จใด เพื่อลดการขาดดุลทางการค้า ที่ นับวันจะยิ่ งเสียส่วนแบ่งการตลาดให้กบั ประเทศคู่ค้าไปเรื่อยๆ... [พิมพ์ขอ้ ความ] OECD: Organization for Economic Co-operation and Development Natisix Flash Economics No. 195\ Mar 6, 2013
หน้า 2
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
ื่ ถือของอิตาลีลง 1 ขน HighLight : ฟิ ทช ์ เรทติง้ ส ์ ปร ับลดความน่าเชอ ั้ สูร่ ะด ับ BBB+ พร้อมให้แนวโน้ม เชงิ ลบ จากความไม่แน่นอนทางการเมือง
Global: ■ สหรัฐ : องค์กรวิจยั เอกชน คอนเฟอเรนซ์ บอร์ด เผยดัชนีแนวโน้มการจ้างงานของสหรัฐในเดือนก.พ.เพิม่ ขึน้ อยู่ท่ี 111.14 ซึ่งเป็ นระดับ สูงสุดในรอบเกือบ 5 ปี จาก 109.93 ในเดือนม.ค. และเพิม่ ขึน้ 3.2% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี ก่อน โดยดัชนีแนวโน้มการจ้างงานชีถ้ งึ การจ้างงานทีป่ รับตัวดีขน้ึ แต่การปรับลดรายจ่ายของรัฐบาลก็มแี นวโน้มจะส่งผลกระทบต่อการสร้างงานในระยะใกล้ ■ ยุโรป : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) รวมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการของยูโรโซนในเดือนก.พ. ขยับลงแตะ 47.9 จาก 48.6 ในเดือนม.ค. บ่งชีว้ า่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจยังคงอยูใ่ นภาวะหดตัว เป็ นผลมาจากดัชนี PMI ของประเทศสําคัญลดลง ได้แก่เยอรมัน ฝรังเศส ่ และอิตาลี ■ เยอรมัน : สํานักงานสถิตขิ องเยอรมนี เผยการค้าระหว่างประเทศในเดือนม.ค.เกินดุลลดลง อยูท่ ่ี 1.57 หมืน่ ล้านยูโร จากระดับ 1.69 หมืน่ ล้านยูโรในเดือนธ.ค.ปีทแ่ี ล้ว โดยยอดนําเข้าในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ 3.3% (m-o-m) บ่งชีว้ า่ การค้าสุทธิมแี นวโน้มจะเป็ นปจั จัยถ่วงการ ขยายตัวทางเศรษฐกิจในช่วงไตรมาสแรกปี 2556 แม้การส่งออกในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ 1.4% เมือ่ เทียบกับเดือนธ.ค.ปีก่อน ■ อิตาลี : ฟิทช์ เรทติง้ ส์ ปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือของอิตาลีลง 1 ขัน้ สูร่ ะดับ BBB+ พร้อมกับให้แนวโน้มเชิงลบ เนื่องจากความไม่ แน่นอนทางการเมือง หลังจากทีผ่ ลการเลือกตัง้ ของอิตาลีในเดือนทีแ่ ล้วยังไม่ได้ขอ้ สรุปทีช่ ดั เจน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของอิตาลี (Istat) เผยเศรษฐกิจในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 2555 ปรับตัวลง 0.9% จากช่วงไตรมาส 3 ปีเดียวกัน และหดตัวลง 2.8% จากช่วงไตรมาส 4 ของปี 2554 จากการปรับขึน้ ภาษีและต้นทุนการกูย้ มื ของประเทศทีส่ งู ขึน้ ■ จีน : สมาคมผูผ้ ลิตยานยนต์ของจีน เผยยอดขายรถใหม่ในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2556 เพิม่ ขึน้ 14.7% จากปีทแ่ี ล้ว อยูท่ ่ี 3.39 ล้านคัน บ่งชีถ้ งึ อัตราการขยายตัวของตลาดรถจีนได้แข็งแกร่งขึน้ ในขณะทีย่ อดขายรถของผูผ้ ลิตรถญีป่ นุ่ ในจีนกําลังตกลง ■ เกาหลีใต้ : กระทรวงเศรษฐกิจความรูข้ องเกาหลีใต้ เผยยอดส่งออกรถยนต์ในเดือนม.ค.และก.พ.ลดลง 5.1% เมือ่ เทียบรายปี บ่งชีถ้ งึ อุปสงค์ท่ี อ่อนแรงของรถแบรนด์เกาหลีใต้ ขณะทีย่ อดขายรถในประเทศในเดือนก.พ. ปรับตัวลง 10.3% จากปี ก่อนหน้า โดยยอดขายรถแบรนด์เกาหลีใต้ ลดลง 12.4% และยอดขายรถต่างประเทศเพิม่ ขึน้ 14.8% ส่งผลให้การผลิตรถในเดือนก.พ. ลดลง 19.8% เมือ่ เทียบเป็ นรายปี อยูท่ ่ี 338,278 คัน
Thailand updates : ■ ผูอ้ าํ นวยการสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เผยสถานะหนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิน้ เดือนม.ค. 2556 มีจาํ นวน 5,040,341.01 ล้าน บาท คิดเป็ น 44.06% ของ จีดพี ี เพิม่ ขึน้ จากเดือนก่อนหน้า 79,053.40 ล้านบาท : อัตราเงินเฟ้อทัวไปเดื ่ อน ก.พ. อยูท่ ่ี 3.23% โดยกระทรวงพาณิชย์ยงั คงเป้าหมายไว้ทร่ี ะดับเดิม ที่ 2.8-3.4% ■ ค่าเงินบาทปิ ดตลาด (11 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.72/74 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าจากเปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.77/79 บาท/ดอลลาร์ ตามค่าเงินในภูมภิ าค
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ เพิม่ ขึน้ 50.22 จุด หรือ 0.35% ปิดที่ 14,447.29 จุด ดัชนี S&P เพิม่ ขึน้ 5.04 จุด หรือ 0.32% ปิ ดที่ 1,556.22 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 8.51 จุด หรือ 0.26% ปิดที่ 3,252.87 จุด จากนักลงทุนเข้าซือ้ เก็งกําไร ขณะทีก่ ารซือ้ ขายเป็ นไปอย่างผันผวน โดย ได้รบั ปจั จัยลบ ได้แก่ฟิทช์ เรทติง้ ส์ ปรับลดอันดับความน่าเชื่อถือของอิตาลี และผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของจีนชะลอตัวลง ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิ เพิม่ ขึน้ 65.43 จุด หรือ 0.53% ปิดที่ 12,349.05 จุด จากตัวเลขจ้างงานนอกภาคการเกษตรของสหรัฐที่ เพิม่ ขึน้ เกินคาด ส่งผลให้นกั ลงทุนคาดว่าเศรษฐกิจโลกจะฟื้นตัวขึน้ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง ลดลง 1.13 จุด หรือ 0% ปิ ดที่ 23,090.82 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้ คอมโพสิตลดลง 8.02 จุด ปิดที่ 2,310.59 จุด จากยอดผลผลิตภาคอุตสาหกรรมและอัตราการขยายตัวของยอดปล่อยกูแ้ ละยอดค้าปลีกชะลอ ตัวลง ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดที่ 1,577.65 จุด เพิม่ ขึน้ 10.73 จุด หรือ 0.68% เคลื่อนไหวในแดนบวกตามตลาดต่างประเทศ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
้ อยูท HighLight : จํานวนบริษ ัทล้มละลายในเยอรมนีลดลง 6% ในขณะทีห ่ นีเ้ พิม ่ ขึน ่ ี่ 51,700 ล้านยูโร
Global:
■ สหรัฐ : สหพันธ์ธุรกิจอิสระแห่งชาติของสหรัฐ (NFIB) เผยดัชนีมมุ มองเชิงบวกของธุรกิจขนาดเล็กในเดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ 1.9 จุด จากเดือน ก่อนหน้า อยูท่ ่ี 90.8 จุด ซึง่ เป็ นตัวเลขใกล้เคียงกับค่าเฉลีย่ ปี 2551 แต่ต่าํ กว่าช่วงภาวะเศรษฐกิจถดถอยในปี 2534-2535 และ 2544-2555 โดย เจ้าของธุรกิจขนาดเล็กจํานวนสามในสีม่ คี วามเห็นว่า ปจั จัยแวดล้อมทางธุรกิจจะเหมือนเดิมหรือยํ่าแย่ลงในอีก 6 เดือนข้างหน้า ส่งผลให้ NFIB คาดการณ์วา่ แม้การเปลีย่ นแปลงในเดือนก.พ.จะมีทศิ ทางเป็ นบวก แต่กไ็ ม่ได้บง่ ชีว้ า่ ความเชื่อมันในอนาคตจะสู ่ งขึน้ ■ เยอรมนี : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของเยอรมนี (Destatis) เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) ในเดือนก.พ.ลดลงอยูท่ ่ี 1.5% จาก 1.7% ในเดือนม.ค. สอดคล้องกับ ข้อมูลเบือ้ งต้นทีเ่ ปิ ดเผยไปเมื่อปลายเดือนทีแ่ ล้ว โดยได้รบั อิทธิพลจากราคาอาหารและพลังงานในเดือนก.พ.ทีป่ รับตัวขึน้ น้อยกว่าในช่วงเดือนม.ค. : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของเยอรมนี เผยจํานวนบริษทั ทีป่ ระสบภาวะล้มละลายในประเทศลดลง 6% เหลือ 28,304 ราย ในปี 2555 โดยบริษทั ในเยอรมนีลม้ ละลายมากทีส่ ดุ ในช่วงวิกฤติการเงิน 2546 เป็ นระดับสูงสุดในประวัตกิ ารณ์ โดยบริษทั ล้มละลายภายในปี เดียวสูงถึง 39,320 ราย อย่างไรก็ดี แม้จาํ นวนบริษทั ล้มละลายจะลดลงในปี 2555 แต่กลับมีปริมาณหนี้เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 51,700 ล้านยูโร จากระดับ 31,500 ล้านยูโรในปี 2554 เพราะมีบริษทั ขนาดใหญ่ลม้ ละลายเป็ นจํานวนมาก ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติองั กฤษ เผยยอดการผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนม.ค. ลดลง 1.2% จากเดือนธ.ค.ซึง่ ขยายตัว 1.1% จาก การระงับการผลิตทีแ่ ท่นนํ้ามันในทะเลเหนือจนทําให้ผลผลิตนํ้ามันและแก็สลดลง 4.3% ส่งผลให้เกิดความกังวลว่าเศรษฐกิจของอังกฤษอาจจะ หดตัวลงอีกครัง้ ในไตรมาสนี้ และทําให้เศรษฐกิจหวนกลับเข้าสูภ่ าวะถดถอย ■ ญี่ปนุ่ : ผลสํารวจของรัฐบาลญีป่ นุ่ เผยความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคในเดือนก.พ. ปรับตัวดีขน้ึ จากแผนกระตุน้ เศรษฐกิจของนายกรัฐมนตรี ชินโสะ อาเบะ และเงินเยนทีอ่ ่อนค่าลงส่งผลให้ราคาหุน้ สูงขึน้ โดยสํานักคณะรัฐมนตรีกล่าวว่า ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคของครัวเรือน เพิม่ ขึน้ 1 จุด อยูท่ ่ี 44.3 จากเดือนก่อนหน้า และเป็ นระดับทีส่ งู ทีส่ ดุ นับตัง้ แต่เดือนมิ.ย. 2550
Thailand updates : ■ คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบการปรับปรุงแผนบริหารหนี้สาธารณะประจําปี งบประมาณ 2556 ครัง้ ที่ 1 โดยปรับเพิม่ วงเงินจากเดิม 1,920,133 ล้านบาท เป็ น 1,948,211 ล้านบาท ทัง้ นี้ ครม.ยังรับทราบการปรับแผนบริหารหนี้ของรัฐวิสาหกิจทีไ่ ม่ตอ้ งขออนุมตั ภิ ายใต้กรอบแผน บริหารหนี้สาธารณะประจําปีงบประมาณ 2556 ครัง้ ที่ 1 ทีม่ วี งเงินปรับลดลง 6,181 ล้านบาท จากเดิม 127,885 ล้านบาท เป็ น 121,703 ล้านบาท ■ ค่าเงินบาทปิ ด (12 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.63/65 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าจากเปิดตลาดช่วงเช้าทีร่ ะดับ 29.69/71 บาท/ดอลลาร์ เป็ นการแข็งค่ามาก ทีส่ ดุ ในรอบ 2 ปี จากนักลงทุนมีความเชื่อมันว่ ่ าเศรษฐกิจไทยยังคงขยายตัวได้ดี โดยมาลงทุนในพันธบัตรและตลาดหุน้
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ เพิม่ ขึน้ 2.77 จุด หรือ 0.02% ปิดที่ 14,450.06 จุด จากนักลงทุนเข้าซือ้ เกร็งกําไร ดัชนี S&P ลดลง 3.74 จุด หรือ 0.24% ปิดที่ 1,552.48 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 10.55 จุด หรือ 0.32% ปิดที่ 3,242.32 จุด จากความวิตกว่าจีนอาจใช้มาตรการ คุมเข้มด้านการเงิน หลังจากตัวเลขเงินเฟ้อปรับตัวสูงขึน้ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิ ลดลง 34.24 จุด หรือ 0.28% ปิดที่ 12,314.81 จุด จากนักลงทุนเทขายทํากําไร ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต ลดลง 23.99 จุด หรือ 1.04% ปิดที่ 2,286.60 จุด จากการคาดการณ์วา่ หน่วยงานด้านการกํากับดูแลของจีนอาจจะเริม่ เปิ ดทําการซือ้ ขายหุน้ ไอพีโออีก ครัง้ ดัชนีฮงเส็ ั ่ งร่วงลง 200.22 จุด หรือ 0.87% ปิดที่ 22,890.60 จุด โดยได้รบั อิทธิพลจากตลาดหุน้ จีนทีร่ ว่ ง ตลาดหุน้ ไทย SET มีความผัน ผวนโดยปิดตลาดช่วงเช้า ปรับขึน้ 4.49 จุด ทีร่ ะดับ 1,582 จุด ทําสถิตสิ งู สุดในรอบ 19 ปี และปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,576.68 จุด ลดลง 0.97 จุด ด้วยมูลค่าการซือ้ ขายถึง 86,277.65 ล้านบาท ทําสถิตสิ งู สุดในรอบ 7 ปีนบั ตัง้ แต่ปี 2549 สาเหตุจากการเกร็งกําไร ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL RESEARCH : หนทางแก้ ...จะเพิ่มอัตราจ้ างงานในยูโรโซนได้ อย่ างไร
ื่ มน HighLight : ความเชอ ่ ั ทางเศรษฐกิจสหร ัฐเพิม ่ จาก -22 สูร่ ะด ับ -17
