(ร่าง)คู่มือ ID PLAN ของครูสายงานการสอน สังกัดสอศ.

Page 1


คํานํา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีว ศึกษา โดยสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีว ศึกษา ไดจัดทําคูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID PLAN) ของครู ส ายงานการสอน เพื่ อ ใช เ ป น แนวทางในการดํ า เนิ น งานเกี่ ย วกั บ การประเมิ น ตนเอง พรอมทั้งการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลเปนรายปของครูสายงานการสอน ใหแกผูบริหารสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา สํานักที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ผูบริหาร สถานศึ กษา ครู และบุ คลากรอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อง ให เป น ไปในทิ ศทางเดี ย วกั น และใหเ กิ ดการดํ าเนิ น งาน ที่เชื่อมโยงกันอยางเปนระบบและตอเนื่อง สําหรับคูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลของครูสายงานการสอน จะมี การอธิ บ ายรายละเอี ย ดการดํ า เนิ น งานเกี่ย วกับ การประเมิน ตนเองและการจั ดทําแผนพัฒ นาตนเอง รายบุคคล พรอมยกตัว อยางประกอบ และมี แบบฟอร มตลอดจนคําอธิบ ายการกรอกแบบฟอรม เพื่อให ผูปฏิบัติสามารถนําไปปฏิบัติตามขั้นตอนตาง ๆ ได สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา หวังเปนอยางยิ่งวาผูบริหารสถานศึกษา ครู และ บุคลากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของจะมีความรู ความเขาใจ และใชคูมือดังกลาวประกอบใชเปนแนวทางในการประเมินตนเอง พรอมทั้งจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายปของครูสายงานการสอน ตามบทบาทหนาที่ที่รับผิดชอบและที่เกี่ยวของ

สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา มีนาคม 2561


สารบัญ คํานํา

สารบัญ

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

บทที่ 1 บทนํา

1-1

1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 วัตถุประสงค 1.3 เปาหมาย 1.4 บทบาทของหนวยงานที่เกี่ยวของ

1-1 1-1 1-1 1-2

บทที่ 2 กรอบแนวคิดเกี่ยวกับแผนพัฒนารายบุคคล

2-1

2.1 ความหมายของแผนพัฒนารายบุคคล 2.2 กรอบแนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะ 2.3 แนวทางในการประเมินสมรรถนะ 2.4 มาตรฐานตําแหนงและมาตรฐานวิทยฐานะของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 2.5 คุณลักษณะที่คาดหวัง 2.6 รูปแบบวิธีการพัฒนาบุคลากรในการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล

2-1 2-2 2-5 2-6 2-13 2-13

บทที่ 3 การประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

3-1

3.1 ขั้นตอนและแนวทางในการประเมินตนเอง 3.2 ขั้นตอนและแนวทางการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลของครูสายงานสอน สังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา 3.3 การนําเสนอผลการประเมินตนเองและแผนการพัฒนาตนเองตอผูบริหารสถานศึกษา

3-1 3-6 3-8

บทที่ 4 แนวทางการขับเคลื่อนการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 4-1 4.1 การสรางการรับรู 4.2 การจัดทําแผนพัฒนาครูสายงานการสอนของสถานศึกษา 4.3 การติดตาม ประเมินผล และรายงานผล 4.4 การกําหนดปฏิทินการดําเนินการ

4-1 4-2 4-2 4-3


สารบัญ (ตอ) ภาคผนวก ภาคผนวก ก รายละเอียดการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติหนาที่ของครูสายงานการสอน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาคผนวก ข แบบประเมินตนเองและแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาคผนวก ค ตัวอยางการกรอกขอมูลในแบบประเมินตัวเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ภาคผนวก ง การปรับปรุงมาตรฐานตําแหนงและมาตรฐานวิทยฐานะของขาราชการครู และ บุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน (ว 20 ลว 5 กรกฎาคม 2560) ภาคผนวก จ หลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ (ว 21 ลว 5 กรกฎาคม 2560 ) ภาคผนวก ฉ หลักเกณฑและวิธีการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน (ว 22 ลว 5 กรกฎาคม 2560 ) บรรณานุกรม

ผ-1 ผ-29 ผ-85 ผ-104 ผ-119 ผ-147


บทสรุปสําหรับผูบริหาร สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา จัดทําคูมือการประเมินตนเอง และการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID PLAN) ของครู ส ายงานการสอน สั ง กั ด สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา เพื่ อ ใช เป น แนวทาง ในการดํ า เนิ น งานเกี่ย วกับ การประเมิ น ตนเองพรอมทั้งการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุ คคล (ID PLAN) เปนรายปของครูสายงานการสอน ใหแกผูบริหารสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สํานักที่รับผิดชอบ เกี่ยวกับการพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของให เปนไปในทิศทางเดียวกันและใหเกิดการดําเนินงานที่เชื่อมโยงกันอยางเปนทั้งระบบและตอเนื่องกัน สํ านั กพั ฒนาสมรรถนะครู และบุ คลากรอาชี วศึ กษา ได รวบรวมความคิ ดเห็ นและข อสรุ ปจาก คณะกรรมการกํ าหนดกรอบสมรรถนะครู อาชี ว ศึ กษา และคณะกรรมการจั ดทํ าคู มื อการประเมิ น ตนเอง และการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล มาศึกษา วิเคราะห เรียบเรียง และจัดทําเปนรูปเลมคูมือการประเมิน ตนเอง และการจั ดทํ าแผนพั ฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สั งกัดสํานั กงาน คณะกรรมการการอาชี วศึ กษา ซึ่งไดอธิบ ายรายละเอียดการดําเนิน งานเกี่ยวกับ การประเมิน ตนเองพรอม ยกตัวอยางประกอบและมีแบบฟอรมในการจัดทําตลอดจนคําอธิบายการกรอกแบบฟอรม เพื่อใหผูปฏิบัติ สามารถนําไปปฏิบัติตามขั้นตอนตาง ๆ ได โดยมีเนื้อหา สาระสําคัญ แบงเปน 4 บท และภาคผนวก ดังตอไปนี้ บทที่ 1 ประกอบด วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค เปาหมาย และบทบาทของหนวยงานที่ เกี่ยวของ บทที่ 2 กรอบแนวคิ ดเกี่ ย วกั บ แผนพั ฒ นาตนเองรายบุ คคล ประกอบด ว ย ความหมายของ แผนพัฒนารายบุคคล กรอบแนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะ แนวทางในการประเมินสมรรถนะ มาตรฐานตําแหนง และมาตรฐานวิทยฐานะของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา คุ ณ ลั ก ษณะที่ ค าดหวั ง และรู ป แบบ วิธีการพัฒนาบุคลากรในการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล บทที่ 3 การประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสาย งานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประกอบดวย ขั้นตอนและแนวทางการประเมิน ตนเอง ขั้นตอนและแนวทางการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลของครูสายงานสอน และการนําเสนอผล การประเมินตนเองและแผนการพัฒนาตนเองตอผูบริหารสถานศึกษา บทที่ 4 แนวทางการขั บเคลื่ อนการประเมินตนเอง และการจั ดทํ าแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประกอบดวย การสรางการรับรู การจัดทําแผนพัฒนาครูสายงานการสอนของสถานศึกษา การติดตาม ประเมินผล และรายงานผล และการกําหนด ปฏิทินการดําเนินการ ภาคผนวก ประกอบด วย เนื้ อหาสาระ และเอกสารอางอิงที่คาดวาจะเปนประโยชนและแนวทาง ในการศึ กษารายละเอี ยดเพิ่ มเติ มที่ เกี่ ยวกั บการประเมิ นสมรรถนะการปฏิ บัติ หน าที่ ของครู สายงานการสอน สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา แบบประเมิ น สมรรถนะในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข องครู ส ายงาน การสอน สั งกั ด สํ า นั กงานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ กษา ตั ว อย างการกรอกข อมู ลในแบบประเมิ นตั วเอง และแผนพั ฒนาตนเองรายบุ คคล (ID PLAN) และรายละเอี ย ดของ ว 20 ลว 5 กรกฎาคม 2560 ว 21 ลว 5 กรกฎาคม 2560 และ ว 22 ลว 5 กรกฎาคม 2560 คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


จ แนวทางการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครู สายงานการสอน (ครูผูสอนที่ทําหนาที่สอนทุกคน) สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีขั้นตอน สรุปดังนี้

1. สรางความรูความเขาใจในการดําเนินการ

ใหสถานศึกษาแตงตั้งคณะกรรมการเพื่อดําเนินการประเมินฯ และดําเนินการสรางความรู ความเขาใจแกครูทุกคน และผูที่เกี่ยวของ พรอมทั้งใหคําแนะนําในการดําเนินการจนบรรลุเปาหมายของการ ประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอนทุกคน 2. การประเมินตนเองและจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุ คคลของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ครูผูสอนที่ทําหนาที่สอนทุกคนดําเนินการประเมินตนเองตามแบบฟอรมที่ สอศ. กําหนด โดยทําการประเมินสมรรถนะ 3 ดาน 13 ตัวชี้วัด หลังจากครูผูสอนที่ทําหนาที่สอนทุกคนดําเนินการประเมินตนเองแลวใหจัดทําแผนพัฒนา ตนเองรายบุคคล (ID PLAN) เปนรายปตามแบบที่ สอศ. กําหนดพรอมแนบเอกสาร เสนอตอผูบังคับบัญชา ตามลําดับขั้น เมื่อผูบริหารสถานศึกษาพิจารณาเห็นชอบ ครูดําเนินการบันทึกความตองการพัฒนาตนเองใน ระบบฐานขอมูลของสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา (สสอ.) หลังจากที่ครูในสถานศึกษาไดนําเสนอผูบริหารสถานศึกษาในการจัดทําการประเมินตนเอง และแผนพั ฒ นาตนเองรายบุ คคลเองเรี ย บรอยแลว ผูบ ริห ารสถานศึก ษาควรดําเนิน การศึกษา วิเคราะห พิจารณาจัดทําแผนการพัฒนาครูของสถานศึกษา แลวดําเนินการสงเสริม สนับสนุน ใหครูไดรับการพัฒนา ใหเปนไปตามแผนที่กําหนดพรอมทั้งติดตามผลการพัฒนา กรณี ที่ตองขอสนับ สนุ นการพัฒ นาครูจ ากหนวยงานในระดับอาชีวศึกษาจังหวัด สถาบัน การอาชีวศึกษา และสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ใหสถานศึกษาแจงไปยังหนวยงาน ที่ขอสนับสนุนการพัฒนาดวย เพื่อใหอาชีวศึกษาจังหวัด สถาบันการอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครู และบุคลากรอาชีวศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นําไปดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของ 3. ครูดําเนินการพัฒนาตนเองตามแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ครูดําเนินการพัฒนาตนเองตามแผนพัฒนาบุคคลของสถานศึกษา ตามแนวทางดังนี้ 3.1 กรณีที่ยื่น เพื่ อขอมี และเลื่อนวิทยฐานะ ครูเขารับ การพัฒนาในหลักสูตรที่สถาบันคุรุ พัฒนารับรอง (ตามเกณฑที่ ก.ค.ศ. กําหนด ตาม ว.22/2560) ซึ่งจะสอดคลองกับแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) 3.2 กรณีที่ไม ได ยื่นเพื่ อขอมีและเลื่อนวิทยฐานะ ครูดําเนินการพัฒนาตนเองรูปแบบตาง ๆ ตามที่กําหนดในแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) 4. การติดตาม ประเมินผล และรายงานผล หลังจากที่ครูไดรบการพัฒนาตนเองตามแผนพัฒนาบุคลากรสถานศึกษาแลว ใหรายงานผลการ พัฒนาใหผูบริหารสถานศึกษาทราบและใหการรับรอง กอนทําการบันทึกขอมูล ดังนี้ คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


ฉ 4.1 ครูที่นําไปใชเปนคุณสมบัติเพื่อขอมีและเลื่อนวิทยฐานะ ดําเนินการบันทึกขอมูลการพัฒนาฯ ในแฟมประวัติสะสมผลงาน (Portfolio) บันทึกลง Logbook และบันทึกในระบบฐานขอมูลของ สสอ. 4.2 ครู ที่ไ ม ได นํ า ไปใช เ ป น คุ ณ สมบั ติ เพื่ อ ขอมี และเลื่ อ นวิท ยฐานะ ดํ าเนิ น การบัน ทึ กข อ มู ล การพัฒนาฯ ในแฟมประวัติสะสมผลงาน (Portfolio) และบันทึกในระบบฐานขอมูลของ สสอ. สสอ. จะทํา การติ ดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดําเนิน การการประเมิน ตนเองและ การจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัด สอศ. ให สอศ. ทราบ เพื่อ ติดตามความกาวหนาในการดําเนินงาน ผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนิน งาน ปญ หาอุป สรรคที่เกิดขึ้น แลวนํา ผลสรุปไปใชในการพัฒนา และปรุงปรุงการดําเนินการตอไป โดยกําหนดประเด็นในการติดตาม ประเมิน และ รายงานผล ดังนี้ 1. ความรู ความเขา ใจ และการดําเนิน การประเมิน ตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเอง รายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน ระดับสถานศึกษา 2. ขอมูลความตองการพัฒนาของครู (Training Need ) ในระดับสถานศึกษาและในภาพรวม ทั้งหมดของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 3. การนําผลการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครู สายงานการสอน ไปใชประโยชนในระดับสถานศึกษา อาชีวศึกษาจังหวัด สถาบันการอาชีวศึกษา สํานักพัฒนา สมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 4. การไดรับการพัฒนาตามแผนพัฒนาตนเองของครู 5. ปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะ สรุปเปนแผนผังขั้นตอนแนวทางทางการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครู ส ายงานการสอน (ครู ผู ส อนที่ ทํ า หน า ที่ ส อนทุ ก คน) สั ง กั ด สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ไดดังนี้

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


1-1

1.1 หลักการและเหตุผล

บทที่ 1 บทนํา

สํา นั กงาน ก.ค.ศ. กระทรวงศึกษาธิการ กําหนดหลักเกณฑและวิธีการพัฒ นาขาราชการครู และบุคลากรทางการศึ กษา สายงานการสอน เพื่อใหการพัฒ นาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เปนไปอยางมีระบบ มีความตอเนื่อง โดยใหประเมินตนเองตามแบบที่ ก.ค.ศ. กําหนด พรอมจัดทําแผนการ พั ฒ นาตนเองเป น รายป ตามแบบที่ ส ว นราชการกํ าหนด และเขา รับ การพัฒ นาตามแผนอยา งเปน ระบบ และตอเนื่อง สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ในฐานะที่เปนหนวยงานในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีว ศึ กษา กระทรวงศึกษาธิการ มีบ ทบาทหนาที่สําคัญ ในการสงเสริมและพัฒนาครู และบุคลากรอาชีวศึกษาใหมีความเปนเลิศมั่นคงกาวหนาในวิชาชีพ ตลอดจนพัฒนาขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาใหเปนไปตามหลักเกณฑ และวิธีการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พรอมทั้ง หลักเกณฑ และวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ ตามที่ ก.ค.ศ.กํ า หนด จึ ง ได จั ด ทํ า คู มื อ การประเมิ น ตนเองและการจั ด ทํ า แผนพั ฒ นาตนเองรายบุ ค คล (Individual Development Plan : ID PLAN) ของครู ส ายงานการสอน สั ง กั ด สํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา เพื่อใหผูที่มีสวนเกี่ยวของนําไปใชเปนแนวทางในการดําเนินงานตอไป

1.2 วัตถุประสงค เพื่อใชเปนแนวทางในการดําเนินงานเกี่ยวกับการประเมินตนเองพรอมทั้งการจัดทําแผนพัฒนา ตนเองรายบุคคล (ID PLAN) เป น รายป ของครูส ายงานการสอน ให แกผูบ ริห ารสํานัก งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา สํานักที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ผูบริหารสถานศึกษา ครู และบุ ค ลากรอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ ง ให เ ป น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น และให เ กิ ด การดํ า เนิ น งานที่ เ ชื่ อ มโยงกั น อยางเปนทั้งระบบและตอเนื่องกัน

1.3 เปาหมาย ผู บ ริ ห ารสํ า นั กงานคณะกรรมการการอาชีว ศึ กษา สํานักที่รับ ผิดชอบเกี่ย วกับ การพัฒ นาครู และบุ คลากรอาชีว ศึกษา ผู บริห ารสถานศึ กษา ครู และบุคลากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ มีความรู ความเขาใจ และสามารถนํ า มาใช เ ปน แนวทางในการประเมิน ตนเอง พรอมทั้งการจัดทําแผนพัฒ นาตนเองรายบุ คคล (ID PLAN) เปนรายปของครูสายงานการสอนตามบทบาทหนาที่ที่รับผิดชอบและที่เกี่ยวของ

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


1-2

1.4. บทบาทของหนวยงานที่เกี่ยวของ 1.4.1 บทบาทของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) 1) กํ า หนดนโยบาย ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น การพั ฒ นาครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาให ไ ด รั บ การพัฒนาอยางเปนระบบ มีความตอเนื่อง และมีมาตรฐาน พรอมทั้งสอดคลองกับนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 2) สนับสนุนงบประมาณใหครูไดรับการพัฒนาตามแผนความตองการของครู และสถานศึกษา ที่สอดคลองกับกฎระเบียบตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับความกาวหนาของครู นโยบาย และอื่น ๆ ที่เปนประโยชน ตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอาชีวศึกษา 1.4.2 บทบาทของสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา (สสอ.) 1) สงเสริม สนับสนุน และกําหนดแนวทางการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหไดรับ การพัฒนาอยางเปนระบบ มีความตอเนื่อง และมีมาตรฐาน 2) สร า งความรู ความเข า ใจ ให กับ ผู บ ริห ารสถานศึก ษา ครู และผูที่ สว นเกี่ย วข อง เกี่ย วกั บ กฎระเบียบตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อใหการดําเนินการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษามีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 3) สนั บ สนุ น การพั ฒ นาครู ใ ห ส อดคล อ งกั บ แผนความต อ งการพั ฒ นาครู และสถานศึ ก ษา พร อ มทั้ ง สอดคล อ งกั บ กฎระเบี ย บต า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ความก า วหน า ของครู นโยบาย และอื่ น ๆ ที่เปนประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอาชีวศึกษา 4) จั ด ทํ า แผนพั ฒ นาครู ใ ห ส อดคล อ งกั บ แผนพั ฒ นาครู ข องสถานศึ ก ษา เพื่ อ ขอสนั บ สนุ น งบประมาณจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 5) สร าง และพั ฒนาระบบฐานขอมูล การพัฒนาการครูและบุคลากรอาชีว ศึกษา เชน ระบบ ฐานข อ มู ล แผนพั ฒ นาครู แ ละบุ ค ลากรอาชี ว ศึ ก ษาในระดั บ ต า ง ๆ เช น ระดั บ ด ว ยตนเอง สถานศึ ก ษา อาชีวศึกษาจังหวัด สถาบันการอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ฯลฯ 6) ติดตามประเมินผลการพัฒนาครูและบุคลากรอาชีวศึกษา 1.4.3 บทบาทของสถานศึกษา 1.4.3.1 ผูบริหารสถานศึกษา 1) สรางความรู ความเขาใจ ใหคําแนะนําแกครู และผูที่สวนเกี่ยวของ เกี่ยวกับกฎระเบียบ ต า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การพั ฒ นาครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา เพื่ อ ให ก ารดํ า เนิ น การพั ฒ นาครู และบุคลากรทางการศึกษามีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล 2) สรางความรู ความเขาใจ ใหคําแนะนํา พรอมทั้งกํากับ ติดตาม ใหครูจัดทําการประเมิน ตนเอง พรอมทั้งจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลเปนรายป ตามแบบที่กําหนด คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


1-3 3) สรุ ป แผนพั ฒ นาครู ในส ว นที่ ส ถานศึ ก ษาดํ า เนิ น การเอง และในส ว นที่ ต อ งขอรั บ การสนั บ สนุ น จากอาชี ว ศึ ก ษาจั ง หวั ด สถาบั น การอาชี ว ศึ ก ษา และสํ า นั ก งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาโดยสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา 4) ส งเสริม และสนั บ สนุน ใหครูไดเขารับ การพัฒนาที่ส อดคลองกับแผนพัฒ นาตนเอง รายบุ ค คลที่ ส อดคล อ งกั บ กฎระเบี ย บต า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ความก า วหน า ของครู นโยบาย และอื่ น ๆ ที่เปนประโยชนตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอาชีวศึกษาอยางเปนระบบ และตอเนื่อง 5) กํ า กั บ ติ ด ตามผลการจัด ทํ า แผนพั ฒ นาตนเองรายบุ ค คลของครู ส ายงานการสอน ของสถานศึกษา พรอมสรุปแผนความตองการพัฒนาครูในภาพรวมของสถานศึกษาเปนรายป ใหอาชีวศึกษา จังหวัด สถาบันการอาชีวศึกษา และสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษาเพื่อทราบและพิจารณา ประกอบการจัดทําแผนพัฒนาครูสายงานการสอนของสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาตลอดทั้งสนับสนุน การพัฒนาครูใหบรรลุวัตถุประสงค 1.4.3.2 ครู 1) ศึ ก ษา หาความรู หรือ เขารับ การอบรมเกี่ ย วกับ กฎระเบีย บตา ง ๆ ที่เกี่ย วของกั บ การพั ฒ นาครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา เพื่ อ ให ก ารดํ า เนิ น การพั ฒ นาตนเองมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเกิดประสิทธิผล 2) ประเมินตนเอง พรอมทั้งจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลเปนรายป ตามแบบที่กําหนด 3) พั ฒ นาตนเองให ส อดคล อ งกั บ แผนพั ฒ นาตนเองรายบุ ค คล กฎระเบี ย บต า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ความก า วหน า ของครู นโยบาย และอื่ น ๆ ที่ เ ป น ประโยชน ต อ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพผู เ รี ย น อาชีวศึกษาอยางเปนระบบ และตอเนื่อง 4) รายงานผลการพัฒนาตนเองตอผูบังคับบัญชาหรือผูบริหารสถานศึกษาหรือหนวยงานที่ เกี่ยวของตามที่สถานศึกษากําหนด

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-1

บทที่ 2 กรอบแนวคิดเกี่ยวกับแผนพัฒนารายบุคคล 2.1 ความหมายของแผนพัฒนารายบุคคล แผนพั ฒ นารายบุ ค คล (Individual Development Plan : IDP) หมายถึ ง เป น วิ ธี ก ารพั ฒ นา บุคลากรโดยการกําหนดกรอบหรือแนวทางที่จะชวยใหบุคลากรบรรลุเปาหมายในสายอาชีพของตนที่เชื่อมโยง กั บ ความต องการหรื อ เป า หมายขององค กรและหนว ยงาน โดยมี วัต ถุป ระสงค ห ลั กในการพัฒ นาจุด ออ น (Weakness) และสรางจุดแข็ง (Strength) ของบุคลากรในองคกรหรือหนวยงาน แผนพัฒนารายบุคคล หรือโดยทั่วไปเรียกสั้น ๆ วา IDP สําหรับในคูมือการประเมินตนเอง และการจัดทํา แผนพั ฒ นาตนเองรายบุ ค คลของครู ส ายงานการสอน สั ง กั ด สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา (สอศ.) ใชคํายอวา ID PLAN ซึ่งเปนแผนสําหรับการพัฒนาครูสายงานการสอน และบุคลากร ในสังกัด สอศ. เพื่ อ เตรี ย มความพร อ มให มี ส มรรถนะ หรื อ คุ ณ สมบั ติ ความสามารถ และศั ก ยภาพในการทํ า งาน สําหรับตําแหนงวิทยฐานะที่สูงขึ้นตอไปในอนาคต หรือตามเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) ที่องคกรกําหนดขึ้น โดยมีลักษณะทั่วไป ดังตอไปนี้ • เป นกระบวนการพั ฒนาและเป นระบบการสื่ อสารแบบสองทาง (Two Way Communication) ระหวางผูบังคับบัญชาและบุคลากร • เปนเครื่องมือที่สําคัญในการเชื่อมโยงความตองการของบุคลากรรายบุคคลใหตอบรับหรือ สนองตอความตองการในระดับองคกร • เปนแผนพัฒนาบุคลากรที่ถูกจัดทําขึ้นบนพื้นฐานของความสามารถที่คาดหวังของตําแหนง งาน (Expected Competency) เปรี ย บเที ย บกั บ ความสามารถในการทํ า งานจริ ง ของบุคลากรผูนั้น (Actual Competency) เกิดการรับรูอยางชัดเจนถึงชองวาง (Gap) ในการ พัฒนาเปนรายบุคคล • เปนระบบที่ทําอยางตอเนื่องและเปนขั้นตอน โดยมีการทบทวนตรวจสอบและเปลี่ยนแปลงได ดังนั้น ID PLAN จึงไมใชกระบวนการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal) เพื่อการเลื่อน ตําแหนงงานหรือการปรับเงินเดือน และการใหผลตอบแทนในรูปแบบตาง ๆ แกบุคลากร แต ID PLAN ถูกใช เปนขั้นตอนหลักที่สําคัญในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ใหมีสมรรถนะที่สูงขึ้น มิใชถูกกําหนดขึ้นเพื่อใหคุณใหโทษ แกบุคลากรแตอยางใด นอกจากนี้ ID PLAN ไมใชแผนที่รับประกันวาบุคลากรจะมีความกาวหนาในสายอาชีพ หรื อ จะได รั บ การเลื่ อ นตํ า แหน ง งานต อ ไปในอนาคต แผนดั ง กล า วควรกํ า หนดขึ้ น โดยบุ ค ลากรที่ เ ป น ผู ใ ต บั ง คั บ บั ญ ชากั บ หั ว หน า งานที่ เ ป น ผู บั ง คับ บั ญ ชาโดยตรง ซึ่ งจะต อ งแจง ถึ ง เป า หมาย ความคาดหวั ง หรื อสมรรถนะที่ หั ว หน า งานต องการ โดยต องเชื่ อมโยงความสนใจในอาชี พของบุคลากรกับความตองการ ขององคกรที่มีความคาดหวังจากบุคลากรผูนั้น ประโยชนของแผนพัฒนารายบุคคล แบงออกเปน 3 ระดับ ไดแก ระดับรายบุคคล ระดับหนวยงาน (สถานศึกษา/ สํานัก/ ศูนย) หรือหัวหนางาน และระดับองคกร (สอศ.) ดังนี้ 1. ระดับรายบุคคล ใชเปนขอมูลเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงตนเอง สําหรับการพัฒนาจุดออนและ สรางจุดแข็งในการปฏิบัติงานของตนเอง คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-2 2. ระดับหนวยงาน ใชเปนขอมูล ใหกับ ผูบังคับ บัญ ชาและเปนขอมูล ประกอบการวางแผนพัฒนา บุคลากรของหนวยงาน 3. ระดับองคกร ใชขอมูลแผนพัฒนารายบุคคลนี้ในการวิเคราะหหาความตองการในการพัฒนาและ ความจําเปนในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลจากขอมูลรายบุคคล อันจะนําไปสูการปรับปรุงเนื้อหาการพัฒนา วิธีการพัฒนา และใชพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการและความจําเปนในการพัฒนาบุคลากรใน แตละตําแหนงสายงานและระดับ อีกทั้งในระยะยาวอาจใชเปนขอมูลประกอบการพิจารณาปรับปรุงหลั ก สมรรถนะและมาตรฐานกําหนดตําแหนงใหรองรับกับสภาพการณที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตอไป แผนการพั ฒนาบุคคลรายบุ คคล เปน การวางแผนอยางมีระบบ มีการจัดทําบัน ทึกไว แผนพัฒนา บุคลากรนี้จะตองสอดคลองกับความตองการของหนวยงาน และเปาหมายหรือวัตถุประสงคของแตละบุคคล ให มีส มรรถนะ หรื อคุ ณสมบั ติ ความสามารถ และศักยภาพในการทํางาน มีความพรอมสําหรับ ตําแหนง วิทยฐานะที่สูงขึ้น ขั้นตอนในกระบวนการพัฒนารายบุคคล

ที่มา: สํานักงาน ก.พ., 2552. คูมือรูปแบบและวิธีการอบรมพัฒนาขาราชการ ขั้นตอนในกระบวนการพัฒนารายบุคคล ประกอบดวยขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอน ดังตอไปนี้ 1. การประเมินหาชองวางในการพัฒนา (Assess) โดยการทบทวนเปาหมาย บทบาท ภารกิจของ องคกร และระบุบทบาทหนาที่ ความรับผิดชอบของขาราชการนั้น ๆ ประเมินความรู ทักษะ สมรรถนะของ ตนเอง ประเมินหาจุดแข็ง และสิ่งที่ตองการพัฒนา และจัดทํารายละเอียดของแผนพัฒนารายบุคคล 2. การกําหนดวิธีการเรียนรู / พัฒนา (Acquire) เลือกวิธีการในการพัฒนาที่เหมาะสม และดําเนินการ พัฒนาตนเองตามแผนที่จัดทําไว โดยกําหนดวิธีการวัดความสําเร็จ ระบุอุปสรรค และการสนับสนุนที่ตองการ 3. การปรับใชในการปฏิบัติงานจริง (Apply) ติดตามประเมินผลการพัฒนา ตามระยะเวลาที่กําหนด และวัดผลพัฒนาการตามวิธีที่กําหนด โดยเริ่มประยุกตจากสิ่งที่งายไปยาก

2.2 กรอบแนวคิดเกี่ยวกับสมรรถนะ สมรรถนะ (Competency) หมายถึ ง คุ ณลั กษณะเชิ งพฤติ ก รรมที่ เ ป น ผลมาจากความรู ทั กษะ ความสามารถ และคุณลักษณะอื่น ๆ ที่ทําใหบุคคลสามารถสรางผลงานไดโดดเดนกวาเพื่อนรวมงานอื่น ๆ ในองคกร กลาวคือ การที่บุคคลจะแสดงสมรรถนะใดสมรรถนะหนึ่งได มักจะตองมีองคประกอบของทั้งความรู ทักษะ / ความสามารถ และคุณลักษณะอื่น ๆ (สํานักงาน ก.พ., 2553) คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-3 องคประกอบของสมรรถนะ ตามหลักแนวคิดของแมคเคิลแลนด ประกอบดวย 5 สวน คือ 1. ความรู (Knowledge) คือ ความรูเฉพาะในเรื่องที่ตองรู เปนความรูที่เปนสาระสําคัญ เชน ความรู ดานเครื่องยนต เปนตน 2. ทักษะ (Skill) คือ สิ่งที่ตองการใหทําไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน ทักษะทางคอมพิวเตอร ทักษะ ทางการถายทอดความรู เปนตน ทักษะที่เกิดขึ้นไดนั้นมาจากพื้นฐานทางความรู และสามารถปฏิบัติไดอยาง แคลวคลองวองไว 3. ความคิดเห็นเกี่ยวกับตนเอง (Self – concept) คือ เจตคติ คานิยม และความคิดเห็นเกี่ยวกับ ภาพลักษณของตน หรือสิ่งที่บุคคลเชื่อวาตนเองเปน เชน ความมั่นใจในตนเอง เปนตน 4. บุคลิกลักษณะประจําตัวของบุคคล (Traits) เปนสิ่งที่อธิบายถึงบุคคลนั้น เชน คนที่นาเชื่อถือและ ไววางใจได หรือมีลักษณะเปนผูนํา เปนตน 5. แรงจูงใจ / เจตคติ (Motives / attitude) เปนแรงจูงใจ หรือแรงขับภายใน ซึ่งทําใหบุคคลแสดง พฤติกรรมที่มุงไปสูเปาหมาย หรือมุงสูความสําเร็จ เปนตน

ที่มา: สํานักงาน ก.พ., 2553. คูมือการกําหนดความรูความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะสําหรับตําแหนง สําหรับระบบราชการพลเรือนไทย สมรรถนะประกอบดวย 2 สวน คือ (ขจรศักดิ์ ศิริสมัย, 2554) 1.สมรรถนะหลัก (Core Competency) คือ คุณลักษณะรวมของขาราชการพลเรือนทุกตําแหนง ทั้ งระบบ กํ าหนดขึ้ น เพื่ อหล อหลอมค า นิ ย มและพฤติกรรมที่พึง ประสงครว มกัน ประกอบดว ยสมรรถนะ 5 สมรรถนะ คือ 1) การมุงผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) 2) การบริการที่ดี (Service Mind) 3) การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) 4) จริยธรรม (Integrity) 5) ความรวมแรงรวมใจ (Teamwork) 2. สมรรถนะประจํากลุมงาน หรือ สมรรถนะในงาน (Function Competencies) คือ สมรรถนะ ที่ต องมี ตองเปนและตองทําในแตล ะกลุมงานหรือตําแหนงงาน โดยกําหนดเฉพาะสําหรับแตละกลุมงาน เพื่อสนับสนุนใหขาราชการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมแกหนาที่ และสงเสริมใหสามารถปฏิบัติภารกิจในหนาที่ ไดดียิ่งขึ้น คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-4 สมรรถนะของครูถูกกําหนดมาตรฐานโดยหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา ที่กําหนดมาตรฐานดานความรูของครูไว 9 มาตรฐาน สํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาไดกําหนดมาตรฐานการปฏิบัติของครูไว 10 ดาน และสถาบันพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากร ทางการศึกษาไดกําหนดสมรรถนะของครูไว 8 ดาน ซึ่งสามารถสังเคราะหมาตรฐานอันเปนสมรรถนะของครู ที่พึงประสงค ได 12 ดาน ดังนี้ (จิติมา วรรณศรี, 2552) 1. สรรถนะดานความรูวิชาเฉพาะ การมีความรูในเนื้อหาวิชาที่สอนและเนื้อหาวิชาที่เกี่ยวของ 2. สมรรถนะดานการพัฒนาหลักสูตร สามารถวิเคราะหหลักสูตร จัดทําหลักสูตรสถานศึกษา นํา หลักสูตรไปใชไดบรรลุวัตถุประสงค และสามารถประเมินและปรับปรุงหลักสูตร 3. สมรรถนะดานการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียน สามารถวิเคราะหผูเรียน ออกแบบและจัดทํา แผนการจัดการเรียนรูไดเหมาะสมกับผูเรียน จัดกิจกรรมการเรียนรูที่เนนการปฏิบัติจริง ใหผูเรียนไดฝกคิด วิเคราะห และแกปญหาได 4. สมรรถนะดานการวัดและประเมินผล สามารถเลือกวิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผล ไดอยางเหมาะสม ตรงตามสภาพจริง สามารถสรางและหาคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู และนําผล การประเมินไปใชในการปรับปรุงการจัดการเรียนรู 5. สมรรถนะดานเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถเลือกใชเทคโนโลยีสารสนเทศ นวัตกรรมในการ จัดการเรียนรู รวมทั้งสามารถออกแบบและโครงสรางสื่อในการจัดการเรียนรูโดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. สมรรถนะดานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน สามารถดําเนินการวิจัยในชั้นเรียน วิจัยเพื่อ สรางองคความรู และวิจัยเพื่อแกปญหาและพัฒนาการเรียนการสอน โดยคิดคน ทดลอง และนําผลการวิจัยไป ใชในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 7. สมรรถนะดานจิตวิทยาและการจัดการชั้นเรียน มีความเขาใจธรรมชาติผูเรียน สามารถวิเคราะห ความแตกตางระหวางบุคคล สามารถจัดบรรยากาศที่เอื้อตอการเรียน จัดทําขอมูลสารสนเทศประจําชั้นเรียน สามารถกํากับดูแล แกปญหาพฤติกรรมของผูเรียน และสามารถชวยเหลือ ใหคําแนะนํา สงเสริมความถนัด เพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนรูและพัฒนาไดเต็มตามศักยภาพ 8. สมรรถนะดา นการใชภ าษาและการสื่อสาร สามารถใชทักษะในการฟง พูด อาน และเขีย น ภาษาไทยเพื่อการสื่อความหมายไดถูกตอง ตรงประเด็น สามารถเขียนเอกสารทางวิชาการและสามารถใช ภาษาตางประเทศเพื่อแสวงหาความรูหรือสื่อสารได 9. สมรรถนะดานการคิดวิเคราะห สังเคราะห สามารถวิเคราะหสภาพปจจุบัน ปญหาการจัดการ เรียนรู วิเคราะหจุดออน จุดแข็งของสถานศึกษา สามารถสังเคราะหหรือจัดทําสิ่งตาง ๆ อยางเปนระบบเพื่อ แกปญหาหรือพัฒนางาน สามารถสรางสรรค บูรณาการความรู วิธีการสอนหรือสรางนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการ เรียนการสอน 10. สมรรถนะดานการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ สามารถวิเคราะหตนเอง ยอมรับและปรับปรุง พัฒนาการปฏิบัติงานของตนเอง สามารถนํานวัตกรรมมาใชเพื่อพัฒนางานและวิชาชีพ สามารถเลือกวิธีพัฒนา ตนเองอยางเหมาะสม แลกเปลี่ยนเรียนรูกับเพื่อนรวมงานเปนบุคคลแหงการเรียนรูสามารถใชแหลงเรียนรูที่ หลากหลายเพื่อแสวงหาความรูทางวิชาการอยางสม่ําเสมอและเปนผูนําทางวิชาการ 11. สมรรถนะด า นการทํ า งานเป น ทีม สามารถปรับ ตัว เขากับ บุคคลอื่น ใหความรว มมือในการ ปฏิบัติงานรับผิดชอบบทบาทหนาที่ของตน ยอมรับความคิดเห็นผูอื่น ปฏิบัติตนตามบทบาทผูนําหรือผูตามได อยางเหมาะสม สามารถสรางความสัมพันธและประสานงานกับชุมชน รวมมือกับชุมชนในการดําเนินกิจกรรม ของสถานศึกษาหรือชุมชน และสามารถจัดบริการทางวิชาการแกชุมชน คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-5 12. สมรรถนะดานคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความรัก เมตตาและปรารถนาดี ตอผูเรียน มีความศรัทธาในวิชาชีพและปฏิบัติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู มีความอดทนและรับผิดชอบตอ หนาที่ และปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ สมรรถนะของครูดังกลาวเกิดจากการเรียนรูของครูทั้งดานเนื้อหาในภาคทฤษฏีและจากการฝกฝน ทักษะ ประสบการณปฏิบัติ ตลอดจนการปลูกฝง อบรมบมเพาะผานการปฏิบัติกิจกรรม

