ผู้ใหญ่ตอนปลาย ทดลอง

Page 1


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

1.ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านร่างกาย

ปัญหาสุขภาพ วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย

ผูใ้ หญ่ตอนปลาย คือ ?? วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัย สูงอายุ อายุ 60-65 ปีขึ้นไป เป็นวัยของความเสื่อมถอยของ ร่างกาย สภาพจิตใจ และ บทบาททางสังคม การปรับตัว ต่อความเสื่อมถอยและการ เผชิญชีวิตในบั้นปลายเป็นสิ่ง สาคัญในการดารงชีวิตของวัยนี้

 กระดูกหักง่าย เนื่องจากความเสื่อมของกระดูก กระดูกบางที่พบ บ่อยคือ กระดูกสะโพก ต้นขา ข้อมือ และกระดูกสันหลัง  สายตาไม่ดี เกิดจากเลนส์ตาแข็งตัว ยืดหยุ่นไม่ดี การปรับภาพจะ น้อยลง จึงเห็นภาพไม่ชัด  หูตึง เกิดจากระบบประสาทเสื่อมถอย ประสาทการได้ยินของหูเสื่อม  ฟันไม่ดี ฟันลดลง ปากแห้ง การได้กลิ่นและรับรสเสีย ทาให้กิน อาหารไม่ได้ กินช้าลง กินได้น้อย  เป็นลมบ่อย เกิดจากการปรับตัวของความดันเลือดไม่ดขี ณะเปลี่ยน ท่าทาง ความดันเลือดจะลดลงอย่างรวดเร็ว  เรอบ่อย จากท้องอืดท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย เนื่อง จากการบีบตัว ของหลอดอาหารลดลง น้าย่อยออกน้อย เกิดลมในกระเพาะ  ท้องผูก เกิดจากความเสื่อมของกล้ามเนื้อลาไส้ การเคลื่อนไหว ร่างกายน้อยลง ทาให้กากอาหารเคลื่อนตัวมาสู่ลาไส้ส่วนล่างช้า  อาจเป็นเบาหวาน เพราะเนื้อเยื่อของร่างกายไม่สามารถตอบสนอง ต่อฮอร์โมนอินซูลินที่ออกมาจากตับอ่อนได้เพียงพอ ทาให้น้าตาลใน เลือดสูง  หูรูดเสื่อม ท่อปัสสาวะเสื่อมในผู้ชายจากต่อมลูกหมากโต ผู้หญิงจะ มีมดลูกหย่อน ดึงกระเพาะปัสสาวะลงมา ทาให้ปัสสาวะบ่อย  หลงลืมบ่อย เนื่องจากเซลล์สมองเสื่อม เซลล์สมอง ลดลงมีการ ตายของเซลล์ และไม่เกิดใหม่  หัวใจและหลอดเลือด เกิดภาวะหลอดเลือดเสื่อม หลอดเลือด แข็งตัว โดยเฉพาะหลอดเลือดเล็กๆ ที่เลี้ยงไต สมอง หัวใจ หัวใจ ต้องทางานหนักจึงเหนื่อยง่าย

2.ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านจิตใจ  วิตกกังวลเกี่ยวกับการเปลีย่ นแปลงของร่างกายที่เสื่อมลง  วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บ  มีภาวะเครียดจากปัญหาเศรษฐกิจในครอบครัว  วิตกกังวลเกี่ยวกับชีวติ สมรส  ปัญหาเกี่ยวกับปัญหาของบุตร


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

3.ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสีย่ งต่อสุขภาพวัย ผูใ้ หญ่ดา้ นสังคม

4.ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสีย่ งต่อสุขภาพวัย ผูใ้ หญ่ดา้ นจิตวิญญาณ

 ปัญหาการปรับตัวในการประกอบอาชีพ  ปัญหาเรื่องการเลือกคู่ครอง  ปัญหาชีวิตสมรส  ปัญหาการปรับตัวให้เข้ากับบทบาทใหม่  ปัญหาสัมพันธภาพกับเพื่อนใหม่

 มีความกดดันเนื่องจากไม่สามารถแสดง ศักยภาพด้านสติปัญญาได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากขาดโอกาสในสังคมและที่ทางาน ขาดการยอมรับ  ขาดที่พึ่งทางจิตวิญญาณเนือ่ งจากไม่ สามารถจัดสรรเวลาไปปฏิบตั ิศาสนกิจได้

5.อุบัตเิ หตุ

โรคต่างๆในวัยผูใ้ หญ่ 

โรคติดเชือ้ วัยผู้ใหญ่มีโอกาสป่วยจากโรคติดเชื้อได้สูงพอๆ กับวัยอื่น โรคติดเชื้อที่สาคัญ ซึ่งพบเป็นอัตราตาย รองลงมาจากอุบัตภิ ัยคือไข้มาลาเรีย (กองสถิติสาธารณสุข 2531 : 187) ส่วน โรคติดเชื้ออื่น เช่น โรคปอด อักเสบ โรคติดเชื้อลาไส้ พบอัตราตายน้อยกว่ากลุ่มอายุอื่น แต่เป็นโรคติดเชื้อที่มอี ัตราป่วยสูง โรคติดเชื้อที่นา่ จะให้ ความสาคัญในวัยนี้คือ โรคติดเชื้อของอวัยวะสืบพันธุ์ นอกจากนี้ยังมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ การ ติดเชื้อที่ตา นอกจากโรคติดเชื้อดังกล่าวแล้ว โรคเอดส์นบั เป็นโรคติดเชื้อที่มีความสาคัญมากในวัยผู้ใหญ่ จากการ รวบรวมข้อมูลของกองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข ผลปรากฏว่า กลุ่มอายุที่มีการติดเชือ้ เอดส์สูงสุดคือ กลุ่มอายุ 20-34 ปี เนื่องจากอยู่ในวัยเจริญพันธุ์ โรคไร้เชือ้ มีโรคไร้เชื้อเป็นจานวนมากทีเ่ กิดขึ้นได้ในผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ โรคเหล่านี้กระจายอยู่ในระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น โรคของระบบประสาท เนื้องอกในสมอง ลมชัก โรคของตา เช่น ต้อหิน เลือดออกในช่องหน้าลูกตา จอตา หลุด โรคของหู เช่น หูชั้นกลางอักเสบ แก้วหูทะลุ โรคของระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น ไตพิการ ไตหย่อน นิ่ว โรค ของระบบหัวใจ และหลอดเลือด ได้แก่ ลิ้นหัวใจตีบ ลิ้นหัวใจรั่ว หลอดเลือดดาอุดตันหลอดเลือดดาโป่งพอง โรค เลือด เช่น โลหิตจาง มะเร็งเม็ดเลือดขาว เนื้องอกของต่อมน้าเหลือง โรคของต่อมไร้ท่อ เช่น ต่อมไทรอยด์ทางาน ผิดปกติ เบาหวาน โรคอวัยวะสืบพันธุ์สตรี เช่น การตั้งครรภ์นอกมดลูก ครรภ์ ไข่ปลาอุก การแท้งบุตร กลุ่ม อาการก่อนมีประจาเดือน และโรคมะเร็งของอวัยวะต่างๆ เช่น มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก เป็นต้น