Global : ■ สหรัฐ : กระทรวงการคลังของสหรัฐ รายงานว่า รัฐบาลสหรัฐมียอดขาดดุลงบประมาณ 2.035 แสนล้านดอลลาร์ในเดือนกุมภาพนธ์ ลดลงเมือ่ เทียบกับ 2.32 แสนล้านดอลลาร์ในเดือนเดียวกันของปีก่อน ทัง้ นี้ รัฐบาลมีรายได้ 1.228 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือเพิม่ ขึน้ 19% จากรายได้ใน เดือนกุมภาพันธ์ 55 และมีรายจ่าย 3.264 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ลดลง 2.6% จากตัวเลขเดือนเดียวกับปีก่อน ■ ยุโรป : สํานักงานสถิตแิ ห่งสหภาพยุโรป เผยการผลิตภาคอุตสาหกรรมของกลุม่ ประเทศทีใ่ ช้สกุลเงินยูโร 17 ประเทศในเดือนม.ค. ลดลง 0.4% จากเดือนธ.ค.ทีเ่ พิม่ ขึน้ 0.9% และหากเทียบรายปี ผลผลิตอุตสาหกรรมยูโรโซนในเดือนม.ค. ลดลง1.3% โดยระบุวา่ เศรษฐกิจยูโรโซนยังคงไม่ สามารถหลุดพ้นจากภาวะถดถอยได้ หลังจากทีห่ ดตัวลงติดต่อกันถึง 5 ไตรมาส ท่ามกลางอัตราว่างงานทีอ่ ยูใ่ นระดับสูงถึง 11.9% ■ สเปน : กระทรวงการคลังสเปน เผยยอดขาดดุลของรัฐบาลกลางในเดือนม.ค. เพิม่ ขึน้ 1.2729 หมืน่ ล้านยูโร หรือ 35.4% เมือ่ เทียบกับเดือนม.ค.ปี 2555 ส่งผลให้ยอดขาดดุลอยูท่ ่ี 1.2% ของจีดพี ี โดยเป็ นผลมาจากรายได้สทุ ธิลดลง 37% และรายจ่ายเพิม่ ขึน้ 15.4% ทัง้ นี้ กระทรวงระบุวา่ รายได้ สุทธิจากการจัดเก็บภาษีลดลง 22% จากการชําระคืนภาษีในเดือนม.ค.ทีพ่ งุ่ ขึน้ 82.8% ■ จีน : ธนาคารกลางจีน เผยรัฐบาลควรจะยังคงระมัดระวังเกีย่ วกับเงินเฟ้ออย่างเต็มที่ โดยธนาคารกลางจะใช้มาตรการต่างๆ เช่น การปรับนโยบาย การเงิน เพือ่ สร้างเสถียรภาพด้านราคา และควบคุมราคาผูบ้ ริโภค ■ ออสเตรเลีย : เวสต์แพค แบงกิง้ คอร์ป และสถาบันเมลเบิรน์ เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคในเดือนมี.ค. ปรับตัวดีขน้ึ สูร่ ะดับสูงสุดในรอบ 2 ปี โดยดัชนีเพิม่ ขึน้ 0.2% อยูท่ ร่ี ะดับ 110.5 จากระดับ 108.3 ในเดือนก.พ. ขณะทีธ่ นาคารกลางออสเตรเลียได้คงอัตราดอกเบีย้ ในเดือนมี.ค. ไว้ทร่ี ะดับ 3% โดยตลาดหุน้ ทีป่ รับตัวขึน้ รวมถึงแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก เป็ นปจั จัยสําคัญทีก่ ระตุน้ ความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคให้สงู ขึน้ : สํานักงานสถิตอิ อสเตรเลีย เผยตัวเลขการอนุมตั สิ นิ เชื่อทีอ่ ยูอ่ าศัยในเดือนม.ค.ลดลง 1.5% (m-o-m) อยูท่ ร่ี ะดับ 44,383 ราย ตํ่ากว่าตัวเลขทีน่ กั เศรษฐศาสตร์คาดไว้วา่ จะลดลง 3.1% จากมาตรการผ่อนคลายของรัฐทีค่ าดว่าจะส่งผลต่อตัวเลขอนุ มตั สิ นิ เชื่อมากขึน้ ในอีกหลายเดือนหลังจากนี้ ■ เกาหลีใต้ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติเกาหลีใต้ เผยอัตราว่างงานในเดือนก.พ. ปรับตัวสูงขึน้ อยูท่ ร่ี ะดับ 4% จากระดับ 3.4% ในเดือนก่อนหน้า และ ลดลง 0.2% เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยอัตราว่างงานทีเ่ พิม่ ขึน้ เป็ นผลจากช่วงการจบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย
Thailand updates : ■ กระทรวงอุตสาหกรรม เผยมติประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOL) ได้อนุ มตั สิ ง่ เสริมการลงทุนทัง้ สิน้ 28 โครงการ มูลค่าเงินทุน รวม 129,443 ล้านบาท ส่งผลให้ในช่วง 2 เดือนแรก (ม.ค.–ก.พ.56) มีการยืน่ ขอรับส่งเสริมการลงทุนจํานวน 384 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน รวม 134,400 ล้านบาท โดยจํานวนโครงการเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 50 เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 55 ที่ 256 โครงการ ด้านเงินลงทุนปรับลงลด 7% เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 55 ทีม่ มี ลู ค่าลงทุน 144,800 ล้านบาท เนื่องจากช่วงดังกล่าวมีโครงหารขนาดใหญ่ในกลุม่ ปิ โตรเคมียน่ื ขอรับการส่งเสริมการลงทุนเข้ามาจํานวนมากรวมกว่า 6 หมืน่ ล้านบาท ■ ค่าเงินบาทปิ ดตลาด (13 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.60/62 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัวในระดับเดียวกับเปิดตลาดช่วงเช้า เนื่องจากไม่มปี จั จัยใหม่ทส่ี ง่ ผลกระทบเข้ามา
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ เพิม่ ขึน้ 2.77 จุด หรือ 0.02% ปิดที่ 14,450.06 จุด ดัชนี S&P ลดลง 3.74 จุด หรือ 0.24% ปิ ดที่ 1,552.48 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 10.55 จุด หรือ 0.32% ปิดที่ 3,242.32 จุด จากยอดค้ าปลีกและสต็อกสินค้ าคงคลังภาคธุรกิจที่แข็งแกร่งเกินคาดของสหรัฐ มพ์ยขดัอ้ ชความ] ■ ตลาดหุน้ [พิ เอเชี นีนิกเกอิ ลดลง 75.15 จุด หรือ 0.61% ปิดที่ 12,239.66 จุด จากการแข็งค่าของสกุลเงินเยนเมือ่ เทียบกับดอลลาร์ ดัหน้ ชนีาเ1 ซีย่ งไฮ้คอมโพ สิตลดลง 22.64 จุด หรือ 0.99% ปิดที่ 2,263.97 จุด จากความวิตกกังวลเกีย่ วกับการเพิม่ ความเข้มงวดในการควบคุมภาคอสังหาริมทรัพย์ ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 174.14 จุด หรือ 0.76% ปิดที่ 22,716.46 จุด จากการลดลงของหุน้ บริษทั จีน ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดที่ 1,576.68. จุด ลดลง 0.97 จุด หรือ 0.06% ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 11 ประจําว ันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
GLOBAL RESEARCH :หนทางแก้...จะเพิม ่ อ ัตราจ้างงานในยูโรโซนได้อย่างไร
อัตราการว่างงานในกลุม่ ประเทศสหภาพยุโรปยังคงสูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง โดยล่าสุด ข้อมูลจากสํานักงานสถิตยิ โุ รป ระบุวา่ จํานวนผู้ว่างงานใน เดือนมกราคม 2013 ของกลุ่มประเทศสมาชิ ก EU ทัง้ 27 ประเทศ เพิ่ มขึน้ 222,000 ราย จากเดือนธันวาคม 2012 ทําให้จาํ นวนผู้ ว่างงานในยูโรโซนมีทงั ้ สิ้ น 26,217,000 ราย หรือคิ ดเป็ นอัตรา ว่างงาน 10.8% ซึง่ เป็ นการเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องนับตัง้ แต่เกิดวิกฤติ เศรษฐกิจเมือ่ ปี 2008 และเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยในปจั จุบนั อันส่งผล ให้ภาคเอกชนต้องปิดตัวลงเป็ นจํานวนมาก อีกทัง้ ภาระหนี้สนิ ของรัฐบาล ทีย่ งั ไม่ได้รบั การแก้ไข ก็ยงั เป็ นการเพิม่ จํานวนผูว้ า่ งงานให้สงู มากขึน้ โดยหากคิดเป็ นรายประเทศ พบว่าประเทศทีม่ อี ตั ราว่างงานสูงสุด ได้แก่ กรีซ ซึง่ มีอตั ราว่างงานในเดือนพฤศจิกายน 2555 สูงถึง 27% รองลงมา คือสเปน และโปรตุเกส มีอตั ราว่างงานอยูท่ ่ี 26.2%และ 17.6% ตามลําดับ ในช่วงหลายปีทผ่ี า่ นมา รัฐบาลของแต่ละประเทศในสหภาพยุโรปได้มกี ารออกมาตรการรัดเข็มขัดและลดรายจ่าย เพือ่ รับมือกับอัตรา ว่างงานทีส่ งู ขึน้ ซึง่ การแก้ ปัญหาโดยวิธีนี ้ ถูกวิจารณ์โดยนักวิเคราะห์ ว่าเป็ นการแก้ ปัญหาที่ไม่ตรงจุด เพราะรูปแบบการว่างงานที่กําลังเกิดขึ ้นใน สหภาพยุโรป เป็ นการว่างงานที่สามารถแบ่งออกได้ เป็ นสองรูปแบบ ได้ แก่ แบบที่หนึง่ การว่างงานตามแนวคิดของเคนส์ (Keynesian unemployment) และ แบบที่สอง การว่างงานจากโครงสร้ างเศรษฐกิจ (Structural unemployment) โดยการว่างงานตามแนวคิดของเคนส์นน ั้
คือรูปแบบการว่างงานที่จํานวนการจ้างงานไม่เพิม่ มากขึน้ แม้วา่ ค่าแรงจะถูกลง สวนทางกับสภาวะเศรษฐกิจปกติ ทีเ่ มือ่ ค่าแรงถูกลง การจ้างงาน จะเพิม่ มากขึน้ โดยมีสาเหตุมาจากสภาวะทางเศรษฐกิจถดถอย อุปสงค์ของสินค้าและบริการอยูใ่ นระดับตํ่า ส่วนการว่างงานจากโครงสร้ างเศรษฐกิจ คือรูปแบบการว่างงานทีเ่ กิดจากแรงงานไม่ สามารถปรับตัวได้ทนั กับการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม โดยนักวิเคราะห์ ระบุวา่ การว่ างงานจากโครงสร้ างเศรษฐกิจนี้ เอง ที่เป็ นรูปแบบการว่างงานส่วนมากที่ยโุ รป ั ้ สดั ส่วนการเกิดขึน้ น้อย กําลังเผชิ ญอยู่ ในขณะทีร่ ปู แบบการว่างงานตามแนวคิดของเคนส์นนมี การแก้ปญั หาว่างงานจากโครงสร้างเศรษฐกิจนัน้ สามารถทําได้โดยการปรับเปลีย่ น นโยบายทางเศรษฐกิจ เช่น หลีกเลีย่ งการลดค่าใช้จา่ ย และการลดเงินเดือน (Internal Devaluations) เพราะจะเป็ นการชักนําให้คา่ แรงดิง่ ลง หนําซํ้ายังจะเป็ นการกดดันอุปสงค์ใน ครัวเรือนให้อยูใ่ นระดับตํ่า ซึง่ การแก้ไขปญั หา ควรจะเป็ นการลดอัตราภาษีให้แก่ผปู้ ระกอบการ เพือ่ เพิม่ สวัสดิการ และพัฒนาเพิม่ พูนความรูใ้ ห้แก่พนักงาน อันจะเป็ นการเพิม่ คุณภาพแรงงาน ให้เตรียมพร้อมเพือ่ รับมือกับสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจของโลกทีเ่ ปลีย่ นไปได้
ในปัจจุบนั การแก้ไขปัญหาอัตราการว่างงานที่อยู่ในระดับสูงของยูโรโซน เป็ นการแก้ปัญหาเฉพาะการว่างงานตามแนวคิ ด ของเคนส์ ซึ่งเป็ นรูปแบบการว่างงานส่วนน้ อยเท่านัน้ จากปริ มาณการว่างงานทัง้ หมด ในขณะที่รปู แบบการว่างงานของยูโร คือการ ว่างงานจากโครงสร้างเศรษฐกิ จ ซึ่งการแก้ปัญหาควรเป็ นการลดอัตราภาษี ให้แก่ผปู้ ระกอบการ และการเพิ่ มสวัสดิ การและความรู้ อัน จะเป็ นการเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพให้กบั แรงงาน และเป็ นการเพิ่ มความสามารถในการแข่งขัน โดยหนทางเหล่านี้ เป็ นเพียงข้อเสนอแนะจาก นักเศรษฐศาสตร์เท่านัน้ ซึ่งทางรัฐบาลในยูโรโซนจะนําไปใช้หรือไม่ ก็เป็ นที่น่าจับตามอง... [พิมพ์ขอ้ ความ] หน้า 2 Natixis Flash Economics No. 203\ Mar 7, 2013 รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL REVIEW : ญี่ปุ่นหวั่น...โอกาศเกิดแผ่ นดินไหวในกรุ งโตเกียวสูงถึง 70 %
HighLight : กระทรวงพาณิชย์สหร ัฐ เผยยอดขาดดุลบ ัญชเี ดินสะพ ัดในไตรมาส 4/2555 ลดลง 1.8% มาอยูท ่ ี่ 1.1042 แสนล้านดอลลาร์
Global :
■ สหรัฐ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยยอดขาดดุลบัญชีเดินสะพัดในไตรมาส 4/2555 ลดลง 1.8% มาอยูท่ ่ี 1.1042 แสนล้านดอลลาร์ ตรง ข้ามกับทีน่ กั วิเคราะห์คาดว่าจะเพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 1.128 แสนล้านดอลลาร์ ทัง้ นี้ ยอดขาดดุลบัญชีเดินสะพัดตลอดปี 2555 เพิม่ ขึน้ 1.9% สูร่ ะดับ 4.7498 แสนล้านดอลลาร์ ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดในรอบ 4 ปี โดยเป็ นผลมาจากรายได้ของรัฐทีล่ ดลง : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานครัง้ แรกในรอบสัปดาห์สน้ิ สุด ณ วันที่ 9 มี.ค. 2556 ลดลง 10,000 ราย อยูท่ ่ี 332,000 ราย ซึง่ เป็ นการปรับตัวลงติดต่อกัน 3 สัปดาห์ และลดลงมากกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดว่าจะอยูท่ ร่ี ะดับ 350,000 ราย ขณะเดียวกัน จํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานอย่างต่อเนื่องโดยเฉลีย่ 4 สัปดาห์ ลดลง 2,750 ราย อยูท่ ่ี 346,750 ราย ซึง่ เป็ นระดับตํ่าสุดในรอบ 5 ปี สะท้อนให้เห็นว่าตลาดแรงงานสหรัฐกําลังอยูใ่ นระยะฟื้นตัว ■ ยุโรป : ผูน้ ําประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป เร่งหามาตรการในการส่งเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสร้างตําแหน่งงานในยุโรปซึง่ ยังคงชะงักงัน อันเนื่องมาจากภาวะวิกฤตหนี้สนิ เนื่องจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกลุม่ ประเทศยูโรโซนได้ลดลงสูร่ ะดับตํ่าสุดในรอบมากกว่า 4 ปีในไตรมาส สุดท้ายปีทผ่ี า่ นมา ในขณะทีอ่ ตั ราว่างงานอยูท่ ่ี 11.9% ในเดือนม.ค. ซึง่ เป็ นสถิตสิ งู สุดนับตัง้ แต่เริม่ มีการเปิดเผยข้อมูลสถิตใิ นปี 2538 ■ กรีซ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของกรีซ เผยอัตราว่างงานในไตรมาส 4/2555 ปรับตัวขึน้ สูร่ ะดับสูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ท่ี 26% เพิม่ ขึน้ จาก 24.8% ในไตรมาส 3/2555 โดยเป็ นผลมาจากมาตรการรัดเข็มขัดและภาวะเศรษฐกิจถดถอยทีร่ นุ แรงขึน้ ■ ญี่ปนุ่ : กระทรวงเศรษฐกิจการค้าและอุตสาหกรรมญีป่ นุ่ ปรับทบทวนอัตราการขยายตัวของผลผลิตภาคอุตสาหกรรมในเดือนม.ค.ลงเหลือ 0.3% จากการรายงานในเบือ้ งต้นที่ 1.0% โดยตัวเลขดังกล่าวแสดงถึงการขยายตัวเป็ นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน ซึง่ ได้รบั แรงหนุ นจากการปรับตัว อันแข็งแกร่งของกลุม่ ผูผ้ ลิตอุปกรณ์การขนส่งและภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ ■ เกาหลีใต้ : สํานักงานศุลกากรของเกาหลีใต้ เผยเกาหลีใต้เกินดุลการค้าติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 13 ในเดือนก.พ. เนื่องจากการนําเข้าลดลง ในอัตราทีม่ ากกว่าการส่งออก โดยยอดเกินดุลการค้าในเดือนก.พ. อยูท่ ่ี 2 พันล้านดอลลาร์ ซึง่ เป็ นการเกินดุลอย่างต่อเนื่องนับตัง้ แต่เดือนก.พ. 2555 โดยเพิม่ ขึน้ จากระดับ 476 ล้านดอลลาร์ในเดือนม.ค.2556