2.3 แนวทางในการประเมินสมรรถนะ กระบวนการในการประเมินผลสมรรถนะ (Competency) ตั้งอยูบนสมมุติฐานเรื่อง “Job – Person Matching” ที่วา ยิ่งองคกรสามารถหาบุคลากรที่เหมาะกับงานเทาไร ผลงานของบุคลากรผูนั้นก็จะยิ่งดีขึ้น เทานั้น การที่บุคลากรมีผลงานดีนั้น ไมเพียงแตสงผลตอผลงานขององคกรแตยังสงผลใหบุคลากร มีความสุข ในการทํางานมากยิ่งขึ้นดวย การประเมินผลสมรรถนะที่สามารถหาความเหมาะสมระหวางศักยภาพของคน กับสิ่งที่งานตองการอยางถูกตองนั้นขึ้นอยูกับ • มีตนแบบสมรรถนะที่ถูกตองและเหมาะสมในแตละสายงาน • มีเครื่องมือและกระบวนการที่เหมาะสมในการประเมินสมรรถนะและความสามารถ • ผูประเมินดําเนินการประเมินดวยความโปรงใสและยุติธรรม โดยอาศัยความเขาใจในตนแบบ สมรรถนะ วิธีการในการใชเครื่องมือ และกระบวนการในการประเมินที่ถูกตอง โดยทั่วไปรูปแบบการประเมินสมรรถนะสามารถแบงออกเปน 2 แนวทาง ไดแก (สํานักงาน ก.พ., 2553) 1. การประเมินแบบทดสอบ เปนกระบวนการประเมินสมรรถนะที่ผสมผสานวิธีการและเทคนิคการ ประเมินในหลากหลายรูปแบบเขาดวยกันในการประเมินแตละครั้ง ผลลั พธ ที่ได จ ะเป น ผลการประเมิ น โดยรวม ที่ไดจ ากการตกลงรว มกัน ของผูป ระเมิน ทั้งหมดซึ่ง มี ความเที่ยงตรงมากกวาการประเมินแบบอื่น ๆ นอกจากนั้น การที่มีผูประเมินมากกวาหนึ่งคนสามารถชวย ลดอคติที่เกิดจากการประเมินเพียงคนเดียว การประเมิน แบบทดสอบจะใชทรัพยากรในดานตาง ๆ เชน งบประมาณ บุคลากร สถานที่ เวลา มากกว า การประเมิ น รู ป แบบอื่ น ๆ เนื่ อ งจากใช เ ทคนิ ค และวิ ธี ก ารที่ ห ลากหลาย และจํ า เป น ต อ งมี การปรั บ เปลี่ ย นเนื้ อ หา และแบบทสอบในการประเมิ น แต ล ะครั้ ง เพื่ อ ป อ งกั น มิ ใ ห ผู เ ข า รั บ ประเมิ น เกิดความคุนเคยในเนื้อหาและแบบทดสอบได

ที่มา: สํานักงาน ก.พ., 2553. คูมือการกําหนดความรูความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะสําหรับตําแหนง คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-6 2. การประเมิน แบบสังเกต เป นกระบวนการประเมินสมรรถนะที่ใชวิธีการสังเกตพฤติกรรมหรื อ สมรรถนะที่แสดงในการปฏิบัติงาน ผลลัพธที่ไดจะเปนผลการประเมินที่แสดงใหเห็นวา ผูถูกประเมินมีการแสดงพฤติกรรมหรือสมรรถนะ ใดอยางไร และแสดงออกมากนอยเพียงใด รวมทั้งถาแสดงสมรรถนะนั้น ๆ แลว จะมีพฤติกรรมหรือสมรรถนะ อยูที่ระดับใด

2.4 มาตรฐานตําแหนง และมาตรฐานวิทยฐานะของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สํา นัก งาน ก.ค.ศ. ได กํ า หนด และได มีก ารปรั บ ปรุ ง มาตรฐานตํ าแหน งและมาตรฐานวิ ทยฐานะ ของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ทุกสายงาน (ว 20 ลว 5 กรกฎาคม 2560) โดยใชบังคับตั้งแต วันที่ 5 กรกฎาคม 2560 เปนตนไป ทั้งนี้กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายมุงเนนใหขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึ ก ษามี ก ารสั่ ง สมประสบการณ ใ นการปฏิ บั ติ ง านด า นการจั ด การเรี ย นการสอน เพื่ อ แสดงถึ ง ความชํานาญและเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งสงเสริมใหขาราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษามีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ อย างตอเนื่อง สามารถสร างความเขมแข็ งใหกับ วิชาชีพครูและสามารถยกระดับ คุณภาพครูใหมีศักยภาพ ในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนไดตามนโยบายการศึกษาชาติ สํ า หรั บ ผู ที่ได รั บ การบรรจุ และแต งตั้งใหดํารงตํ าแหนงขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน อยู ก อ นวั น ที่ ม าตรฐานตํ า แหน ง และมาตรฐานวิท ยฐานะ สายงานการสอนนี้ ใ ช บั ง คั บ และขอมี วิ ท ยฐานะ และเลื่ อ นวิ ท ยฐานะตามหลั ก เกณฑ แ ละวิ ธี ก ารฯ ที่ ก.ค.ศ. กํ า หนดไว เ ดิ ม ใหนําคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงและวิทยฐานะ ตามที่ ก.ค.ศ. กําหนดไวกอนวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 มาใชในการดําเนินการ มาตรฐานตําแหนงและมาตรฐานวิทยฐานะ ประเภท ผูสอนในหนวยงานการศึกษา สายงาน การสอน ลักษณะงานโดยทั่วไป สายงานการสอน มีลักษณะงานที่ปฏิบัติกับการจัดการเรียนการสอน สงเสริมการเรียนรู บริหารจัดการชั้นเรียน พัฒนาผูเรียน อบรมบมนิสัยใหผูเรียนมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึง ประสงค ปฏิบัติงานทางวิชาการของสถานศึกษา ประสานความรวมมือกับผูปกครอง บุคคลในชุมชน และหรือ สถานประกอบการเพื่ อ ร ว มกั น พั ฒ นาผู เ รี ย น การบริ ห ารสั ง คมด า นวิ ช าการ พั ฒ นาตั ว เองและวิ ช าชี พ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย ชื่อตําแหนง ครูผูชวย / ครู ชื่อวิทยฐานะ ครูชํานาญการ / ครูชํานาญการพิเศษ / ครูเชี่ยวชาญ / ครูเชี่ยวชาญพิเศษ

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-7 มาตรฐานตําแหนง

ชื่อตําแหนง ครูผูชวย หนาที่และความรับผิดชอบ มีหนาที่และความรับผิดชอบหลักในการจัดการเรียนการสอน สงเสริมการเรียนรู บริหาร จัด การชั้น เรีย น พั ฒ นาผู เรี ย น อบรมบมนิ สัย ใหผูเรีย นมีวินัย คุณธรรม จริย ธรรม และคุณลักษณะอัน พึง ประสงค เตรียมความพรอมและพัฒนาอยางเขม พัฒนาตนเอง และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในดานตาง ๆ ดังนี้ 1. ดานการจัดการเรียนการสอน 1.1 นําผลการวิเคราะหหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู มาใชในการจัดทํารายวิชาและออกแบบหนวยการเรียนรู 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อใหผูเรียนมีความรู ทักษะ คุณลักษณะประจําวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค และสมรรถนะที่สําคัญ ตามหลักสูตร 1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู อํานวยความสะดวกในการเรียนรู และสงเสริมการเรียนรู ดวยวิธีการที่หลากหลาย โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ 1.4 เลือกและใชสื่อ เทคโนโลยี และแหลงเรียนรู ที่สอดคลองกับกิจกรรมการเรียนรู 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรูดวยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคลองกับ ตัวชี้วัดและจุดประสงคการเรียนรู 2. ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน 2.1 จัดบรรยากาศที่สงเสริมการเรียนรู กระบวนการคิด ทักษะชีวิต และพัฒนาผูเรียน 2.2 ดําเนินการตามระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน โดยมีการศึกษาและรวบรวมขอมูลผูเรียน รายบุคคลเพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียน 2.3 อบรมบมนิสัยใหผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค และคานิยม ที่ดีงาม 3. ดานการพัฒนาตนเอง พัฒนาตนเองเพื่อใหความรู ความสามารถ ทักษะ ดวยวิธีการตาง ๆ อยางเหมาะสม และ มีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูวิชาชีพ วินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีวิ นั ย คุ ณธรรม จริย ธรรม ประพฤติป ฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดี ดํารงชีวิตตามหลักปรัช ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มีจิตวิญญาณความเปนครู มีจิตสํานึกความรับผิดชอบในวิชาชีพครู และมีจรรยาบรรณของ วิชาชีพ คุณสมบัติเฉพาะสําหรับผูดํารงตําแหนง 1. มีวุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรีทางการศึกษาหรือทางอื่น ที่ ก.ค.ศ. กําหนดเปนคุณสมบัติเฉพาะสําหรับ ตําแหนงนี้ 2. มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูหรือหลักฐานที่ใชแสดงในการประกอบวิชาชีพครูตามที่คุรุสภา ออกให เพื่อปฏิบัติหนาที่สอน กอนการบรรจุและแตงตั้งเปนขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การใหไดรับเงินเดือน ใหไดรับเงินเดือนอันดับครูผูชวย คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-8 ชื่อตําแหนง ครู หนาที่และความรับผิดชอบ มีหนาที่และความรับผิดชอบหลักในการจัดการเรียนการสอน สงเสริมการเรียนรู บริหาร จัด การชั้น เรีย น พั ฒ นาผู เรี ย น อบรมบมนิ สัย ใหผูเรีย นมีวินัย คุณธรรม จริย ธรรม และคุณลักษณะอัน พึง ประสงค ปฏิบัติงานทางวิชาการของสถานศึกษา ประสานความรวมมือกับผูปกครอง บุคคลในชุมชน และหรือ สถานประกอบการเพื่ อ ร ว มกั น พั ฒ นาผู เ รี ย น การบริ ก ารสั ง คมด า นวิ ช าการ พั ฒ นาตนเองและวิ ช าชี พ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในดานตาง ๆ ดังนี้ 1.ดานการจัดการเรียนการสอน 1.1 สรางและหรือพัฒนาหลักสูตร โดยจัดทํารายวิชาและหนวยการเรียนรูใหสอดคลอง กับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู ตามหลักสูตร 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อใหผูเรียนมีความรู ทักษะ คุณลักษณะประจําวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค และสมรรถนะที่สําคัญ ตามหลักสูตร 1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู อํานวยความสะดวกในการเรียนรู และสงเสริมการเรียนรู ดวยวิธีการที่หลากหลาย โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ 1.4 สรางและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหลงเรียนรู ที่สอดคลองกับ กิจกรรมการเรียนรู 1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรูดวยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคลองกับ ตัวชี้วัดและจุดประสงคการเรียนรู 1.6 ศึกษา วิเคราะห สังเคราะห และหรือวิจัยเพื่อแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนรูที่สงผล ตอคุณภาพผูเรียน 2. ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน 2.1 สรางบรรยากาศที่สงเสริมการเรียนรู กระบวนการคิด ทักษะชีวิต และพัฒนาผูเรียน เสริมแรงใหผูเรียนมีความมั่นใจในการพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ เกิดแรงบันดาลใจ มีความสุข มีความ ปลอดภัย และการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี โดยมุงเนนการมีสวนรวมของผูเรียนและผูที่เกี่ยวของ 2.2 ดําเนินการตามระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน โดยมีการศึกษาและรวบรวมขอมูลผูเรียน รายบุคคลเพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียน 2.3 อบรมบมนิสัยใหผูเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค และคานิยม ที่ดีงาม 2.4 จัดทําขอมูลสารสนเทศ เอกสารประจําชั้นเรียนหรือเอกสารประจําวิชา เพื่อใชในการ สงเสริมสนับสนุนการเรียนรูและพัฒนาคุณภาพผูเรียน 3. ดานการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 3.1 จัดทําแผนพัฒนาตนเอง และดําเนินการตามแผนอยางเปนระบบและตอเนื่อง 3.2 มีสวนรวมและหรือเปนผูนําทางวิชาการในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ 3.3 นํ าความรู ความสามารถ ทักษะที่ไดจ ากการพัฒนาตนเองและวิช าชีพมาพัฒนา นวัตกรรมการจัดการเรียนรูที่สงผลตอคุณภาพผูเรียน

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-9 วินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดี ดํารงชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตวิญญาณความเปนครู มีจิตสํานึกความรับผิดชอบในวิชาชีพครู และมีจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ คุณสมบัติเฉพาะสําหรับผูดํารงตําแหนง 1. มีวุฒิไมต่ํากวาปริญญาตรีทางการศึกษาหรือทางอื่น ที่ ก.ค.ศ. กําหนดเปนคุณสมบัติเฉพาะสําหรับ ตําแหนงนี้ 2. ดํารงตําแหนงครูผูชวยเปนเวลาไมนอยกวา 2 ป และผานการประเมินการเตรียมความพรอมและ พัฒนาอยางเขมตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.ค.ศ. กําหนด หรือดํารงตําแหนงอื่นที่ ก.ค.ศ. เทียบเทา 3. มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู การใหไดรับเงินเดือน ใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ.1 ผูดํารงตําแหนงครูผูใดผานการประเมิน ใหมีวิทยฐานะครูชํานาญการ หรือเลื่อนเปนวิทยฐานะครู ชํานาญการพิเศษ ครูเชี่ยวชาญ หรือครูเชี่ยวชาญพิเศษ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.ค.ศ. กําหนดใหไดรับ เงินเดือนอันดับ คศ.2 คศ.3 คศ.4 หรือ คศ.5 ตามลําดับ ชื่อตําแหนง ครูชํานาญการ หนาที่และความรับผิดชอบ มีหนาที่และความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตําแหนงครู คุณภาพการปฏิบัติงาน มีความรู ความสามารถ ทักษะ ในรายวิชา กลุมสาระการเรียนรู หรือหลักสูตร ที่รับผิดชอบ สูงกวา ระดับพื้นฐาน สามารถปฏิบัติงานดานการจัดการเรียนการสอน ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน และดานการพัฒนา ตนเอง และวิชาชีพ อยางมีคุณภาพสูงกวาระดับพื้นฐาน โดยแสดงใหเห็นวามีการปฏิบัติงานอยางเปนระบบ ถูกตอง เหมาะสม ดวยวิธีการที่หลากหลาย เปนผูเรียนรูเพื่อการเปลี่ยนแปลงตอตนเอง บูรณาการความรูสู การปฏิบัติ โดยมุงเนนการพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ทักษะ คุณลักษณะ และสมรรถนะที่สําคัญตามหลักสูตร ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 1. มีภาระงานสอนตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด 2. มี ร ะยะเวลาการปฏิ บั ติ ง านตามหน า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ซึ่ ง แสดงให เ ห็ น ถึ ง การสั่ ง สมความชํ า นาญ ความเชี่ยวชาญ ตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด วินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มี วิ นั ย คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต นเป น แบบอย า งที่ ดี ดํ า รงชี วิ ต ตามหลั ก ปรั ช ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตวิญญาณความเปนครู มีจิตสํานึกความรับผิดชอบในวิชาชีพครู และมีจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-10 คุณสมบัติเฉพาะสําหรับวิทยฐานะ 1. ดํารงตําแหนงครู มาแลวไมนอยกวา 5 ป หรือดํารงตําแหนงอื่นที่ ก.ค.ศ. เทียบเทา โดยผาน การพัฒนาและผานการประเมิน ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.ค.ศ. กําหนด หรือ 2. ดํารงตําแหนงอื่นที่มีวิทยฐานะชํานาญการ การใหไดรับเงินเดือน ใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ.2 และใหไดรับเงินวิทยฐานะครูชํานาญการ ชื่อตําแหนง ครูชํานาญการพิเศษ หนาที่และความรับผิดชอบ มีหนาที่และความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตําแหนงครู คุณภาพการปฏิบัติงาน มีคุณภาพการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิทยฐานะครูชํานาญการ และตองแสดงใหเห็นวามีการปรับ ประยุ กต การบู ร ณาการ การมี ส ว นร ว มของผูเกี่ย วของ และใชกระบวนการวิจัย เพื่อแกปญ หาและพัฒ นา การเรียนรูสรางนวัตกรรมจากการปฏิบัติงานที่สงผลตอคุณภาพผูเรียน โดยมีความรู ความสามารถ ทักษะ และการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ดังตอไปนี้ 1. มีความรู ความสามารถ ทั กษะ ในรายวิ ช า กลุ มสาระการเรีย นรู หรื อหลักสู ตร ที่รั บ ผิดชอบ ในระดับสูง 2. สามารถพั ฒ นาหลักสูตรให ส อดคลองกับ บริบ ทของสถานศึกษา ผูเรียน และทองถิ่น สามารถ ออกแบบการจั ด การเรี ย นรู ที่ เ น น ผู เ รี ย นเป น สํ า คั ญ คั ด สรร และพั ฒ นาสื่ อ นวั ต กรรม เทคโนโลยี และ แหลงเรียนรูวัดและประเมินผลการเรียนรูอยางหลากหลาย และสอดคลองกับหลักสูตร 3. สามารถบริ ห ารจั ดการชั้ น เรี ย น จัดบรรยากาศการเรีย นรู ดูแลชว ยเหลือผูเรีย น เพื่อสงเสริ ม การเรียนรูของผูเรียน ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 1. มีภาระงานสอนตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด 2. มี ร ะยะเวลาการปฏิ บั ติ ง านตามหน า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ซึ่ ง แสดงให เ ห็ น ถึ ง การสั่ ง สมความชํ า นาญ ความเชี่ยวชาญ ตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด วินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มี วิ นั ย คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต นเป น แบบอย า งที่ ดี ดํ า รงชี วิ ต ตามหลั ก ปรั ช ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตวิญญาณความเปนครู มีจิตสํานึกความรับผิดชอบในวิชาชีพครู และมีจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ คุณสมบัติเฉพาะสําหรับวิทยฐานะ 1. ดํารงตําแหนงครู ที่มีวิทยฐานะครูชํานาญการ มาแลวไมนอยกวา 5 ป หรือดํารงตําแหนงอื่นที่ ก.ค.ศ. เทียบเทา โดยผานการพัฒนาและผานการประเมิน ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.ค.ศ. กําหนด หรือ 2. ดํารงตําแหนงอื่นที่มีวิทยฐานะชํานาญการพิเศษ การใหไดรับเงินเดือน ใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ.3 และใหไดรับเงินวิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-11 ชื่อตําแหนง ครูเชี่ยวชาญ หนาที่และความรับผิดชอบ มีหนาที่และความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตําแหนงครู คุณภาพการปฏิบัติงาน มีคุณภาพการปฏิ บั ติงานตามมาตรฐานวิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ และตองแสดงใหเห็น วามี การคิ ด ค น วิ เ คราะห สั ง เคราะห ริ เ ริ่ ม สร า งสรรค วิ จั ย เพื่ อ แก ป ญ หาและพั ฒ นาการเรี ย นรู ข องผู เ รี ย น พั ฒ นานวั ต กรรมต น แบบการเรี ย นรู แ ก เ พื่ อ นร ว มวิ ช าชี พ มี ผ ลงานที่ เ สนอในระดั บ ชาติ โดยมี ค วามรู ความสามารถ ทักษะ และการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ดังตอไปนี้ 1. มีความรู ความสามารถ ทั กษะ ในรายวิ ช า กลุ มสาระการเรีย นรู หรื อหลักสู ตร ที่รั บ ผิดชอบ ในระดับสูงมาก 2. สามารถพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ผูเรียน และทองถิ่น ตอบสนอง จุดเนนและนโยบายของสวนราชการตนสังกัด สรางและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหลงเรียนรู วัดและประเมินผลการเรียนรูอยางหลากหลาย และสอดคลองกับหลักสูตร 3. สามารถบริห ารจั ดการชั้ น เรี ยน และสรางแรงบันดาลใจใหผูเรีย นเพื่อใหเกิดการเปลี่ย นแปลง ในทางที่ดี 4. มีการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ เปนพี่เลี้ยงใหกับครูในสถานศึกษา สรางการมีสวนรวมกับเครือขาย วิชาการหรือชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ และเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงตอเพื่อนรวมวิชาชีพ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 1. มีภาระงานสอนตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด 2. มี ร ะยะเวลาการปฏิ บั ติ ง านตามหน า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ซึ่ ง แสดงให เ ห็ น ถึ ง การสั่ ง สมความชํ า นาญ ความเชี่ยวชาญ ตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด วินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มี วิ นั ย คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต นเป น แบบอย า งที่ ดี ดํ า รงชี วิ ต ตามหลั ก ปรั ช ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตวิญญาณความเปนครู มีจิตสํานึกความรับผิดชอบในวิชาชีพครู และมีจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ คุณสมบัติเฉพาะสําหรับวิทยฐานะ 1. ดํารงตําแหนงครู ที่มีวิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ มาแลวไมนอยกวา 5 ป หรือดํารงตําแหนงอื่น ที่ ก.ค.ศ. เทียบเทา โดยผานการพัฒนาและผานการประเมิน ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.ค.ศ. กําหนด หรือ 2. ดํารงตําแหนงอื่นที่มีวิทยฐานะเชี่ยวชาญ การใหไดรับเงินเดือน ใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ.4 และใหไดรับเงินวิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-12 ชื่อตําแหนง ครูเชี่ยวชาญพิเศษ หนาที่และความรับผิดชอบ มีหนาที่และความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตําแหนงครู คุณภาพการปฏิบัติงาน มี คุณภาพการปฏิ บั ติงานตามมาตรฐานวิ ทยฐานะครู เชี่ย วชาญ และตองแสดงใหเห็น วามีก ารใช ความคิ ด ริ เ ริ่ ม สร า งสรรค มี การวิ จั ย และพั ฒ นานวั ตกรรมการเรี ย นรู เปน ผู นํา การพัฒ นานวัต กรรมที่ ส ง ผลกระทบต อ วิ ช าชี พ มี ผ ลงานที่ เ สนอในระดั บ ชาติ ห รื อ นานาชาติ โดยมี ค วามรู ความสามารถ ทั ก ษะ และการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ดังตอไปนี้ 1. มีความรู ความสามารถ ทั กษะ ในรายวิ ช า กลุ มสาระการเรีย นรู หรื อหลักสู ตร ที่รั บ ผิดชอบ ในระดับสูงมากเปนพิเศษ 2. สามารถพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา ผูเรีย น ทองถิ่น และสร างองค ความรูใหมเพื่อนําผลไปใชในการพัฒนาการเรียนรู 3. สามารถบริ ห ารจั ด การชั้ น เรี ย น เสริ ม แรงให ผู เ รี ย นมี ค วามมั่ น ใจในการพั ฒ นาตนเองเต็ ม ตามศักยภาพ เกิดแรงบันดาลใจ มีความสุข มีความปลอดภัย และการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี โดยมุงเนน การมีสวนรวมของผูเรียนและผูที่เกี่ยวของ 4. มีการพั ฒ นาตนเองและวิ ช าชี พ สร างเครือ ขา ยชุม นุมการเรีย นรูทางวิช าชีพ สร างวั ฒ นธรรม การเรียนรูในสถานศึกษา เปนผูนําการเปลี่ยนแปลงที่สงผลตอวงวิชาชีพ ระยะเวลาการปฏิบัติงาน 1. มีภาระงานสอนตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด 2. มี ร ะยะเวลาการปฏิ บั ติ ง านตามหน า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ ซึ่ ง แสดงให เ ห็ น ถึ ง การสั่ ง สมความชํ า นาญ ความเชี่ยวชาญ ตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด วินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มี วิ นั ย คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต นเป น แบบอย า งที่ ดี ดํ า รงชี วิ ต ตามหลั ก ปรั ช ญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตวิญญาณความเปนครู มีจิตสํานึกความรับผิดชอบในวิชาชีพครู และมีจรรยาบรรณ ของวิชาชีพ คุณสมบัติเฉพาะสําหรับวิทยฐานะ 1. ดํารงตําแหนงครู ที่มีวิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ มาแลวไมนอยกวา 5 ป หรือดํารงตําแหนงอื่นที่ ก.ค.ศ. เทียบเทา โดยผานการพัฒนาและผานการประเมิน ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ ก.ค.ศ. กําหนด หรือ 2. ดํารงตําแหนงอื่นที่มีวิทยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ การใหไดรับเงินเดือน ใหไดรับเงินเดือนอันดับ คศ.5 และใหไดรับเงินวิทยฐานะครูเชี่ยวชาญพิเศษ

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-13

2.5 คุณลักษณะที่คาดหวัง สํานักงาน ก.ค.ศ. ไดกําหนดหลักเกณฑและวิธีการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานสอน (ว 22 ลว 5 กรกฎาคม 2560) โดยใชบังคับตั้งแตวันที่ 5 กรกฎาคม 2560 เปนตนไป เพื่อให ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเขารับการพัฒนาอยางเปนระบบตอเนื่องทุกป และสามารถนําผล ที่ผ านการพั ฒ นาไปใช เ ปน คุณสมบัติเ พื่อขอวิทยฐานะ และเลื่อนวิทยฐานะไดทุกวิทยฐานะ โดยหลักสูตร การพัฒนาตองมีองคประกอบดานความรู ดานทักษะ ดานความเปนครู และคุณลักษณะที่คาดหวัง ตามที่ สถาบันคุรุพัฒนารับรองตามมาตรฐานวิทยฐานะ หรือตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด โดยคุณลักษณะที่คาดหวังในแตละ วิทยฐานะ มีดังนี้ วิทยฐานะครูชํานาญการ ความรู : เรียนรูเพื่อเปลี่ยนแปลงตนเอง ทักษะ : บูรณาการความรูสูการปฏิบัติ โดยมุงเนนการพัฒนาผูเรียนไดเต็มตามศักยภาพ ความเปนครู : พัฒนาตนเองเพื่อใหมีความเปนครูที่ดี วิทยฐานะครูชํานาญการพิเศษ ความรู : นําผลการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงสูผูเรียน ทักษะ : สรางนวัตกรรมจากการปฏิบัติที่สงผลตอคุณภาพของผูเรียน ความเปนครู : เปนแบบอยางการพัฒนาความเปนครูที่ดี วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ ความรู : บริหารจัดการใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแกเพื่อนรวมวิชาชีพ ทักษะ : พัฒนานวัตกรรมใหเปนตนแบบการเรียนรูแกเพื่อนรวมวิชาชีพ ความเปนครู : สงเสริมการพัฒนาความเปนครูที่ดีแกเพื่อนรวมวิชาชีพ วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญพิเศษ ความรู : เปนผูนําการเปลี่ยนแปลงเพื่อสรางความกาวหนาทางวิชาชีพ ทักษะ : เปนผูนําการพัฒนานวัตกรรมที่สรางผลกระทบทางวิชาชีพ ความเปนครู : เปนผูนําการการพัฒนาความเปนครูที่ดีในวงวิชาชีพ

2.6 รูปแบบวิธีการพัฒนาบุคลากรในการจัดทําแผนการพัฒนารายบุคคล รูปแบบวิธีการพัฒนาบุคลากรในการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล สามารถดําเนินการไดหลายวิธี แตละ วิ ธี ขึ้ น อยู กั บ ความเหมาะสมของแต ล ะบุ ค คล และสิ่ ง ที่ ต อ งการพั ฒ นา โดยเป น การตกลงกั น ระหว า ง ผูบังคับบัญชาและบุคลากรที่เปนผูใตบังคับบัญชารวมกันกําหนดมีวิธีการ ดังนี้ (สํานักงานศาลยุติธรรม, 2556) 1. การฝกขณะปฏิบัติงาน (On the Job Training) การฝกขณะปฏิบัติงาน ถือเปนหนาที่ความ รับผิดชอบของผูบังคับบัญชาหรือผูที่ไดรับมอบหมายในหนวยงาน เปนวิธีการพัฒนาบุคลากรดวยการฝกปฏิบัติ จริ ง ณ สถานที่ จ ริ ง เป น การให คํ า แนะนํ า เชิงปฏิบัติใ นลัก ษณะตัว ตอ ตัว หรือเป น กลุ มเล็ กในสถานศึกษา และในชว งการทํางานปกติ วิธีการนี้ เนนประสิทธิภ าพการทํางานในลักษณะการพัฒนาทักษะเปนพื้นฐาน ให แ ก บุ ค ลากรเข า ใจและสามารถปฏิ บั ติ ง านได ด ว ยตนเอง การฝ ก ขณะปฏิ บั ติ ง านสามารถดํ า เนิ น การ คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-14 โดยผู บังคั บบัญชาหรือมอบหมายผูที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องนั้น มักใชสําหรับ บุคลากรใหมที่เพิ่งเขาทํางาน สับเปลี่ยน โอนยาย เลื่อนตําแหนง มีการปรับปรุงหรือตองอธิบายงานใหม ๆ ผูบังคับบัญชามีหนาที่ฝกบุคลากร ขณะปฏิบัติงานตามลักษณะงานที่รับผิดชอบเพื่อใหบุคลากรทราบ และเรียนรูเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีปฏิบัติงาน พรอมคูมือและระเบียบปฏิบัติประกอบ ทําใหเกิดการรักษาองคความรูและคงไวซึ่งมาตรฐานการทํางาน แมวา จะเปลี่ยนบุคลากรที่รับผิดชอบงานแตยังคงรักษาความมีประสิทธิภาพในการทํางานตอไปได โดยมีรูปแบบการดําเนินการ แบงเปน 2 แบบ ดังนี้ 1) แบบเปนทางการ : ระบุขอบเขต ระยะเวลา ความคาดหวัง แผนการดําเนินงาน เปาหมาย ผลลัพธ ที่ตองการไวลวงหนาอยางชัดเจน โดยมีระบบประเมินผลและลงบันทึกประวัติบุคคลอยางเปนทางการ 2) แบบไมเปนทางการ : เปนการฝกปฏิบัติในการทํางานจากปญหาที่เกิดขึ้นจริงอยางกะทันหัน หรือ บุคลากรขอคําปรึกษาเปนครั้งคราวไปในขณะทํางาน จึงทําใหไมมีการเตรียมตัวและวางแผนไวลวงหนา ขั้นตอนหลักในการฝกขณะปฏิบัติงานแบบเปนทางการ แบงเปน 1) สํ ารวจกลุมเปาหมายวาเปนบุคคลใหมห รือมีประสบการณทํางานแลว และมีความจําเปนตอง พัฒนาทักษะใด 2) วางแผน กําหนดขอบเขต ระยะเวลา ความคาดหวัง แผนการดําเนินงาน เปาหมายและผลลัพธ ที่ตองการ สถานที่ รวมทั้งการจัดเตรียมเครื่องมืออุปกรณที่จําเปน 3) สื่อสารขอมูลโดยแจงใหทราบถึงวัตถุประสงคและเปาหมายที่ชัดเจนกอน เพื่อใหบุคลากรไดศึกษา ขอมูล และเตรียมความพรอมในการเรียนรูและเตรียมคําถามเพื่อสอบถามประเด็นที่ไมเขาใจไวลวงหนา 4) ลงมือฝกปฏิบัติ โดยมีการอธิบายและสาธิตการทํางานในรายละเอียดอยางเปนขั้นตอน 5) ประเมินติดตามผลการทํางานอยางใกลชิด และใหแจงขอมูลยอนกลับ (Feedback) กับบุคลากร และใหคําแนะนําหากเกิดความผิดพลาดอยางทันทวงที 2. การสอนงาน (Coaching) การสอนงาน ถือเปนหนาที่ความรับผิดชอบของผูบังคับบัญชาหรือผูที่ ไดรับมอบหมายในสถานศึกษา เปนวิธีการใหความรู (Knowledge) สรางเสริมทักษะ (Skill) และทัศนคติ (Attitude) ที่ชวยในการปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้นไดในระยะยาว โดยผานกระบวนการปฏิสัมพันธ ระหวางผูสอนงานและบุคลากรผูถูกสอนงาน การสอนงานมักเปนรายบุคคลหรือเปนกลุมเล็ก ตองใชเวลา ในการพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยจําแนกวัตถุประสงคของการสอนงานเปน 3 ขอ ดังนี้ 1. เพื่ อ แก ป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในการทํ า งาน โดยผู ส อนงานทํ า หน า ที่ ชี้ ใ ห เ ห็ น ถึ ง ป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น และแนวทางการแกไข ชวยใหสามารถแกไขปญหาไดดวยตนเอง 2. เพื่อเปนการเตรียมความพรอมใหกับบุคลากรกอนเลื่อนตําแหนง โดยผูสอนตองทบทวนผลงาน ความสามารถป จ จุ บั น และกํ า หนดเป า หมายการสอนงาน โดยเน น การพั ฒ นาความสามารถในตํ าแหน ง ที่บุคลากรจะเลื่อนขึ้นไป 3. ดํ า เนิ น การสอนงาน โดยให ผู ถู ก สอนงานมี ส ว นร ว มในการแลกเปลี่ ย นข อ มู ล และเรี ย นรู ง าน โดยผูสอนงานควรยกตัวอยางเหตุการณประกอบ 4. ติดตามประเมินผลจากการทํางาน ทั้งระหวางการสอนงานและภายหลังการสอนงาน และใหแจง ขอมูลยอนกลับกับบุคคลผูถูกสอนงานรับทราบ รวมถึงประเมินตนเองในฐานะผูสอนงานเพื่อปรับปรุงวิธีการ สอนงานใหเหมาะสม

