1
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
2
คำ�นำ� รายงานประจำ�ปีสถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา จัดทำ�ขึ้นเพื่อรวบรวมการทำ�งาน กิจกรรมที่เกิดขึ้นในรอบปีงบประมาณ 2558 ซึ่งเป็นปีที่สถานีวิทยุครบรอบการจัดตั้งเป็นปีที่ 10 รายงาน เล่มนี้จึงรวบรวมเหตุการณ์สำ�คัญๆที่เกิดขึ้นโดยย่อ โดยในปี 2557-2558 เป็นช่วงหนึ่งที่สถานีวิทยุหยุด ทำ�การกระจายเสียงเนื่องจากจำ�เป็นต้องดำ�เนินตามคำ�สั่งของ คสช.และปฎิบัติตามเงื่อนไงของคณะกรรม การกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และโทรคมนาคม รายงานเล่มนี้รวบรวมเนื้อหาประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของสถานีวิทยุ โครงสร้่งการบริหารจัดการ การผลิตรายการ งบประมาณการเบิกจ่าย การกระจายเสียงและกิจกรรมสร้างสรรค์ตลอดจนการการเข้า ร่วมกิจกรรมการพัฒนาทักษะทางด้านวิชาชีพ หากมเนื้อหาส่วนใดที่มีความบ่งพร่องทางผู้จัดทำ�ขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วยพร้อมทั้งปรับปรุง เนื้อหาในการรายงานประจำ�ปีในปีถัดไป
ทีมงานสถานีวิทยุเพื่อการศึกษา 2558
3
สารบัญ รายงานประจำ�ปีสถานีวิทยุเพื่อการศึกษา ปีงบประมาณ 2558 หน้า
1 2 3 5 5 9 12 15 19 22 23
10 ปีสถานีวิทยุเพื่อการศึกษา วิสัยทัศน์ สู่ พันธกิจ โครงสร้างการบริหารและบุคลากร ภาระหน้าของแต่ละฝ่าย ภาพรวมการดำ�เนินงานสถานีวิทยุเพื่อการศึกษา การผลิตรายการและการเผยแพร่ งบประมานรายรับ รายจ่าย การดำ�เนินงาน การกระจายเสียงและเทคโนโลยีสารสนเทศ กิจกรรมสร้างสรรค์ การพัฒนาบุคลากร ภาคผนวก บทคัดย่องานวิจัย พฤติกรรมการเปิดรับสื่อวิทยุกระจาย เสียงของประชาชนในจังหวัดยะลา ระเบียบเกี่ยวกับสถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
1
10 ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ก้าวแรกที่มั่นคง…คือก้าวสำ�คัญของการพัฒนา
สถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาตั้งอยู่เลขที่ 133 ถ.เทศบาล 3 ตำ�บลสะเตง อำ�เภอ เมื อ งจั ง หวั ด ยะลาเป็ น ส่ ว นงานภายในที่ มี ฐ านะเป็ น องค์ ก รในกำ � กั บ ของมหาวิ ท ยาลั ย มี ร ะบบและรู ป แบบ การบริหารจัดการเฉพาะที่เป็นอิสระจากระบบรายการปกติ มีหน่วยตามภารกิจคือ หน่วยธุรการและบริหารทั่วไป หน่วยผลิตรายการ และหน่วยจัดและถ่ายทอดรายการเริ่มก่อตั้งมาเมื่อเดือนพฤษภาคม 2558 มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษ ว่า “Yala Rajabhat University Radio” ใช้ชื่อย่อว่า “YRU RADIO” เป็นสื่อกลางและเป็นช่องทางสำ�หรับมหาวิทยาลัย คณะ ภาควิชา สาขาวิชา และส่วนราชการต่างๆภายในมหาวิทยาลัย และหน่วยงานภายนอก ในการบริการทางวิชาการ แก่สังคม ตามภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น โดยส่งกระจายเสียงด้วยคลื่นความถี่ 98.50 MHz กำ�ลังส่ง 300 วัตต์ ออกอากาศตั้งแต่เวลา 6.00 น. – 24.00 น. เป็นประจำ�ทุกวันออกกระจายเสียงเป็นภาษาไทย ในปี2552ถานีวิทยุเพื่อการศึกษาฯ ได้เพิ่มกำ�ลังส่งกระจายเสียงอีกหนึ่งคลื่นความถี่คือ 93.25 MHz กำ�ลังส่ง 2 กิโลวัตต์ เพื่อให้สื่อวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาเป็นสื่อวิทยุที่มีบทบาท มีอิทธิพลและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย รวดเร็วง่ายในการรับทราบข้อมูลข่าวสาร
ในวิกฤต…มีโอกาส...