Thailand updates : ■ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คาดดัชนีผลผลิตในเดือนมี.ค. 2556 จะสูงขึน้ เล็กน้อย เมือ่ เปรียบเทียบ กับช่วงเดียวกันของปี ก่อน โดยสินค้าสําคัญทีจ่ ะออกสูต่ ลาดมากในเดือนมี.ค. ได้แก่ ข้าวนาปรัง และมันฝรัง่ ขณะทีด่ ชั นีผลผลิตการเกษตร เดือนก.พ. 2556 ลดลงเล็กน้อยที่ 0.2% เมือ่ เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมือ่ เปรียบเทียบในภาพรวมกับเดือนม.ค. 2556 ดัชนีผลผลิต ภาพลดลง 9.52% ■ เงินบาทปิดตลาด (14 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.62/64 บาท/ดอลลาร์ เท่ากับช่วงเช้าทีเ่ ปิ ดตลาดอยูใ่ นระดับเดียวกัน
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ปรับ เพิม่ ขึน้ 83.86 จุด หรือ 0.56% ปิดที่ 14,539.14 จุด ทําสถิตขิ น้ึ ต่อเนื่องติดต่อกัน 10 วันทําการ ดัชนี S&P เพิม่ ขึน้ 8.71 จุด หรือ 0.56% ปิดที่ 1,563.23 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 13.81 จุด หรือ 0.43% ปิ ดที่ 3,258.93 จุด จากยอด ขาดดุลบัญชีเดินสะพัด และจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานครัง้ แรกในรอบสัปดาห์ทแ่ี ล้วของสหรัฐลดลง ■ ตลาดหุน้ [พิ เอเชีมยพ์ขดัอช้ นีความ] นิกเกอิ เพิม่ ขึน้ 141.53 จุด หรือ 1.16% ปิดที่ 12,381.19 จุด จากแรงหนุนทีเ่ พิม่ ขึน้ ของหุน้ กลุม่ การเงินและกลุม่ อสังหน้ หาริาม1 ทรัพย์ ดัชนี เซีย่ งไฮ้คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 6.31 จุด หรือ 0.28% ปิดที่ 2,270.28 จุด จากความกังวลในการเพิม่ มาตรการควบคุมตลาดอสังหาริมทรัพย์ ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 62.53 จุด หรือ 0.28% ปิดที่ 22,619.18 จุด จากแรงหนุนของหุน้ กลุม่ ธนาคารทีเ่ พิม่ ขึน้ ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดที่ 1,586.79 จุด เพิม่ ขึน้ 8.09 จุด หรือ 0.51% ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 1 ประจําว ันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2556
GLOBAL REVIEW :ญีป ่ ่ นหว ุ น ่ ั ...โอกาศเกิดแผ่นดินไหวในกรุงโตเกียวสูงถึง
Page 2/2
70 %
เมือ่ เดือนมกราคม 2012 สถาบันวิจยั แผ่นดินไหว ณ มหาวิทยาลัยโตเกียว รายงานว่า มีโอกาส 70% ทีจ่ ะเกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.0 ริกเตอร์หรือมากกว่าใน บริเวณเมืองหลวงภายในปี2016 โดยนักวิทยาศาสตร์กล่าวว่าจํานวนผูเ้ สียชีวติ อาจ สูงถึง 11,000 คน และก่อให้เกิดการสูญเสียนับเป็ นมูลค่า 1 ล้านล้านดอลลาร์ ต่อ ระบบเศรษฐกิจทีใ่ หญ่เป็ นอันดับ 3 ของโลก การพยากรณ์แผ่นดินไหวไม่สามารถคาดการณ์ได้อย่างแน่นอน เมือ่ เทียบกับภัย พิบตั ทิ างธรรมชาติอ่นื ๆ เช่น การคาดการณ์พายุเฮอริเคน นอกจากนี้ นักวิทยาศาสตร์จาํ นวนมากยังเกรงกลัวต่อผลทีจ่ ะตามมา หลังเกิดความผิดพลาดในการคาดการณ์ โดยเมือ่ เดือนตุลาคม นักวิทยาศาสตร์อติ าลี 7 คนถูกตัดสินลงโทษในข้อหาฆ่าคนตายจากความผิดพลาดในการ คาดการณ์แผ่นดินไหวปี 2009 ส่งผลให้มผี เู้ สียชีวติ 309 คน และได้รบั บาดเจ็บ 1500 คน ในเมืองลากวีลา ภาคกลางของประเทศอิตาลี ส่วนเหตุการณ์แผ่นดินไหวทีเ่ กิดขึน้ ทีป่ ระเทศญีป่ นุ่ เมือ่ สองปีก่อน ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านภัยพิบตั ขิ องประเทศถูกวิพากย์วจิ ารณ์อย่างหนัก โดยจะต้องให้ ความสําคัญกับความเป็ นไปได้ทอ่ี าจส่งผลให้เกิดแผ่นดินไหวในญีป่ นุ่ มากขึน้ คัทสึฮโิ กะ อิชบิ ะชิ ชาวญีป่ นุ่ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านระบบสัญญานเตือนภัย กล่าวในงานวิจยั ซึง่ ถูกนําเสนอเป็ นครัง้ แรกในปี1976 ว่า ในทุกช่วงเวลาประมาณ ั่ 100-150 ปี จะมีแผ่นดินไหวใหญ่เกิดขึน้ ในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของกรุงโตเกียวตามแนวชายฝงมหาสมุ ทรแปซิฟิก ซึง่ ถูกเรียกว่า “แผ่นดินไหวโทะไค” โดย เป็ นผลมาจากแรงกดดันของแผ่นเปลือกโลกสองแผ่นทีเ่ คลื่อนกระทบบีบเข้าหากัน อิชบิ ะชิ กล่าวว่า ใต้กรุงโตเกียวมีเปลือกโลก 3 แผ่นมาบรรจบกัน โดยตัง้ แต่ปี 1923 เป็ นต้นมา ไม่เคยมีแผ่นดินไหวขนาดใหญ่รอบๆโตเกียวเลย จึงมีโอกาส สูงทีจ่ ะเกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงจากการกระทบกันของเปลือกโลก ซึง่ จะรุนแรงกว่าแผ่นดินไหวทีเ่ กิดเมือ่ 2 ปีทผ่ี า่ นมา และอาจเป็ นหายนะอย่างใหญ่หลวง หลังจากเกิดภัยพิบตั ใิ นปี 2011 ญีป่ นุ่ ได้เพิม่ มาตรการด้านความปลอดภัยมากขึน้ เช่น การเพิม่ ระบบเบรกอัตโนมัตใิ ห้กบั ชินคันเซ็นหรือรถไฟความเร็วสูง และการจัดการสิง่ อํานวยความสะดวกเพือ่ รับมือภัยพิบตั ติ ามย่านธุรกิจของกรุงโตเกียว โดยการอํานวยความสะดวกทางการแพทย์และทีพ่ กั ฉุกเฉิน บริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ Mitsubishi Estate มีความมันใจว่ ่ าตัวอาคารสามารถทนต่อแรงสันสะเทื ่ อน ได้ โดยอาคารทีส่ ร้างใหม่จะมีขอ้ กําหนดในการสร้างทีเ่ ข้มงวดเพือ่ ให้เพือ่ ทนต่อแรงสันสะเทื ่ อน และอาคารเก่า กําลังอยูร่ ะหว่างการดําเนินการปรับปรุงตัวอาคารให้เป็ นไปตามข้อกําหนดอย่างเร่งด่วน แม้ญป่ี นุ่ จะเป็นเมืองทีส่ ามารถเตรียมการรับมือกับภัยพิบตั ไิ ด้ดี แต่เจ้าหน้าทีเ่ ทศบาลก็ไม่สามารถปิด ประตูระบายนํ้าภายในพืน้ ที่ 6 เมือง และกําแพงกัน้ นํ้าของอ่าวโตเกียว หลังจากมีการเตือนภัยเมือ่ วันที1่ 1 มีนาคม 2011 โดยปญั หาเกิดจากความล้มเหลวในการติดต่อสือ่ สาร ซึง่ เจ้าหน้าทีค่ ดิ ว่าเกิดนํ้าท่วมจากพายุ ใต้ฝนุ่ ไม่ใช่เกิดจากสึนามิ ทําให้ไม่ได้เตรียมการรับมือและสิง่ ของทีจ่ าํ เป็ นในกรณีฉุกเฉิน เมือ่ เร็วๆนี้ กรม อุตุนิยมวิทยาของญีป่ นุ่ กล่าวว่า จะทําให้ระบบเตือนภัยสึนามิเข้าใจได้งา่ ยมากขึน้ สถานการณ์น้ําท่วมจากสึนามิไม่ได้เป็ นปญั หาทีเ่ กิดขึน้ เพียงอย่างเดียว แต่ยงั มีความเสีย่ งการเกิดไฟไหม้อกี ด้วย ซึง่ คิมโิ ระ เมะกุโระ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านกล ้ าสามารถส่งผลกระทบไปถึงบริเวณใกล้เคียงได้ นอกจากนี้ ยังมีอุปสรรคใน ่ ยุทธ์การตอบสนองต่อภัยพิบตั ขิ องมหาวิทยาลัยโตเกียวกล่าวว่า การรัวไหลของไฟฟ การขนส่งนํ้ามันเชือ้ เพลิงให้กบั โรงงานไฟฟ้า ส่งผลให้ในปี 2012 มีปญั หาการขาดแคลนไฟฟ้ารุนแรงมากเป็ นเวลานาน การเตรีย[พิ มพร้ บมือกับภัยพิ บตั ิ ต้องมีแผนระยะสัน้ และระยะยาว อิ ชิบะชิ กล่าวว่า เราต้องเลิ กนิ สยั เก่าๆในการรอพึ่งพารั บาล โดย มพ์อขมรั อ้ ความ] หน้าฐ2 จะต้องเตรียมความพร้อมรับมือกับภัยพิ บตั ิ ด้วยตนเอง 2013 TIME Mar 10,
รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL RESEARCH : ไขกระจ่ าง...ปริ ศนา “เมืองผี” ในประเทศจีน
HighLight : ดัชนีคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจสหรัฐลดลงสูร่ ะดับ61.7จาก70.2ตํา่ สุดตัง้ แต่พ.ย.54
Global :
■ สหรัฐ : กระทรวงการคลังสหรัฐ เผยดัชนีราคาผูผ้ ลิต เดือนก.พ.เพิม่ ขึน้ 0.7% ซึง่ เป็ นการปรับตัวขึน้ 2 เดือนติดต่อกันและเพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ ในรอบ 5 เดือน อันเนื่องมาจากราคาพลังงานทีส่ งู ขึน้ เมือ่ เทียบเป็ นรายปีดชั นีราคาผูผ้ ลิตซึง่ เป็ นมาตรวัดการเปลีย่ นแปลงของราคาในระดับโรงงานเพิม่ ขึน้ 1.7% : ธนาคารกลางสหรัฐ เผยว่าการผลิตในภาคอุตสาหกรรม ซึง่ ครอบคลุมถึงโรงงาน สาธารณูปโภคและเหมือง ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 0.7% ในเดือนก.พ. ซึง่ มากกว่าที่ นักวิเคราะห์คาดการณ์ ส่วนอัตราการใช้กาํ ลังการผลิตก็เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 79.6% ซึง่ สูงสุดนับตัง้ แต่เดือนมี.ค.2551 : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคจากรอยเตอร์/มหาวิทยาลัยมิชแิ กนในช่วงต้นเดือนมีนาคม ปรับตัวลดลงสูร่ ะดับ 71.8 จากระดับ 77.6 ในเดือนก.พ.2556 สวนทางกับที่ นักเศรษฐศาสตร์สว่ นใหญ่คาดการณ์วา่ จะเพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 78.0 และเป็นตัวเลขทีต่ ่าํ สุดนับตัง้ แต่เดือนธ.ค.2554 หลังผูบ้ ริโภคไม่พอใจนโยบายเศรษฐกิจของรัฐ : ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค เดือนก.พ.ขยายตัว 0.7% ซึง่ ถือว่าเป็ นการขยายตัวในอัตรามากทีส่ ดุ นับตัง้ แต่เดือนมิ.ย.2552 จากราคานํ้ามันเบนซินทีพ่ งุ่ สูง และยังไม่ม ี สัญญาณว่าเงินเฟ้อสูงขึน้ จนเป็ นปญั หาต่อการใช้มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของธนาคารกลางสหรัฐ ■ ยุโรป : ยูโรโซนและกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ได้บรรลุขอ้ ตกลงเกีย่ วกับแผนการช่วยเหลือไซปรัสวงเงิน 1 หมืน่ ล้านยูโร เพื่อนําไปเพิม่ ทุน ธนาคารต่างๆทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการปรับโครงสร้างหนี้ในกรีซเมือ่ ปีทแ่ี ล้ว ภายใต้ขอ้ ตกลงดังกล่าว ไซปรัสจะต้องลดการขาดดุลงบประมาณ ขึน้ ภาษี และแปรรูปทรัพย์สนิ ของรัฐ ทัง้ นี้ไซปรัสนับเป็ นประเทศที5่ ในกลุ่มประเทศยุโรปทีต่ อ้ งขอรับความช่วยเหลือจากประเทศในกลุม่ ยูโรโซน ■ จีน : กระทรวงพาณิชย์จนี เผยมูลค่าการส่งออกสินค้าเครือ่ งจักรและอิเล็คทรอนิคของจีนเพิม่ ขึน้ 8.7% เมื่อเทียบเป็ นรายปี ทีร่ ะดับ 1.18 ล้านล้านดอลลาร์ในปี 2555 ซึง่ มีสว่ นแบ่งตลาดโลกเพิม่ ขึน้ การส่งออกผลิตภัณฑ์เหล่านี้สามารถครองส่วนแบ่งตลาดโลกได้ 16.1% ในช่วง 11 เดือนแรกของปีทแ่ี ล้ว ซึง่ เพิม่ ขึน้ 0.9% จากปี 2554 ■ ญี่ปนุ่ : วุฒสิ ภาญีป่ นุ่ รับรองการแต่งตัง้ นายฮารุฮโิ ตะ คุโรดะ เป็ นผูว้ า่ การธนาคารกลางญี่ปนุ่ คนใหม่ โดนนักเศรษฐศาสตร์คาดการณ์วา่ ธนาคารกลางญี่ปนุ่ จะผ่อนคลายการเงินอย่างหนักเพือ่ ฟื้นเศรษฐกิจ โดยนายนายคุโรดะมีแนวโน้มจะสนับสนุ นแนวทางของนายกรัฐมนตรีชนิ โซ อาเบะ ในการใช้จา่ ยขนานใหญ่รวมถึงการผ่อนคลายทางการเงินอย่างหนัก
