Macro Views May 2013
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
ื่ มน HighLight : ความเชอ ่ ั ผูบ ้ ริโภคสหร ัฐฯเดือนเม.ย.เพิม ่ สูงเกินคาดแตะ 68.1 จาก 61.9 และเยอรมนี ้ สูงสุดในรอบกว่า 5 ปี แตะ 6.2 ขณะทีอ เพิม ่ ขึน ่ ังกฤษย ังคงลดลงอยูท ่ ี่ -27
Global :
■ สหรัฐฯ : ดัชนีราคาบ้านเดือนก.พ.ใน 20 เมืองของสหรัฐปรับตัวขึน้ 9.3% (yoy) ปรับตัวขึน้ 2 เดือนติดต่อกันเป็ นครัง้ แรกนับตัง้ แต่ปี 2548 : ความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐปรับตัวขึน้ มากกว่าทีม่ กี ารคาดการณ์กนั ไว้ โดยเพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 68.1 ในเดือนเม.ย. จากระดับ 61.9 ใน เดือนมี.ค. ซึง่ สูงสุดในรอบ 5 เดือน สะท้อนให้เห็นว่ามุมมองของชาวอเมริกนั ทีม่ ตี ่อเศรษฐกิจและรายได้สว่ นบุคคลปรับตัวดีขน้ึ ■ ยูโรโซน : ยูโรสแตท เผยอัตราเงินเฟ้อรายปี ในกลุม่ ประเทศทีใ่ ช้สกุลเงินยูโร 17 ประเทศ ลดลงสูร่ ะดับ 1.2% ในเดือนเม.ย. จากระดับ 1.7% ในเดือนก่อนหน้า ตํ่าสุดนับตัง้ แต่เดือนก.พ.2553 และอยูต่ ่าํ กว่าเพดาน 2% ของอีซบี ี มาตัง้ แต่เดือนก.พ.2556 : ยูโรสแตท เผยอัตราว่างงานในยูโรโซนทีม่ สี มาชิก 17 ประเทศ เพิม่ ขึน้ แตะ 12.1% ในเดือนมี.ค. จาก 12.0% ในเดือนก.พ. ■ อังกฤษ : ความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคในเดือนเม.ย.ลดลงแตะ -27 เทียบกับระดับ -26 ในเดือนมี.ค. เนื่องจากฐานะการเงินของภาคครัวเรือนที่ ตกตํ่าจากอัตราเงินเฟ้อทีพ่ งุ่ สูงขึน้ และแรงกดดันด้านค่าจ้าง ซึง่ ส่งผลกระทบต่อความสามารถในการจับจ่ายใช้สอยของชาวอังกฤษ ■ อิ ตาลี : อัตราว่างงานของอิตาลีในเดือนมี.ค.อยูท่ ร่ี ะดับ 11.5% ยังคงใกล้เคียงกับระดับสูงสุดในรอบ 20 ปี เนื่องจากบริษทั ต่างๆได้ หลีกเลีย่ งการจ้างงาน ในขณะทีป่ ระเทศประสบภาวะชะงักงันทางการเมืองและภาวะเศรษฐกิจทีถ่ ดถอยยาวนานทีส่ ดุ ในรอบ 20 ปี ■ เยอรมนี : จํานวนผูว้ า่ งงานในเดือนเม.ย.เพิม่ ขึน้ 4,000 คน แตะ 2.938 ล้านคน ทรงตัวอยูท่ ่ี 6.9% ซึง่ เป็ นการเพิม่ ขึน้ ต่อเนื่อง : ยอดค้าปลีกของเยอรมนีในเดือนมี.ค.ลดลง 0.3% (mom) หลังจากสภาพอากาศทีเ่ ลวร้ายผิดปกติได้สง่ ผลกระทบต่อการจับจ่ายของผูบ้ ริโภค : ความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคเยอรมนีในเดือนพ.ค.เพิม่ ขึน้ แตะระดับสูงสุดในรอบกว่า 5 ปี โดยดัชนีความเชื่อมันเพิ ่ ม่ ขึน้ แตะ 6.2 จาก 6.0 ใน เดือนเม.ย. ซึง่ แสดงให้เห็นว่าชาวเยอรมันยังมีมมุ มองในเชิงบวกเกีย่ วกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ■ สเปน : ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) รายปีของสเปนอยูท่ ร่ี ะดับ 1.4% ในเดือนเม.ย. ซึง่ เป็ นระดับตํ่าสุดนับตัง้ แต่เดือนมี.ค.2553 อัตราเงิน เฟ้อรายปีของสเปนได้ปรับตัวลดลง 1 จุด จากการปรับตัวลงของค่าไฟฟ้า นํ้ามันเชือ้ เพลิงและนํ้ามันหล่อลื่น : จีดพี ไี ตรมาส 1/56 หดตัวลง 0.5% จากไตรมาส 4 /55 ทีห่ ดตัว 0.8% สอดคล้องกับทีธ่ นาคารกลางสเปนได้คาดการณ์เอาไว้ ■ ญี่ปนุ่ : ตัวเลขการเริม่ ก่อสร้างบ้านเพิม่ ขึน้ 7.3% ในเดือนมีนาคม (yoy) แตะที่ 71,456 ยูนิต ซึง่ เป็ นการขยายตัวติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 7 ■ เกาหลีใต้ : การผลิตในภาคอุตสาหกรรม ลดลง 2.1% ในเดือนมี.ค. จากเดือนก.พ.ทีเ่ พิม่ ขึน้ 1.1% และลดลง 0.9% ในเดือนมี.ค.(yoy) จากการขยายตัวทีช่ ะลอลงในกลุม่ ประเทศเศรษฐกิจขนาดใหญ่ ซึง่ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของเกาหลีใต้ทพ่ี ง่ึ พาการส่งออกเป็ นหลัก
Thailand updates : ■ ธปท. เผยดัชนีความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจในเดือนมี.ค.56 อยูท่ ่ี 54.4 จาก 51.2 ปรับตัวดีขน้ึ ในทุกองค์ประกอบ โดยเฉพาะด้านการผลิตและ คําสังซื ่ อ้ จากความเชื่อมันของผู ่ ป้ ระกอบการในภาคอุตสาหกรรมและภาคทีม่ ใิ ช่ภาคอุตสาหกรรมทีด่ ขี น้ึ ■ เงินบาทปิดตลาด ( 30 เม.ย.) ทีร่ ะดับ 29.34/36 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าจากช่วงเช้า จากนักลงทุนรอมาตรการของธปท.ชะลอบาทแข็ง
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 21.05 จุด หรือ 0.14% ปิดที่ 14,839.80 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 3.96 จุด หรือ 0.25% ปิด ที่ 1,597.57 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 21.77 จุด หรือ 0.66% ปิดที่ 3,328.79 จุด จากข้อมูลเศรษฐกิจทีแ่ ข็งแกร่งของสหรัฐ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิลดลง 23.27 จุด หรือ 0.17% ปิดที่ 13,860.86 จุด จากการแข็งค่าของเงินเยนเมือ่ เทียบกับดอลลาร์สหรัฐ และการลดลงของหุน้ ฟานุค ซึง่ เป็ นหุน้ ทีม่ มี ลู ค่าสูง ตลาดหุน้ จีนปิดทําการในวันหยุดแรงงาน ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 156.24 จุด หรือ 0.69% ปิ ด ที่ 22,737.01 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,597.86 จุด เพิม่ ขึน้ 12.93 จุด หรือ 0.82% จากปจั จัยภายในและภายนอกประเทศ ดี จากการประกาศงบฯของบริษทั และตัวเลขเศรษฐกิจของสหรัฐฯทีเ่ พิม่ ขึน้ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL Review: การเงินวัยรุ่ นไม่ โตตามวัย...จากปั ญหาเศรษฐกิจถดถอย
ั ้ ทีร่ ะดับ 0 - 0.25% และดัชนี PMI สหรัฐฯชะลอ HighLight : เฟดมีมติคงอัตราดอกเบีย ้ ระยะสน ี้ าคการผลิตยังคงเปราะบาง ตัวลงแตะ 50.7 บ่งชภ
Global :
■ สหรัฐฯ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยค่าใช้จา่ ยด้านการก่อสร้างของสหรัฐในเดือนมี.ค.ได้ปรับตัวลดลง 1.7% สูร่ ะดับ 8.567 แสนล้าน ดอลลาร์ ซึง่ ตํ่าสุดนับตัง้ แต่เดือนก.ย. 2555 เนื่องจากกิจกรรมการก่อสร้างทีล่ ดลงทัง้ ในภาครัฐบาลและเอกชน : ผลการประชุม FOMC ของธนาคารกลางสหรัฐ ในเดือนมี.ค.บ่งชีก้ จิ กรรมทางเศรษฐกิจมีการขยายตัวปานกลาง ภาวะตลาดแรงงานปรับตัวดีขน้ึ ในช่วงหลายเดือนทีผ่ า่ นมา แต่อตั ราว่างงานยังคงอยูใ่ นระดับสูง การใช้จา่ ยในภาคครัวเรือนและการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรของภาคธุรกิจเพิม่ ขึน้ และภาคทีอ่ ยูอ่ าศัยได้ปรับตัวดีขน้ึ ต่อเนื่อง แต่นโยบายการคลังกําลังสกัดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อปรับตัวตํ่ากว่าเป้าหมายระยะยาว : สํานักงานสารสนเทศด้านการพลังงานสหรัฐฯ เผยสต็อกนํ้ามันดิบประจําสัปดาห์สน้ิ สุดวันที่ 26 เม.ย. เพิม่ ขึน้ 6.7 ล้านบาร์เรล สูร่ ะดับ 395.3 ล้านบาร์เรล มากกว่าทีน่ กั วิเคราะห์สว่ นใหญ่คาดว่าสต็อกนํ้ามันดิบจะเพิม่ ขึน้ เพียง 950,000 บาร์เรล : เฟดมีมติคงอัตราดอกเบีย้ ระยะสัน้ ทีร่ ะดับ 0 - 0.25% พร้อมกับยํา้ ว่าจะคงอัตราดอกเบีย้ ทีร่ ะดับตํ่าเป็ นพิเศษต่อไปและจะยังคงเดินหน้า โครงการซือ้ สินทรัพย์ในวงเงินปจั จุบนั ที่ 8.5 หมืน่ ล้านดอลลาร์/เดือน จนกว่าอัตราว่างงานจะลดลงตํ่ากว่าระดับ 6.5% และจนกว่าอัตราเงิน เฟ้อจะเคลื่อนไหวตํ่ากว่าระดับ 2.5% : ภาคเอกชนทัวสหรั ่ ฐมีการจ้างงานเพิม่ 119,000 ตําแหน่งในดือนเม.ย. ซึง่ เป็ นการเพิม่ ขึน้ ในสัดส่วนทีน่ ้อยทีส่ ดุ นับตัง้ แต่เดือนก.ย.ปีทแ่ี ล้ว นอกจากนี้ ตัวเลขดังกล่าวยังน้อยกว่าทีน่ กั วิเคราะห์ในตลาดคาดการณ์ไว้ สะท้อนให้เห็นว่า ตลาดแรงงานของสหรัฐยังคงฟื้ นตัวอย่างไม่ ยังยื ่ น : สถาบันจัดการด้านอุปทานสหรัฐ เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตเดือนเม.ย.อยูท่ ร่ี ะดับ 50.7 ลดลงจากเดือนมี.ค.ที่ ระดับ 51.3 สะท้อนให้เห็นว่า ภาคการผลิตของสหรัฐยังคงเปราะบาง ■ จีน : สหพันธ์พลาธิการและการจัดซือ้ จีน เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคบริการเดือนเม.ย.ลดลงมาอยูท่ ร่ี ะดับ 50.6 จากเดือน พ.ค.ทีร่ ะดับ 50.9 ซึง่ ดัชนีทส่ี งู กว่า 50 บ่งชีว้ า่ กิจกรรมในภาคบริการมีการขยายตัวจากเดือนก่อนหน้า ■ เกาหลีใต้ : กระทรวงการค้าอุตสาหกรรมและพลังงานเกาหลีใต้ เผยยอดเกินดุลการค้าลดลงมาอยูท่ ร่ี ะดับ 2.58 พันล้านดอลลาร์ในเดือน เม.ย. จากเดือนมี.ค.ทีร่ ะดับ 3.29 พันล้านดอลลาร์ เนื่องจากการอ่อนค่าของเงินเยนญีป่ นุ่ ได้สง่ ผลกระทบในด้านลบต่อการส่งออกของ เกาหลีใต้
Thailand updates :
■ กระทรวงพาณิชย์ เผยดัชนีราคาผูบ้ ริโภคทัวไปหรื ่ ออัตราเงินเฟ้อเดือนเม.ย. 2556 อยูท่ ร่ี ะดับ 104.90 เพิม่ ขึน้ 2.42 % (yoy) และเพิม่ ขึน้ 0.16 % (mom) ส่งผลให้อตั ราเงินเฟ้อเฉลีย่ ในระยะ 4 เดือนแรกของปี เพิม่ ขึน้ 2.92 % ถือว่าเป็ นไปตามภาวะการบริโภคปจั จุบนั ทีข่ ยายตัว ประกอบกับราคา พลังงานในประเทศราคาลดลง ส่งผลให้แรงกดดันต่อเงินเฟ้อด้านราคาสินค้าไม่ขยับตัวสูงขึน้ มากนัก ขณะทีภ่ าครัฐยังคงมาตรการดูแลและควบคุม ราคาสินค้าและพลังงาน ทําให้คาดว่าอัตราเงินเฟ้อในปี 2556 จะอยูใ่ นกรอบทีก่ ระทรวงพาณิชย์คาดการณ์ทร่ี ะดับ 2.80-3.40% ■ ค่าเงินบาท ( 1 เม.ย.) ไม่มรี ายงานตัวเลขเนื่องจากเป็ นวันหยุดแรงงาน
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์ลดลง 138.85 จุด หรือ 0.94% ปิดที่ 14,700.95 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 14.87 จุด หรือ 0.93% ปิด ที่ 1,582.70 จุด ดัชนี Nasdaq ลดลง 29.66 จุด หรือ 0.89% ปิ ดที่ 3,299.13 จุด จากสหรัฐเผยข้อมูลเศรษฐกิจทีส่ ร้างความผิดหวังให้กบั นัก ลงทุน รวมถึงตัวเลขจ้างงานในภาคเอกชนน้อยกว่าทีต่ ลาดคาดการณ์ไว้ และดัชนีภาคการผลิตทีช่ ะลอตัวลง ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกลดลง 61.51 จุด หรือ 0.44% ปิ ดที่ 13,799.35 จุด จากแรงกดดันของค่าเงินเยนทีแ่ ข็งค่าและนักลงทุนจับตาดู [พิมพ์ขอ้ ความ] หน้า 1 การประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ ตลาดหุน้ จีนปิดทําการในวันหยุดแรงงาน ตลาดหุน้ ฮ่องกงปิ ดทําการในวันหยุดแรงงาน ตลาดหุน้ ไทยปิด ทําการในวั นหยุดแรงงาน ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 9 ประจําว ันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
GLOBAL Review: การเงินว ัยรุน ่ ไม่โตตามว ัย...จากปัญหาเศรษฐกิจถดถอย
ในช่วง 2 ปีทผ่ี า่ นมา วัยรุน่ คาดหวังว่าจะพึง่ พาพ่อแม่ทางด้านการเงินจนกว่าจะ เข้าสูช่ ว่ งอายุ 25 ปี โดยมีสดั ส่วนเพิม่ ขึน้ ถึง 2 เท่า ซึง่ เป็ นทีน่ ่าเห็นใจผูป้ กครองทีม่ ี เด็กวัยรุน่ ในปจั จุบนั นี้ จากการสํารวจของ Junior Achievement ในกลุม่ ทีส่ อนเด็กๆ เกีย่ วกับการเงินและ การจ้างงาน พบว่า 25% ของวัยรุน่ คิดว่าจะไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองทางด้านการเงินได้ ในช่วงอายุต่าํ กว่า 25 ปี และมีวยั รุน่ 12% จากการสํารวจกล่าวว่า จะสามารถช่วยเหลือ ตัวเองทางด้านการเงินได้ในช่วงอายุ 25 - 27 ปี ในทํานองเดียวกันมีวยั รุน่ ทีค่ าดว่าจะ สามารถรับผิดชอบและมีอสิ ระทางด้านการเงินของตัวเองได้ในช่วงอายุ 18-24 ลดลงอยูท่ ร่ี ะดับ 59% จากในปี 2011 ทีอ่ ยูร่ ะดับ 75% วัยรุน่ เหล่านี้อาจไม่มแี รงจูงใจในการสร้างความรับผิดชอบทางด้านการเงินของตัวเอง หรือบางทีอาจจะเป็ นเพราะเหตุผลอื่นๆ ทีเ่ ป็ นตัวฉุด รัง้ เช่น ค่าใช้จา่ ยในด้านการศึกษาทีเ่ พิม่ ขึน้ รวมทัง้ ในปจั จุบนั วัยรุน่ มีแนวความคิดทีเ่ ห็นด้วยกับการกลับไปอาศัยอยูท่ บ่ี า้ นหลังจากเรียนจบ มากกว่าการทีจ่ ะต้องออกมาอยูด่ ว้ ยตนเองภายใต้ ความเป็ นอยูท่ ย่ี ากลําบากและยังเป็ นการประหยัดค่าใช้จา่ ยค่าเช่าห้องพัก เพื่อเพิม่ ความสามารถในการส่งคืนเงินทีก่ ยู้ มื มาใช้ในด้านการศึกษา ภาระค่าใช้จา่ ยด้านทีอ่ ยูอ่ าศัยของวัยรุน่ ไม่ได้เป็ นค่าใช้จา่ ยในความรับผิดชอบของผูป้ กครองเพียงอย่างเดียวทีจ่ ะต้องจ่ายชําระ ในหลายๆ ครอบครัวผูป้ กครองจะเข้ามารับผิดชอบค่าใช้จา่ ยรายเดือนจําพวก ค่าโทรศัพท์ ค่าอินเทอร์เน็ตและค่าบริการสมัครสมาชิกต่างๆ เช่น iTunes และ Hulu การสํารวจของ Harris Interactive พบว่ากว่า 40% ของกลุม่ ผูป้ กครองยังคงจ่ายค่าบริการโทรศัพท์มอื ถือให้กบั ลูกๆ และเกือบ 30% ยังคงจ่ายเงินให้แม้วา่ ลูกๆจะออกไปมีชวี ติ อยูด่ ว้ ยตัวเอง สําหรับลูกๆทีอ่ ายุ 35 ปี และยังอาศัยอยูก้ บั พ่อแม่ พ่อแม่จะมีคา่ ใช้จา่ ยเฉลีย่ 108 ดอลลาร์/เดือน Harris Interactive พบว่าตัวเลขนี้อาจไม่ใกล้เคียงกับค่าใช้จา่ ยในบาง ครอบครัว และพบว่าครอบครัวทีม่ ลี กู อายุมากอาศัยอยูด่ ว้ ยแทบจะไม่มคี วามลําบากใน ด้านค่าใช้จา่ ย โดยเฉพาะ 1ใน5 ยังช่วยออกค่าใช้จา่ ยให้กบั ครอบครัวด้วย จาก การศึกษาของ Pew ทีเ่ ผยแพร่ในช่วงต้นปีพบว่ากว่า 40% ของผูต้ อบแบบสอบถามที่ เป็ นผูร้ บั ผิดชอบภาระด้านการเงินของครอบครัวกล่าวว่าพวกเขาไม่มเี งินมากพอทีจ่ ะ ตอบสนองค่าใช้จา่ ยขัน้ พืน้ ฐาน การสํารวจโดยการออกแบบสอบถามกลุม่ วัยรุน่ พบว่าประมาณสองในสามของผูต้ อบแบบสอบถามคิดว่าพวกเขาจะประสบความสําเร็จ และมีฐานะการเงินทีเ่ ท่าเทียมกันหรือดีกว่าฐานะการเงินของพ่อแม่ ซึง่ หากมองในแง่น้ีอาจจะไม่เป็ นความจริง เนื่องจากปจั จุบนั นี้กลุม่ คน หนุ่มสาวยังไม่เข้าใจปญั หาการเงินส่วนบุคคลอย่างแท้จริง ซึง่ จากกลุม่ ผูต้ อบแบบสอบถามกว่าครึง่ หนึ่งไม่เข้าใจในด้านการจัดสรรค่าใช้จา่ ย อีก 20% ไม่ทราบวิธกี ารใช้บตั รเครดิตและประมาณ 33% ไม่รวู้ ธิ นี ําเงินมาลงทุน ในด้านการศึกษาพบว่าวัยรุน่ ในปจั จุบนั ไม่มกี ารวางแผนหรือจัดสรรเพือ่ เตรียมไว้ใช้จา่ ยสําหรับด้านการศึกษา จึงอาจเป็ นผลเหตุผลทีต่ อ้ งมีความเป็ นอยู่ ทีล่ าํ บากไปจนถึงช่วงอายุ 25 ปี ซึง่ มีเพียง 9% ของผูต้ อบแบบสอบถามกล่าวว่ากําลังเก็บออมเงินเพือ่ เข้าวิทยาลัยและเกือบครึง่ หนึ่งกล่าวว่าพวกเขาไม่ ทราบว่าควรจะเก็บเงินเพือ่ เป็ นค่าใช้จา่ ยในด้านนี้ และ 2 ใน 3 ของผูต้ อบแบบสอบถามบอกว่าพ่อแม่ได้พดู ถึงเรือ่ งภาระค่าใช้จา่ ยด้านนี้กบั พวกเขาแล้ว ในความคิ ดของผูป้ กครองที่ว่า เมื่อลูกๆอายุครบ 18 ปี จะสามารถออกไปใช้ชีวิตได้ด้วยตนเอง แต่เนื่ องจากสภาพภาวะเศรษฐกิ จ ถดถอยและยังไม่มีทีท่าจะฟื้ นตัวทําให้การออกมาดําเนิ นชีวิตเองของวัยรุ่นอาจเกิ ดความผิดพลาดและไม่เป็ นไปตามแผนที่คาดไว้ จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่า เหตุผลส่วนหนึ่ งของวัยรุ่นที่คาดหวังว่าจะอยู่กบั พ่อแม่ในอนาคตอาจจะเป็ นเพราะไม่มีความสามารถ เพียงพอในการจัดสรรค่าใช้จ่าย การใช้บตั รเครดิ ตและการนําเงิ นมาลงทุน [พิมพ์ขอ้ ความ]
หน้า 2
FinancialIndependence? Today’sYoung PeopleDon’tExpectItAnytimeSoon , By Martha C., TIME, Apr,4 2013
รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
MACRO VIEWS
ฉบ ับประจําว ันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
มุมมองมหภาค GLOBAL Review: หวั่นปั ญหาค้ ามนุษย์
สหรั ฐฯกีดกันอาหารทะเลไทย
ี ล HighLight : อีซบ ี ดอัตราดอกเบีย ้ แตะ 0.50% ตํา่ เป็ นประวัตก ิ ารณ์ ขณะทีส ่ หรัฐฯขาดดุลการค ้า เดือนมี.ค. 11% และจํานวนผู ้ว่างงานสหรัฐฯลดลงสูร่ ะดับตํา่ สุดในรอบ 5 ปี