ในช่วงเดือนพฤษภาคม 2557 สถานีวิทยุฯ ได้งดการส่งกระจายเสียงเนื่องจากการประกาศ คณะรักษาความสงบ แห่งชาติฉบับ79/2557 เรื่อง เงื่อนไขในการออกอากาศของสถานีวิทยุกระจายเสียง และได้มีการออกอากาศ อีกครั้งใน ช่วงเดือนรอมฎอนเป็นการทำ� MoU กับฝ่ายทหารโดยออกอากาศเป็นเวลา 1 เดือนผ่านทั้ง 2คลื่นความถี่ (98.50 และ 93.25) หลังจากนั้นก็ยังคงงดการส่งกระจายเสียงจนถึงมีนาคม 2558 โดยทางสถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลาได้ดำ�เนินการขั้นตอนต่างๆ ตามประกาศของ กสทช. ด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจของทางมหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลาพร้อมทีมงานสถานีวิทยุฯ ได้ดำ�เนินการตามขั้นตอนต่างๆของ กสทช. เพื่อให้สถานีสามารถออกอากาศได้อีกครั้ง หนึ่งและนำ�ประโยชน์ทางวิชาการให้กับสังคมและท้องถิ่น “เป็นคลื่นความรู้ สู่สังคมชายแดนใต้”
...10 ปี สถานีวิทยุแห่งการเรียนรู้
สถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา “Yala Rajabhat University Radio” ทำ�หน้าที่เป็นสื่อกลางและ ช่องทางในการให้บริการทางวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นสื่อกลางและช่องทางการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ เป็น เวทีให้อาจารย์ นักศึกษา และส่วนราชการต่างๆในมหาวิทยาลัย เป็นแหล่งให้บริการทางด้านการสื่อสารประชาสัมพันธ์ แก่หน่วยงานและประชาชนภายนอก เป็นแหล่งเรียนรู้และฝึกประสบการณ์วิชาชีพสำ�หรับนักศึกษาตลอดจนเป็นพื้นที่ให้ ชุมชนท้องถิ่น ภาคีเครือข่าย เข้ามาถ่ายทอดองค์ความรู้สู่สังคม รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
2
วิสัยทัศน์ สู่ พันธกิจ... สานพันธกิจคลื่นความรู้ชายแดนใต้คู่ สังคมชายแดนใต้ โดยมุ่งมั่น ที่เป็นองค์กรสื่อสารมวลชนในท้องถิ่น จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ทันสมัยในการสื่อสารและเป็นสถานีวิทยุเพื่อการศึกษาแห่งแรกในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และเกิดการเรียนรู้ร่วมกันของสังคม นำ�เสนอข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง เหตุการณ์ และ สถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นต่อสาธารณชน เพื่อเติมปัญญาให้สังคมและสร้าง“สังคมฐานปัญญา” ถ่ายทอดมรดกทาง สังคมวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมการเรียนรู้ของประชาชนในสังคมพหุวัฒนธรรมเสริมสร้างสังคมสมานฉันท์ในการพัฒนาสังคมและท้อง ถิ่นโดยมีกิจกรรมที่สร้างสรรค์สู่สังคมตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่น ได้แสดงออก ถ่ายทอด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางด้าน วิชาการและเป็นองค์กรสื่อสารมวลชนในท้องถิ่นจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามภารกิจอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น พัฒนาและยกระดับการศึกษาให้มีศักยภาพและโดดเด่นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ต่อไปภายใต้ปรัชญา วิสัยทัศน์ และพันธกิจและภารระกิจดังนี้
ปรัชญา
คลื่นความรู้ สู่สังคมชายแดนใต้
วิสัยทัศน์
พันธกิจ
ภารกิจ
มุ่งสู่การเป็นสถานีวิทยุอุดมศึกษาด้านสื่อกระจายเสียงที่ทันสมัยในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ตอบสนองสังคมแห่ง การเรียนรู้
1.เป็นสื่อวิทยุกระจายเสียงเพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ความบันเทิงอย่างมีประสิทธิภาพ 2.ถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.เป็นสื่อกลางสร้างความร่วมมือและความเข้าใจเพื่อสังคมสมานฉันท์ 4.ให้บริการและประชาสัมพันธ์กิจกรรมของมหาวิทยาลัยสู่สาธารณะ 5.สนับสนุนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษา
1.เป็นสถานีวิทยุสถาบันการศึกษาที่ให้บริการสาธารณะ มีมาตรฐานทางวิชาการและเข้าถึงประชาชนอย่างกว้าง ขวาง 2.จัดหารายได้เพื่อให้องค์กรดำ�เนินงานได้อย่างต่อเนื่องและรักษาระดับรายได้ให้เพียงพอต่อการดำ�เนินงานและ การขยายงานแต่มิใช่มุ่งสู่แสวงหากำ�ไร 3.ผลิตรายการที่ตอบพันธกิจของสถานี 4.สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา
3
