พระพุทธเจ้า

Page 1

พุทธประวัติ พุทธประวัติคือ ประวัติความเป็ นมาของพระพุทธเจ้า ตั้งแต่ประสู ติ อภิเษกสมรส การ แสวงหาความรู ้ออกผนวช ตรัสรู ้ ประกาศพระศาสนา จนถึงปริ นิพพาน

ประสู ติ พระพุทธเจ้า ทรงพระนามเดิมว่า “สิ ทธัตถะ” พระราชบิดา ทรงพระนามว่า พระเจ้าสุ ทโธทนะ ครองกรุ งกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ ปัจจุบนั อยูท่ างภาคใต้ของประเทศ เนปาลพระราชมารดาทรงพระนามว่า พระนางสิ ริมหามายา เป็ นราชสกุลจากโกลิยวงศ์ กรุ งเทวทหะ ต่อมา เมื่อพระนางสิ ริมหามายาทรงพระครรภ์จวนประสู ติ พระนางมีความประสงค์ จะเสด็จกลับไปประสู ติที่เมืองเทวทหะตาม ธรรมเนียมอินเดียสมัยก่อนจึงทูลลาพระ สวามีเมื่อขบวนเสด็จถึงสวนลุมพินีวนั ซึ่งเชื่อมต่อกรุ งกบิลพัสดุก์ บั กรุ งเทวทหะ ก็ทร ประชวรพระครรภ์และประสู ติพระโอรสในพระอิริยาบถยืนพระหัตถ์เหนี่ยวกิ่งสาละ ซึ่ง วันนั้นตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๖


เมื่อประสู ติแล้วข้าราชบริ พารจึงเชิญเสด็จกลับกรุ งกบิลพัสดุห์ ลังจากประสู ติได้ ๕ วัน พระโอรสได้รับการขนานพระนามว่า “สิ ทธัตถะ”ซึ่งแปลว่า ผูส้ าเร็จในสิ่ งที่ทรง ประสงค์ และพราหมณ์๘ นาย ผูเ้ ชี่ยวชาญในการทานายลักษณะ ได้พยากรณ์วา่ ถ้า พระโอรสนี้ทรงครอบครองบ้านเมืองจะได้เป็ น พระจักรพรรดิผยู ้ งิ่ ใหญ่ถา้ เสด็จออก ผนวชจะได้เป็ นศาสดาเอกของโลก แต่ โกณฑัญญะ พราหมณ์ผมู ้ ีอายุนอ้ ยที่สุดยืนยัน หนักแน่นว่าพระโอรสจะเสด็จออกบวชและได้เป็ นพระพุทธเจ้าแน่นอน หลังประสู ติได้ ๗ วันพระราชมารดาก็เสด็จสวรรคต พระเจ้าสุ ทโธทนะ จึงมอบพระสิ ทธัตถะพระราช กุมารให้อยูใ่ นการดูแลเลี้ยงดูของพระนางปชาบดีโคตมี ซึ่งเป็ นน้องสาวของพระนางสิ ริ มหามายา

เทวทูต ๔

เมื่อเจ้าชายสิ ทธัตถะทรงอยูใ่ นวัยเยาว์ พระเจ้าสุ ทโธทนะพระราชบิดาได้ทรงพยายาม ทุกวิถีทางให้เจ้าชายสิ ทธัตถะ อยูค่ รองราชย์สืบต่อจากพระองค์ โดยการผูกมัดด้วย ความสุ ขในทางโลกเป็ นสาคัญมุ่งให้เจ้าชายสิ ทธัตถะพบเห็นแต่สิ่งสวยงาม เช่น การ สร้างปราสาทให้ประทับทั้ง ๓ ฤดู จัดให้ทรงอภิเษกสมรส


แต่ดว้ ยเหตุที่เจ้าชายสิ ทธัตถะทรงเป็ นนักคิดมาตั้งแต่วยั เยาว์ จึงไม่อาจปิ ดกั้นความคิด ของพระองค์ได้วนั หนึ่งเจ้าชายสิ ทธัตถะได้ทูลขอพระราชานุญาตเสด็จประพาสนคร พระองค์ได้ทรงทอดพระเนตรเห็น คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ(นักบวช) เรี ยกว่า เทวทูต ๔ ก็ทรงรู ้สึกสลดหดหู่ในพระทัยยิง่ นัก

