คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

Page 1


หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย คายืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาประจําชาติ กระทรวงการศึกษาแห่งอนาคต


หนังสือเรี ยน รายวิชาเพิม่ เติม ภาษาไทย

ค ายืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ชั้น มัธยมศึกษาปีท ี่ ๒ กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย

ลิขสิทธิข์ องสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ภาษาไทยในฐานะภาษาประจาชาติ กระทรวงการศึกษาแห่งอนาคต ถนนราชมรรคาใน ตําบลพระปฐมเจดีย์ อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ๗๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๓๔ ๐๖๕ ๘๐๐

กองควบคุมคุณภาพการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ISBN 050-080-91-5172-3 พิมพ์ครั้งเดียว พ.ศ. ๒๕๖๑ จํานวน ๑ เล่ม

พิม พ์ทโี่ รงพิมพ์ ปริน้ ต์สวย พับลิชชิ่ง ๒๗ ถนนยิงเปูา ตําบลสนามจันทร์ อําเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ๗๓๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘๖ ๖๙๘ ๑๐๗๔ www.printsuay.com


คานา หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย คํายืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ เป็นหนังสือที่สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาภาษาไทยในฐานะ ภาษา ประจํ า ชาติ จั ด ทํ า ขึ้ น เพื่ อ ใช้ ใ นกา รจั ด การเรี ย นรู้ ร ายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม คํ า ยื ม ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โดยมีอาจารย์ ดร. อธิกมาส มากจุ้ย เป็นประธานใน การจัดทํา แนวการนําเสนอเนื้อหาของหนังสือ เรี ย น รายวิ ช าเพิ่ มเติ ม ภาษาไทย คํ า ยื ม ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โดยที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาเรื่อง การยืมคําจากภาษาต่ า งประเทศมาใช้ ใ นภาษาไทย เพื่ อ ให้ เ ข้ า ใจถึ ง พั ฒ นาการของ ภาษาไทย รวมถึงการผนวกเอาวัฒนธรรมต่างชาติที่เ ข้ า มามี อิ ท ธิ พลต่ อ ประเทศไทยใน แง่มุมต่าง ๆ มาตั้งแต่โบราณกาล และหนึ่งในนั้นก็คือ การถ่ า ยทอดลั ก ษณะทางภาษา การแลกเปลี่ยน การซึ มซั บ ตลอดจนนํ า มาปรั บ ใช้ อ ย่ า งเหมาะสม เพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นได้ ตระหนักถึงคุณค่าทางภาษาที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร และเข้ า ใจภาษาไทยที่ เ ป็ น สมบั ติ และเป็นเครื่องหมายที่แสดงถึงความเป็นชาติได้มากยิ่งขึ้น โดยผ่านการเรียนรู้จ ากเนื้ อ หา และกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งหมายให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ในทุก ๆ ด้านอย่างน่าสนใจ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาประจํ า ชาติ ห วั ง ว่ า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการจัด การเรี ย นรู้ ภ าษาไทยได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เป็นไปตามหลักการและบรรลุผลการเรียนรู้ที่มุ่งหมายไว้ หากมี ข้ อ เสนอแนะปรั บ ปรุ ง แก้ไข กรุณาแจ้งสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาประจํ า ชาติ เพื่อปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ขอขอบคุณคณะกรรมการฯ และผู้มีส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งใน การจัดทําหนังสือเรียนเล่มนี้ให้สําเร็จลุล่วงด้วยดีไว้ ณ โอกาสนี้

(นายชณิตพล พลอยธนภัทร) เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาประจําชาติ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๑


แนวทางการใช้หนังสือเรียน หนั ง สื อ เรี ย น รายวิ ช าเพิ่ มเติ ม ภาษาไทย คํ า ยื มภาษาต่ า งประเทศใน ภาษาไทย เป็นหนังสือที่จัดทําขึ้นเพื่อเพิ่มเติมความรู้เฉพาะเรื่ อ งจากรายวิ ช าพื้ น ฐาน โดยให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ได้ศึกษา โดยพิจารณาว่ า เนื้ อ หาที่ ป รากฏอยู่ ใ น หนั ง สื อ เรี ย นรายวิ ช าพื้ น ฐานจากตั ว ชี้ วั ด ท ๔.๑ ม.๒/๕ รวบรวมและอธิ บ า ย ควา มหมา ยของคํ า ใน ภาษา ต่ า งปร ะ เทศที่ ใ ช้ ใ น ภา ษา ไทย ใน เรื่ อ งคํ า ยื ม ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยมีน้อยจนเกินไป แต่เป็นเรื่อ งที่ สํ า คั ญ ที่ จํ า เป็ น จะต้ อ ง ใช้เวลาในการเรียนรู้และทําความเข้าใจ จึงมีจุดมุ่งหมายที่ต้องการจะเน้ น ย้ํ า นั ก เรี ย น ให้มีความเข้าใจในภาษาไทยมากยิ่งขึ้น เนื้อหาในหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย คํายื มภาษาต่ า งประเทศ ในภาษาไทย เล่มนี้แบ่งเป็น ๓ ส่วน ได้แก่ ๑. คํายืมในภาษาต่าง ๆ ๒. ฝึกเพิ่มเสริมทักษะ ๓. กิจกรรมลองทําดู นอกจากนั้น ยังมีภาคผนวกเพิ่มเติมเกี่ยวกับคํายืมในภาษาอื่น ๆ ที่ ภ าษาไทย รับเข้ามาใช้อีกจํานวนหนึ่ง เพื่อให้นักเรีย นได้ มีโ อกาสทํ า ความรู้ จั ก กั บ คํ า ศั พท์ มาก ยิ่งขึ้น อนึ่ง ผู้เรียนพึงทราบว่า คําที่ระบุในคํายืมจากภาษาต่าง ๆ นั้น บางคํา เป็น เพี ย ง ทฤษฎีหรือข้อสันนิษฐานของนักภาษาศาสตร์ที่ศึ ก ษาและเชื่ อ มโยงถึ ง ความสั มพั น ธ์ ของคํานั้น ๆ ซึ่งอาจจะไม่มีหลักฐานการยอมรั บ ชั ด เจน จึ ง ให้ นั ก เรี ย นเข้ า ใจเพี ย ง คร่าว ๆ และถ้าหากสืบค้นในแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ที่น่าเชื่อถือได้ แล้ ว พบหลั ก ฐานหรื อ ข้อสรุปที่แตกต่างจากหนังสือ นักเรียนสามารถลองพิ จ ารณาความเป็ น ไปได้ อี ก ครั้ ง เพื่อความถูกต้องแม่นยํา ส่วนรูปแบบของกิจ กรรมท้ า ยบทเป็ น เพี ย งข้ อ เสนอในหนั ง สื อ เรี ย นเพี ย ง เท่านั้น ครูผู้ส อนและนั ก เรี ย นสามารถร่ ว มกั น ออกแบบกิ จ กรรมที่ น่ า สนใจและ ตอบสนองต่อความสนใจและการเรียนรู้ของแต่ ล ะบุ ค คลเพื่ อ ให้ เ กิ ด องค์ ค วามรู้ ใ หม่ อันสอดคล้องกับนโยบายการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ มีจุ ด ประสงค์ ใ นนั ก เรี ย นมี ทักษะในการใช้ชีวิต และช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมินความก้ า วหน้ า ของ การเรียนรู้ของตนเองได้


สารบัญ หน้า ๑ - ๑๐

บทนา การยืมคาในภาษาไทย หน้า ๑๑ - ๓๖

ภาษาบาลีและสันสกฤต บทที่ ๑ หน้า ๑๓๗- ๖๐

บทที่ ๒

ภาษาเขมร

หน้า ๖๑ - ๗๒

บทที่ ๓

ภาษาจีน

หน้า ๗๒ - ๘๖

บทที่ ๔

ภาษาอังกฤษ

หน้า ๘๗ - ๑๐๒

ภาษามลายู ภาคผนวก

บทที่ ๕

หน้า ๑๐๓ - ๑๐๗

ค ายืมในภาษาอืน่ ๆ


สามารถเข้าถึงหนังสือเรียนแบบออนไลน์ ได้จ ากการสแกน QR Code



การยืมคาภาษาต่ างประเทศ ภาษาเป็นเครื่องมือในการติดต่อ สื่ อ สาร ดั ง นั้ น เมื่ อ ในแต่ละชาติ มีการติดต่อสัมพันธ์กันจึงเป็นเรื่องปกติวิสัยที่จะมีการ หยิบยืมภาษาของชาติอื่นมาใช้ ไม่มีภาษาใดในโลกที่ไม่มีคําในภาษา อื่นเข้ามาปะปน การนําคําหรือลักษณะทางภาษาของอีกภาษาเข้า ไป ใช้ในภาษาของตนย่อมเกิดขึ้น เมื่อคนต่างภาษากันต้องทําการติดต่ อ หรือมีความสัมพันธ์กันเป็นระยะเวลานานก็จะมีการยืมเกิดขึน้ การยืม คือการที่ภาษาหนึ่งนําเอาคําหรือลักษณะทางภาษาของอีกภาษาหนึ่ ง เข้าไปใช้ในภาษาของตนเอง

ประวัติศาสตร์การยืมภาษาของประเทศไทย

ภาษาไทยมีการยื มจากภาษาต่ า งประเทศเข้ า มาปะปนเป็ น เวลานานแล้ว แม้ในหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคําแหงเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๒๖ ก็ ยั ง ปรากฏคํายืมมาจากภาษาบาลีสันสกฤต และเขมรเข้ามาปะปนมากมาย ประเทศ ไทยมีการติดต่อกับต่างชาติมาช้านานย่อมทําให้มีภาษาต่างประเทศเข้ า มาปะปน อยู่ในภาษาไทยเป็นจํานวนมาก เช่น เขมร จีน ชวา มลายู ญวน ญี่ปุน เปอร์ เ ซี ย โปรตุเกส ฝรั่งเศส พม่า มอญ อังกฤษ

๒ | ค ายืมภาษาต่างประเทศ


เนื่องด้วยคนไทยมีเอกลักษณ์ประจําชาติ อ ยู่ ป ระการหนึ่ ง คื อ มีความใจกว้าง โอบอ้อมอารี ดังนั้นทําให้ชาวต่า งชาติ ที่ มาติ ด ต่ อ คบค้ า กั บ คน ไทยมีทัศนคติ ที่ ดี ต่ อ คนไทยและมี ก ารแลกเปลี่ ย นความรู้ ค วามคิ ด รวมทั้ ง ศิลปวัฒนธรรมด้านต่างๆ ตลอดจนด้านภาษา คนไทยก็เปิ ด กว้ า งรั บ เอาภาษา ของชนชาติต่างๆ มามาก จนบางคํา ก็กลืนเป็ น คํ า ไทย ดั ง นั้ น การศึ ก ษาที่ มา ของคําต่างประเทศที่อยู่ ใ นภาษาไทย จะทํ า ให้ เ ราทราบถึ ง พั ฒ นาการของ ภาษาไทยในอีกแง่มุมหนึ่งได้

ค ายืมภาษาต่างประเทศ

| ๓


ประเภทของการยืมภาษา ๑. ยืมเนื่องจากวัฒนธรรม กลุ่มที่มีลักษณะทางวัฒนธรรมด้อยกว่าจะรับ เอาวั ฒ นธรรม จาก กลุ่มที่มีความเจริญมากกว่า ๒. ยืมเนื่องจากความใกล้ชิด การที่ ส องกลุ่ มใช้ ภ าษาต่ า งกั น ร่ ว มสั ง คมเดี ย วกั น หรื อ มี อาณาเขต ใกล้ชิดกัน มีความสัมพันธ์กันในชีวิตประจํ า วั น ทํ า ให้ เ กิ ด การ ยืมภาษาซึ่งกัน ๓. ยืมจากคนต่างกลุ่ม การยืมภาษาเดียวกันแต่ เ ป็ น ภาษาของผู้ ใ ช้ ที่ อ ยู่ ใ นสภาพที่ ต่างกัน

ประโยชน์ของการยืม การยืมทําให้ภาษาเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย มีอิทธิพลต่ อ วงศัพท์ซึ่งการยืมทําให้จํานวนศัพท์ในภาษามี ก ารเพิ่ มพู น เกิ ด วาระ การใช้ศัพท์ต่างๆ กันเป็นคําไวพจน์ คื อ คํ า ที่ มีค วามหมายเดี ย วกั น แต่เราเลือกใช้ตามโอกาสและตามความเหมาะสมทั้ ง ยั ง มี ป ระโยชน์ ในการแต่งบทร้องกรองเพราะมีหลากหลายคํา

๔ | ค ายืมภาษาต่างประเทศ


สาเหตุการยืมของภาษาไทย

การติดต่อสัมพันธ์กันทําให้ภาษาต่างประเทศ เข้า มาปะปนอยู่ ในภาษาไทย ด้วยสาเหตุหลายประการพอสรุปได้ดังนี้ ๑. ความสัมพันธ์กันทางเชื้อชาติและถิ่นที่อยู่อาศัยตามสภาพภูมิศาสตร์ ประเทศไทยมีอาณาเขตติดต่อหรือใกล้เ คี ย งกั น กั บ มิ ต รประเทศกั บ ประเทศต่าง ๆ หลายประเทศได้แก่ พม่า ลาว มาเลเซีย เขมร มอญ ญวน จึ ง ทํ า ให้ คนไทยที่อยู่อาศั ย บริ เ วณชายแดนมี ค วามเกี่ ย วพั น กั บ ชนชาติ ต่ า ง ๆ โดยปริ ย าย มีการเดินทางข้ามแดนไปมาหาสู่ซึ่งกันและกัน มีการแต่งงานกั น เป็ น ญาติ กั น จึ ง เป็ น สาเหตุสําคัญให้ภาษาของประเทศเหล่านั้นเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทย ๒. ความสัมพันธ์กันทางด้านประวัติศาสตร์ ชนชา ติ ไ ทยเป็ น ชนชาติ ที่ มีป ร ะวั ติ ศ าสตร์ อั น ยาวน าน มี กา ร อพยพโยกย้ายของคนไทยเข้ามาอยู่ในถิ่น ซึ่ ง ชนชาติ อื่ น เคยอาศั ย อยู่ ก่ อ น หรื อ มี การทําศึกสงครามกับชนชาติอื่น มี ก ารกวาดต้ อ นชนชาติ อื่ น เข้ า มาเป็ น เชลยศึ ก หรื อ ชน ชา ติ อื่ น อพยพเข้ า มา อยู่ ใน แผ่ น ดิ น ไทยด้ ว ยเหตุ ผ ล ต่ า ง ๆ และ อาจจะกลายเป็นคนไทย ในที่สุด ผลที่ตามมาก็คือคนเหล่านั้น ได้นําถ้อยคํ า ภาษาเดิ ม ของตนเองมาใช้ปะปนกับ ภาษาไทย ๓. ความสัมพันธ์กันทางด้านการค้า จากหลั ก ฐาน ทางด้ า นปร ะวั ติ ศ าสตร์ ชนชาติ ไ ทยมี ก าร ติ ด ต่ อ ค้าขายแลกเปลี่ยนสินค้ากั บ ชนชาติ ต่ า ง ๆ มาเป็ น เวลาอั น ยาวนาน เช่ น ชาวจี น ชาวโปรตุเกส ฝรั่งเศส อังกฤษ ฮอลันดา ตลอดถึงญี่ปุน ยิ่งป๎จจุบันการค้าขายระหว่ า ง ประเทศมีความสําคัญมากขึ้น มีการใช้ภาษา-ต่ า งประเทศในวงการธุ ร กิ จ มากขึ้ น คําภาษาต่างประเทศมีโอกาสเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทยได้ตลอดเวลาไม่มีวันสิ้น สุด

ค ายืมภาษาต่างประเทศ |


๔. ความสัมพันธ์ทางด้านศาสนา คนไทยมี เ สรี ภ า พในการยอมรั บ นั บ ถื อ ศาสนามา เป็ น เวลาช้ า นา น เมื่อยอมรับนับถือศาสนาใด ก็ย่อมได้รับถ้อยคําภาษาที่ใช้ในคําสอน หรือคําเรียกชื่ อ ต่ า ง ๆ ในทางศาสนา ของศาสนานั้น ๆ มาปะปนอยู่ ใ นภาษาไทยด้ ว ย เช่ น ศาสนาพุ ท ธใช้ ภาษาบาลี ศาสนาอิสลามใช้ภาษาอาหรับ และศาสนาคริสต์ใช้ภาษาอังกฤษ ๕. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี เมื่อชนชาติ ต่ า ง ๆ เข้ า มาสั มพั น ธ์ ติ ด ต่ อ กั บ ชนชาติ ไ ทย หรื อ เข้ า มา ตั้งหลักแหล่งอยู่ในประเทศไทย ย่อมนําเอาสิ่งที่เคยยึดถือปฏิบัติอยู่ในสังคมเดิ มของตนมา ประพฤติปฏิบัติในสังคมไทย ถ้อยคําภาษาที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมและประเพณี เ หล่ า นั้ น ก็กลายมาเป็นถ้อยคํา ภาษาในชีวิตประจําวันของคนไทยมากขึ้น จนถึงป๎จจุบันการหยิ บ ยื ม คํ า จากภาษาอื่ น มาใช้ ใ นการสื่ อ สารยั ง ไม่ มีที่ สิ้ น สุ ด ตราบใดที่ เ รายั ง ติ ด ต่ อ สั มพั น ธ์ กับชาวต่างชาติ การหยิบยืมภาษาต่างประเทศมาใช้ ใ นการสื่ อ สารจะต้ อ งคงมี ต ลอดไป ภาษาไทยหยิบยืมภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร เข้ า มาใช้ ใ นการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร ทั้งในส่วนของรูปคํา และความหมาย เป็ น เวลายาวนานจนคนไทยส่ ว นใหญ่ ไ ม่ ค่ อ ยมี ความรู้สึกว่าเป็นคําที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ ๖. ความก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยี ความก้าวหน้าทางวิทยาการและเทคโนโลยี ข องประเทศที่ เ จริ ญ แล้ ว ทําให้เกิดเครื่องมือเครื่องใช้สําหรับอํานวยความสะดวกแก่บุคคลในสัง คมต่ า ง ๆ คนไทยก็ ได้รับอิทธิพลจากความก้ า วหน้ า ทางวิ ท ยาการและเทคโนโลยี ข องประเทศเหล่ า นี้ มา เช่นเดียวกัน มีการสั่งซื้อเครื่องมือเครื่องใช้ใหม่ ๆ เข้ามาในประเทศไทยจํ า นวนมากมาย ชื่อของเครื่องมือเครื่องใช้และถ้อยคํา ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมื อ เครื่ อ งใช้ เ หล่ า นั้ น ได้ เ ข้ า มา ปะปนอยู่ในภาษาไทยมากขึ้น เช่น คอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ เอนเตอร์ แผ่ น ดิ ส ก์ ไอคอน เมาส์ เป็นต้น

๖ | ค ายืมภาษาต่างประเทศ


๗. การศึกษาวิชาการต่าง ๆ การศึกษาของไทยมีความเจริญก้าวหน้ามากยิ่ง ขึ้ น แต่ ค วามรู้ ใ น สาขาวิชาการต่าง ๆ ส่วนใหญ่ รั บ มาจากต่ า งประเทศ โดยเฉพาะการศึ ก ษาใน ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ทั้ ง วิ ท ยาลั ย มหา วิ ท ยาลั ย และ สถา บั น ต่ า ง ๆ มี ก าร ใช้ ตําราภาษาต่างประเทศ ประกอบการเรียนและศึกษาค้นคว้า นอกจากนี้ คนไทยยั ง นิยมเดินทางไปศึกษาวิชาการต่าง ๆ ในต่างประเทศ เมื่ อ กลั บ มาประเทศก็ ไ ด้ รั บ เอาคําบางคํา ของภาษาต่างประเทศเหล่านั้นมาใช้ปะปนกับภาษาไทยด้วย ๘. การศึกษาภาษาต่างประเทศโดยตรง ในประเทศมีการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ เพื่ อ ประโยชน์ ในการศึกษาวิชาภาษาไทยในระดับสูง เพราะเรารับรูปคําและวิธี ก ารสร้ า งคํ า จาก ภาษาเหล่านั้นมามากได้แก่ การศึกษาภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร และการศึกษาเพื่อประโยชน์ในการสื่อสารโดยตรง เช่ น การศึ ก ษาภาษาอั ง กฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาจีน ภาษาญี่ปุน เป็นต้น ๙. ความสัมพันธ์ส่วนตัวกับคนต่างชาติ มีคนไทยจํ า นวนมากมายที่ ค บหาสมาคมกั บ คนต่ า งชาติ และ มีคนไทยจํานวนไม่น้อย ที่สมรสกับคนต่างชาติ ทําให้มีการถ่ายทอดแลกเปลี่ ย นกั น ในทางภาษา ใช้ทั้งภาษาไทย และภาษาต่า งประเทศ ในครอบครั ว ของตนเอง จึงทําให้ภาษาต่างประเทศเข้ามา ปะปนอยู่ในภาษาไทยเพิ่มมากขึ้น ๑๐. ความสัมพันธ์ทางการทูต การเจริญสัมพันธ์ไมตรีกับประเทศต่าง ๆ ทําให้มีก ารใช้ ภ าษาใน ประเทศนั้น ๆ สื่อสารสัมพัน ธ์ กั น ทํ า ให้ เ กิ ด การแพร่ ก ระจายของภาษาต่ า ง ๆ เข้ามาในประเทศไทย ยิ่งในยุคหลังสงครามโลกครั้ ง ที่ ๒ ประเทศในทั่ ว โลกเริ่ มมี การสร้างเครือข่ายทางสังคมมากยิ่งขึ้น จึงยิ่งทําให้เกิดการและเปลี่ยนด้านภาษา

