แม่มะลิ สุดยอดข้าวไทย ผลงานชิ้นเอกของ ดร. สุนทร สีหะเนิน

Page 1

แม่มะลิ​ิ

สุดยอดข้าวไทย ผลงานชิน้ เอกของ

ดร. สุนทร สีหะเนิน

ผูค้ น้ พบ “พันธุข์ า้ วหอมมะลิไทย”


บทนำ� ข้าวคือจิตวิญญาณ ดร.สุเมธ  ตันติเวชกุล ประธานกรรมการมูลนิธิข้าวไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ กล่าวตอนหนึ่งในการแถลงข่าวความร่วมมือในการส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมใน อุตสาหกรรมข้าวและการจัดประกวดรางวัลนวัตกรรมข้าวไทยเฉลิมพระเกียรติ เมื่อ 7 สิงหาคม 2553 ว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำ�รัส เกี่ยวกับข้าวว่าคนไทยต้องมี จิตสำ�นึกเรื่องข้าว และนำ�ข้าวไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และทำ�อย่างไรจึงจะช่วยปกป้อง ข้าวไทยได้ เพราะสิง่ ทีเ่ ป็นห่วงขณะนีค้ อื เรือ่ งจิตสำ�นึกของผูบ้ ริโภคข้าวทีล่ ดลงไป เน้น การบริโภคเลียนแบบต่างชาติ ทีก่ นิ เร็ว กินด่วน หรือบริโภคข้าวก็เพียงเพือ่ ให้อมิ่ เท่านัน้ โดยไม่ได้คำ�นึงว่า ข้าว คือ จิตวิญญาณ ที่ผ่านกระบวนการผลิต มาจากการลงแรงของ ชาวนา กลิ่นของข้าวถือว่าหอมที่สุด และหอมแบบธรรม” ดร.สุเมธได้กล่าวด้วยว่า “ผมเคยทูลถามพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ว่า ทรงโปรด อะไรมากที่สุด พระองค์ตรัสว่า ข้าว เพราะมีกลิ่นหอม และตรัสด้วยว่า ถ้ารับประทาน ข้าวขอให้นึกถึงชาวนาด้วย เพราะถ้าไม่มีชาวนา เราก็ไม่มีข้าวกิน” โครงการส่งเสริมการปลูกข้าวหอมมะลิปี 2556/57 ซึ่งเป็นโครงการนำ�ร่อง ของ บริษัท ข้าว ซี.พี.จำ�กัด เพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวหอมมะลิในพื้นที่ 4 จังหวัดของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ คือส่วนหนึ่งในการสนองพระราชดำ�ริโดยตรง โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อสนับสนุนให้การปลูกข้าวของชาวนาไทยยั่งยืน พร้อมกันนีเ้ ราได้ถา่ ยทอดตำ�นานความเป็นมาของข้าวหอมมะลิไทยซึง่ ถือเป็นหนึง่ ใน ผลผลิตทางการเกษตรทีส่ ร้างชือ่ เสียงให้กบั ประเทศชาติ  เพือ่ ให้ประชาชนได้รบั รูโ้ ดย ทั่วกันถึงความสามารถของคนไทยในการพัฒนาพันธุ์ข้าวที่ได้รับการยกย่องว่า ดีที่สุด ในโลก เราหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะมีส่วนช่วยให้พี่น้องชาวนามีชีวิตที่ดีเพื่อที่จะได้สืบทอดจิต วิญญาณข้าวอย่างยั่งยืนสมดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


สารบัญ กำ�เนิดข้าวหอมมะลิ

กว่าจะเป็นข้าวหอมมะลิ เหตุใดถึงเลือกแปลงที่ 105 ดร.สุนทร สีหะเนิน ฝากถึงคนรุ่นหลัง คำ�เรียกขาน ข้าวหอมมะลิ

4 7 9 9

ประวัติ ดร.สุนทร สีหะเนิน

คุณวุฒิการศึกษาและการฝึกอบรม การรับราชการ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับพระราชทาน เกียรติยศที่ได้รับหลังออกจากราชการแล้ว บั้นปลายชีวิต ความภูมิใจในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้าวหอมมะลิ

11 11 12 12 13 13

ความร่วมมือที่ยั่งยืนร่วมกัน

14


4 แม่มะลิ

ต้นกำ�เนิดหอมมะลิ ข้าวเป็นอาหารหลักของพลโลกมานานนับพันปี บางภูมิภาคนำ�ข้าวไปแปรรูปเป็นแป้ง เพื่อปรุงแต่งเป็นอาหาร  แต่สำ�หรับภูมิภาคเอเชียเราบริโภคข้าวในรูปลักษณ์ดั้งเดิม และเรามีข้าวหลากหลายพันธุ์ให้เลือก แต่สำ�หรับประเทศไทยแล้วข้าวหอมมะลิ ถือว่า เป็นสุดยอดของข้าวและกำ�ลังเป็นที่ต้องการของผู้นิยมบริโภคข้าวทั่วโลกในชื่อ Jasmine Rice หากย้อนไปในอดีตยังไม่มีใครรู้จักข้าวหอมมะลิ เรารู้จักแต่ข้าวขาวดอกมะลิ ซึ่ง เป็นข้าวพันธุ์เบาเป็นข้าวพื้นเมืองที่พบและรู้จักกันในอ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา ด้วย คุณลักษณะอันโดดเด่นยามหุง กลิน่ จะหอมชวนให้รบั ประทานไม่เหมือนพันธุข์ า้ วใดในโลก ผู้ที่ค้นพบและทำ�ให้ข้าวขาวดอกมะลิเป็นที่รู้จักของโลกคือ ดร.สุนทร สีหะเนิน กว่าจะเป็นข้าวขาวดอกมะลิ 105 หลังช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริกาได้ดำ�เนินการแผนมาร์แชลเพื่อยับยั้งการ ขยายอำ�นาจของลัทธิคอมมิวนิสต์ โดยให้การสนับสนุนวิทยาการความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ รวมถึงด้านการเกษตรแก่ประเทศด้อยพัฒนาหรือกำ�ลังพัฒนาในภูมิภาคเอเชียเพื่อเป็น เกราะปราการป้องกันการรุกล้�ำ จากลัทธิคอมมิวนิสต์ มีการให้ความช่วยเหลือชาวนาเพือ่ ให้มีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นด้วยการส่งเสริมให้ปลูกข้าวพันธุ์ดี ส่งเจ้าหน้าที่ออกพื้นที่ให้ คำ�แนะนำ�ในการดูแลรักษา การกำ�จัดศัตรูพืช การใช้ปุ๋ย ฯลฯ

