ISSUE 2013
อาการแบบไหน เรียกว่า “วัยทอง”
One-Stop Service ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ
ความสะดวกสบายของการดูแลสุขภาพ อย่างครบวงจร
รู้ทัน...
ป้องกันอัมพฤกษ์ อัมพาต
เพราะความมั่นใจ การผ่าตัดจึงเป็นเรื่องจิ๊บๆ ห่วงใยสุขภาพคุณ
ด้วยกระดายาษตา
ถนอทมั้งสเล่ม
และใช้หมนึกถั่วSเหoลืyIอnง k จากน้ำามั
ใสใจสุขภาพผูสูงวัย...
เชื่อมสายใย
...ในครอบครัว
ดวยโปรแกรมตรวจสุขภาพ สำหรับผูที่มีอายุ 55 ปขึ้นไป Executive Check Up
โปรแกรม
โปรแกรม
สุภาพบุรุษ 31 รายการ
สุภาพสตรี 30 รายการ
พรอมรายการตรวจพิเศษ • ตรวจแคลเซียมทีผ่ นังหลอดเลือดหัวใจ (Calcium Score CT) • อัลตราซาวด ชองทองสวนบนและลาง (Whole Abdomen Ultrasound) • ตรวจความหนาแนน ของมวลกระดูก (Bone Densitometry)
20,000 พิเศษ!
รับบัตรสมาชิก Healthy
พรอมรายการตรวจพิเศษ • ตรวจแคลเซียมทีผ่ นังหลอดเลือดหัวใจ (Calcium Score CT) • อัลตราซาวดชอ งทองสวนบน (Upper Abdomen Ultrasound) • ตรวจความหนาแนนของมวลกระดูก (Bone Densitometry) • ตรวจคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกชนิดพิเศษ (Cervical Cancer Screening) • เอกซเรยมะเร็งเตานมดวยเครือ่ ง ดิจติ อลและอัลตราซาวด (Digital Mammogram with Breast Ultrasound)
Living Platinum พรอมสิทธิพิเศษมากมาย
ตั้งแตวันนี้ - 30 มิถุนายน 2556
* โรงพยาบาลขอสงวนสิทธิ์ ในการเปลี่ยนแปลงอัตราคาบริการ รายการตรวจ เง�อนไข การยกเลิกโปรแกรม และสิทธิประโยชนตางๆ โดยไมตองแจงใหทราบลวงหนา
23,500
สุขกาย สบายใจ ในวัยสูงอายุ “ผู้สูงวัย” กับร่างกายที่ค่อยๆ ก้าวเข้าสูภ่ าวะเสื่อมถอย หนีไม่พน้ การ เผชิญหน้ากับโรคภัยไข้เจ็บหลากหลาย รูปแบบ จากสถิติเมื่อปี 2547 พบว่า ผู้สูงวัยในประเทศไทยมีจ�านวน 10% ของประชากร ทงั้ หมด หรือราว 6 ล้านคน และถูกคาดการณ์ว่า อีก 14 ปีข้างหน้า ในปี 2570 จ�านวนผูส้ งู วัยจะเพิม่ ขึน้ เป็น 20% หรือประมาณ 13 ล้านคน ส่งผล ให้ประเทศไทยมีสงั คมผูส้ งู วัย ในปริมาณ สูง ดังนัน้ หากผูส้ งู วัยในสังคมไทยไม่ได้รบั การดูแลเรือ่ งสุขภาพอย่างถูกต้อง และสม�่าเสมอ ประเทศเราอาจกลายเป็นสังคมของโรคภัยไข้เจ็บก็อาจเป็นได้ Healthy Living ฉบับนี้จึงได้น�าความรู้ในการดูแลสุขภาพและการป้องกัน โรคต่างๆ ของผูส้ งู วัยมาฝาก เพือ่ ให้ทกุ ท่านเห็นความส�าคัญในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของผู้สูงวัย ทีมงาน Healthy Living มีความเชื่อมั่นว่าผู้สูงวัยสามารถมีคุณภาพ ชีวติ ทีด่ แี ละมีความสุขเฉกเช่นคนหนุม่ สาวได้ หากได้รบั การดูแลสุขภาพกายและ ใจที่ดี ขอให้ “อายุ” เป็นเพียงตัวเลขส�ำหรับผู้สูงวัยทุกคน
04
Health Update
05
On the move
06 08
ด้วยความปรารถนาดี นพ.พรมพันธ์ พรมมาส ผู้อ�านวยการโรงพยาบาล ที่ปรึกษา
บรรณาธิการบริหาร บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ สถานที่ติดต่อ ติดต่อโฆษณา Email ออกแบบและจัดพิมพ์
นพ.พรมพันธ์ พรมมาส ปัทมา พรมมาส ประพิชญา พรมมาส กรียดา วิชัยธนพัฒน์ วิชชุดา รัญชากร สุรศักด์ คงฤทธิ์ สุชีรา วิจิตรสาร วิสุนีย์ ต๊ะพรหมมา แผนกสื่อสารการตลาด โรงพยาบาลนนทเวช 30/8 ถ.งามวงศ์วาน ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร. 0-2596-7888 ต่อ 2568 contactus@nonthavej.co.th บริษัท เกรท ดีไซน์ แอนด์ พริ้นท์ จ�ากัด โทร. 0-2184-8651
• Healthy Living เป็นวารสารรายสามเดือนของบริษทั โรงพยาบาลนนทเวช จ�ากัด (มหาชน) ข้อเขียนและบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท โรงพยาบาลนนทเวช จ�ากัด (มหาชน) และบริษทั ฯ ขอสงวนสิทธิใ์ นการคัดลอกหรือน�าไปตีพมิ พ์ โดยไม่ได้รบั อนุญาต อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
10 14
ทันโลกสุขภาพ
รอบรั้วนนทเวช
สุขกาย สบายใจในวัยทอง
One-Stop Service
ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ ความสะดวกสบายของการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจร
รู้เท่าทัน...ป้องกันอัมพฤกษ์ อัมพาต
Welcome
แนะนำาคุณหมอ
16 18
Healthy Talk
20
Getting Fit
21
Healthy Dining
22
Health Activities
สารพันปัญหากระดูกและข้อในผู้สูงวัย เพราะความมั่นใจ การผ่าตัดจึงเป็นเรื่องจิ๊บๆ 3 ท่าบริหารเพื่อผู้สูงวัยร่างกายแข็งแรง
Eating Right กินให้ “ใช่” รับมือวัยทอง กิจกรรมสุขภาพดี
ทันโลกสุขภาพ
นั่งสมาธิ ช่วยลดความดันโลหิต
การท�ำสมาธิ นอกจากจะท�ำให้จิตใจสงบและรู้สึกผ่อนคลายแล้ว ยังช่วยลดโอกาสการเกิดโรคร้ายแรงอีกด้วย วารสารสมาคมโรคหัวใจ (American Heart Association’s Journal Hypertension) รายงานผล จากการวิจัยชายหญิงชาวอเมริกันผิวสีกว่า 100 คน ที่มีความดันโลหิตสูง แต่ไม่ได้ทำ� การรักษา โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มคือ กลุ่มแรกรักษาความดัน โลหิตสูงด้วยวิธีการท�ำสมาธิ กลุ่มที่ 2 รักษาด้วยวิธีการผ่อนคลายความ ตึงเครียดของกล้ามเนื้อและพักผ่อน ส่วนกลุ่มสุดท้าย รักษาด้วยการ ออกก�ำลังกาย งดสูบบุหรี่ จ�ำกัดแอลกอฮอล์ และลดความอ้วน หลังจากนัน้ 3 เดือน ได้ตรวจวัดความดันโลหิตทั้ง 3 กลุ่ม พบว่า กลุ่มแรกความดัน โลหิตลดลงถึงร้อยละ 7 นอกจากนีย้ งั ลดโอกาสเกิดโรคหัวใจร้อยละ 20-45 ส่วนกลุ่มที่ 2 ลดได้เพียงร้อยละ 3 แต่กลุ่มที่ 3 ไม่ลดลงเลย
วิตามินดี ลดเสี่ยงโรคพาร์กินสันส์
นักวิจยั จากสถาบันสุขภาพและสวัสดิการแห่งชาติ ประเทศฟินแลนด์ เผยว่า ระดับวิตามินดีในร่างกายที่ต�่ำมากเกินไป อาจก่อให้เกิดความเสี่ยง ต่อการเป็นโรคพาร์กินสันส์ ส่งผลกระทบต่อสมอง น�ำไปสู่อาการสั่น และ เคลื่อนไหวช้าลง เพราะปกติแล้ว ร่างกายของเราสามารถสร้างวิตามินดี ได้เอง เมื่อได้รับการสัมผัสจากแสงอาทิตย์ และยังได้รับวิตามินดีจาก การรับประทานอาหารประเภทน�้ำมันปลา นม หรือธัญพืช แต่เมื่อคนเรา อายุมากขึ้น ความสามารถในการผลิตวิตามินดีจะลดลง การรับประทาน อาหารที่ดี และท�ำกิจกรรมกลางแจ้ง จึงเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยเพิ่ม วิตามินดีในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
