proposal 3

Page 1

BR

ND WARENE?S


โครงการศิลปนิพนธ์ วิทยาลัยการออกแบบ สาขาออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ชื่อโครงการ เพิ่มมู ลค่าสินค้าและปรับภาพลักษณ์องค์กรเพื่อเศรษฐกิจ ประเภทของงานศิลปนิพนธ์ ประเภทงานออกแบบภายใน (INTERIOR DESIGN) ผู ้ดําเนินโครงการศิลปนิพนธ์ นางสาวนภัสสร โซ๊ะประสิทธิ์ รหัส 5802893 นักศึกษาชั้นปี ท่ี 4 วิทยาลัยการออกแบบ สาขาการออกแบบภายใน มหาวิทยาลัยรังสิต ที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ์ อาจารย์เรวัฒน์ ชํ านาญ (อาจารย์ท่ปี รึกษาหลัก)



GEM AND JEWELRY INSTITUTE OF THAILAND

WHAT IS BRANDING ? WHAT ABOUT IDENTITY ? WHAT IS CRAFT ? GEM AND JEWELRY CAN WORKING WITH...

https://ElenaUsova.pinterest


BRAND AWARENESS โครงการเพิม� มู ลค่าสินค้าและปรับภาพลักษณ์องค์กรเพื�อเศรษฐกิจ

ในปั จจุ บันมีการทําอุ ตสาหกรรม เพิ่มมากขึ้นจนทําให้การประกอบ อาชี พต่างๆสั่นคลอนและถูกมอง ข้ า ม ไม่ ว่ า จะสายอาชี พไหนๆ การโดดเด่ น และมี เ อกลั ก ษณ์ จ ะ ทําให้เกิดความเชื่อใจจากผู ้บริโภค และมีความมั่นคงกว่าองค์กรปกติ กระบวนการที่ จ ะทํ าให้ อ งค์ ก รมี เอกลักษณ์ เรียกว่า BRANDING เปรียบเสมือนการมีจุดยืน มีภาพ จําและฟ้องผู ้บริโภคว่าเราเป็นใคร และต้องการอะไร อาชี พต่างๆจึง สนใจและหันมาให้ความสําคัญกับ เรื่องนี้มาก แต่การที่ทุกคนหันมา ให้ความสนใจและพัฒนา BRAND ของตั ว เองมากขึ้ น เรื่ อ ยๆ ก็ เ ท่ า กั บ ว่ า มี คู่ แ ข่ ง มากขึ้ น เรื่ อ งของ เอกลั ก ษณ์ ก็ ต้ อ งชั ด เจนมากขึ้ น กลยุ ทธ์ต่างๆจึงถูกนํามาใช้ด้วย

งานCRAFT หรืองานหัตถกรรม เป็นสายอาชี พที่ไม่ว่าจะผ่านไปกี่ ยุ คกี่สมัยก็สามารถขายได้และมีจุด แข็งที่น่ากลัว งานหัตถกรรมแบ่ง ออกเป็นหลายอาชีพหลายประเภท ประเภทที่ น่ า สนใจและเป็น ที่ นิ ย ม มากที่ สุ ด อย่ า งหนึ่ งในไทยก็ คื อ GEM & JEWELRY อัญมณีและ เครื่องประดับเป็นอุ ตสาหกรรมการ ส่งออกมากเป็นอันดับที่3ของไทย มีสาขาวิชาการเรียนการสอนเกี่ยว กั บ อั ญ มณี เ ฉพาะทางแบบครบ วงจร และยั ง มี DESIGER ไทย หน้าใหม่เกิดขึ้นมากมาย การทํา BRANDING จึงเข้ามามีบทบาท อย่ า งมาก เพื่ อ สนั บ สนุ น อาชี พ ของนั ก ออกแบบและอาชี พ ของ ชาวไทยที่ มี ม าอย่ า งยาวนานนี้ ให้สามารถสืบทอดต่อไปได้

1

GIT เป็นหน่วยงานที่สนับสนุนให้ คนไทยและผู ้ค้ารายย่อยกล้าออก มาทําBRANDของตัวเองโดยผ่าน การให้ความรู ้และความเข้าใจเกี่ยว กั บ วั ส ดุ ท้ อ งถิ่ น และทํ า งานร่ ว ม กันกับ GIT ส่งผลให้ผู้ค้ารายย่อย สามารถพัฒนาสินค้าให้ไปได้ไกล กว่าเดิมและมีการออกแบบที่ทนั สมัย ไว้ใจและเชื่อถือได้ เพราะผ่านองค์กร การซื้อ-ขาย อัญมณีกจ็ ะเป็นไปได้ อย่างดีมากยิ่งขึน้ และในอนาคตจะ ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยเติบโตไปด้วย และทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ก็เริ่ม มีการรณรงค์ให้อุตสาหกรรมเครื่อง ประดับและอัญมณีเป็นอุ ตสาหกรรม ที่ย่งั ยืน ไม่ฟุ่มเฟื อย และไม่ทาํ ลาย ทรัพยากรธรรมชาติ ทัง้ นีเ้ พื่อให้เกิด ผลประโยชน์สูงสุดแก่ทุกฝ่ าย และ อยู ่ร่วมกันอย่างมีความสุข


OBJECTIVES วัตถุประสงค์ของโครงการ

https://salvadorascenciotapia.pinterest

1. ศึกษาเรื่องของ BRANDING เพื่อการมุ ่งหน้าสู่ตลาด

วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่อเป็นแนวทางการศึกษา และการวิจัยทดลองเกี่ยวกับ การออกแบบเพื่อเพิ่มมู ลค่าให้กับสินค้า และปรับภาพลักษณ์ของ

