สุขภาพดี ชีวีสดใส อนาคตก้าวไกล
Better Health Better Life Bright Future
สรุปการประชุมวิชาการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๑๗ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ ฮอลล์ ๙ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพค เมืองทองธานี จังหวัดนนทบุรี
...พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงให้ความสําคัญแก่สถาบันครอบครัว ด้วยทรงตระหนักว่าความรัก ความผูกพันในครอบครัว คือการสร้างฐานที่มั่นคงทั้งร่างกายและจิตใจให้กับเด็ก ทรงตระหนัก ดีวา่ การเลีย้ งลูกด้วยนมแม่ จะเป็นการสร้างสายใยรักจากแม่สลู่ กู ได้อย่างดียงิ่ จึงทรงให้ความสน พระทัยศึกษาแนวทาง และวิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างจริงจัง ด้วยทรงทราบว่านมแม่มี ประโยชน์ต่อพัฒนาการทางร่างกายและจิตใจของลูก พระองค์จึงทรงปฏิบัติหน้าที่แรกของ ความเป็ น แม่ ด้ ว ยการประทานพระกษี ร ธาราแก่ พ ระโอรส ตั้ ง แต่ เ มื่ อ แรกประสู ติ ต่ อ เนื่ อ ง นานกว่า ๗ เดือน เมื่อทรงเห็นผลดีที่เกิดขึ้นกับพระโอรสอย่างชัดเจน ทั้งพระสุขภาพและ พระพลานามัยที่สมบูรณ์ จึงทรงพระดําริให้มีการจัดตั้งโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวขึ้น โดยเริ่ ม จากครอบครั ว ซึ่ ง เป็ น สั ง คมที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด ก่ อ ปฐมด้ ว ยนมแม่ เลี้ ย งลู ก ด้ ว ยความรั ก ความอบอุ่น การดูแลเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด ให้เวลาในการอบรมสั่งสอน ปลูกฝังสิ่งที่ดีงาม เมื่อลูกเติบโตจะเป็นคนดี จิตใจดีไม่ก่อปัญหาให้แก่สังคม และด้วยพระมหากรุณาธิคุณจาก สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงรับโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ไว้ ใ นพระราชู ป ถั ม ภ์ ทรงพระราชทานคํ า ขวั ญ ว่ า “นมแม่ คื อ หยดแรกของสายใยรั ก แห่ ง ครอบครัว” “นมแม่” จึงเปรียบเสมือนสัญลักษณ์ของโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ และได้ ร่วมเดินทางไปพร้อมกับการเดินทางของ “โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว” ตั้งแต่ก้าวแรกใน ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ การขับเคลื่อนและกระแสการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ จึงได้เกิดขึ้นอย่างแพร่หลาย ได้ รับการยอมรับจากสังคมเป็นอย่างสูง เกิดงานวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมมากมาย เช่น ปราชญ์นมแม่ อสม.นมแม่เพือ่ สายใยรักแห่งครอบครัว โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว มุมนมแม่ในสถานประกอบกิจการ ตําบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว และเหนือสิ่งอื่นใด ซึ่งก็คือ “นมแม่ไม่ใช่แค่อาหาร...แต่คือรากฐานการพัฒนาชีวิตคน” พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรศั มิ์ พระวรชายาฯ ทรงเป็นองค์ตน้ แบบ ให้แม่ยคุ ใหม่ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สร้างกระแสการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ส่งผลให้อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ อย่างเดียว ๖ เดือน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๕.๔ ในปี ๒๕๔๙ เป็นร้อยละ ๔๑.๖ ในปี ๒๕๕๔ อีกทั้ง ทรงมีความมุ่งมั่นที่ให้นมแม่...สร้างสายใยรัก สายใยผูกพันเกิดขึ้นในครอบครัวดังพระดําริที่ว่า “เราจะใช้นมแม่...สร้างความสุขแก่เด็กไทย” จากวั น นั้ น ถึ ง วั น นี้ นั บ เป็ น พระกรุ ณ าธิ คุ ณ อย่ า งใหญ่ ห ลวงต่ อ การพั ฒ นางาน สาธารณสุขไทยในการส่งเสริมการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่ ในวโรกาสอันเป็นมงคล เป็นเดือน แห่งวันแม่แห่งชาติ และเดือนแห่งสัปดาห์นมแม่แห่งโลก กระทรวงสาธารณสุข ขอทูลถวายโล่ เชิ ด ชู เ กี ย รติ องค์ ต้ น แบบด้ า นการส่ ง เสริ ม การเลี้ ย งลู ก ด้ ว ยนมแม่ แด่ พ ระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายา ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เพื่อเป็น เกียรติประวัติแก่การพัฒนางานสาธารณสุขในการส่งเสริมการเลี้ยงดูลูกด้วยนมแม่สืบไป RRR
สดุดีพ ระเกียรติ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร
สารบัญ คํานํา
หนา
ปาฐกถาพิเศษ / บรรยาย / อภิปราย
• โครงการพระราชดําริ เพื่อคุณภาพชีวิตของปวงชนชาวไทย
๒
• วิถีชีวิตธรรมชาติ สูสุขภาพพอเพียง
๘
• การประเมินความเปราะบางด้านสุขภาพและการปรับตัว
๑๒
ด้านสาธารณสุขเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
• Health Care without Harm : Concept and Applications
๑๘
• วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก–ทางรอดของหญิงไทย
๒๒
• ชั่วโมงพิเศษ...เพื่อคนพิเศษ
๒๙
• การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เรื่องวุ่นที่ป้องกันได้
๓๒
เสวนาวิชาการ
• การลดการใชสารปรอทในสถานบริการสาธารณสุข
๓๘
• วิกฤตอนาคต : สุขภาพและสิ่งแวดลอม
๔๑
• HIA : ความทาทายใหมของภาคประชาชนและทองถิ่น
๕๑
• สุขภาพชองปากกับสุขภาพองครวม : ปริทันตอักเสบในหญิงตั้งครรภ
๕๖
กับความเสี่ยงการเปนเบาหวานและทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
• พัฒนาการเด็กกับสารไอโอดีน
๖๔
• ผลกระทบและการดูแลสุขภาพจากภาวะโลกรอน
๖๗
• ท้องไม่พร้อม : ความทาทายสูการปฏิบัติ
๘๐
• ควงคู่ไปฝากท้อง ลูกเราสองปลอดภัย
๙๑
• แผนที่ทางเดินยุทธศาสตรสูแผนสุขภาพชุมชน
๙๗
• เตรียมความพร้อมผู้สูงอายุ...สู่สากล
๑๐๔
• การจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
๑๑๘
• สุขภาพดี...ด้วยวิถีคุณธรรม
๑๒๖
ประมวลภาพนิทรรศการ
๑๒๙
ภาคผนวก
๑๓๖
คํานํา
กรมอนามั ย เป น หน ว ยงานหนึ่ ง ที่ มี ภ ารกิ จ ในการส ง เสริ ม ใหประชาชนมีสุขภาพดี โดยอาศัยการมีสวนรวมของประชาชน ภาคี เครือขายตางๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีองคความรูและประสบการณ ในการดำเนินงาน มาแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ และเปน พันธมิตรในการดำเนินงานส งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล อม ซึ่ ง มี จุ ด มุ ง หมายให ป ระชาชนทุ ก กลุ ม ทุ ก วั ย ทุ ก อาชี พ ในทุ ก พื้ น ที่ ไดรับบริการสงเสริมสุขภาพที่ไดมาตรฐาน อาศัยในสิ่งแวดลอมที่เอื้อ ตอการมีสุขภาพดี เริ่มตั้งแตที่บาน โรงเรียน สถานที่ทำงาน รวมทั้ง สถานที่สาธารณะทั่วไป โดยคาดหวังวาประชาชนจะมีความรู คานิยม และทักษะในการดูแลตนเองอยางถูกตองเหมาะสม มีพฤติกรรมอนามัย ที่ถูกตองในการดูแลสุขภาพตนเองใหสมบูรณแข็งแรง สามารถปองกัน ตนเองเบื้องตนจากโรคภัยไขเจ็บ รวมทั้งสามารถดูแลรักษาสิ่งแวดลอม ในสถานที่ตางๆ ใหอยูในสภาพที่เอื้ออำนวยตอการมีสุขภาพที่ดี ทั้งนี้ ในปทผี่ า นๆ มา กรมอนามัยไดจดั เวทีวชิ าการรูปแบบการประชุมวิชาการ สงเสริมสุขภาพ เพื่อถายทอดองคความรูดานการสงเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดลอม และพัฒนางานรวมกับภาคีเครือขายที่เกี่ยวของ ซึ่งได รับความสนใจจากกลุ ม บุ ค คล และหน ว ยงานด า นสาธารณสุ ข เข า ร ว มประชุ ม เป น จำนวนมากสำหรั บ ในป ง บประมาณ ๒๕๕๔ นี้ กรมอนามัยจึงไดรวมกับภาคีหลักคือ วิทยาลัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย คณะสาธารณสุ ข ศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร และคณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล จัดทำ โครงการ “การประชุมวิชาการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอม แหงชาติ ครั้งที่ ๔ ประจำป ๒๕๕๔” ขึ้น เพื่อสนับสนุนใหเกิดการเรียนรู ในกลุมนักวิชาการ กลุมผูเกี่ยวของอื่นๆ และประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับ การสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิง่ แวดลอม เพือ่ นำมาใชในการพัฒนางาน และตนเองให้ มี สุ ข ภาพดี พร้ อ มทั้ ง นำความรู้ ที่ ไ ด้ รั บ ไปปรั บ ใช้ ต่ อ การดำเนินงานดานการสงเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดลอมใหเกิด ประสิทธิภาพตอไป (นายแพทยสมยศ ดีรัศมี) อธิบดีกรมอนามัย
• • • • • • •
โครงการพระราชดําริ เพื่อคุณภาพชีวิตของปวงชนชาวไทย วิถีชีวิตธรรมชาติ สูสุขภาพพอเพียง Assessing Human Health Vulnerability and Public Health Adaptation to Climate Change Health Care without harm : Concept and Applications วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก - ทางรอดของหญิงไทย ชั่วโมงพิเศษเพื่อคนพิเศษ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น : เรื่องวุ่นๆ ที่ป้องกันได้
1
ปาฐกถาพิเศษ โครงการพระราชดําริ เพือ่ คุณภาพชีวติ ของปวงชนชาวไทย นายอําพล เสนาณรงค์ องคมนตรี
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงมี พระราชอัจฉริยะ และมีงานที่นา่ สนใจ พระองค์ทา่ น ประสูติเมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ ในเมือง เคมบริดจ์ ประเทศสหรัฐอเมริกา และในปี พ.ศ.๒๔๗๒ พระราชชนกทรงเสด็จสวรรคต อีก ๒ ปี พระองค์ทา่ น เสด็จกลับเมืองไทย มาศึกษาชั้นอนุบาลที่โรงเรียน มาแตร์เดอี ๒ ปี ปี พ.ศ. ๒๔๗๗-๒๔๘๘ พระองค์ทา่ น ไปศึ ก ษาที่ ป ระเทศสวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ระดับเบื้องต้น จนถึงระดับมหาวิทยาลัย รวมเวลาเกือบสิบปี สาเหตุ ที่ เ ลื อ กศึ ก ษาที่ ป ระเทศสวิ ต เซอร์ แ ลนด์ เ พราะ พระราชชนนี ต้ อ งทรงอภิ บ าลพระราชโอรส และ พระธิดา รวม ๓ พระองค์ คือ พระพีน่ างฯ รัชกาลที่ ๘ และพระองค์ ท่าน ประเทศสวิ ต เซอร์ แ ลนด์ เป็ น ประเทศเล็ ก ๆ พลเมื อ งน้ อ ย พลเมื อ งเป็ น คนดี เป็นตัวอย่างทีด่ ี ท่านได้ทรงศึกษาจนถึงระดับมหาวิทยาลัย เมือ่ วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๘ ท่านกลับมาเมืองไทยเป็นครั้งที่ ๓ กับพระเชษฐา วันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ รัชกาลที่ ๘ เสด็ จ สวรรคต ทางรั ฐ บาลได้ ทู ล ถวายขอพระราชทานให้เสด็จขึ้นครองราชย์ ในวันที่ ๙ มิ ถุ น ายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ในวั น นั้ น พระองค์ ท่ า นเสด็ จ กลั บ ประเทศสวิ ต เซอร์ แ ลนด์ อีก ๒-๓ ปี และกลับมาในวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ โปรดเกล้าบรมราชาภิเษก ทรงเสด็จขึ้นครองราชย์โดยสมบูรณ์ ปี พ.ศ. ๒๔๙๕-๒๕๐๑ รวม ๖ ปี พระองค์ท่านทรงเสด็จเยี่ยมเมืองไทยทั่วประเทศ ๗๐ จั ง หวั ด ยกเว้ น จั ง หวั ด แม่ ฮ่ อ งสอน เป็ น พระราชประสงค์ ข องพระองค์ ท่ า น และ พระบรมวงศานุ ว งษ์ ห ลายพระองค์ ส มั ย นั้ น ที่ ต้ อ งรู้ จั ก ประเทศไทย ท่ า นทรงเสด็ จ ไป ทั่วทุกภาค ทําให้พระองค์ท่านทรงทราบประเพณี ขนบธรรมเนียม ภูมิประเทศต่างๆ ของ ประเทศไทยพอสมควร หลังจากนั้น ปี พ.ศ.๒๕๐๒-๒๕๑๐ ท่านเสด็จไปเยี่ยมมิตรประเทศ ๒๘ ประเทศ ทั้งในยุโรป สหรัฐอเมริกา เอเชีย ศึกษาดูว่าเขามีชีวิตอยู่อย่างไร บางประเทศ เคยเป็นเมืองขึ้น ประเทศอื่นเขามีแนวคิดอย่างไร ทั้งหมดนี้เป็นแนวทางที่ท่านเตรียมตัว เป็ นพระมหากษัตริย์ไทยต่อมา
2
ที่สําคัญ คือ ในปี พ.ศ. ๒๕๐๑-๒๕๓๒ รวม ๒๒ ปี ท่านเสด็จประทับหมุนเวียน ไปทั่ ว ประเทศ โดยเสด็ จ ทางเหนื อ ทรงประทั บ ที่ ภู พิ ง ราชนิ เ วศน์ ทางอี ส านพั ก ที่ ภู พ าน ราชนิเวศน์ ทางใต้ประทับที่ทักษิณราชนิเวศน์ และมาประทับที่กรุงเทพฯ คือพระตําหนัก สวนจิตรลดา ช่วงหน้าร้อนไปพักที่พระราชวังไกลกังวล ระหว่างที่ท่านประทับที่ต่างๆ ท่านจะ ออกไปทรงงาน เริ่มโครงการพระราชดําริหมุนเวียนไปตลอด บางงานเป็นงานใหม่ บางงาน เป็นงานแก้ปัญหาชาวบ้านพสกนิกร พอกลับไปอีกในปีต่อไปก็ต่อเนื่อง เริ่มโครงการใหม่ แก้ ปั ญ หา หรื อ ไปขยายผล เป็ น ต้ น นี้ เ ป็ น แนวปฏิ บั ติ ที่ พ ระองค์ ท่ า นปฏิ บั ติ ต ลอดมา เป็นพื้นฐานที่พระองค์ท่านเตรียมตัวล่วงหน้าเป็นสิบปีก่อนที่จะทรงงานอย่างแท้จริง
ในช่วงแรกพระองค์ทา่ นจะมีงานพระราชดําริทางด้านการแพทย์และการสาธารณสุข มีโครงการในพระราชดําริ ดังนี้ ๑. โครงการแพทย์หลวง แพทย์พระราชทาน ที่ทรงริเริ่มในช่วงแรกๆ ๒. การบรรเทาทุกข์ราษฎรที่ประสบภัยพิบัติต่างๆ ๓. พระมหากรุณาธิคุณด้านการบําบัดรักษาผู้เจ็บป่วยด้านโรคระบาด ๔. พระราชพระมหากรุณาธิคุณแก่สภากาชาดไทย ๕. การพระราชทานเกี่ ย วกั บ แนวความคิ ด การควบคุ ม โรคคอพอก และ โรคขาดสารไอโอดีน ๖. พระราชทานความช่วยเหลือผู้ปฏิบัติงานที่มีหน้าที่ป้องกันภัยชาติ ๗. พระราชทานบรมราชูปถัมภ์โรงพยาบาล ๘. ด้านส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ และการยกย่อง ผู้มีผลงานดีเด่นทั่วโลก ด้านการแพทย์การสาธารณสุข เหล่านี้เป็นงานช่วงต้นรัชกาลที่ท่านทรงตระหนักถึงการแพทย์การสาธารณสุข ของประชาชนเป็นหลักก่อนที่จะทรงงานอื่นๆ ต่อไป โครงการแรกๆ ของพระองค์ท่าน คือ โครงการพระราชดําริด้านอาหาร และอาชีพ ของประชาชน ด้านอาชีพส่ วนใหญ่จะเป็นโครงการที่ทุกท่ านคงเคยได้ยิน คือ โครงการ ส่วนพระองค์สวนจิตรลดา อาหารแรกๆ ทีม่ าช่วยเหลือประชาชน คือ ปลา เช่น ปลาหมอเทพ ข้าว นม ผัก โดยเฉพาะนมนี้สําคัญมาก ท่านได้ทรงริเริ่มให้มีการเลี้ยงโคนมขึ้น จากนั้น มีโครงการพระราชประสงค์ โครงการหลวงทําภูเขาทางภาคเหนือ เพื่อลดการปลูกฝิ่นของ ชาวเขา เพื่อปลูกผักพืชเขตอบอุ่น ลดการนําเข้า และโครงการพระราชดําริ ด้านศูนย์ศึกษา เช่น ตั้งศูนย์ศึกษาและพัฒนา ๖ แห่ง
โครงการที่ทรงเน้นหนักอีกประเภท คือ โครงการธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น เรื่องของป่ารักษาป่า เรื่องของนํ้า นํ้าจากธรรมชาติ เรื่องของดิน สัตว์ป่า เรื่องของอาหาร และอาชีพของประชาชน ที่อยู่อาศัย เรื่องของการลดภาวะโลกร้อน โครงการนี้พระองค์ท่าน
3
ได้ตั้งศูนย์ปฏิบัติงานทั่วทุกภาคเวลาไปประทับเพื่อออกไปทรงงานได้ ด้านโครงการใหญ่ๆ อีกโครงการหนึ่ง คือ โครงการพระราชดําริด้านสิ่งแวดล้อมชีวิตในเมือง ความจริง หลักการ ของสิ่งแวดล้อม พระองค์ท่านจะเน้นทั้งประเทศ เมืองในกรุงเทพฯ ท่านก็ไม่ทิ้ง ซึ่งส่วนใหญ่ ที ่ผมนํามาเล่าท่านทรงงานในกรุงเทพฯ แต่วิธีการสามารถประยุกต์ใช้ได้ทั่วประเทศ วิธีการทํางาน คือ โดยปกติหนึ่งวันก่ อนวันเฉลิมพระชนมพรรษา จะให้ผู้แทน เข้าเฝ้ากราบถวายพระพร โดยคนทีเ่ ข้าเฝ้าจะยืนเข้าเฝ้า แต่เมือ่ เมือ่ วันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ พระองค์ท่านนั่งประทับบนพระราชอาสน์ และให้ผู้เข้าเฝ้านั่งบนเก้าอี้ แล้วสิ่งที่พระองค์ท่าน รับสั่งวันนั้น เราถึงมาทราบทีหลังว่า เป็นเรื่องของสภาวะเรือนกระจก เรื่อง โลกร้อน พวกเราเองยังไม่ทราบว่าสิ่งที่ท่านรับสั่งคืออะไร ท่านรับสั่งว่า “จะต้องรักต้นไม้ ปลูกต้นไม้ ในสวนจิตรลดา จะต้องพัฒนาแหล่งนํ้า เพราะว่าถ้าให้เกิดการตัดป่า เผาป่ามากๆ เกิด คาร์บอนไดออกไซด์มากทําให้เกิดภาวะโลกร้อน ต่อไปนํ้าทะเลจะสูงขึ้น กรุงเทพฯ นํ้าอาจจะ ท่ว ม” ซึ่งทุกคนก็ฟังด้วยความงงๆ บางคนก็ พ อเข้ า ใจบ้ า งแต่ค นทั่ ว ๆ ไป อาจไม่เ ข้ า ใจ ภายหลังกระทรวงวิทยาศาสตร์ก็มาขอ ครม.ประกาศให้ วันที่ ๔ ธันวาคมของทุกปี เป็น วันสิ่งแวดล้อมของชาติ พระองค์ ท รงงานมาตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๙–๒๕๓๒ งานที่ พ ระองค์ ท่า นได้ ว าง รากฐานนอกจากเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง คือ ปัญหาโลกร้อน อันที่สอง คือ การปลูกต้นไม้ รักต้นไม้ เป็นแนวที่ใช้ทั่วประเทศ โดยในกรุงเทพฯ ท่านทรงเน้นครั้งแรกที่สวนจิตรลดา โดยทุกปี ฤดูร้อน ท่านจะเสด็จไปหัวหินพระราชวังไกลกังวล สมัยก่อนการเดินทางจะไป โดยทางรถยนต์ หรือรถไฟ ช่วงที่พระองค์ท่านเสด็จ จะต้องผ่าน อําเภอบ้านลาด อําเภอ ท่ายาง ประมาณกิโลเมตรที่ ๑๗๘-๑๗๙ ผ่านตรงนั้นประมาณ ๓-๔ กิโลเมตร จะเขียวขจี และจะรู้สึกเย็น เพราะมีป่ายางเขียวขจี เป็นยางนา พระองค์ท่านจึงมีพระราชประสงค์ จะเก็ บ แปลงยางนาอั น นั้ น เก็ บ ไว้ ใ ห้ จ นถึ ง ปั จ จุ บั น แต่ เ นื่ อ งจากเป็ น สมั ย ช่ ว งเปลี่ ย น การปกครองใหม่ๆ ไม่มีงบประมาณ จึงไม่สามารถสนองได้ ท่านเลยให้เก็บเม็ดยางนาไปเพาะ ทีต่ าํ หนักหัวหิน และสวนจิตรด้วย หลังจากนัน้ วันที่ ๒๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ เป็นวันคล้าย วันพระราชสมภพของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ปีที่ ๙ พระองค์ท่านทรงนัดให้นิสิต มหาลั ย วิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ชั้ น ปี ที่ ๑ เข้ า ไปปลู ก ต้ น ยาง มี ท่า นอธิ บ ดี ก รมป่ า ไม้ เ ก่า ตอนนั้นเป็นคณบดีมาร่วมปลูก โดยปลูกทั้งหมดประมาณ ๑,๒๕๐ ต้น เนื้อที่ประมาณ ๓ ไร่ สมเด็ จ พระราชิ นี ก็ ท รงร่ว มปลู ก ด้ ว ย ในวั น นั้ น ทุ ก ปี ท รงโปรดให้ นิ สิ ต เข้ า มาดู แ ล ต้ นยางนาเหล่านี้ และขณะเดียวกันปลูกต้นไม้อื่นๆ ด้วย ช่วงหลังทรงให้สมเด็จพระเทพลงมาเป็นประธานแทน ภายหลังเลื่อนวันมาตรง กับวันอาสาฬหบูชา ประมาณ ๘ โมง พระองค์ท่านก็ทรงลงมา และให้นิสิตปีที่ ๑ มาดูแล ต้นยางนา ปลูกต้นไม้เพิ่มเติม ไปศึกษาว่าในสวนจิตรมีการทําอะไรบ้างปีละหน มีการเลี้ยง อาหาร
4
ตอนนี้ นอกจากต้ น ยางนา มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ เ ลื อ กปลู ก ต้ น นนทรี ครั้งแรกเชิญพระองค์ท่านไปปลูกวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๐๖ จํานวน ๙ ต้น และให้ วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ของทุกปี เรียกว่าวัน “นนทรีทรงปลูก ดนตรีทรงโปรด” เพราะ ตอนนั้นปี พ.ศ. ๒๕๐๖ พอปลูกต้นไม้แล้ว พระองค์ท่านทรงดนตรีร่วมกับวง KU จึงเกิด เป็นประเพณีต่อมา งานที่ ๓ ที่พระองค์ทรงเน้นมาก คือ การรักษาและพัฒนาแหล่งนํ้า ในกรุงเทพฯ จะมีปัญหา คือ นํ้าน้อย นํ้ามาก นํ้าเสีย จะต้องหาทางแก้ สถานที่บึงพระรามเก้า อยู่ต่อจาก บึงมักกะสัน เป็นบึงที่ใกล้โรงงานรถจักร และมีหมู่บ้านสลัม ๓ หมู่บ้าน นํ้าสกปรกมาก พระองค์ ท่านไปทําการพัฒนา ทําวิธีการให้นํ้าตรงนั้นสะอาด คือ ๑. เอานํ้าสะอาดจากที่อื่นมาไล่ ๒. การบํ า บั ด นํ้ า เสี ย โดยใช้ แ สงแดดใส่ ส ารเร่ ง ตะกอน และใช้ กั ง หั น นํ้ า ที่ ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นหมุนเพื่อให้นํ้าโดนออกซิเจน เพื่อให้บึงพระรามเก้าสะอาดขึ้น
ต่ อ มาอี ก แห่ ง หนึ่ ง คื อ สระนํ้ า พระรามเก้ า อยู่ ร ะหว่ า งคลองห้ า กั บ คลองหก ถนนริมคลองรังสิต ตรงนี้ เป็นที่ดิน ๓,๐๐๐ กว่าไร่ รัฐบาลสมัยพลเอกเปรมเป็นนายก รัฐมนตรีอยากจะถวายที่ตรงนี้เพราะหน่วยราชการหลายหน่วยอยากไปก่อสร้าง แต่ว่า พระองค์ท่านไม่โปรดให้ใช้ที่ก่อสร้าง ทรงโปรดให้ทําสระนํ้าพระรามเก้าขึ้น ๒ สระติดกัน เดิมจะให้เป็นเหมือนนํ้าชักโครก เพื่อล้างใน กทม. โดยผ่านคลองลาดพร้าว ปรากฏว่าพอ สร้างก็มีหน่วยงานไปก่อสร้างด้านหน้าเป็นกระทรวงวิทยาศาสตร์ และมหาลัยวิทยาลัยราช มงคลพระนคร ด้านขวาเป็นกรมประมง เลี้ยงปลา ราชการใช้ที่หมด ใช้นํ้าเยอะ ท่านก็เลย ต้องเก็บไว้อย่างนี้ แต่ว่าในกรุงเทพฯ ต้องใช้นํ้าจากที่อื่น ส่วนใหญ่ในกรุงเทพฯ ใช้นํ้าล้าง สะอาด ส่วนมากจะมาจากทางเหนือ เช่น คลองเปรมประชากร นํ้าเข้ามาจากทางต้นจาก รังสิต ขึ้นตรงผ่านมาเรื่อย และมาออกข้างทําเนียบรัฐบาล เป็นนํ้าดีที่จะเข้ามาไล่นํ้าเสีย ในกรุงเทพฯ นี่เป็นสิ่งหนึ่งที่ต่ อไปกรุงเทพฯ ต้องคิด นอกจากจะขึ้นถนนอย่ างเดียวซึ่ง ไม่ไหวแล้ว ควรใช้ทางนํ้าต่างๆ ที่มีอยู่ด้วย ในกรุงเทพฯ ราชการพยายามส่งเสริมการสร้าง “แก้มลิง” แก้มลิง คือ สระ ถ้ามีนํ้ามากๆ ก็เก็บไว้ใช้ในหน้าแล้ง เช่น บึงหนองบอนอยู่ทางเหนือติดกับสวนหลวง ร.๙ ทํ า เป็ น แก้ ม ลิ ง นอกจากจะเก็ บ นํ้ า ได้ แ ล้ ว ยั ง เป็ น สถานที่ ท่อ งเที่ ย วมี ค นไปเล่ น เรื อ ใบ กรุงเทพฯ เดิม ซ้ายมือจะอยู่ฝั่งกรุงธนบุรี แล้วย้ายมาอยู่ฝั่งขวามือ ในสมัยรัชกาลที่ ๑ ด้วยเหตุผลทางยุทธศาสตร์ โดย มีคลอง ๓ ชั้น ใช้นํ้าในการคมนาคม อุปโภคบริโภค และ เป็นคลองกันศัตรู มีคลองรอบเมือง คลองบางลําพู หรือรอบกรุง ออกคลองแสนแสบ และ ออกแม่นํ้าบางประกงได้ คลองเหล่านี้ รัฐบาลทําประตูนํ้าเปิด-ปิดหมด เพื่อกันไม่ให้นํ้าเหนือ เข้าท่วม และไม่ให้นํ้าเค็มเข้าไปในส่วนกลาง ช่วงนี้กรุงเทพฯ ต้องรักษาความสะอาดคลอง
5
เหล่านี้มากๆ คลองหลอดแถวหลังกระทรวงมหาดไทย เป็นคลองอันแรกจะมีต้นไม้ยังอยู่ ต้นตะเคียนทอง ต้นราชพฤกษ์ รัชกาลที่ ๑ ทรงปลูกไว้เพื่อใช้ทําเรือรบ เรือราชพิธีต่างๆ แต่ ปัจจุบัน เหลือไม่กี่ต้น ๖-๗ ต้น นอกนั้นเป็นต้นไม้ใหม่ คลองถัดไปคือคลองบางลําพู ประวัติ อยู่ใกล้ๆ กับโรงแรมชั้น ๒ มีฝรั่งที่ไปเดินแถวถนนข้าวสารเข้ามาพัก โรงเรียนวัดสังเวช อยู่ใกล้ๆ ปากคลองบางลําพู ที่นี่จะมีต้นลําพูอยู่ และกรุงเทพฯ ได้สร้างสวนสันติชัยปราการ อีกสิ่งหนึ่งที่พระองค์ท่านพระราชดําริว่ากรุงเทพฯ ทําไมต้องทิ้งนํ้าออกทะเลหมด ต้องเก็บไว้ ใช้บ้าง เพราะฉะนั้นต้องมีแก้มลิง คลองกรุงเทพฯ ที่อยู่ติดฝั่งตะวันตกของกรุงเทพ เช่น จังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงครามใกล้กับทะเล ทําแก้มลิง ถ้าหน้านํ้า นํ้ามากก็จะผันนํ้าไป อยู่ทางขวาใกล้กับทะเลเพื่อเก็บนํ้าไว้ และไม่ให้ท่วมด้านเหนือของกรุงเทพฯ แต่ว่าหน้าแล้งก็ ใช้ประโยชน์ได้ และคลองทั้งหลายจะเก็บปิดหัวท้ายก็เป็นเหมือนแก้มลิง เวลาไม่มีนํ้าใช้ก็ สูบไป ในกรุงเทพฯ จะมีคลองระบายนํ้าเอานํ้าที่มากออกทะเล พอนํ้าทะเลมากก็ปิดไม่ ให้ นํ้าทะเลเข้ามาได้ ซึ่งจะมีประตูปิดเปิดได้ อีกสิ่งหนึ่งที่ท่านทรงเน้น คือ การกําจัดและการหมุนเวียนการใช้ขยะ เมื่อวันเด็ก แห่งชาติหลังสุดที่พระองค์ท่านเสด็จเมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๘ ที่มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ บางเขน ได้มีการสาธิตการกําจัดขยะ ท่านทรงทราบเรื่องว่าปัจจุบันกรุงเทพฯ มีขยะประมาณ ๙,๐๐๐ ตันต่อวัน และกรุงเทพฯ มีสมั ปทานทางขยะไปทิง้ ๓ ทิศ ทีอ่ อ่ นนุช ราชาเทวะ และกําแพงแสน เป็นวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีการหาวิธีการ วิจัยให้ขยะสลายตัว กองขยะที่กําแพงแสนสมัยนั้นเหมือนภูเขาทอง จึงคิดหาวิธีทํายังไงให้ ขยะนี้หายไป พระองค์ท่านทรงแนะนําวิธีการ โดยให้หลักการ คือ เอาขยะไปทําเป็นปุ๋ย ให้สลายตัว หลังจากนั้นเกิดเป็นแก๊สมีเทน และไปผลิตกระแสไฟฟ้า ที่เหลือเอาไปทําปุ๋ย เชื้อเพลิงได้ ทรงพระราชทานทุนทรัพย์ปีแรก ๑ ล้านบาท โดยโครงการนี้ต้องใช้เงินลงทุน ๑๐ ล้านบาท ตอนนี้หมักเป็นชั้นๆ แล้วเอาท่อต่อลงไปนําแก๊สไปใช้เดินไฟฟ้าได้ ขยะที่เหลือ จะเหลือเป็นไม้ พลาสติก และบางส่วนก็เอาไปทําปุ๋ย ประเด็นสําคัญขยะก็จะหมดไป ที่ดิน ตรงนั้นก็จะว่างหมุนเวียนพื้นที่ได้ใหม่ เป็นเทคนิคที่ทําอยู่เวลานี้ ปั ญ หาเรื่ อ งการจราจร กรุ ง เทพฯ ตอนนี้ จ ะมี ถ นนสี เ ขี ย ว เรี ย กว่ า ถนน กาญจนาภิเษกรอบเมือง มีสะพานกาญจนาภิเษก เรือต่ างประเทศที่เข้ามาจะต้องลอด สะพานนี้ทั้งนั้น เพราะอยู่ใกล้ปากนํ้ามาก และเส้นนี้จะวิ่งจากหัวหินไปพัทยาได้เลย มีสินค้า อะไรมาข้ า มไปข้ า งหลั ง ได้ เ ลย สมั ย ก่ อ นไม่ มี ส ะพานนี้ คนข้ า มจากพระประแดงฝั่ ง ธน มาท่าเรือฝั่งกรุงเทพใช้เวลา ๖ ชม. หลังจากสร้างสะพานภูมิพล ๑ และสะพานภูมิพล ๒ แล้วก็สามารถแก้ปัญหาได้ เรื่ อ งตํ า รวจจราจร พระองค์ ท่ า นอยากให้ เ มื่ อ มี ปั ญ หาการจราจรอะไร ให้ ตํารวจจราจรไปแก้ปัญหาโดยเร็ว โดยตั้งงบหน่วยจราจรส่วนพระองค์ขึ้น ใช้พระราชทรัพย์ ๔ ล้ า นบาทมอบให้ และจากพระราชิ นี ๔ ล้ า นบาท เริ่ ม ๒๔ สิ ง หาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ 6
และข่าวที่น่ายินดี เมื่อ ๒ วัน ข่าววิทยุนายตํารวจทําคลอดชาวพม่า เขาทําคลอดมาแล้ว ๔๒ คน กลายเป็นงานหลักไป ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นที่เส้นทางรอบๆ ไปโรงพยาบาลราชวิถี วัตถุประสงค์ก็จะเปลี่ยนไปเป็นการทําคลอดบนถนน พระองค์ท่านเสด็จไปเปิดสะพานภูมิพล เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ทรงใช้เรืออังศณานั่งประทับด้านหน้าหัวเรือ กับสมเด็จพระเทพฯ ทรงมีพระราชสําราญมาก ที่เห็นกรุงเทพฯ ยามราตรีที่น่าดู สวยงาม และมีประชาชนออกมากล่าวเปล่งถวายพระพร จุดเทียน อีกอันคือการลดใช้สาร CFC ใช้สารฟลูออโรคาร์บอน ซึ่งมันเก็บความร้อนได้ดี แต่ใช้เวลาสลายตัวเป็นร้อยปี ความจริงไม่ใช่นโยบายของพระองค์ท่าน แต่ตอนนี้เลิกใช้หมด แล้ ว เพราะที่ ท่า นทรงเน้ น คื อ ท่า นทรงทราบว่า นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ทํ า จากฟอสซิ ล หรื อ ซากสัตว์โบราณ ซากพืชโบราณ นับวันจะหมด ๒๐-๓๐ ปี ก็จะหมด ต่างชาติก็ศึกษาหาวิธี อเมริกาคิดใช้นํ้าใช้ออกซิเจนทดแทน ของเราทุกคนคิดว่ าเราปลูกพืชได้ ปลูกพืช มาทํา เชื้อเพลิงได้ เช่น ปาล์มมาทํานํ้ามันดีเซล หรืออ้อย ประเทศบราซิลนําอ้อยมาทํานํ้ามัน แอสซิลิน ทําแอลกอฮอล์ หรือมันสําปะหลังนํามาทําแทนเบนซิน แต่ว่าทําจากแอลกอฮอล์ ทุกคนหวังว่าจะใช้แทนนํ้ามันได้ในอนาคต ใช้แทนได้จริงแต่จะกระทบกับพืชอาหารของเรา ในช่วงแคบๆ แก้ปัญหาได้เฉพาะหน้า ดูจากราคานํ้ามันปาล์ม ราคาแพงขาดตลาด อย่ าง ประเทศบราซิลอ้อยก็จะหมดป่า เราต้องหาพืชอื่น หรือสารอื่น เช่น ไม้ธรรมดา หรือ สบู่ดํา เป็นเรื่องที่เราต้องหา แต่คนไทยรู้จักดี ชาวนาไทยรู้จักทําแอลกอฮอล์จากข้าว แต่เอาไปดื่ม ไม่ ไ ด้ เ อาไปเดิ น เครื่ อ งยนต์ วั น นั้ น ท่า นไปกั บ สมเด็ จ พระเทพฯ เมื่ อ วั น ที่ ๒ มิ ถุ น ายน พ.ศ. ๒๕๔๔ ท่านใช้รถคันนี้ ซึ่งเขียนว่า รถคันนี้ใช้นํ้ามันปาล์มร้อยเปอร์เซนต์ เป็นเหมือน พรีเซนเตอร์ว่าสามารถใช้วิ่งใช้ได้จริง
7
วิถีชีวิตธรรมชาติ สู่สุขภาพพอเพียง นพ.เทิดศักดิ์ เดชคง กรมสุขภาพจิต นายวิวัฒน์ ศัลยกําธร มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ นายสง่า ดามาพงษ์ ผู้ดำเนินการอภิปราย
ความสุขกับสุขภาพ โดย นพ.เทิดศักดิ์ เดชคง ความสุ ข พู ด ง่ า ย แต่ ก ารจะได้ ม า ยากมาก โดยเฉพาะความสุขทางใจ เศรษฐกิจ พอเพียงทําให้เกิดความสุข ด้านกาย ใจ และ คุณภาพชีวิตได้ ทําไมต้องมีความสุข จากการวิจัย พบว่ า คนในประเทศที่ อ ยู่ ใ นทวี ป เอเชี ย ไม่ กล้าบอกว่าตนเองมีความสุข คนส่วนใหญ่จะ บอกว่าตนเองกําลังเครียด กําลังไม่มีความสุข กํ า ลั ง มี ค วามทุ ก ข์ เพราะเป็ น วิ ธี ก ารสร้ า ง สัมพันธภาพอย่างหนึ่ง เนื่องจากจะมีคนมา ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ มาให้ กํ า ลั ง ใจ มาให้ ความสนใจ แต่ ถ้ า บอกว่ า กํ า ลั ง มี ค วามสุ ข ก็จะมีคนคิดอิจฉาริษยา
ถ้ า อยากมี ค วามสุ ข ทํ า อย่ า งไร เราทราบแนวคิ ด และวิ ธี ป ฏิ บั ติ ข องพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ แล้วว่าเป็นอย่างไร แต่คนก็จะถามว่า ทําแล้วได้อะไร และทําไมต้องทําแบบนั้น “ทําไมต้องพอเพียง” มีผลการวิจัยเกี่ยวกับชีวิตหลังถูกล็อตเตอรี ของคนในอเมริ ก า (ตั้ ง แต่ ร้ อ ยล้ า นบาทขึ้ น ไป) พบว่ า บุ ค คลเหล่ า นี้ มี ค วามสุ ข เพิ่ ม ขึ้ น ในช่วง ๒-๓ ปีแรก และความสุขค่อยๆ ลดลง จนกลับสู่สภาวะปกติที่เคยเป็น ภายใน ๕-๑๐ ปี และหลังจากนั้นพบว่า บุคคลจํานวนมากชีวิตตกตํ่ากว่าเดิม เมื่อทบทวนข้อมูล คนที่ถูกล็อตเตอรีรางวัลที่ ๑ ของประเทศไทย พบว่า ส่วนใหญ่เสียชีวิตภายใน ๕ ปีแรก แต่ถึงแม้ประชาชน จะทราบข้อมูลตามที่กล่าวมาแล้วนี้ก็ตาม ก็ยังไม่มีใครหยุดซื้อล็อตเตอรี สรุ ป บทเรี ย นได้ ว่ า “ความรู้ ไ ม่ อ าจทํ า ให้ ค นเปลี่ ย นพฤติ ก รรมได้ ” หรื อ กรณี ที่ ค นรู้ ว่ า การออกกําลังกายหรือการนั่งสมาธิเป็นสิ่งที่ดี แต่ยังมีคนจํานวนไม่มากที่ออกกําลังกาย และนั ่งสมาธิ มีความสุขไปทําไม มีการวิจัยแม่ชี เพื่อศึกษาว่าทําไมแม่ชีถึงอายุยืนร้อยกว่าปี (ศึกษาด้านอารมณ์) โดยศึกษาแม่ชีในมหาวิทยาลัย ซึ่งก่อนที่คนจะเป็นแม่ชีได้ ต้องเขียน 8
ใบสมั ค ร โดยต้ อ งเขี ย นวิ สั ย ทั ศ น์ พั น ธกิ จ ความรู้ สึ ก ว่า ชี วิ ต ตนเองเป็ น อย่า งไร อยู่ ใ น มหาวิทยาลัยนี้แล้ว ชีวิตจะเป็นอย่างไร ออกจากมหาวิทยาลัยนี้แล้ว ชีวิตจะเป็นอย่างไร ความหวังในอนาคตจะเป็นอย่างไร แม่ชีจะเขียนใบสมัครนี้ ตั้งแต่อายุประมาณ ๒๐ ปี ผู้ศึกษาวิจัยศึกษาแม่ชีตอนอายุประมาณ ๖๐ ปี จนถึงอายุประมาณ ๑๐๐ ปี ผลการศึกษา พบว่า สิ่งที่ทําให้แม่ชีอายุยืนยาวคือ มุมมอง และโลกทัศน์ต่อสิ่งแวดล้อมภายนอก โลกทัศน์ ได้แก่ ความสุขในชีวิต ความสนใจในชีวิต ความรัก กําลังใจ สรุปได้ว่า แม่ชีที่มีสุขภาพจิตดีมี ความสุขในชีวิต มีอายุยืนกว่าแม่ชีที่มองโลกในแง่ร้าย ประมาณ ๑๐ ปี นอกจากนี้ยังมี การศึกษาเรื่องการเลิกสูบบุหรี่ พบว่า คนที่เลิกสูบบุหรี่มีอายุยืนขึ้น ๘ ปี ซึ่งกล่าวได้ว่า การมีความสุขสําคัญกว่าการเลิกสูบบุหรี่ ดังนั้น คําถามว่า “มีความสุขไปทําไม” ตอบว่า “มีความสุขเพื่อให้อายุยืน” ประโยชน์ของการมีความสุขอีกประการหนึ่งคือ มีงานวิจัยพบว่า สุภาพสตรีที่ยิ้ม ตาหยี เมื่อตอนจบมหาวิทยาลัย เมื่อติดตามไปอีก ๒๕ ปี พบว่ามีโอกาสแต่งงานมากกว่าคน อื่นๆ สรุปได้ว่ า คนมีความสุขและยิ้มตาหยี มักได้แต่ งงาน แต่ คนที่ได้แต่ งงานไม่ แน่ว่า จะมีความสุข นอกจากนี้ ประโยชน์ของความสุขอีกประการหนึ่งคือ ได้มีการศึกษาโดยให้คนดู แบบทดสอบ แล้วถามว่ ามองเห็นรูปอะไร บางคนมองเห็นเป็นรูปสามเหลี่ยม บางคน มองเห็นเป็นรูปสี่เหลี่ยม อธิบายได้ว่า คนอารมณ์ดี จะเห็นภาพมุมกว้าง มองเห็นทางเลือก ในชีวิต คนอารมณ์ไม่ดี กําลังเศร้าโศกเสียใจ จะมองเห็นทางเลือกในชีวิตแคบๆ และตีบตัน สรุปว่าการมีความสุขจะทําให้มีมุมมองที่กว้าง มองเห็นทางเลือกในชีวิตมากขึ้น และที่มา ของความสุ ข พบว่า มาจากยีนส์ มากที่สุด (ร้อยละ ๓๐) สิ่งที่เปลี่ยนแปลงได้ เพื่อให้ชีวิตมีความสุข มี ๓ ประการ ได้แก่ ๑) ต้องสุขง่าย ๒) ต้องทําสิ่งที่มีคุณค่า / สําคัญ และ ๓) ต้องทําให้ชีวิตมีความหมาย สิ่งที่ทําให้ชีวิตมีความสุขได้ง่ายๆ คือ การค้นหาว่าวันนี้มีสิ่งดีๆ ๓ อย่าง อะไรบ้าง แล้วใช้ศักยภาพของตนเองทําให้ดียิ่งขึ้น มีงานวิจัยพบว่า ทีมแข่ง โบลิ่ง ๒ ทีม ทีมหนึ่ง ค้นหาสิ่งดีๆ แล้วทําบ่อยๆ อีกทีมค้นหาสิ่งบกพร่องแล้วพยายามแก้ไข พบว่าทีมที่ค้นหา ข้ อ บกพร่ อ งผลการแข่ ง ขั น ไม่ ดี เ ท่ า กั บ ที ม ที่ ค้ น หาสิ่ ง ดี ๆ สรุ ป ได้ ว่ า สิ่ ง เลวร้ า ยในชี วิ ต ส่วนใหญ่แก้ไขได้ยาก ต้องค่อยๆ แก้ไขไป ไม่ต้องเร่งรีบ สิ่งใดที่คิดว่าทําดีอยู่แล้วจงใช้บ่อยๆ และใช้ ให้เกิดประโยชน์ ชีวิตจะดีขึ้น ครั้งหนึ่งได้มีการทําค่ายสุขภาพ มีกิจกรรมเพื่อการดูแลสุขภาพ และใช้ปริมาณ นํ้าตาลในเลือดเป็นตัวชี้วัด พบว่ากลุ่มคนที่เข้าค่ายมีปริมาณนํ้าตาลสูงกว่าคนไม่ได้เข้าค่าย เนื่องจากคนที่เข้าค่ายไม่ดูแลสุขภาพตนเอง คาดหวังจากการเข้าค่ายเป็นหลัก ส่วนกลุ่ม ที่ไม่ได้เข้าค่าย ไม่สามารถพึ่งกิจกรรมเข้าค่ายเพื่อให้สุขภาพดีได้ จึงดูแลตนเองโดยการรวม กลุ่มกันออกกําลังกาย สรุปบทเรียนได้ว่า ข่าวร้ายเป็นข่าวดีได้ ถ้ารู้จักมอง แล้วเอาไปใช้ให้ เกิดประโยชน์ และการพึ่งพาตนเองจะทําให้มีความสุข มีสุขภาวะทั้งกายและใจที่ดี 9
วิ ถีชีวิตแบบพอเพียง โดย นายวิวัฒน์ ศัลยกําธร ในเรื่องวิถีชีวิต ได้ยกตัวอย่างบุคคลที่มีวิถีชีวิตที่น่าสนใจ ท่านที่หนึ่ง คือ บิดา แห่งวงการแพทย์ไทย และเป็นบิดาของพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบัน ท่านได้พระราชทาน คํ า ว่ า “ขอให้ ถื อ ประโยชน์ ส่ ว นตนเป็ น ที่ ส อง ประโยชน์ ข องเพื่ อ นมนุ ษ ย์ เ ป็ น กิ จ ที่ ห นึ่ ง ลาภทรัพย์ชอื่ เสียงเกียรติยศจะเกิดกับท่านเอง” ท่านเป็นทหารเรือ เป็นลูกของพระมหากษัตริย์ จบการศึกษาจากเยอรมัน แล้วก็มาพัฒนาการแพทย์ของประเทศไทย ขณะที่เรียนแพทย์อยู่ ที่ต่างประเทศ ก็ใช้คํานําหน้าว่านาย ทําตัวเป็นนักเรียนแพทย์เหมือนกับคนอื่นๆ ไม่วางตัว เป็นเจ้านาย มีความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย ถือว่าเป็นการวางพระองค์สมกับการเป็นเจ้านาย ที่แท้จริง ถือว่าเป็นตัวอย่างในการดํารงชีวิตที่ดี นอกจากนี้ วิถีชีวิตของท่านยังเป็นต้นแบบ ของโลกด้วย ท่านที่สอง คือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ทรงงานมากมาย มีโครงการพระราชดําริอยู่ทั่วประเทศ ทรงบําเพ็ญตนตามทศพิธราชธรรม ๑๐ ประการ มาโดยสมํ่าเสมอ ซึ่งได้แก่ ๑) ทาน มีเรื่องเล่าขําๆ ซึ่งพระเจ้าอยู่หัวท่านทรงเล่าให้ฟังว่า เมือ่ ครัง้ ทีม่ กี าร สร้างสวนหลวง ร.๙ ผูด้ าํ เนินงานได้มาขอของใช้ของท่าน เพื่อนําไปแสดง ให้ประชาชนได้ชื่นชม ท่านก็ให้ไปมากมาย และทรงตรัสกับว่า “น่าจะเอาองค์จริงไปตั้ง ไว้ดว้ ยเลย” ๒) ศีล ๓) บริจาค ๔) ความซือ่ ตรง (อาชชวะ) ๕) ความอ่อนโยน (มัททวะ) ๖) ความเพียร (ตบะ) ๗) ความไม่โกรธ (อักโกธะ) ๘) ความไม่เบียดเบียน (อวิหิงสา) ๙) ความอดทน (ขันติ) และ ๑๐) ความเที่ยงธรรม (อวิโรชนะ) ซึ่งจะเห็นว่าท่านครองชีวิต แบบวิถีไทย และวิถีธรรมะ ซึ่งเป็นแนวคิดของเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง แนะนําให้ทุกท่ าน ไปอ่านหนังสือพระมหาชนก จะทราบรายละเอียดมากขึ้น
บุคคลทีส่ ามทีย่ กตัวอย่างให้เห็นถึงการครองชีวติ แบบวิถธี รรมชาติ ก็คอื พ่อกับแม่ ของอาจารย์ วิ วั ฒ น์ ซึ่ ง ท่ า นได้ ค รองชี วิ ต แบบวิ ถี ธ รรมชาติ ศึ ก ษาตํ า ราแพทย์ แ ผนไทย ปรุ งยารักษาโรคเองโดยใช้สมุนไพร อาจารย์วิวัฒน์ ได้ลาออกจากราชการเพื่อพิสูจน์ เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง โดยมี หลักคิดว่า การเป็นข้าราชการต้องประพฤติธรรม ๑๐ ข้อ ได้แก่ ความรู้ดี มีสัจจะ เสียสละ เพื่อสังคม นิยมประชาธิปไตย ใช้เหตุผลอดทนต่ อหน้าที่ หลีกหนีอบายมุข หาความสุข จากธรรมะ เลิกละทิฐิ และมีสติครองตน ซึ่งกระทําได้ยาก จึงได้ลาออกมาเป็นชาวนา ซึ่งมี ธรรมที่ ต้ อ งปฏิ บั ติ เ พี ย งไม่ กี่ ข้ อ คื อ เพี ย ร รู้ จั ก พอ และหาความรู้ และอี ก เหตุ ผ ล คื อ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ ๙ ทรงตรั ส ไว้ ว่ า ประเทศไทยมี จุ ด แข็ ง คื อ ความมั่นคงด้านอาหาร ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีความเจริญด้านเกษตรกรรม มาเป็นเวลาช้านาน แต่จากการสํารวจข้อมูล พบว่า คนไทยทําเกษตรกรรมน้อยลง มีคน สืบทอดอาชีพเกษตรเพียงร้อยละ ๐.๙ เท่านั้น คนวัยทํางานเข้ามาทํางานในเมืองกันหมด ปล่อยผู้สูงอายุอยู่เฝ้าบ้าน สุดท้ายก็ต้องขายที่เพราะไม่มีใครทํา ในอนาคตข้างหน้าคนไทย อาจต้องซื้อข้าวรับประทาน นี่คือเหตุผลที่ลาออกจากราชการเพื่อมาทํานาเป็นเกษตรกร 10
และจากการที่ได้เป็นชาวนา ก็ได้ทราบว่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําไปประยุกต์ ใช้ได้ง่าย เช่น ประยุกต์ใช้กับกิจการการกลั่นนํ้ามันอุตสาหกรรมการผลิต และอุตสาหกรรม การท่ อ งเที่ ย ว เป็ น ต้ น อุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วที่ ใ ช้ ป รั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งที่ ไ ด้ รับรางวัล ได้แก่ ชุมพรคาบานา และอาจารย์วิวัฒน์ได้ตั้งมูลนิธิเกษตรกรรมธรรมชาติขึ้น เพื่อทํางานกับเกษตรกร เพื่อจะรักษาความมั่นคงด้านอาหาร เพื่อให้ประเทศไทยได้เป็น ที่ ห นึ่ ง ด้ า นความมั่ น คงด้ า นอาหาร และมู ล นิ ธิ เ ศรษฐกิ จ พอเพี ย งเพื่ อ ทํ า หน้ า ที่ ใ น การขั บ เคลื่ อ นนโยบายและผลั ก ดั น ให้ ส ถาบั น การศึ ก ษานํ า หลั ก การเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ไปปฏิบัติ ส่วนการวัดความเจริญจะไม่วัดด้วยเงินหรือรายได้ แต่จะวัดด้วย “บุญ ทาน” สรุปว่า ควรมี ๔ พ ได้แก่ เพียง พอ เพิ่ม พูน คือ มีความเพียงพอ มีการเพิ่ม ความรู้ให้กับตัวเอง และนําไปสู่ความเพิ่มพูนด้านความมั่งคั่ง
วิถีแห่งความเป็นธรรมชาติ สู่วิถีแห่งธรรมะ จากวิถีแห่งธรรมะ ไปสู่การปฏิบัติได้ อย่ างเป็นรูปธรรม สัจธรรม จากแนวคิดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นวิถีแห่งธรรมชาติ เป็นวิถีแห่งความเป็นไทย เป็นวิถีแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิตทุกมิติ เป็นวิถีแห่งธรรมชาติ อย่างแท้จริง อยู่อย่างเคารพธรรมชาติ เป็นวิถีที่ทําให้คนพึ่งพาตนเองอย่างเพียงพอ และ เป็นวิถีแห่งการครองชีวิตอย่างยั่งยืน
11
การประเมินความเปราะบางดานสุขภาพและการปรับตัว ดานสาธารณสุขเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Assessing Human Health Vulnerability and Public Health Adaptation to Climate Change) Dr.A.M.Zakir Hussian, WHO-SEARO
ความเปราะบาง (Vulnerability) หมายถึง ระดับความไวตอการไดรับผลกระทบ หรือระดับความไมสามารถรับมือกับผลกระทบที่เกิดขึ้นของคนหรือระบบ การปรั บ ตั ว (Adaptation) หมายถึ ง การปรั บ ตั ว เพื่ อ เพิ่ ม ความยื ด หยุ น (Resilience) หรือลดระดับความเปราะบางลง
กรอบแนวคิด ในการพิ จ ารณาผลกระทบต อ สุ ข ภาพจากการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ ใชกรอบแนวคิดเรื่อง DPSEEA model ไดแก Driven force, Pressure, State, Exposure, Effect and Action ซึ่ ง ได รั บ การพั ฒ นาโดยองค ก ารอนามั ย โลก (World Health Organization : WHO) กรอบแนวคิดนี้เปนแนวการวิเคราะหและอธิบายถึงสาเหตุหรือ ปจจัยที่กอใหเกิดผลกระทบ สภาวะที่เกิดขึ้น ความเสี่ยงตอปญหา ลักษณะของผลกระทบ และแนวทางการปฏิบัติหรือมาตรการในการจัดการกับผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยเชื่อมโยงให เห็นความสัมพันธตั้งแตตนเหตุจนถึงปลายทางของปญหา แผนภาพที่ ๑ ความสัมพันธของสาเหตุและผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ สามารถแสดงได
12
(๑) แรงขับ (Driving force) ของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไดแก นโยบายดานพลังงานการเกษตร ขนสง การเปลี่ยนโครงสรางประชากร การเปลี่ยนแปลงการใชที่ดิน และการพัฒนาเมือง โดยมาตรการที่รับมือ กับแรงขับ คือ ขอตกลงระหวางประเทศ เชน อนุสัญญาสหประชาชาติ วาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ UN Convention เปนตน (๒) แรงกดดัน (Pressure) ไดแก การปลอยกาซเรือนกระจกในกิจกรรม ตางๆ มาตรการที่รับมือกับแรงกดดัน คือ นโยบายในการลดการปลอย ก๊าซเรือนกระจกของประเทศ (๓) สภาวะ (State) ไดแก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มาตรการ ที่รับมือ คือ นโยบายและโปรแกรมในการปรับตัวเพื่อลดหรือจัดการ ความเสี่ยง (๔) การสัมผัส (Exposure) ไดแก การไดรับผลกระทบจากความรุนแรงของ ธรรมชาติ นํ้าทวม คลื่นความรอน การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ การขาดแคลนอาหารและนํ้า การเปลี่ยนแปลงของการกระจายของพาหะ นําโรค เปนตน มาตรการในการรับมือ คือ การจัดทําตัวชีว้ ดั การเฝาระวัง นโยบายดานสาธารณสุข และการปองกันสิ่งแวดลอม เปนตน (๕) ผลกระทบ (Effect) ไดแก การเกิดโรคตางๆ ทั้งโรคระบบหลอดเลือดและ หัวใจ โรคระบบทางเดินหายใจทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง โรคอุจจาระรวง เฉียบพลัน สุขภาพจิต โรคติดตอนําโดยแมลง ภาวะทุพโภชนาการ และ การบาดเจ็บหรือเสียชีวิต เปนตน มาตรการในการรับมือ คือ การคนหา ผูปวยและการรักษา
การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศไดสง ผลกระทบตอสุขภาพทางตรงจากเหตุการณ ทางธรรมชาติ และผลกระทบทางออมจากการเกิดโรคและภาวะทุพโภชนาการ ผลกระทบ ทางตรงที่เกิดจากภัยธรรมชาติ ไดแก การเสียชีวิตจากพายุ นํ้าทวม นํ้าเสื่อมคุณภาพ/ สารพิษจากสารเคมี คลื่นความรอน ไฟปา การเสื่อมสภาพของดิน เชน ดินถลม ถูกกัดเซาะ และยุบตัว เปนตน เชน การเกิดคลื่นความรอนในทวีปยุโรป สเปนและรัสเซีย ผลกระทบ ทางออมจากโรคและภาวะทุพโภชนาการที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไดแก การเสื่อมสภาพของดินสงผลใหผลผลิตทางการเกษตรลดลง ทําใหเกิดการอพยพยายถิ่น และการพัฒนาเปนชุมชนเมืองสงผลใหเกิดภาวะยากจน เกิดภาวะขาดสารอาหารและเกิด โรคตางๆ ตามมา นอกจากนี้ การเสื่อมสภาพของระบบนิเวศ ทําใหเกิดภาวะขาดสารอาหาร เนื่องจากสัตว นกและปลามีจํานวนนอยลง จากขอมูลทั่วโลกพบวารอยละ ๓๐ ของนก แมลงและสัตว ไดสูญพันธุไปแล ว นอกจากนี้ ความร อนที่เพิ่มขึ้นก็สงผลให ศักยภาพใน 13
การทํางานของผูปฏิบัติงานลดลง สงผลใหผลผลิตนอยลง ราคาสินคาสูงขึ้น และสงผล ตอปญหาความยากจนตามมา นอกจากนี้ยังเกิดผลกระทบทางตรง ไดแก การเปลี่ยนแปลง ของพาหะนําโรคทั้งการกระจาย การเคลื่อนยาย การเปลี่ยนแปลงของเชื้อโรค รวมทั้ง การเปลี่ยนแปลงการใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช เปนตน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบ ทางสิ่งแวดลอมและสังคมเหลานี้ ไดสงผลเชื่อมโยงมายังสุขภาพ ดังนั้น จึงเปนที่มาของ การประเมิ น ความเปราะบางทางสุ ข ภาพและการปรั บ ตั ว ดา นสาธารณสุ ข เพื่ อ รั บ มื อ กั บ ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การประเมินความเปราะบางทางสุขภาพและการปรับตัวด านสาธารณสุขเพื่อ รับมือกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีขอคํานึงและขั้นตอน ดังนี้
ขอคํานึงในการพิจารณาความเปราะบาง ในการพิจารณาความเปราะบาง ตองมีการพิจารณาในประเด็นในเรื่องตอไปนี้ (๑) ความเสี่ ย งของความเปราะบางมี ก ารเปลี่ ย นแปลงตามเวลา ดั ง นั้ น การประเมินความออนไหวตองประเมินเปนระยะๆ (Period) (๒) ความเปราะบางในอนาคตอาจมี ค วามแตกต า งกั บ ปจ จุ บั น เนื่ อ งจาก ผลจากการแกไขปญหาที่ดําเนินการอยูในปจจุบัน (๓) ระดับความเสี่ ย งของผลกระทบอาจเปลี่ ย นแปลง เนื่ อ งมาจากระดั บ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีการเปลี่ยนแปลง
ขัน้ ตอนการประเมินความออนไหวและการปรับตัวดานสาธารณสุข ประกอบดวย ๗ ขัน้ ตอน ไดแก ๑. การพิจารณาและคัดเลือกหลักเกณฑ ของการประเมินความเปราะบางและ การปรับตัว ๒. การอธิบายสถานการณดา นระบาดวิทยาในปจจุบนั เชน การกระจาย แนวโนม และภาระโรคที่มีความไว และภาระโรคอื่นๆ ๓. (a) ระบุและอธิบายนโยบาย โครงการในปจจุบัน รวมทั้งประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของนโยบายแผนงาน โครงการดังกลาว (b) พิจารณาชองวางของนโยบาย ขอมูล เทคโนโลยี กิจกรรมและงบประมาณ สนับสนุน (c) พิจารณาความสําเร็จของการดําเนินงานทั้งในอดีตและปจจุบัน (d) พิจารณาปจจัยที่มีผลตอการเพิ่มหรือลดของโรคทั้งในอดีตและปจจุบัน ๔. คาดการณสถานการณดานประชากรศาสตรในปจจุบัน ความตองการดาน การบริโภคและบริการ ผลของความเครียด ที่ครอบคลุมเรื่องการเปลี่ยนแปลงของระบบ เศรษฐกิ จ สั ง คมและผลของการเปลี่ ย นแปลงคุ ณ ลั ก ษณะของประชากร ที่ อ ยู อ าศั ย การสุขาภิบาล ความหนาแนน ความยากจน สภาวะสุขภาพและพฤติกรรม โดยหาวาปจจัย อะไรบางที่เปนตัวกําหนดความเปราะบางในปจจุบัน 14
๕. (a) ทบทวนผลกระทบตอสุขภาพจากกิจกรรมของภาคสวนอื่น (b) ทบทวนการจั ด การผลกระทบต อ สุ ข ภาพที่ เ กิ ด จากการเปลี่ ย นแปลง สภาพภูมิอากาศในภาคสวนอื่นๆ เชน ดานการเกษตรและการผลิตอาหาร การจัดการทรัพยากรนํ้า ภัยพิบัติและนํ้าทวม รวมทั้งพิจารณาวานโยบายและแผนงานในภาคสวนตางๆ เหลานี้ สงหรือจะสง ผลกระทบตอสุขภาพอยางไร ทั้งทางบวกและทางลบ เชน การขนสง แหลงและการใช พลังงานในภาคสวนตางๆ เปนตน ๖. วางแผนการประเมิ น ผลกระทบต อ สุ ข ภาพทั้ ง ระยะสั้ น และระยะยาว (๒๐-๑๐๐ ป) โดยการประเมิน DALY หรือ QALY รวมทั้งพิจารณาความไมแนนอนของ การเปลี่ ย นแปลงของสภาพภูมิอากาศและป จ จั ย อื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ ง โดยใช เ ครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช พยากรณที่มีอยู ๗. (a) พิจารณาทรัพยากรที่จําเป นตองใช ในการประเมิน รวมทั้งเทคโนโลยี ที่สนับสนุนการประเมิน (b) จัดทําฐานขอมูลผูเชี่ยวชาญดานการประเมินผลกระทบตอสุขภาพจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (c) จัดทําคูม อื แนวทางการประเมินผลกระทบตอสุขภาพจากการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ โดยขึ้นกับการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญขางตน (d) จัดหาแหลงงบประมาณสนับสนุนและลงมือศึกษา
การเก็บตัวอยางและการวิเคราะหขอมูลทางสถิติ
ใช Time-Series Regression ในการศึกษาอัตราการตายกับการเปลี่ยนแปลง ของสภาพภูมิอากาศ โดยควบคุมปจจัยตัวกวน (Confounding Factor) ซึ่งวิธีการที่ดีที่สุด ในการควบคุมตัวกวน คือ Multiple Regression Analysis
การพิจารณาศักยภาพในการปรับตัว
การประเมินศักยภาพในการปรับตัว พิจารณา ๕ ดาน ไดแก ๑) ดานการบริหารจัดการ - นโยบาย ยุทธศาสตร กฎหมายและขอบังคับที่ใหความสําคัญกับความ เทาเทียมและดานจริยธรรม - ความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน - วิธีการในการขอรับความชวยเหลือระหวางประเทศ - ความเต็มใจและศักยภาพของรัฐบาลในการใหและใชความชวยเหลือ หรือ ศักยภาพในการรับมือดวยตนเอง
15
16
- แนวทางในการบรรเทาสาธารณภัย กระบวนการทางกงสุล ขอตกลง ระหวางประเทศที่ใชการสื่อสารเมื่อเกิดกรณีฉุกเฉิน - ความพรอมของรัฐบาลและความรวดเร็วของรัฐบาลในการจัดการกับ ผลกระทบที่เกิดขึ้น (การเตรียมเวชภัณฑ ระบบการขนสง และระบบ การติดตอสื่อสาร) - กลไกในการรวมรับมือกับความเสี่ยงและศักยภาพของหนวยงาน - ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการจัดลําดับความสําคัญในการรับมือ กับผลกระทบ ๒) ดานเทคโนโลยี - ความรั บ ผิ ด ชอบร ว มกั น ทั้ ง ภายในและภายนอกองค ก ร และขอบเขต ของการประสานความร ว มมื อ (เช น การแลกเปลี่ ย นทรั พ ยากรหรื อ เทคโนโลยี) - ระดับของการพัฒนาและถายทอดเทคโนโลยี - การจั ด ทํ า แผนที่ อั น ตรายโดยแบ ง เป น ระดั บ ความรุ น แรง, สถานที่ , ประชากรทีไ่ ดอนั ตรายและลักษณะ / พฤติกรรมของประชากรกลุม ดังกลาว - ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลของระบบเฝ า ระวั ง และระบบเตื อ นภั ย รวมทั้งกระจายทรัพยากรและการตอบโตในภาวะฉุกเฉินอยางทันทวงที และทั่วถึง - ขอตกลงระหวางหนวยงานที่ใหการสนับสนุนหรือผูบริจาค รวมทั้งผูมี สวนไดสวนเสียอื่นๆ ในการจัดหาอุปกรณหรือเทคโนโลยีตางๆ เพื่อลด ผลกระทบหรือความรุนแรงที่เกิดขึ้น - ความสามารถขององคกรในการประเมินและจัดการความเสี่ยง รวมทั้ง ความสามารถในการประยุกตใชทางเลือกอืน่ ๆ ในการจัดการกับผลกระทบ ที่เกิดขึ้น - ระบบเตือนภัยที่มีประสิทธิภาพ ๓) ดานการประสานความรวมมือ - องคกร TOR และทักษะที่สนับสนุนการดําเนินงาน ภารกิจ วิสัยทัศนของ หนวยงานในภาคสวนตางๆ ความขัดแยงและความเขาใจในเรื่องการ รับมือกับผลกระทบ - ระบบการบริหารจัดการขอมูลภายในองคกรและภาคประชาชน รวมทั้ง การใชขอมูลในกระบวนการตัดสินใจ - ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการเชื่อมโยงและประสานความรวมมือ ในทุกระดับ ทั้งนานาชาติ ระดับชาติ และภายในองคกร
- ประเด็นรวมระหวางหนวยงานตางๆ ทั้ง วิสัยทัศน ความตระหนักในเรื่อง ความเสี่ ย งและการจั ด การกั บ ความเสี่ ย งดั ง กล า ว ความเชื่ อ มโยง ระหวางการพัฒนา ผลกระทบ ความเปราะบางและผลประโยชนรวม รวมทั้งบทบาทหนาที่และประสิทธิภาพในการทํางานขององคกรนําและ การประสานงาน - การประเมินผลการดําเนินงานและการติดตามตรวจสอบทั้งภายในและ ภายนอกองคกร - การแบงอํานาจหนาที่ระหวางผูจัดการ ผูประสานงานและนักวิชาการใน องคกรตางๆ ทั้งระดับนานาชาติและระดับที่ตํ่าลงมามีความชัดเจน - ผูที่ทําหนาที่เปนแกนหลักในการประสานงานในองคกรแกนกลาง ๔) ดานการมีสวนรวมของชุมชน - ประสบการณและความสามารถของผูมีสวนไดสวนเสียในการปรับตัว โดยพิจารณาตามลักษณะพื้นที่และลักษณะของประชากร - การสือ่ สารขอมูลเรือ่ งความเปราะบาง วิธกี ารจัดการ และการลดการปลอย กาซเรือนกระจก (GHG) สูบรรยากาศแกผูมีสวนไดสวนเสีย - เครือขายทางสังคม การปฏิบตั แิ ละระบบการรวมตัว (Inclusion system) - ลดความเสี่ยงและการสื่อสารความเสี่ยงผานชองทางตางๆ เชน วิทยุ ดาวเทียม หรือ IT อื่นๆ ในระดับชุมชน รวมทั้งการประเมินประสิทธิภาพ ของระบบนั้นดวย - กลไกการสรางความรู ความเขาใจและสรางความตระหนักใหแกชุมชน รวมทั้งวิธีการสรางการมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ของภาคสวนตางๆ - องคกรในชุมชนหรือชุมชน ภารกิจ ความยืดหยุน ความเขมแข็งและ โครงสรางของชุมชนในการรับมือกับผลกระทบ - ทัศนคติและพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนตอประเด็นการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ
๕) ดานความเขมแข็งของระบบ - แผนของเครือขายในแตละระดับ - ความเขมแข็งของแกนนํา ผูจัดการ รวมทั้งองคกร ความเขมแข็งของระบบบริการสาธารณสุข เชน ระบบการเตรียมพรอม ดานบุคลากร เวชภัณฑ กลไกรับมือ เปนตน
17
Health Care without Harm : Concept and Applications Mr.Joshua Karliner, HCWH
องค์กร Health Care Without Harm (HCWH) เป็นองค์กรดําเนินการ โดยยึดหลัก ๑. สิทธิในการได้รับบริการสุขภาพ และ ๒. สิทธิในการได้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ
HCWH เป็นภาคีร่วมของ ๔๔๓ องค์กร ใน ๕๒ ประเทศ ดําเนินงานร่วมกันเพื่อ เปลี่ยนแปลงสถานบริการสุขภาพไม่ให้เป็นแหล่งต้นตอของอันตรายต่อคนและสิ่งแวดล้อม มีสํานักงานอยู่ในอเมริกา ยุโรป อาร์เจนตินา และฟิลิปปินส์
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดโรคที่เป็นปัญหาถึงหนึ่งในสี่ของภาระโรคทั่วโลก ได้แก่ นํ้าดื่มที่ไม่สะอาด การสุขาภิบาลและสุขอนามัยที่ไม่ดี มลพิษทางอากาศใน-นอก อาคาร อันตรายในที่ทํางาน อุบัติเหตุในอุตสาหกรรม อุบัติเหตุรถยนต์ การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ การใช้พื้นที่ดินไม่เหมาะสม และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ขาด ประสิ ท ธิ ภ าพ อั ต ราตายในกลุ่ม เด็ ก ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มสู ง ถึ ง ๓๖% ในประเทศ กําลังพัฒนาสาเหตุการตายส่วนใหญ่เกีย่ วข้องกับการขาดแคลนนํา้ สะอาด และการสุขาภิบาล ที่ไม่เหมาะสม รวมทั้งมลพิษทางอากาศในและนอกอาคาร
บทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของหน่วยงานด้านสาธารณสุข คือ การป้องกัน แก้ไขภาระโรคจากสิ่งแวดล้อม โดยต้องเริ่มที่ดูแลบ้านตัวเองก่อน ก่อนจะไปแก้ไขผู้อื่น ผู้ดูแลสุขภาพ “ต้องทําสิ่งที่ไม่เป็นอันตราย” สถานบริการสุขภาพทุกแห่ง ทําหน้าที่เป็น ผู้ทําให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี โดยทําตัวให้เป็นตัวอย่างที่ดี เพราะขณะที่ ให้การรักษาโรค สถานบริการสุขภาพก็มีส่วนในการสร้างมลพิษด้วยจากอุปกรณ์ที่ใช้และ กระบวนการรักษา ของเสียจากการบริการด้านสุขภาพถูกพบว่า ทิ้งรวมกับของเสียทั่วไป ของเทศบาล หรือเผากลางแจ้งหรือถม พบเศษเถ้าเตาเผาขยะของโรงพยาบาลมีโลหะหนัก ปริมาณสูง ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากปริมาณของเสียมีมากเกินกําลังการจัดการ ทั่วโลกมี ประชากรมากกว่ า ครึ่ ง ที่ มี ค วามเสี่ ย งต่ อ สุ ข ภาพจากสิ่ ง แวดล้ อ ม จากอาชี พ และจาก การจัดการของเสียทางการแพทย์ที่ขาดประสิทธิภาพ
ผลกระทบจากการปฏิบัติด้านการกําจัดของเสียทางการแพทย์ ในปัจจุบัน ได้แก่ การแพร่ของโรคติดต่อจากการจัดการขยะติดเชื้อไม่เหมาะสมรวมถึงขยะจากการฉีดวัคซีน ต่างๆ ผลกระทบต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อมระยะยาวจากสารไดออกซิน ฟิวแรน และปรอท จากการเผาขยะทางการแพทย์ ผลกระทบทางเศรษฐกิจของโลก ต่อครอบครัว ชุมชน และ ประเทศ การขาดการจัดการที่ดีนําไปสู่การเสียชีวิตและภาวะทุพลภาพ
18
ด้านความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง : ความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งในช่วงชีวิต ของเพศชาย เท่ากับร้อยละ ๕๐ เพศหญิง ร้อยละ ๓๓ ซึ่ง ชาย ๑ ใน ๑๒ คน และหญิง ๑ ใน ๑๑ คน จะมีโอกาสเป็นมะเร็งแบบลุกลามก่อนอายุ ๖๐ ปี (ACS 2005) ความเสี่ยงต่อ การเป็นมะเร็งเต้านมเพิม่ เป็น ๓ เท่า ในช่วง ๔๐ ปีทผี่ า่ นมา (ACS 2003) มะเร็งต่อมนํา้ เหลือง บางประเภทเพิม่ ขึน้ เกือบเท่าตัว (RPCI 2005) ผูห้ ญิงสหรัฐร้อยละ ๑๐-๑๕ มีเยือ่ บุโพรงมดลูก ผิดปกติ สัมพันธ์กับการได้รับสารไดออกซิน (Holloway 1994, Suchy & Stepan 2004)
Austrias Declaration, 2001 เกิดขึ้นจากการประชุมที่ประเทศออสเตรียใน เรื่อง สิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุของมะเร็ง : องค์การอนามัยโลกได้คํานวณว่า ๑ ใน ๑๐ ของ การเสียชีวิตที่ป้องกันได้ ในปี ๒๕๔๗ เกิดจากสารพิษ มะเร็งส่ วนใหญ่เกิดในประเทศที่ ยากจน และมีแนวโน้มสูงขึ้น มะเร็งจากสิ่งแวดล้อมและการทํางานหลายชนิดป้องกันได้ วิธีป้องกันที่ดีที่สุดคือ ป้องกันการได้รับสารพิษที่ก่อมะเร็ง
สารเคมี ใ นการบริ ก ารสุ ข ภาพ : สารเคมี ใ นโรงพยาบาล ได้ แ ก่ นํ้ า ยาฆ่ า เชื้ อ ยาฆ่ า แมลง นํ้ า ยาทํ า ความสะอาด อุ ป กรณ์ ท างการแพทย์ วั ส ดุ ก่ อ สร้ า ง เฟอร์ นิ เ จอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ยารักษาโรค สารเคมีในห้อง Lab การกําจัดขยะ ล้วนอยู่ในวงจรชีวิตที่นํา สารพิษเข้าสู่ร่างกาย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) เป็นปัญหาที่ ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพที่ใหญ่ที่สุดของศตวรรษที่ ๒๑ ทั่วโลกได้รับผลกระทบ ซึ่งจะ เห็นในชั่วชีวิตของเราและลูกหลานของเราด้วย องค์ ก รสุ ข ภาพใช้ พ ลั ง งานมาก เช่ น โรงพยาบาลในประเทศบราซิ ล ใช้ ไ ฟฟ้ า ร้อยละ ๑๐.๖ ของการใช้ไฟฟ้าในภาคธุรกิจ โรงพยาบาลในสหรัฐอเมริกาใช้ไฟฟ้ามากเป็น อันดับ ๒ ในกลุ่มอาคารพาณิชย์ คิดเป็นเงิน ๘.๕ พันล้านยูเอสดอลลาร์ต่อปี การบริการ สุขภาพในสหรัฐอเมริกาปล่อย CO2 ถึงร้อยละ ๘ ของประเทศ ในประเทศอังกฤษ คิดเป็น ปริมาณ CO2 = ๑๘ ล้านตัน/ปี หรือร้อยละ ๒๕ ของการปล่อย CO2 ในภาครัฐ แนวทางการแก้ไข : สถานบริการสุขภาพเปลี่ยนโฉมใหม่ ไม่ใช่แค่ลดอันตราย แต่มีความสามารถในการฟื้นฟูปรับตัว และเปลี่ยนแปลงสู่อนาคตที่ยั่งยืน “โรงพยาบาล ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ” โดยเชื่อมโยงสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ ต้องนึกถึง ความปลอดภัยก่อนเสมอ ยกระดับอํานาจการซื้อบริการสุขภาพ เป็นผู้นําการเปลี่ยนแปลง ของสังคมให้บริการที่เน้นการป้องกันโรค UNDP เป็นองค์กรที่ดําเนินการส่งเสริมเทคนิคและวิธีการที่ดีที่สุด ในการจัดการ ของเสี ย จากโรงพยาบาล เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งการปล่อ ยไดออกซี น และปรอทสู่สิ่ ง แวดล้ อ ม ในสหรัฐอเมริกาจํานวนเตาเผาขยะ ทางการแพทย์มีแนวโน้มลดลงมาก ในช่วง ๑๘ ปี ที่ผ่านมา
19
HCWH ร่วมมือกับองค์การอนามัยโลกจัดทําคูม่ ือจัดการขยะโรงพยาบาล ร่วมมือ กับ FHI และ US CDC พัฒนานโยบายในการจัดการขยะโรงพยาบาลอย่างยั่งยืน และ ขยายผลการจั ด การขยะโรงพยาบาลและเตาเผาขยะทางเลื อ กไปยั ง อั ฟ ริ ก า เอเชี ย และ ลาตินอเมริกา ปัจจุบันมีโรงพยาบาลที่เข้าร่วมเป็นโรงพยาบาลปลอดสารปรอท จํานวน ๕,๖๖๔ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลในประเทศอาร์เจนตินา ชิลี คอสตา-ริกา เม็กซิโก จีน อินเดีย ฟิลิปปินส์ เซ้าท์อัฟริกา ตัวอย่างการดําเนินการ ได้แก่ ศูนย์รักษามะเร็งสร้างด้วยวัสดุที่ ไม่ก่อให้เกิดมะเร็ง คลินิกเด็กไม่มีสารเคมีที่ทําให้เกิดอาการหอบหืด โรงพยาบาลที่มีอาหาร เพื่อสุขภาพ อากาศสดชื่น และรับแสงแดดได้ เราสามารถเป็นผู้สนับสนุนการปรับตัวและลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ โดยการอนุรักษ์พลังงาน การจัดการขยะที่เหมาะสม สนับสนุนการเกษตร แบบยั่งยืน
โรงพยาบาลที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ มีการดําเนินการภายใต้องค์ประกอบ ดังนี้ คือ ๑. ประหยัดพลังงาน ๒. ออกแบบเพื่อความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและใช้พลังงานน้อย ๓. ผลิตและใช้พลังงานทดแทน ๔. จัดการคมนาคมขนส่งที่ประหยัดพลังงาน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ๕. ใช้ผลิตผลในพื้นที่ในการประกอบอาหารสําหรับพนักงานและผู้ป่วย ๖. จัดการของเสียที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ๗. ประหยัดการใช้นํ้า ในสหรัฐอเมริกาหลายโรงพยาบาลกําลังดําเนินงาน Healthier Hospitals Initiative มีสมาชิกโรงพยาบาลกว่า ๓๐๐ แห่ง ร่วมดําเนินงานเพื่อความยั่งยืน มีโรงพยาบาลกว่า ๑,๐๐๐ แห่ง ที่เป็น Green Hospitals วาระโลก เรื่อง Green and Healthy Hospitals (GHH) Green and Healthy Hospital คือ โรงพยาบาลที่ดําเนินงานด้าน Primary prevention ที่ เ น้ น การลดผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ซึ่ ง เป็ น ผลต่ อ การลดภาระโรค ขณะเดียวกันเป็นการส่งเสริมสุขภาพ โดยเน้นงานอนามัยสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ การบริการ สุขภาพที่เสมอภาค และเศรษฐกิจที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Green and Healthy Hospital เน้นงาน ๓ ด้าน คือ ๑. ปรับปรุงด้านอนามัยสิง่ แวดล้อม มีความปลอดภัยในการทํางานและการดูแลผูป้ ว่ ย ๒. ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการทําให้เกิดขยะ ๓. เป็นโรงพยาบาลที่มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีและมีความยั่งยืน 20
ตัวอย่าง Green and Healthy Hospital - โรงพยาบาลซานรามอน คอสตาริกา ที่ดําเนินการ GHH เช่น ไม่ใช้ปรอท มีนโยบายจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีระบบบําบัดนํ้าเสียอยู่ในโรงพยาบาล ใช้เศษอาหารเลี้ยงไส้เดือน ทําสวนผีเสื้อ สําหรับผู้ป่วยและพนักงาน แยกขยะและนึ่งขยะ ฆ่าเชื้อ ทําขยะรีไซเคิล ประหยัดพลังงาน จัดการสวนโดยไม่ใช้สารเคมี ให้การศึกษาด้าน สิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน - โรงพยาบาลชางฮี ในสิงคโปร์ ลดการใช้นํ้าลง ๒๕% มีโครงการประหยัด พลังงาน ปลูกผักด้วยนํ้าบนหลังคาเพื่อเป็นอาหาร - โรงพยาบาลเฟอร์นันเดส อาร์เจนติน่า ไม่ใช้ปรอท ไม่ใช้สารอุดฟันที่ทําจาก ปรอท ไม่ใช้สารก่อมะเร็ง เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
21
วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก–ทางรอดของหญิงไทย ดร. นพ.สมยศ ดีรัศมี กรมอนามัย ศ. นพ.สมบูรณ คุณาธิคม ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย รศ. นพ.อรรณพ ใจสําราญ คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รศ. พญ.อรวรรณ คีรีวัฒน ผูดําเนินการอภิปราย
ดร. นพ.สมยศ ดีรัศมี
มะเร็ ง ที่ พ บมากในสตรี ไ ทย ไดแก มะเร็งเตานมพบมากทีส่ ดุ รองลงมา เปนมะเร็งปากมดลูก แตมะเร็งปากมด ลูกมีจํานวนผูเสียชีวิตมากกวา จากขอมูล สรุปไดวา มีผูหญิงที่เสียชีวิตจากมะเร็ง ปากมดลูก วันละ ๑๔ คน (ตารางที่ ๑) ตารางที่ ๑ จำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเตานม มะเร็งปากมดลูก
จํานวนผูปวย/ป
จํานวนผูเสียชีวิต/ป
๑๒,๕๖๖ ๙,๙๙๙
๔,๔๒๗ ๕,๒๑๖
ปากมดลูกอยูที่ไหน
ปากมดลูก คือ อวัยวะภายในรางกายคุณผูหญิง เปนสวนที่อยูลางสุดของมดลูก ยื่นออกมาอยูในชองคลอด ปากมดลูกมีหนาที่ปองกันสิ่งแปลกปลอมภายนอกเขาสูมดลูก และเปนทางผานของสิ่งคัดหลั่งเชนเลือดประจําเดือนจากมดลูกออกไปยังชองคลอด และ เปนชองทางผานของอสุจิจากชองคลอดเข าสูมดลูก ปากมดลูกทําหน าที่สรางนํ้าเมือก ชวยใหเชื้ออสุจิเขาไปผสมกับไขและยังเปนสวนที่อุมทารกใหอยูในมดลูกระหวางตั้งครรภ
การปองกันมะเร็งปากมดลูก
22
๑. หลีกเลี่ยง • เพศสัมพันธ • การมีกิ๊ก (คูนอนหลายคน) • เพศสัมพันธขณะอายุนอย • ควรตระหนักวา ถุงยางอนามัยปองกันมะเร็งปากมดลูกไมได ๑๐๐% ๒. ตรวจคัดกรอง (VIA, Pap smear) • เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของเซลลที่ปากมดลูก • ตรวจตั้งแตยังไมเปนโรค • ตรวจเปนประจํา
๓. ฉีดวัคซีน HPV • เพื่อปองกันการติดเชื้อ HPV สายพันธุหลักที่เปนสาเหตุของมะเร็งปาก มดลูก
Cost-effectiveness of HPV Vaccines โดย ศ. นพ.สมบูรณ คุณาธิคม จากสถิตทิ วั่ โลก มะเร็งปากมดลูกเปนมะเร็งทีพ่ บมากเปนอันดับสอง โดยพบผูป ว ย รายใหม ๔๙๒,๐๐๐ รายในป ๒๐๐๒ พบถึงรอยละ ๘๙ ในประเทศที่กําลังพัฒนา และ เปนสาเหตุการตายที่สัมพันธกับมะเร็งในผูหญิงถึงรอยละ ๑๕ ในประเทศไทยพบผู้ปวย รายใหม ทีเ่ ปนมะเร็งปากมดลูกมากทีส่ ดุ รอยละ ๑๖.๖ รองลงมาคือ มะเร็งเตานมรอยละ ๑๔.๐ และมะเร็งตับรอยละ ๑๓.๓ นอกจากนี้จํานวนผูปวยในที่เขารับรักษาตัวในโรงพยาบาลของ รัฐบาลในป ๒๐๐๗ เปนมะเร็งปากมดลูก ๒๒,๔๔๗ ราย มะเร็งที่เกี่ยวกับมดลูก ๓,๘๑๗ ราย และมะเร็งที่อวัยวะสืบพันธุสตรี ๑๓,๙๑๗ ราย และมีผูเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกใน ป ๒๐๐๘ วันละ ๑๔ ราย
เชื้อไวรัส HPV และมะเร็งปากมดลูก สวนใหญเชือ้ ไวรัส HPV จะถูกกําจัดโดยรางกาย แตมรี ะยะฟกตัวนานถึง ๑๐ ปกวา ที่จะเปนมะเร็ง
อัตราเสี่ยงของเชื้อไวรัส HPV ๒ สายพันธุ (HPV-16 & HPV-18) เปนสาเหตุรอยละ ๗๐ ของมะเร็งปากมดลูก ๕ สายพันธุ (HPV-16, HPV-18, HPV-45, HPV-31, HPV-33) เปนสาเหตุ รอยละ ๘๒.๙ ของมะเร็งปากมดลูก ๘ สายพันธุ (HPV-16, HPV-18, HPV-45, HPV-31, HPV-33, HPV-52, HPV-58, HPV-35) เปนสาเหตุรอยละ ๙๐ ของมะเร็งปากมดลูก วัคซีน HPV ที่ใชกันอยูปจจุบัน ไดแก Bivalent (Cervarix®) และ Quadrivalent (Gardasil®) และวัคซีนรุนสองที่กําลังผลิตขึ้นมาในอีก ๕-๗ ปขางหนา จะมีราคาถูกลง เพราะจะลดตนทุนการผลิต ครอบคลุมไดมากสายพันธุ และอยูในรูปของผงที่ไมจําเปนตอง แชตูเย็น ใชฉีดแค ๑ หรือ ๒ โดส เทานั้น อัตราการเกิดมะเร็งปากมดลูกและอัตราการตายจะลดลงถาระดับการใชวัคซีนมี ความครอบคลุมสูง มีการศึกษาในประเทศบราซิล ในป ๒๐๐๗ พบวา มีการใหวคั ซีนในเด็กกอน อายุ ๑๒ ป และมีการตรวจคัดกรอง ๓ ครัง้ ระหวางอายุ ๓๕-๔๕ ป พบวาปองกันการเกิดมะเร็ง ปากมดลูกในระยะ ๕ ป ได ๑๐๐,๐๐๐ ราย และลดความเสี่ยงในการเปนมะเร็งไดรอ ยละ ๖๑ การใหวคั ซีนเพียงอยางเดียว สามารถลดความเสีย่ งในการเปนมะเร็งปากมดลูกไดรอ ยละ ๔๓
23
ขอเสนอแนะสําหรับการใหภูมิคุมกัน อเมริกา ใหภูมิคุมกันในเด็กอายุ ๑๒ ปทั้งหมดและใหไดถึงอายุ ๒๖ ป สหราช อาณาจักร ใหภมู คิ มุ กันในเด็กอายุ ๑๒ ปทงั้ หมดและใหไดถงึ อายุ ๑๘ ป ประเทศในแถบยุโรป สวนใหญ ใหในเด็กอายุ ๑๒ ป ทั้งหมดและใหไดถึงอายุ ๑๓-๑๕ ป ปญหาใหญของวัคซีน HPV คือ ราคาสูงเนื่องจากมีราคาแพงเมื่อเปรียบเทียบ กับวัคซีนชนิดอื่น กลุ ม เป า หมายการใช วั ค ซี น HPV คื อ เด็ ก หญิ ง อายุ ๑๑ ป ใ นป ๒๐๑๐ ใช งบประมาณ ๖.๖ ลานในประเทศอุตสาหกรรมและประเทศกําลังพัฒนา ๕๒ ลานบาท จากการคาดประมาณคาใชจายของวัคซีน HPV ในประเทศ จํานวน ๕๖ ประเทศ ในป ๒๐๑๖ และ ๒๐๒๕ มีคาใชจาย ๑๕ ดอลลาหสหรัฐ ตอหัว ถา HPV Vaccine จะเขาสู แผนงานสรางเสริมภูมิคุมกันโรคของประเทศไทย ผูพิจารณา ไดแก คณะอนุกรรมการสราง เสริมภูมิคุมกันโรค ในคณะกรรมการวัคซีนแหงชาติ กรมควบคุมโรค จากการศึกษาที่พบวา เด็กหญิงเริม่ มีเพศสัมพันธ เมือ่ อายุ ๑๓ ป ขึน้ ไป ซึง่ ก็คอื เมือ่ เขาเรียนมัธยมศึกษาแลว จึงควรฉีด ใหเด็กหญิงทีอ่ ยูช นั้ ป.๖ ทุกคน หรืออายุไมเกิน ๑๒ ป ขอมูลจํานวนนักเรียนชัน้ ประถมศึกษา ปที่ ๖ ป ๒๕๕๒ จํานวน ๖๗๔,๐๒๘ คน เปนนักเรียนหญิงประมาณ ๓๔๐,๐๐๐ คน ดังนั้น จะตองฉีดวัคซีนประมาณ ๓๔๐,๐๐๐ คน ถา ๓ เข็ม US$ 15 (๔๕๐ บาท) จะใชงบประมาณ ๑๕๓ ลานบาท ถา ๓ เข็ม US$ 30 (๙๐๐ บาท) จะใชงบประมาณ ๓๐๖ ลานบาท ถา ๓ เข็ม US$ 100 (๓,๐๐๐ บาท) จะใชงบประมาณ ๑,๐๒๐ ลานบาท แตถา ๓ เข็ม US$ 200 (๖,๐๐๐ บาท) จะใชงบประมาณ ๒,๐๔๐ ลานบาท
เมื่อเปรียบเทียบกับผูปวยมะเร็งปากมดลูกรายใหม ๑๐,๐๐๐ รายตอป และมี คารักษาเฉลี่ย ๕๐,๐๐๐ บาทตอคน ดังนั้นจะตองใชงบประมาณ ๕๐๐ ลานบาทตอปใน การรักษาผูปวยรายใหม นอกจากนี้ยังมีความสูญเสียที่ไมใชคารักษาเพราะผูปวยสวนใหญ มีอายุที่อยูในวัยทํางาน ไดแก ชวงอายุ ๔๐-๕๐ ป (คิิดเปนรอยละ ๓๖) และอายุ ๓๐-๖๐ ป (คิดเปนรอยละ ๘๐) ไดแก การสูญเสียรายได ขาดคนดูแลลูก สามีและลูกตองมาดูแลผูป ว ย ฯลฯ ขอเปรียบเทียบราคาวัคซีนตอเด็กหญิง ๑ คนกับงบประมาณ
ราคาวัคซีนตอเด็กหญิง ๑ คน
จํานวนเด็กหญิง ชั้น ป.๖ ๓๔๐,๐๐๐ US$ 15 US$ 30 US$ 100 US$ 200 จํานวนประชากร ๖๕,๔๐๐,๐๐๐ ราคาวัคซีนที่ตองจาย (ลานบาท) ๑๕๓ ๓๐๖ ๑,๐๒๐ ๒,๐๔๐ งบสาธารณสุขตอคน ๑,๙๗๒.๔๘ บาท อัตราสวนของราคาวัคซีนตองบสาธารณสุข ๐.๑๒% ๐.๒๔% ๐.๗๙% ๑.๕๘% อัตราสวนของราคาวัคซีนตองบสงเสริมสุขภาพ ๑.๑๒% ๒.๒๔% ๗.๕๐% ๑๔.๙๙% 24
บทสรุป ถาราคาวัคซีนถูกลง การฉีดวัคซีนใหเด็กหญิงอายุไมเกิน ๑๒ ป ทุกคนมีความคุม คา รศ. นพ.อรรณพ ใจสําราญ
มะเร็ ง ปากมดลู ก ไม ไ ด เ กิ ด จากกรรมพั น ธุ ป จ จุ บั น เราทราบแน น อนแล ว ว า การติดเชือ้ ไวรัสฮิวแมน แพพิโลมา (Human Papiloma Virus) ซึง่ เรียกยอๆ วาเชือ้ “เอชพีว”ี โดยทั่วไปแล วเชื้อเอชพีวี มักติดตอได จากการมีเพศสัมพันธ หรือการสัมผัสโดยตรงทาง ผิวหนัง การใชถุงยางอนามัยไมสามารถปองกันการติดเชื้อไดรอยเปอรเซ็นต การติดเชื้อ เอชพีวนี ี้ พบไดบอ ยมากแมวา จะมีเพศสัมพันธเพียงครัง้ เดียวก็ตาม เอชพีวมี มี ากกวาสองรอย สายพันธุ พบไดในคนทั่วไป ซึ่งสวนใหญไมเปนอันตราย มีเอชพีวีเพียงไมกี่สายพันธุเทานั้น ที่เปนสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก กวารอยละ ๙๙.๗ ของชิ้นเนื้อจากมะเร็งปากมดลูกจะ ตรวจพบเอชพีวี สวนใหญเปนสายพันธุ ๑๖, ๑๘, ๔๕ และ ๓๑ (เรียงตามลําดับ)
การดําเนินโรค การติดเชื้อไวรัสเอชพีวีทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติในชั้น Epithelium ของมดลู ก ซึ่ ง สามารถเปลี่ ย นเปน รอยโรคเกี่ ย วกั บ มะเร็ ง และสุ ด ทา ยกลายเปน มะเร็ ง ปากมดลู ก ในที่ สุ ด ในป จ จุ บั น การป อ งกั น มะเร็ ง ปากมดลู ก สามารถทํ า ได ส องทางคื อ การปองกันในระยะแรก และการปองกันในระยะที่สอง ในบริบทของการปองกันการเกิด มะเร็งปากมดลูก คือ การปองกันการติดเชื้อ HPV จะเปนวิธีแรกรวมถึงวัคซีนปองกัน เชื้อไวรัสเอชพีวี ในการปองกันระยะที่สองจะรวมถึงวิธีการที่จะคนหาและยับยั้งการดําเนิน ของโรคระหวางอยูในระยะเริ่มแรก การปองกันระยะที่สองนี้จะรวมถึงการตรวจคัดกรองดวย วิธแี พ็ปสเมียร (Pap smear) การตรวจดวยวิธี VIA (Visual Inspection by Acetic acid) หรือวิธีทดสอบหาเชื้อไวรัสเอชพีวี (HPV testing) เพื่อที่จะคนหาเซลลที่ผิดปกติหรือการติด เชื้อไวรัสเอชพีวี และการทําหัตถการ เชน การตัดชิ้นเนื้อเพื่อพิสูจน การรักษาซึ่งรวมถึง การผาตัดรวมกับการฉายแสงหรือการใหเคมีบําบัดตามความเหมาะสม
การติดเชื้อ HPV
• ติดตอไดงายมากจากเพศสัมพันธ • จากการสัมผัสบริเวณอวัยวะเพศ • ถุงยางอนามัยปองกันไมได ๑๐๐%
เพศสัมพันธแมเพียงครั้งเดียว ก็อาจติดได ๕๐% - ๘๐% ของผูห ญิงทีม่ เี พศสัมพันธแลวจะติดเชือ้ ในชวงชีวติ หนึง่ โดยเฉพาะ เอชพีวสี ายพันธุ ๑๖ และ ๑๘ พบไดมากถึงรอยละ ๗๐ ของไวรัสทีต่ รวจพบ หากรวมสายพันธุ ๑๖, ๑๘, ๔๕ และ ๓๑ สี่สายพันธุหลัก เปนสาเหตุหลักของมะเร็งปากมดลูกถึงรอยละ ๘๐ 25
แพ็ปสเมียรกับวัคซีน HPV เปนการปองกันมะเร็งปากมดลูกที่มีประสิทธิภาพทั้งคู แตแพ็ปสเมียร เปนการดูผลจากอดีต นั่นคือดูเซลลปากมดลูกซึ่งอาจมีความผิดปกติจาก การติดเชื้อ HPV มาจากในอดีต หากตรวจพบก็ตองรีบรักษา เพื่อเปนการตัดไฟแตตนลม กอนทีเ่ ซลลทผี่ ดิ ปกตินนั้ จะเปลีย่ นเปนเซลลมะเร็ง การฉีดวัคซีน HPV ก็เพือ่ ปองกันการไมให เชื ้อเอชพีวีเขาสูเซลลปากมดลูก เปนการปองกันเพื่ออนาคตดีที่สุด คือทําทั้ง ๒ วิธีรวมกัน
วัคซีนที่มีขายในทองตลาดปจจุบันมีความแตกตางกัน • Cervarix ประกอบดวยแอนติเจนของ HPV 16, 18 และใสสารเสริม กระตุนภูมิ (Adjuvant) รุนใหมคือ AS04 ซึ่งทําใหภูมิคุมกันขึ้นเร็ว แรง และอยูนาน • Gardasil ประกอบดวยแอนติเจนของ HPV 16, 18 และ HPV 6, 11 ซึ่ง ไมกอมะเร็ง ใสสารเสริมกระตุนภูมิแบบเดิม
แอนติบอดีที่ตอตานการติดเชื้อ (Neutralizing Antibody) เปนดานแรกที่ปองกัน การติดเชื้อ HPV ที่ปากมดลูก โดยแอนติบอดีจะซึมออกจากกระแสเลือด มาที่สารคัดหลั่ง ของปากมดลูกและชองคลอด การติดเชื้อ HPV ตามธรรมชาติสามารถกระตุนใหรางกาย สรางแอนติบอดีไดตาํ่ และมีเพียง ๕๐% เทานัน้ ทีต่ รวจพบแอนติบอดี ซึง่ ไมเพียงพอทีจ่ ะปองกัน การติดเชื้อ HPV ซํ้า (Re-infection)
ผลการปองกันโรคของวัคซีนเปนอยางไร
26
• การใสสารเสริมกระตุนภูมิ AS04 จะเพิ่มประสิทธิภาพ ใหวัคซีนในการ ปองกันสายพันธุ HPV 16, 18 ทําใหมีภูมิคุมกันอยูไดนาน ๘.๔ ป • มี ก ารศึ ก ษาในผูเ ข า ร ว มวิ จั ย ที่ ม าจาก ๑๔ ประเทศในสี่ ซี ก โลก ไดแ ก ออสเตรเลีย เบลเยี่ยม บราซิล แคนาดา ฟ นแลนด เยอรมัน อิตาลี เม็ ก ซิ โ ก ฟ ลิ ป ป น ส สเปน ไต ห วั น ไทย สหราชอาณาจั ก ร และ สหรัฐอเมริกา ประมาณหนึง่ ในสามของผูเ ขารวมวิจยั มาจากเอเชียแปซิฟก • ผูเขารวมวิจัยเปนหญิงอายุระหวาง ๑๕–๒๕ ป จํานวน ๑๘,๖๔๔ คน ถูกสุมมารับวัคซีน AS04 HPV vaccine หรือ HAV เปนกลุมควบคุม ที่ ๐ ๑ และ ๖ เดือน • ตัวอยางเนื้อเยื่อปากมดลูกถูกรวบรวมทุก ๖ เดือนสําหรับการคนหา HPV DNA typing โดยวิ ธี SPF10-LiPA25 สํ า หรั บ เชื้ อ HPV 14 สายพั น ธุ แ ละวิ ธี Type-specific PCR สํ า หรั บ HPV 16 และ 18 โดยการตรวจดานนรีเวชวิทยาและพยาธิวิทยาจะทําทุก ๑๒ เดือน • ประสิ ท ธิ ภ าพโดยรวมของวั ค ซี น ในการระงั บ การเกิ ด รอยโรคของการ เกิ ด มะเร็ ง จากการติ ด เชื้ อ HPV ในประชากรพื้ น เมื อ งได แ สดงถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพสามารถยั บ ยั้ ง การเกิ ด รอยโรค (CIN1+, CIN2+ และ
CIN3+) ไดรอยละ ๕๐.๑ ๗๐.๒ และ ๘๗.๐ ตามลําดับ อยางไรก็ตาม รายงานการพบ HPV 16 และ 18 ยังมีความหลากหลายในรอยโรคมีทั้ง รอยละ ๒๕–๓๐ รอยละ ๕๒ และสูงถึงรอยละ ๗๐ ตามลําดับ ดังนั้น ประสิทธิภาพของวัคซีนในการยับยั้งการเกิดรอยโรคนั้นจะดีกวาการมี วัคซีนเพื่อปองกันการติดเชื้อไวรัส HPV 16 และ 18 เทานั้นหรือพูด อีกอยางหนึง่ วา วัคซีนควรจะปองกันเชือ้ ไวรัส HPV ขามสายพันธุใ หมากขึน้ • ตามที่มีความหลากหลายของ HPV 16 และ 18 ในรอยโรคระยะแรก ผลการศึ ก ษาทางระบาดวิ ท ยาไดแ สดงถึ ง ทิ ศ ทางในการกระจายของ สายพั น ธุ ใ นการเพิ่ ม การดํ า เนิ น ของโรค วั ด ซี น ควรไม ใ ช แ ค ป อ งกั น มะเร็งปากมดลูกเทานัน้ แตควรจะปองกันการเกิดรอยโรคในระยะเริม่ แรก ดวย ซึ่งจะลดคาใชจายและภาระดานจิตใจของผูที่มีผลการตรวจคัดกรอง ที่ไมปกติ
Adenocarcinoma มะเร็งปากมดลูกชนิด Adenocarcinoma เปนมะเร็งที่ตรวจคัดกรองไดยาก โดยการตรวจทางเซลล วิ ท ยา เนื่ อ งจากอุ ป กรณ เ ก็ บ เซลล ตั ว อย า งไม ส ามารถเข า ไปใน Endocervical canal ลึกๆ ได นอกจากนี้ มะเร็งดังกลาวยังเปนมะเร็งที่รุนแรงกวาและ มีการพยากรณโรคแยกวามะเร็งชนิด Squamous cell เนื่องจากมะเร็งมักจะลุกลามและ แพรกระจายไปยังอวัยวะอื่นไดบอยกวา เชื้อ HPV เปนสาเหตุสําคัญของมะเร็งปากมดลูก ซึ่งมากกวารอยละ ๗๐ เกิดจาก เชื้อ HPV 16 และ HPV 18 สวนอันดับที่ ๓ นั้น เปน HPV 45 และ HPV 31 เปนอันดับที่ ๔ อยางไรก็ตามเชื้อ HPV 16, 18, 45, 31 เปนสาเหตุของมะเร็งปากมดลูกชนิด Squamous Cell นอยกวาชนิด Adenocarcinoma คือ ประมาณ ๘๐% และ ๙๐% ตามลําดับ ดังนั้น หากสามารถป อ งกั น เชื้ อ ๔ สายพั น ธุ นี้ ไ ด ก็ จ ะสามารถป อ งกั น มะเร็ ง ปากมดลู ก ชนิ ด Squamous Cell ไดถึง ๘๐% และ Adenocarcinoma ได ๙๐%
ความปลอดภัยของวัคซีน
AS04 HPV vaccine มีความปลอดภัย ปจจุบัน มีการใช AS04 HPV vaccine มากกวา ๒๐ ลาน โดส ในมากกวา ๑๑๓ ประเทศทั่วโลก รวมทั้งใชใน EPI ของหลายประเทศ เชน สหราชอาณาจักร เนเธอรแลนด โรมาเนีย ปานามา และมาเลเซีย เปนตน พบวามี ความปลอดภัย ใครมีความเสี่ยงตอมะเร็งปากมดลูกและสมควรไดรับวัคซีน เอชพีวี ผูหญิงทุกคนที่เคยมีหรือจะมีเพศสัมพันธ มีความเสี่ยงตอมะเร็งปากมดลูกและ สมควรไดรับวัคซีนเอชพีวี กอนการมีเพศสัมพันธ 27
จะเลือกวัคซีนตองดูอะไรบาง • วัตถุประสงค เนนปองกันมะเร็งปากมดลูกหรือไม • ประโยชนที่เพิ่มขึ้นในการปองกันสายพันธุกอมะเร็งอื่น • ความสามารถในการสรางภูมิคุมกัน • ประสิทธิภาพในการปองกันระยะยาว • ราคา
วัคซีนที่ดีควรกระตุนภูมิคุมกันไดสูงและอยูไดนาน
สรุป • • • • • •
•
• •
•
28
ทุกๆ วัน มีสตรีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก ๑๔ คน มะเร็งปากมดลูกเกิดจากการติดเชื้อ HPV สายพันธุกอมะเร็ง มะเร็งปากมดลูกสามารถปองกันไดดวยการฉีดวัคซีนรวมกับ การตรวจคัดกรอง วัคซีนเอชพีวี ทํางานโดยกระตุนการสรางภูมิคุมกันในเลือดแลวซึม ผานไปอยูในมูกของปากมดลูกเพื่อจับเชื้อโรค วัคซีนที่มีจําหนาย ๒ ชนิด มี แอนติเจน และ Adjuvant ที่ตางกัน การพิจารณาวัคซีนปองกันมะเร็งปากมดลูก กระตุนภูมิคุมกันไดสูงกวา สามารถปองกันไวรัสเอชพีวีขามสายพันธุไดดี สามารถปองกันรอยโรค กอนมะเร็ง CIN3+ ได สามารถลดการทําหัตถการที่ปากมดลูกไดดี ขอมูลปจจุบัน วัคซีนสามารถปองกันโรคไดนาน ๕-๘.๔ ปขึ้นกับชนิด ของวัคซีน การฉีดวัคซีนในเด็กหญิงกอนมีเพศสัมพันธจะใหประโยชนสูงสุด อยางไรก็ตามผูหญิงที่มีเพศสัมพันธแลว หรืออายุมากกวา ๒๕ ปยังได ประโยชนจากวัคซีนในการปองกันมะเร็งปากมดลูกอยู วัคซีนมีความปลอดภัย
ชั่วโมงพิเศษ...เพื่อคนพิเศษ ดร.แพง ชินพงศ์ โรงเรียนขนมดนตรี ดร.สุพาพร เทพยสุวรรณ คณะศิลปศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ โรงพยาบาลบี เอ็น เอช พญ.กอบกาญจน์ ชุณหสวัสดิกุล ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการเด็ก คุณศศิธร วัฒนกุล (ลอร่า) ผู้ดําเนินการอภิปราย
ดร.แพง ชินพงศ์
ดนตรีกับมนุษย เป นของคูกัน แยกกั น ไม อ อกระหว า งอาหาร ลมหายใจ และ เสียงเพลง เสียงเพลงสรางความสัมพันธที่ดีระหวางแมกับลูก เสียงเพลงมีผลตอจิตใจ เสริมสรางความรัก แมที่ตั้งครรภใหฟงเพลงที่ชอบ อยาฟงเพลงที่รุนแรง เพราะจะกระตุน ประสาททําใหเครียด เด็กสามารถไดยินเสียงตั้งแต ๔–๕ เดือน เพลงบรรเลง ชวยสราง สมาธิ และผอนคลายความเครียด ชวยกระตุนใหอารมณเบิกบานแจมใส ดนตรีกับมนุษย จึงเปนของคูกันโดยเฉพาะกับเด็ก ดังนั้นเสียงเพลงและเสียงดนตรี จึงเปนสิ่งที่สําคัญใน การเสริมสรางพัฒนาการเด็กทั้ง ๔ ดาน คือ ดานรางกาย อารมณ สังคม และสติปญญา ดนตรีสามารถชวยใหเด็กไดแสดงออกตามความตองการ ชวยถายทอดอารมณ ความสามารถ และความรู สึ ก ของเด็ ก ช ว ยให เ ด็ ก ผ อ นคลายความเครี ย ด ดั ง จะเห็ น ได จ ากการสั ง เกต เวลาเด็กรองเพลงเลนกัน เด็กจะมีหนาตายิ้มแยม เบิกบาน ความไพเราะของเพลง ลีลาและ ท ว งทํ า นองเพลงจะชวยกล อมอารมณ ข องเด็ ก ให เ พลิ ด เพลิ น ได อ ย า งดี นอกจากนี้ แ ล ว ดนตรียังชวยใหเกิดจินตนาการกวางไกล เด็กจะเกิดความนุมนวล ออนโยน ไมแข็งกระดาง ไมเห็นแกตัว มีอารมณสุนทรีและละเอียดออน
การเลานิทานใหลกู ฟง จะทําใหเกิดความคิดสรางสรรค และจินตนาการ ยกตัวอยาง เด็กตางประเทศแมฝกอานหนังสือใหลูกฟง เมื่ออายุ ๑๓ เดือน พอลูกอายุได ๑๗ เดือน ลูกสามารถอานหนังสือได และถาสอนคําศัพทลูกวันละ ๒ คํา ตั้งแตอายุ ๑ ป เมื่ออายุ ๕ ป เด็กจะพูดได ๓,๖๐๐ คํา
29
พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ
นมแม ไ ม ใ ช เ พี ย งแค อ าหารที่ ดี ที่ สุ ด สํ า หรั บ ลู ก เท า นั้ น ยั ง เป น วิ ธี ก ารเลี้ ย งดู ที่ดีที่สุดดวย เนื่องจากการโอบกอด สบตา การสัมผัสขณะให นมลูก ชวยกระตุนใหเด็ก มีพัฒนาการที่ดีทางสติปญญา อีกทั้งนมแมดีกวานมผง ถึงแมนมผงจะมีการเติม DHA เลียนแบบนมแม แตก็ไมสามารถชวยใหเด็กฉลาดขึ้น ซึ่งนมผงที่ เพิ่ม DHA และไมเพิ่ม DHA ไมมีความแตกตางกันทางดานสติปญญา อีกทั้งเด็กที่ทานนมแมจะแข็งแรงมากกวา เด็กที่ทานนมผง นมผงที่บอกวาเติม DHA เพราะพยายามเลียนแบบนมแม แตการวิจัย บอกวา ไมไดทําใหลูกฉลาดขึ้น ถาลูกกินนมผงทําใหลูกเปนหวัดบอย และแพโปรตีนนมวัวจะ มีอาการผื่นขึ้นที่หนา มีชันตุที่ผิวหนัง มีไขสีเหลืองที่ขอพับ เด็กจะหายใจครืดคราด ถากิน นมแมไดนานจะทําใหเด็กฉลาดมากกวา ๒–๑๑ แตม เด็กควรที่จะกินนมแมจนกวาฟนแท จะขึ้น และนมแมยังปองกันมะเร็งเตานมใหกับแมไดดวย การให นมแมนาน ๒.๕–๗ ป เป น สิ่ ง ปกติ ที่ แ ม ทํ า ได หากแม อ ยากทํ า และมี ประโยชนแนนอนทั้งทางดานคุณคาทางโภชนาการ ภูมิตานทานโรค และเปนพื้นฐานของ พัฒนาการทางอารมณที่สําคัญ จนกวาเด็กจะถึงวัยที่สามารถสรางสิ่งตางๆ เหลานี้ไดดวย ตัวเอง แตความเปนจริงในยุคปจจุบัน อิทธิพลจากความเชื่อในสังคมบุคคลในครอบครัว และคนรอบขาง การที่แมตองทํางานนอกบาน กระแสโฆษณาชวนเชื่อเกินความจริงของ นมผง คําแนะนําจากหนังสือหรือนิตยสารแมและเด็ก คําแนะนําจากบุคลากรสาธารณสุข หรือแมแตคําพูดจากคนแปลกหนาหรือผูหวังดีที่เห็นแมกําลังใหนมลูก มักแสดงความเห็น ที่ตอตานหรือไมเห็นดวยกับการใหนมของแม ทําใหแมตองยุติการใหนมกอนเวลาอันควร แลวเปลี่ยนไปใชนมวัวแทน จนเกิดปญหาหลายอยางตามมา เชน ภาวะทุพโภชนาการหรือ โรคอวน โรคภูมแิ พ และโรคติดเชือ้ ซึง่ โรคเหลานีแ้ สดงออกโดยใชเวลาไมนานหลังเริม่ กินนมวัว สวนผลเสียในระยะยาวของการที่ทารกกินนมวัวอาจยังไมแสดงออกในเวลาเพียงไมกี่ป แตอาจแสดงออกเมื่อเปนผูใหญไปแลวเชน โรคหัวใจ เบาหวาน ความดันสูง โรคมะเร็ง หรือแมกระทั่ง ความเชื่อที่วาใหนมแมนานนํ้านมจะไมมีประโยชน ซึ่งเปนการทําลายความ เชื่อถือของนมแมจากบริษัทผลิตนมผงในสมัยกอน จากผลการทดสอบของหองปฏิบัติการ พบวานมแมที่ใหลูกอายุสามขวบยังคงมีสารอาหารครบถวนตามปกติ สามารถเขาไปอาน และสืบคน ขอมูลนมแมไดที่ www.breastfeedingthai.com ดร.สุพาพร เทพยสุวรรณ
เด็ ก จะชอบฟ ง นิ ท าน นิ ท านทํ า ให เ ด็ ก มี ค วามสุ ข เกิ ด จิ น ตนาการและคิ ด ตาม การไดฟงบอยๆ จะชวยกระตุนใหเด็กฝกใชจินตนาการ อีกทั้งเด็กจะไดรับการกระตุนประสาท สัมผัสตางๆ เชน หู ตา รวมถึงสมอง ขณะอานนิทานใหลูกฟงหากใหเด็กนั่งตัก เด็กจะไดรับ ความอบอุนจากสัมผัสไปดวย นิทานที่จะนํามาอานใหเด็กฟง ตองเขาใจงาย ถูกตองตาม หลักภาษา ที่สําคัญสัมพันธกับภาพประกอบ เพื่อที่จะไดสื่อสารกับเด็กไดงายขึ้น สําหรับชวง วัยของเด็กที่ควรไดรับการพัฒนานั้น ตามหลักวิชาสามารถทําไดตั้งแตอยูในทองเพราะ 30
