ฉบับรวมเลม ปท่ี 16 พ.ศ.2564
ฉบับรวมเลม ปท่ี 16 พ.ศ.2564
ราชาภิเษกเกื้อ พสุเอื้อสยามมินทร์ เอกองค์พระภูมินทร์ รวิรุ่งสิเรืองรอง เดชเดชะสมปอง สิริผองพสกไทย แซ่ซ้องถวายชัย ปิติทั่วสิเขตคาม 1
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
2
3
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
กระบวนการยุติธรรมเป็นคำ�ที่สำ�คัญและมีความหมายมาก แต่คนส่วนใหญ่ยังมีความรู้สึกว่าเป็นเรื่องที่ห่างไกลจากการ ดำ�เนินชีวติ ตามปกติของผูค้ นโดยทัว่ ไป จึงไม่ใคร่ให้ความสำ�คัญและไม่ใคร่ให้ความสนใจ ทีจ่ ริงคำ�ว่ากระบวนการยุตธิ รรมเป็น คำ�ที่มีความหมายลึกซึ้งและเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วันของคนไทยทุกคน กระบวนการยุติธรรมหมายถึง การอำ�นวยความยุติธรรมให้เกิดขึ้นในสังคมที่พวกเราทุกคนอยู่ร่วมกันในทุกภาคส่วน ปัญหาของสังคมเกือบทุกด้านมีที่มาจากปัญหาความไม่สามารถในการอำ�นวยความยุติธรรมให้เกิดขึ้นอย่างทั่วถึงและ เท่าเทียมกัน การแก้ไขปัญหาเหล่านี้ จึงเป็นภาระของผูเ้ กีย่ วข้องทุกฝ่าย จะต้องร่วมกันแสวงหาแนวทาง ความคิด ในการแก้ไขปัญหา อย่างรอบด้าน และเป็นองค์รวม เพื่อให้ทุกส่วนตระหนักและเข้าใจ ตราบใดที่กระบวนการยุติธรรมไม่สามารถดำ�รงความยุติธรรมไว้ได้ ตราบนั้นผลกระทบจะยังเกิดขึ้นกับประชาชน จะ ไม่มีวันลดน้อยลงได้ จึงเห็นได้วา่ กระบวนการยุตธิ รรมไม่ใช่เรือ่ งไกลตัว แต่เป็นเรือ่ งทีท่ กุ คนพึงทราบ และมีความเข้าใจว่ากระบวนการยุตธิ รรม เป็นกระบวนการที่จะนำ�ไปสู่การสร้างความเป็นธรรมในสังคมได้อย่างแท้จริง ศูนย์ศกึ ษาวิจยั และพัฒนากระบวนการยุตธิ รรมไทย แม้จะเป็นองค์กรอิสระทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ได้ไม่นานนัก แต่มคี วามมุง่ มัน่ และตัง้ ใจจริงทีจ่ ะเข้ามามีสว่ นในการเสริมสร้างกลไกกระบวนการยุตธิ รรมในลักษณะคูข่ นานไปกับสังคม นับว่าเป็น จุดริเริม่ ทีจ่ ะเกิดประโยชน์อย่างยิง่ หากในอนาคตองค์กรทีม่ ผี ทู้ รงคุณวุฒหิ ลายสาขาอาชีพได้สมัครใจร่วมกันดำ�เนิน งานนี้ ก็จะสามารถพัฒนาด้านศักยภาพในการดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ให้เจริญก้าวหน้า และตอบสนองต่อการร่วมมือ ร่วมใจ ช่วยกันแก้ปญ ั หาความไม่เป็นธรรมในสังคมได้อย่างเป็นรูปธรรม ทีส่ �ำ คัญมากๆ คือ ศูนย์ฯ นีจ้ ะต้องมุง่ มัน่ และแน่วแน่ในวัตถุประสงค์ทตี่ งั้ ไว้อย่างมัน่ คง เพือ่ ก่อให้เกิดศรัทธา เชือ่ ถือ เป็น ที่สนใจและยอมรับของคนไทยทั้งมวล กระบวนการยุติธรรมมีหลายส่วนของรัฐรวมกันเข้าเป็นกระบวน แต่ละส่วนตั้งแต่ต้นจนสุดท้าย จะต้องดำ�รงความเป็น ธรรมและความยุติธรรมโดยพร้อมเพรียงกัน ไม่เช่นนั้นทั้งกระบวนก็จะไม่ยุติธรรม มีนักกฎหมายจำ�นวนไม่น้อยพูดว่า ในบางเรื่องกระบวนการยุติธรรมไม่สามารถจะดำ�รงความยุติธรรมไว้ได้ เพราะ กฎหมายไม่เป็นธรรม ผมจำ�ได้ว่า ผมเคยได้ยินพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชกระแสรับสั่งว่า กฎหมาย บางฉบับของเราไม่เป็นธรรม ศูนย์ฯ นี้น่าจะให้ความสนใจในเรื่องนี้ด้วย ณ โอกาสนี้ผมใคร่ขออำ�นวยพรให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องของศูนย์ศึกษาฯ ประสบผลสำ�เร็จในด้านการจัดงานเปิดตัวใน ครั้งนี้ และมีความเจริญก้าวหน้าในการดำ�เนินงานยิ่งๆ ขึ้นไปในอนาคต * ถอดเทปคำ�กล่าวอำ�นวยพรโดย ดร. อมร วาณิชวิวัฒน์ กรรมการผู้อำ�นวยการ ศูนย์ศึกษาวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
4
ศ ธานินทร์ กรัยวิเชียร นายพลากร สุวรรณรัฐ ท่านผู้หญิง บุตรี วีระไวทยะ ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล
อดีตองคมนตรี องคมนตรี ประจำ�สำ�นักพระราชวังพิเศษ เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา
คุณเกียรติชัย พงษ์พาณิชย์ อดีตที่ปรึกษาหนังสือพิมพ์ข่าวสด “ในเครือมติชน“ รศ.ดร.งามพิศ สัตย์สงวน อดีตหัวหน้าภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณจริยา อัศวรักษ์ อดีตผู้อำ�นวยการสำ�นักเทคโนโลยีและข้อมูลสารสนเทศ สำ�นักงานศาลรัฐธรรมนูญ ดร. ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ อดีตกรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ (ดีดี) บริษัท การบินไทย จำ�กัด (มหาชน) รศ.ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ อดีตคณบดีคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ.ดร.ปาริชาติ สถาปิตานนท์ คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คุณประเสริฐ บุญสัมพันธ์ อดีตสมาชิกสภานิตบิ ญั ญัตแิ ห่งชาติ และอดีตประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การ ใหญ่บริษทั ปตท. จำ�กัด (มหาชน) คุณปรีชา วัชราภัย อดีตเลขาธิการสำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) และสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ คุณพงศ์โพยม วาศภูติ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย และอดีตสมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ พล.อ.พิศณุ อุไรเลิศ อดีตเจ้ากรมเสมียนตรา กองทัพบก คุณมาริสา รัฐปัตย์ ผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ คุณรัศมี วิศทเวทย์ อดีตเลขาธิการสำ�นักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค (สคบ.) พล.ต.อ.ดร.วัชรพล ประสารราชกิจ ประธานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช) คุณวัชรี ไพศาลเจริญ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์การเงินและระบบบัญชี พล.ท.นายแพทย์ สหชาติ พิพิธกุล อดีตผู้อำ�นวยการศูนย์อำ�นวยการแพทย์พระมงกุฎเกล้า พันตรีอภิเษก มณเฑียรวิเชียรฉาย อาจารย์ประจำ�ภาควิชาประวัตศิ าสตร์โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร) Professor Anthony Heath อดีตคณบดีคณะสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด Mr. Kevin Dempsey อดีตอาจารย์ประจำ�สถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย * เรียงรายชื่อตามลำ�ดับอักษรและภาษาไทยอังกฤษ โดยผู้ทรงคุณวุฒิจะมีบทบาทสำ�คัญในการให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�ในเรื่องที่ทางกรรมการ ของศูนย์ศึกษาฯ เรียนหารือเพื่อเป็นวิทยาทาน รวมทั้งให้ความช่วยเหลือทางวิชาการในลักษณะ peer review ช่วยประเมินคุณค่าเกี่ยวกับ บทความ ข้อเขียนของ ผู้ให้ความสนใจที่ประสงค์จะนำ�ข้อเขียนลงตีพิมพ์ในวารสาร “ยุติธรรมคู่ขนาน” ในกรณีที่ข้อเขียนนั้นๆ สอดคล้อง กับความรู้ความ ชำ�นาญโดยตรงของผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละท่าน หากไม่ตรงหรือไม่เกี่ยวข้องทางศูนย์ศึกษาฯ จึงจะติดต่อประสานงานกับ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่เกี่ยวข้องเป็นลำ�ดับถัดไป 5
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ดร. อมร วาณิชวิวัฒน์
ปริญญาเอกสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด, D.Phil. (Oxon) ร.บ. (จุฬาฯ), ร.ม. (ธรรมศาสตร์),M.S. (Criminology & Criminal Justice) FSU, Cert. in Building a Business, SAïD Business School (Oxford)
ผศ.นายแพทย์ ตุลย์ สิทธิสมวงศ์ แพทยศาสตร์บัญฑิต จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
ดร. จิรวรรณ เดชานิพนธ์
ร.บ. (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Diplome d Etudes approfondies University d Aix-Marseille III, France, Docteur de Troisime Cycle University de Droit, d Economie et des Sciences d Aix-Marseille, France.
