หลักสูตรเพชรน้ำงาม อาสาใจขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดำริ จังหวัดเพชรบุรี docx

Page 1

หลักสู ตร เพชรนํา งาม อาสาใจ อาสา ใจ ขยายผลโครงการพ่ ขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี

สํ านักงานพัฒนาชุ มชนจังหวัดเพชรบุรี https://www.facebook.com/cdd.phetchaburi


คํานํา เอกสารหลักสูตร เพชรน้ํางาม อาสาใจขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ ฉบับนี้ เกิดขึ้นจากที่สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี ได้จัดทําโครงการอาสาใจ ขยายผลโครงการพ่อตามแนว พระราชดําริ เป็นข้อเสนอโครงการริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการ พัฒนาชุมชน ประจําปี ๒๕๕๗ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการนําโครงการพระราชดําริมาขยายผลการ พัฒนาหมู่บ้าน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียงต้นแบบขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ โดยได้จัดทําหลักสูตร เพชรน้ํางาม อาสาใจขยาย ผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ เป็นนวัตกรรมในการขับเคลื่อนโครงการ หลักสูตรฝึกอบรมนี้ใช้เวลา ๓ วัน แบ่งเป็นการฝึกอบรมในห้องเรียน ๒ วัน ศึกษาดูงานโครงการพระราชดําริ ๑ วัน สํา นัก งานพัฒ นาชุ มชนจั ง หวั ด เพชรบุรี ต้อ งขอขอบคุ ณ มหาวิ ทยาลั ย ราชภั ฏ เพชรบุ รี ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี และผู้อํานวยการโครงการสวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราช ชนนี จังหวัดเพชรบุรี ที่มีส่วนในการสร้างและพัฒนาหลักสูตรที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชน ขอขอบคุณ ผู้นําชุมชน และผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ให้ข้อมูลสําคัญสําหรับการออกแบบหลักสูตร รวมทั้งข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์และทําให้หลักสูตรสมบูรณ์ สามารถนํามาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาผู้นําชุมชนในการขับเคลื่อน โครงการพระราชดําริ ได้อย่างเห็นผลเป็นรูปธรรม

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี พฤษภาคม ๒๕๕๗


สารบัญ เรื่อง

หน้า

ส่วนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้นของหลักสูตร ที่มาของหลักสูตร...................................................................................................................................................................................................................................................1 วัตถุประสงค์จัดทําหลักสูตร.......................................................................................................................................................................................................... .........1 ขอบเขตการดําเนินงาน..................................................................................................................................................................................................................................2 ส่วนที่ 2 กรอบหลักสูตร เพชรน้ํางาม อาสาใจขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ แนวคิดในการทําหลักสูตร.........................................................................................................................................................................................................................3 ส่วนที่ 3 เนื้อหาสาระรายวิชา หลักสูตร เพชรน้ํางาม อาสาใจขยายผลโครงการพ่อตามแนว พระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี ............................................................................................................................................................................................................4 ส่วนที่ 4 เนื้อหาวิชาการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.................................................................25 สาระสําคัญในแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ.......................................................................25 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริในจังหวัดเพชรบุร.ี ..................................................................................................................27 ตัวอย่างโครงการสืบเนื่องมาจากพระราชดําริ ................................................................................................................................................28 1. โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ........................30 2. โครงการศูนย์สาธิตพืชไร่และพืชสวนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ......................................................................... .......31 3. โครงการพระราชประสงค์หุบกะพง................................................................................. . .........................................................................................32 4. โครงการตามพระราชประสงค์ดอนขุนห้วย.......................................... ...........................................................................................................33 5. โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ........................................ ............................34 6. โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพพื้นที่บริเวณเขานางพันธุรัต (เขาเจ้าลายใหญ่) ............................. ........36 7. โครงการเครือข่ายอ่างเก็บน้ํา (อ่างพวง) อันเนื่องมาจากพระราชดําริ................................ .....................................37 8. โครงการพัฒนาแหล่งน้ําบริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี .................. .39 9. โครงการขุดลอกอ่างเก็บน้ําห้วยสงสัยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ..................................... ........................... .............40 10. โครงการแก้ไขปัญหาน้ําท่วมจังหวัดเพชรบุรี อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุร.ี ...........................................................................................................................................................................................................................................41 11. โครงการอ่างเก็บน้ําห้วยผาก อันเนื่องมาจากพระราชดําริ............................................... .................................................... ...43 12. โครงการสวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี................................................................. ..............................................................44 13. โครงการดูแลที่ดินและปลูกป่าในที่ดินของมูลนิธิสง่ เสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ บ้านท่ากระทุ่ม.................................... ....................................................46 14. โครงการพัฒนาที่ดินฯ ตามพระราชประสงค์หนองพลับ – กลัดหลวง ....................... ..........................................47 15. โครงการพัฒนาห้วยแม่เพรียงตามพระราชดําริ................................................................................................. ........................................48 16. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนบ้านบางกลอยและบ้านโป่งลึก................ ..................................................49 17. โครงการดูแลรักษาป่าไม้บริเวณป่าละอูบนและเขาพะเนินทุ่ง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ......................................................................................................................................................................................................50 18. โครงการอ่างเก็บน้ําผาน้ําหยดอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ......................................................... .........................................51 19. โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ห้วยสัตว์ใหญ่ ป่าเด็ง – ป่าละอู ................................................................... .....................................52 20. โครงการอ่างเก็บน้ําห้วยแม่ประจันต์อันเนื่องมาจากพระราชดําริ........................................... ..................................53 สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


21. โครงการฟาร์มทะเลตัวอย่างตามพระราชดําริ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จังหวัดเพชรบุร.ี ............................. ..............................................................................................................................................54 22. อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร .............................................................................................................................. ......................................55 23. โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดําริ............................................................................................................................... ............................................57 หลักการองค์ความรู้ ๖ มิต.ิ ..................................................................................................................................................................................................................59 องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่อง น้ํา ................................................................................................................................................60 องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่อง ดิน...................................................................................................................................................61 องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่อง เกษตร.......................................................................................................................................66 องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่อง พลังงานทดแทน.........................................................................................................68 องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่อง ป่า....................................................................................................................................................70 องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่อง สิ่งแวดล้อม.........................................................................................................................72 การวิเคราะห์ องค์ความรู้ 6 มิติ โครงการตามแนวพระราชดําริ จํานวน 23 โครงการ ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุร.ี .....……………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………….…..…..…………….75 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. .........................................................................................................................................................................................77 การดําเนินงานโครงการหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ............................................................................................................78 หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว...........................................................................................................................................79 การศึกษาดูงานโครงการพระราชดําริ...................................................................................................................................................................................83 วิธีการศึกษาดูงานอย่างมีประสิทธิภาพ........................................................................................................................................................................83 ๑. การเตรียมความพร้อมก่อนศึกษาดูงาน.............................................................................................................................................................83 ๒. การเตรียมความพร้อมขณะศึกษาดูงาน .........................................................................................................................................................83 ๓. การเตรียมความพร้อมหลังศึกษาดูงาน..............................................................................................................................................................84 ผู้นําชุมชน กับการเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน .......................................................................................................................................85 ผู้นํากับการนําชุมชนสู่การพัฒนา............................................................................................................................................................................................85 สตรี กับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน.................................................................................................................................................................87 ภาคผนวก - หนังสือรับรองหลักสูตรการฝึกอบรม - สําเนาโครงการ อาสาใจ ขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ - กําหนดการฝึกอบรม หลักสูตรเพชรน้ํางาม อาสาใจ ขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ - สรุปงบหน้าการอนุมัติโครงการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดเพชรบุรี - ร่างระเบียบฯ - ตัวอย่างป้าย - ใบสมัคร - หลักเกณฑ์การประกวด บรรณานุกรม

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~1~

ส่วนที่ ๑ ข้อมูลเบื้องต้นของหลักสูตร --------------------ที่มาของหลักสูตร ๑. ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙ พ มีเป้าหมายสูงสุดภายใต้วิสัยทัศน์ “ชุมชน เข้มแข็งเศรษฐกิจฐานรากมั่นคง” ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข กําหนดกลยุ หนด ทธ์ ส่งเสริมและพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง : หมู่บ้านแห่งความสุขมวลรวมชุมชนมีมีเป้าประสงค์ ประชาชนมี คุณภาพชีวิตดีมีความสุข ๒. ยุทธศาสตร์จังหวัดเพชรบุรี ปี 255๗ กําหนดวิสัยทัศน์จังหวัดเพชรบุรี “แหล่ “ งผลิตอาหารและ แหล่งท่องเที่ยวชั้นนําของ ASEAN”” โดยกําหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 จังหวัดเพชรบุรีผ่านเกณฑ์เมืองน่าอยู่ ภายใต้กลยุทธ์เสริ เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ความเข้มแข็งของสังคมตามหลั คม กของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และการสร้างสุขภายใต้แนวคิดสุขภาพดีวิถีเพชร 3. จังหวัดเพชรบุรีมีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริในพื้นที่จังหวัด จํานวน ๒๓ โครงการ เป็น จุดแข็งของจังหวัด สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดได้ให้ความสําคัญในการดําเนินงานตามแนวทางพระราชดําริ จึง ได้ จัด ทํา โครงการ อาสาใจ ขยายผลโครงการพ่อ ตามแนวพระราชดํ า ริ เป็น ข้อ เสนอโครงการริเ ริ่ ม สร้างสรรค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชนและจังหวัดเพชรบุรี ประจําปี ๒๕๕๗ ภายใต้แนวคิดการน้อมนําโครงการพระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีมาขยายผลการดําเนินงานใน หมู่บ้บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบและการพั แบบและการ ฒนาผู้นําชุมชนที่อาสาใจเข้ เข้าร่วมโครงการเป็ มโครงการ นพลังสําคัญในการ แก้ไขและพัฒนาหมู่บ้าน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการนําโครงการพระราชดําริมาขยายผลการพัฒนา หมู่บ้า นและเพื่อสร้า งรูป แบบการพัฒ นาหมู่บ้า นเศรษฐกิจ พอเพีย งต้นแบบขยายผลโครงการ แบบ ขยายผลโครงการพ่อตามแนว พระราชดําริในแบบฉบับของจังหวัดเพชรบุรี โดยได้จัดทําหลักสูตร “เพชรน้ํางาม อาสาใจ ขยายผลโครงการ พ่อตามแนวพระราชดําริ” เป็นนวัตกรรมในการขับเคลื่อนโครงการฯ วัตถุประสงค์จัดทําหลักสูตร ๑. เพื่อพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมสําหรับการพัฒนาผู้นําชุมชนในการขับเคลื่อนโครงการ พระราชดําริในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ๒. เพื่อให้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาผู้นําชุมชนในการขับเคลื่อนโครงการ พระราชดําริในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~2~

ขอบเขตการดําเนินงาน ๑. กรอบการดําเนินงาน ขั้นตอน รายละเอียด ขั้นตอนที่ ๑ การเก็บรวบรวมข้อมูล เอกสารเกี่ยวกับโครงการพระราชดําริ การสนทนากลุ่ม (Focus group) ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหาร นักวิชาการและผู้นําชุมชน ขั้นตอนที๒่ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกําหนดความต้องการของหลักสูตรและใช้ในการออกแบบ หลักสูตร ขั้นตอนที๓่ ออกแบบหลักสูตร ประกอบด้วย กรอบหลักสูตรเนื้อหาหลักสูตร แผนการสอนรายวิชา โดยละเอียด(หัหัวข้อวิชาวัตถุประสงค์ ระยะเวลาการเรียนรู้ เนื้อหา กิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ เอกสาร/สื่อ/อุอุปกรณ์) วิธีการ ประเมินผลและแนวทางการใช้หลักสูตร ขั้นตอนที๔่ ทดลองหลักสูตร การนําหลักสูตรที่ได้รับการพัฒนาแล้วไปทดลองใช้จริง ขั้นตอนที๕่ วิพากษ์หลักสูตร นําหลักสูตรที่สร้างมาทําการวิพากษ์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ และผู้นําชุมชน ขั้นตอนที๖่ เผยแพร่และ จัดทําเอกสารประจําหลักสูตร ได้แก่หลักสูตรการฝึกอบรมและแผ่น พับประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ ๒. วิธีการเรียนและการฝึกอบรมใช้ อบรม วิธีการเรียนรู้ตามหลัก Place Model กล่าวคือ P : Participatory Learning Action การส่งเสริมให้ผู้เข้าอบรมเป็นฝ่ายเรียนรู้และคิดเพื่อตนเอง ผูเข้ เ้ ข้าอบรมได้มีส่วนร่วมในการเรียน และการสอน ค้นหาความรู้หรือคําตอบโดยการทํางานร่วมกันระหว่างผู้เข้าอบรม และวิทยากรมีการเรียนรู้ ร่วมกันไปกับผู้อบรมด้วย L : Learner Center Learning การจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เข้าอบรมเป็นจุดสนใจหรือเป็นผู้มีบทบาทสําคัญ การจัดการเรียน การสอนโดยคํานึงถึงประโยชน์ของผู้อบรมเป็นประการสําคัญ A : Active Learning เป็นการเรียนการสอนที่ให้ผู้อบรมมีความคล่องแคล่ว กระตือรือร้นในการเรียน หรือการเรียนการ สอนที่ผู้อบรมใช้เวลาอยู่กับเนื้อหาวิชา โดยการพูดคุย การเขียน การอ่าน การสะท้อน การตั้งคําถาม ใช้ได้ทั้ง กลุ่มและห้องเรียนใหญ่ๆ ผู้เข้าอบรมอาจทํางานคนเดียวหรือเป็นกลุ่ม C : Competency – Based Design การออกแบบการเรียนการสอนที่มุ่งพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรให้เป็นไปตามความต้องการของ องค์กร E : Empowering Facilitation การเอื้ออํานวยกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งปลดปล่อยพลังผู้เข้าอบรม เป็นการจัดระบบการ บริหารการฝึกอบรมที่ผู้เข้าอบรมสามารถเข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบในกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างเต็มที่ ซึ่งทําให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้สึกเป็นเจ้าของการฝึกอบรมด้วย

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~3~

ส่วนที่ ๒ กรอบหลักสูตร เพชรน้ํางาม อาสาใจขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ --------------------แนวคิดในการทําหลักสูตร ๑. แนวคิดโครงการพระราชดําริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระราชดําริและได้พระราชทานแนวคิด แนวทางการปฏิบัติต่าง ๆ ให้กับปวงชนชาวไทย เพื่อเปลี่ยนการดําเนินชีวิต ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล ระดับชุมชนระดับองค์กรระดับรัฐ ให้ รอดพ้ นจากวิ กฤตและดํ าเนิ นอยู่ ในสั งคมได้ อย่ างสมดุ ลมั่ นคง และยั่ งยื นภายใต้ กระแสโลกาภิ วั ฒน์ และการ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ซึ่งได้มีการนําแนวพระราชดําริต่าง ๆ มาจัดทําเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อันมี บทบาทสําคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะการพัฒนาชนบท ตามแนวพระราชดําริที่เป็น ต้นแบบของการนําแนวคิดและวิธีการพัฒนาชนบทอย่างครบวงจร หรือที่เรียกว่า “บริการรวมที รรวมที่จุดเดียว (ONE STOP SERVICES)” เพื่อยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนผู้ยากไร้ ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนในพื้นที่ ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ โดยเน้นการพัฒนาด้านแหล่งนํ้าการเกษตร สิ่งแวดล้อม และการส่งเสริมอาชีพ ซึ่งเป็นแนว พระราชดําริที่สําคัญ โครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดํารินั้น มีอยู่มากมายหลากหลายประเภทแตกต่างกันไป ตามลักษณะและวัตถุประสงค์ของโครงการนั้น ๆ ซึ่งส่วนมากจะเป็นการแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านการทํามาหากิน ของประชาชนเป็นสําคัญ และดังที่ทราบกันดีว่าส่วนใหญ่ของประชากรของประเทศไทย ยังชีพอยู่ด้วยการทํา เกษตรกรรม ดังนั้น โครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริจึงเกี่ยวข้องอยู่กับเรื่องของการพัฒนาปัจจัยการผลิต ต่าง ๆ เช่น ดิน น้ํา ที่ทํากิน ทุน และความรู้ด้านเกษตรกรรม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ เป็นต้น และดังได้กล่าวมาแล้วในเบื้องต้น ไม่ว่าจะเป็นแนวคิดและทฤษฎีในงานสาขาใดที่ได้พระราชทานพระราชดํ ระราชทาน าริ เพื่อการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนาไว้ หลักสําคัญของทุกเรื่องก็คือ ความเรียบง่ายดังที่ได้ทรงใช้คําว่า “Simplify” หรือ “Simplicity” จะต้องเรียบง่ายไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อน ทั้งในแนวความคิดและด้านเทคนิควิชาการจะต้องสมเหตุสมผล ทํ า ได้ ร วดเร็ ว และสามารถแก้ ไขปั ญ หาให้ ก่ อประโยชน์ ได้ จริ ง ตลอดจนมุ่ ง ไปสู่ วิ ถี แห่ ง การพั ฒ นายั่ งยื น (Sustainability) อีกด้วย ๒. หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง การพั ารพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาที่ตั้งอยู อยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความ ฐานของทางสายกลางและ ไม่ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทํา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ ๕ ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 กรอบแนวคิดเป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดํารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็นโดย มีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทยสมารถนํามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลาและเป็นการมองโลกเชิง ระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤต เพื่อความมั ความมั่นคงและความยั่งยืน ของการพัฒนา ส่วนที่ 2 คุณลักษณะเศรษฐกิ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับโดย เน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน ส่วนที่ 3 คํานิยามความพอเพี ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อม ๆ กันดังนี้ • ความพอประมาณ หมายถึงความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู ละผู้อื่นเช่นการผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ • ความมีเหตุผล หมายถึงการตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆ อย่างรอบคอบ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~4~

• การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ ใ และไกล ส่วนที่ ๔ เงื่อนไข การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้ง ความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ • เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วยความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนําความรูเหล่ เ้ หล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้น ปฏิบัติ • เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียรใช้สติปัญญาในการดําเนินชีวิต ส่วนที่ ๕ แนวทางปฏิ างปฏิบัต/ิ ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดล้อมความรู้และเทคโนโลยี ๓. หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นการดําเนินงานในลักษณะทางสายกลางที่สอดคล้อง กับวิถีชีวิตของสังคมไทย และสามารถปฏิบัติ ได้ จริง โดยทรงเน้น “การพัฒนาคน” เป็นตัวตั้ง และยึดหลั ก ผลประโยชน์ของปวงชน และการมีส่วนร่วมตัดสินใจของประชาชน ตลอดจนภูมิสังคมที่คํานึงความแตกต่างกันใน แต่ ล ะพื้ น ที่ และการพึ่ งตนเอง โดยรู้ จั กประมาณตนและดํ า เนิ น การด้ ว ยความรอบคอบ ระมั ด ระวั ง และ “ทําตามลําดับขั้น” อย่างบูรณาการ ซึ่งอาศัยความ“เข้ ความ าใจ เข้าถึง พัฒนา” และการ “รูรู้ รัก สามัคคี” ของทุกฝ่าย ส่ ง ผลให้ ป ระชาชนและชุ ม ชนในชนบทที่ ไ ด้ ดํ า เนิ น การตามแนวพระราชดํ กา รตามแนวพระราชดํ า ริ มี ค วามเป็ วาม น อยู่ ที่ ดี ขึ้ น สามารถพึ่ งตนเองได้ ทั้ งเรื่ องเศรษฐกิ จ สั งคม มี เทคโนโลยี ที่ เหมาะสม ดํ าเนิ นการได้ อย่ างประหยั ด และใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน อันนําไปสู่ชุมชนและสังคมที่เข้มแข็งและอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ๔. แนวคิดการพัฒนาผูผู้นํา “ผู้นํา” ผู้ที่เป็นบุคคลที่จะมาช่วยประสานกําลังแรงใจและสมองในการทํางานร่วมกันในทางที่ดีเป็นธรรม ให้กับสังคม เหตุนี้งานในการพัฒนาชุมชน ผู้นําชุมชนถือว่า เป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถที่ระดมทรัพยากรใน ด้านต่างๆ เพื่อใช้ในกิจกรรมการพัฒนา และเพื่อให้งานพัฒนานั นา ้นไปสู่จุดหมายได้ดีขึ้น ผู้นําชุมชน คือ บุคคลที่ช่วยให้ผู้อื่นหรือชุมชนได้มีการตกลงกัน และพยายามหาทางให้ประสบผลสําเร็จ ตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้พฤติกรรมของผู้นําชุมชนจะมีอิทธิพลเหนือประชาชนในชุมชนนันั้น อันจะก่อให้เกิดการร่วมมือ กันทํางาน โดยมุ่งความสําเร็จของชุ งชุมชนเป็นสําคัญหรืออาจกล่าวได้ง่ายๆ โดยสรุปว่า ผู้นําชุมชน คือ ผู้มีอํานาจหรือ อิทธิพลสามารถชักจูงคนในชุมชนได้ การพัฒนาความรู้และทักษะของผู้นําเป็นสิ่งที่จําเป็นอย่างยิ่ง เพราะการ เสริมสร้างความรู้และพัฒนาทักษะจะทําให้ผู้นําชุมชนมีโลกทัศน์ใหม่ต่องานพัฒนา การพัฒนาความรู นาค ้ ทักษะของผู้นํา จึงเป็นสิ่งจะต้องนํามาพิจารณาควบคู่ไปกับการทํางานพัฒนาชุมชนมาประยุกต์ใช้ได้ตามความเหมาะสมในแต่ละ ชุมชน ผู้นําโดยส่วนใหญ่จะเป็นบุคคลที่มีความสนใจใฝ่ วามสนใจ ฝ่รู้ศึกษาและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ จะศึกษาด้วยตนเอง วิธี การศึกษาด้วยตนเองนั้น อาจเป็นการสังเกตสิ่งที่ตนเองพบเห็น แล้วจดจํามาทดลองปฏิบัติ หรือผ่านการพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคลต่างๆจัดกลุ่มพูดคุยสนทนา หลังจากผ่านการไปศึกษาดูงานภายนอกลักษณะทาง สังคมและวัฒนธรรม ตลอดจนสถานการณ์ของชุมชนของตน ขอบเขตเนื้อหาในหลักสูตร 1. โครงการพระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี ๒. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~5~

๓. หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็ ทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๔. ผู้นําชุมชนกับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ๕. การศึกษาดูงานโครงการพระราชดําริ 6. การวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้ความรู้จากการศึกษาดูงานโครงการตามพระราชดําริในพื้นที่จังหวัด เพชรบุรี เพื่อการพัฒนาในระดับบุคคล ครัวเรือน และชุมชน 7. การส่งเสริมกิจกรรมขยายผลโครงการตามพระราชดําริ 8. การคัดเลือกคณะกรรมการบริหารโครงการ/จั ารโครงการ ดทําระเบียบการดําเนินกิจกรรมขยายผลโครงการ มขยายผลโครงการ ตามพระราชดําริของหมู่บ้าน 9. การติดตามและประเมินผล คุณสมบัติกลุ่มเป้าหมาย ๑. ผู้นําชุมชนในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ที่มีจิตใจอาสาพร้อมที่จะเป็นแกนนําหมู่บ้าน และ สมัครเข้าร่วมโครงการมีความสนใจเรียนรู้โครงการพระราชดําริมาขยายผลในหมู าขยายผลใ ่บ้าน ๒. เป็นผู้ที่สามารถเข้ารับการฝึกอบรมได้ตลอดหลักสูตร ระยะเวลาดําเนินการ หลักสูตรนี้ใช้เวลา ๓ วัน แบ่งเป็นการฝึกอบรมในห้องเรียน ๒ วัน ศึกษาดูงาน ๑ วัน ผลที่คาดว่าจะได้รับหลังการอบรม ๑. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในโครงการพระราชดําริได้อย่างถูกต้อง ๒. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการเป็นแกนนําในการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ๓. ผู้เข้ารับการอบรมมีความสามารถในการนําโครงการพระราชดําริมาขยายผลในการแก้ไขปัญหาและ หาแล พัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเห็นผลเป็นรูปธรรม

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~6~

ส่วนที่ 3 เนื้อหาสาระรายวิชาหลั า กสูตร เพชรน้ํางาม อาสาใจ ขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี วัน/เดือน/ปี วันแรก

เนื้อหาสาระของหลักสูตร - รับรายงานตัว

กิจกรรม เวลา - รับรายงานตัว แจกเอกสาร 08.00-08.30 น. ประกอบการประชุม - ปฐมนิเทศ - ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัด 08.30-09.00 น. ประชุม การอยู่ร่วมกัน การวาง กฎกติกาการดําเนินงาน โครงการร่วมกัน - ชี้แจงรายละเอียดโครงการ - ละลายพฤติกรรม/หาความ รรม - เป็นการแนะนําตัว และการ คาดหวัง หาความคาดหวังของผู้เข้าร่วม โครงการในครั้งนี้ และร่วมลง มติในการวางกติกาในการ ประชุมร่วมกันในครั้งนี้ เนื้อหาวิชา : โครงการอัน - วิทยากรบรรยาย ประกอบสื่อ 09.00-12.00 น. เนื่องมาจากพระราชดํ พระราชดําริของ PPT /วีดีทัศน์/เอกสาร เกี่ยวกับ พระบาทสมเด็ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 1. สาระสําคัญในแนวคิดและ 1. สาระสําคัญในแนวคิดและ ทฤษฎีการพัฒนาอัน ทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจาก เนื่องมาจากพระราชดําริ พระราชดําริ 2. โครงการพระราชดําริใน 2. โครงการตามแนวพระราชดําริ พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี 2.1 โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนา สิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อัน เนื่องมาจากพระราชดําริ 2.2 โครงการศูนย์สาธิตพืชไร่และ พืชสวนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 2.3 โครงการตามพระราชประสงค์ หุบกะพง 2.4 โครงการตามพระราชประสงค์ ดอนขุนห้วย 2.5 โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนา ห้วยทรายอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ 2.6 โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพ พื้นที่บริเวณเขานางพันธุรัต (เขาเจ้าลายใหญ่) อันเนื่องมาจาก พระราชดําริ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~7~

วัน/เดือน/ปี

เนื้อหาสาระของหลักสูตร 2.7 โครงการเครือข่ายอ่างเก็บน้ํา (อ่างพวง) อันเนื่องมาจาก พระราชดําริ 2.8 โครงการพัฒนาแหล่งน้ํา บริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยา เขตสารสนเทศเพชรบุรี 2.9 โครงการขุดลอกอ่างเก็บน้ํา ห้วยสงสัยอันเนื่องจากพระราชดําริ 2.10 โครงการแก้ไขปัญหาน้ําท่วม จังหวัดเพชรบุรี อันเนื่องมาจาก พระราชดํ ะราชดําริจังหวัดเพชรบุรี 2.11 โครงการอ่างเก็บน้ําห้วยผาก อันเนื่องมาจากพระราชดําริ 2.12 โครงการสวนสมเด็ สวนสมเด็จพระศรี นครินทราบรมราชนนี มูลนิธิชัย พัฒนา 2.13 โครงการดูแลที่ดินและ ปลูกป่าในที่ดินของมูลนิธิส่งเสริม ศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ บ้านท่ากระทุ่ม 2.14 โครงการพัฒนาที่ดินฯ ตามพระราชประสงค์ พระราชประสงค์หนองพลับ – กลัดหลวง 2.15 โครงการพัฒนาห้วยแม่เพรียง ตามพระราชดําริ 2.16 โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ประชาชนบ้านบางกลอยและ บ้านโป่งลึก 2.17 โครงการดูแลรักษาป่าไม้ บริเวณป่าละอูบนและเขาพะเนิน ทุ่งอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 2.18 โครงการอ่างเก็บน้ําผาน้ํา หยดอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 2.19 โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ ห้วยสัตว์ใหญ่ ป่าเด็ง – ป่าละอู 2.20 โครงการอ่างเก็บน้ําห้วย แม่ประจันต์อันเนื่องมากจาก พระราชดําริ

กิจกรรม

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี

เวลา


~8~

วัน/เดือน/ปี

เนื้อหาสาระของหลักสูตร 2.๒๑ โครงการฟาร์มตัวอย่างตาม พระราชดําริ ในสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จังหวัด เพชรบุรี 2.22 โครงการอุทยานสิ่งแวดล้อม นานาชาติสิริธร 2.๒๓ โครงการชั่งหัวมัน ตาม พระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี องค์ความรู้ 6 มิติ - องค์ความรู้สืบสานแนว พระราชดําริ เรื่อง น้ํา - องค์ความรู้สืบสานแนว พระราชดําริ เรื่อง ดิน - องค์ความรู้สืบสานแนว พระราชดําริ เรื่อง เกษตร. - องค์ความรู้สืบสานแนว พระราชดําริ เรื่อง พลังงานทดแทน - องค์ความรู้สืบสานแนว พระราชดําริ เรื่อง ป่า - องค์ความรู้สืบสานแนว พระราชดําริ เรื่อง สิ่งแวดล้อม เนื้อหาวิชา : หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และแนวทาง การดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง - ความหมาย ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง - บทสรุป ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข - การดําเนินงานโครงการหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ เนื้อหาวิชา : หลักการทรงงาน ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

กิจกรรม

เวลา

- วิทยากรบรรยาย ประกอบสื่อ 13.00-14.00 น. PPT /วีดีทัศน์/ เกี่ยวกับ 1.หลักหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และแนวทาง การดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง 2. การดําเนินงานโครงการ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบ - วิทยากรบรรยาย ประกอบสื่อ 14.00-15.00 น. PPT /วีดีทัศน์/ เกี่ยวกับ หลักการทรงงานของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~9~

วัน/เดือน/ปี

วันที่สอง

วันที่สาม

เนื้อหาสาระของหลักสูตร เนื้อหาวิชา : ผู้นําชุมชน : กับ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชุมชน - ผู้นํา กับการนําชุมชนสู่การพัฒนา - สตรี กับการสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชน

กิจกรรม เวลา - วิทยากรบรรยาย ประกอบสื่อ 15.00-16.30น. PPT เกี่ยวกับ - ผู้นํา กับการนําชุมชนสู่การ พัฒนา - สตรี กับการสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชน - แบ่งกลุ่มวิเคราะห์ปัญหาและ ค้นหาความต้องการ การน้อม นําโครงการพ่อมาขยายผลใน หมู่บ้าน - สรุปผลจากการวิเคราะห์ปัญหา - กําหนดศึกษาดูงานโครงการ พระราชดําริ และศึกษาดูงาน แนวทางการดําเนินงานในการ ขับเคลื่อนกิจกรรมการพัฒนา

- ศึกษาดูงานโครงการตามแนว พระราชดําริ

- ติดต่อประสานงานโครงการ 08.00-16.30 น. พระราชดําริ ต้นแบบ - จัดหาพาหนะในการเดินทาง ศึกษาดูงาน - มอบหมายภารกิจ - สรุปผลจากการศึกษาดูงาน เนื้อหาวิชา : การวิเคราะห์ การ - วิทยากรกระบวนการ นําเวที 08.30-12.00 น. ประยุกต์ใช้ความรู้จากการศึกษาดู วิเคราะห์ โดยเทคนิคต่าง ๆ งานโครงการตามพระราชดําริใน เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้จาก พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี เพื่อการ การศึกษาดูงานโครงการตาม พัฒนาในระดับบุคคล ครัวเรือน พระราชดําริในพื้นที่จังหวัด และชุมชน เพชรบุรี - กําหนดกิจกรรมการพัฒนาใน ระดับบุคคล ครัวเรือนและชุ และชุมชน เนื้อหาวิชา : การส่งเสริมกิจกรรม - วิทยากร บรรยายประกอบสื ประกอบสื่อ 13.00-14.30 น. ขยายผลโครงการตามพระราชดําริ PPT / วีดีทัศน์/เอกสาร - แนวทางการส่ส่งเสริมกิจกรรม เกี่ยวกับ การส่งเสริมกิจกรรม ขยายผลโครงการตามพระราชดําริ ขยายผลโครงการตาม ตามบริบทของชุมชน พระราชดําริ - ฝึกปฏิบัติกิจกรรมกิจกรรม ขยายผลโครงการตาม พระราชดําริ

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 10 ~

วัน/เดือน/ปี

เนื้อหาสาระของหลักสูตร - การคัดเลือกคณะกรรมการ บริหารโครงการ - การจัดทําระเบียบการดําเนิน กิจกรรมขยายผลโครงการตาม พระราชดําริของหมู่บ้าน

- ประเมินผล - สรุปผลการดําเนินงาน มอบหมายภารกิจ

กิจกรรม เวลา - วิทยากรกระบวนการ ให้ 14.30-16.00 น. ความรู้ เกี่ยวกับโครงสร้างการ บริหารจัดการของคณะกรรมการ - จัดเวทีประชาคม คัดเลือก คณะกรรมการบริหารโครงการ - กําหนดระเบียบการดําเนิน กิจกรรมขยายผลโครงการตาม พระราชดําริของหมู่บ้าน - วิทยากร แจกแบบประเมินผล 16.00-16.30 อธิบายแบบประเมินผล - วิทยากรสรุปผลการ ดําเนินงาน มอบหมายภารกิจ

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 11 ~

รายละเอี ายละเอียดแนวทางและวิธีการปฏิบัติในแต่ละขั้นตอนของการใช้หลักสูตร 1. ขั้นเตรียมการใช้หลักสูตร 1) กําหนดกลุ่มเป้าหมาย สถานที่ วิทยากร 2) ประชุมทีมวิทยากร แบ่งงาน มอบหมายภารกิจให้วิทยากรรับผิดชอบ 3) เตรียมสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ให้พร้อมตามเนื้อหา 4) ซักซ้อมการใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ 2. ขั้นจัดการอบรม กิจกรรมที่ 1 รับรายงานตัว ปฐมนิเทศ ละลายพฤติกรรม/หาความคาดหวั รรม ง จุดประสงค์ : เพื่อตรวจสอบความพร้อมของผู้เข้าร่วมประชุม และเพื่อให้ผู้เข้าประชุมทราบและเข้ ทราบ าใจเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ของการดําเนินงานตามโครงการ ระยะเวลา : 1 ชั่วโมง แนวคิดสําคัญ : เป็นการกระตุ้น และสร้างการมีส่วนร่วมของผู้เข้าร่วมประชุม การวัดและประเมินผล : โดยวิธีการสังเกตและดูจากเอกสาร แบบทดสอบ เนื้อหา/วิธีการ/สื่อและอุปกรณ์ วิธีการ ประเด็นเนื้อหา สื่ออุปกรณ์ - การลงทะเบียนรับรายงานตัว ขั้นนํา (30 นาที) 1. ทะเบียนรายชื่อ - กรอกแบบประวัติ 1. ผู้เข้าร่วมประชุมลงทะเบียนหน้าห้อง 2. ทะเบียนประวัติ ประชุมเพื่อรายงานตัวและรับเอกสารการเข้า กลุ่มเป้าหมาย ร่วมประชุม 3. แบบประวัติ 2. เชิญผู้เข้าร่วมประชุมนั่งเก้าอี้ โดยการ 4. โต๊ะรับรายงานตัว เลือกที่นั่งตามบุคคลที่มาก่อนหลัง 5. เอกสารประกอบการ 3. ชี้แจงให้ทุกคนกรอกแบบประวัติของ ประชุม ตนเองส่งเจ้าหน้าที่ 6. ปากกา 7. กระดานบอร์ด ขั้นดําเนินกิจกรรม (40 นาที) 8. ป้ายโครงการ 1. พิธีกร เชิญผู้ดําเนินการประชุมขึ้นชี้แจง 9. เครื่องคอมพิวเตอร์ ปฐมนิเทศ ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัด 10 โปรเจคเตอร์พร้อมจอ 10. ประชุม ชี้แจงเอกสารประกอบ ชี้แจงแบบ ประวัติ แจกแบบประวัติให้ทุกคนกรอกแบบ ประวัติ ส่งเจ้าหน้าที่ ขั้นสรุป (20 นาที) - วิทยากรกระบวนการจัดเก็บ แบบประวัติ

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 12 ~

กิจกรรมที่ 2 : ละลายพฤติกรรม/หาความคาดหวั หาความคาดหวัง จุดประสงค์ : เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถเลือกเทคนิคสามารถเลือกเทคนิคได้เหมาะสมตรงกับกลุ่มเป้าหมาย นําไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระยะเวลา : 30 นาที แนวคิดสําคัญ : การละลายพฤติกรรมมีความจําเป็นในกระบวนการฝึกอบรมทุกหลักสูตร เพื่อให้ผู้เข้าฝึกอบรม มีส่วนร่วม และสร้างทัศนคติที่ดีให้ผู้เข้ารับการอบรม พร้อมที่จะเข้ารับการฝึกอบรมใน หลักสูตร ต่อไป การวัดและประเมินผล : โดยวิธีการสังเกตและการมี เก ส่วนร่วม เนื้อหา/วิธีการสื่อและอุปกรณ์ ประเด็นเนื้อหา วิธีการ สื่ออุปกรณ์ - การหาความคาดหวัง ขั้นนํา (10 นาที) 1. ทะเบียนรายชื่อ - ท่านคาดหวังอะไรบ้างจากการ 1. จัดเก้าอี้ 2. ทะเบียนประวัติ ประชุมครั้งนี้ 2. เชิญผู้เข้าร่วมประชุมนั่งเก้าอี้ โดยการ กลุ่มเป้าหมาย - โครงการพระราชดําริ จะมี เลือกที่นั่งตามบุคคลที่มาก่อนหลัง 3. บัตรคําความคาดหวัง ประโยชน์อะไรต่อตัวท่าน 3. ชี้แจงให้ทุกคนกรอกแบบประวัติของ 4. โต๊ะรับรายงานตัว ชุมชนของท่านบ้าง ตนเองส่งเจ้าหน้าที่ 5. เอกสารประกอบการ - ท่านคิดว่างบประมาณที่ได้รับ 3. ชี้แจงให้ทุกคน ค้นหาความคาดหวังของ ประชุม จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ตนเองส่งเจ้าหน้าที่ 6. ปากกา ในครั้งนี้ สามารถสร้าง ขั้นดําเนินกิจกรรม (40 นาที) 7. บอร์ด ประโยชน์อะไรให้กับสมาชิก 1. พิธีกร เชิญผู้ดําเนินการประชุมขึ้นชี้แจง 8. เครื่องคอมพิวเตอร์ และชุมชน ปฐมนิเทศ ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัด 9. โปรเจคเตอร์พร้อมจอ ประชุม ชี้แจงเอกสารประกอบ ชี้แจงหาความ คาดหวัง แจกบัตรคําให้ทุกคนเขียนความ คาดหวัง ส่งเจ้าหน้าที่ ขั้นสรุป (20 นาที) - วิทยากรกระบวนการจัดเก็บ บัตรคํา ติดไว้ ที่บอร์ด

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 13 ~

กิจกรรมที่ 3 : โครงการอัอันเนื่องมาจากพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จุดประสงค์ : เพื่อให้ผู้เข้ารับการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับความเป็นมาโครงการอัอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ และโครงการตามแนวพระราชดํ ตามแนวพระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี ระยะเวลา : 1 ชั่วโมง แนวคิดสําคัญ : เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับสมาชิกและกลุ่มเป้าหมายได้ทราบถึงคุณประโยชน์จาก โครงการพระราชดําริที่ได้นํามาพัฒนาพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี ให้ประชาชนได้มีที่ดินทํากิน มีน้ําไว้อุปโภคบริโภค มีป่าที่อุดมสมบูรณ์ มีสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ทําให้คนในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรีรมี ีอาชีพ มีรายได้ และก่อให้เกิด คุณประโยชน์อย่างยิ่งกับชุมชนในการนําโครงการพระราชดําริมาเป็นแนวทางในการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุ น มชน การวัดและประเมินผล : โดยวิธีการสังเกตและการมีส่วนร่วม เนื้อหา/วิธีการสื่อและอุปกรณ์ ประเด็นเนื้อหา วิธีการ สื่ออุปกรณ์ 1. สื่อ PPT / วิดีทัศน์ เนื้อหาวิชา : โครงการอัน ขั้นนํา เนื่องมาจากพระราชดําริของ - พิธีกรเตรียมความพร้อมผู้เข้าอบรมเกริ่นนํา 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เกี่ยวกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. โปรเจคเตอร์ โปรเจ พร้อมจอ 1. สาระสําคัญในแนวคิดและ และแนวทางการดําเนินชีวิตตามหลัก 4. เอกสารประกอบ ทฤษฎีการพัฒนาอัน - พิธีกรเชิญวิทยากร เนื้อหา 5. กระดาษฟลิบชาร์ท เนื่องมาจากพระราชดําริ 1. สาระสําคัญในแนวคิดและทฤษฎีการ 6. ปากกาเคมี 7. บอร์ด 2.โครงการอันเนื่องมาจาก พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พระราชดําริของตามแนว 2.โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริของ พระราชดําริในพื้นที่จังหวัด ตามแนวพระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี เพชรบุรี ขั้นดําเนินกิจกรรม ( 2 ชั่วโมง) 1) โครงการศึกษาวิจัยและ - วิทยากรบรรยาย ประกอบสื่อ PPT / พัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย วีดีทัศน์ ในประเด็นเนื้อหา อันเนื่องมาจากพระราชดําริ 1. สาระสําคัญในแนวคิดและทฤษฎีการ 2) โครงการศูนย์สาธิตพืชไร่และ พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พืชสวนอันเนื่องมาจาก 2.โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริของ พระราชดําริ ตามแนวพระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี 3) โครงการตามพระราช ขั้นสรุป - วิทยากรสรุป ประเด็นในการพัฒนาตาม ประสงค์หุบกะพง 4) โครงการตามพระราช โครงการพระราชดําระซึ่งรวมองค์ความรู้ได้ 6 มิติ ดังนี้ ประสงค์ดอนขุนห้วย 1. องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ 5) โครงการศูนย์ศึกษาการ พัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจาก เรื่อง น้ํา 2. องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ พระราชดําริ 6) โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพ เรื่อง ดิน 3. องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ พื้นที่บริเวณเขานางพันธุรัต (เขาเจ้าลายใหญ่) อัน เรื่อง เกษตร. 4. องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เนื่องมาจากพระราชดําริ 7) โครงการเครือข่ายอ่างเก็บน้ํา เรื่อง พลังงานทดแทน 5. องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ (อ่างพวง) อันเนื่องมาจาก เรื่อง ป่า พระราชดําริ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 14 ~