Thailand updates : ■ กระทรวงอุตสาหกรรม เผยทีป่ ระชุมคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนได้เห็นชอบในหลักการเบือ้ งต้นทีส่ าํ นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุนเสนอให้ปรับปรุงนโยบายส่งเสริมการลงทุนใน พืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้ เพือ่ กระตุน้ ให้เกิดการลงทุนในพืน้ ทีม่ ากขึน้ โดยลดขนาด การลงทุนขัน้ ตํ่าเหลือ 500,000 บาท และเพิม่ การนําเครือ่ งจักรใช้แล้วในประเทศมาใช้ในโครงการ. ■ เงินบาทปิดตลาด (15 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.52/54 บาท/ดอลลาร์ เคลื่อนไหวลดลงตามภูมภิ าค จากความกังวลเรือ่ งเงินยูโรกรณีทม่ี บี าง ประเทศออกมาตรการเก็บภาษีจากผูฝ้ ากเงิน
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ปรับลดลง 25.03 จุด หรือ 0.17% ปิดที่ 14, 514.11 จุด จากนักลงทุนเลือกทีจ่ ะเทขายหุน้ หลังจากทีม่ กี าร เปิ ดเผยข้อมูลความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคทีน่ ่าผิดหวัง ดัชนี S&P ลดลง 2.53 จุด หรือ 0.16% ปิดที่ 1,560.70 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 2.01 จุด หรือ 0.06% ที่ 3,256.92 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 179.76 จุด หรือ 1.45% ปิ ดที่ 12,560.95 จุด จากความคาดหวังทีว่ า่ ธนาคารกลางญีป่ นุ่ จะใช้นโยบาย ผ่อนคลายการเงิ ริงจังมากขึน้ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 8.12 จุด หรือ 0.36% ปิดที่ 2,278.40 จุด จากนักลงทุนช้อหน้ นซืาอ้ 1 หุน้ กลุม่ [พิมพ์นขทีอ้ จ่ความ] การเงินทีล่ ดลงก่อนหน้า ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 86.07 จุด หรือ 0.38% ปิดที่ 22,533.11 จุด จากหุน้ กลุม่ บริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย์จนี ลดลง ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,598.13 จุด เพิม่ ขึน้ 1.99% ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau GLOBAL RESEARCH :ไขกระจ่าง...ปริศนา
ฉบ ับที่ 12 ประจําว ันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
“เมืองผี” ในประเทศจีน
“เมืองผี” (Ghost towns) เป็ นประเด็นทีส่ อ่ื มักจะนํามาประโคมข่าว อยูบ่ อ่ ยๆ ผ่านการแพร่ภาพและวิดโี อต่างๆ ทีเ่ ผยให้เห็นถึงเมือง ร้าง ถนนว่างเปล่า ตึกรามบ้านช่องปราศจากผูค้ นเดินไปมา ซึง่ เป็ น ผลมาจากการพัฒนาแบบก้าวกระโดดของจีน โดยบางสื่ออ้างว่า มี ที่อยู่อาศัยถึง 65 ล้านยูนิต ที่ยงั รอผู้เข้าไปอยู่อาศัย ขณะทีร่ าคา อสังหาริมทรัพย์เองก็ยงั พุง่ สูงขึน้ ต่อไปเรือ่ ยๆ ส่งผลให้นักลงทุน จํานวนมากเริ่ มวิ ตกว่า อาจจะถึงเวลาแล้ว ที่จะเกิ ดวิ กฤติ ฟอง สบู่อสังหาฯในแดนมังกรแห่งนี้ ทว่านักวิเคราะห์จาํ นวนหนึ่งมีความเห็นทีแ่ ตกต่าง แสดงความไม่เห็นด้วย กับข้อกล่าวหาทีว่ า่ จีนกําลังจะเกิดปญั หาฟองสบู่ ขณะเดียวกันก็ให้ความเห็นว่าตลาดอสังหาฯในจีนจะยังคงโตขึน้ ต่อไปได้เรือ่ ยๆ และยังไม่มคี วามจําเป็ นทีจ่ ะต้องกังวลว่าจะเกิดฟองสบูใ่ นธุรกิจ อสังหาฯหรือไม่ พร้อมกันนี้ ก็ได้ให้เหตุผลสนับสนุนความคิดดังกล่าวสามข้อ ได้แก่ หนึ่ง ประเทศจีนกําลังประสบปญั หาการวางผังเมือง โดยไม่มกี ารวางแผนล่วงหน้าทีด่ ี ซึง่ เป็ นสาเหตุทท่ี าํ ให้เกิด “เมืองผี” หรือ เมืองที่ ั ่ กหนแห่งในประเทศจีน เมืองทีถ่ กู พัฒนาขึน้ ใหม่หลายแห่ง ก็ถกู จับจอง ไร้ผอู้ ยูอ่ าศัยขึน้ แต่ขอ้ เท็จจริงก็คอื เมืองผีดงั กล่าว ไม่ได้มีอยู่ทวทุ โดยผูอ้ ยูอ่ าศัยชาวจีน การประโคมข่าวว่าประเทศจีนเต็มไปด้วยเมืองร้าง ตึกรามบ้านช่องไม่มผี อู้ ยูอ่ าศัยนัน้ เป็ นการกล่าวทีเ่ กินจริง ซึ่งในความ เป็ นจริ ง เมืองที่ถกู พัฒนาค้างไว้กลายเป็ นเมืองผีนัน้ มีเพียง 5 เมืองเท่านัน้ จากเมืองทัง้ หมด 100 กว่าเมือง ที่มีผอู้ ยู่อาศัยในเขตเมือง เหล่านี้ ถึง 711 ล้านคน โดยสือ่ ทีป่ ระโคมข่าว ไม่ได้เผยแพร่ภาพเมืองทีแ่ ออัดไปด้วยประชากรควบคูไ่ ปกับภาพเมืองร้างด้วย ทําให้เกิดความ เข้าใจผิด คิดว่าประเทศจีนมีการพัฒนาอสังหาฯทีเ่ ร็วเกินไป จนทําให้เกิดเมืองร้างทัวประเทศอย่ ่ างทีม่ คี นเข้าใจผิดในทุกวันนี้ เหตุผลข้อทีส่ อง จริงอยูท่ ว่ี า่ ประเทศจีนมีจาํ นวนยูนิตของอสังหาฯทีย่ งั ไม่มผี จู้ บั จองอยูเ่ ป็ นจํานวนมาก แต่คาํ กล่าวที่ว่ายูนิตไร้ผจู้ บั จองดังกล่าว มีจาํ นวนสูงถึง 65 ล้านยูนิตนัน้ เป็ นตัวเลขที่รวมบ้านในเขตชนบทด้วย ซึง่ จริงๆแล้ว บ้านในชนบทเหล่านี้มชี าวจีนเป็ น เจ้าของ แต่เจ้าของเหล่านี้เป็ นแรงงาน ทีต่ อ้ งย้ายเข้าไปทํางานชัวคราวในเขตเมื ่ อง โดยจํานวนแรงงานเหล่านี้ มีจาํ นวนสูงถึง 250 ล้านคน นอกจากนี้ ตัวเลขการเจริญเติบโตของ GDP จีน ทีโ่ ตขึน้ ถึงปี ละ 8% ยังบ่งชีถ้ งึ อุปสงค์ทจ่ี ะตามมาอีกเป็ นจํานวนมาก โดยจํานวนคนทีย่ า้ ยเข้ามา อาศัยอยูใ่ นเขตเมืองนัน้ เพิม่ มากขึน้ ถึงปีละ 1.4% ซึง่ คิดเป็ นจํานวน 18 ล้านคน โดยสิ่ งที่รฐั บาลต้องเร่งลงมือคือ การป้ องกันการเก็งกําไร เพื่อไม่ให้สิทธิ การครอบครองบ้าน ไปตกอยู่เฉพาะในมือของคนบางกลุ่ม เหตุผลข้อทีส่ าม นักวิเคราะห์อธิบายโดยใช้ตวั เลขหนี้การจํานองบ้านของจีนในปี 2012 ซึง่ คิดเป็ นจํานวนเพียง 16% ของ GDP ถือว่า น้อยมาก ถ้าเทียบกับสหรัฐ ซึง่ ตัวเลขสูงถึง 87% ในขณะทีเ่ งินดาวน์ขนั ้ ตํ่าของการซือ้ บ้านหลังแรกและหลังทีส่ องนัน้ อยูท่ ่ี 30% และ 50% ของ ราคาบ้าน นอกจากนี้ อัตราส่วนการกูย้ มื เงินจากธนาคาร เพือ่ นําไปซือ้ บ้าน มีจาํ นวนเพียง 14% ของจํานวนการกูย้ มื ทัง้ หมด ซึง่ ถือว่าเป็ น ตัวเลขทีน่ ้อยอีกเช่นกัน เมือ่ เทียบกับประเทศอื่นๆ (สหรัฐ 72% อังกฤษ 86% ญีป่ นุ่ 64% และเกาหลีใต้ 46%) เมือ่ วันที ่ 20 กุมภาพันธ์ทีผ่ า่ นมา คณะรัฐมนตรีจีนได้ประกาศมาตรการคุมเข้มการครอบครองอสังหาริ มทรัพย์ โดยการเพิ ม่ ภาษี โอนบ้านให้อยู่ที ่ 20% และเพิ ม่ เงิ นดาวน์ ขนั ้ ตําสํ ่ าหรับการซื้อบ้านหลังทีส่ องให้อยู่ทีร่ ะดับ 60% ของราคาบ้าน ทัง้ นี้ นักวิ เคราะห์ มองว่า สิ ง่ ทีร่ ฐั บาลจีนควรจะทํา ไม่ใช่การควบคุมอุปสงค์ แต่ควรเป็ นการเพิ ม่ อุปทาน หรืออีกนัยหนึ ง่ คือการเพิ ม่ การแข่งขันใน ตลาดอสังหาริ มทรัพย์ เพือ่ ทีร่ าคาบ้านจะได้ถกู ลง และผู้บริ โภคชาวจีนก็จะได้มีตวั เลือกทีม่ ากขึ้นกว่าทีม่ ีในปัจจุบนั ... [พิมพ์ขอ้ ความ] หน้า 2 เมืองผีทงั ้ 5 เมืองได้แก่ Kangbashi New Area ในแถบ Inner Mongolia, New South China Mall ในแถบ Dongguan, Yujiapu ใน Tianjin, Zhengdong ใน Henan และ Chenggong ในแถบคุ นหมิง Publication from Phatra Mar 13, 2013 รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
่ ยเหลือทางการเงินจาก IMF ไซปร ัสปร ับขึน ้ ภาษีเงินฝากและภาษีเงินได้ HighLight : หล ังขอร ับความชว จาก 2.5% เป็น 12.5%
Global :
■ สหรัฐ : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ ส้ ร้างบ้านสหรัฐในเดือนมี.ค.ปรับตัวลง 2 จุด จากระดับ 46 สูร่ ะดับ 44 ซึง่ เป็ นระดับตํ่าสุดนับตัง้ แต่เดือนต.ค.2555 หรือตํ่าสุดในรอบ 5 เดือน โดยมีปจั จัยถ่วงจากภาวะอุปทานทีด่ นิ ทีต่ งึ ตัวสําหรับการก่อสร้าง แม้มสี ญ ั ญาณบ่งชีเ้ กีย่ วกับความสนใจของกลุม่ ผูซ้ อ้ื บ้าน ทีม่ ศี กั ยภาพก็ตาม โดยดัชนีคาดการณ์ยอดขายในช่วง 6เดือนหน้าเพิม่ ขึน้ 1จุด แต่ดชั นีทป่ี ระเมิณภาวะยอดขายในปจั จุบนั ลดลง 4จุด ทัง้ นี้การลดลง ดังกล่าวส่งสัญญาณว่าตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยจะต้องใช้เวลาสักระยะในการกลับมาปรับตัวแข็งแกร่ง ■ ยุโรป : ชาวไซปรัสต่างพากันถอนเงินจากธนาคารเป็ นจํานวนมากหลังจากทราบข่าวการขอรับความช่วยเหลือทางการเงินจากนานาชาติเนื่องจากภายใต้เงือ่ นไข ของวงเงินช่วยเหลือ ไซปรัสจะต้องปรับขึน้ ภาษีเงินได้บริษทั จาก 2.5%เป็ น 12.5%และผูฝ้ ากเงินในธนาคารของไซปรัสจะถูกเก็บภาษีแบบครัง้ เดียวสําหรับเงินฝาก ซึง่ ถือเป็ นครัง้ แรกทีแ่ ผนการช่วยเหลือทางการเงินประเทศในยูโรโซนระบุเงือ่ นไขทีท่ าํ ให้ผฝู้ ากเงินในประเทศนัน้ ต้องเสียเงินโดยตรงผูม้ เี งินฝากในบัญชีธนาคาร มากกว่า1แสนยูโรจะถูกหักภาษี 9.9%และจะมีการเก็บภาษี 6.75%สําหรับจํานวนเงินทีต่ ่าํ กว่านัน้ ซึง่ คาดว่าจะช่วงให้ไซปรัสระดมทุนได้ 5.8 พันล้านยูโร ■ จีน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติจนี เผยราคาบ้านใหม่ได้ปรับตัวขึน้ รุนแรงมากขึน้ ในหลายเมืองของจีนในเดือนก.พ. ซึง่ ส่งผลให้รฐั บาลเผชิญ สถานการณ์ทซ่ี บั ซ้อนยิง่ ขึน้ ในการควบคุมตลาดอสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากภาวะฟองสบู่ จากการสํารวจพบว่า 66 เมืองมีราคาบ้าน สูงขึน้ 3.1% ในเดือนก.พ.เมือ่ เทียบกับเดือนก่อนหน้า ■ออสเตรเลีย : รัฐมนตรีกระทรวงการคลังออสเตรเลีย กล่าวว่ารายได้จากภาษีทล่ี ดลงจากผลของเศรษฐกิจทีอ่ ่อนแอลงและราคาทีล่ ดลง ของทรัพยากรทีเ่ ป็ นสินค้าส่งออกหลักของออสเตรเลีย รวมทัง้ ค่าเงินของออสเตรเลียทีแ่ ข็งขึน้ ส่งผลให้ออสเตรเลียมีแนวโน้มขาดดุล งบประมาณมากขึน้ โดยจากข้อมูลล่าสุดของกระทรวงการคลังออสเตรเลียในช่วง4สัปดาห์แรกของปี2556 ออสเตรเลียขาดดุลงบประมาณ เพิม่ ขึน้ 4.6พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย ส่งผลให้การขาดดุลงบประมาณในช่วง7เดือนแรกของปีงบประมาณเพิม่ ขึน้ เป็ น26.7พันล้านดอลลาร์ ออสเตรเลีย โดยการขาดดุลงบประมาณในเดือนม.ค.สูงกว่าทีค่ าดการณ์เมือ่ 3 สัปดาห์ก่อนที่ 2พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย
Thailand updates : ■ กระทรวงการคลังเผยรัฐบาลจัดเก็บรายได้สทุ ธิในเดือนก.พ.2556 จํานวน158,918ล้านบาท สูงกว่าประมาณการ5,732ล้านบาทหรือ 3.7% ส่งผล ให้ในช่วง5เดือนแรกของปีงบประมาณ(ต.ค.55-ก.พ.56) รัฐบาลจัดเก็บรายได้สทุ ธิ830.235ล้านบาท สูงกว่าเป้าหมาย95,419ล้านบาท หรือ13.0% ซึง่ เป็ นผลจากการจัดเก็บรายได้ของทุกหน่วยงานทีส่ งู กว่าประมาณการ ซึง่ สะท้อนถึงภาวะเศรษฐกิจทีม่ กี ารขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่าง ยิง่ การขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศและรายได้ภาคครัวเรือน โดยรายได้ทจ่ี ดั เก็บได้สงู กว่าประมาณการทีส่ าํ คัญได้แก่ ภาษีรถยนต์จดั เก็บได้ สูงกว่าประมาณการ2,664ล้านบาท หรือ 26.1% เป็ นผลมาจากโครงการรถยนต์คนแรก ■ เงินบาทปิดตลาด (18 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.52/54 บาท/ดอลลาร์ ทิศทางเงินบาทวันนี้น่าจะยังแข็งค่าได้ต่อจากเงินทีย่ งั ไหลเข้ามา
US & Asian markets :