วิเคราะห์ เมื่อเจ้าชายสิ ทธัตถะได้ทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ๔ คือ ทูตที่เทวดาเนรมิตเพื่อเป็ นแรง บันดาลใจให้เจ้าชายสิ ทธัตถะทรงครุ่ นคิดถึงการออกผนวช ทั้งนี้เพราะเกรงว่าเจ้าชายจะ ติดอยูใ่ นกามสุ ข จากการที่ได้ทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ๔ ผนวกกับการได้ทราบข่าวการ ประสู ติของพระโอรส ทาให้พระองค์คิดเชื่อมโยงกับความแก่ ความเจ็บ และความตาย ล้วนเป็ นผลสื บเนื่องมาจากการเกิด ทาให้ตดั สิ นพระทัยออกผนวชทันที

การแสวงหาความรู้

เจ้าชายสิ ทธัตถะทรงเป็ นนักแสวงหาความรู ้ผทู ้ ี่ไม่มีใครจะเปรี ยบเทียบได้นบั จาก พระองค์ทรงเยาว์วยั ชีวติ ความเป็ นอยูข่ องพระองค์เพียบพร้อมด้วยความสุ ข นานับประการตามประวัติกล่าวว่า เมื่อพระองค์พระชนม์มายุได้เพียง ๗ พรรษาได้เสด็จ ตามพระราชบิดาไปในการพิธีแรกนาขวัญ พระองค์ได้แสวงหาความ สงบด้วยการนัง่ สมาธิเป็ นที่น่าอัศจรรย์แก่พระบิดาและข้าราชบริ พารทั้งปวง ครั้น พระองค์เจริ ญวัยก็ได้ทรงเข้ารับการศึกษาในสานักของครู วศิ วามิตรและได้รับการศึกษา


ศิลปศาสตร์ถึง ๑๘ ประการ เช่น วิชานักรบ วิชาการปกครอง วิชากฎหมาย เป็ นต้น จน แตกฉานหมดสิ้ นความรู ้ของอาจารย์นบั ว่า เจ้าชายสิ ทธัตถะได้มีความรู ้ความสามารถใน ศาสตร์สาขาต่างๆเป็ นอย่างมากถึงแม้วา่ เจ้าชายสิ ทธัตถะจะได้ศึกษาหาความรู ้ดา้ นต่างๆ จนจบกระบวนการศึกษาที่คนในสมัยนั้นจักต้องศึกษาพร้อมกับมีชีวติ ความเป็ นอยูท่ ี่สุข สบายแล้วแต่พระทัยของพระองค์กลับน้อมนาไปในทางที่สงบจนเมื่อพระองค์ได้ ทอดพระเนตรเห็นเทวทูตทั้ง ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ตามลาดับแล้ว พระองค์ทรมีพระทัยสงสารและทรงครุ่ นคิดถึงวิธีการแสวงหาความสิ้ นทุกข์ของชีวติ และต้องการที่จะช่วยให้มนุษย์ท้ งั ปวงได้หลุดพ้นจากความทุกข์น้ นั เมื่อพระชนมายุได้๓๙ พรรษา พระนางพิมพาประสู ติพระราชโอรสนามว่า “ราหุล” พระองค์จึงตัดสิ นพระทัยเด็ดขาดว่าจะต้องเสด็จออกผนวช และในกลางดึกคืนนั้น พระองค์เสด็จพร้อมมหาดเล็กคนสนิทชื่อนายฉันนะ และม้ากัณฐกะถึงแคว้นโกศลและ วัชชีริมฝั่งแม่น้ าอโนมาพระองค์ทรงใช้พระขรรค์ตดั พระเมาลี(มวยผม)โกนหนวดเคราทิ้ง ทรงครองเพศเป็ นนักบวชออกแสวงหาความรู ้ซ่ ึง โมกธรรม คือ ธรรมที่ทาให้หลุดพ้นจากทุกข์โดยการเดินทางไปพบปะสนทนากับ นักบวชและคณาจารย์ต่าง ๆ แต่กไ็ ม่ทรงเห็นทางที่จะปฏิบตั ิให้ถึงความหลุดพ้นได้ หลังจากนั้น พระองค์ได้เดินทางไปยังแคว้นมคธ เข้าศึกษาในสานักของอาฬารดาบสกา ลามโคตร ฝึ กจิตจนได้ฌานสมาบัติ๗ และเรี ยนรู ้ฌานสมาบัติ๘ จากสานักอุทกดาบสราม บุตร เมื่อศึกษาแล้วทรงเห็นว่าไม่ใช่หนทางพ้นทุกข์จึงตัดสิ นใจลาดาบสทั้งสองเสด็จไป แสวงหาความรู ้และความจริ งที่จะทาให้พน้ ทุกข์ต่อไป