ประเด็นเนื้อหา วิธีการ 8. โครงการพัฒนาแหล่งน้ํา 6. องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ บริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร เรื่อง สิ่งแวดล้อม วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี 9. โครงการขุดลอกอ่างเก็บน้ํา ห้วยสงสัยอันเนื่องจาก พระราชดําริ 10. โครงการแก้ไขปัญหาน้ํา ท่วมจังหวัดเพชรบุรี อัน เนื่องมาจากพระราชดําริจังหวัด เพชรบุรี 11. โครงการอ่างเก็บน้ําห้วยผาก อันเนื่องมาจากพระราชดําริ 12. โครงการสวนสมเด็จพระศรี นครินทราบรมราชนนี มูลนิธิชัย พัฒนา 13. โครงการดูแลที่ดินและปลูก ป่าในที่ดินของมูลนิธิส่งเสริม ศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ บ้านท่า กระทุ่ม 14. โครงการพัฒนาที่ดินฯ ตาม พระราชประสงค์หนองพลับ – กลัดหลวง 15. โครงการพัฒนาห้วยแม่ เพรียงตามพระราชดําริ 16. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต ประชาชนบ้านบางกลอยและ บ้านโป่งลึก 17. โครงการดูแลรักษาป่าไม้ บริเวณป่าละอูบนและเขาพะเนิน ทุ่งอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 18. โครงการอ่างเก็บน้ําผาน้ํา หยดอันเนื่องมาจากพระราชดําริ 19. โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ ห้วยสัตว์ใหญ่ ป่าเด็ง – ป่าละอู 20. โครงการอ่างเก็บน้ําห้วย แม่ประจันต์อันเนื่องมากจาก พระราชดําริ

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี

สื่ออุปกรณ์


~ 15 ~

ประเด็นเนื้อหา ๒๑.โครงการฟาร์มตัวอย่างตาม พระราชดําริ ในสมเด็จพระนาง เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จังหวัดเพชรบุรี 22.โครงการอุทยานสิ่งแวดล้อม นานาชาติสิริธร ๒๓. โครงการชั่งหัวมัน ตาม พระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี . องค์ความรู้ 6 มิติ - องค์ความรู้สืบสานแนว พระราชดําริ เรื่อง น้ํา - องค์ความรู้สืบสานแนว พระราชดําริ เรื่อง ดิน - องค์ความรู้สืบสานแนว พระราชดําริ เรื่อง เกษตร - องค์ความรู้สืบสานแนว พระราชดําริ เรื่อง พลังงาน ทดแทน - องค์ความรู้สืบสานแนว พระราชดําริ เรื่อง ป่า - องค์ความรู้สืบสานแนว พระราชดําริ เรื่อง สิ่งแวดล้อม

วิธีการ

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี

สื่ออุปกรณ์


~ 16 ~

กิจกรรมที่ 4 : หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง จุดประสงค์ : เพื่อให้ผู้เข้ารับการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ แนวทางการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระยะเวลา : 1 ชั่วโมง แนวคิดสําคัญ : เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับสมาชิกและกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงแนวคิด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่จะสร้างคุณประโยชน์ให้กับผู้เข้ารับการอบรมและชุมชน การวัดและประเมินผล : โดยวิธีการสังเกตและการใส่วนร่วม เนื้อหา/วิธีการสื่อและอุปกรณ์ ประเด็นเนื้อหา เนื้อหาวิชา : หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และแนวทาง การดําเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - ความหมาย ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง - บทสรุป ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข

วิธีการ

สื่ออุปกรณ์ ขั้นนํา 1. สื่อ PPT หลักปรัชญา - พิธีกรเตรียมความพร้อมผู้เข้าอบรมเกริ่นนํา ของเศรษฐกิจพอเพียง เกี่ยวกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ และแนวทางการดําเนินชีวิตตามหลัก 3. โปรเจคเตอร์ โปรเจ พร้อมจอ - พิธีกรเชิญวิทยากร ขึ้นบรรยายเกี่ยวกับ 4. เอกสารประกอบ เนื้อหาวิชาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการดําเนินชีวิตตามหลัก ขั้นดําเนินกิจกรรม ( 60 นาที) วิทยากรบรรยายประกอบสื่อ PPT ใน ประเด็น ความหมาย ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และบทสรุป ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ขั้นสรุป - วิทยากรสรุปความเชื่อมโยงเกี่ยวกับการ พัฒนาชุมชน จําเป็นในการน้อมนําหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาให้กับตนเอง ครอบครัว และชุมชน

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 17 ~

กิจกรรมที่ 5 : หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จุดประสงค์ : เพื่อให้ผู้เข้ารับการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการทางงานของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว ระยะเวลา : 1 ชั่วโมง แนวคิดสําคัญ : เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับสมาชิกและกลุ่มเป้าหมายได้ทราบถึงคุณประโยชน์จาก จากหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทั้ง 23 หลักการ ซึ่งเป็นการดําเนินงานในลักษณะทาง สายกลางที่สอดคล้อง กับวิถีชีวิตของสังคมไทย และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยทรงเน้น “การพั การพัฒนาคน” นาคน เป็นตัวตั้ง และยึดหลักผลประโยชน์ของปวงชน และการมีส่วนร่วมตัดสินใจของประชาชน ตลอดจนภู ตลอดจน มิสังคมที่คํานึงความ แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ และการพึ การพึ่งตนเอง โดยรู้จักประมาณตนและดําเนินการด้วยความรอบคอบระมัดระวัง และ “ทําตามลําดับขั้น” อย่างบูรณาการ ซึ่งอาศัยความ“เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” และการ “รู้ รัก สามัคคี” ของทุกฝ่าย ส่งผลให้ประชาชนและชุมชนในชนบทที่ได้ดําเนินการตามแนวพระราชดําริมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สามารถพึ่งตนเองได้ ทั้งเรื่องเศรษฐกิจ สังคม มีเทคโนโลยีที่เหมาะสม ดําเนินการได้อย่างประหยัด และใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน อันนําไปสู่ชุมชนและสังคมที่เข้มแข็งและอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข การวัดและประเมินผล : โดยวิธีการสังเกตและการมีส่วนร่วม เนื้อหา/วิธีการสื่อและอุปกรณ์ สื่ออุปกรณ์ ประเด็นเนื้อหา วิธีการ เนื้อหาวิชา : หลักการทรงงาน ขั้นนํา 1. สื่อ PPT ของพระบาทสมเด็จพระ - พิธีกรเตรียมความพร้อมผู้เข้าอบรมเกริ่นนํา 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ เจ้าอยู่หัว 23 หลักการ ดังนี้ เกี่ยวกับ หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ 3. โปรเจคเตอร์ โปรเจ พร้อมจอ ๑.ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ พระเจ้าอยู่หัว 4. เอกสารประกอบ ๒.ระเบิดจากข้างใน - พิธีกรเชิญ วิทยากร ขึ้นบรรยายเกี่ยวกับ 5. บัตรคํา ๓.แก้ปัญหาที่จุดเล็ก หลักการทางงานของพระบาทสมเด็จพระ 6. บอร์ด ๔.ทําตามลําดับขั้น เจ้าอยู่หัว 7. กระดาษกาว ๕.ภูมิสังคม ขั้นดําเนินกิจกรรม ( 60 นาที) - วิทยากรบรรยาย ประกอบสื่อ PPT ใน ๖.องค์รวม ประเด็นเนื้อหา หลักการทางงานของ ๗.ไม่ติดตํารา ๘.ประหยัดเรียบง่าย ได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 23 หลักการ - วิทยากรแจกบัตรคํา ให้ผู้เข้าร่วมอบรม ประโยชน์สูงสุด นําหลักทรงงานมาใช้พัฒนาตนเอง คนละ ๙.ทําให้ง่าย ๑๐.การมีส่วนร่วม 1 หลักการ ๑๑.ประโยชน์ส่วนรวม - ผู้เข้าอบรมนําบัตรคํา ติดที่บอร์ด ขั้นสรุป ๑๒.บริการรวมที่จุดเดียว - วิทยากรสรุปผลจากบัตรคํา ยกตัวอย่าง ๑๓.ทรงใช้ธรรมชาติ ช่วย ของผู้เข้าอบรม 5 ราย เพื่อให้เห็นผลเป็น ธรรมชาติ รูปธรรมยิ่งขึ้น ๑๔.ใช้อธรรมปราบอธรรม ๑๕.ปลูกป่าในใจคน ๑๖.ขาดทุนคือกําไร ๑๗.การพึ่งตนเอง ๑๘.พออยู่พอกิน ๑๙.เศรษฐกิจพอเพียง

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 18 ~

ประเด็นเนื้อหา ๒๐.ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจ ต่อกัน ๒๑.ทํางานอย่างมีความสุข ๒๒.ความเพียร : พระมหาชนก ๒๓.รู้ รัก สามัคคี

วิธีการ

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี

สื่ออุปกรณ์


~ 19 ~

กิจกรรมที่ 6 : ผู้นํา กับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน จุดประสงค์ : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าในเรื่องการมีภาวะผู้นํา และสามารถ วิเคราะห์ปญ ั หา ในการนําชุมชนสู่การพัฒนาได้ นา ระยะเวลา : 1 ชั่วโมง ใจให้กับสมาชิกและกลุ่มเป้าหมายให้มีภาวะ การเป็นผู้นําใน แนวคิดสําคัญ : เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจให้ การพัฒนาตนเอง ครอบครัว และพัฒนาชุมชนให้การความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน และทราบถึ ทราบถึง ความเป็นมาและ แนวทางการดําเนินงาน โครงการ อาสาใจขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ ที่ใช้พลังของผู้นําเป็นแกน นําในพัฒนา ด้วยใจที่เป็นอาสา ด้วยการน้ ย อมนํนําโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริมาเป็นแนวทางในการพัฒนา โดยดูบริบทของชุมชนและความต้องการของคนในชุมชน การวัดและประเมินผล : โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรมจากการปฏิบัติในการเข้ากลุ่มและการนําเสนอผลงาน เนื้อหา/วิธีการสือ่ และอุปกรณ์ ประเด็นเนื้อหา วิธีการ สื่ออุปกรณ์ เนื้อหาวิชา : ผู้นําชุมชน กับ ขั้นนํา 1. สื่อ PPT / การเสริมสร้างความเข้มแข็ง - พิธีกรเตรียมความพร้อมผู้เข้าอบรมโดยให้ 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ ของชุมชน ตบมือ (ปรบมือ 3 ครั้ง) เกริ่นนําถึง 3. โปรเจคเตอร์ โปรเจ พร้อมจอ 1. ผู้นํากับการนําชุมชนสู่การ วัตถุประสงค์ของวิชา เพื่อโน้มน้าวให้ 4. ใบงาน พัฒนา ผู้เข้าร่วมอบรมสนใจและตั้งใจฟัง 5. กระดาษฟลิบชาร์ท 6. ปากกาเคมี 2. สตรีกับการสร้างความ - พิธีกรเชิญวิทยากร ขึ้นบรรยายเกี่ยวกับ เข้มแข็งของชุมชน เนื้อหาวิชา 7. กระดาษกาว 1. ผู้นํากับการนําชุมชนสู่การพัฒนา 8. บอร์ด 2. สตรีกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 9. เอกสารประกอบ ขั้นดําเนินกิจกรรม ( 60 นาที) 1. วิทยากรบรรยายประกอบสื่อ PPT ใน เนื้อหา ผู้นํากับการนําชุมชนสู่การพัฒนา และ สตรีกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน - พิธีกร แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม - วิทยากร แจกใบงาน โดยมอบหมายให้ แต่ละกลุ่มดําเนินการ ตามประเด็นดังนี้ ประเด็นที่ 1 - แบ่งกลุ่มวิเคราะห์ปัญหาของชุมชน - ค้นหาความต้องการ ในการน้อมนําโครงการ พ่อมาขยายผลในหมู่บ้าน - นําเสนอผลการดําเนินการในรูปกลุ่ม ๆ ละ 10 นาที - สรุปผลจากการวิเคราะห์ปัญหา - กําหนดศึกษาดูงานโครงการพระราชดําริ และศึกษาดูงานแนวทางการดําเนินงานใน การขับเคลื่อนกิจกรรมการพัฒนา - กําหนดวัน เวลา สถานที่ศึกษา

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 20 ~

กิจกรรมที่ 7 : ศึกษาดูงานโครงการตามพระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี จุดประสงค์ : เพื่อให้ผู้เข้ารับการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ รูปแบบการดําเนินงานโครงการตาม พระราชดําริ ระยะเวลา : 1 ชั่วโมง แนวคิดสําคัญ : เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับสมาชิกและกลุ่มเป้าหมาย ทราบถึงรูปแบบการ ดําเนินงานโครงการตามพระราชดําริ แล้วนํามาปรับใช้ในการพัฒนาหมู่บ้าน การวัดและประเมินผล : โดยวิธีการสังเกตและการมีส่วนร่วม เนื้อหา/วิธีการสื่อและอุปกรณ์ ประเด็นเนื้อหา ศึกษาดูงานโครงการตามแนว พระราชดําริ

วิธีการ ขั้นนํา - ผู้รับผิดชอบโครงการ ติดต่อประสานงาน โครงการพระราชดําริ ต้นแบบ - จัดหาพาหนะในการเดินทางศึกษาดูงาน - นําคณะศึกษาดูงาน - มอบหมายภารกิจ - สรุปผลจากการศึกษาดูงาน ขั้นดําเนินกิจกรรม ( 3.30 นาที) - ผู้รับผิดชอบโครงการนํากลุ่มเป้าหมาย ศึกษาดูงานโครงการตามแนวพระราชดําริจาก การสรุปผลกําหนดการศึกษาดูงานโครงการ ตามพระราชดําริ และศึกษาดูงานแนว ทางการดําเนินงานในการขับเคลื่อนกิจกรรม การพัฒนา จากกิจกรรมที่ 5 - แจกใบงาน - พิธีกร แนะนําคณะศึกษาดูงาน เรียนเชิญ วิทยากรบรรยาย ศึกษาดูงานตามการเรียนรู้ ต่าง ๆ - พิธีกร ขอบคุณวิทยากร สรุปผลจากการศึกษาดูงาน - กําหนดกิจกรรมจากการศึกษาดูงาน

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี

สื่ออุปกรณ์ 1. ใบงาน


~ 21 ~

กิจกรรมที่ 8 : การวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้ความรู้จากการศึกษาดูงานโครงการตามพระราชดําริในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี เพื่อการพัฒนาในระดับบุคคล ครัวเรือน และชุมชน จุดประสงค์ : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายนําผลจากการศึกษาดูงานมาวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโดย แยกเป็น 3 ระดับ ในระดับบุคคล ครัวเรือน และชุมชน อย่างชัดเจนและให้สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับ จากกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีจังหวัดเพชรบุรี ประเภทเงินอุดหนุน ระยะเวลา : 1 ชั่วโมง แนวคิดสําคัญ : เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษาดูงานโครงการตามพระราชดํ านโครงการตามพระราชดําริในพื้นที่จังหวัด เพชรบุรี มานําใช้ในการพัฒนาระดับบุคคล ครัวเรือน และชุมชน โดยให้กําหนดประเด็นการพัฒนาอย่ นา าง ชัดเจน การวัดและประเมินผล : โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรมจากการปฏิบัติในการเข้ากลุ่มและการนําเสนอผลงาน เนื้อหา/วิธีการสื่อและอุปกรณ์ ประเด็นเนื้อหา เนื้อหาวิชา : การวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้ความรู้จาก การศึกษาดูงานโครงการตาม พระราชดําริในพื้นที่จังหวัด เพชรบุรี เพื่อการพัฒนาใน ระดับบุคคล ครัวเรือน และ ชุมชน

วิธีการ

สื่ออุปกรณ์ ขั้นนํา 1. สื่อ PPT / - พิธีกรเตรียมความพร้อมผู้เข้าอบรม เกริ่นนํา 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ เกี่ยวกับประเด็นการศึกษาดูงาน 3. โปรเจคเตอร์ โปรเจ พร้อมจอ 4. ใบงาน - พิธีกรเชิญวิทยากร ขึ้นบรรยายเกี่ยวกับ โครงการ การวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้ 5. กระดาษฟลิบชาร์ท ความรู้จากการศึกษาดูงานโครงการตาม 6. ปากกาเคมี พระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี เพื่อการ 7. บอร์ด พัฒนาในระดับบุคคล ครัวเรือน และชุมชน 8. เอกสารประกอบ ขั้นดําเนินกิจกรรม ( 3.30 นาที) - วิทยากรกระบวนการ นําเวทีวิเคราะห์ โดย เทคนิคต่าง ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้จาก การศึกษาดูงานโครงการตามพระราชดําริ ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม - วิทยากร แจกใบงาน โดยมอบหมายให้ แต่ละกลุ่มดําเนินการ ตามประเด็นดังนี้ ประเด็นที่ 1 - แบ่งกลุ่มวิเคราะห์ประเด็นจากการศึกษา ดูงาน - นําผลจากการวิเคราะห์ กําหนดกิจกรรม การพัฒนา - นําเสนอผลการดําเนินการในรูปกลุ่ม ๆ ละ 10 นาที - สรุปผลจากการวิเคราะห์ - กําหนดกิจกรรมการพัฒนา ในระดับบุคคล ครัวเรือน และชุมชน

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 22 ~

กิจกรรมที่ 9 : การส่งเสริมกิจกรรมขยายผลโครงการตามพระราชดําริ จุดประสงค์ : เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับกลุ่มเป้าหมายในการส่งเสริมกิจกรรมขยายผลโครงการตาม พระราชดําริ ระยะเวลา : 1 ชั่วโมง แนวคิดสําคัญ : การวัดและประเมินผล : โดยวิธีการสังเกตและการมีส่วนร่วม เนื้อหา/วิธีการสื่อและอุปกรณ์ ประเด็นเนื้อหา เนื้อหาวิชา : การส่งเสริม กิจกรรมขยายผลโครงการตาม พระราชดําริ - แนวทางการส่งเสริมกิจกรรม ขยายผลโครงการตาม พระราชดําริตามบริบทของ ชุมชน

วิธีการ

สื่ออุปกรณ์ ขั้นนํา 1. สื่อ PPT / - พิธีกรเตรียมความพร้อมผู้เข้าอบรม เกริ่นนํา 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ เกี่ยวกับการส่งเสริมกิจกรรมขยายผล 3. โปรเจคเตอร์ โปรเจ พร้อมจอ โครงการตามพระราชดําริ 4. ใบงาน - พิธีกรเชิญวิทยากร ขึ้นบรรยายเกี่ยวกับ 5. บัครคํา การส่งเสริมกิจกรรมขยายผลโครงการตาม 6. กระดาษฟลิบชาร์ท พระราชดําริ 7. ปากกาเคมี ขั้นดําเนินกิจกรรม ( 1.30 นาที) 8. บอร์ด 9. เอกสารประกอบ - วิทยากรบรรยาย ประกอบสื่อ PPT ใน ประเด็น แนวทางการส่งเสริมกิจกรรมขยาย ผลโครงการตามพระราชดําริตามบริบทของ ชุมชน ขั้นสรุป - วิทยากร สรุปแนวทางการส่งเสริมกิจกรรม ขยายผลโครงการตามพระราชดําริให้เกิด ประโยชน์สูงสุดกับชุมชน

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 23 ~

กิจกรรมที่ 10 : - การคัดเลือกคณะกรรมการบริหารโครงการ - การจัดทําระเบียบการดําเนินกิจกรรมขยายผลโครงการตามพระราชดําริของหมู่บ้าน จุดประสงค์ : เพื่อให้การขับเคลื่อนการดําเนินงานเป็นด้วยรวดเร็ว ถูกต้อง และโปร่งใส มีแนวทางการ ดําเนินงานที่ชัดเจน ระยะเวลา : 1 ชั่วโมง แนวคิดสําคัญ : เพื่อให้มีคณะกรรมการบริหารโครงการ และมีระเบียบในการดํ บในการดําเนินกิจกรรมที่ชัดเจน ทํา ให้การบริหารเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้อง การวัดและประเมินผล : โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรมจากการปฏิบัติในการเข้ากลุ่มและการนําเสนอผลงาน เนื้อหา/วิธีการสื่อและอุปกรณ์ ประเด็นเนื้อหา - การคัดเลือกคณะกรรมการ บริหารโครงการ - การจัดทําระเบียบการดําเนิน กิจกรรมขยายผลโครงการตาม พระราชดําริของหมู่บ้าน

วิธีการ

สื่ออุปกรณ์ ขั้นนํา 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ - พิธีกรเตรียมความพร้อมผู้เข้าอบรม เกริ่นใน 2. โปรเจคเตอร์ โปรเจ พร้อมจอ การจัดเวทีคัดเลือกคณะกรรมการบริหาร 3. ใบงาน โครงการ และจัดทําระเบียบการดําเนิน 4. บัครคํา กิจกรรมขยายผลโครงการตามพระราชดําริของ 5. กระดาษฟลิบชาร์ท หมู่บ้าน 6. ปากกาเคมี - พิธีกรเชิญวิทยากรกระบวนการ ดําเนินการ 7. บอร์ด คัดเลือกคณะกรรมการบริหารโครงการ และ 7. เอกสารประกอบ (ร่าง จัดทําระเบียบการดําเนินกิจกรรมขยายผล ระเบียบ) บ โครงการตามพระราชดําริของหมู่บ้าน ขั้นดําเนินกิจกรรม ( 1.30 นาที) - วิทยากรกระบวนการ ให้ ความรู้ เกี่ยวกับ โครงสร้างการบริหารจัดการของคณะกรรมการ - จัดเวทีประชาคม คัดเลือกคณะกรรมการ บริหารโครงการ - กําหนดระเบียบการดําเนินกิจกรรมขยาย ผลโครงการตามพระราชดําริของหมู่บ้าน ขั้นสรุป สรุปผลการจัดเวที - ประเมินผลการจัดอบรม และสรุปผลจาก การดําเนินงานในภาพรวม - มอบหมายภารกิจในการขับเคลื่อนกิจกรรม ทั้งระดับบุคคล ระดับครัวเรือน และระดับ ชุมชน

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 24 ~

3. ขั้นประเมินผลและติดตามผลการใช้หลักสูตร แนวทางการวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร 1. ก่อนการเข้าร่วมอบรม - ประเมินวิทยากร (การสรรหาวิทยากรที่มีความเหมาะสม) - ประเมินสถานภาพการฝึ ถานภาพการฝึกอบรม (งบประมาณ สถานที่ ระยะเวลา)) - ประเมินผู้เข้าอบรม (กลุ่มเป้าหมาย) - ประเมินหลักสูตร (โดยให้ ดยให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ และนํามาปรับปรุงแก้ไข) ข - ประเมินสิ่งอํานวยความสะดวกอื่น ๆ เช่น สื่ออื่น ๆ ความพร้อมของผู อมของผู้จัดการโครงการ ปัจจัยนําเข้า 2. ระหว่างการเข้าร่วมการฝึกอบรม เนื้อหาสาระของหลักสูตร การวัดและประเมินผล 1. รายงานตัว ปฐมนิเทศ การสังเกต 2. ละลายพฤติกรรม/หาความคาดหวั หาความคาดหวัง การสังเกต และการมีส่วนร่วม 3. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดํ พระราชดําริของ การสังเกต และการมีส่วนร่วม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และโครงการตามแนว พระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี 4.หลั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการ การสังเกต และการมีส่วนร่วม ดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5. หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การสังเกต และการมีส่วนร่วม 6. ผู้นํา กับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การสังเกตพฤติกรรมจากการเข้ รรมจากการเ าร่วมกลุ่ม และ การนําเสนผลงาน 7. ศึกษาดูงานโครงการตามพระราชดําริในพื้นที่จังหวัด การสังเกต และการมีส่วนร่วม เพชรบุรี 8. การวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้ความรู้จากการศึกษา การสังเกตพฤติกรรมจากการเข้าร่วมกลุ่ม และ ดูงานโครงการตามพระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี การนําเสนผลงาน เพื่อการพัฒนาในระดับบุคคล ครัวเรือน และชุมชน 9. การส่งเสริมกิจกรรมขยายผลโครงการตาม การสังเกต และการมีส่วนร่วม พระราชดําริ 10. การคัดเลือกคณะกรรมการบริหารโครงการ การสังเกตพฤติกรรมจากการเข้าร่วมกลุ่ม และ และ การจัดทําระเบียบการดําเนินกิจกรรมขยายผล การนําเสนผลงาน โครงการตามพระราชดําริของหมู่บ้าน 3. หลังการฝึกอบรม ระยะเวลาหลังการเข้าร่วมการฝึกอบรม การจัดและประเมิ ละประเมินผล 1. ประเมินสถานภาพการฝึกอบรม 1. แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมเกี่ยวกับการ บริหารโครงการ 2. ประเมินผู้เข้ารับการฝึกอบรม 2. โดยการสังเกต และสุ่มสอบถามผู้เข้าอบรม 3. ประเมินหลักสูตร 3. โดยการสังเกต และใช้แบบสอบถาม การได้รับการอนุมัติ โครงการงบเงินอุดหนุน และผลการดําเนินงานตามโครงการ งานตา 4.จัดกิจกรรมประกวดหมู่บ้าน “สตรี สตรีเพชรน้ํางาม อาสาใจ 4. ประกวดหมู่บ้าน “สตรี สตรีเพชรน้ํางาม” งาม ขยายผลโครงการพ่ ลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ” สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 25 ~

ส่วนที่ 4 เนื้อหาวิชาการ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริของพระบาทสมเด็ องพ จพระเจ้าอยู่หัว แนวคิ นวคิดและทฤษฎีในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สาระสํ าระสําคัญในแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ โครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดํารินั้น มีอยู่มากมายหลากหลายประเภทแตกต่างกันไปตาม ลักษณะและวัตถุประสงค์ของโครงการ นั้น ๆ ซึ่งส่วนมากจะเป็นการแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านการทํามาหากิน ของประชาชนเป็น สําคัญ และดังที่ทราบกันดีว่าส่วนใหญ่ของประชากรของประเทศไทยยั องประชากรของประเทศไทยยังยังชีพอยู่ด้วยการทํา เกษตรกรรม ดังนั้น โครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริจึงเกี่ยวข้องอยู่กับเรื่องของการพัฒนาปัจจัยการ ผลิตต่างๆ เช่น ดิน น้ํา ที่ทํากิน ทุน และความรู้ด้านเกษตรกรรม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ เป็นต้น และดังได้กล่าวมาแล้วในเบื้องต้นไม่ว่าจะเป็นแนวคิดและทฤษฎีในงานสาขาใดที่ ได้พระราชทาน พระราชดําริเพื่อการแก้ไขปรับปรุง และพัฒนาไว้ หลักสําคัญของทุกเรื่องก็คือความเรียบง่ายดังที่ได้ทรงใช้คําว่า “Simplify” หรือ “Simplicity” จะต้องเรียบง่ายไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อน ทั้งในแนวความคิดและด้านเทคนิค วิชาการจะต้องสมเหตุสมผล ทําได้รวดเร็ว และสามารถแก้ไขปัญหาให้ก่อประโยชน์ได้จริง ตลอดจนมุ่งไปสู่วิถี แห่งการพัฒนายั่งยืน (Sustainability) Sustainability) อีกด้วย แนวคิดและทฤษฎีในเรื่องต่างๆ ที่ได้ทรงคิดพิจารณาอย่างถ่องแท้และได้พระราชทานให้เป็นแนวทางใน การปฏิบัติงานนั้น จะเป็นประโยคง่ายๆแต่ได้ผ่านการกลั่นกรองมาแล้วเป็นอย่างดี เป็นข้อความง่าย ๆ ที่มี ความหมายลึกซึ้ง และบางครั้งบ่งบอกถึงวิธีดําเนินการไว้ด้วยอย่างเบ็ดเสร็จในตัวเองเช่ เองเช่นหลัก ของ “น้ําดีไล่น้ําเสีย” “แกล้งดิน” “ปลูกป่าแบบไม่ปลูก” “ทฤษฎีใหม่” “เส้นทางเกลือ”

“๔ น้ํา ๓ รส” “ป่ป่าสามอย่าง ประโยชน์สี่อย่าง” ง “ขาดทุ ขาดทุนเป็นกําไร” ไร “โครงการแก้ โครงการแก้มลิง” ฯลฯ

แนวคิดและทฤษฎีของการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ซึ่งจะนําเสนอให้เห็นเป็นตัวอย่างพอสังเขป ใน ส่วนที่หนึ่งนี้มุ่งประสงค์พอให้สามารถมองเห็นภาพรวมของสิ่งที่เป็น “แนวคิด” และ “ทฤษฎี” พื้นฐาน เบื้องหลังในการทรงงานพัฒนาตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริของ พระองค์ โดยจะแยกออกตาม ลักษณะและประเภทของกลุ่มงานใหญ่ๆ เช่น เรื่องที่เกี่ยวกับดิน น้ํา การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม การพัฒนาสังคมและการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน ฯลฯ เป็นการปูพื้นฐานให้ติดตาม ความละเอียดได้ในส่วนที่สอง ซึ่งได้แยกแยะรายละเอียดไว้เป็นการเฉพาะในแต่ละเรื่องตามลําดับต่อไป - เกี่ยวกับเรื่องน้ํา - เกี่ยวกับเรื่องดิน - การพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ - การพัฒนาสังคม - น้ําดีไล่น้ําเสีย สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 26 ~

- ฝนหลวง - เครื่องดักหมอก - ทฤษฎีการแก้ไขปัญหาน้ําท่วม - ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้ - เส้นทางเกลือ - การบําบัดน้ําเสียด้วยพืชน้ํากับระบบการเติมอากาศ - แนวคิดการพัฒนาเพื่อพึ่งพาตนเองของเกษตรกร - ทฤษฎีใหม่

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 27 ~

โครงการอันเนื่องมาจากระราชดําริในจังหวัดเพชรบุรี

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 28 ~

ตัวอย่าง โครงการสืบเนื่องมาจากพระราชดําริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอฯ เจ้าฟ้าหญิง จุฬาภรณ์วลัยลักษณ์อัครราชกุมารี และพระบรมวงศานุวงศ์ต่าง ๆ ได้ทรงเล็งเห็นสภาพ ความเป็นอยู่ที่ยากจนของ เกษตรกร ปัญหาความเสื่อมโทรมของแหล่งน้ํา ที่ดินทํากินขาดความรู้ ในการแก้ ไขปัญหาเฉพาะหน้า จึงทรงมี พระราชดําริให้ดําเนินการพัฒนาด้ ฒนาด้านต่างๆ แก่ราษฎรที่ประสบปัญหา โดยเน้นให้ผลการดําเนินงานตกถึงมือราษฎร โดยตรงเป็นเบื้องแรกให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่าง “พออยู่พอกิน” และขณะเดียวกันก็เป็นการปูพื้นฐานไว้สําหรับ “ความกินดีอยู่ดี” ต่อไปในอนาคตด้วย ดังนั้น จึงมีลักษณะของการมองผลสําเร็จที่เป็นการคุ กา ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน นอกจากนี้ยังทรงมุ่งเน้นให้มีการพัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ให้อยู่ในสภาพที่มีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตอย่างสูงสุด เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาประเทศในระยะยาว โครงการสืบเนื่องมาจากพระราชดําริ เป็นโครงการที่มุ่งพัฒนาราษฎรผู้ยากไร้ให้มีฐานะความเป็นอยู่ ที่ดขึขี ้นึ ซึ่งพื้นที่ดําเนินการโครงการส่วนใหญ่จะอยู่ห่างไกลจากชุมชนอยู่ในเขตทุรกันดาร การเข้าไปพัฒนาการ เกษตรของเจ้าหน้าที่เป็นไปด้วยความยากลําบาก โดยมีหลักการสําคัญ คือ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ซึ่งเป็น ขั้นตอนตามลําดับความจําเป็น ประหยัด การพึ่งตนเองส่งเสริมความรู้และเทคนิควิชาการสมัยใหม่ที่เหมาะสม รวมทั้งส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการปรับปรุงคุณภาพสิ่งแวดล้อม นอกจากนั้นยังมุ่งเน้นการ สร้ า งกระบวนการเรี ย นรู้ เพื่ อ ให้ ชุ ม ชนสามารถวิ เ คราะห์ ปั ญ หาและความต้ หาและค วามต้ อ งการของชุ ม ชน สามารถ วางแผนการผลิตที่สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ และความพร้อมของเกษตรกรได้ด้วยตนเอง กิจกรรม 1. ศูนย์เรียนรู้ชุมชนโครงการพระราชดําริ 2. แปลงเรียนรู้เพื่อเป็นต้นแบบสําหรับการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมและฝึกปฏิบตั ิ เช่น การปลูก พืชไร่ ไม้ผล/ไม้ ไม้ยืนต้น ไม้ดอก พืชผักปลอดภัยจากสารพิษ 3. ดูแลรักษาพัฒนาแปลงเรียนรู้ภายในฟาร์ม/ศูนย์ 4. การผลิตไม้ดอกไม้ประดับกระถางในโรงเรือน 5. ส่งเสริมการผลิตพืชและปรับปรุงคุณภาพผลผลิต 6. การป้องกันกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี 1) การสนับสนุนสารชีวภัณฑ์ 2) การถ่ายทอดความรู้และให้บริการด้านการป้องกันกําจัดศัตรูพืช 7. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการถนอมและแปรรูปผลผลิต 8. ดูแลแปลงแม่พันธุ์ แปลงรวบรวมพันธุ์ และแปลงทดสอบทดลอง และแปลงทดส 9. การผลิตพืชในพื้นที่ทรงงาน วิธีการดําเนินงาน 1. ฝึกอบรมถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกร 1.1 จัดเวทีชุมชนสํารวจความต้องและจัดทําแผนการเรียนรู้ โดยคํานึงถึงสภาพปัญหาด้าน การเกษตรและศักยภาพของพื้นที่และความต้องการของชุมชนเป็นสําคัญ 1.2 ฝึกอบรมถ่ายทอดความรู้ให้กับเกษตรกร โดยคัดเลือกเกษตรกรที่สนใจ มีความพร้อม ในการเข้ารับการฝึกอบรมอย่างจริงจัง หากมีเกษตรกรที่เป็นอาสาสมัครเกษตรในพื้นที่ ควรพิจารณาเป็นลําดับแรก และจัดทําเนื้อหาหลักสูตรการฝึกอบรมให้มีความรู้และทักษะที่เหมาะสม อาทิ - การทําการเกษตรแบบผสมผสานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - การผลิตพืชโดยการประยุกต์ใช้กระบวนการโรงเรียนเกษตรกร - การปรับปรุงบํารุงดินในเขตชลประทาน สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 29 ~

- การลดต้นทุนการผลิตข้าว - การผลิตพืชบนพื้นที่สูง - การปลูกพืชไร่หลังนา - การป้องกันกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี - การเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพอาสาสมั ครเกษตรหมู่ บ้ านในการลดและใช้ ประโยชน์ ของเสี ยจาก การเกษตรทัทั้งนี้ ให้สอดคล้องกับการผลิตของเกษตรกรและศั ขอ กยภาพของพื้นที่ เน้นการถ่ายทอดโดยวิทยากร ในท้องถิ่น อาทิ ปราชญ์ชาวบ้าน เกษตรกรผู้นํา อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน เป็นต้น 2. ส่งเสริมการผลิตพืชและปรับปรุงคุณภาพผลผลิต 3. การป้องกันกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี 3.1 การสนับสนุนสารชีวภัณฑ์ 3.2 การถ่ ายทอดความรู้ และให้ บริ การด้ านการป้ องกั นกํ าจั ดศั ตรู พื ช ดํ าเนิ นการโดยศู น ย์ บริหารศัตรูพืชเป็นถ่ายทอดความรู้เรื่องการป้องกันกําจัดศัตรูพืชให้กับผู้ดูแลพื้นที่และเกษตรกรที่สนใจ รวมถึงการ ให้บริการด้านการป้องกันกําจัดศัตรูพืชที่ถูกต้องตรงกับสภาพปัญหาในพื้นที่โครงการ 4. แปลงเรียนรู้เพื่อเป็นต้นแบบสําหรับการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมและฝึกปฏิบัติ เป็นการจัดทําจุด เรียนรู้ ให้กับเกษตรกรทั้งในพื้นที่ โครงการและชุมชน โดยจุดเรียนรู้ที่ดําเนินการในพื้นที่ชุมชนขอให้คัดเลือก เกษตรกรแกนนํ ตรกรแกนนําที่พร้อมเสียสละเพื่อส่วนรวม มีความพร้อมด้านพื้นที่และความรู้ด้านการเกษตร โดยเฉพาะมี ความสามารถและทักษะในการเป็นวิทยากร ถ่ายทอดความรู้สู่เกษตรกรหรือผู้สนใจรายอื่นได้ เพื่อเป็นการกระตุ้นการเรียนรู้ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ประสบการณ์ด้วยการปฏิบัติจริงจากเกษตรกรด้วยกั วยกันเอง ประกอบด้วย พืชไร่ ไม้ผล/ไม้ ล ยืนต้น พืชผัก และการเพาะเห็ด คัดเลือกชนิดพืชที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และภูมิอากาศ ตลอดจนสอดแทรกทักษะการผลิต วัสดุทางการเกษตรไว้ใช้เอง การขยายพันธุ์พืช เป็นต้น 5. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการถนอมและแปรรูปผลผลิต โดยดําเนินการถ่ายทอด 1 กลุ่มๆ ละ 25 ราย จํานวน 2 วัน (ทัทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่โครงการ) ครงการ โดยวัตถุดิบที่นํามาแปรรูป/ถนอมอาหาร ให้เน้นผลผลิตที่หาได้จากท้องถิ่นหรือผลผลิตจากโครงการหรือเกิดจากการขยายผลโครงการ 6. ดูแลรักษาพัฒนาแปลงเรียนรู้ภายในฟาร์ม/ศูศูนย์ เป็นการจัดหาวัสดุทางการเกษตรที่จําเป็น และการจ้างเหมาแรงงาน เพื่อใช้ในการดูแลรักษาแปลงเรียนรู้ภายในฟาร์ม/ศูศูนย์และพัฒนาต่อยอดให้สามารถ เป็นแหล่งเรียนรู้วิชาการด้านการเกษตรแบบครบวงจร 7. ดูแลแปลงแม่พันธุ์ แปลงรวบรวมพันธุ์ และแปลงทดสอบทดลอง เป็นการจั การ ดหาวัสดุทางการ เกษตร ที่จําเป็นและจ้างเหมาดําเนินการดูแล 8. การผลิตพืชในพื้นที่ทรงงาน เป็นการดําเนินการผลิตพืชโดยจัดหาวัสดุการเกษตรที่จําเป็น เช่น เมล็ดพันธุ์พืชผัก กล้าพันธุ์ไม้ผลไม้ยืนต้น สารปรับปรุงบํารุงดิน สารชีวภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ทางการเกษตร าง และการจ้างเหมาดําเนินการ 9. การผลิตพืชเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานโครงการ

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 30 ~

1. โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ - วัตถุประสงค์ ศึกษาวิจัยและพัฒนา วิธีการบําบัดน้ําเสีย และกําจัดขยะมูลฝอย โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมนําเอา ผลผลิตที่เกิดจากการบําบัดน้ําเสียและการกําจัดขยะมูลฝอยไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างครบวงจร และอนุรักษ์ ทรัพยากรชายฝั่งทะเล เช่น สัตว์น้ํา และป่าชายเลนให้มีสภาพสมบูรณ์ - พื้นที่ดําเนินการ ต.แหลมผักเบี้ย อ.บ้บ้านแหลม จ.เพชรบุ จ รี เนือ้ ที่โครงการ 1,135 ไร่ ที่ทําการโครงการ ฯ หมู่ที่ 1 ต.แหลม ผักเบี้ย อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุ เพชรบุรี โทร 0-3244-1264 โทรสาร 0-3244-1265 - หน่วยงานรับผิดชอบ มูลนิธิชัยพัฒนา อาคารชัยพัฒนา สวนจิตรลดา กรุงเทพ ฯ 10303 โทร 0 - 2280 - 3581 , 0 - 2282 - 3338 โทรสาร 0 - 2282 - 3339 - ประวัติความเป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ทรง พระราชทานพระราชดําริ เมื่อปี 2533 ให้ สํานักงาน กปร. และกรมชลประทานร่วมกันศึกษา หาวิธีแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับขยะมูลฝอย น้ําเสีย และการรักษาสภาพป่าชายเลนด้วยวิธีการ ทางธรรมชาติ จึงได้มีการจัดทํากรอบแนวความคิด ของโครงการขึ้นทูลเกล้าถวายและทรงมีพระบรม ราชวินิจฉัยเห็นด้วยกับรูปแบบและแนวความคิ แบบและแนวความ ด ดังกล่าว จากนั้น สํานักงาน กปร. กปร และกรม ชลประทาน จึงได้ร่วมกันจัดทําแผนปฏิบัติการโดย ใช้สถานที่บริเวณ ต.แหลมผั แหลมผักเบี้ย อ.บ้ อ านแหลม เป็นพื้นที่สาธารณประโยชน์ จํานวน 1,135 ไร่ เป็นพื้นที่ ศึกษาวิจัยของโครงการ - ผลการดําเนินการ 1) ก่อสร้างเทคโนโลยีกล่องคอนกรีตกําจัดขยะ ชุมชน 2) เทคโนโลยีการบําบัดน้ําเสียชุมชน ระบบบ่อ บําบัด ระบบพืชบําบัด และระบบป่าชายเลน 3) ผลกระทบทางบวกจากการดําเนินโครงการ 1. คุณภาพน้ําในแม่น้ําเพชรบุรีดีขึ้น 2. หญ้าที่ใช้บําบัดน้ําเสียสามารถนํามาใช้ ม เลี้ยงสัตว์ได้ 3. บ่อบําบัดน้ําเสียสามารถเลี้ยงปลาได้ 4. น้ําเสียที่บําบัดแล้ว สามารถนํามาใช้รดต้นพืชผักผลไม้ได้

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 31 ~

2. โครงการศูนย์สาธิตพืชไร่และพืชสวนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ - วัตถุประสงค์ จัดทําโครงการทดสอบระบบการปลูกพืชเศรษฐกิจแบบผสมผสาน โดยการทดสอบแปลงปลูกไม้หอม พืช สมุนไพร ปลูกไม้ผล ปลูกไม้ยืนต้นในบริเวณคันกั้นน้ํา ปลูกข้าวนาปีและนาปรังทดสอบระบบส่งน้ําและระบาย น้ําเข้าออกแปลงพืชไร่และพืชสวน รวมทั้งถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร โดยเริ่มดําเนินการ เมือ่ ปี 2542 เป็น ต้นมา - พื้นที่ดําเนินการ ศูนย์สาธิตพืชไร่และพืชสวนเพชรบุรี ต. ต ท่าแร้ง อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี โทร 0-3240-1560 0 - หน่วยงานรับผิดชอบ ศูนย์วิจัยพืชสวนเพชรบุรี อ.ชะอํ ชะอํา จ.เพชรบุ จ รี โทร 0 – 3259 – 4067 – 8 โทรสาร 0-3259-4067 - ประวัติความเป็นมา มูลนิธิชัยพัฒนาได้รับการโอนกรรมสิทธิ์ในที่ดิน 39 ไร่ 1 งาน 11 ตารางวา เมื่อปี 2541 ณ ต.ท่าแร้ง อ.บ้านแหลม จึงได้ร่วมกับ สนง.กปร กปร.และหน่ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินโครงการโดยกรมวิชาการเกษตร จัดทํา โครงการทดสอบระบบการปลูกพืชเศรษฐกิจแบบผสมผสานและสถานีทดลองพืชสวนเพชรบุรี จัดทํา / วาง แผนการดําเนินงานให้สอดคล้องกับพระราชดําริ - ผลการดําเนินการ แปลงนา พื้นที่ 10 ไร่ ปี 2542 – 2546 ปีแรกของการดําเนินงานจะ เป็นการปรับปรุงบํารุงดินเพื่อแก้ไขปัญหาดินเค็ม โดยใช้ โสน อัฟริกัน แกลบ ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยคอก เป็นวัสดุ ปรับปรุงดิน และทดลองนําข้าวพันธุ์ชัยนาท 1 และ สุพรรณบุรี 1 มาทดลองปลูกได้ผลผลิตอยู่ระหว่าง 220 – 364 และ 350 – 440 กก./ไร่ ตามลําดับ ปี 2547 ได้นําข้าวขาวดอกมะลิ 105 มาปลูก สาธิตในพื้นที่ได้ผลผลิตเฉลี่ย 295 กก./ไร่ ปี 2548 ทดสอบการทํานาแบบอินทรีย์ โดยไม่ใช้ สารเคมี ใช้วิธีการปรับปรุงบํารุงดินโดยใช้โสนอัฟริกัน หว่านเป็นปุ๋ยพืชสด ใช้ปุ๋ยหมัก และใช้น้ําสกัดชีวภาพ ทดแทน ได้ผลผลิตข้าวพันธุ์ชัยนาท 2 ซึ่งปลูกในฤดูนาปรัง 485 กก./ไร่ ไร่ และพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ซึ่งปลูกในฤดู นาปี 311 กก./ไร่ ปี 2549 ทําแปลงสาธิตการผลิตข้าวอินทรีย์ เช่นเดียวกับปี 2548 ใช้พันธุ์ข้าวชัยนาท 1 ปลูกในฤดู นา ปรัง ได้ผลผลิตเฉลี่ย 329 กก./ไร่ สระน้ํา พื้นที่ 10 ไร่ ระบายน้ําเข้าสระเพื่อเลี้ยงปลาและเก็บไว้ใช้ในการทํานา แปลงพืชไร่ พื้นที่ 1 ไร่ 3 งาน ปลูกถั่วเหลื เห อง , ถั่วเขียว , ข้าวโพด , อ้อย แปลงพืชผัก/ไม้ดอก พื้นที่ 1 ไร่ ปลูกผักคะน้า , ผักบุ้ง , ผักกาดขาว ,ดอกคั ดอกคัตเตอร์ ,สร้อยทอง, มาร์กาเร็ท , ดาวเรือง แปลงสวน พื้นที่ 5 ไร่ ปลูกมะนาว , ฝรั่ง , ลําไย , มะกอกน้ํามัน , ละมุด , ทุเรียนเทศ และปลูกหมอนเป็น พืชแซมในร่องทุเรียนเทศ กิจกรรมเสริม ทําน้ําสกัดชีวภาพเพื่อใช้ในโครงการและจําหน่ายเกษตรกร สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 32 ~

3. โครงการตามพระราชประสงค์หุบกะพง - วัตถุประสงค์ จัดตั้งศูนย์สาธิตและทดลองการเกษตร เพื่อศึกษาหาข้อมูลในด้านการปลูกพืช และการเลี้ยงสัตว์ที่เป็น ประโยชน์ต่อการพัฒนาการเกษตรในพื้นที่ที่แห้งแล้ง และสาธิตการใช้เทคโนโลยีการเกษตรจัดสรรที่ดินว่าง เปล่าให้เกษตรกรเพาะปลูกตามวิธีการเกษตรแผนใหม่ และจัดตั้งเป็นสหกรณ์การเกษตร การเกษตร - พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 10 ต.เขาใหญ่ เขาใหญ่ อ.ชะอํา เนื้อที่โครงการ 12,079 ไร่ 1 งาน 82 ตารางวา - หน่วยงานรับผิดชอบ สํานักงานสหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี โทร 0 – 3242 – 5260ต่อ12 โทรสาร. 0-3242-5260 - ประวัติความเป็นมา เมื่อปี 2507 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ทรงเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมเยียนและดูแลทุกข์สุข ของราษฎรตามท้องที่เขตจังหวัดใกล้เคียงกับ จ.ประจวบคี ประจวบคีรีขันธ์ จึงได้ทราบถึงความเดือดร้อนของเกษตรกร กลุ่มชาวสวนผักชะอํา 83 ครอบครัว ว่าขาดแคลนทุนทรัพย์ ที่จะนําไปประกอบอาชีพจึงทรงรับเกษตรกรเหล่านี้ ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ ภายหลังเกษตรกรเหล่านี้ ไม่มีที่ดินทํากินเป็นของตนเอง จึงทรงโปรดเกล้า ฯให้องคมนตรี ไปจัดหาพื้นที่ในเขต จ.เพชรบุ เพชรบุรี และ จ.ประจวบคี จ ประจวบคีรีขันธ์ นํามาจัดสรรให้แก่เกษตรกรดังกล่าว ซึ่งใน ขณะเดียวกันพื้นที่บริเวณหุบกะพง อ.ชะอํ อ า เป็นที่ตั้งของศูนย์สาธิตและทดลองการเกษตรของโครงการ ตและทดลองการเกษตรของโครงการ อิสราเอล ได้มีการอพยพเกษตรกร 2 ครอบครัว เข้าอาศัยและทําประโยชน์ในที่ดินจัดสรร เพื่อหาข้อมูลด้าน ต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาปรับปรุงและอพยพครอบครัวเกษตรกรที่เหลือเข้าอาศัยและทําประโยชน์ในที่ดินโดยได้ จัดสร้างเป็นหมู่บ้านเกษตรกร โดยมีทางราชการคอยช่ างราชการคอยช่วยเหลือและได้มีการศึกษาอบรมเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และ วิธีการของสหกรณ์จนเห็นว่าสมาชิกหมู่บ้านเกษตรกรเข้าใจดีพอแล้ว จึงเข้าชื่อขอจดทะเบียนเป็นสหกรณ์ การเกษตร โดยใช้ชื่อว่า “สหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรหุบกะพง ก จํากัด” - ผลการดําเนินการ ดําเนินภารกิจหลักได้แก่ งานการจั ารจัดที่ดินตามพระราชประสงค์ จัดสรรแบ่งแปลงที่ดินให้เกษตรกร เข้าอยู่ อาศัย จํานวน 787 แปลง พื้นที่ 7,608 ไร่ การขออนุญาตสร้างบ้าน ,การขออนุ การขออนุญาต ออกเลขที่บ้าน , การ แก้ไขกรณีพิพาทและการตรวจสอบสิทธิการครอบครองที่ดิน จัดหาระบบชลประทานและการจัดสรรการใช้น้ํา มีสถานีสบู น้ําด้วยไฟฟ้า 2 สถานี สถานีที่ 1 จํานวน 3 เครื่อง สถานีที่ 2 จํานวน 2 เครื่อง ระบบท่อ ชลประทาน ความยาว 40 กิโลเมตร เป็นระบบท่อใยหิน เอส เบส ทอส ขนาด ? 12 นิ้ว , 10 นิ้ว , 8 นิ้ว , 6 นิ้ว , แล้วเข้าพื้นสมาชิก 4 นิ้ว และอ่างเก็บน้ําในความรับผิดชอบของชลประทาน จํานวน 4 อ่าง คือ อ่างเก็บ น้ําหุบกะพง ความจุ 400,000 ลบ.ม. ลบ อ่างเก็บน้ําห้วยทราย – หุบกะพง ความจุ 800,000 ลบ.ม. อ่างเก็บ น้ําห้วยแก้ว ความจุ 320,000 ลบ.ม. ลบ อ่างเก็บน้ําห้วยน้ําหมาก ความจุ 15,000 ลบ.มม. สาธิตและทดลอง การเกษตร ษตร เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ งานสหกรณ์ในโครงการและส่งเสริมสหกรณ์ในโครงการ ปัจจุบันมีสมาชิก สหกรณ์ 445 คน มีทุนดําเนินงาน 24,164,750.17 บาท

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 33 ~

4. โครงการตามพระราชประสงค์ดอนขุนห้วย - วัตถุประสงค์ ช่วยเหลือสมาชิกกลุ่มไร่ผัก ต.เขาใหญ่ เขาใหญ่ อ.ชะอํ อ า และราษฎรที่ยากจนในจังหวัด ให้ราษฎรมาเป็นสมาชิกใน ที่ดินจัดสรรโดยรวมกลุ่มประกอบอาชีพเกษตรกรรม ตามหลักวิชาการแผนใหม่และปรับปรุงพื้นที่ให้ใช้ ประโยชน์ในการเพาะปลูกได้โดยอาศัยเทคนิคใหม่ ๆ - พื้นที่ดําเนินการ พื้นที่โครงการ รวม 3,990 ไร่ 3 งาน 83 ตารางวา แบ่งเป็น 2 พื้นที่ - ดอนขุนห้วย 1 พื้นที่ 2,581 ไร่ ตั้งอยู่บริเวณหมู่ที่ 5 ต.ดอนขุนห้วย อ.ชะอํา จ.เพชรบุ เพชรบุรี - ดอนขุนห้วย 2 พื้นที่ 1,409 ไร่ 3 งาน 83 ตารางวา ตั้งอยู่บริเวณ หมู่ที่ 5 และ 6 ต.ท่าคอย อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี - หน่วยงานรับผิดชอบ กองพลพัฒนาที่ 1 / กองอํานวยการควบคุมและประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ค่ายศรี สุริยวงศ์ ต.ดอนตะโก อ.เมือง จ.ราชบุ ราชบุรี โทร 0-3232-7801-2 ต่อ 52428, 0-3220-7383 0 โทรสาร 0-3232-8561 8561 - ประวัติความเป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดําริ ให้จัดหาที่ดินรกร้างในราษฎรประกอบอาชีพ การเกษตร แก่สมาชิก ฯ ทํากินครอบครัวละ 15 ไร่ โดยให้ส่วนราชการต่าง ๆ ร่วมจัดตั้งโครงการ ตั้งแต่ปี 2514 ส่วน โครงการ ฯ 2 เดิมเป็นป่าสงวนแห่งชาติ ต่อมาองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดเพชรบุรีรี ได้รับสนองพระประสงค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ให้ดําเนินการจัดสรรที่ดินในท้องที่หมู่ที่ 5 และ 6 ต.ท่ท่าคอย อ.ท่ อ ายาง จ. เพชรบุรี เพื่อให้ราษฎรที่ไม่มีที่ดินทํากินเป็นของตนเองเข้ามาอยู่อาศัย และได้ทําการจัดสรรที่ดินแบ่งเป็น แปลงๆละ 15 ไร่ ซึ่งต่อมาได้คัดเลือกให้ ก เข้าอยู่อาศัยและทําการเกษตรตั้งแต่ปี 2519 เป็นต้นมา - ผลการดําเนินการ มีการจัดตั้งสหกรณ์การเกษตรดอนขุน ห้วย จํากัด ปัจจุบันมีสมาชิก 224 คน มีการ ดําเนินธุรกิจด้านต่าง ๆ ในรูปของสินเชื่อเงิน ฝาก มีกลุ่มเลี้ยงไก่แบบกรงตับ กลุ่มปลูก หม่อนเลี้ยงไหม กลุ่มสมุนไพรแปรรูป กลุ่ม แปรรูปสับปะรด กลุ่มเกษตรกรแบบ ผสมผสาน กลุ่มแปรรูปขนุน กลุ่มปุ๋ยหมัก ชีวภาพ กลุ่มผู้ทํากระดาษสาจากใบสับปะรด เป็นต้น โดยได้มีการออกสํารวจสํามะโน ประชากร ฯ เมื่อ 2545 เพื่อขอทราบความ เป็นอยู่และรายได้เฉลี่ยของประชากรและ ครอบครัว ตามโครงการ ฯ ซึ่งรวมรายได้เฉลี่ย 13,234 บาท/ คน/ ปี และรายได้เฉลี่ย 54,439 บาท / ครอบครัว / ปี

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 34 ~

5. โครงการศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ - วัตถุประสงค์ 1. เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟู รักษาป่าไม้และสภาพแวดล้อมให้เกิดความชุ่มชื้นในพื้นที่ โครงการและบริเวณ ใกล้เคียง ให้กลับคืนสู่ความอุดมสมบูรณ์ตามแนวพระราชดําริ 2. เพื่อเป็นศูนย์รวมในการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย และแสวงหาแนวทาง ตลอดจนวิ ตลอดจ ธีการพัฒนาด้าน ต่าง ๆ ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและการประกอบอาชีพตามแนวพระราชดําริ 3. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ ตลอดจนพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับราษฎรในบริ รในบริเวณศูนย์การศึกษาพัฒนา ห้วยทราย ฯ และใกล้เคียง ให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 4. เพื่อให้เป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริเป็นสถานที่ให้ความรู้ และศึกษาดูงานแก่ เกษตรกรและประชาชนทั่วไป ตลอดจนสามารถปรึกษาขอคําแนะนําจากเจ้าหน้าที่ได้ภายในที่เดียวกัน 5. เพื่อให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เป็นสถานที่สําหรับเจ้าหน้ าหน้าที่จากหน่วยงาน ต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรอิสระ และอื่น ๆ ได้มาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสานงานกัน อันจะเป็น ตัวอย่างที่ดีในการทํางานร่วมกัน - พื้นที่ดําเนินการ ต.สามพระยา อ.ชะอํ ชะอํา ประมาณ 22,627 ไร่ ทิศเหนือ มีอาณาเขตบ้านบางไทรย้อยจดเขาเสวยกะปิ ย ทิศตะวันออก บ้านบางไทรย้อยจดบ้านบ่อเดี๊ยะ ทิศตะวันตก เขาสามพระยาจดเขาเสวยกะปิ ทิศใต้ เขาสามพระยาจดบ้านบ่อเดี๊ยะ - หน่วยงานรับผิดชอบ ศูนย์อํานวยการโครงการพัฒนา กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายเดน/ รวจตระเวนชายเดน กองอํานวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี 76120 โทร. 0-3259-3252-3 โทรสาร 0-3259-3252 - ประวัติความเป็นมา ศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาห้ ว ยทรายอั น เนื่ อ งมาจาก พระราชดํ า ริ ตั้ ง อยู่ ใ นเขตพื้ น ที่ พ ระราชนิ เ วศน์ มฤคทายวัน ตํ า บลสามพระยา อํา เภอชะอํ า จัง หวั ด เพชรบุ รี แต่ เ ดิ ม พื้ น ที่ แ ห่ ง นี้ มี ผื น ป่ า ขนาดใหญ่ อุ ด ม สมบูร ณ์ ไปด้ว ยทรัพยากรธรรมชาติ มีพืช พัน ธุ์ไม้และ สัต ว์ป่า นานาชนิด ต่ อมาเมื่อมีก ารพัฒ นาประเทศทั้ ง ด้านเศรษฐกิจและสังคม ราษฎรได้เข้ามาบุกรุกแผ้วถาง ป่าเพื่อประกอบอาชีพในห้วงเวลาไม่ถึง 40 ปี พื้นที่ป่า ไม้ได้ถูกทําลายลงอย่างสิ้นเชิง ดินขาดการบํารุงรักษา ทํา ให้ ธ รรมชาติ ข าดความสมดุ ล เกิ ด ความแห้ ง แล้ ง วันที่ 5 เมษายน 2526 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดําเนินทรงเยี่ยมราษฎรในพื้นที่ และทรงมีพระราชดําริให้พัฒนาพื้นที่ส่วนหนึ่งในเขตพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน เป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนาป่า ไม้เอนกประสงค์ มุ่งหมายศึกษารูปแบบการพัฒนาเกษตรกรรมควบคู่ไปกับการปลูกป่า เพื่อฟื้นฟูสภาพ ธรรมชาติ รรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาแหล่งน้ําเพื่อใช้ในการเกษตรและปลูกป่า จัดสรรที่ทํากินให้ราษฎรที่ได้เข้ามา บุกรุกทํากินอยู่แต่เดิมให้ได้เข้าอยู่อาศัยและให้ความรู้กับราษฎร ให้ทําการเกษตรอย่างถูกวิธี รวมทั้งให้มีส่วน ร่วมในการปลูกป่า ดูแลรักษาป่า ตลอดจนให้ได้รับประโยชน์จากผลผลิ จากผลผลิตของป่า เพื่อที่ราษฎรจะได้ไม่บุกรุก ทําลายป่าอีกต่อไป สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 35 ~

- ผลการดําเนินการ 1. ดําเนินการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม โดยได้ทําการปลูกฟื้นฟูและ บํารุงรักษาป่าไม้ พื้นที่ 8,700 ไร่ การใช้หญ้าแฝก เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ํา พัฒนาแหล่งน้ําและ ระบบชลประทาน สร้างฝายชะลอความชุ่มชื้นและ ระบบกระจายความชุ่มชื้น การเพาะเลี้ยงและ ขยายพันธุ์สัตว์ป่า 2. การศึกษาและพัฒนาตามแนวพระราชดําริ เช่น ทฤษฏีใหม่ เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย์ วนเกษตร การทดลองด้านพืช การเลี้ยงสัตว์ การ ประมง 3. การขยายผลและถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยนําผลการศึกษาทดลองและแนวพระราชดําริไปถ่ายทอดให้ ราษฎรรอบศูนย์ฯ 4 ตําบล 29 หมู่บ้าน และประชาชนทั่วไป เพื่อให้ประชาชนสามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการ ดําเนินชีวิตของตนเอง ทั้งในรูปแบบการจัดการสาธิตในพื้นที่จริงและการให้การฝึกอบรม 4. การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยการพัฒนาอาชีพของราษฎรควบคู่ไปกับการส่งเสริมด้านสังคม และโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อให้ราษฎรมีรายได้และพึ่งตนเองได้ ทั้งนี้ โดยยึดถือแนวทางตามปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 36 ~

6. โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพพื้นที่บริเวณเขานางพันธุรัต (เขาเจ้ เขาเจ้าลายใหญ่) อันเนื่องมาจากพระราชดําริ - วัตถุประสงค์ อนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพพื้นที่บริเวณเขานางพันธุรัต (เขาเจ้าลายใหญ่) ให้มีการระวังป้องกัน ผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมจากกิจกรรมใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ปลูกจิตสํานึก ให้เกิดความรับผิดชอบ และเข้าใจ ร่วมกัน อนุรักษ์ธรรมชาติ และจัดระบบการไหลของน้ํา เพื่อป้องกันมิให้เกิดน้ําท่วม - พื้นที่ดําเนินการ พื้นที่เขานางพันธุรัต (เขาเจ้ เขาเจ้าลายใหญ่) ต.เขาใหญ่ อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี - หน่วยงานรับผิดชอบ กองกิจการพลเรือน กองทัพภาคที่ 1 สวนมิสกวัน ถนนราชดําเนินนอก เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร/โทรสาร 0-2280-7070 7070 - ประวัติความเป็นมา เมื่อปี 2541 พระราชกระแสรับสั่งจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และสมเด็จพระ นางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงห่วงใยเกี่ยวกับ ทรัพยากรธรรมชาติ บริเวณเขานางพันธุรัต (เขา เจ้าลายใหญ่) ที่พังทลายลง ได้มีพระราชดําริแก่แม่ ทัพภาคที่ 1 สรุปได้ว่า ให้อนุรักษ์สภาพภูมิ ประเทศบริเวณเขานางพันธุรัรัต (เขาเจ้าลายใหญ่) เนื่องจากมีความสําคัญทางประวัติศาสตร์และให้ ฟื้นฟูสภาพพื้นที่บริเวณที่มีการทรุดตัวของภูเขา โดยการปลูกต้นไม้ - ผลการดําเนินการ - จัดตั้งวนอุทยานเขานางพันธุรัตเมื่อปี 2542 - นําพันธุ์ไม้ประมาณ 4,000 – 5,000 ต้น มาปลูกบริเวณ พื้นที่ที่เกิดการถล่ม - ปลูกต้นไม้กระถินยักษ์ให้เป็นพืชคลุมดินและดูแลให้เจริญเติบโต - ลําเลียงดินบรรจุใส่ถุงปูนซีเมนต์เปล่า จํานวน 4,500 ถุง เมล็ดพันธุ์ไม้ (กระถิ กระถิน ยักษ์สีเสียดขี้เหล็ก) เมล็ดพืชคล่อมดิน (ถั่วไมยรา) และถั่วยักษ์ฮามาต้า ผสมดินแล้วไปโปรยพื้นที่ - ปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติฯ เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 12 สิงหา มหาราชินี เมื่อปี 2542 - ปรับปรุงภูมิทัศน์บนถนนเพชรเกษม - นําต้นไทรปลูกตามซอกหินพังทลาย - สร้างการมีส่วนของชุมชนในท้องถิ่นให้มีการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้เป็นประจําทุกเดือน - ฝึกอบรมอาสาสมัครพิทักษ์เขานางพันธุรัต ปี 2549 2 รุ่น - ปลูกหญ้าแฝก จัดสร้างแหล่งน้ํา เพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์เนื้อทราย ปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณโครงการ และปรับปรุงถนนทางเดิ างเดินธรรมชาติ

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 37 ~

7. โครงการเครือข่ายอ่างเก็บน้ํา (อ่างพวง) อันเนือ่ งมาจากพระราชดําริ - วัตถุประสงค์ 1. เพื่อผันปริมาณน้ําจากอ่างฯ ที่มีปริมาณน้ํามากมาสู่อ่างฯ ที่มีปริมาณน้ําน้อย 2. เพื่อผันน้ําปริมาณส่วนเกินที่จะไหลล้นอ่างฯ หลัก กระจายไปสู่อ่างฯ บริวารต่าง ๆ 3. เพื่อช่วยเหลือกิจกรรมการศึกษาวิจัยของหน่วยงานราชการต่าง ๆ ภายในบริเวณศูนย์ศึกษาการ พัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดําริ และโครงการตามพระราชประสงค์หุบกะพง 4. เพื่อช่วยเหลือการเพาะปลูกและการอุปโภคบริโภค ในพื้นทีซึซ่ ่งึ ระบบท่อผันน้ําวางผ่าน - พื้นที่ดําเนินการ 1. อ่างเก็บน้ําห้วยไทรงาม ตําบลหนองพลับ อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปริมาณน้ําเก็บกัก 9.50 ล้าน ลบ.ม. 2. อ่างเก็บน้ําห้วยไม้ตาย ตําบลไร่ใหม่พัฒนา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ปริมาณน้ําเก็บกัก 3.70 ล้าน ลบ.ม. 3. อ่างเก็บน้ําบ้านทุ่งขาม ตําบลไร่ใหม่พัฒนา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ปริมาณน้ําเก็บกัก 8.00 ล้าน ลบ.ม. 4. อ่างเก็บน้ําห้วยตะแปด ตําบลสามพระยา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ปริมาณน้ําเก็บกัก 4.00 ล้าน ลบ.ม. 5. บ่อพักน้ําเขากระปุก ตําบลสามพระยา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ปริมาณน้ําเก็บกัก 0.312 ล้าน ลบ.ม. 6. อ่างเก็บน้ําห้วยทราย ตําบลสามพระยา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ปริมาณน้ําเก็บกัก 1.95 ล้าน ลบ.ม. 7. อ่างเก็บน้ําห้วยทราย – หุบกะพง ตําบลเขาใหญ่ อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ปริมาณน้ําเก็บกัก 0.80 ล้าน ลบ.มม. - หน่วยงานรับผิดชอบ โครงการชลประทานเพชรบุรี โทร 0 -3246 -1308 โทรสาร 0 -3246 – 1975 - ประวัติความเป็นมา - เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2532 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดําริ เกี่ยวกับ การจัดหาน้ําช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกในเขต อ.หั อ วหิน โดยพิจารณาก่อสร้างอ่างเก็บน้ํา - เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จได้พระราชทาน พระราชดําริ ดังนี้ จารณาความเหมาะสมในการผันน้ําจากอ่างเก็บน้ําห้วยตะแปดผ่านสันทํานบของอ่างพัก 1. สมควรพิจารณาความเหมาะสมในการผั น้ําเขากระปุก ลง อ่างเก็บน้ําห้วยทราย และ ก่อสร้างอ่างเก็บน้ําในลําน้ําสาขาของลุ่มน้ําห้วยตะแปดเพื่อเป็น แหล่งเก็บกักน้ําเสริมให้อ่างเก็บน้ําห้วยตะแปด 2. ควรเร่งพิจารณาวางโครงการและก่อสร้ สร้างอ่างเก็บน้ําห้วยไม้ตาย ส่วน พื้นที่ตอนบนของอ่างฯ ควร พิจารณาก่อสร้างอ่างเก็บน้ําขนาดเล็กกระจายในบริเวณต่าง ๆ ตามความเหมาะสม - เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2535 ได้พระราชทานพระราชดําริให้กรมชลประทานพิจารณา วางโครงการและก่อสร้างระบบผันน้ําจากอ่างเก็บน้ําหรือแหล่ แหล่งน้ําที่มีศักยภาพที่ดีและมีความเหมาะสมไปลง อ่างเก็บน้ําห้วยตะแปด - เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2539 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพระราชดําริ ให้เร่งรัด ก่อสร้างโครงการระบบท่อผันน้ําอ่างเก็บน้ําบ้านทุ่งขาม – อ่างเก็บน้ําห้วยตะแปด

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 38 ~

- ผลการดําเนินการ ปี 2535 ก่อสร้างระบบผันน้ําจากอ่างเก็บน้ําห้วยตะแปด ผ่านสันทํานบบ่อพักน้ําเขากระปุก ลงสู่อ่างเก็บน้ําห้วยทราย ปี 2536-2537 ก่อสร้างอ่างเก็บน้ําห้วยไม้ตาย ตําบลไร่ใหม่พัฒนา อําเภอชะอํ ชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ปี 2540 ก่อสร้างระบบผันน้ําจากอ่างเก็บน้ําทุ่งขาม มายัง อ่างเก็บน้ําห้วยตะแปด และผันต่อไปยัง อ่างเก็บน้ําห้วยทรายหุบกะพงในศูนย์ฯหุบกะพง ปี 2543–2546 ก่อสร้างอ่างเก็บน้ําไทรงาม ตําบลหนองพลับ อําเภอหัหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ปี 2546 – 2549 ดําเนินการก่อสร้างระบบผันน้ําจากอ่างเก็บน้ําไทรงามลงสู่อ่างเก็บน้ําห้วยไม้ตาย ซึ่งสามารถต่อเชื่อมกับอ่างเก็บน้ําทุ่งขามได้ เพื่อให้ระบบสมบูรณ์ต่อไป

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 39 ~

8. โครงการพัพัฒนาแหล่งน้ําบริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี (งานขุ งานขุดลอกอ่างเก็บน้ําหนองจิก) - วัตถุประสงค์ 1. เพื่อขยายแหล่งน้ําหลักโดยการขุดลอกอ่างเก็บน้ําหนองจิกเพื่อเพิ่มขนาดความจุ ของอ่างฯให้สามารถ รองรับน้ําในฤดูฝนได้เพิ่มมากขึ้น 2. เพื่อรองรับปริมาณการใช้น้ําของประชากรโดยรอบ ที่กําลังเติบโตและมีจํานวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วใน อนาคต - พื้นที่ดําเนินการ บ้านสามพระยา หมู่ที่ 3 ตําบลสามพระยา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี - หน่วยงานรับผิดชอบ โครงการชลประทานเพชรบุรี สํานักชลประทานที่ 14 กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โทร. 0-3246-1308 โทรสาร 0-3246-1975 - ประวัติความเป็นมา 1.สมเด็ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี เสด็จพระราชดําเนินไปพระราชทานปริญญา บัตรแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยศิลปากร ณ มหาวิทยาลัย ศิลปากร เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2548 และทรงมี พระราชกระแสกับนายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ มูลนิธิชัยพัฒนา ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยเหลือหา ลู่ทางแก้ไขและพัฒนาในเรื่องวิทยาเขตสารสนเทศ เพชรบุรีและชุมชนโดยรอบกําลังประสบปัญหาขาด แคลนน้ํา 2. เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2549 มูลนิธิชัย พัฒนาแจ้งให้ทราบว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงรับโครงการขุดลอกอ่างเก็บน้ํา หนองจิกไว้เป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ โดยให้กรมชลประทานดําเนินการจัดทําคําขอ งบประมาณไปยังสํานักงาน กปร. ต่อไป - ผลการดําเนินการ 1. การดําเนินงานระยะที่ 1 ปีงบประมาณ 2549 ดําเนินการขุดลอกแล้วจํานวน 146,000 ลูกบาศก์ เมตร งบประมาณทั้งสิ้น 945,000,000 บาท 2. การดําเนินการระยะที่ 2 ปีงบประมาณ 2550 ดําเนินการขุดลอกจํานวน 354,000 ลูกบาศก์เมตร แยกเป็น 2.1 งบฯกรมชลประทาน = 8,773,000 บาท ปริมาณดินขุด 154,000 ลูกบาศก์เมตร 2.2 งบฯ กปร. = 10,814,000 บาท ปริมาณดินขุด 200,000 ลูกบาศก์เมตร รวมงบประมาณ = 19,587,000 บาท

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 40 ~

9. โครงการขุดลอกอ่างเก็บน้ําห้วยสงสัยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ - วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเพิ่มความจุของอ่างเก็บน้ําให้สามารถเก็บกักน้ําได้ในปริมาณเพิ่มมากขึ้น 2. เพื่อให้ราษฎรได้มีน้ําไว้ใช้ในกิจกรรมทางการเกษตรเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในฤดูแล้ง 3. เพื่อยกระดับความเป็นอยู่ของราษฎรให้ดีขึ้น - พื้นที่ดําเนินการ บ้านโป่งเกตุ หมู่ที่ 9 ตําบลเขากระปุก อําเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี - หน่วยงานรับผิดชอบ โครงการชลประทานเพชรบุรี สํานักชลประทานที่ 14 กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โทร. 0-3246-1308 โทรสาร 0-3246 3246-1975 - ประวัติความเป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมี พระราชดําริเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2523 และเมื่อ วันที่ 6 มิถุนายน 2524 ให้กรมชลประทาน พิจารณาวางโครงการและก่อสร้างอ่างเก็บน้ําห้วย สงสัย ตําบลเขากระปุก อําเภอท่ายาง จังหวัด เพชรบุรี และต่อมาเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2528 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ได้เสร็จทรงงานใน เขตอําเภอท่ายาง ราษฎรได้ทูลเกล้าฯถวายฎีกา เรื่องการขาดแคลนน้ําในเขตตําบลเขากระปุกอีก ครั้งหนึ่ง ความทรงทราบถึงพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวจึงได้ทรงพระราชทานฎีกาดังกล่าว ให้กรมชลประทานดําเนินการก่อสร้างอ่างเก็บน้ําห้วยสงสัยโดย ด่วน กรมชลประทานได้ ทานได้ทําการก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. พ 2535 ที่พิกัด 47 PNQ -795 795-045 แผนที่ระวาง 4934 111 มีความจุ 4.05 ล้านลูกบาศก์เมตร มีพื้นที่เพาะปลูก 3,500 ไร่ สามารถช่วยเหลือราษฎรได้ 370 ครัวเรือน ในเขตหมู่ที่ 1,3,5 และ 7 ของตําบลเขากระปุก อําเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ 2546 ราษฎรได้ถวายฎีกาขอทําการขุดลอกอ่างฯแห่งนี้ สํานักงาน กปร. กปร ร่วมกับกรมชลประทานได้ทําการพิจารณาความเหมาะสมและเสนอขึ้นไปตามขั้นตอน ต่อมาในปี 2549 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับไว้เป็นโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ - ผลการดําเนินการ ปัจจุบันอยู่ระหว่างการขอรับอนุมัติ งบประมาณจากสํานักงาน กปร. กปร โดยขอดําเนินการ ในปีงบประมาณ 2550 วงเงิน = 7,443,400 บาท ปริมาณดินขุด = 221,700 ลูกบาศก์เมตร วิธีดําเนินการ = จ้างเหมา

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 41 ~

10. โครงการป้องกันแก้ไขปัญหาน้ําท่วมพื ม ้นทีจัจ่ งั หวัดเพชรบุรี อันเนื่องมาจากพระราชดําริ - วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างระบบป้องกันอุทกภัย 2. เพื่อให้มีน้ําใช้ในการเกษตรและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ําจืด - พื้นที่ดําเนินการ โครงการส่งน้ําและบํารุงรักษาเพชรบุรี ต.ท่ ต าคอย อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี พื้นที่ 1,368,270 ไร่ - หน่วยงานรับผิดชอบ โครงการส่งน้ําและบํารุงรักษาเพชรบุรี โทร. 0-3241-6701 ต่อ 14,16 โทรสาร 0-3241-6700 , 0-3241-6362 - ประวัติความเป็นมา ตามที่เกิดเหตุการณ์น้ําท่วมใหญ่จังหวัดเพชรบุรี เมื่อเดือนตุลาคม 2546 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง ห่วงใยประชาชนที่ได้รับผลกระทบการเกิดอุทกภัย จึงได้มีพระราชดําริแก่ข้าราชบริพารและอธิบดีกรม ชลประทานให้พิจารณาการระบายน้ําให้เป็นระบบโดยใช้คลองส่งน้ําช่วยระบายน้ําด้วยเมื วยเมื่อมีน้ําหลาก และให้ พิจารณาจัดทําแผนผังการระบายน้ําขยายคลองธรรมชาติ คลองระบายให้สามารถระบายน้ําออกทะเลได้เร็วขึ้น จังหวัดเพชรบุรี ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทําโครงการป้องกันแก้ไขปัญหาน้ําท่วมจังหวัดเพชรบุรี รวม 3 ระดับ คือ ระดับอํานวยการ มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน ระดับอนุกรรมการ มีรองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น ประธาน และระดับคณะทํางาน มีนายอําเภอเป็นประธาน รวมทั้งคณะทํางานด้านต่าง ๆ อีกจํานวนมาก คณะทํางานต่าง ๆ ได้ระดมความคิดเห็นและบูรณาการแผนงานร่วมกันในการแก้ไขปัญหาอุทกภัยตั้งแต่ ปี 2547-2548 สามารถสรุปแผนงานดํ านดําเนินการ เป็นแนวการจัดการน้ํา 6 แนวทาง ดังนี้ 1. แผนงานการระบายน้ําโดยใช้ระบบชลประทานช่วยระบายน้ําหลาก 2. แผนงานการผันน้ําผ่านห้วยยางและคลอง ดี 1 3. แผนงานการผันน้ําคลองสายใหญ่ 3 และคลอง ดี 9 4. แผนงานการผันน้ําผ่านบริเวณบ้านท่าการะเทียมและคลอง ดี 18 5. แผนงานการระบายน้ําบริเวณตําบลต้นมะม่วงผ่านคลอง ดี 23 6. แผนงานการระบายน้ําบริเวณวัดเกาะผ่านคลองวัดเกาะ-โพธิ เกาะ ์พระและคลอง ดี 25

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 42 ~

7. แผนงานการระบายน้ําคลองเหมืองตาหลอ และคลองด ดี 26 8. แผนงานการระบายน้ําผ่านคลองท่าแร้งและคลองดี 27 9. แผนงานการระบายน้ําฝั่งตะวันตกผ่านคลอง ดี 1 ฝั่งซ้าย ในวงเงิน 1,978.00 ล้านบาท - ผลการดําเนินการ 1. จัดทําทางระบายน้ําล้านคันคลองชลประทาน 27 แห่ง วงเงิน 6,786 ล้านบาท (งบกรมชลประทาน) ระบายน้ําผ่านระบบชลประทาน 2. งานขุดลอกคลองธรรมชาติและคลองระบายน้ํา (ฝั่งขวา) ฝั่งตะวันออกแม่น้ําเพชรบุรี จํานวน 26 สาย วงเงิน 10.1185 ล้านบาท (งบกรมชลประทาน งบกรมชลประทาน) 3. ขุดขยายคลองระบายสายใหญ่ 6 สาย (ฝั่งขวา) จํานวน 55.9255 ล้านบาท (งบกลาง งบกลาง กองพลพัฒนา กองทัพบก) คลองดี 9 คลองดี 18 คลองบางทะลุ 4. งานขุดลอกคลองธรรมชาติและคลองระบายน้ํา (ฝั่งซ้าย) ฝั่งตะวันตกแม่น้ําเพชรบุรี จํานวน 13 สาย วงเงิน 33.261 ล้านบาท (งบ งบ กปร.) กปร