โครงสร้างการบริหาร สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา ผังบอร์ดบริหารสถานี รองอธิการบดี (ประธานกรรมการ) รองอธิการบดีอื่นๆ ที่อธิการเห็นสมควรไม่ เกิน 2 คน
คณบดี ทุกคณะ
หัวหน้าส่วนราชการ ที่อธิการเห็นสมควร
หัวหน้า สถานีวิทยุ
ผังปฎิบัติ บริหารงานสถานี
รักษาการหัวหน้าสถานีวิทยุ (อาจารย์ณัฐพงษ์ หมันหลี)
หน่วยธุรการและ บริหารงานทั่วไป (ปัทมา เนียมบดี)
หน่วยผลิตรายการ (โสภิญญา ขุนภักดี)
หน่วยจัดและ ถ่ายทอดสด (สุรพล คลาดแก้ว)
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
4
ข้อมูลพื้นฐานด้านบุคลากร สถานีวิทยุเพื่อการศึกษาแบ่งภาระหน้าที่ตามโครงสร้างการปฏิบัติงานออกเป็น 3 หน่วย หน่วยธุรการและ บริหารงานทั่วไป หน่วยผลิตรายการ และหน่วยจัดและถ่ายทอดสด โดยมีบุคคลากรที่รับผิดชอบ 3 คนในแต่ละหน่วย และหัวหน้าสถานีวิทยุ 1 คน หรือ(รักษาการหัวหน้าสถานีวิทยุ)ดูแลงานในภาพรวมดังนี้ หน่วย
หน้าที่รับผิดชอบ
- งานธุรการและสารบรรณ - งานการเงิน - งานพัสดุ - งานบุคลากร หน่วยธุรการและ - งานแผนงานและงบประมาณ บริหารงานทั่วไป - งานติดตาม ประเมิน และ รายงานผลของสถานี - งานเครือข่ายสื่อมวลชน - งานจัดรายการวิทยุ - งานควบคุมเสียง - งานอื่นๆที่หัวหน้าสถานีวิทยุมอบหมาย - งานผลิตรายการข่าว - ผลิตรายการสารคดี และสกู๊ปข่าว - งานผลิตรายการส่งเสริมวิชาการ/วิชาชีพ - งานผลิตรายการส่งเสริมวิชาการ/วิชาชีพ หน่วยผลิตรายการ - งานผลิตรายการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม - งานผลิตรายการสาระน่ารู้และสาระบันเทิงส่งเสริม คุณภาพชีวิต - งานบริการผลิตสปอตและสื่อวิทยุ - งานจัดรายการวิทยุ - งานควบคุมเสียง - งานอื่นๆที่หัวหน้าสถานีวิทยุมอบหมาย
หน่วยจัดและ ถ่ายทอดสด
ชื่อ/ตำ�แหน่ง
ปัทมา เนียมบดี นักประชาสัมพันธ์
โสภิญญา ขุนภักดี นักประชาสัมพันธ์
- งานถ่ายทอดสดรายการนอกพื้นที่ - งานจัดรายการพิเศษโอกาสต่างๆ - งานถ่ายทอดรายการของสถานีทางอินเตอร์เน็ตและระบบ เครือข่ายอื่นๆ สุรพล คลาดแก้ว นักประชาสัมพันธ์ - งานบันทึกรายการออกอากาศ - งานควบคุมเสียง - งานระบบคอมพิวเตอร์ - งานระบบเครื่องส่งกระจายเสียง - งานจัดรายการวิทยุ - งานอื่นๆที่หัวหน้าสถานีวิทยุมอบหมาย
5
การผลิตรายการและการเผยแพร่ สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา ผลิตและสร้างสรรค์รายการหลากหลายโดยยึดสัดส่วนตามข้อกำ�หนด คุณสมบัติ และ ลักษณะการทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง ประเภทกิจการบริการสาธารณะของสำ�นักงานคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และโทรคมนาคม ประเภทสถานีวิทยุบริการสารธารณะ โดยมีรายการที่เป็นข่าวสาร หรือสาระที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะในสัดส่วนไม่น้อยกว่า ร้อยละเจ็ดสิบ ครอบคลุมกลุ่มคนฟังทุกวัย ออกอากาศทุก วันตั้งแต่เวลา 06.00 น.- 24.00 น.
สรุปข้อมูลผังรายการและสัดส่วนรายการของสถานี ในช่วงปี 2557-2558 ลำ�ดับ 1 2 3 4
ประเภทของรายการ รายการข่าว รายการให้ความรู้ รายการข่าวและบันเทิง รายการบันเทิง
รวม
จำ�นวนรายการ ที่ออกอากาศต่อสัปดาห์
จำ�นวนชั่วโมง ออกอากาศ/ สัปดาห์
คิดเป็นสัดส่วน
9 16 6 7
30 25.50 22 37.50
26.00 22.17 19.13 32.70
38
115
100.00
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
6 สำ�หรับรายการของทางสถานีในในช่วงปี 2557-2558 มีทั้งหมด 38 รายการโดยมีผู้ผลิตรายการดังต่อไปนี้ ลำ�ดับ 1 2 3 4 5
ผู้ผลิตรายการ เจ้าหน้าที่ประจำ�สถานี นักศึกษา 7 ส่วนราชการ (หน่วยงานภายใน) รับสัญญาณ เครือข่ายภาคี (หน่วยงานภายนออก)
จำ�นวนที่ผลิต
สัดส่วนร้อยละ
11 7 9 8 3
29.00 18.40 23.68 21.03 7.89
สัดส่วนร้อยละของผู้ผลิตรายการในช่วงปี 2557-2558
7
ลำ�ดับ 1.
2.
ข้อมูลรายละเอียดข้อมูลของ รายการแต่ละประเภท ประเภทของรายการ
จำ�นวนรายการ
รายการข่าว
1. รายการข่าวสดสายตรงกับวีโอเอ 2. ถ่ายทอดข่าวจาก สวท.กทม 3.คุยข่าวก่อนเที่ยง 4.รายการyru new 5.รายการใต้สันติสุข 6.ข่าวพระราชสำ�นัก 7.รายการสุดสัปดาห์กับวีโอเอ 8.รายการ สปอร์ตวาไรตี้ 9.รายการวันนี้ที่ราชภัฏ
9
จำ�นวนชั่วโมง ที่ออกอากาศต่อสัปดาห์ 2 ชม. 30 นาที 3 ชม. 30 นาที 5 ชม. 3 ชม. 30 นาที 3 ชม. 30 นาที 3 ชม. 30 นาที 30 นาที 3 ชม. 5 ชม. รวม 30 ชม.