โลกอย่างเป็นมืออาชีพ 2. ศึกษาเรื่องของ CRAFT ในไทย เพื่อสืบสานและให้

องค์กรเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ และสนับสนุนอุ ตสาหกรรมการส่ง ออกกอัญมณีและ เครื่องประดับของไทยให้ไปสู่สากล

ความรู ้อยู ่คู่คนไทยต่อไป 3. ศึ ก ษาเรื่ อ งของ GEM & JEWWLRY ที่ เ ป็น วั ส ดุ ในไทย เพื่อพัฒนางานออกแบบและเศรษฐกิจ 4. ศึกษาเรื่องของ TREND เพื่อพัฒนางานออกแบบ ให้ตรงตามความต้องการ 5. ศึ ก ษาเรื่ อ งของ THAI CULTURE การทํ า ธุ รกิ จ ครอบครัวที่สืบทอดกันมา

1


EXPECTATIONS ผลที�คาดว่าจะได้รับ

1. ทําให้ BRAND ของไทยไปสู่สากล 2. พัฒนาเศรษฐกิจไทยให้ไปได้ไกลกว่าเดิม 3. สนับสนุนอาชีพที่ถูกสืบทอดกันมารุ ่นต่อรุ ่น 4. ส่งเสริมอุ ตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับให้เป็นอุ ตสาหกรรม เพื่อความยั่งยืน

SENDER

IMAGE

RECEIVER

http://bhldnweddings.pinterest

1


AREA OF STUDY

http://stilllifejewelry


ศึ กษาเรื�องการตลาดและการโฆษณา ศึ กษาเรื�องแนวความคิดการออกแบบอัญมณี ศึ กษาและสังเกตุพฤติกรรมกลุ่มเป้ าหมาย ศึ กษาเรื�องการสร้างเอกลักษณ์ให้องค์กร ศึ กษาพืน� ที� ITF TOWER SILOM A

B

CORPORATE IDENTITY OF DESIGN

PRODUCT

LOGO

GEMSTONE

COLOR

JEWELRY

FONT UNIFORM AMENITY

C

D

INTERIOR SPACE MUSEUM 415.36sq.m. LIBRARY 415.36 sq.m. TRAINING CENTER 608.83sq.m. LAB 743.5sq.m. OFFICE 708.5 sq.m.

1

EXTERIOR SPACE CIRCULATION


WHAT I THINK IS NOT A BRAND

DESIGN

VALUE PROPOSITION

POSITIONING STATEMENT

1


SO... WHAT IS BRANDING ?

DURING THE INFORMATION SEARCH

DURING THE EVALUATION OF ALTERNATIVES, AND

DURING THE POST-PURCHASE EVALUATION

https://medium.com/dsignb/what-is-service-design-a081acb9f4e6


GEMS AND JEWELRY INSTITUDE OF THAILAND


WHAT IS BRANDING ? WHAT ABOUT IDENTITY ? WHAT IS CRAFT ? GEM AND JEWELRY CAN WORKING WITH...

WHAT WHEN WHERE WHY WHO HOW

1


BWC. BUY WITH CONFIDENCE การทํางานร่วมกันกับหน่วยงานย่อย โดยมีนโยบายให้ ผู ้ค้ารายย่อยสมัครสมาชิกแล้ว สามารถนําโลโก้ไปใช้ ใน เชิงพาณิชย์ได้ เหมือนการ ฝากขายหน้าร้านที�มีการรับรอง

GEMS TREASURE MARKETING DIGITAL INSTRAGRAM FACEBOOK

องค์กรย่อยที�ถูกคลอดออกมา เพื�อสํารวจ ตลาดและกลุ่มเป้ าหมาย มีการออกแบบ เพื�อทําให้องค์กรมีภาพลักษณ์ท�ตี อบโจทย์ และทันสมัยมากขึน� เป�นการปรับตัวของ องค์ใหญ่ภายใต้การทําแบรนด์ใหม่

PRODUCT CAMPAIGN JOURNAL

สถาบันวิจัยอัญมณีและเครื�องประดับแห่งประเทศไทย (องค์กรมหาชน)

เป�นกิจกรรมที�ถูกจัดขึน� เนื�องในโอกาส องค์กรครบรอบ20ปี จึงมีการถ่ายทอด เรื�องราวการทํางาน และบอกเล่าถึง ประสบการณ์การทําธุ รกิจที�ผ่านมา

GEM AND JEWELRY INSTITUTE OF THAILAND

20 ANNIVERSARY

MARK

BUSSI

LAB

RE SU


KETING

INESS

ETAILERS UPPLIER

CAMPAIGN FAIR CONTEST

DIGITAL WEBSITE INSTRAGRAM FACEBOOK APPLICATION

PR. PUBLIC RELATIONS JOURNAL MAGAZINE NEWSPAPER

LIBRARY

MUSEUM

OFFICE

SPECIAL COURSE

SHOP

CERTIFICATE

RETAILERS SUPPLIER

RETAILERS SUPPLIER


ASEAN GEM AND JEWELRY EXPORT TO GLOBAL MARKET MILLION US DOLLARS 400000 350000 300000 250000 200000 150000 100000 50000 0 2013

2014

2015 ASEAN

2016

2017

WORLD

ASEAN GEM AND JEWELRY EXPORT TO GLOBAL MARKET BY COUNTRY MILLION US DOLLARS 8000 7000 6000 5000 4000 3000 2000 1000 0 2013

2014

2015

2016

2017

THAILAND

SINGAPORE

INDONESIA

MALAYSIA

VIETNAM

PHILIPPINES


NAN CHIANG MAI

MUEANG NAN AND PUA

WUALAI/CHIANG MAI

SUKHOTHAI SI SATCHANALAI

TAK GEM MARKET IN MEA SOT

CHANTHABURI COLORED STONE MARKET

BANGKOK SILOM AND SURAWONG CHAROENKRUNG YAOWARAT OR CHINATOWN BAN MOR

NAKHON SI THAMMARAT THA CHANG ROAD

KHAO SAN ROAD OR BANG LAMPHU

GEM AND JEWELRY SHOPPING SPOTS IN THAILAND


MAHESAK HOSPITAL CENTRAL SILOM TOWER

M ILO

S

BTS SKY TRAIN SAPHAN TAKSIN

RD.

