ISSUE
2014
Strok and
Cardiovascular Emergency Center
ศูนย์ฉุกเฉินหลอดเลือดสมอง และหัวใจ 24 ชั่วโมง
วันนี้คุณรู้จัก ‘หัวใจ’ ดีพอแล้วหรือยัง
ปี 33 นนทเวช
6
Real Experience
อาการสัญญาณร่วมเฉียบพลัน หยุดทุกอย่างและมาทันที ห่วงใยสุขภาพคุณ
ด้วยกระดายาษตา
ถนอทมั้งสเล่ม
และใช้หมนึกถั่วSเหoลืyIอnง k จากน้ำ�มั
โรงพยาบาลครอบครัวชั้นนำ� สู่นวัตกรรมการพัฒนาการรักษาโรคเรื้อรังเฉพาะทางแบบตติยภูมิ ด้วยมาตรฐานการรักษาสากล (Tertiary Care)
Editor's Note Healthy Living ฉบับนี้ ต้อนรับ เข้าสู่ปี 2557 และเป็นปีที่โรงพยาบาล นนทเวชก้าวเข้าสู่ปีที่ 33 ในการ เปิดให้บริการอย่างเต็มตัว ที่ผ่านมา โรงพยาบาลนนทเวชพร้อมพัฒนา คุณภาพในด้านต่างๆ ด้วยมาตรฐาน สากล (มาตรฐาน JCI) โดยมีแพทย์ ผู ้ เชี่ ย วชาญเฉพาะทางที่ ค รบครั น ทุกสาขา พร้อมนวัตกรรมการรักษา และเครื่องมือที่ทันสมัย เน้นความ ปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด ในปี 2557 นี้ โรงพยาบาลได้ มุง่ เน้นทีจ่ ะเป็นโรงพยาบาลครอบครัว ชั้นน�ำระดับประเทศ ในการรักษาโรคที่มีความซับซ้อน (โรงพยาบาล ระดับตติยภูม)ิ โดยเน้นการรักษาแบบองค์รวมและมุง่ เน้นการส่งเสริมสุข ภาพ การป้องกันโรค การคัดกรอง การรักษาโรคและฟืน้ ฟูสภาพร่างกาย ของผู้ป่วยให้กลับคืนเป็นปกติ โรงพยาบาลนนทเวชมุง่ หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า การปรับปรุงและพัฒนา บุคลากรทุกระดับ เครื่องมือที่ทันสมัย รวมทั้งการดูแลเอาใจใส่ท่านผู้รับ บริการเสมือนเป็นบุคคลหนึ่งในครอบครัว จะท�ำให้ท่านได้รับการดูแล รักษาที่ดีที่สุด ด้วยความปรารถนาดี
นพ.พรมพันธ์ พรมมาส ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล ที่ปรึกษา นพ.พรมพันธ์ พรมมาส ปัทมา พรมมาส บรรณาธิการบริหาร ประพิชญา พรมมาส บรรณาธิการ นิตยา ชื่นศิลป์ กองบรรณาธิการ ธัญวพิสิทธิ์ ธีรทัศน์ สุชีรา วิจิตรสาร สถานที่ติดต่อ แผนกสือ่ สารการตลาด และประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลนนทเวช 30/8 ถ.งามวงศ์วาน ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 ติดต่อโฆษณา โทร. 0-2596-7888 ต่อ 2568 Email contactus@nonthavej.co.th ออกแบบและจัดพิมพ์ บริษัท เกรท ดีไซน์ แอนด์ พริ้นท์ จ�ำกัด โทร. 0-2184-8651 • Healthy Living เป็นวารสารรายสามเดือนของบริษทั โรงพยาบาลนนทเวช จ�ำกัด (มหาชน) ข้อเขียนและบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท โรงพยาบาลนนทเวช จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ฯ ขอสงวนสิทธิใ์ นการคัดลอกหรือน�ำไปตีพมิ พ์ โดยไม่ได้รบั อนุญาต อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
04
07 11
โรงพยาบาลครอบครัวชั้นน�ำ สู่นวัตกรรมการพัฒนาการรักษาโรคเรื้อรัง เฉพาะทางแบบตติยภูมิด้วยมาตรฐาน การรักษาสากล (Tertiary Care) วันนี้คุณรู้จัก ‘หัวใจ’ ดีพอแล้วหรือยัง
6 อาการสัญญาณร่วมเฉียบพลัน หยุดทุกอย่างและมาทันที
ศูนย์ฉุกเฉินหลอดเลือดสมองและหัวใจ 24 ชั่วโมง
13 17
21
นาทีชีวิต หวิดอัมพาต
On the move รอบรั้วนนทเวช
Healthy Dining ‘หมูผัดขิง’ เมนูง่ายๆ เต็มเปี่ยมด้วยประโยชน์
22
Editor's Note Healthy Living ฉบับนี้ ต้อนรับ เข้าสู่ปี 2557 และเป็นปีที่โรงพยาบาล นนทเวชก้าวเข้าสู่ปีที่ 33 ในการ เปิดให้บริการอย่างเต็มตัว ที่ผ่านมา โรงพยาบาลนนทเวชพร้อมพัฒนา คุณภาพในด้านต่างๆ ด้วยมาตรฐาน สากล (มาตรฐาน JCI) โดยมีแพทย์ ผู ้ เชี่ ย วชาญเฉพาะทางที่ ค รบครั น ทุกสาขา พร้อมนวัตกรรมการรักษา และเครื่องมือที่ทันสมัย เน้นความ ปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นสิ่งส�ำคัญที่สุด ในปี 2557 นี้ โรงพยาบาลได้ มุง่ เน้นทีจ่ ะเป็นโรงพยาบาลครอบครัว ชั้นน�ำระดับประเทศ ในการรักษาโรคที่มีความซับซ้อน (โรงพยาบาล ระดับตติยภูม)ิ โดยเน้นการรักษาแบบองค์รวมและมุง่ เน้นการส่งเสริมสุข ภาพ การป้องกันโรค การคัดกรอง การรักษาโรคและฟืน้ ฟูสภาพร่างกาย ของผู้ป่วยให้กลับคืนเป็นปกติ โรงพยาบาลนนทเวชมุง่ หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า การปรับปรุงและพัฒนา บุคลากรทุกระดับ เครื่องมือที่ทันสมัย รวมทั้งการดูแลเอาใจใส่ท่านผู้รับ บริการเสมือนเป็นบุคคลหนึ่งในครอบครัว จะท�ำให้ท่านได้รับการดูแล รักษาที่ดีที่สุด ด้วยความปรารถนาดี
นพ.พรมพันธ์ พรมมาส ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาล ที่ปรึกษา นพ.พรมพันธ์ พรมมาส ปัทมา พรมมาส บรรณาธิการบริหาร ประพิชญา พรมมาส บรรณาธิการ นิตยา ชื่นศิลป์ กองบรรณาธิการ ธัญวพิสิทธิ์ ธีรทัศน์ สุชีรา วิจิตรสาร สถานที่ติดต่อ แผนกสือ่ สารการตลาด และประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลนนทเวช 30/8 ถ.งามวงศ์วาน ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 ติดต่อโฆษณา โทร. 0-2596-7888 ต่อ 2568 Email contactus@nonthavej.co.th ออกแบบและจัดพิมพ์ บริษัท เกรท ดีไซน์ แอนด์ พริ้นท์ จ�ำกัด โทร. 0-2184-8651 • Healthy Living เป็นวารสารรายสามเดือนของบริษทั โรงพยาบาลนนทเวช จ�ำกัด (มหาชน) ข้อเขียนและบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท โรงพยาบาลนนทเวช จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ฯ ขอสงวนสิทธิใ์ นการคัดลอกหรือน�ำไปตีพมิ พ์ โดยไม่ได้รบั อนุญาต อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
04
07 11
โรงพยาบาลครอบครัวชั้นน�ำ สู่นวัตกรรมการพัฒนาการรักษาโรคเรื้อรัง เฉพาะทางแบบตติยภูมิด้วยมาตรฐาน การรักษาสากล (Tertiary Care) วันนี้คุณรู้จัก ‘หัวใจ’ ดีพอแล้วหรือยัง
6 อาการสัญญาณร่วมเฉียบพลัน หยุดทุกอย่างและมาทันที
ศูนย์ฉุกเฉินหลอดเลือดสมองและหัวใจ 24 ชั่วโมง
13 17
21
นาทีชีวิต หวิดอัมพาต
On the move รอบรั้วนนทเวช
Healthy Dining ‘หมูผัดขิง’ เมนูง่ายๆ เต็มเปี่ยมด้วยประโยชน์
22
เฉพาะทาง และเจ้าหน้าทีใ่ นส่วนต่างๆ อย่าง มีประสิทธิภาพ เพือ่ การรักษาพยาบาล และ การสื่อสารด้านภาษา เพื่อการสื่อสารไปยัง ผู้รับบริการในอนาคต “โดยมีการจัดฝึกอบรม และการเรียน การสอนให้ปฏิบัติงานตามมาตรฐานระดับ สากล มีการติดตาม และก�ำกับดูแลอย่าง ต่อเนือ่ ง โดยเรามุง่ มัน่ ทีจ่ ะให้การบริการด้วย ทีมงานที่เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง และ ด�ำเนินงานภายใต้มาตรฐานระดับสากล (JCI) เคารพสิทธิของผูป้ ว่ ย และยึดมัน่ ในจริยธรรม คุณธรรม”
นายแพทย์สมสกุล ศรีพิสุทธิ์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายการแพทย์/ ผู้ช่วย QMR โรงพยาบาลนนทเวช
การเข้าถึงความเป็นโรงพยาบาล ของทุกคนในครอบครัว
33 ปี นนทเวช
โรงพยาบาลครอบครัวชั้นนำ�
สู่นวัตกรรมการพัฒนาการรักษาโรคเรื้อรังเฉพาะทางแบบตติยภูมิ
ด้วยมาตรฐานการรักษาสากล (Tertiary Care)
นายแพทย์เกรียงไกร จีระแพทย์ รองผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลนนทเวช (สายการแพทย์และการพยาบาล)
4
ปี 2557 โรงพยาบาลนนทเวช ได้ พัฒนาการรักษาโดยมุ่งเน้นการรักษาคนไข้ ในระดับตติยภูมิ ซึ่งการรักษาแบบตติยภูมิ นั้นจ�ำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบต่างๆ ที่ สอดคล้องกัน ทั้งในเรื่องบุคลากร สถานที่ องค์ความรู้ รวมถึงอุปกรณ์ทางการแพทย์ และไม่ได้ให้ความส�ำคัญการบริการเพียง อย่างเดียว เพราะทางโรงพยาบาลนนทเวช ยั ง มี ก ารท� ำ งานเป็ น ที ม โดยที ม แพทย์ ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านควบคูก่ นั ไป เพือ่ ให้การ รักษาและการป้องกันสามารถท�ำได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้คนไข้ได้รับการรักษา
ได้อย่างเหมาะสมกับขีดความสามารถที่ โรงพยาบาลรองรับได้ นายแพทย์เกรียงไกร จีระแพทย์ รองผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลนนทเวช (สายการแพทย์และการพยาบาล) กล่าว ถึงทิศทางของการบริหารงานว่า “ตลอด ระยะเวลา 33 ปี โรงพยาบาลมีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะบุคลากรทางการ แพทย์ที่มีแพทย์เชีย่ วชาญมากขึน้ เครือ่ งมือ การแพทย์ใหม่ ๆ ที่ทันสมัย การต่อเติม ปรับปรุงภูมทิ ศั น์ ขยายอาคาร เพิม่ จ�ำนวน เตี ย งและห้ อ งตรวจ รวมทั้ ง บริ ก ารที่
หลากหลายมากขึน้ โดยเฉพาะแพทย์เฉพาะ ทางที่มีจ�ำนวนมากขึ้น เพราะโรงพยาบาล นนทเวชถือว่าเป็นโรงพยาบาลที่รักษาด้วย แพทย์เฉพาะทางทุกสาขา ตลอด 24 ชัว่ โมง ซึ่งเราประสบความส�ำเร็จตามที่ตั้งใจไว้ “ในปี 2557 โรงพยาบาลนนทเวช มุ่ง มั่นที่จะเป็นโรงพยาบาลครอบครัวชั้นน�ำ ระดับประเทศ ให้การรักษาในระดับตติยภูมิ คือ มีแพทย์เฉพาะทางทุกสาขา อุปกรณ์ใน การรักษาพยาบาล และทีมงานสหสาขา และ ด�ำเนินงานภายใต้มาตรฐานระดับสากล JCI (Joint Commission International) และ ได้เตรียมตัวเพือ่ ก้าวเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน Asean Economics Community (AEC) ทางโรงพยาบาลนนทเวชจึงมุ่ง มัน่ พัฒนา สรรหา แพทย์เฉพาะทาง พยาบาล
การมีแพทย์เฉพาะทางครบถ้วนทุก สาขา ยังไม่นับเป็นจุดสูงสุดของการด�ำเนิน งาน โรงพยาบาลนนทเวช ได้ก�ำหนดแผน งานในปี พ.ศ.2557 ด้วยการเป็น ‘โรงพยาบาล ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญขั้ น สู ง ของทุ ก คนใน ครอบครัว’ นายแพทย์สมสกุล ศรีพิสุทธิ์ ผู้ช่วย ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการแพทย์/ผู้ช่วย QMR โรงพยาบาลนนทเวช ได้กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า การแพทย์ยคุ ใหม่เป็นยุคทีใ่ ช้เทคโนโลยีมาก ซึ่งมีข้อดีและข้อเสียในเวลาเดียวกัน ข้อดี คือ ผลการรักษาทีแ่ ม่นย�ำและได้ผลการรักษา ทีด่ ี อย่างไรก็ตาม ข้อเสียทีจ่ ะเกิดขึน้ คือ บาง ครัง้ การมีเทคโนโลยีเข้ามาแทนบุคลากรมาก
จนเกินไป อาจท�ำให้ความสัมพันธ์ระหว่าง แพทย์กบั คนไข้ลดลง ทางโรงพยาบาลนนทเวช ค�ำนึงอยูเ่ สมอว่า ความเจ็บป่วยไม่ใช่แค่ดา้ น ที่แพทย์มองเห็นเพียงอย่างเดียว แต่ต้อง ค�ำนึงถึงอีกด้านของคนไข้ดว้ ย ทัง้ ด้านความ คิด อารมณ์ การใช้ชวี ติ ประจ�ำวัน และความ คาดหวังของผู้ป่วยที่ได้เข้ามารับการตรวจ เราใช้เทคโนโลยีเพื่อให้การศึกษาออกมาได้ ผลการตรวจดีทสี่ ดุ แต่ไม่ได้ละทิง้ สายสัมพันธ์ ระหว่างทีมรักษาและผู้รับการรักษา “โรงพยาบาลนนทเวช ในปี 2557 โรงพยาบาลมีเป้าหมาย 2 ส่วนส�ำคัญในการ พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลด้วยความ เชีย่ วชาญ และการเป็นโรงพยาบาลครอบครัว อย่างแท้จริง หลายสถานพยาบาลที่มีผู้ป่วย จ�ำนวนมาก อาจดูแลผูป้ ว่ ยไม่ทวั่ ถึง แน่นอน ว่า ผูร้ บั บริการมีความต้องการได้รบั การดูแล 5
เฉพาะทาง และเจ้าหน้าทีใ่ นส่วนต่างๆ อย่าง มีประสิทธิภาพ เพือ่ การรักษาพยาบาล และ การสื่อสารด้านภาษา เพื่อการสื่อสารไปยัง ผู้รับบริการในอนาคต “โดยมีการจัดฝึกอบรม และการเรียน การสอนให้ปฏิบัติงานตามมาตรฐานระดับ สากล มีการติดตาม และก�ำกับดูแลอย่าง ต่อเนือ่ ง โดยเรามุง่ มัน่ ทีจ่ ะให้การบริการด้วย ทีมงานที่เป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง และ ด�ำเนินงานภายใต้มาตรฐานระดับสากล (JCI) เคารพสิทธิของผูป้ ว่ ย และยึดมัน่ ในจริยธรรม คุณธรรม”