คิดเป็น สัดส่วน
26.00
รายการให้ความรู้
1.รายการ 60 ปีพระบารมีปกเกล้า 2.รายการภาษาอังกฤษสำ�นวน อเมริกัน 3.รายการการศึกษาเพื่อชีวิต 4.รายการมนุษยศาสตร์ออนแอร์ 5.รายการวิทยาศาสตร์ประจำ�วัน 6.รายการสาระน่ารู้กับภาค เทคโนโลยีการเกษตร 7.รายการวิทยาการจัดการก้าวไกล 8.รายการรู้เท่าทันสื่อ 9.พ่อแม่อุ่นใจครอบครัวอุ่นรัก 10.รายการท่องเที่ยวบันเทิง 11.รู้กฎหมายกับ YRU 12.รายการreseach radio 13.รายการธรรมะเพื่อชีวิต 14.รายการสารศิลป์ถิ่นใต้ 15.รายการปาฐกถาธรรม 16.รายการเปิดโลกวิจัย 17.รายการอิสลามศึกษา
5 ชม. 30 นาที 1 1 1 1
17
ชม. ชม. ชม. ชม
2 ชม. 2 ชม. 1 ชม. 2 ชม. 30 นาที. 1 ชม. 1 ชม. 2 นาที 30 นาที 1 ชม. 30 นาที รวม 25 ชม. 30
22.17
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
8 ลำ�ดับ 3.
ประเภทของรายการ
จำ�นวนรายการ
จำ�นวนชั่วโมง ที่ออกอากาศต่อสัปดาห์
คิดเป็น สัดส่วน
รายการข่าวสารและบันเทิง 1.รายการพระอาทิตย์ยิ้มแฉ่ง 2.รายการวัยว้าวุ่นกับเรื่องวุ่นใจ 3.รายการเยาวชนคนเก่ง 4.รายการลูกทุ่งยามเช้า 5.รายการลูกทุ่งยามเย็น 6.YRU วาไรตี้
6
3 ชม. 30 นาที 30 นาที 2 ชม. 4 ชม. 30 นาที 4 ชม. 30 นาที 7 ชม.
19.13
รวม 22 ชม.
4.
รายการให้ความบันเทิง 1.รายการเพื่อนกับเพลง 2.รายการ freedom music 3.รายการ yru radio 4.รายการมิวสิควาไรตี้ 5.รายการเพื่อนคนนอนดึก 6.YRU สเตชั่น 7.รายการ yru radio เพื่อคุณ
7
55 ชม. 2 ชม. 10 ชม. 30 นาที 7 ชม. 7 ชม. 2 ชม. 4 ชม.
32.70
รวม 37 ชม. 30 นาที รวมทั้งหมด 38 รายการ
รวมทั้งหมด 115 ชม.
100
9
งบประมานรายรับ – รายจ่ายและ การดำ�เนินงาน
สถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา เป็นหน่วยงานในกำ�กับของมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลาได้รับ งบประมาณสนับสนุนตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ใช้งบประมานการดำ�เนินงาน 3 ส่วน ดังนี้ ลำ�ดับ 1. 2.
3.
กิจกรรม
ได้รับจัดสรร
งบประมาณ เบิกจ่ายจริง
หมายเหตุ
โครงเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานีวิทยุ 329,800.00 59,818.50 เงินโอนจากโครงเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร 67,550.00 จัดการสถานีวิทยุ รวมงบประมาณที่จัดสรรจากทางมหาวิทยาลัย 127,368.50 เงินรายได้สถานีวิทยุเพื่อการศึกษาสถานีวิทยุเพื่อ 110,460.00 ซื้ออุปกรณ์ การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา จำ�เป็นเพิ่มเติม รวม 237,828.50 บาท
รายละเอียดงบประมาณโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ สถานีวิทยุ จำ�นวน 329,800.00
สถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา เป็นหน่วยงานในกำ�กับของมหาวิทยาลัยราชภัฎยะลาได้รับ งบประมาณสนับสนุนตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 ใช้งบประมานการดำ�เนินงาน 3 ส่วน ดังนี้
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
10
งบประมาณ งบ บ.กศ. งบ กศ.ปช.
งบรายจ่าย
งบแผ่นดิน
ค่าตอบแทน - เงินประจำ�ตำ�แหน่งหัวหน้าสถานีวิทยุ จำ�นวน 1 คน 12 เดือนๆ ละ 4,400 บาท
-
274,800
- ค่าตอบแทนเหมาจ่าย (สัปดาห์ไม่น้อยกว่า 5 วัน ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง) จำ�นวน 1 คน 12 เดือนๆ ละ 2,000 บาท - เงินประจำ�ตำ�แหน่งหัวหน้างาน จำ�นวน 3 คนๆ ละ 2,000 บาท 12 เดือน - ค่าตอบแทนการปฏิบัติงาน เกินภาระงาน (มติทบม. วันที่ 29 ก.ย. 53) จำ�นวน 3 คน 12 เดือนๆ ละ 10,500 บาท
52,800
-
-
บัณฑิต ศึกษา -
274,800
-
24,000
-
-
24,000
-
72,000
-
-
72,000
-
126,000
-
-
126,000
-
-
30,060
-
-
รวม 52,800
ค่าใช้สอย - ค่าที่พัก 2 คืน 4 คน ๆ ละ 800 บาท
-
-
30,060 6,400
-
-
- ค่าเบี้ยเลี้ยง 2 วัน 4 คนๆ ละ 240
-
1,920
-
-
1,920
- ค่ายานพาหนะไป – กลับ 4 คนๆละ 2,935บาท
-
11,740
-
-
11,740
-
10,000
-
-
10,000
-
24,940 24,940 329,800
-
-
24,940 24,940 329,800
- ค่าซ่อมแซมครุภัณฑ์ ค่าวัสดุ - ค่าวัสดุสำ�นักงาน รวม
6,400