■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ปรับตัวลดลง 62.05 จุด หรือ 0.43% ปิดที่ 14,452.06 จากนักลงทุนวิตกกังวลว่าปญั หาด้านการเงินและ การคลังของไซปรัสอาจจะทําให้วกิ ฤตหนี้ยโุ รปทวีความรุนแรงมากขึน้ ดัชนี S&P ลดลง 8.60 จุด หรือ 0.55% ปิดที่ 1,552.10 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 11.48 จุด หรือ 0.35% ปิดที่ 3,237.59 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิลดลง 340.32 จุด หรือ 2.71% ปิดที่ 12,220.63 จุด จากความวิตกกังวลเกีย่ วกับแผนการให้ความช่วยเหลือไซปรัสอาจจะทําให้เกิด วิกฤตหนี้ยโู รโซน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต ลดลง 38.38 จุด หรือ 1.68% ปิดที่ 2,240.02 จุด จากนักลงทุนวิตกกังวลเกีย่ วกับภาวะเงินเฟ้อของจีนหลังจากราคาบ้าน ในจีนปรับตัวสูงขึน้ ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 449.75 จุด หรือ 2% ปิดที่ 22,083.36 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 1,591.65 จุด ลดลง 6.48 จุด หรือ 0.41% ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL RESEARCH : อาการ “เสพติดทองคํา-นํา้ ม ัน” ทําพิษ...อินเดียขาดดุลการค้าอย่างต่อเนือ่ ง
ั ้ ทีร่ ะดับ 0 - 0.25% จนกว่าอัตราการ HighLight : ธนาคารกลางสหรัฐ มีมติคงอัตราดอกเบีย ้ ระยะสน ว่างงานจะลดลงตํา่ กว่า 6.5%
Global :
■ สหรัฐ : ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) มีมติคงอัตราดอกเบีย้ ระยะสัน้ ทีร่ ะดับ 0 - 0.25% พร้อมกับยํ้าว่าจะคงอัตราดอกเบีย้ ทีร่ ะดับตํ่าเป็ นพิเศษ และจะยังคงเดินหน้าโครงการซือ้ สินทรัพย์ในวงเงินปจั จุบนั ที่ 8.5 หมืน่ ล้านดอลลาร์ต่อเดือน จนกว่าอัตราว่างงานจะลดลงตํ่ากว่าระดับ 6.5% ทัง้ นี้ มาตรการ QE3 และ QE4 ทีเ่ ฟดประกาศใช้เมือ่ ปลายปี 2555 นัน้ มีเป้าหมายทีจ่ ะฉุดอัตราดอกเบีย้ ระยะยาวให้ปรับตัวลดลง อีกทัง้ เป็ นการกระตุน้ ตลาดปล่อยกูจ้ าํ นอง และกิจกรรมการกูย้ มื ให้คกึ คักขึน้ ด้วย ■ ยุโรป : รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังสหภาพยุโรปและECB อยูร่ ะหว่างหารือแนวทางช่วยเหลือไซปรัสทีย่ งั ไม่ได้ขอ้ สรุป เพื่อเตรียมเสนอต่อ Troika ปลายสัปดาห์น้ี ทัง้ นี้ECBพร้อมอัดฉีดสภาพคล่องทางการเงินเข้าสูร่ ะบบการเงินไซปรัส ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติองั กฤษ เผยจํานวนผูว้ า่ งงานในระหว่างเดือนพ.ย. 2555 ถึงม.ค. 2556 เพิม่ ขึน้ 7,000 คน อยูท่ ่ี 2.52 ล้านคน โดยอัตรา ว่างงานยังทรงตัวอยูท่ ร่ี ะดับ 7.8% นอกจากนี้ จํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานลดลง 1,500 ราย มาอยูท่ ่ี 1.542 ล้านคนในเดือนก.พ. ตํ่าทีส่ ดุ ตัง้ แต่เดือนมิ.ย.54 : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของอังกฤษ เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภค ในเดือนก.พ. ขยายตัว 2.8% เพิม่ ขึน้ จาก 2.7% ในเดือนม.ค. เป็ นผลมาจากการ ปรับตัวขึน้ ของค่าใช้จา่ ยด้านไฟฟ้าและพลังงาน และการปรับราคาสินค้าบางรายการ ซึง่ รวมถึงราคาเชือ้ เพลิงและค่าโดยสารทางอากาศ ■ สเปน : ธนาคารกลางสเปนเผย NPLของภาคธนาคารอยูท่ ร่ี ะดับ1.707แสนล้านยูโร คิดเป็ น10.8%ของสินเชื่อทัง้ หมด ในเดือนม.ค.เพิม่ ขึน้ 3.2พันล้านยูโร ■ จีน : เอชเอสบีซโี ฮลดิงส์เผย ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ ภาคการผลิตเบือ้ งต้นของจีนขยายตัวเพิม่ ขึน้ แตะ 51.7 ในเดือนมี.ค. จาก 50.4 ในเดือน ก.พ. แสดงให้เห็นว่าภาคการผลิตปรับตัวแข็งแกร่งขึน้ แม้วา่ ดัชนียงั คงตํ่ากว่าระดับสูงสุดในรอบ 2 ปีท่ี 52.3 ซึง่ ทําไว้ในเดือนม.ค. ทัง้ นี้ ตัวเลขที่ สูงกว่าระดับ 50 แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมของภาคการผลิตของจีนยังคงมีการขยายตัวจากเดือนก่อนหน้า ■ ญี่ปนุ่ : กระทรวงการคลังญี่ปนุ่ เผยในเดือนก.พ. ญีป่ นุ่ ขาดดุลการค้า 7.775 แสนล้านเยน ซึง่ นับเป็ นการขาดดุลติดต่อ8เดือน เนื่องจากการ อ่อนค่าอย่างหนักของเงินเยนทําให้ตน้ ทุนการนําเข้าเชือ้ เพลิงฟอสซิลสูงขึน้ มูลค่าการนําเข้าเดือนก.พ.ปรับตัวสูงขึน้ 11.9% เมือ่ เทียบเป็ นรายปี แตะที่ 6.0615 ล้านล้านเยน ขณะทีก่ ารส่งออกลดลง 9.6%
Thailand updates :
■ คณะกรรมการรัฐมนตรีฝา่ ยเศรษฐกิจเผยขณะนี้ยงั ไม่มคี วามจําเป็ นต้องมีมาตรการพิเศษมาแก้ไขปญั หาเงินบาทแข็งค่า และไม่ตอ้ งการให้ใช้ มาตรการทีผ่ ดิ ธรรมชาติเหมือนในอดีต เพราะจะส่งผลเสียในระยะยาว โดยควรจะปล่อยให้เงินบาทเคลื่อนไหวตามกลไกตลาดไปก่อน แล้วคอย ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชดิ หากแข็งขึน้ มากกว่านี้ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องจะหารือกันอีกครัง้ มองว่าการทีเ่ งินบาทแข็งค่าขึน้ นัน้ เป็ นเพราะนัก ลงทุนต่างชาติมคี วามมันใจที ่ จ่ ะเข้ามาลงทุน ■ เงินบาทปิดตลาด (20 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.10/13 บาท/ดอลลาร์ ซึง่ เป็ นระดับตํ่าสุดของวัน ส่วนระดับสูงสุดคือตอนเปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.27/29 เป็ นระดับสูงสุดนับจากเดือนก.ค.2540 โดยเข้ามาลงทุนในตลาดพันธบัตร
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 55.91 จุด หรือ 0.39% ปิดที่ 14,511.73 จุด ได้รบั แรงหนุนจากการทีธ่ นาคารกลางสหรัฐมีมติ เดินหน้าโครงการผ่อนคลายเชิงปริมาณ เพือ่ กระตุน้ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจและการจ้างงานภายในประเทศ ดัชนี S&P เพิม่ ขึน้ 10.37 จุด หรือ 0.67% ปิดที่ 1,558.71 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 25.09 จุด หรือ 0.78% ปิดที่ 3,254.19 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ตลาดหุน้ ญีป่ ุ่นปิดเนื่องจากเป็ นวันหยุดประจําปี ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 59.94 จุด หรือ 2.66% ปิ ดที่ 2,317.37 จุด อ้ ความ] หน้าร่ 1 จากแรงซือ้ [พิ เก็มงกํพ์าขไรหุ น้ กลุม่ ธนาคาร ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 214.58 จุด หรือ 0.97% ปิ ดที่ 22,256.44 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดตลาดที ะดับ 1,543.67 จุด ลดลง 24.58 จุด หรือ 1.57% ดัชนีหนุ้ ไทยแกว่งตัวในแดนลบเป็ นส่วนใหญ่ ซึง่ ในระหว่างเทรดของวันดัชนีฯร่วงลงไปมากกว่า 30 จุด จากปจั จัยเฉพาะตัวในตลาดบ้านเราทีเ่ กิดความกังวลหลายเรื่องทัง้ มาตรการแก้ปญั หาเงินบาทแข็งตัว ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau GLOBAL RESEARCH :
ฉบ ับที่ 13 ประจําว ันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
อาการ “เสพติดทองคํา-นํา้ ม ัน” ทําพิษ...อินเดียขาดดุลการค้าอย่างต่อเนือ ่ ง
เมือ่ วันที ่ 11 มีนาคมทีผ่ า่ นมา กระทรวงการค้าและอุตสาหกรรมของ อิ นเดีย ได้เปิ ดเผยว่า ปริ มาณการขาดดุลทางการค้าในเดือน กุมภาพันธ์ 2013 อยู่ที ่ 15,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็ นการขาดดุลทาง การค้าอย่างต่อเนื อ่ งนับตัง้ แต่ปี 2009 ซึง่ มีสาเหตุหลักมาจากการ บริ โภคทองคํา และนํ้ามันอย่างมหาศาลของประชาชนในประเทศ ในปี 2012 อินเดียนําเข้านํ้ามันทัง้ สิน้ 170,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็ น 34.3% ของปริมาณการนําเข้าสินค้าจากต่างประเทศทัง้ หมด ในขณะทีม่ ลู ค่าของทองคําทีน่ ําเข้ามาภายในปีเดียวกันนัน้ ก็มมี ลู ค่าสูงถึง 47,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็ น 10.4% ของปริมาณนําเข้าสินค้าทัง้ หมด จึงกล่าวได้วา่ ในจํานวนสิ นค้าที่อินเดียซื้อจากต่างประเทศ เกือบครึ่งหนึ่ งนัน้ เป็ นนํ้ามันและทองคํา สาเหตุทอ่ี นิ เดียนําเข้าทองคําและนํ้ามันเป็นปริมาณมากเช่นนี้ ก็เพือ่ สนองต่ออุปสงค์ภายในประเทศทีก่ าํ ลังเติบโต ด้วยประชากรทีม่ ากถึง 1,200 ล้านคน ในช่วงสิบปีทผ่ี า่ นมา อินเดียผลิตนํ้ามันได้หกแสนถึงเจ็ดแสนบาร์เรลต่อวัน ในขณะทีป่ ริมาณการบริโภคนํ้ามันในแต่ละวันเพิม่ ขึน้ จาก สองล้านกว่าบาร์เรลต่อวันในปี 2000 เป็ นสามล้านกว่าบาร์เรลต่อวันในปี 2010 ส่งผลให้อนิ เดียกลายเป็ นหนึ่งในประเทศทีบ่ ริโภคนํ้ามันมากทีส่ ดุ ใน โลก และเนื่องจากนํ้ามันทีผ่ ลิตได้ในประเทศมีปริมาณน้อย ไม่เพียงพอ อินเดียจึงต้องพึง่ การนําเข้า อันเป็ นสาเหตุทท่ี าํ ให้ขาดดุลการค้าต่อเนื่องเช่นนี้ ปริมาณการขาดดุลทางการค้าของอินเดีย ปี 2009 ขาดดุลการค้า 92,000 ล้าน USD ปี 2010 ขาดดุลการค้า 121,000 ล้าน USD ปี 2011 ขาดดุลการค้า 161,000 ล้าน USD ปี 2012 ขาดดุลการค้า 198,000 ล้าน USD ข้อมูล : Natixis
ในด้านของทองคํา อย่างทีท่ ราบกันว่า ชาวอินเดียมีรสนิยมชื่นชอบในตัว ทองคํามาช้านาน วัฒนธรรมของชาวอินเดีย เป็ นวัฒนธรรมทีผ่ สมผสานกับความเชื่อทาง ศาสนาฮินดู ทีใ่ ห้ความสําคัญกับโลหะมีคา่ โดยชาวอินเดียมักจะมอบทองคําให้แก่กนั และ กัน ในเทศกาลประจําปี หรือโอกาสสําคัญต่างๆ เช่น งานแต่งงาน นอกจากนี้ ทองคํายัง ถูกใช้เป็ นเครือ่ งมือปกป้องทรัพย์สนิ จากความไม่เชื่อถือในเงินธนบัตร และการเข้าถึง ยากของบริการธนาคาร ทีย่ งั ไม่แพร่หลาย โดยเฉพาะถิน่ ทุรกันดาร ซึง่ มีชาวอินเดียเพียง
หนึ่งในสาม ของประชากรทัวประเทศเท่ ่ านัน้ ทีม่ บี ญ ั ชีเงินฝาก และหากคิดเป็ นรายอาชีพ เกษตรกรทีม่ บี ญ ั ชีเงินฝาก มีเพียง 14% เท่านัน้ จาก เกษตรกรทัวประเทศทั ่ งหมด ่ ในเดือนมีนาคม 2012 รัฐบาลอินเดียได้ประกาศเพิม่ ภาษีสาํ หรับการนําเข้าทองคํา จาก 2% มาอยูท่ ่ี 4% และปรับเพิม่ อีกครัง้ เป็ น 6% ในเดือนมกราคม 2013 นอกจากนี้ รัฐบาลยังได้ออกกฏห้ามธนาคารปล่อยกู้ ในกรณีทผ่ี กู้ จู้ ะนําเงินนัน้ ไปซือ้ ทอง ทัง้ เครือ่ งประดับทอง ทองคํา แท่ง และทองคําเหรียญ อย่างไรก็ตาม ราคาทองทีป่ รับตัวลดลงในครึง่ ปีแรก 2012 ทําให้ปริมาณการนําเข้าทองคําของอินเดียลดลง แต่เทศกาล สําคัญๆ อย่างเช่นเทศกาลดิวาลี (Diwali) ทีม่ ขี น้ึ ในเดือนตุลาคม และเทศกาลการแต่งงานทีม่ มี ากในช่วงปลายปี ทําให้ปริมาณการนําเข้าทองคํา ในครึง่ ปีหลังปรับตัวเพิม่ มากขึน้ การมีทองคําไว้ในพอร์ตลงทุน เป็ นสิ ง่ จําเป็ นทีก่ รู นู ักลงทุนมักจะแนะนํากันเสมอ แต่การครอบครองทองคําทีม่ ากเกิ นไป ของชาวอิ นเดีย กําลังกลายเป็ นปัญหาชักนําภาวะการขาดดุลทางการค้า และการขาดดุลบัญชีเดิ นสะพัดของประเทศให้จมดิ ง่ ลง การ นําเงิ นจํานวนมากไปซื้อทองคําเก็บไว้ ส่งผลให้เงิ นทุนไม่ไหลเวียน ไม่มีการลงทุน ไม่มีการจ้างงาน และไม่เกิ ดผลผลิ ต เพราะเงิ นไป จมอยู่เฉพาะกับทองคํา ซึง่ หากชาวอิ นเดีย ลดปริ มาณการซื้อทองคําลง และนําเม็ดเงิ นไปลงทุนในภาคธุรกิ จอืน่ บ้าง จะเป็ นการ กระตุ้นเศรษฐกิ จภายในประเทศให้เติ บโต และลดจํานวนเม็ดเงิ นทีไ่ หลออกนอกประเทศจากการนําเข้าทองคําให้น้อยลง หากมิ เช่นนัน้ แล้ว [พิ อาการ มพ์ขอ้ “เสพติ ความ] ดทองคํา” ของชาวอิ นเดีย อาจจะเป็ นตัวนําพาประเทศให้ไปพบกับวิ กฤติ อนั ใหญ่หลวงในอนาคตก็ หน้า 2 เป็ นได้ Report No. 37 March 13, 2013 NATIXIS Special
รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
ื่ ถือของไซปร ัส1ขน ่ ะด ับขยะ CCC+ จากCCC HighLight : S&P ปร ับลดความน่าเชอ ั้ สูร
Global :
