โรงพยาบาลมหาสารคาม MAHASARAKHAM HOSPITAL
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม MAHASARAKHAM UNIVERSITY
สาขาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
คู่มือ
ส�ำหรับผู้ป่วยและญาติ
เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวก่อนและหลัง การให้ยาระงับความรู้สึก
คู่มือส�ำหรับผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการให้ยาระงับความรู้สึก พิมพ์ครั้งที่ 1 : พฤษภาคม 2560 จ�ำนวน 16 หน้า จัดพิมพ์โดย
คณะผู้จัดท�ำ ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา
ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบและพัฒนาสื่อ
แผนกวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลมหาสารคาม
คณาจารย์ประจ�ำภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นางทัศนีย์วรรณ วงษ์ภักดี ต�ำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ
นายปฏิพัทธ์ บุตุธรรม ต�ำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนีวรรณ ตั้งภักดี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ก่อเกียรติ ขวัญสกุล
อาจารย์ ชนยุตฏษ์ ช้างเพชร
ผู้ออกแบบและพัฒนาสื่อ นิสิตสาขาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ผู้ประสานงาน นางสาวกนกกาญจน์ กรุงเก่า
นางสาวนภาพร พละศักดิ์
นางอรณต วัฒนา
นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลมหาสารคาม
คำ�นำ� คู่มือสำ�หรับผู้ป่วยและญาติเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการให้ยาระงับความรู้สึก ฉบับนี้พัฒนาจากความร่วมมือของ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลับมหาสารคามและแผนกวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาล มหาสารคาม ภายใต้การสนับสนุนจากทุนบริการวิชาการโครงการหนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชนของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำ�ปี 2560 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและผลิตสื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวก่อนและหลังการให้ยาระงับความรู้สึก สำ�หรับผู้ ป่วยที่ต้องเข้ารับการผ่าตัด ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ตอน ได้แก่ 1.) การเตรียมความพร้อมก่อนการเข้ารับการผ่าตัด 2.) สิ่งที่ต้องปฏิบัติ ตัวก่อนเข้ารับการรักษา 3.) สิ่งที่ควรรู้ขณะผ่าตัดสำ�หรับญาติ 4.) สิ่งที่ควรปฏิบัติตัวหลังการผ่าตัดสำ�หรับผู้ป่วยขณะพักฟื้นอยู่หอผู้ป่วย คณะผู้จัดทำ�หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่บุคลากรทางการแพทย์และผู้มารับบริการของโรงพยาบาล ให้สามารถสื่อสารความรู้และสร้างความเขา้ใจระหว่างกันได้มากขึ้น อันจะนำ�มาซึ่งการดูแลรักษาสุขภาพที่ถูกต้อง เพื่อให้คนไทยมี สุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรงยิ่งขึ้น คณะผู้จัดทำ�
HOSPITAL
สิ่งที่ต้องปฏิบัติก่อนและหลังการให้ยาระงับความรู้สึก
1
ผู้ป่วยค้างคืนที่โรงพยาบาล เพื่อรอทำ�การผ่าตัด HOSPITAL
1
2
ผู้ป่วยเต ก่อนเข้า
วิสัญญีให้ความรู้ เกี่ยวกับการให้ ยาระงับความรู้สึก