11 รายละเอียดเงินโอน จากโครงเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานี เป็นงบประมาณที่ทางสถานีทำ�เรื่องขอโอนเปลี่ยนปลงภายใต้กิจกรรมจากเงินโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารจัดการสถานีวิทยุ เพื่อเป็นค่าใช้สอยฉุกเฉินในส่วนเสาอากาศที่จำ�เป็นต้องปรับแก้เพื่อดำ�เนินเรื่องขออนุญาตออก อากาศ ในส่วนที่ไม่ได้ระบุอยู่ในแผนงบประมาณทางมหาวิทยาลัยจำ�นวน 67,550 บาท โดยมีค่าใช้จ่ายดังนี้ ลำ�ดับ รายการ 1 ค่าจ้างในการปรับสายนำ�สัญญาณ 2 ค่าวัสดุสำ�นักงาน รวม
จำ�นวนเงิน 35,000 บาท 32,050 บาท 67,550 บาท
รายละเอียดเงินรายได้สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา หลังจากที่ได้จัดทำ�ห้องจัดรายการและจัดซื้อจัดจ้างอุปกรณ์เครื่องส่งวิทยุกระจายเสียงแล้วนั้น สถานีวิทยุได้ใช้ เงินรายได้ส่วนหนึ่งบัญชี เงินรายได้จาก ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขายะลา ดำ�เนินการจัดซื้อวัสดุ – ครุภัณฑ์ ที่จำ�เป็น สำ�หรับรองรับการออกอากาศเพิ่มเติม พร้อมออกอากาศ โดยมีรายการจัดซื้อดังนี้ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ PC จำ�นวน 2 เครื่อง 2. ATA IP Phone จำ�นวน 2 ชุด 3. Switch Hub รุ่น TL-SF1008P POE จำ�นวน 1 ตัว 4. เครื่องสำ�รองไฟ UPSOnline 1k จำ�นวน 1 ตัว 5. เก้าอี้ห้องจัดรายการ จำ�นวน 3 ตัว 6. ป้ายสถานีวิทยุฯ(นอก) จำ�นวน 1 ป้าย 7. ป้ายสถานีวิทยุฯ(ใน) จำ�นวน 1 ป้าย 8. ค่าออกแบบสติกเกอร์และติดตั้งบนกระจก จำ�นวน 8 ตารางเมตร 950 9. โฟมบอร์ด จำ�นวน 4 อัน รวมเป็นเงิน
เป็นเงิน 30,000 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท เป็นเงิน 2,660 บาท เป็นเงิน 26,000 บาท เป็นเงิน 6,600 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท เป็นเงิน 7,600 บาท เป็นเงิน 2,600 บาท 110,460.00
***แนวทางการการหารายได้สำ�หรับสถายีวิทยุเพื่อการศึกษา การจัดเก็บรายได้ของสถานีวิทยุเพื่อการศึกษา ซึ่งเป็นสถานีวิทยุประเภทการทดลองประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการบริการสาธารณะ จะหารายได้จากการโฆษณาไม่ได้ เว้นแต่เป็นการหารายได้โดยการโฆษณาหรือเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยว กับงานหรือกิจการของหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ สมาคม มูลนิธิ หรือนิติบุคคลอื่นที่มีวัตถุประสงค์ในการดำ�เนินกิจการ เพื่อประโยชน์สาธารณะโดยไม่แสวงหากำ�ไรในทางธุรกิจ หรือการเสนอภาพลักษณ์ขององค์กบริษัท และกิจการโดยมิได้มีการ โฆษณาสรรพคุณ คุณประโยชน์ หรือคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ เกี่ยวข้องทั้งทางตรงและทางอ้อม ตามประกาศคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตทดลองประกอบกิจการ วิทยุกระจายเสียง พ.ศ. 2555 รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
12
การกระจายเสียง และเทคโนโลยีสารสนเทศ ในปี 2557-2558 เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำ�คัญของการกระจายเสียงหลังจากการเข้ามาของคณะรักษา ความสงบแห่งชาติส่งผลให้มีมาตรการควบคุมเข็มข้นด้านกิจการกระจายเสียง สถานีวิทยุเพื่อการศึกษาเป็นหนึ่งใน หลายๆสถานีที่ได้รับผลกระทบในด้านการกระจายเสียง จากเดิม ใช้ 2 คลื่นความถี่คือ 93.25 กำ�ลังส่งคลื่นกระจาย เสียง 2 kilowatts และคลื่น 98.50 kilowatts ซึ่งไม่เป็นไปตามมาตรฐานของคณะกรรมการกิจการวิทยุกระจาย เสียงกิจการโทรทัศน์และคมนาคมคมนาคม คือ สถานีวิทยุกระจายเสียงที่จดทะเบียนประเภทสาธารณะอนุญาตให้ใช้ คลื่นความถี่ไม่เดิน 500 watts และ 1 นิติบุคคลสามารถจดทะเบียนประกอบกิจการได้เพียงคลื่นสัญญาณเดียว ส่งผล ต่อการเปลี่ยนแปลงโดยจดทะเบียนเพียง 1 คลื่นสัญญาณคือ 98.50 Mhz. และทำ�ลายเครื่องเดิมตามระเบียนข้อบังคับ และทำ�เรื่องจัดซื้อจัดจ้างเครื่องส่งสัญญาณวิทยุใหม่ที่ผ่านการตรวจสอบมาตรฐานเทคนิค
เอกสารรับรองการตรวจสอบมาตรฐานเทคนิค
13
การปรับปรุงเสาส่งสัญญาณ
