ARCH NATCHAPOL T.

Page 1

PORTFOLIO NATCHAPOL TUATRAIPOP 2012-2017


ABOUT ME My name is Natchapol Tuatraipop. You can call me Golf. Let’s me tell something about me. So we can get to know each other. after several years of architectural education, I found that architecture has always allowed me to combine my interests and the strongest aspects pf my personality, and enthusiasm in art and design, and a manner of precise solution for practical problem. I was fascinated with art and design when i was kid, and i have always been comfortable when i am being creative. Meanwhhile, my characters of sovling problems with calm and sense were also the features I would like to keep in the future career. Since architecture is a perfect combination of these, I started my study of architecture base on a strong interest and motivation, Which is absolutely a fortunate chance for me. After graduating from B.ARCH KMITL and working in practice for a few mouths, I am still keeping the firm faith of dedocating my carreer to architecture. However, through the process working, I realised the current knowledge that I mastered is insufficient to deal with sine architectural problems, I need more systematic education to enhance my skills and extent my scope of architecture. Because of the renowned teaching quality and strong staff team,Your company is udoubtredly an ideal approach for me to pursue my idea of being an architect. my respect for your company is immense, and I will be very delighted to be a part of it. Studying in a top of architect company will be a memorable experience of my life. I appreciate the time taken to read this and I am looking forward a satisfying result.


PERSONAL DETAIL

EDUCATION

Natchapol Tuatraipop /Golf 17th January 1994 Hometown is Phuket

2007-2011 Secondary Demonstration School of Bansomdejchaopraya Rajabhat University 2012-2017 Bachelor of Architecture King Mongkut’s Institude of Technology Ladkrabang

516 The Sense Sukhumvit 68, Bangna, Bangna, Bangkok 10260 CONTRACT +66(0)873517048 natchapon142@gmail.com SOCIAL MEDIA natchapol tuatraipop natchapol tuatraipop betterbetter betterbetter

EXPERIENCE 2014 2015 2017

Trainee at Beaumont + Partnership ,Thailand Art Director of “ART MOR“ (Art Street 2014) ,KMITL Exchange Architecture Student at Muroran Institude of Technology ,Japan ASA house Guide and Consultants Director of “SHADE“ Thisis Exhibition ,Siam Discovery Bangkok ,Thailand

LANGUAGES

INTEREST IN

Thai Native Speaker English Upper Intermediate

Traveling / Movie / Music / Game / Sport i would like to learn something new

SKILL Architectural Skill Digital Modelling Digital Drawing Rendering Other Skill

Physical model / Free-hand sketch / Photograph SketchUp Autodesk AutoCAD / Adobe Photoshop / Adobe Indesign Vray / Lumion Microsoft Office / Adobe PremierPRO


085

LITTLE TOWN

EAKKALAK

BOX

SELECTED WORKS

extended family house

cafe’ x house

longstay

community mall


EMBRYO

CO-

dinosuar museum

PIPS

Aerothai complex

international port x stadium

NANYANG HQ

SI-LAA

headquater

Tsunami memorial


085 house / Bangkruy, Nonthaburi EXTENDED FAMILY HOUSE 2st SEMESTER (KMITL)

โปรเจ็ ค บ้ า นครอบครั ว ขยายตั้ ง อยทีู่ ริ ม คลอง มหา-สวั ส ดิ์ จั ง หวั ด นนทบุ รี เ ป็ น บ้ า นครอบครั ว คนจี น ที่ มี ค วามต้ อ งการจะนำ � ลู ก หลานที่ ก ระจั ด กระจายมาอยู่ร่วมกันอีกครั้ง ซึ่งแต่ละคนต่างแยก ย้ายไปมีครอบครัวของตนเองจึงต้องการที่จะสร้าง บ้า นเพื่อที่จะรองรับคนแต่ ละครอบครัวให้มาอยู่ ร่วมกัน บ้านที่มีครอบครัวอยู่ถึง 4 ครอบครัวซึ่งแต่ละ ครอบครัวมีความต่างของเพศและวัย สิ่งสำ�คัญ ที่สุดในการอาศัยภายในบ้ านที่ มี คนจำ � นวนมาก และมี ค วามหลากหลายของเพศและวั ย คื อ การ จั ด สรรพื้ น ที่ ต่ า งๆภายในบ้ า นให้ เ หมาะสมกั บ พฤติกรรมการใช้งานของแต่ละบุคคล ตลอดจน การสร้างพื้นที่ส่วนกลางที่จะเชื่อมความสัมพันธ์ ของคนแต่ละครอบครัวเข้าด้วยกัน เนื่องจากก่อน หน้าที่ต่างคนต่างแยกกันอยู่การมีพื้นที่ๆเชื่อมคน เข้ า ด้ ว ยกั น จะทำ � ให้ เ กิ ด ความสนิ ท สนมมากขึ้ น โดยยังคงความเป็นส่วนตัวของแต่ละครอบครัวไว้ ด้วยเป็นที่มาของแนวคิด “courtyard”

085

650 m2


PROCESS

วางอาคารที่คำ�นวณพื้นที่แล้วลง บนพื้นที่โครงการ

courtyard ทำ�ให้เกิดพื้นที่ส่วน กลางที่ มี ค วามเป็ น ส่ ว นตั ว ของ คนในครอบครัว

ดึ ง อาคารที่ เ ป็ น พื้ น ที่ ส่ ว นกลาง ขึ้นได้ประโยชน์จากวิวรอบด้าน ของ courtyard

เชื่อมพื้นที่สีเขียวภายนอกเข้าสู่ ภายใน ยกอาคารที่ถูกตัดออก ไว้ชั้น2

ดึ ง พื้ น ที่ ส่ ว นกลางขึ้ น บนชั้ น 2 ขยั บ ขยายพทที่ จำ � เป็ น ต้ อ งใช้ งานตามความเหมาะสม




Little town / Sukhumvit 50, Bangkok CAFE’x HOUSE 2nd SEMESTER (KMITL)

โปรเจ็ ค บ้ า น+ร้ า นกาแฟตั้ ง อยู่ ที่ ซ อยสุ ขุ ม วิ ท 50 เจ้ า ของเป็ น ช่ า งปั้ น ดิ น เผาผู้ ซึ่ ง หลงไหลในกาแฟ ต้ อ งการเปลี่ ย นพื้ น ทที่ ๆ ได้ รั บ การตกทอดจาก ครอบครัวให้เป็นร้านกาแฟและสามารถใช้เป็นที่อยู่ อาศัยด้วย แนวคิดการออกแบบของโครงการนั้นเริ่มจากการ ตั้งคำ�ถาม “ทำ�ไมคนถึงไปร้านกาแฟ?“ ถ้าแค่อยาก กินกาแฟ คุณอาจชงเองหรือเดินไปร้านสะดวกซื้อ ที่ไหนก็ได้การที่คุณไปร้านกาแฟนั้นอาจเป็นเพราะ คุณชอบรสชาติที่นั้นหรือคุณอาจชอบกลิ่นของ กาแฟ บางคนไปร้านกาแฟเพื่อพบเพื่อนบางคนไป ทำ�งาน เหมือนร้านกาแฟเป็นจุดcheck-in เหล่า นี้คือเหตุผลของการไปร้านกาแฟ คุณจะสังเกตุ เห็นคนที่ชอบสิ่งที่เหมือนๆกันอยู่ร่วมกันคุยกัน เหมือนชุมชนเล็กๆของคนที่ชอบสิ่งเดียวกันเป็น ที่มาของแนวคิดการออกแบบ “little town”

