แนวทางการปรับปรุงฟื้นฟู ชุมชนริมคลองรอบกรุงและพื้นที่ต่อเนื่อง
จัดทำ�โดย สำ�นักผังเมือง กรุงเทพมหานคร จำ�นวน 120 เล่ม ปี 2560
แนวทางการปรับปรุงฟื้นฟู ชุมชนริมคลองรอบกรุงและพื้นที่ต่อเนื่อง เอกสารให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับแนวทาง การปรับปรุงฟื้นฟูชุมชน ภายใต้ โครงการค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงฟื้นฟูเมือง โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร
สารบัญ ที่มาและการดำ�เนินงาน ผังแม่บทการปรับปรุงฟื้นฟูชุมชนริมคลองรอบกรุงและพื้นที่ต่อเนื่อง - ด้านโครงข่ายการสัญจร - ด้านพื้นที่สาธารณะและพื้นที่สีเขียว - ด้านการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม - ด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว พื้นที่นำ�ร่องเพื่อการปรับปรุงฟื้นฟู ข้อกำ�หนดทางผังเมืองบริเวณชุมชนริมคลองรอบกรุงและพื้นที่ต่อเนื่อง - ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 - ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร
1 3
7 13
ที่มาและการดำ�เนินงาน สำ�นักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ได้ดำ�เนินการโครงการปรับปรุงฟื้นฟูเมืองโดยกระบวนการมีส่วนร่วม ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีพื้นที่บริเวณชุมชนริมคลองรอบกรุงและพื้นที่ต่อเนื่องเป็นพื้นที่ศึกษา ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อระดมความคิดเห็นในการกำ�หนดวิสัยทัศน์การพัฒนาย่าน การจัดทำ�ผังแนวความคิด การจัดทำ� ผังแม่บท การจัดทำ�ผังรายละเอียดพื้นที่นำ�ร่อง ตามยุทธศาสตร์ของผังแม่บทการฟื้นฟูย่านเมืองเก่า พ.ศ. 2575 และ สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาเมืองกับสภาพกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม โดยอาศัยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน
วิสัยทัศน์ “คูเมืองพระนคร ร่วมระดมความคิดจากฐานราก สู่ย่านมรดกวัฒนธรรมดั้งเดิมและร่วมสมัย ผสมผสานที่อยู่อาศัยย่านประวัติศาสตร์ เชื่อมโยงโครงข่ายพื้นที่สีเขียว ส่งเสริมการท่องเที่ยววิถีชุมชน พัฒนากลไกการอนุรักษ์อย่างยั่งยืนให้เป็นเมืองน่าอยู่ สืบสานสู่คนรุ่นหลัง”
1
ขั้นตอนการดำ�เนินงาน ต.ค.- ธ.ค. 59 ม.ค.-ก.พ.60 มี.ค. 60 เม.ย.-พ.ค. 60 มิ.ย. 60 ก.ค. 60
1 2 3 4 5 6
วิเคราะห์เชิงพื้นที่
กำ�หนดวิสัยทัศน์ และจัดทำ�ผังแนวความคิด
จัดทำ�ผังแม่บท
จัดทำ�ผังรายละเอียด พื้นที่โครงการนำ�ร่อง
จัดทำ�ข้อเสนอแนะ แนวทางการปรับปรุงภูมิทัศน์
จัดทำ�แนวทาง การบริหารจัดการ 2
3
มัสยิดจักรพงษ์
ป้อมพระสุเมรุ
ศาลาว่าการ กทม.