BTS SKY TRAIN SURASAK

ST. LOUIS HOSP


ITF TOWER BANGRAK BKK THAILAND 13°43’34’’N 100°31’41’’E 56m

RD.

G ON

AW

SUR

THE BANGKOK CHRISIAN HOSPITAL

BTS SKY TRAIN SALADAENG

SILOM COMPLEX

OM

SIL

BTS SKY TRAIN CHONG NONSI

NA AS

IW

TH . RD

SAT

OR

AI NT

RD.

AI NT

OR

SAT

RA

PITAL

BNH HOSPITAL

RD.

RD.


D


DENSITY OF JEWELRY STORE 1-5 SOTRE SME

5+ SOTRE SME/JEWELRY HUB

15+ SOTRE SME/JEWELRY HUB

STORE IN BUY WITH CONFIDENCE PROGRAM

140, 140/1-3, 140/5 อาคารไอทีเอฟ ทาวเวอร์ ชัน� 1-4 และชัน� 6 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุ งเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2634 4999 โทรสาร 0 2634 4970 อีเมล


140, 140/1-3, 140/5 อาคารไอทีเอฟ ทาวเวอร์ ชัน� 1-4 และชัน� 6 ถนนสีลม แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก กรุ งเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2634 4999 โทรสาร 0 2634 4970 อีเมล

ITF TOWER


DIRECTOR / DEPUTY DIRECTOR

6

ADMINISTRATION DEPARTMENT ACCOUNTING AND FINANCE DIVISION HUMEN RESOURCES PACKING AND FACILITIES

4 3 2 1

GEM TESTING DEPARTMENT PRECIOUS METAL TESTING DEPARTMENT INFORMATION ADMINISTRATION DEPARTMENT TRAINING DEPARTMENT

GEM AND JEWELRY MUSEUM

GEM AND JEWELRY LIBRARY


L I BRARY


1ST FLOOR

1

2

C

7.5500

B

A

6.0000

6.0000

7

6 6.0000

6.0000

8 5.8000

2.5000

D

6.0000

5

2.5000

5.8000

4

3

3

2

1 1ST FLOOR PLAN SCALE 1:300

1.LIBRARIAN ROOM 2.MAGAZINE SHELVES 3.LIBRARY ROOM


M US E U M


2ND FLOOR

1

2 5.8000

C

7.5500

B

A

6.0000

6.0000

7

6 6.0000

6.0000

8 5.8000

1

2

2.5000

D

6.0000

5

2.5000

7.5500

E

4

3

3

5

4 2ND FLOOR PLAN SCALE 1:300

1.RECEPTION 2.MUSEUM 3.STAFF ROOM 4.BACK ISSUES 5.W.C.


T R A I NI NG

C E N T ER


3RD FLOOR

1

2 5.8000

4

3 6.0000

6.0000

6.0000

E 7.5500

9

7.5500

B

7

6 6.0000

6.0000

10

1

8 5.8000

6 5 7 8

2.5000

C

2.5000

D

5

3

2 4

A

3RD FLOOR PLAN SCALE 1:300

1.TRAINING OFFICE

6.JEWELRY MAKING ROOM

2.TRAINING DESIGN2

7.PANTRY

3.TRAINING GEM1

8.RECEPTION

4.TRAINING GEM2

9.MEETING ROOM

5.DESIGN ROOM

10.W.C.


RULES AND PROHIBITION 1.DO NOT TAKE ANY PHOTOS TOPREVENT DATA TRANSFER AND COPYRIGHTS 2.ALWAYS WEAR UNIFORMS 3.MUST PASS BODY CHECKUP BOTH IN AND OUT

?

L A B ORAT O RY


4TH FLOOR 1.CUSTOMER OF VALUED METALS 2.VALUE METALS 3.CUSTOMER OF GEM 4.GEM 5.PATHWAY

5 2 1

4

3

4TH FLOOR PLAN SCALE 1:300 1.DOCUMENTS AND SPARE PART 2.CRAFT TECHNICIAN

5

2 1 2

3 7

6 4 8

3.DOCUMENTS

1

4.COMPUTER TANICIAN

9

6.BLOCK TECHNICIAN

5.WAX TECHNICIAN

7.LASER MATCHINE 8.LAB MANAGER 9.RELAX CORNER


1

2 5.8000

4

3 6.0000

6.0000

5 6.0000

7

6 6.0000

6.0000

C

7.5500

B

2.5000

D

2.5000

7.5500

E

A

OFFIC E

8 5.8000


6TH FLOOR

1.DIRECTOR ROOM 2.ADVISOR ROOM 3.EXECUTIVE MEETING ROOM 4.BOARD DIRECTOR 5.DEPUTY DIRECTOR 1 6.DEPUTY DIRECTOR 2 1

2 5.8000

7.5500

E

B

6.0000

13

12

14

6.0000

6.0000

7.5500

A

16

6.0000

11 10

8 5.8000

65

98

19

15

7

6

2.5000

C

6.0000

5

2.5000

D

4

3

18

7 4 3 17 2 1 6TH FLOOR PLAN SCALE 1:300

7.SECRETARY OF DEPUTY DIRECTOR

13.PACKING

8.HUMAN RESOURCES

14.POLICY AND PLAN

9.LAWS DEPARTMENT

15.ACCOUNTING AND FINANCE

10.INSPECTOR

16.MEETING ROOM

11.QUALITY ASSURANCE

17.MANAGING AND SECRETARY

12.PACKING ROOM

18.PANTRY 19.W.C.


SECURITY

MAID

7:00AM - 7:00PM

7:00PM - 7:00AM

DRIVER

SECURITY

MA

WHERE : NUMBER OF PEOPLE : 1-2

WHERE : 1/3/4/6 NUMBER OF PEOPLE : 8

WHE NUM PEO


+ DRIVER

MASTER + STAFF

8:00AM - 5:00PM

9:00AM - 5:00PM

AID

STAFF

MASTER

ERE : 1/2/3/4/6 MBER OF OPLE : 5

WHERE : 1/2/3/4/6 NUMBER OF PEOPLE : 82

WHERE : 6 NUMBER OF PEOPLE : 3


G I T = CAPITAL LETTER = OFFICIAL

SERIF FONT = LUXURY

CLASSIC

REALISTIC

FUTURISTIC

HEXAGON OVAL

GEOMETRIC

MODERN

SQUARE TRIANGLES CIRCLE

THAI MODERN LUXURY

GEM AND JEWELRY INSTITUTE OF THAILAND


www.COLOR-HEX.COM

EXCITEMENT YOUTHFUL BOLD

BALANCE NEUTRAL CLAM

TRUST DEPENDABLE STRENGTH


CORPORATE IDENTITY

CASE STUDY

เป�นแบรนด์ท�ีแทนตัวเองด้วยสีฟ้า สดใสเหมื อ นเจ้ า หญิ ง และทํ า ให้ ทุ ก คน รู้ สึ ก เหมื อ นได้ แ กะกล่ อ งของขวั ญ เหมือนเจ้าหญิง เมือ� ได้รบั สินค้าจุ ดเด่นคือ กล่องสีฟ้าสดใสทีม� าพร้อมกับริบบิน� สีขาว สะอาด

ROBIN EGG BLUE BOX AND WHITE RIBBON PACKAGING ROMANTIC AND WARM DAIMON NO LOGO


THE PRINCE OF GOLDSMITHS ELEGANT IDENTITY REAL ITALY

CASE STUDY

เป� น แบรนด์ เ ก่ า แก่ เ กิ ด ขึ�น ที� มิ ล าน ในอิตาลีิ จัดตัง� ขึน� โดยการควบกิจการของ บริ ษั ท สองแห่ ง ก่ อ นหน้ า นี� กั บ แบรนด์ Mario Buccellati และ Gianmaria Buccellati ซึ�งสอดคล้องกับชื�อและนามสกุล ของช่ างทองทีเ� ป�นพ่อแม่และลูกชาย ถูกจัดตัง� เป�นบริษัทใหม่ในปี 2011


INVENTIONS OF PRECIOUS AND RARE CRAFTS

CASE STUDY

แบรนด์ ท�ี แ พรวพราวไปด้ ว ยเรื� อ ง ของกลไกในเครื� อ งประดั บ ความละเอี ย ด ขึ�น ชื� อ ว่ า เป� น อั ญ มณี ชัน� สู ง จากประเทศ ฝรั� ง เศส มี ม านานกว่ า 110ปี เรื� อ งราว ของอั ญ มณี นี� เ ริ� ม ต้ น จากความรั ก ของ นั ก ธุ รกิ จ ใจกลางกรุ ง ปารี ส

HIGH JEWELRY THE ICONIC MAGIC TRICKS


CORPORATE CORE VALUES TEAMWORK CONTINUOUS IMPROVEMENT STAKEHOLDER FOCUS

CASE STUDY

เป�นอีกหนึ�งตัวอย่างแบรนด์ท�ีมีการ เจาะกลุ่ ม เป้ า หมาย ขยายกลุ่ ม เป้ า หมาย และทํ า การขยายแบรนด์ เ พื� อ ให้ ค นเข้ า ถึ ง ได้ ม ากขึ�น ก่ อ ตั ง� ขึ�น ในปี 1973 เป� น ผู ้ ผ ลิ ต อั ญ มณี ชัน� นํ า ของงไทยที� จ ดทะเบี ย นใน ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ โดยได้ รั บ การยกย่ อ ง ในเรื� อ งของฝี มื อ และความประณี ต


NOON PASSAMA

นักออกแบบไทยถึงสองคนที�ได้รับรางวัลอันมีเกียรติ จากทัง� ทางฝั� งอเมริกาและทางยุ โรป ต้องถือว่านีเ� ป�น ช่ วงเวลาที�น่าตื�นเต้นและน่ายินดีสําหรับวงการออก แบบเครื� อ งประดั บ ศิ ล ป์ ร่ ว มสมั ย ไทยเป� น อย่ า งยิ� ง นุ่น ภาสมา สรรพัชญพงษ์ (Noon Passama) ได้ รับรางวัล Emerging Artist Award 2012 จาก Art Jewelry Forum ซึ�งเป�นองค์กรอิสระในประเทศ สหรัฐอเมริกาที�ทําการส่งเสริมงานเครื�องประดับศิลป์ ร่วมสมัย


O THONGTHAI

“โอ๋ ทองไทย” และแบรนด์ O Thongthai Jewellery ผลงานของเธอนัน� ถือได้ว่ามีเอกลักษณ์และโดดเด่นใน วงการจิ ว เวลรี� ยุ คใหม่ อ ย่ า งเฉิ ด ฉาย แม้ ก ระทั� ง ซู เ ป อ ร์ ส ต า ร์ อ ย่ า ง R i h a n n a ก็ ยั ง ส ว ม ใ ส่ แ ล ะ ยั ง ไ ด้ ร่ ว ม ง า น กั บ แ บ ร น ด์ ดั ง ๆ ร ะ ดั บ โ ล ก อีกหลายแบรนด์ ทัง� แบรนด์รองเท้า เสือ� ผ้า และอื�นๆ


