วิหารวัดศรีบุญยืน
วิหาร
เมืองเงิน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
วัดศรีบุญยืน
ณรงค์ศักดิ์ ทองทาณี
ณรงค์ศักดิ์ ทองทาณี
ภาพจาก : facebook/LueLuang MuangNguen
ชาวไทลื้อในเมืองเงิน ชาวไทลื้ อ เป็ น ชาติ พั น ธุ์ ที่ พู ด ภาษาตระกู ล ไทมี ถิ่ น ฐานอยู่ ใ นเขต สิบสองพันนาประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ชาวจีนเรียก ชาวไทลื้อว่า “หลี่” หรือ “สุยไปอี่” และเรียกเมืองเชียงรุ่ง เมืองหลวงของไทลื้อว่า “เชอหลี่” ชาว ไทลื้อนิยมตั้งบ้านเรือนอยู่ตามที่ราบลุ่มแม่น้ำ�และที่ราบระหว่างหุบเขา โดยมี “แม่น้ำ�ของ” หรือแม่น้ำ�โขงเป็นแม่น้ำ�สายสำ�คัญ รวมถึงแม่น้ำ�สายย่อยที่ไหล
1
ผ่านเมืองต่างๆ การที่มีแม่น้ำ�โขงไหลผ่านทำ�ให้รัฐสิบสองพันนาแบ่งออกเป็น สองฝั่ง คืออยู่ทางฝั่งตะวันตกหกพันนาและอยู่ทางตะวันออกอีกหกพันนา มี ความเป็นไปได้ว่าชาวไทลื้อจะเป็นกลุ่มไทกลุ่มแรกที่กำ�เนิดขึ้นในจีนตอนใต้ และได้อพยพไปตั้งถิ่นฐานตามแหล่งต่างๆ
บรรพบุรุษของชาวเมืองเงินมีต้นกำ�เนิดมาจากหลายแห่ง อาทิ เมือง ยอง เมืองหลวงน้ำ�ทา เป็นต้น โดยที่มีประวัติศาสตร์ดังนี้ เนื่องจากเมืองหลวง น้ำ�ทาเกิดน้ำ�ท่วมบ่อยมาก และสมัยนั้น ผู้ปกครองเมืองได้ไปทอดพระเนตร ความเดือดร้อนของประชาชนแต่เกิดเรือล่ม ทำ�ให้เจ้าผูค้ รองเมืองเสียชีวติ เมือง หลวงน้ำ�ทาจึงขาดเจ้าปกครอง และได้ไปเชิญเจ้าหม่อมหลวงจากเชียงรุ่งมา ปกครอง จากนั้นเจ้าหม่อมน้อย ผู้เป็นหลานได้ ยกทับไปตีเมืองหลวงน้�ำ ทาทำ�ให้เจ้าหม่อมหลวง อพยพลี้ภัยไปอยู่ที่เมืองน่าน
2
จากนั้น 3 ปี เจ้าหม่อม หลวงจึ ง ขอเจ้ า ชี วิ ต น่ า นไปก่ อ ตั้ ง เมื อ งชื่ อ ว่ า เมื อ งเงิ น หรื อ เมืองกุฏสาวดี เมื่อได้รับอนุญาต แล้วเจ้าหม่อมหลวงก็ได้นำ� เสมา อำ�มาตย์ ขุนนาง ไพร่ฟา้ ราษฎรไป ตั้งถิ่นฐานในเมืองเงินในปัจจุบัน เจ้าหม่อมหลวงได้ปกครองเมือง เงิ น หรื อ เมื อ งกุ ส าวดี ด้ ว ยหลั ก พุ ท ธศาสนา ถื อ สั จ ธรรมและ คุณธรรมเป็นพืน้ ฐานในการอบรม สั่ ง สอนไพร่ ฟ้ า ราษฎรชาวเมื อ ง ทำ�ให้บ้านเมืองมีความสงบสุข นอกจากนั้นยังมีการส่งเสริมการทำ�พิธีกรรรม ต่างๆ ในแต่ละเดือนของชาวไทลื้อที่เรียกว่า “ฮีตคองสิบสองเดือน คองสิบสี่ ฮีตยี่ครองเจียง”
