เห่เรือ

Page 1

ศิลปะการเหเรือ เหเรือ คือ ทํานองหนึ่งของการรองหรือ ออกเสียงประกอบการใหจังหวะแกฝพายในการพายเรือ ซึ่ง เปนองคประกอบที่สําคัญยิ่ง ในการพายเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค ชวยผอนแรงในการ พายเรือระยะทางไกลๆ ไดอีกดวย วัตถุประสงคของการเหเรือ การเหเรือในปจจุบันมีวัตถุประสงคที่เห็นไดอยางเดนชัดก็คือ การใหจังหวะแกฝพายจํานวนมากในการ พายเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราทาง ชลมารคใหพรอม- เพรียงเปนระเบียบเรียบรอย สงางาม และ เปน การอนุรักษฟนฟูมรดกศิลปวัฒนธรรม ของชาติที่เกี่ยวกับพระราชประเพณีดั้งเดิมในการใชกระบวนพยุหยาตรา ทางชลมารค เพื่อประกอบพระราชกรณียกิจของพระมหา-กษัตริยไทยใหคงอยูสืบไป การเหเรือของคนไทยแตโบราณนาจะไมไดมีสวนสัมพันธเกี่ยวของกับพิธีกรรม หรือศาสนาแตประการ ใด หากแตเปนไป เพื่อความสนุกสนานเพลิดเพลิน หรือปลุกเราฝพายใหมีกําลังฮึกเหิม ไมเหน็ดเหนื่อยงาย อัน จะสงผลใหเกิดพลังและกําลังใจในการ ยกกระบวนพยุหยาตราเพื่อออกไปทําการ รณรงคสงครามปองกันพระ ราชอาณาเขต ดังปรากฏหลักฐานในลิลิตยวนพาย ความวา นอกจากนั้น ยังปรากฏหลักฐานวามีการเหเรือในกระบวนทางชลมารค เพื่อความสําราญสวนพระองค ของเชื้อพระวงศ ตั้งแตชั้นเจาฟาขึ้นไป ดังบทเหเรือที่เจาฟาธรรมธิเบศรทรงพระนิพนธขึ้นสําหรับเหเรือพระที่นั่ง ของพระองค เมื่อตามเสด็จไปยังพระพุทธบาท สระบุรี บทเหเรือบรรยายการโดยเสด็จออกจากกรุงศรีอยุธยาใน ตอนเชาถึงทาเจาสนุกใน ตอนเย็นพอดี


ประวัติความเปนมาของการเหเรือ ตนกําเนิดของการเหเรือนาจะมีที่มาไดเปน ๒ ทาง ดังที่ปราชญโบราณไดกลาวไวดังนี้ คือ ๑. เปนกิจกรรมที่คนไทยคิดขึ้นเอง และนาจะมีควบคูมากับการใชเรือยาวเปนพาหนะ เมื่อตองใช กําลังคนจํานวนมากในการออกแรงพายเรือ จึงตองมีจังหวะสัญญาณเพื่อใหฝพายพายไปพรอมๆ กัน จะไดแรง สงที่มากขึ้นดวย สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานไวในนิทานโบราณคดี นิทานที่ ๖ เรื่อง ขานยาว ความวา “...แตเหเรือเปนประเพณีของไทย มิใชไดมาจากอินเดีย แตมีมาเกาแกมากเหมือนกัน ขอนี้พึงเห็นไดในบทชาละวะเห เปนภาษาไทยเกามาก คงมีบทเหอื่นที่เกาปานนั้นอีก แตคนชั้นหลังมาชอบใชบท เหเรือของเจาฟาธรรมธิเบศร... บทเกาก็เลยสูญไป เหลือแต ชาละวะเห...” ๒. เปนกิจกรรมที่ไทยไดรับอิทธิพลมาจากอินเดีย เนื่องจากมีคําศัพทหลายคําในพิธีการเหเรือที่เปนคํา ภาษาอื่น สมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานไวในอธิบายตํานานเหเรือ ความวา “เวลาพายเรือขามแมน้ําคงคา มีตน บทคนหนึ่งชักบทเปนภาษาสันสกฤตขึ้นดวยคําวา “โอมรามะ” แลว

วาอะไรตอไปอีกแตขาพเจาไมเขาใจ พอหมดบท ฝพายทั้งลําก็รับเสียงดัง “เยอว” พรอมกัน...ไดความดังนี้ จึง สันนิษฐานวา เหเรือหลวงนั้นเห็นจะเปนมนตรในตําราไสยศาสตร ซึ่งพวกพราหมณพาเขามาแตดึกดําบรรพ เดิม ก็คงจะเหเปนภาษาสันสกฤต แตนานมาก็เลือนไปจึงกลายเปน “เหยอวเยอว” อยางทุกวันนี้ แตยังเรียกในตําราวา “สวะเห” “ชาละวะเห” และ “มูลเห” พอไดเคาวามาแตอินเดีย” นอกจากนั้นแลว ประยูร พิศนาคะ (ป. อังศุละโยธิน) ก็ไดสันนิษฐานไวในทํานองเดียวกันวา ชาติไทย คงไดรับแบบแผนการ เหเรือมาจากอินเดีย โดยพวกพราหมณนําเขามาสูประเทศไทยเมื่อครั้งโบราณ ดังนั้น ขอ สันนิษฐานเรื่องที่มาของการเหเรือจึงอาจ เปนไดทั้ง ๒ ทาง กลาวคือ ถาเปนการพาย เรือเลนก็เปนวัฒนธรรม ดั้งเดิมของคนไทย หากเปนการพายเรือหลวงก็อาจใชรูปแบบและพิธีกรรมมาจากอินเดียก็ได อยางไรก็ตาม เมื่อ ศึกษาตอไปใหลึกซึ้ง ประเพณีการเหเรือของไทยแสดงความเกาแกสืบทอดมายาวนาน จนแสดงความเปนไทยได อยางแจมชัด และสะทอนภาพวิถีชีวิตของคนไทยที่ผูกพันกับสายน้ํา มีการติดตอสัญจรทางน้ํา และสรางความ บันเทิงในขณะประกอบกิจกรรมทางน้ําเพื่อความพรอมเพรียงและผอน คลายไปในเวลาเดียวกัน จนพัฒนา กลายเปนพิธีกรรมที่ขรึมขลังในปจจุบัน

ที่มา : กาพยเหเรือ อจท. / สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนฯ เลมที่ 30


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.