Global :
■ สหรัฐฯ : กระทรวงแรงงานสหรัฐฯ รายงานศักยภาพการผลิตของแรงงานนอกภาคเกษตรสหรัฐในเดือนม.ค.- มี.ค.ปรับตัวสูงขึน้ 0.7% (yoy) ภายหลังจากทีล่ ดลง 1.7% ในไตรมาสก่อน ซึง่ ศักยภาพการผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ อาจส่งผลให้การจ้างงานชะลอตัว : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยยอดขาดดุลการค้าเดือนมี.ค. ลดลง 11% สูร่ ะดับ 3.883 หมืน่ ล้านดอลลาร์ ปรับตัวลงติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 2 จากยอดการ นําเข้าลดลงมากทีส่ ดุ นับตัง้ แต่ปี 2551 และลดลงมากกว่าทีน่ กั วิเคราะห์สว่ นใหญ่คาดการณ์วา่ จะปรับลงมาอยูท่ ร่ี ะดับ 4.2 หมืน่ ล้านดอลลาร์ : กระทรวงแรงงานสหรัฐฯ เผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานในรอบสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 27 เม.ย. ปรับตัวลง 18,000 ราย สูร่ ะดับ 324,000 ราย ซึง่ เป็ นระดับตํ่าสุดในรอบ 5 ปี ตรงข้ามกับทีน่ กั วิเคราะห์คาดว่าจะเพิม่ ขึน้ แตะระดับ 345,000 ราย สะท้อนให้เห็นว่ากลุม่ นายจ้างในสหรัฐยังคงมีการจ้างงานแม้วา่ เศรษฐกิจส่งสัญญาณการชะลอตัวก็ตาม ■ ยุโรป : ธนาคารกลางยุโรป มีมติลดอัตราดอกเบีย้ ลง 0.25% มาอยูท่ ร่ี ะดับ 0.50% ตํ่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ สอดคล้องกับทีต่ ลาดคาด : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของยูโรโซนในเดือนเม.ย.เพิม่ ขึน้ แตะ 46.7 จาก 46.8 ในเดือนมี.ค. แต่ดชั นีอยูต่ ่าํ กว่าระดับ 50 บ่งชีว้ า่ กิจกรรมภาคการผลิตในภูมภิ าคยังคงหดตัวต่อเนื่อง ■ ฝรังเศส ่ : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของฝรังเศสเดื ่ อนเม.ย.เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 44.4 จาก 44.0 ในเดือนมี.ค.แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมภาค การผลิตยังอยูใ่ นภาวะหดตัว ทัง้ นี้ ฝรังเศสได้ ่ ตงั ้ เป้าการขยายตัวไว้ท่ี 0.1% ในปีน้ี โดยการส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจและเพิม่ ศักยภาพการแข่งขัน ■ เยอรมนี : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของเยอรมนีเดือนเม.ย.ลดลงมาอยูท่ ่ี 48.1 จาก 49.0 ในเดือนมี.ค. โดยกิจกรรม ภาคการผลิตหดตัวรุนแรงขึน้ เนื่องจากดัชนียงั อยูต่ ่าํ กว่าระดับ 50 และเป็ นเดือนที่ 2 ติดต่อกันทีภ่ าคการผลิตหดตัวจากเดือนก่อนหน้า ■ อิ ตาลี : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของอิตาลีเดือนเม.ย.เพิม่ ขึน้ แตะ 45.5 จาก 44.5 ในเดือนมี.ค. แต่ยงั อยูใ่ นภาวะหดตัว ■ สเปน : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตของสเปนในเดือนเม.ย.เพิม่ ขึน้ แตะ 44.7 จาก 44.2 ในเดือนมี.ค. ■ จีน : ดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคบริการในเดือนเม.ย.ลดลงมาอยูท่ ่ี 54.5 จากระดับ 55.6 ในเดือนมี.ค. ■ ญี่ปนุ่ : บีโอเจ เผยฐานเงิน (monetary base) หรือปริมาณธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ทห่ี มุนเวียนอยูใ่ นมือประชาชนและธนาคาร พาณิชย์ รวมทัง้ เงินฝากทีส่ ถาบันการเงินสํารองไว้กบั ธนาคารกลางประจําเดือนเม.ย. เพิม่ ขึน้ 23.1% (yoy) แตะระดับ 149.60 ล้านล้านเยน ทําสถิตเิ พิม่ ขึน้ ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 21 ขณะทีบ่ โี อเจได้ใช้นโยบายผ่อนคลายทางการเงินเพื่อจัดการกับเงินฝืดอย่างต่อเนื่อง
Thailand updates : ■ FATF ถอดชื่อประเทศไทยออกจากประกาศสาธารณะทีเ่ ตือนให้ประเทศสมาชิกพิจารณาเพิม่ ระดับความระมัดระวังในการเข้าทําธุรกรรม ทางการเงินกับประเทศไทยแล้ว โดยระบุวา่ ประเทศไทยมีพฒ ั นาการทีด่ ใี นการแก้ไขข้อบกพร่องเชิงยุทธศาสตร์การป้องกันและปราบปรามการ ฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย ■ เงินบาทปิดตลาด ( 2 พ.ค.) ทีร่ ะดับ 29.42/44 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าลง เนื่องจากมีแรงซือ้ แรงขายในตลาด
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดัชนีดาวโจนส์เพิม่ ขึน้ 130.63 จุด หรือ 0.89% ปิดที่ 14,831.58 จุด ดัชนี S&P เพิม่ ขึน้ 14.89 จุด หรือ 0.94% ปิดที่ 1,597.59 จุด ดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 41.49 จุด หรือ 1.26% ปิดที่ 3,340.62 จุด จากนักลงทุนตอบรับอีซบี ปี ระกาศลดอัตราดอกเบีย้ ในการ ประชุม และจํานวนคนว่างงานรายสัปดาห์ของสหรัฐลดลงลด ■ ตลาดหุ[พิ น้ เอเชี ดัชนีนิเกอิลดลง 105.31 จุด หรือ 0.76% ปิดที่ 13,694.04 จุด จากนักลงทุนเทขายหุน้ ท่ามกลางความวิหน้ ตกกั มพ์ขยอ้ ความ] า 1 งวลก่อนที่ สหรัฐจะเปิดเผยตัวเลขจ้างงานนอกภาคการเกษตร ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 3.79 จุด หรือ 0.17% ปิดที่ 2,174.12 จุด ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 68.71 จุด หรือ 0.30% ปิดที่ 22,668.30 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดตลาดทีร่ ะดับ 1,589.19 จุด ลดลง 8.67 จุด หรือ 0.54% จากความ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 10 ประจําว ันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
GLOBAL Review: หวน ่ ั ปัญหาค้ามนุษย์ สหร ัฐฯกีดก ันอาหารทะเลไทย
ในเดือนมิถุนายนกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐจะมีการรายงานเกีย่ วกับการค้า มนุษย์ ซึง่ รัฐบาลไทยกังวลกับการรายงานข่าวทีจ่ ะเกิดขึน้ เนื่องจากการรายงานข่าว ดังกล่าวจะตีแพร่ตวั เลขการค้ามนุษย์ในไทย ส่งผลให้ภาพลักษณ์ของประเทศไทยดู กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ กล่าวว่า ประเทศไทยเป็ นประเทศทีม่ อี ารยธรรมทีด่ ี แต่ทาํ ไม ยังมีปญั หาเกีย่ วกับการลักลอบเข้าเมืองอย่างผิดกฎหมายและยังมีการบังคับแรงงานต่างด้าวอยู่ ซึง่ ประเทศไทยถูกจับตามองการค้ามนุษย์ขนั ้ รุนแรงกลุม่ 2 (Tier 2 Watch List)ใน ระดับเดียวกับประเทศอัฟกานิสถาน ชาด อิรกั และไนเจอร์ ถ้าหากในปีน้ีปญั หาเพิม่ สูงขึน้ อีกไทยอาจจัดอยูใ่ นระดับเดียวกับ เอริเทรี ซูดาน ซีเรียและซิมบับเว หรืออาจถูกควํ่าบาตรและถูกตัด ความสัมพันธ์จากกองทุนการเงินระหว่างประเทศและธนาคารโลก ซึง่ ไม่น่าจะเกิดขึน้ เพราะประเทศไทยยังมีความสัมพันธ์ทด่ี กี บั สหรัฐฯอยู่ ในปจั จุบนั รัฐบาลไทยมองข้ามในเรือ่ งการละเมิดสิทธิมนุษย์ชน ทําให้แรงงานทีเ่ ข้ามาทํางานอย่างผิดกฎหมายในประเทศมีจาํ นวนมากขึน้ ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจไทย โดยผูอ้ พยพส่วนใหญ่จะมาจากประเทศเพื่อนบ้าน อย่างพม่า บังคลาเทศ กัมพูชา ลาว และฟิลปิ ปิ นส์ ถ้าหากแรงงานทีไ่ ม่มเี อกสารประจําตัวอาจมีความเสีย่ งต่อการแสวงหาผลประโยชน์จากนายหน้าได้ โดยการลักลอบนําเข้ามาใน ประเทศ ซึง่ แรงงานจะถูกส่งไปอยูใ่ นโรงงานและมีการจ้างงานในค่าแรงตํ่า เช่นในโรงงานอุตสาหกรรมกุง้ ในจังหวัดสมุทรสาครก็ได้รบั การ ตรวจสอบเพื่อหาข้อเท็จจริงเกีย่ วกับปญั หาการค้ามนุษย์ ซึง่ โรงงานอุตสาหกรรมทํารายได้ให้เศรษฐกิจไทยต่อปีเป็ นมูลค่ากว่า 1 พันล้าน โดยทําการตรวจสอบจากแรงงานทีย่ งั คงทํางานอยูใ่ นไทย พบว่าแรงงานหลายคนเคยผ่านกระบวนการค้ามนุษย์มาแล้ว โดยการถูกทารุณทาง ร่างกายหรือการถูดยึดเอกสารใบอนุญาติในการเข้าประเทศ โดยการตรวจสอบได้มกี ารรายงานด้านการค้ามนุษย์ไปเมือ่ ปี ทแ่ี ล้ว จากการ ตรวจสอบของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯรายงานว่าในจังหวัดสมุทรสาคร 3ใน5 ของแรงงาน เคยถูกบังคับค้าแรงงาน โดยเฉพาะแรงงานทีท่ าํ งานในทะเล การขนส่งกุง้ กําลังประสบปญั หาอย่างหนัก นายสมพงษ์ สระแก้ว จากมูลนิธเิ ครือข่ายสิทธิแรงงาน หรือ NGO กล่าวว่าหนุ่มสาวชาวพม่าจําเป็ นต้องเข้ามาทํางานกว่า 6 เดือนเพือ่ จ่ายเงินให้กบั นายหน้า บางคนถูกบังคับให้ออกทะเลหลายปี เมือ่ เรือเข้าเทียบชายฝงั ่ นายหน้าก็จะเข้าตรวจสอบลูกเรือทีร่ อดพ้นจากการถูกจับและให้ทาํ งานต่อไป จากการตรวจสอบของ UN ได้เข้า สัมภาษณ์คนงาน 29 คน ซึง่ ยืนยันว่าเคยเห็นเพือ่ นคนงานถูกเจ้าของเรือฆ่าตาย เมือ่ คนงานมีรา่ งกายอ่อนแอหรือไม่สบายจนทํางานไม่ได้ เมือ่ มีการรายงานข่าวเกีย่ วกับปญั หาในการค้ามนุษย์ของไทย ทําให้เกิดผลกระทบกับผูบ้ ริโภคชาวอเมริกนั เนื่องจากการบริโภคผลิตภัณฑ์ อาหารทะเลส่วนใหญ่มาจากประเทศไทย โดยในเดือนกันยายนทีผ่ า่ นมา ผูน้ ําเข้าอาหารทะเลขนาดใหญ่ในอเมริกาและผูจ้ ดั จําหน่าย Mazzetta ได้สงระงั ั ่ บการนําเข้าผลิตภัณฑ์อาหารทะเลไทย หลังมีการรายงานเกีย่ วกับแรงงานทีผ่ ดิ กฏหมายของโรงงานผลิตแห่งหนึ่งในไทย ทําให้ ผูบ้ ริโภคในสหรัฐฯเลิกบริโภคอาหารทะเลไทย แต่ไม่สง่ ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมกุง้ มากเท่าไรนัก อย่างไรก็ตามหากมีการแทรกแซงโดย รัฐบาลสหรัฐฯจะทําให้เกิดผลกระทบด้านลบต่อการบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารทะเลไทยมากขึน้ ด้านรัฐบาลไทยไม่ได้ให้ความสนใจในการแก้ไขปญั หานี้มากนัก เนื่องจากการละเมิดสิทธิแรงงานเป็ นปญั หาทีซ่ บั ซ้อน เกีย่ วกับตํารวจ เจ้าหน้าตรวจคนเข้าเมือง นายหน้าลักลอบนําคนเข้าเมืองและเจ้าของโรงงาน ทีเ่ ป็ นผลทําให้เกิดการค้ามนุ ษย์เพิม่ ขึน้ ในปจั จุบนั ตามกฎหมายไทยเกีย่ วกับการค้ามนุ ษย์ ทีป่ ระกาศใช้ในปี 2551 มีความชัดเจนเพียงพอ แต่มกั จะถูกละเว้นอยูบ่ อ่ ยครัง้ จากผูท้ ม่ี หี น้าทีบ่ งั คับใช้กฎหมาย โดยในปี 2554 อัตราการจับกุมของเจ้าหน้าทีต่ าํ รวจในการตรวจสอบเรือประมงกว่า 1000 ลํา ในน่านนํ้าทะเลไม่มกี ารรายงานเกีย่ วกับการบังคับใช้แรงงานและสิง่ ผิดกฎหมายใดๆ เลย ซึง่ เป็ นสิง่ ทีผ่ ดิ ปกติมาก เมือ่ สิน้ ปีทแ่ี ล้วรัฐบาลไทยได้มคี วามพยายามในการแก้ไขปญั หาการค้ามนุ ษย์ โดยมีการประกาศให้แรงงานต่างด้าวทีม่ คี วามประสงค์เข้ามาทํางาน ในไทยดําเนินการลงทะเบียนขอใบอนุญาติทาํ งานชัวคราว ่ ซึง่ วิธนี ้ีจะทําให้แรงงานต่างด้าวได้รบั การคุม้ ครองจากนายจ้างและไม่ถกู เนรเทศออกไป ซึง่ ความจริงแล้วมันเป็ นเพียงการสร้างโอกาสในการติดสินบน เพือ่ ให้ได้รบั ใบอนุญาติในการทํางานเท่านัน้ อย่างไรก็ตามปญั หาการค้ามนุษย์ทเ่ี กิดขึน้ มพ์ขอ้ ความ] หน้า 2 ในปจั จุบนั จะส่[พิงผลกระทบต่ อเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต ถ้าหากรัฐบาลยังไม่หาวิธที างแก้ไขปญั หาอย่างจริงจัง worker abuses get some serious attention,2 Mar 2013 Long-standing
รายงานฉบับนีจ้ ัดทําเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จดั ทําไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับประจําว ันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Page 1/1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
HighLight :อัตราการว่างงานสหรัฐฯอยูใ่ นระดับตํา่ สุดในรอบ 4 ปี อยูท ่ ี่ 7.5% นั บเป็ นระดับทีต ่ ํา่ สุดตัง้ แต่เดือน ธ.ค. 2551ขณะทีเ่ ศรษฐกิจยุโรยังหดตัวต่อเนือ ่ ง
Global :
■ สหรัฐฯ : ตัวเลขการจ้างงานเดือน เม.ย.ของสหรัฐฯออกมาเชิงบวก: ยอดการจ้างงานนอกภาคการเกษตรเพิม่ ขึน้ 165,000 ตําแหน่ง สูง กว่าทีค่ าดว่าจะเพิม่ ขึน้ 140,000 ตําแหน่ง และจากเดือน มี.ค.ทีเ่ พิม่ ขึน้ 138,000 ตําแหน่ง คลายความกังวลต่อการจ้างงานในสหรัฐฯ และ ยอดการจ้างงานภาคเอกชนเพิม่ ขึน้ เช่นกัน: เพิม่ ขึน้ 176,000 ตําแหน่ง สูงกว่าทีค่ าดว่าจะเพิม่ ขึน้ 150,000 ตําแหน่ง และจากเดือน มี.ค.ที่ เพิม่ ขึน้ 154,000 ตําแหน่ง ส่งผลให้อตั ราการว่างงานอยูใ่ นระดับตํ่าสุดในรอบ 4 ปี : อยู่ท่ี 7.5% นับเป็ นระดับทีต่ ่ําสุดตัง้ แต่เดือนธ.ค. 2551 จากระดับ 7.6% ในเดือน มี.ค. : ดัชนี ISM ภาคบริการตํ่ากว่าคาดอยู่ทร่ี ะดับ 53.1 ในเดือน เม.ย.จากระดับเดือนมี.ค.ที่ 54.4 แต่นกั วิเคราะห์คาดดัชนีว่าจะขยับมาอยู่ท่ี 54.0 : คําสังซื ่ อ้ สินค้าโรงงานเดือน มี.ค.ปรับตัวลงมากสุดในรอบ 7 เดือน: หดตัว 4.0% mom จากเดือน ก.พ.ทีข่ ยายตัว 1.9% mom และ หดตัวมากกว่าที่ Bloomberg Consensus คาด -2.9% mom เป็ นผลจากเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัวลง ส่งผลให้อุปสงค์ในโลหะ อุปกรณ์เหมืองแร่ และสินค้าภาคทหารชะลอตัวลง ■ ยุโรป :เศรษฐกิจในอียอู อกมาเชิงลบ: ดัชนี PMI Composite เดือน เม.ย.ของหดตัวต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 15 อยู่ทร่ี ะดับ 46.9 สูงกว่าทีค่ าด ว่าจะคงทีจ่ ากเดือน มี.ค.ทีร่ ะดับ 46.5 แต่ตวั เลขดังกล่าวยังคงอยู่ในระดับทีต่ ่าํ กว่า 50 จุดสะท้อนถึงการหดตัวอย่างต่อเนื่อง : ยอดค้าปลีกเดือน มี.ค.หดตัวลงเป็ นเดือนที่ 2: -0.1% mom ต่อเนื่องจากเดือน ก.พ. -0.2% mom : อียปู รับลดคาดการณ์เศรษฐกิจในปี 2556 ลง: คาดว่าจะหดตัว -0.4% จากเดิมคาด -0.3% และจะขยายตัว 1.2% ในปี 2557 ทัง้ นี้ปรับลด คาดการณ์เศรษฐกิจฝรังเศสจากเดิ ่ ม +0.1% เป็ น -0.1% และไซปรัสสู่ -8.7% จากเดิม -3.5% ■ จีน : ดัชนี PMI ภาคบริการ เดือน เม.ย.ลดลง: อยู่ทร่ี ะดับ 54.5 จุด จากเดือน มี.ค.ทีร่ ะดับ 55.6 จุด สร้างความกังวลต่อเศรษฐกิจจีน ■ เอเชียแปซิ ฟิก: อิ นเดีย:ธนาคารกลางลดอัตราดอกเบีย้ นโยบายเป็ นครัง้ ที่ 3 ติดต่อกัน: อยูท่ ร่ี ะดับ 7.25% จากเดิม 7.50% เพื่อกระตุน้ การบริโภคและการลงทุน มาเลเซีย : พรรคแนวร่วมแห่งชาติชนะการเลือกตัง้ ผูกขาดครองอํานาจตัง้ แต่พ.ศ. 2500 นําโดยพรรคอัมโนของ นายกรัฐมนตรีนาจิบ ราซัค ได้ ส.ส. เข้าสูร่ ฐั สภาแล้ว 133 ทีน่ งั ่ ครองเสียงข้างมากจากทัง้ หมดในรัฐสภา 222 ทีน่ งั ่
Thailand updates :
■ ราคาทองคํา(6 พค) ยังคงเคลื่อนไหวอยูท่ ่ี 1,460 - 1,480 เหรียญ โดยมีปริมาณการซือ้ ขายเบาบาง เนื่องจากตลาดลอนดอนปิ ดทําการ เช้านี้ราคาทองคําปรับตัว ลดลงต่อเนื่องลงไปทําจุดตํ่าสุดเช้านี้ท่ี 1,459 เหรียญ จากการทีก่ องทุน Gold ETFs ขายทองคําต่อเนื่องสูร่ ะดับตํ่าสุดในรอบมากกว่า 3 ปี ■ เงินบาทเปิ ดตลาดเช้านี้อยูท่ ร่ี ะดับ 29.58/60 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ เล็กน้อยจากช่วงเย็นวันศุกร์ทป่ี ิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.62/64 บาท/ ดอลลาร์ นักลงทุนรอดูท่าทีทางการในการดูแลค่าเงินบาท
US & Asian markets :
■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ควานนี้(6 พ.ค.)ดัชนีดาวโจนส์ ปิ ดที่ 14,968.89 จุด ลดลง 5.07 จุด(-0.03%) ดัชนีเอสแอนด์พี 500 ปิ ดที่ 1,617.50 จุด เพิม่ ขึน้ 3.08 จุด(+0.19%)และดัชนีแนสแด็ก ปิ ดที่ 3,392.97 จุด เพิม่ ขึน้ 14.34 จุด(+0.42%) มพ์ขยอ้ (เช้ ความ] ■ ตลาดหุ[พิ น้ เอเชี าที่ 7พค) ดัชนีนิกเกอิปิดภาคเช้าพุ่งขึน้ 389.22 จุด หรือ 2.84% แตะที่ 14,083.26 จุด จากค่าเยนเงิหน้ นทีอา่ อ่ 1นตัว ดัชนีฮงเส็ ั ่ งตลาดหุน้ ฮ่องกงปิ ดตลาดเช้าปรับตัวสูงขึน้ โดยเพิม่ ขึน้ 31.13 จุด หรือ 0.14% ปิ ดภาคเช้าที่ 22,946.22 จุด ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS,RYT9