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 43 ~

11. โครงการอ่างเก็บน้ําห้วยผาก อันเนื่องมาจากพระราชดําริ - วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นแหล่งเก็บกักน้ําเพื่ออุปโภค-บริ โภค โภค และเพาะปลูกได้ตลอดไป 2. เพื่อระบายน้ําเสริมให้โครงการชลประทานเพชรบุรี ช่วงขาดแคลนน้ํา 3. เพื่อบรรเทาอุทกภัยในบริเวณลุ่มน้ําเพชรบุรี - พื้นที่ดําเนินการ หมู่ 6 บ้านยางชุม ตําบลกลัดหลวง อําเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี จํานวน 3,545 ไร่ 53 ตารางวา - หน่วยงานรับผิดชอบ โครงการก่อสร้าง 1 สํานักชลประทานที่ 14 โทร. 0-3249 – 4082 / 081081 8158745 โทรสาร. 0 -3249 - 4083 - ประวัติความเป็นมา เป็นโครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานคําแนะนํา -17 มิถุนายน 2547 ให้กรมชลประทานพิจารณา โครงการ กรมชลประทานได้วางแผน ก่อสร้างใน ปีงบประมาณ 2548 จะแล้วเสร็จในปีงบประมาณ 2550 ( 3 ปี ) - 30 เมษายน 2547 ได้พระราชดําริเพิ่มเติมให้กรม ชลประทานพิจารณาวางแผนก่ จารณาวางแผนก่อสร้าง แหล่งน้ํา ตามความเหมาะสมเพื เหมาะสมเพื่อแก้ปัญหาน้ําท่วมในจังหวัดเพชรบุรี - ผลการดําเนินการ แผนดําเนินการก่อสร้าง เดิมวางแผนงานก่อสร้างเริ่มปีงบประมาณ 2548 แล้วเสร็จใน ปีงบประมาณ 2551 แต่เนื่องจากราคาค่าก่อสร้างเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบเพิ่มสูงขึ้นจากเดิมที่ประมาณไว้ จึง ได้ขออนุมัติ ครม. เพิ่มวงเงินค่าก่อสร้างและขอขยายระยะเวลาก่อหนี้ผูกพันข้ามปี จากเดิมปี 2549 – 2551 เป็นปี 2549 – 2552 งบประมาณค่าก่อสร้างทั้งโครงการ 890 ล้านบาท เก็บกักน้ําได้ 27.50 ล้านลูกบาศก์เมตร ส่งน้ําช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกในฤดูฝนประมาณ 4,100 ไร่ และฤดูแล้งประมาณ 1,000 ไร่ - ปีงบประมาณ 2548 ดําเนินงานเตรียมการเบื้องต้น งานก่อสร้างที่ทําการและบ้านพัก - ปีงบประมาณ 2549 ดําเนินการประกวดราคาจ้างก่อสร้างเขื่อนหัวงานและอาคารประกอบ ซึ่งกรม ชลประทานได้ลงนามในสัญญาจ้างก่อสร้าง ตามสัญญาเลขที่ กจ.03/2549 กจ (ฝพพ.4) ลงวันที่ 29 กันยายน 2549 ระยะเวลาทําการ 900 วัน

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 44 ~

12. โครงการสวนสมเด็ ครงการสวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มูลนิธิชัยพัฒนา - วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนาด้านการเกษตรที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม 2. เพื่อให้เป็นพิพิธภัณฑ์ทางธรรมชาติที่มีชีวิต - พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 6 ต.สามพระยา สามพระยา อ.ชะอํ อ า รวมพื้นที่ดําเนินการ 340 ไร่ - หน่วยงานรับผิดชอบ มูลนิธิชัยพัฒนา โทร/โทรสาร 0-3259-3100 - ประวัติความเป็นมา สวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ตั้งอยู่ที่ 77 หมู่ 6 ต.สามพระยา อ.ชะอํ ชะอํา พื้นที่อยู่ใกล้กับศูนย์ศึกษา การพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เดิมพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ จึงมีราษฎรแผ้วถางพื้นที่ และทํา การเกษตรเชิงเดียวต่อเนื่องหลายปี จนที่ดินที่เคยมีความอุดมสมบูรณ์กลับเสื่อมโทรม ทําให้ประกอบอาชีพเกษตรไม่ ค่อยได้ผล ผล เกษตรกรจึงได้ทูลเกล้าถวายที่ดินแด่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี จํานวน 3 แปลง รวม 340 ไร่ แปลงที่ 1 เป็นชื่อใน พระปรมาภิไธย สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี แปลงที่ 2 ทรงพระราชทาให้หม่อมเจ้า ลุอิสาณ์ ดิสกุล และท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม ได้ทูลเกล้าถวายที ถวายที่ดินแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชทานที่ดินดังกล่าวให้มูลนิชัยพัฒนา และเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2528 ทรงพระราชทานแนวพระราชดําริให้พัฒนาพื้นที่ของสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นศูนย์ศึกษา การพัฒนาด้านการเกษตรที่เหมาะสมกั มาะสมกับสภาพแวดล้อม กรมชลประทาน การสร้างเรือนเพาะชํากล้าไม้ และกิจกรรม อื่นๆตามความจําเป็นเสมือนพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต การดําเนินงานระยะแรกตั้งแต่ปี 2530 - 30 กันยายน 2548 ร่วมพัฒนาสนองแนวพระราชดําริโดยศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริและกรม ละ วิชาการเกษตร ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2548 ถึงปัจจุบัน มูลนิธิชัยพัฒนา ได้ดําเนินการสนองพระราชดําริสนับสนุน งบประมาณและบริหารจัดการ โดยมีศูนย์ศึกษาพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริและกรมวิชาการเกษตร เป็นที่ปรึกษา - ผลการดําเนินการ 1. ดําเนินกิจกรรมการเกษตร ตร เช่น 1.1 ระบบการปลูกพืชโดยมีไม้ผลเป็นหลัก 1.2 ระบบการทําฟาร์มผสมผสานในภาพที่ดอน-ที อน ่ลุ่ม 1.3 เกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดําริ ทฤษฎีใหม่น้ําฝน-ชลประทาน ฝน 1.4 การลดการใช้สารเคมี ในการป้องกันกําจัดศัตรูพืช 1.5 การเพาะเห็ดจากวัสดุต่างๆ 1.6 การใช้ประโยชน์หญ้าแฝกร่วมกับการปลูกพืช 2. กิจกรรมด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ+พันธุ์กรรมพืช 2.1 ระบบวนเกษตร 2.2 การรวบรวมพันธุ์พืชสมุนไพร 2.3 การรวบรวมพันธุ์บัว ทฤษฎีใหม่น้ําฝน-ชลประทาน ฝน 2.4 การรวบรวมพันธุ์ผักพืชบ้าน 2.5 การรวบรวมพันธุ์ไม้ผล 2.6 การรวบรวมพันธุ์ไม้ย้อมสี 2.7 การรวบรวมพันธุ์ไม้น้ํา 3. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพแผนไทยและผลิตภัณฑ์สมุนไพร 3.1 นวดแผนไทย นวดเท้า อบ ประกบสมุนไพร 3.2 การแปรรูปผลิตภัณฑ์ ผลผลิต+สมุนไพร สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 45 ~

4. การถ่ายทอดเทคโนโลยีและขยายผล 4.1 ให้บริการถ่ายทอดเทคโนโลยีการศึกษาดูงาน 5. กิจกรรมที่พักผ่อนเพื่อสุขภาพและศึกษาดูงาน - ได้ดําเนินงานสนองแนวพระราชดําริ แลพัฒนาพื้นที่ปี 2530 ถึงปัจจุบัน ทําให้เกิดความหลากหลายทาง ชีวภาพมากหมาย ทั้งพันธุกรรมพืช พันธุกรรมสัตว์ โดยเฉพาะผึ้งหลวง เข้ามาอาศัย 2-5 รัง/ปี จากสถิติปริมาณ น้ําฝน ย้อนหลังในอดีต เฉลี่ย 630 มิลลิเมตร/ปี มตร มีการเพิ่มขึ้นในแต่ละปีจากปี พ.ศ. 2534-2550 2534 ดังนี้ - ปี 2534-2550 จํานวนวันฝนตกเฉลี่ย 79 วัน/ปี ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 887 มิลลิเมตร/ปี มตร - ปี 2542-2550 จํานวนวันฝนตกเฉลี่ย 89 วัน/ปี ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,030 มิลลิเมตร/ปี มตร

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 46 ~

13.โครงการดู โครงการดูแลที่ดินและปลูกป่าในที่ดินของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ บ้านท่ากระทุ่ม - วัตถุประสงค์ - ควบคุมดูแลป้องกันราษฎรบุกรุกที่ดินและทําลายต้นไม้ - ดําเนินการปลูกต้นไม้เพื่อจัดทําเป็นสวนป่า - ดูแล บํารุงรักษา ฟื้นฟูต้นไม้ ให้เป็นสวนป่าที่สมบูรณ์ - พื้นที่ดําเนินการ บ้านท่ากระทุ่ม – บ้านสาระเห็ด ต.กลัดหลวง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุ เพชรบุรี - หน่วยงานรับผิดชอบ กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์ จังหวัดเพชรบุรี โทร 0-3242-5271,0 5271,0-3242-5410 - ประวัติความเป็นมา เมื่อปี 2532 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระราชเสาวนีย์โปรดเกล้าฯ ให้ปลูกต้นไม้ใน ที่ดินของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ฯ บ้านกระทุ่ม ต.กลั ต ดหลวง อ.ท่ายาง จํานวน 2 แปลง โดยปลูกต้นไม้รอบ แปลงเพื่อแสดงขอบเขต และปลูกต้นไม้ในแปลงย่อยเพื่อจัดทําเป็นสวนป่าตัวอย่างในพื้นที่ จ.เพชรบุ จ รี ซึ่ง ประกอบด้วย ต้นยูคาลิปตัสไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ ไม้เรียกนก และไม้โตเร็วที่เนื้อไม้ใช้งานได้ดี เพื่อเป็นไม้ สําหรับสร้างและซ่อมแซมบ้านเรือน โดยสํานักราชเลขาธิ ราช การได้มอบให้ ร.11 พัน 3 รอ.. เข้ารับผิดชอบ โครงการพร้อมทั้งจัดกําลังพลชุดปฏิบัติการเป็นชุดดูแลพื้นที่และปลูกต้นไม้ดังกล่าว โดยได้รับการสนับสนุน พันธุ์กล้าไม้ชนิดต่าง ๆ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ภายหลังได้รับการโอนที่ดินให้เป็นในนามของมูลนิธิส่งเสริม ศิลปาชีพฯ พฯ จึงทรงมีพระราชเสาวนีย์ให้ ร 11 พัน 3 รอ. รับผิดชอบดูแลที่ดินเพิ่มอีก 1 แปลง รวมเป็น 3 แปลง (เนื้อที่รวม 1,357 ไร่) - ผลการดําเนินการ - ร. 11 พัน 3 รอ. เข้ารับผิดชอบโครงการฯ ตั้งแต่ปี 2533 โดยจัดกําลังพลเป็นชุดปฏิบัติการ เข้าอยู่ประจําในพื้นที่โครงการฯ ดําเนินการ ควบคุมดูแลที่ดินของมูลนิธิฯ พร้อมทั้งได้ดําเนินการ ปลูกต้นไม้นานาพรรณ ประเภทไม้มีค่าทาง เศรษฐกิจ ไม้โตเร็ว ไม้เรียกนก และไม้ดอก และ ดําเนินการฟื้นฟูสภาพป่าเดิม ให้เป็นสวนป่าที่ สมบูรณ์ อีกทั้งหน่วยได้ดําเนินการจัดโครงการย่อย ต่าง ๆ ประกอบด้วย โครงการแปลงสาธิตการปลูก สมุนไพรไทย, แปลงสาธิตการปลูกกุหลาบมอญ, ลาบมอญ แปลงสาธิตเกษตรผสมผสานตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง จนสภาพสวนป่าได้เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ตามลําดับเป็นสวนป่าระดับหนึ่ง - เมื่อปี 2549 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงทราบถึงการดําเนินงานในพื้นที่โครงการ ต่อเนื่อง ส่งผลให้พื้นที่โครงการเป็นสวนป่าเบื้องต้น มีความอุดมสมบูรณ์ สภาพป่ามีความหนาแน่น และเริ่มมี สัตว์ป่าตามธรรมชาติเข้ามาอยู่อาศัยจํานวนมาก เช่น นก และไก่ป่า จึงมีพระราชเสาวนีย์ผ่านราชเลขานุการใน พระองค์สมเด็จพระบรมราชิ บรมราชินีนาถ ให้ ร.11 ร พัน.3 รอ. จัดพื้นที่โครงการให้เป็น "แหล่ แหล่งศึกษาพันธุ์ไม้" และ" แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์" ต่อไป โดยเปิดโอกาสให้นักเรียน นักศึกษา หน่วยงานต่าง ๆ และประชาชนทั่วไป ได้เข้าเยี่ยมชมโครงการและศึกษาพันธุ์ไม้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 47 ~

14. โครงการจัจัดพัฒนาที่ดินฯ ตามพระราชประสงค์หนองพลับ – กลัดหลวง - วัตถุประสงค์ จัดพัฒนาที่ดินแผนใหม่ และป้องกันการบุกรุกที่ดินของรัฐและบุกรุกทําลายป่า - พื้นที่ดําเนินการ ที่ตั้ง หมู่ที่ 2 ตําบลหนองพลั หนองพลับ อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พื้นที่รวม 65,000 ไร่ ในตําบล หนองพลับ อําเภอหัวหิน จังหวัดประจวบ ตําบลไร่ใหม่พัฒนา อําเภอชะอํา ตําบลกลั กลัดหลวง และ ตําบลเขากระปุก อําเภอท่ายาง จังหวั งหวัดเพชรบุรี - หน่วยงานรับผิดชอบ ศูนย์ปฏิบัติการโครงการจัดพั ดพัฒนาที่ดิน ตามพระราชประสงค์ ตําบลหนองพลับ อําเภอหั เภอ วหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โทร 0-3257 3257-1138 โทรสาร. 0-3252-8015 - ประวัติความเป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะมีโครงการจัดพัฒนาที่ดินแบบใหม่ จึงทรง เลือกบริเวณพื้นที่มีอาณาเขตติดต่อเป็นพื้นที่เดียวกันใน ต.หนองพลั ต บ อ.หัวหิน จ.ประจวบ ประจวบฯ ต.ไร่ใหม่พัฒนา อ.ชะอํา ต.กลัดหลวง และ ต.เขากระปุ เขากระปุก อ.ท่ อ ท่ายาง เป็นแหล่งจัดและพัฒนาที่ดินให้ราษฎรเข้าอยู่อาศัยและทํา กิน ได้ชั่ว ลูกชั่ว หลาน หลังจากนั้น ได้มีการสํา รวจดินและให้กรมพัฒ นาที่ดิน เป็น เจ้า ของเรื่องร่ว มกับ ส่ว น ราชการอื่น ๆ ทําการจัดสรรที่ดินที่พัฒนาแล้วให้ราษฎรเข้ าษฎ าอยู่อาศัยและประกอบอาชีพ - ผลการดําเนินการ ดําเนินการจัดสรรที่ดินให้ราษฎรเข้าทํากินและอยู่อาศัย โดยราษฎรของสมาชิกแต่ละหมู่บ้านสหกรณ์ที่ 1 – 8 ซึ่งดําเนินการตั้งแต่ 2515 – 2520 สําหรับหมู่บ้านสหกรณ์ที่ 9 – 10 เป็นส่วนขยายดําเนินการ ปี 2520 – 2523 ต่อจากนั้นไม่ได้ดําเนินการจัดสรรที่ดินให้ราษฎรเข้าทํากินและอยู่อาศัยอีก นอกจากสมาชิก ถูกตัดสิทธิเพราะการปฏิบัติผิดระเบียบ จึงจะจัดสรรให้แก่บุตรสมาชิกของราษฎรและราษฎรยากจนในพื้นที่ แทน ดําเนินการปรับปรุงพื้นที่พร้อมจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ําสาธิตการใช้ปุ๋ยพืชสด และ แล ส่งเสริมการปลูก พืช (แฝก) เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ํา โดยผลิตเพื่อปลูกหญ้าแฝกและแจกจ่ายหญ้าแฝก

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 48 ~

15. โครงการพัฒนาห้วยแม่เพรียงตามพระราชดําริ - วัตถุประสงค์ จัดสรรที่ดินให้ราษฎรทํากิน เป็นการป้องกันการบุกรุกทําลายป่า และสนับสนุนให้ราษฎรรวมตัวกันใน รูปแบบสถาบันการเกษตร หรือระบบสหกรณ์ - พื้นที่ดําเนินการ ประกอบด้วย 3 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 4 บ้านหนองน้ําดํา , หมู่ที่ 5 บ้านด่านโง และหมู่ที่ 6 บ้านห้วยไผ่ รวม พื้นที่ทั้งหมด 15,406 ไร่ จํานวนประชากร 487 ครอบครัว จํานวนประชากร ากร ประมาณ 1,182 คน มีศูนย์ ประสานงานโครงการฯ อยู่ที่หมู่ที่ 4 - หน่วยงานรับผิดชอบ กองพลพัฒนาที่ 1 / กองอํานวยการควบคุมและประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ค่ายศรี สุริยวงศ์ ต.ดอนตะโก อ.เมือง จ.ราชบุ ราชบุรี โทร 0-3232-7801-4 ต่อ 52428 - ประวัติความเป็นมา เมื่อปี 2522 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ได้มีพระราชดํารัสให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบุรี และ ผู้บังคับการกองร้อยฝึกรบพิเศษ ที่ 1 แก่ง กระจาน ในขณะนั้นร่วมกันจัดทําโครงการพัฒนา กับส่วนต่าง ๆ โดยทรงรับไว้เป็นโครงการ พระราชดําริ ในชั้นแรก ทําการรวบรวมกลุ่ม ราษฎรมาอยู่รวมกันและจัดทําโครงการให้ราษฎรมี ส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง พึ่งตนเองได้และใช้ งบประมาณอย่างประหยัดแต่ผลตอบแทนสูงสุด - ผลการดําเนินการ ปล่อยพันธ์ปลา ปลานิล ปลาทับทิม ปลายี่สก ปลาตะเพียน ในแหล่งน้ําธรรมชาติและอ่างเก็บน้ํา ในพื้นที่โครงการ ฯ เพื่อขยายพันธุ์และเป็นแหล่ง อาหารของราษฎร สนับสนุนให้ราษฎรในพื้นที่ โครงการเลี้ยงไก่ เป็ด สุกร การทําไข่เค็ม และ ปลูกแก้วมังกร , แตงโม , ส้มโชกุน , ดาวเรือง , มีกลุ่มปลูกหม่อนเลี้ยงไหมปลูกต้นไม้ทดแทนพื้นที่ ป่าไม้ที่ถูกทําลายและทดแทนป่าที่เสื่อมโทรม สํารวจป้องกันปราบปรามการบุกรุกพื้นที่ การ ลักลอบตัดไม้และล่าสัตว์ รวมทั้งประชาสัมพันธ์ ให้ ราษฎรรู้จักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ ยากรธรรมชา จัดทํา เกษตรทฤษฎีใหม่ ปลูกกล้วยน้ําว้า สับปะรด มะละกอ

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 49 ~

16. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนบ้านบางกลอยและบ้านโป่งลึก - วัตถุประสงค์ - เพื่อให้ความช่วยเหลือราษฎรบ้านบางกลอย-โป่ นบางกลอย งลึก ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น - เพื่อฝึกสอนศิลปาชีพ ให้ราษฎรมีความสามารถในการประกอบอาชีพ - พื้นที่ดําเนินการ บ้านบางกลอย หมู่ที่ 1 และบ้านโป่งลึก หมู่ที่ 2 ต.ห้วยแม่เพรียง อ.แก่งกระจาน - หน่วยงานรับผิดชอบ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุรี โทร.0-3245-9291 โทรสาร..0-3245-9291 - ประวัติความเป็นมา สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชดําริพระราชทานความช่วยเหลือในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของชาวบ้าน บ้านบางกลอย และบ้านโป่งลึก ตําบลห้วยแม่เพรียง อําเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี โดย จะพระราชทานอาชีพเสริมในด้านศิลปาชีพ การหาแหล่งน้ําเพื่อการอุปโภค-บริ โภค บริโภค และการเกษตร และกา การพัฒนา คุณภาพดินการหาพันธุ์พืช ที่เหมาะสม ตลอดจนการซ่อมแซมสะพานที่ใช้ในการสัญจรข้ามแม่น้ําเพชรบุรี ไปมา หาสู่ระหว่าง 2 หมู่บ้าน - ผลการดําเนินการ ดําเนินการไปแล้ว 3 โครงการ คือ 1. โครงการหัตถกรรมพื้นบ้าน 2. โครงการทอผ้าด้วยกี่กระตุก 3. โครงการธนาคารข้าว

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 50 ~

17. โครงการดู ครงการดูแลรักษาป่าไม้บริเวณป่าละอูบนและเขาพะเนินทุ่งอันเนื่องมาจากพระราชดําริ - วัตถุประสงค์ ป้องกันการบุกรุกป่าสงวนแห่งชาติ ดูแลรักษาพื้นที่ป่าไม้บริเวณต้นแม่น้ําเพชรบุรี และ แม่น้ําปราณบุรี และจัดการพัฒนาในรูปหมู่บ้าน ป่าไม้ และควบคุมการบุกรุกป่าไม้ - พื้นที่ดําเนินการ พื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจานและบริเวณต้นน้ําของแม่น้ําเพชรบุรี แม่น้ําปราณบุรี และพื้นที่ตลอด แนวชายแดน (เทือกเขาตะนาวศรี) ตั้งแต่จังหวัดราชบุรีตอนล่างจรด อ.กุยบุรี จ.ประจวบคี ประจวบคีรีขันธ์ - หน่วยงานรับผิดชอบ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ต.แก่ ต งกระจาน อ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุรี โทร/โทรสาร 0-3245-9291 9291 - ประวัติความเป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ได้ทรงมีพระ ราชดํารัสเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ป่าต้นน้ําลําธาร หลายครั้ง จึงได้มีการสนองพระราชดําริ โดยจัดทํา โครงการดูแลรักษาป่าไม้บริเวณป่าละอูบน และเขา พะเนินทุ่งอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เมื่อปี 2535 เพื่อเป็นแนวทางการดําเนินการด้านต่าง ๆ และเป็นศูนย์รวมของส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้องเพื่อ สนับสนุนโครงการให้บรรลุผลตามเป้าหมาย

- ผลการดําเนินการ - จัดตั้งหน่วยพิทักษ์เพื่อเพิ่มมาตรการดูแลรักษา พื้นที่ป่า 2.2 ล้านไร่ ซึ่งเสริมสร้าง ตามจุดพื้นที่ ล่อแหลมต่อการบุกรุกทําลาย - อพยพราษฎรชาวไทยภูเขา (กะเหรี่ยง – กะ หร่าง) ที่อยู่ในพื้นที่ล่อแหลมต่อการบุกรุกทําลายป่า มาอยู่รวมกันบริเวณบ้านโป่งลึก เพื่อศึกษาหาแนว ทางแก้ไข ปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าต้นน้ําลําธาร - จัดสร้างอาคารเรียนสําหรับเด็กนักเรียน (อาคาร ชั่วคราว) และจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียน ชุมชนบางกลอย – โป่งลึก - ส่งเสริมและสาธิตการปลูกไม้ผล พืชสวนครอบครัวที่อยู่อาศัย เพื่อใช้บริโภคในครัวเรือน - ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน กร เพื่อเสริมสร้างความรู้ความสามารถที สามารถที่จะอนุรักษ์ ทรัพยากร - ส่งเสริมอาชีพโดย ปลูกป่าตามโครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ ฯ - จัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 51 ~

18. โครงการอ่างเก็บน้ําผาน้ําหยดอันเนื่องมาจากพระราชดําริ - วัตถุประสงค์ 1. เพื่อช่วยเหลือราษฎรบริเวณบ้านพุตูม หมู่ที่ 5 ต.ห้วยลึก อ.บ้บ้านลาด ให้มีน้ําใช้เพื่อ การอุปโภค-บริ โภค โภค และทําการเกษตรกรรมได้ตลอดปี ประมาณ 400 ไร่ 2. เพื่อช่วยบรรเทาอุทกภัยในฤดูฝน บริเวณลุ่มน้ําเพชรบุรีและบริเวณใกล้เคียง 3. เพื่อเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ําจืด เพื่อบริโภคและเพิ่มรายได้ 4. เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ - พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 5 ต.ห้วยลึก อ.บ้านลาด - หน่วยงานรับผิดชอบ โครงการก่อสร้าง 1 สํานักชลประทานที่ 14 โทร.0-3249-4082 โทรสาร..0-3249-4083 - ประวัติความเป็นมา วันที่ 19 มกราคม 2550 นายชิด เกิดเกษม นายกองค์การบริหารส่วนตําบลห้วยลึก (ในขณะนั้น) ได้มี หนังสือถึงราชเลขาธิการขอพระราชทานโครงการจัดหาน้ําให้ราษฎร เพื่อช่วยเหลือราษฎร ซึ่งขาดแคลนน้ําเพื่อ การอุปโภคบริโภค และการเกษตรในฤดูแล้งของราษฎร หมู่ที่ 4,5 และ 6 ตําบลห้วยลึก อําเภอบ้านลาด และ สํานักราชเลขาธิ กราชเลขาธิการได้มีหนังสือแจ้งให้สํานักงาน ก.ป.ร. ก พิจารณาให้ความเห็นหรือข้อเสนอแนะ ซึ่งสํานักงาน ก.ป.ร. ได้ร่วมกับกรมชลประทาน ตรวจสอบภูมิประเทศ และพบผู้ถวายฎีกา และ กรมชลประทานได้สรุปผลการ พิจารณาแนวทางการช่วยเหลือราษฎร โดยจัดทําโครงการก่อสร้างอ่างเก็บน้ําผาน้ ผาน้ําหยดพร้อมระบบส่งน้ํา เสนอ สํานักราชเลขาธิการและสํานักงาน ก.ป.ร. ก และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับ โครงการ อ่างเก็บน้ําผาน้ําหยด ไว้เป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2551 - ผลการดําเนินการ กรมชลประทานโดยโครงการก่อสร้าง 1 สํานักชลประทานที่ 14 ได้ออกแบบรายละเอียด การก่อสร้างเสร็จ เรียบร้อยแล้ว และจะดําเนินการก่อสร้างในปีงบประมาณ พ.ศ. พ 2552 ใช้งบประมาณการก่อสร้าง 48,000,000 บาท โดยดําเนินการก่อสร้างเขื่อนดินประเภท Zone Type ขนาดความสูง 11.00 เมตร ยาว 320.00 เมตร สันเขื่อนกว้าง 5.00 เมตร พื้นที่รับน้ําเหนือเขื่อน 3.00 ตารางกิโลเมตร ปริมาณเก็บกักน้ํา 297,500 ลูกบาศ์กเมตร

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 52 ~

19. โครงการหมู ครงการหมู่บ้านสหกรณ์ห้วยสัตว์ใหญ่ ป่าเด็ง – ป่าละอู - วัตถุประสงค์ - เพื่อจัดสรรที่ดินทํากินให้แก่ราษฎรที่ยากจนในรูปการจัดหมู่บ้านสหกรณ์ - ป้องกันการตัดไม้ทําลายป่า - สนับสนุนการรักษาความปลอดภัยของชาติในบริเวณชายแดน - พื้นที่ดําเนินการ ต.ป่าเด็ง อ.แก่ง กระจาน จ.เพชรบุรี เนื้อที่ 15,625 ไร่ ต.หนองพลับ อ.หัวหิน จ.ประจวบคี ประจวบคีรีขันธ์ เนื้อที่ 15,000 ไร่ รวมเนื้อ ที่ 30,625 ไร่ - หน่วยงานรับผิดชอบ สหกรณ์จังหวัดเพชรบุรี โทร 0 - 3242 - 5260 ต่อ 12 - ประวัติความเป็นมา พระบทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ทรงมีพระราชดําริ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2520 โดยทรงรับสั่งให้ตํตาํ รวจพลร่มค่ายนเรศวร อ.หั อ วหิน จ.ประจวบคี ประจวบคีรีขันธ์ ให้การช่วยเหลือราษฎรบริเวณชายแดน โดยการจัดตั้งศูนย์พัฒนาการชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงขึ้น 2 แห่ง คือ ที่ต.หนองพลับ อ.หัหัวหิน จ.ประจวบคี จ รีขันธ์ และที่ ต.ป่าเด็ง อ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุ เพชรบุรี - ผลการดําเนินการ จัดที่ดินให้ราษฎร ครอบครัวละ 23 ไร่ เป็นที่ดินเพื่อการเกษตร 20 ไร่ ที่ปลูกบ้าน 1 ไร่ ที่ริมน้ํา 2 ไร่ โดยไม่ยอมให้ผู้ใดมีสิทธิในการซื้อขาย หรือโอนสิทธิ

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 53 ~

20. โครงการอ่างเก็บน้ําห้วยแม่ประจันต์อันเนื่องมาจากพระราชดําริ - วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างระบบการป้องกันอุทกภัย 2. เพื่อให้มีน้ําใช้ในการเกษตรและเป็นแหล่งเพาะพันธ์สัตว์น้ําจืด - พื้นที่ดําเนินการ หัวงานโครงการอยู่ที่หมู่ที่ 5 บ้านจะโปรง ต.หนองหญ้ ต าปล้อง อ.หนองหญ้าปล้อง จ..เพชรบุรี มีพื้นที่เหนืออ่างเก็บน้ําครอบคลุมพื้นที่ 2 จังหวัด คือ อ.หนองหญ้าปล้อง จ.เพชรบุ เพชรบุรี และ อ.ปากท่ อ อ จ. ราชบุรี พื้นที่ 7,400 ไร่ - หน่วยงานรับผิดชอบ โครงการก่อสร้าง 1 สํานักชลประทานที่ 14 โทร. 0-3249 – 4082 / 081081 8158745 โทรสาร. 0 -3249 – 4083 - ประวัติความเป็นมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ทรงมีพระราชดําริเมื่อ 17 มิ.ย. 23 ให้กรมชลประทานพิจารณาวางแผน ก่อสร้างอ่างเก็บน้ําห้วยแม่ประจันต์ ขึ้นที่บริเวณหมู่บ้านจะโปรง ต.หนองหญ้ ต าปล้อง อ.หนองหญ้ หนองหญ้าปล้อง จ.เพชรบุรี - กรมชลประทานได้ทํารายงานความเหมาะสมของโครงการกราบบั รายงานความเหมาะสมของโครงการกราบ งคมทูล เมื่อปี 2526 - 4 พฤศจิกายน 2546 ได้มีพระราชดําริขอให้กรมชลประทานเร่งรัดงานก่อสร้างให้ แล้วเสร็จโดยเร็ว - 30 เมษายน 2547 ได้มีพระราชดําริเพิ่มเติม เร่งรัดงานก่อสร้างให้แล้วเสร็จภายใน ปีงบประมาณ 2548 - ผลการดําเนินการ ดําเนินการแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2549 งบประมาณ 731 ล้านบาท ทํานบดินหัวงานเป็นเขื่อนดินชนิด Zone Type ความยาวเขื่อนดิน 2,105 เมตร ความกว้างของสันเขื่อน 8 เมตร ระดับสันเขื่อน + 99.60 ม. รทก. รทก ความจุอ่าง ฯ ที่ระดับน้ําเก็บกัก (+96.00 ม. รทก.) 42.20 ล้านลูกบาศก์เมตร ระดับน้ําสูงสุด (+97.80 ม.รทก รทก.) 53.00 ล้านลูกบาศก์เมตร อาคารประกอบ 2 แห่ง คือ อาคาร ระบายน้ําลงลําน้ําดิบ (River Outlet) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.60 เมตร สามารถระบายน้ําได้ 16.20 ลูกบาศก์เมตร / วินาที และอาคารระบายน้ําล้น (Spillway) Spillway) สันฝายยาว 42.50 เมตร ติดตั้งบานระบายโค้ง ขนาด 3-6 x 12.50 เมตร เก็บกักน้ําได้ 42.5 ล้านลูกบาศก์เมตร สามารถระบายน้ําได้ 1,360 ลูกบาศก์เมตร / วินาที ช่วยเหลือพื้นที่ เพาะปลูกประมาณ 35,000 ไร่

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 54 ~

21. โครงการฟาร์มทะเลตัวอย่างตามพระราชดําริ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จังหวัดเพชรบุรี ๑. ความเป็นมาของโครงการ เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้มีพระราชดําริกับ นายสหัส บุญญาวิวัฒน์ ที่ปรึกษาสํานักพระราชวัง และนายจรัลธาดา กรรณสูต ปลัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ สรุปความว่า ปัญหาสัตว์ทะเลธรรมชาติในน่านน้ําไทยลดน้อยลงมาก รวมทั้งพลังงานน้ํามันเชื้อเพลิง และปัจจัยอื่นๆ ที่ใช้ในการออกเรือจับสัตว์น้ําธรรมชาติในทะเลที่ห่างไกลเป็นสิ่งที่ส่งผลให้ ต้นทุนสูงขึ้นมาก จนกระทั่งสัตว์น้ําที่จับได้ขายแล้วไม่คุ้มทุน และทรงมีพระราชดําริว่า “ในอนาคตผลผลิ ในอนาคตผลผลิ ต สัต ว์น้ําทะเลต่ า งๆ จากฟาร์ มทะเลเพาะเลี้ย งสั ต ว์น้ําแบบผสมผสานที่ถู กสุ ขภาวะอนามัย แวดล้ อมคืน สมดุล ด้ว ย จะเป็ น อีก หนึ่ง ทางเลื อ กสําคัญ ทดแทนการออกเรือ ไปจั บ สัต ว์ น้ําในทะเลที่ห่า งไกล” งไกล พร้อมทั้งพระราชทาน พระราชดําริ “ให้ ให้ทําฟาร์มทะเลตัวอย่างในพื้นที่ดินนาเกลือริมทะเล” ทะเล ซึ่งนางวาสนา เทพหัสดิน ณ อยุธยา น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดิน จํานวน ๘๒ ไร่ ๒ งาน ๕๐ ตารางวา ณ หมู่ ๕ ตําบลบางแก้ว อําเภอบ้านแหลม จังหวัด เพชรบุรี เพื่อเป็นฟาร์มตัวอย่างให้ทั้งผู้จับสัตว์น้ํา ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา นําไปปรับใช้ให้ถูกต้องเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมท้องถิ่นของตนเองต่อไป กรมประมงจึงได้ดําเนินการจัดทําโครงการและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องรองรับ และสนับสนุนงบประมาณ งบประ สําหรับการดําเนินงานโครงการ ๒. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา ๒. เพื่อศึกษาพัฒนาต่อยอดอาชีพจับสัตว์น้ําในทะเลที่คุ้นเคยกับการจับตาย ลําเลียงตาย มาเป็นจับ เป็น ลําเลียงเป็นจากธนาคารสัตว์น้ําหน้าชุมชนประมง แล้วส่งต่อเข้าเลี้ยงในฟาร์มทะเลที่ถูกสุขอนามัย แวดล้อมคืนสมดุลเชิง อนุรักษ์ ๓. เพื่อการศึกษาและพัฒนาการทําฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา ๓. เป้าหมาย ๑. จุดเรียนรู้และสาธิตการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา จํานวน ๑ แห่ง ๔. พื้นที่ดําเนินงาน ในพื้นที่โครงการอําเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ๕. ระยะเวลาดําเนินงาน ปี ๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ ๖. หน่วยงานที่รับผิดชอบ - ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งเพชรบุรี - ส่วนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดํ งมาจา าริ - สํานักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง กรมประมง

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 55 ~

22. โครงการอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิริธร

สืบเนื่องจากวันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๓๗ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ พระราชทานพระราชดํ พระราชดําริกับนายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการ กปร. ในขณะนั้น ณ พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ให้จัดหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อทดลองปลูกและฟื้นฟูสภาพป่าชายเลนเพื่อให้ ระบบนิเวศป่าชายเลนกลับคืนสู่ ธรรมชาติ ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๓๗ ได้เสด็จพระราชดําเนินทรงปลูกป่าชายเลนชนิดต่าง ๆ ที่คลอง บางตราใหญ่และคลองบางตราน้อย และได้พระราชทานพระราชดําริเพิ่มเติมกับผู้กํากับการ ๑ กองบังคับการ ฝึกพิเศษ ในขณะนั้น ให้ดําเนินการหาวิธีที่จะดูแลรักษาให้ต้นไม้ชายเลนที่ปลูกไว้นี้อยู่รอดและ ให้ดําเนินการ ปลูกป่าชายเลนต่อไปในพื้นที่ที่เหลืออยู่ทั้งสองแห่ง ที่บริเวณคลองบางตราใหญ่และคลองบางตราน้อยและเมื่อ วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๑ ขณะที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินมาทรง จักรยาน และทรงวิ่งออกกําลังพระวรกายบริเวณค่ายพระรามหก ได้ทอดพระเนตรสภาพดินและพื้นที่รกร้างที่มี คราบเกลือบนพื้นดิน จึงได้ด้พระราชทานพระราชดําริกับท่านผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ ให้หาทางฟื้นฟูดินเสื่อม โทรมดังกล่าวให้เป็นพื้นที่สีเขียวและมีความสวยงาม ตามธรรมชาติเพื่อใช้เป็นพื้นที่นันทนาการและเป็นพื้นที่ สําหรับศึกษาระบบ นิเวศที่ได้ปรับตัวหลังจากมีการปรับปรุงพื้นที่แล้ว จน กระทัง่ ในปีพุทธศักราช ๒๕๔๓ กองบัญชาการ ตํารวจ ตระเวนชายแดน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ และมูลนิธิพระราชนิเวศน์ มฤคทายวัน ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้า เพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี จึงได้ร่วมกันจัดตั้ง “อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติ” ณ ค่ายพระรามหก อําเภอ ชะอํา จังหวัดเพชรบุรี เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสที่เจริญ พระชนมายุครบ ๔ รอบ ในปีพุทธศักราช ๒๕๔๖ โดยมี แนวทางในการดําเนินการตามแนวพระราชดําริและพระราชกรณียกิจ ที่ได้เสด็จพระราชดําเนินมาทรงงานใน บริเวณค่ายพระรามหก เป็นแนวทางในการดําเนินงานให้อุทยานฯ เป็นเสมือนพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิต โดย มุ่งหวังว่าเมื่ออุทยานฯ แห่งนี้เสร็จสมบูรณ์แล้ว จะเป็นสถานที่เผยแพร่พระเกียรติคุณและพระปรีชาสามารถใน ด้านการอนุรักษ์ ธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม ประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรม น ให้เป็นที่ประจักษ์ทั้งชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ และจะเป็นสถานที่ศึกษาหาความรู้ทางด้านการฟื้นฟูป่าชายเลน ป่าชายหาด ป่าเบญจพรรณ และที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด ตลอดจนเป็นสถานที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงประวัติศาสตร์ อันทรงคุณค่าของประเทศไทยและของโลก ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทาน พระราชานุญาตให้อัญเชิญพระ นามาภิไธยเป็นนามอุทยานว่า “อุอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร” ธร (The Sirindhorn International Environmental Park) และพระราชทานพระราชานุ พระราชทานพระราชานุญาตให้อัญเชิญอักษรพระ นามาภิไธย “สธ” ประดับตราสัญลักษณ์ของอุทยาน สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 56 ~

อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร บริหารจัดการโดยมูลนิธิอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ใน พระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ซึ่งมีนายสุเมธ ตันติเวชกุล เป็นประธาน กรรมการก่อตั้งมูลนิธิฯ เพื่อให้ดําเนินงานไปตามแนวทางพระราชดําริ โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้อยู่ในพระ ราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ตั้งแต่วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๕ เป็นต้นมา นอกจากนี้ อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร ยังได้รบพระมหากรุ บั พระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นจากสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการเสด็จพระราชดําเนินมาทรงเปิดอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติ สิรินธรอย่างเป็น ทางการ เมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๑ นําความปลาบปลื้มมาสู่คณะผู้บริหาร และบุคลากร ตลอดจน หน่วยงานต่าง ๆ ที่ให้การสนั ารสนับสนุนการดําเนินงานตามแนวทางพระราชดําริของอุทยานสิ่งแวดล้อม นานา ชาติสิรินธรเป็นอย่างยิ่ง สัญลักษณ์อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร บนสุดคือ อักษรพระนามาภิไธย “สธ สธ” หมายถึง การ เฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี จะทรงเจริญ พระชนมายุครบ 48 พรรษา เพื่อแสดงให้เห็นถึงพระ เกียรติคุณและพระปรีชาสามารถของสมเด็จพระเทพรัต นราช สุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ในด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม รูปต้นไม้สีเขียว หมายถึง อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร เป็นสถานที่ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม ป่าชายเลน ป่า เบญจพรรณ เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิดในที่นี้แสดงเป็นรูปนกเพื่อให้รู้ว่า การที่นกบินเข้ามาหาอาหาร หรือมาทํารัง แสดงว่าที่นั่นย่อมมีความอุดมสมบูรณ์ของป่าและสัตว์หลากหลายชนิด เส้นสีฟ้า หมายถึง การฟื้นฟู การดูแลรักษาป่าชายเลน ป่าชายหาด ให้กลับมามีความอุดมสมบูรณ์ เปรียบเสมือนน้ําพระทัยที่คอยให้ความช่วยเหลือ การอนุรักษ์ผืนป่าที่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า พืชพันธุ์ ต่าง ๆ ไว้ รูปสีน้ําเงิน หมายถึง มหาสมุทร ทะเล รูปปลา ปะการัง หญ้าทะเล อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร เป็น อุทยานทางชายฝั่งทะเลที่มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรทางธรรมชาติ เป็นเสมือนที่ท่องเที่ยวเชิง นิเวศวิทยาและเชิงประวัติศาสตร์ อันทรงคุณค่าของประเทศไทยและของโลก