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-15 ทั้งนี้ ผูสอนงานตองสังเกตการทํางานและหมั่นสอบถามความเขาใจและใหขอแนะนําพรอมใหกําลังใจ เมื่อผูถูกสอนงานทําผิดพลาดดวยเหตุไมเขาใจแนวทางที่สอนงาน รวมทั้งควรชมเชยเมื่อผูถูกสอนงานทํางานได อยางถูกตอง 3. การเปนพี่เลี้ยง (Mentoring) การเปนพี่เลี้ยง เปนอีกวิธีการพัฒนาบุคลากรรายบุคคล วิธีการนี้ ตองใชความคิดในการวิเคราะห รับฟง และนําเสนอทิศทางที่ถูกตองใหอีกฝาย โดยเนนการมีสวนรวมแกไข ปญหาและกําหนดเปาหมายเพื่อใหงานบรรลุผลสําเร็จ เปนกระบวนการแลกเปลี่ยนประสบการณระหวาง พี่เลี้ยง (Mentor) และผูรับคําแนะนํา (Mentee) จากผูมีความรูความชํานาญใหกับผูไมมีประสบการณหรือ มีประสบการณไมมากนัก ลั ก ษณะสํ า คั ญ ของการเป น พี่ เ ลี้ ย ง คื อ ผู เ ป น พี่ เ ลี้ ย งอาจเป น บุ ค คลอื่ น ได ไ ม จํ า เป น ต อ งเป น ผูบังคับบัญชาหรือหัวหนาโดยตรง ทําหนาที่สนับสนุน ใหกําลังใจ ชวยเหลือ สอนงาน และใหคําปรึกษาแนะนํา ดู แ ลทั้ ง การทํ า งาน การวางแผนเป า หมายในอาชี พ ใหกั บ บุค ลากรเพื่ อ ให ผู รับ คํ าแนะนํ า มีค วามสามารถ ในการปฏิบัติงานที่สูงขึ้น รวมถึงการใชชีวิตสวนตัวที่เหมาะสม โดยมีรูปแบบการดําเนินการ แบงเปน 2 แบบ ดังนี้ 1) แบบเปนทางการ ระยะสั้น พี่เลี้ยงเปนบุคลากรที่มีตําแหนงในระดับที่สูงกวา ไดรับมอบหมายใหคําแนะนําแกผูรับ คําแนะนําที่เปนบุคลากรระดับต่ํากวา เชน การเปนพี่เลี้ยงของบุคลากรที่เขามาทํางานใหมหรือยายมาใหม เปนตน ระยะยาว พี่ทําเปนโครงการที่มีการมอบหมายพี่เลี้ยง – ผูรับคําแนะนําอยางชัดเจน เพื่อใหผูรับ คําแนะนํามีทักษะตามที่องคกรตองการและมีความกาวหนาในสายงานอาชีพ 2) แบบไมเปนทางการ ระยะสั้น บุคลากรที่ระดับต่ํากวามาขอคําแนะนําจากบุคลากรที่มีตําแหนงในระดับที่สูงกวาอยาง ไมเปนทางการในระยะเวลาสั้น ๆ จึงทําใหความสัมพันธไมเกิดความตอเนื่อง ระยะยาว บุคลากรที่ มีร ะดั บต่ํ า กวามาขอคําแนะนําจากบุคลากรที่มีตําแหนงในระดับ ที่สูงกวา ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งและมีความสัมพันธกันยาวนาน

ขั้นตอนหลักของการเปนพี่เลี้ยง แบงเปน 1. กําหนดตัวพี่เลี้ยง คัดสรรบุคลากรที่จะเปนพี่เลี้ยงที่เหมาะสม รูบทบาทหนาที่ รูวิธีการขั้นตอน จัดสรรเวลาได เปนแบบอยางที่ดี เปนที่ยอมรับ มีเกณฑมาตรฐานในการพิจารณาคัดเลือกผูเปนพี่เลี้ยง คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-16 2. สํารวจขอมูล บุคลากร สํารวจขอมูล บุคคลที่เกี่ยวของของบุคลากรที่จ ะเปนผูรับคําแนะนํา เพื่อทําความเขาใจถึงตัวบุคคลในเรื่องตาง ๆ 3. ทํ า ความเข า ใจ พี่ เ ลี้ ย งต องทํา ความเข าใจกับ ผูรั บ คํ าแนะนํา ถึ งวั ต ถุป ระสงค ระยะเวลา เปาหมาย ผลลัพธที่คาดหวัง บทบาทหนาที่ของทั้งสองฝาย และชวยติดตาม/ ใหขอมูลยอนกลับ (Feedback) 4. ฝกปฏิบัติ โดยพี่เลี้ยงตองสรางบรรยากาศของความไวเนื้อเชื่อใจมีการเปดใจระหวางกัน โดยไม ก า วก า ยเรื่ อ งส ว นตั ว จนเกิ น ไป พยายามให ผู รั บ คํ า แนะนํ า ภาคภู มิ ใ จรู จั ก คุ ณ ค า และยอมรั บ ในความสามารถของตนเอง และสร า งความรู สึ ก ผู ก พั น ร ว มกั น ในเป า หมายและความสํ า เร็ จ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการทํ า งาน ตลอดจนต องกํ า หนดระยะเวลาในการพูดคุย และตกลงรว มกัน ถึงเปาหมายที่ตองการให ประสบความสําเร็จเปนระยะ 5. ติ ดตามประเมิ น ผล พี่ เ ลี้ย งตองประเมิน ผลการทํางาน การรับ รู และทัศนคติของบุคลากร ผูรับคําแนะนําวาไดปรับตัวในการทํางาน และเปดโอกาสพูดคุยและสอบถามประเด็นที่สงสัย รวมทั้งสราง ความมั่นใจใหกับผูรับคําแนะนําวาเมื่อสิ้นสุดเวลาแลว ยังสามารถพูดคุยขอคําปรึกษาจากพี่เลี้ยงได เพื่อไมให เกิดความรูสึกโดดเดี่ยวหรือวิตกกังวลใจในการทํางานหรือการใชชีวิตอยูในองคกร 4. การใหคําปรึกษาแนะนํา (Consulting) การใหคําปรึกษาแนะนํา เปนวิธีการพัฒนาบุคคลอีก รูปแบบหนึ่งที่มักใชในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นกับบุคลากร ดวยวิธีวิเคราะหปญหาที่เกิดขึ้นในการทํางาน ซึ่ ง ผู บั ง คั บ บั ญ ชากํ า หนดแนวทางแก ไ ขป ญ หาที่ เ หมาะสมร ว มกั บ ผู ใ ต บั ง คั บ บั ญ ชา เพื่ อ ให บุ ค ลากร มีแนวทางแกไขปญหาที่เกิดขึ้นกับ ตนเองได ผูใหคําปรึกษาแนะนํามักเปนผูบังคับบัญชาภายในหนว ยงาน หรืออาจเปนผูเชี่ยวชาญที่มีความรู ประสบการณ และความชํานาญเปนพิเศษในเรื่องนั้น ๆ ที่มีคุณสมบัติเปน ที่ปรึกษาไดจากทั้งภายในหรือภายนอกองคกร

โดยมีรูปแบบการดําเนินการ แบงเปน 3 แบบ ดังนี้ 1) การแก ไ ขป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ บุ ค ลากร เป น การให คํา แนะนํ า ภายหลั ง จากที่ มี ป ญ หาเกิ ด ขึ้ น กั บ ตั ว บุ ค คลเองหรื อ สถานศึ ก ษาซึ่ ง บุ ค ลากรไม ส ามารถแก ไ ขให ลุ ล ว งด ว ยตนเองได จํ า เป น ต อ งมี การให คํ า ปรึ ก ษาแนะนํ า จากผู บั ง คั บ บั ญ ชาหรื อ ผู ที่ มี ค วามชํ า นาญที่ ไ ด รั บ มอบหมายจากผู บั ง คั บ บั ญ ชา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหบุคลากรสามารถแกไขปญหาไดดวยตนเอง 2) การปองกัน ปญหาที่ อาจเกิด ขึ้ น เปนการวิเคราะหปญหาที่อาจเกิดขึ้น กับ หนวยงานลว งหนา โดยการสํารวจ คาดการณปญหาและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งผูบังคับบัญชาหรือผูชํานาญการตองทําหนาที่ วิ เ คราะห แ ละคาดการณ ป ญ หาล ว งหน า โดยคํ า นึ ง ถึ ง ความสามารถของบุ ค ลากรที่ มี อ ยู ใ นป จ จุ บั น ด ว ย และใหคําปรึกษาแนะนําบุคลากรในการปฏิบัติตนเพื่อปองกันปญหาที่อาจเกิดขึ้นตอไปในอนาคต 3) การสงเสริมใหบุคลากรไดพัฒนาทักษะและความรูตาง ๆ เมื่อองคกรหรือหนวยงานมีการนํา เทคโนโลยี ส มั ย ใหม ม าใช ผู บั ง คั บ บั ญ ชาหรื อ ผู เ ชี่ ย วชาญที่ ไ ด รั บ มอบหมายต อ งทํ า หน า ที่ ใ ห คํ า ปรึ ก ษา ในการปฏิบัติตน เพื่อเตรียมความพรอมกับการนําเครื่องมือและเทคโนโลยีตาง ๆ มาใช ซึ่งจะชวยใหบุคลากร สามารถตามทันเทคโนโลยีใหมที่เกิดขึ้น รวมถึงสามารถปฏิบัติตนในการนําเครื่องมือและเทคโนโลยีนั้นมาใชใน หนวยงานตอไปได คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-17 ขั้นตอนหลักของการใหคําปรึกษาแนะนํา แบงเปน 1. รวบรวมและสรุปปญหาที่เกิดขึ้น ผูบังคับบัญชาตองจูงใจสรางบรรยากาศและสภาพแวดลอม ในการทํางานใหบุคลากรเปดใจ ไมกลัว ที่จะเลาปญหาที่เกิดขึ้นในการทํางาน และชวยวิเคราะหถึงสาเหตุ หรื อ ที่ ม าของป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยบุ ค ลากรต อ งมี ค วามพร อ มและเป ด ใจยอมรั บ ฟ ง ข อ เสนอแนะ จากผูใหคําปรึกษา 2. กําหนดแนวทางปฏิบัติในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น ตองวางแผนและกําหนดแนวทางปฏิบัติ ใหกับบุคลากร ภายหลังจากที่รับฟงปญหา โดยกําหนดเปาหมายหรือผลลัพธที่เกิดขึ้นจากการเลือกปฏิบัติ ตามแนวทางนั้น ทั้งนี้ในการกําหนดแนวทางปฏิบัติเพื่อแกไขปญ หาที่เกิดขึ้น หรือเพื่อสงเสริมใหบุคลากร สามารถเรียนรูใหทันกับเทคโนโลยี / เครื่องมือใหม ๆ ที่นํามาใชในองคกร ผูบังคับบัญชาตองกําหนดแผน สํารองหรือแนวทางเลือกอื่น หากแนวทางแรกไมประสบผลสําเร็จ 3. สื่อสารทําความเข าใจที่ตรงกันกับ บุคลากร ตองชี้แจงแนวทางปฏิบัติและผลลัพธที่เกิดขึ้ น จากการปฏิบัติตามแนวทางที่เสนอ ในขณะที่ผูบังคับบัญชาชี้แจงกับบุคลากรจําเปนอยางยิ่งที่ตองสงเสริม สนับสนุน ใหบุคลากรรูสึกมั่นใจในการปฏิบัติตามแนวทางที่กําหนดรวมถึงเปดโอกาสใหสอบถามประเด็น ที่ ส งสั ย ซึ่ ง ผู บั ง คั บ บั ญ ชาต อ งเป ด ใจยอมรั บ ฟ ง และตอบข อ ซั ก ถามจากบุ ค ลากร พร อ มสร า งกํ า ลั ง ใจ และความมั่นใจในการปฏิบัติตามแนวทาง 4. ติ ดตาม สรุป และประเมิ น ผล ติดตามดูแลการปฏิบัติงานของบุคลากรวาไดนําแนวทาง ที่ ใ ห คํ า ปรึ ก ษาแนะนํ า ไปใช ป ฏิ บั ติ รวมถึ ง ผู บั ง คั บ บั ญ ชาเป น พี่ เ ลี้ ย งดู แ ลการทํ า งานของบุ ค ลากร กํ า หนดช ว งเวลาที่ ติ ด ตามความคื บ หน า เป น ระยะ พร อ มทั้ ง ประเมิ น ความสํ า เร็ จ จากการนํ า แนวทาง ที่ใหคําปรึกษาแนะนําไปใช ความสําเร็จของการใหคําปรึกษาแนะนําสวนหนึ่งมาจากผูใหคําปรึกษาแนะนําเองที่ตองจัดสรร เวลาใหบุคลากรอยางเต็มที่ ทั้งนี้การเลือกผูใหคําปรึกษาแนะนํา บางครั้งผูเชี่ยวชาญภายในอาจไมเหมาะสม จําเปนตองใชบุคลากรภายนอกที่มีความรู ความชํานาญ และประสบการณมากกวา เพื่อไมใหผูบังคับบัญชา เสียเวลาในการทํางานกับการลองผิดลองถูก อันเปนการเรียนลัดจากผูมีประสบการณมากอน 5. การหมุนเวียนงาน (Job Rotation) / การใหปฏิบัติงานในหนวยงานอื่น การหมุนเวียนงาน เปนวิธีการหนึ่งในการพัฒนาขีดความสามารถในการทํางานของบุคลากร ถือเปนวิธีการที่กอใหเกิดทักษะ การทํางานที่หลากหลาย (Multi – Skill) ที่เนนการสลับเปลี่ยนงานในแนวนอน จากงานหนึ่งไปยังอีกงานหนึ่ง มากกวาการเลื่อนตําแหนงงานที่สูงขึ้น การหมุนเวียนงานเกิดไดทั้งการเปลี่ยนตําแหนงงานและการเปลี่ยน หนวยงานโดยการใหปฏิบัติงานในหนวยงานอื่น ภายใตระยะเวลาที่กําหนด โดยมีรูปแบบการดําเนินการ แบงเปน 2 แบบ ดังนี้ 1) การหมุนเวียนภายในหนวยงาน การสับเปลี่ยนงานของคนหนึ่งใหเรียนรูงานอื่นของอีกคนหนึ่ง ภายใตระยะเวลาที่ตกลงกันเปนการเรียนรูงานภายในหนวยงานเดียวกัน ดังนั้น สภาพแวดลอมการทํางาน จึงไมเปลี่ยนแปลงมากนัก ไมยุงยาก มีผูบริหารคนเดิมดูแล 2) การใหปฏิบัติงานในหนวยงานอื่น การสับเปลี่ยนงานที่อยูตางหนวยงาน มีผลใหสภาพแวดลอม ในงานเปลี่ยนไมวาผูบังคับบัญชา เพื่อนรวมงาน ผูใตบังคับบัญชา และลักษณะงาน ทําใหบุคลากรเกิดความกังวล ใจ จึงตองชี้แจงเหตุผล ความจําเปนและวัตถุประสงคใหรับทราบและเขาใจอยางถูกตอง ขั้นตอนหลักของการหมุนเวียนงาน แบงเปน 1. สํารวจ ตรวจสอบงานปจจุบันกอนวาบุคลากรที่ตองการใหสับเปลี่ยนหมุนเวียนงานไปทํางาน ในหน ว ยงานใด และบุ คลากรคนนั้ น สามารถหมุน เวียนงานไปทํางานในหนว ยงานใดไดบางโดยพิจ ารณา จากกลุมงานที่เหมือนกันสามารถสับเปลี่ยนหมุนเวียนงานเพื่อเรียนรูงานระหวางกันได ทั้งนี้ตองมีการจัด คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-18 แบงกลุมงานและพิจ ารณาว าแตล ะกลุ มงานสามารถหมุนเวีย นงานไปยังหนวยงานใดไดกอน อีกทั้งควรมี ความสมัครใจของบุคลากรดวย 2. วางแผน ผูบังคับบัญชาตองวางแผนในการเพิ่มพูนทักษะ ความสามารถของบุคลากร รวมถึง การวางแผนเพื่อใหบุคลากรสามารถปรับตัวกับลักษณะงานที่เปลี่ยนแปลงไปและสภาพแวดลอมการทํางาน ที่ตางไปจากเดิม หากเปนการหมุนเวียนขามหนวยงาน ผูบังคับบัญชาของสองหนวยงานตองยินยอมพรอมใจ ที่ จ ะฝ ก ฝนและพั ฒ นาความสามารถของบุ ค ลากร โดยที่ ผู บั ง คั บ บั ญ ชาทั้ ง สองต อ งทํ า หน า ที่ เ ป น พี่ เ ลี้ ย ง และใหคําปรึกษาแนะนําในการทํางานอยางใกลชิด 3. ฝกอบรมงานกอนการหมุนเวียนงานและระหวางการหมุนเวียนงานเปนระยะอยางตอเนื่อง เพื่อสรางความมั่นใจใหกับบุคลากรในชวงที่มีการเปลี่ยนงาน ทั้งนี้ขั้นตอนนี้ทําใหบุคลากรคลายความวิตกกังวล กั บ ลั ก ษณะงานใหม และสภาพแวดล อมที่ เปลี่ ย นแปลงไปจากเดิ ม ที่เ คยปฏิบั ติ อี ก ทั้ง ยัง ช ว ยเสริ ม ทัก ษะ ความสามารถของบุคลากรในการรับผิดชอบกับลักษณะงานใหมที่ไดรับมอบหมาย 4. ปฏิบัติหมุนเวียนงาน โดยผูบังคับบัญชาตองติดตามดูแลบุคลากรอยางใกลชิด พรอมทั้งให คําปรึ กษา แนะนํ า และทํ าหนา ที่ เป นพี่ เ ลี้ย งบุคลากรเพื่อใหเปน การตรวจสอบยืนยัน วาบุคลากรสามารถ รับผิดชอบงานที่เปลี่ยนไปจากเดิมได 5. ประเมิ น ผล การหมุ น เวี ย นงานถื อ เป น การทดลองงาน เสมื อ นการเรี ย นรู นํ า ร อ งภายใน ระยะเวลาที่ กํ า หนดแน น อน ดั ง นั้ น ผู บั ง คั บ บั ญ ชาควรประเมิ น ผลการทํ า งานของบุ ค ลากรเป น ระยะ เพื่อพัฒนาและปรับปรุงผลงานใหดียิ่งขึ้น รวมถึงใหขอมูลยอนกลับ (Feedback) แกบุคคลอยางตอเนื่องใหรับรู ขอควรปรับปรุง / พัฒนาจากผูบังคับบัญชา เพื่อใหการทํางานเปนไปตามเปาหมายที่กําหนดขึ้น 6. การเขารวมประชุม / สัมมนา (Meeting / Seminar) การเขารวมประชุม / สัมมนา เปนวิธีการ พัฒนาบุคลากรอีกรูปแบบหนึ่ง เนนการพัฒนาทักษะในการคิดเชิงนวัตกรรม การแลกเปลี่ยนขอมูลความรู และประสบการณ และทั ก ษะในการแก ไ ขป ญ หาและการตั ด สิ น ใจ สามารถนํ า แนวคิ ด ที่ ไ ด รั บ จาก การประชุ มสัมมนามาปรั บใช เพื่ อเพิ่ มประสิทธิภ าพในการทํางาน เปน การมอบหมายจากผูบังคับ บัญ ชา ใหบุคลากรไดเขารวมในการประชุม / สัมมนา ทั้งภายในและภายนอกหนวยงาน โดยมีรูปแบบการดําเนินการ แบงเปน 2 แบบ ดังนี้ 1) การเขารวมประชุม / สัมมนา ภายในหนวยงาน ใหเขารว มประชุม / สัมมนา กับหนวยงาน ภายในองคกร ตามวัตถุประสงคของการประชุม / สัมมนา ไดรับทราบความคิดเห็นจากการประชุม / สัมมนา และเตรียมขอมูลที่เกี่ยวของในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและขอมูล ทําใหไดทบทวนความเขาใจในขอมูล กอนการประชุม / สัมมนา ชว ยเสริมสรางทักษะในการแกไขปญหาและการตัดสินใจ และสามารถพัฒนา ความคิดตอยอดสูการปรับปรุงพัฒนางานได 2) การเขา รวมประชุม / สัมมนา กับหนวยงานอื่น ใหเขารว มประชุม / สัมมนา กับ หนวยงาน ภายนอกองค ก ร ได เ พิ่ ม ความรู ความเข า ใจนวั ต กรรมและความคิ ด ใหม จ ากนอกองค ก ร ได รั บ ทราบ ความคิ ด เห็ น จากการประชุ ม / สั ม มนา จากบุ ค ลากรนอกองค ก ร และเตรี ย มข อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข อ ง ในการแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น และข อ มู ล ระหว า งองค ก ร ช ว ยเสริ ม สร า งทั ก ษะในการแก ไ ขป ญ หา และการตัดสินใจ สามารถพัฒนาความคิดตอยอดสูการปรับปรุงพัฒนางานให ขั้นตอนหลักของการเขารวมประชุม / สัมมนา แบงเปน 1. สํ า รวจข อ มู ล บุ ค ลากรที่ มี ค วามพร อ มในด า นข อ มู ล ความคิ ด สร า งสรรค และวิ เ คราะห ความต อ งการเพิ่ ม ความรู แ ละทั ก ษะในการคิ ด เชิ ง นวั ต กรรมและทั ก ษะการแก ป ญ หา และการตั ด สิ น ใจ ของบุคลากร และความสามารถนั้น สามารถปรับปรุงและพัฒนาไดดวยการใชวิธีการเขารวมประชุม / สัมมนา โดยวิ เคราะหถึงความสามารถที่ตองการใหบุคลากรพัฒ นากอน ไมวาจะเปนความรูห รือทักษะที่เกี่ย วของ คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-19 กั บ งานที่ รั บ ผิ ด ชอบ รวมถึ ง เป า หมายหรื อ ความคาดหวั ง จากการเข า ร ว มประชุ ม / สั ม มนา ให ชั ด เจน ซึ่ งบางกรณี เ ป น การประชุ ม / สั มมนา ที่ มี บุคลากรคนเดี ย วเกี่ย วขอ งโดยตรงหรือ มีผู เกี่ย วข องหลายคน ทําใหตองพิจารณาคัดเลือกบุคคลที่เหมาะสมและมีความพรอมใหเขารวมการประชุม / สัมมนา 2. กําหนดหัวขอประเด็นที่ตองการเสริมสรางความคิด การแกปญหาและตัดสินใจ พิจารณาจาก ความตองการในการพัฒนา กําหนดวัตถุประสงคและหัว ขอเรื่องการประชุมสัมมนาที่เหมาะสม ใชเกณฑ ความเปนไปไดในการใหความคิด ใหประโยชน และใหประสบการณดานใดมากเพียงใด ตรงตามที่ตองการ หรือไม 3. สื่อสาร แจงวัตถุประสงค กิจกรรมใหบุคลากรทราบประเด็นที่ตองการใหไดรับจากการเขารวม ประชุม / สัมมนา โดยมีการมอบหมายระบุใหชัดเจนพรอมใหทราบถึงจุดมุงหมายเดียวกันและไดมีการเตรียม ข อ มู ล และประเด็ น แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น และข อ มู ล ที่ เ ป น ประโยชน แ ละเหมาะสมแก ก ารเผยแพร ในการประชุม / สัมมนาเปนการลวงหนา 4. เขารวมการประชุม/สัมมนา ทั้งในหรือนอกสถานที่ จดบันทึกประเด็นในระหวางการประชุม/ สัมมนา โดยให บุ คลากรทํ า สรุ ปรายงานการเขารว มประชุม / สัมมนาในประเด็น ที่เปน สาระสําคัญ และเปนประโยชนในการนํามาตอยอดปรับปรุงพัฒนางานและขอมูลในหนวยงานภายหลังเสร็จสิ้นการประชุม/ สัมมนา 5. ประเมิน ผูบังคับบัญชาประเมินติดตามผลจากรายงานสรุปการเขารวมประชุม/สัมมนา ของบุคลากรในประเด็นวาบรรลุ (1) วัตถุประสงคการประชุม / สัมมนา (2) ประโยชนที่ไดรับ (3) รายละเอียด สาระสําคัญ ที่พบและสิ่งที่พบสามารถนามาประยุกตใช (4) ขอสังเกตอื่นๆ และ (5) ความคิดเห็นของบุคลากร ทั้งนี้ การสงใหบุคลากรที่เหมาะสมเขารวมการประชุม / สัมมนาทั้งภายในหรือภายนอกหนวยงาน นอกจากเปนการพัฒนาบุคลากรที่รูเนื้องานของตนเปนอยางดี ใหรับผิดชอบเตรียมขอมูลในงานของตน ไดทบทวนขอมูลและสรุปประเด็นในงานของตนหากเหมาะสมที่จะใชในการแลกเปลี่ยนขอมูลกับหนวยงาน ภายในหรือระหวางหนวยงาน เปนการชวยเสริมสรางทักษะการนําเสนอ การแสดงความเห็นและเจรจาตอรอง การคิดวิเคราะห การแกไขปญหาเฉพาะหนา และตัดสินใจ รวมทั้งสรางเครือขายความรวมมือทั้งภายใน และภายนอกหนวยงานแลว ยังเปนการแบงเบาภาระงานและความรับผิดชอบของผูบังคับบัญชาเมื่อไดรับเชิญ ใหเขารวมประชุม / สัมมนา 7. การดูงานนอกสถานที่ (Site Visit) การดูงานนอกสถานที่ เปนวิธีการพัฒนาบุคลากรอีกรูปแบบ หนึ่งเนนดูงานที่มีขอบเขตงานที่รับผิดชอบเหมือนกันหรือลักษะงานที่ตองทํางานรวมกัน เพื่อใหบุคลากรได เรียนรูเฉพาะเรื่องและเห็นประสบการณใหม รูปแบบการทํางานที่มีวิธีปฏิบัติเปนเลิศ (Best Practice) สามารถนําแนวคิดที่ไดรับจากการดูงานมาประยุกตใชปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานและพัฒนา ขีดความสามารถของตน โดยมีรูปแบบการดําเนินการ แบงเปน 2 แบบ ดังนี้ 1) การดูงานภายในองคกรเดียวกัน ศึกษาดูงานเกี่ยวกับวิธี / รูปแบบการปฏิบัติที่เปนเลิศ สามารถ นํ า มาใช เ ป น ตั ว อย า งหรื อ แม แ บบในการทํ า งานได รู ป แบบนี้ ค อ นข า งสะดวกในการติ ด ต อ ประสานงาน และการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกัน เนื่องจากอยูในองคกรเดียวกันและรูจักคุนเคยกันอยูแลว การติดตอ ดูงานไมยุงยาก ประโยชน ทําใหเกิดความเขาใจรูปแบบการทํางาน ขั้นตอนเชื่อมโยงการทํางานของตนกับงานอื่น โดยชวยใหเกิดการปรับปรุงพัฒนาความสามารถในการทํางานไดเปนอยางดี อีกทั้งชวยเสริมสรางสัมพันธภาพ ที่ดีภายในองคกร คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-20 2) การดูงานภายนอกองคกร เปดโอกาสสรางประสบการณใหเห็นการทํางานขององคกรภายนอกที่มี วิธีการปฏิบัติงานที่เปนเลิศ บุคลากรไมเคยเห็นมากอน สามารถนํามุมมองที่ไดรับมาปรับใชในองคกรของตน ทั้งนี้ ตองเตรียมความพรอมและขั้นตอนการประสานงานไวลวงหนา ในการกําหนดวัน เวลา การเดินทาง ของที่ระลึก และขออนุญาตเขาเยี่ยมชม พรอมประสานบุคลากรขามองคกรเปนอยางดี ประโยชน ทําใหเกิดมุมมองใหม เสริมสรางแนวคิดใหมและวิสัยทัศนในการทํางาน เปนการกระตุนให เกิดแรงจู งใจในการเตรียมพรอมรองรับการเปลี่ยนแปลง และจุดประกายการพัฒนาจากการเปรียบเทีย บ รูปแบบขั้นตอนการทํางานของตนกับองคกรภายนอก ขั้นตอนหลักของการดูงานนอกสถานที่ แบงเปน 1. สํารวจ วิเคราะหความตองการเพิ่มความรูและทักษะในเรื่องใดของบุคลากรและความสามารถนั้น สามารถปรับปรุงและพัฒนาไดดวยการใชวิธีการดูงานนอกสถานที่ โดยวิเคราะหถึงความสามารถที่ตองการให บุคลากรพั ฒ นากอน ไม วา จะเปน ความรูห รือทักษะที่เกี่ยวของกับ งานที่รับ ผิดชอบ รวมถึง เปาหมายหรือ ความคาดหวังจากการดูงานนอกสถานที่ใหชัดเจน 2. วางแผนการดูงาน พิจารณาจากความตองการในการพัฒนา กําหนดวัตถุประสงค สถานที่กําหนด จุดที่จะดูงานใชเกณฑความเปนไปไดในการใหความรู ใหประโยชน และใหประสบการณดานใดมากเพียงใด ตรงตามที่ ต อ งการหรื อไม จากนั้ น แจ ง ความตองการลว งหนาให องคกรภายนอกเตรีย มขอ มูล ใหตรงตาม วัตถุประสงค เตรียมการตอนรับตามกําหนดวันเวลาที่มีระยะเวลาการดูงานที่ชัดเจน พรอมแจงใหทุกฝายทราบ 3. สื่อสาร แจงวัตถุประสงค กิจกรรมใหบุคลากรทราบแนวทางในการดูงานใหทราบถึงจุดมุงหมาย เดียวกันและไดมีการตั้งคาถามในสิ่งที่อยากสอบถามเพิ่มเติมไวลวงหนา 4. ปฏิบัติการดูงานนอกสถานที่ โดยจดบันทึกรายละเอียดและสอบถามสิ่งที่ตองการทราบในระหวาง ที่ดูงาน ซึ่งมักมีการมอบของที่ระลึกใหกับองคกรภายนอกภายหลัง เสร็จสิ้นการดูงานแลว 5. ประเมิน ผูบังคับบัญชาประเมินติดตามผลจากรายงานสรุปของบุคลากรในประเด็นวาบรรลุ (1) วัตถุประสงคการดูงาน (2) ประโยชนที่ไดรับ (3) รายละเอียด Best Practice ที่พบและสิ่งที่พบสามารถ นํามาประยุกตใช (4) ขอสังเกตอื่นๆ และ (5) ความคิดเห็นของบุคลากร ทั้งนี้ ภายหลังการดูงานนอกสถานที่ทุกครั้ง ผูบังคับบัญชาตองติดตามและดําเนินการพัฒนาตอยอด โดยการใชเทคนิคการพัฒนาอื่นมาใชปรับปรุงความสามารถของบุคลากร เชน การมอบหมายงาน การเรียนรู ดวยตนเอง เปนตน ซึ่งเปนวิธีการพัฒนาความสามารถภายหลังจากการดูงานเสร็จสิ้น 8. การฝกงานกับผูเชี่ยวชาญ (Counterpart) การฝกงานกับผูเชี่ยวชาญ เปนวิธีการพัฒนาบุคลากร แบบหนึ่งที่เนนใหความรู ความเชี่ยวชาญเจาะลึกเฉพาะดาน โดยใหฝกงานและทํางานรวมงานกับผูเชี่ยวชาญ ที่ไดรับมอบหมาย อาจเปนผูเชี่ยวชาญในวิชาชีพที่ทํางานอยู หรือเปนผูเชี่ยวชาญในทักษะหลายดานซึ่งรวมถึง ผูบริหารดวย