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจำว ันที่ 9 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภำค
HighLight : ดัชนีนก ิ เกอิพงุ่ ขึน ้ 105.45 จุด สูงสุดในรอบ 5 ปี ขานรับการสง่ ออกจีนล่าสุดเพิม ่ ขึน ้
Global : ■ ฝรั ่งเศส :สานักงานสถิตแิ ห่งชาติฝรั ่งเศสเปิ ดเผยว่า การผลิตภาคอุตสาหกรรมของฝรั ่งเศสปรับตัวลง 0.9% ในเดือนก.พ. ขณะทีน่ ักเศรษฐศาสตร์ คาดว่าจะลดลง 0.3% เนื่องจากรัฐบาลฝรั ่งเศสยังไม่สามารถฟื้นเศรษฐกิจให้รอดพ้นจากภาวะถดถอยทีย่ ดื เยือ้ มาหลายปี ได้ ■ เยอรมนี :สานักงานสถิตแิ ห่งชาติรายงานว่า ยอดสั ่งซือ้ ภาคโรงงานของเยอรมนีเพิม่ ขึน้ 2.2% (m-o-m) ในเดือนมีนาคม บ่งชีว้ ่าเศรษฐกิจเริม่ กลับมาขยายตัวอีกครัง้ และเพิม่ ขึน้ สวนทางกับตัวเลขทีน่ ักวิเคราะห์ ไว้ว่าจะลดลง 0.5% ■ อิ ตาลี :รัฐสภาอนุมตั แิ ผนเศรษฐกิจประจาปี 2556 โดยแผนดังกล่าวได้วางกรอบนโยบายทีส่ ง่ เสริมการขยายตัวและมาตรการต่างๆในการฟื้ น เศรษฐกิจทีช่ ะงักงัน ซึง่ ตามแผนดังกล่าวยอดขาดดุลงบประมาณของอิตาลีในปี 2556 จะอยูท่ ่ี 2.9% ของจีดพี ตี ่ากว่าระดับเพดาน 3% ทีอ่ ยี กู าหนดไว้ :กระทรวงการคลังอิตาลีรายงานว่ารายได้จากการจัดเก็บภาษีในไตรมาสแรกปี น้ี ปรับลดลง 0.3% แตะ 8.78 หมื่นล้านยูโร ซึง่ ลดลง 223 ล้านยูโรจาก ช่วงไตรมาส 1 ปี ทแ่ี ล้ว เนื่องจากเศรษฐกิจของประเทศยังคงเผชิญภาวะถดถอยทีย่ ดื เยือ้ ■ ญี่ปน:สมาคมผู ุ่ น้ าเข้ายานยนต์รายงานว่า ยอดขายรถยนต์ใหม่นาเข้าในญี่ป่นุ รวมทัง้ รถยนต์ของผูผ้ ลิตญี่ปนุ่ ทีผ่ ลิตในต่างประเทศในเดือนเมษายน เพิม่ ขึน้ 35.5%yoy สูร่ ะดับ 20,596 คัน ในจานวนทัง้ หมดนัน้ ยอดขายรถยนต์ รถบรรทุกและรถบัสแบรนด์ต่างประเทศเพิม่ ขึน้ 33.2% สู่ระดับ 16,274 คัน ขณะทีย่ อดขายรถยนต์แบรนด์ญ่ปี นุ่ เพิม่ ขึน้ 44.7% สูร่ ะดับ 4,322 คัน ■ จีน :การส่งออกในเดือนเมษายนเพิม่ ขึน้ 14.7% mom สูงขึน้ จากทีข่ ยายตัว 10% ในเดือนมีนาคม และสูงกว่าการคาดที่ 9.2% ส่วนการนาเข้า เพิม่ ขึน้ 16.8% สูงขึน้ จากเดือนมีนาคมทีข่ ยายตัว 14.1% ส่งผลให้เดือนเมษายนจีนเกินดุลการค้า 18.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ : สานักงานสถิตฯิ รายงานดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) เดือนเม.ย. ปรับตัวลง 2.6% yoy ซึง่ เป็ นการปรับตัวลงในอัตราทีร่ วดเร็วกว่าเดือนมี.ค.ซึ่งปรับตัว ลดลง 1.9% และดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) เดือนเม.ย.ของจีน ขยายตัว 2.4%yoy เพิม่ ขึน้ จากเดือนมี.ค.ทีข่ ยายตัว 2.1% ■ ออสเตรเลีย : การจ้างงานเดือนเม.ย.เพิม่ ขึน้ 50,100 รายจากเดือนก่อน และมากกว่าทีน่ ักวิเคราะห์สว่ นใหญ่คาดการณ์ไว้ ขณะทีอ่ ตั ราว่างงาน ลดลงมาอยูท่ ร่ี ะดับ 5.5% จาก 5.6% สะท้อนให้เห็นว่า ตลาดแรงงานสามารถรับมือกับแนวโน้มเศรษฐกิจภายในประเทศทีซ่ บเซาได้
Thailand updates : ■ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ไอแบงก์) เปิ ดเผยว่า กระทรวงการคลังอนุมตั แิ ผนฟื้นฟูไอแบงก์เรียบร้อยแล้ว โดยกระทรวงการคลังในฐานะผูถ้ อื หุน้ ใหญ่เห็นชอบเรื่องเพิม่ ทุนให้ไอแบงก์ 6 พันล้านบาท แยกเป็ นเงินจากกระทรวงการคลัง 3 พันล้านบาท และเงินจากผูถ้ อื หุน้ ธนาคารออมสินและ ธนาคารกรุงไทยอีก 3 พันล้านบาท โดยเงินเพิม่ ทุนครัง้ นี้จะมาจากเงินงบประมาณปี 2557 คาดว่าจะสามารถเบิกได้ในช่วงไตรมาสแรกปี งบประมาณ 2557 หรือในช่วงเดือน ต.ค. ปี 2556 ■ เงินบาทปิ ดตลาด ( 8 พค.) ทีร่ ะดับ 29.35/37 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัว และมีแนวโน้มแข็งค่าขึน้ ตามค่าเงินภูมภิ าค
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก ดาวโจนส์ปิดบวก 48.92 จุด หรือ 0.32% แตะที่ 15,105.12 จุด ดัชนี S&P 500 ปิ ดบวก 6.73 จุด หรือ 0.41% แตะที่ 1,632.69 จุด และดัชนี Nasdaq ปิ ดบวก 16.64 จุด หรือ 0.49% แตะที่ 3,413.27 จุด เพราะได้แรงหนุนจากการพุ่งขึน้ ของหุน้ กลุ่มการเงิน นอกจากนี้ ตลาดยังได้รบั ปจั จัยบวกจากความแข็งแกร่งของข้อมูลการค้าของจีนและผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของเยอรมนี ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิพุ่งขึน้ 105.45 จุด หรือ 0.74% ปิ ดที่ 14,285.69 จุด ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดในรอบ 5 ปี ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 197.26 จุด หรือ 0.86% ปิ ดที่ 23,244.35 จุด ขานรับข้อมูลการค้าจีนทีด่ เี กินคาด ตลาดหลักทรัพย์ปิดตลาดช่วงบ่ายวันนี้ทร่ี ะดับ 1,614.15 จุด เพิม่ ขึน้ 13.00 จุด(+0.81%) มูลค่าการซือ้ ขาย 56,711.32 ล้านบาท ตลาดหลักทรัพย์ไทยปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 1,614.15 จุด เพิม่ ขึน้ 13.00 จุด (+0.81%) มูลค่าการซือ้ ขาย 56,711.32 ล้านบาท ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับประจำว ันที่ 23 เมษำยน พ.ศ. 2556
Page 1/2
MACRO VIEWS มุมมองมหภำค ี GLOBAL Research: เศรษฐกิจในมำเลเซย
HighLight :
หล ังกำรกำรเลือกตงั้
้ นโยบำยลดลง สหร ัฐฯยอดขอสว ัสดิกำรว่ำงงำนทำระด ับตำ ่ สุดในรอบ 5 ปี และเกำหลีใต้ลดอ ัตรำดอกเบีย 0.25% เป็น 2.50%
Global : ■ สหรัฐฯ : ยอดขอสวัสดิการว่างงานทาระดับต่าสุดในรอบ 5 ปี : ยอดขอสวัสดิการว่างงานใหม่สน้ิ สุดสัปดาห์ก่อนลดลง 4,000 ตาแหน่ ง เป็ น 323,000 ตาแหน่ง ต่าสุดนับตัง้ แต่เดือนม.ค. 2551 สะท้อนถึงการฟื้นตัวทีแ่ ข็งแกร่งของตลาดแรงงาน : สต็อกสินค้าค้าส่งเดือนมี.ค.เพิม่ ขึน้ มากกว่าคาด อยูท่ ่ี 0.4% mom จากทีค่ าด 0.3% mom เนื่องจากสต็อกสินค้ารถยนต์และเครื่องจักรปรับตัวเพิม่ ขึน้ และคาดว่าจะเป็ นปจั จัยหนุนเศรษฐกิจสหรัฐฯ ให้ฟ้ื นตัวขึน้ ในปี น้ี ขณะทีย่ อดขายสินค้าค้าส่งกลับหดตัวลง 1.6% mom เป็ นการหดตัวลงแรงสุดในรอบ 4 ปี สวนทางกับทีค่ าดจะเพิม่ ขึน้ 0.1% mom : การผลิตน้ ามันในสหรัฐฯ ทาระดับสูงสุดในรอบ 21 ปี ใกล้เคียงกับปริมาณการนาเข้าน้ ามัน ทาให้สว่ นต่างราคาระหว่างน้ ามันดิบ WTI และ Brent ทาระดับต่าสุดนับตัง้ แต่เดือน ธ.ค.54 US$7.72 ณ 8 พ.ค. ทัง้ นี้ EIA คาดกาลังการผลิตน้ ามันของสหรัฐฯ เฉลีย่ 7.1(1Q56) จะเพิม่ ขึน้ เป็ น 8.5 ล้านบาร์เรล/วันใน 4Q57 ■ สหภาพยุโรป : นักลงทุนประเมิน ECB จะคงอัตราดอกเบีย้ นโยบาย 0.50% ไปจนถึงสิน้ ปี 2557 เนื่องจากอัตราเงินเฟ้อยังคงต่ากว่าเป้าหมายระยะ ยาว 2.0% คาดปี น้ีจะอยูท่ ่ี 1.6% และ 1.4% ในปี หน้า ■ อังกฤษ : BoE คงนโยบายการเงินตามคาดทัง้ อัตราดอกเบีย้ นโยบาย 0.50% และวงเงินการเข้าซือ้ สินทรัพย์ GBP3.75 แสน และผลผลิตภาคอุตฯ อังกฤษ ออกมาดีกว่าคาด: เดือนมี.ค.ขยายตัว 0.7% mom จากเดือนก.พ. เพิม่ ขึน้ 0.9% mom ดีกว่าที่คาดที่ 0.2% mom ทัง้ นี้เป็ นผลจากผลผลิต ไฟฟ้าและก๊าซทีเ่ พิม่ ขึน้ 2.4% mom เป็ นระดับสูงสุดนับตัง้ แต่เดือนต.ค.2554 ■ จีน : ยอดขายรถยนต์เดือนเม.ย. เพิม่ ขึน้ 13%: เป็ น 1.44 ล้านคัน เนื่องจากการออกรถยนต์รนุ่ ใหม่เพื่อเป็ นการกระตุ้นเศรษฐกิจ : อัตราเงินเฟ้อ เม.ย.ขยายตัวสูงกว่าคาด: +2.4% yoy จาก มี.ค.ที่ +2.1% yoy ขณะทีค่ าดเพียง 2.3% yoy โดยราคาอาหารขยายตัวเพิม่ ขึน้ ถึง 4.0% yoy จากเดือน มี.ค.ทีข่ ยายตัวเพียง 2.7% yoy ด้านดัชนีราคาผูผ้ ลิต -2.6% yoy หดตัวแรงกว่าทีต่ ลาดคาด -2.3% yoy สะท้อนถึงราคาสินค้าโภคภัณฑ์ทป่ี รับตัวลง รวมถึงกาลังการผลิตทีส่ งู เกิน ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้ลดอัตราดอกเบีย้ นโยบายลดลง 0.25% เป็ น 2.50% เป็ นผลจากค่าเงินวอนทีแ่ ข็งค่า ค่าเงินเยนอ่อนค่า ส่งผล กระทบต่อภาคการส่งออกของเกาหลีใต้
ธนาคารกลางสหรั ฐ (เฟด) updates สาขาชิคาโก้ เผยดัชนีกจิ:กรรมการผลิตทัวประเทศเดื ่ อนมี.ค. ซึง่ เป็ นดัชนีเศรษฐกิจถูกจับตาอย่างใกล้ชดิ ได้ปรับตัวลงมา Thailand อยู นแดนลบ าลดลงสู ่ระดัาเนิบน-0.23 ในเดือนมี.ค. จากระดับ 0.76 ในเดือนก.พ.วต่ในขณะที ค่ ่าอดันจากสิ ชนีเฉลีนย่ เชื ในรอบ 3 เดืวได้ อนลดลงแตะ ซึง่ ■ ่ใธปท.เผยว่ ผลการด งานของระบบธพ.ไตรมาสแรกที ผ่ า่ นมาขยายตั อเนื่อง สะท้ ่อขยายตั 13.2% yoy-0.01 โดยสิจาก นเชื่อ0.12 รถยนต์ เป็ นระดัวบมากที ต่ าสุดส่ นัดุ บ30% ตัง้ แต่ เดือนนธ.ค.ปี ทผ่ี ่าน บ่งชีว้ ่าอัตราการขยายตั วทางเศรษฐกิ ได้ลดลงสู ่ ากว่ม่าแนวโน้ ม ลบ.มาอยูท่ ่ี 13,225 ลบ. สาหรับ ขยายตั จากสิ เชื่อรวมจากโครงการรถคั นแรก อย่างไรก็ ตาม สินเชื่อจรถยนต์ มเี อ็่รนะดัพีบแตอลเพิ ขึน้ 1,700 :ปสมาคมนายหน้ มทรัพย์แล้ห่านบาท งชาติ รายงานยอดขายบ้านมือสองของสหรัฐในเดือนมี.ค.ลดลง 0.6% สูร่ ะดับ 4.92 ล้านยูนิต ซึงสวน จั จุบนั มียอดคงค้าาอสั งทังง้ สิหาริ น้ 820,000 ทางกับคาดการณ์ของนักวิเคราะห์สว่ นใหญ่ทว่ี ่ายอดขายจะเพิม่ สูงขึน้ แสดงให้เห็นว่าตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยของสหรัฐยังไม่มกี ารฟื้นตัวอย่างยังยื ่ น ■ เงินบาทปิ ดตลาด ( 9พค.) ระดับ 29.44/46 บาท/ดอลลาร์และเมื่อเช้ า นี ้ อ ยู ท ่ ร ่ ี ะดั บ 29.63/64 บาท/ดอลลาร์ เคลื ่ อ นไหวในทิ ศ ทางเดี ย วกั บ ค่ า เงิ น ในภู ม ภ ิ าค ั ยหลักทีผ่ ลักดันเศรษฐกิจของสหรัฐในปี น้ี ขณะทีน่ กั เศรษฐศาสตร์เชื่อกันว่าภาคทีอ่ ยู่อาศัยจะเป็ นหนึ่งในปจจั ■ เยอรมนี : ธนาคารกลางเยอรมนี หรือบุนเดสแบงก์ คาดการณ์เศรษฐกิจของเยอรมนีอาจจะมีการขยายตัวในช่วงไตรมาสแรกของปี น้ี และ US Asian markets : ป่ รับตัวดีขน้ึ และความต้องการทีเ่ พิม่ ขึน้ สาหร้บสินค้าประเภททุน ขณะที่ มีแนวโน้ม& จะกระเตื อ้ งขึน้ ในช่วงไตรมาส 2 จากตลาดแรงงานที ■ ตลาดหุ่อน้ นิมัวนของผู ลบ 22.50วในระดั จุด หรืบอที0.15% 15,082.62 จุกดารน่ ดัชานีจะมี S&P 500 มปิ ดขยายต้ ลบ 6.02 ความเชื ่ ยอร์ก ดาวโจนส์ บ้ ริโภคยัปงิ ดคงทรงตั ค่ ่อนข้าแตะที งสูง ่ และภาคบริ แนวโน้ ว จุด หรือ 0.37% แตะที่ 1,626.67 จุด และ ดัชนี Nasdaq ปิ ดลบ 4.10 จุด หรือ 0.12% แตะที่ 3,409.17 จุดเนื่องจากนักลงทุนเทขายทากาไรหลังจากดัชนีดาวโจนส์ทะยานขึน้ แตะระดับสูงสุดเป็ น ■ จีน : เอชเอสบีซี โฮลดิงส์ เผยดัชนีผจู้ ดั การฝา่ ยจัดซือ้ (PMI) ภาคการผลิตเบือ้ งต้นของจีน ลดลงแตะ 50.5 ในเดือนเม.ย. จาก 51.6 ใน ประวัตกิ ารณ์เมื่อวันก่อน เดื อนมี.ค. บ่งชีว้ ่าความต้องการจากต่างประเทศยังคงอ่อนแรง ข้อมูลดังกล่าวส่งผลให้มคี วามวิตกกังวลมากขึน้ เกีย่ วกับเศรษฐกิจจีน ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิปิดร่วงลง 94.21 จุด หรือ 0.66% แตะที่ 14,191.48 จุดจากนักลงทุนเทขายทากาไร ขณะทีเ่ งินเยนแข็งค่าขึน้ และเศรษฐกิจ ■ อิ นใ่ นภาวะที โดนี เซียไ่ ม่: แBKPM ค่างการลงทุ นโดยตรงจากต่ างประเทศ ของอินจุโดนี ยระหว่ างเดื อนม.ค.-มี บตัแวก่สูงดัขึชน้นี 27.7% จีนอยู น่นอน เผยมู ดัชนีฮลั ่งเส็ ลดลง 32.87 จุด หรือ 0.14% ปิ ดวันนี(FDI) ้ท่ี 23,211.48 ดหลัเซีงจากจี นเปิ ดเผยข้ อมูลเงิน.ค.ปรั เฟ้อ ได้ CPI และ (yoy)ทีส่ สูร้ร่ าะดั บ ม65.5 ล้ความ] างนล้ านรูกบั เปีนัยกห์ลงทุ(ราว พันล้ามนดอลลาร์ [พิ พ์ขตอ้ กกั หน้า 1 PPI งความวิ วลให้ นเกี6.744 ย่ วกับแนวโน้ เศรษฐกิจจี) นขณะทีเ่ ม็ดเงินลงทุนจากในและต่างประเทศในช่วง 3 เดือนแรกของปี เพิม่ ขึน้ 30.6% สูร่ ะดับ 93 ล้านล้านรูเปี ยห์ ได้รบั แรงหนุนจากการปรับเพิม่ อันดับเครดิตจากมูดสี ์ อินเวสเตอร์ เซอร์วสิ และฟิทช์ เรทติง้ ส์ สู่ ระดับน่าลงทุนในช่วงทีผ่ ่านมา ซึง่ ช่วยดึงดูดกลุ่มผูจ้ ดั การกองทุนให้นาเม็ดเงินเข้ามาลงทุนในอินโดนีเซีย ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS ■ เกาหลีใต้ : กระทรวงการคลังเกาหลีใต้ ออกมาปฏิ เสธรายงานของสือ่ ทีร่ ะบุว่า กลุม่ ประเทศ G20 ได้ให้การสนับสนุนอย่างเต็มทีส่ าหรับ จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com เงินเยนทีอ่ ่อนค่า และนโยบาย "อาเบะโนมิกส์" โดยกระทรวงระบุว่าทีป่ ระชุมได้แสดงความวิตกกังวลเกีย่ วกับ ผลกระทบด้านลบทีไ่ ม่ได้ตงั ้ ใจ
Macroeconomic Policy Bureau GLOBAL Research:
ฉบ ับที่ 18 ประจำว ันที่ 17 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
ี หล ังกำรกำรเลือกตงั้ เศรษฐกิจในมำเลเซย
ผลการเลือกตัง้ ทัวไปของประเทศมาเลเซี ่ ย ทีจ่ ดั ขึน้ เมื่อวันที่ 5 พ.ค. นายนาจิบ ราซัค หัวหน้าพรรคอัมโนและผูน้ าพรรคแนวร่วมแห่งชาติ “บาริซาน” (บีเอ็น) ได้เป็ น นายกรัฐมนตรีสมัยที่ 2 คว้าชัยชนะได้ทน่ี งไป ั ่ 133 จากทัง้ หมด 222 สูญเสียไป 4 ทีน่ งั ่ เมื่อเปรียบเทียบ 137 ทีน่ งก่ ั ่ อนการเลือกตัง้ ขณะทีพ่ รรคแนวร่วม “ปากาตัน รัคยัต” หรือพรรคแนวร่วมฝา่ ยค้าน 3 พรรค นาโดยพรรคความยุตธิ รรมปวงชน ( พีเคอาร์ ) ของนายอันวาร์ อิบราฮิม ตามมาเป็ น อันดับ 2 ได้ไป 89 ทีน่ งั ่ การเลือกตัง้ ครัง้ นี้ มีจานวนผูม้ าใช้สทิ ธิอยู ์ ่ท่ี 10 ล้านคน จาก ทัง้ หมด 13 ล้านคน คิดเป็ นร้อยละ 80 สูงทีส่ ดุ เป็ นประวัตกิ ารณ์ ผลกระทบเศรษฐกิ จมหภาค: แม้ว่านายกรัฐมนตรี นาจิบ ราซัค จะไม่สามารถได้ 140 ทีน่ งตามที ั่ ส่ ญ ั ญาไว้ แต่เชื่อว่าพรรคอัมโน ตอนนี้ยงั แข็งแกร่ง ซึ่งนักวิ เคราะห์มองว่าด้านเศรษฐกิ จมหภาคเป็ นบวกมากกว่าทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว เนื่องจากนายราจิบฯให้ ความสาคัญต่อการปฏิ รปู ภาคการคลังเป็ นอันดับต้นๆ โดยมีเป้าหมายทีจ่ ะลดอัตราการขาดดุลต่อจีดพี ลี ง 3% และหนี้สาธารณะต่อจีดพี ี 50% ภายในปี 2015 นี้ ทัง้ นี้ งบประมาณรายจ่ายและรายได้ตอ้ งได้รบั ปฏิรปู รวมถึงการตัดลดงบประมาณเงินอุดหนุน(น้ามันเชือ้ เพลิง) ภายในปี น้แี ละปฏิรปู การภาษีสนิ ค้าและบริการ (GST) ในปี ถดั ไป แผนปฏิรปู ดังกล่าวจะทาให้ฐานะทางการเงินของประเทศดีขน้ึ หากสามารถยกเลิกเงินอุดหนุนน้ามันเชือ้ เพลิงของปี น้ีได้ ซึง่ มีประมาณ หมื่นล้านริงกิต คาดว่าจะทาให้ขาดดุลต่อ GDP ลดลง1 % มาอยู่ท่ี 3.5% ซึง่ ทีผ่ ่านมาไม่สามารถทาได้เลย นับตัง้ แต่ก่อนวิกฤติเลห์แมน อย่างไร ก็ตาม เชื่อว่ารัฐบาลคงจะทะยอยลดการอุดหนุนน้ามันเชือ้ เพลิง มากกว่าทีจ่ ะยกเลิกให้ครบหมดภายในปี เดียว คาดการณ์ว่าอัตราการเติ บโตของเศรษฐกิ จจริงจะยังคงแข็งแกร่งอยู่ท่ี 5.8% หากนโยบาย “ Economic Transformation Program” ยังคงเน้นในเรื่อง12 เศรษฐกิจหลักเหมือนเดิม หมายความว่า อุปสงค์ภายในประเทศ และการลงทุนต้องเป็ นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และการ ส่งออกจะได้รบั แรงส่งให้เติบโตตัง้ แต่ 2Q13 เป็ นต้นไป การยกเลิกเงินอุดหนุนน้ามันเชือ้ เพลิงจะหมายถึง การเร่งให้เงินเฟ้อขึน้ แต่ขา่ วดีคอื หากสามารถทาได้ในช่วงเวลาอัตราเงินเฟ้อต่ามาก การ ยกเลิกจะทาให้อตั ราเงินเฟ้อปรับขึน้ เพียง 0.5 เป็ น 2.5% ในปี 2013 และสามารถยกเลิกเงินอุดหนุนให้หมดภายในปี น้ี อัตราดอกเบี้ย ธนาคารกลางของมาเลเซีย (BNM)จะกาหนดช่วงอัตราดอกเบีย้ อยู่ ในช่วง 2-3% เพื่อเอือ้ ต่อการกระตุน้ เศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ด้วยปจั จัยอื่น ๆ ภายใต้ เศรษฐกิจทีแ่ ข็งแกร่งและหนี้ครัวเรือนทีส่ งู ขึน้ เชื่อว่าจะทาให้ธนาคารกลาง จะปรับ อัตราดอกเบีย้ ขึน้ 50 bps อยู่ท่ี 3.50% ในช่วงปลายปี น้ี ค่าเงิ น จากความต่อเนื่องบางนโยบายทางเศรษฐกิจของมาเลเซีย เป็ นประโยชน์สาหรับ ค่าเงินริงกิต คาดว่าจะแข็งค่าขึน้ ในอนาคตอันใกล้น้ี อย่างไรก็ตาม ค่าเงินริงกิตมีแนวโน้ม ั ผันผวน หากปญหาการเมื องกดดันผลการเลือกตัง้ การเป็ นนายกฯของนายนาจิบ การลงทุนโดยตรง ยังคงไม่แน่นอนจนกว่าจะมีความชัดเจนหรือนโยบายเดิมจะมีการสาน ต่อต่อไป แม้วา่ ช่วงทีผ่ ่านมาเห็นแนวโน้มกระแสเงินลงทุนออกนอกประเทศ ซึง่ ต้องจับตา มองการถือครองสินทรัพย์และตราสารหนี้ต่างประเทศ นักวิ เคราะห์ยงั คงให้น้าหนักปานกลางสาหรับการถือครองพันธบัตรของมาเลเชีย แม้พบว่าการถือครองพันธบัตรโดยต่างชาติปรับตัวสูงขึน้ มากจาก 42 พันล้านริงกิต ตอนนายนาจิบฯเข้ารับตาแหน่งนายกรัฐมนตรีในเมษายนปี 2009 และเป็ นปรับสูงขึน้ อยู่ท่ี 225 พันล้านริงกิต ใน ธันวาคม 2012 เมื่อรัฐบาลมีการยืนยันจะปฏิรปู เศรษฐกิจให้เอือ้ ต่อการลงทุนและการค้าเสรี และในเดือนมีนาคม 2013 การถือครองยังคงไม่ ั บนั ชาวต่างชาติถอื ครองพันธบัตรมาเลเซียสูงทีส่ ดุ ในเอเซีย อยูท่ี 36% แต่ยงั ต่า เปลีย่ นแปลงมากนะโดยลดลงอยู่ท่ี 224 พันล้านริงกิต โดยปจจุ กว่าประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ อยู่ท่ี 76% และ66% อย่างไรก็ตาม ล่าสุดยังมีการชุมนุมประท้วงกว่า 5 หมื่นคน เพื่อต่อต้านผลการเลือกตัง้ ว่าไม่บริสทุ ธิยุ์ ตธิ รรม ฝา่ ยรัฐบาลทีน่ งมาอย่ ั่ างไม่ชอบ อย่างน้อยกว่[พิ า 30 ่ ซึง่ ต้องรอดูว่าปญั หาทางการเมืองจะมีการยืดเยือ้ แค่ไหน ซึง่ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจอย่างหนีไม่พน้ หน้า 2 มพ์ทีขน่ อ้ งัความ] MalaysiaElection, BySuSian Lim ,HSBC,May6,2013 and onlinenews รายงานฉบับนีจ้ ัดทาเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จัดทาไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ประจำว ันที่ 14 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภำค
ิ ค ้าคงคลังมี.ค.ไม่เปลีย HighLight : สหรัฐฯสต็อกสน ่ นแปลงและยอดค ้าปลีกเม.ยเพิม ่ ขึน ้ 0.1%
Global :
■ สหรัฐอเมริกา : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยสต็อกสินค้าคงคลังภาคธุรกิจในเดือน มี.ค.ไม่เปลีย่ นแปลงทีร่ ะดับ 1.270 ล้านล้านดอลลาร์ บ่งชีว้ า่ ภาค
ธุรกิจยังมีความไม่แน่ ใจเกีย่ วกับการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจ ส่วนยอดขายรวมของทัง้ ภาคการผลิต ภาคค้าส่ง และภาคค้าปลีกในเดือน มี.ค.ลดลง 1.1% - ยอดค้าปลีกเดือน เม.ย.เพิม่ ขึน้ 0.1% ซึง่ สวนทางคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ทว่ี า่ ตัวเลขจะลดลงต่อเนื่องจากในเดือน มี.ค. โดยยอดค้าปลีกเดือน เม.ย.ทีเ่ พิม่ ขึน้ ผิดคาดแสดงให้เห็นว่าผูบ้ ริโภคมีการใช้จา่ ยเพิม่ มากขึน้ ซึง่ ส่งสัญญาณถึงความเชื่อมั ่นเกีย่ วกับการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจ ส่วนตัวเลขค้า ปลีกในเดือน มี.ค.มีการปรับทบทวนมาอยูท่ ล่ี ดลง 0.5% จากเดิมทีร่ ายงานไว้วา่ อ่อนแรงลง 0.4% ■ สหภาพยุโรป : ผลการประชุมรมว.คลังกลุ่มประเทศ G7 ทีป่ ระเทศอังกฤษมีมติร่วมกันดังนี้ 1)จะไม่กาหนดเป้าหมายอัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงิน ต่างประเทศ 2)ยังไม่จาเป็ นต้องมีแผนการสร้างความแข็งแกร่งด้านการคลัง ในระยะกลาง 3) การสร้างความแข็งแกร่งด้านการคลังเพื่อเอื้อต่อการ ขยายตัว 4) แนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจในกลุ่ม G7 ยังคงไม่เท่าเทียบกัน 5)ผลักดันมาตรการรับมือกับภาคธนาคารทีป่ ระสบปญั หา โดยไม่ตอ้ ง ผลักภาระให้กบั ประชาชนผูเ้ สียภาษี ■ ไซปรัส: กองทุนกลไกรักษาเสถียรภาพยุโรป (ESM) ได้ตดั สินใจเบิกจ่ายเงินช่วยเหลืองวดแรกแก่ไซปรัส โดยระบุในแถลงการณ์ว่า ได้มกี ารโอน เงินกูช้ ่วยเหลือวงเงิน 2 พันล้านยูโร (ราว 2.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ส่วนเงินงวดที่ 2 จานวน 1 พันล้านยูโรจะมีการเบิกจ่ายก่อนวันที่ 30 มิถุนายน ■ จีน : สานักงานสถิตแิ ห่งชาติจนี เปิ ดเผยว่า ผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของในเดือนเม.ย.ขยายตัว 9.3% yoyแล้ว ขยายตัวขึน้ จากระดับ 8.9% ใน เดือนมี.ค. กระทรวงการคลังจีนเปิ ดเผยรายได้ทางการคลังในเดือนเม.ย.เพิม่ ขึน้ 6.1% yoy แตะ 1.14 ล้านล้านหยวน (1.8366 แสนล้านดอลลาร์) ■ ออสเตรเลีย: สานักงานสถิตเิ ปิ ดเผยว่า ยอดอนุมตั สิ นิ เชื่อบ้านปรับตัวเพิม่ ขึน้ สูงสุดในรอบ 4 ปี ในเดือนมี.ค. หลังจากที่ธนาคารกลางออสเตรเลียได้ ปรับลดอัตราดอกเบีย้ ลงเพื่อดึงดูดผูท้ ส่ี นใจซือ้ บ้าน โดยปริมาณสินเชื่อทีอนุมตั ใิ ห้กบั ผูท้ ต่ี อ้ งการสร้างหรือซือ้ บ้านและอพาร์ทเมนท์ เพิม่ ขึน้ 5.2% จากเดือนก.พ.ซึง่ ขยายตัว 2.1%
Thailand updates : ■ ผลการประชุมร่วมกันระหว่างกระทรวงการคลัง กนง. ธปท. และภาคเอกชน 3 สถาบัน หารือ 4 เรื่องสาคัญ 1)การใช้จา่ ยภาครัฐอย่างมีประสิทธิภาพ 2)การสร้างบรรยากาศการ ลงทุนให้เกิดการลงทุนใหม่หรือขยายการลงทุนเดิม 3)ทิศทางและกาลังซือ้ ของผูบ้ ริโภค 4)สถานการณ์การส่งออกและการท่องเทีย่ ว ทัง้ นี้ ปญั หาเงินบาททีแ่ ข็งค่าเกินไปและมีความ ผันผวนจะทาให้การส่งออกขยายตัวลาบาก ซึง่ ทุกภาคส่วนควรดูแลและทางานร่วมกันให้เงินบาทเคลื่อนไหวอย่างมีเสถียรภาพ ■ เงินบาทปิ ดตลาด( 13พค.) ทีร่ ะดับ 29.71/73 บาท/ดอลลาร์ และปรับตัวแข็งขึน้ เปิ ดตลาดเช้านี้อยูท่ ร่ี ะดับ 29.56/58 บาท/ดอลลาร์เคลื่อนไหวใน ทิศทางเดียวกับค่าเงินในภูมภิ าคและผลประชุมภาครัฐเพื่อแก้ปญั หาค่าเงินบาทไม่มอี ะไรมากนัก
US & Asian markets : ■ ตลาดหุ้นนิ วยอร์ก (13 พค.) ดัชนีดาวโจนส์ปิดลบ 26.81 จุด หรือ 0.18% แตะที่ 15,091.68 จุด เนื่องจากนักลงทุนเทขายทากาไรหลังจากดัชนีดาว โจนส์ทะยานขึน้ แตะระดับสูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์เมื่อวันก่อนดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 0.07 จุด ปิ ดที่ 1,633.77 จุด และดัชนี Nasdaq ปิ ดบวก 2.21 จุด หรือ 0.06% แตะที่ 3,438.79 จุด ■ ตลาดหุ้นเอเชีย ดัชนีนิกเกอิปิดพุ่งขึน้ 174.67 จุด หรือ 1.20% แตะที่ 14,782.21 จุด ซึง่ เป็ นระดับปิ ดสูงสุดนับตัง้ แต่วนั ที่ 28 ธ.ค. 2550เนื่องจากหุน้ กลุ่มส่งออกทะยานขึน้ หลังจากสกุลเงินเยนอ่อนค่าลง ภายหลังจากมีรายงานว่ารมว.คลังกลุ่มประเทศ G7 ไม่ได้วพิ ากษ์วจิ ารณ์นโยบายผ่อนคลายทาง การเงินเชิงรุกของญี่ปนุ่ ในการประชุมล่าสุด ดัชนีฮ ั ่งเส็งลดลง 331.41 จุด หรือ 1.42% ปิ ดวันนี้ท่ี 22,989.81 จุด SET Indexปิ ดทีร่ ะดับ 1,617.73 จุด ลดลง 4.75 จุด(-0.29%) มูลค่าการซือ้ ขาย 42,757 ล้านบาท ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจำว ันที่ 15 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภำค
HighLight : ตัวเลขเศรษฐกิจสหัรฐฯออกมาค่อนข ้างดีและหนีค ้ รัวเรือนอยูใ่ นระดับตา่ สุดนับตัง้ แต่ปี 2549
Global :
สหรัฐอเมริกา : ดัชนีราคานาเข้าหดตัวลงเดือนเม.ย.: เป็ น -0.5% mom จากเดือนมี.ค. -0.2% mom เทียบกับนักวิเคราะห์คาด -0.5% mom เป็ นผลจากราคาน้ามันทีล่ ดลง 1.9% mom และดัชนีราคาส่งออกลดลงเช่นกันเดือนเม.ย.ลดลง 0.7% mom จากมี.ค. -0.5% mom เทียบกับคาดที่ -0.1% mom จากราคาสินค้าเกษตรทีล่ ดลงแรง 2.2% mom : หนี้ครัวเรือนอยู่ในระดับต่าสุดนับตัง้ แต่ปี 2549 ใน 1Q56 ระดับหนี้ครัวเรือนลดลง 1.0% qoq เป็ น US$11.2 ล้านล้าน ต่าสุดนับตัง้ แต่ปี 2549 และเทียบกับระดับสูงสุดใน 3Q51 ที่ US$12.7 ล้านล้าน ทัง้ นี้ระดับหนี้ฯ ลดลง US$1.10 แสนล้านใน 1Q56 และการผิดนัดชาระหนี้ ลดลงในวงกว้าง ส่วนหนี้การศึกษากลับเพิม่ ขึน้ US$9.86 แสนล้าน ■ เยอรมัน: ดัชนีความเชื่อมันนั ่ กลงทุนเยอรมันออกมาแย่กว่าคาดเดือนพ.ค.อยู่ท่ี 36.4 จุด เพิม่ ขึน้ จากเดือนเม.ย.ที่ 36.3 จุด แต่ต่ากว่า คาดที่ 40.0 จุด ■อังกฤษ: ราคาบ้านในอังกฤษทาระดับสูงสุดในรอบเกือบ 3 ปี ดัชนีราคาบ้านเดือนเม.ย.ขยับขึน้ เป็ น 1.0 จาก -2.0 จุดในเดือนมี.ค. ถือ เป็ นตัวเลขทีส่ งู กว่า 0 เป็ นครัง้ แรกนับตัง้ แต่เดือนมิ.ย. 2553 สะท้อนมุมมองของตลาดต่อทิศทางราคาบ้านมีแนวโน้มสูงขึน้ มากกว่าลดลง ■ จีน : สานักงานสถิตแิ ห่งชาติจนี เปิ ดเผยว่าผลผลิตภาคอุตสาหกรรมของในเดือนเม.ย.ขยายตัว 9.3% yoy จากระดับ 8.9% ในเดือนมี.ค. :กระทรวงการคลังจีนเปิ ดเผยรายได้ทางการคลังในเดือนเม.ย.เพิม่ ขึน้ 6.1% yoy แตะ 1.14 ล้านล้านหยวน (1.8366 แสนล้านดอลลาร์) ■ เกาหลีใต้: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติเกาหลีใต้รายงาน อัตราว่างงานของเกาหลีใต้ปรับตัวลงมา0.3อยู่ทร่ี ะดับ 3.2% ในเดือนเม.ย. เนื่องจากมีการสร้างงงานเพิม่ ขึน้ ซึง่ สะท้อนให้เห็นว่าภาวะตลาดแรงงานของเกาหลีใต้กาลังฟื้นตัวขึน้ ■ อิ นเดีย: นาเข้าทองคาเพิม่ ขึน้ 138% yoy ในเดือนเม.ย.: คิดเป็ นมูลค่า US$7.5 พันล้าน หรือเพิม่ ขึน้ 72% mom ส่งผลให้ขาดดุลการค้า มากถึงUS$ 1.78 หมื่นupdates ล้าน ส่งผลให้ทางการออกกฎควบคุ มการนาเข้าทองคาของธนาคารพาณิชย์ โดยจะนาเข้าทองคาได้กต็ ่อเมื่อมีคาสัง่ Thailand : ซือ้ คณะรั ทีแ่ น่นฐอน ■ มนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2557ประกอบด้วย งบประมาณรายจ่าย วงเงิน 2.525 ล้านล้านบาท งบประมาณรายได้ 2.275 ล้านล้านบาท โดยเป็ นงบประมาณแบบขาดดุลที่ 2.5 แสนล้าน บาท ลดลงกว่าปี งบประมาณ 2556 จานวน 5 หมื่นล้านบาท ซึง่ นับเป็ นการขาดดุลเพียง 1.9% ของจีดพี ี ■ เงินบาทเปิ ดตลาดเช้านี้อยู่ทร่ี ะดับ 29.71/73 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าลงจากช่วงเย็นวานนี้ทป่ี ิดตลาดทีร่ ะดับ 29.65/67 บาท
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (14 พค.) ดาวโจนส์พุ่งขึน้ ขึน้ 123.57 จุด หรือ 0.82% ปิ ดที่ 15,215.25 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 16.57 จุด หรือ 1.01% ปิ ดที่ 1,650.34 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 23.82 จุด หรือ 0.69% ปิ ดที่ 3,462.61 จุด โดยดัชนีดาวโจนส์ และ S&P 500 ทะยานขึน้ แตะระดับสูงสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ เนื่องจากนักลงทุนเข้าซือ้ หุน้ กลุ่มธนาคารอย่างคึกคัก และยังขานรับการแสดงความคิดเห็นในด้านบวก ของผูจ้ ดั การกองทุนเฮดจ์ฟนั ด์ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิปิดลบ 23.79 จุด หรือ 0.16% แตะที่ 14,758.42 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้ ร่วงลง 24.91 จุด หรือ 1.11% ปิ ดที่ 2,217.01 จุด SET INDEX ไต่ระดับขึน้ ทาระดับสูงสุดของวัน 1,629 จุด ปิ ดที่ 1,623.48 จุด บวก 5.75 จุด ด้วยมูลค่าการซือ้ ขายทีด่ ขี น้ึ 50,775 ล้านบาท เงินทุนต่างชาติไหลเข้าตลาดตราสารหนี้ สุทธิ 3.7 แสนล้าน YTDแต่กลับขายสุทธิในตลาดหุน้ 1.3 หมื่นล้านบาท YTD
ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจำว ันที่ 16 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภำค HighLight : ด ัชนีรำคำผูผ ้ ลิต (PPI) และด ัชนีภำวะธุรกิจโดยรวมของสหร ัฐฯ ลดลง และจีดพ ี ข ี องกลุม ่ ี่ ง ประเทศอียไ ู ตรมำสแรกลดลง 0.1% ตอกยำ้ สถำนกำรณ์เศรษฐกิจย ังมีควำมเสย
Global : ■ สหรัฐฯ : กระทรวงการคลังสหรัฐรายงานว่า การถือครองพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐทัง้ หมดโดยต่างชาติได้พงุ่ ขึน้ แตะระดับสูงสุดครัง้ ใหม่ในเมี.ค. ทีอ่ ยู่ ที่ 5.7584 ล้านล้านดอลลาร์ เพิม่ ขึน้ จาก 5.7188 ล้านล้านดอลลาร์ในเดือนก.พ. และเพิม่ ขึน้ เป็ นเดือนที่ 15 ติดต่อกัน บ่งชีถ้ งึ ความต้องการทีแ่ ข็งแกร่ง สาหรับพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐ ท่ามกลางวิกฤตหนี้ยโู รโซน โดยจีนถือครองพันธบัตรฯมากทีส่ ุด : ดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) เม.ย.ปรับตัวลดลง 0.7% (m-o-m) นับว่าหดตัวลงมากทีส่ ุดในรอบกว่า 3 ปี แสดงว่าอุปสงค์ในประเทศซบเซา จากการทีร่ าคา พลังงานลดลงถึง 2.5% (m-o-m) เนื่องจากอุปสงค์น้ ามันทั ่วโลกลดลง ราคาอาหารก็ลดลง 0.8% โดยราคาผักผลไม้บางอย่างร่วงลงอย่างหนัก ส่วน ดัชนี PPI พืน้ ฐานซึง่ ไม่รวมราคาอาหารและพลังงานเพิม่ ขึน้ 0.1% : ดัชนีความเชื่อมั ่นผูส้ ร้างบ้านสหรัฐฯพค.ปรับขึน้ สูร่ ะดับ 44 จากระดับ 41 ในเม.ย. สูงกว่าทีค่ าดทีร่ ะดับ 43 บ่งชีว้ า่ ผูส้ ร้างบ้านมีมมุ มองต่อตลาดในเชิงลบ : ดัชนีภาวะธุรกิจโดยรวม ในพค.ลดลงสูร่ ะดับ -1.43 จากระดับ 3.05 ในเม.ย.นับเป็ นครัง้ แรกที่ดชั นีติดลบนับแต่มค.ปี น้ี ดัชนีคาสั ่งซือ้ ใหม่ลดลง 3 จุด สูร่ ะดับ 1.2 ขณะที่ดชั นีการส่งออกแทบไม่เปลีย่ นแปลงทีร่ ะดับ 0 ซึง่ ส่งสัญญาณว่าการส่งออกอยูใ่ นภาวะทรงตัว ■ ยุโรโซน : ยูโรสแตทรายงานว่าจีดพี ขี องกลุ่มประเทศทีใ่ ช้สกุลเงินยูโร ลดลง 0.2% ในช่วงQ1/13 เมื่อเทียบกับ Q4/12 และ หดตัวลง 1.0%yoy ส่วน จีดพี ขี องกลุ่มประเทศอียไู ตรมาสแรก ลดลง 0.1%qoqและอ่อนแรงลง 0.7%yoy ตอกย้าให้เห็นว่าภูมภิ าคยังคงเผชิญภาวะถดถอย ■เยอรมัน:สานักงานสถิตแิ ห่งชาติรายงานว่าจีดพี เี บือ้ งต้นของเยอรมนีในไตรมาส 1 ปี น้ี ขยายตัว 0.1% จากระดับไตรมาส 4 ปี ท่แี ล้ว ซึ่งถือเป็ นตัว เลขทีต่ ่ากว่าตัวเลขทีค่ าด ไว้ว่าจะขยายตัว 0.3% ชีใ้ ห้เห็นถึงความเสีย่ งทีม่ ตี ่อแนวโน้มเศรษฐกิจของประเทศ ■ฝรั ่งเศส : สานักงานสถิตแิ ห่งชาติฯรายงาน จีดพี ี ไตรมาส 1/2556 ของฝรั ่งเศส หดตัวลง 0.2% หลังจากทีห่ ดตัวลง 0.2% ในไตรมาส 4/2555 เช่นกัน การหดตัวลงอย่างต่อเนื่องสร้างแรงกดดันให้รฐั บาลต้องใช้นโยบายต่างๆเพื่อกระตุน้ การขยายตัวของเศรษฐกิจภายในประเทศและ ดัชนีราคา ผูบ้ ริโภค (CPI) เม.ย.ลดลง 0.1% (m-o-m) จากทีเ่ พิม่ ขึน้ 0.8% ในมีค. ดัชนี CPI เพิม่ ขึน้ 0.7% (y-o-y) จาก 1.0% ในเดือนก่อน จากราคาพลังงานทีร่ ว่ งลง 1.1%
Thailand updates : ■ ธปท. เปิ ดเผยว่า ณ สิน้ ไตรมาส 1/2556 ธพ.ทัง้ ระบบมียอดการให้สนิ เชื่อคงค้างรวม 11.8 ลลบ. โดยปล่อยให้กบั กลุ่มอุปโภคบริโภคส่วนบุคคลมากสุด คิดเป็ นยอดคงค้างรวม 2.96 ลลบ.แบ่งเป็ นสินเชื่อทีป่ ล่อยเพื่อการจัดหาทีอ่ ยูอ่ าศัย 1.34 ลลบ.การซือ้ หรือเช่าซือ้ รถยนต์และรถจักรยานยนต์ 8.68 แสนลบ. การบริโภคส่วนบุคคลอื่น 7.17 แสนลบ. การซือ้ ทีด่ นิ 3.21 หมื่นลบ. การซือ้ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการอื่น 1.11 พันลบ. การเดินทางไปต่างประเทศเพื่อทางาน 241 ลบ.และเพื่อการศึกษา 142 ลบ. ■ เงินบาทเปิ ดตลาดอยูท่ ่รี ะดับ 29.71/73 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าลงจากช่วงเย็นวานนี้ทป่ี ิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.65/67 บาท/ดอลลาร์ เงินบาทในช่วงนี้ ค่อนข้างแกว่ง เพราะนักลงทุนรอดูความชัดเจนเรื่องนโยบายค่าเงินของในประเทศ