สถานีวิทยุย้ายเสาอากาศจากอาคารสำ�นักวิทยบริการมาอาคารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทำ�ให้ต้อง รายงานและแจ้งต่อคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และโทรคมนาคมเพื่อตรวจสอบความถูกต้องตาม เกณฑ์มาตรฐานดังนี้ 1. กําลังคลื่นพาห์ (Carrier Power) ของเครื่องส่งวิทยุกระจายเสียงตามที่ผู้ผลิตประกาศ ต้องมีค่า ไม่เกิน 500 วัตต์ 2. ความสูงของสายอากาศไม่เกิน 60 เมตร โดยวัดจากจุดสูงสดของสายอากาศถึงระดับพื้นดินที่ ใช้ติดตั้งสายอากาศนั้น 3. พื้นที่การกระจายเสียงมีรัศมีไม่เกิน ๒๐ กิโลเมตร 4. ความแรงของสัญญาณ (Field Strength) วัดที่ระยะทาง 20 กิโลเมตรจากจดทุ ี่ตั้งสายอากาศมีค่า ไม่เกิน 54 dBμV/m โดยวิธีการคํานวณค่าความแรงของสัญญาณให้เป็นไปตาม ITU-R Recommendation P.1546 5.ค่าอัตราส่วนป้องกันการรบกวน (Protection Ratio) สําหรับการใช้ช่องความถี่ข้างเคียงกัน (Adjacent Channel) จะต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 2dB1 กำ�ลังส่ง 500 วัตต์ เสาทาวเวอร์สูง 30 เมตร เสาอากาศแบบ Cercular จำ�นวน 4 ตัว สายนำ�สัญญาณ Haliax ขนาด 7/8 รัศมีการกระจายเสียงประมาณ 20 กิโลเมตรครอบคลุมพื้นที่จังหวัดยะลาและจังหวัด
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
14
พัฒนาโปรแกรมถ่ายทอดเสียงสำ�หรับสถานีวิทยุ สถานีวิทยุได้จัดทำ�ระบบเว็บไซต์และระบบวิทยุออนไลน์ให้มีประสิทธิภาพรองรับการใช้งานจากทุกๆอุปกรณ์ เช่น สามารถรับฟังได้จากสมาร์ทโฟน และคอมพิวเตอร์ โดยวิธีเชื่อมต่อโดยตรงจาก mixer เข้าสู่ sever1แทนที่ระบบเดิ มที่ใช้การจูนสัญญาณวิทยุเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์และแปลงเป็นสัญญาณเสียง ซึ่งการใช้ระบบใหม่สามารถบันทึกรายการ ได้โดยตรงอีกทั้งสามารถเช็คได้ว่ามีผู้ที่รับฟังผ่านระบบออนไลน์จำ�นวนเท่าไหร่และผู้ฟังสามารถขอเพลงหรือติดต่อกับผู้ จัดรายการได้โดยตรง
ระบบการรับฟังรายการย้อนหลัง สถานีวิทยุได้จัดทำ�ระบบฟังรายการย้อยหลังเพื่อสร้างคลังเสียงที่เป็นประโยชน์สำ�หรับผู้สนใจโดยได้ริเริ่ม รายการนำ�ร่อง รายการรู้กฎหมายกับ YRU รายการ Rangkaian Pelangi (สายรุ้ง) และรายการ รายการ YRU TALK
15
กิจกรรมสร้างสรรค์
“... กิจกรรมสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านเป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค์ด้วยความมุ่งมั่น ต้องการพัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรที่มีคุณภาพทางด้านสื่อสารมวลชนและเป็นองค์กรสื่อที่ตระหนัก ถึงการทำ�งานร่วมกับสังคมโดยเข้าร่วมกับโครงการกับเครือข่ายสื่อในพื้นที่ และการจัดโครงการโดย ใช้งบประมาณจากหน่วยงานภายนอกและบางกิจกรรมจัดโดยไม่ใช้งบประมาณ....” โดยมีกิจกรรมดังนี้
1.จัดโครงการเสียงใสๆไม่ท้องก่อนวัยอันควร (นักจัดรายการวิทยุ) รุ่นที่ 2 ได้ดำ�เนินการจัดโครงการกิจกรรมร่วมกับบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดยะลา(วันที่ 20 ธันวาคม 2557) 2.โครงการรวมใจชาวยะลาผู้ประสบอุทกภัยชายแดนใต้ ได้ดำ�เนินการโครงการรวมใจชาวยะลาผู้ประสบอุทกภัยชายแดนใต้ร่วมกับเครือข่ายสื่อในพื้นที่จังหวัดยะลาเพื่อร่วม ประชาสัมพันธ์บริจาคเงิน สิ่งของ ให้กับผู้ประสบอุทกภัยชายแดนใต้ ณ วิทยาลัยเทคนิคยะลา (วันที่ 5 มกราคม 2558) 3.สานฝันเพื่อน้องวันเด็กแห่งชาติ ได้ดำ�เนินการจัดโครงการกิจกรรม ณ โรงเรียนบ้านท่าสาป อำ�เภอเมือง จังหวัดยะลา โดยร่วมกับสถาบันวิจัยและพัฒนา ชายแดนใต้ และร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่จัดกิจกรรม (วันที่ 10 มกราคม 2558) 4.จัดโครงการเฟ้นหา DJ ได้ดำ�เนินการจัดโครงการกิจกรรม ณ สถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัย โดยมีนักศึกษาทั้ง 4 คณะ ทุกชั้นปี เข้า ร่วมโครงการและผู้ที่สนใจภายนอก เพื่อคัดผู้ผ่านเข้ารอบเข้าร่วมกิจกรรมโครงการกับทางสถานีวิทยุฯ ต่อไป (วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2558) 5.จัดโครงการนักจัดรายการวิทยุ YRU Radio ได้ดำ�เนินการจัดโครงการนักจัดรายการวิทยุ YRU Radio ณ ห้องประชุมหงส์แก้วฟ้า คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา โดยกลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจ เข้าร่วมโครงการ จำ�นวน 50 คน โดยได้รับเกียรติ จากวิทยากรอาจารย์ สุขเกษม จารงค์ (ได้รับงบประมาณจากสถาบันวิจัยและพัฒนาชายแดนภาคใต้ จำ�นวน 15,000 บาท)(วันที่ 28 เมษายน 2558) 6.งานสมโภชหลักเมืองและงานกาชาดจังหวัดยะลา ได้ร่วมงานสมโภชหลักเมืองและงานกาชาดจังหวัดยะลา ตามคำ�สั่งที่1441/2558 รับหน้าที่เป็นผู้ดำ�เนินรายการ ในบูธของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ณ บริเวณศาลเจ้าพ่อหลัก เพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ความเคลื่อนไหวของ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา (ระหว่างวันที่ 25 พฤษภาคม – 4 มิถุนายน 2558) รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