เข้ารับการวินจิ ฉัย อาการของผู้ป่วย
3
ผู้ป่วยหรือญาติแจ้งข้อมูล ของผู้ป่วยให้วิสัญญี ทราบ
4
5
ผู้ป่วยหรือญาติเซ็นเอกส ยินยอมทำ�การรักษาผ่าต และการใช้ยาระงับความ
สาร ตัด มรู้สึก
6
ผู้ป่วยกลับหอผู้ป่วย
วิสัญญีให้ยาระงับความ รู้สึกและศัลยแพทย์ ทำ�การผ่าตัด
ตรียมร่างกาย าห้องผ่าตัด
7
ผู้ป่วยพักฟื้นภายในห้อง พักฟื้นแผนกวิสัญญี
8
9
10
สามารถกลับบ้านได้ตาม คำ�สั่งแพทย์
2
การเตรียมความพร้อมก่อนการเข้ารับการผ่าตัด
1
ความรู้เกี่ยวกับวิธีการให้ยาระงับความรู้สึก
1.1 การวางยาสลบ เป็นวิธีการที่ทำ�ให้ผู้ป่วยหมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่เจ็บปวดตลอดการผ่าตัด สามารถทำ�ได้ 2 วิธี
1.1 ยาสลบชนิดสูดดม จะให้ผู้ป่วยสูดหายใจผ่านหน้ากาก หรือผ่านท่อช่วยหายใจ
1.2 ยาสลบชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดด�ำ จะฉีดผ่านสายน�้ำเกลือเข้าสู่หลอดเลือดด�ำ
3
1.2 การฉีดยาเฉพาะส่วน
เป็นวิธีการที่จะฉีดยาชาที่เส้นประสาท โดยไม่ให้ ผู้ป่วยสลบ เมื่อยาชาหมดฤทธิ์อาการชาจะค่อยๆ หมดไปและเคลื่อนไหวได้ตามปกติ สามารถทำ�ได้ 3 วิธี
2.1 การฉีดยาชาเข้าช่องไขสันหลัง (การบล็อกหลัง) เป็นการท�ำให้ชาบริเวณกลางล�ำตัวไปจนถึงขา ทั้ง 2 ข้าง เหมาะส�ำหรับการผ่าตัดตั้งแต่เอวลงไป เช่น การผ่าคลอด หรือการผ่าตัดช่องท้อง
2.2 การฉีดยาชารอบเส้นประสาท เป็นวิธีการที่ท�ำให้เกิดอาการชาบริเวณที่เส้นประสาท ที่ไปเลี้ยง เหมาะส�ำหรับการผ่าตัดที่มือ แขน หรือเท้า
2.3 การฉีดยาชาเฉพาะที่ เป็นวิธีการฉีดยาชาในต�ำแหน่งที่จะผ่าตัด โดยจะท�ำให้ ผู้ป่วยรู้สึกชาที่บริเวณนั้น เหมาะส�ำหรับการผ่าตัดเล็กๆ เช่น ตัดหูด ตัดไฝ เย็บแผล
4
การเตรียมความพร้อมก่อนการเข้ารับการผ่าตัด
1
ความรู้เกี่ยวกับวิธีการให้ยาระงับความรู้สึก
1.3
ความรุนแรงเล็กน้อย
5
ภาวะแทรกซ้ อนอน ภาวะแทรกซ้
ความรุนแรงมาก (พบได้น้อย)
คลื่นไส้ อาเจียน
การหายใจล้มเหลว ปอดอักเสบ
แขนขาอ่อนแรง
เส้นเลือดในสมองแตก
ปวดหลัง ปวดเมื่อย ตามตัวและกล้ามเนื้อ
สภาวะหัวใจล้มเหลว
ฟันโยก ฟันหัก
อัมพาต หรือเสียชีวิต
2
ข้อมูลที่ผู้ป่วยหรือญาติจะต้องแจ้งให้วิสัญญีทราบ
ประวัติการแพ้ยา หรือการใช้สารเสพติด
ประวัติยาที่รับประทาน หรือฉีดประจ�ำ
ประวัติการผ่าตัด และการให้ยาระงับความรู้สึก
ประวัติการสูบบุหรี่
ประวัติโรคประจ�ำตัว
“วิสัญญี” เป็นบุคลากรทางการแพทย์ที่ทำ�หน้าที่ให้การระงับ ความรู้สึกและดูแลผู้ป่วยในระหว่างการผ่าตัดให้ได้รับความปลอดภัย
ประวัติการตรวจ รักษาฟัน
ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถแจ้งได้ให้ญาติเป็นผู้แจ้งประวัติการเจ็บป่วย
6
สิ่งที่ต้องปฏิบัติตัวก่อนเข้ารับการรักษา
1
การเตรียมร่างกายของผู้ป่วยก่อนเข้าห้องผ่าตัด
สำ�หรับกรณีที่เป็นผู้หญิงให้ถอดชุดชั้นในที่มีโครงเหล็กออก
7
2
เซ็นเอกสารยินยอมท�ำการผ่าตัดและการใช้ยาระงับความรู้สึก
1
ผู้ป่วยซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ สามารถเซ็น ยินยอมได้ หากไม่บรรลุนิติภาวะแต่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป มีสติ
2
ผู้ป่วยที่มีสุขภาพจิตที่ไม่สมบูรณ์ต้องให้บิดามารดาหรือผู้ ปกครองตามกฎหมายเป็นผู้เซ็นใบยินยอม