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก(15 พ.ค.) ปิ ดบวกเพราะได้แรงหนุนจากรายงานทีร่ ะบุวา่ ดัชนีความเชื่อมั ่นผูส้ ร้างบ้านของสหรัฐปรับตัวขึน้ เกินคาด อย่างไรก็ตาม ภาวะการซือ้ ขายเป็ นไป อย่างผันผวนเนื่องจากข้อมูลด้านอื่นๆบ่งชีถ้ งึ ภาวะอ่อนแอของเศรษฐกิจสหรัฐดัชนีเฉลีย่ อุตสาหกรรมดาวโจนส์ปิดบวก 60.44 จุด หรือ 0.40% แตะที่ 15,275.69 จุด ดัชนี S&P 500 ปิ ดบวก 8.44 จุด หรือ 0.51% แตะที่ 1,658.78 จุด และดัชนี Nasdaq ปิ ดบวก 9.01 จุด หรือ 0.26% แตะที่ 3,471.62 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิกเกอิปิดพุง่ 337.61 จุด หรือ 2.29% แตะที่ 15,096.03 จุด ซึง่ เป็ นระดับปิ ดสูงสุดนับแต่วนั ที่ 28 ธ.ค.2550โดยมีแรงหนุนจากเยนทีอ่ ่อนค่า ดัชนีเซีย่ งไฮ้ คอมโพสิตบวก 7.79 จุด หรือ 0.35% ปิ ดที่ 2,224.80 จุดดัชนีฮ ั ่งเส็งเพิม่ ขึน้ 113.96 จุด หรือ 0.50% ปิ ดวันนี้ท่ี 23,044.24 จุด SET INDEX เพิม่ ขึน้ 6.61 จุดปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 1,630.09 จุด (+0.41%)ทาจุดสูงสุดทีร่ ะดับ 1,635.42 จุด ซึง่ แรงหนุนทางบวกมาจากหุน้ ในกลุ่ม big cap. ได้แก่ กลุ่มธนาธพ. พลังงาน อาหาร วัสดุก่อสร่าง เป็ นต้น ส่งผลให้ SET Index ยังคงเดินหน้าปรับตัวขึน้ ทาจุดสูงสุดใหม่รอบ 18 ปี เป็ นรายวัน ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับประจำว ันที่ 17 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
MACRO VIEWS มุมมองมหภำค GLOBAL Research: ธนูดอกที่สามของอะเบะ ...ยังคงไม่ สามารถทาให้ เศรษฐกิจถดถอยของญี่ปุ่นกลับมาฟื ้ นตัวได้
HighLight : ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯออกมาแย่กว่าคาด ขณะทีส่ ง่ ออกในยูโรโซนขยายตัวต่อเนือ่ งดีกว่าคาด
Global : ■ สหรัฐฯ : ยอดขอสวัสดิการว่างงานใหม่เพิม่ ขึน้ สิน้ สุดสัปดาห์ก่อน 32,000 ตาแหน่ง เป็ น 360,000 ตาแหน่ง(คาด 330,000 ตาแหน่ง) : ดัชนีราคาผูบ้ ริโภค (CPI) ทั ่วไปเดือนเม.ยลดลง 0.4% (m-o-m) มากกว่าทีส่ ว่ นใหญ่คาดว่าจะลดลง 0.2% จากการทีต่ ้นทุนราคาน้ ามันทีล่ ดลง : ยอดก่อสร้างบ้านเดือนเม.ย.ลดลง 16.5% mom เป็ น 853,000 หลัง(คาด 970.000 หลัง) และเป็ นระดับต่าสุดนับตัง้ แต่เดือนก.พ. 2554 จากเดือนมี.ค. ที่ 1.02 ล้านหลัง ทัง้ นี้เป็ นผลจากข้อจากัดของทีด่ นิ :ดัชนี Philadelphia Manufacturing หดตัวลงเดือนพ.ค. -5.2 จุดจากเม.ย. 1.3 จุด (คาด 2.0 จุด )เป็ นการหดตัวลงครัง้ แรกในรอบ 3 เดือน เนื่องจาก คาสั ่งซือ้ ทีล่ ดลง และภาคเอกชนลดการจ้างงานและจานวนชั ่วโมงการทางาน ■ ยุโรโซน : การส่งออกในยูโรโซนขยายตัวต่อเนื่อง มี.ค.เพิม่ ขึน้ 2.8% mom จากก.พ.ขยายตัว 0.2% mom ผลจากการส่งออกรถยนต์ของเยอรมันที่ ขยายตัว ส่วนการนาเข้าลดลง 1.0% mom จากทีเ่ ดือนก่อนหน้าหดตัวลง 2.2% mom ทาให้เกินดุลการค้า 1.87 หมื่นล้านยูโร เม.ย.ทีเ่ กินดุล 1.27 หมื่นล้านยูโร ■ อังกฤษ: จำนวนผู้วำ่ งงำนเพิม่ ขึ ้น 15,000 คน ในช่วง 3 เดือนแรกของปี นี ้ ส่งผลให้ มจี ำนวนทังสิ ้ ้น 2.52 ล้ ำนคน ขณะที่อตั รำว่ำงงำนในช่วง
ไตรมำสแรกปี นี ้อยูท่ ี่ 7.8% ข้ อมูลดังกล่ำวบ่งชี ้ว่ำตลำดแรงงำนยังไม่มีควำมแข็งแกร่งอย่ำงยัง่ ยืน ■ ตุรกี: Moody’s ปรับอันดับความน่าเชื่อถือของตุรกีขน้ึ เป็ น Baa3 ระดับ Investment grade ทีต่ ่าสุด จาก Ba1 พร้อมกับแนวโน้มคงที่ เนื่องจาก แนวโน้มเศรษฐกิจที่ดขี น้ึ พร้อมกับภาพรวมของหนี้สาธารณะ ■ญี่ปนุ่ : ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม มี.ค.ของญี่ปนุ่ หดตัวลงต่อเนื่อง -6.7% yoy จากเดือน ก.พ. -7.3% yoy สะท้อนภาคการผลิตของญี่ปนุ่ ทีย่ งั คงไม่ฟ้ื น ตัว ด้านอัตราการใช้กาลังการผลิตหดตัวลงเช่นกัน -0.8% mom จากเดือน ก.พ.ทีข่ ยายตัว 0.7% mom : ยอดการสั ่งซือ้ เครื่องจักรเดือน มี.ค.ของญี่ปนุ่ กลับขยายตัวสวนทางตลาดคาด: +2.4% yoy จากเดือน ก.พ.ที่ -11.3% yoy ขณะทีต่ ลาดคาดว่าหดตัว 4.9% yoy นอกจากนี้ยงั เป็ นการขยายตัว 14.2% mom เป็ นการขยายตัวมากสุดนับตัง้ แต่เดือน ม.ค. 2546 ■จีน:ยอดการลงทุนทางตรงจากประเทศเดือน เม.ย.ของจีนขยายตัวต่ากว่าคาด: +0.4% yoy อยูท่ ร่ี ะดับ US$8.4 พันล้าน ชะลอตัวลงจากเดือน มี.ค. +5.7% yoy และต่ากว่าคาดที่ 6.2% yoy เป็ นการเพิม่ ความกังวลต่อเศรษฐกิจของจีนใน 2Q56 อาจชะลอตัวลง
Thailand updates : ■ กระทรวงการคลังรายงานยอดหนี้สาธารณะคงค้างของไทย ณ สิน้ เดือนมีนาคม 2556 อยูท่ ่ี 5.121 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็ น 44.16% ของ GDP เทียบกับยอดหนี้สาธารณะ ณ สิน้ เดือนกุมภาพันธ์ 2556 อยูท่ ่ี 5.074 ล้านล้านบาท หรือคิดเป็ น 44.05% ของ GDP
■ เงินบาทเปิ ดตลาดเช้านี้(17พค.) 29.74 บาท/ดอลล่าร์สหรัฐ ยังอยู่ทรงตัวกับการปิ ดตลาดเย็นวานนี้ ตลาดรอดูผลการประชุม กนง. 29 พค.นี้
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก(17 พ.ค.)ดาวโจนส์ปิดที่ 15,233.22 จุด ลดลง 42.47 จุด หรือ -0.28% ปรับตัวลงจากแรงขายทากาไร เนื่องจากความกังวลว่าเฟดอาจลดขนาดโครงการ QE ลง ดัชนี S&P 500 ปิ ดลบ 8.31 จุด หรือ 0.50% แตะที่ 1,650.47 จุด และดัชนี Nasdaq ปิ ดลบ 6.37 จุด หรือ 0.18% แตะที่ 3,465.24 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย : ดัชนีนิกเกอิ ปิ ดตลาดที่ 13,220.07 จุด ลดลง 162.82 จุด -1.22% ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตตลาดหุน้ จีนเปิ ดแทบจะทรงตัวในโดยลดลง 0.09% แตะที่ 2,249.81 จุด ดัชนีหนุ้ หั ่งเส็ง ปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 21,512.52 จุด ลดลง 57.15 จุด หรือ -0.26% SET INDEX ปิ ดอยูท่ ่ี 1,617.89 จุด ลดลง 12.20 จุด หรือ -0.75% มูลค่าการซือ้ ขาย 5.68 หมื่นลบ.จาก [พิมพ์ขอ้ ความ] หน้า 1 การทะยอยขายของกองทุน Trigger Fund ขณะทีต่ ลาดตราสารหนี้นกั ลงทุนมีการซือ้ มากเป็ นวันที่ 2มากถึง 9,179 ล้านบาท รวม 2 วันทาการซือ้ สุทธิ 17,343 ล้านบาทยังคงเลือก ลงทุนในพันธบัตรระยะยาว อายุ 5-7-10 ปี ยอดซือ้ สุทธิ YTD ขยับขึน้ เป็ น 384,629 ล้านบาท ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau GLOBAL Research:
ฉบ ับที่ 19 ประจำว ันที่ 17 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
ธนูดอกที่สามของอะเบะ ...ยังคงไม่ สามารถทาให้ เศรษฐกิจถดถอยของญี่ปนกลั ุ่ บมาฟื ้ นตัวได้ * นโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจอย่างแรงได้ช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจของญี่ปุ่นในระยะสัน้ แต่การปฏิรปู โครงสร้าง คือยุทธศาสตร์หลักทีส่ าคัญสาหรับฟื้นฟูเศรษฐกิจมหภาคในระยะยาวของญี่ปุ่น * ความคืบหน้าในการปฏิรปู นโยบายเศรษฐกิจหลักห้าด้าน: 1) แรงงาน 2) ดูแลสุขภาพ 3) เกษตร 4) พลังงาน และ 5) อุตสาหกรรม * ทีมเศรษฐกิจของอะเบะพยายามอย่างเต็มทีใ่ นการผลักดันนโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อสร้าง ศักยภาพการแข่งขันของประเทศในช่วงกลางเดือนมิถุนายน แต่การขาดการประสานงานและ อุปสรรคต่างๆทาให้ มีความเสีย่ งทีก่ ารปฏิรปู กฎระเบียบต่างๆ เพื่อให้เอือ้ ต่อการเติบโตและ ฟื้นฟูเศรษฐกิจนัน้ จะถูกเพิกเฉยและเลื่อนออกไป
การเริม่ ต้นของนายกรัฐมนตรี ชินโสะ อะเบะ เป็ นทีน่ ่าประทับใจ โดยการนานโยบายกระตุน้ เศรษฐกิจมาใช้ทนั ที 2 ด้าน โดย เปรียบเสมือนยิงธนู 2 ดอก คือ 1) นโยบายการคลัง โดยใช้จา่ ยงบประมาณและ 2)นโยบายผ่อนคลายทางการเงิน ซึง่ ทาให้คา่ เงินเยนอ่อนค่าลงและ ส่งผลให้ตลาดทุนทาสถิตสิ งู สุดในรอบ 5 ปี จึงไม่ตอ้ งสงสัยว่านโยบายดังกล่าวประสบความสาเร็จในการกระตุน้ เศรษฐกิจญี่ปนุ่ ได้จริงในระยะสัน้ อย่างไรก็ตาม นโยบายอะเบะโนมิ กส์ (Abenomics *) เพื่อเศรษฐกิจทีเ่ ติบโตอย่างยั ่งยืนในระยะยาวนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ธนูดอกที่ 3 หรือ นโยบายลาดับที่ 3 ทีม่ คี วามสาคัญทีส่ ดุ คือ การปฏิรปู โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ซึง่ นายกฯอาเบะเข้าใจดี โดยตัง้ แต่ต้นปี ในเดือนกุมภาพันธ์ ได้ชแ้ี จง รัฐสภาให้เข้าใจถึงนโยบายพลังงานว่าต้องการนาเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ทป่ี ิ ดอยูม่ าเปิ ดใช้ให้เร็วทีส่ ุด เพื่อแก้ไขภาวะพลังงานขาดแคลนของประเทศ เดือนถัดมามีนาคม ประกาศญี่ปนุ่ ตัดสินใจเข้าร่วมเจรจาการค้าเสรีทพี พี (ี Trans-Pacfic Partnership :TPP) หรือข้อตกลงความเป็ นหุน้ ส่วนข้าม แปซิฟิกทีม่ สี หรัฐอเมริกาเป็ นผูร้ เิ ริม่ ดังนัน้ มีความคาดหวังว่านโยบายต่อไปจะเป็ นอย่างไร ซึง่ คาดว่าจะประกาศหลังจากการเลือกตัง้ วุฒสิ ภาใน เดือนกรกฎาคม เพื่อหลีกเลีย่ งประเด็นร้อนทีเ่ ป็ นความเสีย่ งต่อการเลือกตัง้ หลังจากการประกาศนโยบายทางเศรษฐกิจซึง่ เปรียบเสมือนคามั ่นสัญญาไปแล้ว แต่ธนู ดอกทีส่ าม คือ การปฏูรปู โครงสร้าง ซึง่ มีความคืบหน้ าน้อยมาก เนื่องจากมีปญั หาการสื่อสาร และความร่วมมือประสานกันตัง้ แต่เริม่ ต้น เนื่องจากยุทธศาสตร์ต่างๆได้มกี ารจัดทาผ่านหลายระดับ กลุ่มนโยบาย อันนาไปสูก่ ระบวนการตัดสินใจหลายระดับชัน้ จากระดับล่างถึงชัน้ ทีม่ อี านาจ ตัดสินใจ จึงมีขอ้ ถกเถียงมากมาย แต่รฐั บาลได้พยายามจะสื่อสารเพื่อทาความเข้าใจผ่านทางสื่อ ต่างๆ อย่างไรก็ตาม ประเมินว่าข้อถกเถียงสาคัญจะคลอบคลุมถึงนโยบายเศรษฐกิจ 5 ด้าน : 1) แรงงาน 2) ดูแลสุขภาพ 3) เกษตร 4) พลังงาน และ 5) นโยบายฟื้ นฟูภาคอุตสาหกรรม ซึง่ เป็ น ทีน่ ่ายินดี เพราะนโยบายเหล่านี้สาคัญมากต่อการปฏิรปู โครงสร้าง ทัง้ นี้ การดาเนินนโยบาย ดังกล่าวยังน่าเป็ นห่วง เนื่องจากฝา่ ยข้าราชการ สหภาพ และบางส่วนจากพรรคของอาเบะเอง ยังคงไม่เห็นด้วยกับการเปลี่ยนแปลงและการปฏิรปู กฏเณฑ์ต่างๆและจะยังคงเลือกนโยบายใช้เงิน อุดหนุ นและสนับสนุนมาตราการปกติของรัฐบาลมากกว่า ดังนัน้ การปฏิรปู โครงสร้างเศรษฐกิจที่ นายกฯอาเบะคาดหวังไว้มแี นวโน้มว่าจะถูกเก็บขึน้ หิง้ และถูกลืมไปในทีส่ ดุ
อะเบะโนมิ กส์ ( Abenomics* :Abe กับ Economics]) หมายถึงนโยบายเศรษฐกิจซึง่ ได้รบั การผลักดันและดาเนินการในรัฐบาลทีส่ องของชินโซ อะเบะ นายกรัฐมนตรี ญี่ปนุ่ คนปจั จุบนั อะเบะโนมิกส์ประกอบด้วยนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง ทีเ่ น้นในการส่งเสริมการลงทุนของภาคเอกชนของญีป่ นุ่ ทีซ่ บเซามากว่ายีส่ บิ ปี โดยที่ รัฐบาลกาหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อในประเทศไว้ท่ี 2% ต่อปี รวมถึงการออกมาตรการเพื่อให้เงินเยนอ่อนค่าลง การตัง้ อัตราดอกเบีย้ ติดลบ การออกมาตรการผ่อน คลายเชิงปริมาณ การเพิม่ การลงทุนของภาครัฐ การให้ธนาคารแห่งประเทศญีป่ นุ่ รับซือ้ พันธบัตรรัฐบาลคืนจากตลาด และการปรับปรุงพระราชบัญญัตธิ นาคารแห่ง ประเทศญีป่ นุ่ [พิมพ์ขอ้ ความ] หน้า 2
Abe’sthird arrow ByIzumiDEVALIER, HSBC,May15 ,2013 รายงานฉบับนีจ้ ัดทาเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จัดทาไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ประจำว ันที่ 20 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภำค ื่ มนผู ่ งต้นเดือนพ.ค.พุง ้ แตะ 83.7 สูงสุดในรอบเกือบ 6 ปี HighLight : ด ัชนีควำมเชอ ่ั บ ้ ริโภคสหร ัฐชว ่ ขึน
Global : ■ สหรัฐอเมริกา : มหาวิทยาลัยมิชแิ กนเปิ ดเผยว่า ดัชนีความเชื่อมั ่นผูบ้ ริโภคสหรัฐช่วงต้นเดือนพ.ค.พุง่ ขึน้ แตะ 83.7 จากระดับ 76.4 ในเดือนเม.ย. ซึง่ เป็ นสถิตทิ ป่ี รับตัวขึน้ สูงสุดในรอบเกือบ 6 ปี สะท้อนให้เห็นว่าผูบ้ ริโภคสหรัฐเริม่ คลายความวิตกกังวลเกีย่ วกับมาตรการลดงบประมาณรายจ่ายของ รัฐบาลกลางสหรัฐโดยอัตโนมัติ (sequestration) : ดัชนีชน้ี าเศรษฐกิจสหรัฐเดือนเม.ย.จาก Conference Board ก็เพิม่ ขึน้ 0.6% หลังจากทีป่ รับตัวลง 0.2% ในเดือนมี.ค. ซึง่ เป็ นตัวเลขที่สงู กว่า คาดการณ์ : ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) สาขาฟิลาเดลเฟียเปิ ดเผยว่า ดัชนีกจิ กรรมการผลิตเขตมิด-แอตแลนติกในเดือนพ.ค.หดตัวลงสูร่ ะดับ -5.2 จาก 1.3 ใน เดือนเม.ย. ซึง่ แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมทางธุรกิจโดยทั ่วไปในภาคการผลิตอ่อนแรงลง ■ ยุโรโซน : ยูโรสแตท เปิ ดเผยว่า ยอดเกินดุลการค้าของกลุ่มประเทศยูโรโซนแตะที่ 2.29 หมื่นล้านยูโร (2.94 ดอลลาร์) ในเดือนมี.ค. เพิม่ ขึน้ เมื่อ เทียบกับเดือนก.พ.ทีร่ ะดับ 1.01 หมื่นล้านยูโร ■ อังกฤษ: จานวนผูว้ ่างงานเพิม่ ขึน้ 15,000 คน ในช่วง 3 เดือนแรกของปี น้ี ส่งผลให้มจี านวนทัง้ สิน้ 2.52 ล้านคน ขณะทีอ่ ตั ราว่างงานในช่วงไตรมาส แรกปี น้ีอยูท่ ่ี 7.8% ข้อมูลดังกล่าวบ่งชีว้ า่ ตลาดแรงงานยังไม่มคี วามแข็งแกร่งอย่างยั ่งยืน ■ญี่ปนุ่ : รัฐบาลญี่ป่นุ เปิ ดเผยในวันนี้วา่ ยอดสั ่งซือ้ เครื่องจักรพืน้ ฐานภาคเอกชนเดือนมี.ค.ปรับตัวสูงขึน้ 14.2% จากเดือนก.พ. ซึง่ เป็ นการเพิม่ ขึน้ ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 2 ■จีน : ราคาทีอ่ ยูอ่ าศัยเดือนเม.ย.เพิม่ ขึน้ ต่อเนื่อง: ราคาบ้านใน 68 เมืองจากทัง้ หมด 70 เมืองเพิม่ ขึน้ ในเดือนเม.ย.จากช่วงเดียวกันของปี ก่อนหน้า ทัง้ นี้ 35 เมืองจะต้องส่งรายละเอียดแนวทางการควบคุมตลาดอสังหาฯ แก่รฐั บาลกลางในวันที่ 1 เม.ย. ซึง่ มีเพียงปกั กิง่ ทีอ่ อกมาตรการเพิม่ เติม
Thailand updates : ■ ส.อ.ท.เผยดัชนีความเชื่อมั ่นภาคอุตสาหกรรมเดือน เม.ย.2556 อยูท่ ่ี 92.9 ลดลงจาก 93.5 ในเดือน มี.ค.2556 ซึง่ ลดลงต่อเนื่องเป็ นเดือนที่ 4 สาเหตุจากผูป้ ระกอบการกังวลการแข็งค่าของเงินบาทและเป็ นการแข็งค่ากว่าประเทศอื่นๆ ในภูมภิ าค ส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาคส่งออก ประกอบ กับภาวะเศรษฐกิจโลกทีผ่ นั ผวนทาให้การรับคาสั ่งซือ้ ในช่วงนี้ยากลาบาก ■ เงินบาท(17พค.)ปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.83 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ ขณะทีเ่ ช้านี้เคลื่อนไหวในกรอบ 29.81-29.86 บาท/ดอลลาร์สหรัฐโดยเงินบาทปรับตัว อ่อนค่าหลังจากเงินดอลลาร์สหรัฐยังคงแข็งค่าเมื่อเทียบเงินเยน ส่งผลให้เงินบาทเคลื่อนไหวในกรอบ 29.70-29.85 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก(17 พ.ค.)ดัชนีเฉลีย่ อุตสหกรรมดาวโจนส์ปิดทะยาน 121.18 จุด หรือ 0.80% แตะที่ 15,354.40 จุด ดัชนี S&P 500 ปิ ดเพิม่ ขึน้ 17.00 จุด หรือ 1.03% แตะที่ 1,667.47 จุด และดัชนี Nasdaq ปิ ดบวก 33.73 จุด หรือ 0.97% แตะที่ 3,498.97 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย : ตลาดหุน้ เนิเคอิปิดวันนี้ท่ี 15,260.61 จุด เพิม่ ขึน้ 122.49 จุด ปิ ดพุง่ ขึน้ แตะระดับสูงสุดในรอบ 5 ปี 5 เดือนในวันนี้ เพราะได้แรงหนุน จากการทีน่ ักลงทุนคาดหวังว่า นายกรัฐมนตรีชนิ โสะ อาเบ จะแถลงกลยุทธ์ในการหนุนเศรษฐกิจให้เติบโตในวันนี้ ดัชนีฮ ั ่งเซ็งตลาดหุน้ ฮ่องกงปิ ด เพิม่ ขึน้ 31.06 จุด หรือ 1.38% ปิ ดที่ 2,282.87 จุด SET Index ปิ ดทีร่ ะดับ 1,627.96 จุด เพิม่ ขึน้ 10.07 จุด(+0.62%) มูลค่าการซือ้ ขาย 55,303.53 เนื่องจากนักลงทุนกังวลว่าจะไม่มปี จั จัยหนุนหลังจากบริษทั จดทะเบียนต่าง ๆ ได้ประกาศงบการเงินไตรมาส 1/56 ไปหมดแล้ว ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจำว ันที่ 21 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภำค HighLight : สหรัฐเปิ ดเผยข ้อมูลเศรษฐกิจทีอ ่ อ ่ นแอและ Moody’s เตือนสหรัฐฯ อาจถูกลดอันดับความ