16
ภาพกิจกรรม
โครงการเสียงใสๆไม่ ท้องก่อนวัยอันควร
(นักจัดรายการวิทยุ) รุ่นที่ 2
ภาพกิจกรรม โครงการรวมใจชาวยะลาผู้ประสบอุทกภัยชายแดนใต้
17 สานฝันเพื่อน้องวันเด็กแห่งชาติ
จัดโครงการเฟ้นหา DJ
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
18 โครงการนักจัดรายการวิทยุ YRU Radio
งานสมโภชหลักเมือง และงานกาชาดจังหวัด ยะลา
19
การพัฒนาบุคลากร “... การพัฒนาศักยภาพการทำ�งานเป็นสิ่งจำ�เป็นที่ต้องมีการพัฒนาอยู่ตลอด ทีมงานสถานี วิทยุได้รับการพัฒนาทักษะในส่วนนี้จากเครื่อข่ายสื่อมวลชนเป็นส่วนใหญ่ทั้งจากสำ�นักงานคณะ กรรมการกิจการวิทยุกิจการโทรทัศน์และโทรคมนาคม สถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี เป็นต้น....” โดยมีกิจกรรมดังนี้
1. โครงการอบรม เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจต่อผู้ประกอบการกิจการกระจายเสียง จำ�นวน 4 ครั้งๆละ 2 วัน ได้ดำ�เนินการเข้าร่วมการอบรมโครงการอบรม เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจต่อผู้ประกอบการกิจการกระจาย ณ โรงแรม หรรษา เจบี อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จำ�นวน 4 ครั้งๆละ 2 วัน โดยมีอาจารย์ณัฐพงษ์ หมันหลี และนางสาวโสภิญญา ขุนภักดี เข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ เพื่อให้มีองค์ความรู้ที่จำ�เป็นและเพียงพอ ต่อการ ประกอบกิจการสถานีวิทยุกระจายเสียง และสามารถนำ�ความรู้มาปรับใช้กับงานที่ปฏิบัติได้ (วันที่ 23 – 24 เมษายน 2558 , 28 – 29 พฤษภาคม 2558 , 11 – 12 มิถุนายน 2558 และวันที่ 6 – 7 สิงหาคม 2558) 2.โครงกิ จ กรรมอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเรื่ อ งการสร้ า งสรรค์ ร ายการวิ ท ยุ เ พื่ อ การดู แ ลสุ ข ภาพจิ ต ของเด็ ก ใน สถานการณ์ความไม่สงบ ได้ ร่ ว มกิ จ กรรมอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเรื่ อ งการสร้ า งสรรค์ ร ายการวิ ท ยุ เ พื่ อ การดู แ ลสุ ข ภาพจิ ต ของเด็ ก ใน สถานการณ์ความไม่สงบ ระหว่างวันที่ 11- 12 มิ.ย. 2558 ณ โรงแรมปาร์ควิวรีสอร์ท จังหวัดปัตตานี 3.โครงการประชุมสัมมนาและศึกษาดูงานเครือข่ายสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เขต 12 ปี 2558 ได้ร่วมโครงการประชุมสัมมนาและศึกษาดูงานเครือข่ายสื่อสารประชาสัมพันธ์เพื่อป้องกันควบคุมโรคและภัย สุขภาพเขต 12 ปี 2558 ณ ห้องประชุมเขื่อนรัชชประภา อำ�เภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดโดยสำ�นักป้องกัน ควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลาเพื่อนำ�ความรู้ดังกล่าวมาเผยแพร่ผ่านทางรายการสถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา(วันที่28 - 30 มิถุนายน 2558 )
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
20
ภาคผนวก
21
หัวข้อวิจัย ชื่อผู้วิจัย คณะ
บทคคัดย่องานวิจัย
พฤติกรรมการเปิดรับสื่อวิทยุกระจายเสียงของประชาชนในจังหวัดยะลา ชฏาภรณ์ สวนแสน ณัฐพงษ์ หมันหลี วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีการศึกษา 2558
บทคัดย่อ การวิจัย เรื่อง การวิจัย เรื่อง พฤติกรรมการเปิดรับสื่อวิทยุกระจายเสียงของประชาชนในจังหวัดยะลา มี วัตถุประสงค์เพื่อ 1.เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับฟังสถานีวิทยุกระจายเสียงในจังหวัดยะลาและสถานีวิทยุเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา 2.