รศ.ดร. พิษณุ เสงี่ยมพงษ์
B.A. (International Studies), The American University MPA (Public Policy and Management), The Ohio State University Ph.D. (Public Policy Analysis and Administration), ฉบับรวมเล่ ม ปีที่ 16 พ.ศ.Saint 2564Louis University
ศ.ดร. ธวัชชัย ตันฑุลานิ
Ph.D. (Chemistry), Texas A&M University B.Eng. (Mining Engineering), Chiang Mai University
ผศ ดร นพพล วิทย์วรพงษ์
P.P.E. (University of Oxford) M. Phil. (Economic Development) University of Bath Ph.D. in Economics (University of North Carolina, Chapel Hill) 6
ผศ.ดร. ปารีณา ศรีวนิชย์ (ศุภจริยาวัตร) น.บ. (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จุฬา) LL.m. (Pennsylvania) LL.M. (Harvard) S.J.D. (Wisconsin)
คุณเขตขัณฑ์ ดำ�รงไทย “ถึงแก่กรรม” พณ.บ. (จุฬาฯ), M.S. (CIS) ABAC, M.B.A. (Griffith University, Brisbane)
7
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
คณะที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ โดยมี อดีตประธานองคมนตรี และรัฐบุรุษ เป็นอดีตประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ จากหลากหลายอาชีพ
ที่ปรึกษาระบบ งานคอมพิวเตอร์ และ สื่ออินเตอร์เน็ต
กรรมการผู้อำ�นวยการฯ อร.อมร วาณิชวิวัฒน์
กรรมการฯ ผศ.นพ.ตุลย์ สิทธิสมวงศ์
กรรมการฯ ดร.จิรวรรณ เดชานิพนธ์
กรรมการฯ รศ.ดร.พิษณุ เสงี่ยมพงษ์
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
กรรมการฯ ศ.ดร.ธวัชชัย ตันทุลานิ
กรรมการฯ อาจารย์นพพล วิทย์วรพงษ์
8
กรรมการฯ ผศ.ดร.ปารีณา ศรีวนิชย์ (ศุกจริยาวัตร)
กรรมการฯ คุณเขตขัณฑ์ ดำ�รงไทย (ถึงแก่กรรม)
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
บรรณาธิการ : ดร. อมร วาณิชวิวัฒน์ กรรมการผู้อำ�นวยการศูนย์ศึกษาวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย ISSN
: 1905 - 2944
ภาพปกและในเล่ม : ภาพพระราชทานโปรดเกล้าให้ประชาชนนำ�ไปเผยแพร่ได้ พิมพ์ครั้งแรก : ปี พ.ศ. 2564 จำ�นวน 2,000 ฉบับ โดยศูนย์ศึกษาวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย อนุสนธิ : ข้ อ เขี ย นและสิ่ ง พิ ม พ์ ทั้ ง หมดในวารสารยุ ติ ธ รรมคู่ ข นาน เป็ น การแสดงทั ศ นคติ แ ละ วิ สัย ทั ศ น์ ส่ว นบุ ค คล มิ ไ ด้ เ ป็ น การสะท้ อ นจุ ด ยื น หรื อ เจตนารมณ์ ใ ดๆ ของศู น ย์ ศึก ษา วิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย ลิขสิทธิ์ : ข้ อ เขี ย นและสิ่ ง พิ ม พ์ ทั้ ง หมดในวารสารยุ ติ ธ รรมคู่ ข นานได้ รั บ ความคุ้ ม ครองจาก กฎหมายลิ ข สิ ท ธิ์ และเคยดำ � เนิ น การจั ด พิ ม พ์ ภ ายใต้ พ ระราชบั ญ ญั ติ ก ารพิ ม พ์ พุ ท ธศั ก ราช 2484(ซึ่ง ได้ ย กเลิ ก ไปแล้ ว ) จึ ง ไม่ บัง คั บ จดแจ้ ง การพิ ม พ์ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ จดแจ้ ง การพิ ม พ์ พุ ท ธศั ก ราช 2550 การนำ � ไปเผยแพร่ เ พื่ อ เป็ น วิ ท ยาทาน ทางศู น ย์ ศึ ก ษาวิ จั ย ฯ มี ค วามยิ น ดี แ ละพร้ อ มให้ ก ารสนั บ สนุ น แต่ ห ากเป็ น การดำ � เนิ น การใดๆ ในเชิ ง พาณิ ช ย์ ผู้ดำ� เนิ น การจะต้ อ งแจ้ ง ให้ บ รรณาธิ ก ารของศู น ย์ ศึก ษาวิ จัย ฯ รั บ ทราบ เป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร เพื่ อ พิ จ ารณาให้ อ นุ ญ าตภายใต้ เ งื่ อ นไขข้ อ ตกลงและสั ญ ญา ที่เป็นธรรมก่อนจึงจะดำ�เนินการได้ตามกฎหมาย All Rights Reserved. This publication is protected under Copyright Law. 9 ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