การบาเพ็ญทุกรกิริยา

การบาเพ็ญทุกรกิริยา คือ การทาความเพียรที่ทาได้ยาก มีชื่อเรี ยกว่า “อัตตกิลมถา นุโยค” คือการทรมานตนเองให้ลาบาก พระองค์ทรงดาริ วา่ บางทีการทรมานตนเองให้ ลาบากจะเป็ นทางแห่งการพ้นทุกข์จึงตัดสิ นพระทัยบาเพ็ญทุกรกิริยา โดยมีปัญจวัคคีย ์ คอยดูแลรับใช้ตลอดมา ในการบาเพ็ญทุกรกิริยานั้นพระองค์ทรงปฏิบตั ิทรมานพระองค์ ด้วยวิธีการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ คือ ๑. ลดพระกระยาหารให้นอ้ ยลงตามลาดับจนกระทัง่ เหลือเพียงเท่าเมล็ดในของ ถัว่ พูเท่านั้นในหนึ่งมื้อของแต่ละวัน ๒. เสวยของโสโครก เช่น เสวยมูลของลูกโค หรื อพระบังคลหนักของพระองค์ เอง เป็ นต้น ๓. เอาของโสโครก เช่น ขี้เถ้า ทาพระวรกายโดยไม่ทรงสนาน(อาบน้ า)เลยเป็ น เวลานับปี จนกระทัง่ สิ่ งโสโครกเหล่านั้นเกาะติดพระวรกายเป็ นแผ่น ๔. กลั้นลมหายใจโดยใช้พระชิวหากดเพดานปากจนหูอ้ือตาลายเกิดอาการ วิงเวียนพระเศียร

วิเคราะห์ การที่พระองค์ได้ทรงกระทาทุกรกิริยาอยูถ่ ึง ๖ ปี จนทาให้พระวรกายของพระองค์ลาบาก สกปรก ซูบผอม และอ่อนล้า ในที่สุดพระองค์ทรงระลึกได้วา่ เมื่อคราวที่ทรงพระชนมายุ๗ ขวบนั้น ทรง เจริ ญอานาปานสติ คือ การกาหนดลมหายใจเข้าออกจนได้บรรลุปฐมฌา


การบาเพ็ญเพียรทางจิต

พระองค์ทรงบาเพ็ญเพียรทางจิตแทนทางกาย เริ่ มเสวยอาหาร ปัญจวัคคียเ์ ข้าใจ ผิดว่าพระองค์ทรงละความพยายามที่จะตรัสรู ้ จึงพากันหนีเข้าป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน พระองค์ทรงบาเพ็ญสมถภาวนา แล้วคิดหาเหตุและผลจนได้รู้ชดั แจ้งถึงความจริ งอย่างยิง่ ๔ ประการ ได้แก่“อริยสั จ ๔” ซึ่งเป็ นหลักของการหลุดพ้นจากความทุกข์ท้ งั ปวง และได้ ตรัสรู ้เป็ นพระพุทธเจ้าจนทาให้ตรัสรู ้ธรรม ใช้เวลาปฏิบตั ิถึง ๖ ปี เมื่อพระชนมายุ๓๕ พรรษา

