Aesthetic Design

Page 1

Aesthetic Design

“ความเรียบง่าย เป็นสิ่งที่ซับซ้อนที่สุด”

02 International Architect นักสร้างสรรค์ที่ว่างแห่งเขตร้อนชื้น

06 A+Con Architect

ประสานสามสิ่งสำ�คัญ ด้วยการสร้างสรรค์ความงาม

10 Cloud floor

การใช้นวัตกรรมมีส่วนร่วมในการ พัฒนาพื้นที่สาธารณะและเมืองด้วยการ ออกแบบอย่างมีกระบวนการ

12 Nitaprow

เราเชื่อในกระบวนการการสร้างสรรค์งาน อย่างประณีต


LONG AN HOUSE

Location : My Hanh Nam, Ward, Duc Hoa District, Long An Province, Vietnam Architecture : Tropical Space Co.,Ltd Principal Architects : Nguyen Hai Long, Tran Thi Ngu Ngon Design Team : Nguyen Anh Duc, Nguyen Thu Hoai, Nguyen Tuan Dang Website : http://khonggiannhietdoi.com Year : 2017 Site area : 750 m.sq Building area : 300 m.sq Level : 02 (1 ground floor, 1 floor) Materials : Brick, Concrete Photo : Oki Hiroyuki

Tropical Space : นักสร้างสรรค์ที่ว่างแห่งเขตร้อนชื้น Text: Jaksin Noyraiphoom / จักรสิน น้อยไร่ภูมิ

ในยุคปัจจุบันที่เทคโนโลยีด้านการสื่อสารเจริญอย่างรุดหน้า จนแทบทั้งโลกดู เหมือนจะถูกกระตุ้นให้หลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวกันเร็วยิ่งขึ้น สิ่งหนึ่งที่เกิดควบคู่กับ ปรากฏการณ์นี้คือ การพยายามแสวงหาตัวตนของท้องถิ่นต่างๆ เพื่อที่จะหาจุดยืนอันมี เอกลักษณ์ของตัวเองที่แตกต่างจากที่อื่นๆ ความเคลื่อนไหวลักษณะนี้สามารถพบเห็นได้ ทัว่ ไป รวมทัง้ ในวงการออกแบบสถาปัตยกรรม ทีม่ กั พบสถาปนิกและนักออกแบบรุน่ ใหม่ ตามภูมภิ าคต่างๆ ทีพ่ ยายามแสวงหาแนวทางออกแบบอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ทีม่ กั อิงอยูก่ บั บริบทของความเป็นท้องถิน่ และหนึง่ ในบริษทั สถาปนิกทีม่ แี นวทางของตนชัดเจน ที่สุดกลุ่มหนึ่งได้แก่ Tropical Space บริษัทสถาปนิกรุ่นใหม่จากประเทศในเขตร้อนชื้น แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อย่างเวียดนาม Tropical Space เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของสถาปนิกเวียดนามรุ่นใหม่ 2 คน คือ Nguyen Hai Long และ Tran Thi Ngu Ngon ตั้งอยู่ในกรุงโฮจิมินห์ ซิตี้ ภายใต้ ปรัชญาของบริษัทคือ สร้างสถาปัตยกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ภายใต้เงื่อนไขของ สภาพแวดล้อม ทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม และภูมิอากาศแบบร้อนชื้นของเวียดนาม ซึ่ง ทั้งหมดนี้ได้สะท้อนออกมาในผลงานออกแบบทุกๆ ชิ้นของบริษัทแห่งนี้

2

เทคนิคในการใช้อิฐผสานกับการใช้รูปทรงสถาปัตยกรรมที่เรียบง่ายได้ถูกพัฒนา อย่างต่อเนื่อง และแสดงออกในชิ้นงานที่มีชื่อเสียงที่ทยอยตามมาอีกหลายชิ้น ทั้ง Terra Cotta Studio (2016) สตูดิโอขนาดเล็กที่ตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ LT House (2016) บ้านพักอาศัยขนาดกลางที่มีแนวคิดในการดึงธรรมชาติเข้ามาไว้ในตัวบ้าน หรือ Long An House (2017) บ้านรูปทรงแปลกตา ที่ยังคงโดดเด่นในด้านการใช้วัสดุอย่างอิฐและ การระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติ ซึ่งในบ้านหลังนี้ยังมีผลงานออกแบบอีกชิ้นอย่าง Chicken House (2017) กรงเลี้ยงไก่ที่มีการออกแบบด้วยรูปทรงเรียบง่าย มีการเล่น จังหวะของพื้นที่ใช้งานภายในได้อย่างน่าสนใจ ผลงานออกแบบของ Tropical Space ทุกชิ้น ล้วนสะท้อนให้เห็นถึงความเข้าใจ ในสภาพภูมิอากาศ สังคม วัฒนธรรม ของประเทศเวียดนาม ผสานกับการใช้วัสดุท้อง ถิ่นที่แสดงออกถึงเอกลักษณ์ โดยทั้งหมดนี้มิใช่การลอกเลียนของเก่า หากแต่นำ�มานำ� เสนอในรูปแบบใหม่ที่มีความร่วมสมัยเข้ากับปัจจุบัน ถือเป็นงานที่มีการผสมผสานที่ ลงตัวระหว่างความเป็นสากลและความเป็นท้องถิ่น ซึ่งอาจเป็นสมดุลหนึ่งที่นักออกแบบ หลายคนกำ�ลังตามหาอยู่ก็เป็นได้

The design was inspired by the Vietnam traditional structure accompanied by 3 separate spaces and slope roof while using a modern and strong architectural language. At the same time, maximizing the ventilation efficiency by dividing the roof into two parts and having a court yard; then allocating two corridors to connecting the roof. This way created a court yard and big walls. These are porous walls which can bring breeze into the house

The mezzanine accommodates with two bedrooms, a relaxing and reading area and a long corridor connecting all spaces in the house through two stairs on both ends. The design team wants to have a continuous space between the functional areas inside and outside the house, so that the children can play and move freely, throughout the house without being confined by separate walls.