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

การสร้างเสริมสุขภาพวัยผูใ้ หญ่ตอนปลาย ตามหลัก 5 อ.

อารมณ์

อาหาร

ออกกาลังกาย

อนามัย

อุบัติเหตุ

อ.อารมณ์

10 สมุนไพรคลายเครียด

ไม่ว่าวัยไหนก็ย่อมมีความเครียด บางคนอาจหาทางออกให้กับความเครียดด้วยการพึง่ ยาเพื่อช่วย คลายเครียดชนิดต่างๆ ซึ่งเป็นยาที่ทาจากสารเคมี และอาจมีผลข้างเคียง แถมต้องกินยาอยู่เรื่อยๆ จนเกิดผลเสีย ตามมา คือ ติดยา ดื้อยา และในที่สุดเกิดการสะสมพิษ ซึ่งส่งผลในระยะยาวต่อร่างกายของเราได้ แต่ยังมีอีก ทางเลือกหนึง่ ของคนไทยทีท่ ั้งปลอดภัยและเหมาะสมกับยุคข้าวยากหมากแพงเช่นนีน้ ั่นคือ สมุนไพร ซึ่งมีสรรพคุณใน การรักษาและบรรเทาอาการเจ็บไข้ในเบื้องต้นได้จริง เริ่มต้นจากสมุนไพรใกล้ตัวเรา ดังนี้ค่ะ


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

1. ขี้เหล็ก มีการศึกษาพบว่าใบอ่อนและดอกตูมของขี้เหล็กมีสารที่ชอื่ ว่า แอนไฮโดร บาราคอล (anhydrobarakol) ซึ่งมีสรรพคุณช่วยคลายเครียด และมีฤทธิ์ เป็นยานอนหลับอ่อนๆ อีกด้วย เรามีวิธีนาขี้เหล็กมาปรุงเป็นยาสมุนไพร คลายเครียด 2 สูตร ดังนี้ ใช้ใบอ่อนและดอกตูมแห้ง 30 กรัม หรือหากเป็นของสดต้องใช้ 50 กรัม นาตัวยาใส่โหลแก้ว เทเหล้าขาวใส่พอท่วมยาแช่ไว้ 7 วัน หมั่นคนบ่อยๆ ทุกวัน ครบ 7 วันใช้ผ้าขาวบางกรองเอาแต่น้ายา จิบครั้งละ 1-2 ช้อนชา ก่อนนอน ใช้ใบอ่อนแห้งประมาณ 1 กามือ ต้มกับน้า 1 ลิตร กรองด้วยผ้าขาวบางเอาแต่นาดื ้ ม่ ก่อนนอน ครั้งละ 1 แก้ว ข้อควรระวัง คือ ห้ามดื่มมากเกินไป เพราะอาจทาให้ท้องเสียได้

2. ชุมเห็ดไทย เป็นสมุนไพรไทยอีกชนิดหนึง่ ที่มีสรรพคุณกล่อมประสาท คลายเครียด และทาให้ นอนหลับได้ดี วิธีทา นาเมล็ดชุมเห็ดไทยประมาณ 1-3 ช้อนโต๊ะ (5 -15 กรัม) คั่วจนเกรียมแล้วต้มกับน้า 1 ลิตร เคี่ยวจนเหลือ 600 มิลลิลิตร กรองด้วยผ้า ขาวบางเอาแต่น้าดื่ม แบ่งดืม่ ครั้งละ 200 มิลลิลิตร เช้า กลางวัน เย็น หลัง อาหาร หรือชงดื่มแทนน้าชาได้ โดยใส่เมล็ดที่คั่วแล้ว 1 หยิบมือ ลงในกาน้าชาขนาด ประมาณ 0.5 ลิตร เติมน้าร้อนให้เต็ม ดื่มวันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

3. ดอกบัวหลวง

4. พริกไทย

5. พลู

ใช้ดอกบัวหลวงสีขาวที่ใกล้จะบาน 5 ดอก ต้มกับน้า 1 ลิตร ให้เดือดนาน 10 นาที ดื่มครั้งละ 1 แก้ว วันละ 3-4 ครั้ง หรือ ดื่มได้ทั้งวัน ชาดอกบัวหลวงจะมีรส ฝาดๆ หอมๆ ดื่มแล้วชุ่มชืน่ หัวใจ ทาให้ หายอ่อนเพลีย สดชื่นขึ้น แถมช่วยให้นอน หลับสบาย