นายแพทย์สมสกุล ศรีพิสุทธิ์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการฝ่ายการแพทย์/ ผู้ช่วย QMR โรงพยาบาลนนทเวช
การเข้าถึงความเป็นโรงพยาบาล ของทุกคนในครอบครัว
33 ปี นนทเวช
โรงพยาบาลครอบครัวชั้นนำ�
สู่นวัตกรรมการพัฒนาการรักษาโรคเรื้อรังเฉพาะทางแบบตติยภูมิ
ด้วยมาตรฐานการรักษาสากล (Tertiary Care)
นายแพทย์เกรียงไกร จีระแพทย์ รองผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลนนทเวช (สายการแพทย์และการพยาบาล)
4
ปี 2557 โรงพยาบาลนนทเวช ได้ พัฒนาการรักษาโดยมุ่งเน้นการรักษาคนไข้ ในระดับตติยภูมิ ซึ่งการรักษาแบบตติยภูมิ นั้นจ�ำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบต่างๆ ที่ สอดคล้องกัน ทั้งในเรื่องบุคลากร สถานที่ องค์ความรู้ รวมถึงอุปกรณ์ทางการแพทย์ และไม่ได้ให้ความส�ำคัญการบริการเพียง อย่างเดียว เพราะทางโรงพยาบาลนนทเวช ยั ง มี ก ารท� ำ งานเป็ น ที ม โดยที ม แพทย์ ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านควบคูก่ นั ไป เพือ่ ให้การ รักษาและการป้องกันสามารถท�ำได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้คนไข้ได้รับการรักษา
ได้อย่างเหมาะสมกับขีดความสามารถที่ โรงพยาบาลรองรับได้ นายแพทย์เกรียงไกร จีระแพทย์ รองผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลนนทเวช (สายการแพทย์และการพยาบาล) กล่าว ถึงทิศทางของการบริหารงานว่า “ตลอด ระยะเวลา 33 ปี โรงพยาบาลมีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะบุคลากรทางการ แพทย์ที่มีแพทย์เชีย่ วชาญมากขึน้ เครือ่ งมือ การแพทย์ใหม่ ๆ ที่ทันสมัย การต่อเติม ปรับปรุงภูมทิ ศั น์ ขยายอาคาร เพิม่ จ�ำนวน เตี ย งและห้ อ งตรวจ รวมทั้ ง บริ ก ารที่
หลากหลายมากขึน้ โดยเฉพาะแพทย์เฉพาะ ทางที่มีจ�ำนวนมากขึ้น เพราะโรงพยาบาล นนทเวชถือว่าเป็นโรงพยาบาลที่รักษาด้วย แพทย์เฉพาะทางทุกสาขา ตลอด 24 ชัว่ โมง ซึ่งเราประสบความส�ำเร็จตามที่ตั้งใจไว้ “ในปี 2557 โรงพยาบาลนนทเวช มุ่ง มั่นที่จะเป็นโรงพยาบาลครอบครัวชั้นน�ำ ระดับประเทศ ให้การรักษาในระดับตติยภูมิ คือ มีแพทย์เฉพาะทางทุกสาขา อุปกรณ์ใน การรักษาพยาบาล และทีมงานสหสาขา และ ด�ำเนินงานภายใต้มาตรฐานระดับสากล JCI (Joint Commission International) และ ได้เตรียมตัวเพือ่ ก้าวเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน Asean Economics Community (AEC) ทางโรงพยาบาลนนทเวชจึงมุ่ง มัน่ พัฒนา สรรหา แพทย์เฉพาะทาง พยาบาล
การมีแพทย์เฉพาะทางครบถ้วนทุก สาขา ยังไม่นับเป็นจุดสูงสุดของการด�ำเนิน งาน โรงพยาบาลนนทเวช ได้ก�ำหนดแผน งานในปี พ.ศ.2557 ด้วยการเป็น ‘โรงพยาบาล ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญขั้ น สู ง ของทุ ก คนใน ครอบครัว’ นายแพทย์สมสกุล ศรีพิสุทธิ์ ผู้ช่วย ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการแพทย์/ผู้ช่วย QMR โรงพยาบาลนนทเวช ได้กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า การแพทย์ยคุ ใหม่เป็นยุคทีใ่ ช้เทคโนโลยีมาก ซึ่งมีข้อดีและข้อเสียในเวลาเดียวกัน ข้อดี คือ ผลการรักษาทีแ่ ม่นย�ำและได้ผลการรักษา ทีด่ ี อย่างไรก็ตาม ข้อเสียทีจ่ ะเกิดขึน้ คือ บาง ครัง้ การมีเทคโนโลยีเข้ามาแทนบุคลากรมาก
จนเกินไป อาจท�ำให้ความสัมพันธ์ระหว่าง แพทย์กบั คนไข้ลดลง ทางโรงพยาบาลนนทเวช ค�ำนึงอยูเ่ สมอว่า ความเจ็บป่วยไม่ใช่แค่ดา้ น ที่แพทย์มองเห็นเพียงอย่างเดียว แต่ต้อง ค�ำนึงถึงอีกด้านของคนไข้ดว้ ย ทัง้ ด้านความ คิด อารมณ์ การใช้ชวี ติ ประจ�ำวัน และความ คาดหวังของผู้ป่วยที่ได้เข้ามารับการตรวจ เราใช้เทคโนโลยีเพื่อให้การศึกษาออกมาได้ ผลการตรวจดีทสี่ ดุ แต่ไม่ได้ละทิง้ สายสัมพันธ์ ระหว่างทีมรักษาและผู้รับการรักษา “โรงพยาบาลนนทเวช ในปี 2557 โรงพยาบาลมีเป้าหมาย 2 ส่วนส�ำคัญในการ พัฒนาศักยภาพโรงพยาบาลด้วยความ เชีย่ วชาญ และการเป็นโรงพยาบาลครอบครัว อย่างแท้จริง หลายสถานพยาบาลที่มีผู้ป่วย จ�ำนวนมาก อาจดูแลผูป้ ว่ ยไม่ทวั่ ถึง แน่นอน ว่า ผูร้ บั บริการมีความต้องการได้รบั การดูแล 5
ศูนย์หัวใจ Healthy Center
จากครอบครัวที่เขาผูกพันกันมากกว่า เรา จึงตระหนักถึงความรู้สึกของผู้ป่วยเสมอว่า นอกจากผู้ป่วยจะได้รับการรักษาทางการ แพทย์ระดับมาตรฐานสากลแล้ว ทีมแพทย์ พยาบาล และบุคลากร ยังคงดูแลผูร้ บั บริการ เสมือนดูแลคนในครอบครัว ใส่ใจทัง้ สุขภาพ กาย สุขภาพใจ รวมถึงความรู้สึกต่าง ๆ ที่ จะได้รบั ดูแลอย่างต่อเนือ่ งด้วยความเชีย่ วชาญ และให้ความอบอุน่ เสมือนหนึง่ ในครอบครัว เดียวกัน “นอกจากนี้ โรงพยาบาลนนทเวช ยัง ให้ความส�ำคัญกับการตรวจรักษาทีม่ ากกว่า เช่น การรักษาโรคหลอดเลือด เราจะไม่ได้ มุง่ เน้นการรักษาไปทีโ่ รคใดโรคหนึง่ เราอาจ ให้ความส�ำคัญเรื่องที่ด่วนก่อน เช่น หัวใจ 6
แต่ก็จะเช็คหลอดเลือดในทุก ๆ ส่วน ด้วย วิทยาการที่ล�้ำสมัย เนื่องจากหลอดเลือดมี อยู่ทั่วทั้งร่างกาย ซึ่งหลอดเลือดที่ส�ำคัญ ได้แก่ บริเวณสมอง หัวใจ คอ ท้อง และขา ทั้งหมดนี้เป็นเส้นเลือดที่ใหญ่ สามารถเห็น ได้ด้วยตาเปล่า และมีเส้นเลือดเล็ก ๆ เช่น ที่บริเวณไต และตา โรงพยาบาลนนทเวช จะให้การดูแลรักษาเส้นเลือดทุกส่วนของ ร่างกาย โดยมีการบริการ ศูนย์ฉกุ เฉินหลอด เลือดสมองและหัวใจ 24 ชั่วโมง “อีกสิง่ ทีโ่ รงพยาบาลนนทเวชให้ความ ส�ำคัญ คือ การดูแลรักษาและป้องกันโรค เรื้อรัง โดยให้การบริการดูแลผู้ป่วยอย่าง ครอบคลุมด้วยหลักวิธี 5 ข้อ ดังนี้ ส่งเสริม ดูแลสนับสนุนให้ประชาชน มีสุขภาพที่ดี ป้องกัน เมื่อพบความเสี่ยงรีบดูแล ป้องกันหรือลดความเสี่ยงนั้น ๆ ให้เหลือ น้อยที่สุด คัดกรอง คัดกรองผูใ้ ช้บริการโรงพยาบาล อย่างไม่ละเลย การรักษา ให้การรักษาด้วยผูเ้ ชีย่ วชาญ และเทคโนโลยีที่ล�้ำสมัย ฟืน้ ฟู ดูแลเฝ้าระวังและติดตามผูป้ ว่ ย แม้ว่าจะหายจากโรคแล้วก็ตาม “โรงพยาบาลนนทเวช มุง่ หวังเป็นอย่าง ยิง่ ว่าส่วนส�ำคัญทีส่ ดุ ในการให้บริการ คือ เรา ดูแลเหมือนท่านเป็นเสมือนหนึง่ ในครอบครัว ใส่ใจอย่างต่อเนือ่ ง ครอบคลุม เอาใจใส่ถงึ ความรูส้ กึ ของท่านมาเป็นอันดับแรก”
วันนี้คุณรู้จัก “หัวใจ” ดีพอแล้วหรือยัง
“โรคหัวใจ” ค�ำสั้น ๆ มีความหมาย ครอบคลุมความผิดปกติของหัวใจหลาย ประการทีค่ วรรู้ มีขอ้ มูลระบุวา่ โรคหัวใจเป็น สาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของคน ทั่วโลก ทุก ๆ วันมีคนไทยเสียชีวิต เนื่องมา จากความผิดปกติเกีย่ วกับหัวใจมากถึง 236 คน หรือกว่า 85,000 คนต่อปี และมีแนว โน้มเพิ่มขึ้นทุกปี “โรคหัวใจ” หลายคนมักเข้าใจว่าเป็น โรคทีเ่ กิดกับหัวใจ และอาจถึงแก่ชวี ติ ได้ ส่วน ในรายละเอียดอาจไม่ทราบ แม้เป็นโรคจัด ว่าร้ายแรงโรคหนึ่ง แต่ “โรคหัวใจ” ที่เรา รูจ้ กั กันนัน้ เป็นค�ำทีม่ คี วามหมายกว้าง เพือ่
ท�ำความรู้จักกับ “หัวใจ” ให้ดีกว่าเดิม โดย นายแพทย์เรย์ ศรีรตั นา ทาบูกานอน แพทย์ ประจ�ำศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลนนทเวช อธิบายว่า... “ต�ำแหน่งของหัวใจนั้นอยู่ตรงกลาง ระหว่างปอดทัง้ สองข้าง ค่อนมาทางซ้ายเล็ก น้อย ประกอบขึน้ จากกลุม่ กล้ามเนือ้ ทีท่ ำ� งาน อย่างอิสระ ห่อหุม้ ไว้ดว้ ยเยือ่ บางๆ มีนำ�้ หนัก โดยรวมประมาณ 200 ถึง 425 กรัม ในวัน หนึ่ง ๆ หัวใจบีบตัวประมาณ 100,000 ครั้ง เพื่อส่งเลือดด�ำไปฟอกยังปอด และส่งเลือด แดงไปหล่อเลี้ยงยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ท�ำงานอยู่อย่างนี้ตลอดไม่มีวันพัก”
* ในปี 2555 มีคนไทยเสียชีวิต รวม 21,142 ราย/ปี สถิติ : ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวิต
ส่วนประกอบของหัวใจ ประกอบไปด้วย
• เยือ่ หุม้ หัวใจ (Pericardium) มีลกั ษณะ เป็นเยื่อบาง ๆ ห่อหุ้มหัวใจไว้ • หลอดเลือดหัวใจ (Coronary Artery) อยูภ่ ายนอกเยือ่ หุม้ หัวใจ มีกงิ่ ก้านแตกแขนง ส่งเลือดไปเลี้ยงยังกล้ามเนื้อหัวใจ หลอด เลือดหัวใจหลักมี 2 เส้นด้วยกัน คือ หลอด เลือดทีไ่ ปเลีย้ งหัวใจด้านขวา และหลอดเลือด ที่ไปเลี้ยงหัวใจด้านซ้าย • กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle) ท�ำหน้าทีส่ ง่ เลือดไปยังระบบไหลเวียนโลหิต โดยการหดตัว เกิดเป็นแรงดันให้เลือดไหล 7
ศูนย์หัวใจ Healthy Center
จากครอบครัวที่เขาผูกพันกันมากกว่า เรา จึงตระหนักถึงความรู้สึกของผู้ป่วยเสมอว่า นอกจากผู้ป่วยจะได้รับการรักษาทางการ แพทย์ระดับมาตรฐานสากลแล้ว ทีมแพทย์ พยาบาล และบุคลากร ยังคงดูแลผูร้ บั บริการ เสมือนดูแลคนในครอบครัว ใส่ใจทัง้ สุขภาพ กาย สุขภาพใจ รวมถึงความรู้สึกต่าง ๆ ที่ จะได้รบั ดูแลอย่างต่อเนือ่ งด้วยความเชีย่ วชาญ และให้ความอบอุน่ เสมือนหนึง่ ในครอบครัว เดียวกัน “นอกจากนี้ โรงพยาบาลนนทเวช ยัง ให้ความส�ำคัญกับการตรวจรักษาทีม่ ากกว่า เช่น การรักษาโรคหลอดเลือด เราจะไม่ได้ มุง่ เน้นการรักษาไปทีโ่ รคใดโรคหนึง่ เราอาจ ให้ความส�ำคัญเรื่องที่ด่วนก่อน เช่น หัวใจ 6
แต่ก็จะเช็คหลอดเลือดในทุก ๆ ส่วน ด้วย วิทยาการที่ล�้ำสมัย เนื่องจากหลอดเลือดมี อยู่ทั่วทั้งร่างกาย ซึ่งหลอดเลือดที่ส�ำคัญ ได้แก่ บริเวณสมอง หัวใจ คอ ท้อง และขา ทั้งหมดนี้เป็นเส้นเลือดที่ใหญ่ สามารถเห็น ได้ด้วยตาเปล่า และมีเส้นเลือดเล็ก ๆ เช่น ที่บริเวณไต และตา โรงพยาบาลนนทเวช จะให้การดูแลรักษาเส้นเลือดทุกส่วนของ ร่างกาย โดยมีการบริการ ศูนย์ฉกุ เฉินหลอด เลือดสมองและหัวใจ 24 ชั่วโมง “อีกสิง่ ทีโ่ รงพยาบาลนนทเวชให้ความ ส�ำคัญ คือ การดูแลรักษาและป้องกันโรค เรื้อรัง โดยให้การบริการดูแลผู้ป่วยอย่าง ครอบคลุมด้วยหลักวิธี 5 ข้อ ดังนี้ ส่งเสริม ดูแลสนับสนุนให้ประชาชน มีสุขภาพที่ดี ป้องกัน เมื่อพบความเสี่ยงรีบดูแล ป้องกันหรือลดความเสี่ยงนั้น ๆ ให้เหลือ น้อยที่สุด คัดกรอง คัดกรองผูใ้ ช้บริการโรงพยาบาล อย่างไม่ละเลย การรักษา ให้การรักษาด้วยผูเ้ ชีย่ วชาญ และเทคโนโลยีที่ล�้ำสมัย ฟืน้ ฟู ดูแลเฝ้าระวังและติดตามผูป้ ว่ ย แม้ว่าจะหายจากโรคแล้วก็ตาม “โรงพยาบาลนนทเวช มุง่ หวังเป็นอย่าง ยิง่ ว่าส่วนส�ำคัญทีส่ ดุ ในการให้บริการ คือ เรา ดูแลเหมือนท่านเป็นเสมือนหนึง่ ในครอบครัว ใส่ใจอย่างต่อเนือ่ ง ครอบคลุม เอาใจใส่ถงึ ความรูส้ กึ ของท่านมาเป็นอันดับแรก”
วันนี้คุณรู้จัก “หัวใจ” ดีพอแล้วหรือยัง
“โรคหัวใจ” ค�ำสั้น ๆ มีความหมาย ครอบคลุมความผิดปกติของหัวใจหลาย ประการทีค่ วรรู้ มีขอ้ มูลระบุวา่ โรคหัวใจเป็น สาเหตุของการเสียชีวิตอันดับต้นๆ ของคน ทั่วโลก ทุก ๆ วันมีคนไทยเสียชีวิต เนื่องมา จากความผิดปกติเกีย่ วกับหัวใจมากถึง 236 คน หรือกว่า 85,000 คนต่อปี และมีแนว โน้มเพิ่มขึ้นทุกปี “โรคหัวใจ” หลายคนมักเข้าใจว่าเป็น โรคทีเ่ กิดกับหัวใจ และอาจถึงแก่ชวี ติ ได้ ส่วน ในรายละเอียดอาจไม่ทราบ แม้เป็นโรคจัด ว่าร้ายแรงโรคหนึ่ง แต่ “โรคหัวใจ” ที่เรา รูจ้ กั กันนัน้ เป็นค�ำทีม่ คี วามหมายกว้าง เพือ่
ท�ำความรู้จักกับ “หัวใจ” ให้ดีกว่าเดิม โดย นายแพทย์เรย์ ศรีรตั นา ทาบูกานอน แพทย์ ประจ�ำศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลนนทเวช อธิบายว่า... “ต�ำแหน่งของหัวใจนั้นอยู่ตรงกลาง ระหว่างปอดทัง้ สองข้าง ค่อนมาทางซ้ายเล็ก น้อย ประกอบขึน้ จากกลุม่ กล้ามเนือ้ ทีท่ ำ� งาน อย่างอิสระ ห่อหุม้ ไว้ดว้ ยเยือ่ บางๆ มีนำ�้ หนัก โดยรวมประมาณ 200 ถึง 425 กรัม ในวัน หนึ่ง ๆ หัวใจบีบตัวประมาณ 100,000 ครั้ง เพื่อส่งเลือดด�ำไปฟอกยังปอด และส่งเลือด แดงไปหล่อเลี้ยงยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ท�ำงานอยู่อย่างนี้ตลอดไม่มีวันพัก”