ค ายืมภาษาต่างประเทศ |


อิ ทธิพลของการยืมคาจากภาษาต่างประเทศ

การที่มีภาษาต่างประเทศต่าง ๆ ทั้งภาษาตะวั น ออกและ ภาษาตะวั น ตกเข้ า มาปะปนอยู่ ใ นภาษาไทยเป็ น จํ า นวนมาก การ รั บ คําภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้สื่อสารในภาษาไทย และคนไทยได้เรียนภาษา ต่ า งประเทศตร งมากขึ้ น จึ ง มี ก ารฝึ ก อออกเสี ย งตามเสี ย งของคํ า ใน ภาษาต่างประเทศ ทําให้เกิดการเปลี่ย นแปลงต่ อ การใช้ ภ าษาไทยในการ สื่อสารหลายประการ สรุป ได้ดังนี้

๑. ค ามีพ ยางค์มากขึ้น ภาษาไทยเป็นภาษาคํ า โดด เป็ น คํ า พยางค์เดียวเป็นส่วนมาก เช่น ตาม หมา เมื อ ง เดื อ น ดาว ฯลฯ เมื่ อ มี ก าร ยืมคําภาษาต่างประเทศมาใช้ ทําให้ภาษาไทยเปลี่ยนไป ดังนี้ ๑.๑ มีคําสองพยางค์ เช่น ๑.๒ มีคําสามพยางค์ เช่น ๑.๓ มีคํามากพยางค์ เช่น

๘ | ค ายืมภาษาต่างประเทศ

ถนน ราชา บิดา มารดา สามารถ ฯลฯ โทรเลข โทรศัพท์ พาหนะ จักรยาน กรณี โทรทัศน์ ปรารถนา ฯลฯ พลานามัย สาธารณะ มหาวิทยาลัย ฯลฯ


๒. มีค าควบกล้าใช้มากขึ้น ภาษาไทยคําพยางค์เดียวส่วนใหญ่ จะไม่มีคําที่มีพยัญชนะควบกล้ํา เมื่อยืมคําต่างประเทศมาใช้ ทําให้ มีคําควบกล้ําจํานวนมาก เช่น ฟรี ดรีม ปลูก โปรด เบรก เกรด เคลียร์ สปริง เครดิต คลินิก จันทรา ทฤษฎี ศาสตรา ปรารถนา แทรคเตอร์ เอ็นท รานซ์ ดรัมเมเยอร์ ฯลฯ

๓. มีค าไวพจน์ใช้มากขึ้น ทําให้มีคําศัพท์มีความหมายเหมือนกันเพิ่มขึ้น ซึ่งสะดวกและสามารถเลือกใช้คําได้เหมาะสมกับความต้องการ เช่น

นก (สกุณา สุโหนก วิหค ป๎กษา) ม้า (พาชี อาชา สินธพ) ผู้หญิง (สตรี นารี อิตถี กัญญา)

๔. ภาษาไทยมีตัว สะกดไม่ตรงมาตรา ซึ่งแต่เดิมภาษาไทยมีลักษณะเด่น อย่ า ง หนึ่ ง คื อ มี ก า ร สะ กดคํ า ตา มมา ตร า ตั ว สะ กด เมื่ อ ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจ า ก ภาษาต่างประเทศ คําส่วนใหญ่สะกดไม่ตรงตามมาตราเดิม เช่น เทนนิส กอล์ฟ ฟุตบอล ราษฎร รัฐบาล ครุฑ ฯลฯ

ค ายืมภาษาต่างประเทศ |


๕. ท าให้โ ครงสร้างของภาษาไทยเปลี่ย นไป จากข้อสังเกต ดังนี้ ๕.๑ ไม่ใช้ลักษณนาม ซึ่งตามปกติแล้วลักษณนามจะเกิ ด หลั ง จํ า นวน นับ เช่น นักศึกษา ๒ คน พระภิกษุ ๒ รูป ฯลฯ แต่เนื่องจากภาษาต่ า งประเทศที่ ไ ทย ยืมคํามาใช้บ างภาษาไม่ มีลั ก ษณนามอย่ า งในภาษาอั ง กฤษ จึ ง ทํ า ให้ ภ าษาไทยใช้ ลักษณนามผิดไปด้วย เช่น สองนักกีฬาได้รับชัยชนะ ประกาศปิดห้า สิบไฟแนนซ์ ฯลฯ

๕.๒ ใช้ คํ า และสํ า นวนภาษา ต่ า งประ เทศ ส่ ว น มากจะเป็ น คํ า และสํานวนจากภาษาอังกฤษ เช่น นวนิ ย ายเรื่ อ งนี้ เ ขี ย นโดยทมยั น ตี เขาได้ รั บ การ ต้อนรับอย่างอบอุ่น เขาบินไปต่างประเทศเพื่อทําธุรกิจ ฯลฯ ๕.๓ ใช้คําภาษาต่างประเทศปนกับภาษาไทย ทั้ง ๆ ที่ บ างคํ า มี คํ า ใน ภาษาไทยใช้ บางคนมี ร สนิ ย มพู ด ภาษาต่ า งประเทศโดยเฉพาะ ภาษาอั ง กฤษผสม กับภาษาไทย เช่น ผมไม่แคร์ (care) หมายความว่า ผมไม่สนใจ เขาไม่เคลียร์ (clear) หมายความว่า เขาไม่เข้าใจอย่างชัดเจน การรับภาษาต่างประเทศมาใช้ สื่ อ สารในภาษาไทย มี ทั้ ง ข้ อ ดี แ ละ ข้อเสีย คนไทยทุกคนพึงควรระมัดระวัง ในการนําภาษาต่างประเทศมาใช้ ใ นภาษาไทย ภาษาไทยเป็นภาษาประจํ า ชาติ ที่ ค นไทยใช้ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารมาเป็ น เวลาอั น ยาวนาน ดังนั้นการยืมคํา ภาษาต่า งประเทศเข้ า มาใช้ โ ดย วิธีการทับศัพท์ ควรใช้เฉพาะคํ า ที่ จําเป็นเท่ า นั้ น คํ า ใดมี คํ า ไทยใช้ หรื อ มี ศั พท์ บั ญ ญั ติ ใ ช้ แ ล้ ว ก็ ไ ม่ ควรนําภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ อีก และควรเรียงเรียงถ้ อ ยคํ า เข้ า ประโยคเพื่อใช้ในการสื่ อ สารตาม รูปแบบของภาษาไทย

๑๐ | ค ายืมภาษาต่างประเทศ



เพลง ค ายืมภาษาบาลี – สัน สกฤต (ท านองเพลง สาวอีสานรอรัก ศิลปิน ฝน ธนสุนธร) ภาษาบาลี – สันสกฤตใช้บ่อยในชีวิตประจําวันของเรา ถือเป็นคําสูงส่ง เผยแผ่คําสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เห็นบ่อยในวรรณคดีไทยเรา ชื่อจริงหญิงชายก็ยืมมาจากเขา ชัดเจนไหมเล่าว่าเราใช้ประจํา คําภาษาบาลี ชั้นจําได้อย่างดี มีเสียงวรรคห้าแถว วรรคที่หนึ่งวรรค “กะ” วรรคที่สองคือ “จะ” วรรคสาม “ฏะ” แน่แล้ว ออกเสียงเหมือนกัน “ตะ” วรรคที่สี่ “ปะ” วรรคห้าวรรคสุดท้ายแล้วนี่ เศษวรรคก็มีแปดตัวควรฟัง หีบ ลิง เรือ นฤคหิต ยักษ์ แหวน เสือ และ ฬ.จุฬา สระบาลีนั้นมีอยู่แปด อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ตัวอักษรบาลีรวมทั้งหมดแล้วมีสามสิบสามนะกานดา วิธีการสังเกต ถ้ามี ฬ. จุฬารู้แล้วว่าต้องใช่ ษ. ฤๅษี ศ. ศาลากลางไพร บวกสองตัวนี้รวมเข้าไป เป็นสามสิบห้าตัวไงพยัญชนะสันสกฤต สระ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา บวกเพิ่มเติมเอาสระบาลี รวมสิบสี่ตัวน้องสันสกฤต ตัวอย่าง ฤกษ์ ฤทธิ์ ประพฤติ ฤๅษี สังเกตคําสันสกฤตมักมีคําว่าเคราะห์และ ฑ. นางมณโฑ หรือมี รร หันอยู่ สามอย่างควรรู้ เช่นสวรรค์ จัณฑาล อนุเคราะห์ มณเฑียร ธรรม กรีฑา ครุฑ พิเคราะห์ บรรณารักษ์ ภรรยา บอกแค่นี้ก่อนจ้า แล้วไปศึกษานะเธอ

๑๒ | ภาษาบาลีและสันสกฤต


ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๑๓


๑๔ | ภาษาบาลีและสันสกฤต


ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๑๕


๑๖ | ภาษาบาลีและสันสกฤต


ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๑๗


๑๘ | ภาษาบาลีและสันสกฤต


ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๑๙


๒๐ | ภาษาบาลีและสันสกฤต


ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๒๑


๒๒ | ภาษาบาลีและสันสกฤต


ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๒๓


๒๔ | ภาษาบาลีและสันสกฤต


ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๒๕


๒๖ | ภาษาบาลีและสันสกฤต


ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๒๗


ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๒๘


การสมาสมีการสนธิ คําสนธิ คือ การสมาสคําโดยการเชื่อมคําเข้ า ระหว่ า งพยางค์ ห ลั ง ของ คําหน้า กั บ พยางค์ ห น้ า ของคํ า หลั ง เป็ น การย่ อ อั ก ขระให้ น้ อ ยลงเวลา อ่ า น จะเกิดเสียงกลมกลืนเป็นคําเดียวกัน เรียกว่า ค าสมาสมีก ารสนธิ

หลัก สัง เกตค าสนธิใ นภาษาไทย การสนธิแบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ ๑. สระสนธิ ๒. พยั ญ ชนะสนธิ ๓. นฤคหิตสนธิ ๑. สระสนธิ คือการนํา คํ า ที่ ล งท้ า ยด้ ว ยสระไปสนธิ กั บ คํ า ที่ ขึ้ น ค้ น ด้ ว ยสระ ซึ่งเมื่อสนธิแล้วจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระตามกฎเกณฑ์ ๑.๑ ตั ด สระพยางค์ ท้ า ยคํ า หน้ า แล้ ว ใช้ ส ระพยางค์ ห น้ า คํ า หลั ง ตัวอย่างเช่น ราช + อานุภาพ

=

ราชานุภาพ

สาธารณ + อุปโภค

=

สาธารณูปโภค

นิล + อุบล = นิลุบล ๑.๒ ตัดสระพยางค์ท้ายคําหน้า และใช้สระพยางค์ต้นของคํ า หลั ง โดยเปลี่ยนสระพยางค์ต้นของคําหลังดังนี้ อะ เป็น อา

ตัวอย่างเช่น

อิ

เป็น

เอ

อุ

เป็น

อู

อุ, อู

เป็น

โอ

พงศ + อวตาร

=

พงศาวตาร

ปรม + อินทร์

=

ปรเมนทร์

มหา + อิสี

=

มเหสี

ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๒๙


๑.๓ เปลี่ยนสระพยางค์ท้ายของคําหน้าเป็นพยัญชนะ ดังนี้ อิ อี เป็น ย อุ อู เป็น ว ใช้สระพยางค์ต้นของคําหลังซึ่งอาจเปลี่ยนรูปหรือไม่เปลี่ ย นรู ป ก็ ไ ด้ ในกรณี ที่ ส ระพยางค์ ต้ น ของคํ า หลั ง ไม่ ใ ช่ อิ อี อุ อู อย่ า งสระ ตรงพยางค์ท้ายของคําหน้า เช่น กิตติ + อากร = กิตยากร สามัคคี + อาจารย์ = สามัคยาจารย์ ธนู + อาคม = ธันวาคม คําสนธิบางคําไม่เปลี่ยนสระ อิ อี เป็น ย แต่ตั ด ทิ้ ง คําหลังจะไม่มี อิ อี ด้วยกัน เช่น ศักคิ + อานุภาพ = ราชินี+ อุปถัมภ์ = หัสดี + อาภรณ์ =

ทั้ ง สระพยางค์ ห น้ า ศักดานุภาพ ราชินูปถัมภ์ หัสดาภรณ์

๒. พยัญ ชนะสนธิ คือการเชื่ อ มคํ า ด้ ว ยพยั ญ ชนะเป็ น การเชื่ อ มเสี ย ง พยั ญ ชนะในพยา งค์ ท้ า ยของคํ า แรกกั บ เสี ย งพยั ญ ชนะหรื อ สร ะ ในพยางค์แรก ของคําหลังดังนี้ ๒.๑ สนธิเข้าด้วยวิธี โลโป คือลบพยางค์สุดท้ายของคํ า หน้ า ทิ้ ง ตัวอย่างเช่น นิรส + ภัย = นิรภัย ทุรส + พล = ทุรพล อายุรส + แพทย์ = อายุรแพทย์

๒.๒ สนธิเ ข้ า ด้ ว ยวิ ธี อาเสโท คื อ แปลงพยั ญ ชนะท้ า ยของ คําหน้าเป็นสระ โอ แล้วสนธิตามปกติ ตัวอย่างเช่น มนส + ภาพ = มโนภาพ ยสส + ธร = ยโสธร รหส + ฐาน = รโหฐาน

ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๓๐


๓. นฤคหิตสนธิ คือ การเชื่อมคําด้วยนฤคหิต เป็น การเชื่ อ มเมื่ อ พยางค์ ห ลั ง ของคําแรกเป็นนฤคหิตกับเสียงสระในพยางค์แรกของคํ า หลั ง มี ๓ วิ ธี ดั ง นี้ ๓.๑. นฤคหิ ต สน ธิ กั บ สระ ให้ เ ปลี่ ย น นฤคหิ ต เป็ น ม แล้ ว สนธิ กั น ตัวอย่างเช่น สํ + อาคม = สม + อาคม = สมาคม สํ + อุทัย= สม + อุทัย = สมุทัย ๓.๒ นฤคหิตสนธิกับพยัญชนะของวรรค ให้เปลี่ยนนฤคหิตเป็นพยัญชนะ ตัวสุดท้ายของพยัญชนะในแต่ละวรรค ได้แก่ วรรคกะ เป็น ง วรรคจะ เป็น ญ วรรคตะ เป็น น วรรคฏะ เป็น ณ วรรคปะ เป็น ม ตัวอย่างเช่น สํ + จร = สญ + จร = สัญจร สํ + นิบาต = สน + นิบาต = สันนิบาต ๓.๓ วร รคกะ เป็ น สนธิ กั บ พยั ญ ชนะ เศษวรรค ให้ เ ปลี่ ย นน ฤคหิ ต เป็น ง เช่น สํ + สาร = สงสาร สํ + หรณ์ = สังหรณ์

ตัวอย่ างคาสมาสแบบมีสนธิ

นครินทร์ ราโชวาท ราชานุสรณ์ คมนาคม ผลานิสงส์ ศิษ ยานุ ศิ ษ ย์ ราชิ น ยานุสรณ์ สมาคม จุลินทรีย์ ธนคาร มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิ งหาคม กันยายน ตุลาคม จุฬาลงกรณ์ รโหฐาน สงสาร หัสดาภรณ์ หัตถาจารย์ นโยบาย มหัศจรรย์ มหรรณพ คณาจารย์

ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๓๑


วิ ธีการนาคาภาษาบาลีและสันสกฤต มาใช้ในภาษาไทย ๑. เลือกรับคําภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น - เลือกรับแต่คําภาษาบาลี เช่น กังขา ขันติ จุติ เมตตา วินิ จ ฉั ย วิสัญญี ฯลฯ - เลือกรับแต่คําภาษาสันสกฤต เช่น จักรพรรดิ ตรรกะ ทรั พ ย์ ปรารถนา รักษา ฯลฯ - เลือกใช้รูปคําภาษาสันสกฤตแต่ใช้ความหมายของภาษาบาลี เช่น เปรต (ส.) แปลว่า ผู้ที่ต ายไปแล้ ว , วิ ญ ญาณของบรรพบุ รุ ษ เปต (บ.) แปลว่า ผู้ที่ตายไปแล้ว, สัตว์ในอบายภู มิ ป ระเภท หนึ่งซึ่งรับผลกรรมตามที่เคยทําไว้ ไทยใช้รูปคําตามภาษาสันสกฤต คือ “เปรต” ในความหมายของ ภาษาบาลี คือ สัตว์ในอบายภูมิประเภทหนึ่ ง ซึ่ ง รั บ ผลกรรมตามที่ เคยทําไว้ ปรเวณี (ส.) แปลว่ า ผมเปี ย , ผ้ า ซึ่ ง ทอจาก

เปลือกไม้ย้อมสี ปเวณี (บ.) แปลว่ า สิ่ ง ที่ สั ง คม ปฏิ บั ติ กั น มา อย่างต่อเนื่อง ไทยใช้รูปคําตามภาษาสั น สกฤต คือ “ประเพณี” ในความหมายของภาษาบาลี คือ สิ่งที่สังคมปฏิบัติกันมาอย่างต่อเนื่อง ๒.รับมาทั้งสองภาษาในความหมายเดี ย วกั น เช่น บาลี สันสกฤต ไทยใช้ความหมาย กํฺญา กนฺยกา กัญญา, กันยา หญิงสาว ๓. รับมาทั้ง สองภาษาแต่ ใ ช้ ใ นความหมายที่ ต่างกัน เช่น เขตฺต(บ.) ) ไทยใช้ความหมาย บริเวณ, แดน เกฺษตฺร(ส.) ไทยใช้ความหมาย นา, ไร่ แม่น้ําคงคา ประเทศอินเดีย

ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๓๒


ตัวอย่างการใช้คาภาษาบาลีและ ภาษาสันสกฤตในภาษาไทย “เต่าชอบโอ้อวด (คํเคยฺย ชาตก)” กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์เกิดเป็นรุก ขเทวดา ประจําอยู่ต้นไม้ อยู่ที่ฝ๎่งแม่น้ําคงคา สมัยนั้นมีปลาอยู่ ๒ ตั ว ตั ว หนึ่ ง อาศั ย อยู่ ในแม่น้ําคงคา อีกตัวหนึ่งอาศัยอยู่ในแม่น้ํายมุน า ปลาทั้ง ๒ ตัวเมื่อ ว่ า ยมาเจอ กันที่แม่น้ําทั้ง ๒ สายมาบรรจบกันตรงที่ต้นไม้นั้นอยู่ก็มักจะทุ่มเถี ย งกั น ว่ า ใคร งามกว่ากันเสมอ ต่างก็ว่าตัวเองนั้นงามกว่าอีกฝุายหนึ่ง ตกลงกั น ไม่ ไ ด้ สั ก ที จึ ง พากันไปหาเต่าตัวหนึ่งเป็นผู้ตัดสินให้ว่าใครงามกว่ากัน "ท่านเต่าผู้น่ารัก ขอท่านช่วยตัดสินให้พวกข้าพเจ้าเสียทีว่าใครงามกว่ากัน " เต่าตัดสิน ว่ า "ท่ า นปลาทั้ ง สอง ท่ า นที่ มีอ ยู่ แ ม่ น้ํ า คงคาก็ ง ามดี ไ ม่ มีที่ ติ ท่านที่อยู่แม่น้ํายมุ น าก็ ง ามดี ไ ม่ มีที่ ติ แต่ โ ดยรวมแล้ ว เรางามกว่ า พวก ท่ า น ทั้งสองอยู่ด“ี ปลาทั้ง ๒ ตัวฟ๎งคําตัดสินของเต่าแล้วก็ด่ามันกว่า "เจ้าเต่าชั่ว เจ้าไม่ตอบคําถามของพวกเรากลับตอบไปอย่างอื่น“ แล้วก็กล่าวเป็น คาถาว่า "ท่านไม่ตอบเรื่องที่เราถาม เราถามอย่างหนึ่ง ท่านกลับ ตอบ เสียงอีกอย่างหนึ่ง คนที่ยกย่องตนอง พวกเราไม่ชอบใจเลย“ ว่าแล้ว ปลาทั้ง ๒ ตั ว ก็ พ่น น้ํ า ใส่ เ ต่ า นั้ น เต่ า กลั บ ไปที่ อ ยู่ ข องตนตามเดิ ม เทวดา โพธิสัตว์เห็นเหตุก ารณ์นั้นโดยตลอดได้แต่ให้เสียงสาธุก าร

ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๓๓


ฝึกเพิ ่ม เสริ มทักษะ ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมพยัญชนะบาลีลงในตารางให้ ถูกต้อง

แถวที่ ๑

วรรค

แถวที่ ๒

วรรคกะ

แถวที่ ๓

แถวที่ ๔

วรรคจะ

วรรคฏะ

วรรคตะ

วรรคปะ

พยัญ ชนอวรรค มีดังนี้ ย ร ...........................................

ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๓๔

แถวที่ ๕


ตอนที๒่ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามดังต่อไปนี้ ๑. พยัญชนะของภาษาสันสกฤตมีมากกว่าภาษาบาลีกี่ตัว ได้แก่ อะไรบ้าง ตอบ ๒. สระภาษาสันสกฤตมีทั้งหมดกี่เสียง ได้แก่อะไรบ้าง ตอบ

ตอนที๓่ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียน “บ” หน้าข้อความที่เป็นภาษาบาลี และ “ส” หน้าข้อความที่เป็นภาษาสันสกฤต ………. ๑. สามี ………. ๓. ดัชนี ………. ๕. ดรรชนี ………. ๗. นฤคหิต ………. ๙. เขต ………. ๑๑. ไทยทาน ………. ๑๓. เขม ………. ๑๕. เกษียร ………. ๑๗. นารายณ์ ………. ๑๙. บริเวณ

………. ๒. สวามี ………. ๔. ฤดู ………. ๖. ฤษี ………. ๘. นิคหิต ………. ๑๐. เกษตร .……… ๑๒. เกียรติ ………. ๑๔. เกษม ……… ๑๖. ปราณี ………. ๑๘. อาสาฬห ………. ๒๐. อริยะ

ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๓๕


กิ จกรรมลองทาดู ๑. ให้ นั ก เรี ย นแบ่ ง กลุ่ ม กลุ่ มละ จํ า นวนเท่ า ๆ กั น จากนั้ น ครูผู้สอนแจกบัตรคําให้แต่ละกลุ่ม ซึ่ง มี บั ต รคํ า ที่ เ ป็ น คํ า ไทย และคําบาลีสันสกฤต ให้แต่ละกลุ่มแยกคําบาลีสันสกฤต ออกจากคําไทยให้ถูกต้อง ๒. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนํ า คํ า บาลี สั น สกฤตที่ ไ ด้ ทุ ก คํ า ไปแต่ ง นิ ท าน ๑ เรื่ อ งอย่ า งสร้ า งสร รค์ แ ล้ ว นํ า มาเล่ า ให้ เพื่ อ น กลุ่มอื่น ๆ ฟ๎งหน้าชั้นเรียน

๓. ให้นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ มจั บ บั ต รคํ า บาลี สั น สกฤตแล้ ว นํ า คํ า ที่ได้มา แสดงให้กลุ่มอื่นทายว่าคือคําว่าอะไร ๔. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแข่ ง กั น หาคํ า บาลี สั น สกฤตให้ ถู ก ต้ อ ง และมากที่สุด ๕. ให้ นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ มนั่ ง เป็ น แถวตอนเรี ย งหนึ่ ง จากนั้ น ให้คนสุดท้ายของแถวรับบัตรคําบาลีสันสกฤตจากครู ผู้ ส อน ไปอ่านแล้ ว กระซิ บ ส่ ง ต่ อ เพื่ อ นที่ อ ยู่ ข้ า งหน้ า ไปเรื่ อ ย ๆ จนถึ ง คนที่ อ ยู่ ห น้ า สุ ด แล้ ว ให้ ค น ที่ อ ยู่ ข้ า งหน้ า สุ ด ของ แต่ละแถวเขียนคําทีไ่ ด้ฟ๎งมาลงในกระดาษที่ ค รู ผู้ ส อนแจก ทําแบบนีไ้ ปเรื่อย ๆ จนหมดเวลาที่กําหนด กลุ่ มใดเขี ย นคํ า ได้ถูกต้องและเยอะที่สุดก็จะเป็นผู้ชนะ

ภาษาบาลีและสันสกฤต |

๓๖



เพลง ค ายืมภาษาเขมร (ท านองเพลง คิดถึงนะ ศิลปิน คณิตกุล เนตรบุตร) วันนี้เรามาเรียนรู้คํายืมกันเถอะ คํายืมเหล่านั้นมาจากเขมรไง รู้ไหมเธอ ถูกนํามาปนในภาษาไทยหลายคํา มีอยู่มากมายให้เราได้นํามาใช้กัน *ใช้ควบกล้ําก็มีเช่นคําว่า ปรุง ขลัง ไกร และใช้เป็นราชาศัพท์ด้วยนะ เช่น โปรด เสด็จ บรรทม ** ส่วนคําแผลงแล้วก็ยืมมาใช้ เช่น กังวล บําบัด จรัญ แผนก อีกคําอักษรนํามาใช้ปนไทย ที่รู้กันดีว่า สนุกสนาน นํามาเป็นคําวรรณคดี เช่น สลา สดํา ให้จํากันไว้ว่า คํายืมที่กล่าวมา ล้วนมาจากภาษาเขมร ใช้บัง บัน บํา นําหน้าที่มีสองพยางค์ บังคับ บันดาล บันลือ อีกบําเพ็ญ บําเหน็จไง (ซ้ํา * , ** ,* , **)

ภาษาเขมร |

๓๘


ความสัมพันธ์ของภาษาเขมรกับภาษาไทย ภาษาเขมรอยู่ในตระกูลภาษา มอญ – เขมร เขมรนั้ น มี ตั ว อีกษรของชาติตนเองใช้ ซึ่ ง ตั ว อั ก ษรเหล่ า นั้ น ได้ ดั ด แปลงมาจากอั ก ษรเท วนาครีของอินเดีย เพราะเหตุที่เขมรเคยเป็นชาติที่รุ่งเรื อ งในเขตแหลมทอง สุวรรณภู มิมาก่ อ นที่ ช าติ ไ ทยจะอพยพมาจากถิ่ น เดิ ม เมื่ อ ไทยลงมาตั้ ง ภูมิลําเนาอยู่ในดินแดนจึงถือเป็นผู้มาอยู่ใหม่ ประเทศไทยกั บ ประเทศเขมร ที่มีอาณาเขตติ ด ต่ อ กั น จึ ง ทํ า ให้ พลเมื อ งของทั้ ง สองประเทศมี ก ารติ ด ต่ อ สัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดมาเป็นเวลานาน ไทยเคยติดต่อค้า ขายกั บ เขมร เคย ทําสงครามกับเขมร ครอบครัวของไทยและเขมร ต่างก็เคยถูกกวาดต้ อ นเข้ า ไปเป็นเชลยอยู่ในดินแดนของกันและกัน ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกั บ เขมร เริ่มมานานตั้งแต่ก่อนสมัยสมัยกรุงสุโขทัยในระยะนั้นพวกขอม (ซึ่ ง ถ่ า ยทอด วัฒนธรรมให้ชาวเขมรป๎จจุบัน) มีความเจริญทางด้านวัฒนธรรมเป็ น อั น มาก ไทยจึงรับวัฒนธรรมขอมมาหลายอย่าง เช่น ทางด้านอัก ษรศาสตร์ ไทยรั บ ตัวอักษรขอมมาดัดแปลงและยังรับถ้อ ยคํ า ของขอมและเขมรเข้ า มาใช้ อี ก เป็นจํานวนมาก นอกจากนั้นยังรับ ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมด้านอื่น ๆ ของ ขอมอีกด้วย

ปราสาทนครวัด ประเทศกัมพูชา

ภาษาเขมร |

๓๙


ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็น ราชธานี ไทยกั บ เขมรก็ ยั ง เกี่ยวข้องกันอยู่ ทั้งด้า นการค้ า ขายและการสงครามโดยเฉพาะการ สงครามเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. ๑๘๙๕ ซึ่ ง เป็ น ปี ห ลั ก จากการสร้ า งกรุ ง ศรี อยุธยาแล้ว ๒ ปี ในระยะนี้เขมรเสื่อมอํานาจลง ไทยยกทัพไปตีเ ขมรอยู่ หลายครั้ ง จึ ง เป็ น ฝุ า ยถ่ า ยทอดวั ฒ นธรรมให้ เ ขมรบ้ า ง เมื่ อ ถึ ง สมั ย รัตนโกสินทร์ ไทยเป็นประเทศที่เจริญรุ่งเรือง มีอํ า นาจและวั ฒ นธรรม สูงกว่า เขมร เมื่ อ เจ้ า ครองนครเขมรมี เ รื่ อ งเดื อ ดร้ อ นก็ จ ะหนี มาพึ่ ง พร ะบร มโพธิ ส มภาร ของพร ะ มหา กษั ต ริ ย์ ไ ทย ได้ ศึ ก ษา ภา ษา ศิลปวัฒนธรรม ขนบประเพณีของไทย เขมรจึงได้รับสิ่ ง เหล่ า นี้ จ ากไทย ไปด้วยความเต็มใจ

ศิลาจารึก หลักที่ ๑ สมัยพ่อขุนรามคําแหงมหาราช

ประเทศไทยเองก็ ไ ด้ รั บ เอาวั ฒ นธรรมเขมรเข้ า มา เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านอักษรศาสตร์ ภาษาเขมรซึ่ ง นั บ เป็ น วัฒนธรรมแขนงหนึ่งจึงได้รับความนิยมนําเข้ามาใช้ปะปนกับภาษาไทย เป็นอันมาก ดังจะเห็นได้ว่าในศิลาจารึกของพ่อขุน รามคํ า แหง ซึ่ ง เป็ น หลักฐานทางเอกสารที่เก่าแก่ที่สุดที่เขียนเป็นอัก ษรไทย ก็ ไ ด้ ป รากฏมี คําเขมรปะปนอยู่แล้ว ตัวอย่างเช่น “กลางเมืองสุโขทัย มีน้ําตระพังโพย สี ใ สกิ น ดี …คนในเมื อ งสุ โ ขทั ย นี้ มักทาน ทักทรงศีล มักโอยทาน” (ด้านที่ ๒ บรรทัดที่ ๖ และ ๙)

ภาษาเขมร |

๔๐


ในภาษาไทยสมัยป๎จจุบัน ยังคงมีคํายืมจากภาษาเขมรใช้ อยู่มากมาย คําเขมรเหล่านี้มีทั้งที่ใช้อยู่ในภาษาเขียนและในภาษาพู ด ที่ ใ ช้ กันอยู่ทุกวัน แต่ทว่ามีหลายคําที่คนไทยไม่ เ คยนึ ก มาก่ อ นว่ า เป็ น คํ า ที่ ยื ม มาจากภาษาเขมร ทั้งนี้เพราะคําหลายคําที่ภาษาไทยยืมมาจากภาษาเขมร มีการดัดแปลงคําใหม่โดยไม่ได้คงลักษณะของคําเดิมไว้ ซึ่ ง การดั ด แปลงคํ า ในภาษาเขมรนี้ก็เพื่อให้คนไทยสามารถใช้เ ขี ย นและอ่ า นคํ า เหล่ า นั้ น ตาม ระบบไวยากรณ์ของภาษาไทยได้นั้นเอง ประเทศเขมรก็ มีก ารยื มลั ก ษณะของภาษาไทยไปใช้ เช่นกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการการเรียงประโยค ซึ่งภาษาเขมรนั้ น มี ระบบการเรียงประโยคที่คล้ายคลึงกับการเรียงประโยคในภาษาไทยมาก ไม่เพียงเท่านั้นการเรียงประโยคในลักษณะที่ เ ป็ น กาพย์ ก ลอนของเขมรก็ คล้ายคลึงกับภาษาไทย ตัวอย่างเช่น ภาษาเขมร ภาษาไทย โทสขลวนแองเมิลพุมยล โทษตนเองมองไม่เห็น เมิลยลแตมุขแอง มองเห็นแต่หน้าตนเอง ยลโทสถาชาคุณ เห็นโทษว่าเป็นคุณ ยลแอบุญถานรก เห็นบุญว่าเป็นนรก นักปราชญ์กันพากย์เทียง นักปราชญ์ถือคําเที่ยง ยกเจ็ญจายโดยร็ดูว์ หยิบใช้จ่ายตามฤดู

จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่ า การเรี ย งคํ า ของภาษาเขมรนั้ น มี ลั ก ษณะ คล้ายคลึงกับภาษาไทย รวมถึงมีการยืมคํ า จากภาษาบาลี สั น สกฤตมาใช้ เหมือนในภาษาไทยอีด้วย นอกจากตัวภาษาแล้ ว ตั ว อั ก ษรของเขมรที่ เรียกกันโดยทั่ว ๆ ไปว่า ‘อักษรขอม’ ก็ ไ ด้ รั บ ความยกย่ อ งนั บ ถื อ กั น ในหมู่ ค นไทย ว่ า เป็ น อั ก ษรที่ มี ค วามศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ มาเป็ น เวลานานมาจวบจนป๎จจุบันนี้ความเชื่อเช่นนั้นก็ยังคงมี อ ยู่ และ จะมีอยู่เรื่อยไปจนกว่าความเชื่ อ ถื อ ทางไสยศาสตร์ จ ะสู ญ สิ้ น หากนักเรี ย นได้ มีโ อกาสศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ หลั ก ความเชื่ อ ที่ มี ใ น ท้องถิ่นแถบชนบทก็ จ ะพบว่ า ความศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ข องอั ก ษรขอม ยังคงมีอยู่จนทุกวันนี้ ภาษาเขมร |

๔๑


ตัวอย่างคายืมภาษาเขมรในภาษาไทย คํ า เขมร ที่ นํ า มา ใช้ ใ นภาษา ไทยโดยมา กมั ก เปลี่ยนรูปและเสียงใหม่ ทั้งนี้เป็นเพราะมีคําเขมรหลายคํ า ที่ เ ขี ย น อีกอย่างหนึ่งแล้วออกเสียงอีกอย่างหนึ่ง ซึ่งทําให้การออกเสี ย งนั้ น จะไม่ตรงกับรูปเขียน เมื่ อ ไทยยื มภาษาเขมรมาใช้ ใ นภาษาไทย จะนิยมเขียนตามเสียงที่พูด ทําให้รูปของคําจึงไม่ เ หมื อ นกั บ รู ป คํ า เดิมในภาษาเขมร และบางคําภาษาไทยก็เขียนตามเสี ย งที่ ค นไทย ออกเสียงได้ถนัดโดยไม่สนใจรูปคํ า เดิ มของภาษาเขมรว่ า จะเป็ น เช่นไร ลักษณะเช่นนี้จึงทําให้รูปคําเขมรเมื่อนํามาใช้ ใ นภาษาไทย แล้วนั้นจะผิดเพี้ยนไปจากเดิม ตัวอย่างคํ า ที่ ไ ทยยื มมาจากภาษา เขมรมีดังต่อไปนี้ ค าเขมร กฺรบี กฺรลิง เกลีร เขฺมาจ เฌีร ตฺรกง ผฺลูง

อ่านว่า กฺรอ – เบย กฺรอ – เล็ง เกฺลอ ขฺม้อจ เฌอ ตฺรอ – กอง เผฺว

ไทยใช้ กระบือ กระลึง เกลอ โขมด เฌอ ตระกอง ผลู

แปลว่า ควาย จับ ถือ เพื่อน ผี ต้นไม้ กอด ทาง

ามื่อดงหมายพินทุ “.” อยู่บริเวณใต้ พยั ญ ชนะ หมายเหตุ : คําทีเช้ ่มีเครื หมายความว่าพยัญชนะนั้นไม่มีสระอาศัย เวลาอ่ า นให้ อ่ า นออก เสียงพยัญชนะนั้นควบกับพยัญชนะที่อยู่ถัดไปให้สนิทเสียง จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่าคําเขมรที่เ รานํ า มาใช้ ใ นภาษาไทย เรามักใช้ตามชนิดของคําเดิม หมายความว่าคํ า เดิ มในภาษาเขมร ทําหน้าที่เป็นคํานาม คํ า กริ ย า หรื อ คํ า วิ เ ศษณ์ เมื่ อ นํ า มาใช้ ใ น ภาษาไทย ก็จะคงหน้าที่เป็นคํานาม คํากริยา หรือคําวิเศษณ์ไว้

ภาษาเขมร |

๔๒

ปราสาทนครวัด นครธม สัญลักษณ์ประจําชาติกัมพูชา


วิธีการนาคาภาษาเขมรมาใช้ในภาษาไทย วิธีที่ไทยยืมคําเขมรมาใช้มีหลาบวิธี อาจแยกได้เป็น ๒ ด้าน คือด้านเสียง และด้านความหมาย ดังนี้

ด้านเสียง

๑. การออกเสียงตามรูปเขียน ได้ แก่ ค าเขมร คื ไกฺร เฉย เฉียง ชุก เชีง

อ่านว่า กือ ไกฺร เชย เชียง จุก เจิง

ไทยใช้ คือ ไกร เฉย เฉียง ชุก เชิง

๒. การออกเสียงตามเสียงภาษาเขมร ได้แก่

กระออม

ค าเขมร ขฺมง กฺอม ขฺจก จต ขฺนง ถฺนม

อ่านว่า คฺมอง กฺออม คฺจอก จอด คฺนอง ทฺนอม

ไทยใช้ ขมอง กระออม ขจอก จอด ขนอง ถนอม

๓. การเปลีย่ นแปลงเสียงเพื่อให้ออกเสียงได้ถนัด ระบบการออกเสียงของภาษาเขมรไม่เ หมื อ นกั บ ระบบการออกเสียงในภาษาไทย ดังนั้ น ทํ า ให้ คํ า บางคํ า ในภาษา เขมรเมื่อนํามาใช้ใ นภาษาไทยแล้ ว จํ า เป็ น ต้ อ งเปลี่ ย นแปลงรู ป เขียนให้เป็นรูปเดียวกับเสียงที่ออกเพื่อจะได้ อ อกเสี ย งได้ ถ นั ด ขึ้ น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเสียงของคํายืมที่มาจากภาษาเขมร

ภาษาเขมร |

๔๓


๓.๑ การเปลี่ยนแปลงเสีย ง เสีย งสูงต่า ภาษาเขมรนั้ น ไม่ มีร ะบบเสี ย งสู ง ต่ํ า ดังนั้นคําในภาษาเขมรจึ ง สามารถออกเสี ย งขึ้ น ลงได้ อ ย่ า งไม่ จํ า กั ด เมื่อไทยนําคําภาษาเขมรมาใช้ ใ นภาษาไทยและเขี ย นตั ว ตั ว อั ก ษร เดียวกันจึงมีการกําหนดเสี ย งสู ง ต่ํ า ให้ กั บ รู ป พยั ญ ชนะตามรู ป แบบ การออกเสียงของไทย เช่น การกําหนดให้ พยั ญ ชนะตั ว ข ฉ ฐ ถ ผ ส ห ในภาษาเขมรออกเสียงเป็นเสี ย งจั ต วา ดั ง นั้ น คํ า ในภาษาเขมร ที่เขียนด้วยพยัญชนะดังกล่าวจะออกเสียงเป็นเสียงจัต วา ได้ แ ก่ คํ า ว่ า ขลัง ขมัง ขมวน ขนุน เฉย เฉียง เฉลียวฉลาด เฉวียง ฉงน ฉุ น ทหาร สนิม เป็นต้น พยั ญ ชน ะตั ว อื่ น ที่ มีเ สี ย งสั้ น หรื อ เป็ น คํ า ตายก็ จะออกเสียงสูงต่ําตามระบบการออกเสี ย งของไทย ได้ แ ก่ คํ า ว่ า ชุ ก โชก จิ้งจอก จิ้งจก กระเพาะ มะกรูด ทวด เกราะ เป็นต้น

๓.๒ การเปลี่ยนแปลงรูปเขียนให้เป็นรูปเดีย วกับเสียง ได้แก่ก่ การใส่วรรณยุก ต์ คํายางคําในภาษาเขมรเมื่อนํามาใช้ใน ภาษาไทยแล้วอาจจะออกเสียงไม่ถนั ด เนื่ อ งจากลํ า พั ง แค่ เ สี ย งพยั ญ ชนะ สระ และตัวสะกด ไม่สามารถทําให้ออกเสียงนั้น ๆ ได้ จึงเป็นที่จะต้องใส่ ไ ม้ วรรณยุกต์เพื่อทําให้มีเสียงที่ต่างกันออกไป ดังตัวอย่างคําต่อไปนี้ คําเขมร เชื ชํา งาย จาย จาว งา ครึม แคร คํา

ไทยใช้ เชื่อ ช้ํา ง่าย จ่าย เจ่า ง่า เงื้อ ครึ้ม แคร่ ค้ํา แคร่ไม้ไม้

ภาษาเขมร |

๔๔


การเปลี่ย นแปลงพยัญ ชนะตัว สะกด เนื่ อ งจากคํ า ใน ภาษาไทยนั้นสามารถใช้พยัญชนะเป็นตัวสะกดได้เพียง ๘ ตัว ได้แก่ ก ด บ ง น ม ย ว ฉะนั้นคํา ในภาษาเขมรที่ยืมมาใช้ในภาษาไทยที่สะกดด้วยพยัญชนะ ที่ผิดแปลกไปจากนี้ก็มักจะมีการเปลี่ยนแปลงตัวสะกดให้เป็นไปตามแบบไทย เพื่อการอ่านออกเสียงที่สะดวกมากยิ่ ง ขึ้ น คํ า เขมรที่ เ ปลี่ ย นแปลงตั ว สะกด มีดังต่อไปนี้ จ เป็น ด ค าเขมร กฺรูจ โขฺมจ ขฺลาด ฏาจ่

ช เป็น ด ค าเขมร คช่

ล เป็น น ค าเขมร ตฺบาล่ ขฺนล่ คล่ ขฺวล่ขฺวาย ชล่ ชุล จนฺทล่

ไทยใช้ (มะ)กรูด โขมด ขลาด เด็ด

ไทยใช้ คด

ไทยใช้ ตะบัน ขนน โคน ขวนขวาย ชน ชุน จันทัน

ส เป็น ด ค าเขมร ถาส่ ฉลาส่ โปฺรส กฺรวส

ไทยใช้ ถาด ฉลาด โปรด กรวด

น เป็น ญ ค าเขมร เจฺรีญ สําขาน่

ไทยใช้ เจริญ สําคัญ

ล เป็น ญ ค าเขมร สฺราล ฆฺวาล

ไทยใช้ สราญ ควาญ

ภาษาเขมร |

๔๕


ร เป็น น ค าเขมร ชัร ฉุร ขฺนุร กฺฎาร งร เจียร คคีร กนฺโถร กงฺหาร เฎีร

ไทยใช้ ชัน ฉุน ขนุน กระดาน งอน เจียน ตะเคียน กระโถน กังหัน เดิน

ญ เป็น น ค าเขมร กฺรวาญ

ไทยใช้ กระวาน

เจียน คือการตัดออกที่ละน้อย เช่นการเจียนใบตอง

นอกจากนี้ยังมีคําเขมรที่ไทยยืมมาแล้วลบตัวสะกดทิ้งไป ได้แก่ ลบ ก ค าเขมร กฺบาก่ ลบ ส ค าเขมร กฺราส

ลบ ร ค าเขมร เคฺนร เขฺวร

ภาษาเขมร |

๔๖

ไทยใช้ กระบะ

ไทยใช้ กระ (ชื่อเต่าชนิดหนึ่ง)