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-21 โดยมีรูปแบบการดําเนินการ แบงเปน 2 แบบ ดังนี้ 1) การฝกงานและทํางานรวมกับผูเชี่ยวชาญภายใน ใชในองคกรใหญ โดยมอบหมายใหผูเชี่ยวชาญ ภายในองคกรที่มีอยูแลวเปนผูฝกงานตามระยะเวลาที่กําหนด 2) การฝกงานและทํางานรวมกับผูเชี่ยวชาญภายนอก เชิญผูเชี่ยวชาญภายนอกเขามาฝกอบรม หรือสงบุคลากรไปฝกงานกับผูเชี่ยวชาญทั้งในและตางประเทศ ตามที่มีโครงการความรวมมือระหวางองคกร รองรับ ขั้นตอนหลักของการฝกงานกับผูเชี่ยวชาญ แบงเปน 1. สํารวจ ผูบังคับบัญชาตองจําลําดับความสําคัญของเรื่องที่จะฝกงานโดยวิเคราะหจากความสามารถ ที่ตองการพัฒนาปรับปรุงหรือเสริมใหบุคลากรมีความสามารถเพิ่มขึ้นดวยวิธีการฝกงานกับผูเชี่ยวชาญ กําหนด แนวทางและลําดับเรื่องที่จะฝกงานใหชัดเจน 2. วางแผนรวมกับผูเชี่ยวชาญ ผูบังคับบัญชาตองกําหนดระยะเวลาของการฝกงาน ติดตอผูเชี่ยวชาญ ใหทราบความคาดหวัง แผนการดําเนินการ เปาหมาย และผลลัพธที่ตองการ 3. สื่อสารทําความเขา ใจกั บบุ คลากร ผูบังคับบัญชาตองสื่อสารกับ บุคลากรเพื่อทําความเขาใจ ถึงความคาดหวังที่ตองการ แผนการดําเนินการ เปาหมาย และผลลัพธที่ตองการจากการฝกงานกับผูเชี่ยวชาญ 4. ฝกงาน ผูเชี่ยวชาญตองหาวิธีการใหบุคลากรมีสวนรวมแลกเปลี่ยนขอมูลความคิดเห็นและสังเกต บุคลากรในขณะฝกงาน หมั่นสอบถาม และใหขอมูลยอนกลับ (Feedback) แกบุคลากรเสมอวาเขาใจหรือไม มีคําถามขอสงสัยที่ตองการสอบถามเพิ่มเติมเรื่องใด ในขณะที่ผูฝกงานจะตองคอยสังเกตและบันทึกความรู และประสบการณที่ไดรับจากผูเชี่ยวชาญ และสอบถามเพิ่มเติมในประเด็นที่สงสัย ตลอดจนตองคิดวิเคราะห และรูจักประยุกตความรูที่ไดรับจากการฝกงานกับงานที่ไดรับมอบหมาย 5. ประเมิน ผูบังคับบัญชาตองดูแลอยางใกลชิดและทาหนาที่ประเมิน ตรวจสอบ ติดตามผล การฝ ก งานร ว มกั บ ผู เ ชี่ ย วชาญอย า งต อ เนื่ อ ง โดยนั ด หมายเป น ระยะเพื่ อ สอบถามบุ ค ลากรถึ ง ความรู และประสบการณที่ได รั บ จากการฝกงาน รวมถึ งใหคํา ปรึกษาแนะนําแกบุคลากรถึงการปฏิบัติตนในชว ง ระหวางการฝกงานและทํางานรวมกับผูเชี่ยวชาญ ทั้งนี้ มีวิธีการภายหลังจากการฝกงานกับผูเชี่ยวชาญในการติดตามตรวจสอบความรูของบุคลากร เชน การมอบหมายใหบุคลากรจัดทํารายงาน หรือมอบหมายงานใหภายหลังจากการฝกงาน เปนตนเพื่อให บุคลากรไดเขาใจในสิ่งที่เรียนรูมากยิ่งขึ้น 9. การมอบหมายงาน (Job Assignment) การมอบหมายงาน เปนอีกวิธีการหนึ่งที่ใชในการพัฒนา บุคลากรและเปน ที่ นิ ย ม โดยเน น การกระจายงานในหนาที่ และมอบอํ า นาจการตัดสิน ใจภายในขอบเขต ที่กําหนดใหผูอื่นไปปฏิบัติ ซึ่งหากสังเกตจากผูบริหารระดับหัวหนาที่มีความมานะทุมเททํางานทุกอยางที่ขวาง หนา แมกระทั่งงานของลูกนองก็ตาม อาจมีผูบริหารตั้งคําถามวาแลวจะทําอยางไร เมื่องานในความรับผิดชอบ มีมากและต องจัดลําดับความสําคัญ ซึ่งการมอบหมายกระจายอํา นาจ ตองมีความไววางใจเปนสว นสํ าคัญ ดังนั้นการมอบหมายงาน นอกจากเปนการพัฒนาบุคลากรแลวยังชวยแกปญหางานผูบริหารใหบรรเทาเบาบาง ลงได โดยจําแนกวัตถุประสงคของการมอบหมายงานเปน 3 ขอ ดังนี้ 1. เพื่อชวยผูบริหารใหมีเวลามากขึ้นในการพัฒนาตนเอง แกปญหางาน หรือคิดสรางสรรคสิ่งใหม 2. เพื่อพัฒนาบุคลากรดวยการเปดโอกาสใหใชความรูความสามารถในการทํางานเพิ่มยิ่งขึ้น 3. เพื่ อ เตรี ย มความพร อมบุ คลากรสํ าหรั บ เปน หัว หนางานในอนาคต ด ว ยการประเมิ น ศัก ยภาพ ของบุคลากรกอนเลื่อนระดับที่สูงขึ้น คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-22 ขั้นตอนหลักของการฝกงานกับผูเชี่ยวชาญ แบงเปน 1. กําหนดงานและวัตถุประสงคในการมอบหมายงานที่จะใหผูใตบังคับบัญชาทําแทน โดยพิจารณา ความเหมาะสมของงานที่เปนงานประจํา (Routine) ยกเวนงานที่เปนชั้นความลับและงานเชิงนโยบายที่ตอง ตัดสินใจและรับผิดชอบสูง ซึ่งตองกําหนดงานและวัตถุประสงคใหชัดเจนวาเพื่อตองการใหบุคลากรพัฒนา ตนเอง หรือประเมินศักยภาพเพื่อเตรียมความพรอม 2. กํ า หนดขอบเขตหน า ที่ แ ละอํ า นาจตั ด สิ น ใจในงาน เช น งานการเงิ น งานที่ มี ผ ลกระทบต อ ภาพลักษณองคกร ตองพิจารณาขอบเขตอํานาจตัดสินใจหรืออาจตองปรึกษาหารือกอนดําเนินการ 3. พิ จ ารณาบุ ค คลที่ เ หมาะสมกั บ คุ ณ ภาพความสํ า เร็ จ ของงาน โดยเลื อ กบุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ความสามารถและมี ประสบการณ มากพอ กรณีใชวิธีการนี้เพื่อพัฒ นาลูกนอง ตองเลือกบุคลากรที่ยังไมมี ความสามารถในเรื่องนั้น กรณีใชเพื่อประเมินศักยภาพความพรอม ตองเลือกบุคลากรที่มีโอกาสเลื่อนตําแหนง ซึ่ ง ต อ งเป น บุ ค คลที่ เ หมาะกั บ งานเพื่ อ ประกั น ความสํ า เร็ จ และลดความเสี่ ย ง “Put the right man to the right job” 4. ทํ า ความเข า ใจกั บ ผู รั บ มอบงาน แจ ง วั ต ถุ ป ระสงค แ ละสอบถามความพร อ ม รวมถึ ง แนะนํ า วิธีการขั้นตอน เปดโอกาสซักถามขอสงสัย พรอมทั้งใหผูรับมอบหมายงานไดเสนอแนวทางการดําเนินการ หรือ แผนงานที่ จ ะทํ า เพื่ อ ประกั น โอกาสความสํ า เร็ จ หากงานที่ ม อบหมายต อ งมี ผู ป ฏิ บั ติ ร ว มกั น หลายคน ควรคํานึงถึงหลักการทํางานเปนทีมโดยพิจารณาคนที่ทํางานรวมกันได รวมทั้ง ควรทําเปนคําสั่งแบงงานให ชัดเจน เพื่อประโยชนในการติดตามและควบคุมงาน ตลอดจนลดความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นได 5. กระตุน จูงใจ ใหกําลังใจและสนับสนุน เมื่อผูรับมอบงานไดดาเนินการตามขั้นตอนที่ทําความเขาใจ กันแลว ตองมีการกระตุนใหกําลังใจและสนับสนุนอุปกรณ เครื่องมือ ความสะดวก ชี้แนะใหคําปรึกษาเปน ระยะเพื่อสรางขวัญกําลังใจและความสัมพันธอันดี 6. ติดตามประเมินผลงาน ติดตามความกาวหนาระหวางดํา เนิน การตามแผนการดําเนิน งานและ แนวทางที่กํา หนด สอบถามปญหาอุปสรรค และติดตามการแกไขปรับ ปรุงไดทันทว งทีกอนความเสีย หาย เกิดขึ้น และเมื่องานนั้นแลวเสร็จตองประเมินคุณคาวาดีเพียงไร และควรมีการชมเชยหรือใหรางวัล ทั้งนี้ การมอบหมายงานเปนวิธีการพัฒนาบุคลากร ที่เปนเครื่องมือชวยผูบริหาร ในการบริหารงานได ทั้งสองสิ่งควบคูกับผลงาน กลาวคือ ไดทั้งงานที่ผูบังคับบัญชาในฐานะผูบริหาร ไมตองทําเอง และยังได บุคลากรผูใตบังคับบัญชาในฐานะลูกนองที่เกงงานขึ้นอีกดวย 10. การติดตามหัวหนา (Work Shadow) การติดตามหัวหนา เปนอีกวิธีหนึ่งในการพัฒนาบุคลากร คนเกง ใหไดมีโอกาสติดตามผูบริหารระหวางปฏิบัติงาน โดยเปดโอกาสใหบุคลากรไดเรียนรูผานการติดตาม / สังเกตพฤติกรรมการทํางานจากแมแบบที่เปนหัวหนาในฐานะผูเชี่ยวชาญนั้น เปนเทคนิคการสรางและทําตาม แมแบบ (Role Model) ที่เนนกิจกรรมการเรียนรูระยะสั้นโดยไมตองลงทุนมากนักเพียงแคอาศัยแมแบบที่ดี ที่ ส ามารถแสดงตั ว อย า งให บุ ค ลากรผู ติ ด ตามรั บ รู และเลี ย นแบบได ใ นระยะเวลาการทํ า งานปกติ ใช ใ น การพัฒนาบุคลากรที่มีศักยภาพสูง โดยเนนใหเห็นสภาพแวดลอม ทักษะที่จําเปน ขอบเขตงานที่รับผิดชอบ การจัดการที่เกิดขึ้นจริง รวมถึง การแสดงออกและทัศนคติของแมแบบ ภายในระยะเวลาตั้งแตหนึ่งวันขึ้นไป จนถึงเปนเดือนหรือเปนปก็ตาม วิธีการพัฒนาบุคลากรนี้ใชเพื่อใหบุคลากรมีโอกาสศึกษาวิธีการทํางานของ ผูบริหารที่ควรนํามาเปนแบบอยาง นอกจากไดเรียนรูการทํางานของผูอื่นเพื่อนํามาปรับปรุงงานของตนเองใหดี ขึ้นแลว ยังใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาความกาวหนาในสายอาชีพของบุคลากร (Career path) อีกดวย โดยมีรูปแบบการดําเนินการ แบงเปน 2 แบบ ดังนี้ 1. การติ ด ตามแม แ บบภายในหน ว ยงานเดี ย วกั น ติ ด ตามแม แ บบที่ มี ตํ า แหน ง สู ง กว า เป น ผูชํานาญการในสายอาชีพ ภายในกลุม / ฝายหรือสังกัดเดียวกัน เพื่อใหไดเรียนรูการทํางานในตําแหนงที่สูงขึ้น คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-23 เห็นมุมมองทัศนคติในการทํางานของแมแบบ อันเปนการเพิ่มทักษะความชํานาญในการทํางานเชิงลึก บุคลากร ไดเรียนรูวิธีการและขั้นตอนการทํางานของแมแบบ ชวยใหมีมุมมองหรือแนวคิดในการปรับปรุงการทํางานของ ตนเอง 2. การติดตามแมแบบจากภายนอกหนวยงาน ติดตามบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในงานในตําแหนง เดียวกันหรือตําแหนงที่สูงกวาแตคนละกลุม / ฝายกันซึ่งเปนงานที่คลายคลึงกัน หรือเปนงานที่ตองติดตอ ประสานงานรวมกันเพื่อศึกษาการวางแผนและการตัดสินใจ การติดตามผูเชี่ยวชาญภายนอกใชในการพัฒนา บุคลากรใหไดมีโอกาสเห็น ไดเขาใจ และรับรูการทํางานของหนวยงานอื่น ทําใหมีวิสัยทัศนหรือมุมมองที่กวาง ขึ้นในการทํางานเพื่อใหมีการปรับปรุง / พัฒนางาน ขั้นตอนหลักของการติดตามหัวหนา แบงเปน 1. กํ าหนดงานและแม แบบ ผูบั งคั บบัญชาตองพิจ ารณาวาจะใหบุคลากรติดตามสังเกตในเรื่องใด แลวหาแมแบบที่จะเปนตัวอยางใหบุคลากรติดตามและเรียนรูการทํางาน โดยแมแบบตองมีความรูในงานเปน อยางดี เปนคนเกงคนดี เขากับผูอื่นได เพื่อนรวมงานและ บุคคลรอบขางยอมรับในการทํางาน รวมถึงมีมุมมอง หรือทัศนคติตอการใชชีวิตและตอองคกรใน เชิงบวก 2. วางแผนติดตามสังเกต ผูบังคับบัญชาตองวางแผนระยะเวลารวมกับแมแบบกรณีแมแบบไมใช ผูบังคับบัญชาเอง เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกันระหวางแมแบบและบุคลากรที่ ติดตาม ควรกําหนดงาน/ รายการที่ตองเรียนรูจากแมแบบ จัดทํา Check list และแจงใหแมแบบ และบุคลากรทราบกอนเริ่มติดตาม สังเกตการทํางาน 3. สื่อสารและใหคําแนะนํา ชี้แจงถึงการปฏิบัติตนในชวงระหวางการติดตามสังเกต โดยเฉพาะการจด บันทึกขั้นตอนการปฏิบัติงาน การพูด หรือมุมมองตาง ๆ ที่ไดจากแมแบบ ทั้งนี้ ผูบังคับบัญชาตองชี้แจงให บุคลากรรับรูถึงวัตถุประสงค เปาหมายที่ชัดเจน และผลลัพธที่ตองการจากบุคลากร รวมถึง ใหขอแนะนําที่เปน ประโยชนในชวงเฝาสังเกตการณทํางานจากแมแบบ 4. ติดตามสังเกตแมแบบ บุคลากรอาจรูสึกคับของใจวิตกกังวลในชวงการติดตามสังเกต ไมรูจะปฏิบัติ ตนอยางไรเพื่อใหมีการเรียนรูและเขาใจในสิ่งที่ไดเห็นจากแมแบบ ผูบังคับบัญชาและแมแบบควรหาชวงเวลา ในการพูดคุย ทบทวนความเขาใจในประเด็นที่ไดเรียนรู พรอมทั้งสอนแนะใหเขาใจหลักปฏิบัติที่ถูกตองในชวง สังเกตพฤติกรรมจากแมแบบ 5. ติดตามประเมินผลการเรียนรู และความสามารถในทักษะการทํางานของผูติดตามแมแบบ โดยให โอกาสบุคลากรในการปฏิบัติงานจริง ซึ่งแมแบบและผูบังคับบัญชาตองประเมิน ผลการฝกปฏิบัติของบุคลากร ใหคําปรึกษาแนะนํา และชี้แจงสิ่งที่ควรปฏิบัติและไมควรปฏิบัติ ภายหลังจากการติดตามสังเกตเสร็จสิ้น 11. การเรียนรูดวยตนเอง (Self-Learning) การเรียนรูดวยตนเอง เปนวิธีการพัฒนาบุคลากรของ องคกรที่เนนใหบุคลากรมีความรับผิดชอบในการเรียนรูและพัฒนาตนเองโดยไมจําเปนตองใชชวงเวลาในการ ปฏิบัติงานเทานั้น บุคลากรสามารถแสวงหาโอกาสเรียนรูไดดวยตนเองผานชองทางการเรียนรูและสื่อตาง ๆ ที่ตองการได ซึ่งวิธีการนี้เหมาะสมกับบุคลากรที่ชอบเรียนรูและพัฒนาตนเองอยูเสมอ โดยเฉพาะกับบุคลากร ที่มีผลการปฏิบัติงานดีและมีศักยภาพในการทํางานสูง

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-24 โดยมีรูปแบบการดําเนินการ แบงเปน 2 แบบ ดังนี้ 1. การเรียนรูดวยตนเองผานระบบคอมพิวเตอร (Computer – based Learning) เรียนรูดวย ตนเองใชสื่อผานระบบคอมพิวเตอร เชน การดู VCD หรือการคนควาผานอินเตอรเน็ต หรือการเรียนรูแบบ E- Learning เปนตน สามารถเรียนไดทุกที่ สะดวกในการจัดสรรเวลาผานการเรียนรูดวยสื่อที่ทันสมัย 2. การเรียนรูโดยผานสื่ออื่นไมผานระบบคอมพิวเตอร (Non Computer – based Learning) เรียนรูผานสื่อการเรียนรูที่ไมผานระบบคอมพิวเตอร เชน หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ ตําราเรียน ผลงานวิจัย เปนตน สามารถศึกษาคนควาไดดวยตนเองแมไมมีเครื่องคอมพิวเตอร เปนการเรียนรูที่งาย สะดวก และเรียนรู ไดทุกหนแหง ขั้นตอนหลักของการเรียนรูดวยตนเอง แบงเปน 1. สํารวจความตองการของบุคลากร ผูบังคับบัญชาตองสอบถามบุคลากรวาสามารถเรียนรูดวยตนเอง ไดหรือไม สนใจสื่อการเรียนรูใด รวมทั้งสํารวจสื่อการเรียนรูในองคกร สามารถเลือกใชสื่อการเรียนรูหลาย อยางพรอมกันไดขึ้นอยูกับความพรอม ความเหมาะสม และสื่อการเรียนรูที่มีอยูในองคกร ซึ่งสื่อการเรียนรู ในองคกรควรมีความหลากหลาย ทันสมัย และงายในการเขาถึง 2. สื่ อ สารและให คํ า แนะนํ า ผู บั ง คั บ บั ญ ชาต อ งสื่ อ สารกั บ บุ ค ลากร โดยอธิ บ ายถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค เปาหมายที่ชัดเจน และควรใหคําแนะนําแกบุคลากรในการเรียนรูดวยตนเองผานสื่อตางๆ ที่เลือกขึ้นมา และ นําความรูที่ไดรับไปประยุกตใชในการบริหารงานที่ไดรับมอบหมายใหเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น 3. เรียนรูดวยตนเอง ผูบังคับบัญชาตองกําหนดระยะเวลาในการเรียนรูดวยตนเอง มีการสอบถาม ความคืบหนาในการเรียนรูของบุคลากรเปนระยะ รวมทั้งใหขอเสนอแนะถึงเทคนิคในการเรียนรูดวยตนเองได เร็ว ตลอดจนกระตุนใหกําลังใจแกบุคลากร เนื่องจากบุคลากรอาจยุงอยูกับการทํางานของตนเอง จนทําใหไมมี เวลาการเรียนรูดวยตนเองตามสื่อที่เลือกภายในระยะเวลาที่ตกลงรวมกับผูบังคับบัญชา 4. สรุปผลการเรียนรู ผูบังคับบัญชาตองจัดสรรเวลาในการประชุมหรือพูดคุยกับบุคลากรในสิ่งที่เรียนรู เพื่อติดตามวาบุคลากรไดเรียนรูจากสื่อตามที่ไดตกลงกันไว รวมถึง จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนองคความรูที่ไดรับ กับสมาชิกในทีมหรือผูที่สนใจ อาจจัดเปนกิจกรรม เชน ชมรมนักอาน ชมรมแลกเปลี่ยนเรียนรู หรือชมรม เสวนาแกปญหาการทํางาน เปนตน เพื่อนําเรื่องราวประเด็นที่ไดจากการเรียนรูบอกตอใหกับผูอื่น เกิดการ บริหารจัดการความรู (Knowledge Management) ขึ้นภายในองคกร กระบวนการเรียนรูดวยตนเองจะมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดวยการติดตามผลจากผูบังคับบัญชา รวมถึง การจัดเวทีใหบุคลากรมีโอกาสแลกเปลี่ยนความรูของตนกับผูอื่น เพื่อเปนการถายทอดความรูและตอยอด ความรูของตนจากความคิดเห็นและมุมมองของทีมงาน 12. การเปนวิทยากรภายในหนวยงาน (In-House Instructor) การเปนวิทยากรภายในหนวยงาน เปนอีกวิธีหนึ่งที่ใชในการพัฒนาบุคลากรเนื่องดวยการเปนวิทยากรไดนั้นตองมีความรู ทักษะ ความชํานาญ รวมทั้งประสบการณในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และพรอมที่จะถายทอดใหกับบุคคลตาง ๆ ได ผูบังคับบัญชาสามารถ มอบหมายใหบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญหรือมีความชํานาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวของกับการทํางาน ทําหนาที่เปนวิทยากรภายในถายทอดความรูใหกับบุคลากรในหนวยงาน โดยมีกระบวนการจัดการเรียนรูอยาง เปนระบบ เพื่อเพิ่มพูนความรู ทักษะและทัศนคติใหกับบุคลากร ทั้งนี้ บุคลากรจะไดพัฒนาทักษะตนเองใหมี ความเชี่ยวชาญมากยิ่งขึ้น เกิดการถายทอดความรูระหวางบุคลากรดวยกันเอง ทําใหองคกรมีบุคลากรที่มี ความรู ความเชี่ยวชาญในดานตาง ๆ ทําใหความรูที่มีอยูในตัวบุคลากรคงอยูกับองคกรตอไป อันเปนการแปลง ความรู ที่ อ ยู ใ นตั ว บุ ค คลให เ ป น ความรู ภ ายนอก มี ก ารจั ด ทํ า เป น สื่ อ การสอน การทํ า เอกสารประกอบ การบรรยาย ทําใหเกิดการบริหารจัดการความรูในองคกรขึ้น ดังนั้นการเปนวิทยากรภายใน จึงเปนการพัฒนา คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2-25 ตัวบุคลากรเองและรักษาองคความรูในองคกรซึ่งวิทยากรภายในเหลานี้จะสรางใหเกิดองคกรแหงการเรียนรู (Learning Organization) ตอไปได โดยมีรูปแบบการดําเนินการ แบงเปน 2 แบบ ดังนี้ 1. วิทยากรภายในหนวยงาน เปนผูที่มีความรูและสามารถถายทอดความรูนั้นใหกับบุคลากรอื่น ในหนวยงานใหเขาใจได เปนการมอบหมายใหบุคลากรที่เปนบุคคลภายในสอนกันเอง 2. วิทยากรภายนอกหน วยงาน เปน ผูที่มีความรู ประสบการณ และความชํานาญในการทํางาน จนสามารถถายทอดความรูและประสบการณตาง ๆ ใหกับผูฟงที่มาจากตางองคกรกัน ซึ่งมีความประสงคที่จะ เขารับฟงแลกเปลี่ยนและรับรูประสบการณใหม ๆ ขั้นตอนหลักของการเปนวิทยากรภายในหนวยงาน แบงเปน 1. กําหนดคุณสมบัติของวิทยากร ผูบังคับบัญชาตองกําหนดคุณสมบัติของผูจะเปนวิทยากรภายใน ตามเกณฑในการพิจารณาเลือกบุคลากรที่จะมอบหมายใหทําหนาที่วิทยากร 2. สํ ารวจความเชี่ ยวชาญของเจ า หนาที่ ผูที่จะเปน วิทยากรควรมีความรู ความเชี่ย วชาญในเรื่อง ที่บ รรยายเปน อย างดี โดยต องสํ า รวจว า ใครมีความเชี่ย วชาญพอและสนใจหรือ เต็มใจจะพัฒ นาโดยการ เปนวิทยากร 3. ออกแบบหลักสูตร บุคลากรที่ไดรับการคัดเลือกหรืออาสาเปนวิทยากรภายใน ทากําหนดการหัวขอ ที่บ รรยาย (Course Outline) ขึ้ น มากอ น แล ว หารื อ กั บ ผู บั งคั บ บั ญ ชาเพื่ อ ให ส อดคล อ งกั บ วัต ถุ ป ระสงค ของการพัฒนา 4. เตรียมสื่อการบรรยายและดําเนินการ บุคลากรที่ไดรับการคัดเลือกตองมีความเขาใจถึงบทบาท ในการเปนวิทยากร รวมถึงหลักการและศิลปะในการเปนวิทยากร ผูบังคับบัญชา มีสวนอยางมากในการฝกฝน ใหขอมูลยอนกลับ (Feedback) รวมถึง การใหคําปรึกษาแนะนําแกเจาหนาที่ที่ทําหนาที่เปนวิทยากรภายใน เพื่อปรับปรุงและพัฒนาทักษะการเปนวิทยากรตอไป 5. ติดตามประเมินผล ผูบังคับบัญชาสามารถติดตามผลการประเมินวิทยากรได จากแบบประเมินผล การบรรยาย ควรมีการใหคําแนะนําและยกยองชมเชยหากสามารถเปนวิทยากรไดดี

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


3-1

บทที่ 3 การประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ขั้นตอนและแนวทางในการดําเนินการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีดังนี้

3.1 ขั้นตอนและแนวทางในการประเมินตนเอง สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาไดกําหนดใหครูสายงานการสอนทุกคน มีการประเมิน ตนเอง โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ให ค รู ไ ด ต รวจสอบสมรรถนะในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข องครู เ ป น รายบุ ค คล ตามรูป แบบที่ กําหนด แล วนํ า ผลที่ป ระเมิน ไปประกอบการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ในการประเมินตนเองมีขั้นตอนและแนวทาง ดังนี้ 3.1.1 รายละเอี ย ดการประเมิ น สมรรถนะการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข องครู ส ายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไดกําหนดใหครูสายงานการสอนดําเนินการ ประเมินตนเองซึ่งเปนการประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติหนาที่ โดยใชกรอบการประเมินผลงานที่เกิดจากการ ปฏิ บัติ หน าที่ ตํ าแหน งครู สังกัดสํา นักงานคณะกรรมการการอาชีว ศึกษา ซึ่งเปน สว นหนึ่งของหลักเกณฑ และวิ ธี ก ารให ข า ราชการครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา ตํ า แหน ง ครู มี วิ ท ยฐานะ และเลื่ อ นวิ ท ยฐานะ (ว21/2560) ที่สํานักงาน ก.ค.ศ. กําหนด มาใชเปนแนวทางในการประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติหนาที่ของครู สายงานการสอน สั ง กั ด สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา โดยได กํา หนดแบบประเมิ น สมรรถนะ ในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ สํ า หรั บ ประเมิ น สมรรถนะของครู อ าชี ว ศึ ก ษาสายงานการสอน สั ง กั ด สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา สําหรับประเมินตนเอง ออกเปน 5 กลุม ไดแก กลุมที่ 1 พนักงานราชการ (ครู) ครูพิเศษสอน ครูผูชวย ครู กลุมที่ 2 ครูชํานาญการ กลุมที่ 3 ครูชํานาญการพิเศษ กลุมที่ 4 ครูเชี่ยวชาญและ กลุมที่ 5 ครู เชี่ยวชาญพิเ ศษ มี รายละเอียดการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติหนาที่ ประกอบดวยรายการ ประเมิน 3 ดาน 13 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1. ดานการจัดการเรียนการสอน ประกอบดวย 8 ตัวชี้วัด 1.1 การสราง และหรือพัฒนาหลักสูตร 1.2 การจัดการเรียนรู 1.2.1 การออกแบบหนวยการเรียนรู 1.2.2 การจัดทําแผนการจัดการเรียนรู / แผนการฝกอาชีพ / แผนการจัดการศึกษา เฉพาะบุคคล (IEP) / แผนการสอนรายบุคคล (IIP) / แผนการจัดประสบการณ 1.2.3 กลยุทธในการจัดการเรียนรู 1.2.4 คุณภาพผูเรียน คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


3-2 เรียนรู

1.3 การสรางและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลง 1.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู 1.5 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู 2. ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน ประกอบดวย 3 ตัวชี้วัด 2.1 การบริหารจัดการชั้นเรียน 2.2 การจัดระบบดูแลชวยเหลือผูเรียนหรือผูที่เขารับการฝกอบรม 2.3 การจัดทําขอมูลสารสนเทศ และเอกสารประจําชั้นเรียนหรือประจําวิชา 3. ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ ประกอบดวย 2 ตัวชี้วัด 3.1 การพัฒนาตนเอง 3.2 การพัฒนาวิชาชีพ

แต ล ะตั ว ชี้ วั ด มี ร ะดั บ คุ ณ ภาพของตั ว ชี้ วั ด แบ ง ออกเป น 5 ระดั บ พร อ มทั้ ง รายการหลั ก ฐาน ร อ งรอย ผลการดํ า เนิ น การ รายละเอี ย ดการประเมิ น สมรรถนะในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข องครู ส ายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามเอกสารในภาคผนวก ก 3.1.2 กลุมเปาหมายที่ตองประเมินตนเอง กลุมเปาหมายที่ตองประเมินตนเองตามแบบการประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติหนาที่ ของครู ส ายงานสอน สํ า นั กงานคณะกรรมการการอาชีว ศึกษา คือ ครูที่ทําหนาที่ส อน ในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาทุกคน แบงออกเปน 5 กลุม ไดแก กลุมที่ 1 พนักงานราชการ(ครู) ครูพิเศษสอน ครู ผูช วย ครู กลุมที่ 2 ครูชํ านาญการ กลุ มที่ 3 ครูชํานาญการพิเศษ กลุมที่ 4 ครูเชี่ย วชาญ และกลุมที่ 5 ครูเชี่ยวชาญพิเศษ ซึ่งไดนิยามศัพทดังนี้ 1) พนักงานราชการ (ครู) หมายถึง ครูผูสอนในสถานศึกษาซึ่งไดรับการจางตามสัญญาจาง โดยได รั บ ค า ตอบแทนจากงบประมาณของส ว นราชการ เพื่ อ เป น พนั ก งานของรั ฐ ในการปฏิ บั ติ ง าน ใหกับสวนราชการนั้น 2) ครูพิเศษสอน หมายถึง ลูกจางชั่วคราวที่สถานศึกษาสอบคัดเลือกเขามาเพื่อชวยสอน ในสาขาวิชาที่ขาดแคลน 3) ครู ผู ช ว ย หมายถึ ง ครูมีห นา ที่รับ ผิดชอบ และลักษณะงานที่ป ฏิ บัติตามมาตรฐาน ตําแหนงครู และอยูในระหวางการทดลองปฏิบัติราชการ 4) ครู หมายถึง ครูมีหนาที่รับผิดชอบ และลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตําแหนงครู ที่ยังไมไดรับการประเมินวิทยฐานะ 5) ครูชํานาญการ หมายถึง ครูมีหนาที่รับผิดชอบ และลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐาน ตําแหนงครู ที่มีความรูความสามารถครูเชี่ยวชาญของครูในการปฏิบัติงานวิชาชีพในระดับชํานาญการ มีภาระ งานสอนตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด และมีระยะเวลาการปฏิบัติงานตามหนาที่ความรับผิดชอบ ซึ่งแสดงใหเห็นถึง การสั่งสมความชํานาญความเชี่ยวชาญ ตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด 6) ครูชํ านาญการพิ เศษ หมายถึง ครูมีห นาที่รับผิดชอบและลักษณะงานที่ป ฏิบัติตาม มาตรฐานตําแหนงครู ที่มีความรูความสามารถครูเชี่ยวชาญของครูในการปฏิบัติงานวิชาชีพในระดับชํานาญการ พิเศษ มีภ าระงานสอนตามที่ ก.ค.ศ. กํ าหนด และมีร ะยะเวลาการปฏิบัติงานตามหนาที่ความรับ ผิดชอบ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการสั่งสมความชํานาญความเชี่ยวชาญ ตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


3-3 7) ครูเชี่ยวชาญ หมายถึง ครูมีหนาที่รับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐาน ตําแหนงครู ที่มีความรู ความสามารถ ครูเชี่ยวชาญของครูในการปฏิบัติงานวิชาชีพในระดับชํานาญการพิเศษ มีภาระงานสอนตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด และมีระยะเวลาการปฏิบัติงานตามหนาที่ความรับผิดชอบ ซึ่งแสดง ใหเห็นถึงการสั่งสมความชํานาญความเชี่ยวชาญ ตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด 8) ครู เ ชี่ ย วชาญพิ เ ศษ หมายถึง ครู มี ห นา ที่ รับ ผิ ดชอบและลั ก ษณะงานที่ป ฏิ บัติ ต าม มาตรฐานตําแหนงครู ที่มีความรู ความสามารถ ครูเชี่ยวชาญของครูในการปฏิบัติงานวิชาชีพในระดับเชี่ยวชาญ มีภาระงานสอนตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด และมีระยะเวลาการปฏิบัติงานตามหนาที่ความรับผิดชอบ ซึ่งแสดง ใหเห็นถึงการสั่งสมความชํานาญความเชี่ยวชาญ ตามที่ ก.ค.ศ. กําหนด 3.1.3 แบบประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติหนาที่ ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา การประเมินตนเองของครูสายงานการสอน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได กํ า หนดให ใ ช แ บบประเมิ น สมรรถนะในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ของครู ส ายงานการสอน สั ง กั ด สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอาชี ว ศึ กษา ประกอบด ว ย คําชี้แจง วั ตถุป ระสงค แบบประเมิน แบงออกเปน 3 ตอน รายละเอียดดังภาคผนวก สรุปดังนี้ ตอนที่ 1 ขอมูลเบื้องตน ประกอบดวยขอมูลพื้นฐานของครูที่ทําการประเมินตนเอง ไดแก 1. ชื่อ – สกุล 2. ตําแหนง วิทยฐานะ ระยะเวลาที่ดํารงตําแหนงปจจุบัน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 3. วุฒิการศึกษา 4. แผนกวิชาที่สังกัด 5. สถานศึกษา 6. รายวิชาที่สอน และจํานวนชั่วโมงที่สอนในปการศึกษา 7. งานสนั บ สนุ น การจั ดการเรี ย นรู หมายถึ ง การปฏิบัติง านที่เ ปน ประโยชนตอ การส งเสริ มและ พัฒนาการจัดการเรียนรูของสถานศึกษา และการมีสวนรวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) รวมทั้งงานสนับ สนุนการบริหารสถานศึกษา เชน งานวิชาการ งานบุคคล งานงบประมาณ และงานบริหารทั่วไป 8. งานตอบสนองนโยบายและจุ ดเนน หมายถึง การปฏิบัติงานที่ตอบสนองนโยบายและจุดเน น ของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ และสวนราชการตนสังกัด 9. งานภาระหนาที่อื่น ๆ (ถามี) หมายถึง งานที่นอกเหนือจากขอ 6 - 8 ถามีโปรดระบุ 10. ความสามารถพิเศษ 11. การพัฒนาดวยตนเอง (ยอนหลัง 1 ปการศึกษา) หมายถึง การพัฒนาใหตนเองมีสมรรถนะเพิ่มขึ้น โดยไมไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงาน เชน ศึกษาคนควาหาความรูจากเอกสาร สื่อ Online ฯลฯ เปนตน 12. การฝกอบรม และการศึกษาดูงาน (ยอนหลัง 1 ปการศึกษา) หมายถึง การพัฒนาตนเองโดยการ สนับสนุนจากสวนราชการหนวยงานตาง ๆ โดยระบุ เรื่อง วันเดือนป และ หนวยงานที่จัดอบรม 13. เปาหมายของการรับราชการ หมายถึง ในการรับราชการทานมีเปาหมายในชีวิตราชการอะไรบาง เช น ต องการมี ความเชี่ ย วชาญด า นเคาะพ น สีร ถยนต ต องการเปน นั กพู ด มือ อาชี พ ต องการมี วิท ยฐานะ เชี่ยวชาญพิเศษ ฯลฯ เปนตน คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


3-4 14. เปาหมายของสถานศึกษาที่คาดหวัง หมายถึง ตองการหรือคาดหวังใหสถานศึกษามีทิศทางไป ทางการจัดการเรียนการสอน / การบริหารจัดการไปในทิศทางใด ตอนที่ 2 การประเมิน ประกอบดวย 1. วิ ธี ก ารประเมิ น ให ค รู พิ จ ารณาระดั บ สมรรถนะในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ 3 ด า น 13 ตั ว ชี้ วั ด ตามรายละเอี ย ดการประเมิ น สมรรถนะการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ของครู ส ายงานการสอน สั ง กั ด สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอาชีวศึ กษา ในระดับเกณฑคุณภาพที่กําหนดตามตําแหนง และวิทยฐานะแลวมาเทีย บ กับ สมรรถนะป จ จุบั น วา มีห รื อไม มีส มรรถนะที่ทําใหเกิดงานตามเกณฑร ะดับ สมรรถนะที่กําหนดในแตล ะ ตัวชี้ วัด ถามี ให ใสเ ครื่ องหมาย  ในชองที่มี ถาไมมีห รือมีแตไมถึงเกณฑที่กําหนดใหใสเครื่องหมาย  ในชองไมมี 2. เกณฑการประเมิน ซึ่งแบงตามตําแหนง และวิทยฐานะ แบงออกเปน 5 ระดับ / กลุม ดังนี้ 1) พนักงานราชการ (ครู) /ครูพิเศษสอน / ครูผูชวย / ครู ตองมีระดับสมรรถนะตามเกณฑ คุณภาพที่กําหนดทุกตัวชี้วัด ดังนี้ ดานที่ 1 มีทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 1 ดานที่ 2 มีทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 1 ดานที่ 3 มีทั้งหมด 2 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 1 2) ครูชํานาญการ ตองมีระดับสมรรถนะตามเกณฑคุณภาพที่กําหนด ประกอบดวย ดานที่ 1 มีทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 2 ดานที่ 2 มีทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 2 ดานที่ 3 มีทั้งหมด 2 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 2 3) ครูชํานาญการพิเศษ ตองมีระดับสมรรถนะตามเกณฑคุณภาพที่กําหนดทุกตัวชี้วัด ดังนี้ ดานที่ 1 มีทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 3 ดานที่ 2 มีทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 2 ดานที่ 3 มีทั้งหมด 2 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 2 4) ครูเชี่ยวชาญ ตองมีระดับสมรรถนะตามเกณฑคุณภาพที่กําหนดทุกตัวชี้วัด ดังนี้ ดานที่ 1 มีทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 4 ดานที่ 2 มีทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 3 ดานที่ 3 มีทั้งหมด 2 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 3 5) ครูเชี่ยวชาญพิเศษ ตองมีระดับสมรรถนะตามเกณฑคุณภาพที่กําหนดทุกตัวชี้วัด ดังนี้ ดานที่ 1 มีทั้งหมด 8 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 5 ดานที่ 2 มีทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 4 ดานที่ 3 มีทั้งหมด 2 ตัวชี้วัด ซึ่งทุกตัวชี้วัดผลการประเมินสมรรถนะไมต่ํากวาระดับ 4 คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