The Vietnam traditional house is stretched from front to back creating continuous functional spaces. These spaces’ boundaries are estimated by light with different intensity and darkness. The layout utilizes the wind direction of the local area in different seasons.

3


TERMITARY HOUSE

The house is with a large sharing space in the center where a cooking counter, a dining table, and an entertaining corner. This “lobby” then leads to different functional areas in the house such as the rest room, the living room, and the bedrooms. The mezzanine is where another bedroom, an altar room, and a small library are found. In the sharing areas in the house, the space is not limited by the wall, the family members can still see and chat to each other through the walls with holes. It can help to bring family member be closer in this morden busy life.

Information : Location: 275/8 Truong Chinh Street, An Khe Ward, Thanh Khe District, Da Nang City, Vietnam. Architecture: Tropical Space Co.,Ltd Architect In Charge: Nguyen Hai Long, Tran Thi Ngu Ngon Design team: Phan Quang Vinh, Trinh Thanh Tu Website: http://khonggiannhietdoi.com Year: 2014 Site area: 190 sqm Building area: 140 sqm Level: 02 (1 ground floor, 1 mezzanine) Material : Baked Brick, Concrete, Terrazzo, Wood Total investment cost: 27,000 USD (construction cost: 22,000 USD; interior decoration cost: 5,000 USD) Photographs: Oki Hiroyuki

Inspiration

As builders go, termites do not have many tools at their disposal — just their bodies, soil, and saliva. For guidance they have nothing to go on save variations in wind speed and direction and fluctuations in temperature as the sun rises and sets. Similarly, the Termitary House was built in a tropical country in which the weather is extremely different between sunny season and rainy one. It is also influenced by a lot of tropical storms every year.

Structure of the house and solution for stormy season

The structure of the house include many layers which are brick walls with holes arranged randomly like a termitary together with the large inter-floor space.Those holes are considered as vents help the wind rorate inside the house and allows breeze and light get to all corners in the house, created a refresh living environment. The special constructing technique of “double skins” with two layers : one brick wall covering outside and one slide - glass inside creates a space within a wall, which functions as a buffer layer at both gable. In stormy season, the second layer will help to block the strong wind and rain . Also, the buffer layer create a fluctuation in pressure, push the wind go straight toward to the gap. The architect allocated the stairs, warehouse and toilet in both East and West side created a buffer space to prevent the direct sunlight and make the structure of the house steadier in typhoons.

4

Lighting

During the day, the natural light shines through to cast patterned shadows across the interior walls. Slender skylights and relatively narrow offer light and ventilation, providing each room with a view of the sky and the lush green roof. They also serve as outlets for hot air to keep the indoor cooler. At different time during the day, the variety of the light intensity getting through the interfloor holes makes the brick wall colours change and creates variety emotion of colour on the surface of the brick. In the evening, the house looks like a giant lantern with light shining through the holes.

The use of materials The baked-brick is a popular local material which reminds people about myterious temples in the local which was built by bricks for hundreds years ago. Under the tropical sunlight, the color of the brick changing, bring different feelings at different time. Using bricks and keeping the old garden can make the owner feel familiar with this new house. The brick is a local popular material which is subtainable and available with cheap price. The brick have the absortive capacity help to regulate the humidity of the house. This is really important factor to build the house in the tropical climate countries. For many years, the brick and other raw material was always hidden under a lot of finish layers, choosing to use brick for the house, the team also want to prove the natural and rustic beauty of the brick under the sunlight which could be an endless inspiration for the architects.

เว็บไซน์เพิ่มเติม

5


ค�ำถาม ASA Crew: young blood ชื่อออฟฟิศ : บริษัท คลาวด์ฟลอร์ จ�ำกัด Cloudfloor ตอบโดย : นาย นัฐพงษ์ พัฒนโกศัย และ นางสาวดลพร ชนะชัย ต�ำแหน่ง : กรรมการผู้จัดการ บริษัท คลาวด์ฟลอร์ จำ�กัด ถูกจัดตั้งขึ้นจากความตั้งใจ ในการ ใช้ความรู้ความสามารถในการออกแบบเพื่อพัฒนาพื้นที่สาธาณะ และเมือง ซึ่งมีเป้าหมายในการเปลี่ยนแปลงและสร้างสรรค์องค์ ประกอบทางกายภาพของเมืองเพื่อพัฒนาคุณภาพที่ดีขึ้น โดยให้ ความสำ�คัญกับคนและสิ่งแวดล้อมเป็นหัวใจหลัก 1. ช่วยเล่าถึง การก่อตั้ง/ การรวมตัว/ จุดเริ่มต้น ที่มาที่ไปของออฟฟิศ จุดเริ่มต้นคือการที่ได้รับแรงบันดาลใจจากการท�ำงานที่ Studio Schwittala Berlin ที่ให้ความสนใจกับเรื่องการออกแบบเมืองและการอยู่อาศัยในอนาคต

3. ลักษณะงานที่เน้น/สนใจ หรือประเภทอาคารที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษ สนใจและเน้นงานที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณะ สังคม และเมือง

เกี่ยวกับออฟฟิศที่เปิดปัจจุบัน

4. จากการท�ำงานที่ผ่านมา นิยามของ สถาปัตยกรรม คืออะไร หรือ อะไร คือ หัวใจ/คุณค่า ของ สถาปัตยกรรม

4. เปิดออฟฟิศ เมื่อปีอะไร? 2014 5. ปีแรก/ ช่วงแรกๆ มีพนักงานทั้งหมดกี่คน (รวมตัวเองและหุ้นส่วนหลัก ด้วย) ? 3 คน 6. ปัจจุบันมีพนักงานทั้งหมดกี่คน (รวมตัวเองและหุ้นส่วนหลักด้วย) ? 4 คน 7. ลักษณะ อาคาร/สถานที่ออฟฟิศตอนนี้เป็นลักษณะใด เช่น เช่าพื้นที่ อาคาร โฮมออฟฟิศ ที่ตนเอง?