ไทยใช้ คะเน เขว

เต่ากระ เป็นเต่าทะเลชนิดหนึ่ง พบมากทางทะเลฝ๎่งอันดามันของไทย


การเปลี่ยนแปลงพยัญ ชนะต้น ตามหลักเกณฑ์การออก เสียงของภาษาเขมรนั้น บางพยัญชนะจะออกเสียงต่างจากภาษาไทยอยู่ บ้ า ง ดังนั้นเมื่อนําคําในภาษาเขมรมาใช้ ใ นไทย จึ ง จํ า เป็ น ที่ จ ะต้ อ งเปลี่ ย นตั ว พยัญชนะบางตัว ให้ เ ข้ า กั บ การออกเสี ย งของได้ คํ า เขมรที่ เ ปลี่ ย นแปลง พยัญชนะต้นมีดังนี้ ฎ ในภาษาไทยออกเสียงเป็น ด จึงเขีย นเป็นรูป ด ค าเขมร อ่านว่า ไทยใช้ เฎีม เดิม เดิม ฎงหาย ดอก - ฮาย ไม้กระดองหาย (ไม้สงฟาง) ฎุจ โดจ ดุจ เฎีร เดอร์ เดิน ญ ในภาษาไทยออกเสียงเป็น ย จึงเขีย นเป็นรูป ย ค าเขมร อ่านว่า ไทยใช้ ํุะ ํุห์ ยุ ญี ญี ยี

ข ฌ ฒ ธ ภ ในภาษาไทยออกเสียงเป็น ค ช ท พ จึงเขีย นตามเสียงนัน้ ค าเขมร อ่านว่า ไทยใช้ ฆฺลําง เคลียง คลัง โฆฺลง โคลง โคลง ฌฺนะ เชฺนียะห์ ชนะ เฌฺลีย เชฺลย เชลย ธาง เทียง ทาง (ทางมะพร้าว) ธฺลุะ ทฺลุะห์ ทะลุ เภฺลา เพฺลิว เพลา (ขา) ฆุม คุม คุม เฆฺลงโฆฺลง เคฺลง - โคฺลง โคลงเคลง ฌฺมุส ชฺมุส์ ชะมด ธฺลาย เทฺลีย ทะลาย (หมาก) ธฺลวง ทฺลวง ทะลวง เภฺลีง เพฺลิง เพลิง ภาษาเขมร |

๔๗


๔. เปลี่ย นแปลงทั้งรูปเขียนและเสียง ได้แก่ ค าเขมร ไซฺร ชฺราบ เชฺรา ทฺรูง ทฺรม

อ่านว่า เจฺร็ย เจฺรียบ เจฺริว ตฺรูง ตฺรวม

ไทยใช้ ไทร ทราบ เทรา ทรวง โทรม

อ่านว่า ไซ ซาบ เซา ซวง โซม

๕. การกลายเสียงสระไปในลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ สระอา มี จ่ กลายเสียงเป็น เอะ ค าเขมร อ่านว่า ฎาจ่ ดัจ กาจ่ กัจ บํฌาจ่ บ็อม – นัจ ตฺราจ่ ตฺรัจ

ไทยใช้ เด็ด เก็จ (แก้วประดับ) บําเน็จ เตร็ด(เตร่)

สระเอ กลายเสียงเป็น เอีย ค าเขมร อ่านว่า เฉฺวง เชฺวง เกฺรว เกฺรว เกฺรวโกฺรธ เกฺรว – โกฺรด เฎง เดง กฺรเฬก กฺรอเลก

ไทยใช้ เฉวียง เกรียว(กราด) กริ้วโกรธ เดียง(สา) กระเหลียก

สระอี กลายเสียงเป็น อิ หรือ เอีย ค าเขมร อ่านว่า ไทยใช้ สฺนึม เซฺนิม สนิท ขฺสึก เคฺซิก กระซิก จฺรึบ เจฺริบ ขลิบ ขสึบ เคฺซิบ กระซิบ ขฺทึม คฺตึม กระเทียม ขฺทึง ขฺตึง กระทิง (ชื่อปลา) ภาษาเขมร |

๔๘


สระแอ กลายเสียงเป็น เอ ค าเขมร อ่านว่า แกฺรง แกรฺง

ไทยใช้ เกรง

สระอะ กลายเสีย งเป็น อิ ค าเขมร อ่านว่า จงฺริต จ็อง – เร็ด

ไทยใช้ จิ้งหลีด

สร ะอี กลายเสียงเป็น อา ค าเขมร อ่านว่า คีงคก่ กีง – กว็ก

ไทยใช้ คางคก

สระเออ กลายเสียงเป็น อา ค าเขมร อ่านว่า เกฺรีน เกริน

ไทยใช้ กราน (กฐิน)

สระอู กลายเสียงเป็น อัว ค าเขมร อ่านว่า ทฺรูง ตฺรง

ไทยใช้ ทรวง

ต้นกฐิน

๖. การเทีย บแนวเทียบผิด ในการยืมคํา ภาษาเขมรมาใช้ ใ นภาษาไทยนั้ น มี หลายครั้งที่ไทยเทียบพยัญชนะผิดไปจากรู ป คํ า เดิ มของภาษาเขมร ทําให้เมื่อนําคําภาษาเขมรมาแปลงเป็น ภาษาไทยก็ จ ะได้ รู ป คํ า ที่ ผิ ด แปลกไปจากรู ป คํ า เดิ มของภาษาเขมรมาก ตั ว อย่ า งเช่ น คํ า ใน ภาษาไทยที่มีคําว่า ‘กระ’ ข้างหน้า ซึ่งไทยเข้ า ใจว่ า ควรจะเที ย บได้ กับคําภาษาเขมรที่มี ขฺ นําหน้า แต่ความจริงแล้วคํ า ในภาษาไทยที่ มี ‘กระ’ นําหน้านั้นไม่ได้นํามาจากคําที่มี ขฺ นําหน้า ในภาษาเขมรเลย แม้แต่คําเดียว เช่น กระโปรง มาจากคําว่า กํา โปฺรง อ่านว่า ก็อมโปฺรง กระเชอ มาจากคําว่า กํฺเชี อ่านว่า ก็อนเจอ

จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่า คําที่ในภาษาไทยที่มี ‘กระ’ นํ า หน้ า นั้ น ไม่ ได้มาจากคําที่มี ขฺ นํ า หน้ า ในภาษาเขมร ซึ่ ง คํ า ว่ า ‘กระ’ นํ า หน้ า ใน ภาษาไทยนี้เกิ ด จากการเที ย บแนวเที ย บผิ ด คิ ด ว่ า ต้ อ งเที ย บกั บ คํ า ที่ มี ขฺ นําในภาษาเขมรนั้นเอง

ภาษาเขมร |

๔๙


๗. การแทรกเสียงสระ ในการยืมคําจากภาษาเขมรมาให้ในภาษาไทยนั้ น บางคําก็มีการแทรกเสียงสระเกิดขึ้น เพื่อ ความสะดวกในการอ่ า น ออกเสียงพยัญชนะควบในภาษาเขมร ตัวอย่างเช่น เกรี ย ล อ่ า นว่ า เกฺรียล แทรกเสียงสระอะ จะได้ กระเรียน เป็นต้น

ด้านความหมาย ๑. ความหมายแคบเข้า ควา มหมายแคบเข้ า หมายถึ ง คํ า ยื มที่ ไ ทย นํ า มาใช้ แ ล้ ว ความหมา ยของคํ า นั้ น แคบหรื อ จํ า กั ด ลงจา ก ความหมายในภาษาเดิ ม โดยภาษาเขมรที่ ใ ช้ ใ นภาษาไทย ที่ความหมายของคําแคบเข้ามี ๒ ลักษณะ ดังนี้ ๑.๑ การเลือ กใช้เพียงความหมายเดียว ได้แก่

ค าเขมร เภฺลง ชุก

ความหมาย ไทยใช้ ดนตรี บทเพลง เพลง ท่วงทํานอง พืชที่ขึ้นหนาแน่น ความ ชุก หนาแน่น

ความหมาย บทเพลง ความหนาแน่น

๑.๒ ใช้ในความหมายเฉพาะ ได้แก่ ค าเขมร จาน สฺรส่

กฺรูจ

ภาษาเขมร |

๕๐

ความหมาย ภาชนะใส่อาหารทุก อย่าง ความสด หน้าตาสดใส แต่งตัวเหมาะสม ส้มทุกชนิด

ไทยใช้ จาน สด

(มะ)กรูด

ความหมาย ภาชนะใส่อาหารที่มี ปากบานและก้นตื้น ความหมายตรงข้าม กับแห้ง ส้มชนิดหนึ่ง ผล ขรุขระ มีรสเปรี้ยว ผิวและใบมีกลิ่นหอม


๒. ความหมายขยายตัว ความหมายขยายตัวหมายถึง ความหมายของคํ า ที่ ยื มมาใช้ ในภาษาไทย ขยายความหมายออกจากความหมายของคํ า ในภาษาเดิ ม โดยภาษาเขมรที่ใช้ในภาษาไทยที่มีลักษณะความหมายขยายตัว ได้แก่ ค าเขมร ความหมาย เชีง เท้า ตีน

ไทยใช้ เชิง

ความหมาย เท้า หรือสิ่งที่อยู่ ข้างล่างสุดของวัตถุต่าง ๆ เช่น เชิงเขา เชิงตะกอน

๓. ความหมายย้ายที่ ความหมายย้ายที่หมายถึง ความหมายของคํ า ในภาษาเดิ ม สูญหายไป และคํานั้นได้นํามาใช้ ใ นภาษาไทยโดยกํ า หนดความหมายใหม่ โดยภาษาเขมรที่ใช้ในภาษาไทยที่มีลักษณะความหมายย้ายที่ ได้แก่ ค าเขมร ตฺรโพก

ความหมาย ไทยใช้ ก้น สะโพก

ภา สมฺรวจ สฺรวล

ได้ยิน เบา สะดวก สบาย ง่าย สบาย มีความสุข สังเวช น่า สงสาร

สฺรณุก สฺรโณะ

ลือ สราญ สรวล

ความหมาย อวัยวะของร่างกายเบื้องหลัง ถัดบั้นเอวลงไป มีเนื้อเป็นกระพุ้งทั้ง ๒ ข้าง โจษกัน กล่าวถึงอย่างเซ็งแซ่ สบายใจ เย็นใจ หัวเราะเฮฮา

สนุก

เพลินใจ เบิกบานใจ

เสนาะ

ไพเราะ น่าฟ๎ง

ภาษาเขมร |

๕๑


หลักสังเกตคายืมภาษาเขมรในภาษาไทย ๑. ค าเขมรมักสะกดด้วยพยัญชนะ จ ญ ล ร ส ตัวอย่างเช่น สะกดด้วย จ : อํานาจ เสร็จ เสด็จ เผด็จ ตํารวจ ฯลฯ สะกดด้วย ญ : เพ็ญ เผอิญ สําราญ ผจญ ครวญ ฯลฯ สะกดด้วย ร : ขจร อร กําธร ควร ตระการ ฯลฯ สะกดด้วย ล : กังวล ถกล ถวิล ดล ดาล สะกดด้วย ฯลฯ สะกดด้วย ส : ดํารัส จรัส ตรัส ฯลฯ ๒. ค าเขมรมักเป็นคาควบกล้า

ตัวอย่างเช่น กรวด ไพร กระทรวง กระโปรง ประเดิม

กระบือ ตระกอง กระเพาะ คลัง ปรุง

เกลอ โปรด กระจอก ควาญ เพลิง

ขลาด กราน โขลน ประชุม ผลาญ

ดวงจันทร์วันเพ็ญ หรือดวงจันทร์เต็มดวง

ภาษาเขมร |

๕๒

กระแส กรม เพลา ประกายพรึก


๓. ค าเขมรมักใช้อกั ษรนา ตัวอย่างเช่น ขยม เขนย ฉงาย ฉงน สนิม สนุก

โขมด จมูก ขนุน ฉลอง ขวนขวาย ฉนวน

เขม่า ถวาย ขยํา ฉลาด โตนด ถนน

ขนอง ฉนํา ขนม เฉลียว ขนง

เสวย เฉลียง จรวด ฉบับ สนาน

๔. ค าเขมรมักขึ้นต้นด้วยสระ อ า ได้แก่ กํา คํา จํา ชํา ดํา ตํา ทํา สํา อํา

ตัวอย่างเช่น กําหนด

กําเนิด

คํารบ

จําแนก

ชํานาญ ชํารุด

ดําเนิน ดํารง

ตํารวจ

ทํานบ

สํารวจ

ตํารา

อํานวย จํากัด จําหน่าย สําราญ

ตาลโตนด

ทําเนียบ

ดาริ

เขนย หรือหมอนหนุนของชาวกัมพูชา

ภาษาเขมร |

๕๓


๕. ค าเขมรมักขึ้นต้นด้วย บัง บัน บรร บา ตัวอย่างเช่น

บังเกิด บังควร บังคับ บังอาจ บําเหน็จ บําบัด

บันดาล บันเทิง บันดล บันทึก บํานาญ

บรรทม บรรทุก บรรทัด บรรจง บังคม

บรรสาน บรรจบ บรรเจิด บรรจุ บันได

บําเรอ บําบวง บําราศ บําเพ็ญ บรรเทา

๖. ค าเขมรมักเป็นคาที่นยิ มใช้เป็นคาราชาศัพท์ และใช้ในวรรณคดีหรือร้อยกรอง

ตัวอย่างเช่น แข ประทม ไถง เสนียด

ศก เชวง ผกาย สาแหรก

ศอ เฌอ ผกา แสะ

เรียม โดม สไบ สรวล

จ าได้ ง่ายดี ๑. คนเขมรชอบ จาน หญิง ลิง เรือ เสือ ๒. คนเขมรชอบควบ ๓. คนเขมรชอบนํา ๔. คนเขมรชอบอํา ๕. คนเขมรชอบระบํา ๖. คนเขมรชอบวรรณคดี

ภาษาเขมร |

๕๔

เฉนียน แถง เสน่ง โปรด


ตัวอย่างการใช้คาภาษาเขมรในภาษาไทย เปิดตานานลีล้ บั เขาพระวิหาร "ปราสา ทเขาพร ะวิ ห าร" หรื อ เรี ย กง่ า ยๆ ว่ า เขา พระวิ ห า ร เป็นปราสาทหินตามแบบศาสนาฮินดูที่ตั้งอยู่บริเวณเทื อ กเขา พนมดง รัก สูงจากระดับทะเลปานกลาง ๖๕๗ เมตร อยู่ใกล้ อุ ท ยานแห่ ง ชาติ เขาพระวิหาร อําเภอกัน ทรลั ก ษ์ จั ง หวั ด ศรี ส ะเกษ โดยปราสาทมี ลักษณะเป็นแบบศิลปะ บัน ทายศรี ลักษณะบางส่วนคล้ายคลึงกับพระ วิหารของปราสาทนครวัด มีพระศิวะเป็นองค์เทพสูงสุด เชื่อกันว่ า สร้ า ง ขึ้นเพื่อถวายพระศิวะที่ทรงประทับ บนยอดเขาไกรลาส ซึ่งเป็นยอดเขา สูงสุดของเขาพระสุเมรุ ความลี้ลับของเขาพระวิหารนั้นมีมากมาย ซึ่งในอดีตนั้ น เทื อ กเขา พนมดงรักเป็นสถานที่ติดต่อสัมพันธ์กันระหว่ า งที่ ร าบสู ง โคราชกั บ ที่ ราบเขมร ต่ํา การสถาปนาปราสาทพระวิหารเป็น แหล่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ต าม ความเชื่ อ ของคนท้ อ งถิ่ น และผู้ นั บ ถื อ ศาสนาฮิ น ดู มีขึ้ น ในรั ช สมั ย พระเจ้าชัยวรมันที่ ๒

ภาษาเขมร |

๕๕


นอกจากนี้ ยังทรงทําให้ปราสาทที่เป็นศูนย์กลางแห่งความเชื่ อ พิธีกรรมเกี่ยวกับบรรพบุรุษ และประเพณี สั ก การบู ช าอั น พ้ อ งกั บ เทศกา ลของเกษตร กร ควา มนิ ย มในการ ประ กอบพิ ธี ก รร ม ที่ ป ราสา ทพระวิ ห ารนํ า ไปสู่ ก ารขย ายตั ว ของชุ มชนใกล้ เ คี ย ง ตามจารึก กล่าวไว้ว่าพระองค์ส่ ง ‘ทิ ว ากรบั ณฑิ ต ’ มาบวงสร วง น พระศิวะ ทุกปี นอกจากนี้ยัง มี ชุ มชนโดยรอบที่ พระมหากษั ต ริ ย์ ทรงอุทิศไว้ให้รับใช้เทวสถาน อย่ า งเช่ น กุ รุ เ กษตร พะนุ ร ทะนง เป็นต้น ต่อมาปราสาทพระวิหารได้กลายเป็นแหล่งจาริก แสวงบุ ญ แก่คนทั่วไปจวบจนป๎จจุบันนี้ และนี่ คื อต านานเรื่ อ งลี้ ลั บ ของเขา พระวิหารในอดีตกาลที่เป็นเรื่องเล่าสืบทอดกันมารุ่ น สู่ รุ่ น หากใคร ได้มีโอกาสไปเที่ยวชมที่นี่ นอกจากจะได้ อิ่ มกั บ บรรยากาศโบราณ สถานที่เก่าแก่อย่างสมบูรณ์แล้ว เชื่อว่าอีกสิ่งหนึ่ ง ที่ ทุ ก คนต้ อ งรู้ สึ ก และสามารถสัมผัสได้นั่นคือความศักดิ์สิทธิ์ของสถานที่แห่งนี้นั่นเอง

ภาษาเขมร |

๕๖


ฝึกเพิ ่ม เสริ มทักษะ ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : ให้นักเรียนโยงเส้นจับคู่คําในภาษาไทยที่ยืมมา จากภาษาเขมรและรูปศัพท์เดิมของคําในภาษาเขมรต่อไปนี้

คาเขมร ฆฺลาง เภฺลา กฺบาก่ ถาส่ ทฺรูง กาจ่ ตฺราจ่ ขฺมง จฺลึบ แกฺรง

คาไทย กระบะ ทรวง ถาด เก็จ ขลิบ เกรง คลัง ขมอง เตร็ ด เพลา

ภาษาเขมร |

๕๗


ตอนที่ ๒ คํ า ชี้ แ จง : ให้ นั ก เรี ย นอธิ บ ายลั ก ษณะการยื ม คํ า ภา ษาเขมรใน ภาษาไทยของคําต่อไปนี้ พร้อมทั้งเขียนคําศัพท์เดิมของคํานั้น ๆ ด้วย คาไทย มะกรู ด ไกร คือ ถนอม กระดาน ทราบ เด็ด เดิน คางคก ขนุน

ภาษาเขมร |

๕๘

ลักษณะการยืมคา

คาเขมร


ตอนที่ ๓ คําชี้แจง : ให้นัก เรี ย นขี ด เส้ น ใต้ คํ า ที่ ยื มมาจากภาษาเขมรจากเรื่ อ ง ต่อไปนี้ จากนั้นนําคําเขมรที่ได้ไปแต่งเป็นเรื่องราวใหม่ ต ามจิ น ตนาการ ของนักเรียน นิท านเรือ่ ง จะแกสาเปิว (นางจิ้งจอก) กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว มีเงือกนางหนึ่งดวงหน้างดงาม ผมยาวสลวย เหมือนกอสาหร่าย ในทุกคืนวันเพ็ญ นางจะออกมานั่ง ที่ โ ขดหิ น พร้ อ ม กั บ บรรเลงพิ ณด้ ว ยความไพเราะ เสี ย งพิ ณ ของนางเสนาะหู มา ก มีอํานาจดลจิตให้ใครก็ตามที่ได้ยินทํา ตามสิ่ ง ที่ น างขอได้ ทุ ก ประการ วันหนึ่งมีชายหลงทางเดินมาเรียบชายหาด นางเงือ กเห็ น ชายคนนั้ น ก็ เกิดความรัก จึงเล่นพิณเพื่อดลใจให้ชายคนนั้ น มาอยู่ กั บ นางเป็ น สามี เมื่ออยู่กันไปได้ไม่นาน ชายหลงทางเกิดเฉลียวใจในตั ว เองว่ า ทํ า ไมถึ ง มาอยู่กับ นางเงื อ กได้ จึ ง แอบขโมยพิ ณของนางเงื อ กไปทํ า ลายทิ้ ง และหนีนางเงือกไป นางเงื อ กเจ็ บ ช้ํ า ระกํ า ใจมากจนตาย กลายเป็ น ฟองคลื่นในทะเล นิทานเรื่อง……………………………………………. ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………… ภาษาเขมร |

๕๙


กิ จกรรมลองทาดู ๑. ให้นักเรียนจับกลุ่มสํารวจรายชื่อสิ่งของที่อยู่ภายในห้ อ งเรี ย น หรื อ สํารวจคําในเอกสารต่าง ๆ ที่อยู่ในห้องเรียนที่เป็นคําที่ยืมมาจากภาษา เขมร จากนั้ น รวบรวมคํ า จั ด ทํ า เป็ น สมุ ด เล่ มเล็ ก บอกทั้ ง คํ า ศั พ ท์ ลักษณะการยืมคํา และคําศัพท์เดิมในภาษาเขมร ๒. ให้นักเรียนรวบรวมคําที่ยืมมาจากภาษาเขมรที่ใช้ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น พร้อมทั้งลักษณะการยื มคํ า และคํ า อ่ า นของคํ า ศั พท์ เ ดิ มแล้ ว นํ า มา ประชาสัมพันธ์ในความรู้กับนักเรียนอื่นในโรงเรี ย นบริ เ วณหน้ า เสาธง หลักจากเข้าแถวเคารพธงชาติ ๓. ให้ นั ก เรี ย นแบ่ ง กลุ่ มแล้ ว นํ า คํ า ที่ ยื มมาจากภาษาเขมรจํ า นวน ๒๐ คํา มาแต่งเป็นเรื่องสั้นหรื อ นิ ท านหนึ่ ง เรื่ อ ง จากนั้ น ให้ นั ก เรี ย น แต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมติในเรื่องสั้นหรือนิ ท านที่ นั ก เรี ย นแต่ ง ขึ้ น หน้าชั้นเรียน