3-5 ตารางที่ 3 – 1 แสดงเกณฑการประเมินตามตําแหนงและวิทยฐานะ ตําแหนง และวิทยฐานะ พนักงานราชการ (ครู) / ครูพิเศษสอน* /ครูผูชวย* / ครู* ครูชํานาญการ ครูชํานาญการพิเศษ ครูเชี่ยวชาญ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ

ดานที่ 1 (8 ตัวชี้วัด) ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 1 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาในระดับ 2 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาในระดับ 3 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาในระดับ 4 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาในระดับ 5

เกณฑการประเมินที่กําหนด ดานที่ 2 (3 ตัวชี้วัด) ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 1 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 2 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 2 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 3 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 4

ดานที่ 3 (2 ตัวชี้วัด) ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 1 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 2 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 2 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 3 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 4

ตอนที่ 3 รายการประเมินระดับสมรรถนะ รายการประเมินสมรรถนะ ไดกําหนดรูปแบบเปนตารางที่ประกอบดวยหัวขอ ดังนี้ ชองที่ 1 ตัวชี้วัด หมายถึง รายชื่อชื่อตัวชี้วัด ซึ่งมีทั้งหมด 3 ดานและ 13 ตัวชี้วัด ตามรายละเอียด การประเมิ น สมรรถนะการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ของครู ส ายงานการสอน สั ง กั ด สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ซึ่งทุกตําแหนงและวิทยฐานะมีรายละเอียดเหมือนกัน ชองที่ 2 ระดับสมรรถนะตามเกณฑคุณภาพที่กําหนด หมายถึง รายละเอียดการประเมินสมรรถนะ การปฏิบัติหนาที่ ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในระดับเกณฑคุณภาพที่กําหนดตามตําแหนงและวิทยฐานะ ในตอนที่ 2 ตามที่กําหนด ไดแก 1. พนักงานราชการ(ครู )/ครูพิเศษสอน /ครูผูชวย / ครู ดานที่ 1 – 3 ระดับคุณภาพ 1 2. ครูชํานาญการ ดานที่ 1 – 3 ระดับคุณภาพ 2 3. ครูชํานาญการพิเศษ ดานที่ 1 ระดับคุณภาพ 3 ดานที่ 2 – 3 ระดับคุณภาพ 2 4. ครูเชี่ยวชาญ ดานที่ 1 ระดับคุณภาพ 4 ดานที่ 2 – 3 ระดับคุณภาพ 3 คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


3-6 5. ครูเชี่ยวชาญพิเศษ

ดานที่ 1 ระดับคุณภาพ 5 ดานที่ 2 – 3 ระดับคุณภาพ 4

ชองที่ 3 สมรรถนะปจจุบัน แบง ออกเปน 2 ชอง ไดแก มี กับ ไมมี “มี” หมายถึง ในปจจุบันครู มีสมรรถนะครบถวนสมบูรณที่ทําใหเกิดงานตามเกณฑระดับสมรรถนะที่กําหนดในแตละ ตัวชี้วัด “ไมมี” หมายถึง ไมมีหรือมีสมรรถนะแตไมครบถวนสมบูรณที่ทําใหเกิดงานตาม เกณฑระดับสมรรถนะที่กําหนดในแตละตัวชี้วัด ชองที่ 4 สมรรถนะที่สูงกวาเกณฑ หมายถึง ในปจจุบันครูมีสมรรถนะที่ทําใหเกิดผลงานมากกวา เกณฑคุณภาพที่กําหนดตามตําแหนงและวิทยฐานะครูผูประเมินตนเอง ชองที่ 5 หลักฐาน รองรอย หมายถึง เอกสาร หรือชิ้นงาน ที่แสดงวาครูมีผลงานที่เกิดจากสมรรถนะ ของครูผูประเมินตนเอง ชองที่ 6 ความตองการในการพัฒนาตนเองใหมีสมรรถนะสูงขึ้น หมายถึง ความรู ทักษะและทัศนคติ หรือคุณลักษณะที่ตองการพัฒนาตนเองใหมีสมรรถนะในปฏิบัติงานสูงขึ้นไมนอยกวาเกณฑ ที่กําหนด โดยระบุเปนชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ ตารางที่ 3 - 2 แสดงรายการประเมินระดับสมรรถนะ ตัวชี้วัด

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด

(ชองที่ 1)

(ชองที่ 2)

สมรรถนะปจจุบัน สมรรถนะ (ชองที่ 3) ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) มี ไมมี (ชองที่ 4)

หลักฐาน รองรอย

ความตองการ ในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น

(ชองที่ 5)

(ชองที่ 6)

3.2 ขั้นตอน และแนวทางการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงาน การสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การจั ด ทํ า แผนพั ฒ นาตนเองรายบุ ค คล ให ค รู นํ า ผลการประเมิ น สมรรถนะในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ตอนที่ 3 ชองที่ 6 ที่ ไดระบุสมรรถนะที่มีความตองการในการพัฒนาตนเองใหมีสมรรถนะสูงขึ้น มาศึกษา วิเคราะหเกี่ยวกับการจัดลําดับความสําคัญสมรรถนะที่ตองการพัฒนารูปแบบ / วิธีการพัฒนา แหลงเรียนรู ระยะเวลาในเริ่มตนและสิ้นสุดการพัฒนา ดังนี้ 1) รูปแบบ / วิธีการพัฒนา รู ป แบบ / วิ ธี ก ารพั ฒ นานั้ น มีห ลายรู ป แบบ เช น ศึ กษาเรีย นรูดว ยตนเองจากเอกสาร สื่อตาง ๆ การแนะนําหรือสอนงานจากผูบังคับบัญชา การไปศึกษาดูงาน การเขารับการฝกอบรมและพัฒนา การเขาไปฝกประสบการณ ใ นสถานสถานประกอบการ ฯลฯ เปน ตน ทั้งนี้ ขึ้น อยู กับ ระดับ ความยากงา ย ของเรื่องที่จะพัฒนา แหลงเรียนรูที่มี งบประมาณ ฯลฯ 2) ระยะเวลาในการพัฒนา 3) แหลงที่จะขอการสนับสนุนการพัฒนา คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


3-7 แหลงที่จะขอการสนับสนุนการพัฒนาขึ้นอยูกับวิธีการ / รูปแบบการพัฒนา และระยะเวลาการพัฒนา ในสวนที่จะขอสนับสนุนจากหนวยงาน ทั้งในระดับสถานศึกษา อาชีวศึกษาจังหวัด สถาบันการอาชีวศึกษา และสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ครูจําเปนตองวางแผนรวมกับผูบริหารสถานศึกษา ซึ่ ง ควรพิ จ ารณาร ว มกั น และพร อ มทั้ ง สถานศึ ก ษา จึ ง จะมากํ า หนดไว ใ นแผนพั ฒ นาตนเองรายบุ ค คล แลวสถานศึกษาสรุปแจงหนวยงานที่เกี่ยวของทราบ หลังจากศึกษาวิเคราะหแลวใหจัดทํารายละเอียดแผนการพัฒนาตนเอง ออกเปน 3 ประเภท ไดแก 1. แผนการพัฒนาดวยตนเอง หมายถึง ตนเองสามารถเพิ่มสมรรถนะดวยการศึกษาหาความรู จากเอกสาร สื่อตาง ๆ ที่มีบนเครือขายอินเตอรเน็ตและตนเอง สามารถกําหนดเวลา และสถานที่เรียนรูไดเอง 2. แผนการพัฒนาตนเองรวมกับบุคลากรภายในสถานศึกษา และหนวยงานภายนอก หมายถึง การพัฒนาตนเองโดยศึกษาเรียนรูจากผูบังคับบัญชา เพื่อนรวมงาน ทั้งในสถานศึกษา และหรือหนวยงาน ภายนอก ที่ใหคําปรึกษา แนะนํา การทํางานรวมกัน ฯลฯ 3. แผนการขอรั บ การสนั บ สนุน การพัฒ นาจากหนว ยงาน หมายถึง การพัฒ นาตนเองที่ไม สามารถดํ า เนิ น การด ว ยตนเอง และร ว มกั บ บุ ค ลากรภายในสถานศึ ก ษา และหน ว ยงานภายนอกแล ว จําเปนตองขอรับการสนับสนุนการพัฒนาจากสถานศึกษา และหนวยงานสวนกลาง ตารางที่ 3 - 3 ตัวอยางแผนการพัฒนาดวยตนเอง ลําดับ ความ สมรรถนะ /เรื่อง /หัวขอ รูปแบบ/วิธีการพัฒนา สําคัญ 1. วิธีการออกแบบหนวย ศึกษาจากตัวอยางเอกสารตางๆ การเรียนรูและการจัด และดําเนินการทําตามรูปแบบ กิจกรรมการเรียนรู ทางวิชาการหรือที่หนวยงาน กําหนด 2. การสื่อสารภาษาอังกฤษ ศึกษาจากสื่อ ECHOVE และสื่อ ขั้นพื้นฐาน Online ภาษาอังกฤษตาง ๆ

แหลงเรียนรู

ระยะเวลา ในการพัฒนา เริ่มตน สิ้นสุด พ.ค.61 มิ.ย.61

เอกสารตัวอยาง ในหองสมุดและ เพื่อนรวมงานที่มี ผลงานเปนทีย่ อมรับ บนเครือขาย มิ.ย.61 พ.ค.61 อินเตอรเน็ท

ตารางที่ 3 - 4 ตัวอยางแผนการพัฒนาตนเองรวมกับบุคลากรภายในสถานศึกษา และหนวยงานภายนอก ลําดับ ความ สมรรถนะ /เรื่อง /หัวขอ สําคัญ 1. การเขียนโครงการในการ ขอสนับสนุนงบประมาณ ในการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน 2. การวัดและประเมินผล ผูเรียน

รูปแบบ/วิธีการพัฒนา

แหลงเรียนรู

ขอคําแนะนําจากผูบังคับบัญชา และเรียนรูจนสามารถปฏิบัติได อยางถูกตอง ในรูปแบบการฝก ขณะปฏิบัติงาน ขอคําแนะนําและใหเพื่อน รวมงานเปนที่ปรึกษาในการ จัดทําจนสามารถปฏิบัติไดอยาง ถูกตอง ในรูปแบบการเปนพี่เลี้ยง

ผูบังคับบัญชา

ระยะเวลา ในการพัฒนา เริ่มตน สิ้นสุด มิ.ย.61 มิ.ย.61

เพื่อนรวมงาน

ส.ค.61 ส.ค.61

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


3-8 ตารางที่ 3 - 5 ตัวอยาง แผนการขอรับการสนับสนุนการพัฒนาจากหนวยงาน ลําดับ ความ สําคัญ 1.

2.

3.

4.

สมรรถนะ /เรื่อง / หัวขอ ดานการจัดการเรียน การสอน ดานเทคนิค การสอนแบบ โครงงาน ดานการจัดการเรียน การสอน หัวขอการ วิจัยในชั้นเรียน

รูปแบบ/วิธีการ พัฒนา

ฝกอบรม สัมมนา/ การขอรับคําปรึกษา แนะนําจาก ผูบังคับบัญชา ฝกอบรม สัมมนา/ การขอรับคําปรึกษา แนะนําจาก ผูเชี่ยวชาญ ดานการบริหาร ประชุม /สัมมนา / จัดการชั้นเรียน การขอรับคําปรึกษา หัวขอเรื่องทักษะการ แนะนําจาก ชวยเหลือผูเรียน ผูทรงคุณวุฒิ ดานการพัฒนา อบรมเชิงปฏิบัติการ/ ตนเอง ในหัวขอ ดูงานนอกสถานที่ / ทักษะวิชาชีพดาน ฝกงานกับผูเชี่ยวชาญ การพนสีรถยนต ในสถานประกอบการ

ระยะเวลา ในการพัฒนา เริ่มตน

สิ้นสุด

ก.ค.61 ก.ค. 61

การขอรับการสนับสนุนจากหนวยงาน สถาน ศึกษา

อศจ.

ก.ย.61 ก.ย. 61 ต.ค.61 ต.ค. 61 มี.ค.62 เม.ย. 62

สถาบันฯ สสอ.

3.3 การนําเสนอผลการประเมินตนเองและแผนการพัฒนาตนเองตอผูบริหารสถานศึกษา หลังจากที่ครูไดดําเนินการประเมินตนเองและจัดแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลเรียบรอยแลวใหนําเสนอ ผลการประเมิ น ตนเอง และแผนพั ฒ นาตนเองรายบุ ค คลเป น รู ป เล ม ตามแบบฟอร ม ตามภาคผนวก ข ตอผูบริหารสถานศึกษาเพื่อใหความเห็นชอบตามลําดับขั้นของการบังคับบัญชาตามที่กําหนด

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

อื่นๆ


4-1

บทที่ 4 แนวทางการขับเคลื่อน การประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 4.1 การสรางการรับรู 4.1.1 สรางความรูความเขาใจในการดําเนินการ เมื่อสถานศึกษาไดรับการสั่งการจากสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาใหครูสายงานสอน ดําเนินการการประเมินตนเอง และการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน ตามที่สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากําหนด ใหสถานศึกษาไปดําเนินการสรางความรู ความเขาใจ แกครูทุกคน และผูที่เกี่ยวของ พรอมทั้งใหคําแนะนําในการดําเนินการจนบรรลุเปาหมายของการประเมิน ตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอนทุกคน 4.1.2 สรางความรูความเขาใจถึงประโยชนที่จะไดรับ การประเมิ น ตนเอง และการจัดทํ าแผนพัฒ นาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครู ส ายงาน การสอน ทํ า ให เ กิ ด ประโยชน ต อ ตนเอง สถานศึ ก ษา / อาชี ว ศึ ก ษาจั ง หวั ด / สถาบั น การอาชี ว ศึ ก ษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดังนี้ 1) ครู ครู ไ ด สํ า รวจหรื อ ตรวจสอบสมรรถนะในการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข องตนเองตามรู ป แบบ ที่สวนราชการกําหนด ทําใหทราบวาตนเองมีสมรรถนะที่ทําใหเกิดผลงานตามที่กําหนดหรือไมอยางไร หากไมมี สมรรถนะในการทําใหผลงานเรื่องใด ก็จัดทําแผนพัฒนาสมรรถนะตนเองในเรื่องนั้น ถาหากมีสมรรถนะที่ทําให เกิดผลงานในทุกดานที่กําหนดครบแลว ก็จัดทําแผนที่ตองการพัฒนาสมรรถนะในดานที่ตองการตามลําดับ ความสําคัญกอนหลัง ซึ่งจะทําใหมีการวางแผนการพัฒนาไดอยางเปนระบบและตอเนื่องไดพรอมทั้งสอดคลอง กับเสนทางความกาวหนาของตําแหนงที่ สํานักงาน ก.ค.ศ. กําหนด 2) สถานศึกษา อาชีวศึกษาจังหวัดและสถาบันการอาชีวศึกษา สถานศึ กษา อาชีว ศึ กษาจังหวัด และสถานบันการอาชีว ศึกษา มีขอมูล ผลการประเมิน ตนเองและการจั ด ทํ า แผนพั ฒ นาตนเองรายบุ ค คล (ID PLAN) ของครู ส ายงานการสอนทุ ก คนมาใช ในการกําหนดนโยบาย และทิศการในการจัดทําแผนการพัฒนาครูพรอมทั้งการดําเนินการพัฒนาใหเปนไป ตามแผนในระดั บ สถานศึ ก ษา อาชี ว ศึ ก ษาจั ง หวั ด และสถาบั น การอาชี ว ศึ ก ษา ทํ า ให ก ารพั ฒ นาครู


4-2 ของสถานศึ กษาที่ อยู ในสั งกั ดที่ ต นเองดู แ ลไดรับ การพัฒ นาอยางทั่ว ถึง และตอเนื่องเปน ประโยชนตอครู และหนวยงานในการบริหารจัดการในดานตางๆ ที่เกี่ยวของ 3) สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํ า นั ก พั ฒ นาสมรรถนะครู แ ละบุ ค ลากรอาชี ว ศึ ก ษามี ข อ มู ล ผลการประเมิ น ตนเอง และการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอนทุกคนมาใชในการกําหนด นโยบายและทิ ศ การในการจั ด ทํ า แผนการพั ฒ นาครู พ ร อ มทั้ ง การดํ า เนิ น การพั ฒ นาครู ใ นภาพรวม ของสถานศึกษาทั้งหมดที่สอดคลองกับความตองการของครู ทั้งในปปจจุบัน และในอนาคตอยางเปนระบบ และตอเนื่อง พรอมทั้งสอดคลองกับเสนทางความกาวหนาของตําแหนงที่ สํานักงาน ก.ค.ศ. กําหนด 4) สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สามารถกําหนดนโยบาย และทิศทางในการพัฒนา ครูทั้งระบบอยางทั่วถึง และตอเนื่องที่เชื่อมโยงกันทั้งในระดับพื้นที่และบุคคล

4.2 การจัดทําแผนพัฒนาครูสายงานการสอนของสถานศึกษา หลั งจากที่ ครู ในสถานศึกษาไดนําเสนอผูบริห ารสถานศึกษาในการจัดทําการประเมิน ตนเอง และแผนพัฒนาตนรายบุคคลเองเรียบรอยแลว ผูบริหารสถานศึกษาควรดําเนินการศึกษา วิเคราะห พิจารณา จัดทําแผนการพัฒนาครูของสถานศึกษา แลวดําเนินการสงเสริม สนับสนุน ใหครูไดรับการพัฒนาใหเปนไปตาม แผนที่กําหนดพรอมทั้งติดตามผลการพัฒนา กรณี ที่ ต อ งขอสนั บ สนุ น การพั ฒ นาครู จ ากหน ว ยงานในระดั บ อาชี ว ศึ ก ษาจั ง หวั ด สถาบั น การอาชีวศึกษา และสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ใหสถานศึกษาแจงไปยังหนวยงาน ที่ขอสนับสนุนการพัฒนาดวย เพื่อใหอาชีวศึกษาจังหวัด สถาบันการอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครู และบุคลากรอาชีวศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา นําไปดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของ

4.3 การติดตาม ประเมินผล และรายงานผล การติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินการการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนา ตนเองรายบุ คคล (ID PLAN) ของครู ส ายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีว ศึกษา มีวัตถุประสงคเพื่อติดตามความกาวหนาในการดําเนินงาน ผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงาน ปญหาอุปสรรค ที่ เ กิ ด ขึ้ น แล ว นํ า ผลสรุ ป ไปใช ใ นการพั ฒ นา และปรุ ง ปรุ ง การดํ า เนิ น การต อ ไป โดยกํ า หนดประเด็ น ในการติดตาม ประเมิน และรายงานผล ดังนี้ 1. ความรู ความเขา ใจ และการดําเนิน การประเมิน ตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเอง รายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน ระดับสถานศึกษา 2. ขอมูลความตองการพัฒนาของครู (Training Need ) ในระดับสถานศึกษาและในภาพรวม ทั้งหมดของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


4-3 3. การนําผลการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครู สายงานการสอน ไปใชประโยชนในระดับสถานศึกษา อาชีวศึกษาจังหวัด สถาบันการอาชีวศึกษา สํานักพัฒนา สมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา และสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 4. การไดรับการพัฒนาตามแผนพัฒนาตนเองของครู 5. ปญหา อุปสรรค ขอเสนอแนะ

4.4 การกําหนดปฏิทินการดําเนินการ สถานศึกษาตองประกาศปฏิทินการดําเนิน การการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนา ตนเองรายบุ ค คล (ID PLAN) ของครู ส ายงานการสอน สั ง กั ด สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา ในแตละป ใหบุคลากรในสถานศึกษารับทราบและถือปฏิบัติ เพื่อใหบุคลากรและหนวยงานที่เกี่ยวไดรวมมือกัน ดําเนินการพัฒนาครูใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดและเชื่อมโยงกันอยางเปนระบบและตอเนื่อง ตารางที่ 4 - 1 ปฏิทินการดําเนินการ วันที่ดําเนินการ เมษายน (ปปจจุบัน)

กิจกรรม 1. แตงตั้งกรรมการบริหารจัดการการประเมิน ตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล สายงานการสอนของวิทยาลัย เมษายน (ปปจจุบัน) 2. ผูอํานวยการสถานศึกษาประชุมสรางความ เขาใจใหกับคณะกรรมการการประเมินตนเองฯ เมษายน (ปปจจุบัน) 3. คณะกรรมการประเมินตนเองฯ ประชุม ชี้แจง สรางความรู ความเขาใจใหกับครูในการประเมิน ตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเอง (ID PLAN) พฤษภาคม (ปปจจุบัน) 4. ครูดําเนินการประเมินตนเองพรอมจัดทํา แผนพัฒนาตนเอง (ID PLAN) เปนรายป เสนอ ผูบังคับบัญชาตามลําดับขั้น มิถุนายน (ปปจจุบัน) 5. ผูบังคับบัญชาใหความเห็นชอบการประเมิน ตนเองและแผนพัฒนาตนเอง (ID PLAN) เปน รายปของครูแตละคน มิถุนายน – กรกฎาคม 6. คณะกรรมการประเมินตนเองฯ วิเคราะห (ปปจจุบัน) จัดทําแผนพัฒนาครูสายงานการสอนของ สถานศึกษาและแจงใหบุคลากรในสถานศึกษา ทราบและปฏิบัติ มิถุนายน – กรกฎาคม 7. ครูบันทึกขอมูลการประเมินตนเองและ (ปปจจุบัน) แผนพัฒนาตนเองรายบุคคลในระบบฐานขอมูล ตามที่ สสอ. กําหนด

ผูรับผิดชอบ ผูอํานวยการ สถานศึกษา ผูอํานวยการ สถานศึกษา คณะกรรมการ ประเมินตนเองฯ ครูผูสอนทุกคน ผูบังคับบัญชา ตามลําดับขั้น คณะกรรมการ ประเมินตนเองฯ ครูผูสอนทุกคน


4-4

วันที่ดําเนินการ กิจกรรม กรกฎาคม (ปปจจุบัน) 7. สถานศึกษาแจงแผนการพัฒนาครูไปยัง หนวยงานที่ขอการการสนับสนุนการพัฒนาครู กรกฎาคม (ปปจจุบัน) 8.สถานศึกษาจัดทําหลักสูตรและโครงการ ถึง เมษายน (ปถัดไป) พรอมทั้งดําเนินการพัฒนาครูของสถานศึกษา ในสวนที่รับผิดชอบ กรกฎาคม (ปปจจุบัน) 9. หนวยที่ใหการสนับสนุนการพัฒนาครูแก ถึง เมษายน (ปถัดไป) สถานศึกษา (อศจ. /สถาบันการอาชีวศึกษา/ สสอ.) วิเคราะหขอมูลเพื่อจัดทําหลักสูตรรองรับ การพัฒนาครู จัดทําหลักสูตรการพัฒนาและ ดําเนินการพัฒนาครู

ผูรับผิดชอบ ผูอํานวยการ สถานศึกษา ผูอํานวยการ สถานศึกษา

มีนาคม - เมษายน (ปถัดไป)

อศจ. / สถาบัน การอาชีวศึกษา / สสอ.

10. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผล

อศจ. / สถาบัน การอาชีวศึกษา / สสอ.


ภาคผนวก ก รายละเอียดการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติหนาที่ ของครูสายงานการสอน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


ผ-2

ดานที่ 1 ดานการจัดการเรียนการสอน หมายถึง การจัดทําหลักสูตรและหรือพัฒนาหลักสูตรเพื่อพัฒนาผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมใหเปนคนดี คนเกง มีปญญา มีศักยภาพ ในการศึกษาตอและประกอบอาชีพตามจุดประสงค สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงคตามหลักสูตรของสถานศึกษาหรือสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยจัดการ เรียนรูดวยวิธีการ รูปแบบที่หลากหลาย และเหมาะสม เนนผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมเปนสําคัญ ใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยวิธีการปฏิบัติ 1.1 การสรางและหรือพัฒนาหลักสูตร หมายถึง การจัดทําและหรือพัฒนาหลักสูตรรายวิชาที่รับผิดชอบ โดยมีการวิเคราะหจุดประสงค สมรรถนะ และคําอธิบายรายวิชา หรือคําอธิบายของหลักสูตร เพื่อจัดทําหนวยการเรียนรู รวมทั้งมีการประเมินความสอดคลองกับจุดประสงค สมรรถนะ และคําอธิบายรายวิชาหรือคําอธิบายของหลักสูตร ระดับคุณภาพ ตัวชี้วัด หลักฐาน รองรอย ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ดานที่ 1 ดานการ 1. วิ เ คราะห ห ลัก สูต ร 1. วิเ คราะห ห ลัก สูต ร 1. วิเ คราะหห ลัก สูต ร 1. วิเ คราะหห ลัก สูต ร 1. วิเ คราะหห ลัก สูต ร 1) หลั ก สู ต รรายวิ ช าที่ จัดการเรียนการสอน จุดประสงค สมรรถนะ จุดประสงค สมรรถนะ จุดประสงค สมรรถนะ จุดประสงค สมรรถนะ จุดประสงค สมรรถนะ สอน 1.1 การสรางและ และคําอธิบายรายวิชา และคําอธิบายรายวิชา และคําอธิบายรายวิชา และคําอธิบายรายวิชา และคําอธิบายรายวิชา 2) หนวยการเรียนรูของ หรือพัฒนาหลักสูตร หรื อ คํ า อธิ บ ายของ หรื อ คํ า อธิ บ ายของ หรื อ คํ า อธิ บ ายของ หรื อ คํ า อธิ บ ายของ หรื อ คํ า อธิ บ ายของ รายวิชาที่สอน หลั ก สู ต รและนํ า ไป หลั ก สู ต รและนํ า ไป หลั ก สู ต รและนํ า ไป หลั ก สู ต รและนํ า ไป หลั ก สู ต รและนํ า ไป 3) หลักฐานการประเมินผล จัดทํารายวิชาและหรือ จัดทํารายวิชาและหรือ จัดทํารายวิชาและหรือ จัดทํารายวิชาและหรือ จัดทํารายวิชาและหรือ การใชหลักสูตรรายวิชาที่ หน ว ยการเรี ย นรู ใ ห หน ว ยการเรี ย นรู ใ ห หน ว ยการเรี ย นรู ใ ห หน ว ยการเรี ย นรู ใ ห หน ว ยการเรี ย นรู ใ ห ส อ น กิ จ ก ร ร ม ห รื อ สอดคลองกับจุดประสงค สอดคลองกับจุดประสงค สอดคลองกับจุดประสงค สอดคลองกับจุดประสงค สอดคลองกับจุดประสงค โครงการ สมรรถนะ และ สมรรถนะ และ สมรรถนะ และ สมรรถนะ และ สมรรถนะ และ 4) วุ ฒิ บั ต ร เกี ย รติ บั ต ร คําอธิบายรายวิชาหรือ คําอธิบายรายวิชาหรือ คําอธิบายรายวิชาหรือ คําอธิบายรายวิชาหรือ คําอธิบายรายวิชาหรือ โล คําสั่งหรืออื่น ๆ คําอธิบายของหลักสูตร คําอธิบายของหลักสูตร คําอธิบายของหลักสูตร คําอธิบายของหลักสูตร คําอธิบายของหลักสูตร ที่เกี่ยวของ 5) หลักฐานอื่น ๆ ตามที่ สถานศึกษากําหนด

รายละเอียดการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติหนาที่ ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


ตัวชี้วัด ระดับ 2 2. รวมพัฒนาหลักสูตร รายวิชา กิจกรรม หรือ โครงการ และหน ว ย การเรียนรูใหสอดคลอง กับบริบทของสถานศึกษา หรือสถานประกอบการ ผู เ รี ย น ท อ งถิ่ น และ สามารถนําไปปฏิบัติได จริง 3. รวมประเมินผลการ ใช ห ลั ก สู ตร กิ จ กรรม หรื อ โครงการ และนํ า ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ม า ปรั บ ปรุ ง ให มี คุ ณ ภาพ สูงขึ้น

ระดับ 1 2. รวมพัฒนาหลักสูตร รายวิชา กิจกรรม หรือ โครงการ และหน ว ย การเรียนรูใหสอดคลอง กับบริบทของสถานศึกษา หรือสถานประกอบการ ผู เ รี ย น ท อ งถิ่ น และ สามารถนําไปปฏิบัติได จริง

3. มี ส ว นร ว มในการ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ใ ช หลักสูตร กิจกรรมหรือ โครงการ

3. ประเมิ น ผลการใช หลักสูตร กิจกรรมหรือ โ ค ร ง ก า ร อ ย า ง เป น ระบบและนํ า ผลการ ประเมิ น มาปรั บ ปรุ ง พั ฒ น า ให มี คุ ณ ภ า พ สูงขึ้น 4. เปนแบบอยางที่ดี เปนพี่เลี้ยง และหรือ เปนที่ปรึกษาดาน หลักสูตร

4. รวมแลกเปลี่ยน เรียนรูดานหลักสูตร

ระดับ 4 2 . ป รั บ ป ร ะ ยุ ก ต ห ลั ก สู ต ร ร า ย วิ ช า กิจกรรม หรือโครงการ และหนวยการเรียนรูให สอดคล อ งกั บ บริ บ ท ของสถานศึ ก ษา หรื อ ส ถ า นปร ะ ก อ บก า ร ผู เ รี ย น ท อ งถิ่ น และ สามารถนํ า ไปปฏิ บั ติ ไดจริง

3. ประเมิ น ผลการใช หลักสูตร กิจกรรม หรือ โ ค ร ง ก า ร อ ย า ง เ ป น ระบบและนํ า ผลการ ประเมิ น มาปรั บ ปรุ ง พั ฒ น า ใ ห มี คุ ณ ภ า พ สูงขึ้น

ระดับคุณภาพ ระดับ 3 2 . ป รั บ ป ร ะ ยุ ก ต ห ลั ก สู ต ร ร า ย วิ ช า กิจกรรม หรือโครงการ และหนวยการเรียนรูให สอดคล องกั บบริ บทของ สถานศึ กษาหรื อ สถาน ประกอบการ ผู เ รี ย น ท อ งถิ่ น และสามารถ นําไปปฏิบัติไดจริง

4. เป น แบบอย า งที่ ดี เป น ผู นํ า เป น พี่ เ ลี้ ย ง และเป น ที่ ป รึ ก ษาด า น หลักสูตร

3. ประเมิ น ผลการใช หลักสูตร กิจกรรมหรือ โ ค ร ง ก า ร อ ย า ง เ ป น ระบบและนํ า ผลการ ประเมิ น มาปรั บ ปรุ ง พั ฒ น า ใ ห มี คุ ณ ภ า พ สูงขึ้น

ระดับ 5 2 . ป รั บ ป ร ะ ยุ ก ต ห ลั ก สู ต ร ร า ย วิ ช า กิจกรรม หรือโครงการ และหนวยการเรียนรูให สอดคลองกับบริบทของ สถานศึกษา หรือสถาน ประกอบการ ผู เ รี ย น ท อ งถิ่ น และสามารถ นําไปปฏิบัติ ไดจริง

ผ-3

หลักฐาน รองรอย


ผ-4

1.2 การจัดการเรียนรู หมายถึง การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมใหมีความรู ทักษะ ตามจุดประสงค สมรรถนะ คําอธิบายรายวิชาหรือคําอธิบาย ของหลักสูตร และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญใหเรียนรูวิธีการปฏิบัติ สงเสริมใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม สามารถพัฒนาตนเองตาม ธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ โดยคํานึงความแตกตางระหวางบุคคล 1.2.1 การออกแบบหนวยการเรียนรู หมายถึง การจัดและหรือพัฒนาหนวยการเรียนรูสอดคลองกับคําอธิบายรายวิชา หรือคําอธิบายของหลักสูตรธรรมชาติ ของเนื้อหาสาระหรือเนื้อหารายวิชา เหมาะสมกับผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม บริบทของสถานศึกษาหรือสถานประกอบการและหรือทองถิ่น มีกิจกรรมการเรียนรูดวย วิธีปฏิบัติ (Active Learning) โดยเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี แหลงเรียนรู และการวัดและประเมินผล เพื่อใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม ไดรับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ บรรลุตามจุดประสงค สมรรถนะ และคําอธิบายรายวิชาหรือคําอธิบายของหลักสูตร และประเมินผลหนวยการเรียนรู ระดับคุณภาพ ตัวชี้วัด หลักฐาน รองรอย ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1.2 การจัดการเรียนรู 1. ออกแบบหนวยการ 1. ออกแบบหนวยการ 1. ออกแบบหนวยการ 1. ออกแบบหนวยการ 1. ออกแบบหนวยการ 1) หนวยการเรียนรู หรือ 1.2.1 การ เรี ย นรู หรื อ เนื้ อ หา เรี ย นรู หรื อ เนื้ อ หา เรี ย นรู หรื อ เนื้ อ หา เรี ย นรู หรื อ เนื้ อ หา เรี ย นรู หรื อ เนื้ อ หา เนื้ อ หาสาระการเรี ย นรู ออกแบบหนวยการ สาระการเรี ย นรู ให สาระการเรี ย นรู โดย สาระการเรี ย นรู โดย สาระการเรี ย นรู โดย สาระการเรี ย นรู โดย ของรายวิชาที่สอน เรียนรู สอดคล อ งกั บ บริ บ ท การปรั บ ประยุ ก ต ให การปรั บ ประยุ ก ต ให การปรั บ ประยุ ก ต ให การปรั บ ประยุ ก ต ให 2) หลักฐานการประเมินผล ของสถานศึกษา หรือ สอดคล อ งกั บ บริ บ ท สอดคล อ งกั บ บริ บ ท สอดคล อ งกั บ บริ บ ท สอดคล อ งกั บ บริ บ ท การใชห นว ยการเรีย นรู สถานประกอบการ ของสถานศึกษา หรื อ ของสถานศึ ก ษา หรื อ ของสถานศึกษา หรื อ ของสถานศึ ก ษา หรื อ หรื อ เนื้ อ หาสาระการ และหรือทองถิ่น และ สถานประกอบการ สถานประกอบการ สถานประกอบการ สถานประกอบการและ เรียนรู เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย น และหรือท องถิ่ น และ และหรือทองถิ่น และ และหรือทองถิ่น และ ห รื อ ท อ ง ถิ่ น แ ล ะ 3) คํ า สั่ ง และร อ งรอย ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย น เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย น เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย น เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย น การเป น พี่ เ ลี้ ย ง และให ฝกอบรม ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร คําปรึกษา ฝกอบรม ฝกอบรม ฝกอบรม ฝกอบรม


ตัวชี้วัด

3. ประเมิ น ผลการใช หนวยการเรียนรู หรือ เนื้อหาสาระการเรียนรู และนําผลการประเมิน มาปรับ ปรุง พั ฒนาให มีคุณภาพสูงขึ้น 4. เปนแบบอยางที่ดี เป น พี่ เ ลี้ ย ง และหรื อ เปน ที่ป รึกษาดานการ ออกแบบหน ว ยการ เรียนรู