เดินเยอะ ลดเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง
โรคหลอดเลือดสมอง เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของ คนไทย เนื่องจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปและอิทธิพลของชาติตะวันตก ท�ำให้ พบผูป้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองเพิม่ ขึน้ โดยไม่จำ� กัดว่าต้องเป็นผูส้ งู วัย แต่ วันนี้คุณสามารถลดความเสี่ยงการเกิดโรคได้ด้วยการเดิน เนื่องจากมีผล การศึกษาของประเทศสเปน จากการสอบถามชายและหญิงประมาณ 33,000 คน ในโครงการค้นหามะเร็งยุโรปในปี ค.ศ. 1990 โดยมีการตรวจ หาสัญญาณโรคหลอดเลือดสมองเป็นระยะๆ ตลอด 12 ปี พบผู้เป็น โรคหลอดเลือดสมองทั้งหมด 442 คน สิ่งที่น่าสังเกตคือ ผู้หญิงที่เดิน เป็นประจ�ำอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง มีแนวโน้มเป็นโรคหลอดเลือด สมองน้อยลงร้อยละ 43 เทียบกับผู้หญิงไม่ค่อยเดิน แต่กลับไม่พบ ความแตกต่างนีใ้ นผูช้ าย ขณะทีน่ กั วิจยั ของมหาวิทยาลัยชิคาโกในประเทศ สหรัฐอเมริกาแนะน�ำคนทัว่ ไปว่า ควรออกก�ำลังกายพอประมาณ สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมงครึ่ง เช่น เดินเร็ว เพราะช่วยลดความเสี่ยงการเป็นโรคต่างๆ ได้ 4
รอบรั้วนนทเวช
สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ดูงานระบบคุณภาพ นพ.อภิชัย ไชยโรจน์ ผู้ช่วยผู้อำ� นวยการ โรงพยาบาลนนทเวช ให้การต้อนรับคณะผูบ้ ริหาร และพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาล ผู้ป่วยวิกฤตทารกและเด็ก สถาบันสุขภาพเด็ก แห่งชาติมหาราชินี ในโอกาสเยี่ยมชมและ ศึกษาดูงาน ระบบบริหารจัดการด้านการพยาบาล และระบบความปลอดภัยของการดูแลรักษา ผู้ป่วยในโรงพยาบาล โรงพยาบาลนนทเวช เป็ น หนึ่ ง ใน โรงพยาบาลชัน้ น�ำของประเทศ ทีผ่ า่ นการรับรอง คุณภาพมาตรฐานระดับสากล JCI (Joint Commission International) และมีผเู้ ยีย่ มชม การบริหารจัดการระบบคุณภาพโรงพยาบาล เป็นประจ�ำ
โยคะสบายครรภ์ กิจกรรม “คุณแม่คุณภาพ” โดยศูนย์สุขภาพ สตรี จัดขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมสูก่ ารเป็นคุณแม่ มือใหม่อย่างสมบูรณ์แบบ ภายในงานมีการเสวนา ในหัวข้อ “การดูแลทารกแรกเกิด” โดย พญ.วนิดา ตัง้ วงษ์สจุ ริต กุมารแพทย์ประจ�ำศูนย์เด็กและวัยรุน่ และหัวข้อ “การดูแลตนเองระหว่างตั้งครรภ์” โดย พญ.วัลย์วิสา ธารฑ์ไพรสาณฑ์ สูตินรีแพทย์ ประจ�ำศูนย์สุขภาพสตรี พร้อมยืดเส้นยืดสาย กับโยคะเพือ่ ผ่อนคลายความเจ็บปวด ณ ห้องประชุม ชั้น 6
“Health & Beauty” กิจกรรมเอาใจสาวรักสุขภาพ โรงพยาบาลนนทเวช เอาใจสาวๆ ที่รักสุขภาพ ให้สัมผัสประสบการณ์สุขภาพและความงามกันแบบ ครบสูตร เริ่มจากการเสวนาในหัวข้อ “มะเร็ง! รู้ก่อน รักษาได้” โดย พญ.ชนิกา ครุฑนาค อายุรแพทย์โรคมะเร็ง และหัวข้อ “ดูดีทุกองศาด้วยโบท็อกซ์และฟิลเลอร์” โดย พญ.ปิยฉัตร โกศัลวัฒน์ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน ผิวพรรณและเลเซอร์ความงาม เวิร์คชอปฟิตหุ่นสวย โดยนักกายภาพและนักก�ำหนดอาหาร รวมทัง้ มุมประดิษฐ์ กรอบรูป D.I.Y. ให้รว่ มโชว์ไอเดีย พร้อมรับของทีร่ ะลึกต่างๆ มากมาย ณ ห้องประชุม ชั้น 6
5
สุขกาย สบายใจในวัยทอง ค�าว่า “วัยทอง” เริ่มเป็นที่รับรู้กันอย่างกว้างขวางว่า เป็นผู้ที่ก้าวเข้าสู่ช่วงความเปลี่ยนแปลงของชีวิต จากวัย ผู้ให-่ไ ปสู่วัยสูงอายุ วัยทองอาจเริ่มเมื่ออายุ 40 ปีขึ้นไป โดยเฉลี่ยอายุ 49-50 ปีขึ้นไป หลายคนไม่อยากก้าวเข้าสู่ ช่วงวัยทอง เพราะคนในวัยนี้มักเกิดความเปลี่ยนแปลงของ ร่างกายและอารมณ์ เกิดความหงุดหงิด ไม่สบายเนื้อ สบายตัว อาจท�าให้ครอบครัวและคนรอบข้างได้รบั ผลกระทบ ตามไปด้วย
6
ในความเป็นจริง เราไม่อาจหลีกเลีย่ งวัยทองได้ แต่สามารถทีจ่ ะ อยู่ได้อย่างสุขสบายในวัยทอง ถ้ามีการปฏิบัติตัวและดูแลสุขภาพ อย่างถูกต้องและสม�่าเสมอ หลายคนมักมีความเข้าใจว่าวัยทอง คือ วัยหมดประจ�าเดือน ท�าให้เกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนไปว่า วัยทองจะเกิดขึ้นกับผู้หญิง เท่านั้น แต่ในความเป็นจริง ทั้งหญิงและชายต้องก้าวสู่วัยทอง เหมือนๆ กันทุกคน แต่ผู้หญิงจะกลัวและวิตกกังวลกับการเข้าสู ่ วัยทองมากกว่า
สิ่งที่พบบ่อยในการเปลี่ยนแปลงของผู้หญิงวัยทอง คือ การ เปลี่ยนแปลงของรอบประจ�ำเดือน โดยจะแบ่งเป็น 3 ระยะดังนี้ • ระยะแรก (อายุ 40-45 ปี) ประจ�ำเดือนจะมาเร็วขึ้น จากที่เคยมาทุกเดือน อาจมาเร็วขึ้น ทุก 3 อาทิตย์ • ระยะที่ 2 (อายุประมาณ 45-50 ปี) ระยะนี้ประจ�ำเดือนจะเริ่มห่าง • ระยะที่ 3 (อายุประมาณ 50 ปีขึ้นไป) เป็นระยะหมดประจ�ำเดือนอย่างสมบูรณ์ อธิบายง่ายๆ ว่า ผู้หญิงทุกคนจะมีไข่ที่เกิดมาจ�ำนวนประมาณ 1 ล้านใบ ซึง่ จะเจริญเติบโตขึน้ จนกระทัง่ ฝ่อไปหมดเมือ่ อายุประมาณ 49-50 ปี ไข่เหล่านี้ท�ำหน้าที่สร้างฮอร์โมนและท�ำให้มีประจ�ำเดือน เมื่อไม่มีไข่ก็ไม่มีการสร้างฮอร์โมน จึงไม่มีประจ�ำเดือน ฮอร์โมนเพศหญิงไม่ได้ทำ� หน้าทีเ่ ฉพาะเรือ่ งประจ�ำเดือนเท่านัน้ แต่ยงั ท�ำหน้าทีอ่ กี มากมายหลายอย่างตัง้ แต่หวั จรดเท้า เช่น ควบคุม อุณหภูมใิ นร่างกาย อารมณ์ จิตใจ ภูมติ า้ นทานโรค ผิวพรรณ ความจ�ำ น�้ำลาย ต่อมรับรส ระบบเส้นเลือดหัวใจ และที่ส�ำคัญคือ กระตุ้น การสร้างและดูแลกระดูกให้หนาและแข็งแรง เพื่อป้องกันเส้นเลือด อุดตัน โดยเฉพาะเส้นเลือดที่สมองและหัวใจ ท�ำให้ผู้หญิงแข็งแรง กว่าผู้ชาย ในช่วงที่ยังมีประจ�ำเดือนไม่ค่อยเจ็บป่วย ดังนั้น เมื่อขาด ฮอร์โมนตามวัยควรระมัดระวังเกีย่ วกับกระดูกพรุน