ภาพ 1 : ภาพออกตรวจสภาพการทำ�นาในเขต อำ�เภอเมือง จ.พัทลุง (ปี พ.ศ. 2509) ในขณะ ดำ�รงตำ�แหน่งเกษตรจังหวัดพัทลุง

ภาพ 2 : ประชุมร่วมกับเกษตรกร


แม่มะลิ 5

ขณะนั้น ประเทศไทย ได้รับความช่วยเหลือจากสหรัฐฯ ดำ�เนินโครงการปรับปรุงพันธุ์ ข้าว ในปี พ.ศ.2493 โดยได้ส่งนักวิชาการมาช่วยเหลือจำ�นวน 2 ท่าน คือ ดร.โรเบิร์ต แอล แพนเดอร์ตัน จากมหาวิทยาลัยจอห์นฮอฟกินส์ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านปฐพีวิทยา และ ดร.แฮร์ลิช เอ็ด เลิฟ จากมหาวิทยาลัยคอร์แนล ผู้เชี่ยวชาญทางด้านพันธุศาสตร์ ซึ่งทั้ง 2 ท่านนีเ้ คยอาศัยอยูใ่ นประเทศไทยมาก่อน แต่ถกู ส่งกลับประเทศในช่วงทีเ่ กิดสงครามโลก รัฐบาลไทยเองก็ตระหนักดีว่าจะต้องแก้ปัญหาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ�ด้วยการ พัฒนาพันธ์ุพืช โดยเฉพาะพันธุ์ข้าว ต้องหาพันธุ์ที่ดีกว่าที่ใช้อยู่ โดยต้องดีทั้งในด้าน คุณภาพและปริมาณผลผลิต ในขณะนัน้ ประเทศไทยก็มขี า้ วพันธุด์ อี ยูแ่ ล้วหลายพันธุ์ ก่อน ที่จะมีโครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าว อาทิพันธุ์ปิ่นแก้ว พันธุ์เหลืองอ่อน พันธุ์น้ำ�ดอกไม้ พันธุ์ นางตานี (รวมจำ�นวนทั้งหมด9 พันธุ์) แต่ในปี พ.ศ. 2493 ก็มีการลงมติว่าข้าวทุกพันธุ์ที่ ใช้อยู่ไม่ดีจริง

ภาพ 3

ภาพ 4

ภาพ 5

ภาพ 6

ภาพ 3 : ข้าวเปลือกพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 เมล็ดข้าวเรียวยาว, ข้าวเปลือกสีฟาง, ผิวเปลือก เกลี้ยง ด้านปลายเมล็ด จุกหางแยกออกชัดเจน ความยาวเมล็ดเฉลี่ย 10.30 มม. ความ กว้าง เฉลี่ย 2.45 มม. ภาพ 4 : ข้าวเปลือกพันธุ์ข้าวขาวทั่วไป (กข31) เมล็ดข้าวค่อนข้างสั้น, ข้าวเปลือกสีฟาง ด้าน ปลายเมล็ดจะตัดตรงไม่งุ้มความยาวเมล็ดเฉลี่ย 8.4 มม. ความกว้างเฉลี่ย 2.58 มม. ภาพ 5 : เมล็ดข้าวสารที่ผ่านการกระเทาะเปลือกออกมาเป็นข้าวสาร พันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 เมล็ดข้าวสารจะมีสีขาว ใส ไม่มีท้องไข่ ปลายเมล็ดจะงองุ้มเล็กน้อย ความยาวเมล็ดเฉลี่ย 7.5 มม. ความกว้างเฉลี่ย 1.95 มม. ปริมาณอไมโลส 12-17% ภาพ 6 : เมล็ดข้าวสารที่ผ่านการกระเทาะเปลือกออกมา เป็น ข้าวสาร พันธุ์ข้าวขาวทั่วไป (กข 31) เมล็ดข้าวสารจะมีสีขาว ไม่ค่อยใส มีท้องไข่เล็กน้อยถึงปานกลางปลายเมล็ดตัดตรง ไม่งุ้ม ความยาวเมล็ดเฉลี่ย 6.2 มม. ความกว้างเฉลี่ย 2.1 มม. ปริมาณอไมโลส 28-29%