วารสาร “ยุตธิ รรมคูข่ นาน (Thai Justice Watch)” เป็นวารสารราย 6 เดือน มีวตั ถุประสงค์ส�ำ คัญใน การเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารทางวิชาการทีเ่ กีย่ วข้องกับความเป็นธรรมทางสังคม (Social Justice) ในเชิงสห วิทยาการ ด้วยความเป็นกลางตรงไปตรงมาและผ่านการคัดกรองการตีพมิ พ์โดยคณะผูท้ รงคุณวุฒทิ ม่ี คี วาม รูค้ วามชำ�นาญเฉพาะด้าน การพิจารณาตีพิมพ์บทความข้อเขียนต่างๆ ในวารสารยุติธรรมคู่ขนานเปิดกว้างให้ผู้สนใจโดยทั่วไป สามารถส่งบทความข้อเขียนของท่านได้โดยตรงผ่านเว็ปไซต์ของศูนย์ศึกษาวิจัย www.thaijustice.org, www.thaijustice.net หรือ email: a.wanichwiwatana@gmail.com ได้ตลอดเวลา ในรูปแบบการ เขียนเชิงวิชาการและระบบการอ้างอิง (references) ทีเ่ ป็นมาตรฐานสากลทัว่ ไป ทัง้ นีห้ ากท่านผูใ้ ดประสงค์จะบริจาคหรือให้การสนับสนุนการดำ�เนินงานของศูนย์ศกึ ษาวิจยั ฯ สามารถโอน เงินผ่านบัญชีธนาคารในนาม “คณะบุคคลศูนย์ศกึ ษาวิจยั และพัฒนากระบวนการยุตธิ รรมไทย” ธนาคาร ไทยพาณิชย์ สาขาสภากาชาดไทย บัญชีออมทรัพย์เลขที่ 045-2-98700-2 ซึง่ ในนามของศูนย์ศกึ ษาวิจยั ฯ ขอให้สตั ยาบันทีจ่ ะดำ�เนินกิจกรรมทุกประการบนพืน้ ฐานแห่งประโยชน์ของสังคมส่วนรวมเพื่อความเป็นธรรม ของสังคมเป็นที่ตั้ง
ดร. อมร วาณิชวิวฒ ั น์ กรรมการผูอ้ �ำ นวยการ ศูนย์ศกึ ษาวิจยั และพัฒนากระบวนการยุตธิ รรมไทย บรรณาธิการ
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
10
ในนามของกองบรรณาธิการ และคณะผูจ้ ดั ท�ำวารสาร “ยุตธิ รรมคูข่ นาน” ต้องขอบพระคุณ คุณพงศธร ทวีสนิ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และประธานเจ้าหน้าทีผ่ บู้ ริหาร รวมทัง้ บริษทั ปตท ผลิตและ ส�ำรวจ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นอย่างยิง่ ในการให้การสนับสนุนการจัดพิมพ์วารสาร “ยุตธิ รรมคูข่ นาน” ฉบับที่ 25 ฉบับปัจจุบนั นีแ้ ละการสนับสนุนการจัดพิมพ์วารสารทุกฉบับทีผ่ า่ นมา อีกทัง้ กิจกรรมของศูนย์ ศึกษาวิจยั และพัฒนากระบวนยุตธิ รรมไทยอย่างต่อเนือ่ ง เนือ้ หาส�ำคัญของการพิมพ์ฉบับนีท้ างคณะผูจ้ ดั ท�ำฯ ได้น�ำพระบรมฉายาลักษณ์ของ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง เพือ่ เป็นการเฉลิมพระเกียรติ เนือ่ งในพระราชวโรกาสทรงมีพระชนมายุครบ 90 พรรษา ในวันที่ 12 สิงหาคม 2564 ซึง่ เป็นภาพมหามงคล อันทรงคุณค่า อย่างไรก็ดที างคณะผูจ้ ดั ท�ำและกองบรรณาธิการต้องขออภัยเป็นอย่างยิง่ ส�ำหรับความล่าช้าอัน เนือ่ งมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิท 19 ทีม่ ผี ลกระทบกับสภาวะเศรษฐกิจสังคมของประเทศและ ประชาชนในวงกว้าง ด้วยเป็นความประสงค์ของคณะผูด้ �ำเนินการและฝ่ายบริหารของศูนย์ศกึ ษาวิจยั ฯ ที่ ต้องการแสดงให้เห็นว่าองค์กรของเราไม่มงุ่ แสวงหาผลประโยชน์หรือการหารายได้ใดๆ แม้วา่ จะมีศกั ยภาพ ทีจ่ ะกระท�ำได้ จึงขอรับการสนับสนุนเพียงเฉพาะบริษทั ปตท สผ จ�ำกัด (มหาชน) ในฐานะ sole sponsor เพียงรายเดียว เพือ่ ให้ได้รบั ความไว้วางใจจากมหาชนรวมทัง้ ผูใ้ ห้การสนับสนุนทุกฝ่ายดังได้ให้การสนับสนุน มาโดยตลอด
11
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
12
หน้า
บทที่ 1 ประมวลภาพพระบรมฉายาลักษณ์ สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพนั ปีหลวง บทที่ 2 แด่ “ทีวีไทย” ด้วยรักและห่วงใย
1 73
บทความโดย อาจารย์ ดร อมร วาณิชวิวัฒน์
13
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
14
ประมวลภาพพระบรมฉายาลักษณ์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
15
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
16
1
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
2
3
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
4
5
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
6
7
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
8
9
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
10
11
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
12
13
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
14
15
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
16
17
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
18
19
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
20
21
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
22
23
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
24
25
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
26
27
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
28
29