EXTRAORDINARY EARRINGS

PHOTO: MARINE SERRE/LOEWE AND SAINT LAURENT

EIGHTIES EARRINGS

PHOTO:AIBERTA FERRENTI /ISABEL MARANT AND SAINT LAURENT

PHOTO: GUCCI/LOUIS VUITTON AND Y/PROJECT

GOLD HOOPS

TREND OF JEWELRY


PHOTO:ALEXANDER MCQUEEN /MARNI AND SAINT LAURENT

PHOTO:ALEXANDER MCQUEEN /BALENCIAGA AND MARNI

PHOTO:BALENCIAGA /CHLOE AND MIU MIU

TREND OF EWWLRY

TORCS

CHUNKY BANGLES

CHANKY CHAIN

VOGUE THAILAND

20

18


TREND OF COLOR TCDC


20 19

TREND OF COLOR

PANTONE.COM


RESEARCH WHAT IS BRANDING ? WHAT ABOUT BRAND ? WHAT DOES BRAND DO ? ANALYSIS WHAT ABOUT IDENTITY ? DIRECTION

RESEARCH METHODOLOGY TRANSFORMATION PROCESS

DEVELOPMENT SOLUTION INOVATION


BRANDING CRAFT GEM & JEWELRY

CASE STUDY GIT THAILAND

CORPORATE IDENTITY RIVAL

THEORY

CORPORATE IDENTITY KEYWORD CONCEPTUAL

NEW IDEAS

ARCHITECTURE INTERIOR DESIGN PRODUCT / MATERIAL / DECORATE


C

D IN P

SI

G ER HT IE S U N SE C E R S

S

L N

O IO

EH T

K E

A

A T

ER EA

T ID

IN

ST

EX

IM P

U H

T

R

T

P

IN

E

O

IC

P

V

EN

C

R

EM

O

L

T

SE

O V ID ER S

HOLISTIC SERVICE

WHO

WHAT

HOW

SERVICE DESIGN

ER

S


Five key principles to keep in mind when re-thinking a service:

1.User-Centered: People are at the center of the ervice design.

2.Co-Creative: Service design should involve other people, especially those who are part of a system or a service.

3.Sequencing: Services should be visualized by sequences, or key moments in a customer’s journey.

4.Evidencing: C u s t o m e r s n e e d t o b e a w a r e o f elements of a service. Evidencing creates loyalty and helps customers understand the entire service experience.

5.Holistic: A holistic design takes into account the entire experience of a service. Context matters.

https://medium.com/dsignb/what-is-service-design-a081acb9f4e6


WHAT IS BRANDING ? BRANDING IS CREATING EXPERIENCE

WHAT IS EXPERIENCE ? PHENOMENON + PERCEPTION = EXPERIENCE

... HOW TO CREATE A PHNOMENON PHENOMENON PERCEPTION INTERACTIVE HOLISTIC SERVICE


... REBRANDING

...


THINK OF THE BRAND LIKE AS A PERSON


KEYWORD

“PEOPLE WHO ARE SMART SOPHISCATED PERFECT AND FULL OF ABILITY.”

https://jWALLPAPER.WIKI


PHENOMENON PERCEPTION แนวคิดเกี�ยวกับการรับรู้ พัชนี เชยจรรยา ได้กล่าวถึงการรับรู้ไว้ว่า เป�นกระบวนการทางจิตที�ตอบสนองต่อสิง� เร้าที�ได้รับเป�นกระบวนการ เลือกรับสารและจัดสรรเข้าไว้ด้วยกันและตีความหมายของสารที�ได้รับ ตามความเข้าใจความรู้สึกของตนโดยอาศัยประสบการณ์ความเชื�อ ทัศนคติและสิง� แวดล้อม พัชนี เชยจรรยา และคณะ (2538)

แนวคิดการรับรู้ข่าวสารนีเ� ป�นการศึ กษาถึงกระบวนการการรับรู้ข่าวสาร ของผู ้รับสารโดยมองว่ากระบวนการการรับรู้ข่าวสารของผู ้รับสารจะ แตกต่างกันไปตามการตีความประสบการณ์ความต้องการทัศนคติและ ความเชื�อของผู ้รับสาร กระบวนการการรับรู้จะเกี�ยวข้องกับ 3 ขัน� ตอน คือ

