ISSUE 2013
ก้าวสู่ปีที่ ห่วงใยสุขภาพคุณ
ด้วยกระดายาษตา
ถนอทมั้งสเล่ม
แห่งการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง
และใช้หมนึกถั่วSเหoลืyIอnง k จากน้ำามั
Healthy Living ฉบับนีเ้ ป็นฉบับส่งท้าย ของปี 2556 และเป็นการก้าวเข้าสู่ปีที่ 33 แห่งการพัฒนาอย่างไม่หยุดยัง้ ของโรงพยาบาล นนทเวช สู่การเป็นโรงพยาบาลชั้นน�าส�าหรับ ครอบครัว ตลอดระยะเวลากว่า 33 ปี เราพัฒนา คุณภาพในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะความพร้อม ด้านการรักษาโรคซับซ้อน ซึง่ ในปัจจุบนั รักษา ยากขึ้น ด้วยพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่มีโอกาส เสี่ยง ท�าให้บางครั้งการวินิจฉัยไม่สามารถดู จากอาการที่เห็นเป็นหลักได้ เพราะมีความ ซ้อนมากกว่าหนึง่ โรค เช่น โรคหัวใจ มักมีโรคอืน่ ร่วมด้วยทั้งเบาหวาน ความดันโลหิต หรือ โรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งโรคเหล่านี้หากเกิด ในผู้สูงอายุจะยิ่งมีความซับซ้อนในการรักษา การวินจิ ฉัยโรคและการรักษาจึงต้องอาศัยประสบการณ์ของแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญ เฉพาะทางที่หลากหลายร่วมกัน ควบคู่กับเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ทันสมัย รวมทั้ง เรายังเพิม่ ประสิทธิภาพการดูแลผูป้ ว่ ยฉุกเฉินโรคหลอดเลือดสมองด้วยโปรแกรมรักษา Stroke FIGHT 3F ทั้งการตรวจวินิจฉัยและให้ยารักษาอย่างทันท่วงทีตลอด 24 ชม. โดยทีมแพทย์อายุรกรรมประสาทและศัลยกรรมสมอง และทีมสหสาขาวิชาชีพด้าน สมอง ทัง้ นี ้ ไม่วา่ ไลฟ์สไตล์ของคุณจะเร่งรีบและวุน่ วายสักแค่ไหน ก็ไม่ควรละเลยดูแล สุขภาพของตัวเอง เพราะเรื่องสุขภาพเป็นเรื่องที่รอไม่ได้ แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า ปี 2557 ด้วยความปรารถนาดี นพ.พรมพันธ์ พรมมาส ผู้อ�านวยการโรงพยาบาล
04
ก้าวสู่ปีที่ 33 แห่งการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง โรงพยาบาลชั้นน�าของครอบครัวไทย
06
ตรวจหลอดเลือดด้วย Carotid เทคโนโลยีป้องกัน 3 อาการเปลี่ยนชีวิต
10
การดูแลเท้าในผู้เป็นเบาหวาน
12
Welcome
15
Healthy Talk
16
‘โครงค�้ายันขยายหลอดเลือด’
18
On the Move
20
How To
21
Healthy Dining
22
Q&A
ที่ปรึกษา
นพ.พรมพันธ์ พรมมาส ปัทมา พรมมาส บรรณาธิการบริหาร ประพิชญา พรมมาส บรรณาธิการ นิตยา ชื่นศิลป์ กองบรรณาธิการ สุรศักด์ คงฤทธิ์ สุชีรา วิจิตรสาร วิสุนีย์ ต๊ะพรหมมา สถานที่ติดต่อ แผนกการตลาด โรงพยาบาลนนทเวช 30/8 ถ.งามวงศ์วาน ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 ติดต่อโฆษณา โทร. 0-2596-7888 ต่อ 2568 Email contactus@nonthavej.co.th ออกแบบและจัดพิมพ์ บริษัท เกรท ดีไซน์ แอนด์ พริ้นท์ จ�ากัด โทร. 0-2184-8651 • Healthy Living เป็นวารสารรายสามเดือนของบริษทั โรงพยาบาลนนทเวช จ�ากัด (มหาชน) ข้อเขียนและบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท โรงพยาบาลนนทเวช จ�ากัด (มหาชน) และบริษทั ฯ ขอสงวนสิทธิใ์ นการคัดลอกหรือน�าไปตีพมิ พ์ โดยไม่ได้รบั อนุญาต อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
แนะน�าคุณหมอ
นาทีชีวิต หวิดเป็นอัมพาต
ทางเลือกใหม่รักษาโรคหัวใจ รอบรั้วนนทเวช 5 วิธีหนีมะเร็ง
‘มะเขือเทศ’ ผักมหัศจรรย์ ต้านอนุมูลอิสระ สกัดโรคร้าย
แนะนำ�คุณหมอ
ก้าวสู่ปีที่ 33
แห่งการพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้ง โรงพยาบาลชั้นนำาสำาหรับครอบครัว FAMILY AND TERTIARY CARE ตลอดระยะเวลากว่า 33 ปี โรงพยาบาลนนทเวชเติบโตพร้อม กับการพัฒนาคุณภาพในด้านต่าง ๆ สูม่ าตรฐานสากล ทัง้ การปรับปรุง ภูมิทัศน์ภายในและนอกอาคารให้สวยงาม ทันสมัย ขยายพื้นที่ให้ บริการโดยมีแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะทาง รวมทัง้ ทีมสหสาขาวิชาชีพ คอยดูแล พร้อมนวัตกรรมทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพช่วยเพิ่ม ความสะดวก รวดเร็ว และแม่นย�าเพือ่ การรักษาอย่างทันท่วงทีตลอด 24 ชั่วโมง อาทิ
• ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ (Wellness Center)
ปรับโฉมใหม่และขยายพื้นที่เพื่อรองรับการให้บริการตรวจ สุขภาพทั้งรายบุคคล ผู้บริหาร และบริษัทต่าง ๆ เพื่อความสะดวก และรวดเร็วแก่ผู้รับบริการอย่างครบวงจร (One Stop Service)
4
• ศูนย์กระดูกและข้อ (Orthopedic and Joints Center)
ให้บริการดูแลรักษาโรคกระดูกและข้ออย่างครบวงจร ด้วย การน�ำเทคโนโลยีการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI มาช่วย ให้การตรวจวินิจฉัยโรคเป็นไปอย่างเที่ยงตรงและแม่นย�ำ รวมทั้ง เทคโนโลยีการรักษาด้วยการผ่าตัดผ่านกล้องแทนการผ่าตัดเปิดแผล กว้างแบบเดิม ขนาดแผลเล็กลง เจ็บน้อย ฟื้นตัวไว สามารถผ่าตัด ได้ทั้งข้อเข่า กระดูกสันหลัง คอ ข้อศอก ข้อมือ ข้อนิ้วและส้นเท้า โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์
• ศูนย์หัวใจ (Heart Center)
ขยายพื้นที่เพื่อรองรับการให้บริการอย่างครบวงจร ตั้งแต่ การน�ำเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง (CT Scan) มาช่วย ตรวจดูคราบหินปูนและการตีบแคบของหลอดเลือดหัวใจโดยไม่ตอ้ ง ฉีดสีหรือใส่สายสวนในหลอดเลือดเหมือนสมัยก่อน เพือ่ วางแผนการ รักษา และป้องกัน ตลอดจนการฟื้นฟูสมรรถภาพโรคหัวใจ พร้อม ดูแลความเสี่ยงของโรคหัวใจให้ผ่านพ้นจากนาทีวิกฤติได้ทันท่วงที ด้วยบริการรถพยาบาลตลอด 24 ชั่วโมง
• ศูนย์สมองและระบบประสาท (Comprehensive ดูแลรักษาโรคของเด็กทัว่ ไปจนถึงโรคเฉพาะทาง เช่น โรคหัวใจ Neurology Center)
• ศูนย์เด็กและวัยรุ่น (Children & Teens Center)
สมอง ภูมิแพ้ โรคปวดท้องและโรคทางเดินอาหาร พัฒนาการเด็ก ทุกช่วงวัย ทันตกรรม ครอบคลุมทุกวัยโดยกุมารแพทย์เฉพาะทาง สาขาต่าง ๆ ตลอด 24 ชั่วโมง
เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลผู้ป่วย ฉุกเฉินโรคหลอดเลือดสมองด้วยโปรแกรม รักษา Stroke FIGHT 3F ตรวจวินิจฉัย และให้ยารักษาอย่างทันท่วงทีตลอด 24 ชั่วโมง ครอบคลุมตั้งแต่การตรวจอาการ • ศูนย์สุขภาพสตรี (Women – Centered Care) ดูแลรักษาทุกปัญหาของโรคผู้หญิงอย่างครบวงจร ตั้งแต่การ ผิดปกติด้วยเทคโนโลยีรังสีวินิจฉัย อาทิ ฝากครรภ์ ดูแลคุณแม่ตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูง รักษาภาวะมีบุตร การตรวจสมองด้วยคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า MRI Brain ตรวจหลอดเลือด ยาก และการผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวชแบบแผลเล็ก เจ็บน้อย และสมองโดยใช้คลืน่ ความถีส่ งู Carotid Duplex Ultrasounds ไป ฟืน้ ตัวไว รวมทัง้ การตรวจค้นหารอยโรคมะเร็งเต้านมด้วยเครือ่ งดิจติ อล จนถึงการรักษาโรคด้วยการผ่าตัดสมอง โดยทีมแพทย์เฉพาะทาง แมมโมแกรม (Digital Mammogram) ที่สามารถเห็นภาพก้อนเนื้อ อายุรกรรมประสาทและศัลยกรรมสมอง ทีมสหสาขาวิชาชีพด้าน ขนาดเล็กชัดเจนกว่าแบบเดิม เพื่อผลการรักษาดีขึ้น และสามารถ สมอง รวมทัง้ ยังพร้อมด้วยทีมนักกายภาพบ�ำบัดทีจ่ ะช่วยฟืน้ ฟูผปู้ ว่ ย รักษาได้อย่างทันท่วงที พร้อมทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการรักษา ที่มีความผิดปกติของระบบประสาทให้สามารถกลับมาควบคุมและ เคลื่อนไหวร่างกายได้เหมือนเดิม โรคมะเร็งสตรีโดยเฉพาะ ด้วยความมุ่งมั่นพัฒนาคุณภาพการให้บริการทางการแพทย์อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้วันนี้โรงพยาบาลนนทเวช พร้อมก้าวเข้าสู่ปีที่ 33 แห่งการเป็น ‘โรงพยาบาลครอบครัวชั้นน�ำระดับประเทศ ที่สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล’ ด้วยความภาคภูมิใจภายใต้มาตรฐานระดับสากล JCI (Joint Commission International) โดยเน้นถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นส�ำคัญ
5
ศูนย์สมองและระบบประสาท
ตรวจหลอดเลือดด้วย Carotid เทคโนโลยีป้องกัน 3 อาการเปลี่ยนชีวิต!