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
30
31
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
32
33
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
34
35
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
36
37
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
38
39
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
40
41
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
42
43
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
44
45
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
46
47
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
48
49
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
50
51
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
52
53
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
54
55
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
56
57
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
58
59
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
60
61
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
62
63
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
64
65
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
66
67
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
68
69
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
70
71
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
72
แด่ “ทีวีไทย” ด้วยรักและห่วงใย บทความโดย อาจารย์ ดร อมร วาณิชวิวัฒน์
73
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
74
แด่ “ทีวีไทย” ด้วยรักและห่วงใย บทความโดย อาจารย์ ดร อมร วาณิชวิวัฒน์
ผมเขียนถึง “ทีวไี ทย” ด้วยความสมัครรักใคร่โดยแท้ ไม่มอี คติความอยากได้อยากเด่น ดังอะไรมาเจือปน หลายท่านอาจไม่ทราบว่า ย่างก้าวการเข้าสูว่ งการทีวขี องผม เริม่ มาจากทีวี ไทย ที่อดีต คือ “ไอทีวี” เป็นชื่อซ้ำ�กับทีวีช่องหนึ่งของประเทศอังกฤษ นัยว่าเป็น ทีวีเสรี ไม่มี ใครมาก้าวก่าย รูปแบบการทำ�รายการ ไอทีวี ในอดีต พลิกโฉมการทำ�รายการทีวเี มืองไทย คือ เน้นเนื้อหาหรือคอนเท้นท์เข้มข้น ละคร รายการตลกไม่เป็นสาระเอาไปไกลๆ เน้นไปที่ข้อมูล ข่าวสารสาระน่ารู้ ทำ�ให้ผมเกิดความรูส้ กึ ว่าองค์กรนีน้ า่ จะเป็นทีพ่ งึ่ ทีห่ วังของสังคมไทยได้ จึง ตัดสินใจไปสมัครประกวดผูน้ �ำ เสนอข่าวดีเด่น จำ�ได้วา่ มี “บุญยอด สุขถิน่ ไทย” เป็นกรรมการ คนหนึ่ง และได้พบรู้จักกับ “สายสวรรค์ ขยันยิ่ง” ผู้ชนะเลิศฝ่ายหญิง ส่วนผมได้รางวัลเกือบ ชนะเลิศมาครอง เวลานั้น คุณ “กิตติ สิงหาปัด” ให้โอกาสอยากให้ผมเข้ามาทำ�งานกับไอที วี ก่อนเกิดเหตุการณ์จอดำ�ไม่นาน แต่ติดด้วยข้อจำ�กัดหลายอย่าง ผมเลยเลือกไปทำ�หน้าที่ ผู้ประกาศข่าวของช่อง 3 ได้เคยทำ�งานร่วมกับ คนดังหลายคนของสถานีรวมทั้ง ช่วงเตรียม เป็นผู้ประกาศ ได้มี กาละแมร์ “พัชรศรี เบญจมาศ” ที่เวลานั้นกำ�ลังจะผันตัวเป็นผู้ประกาศ แต่ยังเป็นนิสิตนิเทศศาสตร์ จุฬาฯ ติดรถผมกลับมายังมหาวิทยาลัยในบางวัน ไม่นึกว่าจะดัง เป็นพลุด้วยข้อเขียนบาดหัวใจลูกผู้ชายทั้งหลายและมาทราบว่าร่ำ�รวยล้นฟ้าเมื่อก่อร่างสร้าง ธุรกิจเป็นของตัวเองขึ้น นัน่ คือทีม่ าโดยย่อของการก้าวสูว่ งการทีวี ย้ายไปย้ายมาทัง้ ฟรีทวี แี ละเคเบิลทีวี กระทัง่ มาลงตัวอยู่ช่อง 7 สี หรือ ช่อง 7 เอชดี เป็นเวลาร่วมสิบปี ก่อนข้ามฝั่งไปทำ�งานให้เอ็นบีทีอยู่ ในปัจจุบัน ถึงกระนั้นความรู้สึกดีดีและความปรารถนาให้ ทีวีไทย ที่บางคนอาจเรียกไทยพีบี เอส (ที่ยังเอาคำ�ย่อบางส่วนของโทรทัศน์สาธารณะอเมริกันมาพ่วงไว้) 75