ใช้ต้นพริกไทยแห้งที่หั่นแล้ว ประมาณ 1 หยิบมือ นามาคัว่ จากนั้นนาไปใส่ในกาชาเติมน้า ร้อนจนเต็ม ชาต้นพริกไทยดืม่ ได้ทั้งวัน หรือวันละ 3-4 ครั้ง ทาให้สมองปลอดโปร่ง และช่วย ลดเครียดได้ดีมาก

ใบหรือเถาพลูแห้งนามาคั่วหรืออบ ให้แห้ง ชงดื่มแทนน้าชาได้ โดยใช้ใบ หรือเถาพลูทคี่ ั่วแล้วประมาณ 1 หยิบมือ ต้มน้าร้อน 1 ลิตร หรือ ชงใส่น้า 1 กาชา ดื่มวันละ 3-4 ครั้ง หรือดื่มทั้งวันก็ได้ ชาพลูจะ ออกรสเผ็ดร้อนเล็กน้อย ทาให้ตา สว่าง สดชื่นขึ้น และแก้เครียดได้

ใช้เถาแห้ง 1 กามือ หรือรากแห้ง 1/2 กามือ ต้มกับน้า 4 ถ้วย ต้มให้เหลือ 2 ถ้วย รับประทานครั้งละ 3 ช้อนโต๊ะ ก่อนนอน ช่วย กล่อมประสาท และทาให้นอนหลับ ใช้ต้นฟ้าทะลายโจรตากแห้งประมาณ 1 กามือ ใหญ่ๆ หั่นและต้มกับน้า 1 ลิตร กรองเอาแต่นา้ ดื่มครั้งละ 1 แก้ว เช้า -เย็น ก่อนอาหาร แก้ อาการปวดหัวโดยไม่มีสาเหตุ และคลายเครียด ได้

6. พวงชมพูดอกขาว

7. ฟ้าทะลายโจร


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

8. มะนาวหรือมะกรูด สมุนไพรใกล้ตัวที่มีอยูท่ ุกครัวเรือน มีสรรพคุณช่วยให้นอนหลับ บรรเทาอาการอาหารไม่ย่อย และทาให้หายเครียดได้ ซึ่งมีวิธีทา ง่ายๆ 2 วิธี ได้แก่ ใช้ลูกมะนาวหรือมะกรูด 1 ลูก ผ่าซีก บีบเอาแต่น้าใส่แก้ว เติม เกลือและน้าตาลทรายไม่ขัดขาวอย่างละครึ่งช้อนกาแฟ แล้วเทน้า ร้อนใส่ให้เต็มแก้ว คนให้เข้ากัน ดื่มอุ่นๆ ทันทีเมื่อมีอาการ จะช่วย คลายเครียดได้รวดเร็ว แต่หากดื่มมากเกินไป อาจทาให้ทอ้ งเสียได้ ใบมะนาวหรือมะกรูดแห้งประมาณ 1 หยิบมือ นามาคั่ว จากนั้น นาไปใส่กาชาเติมน้าร้อนจนเต็ม ชงเป็นชาดื่มได้ทั้งวัน หรือวันละ 3-4 ครั้ง ช่วยขับเลือดลม และแก้เครียดดีมาก

9. มะเฟือง ใช้มะเฟืองที่แก่จัด 1 ผล ล้างให้สะอาด หั่น และแกะเมล็ดออก นามาคัน้ น้าใส่แก้ว เติมเกลือครึ่งช้อนกาแฟ และเทน้าร้อนลงไปให้ เต็มแก้ว คนให้เข้ากัน ดื่มครัง้ ละ 1 แก้ว เช้า-เย็น ก่อนอาหาร ช่วยกล่อมประสาทและระงับความฟุ้งซ่าน ทาให้นอนหลับง่ายขึ้น

10. มะละกอ ใช้ลูกมะละกอขนาดเขื่องๆ (8 ขีด – 1 กิโลกรัม) 1 ลูก ปลอกเปลือก ล้างน้าให้สะอาด แกะเมล็ดออก แล้วนามาหั่นเป็นชิ้นบางๆ ต้มกับน้า 1 ลิตร ประมาณ 15-20 นาที หรือจนกระทั่งน้าเดือด ยกลง กรองด้วย ผ้าขาวบางเอาแต่น้า ยกน้าที่ได้ตั้งไฟใหม่ นาใบชาชนิดใดก็ได้ใส่ลงไป 1 หยิบมือ ต้มต่อจนน้าเดือด ดื่มแทนน้าชาได้ทั้งวัน ที่นี้คุณจะเริ่มรู้สึกสบาย ช่วยคลายเครียดแล้ว สมุนไพรบางชนิดยังช่วย ผ่อนคลาย ทาให้หลับลึก หลับสนิท และรู้สึกสดชื่นทันทีเมื่อตื่นขึ้นอีก ด้วยค่ะ


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

สมาธิบาบัด SKT

สมาธิบาบัด SKT นี้ เกิดจากการคิดค้นของ รศ.ดร.สมพร กันทรดุษฎี เตรียมชัยศรี อาจารย์ประจา ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล ที่นาหลักประสาทวิทยาศาสตร์มา ผสมผสานกับการปฏิบัติสมาธิ เกิดเป็นสมาธิเพือ่ การบาบัดในรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า “สมาธิบาบัด SKT” ที่ต้องทา อย่างจริงจังนะคะ ส่วนตัวอาจารย์เอง ก็ทาทุกวัน เพราะฉะนั้น แฟนๆ ที่อยากเห็นผลของท่าสมาธิบาบัด SKT นี้ ต้องพยายามทาอย่างต่อเนือ่ งเข้าไว้นะคะ มีทั้งหมด 7 ท่า โดยสามารถช่วยบาบัดและเยียวยาโรคต่างๆ ได้มากมาย เช่น ภูมแิ พ้ กรดไหลย้อน ท้องผูก ริดสีดวง ปวดหลังไหล่ข้อมือ ปวดเข่า มะเร็ง เอดส์ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคเกี่ยววกับไขข้อ กระดูก ออฟฟิสซินโดรม ฯลฯ จนปัจจุบันอ.สมพรได้คดิ ค้นท่าสมาธิบาบัดท่าใหม่เพิม่ ขึ้นอีก 2 ท่า คือ SKT 8 และ SKT 9 สาหรับผู้ปว่ ยหนักมาก จนไปถึงไม่รู้สึกตัว เช่น มะเร็ง อัมพาต HIV ผู้ป่วยระยะสุดท้ายเดิน ไม่ได้ ไม่รู้สึกตัว ออทิสติคโดยท่าทั้งสองนี้สามารถให้คนใกล้ชิดเป็นคนช่วยทาการบาบัดเยียวยาผู้ป่วย ได้ เนื่องจากเป็นโครงการระดับชาติ ทุกคนสามารถไปเรียนได้ทุกโรงพยาบาลตามโครงการเทคนิคดีวิถีไทยเพราะ เป็นนโยบาลของรัฐ