ปวดหัว! ปากเบี้ยว! แขนขาอ่อนแรง! คือ สัญญาณอันตรายที่ไม่ควรละเลยของโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งเป็น สาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 3 ของคนไทย และพบผู้ป่วยเพิ่ม ขึน้ ปีละกว่าแสนรายเพราะไลฟ์สไตล์ของคนไทยทีเ่ ปลีย่ นไป ท�ำงาน เร่งรีบ เครียด บริโภคอาหารฟาสต์ฟูด อ้วน และขาดการออกก�ำลัง กาย ซึ่งเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมองทั้งนั้น ผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองส่วนใหญ่มกั มีอาการเฉียบพลัน หากถึงมือแพทย์ชา้ ไม่รบี รักษา อาจเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต หรืออันตรายถึงขั้นเสียชีวิต! “โรคหลอดเลือดสมอง” Stroke หรือ อัมพฤกษ์ อัมพาต เกิด จากหลอดเลือดทีไ่ ปเลีย้ งสมองมีการตีบตันหรือแตก โรคหลอดเลือด สมองตีบอาจเกิดจากไขมันไปเกาะผนังหลอดเลือด ลิ่มเลือดเข้าไป อุดตัน หรือเกิดการแข็งตัวของเลือด ท�ำให้สมองขาดเลือดส่งผลให้ เกิดการอาการแขนขาอ่อนแรง เดินเซ ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด ปวดหัว อย่างรุนแรง หากสังเกตเห็นหรือมีอาการดังกล่าว ควรรีบพบแพทย์ 6
ผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจวินิจฉัยและรักษาโดยเร็วที่สุด โดยเฉพาะผู้สูง อายุและผู้ที่เข้าข่ายเสี่ยงเกิดโรคหลอดเลือดสมองเหล่านี้! • โรคเบาหวาน • ภาวะความดันโลหิตสูง • ภาวะไขมันในเลือดสูง • โรคหัวใจ อาทิ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคหลอดเลือดหัวใจ • สูบบุหรี่ คงไม่มีใครอยากให้อาการดังกล่าวเกิดกับตนเองหรือคนใน ครอบครัว ดังนัน้ การตรวจวินจิ ฉัยอาการผิดปกติของโรคหลอดเลือด สมองได้ตั้งแต่ในระยะแรกเริ่ม ถือได้ว่าเป็นหัวใจส�ำคัญในการลด ความรุนแรงของโรคทีอ่ าจน�ำไปสูภ่ าวะทุพลภาพหรือเสียชีวติ ได้ การ ตรวจหลอดเลือดแดงที่คอด้วย Carotid Duplex Ultrasounds เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่โรงพยาบาลนนทเวชน�ำมาช่วยตรวจค้นหา สัญญาณของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองเบื้องต้น เพื่อให้คนไข้ได้ รับการรักษาอย่างทันท่วงที
รวดเร็ว ปลอดภัย ไม่เจ็บปวด
Healthy Living ฉบับนีไ้ ด้รบั เกียรติจากพญ.ชุมพิตา สุทธาภาศ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านอายุรกรรมประสาทวิทยา ศูนย์สมองและ ระบบประสาท ได้อธิบายถึงเทคโนโลยี Carotid Duplex Ultrasounds ว่าเป็นการตรวจหลอดเลือดแดงทีค่ อด้วยคลืน่ เสียงความถี่ สูง เพือ่ ค้นหาความเสีย่ งโรคหลอดเลือดสมองเบือ้ งต้น เพือ่ ดูการไหล เวียนของเลือดทีไ่ ปเลีย้ งสมองว่ามีลมิ่ เลือดอุดตัน และมีคราบหินปูน หรือไขมันเกาะอยูภ่ ายในหลอดเลือดหรือไม่ รวมทัง้ สามารถวัดขนาด ของคราบไขมันได้ เพราะหากมีการหนาตัวมากผิดปกติ หลอดเลือด จะตีบแคบหรืออุดตันเสี่ยงเกิดโรคหลอดเลือดสมองตามมาได้ ซึ่ง การตรวจดังกล่าวไม่มีผลข้างเคียง ปลอดภัย ไม่เจ็บปวด ใช้เวลาใน การตรวจ ประมาณ 20 นาที และผูป้ ว่ ยไม่จำ� เป็นต้องเตรียมตัวใด ๆ ก่อนตรวจ การตรวจนี้ช่วยประเมินผู้ป่วยที่เป็นอัมพาต และวินิจฉัย ติดตามสภาพหลอดเลือดสมองผู้ป่วยขณะอยู่ในห้องผู้ป่วยหนักได้
ทำ�ไมต้องตรวจหลอดเลือดแดงใหญ่ที่คอ
เพราะหลอดเลือดแดงที่คอ เป็นหลอดเลือดส�ำคัญที่น�ำเลือด ออกจากหัวใจขึ้นไปเลี้ยงสมอง ถ้าหากหลอดเลือดที่คอตีบหรืออุด ตัน จะท�ำให้ลิ่มเลือดจากบริเวณที่ตีบและคราบไขมันหลุดไปติด หลอดเลือดในสมอง ท�ำให้เลือดขึ้นไปเลี้ยงสมองได้น้อยหรือไม่ได้ เลย ส่งผลให้เกิดภาวะสมองขาดเลือด
