S TA F F HANDBOOK คู่มือเจ้าหน้าที่และลูกจ้าง
CORE VALUE ENERGIZING / TEAM ALIGNMENTS & TRANSPARENCY / DEVOTION / ACCURACY & AGILITY
WWW.ETDA.OR.TH สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) : สพธอ.
คำ�นำ� คู่มือเจ้าหน้าที่และลูกจ้างฉบับนี้ จัดทำ�ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์สำ�คัญ เพื่อให้เจ้าหน้าที่ และลูกจ้างเข้าใจภาพรวมการบริหารจัดการสำ�นักงาน การบริหารจัดการทรัพยากร บุคคล การมีความเข้าใจในกฎระเบียบข้อบังคับที่เกียวข้อง นโยบายและยุทธศาสตร์ใน การขับเคลื่อนภารกิจตามวัตถุประสงค์การจัดตั้งสำ�นักงานฯ รวมถึงระบบสารสนเทศ ภายในที่ควรรู้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำ�เนินงาน ดังนั้น เจ้าหน้าที่และลูกจ้างควรศึกษาข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องตามคู่มือฉบับนี้ เพื่อ ประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่และสิทธิที่เจ้าหน้าที่และลูกจ้างทุกคนจะได้รับและจำ�เป็น ต้องถือปฏิบัติ ในการทำ�งานร่วมกันต่อไป สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) สพธอ. มิถุนายน 2559
4
ETDA HANDBOOK
สารบัญ หมวดที่ 1 บทนำ� 1.1 สถานที่ตั้ง 1.2 วัฒนธรรมและค่านิยม หมวดที่ 2 บททั่วไปเกี่ยวกับสำ�นักงาน 2.1 การบริหาร 2.2 ตราสัญลักษณ์ 2.3 คณะกรรมการ สพธอ. 2.4 โครงสร้างการบริหารงาน หมวดที่ 3 บุคคล 3.1 การบรรจุและแต่งตั้ง 3.2 วันและเวลาในการปฏิบัติงาน 3.3 วันลา และหลักเกณฑ์การลา 3.4 วินัย และการลงโทษ
ETDA HANDBOOK
หมวดที่ 4 สวัสดิการ 4.1 สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล 4.2 กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ 4.3 ค่าใช้บริการอินเทอร์เน็ต หมวดที่ 5 ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน 5.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน 5.2 ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม 5.3 ค่าตอบแทน ค่ารับรอง และค่าใช้จ่ายอื่นๆ หมวดที่ 6 กฎหมาย และกฎระเบียบหรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง หมวดที่ 7 ระบบสารสนเทศภายใน 7.1 นโยบายความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ 7.2 ระบบสารสนเทศพื้นฐานภายในองค์กร 7.3 การใช้งานระบบอีเมล 7.4 การใช้งานคอมพิวเตอร์พกพา 7.5 ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม 7.6 ค่าตอบแทน ค่ารับรอง และค่าใช้จ่ายอื่นๆ
5
หมวดที่ 1 บทนำ�
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. มีรูปแบบเป็นหน่วยงานของรัฐ ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก ภาครัฐ โดย สพธอ. ได้จัดตั้งขึ้นภาย ใต้พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สพธอ. โดย มีการกำ�หนดวัตถุประสงค์และอำ�นาจ หน้าที่ ดังนี้ • พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการทำ� ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ • พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการทำ� ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้แก่ SMEs • ศึกษาความต้องการโครงสร้างพื้น ฐานสารสนเทศที่จะต้องรองรับ e-Transactions • ศึกษา วิจัย และพัฒนา ICT ที่ เกี่ยวข้องกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ • ส่งเสริม สนับสนุน เผยแพร่ความ รู้ และการให้บริการเกี่ยวกับ ICT ด้าน ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 1.1 วิสัยทัศน์ สพธอ. “ทำ�ให้ธุรกรรมออนไลน์ทุกระดับเกิด ขึ้นได้สะดวก และมั่นคงปลอดภัย ตาม มาตรฐานสากล”
ETDA HANDBOOK
7
1.2 พันธกิจ สพธอ. ได้กำ�หนดพันธกิจเพื่อผลัก ดันการดำ�เนินงานตามแนวนโยบาย การส่งเสริมและพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศ 1. พัฒนา จัดทำ� และผลักดัน Soft Infrastructure (Standard, Cybersecurity, Privacy และ Law) รวมทั้งจัดทำ� ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่จำ�เป็นสำ�หรับ Digital 2. พัฒนาคน และระบบอำ�นวยความ สะดวก หรือระบบที่มีความสำ�คัญยิ่งยวด (Facilitating and Critical Infrastructure) ที่สร้างความเชื่อมั่นต่อการทำ� ธุรกรรมออนไลน์ 3. ติดตามและประเมินผล สถานภาพ ปัญหา และผลกระทบต่อการทำ�ธุรกรรม ออนไลน์ของประเทศ 1.3 ยุทธศาสตร์การดำ�เนินงาน (พ.ศ. 2559-2562) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างกลไกเพื่อ พัฒนาขีดความสามารถของผู้ประกอบ การ และสร้างความ เชื่อมั่นในการทำ� e-Commerce ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้ มีโครงสร้างพื้นฐานในการทำ�ธุรกรรม ทาง อิเล็กทรอนิกส์ ให้มีความน่าเชื่อถือ
8
ETDA HANDBOOK
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาและประยุกต์ ใช้กฎระเบียบและมาตรฐานสำ�คัญและ จำ�เป็นต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเสริมสร้างกลไก ที่แข็งแรงในดูแลระบบความมั่นคง ปลอดภัยและข้อมูลส่วน บุคคลในการทำ� ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาให้องค์กร เป็นอิเล็กทรอนิกส์อย่างเต็มรูปแบบ โดย มีบุคลากรที่มี คุณภาพ เพื่อรองรับการ ปรับเปลี่ยนองค์กรภายใต้นโยบายรัฐบาล 1.4 ค่านิยมองค์กร ค่านิยมขององค์กร (Core Value) ที่ พนักงานทุกคนพึงมีและยึดมั่น คือ • Energizing คือ ความกระตือรือร้น ขวนขวายหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง และผู้อื่นเสมอ เพื่อสำ�เร็จตามเป้าหมายที่ กำ�หนด • Team Alignment & Transparency คือ ความสอดคล้อง สามัคคีเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน (Alignment) เปิด เผย โปร่งใส ตรงไปตรงมาและมีความไว้ วางใจซึ่งกันและกัน (Transparency) ใน การทำ�งาน
• Devotion คือ การทุ่มเท อุทิศตนให้ กับงาน องค์กร สังคมหรือประเทศชาติ โดยมีความเสียสละ ตั้งใจทำ�งานในหน้าที่ ที่รับผิดชอบรวมถึงงานพิเศษที่นอก เหนือจากงานประจำ�ให้สำ�เร็จตามกำ�หนด เวลาและพันธสัญญาที่ให้ไว้ • Agility & Accuracy คือ ทำ�งาน ด้วยความคล่องแคล่ว รวดเร็ว มีความ พร้อมในการตอบสนองกับงานที่ได้รับ มอบหมาย นอกจากนั้น ยังสามารถส่ง มอบผลลัพธ์ของงานได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ� โดยมีความผิดพลาดที่เกิดขึ้น น้อย
ETDA HANDBOOK
9
1.5 สถานที่ตั้ง สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) อาคารเดอะ ไนน์ ทาวเวอร์ แกรนด์ พระรามเก้า (อาคารบี) ชั้น 21 เลขที่ 33/4 ถนน พระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทร: +66 0 2123 1234 โทรสาร: +66 0 2120 1200 อีเมล: wemaster@etda.or.th
Tip : ที่อยู่หรือสถานที่ตั้งสำ�คัญอย่างไร ? “เอาไว้เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำ�คัญในเอกสารสัญญา ใบเสร็จรับเงิน ใบกำ�กับภาษี เป็นต้น”
10
ETDA HANDBOOK
หมวดที่ 2 บททั่วไปเกี่ยวกับสำ�นักงาน
ETDA HANDBOOK
11
สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) หรือ สพธอ. เป็น หน่วยงานของรัฐประเภท “องค์การมหาชน” จัดตั้งขึ้นตาม พ.ร.ฎ. จัดตั้งสำ�นักงาน พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2554 มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย 2.1 การบริหาร
2.2 ตราสัญลักษณ์ มีทั้งหมด 2 แบบ ดังนี้
กำหนดนโยบาย อนุมัติแผนงาน แผนการเงิน และวางระเบียบกฎเกณฑ ตาง ๆ ของสำนักงาน
กำกับดูแลโดย รมว. ICT
คณะกรรมการ สพธอ. บริหารสำนักงาน กำกับดูแลเจาหนาที่และลูกจาง
แบบที่ 1 ผอ.สพธอ
แบบที่ 2
12
16
ETDA HANDBOOK
2.3 คณะกรรมการ สพธอ. คณะกรรมการบริหารสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ETDA ANNUAL REPORT 2015 วาระที่ 2 ประกอบด้วย
ETDA HANDBOOK
ANNUAL REPORT 2015
13
17
คณะกรรมการบริหาร ETDA
14
20
ETDA HANDBOOK
ETDA ANNUAL REPORT 2015
2.3 คณะผูบ ้บริริหห ารระดั บสูงของ สพธอ. คณะผู าร ETDA
สุรางคณา วายุภาพ
ผูอำนวยการ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน)
วรรณวิทย อาขุบุตร
รองผูอำนวยการ
ชัยชนะ
มิตรพันธ
