Portfolio
Mr.Theerawat Sriprasesrtsin Architecture faculthy. Chiang Mai University.
1
2
3
CONTENT
1
Coral Reef Research and Nursery Center.
11
GRAFFITO HOTEL.
23
SOUTH THAI CULTURUL MUSEUM.
33
Bukowski HOUSE.
43
H.I.M. CHURCH RENOVATE.
51
2
Mr.THEERAWAT SRIPRASERTSIN 113/1 หมู่ 3 ตำ�บลชุมโค อำ�เภอปะทิว จังหวัดชุมพร 86160 099-171-6799 t.sriprasertsin@gmail.com theerawat sriprasertsin
EDUCATION. DEGREE
ปริญญาตรีสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์, GPA 3.07 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2017
QUALIFICATION. STATEMENT
ทักษะการออกแบบสถาปัตยกรรมในระดับพื้นฐาน มีความสนใจการออกแบบ Parametric Architecture และ Fabrication Design
DESIGN EXPERTISE
Residential Design, Public Space, Mix Use.
TOOL Drafting and Modeling Tool
Graphic, Presentation
Other Program
AutoCAD
Photoshop
Microsoft Word
Sketchup
Illustrator
Microsoft Excel
Rhinoceros + Grasshopper
Indesign
Microsoft Power Point
Vray (Sketchup, Rhino) 3
WORK EXPERIENCE. 2016
ASSISTANCE PROJECT
Architeture Internship.
Bamboo Landmark Design Challenge
Lamoonta Architects Co.,Ltd. Bangkok.
Chiang Mai (Project in Cambodia) 3D modeling by Rhinoceros and Grasshopper
ออกแบบบ้านพักอาศัย, แนวคิดและการพัฒนาแบบ, ตัดโมเดล, เขียนแบบ, Presentation นำ�เสนอแนวคิด, Rendering และ Visualization
2015
WEERA WISSAWAKARN Office
Construction Internship.
Chiang Mai
Faculty of Architecture. Chiang Mai
3D Modeling, Rendering and Visualization.
แบบก่อสร้าง พัฒนาแบบหน้างาน ถอดแบบก่อสร้าง ประเมินราคาวัสดุ
The GRAND CANYON Chiang Mai 3D Modeling, Rendering and Visualization.
Bike Park
COMPETITION. 2015
2016
Chiang Rai 3D modeling by Rhinoceros and Grasshopper
Pang Mapha School
THREE TREE DOI SAKET Resort
Chiang Mai
Honor Awards.
เขียนแบบก่อสร้าง
แนวความเรื่องการใช้ต้นไม้หลากฤดูจัดวางในพื้นที่โครงการ เพื่อให้เกิด ปรากฏการณ์ได้ตลอดทั้งปี
4
2015
Drafting Skill. B
แนวชายคา ราวตากผ้า
ผ2
ที่นั่ง(ดูแบบขยาย 4)
ผ2
1.50
ผ2
1.50
ผ2
น1
น1
ผ1 ผ1
ผ1
ห้องเรียน พ1 +1.00
ผ1
1.00 1.00
ผ1
ป2
A ผ1
ป2
ผ1
ผ1
ราวตากผ้า
น1
น1
น1
ผ1
น1
ผ2
ผ2
ผ1
พื้นระเบียง พ2 +0.95
ผ2
C
C
ผ1
1.50
น1
3.00
3.00
ป1
ผ1 น1
ทางเชื่อมต่อกับ สนามหญ้า
ผ1
ห้องน้ำ พ1 +1.00
ขึ้น
1.50
B
ผ1
9.00
พื้นชาน พ2 +0.95
ป2
1.00
3.00
ป1
A
A
ผ1 ผ1
B
น1
3.00
น1
9.00
น1
A
น1
ผ2
ที่นั่ง(ดูแบบขยาย 4)
โครงเหล็ก สานด้วย Flexy Board B
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
3.00
18.00
1
2
3
4
5
6
แบบผังพื้นอาคาร
A - 01
เหล็กปลอกเสริมคอนกรีต RB 6 @ 0.09 m
เหล็กปลอกเสริมคอนกรีต RB 6 @ 0.09 m
เหล็กเสริมคอนกรีต DB 12
เหล็กเสริมคอนกรีต DB 12
0.04
0.20
0.22 0.04
0.04
0.04
0.12
0.12
0.04
0.20
0.04
0.20
0.30
0.04
แบบขยายหน้าตัดคานคอดินคอนกรีต
แบบขยายหน้าตัดเสาฐานรากคอนกรีต SCALE
SCALE
1:20
-0.40
0.30
-0.10
ระดับท้องคานคอดิน
0.10
ระดับดิน 0.00
ระดับหลังคานคอดิน
1:20
0.82
เหล็กเสริมคอนกรีต DB 12 1.75
DRAWING NO.