ื่ ถือ ขณะทีด น่าเชอ ่ ช ั นีนเิ คอิปิดสูงทีส ่ ด ุ ในรอบ 5 ปี 5 เดือน
Global : ■ สหรัฐอเมริกา : ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) สาขาชิคาโก เปิ ดเผยว่า ดัชนีกจิ กรรมการผลิตทั ่วประเทศในเดือนเม.ย.ร่วงลงแตะ 0.53 ซึง่ เป็ นระดับ ต่าสุดนับแต่เดือนม.ค. เมื่อเทียบกับระดับ 0.23 ในเดือน ซึง่ แสดงให้เห็นว่าการผลิตในภาคอุตสาหกรรมของสหรัฐยังประสบปญั หาในการฟื้ นตัว : ดัชนียอดขาย คาสั ่งซือ้ และสต็อกสินค้ายังอยูใ่ นแดนลบ แม้ว่าปรับตัวดีขน้ึ เล็กน้อย โดยดัชนีแตะ -0.01 ในเดือนทีแ่ ล้ว จาก -0.04 ในเดือนมี.ค. ส่วน ดัชนีทเ่ี กีย่ วข้องกับการจ้างงานลดลงมาอยูท่ ่ี 0 จาก 0.01 ในเดือนมี.ค. : ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) สาขาฟิลาเดลเฟียเปิ ดเผยว่า ดัชนีกจิ กรรมการผลิตเขตมิด-แอตแลนติกในเดือนพ.ค.หดตัวลงสูร่ ะดับ -5.2 จาก 1.3 ใน เดือนเม.ย. ซึง่ แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมทางธุรกิจโดยทั ่วไปในภาคการผลิตอ่อนแรงลง : Moody’s เตือนสหรัฐฯ อาจถูกลดอันดับความน่าเชื่อถือ: ส่งสัญญาณถึงนักการเมืองของสหรัฐฯ ต้องเดือนหน้าในการแก้ไขปญั หาหนี้สาธารณะก่อนที่ จะเผชิญกับการถูกลดอันดับความน่าเชื่อถือ ■ ยุโรป : ธนาคาร MSD ในสาธารณะรัฐเชคฯ ได้ถูกปิ ดกิจการ: พร้อมกับสาขาของธนาคารฯ ทุกสาขา พร้อมกับห้ามการเคลื่อนย้ายเงินฝากในทุก บัญชี หลังตรวจสอบพบความไม่โปร่งใสในบางรายการ ■ญี่ปนุ่ : รัฐบาลญี่ปนุ่ ประกาศปรับเพิม่ การประเมินเศรษฐกิจพืน้ ฐานในเดือนพ.ค. เนื่องจากการอ่อนค่าของสกุลเงินเยนได้ช่วยหนุนยอดการส่งออกให้ดดี ตัวขึน้ ซึง่ กระตุน้ ให้ บริษทั ต่างๆเพิม่ การผลิตสินค้า โดยได้มกี ารยกระดับการประเมิน 3 ใน 14 ภาคส่วน ซึง่ ได้แก่ การส่งออก ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม และผลประกอบการภาคเอกชน ■จีน : จีนเตรียมออกกฏระเบียบใหม่ในปี น้ี เพื่อปรับปรุงขัน้ ตอนการอนุมตั แิ ละสร้างบรรยากาศการลงทุนในจีนทีส่ ะดวกสบายมากขึน้ สาหรับนักลงทุน ต่างชาติ ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งในความพยายามทีจ่ ะส่งเสริมการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ(FDI)ในจีน ทัง้ นี้ นับเป็ นครัง้ แรกในรอบ 10 ปี ทก่ี ระทรวง พาณิชย์จนี ได้ดาเนินการแก้ไขกฎระเบียบด้านการลงทุนของบริษทั ข้ามชาติในจีน เพื่อพยายามปรับปรุงกระบวนการพิจารณาอนุมตั ใิ ห้สะดวกขึน้ ■เกาหลี : สานักข่าวยอนฮัพรายงานว่า เกาหลีเหนือได้ยงิ ขีปนาวุธพิสยั ใกล้อกี ครัง้ ในวันนี้ ในระหว่างเวลา 16.00-17.00 น.ตามเวลาท้องถิน่ หลังจากทีไ่ ด้ยงิ ขีปนาวุธพิสยั ใกล้รอบแรกไปเมื่อช่วง 11.00-12.00 น. ระบุวา่ การยิงขีปนาวุธดังกล่าวเป็ นการซ้อมรบทางทหารตามปกติเพื่อป้องกันประเทศ
Thailand updates : ■ สภาพัฒน์ ฯปรับลดประมาณการ GDP ปี 56 ใหม่เหลือ 4.2-5.2% จากก่อนหน้านี้คาดไว้ท่ี 4.5-5.5% หลังจาก GDP ไตรมาส 1/56 ขยายตัวเพียง 5.3% ต่ากว่าคาด ทังนี้ ความเสีย่ งด้านเศรษฐกิจในครึง่ ปี หลังยังอยู่ในเกณฑ์สงู เช่น ความล่าช้าในการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและสหรัฐฯ, การแข็ง ค่าของเงินบาททีส่ ง่ ผลกระทบต่อภาคส่งออก พร้อมมองว่าโอกาสทีก่ ารส่งออกปี น้ีจะเป็ นไปตามเป้าหมายทีก่ ระทรวงพาณิชย์ตงั ้ ไว้ท่ี 9% เริม่ มีน้อยลง ■ เงินบาท(20พค.)ปิ ดทีร่ ะดับ ระดับ 29.81/83 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าขึน้ เล็กน้อยจากช่วงเช้าทีเ่ ปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.83/85 บาท/ดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก(20พ.ค.)ดัชนีดาวโจนส์ปิดที่ 15,335.28 จุด ลดลง 19.12 จุด หรือ 0.12% หลังจากสหรัฐเปิ ดเผยข้อมูลเศรษฐกิจทีอ่ ่อนแอ และจาก ความวิตกกังวลที่วา่ ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) อาจจะชะลอโครงการซือ้ พันธบัตรเร็วกว่าที่คาดการณ์ไว้ ดัชนี NASDAQ ตลาดหุน้ นิวยอร์กปิ ดที่ 3,496.43 จุด ลดลง 2.53 จุด หรือ 0.07% และดัชนี S&P500 ตลาดหุน้ นิวยอร์กปิ ดที่ 1,666.29 จุด ลดลง 1.18 จุด หรือ 0.07% ■ ตลาดหุน้ เอเชีย : ดัชนีนิกเกอิพงุ่ ขึน้ 222.69 จุด หรือ 1.47% ปิ ดที่ 15,360.81 จุด ซึง่ เป็ นระดับปิ ดสูงสุดนับตัง้ แต่วนั ที่ 27 ธ.ค.ปี 2550หรือในรอบ 5 ปี 5 เดือน เพราะได้แรงหนุนจากการอ่อนค่าของเงินเยนและข้อมูลเศรษฐกิจทีส่ ดใสของญี่ปนุ่ ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิต เพิม่ ขึน้ 17.12 จุด หรือ 0.75% ปิ ดที่ 2,299.99 จุด ดัชนี SET ปิ ดช่วงบ่ายทีร่ ะดับ 1,643.40 จุด เพิม่ ขึน้ 15.44 จุด(+0.95%) มูลค่าการซือ้ ขาย 57,892.40 ล้านบาท ปรับตัวเพิม่ ขึน้ ตามตลาดหุน้ ส่วนใหญ่ในเอเชีย
ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
จ ัดทำโดด : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโด บำ เศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจำว ันที่ 22 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภำค HighLight : กำรส่งออกเม.ย.ของญีป ่ ่ นขยำยต ุ ัวตำ ่ กว่ำคำด ขณะทีuกำรนำเข้ำขยำยต ัวสูงกว่ำคำด ตลำดรอผลกำรประชุม ้ อง FED และ BOJ เกีย ว ันนีข ่ วก ับนโยบำยเศรษฐกิจ
Global :
■ สหรัฐอเมริกา : ประธานเฟดสาขา St. Louis เสนอให้เฟดคง QE: นาย Bullard เสนอให้เฟดยังคงต้องคงโครงการ QE ต่อไป เพื่อเป็ นการป้องกัน ไม่ให้เศรษฐกิจเติบโตต่ากว่าทีค่ าด แต่สามารถปรับวงเงินการเข้าซือ้ ได้เพื่อให้สอดคล้องกับภาวะในแต่ละช่วงเวลา ตลาดยังคงรอดูผลการแถลง
แนวโน้ มเศรษฐกิจสหรัฐของประธานธนาคารกลางสหรัฐ (FED)วันนี ้ ■อังกฤษ: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติของอังกฤษ (ONS) รายงานว่า อัตราเงินเฟ้อของอังกฤษในเดือนเม.ย.ชะลอตัสลงมาอยูท่ ่ี 2.4% ต่อปี จากระดับ 2.8% ในเดือนมี.ค. และต่ากว่าคาดการณ์ของนักวิเคราะห์ส่วนใหญ่ท่ี 2.6%เป็ นระดับต่าสุดในรอบ 7 เดือน เป็ นผลจากต้นทุนการขนส่งที่ลดลง 0.3% yoy ■ เยอรมนี : สานักงานสถิตแิ ห่งชาติของเยอรมนี (Destatis) เปิ ดเผยว่าดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) เดือนเม.ย.ลดลง 0.2% จากเดือนมี.ค. เนื่องจากราคา พลังงานทีล่ ดลงได้ผอ่ นคลายแรงกดดันด้านราคาในระดับโรงงานของเยอรมนี ■ญี่ปนุ่ :ยอดการส่งออกขยายตัวต่ากว่าคาด: +3.8% yoy จากเดือน มี.ค. +1.1% yoy แต่ต่ากว่าที่ คาดที่ +5.4% yoy ส่งสัญญาณอุปสงค์โลกทีย่ งั อ่อนแอ ยังคงจากัดการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของญี่ปุน่ แม้ว่าเงินเยนที่อ่อนค่าลงจะช่วยความสามารถทางการแข่งขันของผูส้ ง่ ออกในญี่ปนุ่ อย่างไรก็ ตามอุปสงค์ในยุโรปทีม่ อี ย่างจากัด ส่งผลให้ภาคการส่งออกหดตัว และ ยอดการนาเข้าขยายตัวสูงกว่าคาด: +9.4% yoy เร่งตัวจากเดือน มี.ค. +5.6% yoy และสูงกว่าที่ คาดที่ +6.7% yoy ส่งผลให้ดลุ การค้าขาดดุลมากกว่าคาด: ขาดดุล 8.8 แสนล้านเยน ขาดดุลมากขึน้ จากเดือน มี.ค. -3.62 แสนล้าน เยน และมากกว่าที่ คาดขาดดุล 6.21 แสนล้านเยน ทัง้ นี้ นักลงทุนรอผลการประชุมวันนี้ คาดว่า BOJ จะยังคงดาเนินนโยบายผ่อนคลายทาง
การเงินเชิงรุกในปั จจุบนั ต่อไปและพิจารณาผลกระทบต่อเศรษฐกิจจากอัตราดอกเบี ้ยระยะยาวที่พงุ่ สูงขึ ้นเมื่อเร็ วๆ นี ้
Thailand updates : ■ ธปท.แสดงความสงสัย ตัวเลขการขยายตัวเศรษฐกิจที่ สศช.แถลงว่าต่ากว่าความเป็ นจริงธปท.คาดการณ์เศรษฐกิจไทยในไตรมาสแรก ว่าอัตรา การขยายตัวประมาณ 7.1% ขณะทีต่ วั เลขจริงของสศช. อยูท่ ่ี 5.3% ส่วนตัวเลขอุปสงค์ในประเทศของธปท. ประเมินการเติบโตไว้ท่ี 6.1% ส่วนตัวเลข จริงของสศช.อยูท่ ่ี 3.9% และ ■ เงินบาท(21พค.)ปิ ดทีร่ ะดับ 29.76 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ ขณะทีเ่ ช้านี้เคลื่อนไหวในกรอบ 29.73-29.81 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก(21พ.ค.)ตลาดหุน้ ดาวโจนส์ปิดที่ 15,387.58 จุด เพิม่ ขึน้ 52.30 จุด หรือ +0.34% ปรับตัวขึน้ ทาระดับสูงสุดใหม่อกี ครัง้ หลัง ประธานเฟด สาขาเซนต์หลุยส์ กล่าวว่าเฟดจะใช้โครงการ QE อย่างต่อเนื่อง เพื่อกระตุ้นการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (21พ.ค.)ดัชนีนิกเกอิปิดบวก 20.21 จุด หรือ 0.13% แตะที่ 15,381.02 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตบวก 5.13 จุด หรือ 0.22% ปิ ดที่ 2,305.11 จุด ส่วนดัชนีฮ ั ่งเส็งลดลง 126.66 จุด หรือ 0.54% ปิ ดวันนี้ท่ี 23,366.37 จุดหลังจากทีโ่ กลด์แมน แซคส์ กรุ๊ป อิงค์ ได้ขายหุน้ ทีถ่ อื อยูใ่ น ICBCเป็ นมูลค่า 1.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ดัชนี SET Index ปิ ดที่ 1,643.43 จุด เพิม่ ขึน้ 0.03 จุด หรือ +0.00% มูลค่าการซือ้ ขายอยูท่ ่ี 5.75 หมื่นลบ. นักลงทุนต่างชาติขายสุทธิเป็ นวันแรกในรอบ 8 วันทาการ: คิดเป็ นมูลค่า 688 ลบ. จากวันก่อนหน้าทีซ่ อ้ื สุทธิคดิ เป็ นมูลค่า 1.62 พันลบ. ส่งผลให้ YTD เป็ นขายสุทธิเพิม่ ขึน้ อยูท่ ร่ี ะดับ 6.90 พันลบ. ตลาดตราสารหนี้ไทยตลอด 3 วันทาการทีผ่ า่ นมานักลงทุนขาย 14,844 ล้านบาท สะท้อนมุมมองของ นักลงทุนกลุ่มนี้ต่อทิศทางอัตราดอกเบีย้ นโยบายมีโอกาสลดมากขึน้
ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
Macroeconomic Policy Bureau
ประจำว ันที่ 23 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภำค ื้ สน ิ ทร ัพย์เร็วเกินไปอำจเป็นอ ันตรำยต่อกำรฟื้ นต ัว ้ ดอกเบีย ้ หรือลดกำรซอ HighLight : เบอร์น ันเก้ ระบุวำ่ กำรขึน ้ เผือ เศรษฐกิจสหร ัฐ และBOJ ประกำศตรึงอ ัตรำดอกเบีย ่ เรียกข้ำมคืนที่ 0-0.10% ตำมคำด
Global : ■ สหรัฐอเมริกา : นายเบน เบอร์นนั เก้ ประธานธนาคารกลางสหรัฐ (Fed) ระบุต่อคณะกรรมาธิการร่วมด้านเศรษฐกิจของสภาคองเกรสว่า Fed จะ เดินหน้าใช้นโยบายผ่อนคลายทางการเงินต่อไป โดยอ้างถึงปจั จัยต่างๆ ซึง่ รวมถึงตลาดแรงงานทีย่ งั อยู่ในภาวะซบเซา โดยระบุวา่ เศรษฐกิจสหรัฐ ยังคงได้รบั ผลกระทบจากอัตราว่างงานทีอ่ ยูใ่ นระดับสูงและมาตรการลดค่าใช้จา่ ยของรัฐบาล ดังนัน้ การขึน้ ดอกเบีย้ หรือลดการซือ้ สินทรัพย์เร็วเกินไป อาจเป็ นอันตรายต่อการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ แม้ว่าตลาดแรงงานสหรัฐจะส่งสัญญาณดีขน้ึ เล็กน้อย อย่างไรก็ดี นายเบอร์นันเก้กล่าวว่า อัต ราว่างงานที่ อยูใ่ นระดับสูงและการจ้างงานทีย่ งั ไม่เต็มทีเ่ ป็ นสิง่ ทีอ่ นั ตรายมาก :ยอดขายบ้านมือสองของสหรัฐฯ เม.ยเพิม่ ขึน้ 0.6% สูร่ ะดับ 4.97 ล้านยูนิต จากระดับ 4.94 ล้านยูนิตในเดือนก่อน (เป็ นตัวเลขทีถ่ ูกปรับทบทวนจาก เดิมทีร่ ายงานว่าขายได้ 4.92 ล้านยูนิต) ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดนับตัง้ แต่พ.ย. 2552 โดยราคากลางของบ้านมือสองเพิม่ ขึน้ 11% เมื่อเทียบรายปี สูร่ ะดับ 192,800 ดอลลาร์สหรัฐฯ ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดนับตัง้ แต่สค. 2551 ■ สเปน : รัฐบาลสเปนสามารถระดมทุนได้ทงั ้ สิน้ 3.511 พันล้านยูโรในการประมูลขายตราสารหนี้ระยะสัน้ ขณะทีอ่ ตั ราผลตอบแทนสูงกว่าการประมูลครัง้ ก่อนเล็กน้อย ซึง่ ยอด ระดมทุนดังกล่าวสูงกว่าเป้าหมายทีว่ างไว้ในช่วง 2.5-3.5 พันล้านยูโร ■ญี่ปนุ่ :ธนาคารกลางญี่ปนุ่ (บีโอเจ) มีมติเป็ นเอกฉันท์ให้คงนโยบายการเงิน โดยตรึงอัตราดอกเบีย้ เผื่อเรียกข้ามคืนที่ 0-0.10% ซึง่ เป็ นไปตามคาด และได้ปรับเพิม่ การประเมิน ภาวะเศรษฐกิจของญี่ปนุ่ หลังจากทีก่ อ่ นหน้านี้ ได้ประกาศมาตรการกระตุน้ เชิงรุกเพื่อให้บรรลุเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อ 2% ภายใน 2 ปี นอกจากนี้ บีโอเจยังคงยืนยันว่าจะเพิม่ ฐาน เงิน หรือปริมาณเงินสด และเงินฝาก ในอัตรา 60-70 ลล.เยน (5.85-6.85 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ต่อปี ดว้ ย บีโอเจยังได้ปรับเพิม่ ประมาณการเศรษฐกิจโดยระบุวา่ เศรษฐกิจญี่ปนุ่ ได้ เริม่ ฟื้นตัวขึน้ แล้ว อย่างไรก็ดกี ารประเมินของบีโอเจไม่ได้ระบุถงึ การพุง่ ขึน้ ในช่วงทีผ่ า่ นมาของอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลแต่อย่างใด ■ ออสเตรเลีย : ดัชนีความเชื่อมั ่นผูบ้ ริโภค พค.ลดลงมากทีส่ ุดในรอบ 17 เดือนจากการทีร่ ฐั บาลออสเตรเลียประกาศว่างบประมาณของประเทศจะ ยังคงขาดดุลซึง่ บดบังปจั จัยบวกจากการทีอ่ ตั ราดอกเบีย้ ลดลงมาอยูใ่ นระดับทีต่ ่าสุดเป็ นประวัตกิ ารณ์ โดยWestpac Banking Corp และ Melbourne Institute รายงานผลการสารวจผูต้ อบแบบสอบถามจานวน 1,200 รายในช่วงระหว่างวันที่ 13-18 พค. ชีว้ า่ ดัชนีความเชื่อมั ่น พค.ลดลง 7% มาอยูท่ ่ี 97.6 ทัง้ นี้ เป็ นครัง้ แรกนับจากเดือนตค. 2555 ทีด่ ชั นีฯอยูต่ ่ากว่า 100 ซึง่ แสดงถึงภาวะมุมมองในเชิงลบมีมากกว่านเชิงบวก
Thailand updates : ■ ครม.เห็นชอบขยายเวลาการปรับลดอัตราภาษีน้ ามันดีเซลออกไปอีก 1 เดือน ถึงสิน้ เดือน มิ.ย. 56และ กบง.ได้มมี ติให้มกี ารเลื่อนการปรับขึน้ ราคา ก๊าซหุงต้ม (แอลพีจ)ี ภาคครัวเรือน 50 สตางค์ /กิโลกรัม ออกไปอีก 1 เดือน เป็ นเดือน ก.ค. ■ เงินบาท(22พค.) ปิ ดอยูท่ ร่ี ะดับ 29.79/81 บาท/ดอลลาร์ เคลื่อนไหวทิศทางเดียวกับค่าเงินในภูมภิ าค
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก(22พ.ค.) หลังจากรายงานการประชุมของFED เจ้าหน้าทีเ่ ฟดบางคนเสนอให้มกี ารลดขนาดโครงการซือ้ พันธบัตรดาวโจนส์ปิดลบ 80.41 จุด หรือ 0.52% แตะที่ 15,307.17 จุด ดัชนี S&P 500 ปิ ดลบ 13.81 จุด หรือ 0.83% แตะที่ 1,655.35 จุด และดัชนี Nasdaq ปิ ดลบ 38.82 จุด หรือ 1.11% แตะที่ 3,463.30 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย : ดัชนีนิกเกอิปิดทะยานขึน้ ติดต่อกัน 4 วันทาการ ปิ ดทีร่ ะดับสูงสุดในรอบ 5 ปี 5 เดือน แรงหนุนจากเงินเยนทีอ่ ่อนค่าและกระแสเงิน สดทีไ่ หลเข้าสูต่ ลาดหุน้ โตเกียวอย่างคึกคัก โดยดัชนีนิกเกอิตปิ ดพุง่ ขึน้ 246.24 จุด หรือ 1.60% ปิ ดที่ 15,627.26 จุด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 2.71 จุด หรือ 0.12% ปิ ดที่ 2,302.40 จุด ดัชนีฮ ั ่งเส็งลดลง 105.29 จุด หรือ 0.45% ปิ ดที่ 23,261.08 จุด ดัชนี SET Index ลบ 12.16 จุด มาอยูท่ ่ี ระดับ 1631.27 จุด มูลค่าการซือ้ ขายมากถึง 73,247 ล้านบาท
ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS and Others.