500 m2



kitchen CAFE’

wc

GARDEN

koi

PARKING

WORKING

WORKING

PARKING LIVINGROOM

DINING ROOM

BED 1

KITCHEN



EAKKARAK / Hua-ta-kae, Bangkok LONGSTAY x HOUSE 3rd SEMESTER (KMITL)

โปรเจ็คที่พักอาศัยระยะยาว ที่ตลาดน้ำ�หัวตะเข้ ที่ ดินติดกับคลองประเวศบุรีรมย์ ตัวโครงการ ประ กอบไปด้วยร้านอาหาร, ที่พักระยะยาว จำ�นวน10 ห้อง พื้นที่ส่วนกลางสิ่งอำ�นวยความ สะดวกต่ า งๆและรวมถึ ง บ้ า นเจ้ า ของโครงการ ตั ว โครงการตั้ ง อยู่ ใ นจุ ด ที่ ไ ม่ ค่ อ ยได้ รั บ ที่ นิ ย ม ของการท่องเที่ยวนัก จึงจำ�ต้องกำ�หนดกลุ่ม ลูกค้าที่แน่นอนที่จะมาใช้งานโครงการ และการ สร้างจุดดึงดูดของโครงการที่จะดึงดูดให้นักท่อง เที่ยวมาพัก เป็นที่มาของแนวคิดการออกแบบ “เอกลักษณ์“

2,990 m2




LONGSTAY x RESTUARANT โดยกลุ่มลูกค้าหลักของโครงการที่พักระยะยาวจะ เป็นชาวต่างชาติ เนื่องจากการศึกษาชาวต่างชาติ จะเลือกพัก longstay มากกว่าคนไทย เนื่องจาก ชาวต่างชาติเข้ามาเรียนคอร์สระยะยาวเช่น เรียน ต่อยมวย เรียนทำ�อาหาร เรียนนวด ซึ่งเป็น เอกลักษณ์ของไทยทางโครงการจึงนำ�กิจกรรม

เหล่ า นี้ ม าเป็ น จุ ด ดึ ง ดู ด ของโครงการผู้ พั ก ที่ ม า อาศัยเป็นเดือนสามารถเรียนรู้การต่อยมวย การ ทำ�อาหารไทยและนวดแผนไทย ได้และยังเป็นการ สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชนที่มีความสามารถ เหล่านี้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ วัฒนธรรม และภาษา ด้านสถาปัตยกรรมการแบ่งพื้นทีต่างๆ

จัดตามแนวคิด “นอกชาน” ของบ้านทรงไทยมา อาคารไม้ตั้งตระหงาเป็นพื้นที่กิจกรรมและห้อง พักริมน้ำ�สามารถมองเห็นวิถีชีวิตริมฝั่งคลอง การดีไซน์ห้องพักใช้วัสดุธรมมชาติ ไม้หินสัจจะ วั ส ดุ ดี ไ ซช่ อ งเปิ ด ริ ม กำ � แพงให้ แ สงส่ อ งพื้ น ผิ ว ของผนังหิน ห้องน้ำ�เปิดสกายไลส์กึ่ง outdoor

GYM

HOUSE MULTIPURPOSE

LONGSTAY



HOUSE แนวคิดการออกแบบบ้าน การเชื่อม โยงพื้นที่ทั้งหมดไม่ว่าจะเป็นนอกบ้าน หรือในบ้านให้เป็นพื้นที่เดียวกันบ้าน ไม่จำ�เป็นต้องเป็นกำ�แพงสี่ด้านมีกระ จกมี ป ระตู พื้ น ที่ ร อบบ้ า นสามารถ เป็นพื้นที่ในบ้าน สวนหรือใต้ถุนอาจ เปลี่ยนเป็นห้องนั่งเล่น ห้องอาหาร ได้ ไม่จำ�เป็นต้องเปิดเครื่องปรับอากา ศตลอดเวลามีทางเลือกในการใช้ลม ธรรมชาติ วั น ไหนที่ อ ากาศดี อ าจใช้ พื้ น ที่ น อกบ้ า นเปิ ด ประตู เ ชื่ อ มพื้ น ที่ วันไหนที่อากาศร้อนหน่อยก็สามารถ ปรั​ับเปลี่ยนได้ตามสภาพอากาศ


BOX / Ekkamai, Bangkok COMMUNITY MALL 3rd SEMESTER (KMITL)

โปรเจ็คี่ห้างสรรพสินค้าขนาดย่อมใจกลางเมือง ย่านเอกมัย พื้นที่ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก จากกลุ่มนักท่องเที่ยวหนุ่มสาว เนื่องจากเป็นที่ ของเหล่าร้านอาหาร สถานบันเทิงชื่อดังมากมาย ทำ�ให้เกิดโครงการ อีเว้นท์ หรือสิ่งใหม่ๆอยู่เสมอ โครงการ BOX เป็นพื้นที่ชิม ช้อป แห่งใหม่ของ ย่านที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ทั้ง พื้นที่การทำ�กิจกรรม พื่นที่การเรียนรู้ พื้นที่พัก ผ่อนหย่อนใจ รวมถึงพื้นที่การจับจ่ายใส่สอย เสื้อผ้า ร้านอาหาร ซุปเปอมาเก็ต ตอบโจทย์​์การ ใช้ชีวิตของเหล่านักท่องเที่ยวยามราตรีด้วย บาร์ ร้า่นอาหารที่เปิด 24 ชม แนวคิดการออกแบบ มาจาก BOX ที่เราต้องการแทนพื้นที่ต่างๆบรรจุ ลงในกล่องเพื่อมอแกลูกค้าดังเช่นของขวัญที่ให้ กับคนสำ�คัญ

5,000 m2


third floor

นำ � ร้ า น อ า ห า ร ที่ เ ป็ น จุ ด ดึ ง ดู โครงการไว้ ด้ า นหน้ า เพื่ อ ดึ ง คน เข้าพร้อมร้านอาหาร24ชม.เพื่อ รองรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วยามราตรี ของย่านเอกมัย พื้นที่เรียนรู้จะ อยู่ชั้นบนสุด supermarketอยู่ ชั้นล่างง่ายต่อการเข้าถึงร้านช้อ ปเสื้อผ้าต่างๆจะกระจายอยู่ งาน ธนาคารปริ้ น เอกสารไปรษณี ย์ อยู่ ชั้ น หนึ่ ง ดึ ง คนเข้ า ทำ � ธุ ร ง่ า ย บางคนอาจเป็ น ขาจรต้ อ งการ ความไว