รองผูอำนวยการ
ชาติชาย
สุทธาเวศ
รองผูอำนวยการ
16
ETDA HANDBOOK
2.4 โครงสร้างองค์กร 1. สำ�นักผู้อำ�นวยการ Office of Executive Director
- ส่วนงานบริหารทรัพยากรบุคคล - ส่วนงานเลขานุการคณะกรรมการบริหาร - ส่วนงานเลขานุการผู้บริหาร - ส่วนงานวิเทศสัมพันธ์
2. สำ�นักตรวจสอบภายใน Office of Internal Audit
- ส่วนงานตรวจสอบการดำ�เนินงาน - ส่วนงานตรวจสอบระบบสารสนเทศ
3. สำ�นักบริหารกลาง Office of General Administration
- ส่วนงานการเงินและบัญชี - ส่วนงานความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม - ส่วนงานงบประมาณและแผนงาน - ส่วนงานบริหารงานทั่วไป - ส่วนงานพัสดุและจัดซื้อ
4. สำ�นักสารสนเทศ Office of Information Technology
- ส่วนงานบริการสารสนเทศ - ส่วนงานพัฒนาระบบสารสนเทศ - ส่วนงานระบบเครือข่าย - ส่วนงานสถาปัตยกรรมองค์กร
5. สำ�นักยุทธศาสตร์ Office of Strategic
- ส่วนงานนโยบายและยุทธศาสตร์ - ส่วนงานความร่วมมือระหว่างประเทศ - ส่วนงานดัชนีและสำ�รวจ - ส่วนงานบริหารโครงการ - ส่วนงานประเมินองค์กร
6. สำ�นักกฎหมาย Office of Legal Affairs
- ส่วนงานข้อบังคับและระเบียบ - ส่วนงานนิติกรรมและสัญญา - ส่วนงานพัฒนากฏหมาย - ส่วนงานศูนย์กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
7. สำ�นักส่งเสริมธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ Office of Electronic Transaction Promotion
- ส่วนงานจัดนิทรรศการและการประชุม - ส่วนงานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ - ส่วนงานศูนย์รับเรื่องร้องเรียนออนไลน์ - ส่วนงานส่งเสริมและฝึกอบรม
ETDA HANDBOOK
8. สำ�นักความมั่นคง ปลอดภัย Office of Security
- ส่วนงานไทยเซิร์ต - ส่วนงานวิเคราะห์การโจมตีทางไซเบอร์ - ส่วนงานศูนย์ดิจิทัลฟอเรนสิกส์ - ส่วนงานยกระดับทักษะความมั่นคงปลอดภัย ไซเบอร์
9. สำ�นักโครงสร้างพื้น ฐานสารสนเทศ Office of Information Technology Infrastructure
- ส่วนงานบริการระบบ NRCA - ส่วนงาน e-Authentication - ส่วนงานพัฒนาบริการโครงสร้างพื้นฐาน
10. สำ�นักมาตรฐาน Office of Information and Communication Technology Standard
- ส่วนงานกลยุทธ์มาตรฐาน - ส่วนงานพัฒนามาตรฐาน - ส่วนงานรับรองมาตรฐาน
11. สำ�นักวิจัยและพัฒนา Office of Research and Development
- ส่วนงานถ่ายทอดเทคโนโลยี - ส่วนงานพัฒนาต้นแบบ - ส่วนงานวิจัยและนวัตกรรม
12. สำ�นักโครงการพิเศษ Office of Special Project
- ส่วนงาน Brand Building - ส่วนงาน Flagship Project - ส่วนงานพัฒนาธุรกิจ - ส่วนงาน Open Forum - ส่วนงานประสานความร่วมมือ
13. สำ�นักพัฒนาองค์กร Office of Organization Development
- ส่วนงานบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน - ส่วนงานกำ�กับการปฏิบัติตามข้อกำ�หนด - ส่วนงานบริหารคลังความรู้ - ส่วนงานประกันคุณภาพ
17
18
ETDA HANDBOOK
หมวดที่ 3 บุคคล
ETDA HANDBOOK
19
“องค์การมหาชน”
สพธอ. เป็นหน่วยงานของรัฐประเภท โดยเจ้าหน้าที่และลูกจ้างของ สพธอ. เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งอยู่ภายใต้ พ.ร.บ. ว่า ด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทาง ปกครอง พ.ศ. 2539 พ.ร.บ. จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 และกฎหมายอื่นที่กำ�หนดให้องค์การมหาชนต้องปฏิบัติ 3.1 การบรรจุและแต่งตั้ง เจ้าหน้าที่และลูกจ้างของ สพธอ. มี 3 ประเภท คือ
(1) บริหาร
(2) วิจัยและวิชาการ
(3) สนับสนุน
โดยบรรจุและแต่งตั้งจากผู้ที่ผ่านกระบวนการสรรหา หรือคัดเลือกตามข้อบังคับหรือ ระเบียบของสำ�นักงาน และจะต้องมีการทดลองปฏิบัติงานเป็นระยะเวลา 90 วัน ถ้าครบระยะเวลาทดลองงานแล้วปรากฏว่าผลการปฏิบัติงานต่ำ�กว่ามาตรฐานที่ กำ�หนด ให้ถือว่าสิ้นสุดการปฏิบัติงาน เว้นแต่ผู้อำ�นวยการอนุญาตให้ขยายระยะเวลา การทดลองปฏิบัติงาน ได้ตามระยะเวลาที่ข้อบังคับกำ�หนดไว้
20
ETDA HANDBOOK
3.2 ภาพรวมความก้าวหน้าในสายอาชีพ ระดับ
สายงานบริหาร
9
รอง ผอ.สพธอ.
8
ผูช ้ ว ่ ย ผอ.สพธอ.
7
ผูอ ้ �ำ นวยการสำ�นัก
6
รอง/ผช.ผอ.สน.
5
ผูจ ้ ด ั การส่วน
4
ผูช ้ ว ่ ยผจก.
(Career Path) ของ สพธอ.
บทบาท (Role)
บริหารระดับ สายงานหลัก
สายงานเชีย ่ วชาญ
บทบาท (Role)
ผูเ้ ชีย ่ วชาญอาวุโส
บริหารงานหลัก ขององค์กร มี ความเชีย ่ วชาญใน ระดับระดับประเทศ
ผูเ้ ชีย ่ วชาญ
บริหารระดับ สายงาน
ผูช ้ �ำ นาญการ
ให้ค�ำ แนะนำ�ด้าน วิชาชีพ พัฒนา และ ปรับปรุงระบบงาน เดิมได้
บังคับบัญชา สอน งาน
เจ้าหน้าทีอ ่ าวุโส
ปฏิบต ั ง ิ านทาง วิชาชีพ ซึง ่ มีความ ซับซ้อนด้วยตนเอง
3
เจ้าหน้าที่ (ปริญญา โท)
2
เจ้าหน้าที่ (ปริญญา ตรี)
1
ต่�ำ กว่าระดับ ป.ตรี
ปฏิบต ั ง ิ านโดยใช้ วิชาชีพตามทีไ่ ด้รบ ั มอบหมาย
สำ�หรับความก้าวหน้าในสายอาชีพ เมื่อปฏิบัติงานกับ สพธอ. จะสามารถเลือกพัฒนา สมรรถนะ ความก้าวหน้าในหน้าที่การทำ�งานได้ 2 แบบ คือ 1. สายงานบริหาร และ 2. สายงานเชี่ยวชาญ ทั้งนี้ สายงานบริหารระดับ 8 และ 9 จะต้องผ่านการพิจารณาให้ ความเห็นชอบการแต่งตั้งจากคณะอนุกรรมการบริหารงานบุคคล และคณะกรรมการ บริหาร สพธอ.
ETDA HANDBOOK
21
การปรับตำ�แหน่งความก้าวหน้าในแต่ละระดับเป็นไปตามเกณฑ์ที่สำ�นักงานฯกำ�หนด ทั้งด้านผลการประเมินการปฏิบัติงานรายบุคคล (ผลงานและแบบประพฤติอันดีตาม ค่านิยมองค์กร/ทักษะด้านการบริหารจัดการตามเกณฑ์ที่กำ�หนด) อายุการปฏิบัติงาน อายุตัว เป็นต้น 3.3 วันและเวลาในการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และลูกจ้างของ สพธอ. ต้องปฏิบัติงานตามเวลาปฏิบัติ งานปกติ โดยวันปฏิบัติงาน เวลาปฏิบัติงาน และวันหยุดให้เป็น ดังนี้
(1) วันปฏิบัติงานปกติ ได้แก่ วันจันทร์ถึงวันศุกร์ของสัปดาห์ เว้นวันหยุดตาม ประเพณี วันหยุดประจำ�ปี และวันหยุดอื่นๆ (2) วันหยุดประจำ�สัปดาห์ ได้แก่ วันเสาร์ และอาทิตย์ (3) วันหยุดตามประเพณี ได้แก่ วันหยุดเนื่องในวันนักขัตฤกษ์ตามประเพณีต่างๆ ที่ สำ�นักงานกำ�หนด (4) วันหยุดอื่นตามที่คณะรัฐมนตรีหรือผู้อำ�นวยการกำ�หนด (5) เวลาปฏิบัติงานปกติ ได้แก่ ระยะเวลาการปฏิบัติงานในแต่ละวันซึ่งไม่น้อยกว่าวัน ละ 8 ชั่วโมง ( ตั้งแต่เวลา 8.30 น. ) โดยมีเวลาหยุดพักกลางวัน 1 ชั่วโมง ซึ่งไม่ นับรวมเป็นเวลาปฏิบัติงาน
22
ETDA HANDBOOK
3.4 วันลา และหลักเกณฑ์การลา ประเภท การลา 1. ลาป่วย
เงื่อนไขและ ระยะเวลาการลา 1) ลาได้ไม่เกินปีละ 30 วันทำ�การ 2) ผอ.สพธอ. จะ อนุญาตให้ลาต่อจาก 1) ไปอีกก็ได้ แต่ต้องไม่เกิน 30 วัน
เอกสารประกอบการลา
กรณีลาป่วยเกิน 3 วัน ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มี อำ�นาจอนุญาต อาจสั่ง ให้แสดงใบรับรองแพทย์
3) ถ้ายังไม่หายป่วย คณะอนุกรรมการอาจ ให้ลาต่อไปได้ แต่ไม่เกิน 30 วัน
ลาได้ปีละไม่เกิน 15 วัน หมายเหตุ : กรณีปฏิบัติ งานไม่ครบ 1 ปี ให้ลาได้ ตามสัดส่วนของจำ�นวน เดือนที่เหลือในปีนั้น
1. ต้องแจ้งให้ผู้บังคับ บัญชาทราบ 2. ต้องลาตามแบบที่ สำ�นักงานกำ�หนดต่อ ผู้บังคับคัญชาตาม ลำ�ดับจนถึงผู้มีอำ�นาจ อนุญาตให้ลาในวันที่ลา หรือในวันแรกที่กลับเข้า มาปฏิบัติงาน หมายเหตุ กรณีป่วยจนไม่สามารถ แจ้งการลาได้ สามารถ ให้ผู้อื่นแจ้งการลาแทน ก็ได้ แต่เมื่อสามารถ กลับมาปฏิบัติงานได้ แล้ว ให้ดำ�เนินการลา ตามแบบที่สำ�นักงาน กำ�หนดโดยเร็ว
หมายเหตุ : หากครบ กำ�หนดระยะเวลาที่มีสิทธิ ลาดังกล่าวแล้ว แล้ว ยังไม่หายป่วย หรือไม่ สามารถปฏิบัติงานได้ ให้ ผอ.สพธอ. สั่งผู้นั้นออก จากงาน โดยให้ได้รับเงิน ชดเชย
2. ลากิจ ส่วนตัว
วิธีการลา
-
ต้องขออนุญาต ล่วงหน้าและเมื่อได้รับ อนุญาตแล้วจึงจะหยุด งานได้
ETDA HANDBOOK
23
ประเภท การลา
เงื่อนไขและ ระยะเวลาการลา
3. ลาพักผ่อน
ลาได้ไม่เกิน 12 วัน และ สะสมวันลาได้ไม่เกิน 24 วันทำ�การ หมายเหตุ : เฉพาะเจ้า หน้าที่/ลูกจ้างที่มีระยะ เวลาปฏิบัติงานไม่น้อย กว่า 12 เดือน ในกรณี ที่ปฏิบัติงานครบ 12 เดือนและอยู่ระหว่าง ปีงบประมาณ สามารถ ขอลาได้ตามสัดส่วนของ จำ�นวนเดือนที่เหลือใน ปีนั้น
-