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

อาหารทีส่ ง่ เสริมสุขภาพวัยผูใ้ หญ่ตอนปลาย

อ.อาหาร

เมื่อเข้าสู่วยั ผู้ใหญ่ตอนปลายจะมีการเปลี่ยนแปลงทางร่ายกาย จิตใจ และสังคม โดยเฉพาะทาง ร่างกาย ทาให้ประสิทธิภาพการทางานของอวัยวะต่างๆ เสื่อมลง เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ เช่น ผิวหนัง ผม ตา หู จมูก ลิ้น ฟัน เป็นต้น ดังนั้นเราจึงควรใส่ใจในเรื่องต่างๆ ของผู้สูงอายุและพยายามปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมตามวัย ซึ่งสิ่ง สาคัญอีกเรื่องคือ โภชนาการสาหรับผู้สูงอายุ นั่นคือ สารอาหารทีเ่ หมาะสมกับความต้องการของร่างกาย นั่นเอง วัยผู้ใหญ่ตอนปลายมีความต้องการพลังงานและสารอาหารในปริมาณที่เหมาะสม เช่นเดียวกับบุคคล วัยอื่นๆ โดยที่ความต้องการพลังงานของร่างกายจะลดลง เนื่องจากการทางานของอวัยวะต่างๆ น้อยลง กว่าเดิม วัยผู้ใหญ่ตอนปลายที่มีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรงอยู่แล้ว ควรได้รับสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่ ดังนี้ 1. อาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต หรือแป้ง เช่น ข้าว ก๋วยเตี๋ยว เผือก และมันสาปะหลัง กลุ่ม นี้เป็นสารอาหารหลัก และให้พลังงานแก่รา่ งกาย มากกว่าสารอาหารจากกลุม่ อื่น ผู้ใหญ่ตอนปลาย จึงควรรับประทานอาหารกลุม่ นี้แต่พออิม่ คือ ข้าว มื้อละ 2 ทัพพี ควรเลือกเป็นข้าวไม่ขัดสี หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและของหวาน 3. อาหารประเภทผักต่างๆ ผักจะให้วิตามินและเกลือแร่ทจี่ าเป็นต่อ ร่างกาย และมีใยอาหารช่วยให้ระบบ ขับถ่ายขับถ่ายเป็นปกติ

2. อาหารประเภทโปรตีนหรือเนื้อสัตว์และงา ถั่วชนิดต่างๆ

อาหารกลุม่ นี้จาเป็นในการซ่อมแซม และสร้างเนื้อเยื่อที่สาคัญต่อการดารงชีวิต เนื้อสัตว์ที่ผู้ใหญ่ตอนปลายควรรับประทานคือ เนื้อสัตว์ทไี่ ม่มีหนังหรือไขมันมาก เกินไป โดยเฉพาะเนื้อปลาและถั่วชนิดต่างๆ - กินไข่สัปดาห์ละ 3-4 ฟอง (ถ้าไขมันในเลือดสูงกินเฉพาะไข่ขาว) - ดื่มนมพร่องมันเนยวันละ 1 แก้ว - เลือกเนื้อสัตว์ไขมันต่า เช่น เนื้อปลา ย่อยง่าย ควรดัดแปลงให้นุ่ม ชิ้นเล็กๆ - กินถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจาเพื่อให้ได้ใยอาหารเพิ่ม


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

4. อาหารประเภทผลไม้ ให้วติ ามิน เกลือแร่ ใยอาหาร ผู้ใหญ่ตอนปลายควรเลือกรับประทานผลไม้ที่เนือ้ นุ่มเคีย้ วง่าย ได้แก่ มะละกอ กล้วยสุก ส้ม และควรรับประทานอย่างน้อยวัน ละ 1-2 ครั้ง ครั้งละ 6-8 ชิ้น/คา สาหรับผู้สูงอายุที่อ้วน หรือ เป็นเบาหวานให้หลีกเลี่ยงผลไม้หวานจัด เช่น ทุเรียน ลาไย ขนุน เป็นต้น 5. อาหารประเภทไขมัน ได้แก่ ไขมันจากพืช และไขมันจากสัตว์ จะให้พลังงานแก่ร่างกายและยังช่วยในการดูดซึมวิตามินบางอย่างด้วย แต่อย่างไรก็ตามผู้ใหญ่ตอนปลายก็ควรจากัด อาหารประเภทไขมัน โดยรับประทานน้ามัน 4-6 ช้อนชา เลือกใช้น้ามันที่มีกรดไลโนเลอิก เช่น น้ามันหมู ไข่แดง กะทิ หนัง สัตว์ เครื่องใน เนยมาการีน เป็นต้น นอกจากนี้ เราควรดัดแปลงอาหารให้เหมาะสมกับผู้ใหญ่ตอนปลาย เช่น การปรุงอาหารให้เปื่อยนุ่ม ง่ายต่อ การเคี้ยว และการย่อย จัดแต่งอาหารให้มีสสี ันน่ารับประทาน และควรปรุงสุกใหม่ๆ ทุกมื้อ หลีกเลี่ยงการปรุงอาหารเค็มจัด หวานจัด ในผู้ใหญ่ตอนปลายที่มีโรคประจาตัว ควรจัดอาหารให้เหมาะสมกับ โรคที่เป็นด้วยเพียงเท่านี้เราก็สามารถดูและผู้ใหญ่ตอนปลายที่บ้านให้มภี าวะโภชนาการที่เหมาะสม มีสุขภาพร่างกาย แข็งแรง อายุยืนยาว และมีความสุข ที่มา : หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก โดย คุณธนพร จิวสุวรรณ หัวหน้างานโภชนาการ งานโภชนาการ โรงพยาบาลบ้านแพ้ว