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ให้เป็นทีวเี สรีได้อย่าง บีบซี ี ของอังกฤษ อันเป็นคำ�ตอบต่อคำ�ถามกรรมการสรรหา “กรรมการ บริหารทีวไี ทย” ครัง้ ล่าสุดทีไ่ ด้เข้าไปแสดงวิสยั ทัศน์ราวๆ ห้านาที แม้จะรูว้ า่ โอกาสได้นนั้ น้อย มากแต่กย็ งั คิดจะเข้าไปช่วยเปลีย่ นแปลงองค์กรในฝันให้ได้สกั วัน ครัง้ แรกถูกตีตกไปตัง้ แต่ยนื่ ใบสมัคร คือ เขาตัดชื่อออกไปเลย มี “ว้อยส์ทีวี” เอาไปล้อเลียนเป็นที่ครื้นเครง มาครั้งที่สอง กรรมการสรรหาใช้หลักคัดสรรเข้าไปแทบทุกคนน่าจะมีตดั เรือ่ งลักษณะต้องห้ามหรืออะไรไป สักคนหนึง่ มีคนทีผ่ มรูจ้ กั เป็นกรรมการหลายคน แต่วนั สัมภาษณ์คนเหล่านัน้ ไม่ปรากฏตัวเลย ซึ่งก็ดีเพราะถ้าได้ขึ้นมาผมอาจเป็นหนี้บุญคุณขึ้นมาอีก นั่นคือความสัมพันธ์ในทางดีล้วนๆ ที่ ผมเข้าไปเกี่ยวข้องสัมผัสกับทีวีไทย เป็นไปด้วยความรู้สึกดี ไม่มีความอาฆาตมาดร้าย และย้ำ� เน้นเสมอมาว่า “อยากเห็นทีวไี ทยเป็นมืออาชีพแบบเดียวกับ บีบซี ี ของอังกฤษ” ซึง่ ผมปรารภ กับหลายคนว่า ให้เป็นบีบซี ี อังกฤษ นะ (ไม่ใช่ บีบซี ี ไทย คนละอันกัน) ดีกว่าไปเหมือนกับ “ซี เอ็นเอ็น” ของอเมริกา เพราะช่วงเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ครั้งล่าสุด ต้องเรียนว่า ผม มีทัศนคติไม่ดีนักต่อ “ซีเอ็นเอ็น” อันเนื่องมาจากวิธีการนำ�เสนอข่าวและการทำ�หน้าที่ของ สื่อมวลชนหลายคนในสังกัดสถานีแห่งนั้น ได้แต่คิดว่า ยังดีที่ตัวแบบ “บีบีซี ของอังกฤษ” ยัง คงเป็นดัชนีชี้วัดความเป็นมืออาชีพที่ยังพอกล้อมแกล้มให้ ทีวีไทย ของเรานำ�ไปเป็นตัวแบบ ได้อยู่บ้าง มาวันนี้สิ่งที่ผมกลัวมาก ดูเหมือนกำ�ลังจะเกิดขึ้นกับ “ทีวีไทย” หลายประการ แต่ ความกลัวของผมไม่ใช่เรื่องร้ายแรงใหญ่โตขนาดต้องยุบเลิกสถานีหรือถึงขั้นปรับรื้อองค์กร ประการใดไม่ ผมเห็นว่า สิ่งที่ผมอยากแนะนำ�ให้กับสถานีแห่งนี้เป็นเรื่องที่ผมให้ความสนใจ เป็นความปรารถนาดี อย่าถือเป็นการตำ�หนิติเตียนใดๆ เลย แม้ว่าฝ่ายบริหารจะมีหนังสือ เป็นแถลงการณ์ ออกมาต่อกรณีล่าสุด ความในตอนท้ายของหนังสือที่ผมต้องอ่านหลายรอบ เพราะเหมือนการเขียนอาจเป็นถ้อยคำ�สำ�นวนแบบภาษาต่างประเทศ ด้วยมีบทขยายหลาย บทซ้อนกัน แต่กถ็ อื ว่าความบกพร่องทีเ่ กิดขึน้ ทำ�ให้ทวี ไี ทยต้องมีความรัดกุมและต้องใช้ความ ระมัดระวังรอบคอบในการแก้ปัญหา ผมมีข้อเสนอดังนี้ ประการแรก สือ่ เสรีทผี่ มพบในประสบการณ์ชวี ติ ทัง้ ในและต่างประเทศ ในหลายกรณี ที่เราอยากนำ�บุคคลที่เป็นคู่ขัดแย้งมาร่วมรายการ เราอาจต้องประเมินก่อนว่า สังคมหรือ สาธารณะจะได้ประโยชน์อะไรจากรายการนี้ ถ้าเป็นเรื่องเรตติ้ง ในฐานะทีวีสาธารณะคงต้อง ตัดไป ถ้าเชิญมาได้ฝ่ายเดียว คู่กรณีมาไม่ได้จริงๆ และพิจารณาแล้วจัดไปก็มิได้ก่อประโยชน์ โภชน์ผลอันใดเมื่อเทียบกับการ รายงานข้อเท็จจริงให้สังคมได้ทราบ ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
76
ก็อย่าจัดดีกว่า รายการลักษณะนี้ผมเคยได้รับคำ�แนะนำ�จากบรรณาธิการข่าวที่ทำ�งานร่วม ด้วยแห่งหนีงบอกกับผมว่า สถานีเราจะยกประเด็นนี้ออกไปเลย แต่อาจยังคงรายงานข้อเท็จ จริงเท่านั้น และต้องเป็น “ข้อจริง” ล้วนๆ ความคิดเห็นส่วนตัวจะรักจะชังใคร สำ�หรับผม ต้องไม่มีมาเจือปน ประการที่สอง การเชิญแขกผู้ร่วมรายการมาแสดงความเห็นในระยะหลัง มีเสียง สะท้อนให้ได้ยนิ อยูบ่ า้ งว่า แขกรับเชิญดูจะขาดความเป็นกลาง และถึงแม้จะเชิญมาได้ทกุ ฝ่าย ประเด็นการพูดคุยถกเถียงดูจะโน้มเอียงให้ประโยชน์กบั ฝ่ายหนึง่ ฝ่ายใดกระทัง่ เป็นทีส่ งั เกตได้ ผมไม่ทราบว่าเท็จจริงมากนัก เพราะปกติไม่ได้ดทู วี เี ป็นประจำ�ตามยุคสมัยคนติดโซเชียลมีเดีย เปิดทีวเี ว้นแต่มแี ถลงการณ์ส�ำ คัญ เมือ่ ได้ยนิ ได้ฟงั มา จึงผ่องถ่ายข้อมูลให้ผเู้ กีย่ วข้องได้รบั ทราบ ประการที่สาม ผมเองยังมีคนที่รักที่นับถืออยู่ในหลายส่วนภายในทีวีไทย บางคนเคย ร่วมเป็นกรรมการ คณะทำ�งานต่างๆ ในบางวาระโอกาส แต่ตามความเชือ่ ของผม การทำ�หน้าที่ ของหลายท่านอาจมี “หัวโขน” หลายใบ แต่เมือ่ ท่านมาสวมหมวกของการเป็นมืออาชีพในการ เป็นสือ่ มวลชนใบนีแ้ ล้ว การบริหารองค์กรสือ่ หรือควบคุมนโยบายสือ่ แล้ว หากจะมีการแสดง ความคิดเห็นหรืออาจมีผลชี้นำ�ได้ในบางเรื่อง ผมเห็นเป็นสิ่งพึงงดเว้น โดยเฉพาะเรื่องที่เป็น ความเห็นได้หลายทางในสังคม การดำ�รงตนบนความเป็นกลาง น่าจะเป็นตัวแบบให้สมาชิก ในองค์กรอื่นๆ ได้ถือปฎิบัติตามเป็นแบบอย่าง ต้องเรียนว่าที่เขียนมานี้มิได้ต้องการให้เป็นหนังสือแนะนำ�ตัวไว้สมัครงานหรือแสดง วิสัยทัศน์ล่วงหน้าเพื่อเข้ามาเป็นผู้บริหารของทีวีไทย แต่เป็นสิ่งที่คนเสียภาษีให้กับรัฐและทีวี ไทยเองได้ประโยชน์จากภาษีบางส่วนของรัฐ หากจะรับฟังไว้บ้างคงไม่ว่ากระไรกระมัง