เส้นเลือดอุดตัน และอาการที่เกิดจากการขาดฮอร์โมนอื่นๆ เช่น หงุดหงิดง่าย ร้อนวูบวาบ อารมณ์แปรปรวน ซึมเศร้า เป็นต้น ทั้งนี้ ควรท�ำความเข้าใจและเรียนรู้เรื่องวัยทอง เพื่อให้สามารถ ดูแลและจัดการสุขภาพได้อย่างเหมาะสม ควรดูแลเรื่องการ รับประทานอาหาร ออกก�ำลังกายให้มากขึ้น และสิ่งส�ำคัญ คือ การตรวจสุขภาพประจ�ำปีอย่างสม�ำ่ เสมอ เหมือนการตรวจเช็คสภาพ รถยนต์ตามระยะการใช้งาน ควรตรวจความดันโลหิต เบาหวาน ไขมันในเลือด สมรรถภาพ การท�ำงานของตับ ไต หัวใจ ตรวจมะเร็ง ในระยะแรกที่คนเราจะเข้าสู่วัยทอง จะมีอาการต่างๆ ที ่ ปากมดลูก ตรวจภายใน และตรวจอัลตร้าซาวด์ผ่านทางช่องคลอด สามารถสังเกตเห็นได้ชดั เช่น หงุดหงิดง่าย นอนไม่หลับ ร้อนวูบวาบ เพื่อดูเนื้องอก ถุงน�้ำที่รังไข่ ตรวจแมมโมแกรมค้นหามะเร็งเต้านม เหงื่อออกมากผิดปกติทั้งๆ ที่อากาศไม่ร้อน บางคนอาจมีอาการ ตรวจความหนาแน่นมวลของกระดูก เป็นต้น หลงลืม อาการเหล่านี้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนใน ส�ำหรับบางรายทีม่ อี าการอืน่ ๆ เช่น อารมณ์แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ช่วงอายุนนั้ แต่บางคนก็เข้าสูว่ ยั ทองโดยไม่มอี าการต่างๆ เหล่านีเ้ ลย ซึมเศร้ามาก กระดูกบางมาก ควรปรึกษาแพทย์เพื่อได้รับการดูแล รักษา รวมถึงการเสริมยาฮอร์โมน ยาเพิ่มความหนาของกระดูก แคลเซียม วิตามิน ยาบ�ำรุง เป็นต้น หากเรียนรู้และเข้าใจวัยทอง เราก็จะมีวัยทองที่มีความสุข…สมชื่อวัย 7
ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ
สอบถามประวัติ
ตรวจวัดความดันโลหิต
ช�าระเงิน-จ่ายยา
เจาะเลือด-ตรวจปัสสาวะ ส่งตรวจห้องปฏิบัติการ
พบแพทย์ เพื่อฟังผลการตรวจ
One-Stop Service
ความสะดวกสบายของการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจร ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลนนทเวช ให้คุณได้มั่นใจ และสะดวกกับการ ตรวจสุขภาพแบบครบวงจร เราจึงมุง่ มัน่ ยกระดับคุณภาพของการตรวจสุขภาพอย่างไม่หยุดยัง้ ปรับปรุงทุกรายละเอียด ด้วยการเพิม่ บริการ ตรวจวินจิ ฉัยโรคต่างๆ ด้วยเครือ่ งมือแพทย์ทที่ นั สมัย พร้อมทีมแพทย์และผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางหลากหลายสาขามาดูแลคุณ
8
ตรวจวินิจฉัย โรคต่างๆ
วันนี.้ ..กับโฉมใหม่ ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ (Wellness Center) ภายใต้แนวคิดการให้บริการตรวจสุขภาพอย่างครบวงจร (One-Stop Service) เพื่อให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้รับบริการในการ ตรวจสุขภาพตามโปรแกรมเบ็ดเสร็จในจุดเดียว ให้บริการตรวจสุขภาพทั้งรายบุคคล ผู้บริหาร และพนักงาน จากบริษัทคู่สัญญา โดยใส่ใจในรายละเอียดของแต่ละบุคคลตาม ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่แตกต่างกัน เริ่มตั้งแต่การนัดหมาย ตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงโรค และปรับพฤติกรรม การใช้ชีวิตอย่างเหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยงของการเกิดโรค ในอนาคต พร้อมด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวญชาญเฉพาะด้าน อาทิ แพทย์ เวชศาสตร์ครอบครัว แพทย์อาชีวอนามัย แพทย์อายุรกรรมโรคหัวใจ และหลอดเลือด ทันตแพทย์ สูตินรีแพทย์ รังสีแพทย์ พยาบาล และ บุคลากร ตลอดจนระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยด้วยบริการที่ถูกต้อง แม่นย�า และรวดเร็ว ภายใต้มาตรฐานการแพทย์ระดับสากล
บริการตรวจวินิจฉัยที่ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ (Wellness Center) แบ่งตามความเสีย่ งของแต่ละบุคคล 1. การตรวจสุขภาพหัวใจและหลอดเลือด
• การตรวจวัดความแข็งตัวของหลอดเลือดแดง (ABI) เพือ่ คัดกรองความเสีย่ งการเกิดโรคของเส้นเลือดส่วนปลาย (เส้นเลือด ที่ขาอุดตัน) • การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) เป็นการประเมินจังหวะ การเต้นของหัวใจขณะพัก และจะได้ข้อมูลมากยิ่งขึ้นหากตรวจ สมรรถภาพของหัวใจขณะออกก�าลังกายด้วยวิธีเดินสายพาน 4. การตรวจสุขภาพปอด (Exercise Stress Test) ซึ่งเป็นการทดสอบโดยเดินบนเครื่อง • ทดสอบสมรรถภาพการทำางานของปอด (SPIROMETER) ออกก�าลังกายให้หวั ใจท�างานเต็มที ่ เพือ่ ดูหวั ใจว่ามีภาวะหลอดเลือด โดยการเป่าปอดเพือ่ ตรวจหาอาการผิดปกติเกีย่ วกับระบบการหายใจ หัวใจตีบซ่อนเร้นอยู่หรือไม่ และยังสามารถตรวจภาวะหัวใจเต้น ที่เกิดขึ้นในปอด เช่น โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคหืดหอบ ผิดจังหวะจากการออกก�าลังกายได้อีกด้วย • เอกซเรย์ปอด เป็นการตรวจคัดกรองหาความผิดปกติ 2. การตรวจสุขภาพสตรี ของรอยโรคต่างๆ ที่เกิดขึ้นในปอด • การตรวจภายใน ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และ 5. ตรวจระบบการมองเห็นและการได้ยิน อัลตร้าซาวด์ทางช่องคลอด TVS เพือ่ ประเมินโครงสร้างของอวัยวะ • ทดสอบสมรรถภาพการมองเห็น ภายในสตรี และคัดกรองมะเร็งปากมดลูก • การตรวจตาบอดสี • การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม โดยการตรวจ DIGITAL • ตรวจสมรรถภาพการได้ยิน MAMMOGRAM และ/หรือ อัลตร้าซาวด์ เพื่อค้นหามะเร็งเต้านม 6. การตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน ตั้งแต่ระยะเริ่มต้น เพื่อผลการรักษาที่ดีกว่า 7. การตรวจสุขภาพระบบอื่ น ๆ เช่น ตรวจมวลกระดูก 3. การตรวจอวัยวะภายในช่องท้องด้วยคลื่นเสียง ตรวจองค์ประกอบของร่างกายด้วยเครื่อง Inbody เป็นต้น ความถี่สูง (Ultrasound Abdomen) เป็นการตรวจโดยใช้ 8. บริการส่งเสริม-ป้องกันโรค เช่น ฉีดวัคซีนป้องกัน คลื่นความถี่สูง เพื่อประเมินโครงสร้างของอวัยวะในช่องท้อง ไข้หวัดใหญ่ วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก เป็นต้น
9
ศูนย์สมองและระบบประสาท
รู้เท่าทัน...