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

อ.ออกกาลังกาย "การออกกาลังกายนัน้ ถ้าทาน้อยไปก็จะเฉา ถ้าทามากไปก็จะช้า การออกกาลังกายแต่พอดี จะทาให้เกิดความสมบูรณ์ทั้งกายและใจ" พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช (วิรุฬห์ เหล่าภัทรเกษม 2537:14)

จากพระบรมราโชวาท จะเห็นได้ว่าการเล่นกีฬาหรือการออกกาลังกายนั้นจะปฏิบัติให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ ต้องเป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสม การออกกาลังกายอย่างถูกวิธี ถือเป็นทางเลือกหนึ่งทีจ่ ะช่วยลดความเสีย่ งต่อการล้มในผู้ใหญ่ตอนปลาย ได้ และนี่คือ 6 ท่าออกกาลังกายที่ ศ.พญ.อารีรัตน์ สุพุทธิธาดา ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะ แพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แนะนา

1. Plantar Flexion หรือท่าเขย่งฝ่าเท้า สาหรับผู้ใหญ่ตอนปลาย การออกกาลังที่งา่ ย และเซฟเป็นเรื่องที่ดีทสี่ ุด การออกกาลังกาย ท่านี้ไม่มีอะไรยุ่งหรือยาก เพียงแค่มองหาโต๊ะตู้ หรือเก้าอี้ทมี่ ั่นคง จากนัน้ ให้ใช้มือข้างหนึ่ง ข้างใด หรือทั้งสองจับอุปกรณ์ดังกล่าว พร้อมกับ ยืนปรับหลังให้ตรง ค่อยๆเขย่ง ปลายเท้าช้าๆ สูงสุดเท่าที่จะสูงได้ โดยค้างทิ้ง ไว้ประมาณ 3วินาที จึงค่อยลดส้นเท้าลงทา สลับไปมา


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

2. Knee Extension หรือท่าเหยียดเข่า เลือกเก้าอีท้ ี่มีพนักพิงสักตัว จากนั้นค่อยๆ เหยียดขา ข้างหนึ่งไปข้างหน้าให้ตรงที่สดุ เท่าที่จะทาได้พร้อมกับตั้งปลาย เท้าค้างไว้ประมาณ 5วินาที ก่อนจะผ่อน ปลายเท้า พร้อมกับลดขากลับสู่ท่าเดิมทาสลับไปมาทั้ง สองข้าง เพื่อยืดเส้น และข้อ

3. Knee Flexion ท่างอเข่า หลังจบท่าเหยียดเข่าแล้วก็มาถึงท่างอเข่า เริ่มที่ยืน จับโต๊ะ หรือโซฟา ยืดหลังให้ตรงเหมือนท่า Planter หรือท่า เขย่งฝ่าเท้า จากนั้นค่อยๆงอเข่าให้มากที่สดุ เท่าทีจ่ ะทาได้ โดยให้ค้างไว้ 3วินาที ทาสลับไปมาทั้งสองข้าง

4. Side Leg Raise ท่าเหยียดขาไปข้างหน้า ยืนตรงชิดเก้าอี้ จากนั้นให้แยกเท้าประมาณหนึ่งช่วง ไหล่ ต่อด้วยค่อยๆ เหยียดขาข้างขวาไปข้างหน้าค้างไว้ ประมาณ 3วินาที จึงค่อยๆ ลดขาลง กลับสู่ท่าเดิม ให้ ทาสลับกันทั้งขาซ้าย ขวา

5. Hip Extension ท่าเหยียดสะโพก ทันทีที่จบท่าที่ 4แล้ว ให้ขยับออกมายืนห่างจากโต๊ะ หรือเก้าอี้ ประมาณ 1 ฟุต แล้วจึงยกขาขวาไปข้างหลัง โดยที่ขา อยู่ในลักษณะตรง ค้างไว้ประมาณ 3วินาที จากนั้นค่อยๆ ทาสลับกับขาข้างซ้ายไปมา

6. Hip Flexion ท่างอสะโพก เมื่อจบท่าเหยียดสะโพกแล้ว ก็มาถึงท่าสุดท้ายของเช็ตออกกาลังกายในผูใ้ หญ่ตอนปลาย เริ่มที่ยังอยู่ในท่ายืนตรงสอง มือจับเก้าอี้ไว้เหมือนเดิม จากนั้นให้ค่อยๆ งอเข่าข้างใดข้างหนึง่ มาหาหน้าอก โดยที่เอวยังอยู่ในลักษณะตั้งตรง ค้างไว้ สักประมาณ 3วินาที แล้วค่อยลดหัวเข่าลง ทาสลับไปทัง้ สองข้าง


