Monthly Tax Update
ฉบับที่ 5 พฤษภาคม 2556
มติคณะรัฐมนตรีด้านภาษีอากร วันอังคารที่ 21 พฤษภาคม 2556 ร่า งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรั ษฎากร ว่า ด้วยการยกเว้น รั ษฎากร (ฉบับที่ ...) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการเข้าร่วมงานแสดงสินค้าในต่างประเทศ)1 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ...) พ.ศ. .... (มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการเข้าร่วมงานแสดงสินค้าในต่างประเทศ) ตามที่กระทรวงการคลัง เสนอ และให้ส่งสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วดาเนินการต่อไปได้ ซึ่งร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าว มีสาระสาคัญ ดังนี้ ให้ยกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สาหรับเงินได้เป็นจานวนร้อยละหนึ่งร้อยของรายจ่าย ที่ได้จ่ายเป็นค่าเช่าพื้นที่ ค่าก่อสร้างสถานที่จัดแสดง ค่าประกันภัย ค่าระวาง หรือค่าขนส่งสินค้าและอุปกรณ์ที่ใช้ใน การเข้าร่ว มงานออกร้าน งานนิทรรศการ หรื องานแสดงสินค้าในต่างประเทศ ส าหรับรายจ่ายที่ได้จ่ายไปตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมีหนังสือ รับรองจากหน่วยงานของรัฐว่าได้เข้าร่วมงานจริง มาตรการขยายระยะเวลาปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซล2 คณะรั ฐ มนตรี มี ม ติ เ ห็ น ชอบการขยายระยะเวลาปรั บ ลดอั ต ราภาษี ส รรพสามิ ต น้ ามั น ดี เ ซล และร่ า งประกาศ กระทรวงการคลั ง เรื่ อ ง ลดอั ต ราภาษี ส รรพสามิ ต (ฉบั บ ที่ ..) ตามที่ ก ระทรวงการคลั ง เสนอ โดยร่ า งประกาศ กระทรวงการคลังดังกล่าวมีสาระสาคัญ ดังนี้ ให้ขยายระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีน้ามันดีเซลที่มีปริมาณกามะถันไม่เกินร้อยละ 0.005 โดยน้าหนัก ในอัตราภาษี 0.005 บาทต่อลิตร และน้ามันดีเซลที่มีไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมันผสมอยู่ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 4 ในอัตราภาษี 0.005 บาทต่อลิตร ออกไปอีก 1 เดือน คือ ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2556 ถึง วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556 หมำยเหตุ มาตรการข้างต้นมีผลบังคับใช้ตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง ลดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 111) ลงวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 1
เนื่องจากรัฐบาลมีน โยบายที่ จะผลักดันการส่ง ออกของประเทศไทยในช่วงภาวะวิกฤติเศรษฐกิจในกลุ่ม ยูโ รโซน และสนับ สนุน ให้ผู้ป ระกอบการ ภายในประเทศได้มีโอกาสในการหาตลาดใหม่ในต่างประเทศที่มีศักยภาพ กระทรวงการคลังจึง พิจารณายกเว้นภาษีเงินได้ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลเพื่อสนับสนุนแนวนโยบายของรัฐบาลดังกล่าว 2 (1) คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2554 เห็นชอบการปรับลดอัตราภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซลที่มีปริมาณกามะถันไม่เกินร้อยละ 0.035 โดยน้าหนัก และน้ามันดีเซลที่มีไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมันผสมอยู่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่อธิบดี ประกาศกาหนด จากเดิมลิตรละ 5.310 บาท และ 5.040 บาท ตามลาดับ ลดลงเหลือ 0.005 บาท เพื่อช่วยบรรเทาผลกระทบจากราคาน้ามัน ป้องกัน สภาวะเงินเฟ้อ บรรเทาผลกระทบต่อต้นทุนของภาคการขนส่ง ภาคการผลิต และลดภาระค่าใช้จ่ายของประชาชน โดยมาตรการดังกล่าวมีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2554 ถึง วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554 