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 57 ~

23. โครงการชั ครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี … คนที่ไปดูก็เห็นว่า เริ่มต้นไม่มีอะไรเลย แต่ว่าต่อมาภายในวันเดียว ทุกคนที่อยู่ในท้องที่นั้น ก็เข้าใจว่าต้องช่วยกัน และยิ่งในสมั สมัยนี้ ในระยะนี้ เราต้องร่วมมือกันทําเพราะว่าถ้าไม่มีการร่วมมือกัน ก็ไม่ ก้าวหน้า ฉะนั้น การที่ท่านได้ทําแล้วมีความก้าวหน้านี้ เป็นสิ่งที่ดีมาก หลักการก็อยู่ที่ทุกคนต้องช่วยกันเสียสละ เพื่อให้กิจการในท้องที่ก้าวหน้า ไปด้วยดี ก้าวหน้าได้อย่างไร ก็ด้วยการช่วยเหลือกัน แต่ก่อนนั้นเคยเห็นว่า กิจการที่ทํามีกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งทําแล้วก็ทําให้ก้าวหน้า แต่อันนี้มันไม่ใช่กลุ่มหนึ่ง มันทั้งหมดร่วมกันทํา และก็มี ความก้าวหน้าแน่นอน อันนี้ก็เป็นสิ่งมหัศจรรย์ และเป็นสิ่งที่ทําให้มีความหวังว่าประเทศจะเจริญก้าวหน้า ประเทศชาติจะมีความสําเร็จ ... พระราชดํารับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๒ ที่ตั้ง โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชดําริ ตั้งอยู่ บริเ วณอ่างเก็ า งเก็บ น้ําหนองเสือ บ้า นหนองคอไก่ หมู่ที่ ๕ ตําบลเขากระปุก อําเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี เนื้อที่ ๒๕๐ ไร่ จั ด ซื้ อ โดยพระราชทรั พ ย์ ส่ ว นพระองค์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยเริ่มดําเนินการตั้งแต่ วัน ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ.2552 เป็น ต้น มา และทรง พระราชทานพันธุ์มันเทศ ซึ่งออกมาจากหัวมันที่ตั้งโชว์ไว้ บนตาชั่ ง ในห้ องทรงงานที่วัง ไกลกัง วลให้ นํา มาปลูกไว้ ที่นี่ พระราชทานชื่อโครงการว่า “โครงการชั่งหัวมัน ตามพระราชดําริ” ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้กองงานส่วนพระองค์ สํานักพระราชวัง เข้า พัฒ นาพื้น ที่เ พื่อจัด ทํา เป็น โครงการทดลองด้ โครงการทดลองด้า นการเกษตรและทรงมีรับสั่งว่า เมื่อทําเสร็จ แล้ว จะเสด็จ ไป ทอดพระเนตรโครงการด้วยพระองค์เอง ครั้ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จไปประทับที่พระราชวังไกล กังวล ทรงมีพระราชประสงค์ให้นํามันเทศที่ชาวบ้านนํามาถวาย วางไว้บนตาชั่งแบบโบราณ แล้วพระองค์เสด็จ พระราชดําเนินกลับกรุงเทพฯ พอพระองค์เสด็จพระราชดําเนินกลับไปยังพระราชวังไกลกังวล จึงพบว่า มันเทศ ที่วางบนตาชัชั่งมีใบงอกออกมาจึงรับสั่งให้นําหัวมันนั้นไปปลูกใส่กระถางไว้ในวังไกลกังวล แล้วทรงมีพระราช ดํารัสให้หาพื้นที่เพื่อทดลองปลูกมันเทศ สภาพพื้นที่เดิม พื้นที่โครงการชั่งหัวมัน เป็นพื้นที่เขตแห้งแล้งมีปริมาณฝนตกน้อย โดยปกติจะมีเมฆครึ้ม แต่ส่วน ใหญ่จ ะถูก แรงลมพัด ไปตกในพื้น ที่อื่น พื้ น ที่เ ดิมเกษตรกรทํ า การปลู กพืช ไร่ ได้แก่ สับ ปะรด อ้อ ยโรงงาน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และไม้ผล ไม้ยืนต้น ได้แก่ มะนาว มะละกอ กล้วย และยูคาลิปตัส วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้เป็นแหล่งรวบรวมพันธุ์พืชเศรษฐกิจ พืชพันธุ์ดีของอําเภอท่ายาง และของจังหวัด เพชรบุรี ๒. เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรแก่เกษตรกร ๓. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจั มในการจัดทําแปลงหรือมาช่วยงานพระองค์

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 58 ~

การดําเนินกิจกรรมภายในโครงการ ประกอบด้วย ๑. การใช้กังหันลมผลิตไฟฟ้าเพื่อเป็นพลังงานทดแทน สามารถผลิตไฟฟ้าได้ ๕ กิโลวัต/ิ ตัว/วัน ไฟฟ้าที่ผลิตได้ขายคืนให้กับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดเพชรบุรี ในราคา ๘ บาท/หน่ หน่วย ๒. การผลิตพืชปลอดภัยจากสารพิษ เพื่อเป็นตัวอย่างให้เกษตรกรในพื้นที่ โดยการใช้เชื้อนิวเวอร์ เรีย เพื่อป้องกันกําจัดเพลี้ยไฟ ไรแดง เชื้อไตรโครเดอมาร์ ใช้ป้องกันกําจัดเชื้อราที่ทําให้พืชเป็นโรค และการทํา น้ําหมักชีวภาพ ๓. การปลูกไม้ กไม้ผล พืชไร่ ประกอบด้วย แก้วมังกร กล้วยน้ําว้า กล้วยหักมุก มะละกอ มะนาว ฟักทอง อ้อย มะพร้าวน้ําหอม มะพร้าวห้าว ฯลฯ ๔. การปลูกข้าวสายพันธุ์ต่างๆ ประกอบด้วย ข้าวเหนียวซิวแม่จัน ข้าวจ้าวลีซอ ข้าวไร่หอม จัดทําพิธี รับขวัญข้าว เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๒ และจัดพิธีเก็บเกี่ยวผลผลิต วันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ได้ผลผลิต ๔๑๕ กก. (๒๐๘ กก. ต่อไร่) ได้นําข้าวเปลือก ๒๐ กก. แปรรูปเป็นข้าวกล้อง ๓ กก. ข้าวขาว ๒ กก. ส่งมอบให้ โครงการฯ ๕. แปลงศึกษาและส่งเสริมการผลิตชมพู่เพชรสายรุ้ง ปลูกโดยวิธีการขุดล้ ดล้อมชมพู่เพชรสายรุ้ง ที่มี ความสูง ไม่ต่ํากว่า ๒.๕๐ เมตร จํานวน ๒๐ ต้น ขณะนี้กําลังเจริญเติบโตและเริ่มให้ผลผลิตแต่การเจริญเติบโตไม่ดี เท่าที่ควรเนื่องจากในพื้นที่โครงการมีปัญหาเรื่องการขาดแคลนน้ํา ๖. การเลี้ยงโคนม โคนมที่หยุดการรีดนมจากโครงการส่วนพระองค์ วนพระองค์วังสวนจิตลดาโดยนําเข้ามาเลี้ยง จํานวน ๙ ตัว สาเหตุของการหยุดรีดนม เนื่องจากการผสมติดยาก หัวนมบอด ไม่สามารถให้นมได้ วัตถุประสงค์ ของการเลี้ยง เพื่อได้ใช้มูลโคเป็นปุ๋ยในการปลูกพืชต่างๆ ๗. การปลู ปลูกมะนาว เป็นการปรับปรุงแปลงปลูกมะนาวที่มอี ยู่เดิม เนื้อที่ ๓๕ ไร่ โดยการตัดแต่งกิ่ง ทํานั่งร้านใหม่ การใช้สารชีวภัณฑ์บิวเวอร์เรีย เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า ในการป้องกันและกําจัดศัตรูพืช การใช้มดแดง มากินเพลี้ยอ่อน การใช้น้ําสารสกัดชีวภาพบํารุงต้น ๘. การปลูกสบู่ดํา เพื่อเป็นแนวคิดให้กับเกษตรกรสนใจพื เกษตรกรสนใจพืชพลังงานทางเลือก (สบู่ดํา) สามารถใช้ พื้นที่ในการปลูกเพียง ๑ งาน สบู่ดํา ๑ ต้น ให้ผลผลิตต้นละ ๔ – ๕ กก. /ปีปี ในปีแรก เมื่อนํามาบีบน้ํามัน จะได้ น้ํามันต้นละ ๑ ลิตร โดยประมาณ ๙. การปลูกพืชผัก ประกอบด้วย มันเทศพั เทศ นธุ์ต่างๆ กระเพรา โหระพา พริกพันธุ์ซูปเปอร์ฮอต ตะไคร้ ข่า มะเขือเทศราชินี มะเขือเปราะ มะเขือยาว กระเจี๊ยบเขียว วอเตอร์เครส มะระขี้นก ผักหวานบ้าน ฯลฯ ๑๐. การทําปุ๋ยหมัก เพื่อบํารุงดินในบริเวณแปลงปลูกพืช โดยการนําเศษหญ้า เศษพืช แกลบ มูล สัตว์ ปุ๋ยอินทรีย์มาหมักให้เป็นปุ๋ย ๑๑. การถ่ายทอดความรู้แก่ยุวเกษตรกร โดยแบ่งแปลงให้ยุวเกษตรกร รับผิดชอบการปลูกพืชผัก สวนครัว เพื่อได้เรียนรู้ในการทําการเกษตร และสามารถนําไปถ่ายทอดให้สมาชิกในครอบครัวต่อไป ๑๒. แปลงศึกษาและส่งเสริมการผลิตหน่อไม้ฝรั่ง มีการปลูกหน่อไม้ฝรั่ง จํานวน ๕,๒๐๐ ต้น ปลูก เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๒ เริ่มเก็บเกี่ยว ผลผลิตเดือนธันวาคม ๒๕๕๒ – มกราคม ๒๕๕๓ ช่วงเดือน กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ จะทําการพักต้น และจะเริ่มเก็บเกี่ยวใหม่อีกครั้งในเดือน มีนาคม ๒๕๕๓ ๑๓. การปลูกสับปะรด ประกอบด้วย พันธุ์สวี พันธุ์ตราดสีทอง พันธุ์เพชรบุรี ๑ และพันธุ์ปัตตาเวีย จํานวน ๓ แปลง ๑๔. การปลูกแก้วมังกร ประกอบด้วย พันธุ์เนื้อสีขาว และพันธุ์เนื้อสีแดง โดยชาวบ้านหนองคอไก่ หมู่ที่ ๕ ตําบลเขากระปุก และบ้านท่าลาว หมู่ที่ ๕ ตําบลท่าไม้รวก อําเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ร่วมใจกัน ปลูกถวาย และผลัดเปลี่ยนกันมาดูดูแล ๑๕. การปลูกยางพารา การเตรียมแปลงโดยการปรับพื้นที่ในการปลูกยางพารา โดยการไถพรวนและ นําปอเทืองมาปลูกเพื่อใช้ในการปรับปรุงดิน ให้น้ําโดยการนําแท็งก์น้ําไปตั้งในแปลง

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 59 ~

หลักการองค์ความรู้ 6 มิติ หลักการองค์ความรู้ 6 มิติ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คือ องค์ความรู้ด้าน ดิน น้ํา เกษตร พลังทดแทน ป่า และสิ่งแวดล้อม ซึ่งไม่เพียงแต่เป็นปัญหาของประเทศไทยเท่านั้น หากแต่ยังเป็นความห่วงใย ของประชาชนทั่วโลกทุกวันนี้อีกด้วย

มิติที่ 1 น้ํา

มิติที่ 4 พลังงานทดแทน

มิติที่ 5 ป่า

การป้องกันและแก้ไขปัญหา ตั้งแต่ ต้นน้ําไปจนถึงปลายน้ํา • การพัฒนาแหล่งน้ํา • การเก็บน้ําให้อยู่ใน ประเทศไทยให้นานที่สุด • การใช้น้ําทึกทุกหยดให้ เกิดประโยชน์สูงสุด

การปรับใช้พลังงานให้ เหมาะสมกับท้องถิ่นโดยการ คิดค้นและพัฒนาพลังงาน ทางเลือกที่ชุมชนสามารถ พึ่งพาตนเองได้ • ไบโอดีเซล • เชื้อเพลิงสีเขียว

การลดการตัดไม้ทําลายป่าและ ส่งเสริมให้มีการปลูกป่าใน รูปแบบต่าง ๆ โดยการปลูกฝัง จิตสํานึกให้ชุมชนเป็น ความสําคัญของป่า • การอนุรักษ์ ดูแลรักษา และใช้ประโยชน์จากป่า ได้อย่างถูกวิธีเพื่อให้ มนุษย์กับธรรมชาติอยู่ ร่วมกันได้อย่างมีความสุข

มิติที่ 2 ดิน

มิติที่ 3 การเกษตร

การป้องกันและแก้ไขปัญหาใน เรื่องของสภาดิน ซึ่งเป็นปัจจัย สําคัญในการทําการเกษตร • การปรับปรุงดิน • การปลูกหญ้าแฝก

การนําเกษตรทฤษฎีใหม่มาใช้ ให้เกิดประโยชน์ในแต่ละ พื้นที่ • เกษตรทฤษฎีใหม่

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี

มิติที่ 6 สิ่งแวดล้อม การนําแนวทางการกําจัดขยะ และบําบัดน้ําเสียมาใช้ให้เกิด ประสิทธิภาพเป็นการ ดํารงชีวิตอยู่อย่างเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม • กําจัดขยะ • บําบัดน้ําเสีย


~ 60 ~

องค์ความรู้ 6 มิติ องค์ความรู้สบื สานแนวพระราชดําริ เรื่องน้ํา แนวพระราชดําริเรื่อง “น้ํา” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานคําจํากัดความของน้ําคือชีวิต ดั่งพระราชดํ พระราชดํารัสว่า “หลักสําคัญ ว่าต้องมีน้ําบริโภค น้ําใช้ น้ําเพื่อการเพาะปลูก เพราะว่าชีวิตอยู่ที่นั่น ถ้ามีน้ําคนอยู่ได้ ไม่มีไฟฟ้าคนอยู่ได้ แต่ถ้ามี ไฟฟ้าไม่มีน้ํา คนอยู่ไม่ได้...” จากการเสด็ เสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่าง ๆ ทรงทราบถึงปัญหาความเดือน ร้อนของราษฎรเรื่องน้ํา จําแนกเป็น 3 ด้านคือ น้ําแล้ง น้ําท่วม และน้ําเสีย จึงนํามาซึ่งแนวทางพระราชดําริในการ แก้ปัญหาน้ํา ที่สําคัญดังนี้ 1. การแก้ปัญหาขาดแคลนน้ํา 2. การแก้ปัญหาน้ําท่วม 3. การแก้ปัญหาคุณภาพน้ํา 4. ประโยชน์ที่ได้รับจากแนวพระราชดําริ เรื่องน้ํา โครงการพัฒนาแหล่งน้ําอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนและประเทศชาติเป็น ส่วนรวม ดังนี้ 1. ช่วยให้พื้นที่เพาะปลูกมีน้ําอย่างอุดมสมบูรณ์ ปลูกพืชได้ทั้งฤดูฝนและฤดูแล้ง หรือทําการเพาะปลูกครั้งที่ สองได้ อันเป็นการช่วยเพิ่มผลผลิตและทําให้ราษฎรมีรายได้มากขึ้น 2. บางท้องที่ที่เคยมีน้ําท่วมขังจนไม่สามารถเพราะปลูก หรือปลูกแล้วไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร โครงการระบาย น้ําออกจากพื้นที่ลุ่มอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เช่น บริเวณขอบพรุ ทําให้พื้นดินแห้งลง จนสามารถจัดสรรพื้นที่ ดังกล่าว ให้ราษฎรที่ไม่มีที่ดินเป็นของตนเองเข้าไปทํากินได้ เพื่อไม่ให้พวกเขาเหล่านั้นไปบุกรุกทําลายป่าเพื่อหาที่ทํา กิน เป็นการช่วยรักษาป่าไม้อนเป็ นั เป็นทรัพยากรของชาติไว้ได้ 3. เมื่อมีการก่อสร้างอ่างเก็บน้ําขนาดต่าง ๆ ไว้ ก็มีการปล่อยพันธุ์ปลาลงไป ทําให้ราษฎรตามหมู่บ้านที่อยู่ ใกล้เคียงสามารถมีปลาบริโภคภายในครอบครัวหรือจับขายเพื่อเสริมรายได้ ได้ 4. ช่วยให้ราษฎรมีน้ําสะอาดเพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างพอเพียงตลอดปี ทําให้ราษฎรมีสุขภาพ พลานามัย ดีขึ้น และยังช่วยให้มีแหล่งน้ําสําหรับการเลี้ยงสัตว์ด้วย 5. บางโครงการมีวัตถุประสงค์เพื่อบรรเทาอุทกภัยในเขตชุมชนเมืองใหญ่ เช่น กรุบงเทพฯ และปริมณฑล ช่วยลดความเสียหาต่อระบบเศรษฐกิจ ทั้งกันภาคเอกชนและภาครัฐบาล 6. โครงการพัฒนาแหล่งน้ําเพื่อผลิตไฟฟ้า ช่วยให้ราษฎรที่อยู่ในป่าเขาและในท้องที่ทุรกันดารได้มีไฟฟ้าไว้ ใช้สําหรับแสงสว่างในครัวเรือน 7. โครงการพัฒนาแหล่งน้ําเพื่อการรักษาต้นน้ําลําธาร โดยการสรางฝายเก็บกักน้ําบริเวณต้นน้ําเป็นขั้น ๆ พร้อมระบบกระจายน้ําจากฝ่ายต่าง ๆ ไปสู่พื้นที่สองฝั องฝั่งของลําธาร ส่งผลให้พื้นดินและป่าชุ่มขึ้น มีลักษณะเป็นป่า เปียก ซึ่งจะช่วยป้องกันไฟป่าเป็นแนวกระจายไปทั่วบริเวณต้นน้ําลําธาร ทําให้ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดม สมบูรณ์ต่อไป ประเภทของโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เรื่อง “น้ํา” 1. โครงการฝนหลวง 2. โครงการพัฒนาแหล่ หล่งน้ําเพื่อการเกษตร 3. โครงการพัฒนาแหล่งน้ําเพื่อการผลิตไฟฟ้า 4. โครงการพัฒนาแหล่งน้ําเพื่อการรักษาต้นน้ําลําธาร 5. โครงการระบายน้ําออกจากพื้นที่ลุ่ม 6. โครงการป้องกันและบรรเทาอุทกภัย 7. โครงการบรรเทาน้ําเน่าเสีย 8. โครงการแก้มลิง สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 61 ~

องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่อง ดิน แนวพระราชดําริเรื่อง “ดิน” “ดิน” เป็นปัจจัยการผลิตที่สําคัญอย่างหนึ่งเคียงคู่กับ “น้ํา” ในการทําเกษตร ต่อให้มีทรัพยากรน้ํา อุดมสมบูรณ์ แต่มีดินที่เลว กล่าวคือ โครงสร้างแน่น อัดตัวเป็นก้อน ปราศจากซึ่งธาตุอาหารที อาหารที่จําเป็นต่อการ เติบโตของพืช ก็เป็นการยากต่อการปลูกพืชไม่ว่าพืชชนิดใด ๆ ด้วยเหตุนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จึง เล็งเห็น ความสํา คัญของดิน โดยเฉพาะการปรับ ปรุงบํา รุงดิน และการจัดสรรที่ดิน ซึ่งเป็น หัว ใจสําคัญ ของ ประเทศที่ทําการเกษตรเป็นหลักอย่างไทยเราจึงนํามาซึ่งแนวพระราชดําริในการแก้ไขปัญหาดินที่สําคัญดังนี้ 1. การแก้ปัญหาขาดแคลนที่ดินทํากินของเกษตรกร ปัญหาการขาดแคลนที่ดินทํากินของเกษตรกร เป็นปัญหาสําคัญยิ่งในช่วง 4 ทศวรรษที่ผ่านมางานจัด และพัฒนาที่ดินเป็นงานแรก ๆ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทางให้ความสําคัญ ทางเริ่มโครงการพัฒนาที่ดิน หุบกะพง ตามพระราชประสงค์ เมื่อปี พ.ศ.2511 พ โดยมุ่งแก้ไขปัญหาการไม่มีที่ดินทํากินของเกษตรกรเป็น สําคัญ ดังพระราชดํารัสไว้ ณ สํานักงาน กปร.ในปี กปร พ.ศ. 2531 ว่า “มีมีความเดือดร้อนอย่างยิ่งว่าประชาชนในเมืองไทยจะไร้ที่ดิน และถ้าไร้ที่ดินแล้วก็จะทํางานเป็นทาส เขา ซึ่งเราไม่ปรารถนาทีที่จะให้ประชาชนเป็นทาสคนอื่น แต่ถ้าเราสามารถที่จะขจัดปัญหานี้ โดยเอาที่ดินจําแนก จัดสรรอย่างยุติธรรม อย่างมีการจัดตั้งจะเรียกว่านิคม หรือจะเรียกว่าหมู่หรือกลุ่ม หรือสหกรณ์ก็ตาม ก็จะทํา ให้คนที่มีชีวตแร้ ติ แร้นแค้นสามารถที่จะพัฒนาตัวเองขึ้นมาได้” พระราชดําริแนวทางหนึ่งในการแก้ งในการแก้ไขปัญหาเรื่องดิน คือ ทางนําเอาวิธีการปฏิรูปที่ดินมาใช้ในการจัด และพัฒนาที าที่ดินที่เป็นป่าเสื่อมโทรม รกร้าง ว่างเปล่า นํามาจัดสรรให้เกษตรกรที่ไร้ที่ทํากินได้ประกอบอาชีพใน รูปของหมู่บ้านสหกรณ์ และโครงการจัดและพัฒนาที่ดินในรูปแบบอื่น ๆ ทั้งนี้โดยให้สิทธิทํากินชั่วลูกชั่วหลาน แต่ไม่ให้กรรมสิทธิ์ในการถือครอง พร้อมกับจัดบริการพื้นฐานให้ตามความเหมาะสม นอกจากนี้จังมีการจัดพื้นที่ ทํากินให้ราษฎรชาวไทยภูเขา สามารถดํารงชีพอยู่ได้เป็นหลักแหล่ง โดยไม่ต้องทําลายป่าอีกต่อไป ในการจัดพื้นที่ต่าง ๆ ดังที่กล่าวมานี้ พระบาทสมเด็ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีหลักการว่าต้องมีการวาง แผนการจัดการให้ดีเสีย ตั้งแต่ต้น โดยใช้แผนที่และภาพถ่า ยทางอากาศช่ว ย ไม่ควรทําแผนผังที่ทํากิน เป็น ลักษณะตารางสี่เหลี่ยมโดยไม่คํานึงถึงสภาพภูมิประเทศ แต่ควรจัดสรรพื้นที่ทํากินแนวพื้นที่รับน้ําจากโครงการ ชลประทาน นั่นคือ จะต้ต้องดําเนินโครงการเกี่ยวกับการพัฒนาที่ดินเพื่อการเกษตรควบคู่ไปกับการพัฒนาแหล่ง น้ํา เช่น โครงการนิคมสหกรณ์หุบกะพงในพระบรมราชูปถัมภ์ อ.ชะอํ อ า จ.เพชรบุ เพชรบุรี โครงการที่ดินทุ่งลุยลายอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ อ.คอนสาร คอนสาร จ.ชั จ ชัยภูมิ และโครงการจัดพัฒนาที่ดินตามพระราชประสงค์หนองพลั น บ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริเหล่านี้ มีวัตถุประสงค์ที่สําคัญ คือ 1) เพื่อนําทรัพยากรธรรมชาติ ออกมาใช้ในด้านการผลิตให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 2) เพื่อส่งเสริมให้ราษฎรมีมีที่ดินสําหรับประกอบอาชีพและ อยู่อาศัย 3) เพื่อส่งเสริมให้ราษฎรรู้จักพึ่งตนเอง และช่วยเหลือส่วนรวม ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม บาง โครงการมีวัตถุประสงค์เฉพาะกิจในการบรรเทาความเดือดร้อนในเรื น ่องทีที่ทํากินของราษฎรที่ถูกอพยพออกจาก พื้นที่ 2. การอนุรักษ์และฟื้นฟูดิน พระบาทสมเด็ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนพระทัยและให้ความสําคัญมากขึ้นในงานอนุรักษ์และพื้นฟูดิน ที่มีสภาพธรรมชาติและปัญหาที่แตกต่างกันไปในแต่ละภูมิภาค โดยเขียนไว้ในเอกสารพระราชทานว่า “ดินที่ เหมาะสมสําหรับการเกษตรกรรม ต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ ดังนี้ มีแร่ธาตุที่เรียนกว่า ปุ๋ย ส่วนประกอบสําคัญคือ 1) N (nitrogen) ในรูป nitrate 2) P (phosphorus) ในรูป phosphate 3) K (potassium) และแร่ธาตุ อื่น ๆ O H Mg Fe มีระดับ เปรี้ยว ด่าง ใกล้เป้นกลาง (pH 7) มีความเค็มต่ํา มีจุลินทรีย์ มีความชื้นพอเหมาะ (ไม่แห้ง ไม่แฉะ) มีความโปร่งพอเหมาะ (ไม่แข็ง)” จึงมีพระราชดําริในการแก้ไขปัญหาที่ดินที่เน้นเฉพาะเรื่อง สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 62 ~

มากขึ้ น เช่ น การศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาดิ น เค็ ม ดิ น เปรี้ ย ว ดิ น ทราย ในภาคกลางและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ปัญหาดินพรุในภาคใต้ และที่ดินชายฝั่งทะเล รวมถึงการแก้ไขปรั ไขปรับปรุงและฟั้นฟูดินที่ เสื่อมโสมพังทลายจากการชะลางหน้าดิน ตลอดจนการทําแปลงสาธิตการพัฒนาที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมใน พื้นที่ที่มีปัญหาดินเสื่อมโทรม เพื่อให้พื้นที่ที่มีปัญหาเรื่องดิน จากหลาย ๆ สาเหตุ กลับมาใช้ประโยชน์ทาง การเกษตรได้อีก ดังนั้น โครงการต่าง ๆ ในระยะหลั ระยะหลัง จังเป็นการวบรวมความรู้ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติจากหลากหลาย สาขา มาใช้ร่วมกัน ในการจัด การทรัพยากรธรรมชาติ และที่ปรากฏให้เป็นได้ย่า งชัดเจนก็คือ แนวคิด และ ตั ว อย่ า งการจั ด การทรั พ ยากรดิ น ในศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นาอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดํ า ริ 6 แห่ ง ที่ ท รงมี พระราชดําริให้จัจดั ตั้งขึ้นเพื่อทําการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน้ํา เป็นตัวอย่างในการป้องกันและ การชะล้างพังทลายของดิน การขยายพันธุ์พืชเพื่ออนุรักษ์ดินและบํารุงดิน และสนับสนุนให้เกษตรกรเรียนรู้ เข้าใจวิธีการอนุรักษ์ดินและน้ํา การปรับปรุงบํารุงดิน สามารถนําไปปฏิบัติได้เอง เอง ทรงมีพระราชดําริว่า “การ ปรับ ปรุงที่ดิน นั้นต้องอนุรักษ์ผิว ดิน ซึ่งมีความสมบูรณ์ ไว้ไม่ให้ไถ หรือลอกหน้าดินทิ้งไป สงวนไม้ยืนต้น ที่ยัง เหลืออยู่เพื่อที่จะรักษาความชุ่มชื่นของผืนดิน” แนวพระราชดําริในด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูดิน ที่สําคัญแบ่งเป็น 4 ส่วน คือ 1)) แบบจําลองการพัฒนา พื้นที่ที่มีสภาพขาดความสมบูรณ์ ดินปนทราย และปัญหาการชะล้างพังทลาย 2) การแก้ปัญหาดินเปรี้ยว โดยทฤษฎี แกล้งดิน 3) การอนุรักษ์ดินโดยหญ้าแฝก 4) การห่มดิน 2.1 แบบจําลองการฟื้นฟูบํารุงดินที่มีสภาพขาดความสมบูรณ์ ดินปนทราย และปัญหาการ ชะล้างพังทลาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้จัดตั้ง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอัน เนื่องมาจากพระราชดําริ 6 แห่งทั่วประเทศ รวมทั้งพระราชทานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพื่อเป็นแหล่ง ศึกษาวิจับการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ ที่มีสภาพปัญหาต่างกั างกันตามภูมิสังคม ตลอดจนเป็นแหล่งศึกษาดูงาน และนําความรู้ไปปรับใช้ตามสภาพปัญหาพื้นที่ โดยทรงเขียนไว้ในเอกสารพระราชทาน ดังนี้ 1. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เขาหินซ้อน : ดินทราย มีแร่ธาตุน้อย 2. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้อันเนื่องมาจากพระราชดําริ : หิน กรวด แห่งแล้ง 3. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่องมาจากพระราชดําริ : ดินเปรี้ยวจัด 4. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดําริ : ดินทราย มีแร่ธาตุน้อย ดินดาน 5. ศูนย์ศึกษาการพัพัฒนาภูพาน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ : ดินทราย ดินเค็ม ขาดน้ํา 6. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่างคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ : ดินเค็ม 7. โครงการเขาชะงุ้ม : ดินแข็ง ดิน-หินลูกรัง 8. โครงการวัดมงคลชัยพัฒนา : ขาดน้ํา 9. โครงการปากพนัง : น้ําเค็ม ดินเค็ม ดินเปรี้ยวจัด 10. ที่ดิน ต.บ้บ้านพริก อ.บ้ อ านนา : ดินเปรี้ยว น้ําท่วม น้ําแล้ง 11. โครงการ หนองพลับ-กลัดหลวง : ดินลูกรัง ดินดาน 12. โครงการหุบกะพง-ดอนขุ กะพง นห้วย : ดินทราย มีแร่ธาตุน้อย ดินดาน ขาดน้ํา 13. โครงการ สหกรณ์สันกําแพง : ดินลูกรัง ขาดน้ํา 2.2 การแก้ปัญหาดินเปรี้ยวด้วย “ทฤษฎีแกล้งดิน” ดินเปรี้ยวหรือดินพรุ : เป็นสภาพธรรมชาติของดินที่เกิดจากอินทรียวัตถุสะสมจํานวนมาก เป็นเวลานานจนแปรสภาพเป็นดินอินทรีย์ที่มีความเป็นกรดกํามะถันสูง เมื่อดินแห้งกรดกํามะถันจะทําปฏิกิริยา กับอากาศ ทําให้แปรสภาพเป็นดินเปรี้ยวจัด ทําการเกษตรได้ผลน้อยไม่คุ้มทุน พบมากในภาคตะวัตออกและ ภาคใต้ และบริเวณที่ราบลุ่มชายฝั่งทะเล ในการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง พระราชทานแนวพระราชดําริ “แกล้ แกล้งดิน” เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรดของดิน เริ่มจากวิธีการ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 63 ~

แกล้งดินให้เปรียว ย้ ว ด้วยการทําให้ดินแห้งและเปียกสลับกันไปเพื่อเร่งปฏิกิริยาทางเคมีของดิน ซึ่งจะไปกระตุ้นให้ สารไพไรต์ (Pyrite หรือ FeS2) ทําปฏิกิริยากับออกซิเจน (O2) ในอากาศ ปลดปล่อยกระกํามะถัน (sulphuric Acid) ออกมา ทําให้ดินเป็นกรดจัดจนถึงขั้น “แกล้งดินให้เปรี้ยวสุดขีด” จนกระทั่งถึงจุดที่พืชไม่สามารถเจริญ งอดงามได้ จากนั้นจึงหาวิธีการปรับปรุงดินดังกล่าวให้สามารถปลูกพืชได้ วิธีการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวจัดตามแนวพระราชดําริ 1. ควบคุมระดับน้ําใต้ดิน เพื่อป้องกันการเกิดกระกํามะถัน จึงต้องควบคุมน้ําใต้ดินให้อยู่ เหนือชั้นดินเลนที่มสี ารไพไรต์ทํทาํ ปฏิกิริยากับออกซิเจนหรือถูกออมซิไดซ์ (Oxidization) 2. การปรับปรุงดินมี 2 วิธีการ ตามสภาพของดินและความเหมาะสม ได้แก่ • ใช้น้ําชะล้างความเป็นกรด ดินจะเปรี้ยวจัดในช่วงดินแห้งหรือในฤดูแล้ง ดังนั้นการชะล้าง ควรเริ่มในฤดูฝนเพื เพื่อลดปริมาณการใช้น้ําชลประทาน การใช้น้ําชะล้างความเป็นกรดต้องกระทําต่อเนื่องและต้องหวัง ผลในระยะยาว มิใช่กระทําเพียง 1 หรือ 2 ครั้งเท่านั้น วิธีนี้เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด แต่จําเป็นต้องมีน้ํามาดําที่จะใช้ชะล้าง ดินควบคู้ไปกับการควบคุมระดับน้ําใต้ดิน ให้อยู่เหนือชั้นดินเลนที่มีสารประกอบไฟไรต์มาก เมื่อดินคลายความเปรี้ยว ลงแล้วจะมีค่า pH เพิ่มขึ้น อีกทั้งสารละลายเหล็กและอลูมินัมที่เป็นพิษก็เจือจางลงจนทําให้พืชสามารถเจริญเติบโต ได้ดี ถ้าหากใช้ปุปุ๋ยในไตรเจนและฟอสเฟตช่วย ก็สามารถเจริญเติบโตได้ดี ถ้าหากใช้ปุ๋ยในโตรเจนและฟอสเฟตช่วยก็ สามารถทําการเกษตรได้ • ใช้ปูนผสมคลุกเคล้ากับหน้าดิน ปูนที่หาได้ง่ายในท้องที่ เช่น ให้ปูนมาร์ล (mar) สําหรับ ภาคกลาง หรือปูนฝุ่น (Lime dust) สําหรับภาคใต้ หว่านให้ทั่ง 1-4 ตันต่อไร่แล้วไถกลบคืน ข้อควรจํา คือ ไม่มีสูตร ตายตัว โดยประมาณของปูนที่ไข้ขึ้นอยู่กับความรุนแรงในความเป็นกรดของดิน • การใช้ปูนควบคู่ไปกับการใช้น้ําชะล้างและควบคุมระดับน้ําใต้ดิน เป็นวิธีการสมบูรณ์ที่สุด และใช้ได้ผลมา ในพื้นที่ซึ่งดินเป็นกรดจั กรดจัดรุนแรงและถูกปล่อยทิ้งเป็นเวลานาน โดยเริ่มจากหว่านปูนให้ทั่วพื้นที่ ใช้ปูน 1-2 ตันต่อไร่ แล้วไถกลบ จากนั้นใช้น้ําชะล้างความเป็นกรดออกจากหน้าดิน และควบคุมน้ําใต้ดินให้อยู่เหนือชั้นดิน เลนที่มีสารประกอบไพไรต์มากเพื่อป้องกันไม่ให้ทําปฏิกิริยากับออกซิเจน เพราะจะทํากลายเป็นกรด 3. การปรับสภาพพื้นที่มีอยู่ 2 วิธี ได้แก่ • การปรับผิวหน้าดิน โดยการทําให้ผิวหน้าดินลาดเอียงเพื่อให้น้ําไหลออกไปสู่คลองระบาย น้ําได้หรือ ถ้าเป็นการทํทํานาก็จัดตกแต่งแปลงนาและคันนา ให้สามารถเก็บ กักน้ําและสามารถระบายน้ําออกได้ถ้า ต้องการ • การยกร่องปลูกพืช วิธีนี้ใช้สําหรับพื้นที่จะทําการปลูกพืชไร่ พืชผัก ไม้ผลหรือไม้ยืนต้น แต่วิวธิ ีนี้จําเป็นจะต้องมีแหล่งน้ําชลประทาน เพราะจะต้องขังน้ําไว้ในร่องเพื่อใช้ถ่ายเทเปลี่ยน เมื่อน้ําในร่องเป็นกรด จัด ในการขุดร้องนี้ เกษตรกรจะต้องทราบว่าในพื้นที่นั้นมีดินชั้นเลนซึ่งเป็นดินที่มีสารประกอบไฟไรต์มากอยู่ลึกใน ระดับใด เพราะเมื่อขุดร่องจะให้ ะให้ลึกเพียงระดับดินเลนนั้น โดยทั่วไปจะลึกไม่เกิน 100 เซนติเมตร ขั้นตอนการปรับปรุงดินเพื่อทําการเกษตรประเภทต่าง ๆ ขั้นตอนการขุดร่องสวน วิธีการปรับปรุงดินเปรี้ยวจัดเพื่อการเกษตร ขั้นตอนการปรับปรุงดินเปรี้ยวเพื่อปลูกข้าว ขั้นตอนการปรับปรุงดินเปรี้ยวเพื่อปลูกพืชล้มลุก ขั้นตอนการปรับปรุงดินเปรี้ยวเพื่อปลูกไม้ผล

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 64 ~

2.3 การอนุมัติดินด้วยหญ้าแฝก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานพะราชดําริเกี่ยวกับ การพัฒนาและรณรงค์การใช้ หญ้าแฝก ครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2534 ทรงตรั งตรัสว่าหญ้าแฝกเป็นหญ้าของไทยสามารถใช้อนุรักษ์ดินและน้ํา ได้ดี ป้องกันการชะล้างพังหลายของดิน ในขณะนั้นยังไม่มีใครรู้จักหญ้าแฝก สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็นพระองค์แรกที่ทําการทอลองเลี้ยงและปลูกหญ้าแฝกเป็นจํานวน 1 ล้านถุงแรกที่ดอยตุง หลายหน่วยงานพยายาม ค้นหาหญ้าแฝกตามสถานที่ต่าง ๆ แต่ก็ล้มเหลว จนต้องเชิญ ดร.เติ ดร เติม สมิตินันท์ ปรมาจารย์ทางด้านพฤกษศาสตร์ ท่านก็ไปช่วยหาหญ้าแฝกทั่วประเทศ ในที่สุดก็เจอหญ้าแฝกที่เพชรบุรี เป็นหญ้าแฝกที่มีกอใหญ่มาก จากนั่นก็เริ่ม รวบรวมหญ้าแฝก กรมพัฒนาที่ดิน เป็นหน่วยงานแรกที่ทําการรวบรวมหญ้ การรวบรวมหญ้าแฝก โดยรวบรวมมาจากหลายจังหวัด ขณะนี้สามารถรวบรวมสานพันธุ์ของหญ้าแฝกได้กว่า 100 สายพันธุ์ ถ้าพบที่สงขลาเรียกว่าสายพันธุ์สงขลา พบที่ กําแพงเพชรเรียกว่าสายพันธุ์กําแพงเพชร พบที่อุดรก็เรียกว่าสายพันธุ์อุดร จากการสํารวจพบว่ามีกระจายอยู่ทั่ว ประเทศ กรมพัฒนาที่ดนได้ นิ ได้นําเอาหญ้าแฝกมาป้องกันการชะล้างพังทลายหน้าดินตามลําคลอง อ่างเก็บน้ํา หญ้าแฝก ช่วยยกร้องทําให้น้ําใส (ที่มาจาก : จากการบรรยาย ดร.วี ดร ระชัย ณ นคร 27 สิงหาคม 2553 ในการเสวนา “เกษตร ยั่งยืน ฟื้นฟูภูมิปัญญา พัฒนาสู่สากล” ากล ในงาน ทักษิณวิชาการเกษตรแฟร์ ครั้งที่ 6 และงานนิ งานนิทรรศการปิดทองหลัง พระฯ) ประโยชน์ของหญ้าแฝก หญ้าแฝกมีรากยาวทีสุดในบรรดาพืชตระกูลหญ้าทั้งหมด ดินที่แข็งมากก็ทําให้ร่วนซุยด้วยหญ้า แฝก ภายใน 6-8 เดือน หญ้าแฝกจะหยั่งรากลึกชอนไชให้ดินเกิดรูพรุนทําให้ดินใช้ประโยชน์ได้ และสามารถฟื้นฟูดิน ที่เสื่อมสภาพให้ใช้ประโยชน์ได้ ภายใน 1-2 ปี ประโยชน์ของหญ้าแฝกมี ดังนี้ 1) ปรับปรุงฟื้นฟูความสมบูรณ์ของดิน 2) ป้องกักันการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่เปิดใหม่ลาดชันหรือในพื้นที่ที่มีความลาดชันมาก 3) ช่วยป้องกันการสูญเสียหน้าดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตะกอนดินที่ถูกน้ํากัดเซาะและพัดพามา โดยจะถูกกอหญ้าแฝกดักไว้เมื่อเวลาผ่านไปหลาย ๆ ปี จะกลายเป็นชั้นบันไดดินตามธรรมชาติ 4) ช่วยลดความรุนแรงและความเร็วของน้ําไหลบ่าเมื่อน้ําหลมาปะทะแนวกอแฝก แล้วน้ําจะซึมลง สู่ดิน น้ําบางส่วนจะไหลผ่านแนวกอแฝกอย่างช้า ๆ 5) ช่วยเสริมความมั่นคงแข็งแรงตามแนวตลิ่ง ฝายกั่นน้ํา ทางระบายน้ํา คลองส่งน้ํา ริมถนนสูง 6) ใช้เป็นวัสดุคลุมดินรักษาความชุ่มชื้นและควบคุ แ มวัชพืช 7) สามารถนําไปทําเป็นอาหารสัตว์และปุ๋ยหมักได้เป็นอย่างดี 8) สามารถนํารากหญ้าแฝกหอมมาสกัดเพื่อทําน้ําหอม เครื่องหอม หอม ได้แก่ ใช้อบเสื้อผ้า ทําสบู่ ผสมกับสีผึ้ง และดินสอพอง 9) สามารถนําไปทําเป็นสินค้าประเภทผลิตภัณฑ์หัหตั ถกรรมและเครื่องปั้นดินเผา 10) ทําไปใช้ทําตับหญ้ามุงหลังคา ใช้ทําเครื่องประดับ เครื่องใช้ เช่น กระเป๋า พัด ไม่แขวนเสื้อ ส่วนรากใช้ทําน้ํามันหอม สบู่ ยาสมุนไพรรักษาโรคบางชนิด เช่น รากบดละเอียดผสมน้ําแก้ไข แก้โรคเกี่ยวกับถุงน้ําดี รากต้มดื่มช่วยละลายนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ เป็นต้น 11) เพื่อการฟืน้ ฟูสภาพดิ สภาพดินในพื้นที่ที่เป็นดินเกลือ มีการทดลองปลูกหญ้าแฝกบนพื้นที่ดินเค็มเพื่อ ดูดเกลือ และปลูกด้านข้างของลําคลองที่เป็นดินเหลือ พบว่าหญ้าแฝกสาสามารถเติบโตได้ “หญ้าแฝกเป็นพื นพืชที่ระบบรากลึก แผ่กระจายไปในดิ ระจายไ นตรง ๆ เป็นแผงเหมือนกําแพงช่วยกรอง ตะกอนดินและรักษาหน้าดินได้ดี จึงควรนํามาศึกษาและทดลองปลูกในพื้นที่ของศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ และพื้นที่อื่น ๆ ที่เหมาะสมอย่างกว้างขวางโดยพิจารณาจากลักษณะของภูมิประเทศ คือ บนพื้นที่ภูเขา ให้ปลูกหญ้าแฝกตามแนวขวางความลาดชั แฝกตามแนวขวางความลาดชันและในร่องน้ําของภูเขา เพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดินและช่วยเก็บ ความชื้นของดินไว้ด้วย บนพื้นที่ราบให้ปลูกหญ้าแฝกรอบแปลงพืชไร่ให้ปลูกตามร่องสลับกับพืชไร่เพื่อที่รากของหญ้า แฝกจะอุ้มน้ําไว้ ซึ่งจะช่วยให้เกิดความชุ่มชื้นในดิน” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้จ้าอยู่หัว สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 65 ~