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

มวยไทยแอโรบิก

ออกกาลังกายผสมผสาน ช่วยให้หัวใจ ปอด แรง จัดเป็นการออกกาลังกาย มวยไทยแอโรบิก เป็นกิจกรรมที่ผสมผสานระหว่างการเต้นแอโรบิกกัแข็ บกีงฬามวยไทย แบบแอโรบิก อีกรูปแบบหนึ่งที่ช่วยเรียกเหงื่อและรอยยิ้มได้เป็นอย่างดี มวยไทยแอโรบิกเป็นการนาลักษณะการออกอาวุธ ของมวยไทย เช่น การออกหมัด การเตะ ฯลฯ มาประยุกต์เป็นท่าเต้นแอโรบิก มวยไทยแอโรบิกเป็นการออกกาลังกายด้วยท่าแม่ไม้มวยไทยร่วมกับท่ากายบริหารหรือการเคลื่อนไหวร่างกาย เบื้องต้น โดยใช้จังหวะดนตรีเป็นตัวกากับความช้าเร็วของการเคลื่อนไหว เวลาที่เหมาะสมสาหรับการออกกาลังกายประเภทนี้คอื ต้องปฏิบัติอย่าง ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 30 นาที จึงจะสามารถช่วยให้ระบบการไหลเวียนโลหิต และระบบการหายใจ หัวใจ ปอด และหลอดเลือด ทางานได้ดียิ่งขึ้น ทั้งยัง ช่วยให้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆของร่างกายมีความแข็งแรงมากขึ้นด้วย

สาหรับคนที่ไม่คอ่ ยได้ออกกาลังกายหรือมีสขุ ภาพไม่แข็งแรงแต่สนใจอยาก ทากิจกรรมประเภทนี้ควรหัดจากท่าที่ไม่ยากหรือหนักเกินไปก่อน เพื่อฝึกการเคลื่อนไหว และประสาทสัมผัส โดยทาครั้งละ 30 นาทีเป็นเวลา 2 สัปดาห์ เมื่อร่างกายมีความ พร้อมมากขึ้นอาจเพิ่มความหนักและความยากของท่า และอาจเพิ่มเวลาเป็น 35 นาที หรือค่อยๆเพิม่ เวลาไปเรื่อยๆจนสามารถออกกาลังกายได้ครบ 1 ชั่วโมง


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

ชุดที่เหมาะสมสาหรับการออกกาลังกายแบบมวยไทยแอโรบิกควรเป็นชุดที่พอดีตัว ไม่ หลวมจนเกินไป ส่วนรองเท้าควรสวมรองเท้ากีฬาหรือรองเท้าสาหรับการเต้นแอโรบิก โดยเฉพาะ เพราะจะช่วยลดแรงกระแทกจากการเต้น และป้องกันการบาดเจ็บขณะเล่นได้

มวยไทยแอโรบิกจัดเป็นกิจกรรมที่เหมาะกับคนทุกเพศทุกวัย แม้กระทั่งผู้ใหญ่ตอนปลายก็สามารถออกกาลังกายประเภทนี้ได้โดยลด จังหวะการเต้นให้ช้าลง ใช้ทา่ ที่ไม่ยากมากสาหรับการเคลื่อนไหว ส่วนคน หนุ่มสาวอาจใช้จังหวะเพลงที่เร็วหน่อย เพราะจะช่วยให้การออกกาลัง กายของคุณมีความสนุกสนานมากขึ้น

ไม่วา่ คุณจะชอบหรือถนัดกีฬาชนิดไหนก็ตาม คุณควรแบ่งเวลาส่วนหนึง่ ในชีวติ มาดูแลร่างกายตัวเองบ้าง เพราะ การออกกาลังกายเป็นสิง่ ทีส่ าคัญกับสุขภาพของเรา จึงอยากแนะนาให้คณุ เลือกเดินหรือเคลือ่ นไหวร่างกายให้มากขึน้ เพราะการเดินถือเป็นการออกกาลังกายอีกอย่างหนึง่ ทีท่ าได้งา่ ยๆแต่ให้ผลทีค่ มุ้ ค่า ยังไงอย่าลืม มาออกกาลังกายกัน เยอะๆนะคะ เพือ่ ร่างกายทีแ่ ข็งแรง


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพของผู้ใหญ่ตอน ปลายโดยการคานึงถึงความแปรเปลี่ยนของ สิ่งแวดล้อมและสภาวะของผู้ใหญ่ตอนปลายเอง กิจกรรมส่งเสริมด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้แก่

อ.อนามัย

อนามัยสิง่ แวดล้อม (Environment Health)

หมายถึง การจัดการและควบคุมสิ่งแวดล้อมที่เป็นหรือ อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์เพื่อให้เกิดความ สมดุลของระบบนิเวศน์ระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อม อันจะส่งผลให้มนุษย์มีความเป็นอยู่ที่ดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ และสังคม

การอ่านหนังสือธรรมะ ผู้ใหญ่ตอนปลายส่วนใหญ่ชอบเข้าวัดทาบุญ และฟังธรรมอยู่ แล้ว แต่สาหรับผู้ใหญ่ตอนปลายบางท่าน ก็อาจไม่สะดวกใน การไปวัด ฟังธรรม ก็สามารถอ่านหนังสือธรรมะได้ เพื่อเป็น การฝึกจิตใจให้สงบ รู้จักปลงกับความเปลี่ยนแปลงและสิง่ รอบ ข้าง และเพื่อให้จิตใจจดจ่อกับความสงบสุข ซึ่งควรจะมีในบั้น ปลายชีวิต ตรวจสุขภาพประจาปี

แนะนาให้ตรวจสม่าเสมอเป็นประจาทุกปี หรืออย่างน้อยทุก 3 ปี โดยแพทย์จะทา การซักประวัติ ตรวจร่างกาย และอาจมีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพื่อหา ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดแข็ง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรค ไขมันในเลือดสูง ตรวจหาโรคมะเร็งที่พบบ่อย ได้แก่ มะเร็งลาไส้ มะเร็งเต้า นม มะเร็งปากมดลูก และยังมีตรวจการมองเห็น การได้ยิน ตลอดจนประเมิน ความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุด้วย