6 แม่มะลิ เมื่อสรุปว่าต้องหาพันธุ์ข้าวที่ดีกว่าเดิม  แต่เราไม่สามารถหาข้าวพันธุ์ใหม่ที่ดีกว่าเดิม ได้  ก็จึงต้องทำ�การพัฒนาพันธุ์ที่มีอยู่เดิมให้ดีกว่าเก่า  ในปี พ.ศ.2492 จึงได้ตั้งคณะ บุคคลขึน้ คณะหนึง่ ประกอบด้วยพนักงานข้าว โดยเลือกบุคคลทีม่ คี วามชอบ ความรู้ ความ สามารถ มาจำ�นวน35 คน สำ�หรับส่งกระจายไป 70 จังหวัดทั่วประเทศไทย (พนักงาน1 คน ดูแล2 จังหวัด) ซึ่ง ดร.สุนทร สีหะเนิน เป็นหนึ่งในคณะ โดยได้รับมอบหมายให้รับ ผิดชอบในพื้นที่ จ.ชลบุรี และ จ.ฉะเชิงเทรา หลังจากนั้น ได้มีการอบรม ตั้งแต่เดือนเมษายน-กันยายน 2492โดยอบรมเป็นระยะ หลายครัง้ โดยมี ดร.แฮร์ลชิ เป็นผูอ้ บรม และทางรัฐบาลไทยมอบให้กระทรวงต่างประเทศ ค้นหาผู้จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยคอร์แนล และรับราชการอยู่ให้กลับมาร่วมในงาน วิจยั นี้ จึงได้ ประกอบด้วย หม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ ดร.ครุย บุญสิงห์ ดร.สละ ทศานนท์ หม่อมราชวงศ์จักรทอง ทองใหญ่ ดร.เอี่ยน ขัมพานนท์ และอีกหลายท่าน มา เป็นผู้ช่วย ดร.แฮร์ลิช อบรมในเรื่องต่างๆ อาทิ การคัดพันธุ์ การดูลักษณะพันธุ์ข้าว เมื่ออบรมเสร็จ ก็จัดทำ�แผนว่าจะคัดเลือกเอาพันธุ์อะไรบ้าง และเก็บรวงข้าวตัวอย่าง มาส่งที่กรม โดยมีระยะเวลา 2 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม พ.ศ.2492โดย สามารถเก็บรวบรวมได้จำ�นวน26 พันธุ์ ซึ่งคัดเลือกโดยวิธีการสุ่มจากพันธุ์ข้าวในนาของ ชาวนา(ดูลักษณะ ความสม่ำ�เสมอของข้าว และเวลาออกรวง) โดยมีที่ปรึกษา ทั้งหมด 3 ท่าน คือ ขุนทิพย์ท่าทองหลาง กำ�นันตำ�บลท่าทองหลาง อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา ซึ่งถือว่าเป็นท้องที่ที่ปลูกข้าวขาวดอกมะลิมากที่สุด และเป็นแหล่งเดียวในโลก “หมอ เล็ก”นายดาวราย ทับเจริญ แพทย์ประจำ�ตำ�บลซึ่งเป็นผู้ปลูกข้าวฝีมือดี มีนาเป็นของตัว เองและที่ปรึกษาใหญ่ คุณจรูญ ตัณฑวุฒิโฑ เจ้าของโรงสีที่ทำ�การค้าข้าวขาวดอกมะลิ ใครที่ต้องการข้าวดอกมะลิ ต้องไปหาเขา โดยมี ดร.สุนทร สีหะเนิน เป็นผู้รวบรวมพันธุ์ (ขณะนั้นอายุ 27 ปี)

ภาพ 7 : แปลงนาข้าวทดลอง พันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อ.เลิงนกทา จ.ยโสธร


แม่มะลิ 7

เหตุใดถึงเลือกแปลงที่ 105 ทั้ง 4 ท่าน ได้ปรึกษากันแล้วตกลงกันว่าเราจะเริ่มต้นจากท้องนาของผู้ที่มีฝีมือดีที่สุด ในการปลูกข้าว คือ หมอเล็ก จึงได้ไปดูในนา พบว่าเป็นนาที่ดูเรียบร้อย วัชพืชไม่มี ข้าว ขึ้นสม่ำ�เสมอ ดูเรียบเป็นนาหนึ่งเดียวกัน ข้าวแตกกอสม่ำ�เสมอ ซึ่งเป็นลักษณะของการ ทำ�นาทีถ่ กู ต้อง จึงได้ลงไปในนาของหมอเล็ก โดยสุม่ เข้าไปกลางนา ดูตน้ ดูกอข้าว (ปกติ ข้าวจะแตกกอจำ�นวน7-10 กอ หากแตกเพียง 3-5 ถือว่าใช้ไม่ได้ และต้องมีความแข็ง มีทรงที่สวยงาม ไม่หัก) พอดูทรง ดูกอข้าวเสร็จแล้ว ต้องดูที่รวงข้าว ว่าเป็นรวงเล็ก รวง ยาว รวงใหญ่ หรือไม่ และต้องดูที่ระแง้ว่าห่างกันหรือไม่ ถ้าห่างแสดงว่าไม่ดี

ภาพ 8 : แปลงนาส่งเสริมข้าวหอมมะลิตราฉัตร อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ

ต่อจากนั้น ก็เลือกรวงที่ดีที่สุดในกอนั้นจำ�นวน 1 รวง(ข้าว 1 รวงคือข้าว 1 พันธุ์) และให้หาต่อไป จนได้ครบจำ�นวน 200 รวงหลังจากที่ได้ข้าวเรียบร้อยแล้วได้ปรึกษาอีก 3 ท่าน ว่า รวงข้าวที่ได้สุ่มมานั้นใช่ข้าวขาวดอกมะลิทั้งหมดหรือไม่ ผลปรากฏว่าเป็น ข้าวขาวดอกมะลิทุกรวง จึงได้นำ�ส่งกรมการข้าว (หลังจากที่มีการตกลงทางเศรษฐกิจ ประเทศไทยได้จัดตั้งกรมขึ้น2 กรม คือ กรมพัฒนาที่ดิน และกรมการข้าวที่ถูกยุบ ตั้ง เป็น กรมส่งเสริมการเกษตรแทนและในปัจจุบันก็มีการตั้งกรมการข้าว) หลังจากส่งข้าวให้กรมการข้าวเสร็จ ก็ส่งหน้าที่ต่อนักวิชาการ แยกแยะต่อ โดยต้อง แยกสถานที่กันคัด เพราะข้าวมีจำ�นวนมากเป็นแสนรวง ข้าวขาวดอกมะลิ ของ ดร.สุนทร ได้ถูกส่งไปคัดแยกที่สถานีทดลองข้าวที่โคกสำ�โรง ทุกรวงจะมีเลขกำ�กับ 1-200 และเอาไปปลูกแบบรวงต่อแถว โดยเอาข้าวพันธุ์หอมนาง มลมาปลูกพร้อมกันด้วย เมื่อถึงเวลาเก็บเกี่ยวก็นำ�มาเปรียบเทียบกัน โดยมีเกณฑ์การ ตัดสิน ดูที่ผลผลิต ขณะนวดข้าว ขณะชั่งน้ำ�หนัก ปรากฎว่า รวงอื่นที่นำ�มาคัดแยกตก อันดับหมด เหลือเพียงรวงเดียวที่ชนะข้าวหอมนางมล คือ ข้าวขาวดอกมะลิรวงที่ 105 จึงได้เก็บรวงนี้ไว้วิจยั ต่อ ด้วยการปลูกทดสอบในพืน้ ทีต่ า่ งๆ แต่ขา้ วหนึ่งรวงมีไม่เพียงพอ จึงต้องใช้เวลาผลิตพันธุ์อยู่ถึง 2 ปี (พ.ศ.2493-2495) จึงได้ผลผลิตพอที่จะแบ่งข้าวขาว