ขัน� ตอนที� 1 การเลือกรับสาร การรับรู้เป�นกระบวนการที�เกิดขึน� ทัง� โดยตัง� ใจและโดยไม่รู้ตัวและมักเกิด การเลือกรับสารในขัน� ตอนนีจ� ะเกี�ยวข้องกับการเลือกรับสารทัง� การเลือก ตามประสบการณ์และการสัง� สมทางสังคมการรับรู้ของแต่ละบุ คคล โดยจงใจและการเลือกโดยไม่จงใจคือการที�ผู้รับสารจะเลือกรับสิง� เร้าใด อาจจะแตกต่างกันเกิดจากอิทธิพลบางอย่าง หรือเลือกรับสารจากแหล่งใดแหล่งหนึ�งที�มีอยู ่ด้วยกันหลายแห่งเนื�องจาก ในแต่ละวันมีสิง� เร้าและมีสารต่างๆจํานวนมากจึงต้องมีการเลือกว่าจะ 1.แรงผลักดันหรือแรงจู งใจ ต้องการรับรู้สงิ� ใดบ้างเพราะเราไม่สามารถรับรู้สิง� ต่างๆได้ทงั � หมด บุ คคลมักจะเห็นสิง� ที�ต้องการเห็นและได้ยินในสิง� ที�ต้องการได้ยินเพื�อ การตัดสินใจที�จะเลือกว่าเราจะรับรู้สงิ� ใดนัน� ก็ขึน� อยู ่กับปั จจัยหลายประการ สนองความต้องการของตนเอง ด้วยกันเช่ น ความสนใจ ความรู้ ประสบการณ์ ทัศนคติ ความเชื�อ อุ ดมการ ลัทธินิยม ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และอื�นๆ ผู ้รับสาร 2.ประสบการณ์เดิม มักจะเลือกรับข่าวสารที�สนับสนุนสอดคล้องกับแนวความคิดเดิมของตน บุ คคลต่างเติบโตขึน� ในสภาพแวดล้อมที�ต่างกันถูกเลีย� งดูมาด้วย วิธีท�ตี ่างกัน ขัน� ตอนที� 2 การจัดรวบรวมสาร ในการรับรู้สิง� ต่างๆผู ้รับสารมักจะมีแนวโน้มที�จะรวบรวมสิง� เร้าหรือสาร 3.กรอบอ้างอิง ต่างๆเข้าไว้ด้วยกันในรูปแบบต่างๆซึ�งการรวบรวมสิง� กระตุ้นหรือสารเข้าไว้ เกิดขึน� จากการสัง� สมอบรมทางครอบครัวและสังคมดังนัน� บุ คคลที�มา ด้วยกันมีหลายประการเช่ นการจัดรวบรวมโดยพิจารณาจากความใกล้ จากต่างครอบครัวสถานภาพทางสังคมต่างกันนับถือศาสนาต่างกัน เคียงกันการจัดรวบรวมโดยพิจารณาจากความคล้ายคลึงกันการจัด จึงมีการรับรู้ในเรื�องต่างๆต่างกัน รวบรวมโดยพิจารณาจากการต่อเติมส่วนที�ขาดหายไป 4.สภาพแวดล้อม ขัน� ตอนที� 3 การตีความ บุ คคลที�อยู ่ในสภาพแวดล้อมที�ต่างกันเช่ นอุ ณหภูมิบรรยากาศสถานที� ในขัน� ตอนนีก� ารแปลความหมายหรือการตีความหมายซึ�งผู ้รับสารแต่ และอื�นๆจะมีการเปิ ดรับข่าวสารและตีความข่าวสารที�ได้รับต่างกันจึง ละคนนัน� อาจจะตีความหมายข่าวสารชิน� เดียวกันที�ส่งผ่านสื�อมวลชน มีความเชื�อที�น่าจะเป�นไปได้ว่าประชาชนที�อยู ่ใกล้จะได้รับรู้ข้อมู ลมาก ได้ไม่ตรงกันเนื�องจากความหมายของข่าวสารที�ส่งไปถึงไม่ได้อยู ่ท�ตี ัวอักษร กว่าประชาชนพี�อยู ่ไกล รูปภาพ หรือคําพู ด เท่านัน� แต่อยู ่ท�ีผู้รับสารเลือกที�จะรับรู้หรือเลือกตี ความหมายของข่าวสารตามความเข้าใจของตนเองหรือตามทัศนคติ 5.สภาวะจิตใจและอารมณ์ ประสบการณ์ ความเชื�อ ความต้องการ ความคาดหวัง แรงจู งใจ ได้แก่ ความโกรธความกลัวเช่ นบุ คคลมักจะมองความผิดเล็กน้อย สภาวะร่างกายหรือสภาวะทางอารมณ์ เป�นเรื�องใหญ่โตในขณะที�มีอารมณ์ไม่ดีหรือหงุ ดหงิด

PHENOMENON PERCEPTION


โซโลมอนได้อธิบายว่าการรับรู้จะเกิดขึน� โดยมีสงิ� กระตุ้นทางความรู้สึกต่างๆได้แก่ ภาพ เสียง กลิน� รส ลักษณะพืน� ผิว ซึ�งเป�นสิง� กระตุ้นภายนอกในกรณีท�ีเป�นสิง� กระตุ้นทางการปฏิบัติจะหมายถึง นโยบายข้อบังคับการสื�อสารทางการประชาสัมพันธ์เกี�ยวกับนโยบายและโครงการต่างๆเป�นต้น ระดับการรับรู้จะสูงหรือตํา� นัน� จะขึน� อยู ่กับรูปแบบของสิง� กระตุ้นและความเข้มข้นของสิง� กระตุ้นนัน� ๆ โดยสิง� กระตุ้นหนังเก่าจะผ่านทางตัวรับความรู้สึกต่างๆคือ ทางตา หู จมู ก ลิน� ผิวหนัง หรือ ที�เรียกว่าประสาททางการรับรู้ซ�ึงกระบวนการทางการรับรู้สามารถแบ่งออกเป�นสามขัน� ตอน

ภาพรวมของกระบวนการรับรู้

สิง� งกระตุ้นการรับรู้ -การมองเห็น -การได้ยิน -การได้กลิน� -การรู้รส -การสัมผัส

ตัวรับทางการรับรู้ -ตา -หู -จมู ก -ลิน� -ผิวหนัง

กระบวนการทางการรับรู้ การเปิ ดรับ การให้ความสนใจ การตีความ

พิสิฏฐ โปรยรุ ่งโรจน์ 2545


ENVIRONENT

P H E N O M E

E


ENVIRONENT

1 2

คนหนึ่งคน ทํา กิจวัตร หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง จนเกิดเป็น สิ่งแวดล้อม หรือ สังคม ที่ตนเองเป็นส่วนหนึ่งในนัน้

เมื่อ คนหนึ่งคนใด และอีกหลายคน มีทิศทางของสิ่งแวดล้อมไปในทาง เดียวกัน ก็จะเกิดการรวมกลุ่มสังคม สิ่งแวดล้อม หรือ สังคม จะเป็นตัวกําหนดทิศทางที่จะเป็นไปของผู ้คน ที่อาศัย หรือ อยู ่ใน สิ่งแวดล้อม หรือ สังคม นัน้