3
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถตามผู้ปกครองมาเซ็นยินยอมและศัลยแพทย์ ต้องรีบผ่าตัดเร่งด่วนเพื่อช่วยชีวิต ต้องให้ผู้อำ�นวยการโรง พยาบาล
4
ผู้ป่วยหรือผู้ปกครองไม่สามารถเขียนหนังสือได้ ให้พิมพ์ลายนิ้ว หัวแม่มือข้างขวา และเขียนกำ�กับตรงลายพิมพ์ว่า “ลายพิมพ์ นิ้วหัวแม่มือขวาของผู้ป่วยหรือผู้ปกครองของผู้ป่วย”
สัมปะชัญญะดี สามารถเซ็นใบยินยอมผ่าตัดได้ด้วยตนเอง
8
สิ่งที่ต้องรู้ขณะผ่าตัดสำ�หรับญาติ
ญาติของผู้ป่วยสามารถนั่งรอที่ หน้าห้องผ่าตัด หรือสามารถไปท�ำ ธุระส่วนตัวได้
วิสัญญีจะให้ยาระงับความรู้สึกโดยวิธีการวาง ยาสลบหรือการฉีดยาเฉพาะส่วนตามความเหมาะสม คอยดูแลและควบคุม ติดตามการท�ำงานของร่างกาย อย่างใกล้ชิด หลังการผ่าตัดวิสัญญีจะน�ำผู้ป่วยไปที่ห้องพักฟื้น ประมาณ 1-2 ชั่วโมงหรือจนปลอดภัย จึงจะย้ายผู้ป่วย กลับหอพักผู้ป่วยเพื่อพักฟื้น
9
สิ่งที่ควรปฏิบัติตัวหลังการผ่าตัด สำ�หรับผู้ป่วยขณะพักฟื้น
1. ผู้ป่วยควรไออย่างถูกวิธี โดยการหายใจเข้าลึกๆ เอามือหรือผ้านุ่มๆประคอง แผลไว้แล้วไอออกมา เพื่อลด อาการเลือดคั่งของเสมหะ
2. ผู้ป่วยควรมีการหายใจ เข้า-ออกลึกๆ เพื่อช่วยให้ปอด ขยายตัวเต็มที่
3. ผู้ป่วยควรพลิกตัว ลุกนั่ง หรือ หัดเดิน ภายใน 24 ชั่วโมง เพื่อ ฟื้นฟูร่างกายให้เป็นปกติ ป้องกัน การเกิดภาวะแทรกซ้อน ยกเว้นกรณีที่แพทย์สั่งห้าม
4. ผู้ป่วยควรดูแลรักษาแผลผ่าตัด ไม่ให้ถูกน�้ำ ป้องกันการติดเชื้อ ของแผลผ่าตัดและดูแลสาย ท่อระบายต่างๆ ที่ต่อออกจากตัว ของผู้ป่วยไม่ให้เกิดการพับงอ
5. ระยะแรกหลังการผ่าตัดให้ผู้ป่วย งดน�้ำ งดอาหารตามที่แพทย์สั่ง หรือให้กินตามแพทย์สั่ง
6. ถ้าหากมีอาการผิดปกติของ ร่างกายหรือมีภาวะแทรกซ้อน หลังการผ่าตัด คลื่นไส้ อาเจียน มีอาการอ่อนแรง ควรแจ้ง พยาบาลประจ�ำตึกทันที
ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถปฏิบัติตัวเองได้ญาติควรดูแล และให้คำ�แนะนำ�ในการปฏิบัติตัวอย่างเคร่งครัด
10
บรรณานุกรม “การปฏิบัติตัวก่อนดมยาสลบเพื่อผ่าตัดและปฏิบัติตัวหลังผ่าตัด” กลุ่มงานห้องผ่าตัดและวิสัญญี. โรงพยาบาลมหาสารคาม.”(แผ่นพับ) ทัศนีย์วรรณ วงษ์ภักดี และ ปฏิพัทธ์ บุตุธรรม.(ผู้ให้สัมภาษณ์) “สิ่งที่ต้องปฏิบัติก่อน-ขณะ-หลังการให้ ยาระงับความรู้สึก” นภาพร พละศักดิ์ และ กนกกาญจน์ กรุงเก่า.(ผู้สัมภาษณ์) เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2560 พิชยา ไวทยะวิญญู “Introduction to Anesthesia.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: สืบค้น 10 มีนาคม 2560. ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล. “วิสัญญีเพื่อทุกชีวีปลอดภัย.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.si.mahidol.ac.th/ สืบค้น 10 มีนาคม 2560 “หน้าที่พยาบาลดมยาสลบ.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://www.gotoknow.org/ posts/494493 สืบค้น 10 มีนาคม 2560.
เพียงคุณเข้าใจและเชื่อมั่นในทีมวิสัญญี “เราจะดูแลคุณอย่างดี” และ “เราจะทำ�ให้คุณปลอดภัย”
หากสงสัยเพิ่มเติมสามารถสอบถาม กลุ่มงานวิสัญญี โรงพยาบาลมหาสารคาม โทร.043-740993 ต่อ 166, 167