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

เต้นราไปกับเพลงทีเ่ คยชื่นชอบในอดีต การฟังเพลง ทาให้จิตใจร่าเริง และได้หวนนึกถึงอดีตอันแสนหวาน และมี ความสุขในครั้งอดีต คุณจึงควรเสริมสร้างจิตใจด้วยการฟังเพลงที่เคยชื่น ชอบในอดีต หรืออาจเป็นเพลงเร็ว ที่คุณสามารถเต้นราได้ เป็นการออกกาลัง กายที่ดีอีกด้วย เล่นหมากรุก ฝึกสมอง คลายเครียด ดีต่อหัวใจ ในช่วงวัยที่ก้าวเข้ามาเป็นผู้ใหญ่ตอนปลาย สภาพร่างกายก็ ย่อมที่จะเสื่อมถอยไปตามกาลเวลา ส่งผลให้ร่างกาย เปลี่ยนแปลงไปในทางทีด่ ้อยลง สุขภาพก็ไม่ดีเหมือนเดิม ดูแลตนเองไม่ได้ทุกเรื่อง ซึ่งสิ่งเหล่านี้ส่งผลต่อสุขภาพจิต ของผู้ใหญ่ตอนปลายด้วยเช่นกัน การเล่นหมากรุก หรือเกมหมากกระดาน เป็นกิจกรรมดีๆ สาหรับผูใ้ หญ่ตอนปลาย มีประโยชน์ดังต่อไปนี้ - ได้ใช้เวลาร่วมกันในครอบครัว สร้างความผูกพันและความเข้าใจที่ดตี ่อกัน - ช่วยให้สนุกสนานเพลิดเพลิน ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ - ช่วยคลายเครียด ทาให้ไม่คิดฟุ้งซ่าน - ช่วยฝึกสมอง ช่วยในเรื่องของความจา ป้องกันโรคทางสมองได้ - เป็นการออกกาลังกายทางหนึ่ง เพราะช่วยให้หัวใจสูบฉีดโลหิตได้ดี - คลายเหงา แก้โรคซึมเศร้า - มีความสุข เหมือนเป็นหนุม่ สาวอีกครัง้ - ช่วยพัฒนาสมอง จากการคิดแก้ปัญหา การไตร่ตรอง - ช่วยฝึกสมาธิ ทาให้ใจเย็น คิดอย่างเป็นระบบ - รู้จักแพ้ รู้จักชนะ และรู้จักการปล่อยวาง กิจกรรมการเล่นหมากรุกนัน้ อาจต้องอาศัยความชานาญ และเข้าใจในการเล่นที่ค่อนข้างละเอียด แต่หากอยากฝึกสมอง และได้ใช้เวลาว่างอย่างเกิดประโยชน์ การเล่นหมากกระดานอื่นๆ เช่น หมากล้อม หมากฮอส หมากข้าม หรือหมากอื่นๆ ที่ ไม่ใช้เวลานานในหนึ่งตา รวมทั้งสนุกสนานกันได้ทั้งครอบครัว ก็ช่วยพัฒนาสมอง สมาธิ ความนึกคิด และเป็นการใช้เวลา ว่างที่เกิดประโยชน์ต่อผูใ้ หญ่ตอนปลายได้เช่นกัน ได้รู้ประโยชน์ของการเล่นหมากกระดานแบบนี้แล้ว อย่าลืมจัดให้กิจกรรมนี้ เป็นหนึ่งในกิจกรรมกระชับความสัมพันธ์ใน ครอบครัวของคุณกับผูใ้ หญ่ตอนปลายด้วย


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

อ.อุบัติเหตุ

การเกิดอุบตั ิเหตุในผู้ใหญ่ตอนปลายมีสาเหตุจากความเสื่อมและการถดถอย อีกทั้งจากโรคภัยไข้เจ็บเป็น ผลให้การทางานของอวัยวะต่างๆลดลง ผู้ใหญ่ตอนปลายบางรายมองเห็นไม่ชัด หูตึง ทรงตัวไม่ดี กล้ามเนื้อช่วยพยุง ตัวไม่แข็งแรง ระบบประสาทสัมผัสเสือ่ มร่วมกับปัจจัยสิง่ แวดล้อม เช่นแสงสว่างไม่เพียงพอ พื้นไม่เรียบ เปียกลืน่ เสื้อผ้าที่สวมใส่รุ่มร่าม รองเท้าที่ไม่กระชับและผลข้างเคียงของยาที่รับประทานทาให้เกิดอุบัติเหตุในผู้ใหญ่ตอนปลาย การ ให้การดูแลรักษาหากไม่ถูกต้อง เหมาะสม ทันท่วงที จะทาให้ผู้ใหญ่ตอนปลายที่ได้รับอุบัติเหตุมีอาการรุนแรงขึ้น เนื่องจากความผิดปกติในระบบต่างๆ ของร่างกายทีม่ ีอยู่ก่อนเก่า ดังนั้นแนวปฏิบตั ิในการดูแลจึงระบุไว้ว่าผู้ใหญ่ตอน ปลายที่ได้รับอุบัติเหตุควรได้รับการดูแลรักษาในศูนย์บริบาลผู้บาดเจ็บ(trauma center)เพราะมีความพร้อมทั้งอุปกรณ์ เครื่องมือและบุคลากร ในการให้การดูแลรักษาตลอด 24 ชั่วโมงทุกวัน

อุบัติเหตุที่พบบ่อยในผู้ใหญ่ตอนปลาย 1.ลื่นหกล้ม พบมากที่สดุ โดยเฉพาะลื่นล้มในห้องน้า ทาให้ กระดูกสะโพกหัก บางรายอาจเสียชีวิตได้ เช่นมี ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจไตวายร่วม ก่อให้เกิดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนเมื่อต้อง นอนพักรักษาในโรงพยาบาล