* ในปี 2555 มีคนไทยเสียชีวิต รวม 21,142 ราย/ปี สถิติ : ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวิต
ส่วนประกอบของหัวใจ ประกอบไปด้วย
• เยือ่ หุม้ หัวใจ (Pericardium) มีลกั ษณะ เป็นเยื่อบาง ๆ ห่อหุ้มหัวใจไว้ • หลอดเลือดหัวใจ (Coronary Artery) อยูภ่ ายนอกเยือ่ หุม้ หัวใจ มีกงิ่ ก้านแตกแขนง ส่งเลือดไปเลี้ยงยังกล้ามเนื้อหัวใจ หลอด เลือดหัวใจหลักมี 2 เส้นด้วยกัน คือ หลอด เลือดทีไ่ ปเลีย้ งหัวใจด้านขวา และหลอดเลือด ที่ไปเลี้ยงหัวใจด้านซ้าย • กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle) ท�ำหน้าทีส่ ง่ เลือดไปยังระบบไหลเวียนโลหิต โดยการหดตัว เกิดเป็นแรงดันให้เลือดไหล 7
เวียนไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย กล้าม เนื้อหัวใจมีความส�ำคัญมาก เพราะหากเกิด ความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึง่ กับกล้ามเนือ้ หัวใจ อาทิ บีบตัว คลายตัวผิดปกติ มีเลือด ไปเลี้ยงไม่พอ หรือขาดเลือด จะกลายเป็น ปัญหาที่ส�ำคัญตามมา • ผนังกั้นห้องหัวใจ และลิ้นหัวใจ (Endocardium and Cardiac Valve) เป็น แผ่นบางบุผนังด้านในของหัวใจ เป็นตัวแบ่ง ให้หัวใจมี 4 ห้อง รวมทั้งเป็นส่วนของลิ้น หัวใจ นอกจากการท�ำงานทีไ่ ม่เคยหยุดตลอด 24 ชั่วโมงแล้ว ที่พิเศษอีกประการหนึ่งของ หัวใจ ได้แก่ ระบบไฟฟ้าของหัวใจ “การที่ หัวใจสามารถบีบตัว หรือคลายตัวได้อย่าง
อิสระนัน้ เป็นเพราะหัวใจสร้างกระแสไฟฟ้า ได้เองแล้วส่งกระแสไฟฟ้าไหลเวียนอยูภ่ ายใน ห้องทั้งสี่ ไปกระตุ้นให้กล้ามเนื้อหัวใจเกิด การบีบตัวอย่างเป็นจังหวะเพื่อส่งเลือดเข้า สู่ระบบไหลเวียนโลหิตนั่นเอง” นพ. เรย์ อธิบาย ความผิดปกติที่เกิดจากส่วนประกอบ ใดๆ ของหัวใจ อาจกลายเป็นสาเหตุให้หวั ใจ ท�ำงานอย่างผิดปกติได้ ค�ำว่าโรคหัวใจนั้น สามารถแยกย่อยออกไปได้อกี หลายประการ ตามแต่สาเหตุของความผิดปกติทเี่ กิดขึน้ กับ หัวใจ นพ. เรย์ กล่าวว่า โรคหัวใจมีทั้งชนิดที่ เป็นตั้งแต่ก�ำเนิด และเกิดขึ้นภายหลังซึ่งจะ มีความรุนแรงมากน้อยแตกต่างกันไป แบ่ง กลุ่มประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้ • โรคหัวใจพิการแต่ก�ำเนิด เกิดจาก ความผิดปกติของเซลล์หัวใจของทารกใน ครรภ์มารดา อาจมีสาเหตุจากการติดเชื้อ ไวรัส ได้รับสารเคมีหรือยาบางชนิดระหว่าง ตัง้ ครรภ์ ส่งผลให้เกิดความพิการในส่วนต่างๆ ของหัวใจ เช่น ผนังกั้นห้องหัวใจ หรือลิ้น หัวใจตีบหรือรั่ว • โรคลิน้ หัวใจรูหม์ าติค มักเกิดขึน้ หลัง จากทีผ่ ้ปู ่วยมีอาการติดเชือ้ คออักเสบเรือ้ รัง จนท�ำให้รา่ งกายสร้างภูมติ า้ นทานขึน้ แต่ภมู ิ ต้านทานนีก้ ลับท�ำให้เกิดการอักเสบทีอ่ วัยวะ หลายระบบ ซึ่งรวมถึงการเสื่อมและการ อักเสบของลิ้นหัวใจด้วย
ศูนย์หัวใจนนทเวช
• ให้บริการตั้งแต่การตรวจวินิจฉัยในระยะเริ่มต้น การ รักษา ป้องกัน ตลอดจนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรค หัวใจและระบบหลอดเลือดอย่างครบวงจร โดยทีมผูเ้ ชีย่ วชาญ • แพทย์อายุรกรรมหัวใจ ศัลยแพทย์หวั ใจ กุมารแพทย์โรค หัวใจ ร่วมด้วยทีมพยาบาลผู้ช�ำนาญการในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจโดยเฉพาะ • ศูนย์ฉุกเฉินหัวใจ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้การรักษา เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงทีในช่วงนาทีวกิ ฤต • อุปกรณ์ เครื่องมือทางการแพทย์ที่ทันสมัย 8
• โรคกล้ามเนือ้ หัวใจ หรือโรคหัวใจจาก ความดันโลหิตสูง เกิดกับผูท้ มี่ คี วามดันโลหิต สูงเป็นเวลานาน ท�ำให้หวั ใจต้องท�ำงานหนัก ขึ้น จนเป็นผลให้กล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม • โรคหลอดเลือดหัวใจ หรือโรคหัวใจ ขาดเลือด เกิดจากความผิดปกติของหลอด เลือดหัวใจ ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการ สะสมตัวของไขมันจนอุดตันในเส้นเลือด ส่ง ผลให้เส้นเลือดไม่สามารถน�ำเลือดไปหล่อ เลี้ยงหัวใจได้ตามปกติ • โรคเยือ่ หุม้ หัวใจ มักเกิดจากการอักเสบ ของเยื่อหุ้มหัวใจ ที่มีสาเหตุมาจากการติด เชือ้ ไวรัส แบคทีเรีย หรือวัณโรค ผูป้ ว่ ยทีเ่ ป็น โรคนีส้ ว่ นใหญ่สามารถรักษาให้หายได้ ยกเว้น กรณีที่มสี าเหตุมาจากการแพร่กระจายของ มะเร็งมายังเยื่อหุ้มหัวใจ • โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ สาเหตุของ โรคนีเ้ กิดจากระบบไฟฟ้าในหัวใจท�ำงานผิด ปกติ เช่น มีจดุ ก�ำเนิดไฟฟ้าแปลกปลอม หรือ มีวงจรลัดไฟฟ้าผิดปกติ โดยปัจจัยที่มีส่วน กระตุ้นให้เกิดอาการ ได้แก่ ภาวะกล้ามเนื้อ
หัวใจขาดเลือด ความเครียดและวิตกกังวล แอลกอฮอล์และคาเฟอีน รวมไปถึงยาบาง ชนิด • ติดเชื้อที่หัวใจ มักเป็นการติดเชื้อ ภายในหัวใจที่มีความผิดปกติอยู่แล้ว เมื่อมี การติดเชื้อในร่างกายขึ้น เช่น เป็นฝี หนอง หรือฟันผุ เชื้อโรคจะผ่านเข้าสู่กระแสเลือด ไปยังบริเวณหัวใจทีม่ คี วามผิดปกติจนท�ำให้ เกิดการติดเชื้อขึ้น มักพบได้บ่อยในผู้ป่วยที่ มีภูมิต้านทานในร่างกายต�่ำ หรือผู้ที่ติดยา เสพติดชนิดฉีด • มะเร็งที่หัวใจ โดยปกติไม่ค่อยตรวจ พบเนื้องอกที่หัวใจ แต่มะเร็งที่หัวใจมักมี สาเหตุมาจากการลุกลามของเซลล์มะเร็งจาก อวัยวะข้างเคียงมาสู่หัวใจ เช่น มะเร็งปอด และมะเร็งเต้านม “สุขภาพหัวใจเป็นเรื่องต้องดูแล เริ่ม ง่าย ๆ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการใช้ชวี ติ เช่น รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกก�ำลัง กายอย่างสม�่ำเสมอ ผ่อนคลายความเครียด และเลิกสูบบุหรี่ ทั้ง 4 ข้อนี้เป็นประโยชน์
ในแง่ที่ว่าลดปัจจัยเสี่ยงหลักของโรคหัวใจ อาทิ ความดัน เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ลงไปได้มากทีเดียว” นพ.เรย์ กล่าว
“เพราะมีหัวใจหนึ่งเดียว จึงต้องดูแล” นพ. เรย์ ศรีรตั นา ทาบูกานอน
แพทย์ประจ�ำศูนย์หวั ใจ การศึกษา - แพทยศาสตร บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร และวชิรพยาบาล วุฒิบัตร - วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความช�ำนาญ สาขาอายุรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความช�ำนาญ อนุสาขาโรคหัวใจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9
เวียนไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย กล้าม เนื้อหัวใจมีความส�ำคัญมาก เพราะหากเกิด ความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึง่ กับกล้ามเนือ้ หัวใจ อาทิ บีบตัว คลายตัวผิดปกติ มีเลือด ไปเลี้ยงไม่พอ หรือขาดเลือด จะกลายเป็น ปัญหาที่ส�ำคัญตามมา • ผนังกั้นห้องหัวใจ และลิ้นหัวใจ (Endocardium and Cardiac Valve) เป็น แผ่นบางบุผนังด้านในของหัวใจ เป็นตัวแบ่ง ให้หัวใจมี 4 ห้อง รวมทั้งเป็นส่วนของลิ้น หัวใจ นอกจากการท�ำงานทีไ่ ม่เคยหยุดตลอด 24 ชั่วโมงแล้ว ที่พิเศษอีกประการหนึ่งของ หัวใจ ได้แก่ ระบบไฟฟ้าของหัวใจ “การที่ หัวใจสามารถบีบตัว หรือคลายตัวได้อย่าง
อิสระนัน้ เป็นเพราะหัวใจสร้างกระแสไฟฟ้า ได้เองแล้วส่งกระแสไฟฟ้าไหลเวียนอยูภ่ ายใน ห้องทั้งสี่ ไปกระตุ้นให้กล้ามเนื้อหัวใจเกิด การบีบตัวอย่างเป็นจังหวะเพื่อส่งเลือดเข้า สู่ระบบไหลเวียนโลหิตนั่นเอง” นพ. เรย์ อธิบาย ความผิดปกติที่เกิดจากส่วนประกอบ ใดๆ ของหัวใจ อาจกลายเป็นสาเหตุให้หวั ใจ ท�ำงานอย่างผิดปกติได้ ค�ำว่าโรคหัวใจนั้น สามารถแยกย่อยออกไปได้อกี หลายประการ ตามแต่สาเหตุของความผิดปกติทเี่ กิดขึน้ กับ หัวใจ นพ. เรย์ กล่าวว่า โรคหัวใจมีทั้งชนิดที่ เป็นตั้งแต่ก�ำเนิด และเกิดขึ้นภายหลังซึ่งจะ มีความรุนแรงมากน้อยแตกต่างกันไป แบ่ง กลุ่มประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้ • โรคหัวใจพิการแต่ก�ำเนิด เกิดจาก ความผิดปกติของเซลล์หัวใจของทารกใน ครรภ์มารดา อาจมีสาเหตุจากการติดเชื้อ ไวรัส ได้รับสารเคมีหรือยาบางชนิดระหว่าง ตัง้ ครรภ์ ส่งผลให้เกิดความพิการในส่วนต่างๆ ของหัวใจ เช่น ผนังกั้นห้องหัวใจ หรือลิ้น หัวใจตีบหรือรั่ว • โรคลิน้ หัวใจรูหม์ าติค มักเกิดขึน้ หลัง จากทีผ่ ้ปู ่วยมีอาการติดเชือ้ คออักเสบเรือ้ รัง จนท�ำให้รา่ งกายสร้างภูมติ า้ นทานขึน้ แต่ภมู ิ ต้านทานนีก้ ลับท�ำให้เกิดการอักเสบทีอ่ วัยวะ หลายระบบ ซึ่งรวมถึงการเสื่อมและการ อักเสบของลิ้นหัวใจด้วย
ศูนย์หัวใจนนทเวช
• ให้บริการตั้งแต่การตรวจวินิจฉัยในระยะเริ่มต้น การ รักษา ป้องกัน ตลอดจนการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรค หัวใจและระบบหลอดเลือดอย่างครบวงจร โดยทีมผูเ้ ชีย่ วชาญ • แพทย์อายุรกรรมหัวใจ ศัลยแพทย์หวั ใจ กุมารแพทย์โรค หัวใจ ร่วมด้วยทีมพยาบาลผู้ช�ำนาญการในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจโดยเฉพาะ • ศูนย์ฉุกเฉินหัวใจ ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให้การรักษา เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงทีในช่วงนาทีวกิ ฤต • อุปกรณ์ เครื่องมือทางการแพทย์ที่ทันสมัย 8
• โรคกล้ามเนือ้ หัวใจ หรือโรคหัวใจจาก ความดันโลหิตสูง เกิดกับผูท้ มี่ คี วามดันโลหิต สูงเป็นเวลานาน ท�ำให้หวั ใจต้องท�ำงานหนัก ขึ้น จนเป็นผลให้กล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม • โรคหลอดเลือดหัวใจ หรือโรคหัวใจ ขาดเลือด เกิดจากความผิดปกติของหลอด เลือดหัวใจ ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการ สะสมตัวของไขมันจนอุดตันในเส้นเลือด ส่ง ผลให้เส้นเลือดไม่สามารถน�ำเลือดไปหล่อ เลี้ยงหัวใจได้ตามปกติ • โรคเยือ่ หุม้ หัวใจ มักเกิดจากการอักเสบ ของเยื่อหุ้มหัวใจ ที่มีสาเหตุมาจากการติด เชือ้ ไวรัส แบคทีเรีย หรือวัณโรค ผูป้ ว่ ยทีเ่ ป็น โรคนีส้ ว่ นใหญ่สามารถรักษาให้หายได้ ยกเว้น กรณีที่มสี าเหตุมาจากการแพร่กระจายของ มะเร็งมายังเยื่อหุ้มหัวใจ • โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ สาเหตุของ โรคนีเ้ กิดจากระบบไฟฟ้าในหัวใจท�ำงานผิด ปกติ เช่น มีจดุ ก�ำเนิดไฟฟ้าแปลกปลอม หรือ มีวงจรลัดไฟฟ้าผิดปกติ โดยปัจจัยที่มีส่วน กระตุ้นให้เกิดอาการ ได้แก่ ภาวะกล้ามเนื้อ
หัวใจขาดเลือด ความเครียดและวิตกกังวล แอลกอฮอล์และคาเฟอีน รวมไปถึงยาบาง ชนิด • ติดเชื้อที่หัวใจ มักเป็นการติดเชื้อ ภายในหัวใจที่มีความผิดปกติอยู่แล้ว เมื่อมี การติดเชื้อในร่างกายขึ้น เช่น เป็นฝี หนอง หรือฟันผุ เชื้อโรคจะผ่านเข้าสู่กระแสเลือด ไปยังบริเวณหัวใจทีม่ คี วามผิดปกติจนท�ำให้ เกิดการติดเชื้อขึ้น มักพบได้บ่อยในผู้ป่วยที่ มีภูมิต้านทานในร่างกายต�่ำ หรือผู้ที่ติดยา เสพติดชนิดฉีด • มะเร็งที่หัวใจ โดยปกติไม่ค่อยตรวจ พบเนื้องอกที่หัวใจ แต่มะเร็งที่หัวใจมักมี สาเหตุมาจากการลุกลามของเซลล์มะเร็งจาก อวัยวะข้างเคียงมาสู่หัวใจ เช่น มะเร็งปอด และมะเร็งเต้านม “สุขภาพหัวใจเป็นเรื่องต้องดูแล เริ่ม ง่าย ๆ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการใช้ชวี ติ เช่น รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกก�ำลัง กายอย่างสม�่ำเสมอ ผ่อนคลายความเครียด และเลิกสูบบุหรี่ ทั้ง 4 ข้อนี้เป็นประโยชน์