๔. ให้ นั ก เรี ย นในชั้ น เรี ย นร่ ว มจั ด จั ด นิ ท รรศการในหั ว ข้ อ “คำใ ช้ ไทย – เขมร” ไว้บริเวณหน้าห้องเรี ย น เพื่ อ ให้ ค วามรู้ แ ก่ นั ก เรี ย นใน โรงเรียนเกี่ยวกับคําในภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร ๕. ให้นักเรียนในชั้นเรียนช่ว ยกั น แต่ ง เพลงเกี่ ย วกั บ ข้ อ สั ง เกตของคํ า ไทยที่ยืมมาจากภาษาเขมร แล้ ว ถ่ า ยเป็ น วี ดี โ ออั พโหลดลงเว็ บ ไซต์ YOUTUBE เพื่อให้นักเรียนสามารถจดจําข้อสังเกตของคํ า ไทยที่ ยื มมา จากภาษาเขมรได้ง่ายขึ้น อีกทั้งยังเป็นการแผ่แพร่ความรู้ ใ ห้ กั บ ผู้ อื่ น ได้ เป็นวงกว้าง

ภาษาเขมร |

๖๐



เพลง ค ายืมภาษาจีน (ท านองเพลง ปูน าขาเก ศิลปิน แคทรียา มารศรี) มีคําจีน ใช้มานมนาน เอาไว้ขับขาน สิ่งของมากมี ปะปนหลากหลายใช้กันให้ดี เธออยากรู้ไหม มาดูกันสิ เต้าหู้ เก๊กฮวย ก๋วยเตี๋ยว กวยจั๊บ เกี๊ยว เย็นตาโฟ บะหมี่ เปาะเปี๊ยะ เสียโป ปาท่องโก๋ พะโล้ ลิ้นจี่ คําจีนมีมากมาย เด็กทั้งหลายควรจําให้ดี (ซ้ําอีกหนึ่งรอบ)

ภาษาเขมร |

๖๒


ความสัมพันธ์ของภาษาจีนกับภาษาไทย ภาษาจีนเป็นภาษาตระกู ล ไซโนทิ เ บตั น (Sino-Tibetan) หรือเป็นภาษาที่ใช้กันอยู่ในกลุ่มคนที่อยู่ ใ นประเทศจี น และทิ เ บต บรรดาคํ า ในภาษาอื่ น ที่ เ รานํ า มาใช้ ใ นภาษาไทย มี คํ า ในภาษาจี น เท่ า นั้ น ที่ นั บ ว่ า เหมือนกับคําไทยมากที่สุด เนื่องจากคํามีลักษณะคล้ายคลึงกันมากจนสามารถ สังเกตเห็ น เค้ า ของภาษาได้ ว่ า แต่ เ ดิ มใช้ อ ย่ า งเดี ย วกั น แต่ มีเ สี ย งผิ ด กั น ไป เพราะ การแยกย้ า ยไปอยู่ ห่ า งกั น เว้ น แต่ คํ า ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใหม่ ภ ายหลั ง ทั้ ง นี้ เพร าะชนชา ติ ไ ทยที่ ต กค้ า งอยู่ ใ นถิ่ น เดิ ม ซึ่ ง เรี ย กว่ า เมื อ งจี น บั ด นี้ มีอ ยู่ จํานวนมาก และพวกที่อพยพถอยร่นลงมาทางใต้จนมาชาติ ไ ทยในป๎ จ จุ บั น ก็ มี อยู่ไม่น้อย พวกที่อยู่ในถิ่นเดิมถึงแม้จะได้รับชื่อใหม่ว่าเป็นจีน แต่ ภ าษาก็ ยั ง คง ใช้ภาษาไทย เพราะจะเปลี่ ย นภาษาไปทั น ที ทั น ใดเหมื อ นเปลี่ ย นชื่ อ ไม่ ไ ด้ ครั้ น ต่ อ มาภาษาของไทยในถิ่ น เดิ ม (ที่ เ ราเรี ย กจี น ) ก็ ค่ อ ย ๆ เปลี่ ย นไป เนื่องจากอยู่ห่างกันบ้าง อิทธิพลของภาษาอื่นบ้าง เกิดคําขึ้นใหม่บ้า ง ส่ ว นไทย พวกที่ อ พยพมาก็ รั บ เอาภาษาอื่ น เข้ า มาใช้ บ้ า ง เลิ ก ใช้ ภ าษาเดิ มของตน จนกลายเป็นคําโบราณหรือคําที่ตายแล้วบ้างคิ ด คํ า ขึ้ น ใหม่ บ้ า ง เหตุ นี้ คํ า ไทย ในถิ่ น เดิ ม กั บ คํ า ไทยใน ปร ะเทศจึ ง มี สํ า เนี ย งผิ ด เพี้ ย นกั น แต่ ก็ มีคํ า อยู่ จํานวนมากที่ยังมีเสียงพอจะสังเกตได้ว่าเป็นคําชนิดเดีย วกัน

หมู่บ้านเฟงฮวง มณฑลหูหนาน

ภาษาจีน |

๖๓


ตัวอย่างคํายืมภาษาจีนในภาษาไทย การยืมคําภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทยนั้น มักยืมมาจากภาษาจี น แต้จิ๋วและภาษาจีนฮกเกี้ยนมากกว่าภาษาจีนสาขาอื่ น เนื่ อ งจาก ชาวจีนแต้จิ๋วและชาวจีนฮกเกี้ยนได้อพยพเข้ า มาอยู่ ใ นประเทศ ไทยก่อนชาวจีนกลุ่มอื่น คําภาษาจีนที่ ยื มมาใช้ ใ นภาษาไทยมั ก เป็นคําที่เกี่ยวข้องกับวรรณคดี ความเชื่อ ศาสนา ประเพณี ฯลฯ ตัวอย่างเช่น ก๊ก ก๊ง กงไฉ่ กงเต๊ ก กงสี กวยจั๊ บ ก๋ ว ยเตี๋ ย ว กอเอี๊ ย ะ กังฉิน กุ๊ย กุยช่าย กุยเฮง เก๊เก๊ ก เกาเหลา เก้ า อี้ เกี้ ย มไฉ่ เกี้ ย มอี๋ เกี๊ ย ว เกี๊ ย ะ ง่ ว นจั น อั บ จั บ กั ง จั บ กิ้ ม จั บ เจี๋ ย ว จับฉ่าย จับยี่กี จ้าง จีนเต็งจีน แส เจ เจ่ ง เจ๊ ง เจี๋ ย น แจ โจ๊ก เฉาก๊วย แฉโพย ซวย ซาลาเปา ซิ น แส ซี อิ๊ ว ซี่ อิ้ ว เซ้ ง เซียน เซียมซี แซยิด ต๋ง ตงฉิน ตะหลิ ว ตั ง ฉ่ า ย ตั ง โอ๋ ตั๋ ว ตุ๋ น เต๋า เต้าหู้ ไต๋ ไต้ฝุน ถัว บ๊ะจ่าง ปุูงกี๋ เปาะเปี๊ยะ เปี ย โปฺ โผ มี่สั้ว ยี่ห้อ ล้าต้า ลิ้นจี่ ลื้อ สาลี่ห อง ห้ า ง หุ น หุ้ น ฮวงซุ้ ย ฮวน ฮ่อยจ๊อ ฮั้ว เฮง กังฟู เกาลัด จีน ขงจื๊อ ขิม ภาษาที่ใช้ประจําชาติของคนในประเทศจีน ไม่ ว่ า จะเป็ น ภาษากวางตุ้ ง แต้ จิ๋ ว แคะ ฮกเกี้ยน ไหหลํา ก็ตาม ก็สามารถเรียกว่าภาษาจีนทั้งสิ้น คํ า ที่ ใ ช้ ใ นภาษา นั้นเรียกว่า คําจีน คําไทยของคนไทยแต่ดั้ง เดิ มในแดนจี น ก็ เ รี ย กว่ า คํ า จี น ด้ ว ย ตามประวัติศาสตร์กล่าวว่าชาวกวางตุ้ง แต้จิ๋ว แคะ ฮกเกียนไหหลํ า นั้ น รกราก เดิมเป็นคนไทย เหตุนี้คําจีนจึงมีลักษณะคล้ายกับคําไทยมาก ดังต่อไปนี้ ค าจีน ก้า ก้อย เกีย เขี่ยง เถียม ปุูนตี้ ภาษาเขมร |

๖๔

ค าไทย ก้า, กล้า แก้ กัว, กล้า เขื่อง (เก่ง) แถม พื้นที่

ค าจีน เขียม กวั๋น (กวางตุ้ง) ซวย ติ้นหงัน บ๊อ มุ้ย

ค าไทย เขียม แคว้น ซวย, โซน,ชาย แต่งงาน บ่ (ไม่ม)ี ม้วย


คําลักษณะนามในภาษาจีนก็มีคําใช้เช่นเดียวกันกับในภาษาไทย เช่น จีน ไทย โกยเจ้ก เจียะ ไก่ หนึ่ง ตัว หนงเกียะ หนัง เด็กหนึ่ง คน ป๎กเกี๊ยะเจ้ก เลี้ยบ ฝรั่งหนึ่ง ผล เซาะบูเจ้ก ก่อ สบู่หนึ่ง ก้อน ชิ่ว เจ้ก ไปฺ มือ ข้าง หนึ่ง บางทีเรียงคําลักษณะนามไว้ข้างหน้า เหมือนอย่างภาษาไทยราพูดว่า สามเล่มสมุดไทย, หนึ่งเส้นผม, สองลูกภูเขา เช่น จีน ไทย เจ้ก คา ท่าง หนึ่ง ใบ ถัง (ถังหนึ่งใบ) เจ้ก ก้าย คี้ หนึ่ง ซี่ ฟ๎น (ฟ๎นหนึ่งซี)่ เจ้ก จัง ซวย หนึ่ง ต้น มะม่วง (มะม่วงหนึ่งต้น) เจ้ก ก้าย โตม หนี่ง ใบ ตุ่ม (ตุ่มหนึ่งใบ) เจ้ก กี เซ้าซิว หนึ่ง อัน ไม้กวาด (ไม้กวาดหนึ่งอัน) เจ้ก ตั้ง ฮู้ง หนึ่ง กระป฻อง แปูง (แปูงหนึ่งกระป฻อง)

วิธีเรียงคําเข้าประโยคเข้าประโยคในภาษาจีนก็คล้ายกับภาษาไทย คือเรียงบทประธานไว้หน้าต่อด้วยบทกริยาแล้วบทกรรม ตามลําดับ ถ้ามีบทยายของบทใด ก็เรียงบทขยายไว้ให้ใกล้เคียง กับบทนั้น ตัวอย่างเช่น จีน ไทย ลื้อกอยหอฮ้อ เธอแก้ดี ๆ (เช่นแก้คําผิด) ฮวงชวยเหลี่ยว ลมโชยแล้ว ฮ้ออาบ่วย ดีหรือยัง, เสร็จหรือยัง อีถอยจีถอยฮื่อ เขาดูโน่นดูนี่

ภาษาจีน |

๖๕


ทีมีเรียงคาลักษณวิเศษณ์ ไว้ ข้างหน้ า เช่น หล้ า หนัง = คน แก่ ตัว้ หนัง = คน ใหญ่ เซย ก๊ าย = สิ่ ง เล็ ก เห้ าแซ หนัง = คน หนุ่ม คาวิเศษณ์ ชนิดนี ้ ในภาษาไทยเราก็มี เช่น เฒ่า ชูชก, คาแว่น, หนุ่ม ชาวนา, น้ อง สมศรี, เล็ ก พริกขี ้หนู ฯลฯ

วิ ธีการนาคาภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทย คํ า จี น ที่ เ รานํ า มาใช้ ใ นภาษ าไทย โดยมากเป็ น คํ า นามที่ เ ป็ น ชื่ อของอาหารและเครื่ อ งใช้ ต่ า งกั บคํ า บาลี แ ละ สันสฤตที่ เ รานํ า มาใช้ ใ นภาษาไทย เพราะโดยมากเป็ น คํ า นาม ที่เป็นชื่อของอวัยวะในร่างกาย ชื่อเครื่องยา ชื่อโรคต่ า ง ๆ และชื่ อ ของนามธรรมที่เกี่ยวกับศาสนาและวิทยาการต่าง ๆ คําจีนที่เรานํามาใช้ โดยมากใช้ตามสําเนียงเดิ ม ถึ ง จะมีผิดเพี้ยนบ้างก็ไม่มาก พอฟ๎งกันรู้เรื่อง เช่น กาเหลา ฮื่อฉี่ แปฺะซะ ก๋วยเตี๋ ย ว เต้ า หู้ เต้ า ส่ ว น เต้ า ทึ ง เต้ า ฮวย เฉาก๊วย ตั้งฉ่าย กวยจั๊บ พะโล้ แฮ่กึ้น ไหมฝ๎น บะฉ่อ เกี๊ยว ฯลฯ

ที่เปลี่ยนเสียงไปจากเดิมก็มี แต่มักเป็นชื่อของเครื่องใช้ เช่น จีน ไทยใช้ ฮวงโล้ว อั้งโล่ เล่งซึ้ง ลังถึง ปุูงกี ปุูงกี๋ เตี้ยะหลิว ตะหลิว บ๊ะหมี่ บะหมี่ ภาษาเขมร |

๖๖


หลักการสังเกตคายืมภาษาจีนที่ใช้ในภาษาไทย ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีชาวจีนอพยพมาอาศัยอยู่มาก ชาวจี น เหล่ า นี้ ไ ด้ นํ า ภาษาจีนเข้ามาใช้ด้วย แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อนําคําเข้ามาได้มีการปรั บ เปลี่ ย นชื่ อ ให้ง่ายต่อการออกเสียงของคนไทย ซึ่งมีหลักสังเกตดังนี้ ๑.มักเป็นชื่ออาหาร อาหารเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่คนจีนได้ นํ า เข้ า มาในประเทศไทย ทําเกิดคําเรียกอาหารเหล่านั้น เช่น ก๋วยเตี๋ยว เต้าทึง แปฺะซะ เฉาก๊วย จับฉ่าย ๒.มักเป็นสิ่งของเครื่องใช่ที่รับมาจากชาวจีน อีกสิ่งหนึ่งที่ชาวจีนได้ นํ า เข้ า มาใน ตอนที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยด้วย คื อ สิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ เช่ น ตะหลิ ว ตึ ก เก้าอี้ เก๋ง ฮวงซุ้ย ๓.มักเป็นคําที่เกี่ยวกับการค้าและการจัดระบบการค้า เช่น เจ๊ ง บ๊ ว ย หุ้ น ห้ า ง โสหุ้ย ๔.มักเป็นคําที่ประกอบด้วยวรรณยุกต์ตรี และ จัตวา เป็นส่วนมาก เช่ น กวยจั๊ บ กุ๊ย เก๊ ก๊ก ก๋ง ตุ๋น

จ าได้ ง่ายดี ชาวจีน ชอบค้าขายอาหารและของใช้ในวรรณยุกต์ตรี จัตวา

พระราชวังต้องห้าม , กรุงป๎กกิ่ง

ภาษาจีน |

๖๗


ตัวอย่างการใช้คาภาษาจีนในภาษาไทย “ความสุขของวันชัย”

วันชัย เด็กชายวัยสิ บห้ าปี ที่เกิดในครอบครัว ของชาวจี น เขาอาศัยอยู่ในจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดที่ขึ ้นชื่อว่าเป็ น จัง หวัด ที่ มี ช าว จีนมากที่สุดในประเทศไทย เขาอาศัยอยู่กบั คุณแม่ ที่ มี อ าชี พ เป็ น แม่ ค้ า ขายก๋วยเตี๋ยว ทุก ๆ เช้ าเวลาประมาณหกโมง แม่ ข องเขาจะท าเกี๊ ยว น ้า อาหารสุ ดโปรดของเขาตังรอไว้ ้ ให้ ที่ โ ต๊ ะ ให้ เ ขารับประทานก่ อ นไป โรงเรียนเสมอ เพราะแม่ ต้ อ งออกไปขายก๋ ว ยเตี๋ ยวที่ ห น้ า ห้ า งดัง ใน อาเภอเมืองแต่เช้ าตรู ่ โรงเรียนที่วนั ชัยเรียนอยู่เป็ นโรงเรียนขยายโอกาส มี ตึ ก เรียนเพียงสองหลั ง เท่ า นัน้ มิ ห น าซ า้ โต๊ ะ และเก้ า อี ก้ ็ ไม่ เ พี ยงพอต่ อ จานวนนักเรียน อาหารกลางวัน ก็ ไม่ ได้ ห รู ห ราเหมื อ นโรงเรี ยนขยาย โอกาสทัว่ ๆ ไป แต่อาหารที่จะมีทุกวันคือจับฉ่ ายซึ่ง เป็ น อาหารที่ เ ขาไม่ ชอบที่สุด ทุก ๆ ครังที ้ ่เขารับประทานอาหารกลางวัน เขามักจะคิ ด ถึ ง อาหารที่แม่เขาขายทัง้ เกี๊ ยวน า้ ก๋ ว ยจั๊บ ก๋ ว ยเตี๋ ยวหมู ตุ๋ น เขาอยาก กลับไปรับประทานอาหารกลางวันที่บ้านทุ กวัน แต่ น ั่น เป็ น สิ่ ง ที่ เ ป็ น ไป ไม่ได้ เพราะถึงแม้ เขาจะได้ กลับบ้ านไปจริ ง ๆ แม่ ก็ไม่ ได้ อ ยู่ ท าอาหาร ให้ เขาทานอยู่แล้ ว หน้ า ที่ ข องเขาเมื่ อ กลั บไปถึ ง บ้ า น คื อ การท าความ สะอาดบ้ านให้ เสร็จก่อนที่แ ม่ จ ะกลั บมาถึ ง บ้ า น โดยเฉพาะการเรื่ อ ง เครื่องครัว หรืออุปกรณ์ สาหรับทาก๋วยเตี๋ยว ที่เขาต้ อ งท าให้ เ สร็ จ ก่ อ นที่ แม่เขาจะกลับมาเพื่อหมุนวนเปลี่ ยนผลัดกับอุ ปกรณ์ ท าก๋ ว ยเตี๋ ยวที่ แ ม่ จะนากลับบ้ านมาให้ เขาทาความสะอาดในทุก ๆ วัน ภาษาเขมร |

๖๘


ถึงแม้ แม่ของเขาจะทาอาชีพเป็ นแม่ค้าขายก๋วยเตี๋ยว แต่ สิ่ ง ที่แม่เขาขายไม่ได้ มีแต่ก๋วยเตี๋ยวเท่า นัน้ แม่ของเขาพยายามทาอาหารที่หลากหลายเพื่ อ เพิ่ ม รายได้ โดยเฉพาะอาหารจีนที่จาเป็ นต้ องอาศัยการทอดและนึ่ง ทังกระทะ ้ ตะหลิ ว กระชอน ซึ ้ง ฯลฯ หลังจากที่เขาทาความสะอาด เขาก็มกั จะนั่ง ท าการบ้ า น ที่โต๊ ะและเก้ าอี ้ประจาเสมอ หลังจากทาการบ้ านเสร็จแล้ ว เขาก็มกั จะอ่ า นนิ ต ยสารมื อ สองเกี่ยวกับรถยนต์ ที่ คุ ณ ครู ที่ ส อนรายวิ ช าภาษาไทยที่ โ รงเรี ยนให้ ม า เพราะรู้ ว่าเขาชอบ เขาชอบดูรูปภาพรถยนต์โดยเฉพาะรถสปอร์ ต เขาไม่ ได้ ต้ องการรถสปอร์ตที่เท่ ๆ เจ๋ง ๆ แบบในนิ ต ยสาร เขาต้ อ งการเพี ยงแค่ ร ถ กระบะ หรือรถเก๋งเพื่อขับรถไปส่ งแม่ทาก๋ว ยเตี๋ยวทุกเช้ า ก็เพียงพอแล้ ว หลังจากที่จบการศึกษาจากโรงเรียนมัธยมปลาย เขาได้ ร ับ โอกาสให้ ไปศึกษาต่อที่กรุ งเทพฯ เพราะคุณครู ที่โรงเรียนช่ว ยเหลื อ อุ ปการะ เขาและส่ งเขาเรียน เพราะ เขาเป็ นเด็กขยันและตังแต่ ้ ใจเรียนจนในที่ สุ ด เขา ก็ประสบความสาเร็จ ปัจจุบนั เขาเป็ นนักธุ ร กิ จ ที่ ถือ ครองหุ้ น มากที่ สุ ด ของ บริษัท

ภาษาจีน |

๖๙


ฝึกเพิ ่ม เสริ มทักษะ ตอนที่ ๑ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนคําภาษาจีนที่ใช้ในภาษาไทย พร้อม บอกความหมายตามพจนานุกรมมา ๑๐ คํา ค ายืมในภาษาจีน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐.