มีงานวิจยั วาเสียงตัง้ แตเด็กอยูใ นทอง จะกระตุน ใหเด็กเริม่ จําเสียงแมได ประสาทหูเริม่ ทํางาน ตั้งแต ๓-๔ เดือน “การไดยินจึงเปนตัวกลางสําคัญในการพัฒนาภาษา” เพราะเด็กจะไดยิน เสียงและเลียนเสียงไดถูกตองอาจจะเปนการรองเพลงกลอม หรือพูดคําวา แมรักลูกนะ แมรักหนูจังเลย แมเด็กอาจจะแปลไมไดวาหมายถึงอะไร แตเขาจะรับรูถึงนํ้าเสียงอยูในนั้น ตรงนี้เปนการกระตุนประสาทการไดยินพัฒนาขึ้นมาไดหลังจากนั้นคอยขยับมาเลานิทาน ในการเลานิทาน พอแมจะตองใชนาํ้ เสียงในการเปลงคําพูด ตองมีการแสดงทาทาง ประกอบ เพื่อใหเด็กเขาใจถึงความหมายที่สื่อออกมา เซลลสมองของเด็กก็จะ บันทึกทาทาง ที่แสดงออกถึงเจตนานั้น เชน บายบาย นอนหลับ กินขาว เปนตน รวมกับนํ้าเสียงที่เปลง ออกมา เก็บเอาไวในสวนของความจํา เมื่อทาทางและคําพูดไดถูกนํามาแสดงใหเห็นบอยๆ เด็กก็จะจดจําทาทาง เสียงที่พูด รวมถึงความหมายของคํานั้นเปนอยางดี คราวตอไปพอแม เพียงแคแสดงทาทาง หรือเปลงเสียง โดยไมตองทําทั้งสองอยางพรอมกัน สมองสวน ความจําของเด็กก็จะระลึกไดวามันคืออะไร และก็จะเขาใจความหมายของคํานั้นหรือทาทาง นั้นๆ เอง พญ.กอบกาญจน์ ชุณหสวัสดิกุล
การอยูไฟหลังคลอด ถือเปนภูมิปญญาไทยในสมัยโบราณที่มีคุณคา การอยูไฟ ชวยใหมนี าํ้ นมเยอะ ชวยปรับสมดุลยของอุณหภูมใิ นรางกาย ชวยปองกันอาการหนาวสะทาน ที่เรียกวา..หนาวเขากระดูก..ทั้งๆ ที่อยูในอุณภูมิปกติชวยขับของเสีย ขับนํ้าคาวปลา ชวยให มดลูกแหง..มดลูกเขาอูเร็ว ทําใหหนาทองยุบเร็วไมยวยและชวยใหผิวพรรณสดใสขึ้น การดู แ ลเด็ ก แบบแพทย แ ผนไทยด ว ยการใช ส มุ น ไพรไทย เช น เด็ ก ท อ งอื ด ใช ใบกระเพรามาขยี้ผสมกับปูนแดง นํามาทาทองเด็กสักพักเด็กจะผายลมและอาการทองอืดจะ หายไป อาหารก็ควรรับประทานใหตรงกับธาตุเจาเรือน เพื่อปรับสมดุลสําหรับเตรียม ความพรอมของคุณแมทั้งการคลอดบุตรและบํารุงนํ้านมใหมีปริมาณมากสําหรับลูก • ธาตุไฟ มี ลั ก ษณะขี้ ร อ น หิ ว บ อ ย กิ น เก ง ขี้ ห งุ ด หงิ ด หรื อ ผู ที่ เ กิ ด เดื อ น มกราคม กุมภาพันธ์ และมีนาคม ควรรับประทานอาหารที่มีรสขม (มะระ, สะเดา) เย็น (ผักบุง,ผักกระเฉด) จืด (ผักทุกชนิด) • ธาตุลม มีลักษณะผิวแหง หยาบกราน ผอมสูง คิดมาก หรือผูที่เกิดเดือน เมษายน พฤษภาคม และมิถุนายน ควรรับประทานอาหารประเภทเปรี้ยว (ยําตางๆ) และ เย็น (ผักบุง) • ธาตุนํ้า มี ลั ก ษณะลู ก ดก หรื อ ผู ที่ เ กิ ด เดื อ นกรกฎาคม สิ ง หาคม และ กันยายน คุณแมกลุมนี้จะอยูในกลุมที่มีนํ้านมเยอะ • ธาตุดิน รูปรางกํายํา อวนงาย หรือผูที่เกิดในเดือนตุลาคม พฤศจิกายน และธันวาคม ควรรับประทานอาหารรสเปรี้ยว สมุนไพรที่บํารุงนํ้านม มีต นนํ้านมราชสีห, ผักปลัง, ตําลึง, ใบพลู, ขิง, หัวปลี ชวยบําบัดโรค และเสริมภูมิใหนมแมโดยไมตองใชยา ไดเปนอยางดี 31
การตั้งครรภในวัยรุน เรื่องวุนที่ปองกันได นายโพธิ์ทอง เกตุมาลา อบต.ดอนหว่าน จ.มหาสารคาม นางสาวประนอม ทะวะ อบต.ดอนหว่าน จ.มหาสารคาม ศ. พญ.สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี นายสรรพสิทธิ์ คุมประพันธ มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย ผู้ดําเนินการอภิปราย
บทบาท อบต. กับการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุว ยั รุน โดย นายโพธิ์ทอง เกตุมาลา และ นางสาวประนอม ทะวะ องค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลดอนหว า น เปน อบต.ขนาดกลาง ตั้ ง อยู ที่ ร าบสู ง ภูมิอากาศแหงแลง ไมมีแมนํ้าไหลผาน การทําเกษตรกรรมอาศัยนํ้าฝนตามฤดูกาล มีพื้นที่ รับผิดชอบจํานวน ๒๓ ตารางกิโลเมตร (๑๔,๓๗๕ ไร) มีหมูบ า นจํานวน ๙ หมูบ า น มีครอบครัว อาศัยจํานวน ๑,๑๓๖ หลังคาเรือน และมีประชากรจํานวน ๔,๙๕๐ คน ประกอบอาชีพ เกษตรกรรมโดยการทํานาเปนอาชีพหลัก รับจางทั่วไปเปนอาชีพเสริม
บทบาท อบต. กับการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุวัยรุน เริ่มจากนโยบายของผูบริหาร โดย นายณรงค เดชบุรัมย นายกองคการบริหาร สวนตําบลดอนหวาน มีขนั้ ตอนในการแกไขปญหาความตองการประชาชน โดยมีการลงพืน้ ที่ รั บ ฟ ง ป ญ หาความต อ งการจากประชาชนก อ นที่ จ ะมี ก ารจั ด ทํ า ข อ บั ญ ญั ติ ง บประมาณ ประจําปทุกป ขั้นตอนในการจัดทําแผนงบประมาณ คือ ๑. การทําประชาคมในหมูบานทุกหมูบาน รับฟงปญหาจากประชาชน ๒. มีการรวบรวมปญหาจากการทําประชาคม โดยสวนราชการภายใน อบต. ดําเนินการรวบรวม เสนอไปที่ฝายบริหารผานระบบสภาอนุมัติโครงการ ๓. ดําเนินการตามแผนงานโครงการที่ไดรับอนุมัติจากสภา ๔. มีการตรวจประเมินโครงการ โดยมีการแตงตั้งคณะกรรมการตรวจประเมิน ของตําบล ในการจัดเวทีประชาคมในแตละปพบปญหาของเด็กและเยาวชนพบปญหาหลักๆ ในกลุมเด็กและเยาวชนในตําบลดอนหวานดังนี้ ๑. ปญหาเยาวชนทะเลาะวิวาท ๒. ปญหายาเสพติด / การพนัน / ติดเกมส ๓. ปญหาการมีเพศสัมพันธกอนวัยอันควร ๔. ปญหาครอบครัวหยาราง / ครอบครัวแตกแยก ซึ่ ง ป ญ หาเหล า นี้ ท างผูบ ริ ห ารนํ า ไปจั ด ทํ า แผนยุ ท ธศาสตรใ นการแกไ ขป ญ หา แบบบูรณาการ โดยมีหลักในการทํางานคือ รวมคิด รวมทํา และรวมรับประโยชน และ มีกระบวนการที่ อบต. ดอนหวานไดดําเนินการ มีดังนี้ 32
๑. กิจกรรมใหทุกภาคสวน มีสวนรวมคิด อบต.สนับสนุนการจัดกิจกรรมในแตละป สําหรับให สภาเด็กจัดประชุมอบรม ในเรื่องการจัดทําแผนงานโครงการและนําเสนอแผนงานโครงการตออบต.โดยมีสภาเด็ก เยาวชนระดับตําบลเปนผูดําเนินการรวมกับสภาเด็กในระดับหมูบาน นําเสนอปญหาที่เขามี เขาเจอที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชุ ม ชน ฝ า ยบริ ห ารรั บ ทราบป ญ หาและพิ จ ารณางบประมาณให ทํ า กิ จกรรมโครงการแกไขปญหา ๒. กิจกรรมใหทุกภาคสวน รวมทํา เน น ให ชุ ม ชนและภาคี มี ส ว นร ว มตั้ ง แต รั บ ทราบป ญ หา วางแผนดํ า เนิ น งาน บูรณาการรวมกันทั้งแผนงาน / โครงการและงบประมาณ โดยเฉพาะอนามัยการเจริญพันธุ วัยรุน สามารถบูรณาการรวมไดกับหลายๆ หนวยงานในพื้นที่ ทั้งสาธารณสุข ที่มีรพ.สต. และโรงพยาบาลมหาสารคามเปนพี่เลี้ยง โรงเรียนและพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษยจังหวัดผานสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด เปนตน
๓. กิจกรรมใหทุกภาคสวน รวมรับผลประโยชน เริ่มจากปญหาของเด็กและเยาวชนจะมีแกนนําโดยสภาเด็กและเยาวชนตําบล ดอนหว า น และสมาชิ ก สภาเด็ ก ในตํ า บลดอนหว า น ครอบครั ว ชุ ม ชนมี ส ว นร ว มตั้ ง แต เริม่ แรก ผลประโยชนทเี่ กิดขึน้ จะเชือ่ มโยงกันในการแกไขปญหา โดยเฉพาะปญหาการตัง้ ครรภ ในวัยรุน เปนเรื่องที่ละเอียดออน ถาไมเขาใจปญหา ไมเขาถึงกลุมเปาหมาย การแกไข ปญหาเรื่องนี้คงจะไดผลนอย นายกองคการบริหารสวนตําบลดอนหวาน เนนการพัฒนาคน พัฒนาคุณภาพชีวติ ทุ ก กลุ ม วั ย เป นสํ าคั ญนั้ น นโยบายด านเด็ ก และเยาวชนล ว นสอดแทรกการดํ า เนิ น งาน อนามั ย การเจริ ญ พั น ธ ทํ า ใหป ระชาชนดอนหว า น “มี ภ าวะความสมบู ร ณแ ข็ ง แรงของ รางกาย และจิตใจที่เปนผลสัมฤทธิ์อันเกิดจากกระบวนการและหนาที่ของการเจริญพันธุที่ สมบูรณทั้งชายและหญิงทุกชวงอายุของชีวิต ซึ่งทําใหเขาเหลานั้นมีชีวิตอยูในสังคมไดอยาง มีความสุข” จึงไดมีโครงการและกิจกรรมการดําเนินงานการปองกันการตั้งครรภในวัยรุน มี กิจกรรมที่ดําเนินการโดยบูรณาการสอดแทรกกิจกรรมเรื่องนี้เขาในโครงการอื่นๆ เชน
๑. โครงการ คายครอบครัวอบอุน มีการนําครอบครัวไปอบรมตามหลักสูตร วัตถุประสงค ๑.๑ เพื่อเสริมสรางใหเกิดความรักความเขาใจภายในครอบครัว ๑.๒ เพื่ อ เสริ ม สร า งให ค รอบครั ว เข ม แข็ ง ขยายสู ชุ ม ชนเป น เกราะป อ งกั น ปญหาตางๆ เชน ปญหายาเสพติด ปญหาเอดส ความรุนแรงในครอบครัว ฯลฯ ๑.๓ เพื่อเสริมสรางพลังของเด็กและเยาวชน เสริมสรางทัศนคติ คานิยมที่ดี ตอครอบครัวและชุมชน 33
๒. โครงการเยาวชนคนดีศรีดอนหวานที่ทําโดยสภาเด็กตําบลดอนหวาน ๓. โครงการค า ยเยาวชน เพื่ อ สร า งแกนนํ า เรื่ อ งเอดส เพศ และยาเสพติ ด โดยสภาเด็ก ๔. โครงการที่ไดรับงบประมาณจากภายนอก เชน หนวยงาน สสส. พมจ. ไดแก โครงการฮักแพงเบิ่งแญงคนสารคาม โดยตําบลดอนหวานก็ไดเปนพื้นที่นํารอง ประเด็นเด็ก และเยาวชน โครงการเฝาระวังการกระทํารุนแรงตอเด็กและสตรีโครงการ คายคุณธรรมนําใจ ตานภัยยาเสพติด โครงการประเพณีบุญเดือนหก ฯลฯ ปจจัยแหงความสําเร็จ ๑. เริม่ จากนโยบายของผูบ ริหาร โดย นายณรงค เดชบุรมั ย นายกองคการบริหาร สวนตําบลดอนหวาน มีขั้นตอนในการจัดทําขอบัญญัติงบประมาณประจําปที่ไดปญหาจาก ประชาชนทุกกลุมวัย โดยกลุมเด็กและเยาวชน มีสภาเด็กและเยาวชนระดับตําบลและระดับ หมูบานไดนําเสนอปญหาดวย ๒. มีการทําประชาคมในหมูบ า นทุกหมูบ า น รับฟงปญหาจากประชาชนทุกกลุม วัย ๓. รวบรวมปญหาจากการทําประชาคม และขอมูลจากภาคีเครือขายเสนอไปที่ ฝายบริหารผานระบบสภาอนุมัติโครงการ หรือผานคณะบริหารกองทุน ๔. ดําเนินการตามแผนงานโครงการทีไ่ ดรบั อนุมตั จิ ากสภา หรือกองทุนหลักประกัน สุขภาพตําบล ๕. บูรณาการทั้งแผนงานและงบประมาณกับภาคีเครือขาย ๖. การตรวจประเมินผลการปฏิบัติงานโครงการ โดยมีการแตงตั้งคณะกรรมการ ตรวจประเมินของตําบลอยางสมํ่าเสมอ
แนวคิดและขอเสนอแนะ บทบาท อปท.และพันธกิจทีต่ อ งดําเนินการพัฒนาหมูบ า น ดูแลประชาชนทุกๆ ดาน ทั้งดานโครงสรางพื้นฐาน การพัฒนาดานคุณภาพชีวิต ดานสาธารณสุข ดานสวัสดิการ การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิสัยทัศนผูบริหาร อปท. เปนสิ่งสําคัญที่สุด สําหรับ ตําบลดอนหวาน ภายใตนโยบายของนายกองคการบริหารสวนตําบลดอนหวานคนปจจุบัน ที่เนนการพัฒนาคุณภาพชีวิตควบคูไปกับพัฒนาโครงสรางพื้นฐานอื่นๆ ทําใหประชาชนใน ตําบลดอนหวานไดรับประโยชนอยางครอบคลุมทุกๆ ดาน ตลอดทั้งการดําเนินโครงการ ตางๆ จะตองใหประชาชนมีสวนรวม รวมคิด รวมทํา รวมรับผลประโยชน ภาคีเครือขายใน ทํางานก็มีสวนสําคัญ ไมวาจะเปนภาคีเครือขายในพื้นที่ และนอกพื้นที่มีผลกับการสําเร็จ ของงานทุ ก งาน โดยการดํ า เนิ น งานของเครื อ ข า ยในชุ ม ชน มี ก ารประสานงานระหว า ง ๑) โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพซึ่งมีหนาที่ปองกัน สงเสริม รักษา ฟนฟู ตั้งศูนยพึ่งไดใน ตําบล หมูบาน ๒) สถานศึกษา มีระบบการดูแลนักเรียน การสอนเพศศึกษาในโรงเรียนและ ศูนยที่เปนมิตรในโรงเรียน ๓) ชุมชน มี อสม. หมอชุมชน กํานัน ผูใหญบาน สภาเด็กและ 34
เยาวชน อาสาสมัครเฝาระวังฯ และมีระบบเฝาระวัง นอกจากนีม้ กี ารเชือ่ มโยงระหวางเครือขาย ภายนอกชุมชน ไดแก ๑) โรงพยาบาลมหาสารคามซึ่งมีหน าที่ปองกันสงเสริม รักษา ฟนฟู มีศูนยพึ่งไดระดับจังหวัด ๒) พมจ. สสจ. สสอ. สพฐ. สภาเด็กจังหวัด บานพักเด็ก ทําหนาทีส่ นับสนุนวิชาการ วิทยากร วัสดุอปุ กรณ และแหลงงบประมาณ ๓) ภาคประชาสังคม ไดแกกองทุนเอดสโลก องคการแพทย์ สสส. สปสช. เปนตน พญ.สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์
จากสถิติของสิบอันดับแรกของโรคของวัยรุนอายุ ๑๓-๑๘ ป ที่ไดรับการรักษาตัว ในโรงพยาบาลในป ๒๕๕๑ พบวา อัตราการตั้งครรภมากที่สุดพบรอยละ ๒๙ รองลงมาคือ การไดรับบาดเจ็บและไดรับสารพิษ รอยละ ๑๙ และโรคระบบทางเดินอาหาร รอยละ ๑๓ ตามลํ า ดั บ นอกจากนี้ ภ าวะที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การตั้ ง ครรภ ข องวั ย รุ น ไทย อายุ ๑๓–๑๘ ป เฉพาะที่รับไวเปนผูปวยในโรงพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๐ มีการแทง (Abortion) ถึงรอยละ ๔๗ และแนวโนมที่มารดาที่คลอดบุตรอายุ ๑๐-๑๙ ป ระหวาง พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๕๒ มีแนวโนม เพิ่มขึ้น จากสถิติ Child Watch ป ๒๕๔๘-๒๕๔๙ มีวัยรุนคลอดเฉลี่ยวันละ ๑๔๐ คน และ วัยรุนที่มาคลอดอายุตํ่ากวา ๑๙ ป มาคลอดเพิ่มขึ้นจาก ๕๒,๐๐๐ คน เปน ๗๐,๐๐๐ คน เมื่อเทียบกับสถิติโลก การเกิดที่มาจากหญิงอายุ ๑๕-๑๙ ป ๑,๐๐๐ คน เฉลี่ย ๖๕ คน สําหรับประเทศไทยมีอัตรา ๗๐ คน และเปนอันดับที่ ๑๘ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต และ แปซิฟก นอกจากนี้การตั้งครรภในวัยรุนคิดเปนรอยละ ๒๐-๓๐ ของการตั้งครรภทั้งหมด รอยละ ๑๙ ของวัยรุน ๑๕-๑๙ ป ที่มีเพศสัมพันธ รอยละ ๘๐ เปนการตั้งครรภแบบไมตั้งใจ รอยละ ๓๐ นําไปสูการทําแทง รอยละ ๑๔ แทงเอง และรอยละ ๕๖ คลอด สวนใหญ รอยละ ๘๐ เปนการตั้งครรภนอกสมรส และนอยกวารอยละ ๒๕ มีการตั้งครรภอีกครั้ง ภายในระยะเวลา ๒ ปตอมา ปจจัยเสี่ยงโดยรวมของวัยรุนไทยพบวาในระดับบุคคล เพศชายขาดความนับถือ ตนเอง การเรียนไมดี ในระดับครอบครัวมีการแตกแยก เศรษฐานะตํ่า พอแมเสพสารเสพติด ความสัมพันธไมดี และปจจัยอื่น คือ เพื่อนมีปญหา ทุกขใจไมมีที่ปรึกษา การปองการตั้งครรภในวัยรุน ทําไดโดยหลีกเลี่ยงสิ่งเราที่ทําใหเกิดความตองการ ทางเพศ โดยใชทักษะชีวิตความนับถือตนเอง ความรูเรื่องเพศศึกษา แปรรูปพลังงานไปสู กิจกรรมที่สรางสรรค เชน ออกกําลังกาย เลนกีฬา ศิลปะ ดนตรี ถาไมสามารถทําไดตอง หาวิธีบําบัด เชน การชวยตนเอง ลูบไลภายนอก ใชถุงยางอนามัย ในส ว นการให ค วามรู เ รื่ อ งเพศศึ ก ษาจะทํ า อย า งไร เมื่ อ ใด และใครสอน จาก ผลสํารวจ Durex Global Sex Survey ในป ๒๐๐๕ พบวาอายุเมื่อไดเรียนรูเพศศึกษา ครั้งแรก อายุเฉลี่ยทั่วโลก ๑๓.๒ ป ประเทศที่คนเรียนรูเ รื่องเพศศึกษา เมื่ออายุมากกวา คนประเทศอื่น ไดแก Vietnam (๑๖ ป) India (๑๕.๖ ป) China (๑๕.๑ ป) และ Malaysia (๑๔.๙ ป) และประเทศที่เรียนรูเร็วกวาคนประเทศอื่นคือ คนใน Germany (๑๑.๓ ป ) Austria และ Netherlands (๑๑.๙ ป) สวนไทย (๑๔.๔ ป) เทา Indonesia 35
ขอบเขตการสอนเรื่องเพศศึกษา ควรประกอบดวยพัฒนาการทางเพศ สุขอนามัย ทางเพศ พฤติกรรมทางเพศ สัมพันธภาพ ทักษะสวนบุคคล สังคมและวัฒนธรรม และ บทบาททางเพศ โดยที่ ๑. พัฒนาการทางเพศ (Human Sexual Development) คือ ความรูความเขา ใจในเรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเพศตามวัย ทั้งทางรางกาย จิตใจ อารมณ และสังคม หนาที่ของสมอง และการจัดระเบียบของใยประสาทในการมีผลตอการเรียนรู ๒. สุขอนามัยทางเพศ (Sexual Health) คือ ความรูความเขาใจและสามารถ ดูแลสุขภาพอนามัยทางเพศไดตามวัย การดูแลรักษาอวัยวะในระบบสืบพันธุ อนามัยการ เจริญพันธุ ความเขาใจตางๆ ในเรื่องเพศ ๓. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual Behavior) คือ การแสดงออกถึงพฤติกรรม ทางเพศที่เหมาะสมกับเพศ และวัย ๔. สัมพันธภาพ (Interpersonal Relation) คือ การสราง / รักษาความสัมพันธ กับบุคคลในสังคม สราง / รักษาสัมพันธภาพกับเพื่อนตางเพศ การเลือกคู การเตรียมตัว กอนสมรส และการสรางครอบครัว ๕. ทักษะสวนบุคคล (Personal and Communication Skills) คือ ความสามารถ ในการจัดการสถานการณ ไดแก ทักษะการสื่อสาร ทักษะการปฏิเสธ ทักษะการขอความ ชวยเหลือ ทักษะ การจัดการกับอารมณ ทักษะการตัดสินใจและแกปญหาที่เกี่ยวกับเรื่องเพศ ๖. สังคมและวัฒนธรรม (Society and Culture) คือ คานิยมในเรื่องเพศที่ เหมาะสมสอดคลองกับสังคมและวัฒนธรรมไทย การปรับตัวตอกระแสการเปลี่ยนแปลง ของสังคม โดยเฉพาะจากสื่อที่ยั่วยุตางๆ ๗. บทบาททางเพศ (Gender Role) คื อ เอกลั ก ษณ ท างเพศที่ เ หมาะสม ความเสมอภาคทางเพศ บทบาททางเพศที่ชวยเหลือเกื้อกูลกันในสังคมอยางสมดุล จากราง พ.ร.บ. คุมครองอนามัยเจริญพันธุที่มีสาระตอนหนึ่งวา สถานศึกษา มีหญิงตัง้ ครรภอยูใ นระหวางศึกษา ตองอนุญาตใหศกึ ษาตอไดทงั้ ระหวางตัง้ ครรภ และภายหลัง คลอดบุ ต รแล ว จากแนวคิ ด ดั ง กล า วทํ า ให ตั้ ง โรงเรี ย นหนองชุ ม แสง จั ง หวั ด เพชรบุ รี เปนโรงเรียนที่ใหโอกาสมารดาตั้งครรภไดศึกษาตอ นอกจากนี้ราง พ.ร.บ. ฉบับดังกลาวยังมี สาระวา หากหญิงตั้งครรภที่อยูในภาวะไมพรอมมีบุตรหรือไม สามารถชวยเหลือตัวเองและ บุตรได รัฐตองชวยเหลือ ทําใหมีคลินิกแมวัยรุน รพ.รามาธิบดีขึ้น มีวัตถุประสงค เพื่อ พัฒนาตนแบบของ Teenage Pregnancy Clinic ที่ใหการดูแลวัยรุนที่ตั้งครรภอยางเปน องครวม และรวมวางแผนแกไขผลกระทบที่เกิดกับตัววัยรุนและครอบครัว เสริมสราง ความนั บ ถื อ ตนเอง ทั ก ษะชี วิ ต และการใหค วามรู เ รื่ อ งเพศศึ ก ษา รวมถึ ง การวางแผน ครอบครั ว และการเลี้ ย งดู บุ ต รอย า งถู ก ต อ ง ซึ่ ง ขณะนี้ อ ยู ร ะหว า งการเก็ บ ข อ มู ล หลั ง การดําเนินงานในเชิงปริมาณของการกลับไปศึกษาตอ การคลอดนํ้าหนักแรกเกิดเฉลี่ย LBW และ Prematurity 36
เสวนาวิชาการ • การลดการใชสารปรอทในสถานบริการสาธารณสุข • วิกฤตอนาคต : สุขภาพและสิ่งแวดลอม • HIA : ความทาทายใหมของภาคประชาชนและทองถิ่น • สุขภาพชองปากกับสุขภาพองครวม : ปริทันตอักเสบ ในหญิงตั้งครรภกับความเสี่ยงการเปนเบาหวานและ นํ้าหนักทารกแรกเกิดนอย • พัฒนาการเด็กและไอโอดีน • ผลกระทบและการดูแลสุขภาพจากภาวะโลกรอน
37
การลดใช้สารปรอทในสถานบริการสาธารณสุข
Ms.Merci Ferer, HCWH ภกญ.ยุวดี พัฒนาวงศ์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ทพ.กฤษดา ปัญจนุวัฒน์ กรมการแพทย์ น.ส.พรพิมล เจริญส่ง กรมควบคุมมลพิษ ดร.ทวีสุข พันธ์ุเพ็ง ผู้ดำเนินการอภิปราย
การลดการใช้สารปรอททางการแพทย์ โดย Ms. Merci Ferer
โครงการสิ่ ง แวดล้ อ ม แห่ ง สหประชาชาติ (UNEP) ได้เริ่มทําการประเมินผลกระทบ ต่ อ สุ ข ภาพของประชาชน จาก การปนเปื้ อ นของสารปรอท ในปี ๒๐๐๑ พบว่า สารปรอทมี คุณสมบัติพิเศษ คือ เมื่ออุปกรณ์ ทางการแพทย์ ที่ มี ส ารปรอท เป็ น ส่ ว นประกอบเกิ ด การชํ า รุ ด เสียหาย สารปรอทจะระเหิด กลายเป็นไอในอุณหภูมิปกติได้ทันที และปนเปื้อนในอากาศ เมื่อฝนตกลงมาก็จะทําให้นํ้าในแหล่งนํ้าและพื้นดิน มีการปนเปื้อนจากสารปรอท อีกทั้งยัง ตกค้างในสิ่งแวดล้อมเป็นระยะเวลานานไม่สามารถ กําจัดได้ และพบได้ในทุกวัฏจักร ดังนั้น สารปรอท นอกจากจะส่งผลให้กบั ประชาชน และบุคคลากรด้านสาธารณสุข และผูท้ เี่ กีย่ วข้อง แล้วยังส่งผลไปยังสัตว์นํ้าอีกด้วย
ปัจจุบัน มีการป้องกันอันตรายจากสารปรอทในเครื่องมือทางการแพทย์ ที่ส่งผล ให้ เ กิ ด การปนเปื้ อ นในสิ่ ง แวดล้ อ ม และสุ ข ภาพของประชาชน รวมทั้ ง บุ ค ลากรด้ า น สาธารณสุ ข ด้ ว ยการนํ า นโยบายจากองค์ ก ารอนามั ย โลกมาใช้ และกํ า หนดเป้ า หมาย เพื่อลดความต้องการการใช้เครื่องมือทางการแพทย์ที่มีสารปรอทเป็นส่วนประกอบ เช่น เทอร์โมมิเตอร์ เครื่องมือวัดความดัน และอมัลกัมที่ใช้ในการอุดฟัน ลงให้เหลือร้อยละ ๓๐ ภายในปี ๒๐๑๗ Health Care Without Harm (HCWH) เป็นหน่วยงานย่อยขององค์การอนามัยโลก ที่ทําหน้าที่หลักในการรณรงค์ให้ประเทศต่างๆ ลดการใช้สารปรอทอย่างยั่งยืน ซึ่งปัจจุบัน มี ๔๔๓ องค์กรจาก ๕๒ ประเทศ เข้าร่วมในโครงการดังกล่าว ในประเด็นการจัดการขยะ ทางการแพทย์ให้ถูกวิธี การวิจัยและการประเมินการปนเปื้อนสารปรอทในอาหารและยา
38
สิ่งแวดล้อม รวมทั้งสารเคมีที่ใช้ในการรักษาพยาบาลและเครื่องมือทางการแพทย์ เช่น ในสหรัฐอเมริกามีการนํานโยบายของ HCWH มาใช้ โดยการยกเลิกการใช้เทอร์โมมิเตอร์ แบบมีสารปรอทใน ๒๘ รัฐ และใช้เทอร์โมมิเตอร์แบบดิจิตอลแทน นอกจากนี้ มีการใช้ เครื่องวัดความดันแบบดิจิตอลแทนแบบเดิมอีกด้วย การดําเนินงานขององค์การอนามัยโลกเพื่อลดการใช้สารปรอททางการแพทย์ ในปี ๒๐๑๕ มีการแบ่งการดําเนินงานเป็น ๓ ระยะ ได้แก่ ๑) ระยะสั้น ด้วยการจัดเก็บ ทําลายอุปกรณ์ที่ชํารุด และลดการใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีสารปรอทเป็นส่วนประกอบ โดยใช้สารทดแทน เช่น เครื่องมือแบบดิจิตอล ๒) ระยะกลาง ด้วยการเพิ่มโอกาสในการลด การใช้เครื่องที่ไม่จําเป็น และ ๓) ระยะยาว คือการสนับสนุนให้มีการยกเลิกการใช้เครื่องมือ ทางการแพทย์ที่มีสารปรอทเป็นส่วนประกอบโดยสิ้นเชิง และส่งเสริมการใช้อุปกรณ์อื่นๆ และสารทดแทน
ได้แก่
นอกจากนี้ HCWH ได้กําหนดขั้นตอนการลดใช้สารปรอทดังกล่าว ๗ ขั้นตอน ๑. การฝึกอบรมและให้ความรู้การลดใช้สารปรอท ๒. ตั้งโรงพยาบาลนําร่องเพื่อดําเนินการ ๓. นําไปปฏิบัติในโรงพยาบาลอื่นๆ ๔. กําหนดนโยบายการลดใช้สารปรอทในระดับจังหวัด ๕. กําหนดนโยบายการลดใช้สารปรอทในระดับประเทศ ๖. ถ่ายทอดความรู้ในระดับภูมิภาค ๗. ดําเนินการภายใต้นโยบายที่กําหนดอย่างเคร่งครัดในทุกระดับ
ปั จ จุ บั น ทุ ก ประเทศต่ า งตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ปั ญ หา และให้ ค วามสนใจ เกี่ยวกับประเด็นการลดใช้สารปรอทในสถานพยาบาล และมี ๑๔ ประเทศที่เข้าร่วมโครงการ นําร่องของ HCWH และประเทศไทยก็เป็นหนึ่งในประเทศที่อยู่ในระหว่างการดําเนินงาน ดั ง กล่ า วเพื่ อ ลดการใช้ ส ารปรอทในสถานพยาบาล เช่ น โครงการ GREEN & CLEAN Hospital โดยกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข มีการให้คําแนะนําการจัดเก็บ และกําจัด ขยะที่มีการปนเปื้อนจากสารปรอทที่ถูกวิธี มีการกําหนดการลดใช้สารปรอทในเครื่องมือ ทางการแพทย์ แต่เนื่องจากอุปกรณ์ที่นํามาใช้ทดแทนมีราคาสูง และเมื่อใช้ไประยะหนึ่ง อาจไม่ แ ม่ น ยํ า เท่ า กั บ แบบเดิ ม จึ ง ต้ อ งมี ก ารตรวจสอบและปรั บ ปรุ ง เครื่ อ งมื อ อยู่ เ สมอ และสารบางชนิดอาจไม่สามารถใช้การได้ดีเท่ากับสารปรอท ในบางครั้งจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้น ต้องทําการศึกษาเกี่ยวกับสารที่จะนํามาใช้ทดแทนสารปรอทในอนาคต
39
การลดใช้สารปรอทในสถานบริการสาธารณสุข หรืออุตสาหกรรม
โดย ภกญ.ยุวดี พัฒนาวงศ์
กองควบคุมเครื่องมือแพทย์ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีบทบาท เกี่ยวกับการลดใช้สารปรอทในเครื่องมือแพทย์ โดยกองควบคุมเครื่องมือแพทย์ได้ควบคุม เครื่องมือแพทย์ตั้งแต่การผลิต การนําเข้า การขายเครื่องมือแพทย์ มีการดําเนินการเจรจา ระหว่ า งประเทศเพื่ อ ควบคุ ม เครื่ อ งมื อ แพทย์ ใ ห้ ไ ด้ ม าตรฐานตามสากล และในฐานะ ที่ประเทศไทยเป็นสมาชิกอาเซียนจึงต้องมีข้อผูกพันที่ต้องดําเนินการ เช่น GRP ที่ต้อง ดําเนินการการลดใช้สารปรอทในสถานบริการสาธารณสุขหรืออุตสาหกรรมต้องทําเป็น เครือข่าย (Networking) และเบื้องต้นต้องวิเคราะห์ผลกระทบ (Impact) ต่อผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียกับการใช้เครื่องมือแพทย์ วิเคราะห์ผู้ใช้เครื่องมือแพทย์ เช่น แพทย์ใช้เครื่องวัด ความดันแบบปรอท ทันตแพทย์ใช้สารอมัลกัมในการอุดฟัน รวมถึงประชาชน ผู้บริโภค โรงพยาบาล สถานพยาบาล ฯลฯ ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจะรับผิดชอบ ดูแลในเรื่องของผลกระทบจากการใช้เครื่องมือแพทย์ มีกฎหมายควบคุมสถานพยาบาล ดูแลในเรื่องของความปลอดภัย ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของเครื่องมือแพทย์ นอกจากนี้ จะดูแลในส่วนของต้นทุนราคา (Cost) และความคุ้มค่าของเครื่องมือแพทย์ด้วย
ก่ อ นการลงนามเป็ น ภาคี ร ะดั บ โลกในการลดใช้ ส ารปรอทในระยะ ๓-๕ ปี นี้ ประเทศไทยต้ อ งดํ า เนิ น การจั ด อั น ดั บ อั น ตรายของสารเคมี แ ละเครื่ อ งมื อ แพทย์ที่ อ าจมี ผลกระทบต่ อผู้ ใช้ งานและสิ่ง แวดล้ อ ม ดั ง นั้ น ต้ อ งดํ า เนิ น การในรู ป ของคณะกรรมการ จัดเวทีความร่วมมือระหว่างหน่วยงานทางการแพทย์และหน่วยงานอื่นๆ เช่น กรมควบคุม มลพิษ เพราะการกําหนดกฎหมายหรือเงื่อนไขการทําลายเครื่องมือแพทย์อาจจะมีส่วน เกี่ ย วข้ อ งกั บ กรมควบคุ ม มลพิ ษ หรื อ องค์ ก รวิ ช าชี พ อื่ น ๆ ด้ ว ย รวมถึ ง การกํ า หนด พรบ.วิชาชีพต่างๆ จะมีสว่ นทีเ่ กีย่ วข้องกับการลดใช้สารปรอทในสถานบริการสาธารณสุขด้วย เครื่องมือแพทย์ที่มีสารปรอท เช่น เครื่องวัดความดันจะมีความเสี่ยงเป็นอันตราย มากกว่าการใช้เทอร์โมมิเตอร์ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๕ สํานักงานคณะกรรมการอาหาร และยาจึ ง ได้ ทํ า โครงการควบคุ ม เครื่ อ งวั ด ความดั น แบบปรอท ซึ่ ง ต้ อ งควบคุ ม ใน การ Calibrate เครื่องมือ ซึ่ง อาจกระทบ Cost ของโรงพยาบาลส่ว นเรื่ อ งทั น ตกรรม ในระดั บโลกยังไม่ได้ตระหนักเรื่องอมัลกัม ดังนั้นอาจจะต้องดําเนินการในโอกาสถัดไป โดยสรุปการตระหนักเรือ่ งสารปรอทในเครือ่ งมือแพทย์ของสถานบริการสาธารณสุข ไม่ได้ทําตามแฟชั่นหรือตามกระแสโลก หากแต่ตระหนักถึงประโยชน์สูงสุดที่จะเกิดขึ้นจริง ทั้งนี้ ต้องคํานึงถึงต้นทุนราคาของเครื่องมือแพทย์ด้วย
40
วิกฤตอนาคต : สุขภาพและสิ่งแวดล้อม ดร.สุพัฒน์ หวังวงศ์วัฒนา กรมควบคุมมลพิษ รศ. นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช คณะแพทยศาสตร์ ม.เชียงใหม่ ดร.ไชยยศ บุญญากิจ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย นายสุคนธ์ เจียสกุล ผู้ดำเนินการอภิปราย ดร.สุพัฒน์ หวังวงศ์วัฒนา
ประเด็ น การสั ม มนาใน หัวข้อ “วิกฤตอนาคต : สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม” เป็นการเสวนา ถึ ง สถานการณ์ ข องสุ ข ภาพและ สิ่ ง แวดล้ อ มในปั จ จุ บั น ว่ า วิ ก ฤต อย่างไร ทําไมจึงรู้ว่าจะเกิดวิกฤต และหากเปลี่ ย นมุ ม มองความคิ ด จากวิกฤตเป็นโอกาส นักวิชาการแต่ละภาคส่วนจะเข้ามามีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ปัญหา และร่วมกันแก้ไขวิกฤตที่จะเกิดขึ้นอย่างไร วิทยากรแต่ละท่านจะฉายภาพถึงสถานการณ์ สิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน และอนาคตที่มีปัญหาวิกฤตทั้งระดับโลก และระดับประเทศว่ามี อะไรบ้าง ที่เริ่มมีเค้าโครง หรือแนวโน้มจะเกิดวิกฤต อะไรที่เป็นวิกฤตของท้องถิ่น และ จะดําเนินการจัดการแก้ไขอย่างไร แก้ไขกันอย่างไร สถานการณ์มลพิษสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ซึ่งมีสาเหตุมาจากการพัฒนา ประเทศที่ไม่ยั่งยืน เพราะการพัฒนาที่ยั่งยืนจะควบคู่ ไปกับการดูแลสิ่งแวดล้อม สําหรับ ลู ก หลานในอนาคตด้ ว ย แต่ ที่ ผ่ า นมา การพั ฒ นามั ก จะละเลยการดู แ ลปั ญ หามลพิ ษ สิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้น ก่อให้เกิดมลพิษออกมาสู่สิ่งแวดล้อม ทําให้สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรม ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนาอุตสาหกรรม และการพัฒนาเมือง ทําให้เกิดผลกระทบต่อ สุขภาพอนามัย และสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เห็นได้ชัดเจน เช่น
การปล่อยนํ้าเสีย ซึ่งการจัดการนํ้าเสียอยู่ในความรับผิดชอบของท้องถิ่น โดยมี หน่วยงานส่วนกลางเป็นผู้สนับสนุนเท่านั้น ผลจากนํ้าเน่าเสีย คือ ปลาตาย ตัวอย่างที่เกิด ขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ คือ อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากเรือบรรทุกนํ้าตาลมาล่มที่จังหวัดอยุธยา ซึ่งเกิด เป็นครั้งที่ ๒ โดย ครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่จังหวัดอ่างทอง ส่งผลกระทบทําให้ ปลาตายจํานวนมาก
จากการตรวจสอบคุ ณ ภาพนํ้ า ของแม่ นํ้ า สายหลั ก ของประเทศไทย ทั้ ง แม่ นํ้ า เจ้าพระยา แม่นาํ้ ท่าจีน แม่นาํ้ บางปะกง และแม่นาํ้ แม่กลอง พบว่า บริเวณตอนบนคุณภาพนํา้ ยังพอใช้ได้ แต่ตอนล่าง หรือในช่วงที่ผ่านเขตเมืองใหญ่ จะมีคุณภาพนํ้าลดลง โดยเฉพาะ 41
ตอนล่ า งของแม่ นํ้ า ท่ า จี น และแม่ นํ้ า เจ้ า พระยา คุ ณ ภาพนํ้ า จะอยู่ ใ นสภาพเสื่ อ มโทรม ซึ่งหมายถึงปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยู่ ในนํ้ามีค่าตํ่ากว่า ๒ ทําให้ปลาที่มีเกร็ดจําพวก ปลาตะเพี ย นอาศั ย อยู่ ไ ด้ ย าก ส่ ว นปลาที่ มี ค วามอดทนสู ง เป็ น ปลาพวกที่ ไ ม่ ค่ อ ยมี เ กร็ ด เช่ น ปลาสวาย ปลาดุ ก พวกนี้ ส ามารถอาศั ย อยู่ไ ด้ แต่ ผ ลกระทบที่ ต ามมา คื อ ความ เสื่ อ มโทรมของคุ ณ ภาพนํ้ า และส่ ง ผลให้ ป ากแม่ นํ้ า สํ า คั ญ ๆ ในอ่ า วไทย ทั้ ง ปากแม่ นํ้ า เจ้าพระยา แม่นํ้าท่าจีน อยู่ในสภาพเสื่อมโทรม เพราะนํ้าจากพื้นดินไหลลงสู่ทะเล และไหล รวมกันตรงปากแม่นํ้า ทําให้คุณภาพนํ้าบริเวณปากแม่นํ้าที่ชายฝั่งอยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรม หากจะแก้ไขปัญหานํ้าบริเวณชายฝั่งจึงต้องแก้ปัญหานํ้าบนพื้นดินให้มีคุณภาพดีขึ้น ขยะมู ล ฝอย ที่ ม าจากการอุ ป โภคบริ โ ภค เมื่ อ ประชากรมากขึ้ น การบริ โ ภค ก็เพิ่มขึ้น ทําให้เศษอาหารและสิ่งปฏิกูลทั้งหลาย ถูกปล่อยลงสู่สิ่งแวดล้อม หากไม่ได้รับ การจัดการดูแลจะก่อให้เกิดปัญหา สําหรับสิ่งของที่ใช้ในบ้านเรือนทั้งกระดาษ บรรจุภัณฑ์ หรือพลาสติก สุดท้ายแล้วก็ถูกปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม ถ้าหากไม่ได้รับการจัดการที่ดี นอกจากนี้ สิ่งของที่ใช้ในการดํารงชีวิตภายในบ้านเรือนก็มีของเสียอันตรายเกิดขึ้นด้วย แต่ไม่ได้รับ การจั ด การที่ ดี พ อ เนื่ อ งจากยั ง ถู ก นํ า ทิ้ ง ไปกั บ ขยะมู ล ฝอยทั่ ว ไป ซึ่ ง เรื่ อ งนี้ อ ยู่ ใ นความ รับผิดชอบของท้องถิ่นเช่นกัน ทั้งมูลฝอยทั่วไป ของเสียอันตรายที่เกิดจากชุมชน บ้านเรือน และจากการประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ สารเคมีที่มีการใช้ในภาคการผลิตต่างๆ ก็เป็นอันตรายต่ อสุขภาพอนามัยของคนงาน และบางประเภทสามารถตกค้ างยาวนาน ในสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีผลกระทบต่อรุ่นลูก รุ่นหลานในอนาคต ปริมาณของเสียอันตราย มูลฝอย และของเสียมี ๑๕ ล้านตันต่อปี ปัจจุบันขยะ ทีอ่ อกมาจากชุมชนได้รบั การจัดการอย่างถูกต้องเพียง ๓๘% เท่านัน้ อีก ๖๒% หรือประมาณ ๗-๘ ล้านตันต่อปี ยังถูกทิ้งอยู่ในสิ่งแวดล้อมโดยไม่ได้รับการจัดการ มีขยะที่รีไซเคิลกลับมา เพี ย ง ๒๖% แต่ ใ นภาคอุ ต สาหกรรมรี ไ ซเคิ ล ได้ ถึ ง ๖๘% และของเสี ย อั น ตรายจาก อุตสาหกรรมที่ได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง ๙๗% ดังนั้น มูลฝอยจากชุมชนยังคงเป็น ปัญหาทีพ่ บถูกทิง้ อยูร่ มิ ถนนโดยเฉพาะบริเวณพืน้ ทีร่ กร้าง สําหรับองค์ประกอบของขยะมูลฝอย มีขยะอินทรีย์ ๖๔% ขยะรีไซเคิล ๓๐% ขยะอื่นๆ ๓% ขยะอันตราย ๓% เพราะฉะนั้นจะเห็นว่า องค์ประกอบของขยะมูลฝอยถึง ๙๔% สามารถรีไซเคิล ไม่จําเป็นต้องเอาไปกําจัด แต่ขณะนี้ ไม่ได้รับการดูแล ซึ่งหากได้รับการจัดการขยะอินทรีย์เหล่านี้สามารถนํามาทําปุ๋ยหรือหมัก ทําก๊าซเพื่อผลิตพลังงาน ส่วนขยะรีไซเคิล ๓๐% หรือประมาณ ๓.๘ ล้านตัน จะเป็นพวก อลูมิเนียม แก้ว และโลหะ มูลฝอยติดเชื้อ ขณะนี้มีเตาเผามูลฝอยติดเชื้อ ๑๓ แห่ง เดิมมีอยู่ในโรงพยาบาล แต่เตาเผาเหล่านั้นกลับเป็นตัวก่อมลพิษด้วย เนื่องจากเตาเผาขนาดเล็กไม่สามารถกําจัด มูลฝอยติดเชื้อได้ และจะปล่อยสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพมาก คือ ไดออกซิน จึงมีการนํา ไปเผาในเตาปูนซีเมนต์ ๗ แห่ง เผาในเตาเผาของเสียอันตราย ๑ แห่ง และฝังกลบแบบ 42
Secure Landfill ๔ แห่ง ซึ่งปัจจุบันยังคงมีปัญหาการจัดการขยะติดเชื้อในโรงพยาบาลและ คลิ นิ ก ในชุ ม ชน มี ก ารใช้ ส ารอั น ตรายเพิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง ในภาคอุ ต สาหกรรม ภาคเกษตร และ ภาคอาหารและยา และร้อยละ ๙๐ ของความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่เกิดจากการใช้ สารอันตรายในภาคการเกษตร เพราะใช้กําจัดศัตรูพืชและสัมผัสโดยตรง ผู้เจ็บป่วยที่มี การรวบรวมทั้งในภาคการเกษตรและอุตสาหกรรม จะพบว่า ภาคการเกษตรมีผู้เจ็บป่วย เพิ่มขึ้นมาก ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ มีจํานวน ๑,๖๔๙ ราย ภาคอุตสาหกรรม ๒๗๗ ราย และ อุบัติภัยจากสารเคมีก็เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน อากาศเสีย ส่วนใหญ่มาจากการผลิตในภาคอุตสาหกรรม ส่วนบ้านเรือนจะมี ไม่มากนัก และที่เกิดจากภาคประชาชน คือ การใช้รถประเภทต่างๆ บนถนน ทําให้มีอากาศ เสียออกมาจากท่อไอเสีย คุณภาพอากาศของประเทศไทยปัจจุบนั ดีขนึ้ มาก สารมลพิษหลายตัว ที่เคยมีปัญหาหมดไปแล้ว เช่น ปัญหาตะกั่วในบรรยากาศ ปัญหาก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ซึ่งเกิดจากด้วยมาตรการของรัฐบาลได้ดําเนินการ แต่ที่ยังคงเป็นปัญหาอยู่ ๒ ประเภท โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ คือ ฝุ่นขนาดเล็กและโอโซน โอโซนที่มากเกินไปจะเป็นอันตราย ต่อระบบทางเดินหายใจ ส่งผลให้หลอดลมเกิดการระคายเคือง และทําลายเนื้อเยื่อนัยน์ตา สําหรับแนวโน้มที่ผ่านมา ในเขตกรุงเทพฯ พบว่าฝุ่นขนาดใหญ่ลดลงมาก สําหรับช่วง ๔ ปี ที่ผ่านมา ระดับฝุ่นในบรรยากาศลดลง ฝุ่นขนาดเล็กกว่า ๑๐ ไมครอนก็ลดลงเช่นกัน แต่ยัง อยู่ในเกณฑ์เกินมาตรฐานโดยเฉพาะบริเวณริมถนน แต่ถ้าห่างถนนเข้าไปพบว่าอยู่ในเกณฑ์ดี ใช้ได้ สําหรับปัญหามลพิษทางอากาศทั้งในกรุงเทพฯ หรือในประเทศไทยไม่ได้มีปัญหาทั้งปี จะพบเกินมาตรฐานเฉพาะช่วงหน้าแล้ง คือ ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ มีนาคม และเมษายน ซึ่งหากผ่าน ๓ เดือนนี้ไปแล้วคุณภาพอากาศจะดีขึ้นเกือบทุกพื้นที่ แหล่งที่มาของปัญหา ฝุ่นละอองในปัจจุบัน เกิดจากการเผาที่เกิดจากไฟป่า และการเผาในภาคการเกษตรเผาตอซัง ฟางข้าว ล้วนทําให้เกิดฝุน่ ละอองขึน้ ซึง่ เป็นปัญหาในระดับภูมภิ าคด้วย ในภาคเหนือตอนบน เกี่ยวข้องกับประเทศลาวและพม่า ส่วนทางภาคใต้เมื่อไม่นานมานี้ เกิดปัญหาหมอกควันจาก ประเทศอินโดนีเซียเข้ามาทางจังหวัดสตูล ดังนั้นเรื่องนี้ต้องได้รับการจัดการต่อไปในอนาคต สําหรับคาร์บอนมอนอกไซด์บริเวณริมถนนลดลงชัดเจน เนื่องจากคุณภาพนํ้ามันและรถ ที่ดีขึ้น ทําให้คาร์บอนมอนอกไซด์อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตลอดทั้งปี ส่วนโอโซนยังเป็นปัญหา ทรงตัวมาตลอด ไม่ลดลง เนื่องจากโอโซนไม่ได้ออกมาจากแหล่งกําเนิดใดโดยเฉพาะ แต่เกิด จากปฏิกิริยาของไฮโดรคาร์บอนกับไนโตรเจนออกไซด์ ระดั บ เสี ย ง บริ เ วณริ ม ถนนเกื อ บทุ ก สายมี ร ะดั บ เสี ย งเกิ น มาตรฐานทั้ ง หมด ถึงแม้ว่าในระยะหลังจะดีขึ้นบ้าง เพราะมอเตอร์ไซด์เปลี่ยนจาก ๒ จังหวะเป็น ๔ จังหวะ ทําให้มีระดับเสียงเบาลง จึงมีแนวโน้มลดลง แต่ก็ยังเกินมาตรฐานของระดับเสียงที่ ๗๐ เดซิเบล เอ ถนนสายต่างๆ ในกรุงเทพฯ ที่มีปัญหา คือ ตากสิน สุขุมวิท สุขสวัสดิ์ เนื่องจาก เป็นถนนที่มีการจราจรหนาแน่น
43
นอกจากนี้ประเด็นที่เป็นที่สนใจในขณะนี้คือ ภาวะโลกร้อน ที่เกิดขึ้นจากการ ปลดปล่อยก๊าซทีท่ าํ ให้บรรยากาศร้อนขึน้ ไม่วา่ จะเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซต์ ซีเอฟซี เป็นต้น ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น ล้วนเป็นผลพวงของการพัฒนาเมือง และการพัฒนาทางด้ านอุตสาหกรรม ผลกระทบทั้ ง หลายทํ า ให้ สิ่ ง แวดล้ อ มเสื่ อ มโทรม มีมลพิษอยู่ในสิ่งแวดล้อม เมื่อคนไปสัมผัส ไม่ว่าจะเป็นจากนํ้า อากาศ หรือของเสียที่อาจ ปนเปื้อนกับนํ้าใต้ดิน แล้วนํามาสู่การบริโภค ก็ส่งผลให้มีการเกิดโรคภัย ทําให้ประชากร มีสุขภาพเสื่อมโทรม อ่อนแอ และยังส่งผลต่อไปถึงค่ารักษาพยาบาลที่เพิ่มขึ้น งบประมาณ ทีต่ อ้ งใช้ในการดูแลรักษาพยาบาล คนทีเ่ จ็บป่วยไม่สามารถไปทํางานได้ขาดงาน ขาดกําลังคน รายได้กจ็ ะลดลง รายได้ประชาชาติกจ็ ะลดตามไปด้วย สุดท้ายจะมี ผลย้อนกลับมามีผลกระทบ ต่อเศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศที่จะถดถอยลง ซึ่งเป็นวงจรที่จะเกิดขึ้นมาจาก ผลกระทบของปัญหามลพิษต่างๆ
รศ. นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช
สาเหตุของการเกิดโรคจากสิ่งแวดล้อม โดยใช้กรอบที่องค์การอนามัยโลก ได้จัด ทําไว้ในปี ค.ศ. ๒๐๐๐ ว่า เมื่อคนอยู่ในสิ่งแวดล้อมจะเจ็บป่วยได้ ต้องมี ๒ องค์ประกอบ คือ ๑) สิ่งคุกคาม ซึ่งจะถูกปลดปล่อยเข้าสู่สิ่งแวดล้อม ๔ ประเภท คือ อากาศ นํ้า อาหาร และ ดิน ประเด็นสําคัญคือ อาหาร ซึ่งหากถูกปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมแล้วจะหลีกเลี่ยงยาก เพราะจะเข้ า ไปในห่ ว งโซ่ อ าหาร ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งใหญ่ ม าก ยกตั ว อย่ า งเช่ น อํ า เภอแม่ ส อด จังหวัดตาก ที่มีการทําเหมืองแร่ สังกะสี และกระบวนการทําเหมืองแร่นั้นมีการปนเปื้อน ของแคดเมียม และอําเภอแม่สอดมีการปลูกข้าวหอมมะลิที่ดีที่สุดในโลก ส่งขายไปทั่วโลก รวมทั้งประเทศญี่ปุ่น ทําให้คนญี่ปุ่นอยากรู้ว่าทําไมข้าวหอมมะลิที่แม่สอดถึงอร่อย จึงทํา การตรวจสอบปรากฏว่าพบสารแคดเมียม เนื่องจากแคดเมียมที่เกิดจากกระบวนการทํา เหมืองแร่ แต่ไม่มีการจัดการที่ดี จึงทําให้ปนเปื้อนลงในแหล่งนํ้า ลงไปในดิน แล้วเข้าสู่ ห่วงโซ่อาหารทันที เพราะพืชตระกูลหญ้าสามารถดูดซับแคดเมียมได้ดีที่สุด และข้าวก็เป็น พืชตระกูลหญ้า เมือ่ ดูดซึมแล้วก็ไปสะสมทีเ่ มล็ดข้าว ซีง่ ถูกขายไปทัว่ โลกรวมทัง้ ในประเทศไทย ด้วย ๒) การเข้าสู่ร่างกาย ถ้าสิ่งคุกคามอยู่ในสิ่งแวดล้อม แต่ไม่ได้เข้าสู่ร่างกายก็จะไม่ เจ็บป่วย ดังนั้นการเจ็บป่วยต้องมี ๒ องค์ประกอบ คือ ต้องมีสิ่งคุกคาม และการรับสัมผัส หรือการรับเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งสามารถเข้าสู่ร่างกายได้ ๓ ทาง คือ ทางอากาศจากการหายใจ ทางนํ้าหรืออาหารจากการกิน บางอย่างดูดซึมผ่านผิวหนัง แต่ไม่ค่อยเป็นปัญหามาก แต่ที่ น่ากลัวกว่านั้น คือ สิ่งคุกคามบางประเภทสามารถทะลุทะลวงได้ ซึ่งเรื่องนี้มีแนวโน้มเป็น ปัญหามากขึ้น สุดท้ายเมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้ว จะก่อให้เกิดโรค ขึ้นกับว่าเป็นสารอะไร และรับ เข้าไปมากน้อยเพียงใด กรณีสารพิษส่วนใหญ่จะมากับอาหาร เช่น ที่บ้านหลวง จังหวัดน่าน มีปัญหาเรื่องหน่อไม้ปี๊บ คนที่รับประทานเข้าไปทําให้ได้รับพิษ Botulinum หรือช่วงหน้าฝน จะมีปัญหา คือ เห็ดพิษ หรืออาหารเป็นพิษ จะเห็นว่าส่วนใหญ่ล้วนเกี่ยวข้องกับอาหาร ทั้งสิ้น 44
กรอบแนวคิดเกี่ยวกับกับการเกิดโรคอันเนื่องมาจากสิ่งแวดล้อม สิ่งคุกคามตามธรรมชาติ การขับถ่ายของเสีย เหตุการณ์ตามธรรมชาติ
สิ่งคุกคามจาก ความทันสมัย: การพัฒนาของมนุษย์
การปลดปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม อากาศ น้ำ อาหาร ดิน การรับเข้าสู่ร่างกาย ขนาดภายนอก ขนาดดูดซึม ขนาดก่อผลกระทบภายใน ผลกระทบทางสุขภาพ ระยะก่อนมีอาการ ระยะเฉียบพลัน ระยะเรื้อรัง
นอกจากนี้ ยังมีเรื่องยาฆ่าแมลงที่เป็นประเด็นปัญหาใหญ่ ซึ่งประเทศไทยเป็น ประเทศที่ มี การทําเกษตรกรรม มีการใช้ ส ารเคมี ท างการเกษตรค่ อ นข้ า งมาก และไม่ มี มาตรการที่ดีพอในการป้องกันและการควบคุมการใช้ โรคที่เกิดจากสิ่งแวดล้อมส่วนใหญ่ มากกว่า ๙๐% เป็นโรคเรื้อรัง ที่ค่อยๆ สะสมและแสดงอาการในภายหลัง เช่น โรคมะเร็ง โรคตับ ในการเกิดโรคจากสิ่งแวดล้อมนั้นเกิดจากการสัมผัสและสิ่งที่มาสัมผัส วิธีการแก้ไข คือ ทําอย่ างไรไม่ ให้มีการสัมผัสเกิดขึ้น และหาวิธีป้องกันการเข้ าสู่ร่างกาย สิ่งคุกคาม คือ “สารซึ่งมีศักยภาพที่จะสามารถก่อให้เกิดโรคหรือการบาดเจ็บได้ รวมทั้งสิ่งซึ่งเป็น ต้ น กํ า เนิ ด ของสารอื่ น ๆ ที่ ส ามารถก่ อ ให้ เ กิ ด ภาวะดั ง กล่ า วด้ ว ย” หรือแม้ กระทั่งสิ่งที่ ทําให้เราบาดเจ็บ เช่น รถชน รวมทั้งสารบางชนิดซึ่งเป็นต้นกําเนิดด้วย ตัวอย่าง เช่น นํ้า ซึ่งไม่ใช่สิ่งคุกคาม แต่เป็นสิ่งที่จําเป็น แต่ในบางสภาพนํ้าเมื่อเจอกับแก๊สบางตัว เช่น SO2 ทำให้เกิดกรดซัลฟิวริก เช่น เหตุการณ์ในประเทศไทยที่อําเภอแม่เมาะ มีการปล่อย SO2 ออกมา เมื่อ SO2 มาเจอกับนํ้าหรือความชื้นในอากาศก็ทําให้กลายเป็นกรด นอกจากนี้ 45
เมื่อ ๑๐ ปีก่อน ที่กรุงลอนดอน เป็นกลุ่มควันปกคลุมทั้งเมือง เนื่องจากมีการใช้ถ่านหิน และปล่อย SO2 ออกมาค่อนข้างมาก และในปี พ.ศ. ๑๙๕๔ การใช้ถ่านหิน และปล่อย SO2 ออกมาเยอะมาก เกิดสภาพอากาศปิดเพียงแค่ ๓ วันเท่านัน้ หลังจากนัน้ ๑ สัปดาห์ มีคนตาย ๔,๐๐๐ คน จาก SO2 และอีกจํานวนเกือบ ๑๐,๐๐๐ คน ตายจากโรคติดเชื้อหลังจากนั้น โดยทั่วไปสิ่งคุกคาม แบ่งเป็น ๓ ชนิด คือ สิ่งคุกคามทางกายภาพ (Physical Agents) ทางเคมี (Chemical Agents) และทางชีวภาพ (Biological Agents) ปัญหาที่ เกิดจากสิ่งคุกคาม เช่น ปัญหามลพิษทางเสียงที่เกิดการจราจร และแนวโน้มใหม่เรื่อง หูเสื่อม จากในอดีตปัญหาหูเสื่อมจะเกิดในผู้สูงอายุ ที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของเซลล์ใน หูตายโดยอายุขัย แต่ในปัจจุบันนี้ มีตัวเลขที่ยืนยันแล้วว่า อายุของผู้ที่มีปัญหาหูเสื่อม มีแนวโน้มน้อยลงเรื่อยๆ โดยเฉพาะในวัยรุ่นมีปัญหาเพิ่มมากขึ้น ด้วยยุคเทคโนโลยี เนื่องจาก การฟัง MP3 ซึง่ มีเสียงดังมากกว่า ๙๐ เดซิเบล ซึง่ เป็นเสียงทีม่ ากกว่ามาตรฐาน ๗๐ เดซิเบล
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประเทศไทยยังไม่มีผลกระทบชัดเจนมาก แต่ที่เป็นปัญหาคือ คลื่นความร้อน เช่น เมื่อปี ค.ศ. ๒๐๐๓ เกิดคลื่นความร้อนขนาดใหญ่ ถล่มยุโรป ที่ฝรั่งเศสมีอุณหภูมิสูงกว่า ๔๐ องศาเป็นเวลา ๗ วัน มีผู้เสียชีวิต ๑๔,๐๐๐ คน ประชากรส่วนใหญ่ที่เสียชีวิต คือ คนแก่ เนื่องจากไม่สามารถปรับตัวได้เหมือนคนหนุ่มสาว โรคที่ทําให้ตาย คือ Heatstroke ทั่วยุโรป ในปีเดียวกันรวมแล้ว ๓๕,๐๐๐ คน ในประเทศ ฝรั่งเศสมีการเสียชีวิตมากที่สุด ๑๔,๐๐๐ คน สําหรับประเทศไทย ฤดูร้อนมีอุณหภูมิสูงกว่า ๔๐ องศาเซลเซียส และมีความชื้ น ในอากาศค่ อ นข้า งมาก จึ ง ทํ า ให้ ร้ อ นอบอ้ า ว สภาพ ความร้อนในหน้าร้อนของประเทศไทยอาจทําให้เกิดอาการภาวะที่เรียกว่า Heatstroke ได้ คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า เช่ น วิ ท ยุ อยู่ ใ นช่ ว งความถี่ ร ะหว่ า ง ๘๐-๑๒๐ เมกกะเฮิ ร์ ต คลื่นไมโครเวฟ ซึ่งมีความถี่เพิ่มขึ้นมีประโยชน์ในทางโทรคมนาคม สามารถทะลุทะลวงได้ดี โดยเฉพาะชั้ น บรรยากาศที่ มี ป ระจุ ไ ฟฟ้ า ใช้ ใ นการสื่ อ สาร ส่ ง สั ญ ญาณไปยั ง ดาวเที ย ม คลื่นไมโครเวฟมีสามารถในการเหนี่ยวนําวัตถุให้มีขั้ว เช่น นํ้า โทรศัพท์มือถือก็ใช้สัญญาณ ไมโครเวฟเช่นกัน คลื่นไมโครเวฟมนุษย์ไม่สามารถรับรู้ได้ สามารถมองเห็นได้แค่แสงสว่าง เพียงช่วงสั้นๆ เท่านั้น อันตรายจากเตาอบไมโครเวฟ โดยข้อสรุปจากการศึกษาในประเทศ รัสเซีย (Lita Lee, Microwave ovens) พบว่า มีอันตราย เช่น เนื้อที่ผ่านไมโครเวฟ มี สารก่อมะเร็งชื่อ d-Nitrosodiethanolamines นม และ Cereal เมื่อผ่านไมโครเวฟ Amino acid จะถู ก เปลี่ ย นเป็ น สารก่ อ มะเร็ ง ผลไม้ แ ช่ แ ข็ ง ที่ อุ่ น ด้ ว ยไมโครเวฟ สาร Glucoside และ Galactyoside จะถูกเปลี่ยนเป็นสารก่อมะเร็ง ผักหลายชนิดเมื่อ ผ่านไมโครเวฟ จะเกิดสารอนุมูลอิสระจํานวนมาก นมชงสําหรับทารกเมื่อผ่านไมโครเวฟ L-proline จะถูกเปลี่ยนเป็น D-isomer ซึ่งเป็นพิษต่อระบบประสาทและไต (Lancet, Dec 9 1989, 334 (8676) : 1392-1393) การใช้ไมโครเวฟ ซึ่งใช้หลักการสั่นสะเทือน ทําให้ โมเลกุลที่มีขั้วเกิดการสั่นของโมเลกุลนํ้า เกิดการเสียดสีกันทําให้เกิดความร้อนขึ้น ผ่านกลไก การทําให้อาหารอุ่นได้ หลังจากโมเลกุลเกิดการสูญเสียประจุ โมเลกุลเกิดการกลายประจุ 46
เป็นอิออน การเสียประจุจะทําปฏิกิริยาได้ไวมาก เกิดอนุมูลอิสระที่เป็นตัวที่เกี่ยวข้องกับ สารก่อมะเร็งได้ จากการศึกษาของประเทศออสเตรเลีย เนื้อที่ผ่านการไมโครเวฟมีสารก่อ มะเร็ง เกิดสารอนุมูลอิสระจํานวนมาก แต่งานวิจัยเหล่านี้ บริษัททางยุโรปมีการปกปิด ข้ อ มู ล นี้ ไ ว้ เนื่ อ งจากส่ ง ผลในด้ า นธุ ร กิ จ สํ า หรั บ คลื่ น อุ ล ตร้ า ไวโอเลตทํ า ให้ เ กิ ด โรค มะเร็งผิวหนังได้ โดยทั่วไปใช้มากในโรงพยาบาล เช่น การเอ็กซเรย์ รังสีแกมม่าไวโอเลต ที่ใช้รักษามะเร็ง อีกประการหนึ่ง คือ สนามแม่เหล็กไฟฟ้า เสาไฟฟ้าแรงสูง เวลาที่มีไฟฟ้าวิ่ง จะมี ส นามแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า เกิ ด ขึ้ น ยิ่ ง มี ค วามต่ า งศั ก ย์ ไ ฟฟ้ า มากเท่ า ไหร่ ยิ่ ง ทํ า ให้ เ กิ ด สนามแม่เหล็กไฟฟ้ามากเท่านัน้ ตัวอย่างเช่น การทดลองปักหลอดนีออนไว้ใต้เสาไฟฟ้าแรงสูง พบว่า หลอดนีออนจะเปล่งแสงสว่างเองได้ มีการศึกษาว่าคนที่อาศัยอยู่บริเวณนี้จะมีโอกาส เป็นมะเร็งโดยเฉพาะมะเร็งเม็ดเลือดขาวมากกว่าคนที่อาศัยอยู่บริเวณทั่วไป ๒–๓ เท่า ฝุ่นละออง ที่เกิดได้จากการเผา การจราจร การก่อสร้างต่างๆ ทําให้เกิดโรคทาง ระบบหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด ล่า สุ ด จากการวิ จั ย ทํ า ให้เ กิ ด เส้น เลื อ ดสมองตี บ มีอันตรายต่อหญิงมีครรภ์ เมื่อหายใจฝุ่นละอองเข้าไปจะสามารถดูดซึมเข้าไปในกระแสเลือด ทํ า ให้ เ ลื อ ดหนื ด ฝุ่ น ละอองทํ า ให้ เ กิ ด การแท้ ง บุ ต รหรื อ เด็ ก คลอดออกมาไม่ ส มบู ร ณ์ ใ น หญิงมีครรภ์ได้ อันตรายจากโทรศัพท์เคลื่อนที่และสถานีแม่ข่าย (Base Station) จากหลักฐาน ทางระบาดวิ ท ยา และในสั ต ว์ ท ดลอง ยั ง ไม่ ส ามารถสรุ ป ได้ แต่ สิ่ ง ที่ ต้ อ งระวั ง ได้ แ ก่ มะเร็งสมอง Electromagnetic hypersensitivity ที่เกิดจากการทํางานของคลื่นไฟฟ้า ในสมอง ความสามารถทางสมอง (Cognitive function) การนอนหลับ การเต้นของหัวใจ และความดันโลหิต IARC (International Agency for Research on Cancer) ได้จัดให้ สนามแม่เหล็กไฟฟ้าอาจก่อให้เกิดมะเร็งได้ (กลุ่ม 2B) (WHO 2011. Electromagnetic fields and public health : mobile phones) อั น ตรายจากสารเคมี ในสภาพอากาศปิ ด คื อ สภาพที่ อ ากาศภายนอกและ อากาศภายใน ไม่สามารถถ่ายเทสู่กันได้ เช่น ห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ หากเราอยู่ในห้องที่ มีเครื่องปรับอากาศ มีสภาพอากาศปิดนานๆ ทุกคนต้องใช้ออกซิเจนตลอดเวลา ออกซิเจน จะลดลงเรื่อยๆ สิ่งที่จะเห็นได้ชัด คือ อาการง่วงนอน เช่นกับเวลาขับรถ การขับรถนานๆ ก็จะง่วงนอน เครื่องปรับอากาศในรถยนต์ไม่ได้ใช้อากาศจากภายนอกแต่จะใช้อากาศภายใน รถหมุนเวียน เป็นระบบปิดสมบูรณ์แบบ ตัวอย่างอื่นๆ เช่น การลงไปในบ่อนํ้าที่อับอากาศ เนื่องจากนํ้าเน่า จะมีการปล่อยแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ ในที่พักอาศัยก็เช่นเดียวกัน จึงควร ติดตั้งพัดลมระบายอากาศ เพื่อให้มีการหมุนเวียนของอากาศ
สารชีวภาพ เชื้อโรค เป็นผลจากสิ่งแวดล้อม เช่น เชื้อโรคที่เผยแพร่ทางเลือด หรือนํา้ เหลือง (Blood borne pathogens) เชือ้ จุลชีพทีต่ ดิ ต่อโดยทางอืน่ (Other pathogens)
47
เช่น อาหาร นํา้ อากาศ โรคอุบตั ใิ หม่ (Emerging diseases) และโรคอุบตั ซิ าํ้ (Re-emerging diseases) จากผลของการเปลี่ยนแปลงสภาวะอากาศโลก เช่น โรคนําโดย แมลง โรคที่มี อาหารเป็นสื่อ (Food-borne diseases) ดร.ไชยยศ บุญญากิจ
การมีส่วนร่วม ความรับผิดชอบต่อสังคม และแนวทางการศึกษาทางวิชาการ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีมาตรฐาน ๒ มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย มาตรฐาน ISO 26000 เป็นมาตรฐานความรับผิดชอบต่อผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล้ อ ม อั น เนื่ อ งมาจากการกระทํ า หรื อ การตั ด สิ น ใจขององค์ ก รนั้ น ๆ โดยแสดงถึงความโปร่งใส และมีจรรยาบรรณ โดยพฤติกรรม กิจกรรมขององค์กร รวมไป ถึงสินค้าและบริการดังกล่าวจะต้อง มีหลัก ๔ ประการ ดังนี้ ๑. สอดคล้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนและสวัสดิภาพสังคม ๒. สอดคล้องกับความคาดหวังของผู้ถือประโยชน์ ๓. เป็นไปตามกฎหมายที่บังคับใช้ และสอดลคล้องกับมาตรฐานสากล ๔. สามารถนํามาบูรณาการกับทั้งองค์กรได้
ในการดําเนินการตามมาตรฐานจะต้องมีตัวแทนจากหลายหลายภาคส่วนในสังคม เข้าร่วม เนื่องจากมาตรฐานฉบับนี้จะมีผลกระทบโดยตรงต่อสังคมโลก ฉะนั้น จําเป็นต้อง ดําเนินการด้วยความรอบคอบ และเป็นที่ยอมรับของผูค้ นทั้งโลก โดยกําหนดให้ตัวแทนจาก ภาคส่วนดังต่อไปนี้ จากประเทศสมาชิกมีส่วนร่วมพิจารณา ร่างมาตรฐานฯ ๑) ตัวแทน ภาครัฐ ๒) ตัวแทนภาคอุตสาหกรรม ๓) ตัวแทนผู้บริโภค ๔) ตัวแทน NGO ๕) ตัวแทนผู้ใช้ แรงงาน ๖) ตัวแทนภาคอื่นๆ อาทิ สถาบันการศึกษา ค้นคว้า วิจัย เป็นต้น ซึ่งมาตรฐาน ดังกล่าวจะเป็นมาตรฐานสําคัญที่จะทําให้การดําเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR : Corporate Social Responsibility) ไม่ใช่แนวคิด หรือแนวปฏิบัติขององค์กรธุรกิจ อีกต่อไป แต่จะถูกยกระดับขึน้ ไปเป็นข้อเสนอ หรือข้อแนะนํา ทีเ่ ป็นมาตรฐานในการดําเนินงาน ขององค์กรในระดับสากล ที่องค์กรต่างๆ พึงปฏิบัติ CSR เป็นแนวปฏิบัติที่ใช้กับองค์กรทุกประเภท ทุกขนาด ไม่ว่าจะเป็นภาคองค์กร ธุรกิจ ภาครัฐ เอกชน โดยมี ๗ หลักการ คือ ความรับผิดชอบ ความโปร่งใส มีจริยธรรม มีความให้ความสําคัญกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เคารพหลักนิติธรรม เคารพต่อแนวปฏิบัติสากล และเคารพต่ อ สิ ท ธิ ม นุ ษ ย์ ช น หลั ก มาตรฐานสากลคื อ หลั ก การที่ อ งค์ก รต้ อ งนํ า มาเป็ น หลักการ องค์ กรต้ องมีการกํากับ ดูแลในส่ วนของสิ ทธิม นุษยชน แรงงาน สิ่ง แวดล้ อม การดําเนินงานอย่างเป็นธรรมของผู้บริโภค ชุมชน เราจะได้ยินเสมอว่า CSR จะเน้นในเรื่อง องค์กร ชุมชน จริงๆ แล้วจะเน้นทั้ง ๗ เรื่องที่เกี่ยวข้อง สิ่งที่องค์กรทํานั้นจะไม่ได้พิจารณา เฉพาะเรื่องเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว แต่พิจารณาในเรื่องของสังคมและสิ่งแวดล้อมด้วย 48
ซึ่งเป็นมาตรฐานตัวเดียวที่ให้ความสําคัญกับสิ่งเหล่านี้ องค์กรใดก็ตามดําเนินการตาม มาตรฐาน จะต้องพิจารณาใน ๗ ประเด็นว่ามีอะไรบ้างที่จะทําให้เกิดผลกระทบ ผู้ที่มีส่วนได้ ส่วนเสียคิดอย่างไร ได้รับผลกระทบอย่างไร หลังจากนั้นต้องนํามาทําแผนเพื่อลดผลกระทบ ให้ น้อยที่สุด ในมาตรฐาน CSR ทีเ่ กีย่ วข้องกับด้านสิง่ แวดล้อมมี ๔ ประเด็น คือ ๑) การป้องกัน ผลกระทบและลดมลพิ ษ ที่ เ กิ ด จากธุ ร กิ จ ๒) การใช้ ท รั พ ยากรอย่ า งคุ้ ม ค่ า และยั่ ง ยื น ๓) การบรรเทา และปรั บ ตั ว ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ และ ๔) การดู แ ล Biodiversity (ความหลากหลายทางชี ว ภาพ) การปกป้ อ ง และฟื้ น ฟู แ หล่ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ย ตามธรรมชาติ ด้ า นผู้ บ ริ โ ภค องค์ ก รควรมี ก ารตลาดที่ เ ป็ น ธรรม ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น จริ ง และ ไม่ เ บี่ ย งเบนและการปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญาที่ เ ป็น ธรรม การคุ้ ม ครองด้ า นสุ ข ภาพและความ ปลอดภัยของผู้บริโภค “การบริโภคอย่างยั่งยืน” การบริการ การสนับสนุนและการยุติ ข้อร้องเรียน ข้อโต้แย้งแก่ผู้บริโภค การปกป้องข้อมูลและความเป็นส่วนตัวของผู้บริโภค การเข้ าถึงบริการที่จําเป็น การให้ความรู้และการสร้างความตระหนัก การบริโภคอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption) คือ “การบริโภคที่สามารถ ตอบสนองความจํ า เป็ น ของคนยุ ค ปั จ จุ บั น ที่ ไ ม่ ส ร้ า งข้ อ จํ า กั ด หรื อ ส่ ง ผลกระทบต่ อ ความจําเป็นของคนรุ่นอนาคต” เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเรามากที่สุด ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ต้องเข้ามารับผิดชอบในส่วนที่เกิดขึ้น ไม่ใช่แค่ภาครัฐ การประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment : LCA) เป็นส่วนหนึ่งในมาตรฐานระบบจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14000 โดย มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับ LCA ได้ถูกบรรจุไว้ใน ISO 14040 โดย ISO ได้ให้นิยาม LCA ว่า เป็นเทคนิคสําหรับการประเมินทางด้านสิ่งแวดล้อมและผลกระทบที่เป็นไปได้ที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์โดย เก็บรวบรวมรายการของสารขาเข้า และสารขาออกที่เกี่ยวข้องของระบบ ผลิตภัณฑ์ ประเมินค่าผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่เป็นไปได้ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสารขาเข้า และสารขาออกนั้น ประมวลและแปลความหมายของผลที่ได้จากการวิเคราะห์บัญชีรายการ และขั ้นตอนของการประเมินผลกระทบต่างๆ ที่สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ของการศึกษา การประเมิน LCA จะดูผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับองค์กร ซึ่งเกิดมีมา ตั้งแต่การขนส่ง การทิ้ง จะมีจัดการอย่างไร ตัวอย่างเช่น ภาคอุตสาหกรรม มีการใช้โฟม แต่ เนื่องจากโฟมไม่มีการย่อยสลาย จึงเลือกใช้กระดาษแทน เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในยุโรปช่วงหนึ่งมีปัญหาการใช้ ขวดพลาสติกทิ้งเป็นขยะจํานวนมาก จึงมีการศึกษาโดย การใช้ ข วดแก้ ว แทน เพื่ อ ลดปั ญ หาขยะ สํ า หรั บ ประเทศไทยมี ก ารศึ ก ษา โดย สวทช. กรมโรงงานอุตสาหกรรม สกว. และสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย สิ่งที่เกี่ยวข้องของกระทรวง สาธารณสุขคือการนําประโยชน์จากงานวิจัยไปต่อยอด 49
ประโยชน์จากการใช้ LCA
ภาคอุตสาหกรรม • ใช้เป็นข้อมูลวางแผนปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต เช่น ลดการใช้วัตถุดิบ พลังงานของเสีย • ปรับปรุง / ออกแบบผลิตภัณฑ์ • พัฒนากลยุทธ์ด้านการตลาดและแผนการลงทุน • เป็นข้อมูลเผยแพร่แก่ผู้บริโภค
ภาครัฐ • ใช้กําหนดนโยบาย มาตรฐาน การควบคุมด้วยกฎหมายในด้านทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมของประเทศ • ใช้เป็นเกณฑ์จัดทําข้อกําหนดของผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม • มาตรฐานผลิตภัณฑ์ เช่น EcoLabeling - Type III
ผู้บริโภค • ข้อมูลประกอบการเลือกซื้อสินค้า • สร้างจิตสํานึกต่อสิ่งแวดล้อม
NGOs • กระแสด้านสิ่งแวดล้อมและการค้า • แหล่งข้อมูล
ภาพรวมการดําเนินโครงการที่ผ่านมา ๑. ดําเนิน การมาตั้ง แต่ ปี ๒๕๕๐ ภายใต้ บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ของ ๕ หน่วยงาน ได้แก่ องค์กรหลัก ได้แก่ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ กระทรวง อุ ต สาหกรรม สํ า นั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย สถาบั น สิ่ ง แวดล้ อ มไทย และสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ๒. ใช้งบประมาณสนับสนุนจากหลายหน่วยงาน รวมทั้ง EU White Paper และ ได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิคจากรัฐบาลญี่ปุ่น ผ่าน Green Partnership Plan ๓. วัตถุประสงค์หลัก เพื่อสนับสนุนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิต ของอุตสาหกรรมไทย ตลอดห่วงโซ่การผลิต ๔. กลุ่ ม เป้ า หมายผู้ รั บ ประโยชน์ ภาคอุ ต สาหกรรม โดยเฉพาะผู้ ส่ ง ออกและ ผู้ประกอบการในห่วงโซ่อุปทานของการส่งออก ภาครัฐ สถาบันเฉพาะทาง องค์กรต่างๆ ตลอดจน ภาคการศึกษาวิจัย ๕. ความก้าวหน้าการดําเนินโครงการ ประมาณ ๗๐%
50
HIA : ความทาทายใหมของภาคประชาชนและทองถิ่น นางวัชราภรณ วัฒนขํา มูลนิธิเลยเพื่อการอนุรักษและพัฒนาอยางยั่งยืน นายชนะนันท ริ้วตระกูลไพบูลย อบต.นครชุม จ.กําแพงเพชร ผศ. ดร.เพ็ญศรี วัจฉละญาณ คณะสาธารณสุขศาสตร ม.ธรรมศาสตร น.ส.สิริวรรณ จันทนจุลกะ ผูดําเนินการอภิปราย
ประสบการณการประเมินผลกระทบนโยบายอุตสาหกรรมเหมืองแรจังหวัดเลย โดย นางวัชราภรณ วัฒนขํา
“ที่ เ ลย ในกรณี เ หมื อ ง ทองคํานี้ เราเรียกวา Community Health Impact Assessment อาจมองไม เ ห็ น ตั ว กระบวนการได อยางชัดเจน แตจะเห็นความชัดเจน ของการใช HIA โดยภาคประชาชน เพือ่ ทีจ่ ะดูทศิ ทางการพัฒนานโยบาย เรื่องเหมืองแรของจังหวัดเลย” แม ว า จะเริ่ ม ต น ที่ ค วามไม รู อ ะไรเลย แต แ ล ว ก็ มี ก ระบวนการทํ า งานร ว มกั น เพื่อที่จะคนพบขอมูลเรื่องเหมืองแรของคนจังหวัดเลย ซึ่งโดยเริ่มแรกนั้นเพียงพบขอมูลวา มีการตั้งโรงงานงานอุตสาหกรรม ประกอบกิจการเหมืองแรทองคําเกิดขึ้นแลวในจังหวัดเลย จากนั้นจึงหาขอมูลอื่นเพื่อยอนกลับไปดูการประกอบกิจการเหมืองแรอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เช น กั น และนอกจากนี้ ยั ง ค น พบข อ มู ล จากเวบไซต ข องกรมอุ ต สาหกรรมพื้ น ฐาน และ การเหมืองแร ที่แสดงแผนที่ GPRS ประกอบกับขอมูลการขอประทานบัตรในจังหวัดเลย ที่มีมากถึงหกหมื่นไร แตสวนที่เรียกวา Community Health Impact Assessment คือ การเคลื่อนไหวของประชาชนโดยใชชุดขอมูลของชุมชน กรณีเหมืองแรทองคํา ที่อําเภอ วังสะพุง
ผลกระทบจากอุตสาหกรรมเหมืองแร
เหมืองทองคําตั้งอยูบนภูเขา “ภูทับฟา” และมีบอเก็บกากแรอยูบนเขาที่สูงกวา ระดับนํ้าทะเล ๓๐๐ เมตร ปจจุบันชาวบานใน ๓ หมูบาน ตองซื้อนํ้าเพื่ออุปโภคบริโภค เนื่องจากแหลงนํ้าธรรมชาติถูกปนเปอนดวยโลหะหนัก ซึ่งชาวบานเชื่อวาเปนผลกระทบจาก เหมืองแร การประกอบอุตสาหกรรมเหมืองแรในจังหวัดเลยมีองคประกอบที่เกี่ยวเนื่อง สัมพันธกันอยู ๓ สวน ไดแก ประชาชนหรือชุมชนในพื้นที่ ภาครัฐและหนวยงานที่เกี่ยวของ และภาคเอกชนหรือผูป ระกอบการ โดยทัง้ ๓ สวน มีการใชทรัพยากรดานสิง่ แวดลอมรวมกัน 51
ซึ่งสวนของการประกอบกิจการเหมืองแรนั้นมีการใชทรัพยากรสูงมาก เชน การใชพื้นที่ปาไม ระเบิดภูเขา การสูบนํ้าในลํานํ้าไปใชในกระบวนการผลิตซึ่งเปนลํานํ้าเดียวกับที่ชุมชนใช เพื่อการเกษตรกรรม จึงเสมือนวาอุตสาหกรรมเหมืองแรไดแยงชิงพื้นที่ และทรัพยากร ไปจากชุมชน เมื่อชุมชนเผชิญอยูกับภาวะที่ไมมีกลไกการปองกันผลกระทบที่มีประสิทธิภาพ เพียงพอที่จะจัดการโครงการเหมืองแรที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ จึงมีการสรางกระบวนการเรียนรู รวมกันของชุมชนและเกิดเปนชุดขอมูลของชุมชน ในปจจุบันมีการผลักดันเพื่อที่จะใชกระบวนการ HIA สําหรับโครงการเหมืองแร ในจังหวัดเลยอยู ๓ สวน คือ ๑. การใช HIA สําหรับโครงการทีด่ าํ เนินการแลว คือ กรณีเหมืองทองคําภูทบั ฟา โดยชุมชนใชชุดขอมูลที่บอกถึงผลกระทบจากเหมืองแรตอสุขภาพของคนในชุมชน เพื่อ คัดคานการขออนุญาตขยายกิจการ ๒. การใช HIA สํ า หรั บ โครงการยั ง ไม เ กิ ด ดั ง เช น กรณี เ หมื อ งทองแดง ตําบลนาดินดํา โดยการใชชุดขอมูลของชุมชน เพื่อแสดงความหวงกังวลและเพื่อเปนขอมูล ในการพิจารณาถึงผลกระทบที่จะเกิดตามมาจากการใหอนุญาตประทานบัตร ๓. การใช HIA เพื่อการเปลี่ยนแปลงในระดับนโยบาย ซึ่งจะนําไปสูการจัดการ ปญหาที่มีประสิทธิภาพ “เมื่ อ ชาวบ า นลุ ก ขึ้ น มาปกป อ งทรั พ ยากร หรื อ บอกกล า วป ญ หาของตนเอง เมื่ อ นั้ น เราควรจะใช หั ว ใจเข า ไปสั ม ผั ส เพราะเรามองป ญ หาไม ไ ด อ ย า งที่ พ วกเขามอง ดังถอยคําบอกกลาวของชาวบานที่บอกวา แผนดินแหงนี้เปนมากกวาชีวิตและจิตวิญญาณ เถากระดูกของบรรพบุรุษของเราอยูที่นี่ อนาคตของลูกหลานเราอยูที่นี่”
การประยุกตใช HIA ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น กรณีการลดปริมาณมูลฝอยในเขตองคการบริหารสวนตําบลนครชุม โดย นายชนะนันท ริ้วตระกูลไพบูลย
“เครื่องมือ HIA เปรียบเสมือนอาวุธหนึ่ง ที่ชวยใหเราแกปญหาไดตรงจุดและ เร็วขึ้น โดยไมตองหวานแหหาปญหา และการนํา HIA มาประยุกตใชในพื้นที่นั้น สามารถ ตอบสนองตอความตองการของประชาชนและสอดคลองกับปญหาที่แทจริงของชุมชนได เนื่องจากไดใชขั้นตอนที่สําคัญในการดําเนินการนั่นคือ กระบวนการมีสวนรวมของภาค ประชาชน” สภาพปญหามูลฝอยที่เกิดใน อบต. นครชุม จํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ทั้งประชากรตามทะเบียนราษฎรและประชากรแฝง เปนเหตุผลสําคัญที่ทําใหปริมาณมูลฝอยในพื้นที่ อบต. นครชุม เพิ่มมากขึ้นทุกวัน จนทําให เกิดปญหาตางๆ ตามมา ทั้งจํานวนรถเก็บขนไมเพียงพอ ซึ่งมีอยูเพียง ๒ คัน, งบประมาณ 52
ในการจัดการมูลฝอยที่มีจํากัด รวมถึงบอขยะแบบฝงกลบที่มีแหงเดียวในพื้นที่ และอาจจะ เต็มในอีก ๗ ปขางหนา การนํา HIA ไปใชในการจัดการฯ ในฐานะหนวยงานที่เปนตัวกลางระหวางภาควิชาการ ภาครัฐ และภาคประชาชน มีหนาที่ในการจัดการและแกไขปญหาที่เกิดขึ้น คณะทํางานของ อบต.นครชุม จึงดําเนินการ แกไขปญหา โดยนําเครื่องมือ HIA ไปใชในการคนหาปญหาที่แทจริง เพื่อหามาตรการ จัดการและแกไขปญหา เนนกระบวนการมีสวนรวมของภาคประชาชน โดยมีกลุมเปาหมาย ทัง้ กลุม ประชาชนทัว่ ไป นักศึกษาผูป ระกอบการรานคา ผูป ระกอบการรีสอรท ผูป ระกอบการ หอพัก ฯลฯ ถึงแมวากลุมเปาหมายบางกลุม อาจไมไดใหความรวมมืออยางเต็มที่ แต HIA ทําใหทราบวามีชองทางและอาวุธ ที่จะดําเนินการจัดการกับปญหาตอไป ผลจากการใชเครื่องมือ HIA อบต. ไดจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อการจัดการปญหามูลฝอยที่เกิดขึ้น โดยให ความสําคัญกับการมีสวนรวมของทุกภาคสวนโดยเฉพาะภาคประชาชน ซึ่งเปนสวนสําคัญ ที่จะสะทอนใหเห็นถึงมุมมองและขอวิตกหวงกังวลที่แทจริง ทําใหไดชุดขอมูลหนึ่งที่นํามาสู การจัดทํามาตรการปองกันและลดผลกระทบ โดยให อบต. จัดทํามาตรการจัดการการลด ปริมาณมูลฝอย โดยใหมีการสนับสนุนการคัดแยกมูลฝอย สรางจิตสํานึกและรณรงคทิ้ง มูลฝอยใหถูกที่ และสงเสริมใหมีการจัดตั้งธนาคารมูลฝอยขึ้น เพื่อเปนการลดปริมาณ มูลฝอยและทรัพยากรธรรมชาติใหคุมคาที่สุด ซึ่งขอมูลที่นําไปสูการจัดทํามาตรการนั้น สวนหนึ่งเปนขอมูลจากการทํา HIA และอีกสวนหนึ่งเปนขอมูลจากประสบการณ รวมถึงขอมูลทางวิชาการตางๆ แตใชหลักคิด ของ HIA ไปจัดการปญหาในพื้นที่ โดยไดรับการยอมรับและเห็นความสําคัญของผูบริหาร ผูซึ่งเปนกลจักรสําคัญในการขับเคลื่อนงานในระดับทองถิ่นใหมีการเคลื่อนตัวตอไปอยาง ตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ
HIA : ความทาทายใหมของภาคประชาชนและทองถิ่น โดย ผศ.ดร.เพ็ญศรี วัจฉละญาณ “HIA เปนเครือ่ งมือทีด่ แี ละเหมาะสม แตจะนําไปใชอยางไรใหถกู ตองและเหมาะสม กับบริบทของพื้นที่ ดังนั้น กอนลงมือทํา HIA ตองเขาใจหลักการของ HIA เสียกอนตอง ตกลงกันกอนวามีเปาหมายอยางไร ภายใตกฎหมายใด และมีกรอบของเวลาหรือไม” WHO มองวา HIA เปนกระบวนการตัดสินใจ เปนขั้นตอนที่ชัดเจน โดยมองเรื่อง ผลกระทบและการกระจายตัวของผลกระทบ เพื่อนําไปสูการจัดทํามาตรการลดผลกระทบ / ปองกันการกระจายตัวของผลกระทบ โดย HIA ที่ดี ตองไดมาซึ่งชุดขอมูลที่สามารถนํามา สรางมาตรการเพื่อเพิ่มผลกระทบทางบวก และลดผลกระทบทางลบ รวมถึงบอกไดวาใคร เป นกลุมเสี่ยง และลักษณะของผลกระทบเปนอยางไร เพื่อสรางมาตรการจัดการที่ดีตอไป 53
สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (สช.) มองวา HIA เปนกระบวนการ เรียนรูรวมกัน แตกรอบของเวลาอาจไมสอดประสานกับ HIA ภายใตกฎหมายอื่น เพราะ กระบวนการทางสังคม ไมสามารถเกิดผลไดในทันที ตองใชระยะเวลาในการสรางความคิด ทําใหเกิดการตกผลึกเสียกอน แตอยางไรก็ตามเปาประสงคก็เพื่อการสรางมาตรการจัดการ ที่ดีเชนกัน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มองวา HIA เปนเรื่องของการใช หลักวิชาการ หลักฐานทางวิทยาศาสตร เพื่อการตัดสินใจบนชุดขอมูลที่แนนอน โดยลด ความรูสึกใหนอยที่สุด จะเห็นไดวานิยาม HIA ทั้งสามหนวยงานจะแตกตางกันไปตามบริบท ขอบเขต และเปาประสงคของแตละหนวยงาน ดังนั้น กอนนํา HIA ไปใชจึงตองทําความเขาใจกอน เพื่อใหเกิดการนําไปใชที่เหมาะสมภายใตบริบท / ภารกิจของแตละสวนที่นําไปใช
หัวใจของการทํางาน HIA
๑. การกลั่นกรอง ในแตละหนวยงานจะไมเหมือนกัน เชน ตามรัฐธรรมนูญฯ หรือ สผ. การกลั่นกรองจะหมายถึง โครงการใดที่ตองจัดทํา HIA ซึ่งมีการประกาศเปน การบังคับใชอยูแ ลว ในทางกลับกัน WHO ไดกาํ หนดวาการกลัน่ กรองคือการพิจารณาเบือ้ งตนวา โครงการนั้นๆ มีกิจกรรมที่อาจสงผลกระทบตอสุขภาพอะไรบาง ตองแสดงรายละเอียด แตละกิจกรรมวาสงผลกระทบอะไร ตอใคร และอยางไรบาง ๒. การกําหนดขอบเขตการศึกษา อาจไมตอ งศึกษากิจกรรมทัง้ หมด เลือกเฉพาะ ประเด็นสําคัญ และเลือกเครื่องมือที่จะใชศึกษา และเก็บรวบรวมขอมูลพื้นฐาน ซึ่งตอง คํานึงถึง • Area sensitive การเปลี่ยนแปลงตามลักษณะพื้นที่ เชน ลักษณะพื้นดิน ของแตละพื้นที่ • Project sensitive การเปลีย่ นแปลงตามลักษณะโครงการ เชน เครือ่ งมือ ที่ใช ทรัพยากรที่ใช ๓. การประเมิ น ผลกระทบต อ สุ ข ภาพ อาจใช Risk Assessment, GIS, Network Analysis, ผูเชี่ยวชาญ ในการวิเคราะหขอมูล และประเมินผล ซึ่งแลวแตความ เหมาะสมของแตละหัวขอ ๔. กํ า หนดมาตรการและจั ด ทํ า รายงาน โดยนํ า ผลจากการศึ ก ษารวมทั้ ง มาตรการปองกัน แกไข หรือลดผลกระทบมาเขียนเปนรายงาน
54
HIA เปนแคเครื่องมือหนึ่ง ไมใชยาวิเศษ ปจจุบันมิติทางสุขภาพกวางขึ้น สังคมมีความรุนแรง สงผลกระทบตอสุขภาพ ของประชาชน การมองแคความเจ็บปวย ไมสามารถจัดการปญหาได เพราะบุคคลมีปจจัย หลายขั้นตอนกวาจะไดมาซึ่งสุขภาพดี เชน แหลงกําเนิด วิถีการดํารงชีวิตของคนแตละกลุม ทําใหเกิดปญหาที่วาจะดูแลอยางไรใหสามารถปองกันและลดผลกระทบใหครอบคลุมใน ทุกมิติ จึงมีความจําเปนตองหาชุดขอมูลมาสรางสมดุลของการจัดการฯ เนนใชขอมูลที่ หลากหลายในการพิจารณา ถึงแมวาการทํา HIA จะไดมาซึ่งชุดขอมูล แตการจัดการที่ดีนั้น ไมไดขึ้นกับขอมูลดานใดดานหนึ่ง ควรตองมีขอมูลดานบริบททางสังคม วิถีชีวิต เศรษฐกิจ การเมือง มาประกอบกัน จึงถือไดวา HIA กอใหเกิดชุดขอมูลที่นํามาสูการสรางมาตรการ จัดการที่มีประสิทธิภาพ อีกสวนที่สําคัญคือบทบาทหนาที่ของแตละคนแตละหนวยงาน ทีแ่ ตกตางกัน แตตา งก็มคี วามสําคัญดวยกันทุกสวน ควรนํามาเชือ่ มโยงกันเพือ่ การดําเนินงาน ดานสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ โดยลดดัชนีที่เปนลบตอสุขภาพของประชาชนใหนอยที่สุด
55
สุขภาพช่องปากกับสุขภาพองค์รวม : ปริทนั ต์อกั เสบในหญิงตัง้ ครรภ์ กับความเสีย่ งการเป็นเบาหวาน และทารกแรกเกิดนํา้ หนักน้อย รศ. นพ.วิทูรย์ ประเสริฐเจริญสุข คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น ผศ. ทพญ. ดร.วรานุช ปิติพัฒน์ คณะทันตแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น ทพญ.จันทนา อึ้งชูศักดิ์ ผู้ดำเนินการอภิปราย
ภาวะปริทันต์อักเสบ การอักเสบในช่องปาก และผลต่อสุขภาพร่างกาย โรคปริทันต์อักเสบ เป็นการ ติ ด เชื้ อ Gram Negative Bacteria ทําให้เกิดภาวะการอักเสบและการทําลาย ของอวัยวะปริทันต์ โดยอวัยวะปริทันต์ ประกอบด้ ว ย กระดู ก รองรั บ รากฟั น Cementum (ส่ ว นที่ ค ลุ ม รากฟั น ) เหงือก และเอ็นยึดปริทันต์ (ยึดระหว่าง เนื้ อ เยื่ อ ปริ ทั น ต์ กั บ ฟั น ) เมื่ อ มี ค ราบ จุลินทรีย์ หรือ Biofilm มาสะสมนานๆ จะทําให้เกิดการอักเสบของเหงือก เหงือกจะบวมโต และอวั ย วะปริ ทั น ต์ จ ะถู ก ทํ า ลายโดยกระดู ก รองรั บ รากฟั น จะลด / ยุ บ ตั ว ลง เกิ ด ภาวะ เหงือกร่น ทั้งนี้ คราบจุลินทรีย์ที่สะสมอยู่เป็นเวลานาน จะมีแคลเซียมฟอสฟอรัสมาสะสม และแข็งตัวเป็นหินนํ้าลาย ลามลึกลงไปเรื่อยๆ สุดท้ายฟันจะโยกเมื่อกระดูกรองรับรากฟัน ถูกทําลาย จากการศึกษา พบว่า โรคปริทนั ต์มคี วามสัมพันธ์กบั การเกิดโรคทางระบบหลายโรค โดยมีกลไกความสัมพันธ์ คือ (๑) การมีปัจจัยเสี่ยงร่วม (๒) การมี Subgingival Biofilm และ (๓) การสร้างสารสื่อการอักเสบ (Inflammatory Mediators) (๑) การมี ปั จ จั ย เสี่ ย งร่ ว มของโรคปริ ทั น ต์ กั บ โรคทาง Systemic Disease เช่น โรคหัวใจกับโรคปริทันต์มีปัจจัยร่วมกันหลายประการ ปัจจัยตัวหนึ่งที่เป็นปัจจัยเสี่ยง ของเกือบทุกโรค คือ การสูบบุหรี่ เป็นทั้งปัจจัยเสี่ยงของโรคปริทันต์และโรคหัวใจและ หลอดเลื อ ด ด้ ว ยความที่ เ ป็ น ปั จ จั ย ร่ ว มกั น ทํ า ให้ เ ห็ น ว่ า โรคปริ ทั น ต์ กั บ โรคหั ว ใจและ หลอดเลือดมีความสัมพันธ์กัน โดยที่จริงๆ แล้วโรคปริทันต์อาจจะไม่ได้เป็นตัวหลักที่ทําให้ เกิดโรคหัวใจ (แต่เป็นความเป็นไปได้อย่างหนึ่ง) (๒) การมี Subgingival Biofilm สภาพฟันที่เดิมมีเหงือกยึดเกาะอยู่ เมื่อมี Plaque หรือ Biofilm รวมทั้ง Calculus หรือหินนํ้าลายมาสะสม ทําให้เหงือกและฟันแยก จากกัน กลายเป็นร่อง มีลักษณะเป็น Ulcer และ Ulcer นี้ เนื่องจากมี Plaque หรือ Biofilm ซึ่ ง มี เ ชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย์ เ ข้ า ไปอยู่ ร่ ว มกั น จึ ง ทํ า ให้ Ulcer เหมื อ นสั ม ผั ส กั บ เชื้ อ อยู่ 56
ตลอดเวลา ซึ่งพบว่า เชื้อจุลินทรีย์นี้ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดและทําให้เกิด อาการที่เรียกว่า Endothelial dysfunction คือ มีการทํางานของหลอดเลือดผิดปกติ (๓) กลไกสุดท้าย คือ การสร้างสารที่ทําให้เกิดการอักเสบ โดยโรคปริทันต์อักเสบ เป็นโรคหนึ่งที่สามารถทําให้เกิดการเพิ่มปริมาณของสารสื่อการอักเสบในกระแสเลือดได้ เช่น Prostaglandin E2 หรือ Interleukin1 beta และอื่นๆ พบว่า สารสื่อการอักเสบ เหล่านี้ เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด การเกิดภาวะการคลอดบุตร ผิ ดปกติ และการเกิดภาวะเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ ปัจจุบันมีงานวิจัยหลายชิ้นที่ชี้ให้เห็นว่า มีความสัมพันธ์ระหว่าง โรคในช่องปาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคปริทันต์อักเสบกับโรคทางระบบ (Systemic disease) เช่น โรคหัวใจ และหลอดเลือด การเกิดภาวะคลอดบุตรผิดปกติ โรคเบาหวาน รวมถึงภาวะเบาหวานขณะ ตั้งครรภ์ Osteoporosis โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Pneumonia และ อัลไซเมอร์ที่มีมากขึ้น
เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational Diabetes Mellitus, GDM)
เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (Gestational Diabetes Mellitus, GDM) หมายถึง ความผิดปกติในความทนต่ อกลูโคสทุกระดับซึ่งเกิดขึ้นและวินิจฉัยในครั้งแรกในระหว่ าง ตัง้ ครรภ์ โดยไม่ตอ้ งคํานึงว่าผูป้ ว่ ยจะได้รบั การรักษาโดยวิธใี ด (การควบคุมอาหาร หรือการฉีด อินสุลิน) และโรคเบาหวานจะหายหรือไม่หลังจากการตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
ความสําคัญของ GDM หรือเบาหวานระหว่างการตั้งครรภ์ ได้แก่ • อุบัติการณ์ที่พบมีความแตกต่างกันมาก ตั้งแต่มีเป็นจํานวนน้อยไปจนมาก ประเทศไทยมีแนวโน้ มการเป็ นเบาหวานทั้งในคนทั่วไปและในหญิงตั้งครรภ์ เพิ่มขึ้น คือ ประมาณร้อยละ ๗ ของหญิงตั้งครรภ์ บางแห่งพบได้ถึงร้อยละ ๑๔ • เกิดภาวะแทรกซ้อนในแม่ตั้งครรภ์ได้ คือ มีความดันโลหิตสูง การผ่าตัดคลอด เพิ่มขึ้น • มีภาวะแทรกซ้อนในเด็ก เช่น เด็กตัวโต เด็กตัวเล็ก (คลอดก่อนกําหนด) ความเจ็บป่วยเพิ่มขึ้น และการตายของเด็กในครรภ์และหลังคลอดมากขึ้น • โอกาสที่จะเกิดเบาหวานในท้องต่อไปมีโอกาสเกิดซํ้าได้ร้อยละ ๖๐-๗๐ • ในอนาคตหลั ง การตั้ ง ครรภ์ การเป็ น เบาหวานอาจกลั บ เป็ น ปกติ แต่ ใ น ระยะยาว ร้อยละ ๕๐-๗๕ จะเป็นเบาหวานในระยะหลังคลอด และเมื่อมีอายุมากขึ้น • หญิงทีต่ รวจพบว่าเป็นเบาหวานในระหว่างการตัง้ ครรภ์ ต้องตรวจซํา้ หลังคลอด ว่ายังเป็นเบาหวานอยู่หรือไม่ ประเมินซํ้าหลังคลอดอย่างน้อย ๖ สัปดาห์ และตรวจต่อเนื่อง เป็นระยะๆ
57
เกณฑ์ของโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเมินความเสี่ยงของหญิงตั้งครรภ์ที่จะเป็นเบาหวานในระหว่างการตั้งครรภ์ เช่น แม่อายุ มากกว่า ๓๕ ปี ตอนตั้งครรภ์ แม่ที่อ้วน มีประวัติครอบครัวเป็นเบาหวาน เคยคลอดลูกตัวโต เคยคลอดลูกตาย คลอดลูกพิการ หรือท้องที่แล้วเคยเป็นเบาหวานในระหว่างการตั้งครรภ์ มาก่ อน หรือมีความดันโลหิตสูง รวมทั้งตรวจปัสสาวะแล้วเจอนํ้าตาล หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จะได้รับการตรวจ ซักประวัติ เมื่อมา ฝากครรภ์ครั้งแรก ได้รับการตรวจวัดระดับนํ้าตาลในเลือด โดยการตรวจคัดกรอง โดยใช้ กลูโคส ๕๐ กรัม (50 g Glucose challenge test, GCT) เพื่อตรวจคัดกรอง โรคเบาหวาน ขณะตั้งครรภ์ เพื่อวินิจฉัยโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ ๒ ครั้ง คือ ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์ ถ้าผลการตรวจ Negative จะมีการตรวจครั้งที่สอง ขณะอายุครรภ์ ๒๔-๒๘ สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานต่อการตัง้ ครรภ์ (Effect of Diabetes on Pregnancy)
หญิ ง ตั้ ง ครรภ์ ที่ เ ป็ น เบาหวานในระหว่างการตัง้ ครรภ์ จะพบภาวะแทรกซ้ อนของโรค เบาหวานต่ อ การตั้ ง ครรภ์ ไ ด้ ได้ แ ก่ ทารกพิ ก ารแต่ กํ า เนิ ด (Congenital anomalies) เกิด ภาวะการแท้งบุตร (Abortion) ทารกตั ว โต – Macrosomia ลู ก ตั ว เล็ ก เด็ ก ตายในครรภ์ (Late fetal demise) ปัญหาในเด็ก เช่น ภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่า ภาวะแคลเซียมในเลือด ของเด็กตํ่า ภาวะตัวเหลือง ภาวะเม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ ภาวะหัวใจโต และ Respiratory Distress Syndrome (RDS) คือ เด็กคลอดครบกําหนด แต่เด็กอาจหายใจไม่ดี ปอด ไม่สมบูรณ์ อาจจะคลอดยาก มีบาดเจ็บจากการคลอด ลูกอาจตัวโต หรือตัวเล็กก็ได้ หรือ แม่ เกิดการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกําหนด (Preterm labor) การเป็ น โรคเบาหวานมี ค วามเสี่ ย งต่ อ การการเจ็ บ ครรภ์ ค ลอดก่ อ นกํ า หนด (Preterm labor) ในกรณีนี้ ถ้ามีโรคปริทนั ต์อกั เสบในช่วงทีเ่ ป็นเบาหวานด้วย มี Preterm labor ด้วย เด็กจะมีนํ้าหนักน้อย (น้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม) แม่ตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน มีโอกาส เกิ ด เจ็ บ ครรภ์ ค ลอดก่ อ นกํ า หนด พบได้ ถึ ง ร้ อ ยละ ๑๐-๓๐ อั ต รา การเพิ่ ม ขึ้ น ตาม ความรุนแรงของโรค ระดับนํ้าตาลในเลือดที่สูงขึ้น และการอักเสบของทางเดินปัสสาวะ หรือรวมทั้งการอักเสบทางโรคปริทันต์ด้วย
58
การดูแลรักษาต้องดูว่า ทําอย่างไรจึงจะควบคุมระดับนํ้าตาลได้ดี ไม่ว่าจะเป็น การควบคุมอาหาร ควบคุมระดับนํ้าตาลให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด ลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งต้องอาศัยการทํางานร่วมกันเป็นทีม เพื่อดูแลสุขภาพของผู้ป่วยเป็นองค์รวม ซึง่ การดูแลผูป้ ว่ ยทีเ่ ป็นเบาหวาน จะต้องการการดูแลจาก สูตแิ พทย์ อายุรแพทย์ กุมารแพทย์ ดูแลเด็กนํ้าหนักน้อย / นํ้าหนักมาก ทันตแพทย์ ดูแลสุขภาพฟัน พยาบาล นักโภชนาการ นักสังคมสงเคราะห์ และต้องมีความร่วมมือกันระหว่างผู้ป่วยและทีมดูแลสุขภาพ เพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดต่อแม่และเด็ก
โรคปริทันต์อักเสบ...ปัญหาในระหว่างการตั้งครรภ์
มี ง านวิ จั ย หลายชิ้ น ที่ บ่ ง บอกว่ า หญิ ง ตั้ ง ครรภ์ ที่ เ ป็ น โรคปริ ทั น ต์ อั ก เสบแล้ ว ทําให้เกิดปัญหาในระหว่างการตั้งครรภ์ การศึกษาตั้งแต่ปี ๑๙๙๖ พบว่า โรคปริทันต์อักเสบ เป็นโรคติดเชื้อชนิดหนึ่งที่มีผลทําให้ร่างกายผลิตสารต่างๆ ได้แก่ Cytokine, Prostanoid และ Protease มากขึ้น ซึ่งปกติร่างกายจะผลิตสารเหล่านี้ตอนใกล้คลอดเท่านั้น เมื่อมี ปริทันต์อักเสบและร่างกายมีการผลิตสารเหล่านี้ จะทําให้มีภาวะเหมือนคนใกล้คลอด ดังนั้น เมื ่อร่างกายมีการติดเชื้อจากโรคปริทันต์มากขึ้น จะทําให้เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกําหนด การศึกษาของ Offenbacher และคณะ ในปี ๑๙๙๖ พบว่า แม่ทคี่ ลอดก่อนกําหนด หรื อทารกนํ้าหนักน้อย มีโรคปริทันต์อักเสบมากกว่าแม่ที่ให้กําเนิดทารกปกติ ๗.๙ เท่า Jeffcoat และคณะ ศึกษาในปี ๒๐๐๑ พบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคปริทันต์ อักเสบ มีโอกาสคลอดก่อนกําหนดมากกว่าหญิงตั้งครรภ์ที่มีเหงือกสุขภาพดี ๔-๗ เท่า ขึ้นกับระดับความรุนแรงของการอักเสบ Canakci และคณะ, ปี ๒๐๐๗ พบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคปริทันต์อักเสบ มี โอกาสเกิดภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ มากกว่าหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่เป็นโรคปริทันต์ มีการศึกษาหลายอย่างที่สนับสนุนว่าโรคปริทันต์มีผลต่อการตั้งครรภ์ รวมทั้ง เบาหวานด้วย
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการเป็นโรคปริทนั ต์และความเสีย่ งต่อการคลอดบุตร จากงานวิจัยต่างๆ การศึกษาเรื่องภาวะการเป็นโรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์กับ Preterm low birth weight เป็นเรื่องที่มีการศึกษากันมากที่สุด โดยมีความเกี่ยวข้องกับโรคปริทันต์ และ เป็น Major public health problem ทั่วโลก ซึ่งพบว่ามีปัจจัยเสี่ยงของการเกิด Preterm หรือ Low birth weight อยู่มาก และ Complex ด้วย มี Risk factor หลายตัวที่ไม่ สามารถไปห้ามหรือเปลี่ยนแปลงแก้ไข เพื่อที่จะลดความเสี่ยงนี้ได้ เช่น ปัจจัยประชากร, Behavior factor, Pregnancy factor คุณแม่มีสภาวะมดลูกไม่ดี Systemic infection 59
คุ ณ แม่ มี Chronic infection ในร่ า งกาย เช่ น Bacterial vaginosis Infection, Genito-urinary infection เป็นต้น เมื่อเอานํ้าครํ่าของหญิงที่ตั้งครรภ์และคลอดลูกนํ้าหนักน้อยไปตรวจ พบว่ามี Bacteria ๒ ตัว คือ Fusobacterium nucleatum และ Capnocytophaga ที่มีความ เกี่ยวข้องกับโรคปริทันต์ โดยไม่พบเชื้อทั้ง ๒ ชนิดนี้ในช่องคลอด ทําให้มีผู้สนใจทําการศึกษา ในเรื ่องของช่องปาก การศึกษาในหลอดทดลองหนูแฮมสเตอร์ เมื่ อ ลองฉี ด เชื้ อ Prophyromonus gingivalis ซึ่ ง เป็ น เชื้ อ ก่ อ โรคปริ ทั น ต์ เข้าไปใต้ผิวหนังของหนู พบว่า มีระดับของสารซึ่งส่งเสริมการอักเสบสูงขึ้นในเลือด ได้แก่ Prostaglandin E2 และ PGF alpha 2 และเมื่อหนูคลอดลูกออกมาพบว่านํ้าหนักแรกคลอด ของลูกหนูลดลง ๒๕% การศึกษาในระยะต่อมา มีการฉีดเชื้อเข้า IV เป็นเชื้อ F nucleatum เมื่อฉีดเข้าไป มีการตรวจพบเชื้อนี้ในนํ้าครํ่า แสดงให้เห็นว่า เชื้อสามารถผ่านเข้าไปได้ และหนูคลอดออก มาก่อนกําหนด
การศึกษาในมนุษย์ แม่ที่คลอดบุตร Preterm low birth weight และ แม่ที่ คลอดบุตรปกติ ศึกษาสภาวะปริทันต์ในระยะหลังคลอด โดยการวัดดูสภาวะปริทันต์ไม่เกิน ๑ วัน หลังคลอด พบว่า ผู้หญิงที่เป็นโรคปริทันต์อักเสบ มีโอกาสคลอดลูกที่มี Preterm low birth weight มากกว่าผู้หญิงที่มีภาวะปริทันต์ปกติ ๗ เท่า การศึกษา โดย Professor Ananda Dasanayake ทําที่เชียงใหม่ เป็ น Case control study ของ Low birth weight พบว่ า ผู้ ห ญิ ง ที่ เ ป็ น โรคปริทันต์อักเสบ มีโอกาสที่จะคลอดบุตรนํ้าหนักน้อยมากกว่าผู้หญิงที่มีภาวะปริทันต์ ปกติ ๓ เท่าด้วยกัน Case control study อืน่ ๆ ในประเทศไทย โดย คุณหมอไพรัช และคุณหมอมัณฑนา ทําใน Case control ประมาณ ๔๐๐ คน พบความสัมพันธ์ของโรคปริทันต์กับ Low birth weight แต่พบเฉพาะในกลุ่มแม่ซึ่งอายุน้อยกว่า ๒๐ ปี และมีความเสี่ยงในการคลอดบุตร Low birth weight มากกว่า ๓ เท่า
การศึกษาของคุณหมอวิทูรย์ ที่จุฬาฯ เป็น Case control study ใน Subject ๙๐๐ คน ไม่พบความสัมพันธ์
การศึกษาที่ประเทศเวียดนาม ได้พยายามตัดปัจจัยกวนเรื่องของการสูบบุหรี่ และการดื่มเหล้า ซึ่งส่งผลต่อเรื่อง ของ Preterm low birth weight โดยทําการศึกษาในผู้หญิงที่ไม่เคยสูบบุหรี่ ไม่เคยดื่มเหล้า 60
และไม่มีประวัติมาก่อน พบความสัมพันธ์ว่า ผู้หญิงที่มี Preterm low birth weight มีโรคปริทันต์มากกว่าผู้หญิงที่เป็น Control ๔ เท่า การศึกษาที่อเมริกา เป็น Prospective study ศึกษาในผู้หญิงที่มาฝากครรภ์ที่โรงพยาบาลในเครือ ของ Harvard PilGrim Health care ซึ่งเป็นกลุ่มที่มี Health Insurance กลุ่มศึกษากลุ่มนี้ เป็นกลุ่มมีรายได้ ส่วนใหญ่จบการศึกษาสูง ผลการศึกษาพบว่า คุณแม่ที่เป็นโรคปริทันต์จะ มีความเสี่ยงในการที่จะมีลูกออกมาเป็น Preterm low birth weight สูงกว่าปกติ ๒.๒๖ เท่า การวิเคราะห์ในลักษณะของ Systematic review เป็นการรวบรวมผลการศึกษา Prospective study ๙ การศึกษา พบความสัมพันธ์ อย่างมีความสัมพันธ์ทางสถิติ ระหว่างโรคปริทันต์ กับ Preterm และเรื่องของ Low birth weight โดยมีกลไกความสัมพันธ์ ๒ ด้าน ด้านร่างกายของแม่ • โรคปริทันต์เป็นโรคที่เกี่ยวข้องแบคทีเรีย โดยแบคทีเรีย หรือ Toxin ของโรคปริทันต์ สามารถไปทางกระแสเลือดได้ และสามารถทําให้เกิด Cytokine หรือ Prostaglandin E2 สูงขึ้นในนํ้าครํ่า ซึ่งทั้งสองตัวนี้ เกี่ยวข้องกับการทําให้มดลูกบีบตัว หรือทําให้น้ำครํ่าแตก ทําให้เกิดภาวะการคลอดก่อนกําหนด ด้ า นร่ า งกายของลู ก • โรคปริ ทั น ต์ ทํ า ให้ เ กิ ด สารสื่ อ การอั ก เสบเพิ่ ม ขึ้ น ใน กระแสเลือด สามารถทําให้เกิดภาวะของ Endothelial dysfunction คือ การทํางานของ หลอดเลือดผิดปกติ ทําให้เลือดที่ไปเลี้ยงลูกอาหารที่ไปเลี้ยงลูกน้อยลง ลูกจะมีภาวะการ คลอดออกมาต่างๆ กัน Project ที่ศึกษาความสัมพันธ์กับ C-Reactive Protein (CRP) CRP เป็น marker ของโรคหัวใจ American Heart Association ได้แนะนําให้มี การตรวจ CRP เพื่อดูว่ามีความเสี่ยงการเป็นโรคหัวใจหรือไม่ CRP เป็นสารสื่อการอักเสบ สร้างขึ้นมาจากตับ ในตอนที่ร่างกายมี Infection หรือ Inflammation หรือมีการทําลาย ของเนื้อเยื่อต่างๆที่เกิดขึ้นในร่างกาย CRPมีความเกี่ยวพันกับหลายโรค ทั้งโรคหัวใจ และ การเกิดภาวะครรภ์เป็นพิษ หรือ Preterm หรือการที่ลูกเกิดมามีนํ้าหนักน้อยก็ตาม ที่สําคัญ คือ ในคนที่เป็นโรคปริทันต์ พบว่า มีความสัมพันธ์กับ CRP โดยคนที่ตั้งครรภ์จะมีระดับ CRP ในกระแสเลือดสูงกว่าคนที่ไม่เป็นโรคปริทันต์ การศึกษาในอเมริกา ทําในกลุ่มตัวอย่างเดิม Project VIVA เมื่อตรวจเลือดใน คุณแม่ที่ตั้งครรภ์พบว่า คุณแม่ที่เป็นโรคปริทันต์มีระดับ CRP ในกระแสเลือดตอนตั้งครรภ์ สูงกว่า คุณแม่ที่ไม่เป็นโรคปริทันต์ ขณะเดียวกัน เมื่อดูว่า CRP ส่งผลต่อ Preterm หรือไม่พบว่า คุณแม่ที่คลอดลูก ออกมาเป็น Preterm มีระดับ CRP สูงกว่าคุณแม่คลอดลูกปกติด้วย
61
งานวิจัยที่ขอนแก่น โดยการตรวจระดับของ CRP หรือ TNF-alpha หรือ Interleukin-6 ในกระแสเลือด เพราะการเพิ่ม CRP หรือสารสื่อการอักเสบในกระแสเลือดเองส่งผลต่อภาวะดื้อต่อ insulin ทําให้เกิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์ได้ การศึกษานี้เป็น Case control study ใน รพ.ศรีนครินทร์ และ รพ.ขอนแก่น ในกลุ่ ม ตั ว อย่ า ง ๑๐๐ คน เปรี ย บเที ย บดู ส ภาวะปริ ทั น ต์ ระหว่ า งกลุ่ ม ที่ เ ป็ น เบาหวาน กั บกลุ่ มที่ไม่ เป็ น พบว่ า คนที่เป็ น เบาหวานขณะตั้ ง ครรภ์ เป็น โรคปริ ทั น ต์ อั ก เสบ ๕๐% คนไม่เป็นเบาหวานเป็นโรคปริทันต์อักเสบ ๒๐% ซึ่งมีความแตกต่างกัน Meta-analysis รวบรวมผลของการศึกษา จาก Randomized control trial ปี ๒๐๐๙ จํานวน ๗ การศึกษา พบว่าการรักษาโรคปริทันต์ โดยใช้วิธีการขูดหินปูน เกลารากฟัน สามารถลด ความเสี่ยงของการเกิด Preterm birth ได้ถึง ๔๕% และประโยชน์ของการรักษานี้จะเห็น ได้ชัดมากขึ้นในกลุ่มsubject ที่เป็นโรคในระดับที่ไม่รุนแรง ข้อสรุป Recommendation ของ American Academy of Periodontology สําหรับ Management ของโรคปริทันต์ในผู้ป่วยที่ตั้งครรภ์ (ปี ๒๐๐๔) แนะนําว่า ๑. ผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ หรือวางแผนที่จะตั้งครรภ์ทุกคน ควรได้รับการตรวจสภาวะ ปริทันต์และได้รับคําแนะนําในการดูแลสุขภาพช่องปาก ๒. การรักษาทางทันตกรรมควรทําในช่วงไตรมาสที่ ๒ ยกเว้นกรณีที่มีการติดเชื้อ ในช่องปาก ควรได้รับการรักษาทันที ๓. หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับการดูแลจากบุคลากรสาธารณสุขร่วมกัน ทันตแพทย์ ต้องดูแลหญิงตั้งครรภ์ร่วมกับบุคลากรทางการแพทย์อื่นๆ เพื่อดูแลทั้งสุขภาพช่องปากและ สุขภาพทั่วไป การรักษาควรคํานึงถึงอายุครรภ์และปัจจัยเสี่ยงของผู้ป่วยซึ่งอาจมีผลต่อ การตั้งครรภ์ด้วย เช่น การมีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์ หรือการมีความดันโลหิตสูง ๔. ให้ความรู้กับหญิงตั้งครรภ์ ในเรื่องความสําคัญของโรคปริทันต์กับการคลอด บุตรผิดปกติ รวมถึงการป้องกันและการรักษาโรคปริทันต์ รวมทั้งจูงใจให้หญิงตั้งครรภ์ดูแล ทันตสุขภาพ เพราะอาจส่งผลต่อลูกได้
ข้อเสนอ การรักษาโรคปริทันต์ กับหญิงตั้งครรภ์ ๑. การรักษาโรคปริทันต์ได้ประโยชน์ต่อสุขภาพของคุณแม่แน่นอน อย่างน้อย ที่สุดก็ดีต่อสุขภาพช่ องปาก เพราะทําให้ คุณแม่มีสภาวะปริทันต์ ที่ดีขึ้น ทั้งนี้ การรักษา โรคปริทันต์ไม่ได้ทําให้คุณแม่มีความเสี่ยงในเรื่องใดมากขึ้น ถึงแม้ว่าการศึกษาที่ผ่านมา ทั้งหลายยังไม่ได้สรุปชัดเจนลงไปว่า เมื่อรักษาโรคปริทันต์แล้ว จะลดการเกิดภาวะคลอดลูก ก่อนกําหนด หรืออื่นๆ หรือไม่
62
๒. ในปัจจุบัน ผลการวิจัยที่มียังไม่เพียงพอที่จะสรุปว่า การรักษาโรคปริทันต์ มีประสิทธิภาพดีพอหรือไม่ ในการที่จะสามารถลดภาวะการคลอดบุตรผิดปกติได้ จึงควร ทําวิจัยต่อไปถึงผลของการรักษาโรคปริทันต์ที่มีต่อภาวการณ์คลอดบุตรผิดปกติ โดยเลือก ระยะเวลาในการรั ก ษาโรคปริ ทั น ต์ ที่ แ ตกต่ า งกั น ออกไป อาจรั ก ษาตั้ ง แต่ ยั ง ไม่ ท้ อ ง คื อ พอวางแผนว่าจะตั้งครรภ์ก็มาตรวจสุขภาพช่องปากเลย หรือถ้าเป็นโรคปริทันต์ก็รักษา ตั้งแต่ยังไม่ตั้งครรภ์หรือรักษาให้เร็วขึ้นในตอนที่ตั้งครรภ์แล้ว หรือคุณแม่ที่เคยคลอดบุตร Preterm แล้ววางแผนจะมีลูกอีก ก็ควรมารักษาโรคปริทันต์เพื่อระวังการเกิด Preterm ในครรภ์ต่อไป เป็นต้น
63
พัฒนาการเด็กกับสารไอโอดีน รศ. พญ.นิชรา เรืองดารกานนท์ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี นพ.กิตติ ลาภสมบัติศิริ ผู้ดำเนินการอภิปราย
พั ฒ นาการของเด็ ก เป็ น ขบวนการการเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ยาวนาน เริ่มต้นตั้งแต่มีการปฏิสนธิเกิดขึ้นในครรภ์มารดา อาหารและโภชนาการมีบทบาท สําคัญอย่างยิ่ง ต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ หรือขาดสารอาหารที่จําเป็นอย่างชัดเจนในช่วงแรกของชีวิต มักมีปัญหาพัฒนาการล่าช้า ทั้ ง จากผลกระทบโดยตรง ของการขาดสารอาหารต่ อ การพั ฒ นาของสมองและระบบ ประสาท และผลกระทบโดยอ้ อม ที่การขาดพลังงานทําให้ เด็กเฉื่อยชา ไม่กระตือรือร้น อยากเรียนรู้ รวมถึงเจ็บป่วยจากการติดเชื้อได้ง่าย ทําให้ขาดโอกาสในการเรียนรู้ หากเด็ก มีภาวะทุพโภชนาการในระดับรุนแรงอย่างต่อเนื่อง หรือขาดสารอาหารที่จําเป็น โดยเฉพาะ ในช่วงที่สมองกําลังพัฒนาอย่างมาก มักทําให้เกิดผลกระทบต่อพัฒนาการด้านสติปัญญา และพฤติกรรมด้านอื่นๆ ร่วมด้วย
สารอาหารที่ร่างกายได้รับทั้งหมดมีบทบาทต่อการทํางานของระบบต่างๆ ใน ร่างกาย แม้จะมีหลักฐานไม่มากนัก ที่สนับสนุนว่าระดับของสารอาหารชนิดต่างๆ สัมพันธ์ กั บ การพั ฒ นาสมองหรื อ ระดั บ พั ฒ นาการของเด็ ก ซึ่ ง หมายถึ ง เด็ ก ที่ มี ส ารอาหารตั ว ใด ตัวหนึ่งสูงจะมีพัฒนาการดีกว่าเด็กที่มีสารอาหารในระดับปกติ แต่จนถึงปัจจุบันมีหลักฐาน สนับสนุนอย่างเพียงพอว่าการขาดสารอาหาร แต่ละชนิดมีผลกระทบต่อพฤติกรรมและ พัฒนาการของเด็กอย่ างไร กลไกที่เกิดผลกระทบดังกล่ าวมีขั้นตอนต่ างๆ ที่สรุปได้จาก การศึกษาวิจัย ดังแสดงในแผนภูมิที่ ๑ แผนภูมิที่ ๑ ขั้นตอนการเกิดผลกระทบต่อพัฒนาการเด็กจากการขาดสารอาหาร
64
การขาดสารอาหาร ผลกระทบตอการทํางานและ โครงสรางของสมองและระบบประสาท การทํางานที่บกพรองของสมองและระบบประสาท (โดยรวม/เฉพาะบางบริเวณ) พฤติกรรมหรือพัฒนาการที่เบี่ยงเบนหรือลาชาในเด็ก
ผลกระทบของการขาดอาหารต่อพัฒนาการเด็ก ปัญหาการขาดอาหารโดยรวม หรือภาวะทุพโภชนาการในระดับรุนแรงของเด็ก ไทยลดลงตามลําดับในช่วงกว่าสิบปีที่ผ่านมา ในปัจจุบัน เด็กปฐมวัยไทยอาจยังมีการขาด อาหารโดยรวมเป็ น ปั ญ หาอยู่ บ้ า ง ร่ ว มกั บ มี ก ารขาดสารอาหารชนิ ด ต่ า งๆ ที่ ค าดว่ า ส่ ง ผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็กอยู่พอสมควร ดังพอสรุปได้โดยแยกตามประเภทของการ ขาดอาหารดังต่อไปนี้คือ
การขาดอาหารโดยรวม
ผลกระทบของการขาดอาหารโดยรวมต่อพัฒนาการของเด็กพิจารณาแยกได้เป็น ๒ ช่วงคือ ๑. ภาวะทุพโภชนาการของเด็กขณะอยู่ในครรภ์มารดา ซึ่งหมายถึงกลุ่มเด็กที่มี นํ้าหนักแรกเกิดน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม พบว่าเมื่อมีการติดตามเด็กอย่างต่อเนื่องจนเข้าสู่ วัยเรียนหรือจนถึงวัยผู้ใหญ่ ความสัมพันธ์ระหว่างนํ้าหนักแรกเกิดและระดับเชาวน์ปัญญา ค่อยๆลดลงเมื่อเด็กอายุขึ้น โดยพบปัจจัยจากสภาพแวดล้อมและเศรษฐานะเข้ามามีอิทธิพล แทนข้อมูลจากการศึกษาการขาดอาหารในครรภ์ของสัตว์ทดลองพบว่า มีปริมาณดีเอ็นเอ และอาร์เอ็นเอในเซลล์ประสาทลดลง การขาดอาหารในระดับรุนแรง ทําให้จํานวนเซลล์ ประสาทลดลง การสร้างโปรตีนและไมอีลินลดลง หลักฐานจากการศึกษาในมนุษย์ยังไม่มี ข้อสรุปที่ชัดเจนว่าการให้อาหารที่เหมาะสมเพียงพอแก่หญิงตั้งครรภ์แล้วจะมีผลต่อทารก ที่เกิดมาอย่างไร เนื่องจากมีลักษณะกลุ่มตัวอย่างและการติดตามประเมินผลที่แตกต่างกัน โดยผลการศึกษาในประเทศที่พัฒนาแล้วพบเด็กมีพัฒนาการด้านการทรงตัวและเคลื่อนไหว ดีขนึ้ แต่ไม่มคี วามแตกต่างต่อระดับเชาวน์ปญ ั ญาทีอ่ ายุ ๕ ปี แม้ผลการศึกษาในประเทศกําลัง พัฒนาต่างๆ พบแนวโน้มว่าการขาดอาหารขณะอยู่ในครรภ์มารดาจะมีผลต่อพัฒนาการเด็ก ที่เกิดมาโดยเฉพาะด้านสติปัญญา และมักดีขึ้นเมื่อได้รับสารอาหารทดแทน อย่างไรก็ตาม ข้อสรุปดังกล่าวยังต้องการการศึกษาที่มีระเบียบวิธีวิจัยที่ดีเพิ่มเติม ๒. ภาวะทุพโภชนาการของเด็กในช่วงแรกของชีวิต การขาดอาหารเรื้อรังหรือ ภาวะเตี้ยจากภาวะทุพโภชนาการเรื้อรัง (Stunting) ในช่วงปฐมวัย สัมพันธ์กับพัฒนาการ ด้านการทรงตัวและเคลื่อนไหวลดลง เฉื่อยชา ไม่กระตือรือร้น หงุดหงิด และผลการติดตาม ระยะยาวพบว่าเด็กมีทักษะด้านสังคมลดลง รวมถึงสมาธิไม่ดี เมื่อได้รับอาหารทดแทน เด็กมีพัฒนาการด้านการทรงตัวและเคลื่อนไหวดีขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาติดตาม ระยะยาวซึ่งมีจํานวนน้อย ยังไม่พบว่าการให้อาหารทดแทนในช่วงปฐมวัยสัมพันธ์กับการมี สติปัญญาที่ดีขึ้น ดังนั้น หลักฐานต่างๆในปัจจุบันจึงสรุปได้เพียงว่า แม้ผลการศึกษาในสัตว์ทดลอง สนับสนุนผลของการขาดอาหารโดยเฉพาะในครรภ์มารดา ต่อการทํางานและโครงสร้าง ของสมอง แต่ ผ ลของการขาดอาหารโดยรวมต่อ พั ฒ นาการของเด็ ก ยั ง สรุ ป ไม่ไ ด้ แ น่ ชั ด 65
ซึ่ ง อาจเกิ ด จากหลายปั จ จั ย เช่ น วิ ธี ก ารศึ ก ษาที่ แ ตกต่ า งกั น การศึ ก ษาส่ ว นมากขาด การติดตามในระยะยาว และการขาดอาหารโดยรวม อาจรวมหมายถึงการขาดสารอาหาร ทีส่ าํ คัญหลายตัวร่วมกัน ซึง่ แต่ละตัวมีผลกระทบต่อพัฒนาการของสมองในระดับแตกต่างกัน เมื่อเกิดขึ้นในระยะเวลาที่ต่างกัน เป็นต้น
การขาดสารไอโอดีน นอกจากภาวะทุพโภชนาการ สารไอโอดีนเป็นสารอาหารที่มีการศึกษาผลกระทบ ต่อพัฒนาการและพฤติกรรมเด็กจํานวนมาก ไอโอดีน เป็นสารอาหารที่จําเป็นต่อการพัฒนา ของสมอง โดยผ่านการทํางานของฮอร์โมนไทรอยด์ ในสัตว์ทดลองเมื่อขาดฮอร์โมนไทรอยด์ สมองจะมีขนาดเล็กลง มีจํานวนเซลล์ลดลงทั้งในซีรีบรัมและซีรีเบลลัม จากการศึกษาสมอง ของคนที่ตายแล้ว พบว่าการขาดสารไอโอดีนทําให้สมองฝ่อและลดจํานวนเซลล์ประสาท ที่ Cortex รวมทั้งการเกิด Degeneration ของเซลล์
ในพื้ น ที่ ที่ ข าดไอโอดี น จะมี ผ ลกระทบต่ อ ระบบประสาทของคนได้ ห ลายแบบ แต่ ลั ก ษณะผิ ด ปกติ ที่ พ บได้ แ น่ น อนคื อ ทํ า ให้ ส ติ ปั ญ ญาลดลง นอกจากนี้ ยั ง อาจมี ภ าวะ สมองพิการ (Cerebral Palsy) หูหนวกจากประสาทหูพิการ เนื่องจากตัวอ่อนในครรภ์จะ ไม่สามารถสร้างฮอร์โมนไทรอยด์ได้เอง จนกระทั่งเริ่มเข้าไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์ ดังนั้นช่วงแรกจึงต้องได้รับฮอร์โมนจากมารดา ซึ่งสามารถผ่านรกมาสู่เด็กได้นั้น จากการรวบรวมผลการศึ ก ษาต่ า งๆ ที่ ผ่ า นมา (Meta-analysis) สรุ ป ได้ ว่ า การขาดสารไอโอดีนทําให้ระดับเชาวน์ปัญญาของประชากรเด็กและวัยรุ่นลดลงโดยเฉลี่ย ประมาณ ๑๓.๕ จุด กลุ่มประชากรเด็กที่ได้รับสารไอโอดีนอย่างเพียงพอตั้งแต่ระยะก่อน คลอดจะมีระดับเชาวน์ปัญญาเพิ่มขึ้น เฉลี่ยประมาณ ๘.๗ จุด และรวมถึงความผิดปกติ ที่ค่อนข้างรุนแรงของระบบประสาทลดลงด้วย เมื่อมีการติดตามเด็กไปจนถึงอายุ ๗ ปี พบระดั บเชาวน์ปัญญาเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม แม้ในอดีตการขาดไอโอดีนจะได้รับการแก้ไขมาอย่างต่อเนื่อง แต่ยังคงเป็นปัญหา สาธารณสุขในประเทศไทยจนกระทั่งถึงปัจจุบัน จากผลการสํารวจระดับพัฒนาการและ ระดับเชาวน์ปัญญาของเด็กไทยที่มีมาเป็นระยะในช่วง ๕-๑๐ ปีที่ผ่านมาพบความสัมพันธ์ ที่ อ าจทํ า ให้ เ ชื่ อ ได้ ว่ า การขาดสารไอโอดี น เป็ น ปั จ จั ย เสี่ ย งหลั ก หนึ่ ง ที่ มี ผ ลทํ า ให้ ร ะดั บ พัฒนาการและเชาวน์ปัญญาของเด็กไทยตํ่ากว่าปกติ ข้อมูลการสํารวจสถานการณ์ไอโอดีน ในหญิ ง ตั้ ง ครรภ์ ไ ทยปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ด้ ว ยการสุ่ ม ตรวจระดั บ ไอโอดี น ในปั ส สาวะของ สํานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พบว่า ค่ามัธยฐานของระดับไอโอดีน ในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ทั่วประเทศจํานวน ๒๑,๗๕๑ คน เท่ากับ ๑๔๒.๑ ไมโครกรัม ต่อลิตร และร้อยละ ๕๒.๕ มีการขาดสารไอโอดีน (น้อยกว่า ๑๕๐ ไมโครกรัมต่อลิตร)
66
ผลกระทบและการดูแลสุขภาพจากภาวะโลกรอน ศ.เกียรติคุณ ดร. นพ.สมชัย บวรกิตติ ราชบัณฑิตยสภา ศ.เกียรติคุณ พญ.วรรณี นิธิยานันท รพ.ศิริราช ดร. นพ.สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ ผู้ดำเนินการอภิปราย
สุ ขภาวะในภาวะโลกรอน โดย ดร. นพ.สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ ป จ จุ บั น ภาวะภู มิ อ ากาศเปลี่ ย นแปลง หรื อ ที่ เ รี ย กว า Climate Change ซึ่งปรากฏการณนี้ไมไดสงผลกระทบแคทําใหอุณหภูมิรอนขึ้นเทานั้น แตยังมีผลทําใหอากาศ หนาวจัดดวย เชน ในเดือนมีนาคมที่ผานมา ประเทศไทยไดเกิดภาวะหนาวมาก ซึ่งถือ เป น ครั้ ง แรกที่ เ กิ ด เหตุ ก ารณ นี้ เพราะฉะนั้ น ป ญ หานี้ เ ป น สถานการณ ป ญ หาทางด า น สิ่งแวดลอมที่สําคัญทั้งในระดับประเทศและระดับโลก ปจจุบันมีขอมูลทางดานวิทยาศาสตร มากมายที่ พิ สู จ น แ ละสนั บ สนุ น ปรากฏการณ ก ารเปลี่ ย นแปลงของภู มิ อ ากาศและ ส ง ผลกระทบต อ สุ ข ภาวะของมนุ ษ ย โดยสาเหตุ ข องการเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศมาทั้งจากธรรมชาติและการกระทําของมนุษย และผลกระทบตอสุขภาวะที่เกิดขึ้น มี ทั้ ง ทางตรงและทางอ อ ม รวมทั้ ง กระทบต อ ระบบนิ เ วศวิ ท ยา เศรษฐกิ จ สั ง คมและ การเมือง ทั้งในระดับพื้นที่ ระดับชาติและระดับโลก สําหรับผลกระทบตอสุขภาพที่มาจาก ภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงมีที่สําคัญๆ ดังนี้ ๑. การเจ็บปวยจากอุณหภูมทิ เี่ ปลีย่ นแปลง (รอนหรือหนาวจัด) (Temperature -related morbidity and mortality) ๒. ผลกระทบจากภาวะภูมิอากาศแปรปรวนสุดขั้ว (Health effects related to extreme weather events) ๓. ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ (Health effects related to air pollution) ๔. การเจ็บปวยจากโรคติดตอทางนํ้าและอาหาร (Water-and food-borne diseases) ๕. การเจ็บปวยจากโรคติดตอนําโดยแมลงและหนู (Vector-and rodent-borne diseases) ๖. ผลกระทบต อ กระบวนการผลิ ต อาหารและภาวะทุ พ โภชนาการ (Food productivity and malnutrition) ๗. โรคจากการประกอบอาชีพเหตุความรอน (Heat related occupational diseases)
ประชากรกลุมเสี่ยง การเกิดผลกระทบที่เกิดขึ้นถาเทียบแลวจะเกิดกับประชาชนไมเทากัน เพราะจะมี คนกลุมหนึ่งที่เปนกลุมที่มีความเสี่ยงสูง มีดังนี้ 67
๑. เด็ก โดยเฉพาะทารกและเด็กเล็ก ๒. ผูสูงอายุ ๓. ผูมีโรคประจําตัวหรือภูมิตานทานตํ่า (เชน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคปอด โรคมะเร็ง โรคอวน และผูที่มีภาวะไมสามารถปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศได) ๔. ผูมีฐานะยากจน ๕. ผูที่อยูโดดเดี่ยว ขาดคนดูแล ๖. ผูอยูในเขตเมือง ๗. ผูประกอบอาชีพหรือทํางานที่เสี่ยง เชน เกษตรกร คนงานกอสราง เนื่องจาก ออกแรงมาก ทํางานกลางแจงหรือสัมผัสความรอน โดยกลุมเสี่ยง ๓ กลุมแรกเปนกลุมที่มีความเสี่ยงสูงที่สุด
ผลกระทบตอสุขภาพจากภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงและสถานการณในประเทศไทย
การเจ็บปวยจากอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง (รอนหรือหนาวจัด) ทําใหผิวหนังไหม จากแสงแดด (Sunburn) เกิดอาการตะคริวเนื่องจากความรอน (Heat cramp) อาการ เพลียแดดเนื่องจากความรอน (Heat exhaustion) และอาการลมรอน (Heat stroke) มีขอเท็จจริงเกี่ยวกับปญหาสุขภาพที่เกิดจากอากาศรอนจัด พบวาโดยปกติ รางกายมนุษยมี กลไกในการปรับตัวและควบคุมอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงจากภายนอก เชน ถาอุณหภูมิสูงขึ้น จะมี ก ารขยายตั ว ของหลอดเลื อ ดที่ ผิ ว หนั ง และมี เ หงื่ อ ออก แต ก ารปรั บ ตั ว ดั ง กล า ว มีสวนเกี่ยวของกับระบบหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งรางกายจําเปนตองใชเวลาในการปรับตัว แตถาเกิดอุณหภูมิสูงขึ้นมากอยางรวดเร็ว รางกายปรับตัวไมทันจึงเกิดผลทําใหเจ็บป วย และเสียชีวิตได ซึ่งสาเหตุของการเสียชีวิต สวนใหญไมไดเกิดจากภาวะ “Heat stroke” แต เกิดจากภาวะลมเหลวของระบบหัวใจและหลอดเลือด หรือระบบหายใจลมเหลว ประชากร กลุ ม เสี่ ย งที่ สํ า คั ญ คื อ ผู สู ง อายุ ห รื อ ผู มี โ รคประจํ า ตั ว ที่ มี ผ ลทํ า ให ก ลไกการปรั บ ตั ว ต อ อุณหภูมิที่สูงขึ้นไมดีเทาที่ควร สถานการณที่เกิดจากภาวะอากาศรอนจัดที่สําคัญ ในชวงระยะใกลๆ มี ดังนี้ ๑. ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า จํ า นวนผู ที่ เ สี ย ชี วิ ต จากคลื่ น ความร อ นมี ม ากกว า จํ า นวนผู เ สี ย ชี วิ ต จากพายุ เ ฮอร ริ เ คน ทอร น าโด และนํ้ า ท ว มรวมกั น โดยพบผู เ สี ย ชี วิ ต ประมาณ ๒๐,๐๐๐ คน ระหวางป ค.ศ. ๑๙๓๖-๑๙๗๕ และในป ค.ศ. ๑๙๙๕ ที่นครชิคาโก มีผูเสียชีวิตจากความรอนมีจํานวนมากกวา ๗๐๐ คน ภายใน ๑ สัปดาห เพราะเมื่อประเทศที่ มีอากาศหนาวมาก เมื่ออากาศรอนทันทีทําใหประชากรปรับตัวไมทันสงผลใหเสียชีวิตได ปจจุบันประเทศสหรัฐอเมริกาพบผูปวยจากความรอนประมาณปละ ๑๗๕ คน ๒. ยุโรป ประสบกับภาวะคลื่นความรอนในป ค.ศ. ๒๐๐๓ พบจํานวนผูเสียชีวิต มีมากกวา ๒๒,๐๐๐ คน ในชวงเวลาแคเพียง ๒ สัปดาห ๓. ประเทศไทย พบการเจ็บปวยจากความรอนในป ๒๕๕๐ มีประมาณ ๑๘ ราย 68
และป ๒๕๕๑ จํานวน ๘๑ ราย และคาดวาจะมีแนวโนมที่จะเพิ่มขึ้น เนื่องจากประเทศไทย เปนประเทศทีม่ อี ากาศรอน และคนทีเ่ จ็บปวยไมไดไปพบแพทย จึงทําใหจาํ นวนผูป ว ยมีตัวเลข นอย ขอมูลที่มีการายงาน เชน จังหวัดมุกดาหารมีผูปวยดวยโรคจากความรอนมากที่สุด (ป ๒๕๕๑ จํานวน ๘ ราย และ ป ๒๕๕๒ จํานวน ๑๐ ราย) รองลงมาไดแก นครสวรรค นครราชสีมา และกาญจนบุรี
ผลกระทบจากภาวะภูมิอากาศแปรปรวนสุดขั้ว การเกิดภาวะอากาศปรวนแปรสุดขั้วจะทําใหเกิดนํ้าทวม พายุ ภาวะแหงแลง และ ไฟไหมปา ซึ่งจากขอมูลเชิงประจักษบงชี้วาภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงกอใหเกิดภาวะ ภูมิอากาศแปรปรวนสุดขั้ว ซึ่งเกิดบอยมากขึ้นและรุนแรงขึ้น ในชวงเวลา ๒๐ ปที่ผานมา มีประชาชนหลายลานคนทั่วโลกที่เสียชีวิตและไดรับผลกระทบตออุบัติภัยทางธรรมชาติ รวมทั้ ง สู ญ เสี ย ทรั พ ย สิ น นั บ เป น มู ล ค า หลายหมื่ น ล า นบาท นอกจากนี้ ในแต ล ะป จ ะมี คนเสียชีวติ ทัว่ โลกจากอุบตั ภิ ยั ทางธรรมชาติโดยเฉลีย่ ประมาณ ๑๒๓,๐๐๐ คน โดยอุบตั กิ ารณ จะพบมากที่สุดในทวีปอัฟริกา แตรอยละ ๘๐ ของการเกิดภัยพิบัติจะพบในทวีปเอเชีย โดย ในทุก ๑ คนที่เสียชีวิต จะมีคนอีก ๑,๐๐๐ คน ที่รับผลกระทบไปดวย ซึ่งผลกระทบมีทั้ง ทางกาย จิตใจ รวมทั้งเศรษฐกิจและสังคม
สถิติความเสียหายจากอุทกภัยในประเทศไทย ป พ.ศ. ๒๕๓๒-๒๕๔๙ ประเทศไทย ในชวงป พ.ศ. ๒๕๓๒-๒๕๔๙ มีอุทกภัยเกิดขึ้นทุกป โดยมีพื้นที่ที่ไดรับ ผลกระทบจํานวน ๔๒ ถึง ๗๔ จังหวัด ปที่เกิดความเสียหายมากที่สุดคือป พ.ศ. ๒๕๔๕ มีพื้นที่ที่ประสบปญหาถึง ๗๒ จังหวัด จํานวน ๑๘,๕๑๐ หมูบานไดรับความเสียหาย และ กระทบตอพื้นที่การเกษตรประมาณ ๑๐.๔๔ ลานไร รวมมูลคาความเสียหายประมาณ ๑๓,๓๘๕.๓๒ ลานบาท และป พ.ศ. ๒๕๔๙ เกิดปญหาอุทกภัยใน ๕๒ จังหวัด ครอบคลุม พื้นที่การเกษตร ๖.๗๖ ลานไร มูลคาความเสียหาย ๑๑, ๑๓๑.๙๓ ลานบาท
ผลกระทบจากภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง มลพิษอากาศจากภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ปญหามลพิษอากาศในประเทศไทยสวนใหญจะอยูในเขตภาคเหนือของประเทศ จากภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงมีผลตอการเกิดมลพิษทางอากาศหลายวิธีการ เชน มีผล ตอการเกิดมลพิษ ชวยในการกระจายมลพิษ หรือทําใหการเกิดผลกระทบรุนแรงขึ้น ทําให ปริมาณโอโซนเพิ่มขึ้น เมื่อภูมิอากาศมีอุณหภูมิสูงขึ้นหรืออากาศรอนขึ้น จะกอใหเกิดการ เพิ่มขึ้นของละอองเกสรดอกไม ซึ่งมีผลตอสุขภาพ มลพิษทางอากาศสามารถเกิดขึ้นทั้ง ภายในและภายนอกอาคาร โดยคุณภาพอากาศภายในอาคารจะมีปญหาในเรื่องการเพิ่มขึ้น ของความชื้นและเชื้อรา 69
ในช ว งป พ.ศ. ๒๕๕๓ ได เ กิ ด ป ญ หาฝุ น ละองขนาดเล็ ก เพิ่ ม มากขึ้ น ในช ว ง เดือนกุมภาพันธ–มีนาคม ซึ่งปญหาเกิดจากการเผาไหมและไฟปา สงผลกระทบตออากาศ แลวทําใหมีผลกระทบตอสุขภาพของประชาชน เชน ปญหาป ๒๕๕๐ มีผูปวยจากปญหา หมอกควันจํานวน ๑๐๔,๘๗๗ ราย ซึ่งมีทั้งโรคระบบทางเดินหายใจ ระบบผิวหนัง และระบบ สายตา เปนตน ในการดําเนินการรับมือกับปญหาดังกลาว กรมควบคุมโรค ไดวางระบบการเฝา ระวังโรคเฉพาะพื้นที่ (Sentinel surveillance) โดยเลือกโรงพยาบาล ๑๗ แหงในพื้นที่เสี่ยง และใชขอมูลเฉพาะผูปวยนอก พบวาในชวงปลายเดือนกุมภาพันธถึงมีนาคม มีอุบัติการณ ของโรคระบบหายใจเพิ่มขึ้นมากกวาชวงเวลาคุณภาพอากาศปกติถึง ๒-๓ เทา โรคที่พบมี ความสัมพันธอยางชัดเจน คือ โรคติดเชือ้ ทางเดินหายใจสวนบน โรคหอบหืด และโรค COPD จังหวัดที่พบอุบัติการณสูง คือ แมฮองสอน นาน และพะเยา โดยอุบัติการณของโรคจะเพิ่ม มากขึ้นตามปริมาณของฝุนที่สูงขึ้น โรคติดตอทางนํ้าและอาหาร ประเทศไทยในชวงป พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๕๒ พบวามีปญหาเรื่องการเกิดอุบัติการณ โรคอหิวาตกโรคเพิ่มขึ้นสูงเปนบางป และป พ.ศ. ๒๕๕๔ ก็พบปญหาดวยเชนกัน นอกจากนี้ ยังพบปญหาโรคบิด และโรคทองเสียดวย โรคติดตอนําโดยแมลงและสัตวนําโรค โรคติดตอนําโดยแมลงและสัตวนาํ โรคมีแนวโนมจะเพิม่ ขึน้ เชน โรค Leptospirosis โรคมาลาเรีย และไขเลือดออก โดยในป ๒๕๕๔ แนวโนมการระบาดเพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก ปญหาฝนชุก ผลกระทบตอกระบวนการผลิตอาหารและภาวะทุพโภชนาการ เนือ่ งจากปญหาอากาศเปลีย่ นแปลง ไดสง ผลกระทบใหเกิดผลผลิตทางการเกษตร ปศุสัตว และประมงที่ลดลง สาเหตุโดยตรง คือ อุณหภูมิที่สูงขึ้นจนพืชเติบโตไมดี เกิด ความแหงแลงขาดนํ้า ปริมาณคารบอนไดออกไซด (CO2) เพิ่มขึ้น พื้นที่เกษตรกรรมลดลง จากระดั บ นํ้ า ทะเลที่ สู ง ขึ้ น และจากอุ บั ติ ภั ย ทางธรรมชาติ ที่ รุ น แรง สาเหตุ โ ดยอ อ ม คื อ การเพิ่มขึ้นของแมลงและศัตรูพืช คุณภาพดินเสื่อมลง และการใชสารกําจัดศัตรูพืชที่มากขึ้น จนกระทบตอคุณภาพอาหาร ภาวะโภชนาการของเด็กไทย จากขอมูลระบบรายงาน พ.ศ. ๒๕๕๐ พบวาเด็ก อายุ ๐-๗๒ เดือน มีภาวะทุพโภชนาการเพิ่มมากขึ้นและพบในทุกจังหวัด จังหวัดที่มีภาวะทุพ โภชนาการมากกวารอยละ ๑๐ และเปนจังหวัดที่ตองเฝาระวังมีถึง ๔๑ จังหวัด อัตราสูงสุด คือ จังหวัดชลบุรีรอยละ ๓๖.๒๘ ภาวะโภชนาการของเด็กไทยป ๒๕๕๒ สํานักงานคณะ กรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สํารวจภาวะโภชนาการจากการวัดนํ้าหนักสวนสูงของ เด็กอนุบาลถึงประถมศึกษาปที่ ๖ พบวา จากนักเรียนทั้งหมด ๔,๖๖๕,๓๗๔ คน มีนํ้าหนัก ตํ่ากวาเกณฑ รอยละ ๘.๑๓ และมีสวนสูงตํ่ากวาเกณฑอายุ รอยละ ๗.๗๓ 70
โรคจากการประกอบอาชีพ ประชากรส ว นใหญ ข องประเทศไทยประกอบอาชี พ เกษตรกรรม ดั ง นั้ น การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจึงกระทบตอการเกษตรทั้งทางตรงและทางออม ผลกระทบ ตอโดยตรงคือ การทํางานกลางแดด ซึ่งมีผลกระทบตอสุขภาพจากการประกอบอาชีพ การเกษตร ที่ทําใหเกิดภาวะความรอนสูงจากการทํางานของเกษตรกร และนอกจากนี้ ปญหาจากการใชสารเคมีของเกษตรยังมีเพิ่มมากขึ้น สาเหตุมาจากผลผลิตที่ไดไมมีคุณภาพ จึงทําใหเกษตรกรใชสารเคมีเพิ่มมากขึ้น จากขอมูล ป พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๕๐ พบวาจํานวนผูปวยที่มีความเสี่ยงจากการ ใช ส ารกํ า จั ด แมลงกลุ ม ออร ก าโนฟอสเฟตมี จํ า นวนเพิ่ ม ขึ้ น ทุ ก ป ผลการตรวจคั ด กรอง เกษตรกรใน ๕ จังหวัดที่พบมีความเสี่ยงสูงสุดป พ.ศ. ๒๕๕๐ คือจังหวัดสมุทรสงคราม รอยละ ๙๑.๓๖ รองลงมาคือ สมุทรปราการ รอยละ ๘๔.๑๑ และจังหวัดกําแพงเพชร รอยละ ๘๓.๔๓ และจากรายงาน ๕๐๖ สํานักระบาดวิทยา ในป ๒๕๕๐-๒๕๕๑ พบวาแนวโนม ผูปวยโรคพิษสารกําจัดศัตรูพืชก็มีแนวโนมที่สูงขึ้น
มาตรการในการรองรับผลกระทบทางสุขภาพ องคการอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) ไดแนะนํามาตรการดังนี้ ๑. การสรางความตระหนักใหแกสาธารณชน เพราะผลกระทบทางสุขภาพเปน เรื่องที่เกิดขึ้นไดกับประชาชนทุกคน และประชาชนก็เปนทั้งผูกอมลพิษและไดรับมลพิษดวย ถาประชาชนไมรับทราบผลกระทบที่เกิดขึ้นอาจสงผลกระทบที่มีรุนแรงมากขึ้น ๒. สรางความรวมมือระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของและภาคีเครือขายในทุกระดับ ๓. สงเสริมการศึกษาทางดานวิจัยและวิชาการ ขอมูลวิชาการของหนวยงาน ตางๆ ที่มีอยูอาจนํามาแลกเปลี่ยนกันได ๔. สรางความเขมแข็งของระบบสาธารณสุขในการรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งระบบการแพทยฉุกเฉินจากอุบัติภัยตางๆ เพราะปญหาดานอุบัติภัยทุกวันเกิดขึ้นถี่ และรุนแรงมากขึ้น
แผนการดําเนินงานของสํานักโรคจากการประกอบอาชีพและสิง่ แวดลอม ปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑. การทบทวนองคความรูและสถานการณ ๒. การวางระบบเฝาระวังและติดตามสถานการณผลกระทบตอสุขภาพ ๓. การพัฒนาดัชนีชี้วัดทางสุขภาพ ๔. การฝกอบรมและใหความรูแกบุคลากรสาธารณสุขและประชาชน ๕. การผลักดันเชิงนโยบาย ๖. การประสานกับหนวยงานภาคีเครือขาย
71
สรุป ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงเปนป ญหาทางดานสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม ทีส่ าํ คัญ ซึง่ สงผลกระทบตอสุขภาพทีม่ คี วามหลากหลายและกระทบตอประชาชนเปนวงกวาง ประชากรกลุมเสี่ยงที่สําคัญ คือ เด็ก ผูสูงอายุ ผูที่มีปญหาสุขภาพ ผูที่มีฐานะยากจน และ ผูป ระกอบอาชีพเสีย่ ง ดังนัน้ มาตรการในการปองกันและลดผลกระทบจําเปนตองดําเนินการ อยางเรงดวน
ผลกระทบและการดู แลสุขภาพจากภาวะโลกรอน โดย ศ.เกียรติคณ ุ ดร. นพ.สมชัย บวรกิตติ
“ภาวะโลกรอน” เปนปรากฏการณที่อุณหภูมิเฉลี่ยบริเวณผิวโลกสูงกวาปกติ ชัดเจนตั้งแตกลางคริสตศตวรรษที่ ๒๐ ปจจุบันยังสูงขึ้นเรื่อยๆ และมีคนกลัววาจะมันสูง ตอไปจนมนุษยไมสามารถอยูได “สภาวะอากาศแปรปรวน หรือ การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ” หมายถึง เหตุการณที่ลมฟาอากาศเปลี่ยนแปลงไปรุนแรงกวาปกติ ซึ่งไดแก อุณหภูมิรอนขึ้นมาก หนาวขึ้นมากและก็มีความชื้นสูงมาก ปริมาณนํ้าฟาซึ่งหมายรวมถึงฝน หิมะ ลูกเห็บมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น ลมพายุรุนแรงและเกิดบอยมากขึ้น ภัยพิบัติธรรมชาติ มีความรุนแรงและมีความถีม่ ากขึน้ กลาวงายๆ วา ภาวะโลกรอน เปนปรากฏการณทบี่ รรยากาศ ผิวโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น สามารถรูสึกและวัดได สําหรับสภาพภูมิอากาศแปรปรวน หรือ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (Climate Change) เปนสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปจาก ที่เคยเปน ซึ่งเปนผลจากภาวะโลกรอน เชน อากาศรอนจัด เย็นจัด ฝนตกหนักและชุก ลม พายุรุนแรง ระดับนํ้าทะเลสูงขึ้น กอภัยธรรมชาติรุนแรง ในอดีตคําวา “โลกรอน” ไดถูกใช อยางกวางขวาง ตอมาพบวาอุณหภูมิไมไดรอนขึ้นเพียงอยางเดียว แตมีปญหาอื่นๆ ตามมา จึงเปลี่ยนมาใชคําวา “สภาวะอากาศแปรปรวน หรือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ” เพื่อใหมีความครอบคลุมมากขึ้น
โลกรอนขึ้นไดอยางไร จากอดีตจะเห็นวา อุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกเพิ่มขึ้นตั้งแตป ๑๙๐๐ จนถึงปจจุบัน ซึ่งภาวะโลกรอน เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงขององคประกอบของชั้นบรรยากาศ โดยปกติ บรรยากาศชั้นสตราโทสเฟยรมีชั้นโอโซน ซึ่งมีหนาที่ชวยกรองรังสีความรอนจากแสงอาทิตย ที่แผมาสูโลก ทําใหโลกไมรอนมากเกินไป นอกจากนั้นชั้นบรรยากาศยังมีแกสเรือนกระจกที่ เรียกวา “Green House Gas” ซึ่งประกอบดวย คารบอนไดออกไซด ไอนํ้า แกสมีเทน ไนตรัสออกไซดและอื่นๆ มีหนาที่กักเก็บความอบอุนไว โดยเมื่อความรอนจากแสงอาทิตยลง มาที่ผิวโลก แก สเรือนกระจกจะกักไวบางสวนทําใหความอบอุนสามารถยังอยูไดในโลก ตอมาเมื่อมีกิจกรรมตางๆ ทําใหชั้นโอโซนนี้บางลง บางแหงเกิดรูโหว รังสีความรอนเขามาที่ โลกมากขึ้น ดังนั้นความรอนจึงถูกกักเก็บความรอนไวในชั้นบรรยากาศมากขึ้น และเกิดภาวะ โลกรอนในที่สุด 72
มนุษยมีสวนทําใหโลกรอนไดอยางไร มนุษยมีสวนทําลายชั้นโอโซนและปลอยก าซเรือนกระจกสูบรรยากาศ เชน ใช สารสังเคราะหที่มีชื่อวา “คลอโรฟลูออโรคารบอน หรือ CFCs” นี้ มาใชในเครื่องทําความเย็น ตูเย็น การใชยาทาเล็บ เปนตน ซึ่งเมื่อสารเหลานี้ลอยไปสูชั้นบรรยากาศ สัมผัสแสงอาทิตย จะสลายตัวใหคลอรีน ซึ่งเปนตัวสําคัญไปทําปฏิกิริยากับโอโซนแลนดในชั้นโอโซน ใหโอโซน สลายตัวเปนออกซิเจน จาก O3 กลายเปน O2 เมื่อสลายเปนออกซิเจน โอโซนก็บางลง บางแหงเปนรูโหว เพราะฉะนั้นความรอนจากแสงอาทิตยจึงลงมาไดมากขึ้น สวนแกสมีเทน ไนโตรเจนออกไซด เปนตัวเรงปฏิกริ ยิ า นัน่ คือกาซมีเทนไมใชกาซทีไ่ ปทําลายชัน้ โอโซน แตเปน ตัวไปเรงใหมีการทําลายโอโซนมากขึ้น
ผลกระทบตอสุขภาพจากโลกรอน ผลกระทบเชิงบวก พบวาเมือ่ โลกรอนขึน้ อากาศก็อบอุน สามารถใชเวลานอกบาน ไดมากขึน้ สุขภาพดีขนึ้ ซึง่ สวนใหญเปนขอดีในตางประเทศแถบหนาวในอดีตเมือ่ อากาศหนาว ประชากรก็ตอ งอาศัยอยูใ นบานตลอดเวลา หรือตองไปเทีย่ วในประเทศทีม่ อี ากาศอุน ปจจุบนั เมื่อเกิดภาวะโลกรอน ประชากรเหลานั้นก็ไมตองไปไหน ทําใหมีสุขภาพดีขึ้นจากการไดออก มาเดินนอกบาน อัตราการหนาวตายก็ลดลง โดยเฉพาะคนชรา คนจน คนที่เปนระบบทาง เดินหายใจตางๆ ซึง่ เปนกลุม ประชากรทีม่ อี ตั ราการตายในชวงฤดูหนาวมากทีส่ ดุ นอกจากนัน้ อาหารในประเทศหนาวมีความสมบูรณมากขึน้ เนือ่ งจากอากาศอบอุน ขึน้ ประกอบกับตนไม บางอยางที่ไม่สามารถเจริญเติบโตไดในอากาศหนาวแตปจจุบันสามารถเจริญเติบโตได ผลกระทบทางลบโดยตรง ที่สําคัญคือ ภัยธรรมชาติ ความรอนและรังสี และ โรคตางๆ สภาพจิตใจ อารมณแปรปรวน ผิวหนังแหง ผดผื่นคัน ผิวหนังไหมแดด และ เกิดมะเร็งผิวหนัง รวมทั้งตอเนื้อ ตอกระจกจากการไดรับรังสียูวีมากเกินไป เกิดโรคนิ่วไต ซึ่งเกี่ยวกับความแหง การเสียนํ้า นิวเตรชั่นมาก โรคหลอดเลือด หัวใจ โรคเกี่ยวกับสมอง เมื่ออุณภูมิสูงรางกายไดรับความรอนมากๆ เกล็ดเลือดจะคลายแกรนูลเล็กๆ ฝอยๆ ออก มาทําใหเกิดเปนลิ่มเลือดอุดตันแลวไปอุดที่สมองก็ทําใหเกิดภาวะอัมพาต ซี่งมีรายงานใน ญี่ปุนตีพิมพจํานวนมาก ผลกระทบทางลบทุติยะ เปนผลกระทบตอนิเวศวิทยาหรือสภาพแวดลอมแลว มีผลกระทบตอคน ไดแก โรคภูมิแพ ลมพิษ จมูกอักเสบเรื้อรัง ไขละอองฟาง โรคอาหาร เปนพิษจากสาหรายพิษ ซึง่ เมือ่ อุณหภูมริ อ นขึน้ สาหรายพวกแพลงตอนจะงอกงามทีเ่ รียกวา Algae Bloom หรือ สาหรายสะพรั่ง โรคเหตุสารมลพิษ เชน โรคปลอดเหตุฝุนอินทรีย โรคติ ด เชื้ อ ระบาด โรคเหตุ แ มลงพาหะ อหิ ว าตกโรค โรคฉี่ ห นู โรคคลี จิ โ อเนลลา และ โรคมะเร็ง ขอเสริมอหิวาตกโรค จริงๆ แลวมีแหลงรังโรคของเชื้ออยูในพืชนํ้าและสัตวนํ้า โดยมากอยูในนํ้ากรอย ชายทะเล จะสามารถกอโรคเมื่ออากาศรอนขึ้น เนื่องจากเมื่ออากาศ รอนขึ้น ในสาหรายพืช แพลงตอนพืชนี้จะมีสารชนิดหนึ่งเกิดขึ้น เปนไวรัสที่ทําปฏิกิริยากับ 73
สาหรายสีเขียว สีนํ้าเงินแกมเขียวตางๆ ทําใหสรางสารพิษออกมาไปกระทบกับเชื้ออหิวาต์ ทําใหตัวอหิวาต์มีฤทธิ์กอโรคเกิดขึ้น จะเห็นวาในอดีตชวงหนารอนกระทรวงสาธารณสุขหรือ กทม.จะออกรณรงคใหกินนํ้า กินอาหารที่สะอาด แตปจจุบันภาวะโลกรอนทําใหโรคระบาด ไดตลอดป
ผลกระทบสิ่งแวดลอม ผลกระทบดานสิ่งแวดลอมขั้นปฐมจากสภาพภูมิอากาศแปรปรวน ไดแก ไฟปา ภัยแลง อุทกภัย นํ้าปาไหลหลาก ดินโคลนถลม แผนดินไหว คลื่นยักษสึนามิ ซึ่งเกิดขึ้นใน แถบทะเลอันดามัน รวมทั้งประเทศญี่ปุนวาตภัย ลูกเห็บ ผลกระทบทุติยะ เมื่อเกิดภัยพิบัติ ตางๆ เหลานี้จะเห็นวามีคนบาดเจ็บลมตายจํานวนมาย รวมทั้ง เกิดทุพพลภาพ อาหาร ขาดแคลนเนื่องจากพื้นที่เกษตรกรรมถูกทําลาย เกิดภาวะความยากจน นอกจากการสูญเสีย ทางกายภาพและชีวภาพแลว ยังทําใหเกิดโรคตามมา ทั้งโรคติดเชื้อโรคทางเดินอาหาร และ โรคระบาดตางๆ นอกจากนี้โลกรอน ทําใหเกิดภาวะหมอกควัน เกิดจากภาวะโลกรอนทําปฏิกิริยา กับสารพิษที่ออกมาจากทอไอเสียรถหรืออะไรตางๆ ก็ทําใหเกิด Photochemical smog ระบบนิเวศมีการเปลี่ยนแปลง เชน เกิดทําใหพืชขาดแคลน CO2 ปลาสูญพันธุ์ เพราะไม สามารถออกไขออกลูกได
สถานภาพกาซเรดอนในประเทศไทย มีความเกี่ยวของกับภาวะโลกรอน กาซเรดอน เปนแกสเฉื่อยกัมมันตรังสี ไรสี ไรกลิ่น ไรรส มีครึ่งชีวิต ๓.๘ วัน เปนแกสธรรมชาติเกิดในดินเปนตระกูลของยูเรเนียม ซึ่งจะ เกิดในพื้นดินและผุดขึน้ มาตามธรรมชาติ โดยปกติหนารอนจะเกิดขึน้ มากกวาหนาอืน่ ๆ ดังนัน้ ภาวะโลกร อ นจะทํ า ให ป ริ ม าณเรดอนมากขึ้ น ในอดี ต บ า นของคนไทยจะมี ใ ต ถุ น เมื่ อ ก๊าซเรดอนขึ้นมาจะถูกพัดไปตามกระแสลมกอนจะไมเขาบาน เนื่องจากมีคาครึ่งชีวิตแค ๓.๘ วันเทานั้น แตปจจุบันการปลูกบานเปลี่ยนไป ปลูกติดพื้นดินและการถายเทอากาศตํ่า ทําให กาซเรดอนเขาบาน และเกิดผลกระทบตอสุขภาพ โดยเมื่อเรดอนถูกหายใจเขาไปในปอดจะ สลายตัวให โซลิค ไอโซโทป ชื่อ โพโนเนียม-๒๑๐ ใหรังสีแอลฟา เกิดการเปลี่ยนแปลงใน เนื้อเยื่อปอด จะเกิดมะเร็งปอดได จากรายงานพบวาประเทศไทยมีปญหามะเร็งปอดมากขึ้น
ใยหินกับโลกรอน
แรใยหิน มีสมบัติพิเศษในการสรางความแข็งแกรงใหกับอุปกรณตางๆ ที่นําไป ผสม กันความรอนสลายตัวชา อุปกรณที่มีใยหินนั้นจะคงทนมาก จึงใชในการผลิตกระเบื้อง แตเปนทีท่ ราบกันดีวา ใยหินเปนสารกอมะเร็งและกอโรคปอด ปจจุบนั จึงมีการหาวัสดุทดแทน ใยหิน มีการผลิตกระเบื้อง ๒ ชนิด คือกระเบื้องหลังคาที่ผสมใยหิน และกระเบื้องไรใยหิน 74
จากผลการวิจยั ของมหาวิทยาลัยเกษตรกับมหาวิทยาลัยพระจอมเกลาธนบุรี ถึงความคงทน ของกระเบือ้ งใยหินเปรียบเทียบกับกระเบือ้ งไรใยหิน พบวาหลังคาทีม่ ใี ยหินมีความทนทานกวา แตกหักยากมาก ไมซมึ นํา้ ถาฝนตกหนักๆจะไมรวั่ ถาเปนกระเบือ้ งอยางอืน่ จะผุรวั่ นอกจากนัน้ ยังเสื่อมสลายชา ใชไดนานถึง ๒๐ ป เมื่อภาวะโลกรอนเกิดขึ้นภัยพิบัติธรรมชาติก็มากขึ้น มีความสูญเสียมากขึ้น เปนเรื่องที่ตองคิดตอไปถึงการใชกระเบื้องใยหินที่อาจจะสามารถลด ความสูญเสียจากภาวะโลกรอน แตก็สงผลกระทบทางลบกับสุขภาพเชนกัน สรุป โรคตางๆ ทีม่ นั เกิดขึน้ ในปจจุบนั ทีเ่ กิดจาก Climate Change หรือ สภาวะภูมอิ ากาศ แปรปรวนนี้ ขึ้นอยูกับภาวะเศรษฐกิจสังคม ถาเศรษฐกิจสังคมดี สุขภาพก็จะดี เนื่องจากไม ตองไปตากแดดมาก ในตางประเทศที่เปนโรคมาลาเรีย ถึงจะระบาดมากแตนอนในมุงหรือ มีมงุ ลวด เปนตน ผลกระทบอยูท ภี่ าวะเศรษฐกิจของมนุษยดว ย แตอยางไรก็ดี เราตองชวยกัน ปองกันอยาใหเกิดภาวะโลกรอน เพื่อปองกันผลกระทบที่จะเกิดตามมา
ภาวะโลกรอนกับความอวน โดย ศ.เกียรติคุณ พญ.วรรณี นิธิยานันท สถานการณโรคอวน คําจํากัดความของโรคอวน หรือความอวน หมายถึง สภาวะที่รางกายมีไขมัน สะสมตามอวัยวะตางๆ มากจนเกินไป โดยทั่วไป คนอวนมี ๒ แบบ คือ อวนลงพุง และ อวนสะโพก ซึง่ อวนลงพุง หรือ Apple Shape สวนใหญจะพบในผูช าย ดูแลวไมอว นแตพงุ ยืน่ ในผูหญิงมักอวนแบบที่ ๒ คือ อวนสะโพก แตอยางไรก็ตาม ถาอวนมากๆ แลว ทุกคนก็จะ ลงพุงดวยกันทั้งนั้น คนที่ลงพุงจะมีไขมันในชองทองมาก การที่จะบอกวาอวนหรือไม จะใช ดัชนีมวลกาย (BMI) โดยคํานวณจากความสูงเปนเซนติเมตรลบดวยหนึ่งรอยในผูชาย ในผูหญิงก็คูณดวยศูนยจุดเกา สําหรับคาชี้วัดวาอวนลงพุงนั้น ใชเปนมาตรฐานประเทศไทย คือ ในผูหญิงรอบเอวไมเกิน ๘๐ เซนติเมตร ในผูชายไมเกิน ๙๐ เซนติเมตร ถามากกวานั้น ถือวารอบเอวมากเกินไป หรือวาลงพุง สําหรับคนที่อวนจะเปรียบเทียบใหดูวาจะมีไขมันมาก เกินแตถาผอมไขมันก็จะหายไป และที่สังเกตคือ ในชองทองจะมีไขมันไมเยอะ ถาทํา CT หรือ MRI จะเห็นวาคนทีอ่ ว นจะมีไขมันอยูใ นชองทองแทรกกระจัดกระจายอยูต ามอวัยวะตางๆ เปรียบเทียบกับอีกคนหนึ่งที่นํ้าหนักเทากันแตมีกลามเนื้อ ถาทํา CT จะเห็นวามีกลามเนื้อ เยอะ ไมคอยมีไขมัน ดังนั้น เมื่อวัดวาคนใดคนหนึ่งอวนลงพุง จะมีวิธีทํางายๆ คือ ถาเอา ไขมันในชองทองมาเทียบกับรอบเอวจะมีความสัมพันธกันอยางชัดเจนมาก ดังนั้น วิธีการที่ ใชในปจจุบันคือใชเสนรอบเอวหรือเสนรอบพุง ในทางคลินิคหรือทางปฏิบัติจึงเปนที่ยอมรับ กันทั่วโลก จากสถิติขององคการอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) ในป ค.ศ. ๒๐๐๔ พบวามีประชากร ๓๒๐ ลานคนทั่วโลกนํ้าหนักเกินมาตรฐานและอวน ซึ่งปญหา โรคอวนนี้ไมกระทบเฉพาะแตผูใหญ ถาเปรียบเทียบวา ในกลุมอายุตางๆ กันจะเห็นวาวัยรุน 75
และวัยเด็กเริม่ มีปญ หาโรคอวน ซึง่ จากสถิตทิ วั่ โลกพบวา เด็กทีม่ อี ายุตาํ่ กวา ๑๐ ป มากกวา ๔๓ ลานคน มีปญหานํ้าหนักเกินหรืออวน และมีแนวโนมเพิ่มขึ้น จากขอมูลการคาดการณ พบวา หากในป ๒๐๒๐ ไมมีการแกไข จะเกิดภาวะอวนถึงรอยละ ๙.๑ โดยเฉพาะประเทศ กําลังพัฒนา สําหรับทวีปเอเชียมีปญหาเด็กนํ้าหนักเกินเปนอันดับ ๑ ของโลก นอกจากนี้ จากสถิติทั่วโลกในป ๒๐๐๘ พบปญหาโรคอวนในเพศหญิงมากกวาเพศชาย และพบวาอัตรา การตายรอยละ ๖๕ มีความสัมพันธกบั โรคอวน นอกเหนือจากโรคขาดอาหารหรือโรคติดเชือ้ อืน่ ๆ ประเทศไทย ไดมกี ารสํารวจประชากรไทยในป ๒๕๕๒ ในประชากรตัง้ แตอายุ ๑ ขวบ จนถึงกลุมผูสูงอายุ พบวา โดยรวมผูหญิงอวนมากกวาผูชายถึงรอยละ ๓.๕ สําหรับปญหา โรคอวนในเด็กกอนวัยเรียนและวัยเรียนนั้น พบวา เปอรเซ็นตที่อวนนั้นยังมีไมมากนัก แตมี แนวโนมเพิ่มมากขึ้นทุกป
สถานการณโลกรอน
ในป ค.ศ. ๑๙๙๐–๑๙๙๙ อุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกสูงขึ้น ๐.๖ องศาเซลเซียส เมื่อ เทียบกับคาเฉลี่ยที่คาดการณไวจะเห็นวาเพิ่มขึ้นหลายเทา นอกจากนี้ จะเห็นวาอุณหภูมิ โดยเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นแตกตางกันแตละพื้นที่บางพื้นที่เพิ่ม ๑ องศาเซลเซียส บางพื้นที่เพิ่ม ๔–๖ องศา เมื่อพิจารณาแบบจําลองเพื่อคํานวณอุณหภูมิ พบวาในอีก ๕๐ ป จะเห็นวา อุ ณ หภู มิ จ ะเพิ่ ม ประมาณ ๓ องศาเซลเซี ย ส โดยในประเทศไทยโดยเฉพาะกรุ ง เทพฯ อุณหภูมิเฉลี่ยเพิ่มขึ้น ๒ องศาเซลเซียส แมจะเปนอุณหภูมิตํ่าสุดที่ขึ้น ก็คงสัมผัสไดวา อากาศรอนขึ้น โดยที่สาเหตุสวนใหญมาจากการใชไฟฟา การขนสงโดยเฉพาะอยางยิ่ง การใชนํ้ามัน และอุตสาหกรรมที่มีมากขึ้น
สาเหตุของโรคอวนกับภาวะโลกรอน
สาเหตุของโรคอวน เกิดจากการบริโภคในปริมาณที่มากเกินความจําเปน และ ออกกํ า ลั ง น อ ย ดั ง นั้ น ถ า จะไม ใ ห อ ว น คื อ ต อ งบริ โ ภคให ส มดุ ล กั บ การออกกํ า ลั ง กาย นอกจากสภาพที่เกิดจากการบริโภคแลว ยังมีปจจัยทางพันธุกรรมที่ไมสามารถหลีกเลี่ยงได สวนปจจัยทีท่ าํ ใหโลกรอนมาจากชัน้ บรรยากาศทีม่ ปี ริมาณกาซเรือนกระจก (GHGs) มากขึน้ ทําใหการสลายความรอนในชั้นบรรยากาศไมดีและสะทอนกลับมาที่โลก ทําใหโลกรอนขึ้น ความรอนทีเ่ พิม่ จาก กาซเรือนกระจกสวนใหญเกิดจากกิจกรรมมนุษย ซึง่ กอใหเกิดสาร CFCs จากอุตสาหกรรมตางๆ การตัดไมทําลายปา การเผาพื้นที่ปาไมเพื่อที่อยูอาศัยหรือเกษตรกรรม โดยการดูดซับกาซเรือนกระจกนอยกวาปริมาณที่สรางขึ้นมา โดยกาซคารบอนไดออกไซด เป น ตั ว หลั ก ที่ ทํ า ให เ กิ ด ปรากฏการณ เ รื อ นกระจก รองลงมาคื อ มี เ ทน เบนซี น และ อื่ นๆ ในปจจุบันอุตสาหกรรมและกระบวนการผลิ ต ต า งๆ เพิ่ ม มากขึ้ น ซึ่ ง ทํ า ให ใ ช ไ ฟฟา หรื อ พลั ง งานมากขึ้ น ให เ กิ ด ก า ซคาร บ อนไดออกไซด ม ากขึ้ น สํ า หรั บ การเกษตร ก า ซ คารบอนไดออกไซดเกิดจากการใชสารเคมี การทําปศุสตั ว การทํานา เปนตน โดยหากเทียบ อุตสาหกรรมกับเกษตรกรรมแลว กาซคารบอนไดออกไซดจะเกิดกับอุตสาหกรรมมากกวา ภาคการเกษตร 76
จะเห็นวาทั้งโรคอวนและโลกร อ น มนุ ษ ย มี ส ว นทํ า ให เ กิ ด มากที่ สุ ด โรคอ ว นมี ผลกระทบ คือ ทําใหเกิดโรคอื่นๆ ตามมา มีปญหาทั้งทางจิตและคุณภาพชีวิต มีปญหาเรื่อง ประสิ ท ธิ ภ าพในการทํ า งาน ป ญ หาทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม นอกจากนี้ คนอ ว นทํ า ให โลกรอนขึ้นดวย เนื่องจากโดยกิจกรรมที่ทําใหเกิดภาวะโลกรอนนั้น คนอวนใชเยอะกวา คนที่ไมอวน โรคที่เกิดจากความอวน ไดแก คือ เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจ โรคไต โรคความผิดปกติทางระบบสืบพันธุ โรคไขขออักเสบ และโรคมะเร็ง เปนตน ซึ่งทุกระบบ จะพบไดในคนอวน เปนกลุมโรคที่มีความสัมพันธกันชัดเจน โดยพบมากที่กลุมเบาหวาน ถุงนํ้าดี ไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหยุดหายใจขณะหลับ ที่เสี่ยงปานกลางก็คือ โรคหัวใจ โรคสมอง ความดันโลหิตสูง ขอเขา เกาท และในกลุม เสีย่ งนอย คือ มะเร็ง และระบบสืบพันธุ รวมทั้งเวลาดมยาสลบ ซึ่งก็มีปญหามากขึ้น นอกจากนี้คนอวนสงผลกระทบตอเศรษฐกิจ และสังคมดวย กล่าวคือโรคที่มีอัตราการเสียชีวิตมากที่สุด ไดแก โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และโรคเบาหวาน ซึ่งหากคิดคาประมาณการ รายจายสุขภาพ ป พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๑ จะพบวามีแนวโนมเพิม่ สูงขึน้ การคํานวณการสูญเสีย ปสุขภาวะนั้น เมื่อพิจารณาโรค ๑๒ โรค ที่เกิดขึ้นไดบอยและสูญเสียสุขภาวะสูง พบวาใน ป ๒๕๔๗ สูญเสียปสขุ ภาวะรวมทัง้ สิน้ ๙.๙ ลาน เมือ่ พิจารณาเฉพาะ ๑๒ โรค พบวา สูญเสีย ปสุขภาวะถึง ๔.๘ ลาน ซึ่งรัฐตองสูญเสียคาใชจายในการรักษาพยาบาลถึง ๖.๒ ลานบาท รวมทั้งคนที่ตองเสียชีวิตจากการเปนโรครวมกับคาขาดงาน จะเปนรอยละ ๙๕ เมื่อมาดู ๒ อันดับแรกที่เกิดความสูญเสียปสขุ ภาวะ พบวา อันดับแรกคือ เรือ่ งอุบตั เิ หตุ รัฐบาลและ กระทรวงสาธารณสุข จําเปนตองมีนโยบายลดในเรื่องนี้ รองลงมาคือ โรค HIV ดูวามี การดําเนินการชัดเจน และโรคเบาหวาน ซึ่งขณะนี้กระทรวงสาธารณสุขไดดําเนินการอยู
โรคอวนทําใหโลกรอนจริงหรือไม จากการตีพมิ พในวารสาร International Journal of Epidemiology โดยเปรียบเทียบ ประชากรสองกลุม คือกลุมที่มีนํ้าหนักปกติ (BMI เทากับ ๒๔.๕) และกลุมที่มีนํ้าหนักเกิน (BMI เทากับ ๒๙) พบวากลุมที่มีนํ้าหนักเกิน มีปญหาอวนรอยละ ๔๐ ในขณะที่กลุมปกติ มีปญ หาโรคอวนเพียงรอยละ ๓.๕ พลังงานทีใ่ ชหรือปริมาณกาซเรือนกระจกทีป่ ลอยออกมา ทัง้ จากการผลิตอาหาร และการใชสงิ่ อํานวยความสะดวกตางๆ มีความแตกตางกันใน ๒ กลุม โดยกลุมที่มีนํ้าหนักเกินจะมีอัตราการปลอยกาซเรือนกระจกมากกวากลุมที่มีนํ้าหนักปกติ ซึ่งยืนยันวา คนอวนนั้นมีผลทําใหกา ซเรือนกระจกมากขึ้น และเปนผลสะทอนกลับวาจะเพิ่ม อุณหภูมิพื้นผิวของโลกได นอกจากนี้ในงานวิจัยอื่นๆ มีการศึกษาและตีพิมพวา คนอวนซึ่งมีนํ้าหนักตัวมากก็ จะทําใหใชพลังงานในการเคลื่อนรถมากกวาคนไมอวน คงจะจํากันไดวารัฐบาลรณรงควา อยาใชรถยนตบรรทุกนํ้าหนักมาก เพราะจะทําใหกินนํ้ามัน ดังนั้นถาคนอวนนํ้าหนักเยอะก็จะ ทําใหบรรทุกเยอะตามไปดวย ใชนํ้ามันเยอะขึ้นดวย นอกจากนี้คนอวนชอบเปดแอรเย็นกวา คนผอม ทําใหใชพลังงานมากกวา และผลกระทบตอเรื่องโลกรอนในที่สุด 77
การปองกันแกไขโรคอวนและโลกรอน ในการแกไขปญหานั้น สําหรับประเด็นโลกรอนคิดวาเนื่องจากมีการแขงขันทาง เศรษฐกิจ คงหามไมใหพฒ ั นาไมได แตจะทําอยางไรใหลดการปลอยกาซเรือนกระจกใหนอ ยลง ในทางกลับกันถาจะแกไข ถาเราทําอันใดอันหนึง่ ก็จะสงผลไดทงั้ สองอยาง เชน ดานสิง่ แวดลอม ทีอ่ าจเปลีย่ นไปปนจักรยานไปทํางานแทนการใชรถยนต แตอาจจะยาก แตทที่ าํ ไดมหี ลายอยาง เชน การเปลี่ยนอาหารใหเปนพืชผักมากกวาเนื้อสัตว เปนตน สําหรับการดําเนินงานของ เครือขายอนามัยไรพุง เกิดเครือขายคนไทยไรพุงขึ้นเมื่อป ๒๕๔๙ และไดตระหนักถึงปญหา ภาวะโลกรอน โดยในป ๒๕๕๒ ไดจัดสัมมนาเกี่ยวกับปญหาสุขภาพที่มีผลตอโลกรอน และ ไดจัดกิจกรรม เรื่องลงนํ้าลดพุงลดโลกรอน เพื่อใหตระหนักวาอวนมีผลตอโลกรอน โดยผูที่ เขารวมกิจกรรมทั้งหมด ๒,๔๑๗ คน โดยจะมีคนนําเตนแอโรบิก ซึ่งเปนสิ่งที่เห็นวาถา รวมมือกันก็จะชวยลดทั้งโรคอวนและโลกรอน โรคอวนและโลกรอนเกิดจากนํ้ามือมนุษย ซึ่งสงผลกระทบตอเศรษฐกิจและสังคม โดยภาวะโลกรอนมีผลตอคนอวนมากกวาคนผอม นอกจากนี้โรคอวนมีผลตอโลกรอนดวย เชนกัน
78
เสวนาวิชาการ • ทองไมพรอม : ความทาทายสูการปฏิบัต ิ • ควงคู่ไปฝากท้อง ลูกเราสองปลอดภัย • แผนที่ทางเดินยุทธศาสตรสูแผนสุขภาพชุมชน • เตรียมความพร้อมผู้สูงอายุ...สู่สากล • การจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืน และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • สุขภาพดี...ดวยวิถีคุณธรรม
79
ทองไมพรอม : ความทาทายสูการปฏิบัติ นางกุลรัตน ไชยพรหม สสจ.ลำปาง นางยุพา พูนขํา กรมอนามัย นพ.วัชระ พุมประดิษฐ PATH ประเทศไทย นายพัฒนา จินดาปราณีกุล กองทุนประชากรแหงสหประชาชาติ นพ.ทวีทรัพย ศิรประภาศิริ ผูดําเนินการอภิปราย
เรื่องท้องไม่พร้อม เป็นเรื่องที่มีมิติและมีความซับซ้อนอยู่หลายประเด็นด้วยกัน ตัง้ แต่ความหมาย การใช้คาํ พอเรานึกถึงความพร้อมของการตัง้ ครรภ์ โดยบางคนอาจใช้คาํ ว่า ท้องไม่ตงั้ ใจ ท้องทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ หรือว่าท้องไม่พร้อมคําต่างๆ เหล่านี้สะท้อนให้เห็นผลที่เกิด จากการมีเพศสัมพันธ์ ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นก็คือการตัง้ ครรภ์ สิง่ ทีต่ ามมาและเป็นปัญหาเกิดขึน้ เป็นประเด็นสําคัญในขณะนี้ การตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้น มักจะเกิดขึ้นโดยที่ผู้ที่ตั้งครรภ์ยังขาด ความพร้อม ก็เกิดผลกระทบจํานวนมาก และทุกท่านคงทราบว่าประเทศไทยของเรา เป็น ประเทศซึ่งมีชื่อเสียงมาก โครงการวางแผนครอบครัวจนกระทั่งในขณะนี้หลายๆ จังหวัดเอง โดยภาพรวมของทั้งประเทศ อัตราการคุมกําเนิดในคู่สมรสที่แต่งงานแล้ว อยู่ในระดับ ๘๐% แนวโน้มอัตราการเกิดโดยเฉลี่ยของประเทศ สําหรับหญิงวัยเจริญพันธ์ุอยู่ที่ ๒๕ ต่อพัน หญิงวัยเจริญพันธ์ุ แต่ที่น่าแปลกใจในความสําเร็จก็คือ อัตราการคลอดโดยเฉลี่ยลดลงใน ทุกกลุ่มวัย แต่ว่าอัตราการคลอดของหญิงอายุตํ่ากว่า ๒๐ ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่าง อายุ ๑๕-๑๙ ปี กลับมีแนวโน้มสูงขึ้น จนถึง ๒๐% ในช่วงระยะเวลา ๑๐ ปีที่ผ่านมา จาก นโยบายอนามั ย การเจริ ญ พั น ธ์ุ ที่ พู ด ถึ ง ว่ า ประเทศไทยประสบปั ญ หาเรื่ อ งเกิ ด น้ อ ย แต่คุณภาพกลับด้อยลง เป็นปัญหาของการตั้งครรภ์ ทําอย่างไรที่จะลดปัญหา หรือทำให้ การตัง้ ครรภ์มคี วามพร้อมมากทีส่ ดุ โดยกลุ่มเป้าหมายซึง่ คิดว่ามีความสําคัญของการตัง้ ครรภ์ ที่ไม่พร้อมมากที่สุด คือการตั้งครรภ์ของผู้ที่มีอายุตํ่ากว่า ๒๐ ปี จากการสํารวจทางด้าน อนามัยการเจริญพันธ์ขุ องสํานักงานสถิตแิ ห่งชาติได้สาํ รวจประชากรทัว่ ประเทศ หลายหมืน่ คน ถามถึงการตั้งครรภ์ของหญิงอายุตั้งแต่ ๑๕-๔๙ ปี ถามว่า ท้องสุดท้าย ตั้งใจหรือว่าไม่ตั้งใจ หรือว่าเกิดขึ้นโดยบังเอิญ ค่าโดยเฉลี่ย ๑๕% ของการท้องที่คลอดโดยไม่ตั้งใจ แต่ถ้าเกิดขึ้น ในผู้ที่มีอายุตํ่ากว่า ๒๐ ปี ๓๐% เกิดขึ้นโดยมาไม่ตั้งใจ อันนี้เป็นภาพที่สะท้อนให้เห็นว่า ถ้าเรายังปล่อยให้สถานการณ์อย่างนี้เกิดขึ้น คุณภาพของประชากรคงมีผลกระทบมาก ในเบื้องต้นเวทีนี้จะเป็นวิธีการ แนวคิด หรือในทางปฏิบัติ ควรจะทําอะไร อย่างไร หรือ ทําไปแล้วประสบปัญหาทําอะไรไปมากน้ อยแค่ไหน จะเป็นสิ่งซึ่งที่ทําให้เป็นการสนทนา แลกเปลี่ยนกัน ในเรื่องของปัญหาท้องไม่พร้อม ในเรื่องของปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เราจะสามารถทําอย่างไร ทั้งในเรื่องของการป้องกัน ทั้งในเรื่องของการให้บริการ เพื่อที่จะ สามารถทําให้การตั้งครรภ์จากไม่พร้อมเป็นพร้อมได้ 80
การดําเนินงานการปองกันการตั้งครรภไมพรอม ป ๒๕๕๓-๒๕๕๔ โดย นางกุลรัตน ไชยพรหม
สถานศึกษา • พัฒนาศักยภาพแกนนํานักเรียน / นักศึกษา จัดกิจกรรมในสถานศึกษา นอกสถานศึกษา • พัฒนาเครือขายเยาวชนในจังหวัดใหมีความรูดาน RH, ปชส. คลินิกวัยรุนผานกิจกรรม “เปดปากพูด เรื่องเพศ” • พัฒนาใหมีสภาเด็ก และเครือขายเยาวชนทุกอําเภอ องคการปกครองสวนทองถิ่น • ประชุมรวมกับ อปท. คืนขอมูลเรื่องปญหาอนามัยเจริญพันธุ์ในเยาวชน • ระดับพื้นที่คืนขอมูลให อปท. โดยแกนนําเยาวชน เพื่อขอรับสนับสนุน งบประมาณ
กําหนดเปนเปนแผนยุทธศาสตรจังหวัดโดยกําหนดตัวชี้วัด • วัยรุนมีการใชถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธครั้งลาสุดไมนอยกวา รอยละ ๕๐ • สถานบริการสาธารณสุขระดับจังหวัดและอําเภอมีการตั้งคลินิกวัยรุน • คืนขอมูลให อปท. / จนท.สธ. และภาคีเครือขายระดับจังหวัด • คืนขอมูลกรรมการ กสต. ๑๐๓ แหง และภาคีเครือขายระดับอําเภอ
สถานบริการสาธารณสุข • จัดเวทีแลกเปลี่ยนการดําเนินคลินิกวัยรุน • ทุกอําเภอ (ผานกระบวนการ เลาประสบการณ) • สนับสนุน ปาย ปชส.คลินิก / ปายกลองไฟคลินิก / นามบัตร • ยาคุมฉุกเฉิน / ถุงยางอนามัย / บริการสุขภาพอืน่ ๆ / บริการใหคาํ ปรึกษา • พัฒนาเครือขายจาก รพ. รพ.สต. อ.เมือง ๓ แหง อ.เถิน ๑ แหง • อบรมแกนนําเยาวชนในชุมชนที่จะตั้งคลินิกวัยรุนใน รพ.สต ๔ แหง
ผลการดําเนินงานป ๒๕๕๑-๒๕๕๔ ดานความรู (K) และการปฎิบตั ิ (P) ของวัยรุน และเยาวชนในพืน้ ทีม่ คี วามรูค วามเขาใจ เรื่องเพศสัมพันธและการปองกันการตั้งครรภมากขึ้น • ความรูเรื่องของสาเหตุการติดเชื้อ HIV มีความรูถูกตอง ป ๒๕๕๓ รอยละ ๙๗.๒ • ความรูเรื่องวิธีการที่ดีที่สุดในการปองกัน ป ๒๕๕๓ รอยละ ๖๙.๕ • ความรูก ารตัง้ ครรภไมพงึ ประสงค วิธกี ารปอ งกันโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ป ๒๕๕๓ รอยละ ๙๔.๕ 81
• ความรูเรื่องวิธีการใชยาคุมกําเนิดฉุกเฉินถูกตอง ป ๒๕๕๓ รอยละ ๕๐ • ความรูเรื่องการชวยเหลือตนเองบอยๆ ทําใหเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ป ๒๕๕๓ รอยละ ๕๒.๘ • การเรื่องใชถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธครั้งลาสุด ป ๒๕๕๓ รอยละ ๕๒.๖ • การปรึกษาเพื่อนแกนนํานักเรียน / นักศึกษา เมื่อพบปญหา ป ๒๕๕๓ รอยละ ๔๔.๕
แผนการดําเนินงานป ๒๕๕๕ ป ๒๕๕๕ จะพั ฒ นารู ป แบบการดํ า เนิ น งานในสถานศึ ก ษาและชุ ม ชนไปยั ง ทุกอําเภอ และประชาสัมพันธเพื่อใหวัยรุนเขาถึงบริการใหมากยิ่งขึ้น
ขอเสนอแนะในการพัฒนา
สถานศึกษา • กระบวนการสอนเพศศึกษาในสถานศึกษา ตองเนนคุณภาพและขยาย พื้นที่ใหเพิ่มขึ้น • มี ร ะบบเฝ า ระวั ง กลุ ม เสี่ ย งโดยผ า นกลุ ม แกนนํ า นั ก เรี ย นด ว ยกั น และ สนับสนุนการจัดกิจกรรม / ชมรมในสถานศึกษา
อปท. • อปท. สนับสนุนศูนยบริการที่เปนมิตรระดับตําบล • มีระบบเฝาระวังเด็กกลุมเสี่ยงในชุมชน • สนับสนุนกิจกรรมเสริมสรางความเขมแข็งในครอบครัว
สถานบริการสาธารณสุข • พัฒนาพหุภาคีในการทํางานแกไขปญหาการตั้งครรภวัยรุน • ขอมูลสถานการณวัยรุนตองทันสมัย • วัยรุนมีสวนรวมในการจัดบริการ • ประชาสัมพันธรูปแบบโดนใจเพื่อวัยรุนเขาถึงบริการ
นางยุพา พูนขํา
ในส่วนของบทบาทกรมอนามัยได้ดําเนินการ ในเชิงของการป้องกันการตั้งครรภ์ ไม่พร้อม ถ้ามองในเชิงสภาพปัญหาในปัจจุบันโดยสรุปแล้ ว จะเห็นแนวโน้ มพฤติกรรม เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นการมีเพศสัมพันธ์ที่มีอายุน้อยลงไปเรื่อยๆ เรื่องของกลุ่มคนโสด ที่อยู่กันก่อนแต่งมากยิ่งขึ้นเป็นเรื่องปกติธรรมดา หรือการที่วัยรุ่นหญิงเองยอมรับการมี
82
เพศสัมพันธ์ก่อนแต่งมากยิ่งขึ้น สถานการณ์แนวโน้มปัญหาจึงได้ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าในเรื่องของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่สูงขึ้น หรือว่าการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ที่เพิ่มสูงขึ้น ถ้ามองในแนวทางการส่งเสริม การป้องกันมีการดำเนินการ 3 ระดับคือ ทําในระดับปัจเจก เพื่ อ ให้ ก ลุ่ ม เป้ า หมายหรื อ กลุ่ ม วั ย รุ่ น มี ค วามรู้ ทั ก ษะ และมี ค วามตระหนั ก เพื่ อ ให้ มี พฤติกรรมป้องกันตนเองจากปัญหาอนามัยการเจริญพันธ์ุต่ างๆ กลุ่มที่สอง เป็นเรื่อง การพัฒนาสิ่งแวดล้อมทั้งกายภาพ และทางด้านสิ่งแวดล้อมทางสังคมให้เอื้อและสนับสนุน กลุม่ สุดท้าย คือ การทําให้วยั รุน่ เข้าถึงบริการ บริการทีว่ า่ จะเห็นได้วา่ บริการจะต้องเป็นมิตร
ปญหาอนามัยการเจริญพันธุในวัยรุนและเยาวชน
• แนวโนมวัยรุนจะมีเพศสัมพันธครั้งแรกเมื่ออายุนอยลงเรื่อยๆ • กลุมคนโสดมีเพศสัมพันธกอนแตงงานในอัตราเพิ่มมากขึ้น • วัยรุนหญิงยอมรับแนวคิดการมีเพศสัมพันธกอนแตงงานมากขึ้น • จํานวนวัยรุนและเยาวชน • ปวยเปนกามโรค • แมวัยรุนมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นทุกป • วัยรุนและเยาวชนจํานวนมากติดเชื้อ HIV • วัยรุนมีการทําแทงกันมากขึ้น • เด็กและวัยรุนถูกลวงละเมิดทางเพศและถูกกระทํารุนแรง
แนวทางการสงเสริมสุขภาพและปองกันปญหาอนามัยการเจริญพันธุวัยรุน
83
นโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุแหงชาติฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗ “รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนใหการเกิดทุกรายเปนที่ปรารถนา ปลอดภัย และ มีคุณภาพ ดวยการสงเสริมใหคนทุกเพศทุกวัยมีอนามัยการเจริญพันธุที่ดี โดยยึดหลัก ความสมัครใจ เสมอภาค และทั่วถึง เพื่อเปนพลังประชากร สรางประเทศใหรุงเรือง มั่งคั่งและมั่นคงสืบไป” ยุทธศาสตร ๑. เสริมสรางครอบครัวใหมและเด็กรุนใหม ใหเขมแข็ง และมีคุณภาพ ๒. สงเสริมใหคนทุกเพศทุกวัยมีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ และสุขภาพ ทางเพศที่เหมาะสม ๓. พัฒนาระบบบริการอนามัยการเจริญพันธุ และสุขภาพทางเพศที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ ๔. พัฒนาระบบบริหารจัดการงานอนามัยการเจริญพันธุ และสุขภาพทางเพศ แบบบูรณาการ ๕. พัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ เกี่ยวกับงานอนามัยการเจริญพันธุ และ สุขภาพทางเพศ ๖. พัฒนา และการจัดการองคความรู เทคโนโลยีอนามัยการเจริญพันธุ และ สุขภาพทางเพศคงสืบไป จากนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนางานอนามัยการเจริญพันธุแหงชาติ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๓–๒๕๕๗ กรมอนามัยรวมกับกรมควบคุมโรคจัดทําโครงการตรวจราชการแบบบูรณาการ โครงการปองกันการตั้งครรภในวัยรุน โดยมีกระทรวงที่เกี่ยวของรวมอปท.และภาคเอกชน รวมดําเนินการในจังหวัด รวมทัง้ กรมอนามัยไดผลักดันใหเกิดแผนยุทธศาสตรแบบบูรณาการ ของจั ง หวั ด เพื่ อ ป อ งกั น การตั้ ง ครรภ ใ นวั ย รุ น ที่ มี ทุ ก ภาคส ว นร ว มกั น จั ด ทํ า แผนฯ (ศึกษาธิการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย สาธารณสุข อบจ. อบต. NGO) โดยมี คณะกรรมการจังหวัดปองกันการตั้งครรภในวัยรุน ติดตามการทํางานตามแผนฯ รวมทั้ง มีการสนับสนุนใหทุกโรงพยาบาลมีคลินิกวัยรุนตามแนวทางมาตรฐานบริการสุขภาพและ อนามัยการเจริญพันธุสําหรับวัยรุนและเยาวชน (Youth Friendly Health Services, YFHS)
84
กรอบแนวคิด “คลินิกวัยรุน” (ที่เรียกวา Youth Friendly Health Services)
มาตรฐานบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุสําหรับวัยรุนและเยาวชน (Youth Friendly Health Services, YFHS) คือแนวทางการดําเนินงานเกี่ยวกับคุณภาพที่พึงประสงคที่สถานบริการยึดเปน แนวทางการดํ าเนินงาน เพื่อใหวัยรุนเขาถึงและใชบริการ การจัดทํามาตรฐาน YFHS เริ่ ม จากข อ เสนอและการ สนั บ สนุ น ขององค ก รระหว า งประเทศ เช น WHO UNFPA และ Global Fund เป น ต น ให ป ระเทศต า งๆ จั ด บริ ก ารสุ ข ภาพที่ เ ป น มิ ต ร เพื่อใหวัยรุนและเยาวชนเขาถึงและใชบริการดังนั้นกรมอนามัยจึงจัดทําเป นโครงการวิจัย เพื่ อ พั ฒ นามาตรฐาน YFHS มี ก ระบวนการพั ฒ นาตามหลั ก วิ ช าการและยุ ท ธศาสตร กิจกรรมหลักคือ ประชุมปฏิบัติการจัดทํารางมาตรฐานฯ อยางมีสวนรวม (ภาคีหลักคือ กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค) และทดลองใชรางมาตรฐานฯ ในโรงพยาบาล ๑๒ แหง ประชุมปฏิบัติการปรับรางมาตรฐานฯ รวมกับภาคีและเครือขายใหเปนฉบับสมบูรณ โดยใช ผลการประเมินจากการทดลองใชมาตรฐานฯ เปนขอสนับสนุนสวนหนึ่ง สําหรับจัดทํา มาตรฐาน YFHS ฉบับปจจุบัน ขอสนับสนุนสวนอื่นๆ มาจาก ๑) ประสบการณของผูบริหาร ผูปฎิบัติ / ผูใหบริการคลินิกวัยรุน ๒) ขอเสนอจากชุมชนนักปฏิบัติของ UNFPA ที่เรียกวา Solution Exchange ๓) ผูทรงคุณวุฒิจากระบบคุณภาพ HA HPH และองคกรระหวาง ประเทศ ๔) แกนนําวัยรุน ๕) นักวิชาการจากภาครัฐและเอกชน และ ๖) องคความรู เกี่ยวกับ YFHS จากตางประเทศ
85
มาตรฐาน YFHS (กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค รวมกันจัดทําขึน้ ) มี ๔ องคประกอบคือ องคประกอบที่ ๑ การบริหารจัดการ ๑.๑ วิสัยทัศน พันธกิจ และนโยบายที่มุงไปสูบริการสุขภาพและอนามัยการ เจริญพันธุที่เปนมิตรและมีคุณภาพสําหรับวัยรุนและเยาวชน ๑.๒ มีคณะทํางาน / คณะกรรมการเฉพาะที่รับผิดชอบผลักดันขับเคลื่อนการจัด บริการสุขภาพ และอนามัยการเจริญพันธุสําหรับวัยรุนและเยาวชน ๑.๓ การจัดทําแผนปฏิบัติงาน หรือโครงการ / กิจกรรม ๑.๔ ระบบขอมูล สารสนเทศ และการจัดการความรู ๑.๕ การสื่อสารภายใน ๑.๖ การสนับสนุนทรัพยากร ๑.๗ การกํากับ ติดตาม และประเมินผล
องค ป ระกอบที่ ๒ การเข า ถึ ง กลุ ม เป า หมาย และการสร า งความต อ งการใน การใชบริการ ๒.๑ ภาคีและเครือขาย ๒.๒ การประชาสัมพันธ ๒.๓ การจัดบริการสุขภาพเชิงรุก องคประกอบที่ ๓ บริการที่ครอบคลุมความตองการของกลุมเปาหมาย ๓.๑ การบริการใหขอมูลความรูเกี่ยวกับสุขภาพวัยรุน ๓.๒ การใหการปรึกษา ๓.๓ การบริการสงเสริม ปองกัน รักษาพยาบาลและฟนฟูทั้งทางรางกาย จิตใจ และสังคมที่ครอบคลุม ประเด็นสําคัญ มีการดําเนินงานแบบเปนองครวม ผสมผสาน ๓.๔ การดูแลตอเนื่องและการสงตอ องคประกอบที่ ๔ ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพและเปนมิตรตอวัยรุน ๔.๑ ระบบบริการ ๔.๒ สถานที่ใหบริการ ๔.๓ บุคลากรผูใหบริการ YFHS สามารถปรับดําเนินการในหลากหลาย Settings เชน รพ.สต. โรงเรียน สถานประกอบการ Drop-in center ในชุมชน YFHS ในโรงพยาบาลตองมี Entry point ที่ทําหนาที่คัดกรอง ใหความรู ใหการปรึกษา ดูแลเบื้องตน และรับ-สงตอบริการทางสังคม และการแพทยกับคลินิกอื่นๆ และเครือขาย บทบาทของคลินิกวัยรุน จึงเปนการจัดบริการ Primary and secondary prevention
86
รูปแบบบริการ • ชื่อคลินิกมีหลากหลาย เชน Teen Center, Love Care Station, Teenage Center คลินิกวัยใส คลินิกวัยรุน • คลินิกวัยรุน ของ รพช. สวนมากอยูในความรับผิดชอบของฝายเวชกรรม และชุมชน และเปนการตอยอดจากคลินิกใหการปรึกษาเดิม • คลินิกวัยรุน เปนจุดคัดกรองเพื่อใหบริการตามสภาพปญหาเบื้องตน แลว สงตอรับบริการอื่น เชน ANC FP OSCC และบริการการแพทยและสังคมอื่นๆ • กิจกรรมบริการภายในคลินิก และกิจกรรมเชิงรุกที่เชื่อมโยงกับ Setting อื่นๆ ผลการดําเนินงาน ตั้งแตป ๒๕๕๒-๒๕๕๔ มีจังหวัดเขารวมโครงการในการพัฒนาบริการสุขภาพ ที่ เ ป น มิ ต รกั บ วั ย รุ น และเยาวชนตามแนวทางมาตรฐานฯ ทั้ ง สิ้ น จํ า นวน ๖๔ จั ง หวั ด (๖๔๐ โรงพยาบาล) ซึ่ ง ป ๒๕๕๕ เป น ต น ไป กรมอนามั ย เป น หน ว ยงานหลั ก ร ว มกั บ กรมควบคุมโรค จะสนับสนุนกิจกรรมประเมินและรับรองมาตรฐานฯ YFHS โครงการเลิ ฟแคร โดย นพ.วัชระ พุมประดิษฐ โครงการเลิฟแคร ตัง้ อยูใ นคลินกิ เอกชน ศูนยบริการสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร หองพยาบาล สถานอุดมศึกษา
ชองทางการสื่อสารเลิฟแคร • เว็บไซต์ : www.lovecarestation.com • Facebook : lovecarestation@gmail.com • Twitter : lovecarestation@gmail.com • Hi 5 : lovecarestation.hi5.com
ตอคน)
ผลการเขาใชบริการสุขภาพทางเพศในกรุงเทพมหานคร • ผูรับบริการทั้งสิ้น ๑๓,๗๔๙ ราย / ๒๓,๔๕๐ ครั้ง (๑.๗ ครั้งตอคน) • วัยรุน (ตํา่ กวา ๒๕ ป) ๕,๙๘๕ ราย (๔๓.๕%) / ๑๑,๒๑๙ ครัง้ (๔๗.๘%) / ๑.๙ ครัง้ • ผูร บั บริการรายใหม ๗๑๖, ๒๗๒๖, ๒๕๔๓ ในป ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ตามลําดับ
ความร ว มมื อ กั บ เอกชนในการให บ ริ ก ารสุ ข ภาพทางเพศ (Public Private Partnership in Sexual Health Service) การบริการสุขภาพทางเพศ เรื่องความนาใช คุณภาพ ความพึงพอใจของผูใชบริการ การตลาดเชิงรุก ความตระหนักถึงความรับผิดชอบ ตอสังคมนั้นพบวา ภาคเอกชนที่ไมหวังผลกําไร สามารถใหบริการสุขภาพทางเพศไดดีมาก ในทุกเรื่อง 87
ความทาทายในอนาคต • การยอมรับและใชประโยชนจากความหลากหลาย • รวมกันตั้งแตบันใดขั้นแรก • กลไกการติดตามการทํางาน • การสรางแรงจูงใจใหคนในภาครัฐ • การสรางนวัตกรรมการตลาดเพื่อสังคม • การทําความเขาใจในเรื่อง ความรวมมือกับเอกชนในการใหบริการสุขภาพ ทางเพศ (Public Private Partnership in Sexual Health Service) โดยลึกซึ้ง • กองทุนวัยรุน • เทคโนโลยีในการวินจิ ฉัยใหมๆ Point-of-care test, rapid Ag. detection GC, Chlamydia, TV Self-collected technique HPV infection, Cervical cancer screening • “การฝงชิบ” สุขภาพดี ใหคนรุนใหม
การมีสวนรวมของเยาวชนในการจัดทํานโยบายและการวางแผนงาน ดานอนามัยเจริญพันธุ์ โดย นายพัฒนา จินดาปราณีกุล YAP คือใคร ๑. คณะที่ปรึกษาเยาวชนประจํากองทุนประชากรแหงสหประชาชาติ Youth Advisory Panel (YAP) ๒. กลุมเยาวชนอายุระหวาง ๑๖-๒๔ ป จํานวน ๒๐ คน จากทั่วประเทศที่มีความ หลากหลายทั้งทางภูมิภาค การศึกษา เพศ ศาสนาและวัฒนธรรม ๓. เปนตัวแทนของเยาวชนในการแสดงความคิดเห็นและมีสวนรวมในการพัฒนา แผนงานนโยบายและกิจกรรมที่เกี่ยวของกับ ประสบการณทํางานของ YAP สิทธิและ อนามัยการเจริญพันธุในประเทศไทย ประสบการณทํางานของ YAP การแนะนําและสนับสนุน • แบบสํารวจความคิดเห็นดานอนามัยการเจริญพันธของเยาวชน • โครงการใหความรูโดยเพื่อน • การพัฒนามาตรฐานบริการสุขภาพที่เปนมิตรสําหรับวัยรุน • ใหขอเสนอแนะตอรางพระราชบัญญัติสิทธิอนามัยการเจริญพันธุ 88
การเสริมสรางศักยภาพ • อนามัยการเจริญพันธุขั้นพื้นฐาน ๑๐๑ • การเขียนเพื่อสนับสนุนขอเสนอแนะและขอเรียกรอง
• Teenage Pregnancy Issues in Thailand • สถานการณ ก ารตั้ ง ครรภ ใ นวั ย รุ น การติ ด เชื้ อ เอชไอวี แ ละเอดส ใ น เชียงใหมและภาคเหนือ • เขารวมประชุมในเวทีตางๆ ทั้งในและตางประเทศ
การรวมมือกับเครือขาย • พันธมิตรเยาวชนรัฐบาลองคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) YAP อยากเห็นสถานศึกษา หนวยงานสาธารณสุข องคกรปกครองสวนทองถิ่น สรางความตระหนักใหเด็ก และเยาวชนทุกคนเขาถึงการบริการ การชวยเหลือและการสงตอ ดานอนามัยการเจริญพันธุที่มีประสิทธิภาพ เพื่อสรางความมั่นใจ และรับประกันวาเด็ก และเยาวชน เชน เยาวชนที่ตั้งครรภในวั ย เรี ย น เยาวชนนอกระบบการศึ ก ษา เยาวชน พนักงานบริการ แรงงานตางดาวที่เปนเยาวชน และเยาวชนที่ติดเชื้อเอชไอวีจะไดรับบริการ ที่เปนมิตรและตรงกับความตองการ
การศึกษาวิจัย
การศึกษาปจจัยที่มีผลตอการตั้งครรภและมีบุตรของหญิงอายุตํ่ากวา ๒๐ ป ในพื้นที่สาธารณสุขเขต ๒ สาเหตุที่ทําใหหญิงอายุตํ่ากวา ๒๐ ปตั้งครรภ • ไมไดปองกันขณะมีเพศสัมพันธ • คุมกําเนิดไมสมํ่าเสมอ สาเหตุที่วัยรุนไมคุมกําเนิด • ขาดความรูเรื่องเพศศึกษา • มีความเขาใจผิดเกี่ยวกับการรวมเพศกับการตั้งครรภ • วัยรุนชายไมใชถุงยางอนามัย • การบริการคุมกําเนิดยังเปนบริการของคูสมรส หรือผูที่แตงงานแลว
ขอเสนอแนะ
สถานศึกษา • จะตองมีการสอนเพศศึกษาและทักษะชีวิตที่ครอบคลุม และสามารถ นํามาใชปฎิบัติไดจริง โดยที่ใหเยาวชนเขาไปมีสวนรวมในการกําหนด หลักสูตรเพื่อใหตรงกับความตองการของเยาวชนสูงสุด • สถานศึกษามีการสงเสริมโครงการเพื่อนชวยเพื่อน (Peer education) • ใหสิทธิและโอกาสแกเยาวชนที่ตั้งครรภในวัยเรียน ใหไดรับการศึกษาตอ ตามความตองการของเยาวชนเองและ / หรือจัดการเรียนการสอนที่ อํานวยความสะดวกใหแกเยาวชนที่ตั้งครรภใหเขามารับการศึกษาตอที่ สะดวก โดยคํานึงถึงการไมตีตราและการไมเลือกปฏิบัติ 89
90
หนวยบริการสาธารณสุข • หน ว ยบริ ก ารสุ ข ภาพไม ว า จะเป น โรงพยาบาล โรงพยาบาลส ง เสริ ม สุขภาพชุมชน และอื่นๆ จะตองจัดบริการที่เปนมิตรกับเยาวชน และมี ระบบสงตอที่ดี ครอบครัว / ชุมชน • ครอบครัวจําเปนที่จะตองใสใจและใหความอบอุน มีการพูดคุยเรื่องเพศ อยางเหมาะสม รวมทั้งรับฟงปญหาของเยาวชน • ชุ ม ชนและสั ง คมต อ งไม ตี ต ราและเลื อ กปฎิ บั ติ ต อ เด็ ก และเยาวชนที่ ตั้งครรภกอนวัยอันควร • สื่ อ มวลชนต อ งช ว ยประชาสั ม พั น ธ เ ผยแพร ค วามรู เ กี่ ย วกั บ อนามั ย การเจริญพันธุที่ถูกตองเหมาะสม
ควงคู่ไปฝากท้อง ลูกเราสองปลอดภัย นพ.กิตติพงศ์ แซ่เจ็ง กรมอนามัย นพ.ชัยยศ คุณานุสนธิ์ กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ นางศิรินารถ อึ้งสถาพร รพ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส นางศิริพร บ้านคุ้ม รพ.เถิน จ.ลําปาง นพ.วีระชัย สิทธิปิยะสกุล ผู้ดำเนินการอภิปราย
ควงคูไ่ ปฝากท้องคือการเอาสามีเข้ามามีสว่ นร่วมในการฝากท้อง เป็นการเพิม่ บทบาท ให้แก่ผู้ชาย และผู้ชายมีส่วนร่วมอย่างไร ซึ่งมองในแง่บวกคือผู้ชายมาดูแลหญิงตั้งครรภ์ แต่หากมองในแง่ลบ เป็นการเพิ่มภาระให้แก่เจ้าหน้าที่ จะต้องทําอย่างไรให้การมีส่วนร่วม ของผู้ ช ายทั้ ง ด้ า นบวกและด้ า นลบ ทั้ ง นี้ เราต้ อ งช่ ว ยกั น สร้ า งให้ ป ระเด็ น ด้ า นสุ ข ภาพ เช่น อ้วนลงพุง การฝากครรภ์ช้า เป็นปัญหาที่ทุกคนตระหนัก และร่วมกันแก้ไขอย่างจริงจัง นพ.กิตติพงศ์ แซ่เจ็ง
“จากนโยบายลู ก เกิ ด รอดแม่ ป ลอดภั ย สู่ ก ารฝากครรภ์ เ ป็ น คู่ ” ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า หญิงตั้งครรภ์มีการติดเชื้อเอชไอวีในครรภ์ที่สองและครรภ์ที่สาม โครงการ “การป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวี สําหรับหญิงตั้งครรภ์ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในประเทศไทย” ระหว่ า งกรมอนามั ย และกองทุ น ประชากรแห่ ง สหประชาชาติ เพื่ อ ให้ ห ญิ ง ตั้ ง ครรภ์ ที่ มี ผลเลือดเอชไอวีเป็นลบ คงความเป็นลบตลอดไป โดยเน้นการสอนการใช้ถุงยางเพื่อป้องกัน การติดเชื้อเอชไอวี และเพื่อการวางแผนครอบครัว และให้ผู้ชายมีส่วนร่วมในการฝากครรภ์ และในคลินกิ วางแผนครอบครัว ซึง่ ผลการดําเนินงาน มีหญิงตัง้ ครรภ์และสามีเข้าร่วมโครงการ ๖,๑๒๖ คู่ จากหญิงตัง้ ครรภ์ทงั้ หมด ๑๕,๘๑๙ คน โดยมีผลตรวจเลือดเป็นบวกทัง้ คู่ ร้อยละ ๐.๔๔ และผลเลื อดต่าง ร้อยละ ๐.๖๓ และเมือ่ จบโครงการมีผลเลือดที่เปลี่ยนไป ๓ ราย จากโครงการเดิมทีจ่ บไปแล้ว ได้นาํ ความรูแ้ ละประสบการณ์จากการทําโครงการเดิม เป็นพืน้ ฐานมาพัฒนาโครงการใหม่ โดยดําเนินกิจกรรมผูช้ ายมีสว่ นร่วมในการดูแลสุขภาพมารดา เนื่องจากมีการติดเชื้อในคู่สมรสมากขึ้น ยังพบว่ามีคู่ที่มีผลเลือดต่างถึง ๓๙ คู่จากผู้เข้าร่วม โครงการ ๖,๑๒๖ หรือร้อยละ ๐.๖๔ อีกทั้งยังไม่มีหลักสูตร และคู่มือ ซึ่งในครั้งนี้ ได้พัฒนา รูปแบบการรับบริการของหญิงตัง้ ครรภ์และสามี โดยแบ่งตามอายุครรภ์ และคลินกิ ทีใ่ ห้บริการ ได้แก่ คลินิกฝากครรภ์ ห้องคลอด หลังคลอด คลินิกวางแผนครอบครัว และคลินิกสุขภาพ เด็กดี ซึ่งกําหนดให้ผู้ชายเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อย ๔ ครั้ง โดย ๒ ครั้งนับตอนเข้าร่วม กิจกรรมฝากครรภ์ และอีก ๒ ครัง้ ตอนรอคลอดหรือห้องคลอด และหลังคลอด (รายละเอียด ตามตาราง) สรุป คือให้ผู้ชายมีบทบาทมากขึ้นในคลินิกฝากครรภ์ หลังคลอด และวางแผน ครอบครัว โดยการใช้ถุงยางอนามัยเพื่อคุมกําเนิด และป้องกันการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ พร้อมทัง้ เน้นการทํางานเป็นเครือข่าย โดยให้ อสม. มีบทบาทในการค้นหา ชักชวนและนําส่ง 91
หญิงตั้งครรภ์และสามีมารับบริการที่โรงพยาบาล / สถานีอนามัย โดยสรุปแล้วกิจกรรม ผู้ ช ายมี ส่ ว นร่ ว มในการดู แ ลสุ ข ภาพมารดา เป็ น การบู ร ณาการงานอนามั ย แม่ แ ละเด็ ก อันได้แก่ โรงเรียนพ่อแม่และโครงการสายใยรักเข้าด้วยกัน และลูกจะเกิดรอด และแม่จะ ปลอดภัยนั้น ผู้ชายต้องมีส่วนร่วม นพ.ชัยยศ คุณานุสนธิ์
“บทบาทของฝ่ายชายในการดูแลสุขภาพมารดา และการเชื่อมโยงบริการ SRH กับ HIV” ซึ่งฝ่ายฝ่ายหญิงเป็นหน้าที่หลักและทําได้แม้ไม่มีฝ่ายชาย แต่ฝ่ายชายจะเป็น บทบาทเสริม โดยช่วยดูแลให้ดีขึ้น เพิ่มความเข้าใจกัน ลดปัญหาท้องไม่พร้อม แต่ฝ่ายชาย จะเสียความเป็นส่วนตัวและความเห็นแก่ตัว
กรอบแนวคิดการเชื่อมโยงอนามัยการเจริญพันธ์ุกับงานเอชไอวี เป็นการเชื่อมโยง บริการ ป้องกันรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และบูรณาการ การป้องกันเอชไอวีในการ ดูแลมารดา และทารก โดยส่งเสริมพฤติกรรทางเพศที่ปลอดภัย ซึ่งจุดเชื่อมโยงการบริการ คือการให้หน่วยบริการให้บริการทีเ่ ป็นมิตรต่อหญิงและชาย โดยให้จาํ แนกการให้บริการผูช้ าย ณ จุดบริการต่างๆ ดังนี้ • คลินิกวางแผนครอบครัว - เดิมหญิงรับภาระฝ่ายเดียว ปัจจุบันควร ส่งเสริมให้ได้เห็นบทบาทฝ่ายชายให้ชัดเจน • คลินิกฝากครรภ์ ห้องคลอด และหลังคลอด - ฝากท้องเป็นคู่ โรงเรียนพ่อแม่ เฝ้าคลอด อาบนํ้าลูก คลินิกเด็กดี ฯลฯ • การจัดสถานที่ - ภาพ โปสเตอร์ บุคคลต้นแบบ ที่นั่งรอ • บริการเกี่ยวกับงานกามโรค - ตรวจคัดกรอง รักษา ป้องกันการเป็นซํ้า • บริการอนามัยการเจริญพันธ์ุอื่น - คัดกรองมะเร็ง คลินิกมีบุตรยาก
นอกจากนี้ ปัจจัยสําคัญในการบริหารโครงการ ว่าจะประสบความสําเร็จได้ต้อง ประกอบไปด้วย • การได้รบั การสนับสนุนจากผูบ้ ริหาร และเจ้าหน้าทีท่ กุ ส่วนของโรงพยาบาล เช่น ห้องบัตร, ห้องแล็บ และจุดบริการตามคลินิกต่างๆ • ทัศนคติเชิงบวกของผู้ให้บริการ • การทําให้เกิดจุดบริการที่เป็นมิตรต่อบริการแบบเป็นคู่ โดยสรุปแล้ว สุขภาพของมารดาและครอบครัว ผู้หญิงจะมีบทบาทหลัก และ ผู้ชายเป็นฝ่ายเสริม
92
นางศิรินารถ อึ้งสถาพร
การดําเนินโครงการในโรงพยาบาลสุไหงโกลก มีวิธีการแปลงนโยบายสูก่ ารปฏิบัติ ดําเนินการดังนี้ • การประชาสัมพันธ์ กิจกรรมผูช้ ายมีสว่ นร่วมในการดูแลสุขภาพของมารดา ให้แก่ผู้นําชุมชน ผดุงครรภ์โบราณ อสม. การติดป้ายประชาสัมพันธ์ สองภาษา (ภาษายาวี) เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีต่อชุมชน การจัดบอร์ด โปสเตอร์บทบาทของสามี การประชุมเจ้าหน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้องเพือ่ ให้ทราบและ เข้าใจโครงการ และการแนะนําโครงการแก่หญิงตัง้ ครรภ์และสามี • การให้บริการฝากครรภ์เป็นคู่ โดยเริ่มจากคลินิกฝากครรภ์ ตั้งแต่การ ต้อนรับ การรับสมัครเข้าร่วมโครงการพร้อมบอกรายละเอียดการให้บริการ เมื่อเข้าโครงการจะให้คําปรึกษาก่อนตรวจเลือดแบบคู่ การตรวจเลือด หญิงตัง้ ครรภ์และสามี จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อ-แม่แบบคู่ ทีค่ ลินกิ ฝากครรภ์ รวมทัง้ สอนโยคะ และสัมผัสหน้าท้องกระตุน้ พัฒนาการ พร้อมทัง้ ส่งเสริม ให้มาตรวจครรภ์ตามนัด • การให้ บ ริ ก ารควงคู่ ม าฝากครรภ์ ที่ ห้ อ งคลอด ซึ่ ง จะต้ อ งเตรี ย มพื้ น ที่ ต้อนรับสามี และให้สามีรอคลอด พร้อมทั้งส่งเสริมให้สามีเข้ามาเฝ้าและ ช่วยบรรเทาอาการปวดที่ห้องรอคลอด ส่งเสริมให้สามีเข้าให้กําลังใจ ขณะคลอด กระตุ้นให้ลูกดูดเร็วภายใน ๓๐ นาที การบริการคลอดตาม ประเพณีท้องถิ่นและตามหลักศาสนาอิสลาม ส่งเสริมให้สามีเข้ามามี ส่วนร่วมในการให้ลูกได้ดูดนมแม่ในระยะ ๒ ชม.หลังคลอด • การดําเนินงานควงคู่ฯ ที่แผนกหลังคลอด ส่งเสริมให้พ่อเข้ามาร่วมดูแล บุตรหลังคลอด โดยอาบนํ้าเช็ดตา เช็ดสะดือ ทุกเช้า / ช่วยมารดาเลี้ยงลูก และช่วยเหลือการให้นมบุตร • การดําเนินงานควงคู่ ฯ ที่คลินิกสุขภาพเด็กดี โรงเรียนพ่อแม่แบบคู่ที่ คลินิกสุขภาพเด็กดี เริ่มจากการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยส่งเสริมให้พ่อ ช่วยดูแลให้ลูกได้รับนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือน อาหารกับการเจริญเติบโต ตามวัย ประเมินการเจริญเติบโตโดยการชั่งนํ้าหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบ ศีรษะ ทุกๆ ๓ เดือน รับการฉีดวัคซีนภูมิคุ้มกันโรคพื้นฐานตั้งแต่อายุ ๒ เดือน ถึง ๔ ปี การดูแลช่องปากและฟัน และสาธิตการแปรงฟันให้พอ่ แม่ ดูแลช่องปากที่ถูกต้องสมํ่าเสมอ พบแพทย์ทุก ๖ เดือนเคลือบฟลูโอไรด์ เพื่อป้องกันฟันผุ พัฒนาการดีแท้เมื่อได้เล่นอย่างถูกต้องเหมาะสมกับวัย ฟัง อ่าน เล่านิทาน ฉลาดลํ้า ส่งเสริมรักการอ่าน • ผลการดํ า เนิ น งานการควงคู่ ม าฝากท้ อ ง ลู ก เราสองปลอดภั ย เมื่ อ เปรี ย บเที ย บอั ต ราหญิ ง ตั้ ง ครรภ์ ที่ ค วงคู่ ม าฝากครรภ์ และมาคลอด 93
ตั้งแต่ปี ๒๕๕๒-๒๕๕๔ เพิ่มขึ้นมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ ๘๐ และผู้ชาย มี ส่ ว นร่ ว มในคลิ นิ ก ตรวจสุ ข ภาพเด็ ก มากกว่ า ร้ อ ยละ ๒๐ และไม่ มี การถ่ายทอดเชื้อระหว่างคู่ที่มีผลเลือดเอชไอวีที่ต่างกัน • ผลความสํ า เร็ จ การควงคู่ ม าฝากท้ อ ง ช่ ว ยแก้ ปั ญ หาเรื่ อ งโลหิ ต จาง โดยพยาบาลจะติดตามและยํ้ากระตุ้นการปรับพฤติกรรมการกินอาหาร แบบคู่ ซึ่งการสอนรายคู่จะให้ผลดีกว่าการสอนเป็นห้องเรียนจัดสาธิต อาหารในท้องถิ่นที่มีธาตุเหล็กสูง โดยให้แม่อาสายําผักกูด และพ่ออาสา เสริฟอาหารให้กบั หญิงตัง้ ครรภ์ จัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้ KM เคล็ดลับดีๆ จากควงคู่ จึงไม่ซีด ทั้งนี้ จากครอบครัวที่แก้ไขปัญหาโลหิตจางสําเร็จ เป็นเพราะสามีช่วยจัดอาหารบํารุงเลือดตามที่พยาบาลแนะนํา
นางศิริพร บ้านคุ้ม
การนํานโยบายลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยสู่การฝากครรภ์เป็นคู่ ของโรงพยาบาลเถิน มีขั้นตอนดังนี้ • ประชาสัมพันธ์สร้างกระแสและความตระหนัก ซึ่งดําเนินกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน เนื่องในโอกาสวันสําคัญ เช่น วันแม่ วันพ่อ เช่น เสวนาคุณพ่อ ยุคใหม่ใส่ใจครอบครัว การประกวดห่อตัวลูก ประกวดเล่านิทานก่อนนอน ครอบครัวฟันดีเป็นต้น
94
• พัฒนาระบบบริการ โดย - จัดทําแนวทางการให้บริการ คู่มือปฏิบัติงาน - จัดช่องทางพิเศษในการให้บริการ ซึ่งเป็นช่องทางเฉพาะสําหรับหญิง ตั้งครรภ์ที่สามีมาด้วย - เพิม่ ช่องทางในการเข้าถึงบริการ การให้บริการแบบ One Stop Service - ปรับ ปรุ งสถานที่ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มให้เ อื้ อ ต่ อ การมี ส่ ว นร่ ว มของสามี ซึง่ เริม่ จากทําบัตรเชิญสามีเข้ามามีสว่ นร่วมในการฝากครรภ์ พร้อมทัง้ บอกบริการที่สามีจะได้รับ เป็นการสร้างความแปลกใหม่ และทําให้เขา เห็นคุณค่า • พัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการ - บทบาททางเพศอนามัยเจริญพันธ์ุ - การบริหารเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ - การจัดทํารูปแบบบริการและแนวทางปฏิบัติงาน - การให้คําปรึกษาขั้นพื้นฐานและขั้นสูงแก่ผู้ปฏิบัติงาน - การถอดบทเรียนและประเมินผล
• สร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่าย - กรมอนามัย + UNFPA ชี้แจงโครงการ - กําหนดแนวทางการดําเนินงานร่วมกับ รพ.สต. - กําหนดแนวทางการดําเนินงานร่วมกับ อสม. - ประชุมสรุปผลงาน+ชี้แจงแผนร่วมกับเครือข่าย
• เชื่อมโยงสู่ชุมชน - นํา อสม.มาร่วมดําเนินการ โดยอบรม อสม. ให้เป็นแม่คนที่สอง และ กิจกรรม อสม.ตัวอย่าง - จัดตั้งชมรมสามวัยสายใยรัก - ให้ ผู้ นํ า ชุ ม ชนเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม เช่ น รองนายกเทศมนตรี ร่ ว มเป็ น คุณพ่อต้นแบบ ผู้ใหญ่บ้านสาธิตใส่ถุงยางอนามัย
ประโยชน์ของการที่สามีมีส่วนร่วมในงานแม่และเด็ก • การดําเนินงานอนามัยแม่ และเด็กกระทําได้ง่ายขึ้น และมีประสิทธิผล มากขึ้ น เกิ ด ผลลั พ ธ์ ที่ ดี ไม่ ว่ า ภาวะแทรกซ้ อ นจากการตั้ ง ครรภ์ แ ละ การคลอด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ พัฒนาการเด็กดีขึ้น • สามีได้ประสบการณ์ตรงจากกิจกรรมต่างๆ ทําให้ทราบบทบาทของชาย สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารบริการและมีความรู้และทักษะที่จะสนับสนุน ช่วยเหลือแม่ทั้งในช่วงตั้งครรภ์ ช่วงคลอด และหลังคลอด รวมถึงการ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง เพิ่มความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว อีกทั้งเป็น เพื่อนคู่คิด และมีการตัดสินใจร่วมกันในเรื่องที่จําเป็น • การนํ า สามี เ ข้ า มาร่ ว มกิ จ กรรมและตรวจเลื อ ดหาเชื้ อ เอดส์ พ ร้ อ มกั บ หญิ ง ตั้ ง ครรภ์ ทํ า ให้ ก ารปรึ ก ษาทํ า ได้ ง่ า ยขึ้ น ในกรณี ที่ ไ ด้ ผ ลเลื อ ด แตกต่างกันสามารถช่วยเหลือให้คําปรึกษาเพื่อป้องกันการติดเชื้อไปสู่ อีกฝ่ายหนึ่งและยังสามารถให้การดูแลฝ่ายที่ติดเชื้อได้ • การคัดกรองโรคโลหิตจาง กระทําได้เร็วขึ้น กรณีที่ภรรยาผลคัดกรอง เป็นบวก สามารถตรวจเลือดสามีได้เลยโดยไม่ต้องเสียเวลาติดตามสามี
การดําเนินงานของโครงการเป็นการพยายามที่ทําให้งานสาธารณสุขดีขึ้น โดยให้ สังคมและผู้ชายมีส่วนร่วมของผู้ชาย ซึ่งการดูแลนั้นไม่จําเป็นต้องดูแลเฉพาะตอนตั้งครรภ์ แต่ควรดูแลภรรยาและครอบครัวทุกขณะจิต
95
รูปแบบการให้บริการกิจกรรมผู้ชายมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพมารดา ครั้งที่ การเข้าร่วมกิจกรรมของหญิงมีครรภ์ ๑ ฝากครรภ์ครั้งแรก • ให้ความรูแ้ ละคําปรึกษาก่อนตรวจเลือด ครั้งที่หนึ่ง
การเข้าร่วมกิจกรรมของพ่อ พร้อม ANC ครั้งแรกของแม่ - เข้าร่วมฟังการให้ความรูแ้ ละและ คําปรึกษาก่อนตรวจเลือดครั้งที่ ๑
๒ การแจ้งผลเลือด - กิจกรรมฟังผลเลือด • เข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ - หากพ่อไม่มาครั้งแรกให้มาพร้อมแม่ ครั้งนี้ให้เข้าร่วมฟังการให้คาํ ปรึกษา ก่อนตรวจเลือดครัง้ ที่ ๑ - เขา้ รว่ มกิจกรรมโรงเรียนพอ่ แม่
๓ อายุครรภ์ ๒๖-๓๒ สัปดาห์ • เข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ • การตรวจเลือดครั้งที่สอง
- VCT เจาะเลือด ครั้งที่ ๒ หรือ ประเมินพฤติกรรมเสี่ยง - เข้าร่วมกิจกรรม ร.ร.พ่อแม่
- ทัวร์ห้องคลอด - ฟังผลเลือด - เข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่
๔
อายุครรภ์หลัง ๓๒ สัปดาห์ขึ้นไป • ทัวร์ห้องคลอด • ฟังผลเลือด • เข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่
๕ ห้องคลอด • หากไม่มีผลเลือดครั้งที่สอง ให้เจาะที่ ห้องคลอด • ในกรณีที่เป็น Discordant case ให้เจาะที่ ห้องคลอด เฉพาะรายทีส่ ามีมผี ลเลือดเป็นบวก
- ช่วยดูแลหญิงมีครรภ์ระหว่างรอคลอด - จัดการทางด้านเอกสารต่างๆ ระหว่าง ที่รอคลอด เช่น เอกสาร เกี่ยวกับรพ. ใบส่งตัว ใบแจ้งเกิด สูติบัตร
๖ หลังคลอด • การให้ข้อมูลก่อนกลับบ้าน • ถ่ายรูป / ใบวุฒิบัตร
- ฝึกอาบนํ้าลูก - รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลคุณแม่ หลังคลอด - ความรูเ้ กีย่ วกับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย สําหรับคุณพ่อ - กําหนดวันนัดหลังคลอดและยํ้าให้สามี มาด้วย
๗
- ลูกรับวัคซีนและร่วมกิจกรรมโรงเรียน พ่อแม่ที่ Well Babies - ที่ Well Babies - รับบริการวางแผนครอบครัวแบบเป็นคู่ - ประเมินพฤติกรรมเสี่ยง - เจาะเลือดสามีสาํ หรับผูท้ ไี่ ม่ได้เจาะเลือด ครั้งที่ ๒ ที่แผนกวางแผนครอบครัว
96
หกสัปดาห์, หกเดือน และหนึ่งปีหลังคลอด • การให้ข้อมูลเมื่อตรวจหลังคลอด • ตรวจเลือด (กรณีมีความเสี่ยง) • นําลูกมาฉีดวัคซีน เข้าร่วมกิจกรรม โรงเรียนพ่อแม่ • รับบริการวางแผนครอบครัวแบบเป็นคู่
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตรสูแผนสุขภาพชุมชน นายจุลพันธ สุวรรณ สสอ.โพธิ์ชัย จ.รอยเอ็ด นางเดือนเพ็ญ เคี่ยนบุน สสอ.ทุงตะโก จ.ชุมพร นายวัชรินทร แจงใจเย็น สสอ.ทุงตะโก จ.ชุมพร นางณภัทร จาตุรัส ชุมชมตำบลเมืองใหม่ อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้ดำเนินการอภิปราย
การขับเคลือ่ นแผนทีท่ างเดินยุทธศาสตรสกู ารพัฒนาคากลางและการจัดการทําแผนชุมชน โดย นายจุลพันธ สุวรรณ อําเภอโพธิ์ชัย จังหวัดรอยเอ็ดมีประชากรทั้งสิ้น ๕๘,๓๒๓ คน ใน ๑๑๒ หมูบาน องคกรปกครองทองถิ่น ๑๐ แหง การพัฒนาทองถิ่นของอําเภอโพธิ์ชัย มีจุดมุงหมายเพื่อให ประชาชนเขมแข็ง โดยอาศัย ๕ องคกร ระดับทองถิ่น / ตําบลรวมมือกันอยางใกลชิดใน การสรางบทบาทของประชาชน จากการสํารวจพบปญหาสุขภาพที่สําคัญ ๕ เรื่อง คือ ๑) ปญหาสุขภาพของผูสูงอายุ ๒) เบาหวาน / ความดันโลหิตสูง ๓) ภาวะโภชนาการของเด็ก ๔) เยาวชนตีกัน ๕) สิ่งแวดลอม / ขยะในหมูบาน ปญหาเหลานี้นําไปสูการจัดการโดยแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร ซึง่ มีการปรับปรุงพัฒนา แลกเปลีย่ นเรียนรู จนตกผลึก นําสูก ารถายทอด และปฏิบตั อิ ยางตอเนือ่ งพัฒนาสูโ รงเรียนนวัตกรรม สุขภาพชุมชน อยางไรก็ตามมีการพบวา บางครั้งสิ่งที่ถูกกําหนดไวในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร ก็ยังสูงานที่ทําในพื้นที่จริงไมได ฉะนั้นหากงานที่พื้นที่ทําอยูเดิมถูกละเลยหรือไมไดรับการสนับสนุนก็อาจจะเปนผลเสียใน ภายหลังจังหวัดรอยเอ็ดไดมีการอบรมการพัฒนาคากลางยกระดับแผนงาน / โครงการ โดยทบทวนคากลางของเขต ๑๒ และปรับปรุง คากลางของจังหวัดโดยมีอาํ เภอโพธิช์ ยั เปนพื้นที่ แรกของจั งหวัดที่นําคากลางไปดําเนินงาน การยกระดับโครงการสุขภาพดวยตนเองนัน้ จังหวัดจะตองมีขอ มูลเกีย่ วกับปฏิบตั กิ าร ทีด่ าํ เนินอยูใ นโครงการตางๆ โดยสํารวจหาคากลาง (งานทีใ่ ครๆ ก็ทาํ ) ของโครงการจากกลุม ตัวอยางที่มีระดับการทํางานปานกลาง คากลางจะเปนขอมูลพื้นฐานที่ใชในการยกระดับ โครงการสุขภาพโดยเพิ่มงานดีๆ และนวัตกรรมที่จังหวัดมีอยูแลวใหครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น ซึ่งคณะกรรมการกองทุนฯ สุขภาพตําบลผูที่ปฏิบัติงานจริงในพื้นที่จะเปนผูใหขอมูลและ ได ข อ มู ล เพิ่ ม เสริ ม จากคณะผู บ ริ ห ารระดั บ จั ง หวั ด อํ า เภอด ว ย ดั ง นั้ น ค า กลางจึ ง ไม ใ ช ค ามาตรฐานที่ออกโดยกรมวิชาการ คากลางประกอบดวย ๓ งาน หรือมากกวา ซึ่งอาจมีอยูแลวขณะสํารวจหรือ กําหนดจะใหมีขึ้นในอนาคตอันใกล และประกอบดวยงานที่ใหตัวชี้วัดความสําเร็จ (KPI) อยางนอย ๑ งาน แตถา ไดมากกวา ๑ งาน โอกาสของความสําเร็จจะมากขึน้ งานทีอ่ ยูใ ตเสน คากลาง อาจคัดเลือกมาเพื่อยกระดับขึ้นอยูเหนือเสน และใหความสําคัญเปนพิเศษกับงานที่ เปนนวัตกรรม 97
การนําคากลางมาปรับตาราง ๑๑ ชอง : ชองที่ ๔ เปนมาตรการทางวิชาการที่ เจาหนาที่เปนผูรับผิดชอบ ซึ่งเปนกิจกรรมที่กําหนดในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร (SLM) แตในขณะเดียวกันการสรางงานในแตละกิจกรรมตองคํานึงถึงความเปนจริงของพื้นที่ดวย ดั ง นั้ น กิ จ กรรมในแผนที่ ท างเดิ น ยุ ท ธศาสตร ต อ งสร า งมาจากพื้ น ฐานของงานเดิ ม ที่ ปฏิบัติกันอยูในพื้นที่ งานที่บรรจุลงในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร (ชองที่ ๔ และ ๕ ของ ตาราง ๑๑ ช อ ง) จะตอบสนองทั้ ง กั บ กิ จ กรรมของแผนที่ ท างเดิ น ยุ ท ธศาสตร SLM และความเปนจริงในพืน้ ทีอ่ ยางเปนเนือ้ เดียวกัน นําไปสูก ารปฏิบตั ทิ าํ ใหเกิดการเปลีย่ นแปลง ตามที่แผนที่ทางเดินยุทธศาสตรกําหนดไว คือการบรรลุจุดหมายปลายทางเรื่องการปรับ เปลี่ยนพฤติกรรม
อําเภอคุณภาพดานการสงเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดลอมแบบบูรณาการ
โดย นางเดือนเพ็ญ เคี่ยนบุน และ นายวัชรินทร แจงใจเย็น
ดานกระบวนการพัฒนาคุณภาพ / กระบวนการจัดการแผนคุณภาพ ๑. ระดับเครือขาย (CUP) สถานบริการสาธารณสุข เครื อ ข า ยบริ ก ารสาธารณสุ ข อํ า เภอทุ ง ตะโก จั ง หวั ด ชุ ม พร มี ก ารจั ด ทํ า แผน การบริหารแบบบูรณาการมุงเนนผลสัมฤทธิ์ วิเคราะหองคกรโดยใช SWOT เพื่อใหองคกรรู สภาวะและสถานภาพเพื่อกําหนด กลยุทธในการดําเนินงาน และกําหนดผลสัมฤทธิ์หลัก (Key Results Area : KRA) ของแตละกลยุทธดวย Balance Scorecard (Bsc Matrix) มีการจัดทําแผนที่กลยุทธ (Strategy Map) และจัดทําตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จ เชิงกลยุทธ (Roadmap) ของเครือขายในแตละกลยุทธภายใตกรอบระยะเวลา ๓ ป (๒๕๕๒ - ๒๕๕๕) เพื่อนําไปสูตัวชี้วัดระดับความสําเร็จภาพรวมขององคกร (ตัวชี้วัดระดับหนวยงาน / หัวหนางาน (Key Results Area Profile : KRA Profile) เพื่อกําหนดผลสัมฤทธิ์รวม (KRA) เปาประสงค และตัวชี้วัด (KPI) รายละเอียดลงไปตามกลยุทธหลัก เครื อ ข า ยบริ ก ารสาธารณสุ ข อํ า เภอทุ ง ตะโก ดํ า เนิ น การบู ร ณาการโครงการ เพื่อกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จเชิงกลยุทธ ระดับหนวยงาน / ผูปฏิบัติงาน (Key Results Area Unit : KRA Unit) ในแตละสถานบริการ ไดแก โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาล สงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) เปนการถายทอดแผนงานสูการปฏิบัติของหนวยงานยอย ตลอดถึงหัวหนางาน และผูปฏิบัติเปนการงายตอการควบคุมติดตามประเมินผลงานตาม คุณภาพของผูนิเทศ/ประเมิน ระดับเครือขายฯเปนรายไตรมาส
๒. ระดับพื้นที่ (ตําบล / หมูบาน) หนวยบริการสาธารณสุขในเครือขายฯซึ่งประกอบดวยโรงพยาบาลชุมชน และ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) มีการถายทอดแผนงานระดับเครือขาย (CUP) ลงสูระดับพื้นที่ (ตําบล / หมูบาน) ในเขตรับผิดชอบของแตละสถานบริการฯ โดยใชแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร (Strategy Map) มีการดําเนินงานจัดทําโดยใชหลักการมีสวนรวมของ 98
ชุมชนเพื่อวิเคราะหปญหาชุมชนโดยชุมชนและชุมชนเปนผูแกไขปญหา องคกรภาครัฐ และ ภาคีเครือขาย เปนผูสนับสุนนทางดานวิชาการ และการติดตามประเมินผล
การจัดทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร (Strategy Map) ของระดับพื้นที่ใชหลักการ Balance Scorecard (Bsc) เชนเดียวกับระดับเครือขายฯ แตเพื่อความงายตอการจัดทํากับ ชุมชนเปนการปรับใช มุมมอง (ระดับ) ๔ มุมมอง ได้แก่ มุมมองเชิงคุณคา (ระดับประชาชน) มุมมองเชิงผูมีสวนไดเสีย (ระดับภาคี) มุมมองเชิงกระบวนการภายใน (ระดับกระบวนการ) มุมมองเชิงการเรียนรูแ ละพัฒนา (ระดับพืน้ ฐานองคกร) กระบวนการสรางและใชแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร (Strategy Map) ใชหลักการ ๗ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ การวิเคราะหบริบท / สถานการณของชุมชนโดยใช ภาพแผนที่ความคิด (Mind Map) ขัน้ ตอนที่ ๒ การกําหนดจุดหมายปลายทางการพัฒนา (Destination Statement) ขั้นตอนที่ ๓ สรางแผนที่ยุทธศาสตร (Strategy Map) ขั้นตอนที่ ๔ สรางแผนที่ยุทธศาสตรปฏิบัติการ (SLM) ขั้นตอนที่ ๕ สรางแผนที่ปฏิบัติการจาก SLM และกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จ ขั้นตอนที่ ๖ สรางแผนที่ปฏิบัติการ (Mini-SLM) ขั้นตอนที่ ๗ การใชงานและการติดตามประเมินผล การจัดทําแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรระดับพื้นที่ (ตําบล / หมูบาน) ของแตละ สถานบริการโดยการมีสวนรวมขององคกรภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ประชาชนใน ชุมชน ตลอดถึงภาคีเครือขายฯ ในระดับพื้นที่ เขารวมจัดทําและใชแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร เพื่อพัฒนาสู่เปาหมายสูงสุดของชุมชน คือ “สุขภาวะของคน” เปนการดําเนินการสราง สุขภาพของคนในชุมชน เพื่อชุมชน ภายใตหลักการ “สรางนําซอม” ความเข็มเข็งของภาคีเครือขาย ผูบ ริหารเครือขายบริการสาธารณสุขระดับอําเภอใหความสําคัญกับการดําเนินงาน สงเสริมสุขภาพและอนามัยสิง่ แวดลอม ขับเคลือ่ นใหทกุ ภาคสวนทีเ่ กีย่ วของดําเนินการบูรณาการ ที่ เ ป น รู ป ธรรมให ม ากขึ้ น โดยรวมที ม สาธารณสุ ข จากทุ ก ฝ า ยทั้ ง ในส ว นของสํ า นั ก งาน สาธารณสุขอําเภอ โรงพยาบาลชุมชนซึ่งเปนโรงพยาบาลแมขาย และโรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตําบล (รพ.สต.) ใหเปนหนึ่งโดยใชแผนยุทธศาสตรของเครือขายฯ มาเปนแนวทาง ในการพัฒนาคุณภาพสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับตามมาตรฐานทีก่ ระทรวงสาธารณสุข กํ า หนด พร อ มกั บ การจั บ มื อ กั บ ท อ งถิ่ น และภาคี ที่ เ กี่ ย วข อ งในการพั ฒ นากระบวนการ เมืองนาอยูดานสุขภาพ มุงสูเมืองนาอยูติดดาวโดยมีฝายปกครอง นายอําเภอเปนศูนยกลาง การพั ฒ นาระดั บ อํ า เภอ นายกองค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น เป น ศู น ย ก ลางการพั ฒ นา ระดับตําบล มีกองทุนตําบลสนับสนุนการดําเนินงานใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น กําหนด 99
จุดหมายปลายทางรวมกันคือ “อําเภอสุขภาพ” โดยมีสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการมีสุขภาพดี ลูกเกิดรอด แมปลอดภัย ประชากรทุกกลุมวัยไดรับการดูแลสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค มี พฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม อําเภอทุงตะโกไดนํา HPMQA มาใชในการดําเนินงานตั้งแตตนป ๒๕๕๓ มีการ แตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการโดยมีนายอําเภอเปนประธาน หัวหนาสวนราชการและ ภาคีเครือขายที่เกี่ยวของรวมเปนคณะกรรมการ และมีคณะกรรมการดําเนินงานแตละ Setting มีการประชุมเพื่อมอบหมายและบูรณาการงานอยางตอเนื่องตลอดถึงการลงนาม บันทึกขอตกลงระหวางนายอําเภอทุงตะโก สาธารณสุขอําเภอทุงตะโก และผูบริหารทองถิ่น ทั้ง ๔ ทองถิ่น ในการที่จะรวมมือกันพัฒนางานสงเสริมสุขภาพและแกปญหาดานอนามัย สิ่งแวดลอมในทองถิ่นตนเอง โดยใชกลยุทธ “เมืองนาอยู” เปนเครื่องมือในการดําเนินงาน มี ก ารทํ า ประชาคมเมื อ งน า อยู ค รบทั้ ง ๔ ตํ า บล ผลจากการทํ า ประชาคมเมื อ งน า อยู ดานสุขภาพ พบประเด็นที่จะตองไดรับการแกไข และประเด็นที่ควรมีการรักษาคุณภาพใหมี ความตอเนือ่ ง ไดแกการจัดการสิง่ แวดลอม บานนาอยู การกําจัดขยะ การสุขาภิบาลอาหาร ร า นอาหารและแผงลอย ตลาดสดน า ซื้ อ โรงเรี ย นส ง เสริ ม สุ ข ภาพ วั ด ส ง เสริ ม สุ ข ภาพ ศูนยเด็กเล็กนาอยู ชมรมสรางสุขภาพ ขอกําหนดทองถิ่นตาม พรบ.สาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ และการพัฒนาฐานขอมูลดานสุขภาพ ซึ่งประเด็นดังกลาวไดถูกนําไปสูแผนสุขภาพตําบล ของแต ล ะพื้ น ที่ จากการประเมิ น ผลเมื อ งน า อยู โดยคณะกรรมการระดั บ อํ า เภอและ ระดับจังหวัด พบวา ทั้ง ๔ ทองถิ่นผานการประเมินกระบวนเมืองนาอยูดานสุขภาพและ มีทองถิ่นที่ผานการประเมินทองถิ่นติดดาว จํานวน ๒ ทองถิ่น คือ เทศบาลตําบลทุงตะไคร และองคการบริหารสวนตําบลทุ่งตะโก เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรูและสรางความภาคภูมิใจรวมกัน รางวัลที่อาจจะไดรับ เปนเพียงแคตัวบงชี้วาเราไดทํางานไดตามเปาหมาย และมีคุณภาพในระดับหนึ่งแตคุณคา ที่ยิ่งใหญ คือผลกระทบที่เกิดจากการทุมเทของทุกฝายสงผลให “ประชาชนอําเภอทุ่งตะโก มีสุขภาพดี” ผลกระทบเชิงสุขภาพ อนามัยแมและเด็ก อํ า เภอทุ ง ตะโก มี ก ารดํ า เนิ น การด า นการอนามั ย แม แ ละเด็ ก ที่ ต ระหนั ก ใน คุณภาพการดําเนินงานในทุกกลุมงานที่เกี่ยวของ ตั้งแตการใหความรูความเขาใจในชุมชน ตลอดถึงครอบครัวเรือ่ งการดูแลหญิงตัง้ ครรภ การฝากครรภ และการดูแลมารดาหลังคลอด โดยเจาหนาที่สาธารณสุขของโรงพยาบาล / โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ตามเกณฑ คุณภาพ สงผลใหอําเภอทุงตะโกไมมีการตายของมารดาและตายปริกําเนิดทารกแรกเกิด นํ้าหนักตํ่ากวาเกณฑเพียง รอยละ ๔.๔๒ ทารกกินนมแมอยางเดียว ๖ เดือน รอยละ ๗๓.๖๒ สงผลใหเด็กมีพัฒนาการที่สมวัย รอยละ ๙๘.๕๑ 100
วัยเรียน จากผลการดู แ ลสุ ข ภาพเด็ ก ของศู น ย พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ในทุ ก พื้ น ที่ มี คุ ณ ภาพทั้ง ทางดานรางกาย จิตใจ สติปญ ญา เมือ่ เด็กเขาสูว ยั เรียนอาศัยอยูใ นสถานศึกษาทีม่ มี าตรฐาน ทางดานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพใหความสําคัญกับสภาพแวดลอม การสงเสริมสุขภาพ ดานรางกายครบทุกองคประกอบ และเปนนโยบายทีผ่ บู ริหารของสถานศึกษาใหความสําคัญ สงผลตอขอมูลการตรวจสุขภาพเบื้องตนดานการพัฒนาการของ เด็กวัยเรียนของอําเภอ ทุงตะโก อยูในเกณฑปกติ วัยทํางาน / ผูสูงอายุ ป จ จุ บั น นี้ แ ม ว า จะมี ก ระแสความตื่ น ตั ว ในเรื่ อ งการปฏิ รู ป ระบบสุ ข ภาพและ ประชาชนมีความรูมากขึ้น แตมักพบวา ประชาชนจํานวนไมนอย ยังมีพฤติกรรมเสี่ยงตอ การเกิดโรคหรือพฤติกรรมทําลายสุขภาพ โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากพฤติกรรมที่ปองกันได เชน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขเลือดออก พฤติกรรมการกินไมถูกตอง ไมใสใจใน การออกกํ าลังกายหรือไมใสใจสภาพแวดลอมที่ตนเองอยู จากปญหาสุขภาพดังกลาว อําเภอทุงตะโกไดดําเนินการทุกวิถีทางในการที่จะให ประชาชนทุกคนมีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง และใหความสําคัญกับการสรางสุขภาพมากกวา ซอมสุขภาพ และใหความสําคัญกับการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มขึ้น เพื่อใหประชาชน มีสุขภาพที่ดี มีการดูแลตัวเองอยางถูกตอง สงผลใหการเกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรม ไดแก โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหมตอปลดลงรอยละ ๕๔.๗๙ (ป ๒๕๕๒ มีผูปวย รายใหมรอยละ ๒.๙๒ ป ๒๕๕๓ มีผูปวยรายใหม ๑.๓๒) โรคไขเลือดออก อัตราปวยตอแสน ประชากรลดลงจากคามัธยฐานยอนหลัง ๕ ปปฏิทิน ลดลงรอยละ ๔๓.๘๖ (ป ๒๕๕๒ มี อัตราปวย ๔๙.๖๘ ป ๒๕๕๓ มีอัตราปวย ๑.๓๒) การดําเนินงานเฝ าระวังป องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเตานมของอําเภอ ทุงตะโก มีเปาหมายที่จะคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรี โดยการตรวจ Pap smear ให ครอบคลุมมากที่สุด เพื่อปองกันการเกิดโรคเพราะในการรักษาพยาบาลผูปวยโรคมะเร็ง นอกจากจะกอใหเกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจคอนขางสูง มีผลกระทบดานสังคมแลว ยังมี ผลกระทบดานรางกายและจิตใจอยางมาก ตอผูปวยและครอบครัว การที่สามารถตรวจพบ โรคมะเร็งปากมดลูก ในระยะกอนเปนหรือระยะเริ่มแรกจะสามารถชวยชีวิตผูปวยได ในป ๒๕๕๓ อําเภอทุง ตะโก เนนคุณภาพการใหบริการ กําหนดแนวทางการติดตาม ผูที่พบความผิดปกติ และเปนมะเร็งใหไดรับการรักษาอยางรวดเร็วและตอเนื่อง มีระบบ การตรวจสอบคุณภาพการปาย Pap smear และคุณภาพการอานผลสไลด ตลอดจนคํานึง ถึงขวัญกําลังใจของเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ใหมีความสุขและพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ซึ่ง จะสงผลตอการใหบริการที่มีคุณภาพตอไป ผลการดําเนินงานการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ดวยวิธีการตรวจ Pap smear ในสตรีที่มีอายุ ๓๐-๖๐ ป คิดเปนรอยละ ๒๕.๘๘ 101
การสรางความเขมแข็งใหชุมชนดวยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรโดยการมีสวนรวม แบบยั ่งยืน โดย นางณภัทร จาตุรัส แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร คือ เครื่องมือบริหารการเปลี่ยนแปลงที่จะใชบริหาร จัดการยุทธศาสตรที่ชุมชน ทองถิ่นสรางขึ้นหรือมีอยูแลวใหเกิดความสําเร็จ แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร อยูระหวางกลางของการวางแผนงานโครงการ วิสัยทัศน ยุทธศาสตร พันธกิจ เปนการวางยุทธศาสตรที่จะดําเนินแผนงานหรือโครงการตางๆ ซึ่งมีอยูมากมายในตําบล ใหเกิดผลผลิต ซึ่งมาจากภายนอกชุมชนหรือองคกรที่บอกใหทําแผนงานหรือโครงการนั้น
แผนยุทธศาสตรที่ผานมา ทางเบื้องบนจะวางแผนยุทธศาสตรใหระบบราชการใช หรือจากภายนอกชุมชนหรือองคกรบอกใหทําซึ่งไมสามารถระบุไดวาสะทอนหรือตอบสนอง ต อยุทธศาสตรที่กําหนดไวอยา งไร เท า ที่ ผ า นมายุ ท ธศาสตร วิ สั ย ทั ศ น กํ า หนดมาจาก ภายนอกชุมชน โดยอาจจะเชิญผูแทนอําเภอละ ๒ คน เขารวมวางแผนงานหรือกิจกรรม หรือโครงการ ซึ่งกิจกรรมโครงการมีอยูมากมายในชุมชน เรื่องเดียวกันมีหลายหนวยงานลง มารุมมาตุมกัน และใหเสร็จภายในเวลาไลเลี่ยกัน ซึ่งไมรูวาเชื่อมโยงกับเปาประสงคโดยรวม ของทองถิ่นอยางไร จะถึงจุดหมายปลายทางหรือไม
การสรางแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร ๗ ขั้นตอน ๑. การประเมิ น สถานการณ ใ นท อ งถิ่ น ของตนเอง ซึ่ ง สํ า คั ญ ที่ สุ ด ขั้ น เริ่ ม ต น อยาประเมินผิด เพราะจุดหมาย ปลายทางอาจจะผิด จึงจําเปนที่ทุกภาคสวนในชุมชนตอง รวมประเมินสถานการณของตนเอง (อยาลอกของตําบลอื่น) ๒. กําหนดจุดหมายปลายทาง รวมกันกําหนดจุดหมายปลายทางในทุกระดับ ๓. การสรางแผนทีย่ ทุ ธศาสตร นํามาตรวจสอบกับยุทธศาสตรขององคกรปกครอง สวนทองถิ่นที่มีอยูแลวจึงนํามาสรางแผนที่ยุทธศาสตรฉบับปฏิบัติการ ๔. สรางกลุมงาน คือการสรางกิจกรรมหรือโครงการ แลววางตัวผูรับผิดชอบ ๕. สรางตัวชี้วัด สรางแผนปฏิบัติการ ๖. ทดสอบโครงการภาคปฏิบัติวาเกิดอะไรขึ้น กลุมใดรับผิดชอบกระบวนการนั้น แลวรายงานกลุมใดตอไป การปฏิบัติสามารถตรวจสอบจากตารางซึ่งทุกกลุมงานมีอยูในมือ ๗. การตัง้ ปณิธานสวนบุคคล (ทีมงานจายงานแตละบุคคลปฏิบตั ิ โดยแตละบุคคล ลําดับความสําคัญของงานของตน และตนเองสามารถจะปฏิบัติตามกิจกรรมใดใหไดผลที่ดี ที่สุด)
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตรที่ไมอาจประสบผลสําเร็จได อาจเนื่องจากสาเหตุดังนี้ 102
๑. ผูนําไมลงเรือลําเดียวกัน ๒. ละเลยประวัติศาสตร ๓. ใชหลายแบบหลายวิธีพรอมกัน
๔. สื่อสารเฉพาะกลุมพิเศษไมกี่คน ๕. คิดวาจะสําเร็จในระยะสั้น ๖. คิดวาเปนเพียงเครื่องวัดผลการปฏิบัติงาน ๗. ใชโปรแกรมประเมินผิด ๘. ไมใหรางวัลตอความสําเร็จ ๙. ไมเตรียมวางแผนและจัดการกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ๑๐. หมดแรงเสียกอน ไมติดตามงานใหตลอด
ผลที่ไดรับจากการใชแผนที่ทางเดินยุทธศาสตรบริหารจัดการชุมชน ๑. การยอมรับกันมากขึ้น เห็นทิศทางการทํางานของตําบลชัดเจน ๒. เห็นความรวมมือประสานบทบาทของทุกภาคสวนในการบูรณาการอยาง เปนรูปธรรม ลดการสูญเสียลดการทํางานซํ้าซอน และเหลืองบประมาณจากการทํางาน ๓. เกิดการเชื่อมโยงทุนที่มีอยูในชุมชน ใหแสดงบทบาทหนุนเสริมกัน ๔. เกิดการระดมทีมผูนํา การพัฒนาคน ๕. ลดความขัดแยง ๖. สรางความรู รัก สามัคคี ความปรองดอง และสรางความเขมแข็งตอชุมชน
103
เตรียมความพร้อมผู้สูงอายุ...สู่สากล ดร.สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย นพ.ฆนัท ครุธกูล คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี ดร.วันทนีย์ พันธชาติ สถาบันวิศวกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพและเทคโนโลยี พญ.อนงค์นุช ชวลิตธํารง ศูนย์แอดไลฟ์ แอนไทเอจจิ้ง เซ็นเตอร์ จํากัด นพ.โสภณ เมฆธน ผู้ดำเนินการอภิปราย
การเตรียมพร้อมผู้สูงอายุ ๔ ด้าน ได้แก่ ด้ า นสุ ข ภาพ ร่ า งกายและจิ ต ใจของผู้ สู ง อายุ ด้ ว ยการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล ด้านเศรษฐกิจ เกี่ยวกับรายได้ การมีงานทํา และการสร้างหลักประกันรายได้ (รวมทั้งการออม) เพื่อวัยสูงอายุ ด้านสังคม สถานภาพของผู้สูงอายุ การมีส่วนร่วม การมีบทบาท และการได้รับ การยอมรับของสังคม ชุมชน ตลอดจนครอบครัว รวมทั้งการเผยแพร่ และการได้รับข้อมูล ข่าวสารของผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัย และการดูแลผู้สูงอายุ ด้านการศึกษาและการเรียนรู้ การพัฒนาทักษะที่เหมาะสม ตลอดจนการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารที่เหมาะสมของผู้สูงอายุ หลักการสวัสดิการสากล ต้องสอดคล้องกับสิทธิมนุษยชน (Human Right) ความต้องการพืน้ ฐาน (Basic Need) ความเป็นธรรมในสังคม (Social Justice) การมีสว่ นร่วม ของคนในสังคมทุกระดับ (Participation) และความโปร่งใส (Transparency) การเตรียมความพร้อมผู้สูงอายุด้านเศรษฐกิจ ตามแนววิเคราะห์ของนักเศรษฐศาสตร์ ประชากรกลุ่ม NTA ผลกระทบของโครงสร้างอายุขึ้นอยู่กับ ๑) วงจรชีวิตทางเศรษฐศาสตร์ โครงสร้างอายุของประชากรมีผลกระทบต่อ เศรษฐกิจ เนื่องจากในช่วงชีวิตของคน จะมีอยู่ ๒ ช่วงที่ต้องพึ่งคนอื่น (Dependent) คือ ช่วงวัยเด็ก กับวัยชรา เพราะไม่สามารถทํางานหาเงินเองได้ และ ๑ ช่วงเป็นวัยแรงงานซึ่ง เป็นวัยหารายได้ ๒) ระบบเศรษฐกิจหรือสังคม ว่าจะกระจาย หรือโอนทรัพยากรจากวัยแรงงาน ที่มีรายได้ส่วนเกิน ไปยังกลุ่มอายุที่ไม่มีรายได้อย่างไร ดั ง นั้ น การเปลี่ ย นแปลงโครงสร้ า งอายุ ข องประชากรจึ ง มี ผ ลกระทบทาง เศรษฐศาสตร์อย่างมาก
104
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุประชากรโลก ๓ ระยะ • การเพิ่มสัดส่วนประชากรวัยเด็ก • การเพิ่มสัดส่วนประชากรวัยแรงงาน (ปันผล ครั้งที่ ๑) • การเพิ่มสัดส่วนประชากรวัยสูงอายุ (ปันผล ครั้งที่ ๒) การตอบสนองทางเศรษฐศาสตร์ ต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอายุประชากร ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านการบริโภค การทํางาน การออม และการลงทุนมนุษย์ (Human capital investment) รายได้ จ ากแรงงานและรายจ่ า ยเพื่ อ การบริ โ ภครวมทุ ก คนตามวั ย ต่ า งๆ ประเทศไทย (กรณีศึกษาในปี ๒๕๔๗ : มัทนา ๒๕๔๙) โดยเฉลี่ย ผู้สูงอายุ (อายุ ๖๐ ขึ้นไป) มีรายจ่ายบริโภค สูงกว่ารายได้จากแรงงาน ประมาณ ๓๐,๖๐๐ บาท ต่ อ คนต่ อ ปี รายได้ จ ากแรงงานของผู้ สู ง อายุ ร วมทุ ก คนคื อ ๑๒๖,๐๐๐ ล้านบาทต่อปี รายจ่ายบริโภคของผูส้ งู อายุรวมทุกคนคือ ๒๗๖,๐๐๐ ล้านบาทต่อปี โดยประมาณ ส่วนต่างรวม (Total Deficit) ตกประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ ล้านบาทต่อปี ผู้สูงอายุ รวมทุกคน ดังนั้น ผู้สูงอายุรวมต้องได้รับเงินโอนจากแหล่งอื่นๆ จึงจะเพียงพอสําหรับ การบริโภค
การบริโภค และอัตราส่วนการเกื้อหนุน ถ้าอัตราการออม (S) คงที่ และการทํางาน (YL) เท่าเดิม ประเทศจะต้องปรับ การบริโภค (C) ในวัยต่างๆ เพื่อให้ชดเชยการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนการเกื้อหนุน (Support Ratio) (C สัมพันธ์กลับกันกับ SR) นิยาม Support Ratio (SR):
SR = จํานวนผู้หารายได้จริง (Effective number of producers) จํานวนผู้บริโภคจริง (Effective number of consumers)
ถ้า SR>1 แสดงว่ามีผู้หารายได้มากกว่าผู้บริโภค ถ้า <1 แสดงว่าผู้บริโภคมาก กว่าผู้หารายได้ (แต่ทางปฏิบัติ ดูจากอัตราการเปลี่ยนแปลง ถ้าบวก ถือว่าดี และอยู่ใน ปันผลทางประชากรครั้งที่ ๑-สราวุธ)
ลักษณะการปันผลทางประชากรครั้งที่ ๒ • อายุคาดเฉลี่ย (Life expectancy) สูงขึ้น • อัตราเจริญพันธ์ุตํ่าลง (มีบุตรน้อยลง) • การสะสมทรัพย์สมบัติจําเป็นขึ้น (Wealth) • ทรัพย์สมบัติที่เพิ่มขึ้นนําไปสู่การเพิ่มขึ้นของรายได้อย่างถาวร (ที่มา - Ogawa, Naohiro, 2011) • SR ชะลอการลด หรืออาจเพิ่มขึ้น
105
อั ตราการเจริญพันธ์ุ (TFR) ของไทย ๒๕๔๓-๔๘ ๒๕๔๘-๕๓ ๑.๘๑ ๑.๖๑
๒๕๕๓-๕๘ ๒๕๕๘-๖๓ ๒๕๖๓-๖๘ ๒๕๖๘-๗๓ ๑.๕๔ ๑.๔๗ ๑.๓๗ ๑.๓๕
ที่มา : สศช. ๒๕๕๐ การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย ๒๕๔๓-๒๕๗๓
จะเตรียมความพร้อมผู้สูงอายุอย่างไร สําหรับประเทศที่มีโครงสร้างอายุประชากร เช่ น ประเทศไทย (จึงจะเกิดการปันผลทางประชากรครั้งที่ ๒)
การบริโภคของผู้สูงอายุได้เงินมาจากไหน • ทํางานต่อไป • อาศัยสินทรัพย์ของตน – รายได้จากสินทรัพย์ (เช่น ดอกเบี้ย ค่าเช่า เงินปันผล) – ใช้เงินออมที่มีอยู่ (Dis-saving) เช่น ขายหุ้น ลดเงินฝาก ขายสินทรัพย์ ฯลฯ หรือถอนเงินที่ สะสมไว้เพื่อใช้ยามสูงอายุ • อาศัยเงินโอน (Transfers) – จากครอบครัว (ลูกหลาน ญาติ เพื่อนฝูง วัด ชุมชน) – จากภาครัฐ (รัฐเก็บภาษีจากบุคคลที่ทํางาน แล้วจัดสรรเงินส่วนหนึ่ง เพื่อผู้สูงอายุ)
ที่มาของรายได้ผู้สูงอายุ ๒๕๕๐ ส่ ว นใหญ่ ม าจากเงิ น โอนภาคเอกชน สู ง สุ ด เป็ น รายได้ จ ากบุ ต รหญิ ง และชาย ที่สมรสแล้ว ร้อยละ ๓๗ มีรายได้จากการทํางาน จากเงินออมมีสัดส่วนสูงกว่าบําเหน็จ บํานาญมาก และเบี้ยยังชีพ ในปี ๒๕๕๒ ได้ทุกคนที่ไม่มีรายได้จากบํานาญ (ที่มา : การ สํารวจประชากรผูส้ งู อายุ ๒๕๕๐ สสช.)
การทํางานเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุ กําลังแรงงานผู้สูงอายุ ๒๕๕๓ ปี ๒๕๕๓ (ประชากรสูงอายุ ๘.๐๑ ล้าน) ผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปที่ยังทํางานมี จํานวน ๓.๐๕ ล้านคน ส่วนใหญ่อายุ ๖๐-๖๙ ปี ในเขต ๐.๗๙ ล้านคน นอกเขต ๒.๒๖ ล้านคน อัตราการร่วมกําลังแรงงาน รวม ๓๘% ในเขตเทศบาล ๒๙.๕% นอกเขตเทศบาล ๔๒.๓% ๖๐-๖๔ ๖๕-๖๙ ๗๐-๗๔ ๗๕-๗๙ ๘๐+ รวม ๖๑.๔ ๔๕.๖ ๒๖.๘ ๑๗.๔ ๗.๗ ชาย ๗๓.๘ ๕๗.๙ ๓๗.๗ ๒๗.๐ ๑๒.๘ หญิง ๕๐.๗ ๓๕.๑ ๑๘.๒ ๑๐.๙ ๔.๓ จํานวน ๑,๕๘๐,๖๕๙ ๗๘๕,๐๒๗ ๔๐๓,๐๐๓ ๑๘๖,๖๑๙ ๘๖,๔๐๖ ที่มา : สสช. ๒๕๕๓ การสํารวจภาวะการมีงานทําของประชากร 106
สัดส่วนผู้สูงอายุที่ยังเตะปี๊ปดัง ที่มา : สสช. การสํารวจประชากรผู้สูงอายุ ๒๕๕๐
การออมเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุ • “การออม / สะสมสินทรัพย์ทําให้เกิดรายได้และทุนก็จะเพิ่ม ช่วยให้แรงงาน มีประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้น” • ประชากรและกําลังแรงงานที่ลดลงในสังคมผู้สูงอายุ หมายถึงว่า ทุนต่อคน หรือต่อแรงงานจะสูงขึ้น ถึงแม้ว่าการออมจะลดลง • คนมักจะสะสมสินทรัพย์ตอนเป็นผู้ใหญ่ ดังนั้นผู้สูงอายุจะมีการออม /สะสม สินทรัพย์มากกว่าคนอายุน้อยกว่า • ในประชากรที่สูงอายุสัดส่วนของผู้สูงอายุที่มีทรัพย์สมบัติจะสูงขึ้น จึงทําให้ มีรายได้จากสินทรัพย์มากขึ้นและอัตราส่วนทุนต่อแรงงานสูงขึ้น แต่หากประชาชนอาศัย เงินโอนจากภาครัฐ หรือภาคเอกชน ผลกระทบของการออม / สะสมสินทรัพย์ดังกล่าวก็จะ น้อยลงมาก (กล่าวคือมีการออม / สะสมสินทรัพย์น้อยลง) 107
สัดส่วนผู้สูงอายุที่มีการออม ๒๕๕๐ ที่มา : สสช. ๒๕๕๐ การสํารวจประชากรผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุ ๖๘.๗% มีการออมหรือสะสมเงินทอง หรือสินทรัพย์ ทั้งสังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์ (พันธบัตร ที่ดิน บ้าน รถยนต์)
สัดส่วนผู้สูงอายุที่มีการออมตามมูลค่าการออม ๒๕๕๐ ที่มา : สสช. ๒๕๕๐ การสํารวจประชากรผู้สูงอายุ 108
วัยปลาย (อายุ ๘๐ ปีขึ้นไป) มีมูลค่าการออมน้อยกว่ากลุ่มอื่น เนื่องจากการนํา เงินออมมาใช้เป็นเวลานานกว่ากลุ่มอื่น รวมทั้งมีการบริโภคด้านสุขภาพสูงกว่า (ร้อยละ ๖๐ เงินออมตํ่ากว่า ๕๐,๐๐๐ บาท)
ผลกระทบต่อการสะสมทุน
• ประชากรสูงอายุทําให้มีความจําเป็นต้องหาเงินมาชดเชยการติดลบของรายได้ ในวัยชรา • ถ้าได้เงินจากการสะสมสินทรัพย์ ก็เท่ากับว่าประชากรสูงอายุทําให้สินทรัพย์ เพิ่มขึ้น รวมทั้งประสิทธิภาพการผลิตของแรงงานด้วย • ถ้าเป็นเงินโอนจากภาครัฐ หรือภาคเอกชน การที่ประชากรสูงอายุเท่ากับ เป็นการเพิ่มภาระให้กับเงินโอนให้กับแรงงาน (ในปัจจุบัน)
การลงทุนมนุษย์ (Human Capital Investment)
• พ่ อ แม่ จ ะเลื อ กระหว่ า งมี บุ ต รมาก หรื อ การลงทุ น ให้ กั บ บุ ต รมากขึ้ น (การเลือกระหว่างปริมาณ-คุณภาพ Quantity-quality tradeoff) • พบว่าเมื่อเศรษฐกิจเจริญมากขึ้น พ่อแม่จะเลือกมีบุตรน้อยลงแต่ลงทุนให้กับ บุตรมากขึ้น (Becker; Becker and Lewis, Willis.) • การเข้าสู่สังคมสูงวัย (เด็กน้อยลง) จึงตามมาด้วยการลงทุนมนุษย์ในเด็ก มากขึ้น • การตอบสนองด้านทุนมนุษย์จึงช่วยลดผลกระทบทางลบของประชากรสูงวัย ต่ออัตราการเกื้อหนุน (เพราะผลิตภาพของแรงงานจะสูงขึ้นทําให้อัตราส่วนการเกื้อหนุน (SR) สูงขึ้น) กล่าวโดยย่อ คือ การสูงวัยของประชากรจะตามมาด้วยการลงทุนมนุษย์ต่อเด็ก มากขึ้น จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและรายได้ของแรงงานในอนาคต เป็นการลงทุน มนุษย์แทนการมีบุตรมาก ประสิทธิภาพการผลิตที่สูงขึ้นจะช่วยชดเชยสัดส่วนการเกื้อหนุนที่ ลดลง (เพิ่มโอกาสการปันผลทางประชากรครั้งที่ ๒)
สรุปและเสนอแนะ • ประเทศไทยเข้ า สู่ สั ง คมผู้ สู ง อายุ แ ล้ ว ปี ๒๕๕๓ มี ผู้ สู ง อายุ ๘.๐๑ คน จากประชากร ๖๗.๔ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.๙ • ประเทศไทยผ่านการปันผลทางประชากรครั้งที่ ๑ มาแล้ว การจะเกิดการ ปันผลทางประชากรครั้งที่ ๒ จําเป็นต้องเตรียมความพร้อมผู้สูงอายุ • ด้านเศรษฐศาสตร์ ผู้สูงอายุควรเตรียมความพร้อม ๔ ประการ ได้แก่ การบริโภค การทํางาน การลงทุนในบุตร การออม 109
• ประเทศไทยมี ก ารเตรี ย มพร้ อ มผู้ สู ง อายุ ม านาน ทั้ ง ในด้ า นงานวิ จั ย การวางแผน การออกกฎหมาย และมาตรการต่างๆ แต่ยงั ไม่ครอบคลุมด้านเศรษฐศาสตร์ครบ • ผู้สูงอายุไทยทํางานเกินอายุ ๖๐ ปี ปี ๒๕๕๓ มีผู้สูงอายุที่ทํางานอยู่หลัง วัย ๖๐ ปี จํานวน ๓.๑ ล้านคน • ผู้สูงอายุไทยมีอัตราการทํางานสูง ในชนบทมีอัตราสูงกว่าในเมือง • ผู้สูงอายุไทย ร้อยละ ๓๗.๘ มีรายได้จากการทํางาน มีประมาณแต่รายได้รวม ตํ่ากว่ารายจ่าย เพื่อการบริโภค • ผู้ สู ง อายุ ไ ทยมี ก ารใช้ จ่ า ยด้ า นสุ ข ภาพในระดั บ สู ง เมื่ อ เที ย บกั บ ประเทศ ในเอเซีย • ผู้สูงอายุไทยลงทุนในบุตรสูง • ผู้ สู ง อายุ ไ ทย ๖๘.๗% มี ก ารออม ในจํ า นวนนี้ ป ระมาณครึ่ ง หนึ่ ง มี มู ล ค่ า การออม ๕๐,๐๐๐ บาทลงมา
ข้อเสนอแนะด้านเศรษฐศาสตร์
เพื่ อ ชะลอการลดลงของอั ต ราการเกื้ อ หนุ น และให้ สั ง คมผู้ สู ง อายุ มี ผ ลดี ต่ อ ประเทศ (ไดัรับการปันผลทางประชากร ๒) • ควรบริโภคอย่างฉลาดและลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จําเป็น • ควรส่งเสริมให้มีรายได้จากการทํางานเพิ่มขึ้น โดยส่งเสริมให้ทํางานในระบบ มากขึ้น • คุ้มครองแรงงานผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป เพื่อให้ผู้สูงอายุมีงานทํา มีรายได้ มีสวัสดิการคุ้มครองอย่างต่อเนื่อง และมีการส่งเสริมการเข้าถึงแหล่งทุนต่างๆ เพิ่มขึ้น • ควรส่ ง เสริ ม การออมเพื่ อ ชราภาพมากขึ้ น โดยให้ มี เ งิ น ออมเพี ย งพอใน การดํารงชีพ เมื่อไม่ได้ทํางานหรือทํางานไม่ได้ • ส่งเสริมการลงทุนมนุษย์ในวัยเด็กมากขึ้น
การออมเพื่อเกษียณอายุในประเทศไทย 110
• • • • • • • •
เงินฝากธนาคาร กองทุนประกันสังคม กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ (กบข.) กองทุนสงเคราะห์ครูใหญ่และครูโรงเรียนเอกชน กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับลูกจ้างประจําของส่วนราชการ (กสจ.) กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund หรือ RMF) การประกันชีวิตแบบเงินได้ประจํา
• กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (Long Term Equity Fund หรือ LTF) • กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)
โครงสร้างระบบการออมเพื่อการชราภาพแบบหลายชั้น
การเตรียมความพร้อมผู้สูงอายุ
• ๒๔๙๑ UN เริ่มสนใจเรื่องผู้สูงอายุ (๖๓ ปีมาแล้ว) • ๒๔๙๔ ตรา พรบ.บําเหน็จบํานาญ / สร้างบ้านบางแค (๖๐ ปีมาแล้ว) • ๒๕๒๒ เปิดศูนย์บริการผู้สูงอายุ • ๒๕๒๕ สมัชชาโลก ว่าด้วยผู้สูงอายุ ที่เวียนนา / ปีสุขภาพผู้สูงอายุ • ๒๕๒๕ ธันวา ประกาศให้ ๑๓ เมษาเป็นวันผู้สูงอายุแห่งชาติ – แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่หนึ่ง พ.ศ.๒๕๒๕-๒๕๔๔ – ส่งเสริมการตั้งชมรมผู้สูงอายุจังหวัดต่างๆ • ๒๕๓๒ ตั้งสภาผู้สูงอายุแห่งชาติ / สงเคราะห์การรักษาพยาบาลผู้สูงอายุ / กศน. • ๒๕๓๔ ให้ ๑๓-๑๔ เมษา เป็นวันครอบครัว • ๒๕๓๔ สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ รับรองหลักการผู้สูงอายุ • ๒๕๓๕ กําหนดนโยบายระยะยาว ๕ ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพอนามัย / โภชนาการ ด้านสวัสดิการสังคม ด้านการงานและรายได้ ด้านสังคม การศึกษา วัฒนธรรม จิตใจ และด้านการวิจัยและพัฒนา 111
• ๒๕๓๖ การรถไฟลดค่าโดยสาร ๔ เดือน - ตั้งกระทรวงแรงงาน - เริม่ โครงการเบีย้ ยังชีพ (กองทุนส่งเสริมสวัสดิการผูส้ งู อายุและครอบครัวฯ) - ทดลองตั้งคลินิกผู้สูงอายุ ๔ จว. • ๒๕๓๗ สํารวจประชากรผู้สูงอายุครั้งแรก • ๒๕๓๘ กรรมาธิการสตรี เยาวชนและผูส้ งู อายุเสนอให้ออกกฎหมายคุม้ ครองผูส้ งู อายุ • ๒๕๔๐ รัฐธรรมนูญ – มาตรา ๕๔ “บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอ แก่การยังชีพ มีสทิ ธิได้รบั ความช่วยเหลือจากรัฐ ทัง้ นีต้ ามกฎหมายบัญญัต”ิ – มาตรา ๘๐ “รัฐต้องคุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน ส่งเสริมความ เสมอภาคของหญิ ง และชาย ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาความเป็ น ปึ ก แผ่ น ของครอบครัว และความเข้มแข็งของชุมชน รัฐต้องสงเคราะห์คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และผู้ด้อยโอกาสให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและ พึ่งตนเองได้” • ๒๕๔๒ ปีสากลว่าด้วยผู้สูงอายุ / ปฏิญญาผู้สูงอายุไทย • ๒๕๔๕ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่สอง (พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๖๔) • ๒๕๔๖ พรบ. ผู้สูงอายุแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๖ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นรับถ่าย โอนเบี้ยยังชีพจากกรมประชาสงเคราะห์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • ๒๕๔๘ กรอบยุทธศาสตร์ การเตรียมความพร้อมสังคมไทยสู่สังคมผู้สูงอายุ (สศช.) – แผนบริหารราชการแผ่นดินระยะ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๑) – ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอายุไม่ตํ่ากว่า ๖๕ ปีบริบูรณ์ สําหรับเงิน ได้พึงประเมินทุกประเภท เป็นจํานวนไม่เกิน ๑๙๐,๐๐๐ บาท ในปีภาษีนั้น (**๓.๘ แสน) • ๒๕๕๐ รัฐธรรมนูญ – มาตรา ๘๐ “รัฐต้องดําเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม...(๑) ต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพและผู้อยู่ในสภาวะยากลําบากให้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและพึ่งพาตนเองได้” – มาตรา ๘๔ “รัฐต้องดําเนินการ ...(๔) จัดให้มีการออมเพื่อการดํารงชีพใน ยามชราแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่รัฐอย่างทั่วถึง” • ๒๕๕๒ เบี้ยยังชีพถ้วนหน้าให้แก่ผู้สูงอายุ เดือนละ ๕๐๐ บาท ตั้งแต่เมษายน เป็นต้น มา ในปี ๒๕๕๓ มี ผู้ สู ง อายุ รั บ เบี้ ย ยั ง ชี พ รวม ๕,๕๕๙,๓๗๔ คน เป็ น ส่ ว น ท้องถิ่น ๕,๐๘๐,๔๙๑ คน กรุงเทพมหานคร ๔๗๔,๒๑๙ คน และเมืองพัทยา อีกจํานวน ๔,๖๖๔ คน รวมเป็นเงิน ๓๒,๒๑๘,๑๒๒,๔๐๐ บาท 112
• ปี ง บประมาณ ๒๕๕๒ กองทุ น ผู้ สู ง อายุ ไ ด้ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น การกู้ ยื ม เงิ น ทุ น ประกอบอาชีพรายบุคคลแก่ผู้สูงอายุ ๓,๑๓๘ ราย และรายกลุ่มแก่ผู้สูงอายุ จํานวน ๒๒ กลุ่ ม เงิ น อนุ มั ติ ไ ปแล้ ว ๕๓.๑๕ ล้ า นบาท ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การประกอบอาชี พ เกษตรกรรม • เมษายน ๒๕๕๔ จัดตั้งกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)
กรอบยุทธศาสตร์การเตรียมสังคมไทยสู่สังคมผู้สูงอายุ สศช.
- กรอบ ๕ ปี (๒๕๕๐-๒๕๕๔) และ Critical issues : ๑) เร่ งพัฒนาและเพิ่มผลิตภาพแรงงาน เพื่ อ ใช้ป ระโยชน์จ ากช่ว งปั น ผลทาง ประชากร ๒) เตรียมพร้อมคนไทยและระบบในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ สร้างหลักประกัน ทางเศรษฐกิจ พัฒนาระบบคุ้มครองทางสังคม ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การฟื้นฟู ค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีงานเช่น การกตัญญูกตเวที การอดออม • ยุทธศาสตร์ในภาพรวม ประชากรทุกกลุ่มอายุ • ยุทธศาสตร์ตามช่วงวัย ผูส้ งู อายุทมี่ ศี กั ยภาพ ผูส้ งู อายุทพี่ อช่วยตนเองได้ และผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือ
๑. การออมของประเทศ • การแข่งขันด้านสินเชื่อเงินสด เพื่ออุปโภคบริโภคมากขึ้น • การออมภาคครัวเรือนตํ่า (๓.๘% ปี ๒๕๔๖) • การออมส่วนใหญ่อยู่ในรูปบัญชีออมทรัพย์ • การออมเพื่อเกษียณอายุไม่เพียงพอ
๒. การออมเพื่อเกษียณอายุในประเทศไทย • เงินฝากธนาคาร • กองทุนประกันสังคม • กองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการ (กบข.) • กองทุนสงเคราะห์ครูใหญ่และครูโรงเรียนเอกชน • กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ • กองทุนสํารองเลี้ยงชีพสําหรับลูกจ้างประจําของส่วนราชการ (กสจ.) • กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (Retirement Mutual Fund หรือ RMF) • การประกันชีวิตแบบเงินได้ประจํา • กองทุนรวมหุ้นระยะยาว (Long Term Equity Fund หรือ LTF) • กองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)
113
ประมาณการสถานะเงินกองทุนชราภาพ ปี ๒๕๔๙-๒๕๙๐
กองทุนมีเงินสะสมสูงสุด ในปี ๒๕๘๐ : จํานวน ๗,๐๓๗,๒๕๖ ล้านบาท กองทุนมีเงินสะสม จนถึงปี ๒๕๘๙ : จํานวน ๑,๐๒๕,๕๑๙ ล้านบาท กองทุนติดลบเป็นปีแรก ในปี ๒๕๙๐ : จํานวน -๗๗๐,๓๓๒ ล้านบาท, ผู้รับบํานาญประมาณ ๔.๕ ล้านคน
ประมาณการจํานวนกําลังแรงงาน (Labor force) ของผู้สูงอายุ (๖๐ ปีขึ้นไป) ทั่วราชอาณาจักร ประชากรผู้สูงอายุ (พันคน) กําลังแรงงานผู้สูงอายุ (พันคน) AR (%)
รวม
๒๕๕๓
๒๕๖๓
๒๕๗๓
๒๕๕๓
๒๕๖๓
๒๕๗๓
ต่อปี
๘,๐๑๐.๙ ๑๒,๒๗๒.๐ ๑๗,๗๔๓.๘ ๓,๓๒๖.๙ ๕,๑๕๕.๗ ๗,๐๒๔.๗ ๔๑.๐
ในเขต ๒,๔๓๔.๙ ๓,๗๒๗.๓ ๕,๓๘๙.๒ ๗๖๔.๓ ๑,๑๘๔.๔ ๑,๖๑๓.๗ ๓๑.๐ เทศบาล นอกเขต ๕,๕๗๖.๑ ๘,๕๔๔.๘ ๑๒,๓๕๔.๖ ๒,๕๖๒.๖ ๓,๙๗๑.๓ ๕,๔๑๑.๐ ๔๕.๔ เทศบาล ที่มา : TDRI 2553
หมายเหตุ : ใช้ข้อมูลการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๔๓๒๕๗๓ (ข้อสมมติภาวะเจริญพันธ์ุปานกลาง) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติในการคํานวณ และกําหนดสัดส่วนต่างๆ คงที่ สัดส่วนประชากร (๒๕๕๒) ในเขตเทศบาล = ๓๐.๔% นอกเขต = ๖๙.๖%
ประชากรผู้สูงอายุ
สถิติสําคัญผู้สูงอายุไทย ปี ๒๕๕๐ โครงสร้างประชากรไทย อัตราการเกิดที่ลดลงอย่างต่อเนื่องจาก ๔๒.๒ คน ในปี ๒๕๐๗ เป็น ๑๐.๙ คนต่อ ประชากร ๑,๐๐๐ คน ในปี ๒๕๔๘ ทําให้ประชากรเด็กอายุ ๐-๑๔ ปีลดลง ในขณะที่ประชากร วัย ๖๐ ปีขึ้นไปเพิ่มมากขึ้น ประชากรผู้สูงอายุ แบ่งออกเป็น ๓ กลุ่มอายุ ๖๐-๖๙ ปี ร้อยละ ๕๘.๘ อายุ ๗๐-๗๙ ปี ร้อยละ ๓๑.๗ อายุ ๘๐ ปีขึ้นไป ร้อยละ ๙.๕ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย คือ การมีประชากรอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ ๑๐ ซึ่งในปี ๒๕๕๐ มีอยู่ร้อยละ ๑๐.๗ ลักษณะการอยู่อาศัยอย่างไทย ผู้ สู ง อายุ ม ากกว่ า ร้ อ ยละ ๕๘.๓ ยั ง มี ก ารอยู่ แ บบครอบครั ว ขยายอย่ า งวั ฒ นธรรมไทย ขณะที่ ร้ อ ยละ ๓๑ มี ก ารอยู่ แ บบครอบครั ว เดี่ ย วและมี แ นวโน้ ม ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น นอกจากนี้ ที่น่าเป็นห่วงคือ ผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียว อยู่กับคู่สมรสโดยลําพัง และอยู่กับหลานมีจํานวน ที่เพิ่มมากขึ้น เป็นผู้สูงอายุที่ขาดการดูแลเอาใจใส่ 114
การดูแลผู้สูงอายุ • กลุ่ ม อายุ ๖๐-๖๙ ปี ยั ง มี สุ ข ภาพที่ แ ข็ ง แรงจึ ง ทํ า ให้ ผู้ สู ง อายุ ม ากกว่ า ร้อยละ ๘๙ สามารถดูแลการทํากิจวัตรประจําวันด้วยตนเองได้ มีเพียงร้อยละ ๑๑.๕ เท่านั้น ที่ไม่สามารถดูแลตนเองได้ • ผู้ดูแลส่วนใหญ่จะเป็นบุตรโดยเฉพาะบุตรสาว • คู่สมรสหรือภรรยาจะเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุชายมากถึงร้อยละ ๕๓.๒ ในขณะที่ สามีจะเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ หญิงเพียงร้อยละ ๑๑.๕ เท่านั้น • การเยี่ยมเยียนผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุไทยมากกว่าร้อยละ ๘๐ ได้รับการเยี่ยมเยียน จากบุตรหลาน และญาติมิตรต่างๆ โดยเฉพาะในวันผู้สูงอายุ ๑๓ เมษายน • การเตรียมพร้อมรับมือการเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู อายุ เช่น ญีป่ นุ่ มีประชากรผูส้ งู อายุ ร้ อ ยละ ๓๐ ได้ เ ตรี ย มความพร้ อ มตั้ ง แต่ ปี ๒๕๐๒ ปั จ จุ บั น มี ก ฎหมายบํ า นาญแห่ ง ชาติ มีระบบประกันการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว มีระบบโครงสร้างคุ้มครองทางสังคม
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๓ • ผู้สูงอายุ ๑ ใน ๕ ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด เป็นโรคต้อกระจก • ผู้สูงอายุ ๑ ใน ๓ ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด มีปัญหาการได้ยิน • ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ มีปัญหาเรื่องการกลั้นปัสสาวะและอุจจาระ • ผู้ สู ง อายุ ม ากกว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง มี โ รคเรื้ อ รั ง ได้ แ ก่ โรคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด โรคของต่อมไร้ท่อ และโรคระบบกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูก และข้อ • การดู แ ลสวั ส ดิ ก ารผู้ สู ง อายุ ได้ แ ก่ กองทุ น สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชน เบี้ ย ยั ง ชี พ ผู้สูงอายุ กองทุนผู้สูงอายุ • การให้ เ งิ น ช่ ว ยเหลื อ แก่ ผู้ สู ง อายุ ที่ ด้ อ ยโอกาสและประสบความเดื อ ดร้ อ น การช่วยเหลือค่าจัดการศพแก่ผู้สูงอายุที่เสียชีวิต • การทํางาน รายได้ และการออมของผู้สูงอายุมีแนวโน้มทํางานเพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ ๓๗.๒ งานส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับงานด้านเกษตรกรรม • การเข้ าถึงข้อมูลการศึกษาและการศึกษาเรียนรู้ ตลอดชีวิตปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึง • ข้อมูลการศึกษาผ่านช่องทางโทรทัศน์ ETV การรับฟังรายการวิทยุ การชม นิทรรศการ การใช้บริการห้องสมุด และเว็บไซต์ • ศักยภาพของผู้สูงอายุ มีการสนับสนุนการกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพราย บุคคลแก่ผู้สูงอายุโดยผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะกู้ยืม เพื่อทําเกษตรกรรม
115
เวชศาสตร์ชะลอวัย (Anti-Aging Medicine)
เวชศาสตร์ชะลอวัยเป็นสาขาทางการแพทย์ ทีม่ งุ่ เน้นการป้องกัน รักษา และฟื้นฟู ภาวะเสื่อมตามวัย โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มอายุขัย ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์ที่สุด และ ป้องกันและรักษาสภาวะเสื่อมตามวัย การส่งเสริมสุขภาพและชะลอความเสื่อมเพื่อเพิ่ม พลังงานทําให้รสู้ กึ กระฉับกระเฉงสดชืน่ ลดไขมันในร่างกาย เพิม่ กล้ามเนือ้ และความแข็งแรง นอนหลับได้ดี และช่วยทําให้ระบบภูมิคุ้มกันดีขึ้น ระดับของการทํา Anti-Aging มี ๓ ระดับ คือ ๑) ทําด้วยตนเองได้ ด้วยการหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทําลายสุขภาพ นอนหลับให้เพียงพอ ลดความเครียด ออกกําลังกายเป็นประจํา เลือกรับประทานอาหารให้ถกู ต้อง และรักษานํา้ หนัก ให้อยู่ในเกณฑ์ ๒) มีแพทย์ คอยช่วยเหลือดูแล ด้วยการตรวจสุขภาพประจําปี รักษาด้ วยวิธี เวชศาสตร์วัยยุวัฒน์ได้แก่ การรักษาด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งสารอนุมูลอิสระทําให้ เกิดกระบวนการ Oxidation มีผลต่อการเสื่อมของโครงสร้างเซลล์ ทําให้เกิด โรคชรา โรคเสื่อมโทรมของอวัยวะต่างๆ โรคหลอดเลือดอุดตัน และโรคมะเร็ง โดยร่างกายมนุษย์ สามารถสังเคราะห์สารต้านอนุมูลอิสระได้เอง (Glutathione และ SOD) ได้แก่ Vitamin B1, B2, B3, Se, Fe, Cu, Zn, Mn และสารต้านอนุมูลอิสระจากอาหาร ได้แก่ Vitamin A, C, E CoEnzyme Q10, Lipoic Acid Colorful Foods: Carotenoids, Lycopene, Lutein, Zeaxanthin, Anthocyanins, etc. ซึ่งหากเรารับประทานอาหารที่มีสารต้านอนุมูลอิสระ ก็จะต้องรับประทานในปริมาณมาก ดังนั้น บางโอกาสการใช้ยาหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เช่น วิตามินชนิดเม็ดต่างๆ ทําให้ร่างกายชะลอความเสื่อมได้และดูดซึมสู่ร่างกายได้ง่ายกว่า ส่วนการให้ฮอร์โมนทดแทน จะต้องมีการตรวจสุขภาพร่างกาย ตรวจระดับฮอร์โมนจาก แพทย์ก่อน และต้องมีการติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่อง ๓) การใช้เทคโนโลยีในอนาคต เช่น การตรวจทางพันธุกรรม (Genetic testing) การตรวจถึงการแสดงออกของพันธุกรรม (Proteomics) การรักษาด้วย Stem cells ซึ่งวิธีนี้ก็ต้องระวังอาจทําให้เกิดการแพ้ได้ สรุ ป ว่ า Anti-Aging เป็ น โปรแกรมสํ า หรั บ ทุ ก คน ดั ง นั้ น ทุ ก คนควรได้ รั บ การตรวจร่างกาย และดูแลรักษาสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงไปนานๆ และไม่รอให้ป่วยก่อน เพราะอาจจะสายเกินไป
นวัตกรรมสําหรับผู้สูงอายุ : การเตรียมตัวสู่สังคมผู้สูงอายุ
ในหลายประเทศที่ กํ า ลั ง ก้ า วสู่ สั ง คมผู้ สู ง อายุ ได้ ว างนโยบายสํ า คั ญ เพื่ อ ดู แ ล ผู้สูงอายุในด้านสวัสดิการผู้สูงอายุ การแพทย์ ยารักษาโรค การดูแลชีวิตความเป็นอยู่ บ้านพักผู้สูงอายุที่ไม่มีคนดูแล นอกจากนี้ ยังส่งเสริมการให้บริการด้านการเรียนรู้สําหรับ ผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุใช้ชีวิตได้อย่างมีคุณภาพ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์อันมีส่วนลด โรคสมองเสื่อมและภาวะโรคซึมเศร้า 116
การจัดสภาพแวดล้อมในสังคมผู้สูงอายุ ควรมีการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออํานวยความสะดวกต่อผู้สูงอายุ เช่น การโดยสาร รถไฟฟ้ า ผู้ สู ง อายุ และผู้ พิ ก ารสามารถเดิ น ได้ ส ะดวกหรื อ ไม่ มี ท างต่ า งระดั บ ขั้ น บั น ไดที่ ไม่เอื้อในการเดินทาง มีทางลาด ราวจับหรือไม่ ดังนั้น ควรมีการพิจารณาดําเนินการจัดการ ช่วยเหลือที่สมเหตุสมผล การออกแบบบ้านสําหรับผู้สูงอายุ บ้านใจดี เป็นตัวอย่างต้นแบบ การออกแบบบ้ านเพื่อคนทั้งมวล Universal Design มี ห ลั ก การ คื อ ห้ อ งนํ้ า มี ข นาด กว้ า ง ยาว ราวจั บ ทางเรี ย บ เหมาะสํ า หรั บ ผู้ สู ง อายุ ที่ ใ ช้ Wheel Chair มี อุ ป กรณ์ ภายในบ้ า นที่ เ อื้ อ ต่ อ ผู้ สู ง อายุ อุ ป กรณ์ จั ด สวน เช่ น กรรไกรสํ า หรั บ ผู้ สู ง อายุ อ่ อ นแรง อุปกรณ์ห้องนอน เช่น ที่นอนป้องกันแผลกดทับ ที่ยกผู้ป่วย เป็นต้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ มีมาตรการและโครงการสําหรับผู้สูงอายุที่น่าสนใจ ได้แก่ การจัดการศึกษาพัฒนา ศักยภาพผู้ สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุได้ ใช้ศักยภาพของตัวเองอย่ างเต็มที่ไปกับการเรียนรู้ ตลอดชีวิต ทั้งเป็นการลดอาการซึมเศร้าและโรคเกี่ยวกับสมอง เช่น อัลไซเมอร์ เป็นต้น ในต่างประเทศจึงมีนโยบายและโครงการด้านการศึกษาแก่ผู้สูงอายุ เช่น เกาหลีใต้ : อบรม ทั กษะไอที สรุป รูปแบบบริการที่จะให้ในอนาคต จะเป็นอย่างไรนั้น ที่ต้องคิด และวางระบบกลไก ให้ครอบคลุมผูส้ งู อายุทงั้ ๓ กลุม่ (ติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง) ไม่วา่ จะอยูก่ บั ครอบครัวญาติ อยู่กับคู่สมรส และอยู่คนเดียว ชุมชน ท้องถิ่น ภาครัฐและภาคเอกชน ต้องให้การสนับสนุน และทําอย่างไรให้อยู่ในชุมชน พึ่งพาตนเองให้ได้มากที่สุดและมีการปรับสภาพแวดล้ อม เพื่อให้สภาพเหมาะสมและเอื้อในการดูแลสุขภาพ เริ่มจากการเตรียมคน คือ บุคลากร ที่เกี่ยวข้อง อาสาสมัครชุมชนต้องมีการพัฒนาทักษะทั้งแกนนํา ทีมเยี่ยมเยียน และผู้ดูแล อีกทั้งต้องมีระบบข้อมูลในระดับตําบลพร้อมใช้งานได้ เพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุในอนาคต สามารถขับเคลื่อนได้ทําให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อไปในอนาคต
117
การจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม น.ส.ภาลินี ปัญณาวิพัช เทศบาลนครอุดรธานี ผศ. ดร.สุเมธ ไชยประพัทธ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์ นพ.ประวิทย์ วรรณโร รพ.หาดใหญ่ ผศ. ดร.บุญส่ง ไข่เกษ ผู้ดําเนินการอภิปราย
การจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็น การจั ด การสุ ข าภิ บ าลสิ่ ง แวดล้ อ มแนวใหม่ ที่ มี แ นวคิ ด ในการนํ า ของเสี ย นํ า กลั บ มาใช้ ประโยชน์ เพื่อช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อนและผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน จึงได้ เชิญวิทยากร ๓ ท่าน จาก ๓ หน่วยงาน ได้แก่ เทศบาลนครอุดรธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และโรงพยาบาลหาดใหญ่ จ.สงขลา มาร่วมกันอภิปราย แนวทางการดําเนินการจัดการตามหลักการสุขาภิบาลอย่างยัง่ ยืนและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ที่เป็นต้นแบบ และนําไปปรับใช้กับท้องที่อื่นได้ น.ส.ภาลินี ปัญณาวิพัช
สภาพปัญหาของเทศบาล มีปริมาณขยะ ๒๐๐-๒๔๐ ตัน / วัน เป็นขยะติดเชื้อ ๒๒ ตัน / สัปดาห์ และสิ่งปฏิกูล ๑๕๐-๒๐๐ ลบ.ม. / บ่อ / วัน การจัดการสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม มีสถานที่กําจัด พื้นที่ ๒๙๖ ไร่ (ฝังกลบ) เตาเผาขยะติ ด เชื้ อ ๑ แห่ ง บ่ อ หมั ก สิ่ ง ปฏิ กู ล ๓๑ บ่ อ รถเก็ บ ขนขยะมู ล ฝอย ๓๓ คั น โครงการคลองสวยนํ้าใส (ลําห้วย ๒ แห่ง มีการทําความสะอาดในชุมชนแก้ปัญหาขยะ) โครงการสุขาภิบาลสถานประกอบการ และการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วมในชุมชน ฯลฯ การจัดการขยะมูลฝอยเทศบาลนครอุดรธานีมีการดําเนินการชุมชนนําร่องใน ชุมชนโนนอุทุมพร
118
• กิจกรรมขยะแลกไข่ กิจกรรมเริ่มต้น • กิจกรรมรณรงค์คัดแยกของเสียอันตรายในชุมชน • ตั้งวางภาชนะรองรับของเสียอันตรายในชุมชน
การจัดการขยะอินทรีย์ ๑. การทํานํ้าหมักชีวภาพ (EM) จากขยะครัวเรือน ๒. ส่ ง เสริ ม การทํ า นํ้ า หมั ก ชี ว ภาพจากขยะอิ น ทรี ย์ ใ นครั ว เรื อ นโดยแจกถั ง พลาสติกให้แก่ครัวเรือนที่สนใจ ๓. การทํานํ้าหมักชีวภาพ (EM) จากขยะอินทรีย์ในครัวเรือนบริเวณที่ว่างในชุมชน เพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกัน ๔. การทําปุ๋ยหมักอินทรีย์และดินปลูกต้นไม้ ๕. ถังหมักแก๊สชีวภาพ ๖. การนําขยะอินทรีย์ไปใช้เลี้ยงสัตว์ในชุมชน ๗. การเลี้ยงไส้เดือนดินกําจัดขยะอินทรีย์ การจัดการขยะทั่วไป ได้แก่ การนําถุงพลาสติกมาใช้ปลูกต้นไม้ / ผักสวนครัว การนํายางรถยนต์มาใช้ปลูกต้นไม้ / ผักสวนครัว การนําขวดพลาสติกมาใช้ปลูกต้นไม้ และ การนําวัสดุเหลือใช้มาทําประโยชน์ด้านต่างๆ กิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ได้แก่ กิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้การจัดการขยะ มูลฝอยตามหลัก ๓ Rs กิจกรรมออกหน่วยรณรงค์ตามชุมชนต่างๆ กิจกรรมปลูกต้นไม้ การเข้าร่วมกิจกรรมโครงการด้านการจัดการขยะของส่วนกลาง และโครงการประกวดชุมชน ปลอดขยะ (Zero Waste) ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้รับรางวัลพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๑. รางวัลชุมชนต้นแบบลดเมืองร้อนด้วยมือเรา ปีที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒. โครงการลดเมืองร้อนด้วยมือเรา ปีที่ ๖ ของสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ร่วมกับ บริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จํากัด ๓. โครงการประกวดชุมชนปลอดขยะ ของสํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจังหวัดอุดรธานี
การประยุกต์ใช้ระบบบ่อหมักร่วมไร้อากาศในการบําบัดนํา้ เสียสหกรณ์โรงอบ / รมยาง โดย ผศ. ดร.สุเมธ ไชยประพัทธ์
ที่มาและความสําคัญ ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศไทย ปัจจุบันมีการผลิตและส่งออก เป็นอันดับ ๑ ของโลก โดยร้อยละ ๙๐ ได้แก่ ยางแผ่นรมควัน ยางแท่ง นํ้ายางข้น และอื่นๆ การผลิตยางแผ่นในอดีตนิยมทํากันเฉพาะในครัวเรือน ยางแผ่นที่ได้มีคุณภาพไม่สมํ่าเสมอ เท่าที่ควร ประกอบกับราคายางแผ่นตกตํ่าใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๖ 119
รัฐบาลได้มีการสนับ สนุ น การสร้า งโรงรมควั น ยางแผ่น โดยในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ มีจํานวน ๓๐๐ แห่ง ในปีพ.ศ.๒๕๓๘ มีจํานวน ๔๐๐ แห่ง และปัจจุบันมีจํานวน ๖๙๕ แห่ง และเกษตรกรก็รวมตัวจัดตั้งเป็นสหกรณ์กองทุนสวนยาง จํากัด กระบวนการผลิตยางแผ่น กระบวนการผลิตยางแผ่นรมควัน ใช้นํ้ายางสดเป็นวัตถุดิบ เพื่อแปรสภาพไปเป็น ยางแห้ง นําไปใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมขั้นต่อไป และจากกระบวนการดังกล่าวก่อให้ เกิดนํ้าเสียที่มีความเข้มข้นของสารอินทรีย์สูง นํ้าเสียจากสหกรณ์มีศักยภาพในการผลิต ก๊าซชีวภาพ ก๊าซที่ได้สะอาดสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ทันที รูปกระบวนการผลิตยางแผ่นรมควัน
ระบบบำบัดน้ำเสียของสหกรณ์โรงอบ / รมยางในรุน่ ออกแบบ ปี พ.ศ.๒๕๓๗ (a) และปี พ.ศ.๒๕๓๘ (b) ที่มา : สายัณห์ สดุดี และคณะ.๒๕๔๘
120
แม้ทางสหกรณ์โรงอบ / รมยางจะมีระบบบําบัดเป็นระบบบ่อเติมอากาศ ๒ บ่อ ซึ่งออกแบบ ในปี ๒๕๓๗ ดังรูป a และ รูป b เป็นระบบบ่อหมักไร้อากาศ ๑ บ่อและบ่อเติม อากาศ ๑ บ่อ ซึ่งออกแบบในปี ๒๕๓๘ วัตถุประสงค์การวิจัย ๑. เพื่อให้ความรู้ในการจัดการนํ้าเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตยางแผ่นรมควัน ของสหกรณ์โรงอบ / รมยาง ในพื้นที่จังหวัดสงขลา ๒. เพื่อพัฒนาต้นแบบและสร้างระบบบําบัดนํ้าเสียไร้อากาศที่เหมาะสมสําหรับ ผลิตก๊าซชีวภาพ ให้แก่สหกรณ์โรงอบ / รมยางแผ่นรมควันนําร่อง วิธีดําเนินการวิจัย ๑. สํ า รวจและคั ด เลื อ กสหกรณ์ โ รงอบ / รมยางในพื้ น ที่ จ.สงขลา เพื่ อ เป็ น ตัวแทนสหกรณ์ฯ นําร่องรับนํ้ายาง วิเคราะห์หาร้อยละของเนื้อยางแห้ง เทนํ้ายางสดผ่าน ตระแกรงกรองเพื่อแยกสิ่งเจือปนทํายางให้เป็นแผ่น ล้างยาง รีดยาง ตากยางบนราว ก่อน เข้าห้องรมควันยาง ๒. จัดกิจกรรมการมีส่วนร่วม เช่น จัดประชุมสนทนาแลกเปลี่ยนกับสหกรณ์ โรงอบ / รมยาง ๓. ทบทวนปรับปรุงรูปแบบให้เหมาะสม ๔. ศึกษาออกแบบการก่อสร้าง โดยพิจารณาถึงปัจจัยและข้อจํากัดต่างๆ ที่ได้ จากการสํารวจพื้นที่สหกรณ์ฯ นําร่อง ๕. ทบทวนแบบก่อสร้าง และพัฒนาให้เป็นแบบที่มีความเหมาะสม ๖. ก่อสร้างระบบนํ้าเสียไร้อากาศ ณ สหกรณ์ฯ นําร่อง ๗. เดินระบบบําบัดนํ้าเสียไร้อากาศ และติดตามประเมินผลประสิทธิภาพการ ทํางานของระบบสหกรณ์ฯ ที่เป็นพื้นที่ศึกษาวิจัยนําร่อง ได้แก่ สหกรณ์ฯ บ้านเก่าร้าง จํากัด อ.คลองหอยโข่ง จ.สงขลา ระบบบ่อหมักร่วมไร้อากาศ (Co-digester) องค์ประกอบที่สําคัญ ประกอบด้วย ๔ หน่วยบําบัดย่อย ได้แก่ บ่อป้อนมูลสัตว์ บ่อหมักก๊าซชีวภาพ บ่อชักกากตะกอน และคูเก็บกากตะกอน
จุดเด่นของระบบบ่อหมักร่วมไร้อากาศ คือ • คลุมบ่อโดยใช้แผ่นพีวซี ี (High Density Polyvinyl chloride; PVC) ทำให้ สามารถรวบรวมก๊าซชีวภาพที่เกิดขึ้นไว้ใต้แผ่นคลุม และนําไปใช้เป็น เชื้อเพลิงร่วมกับฟืน • ลดปัญหาเรื่องกลิ่นเหม็นรบกวนพื้นที่รอบข้าง • สร้างใกล้พื้นที่ชุมชนได้
121
ประสิทธิภาพระบบบําบัดฯ หน่วยบําบัด ประสิทธิภาพการกําจัดซีโอดี (%) บ่อหมักก๊าซชีวภาพ ๘๓ บ่อปรับสภาพ (บ่อสุดท้าย) ๙๔
ต้นทุนผลิตยางแผ่นรมควันสหกรณ์ฯ บ้านเก่าร้าง ไม้ฟืน ไม้ฟืน+ก๊าซชีวภาพ ๐.๖๕-๐.๘๓ ๐.๔๕-๐.๖๐ ปริมาณการใช้ไม้ฟืน (กก. ต่อ กก.ยาง) ๐.๗๒ ๐.๕๕ ต้นทุนการผลิต (บาท ต่อ กก.ยาง) หมายเหตุ : ราคาไม้ฟืน ๑ บาท ต่อ กก. • การใช้ไม้ฟืนร่วมกับก๊าซชีวภาพรมยาง มีต้นทุนต่ำกว่าใช้ไม้ฟืน ๐.๑๗ บาท ต่อ กก.ยาง • สามารถประหยัดไม้ฟืนได้ ๒๔%
การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกสู่สิ่งแวดล้อม (เบื้องต้น) • ลดการปลดปล่อยก๊าซมีเทนได้ ๑๗,๔๔๐ gCH /d 4 • ลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ ๔๐๑.๑๒ kgCO -eq/d หรือ 2 ประมาณ ๘๐ ตันต่อปี นพ.ประวิทย์ วรรณโร
จากสภาพปัญหาปริมาณผู้มารับบริการเพิ่มขึ้น ปริมาณมูลฝอยในโรงพยาบาล ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น และการจั ด การมู ล ฝอยติ ด เชื้ อ ในปั จ จุ บั น มี ปั ญ หาค่ อ นข้ า งมาก ในด้ า น เทคโนโลยีที่ใช้ในการกําจัดโดยวิธีการเผา ซึ่งก่อให้เกิดมลพิษ จึงได้มีหาแนวทางในการลด ปัญหาขยะมูลฝอย โดยการจัดการขยะอย่างเป็นระบบที่เริ่มตั้งแต่การคัดแยกขยะ การปรับ เปลี่ยน การบริหารการจัดการและการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เป็นต้น
เปรียบเทียบปริมาณมูลฝอยติดเชื้อในโรงพยาบาลกับปริมาณการให้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน 122
โรงพยาบาลหาดใหญ่แก้ไขปัญหา โดยการคัดแยกขยะ โดยมีการแยกขยะรีไซเคิล อย่างมีประสิทธิภาพทําให้สามารนําไปขายได้ราคาเพิม่ มากขึน้ และลดปริมาณขยะชนิดอืน่ ลง ทําให้การจัดการกับขยะติดเชื้อดําเนินงานได้ดีมากขึ้น
การจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิล
วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อลดการแยก / ทิ้งมูลฝอยโรงพยาบาลที่ไม่ถูกต้อง และลดการปนเปื้อน ๒. เพื่อรณรงค์รักษ์สิ่งแวดล้อม ได้นํามารีไซเคิล ๓. เป็นการสร้างจิตสํานึกให้ทุกคน ช่วยกันแยก / ทิ้งมูลฝอยให้ถูก และ รักษ์สิ่งแวดล้อม และทําให้ที่ทํางานสะอาดมีระเบียบ
การบริหารจัดการเงิน • การแบ่งผลประโยชน์ พิจารณาในรูปคณะกรรมการ • 3 Ward มีรายได้ประมาณ ๑,๕๐๐-๒,๕๐๐ บาท / เดือน
123
สรุปขยะโรงพยาบาลหาดใหญ่
ปีงบประมาณ ๒๕๕๒
ปีงบประมาณ ๒๕๕๓
๑,๘๑๖,๔๕๕ ๑,๘๔๖,๕๗๕ ขยะทั่วไป (กก.) ขยะติดเชื้อ (กก.) ๘๘,๐๓๐ ๙๓,๗๘๐ ค่ากําจัดขยะติดเชื้อ (บาท) ๑,๘๐๔,๕๔๒ ๑,๙๖๙,๓๘๐ ตารางเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายในการส่งกําจัดขยะติดเชื้อ กับการจัดการเองภายในโรงพยาบาลหาดใหญ่ เดือ นที่
เดือ น
๑ มกราคม ๒ กุมภาพันธ์ ๓ มีนาคม ๔ เมษายน ๕ พฤษภาคม ๖ มิถุนายน ๗ กรกฎาคม ๘ สิงหาคม ๙ กันยายน ๑๐ ตุลาคม ๑๑ พฤศจิกายน ๑๒ ธันวาคม
รวม
ปริมาณ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายใน ผลต่าง ขยะติดเชื้อ ในการส่งกำจัด การจัดการเอง (บาท) (กก.) (บาท) (คำนวณ (บาท) โดยประมาณ โดยประมาณ ที่ ๒๘ บาท / กก.) โดยประมาณ
๙,๐๐๐ ๙,๐๐๐ ๙,๐๐๐ ๙,๐๐๐ ๙,๐๐๐ ๙,๐๐๐ ๙,๐๐๐ ๙,๐๐๐ ๙,๐๐๐ ๙,๐๐๐ ๙,๐๐๐ ๙,๐๐๐
๒๕๒,๐๐๐ ๒๕๒,๐๐๐ ๒๕๒,๐๐๐ ๒๕๒,๐๐๐ ๒๕๒,๐๐๐ ๒๕๒,๐๐๐ ๒๕๒,๐๐๐ ๒๕๒,๐๐๐ ๒๕๒,๐๐๐ ๒๕๒,๐๐๐ ๒๕๒,๐๐๐ ๒๕๒,๐๐๐
๙๒,๒๔๐ ๙๒,๒๔๐ ๙๒,๒๔๐ ๙๒,๒๔๐ ๙๒,๒๔๐ ๙๒,๒๔๐ ๙๒,๒๔๐ ๙๒,๒๔๐ ๙๒,๒๔๐ ๙๒,๒๔๐ ๙๒,๒๔๐ ๙๒,๒๔๐
๑๕๙,๗๖๐ ๑๕๙,๗๖๐ ๑๕๙,๗๖๐ ๑๕๙,๗๖๐ ๑๕๙,๗๖๐ ๑๕๙,๗๖๐ ๑๕๙,๗๖๐ ๑๕๙,๗๖๐ ๑๕๙,๗๖๐ ๑๕๙,๗๖๐ ๑๕๙,๗๖๐ ๑๕๙,๗๖๐
๑๐๘,๐๐๐
๓,๐๒๔,๐๐๐
๑,๑๐๖,๘๘๐
๑,๙๑๗,๑๒๐
การบําบัด / กําจัดขยะติดเชื้อโดยวิธีอบไอนํ้า Autoclave เป็นวิธีการที่กฎหมายรับรองและอนุญาตให้ใช้ได้ โรงพยาบาลหาดใหญ่จึงได้ริเริ่ม โครงการกําจัดขยะติดเชื้อด้ วยวิ ธี อ บไอนํ้ า โดยมี ต้ น แบบจากโรงพยาบาลเชี ย งใหม่ ร าม ซึ่งเมื่อนําขยะติดเชื้อในถุงไปผ่านการอบไอนํ้าทําลายเชื้อโรคแล้ว ก็จะสามารถนําขยะมาใส่ ถุงดําและกําจัดรวมกับขยะทั่วไปได้
124
วัตถุประสงค์ การทํา Green Hospital • เพื่อให้โรงพยาบาลบําบัด / กําจัดขยะติดเชื้อด้วยวิธีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพิ่มความปลอดภัยในการนําขยะมูลฝอยติดเชื้อที่ผ่านระบบ Autoclave แล้วไปฝังกลบร่วมกับขยะมูลฝอยทั่วไป • เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการส่งเผากําจัดมูลฝอยติดเชื้อที่มีแนวโน้มปรับราคา สูงขึ้น • เพิ่ ม รายได้ จ ากการขายเป็ น ขยะ Recycle (ขวดนํ้ า เกลื อ สายนํ้ า เกลื อ เข็มฉีดยา) • ภาพลักษณ์ที่ดีต่อสังคม ในฐานะโรงพยาบาลสีเขียว (Green Hospital) Project นําร่อง กรมอนามัยร่วมศึกษาวิจัยเก็บข้อมูล • เริ่มปฏิบัติการนึ่งขยะ ต.ค. ๒๕๕๔ นี้ • เป็นแหล่งสถานที่ดูงานของสถานรักษาพยาบาล และเทศบาลต่างๆ • แยกขยะที่นึ่งแล้ว เป็นขยะ Recycle และขยะทั่วไป ซึ่งมีโครงการจะเปลี่ยน เป็น Recycle Material ด้วย • Change ระบบเผาขยะติดเชื้อแบบเดิม ลดการเผานํ้ามัน / ก๊าซ ลดสภาพ อากาศเป็นพิษ ลดโลกร้อน • ลดค่าใช้จ่ายจากการส่งเผา เป็นการเพิ่มรายรับ • สร้างจิตสํานึกร่วมกันให้เกิดเป็นรูปธรรมอย่างยั่งยืน
สรุป การเลือกใช้เทคโนโลยีใดมาจัดการกับของเสียก็ต้องดูบริบทของชุมชน และ การนํ า ไปปรับใช้ อย่ างเหมาะสม เพราะเทคโนโลยี ทุ ก อย่า งมั ก มี จุ ด อ่อ นอยู่บ างประการ การพิจารณาถึงข้อดีและข้อเสียอย่างรอบคอบ จึงจะทําให้เกิดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง
125
สุขภาพดี...ดวยวิถีคุณธรรม ศ.ระพี สาคริก พญ.แสงโสม สีนะวัฒน ผู้ดำเนินการอภิปราย
มีชายคนหนึง่ เขามาควาขอมือของผมแลวบอกวา “อาจารยไปกับผม” ผมหันไปมอง เอะ! คนนี้รูจักผมดวยหรือ เขาตอบวา “ผมรูจัก มาตั้งแตรุนพอของอาจารย” ผลสุดทาย เขาก็แนะนําตัววา เปนหัวหนาพนักงานรักษาความปลอดภัย อยูที่หางเซ็นทรัลบางนา และ จู ง ผมไปส ง กระทั่ ง ถึ ง รถ ในช ว งเวลาเกื อ บห า ทุ ม ซึ่ ง เป น เวลาป ด ของห า งสรรพสิ น ค า วั น นี้ เ องผมได พ บกล ว ยไม ด อกงามบานอยู เ ต็ ม ห อ ง หลายคนมั ก ถามผมเวลาไปที่ บานอาจารยปลูกกลวยไมหรือเปลา ผมตอบวาปลูกก็ได ไมปลูกก็ได ถาเห็นดวยตาก็อาจจะ มองวาไมปลูก แตถาเห็นดวยปญญาจะรูวาปลูก แตวาพันธุกลวยไมที่ปลูกไมไดรวงโรย ปลู ก มาตั้ ง แต เ ล็ ก ทะนุ ถ นอมจนกระทั่ ง ออกดอกมาสวยงามให ค นได ชื่ น ชมไปทั่ ว โลก เพราะฉะนั้น นอกจากไมรวงโรยแลวกลวยไมยังสืบทอดไปถึงคนรุนหลัง ซึ่งผมไดตั้งชื่อ กล วยไมพันธุนี้วา “ความรักในเพื่อนมนุษย” ตั้งแตเล็กผมไมชอบความไมยุติธรรม ตอนอายุไมถึง ๑๐ ขวบ มีผูใหญคนหนึ่ง เอากลวยไมมาเลน มาดูถูกคนจน คนดอยโอกาส มาดูถูกเด็กอยางผม ซึ่งแมจะเปนเด็กแต ยังรูสึกวาตนเองก็มีเกียรติมีศักดิ์ศรี นํ้าที่ไหล ไมที่ปกอยู เรามองที่ผิวนํ้ารูสึกวาไมมันไหล ไปตามกระแสนํ้า แตแทจริงแลวไมมันปกอยูกับที่ มีเพียงแตนํ้าที่ไหลตางหาก เพราะ ฉะนั้นจิตมนุษยก็เชนกัน “ไอที่มันอยูขางนอกมันเปลี่ยนแปลงอยูตลอด จิตเราสิ ควรจะตอง มั่นคง ซื่อสัตยตอตนเอง” เมื่อซื่อสัตยตอตนเองความเขมแข็งก็เกิดขึ้น วันนี้ตัวผมเองรูสึก โชคดี เพราะมานั่งอยูตรงนี้กําลังถูกสัมภาษณ ผูสัมภาษณทุกๆ ทานเปนดั่งครู คนรุนหลัง คือครูซึ่งผมคิดอยางนี้มาตลอด แมกระทั่งตอนดํารงตําแหนงอธิการบดี อยูกับเด็กเปน จํานวนมาก ทําใหรสู กึ วาอยูแ ลวมีความสุข เพราะไดครูทดี่ ี ดังนัน้ การทํางานอยาดูถกู คนขางลาง อยาดูถูกคนรุนหลัง ควรจะยกเขาไวเหนือเราแลวความสุขก็จะเกิดขึ้น “ที่เขาชองกระจก มี ค า งอยู ก ลุ ม หนึ่ ง ขึ้ น ต น ไม แ ล ว เดี๋ ย วก็ ล งมาคลํ า พื้ น ดิ น เราก็ ไ ปดู ถู ก ว า มั น กลั ว พื้ น ดิ น มนุษยแทๆ เลย ไมรูจักคลําพื้นดินแลวความเปนมนุษยมันจะอยูหรือ” คนเรามักจะลืมตัว ทุกอยางโลกเลยเดือดรอน เราพูดกันถึงโลกรอน โลกใบที่อยูจริงรอน ถาโลกตัวจริงไมรอน โลกขางนอกก็ไมรอน อยูที่ไหนก็ไดทําอะไรก็ไดไมไปยึดติด ไมไปหลงอยูกับมัน ใหรูวาอะไร เปนของจริงอะไรเปนของหลอก เมือ่ ตอนทีผ่ มไปรับพระราชทานรางวัลปราชญ ทีท่ อ งสนามหลวง รายการเทีย่ งวัน ทันขาวสัมภาษณวา “อาจารยภูมิใจในอะไร” เขานึกวาผมจะตอบวาภูมิใจที่ไดรับรางวัล แตทานกลับตอบวา “ผมภูมิใจที่รอดปากเหยี่ยวปากกา มาไดจนถึงเดี๋ยวนี้เห็นมั้ยอยูตรงนี้ พวกนัน้ มันจะเปนอะไรก็แลวแต แตผมก็ยงั เปนคนเดินดินธรรมดาเหมือนทุกคนนีแ่ หละนะครับ” 126
องคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเปรียบดั่งครู ซึ่งผมมีโอกาสสัมผัสพระองคทานหลายสิ่ง หลายอยาง และเคยถูกพระองคแซวเรื่องดนตรี พระองคทรงพระสําราญมาก ลุกขึ้นมาควา ไมโครโฟนพูดตอหนาคนมากมายและรับสั่งวา “อ.ระพี สีซอใหควายฟง” เรียกเสียงฮาเฮ จากคนร ว มงาน ซึ่ ง เพลงแสงเที ย นที่ ศ าสตราจารย ร ะพี เ ล น ไวโอลิ น ในครั้ ง นั้ น สอน ใหตัวเองรูจักชีวิตไมถือตัว ถาเรารูจักคิด รูจักอยูอยางมีสติ หวนกลับไปนึกถึงเรื่องอดีต เราเกิดมาเราก็มีแลว ความหลากหลายของมนุษยนี้ สอนใหเรารูความเปนหนึ่ง นั่นคือจิตวิญญาณ ของเราเอง ถาเรารูความหลากหลายแลวยอมรับได “ใครดาเราก็ไมโกรธ ใครชมเราก็ไมหลง เปนธรรมชาติของเขา พูดกับคนไดมคี วามสุข อยูอ ยางไมมคี วามทุกข ดับทุกขไดเพราะทุกขนี้ มันสอนใหเรามีความสุข เพราะฉะนั้นความทุกขไมใชความเลว ถาเรามีความทุกขเมื่อไหร หยุดคิดแลวก็หวนกลับมา ออ! ทุกขมันอยูในใจเราไมไดอยูที่คนอื่นเลย คนดาก็ดาไป ทีจ่ ริง แลวคนอื่นเขาดา ไมใชหรอก เราเอามาเปนความทุกขเราก็ดาตัวเอง ถาดับทุกขตรงนี้ได เราก็สบาย ทุกอยางอยูที่ใจ” นี่คือวิถีธรรมของผมที่ทําใหรูวา คนที่อยูกับเราเขามีคุณคา มากกวาเราเพราะเขาสอนเราใหรูจักอยูอยางปลอยวาง การดับทุกขของผมคือใหกําลังใจ ชีวิตคนมันมีทุกอยางอยูในหัวใจ ศาสตรทุกสาขา รากฐานเดียวกันคือ ธรรมะ ถารถติด ทํ า ให เ ราอึ ด อั ด แต มี อ ย า งหนึ่ ง ไม ติ ด คื อ ความคิ ด ของเราเอง ฟ สิ ก ส คื อ ธรรมะ มองดู ลอรถที่อยูใกลเรา รถที่วิ่งไปขางหนาลอมันถอยหลัง ทําไมมันถึงถอยหลังเพราะรถวิ่งไป ตองเกาะถนน ลอที่เกาะถนนขางลางมันถอยหลัง สวนที่วิ่งไปขางหนาอยูขางบนลอยไป ในอากาศไมไดเกาะอะไรเลย สอนใหเรารูวา รถยนตวิ่งเร็วแรงกดถนนมันก็ลดลงถาลอยตัว เร็วเกินไปจะทําใหควํ่า เพราะฉะนั้นมนุษยก็เชนกัน อยาไปเร็วเกินไป มีสติเขาไว สติคือวารูจัก ทบทวนตัวเอง นั่นคือ ถอยหลังแลว เวลาเรากาวไปขางหนาก็เห็นแลววาลอรถยนตหมุนไป ตามหลั ก ธรรมนี้ บางคนมองไกลตั ว ไม ไ ด ม องใกล ยิ่ ง มองใกล เ ท า ไหร ยิ่ ง เห็ น ชั ด ว า ความจริ ง มั น อยู ต รงนี้ ในสั ง คมเราจะมองเห็ น ว า คนเรามองข า มสิ่ ง ที่ อ ยู ใ กล ตั ว แล ว ก็เกิดเรื่อง เวลานี้แผนดินเราจะไมเหลือเพราะเรามองขาม เราเกิดมาก็มาที่นี่ มองขามไป พอมองขามเสร็จ ตางชาติก็มาซื้อ เวลานี้แผนดินไทยเปนของตางชาติ บางจังหวัดใครมี ที่ดินก็นํามาขาย เราดูถูกคนขางลาง เราดูถูกชาวนาชาวไรวาตํ่าตอย แทจริงแลวตํ่าสุดนั้น คือสูงสุด เล็กสุดคือใหญสุด รายที่สุดคือดีที่สุด เอาชนะคนดวยความดี คือการเอาชนะใจ ตัวเองใหได จะเห็นไดวาธรรมะไมไดอยูที่อื่นแตอยูกับเรานี่เอง
ธรรมะจริงๆ อยูในใจเราอยูที่ไหนก็เรียนได เพราะฉะนั้นถาเราปฏิบัติธรรม ก็คือ การศึกษาตัวเราเอง อยูที่ไหนก็ทําได ทําอะไรก็ปฏิบัติได เพราะจริงๆแลวธรรมะก็คือใจ เราเอง อยูอยางรูคุณคา ทุกอยางที่อยูรอบตัวเรามีคา ถาใจเรารูคุณคาของตัวเอง เราก็จะรู คุณคาของทุกสิ่งทุกอยางได ไมประมาท 127
ศิลปะคือ สิ่งที่เราควรทําดวยมือของเราเอง ดูแบบอยางจากในหลวงนี้ ทานทรง ทํ า หลายอย า ง เช น เรื อ ใบ เครื่ อ งจั ก รกล คอมพิ ว เตอร เรามี ค วามสามารถในการใช แตบางครั้งเราไมใช การทํางานดวยมือเทาของเราเองเปนศิลปะแลว ก็เปนเรื่องที่ทําให เรามีโอกาสศึกษาธรรมะ นี่คือโอกาสที่แทอยูกับตัวเรา อยาดูถูกตัวเอง ตองกลาที่จะสู สูคือสูกับใจเรา เพราะมนุษยทุกคนมีกิเลส ดั่งหลักธรรมที่วา “ถาไมมีอดีต วันนี้ก็ไมมี” เพราะฉะนั้นถาลืมตัว ลืมอดีต ความเปนมนุษยมันก็ศูนย กลายเปนกอนอิฐกอนหินกันไป ทุกอยางมันอยูที่ตัวเรา และใจเราทั้งนั้น ดีก็อยูที่นี่ ชั่วก็อยูที่นี่ แตอยาคิดวาความชั่วราย คือศัตรู ใหคิดวาความชั่วรายเปนครูสอนใหเปนคนดี ชีวิตนี้จะมีแตความสุข เกิดมาก็เปน ของธรรมดา ตายไปก็เปนของธรรมดา ไมตองไปกลัว เรารักการทํางาน เมื่อรูวารักที่ จะทํางานแลว รูวาทํางานมีคุณคาเราไมควรตาย แลวความตายเปนเรื่องธรรมดา ตายก็ตาย โอกาสหน านั้นยังมีโอกาสทําอีก ซึ่งทุกอยางอยูที่ตัวเราทั้งนั้น สุดทาย “ผมขอเปนกําลังใจ ใหกับทุกคนแลวก็อยาลืมนะ เราอยูดวยกัน อยาดูถูก ของเล็กๆ อยาดูถกู ของทีอ่ ยูใ กลตวั เรียนรูต รงนีไ้ ปกอน แลวก็อยาไปกลัวความกลา ตองกลา”
128
ประมวลภาพนิทรรศการ
129
ดูแลใส่ใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี
• • • •
130
บริการ ประเมินความเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ แจกแว่นสายตา และบริการตรวจวัดสายตา ให้คําปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุ สาธิตการออกกําลังกายเพื่อผู้สูงอายุ
อาหารและออกกําลังกาย เป้าหมาย คนไทยไร้พุง
• • • •
ทดสอบสมรรถภาพร่างกาย รับคําแนะนําปรึกษาจากแพทย์ และนักโภชนาการ อาหารเพื่อสุขภาพ การให้คําปรึกษาเรื่องการออกกําลังกาย
131
สุขภาพช่องปากดี ฟันเทียมพระราชทาน • บริการตรวจสุขภาพช่องปาก • บริการใส่ฟันเทียม 132
อนามัยสิ่งแวดล้อมดี ภาคีเข้มแข็ง ร่วมแรงลดโลกร้อน • ตลาดถูกหลักอนามัย • อาหารปลอดภัย
ชุมชนลดโลกร้อน
• ส้วม • การลดการใช้สารปรอทในโรงพยาบาล 133
วัยรุ่นสดใส ไม่ท้องก่อนวัย
• • •
134
คลินิก Love care station มุมบริการ ให้คําปรึกษาปัญหาวัยรุ่น การวางแผนครอบครัว แจกถุงยางอนามัย และยาเม็ดคุมกําเนิด
นมแม่เสริมภูมิคุ้มกัน สร้างสรรค์สุขภาพลูกน้อย • • •
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กน่าอยู่ต้นแบบ (สาธิต ประดิษฐ์ของเล่นพื้นบ้าน, พร้อมถุงเก็บนํ้านม) คลินิกสุขภาพเด็กดี - การประเมินพัฒนาการ IQ - การดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก (ให้ความรู้เรื่องการแปรงฟัน, การทาฟลูออไรด์วานิช) การดูแลโภชนาการแม่และเด็ก - วิธีการเลี้ยงดูเด็ก
รู้ทัน ถ้วนถี่ ทํางานดี ชีวีสดใส
• • •
บริการตรวจมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก ฉีดวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก (สําหรับเด็ก ๑๒-๑๔ ปี) ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ 135
ภาคผนวก
• รายนามผู้รับรางวัลการนำเสนอผลงานวิชาการดีเด่น
• รายนามผู้เข้ารับพระราชทานโล่
• สรุปรายงานการประเมินผลการประชุม
• คณะกรรมการประเมินผลและจัดทำรายงานการประชุมวิชาการ
136
รายนามผู้รับรางวัลการนำเสนอผลงานวิชาการดีเด่น
๑. การนําเสนอผลงานด้วยโปสเตอร์ สาขาสิ่งแวดล้อม รางวัลที่ ๑ นายแพทย์ประเสริฐ กิจสุวรรณรัตน์ รางวัลที่ ๒ นางสาวอุบลวรรณา เรือนทองดี รางวัลที่ ๓ นายธีรศักดิ์ รัตนเทวะเนตร สาขาส่งเสริมสุขภาพ รางวัลที่ ๑ นางพรทิพย์ รักคํามี รางวัลที่ ๒ นางสุจิตรา สุมนนอก รางวัลที่ ๓ นางศรีวรรณ ทาวงศ์มา ๒. การนําเสนอผลงานด้วยวาจา ด้านแม่และเด็ก รางวัลที่ ๑ นายชัยวัฒน์ อภิวันทนา รางวัลที่ ๒ ทันตแพทย์หญิงวรวรรณ อัศวกุล รางวัลที่ ๓ นางสาวฮัสนีย์ ดอเลาะ ด้านเด็กและเยาวชน รางวัลที่ ๑ แพทย์หญิงทัศนีย์ เอกวานิช รางวัลที่ ๒ นางสาววรรณริชฎา กิตติธงโสภณ รางวัลที่ ๓ นางณัฐวรรณ เชาวน์ลิลิตกุล ด้านอนามัยการเจริญพันธ์ุในวัยรุ่น รางวัลที่ ๑ นายแพทย์วาที สิทธิ รางวัลที่ ๒ ดร.วรรณวดี เนียมสกุล รางวัลที่ ๓ ผศ.ดร.ธนิดา ผาติเสนะ ด้านวัยทํางานและผู้สูงอายุ รางวัลที่ ๑ ดร.ลินดา สิริภูบาล รางวัลที่ ๒ นางบุญพา ณ นคร รางวัลที่ ๓ คุณชุติมา ชัยมณี ด้านส่งเสริมสุขภาพ รางวัลที่ ๑ พันเอกศิวพล บุญรินทร์ รางวัลที่ ๒ นางพิณทอง สุดแดน รางวัลที่ ๓ ทันตแพทย์หญิงสุรัตน์ มงคลชัยอรัญญา ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม รางวัลที่ ๑ นายสมชาย แช่มชูกลิ่น รางวัลที่ ๒ นายเจริญชัย ศิริคุณ รางวัลที่ ๓ นางสาวอําพร บุศรังษี รางวัลที่ ๓ ร่วม นางปริยะดา โชควิญญู
137
รายนามผู้เข้ารับพระราชทานโล่
ประเภทบุคคล และองค์กรต้บแบบด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม บุคคลต้นแบบด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม - นายพงษ์ศักดิ์ ฉิ่งสุวรรณโรจน์ - นายคําเดื่อง ภาษี - นายสามารถ ลอยฟ้า - รศ.นพ.ชเนนทร์ วนาภิรักษ์ - นางรัญจวน ดวงไขษร - พระครูสุตโพธิคุณ (พระมหานิรันดร์ นิรันตโร)
องค์กรต้นแบบด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม - นายสมนึก ธนเดชากุล เทศบาลนครนนทบุรี จ.นนทบุรี - นายภิญโญ ปุญญาคม ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบล องค์การบริหารส่วนตําบลหัวไผ่ จ.สิงห์บุรี - นายแพทย์ธงชัย ตรีวิบูลย์วณิชย์ โรงพยาบาลศูนย์สุรินทร์ จ.สุรินทร์ - ดร.สมไทย วงษ์เจริญ บริษัท วงษ์พาณิชย์ จํากัด จ.พิษณุโลก - นางยลดา หวังศุภกิจโกศล บริษัท แป้งมันเอี่ยมเฮงอุตสาหกรรม จํากัด จ.นครราชสีมา - นายสมพงษ์ ชื่นบาน หมู่บ้านคํากลาง
ประเภทสถานบริการสาธารณสุขต้นแบบ โครงการสาธารณสุขรวมใจรณรงค์ลดโลกร้อน - นางพรพรรณ บุญยเกียรติ สถาบันโรคทรวงอก จ.นนทบุรี - แพทย์หญิงวนิดา สาดตระกูลวัฒนา โรงพยาบาลอินทร์บุรี จ.สิงห์บุรี - น.ส.ลักษณา จิตต์ไพบูลย์ โรงพยาบาลพระปกเกล้า จ.จันทบุรี - นายแพทย์สุเมธ พิพัฒน์ศรีสวัสดิ์ โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ ๑๗ จ.สุพรรณบุรี - นายแพทย์ชุมนุม วิทยานันท์ โรงพยาบาลปราสาท จ.สุรินทร์ - นางดวงฤดี โชติกลาง โรงพยาบาลนํ้าพอง จ.ขอนแก่น - แพทย์หญิงดุสิตา ชนะชัยวิบูลวัฒน์ โรงพยาบาลมหาชนะชัย จ.ยโสธร - นายแพทย์ประเสริฐ ขันเงิน โรงพยาบาลพุทธชินราช จ.พิษณุโลก - นายธีระพล ใยดี โรงพยาบาลหนองม่วงไข่ จ.แพร่ - นายแพทย์เจษฎา จงไพบูลย์พัฒนะ โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต จ.ภูเก็ต - นายมานพ กาเลี่ยง โรงพยาบาลสงขลา จ.สงขลา
ประเภทตลาดสุดยอด “นวัตกรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นในการพัฒนาตลาดสด น่าซื้อ” - นายดนัยธนิต พิศาลบุตร ตลาดรังสิต จ.ปทุมธานี - นายอุลิศ สุจิระสกุล ตลาดสดเทศบาลตําบลมะขาม จ.จันทบุร ี - นายสมคิด ภาตินทุ ภาคีเครือข่ายชมรมตลาดสดน่าซื้อ กลุ่มภาคตะวันตก - นายวัชรินทร์ อุนาริเน ตลาดเทศบาลตําบลพุทไธสง จ.บุรีรัมย์ - นายสันติภาพ เชื้อบุญมี ตลาดเย็นน่าซื้อเทศบาลตําบลด่านซ้าย จ.เลย - นายพีระโรจน์ ภัทรประสิทธิ์ ตลาดเทศบาลตําบลหัวดง จ.พิจิตร
138
- นางปราณีต เรือนเหลือ - นางวรจิตรา ชายสุทธิ์ - นายพงษ์ธิราช โภคบุตร
ประเภทสุดยอดส้วมแห่งปี ๒๕๕๓ - นายอารินทร โพธิ์สวรรค์ - นายสิทธิศักดิ์ เจ๊ะสารี - นางสาวอารีวรรณ เอมโกษา - นายธีรศักดิ์ พิงภักดิ์ - นายพีระพล พูลทวี - นายบรรจง โฆษิตจิรนันท์ - นายสามารถ ลอยฟ้า - นายบุญชวน บัวสว่าง - นางมณฑา ทิพย์ธัญญา - นายแพทย์ปัญญา จิตต์พูลกุศล - นายแพทย์พีรพงศ์ นิลพัฒน์ - นางเกศรา เลี้ยงเพ็ชร - นายพูลศักดิ์ บุดดีด้วง - นายบุญเชิด บุญมีลาภ - นางสวลักษณ์ เทพพรประภากร - นางสาวมณีรักษ์ ไตรรัตนพงศ์ - นายสถาพร ชัยประสพ - นายสัมพันธ์ ไผ่นวล - นางสาวสุพิชญา สุรคุปต์ - นายเดช ตะพานบุญ - พ.ต.อ.พร้อม ปริยวาที - นายไพศาล ฉายบ้านใหม่ - นายวีระศักดิ์ แต้นําตระกูล - นายโกมุท ทีฆธนานนท์ - นายยงยุทธ ฐิติเบญจพล
ประเภทผู้สนับสนุน - นางวาณีรัตน์ แก้ววิเชียร
ตลาดสดหนองตม จ.พิษณุโลก ตลาดประตูเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ ตลาดสดเทศบาลตําบลโคกกลอย จ.พังงา โรงเรียนบ้านวังกระแจะ จ.กาญจนบุรี โรงเรียนตลาดนัดบาซาเอ จ.ปัตตานี โรงเรียนสายปัญญารังสิต จ.ปทุมธานี โรงเรียนโยธินบูรณะ จ.เพชรบุรี วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง จ.อ่างทอง เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด จ.ร้อยเอ็ด ศาลากลางจังหวัดตาก จ.ตาก สํานักงานวัฒนธรรม จ.สงขลา โรงพยาบาลพระพุทธบาท จ.สระบุรี โรงพยาบาลทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ โรงพยาบาลสีชมพู จ.ขอนแก่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านคู่สร้าง จ.สมุทรปราการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลท่าแร่ จ.สกลนคร วัดศีรษะทอง จ.นครปฐม ร้านอาหารพีทูเอ็นพิซซ่าแอนด์เบเกอรี่ดีไลท์ จ.ประจวบคีรีขันธ์ ร้านอาหารล้านช้าง จ.เลย บริษัท ปตท.จํากัด (มหาชน) จ.สระบุรี ห้างหุ้นส่วนจํากัด มานะ-เสริมพลปิโตรเลียม สาขา ๓ จ.บุรีรัมย์ Social Director ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา จ.ชลบุรี ตลาดเทศบาลตําบลวังสะพุง จ.เลย ตลาดสําเภาทอง จ.สุราษฎร์ธานี สถานีรถไฟผาเสด็จ จ.สระบุรี สถานีรถไฟทับสะแก จ.ประจวบคีรีขันธ์ สวนสาธารณะสมเด็จพระศรีนครินทร์ (สวนแม่) จ.สกลนคร องค์พระปฐมเจดีย์ นครปฐม บริษัท แอมเวย์ (ประเทศไทย) จํากัด
139
สรุปรายงานการประเมินผล การประชุมวิชาการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ครั้งที่ ๔ จากแบบประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน ๓๔๙ ชุด ซึ่งถือเป็นกลุ่มตัวอย่างในการประเมินครั้งนี้ สรุปผลตามเกณฑ์ การประเมิน ๔ ระดับ (๑ ไม่พอใจ, ๒ พอใจน้อย, ๓ พอใจมาก, ๔ พอใจมากที่สุด) ได้ดังนี้ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ ๘๘ เป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย ๔๒.๖ ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ ๕๓.๓ ปริญญาโท/ เอก ร้ อ ยละ ๓๘.๔ ปฏิ บั ติ ง านในสั ง กั ด กรมอนามั ย ร้ อ ยละ ๓๓.๘ องค์ ก ารปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ร้ อ ยละ๒๐.๑ และหน่ ว ยงานอื่ น ๆ ของกระทรวงสาธารณสุข ร้อยละ ๓๑.๒ ผู้เข้าประชุมทราบข่าวสารการประชุมจากหนังสือเชิญมากที่สุด ร้อยละ ๗๓.๑ ส่วนที่ ๒ ความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการประชุม ความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการประชุมในภาพรวมทัง้ หมด ส่วนใหญ่อยูใ่ นระดับพอใจมาก ร้อยละ ๖๖ และมากทีส่ ดุ ร้อยละ ๓๒.๒ ลำดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
หัวข้อการประเมิน
ระยะเวลาการประชุม เอกสารการประชุม สถานที่จัดประชุม รูปแบบการประชุม การต้อนรับ โสตทัศนูปกรณ์ การประชาสัมพันธ์การประชุม อาหารกลางวัน/อาหารว่าง/เครื่องดื่ม การติดต่อ/ประสานงาน/อำนวยความสะดวก การลงทะเบียน ความพึงพอใจต่อการประชุมโดยรวม
ระดับความพึงพอใจมาก (ร้อยละ) ระดับความพึงพอใจมากที่สุด (ร้อยละ) ๖๒.๗ ๕๗.๖ ๕๖.๘ ๕๖.๓ ๕๖.๑ ๕๒.๙ ๕๕.๕ ๕๔.๗ ๔๙.๑ ๔๗.๒ ๖๖.๐
๓๒.๐ ๒๕.๙ ๕๖.๘ ๓๙.๗ ๓๕.๘ ๓๑.๕ ๒๘.๒ ๒๓.๓ ๓๔.๒ ๔๕.๒ ๓๒.๒
ส่วนที่ ๓ ความพึงพอใจต่อเนื้อหาวิชาการ ผลการประเมินต่อเนื้อหาวิชาการจากการบรรยาย/อภิปราย/สัมมนาในสามประเด็นได้แก่ สาระความรู้ตรงความต้องการ ความรู้ ที่ได้นำไปปฏิบัติได้จริง และวิทยากรสามารถสื่อสารเข้าใจได้ดี ส่วนใหญ่อยู่ในระดับพอใจมาก ดังนี้ ระดับความพึงพอใจมาก (ร้อยละ)
ลำดับ หัวข้อการประเมิน ๑ โครงการพระราชดำริเพื่อชีวิตปวงชนชาวไทย ๒ วิถีชีวิตธรรมชาติ สู่สุขภาพพอเพียง ๓ Assessing Human Health Vulnerability and Public Health Adaptation to Climate Change ๔ Health Care Without Harm : Concept and Application ๕ วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก-ทางรอดของหญิงไทย ๖ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๗ การลดการใช้สารปรอท ๘ วิกฤตอนาคต : สุขภาพและสิ่งแวดล้อม ๙ HIA : ความท้าทายใหม่ของภาคประชาชนและท้องถิ่น ๑๐ สุขภาพช่องปากกับสุขภาพองค์รวม ๑๑ พัฒนาการเด็กและไอโอดีน ๑๒ ผลกระทบและการดูแลสุขภาพจากภาวะโลกร้อน ๑๓ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เรื่องวุ่นๆ ที่ป้องกันได้ ๑๔ ท้องไม่พร้อม : ความท้าทายสู่การปฏิบัติ ๑๕ ควงคู่ไปฝากท้องลูกเราสองปลอดภัย ๑๖ HIA : แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่แผนสุขภาพชุมชน ๑๗ เตรียมความพร้อมผู้สูงอายุ...สู่สากล ๑๘ การจัดการสุขาภิบาลอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๑๙ สุขภาพดีด้วยวิถีคุณธรรม
140
สาระความรู้ตรง ความรู้ที่ได้นำไป วิทยากรสามารถ ความต้องการ ปฏิบัตไิ ด้จริง สือ่ สารเข้าใจได้ดี ๕๗.๘ ๕๔.๒ ๖๔.๒ ๖๔.๓ ๕๔.๕ ๕๙.๕ ๕๗.๑ ๕๓.๐ ๕๘.๗ ๔๘.๔ ๔๗.๖ ๕๔.๗ ๕๓.๗ ๕๐.๖ ๕๘.๕ ๕๖.๑ ๔๙.๔ ๔๙.๕ ๕๒.๙
๖๖ ๕๙ ๖๖
๕๗.๙ ๔๙ ๕๘.๙
๖๔.๗ ๖๔.๕ ๖๒.๕ ๖๘.๘ ๖๐.๕ ๖๒.๑ ๕๗.๕ ๕๔.๑ ๗๑.๐ ๖๔.๘ ๕๗.๓ ๖๖.๗ ๖๔.๙ ๕๓.๒ ๖๒.๑ ๖๔.๕
๕๙.๘ ๖๐.๖ ๖๐.๒ ๖๙.๙ ๕๖.๓ ๕๘.๐ ๕๖.๑ ๔๕.๘ ๖๒.๙ ๕๘.๘ ๕๓.๘ ๖๔.๔ ๖๐๔ ๕๖.๐ ๕๘.๓ ๖๑.๓
ส่วนที่ ๔ ความพึงพอใจในภาพรวมต่อการจัดนิทรรศการ ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดนิทรรศการในเรื่องประเด็น/เนื้อหาของนิทรรศการ รูปแบบการจัดแสดง และสถานที่จัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากและมากที่สุด ดังนี้ ลำดับ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗
หัวข้อการประเมิน
ระดับความพึงพอใจมาก (ร้อยละ) ระดับความพึงพอใจมากที่สุด (ร้อยละ)
เนื้อหาสาระได้ความรู้และนำไปใช้ประโยชน์ได้ เนื้อหาสาระนำเสนอทันต่อเหตุการณ์ เนื้อหาสาระตรงตามความต้องการ รูปแบบการจัดแสดงเป็นหมวดหมู่ รูปแบบการจัดแสดงสวยงาม รูปแบบการจัดแสดงสามารถดึงดูดความสนใจ สถานที่จัดแสดงงานเหมาะสม
๖๒.๕ ๕๙.๕ ๕๘.๗ ๕๔.๙ ๕๒.๗ ๕๒.๗ ๔๒.๙
๓๕.๒ ๓๗.๘ ๔๐.๐ ๔๒.๒ ๔๒.๙ ๔๐.๐ ๕๑.๗
นิทรรศการที่ผเู้ ข้าร่วมประชุมชื่นชอบมาก เรียงตามลำดับได้แก่ อนามัยสิง่ แวดล้อมดี ภาคีเข้มแข็ง ร่วมแรงลดโลกร้อน, วัยรุน่ สดใส ไม่ท้องก่อนวัย, อาหารและออกกำลังกาย เป้าหมายคนไทยไร้พุง, ดูแลใส่ใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี, นมแม่เสริมภูมิคุ้มกัน สร้างสรรค์ สุขภาพลูกน้อย, สุขภาพช่องปากดี ฟันเทียมพระราชทาน, รู้ทันถ้วนถี่ ทำงานดี ชีวีสดใส ส่วนที่ ๕ ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ ๑. สิ่งที่พึงพอใจมากที่สุดในการจัดประชุมครั้งนี้ ๔ ลำดับแรก • การจัดซุ้มนิทรรศการต่าง ๆ • สถานที่กว้างขวาง เหมาะสมกับการจัดการประชุมฯ ครั้งนี้ • เนื้อหาวิชาการจากการเข้าร่วมประชุม • การบรรยายของวิทยากรสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
๒.
สิ่งที่ไม่พึงพอใจมากที่สุดในการจัดประชุมครั้งนี้ ๔ ลำดับแรก • การจัดอาหารว่างและอาหารกลางวัน • คณะทำงานฝ่ายอำนวยการลงทะเบียนไม่มีความพร้อมในการให้คำแนะนำ และการรับคูปองอาหาร • ระยะเวลาและกำหนดการไม่ชัดเจน คลาดเคลื่อนอยู่ตลอด ทำให้ผู้เข้าร่วมประชุมสับสน • การประชาสัมพันธ์ในการเข้าร่วมประชุมแต่ละห้องไม่ต่อเนื่อง
๓.
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการจัดนิทรรศการครั้งต่อไป • ควรมีการประชาสัมพันธ์ในแต่ละโซนของซุ้มนิทรรศการให้มากกว่านี้ • ควรเชิญกลุ่มผู้สูงอายุ หรือโรงเรียนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมชมงานนิทรรศการ • การเข้าร่วมประชุมไม่สมควรเก็บค่าใช้จ่ายจากภาคประชาชน เพราะเนื่องจากบางท่านมีงบน้อยแต่อยากมาร่วมฟัง การอภิปราย เพื่อนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ • การจัดซุ้มอาหารเพื่อสุขภาพ ควรมีแต่สินค้า OTOP เพื่อสร้างรายได้ให้ชุมชน • ควรจัด Poster วิชาการที่ได้รับคัดเลือกให้นำเสนอไปรวมกับนิทรรศการในห้องใหญ่ เพื่อจะได้ร่วมบูรณาการกิจกรรม ร่วมกันและแต่ละนิทรรศการควรมีเอกสารประกอบความรู้ด้วย
๔. เรื่องที่น่าสนใจสำหรับการประชุมวิชาการครั้งต่อไป/เรื่องที่ต้องการให้จัดแสดงนิทรรศการ การให้สิทธิประโยชน์และสวัสดิการกับคนป่วยและคนไม่ป่วย-สุขภาพดี, มลภาวะที่มีผลต่อสุขภาพ พร้อมทั้งวิธีหลีกเลี่ยง, การลดโลกร้อนและสุขภาวะโลกร้อน, นโยบายสาธารณะเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, การเลือกซื้อ อาหารเพื่อสุขภาพ, นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อม, การศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมที่เกี่ยวข้อง, ภูมิปัญญาใน การส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพระดั บ ชุ ม ชน, การปรั บ สภาพที่อยู่อาศัยให้เหมาะสมกับสภาวะโลกร้อนหรือภูมิอากาศแปรปรวน, โครงการพระราชดำริเกี่ยวกับการรักษาสิ่งแวดล้อม. .........................................
141
คณะกรรมการประเมินผลและจัดทํารายงานการประชุมวิชาการ ๑. ดร.ทวีสุข พันธ์ุเพ็ง สํานักที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ๒. แพทย์หญิงแสงโสม สีนะวัฒน์ สํานักที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ๓. ทันตแพทย์หญิงบุญเอื้อ ยงวานิชากร สํานักที่ปรึกษา ประธาน ๔. นางสาววรทรัพย์ จิตต์ประเสริฐ สํานักส่งเสริมสุขภาพ กรรมการ ๕. นางศศิวิมล ปุจฉาการ สํานักส่งเสริมสุขภาพ กรรมการ ๖. นางสาวผกามาศ กมลพรวิจิตร สํานักส่งเสริมสุขภาพ กรรมการ ๗. นางกอบกาญจ์ มหัทธโน สํานักส่งเสริมสุขภาพ กรรมการ ๘. ทันตแพทย์หญิงนนทลี วีระชัย สํานักทันตสาธารณสุข กรรมการ ๙. นางสาวพวงทอง ผู้กฤตยาคามี สํานักทันตสาธารณสุข กรรมการ ๑๐. ทันตแพทย์หญิงนนทินี ตั้งเจริญดี สํานักทันตสาธารณสุข กรรมการ ๑๑. นางสาวรัตนาภรณ์ มั่นคง สํานักทันตสาธารณสุข กรรมการ ๑๒. นางภารดี ชาญสมร สํานักอนามัยการเจริญพันธ์ุ กรรมการ ๑๓. นางสุจิตต์ สาลีพันธ์ สํานักโภชนาการ กรรมการ ๑๔. นางสุจิตรา ผลประไพ สํานักโภชนาการ กรรมการ ๑๕. นางณีรนุช อาภาจรัส สํานักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรรมการ ๑๖. นางสุนทรีย์ รักษามั่นคง สํานักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรรมการ ๑๗. นายสันติ ซิมพัฒนานนท์ สํานักสุขาภิบาลอาหารและนํ้า กรรมการ ๑๘. นางปิยวรรณ กุลโภคิน สํานักสุขาภิบาลอาหารและนํ้า กรรมการ ๑๙. นางสาวปรานอม ภูวนัตตรัย สํานักที่ปรึกษา กรรมการ ๒๐. นางวิมล โรมา สํานักที่ปรึกษา กรรมการ ๒๑. นางสาวดรุณี อ้นขวัญเมือง กองแผนงาน กรรมการ ไชยศิริวัฒนะกุล กองแผนงาน กรรมการ ๒๒. นางธีราภรณ์ ๒๓. นางนงพะงา ศิวานุวัฒน์ กองออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ กรรมการ ๒๔. นายยงยุทธ บุญขันท์ กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรรมการ ๒๕. นางนัทฐ์หทัย ไตรฐิ่น กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรรมการ ๒๖. นางสาวเชื้อเพ็ญ บุพศิริ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข กรรมการ ๒๗. นางสาววาสนา คงสุข ศูนย์ห้องปฏิบัติการกรมอนามัย กรรมการ ๒๘. นางฉัตรลดา กาญจนสุทธิแสง สํานักที่ปรึกษา กรรมการและเลขานุการ ๒๙. นางศรีวิภา เลี้ยงพันธ์ุสกุล สํานักที่ปรึกษา กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๓๐. นางสาวสุทธิดา นิ่มศรีกุล สํานักที่ปรึกษา กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ๓๑. นางสาวธนภรณ์ ฐิติวร สํานักที่ปรึกษา กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กองบรรณาธิการ ๑. นางบุญเอื้อ ยงวานิชากร ๒. น.ส.พวงทอง ผู้กฤตยาคามี ๓. นางนนทลี วีรชัย ๔. นางฉัตรลดา กาญจนสุทธิสาร ๕. นางศรีวิภา เลี้ยงพันธุ์สกุล ศิลปกรรม ๑. นางศิริวรรณ ออนนุชมงคล ๒. น.ส.ปาณิสรา จินาทิตย์ พิมพ์ที่ : สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก 142