8 แม่มะลิ ดอกมะลิ 105 ให้อ�ำ เภอต่างๆทัว่ ประเทศ นำ�ไปปลูกเปรียบเทียบกับพันธุข์ า้ วอืน่ ๆ ปรากฎ ว่า ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปลูกได้ผลผลิตดีตลอดทุกปี โดยเฉพาะในภาคอีสานและภาค เหนือ เช่นพะเยาและเชียงราย แต่ผลผลิตยังเป็นรองภาคอีสาน จึงได้มีการส่งเสริมการปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ภาคอีสาน แต่เนื่องจากคนอีสาน นิยมกินข้าวเหนียวจึงไม่ได้รับความร่วมมือ แต่ในที่สุด หม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ได้ ตัดสินใจ เปลี่ยนพื้นที่ทดลองเป็นอีสานตอนล่าง 3 จังหวัด ได้แก่ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และ บุรีรัมย์ เนื่องจากเป็นพื้นที่แห้งแล้งและยากจนมากแห่งแรกที่ปลูกคือ สุรินทร์ก่อน ตาม ด้วยศรีสะเกษและบุรีรัมย์ โดยจัดตั้งกลุ่มชาวนา และส่งข้าวพันธุ์ไปให้ การทดลองปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ใน 3 จังหวัดนี้ ปรากฎว่า ทนแล้งได้ดี ได้ ผลผลิตมาก และได้ราคาดีจนเป็นที่ยอมรับในภาคอีสานตอนล่าง ในที่สุดภาคอีสาน ตอนบนก็ต้องการที่จะนำ�ไปปลูกบ้าง เช่น อุบลราชธานี นครพนม สกลนคร ร้อยเอ็ด มหาสารคามและนครราชสีมา ซึ่งถือว่าเป็นจังหวัดขอบทุ่ง ได้นำ�ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ไปปลูก โดยเฉพาะที่ ทุ่งกุลาร้องไห้ แต่ก่อนที่จะไปส่งเสริมการปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ทุ่งกุลาร้องไห้ นั้น ต้องไปปรับปรุงที่ดินใหม่ จึงขอให้ประเทศออสเตรเลียมาช่วย เหลือในการปรับปรุงทีด่ นิ ให้เป็นไร่เป็นนาโดยคนทีต่ อ้ งการปลูกจะต้องจัดตัง้ กลุม่ ชาวนา รวบรวมพื้นที่นาให้ได้ กลุ่มละ 500 ไร่ จึงจะช่วยเหลือพันธุ์ข้าว ปุ๋ย ยากำ�จัดศัตรูพืช ให้การดูแล และรับซื้อผลผลิตทั้งหมด ชาวนาในพื้นที่ก็ได้รวบรวมกลุ่มจนได้ครบ ใช้เวลา 3 ปี ในการปลูก ได้พื้นที่นา 2 ล้าน กว่าไร่ ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ทั้งหมด และต่อมา ภาคเหนือ ก็ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ตามทุ่งกุลาร้องไห้

ภาพ 9 : เจ้าหน้าที่ส่งเสริมของบริษัท ข้าว ซี.พี.จำ�กัด (ข้าวตราฉัตร) เข้าไปดูแลเกษตรกร ที่เข้าร่วม โครงการส่งเสริมการปลูกข้าวหอมมะลิ ปี 2556/57 ในอำ�เภอราษีไศล จังหวัด ศรีสะเกษ