เมื่อเกิดสังคมโดยสมบู รณ์ ก็เกิดการทํากิจวัตรที่เป็นปกติ แต่เมื่อมีส่งิ หนึ่งสิ่งใดมา ขัดขวาง การดําเนินตามปกตินนั้ ทําให้สังคมเกิดการ ห ย ุ ด ช ะ ง ัก เพื่อ ฉุกคิด สิ่งนัน้ เรียกว่า ปรากฏการณ์

3

ปรากฎการณ์ท่เี กิดขึ้นจะเป็น บวก หรือ ลบ ก็ได้ ปรากฎการณ์ท่เี กิดทัง้ หมดทําให้เกิดการศึกษา ETHNOMETHODOLOGY หรือ ชาตติพันธุ ์วิธีวิทยา

N O L O G Y


AIRBNB IMAGINING A WORLD WHERE PEOPLE CAN BELONG ANYWHERE BELONG ANYWHERE / BELO

SPEAK THE SAME LANGUAGE ONLINE AND ON THE GO THE STORY CONTINUES

EMPOWERING THE COMMUNITY TO CREAT UNDERSTANDING THE CULTURE BELONG ANYWHERE


AIRBNB คื อ บริ ษั ท จั ด หาที� พั ก สํ า หรั บ นั ก ท่ อ งเที� ย วต่ า งๆ โดยเป� น ตั ว กลางในการจั ด หาตามแต่ ล ะประเทศ แต่ ก็ ไ ม่ ป ระสบผลสํ า เร็ จ มากนั ก จนได้ ทํ า การ rebranding โดยการเริ� ม จากทํ า ความเข้ า ใจตั ว เองและทํ า ความเข้ า ใจ ผู ้ อื� น พร้ อ มกั บ แนวความคิ ด ที� แ ปลก และน่ า รั ก โดยเป� น การคิ ด แบบองค์ ร วม หรื อ เรี ย กว่ า HOLISTIC SERVICE

CASE STUDY

TE THEIR OWN BRAND


LIBRARY

LAB RETAILERS SUPPLIER

จํานวน 3+16 คน

MUSEUM

OFFICE

SPECIAL COURSE

SHOP

CERTIFICATE

RETAILERS SUPPLIER

RETAILERS SUPPLIER

ฝ่ ายบริหาร

จํานวน 4 คน

ฝ่ ายนโยบายและแผน

จํานวน 8 คน

ฝ่ ายพัฒนาธุ รกิจ

จํานวน 9 คน

ฝ่ ายตรวจสอบโลหะมีค่า

จํานวน 8 คน

ฝ่ ายข้อมู ล

จํานวน 2 คน

ฝ่ าย IT

จํานวน 5 คน

ฝ่ ายงานวิจัย

จํานวน 20 คน

ฝ่ ายตรวจสอบ

จํานวน 10 คน

ฝ่ ายฝึ กอบรม


PROGRAMMING

85

5

8

?

ผู ้บริหา และ เจ้าหน้าที่

แม่บ้าน

รปภ.

ลูกค้า

เข้า LAB ไม่ได้

เข้า LAB ได้

ฝ่ ายอื่นไม่สามารถเข้าได้


ZONING

VENN DI

ENTRANCE

LIBRARY 1ST FLOOR PLAN SCALE 1:500

LABORATORY 4TH FLOOR PLAN SCALE 1:500

CUSTOMER JOURNEY


IAGRAM

THEN

ENTRANCE

MUS EUM 2ND FLOOR PLAN SCALE 1:500

TRAINING CENTER 3RD FLOOR PLAN SCALE 1:500

STAFF

STAIR

OFFICE 6TH FLOOR PLAN SCALE 1:500

LIFT CUSTOMER JOURNEY

VOID

W.C.

CORPORATION


ZONING

VENN DI

ENTRANCE

LIBRARY 1ST FLOOR PLAN SCALE 1:500

LABORATORY 4TH FLOOR PLAN SCALE 1:500

CUSTOMER JOURNEY

INTERSE


IAGRAM

NOW

ENTRANCE

MUS EUM 2ND FLOOR PLAN SCALE 1:500

TRAINING CENTER 3RD FLOOR PLAN SCALE 1:500

CUSTOMER JOURNEY LIFT STAIR OFFICE 6TH FLOOR PLAN SCALE 1:500

ECTION

W.C.

INTERSECTION

STAFF

VOID

CORPORATION


วิวัฒนาการเครื่องประดับโลก EGYPTIAN CIVILIZATION วิกส์ / ใส่ทับผมเดิม ทําจากผมมนุษย์ เครื่องสวมศีรษะ / ใช้ในพิธีกรรม อัญมณี / เป็นแหล่งสีสันมากที่สุด แผงอก และ เครื่องประดับคอ / ใช้ห้อยเครื่องราง มีท่ถี ่วงด้านหลัง กระบังหน้า หรือ มงกุฏ / ทําเลียนแบบดอกไม้ หรือหินขัด ทําจากโลหะ กําไล / ข้อมือ ข้อแขน ข้อเท้า นิยมในอาณาจักรใหม่ ต่างหู / เป็นส่วนของอัญมณี ใส่ทัง้ หญิงและชาย GREEK CIVILIZATION เครื่องประดับผู ้ชาย / ประเภทหมวกทรงต่างๆ พร้อมสายรัด เครื่องประดับผู ้หญิง / เครื่องคลุมผม / เชื อก ผ้าคาด ริบบิ้น หมวก และผ้า อัญมณี / ถูกทําเป็นสร้อยคอ ต่างหู แหวน เข็มขัด เข็มกลัด ROMAN CIVILIZATION เครื่องประดับผู ้ชาย / อัญมณี แหวน เครื่องประดับผู ้หญิง / อัญมณี แหวน กําไล สร้อยคอ ต่างหู สายกระบังหน้า ลูกปั ดผม RENAISSANCE (ค.ศ.1500-1600) เริ่มยุ คอุ ตสาหกรรมความเสมอภาคเริ่มมากขึ้น ผู ้คนสามารถใช้เครื่องประดับได้อย่างแพร่หลาย