4
วัดตรีทศเทพ
วัดเทพธิดาราม
วัดราชนัดดาราม
วัดใหม่อมตรส
อนุสาวรีย์ประชาธิป ไตย
วัดบวรนิเวศวิหาร
วัดสังเวชวิศยาราม
วัดสามพระยา
วัดเอี่ยมวรนุช
วัดปรินายก
ป้อมมหากาฬ
การปรับปรุงฟื้นฟู ชุมชนริมคลองรอบกรุง และพื้นที่ต่อเนื่อง
ผังแม่บท
4
1
วัดราษฎร์บูรณะ
ไปรสนียาคาร
ศาลเจ้าแม่ทับทิม
คุรุดราราศรีคุรุสิงห์สภา
วัดสุทัศนเทพวราราม
วัดบพิตรพิมุข
สวนรมณีนาถ
2
3
เหนือ
วัดพิเรนทร์
- การพัฒนาพืน้ ทีส่ าธารณะริมคลองรอบกรุง - การปรับปรุงเส้นทางท่องเที่ยวชุมชน วิถีตรอกเชื่อมวิถีคลอง - การพัฒนาจุดเปลีย่ นถ่ายการสัญจรบริเวณ แยกผ่านฟ้าลีลาศ - การปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณป้อมมหากาฬ - การพัฒนาจุดเปลีย่ นถ่ายการสัญจรบริเวณ แยกสามยอด - การปรับปรุงพื้นที่ศาสนสถานให้เป็นพื้นที่สีเขียว สาธารณะสำ�หรับชุมชน - การปรับปรุงภูมิทัศน์สวนสาธารณะ ใต้สะพานพระปกเกล้า-ไปรสนียาคาร - การปรับปรุงภูมิทัศน์ลานปฐมบรมราชานุสรณ์
โครงการปรับปรุงฟื้นฟูชุมชน ริมคลองรอบกรุงและพื้นที่ต่อเนื่อง
พื้นที่นำ�ร่องเพื่อการปรับปรุงฟื้นฟู
วัดสระเกศ
ด้านโครงข่ายการสัญจร - เชื่อมโยงจุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจรพื้นที่กิจกรรมและ จุดเข้าออกพื้นที่คลองรอบกรุง - พัฒนาระบบขนส่งมวลชนสาธารณะที่มีประสิทธิภาพ และหลากหลาย - ปรับปรุงการเข้าถึงพื้นที่ริมคลองรอบกรุง และตรอกซอย ภายในชุมชน - ส่งเสริมการสัญจรตามแนวคลองรอบกรุง ด้วยการเดินเท้าและจักรยาน จุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจร พืน้ ทีโ่ ดยรอบสถานีรถไฟฟ้า 500 เมตร พื้นที่บริการจอดรถ จุดจอดและบริการรถจักรยาน สะพานข้ามแม่น�ำ้ เจ้าพระยา ถนนสายหลัก ถนนสายรอง
เส้นทางสัญจรภายในชุมชน เส้นทางบริการรถท่องเทีย่ ว มรดกวัฒนธรรม
ท่าเรือท่องเที่ยว ท่าเรือด่วน ท่าเรือข้ามฟาก ท่าเรือคลองมหานาค
เหนือ
ด้านพื้นที่สาธารณะ และพื้นที่สีเขียว - ปรับปรุงพื้นที่สาธารณะริมคลองรอบกรุงเป็นพื้นที่ สีเขียวเชื่อมต่อชุมชน - ปรับปรุงภูมิทัศน์ศาสนสถานให้เป็นพื้นที่กิจกรรม และพื้นที่สีเขียวชุมชน - พัฒนาโครงข่ายพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียว และพื้นที่ ท่องเที่ยวสำ�คัญภายในย่าน - ส่งเสริมความหลากหลายและการใช้พื้นที่ริมคลอง รอบกรุงในช่วงเวลาต่างๆ และกิจกรรมในหลายระดับ - ส่งเสริมพื้นที่สาธารณะระดับชุมชน ย่าน และเมือง ให้เกิดการใช้งานในหลากหลายกลุ่มวัฒนธรรม พื้นที่สาธารณะเดิม ปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่สวนสาธารณะเดิม ปรับปรุงภูมิทัศน์ริมคลอง ปรับปรุงภูมิทัศน์ริมถนน
5
ปรับปรุงภูมิทัศน์ บริเวณศาสนสถาน และสถานที่ราชการ เหนือ
ด้านการอนุรักษ์ มรดกวัฒนธรรม - ส่งเสริมความเชื่อมโยงภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม ของเมืองขับเน้นอัตลักษณ์แต่ละพื้นที่ให้เด่นชัด - ส่งเสริมคุณค่ามรดกวัฒนธรรมของย่าน (วัด-คลอง-ชุมชน) - อนุรักษ์สถาปัตยกรรมและโครงสร้างของพื้นที่ โดยใช้วิธีการอนุรักษ์ในระดับต่างๆ ร่วมกับ การใช้มาตรการทางด้านผังเมืองที่เหมาะสม - ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันของแหล่งมรดกวัฒนธรรม และชุมชน แนวทางการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมของย่าน มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องได้