ความรู้เกี่ยวกับหญ้าแฝก - ลักษณะของหญ้าแฝก - กาขยายพันธุ์หญ้าแฝก - การดูแลรักษาหญ้าแฝก - รูปแบบการปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่เกษตรกรรม - การปลูกหญ้าแฝกตามหลักวิชาการ 2.4 การห่มดิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระราชทานพระราชดําริในการดูแลและรักษาดินอีกทางหนึ่ง นั่นคือ “การห่มดิน” เพื่อให้ดินมีความชุ่มชื้น จุลินทรีย์ทํางานได้ดี อันจะส่งผลให้ดินบริเวณนั้นทําการเกษตรได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและพัฒนาทรัพยากรดินให้เกิดแร่ธาตุ ทั้งนี้หารห่มดินมีอยู่ ด้วยกันหลายวิธีการ เช่น ใช้ฟางและเศษใบไม้มาห่มดินหรือวัสดุอื่นตามที่หาได้ตามสภาพทั พทั่วไปของพื ไป ้นที่ การใช้พรม ใยปาล์ม (wee drop) ซึ่งทํามาจากปาล์มที่ผ่านการรีดน้ํามันแล้ว เริ่มจากการนําทะลายปาล์มมาตะกุยให้เป็นเส้น ๆ แกนจะเอาไปอัดให้เป็นแผ่นผ้าห่มดิน นอกจากประโยชน์ที่กล่าวไปแล้ว การห่มดินยังจะช่วยคลุมหน้าดินไม้ให้วัชพืช ขึ้นรบกวนต้นไม้/พืชหลักอีกด้วย

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 66 ~

องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดํ ระราชดําริ เรื่อง เกษตร แนวระราชดําริ เรื่อง “เกษตร” พระบาทสมเด็ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงให้ความสําคัญในเรื่องเกษตรกรรมซึ่งเป็นอาชีพหลักของประเทศ ทรงใช้ หลักการพัฒนาการเกษตรที่ส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถพึ่งตนเองได้ โดยเฉพาะในด้านอาหารก่อนเป็นอันดับแรก เช่น ข้าว พืชผัก ผลไม้ ฯลฯ แนวทางที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การทางพยายาม การทางพยายาม เน้นมีให้เกษตรกรพึ่งพาอยู่กับพืช เกษตรแต่เพียงอย่างเดียว เพราะจะเกิดความเสียหายง่าย เนื่องจากความแปรปรวนของตลาด และความไม่แน่นอน ของธรรมชาติ ทางออกก็คือเกษตรกรควรจะต้องมีรายได้เพิ่มขึ้น นอกเหนือไปจากภาคเกษตร เช่น การส่งเสริม อุตสาหกรรมในครัวเรือนของมูลนิธิส่ส่งเสริมศิลปาชีพพิเศษ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ซึ่ง ดําเนินงานสนับสนุนงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในปัจจุบันสภาพของทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ไม่ว่าจะ เป็นป่าไม้ ที่ดิน แหล่งน้ํา ฯลฯ ให้อยู่ในสภาพที่จะมีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตอย่างมากที งม ่สุด จากแนวทางและเป้าหมายต่าง ๆ ซึ่งแนวพระราชดําริที่ถือเป็นหลักเกณฑ์หรือเทคนิควิธีการที่จะบรรลุถึง เป้าหมายนั้น มีอยู่หลายประการ ดังนี้ 1. การพัฒนาการเกษตรที่จะได้ผลจริงนั้น จะต้องลงมือทดลองค้นคว้า ต้องปฏิบัติอย่างค่อยเป็นค่อยไป ดัง พระราชดํารัสว่า “...เกษตรกรรมนี เกษตรกรรมนี้ หรือ ความเป็นอยู่ของเกษตรนั้นขอให้ปฏิบัติ ไม่ใช่ถือตําราเป็นสําคัญอย่างเดียว” ว • ให้มีการค้นคว้าทอลองทั้งก่อนการผลิตและหลังจากผลิตแล้ว คือ พิจารณาดูตั้งแต่เรื่องความ เหมาะสมของพื ของพืช ความเหมาะสมของดิน พืชอย่างใดจะเหมาะกับดินประเภทใด • การค้นคว้าเกี่ยวกับความต้องการของตลาด คือ การปลูกพืชที่ตลาดต้องการ ผลิตออกมาแล้วมีที่ขาย ส่วนการค้นคว้า 2. ให้เกษตรกรได้มีความรู้เบื้องต้นในด้านการบัญชีและธุรกิจการเกษตร ในลักษณะที่พอจะทําธุรกิจแบบ พึ่งตนเองได้ สําหรับในเรื่องนี้พระองค์ท่านทางเห็นว่า การรวมกลุ การรวมกลุ่มกันของเกษตรกรเป็นปัจจัยสําคัญประการหนึ่งที่จะ ช่วยได้เป็นอย่างดี 3. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตนั้น พระองค์ท่านให้ความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ เกษตรกรในระยะยาว เพื่อให้เกษตรกรมีความเจริญก้าวหน้าอย่างค่อยเป็นค่อยไป และมีสภาพชีวิตที่มีความสุข ไม่ เคร่งเครียดกับกับการเร่งรัดให้เกิดความเจริญโดยรวดเร็ว นอกเหนือจากเรื่องที่ทรงเน้น ในเรื่องการผลิตอาหารให้ เพียงพอแล้ว จะเห็นได้ชัดเจนจากพระราชดํารัสที่ว่า “...ไม่ ไม่จําเป็นต้องส่งเสรอมผลผลิตให้ ได้ปริมาณสูงสุดแต่เพียง อย่างเดียว เพราะเป็นการ สิ้นเปลื้องค่าโสหุ้ย และทําลายคุณภาพดินแต่ควรศึกษาสภาวะตลาดการเกษตร ตลอดจน การควบคุมราคาผลิตผล ไม่ให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อน...” น 4. สนับสนุนการทําเกษตรยั่งยืน • โดยเน้นการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติให้มากที่สุด เช่น การใช้ที่ดินที่ทิ้งไว้เปล่า ๆ ให้เป็นประโยชน์ หรือการมองหาประโยชน์จากธรรมชาติ จากธรรมชา ในสิ่งที่ผู้อื่นนึกไม่ถึง เช่น ครั้งหนึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสนับสนุน ให้มีการทําครั่งจากต้นจามจุรีที่ขึ้นอยู่ริมทางหลวงที่จะเสด็จฯ ไปพระราชวังไกลกังวล มีพระราชดําริว่า “...เกิดจาก ความคิดที่จะเอาต้นก้ามปูมาทําให้ประชาชนมีงานทํา แล้วรวมเป็นกลุม่ ...” การมุ่งใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ • การประหยัด เน้นความจําเป็นที่จะลดค่าใช้จ่ายในการทํามาหากินของเกษตรกรลงให้เหลือน้อยที่สุด โดยอาศั อาศัยพึ่งพิงธรรมชาติเป็นปัจจัยสําคัญ เช่น สนับสนุ นให้เกษตรกรใช้ โค กระบือ ในการทํานามากว่าให้ ใช้ เครื่องจักร ให้มีการปลูกพืชหมุนเวียน โดยเฉพาะพืชตระกูลถั่ว เพื่อลดค่าใช้จ่ายเรื่องปุ๋ย หรือกรณีที่จําเป็นต้องใช้ปุ๋ย ก็ใช้ปุ๋ยธรรมชาติแทนปุ๋ยเคมี ซึ่งมีราคาแพง มีผลกระทบต่อสภาพและคุณภาพของดินในระยะยาว นอกนี้ยังทรง แนะนํ นะนําในเรื่องการผลิตก๊าซชีวภาพ อันจะมีผลดีทั้งในด้านเชื้อเพลิงและปุ๋ย รวมทั้งได้ทรงเน้นอยู่เสมอที่จะให้ เกษตรกรมีรายได้เสริมหรือรายได้นอกการเกษตร จากการหาวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่น เช่น ไผ่ ย่านลิเพา ปาหนัน ฯลฯ มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการจักสาน เพื่อเป็นอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ของตนเอง สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 67 ~

ตัวอย่างโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ โครงการอัอันเนื่องมาจากพระราชดําริในด้านการพัฒนาการเกษตร ที่กระจายอยู่ทั่วประเทศนั้นได้ส่งผล โดยตรงต่อความกินดีอยู่ดีของเกษตรกรเป็นอย่างมาก เนื่องจาก เป็นโครงการที่มุ่งแก้ปัญหาหลักด้านการพัฒนาการ เกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งทําให้เกษตรกรได้มีโอกาสมากขึ้น ในการเจ้าถึงแหล่งความรู้ในด้านเทคนิคและวิชากรร เกษตรสมัยใหม่ ซึ่งแต่เดิมเกษตรกรไม่เคยมีโอกาสเช่นนี้มาก่อน รวมทั้งยังได้มีโอกาสเรียนรู้และเห็นตัวอย่างของ ความสําเร็ร็จของการผลิตในพื้นที่ต่าง ๆ และสามารถนําไปปรับใช้ในการเพาะปลูกของตนเองอย่างความเจริญของภาค เศรษฐกิจแขนงอื่น ๆ และของประเทศชาติโดยส่วนรวมด้วย มีดังนี้ 1. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริด้านการพัฒนาการเกษตรในชนบท 2. โครงการตามพระราชดําริด้านการพัฒนาชาวเขาและการเกษตรที นาชาวเขาและ ่สูง 3. โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ 4. โครงการเกษตรผสมผสานตามแนวพระราชดําริ 5. แนวพระราชดําริเกี่ยวกับการพัฒนาการปศุสัตว์

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 68 ~

องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่อง พลังงานทดแทน แนวพระราชดําริ เรื่อง “พลั พลังงานทดแทน” งานทดแทน “...ถ้ถ้าน้ํามันเชื้อเพลิงหมดแล้ว ก็ใช้เชื้อเพลิงอย่างอื่นได้ มี แต่ต้องขยัน หาวิธีที่ทําให้เชื้อเพลิงเกิดใหม่ เชื้อเพลิงที่เรียกว่าน้ํามันนั้นมันจะหมด ภายในไม่กี่ปีหรือไม่กี่สิบปีก็หมด... มด ถ้าไม่ ได้ทําเชื้อเพลิงทดแทน เราก็ เดือดร้อน...” สของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานแก่คณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคล พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็ ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิตฯ วันอาทิตย์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2548 พลังงานทดแทนโดยทั่วไปหมายถึงพลังงานที่มีอยู่ทั่วไปตามธรรมชาติ และสามารถมี และสามารถมีทดแทนได้อย่างไม่จํากัด (เมื เมื่อเทียบกับพลังงานหลักในปัจจุบัน เช่น น้ํามันหรือถ่านหิน) ตัวอย่างพลังงานทดแทนที่สําคัญเช่น ไบโอฟิล พลังงานน้ํา พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ําขึ้นน้ําลง พลังงานคลื่น และความร้อนจากใต้ผิวโลก และ พลังงานจากกระบวนการชีวภาพ เช่น บ่อก๊าซชีวภาพ เป็นต้น โครงการตามแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในด้านการพัฒนาพลังงานทดแทนนั้นเกิดขึน้ ด้วยพระปรีชาสามารถและสายพระเนตรอันยาวไกลที่ทรงเล็งเห็นและมีพระราชดําริให้เตรียมรับกับปัญหามากว่า 40 ปีแล้ว (อ้างจากหนังสือ “72 ปี แก้วขวัญ วัชโรทัย เลขาธิการพระราชวัง”) ทั้งนี้นายแก้วขวัญ วัชโรทัยเลขาธิการ พระราชวังกล่าวไว้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีรับสั่งตั้งแต่ พ.ศ.2504 พ ว่าค่ารถและน้ํามันจะแพง พระองค์ จึงได้มีการศึกษา ค้นคว้า และทรงริเริ่มการพัฒนาพลังงานทดแทนโดยการนําเอาวัสดุเกษตรมาแปรรูปเป็นน้ํามัน สําหรับเครื่องยนต์และรถยนต์ประเภทต่าง ๆ เพื่อลดการพึ่งพาการนําเข้าน้ํามันจากต่างประเทศมาตั้งแต่น้ํามันยังมี ราคาลิตรละไม่กี่บาท โดยเป็นไปตามหลักการ “พึ่งตนเอง” คือการลดการนําเข้าน้ํามันดิบจากต่างประเทศ เพราะ สามารถผลิตใช้เองได้บางส่วน ซึ่งสอดรับกับสถานการณ์ สถานการณ์ปัจจุบัน นับว่าเป็นโชคดีของชาวไทยทั้งชาติ ที่ ได้รับ ประโยชน์จากโครงการพระราชดําริของพระองค์ท่าน ดังนั้นจึงของกล่าวถึงเทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทนในโครงการ พระราชดําริ ดังนี้ 1. แก๊สโซฮอล์ 2. ดีโซฮอล์ 3. ไบโอดีเซล 4. พลังงานน้ํา 5. พลังงานลม 6. พลังงานแสงอาทิตย์ 7. พลังงานความร้อนจากแกลบ 8. แก๊สชีวภาพ ตัวอย่างโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริในด้านพลังงานทดแทน มีอยู่หลายแห่งกระจายทั่วประเทศเพื่อเป็น แหล่งเรียนรู้ให้กับประชาชนในการนําไปปรับใช้ให้เข้ากับตนเอง ตัวอย่างแหล่ างแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับพลังงานทดแทนด้าน ต่าง ๆ ในโครงการพระราชดํ นโครงการพระราชดําริ มีดังนี้ • ด้านไบโอดีเซล - ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.นราธิ จ นราธิวาส เป็นโรงงานต้นแบบ ขนาดเล็ก สาธิตกระบวนการผลิตน้ํามันปาล์ม และน้ํามันไบโอดีเซลอย่างง่าย - ศูนย์ศึกษาการพัฒนาคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.ฉะเชิ จ ฉะเชิงเทรา ผลิตไบโอดีเซลจาก น้ํามันพืชใช้แล้ว

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 69 ~

• แก๊สชีวภาพ - ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจกพระราชดําริ จ.เพชรบุ จ เพชรบุรี ทําแก๊สชีวภาพจากมูลวัว - ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.นราธิ นราธิวาส ระบบผลิตก๊าซชีวภาพจาก มูลสัตว์ • สบู่ดํา - ศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.ฉะเชิ จ ฉะเชิงเทรา ปลูกและสาธิตการทํา น้ํามันจากสบู่ดํา • เทคโนโลยีพลังงานทดแทน - ศูนย์ทดลองวิชาการพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จ.ปทุ จ มธานี ชุดหลอดประหยัดพลังงานเตา เศรษฐกิจขนาดเล็ก กระเบื้องแผ่นใส ลูกหมุนระยายอากาศ เตาเผาถ่าน เตา SME เตาชีวมวลขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ ฝาครอบแก๊ส เตจาเผาขยะ ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ ไปโอดีเซล • ผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานธรรมชาติ - โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดําริ อ.ท่ อ ายาง จ.เพชรบุรี กังหันและโซลาร์เซลล์ - ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จ.เชี จ เชียงใหม่ ระบบสูบน้ําด้วยไฟฟ้าจาก เซลล์แสงอาทิตย์ - ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี ระบบสูบน้ําเพื่อ การเกษตร ด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ • ผลิตถ่านจากแกลบ - โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 70 ~

องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่อง ป่า แนวพระราชดําริด้าน ป่าไม้ พระบาทสมเด็ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสําคัญกับการพัฒนาป่าไม้ไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการพัฒนาด้านอื่น ๆ ด้วยทรงตระหนักดีถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงอย่างเป็นระบบในด้านระบบนิเวศน์ ทั้งดิน น้ํา ต้นไม้ พืช สัตว์ เนื่องจาก องค์ประกอบเหล่านี้ล้วนเป็นรากฐานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของพสกนิกรในด้านต่าง ๆ พระองค์ทรงคิดค้นนานา วิธีที่จะอนุรักษ์ป่าไม่ให้ยืนยง ทรงสร้างความตระหนักให้มีความรักป่าไม้ด้วย จิตสํานึกร่วมกัน (Awareness and Sharing Participation) มากกว่าวิธีการใช้อํานาจบังคับ ดังเช่นพระราชดําริทีว่า “...เจ้ เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ควรจะปลูก ต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็พากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง...” ยตนเอง โดยหลักการพัฒนาป่าเป็นการพัฒนาแบบองค์รวมและเชื่อมโยงกัน ดังนี้ 1. ปลูกป่าต้นน้ําลําธาร การปลูกป่าธรรมชาติ มีแนวทางปฏิบัติที่ได้รับพระราชทานคือ การปลูกต้นไม้ที่ขึ้นอยู่เดิมโดยให้ศึกษาก่อน ว่าพันธุ์ไม้ดั่งเดิมมีอะไรบ้างแล้วปลูกแซม ไม่นําไม้ผิดแผกจากถิ่นเดิมมาปลู มาปลูกโดยไม่ศึกษาเสียก่อน 2. ปลูกป่าในที่สูง ทรงแนะนําวิธีการ “...ใช้ ใช้ไม้จําพวกที่มีเมล็ดทั้งหลายขึ้นไปปลูกบนยอดที่สูง เมื่อโตแล้วออกฝักออกเมล็ดก็จะ ลอยตกลงมาแล้วงอกเองในที่ต่ําต่อไป เป็นการขยายพันธุ์โดยธรรมชาติ อาศัยหลักธรรมชาติ...” ... 3. การปลูกไม้ 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ป่าไม้ 3 อย่างเป็นแนวคิดของการผสมผสานการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ ควบคู้ไปกับเศรษฐกิจและ สังคม กล่าวคือ เพื่อป้องกันมิให้เกษตรกรเข้าบุกรุกทําลายป่าไม้ จึงควรให้ดําเนินการปลูกป่า ณ อย่างประโยชน์ 4 อย่าง คือ ป่าสําหรับไม้ใช้สอย ป่าสําหรับเป็นไม้ผล และป่าสําหรับเป็นเชื้อเพลิง ป่าหรือสวนป่าเหล่านั้นนอกจากเป็น การเกื้อกูลและอํานวยประโยชน์ 3 อย่างแล้ว ป่าไม้ก็จะอํานวยประโยชน์ในการอนุรักษ์ดินและน้ํา และคงความชุ่มชื้น เอาไว้ อันเป็นประโยชน์อย่างที่ 4 ซึ่งเป็นผลพลอยได้ โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ วได้พระราชทานพระราชดําริเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปลูกป่าเพื่อใช้ทําฟืนว่า “...การปลู การปลูกป่าสําหรับใช้เป็นฟืนซึ่งราษฎรจําเป็นต้องใช้เป็นประจํา ในการนี้จะต้องคํานวณเนื้อที่ ที่จะให้ปลูก เปรียบเทียบกับจํานวนราษฎรตลอดจนการปลูกและตัดต้นไม้ไปใช้ จะต้องใช้ระบบหมุนเวียนและมีการปลู าร กทดแทน อันจะทําให้มีไม้ฟืนสําหรับใช้ตลอดเวลา 4. การปลูกป่าโดยไม่ต้องปลูก ได้พระราชทานแนวคิดว่า บางครั้งป่าไม้ก็เจริญเติบโตขึ้นเองตามธรรมชาติ ขอเพียงอย่าเข้าไปรบกวนและ ทําลายโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หากปล่อยไว้ตามสภาพธรรมชาติชั่วระยะเวลาหนึ่งป่าไม้ก็จะสมบูรณ์เองการระดมปลูก ป่าด้วยความไม่เข้าใจ เช่น ปอกเปลือกหน้าดินซึ่งมีคุณค่ามากออกไป และปลูกพันธุ์พืชซึ่งไม่เหมาะสมกับสภาพ ท้องถิ่นและระบบนิเวศน์บริเวณนั้น นอกจากต้นไม้ที่ปลูกไว้จะตายโดยไม่ได้ประโยชน์แล้ว ยังทําลายสภาพแวดล้อม อีกด้วย 5. ป่าเปียก : สร้างแนวป้องกันไฟเปี ไฟเ ยก (Wet Fire Break) เป็นทฤษฎีการอนุรักษ์ฟื้นฟูป่าไม้โดยใช้ความชุ่มชื้นเป็นหลักสําคัญที่จะช่วยให้ป่าเขียวสดอยู่ตลอดเวลาไฟ ป่าจึงเกิดได้ยากการพัฒนาเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไม้ที่สามารถทําได้ง่ายและได้ผลดียิ่ง 6. การสร้างภูเขาป่า ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่าไม้โดยใช้ โดยใช้ความรู้ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อปรับปรุงให้เหมาะสมกับการฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรมทั้งที่มีแหล่งน้ําและไม่มีแหล่งน้ํา 7. การปลูกป่าทดแทน การปลูกป่ าทดแทนจะต้องทําอย่างมีแผนโดยการดํ าเนินการไปพร้อมกั บการพัฒนาชาวเขา ในการนี้ เจ้าหน้ าหน้าที่ ป่าไม้ ชลประทาน และฝ่ายเกษตรจะต้องร่วมมือกันสํารวจต้นน้ําในบริเวณพื้นที่รับผิดชอบเพื่อวางแผน ปรับปรุงต้นน้ําและพัฒนาอาชีพได้อย่างถูกต้อง สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 71 ~

8. ฝายกั้นน้ํา (Check Darn) ฝายชะลอความชุ่มชื้นที่ได้ทรงคิดค้นขึ้น เพื่อเป็นวิธีการในการสร้างความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่ป่าด้วยวิธีการ ง่าย ๆ ประหยัก และได้ผลดี นั่นคือ การสร้างฝายเล็ก ๆ ให้สอดคล้องไปกับสภาพธรรมชาติ โดยการใช้วัสดุธรรมชาติ ในท้องถิ่น ฝายชะลอความชุ่มชื้นมีอยู่ 2 ประเภท คือ ฝายต้นน้ําลําธาร สําหรับกักกระแสน้ําไว้ให้ไหลช้าลง และ สามารถซึมลงใต้ผิวดินเพื่อสร้างความชุ่มชื้นในบริเวณนั้น และอีกประการหนึ่งคือ ฝายดักตะกอนดินและทรายมิให้ ไหลลงสู่แหล่งน้ําเบื้องล่าง ฝ่ายทั้งสองประเภทสามารถสร้างความชุ่มชื้น สร้างระบบวงจรน้ําที่อํานวยประโยชน์แก่การ ฟื้นฟูและอนุรักษ์ป่าไม้ได้อย่างมีประสิสิทธิภาพดียิ่ง ตัวอย่างโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ด้านการพัฒนาป่าไม้กระจายอยู่ทั่วประเทศไทย เพื่อพัฒนาป่าเสื่อม โทรมที่ถูกบุกรุกทําลายให้กลับคืนสู่ความสมบูรณ์ ให้กลับมาเป็นแหล่งต้นน้ํา สร้างความชุ่มชื้นให้แก่ดิน เป็นแหล่งป่า ไม้เพื่อการอุปโภคบริโภคให้แก่ชาวบ้าน ให้ชาวบ้านในพื้นที่สามารถพึ สามารถพึ่งพาตนเองได้และมีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น ตัวอย่างโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริด้านพัฒนาป่าไม้ มีดังนี้ • โครงการป่าไม้สาธิต • โครงการป่าพระราชทานมูลนิธิชัยพัฒนา-มู นา มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง จังหวัดสงขลาและปั สงขล ตตานี • ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ • โครงการหลวง • โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ําห้วยบางทรายตอนบน จ.มุ จ กดาหาร • โครงการพัฒนาพื้นที่ป่าขุนแม่กวง

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 72 ~

องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่อง สิ่งแวดล้อม แนวพระราชดําริ เรื่อง “สิสิ่งแวดล้อม” ม แนวพระราชดําริที่พระราทานในด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งเรื่องใกล้ชิดประชาชนมากที่สุดคือ การแก้ไขปัญหาขยะ และน้ํ าเสี ย ที่ นับวั นจะก่ อตั วและทวี ความรุ นแรงมากขึ้ น โดยเฉพาะในเขตชุ มชนเมื อง ที่ มี กิ จกรรมการผลิ ต หลากหลาย เช่น อาคาร ห้างร้าน โรงงานอุตสาหกรรม บ้านเรือน ภาคการเกษตร ภาคการเกษตร ล้วนมีส่วนทําให้เกิดน้ําเสียและขยะ จนกลายเป็นปัญหาใหญ่ของหลายเมือง ทั้งในด้านของสถานที่กําจัดขยะ ความรู้และเทคโนโลยี โนโลยีการจัดการ รวมถึง งบประมาณที่ใช้ในปริมาณสูง ศ.ดร.เกษม เกษม จันทร์แก้ว ผู้อํานวยการโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจาก พระราชดําริ ได้บรรยายเรื่องน้ําเสียและขยะ ในการเสวนา “เกษตรยั เกษตรยั่งยืน ฟื้นฟูภูมิปัญหา พัฒนาสู่สากล” ากล ในงาน ทักษิณวิชาการ เกษตรแฟร์ ครั้งที่ 6 และนิทรรศการปิดทองหลังพระ วันที่ 27 สิงหาคม 2554 ดังนี้ “น้ําเสีย” จริง ๆ แล้วน้ําไม่ได้เสีย แต่มีสิ่งที่ปนเปื นเปื้อนอยู่ในโมเลกุลของน้ํา การบําบัดน้ําเสีย คือการขจัดสิ่ง ปนเปื้อนที่อยู่ในโมเลกุลของน้ําออกเสีย ซึ่งสามารถกระทําได้ 3 วิธี คือ กระบวนการทางฟิสิกส์ เคมีและชีววิทยา ขึ้นอยู่กับว่าเริ้มต้นด้วยวิธีการไหน ซึ่งทางเราจะเน้นกระบวนการทางด้านชีววิทยาคือการใช้วิธีการทางธรรมชาติ ารทางธ มา เยียวยาธรรมชาติมากที่สุด ทําอย่างไรให้แบคทีเรียสามารถย่อยสลายสารอินทรีย์ทั้งในน้ําเสียและในขยะ โดยการสร้าง องค์ประกอบอย่างง่ายไม่ยุ่งยากซับซ้อนเช่น ในน้ําเสียจะใช้พืชน้ําเข้ามาช่วยบําบัด จะเป็นจําพวกสาหร่ายเซลเดียว ธูปฤาษีพืพืชกึ่งบกกึ่งน้ํา หรือบางกรณีใช้พืชลอยน้ ชลอยน้ํา ในทางฟิสิกส์นั้นน้ําจะหมุนเวียนอยู่ตลอดเวลาด้วยการเคลื่อนที่ จากแนวตั้งไปแนวนอน เมื่อน้ําเกิดการระเหยจะทําให้เกิดสมดุล “ขยะ” ขยะมีหลายประเภท หลีการคือทําอย่างไรให้ขยะอินทรีย์ถูกจุลินทรีย์ย่อยสลายให้หมดไป ซึ่ง จุลินทรีย์ต้องการออกซิเจนเป็นพลังงานในการย่อยสลาย อยสลาย หากไม่มีออกซิเจน แบคทีเรียก็จะไปดึงออกซิเจนจาก สารประกอบที่อยู่ในสารอินทรีย์มาใช้ ทําให้เกิดมีกลิ่นเหม็น การจัดการขยะตามแนวพระราชดําริ คือ การทําให้ขยะ ย่อยสลายและเป็นปุ๋ยโดยใช้อากาศ ทรงเน้นย้ําว่าทําอย่างไรคนไทยจึงจะแยกขยะ และนําขยะอินทรีย์ไปทําปุ๋ยหมัก นําเอาส่ อาส่วนที่เป็นขยะรีไซเคิลมาประดิษฐ์เป็นวัสดุของใช้ และแปรสภาพขยะอันตรายให้ไม่มีพิษ” กล่าวโดยสรุป แนวพระราชดําริด้านสิ่งแวดล้อม จะใช้แนวทาง “ธรรมชาติ ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ” ซึ่งแยกเป็น 2 ด้าน คือการจัดการน้ําเสีย และการกําจัดขยะ การจัดการน้ําเสีย การจัดการน้ําเสียตามแนวพระราชดําริ ได้หลักการ “น้ําดีไล่น้ําเสีย” หลักการบําบัดน้ําเสียด้วยผักตบชวา ทฤษฎีการบําบัดน้ําเสียด้วยการผสมผสานระหว่ ยการผสมผสานระหว่างพืชน้ํากับระบบการเติมอากาศ ทฤษฎีการบําบัดน้ําเสียด้วยระบบ บ่อบําบัดและวัชพืชบําบัด และ “กักังหันน้ําชัยพัฒนา” นา ซึ่งมีสาระโดยสรุป ดังนี้คือ 1) การใช้น้ําดีไล่น้ําเสีย ซึ่งเป็นการบําบัดน้ําเสียโดยการทําให้เจือจางและใช้หลักการตามธรรมชาติแห่งแรง โน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) หลักการคือ ใช้น้ําที่มีคุณภาพดีช่วยผลักดันน้ําเน่าเสียออกไปและช่ ออกไป วยให้น้ําเน่าเสีย มีสภาพเจือจางลง ยกตัวอย่างในกรุงเทพฯ ให้รับน้ําจากแม่น้ําเจ้าพระยาหรือจากแหล่งน้ําภายนอกส่งไปตาม คลองต่าง ๆ ดังพระราชดํารัสเกี่ยวกับการใช้พื้นที่ในอําเภอธัญบุรี เมื่อวันที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๓๒ “...แต่ ๓,๐๐๐ ไร่นั้นมันอยู่สูง จะนําน้ําโสโครกจากที่นี่ไปที่โน้นต้องสูบไปไม่ไหว แต่ว่าจะทําเป็นบึงใหญ่ที่จะเก็ ะ บน้ําได้ สําหรับเวลาหน้าน้ํามีน้ําเก็บเอาไว้ หน้าแล้งก็ปล่อยลงมา ส่วนหนึ่งอาจปล่อยลงมาสําหรับล้าง กรุงเทพ ได้เจือ จางน้ําโสโครกในคลองต่าง ๆ...” ๒) เครื่องกรองน้าํ ธรรมชาติ เป็นการใช้ผักตบชวาในปริมาณที่เหมาะสมทําหน้าที่ดูดซับความสกปรก ความ รวมทั้ง รวมทั้งสารพิษจากน้ําเน่าเสีย ตามหลัก “อธรรมปราบอธรรม” มีตัวอย่างการนํามาใช้ที่บึงมักกะสัน ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงเปรี รงเปรียบเทียบบึงมักกะสันเป็นเสมือนไตของกรุงเทพฯ เป็นสถานที่กําจัดสิ่งสกปรก ในน้าํ เน่าเสียที่ไหล ตามคลองสามเสนให้ผ่านการกรองโดยวิธีธรรมชาติ ก่อนระบายไปยั อนระบายไปยังคลองสามเสนและคลองแสนแสบ สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 73 ~

๓) สระเติมอากาศชีวภาพบําบัด เป็นการจัดการน้ําเสียโดยใช้เครื่องจักรกลเติมอากาศมาช่วยเพิ่ม ออกซิเจนละลายน้ํา ซึ่งให้ออกซิเจนตามธรรามชาติจากพืชน้ําและสาหร่าย โดยได้นํามาทดลองใช้ที่บึงพระราม ๙ ด้วยการสูบน้ําจากคลองลาดพร้าวเข้าในบ่อเติมอากาศ เพื่อให้แบคทีเรียย่อยสลายสารอิ สลายสารอินทรีย์ในน้ําเสียโดย ปฏิกิริย าแบบการให้อ อกซิเ จนอย่า งต่อเนื่ อง จากนั้น จะไหลไปยังบ่อกึ่ง ไร้อากาศเพื่อบํา บัด สารอิน ทรีย์ ที่ หลงเหลือในบ่อน้ํา ก่อนปล่อยทิ้งในคลองลาดพร้าวเดิม ผลปรากฏว่าคุณภาพน้ําในคลองดีขึ้น ๔) การผสมผสานระหว่ว่างพืชน้ํากับระบบเติมอากาศ โดยธรรมชาติผสมผสานกับเทคโนโลยี โดยการ ก่อสร้างบ่อดักสารแขวนลอย ปลูกต้นกกอียิปต์เพื่อใช้ดับกลิ่น และปลูกผักตบชวาเพื่อดูดสิ่งสกปรกและโลหะ หนัก จากนั้นใช้กักังหันชัยพัฒนาและแผงท่อเติมอากาศให้กับน้ําเสียตามความเหมาะสม ตลอดจนให้ตกตะกอน ก่อนปล่อยลงแหล่งน้ํา โดยนํามาทดลองที่หนองสนม จังหวัดสกลนคร ซึ่งพิสูจน์ได้ว่าคุณภาพน้ําในหนองสนม ใสสะอาดยิ่งขึ้น ๕) หลักธรรมชาติบําบัดธรรมชาติ คือ การบําบัดน้ําเสียด้วยระบบบ่อบําบัดและพืชน้ํา ประกอบด้วย ระบบบ่ อบํ า บั ด น้ํา เสี ย ระบบบ่อชี ว ภาพ ระบบหน้ า กรอง และระบบบํา บัด น้ํ า เสีย โดยป่ า ชายเลนดัง เช่ น โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ. อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี นอกจากนี้ ทรงมีพระราชดําริให้ทําการศึกษาทดลองวิจัยดูว่า จะใช้ปลาบางชนิดกําจัดน้ําเสียได้หรือไม่ ปลา เหล่านี้น่าจะเข้าไปกินสารอินทรี นทรีย์ในบริเวณแหล่งน้ําเสีย ซึ่งปรากฏว่าปลาบางสกุลมีอวัยวะพิเศษในการหายใจ เช่น ปลากระดี่ ปลาสลิด เหมาะแก่การเลี้ยงในน้ําเสีย และชอบกินสารอินทรีย์ จึงช่วยลดมลภาวะในแหล่ง น้ําวิธีการนี้สามารถนํามาใช้ประโยชน์ในการกําจัดน้ําเสียได้ ซึ่งจะมีต้นทุนต่ํา และสามารถเพิม่ ผลผลิตสัตว์น้ําได้ อีกทางหนึ่ง ๖) การเติมอากาศโดยใช้กังหันน้ําชัยพัฒนา ซึ่งมีใบพัดเคลื่อนน้ําและซองรับน้ําไปสาดกระจายเป็น ฝอย เพื่อให้สัมผัสกับอากาศได้อย่างทั่วถึง ทําให้ออกซิเจนในอากาศสามารถละลายเข้ ายเข้าไปในน้ําได้อย่างรวดเร็ว และในช่วงที่น้ําเสียถูกยกขึ้นมากระจายสัมผั มผัสกับอากาศตกลงไปยังผิวน้ํา จะทําให้เกิดฟองอากาศจมตามลงไป ก่อให้เกิดการถ่ายเทออกซิเจนอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งกังหันน้ําชัยพัฒนาจะใช้ประโยชน์ได้ทั้งการเติมอากาศการกวน แบบผสมผสานและการทําให้เกิดการไหลตามทิศทางที่กําหนด การกําจัดขยะ จากกระแสพระราชดํารัสเนื่องในวโรกาสวันเฉลิ เฉ มพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๔ พระบาทสามเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงตรัสเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูลว่า “สิสิ่งโสโครกจากบ้านเรือนที่ให้เทศบาลสูบไป มักนําไปปล่อยลงคลอง ลงแม่น้ํา ถ้าหาที่แห่งหนึ่งนอกเมือง ทํา ถังหมักสิ่งโสโครกไว้ ๑๐ วัน สิ่งที่เป็นสิงโสโครกก็ ง่ โสโครกก็หายโสโครก เชื้อโรคอะไรก็หมดไป ถ้าให้ดีเอาไว้ ๒๘ วัน ให้มันจริงๆ จัง ๆ พวกเชื้อที่ร้ายแรงที่ยังมีอยู่ก็หมด แม้แต่กลิ่นก็หายหมด เสร็จแล้วเอามาตากใช้ประโยชน์ได้ ทั้งส่วนที่เป็น ของแข็งและส่วนที่เป็นน้ําเป็นปุ๋ยที่ไม่เหม็น เทศบาลต่าง ๆ ที่มีปัญหานี้ก็ต้องพยายามพิจารณาว่าจะทําอะไรต่อไป” ไป จากกระแสพระราชดํารัสดังกล่าวข้างต้น นายสาโรจน์ คัชมาตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี ในขณะนั้น จึงได้มีการประชุมร่วมกันระหว่างส่วนราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้ ยวข้อง เพื่อนําแนวทางตามโครงการพระราชดํ แนวทางตามโครงการ าริฯ มาดําเนินการต่อ เพื่อแก้ปัญหาการกําจัดสิ่งปฏิกูลที่ยังไม่ถูกสุขลักษณะ อันเป็นสาเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ด้วย สํานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๖ นนทบุรี ได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี ให้ออกแบบ และควบคุมการก่อสร้าง “บ่บ่อหมักสิ่งปฏิกูล” ตามแนวพระราชดําริ ขนาดความจุ ๑๕ ลูกบาศก์เมตร จํานวน ๓๒ บ่อ ณ วัดสวนแก้ว จ.นนทบุ นนทบุรี ซึ่งพระอาจารย์พะยอม กัลยาโณ ได้ให้ความอนุเคราะห์พื้นที่ ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริมูลนิธิชัย พัฒนา

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 74 ~

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ มิติ “สิ่งแวดล้อม” • บ่อหมักสิ่งปฏิกูลวัดสวนแก้ว • โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ต.แหลมผั ต กเบี้ย อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุ เพชรบุรี • ระบบบําบัดน้ําเสียแบบเครื่องกลเติมอากาศ • เรือหางกุดกับการบําบัดน้ํา • ระบบบําบัดน้ําเสียโดยการทําให้เจือจาง (Dilution) • โครงการกรองน้ําเสียด้วยผักตบชวา (Filtration) บึงมักกะสัน • การบําบัดน้ําเสียด้วยการผสมผสานระหว่างพืชน้ํากับระบบทางเติมอากาศ ณ หนองสนม-หนองหาน หนองสนม • การบําบัดน้ําเสียบึงพระราม ๙ โดยใช้กระบวนการทางชีวภาพวิทยาผสมผสานกับเครื่องกลเติม อากาศแบบสระเติมอากาศชีวภาพบําบัด ตามแนวพระราชดําริ

ที่มา : ทางเว็บไซต์ http://www.pidthong.org/indexphp?lay=show&ac=article&ld...