เมื่ อ มี ก ารจั ด ระเบี ย บการปกครอง เมืองได้ 4 ปีแล้ว เจ้าหม่อมหลวงก็ปรึกษา หารือกับเสนาอำ�มาตย์เพื่อสร้างวัดวาอาราม จึงได้นิมนต์ครูบาคาแสน ที่เป็นเจ้าอาวาส ของวัดบ้านนางัว มาเป็นผู้ออกแบบก่อสร้าง วัดใหม่ เมื่อได้ก่อสร้างเสร็จสิ้นแล้วอีก 2 ปี ต่อมาก็จัดพิธีเฉลิมฉลอง และตั้งชื่อวัดแห่งนี้ ว่า วัดรวม หรือวัดหลวง 3
จากนั้นได้นิมนต์ครูบาคำ�แสนมาเป็นเจ้าอาวาส หลังจากครูบาคาแสน มรณภาพแล้ว ไพร่ฟา้ ราษฎรได้กอ่ สร้างพระธาตุเพือ่ บรรจุอฐั ขิ องครูบาคำ�แสนไว้ โดยตัง้ ชือ่ ว่าพระธาตุศรีบญ ุ ยืน ตัง้ แต่นนั้ มา วัดแห่งนีจ้ งึ ถูกเรียกว่า วัดศรีบญ ุ ยืน จนถึงปัจจุบัน
วัดนี้เป็นวัดที่เก่าแก่หากจะดูจากหลักฐานที่มีการบันทึกไว้ จะมีอายุ ราว 200 กว่าปี เป็นวัดทีถ่ กู สร้างขึน้ ในชุมชนเป็นชาวไทลือ้ ทีอ่ พยพมาจากแขวง หลวงน้�ำ ทา รวมไปถึงทีต่ า่ งๆ รูปแบบลักษณะของวิหารทีว่ ดั คล้ายกับวิหารของ ทางล้านนาและล้านช้างมาก คือมีหลังคาที่ลาดต่ำ� มีผังพื้นที่แท่นแก้วจะติดอยู่ กับผนังด้านหลัง ซึ่งต่างจากวิหารไทลื้อที่แท่นแก้วจะอยู่ก่อนห้องสุดท้ายของ วิหาร แต่ทว่ามีการตกแต่งด้วยศิลปกรรมแบบไทลื้อเช่น เครื่องสูง เป็นต้น เกิด การผสมผสานกันมากในพืน้ ทีแ่ ห่งนี้ แต่อย่างไรก็ตามการนับถือศาสนาพุทธส่ง ผลให้คนมีความเชื่อร่วมกัน ก่อกำ�เนิดการสร้างรูปแบบทางสถาปัตยกรรมที่มี ความผสมผสานภายใต้ความเชื่อเดียวกัน และบริเวณผนังด้ายขวามือหลังพระ ประธานภายในวิหารยังมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรภาษาลาว มีความว่า ดังนี้ 4
“วัดสีบุนยืนนี้ดี ยู่แล้วสะบายดีหมั้นยืน วิหานหลังนี้ ได้บูละนะคืนใหม่ ด 1 ปี 1992 พะพุดทะรูบ ได้สร้างขึ้น ปี 1944 ได้บูละนะคืนใหม่ ที่ 21 ด. 4 คศ. 1998 ด. 6 ร. 1 ค่ำ� วันพุด พส. 2541 ปะติรูปคืนใหม่ สำ�เล็ด ด. 7 เพ็ง”
วิหารของวัดศรีบุญยืนนี้ได้รับการบูรณะครั้งใหญ่ ในปีพ.ศ. 2535 โดย ได้มกี ารเปลีย่ นโครงสร้างของวิหารใหม่ทงั้ หมด และพระพุทธรูปในวิหารได้สร้าง ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2487 และได้ทำ�การบูรณะอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2541 โดยพระบัว จากวัดบ้านถ้ำ� เมืองเชียงฮ่อน 5
ตัววิหารมีลักษณะผสมผสานรูปแบบทางสถาปัตยกรรมร่วม