ป้องกันอัมพฤกษ์ อัมพาต เมื่ออายุเพิ่มขึ้น อวัยวะในร่างกายย่อมมีการเปลี่ยนแปลง และเกิดการเสื่อมสภาพไปตามกาลเวลา ท�าให้เกิดโรคภัย ไข้เจ็บต่างๆ โดยเฉพาะ ‘อัมพฤกษ์ อัมพาต’ โรคที่พบมาก ในผูส้ งู วัย จากสถิตพิ บผูป้ ว่ ยโรคนี ้ 250 คน จากประชากร 100,000 คน
โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) คืออะไร
“โรคหลอดเลือดสมอง” มักจะถูกเรียกว่า โรคอัมพฤกษ์ หรือ อัมพาต สาเหตุเกิดจากเซลล์ในสมองและการท�างานของสมองที่ ควบคุมการท�างานของแขนขาหยุดชะงัก ผูป้ ว่ ยบางคนอาจมีอาการ • โรคหลอดเลือดสมองแตก ขยับแขนขาไม่ได้ เรียกว่า “อัมพาต” ถ้าขยับแขนขาได้บ้างแต่ไม่ ผู้ป่วยประมาณ 20% ของโรคหลอดเลือดสมอง มีสาเหตุ เหมือนปกติ เรียกว่า “อัมพฤกษ์” เกิดจากโรคความดันโลหิตสูง ท�าให้ผนังหลอดเลือดขาดความยืดหยุน่ และเกิดหลอดเลือดแตกตามมา ถ้าหากเลือดที่ออกในสมองมี โรคหลอดเลือดสมอง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ขนาดใหญ่หรืออยู่ในต�าแหน่งส�าคัญ เช่น ก้านสมอง อาจส่งผลให้ ผู้ป่วยเสียชีวิตในเวลาอันรวดเร็วได้ • โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองประมาณ 70-80% มีสาเหตุ เกิดจากการแข็งตัวของผนังหลอดเลือด เนื่องจากปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมอง เช่น โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง และอายุที่มากขึ้น มักพบในผู้ที่มีอายุมากกว่า 45 ปีขึ้นไป แต่ไม่ได้หมายความว่า รวมทัง้ การสูบบุหรี ่ ท�าให้เกิดการตีบหรืออุดตันของหลอดเลือด ท�าให้ คนอายุนอ้ ยจะไม่มโี อกาสเป็นโรคนี้ ขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยของการเกิดโรค โดยสามารถแบ่งปัจจัยเสี่ยงเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ดังนี้ เลือดไม่สามารถไหลเวียนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อสมองได้
ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันไม่ได้ ประกอบด้วย
อายุ เมื่ออายุมากขึ้น หลอดเลือดจะเสื่อมตามไปด้วย โดย ผนังของหลอดเลือดจะหนาและแข็งขึน้ จากการเกาะของคราบไขมัน และหินปูน ท�าให้หลอดเลือดไหลแคบลงจนเลือดไหลผ่านไม่สะดวก เพศ เมื่ออายุยังน้อย ผู้ชายจะมีความเสี่ยงในการเกิดโรค หลอดเลือดสมองมากกว่าผูห้ ญิง แต่ผหู้ ญิงในวัยทีห่ มดประจ�าเดือนแล้ว จะมีความเสี่ยงเท่ากับผู้ชาย ประวัติทางพันธุกรรม หากมีประวัติคนในครอบครัวเคยเป็น โรคนี้มาก่อน มีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดกับคนอื่นๆ ในครอบครัว ได้เช่นกัน 10
ตรวจพบก่อน ป้องกันได้
สามารถตรวจสอบความเสี่ยงของโรคได้หลายวิธี เช่น
• อัลตร้าซาวด์หลอดเลือดบริเวณคอ (Carotid Duplex Ultrasound)
เพื่อตรวจภาวะการอุดตันของหลอดเลือดบริเวณคอ ซึ่งเป็น หลอดเลือดส�าคัญที่ไปเลี้ยงสมอง
• ตรวจสมองด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scan) • ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันได้ ประกอบด้วย
ส�าหรับผูป้ ว่ ยทีต่ อ้ งรีบให้การรักษา เพราะสามารถช่วยให้แพทย์ วินจิ ฉัยโรคหลอดเลือดสมองได้ภายในเวลาอันรวดเร็วและทันท่วงที
โรคประจำาตัว อาทิ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง • ตรวจหลอดเลือดสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ส�าคัญของโรคหลอดเลือดสมอง หากควบคุมหรือ (MRI+MRA) ดูแลสุขภาพตามอาการของโรคไม่สม�่าเสมอ โอกาสในการเป็น เป็นการตรวจหาความผิดปกติของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง โรคหลอดเลือดสมองอาจมีสูงกว่าคนปกติ มีประสิทธิภาพสูง สามารถเห็นความผิดปกติของหลอดเลือดสมองได้ การสูบบุหรี่ สารนิโคตินและคาร์บอนมอนอกไซด์ทา� ให้ปริมาณ ชัดเจน แม้หลอดเลือดที่ตีบจะมีขนาดเล็ก หรือมีอาการภายใน ออกซิเจนในกระแสเลือดลดลง และเป็นตัวท�าลายผนังหลอดเลือด 24 ชัว่ โมงแรก ซึ่ง CT Scan อาจตรวจไม่พบความผิดปกติ ท�าให้หลอดเลือดแข็งตัว
ดูแลตัวเองอย่างไรให้ห่างไกลอัมพฤกษ์ อัมพาต
มีอาการ อย่ารอช้า
อาการของโรคหลอดเลือดสมอง มักเกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว ฉับพลันทันที หรือเป็นๆ หายๆ จะมากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั ระดับความรุนแรงและต�าแหน่ง ของสมองทีถ่ กู ท�าลาย แต่สามารถสังเกตได้จากอาการ ผิดปกติดังต่อไปนี้ ปากเบี้ยว แขน ขาอ่อนแรงซีกใดซีกหนึ่ง ชาครึ่งซีก พูดไม่ชัด พูดติดขัด ตามัวหรือมองเห็นภาพซ้อน เวียนศีรษะร่วมกับเดินเซ หากพบอาการดังกล่าวควรรีบพบแพทย์โดยเร็วทีส่ ดุ เพราะทุกนาทีมีผลต่อการรักษา หากเกิน 60 นาทีแรก หลังจากเกิดอาการ ระดับความรุนแรงของ อาการจะเพิ่มมากขึ้น ท�าให้การช่วยชีวิต ยากขึ้นตามล�าดับ
การป้องกัน เป็นการหลีกเลี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่ดีที่สุด โดยควบคุมหรือลดปัจจัยเสี่ยงที่ส่งเสริมให้หลอดตีบ อุดตัน หรือ แตก เช่น ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง การสูบบุหรี่ หรือขาดการออกก�าลังกาย เป็นต้น 1. ตรวจสุขภาพประจ�าปีอย่างสม�่าเสมอ เพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยง ถ้าพบต้องรีบรักษาและพบแพทย์อย่างต่อเนื่อง 2. ควบคุมระดับความดันโลหิต ไขมัน และน�้าตาลในเลือด ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ 3. ควบคุมและหลีกเลีย่ งการบริโภคอาหารรสเค็ม หวาน มัน อาหารที่มีคอเลสเตอรอลสูง เช่น ปลาหมึก กุ้ง หอย เป็นต้น 4. รับประทานผักและผลไม้ให้มากขึน้ แต่ในรายทีเ่ ป็นโรคเบาหวาน ต้องระวังผลไม้ที่มีปริมาณน�้าตาลสูง 5. ออกก�าลังกายสม�่าเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ครั้งละ 30 นาที และควบคุมน�้าหนักให้เหมาะสม 6. งดสูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แม้โรคหลอดเลือดสมอง จะเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 3 ของประเทศไทย แต่ถ้ามีการเฝ้าระวัง หมั่นสังเกตอาการ หรือ ตรวจสุขภาพเพื่อหาความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ก็สามารถลดโอกาส การเกิดโรคได้ เพราะโรคหลอดเลือดสมอง สามารถตรวจพบได้กอ่ น เกิดอาการ และสามารถป้องกันไม่ให้เกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตได้
11
แนะนำ�คุณหมอ
นพ.สุเมธ สุรัฐการดาวดี
ศัลยแพทย์กระดูกและกระดูกสันหลัง ศูนย์กระดูกและข้อ “หากไม่อยากให้ตวั เองเกิดภาวะหมอนรองกระดูกสันหลังผิดปกติ ควรควบคุม น�ำ้ หนักตัวไม่ให้มากจนเกินไปและออกก�ำลังกายแต่พอดี เพราะแรงกดทีส่ ม�ำ่ เสมอ จะช่วยยืดอายุการใช้งานของหมอนรองกระดูกตามธรรมชาติให้ยืนยาวขึ้น” การศึกษา แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วุฒิบัตร • วุฒบิ ตั รแพทย์ผมู้ คี วามช�ำนาญสาขาออร์โธปิดกิ ส์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • ประกาศนียบัตรการฝึกอบรมอนุสาขาการผ่าตัดกระดูกสันหลัง (Spinal Surgery) ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาความเชี่ยวชาญ ศัลยกรรมกระดูกและกระดูกสันหลัง ตารางท�ำงาน จันทร์, พุธ, พฤหัสบดี 08.00 - 17.00 น. อังคาร 08.00 - 16.00 น. ศุกร์, อาทิตย์ 13.00 - 20.00 น.