ในแง่ที่ว่าลดปัจจัยเสี่ยงหลักของโรคหัวใจ อาทิ ความดัน เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ลงไปได้มากทีเดียว” นพ.เรย์ กล่าว
“เพราะมีหัวใจหนึ่งเดียว จึงต้องดูแล” นพ. เรย์ ศรีรตั นา ทาบูกานอน
แพทย์ประจ�ำศูนย์หวั ใจ การศึกษา - แพทยศาสตร บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร และวชิรพยาบาล วุฒิบัตร - วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความช�ำนาญ สาขาอายุรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความช�ำนาญ อนุสาขาโรคหัวใจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9
บันทึกประทับใจ Healthy Talk
หยุดทุกอย่าง แล้วมาทันที
ปวดหัว เวียนศีรษะ แขนขาอ่อนแรง ใจสั่น แน่นหน้าอก วูบ ปล่อยไว้ อาจถึงชีวิต
Real Experience ประสบการณ์จริง
6 อาการสัญญาณร่วมเฉียบพลัน
หยุดทุกอย่างและมาทันที
คุณไพโรจน์ เรืองศิลป์ชัย อายุ 66 ปี “วันนั้นผมเดินทางจากกรุงเทพฯไประนอง กว่า 9 ชม.พอลงจากรถ จู่ๆแขนขาซ้าย ก็อ่อนแรงทันที เวียนหัว บ้านหมุน คลื่นไส้แต่ไม่อาเจียน ผมตกใจมากจึงพยายามหาที่ ยึดเพื่อทรงตัวและประคองตัวเองไปนั่งพัก ลูกชายที่เดินทางมารับพาผมไปโรงพยาบาล ทีใ่ กล้ทสี่ ดุ หมอวินจิ ฉัยเบือ้ งต้นว่าผมเป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบ ผมจึงตัดสินใจขอย้าย กลับมารักษาทีศ่ นู ย์ฉกุ เฉินหลอดเลือดสมองและหัวใจโรงพยาบาลนนทเวชทันที เนือ่ งจาก ทราบว่ามีทีมแพทย์ทางด้านสมองและหัวใจ ตลอด 24 ชั่วโมง ทีมแพทย์สมองและระบบประสาทและหัวใจ วินิจฉัยร่วมกันว่า สมองขาดเลือด มี สาเหตุมาจากหัวใจทีม่ คี วามผิดปกติ ซึง่ อาการแบบนีจ้ ะพบในคนทัว่ ไปแค่ 10% เท่านัน้ ! แต่ผมก็โชคดีมากครับ ที่ได้ทีมแพทย์ทั้งสองทีมมาช่วยดูแลผม จนหายดีเป็นปกติแล้ว ครับ”
11
บันทึกประทับใจ Healthy Talk
หยุดทุกอย่าง แล้วมาทันที
ปวดหัว เวียนศีรษะ แขนขาอ่อนแรง ใจสั่น แน่นหน้าอก วูบ ปล่อยไว้ อาจถึงชีวิต
Real Experience ประสบการณ์จริง
6 อาการสัญญาณร่วมเฉียบพลัน
หยุดทุกอย่างและมาทันที
คุณไพโรจน์ เรืองศิลป์ชัย อายุ 66 ปี “วันนั้นผมเดินทางจากกรุงเทพฯไประนอง กว่า 9 ชม.พอลงจากรถ จู่ๆแขนขาซ้าย ก็อ่อนแรงทันที เวียนหัว บ้านหมุน คลื่นไส้แต่ไม่อาเจียน ผมตกใจมากจึงพยายามหาที่ ยึดเพื่อทรงตัวและประคองตัวเองไปนั่งพัก ลูกชายที่เดินทางมารับพาผมไปโรงพยาบาล ทีใ่ กล้ทสี่ ดุ หมอวินจิ ฉัยเบือ้ งต้นว่าผมเป็นโรคหลอดเลือดสมองตีบ ผมจึงตัดสินใจขอย้าย กลับมารักษาทีศ่ นู ย์ฉกุ เฉินหลอดเลือดสมองและหัวใจโรงพยาบาลนนทเวชทันที เนือ่ งจาก ทราบว่ามีทีมแพทย์ทางด้านสมองและหัวใจ ตลอด 24 ชั่วโมง ทีมแพทย์สมองและระบบประสาทและหัวใจ วินิจฉัยร่วมกันว่า สมองขาดเลือด มี สาเหตุมาจากหัวใจทีม่ คี วามผิดปกติ ซึง่ อาการแบบนีจ้ ะพบในคนทัว่ ไปแค่ 10% เท่านัน้ ! แต่ผมก็โชคดีมากครับ ที่ได้ทีมแพทย์ทั้งสองทีมมาช่วยดูแลผม จนหายดีเป็นปกติแล้ว ครับ”
11
ศูนย์ฉุกเฉินหลอดเลือดสมองและหัวใจ Strok And Cardiovascular Emergency Center
ผนึกกำ�ลังดูแลจากสองทีมแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญกับเคสพิเศษ นพ. สิริชัย กิตติชาญธีระ อายุรแพทย์ระบบประสาท
นพ.เรย์ ศรีรัตนา ทาบูกานอน อายุรแพทย์โรคหัวใจ
ศูนย์ฉุกเฉินหลอดเลือดสมองและหัวใจ 24 ชั่วโมง
ผลการตรวจหลอดเลือดสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Magnetic Resonance Angiography : MRA Brain) ของผู้ป่วยรายนี้เห็นต�ำแหน่ง สมองขาดเลือดชัดเจนแต่หลอดเลือดสมองดูปกติ เราจึงร่วมมือกับแพทย์ อายุรศาสตร์โรคหัวใจช่วยกันค้นหาสาเหตุ เริม่ ด้วยการตรวจหัวใจผ่านทางหลอดอาหาร (Transesophageal echocardiogram :TEE) และฉีดฟองอากาศ (Micro Bubble) ผ่านเข้าเส้นเลือดด�ำ เพื่อดูว่าผนังหัวใจมีการรั่วซึมหรือไม่ จึงพบว่ามีรูรั่วขนาดเล็กที่ผนังหัวใจ ระหว่างห้องบนซ้ายและห้องบนขวา หรือทีเ่ รียกว่า Patent Foramen Ovale : PFO ซึ่งจากสถิติสามารถพบได้จาก 1 ใน 10 คน ทั้งนี้จากการนั่งท่าเดิมเป็นเวลานานๆติดต่อกันในผู้ป่วยรายนี้ อาจท�ำให้เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดด�ำที่ขา และลิ่มเลือดนั้นก็หลุด เข้ามาทีห่ วั ใจฝัง่ ขวาและข้ามรูรวั่ เล็กๆบนผนังหัวใจมายังฝัง่ ซ้าย หลุด ลอยตามกระแสเลือดไปอุดตันหลอดเลือดในสมอง ท�ำให้เกิดอาการ แขนขาอ่อนแรงเฉียบพลัน เวียนศีรษะ บ้านหมุน ชาซีกซ้าย คลื่นไส้แต่ ไม่อาเจียน ดังที่กล่าวมา เราจึงท�ำการรักษาด้วยการปิดรูรวั่ หัวใจโดยไม่ตอ้ งผ่าตัด ด้วยวิธกี าร
นพ. สิริชัย กิตติชาญธีระ อายุรแพทย์ระบบประสาท
โรงพยาบาลนนทเวช พร้อมดูแลคุณ ด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 24 ชั่วโมง ปวดหัว เวียนหัว แขนขาอ่อนแรง ใจสั่น แน่นหน้าอก วูบ 6 สัญญาณอันตรายที่คุณอาจเป็นได้ทั้งโรคหลอดเลือดสมองหรือโรคหัวใจ หากไม่ได้รับการ รักษาทันทีอาจมีอันตรายถึงชีวิต
ศูนย์ฉุกเฉินหลอดเลือดสมองและหัวใจ 24 ชั่วโมง โรงพยาบาลนนทเวช
ประกอบไปด้วยทีมแพทย์และสหสาขาวิชาชีพด้านสมองและหัวใจท�ำงานร่วมกันทันทีและครอบคลุม เพือ่ ให้บริการด้วยโปรแกรมรักษาระบบ 3F ได้แก่ ตรวจวินจิ ฉัย รักษา ฟืน้ ฟูและป้องกันโรคหลอดเลือด สมองและหัวใจ ตลอด 24 ชั่วโมง ด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ตามมาตรฐานสากล พร้อมด้วยบริการ รถพยาบาลฉุกเฉินตลอด 24 ชั่วโมง สามารถให้บริการเคลื่อนย้ายและช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้นให้พ้น จากนาทีวิกฤติ โดยทีมช่วยเหลือพร้อมเครื่องมือและอุปกรณ์ช่วยชีวิตครบครันและทันสมัย ฉุกเฉิน เรียกรถพยาบาลโทร 02 951 858
นพ. เรย์ ศรีรัตนา ทาบูกานอน อายุรแพทย์โรคหัวใจ สอดสายสวนที่ตดิ อุปกรณ์ที่มลี ักษณะคล้าย ร่ม (PFO Occluder) สวนเข้าไปทางหลอด เลือดด�ำบริเวณขาหนีบ สอดไปจนถึงยัง ต�ำแหน่งที่มีรูรั่ว เพื่อกางร่มอุดรูรั่ว PFO ให้ ปิดสนิท ซึ่งได้ผลการรักษาเป็นที่น่าพอใจ ระหว่างนัน้ เราก็ให้การรักษาเรือ่ งหลอด เลือดสมองตีบควบคู่กันไป โดยให้ยาต้าน เกล็ดเลือดร่วมกับการท�ำกายภาพอย่างเหมาะ สมและต่อเนื่อง จนผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นเป็น ล�ำดับ
12
13
ศูนย์ฉุกเฉินหลอดเลือดสมองและหัวใจ Strok And Cardiovascular Emergency Center
ผนึกกำ�ลังดูแลจากสองทีมแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญกับเคสพิเศษ นพ. สิริชัย กิตติชาญธีระ อายุรแพทย์ระบบประสาท
นพ.เรย์ ศรีรัตนา ทาบูกานอน อายุรแพทย์โรคหัวใจ
ศูนย์ฉุกเฉินหลอดเลือดสมองและหัวใจ 24 ชั่วโมง
ผลการตรวจหลอดเลือดสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Magnetic Resonance Angiography : MRA Brain) ของผู้ป่วยรายนี้เห็นต�ำแหน่ง สมองขาดเลือดชัดเจนแต่หลอดเลือดสมองดูปกติ เราจึงร่วมมือกับแพทย์ อายุรศาสตร์โรคหัวใจช่วยกันค้นหาสาเหตุ เริม่ ด้วยการตรวจหัวใจผ่านทางหลอดอาหาร (Transesophageal echocardiogram :TEE) และฉีดฟองอากาศ (Micro Bubble) ผ่านเข้าเส้นเลือดด�ำ เพื่อดูว่าผนังหัวใจมีการรั่วซึมหรือไม่ จึงพบว่ามีรูรั่วขนาดเล็กที่ผนังหัวใจ ระหว่างห้องบนซ้ายและห้องบนขวา หรือทีเ่ รียกว่า Patent Foramen Ovale : PFO ซึ่งจากสถิติสามารถพบได้จาก 1 ใน 10 คน ทั้งนี้จากการนั่งท่าเดิมเป็นเวลานานๆติดต่อกันในผู้ป่วยรายนี้ อาจท�ำให้เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดด�ำที่ขา และลิ่มเลือดนั้นก็หลุด เข้ามาทีห่ วั ใจฝัง่ ขวาและข้ามรูรวั่ เล็กๆบนผนังหัวใจมายังฝัง่ ซ้าย หลุด ลอยตามกระแสเลือดไปอุดตันหลอดเลือดในสมอง ท�ำให้เกิดอาการ แขนขาอ่อนแรงเฉียบพลัน เวียนศีรษะ บ้านหมุน ชาซีกซ้าย คลื่นไส้แต่ ไม่อาเจียน ดังที่กล่าวมา เราจึงท�ำการรักษาด้วยการปิดรูรวั่ หัวใจโดยไม่ตอ้ งผ่าตัด ด้วยวิธกี าร
นพ. สิริชัย กิตติชาญธีระ อายุรแพทย์ระบบประสาท
โรงพยาบาลนนทเวช พร้อมดูแลคุณ ด้วยทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ 24 ชั่วโมง ปวดหัว เวียนหัว แขนขาอ่อนแรง ใจสั่น แน่นหน้าอก วูบ 6 สัญญาณอันตรายที่คุณอาจเป็นได้ทั้งโรคหลอดเลือดสมองหรือโรคหัวใจ หากไม่ได้รับการ รักษาทันทีอาจมีอันตรายถึงชีวิต
ศูนย์ฉุกเฉินหลอดเลือดสมองและหัวใจ 24 ชั่วโมง โรงพยาบาลนนทเวช
ประกอบไปด้วยทีมแพทย์และสหสาขาวิชาชีพด้านสมองและหัวใจท�ำงานร่วมกันทันทีและครอบคลุม เพือ่ ให้บริการด้วยโปรแกรมรักษาระบบ 3F ได้แก่ ตรวจวินจิ ฉัย รักษา ฟืน้ ฟูและป้องกันโรคหลอดเลือด สมองและหัวใจ ตลอด 24 ชั่วโมง ด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ตามมาตรฐานสากล พร้อมด้วยบริการ รถพยาบาลฉุกเฉินตลอด 24 ชั่วโมง สามารถให้บริการเคลื่อนย้ายและช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้นให้พ้น จากนาทีวิกฤติ โดยทีมช่วยเหลือพร้อมเครื่องมือและอุปกรณ์ช่วยชีวิตครบครันและทันสมัย ฉุกเฉิน เรียกรถพยาบาลโทร 02 951 858
นพ. เรย์ ศรีรัตนา ทาบูกานอน อายุรแพทย์โรคหัวใจ สอดสายสวนที่ตดิ อุปกรณ์ที่มลี ักษณะคล้าย ร่ม (PFO Occluder) สวนเข้าไปทางหลอด เลือดด�ำบริเวณขาหนีบ สอดไปจนถึงยัง ต�ำแหน่งที่มีรูรั่ว เพื่อกางร่มอุดรูรั่ว PFO ให้ ปิดสนิท ซึ่งได้ผลการรักษาเป็นที่น่าพอใจ ระหว่างนัน้ เราก็ให้การรักษาเรือ่ งหลอด เลือดสมองตีบควบคู่กันไป โดยให้ยาต้าน เกล็ดเลือดร่วมกับการท�ำกายภาพอย่างเหมาะ สมและต่อเนื่อง จนผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นเป็น ล�ำดับ
12
13
คลินิกเนื้องอกสมองและไขสันหลัง 7.1 การผ่าตัดเนื้องอกในสมอง (Brain Tumors) 7.2 การผ่าตัดเนื้องอกต่อมใต้สมอง (Pituitary Tumors) 7.3 การผ่าตัดเนื้องอกในไขสันหลัง (Spine Tumors) คลินิกบาดเจ็บสมองและไขสันหลัง 8.1 การผ่าตัดหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท 8.2 การผ่าตัดสมองจากอุบัติเหตุที่ศีรษะ 8.3 การผ่าตัดโรคกระดูกสันหลังเคลื่อน (Spondylolisthesis)
ตารางแพทย์ออกตรวจ
9 คลินิกศัลยกรรมระบบประสาท 9.1 การผ่าตัดเส้นเลือดโป่งพองในสมอง (Cerebral aneurysm) 9.2 การผ่าตัดเส้นเลือดขอดในสมอง (Arteriovenous malformation : AVM) 10 คลินิกศัลยกรรมระบบประสาทเด็ก (Child Neurology Clinic)
7 8
1 Neurodiagnostic Services (รังสีแพทย์) 1.5.1 MRI Brain (การตรวจหลอดสมองด้วย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแรงสูง) 1.5.2 MRA Brain (การตรวจสมองด้วย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแรงสูง) 1.5.3 CT Brain (การตรวจวินิจฉัยสมองด้วยเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง) 1.5.4 Carotid Duplex Ultrasounds (การตรวจหลอดเลือดและสมองโดยใช้คลื่นความถี่สูง) 1.5.5 EEG (Electroencephalogram) การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง 1.5.6 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 2 คลินกิ โรคสมองเสือ่ ม (Memory Disorders Clinic) 3 คลินิกโรคปวดศีรษะ (Headache Clinic) 4 คลินิกโรคลมชัก (Epilepsy Clinic) 5 คลินิกโรคการเคลื่อนไหวผิดปกติและโรคพาร์กินสัน (Movement Disorder and Parkinson Clinic) 6 คลินิกโรคหลอดเลือดส่วนปลาย (Peripheral Arterial Disease Clinic)
โปรแกรมการรักษา ศูนย์ระบบประสาท และสมอง
ตารางแพทย์ออกตรวจ
ศุกร์ 17.0019.00 น.