และคณะรัฐมนตรีได้พิจารณาเห็นชอบขยายระยะเวลาของมาตรการดังกล่าวออกไป อีก 4 ครั้ง โดยการขยายระยะเวลาครั้งแรกเป็นการขยายระยะเวลาออกไป 3 เดือน จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 และการขยายระยะเวลาในอีก 3 ครั้งถัดมา เป็นการขยายระยะเวลาออกไปอีกครั้งละ 1 เดือน จนถึงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2555 (2) เมื่อวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ปรับปรุงปริมาณค่ากามะถันของน้ามันดีเซลจากเดิมที่มีปริมาณกามะถันเกินและ ไม่เกินร้อยละ 0.035 โดยน้าหนัก เป็น ที่มีปริมาณกามะถันเกินและไม่เกินร้อยละ 0.005 โดยน้าหนัก รวมทั้งเห็นชอบให้ปรับลดอัตราภาษีน้ามันดีเซล ที่มีปริมาณกามะถันไม่เกินร้อยละ 0.005 โดยน้าหนัก และน้ามันดีเซลที่มีไบโอดีเซลประเภทเมทิลเอสเตอร์ของกรดไขมันผสมอยู่ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 ในอัตราตามปริมาณลิตรละ 0.005 บาท ออกไปอีกครั้งละ 1 เดือนต่อเนื่องจนกระทั่งถึงปัจจุบัน คือ เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2555 เป็นต้นมา เพื่อบรรเทาภาระค่าครองชีพของประชาชน
สำนักนโยบำยภำษี
1/3
Monthly Tax Update
ฉบับที่ 5 พฤษภาคม 2556
วันอังคารที่ 28 พฤษภาคม 2556 ร่างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (การยกเว้น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีเงินได้ที่ได้รับจากการซือรถยนต์ใหม่เพื่อทดแทนรถยนต์ที่ถูกน้าท่วมของผู้ประสบภัย น้าท่วม)3 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติและเห็นชอบ ดังนี้ อนุมัติห ลักการร่ างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษ ฎากร ว่ าด้วยการยกเว้ น รัษฎากร (การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีเงินได้ที่ได้รับจากการซื้อรถยนต์ใหม่เพื่อทดแทนรถยนต์ที่ถูกน้าท่วม ของผู้ป ระสบภัยน้ าท่ว ม) ตามที่กระทรวงการคลั งเสนอ และให้ส่ งส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล้วดาเนินการต่อไปได้ ซึ่งมีสาระสาคัญ ดังนี้ (1) กาหนดให้เงินได้ที่ได้รับจากภาครัฐ อันเนื่องมาจากการซื้อรถยนต์ใหม่เพื่อทดแทนรถยนต์ที่ถูกน้าท่วม เสีย หายของผู้ป ระสบภัย น้าท่ว ม ตามมาตรการช่ว ยเหลื อผู้ประสบภัยรถยนต์น้าท่วมตามมติคณะรัฐ มนตรี เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2555 เป็นจานวนเท่ากับภาษีสรรพสามิตของรถยนต์ที่ซื้อแต่ไม่เกิน 100,000 บาท เป็นเงินได้พึง ประเมินที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคานวณเพื่อเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (2) การยกเว้น ภาษี เ งิน ได้ ต าม (1) ข้า งต้ น ให้ เ ป็ น การยกเว้ น ส าหรั บ เงิ น ได้ พึงประเมิ นที่ ได้ รั บ ตั้ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2556 เป็นต้นไป เห็ น ชอบตามความเห็ น ของส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ที่ เ ห็ น ควรให้ กระทรวงการคลังประชาสัมพันธ์มาตรการดังกล่าวให้เป็นที่ทราบทั่วกัน
3
ตามที่รัฐบาลได้มีนโยบายในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยรถยนต์น้าท่วม โดยกาหนดให้มีมาตรการรถยนต์ใหม่เพื่อทดแทนรถยนต์ที่ถูกน้าท่วมด้วยวิธีการให้ เงินช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัยรถยนต์น้าท่วมเป็นจานวนเท่ากับภาษีสรรพสามิตของรถยนต์ที่ ซื้อตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2555 ดังนั้น เพื่อบรรเทาภาระชองผู้ประสบภัยน้าท่วมซึ่งเป็นผู้ครอบครองรถยนต์ที่ได้รับความเสียหายจากเหตุอุทกภัย และเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรการภาษี สาหรับการซื้อรถยนต์คันแรก กระทรวงการคลังจึงได้นาเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณายกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีเงินได้ที่ได้รับจากการซื้อ รถยนต์ใหม่เพื่อทดแทนรถยนต์ที่ถูกน้าท่วมของผู้ประสบภัยน้าท่วมดังกล่าว