เหนือ
การควบคุมภูมิทัศน์โดยรอบ โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียน การควบคุมภูมิทัศน์ริมถนน (การกำ�หนด ระยะสร้างชิดและรูปแบบอาคาร) การควบคุมภูมิทัศน์ริมคลอง (การกำ�หนด ระยะสร้างชิดและรูปแบบอาคาร) การส่งเสริมภูมิทัศน์มรดกวัฒนธรรม ของย่าน
โบราณสถานที่ขึ้นทะเบียน โดยกรมศิลปากร โบราณสถานที่ยังไม่ได้ ขึ้นทะเบียน อาคารที่มีคุณค่า มุมมองกว้าง (panorama view) ทัศนภาพสำ�คัญของย่าน
ด้านเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยว - ส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจจากการสร้างสรรค์ เกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน - เชื่อมโยงโครงข่ายการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรม วิถีชุมชน โดยใช้คลองรอบกรุงเป็นแกนกลาง ในการเชื่อมต่อด้วยการเดินเท้า จักรยาน และเรือ - พัฒนาและปรับปรุงสิ่งอำ�นวยความสะดวก ด้านการท่องเที่ยว - อนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวสำ�คัญในพื้นที่ ย่านเศรษฐกิจดั้งเดิมอันเป็นเอกลักษณ์ ย่านเศรษฐกิจการค้าชุมชน ย่านเศรษฐกิจหมุนเวียน ย่านเศรษฐกิจส่งเสริมการท่องเที่ยว พิพิธภัณฑ์/แหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์
โครงข่ายการสัญจร ท่าเรือท่องเที่ยว ท่าเรือด่วน ท่าเรือข้ามฟาก ท่าเรือคลองมหานาค
เหนือ
6
1การปรับปรุงภูมิทัศน์
สวนสาธารณะใต้สะพานพระปกเกล้า-ไปรสนียาคาร
สภาพปัจจุบัน
7
พื้นที่นำ�ร่องเพื่อการปรับปรุงฟื้นฟู
โครงการพระปกเกล้าสกายปาร์ค
สภาพปัจจุบัน
ประเด็นการปรับปรุงฟื้นฟู
ทางขึ้นโครงการ พระปกเกล้าสกายปาร์ค
ฟื้นฟูประวัติศาสตร์ที่ทำ�การไปรษณีย์แห่งแรกในประเทศไทยให้กลับ มามีชวี ติ อีกครัง้ โดยปรับเปลีย่ นการใช้สอยภายในอาคารเป็นพืน้ ทีท่ ม่ี ี ความหลากหลายของกิจกรรมและผู้ใช้งานเพื่อให้เกิดการประสาน ประโยชน์สูงสุด ผสมผสานพื้นที่กิจกรรมกับพื้นที่สีเขียว ส่งเสริมให้เป็นศูนย์รวมกิจกรรมการท่องเที่ยวและการนันทนาการ ระดับเมืองริมแม่น�ำ เ้ จ้าพระยาแห่งใหม่ รองรับกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม และการเรียนรู้ย่านประวัติศาสตร์ ออกแบบสวนสาธารณะทีป่ ระกอบด้วย พืน้ ทีน่ นั ทนาการแบบกระฉับกระเฉง (active recreation) และแบบผ่อนคลาย (passive recreation) เพื่อให้เหมาะกับการใช้สอยอย่างเอนกประโยชน์ของทุกเพศทุกวัย ส่งเสริมการเข้าถึงและมุมมองของสวนสาธารณะและไปรสนียาคาร ออกสู่แม่นำ�้เจ้าพระยา เชื่อมต่อโครงการพระปกเกล้าสกายปาร์ค และลานพระปฐมบรมราชานุสรณ์ รูปแบบการพัฒนาแบบพหุภาคีระหว่างภาครัฐ เอกชน และชุมชน
8
การปรับปรุงภูมิทัศน์ท
ย
ท
9
2
ทางเดินริมคลองรอบกรุง
ย่านสะพานเหล็ก สภาพปัจจุบัน
ประเด็นการปรับปรุงฟื้นฟู ปรับปรุงทางเดินริมคลองและเชื่อมต่อพื้นที่ริมคลองด้วยสะพานคนเดิน ออกแบบพื้นที่ค้าขายริมคลองที่ส่งเสริมเอกลักษณ์ของย่านการค้าให้เกิดคุณค่า และสื่อความหมายอย่างชัดเจน ส่งเสริมการใช้ประโยชน์อาคารริมคลองเชิงพาณิชยกรรมริมคลอง (หันหน้าสู่คลอง) เพื่อดึงดูดคนและกิจกรรมเข้าสู่พื้นที่ พัฒนาจุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจรเชื่อมต่อสถานีรถไฟฟ้าสามยอด ปรับปรุงโครงข่ายพื้นที่สาธารณะริมคลองโดยผสมผสานระหว่างทางเดินริมคลอง และตรอกเชื่อมโยงชุมชน