นพ.พลสันต์ เรืองคณะ
จันทร์-ศุกร์ เสาร์ 09.3009.0016.00 น. 14.00 น. อาทิตย์ 10.0015.00 น.
พญ.สิรารัตน์ โมรรัต
นพ.เรย์ ศรีรัตนา ทาบูกานอน จันทร์พุธ,ศุกร์ 09.0016.00 น. พฤหัสบดี 09.0020.00 น. อาทิตย์ 16.0020.00 น.
พญ.พัชราพร วรรณกิตติ
นพ.ไพบูลย์ สมาน โสตถิวงศ์ จันทร์-ศุกร์ 09.3016.00 น. เสาร์ 09.0012.00 น.
นพ.กิติกร วิชัยเรืองธรรม
พญ.เสาวลักษณ์ พรหมพงศา
พญ.ศรีกรรัตน์ ปัญญารัตนกุล
นพ.ศศิพล ผดุงชีวิต
นพ.วรพจน์ เหล่าวิทวัส
นพ.ปิยะวัฒน์ ตันติรุจนานนท์ พญ.ชุมพิตา สุทธาภาศ
จันทร์ อังคาร ศุกร์ จันทร์ 08.00-17.00 น. 09.00-16.00 น. 08.00-17.00 น. 17.00-20.00 น. อังคาร พุธ 12.00-18.00 น. พุธ 09.00-17.00 น. 08.00-20.00 น. พฤหัสบดี,ศุกร์, พุธ เสาร์ พฤหัสบดี 09.00-12.00 น. 09.00-15.00 น. 09.00-17.00 น. พฤหัสบดี ศุกร์,อาทิตย์ 08.00-16.00 น. 08.00-17.00 น. ศุกร์ 08.00-12.00 น. อาทิตย์ 13.00-17.00 น.
อังคาร 09.00-14.00 น. ศุกร์ 16.00-18.00 น. เสาร์ 09.00-12.00 น.
อังคาร 17.0020.00 น. เสาร์ 09.0012.00 น. อาทิตย์ 17.0020.00 น.
พุธ 13.00-15.00 น.
Vascular Surgery
จันทร์-พุธ 08.3017.00 น. อาทิตย์ 09.0012.00 น.
พฤหัสบดี แพทย์ที่ปรึกษา แพทย์ที่ปรึกษา แพทย์ที่ปรึกษา แพทย์ที่ปรึกษา จันทร์ 17.00-20.00 น. พฤหัสบดี 17.00-20.00 น. เสาร์ 13.00-15.00 น.
พุธ 17.0019.00 น. อาทิตย์ 09.0012.00 น.
เสาร์ 09.0012.00 น.
ศุกร์ 17.0019.00 น.
เสาร์ 13.3017.00 น.
จันทร์ 16.0020.00 น.
จันทร์ จันทร์,พฤหัสบดี อังคาร,พุธ,ศุกร์ อาทิตย์ 17.00-20.00 น. 17.00-20.00 น. 17.00-20.00น. 08.00-12.00 น. พฤหัสบดี 17.00-20.00 น. เสาร์ 09.00-17.00 น. เสาร์ สัปดาห์ที่ 1,3 และ 4 ของเดือน 08.00-17.00 น. อาทิตย์ สัปดาห์ที่ 3 ของเดือน 13.00-17.00 น.
Comprehensive Neurology
นพ.ครรชิต ช่อหิรัญกุล
รังสีแพทย์
จันทร์ 08.0012.00 น. อังคาร 08.0017.00 น. ศุกร์ 08.0012.00 น.
อาทิตย์ 13.0020.00 น.
นพ.อัครวุฒิ วิริยเวชกุล
จันทร์-ศุกร์ 09.3016.00 น. เสาร์ 13.0016.00 น.
นพ.อดิศักดิ์ ชัยชนะพานิช รศ.นพ.ก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากร
พญ.กาญจนา วิบูลย์ชัยชีพ นพ.วิรุณพร พรหมพงศา
พญ.เสาวลักษณ์ มีความดี นพ.อลงกรณ์ ใจอิ่มสิน
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) การตรวจการทำ�งานของหัวใจขณะออกกำ�ลังกาย ด้วยวิธีเดินสายพาน (Exercise Stress test) การตรวจหัวใจด้วยคลื่นความถี่สูง (Echocardiography) การตรวจวัดความแข็งแรงของหลอดเลือดแดง (ABI) ตรวจวินิจฉัยหลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง เอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง 64 Slide CT Scan การติดเครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชั่วโมง (Holter Monitering ECG) การสวนหัวใจและขยายหลอดเลือดหัวใจ (Cardiac Catherization) 7.1 การใช้ยารักษา : Thrombosis Center : Wafarine Clinic(Hematology & Vascular) 7.2 Percutaneous Coronary Intervention (PCI) 7.3 การขยายหลอดเลือดหัวใจตีบด้วยบอลลูน และการใส่ขดลวด (Percutaneous Transluminal Coronary Angiography (PTCA) and Coronary Stent) 7.4 Invasive and Interventional Cardiology/Cath lab การผ่าตัดหัวใจและหลอดเลือด 8.1 การตรวจหลอดเลือดหัวใจโดยการฉีดสีตรวจ หลอดเลือดหัวใจ (Coronary angiography) 8.2 Vascular Medicine 8.3 Preventive Cardiology & Cardiac Rehabilitation (อยู่ที่ Rehab.PT) 9 การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ 10 การผ่าตัดซ่อมแซมลิ้นหัวใจ 11 การผ่าตัดโรคหัวใจพิการแต่กำ�เนิดในผู้ใหญ่ 12 การผ่าตัดเส้นเลือดแดงในช่องอกโป่งพอง 13 Radiation Oncology (coronary brachytherapy) 14 Tobacco Cessation Program 15 Nutrition Services
นพ.ชุมพล เปี่ยมสมบูรณ์ นพ.สมเกียรติ วงศ์สุริยนันท์
1 2 3 4 5 6 7 8
นพ.ดิลก ภิยโยทัย นพ.ภัทรวิทย์ รักษ์กุล
Intervention On Cardiology
พตอ.นพ.เกษม รัตนสุมาวงศ์ นพ.ไกรศรี จันทรา
Cardiology
นพ.พิสิษฐ หุตะยานนท์ นพ.ทม เอื้ออารีวิริยะกิจ
โปรแกรมการรักษา โรคหลอดเลือดสมอง และหัวใจครบวงจร
นพ.สิริชัย กิตติชาญธีระ นพ.สุรศักดิ์ โกมลจันทร์
นพ.วันชาติ โพธิ์ศรี ศ.นพ.โสภณ จิรสิริธรรม
14 15
คลินิกเนื้องอกสมองและไขสันหลัง 7.1 การผ่าตัดเนื้องอกในสมอง (Brain Tumors) 7.2 การผ่าตัดเนื้องอกต่อมใต้สมอง (Pituitary Tumors) 7.3 การผ่าตัดเนื้องอกในไขสันหลัง (Spine Tumors) คลินิกบาดเจ็บสมองและไขสันหลัง 8.1 การผ่าตัดหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท 8.2 การผ่าตัดสมองจากอุบัติเหตุที่ศีรษะ 8.3 การผ่าตัดโรคกระดูกสันหลังเคลื่อน (Spondylolisthesis)
ตารางแพทย์ออกตรวจ
9 คลินิกศัลยกรรมระบบประสาท 9.1 การผ่าตัดเส้นเลือดโป่งพองในสมอง (Cerebral aneurysm) 9.2 การผ่าตัดเส้นเลือดขอดในสมอง (Arteriovenous malformation : AVM) 10 คลินิกศัลยกรรมระบบประสาทเด็ก (Child Neurology Clinic)
7 8
1 Neurodiagnostic Services (รังสีแพทย์) 1.5.1 MRI Brain (การตรวจหลอดสมองด้วย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแรงสูง) 1.5.2 MRA Brain (การตรวจสมองด้วย คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแรงสูง) 1.5.3 CT Brain (การตรวจวินิจฉัยสมองด้วยเอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง) 1.5.4 Carotid Duplex Ultrasounds (การตรวจหลอดเลือดและสมองโดยใช้คลื่นความถี่สูง) 1.5.5 EEG (Electroencephalogram) การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง 1.5.6 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ 2 คลินกิ โรคสมองเสือ่ ม (Memory Disorders Clinic) 3 คลินิกโรคปวดศีรษะ (Headache Clinic) 4 คลินิกโรคลมชัก (Epilepsy Clinic) 5 คลินิกโรคการเคลื่อนไหวผิดปกติและโรคพาร์กินสัน (Movement Disorder and Parkinson Clinic) 6 คลินิกโรคหลอดเลือดส่วนปลาย (Peripheral Arterial Disease Clinic)
โปรแกรมการรักษา ศูนย์ระบบประสาท และสมอง
ตารางแพทย์ออกตรวจ
ศุกร์ 17.0019.00 น.
นพ.พลสันต์ เรืองคณะ
จันทร์-ศุกร์ เสาร์ 09.3009.0016.00 น. 14.00 น. อาทิตย์ 10.0015.00 น.
พญ.สิรารัตน์ โมรรัต
นพ.เรย์ ศรีรัตนา ทาบูกานอน จันทร์พุธ,ศุกร์ 09.0016.00 น. พฤหัสบดี 09.0020.00 น. อาทิตย์ 16.0020.00 น.
พญ.พัชราพร วรรณกิตติ
นพ.ไพบูลย์ สมาน โสตถิวงศ์ จันทร์-ศุกร์ 09.3016.00 น. เสาร์ 09.0012.00 น.
นพ.กิติกร วิชัยเรืองธรรม
พญ.เสาวลักษณ์ พรหมพงศา
พญ.ศรีกรรัตน์ ปัญญารัตนกุล
นพ.ศศิพล ผดุงชีวิต
นพ.วรพจน์ เหล่าวิทวัส
นพ.ปิยะวัฒน์ ตันติรุจนานนท์ พญ.ชุมพิตา สุทธาภาศ
จันทร์ อังคาร ศุกร์ จันทร์ 08.00-17.00 น. 09.00-16.00 น. 08.00-17.00 น. 17.00-20.00 น. อังคาร พุธ 12.00-18.00 น. พุธ 09.00-17.00 น. 08.00-20.00 น. พฤหัสบดี,ศุกร์, พุธ เสาร์ พฤหัสบดี 09.00-12.00 น. 09.00-15.00 น. 09.00-17.00 น. พฤหัสบดี ศุกร์,อาทิตย์ 08.00-16.00 น. 08.00-17.00 น. ศุกร์ 08.00-12.00 น. อาทิตย์ 13.00-17.00 น.
อังคาร 09.00-14.00 น. ศุกร์ 16.00-18.00 น. เสาร์ 09.00-12.00 น.
อังคาร 17.0020.00 น. เสาร์ 09.0012.00 น. อาทิตย์ 17.0020.00 น.
พุธ 13.00-15.00 น.
Vascular Surgery
จันทร์-พุธ 08.3017.00 น. อาทิตย์ 09.0012.00 น.
พฤหัสบดี แพทย์ที่ปรึกษา แพทย์ที่ปรึกษา แพทย์ที่ปรึกษา แพทย์ที่ปรึกษา จันทร์ 17.00-20.00 น. พฤหัสบดี 17.00-20.00 น. เสาร์ 13.00-15.00 น.
พุธ 17.0019.00 น. อาทิตย์ 09.0012.00 น.
เสาร์ 09.0012.00 น.
ศุกร์ 17.0019.00 น.
เสาร์ 13.3017.00 น.
จันทร์ 16.0020.00 น.
จันทร์ จันทร์,พฤหัสบดี อังคาร,พุธ,ศุกร์ อาทิตย์ 17.00-20.00 น. 17.00-20.00 น. 17.00-20.00น. 08.00-12.00 น. พฤหัสบดี 17.00-20.00 น. เสาร์ 09.00-17.00 น. เสาร์ สัปดาห์ที่ 1,3 และ 4 ของเดือน 08.00-17.00 น. อาทิตย์ สัปดาห์ที่ 3 ของเดือน 13.00-17.00 น.
Comprehensive Neurology
นพ.ครรชิต ช่อหิรัญกุล
รังสีแพทย์
จันทร์ 08.0012.00 น. อังคาร 08.0017.00 น. ศุกร์ 08.0012.00 น.
อาทิตย์ 13.0020.00 น.
นพ.อัครวุฒิ วิริยเวชกุล
จันทร์-ศุกร์ 09.3016.00 น. เสาร์ 13.0016.00 น.