นพ.ชัชวาล ปิยะวรรณสุทธิ์ ศัลยแพทย์กระดูก ศูนย์กระดูกและข้อ
“โรคหมอนรองกระดูกหลังเสือ่ มทับเส้นประสาท ปัจจุบนั พบมากในผูป้ ว่ ยวัยท�ำงาน การตรวจรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรกอย่างถูกวิธีสามารถหลีกเลี่ยงการผ่าตัดได้” การศึกษา • แพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • Tennessee Orthopedic Alliance (TOA) Sports Medicine Workshop Arthropedic ACL Reconstruction and Meniscus Repair, Siriraj Hospital, Mahidol University วุฒิบัตร • วุฒิบัตรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญสาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ • TOA Sports Medicine Workshop Arthropedic ACL Reconstruction and Meniscus repair Siriraj Hospital, Mahidol University สาขาความเชี่ยวชาญ ศัลยกรรมกระดูก ตารางท�ำงาน จันทร์ - พุธ, ศุกร์ 08.00 - 17.00 น. พฤหัสบดี 08.00 - 12.00 น. อาทิตย์ 08.00 - 16.00 น. 14
พญ.ชุมพิตา สุทธาภาศ
อายุรแพทย์ประสาทวิทยา ศูนย์สมองและระบบประสาท “โรคหลอดเลือดสมอง เป็นโรคที่พบได้บ่อยและเป็นสาเหตุการเสียชีวิต อันดับต้นๆ ของประเทศไทย แต่สามารถป้องกันการเกิดโรคได้โดยการตรวจสุขภาพ และควบคุมปัจจัยเสีย่ งของโรคอย่างสม�ำ่ เสมอและต่อเนือ่ ง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง รวมถึงการตรวจหลอดเลือดสมอง” การศึกษา แพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล วุฒิบัตร • วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความช�ำนาญสาขาประสาทวิทยา สถาบันประสาทวิทยา • ประกาศนียบัตรอนุสาขาโรคหลอดเลือดสมองและการตรวจหลอดเลือดด้วย คลื่นความถี่สูง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สาขาที่สนใจเป็นพิเศษ โรคหลอดเลือดสมอง สาขาความเชี่ยวชาญ อายุรกรรมประสาทวิทยา ตารางท�ำงาน 08.00 - 13.00 น. จันทร์-อังคาร 08.00 - 17.00 น. พฤหัสบดี 13.00 - 17.00 น. พุธ, ศุกร์ 08.00 - 12.00 น. อาทิตย์
นพ.วรพจน์ เหล่าวิทวัส
อายุรแพทย์ประสาทวิทยา ศูนย์สมองและระบบประสาท “อาการอัมพฤกษ์ อัมพาต ส่วนใหญ่มสี าเหตุจากหลอดเลือดสมองตีบ แตก หรือตัน การรักษาอาจได้ผลดีกว่า ในกรณีทรี่ บี น�ำผูป้ ว่ ยส่งโรงพยาบาล อย่างทันท่วงที แต่การป้องกันเป็นสิ่งส�ำคัญกว่า ด้วยการควบคุมระดับความดันโลหิต ภาวะ โรคเบาหวาน และไขมันในเลือด ให้อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ ควบคุมอาหาร ออกก�ำลังกาย สม�่ำเสมอ นอนหลับอย่างเพียงพอ และไม่เครียด” การศึกษา • วทบ. มหาวิทยาลัยมหิดล • แพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล วุฒิบัตร วุฒิบัตรผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยา สาขาที่สนใจเป็นพิเศษ • การรักษาโรคหมอนรองกระดูกเสื่อมโดยไม่ต้องผ่าตัด • โรคหลอดเลือดสมอง สาขาความเชี่ยวชาญ อายุรกรรมประสาทวิทยา ตารางท�ำงาน จันทร์ 09.00 - 16.00 น. พฤหัสบดี 09.00 - 15.00 น. พุธ 08.00 - 20.00 น. ศุกร์, อาทิตย์ 08.00 - 16.00 น. 15
ศูนย์กระดูกและข้อ
สารพันปัญหา กระดูกและข้อในผู้สูงวัย โรคส่วนใหญ่ที่พบในผู้สูงวัย อาจเกิด ตั้งแต่ในวัยหนุ่มสาว จากการไม่ดูแลตัวเอง อย่างต่อเนื่อง เมื่ออายุมากขึ้นจะแสดง อาการชัดเจนหรือรุนแรง โดยเฉพาะโรค ที่เกี่ยวกับกระดูกและข้อเป็นปัญหาใหญ่ ของผู้สูงวัยไม่ว่าใครก็ต้องพบกับ ปัญหานี้ ขึ้นอยู่ว่าจะช้าหรือเร็ว อาการที่ผู้สูงวัยส่วนมากจะมาพบแพทย์ เนื่องจาก โรคกระดูกและข้อ จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. กระดูกหักจากภาวะกระดูกพรุน ผู้สูงวัยจะมี ปัญหาในเรื่องของกระดูกพรุนหรือบาง เวลาที่ล้มหรือ กระแทกอะไรก็ตาม จะท�ำให้แตกหักง่าย 2. อาการปวดจากความเสื่อม ส่วนมากผู้สูงวัย จะมีอาการปวดเข่า ปวดหลัง ปวดข้อ ฯลฯ โดยความ เสื่อมอาจเกิดได้เมื่ออายุมากขึ้น หรือจากการใช้งานข้อ ในการท�ำกิจกรรมต่างๆ มากเกินไปตัง้ แต่วยั หนุม่ สาว หรือ จากทั้ง 2 สาเหตุ อาทิ การเดินขึ้น-ลงบันได การยกของ หนักผิดวิธี เป็นต้น ซึ่งปัจจัยเหล่านี้อาจส่งผลให้ข้อเสื่อม ได้เร็วกว่าคนทั่วไป อาการที่กล่าวถึงข้างต้น นอกจากอาการปวดแล้ว ยังมีผลกระทบต่อการด�ำเนินชีวิตของผู้สูงวัย ท�ำให้ไม่ สามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่ อยู่ในภาวะกระดูกพรุน เมื่อกระดูกแตกหรือหัก จะต้อง ได้รับการดูแลเป็นพิเศษจากคนใกล้ชิด ทั้งกระดูกพรุนและข้อเสื่อม เป็นสิ่งที่ผู้สูงวัย ต้องเจอ แต่ใช่ว่าจะไม่สามารถป้องกันได้ หากรู้จักและ ท�ำความเข้าใจ ก็จะช่วยให้โอกาสในการเกิดโรค หรือ ผลลัพธ์จากการเป็นโรคน้อยลง
16
โรคข้อเสื่อม
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)
โรคกระดูกพรุนเป็นโรคที่ผู้สูงวัยหลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจากการเสีย สมดุลของฮอร์โมน ท�าให้กระบวนการเผาผลาญอาหารของร่างกาย ผิดปกติ การดูดซึมแคลเซียมเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะผู้หญิงที่หมด ประจ�าเดือนจะมีภาวะกระดูกพรุนตามธรรมชาติ เนื่องจากฮอร์โมน ลดน้อยลง ส่วนปัญหาเรื่องกระดูกพรุนในผู้ชายจะไม่ค่อยพบ ผู้สูงวัย ทีม่ ปี ญ ั หากระดูกพรุนหรือกระดูกบาง จะกระดูกเปราะและหักได้งา่ ยเมือ่ เกิดอุบัติเหตุ พบมากในผู้หญิงที่มีอายุ 45 ปีขึ้นไปและผู้ชายอายุ 60 ปี ขึ้นไป
จะรู้ได้อย่างไรว่า เป็นโรคกระดูกพรุน
เป็นปัญหาที่นับวันจะมีความส�าคัญมากขึ้น ยิ่งคนเรามีอายุยืนมาก ขึน้ เท่าใด จ�านวนของคนทีเ่ ป็นโรคข้อเสือ่ ม ก็จะมีมากขึน้ เท่านัน้ เมือ่ อายุ มากขึ้นจนเข้าวัยทอง หนีไม่พ้นโรคข้อเสื่อม ไม่ว่าจะเร็วหรือช้าและ เกิดขึ้นเมื่อใด โดยมากมักมาพบแพทย์ด้วยอาการปวดเข่า และปวดหลัง ซึ่งเป็นส่วนที่เกิดการเสื่อมมากที่สุด เนื่องจากข้อที่ต้องรับน�้าหนัก ของร่างกายโดยตรง เช่น ข้อเข่า ข้อสะโพก กระดูกอ่อน ในข้อเหล่านี้เป็น ส่วนทีแ่ ข็งแรงทีส่ ดุ สมบูรณ์ทสี่ ดุ เมือ่ คนเราอายุประมาณ 30 ปี หลังจากนัน้ จะเริ่มเสื่อมลง แต่ยังไม่เป็นข้อเสื่อม เพราะร่างกายของเรามีกลไกที่คอย ซ่อมแซมอัตโนมัต ิ ท�าให้สามารถใช้งานข้อได้ตามปกติ โดยยังไม่แสดงอาการ แต่เมื่ออายุมากขึ้น ขบวนการซ่อมแซมนี้เริ่มเสื่อมตามวัย ผูส้ งู วัย จะเริม่ มีอาการของโรคข้อเสือ่ ม แต่จะแสดงอาการเมือ่ ใดขึน้ อยูก่ บั ลักษณะ การใช้งานของข้อต่อกระดูกและสภาพร่างกายของแต่ละคน ถ้ามีนา�้ หนักตัวมาก น�้าหนักที่กดกระแทกลงมาที่ข้อก็จะมาก ข้อก็จะเกิดความเสื่อมเร็ว ถ้ามี การใช้งานข้อมากๆ เช่น มีการเดินมาก ยืนมาก หรือเดินขึน้ ลงบันไดมากๆ นั่งยองๆ มาก ข้อก็จะเสื่อมเร็ว