3. ประเมิ น ผลการใช หนวยการเรียนรู หรือ เนื้อหาสาระการเรียนรู และนําผลการประเมิน มาปรับปรุง พัฒ นาให มีคุณภาพสูงขึ้น 4. เปนพี่เลี้ยงหรือรวม ปรึ ก ษา แลกเปลี่ ย น เ รี ย น รู ด า น ก า ร ออกแบบหน ว ยการ เรียนรู

3. ประเมิ น ผลการใช 3. ประเมิ น ผลการใช หนวยการเรียนรู หรือ หนวยการเรียนรู หรือ เนื้อหาสาระการเรียนรู เนื้อหาสาระการเรียนรู และนําผลการประเมิน ม า ป รั บ ป รุ ง ใ ห มี คุณภาพสูงขึ้น

ระดับ 4 2 . มี กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู ด ว ย วิ ธี ก า ร ปฏิบัติที่สอดคลองกับ ธรรมชาติ ข องเนื้ อ หา ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู อยางหลากหลาย และ สมรรถนะนําไปปฏิบัติ ไดจริง

ระดับ 2 2 . มี กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู ด ว ย วิ ธี ก า ร ปฏิบัติที่ส อดคลองกับ ธรรมชาติ ข องเนื้ อ หา ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู อยางหลากหลาย และ สมรรถนะนําไปปฏิบัติ ไดจริง

ระดับ 1 2 . มี กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู ด ว ย วิ ธี ก า ร ปฏิบัติที่สอดคลองกับ ธรรมชาติ ข องเนื้ อ หา สาระ การเรียนรู และ สมรรถนะนําไปปฏิบัติ ไดจริง

ระดับคุณภาพ ระดับ 3 2 . มี กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู ด ว ย วิ ธี ก า ร ปฏิบัติที่ส อดคลองกับ ธรรมชาติ ข องเนื้ อ หา ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู อยางหลากหลาย และ สมรรถนะนําไปปฏิบัติ ไดจริง

4. เปนแบบอยางที่ดี เป น ผู นํ า เป น พี่ เ ลี้ ย ง และเปนที่ปรึกษาดาน การออกแบบหน ว ย การเรียนรู

3. ประเมิ น ผลการใช หนวยการเรียนรู หรื อ เนื้อหาสาระการเรียนรู และนําผลการประเมิน มาปรับปรุง พัฒนาใหมี คุณภาพสูงขึ้น

ระดับ 5 2 . มี กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู ด ว ย วิ ธี ก า ร ปฏิบั ติที่ส อดคลอ งกั บ ธรรมชาติ ข องเนื้ อ หา ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู อยางหลากหลาย และ สมรรถนะนําไปปฏิบัติ ไดจริง

ผ-5

5) หลักฐานอื่น ๆ ตามที่ สถานศึกษากําหนด

4) หลักฐานและรองรอย อื่น ๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวของ

หลักฐาน รองรอย


ผ-6

1.2.2 จัดทําแผนการจัดการเรียนรู / แผนการฝกอาชีพ / แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) / แผนการสอนรายบุคคล (IIP) / แผนการจัดประสบการณ จัดทําแผนการจัดการเรียนรู หมายถึง การกําหนดแนวทางการจัดการเรียนรูตามหนวยการเรียนรูเปนการเตรียมการสอนหรือการกําหนดกิจกรรมการเรียนรูลวงหนา อยางเปนระบบ และเปนลายลักษณอักษร จัดทําแผนการฝกอาชีพ หมายถึง การจัดทําแผนงานของครูฝก เพื่อเตรียมงานการฝกอาชีพใหนักเรียน นักศึกษา ระบบทวิภาคี มีความรูความรูสามารถในอาชีพ ตรงตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่สถานประกอบการกําหนดไวโดยสอดคลองกับสมรรถนะวิชาชีพ และรายวิชาในหลักสูตร จัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) หมายถึง การวิเคราะห ความตองการจําเปนพิเศษทางการศึกษาหรือการบําบัดฟนฟูของแตละบุคคล โดยอาศัย ความรวมมือจากผูปกครอง ครู ผูบริหาร และสหวิชาชีพ เพื่อกําหนดแนวทางการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับความตองการจําเปนพิเศษของแตละบุคคล ตลอดจนกําหนดสื่อ สิ่งอํานวยความสะดวก บริการและความชวยเหลืออื่นใดทางการศึกษาใหเฉพาะบุคคลอยางเปนระบบ และเปนลายลักษณอักษร จัดทําแผนการสอนรายบุคคล (IIP) หมายถึง การกําหนดแนวทางการจัดการเรียนรูหรือการบําบัดฟนฟู เปนการเตรียมการสอนหรือการกําหนดกิจกรรมการเรียนรู หรือการบําบัดฟนฟูไวลวงหนาอยางเปนระบบ และลายลักษณอักษร ตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) จัดทําแผนการจัดประสบการณ หมายถึง การกําหนดแนวทางการจัดประสบการณ เพื่อสงเสริมพัฒนาการที่สมดุลทั้ง 4 ดาน ไดแก ดานรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติปญญา ผานกิจกรรมการเลนที่เหมาะสมกับวัยและความแตกตางระหวางบุคคล ระดับคุณภาพ ตัวชี้วัด หลักฐาน รองรอย ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1.2.2 จัดทําแผนการ 1. วิ เ คราะห ผู เ รี ย น 1. วิ เ คราะห ผู เ รี ย น 1. วิ เ คราะห ผู เ รี ย น 1. วิ เ คราะห ผู เ รี ย น 1. วิ เ คราะห ผู เ รี ย น 1) หลักฐานการ จัดการเรียนรู / ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร วิเคราะหผูเรียนหรือผู แผนการฝกอาชีพ / ฝกอบรมเปนรายบุคคล ฝกอบรมเปนรายบุคคล ฝกอบรมเปนรายบุคคล ฝกอบรมเปนรายบุคคล ฝกอบรมเปนรายบุคคล เขารับการฝกอบรม แผนการจัดการศึกษา เฉพาะบุคคล (IEP) / 2. จั ด ทํ า แ ผ น ก า ร 2. จั ด ทํ า แ ผ น ก า ร 2. จั ด ทํ า แ ผ น ก า ร 2. จั ด ทํ า แ ผ น ก า ร 2. จั ด ทํ า แ ผ น ก า ร 2) แผนการจัดการเรียนรู แผนการสอน จัดการเรียนรูและหรือ จัดการเรียนรูและหรือ จัดการเรียนรูและหรือ จัดการเรียนรูและหรือ จัดการเรียนรูและหรือ และหรื อ แผ นการฝ ก รายบุคคล (IIP) / แ ผ น ก า ร ฝ ก อ า ชี พ แ ผ น ก า ร ฝ ก อ า ชี พ แ ผ น ก า ร ฝ ก อ า ชี พ แ ผ น ก า ร ฝ ก อ า ชี พ แ ผ น ก า ร ฝ ก อ า ชี พ อาชีพ แผนการจัด สอดคลองกับการออกแบบ สอดคลองกับการออกแบบ สอดคลองกับการออกแบบ สอดคลองกับการออกแบบ สอดคลองกับการออกแบบ ประสบการณ


ตัวชี้วัด

ระดับ 1 ห น ว ย ก า ร เ รี ย น รู ธรรมชาติ ข องผู เ รี ย น ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝ ก อบรมและบริ บ ท ของสถานศึ ก ษาหรื อ สถานประกอบการ แ ล ะ ท อ ง ถิ่ น ที่ มี องคประกอบครบถวน ต า ม รู ป แ บ บ ที่ หน ว ยงานการศึ ก ษา หรื อ ส ว นราชการต น สั ง กั ด กํ า ห น ด แ ล ะ สามารถนําไปปฏิบัติได จริง 3 . มี กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย นรู ส อดคล อ งกั บ ธรรมชาติ ข องเนื้ อ หา สาระการเรี ย นรู และ ผู เ รี ย น หรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรม

ระดับ 2 ห น ว ย ก า ร เ รี ย น รู ธรรมชาติ ข องผู เ รี ย น ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝ ก อบรมและบริ บ ท ของสถานศึ ก ษาหรื อ สถานประกอบการ แ ล ะ ท อ ง ถิ่ น ที่ มี องคประกอบครบถวน ต า ม รู ป แ บ บ ที่ หน ว ยงานการศึ ก ษา หรื อ ส ว นราชการต น สั ง กั ด กํ า ห น ด แ ล ะ สามารถนําไปปฏิบัติได จริง 3 . มี กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย นรู ส อดคล อ งกั บ ธรรมชาติ ข องเนื้ อ หา สาระการเรี ย นรู และ ผู เ รี ย น หรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรม

ระดับคุณภาพ ระดับ 3 ห น ว ย ก า ร เ รี ย น รู ธรรมชาติ ข องผู เ รี ย น ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝ ก อบรมและบริ บ ท ของสถานศึ ก ษาหรื อ สถานประกอบการ แ ล ะ ท อ ง ถิ่ น ที่ มี องคประกอบครบถวน ต า ม รู ป แ บ บ ที่ หน ว ยงานการศึ ก ษา หรื อ ส ว นราชการต น สั ง กั ด กํ า ห น ด แ ล ะ สามารถนําไปปฏิบัติได จริง 3 . มี กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู ด ว ย วิ ธี ก า ร ปฏิ บั ติ ที่ ส ร า งสรรค ส อ ด ค ล อ ง กั บ ธรรมชาติ ข องเนื้ อ หา สาระการเรี ย นรู และ ผู เ รี ย น หรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรม ระดับ 4 ห น ว ย ก า ร เ รี ย น รู ธรรมชาติ ข องผู เ รี ย น ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝ ก อบรมและบริ บ ท ของสถานศึ ก ษาหรื อ สถานประกอบการ แ ล ะ ท อ ง ถิ่ น ที่ มี องคประกอบครบถวน ต า ม รู ป แ บ บ ที่ หน ว ยงานการศึ ก ษา หรื อ ส ว นราชการต น สั ง กั ด กํ า ห น ด แ ล ะ สามารถนําไปปฏิบัติได จริง 3. มีกิจกรรมการเรียนรู ด ว ยวิ ธี ก าร ปฏิ บั ติ ที่ สร า งสรรค สอดคล อ ง กั บ ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง เนื้อหาสาระการเรียนรู และผู เ รี ย น หรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมอย า ง หลากหลาย 3. มีกิจกรรมการเรียนรู ด วยวิ ธี ก า ร ปฏิ บั ติ ที่ สร า งสรรค สอดคล อ ง กั บ ธ ร ร ม ช า ติ ข อ ง เนื้อหาสาระการเรียนรู และผู เ รี ย น หรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมอย า ง หลากหลาย

ระดับ 5 ห น ว ย ก า ร เ รี ย น รู ธรรมชาติ ข องผู เ รี ย น ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝ ก อบรมและบริ บ ท ของสถานศึ ก ษาหรื อ สถานประกอบการและ ท อ ง ถิ่ น ที่ มี องค ประกอบครบถ วน ต า ม รู ป แ บ บ ที่ หน ว ยงานการศึ ก ษา หรื อ ส ว นราชการต น สั ง กั ด กํ า ห น ด แ ล ะ สามารถนําไปปฏิบัติได จริง

ผ-7

4) หลักฐานและรองรอย อื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวของ

3) คํ า สั่ ง และร อ งรอย การเปนพี่เลี้ยง และการ ใหคําปรึกษา

หลักฐาน รองรอย


ตัวชี้วัด

ระดับ 1 4. มีบัน ทึกหลั งการ สอนหรื อ หลั ง การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ที่ ส อ ด ค ล อ ง กั บ จุดประสงคการเรียนรู

ระดับ 2 4. มีบัน ทึกหลังการ สอนหรื อ หลั ง การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ที่ ส อ ด ค ล อ ง กั บ จุดประสงคการเรียนรู และนํ า ผลมาพั ฒ นา แผนการจัดการเรียนรู

5. เป น แบบอย า งที่ ดี และใหคําแนะนําดาน การจั ด ทํ า แผ นการ จัดการเรียนรู

ระดับคุณภาพ ระดับ 3 4. มีบัน ทึกหลังการ สอนหรื อ หลั ง การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ที่ ส อ ด ค ล อ ง กั บ จุดประสงคการเรียนรู แ ล ะ นํ า ผ ล ม า ป รั บ ป ร ะ ยุ ก ต แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ใ ห มี คุณภาพสูงขึ้น ระดับ 5 4. มีบันทึกหลังการ สอนหรื อ หลั ง การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ที่ ส อ ด ค ล อ ง กั บ จุดประสงคการเรียนรู แ ล ะ นํ า ผ ล ม า ป รั บ ป ร ะ ยุ ก ต แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ใ ห มี คุณภาพสูงขึ้น

5. เป น แบบอย า งที่ ดี เป น ผู นํ า เป น พี่ เ ลี้ ย ง และหรือเปนที่ปรึกษา ดานการจัดทําแผนการ จัดการเรียนรู

ระดับ 4 4. มีบัน ทึกหลังการ สอนหรื อ หลั ง การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ที่ ส อ ด ค ล อ ง กั บ จุดประสงคการเรียนรู แ ล ะ นํ า ผ ล ม า ป รั บ ป ร ะ ยุ ก ต แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ใ ห มี คุณภาพสูงขึ้น

5. เปนแบบอยางที่ดี เปนพี่เลี้ยง และหรือ เปนที่ปรึกษา ดานการ จัดทําแผนการจัดการ เรียนรู

ผ-8

หลักฐาน รองรอย


ผ-9

1.2.3 กลยุทธในการจัดการเรียนรู หมายถึง วิธกี ารจัดการเรียนรูที่แยบยล โดยใชเครื่องมือ รูปแบบ เทคนิค และวิธีการอยางหลากหลายที่มีประสิทธิภาพ บรรลุ ตามจุดประสงคการเรียนรู ระดับคุณภาพ ตัวชี้วัด หลักฐาน รองรอย ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับ 1 ระดับ 2 1.2.3 กลยุทธในการ จั ด การเรี ย นรู โ ดยใช 1.จั ดการเรี ยนรู โ ดยใช 1.จั ดการเรี ยนรู โ ดยใช 1.จั ดการเรี ยนรู โ ดยใช 1.จั ดการเรี ยนรู โ ดยใช 1 ) แ ผน ก า ร จั ด ก า ร รูปแบบ เทคนิค และ รูปแบบ เทคนิค และ รูปแบบ เทคนิค และ รูปแบบ เทคนิค และ รูปแบบ เทคนิค และ เรียนรู หรือ แผนการฝ ก จัดการเรียนรู วิ ธี ก ารที่ เ น น วิ ธี ก า ร วิ ธี ก ารที่ เ น น วิ ธี ก า ร วิ ธี ก ารที่ เ น น วิ ธี ก า ร วิ ธี ก ารที่ เ น น วิ ธี ก า ร วิ ธี ก ารที่ เ น น วิ ธี ก า ร อาชีพ ป ฏิ บั ติ มี ค ว า ม ป ฏิ บั ติ มี ค ว า ม ป ฏิ บั ติ มี ค ว า ม ป ฏิ บั ติ มี ค ว า ม ป ฏิ บั ติ มี ค ว า ม 2 ) สื่ อ น วั ต ก ร ร ม ห ล า ก ห ล า ย ใ ช สื่ อ ห ล า ก ห ล า ย ใ ช สื่ อ ห ล า ก ห ล า ย ใ ช สื่ อ ห ล า ก ห ล า ย ใ ช สื่ อ ห ล า ก ห ล า ย ใ ช สื่ อ เทคโนโลยี การจั ดการ นวัตกรรม เทคโนโลยี นวัตกรรม เทคโนโลยี นวัตกรรม เทคโนโลยี นวัตกรรม เทคโนโลยี นวัตกรรม เทคโนโลยี เรียนรู และแหลงเรียนรู การจัดการเรียนรู การ การจัดการเรียนรู การ การจัดการเรียนรู การ การจัดการเรียนรู การ การจัดการเรียนรู การ 3 ) ห ลั ก ฐ า น ห รื อ วั ด ผลและประเมิ น ผล วั ด ผลและประเมิ น ผล วั ด ผลและประเมิ น ผล วั ด ผลและประเมิ น ผล วั ด ผลและประเมิ น ผล รองรอยการประเมินผล ตามแผนการจั ด การ ตามแผนการจั ด การ ตามแผนการจั ด การ ตามแผนการจั ด การ ตามแผนการจั ด การ ก า ร ใ ช ก ล ยุ ท ธ ก า ร เรียนรูหรือแผนการฝก เรียนรูหรือแผนการฝก เรียนรูหรือแผนการฝก เรียนรูหรือแผนการฝก เรียนรูหรือแผนการฝก จัดการเรียนรู อาชี พ ที่ ส อดคล อ งกั บ อาชี พ ที่ ส อดคล อ งกั บ อาชี พ ที่ ส อดคล อ งกั บ อาชี พ ที่ ส อดคล อ งกั บ อาชี พ ที่ ส อดคล อ งกั บ 4) คํ า สั่ ง และร อ งรอย จุ ดประสงค ก ารเรี ยนรู จุ ดประสงค ก ารเรี ยนรู จุ ดประสงค ก ารเรี ยนรู จุ ดประสงค ก ารเรี ยนรู จุ ดประสงค ก ารเรี ยนรู การเป น พี่ เ ลี้ ย งและให สมรรถนะประจําหนวย สมรรถนะประจําหนวย สมรรถนะประจําหนวย สมรรถนะประจําหนวย สมรรถนะประจําหนวย คําแนะนํา ห รื อ ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง ห รื อ ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง ห รื อ ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง ห รื อ ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง ห รื อ ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง 5 ) ห ลั ก ฐ า น แ ล ะ หลักสูตร และสอดคลอง หลักสูตร และสอดคลอง หลักสูตร และสอดคลอง หลักสูตร และสอดคลอง หลักสูตร และสอดคลอง รองรอยอื่นๆ เพิ่มเติมที่ กับธรรมชาติของผูเรียน กับธรรมชาติของผูเรียน กับธรรมชาติของผูเรียน กับธรรมชาติของผูเรียน กับธรรมชาติของผูเรียน เกี่ยวของ หรือผูเขารับการฝกอบรม หรือผูเขารับการฝกอบรม หรือผูเขารับการฝกอบรม หรือผูเขารับการฝกอบรม หรือผูเขารับการฝกอบรม และเนื้ อ หาสาระการ และเนื้ อ หาสาระการ และเนื้ อ หาสาระการ และเนื้ อ หาสาระการ และเนื้ อ หาสาระการ เรียนรู เรียนรู เรียนรู เรียนรู เรียนรู


ตัวชี้วัด

ระดับ 1

ระดับ 2 2. ประเมินผลการใช กลยุทธในการจัดการ เรียนรูและนําผลการ ประเมินมาปรับปรุง

3. นิเทศการจัดการ เรียนรูในสถานศึกษา 4.กลยุทธการจัดการ เรียนรูสามารถนําไปใช ไดในสถานศึกษาที่มี บริบทใกลเคียง 5. เปนแบบอยางที่ดี และเปนผูนํา

3. นิเทศการจัดการ เรียนรูในสถานศึกษา 4.กลยุทธการจัดการ เรียนรูสามารถนําไปใช ไดในสถานศึกษาที่มี บริบทใกลเคียง 5. เปนแบบอยางที่ดี

3. นิเทศการจัดการ เรียนรูในสถานศึกษา

ระดับ 5 2. ประเมินผลการใช กลยุทธในการจัดการ เรียนรูและนําผลการ ประเมินมาปรับปรุง พัฒนาใหมีคุณภาพ สูงขึ้น

ระดับ 4 2. ประเมินผลการใช กลยุทธในการจัดการ เรียนรูและนําผลการ ประเมินมาปรับปรุง พัฒนาใหมีคุณภาพ สูงขึ้น

ระดับคุณภาพ ระดับ 3 2. ประเมินผลการใช กลยุทธในการจัดการ เรียนรูและนําผลการ ประเมินมาปรับปรุง พัฒนาใหมีคุณภาพ สูงขึ้น

ผ-10

หลักฐาน รองรอย


1.2.4 คุณภาพผูเรียน หมายถึง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ทําใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม มีความรู หรือสมรรถนะของหลักสูตรและคุณลักษณะอันพึงประสงคตามหลักสูตร ระดับคุณภาพ ตัวชี้วัด ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 1.2.4 คุณภาพ จํานวนผูเรียนหรือผู จํานวนผูเรียนหรือผู จํานวนผูเรียนหรือผู จํานวนผูเรียนหรือผู ผูเรียน เขารับการฝกอบรมไม เขารับการฝกอบรมไม เขารับการฝกอบรมไม เขารับการฝกอบรมไม นอยกวารอยละ 55 นอยกวารอยละ 60 นอยกวารอยละ 65 นอยกวารอยละ 70 มีผลการพัฒนา มีผลการพัฒนา มีผลการพัฒนา มีผลการพัฒนา คุณภาพเปนไปตาม คุณภาพเปนไปตาม คุณภาพเปนไปตาม คุณภาพเปนไปตามคา เปาหมายที่ คาเปาหมายที่ คาเปาหมายที่ คาเปาหมายที่ สถานศึกษากําหนด สถานศึกษากําหนด สถานศึกษากําหนด สถานศึกษากําหนด ระดับ 5 จํานวนผูเรียนหรือผู เขารับการฝกอบรมไม นอยกวารอยละ 75 มีผลการพัฒนา คุณภาพเปนไปตามคา เปาหมายที่ สถานศึกษากําหนด

ผ-11

หลักฐานแสดงผลการ เรียนของผูเรียน รายวิชาหรือผลการ ฝกอบรมของผูเขารับ การฝกอบรมตาม หลักสูตรที่ขอรับการ ประเมิน

หลักฐาน รองรอย

ทักษะ ตามจุดประสงคและสมรรถนะรายวิชา


1.3 การสรางและการ พั ฒ นา สื่ อ นวั ต กรรม เทคโนโลยี ท างการ ศึ ก ษาและ แหล ง การ เรียนรู

ตัวชี้วัด

ระดับ 1 เ ลื อ ก ใ ช แ ล ะ ห รื อ พั ฒ นาสื่ อ นวั ต กรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล ง การเรี ย นรู นํา ไปใช ในการจัดการ เรี ย นรู เ หมาะสมกั บ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝ ก อ บ ร ม สอดคล อ งกั บ เนื้ อ หา สาระรายวิ ช า และ จุดประสงคการเรียนรู

ระดับ 2 1. คั ด ส ร ร แ ล ะ ห รื อ พัฒนา สื่อ นวัตกรรม เ ท ค โ น โ ล ยี ท า ง การศึ ก ษาและแหล ง เรี ย นรู นํ า ไปใช ในการ จั ด ก า ร เ รี ย น รู เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย น ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝกอบรมสอดคลองกับ เนื้ อ หาสาระรายวิ ช า และจุ ด ประสงค ก าร เรียนรู 2. ประเมิ น ผลการใช สื่ อ น วั ต ก ร ร ม เทคโนโลยี ท างการ ศึกษาและแหลงเรียนรู

ระดับ 4 1. สรา งและพัฒ นาสื่อ นวั ต กรรมเทคโนโลยี ทางก ารศึ ก ษาแล ะ แหลงเรียนรู นําไปใช ในการจั ด การเรี ย นรู เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย น ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝกอบรมสอดคลองกับ เนื้ อ หาสาระรายวิ ช า และจุ ด ประสงค ก าร เรียนรู 2. ประเมิ น ผลการใช สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทางการ ศึ ก ษาแล ะ แหลงเรียนรู และนํา ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ไ ป ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาให มี คุณภาพสูงขึ้น

ระดับคุณภาพ ระดับ 3 1. สรางและพัฒนาสื่อ นวั ต กรรมเทคโนโลยี ทางการ ศึ ก ษาแล ะ แหลงเรียนรู นําไปใช ในการจั ด การเรี ย นรู เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย น ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝกอบรมสอดคลองกับ เนื้ อ หาสาระรายวิ ช า และจุ ด ประสงค ก าร เรียนรู 2. ประเมิ น ผลการใช สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทางการ ศึ ก ษาแล ะ แหลงเรียนรู และนํา ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ไ ป ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาให มี คุณภาพสูงขึ้น

2. ประเมิ น ผลการใช สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทางก ารศึ ก ษาแล ะ แหลงเรียนรู และนํา ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ไ ป ปรั บ ปรุ ง พั ฒ นาให มี คุณภาพสูงขึ้น

ระดับ 5 1.สร า งและพั ฒ นาสื่ อ นวั ต กรรมเทคโนโลยี ทางก ารศึ ก ษาแล ะ แหลงเรียนรู นําไปใช ในการจั ด การเรี ย นรู เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย น ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝกอบรมสอดคลองกับ เนื้ อ หาสาระรายวิ ช า และจุ ด ประสงค ก าร เรียนรู

ผ-12

3) หลั ก ฐาน ร อ งรอย การนํ า สื่ อ นวั ต กรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล ง การเรี ย นรู ไปประยุ ก ต ใ ช ใ นการ สถานศึ กษาที่ มีบ ริบ ท ใกลเคียง

2) หลั ก ฐาน ร อ งรอย การประเมิ น ผลและ ห รื อ ป รั บ ป รุ ง สื่ อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทางก ารศึ ก ษาแล ะ แหลงการเรียนรู

1) สื่ อ น วั ต ก ร ร ม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลงการเรียนรู

หลักฐาน รองรอย

1.3 การสรางและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลงการเรียนรู หมายถึง การเลือก คัดสรรใช สรางและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทาง การศึกษา และแหลงการเรียนรู เพื่อนําไปใชการจัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม สอดคลองกับเนื้อหาสาระ รายวิชา และจุดประสงคการเรียนรู


ตัวชี้วัด

ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับคุณภาพ ระดับ 3 3 . ส า ม า ร ถ นํ า สื่ อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทางการ ศึ ก ษาแล ะ แหล ง เรี ย นรู ไ ปปรั บ ป ร ะ ยุ ก ต ใ ช ใ น สถานศึก ษาที่มีบ ริบ ท ใกลเคียง 4. เปนแบบอยางที่ดี

ระดับ 4 3. ส า ม า ร ถ นํ า สื่ อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทางการ ศึ ก ษาแล ะ แหล ง เรี ย นรู ไ ปปรั บ ป ร ะ ยุ ก ต ใ ช ใ น สถานศึก ษาที่มีบ ริบ ท ใกลเคียง 4. เปนแบบอยางที่ดี และเปนผูนํา

ผ-13

หลักฐาน รองรอย ระดับ 5 3. ส า ม า ร ถ นํ า สื่ อ 4) หลักฐานและรองรอย นวั ตกรรม เทคโนโลยี อื่นๆ เพิ่มเติมที่เกี่ยวของ ทางการ ศึ ก ษาแล ะ แหล ง เรี ย นรู ไ ปปรั บ ป ร ะ ยุ ก ต ใ ช ใ น สถานศึก ษาที่มีบ ริบ ท ใกลเคียง


ผ-14

1.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู หมายถึง กระบวนการที่ไดมาซึ่งขอมูลสารสนเทศที่เปนผลจากการจัดการเรียนรู เพื่อปรับปรุง พัฒนา ตัดสินผลการเรียนรู ความกาวหนา และพัฒนาการของผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม ที่สะทอนระดับคุณภาพของผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม โดยใชวิธีการ เครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู ระดับคุณภาพ ตัวชี้วัด หลักฐาน รองรอย ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 1.4 การวัดและ 1. เลื อ กใช แ ละหรื อ 1. คั ด ส รร แล ะหรื อ 1. คั ด ส ร ร แ ล ะ ห รื อ 1. คั ด ส ร ร แ ล ะ ห รื อ 1. คั ด ส ร ร แ ล ะ ห รื อ 1) แผนการจั ด การ ประเมินผลการเรียนรู พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ วั ด พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ วั ด พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ วั ด พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ วั ด พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ วั ด เรียนรูหรือแผนการฝก แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ที่ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ที่ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ที่ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ที่ แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ที่ อาชีพ หลากหลาย เหมาะสม หลากหลาย เหมาะสม หลากหลาย เหมาะสม หลากหลาย เหมาะสม หลากหลายเหมาะสม 2) หลักฐานรองรอยที่ แ ล ะ ส อ ด ค ล อ ง กั บ แ ล ะ ส อ ด ค ล อ ง กั บ แ ล ะ ส อ ด ค ล อ ง กั บ แ ล ะ ส อ ด ค ล อ ง กั บ แ ล ะ ส อ ด ค ล อ ง กั บ แสดงถึ งการวิเ คราะห จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคการเรียนรู จุดประสงคการเรียนรู เพื่อวัดและประเมินผล 2. มี ก ารประเมิ น ตาม 2.มี ก ารประเมิ น ตาม 2. มี ก ารประเมิ น ตาม 2. มี ก ารประเมิ น ตาม 2. มีการประเมินตาม การเรียนรู 3) เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ น สภาพจริง สภาพจริง สภาพจริง สภาพจริง สภาพจริง การวัดและประเมินผล 3. มี ป ระเมิ น คุ ณ ภาพ 3. มี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ 3. มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น 3. มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น การเรี ย นรูแ ละเกณฑ คุณภาพของเครื่องมือ คุณภาพของเครื่องมือ คุณภาพของเครื่องมื อ ของเครื่ อ งมื อ วั ด และ การใหคะแนน วัดและประเมินผล วัดและประเมินผลการ วัดและประเมินผลการ ประเมินผลการเรียนรู 4) ภาระงาน/ชิ้น งาน เรีย นรู และนําผลการ เรีย นรู และนํ าผลการ และนําผลการประเมิน ของผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า ประเมิ น คุ ณ ภาพของ ประเมิ น คุ ณ ภาพของ คุณภาพของเครื่องมือ รับการฝกอบรม เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด แ ล ะ เ ค รื่ อ ง มื อ วั ด แ ล ะ วัดและประเมินผลการ 5) คําสั่ง และรองรอย ประเมินผลการเรียนรู ประเมินผลการเรียนรู เ รี ย น รู ไ ป ป รั บ ป รุ ง การเปนพี่เลี้ยงและให ไปปรับปรุง ไปปรับปรุงพัฒนาใหมี พั ฒ นาให มี คุ ณ ภาพ คําแนะนําดานการวัด สูงขึ้น คุณภาพสูงขึ้น และประเมินผล


ตัวชี้วัด

ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3 ระดับ 4 4. ให คํ า แนะนํ า ด า น 4. เป น แบบอย า งที่ ดี การวัดและประเมินผล เ ป น พี่ เ ลี้ ย ง แ ล ะ ใ ห คํ า ปรึ กษาด า นการวั ด และประเมินผล

ระดับคุณภาพ ระดับ 5 4. เปนแบบอยางที่ดี เปน ผูนํา เปน พี่เลี้ย ง และใหคําปรึกษา ดานการวัดและ ประเมินผล

ผ-15

หลักฐาน รองรอย


1.5 การวิจัยเพื่อ พัฒนาการเรียนรู

ตัวชี้วัด

ระดับ 1 ใช ก ระบวนการวิ จั ย เพื่ อ แก ไ ขป ญ หาหรื อ พั ฒ นาการเรี ย นรู ของ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรม

2. นําผลการแกปญหา หรื อ การพั ฒ นาการ เรีย นรูของผูเ รีย นของ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรมไปใช

ระดับ 2 1.ใชกระบวนการวิจัย เ พื่ อ แ ก ป ญ ห า ห รื อ พัฒ นาการเรี ย นรู ของ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมโดยใช วิธีการที่ถูกตอง

2. นําผลการแกปญหา หรื อ การพั ฒ นาการ เรีย นรูของผูเรีย นของ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรมไปใช

ระดับคุณภาพ ระดับ 3 1.ใชกระบวนการวิจัย เ พื่ อ แ ก ป ญ ห า ห รื อ พัฒ นาการเรี ย นรู ของ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรม โดยใช วิ ธี ก ารที่ ถู ก ต อ งและ เหมาะสมกั บ สภาพ ป ญ ห า แ ล ะ ค ว า ม ตองการจําเปน

2. นําผลการแกปญหา หรื อ การพั ฒ นาการ เรีย นรูของผูเรีย นของ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝ ก อ บ ร ม ห รื อ ผลการวิจัยไปใช

ระดับ 4 1.ใชกระบวนการวิจัย หรื อ ดํ า เนิ น การวิ จั ย เ พื่ อ แ ก ป ญ ห า ห รื อ พัฒ นาการเรี ย นรู ของ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรม โดยใช วิ ธี ก ารที่ ถู ก ต อ งและ เหมาะสมกั บ สภาพ ป ญ ห า แ ล ะ ค ว า ม ตองการจําเปน 2. นําผลการแกปญหา หรื อ การพั ฒ นาการ เรีย นรูของผูเรีย นของ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝ ก อ บ ร ม ห รื อ ผลการวิจัยไปใช

ระดับ 5 1.ใชกระบวนการวิจัย หรือดําเนินการวิจัยใน การสร า งองค ค วามรู ใหม เพื่ อ แก ป ญ หา และหรื อ พั ฒ นาการ เรียนรูของผูเรียนหรือ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรม โดยใชวิธีการที่ถูกตอง แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม กั บ สภาพปญหาและความ ตองการจําเปน

ผ-16

2) หลั กฐาน รองรอย ที่แสดงถึงการเปนผูนํา หรือการใหคําแนะนํา

1) หลักฐาน รองรอย ที่ แ สดงถึ ง การแก ไ ข ปญหาหรือพัฒนาการ เรียนรูหรือองคความรู ใหม โดยใชกระบวนการ วิจัยหรือการดําเนินการ วิจัย

หลักฐาน รองรอย

1.5 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู หมายถึง กระบวนการแกปญหาหรือพัฒนาการจัดการเรียนรูอยางเปนระบบที่สงผลตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียนหรือผูเขารับ การฝกอบรมไดเต็มตามศักยภาพ


ตัวชี้วัด

ระดับ 4

ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับคุณภาพ ระดับ 4 3. ใหคําแนะนําในการ ใช ก ระบวนการวิ จั ย หรื อ ดํ า เนิ น การวิ จั ย เพื่อแกปญหาและหรือ พั ฒ นาการเรี ย นรู ข อง ผูเรียนหรือผูเขารับการ ฝกอบรม

ระดับ 5 3. เป น ผู นํ า และให คํ า แนะนํ า ในการใช กระบวนการวิ จัย หรื อ ดําเนินการวิจัย ในการ สร า งองค ค วามรู ใ หม เพื่อแกปญหาและหรือ พั ฒ นาการเรี ย นรู ข อง ผูเรียนหรือผูเขารับการ ฝกอบรม