ภาษาเขมร |

๗๐

การแสดงเชิดสิงโตของชาวจีน

ความหมาย


ตอนที่ ๒ คําชี้แจง : ให้นักเรียนแยกคําภาษาจีน และคําภาษาอื่นที่ใช้ในภาษาไทยไปใส่ ในช่องว่างให้ถูกต้อง จ้าง เบี้ย โลมา เกาเหลา ง่วน เดิน โจ๊ก สาแหรก เซียน อาจารย์ ไต้ฝุน นาฬิกา ตั๋ว ทุเรียน อัคนี ถัว กษัตริย์ ลิ้นจี่ ปลาบู่ ขิม มังกร บะหมี่ สุนัข อีกา จังหัน คายืมที่มาจากภาษาจีน

คาภาษาอื่น

ตอนที่ ๓ คาชี ้แจง ให้ นกั เรียนยกตัว อย่ า งค าภาษาจี น ตามกลุ่ ม ที่ กาหนดให้ ต่ อ ไปนี ้ กลุ่ มละ ๑๐ คา

ค าที่เป็นชือ่ อาหาร

ค าที่เป็นเครือ่ งใช้

ค าที่เกี่ยวกับการค้า

ภาษาจีน |

๗๑


กิ จกรรมลองทาดู ๑. ให้นักเรียนร่ว มอภิ ป รายความสั มพั น ธ์ ร ะหว่ า งภาษาจี น และ ภาษาไทย ๑.๑ ภาษาจีนและภาษาไทยมีความสัมพันธ์กันอย่างไร มี ลั ก ษณะที่ เหมือนและแตกต่างกันอย่างไร ๑.๒ เพราะเหตุใดจึงต้องมีการยืมคําภาษาจีนมาใช้ในภาษาไทย ๒. ให้นักเรียนสรุปข้อสังเกตคําภาษาจีนที่ใช้ในภาษาไทยในรู ป แบบ Infographic ๓. ให้ นั ก เรี ย น จั ด ทํ า แผ่ น ปู า ย ควา มรู้ เ รื่ อ งคํ า ยื มภาษา จี น ใน ภาษาไทย พร้อมกับตกแต่งให้สวยงาม แล้วนําไปติ ด ไว้ ต ามสถานที่ ต่าง ๆ ในโรงเรียน อาทิ ทางเดิน หน้าห้ อ งน้ํ า หรื อ ทางเข้ า ประตู โรงเรี ย น เพื่ อ เป็ น กา รเผย แพร่ ค วา มรู้ ใ นแต่ นั ก เรี ย นคนอื่ น ในโรงเรียน ๔. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มสาธิ ต การทํ า อาหารที่ มาจากประเทศจี น แล้วแบ่งกันรับประทานในห้องเรียน ๕. ให้นักเรียนจับกลุ่ม กลุ่มละ ๒-๕ คน สรุ ป วิ ธี ก ารนํ า ภาษาจี น มาใช้ในภาษาไทยลงในกระดาษขนาดเอหนึ่ ง ตกแต่ ง ให้ ส วยงาม แล้วนํามาเสนอหน้าชั้นเรียน

ภาษาเขมร |

๗๒



เพลงคายืมภาษาอังกฤษ (ท านองเพลง รักคือฝันไป ศิลปิน วง สาว สาว สาว)

*คําอังกฤษคิดไปยิ่งสับสน มีปะปนทั่วไปใช้สื่อสาร เจรจาพาทีมาเนิ่นนาน มาดูกันเธอฉันจําให้ดี **วัคซีน มอร์ฟีน โปรตีน ทอฟฟี่ สปาเก็ตตี้ คุกกี้ คอมพิวเตอร์ เกียร์ เลเซอร์ เปอร์เซ็นต์ โชว์ แคปซูล ไดนาโม โควตา การ์ตูน (ซ้ํา * , **) ลาล้าลาลาล่าลาล่า ล้าลาลาล่าลาล่า ละละลาลา ล้าลา ลาลันลันลา ลันล่าลา ล้าล้าลาลาลันลาล่า ลาล่าล้าล่า

ภาษาอัง กฤษ |

๗๔


ความสัมพันธ์ของภาษาอังกฤษกับภาษาไทย ภา ษา อั ง กฤษเป็ น ภา ษา ที่ มี อุปสรรค วิภัต ติ ป๎ จ จั ย เช่ น เดี ย วกั บ ภาษาบาลี และสันสกฤต จึ ง มี วิ ธี เ ปลี่ ย นรู ป คํ า และใช้ คํ า ให้ เป็ น บุ รุ ษ ลึ ง ค์ พจ น์ การ ก และกาลต่ า งๆ ภาษาอังกฤษเป็ น ภาษาที่ เ จริ ญ แพร่ ห ลายไปทั่ ว โลก เป็นสื่อสัมพันธ์ในการค้าขายและการเผยแพร่ วั ฒ นธรร มตะวั น ตกไปยั ง ส่ ว น ต่ า งๆของโลก เพราะฉะนั้น คําอังกฤษจึงแทรกซึมเข้าไปในภาษา ลอนดอนเป็นเมืองที่มีระบบขนส่ง สาธารณะที่ดีที่สุดในโลก ของชาติต่างๆรวมทั้งภาษาไทยเราด้วย การที่คําอังกฤษเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทย เนื่องจากสาเหตุหลัก ๒ ประการ ได้แก่ ๑ . เ นื่ อ ง จ าก ก าร ค้ า ข าย คื อ ชน ชา ติ ที่ ใ ช้ ภาษาอังกฤษได้เข้ามาค้าขายติดต่อกับประเทศไทยเมื่อจะขายสิ น ค้ า อะไรก็เรียกชื่อสินค้านั้นเป็นภาษาอังกฤษ ถ้าเป็ น สิ น ค้ า ที่ เ คยมี ห รื อ เคยรู้จักกันในเมืองไทยแล้ว เราก็เรียกชื่อสินค้านั้นเป็นคําไทย แต่ ถ้ า สินค้านั้นเป็นของใหม่ไม่เคยมีปรากฏในเมืองไทย เราก็ ตั้ ง คํ า ขึ้ น ใหม่ เช่น ปากกาหมึกซึม เสื้อฝน รถยนต์ เรือไฟ โรงสี จักรเย็ บ ผ้ า ถุ ง มื อ ถุงเท้ า พิ มพ์ ดี ด ฯลฯ แต่ คํ า ใดเมื่ อ ตั้ ง ขึ้ น แล้ ว ภายหลั ง เห็ น ว่ า ไม่ เหมาะสมก็เปลี่ยนแปลงแก้ไขใหม่ ตัวอย่างเช่น

หนัง ชักรูป รถถีบ รถไอ

เปลี่ยนเป็น ” ” ” ฯลฯ

ภาพยนตร์ ถ่ายรูป รถจักรยาน รถราง

ภาษาอัง กฤษ |

๗๕


ถ้ า หากคํ า ไทยใช้ แ ทน ไม่ ไ ด้ ก็ เ รี ย กชื่ อ ตา ม สําเนียงอังกฤษ ซึ่งอาจผิดเพี้ยนไปบ้างเพราะในชั้ น แรกหู ข องเรา ไม่ เ คยชิ น ต่ อ สํ า เนี ย งอั ง กฤษ เราจึ ง รั ก เสี ย งอั ง กฤษเข้ า มาหา แนวสํ า เนี ย งของไทย ตา มความถนั ด ของเรา เพรา ะฉะนั้ น เราจึงเรียก เทเลกร๊าฟ เป็น ตะแล้บแก๊บ ตฺรอลฺลี ” สาลี่ (รถราง) ไปปฺ ” แปฺบ สเทชั่น ” สะเตแท่น บางคําก็ออกเสียงใกล้กับสําเนียงเดิม เพราะเป็ น เสียงที่ไม่ขัดกับลิ้นของคนไทย เช่น มอร์ เ ตอร์ ค าร์ มอเตอร์ ไ ซค์ อาลูมิเนียม มัสลิน เชิ้ต ฯลฯ คําพวกนี้บางคําก็เลิกใช้เพราะหาคํ า ไทยใช้แทนได้ในภายหลัง

๒. เนื่อ งจากการศึก ษา เมื่อไทยมองเห็นความสํ า คั ญ ในการ ติดต่อกับชนชาติตะวันตก เพราะมีทางที่จะทําการค้าขายและถ่ายเทวิช าความรู้ เข้ า มา สร้ า งควา มเจริ ญ ให้ แ ก่ ป ระ เทศชาติ จึ ง ได้ เ ริ่ มสนใจในกา รศึ ก ษา ภาษาอังกฤษโดยพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นํา การศึกษาภาษาอังกฤษได้ เ ริ่ มต้ น จากราชสํานักก่อนแล้วก็แพร่หลายไปในหมู่ข้าราชการและประชาชน จนกระทั่ง ส่งนักเรียนไทยไปศึกษาโดยตรงที่ประเทศอังกฤษ และในที่ สุ ด ได้ เ พิ่ มหลั ก สู ต ร การสอนภาษาอังกฤษขึ้นทั่วพระราชอาณาจักร นับเป็นภาษาสํ า คั ญ ที่ ส อนรอง จากภาษาไทยสําคัญยิ่งกว่าบาลีแ ละสั น สกฤต ซึ่ ง เราถื อ เป็ น แม่ ภ าษาเสี ย อี ก เพราะนั ก เรี ย นที่ เ รี ย นสู ง เกิ น กว่ า ประโยคประถมศึ ก ษา จํ า เป็ น ต้ อ งเรี ย น ภาษาอังกฤษทุกคน เมื่ อ เราเรี ย น ภาษาอั ง กฤษและนํ า วิ ช าความรู้ จ ากตํ า ร า ภาษาอังกฤษเข้ามาใช้ คําในภาษาอังกฤษที่เราหาคําไทยใช้ แ ทนไม่ ไ ด้ จึ ง เข้ า มา ปนในภาษาไทย และยิ่ ง ปนมากขึ้ น ตามลํ า ดั บ ความเจริ ญ ในการศึ ก ษาและ ความสัมพันธ์ระหว่างชาติทั้งสอง และเพราะการศึ ก ษานี่ เ อง คํ า อั ง กฤษที่ เ รา นํามาใช้ในยุคหลังจึงมีสําเนียงเป็นอังกฤษมากกว่าในยุคแรก แต่อย่าลืมว่า เรานํ า เฉพาะคํ า อั ง กฤษเข้ า มา ใช้ ไม่ ไ ด้ นํ า ระ เบี ย บไวยา กรณ์ ใ น ภาษาอั ง กฤษ เข้ามาใช้ด้วย ภาษาอัง กฤษ |

๗๖


เพรา ะฉะ นั้ น เร า จึ ง ตั ด วิ ธี เ ปลี่ ย นรู ป ตา มหลั ก ไวยากร ณ์ ข องเขา ทั้ ง สิ้ น เช่นเดียวกับเราตัดวิ ธี เ ปลี่ ย นวิ ภั ต ติ แ ละการั น ต์ ใ นคํ า บาลี แ ละสั น สกฤตออก แล้วนํามาใช้ ต ามระเบี ย บไวยากรณ์ ข องไทย เพราะฉะนั้ น คํ า อั ง กฤษที่ เ รา นํามาใช้ในภาษาไทย จึงเป็นคําเอกพจน์ ใ นภาษาเดิ มเขาทั้ ง สิ้ น เช่ น ฟุ ต ไมล์ ปอนด์ ดอลลาร์ ฯลฯ เมื่ อ นํ า มาใช้ ใ นภาษาไทยต้ อ งถื อ ว่ า เป็ น อพจน์ ทั้ ง สิ้ น ถ้ า ต้ อ งการจะ ให้ เ ป็ น เอกพจ น์ ห รื อ พหู พจน์ ต้ อ งมี คํ า ประ กอบอี ก ชั้ น หนึ่ ง โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงรูป เพราะถือว่าเป็นคําที่ขึ้นอยู่ในระเบียบไวยากรณ์ ไ ทย ตัวอย่างเช่น หนึ่งฟุต สองฟุต (ไม่ใช่สองฟิต) หนึ่งไมล์ สองไมล์ (ไม่ใช่สองไมลฺสฺ) หนึ่งปอนด์ สองปอนด์ (ไม่ใช่สองปอนดฺสฺ) หนึ่งดอลลาร์ สองดอลลาร์ (ไม่ใช่สองดอลลารฺสฺ) คานามที่เป็ นชื่อประเทศ ชื่อคน และชื่อภาษา ในภาษาอังกฤษมี รู ปต่างกัน ตัวอย่างเช่น ชื่อประเทศ ชื่อคนและภาษา อิงแลนดฺ อิงลิ ช ฟรานชฺ เฟร็นชฺ อิตาลี อิตาเลี ยน อินเดีย อินเดียน ยุโรป ยุโรเปี ยน ไชนา ไชนิส เบอรฺมารฺ เบอรฺมิส ไซแอม ไซมิส ฯลฯ

สโตนเฮนจ์ สหราชอาณาจักร

ภาษาอัง กฤษ |

๗๗


แต่ ต ามหลั ก ภาษาไทยใช้ รู ป เดี ย วเหมื อ นกั น หมดทั้ ง ชื่ อ ประเทศ ชื่อคนและชื่อภาษา ตัวอย่างเช่น ชื่อ ประเทศ ชาว ภาษา อังกฤษ อังกฤษ อังกฤษ ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส อิตาลี อิตาลี อิตาลี อินเดีย อินเดีย อินเดีย จีน จีน จีน พม่า พม่า พม่า ฯลฯ คําเหล่านี้แม้เป็นภาษาต่างประเทศ แต่ เ มื่ อ นํ า มาใช้ ใ น ภาษาไทย ก็ต้องเป็นไปตามหลั ก ไวยากรณ์ ไ ทย ซึ่ ง มี คํ า ว่ า “ประเทศ” “ชาว” และ “ภาษา” นําหน้าให้เห็นความต่ า งกั น อยู่ แ ล้ ว และการออก เสียงก็เป็นไปตามความนิยมของไทย เช่ น เดี ย วกั บ ในภาษาอั ง กฤษที่ อ อก เสียงสยามเป็น “ไซแอม” และที่เปลี่ยนสยามเป็น “ไซมิ ส ” ก็ เ ป็ น ไปตาม กฎไวยา กร ณ์ ข องเขา ซึ่ ง เป็ น ควา มถู ก ต้ อ งตา มหลั ก ภา ษา แล้ ว การที่พูดว่า “ชาวอิ ต าเลี ย นในประเทศอิ ต าลี ” หรื อ “ชาวฟิ ลิ ป ปิ โ น” ในประเทศฟิลิปปินส์” เป็นต้น นับว่าขัดกับระเบียบของภาษาไทย ตามตัวอย่างที่กล่าวมานี้ จะเห็นว่า ในภาษาไทยเราเอา คํานามที่เป็นชื่อประเทศเป็นคํายืมโดยมาก ส่วนคําว่า “เยอรมนี ” เราจะ ใช้ว่า “ประเทศเยอรมัน” ก็ไม่ขัด เพราะเราเคยใช้ทั้ง ภาษาพู ด และภาษา เขียนมาแล้ว เมื่อใช้ว่า ประเทศเยอรมัน ชาวเยอรมัน ก็จะเข้ า ระเบี ย บกั น ดี และการที่เราใช้ว่า “ประเทศอั ง กฤษ” โดยไม่ คํ า นึ ง ถึ ง “ประเทศอิ ง แลนดฺ” ก็เป็นแบบฉบับอยู่แล้ว คํ า อั ง ก ฤ ษ ที่ เ ร า นํ า ม า ใ ช้ ใ น ภาษาไทย ส่ ว น มากเป็ น คํ า นา ม ที่ เ ป็ น ชื่ อ ของวั ต ถุ สิ่ ง ของซึ่ ง เป็ น เครื่องใช้และเครื่องบําบัด และเป็ น คํ า น า มที่ เ กี่ ย วกั บ ชื่ อ ใน หมวด วิทยาการต่างๆ ภาษาอัง กฤษ |

๗๘

การแต่งกายของทหารในสหราชอาณาจักร


ตัวอย่างค ายืมภาษาอังกฤษในภาษาไทย กราฟ การ์ตูน กิ๊บ กลูโคส กัป ตั น แก๊ ส กุ๊ ก เกี ย ร์ แก๊ ง แกลลอน คริ ส ต์ มาส ไดนาโม ไดโนเสาร์ ครีม คลอรีน คอนกรีต คลินิก คอนเสิร์ต คอมพิ ว เตอร์ คุ ก กี้ เคเบิล เครดิต แคปซูล เคาน์เตอร์ แคลอรี โควตา ชอล์ ก ช็ อ กโกเลต เช็ ค เชิ้ ต เชียร์ โชว์ ซีเมนต์ เซลล์ ไซเรน ดีเซล ดอลลาร์ ดีเปรสชั่น เต็นท์ ทอนซิ ล เทอม แท็กซี่ แทรกเตอร์ นิโคติน นิวเคลี ย ร์ นี อ อน นิ ว เคลี ย ส โน้ ต ไนลอน บล็ อ ก เบนซิ น แบคที เ รี ย ปลั๊ ก ปิ ก นิ ก เปอร์ เ ซ็ น ต์ พลาสติ ก พี ร ะมิ ด ฟลู อ อรี น ฟอร์ มาลี น ฟ๎ ง ก์ ชั น ฟาร์ ม ฟิ สิ ก ส์ มอเตอร์ มั มมี่ มาเลเรี ย โมเลกุ ล ไมล์ ไมโครโฟน ไมโครเวฟ ยิปซัม ยี ร าฟ ริ บ บิ้ น เรดาร์ ลิ ก ไนต์ ลิ ป สติ ก เลเซอร์ วัคซีน วิตามิน ไวโอลิน ฯลฯ

ลอนดอนอาย , สหราชอาณาจักร

วิธีการนาคาภาษาอังกฤษมาใช้ในภาษาไทย ๑. การทับ ศัพ ท์ โดยการถ่ายเสียงและถอดตั ว อั ก ษร คํายืมจากภาษาอั ง กฤษโดยวิ ธี ก ารทั บ ศั พ ท์ มีจํ า นวนมาก คํ า บางคํ า ราชบัณฑิตยสถานได้บัญญัติศัพท์เป็นคําไทยแล้ว แต่ ค นไทยนิ ย มใช้ คํ า ทับศัพท์มากกว่า เพราะเข้าใจง่าย สื่อสารได้ชัดเจน เช่น ค าภาษาอังกฤษ ค าทับ ศัพ ท์ game เกม graph กราฟ cartoon การ์ตูน clinic คลินิก quota โควตา dinosaur ไดโนเสาร์ technology เทคโนโลยี ภาษาอัง กฤษ |

๗๙


๒. การบัญญัตศิ พั ท์ เป็นวิธีการยืมคํา โดยรับเอาเฉพาะความคิด เกี่ยวกับเรื่องนั้นมาแล้วสร้างคําขึ้นใหม่ ซึ่งมีเสียงแตกต่ า งไปจาก คํ า เดิ ม โดย เฉพา ะศั พ ท์ ท า งวิ ช า การ จ ะใช้ วิ ธี ก า รนี้ ม า ก ผู้ ที่ มี ห น้ า ที่ บั ญ ญั ติ ศั พ ท์ ภ า ษา ไทย แทน คํ า ภา ษาอั ง กฤษ คือ ราชบัณฑิตยสถาน เช่น ค าภาษาอังกฤษ ค าบัญ ญัติศพั ท์ airport สนามบิน globalization โลกาภิวัตน์ science วิทยาศาสตร์ telephone โทรศัพท์ reform ปฏิรูป

๓. การแปลศัพ ท์ วิ ธี ก ารนี้ จ ะต้ อ งใช้ วิ ธี ก ารคิ ด แปลเป็ น คํ า ภาษาไทยให้มีความหมายตรงกับคําในภาษาอั ง กฤษ แล้ ว นํ า คํ า นั้นมาใช้สื่อสารในภาษาไทยต่อไป ดังตัวอย่างเช่น ค าภาษาอังกฤษ ค าแปลศัพท์ blackboard กระดานดํา enjoy สนุก handbook หนังสือคู่มือ school โรงเรียน short story เรื่องสั้น

ธงสหราชอาณาจักร

หลักสังเกตคายืมภาษาอังกฤษในภาษาไทย

ภาษาอัง กฤษ |

๑. ใช้ตามคาเดิมและออกเสีย งตรงกับ รูป ที่เขีย น คือคํา เดิ มใช้ พยั ญ ชน ะและสร ะอะ ไรก็ ใ ช้ ต ามนั้ น และออกเสี ย งตามที่ เ ขี ย น ตัวอย่างเช่น ลอนดอน กรัม ลิตร วิตามิน ลินิน โอโซน อาลูมิเนียม อเมริกา เคมี ฟุต ไอศกรีม วัคซีนเบนซิน เซนติกรัม ฯลฯ

๘๐


๒. ใช้ตามค าเดิม แต่ออกเสียงผิดกับรูปที่เขียน คือใช้สระและพยัญชนะตามคํ า เดิมและออกเสียงตามคําเดิมแต่ไม่ ตรงกับรูปที่ เขียนในภาษาไทย ตัวอย่างเช่น เมตร อ่านว่า เม็ด เฮกโตเมตร ” เฮ็กโตเม็ด ออฟฟิศ ” อ๊อฟฟิศ เทคนิค ” เท้กนิก, เท้กหนิก ลอตเตอรี ” ล็อตเตอรี่ ดอกเตอร์ ” ด๊อกเต้อ ยุโรป ” ยุโหรบ ฯลฯ ๓. เปลี่ย นค าและเสีย งให้ผิดไปจากเดิม ตัวอย่างเช่น อิงลิช อ่านว่า อังกฤษ ตฺรอลฺลี่ ” สาลี่ ไปปฺ ” แปฺบ โกรซ ” กุรุส พาวนฺดฺ ” ปอนด์ ฯลฯ ๔. ตั ด รู ป สระข้ า งหลั ง คํ า (ป๎ จ จั ย ) ออก แล้ ว ใช้ คํ า ไทยประกอบข้ า งหน้ า ตัวอย่างเช่น นิวยอคเกอร์ เป็น ชาวนิวยอร์ค ยุโรเปียน ” ชาวยุโรป อิตาเลียน ” ชาวอิตาลี อเมริกัน ” ชาวอเมริกา ปารีเชียน ” ชาวปารีส ฯลฯ ๕. เติมไม้ท ัณ ฑฆาตที่พ ยัญ ชนะตัว สุดท้ายของค า เพื่อบังคับไม่ให้ออกเสี ย ง ตัวอย่างเช่น อิงแลนดฺ เป็น อิงแลนด์ สวิตเซอรฺแลนดฺ ” สวิตเซอร์แลนด์ ไมลฺ ” ไมล์ ภาษาอัง กฤษ |