บาเพ็ญสมถภาวนา

ประกาศศาสนา

เสด็จปรินิพพาน


ตรัสรู้

ขณะมีพระชนมายุได้ 35 พรรษา ในวันที่พระองค์ตรัสรู ้ นางสุ ชาดาได้ถวายข้าว มธุปายาส(หุงด้วยนม) ใต้ตน้ ไทร เมื่อเสวยเสร็จแล้วทรงลอยถาดทองในแม่น้ าเนรัญชรา ทรงอธิษฐานเสี่ ยงพระบารมีวา่ ... “ถ้าอาตมาจะได้ตรัสแก่พระปรมาภิเษกสัมโพธิญาณ แล้ว ขอให้ถาดนี้จงลอยทวนกระแสน้ าขึ้นไป ” ถาดทองนั้นลอยทวนกระแสน้ าขึ้นไป ๑ เส้น แล้วก็จมลงตรงนาคภพพิมานแห่งพญากาฬนาคราช พระองค์ทรงโสมนัสและแน่ พระทัยว่าจะได้ตรัสรู ้ เป็ นพระสัพพัญญูสัมพุทธเจ้า โดยหาความสงสัยมิได้ในเวลาเย็น โสตถิยะให้ถวายหญ้าคา 8 กามือ ปูลาดเป็ นอาสนะ ณ โคนใต้ตน้ โพธิ ตาบลอุรุเวลาเสนา นิคม ริ มฝั่งแม่น้ าเนรัญชรา (ปัจจุบนั คือ ต.พุทธคยา ประเทศอินเดีย)ทรงตั้งพระทัยแน่ว แน่วา่ จะบรรลุโพธิญาณ ประทับหันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออกทรงบรรลุรูปฌาณ ทั้ง 4 ชั้น แล้วใช้สติปัญญาพิจารณาจนเกิดความรู ้แจ้ง คือ 1.) เวลาปฐมยาม ทรงได้ปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ ความรู ้เป็ นเหตุให้ระลึกชาติ ได้ 2.) เวลามัชฌิมยาม ทรงได้จุตูปปาตญาณ(ทิพยจักษุญาณ)คือรู ้เรื่ องเกิด-ตายของ สัตว์ท้ งั หลายว่า เป็ นไปตามกรรมที่ตนกระทาไว้


3.) เวลาปัจฉิมยาม ทรงได้ อาสวักขยญาณ คือ ความรู ้ที่ทาให้สิ้นอาสวะหรื อ กิเลส หมายถึง ตรัสรู ้อริ ยสัจ4 อาสวักขยญาณ ที่ทรงได้ทาให้ทรงพิจารณาถึงขันธ์ 5 และใช่แห่งความเป็ นเหตุที่ เรี ยกว่า ปฏิจจสมุปบาท อันเป็ นต้นทางให้เขาถึงอริ ยสัจ 4 เมื่อพระองค์ทรงรู ้เห็นแล้ว จึงละอุปาทานและตรัสรู ้เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

แสดงปฐมมเทศนา

หลังจากที่ตรัสรู ้แล้ว ได้พิจารณาธรรมที่พระองค์ตรัสรู ้เป็ นเวลา 7 สัปดาห์ ทรงเห็นว่าพระธรรมที่พระองค์ทรงบรรลุน้ นั มีความละเอียดอ่อน สุ ขมุ คัมภีรภาพ ยาก ต่อบุคคลจะรู ้ เข้าใจและปฏิบตั ิได้ ทรงเกิดความท้อพระทัยว่าจะไม่แสดงธรรมโปรด มหาชน ต่อมาท่านได้ทรงพิจารณาอย่างลึกซึ้ง แล้วทรงเห็นว่าบุคคลในโลกนี้มีหลาย จาพวก บางพวกสอนได้ บางพวกสอนไม่ได้ เปรี ยบเสมือนบัว ๔ เหล่า ดังนั้นแล้วจึงดาริ ที่จะแสดงธรรมเพื่อมวลมนุษยชาติต่อไป


การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อมาพระพุทธเจ้าได้เทศน์พระธรรมเทศนาโปรดแก่ยสกุลบุตร รวมทั้งเพื่อนของยสกุล บุตร จนได้สาเร็จเป็ นพระอรหันต์ท้ งั หมด รวม 60 รู ป พระพุทธเจ้าทรงมีพระราชประสงค์จะให้มนุษย์โลกพ้นทุกข์ พ้นกิเลส จึงตรัสเรี ยก สาวกทั้ง 60 รู ป มาประชุมกัน และตรัสให้พระสาวก 60 รู ป จาริ กแยกย้ายกันเดินทางไป ประกาศศาสนา 60 แห่ง โดยลาพัง ในเส้นทางที่ไม่ซ้ ากัน เพื่อให้สามารถเผยแผ่ พระพุทธศาสนาได้ในหลายพื้นที่อย่างครอบคลุม ส่ วนพระองค์เองได้เสด็จไปแสดง ธรรม ณ ตาบลอุรุเวลา เสนานิคม หลังจากสาวกได้เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในพื้นที่ต่างๆ ทาให้มีผู ้ เลื่อมใสพระพทุธศาสนาเป็ นจานวนมาก พระองค์จึงทรงอนุญาตให้สาวกสามารถ ดาเนินการบวชได้ โดยใช้วธิ ีการ "ติสรณคมนูปสัมปทา" คือ การปฏิญาณตนเป็ นผูถ้ ึง พระรัตนตรัย พระพุทธศาสนาจึงหยัง่ รากฝังลึกและแพร่ หลายในดินแดนแห่งนั้นเป็ นต้น มา


เสด็จดับขันธ์ ปรินิพพาน

พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จโปรดสัตว์และแสดงพระธรรมเทศนา ตลอด ระยะเวลา 45 พรรษา ทรงสดับว่า อีก 3 เดือนข้างหน้าจะปริ นิพพาน จึงได้ทรงปลงอายุ สังขาร ขณะนั้นพระองค์ได้ประทับจาพรรษา ณ เวฬุคาม ใกล้เมืองเวลาสี แคว้นวัชชี โดย ก่อนเสด็จดับขันธ์ปริ นิพพาน 1 วัน พระองค์ได้เสวยสุ กรมัททวะที่นายจุนทะทาถวาย แต่ เกิดอาพาธลง ทาให้พระอานนท์โกรธ แต่พระองค์ตรัสว่า "บิณฑบาตที่มีอานิสงส์ที่สุด มี 2 ประการ คือ เมื่อตถาคต (พุทธองค์) เสวยบิณฑบาตแล้วตรัสรู ้ และปริ นิพพาน" และมี พระดารัสว่า "โย โว อานนท ธมม จ วินโย มยา เทสิ โต ปญญตโต โส โว มมจ จเยน สตถา" อันแปลว่า "ดูก่อนอานนท์ ธรรมและวินยั อันที่เราแสดงแล้ว บัญญัติแล้ว แก่เธอทั้งหลาย ธรรมวินยั นั้น จักเป็ นศาสดาของเธอทั้งหลาย เมื่อเราล่วงลับไปแล้ว" พระพุทธเจ้าทรงประชวรหนัก แต่ทรงอดกลั้นมุ่งหน้าไปยังเมืองกุสินารา ประทับ ณ ป่ าสาละ เพื่อเสด็จดับขันธุ์ปริ นิพพาน โดยก่อนที่จะเสด็จดับขันธ์ปริ นิพพานนั้น พระองค์ได้อุปสมบทแก่พระสุ ภทั ทะปริ พาชก ซึ่งถือได้วา่ "พระสุ ภภัททะ" คือสาวก องค์สุดท้ายที่พระพุทธองค์ทรงบวชให้ ในท่ามกลางคณะสงฆ์ท้ งั ที่เป็ นพระอรหันต์ และ ปุถุชนจากแคว้นต่างๆ รวมทั้งเทวดา ที่มารวมตัวกันในวันนี้


ในครานั้นพระองค์ทรงมีปัจฉิมโอวาทว่า "ดูก่อนภิกษุท้ งั หลาย เราขอบอกเธอ ทั้งหลาย สังขารทั้งปวงมีความเสื่ อมสลายไปเป็ นธรรมดา พวกเธอจึงทาประโยชน์ตนเอง และประโยชน์ของผูอ้ ื่นให้สมบูรณ์ดว้ ยความไม่ประมาทเถิด" (อปปมาเทน สมปาเทต) จากนั้นได้เสด็จดับขันธ์ปริ นิพพาน ใต้ตน้ สาละ ณ สาลวโนทยาน ของเหล่ามัล ลกษัตริ ย ์ เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 รวมพระชนม์ 80 พรรษา และวันนี้ถือเป็ นการเริ่ มต้นของพุทธศักราช