ตรวจเพื่อลดความเสี่ยง
หากปล่อยให้ข้อเสื่อมนานไป ผลเสียที่เกิดมากที่สุด คือ ไม่สามารถ ภาวะกระดูกพรุนในผู้สูงวัยมักไม่แสดงอาการผิดปกติใดๆ ยกเว้น ใช้งานข้อนั้นได้ ไม่ว่าจะเป็นข้อกระดูก สันหลังหรือข้อเข่า ถ้าข้อกระดูก เมื่อมีอาการหักของกระดูก จะมีอาการเจ็บปวดบริเวณที่มีกระดูกหัก สันหลังใช้งานไม่ได้ จะท�าให้ปวดหลัง ลุกนั่งไม่ได้ เดินไม่ไหว เกิดอาการ แต่ผู้สูงวัยสามารถสังเกตปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ว่าตัวเองมีความเสี่ยงต่อภาวะ ชา แขนขาอ่อนแรง ส่วนข้อเข่าก็เช่นกัน ถ้าเป็นมากๆ ต้องเข้ารับการรักษา ด้วยการผ่าตัดเปลี่ยนข้อ ซึ่งเป็นวิธีเดียวเท่านั้น กระดูกพรุนหรือไม่ โดยพิจารณาจากปัจจัยเสี่ยงต่อไปนี้ เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบดังกล่าว การตรวจสุขภาพข้อต่างๆ ที่ส�าคัญ • อายุมาก เป็นประจ�า จะช่วยลดความเสี่ยงได้ โดยวิธีการตรวจมีดังนี้ • เพศหญิง - ดูจากอาการของคนไข้ทพี่ บได้ เช่น ปวดเข่าปวดหลัง ตรวจร่างกาย • ขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ • ภาวะหมดประจ�าเดือน - เอกซเรย์ เพื่อดูว่ามีความเสื่อมเกิดขึ้นบริเวณข้อหรือไม่ • สูบบุหรี่ - การตรวจวินิจฉัยโรคด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI ที่สามารถแสดง • ได้รับแคลเซียมและวิตามินดีน้อย ภาพกายวิภาคของกระดูกสันหลัง หมอนรองกระดูกสันหลัง ไขสันหลัง • ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เป็นประจ�า และลักษณะของกระดูกข้อเข่า เมือ่ สงสัยว่ามีการฉีกขาดของหมอนรองเข่า • ออกก�าลังกายไม่เพียงพอ หากทราบว่าตัวเองมีปจั จัยเสีย่ งตามทีก่ ล่าวมา ควรรับการตรวจหา หรือกระดูกอ่อนภายในข้อร่วมด้วย ซึ่งการตรวจด้วย MRI จะเห็นภาพ ค่าความหนาแน่นของมวลกระดูก เพือ่ ทีจ่ ะได้รวู้ า่ ปัจจุบนั ความหนาแน่น ชัดเจน เป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการวินิจฉัยอาการและวางแผนรักษา ของกระดูกเป็นอย่างไร หากพบว่าอยูใ่ นภาวะกระดูกพรุนจะได้เริม่ รับการ รักษาและดูแลแต่เนิ่นๆ ป้องกันข้อเสื่อมได้หรือไม่? ข้อเสื่อมแม้จะมีวิธีรักษาจ�ากัดแต่ก็ ป้องกัน...ดีที่สุด สามารถป้องกันได้ แต่ต้องท�าทันทีตั้งแต่ การรักษาโรคกระดูกพรุนสามารถป้องกันได้ โดยหลีกเลีย่ งปัจจัยเสีย่ ง วันนี้ เริ่มจากออกก�าลังกายเป็นประจ�า ดังที่กล่าวมา และป้องกันการหกล้ม หากทราบว่าตัวเองกระดูกพรุนหรือ จัดท่าทางลักษณะการใช้งานข้อให้ถกู ต้อง บาง ควรรับประทานยาเพิ่มความหนาแน่นของกระดูก ภายใต้การดูแล และเมือ่ มีอาการปวดข้อหรือหลัง ควรพักผ่อน ตามค�าแนะน�าของแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญเท่านัน้ ควรเลือกรับประทานอาหาร หรือหยุดท�างานทันที ถ้าปวดมากควร ทีม่ แี คลเซียมสูง การออกก�าลังกายเป็นประจ�าจะช่วยท�าให้กระดูกหนาแน่น ปรึกษาแพทย์โดยเร็วที่สุด และแข็งแรงขึ้น หรือควรเสริมด้วยแคลเซียมชนิดเม็ดเพื่อบ�ารุงกระดูก 17
บันทึกประทับใจ
เพราะความมัน่ ใจ
การผ่าตัดจึงกลายเป็นเรื่องจิ๊บๆ เมื่อพูดถึงการผ่าตัด ไม่มีใครอยากได้ยินว่าตัวเองหรือคนที่เรารักต้องเข้ารับการผ่าตัด แพทย์ผู้ให้ การรักษาตระหนักดีถึงความกังวลใจข้อนี้ของผู้ป่วยและญาติ การผ่าตัดจึงเป็นทางเลือกสุดท้ายที่เกิดจาก ภาวะของโรคหรืออาการที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ คุณพรรณวดี โกมล หรือ คุณแตน มีอาการปวดจาก หมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนทับเส้นประสาทมาตั้งแต่อายุ 25 ปี แต่ก็เลือกรักษาด้วยแนวทางอื่น แทนการผ่าตัด จนกระทั่งเกิดอุบัติเหตุอย่างรุนแรงท�าให้หมอนรองกระดูกสันหลังแตก และอาการปวด ก�าเริบอย่างรุนแรงท�าให้คุณแตนไม่สามารถปฏิเสธการรักษาด้วยการผ่าตัดได้ 18
20 ปีของความทรมานจาก ‘หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท’
“ดิฉนั เริม่ มีอาการปวดหลังจากหมอนรองกระดูกสันหลังเคลือ่ น ทับเส้นประสาทมาตั้งแต่อายุ 25 ปี และปวดมากขึ้นเรื่อยๆ จนร้าว ลงขา เดินไม่ได้ ขาไม่มีแรง ดิฉันเริ่มรักษาครั้งแรกที่โรงพยาบาล นนทเวช คุณหมอที่ให้การรักษาขณะนั้นแนะน�ำว่าควรเข้ารับการ ผ่าตัดเพื่อรักษาให้หายขาด ดิฉันตกใจและกังวลมาก เนื่องจาก คุณพ่อเคยผ่าตัด เพราะกระดูกงอกทับเส้นประสาท และเคยได้ยิน มาว่า ถ้าผ่าตัดแล้ว ร่างกายอาจไม่กลับมาปกติเหมือนเดิม จึงปฏิเสธ การผ่าตัดมาโดยตลอด คุณหมอจึงใช้การรักษาด้วยยา ทั้งทานยา และฉีดยา ควบคู่ไปกับการท�ำกายภาพบ�ำบัด อาการปวดก็ดีขึ้นแต่ ไม่หายขาด ทุกครั้งที่มีอาการปวดจะไปพบคุณหมอ และรักษาด้วย วิธดี งั กล่าว รวมทัง้ ระมัดระวังท่าทางในการเคลือ่ นไหวตามค�ำแนะน�ำ ของคุณหมออย่างเคร่งครัด”
อาการทรุด เพราะอุบัติเหตุซ�้ำ
“จนกระทั่งปี 2555 เกิดอุบัติเหตุล้มกระแทกพื้นอย่างรุนแรง ท�ำให้หมอนรองกระดูกสันหลังแตก จึงรีบไปหาหมอทันที ซึ่งดิฉัน มีประวัติอยู่แล้วว่าเป็นหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อน อาการใน ขณะนัน้ คือ ปวดหลังและเอวมาก เวลายืนจะปวดร้าวลงขาทัง้ 2 ข้าง ขับรถก็ไม่ได้ ลุกนัง่ ยังไม่ได้ อยากนอนอย่างเดียว อยากได้ยาแก้ปวด คุณหมอสุเมธซึ่งเป็นแพทย์ผู้ดูแลในวันนั้นให้ยาระงับอาการปวด พออาการทุเลาลง จึงท�ำการตรวจหาความผิดปกติของกระดูกสันหลัง ด้วย MRI พบว่า หมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนออกมาเยอะมาก และแตกเล็กน้อย คุณหมอบอกว่าดิฉันยังคงใช้ชีวิตได้ตามปกติ” “แต่อุบัติเหตุยังคงเกิดขึ้นอีกจนได้ เพราะลื่นล้มและหัวเข่า กระแทกแรงจนกระเทือนถึงหมอนรองกระดูก ตอนนั้นตกใจมาก จึงรีบไปโรงพยาบาลทันที ผลการตรวจด้วย MRI พบว่าหมอนรองกระดูก ข้อที่แตกนั้นอยู่บริเวณไขสันหลังเลย และอาการปวดได้ทวีความ รุนแรงขึน้ จนเดินไม่ได้ ต้องใช้มอร์ฟนี เพือ่ ระงับอาการปวด คุณหมอ แนะน�ำว่าควรเข้ารับการผ่าตัด จะปล่อยทิ้งไว้และรักษาด้วยวิธี ประคับประคองไม่ได้แล้ว”
ผ่าตัดผ่านกล้อง...เรื่องเล็กที่คาดไม่ถึง