สถาปัตยกรรม คือ สิ่งก่อสร้างที่มนุษย์สร้างขึ้น (man made) ที่ให้ประโยชน์ใน การใช้งานตามความต้องการของมนุษย์และก่อให้เกิดความประทับใจในมิติต่างๆ ภายใต้บริบทนั้นๆ 5. ในการท�ำงานที่ผ่านมา มีโครงการไหน หรือ เรื่องอะไร ที่ประทับใจ ที่อยากเล่า ให้เราฟังบ้าง กิจกรรม workshop ร่วมกับ ASA CAN 2017 ที่ท�ำการทดลองสร้างป้ายรถเมล์ใน ฝัน โดยสิ่งที่ได้ออกแบบไปนั้น คือ การจัดหาสิ่งของที่คิดว่าจ�ำเป็นและไม่จ�ำเป็นใน การรอคอยรถโดยสาร ในสภาพแวดล้อมและบริบทแบบไทยๆ ได้แก่ ยาดม ลูกอม ผ้าปิดปาก น�้ำเปล่า พัดลมมือ วิทยุ เก้าอี้แบบนั่งสบาย และอื่นๆอีกมากมาย ที่ได้ รับรอยยิ้มและความประทับใจจากผู้ใช้งานรวมถึงการได้รับก�ำลังใจจากที่อยากจะ สนับสนุนสานต่อโครงการจากผู้คนที่ผ่านไปมาเป็นอย่างมาก

6. ความยาก ปัญหา อุปสรรค ต่างๆ ที่เจอในการท�ำออฟฟิศตนเอง และ แก้ปัญหา การใช้นวัตกรรมมีส่วนร่วมในการพัฒนาพื้นที่สาธารณะและเมืองด้วยการออกแบบ หรือผ่านพ้นมันมาได้อย่างไร อย่างมีกระบวนการ โดยไม่จ�ำกัดประเภทของผลลัพธ์ ซึ่งเป็นได้ทั้งรูปแบบของ คนอื่นมักไม่เข้าใจว่าท�ำงานอะไร จะออกแบบและเปลี่ยนแปลงเมืองได้อย่างไร โดย สถาปัตยกรรม งานศิลปะ งานผลิตภัณฑ์ งานบริการหรืองานสื่อประเภทต่างๆ สิ่งที่ท�ำคือการพยายามท�ำความเข้าใจและอดทนต่อความตั้งใจนี้

เช่าพื้นที่ส�ำนักงาน 8. ปัจจุบัน มีพื้นที่ออฟฟิศ กี่ตร.ม. (โดยประมาณ) ? 80 ตร.ม. 9. ตั้งแต่เปิดออฟฟิศมา งาน/โครงการต่างๆ ที่ได้สร้างเสร็จสมบูรณ์ มี่กี่ชิ้น (โดยประมาณ)? 8 ชิ้น

2. แนวคิด/ สิ่งสนใจหลักในการออกแบบ และหลักการท�ำงานของออฟฟิศ

7. ต้องเตรียมตัว/ปรับตัว ต่อกระแสความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วต่างๆ และความ ท้าทายใหม่ๆ ในยุคสมัยปัจจุบันอย่างไรบ้าง หาความรู้เพิ่มเติมให้มากขึ้น เปิดใจรับศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆที่เข้ามาเพิ่มขึ้น และศึกษาความต้องการของคนในส่วนที่เปลี่ยนแปลงและไม่เปลี่ยนแปลง 8. มองว่าสถาปนิกรุ่นใหม่ และวงการปฏิบัติวิชาชีพ เป็นอย่างไรบ้าง มีความแตก ต่างกันไหมเมื่อ 5 หรือ 10 ปีก่อนหรือไม่ อย่างไร หรือ มีพัฒนาการ อย่างไร ส่วนใหญ่ยังคงเหมือนเดิม แต่สิ่งที่เห็นการเปลี่ยนแปลงคือ คนให้ความสนใจเรื่อง การออกแบบเมืองมากขึ้น 9. อยากฝากข้อคิดเห็น หรือ ข้อเสนอแนะ อะไรให้สถาปนิกรุ่นใหม่ ทั้งกลุ่มที่เป็น พนักงานอยู่ในออฟฟิศต่างๆ หรือทั้งกลุ่มที่อยากจะเปิดออฟฟิศเป็นของตัวเอง “ออกแบบอาคารแล้ว อย่าลืมออกแบบเมืองที่เราอยู่ด้วย” โดยการออกแบบเมืองคงต้องอาศัย 3 สิ่ง คือ การออกกฎระเบียบ การออกแบบ กายภาพและการสร้างทัศนคติ ให้ท�ำในสิ่งที่เราช่วยกันท�ำได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป

6

ประวัติ/ การศึกษา (ถ้าผู้ก่อตั้ง/ หัวหน้า/ หุ้นส่วน มีมากกว่าหนึ่ง กรุณาช่วยตอบให้ครบทุกคนด้วย) 1.

ปีที่เกิด?