ยื่นขออนุญาตต่อ ผู้บังคับบัญชาตาม ลำ�ดับจนถึงผู้มีอำ�นาจ อนุญาตตามแบบที่ สำ�นักงานกำ�หนด เมื่อ ได้รับอนุญาตแล้ว จึง จะหยุดงานได้ กรณี ลาติดต่อกันเกิน 5 วัน ต้องยื่นล่วงหน้า 7 วัน โดยให้ผู้บังคับ บัญชาเสนอความเห็น เพื่อเป็นข้อมูลประกอบ การพิจารณาของผู้มี อำ�นาจอนุญาตลา ทั้งนี้ ต้องมิให้เกินความเสีย หายแก่การดำ�เนินงาน ของสำ�นักงาน
4. ลาคลอด บุตร (เฉพาะ เจ้าหน้าที่หรือ ลูกจ้างสตรี)
1) ลาได้ ไม่เกิน 90 วัน (ลาก่อนหรือหลังคลอด ก็ได้) 2) ถ้าลาเกินกว่า 90 วัน ตาม 1) ให้ส่วนที่เกิน เป็นการลาป่วยแทน
ในกรณีลาหยุดเกินระยะ เวลา 90วัน ต้องมีใบรับ รองแพทย์มาแสดงเพื่อ ประกอบการพิจารณา อนุมัติ
1) ต้องลาล่วงหน้า และ ลาตามแบบที่สำ�นักงาน กำ�หนด 2) ในกรณี ไม่สามารถ ลาล่วงหน้าได้ให้เแจ้ งการลาในโอกาสแรก ที่จะกระทำ�ได้ และชี้แจง เหตุผลความจำ�เป็น โดยผู้มีอำ�นาจอนุญาต
เอกสารประกอบการลา
วิธีการลา
24
ประเภท การลา
ETDA HANDBOOK
เงื่อนไขและ ระยะเวลาการลา
4. ลาคลอด บุตร (เฉพาะ เจ้าหน้าที่หรือ ลูกจ้างสตรี)
หมายเหตุ : กรณีแท้ง บุตรก่อนอายุครรภ์ครบ 28 สัปดาห์ ไม่ถือเป็นการ ลาคลอดบุตร แต่ให้ถือ เป็นการลาป่วย การแท้งบุตรครบ 28 สัปดาห์ ถือเป็นการลา คลอดบุตร โดยให้ลาตาม แพทย์สั่ง ทั้งนี้ไม่เกิน 90 วัน
5. ลาเพื่อ เลี้ยงดูบุตร
1) เจ้าหน้าที่/ลูกจ้างสตรี ลาได้ไม่เกิน 30 วันต่อ จากการลาคลอดบุตร และลาโดยไม่ได้รับเงิน เดือนต่อไปได้อีกไม่เกิน 150 วัน 2) เจ้าหน้าที่ชาย ลาได้ไม่ เกิน 15 วัน ทั้งนี้ ต้องลา ภายใน 90 วัน นับแต่ที่ คลอดบุตร หมายเหตุ : เฉพาะเจ้า หน้าที่/ลูกจ้างที่ผ่านการ ทดลองปฏิบัติงาน
เอกสารประกอบการลา
วิธีการลา
พิจารณาเหตุผลความ จำ�เป็นประกอบการ อนุญาต 3) เว้นแต่กรณีหยุดงาน ไปก่อนโดยไม่รอผลการ อนุญาต จะต้องชี้แจง เหตุผลทันทีในวันแรก ที่มาปฏิบัติงาน และต้อง ดำ�เนินการลาตามแบบ ที่สำ�นักงานกำ�หนด
-
เสนอขออนุญาตต่อ ผู้บังคับบัญชาตาม ลำ�ดับจนถึงผู้มีอำ�นาจ อนุญาตก่อนหรือใน วันลา กรณีถ้าลาต่อจากการ ลาเพื่อเลี้ยงดูบุตรที่ไม่ เกิน 150 วัน โดยไม่ได้ รับเงินเดือน นั้น ต้องได้ รับอนุญาตก่อนจึงจะ หยุดงานได้
ETDA HANDBOOK
ประเภท การลา
เงื่อนไขและ ระยะเวลาการลา
6. ลาอุปสมบท
ลาได้ไม่เกิน 120 วัน และ มีสิทธิลาอุปสมบทเพียง ครั้งเดียวตลอดระยะ เวลาที่เป็นเจ้าหน้าที่หรือ ลูกจ้าง โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ 1) ลาหยุดก่อนวัน อุปสมบทได้ไม่เกิน 10 วัน 2) เมื่อลาสิกขาบทแล้ว ต้องกลับเข้าปฏิบัติงาน ภายใน 7 วัน 3) ระยะเวลาตาม 1) และ 2) เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่ เกิน 120 วัน หมายเหตุ : เมื่อครบ กำ�หนดการลาอุปสมบท ให้ทำ�รายงานพร้อม หนังสือรับรองของเจ้า อาวาสที่ระบุวันอุปสมบท และวันลาสิกขา เสนอต่อ ผู้บังคับบัญชาตามลำ�ดับ จนถึงผู้มีอำ�นาจอนุมัติ กรณีมีอุปสรรคทำ�ให้ไม่ สามารถอุปสมบทตามที่ ขอลาไว้ เมื่อได้รายงาน ตัวเข้าปฏิบัติงานและถอน วันลา ให้ผู้อำ�นวยการ อนุญาตถอนวันลาได้ โดยให้ถือวันที่ได้หยุดไป แล้วเป็นวันลากิจส่วนตัว
25
เอกสารประกอบการลา
วิธีการลา
หนังสือรับรองของเจ้า อาวาสทีร่ ะบุวน ั อุปสมบท และวันลาสิกขา
ลาต่อผู้บังคับบัญชา ตามลำ�ดับจนถึงผู้มี อำ�นาจอนุญาตให้ลา โดยต้องยื่นล่วงหน้าไม่ น่อยกว่า 60 วัน เว้นแต่ ลาอุปสมบทน้อยกว่า 30 วัน ให้ยื่นล่วงหน้าไม่ น้อยกว่า 30 วัน
26
ETDA HANDBOOK
ประเภท การลา
เงื่อนไขและ ระยะเวลาการลา
7. ลาไปประกอบ พิธีฮัจญ์
ลาได้ไม่เกิน 70 วัน และ มีสิทธิลาอุปสมบทเพียง ครั้งเดียวตลอดระยะเวลา ทีเ่ ป็นเจ้าหน้าทีห ่ รือลูกจ้าง โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ 1) ลาหยุดก่อนวันเดินทาง ได้ไม่เกิน 10 วัน 2) เมือ ่ เดินทางกลับ ประเทศไทยแล้ว ต้องกลับ เข้าปฏิบต ั ง ิ านภายใน 7 วัน 3) ระยะเวลาตาม 1) และ 2) เมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกิน 70 วัน หมายเหตุ : เมื่อครบ กำ�หนดการลาแล้ว ให้ ทำ�รายงานพร้อมด้วย เอกสารที่เชื่อถือได้ที่ แสดงวันเดินทางกลับถึง ประเทศไทย ต่อผู้บังคับ บัญชาตามลำ�ดับจนถึงผู้ มีอำ�นาจอนุญาตลา กรณีมีอุปสรรคทำ�ให้ไม่ สามารถไปประกอบพิธี ฮัจญ์ตามที่ขอลาไว้ เมื่อได้รายงานตัวเข้า ปฏิบัติงานและถอนวันลา ให้ผู้อำ�นวยการอนุญาต ถอนวันลาได้ โดยให้ถือวัน ที่ได้หยุดไปแล้วเป็นวันลา กิจส่วนตัว
เอกสารประกอบการลา
หนังสือรับรองของ จุฬาราชมนตร
วิธีการลา
ลาต่อผู้บังคับบัญชา ตามลำ�ดับจนถึงผู้ มีอำ�นาจอนุญาต ให้ลา พร้อมแนบ หนังสือรับรองของ จุฬาราชมนตรีก่อนวัน ลาไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน และเมื่อได้รับอนุญาติ แล้วจึงจะสามารถหยุด งานได้ หมายเหตุ กรณีมีเหตุ พิเศษไม่อาจเสนอหรือ จัดส่งใบลาได้ภายใน กำ�หนด ให้ชี้แจงเหตุผล ประกอบการลา และให้ อยู่ในดุลพินิจของผู้มี อำ�นาจอนุญาติให้ลา
ETDA HANDBOOK
ประเภท การลา
เงื่อนไขและ ระยะเวลาการลา
8. ลาเพื่อเข้ารับ ราชการทหารใน การเรียกพลเพื่อ ตรวจเลือก หรือ เข้ารับการฝึก วิชาทหารหรือ ทดสอบความ พรั่งพร้อมของ กำ�ลังพล
ตามกำ�หนดเวลาที่จำ�เป็น แก่ทางราชการ ร่วมถึง วันเดินทางไป-กลับเท่าที่ จำ�เป็น (เป็นไปตามกำ�หนด เวลาของแต่ละกรณี)
27
เอกสารประกอบการลา
วิธีการลา
เอกสารของทางราชการ ทหารหรือสำ�เนาเอกสาร ดังกล่าว หรือเอกสารอื่น ที่เชื่อถือได้
1. ยื่นใบลาพร้อม เอกสารตามที่กำ�หนด เสนอต่อผู้บังคับบัญชา ทันทีที่ได้รับเอกสารจาก ทางราชการทหาร
หมายเหตุ : เมื่อปฏิบัติ ภารกิจเสร็จแล้วต้องกลับ เข้ามารายงานตัวต่อผู้ บังคับบัญชาภายใน 7 วัน
2. สามารถปฏิบัติตาม คำ�สั่งของทางราชการ ทหารโดยไม่ต้องรอ รับคำ�สั่งอนุญาต
กรณีลาเพื่อเข้ารับ ราชการทหาร และให้ผู้ อำ�นวยการสั่งให้ออกจาก งานเป็นการชั่วคราว เมื่อ ออกจากราชการทหาร แล้ว ต้องรายงานตัว พร้อมยื่นคำ�ขอกลับเข้า ปฏิบัติงานต่อผู้บังคับ บัญชาภายใน 30 วัน เพื่อ
3. ให้ผู้บังคับบัญชา เสนอรายงานไปตาม ลำ�ดับจนถึงผู้มีอำ�นาจ อนุญาต
9. ลาเพื่อ ประโยชน์ในการ พัฒนาพนักงาน หรือพนักงาน โครงการ
ระยะเวลาตามที่ได้รับ อนุญาต
-
ต้องลาล่วงหน้า และตาม หลักเกณฑ์และวิธีการ ลาเป็นไปตามที่ระเบียบ กำ�หนด
10. ลาตามมติ คณะรัฐมนตรี
ระยะเวลาตามที่ได้รับ อนุญาต
-
ลาตามมติคณะ รัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง หรือที่ใช้บังคับส่วน ราชการหรือหน่วยงาน อื่นของรัฐ โดยลาล่วง หน้า และลาตามแบบที่ สำ�นักงานกำ�หนด
3.5 วินัย และการลงโทษ
เจ้าหน้าที่และลูกจ้างต้องรักษาวินัยดังต่อไปนี้อย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ 1)
สุภาพเรียบร้อย รวมทั้งเชื่อฟังและปฏิบัติตามคำ�สั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งการใน หน้าที่โดยชอบ
2)
ปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบาย คำ�สั่ง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และแบบธรรมเนียมของ สำ�นักงาน โดยไม่เกิดความเสียหายใดๆ แก่สำ�นักงาน
3)
ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายให้เกิดผลดีหรือเกิดความก้าวหน้าแก่สำ�นักงาน รวมทั้ง ต้องระมัดระวังทรัพย์สินและผลประโยชน์ของสำ�นักงาน
4)
อุทิศเวลาให้สำ�นักงานและมาปฏิบัติงานตรงต่อเวลา การมาปฏิบัติงานสายหรือกลับ ก่อนเวลาบ่อยครั้ง ถือเป็นการไม่อุทิศเวลาให้สำ�นักงาน
5)
รักษาความลับของสำ�นักงาน
6)
ประพฤติและปฏิบัติตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพของตนและตามที่สำ�นักงานกำ�หนด
7)
รักษาความความสามัคคี และช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการปฏิบัติงาน รวมถึงไม่กระทำ�ที่ เป็นการกลั่นแกล้ง
8)
ไม่รายงานเท็จหรือให้การเท็จต่อสำ�นักงาน และผู้บังคับบัญชา การปกปิดข้อความซึ่ง ต้องแจ้ง ถือว่าเป็นการรายงานเท็จ
9)
ปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม รวมทั้งไม่อาศัยอำ�นาจของผู้อื่นหรือ ยอมให้ผู้อื่นอาศัยอำ�นาจไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม
10)
ไม่ปฏิบัติงานอื่นใดซึ่งขัดกับวัตถุประสงค์และผลประโยชน์ของสำ�นักงาน
11)
ไม่ประพฤติให้เสื่อมเสียชื่อเสียงแก่ตนเองหรือสำ�นักงาน
12)
ไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือดำ�รงตำ�แหน่งอื่นที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกัน นั้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท โดยไม่ได้รับความเห็นชอบจากสำ�นักงาน
13)
ผูบ ้ ง ั คับบัญชาต้องดูแลและส่งเสริมให้ผใู้ ต้บง ั คับบัญชารักษาวินย ั อย่างเคร่งครัด ถ้ารูว ้ า่ ผูใ้ ต้บง ั คับบัญชากระทำ�ผิดวินย ั จะต้องดำ�เนินการทางวินย ั ในทันที
ความผิดดังต่อไปนี้ ถือเป็นวินัยร้ายแรง !!! 1)
ขัดคำ�สั่งหรือหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามคำ�สั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งสั่งการในหน้าที่โดย ชอบด้วยกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คำ�สั่ง ประกาศ หรือแบบธรรมเนียมของสำ�นักงาน อันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่สำ�นักงานอย่างร้ายแรง
2)
ปฏิบัติงานโดยจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ คำ�สั่ง ประกาศ หรือแบบ ธรรมเนียมของสำ�นักงาน อันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่สำ�นักงานอย่างร้ายแรง
3)
ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงในการปฏิบัติงานอันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ สำ�นักงานอย่างร้ายแรง
4)
ละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรเป็นเหตุให้เสียหายแก่สำ�นักงานอย่าง ร้ายแรง หรือละทิ้งหน้าที่ติดต่อกันเป็นเวลาเกินกว่า 7 วัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือโดยมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับหรือระเบียบของ สำ�นักงาน
5)
เปิดเผยความลับของสำ�นักงานอันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ส�ำ นักงานอย่างร้ายแรง
6)
ปฏิบัติหน้าที่หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบเพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ที่ไม่ ควรได้
7)
กระทำ�ความผิดอาญาจนได้รับโทษจำ�คุกหรือโทษที่หนักกว่าจำ�คุกโดยคำ�พิพากษาถึงที่ สุดให้จำ�คุกหรือโทษที่หนักกว่าจำ�คุก เว้นแต่เป็นโทษจำ�คุกสำ�หรับความผิดที่ได้กระทำ� โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ
8)
จงใจรายงานเท็จหรือให้การเท็จต่อสำ�นักงานหรือผู้บังคับบัญชา เป็นเหตุให้เกิดความ เสียหายแก่สำ�นักงานอย่างร้ายแรง การปกปิดข้อความซึ่งควรต้องแจ้ง ถือว่าเป็นการ ราบยงานเท็จด้วย
9)
ปลอมแปลงเอกสารหรือใช้เอกสารเท็จ เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่สำ�นักงานอย่าง ร้ายแรง
10)
ดูหมิ่น เหยียดยาม กดขี่ และข่มเหงผู้มาติดต่องานของสำ�นักงานอย่างร้ายแรง
11)
ลักขโมยหรือยักยอกทรัพย์สินของสำ�นักงาน หรือของบุคคหนึ่งบุคคลใด
12)
นำ�สิ่งเสพติดหรืออาวุธร้ายแรงเข้ามาในบริเวณสำ�นักงานโดยผิดกฎหมาย
13)
เล่นการพนันในเวลาปฏิบัติงานหรือภายในบริเวณสำ�นักงาน
14)
เมาสุราหรือสิ่งเสพติดอาระวาด
โทษทางวินัย เจ้าหน้าที่และลูกจ้างผู้ใดฝ่าฝืนข้อห้ามหรือไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ ทางวินัยตามที่กำ�หนดไว้ข้างต้น จักต้องได้รับโทษทางวินัย โดยการ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดเงินเดือน ปลดออก และไล่ออก ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีเหตุผลอันควรงดโทษหรือลดหย่อนโทษ
30
ETDA HANDBOOK
หมวดที่ 4 สวัสดิการ
ETDA HANDBOOK
4.1 สวัสดิการรักษาพยาบาล ผู้มีสิทธิได้รับสวัสดิการ คือ เจ้าหน้าที่และลูกจ้าง และบุคคลในครอบครัวของ เจ้าหน้าที่ (บิดา มารดา สามีภรรยาที่จดทะเบียน และบุตรจำ�นวน 3 คน) รายการ
เจ้าหน้าที่
บุคคลในครอบครัว
สถานพยาบาลของ ทางราชการ
เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 2,000 บาท/ วัน
เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 1,500 บาท/วัน
1. ค่าบำ�บัดโรค 2. ค่าห้องและอาหาร 3. ค่าห้อง ICU และ ค่าอาหาร 4. ค่าอวัยวะเทียมและ อุปกรณ์ในการบำ�บัด รักษาโรค
สถานพยาบาล เอกชน
ค่ารักษาโรคฟัน
เท่าที่จ่ายจริง เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน อัตราตาม พ.ร.ฎ. เงินสวัสดิการ เกี่ยวกับการรักษา พยาบาล
ไม่เกิน 2,000 บาท/วัน เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตรา ตาม พ.ร.ฎ. เงินสวัสดิการเกี่ยว กับการรักษาพยาบาล
ตามหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขกรมธรรม์ ประกันภัย
ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข กรมธรรม์ประกันภัย
คนละ 5,000 บาท/ปี
คนละ 5,000 บาท/ปี
หมายเหตุ กรณีอายุเกิน 65 ปีมีสิทธิเบิกได้ไม่เกินคนละ 100,000 บาท
31
32
ETDA HANDBOOK
แนวทางการเบิกค่ารักษาพยาบาล : ยื่นเบิกภายใน 90 วัน นับแต่วันที่ได้จ่ายเงินหรือ วันที่ได้ดำ�เนินการเบิกจ่ายจากหน่วยงานอื่น พร้อมเอกสารและหลักฐานประกอบการ เบิกจ่ายทุกครั้ง ดังนี้ (1) ต้นฉบับใบรับรองแพทย์ (2) ต้นฉบับใบเสร็จรับเงิน 4.2 กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ เจ้าหน้าที่มีสิทธิได้รับเงินกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพเฉพาะส่วนที่สำ�นักงานสมทบให้และ ผลประโยชน์ในส่วนของเงินดังกล่าว ดังนี้
ETDA HANDBOOK
อายุงาน อัตราเงินสมทบและและผลประโยชน์ของเงินสมทบที่กองทุนจะจ่ายเมื่อสิ้น สุดสมาชิกภาพ
อัตราเงินสมทบและและ ผลประโยชนของเงินสมทบ ที่กองทุนจะจายเมื่อสิ้นสุด สมาชิกภาพ
อายุงาน
นอยกวา 6 เดือน
0
50
%
อายุงาน
ตั้งแต 6 เดือนขึ้นไป แตไมถึง 3 ป
%
100
%
อายุงาน
ตั้งแต 3 ปขึ้นไป
4.3 ค่าบริการอินเทอร์เน็ต เจ้าหน้าที่ทุกคนมีสิทธิได้รับค่าใช้บริการอินเทอร์เน็ต ในอัตราเดือนละ 600 บาท
33
34
ETDA HANDBOOK
หมวดที่ 5 ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน
ETDA HANDBOOK
35
การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และลูกจ้างเป็นไปตามสายบังคับบัญชา โดยในการปฏิบัติ งานสามารถเบิกค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ได้ 5.1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน (5.1.1) ค่าพาหนะ ประเภท
อัตรา
(1) รถประจำ�ทาง หรือ รับจ้างสาธารณะ
ตามที่จ่ายจริง
(2) รถยนต์ส่วนตัว
-รถยนต์ 10 บาท/ก.ม -รถจักรยานยนต์ 3 บาท/ก.ม ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุญาตจาก ผอ. สพธอ. หรือผู้ที่ ผอ.สพธอ. มอบ หมาย
(3) เครื่องบิน
กรณีเดินทางภายในประเทศ : เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน อัตรา ดังนี้ (ก) ชั้นธุรกิจ สำ�หรับ ประธานกรรมการ กรรมการ อนุกรรมการ ผู้อำ�นวยการ รองผู้อำ�นวยการ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ ที่ปรึกษา และ ผู้เชี่ยวชาญอาวุโส (ข) ชั้นประหยัด สำ�หรับบุคคลอื่นนอกเหนือจาก (ก) การเดินทางระหว่างประเทศ : เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินอัตรา ดังนี้ (ก) ชั้นหนึ่ง สำ�หรับประธานกรรมการ กรรมการ และ ผู้อำ�นวยการ (ข) ชั้นธุรกิจ สำ�หรับอนุกรรมการ รองผู้อำ�นวยการ ผู้ช่วยผู้ อำ�นวยการ ที่ปรึกษา และผู้เชี่ยวชาญอาวุโส (ค) ชั้นประหยัด สำ�หรับบุคคลอื่นนอกเหนือจาก (ก) และ (ข) ทั้งนี้ ในกรณีเครื่องบินที่ใช้ในการเดินทางไม่มีชั้นระหว่างชั้นหนึ่ง กับชั้นประหยัดให้ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งตาม (ข) เดินทางโดยชั้นหนึ่งก็ได้
Tip : มติ ครม. เมื่อวันที่ ๓ มี.ค ๕๘ กำ�หนดให้ (1. ผอ.สพธอ. และกรรมการ สพธอ. กรณีในประเทศ ให้เดิน ทางโดยชั้นประหยัด และ กรณีเดินทางระหว่างประเทศ ให้เดินทางโดยชั้นธุรกิจ (2. คนอื่นนอกจากข้อ ๑ ไม่ ว่าเป็นการเดินทางภายในประเทศ หรือระหว่างประเทศ ให้เดินทางโดยชั้นประหยัด ทั้งนี้ หากเดินทางมากกว่า ๙ ชม. ให้เป็นไปตามระเบียบที่ สำ�นักงานกำ�หนด ยกเว้น ตำ�แหน่งวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ที่ไม่ว่าเดินทางใน ประเทศหรือระหว่างประเทศ ต้องเดินทางโดยชั้นประหยัดเท่านั้น
36
ETDA HANDBOOK
(5.1.2) ค่าที่พักภายในประเทศ อัตรา : คน ตำ�แหน่ง
ในประเทศ
ต่างประเทศ ประเภท ก.