■ สหรัฐ : คอนเฟอเรนซ์ บอร์ด เผยในเดือนก.พ.ดัชนีชน้ี ําเศรษฐกิจสหรัฐปรับตัวขึน้ 0.5% ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 3 โดยดัชนีชว้ี ดั ค่าสเปรดอัตราดอกเบีย้ และการอนุญาตก่อสร้างปรับตัวในเชิงบวกมากทีส่ ดุ ขณะทีม่ กี ารปรับเพิม่ ดัชนีชน้ี ําเดือนม.ค.เป็ นเพิม่ ขึน้ 0.5% จาก เดิมทีร่ ายงานไว้ท่ี 0.2% ดัชนีชน้ี ําเศรษฐกิจเพิม่ ขึน้ สูงขึน้ จากความหวังทีว่ า่ เศรษฐกิจสหรัฐจะปรับตัวดีขน้ึ ในช่วงครึง่ หลังของปีน้ี แต่กย็ งั คง มีความเสีย่ งจากการปรับลดรายจ่ายของรัฐบาลกลางทีเ่ ริม่ ขึน้ เมือ่ วันที่ 1 มี.ค. ซึง่ อาจจะกระทบต่อแนวโน้มการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานครัง้ แรกในรอบสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 9 มี.ค. เพิม่ ขึน้ 2,000 ราย แตะระดับ 336,000 ราย น้อยกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดการณ์วา่ อยูท่ ่ี 345,000 ราย อย่างไรก็ตาม จํานวนผูข้ อรับสวัสดิการลดลงว่างงานอย่างต่อเนื่องโดยเฉลีย่ 4 สัปดาห์ ลดลง 7,500 ราย แตะระดับ 339,750 ราย ซึง่ เป็ นระดับตํ่าสุดนับตัง้ แต่เดือนก.พ. 2551 สะท้อนว่าตลาดแรงงานสหรัฐอยูใ่ นภาวะฟื้นตัว : ยอดขายบ้านมือสองเดือนก.พ.ปรับตัวเพิม่ ขึน้ 0.8% แตะที่ 4.98 ล้านยูนิตต่อปี ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดนับตัง้ แต่เดือนพ.ย. 2552 สะท้อนให้ เห็นว่าตลาดอสังหาริมทรัพย์ของสหรัฐฟื้นตัวรวดเร็วขึน้ ■ ยุโรป : มาร์กติ เปิดเผยผลสํารวจทีร่ ะบุวา่ ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) เบือ้ งต้นรวมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการของยูโรโซนในเดือนมี.ค.ปรับตัว ลงสูร่ ะดับ 46.5 จาก 47.9จุด ในเดือนก.พ. ตํ่ากว่านักวิเคราะห์คาดที4่ 8.2จุด โดยดัชนีทต่ี ่าํ กว่า 50 สะท้อนเศรษฐกิจอียยู งั ตกอยูใ่ นภาวะถดถอย ■ ไซปรัส : สแตนดาร์ด แอนด์ พัวร์ ประกาศลดอันดับความน่ าเชื่อถือของไซปรัสลง 1 ขัน้ สูร่ ะดับ "ขยะ" จากระดับ CCC+ มาอยูท่ ร่ี ะดับ CCC และให้แนวโน้มเป็ นลบ หลังจากรัฐสภาไซปรัสได้ปฏิเสธมาตรการจัดเก็บภาษีเงินฝากในระบบธนาคาร ซึง่ ส่งผลให้ไซปรัสเผชิญความ ไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจและแนวโน้มทีจ่ ะผิดนัดชําระหนี้อย่างทีไ่ ม่สามารถควบคุมได้
Thailand updates : ■ มูลนิธสิ ถาบันวิจยั เศรษฐกิจการคลัง เผยการประชุมบอร์ด ธปท.เมือ่ วันที่ 21 มี.ค.ได้อนุ มตั งิ บการเงินงวดปี 2555 ของ ธปท. ซึง่ ในปีดงั กล่าว ธปท.ขาดทุนจากการดําเนินงานประมาณ 5 แสนล้านบาท สําหรับความคืบหน้าแผนลดการขาดทุนของ ธปท. ขณะนี้ได้มกี ารดําเนินการไปแล้ว บางส่วน เช่น การขยายการลงทุนเพือ่ ให้ดอกเบีย้ รับเพิม่ ขึน้ แต่ยงั มีบางส่วนทีต่ อ้ งผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการก่อน. ■ เงินบาทปิดตลาด (21 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.14/16 บาท/ดอลลาร์ ซึง่ ระหว่างวันตํ่าสุดทีร่ ะดับ 29.11 บาท/ดอลลาร์ และสูงสุดทีร่ ะดับ 29.23 บาท/ดอลลาร์ จากภาวะการไหลเข้ามาของเงินทุนต่างประเทศและเคลื่อนไหวตามภูมภิ าค
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 90.24 จุด หรือ 0.62% ปิดที่ 14,421.49 จุด ดัชนี S&Pลดลง 12.91 จุด หรือ 0.83% ปิดที่ 1,545.80 จุด ดัชนีNasdaqลดลง 31.59 จุด หรือ 0.97% ปิดที่ 3,222.60 จุด จากความวิตกกังวลเกีย่ วกับวิกฤตการณ์ดา้ นการเงินของ ไซปรัส ซึง่ ได้ปิดบังข้อมูลเศรษฐกิจในด้านบวกของสหรัฐ รวมถึงยอดขายบ้านมือสองทีพ่ งุ่ ขึน้ เกินคาด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 167.46 จุด หรือ 1.34% ปิ ดที่ 12,635.69 จุด ได้แรงหนุนจากเงินเยนทีอ่ ่อนค่าลง ท่ามกลางความคาดหวัง ว่าการธนาคารกลางญีป่ นุ่ จะใช้นโยบายผ่อนคลายการเงินต่อไป ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 0.3% หรือ 6.87 จุด ปิดที่ 2,324.24 จุด ดัชนีฮงั ่ เส็งลดลง 30.56 จุด หรือ 0.14% ปิดที่ 22,225.88 จุด หลังจากหุน้ เทนเซนท์ โฮลดิงส์บริษทั อินเทอร์เน็ตยักษ์ใหญ่ของจีนปรับตัวลดล ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,529.52 จุด ลดลง 14.15 จุด หรือ 0.92% จากความกังวลทีค่ า่ เงินบาทแข็งขึน้ มากและกังวลทีต่ ลาดจะให้เพิม่ หลักทรัพย์ค้าํ ประกันวงเงินCash Balanceจาก15%เป็ น20% ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค ่ าวะยากจน GLOBAL REVIEW : ชาวอเมริก ันวิตก...เศรษฐกิจก้าวเข้าสูภ
HighLight : สหภาพยุโรปและไซปรัส บรรลุเงือ ่ นไขข ้อตกลงพืน ้ ฐานมาตรการให ้ความชว่ ยเหลือ มูลค่า 1 หมืน ่ ล ้านยูโร
Global : ■ ฝรังเศส ่ : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) เบือ้ งต้นรวมทัง้ ภาคการผลิตและภาคบริการของฝรังเศสในเดื ่ อนมี.ค. ปรับตัวลงมาอยูท่ 4่ี 2.1จาก43.1ในเดือนก.พ. ขณะทีด่ ชั นี PMI ภาคการผลิตเบือ้ งต้นในเดือนมี.ค.ทรงตัวที4่ 3.9 และดัชนี PMI ภาคบริการลดลงแตะ 41.9 ในเดือนมี.ค จาก 43.7 ในเดือนก.พ ■ ยุโรป : สหภาพยุโรปและไซปรัส ได้บรรลุขอ้ ตกลงพืน้ ฐานเกีย่ วกับเงือ่ นไขของมาตรการให้ความช่วยเหลือมูลค่า 1 หมืน่ ล้านยูโร โดยไซปรัส จะจัดตัง้ กองทุนด้านการลงทุน Investment Solidarity Fund โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะระดมทุนราว 5.8 พันล้านยูโรด้วยตัวเองผ่านทางการปฏิรปู ระบบ การธนาคารและการจัดเก็บภาษีเงินฝากธนาคาร ■ อังกฤษ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของอังกฤษ เผยยอดหนี้สาธารณะของอังกฤษลดลงเหลือ 2.8 พันล้านปอนด์ ในเดือนก.พ.2556 จากการประมูล ใบอนุญาต 4G ตัวเลขดังกล่าวลดลงจากระดับ 1.18 หมืน่ ล้านปอนด์ในช่วงเดียวกันของปีก่อน สํานักงานสถิ ติแห่งชาติ : ระบุวา่ ปจั จุบนั งบประมาณขาดดุลอยูท่ ่ี 1.1 พันล้านปอนด์ในเดือนก.พ. ตํ่ากว่าในเดือนเดียวกันของปีก่อน 7.1 พันล้าน ปอนด์ สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติคาดว่า ยอดขาดดุลงบประมาณจะลดลงจาก 7.4% GDP ในปี 2556-2557 เหลือเพียง 5% ในปี 2558-2559 และยอดหนี้ สาธารณะจะเพิม่ ขึน้ จาก 75.9%ของ GDP ในปีน้ีเป็ น 85.6%ในปี 2559-2560 ■ สเปน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติสเปน เผยยอดการยึดบ้านอันเนื่องจากการผิดนัดชําระหนี้ ในปี 2555ของเสปน เพิม่ ขึน้ 17.7% แตะระดับ 91,622 หลัง จากอัตรา ว่างงานทีส่ งู ขึน้ และเงินเดือนทีถ่ กู ปรับลดลง ทําให้ชาวสเปนประสบกับความยากลําบากในการผ่อนบ้าน จนเป็ นเหตุให้ธนาคารต้องอาศัยคําสังศาลในการยึ ่ ก ทรัพย์ นอกจากนี้จาํ นวนครอบครัวและบริษทั สเปนทีป่ ระกาศล้มละลายเพิม่ ขึน้ 27.1% ในปี 2555 เมือ่ เทียบกับตัวเลขปี 2554 ■ จีน : OECD ระบุวา่ เศรษฐกิจของจีนมีแนวโน้วทีจ่ ะขยายตัวถึง 8.5% ในปี 2556 และ 8.9%ในปี 2557 โดยชีว้ า่ จีนจะสามารถต้านทาน ภาวะเศรษฐกิจโลกได้ และมองว่าจีนจะได้ประโยชน์จากอุปสงค์ทเ่ี พิม่ ขึน้ ในตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัย และการลงทุนทางธุรกิจทีฟ่ ้ืนตัวขึน้ แม้วา่ การ ส่งออกจะยังคงชะลอตัวก็ตาม
Thailand updates : ■ ธนาคารแห่งประเทศไทย รายงานตัวเลขทุนสํารองเงินตราต่างประเทศของไทย วันที่ 15 มี.ค.อยูท่ ่ี 178.3พันล้านดอลลาร์สหรัฐ จากวันที่ 8 มี.ค.56 ที่ 178.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ขณะเดียวกันฐานะฟอร์เวิรด์ สุทธิของไทยวันที่ 15 มี.ค.อยูท่ ่ี 23.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เมือ่ เทียบกับวันที่ 8 มี.ค.56 อยูท่ ่ี 23.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ■ เงินบาทปิดตลาด (22 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.29/31 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าสุดทีร่ ะดับ 29.17/19 บาท/ดอลลาร์ และอ่อนค่าสุดทีร่ ะดับ 29.32/34 บาท/ดอลลาร์ จากสาเหตุทเ่ี งินบาทปรับตัวอ่อนค่าลงเป็ นผลจากทีด่ ชั นีตลาดหุน้ ไทยวันนี้ลดลงถึง 50 จุด
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 90.54 จุด หรือ 0.63% ปิ ดที่ 14,512.03 จุด จากนักลงทุนเข้ามาช้อนซือ้ เก็งกําไรหลังจากดัชนีนิกเกอิลดลง ก่อนหน้านี้ ดัชนี S&P เพิม่ ขึน้ 11.09 จุด หรือ 0.72% ปิดที่ 1,556. 89 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 22.40 จุด หรือ 0.70% ปิดทีร่ ะดับ 3,245.00 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิรว่ งลง 297.16 จุด หรือ 2.35% ปิ ดที่ 12,338.53 จุด ได้รบั แรงกดดันจากการแข็งค่าของสกุลเงินเยนและความวิตก กังวลระลอกใหม่เกีย่ วกับแผนให้ความช่วยเหลือไซปรัช ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 4.04 จุด หรือ 0.17% ปิ ดที่ 2,328.28 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 110.58 จุด หรือ 0.5% ปิ ดที่ 22,115.30 จุด เป็ นผลจากหุน้ ปิ โตรไชนาบริษทั ขนาดใหญ่มกี าํ ไรสุทธิปี 2555 ลดลงอย่างหนัก ตลาดหุน้ ไทย [พิมพ์ขอ้ ความ] หน้า 1 SET ปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 1,478.97 จุด ลดลง 50.55 จุด หรือ 3.30% เคลื่อนไหวในแดนลบตลอดวัน จากมีการบังคับขายในบัญชีมาร์จน้ิ เข้า มาร่วมด้วย และกังวลเรื่องธนาคารแห่งประเทศไทยจะออกมาตรการดูแลเงินบาทเพิม่ เติม ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 3 ประจําว ันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
่ าวะยากจน GLOBAL REVIEW : ชาวอเมริก ันวิตก...เศรษฐกิจก้าวเข้าสูภ
ปลายเดือนกุมภาพันธ์ทผ่ี า่ นมา กระทรวงพาณิชย์สหรัฐฯ เปิดเผยข้อมูลรายได้ของประชาชนใน เดือนมกราคมปรับตัวลดลง 3.6% โดยเป็ นการปรับลดลงมากทีส่ ดุ ในรอบ 20 ปี และหนําซํ้าหากคิดอัตรา ภาษีและอัตราเงินเฟ้อเข้ามาด้วยจะเป็ นการปรับตัวลดลงมากไปอีกอยูท่ ่ี 4% สาเหตุสว่ นหนึ่งมาจากการทีบ่ ริษทั เอกชนให้โบนัสในเดือนธ.ค. เร็วกว่ากําหนดจากทีเ่ คยให้ในเดือน ม.