Dining BOX

second floor

Edutainment BOX

Shop BOX

Business BOX

Deli BOX

first floor

Service BOX


PLAN 3

PLAN 1

PLAN 2



EMBRYO / Phu-Kradueng, Loey DINOSUAR MUSEUM 3rd SEMESTER (KMITL)

โปรเจ็ ค พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ไ ดโนเสาร์ ที่ ตั้ ง อยู่ ใ กล้ ก รม อุทยานทางขึ้นภูกระดึงจังหวัดเลย เมื่อปลายปี พ.ศ.2553 ได้มีการค้นพบซาก ไดโนเสาร์อีก 5 แห่งใหม่ คือ ภูน้อย ภูผาเทิบ ภู ขวาง ภูท่าสองคอน และผากก โดยทั้ง 5 แหล่ง ครอบคลุมพื้นที่อำ�เภอภูกระดึง จังหวัดเลย ถือ เป็นเรื่องใหม่ที่น่าตื่นเต้นในวงการไดโนเสาร์ คือ มีการพบชิ้นส่วนไดโนเสาร์ในกลุ่มโปรซอโรพอด เกือบครบทุกชิ้นจำ�นวน 30 ชิ้น เป็นการค้น พบที่สมบูรณ์มากทีสุดในเอเซียตะวันออกเฉียง ใต้ อายุราว 209 ล้านปี ทางภาครัฐเล็งเห็นถึ​ึง ความสำ�คัญจึงมีนโยบายในการสร้างพิพิธภัณธ์ เพื่อเก็บ ศึกษาและวิจัย ชิ้นส่วนยเหล่านี้ตลอด จนการเผยแพร่ต่อสาธารณะ เพื่อให้ประชาชาน นักศึกษา นักเรียนได้มีโอกาสที่จะเรียนรู้เรื่อง ราวเกี่ยวกับไดโนเสาร์ จึงเป็นที่มาของโครงการ พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์จังหวัดเลย

8,500 m2


แนวคิ ด การออกแบบเราต้ อ งการนำ � เสนอที่ ม าที่ ไ ปของไดโนเสาร์ ทั้ ง หมด เราจึ ง คิ​ิ ด จากจุ ด เริ่ ม ต้ น ซึ่ ง เป็ น จุ ด เกิ ด ของได้ โ นเสาร์ ซึ่ ง สั ญ ลั ก ษณ์ แ ห่ ง การเกิ ด หรื อ การเริ่ ม ต้ น ที่ เ ราใช้ แ ทน คือไข่ไดโนเสาร์ ซึ่งจะแสดงในรูปแบบ ทางสถาปั ต ยกรรมและนิ ท รรศการ ประสบการณ์ ที่ จ ะได้ รั บ เป็ น ที่ ม าของ แนวคิด “embryo“


Experiment wการออกแบบเริ่มจากการทดลองหลายๆอย่ าง ซึ่งส่งผลไปยังแนวคิดด้านสถาปัตยกรรม ลำ�ดับของนิทรรศการ กาiศึกษาเรื่องของไข่ ของไดโนเสาร์มีกี่แบบ ชนิดของไดโนเสาร์ การ รับรู้สิ่งต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการออกแบบ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ใ ดโนเสาร์ ใ ห้ ต อบโจทย์ ผู้ เ ข้ า ชม และจุดประสงค์ของโครงการ

ทดลองเป็นไข่ไดโนเสาร์ เราต้องการมอบ ประสบ การณ์แก่ผู้ที่มาโครงการจึงจำ�เป็นที่ จะต้องลองหรือสัมผัสประสบการณ์นั้นด้วย ตนเอง ซึ่งทำ�ให้ข้อมูลที่ได้รับมาส่งผลต่อสิง่ ที่ผู้ที่เข้าชมพิพิธภัณฑ์ ได้ตรงประเด็นที่สุด โดยการทดลองเราทดลองเป็ น ไดโนเสาร์ ที่ อยู่ในไข่ โดยการนั่งกอดเขาเอาพลาสติกมา พั น ตั ว และฉาบด้ ว ยปู น เที ย มจำ � ลองเป็ น ไข่ ไดโนเสาร์ และนำ�ตัวเองไปไว้ตามสถานที่ต่างๆ ประสาทสัมผัสที่ได้รับระหว่างเป็นไข่ การมอง เห็นถูกตัดไป มีการรับรู้ทางเสียงที่เกิดขึ้น อุณหภูมิ เหงื่อ สิ่งต่า่งสัมผัสอยู่ระยะหนึ่งจึง ค่ อ ยๆฉี ก พลาสติ ก กะเทาะเปลื อ กไข่ อ อกมา สัมผัสการมองเห็นรับรู้ สัญชาติญาณต่างๆ


OUTDOOR EXHIBITION

RECEPTION

PLAY AREA

LIBRARY

AMFITHEATHER

SHOP X CANTEEN PARKING

MA

IN E

EXHIBITION

APARMENT

OFFICE

SERVICE

RESERCH LAB PARKING

NTR A

NC

E


Exhibition จำ�ลองให้ผู้ที่เขาชมโครงการเป็นไดโนเสาร์เล็กๆตัวนึงที่กำ�ลังเกิดและ ตายในโครงการ รูปแบบของนิทรรศการจะเดินตามลำ�ดับจากการ เกิดของระบบสุริยะ เกิดโลก เกิดสิ่งมีชีวิต เกิดไดโนเสาร์ไปจนถึง การสูญพันธุ์ของสปีชีนี้ อีกทั้งยังไล่ลำ�ดับตามการเป็นอยู่การดำ� เดินชีวิตของไดโนเสาร์แต่ละชนิด เช่นไดโนเสาร์พันธุ์สัตว์ปักไล่ลำ�ดับ บินได้ บนดิน ใต้น้ำ� และจบด้วยจุดสิ้นสุดของสายพันธุ์

1

2

3


ด้านสถาปัตยกรรม อาคารส่วนนิทรรศการได้รับแรงบันดาลใจ รูปแบบทรงไข่ อาคารโดยรอบเป็นอาคารรองรับ ออฟฟิศและศูนย์ วิจัยส่วนนิทรรศการที่อยู่ใต้ดินแทนชีวิตของไดโนเสาร์ที่จบไปแล้ว ถูกดินฝั่งกลบ การขุดเหมือนการค้นพบและการได้ศึกษาสิ่งมีชีวิต ที่สาปสูญไปแล้ว อีกทั้งการนำ�ส่วนนิทรรศการลงใต้ดินสร้างอรรถ รสในการชมโครงการที่ดีและตรงแก่ผู้ใช้โครงการ

4

5

6


B3 plan

B2 plan

B1 plan

GROUND plan


การออกแบบพื้นกับลายทรัสส่วนนิทรรศการนั้นแรงบันดาล ใจจากรอยแตกของไข่ ซึงรอยนี้ทำ�ให้ไดโนเสาร์มองโลกได้ครั้ง แรก จงใจให้ผู้เข้าชมดครงการเห็นส่วนนิทรรศการบางๆและ ส่วนนิทรรศการได้รับแสงจากภายนอกช่วยประหยัดพลังงาน


reception

main entrance

egg


egg

research center


CO- / Sathon, Bangkok AEROTHAI COMPLEX 4th SEMESTER (KMITL)

บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทยจำ�กัด(บวท.) มีภารกิจเป็นผู้ให้บริการการเดินอากาศของประ เทศไทยครอบคลุมการให้บริการจราจรทางอา กาศทั่วทั้งประเทศทั้ง ขาเข้า-ขาออก ในปัจจุบัน บวท. มีข้อจำ�กัดด้านพื้นที่ปฏิบัติงาน เนื่องจากบางหน่วยงานไม่มีพื้นที่ในการปฏิบัติ งานอย่างเหมาะสมจึงจำ�เป็นต้องปฏิบัติงานอยู่ใน พื้นที่ที่ออกแบบเพื่อการอื่น หรือบางส่วนต้อง ปฏิบัติงานอยู่ชั่วคราว พนักงานในหลายส่วน งาน โดยเฉพาะปฏิบัติงานสนับสนุน มีสภาพ แวดล้อมในการปฏิบัติงานที่คับแคบแออัดทำ�ให้ ไม่มีพื้นที่สำ�หรับปฏิบัติงานและสำ�หรับสิ่งอำ�นวย ความสะดวกที่จำ�เป็น และไม่เอื้ออำ�นวยต่อ การทำ�งานภายในหน่วยงานเองหรือกรณีต้อง ทำ�งานระหว่างหน่วยงานในบริษัทและหน่วยงาน ภายนอก ด้วยข้อจำ�กัดพื้นที่ปฏิบัติงานไม่เพียง พอทั้งส่วนงานต่างๆ จึงจำ�เป็นต้องมีการจัดทำ� เป็นพื้นที่เฉพาะและจัดโซนพื้นที่ปฏิบัติงานโดย รวมให้เหมาะสม โดยจำ�เป็นต้องก่องสร้างอาคาร สำ�นักงานใหม่ (AEROTHAI COMPLEX)

21,500 m2


concept


MASTER PLAN





PIPS / Banglamong, Pattaya INTERNATIONAL PORT X STADIUM 4th SEMESTER (KMITL)

โปรเจ็คท่าเรือและสนามกีฬา ที่ตั้งท่าเรือแหลมบา ลีฮาย อำ�เภอบางละมุงเขตพัทยา เป็นสถานที่จัด งานเทศกาลต่างๆมากมายเช่นงาน countdown งาน music festival และแหลมบาลีฮายยังเป็น ท่าเรือที่สำ�คัญของพัทยาที่ขนส่งนักท่องเที่ยวไป ยังเกาะต่างๆมากมายของพัทยา สื บ เนื่ อ งจากเขตพั ท ยาเป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ สำ�คัญทางเศรษฐกิจอย่างมากของประเทศไทย มีนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆในแต่ละปี ทั้ง นักท่องเที่ยวภายในประเทศและต่างประเทศอย่าง คับคั่ง เป็นเมื่องท่องเที่ยวที่มีแหล่งท่องเที่ยว ครบครัน ทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ห้าง สรรพสินค้า ไนท์คลับจำ�นวนมาก และแหล่งรวม กิจกรรมกีฬาเอ็กซ์ตรีมต่างๆมากมาย ที่เรียก ว่าครบครันที่สุดในประเทศ แต่ในขณะที่นักท่อง เที่ ย วและกิ จ กรรมต่ า งๆมี ม ากขึ้ น แต่ ป ริ ม าณ พื้นที่ที่รองรับกิจกรรมและนักท่องเที่ยวกลับไม่ ได้มีมากขึ้น จึงเป็นที่มาของโครงการที่จะขยาย พื้นที่เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวและกิจกรรมต่างๆ

81,500 m2


1.Pavilion ที่เป็นพื้นที่สาธารณะให้สามารถมาใช้ ประโยชน์กัยได้ทุกคน ก่อให้เกิดกิจกรรมต่างๆ ทั้งคนท้องที่และนักท่องเที่ยว 2.Stadium เนื่องจากฟุตบอลเป็นกีฬาที่แพร่หลาย เป็ น อย่ า งมากในประเทศไทยและจั ง หวั ด ชลบุ รี เ ป็ น จังหวัดที่มีทีมฟุตบอลประจำ�จังหวัดและมีชื่อเสียงจึง นำ�สนามกีฬามาเพื่อเป็นจุดดึงผู้คนเข้ามาในจังหวัด จึงมีที่รองรับสำ�หรับการจัดเทศกาลรื่นเริงต่างๆ 3.Amphitheater กลางน้ำ� เพื่อตอบสนองกิจกรรม กีฬาเอ็กซ์สตรีมทางน้ำ�ต่างๆ ที่มีอย่างมากใน พัทยาเช่น เจ็ทสกี Flyboard Wakeboard Kite Surfให้มีที่นั่งชม


mass concept

STADIUM

ศึกษาโครง wide span


PAVILION

ศึกษาโครง cable x tent โครงสร้างประเภทเต็นท์ (Tents) เต็นท์ (Tents) หมายถึง โครงสร้างผืนบางรับแรงดึง (Tensile Membrane) ที่มีการยึดหรือค้ำ�โครงสร้างนั้น

ด้วยการใช้เสา (Mast)

องค์ประกอบในการพิจารณาสำ�หรับการออกแบบ เต็นท์ (Tents) 1.การยึด/การค้ำ�ยัน (Supports) 2.วัสดุ (Materials) 3.ขอบหรือแนวของโครงสร้าง (Boundaries)

PORT

ศึกษาโครง truss

หลั ก การโดยทั่ ว ไปเหมื อ นกั บ ระบบเสาและคาน คือ จะรับน้ำ�หนักจากส่วนบนถ่ายลงสู่เสาหรือจุด รองรับ แต่ระบบ TRUSS ต่างกับระบบเสา – คาน เนื่องจากระบบ TRUSS สามารถรับน้ำ�หนักได้ดี กว่า มีน้ำ�หนักเบากว่าหากเทียบในระยะเดียวกัน และยังสามารถพาดช่วงได้ยาวกว่ามาก การนำ�เอา ชิ้นส่วนมาประกอบขึ้นเป็นรูปโครงสร้างแบบต่างๆ โดย ยึดปลายทั้งสองของชิ้นส่วนต่างๆ ให้ยึดติด กันและสามารถถ่ายแรงให้กันได้ด้วยการเชื่อม การ ใช้ หมุดย้ำ�หรือการใช้น๊อต

ส่วนประกอบของโครงถัก 1) จันทัน (Upper Chord) 2) ขื่อ (Lower Chord) 3) ค้ายันในแนวดิ่ง (Vertical Web) 4) ค้ายันในแนวเอียง (Diagonal Web) ชิ้นส่วนต่างๆ อาจต่อเชื่อมกันด้วย ตะปู (Nail) สลัก เกลียว (Bolt) แผ่นประกบ (Gusset Plate)




NANYANG HQ / Ramkamhaeng, Bangkok INTERNATIONAL PORT X STADIUM 4th SEMESTER (KMITL)

The new headquarters lives in the area near the Rajamangala Stadium the home stadiumfor the Thailand national team , Ramkhamhaeng,Bangkok. The design pins the brand to the modern office with including The exhibition area, Co-working space, Reserch Center and facinating sport field.The light concrete structure enveloping by glazing curtainwall,beamless slab, especially the hill-like green covered floor at the front of headquater are the results of the Nanyang new genration vision in the strongly believe that the good environment of space for the employees is the best recipe for the best legendary product. Now the challenging of the word “legend� is how to move forward without only sticking to the successful stories in the past, but to write the new stories of our legendally brand,while the market competitive is increasing rapidly in this time. For this reason we have to challenge ourself for being the leader of footwear market in this era.This is our challenging,This is our legend.