นัฐพงษ์ 21 /12 / 2527 ( 1984 ) ดลพร 6 /1 / 2529 ( 1986 )

10. งาน/โครงการต่างๆ ที่ได้สร้างเสร็จสมบูรณ์ แล้วนั้น แยกเป็นประเภทใด บ้าง? เช่น งานที่พักอาศัย/residential 3 โครงการ, งานอาคารสาธารณะ/ public building 1 โครงการ งานพาณิชย์/commercial building 1 โครงการ เป็นต้น (แบ่งโดยประมาณได้)

งานที่พักอาศัย 1 โครงการ งานอาคารสาธารณะ 1 โครงการ งานนิทรรศการและอาคารชั่วคราว 6 โครงการ 11. งาน/โครงการที่มีอยู่ทั้งหมด ในตอนนี้ มีกี่ชิ้นงาน? 2. จบการศึกษา จากสถาบันใด (ทั้งระดับป.ตรี /โท) และปีที่ 4 จบ? 12. โครงการที่ผ่านมา ที่มีขนาดเล็กที่สุด ขนาดกี่ตร.ม.? นัฐพงษ์ พัฒนโกศัย 20 ตารางเมตร ปริญญาตรี - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2546 – 2551) ปริญญาโท - Anhalt University of Applied Sciences,Dessau,Ger- 13. โครงการที่ผ่านมา ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ขนาดกี่ตร.ม.? 3,000 ตารางเมตร many (2554 – 2556) 14. กรุณา ใส่จังหวัดต่างๆ ว่างานที่สร้างเสร็จสมบูรณ์แล้วนั้น สร้างที่ ดลพร ชนะชัย จังหวัดใดบ้าง (หรือ ต่างประเทศ ถ้ามี)? เช่น กรุงเทพฯ 3 แห่ง / เชียงใหม่ 2 ปริญญาตรี - มหาวิทยาลัยศิลปากร (2546 – 2551) ปริญญาโท - Staedelschule ,Frankfurt ,Germany (2553 – 2555) แห่ง / ภูเก็ต 1 แห่ง / โคราช 1 แห่ง เป็นต้น กรุงเทพ 6 การท�ำงานที่ผ่านมา เชียงใหม่ 1 3. ก่อนที่จะมาเปิดออฟฟิศของตนเอง ท�ำงานที่ใดมาก่อนบ้าง และท�ำมาแล้วกี่ ปทุมธานี 1 ปี? SODA Thailand ,Bangkok 1.5 ปี Studio Schwittala ,Berlin 1 ปี


[ A + Con ] = Architects + Constructive แนวคิด/ สิ่งสนใจหลักในการออกแบบ และหลักการ ท�ำงานของออฟฟิศ จุดเริ่มของแต่ละโครงการเริ่มที่บริบท จากนั้น ตีความ ตามโจทย์ตามความต้องการลูกค้าที่แตกต่างกันไป [REQUIREMENT] ศึกษาความเป็นไปได้ดา้ นกฎหมาย [REGULATION] และประสานสามสิ่ ง ส�ำคั ญ นี้ ด้ ว ยการ สร้างสรรค์ความงาม [AESTHETIC] จากสายตาและ ประสบการณ์ของผู้ออกแบบ โดยรวมแล้วการออกแบบ ทั้งหมดจะถูกคลุมด้วยรูปทรงที่ดูเรียบง่าย [SIMPLE FORM] และต้องใช้งานได้ดี [FUNCTIONAL] ส่วนหลัก การท�ำงานของบริษัทจะเน้นเรื่องการ เคารพทั้งเวลาของ ลู ก ค้ า และเวลาการท�ำงานของที ม ลบค่ า นิ ย มที่ ว ่ า สถาปนิ ก ต้ อ งนอนดึ ก หรื อ ต้ อ งท�ำงานล่ ว งเวลา เรา พยายามสร้างสมดุลการท�ำงานกับชีวิตส่วนตัวของทุก คนในทีม

ลักษณะงานที่เน้น/สนใจ หรือประเภทอาคารที่มีความ เชี่ยวชาญพิเศษ งานส่วนใหญ่ที่เราได้รับความไว้วางใจให้ออกแบบเป็น อาคารพักอาศัย [ Residential] : Private Residence | Service Apartment | Condominium | Clubhouse & Main Gate รองลงมาเป็นงานด้านโรงแรม [Hotel] อาคารเชิงพาณิชย์ [Retail + Shopping Mall] และ อาคารส�ำนักงาน [Office | Head Quarter] แต่เราก็ยัง มองหาโอกาสในการท�ำงานที่ท้าทายด้านอื่นๆเสมอ...