อาการที่อาจเกิดการตีบตันของเส้นเลือด
• ตาดับเพียงส่วนหนึ่งของตา มักจะเป็นข้างเดียวและอาจเป็น เพียงชั่วคราว เพราะลิ่มเลือดไปอุดตัน • เป็นอัมพาตแขน ขา พูดไม่ชัดหรือไม่เป็นค�ำพูด • หน้ามืด เป็นลม ล้มลงโดยไม่มีสาเหตุ อาจจะเป็นอาการของ หลอดเลือดใหญ่บริเวณก้านสมองตีบ
7
ใครควรตรวจหารอยโรคหลอดเลือดสมอง
• ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต เพื่อดูรอยโรคของหลอดเลือดแดงที่ คอ และติดตามผลเป็นระยะ • ผู้ป่วยที่เคยมีอาการสมองขาดเลือดไปเลี้ยงชั่วคราว • ผูป้ ว่ ยทีม่ คี วามผิดปกติหลอดเลือดแดงทีค่ อ ทัง้ รายทีม่ อี าการ และไม่มีอาการของโรคหลอดเลือดสมอง • ผูท้ ตี่ อ้ งเข้ารับการผ่าตัดโรคหลอดเลือดอืน่ ๆ เช่น ตัดต่อหลอด เลือดแดงหัวใจอุดตัน เพื่อตรวจประเมินค่าก่อนผู้ป่วยเข้ารับการ ผ่าตัด • ผู้ที่เคยเป็นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หรือมีคนในครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุของภาวะทุพพลภาพอันดับต้นๆ ดังนัน้ การป้องกันโรคจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญและคุม้ ค่าทีจ่ ะต้องดูแลรักษา สุขภาพตนเองไม่ให้เกิดปัจจัยเสีย่ ง เมือ่ อายุมากขึน้ ควรควบคุมความ ดันและไขมันในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ หากเป็นเบาหวานควร ควบคุมระดับน�้ำตาลให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด ลดอาหารหวาน มัน เค็ม งดสูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ออกก�ำลังกาย สม�ำ่ เสมอ ตรวจสุขภาพประจ�ำปี และหากสังเกตพบอาการของโรค หลอดเลือดสมอง อย่ารอช้า! ควรรีบพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญภายใน 3 ชั่วโมง เพื่อตรวจวินิจฉัยและรักษาโดยเร็วที่สุดเพราะทุกนาทีมีค่า ต่อผลการรักษา
8
ตั้งแตวันนี้ - 31 มกราคม 2557
ตั้งแตวันนี้ - 31 มกราคม 2557
ตั้งแตวันนี้ - 31 มกราคม 2557
การดูแลเท้า ในผู้เป็นเบาหวาน
การป้องกันการเกิดแผลที่เท้า
1. ส�ำรวจเท้าทุกวัน เช่น รอยบวมแดง ผื่นคัน ตุ่มน�ำ้ ใส ขุยขาว การดูแลระวังรักษาเท้าเป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับผู้เป็นเบาหวาน ที่ซอกนิ้วเท้า ตาปลาและสีเล็บ โดยเฉพาะผูส้ งู อายุทเี่ ป็นเบาหวาน เนือ่ งจากมีอตั ราเสีย่ งต่อการเกิด 2. ท�ำความสะอาดเท้า ล้างเท้าให้สะอาดทุกวันด้วยสบู่และน�ำ้ แผลเรือ้ รัง หรือเกิดการติดเชือ้ อย่างรุนแรงมากกว่าคนปกติ ถ้าไม่ได้ ธรรมดาหรือน�ำ้ อุน่ (ไม่ใช้นำ�้ เย็นจัดหรือร้อน) เช็ดเท้ารวมทัง้ ซอกนิว้ รับการรักษาที่ดีพอ อาจลุกลามถึงต้องเสียนิ้วหรือเสียขา สิ่งเหล่านี้ เท้าให้แห้ง อย่าถูแรง สามารถป้องกันได้โดยการเอาใจใส่ส�ำรวจเท้าทุกวัน ถ้าเกิดความ 3. นวดผิวหนังทีข่ าและเท้าด้วยน�ำ้ มันวาสลินหรือโลชัน่ เพือ่ ให้ ผิวหนังนุม่ ป้องกันผิวหนังแห้ง เนือ่ งจากเมือ่ ผิวหนังแห้งจะท�ำให้คนั ผิดปกติควรได้รับการดูแลแพทย์ผู้เชี่ยวชาญตั้งแต่ระยะเริ่มต้น และอาจเกาจนเกิดเป็นแผล แต่ไม่ควรทาบริเวณซอกระหว่างนิว้ เท้า 4. อย่าใช้มีดหรือของมีคมตัดตาปลาหรือหนังด้าน สาเหตุที่ผู้เป็นเบาหวานเกิดแผลที่เท้าง่ายกว่าคนปกติ 1. ผู้ที่เป็นเบาหวานมานาน ส่วนใหญ่พบมีอาการเสื่อมของ 5. ถ้าเท้าชื้นมีเหงื่อออก ต้องเช็ดให้แห้งเสมอ ประสาทส่วนปลายที่ไปเลี้ยงมือและเท้า การรับรู้ความรู้สึกน้อยลง 6. ถ้ามีแผลเล็กน้อย ล้างด้วยน�้ำสะอาด ห้ามใช้ยาฆ่าเชื้อโรค เกิดอาการชาโดยเฉพาะนิว้ เท้า เป็นแผลโดยไม่รตู้ วั หรือกว่าจะสังเกต อย่างแรงหรือทิงเจอร์ไอโอดีน เพราะอาจท�ำให้แผลถลอกเป็น พบแผลก็ลุกลามไปมาก