ผ-17

หลักฐาน รองรอย


ผ-18

ดานที่ 2 ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน หมายถึง การจัดกิจกรรมสิ่งอํานวยความสะดวก จัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม ที่สงเสริม สนับสนุน และชวยเหลือผูเรียนหรือ ผูเขารับการฝกอบรมใหเกิดการเรียนรูอยางมีความสุข และเปนผูเสริมแรง ชี้แนะแนวทางใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมศึกษาแสวงหาความรู คิดวิเคราะห ปฏิบัติ และ คนพบคําตอบดวยตนเอง 2.1 การบริหารจัดการชั้นเรียน หมายถึง การจัดสภาพแวดลอม บรรยากาศในชั้นเรียนที่สงเสริมและเอื้อตอการเรียนรู กระตุนความสนใจใฝรู ใฝศึกษา อบรม บมนิสัย ตลอดจนสงเสริมใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม เกิดกระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน มีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค คานิยม ที่ดีงาม ปลูกฝงความเปนประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข สรางแรงบันดาลใจ และเสริมแรงใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมมีความมั่นใจในการพัฒนา ตนเองเต็มตามศักยภาพ มีความปลอดภัยและมีความสุข ระดับคุณภาพ ตัวชี้วัด หลักฐาน รองรอย ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ดานที่ 2 ดานการบริหาร 1.จั ด สภาพแวดล อ ม 1.ผู เ รี ย นหรือ ผูเข ารั บ 1.ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ 1.ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ 1.ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ แฟมเอกสาร หลักฐาน บรรยากาศที่ เ อื้ อ ต อ การฝกอบรมมีสวนรวม การฝ ก อบรมมี ส ว น การฝ ก อบรมและผู ที่ การฝ ก อบรมและผู ที่ การบริ ห ารจั ด การชั้ น จัดการชั้นเรียน 2.1 การบริหาร ก า ร เ รี ย น รู เ พื่ อ ใ ห ในการจัดสภาพแวดลอม รวมอยางสรางสรรคใน เกี่ ย วข อ งมี ส ว นร ว ม เกี่ ย วข อ งมี ส ว นร ว ม เรียน ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ บรรยากาศที่ เ อื้ อ ต อ การจัดสภาพแวดลอม อยางสรางสรรคในการ อยางสรางสรรคในการ จัดการชั้นเรียน การฝ ก อบรมมี ค วาม ก า ร เ รี ย น รู มี ค ว า ม บรรยากาศที่ เ อื้ อ ต อ จั ด ส ภ า พ แ ว ด ล อ ม จั ด ส ภ า พ แ ว ด ล อ ม ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ มี ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ มี ก า ร เ รี ย น รู มี ค ว า ม บรรยากาศที่ เ อื้ อ ต อ บรรยากาศที่ เ อื้ อ ต อ ความสุข ความสุข ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ มี ก า ร เ รี ย น รู มี ค ว า ม ก า ร เ รี ย น รู มี ค ว า ม ความสุข ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ มี ป ล อ ด ภั ย แ ล ะ มี ความสุข ความสุข 2. ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย น 2. ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย น 2. ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย น 2. ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย น 2. ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย น หรือผูเขารับการฝกอบรม หรือผูเขารับการฝกอบรม หรือผูเขารับการฝกอบรม หรือผูเขารับการฝกอบรม หรือผูเขารับการฝกอบรม เกิ ด กระบวนการคิ ด เกิ ด กระบวนการคิ ด เกิด กระบวนการคิด มี เกิด กระบวนการคิด มี เกิ ดกระบวนการคิด มี มีทักษะชีวิตและทักษะ มีทักษะชีวิตและทักษะ ทัก ษะชีวิ ต และทั ก ษะ ทัก ษะชีวิ ต และทั ก ษะ ทัก ษะชี วิ ตและทั ก ษะ การทํางาน การทํางาน การทํางาน การทํางาน การทํางาน


ตัวชี้วัด

ระดับ 1 3. อบรมบ ม นิ สั ย ให ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรมมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ อันพึงประสงคคานิยม ที่ดีงาม ปลูกฝงความ เปนประชาธิปไตยอันมี พระมหากษั ต ริ ย ท รง เปนประมุข

ระดับ 2 3. อบรมบ ม นิ สั ย ให ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ กอบรมมี คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ อันพึงประสงคคานิยม ที่ดีงาม ปลูกฝงความ เปนประชาธิปไตยอันมี พระมหากษั ต ริ ย ท รง เปนประมุข 4. เสริมแรงใหผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม มี ค วามมั่ น ใจในการ พัฒ นาตนเองเต็มตาม ศักยภาพ

ระดับคุณภาพ ระดับ 3 3. อบรมบมนิสัยให ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ กอบรมมี คุณธรรม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ประสงค ค า นิ ย มที่ ดี งาม ปลูกฝงความเปน ประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษั ต ริ ย ท รง เปนประมุข 4. เสริมแรงใหผูเรียน ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝกอบรม มีความมั่นใจ ในการพั ฒ นาตนเอง เต็มตามศักยภาพ เกิด แรงบันดาลใจ

4. เสริมแรงใหผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม มี ค วามมั่ น ใจในการ พัฒ นาตนเองเต็มตาม ศักยภาพ เกิดแรงบันดาล ใจ

5. การบริหารจัดการ ชั้นเรียนเปนแบบอยาง ที่ดี

ระดับ 5 3. อบรมบ ม นิ สั ย ให ผูเรียนหรือผูเขารับการ ฝ กอบรมมี คุ ณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ อันพึงประสงคคานิยม ที่ดีงาม ปลูกฝงความ เปนประชาธิปไตยอันมี พระมหากษั ต ริ ย ท รง เปนประมุข

ระดับ 4 3. อบรมบ ม นิ สั ย ให ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ กอบรมมีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ อันพึงประสงคคานิยม ที่ดีงาม ปลูกฝงความ เปนประชาธิปไตยอันมี พระมหากษั ต ริ ย ท รง เปนประมุข

ผ-19

หลักฐาน รองรอย


2. มี โ ครงการและจั ด กิจกรรมเชิงสรางสรรค ดวยวิธีการที่หลากหลาย ในการดู แ ลช ว ยเหลื อ ผู เ รี ย น หรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรม

2. มี โ ครงการและจั ด กิจกรรมเชิงสรางสรรค ดวยวิธีการที่หลากหลาย ในการดู แ ลช ว ยเหลื อ ผู เ รี ย น หรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรม 3. ส ง เสริ ม ป อ งกั น และแก ป ญ หาผู เ รี ย น ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝ ก อบรมอย า งเป น ระบบ

2. มี โ ครงการและจั ด กิจกรรมเชิงสรางสรรค ดวยวิธีการที่หลากหลาย ในการดู แ ลช ว ยเหลื อ ผู เ รี ย น หรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรม 3. ส ง เสริ ม ป อ งกั น และแก ป ญ หาผู เ รี ย น ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝ ก อบรมอย า งเป น ระบบ

2. มี โ ครงการและจั ด กิจกรรมเชิงสรางสรรค ดวยวิธีการที่หลากหลาย ในการดู แ ลช ว ยเหลื อ ผู เ รี ย น หรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรม 3. สงเสริมปองกันและ แก ป ญ หาผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรม อยางเปนระบบ

ผ-20

2.2 การจัดระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน หมายถึง การดําเนินการดูแลชวยเหลือผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมอยางเปนระบบ โดยการรวบรวมขอมูล วิเคราะห สังเคราะห จัดทําและใชสารสนเทศของผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม จัดทําโครงการและกิจกรรมเชิงสรางสรรคดวยวิธีการที่หลากหลาย เพื่อสงเสริม ปองกัน และแกปญหา ของผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม ระดับคุณภาพ ตัวชี้วัด หลักฐาน รองรอย ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 2.2 การจั ด ระบบ ร ว บ ร ว ม ข อ มู ล 1 . ร ว บ ร ว ม ข อ มู ล 1 . ร ว บ ร ว ม ข อ มู ล 1 . ร ว บ ร ว ม ข อ มู ล 1 . ร ว บ ร ว ม ข อ มู ล แฟมเอกสาร หลักฐาน ดู แ ลช ว ยเหลื อ ผู เ รี ย น วิ เ คราะห สั ง เคราะห วิ เ คราะห สั ง เคราะห วิ เ คราะห สั ง เคราะห วิ เ คราะห สั ง เคราะห วิ เ คราะห สั ง เคราะห ก า ร จั ด ร ะ บ บ ดู แ ล ห รื อ ผู เ ข า รั บ ก า ร จัดทํ าและใชสารสนเทศ จัดทําและใชสารสนเทศ จัดทําและใชสารสนเทศ จัดทําและใชสารสนเทศ จัดทําและใช สารสนเทศ ชวยเหลือผูเรียนหรือผู ฝกอบรม ของผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า ของผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า ของผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า ของผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า ของผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า เขารับการฝกอบรม รั บ การฝ ก อบรม ใน รั บ การฝ ก อบรม ใน รั บ การฝ ก อบรม ใน รั บ การฝ ก อบรม ใน รั บ การฝ ก อบรม ใน ระบบดู แ ลช ว ยเหลื อ ระบบดู แ ลช ว ยเหลื อ ระบบดู แ ลช ว ยเหลื อ ระบบดู แ ลช ว ยเหลื อ ระบบดู แ ลช ว ยเหลื อ ผูเรียน ผูเรียน ผูเรียน ผูเรียน ผูเรียน


ตัวชี้วัด

ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3

ระดับคุณภาพ

5. เปนแบบอยางที่ดี

5. เปนแบบอยางที่ดี และเปนผูนํา

ระดับ 4 ระดับ 5 4. นําไปประยุกตใชใน 4. นําไปประยุกตใชใน สถานศึ กษาที่ มีบ ริบ ท สถานศึก ษาที่มี บ ริ บ ท ใกลเคียง ใกลเคียง

ผ-21

หลักฐาน รองรอย


2. ใช ส ารสนเทศใน การเสริ ม สร า งและ พัฒนาผูเรียนหรือผูเขา รับการฝกอบรม

2. ใช ส ารสนเทศใน การเสริ ม สร า งและ พัฒนาผูเรียนหรือผูเขา รับการฝกอบรม

2. ใชสารสนเทศในการ เสริม สรา งและพัฒ นา ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรม

4. เปนแบบอยางที่ดี

4. เป น แบบอย า งที่ ดี และเปนผูนํา

3. ใหคําปรึกษาแกครู 3.ให คํ า ปรึ ก ษาแก ค รู 3. ใหคําปรึกษาแกครู ในสถานศึกษาดานการ ในสถานศึกษาดานการ ในสถานศึกษาดานการ จัดทําขอมูลสารสนเทศ จัดทําขอมูลสารสนเทศ จัดทําขอมูลสารสนเทศ

2. ใช ส ารสนเทศใน การเสริ ม สร า งและ พัฒนาผูเรียนหรือผูเขา รับการฝกอบรม

ผ-22

2.3 การจัดทําขอมูลสารสนเทศ และเอกสารประจําชั้นเรียนหรือประจําวิชา หมายถึง การดําเนินการรวบรวมขอมูลของผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมในทุกดาน ที่ผานการวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ มีความถูกตองและเปนปจจุบัน เพื่อเปนสารสนเทศในการเสริมสรางและพัฒนาผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม ประจําชั้นหรือ ประจําวิชาที่รับผิดชอบ ระดับคุณภาพ ตัวชี้วัด หลักฐาน รองรอย ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 2. 3 การจั ด ทํ า จัดทําขอมูลสารสนเทศ 1.จัดทําขอมูลสารสนเทศ 1.จัดทําขอมูลสารสนเทศ 1.จัดทําขอมูลสารสนเทศ 1.จัดทําขอมูลสารสนเทศ แฟมเอกสาร หลักฐาน ขอมูล สารสนเทศและ และเอกสารผูเ รีย นใน และเอกสารผูเรีย นใน และเอกสารผูเรีย นใน และเอกสารผู เ รีย นใน และเอกสารผูเรีย นใน ก า ร จั ด ทํ า ข อ มู ล เ อ ก ส า ร ป ร ะ จํ า ชั้ น ที่ ป รึ ก ษาหรื อ ประจํ า ที่ ป รึ ก ษาหรื อ ประจํ า ที่ ป รึ ก ษาหรื อ ประจํ า ที่ ป รึ ก ษาหรื อ ประจํ า ที่ ป รึ ก ษาหรื อ ประจํ า ส า ร ส น เ ท ศ แ ล ะ เรียนหรือประจําวิชา วิ ช าอย า งเป น ระบบ วิ ช าอย า งเป น ระบบ วิ ช าอย า งเป น ระบบ วิ ช าอย า งเป น ระบบ วิ ช าอย า งเป น ระบบ เ อ ก ส า ร ป ร ะ จํ า ชั้ น ถู ก ต อ ง แ ล ะ เ ป น ถู ก ต อ ง แ ล ะ เ ป น ถู ก ต อ ง แ ล ะ เ ป น ถู ก ต อ ง แ ล ะ เ ป น ถู ก ต อ ง แ ล ะ เ ป น เรียนหรือประจําวิชา ปจจุบัน ปจจุบัน ปจจุบัน ปจจุบัน ปจจุบัน


2. พัฒนาตนเองตามที่ สํานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา กําหนด เพิ่มเติม 2 เรื่องไดแก 2. พั ฒ นาตนเองตาม แ ผ น แ ล ะ ต า ม ที่ สํานั กงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา กําหนด เพิ่มเติม 2 เรื่องไดแก

2. พัฒ นาตนเอง ตาม แผนตามที่ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการ อาชีวศึกษากําหนด เพิ่มเติม 2 เรื่องไดแก

2. พัฒ นาตนเอง ตาม แผนตามที่ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการการ อาชี ว ศึ ก ษากํ า หนด เพิ่มเติม 2 เรื่องไดแก

2 . พั ฒ น า ต น เ อ ง ตามแผนตามที่ สํานั กงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษากําหนด เพิ่มเติม 2 เรื่องไดแก

ผ-23

ดานที่ 3 ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพ หมายถึง กระบวนการพัฒนาสมรรถนะและวิชาชีพครู โดยมีแผนการพัฒนาตนเอง และดําเนินการพัฒนาตนเองตามแผน อยางเปนระบบสอดคลองกับสภาพการปฏิบัติงานความตองการจําเปน องคความรูใหม นโยบาย แผนกลยุทธของหนวยงานการศึกษาหรือสวนราชการตนสังกัด มีการแลกเปลี่ยน เรียนรูรวมกันในระดับสถานศึกษา หรือระดับเครือขาย หรือระดับชาติ และแสดงบทบาทในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ดวยความสัมพันธแบบกัลยาณมิตรที่มีวิสัยทัศน คุณคา เปาหมายและภารกิจรวมกัน ซึ่งสงผลตอคุณภาพผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม เพื่อใหเกิดเปนวัฒนธรรมองคกร และ สรางนวัตกรรมจากการเขารวมในชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ 3.1 การพัฒนาตนเอง หมายถึง กระบวนการพัฒนาสมรรถนะของครูรายบุคคล โดยมีแผนการพัฒนาตนเองและดําเนินการตามแผนอยางเปนระบบและตอเนื่อง สอดคลองกับสภาพการปฏิบัติงานความตองการจําเปน องคความรูใหม หรือตามนโยบาย หรือแผนกลยุทธของหนวยงานการศึกษาหรือสวนราชการตนสังกัด โดยนําความรู ความสามารถ ทักษะ ที่ไดจากการพัฒนาตนเองมาพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรูที่สงผลตอคุณภาพผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม ระดับคุณภาพ ตัวชี้วัด หลักฐาน รองรอย ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ดานที่ 3 ดานการ 1. จั ด ทํ า แผนพั ฒ นา 1. จั ด ทํ า แผนพั ฒ นา 1. จั ด ทํ า แผนพั ฒ นา 1. จั ด ทํ า แผนพั ฒ นา 1. จั ด ทํ า แผนพั ฒ นา แฟมเอกสาร หลักฐาน พัฒนาตนเองและ ตนเองที่สอดคลองกับ ตนเองที่ ส อดคลอ งกั บ ตนเองที่สอดคลองกับ ตนเองที่สอดคลองกับ ตนเองที่ส อดคลองกับ การพัฒนาตนเอง พัฒนาวิชาชีพ สภาพการปฏิ บั ติ ง าน สภาพการปฏิ บั ติ ง าน สภาพการปฏิ บั ติ ง าน สภาพการปฏิ บั ติ ง าน สภาพการปฏิ บั ติ ง าน 3.1 การพัฒนา ความต อ งการจํ า เป น ความต อ งการจํ า เป น ความต อ งการจํ า เป น ความต อ งการจํ า เป น ความต อ งการจํ า เป น ตนเอง หรื อตามแผนกลยุ ท ธ หรื อ ตามแผนกลยุ ท ธ หรื อ ตามแผนกลยุ ท ธ หรื อ ตามแผนกลยุ ท ธ หรื อ ตามแผนกลยุ ท ธ ของหนวยงานการศึกษา ของหน วยงานการศึ กษา ของหน วยงานการศึ กษา ของหนวยงานการศึกษา ของหนวยงานการศึกษา หรื อ ส ว นราชการต น หรื อ ส ว นราชการต น หรื อ ส ว นราชการต น หรื อ ส ว นราชการต น หรื อ ส ว นราชการต น สังกัด สังกัด สังกัด สังกัด สังกัด


ตัวชี้วัด

ระดับ 1 การใช ภ าษาอั ง กฤษ และการใชเ ทคโนโลยี สารสนเทศในการ สื่อสารตามรายละเอียด แนบทายเรื่องนี้

ระดับ 2 การใช ภ าษาอั ง กฤษ และการใชเ ทคโนโลยี สารสนเทศในการ สื่อสารตามรายละเอียด แนบทายเรื่องนี้ 3. นําความรูความสามารถ และทั ก ษะที่ ไ ด จ าก การพั ฒ นาตนเองมา พั ฒ นานวั ต กรรมการ จั ด การเรี ย นรู ที่ ส ง ผล ตอคุณภาพผูเรียนหรือ ผูเขารับการฝกอบรม

3. นําความรูความสามารถ และทั ก ษะที่ ไ ด จ าก การพั ฒ นาตนเองมา พั ฒ นานวั ต กรรมการ จั ด การเรี ย นรู ที่ ส ง ผล ตอคุณภาพผูเรียนหรือ ผูเขารับการฝกอบรม

3. นําความรูความสามารถ และทักษะที่ไดจากการ พัฒนาตนเองมาพัฒนา นวั ต กรรมการจั ด การ เ รี ย น รู ที่ ส ง ผ ล ต อ คุ ณ ภาพผู เ รี ย นหรื อ ผู เขารับการฝกอบรม

ระดับ 5 การใชภาษาอังกฤษ และการใชเทคโนโลยี สารสนเทศในการ สื่อสารตามรายละเอียด แนบทายเรื่องนี้

5. เปนแบบอยางที่ดี

5. เปนแบบอยางที่ดี และเปนผูนํา

4. สร างองคความรู 4. สรางองคความรู ใ ห ม ที่ ไ ด จ า ก ก า ร ใหมที่ไดจากการ พัฒนาตนเอง พัฒนาตนเอง

ระดับ 4 การใชภาษาอังกฤษ และการใชเทคโนโลยี สารสนเทศในการ สื่อสารตามรายละเอียด แนบทายเรื่องนี้

ระดับคุณภาพ ระดับ 3 การใชภาษาอังกฤษ และการใชเทคโนโลยี สารสนเทศในการ สื่อสารตามรายละเอียด แนบทายเรื่องนี้

ผ-24

หลักฐาน รองรอย


2. นํ า องคค วามรูที่ ไ ด จากการเขารวมชมรม วิชาชีพ หรือชุมชนการ เรียนรูทางวิชาชีพไปใช ในการจัดการเรียนการ สอน

2. นํ า องคค วามรูที่ ไ ด จากการเขารวมชมรม วิชาชีพ หรือชุมชนการ เรียนรูทางวิชาชีพไปใช ในการจั ด การเรี ย น การสอน 3. สรางนวัตกรรมที่ได จากการเข า ร ว มใน ช มรมวิ ช าชี พ หรื อ ชุ ม ชนการเรี ย นรู ท าง วิชาชีพ

2. นํ า องคค วามรูที่ ไ ด จากการเขารวมชมรม วิชาชีพ หรือชุมชนการ เรียนรูทางวิชาชีพไปใช ในการจั ด การเรี ย น การสอน 3. สรางนวัตกรรมที่ได จากการเข า ร ว มใน ช มรมวิ ช าชี พ หรื อ ชุ ม ชนการเรี ย นรู ท าง วิชาชีพ

3. สรางนวัตกรรมที่ได จากการเขารวมใน ชมรมวิชาชีพ หรือ ชุมชนการเรียนรูทาง วิชาชีพ

2. นํา องค ค วามรูที่ ไ ด จากการเข ารวมชมรม วิชาชีพ หรือชุมชนการ เรียนรูทางวิชาชีพไปใช ในการจั ด การเรี ย น การสอน

ผ-25

3.2 การพัฒนาวิชาชีพ หมายถึง กระบวนการพัฒนาวิชาชีพครู โดยการมีสวนรวม แลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันในระดับสถานศึกษา หรือระดับเครือขาย หรือระดับชาติ และแสดงบทบาทในชมรมวิชาชีพหรือชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ดวยความสัมพันธแบบกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน คุณคา เปาหมายและภารกิจรวมกัน เพื่อใหเกิดเปนวัฒนธรรมองคกร และสรางนวัตกรรมจากการเขารวมในชมรมวิชาชีพหรือชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพโดยนําความรู ความสามารถ ทักษะ ที่ไดจากการพัฒนาวิชาชีพมาพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู ที่สงผลตอคุณภาพผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม ระดับคุณภาพ ตัวชี้วัด หลักฐาน รองรอย ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 3.2 การพัฒนา เข า ร ว มชมรมวิ ช าชี พ 1. เขารวมชมรมวิชาชีพ 1. เขารวมชมรมวิชาชีพ 1. เขารวมชมรมวิชาชีพ 1. เขารวมชมรมวิชาชีพ แฟมเอกสาร หลักฐาน วิชาชีพ หรื อ ชุ มชนการเรี ย นรู หรื อ ชุ มชนการเรี ย นรู หรื อ ชุ มชนการเรี ย นรู หรื อ ชุ มชนการเรี ย นรู หรื อ ชุ ม ชนการเรี ย นรู การพัฒนาวิชาชีพ ทางวิชาชีพ ทางวิชาชีพ ทางวิชาชีพ ทางวิชาชีพ ทางวิชาชีพ


ตัวชี้วัด

ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับคุณภาพ ระดับ 3 4. ส ร า ง เ ค รื อ ข า ย ช มรมวิ ช าชี พ หรื อ ชุ ม ชนการเรี ย นรู ท าง วิชาชีพ 5. สรางวัฒนธรรม ทางการเรียนรูใน สถานศึกษา

5. สรางวัฒนธรรม ทางการเรียนรูใน สถานศึกษา

7. เปนแบบอยางที่ดี

7. เปนแบบอยางที่ดี และเปนผูนํา

6. เปนผูนําการ 6. เปนผูนําการ เปลี่ ย นแปลงที่ ส ง ผล เปลี่ ย นแปลงที่ ส ง ผล ตอเพื่อนรวมวิชาชีพ ตอเพือ่ นรวมวิชาชีพ

ระดับ 5 4. ส ร า ง เ ค รื อ ข า ย ช มรมวิ ช าชี พ หรื อ ชุ ม ชนการเรี ย นรู ท าง วิชาชีพ

ระดับ 4 4. ส ร า ง เ ค รื อ ข า ย ช มรมวิ ช าชี พ หรื อ ชุ ม ชนการเรี ย นรู ท าง วิชาชีพ

ผ-26

หลักฐาน รองรอย


ตัวชี้วัด

2. มีผลการสอบ ภาษาอังกฤษตาม มาตรฐานที่ สถานศึกษากําหนด

2. มีผลการสอบ ภาษาอังกฤษตาม มาตรฐานที่ สถานศึกษากําหนด

2. เขียนเอกสาร วิชาการในอาชีพเปน ภาษาอังกฤษ และเปน ตนแบบ/ใหคําปรึกษา แกบุคคลอื่นได 3. มีผลการสอบ ภาษาอังกฤษตาม มาตรฐานที่ สถานศึกษากําหนด

3. มีผลการสอบ ภาษาอังกฤษตาม มาตรฐานที่ สถานศึกษากําหนด

ระดับ 4 1. การใชภาษาอังกฤษ ในการสื่อสารเพื่อ 1) การแนะนําตัวเอง 2) การใชชีวิตประจําวัน 3) ในงานอาชีพ

2. เขียนเอกสาร วิชาการในอาชีพเปน ภาษาอังกฤษ

ระดับคุณภาพ ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 1. การใชภาษาอังกฤษ 1. การใชภาษาอังกฤษ 1. การใชภาษาอังกฤษ 1. การใชภาษาอังกฤษ ในการสื่อสารเพื่อ ในการสื่อสารเพื่อ ในการสื่อสาร ในการสื่อสารเพื่อ 1) การแนะนําตัวเอง 1) การแนะนําตัวเอง 1) การแนะนําตัวเอง 2) การใชชีวิตประจําวัน 2) การใชชีวิตประจําวัน 2) การใชชีวิตประจําวัน 3) ในงานอาชีพ 3) ในงานอาชีพ

3. มีผลการสอบ ภาษาอังกฤษจากศูนย การทดสอบที่ได มาตรฐาน

2. สามารถเขียน เอกสารวิชาการใน อาชีพเปนภาษาอังกฤษ และเปนตนแบบ/ให คําปรึกษาแกบุคคลอื่น ได

ผ-27

หลักฐาน รองรอย ระดับ 5 1. การใชภาษาอังกฤษ แฟมเอกสาร หลักฐาน ในการสื่อสารเพื่อ การพัฒนาตนเอง 1) การแนะนําตัวเอง 2) การใชชีวิตประจําวัน 3) ในงานอาชีพ

1. การใชภาษาอังกฤษในการสื่อสาร หมายถึง การนําความรู ความสามารถและทักษะดานภาษาอังกฤษมาใชในศึกษา คนควาหาความรูในการพัฒนาตนเอง พรอมทั้งมี ความสามารถในการใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารเพื่อการจัดการเรียนการสอนและการปฏิบัติงาน

รายละเอียดเพิ่มเติมสําหรับขอ 3.1 การพัฒนาตนเอง การใชภาษาอังกฤษ และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร ในระดับคุณภาพ 1-5


ผ-28

2. การใชเ ทคโนโลยี สารสนเทศ หมายถึ ง การประยุ กต ใชคอมพิว เตอรและอุ ป กรณโ ทรคมนาคม เพื่อจัดเก็บ คน หา สง ผาน และจัดการขอมู ล เพื่อการประมวลผล การประยุกต ใชวิธีการทางสถิติ ศาสตร และคณิต ศาสตรเ พื่ อการตัดสิน ใจ ผานโปรแกรมคอมพิว เตอร นํา มาใชป ระโยชนในการจัดการเรีย นการสอน และการปฏิบัติงาน ที่รับผิดชอบ ระดับคุณภาพ ตัวชี้วัด หลักฐาน รองรอย ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 2.การใชเทคโนโลยี 1. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ แฟมเอกสาร หลักฐาน สารสนเทศ ในก ารค นหา ข อ มู ล ในการค น หาข อ มู ล ในก ารค นหา ข อ มู ล ในก ารค นหา ข อ มู ล ในก ารค นหา ข อ มู ล การพัฒนาตนเอง สื บ ค น แ ล ะ เ รี ย น รู สื บ ค น และเรี ย นรู สื บ ค น แ ล ะ เ รี ย น รู สื บ ค น แ ล ะ เ รี ย น รู สื บ ค น แ ล ะ เ รี ย น รู ข อ มู ล ใหม ๆ มาใช ใ น ข อ มู ล ใหม ๆ มาใช ใ น ข อ มู ล ใหม ๆ มาใช ใ น ข อ มู ล ใหม ๆ มาใช ใ น ข อ มู ล ใหม ๆ มาใช ใ น การจั ด การเรี ย นการ การจัดการเรียนการ การจั ด การเรี ย นการ การจั ด การเรี ย นการ การจั ด การเรี ย นการ สอน/การปฏิบัติงาน สอน/การปฏิบัติงาน สอน/การปฏิบัติงาน สอน/การปฏิบัติงาน สอน/การปฏิบัติงาน 2. ใชโปรแกรมสําเร็จรูป 2. ใชโปรแกรมสําเร็จรูป 2. ใชโปรแกรมสําเร็จรูป 2. ใชโปรแกรมสําเร็จรูป 2. ใชโปรแกรมสําเร็จรูป ชวยในการประมวลผล ชวยในการประมวลผล ชวยในการประมวลผล ชวยในการประมวลผล ชวยในการประมวลผล การจัดการเรียนสอน การจัดการเรียนสอน การจัดการเรียนสอน การจัดการเรียนสอน การจัดการเรียนสอน 3. ใชโปรแกรม 3. ใชโปรแกรมสําเร็จรูป 3. ใชโปรแกรมสําเร็จรูป 3. ใชโปรแกรมสําเร็จรูป สําเร็จรูปในการสราง ในการสรางสื่อการเรียน ในการสร า งสื่ อ การ รูป ในการสรางสื่อการ สื่อการเรียนการสอน การสอนและใชเทคโนโลยี เรี ย นการสอนและใช เรี ย นการสอนและใช ชวยในการจัดการเรียน เทคโนโลยีช ว ยในการ เทคโนโลยีช ว ยในการ การสอน จัดการเรียนการสอน จัดการเรียนการสอน 4. เปนตนแบบในการ 4. เป น ต น แบบในการ ใชเทคโนโลยีชวยใน ใช เ ทคโนโลยี ช ว ยใน การจัดการเรียนการ การจั ด การเรี ย นการ สอน สอนและชวยถายทอด ความรูแกเพื่อนครู


ภาคผนวก ข แบบประเมินตนเอง และแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


สถาบันการอาชีวศึกษา........................................อาชีวศึกษาจังหวัด..............................

วิทยาลัย...............................................................

แผนกวิชา..............................

ตําแหนง .................................................

ชื่อ - สกุล…………………………………................................

ประจําปการศึกษา..............................

(Individual Development Plan : ID PLAN)

แบบประเมินตนเอง และแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล

ผ-30


ผ-31

ตอนที่ 1 ขอมูลเบื้องตน 1. ชื่อ – สกุล......................................................................................................................................... 2. ตําแหนง………………………วิทยฐานะ…………… ระยะเวลาที่ดํารงตําแหนงปจจุบัน…….ป.........เดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน.........ป 3. วุฒิการศึกษา  ปริญญาตรี สาขา..........................................................................  ปริญญาโท สาขา.....................................................................................  ปริญญาเอก สาขา........................................................................... อื่น ๆ ถามี โปรดระบุ........................................................................... 4. แผนกวิชาที่สังกัด...................................................................................................................... 5. สถานศึกษา........................................................................................................................................

ครูที่ทําหนาที่สอนทุกคน ใหทําการประเมินตนเองและจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID PLAN) โดยใชแบบประเมิน สมรรถนะในการปฏิบัติหนาที่ ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาตามที่กําหนด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบสมรรถนะในการปฏิบัติ หนาที่ของครูเปนรายบุคคลตามกระบวนการที่กําหนด แลวนําผลที่ประเมินไปประกอบการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) แบบประเมินนี้ แบงออกเปน 4 ตอน

คําชี้แจง

แบบประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติหนาที่ ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สําหรับตําแหนง ...................................................... ประจําปการศึกษา................... ********************


ชื่อรายวิชา

ระดับ

จํานวนชั่วโมง ตอสัปดาห

ผ-32

7. งานสนับสนุนการเรียนรู ............................................................................................................................................................................................................................................................. 8. งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน ............................................................................................................................................................................................................................................................. 9. งานภาระหนาที่อื่น ๆ ........................................................................................................................................................................................................................................................... 10. ความสามารถพิเศษ ............................................................................................................................................................................................................................................................. 11. การพัฒนาดวยตนเอง (ยอนหลัง 1 ปการศึกษา) .............................................................................................................................................................................................................................................................

ที่ 2

ที่ 1

ภาคเรียน

6. รายวิชาที่สอนและจํานวนชั่วโมงที่สอน ในปการศึกษา...................................


วันเดือนป

หนวยงาน

ผ-33

ใหครูพิจารณาระดับสมรรถนะในการปฏิบัติหนาที่ 3 ดาน 13 ตัวชี้วัด ตามรายละเอียดการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติหนาที่ ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในระดับเกณฑคุณภาพที่กําหนดตามตําแหนงและวิทยฐานะแลวมาเทียบกับสมรรถนะปจจุบันวามีหรือไมมีสมรรถนะที่ทําให เกิดงานตามเกณฑระดับสมรรถนะที่กําหนดในแตละตัวชี้วัด ถามี ใหใสเครื่องหมาย  ในชองที่มี ถาไมมีหรือมีแตไมถึงเกณฑที่กําหนดใหใสเครื่องหมาย  ในชองไมมี

2.1 วิธีการประเมิน

ตอนที่ 2 การประเมินตนเอง

13. จุดมุงหมายของชีวิต .......................................................................................................................................................................................................................................................... 14. เปาหมายของการรับราชการ ......................................................................................................................................................................................................................................................... 15. เปาหมายของสถานศึกษาที่คาดหวัง ..........................................................................................................................................................................................................................................................