เพื่อนำ�ข้อมูลที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการและการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Qualitative Research) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย กลุ่มประชากรในจังหวัดยะลา และจังหวัดปัตตานีที่สามารถรับฟังสถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา FM 98.5 MHz รวมทั้งสิ้น 14 ตำ�บล กลุ่มตัวอย่าง จำ�นวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multistage Random Sampling) โดยกำ�หนด กลุ่มตัวอย่างเป็นอำ�เภอในจังหวัดยะลา จำ�นวน 8 ตำ�บล และจังหวัดปัตตานี 2 ตำ�บล ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่เปิดรับสื่อวิทยุกระจายเสียงของประชาชนในจังหวัดยะลาพบว่าเป็นเพศหญิง ร้อยละ 57.8และเป็นเพศชาย ร้อยละ 42.2 โดยมีอายุ 41 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 30.2 รองลงมาคือผู้เปิดรับที่มีอายุ 21-25 ปี คิดเป็นร้อยละ 24.8 ผู้เปิดรับที่มีอายุ16-20 ปีคิดเป็นร้อยละ 19.5ผู้เปิดรับที่มีอายุ26-30 ปีคิดเป็นร้อยละ 13.5เปิดรับที่ มีอายุ31-35 ปีคิดเป็นร้อยละ 7.5ผู้เปิดรับที่มีอายุ36-40คิดเป็นร้อยละ 4.2และผู้เปิดรับที่มีอายุต่ำ�กว่า 15 ปีคิดเป็นร้อยละ 0.2 ตามลำ�ดับ ช่วงเวลาเปิดรับฟังสถานีวิทยุกระจายเสียงในช่วงเวลา 17.01-19.00 น. มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 14.5 รองลงมา คือ 13.01-15.00 น.และ 19.01-21.00 น. ร้อยละ 14.3 อยู่ในลำ�ดับที่เท่ากัน 09.01-11.00 น. ร้อยละ 13.3 21.01-23.00 น. ร้อยละ 11.3 15.01-17.00 น. ร้อยละ 8.4 07.01-09.00 น. ร้อยละ 7.6 11.01-13.00 น. ร้อยละ 7.3 05.00-07.00 น. ร้อย ละ 5.4 และ 23.01-00.00 น ร้อยละ 3.6 โดยเปิดรับฟังจากเครื่องรับวิทยุกระจายเสียงมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 49.0 รอง ลงมา โทรศัพท์มือถือ คิดเป็นร้อยละ 31.2 วิทยุออนไลน์ คิดเป็นร้อยละ13.8และ วิทยุติดรถยนต์ คิดเป็นร้อยละ 6.0 สำ�หรับ พฤติกรรมการเปิดรับสื่อของสถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลาพบว่าเปิดรับโดยบังเอิญคิดเป็นร้อยละ 54.3 รองลงมา มีคนแนะนา คิดเป็นร้อยละ 20 ได้ยินผู้อื่นพูดถึงจึงลองฟังดู คิดเป็นร้อยละ 9.9 รับทราบเวปไซต์ คิดเป็นร้อยละ 4.7 เป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คิดเป็นร้อยละ 3.9 และรับทราบจากเฟสบุ๊ค คิดเป็นร้อยละ 2.9ความนิยมของ ผู้เปิดรับฟังต่อรายการของสถานีวิทยุสถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 10 ลำ�ดับแรกคือฟังรายการมิวสิควาไร ตี้มากที่สุด ร้อยละ 9.3 รองลงมา ถ่ายทอดข่าวจากสวท.กทม ร้อยละ 8.9 เพื่อคนนอนดึก ร้อยละ 7.8 เพื่อนกับเพลง ร้อย ละ 5.6 Music life ร้อยละ 5 อนาซีด ร้อยละ 4.8 YRU NEW ร้อยละ 4.7 สปอร์ตวาไรตี้ ร้อยละ 4.5 วันนี้ที่ราชภัฏ ร้อย ละ 4.4 ลูกทุ่งยามเช้า ร้อยละ 4 เมื่อจำ�แนกตามความชอบรายการของสถานีวิทยุ สถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา 10 ลำ�ดับ แรกคือ รายการเพื่อนคนนอนดึกมากที่สุด ร้อยละ 12.2 รองลงมา มิวสิควาไรตี้10.8อนาซีด7.2 ถ่ายทอดข่าวจาก สวท. กทม7.0 Music life 5.8 เพื่อนกับเพลงและท่องเที่ยวบันเทิงมีลำ�ดับที่เท่ากัน ร้อยละ 4.8 YRU NEW 4.5 สปอร์ตวาไรตี้ 4.2 ลูกทุ่งยามเช้า 4.0 วันนี้ที่ราชภัฏ The best musicวันนี้ที่ราชภัฏ The best music และรู้เท่าทันสื่อมีลำ�ดับที่เท่ากัน ร้อยละ 3.2 ภาพรวมของการเปิดรับพฤติกรรมการเปิดรับสื่อวิทยุกระจายเสียงของประชาชนในจังหวัดยะลา พบว่ากลุ่ม ตัวอย่างรับฟังวิทยุกระจายเสียงจากคลื่น คือ FM 102.5 MHz อสมท.ยะลา มากเป็นอันดับหนึ่ง คิดเป็นร้อยละ 39.2รองลงมา FM 92 MHz สวท.ยะลา กรมประชาสัมพันธ์ คิดเป็นร้อยละ 30.9 FM 98.5 MHz สถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏยะลา คิดเป็นร้อยละ 13.3 FM 97.5 MHz Peace คิดเป็นร้อยละ 11.4 และ FM 91.5 MHz วิทยุธนวิถีพัฒนา คิดเป็น ร้อยละ 5.2 ตามลำ�ดับ รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
22
ระเบียบเกี่ยวกับ สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
23
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
24
25
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
26
27
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
28
29
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
30
31
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
32
33
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
34
35
รายงานประจำ�ปี สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา
36