เมื่อประสาทที่เลี้ยงกล้ามเนื้อขาและเท้า มากขึ้น ถ้าแผลใหญ่บวมแดง ต้องรีบปรึกษาแพทย์ 7. การตัดเล็บ ระวังการตัดเล็บเท้า ต้องตัดเล็บในที่สว่างเห็น เสือ่ ม กล้ามเนือ้ จะแฟบลงท�ำให้รปู ร่างของเท้าผิดปกติ นิว้ เท้างอขึน้ เท้ารับน�้ำหนักไม่สม�่ำเสมอ บริเวณที่รับน�้ำหนักมากหรือถูกกดอยู่ ได้ชัดเจน ควรตัดเล็บภายหลังอาบน�้ำ เพราะเล็บจะนุ่มตัดง่ายขึ้น ควรตัดตามแนวของเล็บเท่านั้น ห้ามตัดเล็บลึกถึงจมูกเล็บ เป็นเวลานานจะหนาขึ้นเกิดเป็นตาปลาหรือเป็นแผล 2. การไหลเวียนของโลหิตที่ไปสู่ขาลดลง เนื่องจากผนังหลอด 8. ใส่ถงุ เท้าทีส่ ะอาด และไม่ใช้ถงุ เท้าทีร่ ดั เกินไป เพราะจะท�ำให้ เลือดแดงหนาขึ้น ท�ำให้ขาดออกซิเจน ผิวหนังจะบางลง แผลหาย เลือดไปเลี้ยงเท้าไม่สะดวก ช้า เกิดอาการปวดน่องเวลาเดิน ถ้าเป็นมากจนหลอดเลือดอุดตัน 9. รองเท้า รองเท้าต้องนุ่ม ใส่สบาย ระวังถ้าใส่รองเท้าคู่ใหม่ เนือ้ เยือ่ ส่วนปลายจะตายมีสคี ล�ำ้ ด�ำขึน้ จนต้องตัดนิว้ หรือนิว้ แห้งด�ำ ไม่ควรเดินเกินครัง้ ละ 1/2-1 ชัว่ โมง ควรมีรองเท้า 2-3 คูท่ เี่ หมาะสม ไว้สับเปลี่ยน หลุดไปได้ 3. ผู้ป่วยที่มีระดับน�้ำตาลในโลหิตสูงอยู่นาน จะเกิดการติดเชื้อ 10. ปกป้องเท้า ไม่เดินเท้าเปล่า และควรสวมรองเท้านุ่ม ๆ ได้ง่ายโดยเฉพาะเชื้อราที่ผิวหนังระหว่างนิ้วเท้าท�ำให้ผิวหนังถลอก ขณะอยู่ในบ้าน โดยพื้นรองเท้าควรท�ำด้วยวัสดุกันลื่น 11. อย่าวางกระเป๋าน�้ำร้อนหรือน�้ำอุ่นที่เท้า ถ้าเท้าเย็นเวลา มีแผลเกิดขึ้น อาจจะมีเชื้อโรคที่รุนแรงเกิดขึ้นตามมา นอนให้ใส่ถุงเท้า แต่ควรเป็นถุงเท้าที่ไม่รัด 12. อย่านั่งไขว้ขวา เพราะจะกดเส้นเลือดท�ำให้โลหิตไป เลี้ยงเท้าไม่สะดวก 13. บริหารเท้า เพื่อให้มีการไหลเวียนของโลหิตไปสู่เท้าดีขึ้น 14. ควบคุมเบาหวานให้ดี รักษาระดับน�้ำตาลให้อยู่ระหว่าง 90-130 มก./ดล. 15. มีปัญหาให้ปรึกษาแพทย์
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์เบาหวาน โรงพยาบาลนนทเวช
โทร.0-2596-7888 10
แผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน เกิดจากสาเหตุอะไร และจะตรวจพบได้อย่างไรในระยะเริ่มต้น แผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวานมักเกิดขึ้นจากรูปเท้าที่ผิดปกติเป็น เบือ้ งต้น ร่วมกับโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบหรือตัน ซึง่ พบมากกว่า คนปกติถึง 5 เท่า อีกทั้งอาจมีอาการชาของปลายเท้า เนื่องจาก เส้นประสาทเสือ่ มจากโรคเบาหวาน ดังนัน้ เมือ่ เกิดแผลทีเ่ ท้าก็จะหายยากมาก และอาจลุกลามมากขึน้ และถ้าโดนซ�ำ้ เติมด้วยโรคติดเชือ้ ก็อาจจะเป็น อันตรายถึงขั้นสูญเสียเท้า สูญเสียขา หรือ สูญเสียชีวิตได้ การตรวจพบแผลเท้าเบาหวานในระยะเริ่มต้น จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น เพือ่ ป้องกันภาวะอันตรายดังกล่าว จึงควรพบแพทย์เพือ่ ตรวจคล�ำชีพจร ทีข่ า และตรวจคัดกรองภาวะหลอดเลือดแดงตีบ ด้วยวิธี Ankle-Brachial Index(ABI) ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายและช่วยในการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดแดง ส่วนปลายตีบหรือตัน โดยผูเ้ ป็นเบาหวานควรได้รบั การตรวจ ABI ปีละ 1 ครั้ง แผลเท้าเบาหวาน ทีเ่ กิดจากโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบหรือตัน สามารถรักษาได้ดว้ ยวิธที งั้ ไม่ผา่ ตัด และผ่าตัดโดยการขยายหลอดเลือด ด้วยบอลลูน หรือ ใส่ Stent( Endovascular Surgery )
ศ.นพ.โ ส ภณ จิ ร สิ ร ธ ิ รรม ศัลยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านหลอดเลือดและปลูกถ่ายไต