๘๑


๖. เติมไม้ท ัณ ฑฆาตลงที่ พ ยั ญ ช นะซึ่ ง อยู่ ใ นร ะหว่ า งค า ตัวอย่างเช่น ชอลฺก เป็น ชอล์ก เปอรฺเซ็นตฺ ” เปอร์เซ็นต์ ฯลฯ ๗. ตัดตัว ตามที่เ ป็นพยัญชนะซ้ากับตัวสะกดออกตามหลักการ เขีย นอัก ษรซ้า ตัวอย่างเช่น ฟุตบอลลฺ เป็น ฟุตบอล สวิสสฺ ” สวิส ฯลฯ ๘. เติมไม้วรรณยุกต์แ ละไม้ไ ต่คลู้ งไปอย่างค าไทยเพื่อ ให้อ อก เสีย งชัดขึ้น ตัวอย่างเช่น ก๊าซ แก๊ส เชิ้ต โน้ต ช็อกโกแลต เช็ค เซ็น ฯลฯ ๙. ใช้คาคงทีเ่ ช่นเดียวกับค าไทย คือไม่เปลี่ยนแปลงรูปอย่างใน ภาษาเดิม จะเป็นเอกพจน์พหูพจน์ เป็นชื่อคนหรือชื่อประเทศ ก็ มีรูปคงที่อยู่อย่างนั้ น เมื่ อ ต้ อ งการจะให้ เ ป็ น เอกพจน์ พหู พจน์ หรือเป็นไทยถือว่าเป็นคํากลางๆ ที่ ยั ง มี ไ ด้ แ สดงจํ า นวนว่ า น้ อ ย หรือมาก จึงจัดเป็น อพจน์ ถ้ า ต้ อ งการจะให้ รู้ ว่ า เป็ น เอกพจน์ หรือพหูพจน์ ต้องมีคําประกอบเป็น ๑ ฟุต ๒ ฟุต หลายฟุต ฯลฯ

จาได้ ง่ายดี ๑. มาอย่างไรไปอย่างนั้น ๒. ผันเสียงให้เปลี่ยนไปจากรูปเดิม ๓. เพิ่มทั้งรูปเติมทั้งเสียง ๔. ตัดเพียงหลังยังไทยเอาไว้หน้า ๕. เติมการันต์ไว้ตัวท้าย ๖. ปูายการันต์ไว้ตัวกลาง ๗. ตัดตัวตามที่ซ้ํากัน ๘. ผันวรรณยุกต์ตามเสียง ๙. คงไว้เพียงชื่อเฉพาะ ภาษาอัง กฤษ |

๘๒


ตัวอย่างการใช้คา ภาษาอังกฤษในภาษาไทย

“ขวัญใจคนขยัน” ขวั ญ ใจ เป็ น เด็ ก เรี ย นเก่ ง เธอสอบได้ ลํ า ดั บ ที่ ๑ ของชั้นเรียนในวิชา ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ ทุก เทอม วันหนึ่งคุณครู แ จ้ ง ข่ า ว ว่าเธอได้ โควตา สอบชิงทุนไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ เธอดี ใ จมาก จึ ง เลิ ก อ่ า น หนั ง สื อ การ์ ตู น และ หั น มา ตั้ ง ใจฝึ ก ภาษาอั ง กฤษ เพร าะ คุ ณครู บ อกว่ า การ ฝึ ก ภา ษาจ ะ ช่ ว ยให้ เ ธอมี เปอร์ เ ซ็ น ใน กา ร สอบชิ ง ทุ น ได้ ม า กขึ้ น เธอเสี ย บ ปลั๊ ก คอมพิ ว เตอร์ เพื่อหาข้อมูล ขวั ญ ใจอ่ า นทั้ ง ข่ า วต่ า งประเทศและ เว็ บ ไซต์ ต่ า งๆ นอกจ ากจ ะมี ทั ก ษะภาษา เธอยั ง ต้ อ งมี ค วามสามา รถพิ เ ศษอี ก แต่ โ ชคดี ที่ ข วั ญ ใจ เคยเรี ย น ไวโอลิ น เธอจึ ง ตั้ ง ใจจะ นํ า ไป โชว์ ให้คณะกรรมการดู คุณแม่เห็นว่าขวัญใจเป็นเด็กขยัน จึง ให้ ร างวั ล เธอ เป็นขนม เค้ก และ คุ ก กี้ รส ช็ อ กโกแลต หน้ า ผลไม้ ที่ ข วั ญ ใจชอบ แม่อบขนมอยู่ ใ น ไมโครเวฟ อยู่ สั ก พั ก ก็ ย กมาวางบน เคาน์ เ ตอร์ ขวัญใจจะได้ ห ยิ บ รั บ ประทานง่ า ยๆ เมื่ อ วั น ทดสอบมาถึ ง ขวั ญ ใจ เลือกชุด เดรส สีสุภาพ ถักเปียสองข้าง ติด กิ๊บ และผูก โบว์ สวยงาม เธอตั้งใจมาแสดงเป็นอย่างมาก ขวัญใจแสดงสุดความสามารถราวกั บ เป็น คอนเสิร์ต ของเธอเอง คณะกรรมการชื่ น ชมฝี มือ ของเธอกั น ยก ใหญ่ วันประกาศผลมาถึ ง ขวั ญ ใจสอบชิ ง ทุ น ได้ คุ ณพ่ อ และคุ ณแม่ ภูมิใจในตัวเธอมาก ภาษาอัง กฤษ |

๘๓


ฝึกเพิ ่ม เสริ มทักษะ ตอนที่ ๑ ค าชี แ้ จง : ใ ห้ นัก เรี ย นยกตัว อย่ า ง ค ายื ม ภาษาอัง กฤษใ น ชีวิตประจาวันมาอย่างน้ อย ๕ คา พร้ อมหาความหมาย ค ายืมภาษาอังกฤษ

ความหมาย

๑.

๒. ๓.

๔. ๕. ตอนที่ ๒ คาชี ้แจง : จงนาคาในกล่ องข้ อความเติมลงในช่องว่างให้ ข้อความสมบูรณ์

กอล์ฟ ฟาร์ม

คลินิก วัคซีน ปาร์ตี้ เต็นท์ ชอล์ก แบคทีเรีย

แท็กซี่ ไซเรน

พีระมิด ดีเปรสชั่น

กุ๊ก ดีเซล

๑. เช้านี้ท้องฟูาแจ่มใส ท่านประธานออกไปตี..........................ที่สนาม ๒. ข่าวหนังสื อ พิ มพ์ ต่ า งประเทศ ลงข่ า วว่ า พายุ . ...............กํ า ลั ง จะเข้ า เมื อ ง ลอนดอน ๓. ราคาน้ํามัน...............ขึ้นสูง อย่างผิดปกติ ผลมาจากภาวะเศรษฐกิจที่ฝืดเคือง ๔. เด็กๆมีภูมิคุ้มกันต่ํากว่าผู้ใหญ่ จึงต้องไปฉีด...................ปูองกัน ๕. อุ ท ยานแห่ ง ชาติ เ ขาใหญ่ เปิ ด พื้ น ที่ ใ ห้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วไปกาง..................... ชมทิวทัศน์ที่สวยงาม ภาษาอัง กฤษ |

๘๔


ตอนที่ ๓ คําชี้แจง : ให้นั ก เรี ย นนํ า คํ า ยื มภาษาอั ง กฤษใส่ ล งในตารางวิ ธี ก ารนํ า คํ า ยื ม ภาษาอังกฤษมาใช้ให้ถูกต้อง วิธ ีก ารนาคายืม ภาษาอังกฤษมาใช้

ค ายืมภาษาอังกฤษ

การทับศัพท์ การบัญญัติศพั ท์ การแปลศัพท์

ภาษาอัง กฤษ |

๘๕


กิ จกรรมลองทาดู ๑. ให้นักเรียนนําคํายืมภาษาอังกฤษมาแต่ ง เป็ น เรื่ อ งสั้ น หนึ่ ง เรื่ อ ง ความยาวไม่เกิน ๑๕ บรรทัด พร้อมวาดภาพ ประกอบและตกแต่ ง ให้สวยงาม ๒. ให้ นั ก เรี ย นในชั้ น เรี ย นร่ ว มกั น จั ด ปู า ยนิ เ ทศเกี่ ย วกั บ คํ า ยื ม ภาษาอังกฤษในภาษาไทยไว้ ห น้ า ห้ อ งเรี ย น เพื่ อ เผยแพร่ ค วามรู้ เกี่ยวกับคํายืมภาษาอังกฤษในภาษาไทยให้กับนักเรียนชั้นเรียนอื่น ๓. ให้ นั ก เรี ย น แบ่ ง กลุ่ ม ๓ – ๕ คน แสดงละ คร สั้ น ที่ ใ ช้ คํายืมภาษาอังกฤษอยู่ในบทสนทนาความยาวไม่เกิน ๕ นาที ๔. ให้นักเรียนอ่ า นข่ า วในหนั ง สื อ พิ มพ์ ห รื อ นิ ต ยสาร และหาว่ า มีคํายืมภาษาอัง กฤษกี่ คํ า มี คํ า ว่ า อะไรบ้ า ง และหาความหมาย ของแต่ละคํา ๕. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาที่เรียนและสรุปออกมาเป็นผังความคิ ด คํ า ยื ม ภาษา อั ง กฤษพร้ อ มกั บ ตกแต่ ง ให้ ส วย งา มและ นํ า เสน อ หน้าชั้นเรียน

ภาษาอัง กฤษ |

๘๖



เพลงคายืมภาษามลายู (ท านองเพลง ปัก ษ์ใต้บา้ นเรา ศิลปิน วงแฮมเมอร์) โอ่ โอ...มาร้องเพลงกัน โอ่ โอ...มาร้องเพลงกัน เป็นคําไทย คําไทยยืมมา เป็นคําไทย คําไทยยืมมา เป็นคําชวา ชวามลายู เป็นคําชวา ชวามลายู ที่ยืมมา มากมายหลายคํา ว่าบูดู ต่อจากนี้ยังมีคือ ยะลา กะพงด้วยหนา เบตง และกุญแจ โอ่ โอ...มาร้องเพลงกัน โอ่ โอ...มาร้องเพลงกัน เป็นคําไทย คําไทยยืมมา เป็นคําไทย คําไทยยืมมา เป็นคําชวา ชวามลายู เป็นคําชวา ชวามลายู ค่ําคืนนี้ยินเสียงรํามะนา จากโรงโนรา แว่วมาคืออังกะลุง กลิ่นกรดังงา โชยมาถลาลื่น ตลับก็มี กํายาน อุรังอุตัง โอ่ โอ...มาร้องเพลงกัน โอ่ โอ...มาร้องเพลงกัน เป็นคําไทย คําไทยยืมมา เป็นคําไทย คําไทยยืมมา เป็นคําชวา ชวามลายู เป็นคําชวา ชวามลายู โอ้ มังคุด ทุเรียน จําไว้ รู้ไหม กาเซ๊ะ และปาแซ คํายืมเหล่านี้ใช้แต่สมัยพ่อแม่ แต่อย่าลืมดูแลภาษาไทยประจําชาติเรา โอ่ โอ...มาร้องเพลงกัน โอ่ โอ...มาร้องเพลงกัน เป็นคําไทย คําไทยยืมมา เป็นคําไทย คําไทยยืมมา เป็นคําชวา ชวามลายู เป็นคําชวา ชวามลายู (ซ้ําอีกหนึ่งรอบ)

ภาษามลายู |

๘๘


ความสัมพันธ์ระหว่าง ภาษามลายูกับภาษาไทย ภาษานับเป็นเครื่องมือที่สํา คั ญ ยิ่ ง สํ า หรั บ มนุ ษ ย์ ใ ช้ เ ป็ น สื่อกลาง เพื่อสื่อความคิด ความรู้สึก ความต้องการ ดังนั้น เพื่ อ ความเข้ า ใจที่ ถู ก ต้ อ งชั ด เจนของผู้ ฟ๎ง ผู้ ใ ช้ ภ าษานั้ น ควรจะต้ อ งใช้ ภ าษาที่ ถู ก ต้ อ งดั ง คํากล่าวว่า ‘พูดให้เป็นภาษา’ คือใช้ภาษาให้ถูกต้อง มนุ ษ ย์ ใ น โลกนี้ มีห ลายเชื้ อ ชาติ แ ละเผ่ า พั น ธุ์ แต่ ล ะ ชา ติ พั น ธุ์ นั้ น ล้ ว น มี ป ร ะวั ติ ศ า สตร์ เ ฉพาะ ตนแทบทั้ ง สิ้ น ซึ่ ง นั บ เป็ น องค์ประกอบหนึ่งที่ ทํ า ให้ เ กิ ด เอกลั ก ษณ์ ท างวั ฒ นธรรมเฉพาะตนตามมา ภาษานับเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ดังนั้น ประวัติศาสตร์ความเป็ น มาของ การกํา เนิ ด ภาษาของแต่ ล ะภาษาในโลกนี้ ย่ อ มมี ลั ก ษณะเฉพาะตน ด้ ว ย ควบคู่ ข นานกั น ไปพร้ อ มๆ กั บ วิ วั ฒ นาการของวั ฒ นธรรมชนชาติ ที่ เ ป็ น เจ้าของภาษา “มลายู ” เป็ น คํ า ที่ ใ ช้ เ รี ย กกลุ่ ม ชาติ พัน ธ์ ก ลุ่ ม หนึ่ ง ในความหมายกว้าง หมายถึ ง ชนกลุ่ มใหญ่ ซึ่ ง ใช้ ภ าษาในตระกู ล มลายู โพลี นี เ ซี ย น (Malayu Poly – nesian) ซึ่ ง เป็ น ภาษากลุ่ มหนึ่ ง ในแถบ ประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และในหมู่เกาะต่าง ๆ ในมหาสมุ ท รแปซิ ฟิก ชนมลายูในกลุ่มใหญ่นี้ แม้ใช้ภาษาตระกูลเดียวกัน แต่ไม่อาจฟ๎งกันรู้ เรื่อง ทุกกลุ่ม ชนชาติมลายูดังกล่าวอาศัยอยู่ในเกาะทางใต้ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง เกาติมอร์ และเกาะชุมบา คําว่ามลายูในความหมายหนึ่ง หมายถึ ง กลุ่ ม ชาติ พัน ธุ์ ที่ พู ด ภาษามลา ยู ซึ่ ง ตั้ ง ถิ่ น ฐานบนคาบสมุ ท รมลา ยู ตอนล่ า ง ฝ๎่ ง ตะวั น ออกของเกาะสุ ม ตรา บางส่ ว นของเกา ะ กาลิมันตัน (เกาะบอร์เนียว) รวมทั้งมาเลเชีย สิงคโปร์ อิ น โดนี เ ชี ย บรู ไ นดารุ ส ชาลาม และจั ง หวั ด ชายแดน ภาคใต้ ข องไทย คื อ ป๎ตตานี ยะลา นราธิ ว าส สตู ล และในบางอํ า เภอของสงขลา (อ. เทพา อ.จะนะ อ.นาทวี และ อ.สะบ้าย้อย) ภาษามลายู |

๘๙


แผนภาพแสดงภาษาตระกูลมลายู - พอลินีเซียน ในสมัยที่อาณาจักรศรีวิชัยรุ่งเรืองนั้น ภาษามลายู เ ป็ น ภาษา สื่อกลาง ในการสอนภาษาสันสกฤตและสอนปรั ช ญาทางศาสนาพุ ท ธ และเป็ น ภาษาสื่อกลางของผู้คนซึ่งตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่ในบริ เ วณหมู่ เ กาะมลายู เพราะว่ า พื้นที่บริเวณเกาะสุมตราและช่ อ งแคบมะละกา เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการเดิ น เรื อ ค้าขายต่าง ๆ เป็นจุดเชื่อมต่อวัฒนธรรมผ่านทางทะเลจากหลากหลายประเทศ ใกล้ เ คี ย งทั้ ง อิ น เดี ย จี น ตลอดจนผู้ ค นชนชา ติ ห่ า งไกลที่ เ ข้ า มาเยื อ น เช่ น พ่อค้าวาณิชจากยุโรปและตะวันออกกลาง ป๎จจุบัน ภาษามลายูยังเป็นภาษาที่ใช้กันใน ประเทศมาเลเชี ย เกาะสุมาตราและทางฝ๎่งตะวันออกของอินโดนีเชีย รวมไปถึง สิงคโปร์

วัดอูลันดานูบราตัน วัดกลางทะเลสาบในเกาะบาหลี ภาษามลายู |

๙๐


ตัวอย่างคายืมภาษามลายูในภาษาไทย แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ คําที่อยู่ใช้กันทั่วไป และ คําที่อยู่ในภาษาถิ่นภาคใต้

คําที่ใช้กันทั่วไป ตัวอย่างเช่น กง(เรือ) กรง กระ(เต่า) กระจง กระจิริต กระดังงา กริ ซ กะ ปะ(งู ) กะพง(ปลา) กั ล ป๎ ง หา กะละแม กะลา สี กะลา กํ า ป๎่ น (เรื อ ) กํ า ยาน กุ ญ แจ คุ ณ (คุ ณ ไสย ) จั บ ปิ้ ง จํ า ปา ดะ เซป๎ก(เซป๎กตะกร้อ) ตลับ ตะเพียน ทุเรียน น้อยหน่า โนรี บูดู พัง พอน มังคุด ระกํา ลองกอง ลางสาด สละ(ผลไม้ ) สลาตั น สั ง ขยา สาคู สีดอ(ช้าง) สุจหนี่ โสร่ง อําพัน อุบะ อุรังอุตัง

จําปาดะ ผลไม้คล้ายขนุน มีถิ่นกําเนิดจากบริเวณ คาบสมุทรมลายู

สุจหนี่ ผ้าปูลาดชนิดหนึ่ง มีลวดลายที่มีเอกลักษณ์ของวัฒนธรรม คาบสมุทรมลายู ภาษามลายู |

๙๑


คําที่อยู่ในภาษาถิ่นภาคใต้ ตัวอย่างเช่น กะแตแหร กัด กาหยู คล็อก ฆูหนี ฆอและ จิ้งจัง ชมพู่ ชันชี พรก โพระ มายา มูสัง ลิ่งปิ้ง ละไม ลาต้า ลาไม ลาต้า ฃาดล ระวะ ราจุน ย่าหนัด ย่าหมู สวา สา หมา ติหมา หยบ หยี หลุด หลุมพี หลุ้มหมา โหละ

พรก หรือ กะลาในภาษาที่ใช้กันทั่วไป

วิ ธีการนาคาภาษามลายูมาใช้ในภาษาไทย ลักษณะการยืมคํา มลายูมาใช้ในภาษาไทย คํ า ภา ษา มลา ยู ก็ เ ช่ น เดี ย วกั บ คํ า ภา ษา อื่ น ๆ เมื่ อ นํ า มา ใช้ ภ า ษา ไทย ก็ มี ก าร เปลี่ ย น แปลงใน ทา งเสี ย ง ความหมาย ตัวสะกด เพราะคนไทยถื อ เอาความสะดวกแก่ ลิ้ น คื อ การออกเสี ย งและความไพเราะ หู เ ป็ น ประมาณ จึ ง ทํ า ให้ ไม่สามารถสืบสาวไปถึงคําเดิมได้ เพี ย งแต่ ใ ช้ วิ ธี ก ารสั น นิ ษ ฐาน อาจถูกต้องตามความเป็ น จริ ง อาจใกล้ เ คี ย ง หรื อ อาจ ผิ ด เพี้ ย น คําบางคําอาจกร่อนเสียง เสียงเพี้ยนไปจนไม่ อ าจหา ความหมาย ได้ อย่างไรก็ตามจากการรวบรวมคําที่สันนิษฐานว่าไทยรั บ มาจาก ภาษามลายูนั้น พบว่ามีทั้งที่ยังคงเสียงและความหมายของคํ า ตาม ภาษาเดิม และมีที่เปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติ ข องการหยิ บ ยื ม ภาษา และการเปลี่ยนแปลงนั้นในคําเดียวอาจจะเปลี่ ย นแปลง หลายประการ ดังนี้

ภาษามลายู |

๙๒


๑. ออกเสียงเหมือนหรือใกล้เคียงกับภาษาเดิ มและคงความหมาย ตามภาษาเดิม เช่น กง กะปะ

มาจากคําว่า มาจากคําว่า

kong (ไม้รูปโค้งที่เป็นโครงเรือ) kapak (ชื่องูพิษ)

๒. เสียงพยัญชนะบางเสียงเปลี่ยนไปแต่ใกล้เคียงกับเสีย งเดิ ม

ปาเต๊ะ มาจากคําว่า batek

มาจากเสียง บ เป็นเสียง ป

๓ . เสี ย งสระเปลี่ ย นแปลงไป คํ า ที่ เ สี ย งสระ เปลี่ ย นแปลงไปนี้ โดยทั่วไปจะเปลี่ยนแปลงไปแต่เ พี ย ง เล็กน้อย เช่น เปลี่ยนจากสระเสี ย ง สั้นเป็นสระเสียงยาวหรือเปลี่ยนเป็ น ผ้าปาเต๊ะ นิยมใช้นุ่งห่มในภาคใต้ เสียงที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ส่วนคําที่เสียงสระเปลี่ยนแปลงไปอย่างชัดเจนมี ไ ม่ มากนั ก และมั ก จะ เปลี่ยนทั้งเสียงพยัญชนะและสระ เช่น กระแชง มาจากคําว่า kajang (กายัง) กะละแม มาจากคําว่า kelamai (เกอะลาไม) ๔ . คํ า ที่ ไ ทยนํ า มา ออกเสี ย งปร ะ สม สร ะ อะ ที่ พยา งค์ ห น้ า บางคําแทรกเสียง “ร” ควบกล้ําซึ่งอาจจะเป็นเพราะอิทธิพลของ คําไทยที่มีคําลักษณะนี้อยู่มาก เช่น kakatua กระตั๋ว (นกกระตั๋ว) โดยเติมตัว ร เข้าไปใน กะ ๕. เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มหน่วยเสียงตัวสะกด ส่วนมากจะเป็น การเปลี่ยนแปลงตัวสะกดให้ตรงตามมาตราตัวสะกดของไทย เช่น กระพัน มาจากคําว่า kabal (ทนทานต่อศัสตราวุธ) เสียง l ออกเสียงตัวสะกดแบบมลายู ไทยออกเสียงเลียนแบบไม่ได้ จึงเปลี่ยนมาเป็น ตัว น ภาษามลายู |