16,500 m2



OVERALL In its entirety, the building represents an intelligent synergy of economic and architectural considerations. On the outside, the wrap around grazing façade accentuates the balanced volume’s sculpturval qualities while ensuring flexibility of use with its modular, repeating open elements. The light 5 stores concrete structures together with hill-like green covered represents the vsculpture mass formed with dynamically spatial formed.

PROCESS OFFICE X RESERCH LAB On the inside, the radically horizontal layout encourages communication and allows for efficient floor plans, Overall, the space was divided into three major levels with a lot of different elevated heights, a large circular floor void and glazing facade allows natural surrounding penetrated into interior space so that each working team can have their own sphere with privacy and independency, while wide view is also offered.


The headquarter lives in the area near the legend ally national stadium,Rajamangala stadium on the Ramkamheang road which conveniently access by various ways such as the airport rail link and public transportation.The headquarter was divided into 3 zone by the privacy condition. Public zone is composed of a lot of functions including co-working space together with library, flagship store , retail space, Exhibitions and especially the fascinating sports field that allowing awesome activity begins. The Headquarter was designed for the condition of being the new era of modern working space which includes The open-plan working zone,recreation space, meet and eat canteen and research center at the back of headquarter. However, the main office building is located in the middle for convenient accessibility which gesturing by the curved green covered ramp at the front of the headquarter. Meanwhile all of the maintenance and service space are located in the parking building.



The structural concept in this project is to present the basically light concrete structure together with its dynamically spatial formedHence we chose the post-tensioned concrete slab together with round concrete column exposing the white real texture of its structure because of its construction process that unnecessary to use dry process solution, the beamless slab giving more ceiling level for the maintenance parts and taking span further relate with other concrete structure. So all of the buildings in this project are represented by light concrete structure, especially a hill like green covered slab at the front of the project which using a curved concrete slab taking span up to 15 m, supported by a huge circular concrete core and its bearing wall beneath. In the same way, we used a glazing curtain wall to envelope office building, allowing the green environment and indirect light penetrated into the building. For the heat protection, insulated glass with aluminum frame provided it.


WALL SECTION OFFIC BUILDING

The main structure concept of office building is light and flow. Due to the requirement of office working space that want to let the indirect light and the green environmentsurround penetrated into the building and allowing the space of meeting zone that raising employee relationship as well. Our idea is represented by a light structure such as around concrete column, light post-tensioned floor with a large circular void, frameless balustrade and glass wall especially the glazing curtainwall For the concrete floor structure including the concrete slab roof using a post-tensioned process because of its ability that can span further in only 350 mm thickness and its beamless structure concept. In the same way with a concrete slab on the top of building that using post-tensioned slab but needed to beprovided by waterproofing membranes for preventing the water leakage problem. The glazing curtain wall is one of the special detail. The aluminum frame with insulated glass envelope the building let the environment penetrate into the working space without the heat that screened by glazing wall.


SLIDER TO 2ND

OFFICE LOBBY


Parking building was designed by the condition of not too big and not too high. Due to a ramp area is limited and unnecessary of dry process construction, so a post-tensioned concrete slab is the floor structure we chose, exposing the concrete structure in white. Besides, the water draining on the floor is carried by a concrete gutter with steel grate.


The entire building systems such as air condition system,electrical system, sanitary system was designed under the condition of being efficiency and energy saving together with sustainable design.


SLIDER 3RD F. - 2ND F.


OPEN SPACE OFFICE

EXHIBITION

CO - WORKING SPACE

RESEARCH CENTER


Si-LAA / Takua Pa, Phang Nga TSUNAMI MEMORIAL 5th SEMESTER THESIS (KMITL)

โครงการอนุสรณ์สถานสึนามิ วันที่ 26 ธันวาคม 2547 ภายในเวลาไม่ ถึ ง ครึ่ ง ชั่ ว โมงคลื่ น สึ น ามิ ไ ด้ โ หมกระหน่ำ � เข้าสู่ 6จังหวัดภาคใต้ของ ประเทศไทยตามแนวชายฝั่ง ทะเลอั น ดามั น ตลอดจนบริ เ วณหมู่ เ กาะของจั ง หวั ด ต่ า งๆ คลื่นแผ่นดินไหวเหล่านี้ได้คร่าชีวิตและสร้างความเสียหาย อย่างใหญ่หลวงในประเทศต่างๆภัยพิบัติครั้งนี้สร้างความ ตื่นตระหนกและยังนำ�ความเศร้าสลดสู่ผู้คนทั่วโลก ใน ประเทศไทยนั้นบริเวณที่ได้รับ ความเสียหายมากที่สุด ได้ แ ก่ เ ขาหลั ก ในจั ง หวั ด พั ง งาสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วสำ � คั ญ ใน แถบชายฝั่งทะเลอันดามันซึ่งถือเป็นไข่มุกเม็ดงามเป็นหนึ่ง ในเอเชี ย ชาวบ้ า นในบริ เ วณนั้ น ตลอดจนครอบครั ว ชาว ต่างชาติต่างทนทุกข์ระทมกับความสูญเสียคนใกล้ชิดหลัง เหตุ ก ารณ์ รั ฐ บาลได้ มี น โยบายฟื้ น ฟู จั ด การประกวดแบบ โครงการนี้ขึ้นแต่ด้วยปัญหามากมายโครงการนี้จึงไม่ได้เกิด ขึ้นจริง มีเพียงสถานที่ชั่วคราวที่ถูกจัดตั้งขึ้นผ่านมาถึง12ปี สถานที่ ดั ง กล่ า วก็ ไ ด้ มี ก ารชำ � รุ ด ทรุ ด โทรมขาดการดู แ ล บริเวณพื้นที่ริมชายฝั่งที่เคย ได้รับอิทธิพลจากคลื่นสึนามิ ก็ได้มีการฟื้นฟูและพัฒนา จนกลับมาในสภาพปกติเหมือน ไม่เคยเกิดเหตุการณ์นี้มาก่อนหลายโครงการไม่ได้คำ�นึงถึง สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตหากเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิ อีกจะนำ�พาความสูญเสียและความเสียหายอย่างใหญ่หลวง กลับมาอีกครั้งหรือหลายคนจะลืมเลือนสิ่งที่เกิดขึ้นไปแล้ว