77
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ประวัติส่วนบุคคล
อาจารย์ ดร. อมร วาณิชวิวัฒน์, D.Phil. (Oxford) หมายเลขติดต่อ 081 4895755 Email: a.wanichwiwatana@gmail.com Website: www.doctor-amorn.com www.thaijustice.org กรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ( กรธ ) 2559 กรรมการปฎิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม (ตำ�รวจ)
ประวัติการศึกษา • วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ 2556) ปปร 2560 และ วตท 2560 • ปริญญาเอกสาขาสังคมวิทยา D.Phil. (Sociology) มหาวิทยาลัย อ๊อกซ์ฟอร์ด สหราชอาณาจักร 1998-2004 • ประกาศนียบัตรทางด้านการบริหารจัดการ Certificate in ‘Building a Business’ สถาบันบริหารธุรกิจ ซาอิด แห่งมหาวิทยาลัย อ๊อกซ์ฟอร์ด Oxford SAID Business School, University of Oxford 2003 • ปริญญาโททางด้านอาชญาวิทยาและการบริหารกระบวนการยุติธรรม M.S. (Criminology and Criminal Justice) มหาวิทยาลัยรัฐฟลอริด้า ประเทศสหรัฐอเมริกา School of Criminology and Criminal Justice, The Florida State University, USA 1992-1993 • ปริญญาโททางด้านการบริหารรัฐกิจ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ M.A. (Public Administration) Faculty of Political Science, Thammasat University, Thailand 1990-1997
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
78
• ปริญญาตรี รัฐศาสตร์บัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย B.A. (Political Science) • Faculty of Political Science, Chulalongkorn University, Thailand 1987-1990
ประสบการณ์ความชำ�นาญและงานวิจัยที่อยู่ในความสนใจ :
• การบริหารกระบวนการยุติธรรม • กฎหมายอาญา กฎหมายรัฐธรรมนูญ • การต่อต้านการก่อการร้าย (counter terrorism) และประเด็นว่าด้วยความมั่นคง (national security) • การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ทั้งภาคเอกชนและภาคราชการ • การบริหารงานบุคคล, การฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, การบริหารจัดการผลประโยชน์ และสวัสดิการ, แรงงานสัมพันธ์ • เทคนิคในการเจรจาต่อรองทั้งในยามปกติและแก้ปัญหาวิกฤติ • ทักษะการนำ�เสนอ • การพูดในที่ชุมชนและการเขียนเรียงความ • กลยุทธว่าด้วยสื่อและการสื่อสารมวลชน • การตรวจสอบภายในรวมทั้งการวัดประเมินผลงานและเทคนิคการสืบสวนสอบสวน ผู้กระทำ�ผิด • สังคมวิทยาและการเมืองการปกครอง
กิจกรรมที่ได้ดำ�เนินการในปัจจุบัน : • กรรมการผู้อำ�นวยการศูนย์ศึกษาวิจัยและพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย จัดพิมพ์วารสาร “ยุติธรรมคู่ขนาน” ออกเผยแพร่สู่สาธารณะราย 6 เดือนโดยไม่คิดมูลค่าและ ดำ�เนินงานทางด้านการให้ขอ้ มูลข่าวสารเกีย่ วกับการปรับปรุงกระบวนการยุตธิ รรมในภาพรวม (เว้ปไซต์ของศูนย์ศึกษาวิจัย: www.thaijustice.org) • ผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มปัญญาชนอ๊อกซ์ฟอร์ด ‘Oxford Initiative’: ลักษณะของการดำ�เนินงานเป็นกลุ่มที่ร่วมกันถกเถียงอภิปรายด้วยความเป็นอิสระถึงปัญหา ของโลกและสังคมไทยอย่างรอบด้านโดยการรวมตัวของสมาชิกซึ่งส่วนใหญ่เป็นนักศึกษา มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด และสมาชิกทั่วราชอาณาจักรอังกฤษ 79
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
• เป็นคอลัมน์นิสต์ทั้งประจำ�และเฉพาะกิจให้แก่หนังสือพิมพ์หลายฉบัยด้วยกัน อาทิ เช่น บางกอกโพสต์, หนังสือพิมพ์เดอะเนชั่น, กรุงเทพธุรกิจ, มติชน, แนวหน้า, โลกวันนี้ และ หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ • เป็นสมาชิกสภาวิจัยแห่งชาติ • เป็นสมาชิกสมาคมนักเรียนเก่าสหรัฐอเมริกาในพระบรมราชูปถัมภ์ (AUA). • เป็นสมาชิกสมาคมนักเรียนเก่าอังกฤษในพระบรมราชูปถัมภ์ (OESA) • เป็นสมาชิกสมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย • เป็นสมาชิกชมรมลูกกตัญญู