คลินิกศัลยกรรมและหลอดเลือด (Vascular Surgery Clinic) ประวัติการศึกษา และประวัติการท�ำงาน • ส�ำเร็จการศึกษา แพทยศาสตรบัณฑิต(เกียรตินยิ ม) คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • ผ่านการฝึกอบรมเป็นศัลยแพทย์หลอดเลือด (Vascular Surgery) และเปลี่ยนไต (Kidney Transplantation) จากมหาวิทยาลัยลอนดอน (University of London) และมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ แห่งสหราชอาณาจักร (University of Cambridge) • ได้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดล ไปศึกษาต่อสาขาวิชา Vascular Surgery ที่สหราชอาณาจักร • ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งประธานคณะกรรมการส่งเสริมการบริจาค อวัยวะ โรงพยาบาลรามาธิบดี • อดีตนายกสมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย และนายกสมาคม ปลูกถ่ายอวัยวะแห่งเอเซีย • อดีตนายกสมาคมศัลยแพทย์หลอดเลือดแห่งประเทศไทย และ นายกสมาคมศัลยแพทย์หลอดเลือดแห่งเอเซีย • อดีตประธานโครงการปลูกถ่ายไต คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
• อดีตหัวหน้าสาขาวิชาศัลยศาสตร์หลอดเลือดและปลูกถ่ายอวัยวะ ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • อดีตประธานจัดงานประชุมราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย ในปี 2555 และ ปี 2556 ความเชี่ยวชาญพิเศษ ศัลยกรรมศาสตร์หลอดเลือดและศัลยศาสตร์ปลูกถ่ายไต ประสบการณ์ • มีประสบการณ์ผ่าตัดหลอดเลือดทั้งแบบ Open Surgery และ Endovascular Surgery มากกว่า 20 ปี • มีประสบการณ์ปลูกถ่ายไต มากกว่า 1,000 ราย มาเกินกว่า 30 ปี ตารางปฏิบัติงาน วันพุธ 13.00 - 15.00 น. ติดต่อนัดหมายแพทย์ได้ที่ คลินิกศัลยกรรมและหลอดเลือด (VASCULAR SURGERY CLINIC) โทร. 0 -2596-7888 ต่อ 2139, 2145 11
12
ตารางแพทย์ออกตรวจ
คลินิกประสาทวิทยาและ โรคหลอดเลือดสมอง (Neurology and Stroke Clinic) คลินิกโรคสมองเสื่อม (Memory Disorders Clinic) คลินิกโรคปวดศีรษะ (Headache Clinic) คลินิกโรคลมชัก (Epilepsy Clinic) คลินิกโรคการเคลื่อนไหวผิดปกติและ โรคพาร์กินสัน (Movement Disorder and Parkinson Clinic) คลินิกเนื้องอกสมองและไขสันหลัง (Brain Tumors and Spine Tumor Clinic) คลินิกบาดเจ็บสมองและไขสันหลัง (Head injury and Spine injury Clinic) คลินิกศัลยกรรมระบบประสาท (Neurosurgery Clinic) คลินิกศัลยกรรมระบบประสาทเด็ก (Child Neurology Clinic)
คลินิก(Clinics)
จันทร์ 09.00-16.00 น. พุธ 08.00-20.00 น. พฤหัสบดี 09.00-15.00 น. ศุกร์,อาทิตย์ 08.00-16.00 น.
นพ.วรพจน์ เหล่าวิทวัส
อังคาร 08.00-17.00 น. พุธ 12.00-18.00 น. พฤหัสบดี, ศุกร์,เสาร์ 09.00-17.00 น.
พญ.พัชราพร วรรณกิตติ
จันทร์ 08.00-17.00 น. อังคาร 09.00-17.00 น. พุธ 09.00-12.00 น. พฤหัสบดี 08.00-17.00 น. ศุกร์ 08.00-12.00 น. อาทิตย์ 13.00-17.00 น.
พญ.ชุมพิตา สุทธาภาส
นพ.สิริชัย ศ.นพ.ก้องเกียรติ นพ.อัครวุฒิ กิตติชาญธีระ กูณฑ์กนั ทรากร วิริยเวชกุล
จันทร์ 17.00-20.00 น. พฤหัสบดี 17.00-20.00 น. เสาร์ สัปดาห์ท1ี่ ,3 และ 4 ของเดือน 08.00-17.00 น. อาทิตย์ สัปดาห์ที่ 3 ของเดือน 13.00-17.00 น.
อังคาร,พุธ,ศุกร์ อาทิตย์ จันทร์,พฤหัสบดี 17.00-20.00น. 08.00-12.00 น. 17.00-20.00 น. เสาร์ 09.00-17.00 น.
อายุรแพทย์ระบบประสาท
นพ.พลสันต์ เรืองคณะ
นพ.สุรศักดิ์ โกมลจันทร์
อังคาร ศุกร์ 09.00-14.00 น. 17.00-20.00 น. ศุกร์ 16.00-18.00 น. เสาร์ 09.00-12.00 น.
พญ.สิรารัตน์ โมรรัตน์
พฤหัสบดี 17.00-20.00 น. เสาร์ 13.00-15.00 น.