แม่มะลิ 9

ข้าวหอมมะลิ ชอบ ดินปนทราย พื้นที่เป็น นาดอน ใช้น้ำ�ฝนในการเพาะเลี้ยงนาที่ไหน เป็นอย่างนี้ จะได้ผลผลิตดีที่สุด เมล็ดข้าวจะ ยาว เรียว บิดนิดๆ ขาว ใส พอแกะออกมา เป็นข้าวกล้อง จะเป็นสีขาว ใส ที่สำ�คัญคือที่ เมล็ดไม่มีท้องไข่ มีจมูกข้าวเล็ก แต่นาที่ไหน ใช้การเพาะเลี้ยงแบบวิดน้ำ� ก็จะได้แค่ ข้าว หอมปทุม ข้าวหอมเหลือง อย่างไรก็ตาม ข้าวหอมมะลิ ยังไม่ค่อย เป็นที่น่าสนใจเท่าไร เรื่อง ความโดดเด่น จน กระทั่ง พ.ศ.2535 ประเทศไทยได้ส่งออก ข้าวหอมมะลิได้ 1,250,000 ตัน และในพ.ศ. 2552 ประเทศไทย โดยบริษัท ซี.พี. อินเตอร์ เทรด จำ�กัด ได้รับรางวัลชนะเลิศ World Best Rice Award 2009 จากงานประชุม World Rice Conference 2009 ณ เมืองเซ ภาพ 10 : ข้าวเริ่มตั้งท้อง ออกรวง ปรู ประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งเป็นผู้ประกอบการ พร้อมเก็บเกี่ยว ข้าวสารบรรจุถุงรายเดียวในประเทศไทยที่ได้ รับรางวัลนี้จนทั่วโลก ลงมติว่า ข้าวหอมมะลิ ต้องประเทศไทย เท่านั้น ดร.สุนทร สีหะเนิน ฝากถึงคนรุ่นหลัง ข้าวหอมมะลินนั้ มีจดุ อ่อน อยากจะฝากไว้ให้ องค์กรทีเ่ กีย่ วข้อง บริษทั ข้าว หรือ หน่วย งานราชการ ถ้าจะรักษาคุณภาพของข้าวหอมมะลิเอาไว้ ไม่ให้ข้าวอื่นมาแซงหน้า เมื่อใด ที่ระบบชลประทานเข้าถึงบ้าน ปลูกข้าวได้ปีละหลายครั้ง คนก็จะเลิกปลูกข้าว หอมมะลิ คนก็จะไม่เชื่อใจว่าจะมีการนำ�ข้าวอื่นไปปน อยากให้ช่วยกันอนุรักษ์ข้าวหอม มะลิเอาไว้ เพราะได้ช่วยกันส่งเสริมการปลูกข้าวหอมมะลิมาตั้งแต่ปี 2502โดยให้นึกถึง ว่า “แม่มะลิ” นั้นทำ�คุณประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติมากมาย ส่งเสริมให้ข้าวหอมมะลิ อยู่คู่คนไทยตลอดไป เพราะมันดีจริงๆ 50 ปีที่ผ่านมาไม่มีใครแซงหน้าได้ คำ�เรียกขาน ข้าวหอมมะลิ สมัยนั้นประเทศที่ขายข้าวหอมมะลิได้แก่ ประเทศไทย ประเทศอินเดีย ประเทศ ปากีสถาน ประเทศอินเดีย ประเทศปากีสถาน ไม่มีชื่อเรียกตรงตัว แต่ใช้คำ�ว่า Jasmine rice ส่วนประเทศไทย ใช้คำ�ว่า ข้าวหอมมะลิไทย ชื่อ ข้าวหอมมะลิ ของประเทศไทยนั้น จะ ต้องนึกถึงชื่อ ข้าวขาวดอกมะลิ ถ้าเป็นทางการ จะใช้ชื่อ ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ถ้าต่าง ประเทศ จะเรียก ข้าวหอมมะลิไทย


10 แม่มะลิ

ประวัติ ดร.สุนทร สีหะเนิน

ดร.สุนทร สีหะเนิน เป็นบุตรของ นายแดง-นางบุตร สีหะเนิน เกิดที่บ้านควน ราชสีห์ หมู่ 6 ต.บางเป้า อ.กันตัง จ.ตรัง เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2466 ปัจจุบัน อายุ 90 ปีเป็นข้าราชการบำ�นาญ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สมรสกับ คุณประชุมพร วัฒนวิจารณ์ ที่ อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา เมื่อปี 2491 มีบุตรชาย 1 คน หญิง 2 คน ทุกคนสำ�เร็จการศึกษาชั้นอุดมศึกษา รับราชการเป็น หลักฐานและสมรสแล้วทั้ง 3 คน ภาพ 11 : ได้รับมอบโล่เกียรติยศในฐานะผู้ค้นพบพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 อันเป็นต้นตอ พันธุ์ของข้าวหอมมะลิไทย ซึ่งมีชื่อเสียงโด่งไปทั่วโลกว่ามีคุณภาพดีที่สุดในโลก จากกรมส่ง เสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์


แม่มะลิ 11

คุณวุฒิการศึกษาและการฝึกอบรม - จบชั้นประถมศึกษา จากโรงเรียนตรังคภูมิ อ.กันตัง จ.ตรัง พ.ศ. 2477 - จบชั้นมัธยมบริบูรณ์ จากโรงเรียนวิเชียรมาตุ อ.เมือง จ.ตรัง พ.ศ.2482 - จบเตรียมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ “แม่โจ้” อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ รุน่ ที่ 7 (พ.ศ.2483-2485) ต่อมาได้รับโควต้าของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แต่ไม่ ได้เลือกที่จะศึกษาต่อ - ผา่ นการฝึกอบรมหลักสูตรวิชาพืชศาสตร์ ดิน ปุย๋ การคัดเลือกพันธุ์ ผสมพันธุ ์ และการขยายพันธุ์ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2496 - ผา่ นการฝึกอบรมหลักสูตรการบริหารงานของหัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด ของกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2512 - ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการบริหารงานระดับหัวหน้ากอง ของกรมส่งเสริม การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2515 - ผา่ นการฝึกอบรมหลักสูตรหลักและวิธปี ฏิบตั ริ าชการในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ของศูนย์ปฏิบัติราชการ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศปต.) ของกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2518 - เดินทางไปฝึกอบรมและดูงานด้านการส่งเสริมการเกษตรทีป่ ระเทศสาธารณรัฐ จีน (ไต้หวัน) พ.ศ. 2505 การรับราชการ การรับราชการ - เข้ารับราชการ เมื่อ 1 มกราคม พ.ศ.2486 ในตำ�แหน่ง พนักงานข้าวประจำ� อ.บางคล้า จ.ฉะเชิงเทรา(ชั้นจัตวา) ในสมัยนั้น และปฏิบัติหน้าที่นั้นอยู่จนถึง พ.ศ. 2503 - เป็นพนักงานข้าวจังหวัดพัทลุง (ชั้นตรี) และต่อมาได้รับเลื่อนชั้นเป็น ข้าราชการ ชั้นโท และเปลี่ยนตำ�แหน่งเป็นเกษตรจังหวัดพัทลุง เลื่อนชั้นเป็น เกษตรจังหวัดเอก จ.พัทลุง รวมเวลาที่รับราชการอยู่ที่พัทลุง ตั้งแต่ พ.ศ. 2503-2517 - เป็นเกษตรจังหวัดเอกจังหวัดนราธิวาส พ.ศ. 2517-2518 - เป็นหัวหน้าสำ�นักงานส่งเสริมการเกษตร ภาคตะวันตก จ.ราชบุรี พ.ศ. 2518 2519 - เ ป็นผู้อำ�นวยการสำ�นักงานส่งเสริมการเกษตร ภาคเหนือ จ.เชียงใหม่ ตั้งแต่ พ.ศ. 2520-2523 - ลาออกจากราชการเมือ่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2523 หลังจากรับราชการมา 37 ปี ทั้งยังเหลือเวลารับราชการได้อีก 4 ปีเนื่องจากเกิดเบื่อหน่ายชีวิตราชการ และต้องการพักรักษาโรคหลอดลม