8,200 m2


จากสาเหตุและเหตุผลที่ดังกล่าวมาแล้วนั้นการสร้างสถานที่ที่ สามารถให้ความรู้ความเข้าใจกับเหตุการณ์ความสูญเสียที่เคย เกิดขึ้นและอาจเกิดขึ้นอีกในอนาคตแก่ประชาชนชาวบ้านตลอด จนนักท่องเที่ยงเพื่อให้เขาตระหนักและเรียนรู้สิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต และเรียนรู้ที่จะอยู่กับธรรมชาติป้องกันความสูญเสียที่จะเกิด ขึ้นและเป็นสถานที่ที่จะสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงผู้ที่ เสียชีวิตและ เหตุการณ์การภัยพิบัติ สึนามิอันเป็นที่มาของโครงการเสนอแนะ “อนุสรณ์สถานเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิ” PURPOSE - เป็นพื้นที่ให้ความรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติสึนามิ ทั้งสาเหตุการับมือ และป้องกัน - เป็นสถานที่เตือนใจให้ตระหนักถึง การสูญเสียจากเหตุการณ์ - เป็นพื้นที่รำ�ลึกถึงผู้เสียชีวิต - เป็นสถานที่รองรับกิจกรรมต่างๆของจังหวัด - เป็นพื้นที่หลบภัยชั่วคราว


Site Location เจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดิน : กรมอุทยานแห่งชาติ ที่ตั้งโครงการ : ต.คึกคัก อ.ตะกั่วป่า จ.พังงา ขนาดพื้นที่โครงการ : 78,920 ตร.ม. การพิจารณาพื้นที่ของโครงการเพื่อให้ตอบสนองตาม วัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมายของโครงการนั้นพื้นที่ตั้ง โครงการจำ�เป็นต้องมีความเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์สึนา มิปี 2547 มีความสงบ ไม่แออัดเอื้ออำ�นวยแก่การรำ�ลึก ถึงผู้เสียชีวิต มีการเข้าถึงที่ง่าย มีความเป์นภูมิลักษณ์ และมีลักษณะของภูมิประเทศที่อยู่สูงจากระดับน้ำ�ทะเล ปลอดภัยจากสึนามิซึ่งพื้นที่ตั้งโครงที่เด่นในแต่ละด้าน

slope analysis

มากที่สุดตั้งอยู่ในอุทยานเขาหลัก-ลำ�รู่ จังหวัดพังงา

Site Analysis

TSUNAMI MEMORIAL

การพิจารณาพื้นที่สำ�หรับก่อสร้างอาคารในโครงการได้ ทำ�การวิเคราะห์ความลาดชันของพื้นที่ต่างๆในโครงการ โดยรวามตามผังสีด้านบนคัดจากพื้นที่ๆมีความเสี่ยงใน การก่​่อสร้างน้อยไปมากเขียวไปแดง โดยพิจารณาแล้ว ตำ�แหน่งที่สามมารถสร้างอาคารได้คือ A และ B

Zoning เนื่องจากเนืิ้อที่โครงการมีขนาดใหญ่มากถึง 48 ไร่ เมื่อ เทียบกับองค์ประกอบทั้งหมดของโครงการ จำ�จะต้อง เลือกที่ตั้งโครงการี่เหมาะสม ซึ่งหลังจากการวิเคราะห์ ความชั้น มี2ตำ�แหน่งที่จะสามมารถก่อสร้างได้คือ ส่วน แรกอยู่หน้าโครงการเข้าถึงได้ง่าย และอีกส่วนอยู่ตรงส่วน แหลม ที่ยื่นออกนอกทะเลเห็นได้ง่ายจากทางทะเลและ หาดข้างเคียงระยะ 12 กิโลเมตร การแบ่งโซนนิ่งของตัว อาคารจะแบ่งเป๋็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือส่วนที่เข้าถึงได่้ง่าย จากถนน จะเป็นจุดวาง “visitor center” ที่มีส่วน ของนิทรรศการ ร้านอาหาร พื้นที่กิจกรรม ห้องสมุด สำ�นักงาน เป็นส่วนที่มีความพลุกพลานของผู้คน ส่วนที่ สิงจะเป็นส่วน “memorial hall” ที่จะอยู่ติดทะเล มองเห็นได้ง่ายเป็น landmark ของโครงการ ทำ�หน้าที่ เป็นส่วนรำ�ลึกถึงผู้เสียชีวิต และหอเตือนภัย ประภาคาร สำ�หรับคนเดินเรือยามค่ำ�คืน ซึ่งจะมีความเป็นส่วนตัว มากกว่าส่วนแรก

VISITOR CENTER


Memorail Hall ส่วนของอนุสรณ์สถานออกแบบโดยมีแรงบรรดาลใจมาจากลักษณะความเป็นก ลางทางสัญลักษณ์การถอดรหัสจากรูปทรงของศาสนสถานแต่ละศาสนาเพื่อให้ เกิดความเป็นสากลผนวกกับลักษณะเส้นโค้งของรูปคลื่นให้เกิดความรู้สึกทาง อารมณ์ รูปแบบของอาคารที่ปล่อยให้แดดและฝนลงมาได้ไม่สู้กับธรรมชาติ เมื่อ เกิดเหตุจะทำ�เป็นหน้าที่เป็นหอเตือนภัยอีกด้วย ซึ่งเมื่อต้องทำ�ให้สามารถเตือนภัย ได้ ทัศนวิสัยของอาคารที่มองเห็นจะต้องชัดเจนจากทางในและนอกชายฝั่ง อาคาร ต้องมองเห็นได้ชัดเจนจึงเป็นผลให้อาคารมีส่วนสูงตามภาพ อีกทั้งยังเป็นส่วน สำ�คัญที่จะมีบทบาทในส่วนนิทรรศการและรำ�ลึก

Visitor Center ส่วนของอาคาร visiter center ได้แรงบรรดาลใจมาจากลักษณะของคลื่น รูปแบบตั้งแต่ต้นจนจบ การเกิดน้ำ�วนตอนทา้ายความโค้งมลของเส้นน้ำ� นำ� มาประยุกค์ใช้กับตัวอาคารในด้านสถาปัตยกรรม










Exhibition Design อนุสรณ์สถาน วัตถุประสงค์หลักคือการส่งทอดความรู้สึก เรื่ อ งราวเหตุ ก ารณ์ ก ารออกแบบนิ ท รรศการจึ ง มี แ นวคิ ด ที่จะสร้างประสบการณ์ คล้ายการจำ�ลองเหตุการณ์สึนา มิในวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ให้ผู้ที่มาโครงการได้รู้สึก ถึงเหตุการณ์อารมณ์ในวันนั้น โดยสอดแทรกแง่คิดใน เหตุการณ์ลงไปในนิทรรศการและกิจกรรมที่จะให้ทำ� โดย การสร้างเส้นทางการเดินเหมือนความรู้สึกนึกคิดของผู้ที่อยู่ ในวันนั้นโดยทำ�การสัมภาษณ์จากนที่อยู่ในเหตุการณ์จริง มาเรียบเรียงและสร้างเส้นทางดังนี้