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับประจำว ันที่ 27 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 1/2
MACRO VIEWS มุมมองมหภำค GLOBAL Review: โศกนำฎกรรม โรงงำนต ัดเย็บเสือ้ ผ้ำบ ังคลำเทศถล่มคนงำนกว่ำ 1,000 คนเสียชีวต ิ ้ ของชำวอเมริก ัน อำจเปลีย ่ นแปลงพฤติกรรมกำรซือ
ิ ค้ำคงทน ด ัชนี PMI ด ัชนีรำคำบ้ำน และ HighLight : ต ัวเลขเศรษฐกิจสหร ัฐฯ ยอดคำสง่ ั ซอื้ สน ยอดขำยบ้ำนใหม่ออกมำดีกว่ำคำด
Global : ■ สหรัฐอเมริกา : ยอดคาสั ่งซือ้ สินค้าคงทนขยายตัวต่อเนื่อง: เดือนเม.ย.เพิม่ ขึน้ 3.3% mom(คาด 1.5% mom) จากเดือนมี.ค.หดตัวลง 5.9% mom ทัง้ นี้เป็ นผลจากการเพิม่ ขึน้ ของทีอ่ ยูอ่ าศัย ยานยนต์ และอุปกรณ์เครื่องมือ เป็ นการส่งสัญญาณเชิงบวกต่อ : ดัชนี PMI เดือนพ.ค. 51.9 จุด (คาด 50.8 จุด) เทียบกับเดือนก่อนหน้า 52.0 จุด ทัง้ นี้ภาคการผลิตเพื่อการส่งออกหดตัวลง 1.3 จุด ขณะทีภ่ าคการผลิตด้านอื่นๆ ขยายตัว :ดัชนีราคาบ้านเดือนมี.ค.เพิม่ ขึน้ 1.3% mom (คาด0.9% mom) และเดือนก.พ. +0.7% mom ทัง้ นี้เป็ นผลจากปริมาณบ้านทีล่ ดลงอย่างต่อเนื่อง :ยอดขายบ้านใหม่เดือนเม.ย. 4.54 แสนหลัง (คาด 4.25 แสนหลัง) และเดือนมี.ค.ปรับขึน้ เป็ น 4.44 แสนหลัง แม้วา่ ปริมาณบ้านใหม่ทพ่ี ร้อมขายลดลง อย่างต่อเนื่อง ทาให้ราคาบ้านเพิม่ ขึน้ ต่อเนื่อง ■ ยูโรโซน : ดัชนี PMI คอมโพสิตของยูโรโซน เดือนพค.เพิม่ ขึน้ สู่ระดับ 47.7 จากเม.ย. 46.9 และมากกว่าตัวเลขที่คาด ไว้วา่ จะเพิม่ ขึน้ สู่ 47.2 โดย ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรมเดือนพค.เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 47.8 จาก 46.7 ในเดือนเม.ย และมากกว่าตัวเลขทีค่ าดไว้ว่าจะเพิม่ ขึน้ สู่ 47.0 ขณะทีด่ ชั นี PMI ภาคบริการเดือนพค.เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 47.5 จาก 47.0 ในเดือนเม.ย. และมากกว่าตัวเลขทีค่ าด ไว้วา่ จะเพิม่ ขึน้ สู่ 47.2 ■ เยอรมัน : ดัชนี Consumer Sentiment เดือนมิ.ย.อยูท่ ่ี 6.5 จุด จากเดือนพ.ค.ที่ 6.2 จุด เป็ นระดับสูงสุดในรอบ 5.5 ปี จากอัตราการว่างงานทีล่ ดลง และอัตราเงินเฟ้อทีช่ ะลอตัว :เศรษฐกิจเยอรมันขยายตัวต่าใน 1Q56:เพียง 0.1% qoq เท่านัน้ จากภาคการก่อสร้างทีช่ ะลอตัว 2.1% qoq และการลงทุนทีล่ ดลง 1.5% qoq ทัง้ นี้ เป็ นผลกระทบจากสภาพอากาศทีห่ นาว และปญั หาในยูโรโซน ■ อังกฤษ :สานักงานสถิตฯิ ว่ายอดค้าปลีกหดตัวเพิม่ ขึน้ จาก 0.6% momในเดือนมีค. เป็ น 1.3% ในเดือนเม.ย.จากยอดจาหน่ายสินค้าประเภทอาหารลดลง ■ญี่ปนุ่ :ฮิรฮู โิ กะ คุโรดะ ผูว้ า่ การธนาคารกลางญี่ปนุ่ (บีโอเจ) กล่าวแสดงความเห็นว่า ยังไม่เห็นสัญญาณทีบ่ ่งชีว้ า่ ราคาสินทรัพย์รอ้ นแรงเกินไป หรือ มีการทากิจกรรมทีเ่ ป็ นการเสีย่ งจนเกินไปจากสถาบันการเงินต่างๆและได้เน้นยาให้รฐั บาลดาเนินการปฏฺรปู การคลังอย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันไม่ให้เกิด ความวิตกกังวลเกีย่ วกับเสถียรภาพทางการคลัง ซึง่ อาจนาไปสูอ่ ตั ราดอกเบีย้ ทีส่ งู ขึน้ ■จีน :สานักงานสถิตฯิ (NBS) รายงานในวันนี้วา่ บริษทั อุตสาหกรรมของจีนทีม่ รี ายได้ต่อปี มากกว่า 20 ล้านหยวน หรือ 3.24 ล้านดอลลาร์สหรัฐนัน้ มีผลกาไรในเดือนเม.ย. เพิม่ ขึน้ 9.3% เมื่อเทียบเป็ นรายปี สู่ระดับ 4.3668 แสนล้านหยวน
Thailand updates : ■ ก.พาณิชย์รายงานยอดการส่งออกขยายตัวสูงกว่าคาด: เม.ย.+10.52% yoy จากเดือน มี.ค. +4.55% yoy สูงกว่าทีต่ ลาดคาดที่ +5.3% yoy อย่างไรก็ตามยอดการส่งออกสินค้าเกษตรอย่างข้าว ยาง และน้ าตาลหดตัวลง 4.4% ส่วนสินค้าอุตสาหกรรมขยายตัว 19.3% yoy นาโดย อิเล็กทรอนิกส์และรถยนต์ ยอดการนาเข้าขยายตัวสูงกว่าคาดเช่นกัน: +8.91% yoy จากเดือน มี.ค. -11.52% yoy และสูงกว่าทีต่ ลาดคาดที่ +5.3% yoy ส่งผลให้ขาดดุลการค้าต่ากว่าคาด: -US$2.85 พันล้าน ขาดดุลเพิม่ ขึน้ จากเดือน มี.ค.-US$867 ล้าน ตลาดคาดที่ –US$3.00 พันล้าน ■ ค่าเงินบาทเปิ ดตลาดเช้านี้(27 พค.) 29.94/96 บาท/ดอลลาร์ จากเย็นวันพฤหัสบดีทป่ี ิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.93/96 บาท/ดอลลาร์
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก(24พ.ค.) ดัชนีเฉลีย่ อุตสาหกรรมดาวโจนสเพิม่ ขึน้ เล็กน้อย ถึงแม้วา่ สหรัฐจะเปิ ดเผยยอดสั ่งซือ้ สินค้าคงทนเดือนเม.ย.ทีส่ งู กว่า คาดการณ์ ทาให้ดชั นีเฉลีย่ ดาวโจนสเพิม่ ขึน้ 8.60 จุด หรือ 0.06% ปิ ดที่ 15,303.10 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 0.91 จุด หรือ 0.06% ปิ ดที่ 1,649.60 จุด และดัชนี Nasdaq ลดลง 0.28 จุด หรือ 0.01% ปิ ดที่ 3,459.14 จุด ■ ตลาดหุน้ เอเชีย (24พ.ค.) ดัชนี NIKKEI 225 ตลาดหุน้ ญี่ป่นุ เปิ ดวันนี้ท่ี 14,373.82 จุด ลดลง 238.63 จุด จากค่าเงินเยนทีแ่ ข็งค่าขึน้ ดัชนีเซียงไฮ้เปิ ด [พิมพ์จุขดอ้ ความ] หน้า 1ชนีอยูท่ ่ี วันนี้ท่ี 2,286.66 ลดลง 1.87 จุด ดัชนีฮงั เซ็งเปิ ดวันนี้ท่ี 22,571.63 จุด ลดลง 47.04 จุด, SET INDEX ปิ ดเมื่อวันพฤหัส 23 พค.ตลาดดั ระดับ 1,607.46 จุด ลดลง 23.81 จุด หรือ -1.46% มูลค่าการซือ้ ขายหนาแน่นอยูท่ ่ี 8.04 หมื่นลบ. ทีม ่ ำ : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทำโดย : ส่วนวิเทศและสถำบ ันส ัมพ ันธ์ สำน ักนโยบำยเศรษฐกิจมหภำค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ฉบ ับที่ 10 ประจำว ันที่ 27 พฤษภำคม พ.ศ. 2556
Page 2/2
้ ผ้ำบ ังคลำเทศถล่มคนงำนกว่ำ 1,000 คนเสียชีวต GLOBAL Review: โศกนำฎกรรมโรงงำนต ัดเย็บเสือ ิ อำจเปลีย ่ นแปลง ้ ของชำวอเมริก ัน พฤติกรรมกำรซือ
ชาวอเมริกนั ประมาณร้อยละ 70 เคยได้ยนิ ข่างเรื่องของการ พังทลายของอาคารโรงงานตัดเย็บเสือ้ ผ้าถล่มในประเทศบังกลาเทศที่ม ี คนงานเสียชีวติ มากกว่า 1000 คน และสาหรับบางคน มันหมายถึง พวก เขาอาจจะซือ้ สินค้าทีผ่ ลิตจากประเทศประเทศบังคลาเทศนัน้ น้อยลง จากการสารวจความเห็นชาวอเมริกนั 2000 ราย จัดทาโดย Harris Poll ในระหว่างวันที่ 14-16 พฤษภาคม เพื่อสารวจผูบ้ ริโภคมี ความเห็นอย่างไรต่อโศกนาฎกรรมดังกล่าว และส่งผลต่อการซือ้ สินค้าที่ ทาจากประเทศบังคลาเทศหรือไม่ พบว่าผูท้ ไ่ี ด้รบั ทราบข่าวโศก นาฎกรรม 39 เปอร์เซ็นต์ จะซือ้ ผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตในประเทศบังกลาเทศ น้อยกว่าเดิม แบ่งเป็ นผูห้ ญิงร้อยละ 42 และผูช้ ายอยูท่ ่รี อ้ ยละ 34 ดังนัน้ ผูห้ ญิงมีแนวโน้มต่อการเปลี่ยนนิสยั ช้อปปิ้ งมากกว่าผูช้ าย แสดงให้เห็น ว่าเหตุการณ์ดงั กล่าวทาให้ พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคเปลีย่ นแปลงไป การพังถล่มของอาคารรานา พลาซา (Rana Plaza) ความสูง 8 ชัน้ ซึ่งตัง้ อยูบ่ ริเวณชานกรุงธากาอาคารแห่งนี้ มีโรงงานตัดเย็บเสือ้ ผ้า 5 โรง ตัง้ อยู่ รับจ้างผลิตให้กบั แบรนด์ Loblow, Primark , Joe Fresh, Benetton และ Bonmarche ซึง่ วางขายในอังกฤษ เดนมาร์ก ฝรั ่งเศส เยอรมนี สเปน ไอร์แลนด์ แคนาดา และสหรัฐฯ นายโมฮัมหมัด โซเฮส รานา เจ้าของตึก เป็ นผูม้ อี ทิ ธิพลท้องถิน่ ทาให้สามารถก่อสร้างอาหารบนทีด่ นิ ซึง่ เดิมเป็ นหนอง น้ า ในแบบก่อสร้างมีเพียง 5 ชัน้ แต่สร้างถึง 8 ชัน้ และใช้วสั ดุทไ่ี ม่มคี ณ ุ ภาพ และเป็ นสาเหตุให้โรงงานถล่มทาให้มคี นงานเสียชีวติ ไปอย่างน้อย 1,127 คน เมื่อวันที่ 24 เมษายนทีผ่ า่ นมา นับเป็ นอุบตั เิ หตุในโรงงานอุตสาหกรรมครัง้ ร้ายแรงทีส่ ุดของโลกครัง้ หนึ่ง ทาให้มเี สียงเรียกร้องเพิม่ เติมมากขึน้ อีกให้ วัยรุ่นเหล่านี้อาจไม่มแี รงจูงใจในการสร้างความรับผิดชอบทางด้านการเงินของตัวเอง หรือบางทีอาจจะเป็ นเพราะเหตุผลอืน่ ๆ ทีเ่ ป็ นตัวฉุด มีการปฏิรปู โรงงานและความปลอดภัยคนงานในประเทศบังกลาเทศ หลังจากไฟไหม้ในโรงงานเครื่องนุ่ งห่มและมีคนงานเสียชีวติ 112 คนในเดือน รัพฤศจิ ง้ เช่นกค่ายนที าใช้จผ่ ่าา่ ยในด้ นมา านการศึกษาทีเ่ พิม่ ขึน้ อุตสาหกรรมตัดเย็บเสือ้ ผ้าสาเร็จรูปมีความสาคัญต่อเศรษฐกิจของบังคลาเทศ เพราะมีมลู ค่าการส่งออกถึง 80% และจ้างแรงงานกว่า 4 ล้าน คน เนื่องจากค่าจ้างแรงงานทีข่ ยับสูงขึน้ ในประเทศผลิตเครื่องนุ่งห่ม เช่น จีนทาให้หลายบริษทั ได้หนั มาเปิ ดโรงงานตัดเย็บในประเทศบังกลาเทศ เนื่องจากค่าแรงงานถูกกว่า และเป็ นแรงงานสตรีถงึ 4 ใน 5 หลังเกิดโศกนาฎกรรมในครัง้ นี้ กลุ่มผูใ้ ช้แรงงานได้ประกาศแผนการปรับปรุงมาตรฐานความปลอดภัยในโรงงานขึน้ (Bangladesh factory safety plan) ซึง่ เป็ นข้อตกลงทีบ่ ริษทั ค้าปลีกเสือ้ ผ้าสาเร็จรูปทีร่ บั ซือ้ เสือ้ ผ้าทีผ่ ลิตจากโรงงานตัดเย็บในประเทศบังกลาเทศต้องลงนาม และจะ บริจาค 60 ล้านดอลลาร์สหรัฐภายในระยะเวลา 5 ปี เพื่อเพิม่ การตรวจสอบความเป็ นอยู่ของคนงานและยกระดับมาตราฐานความปลอดภัย โดย กลุ่มร้านค้าปลีกเสือ้ ผ้า ประกอบด้วยแบนด์ดงั จากประเทศยุโรปเป็ นส่วนใหญ่ เช่น Hennes & Mauritz AB , Inditex SA ,Benetton , Marks & Spencer, Mango , El Corte ,Tesco และ Primark อย่างไรก็ตาม เครือข่ายร้านค้าปลีกในสหรัฐหลายแห่ง รวมถึง Wal Mart และ GAP ไม่ยอม ลงนามข้อตกลง เครือข่ายค้าปลีกยักษ์ใหญ่อย่าง Wal Mart จะทาการตรวจสอบมาตรฐานความปลอดภัยของโรงงานตัดเย็บเสือ้ ผ้า 25 แห่งทีผ่ ลิต ให้บริษทั เอง ซึง่ จะเสร็จสิน้ ใน 6 เดือนข้างหน้า ขณะที่ GAP ยังรีรอไม่พร้อมจะลงนามในข้อตกลงเนื่องจากยังไม่เห็นด้วยในบางข้อประการของ ข้อตกลงซึง่ ผูกพันทางกฎหมาย ขณะนี้คนงานได้ประท้วงรัฐบาลเพื่อเรียกร้องให้ขน้ึ ค่าจ้างแรงงาน ซึง่ รัฐบาลกล่าวว่า อยูร่ ะหว่างการพิจารณาเพิม่ ค่าจ้างขัน้ ต่าเป็ นประมาณ 39 ดอลลาร์/ เดือน จากการสารวจผูต้ อบแบบสอบถามพบว่าผูส้ งู อายุเกินกว่า 55ปี รับรูข้ ่าวโศกนาฎกรรมการถล่มของโรงงานตัดเย็บเสือ้ ผ้าในบังคลาเทศถึงร้อยละ 86 มีเพียงร้อยละ 49 ของผูต้ อบคาถามอายุ 18-34 ปี ไม่เคยได้ยนิ เรื่องในเรื่องดังกล่าว นอกจากนี้ พบว่าผูต้ อบแบบสอบถาม 44 เปอร์เซ็นต์ได้มองป้าย เพื่อดูวา่ เสือ้ ผ้าผลิตจากทีใ่ ดก่อนที่จะซือ้ โดยเฉพาะชาวอเมริกนั ทีม่ อี ายุเกินกว่า 55 ปี มแี นวโน้มทีจ่ ะทาสูงสุดทีร่ อ้ ยละ 53 ---------------------------------------------------------- ----------------------กลุม่ Worker Rights Consortium ประเมินว่า โรงงานตัดเย็บเสือ้ ผ้าซึง่ มีอยู่ประมาณ 5,000 แห่ง แต่ละแห่งจะต้องใช้จ่ายเงิน 600,000 ดอลลาร์โดยเฉลีย่ ในการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยให้ขน้ึ สูม่ าตรฐานของโลก ตะวันตก หรือรวมทัง้ หมดแล้วเท่ากับ 3,000 ล้านดอลลาร์ ถ้าหากกระจายค่าใช้จ่าย 3,000 ล้านดอลลาร์น้อี อกไปเป็ นระยะเวลา 5 ปี ก็จะเพิม่ ต้นทุนของเสือ้ ผ้าไม่ถงึ 10 เซนต์ต่อชิน้ แต่ละปี บังกลาเทศรับจ้าง ผลิตเสือ้ ผ้า ให้พวกแบรนด์ตะวันตกกว่า 7,000 ล้านชิน้ ถ้าหากเจ้าของโรงงานผลักภาระค่าใช้จ่ายนี้ไปให้กจิ การขายปลีก ซึง่ จะผลักภาระต่อไปให้แก่ผบู้ ริโภค ด้วยวิธขี น้ึ ราคาของเสือ้ ผ้าสาเร็จรูปแล้ว นันก็ ่ อาจทาให้ผซู้ อ้ื คนสุดท้าย ต้องจ่ายเพิม่ ขึน้ ประมาณ 25 เซนต์ต่อชิน้
[พิมพ์ขอ้ ความ]
หน้า 2
Source:Times, May 21;USA Today ,May 14 2013
, TIME ,Apr,42013 รายงานฉบับนีจ้ ัดทาเพื่อเผยแพร่ ท่ วั ไป ทางผู้จัดทาไม่ สามารถรั บผิดชอบหรื อมีภาระผูกพันใดๆ ในความเสียหายที่เกิดจากผู้ใช้ ข้อมูล
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
ั ่ สญญาณเศรษฐกิ ้ 105.7 จุด สง HighLight : ด ัชนีความเชอื่ มน่ ั ทางธุรกิจของเยอรมนีในเดือนพ.ค.ปร ับเพิม่ ขึน จขยายต ัว
■ เยอรมนี : สถาบันวิจยั ทางเศรษฐกิจของเยอรมนี (IFO) เผยดัชนีความเชื่อมันทางธุ ่ รกิจของเยอรมนีในเดือนพ.ค. ปรับเพิม่ ขึน้ อยูท่ ร่ี ะดับ 105.7 จากระดับ 104.4 ในเดือนเม.ย. นับเป็ นการปรับเพิม่ เป็ นครัง้ แรกในรอบ 3 เดือน สัญญาณบ่งชีก้ ารขยายตัวต่อเนื่องของเศรษฐกิจ เยอรมนี ■ อิ ตาลี : สํานักงานสถิตอิ ติ าลี เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคในเดือนพ.ค. ลดลง อยูท่ ่ี 85.9 จากระดับ 86.3 ในเดือนเม.ย. สวนทางกับ นักวิเคราะห์สว่ นใหญ่ทค่ี าดการณ์วา่ จะเพิม่ ขึน้ ทัง้ นี้เป็ นผลจากอัตราการว่างงานของอิตาลียงั คงอยูใ่ นระดับสูง บ่งชีผ้ บู้ ริโภคส่วนใหญ่ยงั คง กังวลกับทิศทางการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ■ จีน : คณะกรรมการเพือ่ การพัฒนาและปฏิรปู แห่งชาติจนี (NDRC) เผยจีนผลิตนํ้ามันดิบในเดือนเม.ย.ได้ 17.07 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ 3.3% (y‐o‐y) และแปรรูปนํ้ามันดิบ 34.89 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ 6.5% (y‐o‐y) และผลิตภัณฑ์น้ํามันได้ 21.48 ล้านตัน เพิม่ ขึน้ 4.3% (y‐o‐y) ขณะที่ ผลผลิตนํ้ามันเบนซินเพิม่ ขึน้ 11.8% (y‐o‐y) ส่วนผลผลิตนํ้ามันดีเซลลดลง 0.9% (y‐o‐y) ■ ฮ่องกง : สํานักงานสถิตแิ ละสํามะโนประชากรฮ่องกง เผยมูลค่าการส่งออกและนําเข้าสินค้าของฮ่องกงเดือนเม.ย. ปรับตัวเพิม่ 9% (y-oy) สูร่ ะดับ 2.903 ล้านดอลล่าร์ฮอ่ งกง และมูลค่าการนําเข้าสินค้าเพิม่ ขึน้ 7.7% (y-o-y) สูร่ ะดับ 3.33 แสนล้านดอลล่าร์ฮอ่ งกง ส่งผลให้มยี อด ขาดดุล 4.27 หมืน่ ล้านดอลล่าร์ฮอ่ งกง หรือประมาณ 12.8% ของมูลค่าการนําเข้า ■ เกาหลีใต้ : ธนาคารกลางเกาหลีใต้ เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคของเกาหลีใต้ (CCSI) เดือนพ.ค. ปรับตัวเพิม่ 2 จุด จากเดือนเม.ย. สู่ ระดับ 104 ติดต่อกันเป็ นเดือนที่ 5 หลังรัฐบาลประกาศอัดฉีดเงินเพิม่ เติมและธนาคารกลางเกาหลีใต้ประกาศลดอัตราดอกกเบีย้ สะท้อน ผูบ้ ริโภคส่วนใหญ่มมี มุ มองเป็ นบวกต่อเศรษฐกิจเกาหลีใต้
Thailand updates : ■ ผูอ้ าํ นวยการสํานักงานบริหารหนี้สาธารณะ เผยผลการดําเนินงานการบริหารจัดการหนี้ภาครัฐประจําเดือนเม.ย. 2556 สรุปได้วา่ กระทรวงการคลังกูเ้ งินเพือ่ ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ โดยการออกพันธบัตรรัฐบาล 13,000 ล้านบาท และพันธบัตรออมทรัพย์ 54.28 ล้านบาท การเบิกจ่ายเงินกู้ 2,600 ล้านบาท จากสัญญาเงินกูว้ งเงิน 10,000 ล้านบาท ทีล่ งนามในสัญญาเงินกูเ้ มือ่ วันที่ 30 เมษายน 2555 ภายใต้ พ.ร.ก. บริหารจัดการนํ้าและสร้างอนาคตประเทศฯ ประกอบกับการเบิกจ่ายเงินกูเ้ พื่อให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยกู้ ต่อ จํานวน 410.48 ล้านบาท พร้อมทัง้ ได้ชาํ ระหนี้จาํ นวน 6,007.38 ล้านบาท ■ เงินบาทเปิ ดตลาด (28 พ.ค.) ทีร่ ะดับ 29.90/92 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าจากปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 29.85/87 บาท/ดอลลาร์ ตามค่าเงินในภูมภิ าค