ประเภท ข.
ประเภท ค.
ประเภท ง.
ประเภท จ.
(1) ประธาน กรรมการ และ กรรมการ
ให้ได้รับ ในอัตรา ข้าราชการ พลเรือน ระดับ 10
ให้ได้รับในอัตรา ข้าราชการพลเรือนระดับ 10
(2) อนุกรรมการ
ให้ได้รับ ในอัตรา ข้าราชการ พลเรือน ระดับ 9
ให้ได้รับในอัตรา ข้าราชการพลเรือนระดับ 9
(3) ผู้อำ�นวย การ รองผู้ อำ�นวยการ ผู้ ช่วยผู้อำ�นวย การ ที่ปรึกษา และผู้เชี่ยวชาญ อาวุโส
- ห้องพัก คนเดียวไม่ เกิน
ไม่เกินวัน ไม่เกินวัน ละ 10,000 ละ 8,000 บาท บาท
ไม่เกินวัน ละ 5,500 บาท
เพิ่มขึ้น จาก ประเภท ก. อีกไม่เกิน 40 %
เพิ่มขึ้น จาก ประเภท ก. อีกไม่เกิน 25 %
ไม่เกินวัน ละ 9,000 บาท
ไม่เกินวัน ละ 4,500 บาท
เพิ่มขึ้น จาก ประเภท ก. อีกไม่เกิน 40 %
เพิ่มขึ้น จาก ประเภท ก. อีกไม่เกิน 25 %
(4) ผู้เชี่ยวชาญ ผู้อำ�นวยการ สำ�นัก รองผู้ อำ�นวยการ สำ�นัก และผู้ช่วย ผู้อำ�นวยการ สำ�นัก
วันละ 3,000 บาท - ห้องพัก คู่ไม่เกินวัน ละ 1,700 บาท - ห้องพัก คนเดียวไม่ เกิน วันละ 2,500 .- ห้องพักคู่ ไม่เกิน วันละ 1,400.-
ไม่เกินวัน ละ 7,000 บาท
ETDA HANDBOOK
(5) ผู้ทำ�งาน และเจ้าหน้าที่ และลูกจ้างทุก ประเภท ยกเว้น (3) และ (4)
- ห้องพัก คนเดียว ไม่เกิน วัน ละ 2,000 บาท
37
ไม่เกินวัน ละ 8,000 บาท
ไม่เกินวัน ละ 6,000 บาท
ไม่เกินวัน ละ 3,500 บาท
เพิ่มขึ้น จาก ประเภท ก. อีกไม่เกิน 40 %
เพิ่มขึ้น จาก ประเภท ก. อีกไม่เกิน 25 %
-
-
-
-
-
- ห้องพัก คู่ไม่เกินวัน ละ 1,100 บาท
6) ที่ปรึกษา ผู้ ไม่เกินวัน เชี่ยวชาญอาวุโส ละ 3,000 หรือผู้เชี่ยวชาญ บาท ซึ่งมีถิ่นที่อยู่ ในต่างประเทศ ที่เดินทางจาก ต่างประเทศมา ปฏิบัติงานใน ประเทศไทย
ประเภท ก. ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดังต่อไปนี้ 1. แคนาดา
10. ราชรัฐลักเซมเบิร์ก
2. เครือรัฐออสเตรเลีย
11. ราชรัฐอันดอร์รา
3. ไต้หวัน
12. ราชอาณาจักรกัมพูชา
4. เติร์กเมนิสถาน
13. ราชอาณาจักรเดนมาร์ก
5. นิวซีแลนด์
14. ราชอาณาจักรนอร์เวย์
6. บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
15. ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์
7. ปาปัวนิวกีนี
16. ราชอาณาจักรโมร็อกโก
8. มาเลเซีย
17. ราชอาณาจักรสวาซิแลนด์
9. ราชรัฐโมนาโก
18. ราชอาณาจักรสวีเดน
38
ETDA HANDBOOK
19. รัฐสุลต่านโอมาน
36. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
20. โรมาเนีย
37. สาธารณรัฐมอริเซียส
21. สหพันธ์สาธารณรัฐบราซิล
38. สาธารณรัฐมอลตา
22. สหพันธ์สาธารณรัฐยูโกสลาเวีย
39. สาธารณรัฐโมซัมบิก
23. สหรัฐอาหรับอิมิเรตส์
40. สาธารณรัฐเยเมน
24. สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้)
41. สาธารณรัฐลิทัวเนีย
25. สาธารณรัฐโครเอเชีย
42. สาธารณรัฐสโลวัก
26. สาธารณรัฐชิลี
43. สาธารณรัฐสโลวีเนีย
27. สาธารณรัฐเช็ก
44. สาธารณรัฐออสเตรีย
28. สาธารณรัฐตุรกี
45. สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน
29. สาธารณรัฐบัลแกเรีย
46. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
30. สาธารณรัฐประชาชนจีน
47. สาธารณรัฐอินเดีย
31. สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนแอลจีเรีย
48. สาธารณรัฐเอสโตเนีย
32. สาธารณรัฐประชาธิปไตย ติมอร์ - เลสเต 33. สาธารณรัฐเปรู 34. สาธารณรัฐโปแลนด์ 35. สาธารณรัฐฟินแลนด์
49. สาธารณรัฐแอฟริกาใต้ 50. สาธารณรัฐไอซ์แลนด์ 51. สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 52. สาธารณรัฐฮังการี 53. สาธารณรัฐเฮลเลนิก (กรีซ) 54. ฮ่องกง
ประเภท ข. ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดังต่อไปนี้ 1. เครือรัฐบาฮามาส
4. เนการาบรูไนดารุสซาลาม
2. จอร์เจีย
5. มาซิโดเนีย
3. จาเมกา
6. ยูเครน
ETDA HANDBOOK
39
7. รัฐกาตาร์
31. สาธารณรัฐเซียร์ราลีโอน
8. รัฐคูเวต
32. สาธารณรัฐไซปรัส
9. รัฐบาห์เรน
33. สาธารณรัฐตรินิแดดและโตเบโก
10. รัฐอิสราเอล
34. สาธารณรัฐตูนิเซีย
11. ราชอาณาจักรซาอุดิอาระเบีย
35. สาธารณรัฐทาจิกิสถาน
12. ราชอาณาจักรตองกา
36. สาธารณรัฐเนปาล
13. ราชอาณาจักรฮัซไมต์จอร์แดน
37. สาธารณรัฐไนเจอร์
14. สหพันธ์สาธารณรัฐไนจีเรีย
38. สาธารณรัฐบุรุนดี
15. สหภาพพม่า
39. สาธารณรัฐเบนิน
16. สหรัฐเม็กซิโก
40. สาธารณรัฐเบลารุส
17. สหสาธารณรัฐแทนซาเนีย
41. สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ
18. สาธารณรัฐกานา
42. สาธารณรัฐปานามา
19. สาธารณรัฐแกมเบีย
43. สาธารณรัฐมอลโดวา
20. สาธารณรัฐโกตดิวัวร์ (ไอเวอรี่โคส)
44. สาธารณรัฐมาลี
21. สาธารณรัฐคอสตาริกา
45. สาธารณรัฐยูกันดา
22. สาธารณรัฐคีร์กิซ
46. สาธารณรัฐลัตเวีย
23. สาธารณรัฐเคนยา
47. สาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตย ศรีลังกา
24. สาธารณรัฐแคเมอรูน 25. สาธารณรัฐคาซัคสถาน 26. สาธารณรัฐจิบูตี 27. สาธารณรัฐชาด 28. สาธารณรัฐซัมบับเว 29. สาธารณรัฐเซเนกัล 30. สาธารณรัฐแซมเบีย
48. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 49. สาธารณรัฐอาร์เจนตินา 50. สาธารณรัฐอาร์เมเนีย 51. สาธารณรัฐอาหรับซีเรีย 52. สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ 53. สาธารณรัฐอิรัก
40
ETDA HANDBOOK
54. สาธารณอิสลามปากีสถาน
57. สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน
55. สาธารณรัฐอิสลามมอริเตเนีย
58. สาธารณรัฐแอฟริกากลาง
56. สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน ประเภท ค. ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมืองอื่น ๆ นอกจากที่กำ�หนดในประเภท ก. ประเภท ข. ประเภท ง. และ ประเภท จ. ประเภท ง. ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดังต่อไปนี้ 1. ญี่ปุ่น
4. สมาพันธรัฐสวิส
2. สาธารณรัฐฝรั่งเศส
5. สาธารณรัฐอิตาลี
3. สหพันธรัฐรัสเซีย ประเภท จ. ได้แก่ ประเทศ รัฐ เมือง ดังต่อไปนี้ 1. ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม 2. ราชอาณาจักรสเปน 3. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี 4. สหรัฐอเมริกา
5. สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และ ไอร์แลนด์เหนือ 6. สาธารณรัฐโปรตุเกส 7. สาธารณรัฐสิงคโปร์
ETDA HANDBOOK
41
(5.1.3) ค่าเบี้ยเลี้ยง ตำ�แหน่ง
อัตรา : คน ในประเทศ
ต่างประเทศ
อัตราค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางรายวัน (1) ประธานกรรมการ และกรรมการ
ให้ได้รับในอัตรา ข้าราชการพลเรือน ระดับ ๑๐
ให้ได้รับในอัตรา ข้าราชการ พลเรือนระดับ ๑๐
(๒) อนุกรรมการ
ให้ได้รับในอัตรา ข้าราชการพลเรือน ระดับ ๙
ให้ได้รับในอัตราข้าราชการ พลเรือนระดับ ๙
(๓) ผู้อำ�นวยการ รองผู้อำ�นวย การ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ ที่ปรึกษา และผู้เชี่ยวชาญอาวุโส
วันละ ๔๐๐ บาท
วันละ ๓,๑๐๐ บาท
(๔) ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทำ�งาน และเจ้า หน้าที่หรือลูกจ้างทุกประเภท ยกเว้น (๓)
วันละ ๓๐๐ บาท
วันละ ๒,๑๐๐ บาท
(๕) ที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญอาวุโส หรือผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งมีถิ่นที่อยู่ใน ต่างประเทศที่เดินทางจากต่าง ประเทศมาปฏิบัติงานในประเทศไทย
วันละ ๕๐ เหรียญสหรัฐ
-
อัตราค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางราย ชั่วโมงทุกประเภท
ชั่วโมงละ ๕๐ บาท
ชั่วโมงละ ๒๐๐ บาท
(5.1.4) ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำ�เป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทางไปปฏิบัติงานในต่างประเทศ เช่น ค่าธรรมเนียมในการทำ�หนังสือเดินทาง ค่าธรรมเนียมการใช้สนามบิน ค่ายื่น คำ�ขอวีซ่า ค่าพาหนะรับจ้างในต่างประเทศ ค่าธรรมเนียม หรือค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่ เกี่ยวข้องได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำ�เป็น เหมาะสมและประหยัด
42
ETDA HANDBOOK
5.2 ค่าใช้จ่ายในการจัดฝึกอบรม รายการ