นพ.อดิศักดิ์ ชัยชนะพานิช รศ.นพ.ก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากร
พญ.กาญจนา วิบูลย์ชัยชีพ นพ.วิรุณพร พรหมพงศา
พญ.เสาวลักษณ์ มีความดี นพ.อลงกรณ์ ใจอิ่มสิน
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) การตรวจการทำ�งานของหัวใจขณะออกกำ�ลังกาย ด้วยวิธีเดินสายพาน (Exercise Stress test) การตรวจหัวใจด้วยคลื่นความถี่สูง (Echocardiography) การตรวจวัดความแข็งแรงของหลอดเลือดแดง (ABI) ตรวจวินิจฉัยหลอดเลือดหัวใจด้วยเครื่อง เอกซเรย์ คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง 64 Slide CT Scan การติดเครื่องตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชั่วโมง (Holter Monitering ECG) การสวนหัวใจและขยายหลอดเลือดหัวใจ (Cardiac Catherization) 7.1 การใช้ยารักษา : Thrombosis Center : Wafarine Clinic(Hematology & Vascular) 7.2 Percutaneous Coronary Intervention (PCI) 7.3 การขยายหลอดเลือดหัวใจตีบด้วยบอลลูน และการใส่ขดลวด (Percutaneous Transluminal Coronary Angiography (PTCA) and Coronary Stent) 7.4 Invasive and Interventional Cardiology/Cath lab การผ่าตัดหัวใจและหลอดเลือด 8.1 การตรวจหลอดเลือดหัวใจโดยการฉีดสีตรวจ หลอดเลือดหัวใจ (Coronary angiography) 8.2 Vascular Medicine 8.3 Preventive Cardiology & Cardiac Rehabilitation (อยู่ที่ Rehab.PT) 9 การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ 10 การผ่าตัดซ่อมแซมลิ้นหัวใจ 11 การผ่าตัดโรคหัวใจพิการแต่กำ�เนิดในผู้ใหญ่ 12 การผ่าตัดเส้นเลือดแดงในช่องอกโป่งพอง 13 Radiation Oncology (coronary brachytherapy) 14 Tobacco Cessation Program 15 Nutrition Services
นพ.ชุมพล เปี่ยมสมบูรณ์ นพ.สมเกียรติ วงศ์สุริยนันท์
1 2 3 4 5 6 7 8
นพ.ดิลก ภิยโยทัย นพ.ภัทรวิทย์ รักษ์กุล
Intervention On Cardiology
พตอ.นพ.เกษม รัตนสุมาวงศ์ นพ.ไกรศรี จันทรา
Cardiology
นพ.พิสิษฐ หุตะยานนท์ นพ.ทม เอื้ออารีวิริยะกิจ
โปรแกรมการรักษา โรคหลอดเลือดสมอง และหัวใจครบวงจร
นพ.สิริชัย กิตติชาญธีระ นพ.สุรศักดิ์ โกมลจันทร์
นพ.วันชาติ โพธิ์ศรี ศ.นพ.โสภณ จิรสิริธรรม
14 15
บันทึกประทับใจ Healthy Talk
ตัง้ แตวนั นี้ - 31 ธันวาคม 2557
17
บันทึกประทับใจ Healthy Talk
ตัง้ แตวนั นี้ - 31 ธันวาคม 2557
17
คลินิกศัลยกรรมหลอดเลือด Vascular Surgery Clinic
ไตวายเรือ้ รัง (Chronic kidney disease/CKD)
เป็นโรคทีเ่ ป็นปัญหาสาธารณสุขโรคหนึง่ ซึง่ จ�ำนวนผูป้ ว่ ยมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆทัง้ ใน ประเทศทีพ่ ฒั นาแล้วและประเทศทีก่ ำ� ลังพัฒนา โรคไตวายเรื้อรัง แบ่งเป็น 5 ระยะตามระดับ อัตราการกรองของไต หรือ อัตราการท�ำงาน ของไต (Estimated Glomerular filtration rate/eGFR)) โดยโรคไตวายเรื้อรังระยะแรกๆ ผู้ป่วย จะยังไม่มีอาการ ต่อมาเมื่อผู้ป่วยมีการเสื่อม ของไตมากขึน้ โดยเฉพาะโรคไตวายเรือ้ รังระยะ ที่ 4 หรือระยะที่ 5 จะมีภาวะแทรกซ้อน/ผล ข้างเคียง ได้แก่ โลหิตจาง/ซีด ภาวะความดัน โลหิตสูง มีความผิดปกติของสมดุลน�ำ้ และเกลือ แร่ มีการคั่งของของเสีย ท�ำให้ผู้ป่วยมีอาการ บวม มีภาวะน�้ำท่วมปอด ปัสสาวะออกน้อย ลง มีอาการอ่อนเพลีย หอบเหนื่อย คลื่นไส้ อาเจียน ไม่อยากอาหาร ในบางรายอาจมี อาการทางระบบประสาท เช่น อาการซึม หรือ อาการชัก รวมทัง้ ผูป้ ว่ ยมีโอกาสเสียชีวติ ได้สงู ขึน้ ผูป้ ว่ ยโรคไตวายเรือ้ รังทีม่ ภี าวะแทรกซ้อน จะมีความเสี่ยงสูงในการเป็นโรคหัวใจและ หลอดเลือดซึ่งพบว่า เป็นสาเหตุหลักของการ เสียชีวิตของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง หลักส�ำคัญของการรักษาโรคไตวายเรือ้ รัง ในระยะเบื้องต้นคือ การรักษาที่สาเหตุของ โรคและให้การรักษาเพือ่ ชะลอความเสือ่ มของ ไต การรักษาจึงประกอบด้วยยาเพื่อควบคุม ระดับความดันโลหิตและระดับน�้ำตาลในเลือด ให้ได้ตามเป้าหมาย ร่วมกับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งการลด การบริโภคเกลือโซเดียมและโปรตีน การใช้ยา ให้ถูกต้องและการออกก�ำลังกาย เมื่อผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังมีความเสื่อม ของไตเข้าช่วงท้ายของโรคไตระยะที่ 4 หรือ ระยะที่ 5 ซึง่ เป็นระยะทีเ่ ริม่ มีอาการแทรกซ้อน ต่างๆดังทีก่ ล่าวไปแล้ว แพทย์และพยาบาลจะ ให้ค�ำแนะน�ำ และเตรียมความพร้อมส�ำหรับ การบ�ำบัดทดแทนไตเพือ่ รักษาอาการแทรกซ้อน 18
ต่างๆ และเพือ่ ช่วยให้ผปู้ ว่ ยมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้
การบ�ำบัดทดแทนไตคืออะไร? มีกี่ วิธี?
การบ�ำบัดทดแทนไต เป็นกระบวนการ การรักษาเพื่อทดแทนไตที่ไม่สามารถท�ำงาน ได้เองอย่างเพียงพอ เพือ่ ช่วยให้มกี ารขจัดของ เสียที่คั่งอยู่ในร่างกาย ขจัดน�้ำส่วนเกินจาก ร่างกาย รักษาสมดุลน�ำ้ และเกลือแร่ตา่ งๆ และ รักษาภาวะแทรกซ้อน/ผลข้างเคียงที่เกิดจาก ภาวะไตวายเรื้อรัง เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถ มีชีวิตอยู่รอดได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีพอ สมควร
การบ�ำบัดทดแทนไต 3 วิธี แตกต่าง กันอย่างไร ?
การปลูกถ่ายไต หรือ การเปลี่ยนไต คือ การน�ำไตที่ดีของผู้อื่นที่เข้าได้กับผู้ ป่วยมาปลูกถ่ายให้กับผู้ป่วย มิใช่การเปลี่ยน เอาไตผูป้ ว่ ยออกแล้วเอาไตผูอ้ นื่ ใส่เข้าไปแทนที่ ในต�ำ แหน่งไตเดิม การผ่าตัดท�ำโดยการผ่าตัดไตใหม่ไว้ใน อุ้งเชิงกรานข้างใดข้างหนึ่งของผู้ป่วย แล้วต่อ หลอดเลือดของไตใหม่เข้ากับหลอดเลือดของ ผูป้ ว่ ย และต่อท่อไตใหม่เข้าในกระเพาะปัสสาวะ ของผู้ป่วย การปลูกถ่ายไตนี้ใช้ไตเพียงข้างเดียวก็ พอ ถ้าร่างกายของผู้ป่วยรับไตใหม่ได้ดีและ ไม่มภี าวะแทรกซ้อน/ผลข้างเคียงอืน่ ๆ ไตทีไ่ ด้ รับใหม่จะท�ำงานได้ดี แต่ผู้ป่วยต้องได้รับยา กดภูมิต้านทานตลอดชีวิต และจะต้องอยู่ใน ความดูแลของแพทย์ตลอดไป/ตลอดชีวติ เช่น กัน หากขาดยากดภูมติ า้ นทาน ร่างกายจะต่อ ต้านไตที่ได้รับใหม่ ท�ำให้ไตใหม่นั้นเสีย และ
ยังอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ปัจจุบนั การปลูกถ่ายไตถือเป็นการรักษา ภาวะไตวายขั้นสุดท้ายที่ดีที่สุด แต่การรักษา วิธีนี้ก็ยังมีความเสี่ยงอยู่ในระยะแรก แต่ผลที่ ได้รบั ดีกว่าการรักษาวิธอี นื่ ผูป้ ว่ ยจะมีชวี ติ ใกล้ เคียงคนปกติมากกว่าวิธอี นื่ ผลการรักษาจะดี ถ้าเป็นผูท้ ไี่ ม่มโี รคของระบบอืน่ นอกเหนือจาก โรคไต ไม่มีภาวะติดเชื้อ เป็นต้น ในการปลูก ถ่ายไตแพทย์จึงต้องพิจารณาอย่างละเอียด ถีถ่ ว้ นและรอบคอบ ว่าผูป้ ว่ ยเหมาะสมกับการ รักษาด้วยวิธนี หี้ รือไม่ รวมทัง้ ต้องเตรียมความ พร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจให้ผู้ป่วยด้วย มิฉะนั้นผลการรักษาจะไม่ดี และในบางครั้ง อาจเสียชีวิตได้ ผู้ป่วยโรคไตที่ไม่เหมาะสมกับการปลูก ถ่ายไต หรือผูป้ ว่ ยทีอ่ ยูร่ ะหว่างรอรับการบริจาค ผู้ป่วยต้องบ�ำบัดทดแทนไตไปตลอดชีวิต ซึ่ง ท�ำได้ 2 วิธีคือ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไต เทียม และการล้างไตทางช่องท้อง ทั้งสองวิธี ไม่ทำ� ให้หายจากโรคไตวาย แต่เป็นการท�ำงาน แทนไตที่เสียไป คือ ล้างเอาน�้ำและของเสีย ออกจากร่างกาย รักษาสมดุลน�้ำและเกลือแร่ ต่างๆ ซึ่งเมื่อหยุดล้างไต น�้ำและของเสียใน เลือดก็จะสะสมขึ้นมาอีก ท�ำให้ผู้ป่วยมีภาวะ แทรกซ้อน เช่น อาการบวม อ่อนเพลีย หอบ เหนื่อย มีภาวะน�้ำท่วมปอด คลื่นไส้อาเจียน ไม่อยากอาหาร ซึม สับสน หรืออาการชัก เป็นต้น เพราะฉะนั้นผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง จึง ต้องล้างไตอย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี และให้มีชีวิตอยู่ได้เช่น คนทั่วไป การฟอกเลือดด้วยเครือ่ งไตเทียม หรือ ทีเ่ รียกกันทัว่ ไปว่า “การฟอกเลือด” เป็นการ น�ำเลือดจากหลอดเลือด (ต้องมีการเตรียม หลอดเลือดไว้ลว่ งหน้า) ออกจากร่างกาย ผ่าน เข้ามาในตัวกรองของเสียทีเ่ ครือ่ งไตเทียม เพือ่ ดึงน�ำ้ และของเสียออกจากร่างกาย เลือดทีถ่ กู กรองแล้วจะไหลกลับเข้าร่างกายทางหลอด เลือดอีกหลอดหนึ่ง วิธีการน�ำเลือดเข้า - ออก ทางหลอดเลือดนีค้ ล้ายกับการให้เลือดหรือน�ำ้
เกลือทางหลอดเลือด (มิใช่การผ่าตัดเอาเลือด ออกมาล้าง) โดยทั่วไปท�ำครั้งละ 4-5 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 2-3 ครัง้ ผูป้ ว่ ยต้องมาโรงพยาบาล หรือศูนย์ไตเทียมสัปดาห์ละ 2-3 ครัง้ เนือ่ งจาก การฟอกเลือดต้องท�ำที่ศูนย์ไตเทียมหรือโรง พยาบาล โดยพยาบาลผูเ้ ชีย่ วชาญไตเทียม ใน ปัจจุบันมีการฟอกเลือดที่บ้าน (Home hemodialysis) แต่ยังไม่เป็นที่แพร่หลาย เนือ่ งจากเป็นภาระและใช้การลงทุนทีค่ อ่ นข้าง สูง การล้างไตทางช่องท้อง วิธนี อี้ าศัยเยือ่ บุ ช่องท้องช่วยกรองของเสียออกจากร่างกาย โดยการใส่นำ�้ ยาเข้าในช่องท้องทางสายพลาสติก ทีแ่ พทย์ได้ทำ� ผ่าตัดฝังไว้ในช่องท้อง ทิง้ น�ำ ้ ยา ไว้ในช่องท้องประมาณ 4-6 ชัว่ โมง แล้วปล่อย น�้ำยาออกจากช่องท้องแล้วทิง้ ไป น�ำ้ และของ เสียในเลือดทีซ่ มึ ออกมาอยูใ่ นน�ำ้ ยาจะถูกก�ำจัด จากร่างกาย ผูป้ ว่ ยและญาติสามารถเปลีย่ นน�ำ ้ ยาได้เองที่บ้าน โดยทั่วไปจะท�ำการเปลี่ยน
น�้ำยาวันละ 4 ครั้ง ต้องท�ำต่อเนื่องทุกวัน ผู้ ป่วยและญาติสามารถปรับเปลีย่ นการเปลีย่ น ถุงน�ำ้ ยาให้เข้ากับกิจวัตรประจ�ำวันของผูป้ ว่ ย ได้ โดยขณะทีม่ นี ำ�้ ยาในช่องท้อง ผูป้ ว่ ยสามารถ ท�ำงานและมีกิจกรรมได้ตามปกติ สาเหตุของการเสียชีวิตในผู้ป่วยล้าง ไตส่วนใหญ่ เกิดจากโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยมีอตั ราการเสียชีวติ จากโรคหัวใจและหลอด เลือดสูงถึง 40-50% ของสาเหตุของการเสีย ชีวติ ทัง้ หมด ซึง่ สูงกว่าประชากรทัว่ ไปถึง 2040 เท่า ในทุกกลุ่มอายุ เพศ เชื้อชาติ โดยไม่ เกี่ยวข้องกับสาเหตุและชนิดของโรคที่ท�ำให้ เกิดไตวาย นอกจากนีผ้ ปู้ ว่ ยทีม่ ภี าวะหัวใจล้มเหลว/ ภาวะหัวใจวาย (Congestive heart failure) ตั้งแต่เริ่ม ต้นล้างไต จะเพิ่มความ เสี่ยงต่อการเสียชีวิตมากขึ้น ส่วนโรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronary artery disease) ผู้ป่วยไตเรื้อรังอาจจะมี
โรคหลอดเลือดหัวใจมาก่อนการล้างไต ซึ่งจะ เพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจล้มเหลวเพิ่ม ขึ้นเป็น 2 เท่า ส่วนในรายทีไ่ ม่พบโรคหลอดเลือดหัวใจ มาก่อนการล้างไต ก็มีอุบัติการณ์ของการเกิด โรคหลอดเลือดหัวใจ 3.6% ต่อปี เมือ่ ผูป้ ว่ ยไตวายเรือ้ รังระยะสุดท้ายเกิด โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction) จะมีโอกาสเสียชีวติ ถึง 59% ภายใน 1 ปี นอกจากนี้ผู้ป่วยอาจจะเสียชีวิตจากสา เหตุอนื่ ๆได้อกี เช่น โรคติดเชือ้ ภาวะแทรกซ้อน/ ผลข้างเคียงต่างๆจากการล้างไต และจากการ ท�ำหัตถการต่างๆทีเ่ กีย่ วกับการล้างไต เป็นต้น ผู้ ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายแม้ว่าจะได้ รับการล้างไตแล้วก็ตอ้ งติดตามดูแลรักษาอย่าง ใกล้ชิดจากแพทย์ พยาบาล ตลอดชีวิต