12 แม่มะลิ

ภาพ 12

ภาพ 13

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับพระราชทาน - ตริตาภรณ์ช้างเผือก (ตช.) - ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ทม.) - เหรียญจักรพรรดิมาลา - เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 เกียรติยศที่ได้รับหลังออกจากราชการแล้ว ปี 2536 - ได้รับโล่เกียรติยศ จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในฐานะเป็นผู้ค้นพบพันธุ์ ข้าว “ขาวดอกมะลิ 105” อันเป็นต้นตอพันธุข์ องข้าวหอมมะลิไทย ทีม่ ชี อื่ เสียง ไปทั่วโลกในปัจจุบัน ปี 2543 - ไ ด้รับโล่เกียรติยศจากสมาคมปรับปรุงพันธุ์ และขยายพันธุ์พืชแห่ง ประเทศไทยเป็นการยืนยันว่า เป็นผู้ทำ� คุณประโยชน์แก่ชาวนาไทยและ ประเทศไทยชาติ - ไ ด้รับพระราชทานโล่เกียรติยศในฐานะศิษย์เก่าดีเด่นมหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ได้รับยกย่องจาก สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ประกาศให้เป็น 1 ใน 100 คน ผู้ทำ�คุณประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ ให้แก่ประเทศชาติในรอบ 100 ปี (เริ่มตั้งปี 1900 สิ้นสุดปี 2000) โดย ดร.สุนทร สีหะเนิน ได้ถูกบันทึกในปี 1950 ซึ่งเป็นปีที่ค้นพบข้าวขาวดอกมะลิ 105 และเป็นคนหนึ่งที่ทำ�คุณประโยชน์แก่ประเทศชาติและชาวนาไทย ภาพ 12-13 : มหาวิทยาลัยแม่โจ้มอบปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (ปี พ.ศ. 2552)


แม่มะลิ 13

ภาพ 14

ภาพ 15

ปี 2550 - ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณจากกรมการข้าว ในฐานะผู้มีผลงานอันเป็น ประโยชน์กับการพัฒนาข้าวไทย ปี 2552 - ได้รับพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาพืชศาสตร์ จาก มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - โล่ประกาศเกียรติคุณ ทรงคุณค่าต่อวงการเกษตรไทย จากกระทรวงพาณิชย์ บั้นปลายชีวิต อาศัยรวมอยูก่ บั บุตรสาวทีแ่ ต่งงานแล้ว อยูท่ บี่ า้ นเลขที่ 52/124 และ 52/123 ซอย เกษตรศาสตร์ 7 ถนนพหลโยธิน ซอย 45 บางเขน กรุงเทพมหานคร 10900 โทร. 02-561-1406 และ 02-561-1351 ชีวิตบั้นปลายมีความสุขตามสมควรแต่อัตภาพ เคล็ดไม่ลับ อายุยืน ของ ดร.สุนทร สีหะเนิน (ปัจจุบัน อายุ 90 ปี ในปี 2556) ไม่เครียด ไม่โกรธ ทำ�ใจสบาย มีเรือ่ งอะไรก็ชา่ งมัน อย่าใช้สมองมาก คุยกันเรือ่ งดีๆ ความภูมิใจในส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้าวหอมมะลิ ของ ดร.สุนทร สีหะเนิน ไม่ภูมิใจเรื่องข้าวว่าจะส่งออกเป็นอย่างไร แต่ภูมิใจที่ว่าคนภาคอีสานที่กินข้าว เหนียว ปลูกข้าวเหนียว มานานเป็นร้อยเป็นพันปี พอ “แม่มะลิ” เข้าไป ทำ�ให้คน ภาคอีสานเปลี่ยนมาปลูกข้าวหอมมะลิได้” นับเป็นความภูมิใจที่ยิ่งใหญ่ที่สุด ซึ่งไม่มีใครรู้ว่าข้าวหอมมะลิจะทำ�ให้คนภาค อีสานมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จนได้รับคำ�กล่าวว่า “อีสานเขียว”ซึ่งมาจากการที่ “แม่ มะลิ” ทำ�ให้เขาปลูกข้าว ได้กำ�ไร และยั่งยืน ไม่ต้องเสี่ยงนั่นเอง ภาพ 14 : ได้รับมอบโล่เกียรติยศจากสมาคมปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชแห่ง ประเทศไทย (ปี พ.ศ. 2543) ภาพ 15 : รอรับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในงานวันข้าวและ ชาวนาแห่งชาติ ปี 2555 และได้รับมอบหมายให้กราบบังคมทูลเรื่องประวัติความเป็นมาของ พันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ให้ทรงทราบ