กันกับวิหารของทางล้านนาและล้านช้างและวิหารไทลื้อ ผั งพื้ น มี ลั ก ษณะเป็ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ้ า ตามแกนความ ยาวของตัวอาคารหันทางทิศตะวัน ออก – ตะวันตก บริเวณที่ตั้งของ แท่ น แก้ ว อยู่ ติ ด กั บ ผนั ง ด้ า นหลั ง สุดซึ่งมีความเหมือนในวิหารแบบ ล้านนาและสิมของหลวงพระบาง และจะแตกต่ า งกั บ ในวิ ห ารของ ไทลื้อแท่นแก้วจะสามารถเดินโดย รอบได้ แ ละนอกจากนี้ ผั ง พื้ น ของ วิหารนีม้ รี ปู แบบมุขด้านหน้าปรากฏ อยู่ซึ่งจะมีอยู่ในวิหารแบบล้านนาและสิมของล้านช้าง แต่จะไม่เป็นที่นิยมใน วิหารของไทลื้อ พื้นอาคารจะยกขึ้นสูงจากพื้นดินประมาณ 1 เมตร สร้างทาง ขึน้ รอบตัววิหารไว้หลายทีต่ ามแบบนิยมของชาวไทลือ้ ไม่สร้างหน้าต่างตามแบบ ของวิหารไทลือ้ ซึง่ ต่างจากของวิหารล้านนาและล้านช้างทีจ่ ะนิยมสร้างหน้าต่าง เพื่อระบายอากาศ
6
หลั ง คา ที่มุงด้วยกระเบื้อง ไม้ มี ค วามโค้ ง และอ่ อ นช้ อ ยลาดต่ำ � ลงมาคล้ า ยกั บ หลั ง คาของวิ ห ารวั ด เชียงทองในหลวงพระบาง มีลกั ษณะเป็น ปีกนกสองข้างเท่ากัน ซ้อนชั้นกันขึ้นไป ตับหลังคาขั้นสุดท้ายลาดต่ำ�ลงมาทำ�ให้ ตัวอาคารดูมีความเตี้ยแจ้มาก ต่างกับ หลังคาของวิหารไทลื้อคือจะมีลักษณะ หลังคา 2 ชั้น ชั้นบนจะเป็นหลังคาทรง จัว่ หรือบางครัง้ เป็นทรงปัน้ หยาขนาดเล็ก ยาวตลอดแนว ความยาวของอาคาร ส่วนชั้นล่างจะทำ�เป็นหลังคาปีกนกแบบ คลุมรอบตัวอาคารทัง้ สีด่ า้ น โครงสร้างรับน้�ำ หนักหลังคาของวิหารวัดศรีบญ ุ ยืนนี้ เป็นโครงสร้างแบบม้าต่างไหม หลังคาชัน้ นอกสุดคลุมบริเวณบันไดทางเข้าวิหาร ด้านเหนือและใต้ลักษณะแบบวิหารไทลื้อ
7
ภายในวิหารมีรปู แบบการตกแต่งศิลปกรรมทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ ที่บรรพบุรุษได้ถ่ายทอดเอาไว้ให้กับคนรุ่นหลัง ตัววิหารของวัดศรีบุญยืนนี้มี การประดับตกแต่งด้วยศิลปกรรมที่งดงาม เกิดจากฝีมือของช่างในท้องถิ่นได้ เรียนรู้ จดจำ�ศึกษา คิดค้น นำ�ไปสู่การออกแบบตามความเชื่อและความศรัทธา และได้ทำ�การรังสรรค์ขึ้นมาเป็นศิลปกรรมตกแต่งตัววิหารของวัดศรีบุญยืน นำ� ไปสู่ความงามตามคติความเชื่อของชาวชุมชน
8