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 75 ~

การวิเคราะห์ องค์ความรู้ 6 มิติ โครงการตามแนวพระราชดําริ จํานวน 23 โครงการ ในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี ดังนี้ มิติที่ 1 องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่องน้ํา ๑. โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 1 ต.แหลมผักเบี้ย อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุ เพชรบุรี 2. โครงการเครือข่ายอ่างเก็บน้ํา (อ่อ่างพวง) งพวง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ ดังนี้ 1) อ่างเก็บน้ําห้วยไม้ตาย ต.ไร่ ต ใหม่พัฒนา อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 2) อ่างเก็บน้ําบ้านทุ่งขาม ต.ไร่ ต ใหม่พัฒนา อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 3) อ่างเก็บน้ําห้วยตะแปด ต.สามพระยา อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 4) บ่อพักน้ําเขากระปุก ต..สามพระยา อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 5) อ่างเก็บน้ําห้วยทราย ต.สามพระยา ต อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 6) อ่างเก็บน้ําห้วยทราย – หุบกะพง ต.เขาใหญ่ อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 3. โครงการพัฒนาแหล่งน้ําบริเวณมหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี พื้นที่ดําเนินการ บ้านสามพระยา หมู่ที่ 3 ต.สามพระยา สามพระยา อ.ชะอํ อ า จ.เพชรบุรี 4. โครงการขุดลอกอ่างเก็บน้ําห้วยสงสัยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ นการ บ้านโป่งเกตุ หมู่ที่ 9 ต.เขากระปุก อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 5. โครงการป้องกันแก้ไขปัญหาน้ําท่วมพื ม ้นทีจัจ่ ังหวัดเพชรบุรี อันเนื่องมาจากพระราชดําริจังหวัดเพชรบุรี พื้นที่ ดําเนินการ โครงการส่งน้ําและบํารุงรักษาเพชรบุรี ต.ท่ ต าคอย อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 6. โครงการอ่างเก็บน้ําห้วยผาก อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ หมู่ 6 บ้านบางชุม ต.กลั ต ดหลวง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี ๗. โครงการอ่างเก็บน้ําผาน้ําหยดอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 5 ต.ห้ ต วยลึก อ.บ้านลาด ๘. โครงการอ่างเก็บน้ําห้วยแม่ประจันต์อันเนื่องมากจากพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ หัวงานโครงการอยู่ที่ หมู่ที่ 5 บ้านจะโปรง ต.หนองหญ้ หนองหญ้าปล้อง อ.หนองหญ้ อ าปล้อง จ.เพชรบุรี มิติที่ 2 องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่องดิน ๑. โครงการพัฒนาที่ดินฯ ตามพระราชประสงค์หนองพลับ – กลัดหลวง พื้นที่ดําเนินการ ต.ไร่ ต ใหม่พัฒนา อ.ชะอํา จ.เพชรบุ เพชรบุรี และตําบลเขากระปุก อ.ท่ อ ายาง จ.เพชรบุรี ๒. โครงการพัฒนาห้วยแม่เพรียงตามพระราชดําริ พื้นทีด่ ําเนินการ ประกอบด้วย 3 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 4 บ้านหนองน้ําดํา, หมู่ที่ 5 บ้านด่านโง และหมู่ที่ 6 บ้านห้วยไผ่ ต.ห้ห้วยแม่เพรียง อ.แก่ อ งกระจาน จ.เพชรบุรี 3. โครงการหมูบ้บ่ า้ นสหกรณ์ห้วยสัตว์ใหญ่ ป่าเด็ง–ป่าละอู พื้นที่ดําเนินการ ต.ป่าเด็ง อ.แก่ แก่งกระจาน จ.เพชรบุรี มิติที่ 3 องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่องเกษตร 1. โครงการศูนย์สาธิตพืชไร่และพืชสวนอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ ศูนย์สาธิตพืชไร่และพืช สวนเพชรบุรี ต.ท่าแร้ง อ.บ้บ้านแหลม จ.เพชรบุ จ รี 2. โครงการพระราชประสงค์หุบกะพง พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 8 และหมู่ที่ 10 ต.เขาใหญ่ เขาใหญ่ อ.ชะอํ อ า จ.เพชรบุรี 3. โครงการตามพระราชประสงค์ดอนขุนห้วย พื้นที่ดําเนินการ 1) ดอนขุนห้วย 1 พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 5 ต.ดอนขุนห้วย อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี 2) ดอนขุนห้วย 2 พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 5,6 ต.ท่าคอย อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 4. โครงการสวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 6 ต.สามพระยา สามพระยา อ.ชะอํ อ า จ.เพชรบุรี 5. โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 5 ต.เขากระปุก อ.ท่ท่ายาง จ.เพชรบุ จ รี สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 76 ~

มิติที่ 4 องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่องพลังงานทดแทน 1. โครงการชั่งหัวมันตามพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 5 ต.เขากระปุก อ.ท่ท่ายาง จ.เพชรบุ จ รี 2.โครงการสวนสมเด็ โครงการสวนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชนนี พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 5 ต.เขากระปุ เขากระปุก อ.ท่ อ ายาง จ.เพชรบุรี 3. โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ ต.สามพระยา ต อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี

มิติที่ 5 องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่อง ป่า 1. โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ ต.สามพระยา ต อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี ๒. โครงการดู ครงการดูแลที่ดินและปลูกป่าในที่ดินของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิติ์พระบรมราชินีนาถ บ้านท่ากระทุ่ม พื้นที่ดําเนินการ บ้านท่ากระทุ่ม- บ้านสารเห็ด ต.กลัดหลวง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุ เพชรบุรี 3. โครงการดูแลรักษาป่าไม้บริเวณป่าละอูบนและเขาพะเนินทุ่งอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ พื้นที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ต.แก่ ต งกระจาน อ.แก่งกระจาน จ.เพชรบุรี 4. อุทยานสิงแวดล้ ง่ แวดล้อมนานาชาติสิรินธร พื้นที่ดําเนินการ ณ ค่ายพระรามหก ต.ชะอํา อ.ชะอํ ชะอํา จ.เพชรบุ จ รี

มิติที่ 6 องค์ความรู้สืบสานแนวพระราชดําริ เรื่อง สิ่งแวดล้อม ๑. โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ดําเนินการ ก หมู่ที่ 1 ต.แหลมผักเบี้ย อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุ เพชรบุรี ๒. โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพพื้นที่บริเวณเขานางพันธุรัต (เขาเจ้าลายใหญ่) พื้นที่ดําเนินการ พื้นที่เขา นางพันธุรัต (เขาเจ้าลายใหญ่) ต.เขาใหญ่ เขาใหญ่ อ.ชะอํ อ า จ.เพชรบุรี

โครงการตามแนวพระราชดําริของสมเด็ องสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ 1. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวติ ประชาชนบ้ ประชาช านบางกลอยและบ้านโป่งลึก พื้นที่ดําเนินการ บ้านบางกลอย หมู่ที่ 1 และบ้านโป่งลึก หมู่ที่ 2 ต.ห้ห้วยแม่เพรียง อ.แก่ อ งกระจาน 2. โครงการฟาร์มทะเลตัวอย่างตามพระราชดําริ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จังหวัด เพชรบุรี พื้นที่ดําเนินการ หมู่ที่ 5 ต.บางแก้ ต ว อ.บ้านแหลม จ.เพชรบุรี

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 77 ~

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิ เศรษฐกิจพอเพียง” ง (Sufficiency Economy) เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดํารัส ชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดรวมถึงการพัฒนาและ บริหารประเทศ ที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ ทางสายกลาง คํานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกัน ที่ดีในตัว ตลอดจน ใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทํา ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน และใช้จ่ายเงิน ให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกําลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงิน เหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วนสาเหตุ น ที่แนวทางการดํารงชีวิตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดํารงชีวิตของ สังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้อง หรือเกินกว่าปัจจัยในการดํารงชีวิต เช่น การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความ งาม การแต่งตัวตามแฟชั่น การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทําให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความ ต้องการเหล่านั้น ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถหลุดออกมาได้ ถ้าไม่ เปลี่ยนแนวทางในการดํารงชีวิต บทสรุป ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ห่วง 1 ความพอประมาณ หมายถึง ความ พอดี ที่ ไม่ น้ อยเกิ น ไปและไม่ มากเกิ น ไป โดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่นการผลิตและการ บริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ ห่วง 2 ความมีเหตุผล หมายถึง การ ตั ด สิ น ใจเกี่ ย วกั บ ระดั บ ของความพอเพี ย งนั้ น จะต้ อ งเป็ น ไปอย่ า งมี เ หตุผ ล โดยพิจ ารณา จากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคํานึงถึงผลที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อย่า ง รอบคอบ ห่วง 3 การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึงการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่อนไข 1 ความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนําความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในขั้น ปฏิบัติ เงื่อนไข 2 คุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความชื่อสัตย์ สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดําเนินชีวิต

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 78 ~

การดําเนินงานโครงการหมูบ่ ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ 1. ภารกิจกรมการพัฒนาชุมชน ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการมหาดไทย กรมการพัฒนาชุมชนมีภารกิ ภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมความรู้และการมีสวนร่วมของประชาชน ส่งเสริมและ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้ ให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ โดยสนับสนุนให้มีการจัดทําและใช้ประโยชน์จากข้อมูล สารสนเทศ ศึกษาวิเคราะห์ วิจัย จัดทํายุทธศาสตร์ชุมชน ตลอดจนการฝึกอบรมและพัฒนาบุ ฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ใน การพัฒนาชุมชน ได้กําหนดหน้าที่ ประการหนึ่งในการพัฒนาระบบและกลไกในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การ จัดการความรู้ การอาชีพ การออมและการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชนเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถ ของชุมชน ผู้นําชุมชน องค์การชุมชนและเครือข่ายองค์การชุมชน บริหารจัดการให้ชุมชน เข้มแข็งอย่างยั่งยืน จากภารกิจข้างต้น กระทรวงมหาดไทยจึงไว้วางใจมอบหมายภารกิจให้กรมการพัฒนาชุมชน เป็น หน่วยงานหลักในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องจากกระบวนการพัฒนาชุมชน มีความสอดคล้อง กับหลั บหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือปฏิบัติงานตามหลัก ความพอประมาณ ความมีเหตุผล สร้างภูมิคุ้มกันที่ดี ด้วยการใช้ความรู้ ความชอบธรรมและคุณธรรม ทําให้ชุมชนพึ่งตนเองบนความพอเพียง โดยบูรณาการการทํางาน ร่วมกันในทุกกรมและรัฐวิสาหกิจ โดยเฉพาะ กรมการปกครอง และ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

2. กรอบความคิด แนวคิดในการขับเคลือ่ นแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากภารกิจของกรมฯ และภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงมหาดไทย กรมฯ จึงได้น้อมนําหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มาขยายผลในกระบวนการทํางาน โดยการดําเนินงานหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยเกณฑ์ ประเมิน 6 ด้าน คือ ลดรายจ่าย (ทํทําสวนครัว ปลอดอบายมุข) เพิ่มรายได้ (มีอาชีพ ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม) หมาะสม ประหยัด (มีการออม มีกลุ่มออมทรัพย์ฯ) การเรียนรู้ (สืบทอดภูมิปัญญา มีการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง)ง อนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อม (ใช้ ใช้วัตถุดิบในชุมชนประกอบอาชีพ ปลูกต้นไม้) เอื้ออารี ต่อกัน (ช่ช่วยเหลือคนจน รู้รัก สามัคคี) ในปี 2549 – 2551 ดําเนินการทั่วประเทศได้ จํานวน 58,537 หมู่บ้าน ต่อมากรมฯได้ขยายผลการทํางานสู่ความยั่งยืนโดยทําหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็นต้นแบบ มีศักยภาพ 4 ด้าน 23 ตัวชี้วดั คือ ด้านจิตใจและสังคม (สามั สามัคคี มีข้อตกลงข้อมูลหมู่บ้าน มีกองทุน ยึดหลักประชาธิปไตย มีคุณธรรม/จริยธรรม ชุมชนปลอดอบายมุข) ด้านเศรษฐกิจ (จดทํ จดทําบัญชีครัวเรือน ลดรายจ่าย สร้างรายได้ รวมกลุ่มพัฒนาอาชีพ การออม มีกลุ่มใน รูปแบบวิสาหกิจชุมชน) ด้านการเรียนรู้ (มีมีและใช้ข้อมูลชุมชน ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสร้างคุณค่า มีศูนย์เรียนรู้ ใช้เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม กับหมู่บ้าน สร้างเครือข่ายการพัฒนา ) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ฯ มีกลุ่ม/องค์ องค์กรด้านสิ่งแวดล้อม มีการ ใช้พลังงานทดแทนและการสร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) ม และแบ่งศักยภาพการพัฒนา หมู่บ้าน เป็น 3 ระดับ คือ ระดับ “พออยู่ พอกิน” เป็นต้นแบบในการใช้ชวี ิตพึ่งตนเอง เน้นการปฏิบัติทํากิน ทําใช้ในครัวเรือน เพื่อ ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้และมีการออม ระดับ “อยู่ดี กินดี” เป็นต้นแบบในการบริหารจัดการพัฒนาในรูปกลุ่ม การพัฒนารายได้ด้วยระบบกลุ ยระบบ ่ม เพื่อเพิ่มรายได้และขยายโอกาสคนในชุมชน ระดับ “มั่งมี ศรีสุข” เป็นต้นแบบการบริหารการพัฒนาในรูปแบบองค์กรเครือข่าย เพื่อใช้ศักยภาพใน การดําเนินการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน เพื่อขยายโอกาสในการประกอบอาชีพและส่งเสริมการจัด สวัสดิการให้กับคนในหมู่บ้านชุมชน ซึ่งทั้ง 3 ระดับนี้สามารถพัฒนาไปได้เฉพาะระดับของตนเองไม่จําเป็นต้องพัฒนาเป็นระดับหรือขั้นตอน ต่อกันไป สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 79 ~

หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นการดําเนินงานในลักษณะทางสายกลางที่สอดคล้อง กับ วิถีชีวิตของสังคมไทย และสามารถปฏิบัติได้จริง โดยทรงเน้น “การพัฒนาคน” เป็นตัวตั้ง และยึดหลักผลประโยชน์ ของปวงชน และการมี การมีส่วนร่วมตัดสินใจของประชาชน ตลอดจนภูมิสังคมทีที่คํานึงความแตกต่างกันในแต่ละพื้นที่ และการพึ่งตนเอง โดยรู้จักประมาณตนและดําเนินการด้วยความรอบคอบระมัดระวัง และ “ทํทําตามลําดับขั้น” อย่าง บูรณาการ ซึ่งอาศัยความ“เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” และการ “รู้ รัก สามัคคี” ของทุกฝ่าย ส่งผลให้ประชาชนและ ชุมชนในชนบทที่ได้ดําเนินการตามแนวพระราชดําริมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สามารถพึ่งตนเองได้ทั้งเรื่องเศรษฐกิจ สังคม มีเทคโนโลยีที่เหมาะสม ดําเนินการได้อย่างประหยัด และใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน อันนําไปสู่ชุมชนและ สังคมที่เข้มแข็งและอยู ะอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข การทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงยึดการดําเนินงานในลักษณะทางสายกลางที่สอดคล้องกับ สิ่งที่อยู่รอบตัว และสามารถปฏิบัติได้จริง ทรงมีความละเอียดรอบคอบและทรงคิดค้นแนวทางพัฒนาเพื่อมุ่งสู่ ประโยชน์ต่อ ประชาชนสูงสุด โดยมีแนวทางในการทรงงานดังต่อไปนี้ ๑. ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ คือ การที่จะพระราชทานโครงการใดโครงการหนึ่งพระองค์ท่านศึกษา ข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบ ทั้งจากข้อมูลเบื้องต้น เอกสาร แผนที่ รายละเอียดต่างๆ ตลอดจน สอบถามจากเจ้า หน้าที่ และราษฎรในพื้นที่ เพื่อทีจะพระราชทานความช่ จ่ ะพระราชทานความช่วยเหลือได้อย่างถูก ต้องและ รวดเร็ว ๒. ระเบิดจากข้างใน คือ เราต้องสร้าง ความเข้มแข็งให้คนในชุมชนที่เราเข้าไปพัฒนาให้มีสภาพพร้อมที่ จะรับการพัฒนา เสียก่อนแล้วจึงค่อยออกมาสู่สังคมภายนอก ๓. แก้ปัญหาที่จุดเล็ก คือ พระองค์ท่าน ทรงมองปัญหาในภาพรวมก่อนเสมอ แต่การแก้ปัญหาของ พระองค์จะเริ่มจากจุดเล็ก ๆ คือ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่คนมักมองข้าม ดังพระราชดํารัสตอน หนึ่ง ความว่า “ถ้ถ้าปวดหัวคิดอะไรไม่ออก เป็นอย่างนั้นต้องแก้ไขการปวดหัว นี้ก่อน” ๔. ทําตามลําดับขั้น คือ ในการทรงงานของ พระองค์ ระองค์จะทรงเริ่มต้นจากสิ่งจําเป็นของประชาชนที่สุด ก่อน และหลังจากนั้นจึง เชื่อมโยงไปถึงประโยชน์ด้านอื่นๆต่อไป ๕. ภูมิสังคม คือ การพัฒ นาใด ๆ ก็ตาม ต้องคํานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเ วณนั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคม วิทยาเกี่ยวกับลักษณะนิสัยใจคอของคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีในแต่ละท้องถิ่น

๖. องค์รวม ( Holistic) คือ พระองค์ทรงมีวิธีคิดอย่างองค์รวมหรือมองอย่างครบวงจร ในการที่จะ พระราชทานพระราชดําริเกี่ยวกับโครงการหนึ่งนั้นจะทรงมองเหตุการณ์ ที่จะเกิดขึ้น และแนวทาง แก้ไขเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบ เช่น กรณีของ “ทฤษฎี ใหม่” เป็นต้น

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 80 ~

๗. ไม่ติดตํารา คือ การพัฒนาตามแนวพระราชดํารินั้น มีลักษณะของการพัฒนาที่อนุโลมและรอมชอม กับสภาพธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและสภาพของสังคมจิตวิทยาแห่งชุมชน คือ ไม่ผูกมัดติดกับวิชาการ และเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ที่แท้จริงของคนไทยปกติเข้าสู่ระบบที่เป็น ปกติ เช่น การนําน้ําดีขับไล่ น้ําเสียหรือเจือจางน้ําเสียให้กลับเป็นน้ําดี ตามจังหวะการขึ้นลงตาม ธรรมชาติของน้ําหรือการบําบัดน้ําเน่าเสียโดยให้ผักตบชวา ซึ่งมี งมีตามธรรมชาติให้ดูดซึมสิ่งสกปรก ปนเปื้อนในน้ํา เป็นต้น ๘. ประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์ สูงสุด คือ การพัฒนาและช่วยเหลือราษฎรนั้น ทรงใช้หลักในการ แก้ปัญหาด้วย ความเรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทําได้เองหาได้ในท้องถิ่น และประยุกต์ ใช้สิ่งที่มีอยู่ในภูมิภาคนั้น ๆ มาแก้ไขโดยไม่ต้องลงทุนสูงหรือใช้ เทคโนโลยีที่ยุ่งยากนัก ๙. ทําให้ง่าย คือ พระองค์ท่านทรงโปรดที่ จะทําสิ่งที่ยากให้กลายเป็นง่าย ทําสิ่งที่สลับซับซ้อนให้เข้าใจ ง่าย โดยสอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่และระบบนิเวศโดยส่วนรวม อันเป็นการแก้ปัญหาด้วยการ ใช้กฎแห่งธรรมชาติเป็นแนวทางนั่นเอง ๑๐. การมีส่วนร่วม คือ พระองค์ทรงเป็นนักประชาธิปไตย จึงทรงนํา “ประชาพิ ประชาพิจารณ์” มาใช้ ในการ บริหาร เพื่อเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับได้มาร่วมกัน แสดงความ คิดเห็น” สําคัญที่สุดต้องหัดทําใจให้กว้างขวาง หนักแน่น ฟังความคิด เห็น วิพากวิจารณ์จากผู้อื่น อย่างฉลาด ๑๑. มุ่งประโยชน์คนส่วนใหญ่เป็นหลัก คือ ทรงเห็น ว่า การทํางานทุกอย่างของข้า ราชการนั้น มีผ ล เกี่ยวเนื่อง ถึงประโยชน์ส่วนรวมของบ้านเมืองและประชาชนทุกคน เพราะฉะนั้นจึงจําเป็นที่จะต้อง ปฏิบัติหน้าที่ทุกๆประการให้ บริสุทธิ์ บริบูรณ์ โดยเต็มกําลังสติปัญญา ความรู้ ความสามารถ ๑๒. บริการรวมที่จุดเดียว คือ พระองค์ ท่านทรงแปรเปลี่ยนการทํางานที่มักจะแบ่งแยกกันทํามาเป็นการ ร่วมมือร่วมใจโดย ไม่มีเจ้าของและสามารถอํานวยประโยชน์ นวยประโยชน์สูงสุดให้กับประชาชน จึงเกิดรูปแบบการ บริหารที่เป็นการ “บริ บริการรวมที่จุดเดียว” ว และ “การบริการ แบบเบ็ดเสร็จ” หรือ “One Stop Service” ขึ้น ๑๓. ทรงใช้ธรรมชาติช่วย ธรรมชาติ คือ พระองค์ทรงเข้าใจในหลักธรรมชาติและต้องการให้ประชาชน ใกล้ชิดกับธรรมชาติ ทรงมองอย่างละเอียดถึงปัญหาธรรมชาติ หากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติ ข จะต้อง ใช้ธรรมชาติเข้าช่วยเหลือ อาทิ ยกตัวอย่าง การปลูกป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ได้แก่ ปลูกไม้ เศรษฐกิจ ไม้ผลและไม้ฟืน นอกจากได้ประโยชน์ตามชื่อของไม้แล้ว ยังช่วยรักษา ความชุ่มชื้นให้แก่ พื้นดินด้วยธรรมชาติและมนุษย์ต้องเกื้อกูลกัน ๑๔. ใช้อธรรมปราบอธรรม คือ “ทรงนํ ทรงนําความจริงในเรื่องความเป็นไปแห่งธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของ ธรรมชาติมาเป็นหลักการ แนวปฏิบัติที่สําคัญในการแก้ปัญหาและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาวะที่ไม่ ปกติเข้าสู่ระบบที่เป็นปกติ เช่นการนําน้ําดี ขับไล่น้ําเสีย หรือเจือจางน้ําเสียให้กลับเป็นน้ําดีตาม จังหวะการขึ้นลงตามธรรมชาติของน้ํา การบําบัดน้ําเน่าเสียโดยใช้ผักตบชวาซึ่งมีตามธรรมชาติให้ดูด ซึมสิ่งสกปรกปนเปื้อนในน้ํา ดังพระราชดํารัสความว่า “ใช้อธรรม ปราบอธรรม” ปราบอธรรม สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 81 ~

๑๕. ปลูกป่าในใจคน คือ พระองค์ท่านทรง เล็งเห็นการแก้ไขปัญหาการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติด้วยการ ปลูกจิตสํานึกในการ รักผืนป่าให้แก่คนเสียก่อน เพื่อให้พวกเขารักและดูแลผืนป่าของตนเองด้วย

๑๖. ขาดทุน คือ กําไร คือ จากพระราชดํารัส ตอนหนึ่งนั้น ความว่า “เงิ เงินของรัฐบาลหรืออีกนัยหนึ่งคือ เงินของประชาชน ถ้า อยากให้ป ระชาชนอยู่ดีกินดีก็ต้องลงทุน ต้องสร้างโครงการซึ่งต้องใช้เงิน เป็น ร้อย พัน หมื่น ล้าน ถ้าทําไปเป็นการจ่ายเงินของรัฐบาล แต่ในไม่ช้า ประชาชนจะได้รับผล ราษฎรอยู่ดี กินดี ราษฎรได้กําไรไป” ไรไป ๑๗. การพึ่งตนเอง คือ การพัฒ นาให้ป ระชาชน สามารถอยู่ ในสังคมได้ตามสภาพแวดล้อมและ สามารถ “พึ่งตนเองได้” ดังพระราช ดํารัสความตอนหนึ่งว่า “...การช่ การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนใน การประกอบอาชีพและตั้งตัวให้มีความพอกิน พอใช้ – ก่อน เป็นสิ่งสําคัญยิ่งยวด” ยวด เพราะผู้มีอาชีพ และฐานะที่จะพอพึ่งพา ตนเองได้ย่อมพัฒนาให้เจริญยิ่งขึ้นไปได้ ๑๘. พออยู่ พ อกิ น คื อ จากประสบการณ์ ที่ พระองค์ ท่ า นได้ เ สด็ จ เยี่ ย มประชาชนทุ ก หมู่ เ หล่ า ได้ ทอดพระเนตรความเป็นอยู่ ของประชาชน จึงทรงสามารถเข้าพระราชหฤทัยในสภาพปัญหาได้อย่าง ลึกซึ้งว่ามีเหตุผลมากมาย ที่ทําให้ราษฎรตกอยู่ในวงจรแห่งทุกข์เข็ญ จากนั้นได้พระราชทานความ ช่วยเหลือ ให้พสกนิกร มีความกินดีอยู่ดี มีชีวิตอยู่ในขั้น “พออยู่พอกิน” ก่อนแล้วจึงขยับขยายให้ ก้าวหน้าต่อไป

๑๙. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ ถึงแนวทางดํารงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุก ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจน ถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดําเนินไปอยู่บน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการ พัฒนาเศรษฐกิจ “ความพอเพียง” หมายถึง ความพอประมาณ ความมี เหตุผล รวมถึงความจําเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผล กระทบใดๆอัน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก และขณะเดียวกันจะต้อง เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจ ของคนในชาติทุกระดับให้มีความมั่นคงต่อ คุณธรรม คือ มีความซื่อสัตย์ อดทน ความเพียร ความ รอบคอบและต้องใฝ่รู้ทั้ง ทางโลกและทางธรรมโดยสม่ําเสมอ

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 82 ~

๒๐. ความซื่อสัตย์ สุจริต จริงใจต่อกัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระราชดํารัส เรื่อง ความซื่อสัตย์ สุจริตจริงใจต่อกันอย่างต่อเนื่องตลอดมา เพราะเห็นว่าหากคนไทยทุกคนได้ร่วมมือกัน ช่วยชาติ พัฒนาชาติด้วยความซื่อสัตย์ สุจริตจริงใจต่อกันแล้ว ประเทศไทยจะเจริญก้าวหน้าอย่าง มาก ดังพระราชดํารัส ดังนี้ “...คนที่ไม่มีความสุจริต คนที่ไม่มีความมั่นคง ชอบแต่มักง่ายไม่มีวันจะ สร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนรวมที่สําคัญอันใดได้ ผู้ที่มีความสุจริตและความมุ่งมั่นเท่านั้น จึงจะ ทํางานสําคัญยิ่งใหญ่ที่เป็นคุณเป็นประโยชน์แท้จริงได้สําเร็จ...” พระราชดํารัส เมื่อวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๒๒ “...ผูผู้ที่มีความสุจริตและบริสุทธิ์ใจ แม้จะมีความรู้น้อยก็ย่อมทําประโยชน์ให้แก่ ส่วนรวมได้ มากกว่าผู้มีความรู้มากแต่ไม่มีความสุจริตไม่มีความบริสุทธิ์ใจ...” จ...”พระราชดํารัส เมื่อ วันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๓๓ “...ผู้ว่า CEO ต้องเป็นคนที่สุจริต ทุจริตไม่ได้ ถ้าทุจริตแม้แต่นิดเดียวก็ขอแช่งให้มีอันเป็นไป...” ไป “...ข้ข้าราชการหรือประชาชนมีการทุจริต ถ้ามีทุจริตแล้วบ้านเมืองพัง ที่เมืองไทยพังมาเพราะมี ทุจริต...” พระราชดํารัส เมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๖

๒๑. ทํางานอย่างมีความสุข คือ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงพระเกษมสําราญ และทรงมีความสุข ทุกคราที่จะช่วยเหลือ ประชาชน ซึ่งเคยรับสั่งครั้งหนึ่งว่า “ทํางานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอก จากการมีความสุขร่วมกันในการทําประโยชน์ให้กับผู้อื่น” ๒๒. ความเพียร : พระมหาชนก คือ จากพระราช นิพนธ์พระมหาชนก เป็นพระราชนิพนธ์ที่พระองค์ ทรงใช้เวลาค่อนข้างนาน ซึ่งใช้ในการคิดประดิษฐ์ถ้อยคําให้เข้าใจง่ายและปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสภาพ สังคมปัจจุบัน อีกทั้งภาพประกอบและคติธรรมต่าง ๆ ได้ส่งเสริมให้หนังสือเล่ม นี้เป็นหนังสือที่มีความ ศักดิ์สิทธิ์ที่หากคนไทยน้อมรับมาศึกษาวิเคราะห์และ ปฏิบัติตามรอยพระมหาชนกแล้วไม่ว่าจะเผชิญ กับความทุกข์ยากลําบากใด ๆ ก็จะ สามารถผ่านพ้นไปได้เสมอ ๒๓. รู้ รัก สามัคคี คือ เป็นคําสามคําที่มีค่าและมีความหมายลึกซึ้ง พร้อมทั้งสามารถปรับใช้ได้กับทุกยุค ทุกสมัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดํารัสในเรื่อง “รู้ รักสามัคคี” มาอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง เป็นคําสามคํา ที่มีค่าและมีความหมายลึกซึ้ง พร้อมทั้งสามารถปรับใช้ได้กับทุกยุคทุกสมัย รู้ : การที่เราจะลงมือทําสิ่งใดนั้น จะต้องรู้เสียก่อน รู้ถึงปัจจัยทั้งหมด รู้ถึงปัญหา และรู้ถึงวิธีการ แก้ปัญหา รัก : คือความรัก เมื่อเรารู้ครบถ้วนกระบวนความแล้ว จะต้องมีความรั มรักการพิจารณาที่จะเข้าไปลง มือปฏิฏิบัติแก้ไขปัญหานั้นๆ สามัคคี : การที่จะลงมือปฏิบัตินั้น ควรคํานึงเสมอว่า เราจะทํางานคนเดียวไม่ได้ ต้องทํางานร่วมมือ ร่วมใจเป็นองค์กรเป็นหมู่คณะ จึงจะมีพลังเข้าไปแก้ปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 83 ~

การศึกษาดูงานโครงการพระราชดํ โครงการพระราชดําริ “การศึกษาดูงาน” เป็นการศึกษานอกสถานที่เพื่อเรียนรู้และแสวงหาประสบการณ์ใหม่ ๆ ที่คาดหวังว่าจะ สามารถนํามาประยุกต์ใช้ในหน่วยงานหรืองานในหน้าที่ของแต่ละบุคคลได้ ทั้งยังเป็นการเปลีย่ นบรรยากาศอันซ้ําซาก จําเจของงานประจําที่ทําอยู่ไปสู่การพบเห็นสิ่งใหม่ ซึ่งสร้างเสริมแนวคิดใหม่และนําไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น ทั้งยัง เป็นการสร้างขวัญและกําลังใจในการทํางานได้อีกทางหนึ่ง การศึกษาดูงานอาจทําได้ตั้งแต่สถานที่ไม่ห่างไกลมากไปกลับได้ในวันเดียว เช่น การดูงานการเรียนการสอน ต่างสถาบัน การเยีย่ มชมสถานประกอบการในสถานที่ใกล้เคียง หรือภายในประเทศไปจนถึงเดินทางไปต่างประเทศ หรือในส่วนต่าง ๆ ของโลก วิธีการศึกษาดูงานอย่างมีประสิทธิภาพ การศึกษาดูงานนั้น เป็นกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการพัฒนาบุคลากร ในอันที่จะช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะประสบการณ์ ให้กับตัวบุคลากร อีกทั้งเปิดมุมมองที่จะรับกับการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ สร้างความพร้อม ให้แก่ทั้งตัวบุคลากรเอง และสร้างผลสัมฤทธิ์ให้แก่ทีมงานและหน่วยงาน แต่ทั้งนี้ในการศึกษาดูงาน บุคลากรหลายคนมักนึกถึงรูปแบบของกิจกรรมสันทนาการ เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งแท้ที่จริงแล้ว การศึกษาดู าดูงานนั้นมีประโยชน์อย่างมาก ทั้งในด้านความรู้ความเข้าใจ ความคิด ความสัมพันธ์ การทํางานเป็นทีม ฯลฯ นั่นคือ ช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน รวมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์ มุมมอง ความคิดเห็นต่างๆ ร่วมกันบนสถานการณ์เดียวกัน หรือเหตุการณ์เดียวกัน ทําให้ได้เห็นถึงเทคนิควิธีการในการ นํามาปรับใช้หรือการแก้ไขปัญหา อันที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ในการทํางาน ดังนั้น ผู้เขียนจึงตั้งประเด็นคําถามเกี่ยวกับการศึกษาดูงานไว้ 3 ข้อ ดังนี้ 1. การศึกษาดูงานจะมีส่วนในการแก้ปัญหาการทํางานให้กับตนเองอย่างไร? งไร 2. การศึกษาดูงานจะก่อให้เกิดความคิดใหม่ๆ ที่นําใช้กับการทํางานได้อย่างไร ? 3. การศึกษาดูงานมีประโยชน์ต่อทีมงาน และหน่วยงานอย่างไร ? วิธการศึ กี ารศึกษาดูงานให้เกิดประสิทธิภาพ หรือให้เกิดประโยชน์จากการศึกษาดูงานนั้น ควรมีวิธีการดังต่อไปนี้ 1. เตรียมความพร้อมก่อนศึกษาดูงาน ทางกาย 1.1 ความพร้อมในเรื่องสภาพร่างกาย ให้สมบูรณ์แข็งแรงอยู่ในภาวะที่พร้อมที่จะศึกษาดูงาน ทางอารมณ์และความคิด 1.2 สร้างทัศนคติเชิงบวก ให้เกิดความรู้สึกที่ดีในการศึกษาดูงาน ด้วยการมองเห็นถึงข้อดีใน การศึกษาดูงาน หน่วยงานที่จะศึกษาดูงาน หรือกิจกรรมที่จัดร่วมในการศึกษาดูงาน รวมทั้งผลที่จะได้รับกับ ตนเอง ทีมงาน และหน่วยงาน 1.3 ตั้งประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นในการทํางานปัจจุบัน รวมทั้งทบทวนถึงวิธีการทํางานในปัจจุบัน ถึง แนวคิดที่มุ่งหวังเพื่อจะได้นําความรู้มาใช้ในพัฒนาการทํางานให้เกิดประสิทธิภาพ และจดเป็นบันทึกเตือน ความจําก่อนการศึกษาดูงาน 2. เตรียมความพร้อมขณะศึกษาดูงาน 2.1 รับฟัง การบรรยายหรือการเล่าถึงประสบการณ์ในการทํางาน ตลอดจนเทคนิควิธีการทํางาน ใหม่ๆ 2.2 คิดตาม สร้างแนวความคิดใหม่ โดยมองถึงข้อดีของวิธีการทํางานแบบใหม่ที่ได้เรียนรู้ ที่จะ สามารถนํามาประยุกต์ใช้กับวิธีการทํางานแบบปัจจุบัน เพื่อลดปัญหาและเสริมประสิทธิภาพในการทํางาน

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 84 ~

2.3 ถามดู การตั้งคําถามเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ โดยถามจากสิ่งที่ได้เห็น การตั้งคําถามเป็นการจุดประกาย ความคิด กระตุ้นให้เกิดการถ่ายทอดความรู้ในการทํางาน ถึงเทคนิค วิธีการทํางานให้เกิดประสิทธิภาพ เช่น การลด ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การนําเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ การนําเอาวิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่มาใช้ เป็นต้น ซึ่งการ ถามเพื่อสร้างองค์ความรูน้ ี้ เราจะไขข้อข้องใจถึงประเด็นปัญหาที่ได้ตั้งไว้ก่อนการศึกษาดูงานได้ 2.4 รู้เขียน การนําความรู้ทได้ ไี่ ด้จากการศึกษาดูงานนั้น นํามาเขียนหรือจดบันทึกย่อเตือนความจํา การ เขียนเป็นสิ่งสําคัญเพราะตกผลึกจากความรู้ความเข้าใจของตนเองนั่นคือเขียนตามที่รู้หรือเข้าใจ ซึ่งโดยปัจจุบัน เราอาจใช้เทคโนโลยีต่างๆ เช่นการบันทึกความรู้ด้วยกล้องถ่ายวิดีโอ หรือเล่าเรื่องจากรูปภาพโดยการถ่ายภาพ หรือบันทึกเสียงด้วยเครื่องอัดเทป โทรศัพท์มือถือ ซึ่งจะช่วยเตือนความจําให้กับตัวเอง และถ่ายทอดเป็นองค์ ความรู้ได้อีกวิธีหนึ่ง 3. เตรียมความพร้อมหลังศึกษาดูงานเสร็จสิ้น 3.1 ทบทวนความรู้ที่ได้จากการศึกษาดูงานของตนเอง 3.2 นําความรู้ที่ได้จากการศึกษาดูงานมาประยุ า กต์ใช้ในการทํางาน 3.3 จดบันทึกเตือนความจําถึงวิธีการแก้ปัญหาตามประเด็นปัญหาที่ตั้งไว้ก่อนการศึกษาดูงาน ความรู้ ที่สามารถนํามาประยุกต์ใช้ ตลอดจนความรู้ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น การจดบันทึกนี้เป็นการตรวจสอบความรู้ของ ตนเองที่ได้รับในอีกทางหนึ่งด้วย 3.4 จัดประชุมแต่ละทีมงาน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน ติดตามและประเมินผลความรู้ที่ ได้รับจากการศึกษาดูงาน ก่อนที่จะรวบรวมความรู ะรวบ ้ที่ได้ในแต่ละบุคคล มาสรุปเพื่อจัดทําเป็นองค์ความรู้แต่ละ ทีมงาน 3.5 ถ่ายทอดและเผยแพร่องค์ความรู้ และนําองค์ความรู้ที่ได้มาปรับใช้ในการทํางานอย่างต่อเนื่อง และสม่ําเสมอ ดังนั้น รูปแบบวิธีการการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพที่กล่าวมาข้างต้น สําคัญคือ ผู้เรียนรู้ หรือตัว บุคลากรเอง จําเป็นที่จะทําความเข้าใจถึงจุดประสงค์หรือเป้าหมายสําคัญในการศึกษาดูงาน มีความใส่ใจ กระตุ้นทุกคนเกิดความรู้สึกร่วมในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมศึกษาดูงาน และเกิดความเชื่อมั่น มุ่งมั่น มุ่งหวัง เดียวกัน เพื่อให้การศึกษาดูงานเกิดประโยชน์หรือสัมฤทธิผล สร้างความพึงพอใจให้แก่ตัวบุคลากรเอง สร้าง ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานให้เกิดผลดียิ่งขึ้นด้วย

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 85 ~

ผู้นําชุมชน : กับการเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน ผู้นํากับการนําชุมชนสู่การพัฒนา บทนํา มนุษย์เป็นสัตว์สังคมที่จะต้องมีการดํารงชีวิตเป็นกลุ่ม เป็นชุมชน การอยู่เป็นสังคมจึงมีความแตกต่างกัน และมีความหลากหลาย ทั้งในด้านของความรู้สึกนึกคิด ความต้องการ ทําให้มนุษย์มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน ทําให้เกิด การพัฒนาและในขณะเดียวกันก็เกิดปัญหาระหว่างกันเพื่อให้เปลี่ยน แปลงไปในทางที่ดี เพื่อสนองต่อความต้องการ และบรรลุประโยชน์และความสําเร็จที่เป็นจุดหมาย ก็ต้องอาศัยการร่วมแรงร่วมใจระหว่างกันเป็นสําคัญ ซึ่งสื่อกลางที่ สําคัญในการช่วยประสานคนให้ร่วมแรงร่วมใจกัน คือ “ผู้นํา” ผู้ที่เป็นบุคคลที่จะมาช่วยประสานกําลังแรงใจและ สมองในการทํางานร่วมกันในทาง ที่ดีเป็นธรรมให้กับสังคม เหตุนี้งานในการพัฒนาชุมชน ผู้นําชุมชนถือว่า เป็นบุคคล ที่มีความรู้ ความสามารถที่ระดมทรัพยากรในด้านต่างๆ เพื่อใช้ในกิจกรรมการพัฒนา และเพื่อให้งานพัฒนานั้นไปสู่ จุดหมายได้ดีขึ้น นําท้องถิ่น คือ บุคคลที่ช่วยให้ผู้อนื่ หรือชุมชนได้มีการตกลงกัน และพยายามหาทางให้ประสบผลสําเร็จตาม จุดมุ่งหมายที่วางไว้พฤติกรรมของผู้นํา ท้องถิ่นจะมีอิทธิพลเหนือประชาชนในท้องถิ่นนั้น อันจะก่อให้เกิดการร่วมมือ กันทํางาน โดยมุ่งความสําเร็จของชุมชนเป็นสําคัญหรืออาจกล่าวได้ง่ายๆ โดยสรุปว่า ผู้นําท้องถิน่ คือ ผู้มีอํานาจหรือ อิทธิพลสามารถชักจูงคนในชุมชนได้ องค์ประกอบของผู้นํา และผู้นําชุมชน ผู้นําในระดับท้องถิ่นมีความสําคัญ เพราะสามารถนําพาท้องถิ่นไปสู่การพัฒนาที่มีความเหมาะสมกับท้องถิ่น ของตนและ การเชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาในระดับประเทศ ประกอบมีหลายประการ องค์ประกอบของผู้นําชุมชน มีลักษณะที่ไม่ต่างจากลักษณะของผู้นําทั่วไปเพียงแต่ความเป็นผู้นํา ในระดับชุมชนนั้น จะมีความเป็นกันเองกับชาวบ้าน มีความใกล้ชิด และเป็นระบบเครือญาติ ซึ่งสามารถสรุปได้ ดังนี้ 1. มีความรู้ ความสามารถในกิจกรรมที่มีอยู่ในชุมชนเป็นอย่างดี 2. มีคุณธรรม เช่น ความโอบอ้อมอารี เป็นที่ยอมรับได้ในชุมชน 3. มีความมุ่งมั่นในการทํางาน 4. สามารถประสานต่อรองเรื่องต่างๆ ได้ 5. มีฐานะค่อนข้างมั่นคง 6. มีความเป็นกันเองสูง หรือมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี ประเภทของผู้นําชุมชน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ผู้นําที่เป็นทางการ เช่น คณะกรรมการพัฒนาหมู่บ้าน ตําบล กํานัน ผู้ใหญ่ บ้าน ครู ซึ่งได้รับการแต่งตั้ง เป็นทางการ 2. ผู้นําที่ไม่เป็นทางการ เช่น ผู้มีอายุ ผู้มีความรู้ดี ข้าราชการบํานาญ ผู้มีฐานะดีหรื หรือพระสงฆ์ ผู้นําคนหนึ่ง ๆ สามารถจัดอยู่ได้ในหลายประเภท โดยมีลักษณะของการผสมผสานอยู่ในบุคคลเดียวกัน ซึ่ง สามารถจัดประเภทของผู้นําได้ดังต่อไปนี้ 1. ผู้นําทางความคิด จะเป็นผู้นําที่นําเสนอความคิดในการพัฒนา เช่น 1.1 คิดที่จะพัฒนาคนแล้วพัฒนาเศรษฐกิจ 1.2 การพึ่งตนเองทางการเกษตรด้วยการทําเกษตรผสมผสาน 1.3 การวิเคราะห์ชุมชน และทางเลือกในการแก้ไขปัญหา 1.4 วิเคราะห์ศักยภาพกลุ่มคนจน 1.5 การจัดการศึกษาเพื่อชุมชนโดยมีกิจกรรมที่ทําร่วมกัน สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 86 ~