ประสบการณ์การทำ�งาน : • กรรมการบริหารร้านสหกรณ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยระหว่างปี 1988-1989 • เข้าร่วมการอบรมอภิปรายสัมมนาต่างๆ ในส่วนของการบริหารงานบุคคลรวมทั้งได้รับความรู้ ด้านการบริหารงานบุคคลจากการปฎิบัติงานจริง ในช่วงปี 1990-1991 • หัวหน้างานฝึกอบรมบริษัท ยูนิลีเวอร์ไทย ระหว่างปี 1991-1993 • อดีตข้าราชการฝ่ายวิชาการ กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม ระหว่างปี 1993-1995 • อาจารย์ประจำ�คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ ปี 1995 • ร่วมงานวิจยั ปัญหาการจราจรของภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา นำ�เสนอต่อกระทรวง มหาดไทยในระหว่างปี 1996 -1997 • ผูป้ ระกาศข่าวทางสถานีวทิ ยุและโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 และช่อง 3 ระหว่างปี 1997 - 1998 • คณะทำ�งานว่าด้วยปัญหาฟิมล์กรองแสงรถยนต์ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดย รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงคมนาคม ในปี 2000 • เข้ารับการฝึกอบรมนักเรียนนักศึกษาฝึกงานภาคพิเศษของธนาคารกรุงเทพ รุ่นที่ 7 (SIP 7) ในปี 1987
ประสบการณ์การสอน Teaching Experience (2002-ปัจจุบัน) • ผูบ้ รรยายพิเศษหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาอาชญาวิทยา การบริหารงานยุตธิ รรม และ สังคม คณะสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล • ผุ้ บ รรยายพิ เ ศษในหมวดวิ ช าความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศ จั ด โดยคณะสั ง คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
80
• เป็นผู้บรรยายพิเศษในวิชาอาชญาวิทยา ของคณะสังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • เป็นผู้บรรยายพิเศษในหัวข้ออาชญาวิทยา และหลักรัฐศาสตร์ ณ โรงเรียนนายร้อยตำ�รวจ สามพราน จังหวัดนครปฐม • เป็นผูบ้ รรยายพิเศษว่าด้วยหลักรัฐศาสตร์และสังคมวิทยา ณ วิทยาลัยพยาบาล สภากาชาดไทย • เป็นผู้บรรยายพิเศษว่าด้วย “มนุษย์กับสังคม” ให้แก่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • เป็นผูบ้ รรยายพิเศษเกีย่ วกับ การเมืองและรัฐบาล (Politics and Government) ให้กบั สถาบัน นานาชาติหลายแห่ง • เป็นผู้บรรยายพิเศษให้กับโรงเรียนเสนาธิการทหารบก สถาบันวิชาการทหารชั้นสูง
ความสามารถด้านภาษาและคอมพิวเตอร์:
อ่าน พูด เขียน ดีมาก ในภาษาอังกฤษ พูด ในระดับดีมาก (ภาษาจีน) โปรแกรมสำ�เร็จรูป SPSS, Microsoft Word, Excel, Power Point
รางวัลเชิดชูเกียรติ • นักวิจัยรางวัลขั้นดี ของสภาวิจัยแห่งชาติ (วช) ประจำ�ปี 2560 ในหัวข้อการวิจัย “คดีปกครองที่เกี่ยวเนื่องกับกระบวนการตัดสินใจของคณะรัฐมนตรี” • โล่ห์รางวัลพระราชทานพร้อมจี้เพชร ในฐานะ “ลูกผู้มีความกตัญญูอย่างสูงต่อแม่” ในงาน วันแม่แห่งชาติ 12 สิงหาคม 2549 • โล่ห์ทอง ในการประกวดเรียงความครบรอบการก่อตั้งหอการค้าญี่ปุ่นในกรุงเทพ ครบรอบ 30 ปี • รางวัลผู้ประกาศข่าว สถานีโทรทัศน์ ไอทีวี • สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ พ.ศ. 2549 • อดีตสมาชิกสภาปฎิรูปแห่งชาติ (สปช) • สมาชิกสภาพัฒนาการเมืองรายชื่อสำ�รองอันดับหนึ่ง (ภาคประชาสังคม) • อนุกรรมาธิการด้านอำ�นวยความยุติธรรม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ของสภาผู้แทนราษฎร • อนุกรรมการวิชาการร่างหลักสูตร “การพัฒนาการเมืองและการเลือกตัง้ รุน่ ที่ 1” ของสำ�นักงาน คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) • อนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สำ�นักงาน ปปช. ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการ 81
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
ทุจริตในภาคประชาสังคมและสื่อมวลชน • อนุกรรมการข้าราชการตำ�รวจ (ก.ตร.) • กรรมการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ (ก.ป.ช.) • ศิษย์เก่าดีเด่นมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำ�ปี 2558 • ศิษย์เก่าดีเด่นโรงเรียนมักกะสันพิทยา ประจำ�ปี 2556
ฉบับรวมเล่ม ปีที่ 16 พ.ศ. 2564
82