ศัลยแพทย์ ระบบประสาท
นพ.วิรุณพร พรหมพงศา
แนะนำ�คุณหมอ
ศูนย์สมองและระบบประสาท
(COMPREHENSIVE NEUROLOGY CENTER) วารสาร Healthy Living ฉบับนี้ ขอแนะน�าให้รู้จักกับทีมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง ประจ�าศูนย์สมองและระบบประสาททีม่ ากด้วยประสบการณ์ดา้ นระบบประสาทและสมอง พร้อมดูแลผู้ป่วยอย่างรอบด้านและทันท่วงที
นพ.วรพจน์ เหล่าวิทวัส
พญ.พัชราพร วรรณกิตติ
พญ.ชุมพิตา สุทธาภาศ
ประวัติการศึกษา แพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล ความเชี่ยวชาญพิเศษ • การรักษาโรคหมอนรองกระดูกเสือ่ มโดย ไม่ผ่าตัด • โรคหลอดเลือดสมอง วุฒิบัตร วุฒบิ ตั รแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญอายุรศาสตร์สาขา ประสาทวิทยา โรงพยาบาลศิรริ าช มหาวิทยาลัย มหิดล
ประวัติการศึกษา แพทยศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) วุฒิบัตร • วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความช�านาญสาขา ประสาทวิทยา สถาบันประสาทวิทยา • วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความช�านาญสาขา อายุรศาสตร์ โรงพยาบาลราชวิถี
ประวัติการศึกษา แพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ความเชี่ยวชาญพิเศษ โรคหลอดเลือดสมอง วุฒิบัตร • วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความช�านาญสาขา ประสาทวิทยา สถาบันประสาทวิทยา • ประกาศนียบัตรอนุสาขาโรคหลอดเลือด สมอง และการตรวจด้ ว ยคลื่ น ความถี่ สู ง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
อายุรแพทย์ระบบประสาท
อายุรแพทย์ระบบประสาท
อายุรแพทย์ระบบประสาท
13
นพ.พลสันต์ เรืองคณะ
นพ.สิริชัย กิตติชาญธีระ
ศ.นพ.กอ้ งเกยี รติ กูณฑ์กนั ทรากร
ประวัติการศึกษา แพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วุฒิบัตร วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความช�านาญสาขา ประสาทวิทยา โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ประวัติการศึกษา แพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกียรตินยิ ม อันดับสอง) ความเชี่ยวชาญพิเศษ ภาวะหลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลัน, ปวดศีรษะ วุฒิบัตร วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความช�านาญสาขา ประสาทวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี
ความเชี่ยวชาญพิเศษ อาการปวด, ประสาทวิทยาผู้สูงอายุ ประวัติการศึกษา แพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล วุฒิบัตร • วุฒิบัตรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สาขาประสาทวิทยา • American Board of Psychiatry and Neurology
อายุรแพทย์ระบบประสาท
อายุรแพทย์ระบบประสาท
อายุรแพทย์ระบบประสาท
นพ.อัครวุฒิ วิริยเวชกุล
พญ.สิรารัตน์ โมรรัต
นพ.วิรุณพร พรหมพงศา
ประวัติการศึกษา • M.D. University of the East Ramon Magsaysay • Memorial Medicine Center, Philippines วุฒิบัตร • วุฒิบัตรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ด้านประสาทวิทยา • Research Assistant, The Walton Centre for Neurology and Neurosurgery, UK.
ประวัติการศึกษา แพทย์ศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ความเชี่ยวชาญพิเศษ ปวดศีรษะ, ลมชัก, เคลื่อนไหวผิดปกติ วุฒิบัตร • วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความช�านาญสาขา ประสาทวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล • อนุมตั บิ ตั รผูม้ คี วามรูค้ วามช�านาญสาขา เวชศาสตร์ครอบครัว • Fellowship in Pediatric EEG, Children’s Neuroscience Centre RCH, Australia
ประวัติการศึกษา แพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล วุฒิบัตร • วุฒิบัตรแพทย์ผู้มีความรู้ความช�านาญ สาขาประสาทศัลยศาสตร์วิทยา • ประกาศนียบัตรขั้นสูงทางคลีนิคสาขา ศัลยศาสตร์
อายุรแพทย์ระบบประสาท
14
อายุรแพทย์ระบบประสาท
ศัลยแพทย์ระบบประสาท
บันทึกประทับใจ
15
‘โครงค�้ายันขยายหลอดเลือด’ ทางเลือกใหม่รักษาโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดหัวใจ และแนวทางรักษาโรค
16
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลนนทเวช โทร.0-2596-7888 17
รอบรั้วนนทเวช
รู้ทัน โรคหลอดเลือดสมอง... ลดเสี่ยง เลี่ยงได้