ค. ทําให้พนักงานชําระภาษีเงินได้ภายในเดือนธันวาคม ปี2555 ก่อนทีจ่ ะมีการปรับอัตราภาษีเพิม่ ในปี 2556 แต่ถา้ ไม่คาํ นึงถึงเรือ่ งดังกล่าวรายได้จากการจัดเก็บภาษีทแ่ี ท้จริงก็ยงั คงตํ่ากว่าเมื่อ 6 เดือนก่อน ในทีน่ ้ีกล่าวถึงปจั จัยทีท่ าํ ให้เศรษฐกิจสหรัฐฟื้นตัวจากภาวะถดถอยช้ากว่าทีค่ วร แล้วยังส่งผล กระทบต่อชาวอเมริกาจํานวนมาก แม้วา่ ตัง้ แต่ปี 2009 จะมีอตั ราการเจริญเติบโตของรายได้ ประชาชาติทแ่ี ท้จริงสูงขึน้ ตลอดระยะเวลา 3 ปี 6 เดือนทีผ่ า่ นมาและอัตราการว่างงานลดลง 2% แต่ ชาวอเมริกนั กว่าครึง่ นึงมีมาตรฐานความเป็ นอยูล่ ดลง โดยเฉพาะถ้าพิจารณาจากแนวโน้มตัวเลขใน ระยะยาวมากกว่าดูเพียงรายเดือน ซึง่ ถือเป็ นการปรับลดลงอย่างมาก นักวิเคราะห์ทวไปอาจจะประเมิ ั่ นความคืบหน้าทางเศรษฐกิจ โดยจะเปรียบเทียบภาวะเศรษฐกิจรายเดือนรายไตรมาสกับช่วงเวลาเดียวกันทีผ่ า่ นมา แต่ความ เป็ นจริงแล้วไม่สามารถจะประเมิณเศรษฐกิจจากช่วงเวลาก่อนหน้าได้ ซึง่ ควรประเมินภาวะเศรษฐกิจในปจั จุบนั กับภาวะเศรษฐกิจทีม่ กี ารใช้ทรัพยากรทีม่ อี ยูอ่ ย่าง เต็มที่ ซึง่ นักเศรษฐศาสตร์เรียกว่าระดับ “การผลิตเต็มที”่ (Full Capacity) ซึง่ จะเพิม่ ขึน้ เมือ่ ประชากรมากขึน้ และมีการพัฒนาส่งเสริมเทคโนโลยี เมือ่ เกิดปญั หาภาวะเศรษฐกิจถดถอย ผลผลิตทีแ่ ท้จริงภายในระบบเศรษฐกิจจะลดลงซึง่ มีความสัมพันธ์กบั ระดับการผลิตเต็มที่ ทําให้เกิดสิง่ ที่ เรียกว่า “ช่องว่างการผลิต” (Output Gap) คือ การจัดสรรทรัพยากรทีใ่ ช้ในกระบวนการผลิตทีไ่ ม่คมุ้ ค่าไม่เต็มที่ ทําให้เกิดต้นทุนค่าเสียโอกาสสูงกว่าที่ ควร เมือ่ ภาวะเศรษฐกิจถดถอยสิน้ สุดลงและเริม่ มีการฟื้นฟูระบบเศรษฐกิจเข้าสูภ่ าวะปกติซง่ึ เป็ นช่วงทีเ่ ศรษฐกิจต้องเร่งเติบโตกว่าค่าเฉลีย่ จึงจะทําให้ เศรษฐกิจกลับมาสูจ่ ุดเดิมได้และกลับเข้าสูร่ ะดับการผลิตเต็มที่ แต่ชว่ งทีภ่ าวะเศรษฐกิจถดถอยสิน้ สุดลงการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจสหรัฐก็ยงั ไม่ เติบโตอย่างรวดเร็วเพียงพอทีจ่ ะแก้ปญั หาช่องว่างผลผลิต หรือแทบจะไม่สามารถลดช่องว่างผลผลิตได้เลย เกิดผลเสียตามมาคือผลิตภาพคนงาน ไม่ได้รบั การพัฒนาให้ดขี น้ึ ผลิตภาพแรงงานโดยทัวไปมั ่ กจะดีขน้ึ มากหลังจากเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอย เนื่องจากธุรกิจจํานวนมากมีกาํ ลังการผลิต เหลือและสามารถบริหารจัดการกับการเพิม่ ขึน้ ของยอดขายได้ก่อนจะเริม่ การลงทุนจ้างงานเพิม่ และขยายธุรกิจ กระบวนการผลิตทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพส่งผลให้เศรษฐกิจยังอยูใ่ นภาวะซบเซา บริษทั เอกชนสามารถดําเนินธุรกิจและสร้างผลกําไรได้ แต่ไม่เพียงพอทีจ่ ะ ขยายกําลังการผลิตและเพิม่ การจ้างงาน ซึง่ โดยปกติในช่วงภาวะพืน้ ตัวของเศรษฐกิจยอดขายจากการดําเนินธุรกิจจะแยกออกเป็ นผลตอบแทนทีเ่ ป็ นกําไรและ ผลตอบแทนจากค่าจ้างแรงงาน แต่ในปจั จุบนั ส่วนแบ่งของผลตอบแทนทีเ่ ป็ นกําไรเพิม่ สูงขึน้ ในขณะทีส่ ว่ นแบ่งของผลตอบแทนค่าจ้างแรงงานกลับลดลง รายได้ประชาชาติในไตรมาสทีผ่ า่ นมายังคงระดับเดิมเฉลีย่ เพียง 1%ต่อปี เพียงพอทีจ่ ะคุมปญั หาเงินเฟ้อและประสิทธิภาพธุรกิจเท่านัน้ แต่ต่าํ กว่าที่ คาดการณ์ไว้มผี ลให้รายได้ของชนชัน้ กลางเติบโตน้อยกว่าร้อยล่ะ2 ดังนัน้ การปรับอัตราภาษีเพิม่ ขึน้ 2%สําหรับผูม้ รี ายได้ 113,700 ดอลลาร์ต่อปี ทําให้ชาว อเมริกนั มีความเป็ นอยูท่ ล่ี าํ บากยิง่ ขึน้ โดยทีค่ า่ ใช้จา่ ยด้านภาษีอ่นื และค่าใช้จา่ ยทางสังคมยังคงมีอยู่ สิง่ ทีจ่ าํ เป็ นทีส่ ดุ คือการฟื้นตัวของเศรษฐกิจจะต้องสามารถเติมเต็มช่องว่างกําลังการผลิตได้ทงั ้ หมด สร้างรายได้ให้แก่ชนชัน้ กลางไม่ใช่ การตัดงบประมาณ ซึง่ จะทําให้ตอ้ งปลดคนงานและลดการเจริญเติบโตของจีดพี ใี นอนาตค ขณะเดียวกันก็ไม่ควรเพิม่ อัตราภาษีซง่ึ เป็ นตัว ขัดขวางการเจริญเติบโตและส่งผลกระทบต่อผูม้ รี ายได้น้อย สหรัฐอเมริ กามีหนี้ สะสมจํานวนมาก สาเหตุหลักมาจากค่าใช้จ่ายสําหรับประกันสังคมและสิ ทธิ ด้านต่างๆที่เพิ่ มขึน้ แนวคิ ดอนุรกั ษ์นิยมกล่าวว่า เศรษฐกิ จจะประสบปัญหาอย่างหนักเมื่อมีหนี้ สาธารณะถึง90%ของจีดีพี แนวทางในการดําเนิ นนโยบายของรัฐบาลดูเหมือนจะดําเนิ นนโยบายตรงกัน ข้ามกับสิ่ งที่ควรจะทํา สิ่ งที่รฐั บาลจําเป็ นต้องทําคือการสร้างความเจริ ญเติ บโตและลดช่องว่างผลผลิ ต ขณะเดียวกันก็ลดภาระค่าใช้จ่ายที่ไม่จาํ เป็ นของ รัฐบาล เพื่อไม่ให้เกิ ดภาระการลงทุนและการจ้างงานที่ไม่จาํ เป็ น ซึ่งวิ ธีนี้จะสร้างความเป็ นธรรมแก่ผเ้ ู สียภาษี มากขึน้ นอกจากนี้ การปฎิ รปู อัตราภาษี ใน วงกว้างจะช่วยลดช่องว่างผลผลิ ตได้ ดังนัน้ การปรับลดอัตราภาษี จะเป็ นประโยชน์ ต่อเศรษฐกิ จโดยรวม พร้อมกับแก้ไขปรับปรุงกฏระเบียบ ที่เป็ น [พิมพ์ขอ้ ความ] หน้า 2 อุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิ จในระยะยาว เพื่อป้ องกันวิ กฤตเศรษฐกิ จที่อาจเกิ ดขึน้ ในอนาคตได้
TIME , Why Many Americans Feel Like They’re Getting Poorer by Michael Siw . Mar 5, 2013 รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
ื่ มน HighLight : ด ัชนีความเชอ ่ ั ผูบ ้ ริโภคสหร ัฐเดือนมี.ค.อยูท ่ ี่ 59.7ตํา ่ กว่าทีน ่ ักวิเคราะห์คาดการณ์ท ี่ 67.5
Global :
■ สหรัฐ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเผยยอดขายบ้านใหม่ในเดือนก.พ.ปรับตัวลงจากเดือนก่อนหน้า แต่ยงั คงสูงกว่ามากเมื่อเทียบกับช่วงเดือนก.พ.ปีก่อน โดยยอดขายบ้านใหม่ในเดือนก.พ.ลดลง 4.6% มาอยูท่ ่ี 411,000 ยูนิต จากระดับ 431,000 ยูนิตในเดือนม.ค. ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดนับแต่เดือนก.ย.2551 : ดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐเดือนมี.ค.อ่อนตัวลงตํ่ากว่าคาดการณ์อยูท่ ่ี 59.7 จากระดับเดือนก.พ.ที่ 68 ขณะทีน่ กั วิเคราะห์คาดการณ์วา่ ดัชนีจะปรับตัวลง มาอยูท่ ่ี 67.5 จากชาวสหรัฐวิตกกังวลมากขึน้ เกีย่ วกับการลดค่าใช้จา่ ยของรัฐบาล เพราะเกรงว่าอาจจะกระทบต่อการขยายตัว และความคืบหน้าในตลาดแรงงาน : ราคาบ้านเดือนม.ค.ใน 20 เมืองของสหรัฐปรับตัวเพิม่ ขึน้ 8.1% ทําสถิตขิ ยายตัวสูงสุดนับตัง้ แต่เดือนมิ.ย. 2549 ซึง่ เป็ นช่วงก่อนยุคฟองสบูใ่ นภาค อสังหาริมทรัพย์ขยายตัวสูงกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดการณ์ไว้วา่ จะเพิม่ ขึน้ 7.9% : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเผยยอดสังซื ่ อ้ สินค้าคงทนเดือนก.พ.พุง่ ขึน้ แข็งแกร่ง 5.7% จากปจั จัยหนุ นของอุปสงค์ในกลุม่ สินค้าด้านการคมนาคมขนส่ง ทีด่ ดี ตัวสูงขึน้ ขยายตัวสูงกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดการณ์ไว้ในระดับ 3.9% ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคในเดือนมี.ค.ลดลงแตะ 84 จาก 86 ในเดือนก.พ. โดยผูบ้ ริโภคมีมมุ มองลบ มากขึน้ ต่อฐานะการเงินส่วนบุคคลทัง้ ในอดีตและแนวโน้มในอนาคต เทียบกับทีน่ กั วิเคราะห์สว่ นใหญ่คาดว่า จะเพิม่ ขึน้ แตะ 91 ■ ไซปรัส : ไซปรัสบรรลุเงือ่ นไขการขอรับความช่วยเหลือทางการเงินร่วมกับบรรดาเจ้าหน้าทีร่ ะหว่างประเทศ โดยจะดําเนินการปิดธนาคาร Popular Bank of Cyprus พร้อมกันโอนบัญชีเงินฝากทีม่ มี ลู ค่าตํ่ากว่า1แสนยูโร ไปยังธนาคาร Bank of Cyprus ส่วนบัญชีเงินฝากทีม่ มี ลู ค่าสูงกว่า1 แสนยูโรของทัง้ 2ธนาคารจะถูกนํามาใช้แก้ไขปญั หาหนี้สนิ ของธนาคาร Popular Bank of Cyprus และเพิม่ ทุนให้แก่ธนาคาร Bank of Cyprus นอกจากนี้ธนาคารกลางกลางไซปรัสมีคาํ สังให้ ่ ธนาคารทุกแห่งเปิ ดทําการอีกครัง้ ในวันที2่ 8มี.ค.นี้ ■ จีน : คณะกรรมาธิการกํากับดูแลกิจการธนาคารจีนเผยภาคธนาคารจีนมีสนิ ทรัพย์มลู ค่ารวมทัง้ สิน้ 133.5 ล้านล้านหยวน ณ สิน้ เดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ 17.5% จากปี ทแ่ี ล้ว ซึง่ ขยายตัวน้อยกว่ามูลค่า ณ สิน้ เดือนม.ค.อยู่ 1.4% ตัวเลขหนี้สนิ ทัง้ หมดของภาคธนาคารจีนเพิม่ ขึน้ 17.1% เมือ่ เทียบรายปี มาอยูท่ ่ี 124.5 ล้านล้านหยวน ณ สิน้ เดือนก.พ. ซึง่ ขยายตัวตํ่ากว่าช่วงสิน้ เดือนม.ค.อยู่ 1.6% ■ เกาหลีใต้ : เศรษฐกิจเกาหลีใต้ ขยายตัวตํ่าที่สดุ จากช่วงเศรษฐกิจโลกชลอตัวซึง่ ทําให้ รัฐบาลเกาหลีใต้ อาจจําเป็ นต้ องดําเนินมาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจมากขึ ้น เศรษฐกิจในเกาหลีใต้ ไตรมาสที่4ปี 2555ขยายตัว1.5%จากไตรมาสเดียวกันปี ก่อนซึง่ เป็ นตัวเลขเดียวกันที่ประมาณ การเบื ้องต้ นไว้ เมื่อเดือนม.ค. เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้ าขยายตัว0.3%
Thailand updates : ■ ครม.มีมติอนุ มตั สิ าํ หรับใช้ในโครงการหลักการประกันสุขภาพถัวนหน้าสําหรับปี งบประมาณ2557รวม191,681 ลบ.โดยได้เพิม่ อัตรา เหมาจ่ายรายหัวของประชาชนทีไ่ ด้รบั สิทธิหลักประกันฯเป็ น 2,955.91บาท/คน(ปี56 2,755.60บาท/คน)ซึง่ เพิม่ ขึน้ 200.21บาท/คน ■ เงินบาทปิดตลาด (26 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.31 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าเป็ นวันที4่ อีก 0.17%ลดแรงกดดันต่อภาคส่งออกและมีโอกาศลด ดอกเบีย้ ในการประชุมกนง.วันที3่ เม.ย.นี้
US & Asian markets : ■ ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 111.90 จุด หรือ 0.77% ปิดที่ 14,559.65 จุด จากนักลงทุนเก็งกําไรหลังจากดัชนีลดลงและแรงหนุ นจากข้อมูลเศรษฐกิจที่ แข็งแกร่ง ดัชนี S&Pเพิม่ ขึน้ 12.08 จุด หรือ 0.78% ปิดที่ 1,563.77 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 17.18 จุด หรือ 0.53% ปิดที่ 3,252.48 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิลดลง 74.84 จุด หรือ 0.60% ปิดที่ 12,471.62 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 29.05จุด หรือ 1.25% ปิดที่ 2,297.67 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ ง เพิม่ ขึน้ 59.93 จุด หรือ 0.27% ปิดที่ 22,311.08 ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 1,544.03 จุด เพิม่ ขึน้ 20.08 จุด หรือ 1.32% เป็ นวันที2่ เคลื่อนไหวดีกว่าตลาดภูมภิ าค มีมลู ค่าการซือ้ ขาย60,787ล้านบาท นักลงทุนต่างชาติซอ้ื สุทธิYTDที่ 2.3 พันลบ. ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL Research : ปัญหาค่าเงินบาทแข็งค่า…จะแก้ไขอย่างไร
ี ด ้วย HighLight : วิกฤตทางสงั คมรุนแรงในยุโรป อัตราว่างงานเพิม ่ ขึน ้ และภาคครัวเรือนดํารงชพ ความยากลําบากมากขึน ้
Global :
■ สหรัฐ : สํานักงานสารสนเทศด้านการพลังงานของสหรัฐ เผยสต็อกนํ้ามันดิบเพิม่ ขึน้ 3.26 ล้านบาร์เรลสูงกว่าทีค่ าดการณ์ท่ี 1.2 ล้านบาร์เรล ขณะที่ สต็อกนํ้ามันกลันลดลง ่ 4.51 ล้านบาร์เรล สต็อกนํ้ามันเบนซินลดลง 1.6 ล้านบาร์เรลลดลงมากกว่าทีค่ าดการณ์ไว้ท่ี 1.1 ล้านบาร์เรลและ 1.3 ล้านบาร์เรล ด้านอัตราการใช้กาํ ลังการกลันนํ ่ ้ามันเพิม่ ขึน้ 2.2% แตะ 85.7% : สมาคมนายหน้าอสังหาริมทรัพย์แห่งชาติของสหรัฐ เผยดัชนีการทําสัญญาขายบ้านทีร่ อปิ ดการขายลดลง 0.4% สูร่ ะดับ 104.8 ในเดือนก.พ. (mom) แต่ยงั ถือว่า อยูใ่ กล้ระดับสูงสุดในรอบ 3 ปี ส่งสัญญาณว่าผูม้ ศี กั ยภาพในการซือ้ บ้านมีแนวโน้มจะกลับเข้าสูต่ ลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยอีกครัง้ และยอดขายบ้านมือสองมีแนวโน้มดีขน้ึ ■ ยุโรป : คณะกรรมาธิการยุโรป เผยรายงานรายไตรมาสฉบับล่าสุดว่าด้วยการจ้างงานและสถานการณ์ทางสังคมทีร่ นุ แรง โดยอัตราว่างงานพุง่ ขึน้ และ ภาคครัวเรือนดํารงชีพด้วยความยากลําบากมากขึน้ ท่ามกลางวิกฤตหนี้ทด่ี าํ เนินมากว่า 3 ปี ■ ฝรังเศส ่ : กระทรวงแรงงานของฝรังเศส ่ เผยจํานวนผูว้ า่ งงานเพิม่ ขึน้ 18,400 ราย ในเดือนก.พ. ขยับขึน้ 0.6% เมือ่ เทียบเป็ นรายเดือน : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของฝรังเศส ่ เผยจีดพี ขี องฝรังเศสในไตรมาส ่ 4 ปี 2555 หดตัวลง 0.3% (qoq) และลดลง 0.3% (yoy) จากการบริโภคและการ ลงทุนทีล่ ดลงทําให้เศรษฐกิจฝรังเศสหดตั ่ วลงในไตรมาสสุดท้ายของปี ทแ่ี ล้ว โดยการบริโภคลดลง 0.1% จากไตรมาส 3/55 ขณะทีก่ ารลงทุนปรับตัวลง 0.8% ในไตรมาส 4 ปีทแ่ี ล้ว หลังจากลดลง 0.4% ในไตรมาส 3/55 ■ เยอรมนี : ความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคเยอรมนีในเดือนเม.ย.ทรงตัวที่ 5.9 ซึง่ เป็ นระดับเดียวกับเดือนมี.ค. โดยแสดงให้เห็นว่าแนวโน้มขาขึน้ ของดัชนี ความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคได้หยุดชะงักลง ดัชนีคาดการณ์เศรษฐกิจเพิม่ ขึน้ มาอยูท่ ่ี 0.6 ในเดือนมี.ค.จาก -2.5 (mom) ซึง่ นับเป็ นครัง้ แรกทีด่ ชั นีปรับตัวใน แดนบวก แต่ดชั นีแนวโน้มการซือ้ ในเดือนนี้ชะลอลงแตะระดับ 36.2 จาก 37.0 (mom) และดัชนีคาดการณ์รายได้ลดลงแตะ 29.4 ■ สเปน : ธนาคารกลางสเปน เผยเศรษฐกิจจะหดตัวอีก 1.5% ในปี 2556 เป็ นผลจากความต้องการภายในประเทศในระดับตํ่า ซึง่ มีสาเหตุมาจากค่าแรง ทีล่ ดลง อัตราว่างงาน และราคาสินค้าทีส่ งู ขึน้ ซึง่ จะทําให้รายได้สทุ ธิในครัวเรือนลดลง : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของสเปน เผยอัตราเงินเฟ้อรายปีของสเปนหรือดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) อยูท่ ่ี 2.4% ในเดือนมี.ค.(mom) ลดลง 0.4% จาก 2.8% ในเดือนก.พ. อันเนื่องมาจากต้นทุนเชือ้ เพลิงทีล่ ดลง