ในการท�ำงานที่ผ่านมา มีโครงการไหน หรือ เรื่องอะไร ที่ ประทับใจ ที่อยากเล่าให้เราฟังบ้าง มีงานออกแบบบ้านหลังนึงเข้ามาโดยที่เราไม่มีโอกาสรู้ว่า เจ้าของคือใคร การท�ำงานจะผ่านการบอกเล่าของคนที่ ติดต่อเรา เล่าถึงความชอบของเจ้าของ คาเรกเตอร์ ของ สะสม วิถกี ารใช้ชวี ติ เป็นเหมือนตัวละคนลับทีเ่ ราต้องคอย ตีโจทย์ในทุกๆครั้งที่ส่งงานไป ทีมจะลุ้นกับค�ำตอบที่กลับ มาในแต่ละครั้งว่า... เจ้าของเค้าจะชอบไหม? เปลี่ยน แปลนเป็นแบบนี้จะตอบโจทย์มากขึ้นไหม? ก็เป็นการ ท�ำงานอีกแบบทีส่ นุกดี จนบัดนีบ้ า้ นก�ำลังสร้างเราก็ยงั ไม่ จากการท�ำงานที่ผ่านมา นิยามของ สถาปัตยกรรม คือ เคยเจอเจ้าของตัวจริงเลย อะไร หรือ อะไร คือ หัวใจ/คุณค่า ของ สถาปัตยกรรม แน่นอนในฐานะผู้ออกแบบเรามีหน้าที่ออกแบบ/ตกแต่ง อาคาร แต่ทมี่ ากไปกว่านัน้ คือการดูแลให้ผทู้ ตี่ อ้ งใช้อาคาร นั้นเกิดประสบการณ์ที่ดี อยู่สบาย ใช้งานสะดวก ดังนั้น นิยามสถาปัตยกรรม ในมุมมองของเรา อาคารไม่ใช่แค่ตกึ ต้องเตรียมตัว/ปรับตัว ต่อกระแสความเปลี่ยนแปลงที่ เพราะฉะนั้นการออกแบบอาคารคือการที่เรารับผิดชอบ รวดเร็วต่างๆ และความท้าทายใหม่ๆ ในยุคสมัยปัจจุบัน การใช้งานในอนาตคของอาคารนั้น ค�ำพูดที่เราพูดกัน อย่างไรบ้าง เสมอในทีมคือ”Not Just another building” เมื่อได้ A+Con เริม่ ใช้ระบบ BIM มานาน และพัฒนาทีมให้ท�ำงาน ท�ำงานออกแบบไม่ว่าเล็กใหญ่อย่าปล่อยผ่าน ด้วยระบบนี้ ถ้าเราทันโลก และสร้างมาตรฐานได้ เชื่อว่า จะท�ำให้เราก้าวไปยืนในตลาดสากลได้เร็วขึ้น

8

ต้องเตรียมตัว/ปรับตัว ต่อกระแสความเปลี่ยนแปลงที่ รวดเร็วต่างๆ และความท้าทายใหม่ๆ ในยุคสมัยปัจจุบัน อย่างไรบ้าง เราโชคดีทเี่ ป็นคนทีอ่ ยูใ่ นช่วงเปลีย่ นผ่านของคอมพิวเตอร์ พอดี ได้เห็นงานเขียนแบบมือบนโต๊ะเขียนแบบ ในช่วงที่ เรียนอยู่ก็เป็นยุคแรกๆของการ น�ำเสนองานด้วย 3D Perspective จึงเป็นรุ่นที่คุ้นเคยกับการลองโปรแกรม ใหม่ๆ เมื่อลูกค้ามองหาเทคโนโลยี เราเองก็ต้องพัฒนา และปรับตัว A+Con เริ่มใช้ระบบBIMและพัฒนาทีมให้ ท�ำงานด้วยระบบนีต้ งั้ แต่เจ้าของโครงการยังไม่ได้ตอ้ งการ เรามองว่ า เป็ น การเตรี ย มตั ว เพื่ อ รองรั บ กั บ การ เปลีย่ นแปลง โลกกว้างแต่เทคโนโลยีท�ำให้คนเข้าถึงกันง่าย ถ้าเราทันโลกและสร้างมาตรฐานได้ เชื่อว่าการท้าทายนี้ จะท�ำให้เราก้าวไปยืนในตลาดสากลได้เร็วขึ้น

มองว่าสถาปนิกรุ่นใหม่ และวงการปฏิบัติวิชาชีพ เป็น อย่างไรบ้าง มีความแตกต่างกันไหมเมือ่ 5 หรือ 10 ปีกอ่ น หรือไม่ อย่างไร หรือ มีพัฒนาการ อย่างไร สถาปนิกรุ่นใหม่ เรียนรู้เร็ว หากมี Passion ในอาชีพนี้ จริงๆ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้งา่ ยขึน้ พัฒนาตัวเองจากการ เห็นงานตัวอย่างในอินเตอร์เน็ต เทียบกับสมัยเราที่ต้อง เปิด Magazineถึงจะเห็นงานสดๆใหม่ๆ การท่องเที่ยว ยุคนี้ก็ท�ำได้ง่ายขึ้น การพาตัวเองไปอยู่ในที่ใหม่ๆเกิด ประสบการณ์จากได้เห็น Space จริงๆ จดจ�ำ สังเกต จะ น�ำกลั บ มาใช้ ใ นงานออกแบบเห็ น เยอะก็ คิ ด ได้ เ ยอะ พลังงานในการสร้างสรรค์ก็จะมีมากขึ้น ความต่างจากเมื่อ 5 –10ปีที่แล้วน่าจะเป็นเรื่องการ Presentation ทีม่ คี วามเสมือนจริงของงานท�ำให้เจ้าของเห็น ภาพได้ชัดเจนขึ้น การ Rendering ไปถึงงาน Animationในยุคนี้ถือเป็นเรื่องปกติ ถ้าให้มองต่อไปในอนาคต การเข้าไปยืนในพืน้ ทีอ่ อกแบบและเห็นภาพเสมือน [Visual Reality] พร้อมๆกับเจ้าของโครงการคงเป็นมาตราฐาน ที่จะเกิดในอีกไม่ไกล