แบบทดสอบ เรื่ องพุทธประวัติ ๑. พุทธประวัติกล่าวถึงเรื่ องอะไร ก. ความเป็ นไปของสาวก ข. ความเป็ นไปของนักบวช ค. ความเป็ นไปของพุทธบริ ษทั ๔ ง. ความเป็ นไปของพระพุทธเจ้า ๒. สถานที่ประสู ติของเจ้าชายสิ ทธัตถะ ปัจจุบนั คือประเทศอะไร ก. เนปาล ข. อินเดีย ค. ศรี ลงั กา ง. ปากีสถาน ๓. คาว่า”สิ ทธัตถะ” มีความหมายว่าอย่างไร ก. ผูม้ ีความรู ้ ข. ผูม้ ีความประพฤติดี ค. ผูม้ ีความต้องการสาเร็ จ ง. ผูม้ ีโภคะ ๔. คนแก่ คนเจ็บ และคนตาย เป็ นความหมายที่บ่งบอกถึงเรื่ องใด ก. เป็ นสิ่ งที่เป็ นไปโดยธรรมชาติ ไม่มีใครหลุดพ้น ข. เป็ นสิ่ งที่หลีกเลี่ยงได้ ค. เป็ นสิ่ งที่น่าเบื่อหน่าย ไม่อยากให้เกิดขึ้น ง. เป็ นสิ่ งที่เราต้องระมัดระวัง ไม่ให้เกิดขึ้น ๕. เจ้าชายสิ ทธัตถะเสด็จออกบวช ด้วยเหตุผลใด ก. เพราะไม่ตอ้ งการเป็ นคนแก่ คนเจ็บ และคนตาย ข. เพราะต้องการหนีจากสภาพของคนแก่ คนเจ็บ และคนตาย ค. เพราะต้องการคงสภาพของวัยหนุ่มตลอดไป ง. เพราะต้องการแสวงหาทางพ้นทุกข์


๖. นักเรี ยนได้ตวั อย่างจากการบาเพ็ญทุกรกิริยาไปใช้ในการ เรี ยนในข้อใดบ้าง ก. การทรมาน การอดอาหาร การแสวงหาทางหลุดพ้น ข. การทดลอง ความอดทน ความเพียร ค. การแสวงหาความสุ ข การเสี ยสละ ง. การบาเพ็ญกุศล การแสวงหาความสงบ ๗. ข้อใดไม่ ใช่ หลักการแสวงหาความรู ้ของพระพุทธเจ้า ก. ทรงเชื่อทุกอย่างที่อาจารย์สอน ข. ทรงทดลองการบาเพ็ญเพียร ค. ทรงคิดพิจารณาไตร่ ตรอง ง. ทรงศึกษาหาความรู ้จากสานักอาจารย์ ๘. ทาไมพระเจ้าสุ ทโธทนะ จึงทรงปรนเปรอความสุ ขทุกอย่างแก่เจ้าชายสิ ทธัตถะ ก. เพราะพระองค์รักเจ้าชายมากอยากให้เจ้าชายมีความสุ ขอย่างแท้จริ ง ข. เพราะต้องการให้เจ้าชายทรงครองบ้านเมืองต่อจากพระองค์ ค. เพราะเป็ นความประสงค์ของเจ้าชายสิ ทธัตถะ ง. เพราะต้องการให้เจ้าชายได้รับความสุ ขจากทางโลกเพื่อให้ลืมการออกผนวช ๙. พระพุทธเจ้าตรัสรู ้หลักธรรมในข้อใด ก. อริ ยสัจ ๔ ข. โลกธรรม ๘ ค. อิทธิบาท ๔ ง. โอวาทปาฏิโมกข์ ๑๐. นักเรี ยนควรนาคุณธรรมข้อใดของพระพุทธเจ้ามาเป็ นแบบอย่างในการทางานให้ บรรลุความสาเร็จ ก. มีความเสี ยสละและความอดทน ข. ใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน ใช้สติปัญญาในการแก้ปัญหา ค. มีน้ าใจและความเพียรพยายาม ง. ถูกทุกข้อ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.