“ดิฉนั กลัวการผ่าตัดมาก ก่อนหน้านีเ้ คยผ่าคลอดโดยใช้ยาสลบ แต่การผ่าตัดทีเ่ กีย่ วกับหมอนรองกระดูกสันหลังเคลือ่ นทับเส้นประสาท นัน้ ไม่เหมือนกับครัง้ ก่อน เพราะกลัวว่าผ่าตัดแล้วอาจกลับมาเดินไม่ได้ จึงปฏิเสธการรักษาด้วยวิธีนี้มาโดยตลอด แต่คุณหมอสุเมธได้ให้ ข้อมูลดีมาก โดยอธิบายว่าการผ่าตัดแบบนี้ แผลจะเล็กมาก ประมาณ เหรียญ 5 บาท ใช้เวลาไม่นานแผลก็หายเป็นปกติ”
“วันที่เข้ารับการผ่าตัด ดิฉันไม่มีความกังวลใจอะไรเลย เพราะ คุณหมอให้ขอ้ มูลอย่างชัดเจน และดิฉนั มัน่ ใจ ว่าการผ่าตัดผ่านกล้อง นอกจากจะมีแผลเพียงเล็กน้อยแล้ว ยังสามารถผ่าตัดได้อย่าง ตรงจุด คือ หมอนรองกระดูกที่แตกและเคลื่อน” “การผ่าตัดใช้เวลาไม่นาน หลังจากออกจากห้องผ่าตัด คุณหมอ ให้งดการเคลื่อนไหว 2 วัน ในวันที่ 3-4 ท�ำกายภาพบ�ำบัดโดยการ หัดลุก ยืน และฝึกก้าวขา ซึง่ ดิฉนั สามารถลุกขึน้ เดินได้เลย การผ่าตัด ครัง้ นี้ รวมระยะเวลาพักฟืน้ ในโรงพยาบาลแล้ว ใช้เวลา 5 วันเท่านัน้ ซึ่งตลอดเวลาที่เข้ารับการรักษา คุณหมอและพยาบาลรวมถึง ผู้ช่วยพยาบาล ทุกคนดูแลดีมาก ประทับใจจริงๆ ค่ะ” “หลังจากกลับมาพักฟืน้ ทีบ่ า้ น ดิฉนั ยังคงปฏิบตั ติ ามค�ำแนะน�ำ ของคุณหมออย่างเคร่งครัด และระมัดระวังท่าทางการเคลื่อนไหว ร่างกาย” คุณแตนฝากทิ้งท้ายว่า “หากมีอาการจากหมอนรองกระดูก ทับเส้นประสาท ควรรีบพบแพทย์เพื่อท�ำการรักษา เพราะปล่อยไว้ นานๆ อาการอาจแย่ลง และควรระมัดระวังในเรือ่ งการเดิน นัง่ และ นอน รวมทัง้ ควรออกก�ำลังกายเบาๆ ก็จะช่วยได้ หากต้องรักษาด้วย การผ่าตัดก็ไม่ต้องกลัวหรือกังวลใจ เพราะการผ่าตัดผ่านกล้อง มีความแม่นย�ำ รู้จุดที่ผ่าตัดอย่างแน่นอน ท�ำให้ลดการบาดเจ็บ ในส่วนอื่นๆ ไม่เหมือนการผ่าตัดแผลใหญ่”
19
ฟิตให้พร้อม
3 ท่เพือ่ าผูสบริ ห าร ้ งู วัยร่างกายแข็งแรง ผูส้ งู วัยควรมีการยืดเส้นยืดสาย หรือออกก�าลังกายอย่างสม�า่ เสมอ เพือ่ ให้ ร่างกายแข็งแรงและมีความยืดหยุ่น แต่ไม่ควรรุนแรงหรือหักโหม จนเกินไป ควรเลือกออกก�าลังกายแบบเบาๆ เน้นการยืดบริหารกล้ามเนือ้ เพือ่ ให้รา่ งกาย เคลื่อนไหวได้อย่างคล่องตัวตามวัย
บริหารกล้ามเนื้อต้นขาและน่อง เริ่มต้นด้วยการยืนแยกขา ความกว้างเท่าช่วงไหล่ มือจับไม้พลองตั้งตรงขนาน กับล�าตัว ย่อเข่าลงอย่างช้าๆ ทั้ง 2 ข้างประมาณ 45 องศา หรือเท่าที่สามารถ ย่อเข่าได้ ให้น�้าหนักลงที่ขา 2 ข้างเท่าๆ กัน โดยจับไม้พลองเป็นหลัก เพื่อป้องกัน การล้ม จากนัน้ ยืดตัวขึน้ ช้าๆ กดมือทัง้ สองข้างทีไ่ ม้พลอง เหยียดตัวขึน้ เขย่งปลายเท้า ค้างไว้ 2-3 วินาที และกลับมาท่าเริ่มต้น ข้อควรระวัง: หากมีอาการปวดเข่า ให้เริ่มจากย่อเข่าน้อยๆ ก่อน หรือรอให้หาย จากอาการปวดเข่าก่อน
บริหารกล้ามเนื้อหลังและไหล่ ท่าเริ่มต้น ยืนแยกขา ความกว้างเท่าช่วงไหล่ มือทั้ง 2 ข้างจับที่ ปลายไม้พลอง ความกว้างเท่าช่วงไหล่ ยกแขนให้ตึงสุดเท่าระดับหู และค่อยๆ ก้มหลังพร้อมลดไม้พลองลง ให้ไม้ต�่าลงระดับข้อเท้าหรือ เท่าที่สามารถก้มได้ โดยก้มให้หลังตึงและต้นขาด้านหลังตึง ค้างไว้ 2-3 วินาที จากนั้นจึงกลับสู่ท่าเริ่มต้น ข้อควรระวัง: ระหว่างก้มศีรษะ หากมีอาการเวียนศีรษะ ควรหยุด ทันที
บริหารกล้ามเนือ้ หลังและลำาตัวด้านข้าง เริ่มจากยืนแยกเท้าให้ความกว้างเท่าช่วงไหล่ หน้าตรง วางไม้พลองที่บ่าทั้ง 2 ข้าง งอข้อศอก เล็กน้อย พับแขนลงบนไม้พลอง บิดไหล่และล�าตัว ช่วงบนไปด้านข้าง 90 องศา ให้รู้สึกตึงบริเวณ ช่วงเอว ค้างไว้ 2-3 วินาที ปลายไม้พลองชี้ไป ข้างหน้า โดยเท้าทั้ง 2 ข้างอยู่กับที่ จากนั้นบิดล�าตัว ไปอีกข้าง ให้รู้สึกตึงๆ เท่ากัน และกลับสู่ท่าเริ่มต้น ข้อควรระวัง: ควรบิดตัวช้าๆ เพราะหากเหวี่ยงตัว เร็วมากเกินไป อาจท�าให้เวียนศีรษะหรือปวดหลังได้ 20
ทั้ง 3 ท่าบริหาร ควรบริ ห าร 5-10 ครั้ง ใน 1 สัปดาห์ แรก และเพิ่ ม เป็ น 10-30 ครั้ ง เมื่ อ ออกก� า ลั ง กายใน สัปดาห์ถัดต่อมา
Eating Right
กินให้ “ใช่” รับมือวัยทอง
แม้จะเป็นเพียงตัวเลขอายุทเี่ พิม่ ขึน้ แต่สงิ่ ทีท่ า� ให้กงั วลใจทีส่ ดุ ส�าหรับ การเข้าสูว่ ยั ทอง คือ อาการไม่พงึ ประสงค์ตา่ งๆ เช่น หงุดหงิด ร้อนวูบวาบ ระบบเผาผลาญที่ไม่ดีเหมือนตอนเป็นหนุ่มสาว น�้าหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ภาวะกระดูกพรุน ไขมันทีเ่ พิม่ มากขึน้ ช่องคลอดแห้ง ฯลฯ เกิดจากฮอร์โมน ที่ลดลง ซึ่งวิธีแก้ปัญหาเหล่านี้ที่ปลายเหตุคือ การเสริมฮอร์โมนทดแทน แต่วิธีที่ดีที่สุดและผลข้างเคียงน้อยที่สุดคือ การออกก�าลังกายและ รักษาสุขภาพ โดยเฉพาะการเลือกรับประทานอาหารที่ “ใช่” ส�าหรับคน วัยทอง
อาหารที่ร่างกายต้องการเมื่ออายุมากขึ้น
6. วิตามินบี หลังจากอายุ 50 ปี ร่างกายจะผลิตกรดในกระเพาะ อาหารน้อยลง ท�าให้กระบวนการดูดซึมวิตามินบี12 ไปบ�ารุงร่างกาย ปัจจัยทีจ่ ะท�าให้การใช้ชวี ติ ในวัยทองมีความสุขและสุขภาพดีขนึ้ อยู่ มีประสิทธิภาพลดลง หมายถึง ปริมาณวิตามินบี12 อาจมีปริมาณน้อย ทีก่ ารเลือกรับประทานอาหาร โดยค�านึงถึงความเหมาะสมและสมดุล และ กว่าปกติที่ร่างกายต้องการ วิตามินบี12 มีความส�าคัญต่อระบบประสาท ทีส่ า� คัญคือ การออกก�าลังกาย สิง่ เหล่านีจ้ ะท�าให้คณ ุ ภาพชีวติ ดีขนึ้ แนวทาง หากขาดวิตามินบี12 เส้นประสาทจะเสื่อมสภาพ ความจ�าเสื่อม และอาจ อาหารส�าหรับวัยที่เพิ่มขึ้นมีดังนี้ เกิดภาวะโลหิตจาง ทั้งนี้ปริมาณวิตามินบี12 ที่แนะน�าคือ 2.4 ไมโครกรัม 1. ผลไม้ เน้นการรับประทานผลไม้สดมากกว่าน�้าผลไม้ เพราะมี ต่อวัน จากอาหารหรือเสริมด้วยวิตามินชนิดเม็ด ไฟเบอร์และวิตามินมากกว่า ควรรับประทานให้ได้ 1 ½-2 ส่วนต่อวัน 7. วิตามินดี จ�าเป็นต่อการดูดซึมแคลเซียม โดยจะได้รับผ่านการ ควรเลือกผลไม้อื่นๆ ที่มีสีสันหลากหลาย เช่น ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ หรือ สัมผัสแสงแดดและอาหารบางชนิด เช่น ปลาที่มีไขมัน ไข่แดง และนม เมลอนสีต่างๆ เมื่ออายุมากขึ้น ผิวจะมีประสิทธิภาพลดลงในการสังเคราะห์วิตามินดี 2. ผัก ควรเลือกทีม่ สี หี ลากหลายเช่นเดียวกับผลไม้ เพราะสีทตี่ า่ งกัน ดังนั้น ควรปรึกษาแพทย์เพื่อจะได้ทราบว่า สภาพร่างกายของคุณเหมาะ ให้ประโยชน์ที่ไม่เหมือนกัน หากต้องการสารต้านอนุมูลอิสระที่มากขึ้น กับการเสริมวิตามินดีแบบใด ควรเลือกรับประทานผักใบที่มีสีเขียว เช่น ผักคะน้า ผักโขม หรือเลือก 8. นำ้า ด้วยวัยที่เพิ่มขึ้น ร่างกายจะสูญเสียน�้าได้ง่ายขึ้น เพราะความ เป็นผักสีส้มและสีเหลือง