โรงพยาบาลนนทเวช จัดสัมมนา “รู้ทัน โรค หลอดเลือดสมอง...ลดเสี่ยง เลี่ยงได้” โดยมีแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญโรคต่อมไร้ท่อร่วมให้ความรู้ในหัวข้อ “เบาหวาน...ทางสู่ Stroke” และ “การดูแลหัวใจ... ห่างไกล Stroke” โดย นพ.เรย์ ศรีรตั นา ทาบูกานอน แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจ พร้อมพบค�ำตอบของ “Stroke Fight 3F” ในการรักษาอาการของโรค หลอดเลือดสมอง ภัยมืดใกล้ตัวอย่างทันท่วงที ครอบคลุม และเชีย่ วชาญ โดย พญ.ชุมพิตา สุทธาภาส
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบประสาทวิทยา รวมทัง้ บริการเจาะน�ำ้ ตาลปลายนิว้ และประเมิน ความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง โดยไม่เสียค่า ใช้จ่าย ณ ห้องประชุม ชั้น 6
นนทเวชร่วมดูแลสุขภาพ ตำ�รวจไทย
โรงพยาบาลนนทเวช จัดกิจกรรมเพื่อสังคมใน โครงการ “ตรวจสุขภาพเจ้าหน้าที่ต�ำรวจและอาสา จราจรสถานีตำ� รวจภูธรเมืองนนทบุร”ี โดยให้บริการ ตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ของงาน อาทิ ตรวจสมรรถภาพปอด การมองเห็นและการได้ยิน ตรวจหาสารตะกั่วในเลือด เอกซเรย์ทรวงอก พร้อม รับค�ำแนะน�ำการดูแลสุขภาพตนเอง จากแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญ โดยมี พ.ต.ท.ยิ่งยศ สุวรรณโณ รอง.ผกก. จร.สภ.เมืองนนทบุรี ให้การต้อนรับ ณ ศูนย์ปฏิบัติ การจราจรและอุบัติเหตุทางถนน สถานีต�ำรวจภูธร เมืองนนทบุรี
18
โรงพยาบาลนนทเวช จัดงาน กว่าจะได้เป็น “แม่”
ผ่านพ้นไปแล้วกับงานอันสุดแสนประทับใจเพื่อให้ผู้หญิงยุคใหม่ได้สัมผัส ประสบการณ์แห่งรักจากแม่สู่ลูก ภายในงานมีแพทย์ผู้เชี่ยวชาญร่วมให้ความรู้เกี่ยว กับเรื่อง “ตั้งครรภ์ปลอดภัย...แม้วัย 35+” และ “เคล็ด(ไม่) ลับคุณแม่สุขภาพดีทุก ช่วงวัย” รวมทัง้ การเสวนา “กว่าจะได้เป็นแม่” โดย นพ.ประทีป หาญอิทธิกลุ แพทย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการผ่าตัดผ่านกล้องทางนรีเวชและมีบุตรยาก พร้อมแขกรับเชิญ 2 ครอบครัวร่วมถ่ายทอดประสบการณ์สดุ ประทับใจ พร้อมการแสดงของ “น้องแตงโม” หนูน้อยจากครอบครัวที่ประสบความส�ำเร็จในการรักษาภาวะมีบุตรยาก รวมทั้ง เวิร์คชอปแต่งหน้าและประดิษฐ์การ์ดบอกรักแม่ บริเวณโถงด้านหน้า ชั้น 1
5 สัมผัส สร้างลูกฉลาด ตั้งแต่ในครรภ์
โรงพยาบาลนนทเวช ร่วมกับ S – 26 MOM จัดกิจกรรมเอาใจคุณแม่ตั้งครรภ์ ภายใต้ชื่อ “5 สัมผัส สร้างลูกฉลาดตั้งแต่ในครรภ์” โดย ได้รับเกียรติจาก พญ.วัลย์วิสา ธารฑ์ไพรสาณฑ์ สูตนิ รีแพทย์ ร่วมให้ความรูเ้ รือ่ ง “การดูแลตัวเอง ระหว่างตั้งครรภ์” และเรื่อง “การดูแลทารก แรกเกิด” โดย พญ.วนิดา ตั้งวงษ์สุจริต กุมาร แพทย์ทารกแรกเกิด ปิดท้ายกับโยคะสนุก ๆ ให้ คุณแม่ตงั้ ครรภ์ได้ยดื เส้นยืดสาย ณ ห้องประชุม ชั้น 6 19
20
‘มะเขือเทศ’ ผักมหัศจรรย์ ต้านอนุมูลอิสระ สกัดโรคร้าย ถ้าพูดถึงผักทีม่ คี ณ ุ ประโยชน์ตอ่ สุขภาพ มะเขือเทศ จัดเป็นหนึง่ ในนัน้ เพราะประกอบด้วยวิตามินซี และเส้นใยจ�านวนมาก โดยมีผลการวิจยั จาก หลายประเทศทีร่ ะบุวา่ มะเขือเทศประกอบด้วยสารอาหารทีส่ า� คัญมาก เรียกว่า ไลโคปีน ซึง่ เป็นสารต้านอนุมลู อิสระ ท�าให้มสี ว่ นในการป้องกันการ เสือ่ มของเซลล์ในร่างกาย อันเป็นต้นเหตุของโรค เช่น โรคมะเร็งต่างๆ โรค หลอดเลือด หัวใจตีบตัน ต้อกระจก ข้อเสือ่ ม เป็นต้น โดยเฉพาะมะเขือเทศ ที่ผ่านการปรุงให้สุกแล้ว เป็นแหล่งที่ให้สารไลโคปีนอย่างดี ซึ่งคอลัมน์ Healthy Dining ฉบับนีม้ สี ตู รอร่อยจากมะเขือเทศมาฝากค่ะ
ซุปมะเขือเทศ สิ่งที่ต้องเตรียม (ส�ำหรับ 4 ที่)
น�า้ มันมะกอก 2 ช้อนชา กระเทียมสับละเอียด 1 ช้อนชา หอมหัวใหญ่สบั ละเอียด 300 กรัม เฟนเนลสับละเอียด 300 กรัม มะเขือเทศหัน่ สีส่ ว่ น 1,000 กรัม น�า้ ซุปผัก 750 มิลลิลติ ร ขนมปังกรูตองท์สา� หรับรับประทานคูก่ นั
วิธีท�ำ
• อุน่ น�า้ มันมะกอกในกระทะจนร้อน ใส่กระเทียม หอมหัวใหญ่ และ เฟนเนล ลงผัดจนส่วนผสมสุกนุม่ • เติมมะเขือเทศ และน�า้ ซุปผัก คนให้เข้ากัน รอจนกระทัง่ สุก ยกลง จากเตา พักไว้ประมาณ 15 นาที หรือกระทัง่ ส่วนผสมอุน่ • เทส่วนผสมซอสมะเขือเทศลงในเครือ่ งปัน่ ปัน่ จนส่วนผสมทัง้ หมด ละเอียดเป็นเนือ้ เดียวกัน น�าไปอุน่ อีกครัง้ ก่อนเสิรฟ์ ตักใส่ภาชนะส�าหรับ เสิรฟ์ รับประทานกับขนมปังกรูตองท์
คุณค่ำโภชนำกำรต่อ 1 ที่:
พลังงาน 141 แคลอรี ไขมัน 4.3 กรัม โปรตีน 7.5 กรัม คาร์โบไฮเดรต 17.3 กรัม ไฟเบอร์ 5.9 กรัม
21
22