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (27 พ.ค.) ปิดทําการเนื่องจากวันเมมโมเรียล เดย์ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ ลด 469.80 จุด หรือ 3.22% ปิดที่ 14,142.65 จุด จากการแข็งค่าของเงินเยน ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 67.38 จุด หรือ 0.30% ปิ ดที่ 22,686.05 จุด แรงหนุนจากการเพิม่ ขึน้ ของหุน้ เลอโนโว หลังบริษทั เผยผลกําไรดีเกินคาด ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 4.54 จุด หรือ 0.20% ปิดที่ 2,293.08 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,593.10 จุด ลดลง 14.36 จุด (-0.89%) แรงกดดันจากการ แถลงการณ์ของประธานเฟด ส่งสัญญาณแนวโน้มลดวงเงินในการซือ้ พันธบัตร หากตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ปรับตัวดีขน้ึ
ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
ื่ มน ้ สูร่ ะด ับสูงสุดในรอบ 5 ปี และราคาบ้านในสหร ัฐปร ับต ัว HighLight : ความเชอ ่ ั ผูบ ้ ริโภคสหร ัฐเพิม ่ ขึน ั ้ นต ัวแข็งแกร่ง ้ มากสุดในรอบ 7 ปี สะท้อนตลาดทีอ ขึน ่ ยูอ ่ าศยฟื
■ อเมริ กา : คอนเฟอเรนซ์ บอร์ด เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคสหรัฐฯในเดือนพ.ค. เพิม่ ขึน้ สูร่ ะดับ 76.2 จากระดับ 69 ในเดือนเม.ย.สูง กว่าทีน่ กั เศรษฐศาสตร์คาดว่าจะเพิม่ ทีร่ ะดับ 71-72 นับเป็ นการปรับตัวขึน้ เป็ นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน และเป็ นระดับสูงทีส่ ดุ ในรอบ 5 ปี เนื่องจากมุมมองของชาวอเมริกนั ทีม่ ตี ่อเศรษฐกิจและตลาดแรงงานในประเทศปรับตัวดีขน้ึ : สแตนดาร์ด แอนด์ พัวร์/เคส ชิลเลอร์ เผยดัชนีราคาบ้านของสหรัฐฯ ในเดือนมี.ค. เพิม่ ขึน้ 10.9% (m-o-m) มากกว่าทีน่ กั เศรษฐศาสตร์ คาดการณ์วา่ จะเพิม่ 10.2% (m-o-m) นับเป็ นการเพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ ตัง้ แต่เดือนเม.ย.2549 หรือในรอบ 7 ปี บ่งชีว้ า่ ตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยฟื้นตัว แข็งแกร่งขึน้ ■ ฝรังเศส ่ : สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติของฝรังเศส ่ (Insee) เผยดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคฝรังเศสในเดื ่ อนพ.ค. ลดลงอยูท่ ่ี 79 จาก 83 ใน เดือนเม.ย. เนื่องจากผูบ้ ริโภคมีความวิตกเกีย่ วกับฐานะการเงินส่วนบุคคล นับเป็ นระดับตํ่าสุดตัง้ แต่กลางปี 2551 ขณะทีเ่ ศรษฐกิจโดยรวม ของฝรังเศส ่ หดตัวลง 2 ไตรมาสติดต่อกันและอัตราว่างงานก็เพิม่ ขึน้ เกิน 10% ในช่วงสิน้ ปี 2555 ■ เกาหลีใต้ : สหพันธ์อุตสาหกรรมเกาหลี เผยความเชื่อมันภาคธุ ่ รกิจ (BSI) ของเกาหลีใต้ลดลง 2.6 จุด จากเดือนพ.ค. มาอยูท่ ่ี 97.2 จุดใน เดือนมิ.ย. ลดลงเป็ นเดือนที่ 3 ติดต่อกัน และอยูท่ ต่ี ่าํ กว่าระดับ 100 เป็ นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน โดยค่าดัชนีทต่ี ่าํ กว่า 100 หมายความว่าบริษทั ทีม่ มี มุ มองลบมีจาํ นวนมากกว่าบริษทั ทีม่ มี มุ มองบวก ผลจากแนวโน้มเงินเยนทีอ่ ่อนค่าส่งผลให้มคี วามวิตกเกีย่ วกับศักยภาพในการทํากําไร ของภาคเอกชน
Thailand updates : ■ สํานักเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยดัชนีอุตสาหกรรมผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือนเม.ย.56 อยูท่ ่ี 159.16 ลดลง 3.84% (y-o-y) และลดลง 18.69% (m-o-m) เนื่องจากเดือนเม.ย. มีวนั หยุดมาก และมีการชะลอการผลิตของผูป้ ระกอบการ เพือ่ รองรับมาตรการป้องกัน ไฟฟ้าดับ จากการหยุดซ่อมบํารุงโรงจ่ายก๊าซธรรมชาติของเมียนมาร์ ช่วงวันที่ 5-14 เม.ย. ขณะทีผ่ ผู้ ลิตบางรายก็ตดั สินใจหยุดผลิตเพือ่ ให้ ลูกจ้างได้หยุดพักกลับบ้านในช่วงเทศกาลสงกรานต์ ในขณะทีช่ ว่ ง 4 เดือนแรกปี น้ี (ม.ค.-เม.ย.56) ดัชนี MPI ของไทย ขยายตัว 1.49% และ อัตราการใช้กาํ ลังการผลิตเดือนเม.ย.56 อยูท่ ่ี 60.28% ■ เงินบาทปิ ดตลาด (28 พ.ค.) ทีร่ ะดับ 30.01/03 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าลงจากช่วงเช้าทีเ่ ปิดตลาดทีร่ ะดับ 29.90/92 บาท/ดอลลาร์ หลังจาก รมว. คลัง ระบุวา่ จะแก้ประกาศกระทรวงการคลัง ซึง่ จะมีผลในการดูแลเงินทุนไหลเข้า-ออกให้มคี วามสมดุล
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (28 พ.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับเพิม่ ขึน้ 106.29 จุด หรือ 0.69% ปิดที่ 15,409.39 จุด ดัชนี S&P 500 เพิม่ ขึน้ 10.46 จุด หรือ 0.63% ปิดที่ 1,660.06 จุด และดัชนี Nasdaq เพิม่ ขึน้ 29.75 จุด หรือ 0.86% ปิ ดที่ 3,488.89 จุด แรงหนุนจากข้อมูลเศรษฐกิจที่ แข็งแกร่งของสหรัฐ รวมถึงดัชนีความเชื่อมันผู ่ บ้ ริโภคและดัชนีราคาบ้านทีป่ รับตัวขึน้ สูงกว่าทีน่ กั วิเคราะห์คาดการณ์ไว้ ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ เพิม่ 169.33 จุด หรือ 1.20% แตะที่ 14,311.98 จุด จากนักลงทุนเข้าซือ้ หุน้ หลังจากสกุลเงินเยนอ่อนค่าลง ดัชนีฮงเส็ ั ่ งเพิม่ ขึน้ 238.20 จุด หรือ 1.05% ปิ ดวันนี้ท่ี 22,924.25 จุด หลังจีนเผยข้อมูลเศรษฐกิจทีส่ ดใส ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 28.24 จุด หรือ 1.23% ปิ ดที่ 2,321.32 จุด ผลจากหุน้ กลุม่ อสังหาริมทรัพย์และหุน้ กลุม่ การเงินเป็ นสําคัญ ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,619.57 จุด เพิม่ ขึน้ 26.47 จุด (+1.66%) ผลจากบรรยากาศการลงทุนจากต่างประเทศฟื้นตัวขึน้ ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
้ 21,000 ราย และ HighLight : จํานวนผูข ้ อร ับสว ัสดิการการว่างงานของเยอรมนีในเดือนพ.ค.เพิม ่ ขึน ้ นโยบาย อยูท กนง.มีมติลดอ ัตราดอกเบีย ่ รี่ อ ้ ยละ 2.50 ต่อปี
■ เยอรมนี : สํานักงานแรงงานเยอรมนี เผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานในเดือนพ.ค.เพิม่ ขึน้ 21,000 ราย จากเดือนเม.ย. ซึง่ มากกว่า ทีไ่ ด้มกี ารคาดการณ์ไว้ ขณะทีอ่ ตั ราว่างงานทรงตัวที่ 6.9% จากภาวะตลาดแรงงานในช่วงฤดูใบไม้ผลิปีน้ีปรับตัวอ่อนแรงลงเมือ่ เทียบกับช่วง เดียวกันของปีก่อน โดยปกติแล้ว ฤดูใบไม้ผลิจะเป็ นช่วงทีต่ ลาดมีการฟื้นตัว ■ อิ ตาลี : สํานักงานสถิตขิ องอิตาลี (Istat) เผยความเชื่อมันภาคธุ ่ รกิจการผลิตของอิตาลีในเดือนพ.ค.ปรับตัวขึน้ อยูท่ ่ี 88.5 จากระดับ 87.9 ในเดือนเม.ย. ซึง่ อยูใ่ นภาวะยํ่าแย่จากสถานการณ์การเมืองในประเทศทีไ่ ม่แน่นอน ■ สเปน : ธนาคารกลางสเปน เผยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดพี )ี ในช่วงไตรมาสแรกของปีน้ี ลดลง 0.5% (q-o-q) สอดคล้องกับ องค์การเพือ่ ความร่วมมือและพัฒนาเศรษฐกิจ (OECD) ได้ปรับลดคาดการณ์เศรษฐกิจสเปน โดยระบุวา่ จีดพี ขี องสเปนจะหดตัว 1.7% ในปีน้ี จากทีเ่ คยคาดการณ์ไว้เมือ่ เดือนพ.ย.ปีทแ่ี ล้วว่าจะหดตัวเพียง 1.4% ■ กรีซ : ธนาคารกลางกรีซ เผยคาดการณ์เศรษฐกิจประเทศในปี 2556 จะหดตัว 4.6% และอัตราว่างงานจะอยูท่ ่ี 28% ในขณะทีร่ ฐั บาล คาดการณ์เศรษฐกิจประเทศจะหดตัว 4.2% ในปีน้ี และอัตราว่างงานจะอยูท่ ่ี 26.6% ส่งสัญญาณเศรษฐกิจกรีซหดตัวต่อเนื่อง ■ จีน : สถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือระหว่างประเทศ มูดสี ์ อินเวสเตอร์ เซอร์วสิ คาดเศรษฐกิจจีนจะมีการเติบโตรายปีอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 7-8% จนถึงปี 2560 โดยไม่มกี ารทรุดตัวลงแต่อย่างใด ■ ญี่ปนุ่ : รัฐบาลญีป่ นุ่ เผย ผลการสํารวจราคาทีด่ นิ รายไตรมาสเพิม่ สูงขึน้ 53% ของพืน้ ทีเ่ ชิงพาณิชย์และพืน้ ทีอ่ ยูอ่ าศัยในญี่ปนุ่ ทีท่ าํ การ สํารวจระหว่างวันที่ 1 ม.ค.-1 เม.ย. ของกระทรวงทีด่ นิ สาธารณูปโภค ขนส่ง และท่องเทีย่ ว นับเป็ นครัง้ แรกในรอบเกือบ 5 ปีทท่ี ด่ี นิ มากกว่า ครึง่ ทีไ่ ด้ทาํ การสํารวจนัน้ มีราคาสูงขึน้ โดยราคาทีด่ นิ นัน้ ปรับตัวสูงขึน้ ใน 3 เมืองใหญ่ ได้แก่ โตเกียว โอซาก้า และนาโกย่า
Thailand updates : ■ คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) มีมติเอกฉันท์ให้ลดอัตราดอกเบีย้ นโยบายลงร้อยละ 0.25 จากร้อยละ 2.75 เป็ นร้อยละ 2.50 ต่อปี โดยให้มผี ลทันที ภายหลังประเมินว่า ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี น้ี ยังคงขยายตัวจากมีปจั จัยพืน้ ฐานอยูใ่ นเกณฑ์ดี แต่มคี วามเสีย่ งมากขึน้ จากตัวเลขเศรษฐกิจในไตรมาส 1 ซึง่ ตํ่ากว่าทีค่ าดมาก ในขณะทีอ่ ตั ราเงินเฟ้อยังอยูใ่ นกรอบเป้าหมายนโยบายการเงินจึงสามารถผ่อนคลาย เพิม่ เติมได้เพือ่ ลดความเสีย่ งต่อการขยายตัวของอุปสงค์ในประเทศ แต่ภายใต้ความเสีย่ งด้านเสถียรภาพการเงินทีย่ งั มีอยู่ ■ เงินบาทปิ ดตลาด (29 พ.ค.) ทีร่ ะดับ 30.19/21 บาท/ดอลลาร์ อ่อนค่าลงจากช่วงเช้าทีเ่ ปิดตลาดทีร่ ะดับ 30.08/10 บาท/ดอลลาร์ หลังจากที่ คณะกรรมการนโยบายการเงิน(กนง.) มีมติปรับลดอัตราดอกเบีย้ นโยบายลง
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (29 พ.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับลดลง 106.59 จุด หรือ 0.69% ปิ ดที่ 15,302.80 จุด ดัชนี S&P 500 ลดลง 11.70 จุด หรือ 0.70% ปิดที่ 1,648.36 จุด และดัชนี Nasdaq ปรับตัวลง 21.37 จุด หรือ 0.61% ปิดที่ 3,467.52 จุด จากความวิตกกังวลทีว่ า่ ธนาคาร กลางสหรัฐ (เฟด) อาจจะชะลอโครงการซือ้ พันธบัตร และตลาดยังได้รบั แรงกดดันหลังจากองค์การเพือ่ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการ พัฒนา (OECD) ปรับลดคาดการณ์การขยายตัวของเศรษฐกิจโลกในปี น้ี ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ เพิม่ 14.48 จุด หรือ 0.10% แตะที่ 14,326.46 แรงหนุนจากข้อมูลเศรษฐกิจทีแ่ ข็งแกร่งของสหรัฐ ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 369.32 จุด หรือ 1.61% ปิ ดที่ 22,554.93 จุด หลังจากสหรัฐเปิดเผยข้อมูลเศรษฐกิจทีส่ ดใส ส่งผลให้นกั ลงทุนวิตกว่า ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) อาจชะลอโครงการซือ้ พันธบัตร ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตเพิม่ ขึน้ 2.70 จุด หรือ 0.12% ปิดที่ 2,324.02 จุด ตลาด ห้นไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,601.61 จด ลดลง 17.96 จด( 1.11%) จากการประกาศลดอัตราดอกเบีย้ ฯ ของกนง. ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com
Macroeconomic Policy Bureau
ประจําว ันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2556
Page 1
MACRO VIEWS มุมมองมหภาค
ั ้ 10,000 ราย และปร ับลดประมาณ HighLight : สหร ัฐเผยจํานวนผูข ้ อร ับสว ัสดิการว่างงานสปดาห์ ทแ ี่ ล้วเพิม ่ ขึน การ GDP Q1/2556 เหลือขยายต ัว 2.4%
■ สหรัฐฯ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยจํานวนผูข้ อรับสวัสดิการว่างงานครัง้ แรกในรอบสัปดาห์ทส่ี น้ิ สุดวันที่ 25 พ.ค. เพิม่ ขึน้ 10,000 ราย สูร่ ะดับ 354,000 ราย ตรงข้ามกับทีน่ กั วิเคราะห์คาดว่าจะทรงตัวอยูท่ ร่ี ะดับ 340,000 ราย สะท้อนให้เห็นว่าเศรษฐกิจสหรัฐเริม่ ได้รบั ผลกระทบจากมาตรการลดงบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลกลางสหรัฐโดยอัตโนมัต ิ : กระทรวงพาณิชย์สหรัฐ เผยผลการปรับประมาณการผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศทีแ่ ท้จริงไตรมาส 1/2556 ขยายตัว 2.4% ลดลงจากที่ ประมาณการครัง้ แรก ขยายตัว 2.5% สะท้อนเศรษฐกิจสหรัฐเริม่ ได้รบั ผลกระทบจากมาตรการลดงบประมาณรายจ่ายของรัฐบาลกลางสหรัฐโดย อัตโนมัต ิ : สมาคมนายหน้าอสังหาริมทรัพย์แห่งชาติของสหรัฐ (NAR) เผยดัชนีการทําสัญญาขายบ้านทีร่ อปิ ดการขายเดือนเม.ย. เพิม ่ ขึน้ 0.3% อยูท่ ่ี 106.0 ซึง่ เป็ นระดับสูงสุดนับตัง้ แต่เดือนเม.ย. ■ ยูโร : คณะกรรมาธิการยุโรปเผยความเชื่อมันทางเศรษฐกิ ่ จยูโรโซนในเดือนพ.ค.ปรับตัวสูงขึน้ อยูท่ ่ี 89.4 จากระดับ 88.6 ในเดือนเม.ย. โดยความเชื่อมันในกลุ ่ ม่ ผูผ้ ลิตของยุโรปเพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี -13 จากระดับ -13.8 ในเดือนเม.ย. ขณะทีค่ วามเชื่อมันในภาคธุ ่ รกิจบริการเพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี -9.3 จาก -11.1 และความเชื่อมันของผู ่ บ้ ริโภคปรับตัวขึน้ มาอยูท่ ร่ี ะดับ -21.9 จากระดับ -22.3 บ่งชีว้ า่ เศรษฐกิจของภูมภิ าคเริม่ ส่งสัญญาณ ฟื้นตัว ■ อิ ตาลี : สํานักงานสถิตขิ องอิตาลี (Istat) เผยดัชนีราคาผูผ้ ลิต (PPI) ของอิตาลีในเดือนเม.ย. ลดลง 0.4% (m-o-m) และลดลง 1.0% (y-oy) จากราคาพลังงานทีป่ รับลดลง ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจทีอ่ ่อนแอ : องค์การเพือ่ ความร่วมมือและพัฒนาเศรษฐกิจ (OECD) คาดการณ์ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดพี )ี อิตาลีในปี 2556 ขยายตัวที่ -1.8% และอัตราว่างงาน ในปี 2556 เพิม่ ขึน้ อยูท่ ่ี 11.9% ตํ่ากว่าคาดการณ์ไว้ก่อนหน้า บ่งชีเ้ ศรษฐกิจอิตาลีถดถอยรุนแรง
Thailand updates : ■ ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เผยดัชนีความสามารถในการแข่งขันธุรกิจขนาดกลางและเล็ก (SMEs) ประจําไตรมาส 1/56 ซึง่ เป็ นการสํารวจครัง้ แรกว่า ดัชนีทุกรายการอยูใ่ นระดับปานกลางหรือมีคา่ เกินระดับ 50 จากเต็ม 100 โดยดัชนี สุขภาพของธุรกิจ เท่ากับ 61.5 ดัชนีความสามารถในการทําธุรกิจ เท่ากับ 59.5 ดัชนีความยังยื ่ นของธุรกิจ เท่ากับ 57.7 ทําให้ดชั นี ความสามารถในการแข่งขันโดยรวมเท่ากับ 59.6 ถือว่ามีความสามารถในการแข่งขันระดับปานกลาง ■ เงินบาทปิ ดตลาด (30 พ.ค.) ทีร่ ะดับ 30.16/18 บาท/ดอลลาร์ แข็งค่าเล็กน้อยจากช่วงเช้าทีเ่ ปิ ดตลาดทีร่ ะดับ 30.22/24 บาท/ดอลลาร์ ตาม ทิศทางค่าเงินในภมิภาค
US & Asian markets : ■ ตลาดหุน้ นิวยอร์ก (30 พ.ค.) ดัชนีดาวโจนส์ปรับเพิม่ ขึน้ 21.73 จุด หรือ 0.14% ปิ ดที่ 15,324.53 จุด ดัชนี S&P 500 ปิ ดบวก 6.05 จุด หรือ 0.37% ปิดที่ 1,654.41 จุด และดัชนี Nasdaq ปิดบวก 23.78 จุด หรือ 0.69% ปิดที่ 3,491.30 จุด จากข้อมูลเศรษฐกิจทีอ่ ่อนแอของ สหรัฐ รวมถึงผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดพี )ี ทีข่ ยายตัวในอัตราทีช่ า้ ลง นักลงทุนคาดหวังว่าธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) จะยังคง เดินหน้าโครงการซือ้ พันธบัตรต่อไป ■ ตลาดหุน้ เอเชีย ดัชนีนิเกอิ 737.43 จุด หรือ 5.15% แตะที่ 13,589.03 จุด ซึง่ เป็ นระดับตํ่าสุดนับตัง้ แต่วนั ที่ 23 เม.ย. จากความวิตกกังวล เกีย่ วกับภาวะผันผวนของตลาดและความไม่แน่นอนของแนวโน้มเศรษฐกิจโลก ดัชนีฮงเส็ ั ่ งลดลง 70.62 จุด หรือ 0.31% ปิดที่ 22,484.31 จุด จากความวิตกกังวลทีว่ า่ ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) อาจจะชะลอโครงการซือ้ พันธบัตร ดัชนีเซีย่ งไฮ้คอมโพสิตลดลง 6.27 จุด หรือ 0.27% ปิ ดที่ 2,317.75 จุด ตลาดหุน้ ไทย SET ปิดทีร่ ะดับ 1,581.32 จุด ลดลง 20.29 จุด( 1.27%) ตามตลาดส่วนใหญ่ในภูมภิ าค ทีม ่ า : HSBC , NATIXIS, REUTERS, KYODO NEWS, XINHUA NEWS
จ ัดทําโดย : ส่วนวิเทศและสถาบ ันส ัมพ ันธ์ สําน ักนโยบายเศรษฐกิจมหภาค Email: fpomacrogroup@gmail.com