เช่น แครอท ฟักทอง และมันเทศ ปริมาณที่ สามารถในการควบคุมระดับของเหลวลดลง ท�าให้รู้สึกกระหายน�้าถี่ แนะน�าคือ 2-2 ½ ส่วนต่อวัน กว่าเดิม ดังนัน้ ควรปรับพฤติกรรมการดืม่ น�า้ ด้วยการจิบน�า้ ให้ได้ทกุ ชัว่ โมง 3. แคลเซียม การดูแลรักษาสุขภาพของกระดูกในขณะที่คุณอายุ และหลีกเลีย่ งอาหาร ทีม่ คี วามเสีย่ งท�าให้เกิดการติดเชือ้ ทางเดินปัสสาวะ เพิม่ ขึน้ ปัจจัยส�าคัญอยูท่ ปี่ ริมาณแคลเซียมว่ามีเพียงพอส�าหรับการป้องกัน และท้องผูก โรคกระดูกพรุนและกระดูกหักหรือไม่ โดยผู้สูงวัยต้องการแคลเซียม ‘You are what you eat’ ยังคงเป็นข้อคิดที่ดีและใช้ได้เสมอ ไม่ว่า วันละ 1,200 มิลลิกรัมต่อวัน อาจจะเลือกทานนม โยเกิร์ต เนยแข็ง หรือ จะวัยใด หรือโรคภัยไข้เจ็บอืน่ ๆ การเลือกรับประทานอาหารทีด่ มี ปี ระโยชน์ แหล่งอื่นๆ อาทิ เต้าหู้ ผักคะน้า และถั่วอัลมอนด์ เป็นพื้นฐานที่ส�าคัญในการด�าเนินชีวิตแบบมีความสุขอย่างยืนยาว 4. ธัญพืช เป็นคาร์โบไฮเดรตทีด่ ที สี่ ดุ ควรเลือกธัญพืชเต็มเมล็ดแบบ 1 ส่วนบริโภค (serving size) คืออะไร? ไม่ขัดสี หรือขัดสีน้อย เพื่อคงคุณค่าทางอาหารสูง อุดมด้วยวิตามินอี ‘1 ส่วนหรือ 1 ส่วนบริโภค’ คือ ค่ามาตรฐานในการนับปริมาณการบริโภค วิตามินบีรวม แร่ธาตุอาหาร และใยอาหารสูง โดยผู้สูงวัยต้องการธัญพืช โดย 1 ส่วนของอาหารแต่ละประเภทมีค่าดังนี้ อย่างน้อย 6-7 ออนซ์ต่อวัน (ขนมปัง 1 แผ่น มีปริมาณแป้ง 1 ออนซ์) 1. แป้ง 1 ส่วน = ขนมปัง 1 แผ่น หรืออาหารแป้ง ½ ถ้วยตวง 5. โปรตีน ผู้สูงวัยจ�าเป็นต้องได้รับโปรตีน 0.5 กรัมต่อน�้าหนัก 2. ผัก 1 ส่วน = ผักดิบ 1 ถ้วยตวง หรือผักสุก ½ ถ้วยตวง 0.45359 กิโลกรัมของน�า้ หนักตัวหรือถ้าคุณเป็นผูห้ ญิงน�า้ หนัก 59 กิโลกรัม 3. ผลไม้ 1 ส่วน = ผลไม้ขนาดกลาง หรือผลไม้ที่หั่นแล้ว ½ ถ้วยตวง 4. นม 1 ส่วน = นม 1 ถ้วยตวง (240 มล.) คุณจะต้องการโปรตีนประมาณ 65 กรัมต่อวัน โดยโปรตีนจากปลาทูนา่ 1 ส่วน 5. โปรตีน 1 ส่วน = ไข่ 1 ฟอง หรือเต้าหู้ ¼ ถ้วยตวง มีปริมาณโปรตีน 40 กรัม ซึ่งจ�านวนโปรตีนจะแตกต่างกันไปตามแหล่ง 6. ไขมัน 1 ส่วน = น�้ามัน หรือเนยเทียม 1 ช้อนชา ที่มาของอาหารที่บริโภค เช่น ปลาที่ต่างชนิดกัน ถั่วแต่ละชนิด ไข่ นม ชีส 21
วันนี้..รับของสมนาคุณ
2 ต่อ...
เพียงร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวารสาร Healthy Living ในแบบสอบถามด้านล่างนี้ ลุน้ รับชุดผลิตภัณฑ์จาก Eucerin ขนาดทดลอง
ต่อที่ 1 มูลค่า 500 บาท จ�านวน 50 รางวัล ลุน้ รับแพคเกจตรวจสุขภาพพืน้ ฐาน
ต่อที่ 2 มูลค่า 2,000 บาท จ�านวน 3 รางวัล รายละเอียดเงื่อนไข
1. กรอกข้อมูลในแบบสอบถามด้านล่างให้ถูกต้องและครบถ้วน พร้อมตัดตามรอยปรุ และส่งมาลุ้นรับรางวัล ได้ 3 ช่องทาง ดัดังนี้ • ส่งด้วยตนเองได้ที่ เคาน์เตอร์ลูกค้าสัมพันธ์ บริเวณโถงกลาง ชั้น 1 ทุกวัน เวลา 08.00-18.00 น. โทร. 0-2596-7888 • สแกนหรือถ่ายภาพชิ้นส่วน และแนบไฟล์ส่งทางอีเมล์ contactus@nonthavej.co.th • ส่งทางแฟกซ์ 0-2596-7888 ต่อ 2502 2. หมดเขตส่งแบบสอบถามวันที่ 15 มิถุนายน 2556 3. สงวนสิทธิ์การส่งแบบสอบถาม 1 รายชื่อ ต่อ 1 ใบ 4. ประกาศรายชื่อผู้โชคดีในวารสาร Healthy Living ฉบับเดือนกรกฎาคม-กันยายน 2556 5. โรงพยาบาลฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงของรางวัลตามความเหมาะสม โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า 6. รางวัลไม่สามารถเปลี่ยนเป็นเงินสดหรือของรางวัลอื่น รวมทั้งโอนสิทธิ์ให้แก่ผู้อื่นได้ 7. โรงพยาบาลฯ จะจัดส่งรางวัลให้ผู้โชคดีทางไปรษณีย์ตามที่อยู่ในแบบสอบถาม
ชื่อ – นามสกุล..........................................................................................................เพศ หญิง ชาย วัน/เดือน/ปีเกิด........................................................................................................อายุ....................ปี ที่อยู่ปัจจุบันเลขที่..................................หมู่บ้าน/บริษัท...........................................ซอย..........................................ถนน...................................................... แขวง/ต�าบล...........................................เขต/อ�าเภอ.................................................จังหวัด......................................รหัสไปรษณีย์........................................ โทรศัพท์/มือถือ.....................................อีเมล์ ........................................................................................................................................................................ ข้อมูลเพิ่มเติม แต่งงาน หย่า สถานภาพ โสด เจ้าของธุรกิจ แม่บ้าน/พ่อบ้าน อื่นๆ ระบุ................. อาชีพ รับราชการ พนักงานบริษัท 20,001 – 30,000 30,001 – 40,000 รายได้เฉลี่ย ไม่เกิน 20,000 40,001 – 50,000 50,001 บาทขึ้นไป ไม่เคย เคย คุณเคยใช้บริการที่ รพ.นนทเวช หรือไม่ • ใช้บริการศูนย์/คลินิกใด................................................. • กรุณาระบุเหตุผลที่เลือกรับบริการที่ รพ.นนทเวช เพื่อน/คนรู้จักแนะน�า แพทย์แนะน�า ทราบจากสื่อประชาสัมพันธ์ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) บิลบอร์ด นิตยสาร หนังสือพิมพ์ วิทยุ-โทรทัศน์ อินเทอร์เนท แผ่นพับ/โบรชัวร์ คุณชอบคอลัมน์ไหนในวารสาร Healthy Living........................................................................................................................................................... คุณอยากให้มีคอลัมน์อะไรเพิ่มเติม................................................................................................................................................................................. การร่วมกิจกรรมของ รพ. จุดบริการใน รพ. คุณได้รับวารสาร Healthy Living จากทางใด ไปรษณีย์ สามารถส่งแบบสอบถามด้วยตัวเองได้ที่ เคาน์เตอร์ลกู ค้าสัมพันธ์ บริเวณโถงกลาง ชัน้ 1 ทุกวัน เวลา 08.00 –18.00 น. โทร. 0-2596-7888
* พรอมใหบริการกลางเดือนพฤษภาคม 2556
โรงพยาบาลคุณภาพมาตรฐานระดับโลก
Your healthy living, our commitment.