ระดับฐานรากแผ่ ระดับคอนกรีตเทปรับระดับก้นหลุม ระดับทรายอัดแน่น
ระดับกรวดหยาบ ระดับก้นหลุมฐานราก
ดินถม เหล็กปลอกเสริมคอนกรีต RB 6 @ 0.09 m
-1.22 0.28
วันที่ 14 กันยายน 2558
มาตราส่วน 1 : 75
-1.50 -1.55
เหล็กตะแกรงเสริมคอนกรีต DB 12 @ 0.12 m #
0.05
แบบแสดง แบบผังพื้นอาคาร
-1.65 -1.75
0.10
นายธีรวัฒน์ ศรีประเสริฐศิลป์ 551710034
0.10
เขียนแบบ นายทศวีร์ โพคา 551710028
0.04
สถาปนิก นายกานต์ คำแก้ว ภสก. 5995 วิศวกร นายรัตน์ ตัณติจำรูญ
0.12
โครงการ โรงเรียนเด็กเล็ก ที่ตั้งโครงการ :บ้านน้ำบ่อสะเป่ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน
0.20
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
บ้านน้ำบ่อสะเป่ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน
1:75
0.04
SCALE
0.65
0.20
1.50
0.65
แบบขยายฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก SCALE
5
โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน
บ้านน้ำบ่อสะเป่ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน
โครงการ โรงเรียนเด็กเล็ก
สถาปนิก นายกานต์ คำแก้ว ภสก. 5995
ที่ตั้งโครงการ :บ้านน้ำบ่อสะเป่ อ.ปางมะผ้า จ.แม่ฮ่องสอน
วิศวกร นายรัตน์ ตัณติจำรูญ
เขียนแบบ นายทศวีร์ โพคา 551710028 นายธีรวัฒน์ ศรีประเสริฐศิลป์ 551710034
1:20
แบบแสดง แบบขยายโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
วันที่ 14 กันยายน 2558
มาตราส่วน 1 : 20
DRAWING NO.
D - 07
Visualization Skill.
6
Modeling Skill.
7
8
9
Portfolio
10
Coral Reef Research and Nursery Center.
Site location : อำ�เภอปะทิว จังหวัดชุมพร Thesis Project , 2016
ผลกระทบต่อแนวปะการังจากปัจจัยหลายประการ ทำ�ให้ปะการังใน ไทยอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม เป็นที่มาของการตั้งศูนย์วิจัยเพื่อศึกษาและฟื้นฟูแนว ปะการังในพื้นที่เสื่อมโทรมให้กลับมาสมบูรณ์ และทดลองศึกษาการอยู่ร่วมกัน ของ ‘ปะการัง’ กับ ‘โครงสร้าง’ ในงานสถาปัตยกรรม แนวคิดมาจากการศึกษารูปแบบการสืบพันธุ์และการแพร่กระจาย ของ‘ปะการัง’ระดับเซลล์’ ซึ่งเป็นรูปแบบที่ใกล้เคียงกับรูปทรง VORONOI ที่ เกิดจากการขยายตัวของเนื้อแคลเซียมคาร์บอเนตของตัวปะการัง จนสามารถนำ� รูปแบบนั้นมาใช้ในการสร้างพื้นที่ว่างของอาคาร และสร้างโครงสร้างที่สามารถ รองรับการใช้งานทั้งในส่วนของผุู้ใช้งานกลุ่มต่างๆ และเป็นโครงสร้างที่ใช้เป็น พื้นที่เพาะปะการังในแนวชายฝั่งได้
11
12
EXIBITION AND MANAGMENT FLOOR PLAN
13
14
15
SOUTH ELEVATION
16