1. แท่นแก้ว แท่นแก้ว หรือ ฐานชุกชี เป็นการสร้าง ด้วยการก่ออิฐถือปูน แบ่งเป็นสองช่วง ตามระยะเวลาในการสร้าง คือ อันเดิม สร้างพร้อมกับการสร้างวิหาร และอัน ใหม่สร้างขึ้นต่อเติมครั้งภายหลังครั้งเมื่อ มีการบูรณะวิหารเป็นการก่ออิฐถือปูน ธรรมดาไม่มีการประดับตกแต่งแต่อย่าง ใด ส่วนอันเดิมประดับตกแต่งด้วยเทคนิค ปู น ปั้ น ลวดลายพฤกษาและสั ต ว์ ต่ า ง ประดับกระจก สีพื้นของแท่นแก้วจะมี สีแดง และลวดลายปูนปั้นจะมีสีเหลือง ขนาดของแท่นแก้วที่วัดศรีบุญยืนแห่งนี้ มีความกว้างรวมทั้งหมด 3.5 เมตร ยาว 2.5 เมตรและสูงจากพื้น 1.85 เมตร แท่นแก้ว ตั้งอยู่ในห้องสุดท้าย ของวิ ห าร ลั ก ษะเป็ น รู ป สี เ หลี่ ย มผื น ผ้า ประดับด้วยงานปูนปั้นลายดอกไม้ นานาพันธุ์ ที่จะประดับอยู่ในแต่ละช่วง แถวของแท่นแก้ว ลักษณะเด่นที่ปรากฏ อยู่ที่แท่นแก้ววิหารวัดศรีบุญยืนนี้คือ จะ มีการแลกใช้แผ่นกระจกอย่างมากมาย ซึง่ ถือว่าเป็นวัสดุทมี่ คี วามทันสมัยในสมัย หนึง่ ทัง้ แผ่นเล็กและใหญ่คละกันไป การ ประดับกระจกและมีกรอบปูนปั้นติดไว้ นิยมกันมากในแท่นแก้วแบบไทลื้อ 9
10
2. รูปปั้ นสิงห์ ปูนปั้นรูปสิงห์ อยู่บริเวณบันไดทางขึ้นวิหาร สร้างขึ้นพร้อมกับการสร้างวิหาร ในครั้งแรก มีจำ�นวน 2 ตัว ลักษณะอวบอ้วน รูปปูนปั้นสิงห์อยู่ตรงบริเวณทาง เข้าวิหารด้านหน้าทางทิศตะวันออก ลักษณะเป็นประติมากรรมรูปสิงห์สีขาว และทาสีด้วยสีน้ามันสีสันที่สดใสรูปปั้นสิงห์บ่งบอกถึงศิลปกรรมตกแต่งวิหาร ของชาวไทลื้อและล้านนาเป็นอย่างดี แต่หากเป็นรูปแบบของสิมแบบล้านช้าง จะนิยมใช้นาคแทนหรือทาซุ้มประตูปูนปั้นในหารตกแต่งบริเวณหน้าประตูทาง เข้าวิหารด้านหน้า 11
3. พระพุ ทธรูปประธาน ตั้งอยู่บนแท่นแก้วในห้องสุดท้ายของวิหาร ลักษณะประทับนั่งปางมารวิชัย เป็นงานฝีมือแบบช่างพื้นบ้านชาวไทลื้อเทคนิคปูนปั้น มีพระพักตร์คล้ายเด็ก ความสูงโดยประมาณจากแท่นแก้ว 3.5 เมตร
พระประธานเป็นพระพุทธรูปปูนปั้นโดยช่างฝีมือแบบศิลปะพื้นบ้าน มี ลักษณะประทับนั่งปางมารวิชัย ลักษณะเช่นเดียวกันกับพระประธานในวิหาร รูปแบบต่างๆ แต่ที่เป็นเอกลักษณ์ของสกุลช่างไทลื้อนั่นก็คือนิยมปั้นหน้าพระ พักตร์ของพระประธานให้มีความอ่อนเยาว์ คล้ายกับใบหน้าของสามเณรในวัด 12
13
4.จิตรกรรมบนบานประตู ตำ�แหน่งที่ตั้งของบานประตูมีอยู่ที่ทางเข้าหลักทางทิศตะวันออก และทางด้าน ซ้ายและขวาของตัววิหาร สร้างโดยการทำ�กรอบประตูและนำ�ไม้แผ่นเรียบไป ติด ตกแต่งด้วยภาพเขียนสีนา้ มันด้วยลวดลายเครือพฤกษาและลวดลายเทวดา พนมมือ
14
15
เครื่องหลังคา บนชั้นหลังคาของตัววิหารของวัด ช่างในชุมชนได้ รังสรรค์งานศิลปกรรมเพื่อที่เอาไว้ตกแต่งในส่วนของหลังคาไว้ได้อย่างงดงาม และแผงไปด้วยความเชือ่ ในท้องถิน่ ประกอบด้วยไม้แกะสลักเป็นรูปแบบทีแ่ ตก ต่างกันไปในแต่ละจุดของชั้นหลังคา