2. ผู้นําทางด้านศีลธรรม โดยมีพระสงฆ์เป็นผู้นํา เริ่มจากการเทศน์สอนกรรมฐาน การลดละอบายมุขและ ประยุกต์กับงานพัฒนา 3. ผู้นําทางด้านอาชีพ เทคนิค การปฏิบัติ 4. ผู้นําด้านการพูด แบบกระตุ้นเร่งเร้าทั้งแนวคิด และการปฏิบัติ 5. ผู้นําที่สามารถประยุกต์งานราชการกับเป้าหมาย เพื่อชาวบ้าน 6. ผู้นําทางการประสานทรัพยากรภายในและภายนอกชุมชน (สมพันธ์ เตชะอธิก) ลักษณะของการเกิดผู้นํา ดังนี้ 1. ผู้นําที่เกิดจากการพัฒนาชุมชน ผู้นําประเภทนี้ทําให้ชาวชุมชนเชื่อมั่นและเข้าร่วมกิจกรรมมาตลอด ลักษณะผู้นําประเภทนี้ เน้นการประชาสัมพันธ์ การประชุม ประสานกับเพื่อนชุมชนอื่น และถ่ายทอดได้ดี สมาชิก เข้าใจง่าย มีความโปร่งใส เคารพกติกาที่วางร่วมกัน 2. ผู้นําการต่อสู้ เมื่อปัญหาหรือมีสถานการณ์ต้องเผชิญหน้ากับทางราชการ หรือโรงงานอุตสาหกรรม จะมี ผู้นําที่เป็นคนหนุ่ม การที่จะต่อรองและเรียกร้องสิทธิแต่จะไม่ค่อยมีคุณธรรม ผู้นําประเภทนี้ระยะหลังหาผลประโยชน์ ใส่ตัวเอง ทําให้ไม่ได้รับการยอมรับจากสมาชิกในชุมชนในภาวะปกติ คุณลักษณะของผู้นํา เป็นคุณสมบัติที่ผู้นําแต่ละท่านมีอยู่โดยไม่จําเป็นต้องเหมือนกัน หลักการ สัปปุริสธรรม คือ คุณธรรมของผู้นํา ที่จะต้องรู้เหตุ รู้ผล รู้ตน รู้ประมาณ รู้กาลเวลา รู้ชุมชน รู้บุคคล และเลือกใช้คุณธรรมนั้นอย่างเหมาะสม เพราะถ้าผู้นํารู้จักสภาพการณ์ ารณ์ที่เหมาะสมย่อมสามารถที่จะนําพา สังคมไปสู่ความ เป็นสังคมแห่งความดีงาม ผู้นําที่ดีต้องเป็นบุคคลที่มีศีล สมาธิ และปัญญา ที่จะพัฒนาตนเองและสังคมไปสู่จุดหมายที่พึงประสงค์ การพัฒนาความรู้และทักษะของผู้นําชุมชน การพัฒนาความรู้และทักษะของผู้นําเป็น สิ่งที่จําเป็นอย่างยิ่ง เพราะการเสริมสร้างความรู้และพัฒนาทักษะ จะทําให้ผู้นําชุมชนมีโลกทัศน์ใหม่ต่อ งานพัฒนา การพัฒนาความรู้ ทักษะของผู้นําจึงเป็นสิ่งจะต้องนํามาพิจารณา ควบคู่ไปกับการทํางานพัฒนาชุมชน มาประยุกต์ใช้ได้ตามความเหมาะสมในแต่ละชุมชน ผู้นําโดยส่วนใหญ่จะเป็น บุคคลที่มีความสนใจ ใฝ่ฝ่รู้ศึกษาและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ จะศึกษาด้วยตนเอง วิธีการศึกษาด้วยตนเองนั้น อาจเป็น การสังเกตสิ่งที่ตนเองพบเห็น แล้วจดจํามาทดลองปฏิบัติ หรือผ่านการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคลต่าง ๆ จัดกลุ่มพูดคุยสนทนา หลังจากผ่านการไปศึกษาดูงานภายนอก าน ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม ตลอดจน สถานการณ์ของชุมชนของตน สรุป ผู้นําเป็นสิ่งที่จําเป็นต่อการพัฒนาใน ระดับต่างๆ การพัฒนาในระดับชุมชนก็เช่นเดียวกัน ถ้าผู้นํามี คุณสมบัติที่พึงประสงค์ สามารถใช้คุณสมบัติที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชน สังคม จะเป็นการสร้าง ความสุ ามสุขหรือสร้างความสําเร็จให้เกิดขึ้น อํานาจของผู้นํา จะต้องมีการใช้ให้ถูกต้องอํานาจเป็นสิ่งที่สร้างหายนะ หรือ ก่อให้เกิดอันตรายแก่ชุมชนได้ ชุมชนจะพบกับปัญหาในด้านต่างๆ ตามมา การเลือกสรรผู้นําของชุมชนสังคมก็เป็นสิ่ง ที่มีความสําคัญอย่างยิ่ง และมากยิ่งกว่าคุณสมบัติทมี่ ีผู้นํา การพัฒนาชุมชนประสบกับความสําเร็จจากกระบวนการพัฒนาชุมชนที่ผ่านมา ทําให้เห็นว่าผู้นํามีบทบาทที่ ชัดเจนในการทําให้ชุมชนเกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ ความยั่งยืน เป็นตัวอย่างให้ชุมชนอื่นๆได้ไปศึกษา นําความสําเร็จ จากการพัฒนาที่มาจากผู้นําไปประยุกต์ใช้กับชุมชน แต่ในขณะเดียวกัน ต้องได้รับความร่วมมือของคนในชุมชนที่ ต้องให้ความสําคัญ และรับรู้ปัญหาที่กําลังเกิดขึ้นกับชุมชน เพราะปัญหาขุมชนไม่ได้เกิดขึ้นจากคนคนเดียว ทุกๆ คนทําให้เกิดขึ้นก็ต้องช่วยกันคิด หาทางแก้พร้อม ๆ กัน (http://www.l3nr.org/posts/448872 448872) สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 87 ~

สตรี กับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน สตรี คือ ผู้ที่มีบทบาทที่สําคัญต่อการพัฒนาประเทศในแทบทุกด้าน อีกทั้งยังต้องแบกรับภาระ งานบ้าน ดูแลบุตร จัดหาอาหาร ดูแลสุขภาพของสมาชิกภายในครอบครัว เมื่อเกิดการเจ็บป่วย สตรีเป็น ผู้ให้ความรักและความอบอุ่นแก่บุตร ขัดเกลา สั่งสอน รวมถึงการปลูกฝังจิตสํานึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ให้กับคนในครอบครัว ในอดีตจะมีค่านิยมของคนไทยว่ มของค าสตรีจะต้องอยู่กับเหย้ากับเรือน แต่สําหรับในปัจจุบัน ค่านิยมเหล่านั้นได้เปลี่ยนไป สตรีกับบุรุษมีความเสมอภาคกัน แม้ว่าสังคมจะหมุนเปลี่ยนไปตามกาลเวลา แต่ กิจกรรมและบทบาทของสตรีในแต่ละด้านยังคงมีความสําคัญเสมอมา สตรี เป็นผู้มีความสําคัญต่อการพัฒนา ประเทศ เพราะพลังของสตรีมีถึงครึ่งหนึ่งของพลังมนุษย์ทั้งโลก แต่ได้ถูกละเลยในการนําศักยภาพที่มีอยู่ของ สตรีมาให้เป็นประโยชน์ ซึ่งครั้งหนึ่งสตรีพยายามที่จะยกระดับเรื่องสิทธิและความเสมอภาค เพื่อแสดงออกถึง บทบาทและศักยภาพของสตรี ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างและเสนอแนะแนวทางในการสร้างความเจริญ ให้กับ สังคมและประเทศชาติ ศักยภาพในการพัฒนาตนเอง ดังนั้นบทบาทของสตรีจะสามารถสร้างความ เข้มแข็งให้กับชุมชนได้ สามารถพิจารณาได้จากพัฒนาการ ดังต่อไปนี้ ประการที่หนึ่ง สตรีกับความสัมพันธ์ครอบครัว การเริ่มต้นพัฒนาสตรีให้มีคุณภาพควรจะมีการกําหนด บทบาทและการพัฒนาด้านศักยภาพ ความพร้อมของสตรี ของสตรีก่อนที่สตรีจะออกไปสู่สังคมในปัจจุบัน ในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ด้านแรก จะเป็นเรื่องของการให้ความสําคัญในเรื่องของการศึกษา เพราะการศึกษาถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้น ของการพัฒนาสตรีทุกคนจึงจําเป็นที่จะต้องศึกษาเรียนรู้อยู่ตลอดเวลาเพื่อยกระดับให้ตนเองมีความรู้ ความสามารถ เท่าเทียมกับผู้อื่น และจะต้องรู้จักพัฒนาตนเอง ก้าวทันกับเทคโนโลยีที่กําลังมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในโลกปั งในโลก จจุบัน ด้านที่สอง เป็นเรื่องของสุขภาพอนามัยที่ดีของสตรี ก็ถือเป็นเรื่องที่สําคัญอีกเรื่องหนึ่งที่ส่งผลให้สตรี มีกําลังกาย กําลังใจที่สมบูรณ์ แข็งแรง และมีภูมิต้านทานภูมิคุ้มกันที่ดีต่อการดํารงชีวิตร่วมกับคนอื่น ๆ เพราะ หากสตรีมีสุขภาพที่ไม่แข็งแรงอาจจะทําให้ขาดโอกาสในการทํากิจกรรมต่าง ๆ ใน ชีวิตประจําวันที่ส่งผลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องต่าง ๆ ด้านที่สาม เป็นเรื่องของการประกอบอาชีพและรายได้ ในสังคมปัจจุบันถือได้ว่าเงิน เป็นสิ่งสําคัญ ที่สุดในการดําเนินชีวิต เนื่องจากมี องจากมีความเกี่ยวข้องกับปากท้องที่มีผลต่อการดํารงชีวิตในแต่ละวัน จึงจําเป็น อย่างยิ่งที่สตรีทุกคนจะต้องมีอาชีพและมีรายได้เพียงพอ เพื่อช่วยเหลือครอบครัว เพื่อให้ครอบครัวดํารงอยู่ใน สภาวะที่มั่นคง ในสถานการณ์ที่เศรษฐกิจกําลังประสบปัญหาภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา ทุกครอบครั ครอบค วจะต้องได้รับ ผลกระทบของระบบเศรษฐกิจไม่มากก็น้อย ซึ่งหากสตรีทุกคนมีรายได้ที่แน่นอน มั่นคง ถาวร ก็จะส่งผลให้ สภาพความเป็นอยู่ของครอบครัว อยู่ดีกินดี ครอบครัวอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และเมื่อสถาบันครอบครัวซึ่ง ถือเป็นสถาบันที่สําคัญที่สุด เป็นจุดเริ่มต้นของการพั ของการพัฒนาที่จะนําไปสู่การพัฒนาในระดับต่อไปคือระดับชุมชน ช ด้านที่สี่ ด้านสิ่งแวดล้อม ในการดํารงชีวิตของสตรีย่อมมีความเกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นสตรีจึง ต้องมีวิธีการในการจัด การสิ่งแวดล้อมที่ดี ซึ่งหากในพื้น ที่ที่สตรี ส ตรีและครอบครัว อยู่เต็มไปด้ว ยยาเสพติ ยยาเสพ ด อาชญากรรม โรคติดต่อ ฯลฯ สตรีและครอบครัวของตนเองก็จะอยู่อย่างไม่สงบสุข หวาดระแวงอยู่ ตลอดเวลา เนื่องจากได้อยู่ท่ามกลางอันตราย ดังนั้น เพื่อร่วมสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีสตรีจึงควรที่จะมีวิธีใน การจัดการกับ สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมและเกิดการพัฒนาอย่างตรงจุด ด้านที่ห้า ด้านการเมืองการปกครอง งการ สตรีจะต้องมีบทบาทในการเข้าร่วมต่อกระบวนการเคลื่อนไหว ต่างๆ อาทิ การร่วมเดินขบวนการต่อต้านนโยบายของรัฐต่าง ๆ รวมไปถึงกระบวนการเรียกร้องต่าง ๆ ดังที่ เห็นในปัจจุบัน และในบางครั้ง สตรีได้โอกาสก้าวสู่การเป็นแกนนําของกลุ่มต่อต้านในหลาย ๆ กรณี เช่น กลุ่ม ต่อต้านคัดค้านการก่อสร้างโรงไฟฟ้าหินกรูด-บ่อนอก กลุ่มคัดค้านต่อต้านการก่อสร้างโรงบําบัดน้ําเสียคลอง ด่าน ในปัจจุบันก็ยังคงมีผู้นําประเทศ เป็นสตรี เพราะสตรีมีโอกาสในการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมื มทาง องการ ปกครอง เพื่อเข้าไปร่วมในการวางแผนในการพัฒนาชุมชนอย่างแท้จริง สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


~ 88 ~

ประการที่ ส อง การสร้ า งพลั ง และเครือ ข่ า ยสตรี ปั จ จุ บั น สตรี มี โ อกาสเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในชุ ม ชน โดยเฉพาะการรวมตัวกันเองในกลุ่มสตรีด้วยกัน เช่น กลุ่มสตรีอาสาสมัคร กลุ่มอาชีพสตรี กลุ่มสตรีผู้อนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม กพสม. กพสต. กพสจ. กพสจ เป็นต้น ส่งผลให้สตรีมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการเป็นบุคคลที่มี จิตสํานึก สาธารณะ โดยผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์และแสวงหาแนวทางที่ จะส่งผลให้ ชุ ม ชนให้ น่ า อยู่ แ ละเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการที่ จ ะสร้ า งพลั ง ร่ ว มกั น และก่ อ ให้ ก ารพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น สู่ ค วาม เป็นชุมชนเข้มแข็ง ประการที่สาม การสร้างภาวะผู้นําสู่การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน การที่สตรีมีภาวะผู้นําใน การเข้าร่วมบริหารจัดการกับกลุ่มองค์กร ที่มีการผสมผสานในมิติชายหญิง เพื่อสร้างความเข้มแข็งโดยการมอง กิจกรรมที่ปฏิบัติ คือ หากสตรีได้รับข่าวสารที่ดี ทันสมัย จะช่วยให้ผู้นําชุมชนที่เป็นสตรีได้ใช้ประโยชน์ใน การรู้สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหา โดยเฉพาะข้อมูล จปฐ. และกชช.2 ค สตรีมีโอกาสเข้าร่วมตั้งแต่การ จัดเก็บและนําข้อมูลมาใช้ ซึ่งปัจจุบันทุก อบต. จะมีข้อมูลเหล่านี้ เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ของคนในชุมชน ซึ่งมีความจําเป็นอย่างยิ่งในการศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพ ชีวิตของสตรีไปสู่ความเป็นอยู่ที่ขึ้นสําหรับใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา ในเรื่องต่าง ๆ ที่เห็นสมควรแก่การ พัฒนา โดยทุกฝ่ายจะต้องช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสม ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะช่วยให้ผู้นําสตรีเป็นคนที่ ทันสมัยทันเหตุการณ์ ด้านกิจกรรมของกองทุนต่าง ๆ ในทุกชุมชนมีทรัพยากรที่แตกต่างกันออกไปตามความ เหมาะสมของสภาพภูมิอากาศและ ภูมิประเทศ ดังนั้นทรัพยากรจึ กรจึงมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป จึงเป็นสิ่ง สําคัญที่จะช่วยพัฒนาในเรื่องของการจัดการเงินในการดําเนินการ กิจกรรมต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับทุนที่มี ใน ชุมชนให้เกิดประโยชน์สูงสุดและส่งผลต่อการพัฒนาชุมชน ให้มีส่วนร่วมภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุก ฝ่าย ซึ่งผู้นําสตรีก็จะมีส่วนในการสํารวจกองทุนจัดทําทะเบียนโดยเข้าไปมีส่วนร่วม บริหารกองทุน หากใช้ กองทุนให้สอดคล้องและคุ้มค่ากับประโยชน์ที่ได้รับกับชุมชน ทําให้ชุมชนมีจุดแข็งในด้านเงินทุน การขยาย กิจกรรมจะสามารถช่วยในการส่งเสริมให้ชุมชนเข้มแข็ง รวมทั้งเรื่องของ การค้นหาทุนทางสังคมที่มีอยู่ใน ชุมชน ซึ่งทุนชุมชนสามารถจําแนกได้ 5 ประเภท ?ได้แก่ ทุนมนุษย์ (Human Human Capital) ทุนสังคม (Social Capital) ทุนกายภาพ (Physical Physical Capital) ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) ทุนการเงิน (Financial Capital) ซึ่งล้วนแต่เป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มกลายเป็นรายได้ มีทั้งเรื่องอาหาร สิ่งประดิษฐ์ ศิลปวัฒนธรรม และ การท่องเที่ยว เป็นต้น หากสตรีได้พยายามพัฒนา วัตถุดิบ การผลิต การตลาด โดยผ่านการรวมกลุ่มองค์กรที่ เป็นเครือข่ายก็จะก่อให้เกิดรายได้ภายในชุมชน ภายใต้การบริหารจัดการทุนชุมชนที่สามารถก่อให้ทรัพยากรที่ ไม่มีค่ากลายเป็น มูลค่าที่มหาศาลให้แก่ชุมชน ทําให้ชุมชนมีรายได้และมีการพัฒนาในส่วนต่าง ๆ ตามมาที่ ส่งผลให้ชุมชนเกิดการพัฒนาไปสู่ทางดีขึ้นตามลําดับ จากการกล่าวมาข้างต้นจะสามารถสรุปได้ว่า การที่จะพัฒนาสตรีจะต้องเริ่มต้นจากการพัฒนาตนเอง โดยเริ่มต้นจากครอบครัว ของตนเองให้มีความเป็น อยู่ที่ดีมีความสุข จึงจะสามารถที่จ ะพัฒ นากลุ่มองค์กร เพื่อที่จะนําไปสู่การพัฒนาตนเองให้เข้าสู่การเป็นผู้นําในเรื่องของการมีส่วนร่วมในการสร้างกระบวนการและ กําหนดทิศทางในการพัฒนา ซึ่งจะต้องประกอบกับการที่มีสตรีจะต้องมีภาวะผู้นํา ในเรื่องของการเป็นผู้นํา ที่ ดีในทุกด้าน มีศักยภาพในการพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้นตามลําดับ เพราะในปัจจุบันนี้สตรีไม่ได้ขาดโอกาสใน การพัฒนา ไม่ได้ถูกเอารัดเอาเปรียบ ดังนั้นสตรีควรจะมีบทบาทสําคัญในการสร้างความเข้มแข็งให้เป็นชุมชน ในการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าเทียมกับบุรุษใน สังคมและไม่จําเป็นที่ สตรีจะต้องเป็นช้างเท้าหลังตลอดไป..... ตลอดไป

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี


บรรณานุกรม กอบกุล อิงคุทานนท์ บรรณาธิการ. สตรีกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน. ผู้หญิงกับอํานาจที่จะ เเปรเปลี่ยน.กรุงเทพฯ,2537 เข้าถึงได้จาก http://www.gotoknow.org/posts/479465 โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริจังหวัดเพชรบุร.ี เข้าถึงได้จาก http://www.phetchaburi.go.th/data/kingproject/allproject.html .(วันที่ค้นข้อมูล : 20 พฤษภาคม 2557) ผู้นํากับการนําชุมนสู่การพัฒนา. เข้าถึงได้จาก http://www.l3nr.org/posts/448872 (วันทีค่ ้น ข้อมูล 21 พฤษภาคม 2557) สาระสําคัญในแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เข้าถึงได้จาก

http://www.rdpb.go.th/rdpb/front/king.aspx?p=3 (วันที่ 23 พฤษภาคม 2557) หลักการองค์ความรู้ ๖ มิต.ิ เข้าถึงได้จาก http://www.treconwebsite.com/royalprojects/index.php?option=com_content&view= article& id=101.(วันที่ค้นข้อมูล : 20 พฤษภาคม 2557) ส่วนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ (สพร.) (2555). โครงการฟาร์มทะเลตัวอย่างตามพระราชดําริ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จังหวัดเพชรบุรี . กรมประมง http://extension.fisheries.go.th/royal_fisheries/index.php?name=project&file= readproject&id=78 สํานักเสริมสร้างความความเข้มแข็งชุมชน .หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. คู่มือการดําเนินงานโครงการ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ. กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย (พ.ศ.2556 หน้า 16) สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ .หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว.หนังสือ "เรียนรู้หลักการทรงงาน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว" เข้าถึงได้จาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=484 (วันที่ค้นข้อมูล 25 พฤษภาคม 2557) อุทยานสิ่งแวดล้อมสิรินธร. เข้าถึงได้จาก. http://sirindhornpark.or.th/2014/TH/ (วันที่ค้นข้อมูล 21 พฤษภาคม 2557)


ภาคผนวก




หนังสือรับรองหลักสูตรการฝึกอบรม โครงการ เพชรน้ํางาม อาสาใจ ขยายโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี ....................... ตามที่ สํ า นั ก งานพั ฒ นาชุ ม ชนจั ง หวั ด เพชรบุ รี ได้ ทํ า หลั ก สู ต รการฝึ ก อบรม โครงการเพชรน้ํางาม อาสาใจ ขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุ รี สํ า หรั บ ใช้ เ ป็ น แนวทางในการฝึ ก อบรม โครงการอาสาใจ ขยายผลโครงการพ่ อ ตามแนว พระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งเป็นโครงการตามข้อเสนอโครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน ประจําปี ๒๕๕๗ นั้น ข้า พเจ้ า ได้ต รวจสอบแล้ ว มีค วามเห็ น ว่า เป็น หลั กสู ต รที่มี ป ระโยชน์ มี เ นื้อ หาที่ ครอบคลุมสามารถนําไปใช้ในการฝึกอบรมตามโครงการฯ ดังกล่าวข้างต้นได้


ouuud

nla{Q{14?O

Ll^']lJ51-l:

ir/

fil2d{/\Da.a.$) tU

Gor rrrirm"rnruvdrmu/n6uvn:::rn1: rirrfiunuTn:{n1:it3}.raixa::rirfiorfr:rrJ:vfrvrBnrvl

rJ:vlirfl toaa.l {'lur-ountl:t1i (In:lnr: nr:Eirrn6ouquooranin:rnr:fi'ruurq:rtu qq orarlo t ur u zuaTrr:rnr:donrlt uurv'r:v:rtriri)

o o lul^utrumu{orauo1rr:rnr:Bui:raixa::riirfiolrilrj:vfru6art v U0{Y'l v u IY{IJ:U d: fi'lYUfifil q

Fl'l

l:vdrfl uaanr o-ruionTt:r;t 0n:lnr: orar"Lq fluluPia nr:r-lrnfiouayooranin:lnr:vYorurrlrtu -99 In:rnr:uiosr'u.rr[u1r\:v:rtrirE)lorufiinqrJ:varrirfior{rrairnT:rjrTn:{fl1:1'{:v:rtpir3 lrtuluzuanl: uv uavtfioaixltJulunr:firuuta+jriru6'uILUUlJU'tu,.ta v!elulytlJlunuyanilit6u'rro.:rfl:rgrflovrotfiur --a ! d u uTn:t nr:rni o mu tturn :v:rt riri rfiol#nr:rirrfrurrumuln:rnr: orarlo rLaruzunTn:.:nr:ilomuuu'lv!:v:'r"ilriri rtluhj

4 ' ^Fr,.iaL{Ju:r.Jo::l uayrfrnr.J:vTutriaraoriorj:vtrtlu"lufiufi v a?un'tltJtrulJloutfl u ! e

n

ilv n : :l.r fl 'r :

o"r lfr

ut'run u1n : I n r : r

ler

d " r* o rrl'', o r u o r a r'[o t u l

fi o I rir.l: v n 0 ! tta

u

surir

fi

6.:uuritovtnruvlirtru/

d'l

u aTn : t n r :d o m 1 ]r ttu ? {onir ra #n q n : rru:v:rtrir?" il:snoupitg o.o 0.rFr.rli.flryryr vrorf,a nrur:6nruvnloramirLuriur6'u:rtfi6rnt:r1i u{iufirlSnrgr arnfl rlr-ernr:aruar16ovr:voEunriuvr:rr:r:rttufi r{lufirl6nrgr o.to uraniovwri dU d a, j ,o v 64 v o A o.en u1uL1ilJl'{A D:i:lAflr ritirUrunr:rtuufrnurttavflrriut%}lllutl\lJ:1]5 L1-JUvl!:nu1 v " n'rr,:rirrruorarlo se,rrur{a1n:tnr:riom1ilt[u? u. nruvlirrru6'olirrn#nasr: U

r.

1l5v:1nfi13

"

fi rJE

n rET

zu

il:vnoupitu Ud O t1"llJ:1J

o

V! 9r11.J1fl

Ie.

ID

uvtd v ?-i914U 1 n A

to.

m ri'r v rir

lE.

Icr.d

n ri

l.J

{

r

Iru

tq

1 U u vl D ei

fl

1 A 9l

I laB il

vv 14? 111.J',l

:

1:A {Y?

:

:

n1

1\ ru 1] 1

n r :rnTeu u r

II

3.1 1J

U

ul $u

uYta

al',l:l',{9IlU11J}.llJU 14?14U',rfl A}.l.i1UA1:AUtllFl 91

t .a r.i'rvrirr.lratirur unr: le.b

V!

$lU1

n'l:Ol

dd

LtlO t:.J0{

voY

b.6', V!9}]Ul n 1:O'1

Li-l

lo. lo.

oo oro

b.oo

V\9111.J1

fl 'l

:O'l trl

0 L?1 u

l&'orur nr

:dr

un

Io.olo tatelUrnl:0'l

ntuu?1'l{'lu

OU

o

Lrl O?JU

0f

n6uv111{1U

ouuosu{rrJ frol

tjl0ttf

ifl

:vQlU

b. oren Ufl 1?J1n'l:V'i BIU1qiltUfl 'lUl6U ({YrIo.

od

fr

n1:

fr n

t or

t r u n o tvtI uiliqr

n6uv11'l{1u

Ltautafllunl:

m

UlJlUr ru Ufl ?lJ1n1:1\ 9IUrlJ].Jfl 9u

ntuv?11{'lu ft6uv111.1',lU

otorrru uvonra i)

UAAO

(r.i:-r: 'u

a6uvvl1.l1u

Fl6Uv1,11{'lU

vy

l0'l

nilv11'l{'lu

nfUYYl1.l1U

rUA'lfl

fiIll.Jl fl f

?'l

frtuvlll{'lu

nfuv1,11{'lu

OIJ'lu tt14a[.]

Y,lelU1fl 1:Or Ln O!

vvl 1.i 1U

nfuvvn{1u

LV\1Ji!:

Le.d V!0IUl n'1T01 ttl 0Yl''l U 1{

b.c(

6U

Fr6Uv?11{',lU

UO

u

fl

1

n1:

uru

ur.l rvr a rli)

n6uvyl'1.1'lu Yt

LtavftlJ? uLal1Un',l: U9 ,dvA

/1..l14u'l?]...


-].eqvd

xr14u'tvl

q-nri1u#naeri "dnE[?',ru:rirrruorarlo cJuruEraTn:rnr:rnioal]JLru?v{:u:1t$i13" J

t Y

o v o

a

tv

a

O I

d

6

o

d

rfio'[{r{rraiunr:rfi'suurraritirusrtrvdnrJYtrurrorrri:usnar\oLfrur"[rirfrorzuar{ruEroeirqfirJ:vfrvrBnrv'r

r{lutt-tntruu?vn{n'r:riirhro'.luTur,nr: arlr'Lo or'.roiuT.rrnr:yionuuu?v!:v:''lrlrir3 ufrnuinn::r "LurrurnTnrulurJ'rJu Lraualx.llrflrirtrltdr{Jurru?vr1{"Lun1iflu'rur.ran1:rniolurraririlurtl!fidfllYtcurror IU tfl

:Bgnailotfi urlugrJ rrru (Mode[) " w'rt:13ora1"[0r uI u zua "

n6uun::unr:fior:rurdqu6onuliriru fifinr:riourirfirn::utu1n:tn1:y,rrs:'ruri'rB g o 1 dlta t u 1 u aTn :{ r'r''r il^io a 1 u rru?vr rvrl ?,sirBd rriu d :vno u dr u lo. o vlisuul n r :o-tu'r-o tvrt:ui il:sorunruvn:iiln'): q la3 r n r : rTor u r t u t u ter. to fi'r ra rir n d :r r r u :oqrJ:vorun6uu n::il n1: t1 'ou u'r ]J u nilun::iln17 to. ,tt en fi'r ra rir n a' ltl r u a r : a u ru rt n r : fi to.a ra':yrirrlr udrur u nr: nilun::iln1: uvt6 14fl :nl:?\911U11,}.JtJU [e.d 14?vU']fl At.l{1UUvl0fl nilun::}Jn1: Itl

Lq. n1 ilTn

i{

n''r

i

e,r

ai

?J

1,

uauLafl1un15 i Io.

s rini t r n r*ilier u r t il tu

(

{Yu

fi

er

t

o

umu

u vr o

fi r a

sr

i)

nfuvn:5iln1: tLavr.llJ?utat1unl: U1

o. riruunuurux uravua'nrnruc,{nr:1Aor:rurrfio"LrXnvrruulunr:n'nra'anvrririru U

fifinr:

riolrjrfron::r"[u1rr:snr:vr:v:rtriri mrrTn:.rnrF orar"Lr rurunnTn:rnr:rionrrLru?v!:u;1tri13 t

fltou

raririrufifinr:riolrirfion::uluTrr:.rnr:

to. riruflunr:m:rordaruavfior:rur"Lfi'nrviluu 1\Tv:r%ei13 rruTn:r sn.

nr: orarlo

uurn:v:rtriri

r u'ruzuaIrr:rnr:yiomu i

U

6

rriu

qe

^

T'ru{'ruEranr:n:?aruurruavzuafior:rurlfinvutuuvrririruorarlo flu1uzua lrr:tnr:vio

oad t il o m'.Iil Ltu?yl:u:11jfi't: o Lf]u :yf]lj 01 Lfl a tta u zuanr:il:vnrqrr'nr6onfr'fioiuo:::Jrl:vsiruilrtl.irurJ:vqirfl a nl:u:v n? q n n of ,

La

zu

y:ru fliolo-qdrl:vnrfizu6nr:riolrirfion::rluTn:rnr: v{.fi. Iedde, "Lri'ri"ir:rtnr:d'rur-nuut:r:i $! 1\:v:'nJri'li nuTn:'rnr: orar"Lo rurazuaTn:rnr:vionuuurvr:s:rtpirB 6rriu:souo-rv{rr <. fror:rurlri'errrlr#utou ronar:nlifloeruvrriuu vririrufifinr:riolrirflon:::r"lu U ptrrLTn:rnr: To:rnr:vr:v:rtriri ora'r1o ruruzuaTn:rnr:viomurrurvr:s:rtrirE 6ueiu:volutiut-pr t4iil

tv

m's

d

4.

untinilriiudu'Lrl "t ar

su

- i 6no ^ iuvr lflu1uu

tl

v!.fl. Lodd6', ,/t'

" t!, ,1<

!!

"'(,"t,./ trxqi]'iCi$?

f ^

tf

,r l,

(fi aiaeissat ifi :a*s.l

ril

n 1 Tilieu

u1

qJu

*

&

rffi :r r *.i:i,,;ic?

+]"d'r:tw:1":r'i1".ia'iailt r

rlu : a ir r tr

cq&d

q:fr U:;:;tirqs)

j1::en'l:#{H{*:

,

n

fi

?,5:q:

tu"Lrfr

r{ri

rrfi

r

:;

ij'i

rfl :rEf,

n a fi 1

u:1

n }Yu

n.r


กําหนดการฝึกอบรม โครงการตามหลักสูตร เพชรน้ํางาม อาสาใจขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ อําเภอ ............................................... จังหวัดเพชรบุรี ............................................. วันที่ กรกฎาคม ๒๕๕7 เวลา ๐๘.0๐ – ๐8.3๐ น. เวลา ๐8.3๐ – ๐๙.0๐ น. เวลา ๐๙.0๐ – ๑2.๐๐ น. เวลา ๑3.๐๐ – ๑4.๐๐ น. เวลา ๑4.๐๐ – ๑5.๐๐ น. เวลา ๑5.๐๐ – ๑6.3๐ น. วันที่ กรกฎาคม ๒๕๕7 เวลา ๐8.3๐ – ๑๒.๐๐ น. เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. วันที่ กรกฎาคม ๒๕๕7 เวลา ๐8.3๐ – ๑๒.๐๐ น.

เวลา ๑๓.๐๐ – ๑5.0๐ น. เวลา ๑5.0๐ – ๑๖.0๐ น. เวลา 16.00 – 16.30 น.

- รายงานตัว - ปฐมนิเทศ ชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียดโครงการ - โครงการตามแนวพระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี (วิทยากรภาครัฐ) - ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (วิทยากรภาครัฐ) - หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (วิทยากรภาครัฐ) - ผู้นําชุมชน กับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (วิทยากรภาครัฐ) - ศึกษาดูงานโครงการตามพระราชดําริ ในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี (วิทยากรภาครัฐ) - ศึกษาดูงานโครงการตามพระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี (วิทยากรภาครัฐ) - การวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้ความรู้จากศึกษาดูงาน โครงการตามพระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี เพื่อการ พัฒนาในระดับบุคคล ครัวเรือน และชุมชน (วิทยากรภาครัฐ) – การส่งเสริมกิจกรรมขยายผลโครงการตามพระราชดําริ (วิทยากรภาครัฐ) – การคัดเลือกคณะกรรมการบริหารโครงการ/จัดทําระเบียบ การดําเนินกิจกรรมขยายผลโครงการตามพระราชดําริ ของหมู่บ้าน - ประเมินผล - สรุปผล มอบภารกิจ

หมายเหตุ : พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา ๑๒.๐๐–๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารว่าง (เช้า) เวลา ๑๐.๓๐–๑๐.๔๐ น. (บ่าย) เวลา ๑๔.๓๐–๑๔.๔๐ น.


แบบประเมินหลักสูตร เพชรน้ํางาม อาสาใจ ขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ คําชี้แจง

ตอนที่ 1

การประเมินผลหลักสูตร เพชรน้ํางาม อาสาใจ ขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ แบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 เป็นแบบประเมินความเหมาะสมของหลักสูตร ตอนที่ 2 เป็นแบบประเมินวามสอดคล้องของหลักสูตร จัดทําขึ้นเพื่อประเมินคุณภาพของหลักสูตร โดยผู้เชี่ยวชาญ แบบประเมินความเหมาะสมของหลักสูตร เพชรน้ํางาม อาสาใจ ขยายผลโครงการพ่อตาม แนวพระราชดําริ โปรดใส่เครื่องหมาย ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมาก ที่สุด และโปรดให้ข้อเสนอแนะ (ในกรณีที่ตอบช่องน้อย/น้อยที่สุด) ประเด็นการประเมิน

1. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เหมาะสมระดับใด ข้อเสนอแนะ

2. หัวข้อวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตรเหมาะสมระดับใด ข้อเสนอแนะ

3. ขอบเขตเนื้อหาวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตร เหมาะสมระดับใด ข้อเสนอแนะ

4. วิธีการฝึกอบรมที่ใช้ในแต่ละวิชาเหมาะสมระดับใด ข้อเสนอแนะ

5. วิธีการประเมินผลเหมาะสมระดับใด ข้อเสนอแนะ

น้อยที่สุด

ระดับความเหมาสม น้อย ปานกลาง มาก

มากที่สุด


ตอนที่ 2 แบบประเมินความสอดคล้องของหลักสูตร เพชรน้ํางาม อาสาใจ ขยายผลโครงการพ่อตามแนวพระราชดําริ ระดับกลาง โปรดพิจารณาองค์ประกอบต่าง ๆ ของหลักสูตรต่อไปนี้ ว่ามีความสอดคล้องกันมากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน 1. วัตถุประสงค์ของหลักสูตรกับปัญหาและความเป็น ในการฝึกอบรม 2. วิชาต่าง ๆ ที่กําหนดไว้ในหลักสูตรกับวัตถุประสงค์ ของหลักสูตร 3. วัตถุประสงค์ของวิชาต่าง ๆ กับขอบเขตเนื้อหาของแต่ละวิชา 4. ขอบเขตเนื้อหาวิชากับวิธีการฝึกอบรม 5. วิธีการฝึกอบรมกับระยะเวลาที่กําหนดไว้ 6. วัตถุประสงค์ของวิชากับวิธีการประเมินผล ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

ระดับความสอดคล้อง ไม่สอดคล้อง ไม่แน่ใจ สอดคล้อง


แบบประเมินผลรายวิชา วิชาที.่ .... .................................................................................................................................................. ชื่อวิทยากร .................................................................................................................................................. วัตถุประสงค์ของวิชา ........................................................................................................................... ............................................................................................................................ ........................................................................................................................... ประเด็นการประเมิน

น้อย ที่สุด

ระดับความคิดเห็น น้อย ปาน มาก กลาง

มาก ที่สุด

ประเมินผลเนื้อหาวิชา 1. ประโยชน์ของเนื้อหาสาระต่อการปฏิบัติงานของท่าน 2. ความเหมาะสมของเวลากับเนื้อหาวิชา 3. การบรรลุวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา 4. ท่านมีความความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชานี้ - ก่อนการฝึกอบรม - หลังการฝึกอบรม ประเมินผลวิทยากร 1. ความชัดเจนของเนื้อหาสาระ 2. ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 3. การใช้โสตทัศนูปกรณ์ 4. การสรุปและการตอบข้อซักถาม 5. ให้ผู้เข้าอบรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ 6. การรักษาและควบคุมเวลา ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นอื่น ๆ เกี่ยวกับวิทยากร................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็นอื่น ๆ เกี่ยวกับเนื้อหาวิชา............................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ควรบรรจุวิชานี้ในการฝึกอบรมครั้งต่อไปหรือไม่ ( ) ควร ( ) ไม่ควร ไม่ควรเพราะ....................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................


แบบประเมินก่อน/หลังการฝึกอบรม ท่านมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาต่อไปนี้ในระดับใด ( ) ก่อนการฝึกอบรม ( ) หลังการฝึกอบรม

หัวข้อวิชา 1. โครงการตามแนวพระราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี 2. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 4. ผู้นําชุมชน กับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 5. ศึกษาดูงานโครงการตามพระราชดําริในพื้นที่ จังหวัดเพชรบุรี 6. การวิเคราะห์ การประยุกต์ใช้ความรู้จากศึกษาดูงาน โครงการประราชดําริในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี เพื่อการ พัฒนาในระดับบุคคล ครัวเรือน และชุมชน 7. การส่งเสริมกิจกรรมขยายผลโครงการตามแนว พระราชดําริ 8. การคัดเลือกคณะกรรมการบริหารโครงการ/จัดทํา ระเบียบการดําเนินกิจกรรมขยายผลโครงการตาม พระราชดําริของหมู่บ้าน

น้อย ที่สุด

ระดับความรู้ความเข้าใจ น้อย ปาน มาก กลาง

มาก ที่สุด


สํ านักงานพัฒนาชุ มชนจังหวัดเพชรบุรี https://www.facebook.com/cdd.phetchaburi


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.