๙๓


๖ . มี ก ารเปลี่ ย นแปลงเสี ย งในลั ก ษณะการกลมกลื น เสี ย ง ซึ่ ง กา ร เปลี่ยนแปลงเสียงในลักษณะนี้ มีห ลายคํ า มั ก เป็ น การกลมกลื น เสี ย งไป ข้างหน้าและกลมกลืนเสียงร่วมกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ๖.๑ กลมกลืนเสียงไปข้างหน้า เช่น บันนังสะตา(ชื่ออําเภอ) มาจากคําว่า bendang-setar อ่านว่า เบ็นดัง-เซะตา มีการกลมกลืนเสียงโดยตั ด ตั ว ด และออกเสี ย ง ตัว น ของตัวสะกดคําหน้า ๖.๒ กลมกลืนเสียงร่วมกัน (บางคําเสียงพยัญชนะต้นกลายด้วย) พรก มาจากคําว่า porok อ่านว่า โปโรก แปลว่า กะลามะพร้าว ๗ . การตัดพยางค์ มักเป็นการตัดพยางค์หน้าและพยางค์กลาง ๗ .๑ ตัดพยางค์หน้า เช่น กัด มาจากคําว่า pukat อ่านว่า ปูกัด ๗..๒ ตัดพยางค์กลาง เช่น กํายาน มาจากคําว่า kemenyan อ่านว่า เกอะเม็นยาน ๗ .๓ ตัดพยางค์ท้าย เช่น มะเร็ง มาจากคําว่า merengsa อ่านว่า มะเร็งสะ

๙. การเพิ่มเสียงและเพิ่มพยางค์ มีบางคําที่ไทยรับมาใช้แล้วเพิ่ม เสียงเข้าไป ซึ่งทําให้พยางค์เพิ่มขึ้นด้วย แต่มีไม่มากนัก เช่น กระจับปิ้ง มาจากคําว่า chaping อ่านว่า จะปิ้ง เพิ่มพยางค์หน้า คือ กระ

pukat เป็นอุปกรณ์ ชนิดหนึ่งใช้ในการ จับปลา ภาษามลายู |

๙๔


๑๐. ไทยนํามาใช้ความหมายเปลี่ยนไปจากเดิม แบ่ ง เป็ น สามประเภท คือ ความหมายแคบเข้า ความหมายกว้างออก หรื อ ความหมายย้ า ยที่ ดังตัวอย่าง ๑๐.๑ ความหมายแคบเข้า เช่น กูบ (kop) แปลว่า ยอดกลมมน หลังคา ไทยใช้ความหมายแคบลง คือ ใช้เฉพาะกูบบนหลังช้าง ๑๐.๒ ความหมายกว้างออก เช่น กระโถน (ketuy) ความหมายเดิม คือ กระโถนบ้วนน้ําหมาก ไทยใช้ความหมายกว้างขึ้น หมายถึงกระโถนทั่วไป ๑๐.๓ ความหมายย้ายที่หรือความหมายเปลี่ยนแปลงไป เช่น สลัด (selat) ความหมายเดิม คือ ช่องแคบในทะเล ความหมาย ที่ไทยใช้ หมายถึงโจรที่ปล้นทางทะเล เรียกว่า “โจรสลัด”

หลักสังเกตคายืมภาษามลายูในภาษาไทย คําภาษามลายูเมื่อนํามาใช้ในภาษาไทยมี การเปลี่ยนแปลงในทางเสียง ความหมายตัวสะกด เพราะคนไทย ถือเอาความสะดวกแก่ ลิ้ น คื อ การออกเสี ย งและความไพเราะเป็ น ประมาณ จึ ง ทํ า ให้ ไ ม่ ส ามารถสื บ สาวไปถึ ง คํ า เดิ มได้ เพี ย งแต่ ใ ช้ วิ ธี สันนิษฐานความถูกต้องตามความ เป็ น จริ ง โดยใช้ เ สี ย งหรื อ คํ า ใน ภาษามลายูและภาษาไทยที่มีความใกล้เคียงกัน

ภาษามลายู |

๙๕


หลักการสังเกตคําภาษามลายู ๓ ข้อ ได้แก่ ๑ ส่วนมากภาษามลายูเป็นคําสองพยางค์ ส่วนคํา พยางค์เดียวมักจะได้รับมาจากภาษาอื่น ๆ เนื่องจากภาษามลายูจะมี หลักการสร้างคําโดยการเติมป๎จจัย อุปสรรค ลงในรากศัพท์ หรื อ ที่ ทา ง ภา ษา ศ า ส ตร์ เ รี ย กว่ า เป็ น ภ า ษ า คํ า -ติดต่อ เช่น ทุเรียน กํายาน กุญแจ ๒. มักเป็นคําที่อยู่ในภาษาถิ่นภาคใต้ เพราะภาคใต้ มีพื้น ที่ ใ กล้ กั บ แหล่ ง อา รายธรรมคาบสมุทรมลายู ภาษาถิ่ น ภาคใต้ จึ ง มี ที่ มาจากภาษามลายู มาก เช่น กะแตแหร กัด มายา มูสัง ๓. มักเป็นคําที่บ่งบอกชื่อเฉพาะ ของพืช สัตว์ สถานที่ ศิลปวัฒนธรรม ต่าง ๆ เช่น มังคุด ปลาตะเพียน เต่ากระ จังหวัดภูเก็ต จังหวั ด สงขลา บูดู สุจหนี่ สุเหร่า สะโหร่ง ฯลฯ จ าได้ ง่ายดี

เต่ากระ เต่าทะเลที่มีหน้าเป็นลายสีดํา

ชาวชวาชื่ อ สองพยางค์ อยู่ ทางภาคใต้ บอกได้ ว่ า อะไร เป็น พืช สัตว์ สถานที่ และ ประเพณีอันดีงาม

สุเหร่า สถานที่ทางศาสนาของชาวมุสลิม

ภาษามลายู |

๙๖


เรื่องสั้น ค าภาษามลายู เรื่อง ชีวิตประจําวันของครูยโู ซะ

ครูยโู ซะ หรือที่ชาวบ้านในแถบตําบลกะโรมเรียกกันว่าครูโซะ เขาเป็นคุณตาอายุประมาณเจ็ดสิบปี ผู้มีความรู้ ท างด้ า นภาษา มลายูเป็นอย่างมาก เพราะเขาเคยเป็ น ชาวประมงผู้ เ ก่ ง กาจ ในอดี ต ชอบ ออกเรือไปจับปลาบริเวณช่องแคบมะละกาใกล้ประเทศมาเลเชี ย ทํ า ให้ เ ขา เชี่ ย วชาญการพู ด ภาษา มลายู เ พราะมั ก จะติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ ชาวประมง มาเลเชียอยู่เสมอ ครูยโู ชะเชี่ยวชาญการดํ า น้ํ า มาก หลายครั้ ง ที่ เ ขาเข้ า ใกล้ เขตแนว ปะการัง เขามักจะดําน้ําลงไปเพื่อเชยชมท้องทะเลอัน งดงาม เที่ ย ว ชมกัลปังหา และดอกไม้ทะเลหลากสีสัน สิ่งนั้นคือ สิ่ ง ที่ ค รู ยู โ ซะรู้ สึ ก ราวกั บ อยู่ในดินแดนแห่งความฝ๎นอันน่าหลงใหล ป๎จจุบันครูยูโซะไม่สามารถ กลั บ ไปที่ ช่ อ งแคบ มะ ละ กา ได้ อี ก แล้ ว เนื่องจากกฎหมายการทําประมงในป๎ จ จุ บั น ครูยูโซะจึงเลิกเป็นชาวประมงและมาเป็ น ครู สอนภาษามลายูในตําบลกะโรมแห่งนี้ กัลป๎งหา วันจันทร์ถึงวันศุกร์ ครูยโู ซะนอกจากทําหน้าที่เป็น ครูภาษามลายูแล้ว เขาได้ทําสวนผลไม้ด้วย โดยในช่วงเช้า ครูยโู ซะ จะไปดูแลต้นทุเ รีย น ระก า มังคุด และต้นไม้อื่น ๆ ส่วนในตอนเย็นหลังจาก สอนเสร็จแล้วเขาจึงไปออกกําลังกายที่สนามกีฬาประจํ า หมู่ บ้ า น กี ฬ าที่ ค น นิยมเล่นที่สุดคือ กีฬาเซปัก ตะกร้อ เพราะเป็นกีฬาที่สนุกและท้ายทาย อย่างมาก ภาษามลายู |

๙๗


ในสวนของครูยูโซะนอกจากจะปลูกผลไม้ ต่ า ง ๆ แล้ว เขาได้ขุดลอกคูคลองขนาดใหญ่ ไ ว้ ตั ด ผ่ า นสวนผลไม้ ร ะหว่ า ง สวนลองกอง และ สละ โดยในคู ค ลองนั้ น เป็ น คู น้ํ า ที่ เ ชื่ อ มกั บ น้ํากร่อย ครูโซะได้ เ ลี้ ย งปลาตะเพี ย น และปลากะพงไว้ ใ ห้ ลูกหลานได้รับประทานกัน ซึ่งที่ครูยูโ ชะทํ า แบบนี้ เพราะเขา ทําตามหลักการแนวคิดเกษตรทฤษฎีใหม่

เวลาว่าง ๆ ครูยูโชะชอบ นั่งเรือกําป๎่นเที่ยวชมทั่วคูคลอง จนออกไปยัง แม่น้ําใหญ่ พอตกกลางคืนเขาก็จุดกํายาน ในห้องเพื่อให้ตัวเองผ่อนคลายและหลับสบาย ก่อนนอนทุกวันเขาจะเปิดตลับเก็บพระเครื่อง ไว้ใกล้ตัว เพื่อปูองกันคุณไสยแลสิ่งชั่วร้ายที่ ผลสละ อาจมาเล่นงานเขา ทุกวันนี้ครูยูโชะก็เป็นคุณตาซึ่ ง เป็ น ที่ เ คารพนั บ ถื อ ในหมู่บ้านกะโรม เขาใช้ชีวิตอย่างเรียบง่ายพอเพียง และยึด มั่ น ในความ ดีและหลักเศรษฐกิจพอเพียงเสมอ ซึ่งความดีนี้ คือ กุ ญ แจในการใช้ ชี วิ ต อันสําคัญของเขา ในการทําให้ชีวิตสงบสุข จนกร ะทั่ ง วั น นี้ เขา ก็ ยั ง คงคิ ด ถึ ง ท้ อ งทะ เลอั น กว้างใหญ่ในห้วงสมุทรอันงดงาม แนวปะการังและปลาทะเล เขาแหงน หน้าดูท้องฟูา มองดวงจันทร์อันลอยเลื่ อ นทอแสงประกายงดงามยาม ราตรี บนบุหลัน

จดหมายจากครูยูโซะ ตําราเรียนภาษามลายูเชิง เรื่องสั้นแรงบันดาลใจในการแต่งเรื่องสั้นเรื่องนี้ ภาษามลายู |

๙๘


ฝึ กเพิ่ม เสริ มทักษะ ตอนที่ ๑ คาชีแ้ จง จงนาคาจากภาษามลายูที่กาหนดให้ ต่อไปนี ้ทังหมดไป ้ แต่งนิทานให้ เรียบร้ อยสมบูรณ์ ตามจิ นตนาการของนักเรียน ทุเรียน มังคุด กาปั่น กะพง อาพัน ตลับ กายาน สี ดอ ตะเพียน น้ อยหน่า ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ................................................................................................. ภาษามลายู |

๙๙


ตอนที่ ๒ ค าชี้แ จง ให้นักเรียนนําคําในภาษามลายูแต่งกลอนสุภาพจํานวนสองบท โดยในแต่ละบทต้องมีคํายืมจากภาษามลายูอย่างน้อยสามคํา พร้อมขีด เส้นใต้คําที่ยืมมาและเขียนความหมายของคํานั้น ๆ ใต้บทกลอน

................................

.....................................

.................................................

.....................................

...............................

.....................................

.................................................

.....................................

................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. ................................................................................................................. .................................................................................................................

ภาษามลายู |

๑๐๐


ตอนที่ ๓ ค าชี้แ จง ให้นักเรียนยกตัวอย่างคํายืมภาษามลายูใน ชีวิตประจําวันมา อย่างน้อย ๕ คํา พร้อมหาความหมาย

คายืมภาษามลายู

ความหมาย

๑. ๒.

๓. ๔.

๕.

ภาษามลายู |

๑๐๑


กิ จกรรมลองทาดู ๑ ให้ นั ก เรี ย น แบ่ ง กลุ่ ม แล้ ว ไปศึ ก ษา ค้ น คว้ า ชื่อจังหวัด ตําบล หรือ อํ า เภอในภาคใต้ ว่ า ชื่ อ ใดมาจากภาษามลายู พร้อมศึกษาหาความหมาย เขียนสรุปลงในกระดาษ และนํ า มารายงาน ผลการศึกษาค้นคว้าหน้าชั้นเรียน ๒ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม แล้ว ช่ ว ยกั น ค้ น คว้ า เพิ่ มเติ ม เกี่ยวกับคําศัพท์มลายูในภาษาไทยเพิ่ มเติ มนอกเหนื อ จากในแบบเรี ย น จากนั้นนําคําเหล่านั้นมาแต่งเป็นบทละคร ในหัวข้อ “ในหัวข้อวัฒนธรรม ปร ะจํ า ท้ อ งถิ่ น ของแต่ ล ะภาค ” แล้ ว ออกมา แดสงหน้ า ชั้ น เรี ย น และสรุปว่าได้ใช้คําใดบ้างในบทละคร ๓ ให้ ผู้ เ รี ย นแต่ ง เพลงเกี่ ย วกั บ คํ า ยื มภาษา มลา ยู ในภาษาไทย และออกมาขับร้องเพลงหน้าชั้นเรียน ๔ ผู้สอนให้ ผู้ เ รี ย นจั ด นิ ท รรศการ หรื อ จั ด ทํ า สื่ อ เกี่ยวกับคํายืมภาษาไทยในภาษามลายู แล้วใช้นําเสนอในโอกาสต่าง ๆ ๕ ให้ผู้เรียนแต่ ล ะคน คิ ด บทพู ด บรรยายเกี่ ย วกั บ ความรู้สึกของตนเอง หลั ง จากได้ ศึ ก ษาเรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ ภาษามลายู ใ น ภาษาไทย และออกมาพูดหน้าชั้นเรียน

ภาษามลายู |

๑๐๒



ภาษาญีป่ นุ่ ค ายืมจากภาษาญีป่ นุ่

ค าแปล

กํามะลอ กิโมโน คามิคาเซ่ คาราเต้ เค็นโด้ ซามูไร ซูโม ปิ่นโต ปิยาม่า ยิวยิตสู ยูโด โยชิวารา สุกี้ยากี้ หักขะม้า

การลงรักแบบญี่ปุน เสื้อชุดประจํา ชาติญี่ปุน ทหารหน่วยกล้าตายของญี่ปุน ศิลปะการต่อสู้ด้วยสันหรือนิ้วมือ ศิลปะการต่อสู้ด้วยไม้ ทหารอาชีพ เดิมพวกนี้ใช้มีดดาบเป็นอาวุธ มวยปลํ้า ภาชนะใส่อาหาร เสื้อคลุมแบบญี่ปุน วิชายืดหยุ่นปูองกันตัวอีกแบบหนึ่ง วิชาการต่อสู้ปูองกันตัวแบบหนึ่ง วิชาการต่อสู้ปูองกันตัวแบบหนึ่ง ชื่ออาหารชนิดหนึ่ง ผ้านุ่งคล้ายผ้าขาวม้า

ภาคผนวก |

๑๐๔


ภาษาโปรตุเกส ค ายืมจากภาษาโปรตุเกส ค าแปล กะละมัง กะละแม กัมประโด บาทหลวง ป๎ง เลหลัง สบู่ หลา เหรียญ

ภาชนะใส่ของ ขนมชนิดหนึ่ง ผู้ซื้อ นักบวชในศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาธอลิก ขนมชนิดหนึ่ง ขายทอดตลาด ครีมฟอกตัว มาตราส่วนความยาว โลหะกลมแบน

ภาคผนวก |

๑๐๕


ภาษาฝรัง่ เศส ค ายืมจากภาษาฝรัง่ เศส

ค าแปล

กงสุล กรัม กะปิตัน กิโล โก้เก๋ ข้าวแฝุ ครัวซองท์ คาเฟุ คิว โชเฟอร์ บาทหลวง บุฟเฟุต์ บูเกต์ ปาร์เกต์ เมตร ลิตร

พนักงานดูแลผลประโยชน์ของรัฐบาล หน่วยน้ําหนักชนิดหนึ่ง นายเรือ จํานวนพัน สวยเข้าทีจนอวดได้ กาแฟ ขนมชนิดหนึ่ง กาแฟ การเรียงลําดับก่อนหลัง คนขับรถยนต์ นักบวชศาสนาคริสต์ อาหารที่บริการตัวเอง ช่อดอกไม้ ไม้อัดพื้น มาตราวัดความยาว มาตราตวงจํานวนหนึ่ง

ภาคผนวก |

๑๐๖


ภาษาเปอร์เซีย ค ายืมจากภาษาเปอร์เซีย กากี กาหลิบ กุหลาบ คาราวาน สุหร่าย ตาด สนม ปสาน ยี่หร่า กะลาสี สักหลาด ภาษี สรั่ง องุ่น ผ้าขาวม้า ตราชู ตรา บัดกรี

ค าแปล ฝุ​ุนหรือดินสีกากี ผู้ประกาศศาสนาอิสลาม ดอกไม้ชนิดหนึ่ง กองอูฐ คนโทน้ําคอแคบ ผ้าไหมป๎กเงินหรือทอง หญิงฝุายใน ตลาดนัด เครื่องเทศชนิดหนึ่ง ชาวเรือ ผ้าชนิดหนึ่ง เงินที่รัฐเรียกเก็บจากบุคคล คนงานในเรือ ผลไม้ชนิดหนึ่ง ผ้าดาดเอว เครื่องชั่ง เครื่องหมาย เชื่อมโลหะ

ภาคผนวก |

๑๐๗


บรรณานุกรม กาญจนา คงทน. (๒๕๕๔). จําแนกและใช้คําต่างประเทศที่ใช้ในไทย (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://namtanclassicbear.wordpress.com/ [๑ มิถุนายน ๒๕๖๑] กําชัย ทองหล่อ. (๒๕๕๐). หลักภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพ : อมรการพิมพ์ กิจมาโนชญ์ โรจนทรัพย์. (๒๕๕๔). แบบเลียนภาษาไทยจากใจครูลิลลี.่ พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพ : ณ เพชรสํานักพิมพ์ คํายืมภาษาต่างประเทศที่มีใช้ในภาษาไทย. (๒๕๔๒). (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://www.baanjomyut.com/library_2/extension1/loanwords/index.html [๑ มิถุนายน ๒๕๖๑] คํายืมภาษามลายูในภาษาไทยภาษาไทย. (๒๕๕๒). (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://prezi.com/jhmtjxcvygpl/presentation/ [๑ มิถุนายน ๒๕๖๑] บรรจบ พันธุเมธา. (มิถุนายน ๒๕๖๑). ลักษณะการยืมคําภาษาเขมรมาใช้ใน ภาษาไทย. เอกสารประกอบการเรียนเรื่องภาษาเขมร. มหาวิทยาลัยศิลปากร ประพนธ์ เรืองณรงค์. (๒๕๕๖). จดหมายจากครูยโู ซะ. พิมพ์ครั้งที่ ๑. กรุงเทพ : สถาพรบุ๊คส์. ภาษาชวา-มลายู. (๒๕๕๖). (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://lakpasa.blogspot.com/2017/08/blog-post_35.html [๑ มิถุนายน ๒๕๖๑] ภาษาต่างประเทศที่นํามาใช้. (๒๕๕๕). (ออนไลน์). สืบค้นจาก : http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter3-1.html [๑ มิถุนายน ๒๕๖๑] วงรัตน์ วัฒนเสาวลักษณ์. (๒๕๕๖). คําภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ. (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://ruangrat.wordpress.com/ [๑ มิถุนายน ๒๕๖๑] สํานักงานราชบัณฑิตยสภา. (๒๕๕๘). คําภาษาจีนในภาษาไทย (ออนไลน์). สืบค้น จาก : http://www.royin.go.th/?knowledges=คําภาษาจีนในภาษาไทย๑ [๑ มิถุนายน ๒๕๖๑]


คณะผู้จดั ทาหนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เติม ภาษาไทย ค ายืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ชั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ ๒ กรรมการอานวยการ เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาประจําชาติ รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาประจําชาติ ที่ปรึกษาด้านพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ผู้อํานวยการกองควบคุมคุณภาพการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ประธานกรรมการ อาจารย์ ดร. อธิกมาส มากจุ้ย กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชญานนท์ อินทร์ภิรมย์ พ.อ.(พิเศษ) ศาสตราจารย์ ดร. ณัฐปภัทร จรัสบูรณาพันธุ์ ดร.นพ. ธนชัย โรจนธรรม รองศาสตราจารย์ ดร. ปณิตา เพ็ญแสงอ่อน เรืออากาศเอกหญิง ดร.พลอยไพลิน ศิริสม ศาสตราจารย์เกียรติคุณ วรพล วิสิทธิ์

กรรมการและเลขานุการ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ วรพล วิสิทธิ์ ปกและรูป เล่ม รศ.ดร. ปณิตา เพ็ญแสงอ่อน ดาเนิน งาน พ.อ.(พิเศษ) ศ.ดร. ณัฐปภัทร จรัสบูรณาพันธุ์

กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุก าร เรืออากาศเอกหญิง ดร.พลอยไพลิน ศิริสม ภาพประกอบ ดร.นพ. ธนชัย โรจนธรรม ช่ว ยดาเนินงาน ผศ.ดร. ชญานนท์ อินทร์ภิรมย์


ประกาศสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาประจําชาติ เรื่อง อนุญาตให้ใช้สื่อการเรียนรู้ในสถานศึกษา

ด้วยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาประจํ า ชาติ ได้ร่วมจัดทําหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย คํายืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามนโยบายของกระทรวงการศึ ก ษา แห่งอนาคต จึงอนุญาตให้ใช้หนังสือเรียนนี้ในสถานศึกษาได้ ประกาศ ณ วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๑

(นายชณิตพล พลอยธนภัทร) เลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาภาษาไทยในฐานะภาษาประจําชาติ



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.