16
1.ช่อฟ้า (ปราสาทเฟื้ อง) จะมีตำ�แหน่งอยู่ตรงกลางของสันหลังคาผืนที่สูงที่สุด สร้างด้วยไม้แกะสลัก ที่สันหลังคาของวัดศรีบุญยืนนี้จะมีอยู่เป็นองค์ประกอบของช่อฟ้าอยู่ด้วยกัน 3 ชิ้น ช่อฟ้า หรือปราสาทเฟื้อง จะอยู่ตรงกลางของสันชั้นหลังคาชั้นที่สูงที่สุด จะพบรูปแบบนี้โดยทั่วไปในวิหารล้านนา สิมหลวงพระบาง และวิหารของ ชาวไทลื้อ ในส่วนของช่อฟ้าของวิหารวัดรีบุญยืนนั้นประกอบด้วยการฉลุแผ่น ไม้เรียบจานวนสามชิ้นแบบง่ายๆ ขนาดลดหลั่นกัน มีความหมายถึงปราสาท ไพชยนต์ที่ประทับของพระอินทร์
17
2.วันแลน ่ (เมฆตั้ง) ลวดลายบนสันหลังคา ทำ�เป็นรูปดอก แกะสลักด้วยไม่แผ่นเรียงติดต่อกันไป ตลอดแนวของสันหลังคา วันแล่น หรือเมฆไหล อยู่ในส่วนของสันหลังคาบน สุดของวิหารวัดศรีบุญยืน แกะสลักจากแผ่นไม้เป็นรูปใบไม้ม้วน คาดว่าน่าจะ เป็นความนิยมของช่างไทลื้อที่จะนำ�เมฆามาใส่บนสันหลังคาเหมือนสันหลังคา ของวิหารไทลื้อในสิบสองพันนา
18
3.โหง ่ (ช่อฟ้า) ทำ�ด้วยไม้ แกะสลักเป็นรูปพญานาค ตำ�แหน่งจะอยู่เหนือหน้าจั่วของหลังคา โหง่ หรือช่อฟ้าลักษณะคือมีการแกะไม้เป็นรูปพญานาค ซึ่งรูปนาคในช่อฟ้า และนี่ จ ะเป็ น ที่ นิ ย มในกลุ่ ม ของการประดั บ ตกแต่ ง วิ ห ารแบบล้ า นนาและ ล้านช้าง ซึ่งหากเป็นแบบไทลื้อจะมีลักษณะของช่อฟ้าเป็นรูปนกหัสดิลิง โหง่ ที่วัดศรีบุญยืนแห่งนี้ช่างพื้นบ้านได้แกะสลักเป็นรูปพญานาคและทาด้วยสีสันที่ สดใส
19
4.คันดก (หางหงส)์ เป็นเครื่องไม้ที่อยู่ปลายของป้านลม แกะสลักเป็นรูปพญานาค หางหงส์ ถูก สร้างสรรค์โดยการเซาะร่องลงบนแผ่นไม้กระดานที่เรียบให้เป็นรูปพญานาค ทาด้วยสีน้ามัน ส่วนของป้านลมที่ติดกันกับหางหงส์มีความโค้งและอ่อนช้อย ดังเช่นป้านลมของวิหารล้านนาและสิมหลวงพระบาง
20
5.ลายสรอยสา (แป้นน้ำ�ย้อย) ้ ทำ�ด้วยไม้ ติดอยู่ในส่วนท้ายของเชิงชายในส่วนของชั้นหลังคาที่ 2 เทคนิคการ ตัดไม้เป็นรูปคล้ายกับหยดน้ำ�เรียงติดต่อกันไปตลอดแนวของเชิงชายของชั้น หลังคาที่สอง แป้นน้ำ�ย้อย ลวดลายฉลุบนแผ่นไม้ทำ�เป็นรูปคล้ายกับหยดน้ำ� หยดลงมา เรียกลายชนิดนี้ว่าลายน้ำ�หยาด นำ�มาเรียงติดต่อกันตลอดแนวของ เชิงชายของชั้นหลังคาชั้นที่สอง
21