Why Si-Laa ? การวางหินบนหลุมศพมีมาตั้งแต่สมัยก่อน เป็นการแสดง ความเคารพและไว้ อ าลั ย อย่ า งหนึ่ ง ที่ มี ม านานและสากล ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ก็ ไ ด้ พั ฒ นามาเป็ น รู ป แบบต่ า งๆเราต่ อ งการหา กิจกรรมหนึ่งที่สามารถทำ�ได้ทุกคนเพื่อให้คนที่มาได้มีส่วน ร่วมอย่างมากที่สุดไม่จำ�กัดแค่บุคคลได้บุคคลหนึ่งศาสนา ใดศาสนาหนึ่งเป็นกิจกรรมที่เป็นสากลประกอบกับลักษณะ ของพื้นที่จังหัวดพังงาเป็นภูเขาหินชั้นซึ่งเป็นวัสดุที่หาได้ใน พืน ้ ทีเ่ ราจึงเลือกใชก ้​้ ารวางหินเป็นกิจกรรมหลักของโครงการ


Victim

EXHIBITION ROUTE

FEEL IT ? การนำ�หินไปวางที่อนุสรณ์สถาน์คือกิจกรรมสำ�คัญของโครงการที่ทำ�หน้าที่เสมือนการรำ�ลึกไว้อาลัยการแสดงความเคารพต่อผู้เสียชีวิต และส่งต่อจุดประสงค์หลักของโครงการโดยหินจะทำ�หน้าที่แทนความรู้สึกที่คุณได้รับหลังจากชมส่วนของนิทรรศการเสร็จผู้คนจะเกิด ความรู้สึกหนึ่งในใจอาจเป็นด้านลบหรือบวกก็ได้ซึ่งเราแทนมันด้วยหินที่คุณจะต้องนำ�ไปวางที่ส่วนของอนุสรณ์สถาน ซึ่งอยู่ห่างออกไป 300 เมตรจะต้องนำ�หินเดินผ่านเส้นทางธรรมชาติของโครงการจะมีเวลาคิดสิ่งๆ ระยะทางที่ไกลสิ่งที่ต้องถือเปลี่ยบเสมือนภารระความรู้สึก ที่เราต้องแบกรับหลังเจอเหตุการณ์สึนามิเหมือนผู้ประสบภัยในวันนั้นและการนำ�ไปวางที่อนุสรณ์จะเปรียบเสมือนการปล่อยวาง


First Impression + การได้ไปท่องเที่ยวสถานที่ใหม่ๆ กินของใหม่ๆ พบกับผู้คนใหม่ๆสร้างความ ประทับใจดั่งเช่นนักท่องเที่ยวที่อยู่ในเหตุการณ์สึนามิปี2004 ส่วนของ นิทรรศการจำ�ลองเหตุการณ์แทนตัวผู้ชมเป็นนักท่องเที่ยวที่อยู่ในเหตุการณ์ โดยนิ ท รรศการส่ ว นแรกจะเริ่ ม ตั้ ง แต่ ขั บ รถหรื อ การเดิ น เข้ า สู่ โ ครงการผ่ า น ธรรมชาติป่ามไ้เห็นผู้เขาทะเลผืนทรายซึ่งประหนึ่งการสร้างความประทับใจแรก เห็นตลอดจนการพบสถาปัตยกรรมซึ่งซ่อนตัวอยู่ในธรรมชาติ main entrance

Exhibition way

ทางเดินเข้าสู่ส่วนนิทรรศการหลักซึ่งอยู่ ชั้นใต้ดินของอาคาร visitor เหตุผลที่นำ� ส่ ว นนิ ท รรศการไว้ ใ ต้ ดิ น เนื่ อ งจากแทน อาคารเป็นเกลียวคลื่นที่ดูดสิ่งต่างๆลงไป ใต้ทะเลเหมือนสึนามินั้นเอง


Exhibition Entrance First Impression + จุดทางเข้า-ออกของนิทรรศการ พื้นที่ทรงกลมใต้อาคาร visitor center ภายในออกแบบให้ใช้แสงธรรมชาติ จะช่องแสงด้านข้างและตรงกลางให้แสงอาทิตย์สามารถเข้าถึง และอีกทั้งยังสร้างปรากฏการณ์ของแสงที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลาซึ่งทำ�ให้ผู้เข้าชมโครงการจะมีมุมมองของห้องนี้ในภาพจำ�ที่ต่างกันตามเวลาการเข้าชมเช่นเข้าขม แสงเป็นแบบหนึ่ง หลังจบนิทรรศการแสงก็จะเป็นอีกแบบหนึ่ง ตรงการเป็นบ่อน้ำ�บรรจุหินที่จะใช้ในกิจกรรมของโครงการ คือการนำ�หินไปวางที่ส่วนของ memorial hall โดยกิจกรรมนี้เป็นตัวแทนของหลายๆอย่าง เช่นความรู้สึกที่ถืออยู่ถือต่อก็หนักการปล่อยวางเผื่อให้ชีวิตก้าวเดิน หรือจะเป็นตัวแทนของการไว้อาลัยและความเคารพ


Sense -

7.58 am

earthquake

ส่ ว นของนิ ท รรศการจะจั ด เรี ย งตาม เวลาเป็นห้องๆจาก 7.58-12.00 ส่วน แรกจะเป็นเรื่องของประสาทสัมผัสการ รั บ รู้ ใ นวั น ที่ เ กิ ด สึ น ามิ ผู้ ค นจะได้ รั บ สัญญาณต่างๆที่เป็นเครื่องบ่งบอกว่า จะเกิดสึนามิแต่คนในวันนั้นไม่รู้และไม่ คิดว่าจะเกิดสึนามิขึ้น

สั ญ ญาณแรกที่ ไ ด้ รั บ คื อ เหตุ ก ารณ์ แผ่ น ดิ น ไหวซึ่ ง มี ค วามแรงถึ ง 9.2ริ ก เตอร์ในห้องนี้จะจำ�ลองการสั่นไหวของ ผนังโคมไฟที่แกว่งไปมา


สัญญาณที่สองสัตว์ทำ�ตัวแปลกๆเช่น นกบินว่อนไปมาเป็นฝูงอย่างผิพดปกติ หมา แมว หรือสัตว์จำ�พวกมดเคลื่อนที่ ขึ้นสู่ที่สูง ห้องนี้จึงจำ�ลองกราฟฟิคของ สัตว์และสิ่งผิดปกติอื่นๆ