3
การปรับปรุงภูมิทัศน์ ทางเดินริมคลองรอบกรุง
ย่านวรจักร
สภาพปัจจุบัน
ประเด็นการปรับปรุงฟื้นฟู ปรับปรุงพืน้ ทีร่ มิ คลองให้เป็นพืน้ ทีส่ าธารณะใหม่ เป็นทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจของคนในชุมชน รักษาเอกลักษ์ของพืน้ ที่ การคงกิจกรรมการค้าทีม่ คี วามหลากหลาย และผสมผสาน การใช้ประโยชน์อาคารริมคลอง โดยรักษาวิถชี วี ติ การอยูอ่ าศัยและส่งเสริมการท่องเทีย่ ว ส่งเสริมการปรับปรุงภูมิทัศน์อาคารริมคลอง ให้มีความกลมกลืนกันตลอดแนว เชื่อมโยงโครงข่ายการเดินเท้าจากถนนสู่พื้นที่ริมคลอง ดึงดูดให้เกิดการค้าขาย การท่องเที่ยว และการเรียนรู้ของผู้คนทุกวัย ออกแบบเขื่อนริมคลองแบบลดระดับให้สามารถสัมผัสผิวน้ำ�ได้อย่างใกล้ชิด
10
สภาพปัจจุบัน
ประเด็นการปรับปรุงฟื้นฟู สร้างบรรยากาศที่สัมผัสถึงความเป็นคูคลองได้อย่างใกล้ชิด ปรับปรุงภูมิทัศน์ทางเดินริมคลองและอาคารริมคลอง ทั้งสองฝั่งคลองที่สัมพันธ์กัน สวยงามร่มรื่น สามารถเดินได้อย่างสะดวก รักษาเอกลักษณ์ของชุมชนบ้านพานถม การคงความเป็นย่านเศรษฐกิจ ชุมชนบ้านพานถม โดยจัดการพื้นที่ใช้สอยของร้านค้าริมคลอง แผงค้า ภายในตรอก ซอยต่างๆ ให้ได้มาตรฐานและมีความเป็นระเบียบ
11
4
การปรับปรุงภูมิทัศน์ ทางเดินริมคลองรอบกรุง
ชุมชนบ้านพานถม
สภาพปัจจุบัน
ประเด็นการปรับปรุงฟื้นฟู ส่งเสริมการเข้าถึงและเปิดมุมมอง “ทางเดินริมคลอง” และ “ตรอกสำ�คัญ” ออกสู่คลองรอบกรุง และภูมิสัญลักษณ์สำ�คัญ ของพระนคร (ภูเขาทอง) ส่งเสริมกิจกรรมการค้าชุมชน และพื้นที่ใช้สอยสำ�หรับกิจกรรมท่องเที่ยว อนุรักษ์และฟื้นฟูอาคารที่มีคุณค่าภายในชุมชน พัฒนาท่าเรือชุมชน
12
ข้อกำ�หนดทางผังเมือง 1. กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 บริเวณชุมชนริมคลองรอบกรุงและพื้นที่ต่อเนื่อง
พื้นที่บริเวณชุมชนริมคลองรอบกรุงและพื้นที่ต่อเนื่องถูกกำ�หนดรายละเอียด ดังนี้ พื้นที่ เขตพระนคร
การใช้ประโยชน์ที่ดิน ศ.1-2 ศ.2 พ.3-14 ส.-35 ส.-42 เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย พ.3-17 เขตสัมพันธวงศ์ พ.3-22 FAR (Floor Area Ratio) คือ อัตราส่วนพื้นที่ของอาคารรวม ต่อพื้นที่ดิน OSR (Open Space Ratio) คือ อัตราส่วนของพื้นที่ว่าง ต่อพื้นที่อาคารรวม
FAR (ต่อ 1) 3:1 4:1 7:1
OSR (%) 10 7.5 4.5
7:1 7:1
4.5 4.5
ตัวอย่างการพัฒนาอาคาร ที่ดินขนาด 1 ไร่ (ก.40 x ย.40) = 1,600 ตร.ม. พื้นที่อาคารรวมทุกชั้น = FAR x พื้นที่ดิน 7 x {40x40} = 11,200 ตร.ม. พืื้นที่ว่างปราศจากสิ่งปกคลุม = {พื้นที่อาคารรวมทุกชั้น x (OSR)}/100 {11,200} x 4.5}/100 = 504 ตร.ม. 4.5% R S :1 O FAR 7
ที่ดินเปล่า
ข้อกำ�หนดในการเพิ่ม FAR (FAR BONUS) จัดให้มีพื้นที่โล่งว่าง เพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือสวนสาธารณะ
จัดให้มีหรือพัฒนา ที่อยู่อาศัยสำ�หรับ ผู้มีรายได้น้อย ที่อยู่อาศัย ที่ราคาต่ำ�กว่าท้องตลาด หรือผู้อยู่อาศัยเดิมภายใน พื้นที่โครงการ จัดให้มีพื้นที่รับน้ำ� ภายในแปลงที่ดิน หรือพื้นที่โครงการ