Thailand updates : ■ กรมสรรพากร เผยถึงความคืบหน้าในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ทัง้ ภ.ง.ด.90 และ ภ.ง.ด.91 ว่า ขณะนี้ม ี ประชาชนทยอยยืน่ แบบแสดงรายการภาษีแล้วทัง้ สิน้ 6.8 ล้านราย จากฐานผูเ้ สียภาษีประมาณ 10 ล้านราย คิดเป็ นวงเงินทีจ่ า่ ยภาษีเพิม่ กว่า 6.6 พันล้านบาท ขณะทีย่ อดขอคืนภาษีไปแล้วมีวงเงินกว่า 1.2 หมืน่ ล้านบาท เพิม่ จากปี ก่อนทีย่ อดขอคืนภาษี 9 พันล้านบาท เนื่องจากในปี นี้กรมสรรพากรได้เพิม่ ค่าลดหย่อนมากขึน้ เช่น การแยกยืน่ ระหว่างสามีกบั ภรรยา ■ เงินบาทปิดตลาด (27 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.30/32 บาท/ดอลลาร์ เงินบาทค่อนข้างแกว่ง และเริม่ มาแข็งค่าขึน้ ในช่วงบ่าย จากปจั จัยหลักคือ เงินทุนไหลเข้าเป็ นหลัก
US & Asian markets : ■ ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 33.49 จุด หรือ 0.23% ปิดที่ 14,526.16จุด ดัชนี S&P ลดลง 0.92 จุด หรือ 0.06% ปิดที่ 1,562.85 ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 4.04 จุด หรือ 0.12% ปิดที่ 3,256.52 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิเพิม่ ขึน้ 22.17 จุด หรือ 0.18% ปิดที่ 12,493.79 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 3.59 จุด หรือ 0.16% ปิดที่ 1 ม 2,301.26 จุ[พิ ด มดัพ์ชขนีอ้ฮความ] งเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 153.74 จุด หรือ 0.69% ปิดที่ 22,464.82 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 1,560.87หน้ จุดา เพิ ่ ขึน้ 16.84 จุด หรือ 1.09% ยังคงผันผวนในแดนบวกเป็ นการเพิม่ ขึน้ ต่อเนื่องหลังจากลดลงเมือ่ สัปดาห์ก่อน
ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 14 ประจําว ันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
GLOBAL Research : ปัญหาค่าเงินบาทแข็งค่า…จะแก้ไขอย่างไร
นักลงทุนวิ ตกค่าเงิ นบาทแข็งค่าขึน้ ที่ระดับ 29.15 บาท/ดอลลาร์
เมือ่ วันที่ 19 มีนาคมค่าเงินบาทปรับตัวแข็งค่าขึน้ อยูท่ ร่ี ะดับ 29.39บาท/ ดอลลาร์ (สูงทีส่ ดุ ในรอบ 28 เดือน) ผูว้ า่ การธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) นายประสาร ไตรรัตน์วรกุล ยอมรับว่ามีเงินจากต่างประเทศไหลเข้ามาลงทุนใน ประเทศค่อนข้างมาก จึงทําให้เงินบาทแข็งค่าขึน้ มากอย่างรวดเร็ว แต่ไม่ใช่ระดับ ทีน่ ่ากังวล ดังนัน้ ยังไม่มคี วามจําเป็ นต้องมีการประชุมคณะกรรมการนโยบาย การเงินเป็ นกรณีพเิ ศษ อย่างไรก็ดเี มือ่ ค่าเงินบาทปรับตัวแข็งค่าอย่างต่อเนื่องมาสู่ ระดับ 29.15บาท/ดอลลาร์ในระยะต่อมาเป็ นระดับทีน่ กั ลงทุนกังวลมากขึน้ เพราะ เกรงว่าธปท.จะมีมาตรการควบคุมปริมาณเงินทุนทีไ่ หลเข้า เพือ่ แก้ไขปญั หาใน ตลาดหุน้ ไทย
แนวทางแก้ไขปัญหาค่าเงิ นบาทแข็งของธปท. ธปท.มี 3 ทางเลือกทีส่ ามารถนํามาใช้ในการสกัดกัน้ เงินทุนจากต่างประเทศซึง่ เป็ นสาเหตุหลักทีท่ าํ ให้เกิดปญั หาค่าเงินบาทแข็งค่าขึน้ ได้แก่ หนึ่ง ปรับลดอัตราดอกเบีย้ ตามทีก่ ระทรวงการคลังเสนอ สอง ธปท.เสนอให้มมี าตรการควบคุมเงินทุนไหลเข้า โดยการเก็บภาษี แต่คาด ว่ากระทรวงการคลังจะไม่เห็นด้วยกับมาตรการดังกล่าว สาม การแทรกแซงอัตราแลกเปลีย่ น ซึง่ ไม่ใช่ทางเลือกทีส่ ง่ ผลดีต่อธปท. เนื่องจากจะ ทําให้ธปท.ขาดทุนได้ ผลกระทบจากปัญหาค่าเงิ นบาทแข็งตัว จากเหตุการณ์คา่ เงินบาทปรับตัวแข็งค่าขึน้ แสดงให้เห็นว่าไม่มกี ารควบคุมปริมาณเงินทุนทีไ่ หลเข้าประเทศเนื่องจากนักลงทุนเข้ามาหา ผลตอบแทนจากอัตราดอกเบีย้ ทีส่ งู กว่าและจากค่าเงินบาททีแ่ ข็งค่าขึน้ อย่างไรก็ดกี ารทีเ่ งินบาทแข็งค่าอย่างรวดเร็วส่งผลกระทบต่อการ ส่งออกสินค้าและบริการของประเทศไทย ซึง่ มีสดั ส่วนในจีดพี ถี งึ 3 ใน 4 และจะกระทบต่อการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทย ในปี2012 การส่งออกไทยขยายตัวเพิม่ ขึน้ 3.2% จากปี2011 ทีป่ ระสบปญั หานํ้าท่วม ทัง้ นี้คาดว่าในปี2013 อัตราการขยายตัวทาง เศรษฐกิขของไทยจะอยูท่ ร่ี อ้ ยละ 4.5 แม้วา่ จะมีความเสีย่ งด้านการส่งออกทีอ่ าจลดลง สืบเนื่องจากปญั หาในยุโรปและอัตราการขยายตัว ของเศรษฐกิจจีนทีป่ รับลดลง เงิ นบาทแข็งค่าสามารถลดปัญหาเงิ นเฟ้ อได้ เงินบาททีแ่ ข็งค่าอย่างรวดเร็วยังส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของ เศรษฐกิจและอัตราเงินเฟ้อ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สําหรับประเทศไทยทีม่ รี ะบบ เศรษฐกิจขนาดเล็กและแบบเปิด โดยบัญชีสง่ ออกนําเข้าคิดเป็ น 140% ของจีดพี ี ถ้ากรณีฐานปี 2013 เงินบาทแข็งค่าขึน้ 1 บาทอยูท่ ร่ี ะดับ 29.5บาท/ดอลลาร์ (จากปี 2012 เฉลีย่ ทีร่ ะดับ 30.7บาท/ดอลลาร์) และการส่งออกคิดเป็ นมูลค่า ดอลลาร์สหรัฐฯยังคงเจริญเติบโตตามเป้าหมาย รายได้จากการส่งออกของไทยจะ ลดลง 240 พันล้านบาท หรือ ร้อยละ 2 ของจีดพี ี ในทํานองเดียวกันหากค่าเงิน บาทแข็งค่าขึน้ 1 บาท จะทําให้อตั ราเงินเฟ้อลดลงร้อยล่ะ 0.3-0.5 จากปจั จุบนั ที่ ร้อยละ 3.2 ผลทีต่ ามมาคืออัตราดอกเบีย้ จะมีการปรับลดลง
โดยสรุปการแข็งค่าขึน้ ของเงิ นบาทส่งผลให้เศรษฐกิ จชะลอตัวและเงิ นเฟ้ อปรับลดลงอย่างรวดเร็วก่อนที่จะมีการนํานโยบาย การเงิ น เป้ าหมายอัตราเงิ นเฟ้ อ (Inflation-Targeting) มาใช้เสียอีก [พิมพ์ขอ้ ความ]
หน้า 2
Thailand Macro Watch by Phatra Securities and Merrill Lynch Research, 20 Mar 2013 รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
HighLight : สหร ัฐปร ับเพิม ่ ประมาณการจีดพ ี ไี ตรมาส 4/56 อยูท ่ ี่ 0.4% และจํานวนผูว้ า ่ งงานเยอรมนี ้ แตะ 2.935 ล้านคน เพิม ่ ขึน
Global :
■ สหรัฐ : สถาบันจัดการด้านอุปทานของสหรัฐ เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ ในเขตมิดเวสต์ของสหรัฐ ชะลอตัวลงมาอยูท่ ร่ี ะดับ 52.4 ใน เดือนมี.ค. จากเดือนก.พ.ทีร่ ะดับ 56.8 ซึง่ ลดลงมากกว่าทีน่ กั วิเคาะห์คาดว่าจะอยูท่ ร่ี ะดับ 56.5 จากยอดสังซื ่ อ้ สินค้าใหม่ปรับตัวลดลง : กระทรวงแรงงานสหรัฐ เผยผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานในสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 23 มี.ค.เพิม่ ขึน้ 16,000 ราย แตะ 357,000 ราย ซึง่ เพิม่ ขึน้ มากกว่าที่ นักวิเคราะห์คาดว่าจะอยูท่ ่ี 340,000 ราย ส่วนจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานอย่างต่อเนื่องโดยเฉลีย่ 4 สัปดาห์ เพิม่ ขึน้ 2,250 ราย แตะที่ 343,000 ราย : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ ปรับเพิม่ ประมาณการจีดพี ที แ่ี ท้จริงประจําไตรมาส 4/2556 ขยายตัว 0.4% สูงกว่าการประมาณการครัง้ ก่อนที่ 0.1% อย่างไรก็ตาม ตัวเลขดังกล่าวน้อยกว่าทีน่ กั วิเคราะห์สว่ นใหญ่คาดว่าจะขยายตัว 0.5% ■ เยอรมนี : สํานักงานแรงงานกลางเยอรมนี เผยจํานวนผูว้ า่ งงานในเดือนมี.ค.เพิม่ ขึน้ 130,000 คน แตะ 2.935 ล้านคน แสดงให้เห็นว่าตลาดแรงงานของ เยอรมนียงั มีความไม่แน่นอน หลังจากทีช่ าวเยอรมนีทว่ี า่ งงานในเดือนก.พ.อยูใ่ นระดับทรงตัว : สํานักงานสถิตฯิ เผยยอดค้าปลีกของเยอรมนีในเดือนก.พ.เพิม่ ขึน้ 0.4% (mom) หลังจากเพิม่ ขึน้ 3% เดือนม.ค. ขณะทีย่ อดค้าปลีกลดลง 2.2% (yoy) ■ อิ ตาลี : พรรคการเมืองของอิตาลีไม่สามารถจัดจัดตัง้ รัฐบาลได้ ภายหลังการเลือกตัง้ เมือ่ เดือนทีผ่ า่ นมา ส่งผลให้อุปสงค์ในพันธบัตรของ รัฐบาลอิตาลีปรับตัวลดและผลตอบแทนฑันธบัตรอายุ5ปีแตะที3่ .65% สูงสุดนับจากต.ค.2555 ■ โปรตุเกส : Moody ปรับความอับดับความน่าเชื่อถือ Ba3 แต่ยงั คงแนวโน้มเป็ นลบ ■ ญี่ปนุ่ : รัฐบาลญีป่ นุ่ เผยอัตราว่างงานปรับตัวสูงขึน้ แตะที่ 4.3% ในเดือนก.พ. จากระดับ 4.2% ในเดือนก่อน ตําแหน่งงานทีเ่ ปิดรับยังคง ทรงตัว โดยสัดส่วนตําแหน่ งงานทีเ่ ปิดรับต่อจํานวนผูห้ างานอยูท่ ่ี 0.85% ในเดือนก.พ. : กระทรวงเศรษฐกิจการค้าและอุตสาหกรรมญี่ปนุ่ เผยผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนก.พ.หดตัวลง 0.1% (mom) เป็ นการหดตัวครัง้ แรกใน รอบ 3 เดือน ดัชนีผลผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมและเหมืองแร่อยูท่ ่ี 89.0 จากฐาน 100 ของปี 2548 ขณะทีด่ ชั นีการขนส่งใน ภาคอุตสาหกรรมเพิม่ ขึน้ 0.8% แตะที่ 90.7 และดัชนีสต็อกสินค้าคงคคลังในภาคการผลิตปรับลดลง 2.0% แตะที่ 105.6 ■ เกาหลีใต้ : กระทรวงการคลังเกาหลีใต้ปรับลดประเมินเศรษฐกิจเกาหลีใต้ปี 2556 คาดว่าจะขยายตัวด้วยอัตรารายปี ท่ี 2.3% ตํ่ากว่าการขยายตัว 3% ทีค่ าดการณ์เมือ่ 3 เดือนก่อน สําหรับในปี 2555 เศรษฐกิจเกาหลีใต้ขยายตัว 2% ซึง่ เป็ นการขยายตัวตํ่าสุดในขณะทีโ่ ลกเผชิญวิกฤตการเงินถึงขีดสุด
Thailand updates : ■ กระทรวงพาณิชย์ เผยการส่งออกในเดือนก.พ.56 ลดลง 5.83% (yoy) คิดเป็ นมูลค่า 17,928 ล้านดอลลาร์ ลดลงจากสินค้ากลุม่ เกษตร และอุตสาหกรรมการเกษตร ซึง่ เป็ นการลดลงครัง้ แรกในรอบ 6 เดือนนับจากเดือนก.ย.55 ขณะทีก่ ารนําเข้าขยายตัวเพิม่ ขึน้ 5.27% คิดเป็ น มูลค่า 19,185 ล้านดอลลาร์ ส่งผลให้ขาดดุลการค้าราว 1,557 ล้านดอลลาร์ : นักลงทุนยังติดตามผลการประชุมสภาฯ เพื่อพิจาราณาร่างพรบ.เงินกูว้ นั สุดท้าย ■ เงินบาทปิดตลาด (28 มี.ค.) ทีร่ ะดับ 29.28/30 บาท/ดอลลาร์ซง่ึ เป็ นระดับสูงสุดของวัน อ่อนค่าจากช่วงเช้าทีร่ ะดับ 29.25/27 บาท/
US & Asian markets : ■ ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 52.38 จุด หรือ 0.36% ปิดที่ 14,578.54 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 6.34 จุด หรือ 0.41% ปิดที่ 1,569.19 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 11.00จุดหรือ0.34%ปิ ดที3่ ,267.52จุดจากสหรัฐปรับเพิม่ การประมาณการผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศไตรมาส4/2556 ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิลดลง 157.83 จุด หรือ 1.26% ปิดที่ 12,335.96 จุด จากนักลงทุนวิตกกังวลเกีย่ วกับภาวะชะงักทางการเมืองในอิตาลี และ แนวโน้มทางเศรษฐกิจทีซ่ บเซาของยูโรโซน ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 64.96 จุด หรือ 2.82% ปิ ดที่ 2,236.30 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 165.19 จุด หรือ 0.74% ปิดที่ 22,299.63 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,544.57 จุด ลดลง 16.30 จุด หรือ 1.04% มีความผันผวนสูงตามปจั จัยหุน้ ปตท. ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com