พื้นที่แนวปะการัง เป็นแนวคิดหลักในการ แบ่งโซนพื้นที่การใช้งานอย่างหยาบโดยจัดเรียง ความ สำ�คัญจากจุดมุ่งหมายของพื้นที่ต่างๆ ซึ่งเป็นตัว กำ�หนดลำ�ดับการเข้าถึงพื้นที่ในส่วนต่าง ๆ
Voronoi Geometry เป็นลักษณะ เดียวกันของหน่วยย่อยในปะการัง สามารถแสดง รูปแบบที่ เปลี่ยนไปตามตำ�แหน่งของหน่วยย่อย ต่างๆ ในพื้นที่ว่าง
ลักษณะโครงสร้างของ แคลเซียมคาร์บอเนตที่สะสมอยู่ใน ปะการัง ถูกถ่ายทอดโดยรูปทรง Voronoi และถูกปรับรูปทรงให้มี ความน่าสนใจเพิ่มมากขึ้น
17
18
1
19
2
3
4
(1) โรงเพาะเลี้ยงปะการัง (2) Bio-structure ทดลองการเจริญเติบโตของปะการัง (3) ส่วนจัดแสดงแนวปะการังแบบแยกส่วน (4) ตู้จัดแสดงแนวปะการังขนาดใหญ่ 20
21
22
GRAFFITO HOTEL.
Site location : อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ Architecture Design Studio IV , 2015
‘Graffiti’ งานศิลปะที่เป็นแนวความคิดหลักในการสร้างอาคารและ พื้นที่ใช้งานของโครงการ โดยการทดลองนำ�ตัวอย่างงาน Graffiti วาดลงไปใน แบบทดลอง เพื่อทำ�หน้าที่เป็น guide ในการแบ่งพื้นที่ใช้งาน โดยจุดประสงค์ เพื่อ ต้องการนำ� Graffiti มาใช้งานในการออกแบบโครงการ ให้มีความเป็น เอกลักษณ์สูงที่สุด พื้นที่ใช้งานภายใน จะมีทั้งส่วนที่พัก ร้านอาหาร และส่วนจัดแสดง งานศิลปะ เพื่อมุ่งเน้นคุณค่าของ Graffiti รวมทั้งงานศิลปะอื่นๆ ที่สามารถ หมุนเวียนมาจัดแสดงในโครงการได้ บรรยากาศภายใน จะถูกตกแต่ง ด้วยงานศิลปะ Graffiti แม้แต่ใน ส่วนที่พัก เพื่อต้องการให้ดูโดดเด่น ไม่น่าเบื่อ และแฝงกลิ่นอายของ street art เข้าไปในทุกส่วนของโครงการ
23
24
25
26
SECTION A 27
SECTION B 28
29
30
31
32
SOUTH THAI CULTURUL MUSEUM.
Site location : อำ�เภอหลังสวน จังหวัดชุมพร Architecture Design Studio III , 2014
จากการตั้งคำ�ถามถึง ‘อัตลักษณ์บ้านเกิด’ ของโปรเจคนี้ นำ�ไปสู่การ ออกแบบพื้นที่สาธารณะ และส่วนจัดแสดงเอกลักษณ์การละเล่นพื้นเมืองภาคใต้ โดยการนำ�เอา ‘หนังตะลุง’ เครื่องหมายที่เด่นชัดในการอ้างถึงความเป็นภาคใต้ ของไทย มาสร้างกระบวนการออกแบบ โครงการประกอบด้วย 2 อาคาร ที่วางคู่ขนาดกัน เกิดพื้นที่วาง ระหว่างอาคาร ที่สามารถเป็นพื้นที่ถ่ายทอดการละเล่นของภาคใต้ตามจุด ประสงค์ของโครงการที่จะเผยแพร่และอนุรักษ์ อัตลักษณ์ นี้ไว้
33
34
35
SECTION A
SECTION B
36
37
การสร้าง ‘รูปแบบ’ จาก Photoshop เพื่อทดลอง หาคุณค่า และสิ่งเชื่อมโยงระหว่าง ‘หนังตะลุง’ กับรูปทรง ต้นแบบเพื่อนำ�ไปพัฒนาต่อให้เกิดเป็นอาคารที่มีรูปทรงโดดเด่น ที่สามารถดึงดูดให้ผู้ใช้งานให้เข้ามาเยี่ยมชมโครงการ
38
39
Point Volume Function.
Construction Mesh Function 40
41
42
Bukowski HOUSE.
Site location : ราชมัคคา ซอย 6 เชียงใหม่ Architecture Design Studio II , 2013
การเลือกหา User เป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างยิ่งสำ�หรับโปรเจคนี้ เพราะ ต้องนำ�เอาเอกลักษณ์ ที่แสดงตัวตนของ User นั้นออกมา และออกแบบอาคาร ให้สอดคล้องกัน ‘Charles Bukowski’ นักเขียนนวนิยายและเรื่องสั้น กวี และนักเขียนคอลัมน์ชาวอเมริกันเชื้อสายเยอรมัน เป็น User ของโปรเจคนี้ เอกลักษณ์ของเขาถูกถ่ายทอดผ่านงานเขียน แสดงออกซึ่งความยากจนข้นแค้น ปัญหาสังคมอเมริกา แอลกอฮอล์ และเรื่องเพศ
Charles Bukowski - Project User. 43
44
จากการศึกษาอัตลักษณ์ของ User ที่แสดงออกผ่าน งานเขียน ซึ่งได้กลิ่นอายของความดิบเถื่อน ไร้กฏเกณฑ์ สะท้อนปัญหาสังคม ‘สลัม’ เป็น Keyword เดียวที่ สัมผัสได้จากผลงานของเขา นำ�ไปสู่แนวทางการออกแบบ อาคาร และการสร้าง Element ในลักษณะเดียวกัน
45
46
FORM
STRUCTURE and ELEMENT
47
MATERIAL
48
49
50
H.I.M. CHURCH RENOVATE.
Site location : อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ Architecture Design Studio II , 2013
โปรเจคนี้ เป็นงานที่ให้ศึกษาและค้นหาปัญหาที่เกี่ยวกับสถาปัตยกรรม ในชุมชนช่างเคียน อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งสะดุดตากับอาคารที่ดูคล้าย โรงประชุมหลังหนึ่ง ซึ่งมีฟังก์ชั่นการใช้งานเป็นโบสน์คริสต์ศูนย์กลางของชุมชน จากการศึกษาและวิเคราะห์ทำ�ให้ค้นพบว่า อาคารหลังนี้ยังขาดคุณลักษณะบาง อย่างที่สามารถสร้างความศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาอยู่ จึงเลือกเอาอาคารหลังนี้ มา ทำ�เป็นเป็นโปรเจคปรับปรุงตามแนวคิดและวิธีการต่อไป
51
52
BEFORE!
ลานจอดรถ และประตูทางเข้าอาคาร
ภายในอาคาร
53
ต้องการเสริมกลิ่นอายแห่งศาสนสถานเข้าไป เพื่อให้ เกิดบรรยากาศร่วมในระหว่างใช้งาน และสามารถปรับ เปลี่ยนบรรยากาศได้ในระหว่างการใช้งานในรูปแบบอื่น
54
การนำ�เทคนิคเรื่องของแสงที่ตัดกัน เพื่อสร้าง เครื่องหมายอันศักดิ์สิทธิ์ ประกอบกับบรรยากาศสลัว เพื่อเน้นให้ดูน่าสนใจมากขึ้น และสามารถปรับเป็นฉาก หลังธรรมดาได้ โดยการเปิดไฟ และดับแสงแนวตั้ง เพื่อ สลายเครื่องหมายนั้นออกไป
55
AFTER!
บรรยากาศในช่วงศาสนพิธี
บรรยากาศในช่วงปกติ
56
57
58
Thank you...for your consideration. t.sriprasertsin@gmail.com 099-171-6799 theerawat sriprasertsin
59
60
61