อยากฝากข้อคิดเห็น หรือ ข้อเสนอแนะ อะไรให้สถาปนิก รุน่ ใหม่ ทัง้ กลุม่ ทีเ่ ป็นพนักงานอยูใ่ นออฟฟิศต่างๆ หรือทัง้ กลุ่มที่อยากจะเปิดออฟฟิศเป็นของตัวเอง วงการนีท้ �ำงานสนุกเพราะงานเราไม่ซำ�้ เราถูกสอนให้ตอ้ ง ดึงจุดเด่น ให้คิดให้ต่างให้สร้างสรรค์ เรียนกันมาตั้ง 4-5ปี เมื่อจบมาก็อยากให้ลองท�ำงานในสายอาชีพนี้ก่อน ถ้าไม่ ชอบก็ลองเปลี่ยนลักษณะงาน[Job] แต่อย่าเพิ่งเปลี่ยน อาชีพ[Career] ถามถึงประสบการณ์ที่จะส่งต่อรุ่นน้อง เมื่อจบใหม่การ เข้าOffice เพื่อเรียนรู้ระบบให้ถือเป็น ShortCut ที่จะ พัฒนาตัวเอง ประสบการณ์ที่ส่งต่อจากรุ่นพี่รวดเร็วและ ตรงประเด็น ตั้งเป้าหมายใช้ชัดอย่างน้อย 5 ปีจากนี้ต้อง ได้ Skill อะไรเพิ่มขึ้นและไขว่คว้า ตอนนีท้ กุ ๆวันศุกร์ทมี A+Con เราจะกินข้าวกลางวันด้วย กันและมีการแชร์ประสบการณ์ทั้งเรื่องงานและเรื่องที่ แต่ละคนสนใจ เรามอบหมายโดยวนกันไป บรรยากาศจะ เป็นเหมือนการนั่งคุยกัน หัวเราะกัน พี่ได้สอนน้องจาก ประสบการณ์ น้องทุกคนได้ฝึกการพรีเซ็นต์ บางทีเรื่องที่ น้องเอามาเล่าให้พี่ฟังก็เป็นมุมมองที่ดีจากคนรุ่นใหม่ๆ อีกเรื่องที่ส�ำคัญมากคือพัฒนาเรื่องภาษา เด็กวัยเรียนใน ยุคนี้เรียนกัน 2-3ภาษา คิดดูว่าถ้ารุ่นคุณยังไม่พัฒนาตัว เองทั้งเรื่องเทคโนโลยีและภาษา อีก 10กว่าปีคลื่นลูกนี้ มากวาดเราลงไปอย่างแน่นอน ฝากถึงสถาปนิกที่อยากเปิดออฟฟิตเป็นของตังเอง การ เริม่ ต้นว่ายาก การจัดการให้คงอยูย่ งิ่ ยากกว่า เพราะฉะนัน้ คิดให้ครบ คิดรอบด้าน และลงมือ หากมีหุ้นส่วนแบ่งงาน หน้าที่กันให้ชัดเจน เมื่อรับผิดชอบในส่วนของเราดีแล้วก็ คอยสนับสนุนเพื่อนร่วมงาน ค่อยๆก้าวไปอย่างมั่นคง


โครงการ Kensington Kaset Campus ที่ตั้ง บางเขน กรุงเทพมหานคร ปีที่สร้าง 2018

โครงการ Numpu Plaza ที่ตั้ง อ.มหาชัย จ.สมุทรสาคร ปีที่สร้าง 2016

โครงการ Bangkok Boulevard Chaengwattana 2 ClubHouse ที่ตั้ง แจ้งวัฒนะ จ.นนทบุรี ปีที่สร้าง 2017

โครงการ Sukhothai Residence ที่ตั้ง เขตสาธร กรุงเทพมหานคร ปีที่สร้าง 2016 10


ASA CREW : YOUNG BLOOD พราว พุทธิธรกุล เกิด พ.ศ. 2524

เว็บไซน์เพิ่มเติม

จบการศึกษา จากสถาบันใด (ทั้ง ระดับป.ตรี /โท) และปีที่จบ? ป.ตรี Rhode Island School of Design(B.Arch.& B.Fine Arts) 2005 ป.โท Columbia University (MS. AAD) 2011

นิษฐา ยุวบูรณ์ เกิด พ.ศ. 2522 จบการศึกษา จากสถาบันใด (ทั้ง ระดับป.ตรี /โท) และปีที่จบ? ป.ตรี Rhode Island School of Design(B.Arch.& B.Fine Arts) 2003 ป.โท Columbia University (MS. AUD) 2009 ก่อนที่จะมาเปิดออฟฟิศของตนเอง ทำ�งานที่ใดมาก่อนบ้าง และทำ�มาแล้ว กี่ปี? COSTAS KONDYLIS & PARTNERS LLP ARCHITECTS, New York (20092010) MARPILLERO POLLAK ARCHITECTS, New York (2004-2008) BONETTI KOZERSKI STUDIO, New York (2006-2008) IMREY CULBERT LP, New York (2004)

12

ก่อนที่จะมาเปิดออฟฟิศของตนเอง ทำ�งานที่ใดมาก่อนบ้าง และทำ�มาแล้ว กี่ปี? Robert G. Boughey and Associates, Bangkok (2005-2006) Department of Architecture Co.,Ltd., Bangkok (2006-2010) Skidmore Owings & Merrill LLP (SOM) , New York (2011-2012)