สำนักนโยบำยภำษี
2/3
Monthly Tax Update
ฉบับที่ 5 พฤษภาคม 2556
ร่ า งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรั ษฎากร ว่า ด้วยการยกเว้น รั ษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการยกเว้น ภาษีอากรให้แ ก่ก ลุ่มประชาชนที่รั บจั ดทาอาหารช่วยเหลือผู้ไ ด้รั บผลกระทบจากสถานการณ์ อุทกภัย)4 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร่างพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (มาตรการยกเว้นภาษีอากรให้แก่กลุ่มประชาชนที่รับจัดทาอาหารช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์ อุ ท กภั ย ) ตามที่ ก ระทรวงการคลั ง เสนอ และให้ ส่ ง ส านั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก าตรวจพิ จ ารณา แล้วดาเนินการต่อไปได้ โดยร่างพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวมีสาระสาคัญ ดังนี้ ยกเว้น ภาษีเงิ นได้และภาษีมูล ค่าเพิ่ม ให้แก่บุค คลธรรมดา กรณีการให้บริการรับจัด ทาอาหารเพื่อน าไปแจก ผู้ประสบอุทกภัยที่ประสบภัยอุทกภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ทั้งนี้ เฉพาะเงินได้หรือค่าบริ การที่ได้รับจากภาครัฐ ตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2554
ที่มา: ข้อมูลมติคณะรัฐมนตรีจากสานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และรายละเอียดเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องโดยผู้จัดทา
4
หลักการและเหตุผลของการกาหนดมาตรการดังกล่าว (1) เนื่องจากประเทศไทยได้ประสบอุทกภัยเมื่อปี พ.ศ. 2554 โดยมีพื้นที่ประสบภัยพิบัติกว่า 60 จังหวัด และรัฐบาลได้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือ ผู้ประสบอุทกภัย ซึ่งมีส่วนราชการต่างๆ เข้าร่วมการปฏิบัติหน้าที่ตั้งแต่วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป โดยกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักประสานงานร่วมกับกระทรวงมหาดไทย เร่งรัดการให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ติด ค้างอยู่ใน บ้านเรือน และรับผิดชอบเรื่องอาหาร เครื่องดื่ม และจัดตั้งโรงครัวในศูนย์พักพิงและในชุมชน (2) โดยที่สถานการณ์อุทกภัยดังกล่าวมีระะยะเวลายาวนาน ทาให้มีประชาชนได้รับความเดือดร้อนเป็นจานวนมาก และส่วนใหญ่ไม่สามารถปรุงอาหาร รับประทานเองได้ ต้องรอความช่วยเหลือจากภาครัฐและเอกชน ในขณะที่บางท้องที่ความช่วยเหลือเป็นไปด้วยความยากลาบากและไม่ทั่วถึง ประชาชนใน ชุมชนจึงมีการรวมกลุ่มกันเฉพาะกิจในลักษณะจิตอาสาของประชาชนในชุมชน เพื่อจัดทาอาหารไปแจกจ่ายให้แก่ผู้ประสบภัยพิบัติดังกล่าว โดยภาครัฐเป็น ผู้ออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งหมด ซึ่งจะจ่ายในลักษณะเหมาจ่ายเป็นจานวนรายผู้ประสบภัยและต้องมีตัวแทนรับเงินไปจากภาครัฐ จึงทาให้มีเงินได้ที่อยู่ในข่ายต้อง เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และบางรายมีรายรับถึงเกณฑ์ที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย ดังนั้น เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผู้รับจัดทาอาหาร กระทรวงการคลังจึงได้เสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณายกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีมูลค่าเพิ่มสาหรับการให้บริการรับจัดทาอาหารดังกล่าว
สำนักนโยบำยภำษี
3/3