14 แม่มะลิ

ความร่วมมือที่ยั่งยืนร่วมกัน หนึ่งในปัญหาที่ภาคเกษตรของไทยต้องเผชิญตลอดมาก็ คือการตลาด เป็นปัญหาทีย่ ากจะแก้ให้ตก ในขณะเดียวกัน ภาคอุตสาหกรรมการเกษตรเองก็ต้องประสบกับปัญหา ความไม่คงที่ของผลผลิต ทั้งในด้านของปริมาณซึ่งไม่คงที่ และคุณภาพที่ไม่แน่นอน บริษัท ข้าว ซี.พี. จำ�กัดได้ตระหนักถึงปัญหานี้จึงได้จัดทำ� โครงการส่งเสริมการปลูกข้าวหอมมะลิ ปี 2556/57 ขึ้นใน พืน้ ที่ 4 จังหวัดของภาคอีสานซึง่ เป็นแหล่งปลูกข้าวหอมมะลิ คุณภาพดีของประเทศขึน้ โดยตัง้ ใจจะให้เป็นโครงการความ ร่วมมือที่สามารถสร้างความยั่งยืนร่วมกันระหว่างชาวนาผู้ ปลูกข้าวหอมมะลิและบริษัทในฐานะผู้ค้าข้าวรายใหญ่ของ ประเทศ คุณสุเมธ เหล่าโมราพร ประธานคณะผู้บริหาร กลุ่มธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ (ธุรกิจข้าว และ อาหาร) เครือเจริญโภคภัณฑ์ เปิดเผยถึงความเป็นมาของโครงการนำ�ร่องนี้ว่า “ในฐานะผู้ผลิตและ จำ�หน่ายข้าวสาร เราเองก็ตอ้ งการทีจ่ ะมีแหล่งผลิตข้าวทีม่ นั่ ใจในคุณภาพของวัตถุดบิ เพราะเราจำ�เป็น ต้องรักษามาตรฐานของข้าวตราฉัตร ขณะเดียวกันเราก็ตระหนักถึงปัญหาด้านการตลาดของเกษตรกร ผู้ปลูกข้าว เราจึงมีแนวคิดที่จะรวมเอาจุดจุดเด่นของเกษตรและความชำ�นาญของเราเข้าด้วยกัน นับ เป็นการทำ�ธุรกิจที่เกื้อกูลกัน โดยมีเป้าหมายที่ความยั่งยืน” คุณสุเมธให้เหตุผลที่นำ�ร่องในพื้นที่ 4 อำ�เภอของ 4 จังหวัดซึ่งประกอบด้วย อำ�เภอราศีไศล จังหวัด ศรีสะเกษ อำ�เภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี อำ�เภอเสนางคนิคม จังหวัดอำ�นาจเจริญ และอำ�เภอ เลิงนกทา จังหวัดยโสธรว่า “พื้นที่ ที่เราเข้าไปส่งเสริม ทั้ง 4 อำ�เภอ ใน 4 จังหวัดนี้ เป็นแหล่งปลูกข้าวหอมมะลิที่ได้คุณภาพดี แต่เกษตรกรขาดความมั่นใจในการทำ�ตลาด ต้องขึ้นอยู่กับกลไกของตลาด ต้องอาศัยภาวะตลาดเป็น หลักการที่ทางบริษัทฯ เข้าไปส่งเสริมเกษตรกรอและรับซื้อวัตถุดิบที่เป็นข้าวเปลือกจากเกษตรกรตาม เงือ่ นไขการรับจำ�นำ�ข้าวของรัฐบาลซึง่ สูงกว่าราคาตลาดจะทำ�ให้เกษตรกรมีความมัน่ ใจมากขึน้ เพราะ รู้ว่าตลาดรองรับผลผลิตที่แน่นอนและเพื่อให้เกิดความยั่งยืน บริษัทฯ ก็จะดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องใน การส่งเสริมให้มีการปลูกข้าวหอมมะลิ เพื่อให้เกิดความเป็นเอกลักษณ์ของข้าวแต่ละพื้นที่ ขณะ เดียวกันก็จะเป็นการกระชับความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทฯกับเกษตรกรผู้ร่วมโครงการอย่างต่อเนื่อง อัน จะทำ�ให้เกษตรกรมีความมั่นใจในตลาดมากขึ้น” ในโครงการส่งเสริมการปลูกข้าวหอมมะลิฯนี้ บริษัท ข้าว ซี.พี.จำ�กัดได้จัดทีมงานลงพื้นที่เพื่อให้คำ� แนะนำ�ในการปลูกข้าวกับเกษตรกรผู้ร่วมโครงการโดยคุณสุเมธกล่าวถึงบทบาทของทีมงานผู้ชำ�นาญ การว่า