อัตรา
1. ค่าสมนาคุณในการดูงาน
ตามที่จ่ายจริงครั้งละ ไม่เกิน 3,000 บาท
2. ค่าสมนาคุณวิทยากร
ไม่เกินชั่วโมงละ 2,000 บาท/คน
3. การจ่ายค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและ เครื่องดื่ม
(1) อาหารว่างและเครื่องดื่ม ไม่เกิน 350 บาท/คน/มื้อ (2) อาหารเช้า ไม่เกิน 300 บาท/คน/วัน (3) อาหารกลางวัน ไม่เกิน 600 บาท/คน/วัน (4) อาหารเย็น ไม่เกิน 1,000 บาท /คน/วัน
5.3 ค่าตอบแทน ค่ารับรอง และค่าใช้จ่ายอื่นๆ (5.3.1) ค่าตอบแทนผู้ทรงคุณวุฒิ
อัตรา : คน
รายการ
โครงการละไม่เกิน 2,000 บาท ต่องวด
1. การพิจารณาและคัดเลือกผู้ยื่นข้อเสนอ โครงการที่ขอรับทุนจากสำ�นักงาน
โครงการละไม่เกิน 2,000 บาท ต่องวด
2. การประเมินผลโครงการ 3. การตรวจเยี่ยมโครงการ 4. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำ�งาน หรือการประชุมภายในสำ�นักงาน 5. ให้ข้อคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะเกี่ยวกับ การดำ�เนินกิจกรรมอื่นของสำ�นักงาน
โครงการละไม่เกิน 500 บาท ต่องวด ไม่เกิน 2,000 บาท ต่อครั้ง ไม่เกิน 1,000 บาท ต่อครั้ง
ETDA HANDBOOK
43
(5.3.2) ค่ารับรอง อัตรา : คน
1. ค่าอาหารว่าง รวม ค่าบริการ 2. ค่าอาหารกลาง วันและ
รับรองชาวต่างประเทศ
สำ�หรับการประชุม ของสำ�นักงาน ที่มี ผอ.สพธอ. หรือ รอง ผอ.สพธอ. เข้าร่วม
ไม่เกิน 350 บาท/มื้อ
ไม่เกิน 350 บาท/มื้อ
50 บาท/มือ
ไม่เกิน 600 บาท/วัน
ไม่เกิน 1,000 บาท/วัน
-
ไม่เกิน 1,000 บาท/วัน
ไม่เกิน 2,500 บาท/วัน
-
รับรองทั่วไป และ รับรองสำ�หรับการ ประชุม
รายการ
เครื่องดื่ม รวมค่า บริการ
3. ค่าอาหารค่ำ�และ เครื่องดื่ม รวมค่า บริการ
(5.3.3) ค่าของขวัญ และอื่น ๆ รายการ
อัตรา : คน : ครั้ง
1. ค่าของขวัญ กรณีเป็นคณะบุคคล
ไม่เกิน 3,000 บาท
1.1 หัวหน้าคณะ
ไม่เกิน 2,000 บาท
1.2 ผู้ติดตาม
ไม่เกิน 3,000 บาท
2. ค่าของขวัญ กรณีเป็นบุคคล
ไม่เกิน 1,500 บาท
3. ค่าพวงมาลัย ช่อดอกไม้ กระเช้าดอกไม้ พวงหรีด หรือค่าสิ่งของอื่นใด
44
ETDA HANDBOOK
หมวดที่ 6 กฎหมาย และกฎระเบียบหรือ ข้อบังคับที่เจ้าหน้าที่ควรรู้
ETDA HANDBOOK
กฎหมายที่ควรรู้ กลุ่มกฎหมายที่เกี่ยวกับสำ�นักงาน 1. พระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542
2. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำ�นักงานพัฒนา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2554
45
สาระสำ�คัญของกฎหมายที่ใช้บ่อย ลำ�ดับที่ 1 เป็นกฎหมายที่ให้อำ�นาจฝ่ายบริหาร ในการจัดตั้งหน่วยงานของรัฐรูปแบบ “องค์การ มหาชน” ที่มีความแตกต่างไปจากส่วนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ เพื่อดำ�เนินภารกิจในการจัด ทำ�บริการสารธารณะเฉพาะด้าน ตามโครงการ แผนงาน หรือนโยบายด้านต่าง ๆ ของรัฐ ที่ ต้องการความคล่องตัวในการดําเนินงาน โดยมี วัฒนธรรมองค์กรเยี่ยงภาคธุรกิจที่สามารถใช้ ประโยชน์ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพสูงสุด แต่ มิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำ�ไรจากการให้ บริการ ซึ่งสาระสำ�คัญของกฎหมายดังกล่าว ประกอบด้วยกระบวนการในการจัดตั้งองค์การ มหาชน การบริหาร การกำ�กับดูแล และการยุบเลิก เป็นต้น โดยเป็นกฎหมายแม่บทของ พรฎ. จัดตั้ง สพธอ. พ.ศ. 2554 ดังนั้น ในการดำ�เนินการของ สพธอ. ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ตามกฎหมาย จัดตั้งสำ�นักงาน และต้องสอดคล้องกับพระราช บัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 254 ลำ�ดับที่ 2 เป็นกฎหมายที่ออกตามความใน มาตรา 5 แห่ง พ.ร.บ. องค์การมหาชน พ.ศ. 2542 เพื่อจัดตั้ง สพธอ. ที่เป็นหน่วยงานของ รัฐประเภท “องค์การมหาชน” มีวัตถุประสงค์ เพื่อดำ�เนินการรองรับการทำ�ธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์ในระบบเศรษฐกิจยุคใหม่และการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ และ ดำ�เนินการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการ ทำ�ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนการมี มาตรฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่จำ�เป็นต่อธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ให้เกิด ความมั่นคง ปลอดภัยและน่าเชื่อถือ โดย พ.ร.ฎ. จัดตั้ง สพธอ.ฯ จะกำ�หนดเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ การจัดตั้งสำ�นักงาน อำ�นาจหน้าที่ ทุน รายได้และ ทรัพย์สิน ตลอดจนการบริหารจัดการสำ�นักงาน ดังนั้น ในการดำ�เนินงานของ สพธอ. จึงต้องเป็น ไปตามวัตถุประสงค์ อำ�นาจหน้าที่ และหลักเกณฑ์ ที่กำ�หนดไว้ใน พ.ร.ฎ. ดังกล่าว
46
ETDA HANDBOOK
กฎหมายที่ควรรู้
สาระสำ�คัญของกฎหมายที่ใช้บ่อย
3. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่าด้วย การจัดแบ่งส่วนงานและขอบเขตอำ�นาจหน้าที่ ของส่วนงาน พ.ศ.2554
ลำ�ดับที่ 3-5 เป็นกฎหมายที่อาศัยอำ�นาจตาม พ.ร.ฎ. จั้งตั้ง สพธอ. พ.ศ. 2554 ออกข้อบังคับ ดังกล่าว เพื่อกำ�หนดการจัดแบ่งส่วนงานและ อำ�นาจหน้าที่ของแต่ละส่วนงานในการดำ�เนิน ภารกิจตามวัตถุประสงค์การจัดตั้งสำ�นักงาน ซึ่ง ปัจจุบันมีทั้งหมด 12 สำ�นัก
4. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่าด้วยการจัดแบ่งส่วนงานและขอบเขตอำ�นาจ หน้าที่ของส่วนงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2556 5. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่าด้วยการจัดแบ่งส่วนงานและขอบเขตอำ�นาจ หน้าที่ของส่วนงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2559 6. ประกาศ สพธอ. การจัดแบ่งกลุ่มงานภายใน ส่วนงานของสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส์
ลำ�ดับที่ 6 เป็นประกาศที่อาศัยอำ�นาจตามข้อ บังคับจัดแบ่งส่วนงานฯ เพื่อกำ�หนดจัดแบ่งกลุ่ม งานของแต่ละสำ�นัก
7. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่าด้วยการปฏิบัติงานของผู้อำ�นวยการและการ มอบอำ�นาจให้ผู้อื่นปฏิบัติหน้าที่แทน ผู้อำ�นวย การสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ.2554
ลำ�ดับที่ 7 เป็นข้อบังคับที่กำ�หนดขอบเขตอำ�นาจ ในการปฏิบัติงาน และการมอบอำ�นาจให้ผู้อื่น ปฏิบัติหน้าที่แทน ผอ.สพธอ. โดยมีสาระสำ�คัญ คือ ในการใช้อำ�นาจของ ผอ.สพธอ.ที่พึงปฏิบัติ หรือดำ�เนินการตามกฎหมาย หรือมติคณะ รัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับสำ�นักงานในเรื่องใด ถ้า กฎหมาย หรือมติคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้นมิได้ กำ�หนดเรื่องการมอบอำ�นาจไว้เป็นอย่างอื่น หรือ มิได้ห้ามเรื่องการมอบอำ�นาจไว้ ผอ.สพธอ. อาจม อบอำ�นาจให้รอง ผอ.สพธอ. ผช.สพธอ. หรือผู้ ดำ�รงตำ�แหน่งอื่นโดยคำ�นึงถึงตำ�แหน่งหน้าที่และ ความรับผิดชอบของผู้ที่จะรับมอบอำ�นาจเป็น สำ�คัญ ปฏิบัติแทนได้
8. ตราสัญลักษณ์ของสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
ลำ�ดับที่ 8 กำ�หนดและประกาศให้ใช้ตราสัญลักษณ์ ของ สพธอ. 2 แบบ คือ
ETDA HANDBOOK
กฎหมายที่ควรรู้
47
สาระสำ�คัญของกฎหมายที่ใช้บ่อย
9. ตราสัญลักษณ์ของศูนย์กฎหมายเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Law Center) สำ�นักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
ลำ�ดับที่ 9 ประกาศให้ใช้ตราสัญญาลักษณ์ของ ICT Law Center
กลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับงานบุคลากร
ลำ�ดับที่ 10 เป็นหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดเกี่ยวกับการ บรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย โครงสร้างอัตราเงินเดือน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การลาหยุดงาน การลาออก การดำ�เนินการทางวินัย ตลอดจน สิทธิการ อุทธรณ์ และการร้องทุกข์
10. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่า ด้วยการบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2554 และที่แก้ไข เพิ่มเติม ฉบับที่ 2, (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2556 และ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2558 11. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่าด้วยเครื่องแบบพิธีการของสำ�นักงานพัฒนา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ.2554 12. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่าด้วยสวัสดิการเจ้าหน้าที่และลูกจ้าง พ.ศ.2554 13. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่าด้วยการรับเจ้าหน้าที่เข้าปฏิบัติงานเป็นกรณี พิเศษ พ.ศ.2555 และ ระเบียบฯ ว่าด้วยหลักเกณฑ์ การสรรหา คัดเลือก และบรรจุแต่งตั้งบุคคลเข้า เป็นเจ้าหน้าที่และลูกจ้าง พ.ศ. 2554 14. ประมวลจริยธรรมกรรมการ ผู้อำ�นวยการ และผู้ปฏิบัติงานของสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) พ.ศ.2555 15. ค่าตอบแทนประจำ�ตำ�แหน่งบริหาร ค่าตอบแทนวิชาชีพ และค่าตอบแทน ประกาศนีย์บัตร พ.ศ. 2558 16. การยื่นขอเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับ ค่ารักษาพยาบาล
- กำ�หนดเกี่ยวกับเครื่องแบบและการแต่งกาย ของผู้ปฏิบัติงานของ สพธอ. - เป็นหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดเกี่ยวกับสิทธิสวัสดิการ ของผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งคือ •- เป็นหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกระบวนการการได้มา ซึ่งเจ้าหน้าที่และลูกจ้างของสำ�นักงานฯ - เป็นหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดเกี่ยวกับมาตรฐานทาง จริยธรรมอันเป็นค่านิยม จรรยาต่อตนเองวิชาชีพ และองค์กร ตลอดจนกลไกการบังคับใช้และขั้น ตอนการลงโทษ ของผู้ปฏิบัติงานในสำ�นักงาน
48
ETDA HANDBOOK
กฎหมายที่ควรรู้
สาระสำ�คัญของกฎหมายที่ใช้บ่อย
17. การพัฒนาผู้ปฏิบัติงานด้วยการศึกษาและ การฝึกอบรม พ.ศ. 2557 18. หลักเกณฑ์และวิธีการลา พ.ศ. 2558 19. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่า ด้วยการงบประมาณ พ.ศ. 2557 20. พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2502 21. พระราชบัญญัติการกำ�หนดหลักเกณฑ์เกี่ยว กับการจ่ายเงินบางประเภทตามงบประมาณราย จ่าย พ.ศ. 2518 กลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับการงบประมาณ 22. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่า ด้วยการบริหารการเงิน บัญชี และทรัพย์สิน พ.ศ. 2554 และที่แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2557 และ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2558
ลำ�ดับที่ ๒๒-๒๓ เป็นกลุ่มกฎ ระเบียบ หรือข้อ บังคับที่อธิบายหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการรับเงิน การเก็บรักษาเงิน การใช้จ่ายเงิน การจัดทำ�บัญชี และผู้มีอำ�นาจอนุมัติการจ่ายเงิน ตลอดจนการ เบิกค่าใช้จ่ายด้านการเงิน
23. ระเบียบ สพธอ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธี ปฏิบัติด้านการเงิน พ.ศ. 2554 24 ระเบียบ สพธอ. ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายใน การเดินทางไปปฏิบัติงาน พ.ศ. 2555
ลำ�ดับที่ ๒๔ วางระเบียบเกี่ยวกับการเบิกค่าใช้ จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงานให้กับสำ�นักงาน เช่น การเบิกค่าที่พัก ค่ายานพาหนะ ค่าเบี้ยเลี้ยง เป็นต้น
25. ระเบียบ สพธอ. ว่าด้วยการเบิกค่าตอบแทน ค่ารับรอง และค่าใช้จ่ายอื่น พ.ศ. 2555
ลำ�ดับที่ ๒๕ วางระเบียบเกี่ยวกับการเบิกค่าใช้ จ่ายในการรับรองบุคคลที่ทำ�คุณประโยชน์ หรือ เข้ามาติดต่อกับสำ�นักงาน หรือการจัดประชุม ของสำ�นักงาน เช่น ค่ารับรอง ค่าอาหารตลอด จนค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการแสดงความยินดี หรือ เสียใจ เช่น ค่ากระเช้าดอกไม้ ของขวัญ พวงมาลัย พวงหรีด เป็นต้น
๒๖. ระเบียบ สพธอ. ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายใน การจัดฝึกอบรม พ.ศ. ๒๕๕๕
ลำ�ดับที่ ๒๖ วางระเบียบเกี่ยวกับการเบิกค่าใช้จ่าย ในการจัดฝึกอบรม เช่น ค่าวิทยากร ค่าอาหาร ว่าง ค่าอาหารกลางวัน ตลอดจนค่าใช้จ่ายอื่นๆที่ เกิดขึ้น อันเนื่องมาจากการจัดอบรม
ETDA HANDBOOK
กฎหมายที่ควรรู้
49
สาระสำ�คัญของกฎหมายที่ใช้บ่อย
27. ประกาศ สพธอ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และอัตรา การเบิกจ่ายค่าใช้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่และ ค่าใช้บริการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่านสัญญาณ โทรศัพท์เคลื่อนที่
ลำ�ดับที่ ๒๗ กำ�หนดตำ�แหน่งและอัตราค่าใช้จ่าย ค่าโทรศัพท์ของเจ้าหน้าที่ สพธอ.
๒๘ ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่า ด้วยเบี้ยประชุมคณะอนุกรรมการ ที่ปรึกษาคณะ อนุกรรมการ คณะทำ�งาน และที่ปรึกษาคณะ ทำ�งาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ลำ�ดับที่ ๒๘ เป็นหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดเกี่ยวกับ การจ่ายเบี้ยประชุม และอัตราเบี้ยประชุม ให้แก่ คณะอนุกรรมการ ที่ปรึกษา และคณะทำ�งาน ของ สพธอ. สรุป ดังนี้ กรณีคณะอนุกรรมการ (แต่งตั้งโดยคณะ กรรมการบริหารฯ) - ประธานอนุกรรมการ เดือน
๗,๕๐๐ บาท/
- อนุกรรมการ และที่ปรึกษา ๖,๐๐๐ บาท/ เดือน กรณีคณะทำ�งาน (แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริ หารฯ คณะอนุกรรมการ หรือ ผอ.สพธอ.) - ประธานคณะทำ�งาน ผู้ทำ�งาน ที่ปรึกษา ๓,๐๐๐ บาท/ครั้ง แต่ไม่เกิน ๖,๐๐๐ บาท/เดือน กลุ่มกฎหมายเกี่ยวกับ การจัดซื้อ และพัสดุ ๓๐. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๕๔ และที่แก้ไข เพิ่มเติมฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๗ และฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๘
- ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดเกี่ยวกับ กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างการพัสดุ และผู้มีอำ�นาจ อนุมัติให้จัดซื้อและจัดจ้าง ได้แก่ การซื้อ การ จ้าง การจ้างที่ปรึกษาหรือผู้เชี่ยวชาญ การจ้าง ออกแบบและควบคุมงาน การเช่า การเช่าซื้อ แลก เปลี่ยน เป็นต้น
การซื้อ การจ้าง (ทั่วไป)
- วิธีตกลงราคา ไม่เกิน ๑ ล้านบาท
พัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕
- วิธีสอบราคา
๓๒. ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการ
- วิธีประกวดราคา เกิน
- วิธีพิเศษ เกิน ๑ ล้านบาทขึ้นไป (ต้องมีเหตุพิเศษตามที่กำ�หนด)
- วิธีกรณีพิเศษ รัฐกับรัฐ
๓๑. ระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการ
พัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๔๙
ไม่เกิน ๑ – ๔ ล้านบาท ๔ ล้านบาทขึ้นไป
ใช้ในกรณีคู่สัญญาเป็น
50
ETDA HANDBOOK
กฎหมายที่ควรรู้ ๓๓. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่า ด้วยการตรวจสอบภายใน พ.ศ.๒๕๕๔ ๓๔. ข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ว่าด้วยการตรวจสอบภายใน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ๓๕. กฎบัตรคณะอนุกรรมการตรวจสอบและ ประเมินผลสำ�นักงานพัฒนาธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
สาระสำ�คัญของกฎหมายที่ใช้บ่อย - เป็นหลักเกณฑ์ที่กำ�หนดเกี่ยวกับการตรวจสอบ ภายใน เพื่อให้การบริหารงานของสำ�นักงานเป็น ไปด้วยความถูกต้อง โปร่งใส รอบคอบ น่าเชื่อถือ และกำ�หนดเกี่ยวกับภารกิจ ขอบเขต อำ�นาจหน้าที่ ในการปฏิบัติงานของ คณะอนุกรรมการตรวจ สอบและประเมินผล และฝ่ายตรวจสอบภายใน เพื่อ ให้คณะกรรมการ บริหาร สพธอ. ผู้บริหาร และผู้ ปฏิบัติงานทุกระดับชั้นมีความเข้าใจตรงกัน
๓๖. กฎบัตรการตรวจสอบภายในสำ�นักงาน พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) ๓๗. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำ�หนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ คู่มืออื่นๆ ที่พนักงานควรรู้ ๓๘. คู่มือการบริหารและกำ�กับดูแลของคณะ กรรมการองค์การมหาชน (ก.พ.ร.)