ศ.นพ.โ ส ภณ จิ ร สิ ร ธ ิ รรม ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านหลอดเลือดและปลูกถ่ายไต
คลินิกศัลยกรรมและหลอดเลือด (Vascular Surgery Clinic) ประวัติการศึกษา และประวัติการท�ำงาน • ส�ำเร็จการศึกษา แพทยศาสตรบัณฑิต(เกียรตินยิ ม) คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • ผ่านการฝึกอบรมเป็นศัลยแพทย์หลอดเลือด (Vascular Surgery) และเปลี่ยนไต (Kidney Transplantation) จากมหาวิทยาลัยลอนดอน (University of London) และมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ แห่งสหราชอาณาจักร (University of Cambridge) • ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ไปศึกษาต่อสาขาวิชา Vascular Surgery ที่สหราชอาณาจักร • ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งประธานคณะกรรมการส่งเสริมการบริจาค อวัยวะ โรงพยาบาลรามาธิบดี • อดีตนายกสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย และนายกสมาคม ปลูกถ่ายอวัยวะแห่งเอเซีย • อดีตนายกสมาคมศัลยแพทย์หลอดเลือดแห่งประเทศไทย และ นายกสมาคมศัลยแพทย์หลอดเลือดแห่งเอเซีย • อดีตประธานโครงการปลูกถ่ายไต คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
• อดีตหัวหน้าสาขาวิชาศัลยศาสตร์หลอดเลือดและปลูกถ่ายอวัยวะ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • อดีตประธานจัดงานประชุมราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย ในปี 2555 และ ปี 2556 ความเชี่ยวชาญพิเศษ ศัลยกรรมศาสตร์หลอดเลือดและศัลยศาสตร์ปลูกถ่ายไต ประสบการณ์ • มีประสบการณ์ผ่าตัดหลอดเลือดทั้งแบบ Open Surgery และ Endovascular Surgery มากกว่า 20 ปี • มีประสบการณ์ปลูกถ่ายไต มากกว่า 1,000 ราย มาเกินกว่า 30 ปี ตารางปฏิบัติงาน วันพุธ 13.00 - 15.00 น. ติดต่อนัดหมายแพทย์ได้ที่ คลินิกศัลยกรรมและหลอดเลือด (VASCULAR SURGERY CLINIC) โทร. 0 -2596-7888 ต่อ 2139, 2145 19
คลินิกศัลยกรรมหลอดเลือด Vascular Surgery Clinic
ไตวายเรือ้ รัง (Chronic kidney disease/CKD)
เป็นโรคทีเ่ ป็นปัญหาสาธารณสุขโรคหนึง่ ซึง่ จ�ำนวนผูป้ ว่ ยมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆทัง้ ใน ประเทศทีพ่ ฒั นาแล้วและประเทศทีก่ ำ� ลังพัฒนา โรคไตวายเรื้อรัง แบ่งเป็น 5 ระยะตามระดับ อัตราการกรองของไต หรือ อัตราการท�ำงาน ของไต (Estimated Glomerular filtration rate/eGFR)) โดยโรคไตวายเรื้อรังระยะแรกๆ ผู้ป่วย จะยังไม่มีอาการ ต่อมาเมื่อผู้ป่วยมีการเสื่อม ของไตมากขึน้ โดยเฉพาะโรคไตวายเรือ้ รังระยะ ที่ 4 หรือระยะที่ 5 จะมีภาวะแทรกซ้อน/ผล ข้างเคียง ได้แก่ โลหิตจาง/ซีด ภาวะความดัน โลหิตสูง มีความผิดปกติของสมดุลน�ำ้ และเกลือ แร่ มีการคั่งของของเสีย ท�ำให้ผู้ป่วยมีอาการ บวม มีภาวะน�้ำท่วมปอด ปัสสาวะออกน้อย ลง มีอาการอ่อนเพลีย หอบเหนื่อย คลื่นไส้ อาเจียน ไม่อยากอาหาร ในบางรายอาจมี อาการทางระบบประสาท เช่น อาการซึม หรือ อาการชัก รวมทัง้ ผูป้ ว่ ยมีโอกาสเสียชีวติ ได้สงู ขึน้ ผูป้ ว่ ยโรคไตวายเรือ้ รังทีม่ ภี าวะแทรกซ้อน จะมีความเสี่ยงสูงในการเป็นโรคหัวใจและ หลอดเลือดซึ่งพบว่า เป็นสาเหตุหลักของการ เสียชีวิตของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง หลักส�ำคัญของการรักษาโรคไตวายเรือ้ รัง ในระยะเบื้องต้นคือ การรักษาที่สาเหตุของ โรคและให้การรักษาเพือ่ ชะลอความเสือ่ มของ ไต การรักษาจึงประกอบด้วยยาเพื่อควบคุม ระดับความดันโลหิตและระดับน�้ำตาลในเลือด ให้ได้ตามเป้าหมาย ร่วมกับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งการลด การบริโภคเกลือโซเดียมและโปรตีน การใช้ยา ให้ถูกต้องและการออกก�ำลังกาย เมื่อผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังมีความเสื่อม ของไตเข้าช่วงท้ายของโรคไตระยะที่ 4 หรือ ระยะที่ 5 ซึง่ เป็นระยะทีเ่ ริม่ มีอาการแทรกซ้อน ต่างๆดังทีก่ ล่าวไปแล้ว แพทย์และพยาบาลจะ ให้ค�ำแนะน�ำ และเตรียมความพร้อมส�ำหรับ การบ�ำบัดทดแทนไตเพือ่ รักษาอาการแทรกซ้อน 18
ต่างๆ และเพือ่ ช่วยให้ผปู้ ว่ ยมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้
การบ�ำบัดทดแทนไตคืออะไร? มีกี่ วิธี?
การบ�ำบัดทดแทนไต เป็นกระบวนการ การรักษาเพื่อทดแทนไตที่ไม่สามารถท�ำงาน ได้เองอย่างเพียงพอ เพือ่ ช่วยให้มกี ารขจัดของ เสียที่คั่งอยู่ในร่างกาย ขจัดน�้ำส่วนเกินจาก ร่างกาย รักษาสมดุลน�ำ้ และเกลือแร่ตา่ งๆ และ รักษาภาวะแทรกซ้อน/ผลข้างเคียงที่เกิดจาก ภาวะไตวายเรื้อรัง เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถ มีชีวิตอยู่รอดได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีพอ สมควร
การบ�ำบัดทดแทนไต 3 วิธี แตกต่าง กันอย่างไร ?
การปลูกถ่ายไต หรือ การเปลี่ยนไต คือ การน�ำไตที่ดีของผู้อื่นที่เข้าได้กับผู้ ป่วยมาปลูกถ่ายให้กับผู้ป่วย มิใช่การเปลี่ยน เอาไตผูป้ ว่ ยออกแล้วเอาไตผูอ้ นื่ ใส่เข้าไปแทนที่ ในต�ำ แหน่งไตเดิม การผ่าตัดท�ำโดยการผ่าตัดไตใหม่ไว้ใน อุ้งเชิงกรานข้างใดข้างหนึ่งของผู้ป่วย แล้วต่อ หลอดเลือดของไตใหม่เข้ากับหลอดเลือดของ ผูป้ ว่ ย และต่อท่อไตใหม่เข้าในกระเพาะปัสสาวะ ของผู้ป่วย การปลูกถ่ายไตนี้ใช้ไตเพียงข้างเดียวก็ พอ ถ้าร่างกายของผู้ป่วยรับไตใหม่ได้ดีและ ไม่มภี าวะแทรกซ้อน/ผลข้างเคียงอืน่ ๆ ไตทีไ่ ด้ รับใหม่จะท�ำงานได้ดี แต่ผู้ป่วยต้องได้รับยา กดภูมิต้านทานตลอดชีวิต และจะต้องอยู่ใน ความดูแลของแพทย์ตลอดไป/ตลอดชีวติ เช่น กัน หากขาดยากดภูมติ า้ นทาน ร่างกายจะต่อ ต้านไตที่ได้รับใหม่ ท�ำให้ไตใหม่นั้นเสีย และ
ยังอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ปัจจุบนั การปลูกถ่ายไตถือเป็นการรักษา ภาวะไตวายขั้นสุดท้ายที่ดีที่สุด แต่การรักษา วิธีนี้ก็ยังมีความเสี่ยงอยู่ในระยะแรก แต่ผลที่ ได้รบั ดีกว่าการรักษาวิธอี นื่ ผูป้ ว่ ยจะมีชวี ติ ใกล้ เคียงคนปกติมากกว่าวิธอี นื่ ผลการรักษาจะดี ถ้าเป็นผูท้ ไี่ ม่มโี รคของระบบอืน่ นอกเหนือจาก โรคไต ไม่มีภาวะติดเชื้อ เป็นต้น ในการปลูก ถ่ายไตแพทย์จึงต้องพิจารณาอย่างละเอียด ถีถ่ ว้ นและรอบคอบ ว่าผูป้ ว่ ยเหมาะสมกับการ รักษาด้วยวิธนี หี้ รือไม่ รวมทัง้ ต้องเตรียมความ พร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจให้ผู้ป่วยด้วย มิฉะนั้นผลการรักษาจะไม่ดี และในบางครั้ง อาจเสียชีวิตได้ ผู้ป่วยโรคไตที่ไม่เหมาะสมกับการปลูก ถ่ายไต หรือผูป้ ว่ ยทีอ่ ยูร่ ะหว่างรอรับการบริจาค ผู้ป่วยต้องบ�ำบัดทดแทนไตไปตลอดชีวิต ซึ่ง ท�ำได้ 2 วิธีคือ การฟอกเลือดด้วยเครื่องไต เทียม และการล้างไตทางช่องท้อง ทั้งสองวิธี ไม่ทำ� ให้หายจากโรคไตวาย แต่เป็นการท�ำงาน แทนไตที่เสียไป คือ ล้างเอาน�้ำและของเสีย ออกจากร่างกาย รักษาสมดุลน�้ำและเกลือแร่ ต่างๆ ซึ่งเมื่อหยุดล้างไต น�้ำและของเสียใน เลือดก็จะสะสมขึ้นมาอีก ท�ำให้ผู้ป่วยมีภาวะ แทรกซ้อน เช่น อาการบวม อ่อนเพลีย หอบ เหนื่อย มีภาวะน�้ำท่วมปอด คลื่นไส้อาเจียน ไม่อยากอาหาร ซึม สับสน หรืออาการชัก เป็นต้น เพราะฉะนั้นผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง จึง ต้องล้างไตอย่างสม�่ำเสมอและต่อเนื่อง เพื่อ ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี และให้มีชีวิตอยู่ได้เช่น คนทั่วไป การฟอกเลือดด้วยเครือ่ งไตเทียม หรือ ทีเ่ รียกกันทัว่ ไปว่า “การฟอกเลือด” เป็นการ น�ำเลือดจากหลอดเลือด (ต้องมีการเตรียม หลอดเลือดไว้ลว่ งหน้า) ออกจากร่างกาย ผ่าน เข้ามาในตัวกรองของเสียทีเ่ ครือ่ งไตเทียม เพือ่ ดึงน�ำ้ และของเสียออกจากร่างกาย เลือดทีถ่ กู กรองแล้วจะไหลกลับเข้าร่างกายทางหลอด เลือดอีกหลอดหนึ่ง วิธีการน�ำเลือดเข้า - ออก ทางหลอดเลือดนีค้ ล้ายกับการให้เลือดหรือน�ำ้
เกลือทางหลอดเลือด (มิใช่การผ่าตัดเอาเลือด ออกมาล้าง) โดยทั่วไปท�ำครั้งละ 4-5 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 2-3 ครัง้ ผูป้ ว่ ยต้องมาโรงพยาบาล หรือศูนย์ไตเทียมสัปดาห์ละ 2-3 ครัง้ เนือ่ งจาก การฟอกเลือดต้องท�ำที่ศูนย์ไตเทียมหรือโรง พยาบาล โดยพยาบาลผูเ้ ชีย่ วชาญไตเทียม ใน ปัจจุบันมีการฟอกเลือดที่บ้าน (Home hemodialysis) แต่ยังไม่เป็นที่แพร่หลาย เนือ่ งจากเป็นภาระและใช้การลงทุนทีค่ อ่ นข้าง สูง การล้างไตทางช่องท้อง วิธนี อี้ าศัยเยือ่ บุ ช่องท้องช่วยกรองของเสียออกจากร่างกาย โดยการใส่นำ�้ ยาเข้าในช่องท้องทางสายพลาสติก ทีแ่ พทย์ได้ทำ� ผ่าตัดฝังไว้ในช่องท้อง ทิง้ น�ำ ้ ยา ไว้ในช่องท้องประมาณ 4-6 ชัว่ โมง แล้วปล่อย น�้ำยาออกจากช่องท้องแล้วทิง้ ไป น�ำ้ และของ เสียในเลือดทีซ่ มึ ออกมาอยูใ่ นน�ำ้ ยาจะถูกก�ำจัด จากร่างกาย ผูป้ ว่ ยและญาติสามารถเปลีย่ นน�ำ ้ ยาได้เองที่บ้าน โดยทั่วไปจะท�ำการเปลี่ยน
น�้ำยาวันละ 4 ครั้ง ต้องท�ำต่อเนื่องทุกวัน ผู้ ป่วยและญาติสามารถปรับเปลีย่ นการเปลีย่ น ถุงน�ำ้ ยาให้เข้ากับกิจวัตรประจ�ำวันของผูป้ ว่ ย ได้ โดยขณะทีม่ นี ำ�้ ยาในช่องท้อง ผูป้ ว่ ยสามารถ ท�ำงานและมีกิจกรรมได้ตามปกติ สาเหตุของการเสียชีวิตในผู้ป่วยล้าง ไตส่วนใหญ่ เกิดจากโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยมีอตั ราการเสียชีวติ จากโรคหัวใจและหลอด เลือดสูงถึง 40-50% ของสาเหตุของการเสีย ชีวติ ทัง้ หมด ซึง่ สูงกว่าประชากรทัว่ ไปถึง 2040 เท่า ในทุกกลุ่มอายุ เพศ เชื้อชาติ โดยไม่ เกี่ยวข้องกับสาเหตุและชนิดของโรคที่ท�ำให้ เกิดไตวาย นอกจากนีผ้ ปู้ ว่ ยทีม่ ภี าวะหัวใจล้มเหลว/ ภาวะหัวใจวาย (Congestive heart failure) ตั้งแต่เริ่ม ต้นล้างไต จะเพิ่มความ เสี่ยงต่อการเสียชีวิตมากขึ้น ส่วนโรคหลอดเลือดหัวใจ (Coronary artery disease) ผู้ป่วยไตเรื้อรังอาจจะมี
โรคหลอดเลือดหัวใจมาก่อนการล้างไต ซึ่งจะ เพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจล้มเหลวเพิ่ม ขึ้นเป็น 2 เท่า ส่วนในรายทีไ่ ม่พบโรคหลอดเลือดหัวใจ มาก่อนการล้างไต ก็มีอุบัติการณ์ของการเกิด โรคหลอดเลือดหัวใจ 3.6% ต่อปี เมือ่ ผูป้ ว่ ยไตวายเรือ้ รังระยะสุดท้ายเกิด โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction) จะมีโอกาสเสียชีวติ ถึง 59% ภายใน 1 ปี นอกจากนี้ผู้ป่วยอาจจะเสียชีวิตจากสา เหตุอนื่ ๆได้อกี เช่น โรคติดเชือ้ ภาวะแทรกซ้อน/ ผลข้างเคียงต่างๆจากการล้างไต และจากการ ท�ำหัตถการต่างๆทีเ่ กีย่ วกับการล้างไต เป็นต้น ผู้ ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายแม้ว่าจะได้ รับการล้างไตแล้วก็ตอ้ งติดตามดูแลรักษาอย่าง ใกล้ชิดจากแพทย์ พยาบาล ตลอดชีวิต
ศ.นพ.โ ส ภณ จิ ร สิ ร ธ ิ รรม ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านหลอดเลือดและปลูกถ่ายไต