ขอให้ท่านเขียนอธิบาย แนะนำ�ออฟฟิศของท่านเอง ไม่เกิน150 คำ� นิษฐาพราวเป็นออฟฟิศที่ทำ�งานออกแบบตั้งแต่งานวางผัง สถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมภายใน และ นิทรรศการ เราเชื่อในกระบวนการการสร้างสรรค์งานอย่างประณีต ผ่านการทำ�งานร่วมกับผู้ เชี่ยวชาญในด้านอื่นๆ ทั้งศิลปิน วิศวกร นักวิจัย รวมถึง ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ๆ เพื่อ สร้างสรรค์ผลงานออกแบบที่คำ�นึงถึงมิติทาง สังคม สิ่งแวดล้อม และ ประวัติศาสตร์ ช่วยเล่าถึง การก่อตั้ง/ การรวมตัว/ จุดเริ่มต้น ที่มาที่ไปของออฟฟิศ เราสองคนรู้จักกันจากการที่ไปเรียนที่เดียวกันทั้งปริญญาตรีและปริญญาโท แต่ก็ไม่ได้วางแผนที่จะมารวมทีมกันจนกระทั่งต่างคนต่าง แยกย้ายไปทำ�งานกันคนละที่5-7ปีและกลับมาเจอกันที่เมืองไทยและได้ชวนกันทำ�งาน ด้วยกันในปี 2013 แนวคิด/ สิ่งสนใจหลักในการออกแบบ และหลักการทำ�งานของออฟฟิศ หลักการทำ�งานของออฟฟิศคือมีความสุขกับทุกขั้นตอนของการทำ�งาน งานออกแบบที่เราสนใจคืองานที่ดูเรียบแต่แฝงไปด้วยรายละเอียด ไม่ใช่เพียงเพราะเรา เห็นความงามในความเรียบง่าย แต่เพราะงานที่ดูเรียบง่ายมักจะไม่ใช่งานที่ง่าย ความ เรียบง่ายนั้นมักจะต้องผ่านกระบวนการความคิดที่ละเอียดและประณีตเพื่อลดทอน การใช้วัสดุ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วการใช้วัสดุหรือองค์ประกอบของงานออกแบบที่เยอะถูก ทำ�ขึ้นเพื่อปิดบดบังความไม่สมบูรณ์ของงานฝีมือและข้อบกพร่องทางการก่อสร้าง การ ออกแบบให้เรียบง่ายจึงมีความท้าทายที่จะต้องคิดว่าทำ�อย่างไรงานก่อสร้างจะออกมา ได้เรียบร้อยประณีตที่สุด แล้วเราเชื่อว่าเมื่อความซับซ้อนของงานออกแบบถูกจัดการ สร้างสรรค์ให้เรียบง่าย เมื่อนั้นงานจะแสดงคุณค่าที่มีเอกลักษณ์เฉพาะออกมาได้อย่าง สง่างามที่สุด ลักษณะงานที่เน้น/สนใจ หรือประเภทอาคารที่มีความเชี่ยวชาญพิเศษ เราสนใจการทำ�งานทุกขนาดไม่ว่างานเล็กหรืองานใหญ่ และ ไม่จำ�กัดประเภท/ ชนิดอาคาร สำ�หรับเราความท้าทายของงานออกแบบ คือการที่จะต้องนำ�เสนอสิ่งใหม่ๆให้กับลูกค้าตลอดเวลา เราจึงสนใจในงานที่เปิดรับ ความคิดและวิธีที่ต่าง จากการทำ�งานที่ผ่านมา นิยามของ สถาปัตยกรรม คืออะไร หรือ อะไร คือ หัวใจ/คุณค่า ของ สถาปัตยกรรม เราเห็นคุณค่าของสถาปัตยกรรมที่มันสร้างคุณค่าให้กับคนรุ่นหลัง ด้วยความ ที่งานสถาปัตยกรรมนั้นส่วนใหญ่มีอายุค่อนข้างยืนยาว เมื่อเทียบกับชีวิตของเรา และ ยังมีผลกระทบกับสภาพแวดล้อมที่ตั้งของมันไปอีกนาน เราจึงสนใจในความสัมพันธ์ของงานออกแบบกับสิ่งแวดล้อม สนใจในการเปลี่ยนแปลง ของวัสดุเมื่อกาลเวลาผ่านไป ในเชิงประวัติศาสตร์งานสถาปัตยกรรมยังเป็นเสมือน ‘อัตชีวประวัติ’ ที่คนรุ่นหลัง สามารถเรียนรู้ ค้นคว้า และ ต่อยอด องค์ความรู้ต่อไปได้ในอนาคต

13


ออฟฟิศที่เปิดปัจจุบัน เปิดออฟฟิศ เมื่อปีอะไร? 2017 (จดบริษัท) 2013 (FORMED TEAM) ปีแรก/ ช่วงแรกๆ มีพนักงานทั้งหมดกี่คน (รวม ตัวเองและหุ้นส่วนหลักด้วย) ? 2 ปัจจุบันมีพนักงานทั้งหมดกี่คน (รวมตัวเองและหุ้น ส่วนหลักด้วย) ? 9 ลักษณะ อาคาร/สถานที่ออฟฟิศตอนนี้เป็น ลักษณะใด เช่น เช่าพื้นที่อาคาร โฮมออฟฟิศ ที่ ตนเอง? ที่ของตนเอง ปัจจุบัน มีพื้นที่ออฟฟิศ กี่ตร.ม. (โดยประมาณ) ? 100 ตรม

ในการทำ�งานที่ผ่านมา มีโครงการไหน หรือ เรื่อง อะไร ที่ประทับใจ ที่อยากเล่าให้เราฟังบ้าง

ความประทับใจในการทำ�งานของเรามักจะเกิดขึ้นเมื่อเราได้ พบกับผู้ร่วมงานที่เข้ากันได้ดีและช่วยนำ�พาโครงการไปในทางบวก ไม่ว่า จะเป็นลูกค้า ผู้รับเหมา หรือวิศวกร ซึ่งท้ายที่สุดภาพของงานที่สำ�เร็จ อาจจะไม่ได้เป็นอย่างที่คิดไว้ตอนแรกแต่เป็นภาพที่ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม และพึงพอใจ

ความยาก ปัญหา อุปสรรค ต่างๆ ที่เจอในการทำ� ออฟฟิศตนเอง และ แก้ปัญหา หรือผ่านพ้นมันมา ได้อย่างไร