2. พลัดตกหกล้ม เกิดกับผู้ทมี่ ีอายุระหว่าง 60-75 ปี มักเกิดจาก การตกเตียง ตกบันได เก้าอี้ ระเบียงบ้าน ต้นไม้ ตกหลุมและตกท่อ เป็นอุบัติเหตุเกิดขึ้นในบ้านเป็น ส่วนใหญ่

1.ลื่นหกล้ม 2. พลัดตกหกล้ม 3.ไฟไหม้ น้าร้อนลวก 4.สาลักอาหาร น้าและอาหารติดค้างในหลอดลม 5.อุบัติเหตุอื่นที่พบบ่อยและควรระวัง


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

3.ไฟไหม้ น้าร้อนลวก เนื่องจากประสาทสัมผัสความรู้สึกร้อนเสื่อมลง เช่นขณะอาบน้า ปรุงอาหาร

4.สาลักอาหาร น้าและอาหารติดค้างในหลอดลม พบบ่อยในผู้ใหญ่ตอนปลายที่มีการจากัดการ เคลื่อนไหว แขน ขา อ่อนแรง เป็นอัมพาต ฟัน ปลอมหลวม

5.อุบัติเหตุอื่นที่พบบ่อยและควรระวัง เช่น หยิบยาผิด จากสายตาไม่ดี แสงสว่างไม่เพียงพอ รับประทานยาเกิน หรือขาดยาจากการลืม และถูกรถเฉี่ยวชน ขณะเดินบนถนน/ข้ามถนน เนื่องจากสายตาไม่ดี หูไม่ได้ยินเสียงชัดเจนและการตัดสินใจหลบหลีกไม่ทัน


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

นวัตกรรมสาหรับผู้ใหญ่ตอนปลาย

นวัตกรรม พื้นแจ้งเตือนการล้ม อุบัติเหตุที่มกั เกิดกับผูใ้ หญ่ตอนปลายและผูป้ ่วยที่พบได้บอ่ ยที่สุดคือ ลื่นล้ม โดยเฉพาะในช่วงเวลากลางคืนที่ผู้ใหญ่ตอน ปลายจะต้องลุกไปเข้าห้องน้า ถ้าไม่มีคนติดตามไปด้วยก็อาจจะล้มแล้วไม่มีคนเห็น เป็นอันตรายได้ บริษัทผลิต textile ที่ชื่อ Future-shape จากเยอรมันมีการผลิตแผ่นแจ้งเตือนการล้ม สาหรับติดตั้งตามทางเดินในห้องพัก ผู้สูงอายุ หรือตามทางเดินผู้ป่วยในโรงพยาบาล ป้องกันปัญหาผูใ้ หญ่ตอนปลายหรือผู้ป่วยลื่นล้มตอนกลางคืนแล้วไม่ มีคนรู้ ไม่มีคนเห็น วิธีการทางานของเจ้าแผ่นแจ้งเตือนนี้ ใช้การฝังตัวเซนเซอร์ ตรวจจับแรงกดทับที่เหยียบลงมาบนพืน้ แล้วส่งสัญญาณไป ยังชุดรับสัญญาณเพื่อแจ้งเตือนโดยผ้าขนาด 1 ตร.ม. จะ ฝังเซนเซอร์ 32ตัว พร้อมกับตัวควบคุม RFLd 4 ตัว สามารถส่งสัญญาณเตือนไปที่โทรศัพท์บ้านได้ ซึ่ง เทคโนโลยีที่ใช้ก็เป็นเทคโนโลยีเซนเซอร์ทั่วๆ ไป ที่เห็นได้ใน เครื่องปรับอากาศ ที่มี eye sensor หรือระบบ Home automation ที่มีเซนเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวเข้ามาใน ห้องก็จะสั่งเปิดไฟในห้องทันทีนอกจากตรวจจับการ เคลื่อนไหวได้แล้ว เครื่องยังสามารถบอกได้ว่า กาลังยืนหรือ กาลังนอนอยูท่ ี่พื้น และยังสามารถบอกทิศทางการเดินได้ ด้วย ตัวผ้าหนาแค่ 2 มม. เพื่อให้ง่ายต่อการติดตั้งไว้ใต้พื้นห้อง ซึ่งพื้นที่สามารถติดตั้งได้ เช่น พื้น PVC พรม และ พื้นลามิ เนต หรือพื้นที่มีความอ่อนนุม่ เพื่อให้เซนเซอร์ตรวจจับแรง กดทับได้ดี


วัยผู้ใหญ่ตอนปลาย ( 60 - 65 ปี) รวบรวมโดย นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณทิต รุ่นที่ 19 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จักรีรัช

การติดตั้งก็จะให้หงายด้านทีม่ ีตัวเซนเซอร์ขึ้นด้านบนแล้วปูทับด้วยพื้นสาเร็จรูป เจ้าแผ่นแจ้งเตือนการล้มชิ้นนี้ เหมาะกับบ้านที่มีผู้ใหญ่ตอนปลาย ผู้ปว่ ย หรือผู้ปว่ ยในโรงพยาบาล หรือตามบ้านพัก โดยเฉพาะช่วงเวลากลางคืน อาจจะไม่ได้มีคนดูแลตลอดเวลา ถ้าผู้ใหญ่ตอนปลาย ผู้สูงอายุหรือผู้ป่วย ตืน่ มาเข้า ห้องน้า กลางดึก แล้วเกิดอุบัติเหตุลื่นล้มขึ้นมา อย่างน้อยเจ้าแผ่นแจ้งเตื่อนตัวนี้กย็ ังสามารถส่งสัญญาณเตือนเราได้ การช่วยเหลือก็จะรวดเร็ว ทันเหตุการณ์ดกี ว่ามาพบในตอนเช้าว่าผู้ใหญ่ตอนปลาย ผู้สูงอายุไปลื่นล้มลุกไม่ขึ้นอยู่ตรง นั้น






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.