13
จัดให้มีอาคารอนุรักษ์ พลังงาน ตามมาตรฐานมูลนิธิ อาคารเขียวไทย
จัดให้มีที่จอดรถยนต์สำ�หรับ ประชาชนทั่วไปหากโครงการ ตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่โดยรอบ สถานีรถไฟฟ้า (สถานีต้นทาง – ปลายทาง)
หมายเหตุ : กำ�หนดให้เพิ่ม FAR ได้ไม่เกินร้อยละ 20 จากเดิม
ส.-35
พ.3-14 ศ.1-2 ส.-42
พ.3-17
ศ.2 ที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรมไทย ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ สถานีรถไฟฟ้าสายสีนำ�้เงิน สถานีรถไฟฟ้าสายสีม่วง สถานีรถไฟฟ้าสายสีส้ม
พ.3-22
14
2. ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร 1) เรื่อง กำ�หนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภท ภายในบริเวณกรุงรัตนโกสินทร์ชั้นนอก ในท้องที่ แขวงชนะสงคราม แขวงตลาดยอด แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ แขวงบวรนิเวศ แขวงเสาชิงช้า แขวงราชบพิธ แขวง สำ�ราญราษฎร์ และแขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2530
2) เรื่อง กำ�หนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลงอาคาร บางชนิดหรือบางประเภท ในท้องที่ แขวงวัดสามพระยา แขวงบ้านพานถม เขตพระนคร แขวงวัดโสมนัส แขวงบ้านบาตร แขวงคลองมหานาค แขวงวัดเทพศิรินทร์ แขวงป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และ แขวงสัมพันธวงศ์ แขวงจักรวรรดิ์ แขวงตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2542 ขอบเขตพื้นที่แนบท้ายข้อบัญญัติ บริเวณที่ 1 ห้ามก่อสร้างอาคารที่มีความสูงเกิน 20 เมตร บริเวณที่ 2 ห้ามก่อสร้างอาคารที่มีความสูงเกิน 37 เมตร บริเวณที่ 3 ห้ามก่อสร้างอาคารที่มีความสูงเกิน 16 เมตร
ห้ามก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคารบางชนิด และอาคารที่มีความสูง ดังต่อไปนี้ ขอบเขตพื้นที่แนบท้ายข้อบัญญัติ บริเวณที่ห้ามก่อสร้างอาคารที่มีความสูงเกิน 16 เมตร บริเวณที่ห้ามก่อสร้างอาคารที่มีความสูงเกิน 16 เมตร บริเวณที่ห้ามก่อสร้างอาคารที่มีความสูงเกิน 37 เมตร ตัวอย่างแนวความสูงรอบศาสนสถาน
37 เมตร 20 เมตร 16 เมตร
3) เรื่อง กำ�หนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลงอาคาร บางชนิดหรือบางประเภท ริมฝัง่ แม่น�ำ เ้ จ้าพระยาทัง้ สองฝัง่ ในท้องทีเ่ ขตดุสติ เขตพระนคร เขตสัมพันธวงศ์ เขตบางรัก เขตบางพลัด เขตบางกอกน้อย เขตบางกอกใหญ่ เขตธนบุรี เขตคลองสาน และเขตราฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2542
ห้ามสร้างอาคาร สิ่งปลูกสร้าง ภายในระยะ 3 เมตร จากริมฝั่งแม่นำ�้เจ้าพระยา อาคาร สิ่งปลูกสร้าง สูงไม่เกิน 8 เมตร ภายในระยะเกิน 3 เมตรขึ้นไป แต่ไม่เกิน 15 เมตร จากริมแม่นำ�้เจ้าพระยา อาคาร สิ่งปลูกสร้าง สูงไม่เกิน 16 เมตร ภายในระยะเกิน 15 เมตรขึ้นไป แต่ไม่เกิน 45 เมตร จากริมฝั่งแม่นำ�้เจ้าพระยา 16 เมตร 8 เมตร
แม่นำ�้เจ้าพระยา
15
6 เมตร
15 เมตร
45 เมตร
สูงไม่เกิน
16 เมตร สูงไม่เกิน
16 เมตร
สูงไม่เกิน
20 เมตร
สูงไม่เกิน
16 เมตร
สูงไม่เกิน
37 เมตร
สูงไม่เกิน
37 เมตร
16
เลขที่ 44 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทร. 02 354 1279 โทรสาร 02 354 1281 http://cpd.bangkok.go.th