แม่มะลิ 15

“บริษัทฯ มีทีมงานวิชาการ ที่จะเข้าไปส่งเสริมการปลูกข้าวหอมมะลิด้วยการให้คำ�แนะนำ�กับ เกษตรกร เริ่มตั้งแต่การใช้เมล็ดพันธุ์ที่ดีมีคุณภาพจากกรมการข้าว โดยเราจะเข้าไปให้คำ�แนะนำ�ถึง ผลดีที่จะได้จากการเปลี่ยนมาใช้เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ มีนักวิชาการให้คำ�แนะนำ�การใช้ปุ๋ยว่าควรจะ สูตรไหน ใช้อย่างไร ใช้เวลาไหนจึงจะส่งผลดีที่สุด ซึ่งจากการใช้เมล็ดพันธุ์ที่ดี ใช้ปุ๋ยที่ดี รวมถึงการ จัดการพืน้ นา ให้มกี ารควบคุมวัชพืช การควบคุมน้�ำ ในแปลงนาให้มคี วามเหมาะสม จะทำ�ให้ได้ขา้ วหอม มะลิที่มีคุณภาพดีขึ้น โดยเราคิดว่าจะช่วยเพิ่มผลผลิตได้ราว 10-20%” คุณสุเมธกล่าวด้วยว่า “ทุกกระบวนการส่งเสริมฯ ของทางบริษัทฯ สุดท้ายจะสะท้อนไปที่คุณภาพ ของข้าว อาทิ กลิ่นหอม, มีเปอร์เซ็นต์ข้าวเต็มเมล็ดที่สมบูรณ์ ข้าวที่เกษตรกรทั่วไปปลูกจะได้ข้ผลผลิต ประมาณ 320-330 กิโลกรัม/ไร่ แต่จากการส่งเสริมของ เราคาดว่า จะได้ผลผลิตเพิ่มถึง 380 กิโลกรัม/ไร่ โดยเราจะรับซื้อข้าวเปลือกทั้งหมดจากทุกไร่ของเกษตรกร ที่ร่วมโครงการฯ เพื่อนำ�มา แปรรูปเป็นข้าวสารบรรจุถุงของบริษัทฯ” ในส่วนของรายละเอียดการส่งเสริม คุณสุเมธเปิดเผยว่า “ทางบริษัทฯมีเงื่อนไขกับเกษตรกรว่า เรา จะจัดหาเมล็ดพันธุ์ ซึง่ เป็นแม่พนั ธุจ์ ากกรมการข้าวมาให้เกษตรกรทีเ่ ป็นสมาชิก ในเรือ่ งของปุย๋ บริษทั ฯ ก็ได้ประสานกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร(ธกส.) เพื่อให้เครดิตกับเกษตรกรเป็น สินเชื่อเรื่องปุ๋ย เมื่อเกษตรกรขายวัตถุดิบให้กับทางบริษัทฯแล้วเกษตรกรก็ชำ�ระคืนให้กับทาง ธกส. อันจะเป็นการเปิดโอกาสให้ชาวบ้านใช้ปุ๋ยตามคำ�แนะนำ�ของบริษัทฯได้ ซึ่งที่ผ่านมาบางทีเกษตรกร อาจจะมีปัญหาเรื่องเงินทุนทำ�ให้ละเลยในเรื่องของการใส่ปุ๋ยทำ�ให้ได้ผลผลิตไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย นอกจากนี้ทางบริษัทฯ ก็จะให้คำ�แนะนำ�กับเกษตรกรในเรื่องของการเก็บเกี่ยว ว่าการเก็บเกี่ยวที่ เหมาะสม ควรจะเป็นช่วงที่ข้าวอยู่ระยะหลังออกดอก ประมาณ 25-30 วัน ซึ่งเป็นช่วงที่เหมาะสม ที่สุด ที่จะทำ�ให้ข้าวมีเปอร์เซ็นต์ต้นข้าวดี และเมื่อได้ข้าวคุณภาพดี เกษตรกรก็จะสามารถขายข้าวได้ ในราคาที่สูงขึ้น ตรงนี้นับเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเกษตรกรพอสมควร เพราะส่วนหนึ่งจะ แตกต่างจากวิธีที่เคยปฏิบัติกันมา เราเข้าไปให้คำ�แนะนำ�ในส่วนนี้ก็เพื่อไปจัดระเบียบ ให้ถูกต้องตาม ลักษณะที่ควรจะปลูกข้าวหอมมะลิ อันจะเป็นประโยชน์ที่ยั่งยืนต่อเกษตรกรโดยตรงเพราะนี่คือความ รู้ที่ผ่านการค้นคว้าวิจัยและทดลองจนได้ผลมาแล้วและเกษตรกรสามารถที่จะนำ�ไปใช้ได้ตลอดไป” สำ�หรับประโยชน์ที่ผู้จะได้รับนั้น คุณสุเมธกล่าวว่า “โดยข้อเท็จจริงแล้วข้าวหอมมะลิในประเทศไทย มีเยอะ  แต่ว่าข้าวหอมมะลิแต่ละแหล่งก็มีคุณลักษณะและคุณภาพที่แตกต่างกันไปตามแต่ละพื้นที่ สำ�หรับพื้นที่ที่เราส่งเสริมทั้ง 4 แห่งเป็นแหล่งที่ผลิตข้าวหอมมะลิได้คุณภาพที่ดี ผู้บริโภคจึงได้บริโภค ข้าวที่มีคุณภาพดี นอกจากนั้นเราจะแจ้งที่มาของแหล่งผลิตให้ผู้บริโภคได้รับรู้ว่า ข้าวที่ซื้อไปบริโภค นั้นผลิตจากแปลงจังหวัดไหน อำ�เภอไหนหรือแปลงนาของเกษตรกรรายใด ผู้บริโภคสามารถมั่นใจ ในคุณภาพของข้าวได้ เพราะเรามีเจ้าหน้าที่ติดตามกำ�กับดูแลทุกขึ้นตอนตั้งแต่การจัดเตรียมแปลงนา การสีข้าวจนถึงการบรรจุถุงเพื่อส่งถึงมือผู้บริโภค” คุณสุเมธกล่าในตอนท้ายว่า “นี่คือการเกื้อกูลกันเพื่อให้เกิดความยั่งยืนทั้ง 3 ฝ่าย คือ เกษตรกร ผู้ปลูกข้าวจะมีความมั่นคงในอาชีพของตน เราในฐานะผู้ผลิตและจำ�หน่ายข้าวถุงก็จะมีความมั่นใจใน คุณภาพของวัตถุดิบที่ได้รับ ขณะเดียวกันประชาชนผู้บริโภคก็จะมีความมั่นใจในคุณภาพของข้าวที่ ซื้อไปบริโภค เพราะรู้กระบวนการผลิตและแหล่งที่มาชัดเจน รับประกันความปลอดภัยของข้าวซึ่งเป็น อาหารหลักที่คนไทยนิยมบริโภค ถือเป็นความยั่งยืนที่จะได้รับร่วมกัน”


บริษัท ข าว ซี.พี. จำกัด www.cpthairice.com, e-mail : info@cpthairice.com 202 อาคารเลอคองคอร ด ชั้น 18 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห วยขวาง เขตห วยขวาง กร�งเทพมหานคร 10310 www.facebook.com/KhaoTraChat, http://twitter.com/RoyalUmbrella ลูกค าสัมพันธ โทร. 0-2646-7200 โทรสาร. 0-2646-7392


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.