ในหลายๆครั้งกระบวนการคิดงานของเรา มันยากที่จะสื่อ สารให้คนในทีมเข้าใจผ่านคำ�พูดคำ�อธิบาย การสร้างสรรค์งานยัง ต้องเกิด จากการที่เราลงไปผ่านกระบวนการทำ�และลองผิดลองถูก ซึ่งเป็นขั้น ตอนที่ท้าทายและใช้เวลาค่อนข้างมาก แต่ขั้นตอนนี้ก็ทำ�ให้เราได้เรียน รู้เข้าใจและสามารถเรียบเรียงความคิดของตนเองได้ดีขึ้นเพื่อที่จะนำ� ไปถ่ายทอดให้กับคนอื่นในทีม

ต้องเตรียมตัว/ปรับตัว ต่อกระแสความ เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วต่างๆ และความท้าทายใหม่ๆ ในยุคสมัยปัจจุบันอย่างไรบ้าง

เปิดใจรับสิ่งใหม่ๆ หมั่นศึกษาหาความรู้รอบตัวอยู่ตลอดเวลา และกล้าที่จะลองผิดลองถูก

14

มองว่าสถาปนิกรุ่นใหม่ และวงการปฏิบัติ วิชาชีพ เป็นอย่างไรบ้าง มีความแตกต่างกันไหม เมื่อ 5 หรือ 10 ปีก่อนหรือไม่ อย่างไร หรือ มี พัฒนาการ อย่างไร

ในยุคนี้สื่อออนไลน์ และ SOCIAL MEDIA เป็นข้อได้ เปรียบที่ทำ�ให้เด็กสมัยนี้สามารถค้นคว้าหาความรู้และเข้าถึง ข้อมูลต่าง ๆจาก ทุกมุมโลกได้อย่างสะดวกสบายและรวดเร็วมากขึ้น ทำ�ให้คนที่จะ ทำ�FREELANCEก็สามารถทำ�ได้ง่ายขึ้นเพราะไม่ต้องไปเก็บเกี่ยว ข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในออฟฟิศใหญ่ๆถ้ามีความขยันพอที่จะ ขวนขวายเอง แต่เพราะยุคนี้เป็นยุคของการเสพภาพที่สวยงาม คนให้ความสำ�คัญกับภาพสวยมากกว่าแก่นของงาน ซึ่งทำ�ให้คน ให้คุณค่าของงานสถาปัตยกรรมอย่างฉาบฉวยมากขึ้น

อยากฝากข้อคิดเห็น หรือ ข้อเสนอแนะ อะไร ให้สถาปนิกรุ่นใหม่ ทั้งกลุ่มที่เป็นพนักงานอยู่ ในออฟฟิศต่างๆ หรือทั้งกลุ่มที่อยากจะเปิด ออฟฟิศเป็นของตัวเอง

ตั้งแต่เปิดออฟฟิศมา งาน/โครงการต่างๆ ที่ได้สร้าง เสร็จสมบูรณ์ มี่กี่ชิ้น (โดยประมาณ)? 6

โครงการที่ผ่านมา ที่มีขนาดเล็กที่สุด ขนาดกี่ตร.ม.? 15 ตรม

งาน/โครงการต่างๆ ที่ได้สร้างเสร็จสมบูรณ์ แล้วนั้น แยกเป็น ประเภทใดบ้าง? เช่น งานที่พักอาศัย/residential 3 โครงการ, งาน โครงการที่ผ่านมา ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ขนาดกี่ตร.ม.? 3200 ตรม อาคารสาธารณะ/public building 1 โครงการ งานพาณิชย์/ commercial building 1 โครงการ เป็นต้น (แบ่งโดยประมาณได้) กรุณา ใส่จังหวัดต่างๆ ว่างานที่สร้างเสร็จสมบูรณ์แล้วนั้น สร้างที่ residential 3 จังหวัดใดบ้าง (หรือ ต่างประเทศ ถ้ามี)? เช่น กรุงเทพฯ 3 แห่ง / public space (library & exhibition) 2 เชียงใหม่ 2 แห่ง / ภูเก็ต 1 แห่ง / โคราช 1 แห่ง เป็นต้น commercial (café) 1 กรุงเทพฯ 6 งาน/โครงการที่มีอยู่ทั้งหมด ในตอนนี้ มีกี่ชิ้นงาน? ค่าใช้จ่ายรายเดือนของออฟฟิศ (overhead expenses) รวมทุก 6 อย่างแล้ว เฉลี่ยอยู่ที่เท่าไรต่อเดือน? หรือ ใส่เป็นช่วงตัวเลขได้ เช่น 2xx,xxx – 3xx,xxx บาท/ เดือน เป็นต้น (ถ้าเปิดเผยได้ หรือ ยินดีที่จะเปิดเผย แต่ถ้าไม่ได้ ก็ไม่จำ�เป็นต้องตอบก็ได้) 300,000-400,000 บาท

อาชีพสถาปนิกเป็นอาชีพที่ต้องมีมากกว่าใจรักและ ความคิดสร้างสรรค์ แต่ต้องมีความอดทนและความใจเย็นเป็น อย่างสูง เพราะ กระบวนการตั้งแต่เริ่มออกแบบไปจนจบสิ้นสุดการก่อสร้างอาจใช้ เวลาเป็นปีหรือหลายปีเลยก็ได้ ซึ่งถ้าเราหมั่นหาแรงบันดาลใจจากสิ่งรอบตัวและมีความสุขกับ งานที่ทำ�ไม่ว่าจะงานเล็กหรืองานใหญ่ เราก็จะสามารถอยู่ในสาย งานนี้ได้อย่างมีความสุข

15


Simplicity is the ultimate sophistication. “ความเรียบง่าย เป็นสิ่งที่ซับซ้อนที่สุด”

รับชม YouTube ได้ที่นี่เลย

16


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.