19TH CENTURY (ค.ศ.1800-1900) หลังยุ คอุ ตสาหกรรม เครื่องประดับถูกพัฒนาไปอีกขัน้ มีการออกแบบ ใส่ความสร้างสรรค์ และทําชิ้ นต่อชิ้ น

21ST CENTURY (ค.ศ.2001-ปั จจุ บัน) ลักษณะของงาน คือ ความสุนทรียภาพ มีความวิจิตร เป็นตัวแทน ของสัญลักษณ์ท่เี กี่ยวข้องกับความคิดสร้างสรรค์อันทรงคุณค่า ของนักออกแบบ


วิวัฒนาการเครื่องประดับไทย

สมัยสุโขทัย

พ.ศ.1792-1981 ประมาณ200ปี มีหลักฐานไม่แน่ชัดมากนัก ศึกษาจากศิลปะวัตถุและภาพจิตรกรรม ่ มีทีมาจากศิลปะชนพื้นเมืองไทยผสมกับศิลปะขอม สมัยอาณาจักรละโว้ และศิลปะมอญสมัยอาณาจักรทวารวดี ที่มาจากอินเดีย ก.เครื่องประดับเทวรู ป ข.เครื่องประดับของเทวดา กษัตริย์ และบุ คคลชั้นสูง มีจําพวกเครื่องประดับศีรษะชุ ดใหญ่ ทัง้ เครื่องสวมหัว สวมกรอบหน้า กระบังหน้า รัดเกล้า และเครือ่งประดับส่วนอื่นๆของร่างกาย ค.เครื่องประดับของสามัญชน ได้แก่ พ่อค้า ชาวบ้านรวยๆ พบเพียงแค่ต่างหู

สมัยอยุ ธยา

มีช่วงเวลายาวนานถึง 417 ปี มีหลักฐานมาก (พบมงกุฏส่วนมากเป็นทองคําบริสุทธิ์ถัก) ก.เครื่องประดับสําหรับ กษัตริย์ มเหสี พระราชวงศ์ และขุ นนาง กษัตริย์เปรียบเป็นสมมติเทพ เครื่องประดับส่วนมากจะเลียนแบบมาจากอินเดีย อยุ ธยาตอนกลาง-ปลาย มีการติดต่อค้าชายกับชาวเปอร์เซี ยและตะวันตก มีการนําวัสดุใหม่เข้ามาผสม และวิธีการใหม่ เครื่องประดับที่ถูกระบุ ไว้ในมณเฑียรบาล มงกุฏและชฎา / เทริด / เกี้ยว / กุณฑล / สังวาล / สร้อยคอ / กําไลต้นแขน / กําไลข้อมือ / กําไลข้อเท้า / แหวน ข.เครื่องประดับสําหรับบุ คคลทั่วไป นิยมใส่แหวนไว้ท่ีนิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อย ใส่เท่าไหร่ก็ได้ ผู ้หญิงนิยมใ่ส่ต่างหู ลูกคนมีฐานะจะสวมกําไลต่างๆ ลูกขุ นนางสวมรัดเกล้าแต่งงาน

สมัยรัตนโกสินทร์

ร.1-ร.3 เหมือนอยุ ธยาทุกด้าน ่ ่ ร.4 ริเริมเครืองราชอิสริยาภรณ์ ประทานในปี พ.ศ.2400 เหรียญ และตราประทับต่างๆ เพื่อเป็นบําเหน็จ หรือความดีความชอบ ร.5 ผสมชาวตะวันตกมากขึ้น ผู ้ชายสวมหมวกเฮลเมท ผู ้หญิงได้แก่ สร้อยไข่มุกหลายๆเส้น รองเท้าส้นสูง ถุงเท้าปั กสี สะพายแพร และอื่นๆ ร.6 แต่งการแบบตะวันตก นิยมสร้อยไข่มุก ต่างหูระย้า สะพายแพรบางๆ ร.7 การแต่งตัวมีอิสระมากขึ้น คนไทยสนใจอารยธรรมตะวันตก ร.8 ยุ ครัฐนิยม แต่งกาย3แบบ 1.ในชุ มชน 2.ใช้ทํางาน 3.ตามโอกาส เครื่องประดับมีหลายชิ้ น เปลี่ยนตามเครื่องแต่งกาย ร.9 เกิดชุ ดประจําชาติทงั้ หมด 8 ชุ ด รวมเรียกว่า ชุ ดไทยพระราชนิยม


ดอกมะลิ JASMINE

ดอกบานเย็น FOUR O’CLOCK

ดอกแก้ว ORANGE JESSAMINE

GEM FL


L O WER S

ดอกพุ ดตาน COTTON ROSE

ดอกพังพวย/แพงพวย VINCA

ดอกผกากรอง CLOTH OF GOLD ดอกจอก WATER LETTUCE


BASIC PATTERN

SIZE

แม่ลายกระจัง

แม่ลายประจํายาม

L แม่ลายดาว

แม่ลายพุ ่ม

แม่ลายกระหนก S

แม่ลายกรวยเชิ ง

DEVELOPMENT

M




MOOD AND TONE


เพชรดี ม ณี แ ดง

เขี ย วใสแสงมรกต

เหลื อ งใสสดบุ ษราคั ม

แดงแก่ ก่ ํ าโกเมนเอก

สี ห มอกเมฆนิ ล กาฬ

มุ ก ดาหารหมอกมั ว

แดงสลั ว เพทาย

สั ง วาลสายไพฑู ร ย์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.