- เป็นคู่มือที่ ก.พ.ร. จัดทำ�ขึ้นมา เพื่อเป็นแนวทาง ในการบริหารงานขององค์การมหาชนให้เป็นไป ตามโดยถูกต้อง และเหมาะสม (สามารถศึกษาและ ดาวน์โหลดข้อมูลได้จากเว็บไซต์สำ�นักงาน ก.พ.ร. www.opdc.go.th)
ETDA HANDBOOK
กฎหมายที่ควรรู้ คำ�สั่งภายใน ที่พนักงานควรรู้ ๓๙. คำ�สั่งคณะกรรมการบริหาร
51
สาระสำ�คัญของกฎหมายที่ใช้บ่อย คำ�สั่งคณะกรรมการบริหาร สพธอ. ที่สำ�คัญๆ เช่น - ที่ ๑-๕๗ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารงาน บุคคล - ที่ ๒-๕๗ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการตรวจสอบ และ ประเมินผล - ที่ ๓-๕๗ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการด้านการเงิน การลงทุน และติดตามงานที่สำ�คัญของ สพธอ. - ที่ ๔-๕๗ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการบริหารความ เสี่ยงและควบคุมภายในของ สพธอ. - ที่ ๔๘-๕๗ มอบอำ�นาจฯ ให้แก่ รอง ผอ.สพธอ. และ ผช.ผอ.สพธอ. เกี่ยวกับการดำ�เนินงาน ภายใต้การกำ�กับดูแลและรับผิดชอบ - ที่ ๒๒-๕๕ มอบอำ�นาจฯ (ด้านการเงิน ตาราง หมายเลข ๑) - ที่ ๒๐-๕๘ มอบอำ�นาจด้านการสั่งจ่ายเงิน - ที่ ๒๑-๕๘ มอบอำ�นาจด้านการเงินที่เกี่ยวข้อง กับสวัสดิการ - ที่ ๒๒-๕๕ มอบอำ�นาจฯ (ด้านการเงิน ตาราง หมายเลข ๒) - ที่ ๒๒-๕๕ มอบอำ�นาจฯ (ด้านการเงิน ตาราง หมายเลข ๓)
*** พนักงานสามารถศึกษาและสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมและอัพเดทได้จากระบบ Intranet ของสำ�นักงาน
52
ETDA HANDBOOK
หมวดที่ 7 ระบบสารสนเทศภายใน
ETDA HANDBOOK
53
7.1 นโยบายความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ วัตถุประสงค์ •
เพื่อปกป้องระบบ ทรัพยากรของระบบ การใช้งานระบบ เครื่องคอมพิวเตอร์ ของพนักงาน สำ�หรับพนักงานให้สามารถทำ�งานได้อย่างมั่นคงปลอดภัยและมี ประสิทธิภาพ
•
ปกป้องผู้ใช้งานไม่ให้ได้รับหรือลดผลกระทบ จากการโจมตีระบบ ข้อมูล และเครื่อง คอมพิวเตอร์ของพนักงาน
•
เพื่อป้องกันชื่อเสียงของ สพธอ.จากการ โดนโจมตี ข้อมูลรั่วไหล การละเมิด ลิขสิทธิ์
ประกาศที่เกี่ยวข้อง • แนวทางปฏิบัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ เกี่ยวกับการเข้า ถึงและควบคุมการใช้งานสารสนเทศ •
แนวทางปฏิบัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ เกี่ยวกับการ สำ�รองข้อมูลและจัดทำ�แผนรองรับการดำ�เนินงานอย่างต่อเนื่อง
•
แนวทางปฏิบัติการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ เกี่ยวกับการตรวจ สอบภายใน
การป้องกันรหัสผ่าน • กำ�หนดรหัสผ่านให้ยากและยาวขึ้น หรือให้ง่ายสำ�หรับเราแต่ยากต่อการคาดเดา ของผู้อื่น เช่นการใช้คำ�ภาษาไทยโดยป้อนเป็นภาษาอังกฤษ •
ไม่นำ�ข้อมูลส่วนตัวมาเป็นรหัสผ่าน
•
ไม่กำ�หนดรหัสผ่านตาม Dictionary ภาษาอังกฤษ
•
ไม่จดทิ้งไว้ตามพื้นที่ทำ�างานเช่น โต๊ะ, หน้าจอ หรือแป้นพิมพ์
•
ไม่เปิดเผยรหัสผ่านต่อผู้อื่นซึ่งรวมไปถึงไม่ป้อนรหัสผ่านต่อหน้าผู้อื่น
•
เปลี่ยนรหัสผ่านทุก 3 เดือน (ตามนโยบายความมั่งปลอดภัยสารสนเทศ)
•
ไม่กำ�หนดการจำ�รหัสผ่านแบบอัตโนมัติก่อนป้อนรหัสผ่านเข้าใช้ระบบ และ ให้ Log out หรือ Sign out หรือลงชื่อออก ทุกครั้งเมื่อไม่มีการใช้ระบบ
•
แยกรหัสผ่านสำ�หรับเรื่องส่วนตัวและรหัสผ่านเรื่องงาน ให้ใช้รหัสผ่านคนละชุด
54
ETDA HANDBOOK
กฎการตั้งรหัสผ่าน • มีความยาวไม่ต่ำ�กว่า 8 หลัก •
มีอักษรตัวใหญ่และเล็ก
•
มีตัวเลข
•
มีอักขระพิเศษ
•
รหัสผ่านใหม่จะต้องไม่เหมือนรหัสผ่านเดิม
7.2 ระบบสารสนเทศพื้นฐานภายในองค์กร • ระบบ iForm : การขออนุมัติจัดซื้อจัดจ้าง เบิกจ่ายค่าดำ�เนินการ •
ระบบ E-HRM : ใบลา และเบิกสวัสดิการของพนักงานและครอบครัว
•
ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ : จัดทำ�หนังสือและบันทึกภายในแบบหนังสือ ราชการ
•
ระบบจัดการองค์ความรู้ สพธอ. : เป็นระบบรวบรวมบทความและแบ่งปันความรู้ ทั้งหมด
•
ระบบจัดการเอกสารภายในองค์กร : เป็นระบบจัดเก็บเอกสารภายในเพื่อสำ�รอง หรือจัดเก็บข้อมูลไว้เป็นส่วนกลาง
•
ระบบเบิกวัสดุสำ�นักงานออนไลน์ (ระบบจัดซื้อของภายนอก): การขอสั่งวัสดุ อุปกรณ์สำ�นักงาน
•
ระบบห้องสมุด (ระบบห้องสมุดภายนอก): ระบบสืบค้นข้อมูลและขอยืมหนังสือ จากห้องสมุด ซึ่งเชื่อมข้อมูลกับระบบห้องสมุดของ ม.ธรรมศาสตร์
7.3 การใช้งานระบบอีเมล • เป็นระบบเพื่อจัดการรับและส่ง email ผ่านระบบ Microsoft Exchange •
มีให้บริการผ่าน web : https://owa.etda.or.th/owa
•
สามารถใช้งานผ่าน Microsoft Outlook
•
รับและส่งอีเมลและแนบไฟล์ ได้ไม่เกิน 10 MB แต่ละท่านมีพื้นที่จัดเก็บ 6 GB
•
สามารถจัดทำ�ปฏิทินส่วนตัวเพื่อแจ้งเตือนได้ สามารถแบ่งบันให้เพื่อนร่วมงานได้
•
สามารถสร้างตารางภาระกิจได้
•
สามารถสร้างนัดการประชุมได้
ETDA HANDBOOK
55
7.4 การใช้งานคอมพิวเตอร์พกพา • เครื่องคอมพิวเตอร์ของสพธอ. ได้มีการ join เข้าโดเมน ซึ่งได้จัดเตรียม ทรัพยากรไว้สำ�หรับพนักงานของสพธอ. เมื่อเครื่องของพนักงานเข้าอยู่ในโดเมน ก็จะได้รับสิทธิ์ •
เข้าใช้บัญชี Email ของสพธอ.ซึ่ง จัดเตรียมพื้นที่จัดเก็บไว้ ขนาด 6 GB
•
มีสิทธิ์ ในการใช้ Printer ของสำ�นักงาน
•
มีสิทธิ์ในการเข้าใช้ระบบภายในของสำ�นักงานที่จัดเตรียมไว้ให้
•
สามารถยืนยันตัวตนว่าเป็นเครื่องของสพธอ.ที่พนักงานใช้อยู่ไม่ใช่เครื่องอื่นใด เข้ามาลักลอบใช้ทรัพยากรของเรา
•
เครื่องคอมพิวเตอร์มีการจัดเตรียม Software ที่จำ�เป็นต้องใช้งานซึ่งติดตั้งไว้ให้ ในเครื่องสำ�หรับพนักงานแล้ว
•
มี Software มาตรฐานพื้นฐานให้ใช้งาน
•
ป้องกัน Software ละเมิดลิขสิทธิ์
•
ป้องกัน Software ที่เป็นภัย
** ในกรณีที่ขอลง software ที่จำ�เป็นต้องใช้เพิ่ม ต้องกรอกแบบฟอร์มขออนุมัติเป็นกรณีไป
7.5 การใช้ระบบขอรับบริการสารสนเทศ • แก้ไขปัญหาของการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ •
แก้ไขปัญหาของการใช้ระบบและเว็บไซต์
•
การขอบัญชีในการใช้ระบบ (Intranet ระบบสารสนเทศของสพธอ.)
•
การขอพื้นที่ Server เพื่อการทดสอบ พัฒนาระบบ ติดตั้งระบบ ที่ได้รับมอบหมาย
•
การขอติดตั้ง Software เพื่อใช้งาน (ต้องมีแบบขอติดตั้ง software)
•
การขอบัญชี WIFI สำ�หรับบุคคลภายนอก
•
การขอคำ�แนะนำ�ในการใช้ระบบ
•
การขอลงเอกสารระบบประชุม การขอจัดทำ�รายชื่อระบบลงทะเบียน
•
การขอปรับแต่งตั้งค่าสำ�หรับใช้ระบบสารสนเทศของสำ�นักงานบน Smart phone
56
ETDA HANDBOOK
7.6 การใช้งาน Printer • Login เข้าใช้งานโดยการแตะบัตร ประจำ�ตัวพนักงานที่เครื่อง Printer •
สามารถสั่งพิมพ์หรือCopyงาน ขนาด A5-A3
•
สามารถสแกนเอกสารและจัดเก็บไฟล์ ลง Flash Drive หรือส่งไฟล์ทาง อีเมลได้
•
สามารถส่งโทรสารได้
•
การสั่งพิมพ์งานจากเครื่อง คอมพิวเตอร์ สามารถเลือกใช้งานเครื่องพิมพ์ตัวไหนก็ได้ในระบบเครือข่าย
เบอร์โทรศัพท์ภายในควรรู้ • ส่วนงานบริหารทรัพยากรบุคคล
โทร. 90131 / 90441 / 90442
•
ส่วนงานสารสนเทศ
โทร. 90540 – 3
•
ส่วนงานการเงินและบัญช
โทร. 90421 – 4
•
ส่วนงานพัสดุและจัดซื้อ
โทร. 90450 – 3
•
ส่วนงานความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม
โทร. 90460 – 1
ETDA HANDBOOK
57
58
ETDA HANDBOOK
www.etda.or.th