9.10 am

Drown สัญญาณที่สามน้ำ�ทะเลลดลงไปสุดลูกหูลูกตาจนปลาดิ้นอยู่ที่พื้น ก่อนคลื่น สึนามิจะไม่ไม่รู้ตัวและปะทะเข้ากับเหล่านักท่องเที่ยวซึ่งทำ�ให้เกิดความโกลาหล บางคนหมดสติไปบางคนหลับตาเผื่อปกป้องตนจะสิ่งที่คลื่นพามา ห้องนี้จะ แสดงผ่านเทคนิคจอ360องศาเหมือนคุณอยู่ในวันที่เกิดเหตุสึนามิได้เห็นตั้งแต่ น้ำ�ลดจะกระทั่งถูกคลื่นสึนามิที่เข้ามาอย่าไม่รู้ตัวจมห้องๆนี้ เมื่อจบการแสดง ห้องจะเปลี่ยนเป็นสีดำ�คล้ายการจำ�ลองให้ผู้ชมหมดสติก่อนจะนำ�ทางผู้เข้าชม โครงการผ่านไฟที่อยู่ที่พ้ืนผ่านตามทางมืดที่เล่าถึงกระทบ,จำ�นวนผู้เสียชีวิต ผ่านเสียงและตัวอักษร เพื่อนำ�ไปสู่การตื่นและรับรู้นิทรรศการส่วนต่อไป

experience


Beware

Beware หลังจากหมดสติและหลุดผลจากความโกลาหลหลายคนเริ่มตื่นมารับรู้สิ่งที่เกิดขึ้น การจัดแสดงของห้องนี้จะจัดแสดงความเสียหายที่สึนามิได้สร้างผ่านวีดีทัศน์ ผ่าน วัสดุจริงที่นำ�มาจากเหตุการณ์ภัยภิบัติสึนามิซึ่งแสดงความเสียหายในด้านต่างๆอา ธิเช่น ชีวิต,ทรัพสินย์,สิ่งแวดล้อม เสาภายในห้องสร้างความยากลำ�บากในการเดิน เหมือนเหตุการณ์จริงที่จะมีสิ่งกีดขวางไม่ว่าจะเป็นรถเรือบ้านเรือนที่ถูกคลื่นซัด ทำ�ให้การสัญจรมีได้อย่างยากลำ�บาก มือที่โผ่ลมาจากพื้นของห้องแสดงแทนผู้คนที่ ต้องการความช่วยเหลือ

Learning + หลังจากทุกอย่างสงบเป็นธรรมชาติของคนที่จะเริ่มเรียนรู้สิ่งที่เกิดขึ้นและเตรียมตัว ที่จะรับมือกับมันเพื่อป้องกันผลกระทบที่จะเกิดขึ้นภายภาคหน้าหากเกิดเหตุการณ์ เช่นนี้ขึ้นอีก นิทรรศการส่วนนี้ก็จะจัดแสดงข้อมูลทางทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสึ นามิ สึนามิเกิดขึ้นได้อย่างไร มีกี่รูปแบบ เกิดที่ไหนแล้วบ้างเป็นข้อมูลที่รวบรวมมา จากทั่วโลกสรุปและจัดแสดงเป็นสื่อที่เข้าใจง่าย ทั้งนี้ยังมีการจัดแสดงข้อมูลการป้อ งกันสึนามิการอยู่ร่วมกับสึนามิอีกด้วย learning


Live on + หลังเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิ ผู้คนทั่วโลกต่าง แห่แหนส่งความช่วยเหลือกันเข้ามาอย่างไม่ขาด สายเรียกได้ว่าทั้งโลกรวมเป็นหนึ่งเพื่อช่วยเหลือ เหล่ า ผู้ สู ญ เสี ย ให้ ก ลั บ มายื น หยั ด และใช้ ชี วิ ต ได้ ใหม่อีกครั้ง นิทรรศการส่วนนี้จัดเพื่อไว้เพื่อ เทิ ด ทู น ชู เ กี ย รติ เ หล่ า ผู้ ช่ ว ยเหลื อ นาๆประเทศ พร้อมกับคำ�ประโยคหนึ่งที่อยู่บนกำ�แพงที่จะคอย เตือนใจเหล่าคนที่มีเยือนโครงการ “ we live with our mistake “ “มนุษย์จะต้องดำ�เนินชีวิตควบคู่ไปกับธรรมชาติ อย่างรู้เท่าทันโดยมีความสูญเสียจากอดีตเป็นบท เรียนให้ปัจจุบันก้าวเดินต่อไป” เมื่อจบห้องนี้ผู้เข้าชมโครงการจะกลับไปยังห้อง นิทรรศการทรงกลมเพื่อนำ�หินในบ่อไปวางไว้ ยังส่วนของอนุสรณ์สถานที่อยู่ห่างออกไปแทน การเคารพและไว้อาลัยโดยผ่านเส้นทางศึกษา ธรรมชาติของโครงการ

live on


Live on + ซึ่ ง ระหว่ า งทางของการเดิ น ไปยั ง อนุ ส รณ์ สถานเราได้สอดแทรกแนวคิดการใช้ชีวิต การเดินผ่านธรรมชาติ ผ่านแสงแดดด ผ่านลม ระยะทางที่ไกล รวมกับการต้อง ถื อ หิ น ไปด้ ว ยอาจให้ ค วามรู้ สึก เหนื่ อยล้ า ลำ � บากในแง่ ห นึ่ ง หลายคนอาจเลื อ กที่ จ ะ ปล่ อ ยหิ น ก่ อ นก็ จ ะสบายมากขึ้ น เหมื อ น ปลดภาระ ซึ่งหินแทนความรู้สึกที่ได้รับจาก การชมนิทรรศการ ความรู้สึกที่ไม่ดีที่เกิด ขึ้นจากความสูญเสียซึ่งปล่อยก่อนก็สบาย ก่อน ในอีกแง่การนำ�หินไปวางที่ยังส่วน อนุสรณ์สถานก็แสดงให้เห็นว่าสุดท้ายเรา ก็ ย่ อ มต่้ อ งปล่ อ ยวางความรู้ สึ ก เหล่ า นั้ น อยู่ดีเพื่อการดำ�เนินชีวิตต่อไป


memorial Tsunami Memorial พื้นที่อนุสรณ์สถานส่วนสุดท้ายของนิทรรศการเป็นสถานที่ๆผู้เข้ามาในโครงการจะได้มีโอกาสนำ�หินมาวางเป็นการเคารพหรือรำ�ลึกถึงผู้เสียชีวิตในเหตุการณ์และเรียนรู้การ ปล่อยวางความรู้สึกที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ลึกสุดในโครงการด้วยเหตุผลด้านความต้องการความสงบเพื่อก่อให้เกิดบรรยากาศแห่งการไว้อาลัย ความศักสิทธ์ิ ออกแบบให้อิทธิผลจาก ธรรมชาติเข้าถึงจะเห็นว่าไม่มีหลังคา แสงแดด ลม ฝน สามารถลอดผ่านแสดงแง่คิดด้านการเป็นอยู่เราไม่สามารถเอาชนะธรรมชาติสุดท้ายแล้วธรรมชาติจะเป็นผู้ชนะเสมอ คนเรา ได้แตคิดว่าจะอยู่ร่วมกันอย่างไรให้เกิดผลที่สุด



“ we live with our mistake “ “มนุษย์จะต้องดำ�เนินชีวิตควบคู่ไปกับธรรมชาติอย่างรู้เท่าทันโดยมีความ สูญเสียจากอดีตเป็นบทเรียนให้ปัจจุบันก้าวเดินต่อไป”


ETC / Thailand S.P.A.C.E.

PIXEL

ART STREET

co-working space

Office building

Art and Music market

in-outside hotel Hotel


KHAO-KA-YAI

SHADE

Landscape project

Thesis exhibition

SHADE



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.