คลินิกศัลยกรรมและหลอดเลือด (Vascular Surgery Clinic) ประวัติการศึกษา และประวัติการท�ำงาน • ส�ำเร็จการศึกษา แพทยศาสตรบัณฑิต(เกียรตินยิ ม) คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • ผ่านการฝึกอบรมเป็นศัลยแพทย์หลอดเลือด (Vascular Surgery) และเปลี่ยนไต (Kidney Transplantation) จากมหาวิทยาลัยลอนดอน (University of London) และมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ แห่งสหราชอาณาจักร (University of Cambridge) • ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ไปศึกษาต่อสาขาวิชา Vascular Surgery ที่สหราชอาณาจักร • ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งประธานคณะกรรมการส่งเสริมการบริจาค อวัยวะ โรงพยาบาลรามาธิบดี • อดีตนายกสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย และนายกสมาคม ปลูกถ่ายอวัยวะแห่งเอเซีย • อดีตนายกสมาคมศัลยแพทย์หลอดเลือดแห่งประเทศไทย และ นายกสมาคมศัลยแพทย์หลอดเลือดแห่งเอเซีย • อดีตประธานโครงการปลูกถ่ายไต คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
• อดีตหัวหน้าสาขาวิชาศัลยศาสตร์หลอดเลือดและปลูกถ่ายอวัยวะ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • อดีตประธานจัดงานประชุมราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย ในปี 2555 และ ปี 2556 ความเชี่ยวชาญพิเศษ ศัลยกรรมศาสตร์หลอดเลือดและศัลยศาสตร์ปลูกถ่ายไต ประสบการณ์ • มีประสบการณ์ผ่าตัดหลอดเลือดทั้งแบบ Open Surgery และ Endovascular Surgery มากกว่า 20 ปี • มีประสบการณ์ปลูกถ่ายไต มากกว่า 1,000 ราย มาเกินกว่า 30 ปี ตารางปฏิบัติงาน วันพุธ 13.00 - 15.00 น. ติดต่อนัดหมายแพทย์ได้ที่ คลินิกศัลยกรรมและหลอดเลือด (VASCULAR SURGERY CLINIC) โทร. 0 -2596-7888 ต่อ 2139, 2145 19
รอบรั้วนนทเวช
On the Move
โรงพยาบาลนนทเวช ได้รับรางวัล Allianz Ayudhya Hospital Service Awards 2013
ศิลปะสร้างสติ จากบ้านศิลปินแห่งชาติ
โรงพยาบาลนนทเวช จัดกิจกรรมสร้าง วิสัยทัศน์ทางศิลปะ(ศิลปะสร้างสติ) เพื่อ น�ำเอาศิลปะมาประยุกต์ในการพัฒนา กระบวนการคิดที่เป็นระบบ สร้างสรรค์ และเกิดประโยชน์ในการท�ำงานขึ้น เมื่อ เร็วๆ นี ้ ณ ห้องประชุมนนทเวช โรงพยาบาล นนทเวช
นายแพทย์พรมพันธ์ พรมมาส ผูอ้ ำ� นวย การโรงพยาบาลนนทเวช มอบหมาย ฝ่าย พัฒนาธุรกิจและการตลาด เข้าร่วมงาน ประกาศผลรางวัลเกียรติยศ “Allianz Ayudhya Hospital Service Awards 2013” ซึง่ ในโอกาสนี้ โรงพยาบาลนนทเวช ได้รับรางวัล ประเภท Excellent Check Up Award โดย Mr. Robert Paul Gray รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติ การ อลิอนั ซ์ อยุธยา และ อลิอนั ซ์สำ� นักงาน ภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ เป็นผูม้ อบรางวัล งาน ครั้งนี้จัดขึ้นโดย บริษัท อลิอันซ์ อยุธยา ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อเป็นการ เชิดชูเกียรติกับทางโรงพยาบาลนนทเวช ที่ ได้มีการบริหารจัดการด้านการบริการอันดี เยีย่ มแก่ผรู้ บั บริการ เมือ่ เร็วๆ นี้ ณ โรงแรม เรเนซองส์ กรุงเทพฯ
กิจกรรม มหัศจรรย์แสนล้านเซล์สมอง... ต่อยอดการเรียนรู้ไร้ขีดจ�ำกัด
ผ่านไปแล้วกับกิจกรรมเพื่อคุณแม่ตั้ง ครรภ์ ครั้งที่1 ปี 2557 ภายใต้ชื่องาน “มหัศจรรย์แสนล้านเซล์สมอง...ต่อยอดการ เรียนรู้ไร้ขีดจ�ำกัด” ที่โรงพยาบาลนนทเวช ร่วมกับ บริษัท มี้ด จอห์นสัน นิวทรีชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด จัดขึน้ เพือ่ เตรียมความ พร้อมคุณแม่ตั้งครรภ์ก่อนเจ้าตัวน้อยลืมตา ดูโลก ภายในงานมีการบรรยายหัวข้อ “การ ดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์” โดยพญ.วัลย์ วิสา ธารฑ์ไพรสาณฑ์ สูตนิ รีแพทย์ และหัวข้อ “การดูแลทารกแรกเกิด” โดยพญ.วนิดา ตัง้ วงษ์สจุ ริต กุมารแพทย์ทารกแรกเกิด มาร่วม ให้ความรู้ พร้อมปิดท้ายกับโยคะและเทคนิค การหายใจเพื่อผ่อนคลายความเจ็บปวด ให้
กิจกรรมเพื่อสุขภาพ สันทนาการส�ำหรับตัวแทนประกัน
คุณแม่ตงั้ ครรภ์ได้ยดื เส้นยืดสาย ในบรรยากาศ ที่อบอุ่นและเป็นกันเอง ณ ห้องประชุม นนทเวช เมื่อเร็ว ๆ นี้
ฝ่ายพัฒนาธุรกิจและการตลาด โรง พยาบาลนนทเวช จัดกิจกรรม “เพือ่ สุขภาพ สันทนาการ ส�ำหรับตัวแทนบริษทั ประกัน ชีวติ ” เพือ่ เป็นการสานสัมพันธ์ตวั แทนกับ บริษทั ประกันให้รจู้ กั การบริการโรงพยาบาล เมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ ห้องประชุมนนทเวช โรง พยาบาลนนทเวช 21
รอบรั้วนนทเวช
On the Move
โรงพยาบาลนนทเวช ได้รับรางวัล Allianz Ayudhya Hospital Service Awards 2013
ศิลปะสร้างสติ จากบ้านศิลปินแห่งชาติ
โรงพยาบาลนนทเวช จัดกิจกรรมสร้าง วิสัยทัศน์ทางศิลปะ(ศิลปะสร้างสติ) เพื่อ น�ำเอาศิลปะมาประยุกต์ในการพัฒนา กระบวนการคิดที่เป็นระบบ สร้างสรรค์ และเกิดประโยชน์ในการท�ำงานขึ้น เมื่อ เร็วๆ นี ้ ณ ห้องประชุมนนทเวช โรงพยาบาล นนทเวช
นายแพทย์พรมพันธ์ พรมมาส ผูอ้ ำ� นวย การโรงพยาบาลนนทเวช มอบหมาย ฝ่าย พัฒนาธุรกิจและการตลาด เข้าร่วมงาน ประกาศผลรางวัลเกียรติยศ “Allianz Ayudhya Hospital Service Awards 2013” ซึง่ ในโอกาสนี้ โรงพยาบาลนนทเวช ได้รับรางวัล ประเภท Excellent Check Up Award โดย Mr. Robert Paul Gray รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติ การ อลิอนั ซ์ อยุธยา และ อลิอนั ซ์สำ� นักงาน ภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ เป็นผูม้ อบรางวัล งาน ครั้งนี้จัดขึ้นโดย บริษัท อลิอันซ์ อยุธยา ประกันชีวิต จ�ำกัด (มหาชน) เพื่อเป็นการ เชิดชูเกียรติกับทางโรงพยาบาลนนทเวช ที่ ได้มีการบริหารจัดการด้านการบริการอันดี เยีย่ มแก่ผรู้ บั บริการ เมือ่ เร็วๆ นี้ ณ โรงแรม เรเนซองส์ กรุงเทพฯ
กิจกรรม มหัศจรรย์แสนล้านเซล์สมอง... ต่อยอดการเรียนรู้ไร้ขีดจ�ำกัด
ผ่านไปแล้วกับกิจกรรมเพื่อคุณแม่ตั้ง ครรภ์ ครั้งที่1 ปี 2557 ภายใต้ชื่องาน “มหัศจรรย์แสนล้านเซล์สมอง...ต่อยอดการ เรียนรู้ไร้ขีดจ�ำกัด” ที่โรงพยาบาลนนทเวช ร่วมกับ บริษัท มี้ด จอห์นสัน นิวทรีชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด จัดขึน้ เพือ่ เตรียมความ พร้อมคุณแม่ตั้งครรภ์ก่อนเจ้าตัวน้อยลืมตา ดูโลก ภายในงานมีการบรรยายหัวข้อ “การ ดูแลตัวเองระหว่างตั้งครรภ์” โดยพญ.วัลย์ วิสา ธารฑ์ไพรสาณฑ์ สูตนิ รีแพทย์ และหัวข้อ “การดูแลทารกแรกเกิด” โดยพญ.วนิดา ตัง้ วงษ์สจุ ริต กุมารแพทย์ทารกแรกเกิด มาร่วม ให้ความรู้ พร้อมปิดท้ายกับโยคะและเทคนิค การหายใจเพื่อผ่อนคลายความเจ็บปวด ให้
กิจกรรมเพื่อสุขภาพ สันทนาการส�ำหรับตัวแทนประกัน
คุณแม่ตงั้ ครรภ์ได้ยดื เส้นยืดสาย ในบรรยากาศ ที่อบอุ่นและเป็นกันเอง ณ ห้องประชุม นนทเวช เมื่อเร็ว ๆ นี้
ฝ่ายพัฒนาธุรกิจและการตลาด โรง พยาบาลนนทเวช จัดกิจกรรม “เพือ่ สุขภาพ สันทนาการ ส�ำหรับตัวแทนบริษทั ประกัน ชีวติ ” เพือ่ เป็นการสานสัมพันธ์ตวั แทนกับ บริษทั ประกันให้รจู้ กั การบริการโรงพยาบาล เมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ ห้องประชุมนนทเวช โรง พยาบาลนนทเวช 21
Healthy Dining
‘หมูผัดขิง’
เมนูง่ายๆ เต็มเปี่ยมด้วยประโยชน์ เมื่อพูดถึงอาหารที่มีประโยชน์ หลายคนเน้นไปที่อาหารที่มีวัตถุดิบ พรีเมียม ราคาแพง ทั้งที่ความจริงแล้ว เมนูง่ายๆ ที่คนไทยคุ้นเคยกันดีก็ มีประโยชน์ต่อร่างกายไม่แพ้กัน แถมท�ำได้ง่ายกว่า ต้นทุนน้อยกว่า และ ถูกปากทุกคนในครอบครัว อย่างเช่น หมูผัดขิง ที่เรามีสูตรและวิธีท�ำมา แนะน�ำกันในวันนี้
หมูผัดขิง
สิง่ ทีต่ อ้ งเตรียม หมูเนือ้ แดงหัน่ ชิน้ ขิงแก่ซอย แครอทฝอย หอมหัวใหญ่หนั่ ชิน้ เห็ดหูหนูดำ� สดหัน่ ชิน้ ต้นหอมหัน่ ท่อน กระเทียมโขลก รากผักชีโขลก น�ำ้ มันพืช เต้าเจีย้ วหมัก น�ำ้ ปลาสูตรลดโซเดียม ซอสหอยนางรมสูตรลดโซเดียม น�ำ้ ตาลทราย พริกไทยขาวป่นเล็กน้อย 22
5 4 2 2 2 2 3 2 1 1/2 1 1 1/2
ช้อนโต๊ะ (100 กรัม) ช้อนโต๊ะ (60 กรัม) ช้อนโต๊ะ (20 กรัม) ช้อนโต๊ะ (30 กรัม) ช้อนโต๊ะ (30 กรัม) ต้น (15 กรัม) กลีบใหญ่ (10 กรัม) ราก (5 กรัม) ช้อนโต๊ะ ช้อนชา ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ช้อนชา
วิธีท�ำ
• ผัดกระเทียม กับรากผักชีในน�ำ้ มันจนหอม • ใส่เต้าเจีย้ ว และขิงซอย ผัดจนหอม • ใส่หมูผดั จนสุก แล้วใส่หอมหัวใหญ่ และเห็ดหูหนูดำ� • ใส่เครือ่ งปรุงทีเ่ ตรียมไว้ ผัดให้เข้ากัน ใส่แครอท และต้นหอม ผัดจนสุก • โรยพริกไทยป่น และยกลงเสิรฟ์
Health Benef it คุณประโยชน์จากหมูผัดขิง
เมนูนมี้ สี ว่ นประกอบของผักทีช่ ว่ ยลดไขมันในเลือด และเหมาะกับผู้ ป่วยทีเ่ ป็นโรคหัวใจ อย่างหอมหัวใหญ่ ต้นหอม และเห็ดหูหนู นอกจาก นีย้ งั มีเครือ่ งเทศหลายชนิดทีช่ ว่ ยบรรเทาอาการท้องอืด ขับปัสสาวะ และยังช่วยรักษาแผลในกระเพาะอีกด้วย (ผัก 333 ชนิด คุณค่าอาหาร และการกิน, 2548 และ นิตยสารหมอชาวบ้าน เล่ม 300, 2547) ประโยชน์มากมายขนาดนี้ ไม่ทำ� รับประทานไม่ได้แล้ว
Healthy Dining
‘หมูผัดขิง’
เมนูง่ายๆ เต็มเปี่ยมด้วยประโยชน์ เมื่อพูดถึงอาหารที่มีประโยชน์ หลายคนเน้นไปที่อาหารที่มีวัตถุดิบ พรีเมียม ราคาแพง ทั้งที่ความจริงแล้ว เมนูง่ายๆ ที่คนไทยคุ้นเคยกันดีก็ มีประโยชน์ต่อร่างกายไม่แพ้กัน แถมท�ำได้ง่ายกว่า ต้นทุนน้อยกว่า และ ถูกปากทุกคนในครอบครัว อย่างเช่น หมูผัดขิง ที่เรามีสูตรและวิธีท�ำมา แนะน�ำกันในวันนี้
หมูผัดขิง
สิง่ ทีต่ อ้ งเตรียม หมูเนือ้ แดงหัน่ ชิน้ ขิงแก่ซอย แครอทฝอย หอมหัวใหญ่หนั่ ชิน้ เห็ดหูหนูดำ� สดหัน่ ชิน้ ต้นหอมหัน่ ท่อน กระเทียมโขลก รากผักชีโขลก น�ำ้ มันพืช เต้าเจีย้ วหมัก น�ำ้ ปลาสูตรลดโซเดียม ซอสหอยนางรมสูตรลดโซเดียม น�ำ้ ตาลทราย พริกไทยขาวป่นเล็กน้อย 22
5 4 2 2 2 2 3 2 1 1/2 1 1 1/2
ช้อนโต๊ะ (100 กรัม) ช้อนโต๊ะ (60 กรัม) ช้อนโต๊ะ (20 กรัม) ช้อนโต๊ะ (30 กรัม) ช้อนโต๊ะ (30 กรัม) ต้น (15 กรัม) กลีบใหญ่ (10 กรัม) ราก (5 กรัม) ช้อนโต๊ะ ช้อนชา ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ช้อนชา
วิธีท�ำ
• ผัดกระเทียม กับรากผักชีในน�ำ้ มันจนหอม • ใส่เต้าเจีย้ ว และขิงซอย ผัดจนหอม • ใส่หมูผดั จนสุก แล้วใส่หอมหัวใหญ่ และเห็ดหูหนูดำ� • ใส่เครือ่ งปรุงทีเ่ ตรียมไว้ ผัดให้เข้ากัน ใส่แครอท และต้นหอม ผัดจนสุก • โรยพริกไทยป่น และยกลงเสิรฟ์
Health Benef it คุณประโยชน์จากหมูผัดขิง
เมนูนมี้ สี ว่ นประกอบของผักทีช่ ว่ ยลดไขมันในเลือด และเหมาะกับผู้ ป่วยทีเ่ ป็นโรคหัวใจ อย่างหอมหัวใหญ่ ต้นหอม และเห็ดหูหนู นอกจาก นีย้ งั มีเครือ่ งเทศหลายชนิดทีช่ ว่ ยบรรเทาอาการท้องอืด ขับปัสสาวะ และยังช่วยรักษาแผลในกระเพาะอีกด้วย (ผัก 333 ชนิด คุณค่าอาหาร และการกิน, 2548 และ นิตยสารหมอชาวบ้าน เล่ม 300, 2547) ประโยชน์มากมายขนาดนี้ ไม่ทำ� รับประทานไม่ได้แล้ว