นอกจากนี้ยงั มีศลิ ปกรรมประดับและตกแต่งส่วนอืน่ ๆ ของวิหาร ใน ทีน่ หี้ มายถึงสิง่ ทีส่ ร้างขึน้ มานอกเหนือจากโครงสร้างของตัวอาคาร เป็นเครือ่ งที่ ใช้ประกอบศาสนพิธีหรือตามความเชื่อของชาวชุมชน
22
1. เครื่องสูง เครื่องสูงที่อยู่ในวิหารวัดศรีบุญยืน นี้ ถู ก สร้ า งขึ้ น ภายหลั ง การสร้ า ง วิหาร เพือ่ ทำ�หน้าทีเ่ ป็นเครือ่ งเทียม พระเกี ย รติ ย ศของพระพุ ท ธเจ้ า ตามความเชื่ อ ของชาวไทลื้ อ ที่ ว่ า พระพุ ท ธเจ้ า ทรงอยู่ ใ นวรรณะ กษั ต ริ ย์ ม าก่ อ นตำ � แหน่ ง ที่ ตั้ ง ของ เครื่องสูงที่วิหารวัดศรีบุญยืนนี้ จะ อยู่ภายในบริเวณวิหาร ขนาบสอง ข้างของพระประธานโดยจะมีไม้ที่ ทาเป็นทีเ่ สียบมีลกั ษณะเป็นช่องอยู่ ระหว่างเสาห้องสุดท้ายของวิหารไป ตามแนวทิศตะวันออก – ตะวันตก เครื่องสูงนี้ทั้งสองด้านจะประกอบ ด้วยเครื่องสูงจานวน 7 ชั้น อัน ได้แก่ พัดค้าว แส้ ฉัตร หอก บังวัน ไม้วา และหอก เป็นการสร้าง ชิ้นงานด้วยเทคนิคการแกะสลักไม้ เครื่ อ งสู ง ที่ อ ยู่ ข นาบสองข้ า งของ พระประธานถือเป็นเอกลักษณ์ที่ สำ�คัญมากที่สามารถบ่งบอกความ เป็ น ชาติ พั น ธุ์ ไ ทลื้ อ ได้ เ ป็ น อย่ า ง ดี ที่จะนิยมตกแต่งกันมากในหมู่ของวิหารของชาวไทลื้อ ตามความเชื่อที่ว่า พระพุทธเจ้าทรงมีวรรณะเป็นกษัตริย์มาก่อนจึงต้องมีเครื่องไว้เพื่อเทียมพระ เกียรติ 23
24
2. ธรรมาสน์ ลักษณะของธรรมาสน์ที่อยู่ในวิหารวัดศรีบุญยืนนี้มีลักษณะคล้ายกับธรรมาสน์ ของทางล้านนา คือมีลักษณะเป็นทรงฐานเป็นสี่เหลี่ยมด้านเท่า มีทางขึ้นทาง เดียว อีกสามด้านปิด เทคนิคการประดับตกแต่งคือการฉลุกระดาษปิดคำ� ใช้ ประโยชน์ในการเป็นที่สาหรับนั่งในการเทศน์ในเทศการที่สำ�คัญเช่น การเทศน์ ในงานตานข้าวร้อยโกะ เป็นต้น เป็นธรรมาสน์ที่สร้างด้วยไม้ ลักษณะรูปทรง คล้ายกับธรรมาสน์ของทางล้านนามาก มีการซ้อนชั้นขึ้นไปของเรือนธาตุขึ้นไป ข้างบน ลักษณะฐานเป็นสี่เหลี่ยมด้านเท่า มีทางขึ้นทางเดียว อีกสามด้านปิด เทคนิคการประดับตกแต่งคือการฉลุกระดาษปิดคำ�
25
26
วิหารของวัดศรีบุญยืนแห่งนี้ รูปแบบทางสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม ตกแต่ง จะได้รับอิทธิพลมาจากแหล่งต่างๆ ส่วนของหลังคาที่ลาดต่ำ�ได้รับ รูปแบบมาจากวัดเชียงทอง เมืองหลวงพระบาง การวางผังพื้นแกนของตัว วิหารหันหน้าไปทางทิศตะวันออก-ตะวันตก เป็นรูปแบบแนวความคิดร่วมกัน ของผู้คนที่นับถือพุทธศาสนาในแถบนี้ และในส่วนของศิลปกรรมตกแต่งเป็น รูปแบบศิลปกรรมแบบไทลือ้ อย่างแท้จริง เป็นงานศิลปกรรมแบบพืน้ บ้านดัง้ เดิม แบบกลุ่มสกุลช่างไทลื้อที่สืบทอดต่อกันมา เช่น งานปูนปั้นประดับแท่นแก้ว เครื่องสูง เป็นต้น วิหารของวัดศรีบุญยืนจึงมีรูปแบบของการผสมผสานกันของ ศิลปะจากแหล่งต่างๆ สร้างสรรค์จนลงตัวและสวยงามกลายเป็นรูปแบบของ วิหารที่กลายเป็นเอกลักษณ์ลักษณะเฉพาะตัวในพื้นที่เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ปัจจุบันวิหารที่วัดศรีบุญยืนนี้ค่อนข้างที่จะมีความทรุดโทรมเนื่องจาก ขาดทุนทรัพย์ในการบูรณะ จะเป็นเพียงการซ่อมแซมในจุดที่ผุพังเป็นจุดๆ เท่านั้น แต่เมื่อหากมีการบูรณะ ควรจะได้รับการซ่อมแซมบูรณะด้วยวิธีการที่ ถูกต้องตามหลักการอนุรกั ษ์ดว้ ย ซึง่ ถ้าหากบูรณะอย่างไม่ถกู วิธหี รือรือ้ แล้วสร้าง ใหม่ตามที่ชาวบ้านและพระสงฆ์ที่รู้เท่าไม่ถึงการณ์ที่นิยมทำ�กันแล้ว ก็จะทำ�ให้ ความงามทางด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมของวัดศรีบุญยืนแห่งนี้สูญเสีย ไปอย่างน่าเสียดาย และไม่หลงเหลือมรดกความเป็นไทลื้ออันน่าภาคภูมิใจให้ ไว้กับคนรุ่นหลังได้ไว้ศึกษาความเป็นอัตลักษณ์ของชาวไทลื้อไว้ได้เลย
27
ศิลปกรรมวัดศรีบุญยืน เมืองเงิน สปป.ลาว ณรงค์ศักดิ์ ทองทาณี ภาพและเนื้อเรื่อง © 2016 (พ.ศ. 2559) โดย ณรงค์ศักดิ์ ทองทาณี สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ พิมพ์ครั้งแรก เดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 จัดพิมพ์โดย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ออกแบบและจัดรูปเล่มโดย ณรงค์ศักดิ์ ทองทาณี ออกแบบโดยใช้ฟอนต์ TF Chiangsaen และ BoonHome 16pt. หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานทางวิชาการ จัดทำ�ขึ้นเพื่อส่งเสริมและต่อยอดศักยภาพ การศึกษาภายในภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
28
“วิหารวัดศรีบญ ุ ยืน มีการผสมผสานของรูปแบบทางสถาปัตยกรรม และศิลปกรรมทัง้ แบบไทลือ้ ล้านนา และแบบล้านช้างทีง่ ดงามลงตัว ตาม รูปแบบที่แสดงออกผ่านการรังสรรค์ฝีมือแห่งช่างพื้นถิ่นเมืองเงินได้เป็น อย่างดี นับเป็นวัดทีค่ วรให้คณ ุ ค่าแก่การอนุรกั ษ์ให้คงอยูส่ บื ไปคูก่ บั เมือง เงินเป็นอย่างยิ่ง”
เมืองเงิน สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว