จดจำ� (Remembering) I N TER A C T I V E A R T P R O J E C T
หัวข้อและโครงการจัดทำ�ส่ือ สาขาวิชาส่ือศลิปะและการออกแบบส่ือมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1.ชื่อนักศึกษา เนตรชนก บลาลี วรงภัทร
สายคง 540310264 จิระพงษ์สุวรรณ 540310265 อนันต์ชัยพัทธนา 540310276
2.ชื่อและหัวข้อโครงงาน จดจำ� (Remembering) 3.คณะกรรมการที่ปรึกษาโครงการ อาจารย์อนุสรณ์ ตปิยานนท์ อาจารย์ไพรชยนต์ ปันตา 4. หลักการและเหตุผล ด้วยความเร่งรีบในการใช้ชีวิต ความละเอียดอ่อนมากมายที่มนุษย์มองข้ามไป รายละเอียดเล็กๆน้อยๆที่สำ�คัญต่อการให้ความ หมายในชีวิตประจำ�วัน ถึงแม้ว่าจะไม่สำ�คัญมากแต่เมื่อนำ�เอาสิ่งเล็กๆน้อยๆเหล่านั้นมาประกอบสร้างกับเหตุการณ์บางอย่างในชีวิต สิ่งที่ เป็นนามธรรมก็จะมีความหมายออกมาเป็นปรกฏการณ์หนึ่งๆได้ การได้พิจารณาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมที่กำ�ลังเคลื่อนไหวไปอย่าง ไม่หยุดยั้ง ความหมายของสรรพสิ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาอย่างไม่หยุดนิ่งเช่นกัน ภาพที่เห็นกับความหมายที่เกิดขึ้นภายใน กระบวนการคิดจะตีความตามที่เคยรับรู้ ซึ่งในปัจจุบันก็ถือเป็นจุดเล็กๆน้อยๆที่ดังกล่าวเป็นบ่อเกิดของความเข้าใจผิดต่อกันมานักต่อนัก ดังปรัชญาของเพลโตที่ได้กล่าวถึงเรื่องมโนคติและสสารโดยได้กล่าวถึงความไม่แน่นอนไม่ว่าจะเป็นเรื่องของคุณสมบัติ รูปร่าง ตัวตน ที่ ตายตัว จนบางครั้งมนุษย์มองว่าสสารนั้นเป็นความว่างเปล่า การทำ�งานของมโนคติหรือประสาทสัมผัสของแต่ละคนจึงมีส่วนในการมอง และทำ�งานร่วมกับสสารเหล่านั้นหรือเรียกว่าโลกแห่งผัสสะ โลกแห่งผัสสะเกิดจากการที่มโนคติมาปะทะกับสสารสู่การตีความ ให้ความ หมายจากการจำ�ได้หมายรู้ด้วยประสบการณ์ของแต่ละบุคคล สิ่งสากลที่มีอยู่จริงภายนอกความคิด เป็นสิ่งที่เรารับรู้ไม่ได้ด้วยประสาทสัมผัส หากต้องรับรู้ด้วยการคิดโดยใช้เหตุผล แต่นั่นก็ไม่ ได้หมายความว่า มันเป็นผลผลิตของความคิด แต่การใช้ความคิดจะเป็นเครื่องมือที่สามารถเข้าถึงมันได้ มโนคติหรือแบบมีอยู่ก่อนหน้าที่ เราคิดถึง แม้เราจะเลิกคิดถึง มันก็ยังมีอยู่ต่อไปเป็นนิจนิรันดร์ เราจะไม่สามารถเข้าถึงความจริงของสิ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ได้ สิ่งที่เราทำ�ได้คือการมีความเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่ในโลกแห่งประสาทสัมผัสและสิ่งที่จับต้องได้ ประสาทสัมผัสจะสร้างเพียงภาพคร่าวๆ ของสิ่งต่างๆ แต่การที่เราจะเข้าถึงความรู้ที่แท้จริงของสิ่งนั้นๆ ได้ก็โดยการที่เราเข้าใจด้วยเหตุผล สำ�หรับเพลโต มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีทวิ ลักษณะ เรามีร่างกายที่ เลื่อนไหล ผูกติดกับโลกแห่งประสาทสัมผัสอย่างแยกไม่ออก อาจพูดได้ว่า ประสาทสัมผัสทั้งหมดของเราอยู่ใน ร่างกายของเรา นั่นทำ�ให้มันเชื่อถือไม่ได้ แต่เราก็มีวิญญาณอมตะ และวิญญาณนี้เองที่เป็นอาณาจักรของเหตุผล และคุณสมบัตินี้ทำ�ให้ มันเข้าถึงโลกของแบบได้ เพลโตเชื่อว่าวิญญาณมีอยู่ก่อนหน้าที่จะเข้ามาอยู่ในร่างกาย แต่ทันทีที่วิญญาณตื่นขึ้นในร่างกายมนุษย์มันก็จะ ลืมแบบที่สมบูรณ์ หากเมื่อไรที่มนุษย์เริ่มค้นพบรูปแบบต่างๆ ในโลกธรรมชาติ ความทรงจำ�ในวิญญาณก็จะถูกกระตุ้น ตัวอย่างเช่น เรา เห็นแมว แต่เป็นแมวที่ไม่สมบูรณ์ หากนั่นก็เพียงพอที่จะกระตุ้นความทรงจำ�อันเลือนรางของมโนคติเพื่อทำ�ให้สิ่งที่เป็นนามธรรมเกิดเป็น รูปธรรมในความคิด ปรากฏการณ์ธรรมชาติทุกอย่างเป็นเพียงเงาของแบบที่เที่ยงแท้ แต่คนส่วนมากพอใจกับชีวิตท่ามกลางเงา พวกเขาไม่ เคยคิดว่าอะไรที่ทำ�ให้เกิดเงา พวกเขาคิดว่าเงาคือทุกอย่าง ไม่เคยตระหนักกระทั่งว่ามนุษย์เองจริงๆ
5.วัตถปุระสงค์ - เพื่อทดลองการแสดงภาพเคล่ือนไหวที่แตกต่างไปจากฟอร์มเดิม - เพื่อใหผู้ชมมีปฏิสัมพันธ์กับรูปแบบ(form)ที่แปลกใหม่จากที่เคยเห็น 6.แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง โลกของแบบ (World of Form) เพลโต เป็นนักปรัชญาตะวันตกคนแรกที่สอนปรัชญาอย่างเป็นระบบ โดยมีแนวความคิดเรื่องทฤษฎีแห่งมโนคติหรือทฤษฎีแบบ เป็นแกนกลางและเป็นรากฐานสู่แนวความคิดอื่น ความสนใจของเพลโตนั้นมุ่งสู่ “สิ่งที่เที่ยงแท้ไม่เปลี่ยนแปลง” ทั้งในธรรมชาติและทั้งศีลธรรมและสังคม เพลโตเชื่อว่าทุกอย่างที่จับต้องได้ ในธรรมชาตินั้นเลื่อนไหล จึงไม่มีสสารใดที่ไม่เสื่อมสลาย ทุกอย่างที่อยู่ในโลกของวัตถุเกิดจากวัตถุที่จะเสื่อมไปตามกาลเวลา แต่ทุกอย่าง นั้นล้วนถูกจำ�ลองมาจาก “มโนคติ” (Ideas) หรือ “แบบ” (Form) ที่อยู่เหนือกาลเวลา เป็นสิ่งเที่ยงแท้และไม่เปลี่ยนแปลง ญาณวิทยาหรือทฤษฎีความรู้ ทฤษฎีความรู้ของพลาโต้มีทัศนะบางอย่างที่เหมือนกับโสคราตีส ประการแรก พลาโต้เห็นว่าความรู้ระดับผัสสะหรือสัญชาน ไม่ใช่ “ความรู้” การรับรู้ในระดับสัญชานเป็นเพียง “ทัศนะ” การปฏิเสธสัญชานว่าเป็นบ่อเกิดความรู้มีเหตุสำ�คัญอยู่ 2 ประการ คือ 1.สัญชานของแต่ละคนให้ความรู้ไม่ตรงกัน ความรู้ระดับสัญชานจึงเป็นเพียงทัศนะส่วนตัว 2.สัญชานไม่ช่วยให้เราค้นพบความจริงแท้ เพราะสิ่งที่เรารับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสเป็นเพียงสิ่งเฉพาะ ความจริง แ ท้ เ ป็ น สิ่ ง สากล ทัศนะของพลาโต้ ความรู้ที่แท้จริงไม่ได้มาจากผัสสะหรือสัญชาน แต่ความรู้ที่แท้จริงได้มาจากเหตุผล ข้อแตกต่างระหว่างศิษย์ และอาจารย์อยู่ที่ โสคราตีส ความรู้หมายถึงการค้นพบมโนภาพ พลาโต้ ความรู้หมายถึงการค้นพบมโนคติ วัสดุสิ่งของที่เราพบเห้นอยู่ในชีวิตประจำ�วันเป็นเพียงสิ่งจำ�ลองมาจากของจริงต้นฉบับ สิ่งที่เป็นแม่แบบหรือต้นฉบับนั้นได้แก่ แบบ(Forms) หรือ มโนคติ(Ides) สัญชานให้ความรู้เกี่ยวกับมโนคติ พลาโต้กล่าวว่า คนเราจะค้นพบมโนคติได้ก็โดยการคิดแบบวิภาษวิธี จิตมีวิธีทำ�วิภาษวิธี พลาโต้อธิบายเรื่องนี้ไว้ใน เส้นแบ่ง(The Diveded Line) เส้นแบ่ง การรู้จักโลกแห่งเหตุผล พลาโต้เรียกว่า “ความรู้” ส่วนการรู้จักโลกแห่งสัญชานเรียกว่า “ทัศนะ” ในกระบวนการแห่งการรับรู้ จิตมีวิธีทำ�งานที่แบ่งได้เป็น 4 ลักษณะ 1.จินตนาการ (Imagining) ในขณะที่ตารับสัมผัสกับภาพของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การรับรู้เกิดขึ้น ประสาทตารายงานภาพที่เห็นไปให้ จิต ภาพของสิ่งนั้นที่จิตรับรู้ในขณะนั้นเป็นจินตภาพ(Image) การรับรู้จินตภาพเรียกว่า จินตนาการ 2.ความเชื่อ (Belief) หากเราคิดถึงใครอย่างมาก เราอาจสร้างจินตนาการถึงรูปร่างหน้าตา กิริยาท่าทางของเขา แต่เขาที่เรา เห็นในจินตนาภาพย่อมสู้เขาที่เราไปพบปะพูดคุยจริงๆ ไม่ได้ การได้พบตัวจริงถือว่าเป็นควารู้ระดับสัญชาน พลาโต้เรียกความรู้ระดับนี้ว่า ความเชื่อ 3.การคำ�นวณ (Reasoning) การทำ�ให้พบสิ่งที่เป็นสากลด้วยเหตุผล 4.พุทธิปัญญา (Perfect Intelligence) หมายถึงสภาพจิตที่รับรู้มโนคติโดยตรง ขั้นนี้จิตเป็นอิสระจากสิ่งที่รับรู้ด้วยประสาท สัมผัส จิตเข้าถึงมโนคติได้โดยไม่ต้องผ่านสัญลักษณ์ พุทธิปัญญาเป็นความรู้ที่แท้จริง เพราะเข้าถึงความจริงสูงสุดคือมโนคติ ความรู้จึง หมายถึงการรู้จักมโนคติ มโนคติ หรือแบบ คือ สิ่งสากลที่มีอยู่จริงภายนอกความคิด เป็นสิ่งที่เรารับรู้ไม่ได้ด้วยประสาทสัมผัส หากต้องรับรู้ด้วยการคิด โดยใช้เหตุผล แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่า มันเป็นผลผลิตของความคิด แต่การใช้ความคิดจะเป็นเครื่องมือที สามารถเข้าถึงมันได้ มโนคติ หรือแบบมีอยู่ก่อนหน้าที่เราคิดถึง แม้เราจะเลิกคิดถึง มันก็ยังมีอยู่ต่อไปเป็นนิจนิรันดร์
ลักษณะของมโนคติ 1.มโนคติหมายถึงสิ่งสากล 2.มโนคติมีจำ�นวนมาก 3.มโนคติเป็นสิ่งที่รู้ได้ด้วยเหตุผล 4.มโนคติเป็นความจริงปรนัย คือ ความคิดล้วนๆ 5.มโนคติเป็นสิ่งไม่กินที่ มโนคติเป็นความตฃจริงที่มีอยู่ “ภายนอก” ความคิดของคนเรา 6.มโนคติไม่ขึ้นกับเวลา เกิดขึ้นได้ทุกขณะ โลกแห่งมโนคติ โลกของมโนคติเปรียบเหมือนปิรามิดที่มีฐานกว้างแต่ยอดแหล่ม มโนคติที่เป็นยอดสุดหรือประธานสูงสูดในโลกแห่งมโนคติ ได้แก่ มโนคติแห่งความดี มโนคติแห่งความดีเป็นมโนคติประเภทกว้างที่สุด จึงครอบคลุมปกครองมโนคติทั้งหมด มโนคติแห่งความดีมีความ สำ�คัญต่อโลกแห่งมโนคติ มโนคติกับสิ่งเฉพาะ พลาโต้ได้ทั้งทฤษฏีสองโลกขึ้น คือโลกแห่งผัสสะกับโลกแห่งมโนคติ สิ่งเฉพาะเป็น “สิ่งจำ�ลอง” หรือ “เลียน แบบ (Copy)” ของมโนคติ สิ่งจำ�ลองมีความเป็นจริงน้อยกว่ามดนคติ มโนคติมีความจริงแท้สูงสุด สิ่งเฉพาะไม่มีความจริงในตัวเอง สิ่ง เฉพาะขอยืมความเป็นจริงมาจากมโนคติ สิ่งเฉพาะเป็นจริงก็ต่อเมื่อมีส่วนเหมือนมโนคติ สิ่งฉพาะไม่สามารถเลียนแบบมโนคติได้สมบูรณ์ ครบถ้วน ดังนั้นสิ่งเฉพาะจึงมีความจริงเพียงบางส่วนเท่านั้น สสารในปรัชญาของพลาโต้ไม่ใช่สิ่งที่มีรูปร่างตัวตนหรือคุณสมบัติ สำ�หรับปรัชญาของ พลาโต้ สสารไม่มีคุณลักษณะ ไม่มีรูปร่าง ตัวตน ไม่เป็นอะไรสักอย่างที่คนเราพอคิดเข้าใจได้ สสารจึงเป็นความว่างเปล่าอย่างยิ่งคือเป็นอภาวะ สสารจึงเป็นหลักการสุดโต่งที่ตรง ข้ามกับมโนคติความดีความเป็นและคุณลักษณะต่างๆ ในโลกล้วนเนื่องมาจากมโนคติ การประทับตราคือการเกิดโลกแห่งผัสสะ โลกแห่ง ผัสสะเป็นของเทียม โลกแห่งผัสสะมีความเป็นจริงบางส่วน เพราะมันมีส่วนร่วมกับมโนคติแต่ที่ไม่เป็นจริงอยู่บางส้วนก็เพราะมันมีส่วน ร่วมกับสสาร แต่สุดท้ายพลาโต้ต้องยอมว่ามีเทพเจ้าอยู่ในปรัชญาของเขา เพราะไม่รู้ว่าใครเป็นผู้ประทับมโนคติลงบนสสาร จึงเกิดตำ�นาน การสร้างโลกขึ้น ตำ�นานการสร้างโลก พลาโต้เชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล ดวงดาวทั้งหลายโคจรรอบโลก วิถีโคจรของดวดาวเป็นวงกลม การ ที่ดวงดาวและโลกเกาะกลุ่มกันอยู่กันเป็นระบบมีระเบียบ เนื่องจากสิ่งเหล่านั้นมีวิญญาณ สำ�หรับพลาโต้ กฏธรรมชาตินั้นเกิดมาจาก วิญญาณโลก มโนคติ(Idea)กับสิ่งเฉพาะ (Particular)
พลาโต้ได้ทั้งทฤษฏีสองโลกขึ้น คือโลกแห่งผัสสะกับโลกแห่งมโนคติ สิ่งเฉพาะเป็น “สิ่งจำ�ลอง” หรือ “เลียนแบบ (Copy)” ของมโนคติ สิ่งจำ�ลองมีความเป็นจริงน้อยกว่ามดนคติ มโนคติมีความจริงแท้สูงสุด สิ่งเฉพาะไม่มีความจริงในตัวเอง สิ่งเฉพาะขอยืมความเป็นจริงมา จากมโนคติ สิ่งเฉพาะเป็นจริงก็ต่อเมื่อมีส่วนเหมือนมโนคติ สิ่งฉพาะไม่สามารถเลียนแบบมโนคติได้สมบูรณ์ครบถ้วน ดังนั้นสิ่งเฉพาะจึงมี ความจริงเพียงบางส่วนเท่านั้น จักรวาลวิทยา แก่นแท้ของโลก แก่นแท้ของโลกแห่งผัสสะไม่ได้เป็นสสาร โลกนี้ไม่มีแก่นแท้ของตัวเอง เพราะโลกแห่งผัสสะเป็นเพียงภาพ สะท้อนความเป็นจริงจากโลกแห่งมโนคติเหมือนกับดวงจันทร์ที่มีแสงสว่างได้ก็เพราะมันรับแสงจากดวงอาทิตย์แล้วสะท้อนกลับมา โลก แห่งผัสสะคือรอยประทับของมโนคติที่ปรากฏบนสสาร เปรียบเหมือนการประทับตราประจำ�ตำ�แหน่ง โลกแห่งผัสสะเกิดจากการที่มโนคติมาปะทะกับสสาร องค์ประกอบสำ�คัญที่ทำ�ให้เกิดโลกนี้จึงมี 2 ประการ คือมโนคติและสสาร สสารในปรัชญาของพลาโต้ไม่ใช่สิ่งที่มีรูปร่างตัวตนหรือคุณสมบัติ สำ�หรับปรัชญาของ พลาโต้ สสารไม่มีคุณลักษณะ ไม่มีรูปร่างตัวตน ไม่เป็นอะไรสักอย่างที่คนเราพอคิดเข้าใจได้ สสารจึงเป็นความว่างเปล่าอย่างยิ่งคือเป็นอภาวะ สสารจึงเป็นหลักการสุดโต่งที่ตรงข้ามกับ มโนคติความดีความเป็นและคุณลักษณะต่างๆ ในโลกล้วนเนื่องมาจากมโนคติ การประทับตราคือการเกิดโลกแห่งผัสสะ โลกแห่งผัสสะ เป็นของเทียม โลกแห่งผัสสะมีความเป็นจริงบางส่วน เพราะมันมีส่วนร่วมกับมโนคติแต่ที่ไม่เป็นจริงอยู่บางส้วนก็เพราะมันมีส่วนร่วมกับ สสาร แต่สุดท้ายพลาโต้ต้องยอมว่ามีเทพเจ้าอยู่ในปรัชญาของเขา เพราะไม่รู้ว่าใครเป็นผู้ประทับมโนคติลงบนสสาร จึงเกิดตำ�นานการ สร้างโลกขึ้น 7.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - ผู้ชมมีปฏิสัมพัธ์กับภาพของตัวเองที่ปรกฏณ์ขึ้นในกลุ่มควัน - ผู้ชมมีปฏิสัมพันธ์กับรูปแบบของภาพที่ผิดแปลกจากกลุ่มควัน 8.แผนการดำ�เนินงาน ขอบเขตและวิธีการศึกษา 8.1 แผนการดำ�เนินงาน งานวิจัยแบ่งการดำ�เนินการออกเป็นสองขั้นตอนดังนี้ 8.1.1 การศึกษาและค้นคว้าทฤษฎี -การศึกษาและค้นคว้าทฤษฎีเกี่ยว กับมโนคติ การเกิดภาพจากการจินตนาการ มโนคติ และความเป็นไปได้ต่างๆ - รวบรวมและเปรียบเทียบแนวคิดที่เกี่ยวข้อง - เปรียบเทียบหาความสอดคล้องและความต่อเนื่องของแนวค - สรุปผลการศึกษาค้นความ และเปรียบเทียบความสอดคล้องจากแนวคิดต่างๆ 8.1.2ขั้นตอนการสร้างปรากฏการณ์และสถาณการณ์เพื่อแสดงให้เห็นถึงเรื่องมโนคติ - นำ�ผลการวิจัยในขั้นตอนแรกมาคิดสถาณการณ์เพื่อสื่อแสดงเกี่ยวกับมโนติ - ทดลองปรากฏการณ์เพื่อหาความเป็นไปได้ - สรุปวิธีการที่เป็นไปได้ที่สุด และสื่อความหมายกับมโนคติ - จัดแสดงสู่สาธารณะ 8.2 ขอบเขตเนื้อหาในการศึกษา เนื่อหาในการศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดเรื่องมโนคติ และแนวคิดที่มีความสอดคล้องใกล้เคียง ไม่ว่าจะเกี่ยวกับการมอง การตีความ หมาย การให้ความหมายสรรพสิ่งต่างต่างรอบตัว 8.3 วิธีการศึกษา เป็นการวจัยเอกสาร(DocumentaryResearch) โดยใช้การค้นคว้าข้อมลูจากหนังสือวารสาร สิ่งพิมพ์เอกสารงานวิจัยฐานข้อมูล และเว็ปไซต์ที่เกี่ยวข้องรวมทั้งเป็นการสังเกตุปรากฏการณืการมอง การให้ความหมายที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำ�วัน
9.สถารที่ในการดำ�เนินงานศึกษาและรวบรวมข้อมูล ในการศกึษาครัง้นี้ใช้สถานที่ในการดาเนินการศกึษาและรวบรวมข้อมลูดงันี้ 1.สาขาวชิาสื่อศิลปะและการออกแบบสื่อมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2.ห้องสมุดกลางมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ 239 ถนนห้วยแก้ว ตำ�บลสุเทพ อำ�เภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่ 50200 10.เอกสารที่เกี่ยวข้อง http://www.baanjomyut.com/library/philosophy.html http://www.baanjomyut.com/library_2/greek_philosophy/03.html http://th.wikibooks.org/wiki/ปรัชญานวยุค
Sketh การทำ�งาน และปฏิสัมพัธ์กับคนผู้ชม อุปกรณ์ (โดยประมาณ) 1.โปรเจกเตอร์ 2.กํายาน 3.ที่วางกําายานควบคุมทิศทางควัน(วัสดุยงัไม่แนน่อน) 4.macbook Pro 5.กล้อง Webcam Sketch กลองวีดีโอ
กลุมควัน
หองกระจก
iMAC
projector
การเข้ามามีส่วนร่วมของผู้ชม ‘มโนคติ’ ทแี่ทนความหมายโดยภาพที่ปรากฏใหเ้หน็ในจอคอมพวิเตอร์ ภาพที่ถูกถา่ยด้วยกลง้ิวีดีโอเช่นว่า เราอยู่ในเวลาณ ขณะนั้นท่ีกาําลังชมงานอยู่แต่ในความเป็นจริงเปน็เพียงแค่การจําาลองผคู้นที่เข้าชมให้อยู่ในจอ เท่านั้น และเพื่อส่ือถึรูปแบบที่ไม่มีความ ตายตัว จับต้องไม่ได้ และสบายไปตามกาลเวลา ซึ่งให้ความหมายอทน กลมุ่ควันทเี่มื่อเวลาผา่นไปก็จะจางหายรวมไปถงึ’แบบ’ทผี่ดิแผล กไปจากจินตนาการและสิ่งทเ่ีห็นตรงหน้า(จอ คอมพวิเตอร์)ทีก่ค็วรจะปรากฏเช่นเดียวกนัในกลมุ่ควันแต่กลับปรากฏออกมาในอีกลักษณะ หน่งึแนน่อนวา่รปู ทรงต้องแปลกไปรูปร่างจะเห็นชัดเจนได้มากน้อยเพียงใดก็ขึ้นอย่กูบัความหนาแน่นของกลมุ่ควันทีจ่ะถูกเพ่ิมเติม อยู่ตล อดเวลเพอ่ืให้ปรากฏรูปทรงที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจนท่สีดุ ลกัษณะการติดตั้งงาน ติดตัง้ในห้องทีเ่ป็นกระจกผู้เข้าชมงานสามรถมองทะลุผานได้อย่างชัดเจนควันที่เกดิขึ้นภายในห้องจะถกู ฉายด้วยโปรเจคเตอร์ที่ ถา่ยจากผเู่ข้าชมงานที่เดนิผา่นหน้ากลอ้ง