เรื่อง

12. การฝกอบรม และการศึกษาดูงาน (ยอนหลัง 1 ปการศึกษา)


ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 1 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 2 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 2 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 3 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 4

ดานที่ 1 (8 ตัวชี้วัด) ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 1

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาในระดับ 2

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาในระดับ 3

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาในระดับ 4

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาในระดับ 5

พนักงานราชการ (ครู ) ครูพิเศษสอน ครูผูชวย ครู

ครูชํานาญการ

ครูเชี่ยวชาญ

ครูเชี่ยวชาญพิเศษ

ครูชํานาญการพิเศษ

ตําแหนงและวิทยฐานะ

เกณฑการประเมินที่กําหนด ดานที่ 2 (3 ตัวชี้วัด)

เกณฑการประเมิน ซึ่งแบงตามตําแหนงและวิทยฐานะ แบงออกเปน 5 ระดับ/กลุม ดังนี้

2.2 เกณฑการประเมิน

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 4

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 3

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 2

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 2

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 1

ดานที่ 3 (2 ตัวชี้วัด)

ผ-34


1. ดานการจัดการเรียนการสอน 1.1 การสรางและหรือพัฒนา หลักสูตร

ตัวชี้วัด

1.วิเคราะหหลักสูตรจุดประสงค สมรรถนะ และคําอธิบายรายวิชาหรือคําอธิบายของ หลักสูตรและนําไปจัดทํารายวิชาและหรือ หนวยการเรียนรูใหสอดคลองกับจุดประสงค สมรรถนะ และคํ า อธิ บ ายรายวิ ช าหรื อ คําอธิบายของหลักสูตร 2. ร วมพั ฒ นาหลั ก สู ตรรายวิ ช า กิ จ กรรม หรื อ โครงการ และหน ว ยการเรี ย นรู ใ ห สอดคลองกับบริบ ทของสถานศึก ษาหรื อ สถานประกอบการ ผู เ รี ย น ท อ งถิ่ น และ สามารถนําไปปฏิบัติไดจริง 3. มี ส ว นร ว มในการประเมิ น ผลการใช หลักสูตร กิจกรรมหรือโครงการ

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-35

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)

ให ค รู ป ระเมิน ตนเองโดยใส เ ครื่ อ งหมาย  ในช องสมรรถนะป จ จุ บั น ตามระดั บ คุ ณ ภาพที่ กํ า หนดตามตํ า แหน ง และวิ ท ยฐานะ ทั้ ง 3 ด า น ตามตั ว ชี้ วั ด ในระดับสมรรถนะตามเกณฑคุณภาพที่กําหนด และกรอกรายละเอียดในชองรายการการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติหนาที่ของครูสายงานการสอนใหครบถวนทุกชอง

สําหรับตําแหนงและวิทยฐานะ พนักงานราชการ (ครู) / ครูพิเศษสอน / ครูผูชวย / ครู

ตอนที่ 3 รายการประเมินระดับสมรรถนะ 3 ดาน 13 ตัวชี้วัด (ใหเลือกตามตําแหนงและวิทยฐานะ)


1. ออกแบบหนวยการเรียนรู หรือเนื้อหา สาระการเรี ย นรู ให ส อดคล อ งกั บบริ บท ของสถานศึกษา หรื อสถานประกอบการ และหรือทองถิ่น และเหมาะสมกับผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม 2. มีกิจกรรมการเรียนรูดวยวิธีการปฏิบัติ ที่สอดคลองกับธรรมชาติของเนื้อหาสาระ การเรียนรู และสมรรถนะนําไปปฏิบัติไดจริง 3. ประเมินผลการใชหนวยการเรียนรู หรือเนื้อหาสาระการเรียนรู 1.2.2 การจัดทําแผนการจัดการ 1. วิเคราะหผูเรียนหรือผูเขารับการ ฝกอบรมเปนรายบุคคล เรียนรู / แผนการฝกอาชีพ / แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล 2. จั ดทําแผนการจัดการเรียนรูและหรือ (IEP) / แผนการสอนรายบุคคล (IIP) แผนการฝ ก อาชี พ สอดคล อ งกั บ การ / แผนการจัดประสบการณ ออกแบบหน ว ยการเรียนรูธรรมชาติข อง ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมและ บริ บ ทของสถานศึ ก ษาหรื อ สถาน ประกอบการและทองถิ่นที่มีองคประกอบ

1.2 การจัดการเรียนรู 1.2.1 การออกแบบหนวยการ เรียนรู

ตัวชี้วัด

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-36

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.2.3 กลยุทธในการจัด การเรียนรู

ตัวชี้วัด

ค ร บ ถ ว น ต า ม รู ป แ บ บ ที่ ห น ว ย ง า น การศึ ก ษาหรื อ ส ว นราชการต น สั ง กั ด กําหนดและสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง 3. มี กิ จ กรรมการเรี ย นรู ส อดคล อ งกั บ ธรรมชาติของเนื้อหาสาระการเรียนรู และ ผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม 4. มีบันทึกหลังการสอนหรือหลังการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ที่ ส อดคล อ งกั บ จุดประสงคการเรียนรู จัดการเรียนรูโดยใช รูปแบบ เทคนิค และ วิ ธี ก า ร ที่ เ น น วิ ธี ก า ร ป ฏิ บั ติ มี ค ว า ม หลากหลาย ใชสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ก า ร วั ด ผ ล แ ล ะ ประเมินผลตามแผนการจัดการเรียนรูหรือ แ ผ น ก า ร ฝ ก อ า ชี พ ที่ ส อ ด ค ล อ ง กั บ จุ ด ประสงค ก ารเรี ย นรู ส มรรถนะประจํ า หน ว ยหรื อ สมรรถนะของหลั ก สู ต ร และ สอดคลองกับธรรมชาติของผูเรียนหรือผูเขา รับการฝกอบรมและเนื้อหาสาระการเรียนรู

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-37

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.5 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู

1.4 การวัดและประเมินผลการ เรียนรู

1.3 การสรางและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลงเรียนรู

1.2.4 คุณภาพผูเรียน

ตัวชี้วัด

จํานวนผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมไม นอยกวารอยละ 55 มีผลการพัฒนา คุณภาพเปนไปตามคาเปาหมายที่ สถานศึกษากําหนด เลื อ กใช แ ละหรื อ พั ฒ นาสื่ อ นวั ต กรรม เทคโนโลยี ทางการศึ กษาและแหล ง การ เรี ย นรู นํ า ไปใช ใ นการจั ด การเรี ย นรู เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การ ฝ ก อบรมสอดคล อ งกั บ เนื้ อ หาสาระ รายวิชา และจุดประสงคการเรียนรู 1. เลือกใชและหรือพัฒนาเครื่องมือวัด และที่ประเมินผลหลากหลายเหมาะสม และสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 2. มีการประเมินตามสภาพจริง ใชกระบวนการวิจัย เพื่อแกไขปญ หาหรือ พัฒนาการเรียนรูของผูเรียนหรือผูเขารับ การฝกอบรม

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-38

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


2.2 การจัดระบบดูแลชวยเหลือ ผูเรียนหรือผูที่เขารับการฝกอบรม

2. ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน 2.1 การบริหารจัดการชั้นเรียน

ตัวชี้วัด

1. จัดสภาพแวดลอมบรรยากาศที่เอื้อตอ การเรียนรูเพื่อใหผูเรียนหรือผูเขารับการ ฝกอบรมมีความปลอดภัยและมีความสุข 2. ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย นหรื อผู เข ารั บการ ฝกอบรมเกิดกระบวนการคิด มีทักษะชีวิต และทักษะการทํางาน 3. อบรมบ ม นิ สั ย ให ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ กอบรมมี คุ ณธรรม จ ริ ย ธ ร ร ม คุณลักษณะอันพึงประสงคคานิยมที่ดีงาม ปลู ก ฝ ง ความเป น ประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รวบรวมขอมูล วิเคราะห สังเคราะห จัดทํา และใชสารสนเทศของผูเ รีย นหรือ ผูเ ขา รั บ การฝ ก อบรมในระบบดู แ ลช ว ยเหลื อ ผูเรียน

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-39

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


2.3 การจัดทําขอมูลสารสนเทศ และ เอกสารประจําชั้นเรียนหรือประจํา วิชา 3. ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนา วิชาชีพ 3.1 การพัฒนาตนเอง

ตัวชี้วัด

1. จัดทําแผนพัฒนาตนเองที่สอดคลองกับ สภาพการปฏิบัติงานความตองการจําเปน หรื อ ตามแผนกลยุ ท ธ ของหน ว ยงาน การศึกษาหรือสวนราชการตนสังกัด 2. พั ฒ น า ต น เ อ ง ต า ม ที่ สํ านั กง า น คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กําหนดเพิ่มเติม 2 เรื่องไดแกการใชภาษาอังกฤษและการ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร ดังนี้ 2.1 การใชภาษาอังกฤษ 2.1.1 การใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารเพื่อ 1) การแนะนําตัวเอง 2) การใชชีวิตประจําวัน 2.2.1 มี ผ ลการสอบภาษาอั ง กฤษตาม มาตรฐานที่สถานศึกษากําหนด

จัดทําขอมูลสารสนเทศและเอกสารผูเรียน ในที่ ป รึ ก ษาหรื อ ประจํ า วิ ช าอย า งเป น ระบบ ถูกตองและเปนปจจุบัน

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-40

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


3.2 การพัฒนาวิชาชีพ

ตัวชี้วัด

2.2 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการ สื่อสาร 2.2.1 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการคนหา ขอมูล สืบคน และเรียนรูขอมูลใหมๆมาใช ในการจัดการเรียนการสอน/การปฏิบัติงาน 2.2.2 ใชโปรแกรมสําเร็จรูปชวยในการ ประมวลผลการจัดการเรียนสอน เขารวมชมรมวิชาชีพ หรือชุมชนการ เรียนรูทางวิชาชีพ

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-41

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1. ดานการจัดการเรียนการสอน 1.1 การสรางและหรือพัฒนา หลักสูตร

ตัวชี้วัด

1.วิเคราะหหลักสูตรจุดประสงค สมรรถนะ และคํ าอธิบ ายรายวิช าหรือ คําอธิบ ายของ หลักสูตรและนําไปจัดทํารายวิช าและหรือ หนวยการเรียนรูใหสอดคลองกับจุดประสงค สมรรถนะ และคํ า อธิ บ ายรายวิ ช าหรื อ คําอธิบายของหลักสูตร 2. รวมพัฒนาหลักสูตรรายวิชา กิจกรรม หรือ โครงการ และหนวยการเรียนรูใหสอดคลอง กั บ บ ริบ ท ข อ ง ส ถ า น ศึก ษ า ห รื อ ส ถา น ประกอบการ ผู เ รี ยน ท อ งถิ่ น และสามารถ นําไปปฏิบัติไดจริง 3. รวมประเมินผลการใชหลักสูตร กิจกรรม หรื อ โครงการ และนํ า ผลการประเมิ น มา ปรับปรุงใหมีคุณภาพสูงขึ้น

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-42

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)

ให ค รู ป ระเมิน ตนเองโดยใส เ ครื่ อ งหมาย  ในช องสมรรถนะป จ จุ บั น ตามระดั บ คุ ณ ภาพที่ กํ า หนดตามตํ า แหน ง และวิ ท ยฐานะ ทั้ ง 3 ด า น ตามตั ว ชี้ วั ด ในระดับสมรรถนะตามเกณฑคุณภาพที่กําหนด และกรอกรายละเอียดในชองรายการการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติหนาที่ของครูสายงานการสอนใหครบถวนทุกชอง

สําหรับตําแหนงและวิทยฐานะ ครูชํานาญการ

ตอนที่ 3 รายการประเมินระดับสมรรถนะ 3 ดาน 13 ตัวชี้วัด


1. ออกแบบหน ว ยการเรีย นรู หรือเนื้อหา สาระการเรีย นรู โดยการปรับประยุกต ให สอดคล องกับ บริบ ทของสถานศึกษา หรื อ สถานประกอบการและหรื อ ท อ งถิ่ น และ เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การ ฝกอบรม 2. มีกิจกรรมการเรียนรูดวยวิธีการปฏิบัติที่ สอดคล อ งกั บ ธรรมชาติ ข องเนื้ อ หาสาระ การเรี ยนรู อย า งหล า กหล า ย แล ะ สมรรถนะนําไปปฏิบัติไดจริง 3. ประเมินผลการใชหนวยการเรียนรู หรือ เนื้อหาสาระการเรียนรู และนําผลการ ประเมินมาปรับปรุงใหมีคุณภาพสูงขึ้น 1.2.2 การจัดทําแผนการจัดการ 1. วิเคราะหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม เรียนรู / แผนการฝกอาชีพ / เปนรายบุคคล แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล 2. จั ด ทํ า แผนการจั ด การเรี ย นรู แ ละหรื อ (IEP) / แผนการสอนรายบุคคล (IIP) แผ น กา ร ฝ กอ า ชี พส อ ด คล อ ง กั บ ก า ร / แผนการจัดประสบการณ ออกแบบหน ว ยการเรี ย นรู ธ รรมชาติ ข อง

1.2 การจัดการเรียนรู 1.2.1 การออกแบบหนวยการ เรียนรู

ตัวชี้วัด

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-43

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.2.3 กลยุทธในการจัด การเรียนรู

ตัวชี้วัด

ผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมและบริบท ของสถานศึกษาหรือสถานประกอบการและ ท อ งถิ่ น ที่ มี อ งค ป ระกอบครบถ ว นตาม รู ป แบบที่ ห น ว ยงานการศึ ก ษาหรื อ ส ว น ราชการตนสังกัดกําหนดและสามารถนําไป ปฏิบัติไดจริง 3. มี กิ จ กรรมการเรี ย นรู ส อดคล อ งกั บ ธรรมชาติของเนื้อหาสาระการเรียนรู และ ผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม 4. มีบันทึกหลังการสอนหรือหลังการจัด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู ที่ ส อ ด ค ล อ ง กั บ จุดประสงคการเรียนรู และนําผลมาพัฒนา แผนการจัดการเรียนรู 1. จั ด การเรี ย นรู โ ดยใช รู ป แบบ เทคนิ ค และวิ ธี ก ารที่ เ น น วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ มี ค วาม หลากหลาย ใช สื่ อ นวั ตกรรม เทคโนโลยี การจัดการเรียนรู การวัดผลและประเมินผล ตามแผนการจัดการเรี ยนรู หรื อแผนการฝ ก อาชีพที่สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-44

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.4 การวัดและประเมินผลการ เรียนรู

1.3 การสรางและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลงเรียนรู

1.2.4 คุณภาพผูเรียน

ตัวชี้วัด

สมรรถนะประจํ า หน วยหรื อ สมรรถนะของ หลั ก สู ต ร และสอดคล อ งกั บธรรมชาติ ข อง ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บการฝ กอบรมและเนื้ อ หา สาระการเรียนรู 2. ประเมินผลการใช กลยุทธในการจัดการ เรียนรูและนําผลการประเมินมาปรับปรุง จํานวนผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมไม นอยกวารอยละ 60 มีผลการพัฒนาคุณภาพ เปนไปตามคาเปาหมายที่สถานศึกษา กําหนด 1. คัดสรรและหรือพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษาและแหล งเรี ย นรู นําไปใชในการจัด การเรีย นรูเหมาะสมกั บ ผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมสอดคลอง กับเนื้อหาสาระรายวิชา และจุดประสงคการเรียนรู 2 . ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ใ ช สื่ อ น วั ต ก ร ร ม เทคโนโลยีทางการศึกษาและแหลงเรียนรู 1. คัดสรรและหรือพัฒนาเครื่องมือวัดและ ประเมิ น ผลที่ ห ลากหลาย เหมาะสมและ

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-45

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


2. ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน 2.1 การบริหารจัดการชั้นเรียน

1.5 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู

ตัวชี้วัด

1.ผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมมีสวนรวม ในการจั ดสภาพแวดลอมบรรยากาศที่เอื้อตอ การเรียนรูมีความปลอดภัยและมีความสุข 2. สงเสริมใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม เกิดกระบวนการคิด มีทักษะชีวิตและทักษะ การทํางาน 3. อบรมบ ม นิ สั ย ให ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ กอบรมมี คุ ณธ รรม จ ริ ย ธ ร ร ม

สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 2. มีการประเมินตามสภาพจริง 3. มีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัด และประเมินผล 1.ใช ก ระบวนการวิ จั ย เพื่ อ แก ป ญ หาหรื อ พัฒ นาการเรี ย นรู ข องผู เ รี ย นหรื อ ผูเ ข า รั บ การฝกอบรมโดยใชวิธีการที่ถูกตอง 2. นํ าผลการแกป ญหาหรือการพัฒนาการ เรี ย นรูข องผูเ รีย นของผูเ รีย นหรือ ผูเ ขา รั บ การฝกอบรมไปใช

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-46

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


คุ ณลัก ษณะอัน พึ งประสงค คานิ ย มที่ ดีงาม ปลู ก ฝ ง ความเป น ประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 2.2 การจัดระบบดูแลชวยเหลือ 1.รวบรวมข อ มู ล วิ เ คราะห สั ง เคราะห ผูเรียนหรือผูที่เขารับการฝกอบรม จัดทําและใชสารสนเทศของผูเรีย นหรือผูเขา รั บ การฝ ก อบรมในระบบดู แ ลช ว ยเหลื อ ผูเรียน 2. มีโครงการและจัดกิจกรรมเชิงสรางสรรค ดวยวิธีการที่หลากหลายในการดูแลชวยเหลือ ผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม 2.3 การจัดทําขอมูลสารสนเทศ และ 1.จัดทําขอมูลสารสนเทศและเอกสารผูเรียน เอกสารประจําชั้นเรียนหรือประจํา ในที่ปรึกษาหรือประจําวิชาอยางเปนระบบ วิชา ถูกตองและเปนปจจุบัน 2. ใช ส ารสนเทศในการเสริ ม สร า งและ พัฒนาผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม 3. ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนา วิชาชีพ 3.1 การพัฒนาตนเอง 1. จัดทําแผนพัฒนาตนเองที่สอดคลองกับ สภาพการปฏิบัติงานความตองการจําเปน

ตัวชี้วัด

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-47

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


ตัวชี้วัด

ห รื อ ต า ม แ ผ น ก ล ยุ ท ธ ของห น ว ย ง า น การศึกษาหรือสวนราชการตนสังกัด 2. พั ฒ นาตนเองตามแผนและตามที่ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา กําหนดเพิ่มเติม 2 เรื่องไดแกไดแกการใช ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษแ ล ะ ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศในการสื่อสาร ดังนี้ 2.1 การใชภาษาอังกฤษ 2.1.1 การใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารเพื่อ 1) การแนะนําตัวเอง 2) การใชชีวิตประจําวัน 3) ในงานอาชีพ 2.1.2 มีผลการสอบภาษาอังกฤษตาม มาตรฐานที่สถานศึกษากําหนด 2.2 การใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศในการ สื่อสาร 2.2.1 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการคนหา ขอมูล สืบคน และเรียนรูขอมูลใหมๆมาใช ในการจัดการเรียนการสอน/การปฏิบัติงาน

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-48

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


3.2 การพัฒนาวิชาชีพ

ตัวชี้วัด

2.2.2 ใชโปรแกรมสําเร็จรูป ชวยในการ ประมวลผลการจัดการเรียนสอน 2.2.3 ใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการสรางสื่อ การเรียนการสอน 1. เขารวมชมรมวิชาชีพ หรือชุมชนการ เรียนรูทางวิชาชีพ 2. นําองคความรูที่ไดจากการเขารวมชมรม วิชาชีพ หรือชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพไป ใชในการจัดการเรียนการสอน

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-49

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1. ดานการจัดการเรียนการสอน 1.1 การสรางและหรือพัฒนา หลักสูตร

ตัวชี้วัด

1.วิเคราะหหลักสูตรจุดประสงค สมรรถนะ และคํ าอธิบ ายรายวิช าหรือ คําอธิบ ายของ หลักสูตรและนําไปจัดทํารายวิช าและหรือ หนวยการเรียนรูใหสอดคลองกับจุดประสงค สมรรถนะ และคํ า อธิ บ ายรายวิ ช าหรื อ คําอธิบายของหลักสูตร 2. ปรั บประยุ กตหลัก สูตรรายวิชา กิจกรรม หรื อ โครงการ และหน ว ยการเรี ย นรู ใ ห กั บ บริบทของสถานศึกษาหรือสถานประกอบการ ผูเรียน ทองถิ่น และสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง 3. ประเมินผลการใชหลักสูตร กิจกรรม หรือ โครงการอย า งเป น ระบบและนํ า ผลการ ประเมินมาปรับปรุงพัฒนาใหมีคุณภาพสูงขึ้น 4. รวมแลกเปลี่ยนเรียนรูดานหลักสูตร

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-50

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)

ให ค รู ป ระเมิน ตนเองโดยใส เ ครื่ อ งหมาย  ในช องสมรรถนะป จ จุ บั น ตามระดั บ คุ ณ ภาพที่ กํ า หนดตามตํ า แหน ง และวิ ท ยฐานะ ทั้ ง 3 ด า น ตามตั ว ชี้ วั ด ในระดับสมรรถนะตามเกณฑคุณภาพที่กําหนด กรุณากรอกรายละเอียดในชองรายการการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติหนาที่ของครูสายงานการสอนใหครบถวนทุกชอง

สําหรับตําแหนงและวิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ตอนที่ 3 รายการประเมินระดับสมรรถนะ 3 ดาน 13 ตัวชี้วัด


1. ออกแบบหน ว ยการเรีย นรู หรือเนื้อหา สาระการเรีย นรู โดยการปรับประยุกต ให สอดคล องกับ บริบ ทของสถานศึกษา หรื อ สถานประกอบการและหรื อ ท อ งถิ่ น และ เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การ ฝกอบรม 2. มีกิจกรรมการเรียนรูดวยวิธีการปฏิบัติที่ สอดคล อ งกั บ ธรรมชาติ ข องเนื้ อ หาสาระ การเรี ยนรู อย า งหล า กหล า ย แล ะ สมรรถนะนําไปปฏิบัติไดจริง 3. ประเมินผลการใชหนวยการเรียนรู หรือ เนื้อหาสาระการเรียนรู และนําผลการ ประเมินมาปรับปรุงใหมีคุณภาพสูงขึ้น 4. เปนพี่เลี้ยงหรือรวมปรึกษา แลกเปลี่ยน เรียนรูดานการออกแบบหนวยการเรียนรู 1.2.2 การจัดทําแผนการจัดการ 1. วิเคราะหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม เรียนรู / แผนการฝกอาชีพ / เปนรายบุคคล แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล 2. จั ด ทํ า แผนการจั ด การเรี ย นรู แ ละหรื อ

1.2 การจัดการเรียนรู 1.2.1 การออกแบบหนวยการ เรียนรู

ตัวชี้วัด

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-51

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


(IEP) / แผนการสอนรายบุคคล (IIP) แผ น กา ร ฝ กอ า ชี พส อ ด คล อ ง กั บ ก า ร / แผนการจัดประสบการณ ออกแบบหน ว ยการเรี ย นรู ธ รรมชาติ ข อง ผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมและบริบท ของสถานศึกษาหรือสถานประกอบการและ ท อ งถิ่ น ที่ มี อ งค ป ระกอบครบถ ว นตาม รู ป แบบที่ ห น ว ยงานการศึ ก ษาหรื อ ส ว น ราชการตนสังกัดกําหนดและสามารถนําไป ปฏิบัติไดจริง 3. มีกิจกรรมการเรียนรูดวยวิธีการปฏิบัติที่ สร า งสรรค สอดคล อ งกั บ ธรรมชาติ ข อง เนื้อหาสาระการเรียนรู และผูเรียน หรือผู เขารับการฝกอบรม 4. มี บัน ทึกหลั งการสอนหรือหลัง การจัด กิจกรรมการเรียนรูที่สอดคลองกับจุดประสงค การเรี ย นรู และนํ า ผลมาปรั บ ประยุ ก ต แผนการจัดการเรียนรูใหมีคุณภาพสูงขึ้น 5. เปนแบบอยางที่ดีและใหคําแนะนําดาน การจัดทําแผนการจัดการเรียนรู

ตัวชี้วัด

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-52

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.3 การสรางและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา

1.2.4 คุณภาพผูเรียน

1.2.3 กลยุทธในการจัด การเรียนรู

ตัวชี้วัด

1. จั ด การเรี ย นรู โ ดยใช รู ป แบบ เทคนิ ค และวิ ธี ก ารที่ เ น น วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ มี ค วาม หลากหลาย ใช สื่ อ นวั ตกรรม เทคโนโลยี การจัดการเรียนรู การวัดผลและประเมินผล ตามแผนการจัดการเรี ยนรู หรื อแผนการฝ ก อาชีพที่สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู สมรรถนะประจํ า หน วยหรื อ สมรรถนะของ หลั ก สู ต ร และสอดคล อ งกั บธรรมชาติ ข อง ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บการฝ กอบรมและเนื้ อ หา สาระการเรียนรู 2. ประเมินผลการใช กลยุทธในการจัดการ เรี ย นรูแ ละนํ าผลการประเมิ น มาปรั บ ปรุ ง พัฒนาใหมีคุณภาพสูงขึ้น 3. นิเทศการจัดการเรียนรูในสถานศึกษา จํานวนผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมไม นอยกวารอยละ 65 มีผลการพัฒนาคุณภาพ เปนไปตามคาเปาหมายที่สถานศึกษากําหนด 1. สรางและพัฒนา สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี ทางการศึกษาและแหลงเรีย นรูนําไปใชใน

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-53

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.5 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู

1.4 การวัดและประเมินผลการ เรียนรู

และแหลงเรียนรู

ตัวชี้วัด

การจัดการเรียนรูเหมาะสมกับผูเรียนหรือผู เขารับการฝกอบรมสอดคลองกับเนื้อหาสาระ รายวิชา และจุดประสงคการเรียนรู 2. ประเมินผลการใชสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทางการศึกษาและแหลงเรียนรู และนําผล การประเมินไปปรับปรุงพัฒนาใหมีคุณภาพสูงขึ้น 3. สามารถนําสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยี ทาง การศึกษาและแหลงเรียนรูไปปรับประยุกต ใชในสถานศึกษาที่มีบริบทใกลเคียง 1. คัดสรรและหรือพัฒนาเครื่องมือวัด และ ประเมินผลที่หลากหลาย เหมาะสมและ สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 2. มีการประเมินตามสภาพจริง 3. มีการประเมินคุณภาพของเครื่องมือวัด และประเมินผลการเรียนรู และนําผลการ ประเมินคุณภาพของเครื่องมือวัดและ ประเมินผลการเรียนรูไปปรับปรุง 4. ใหคําแนะนําดานการวัดและประเมินผล 1. ใช กระบวนการวิจั ย เพื่ อแก ปญ หาหรื อ

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-54

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


2. ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน 2.1 การบริหารจัดการชั้นเรียน

ตัวชี้วัด

1.ผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมมีสวนรวม ในการจั ดสภาพแวดลอมบรรยากาศที่เอื้อตอ การเรียนรูมีความปลอดภัยและมีความสุข 2. สงเสริมใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม เกิดกระบวนการคิด มีทักษะชีวิตและทักษะ การทํางาน 3. อบรมบ ม นิ สั ย ให ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ กอบรมมี คุ ณธ รรม จ ริ ย ธ ร ร ม คุ ณลัก ษณะอัน พึ งประสงค คานิ ย มที่ ดีงาม ปลู ก ฝ ง ความเป น ประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

พัฒ นาการเรี ย นรู ข องผู เ รี ย นหรื อ ผูเ ข า รั บ การฝ ก อบรม โดยใช วิ ธี ก ารที่ ถู ก ต อ งและ เหมาะสมกับสภาพปญหาและความตองการ จําเปน 2. นํ าผลการแกปญหาหรือการพัฒนาการ เรี ย นรูข องผูเ รีย นของผูเ รีย นหรือ ผูเ ขา รั บ การฝกอบรมไปใช

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-55

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.รวบรวมข อ มู ล วิ เ คราะห สั ง เคราะห จัดทํ าและใชสารสนเทศของผูเรีย นหรือผูเขา รั บ การฝ ก อบรมในระบบดู แ ลช ว ยเหลื อ ผูเรียน 2. มีโครงการและจัดกิจกรรมเชิงสรางสรรค ดวยวิธีการที่หลากหลายในการดูแลชวยเหลือ ผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม 2.3 การจัดทําขอมูลสารสนเทศ และ 1.จัดทําขอมูลสารสนเทศและเอกสารผูเรียน เอกสารประจําชั้นเรียนหรือประจํา ในที่ปรึกษาหรือประจําวิชาอยางเปนระบบ วิชา ถูกตองและเปนปจจุบัน 2. ใช ส ารสนเทศในการเสริ ม สร า งและ พัฒนาผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม 3. ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนา วิชาชีพ 3.1 การพัฒนาตนเอง 1. จัดทําแผนพัฒนาตนเองที่สอดคลองกับ สภาพการปฏิบั ติงานความตองการจําเปน ห รื อ ต า ม แ ผ น ก ล ยุ ท ธ ของห น ว ย ง า น การศึกษาหรือสวนราชการตนสังกัด 2. พั ฒ นาตนเองตามแผนและตามที่

2.2 การจัดระบบดูแลชวยเหลือ ผูเรียนหรือผูที่เขารับการฝกอบรม

ตัวชี้วัด

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-56

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


ตัวชี้วัด

สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา กําหนดเพิ่มเติม 2 เรื่องไดแกไดแกการใช ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษแ ล ะ ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศในการสื่อสาร ดังนี้ 2.1 การใชภาษาอังกฤษ 2.1.1 การใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารเพื่อ 1) การแนะนําตัวเอง 2) การใชชีวิตประจําวัน 3) ในงานอาชีพ 2.1.2 มีผลการสอบภาษาอังกฤษตาม มาตรฐานที่สถานศึกษากําหนด 2.2 การใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศในการ สื่อสาร 2.2.1 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการคนหา ขอมูล สืบคน และเรียนรูขอมูลใหมๆมาใช ในการจัดการเรียนการสอน/การปฏิบัติงาน 2.2.2 ใชโปรแกรมสําเร็จรูป ชวยในการ ประมวลผลการจัดการเรียนสอน 2.2.3 ใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการสรางสื่อ

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-57

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


3.2 การพัฒนาวิชาชีพ

ตัวชี้วัด

1. เขารวมชมรมวิชาชีพ หรือชุมชนการ เรียนรูทางวิชาชีพ 2. นําองคความรูที่ไดจากการเขารวมชมรม วิชาชีพ หรือชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพไป ใชในการจัดการเรียนการสอน

การเรียนการสอน

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-58

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1. ดานการจัดการเรียนการสอน 1.1 การสรางและหรือพัฒนา หลักสูตร

ตัวชี้วัด

1.วิเคราะหหลักสูตรจุดประสงค สมรรถนะ และคําอธิบ ายรายวิช าหรือ คําอธิบ ายของ หลักสู ตรและนําไปจัดทํารายวิช าและหรือ หนวยการเรียนรูใหสอดคลองกับจุดประสงค สมรรถนะ และคํ า อธิ บ ายรายวิ ช าหรื อ คําอธิบายของหลักสูตร 2. ปรั บประยุ กตหลัก สูตรรายวิชา กิจกรรม หรื อ โครงการ และหน ว ยการเรี ย นรู ใ ห กั บ บริบทของสถานศึกษาหรือสถานประกอบการ ผูเรียน ทองถิ่น และสามารถนําไปปฏิบัติได จริง 3. ประเมินผลการใชหลักสูตร กิจกรรม หรือ โครงการอย า งเป น ระบบและนํ า ผลการ ประเมินมาปรับปรุงพัฒนาใหมีคุณภาพสูงขึ้น

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-59

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)

ให ค รู ป ระเมิน ตนเองโดยใส เ ครื่ อ งหมาย  ในช องสมรรถนะป จ จุ บั น ตามระดั บ คุ ณ ภาพที่ กํ า หนดตามตํ า แหน ง และวิ ท ยฐานะ ทั้ ง 3 ด า น ตามตั ว ชี้ วั ด ในระดับสมรรถนะตามเกณฑคุณภาพที่กําหนด กรุณากรอกรายละเอียดในชองรายการการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติหนาที่ของครูสายงานการสอนใหครบถวนทุกชอง

สําหรับตําแหนงและวิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ

ตอนที่ 3 รายการประเมินระดับสมรรถนะ 3 ดาน 13 ตัวชี้วัด


1.2 การจัดการเรียนรู 1.2.1 การออกแบบหนวยการ เรียนรู

ตัวชี้วัด

1. ออกแบบหน ว ยการเรีย นรู หรือเนื้อหา สาระการเรีย นรู โดยการปรับประยุกต ให สอดคล องกับ บริบ ทของสถานศึกษา หรื อ สถานประกอบการและหรื อ ท อ งถิ่ น และ เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การ ฝกอบรม 2. มีกิจกรรมการเรียนรูดวยวิธีการปฏิบัติที่ สอดคล อ งกั บ ธรรมชาติ ข องเนื้ อ หาสาระ การเรี ยนรู อย า งหล า กหล า ย แล ะ สมรรถนะนําไปปฏิบัติไดจริง 3. ประเมินผลการใชหนวยการเรียนรู หรือ เนื้อหาสาระการเรียนรู และนําผลการ ประเมินมาปรับปรุงใหมีคุณภาพสูงขึ้น 4. เปนแบบอยางที่ดี เปนพี่เลี้ยง และหรือ เปนที่ปรึกษาดานการออกแบบหนวยการ เรียนรู

4. เปนแบบอยางที่ดีเปนพี่เลี้ยง และหรือเปน ที่ปรึกษาดานหลักสูตร

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-60

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.2.2 การจัดทําแผนการจัดการ เรียนรู / แผนการฝกอาชีพ / แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) / แผนการสอนรายบุคคล (IIP) / แผนการจัดประสบการณ

ตัวชี้วัด

1. วิเคราะหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม เปนรายบุคคล 2. จั ด ทํ า แผนการจั ด การเรี ย นรู แ ละหรื อ แผ น กา ร ฝ กอ า ชี พส อ ด คล อ ง กั บ ก า ร ออกแบบหน ว ยการเรี ย นรู ธ รรมชาติ ข อง ผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมและบริบท ของสถานศึกษาหรือสถานประกอบการและ ท อ งถิ่ น ที่ มี อ งค ป ระกอบครบถ ว นตาม รู ป แบบที่ ห น ว ยงานการศึ ก ษาหรื อ ส ว น ราชการตนสังกัดกําหนดและสามารถนําไป ปฏิบัติไดจริง 3. มีกิ จกรรมการเรี ยนรูดวยวิธีการปฏิบัติที่ สร า งสรรค สอดคล อ งกั บ ธรรมชาติ ข อง เนื้อหาสาระการเรียนรู และผูเรียน หรือผูเขา รับการฝกอบรมอยางหลากหลาย 4. มีบั น ทึ กหลังการสอนหรือหลัง การจัด กิจกรรมการเรียนรูที่สอดคลองกับจุดประสงค การเรี ย นรู และนํ า ผลมาปรั บ ประยุ ก ต แผนการจัดการเรียนรูใหมีคุณภาพสูงขึ้น

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-61

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.2.3 กลยุทธในการจัด การเรียนรู

ตัวชี้วัด

5. เปนแบบอยางที่ดี เปนพี่เลี้ยง และหรือ เปนที่ปรึกษา ดานการจัดทําแผนการจัดการ เรียนรู 1. จั ด การเรี ย นรู โ ดยใช รู ป แบบ เทคนิ ค และวิ ธี ก ารที่ เ น น วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ มี ค วาม หลากหลาย ใช สื่ อ นวั ตกรรม เทคโนโลยี การจัดการเรียนรู การวัดผลและประเมินผล ตามแผนการจัดการเรี ยนรู หรื อแผนการฝ ก อาชีพที่สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู สมรรถนะประจํ า หน วยหรื อ สมรรถนะของ หลั ก สู ต ร และสอดคล อ งกั บธรรมชาติ ข อง ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บการฝ กอบรมและเนื้ อ หา สาระการเรียนรู 2. ประเมินผลการใช กลยุทธในการจัดการ เรี ย นรูแ ละนํ าผลการประเมิ น มาปรั บ ปรุ ง พัฒนาใหมีคุณภาพสูงขึ้น 3. นิเทศการจัดการเรียนรูในสถานศึกษา 4. กลยุทธการจัดการเรียนรูสามารถนําไปใช ไดในสถานศึกษาที่มีบริบทใกลเคียง

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-62

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.4 การวัดและประเมินผลการ เรียนรู

1.3 การสรางและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลงเรียนรู

1.2.4 คุณภาพผูเรียน

ตัวชี้วัด

จํานวนผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมไม นอยกวารอยละ 70 มีผลการพัฒนาคุณภาพ เปนไปตามคาเปาหมายที่สถานศึกษากําหนด 1. สรางและพัฒนา สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี ทางการศึกษาและแหลงเรีย นรูนําไปใชใน การจัดการเรียนรูเหมาะสมกับผูเรียนหรือผู เขารับการฝกอบรมสอดคลองกับเนื้อหาสาระ รายวิชา และจุดประสงคการเรียนรู 2. ประเมินผลการใชสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทางการศึกษาและแหลงเรียนรู และนําผล การประเมินไปปรับปรุงพัฒนาใหมีคุณภาพสูงขึ้น 3. สามารถนําสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยี ทาง การศึกษาและแหลงเรียนรูไปปรับประยุกต ใชในสถานศึกษาที่มีบริบทใกลเคียง 4. เปนแบบอยางที่ดี 1. คัดสรรและหรือพัฒนาเครื่องมือวัด และ ประเมินผลที่หลากหลาย เหมาะสมและ

5. เปนแบบอยางที่ดี

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-63

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด

สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 2. มีการประเมินตามสภาพจริง 3. มีการประเมินคุณภาพของเครื่องมือวัด และประเมินผลการเรียนรู และนําผลการ ประเมินคุณภาพของเครื่องมือวัดและ ประเมินผลการเรียนรูไปปรับปรุงพัฒนาใหมี คุณภาพสูงขึ้น 4. เป น แบบอย า งที่ ดี เ ป น พี่ เ ลี้ ย งและให คําปรึกษาดานการวัดและประเมินผล 1. ใชกระบวนการวิจัยหรือดําเนินการวิจัย เพื่ อ แก ป ญ หาหรื อ พั ฒ นาการเรี ย นรู ข อง ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรม โดยใช วิ ธี ก ารที่ ถู ก ต อ งและเหมาะสมกั บ สภาพ ปญหาและความตองการจําเปน 2. นํ าผลการแกป ญหาหรือการพัฒนาการ เรี ย นรูข องผูเ รีย นของผูเ รีย นหรือ ผูเ ขา รั บ การฝกอบรมหรือผลการวิจัยไปใช 3. ใหคําแนะนําในการใชกระบวนการวิจัย หรือดําเนินการวิจัย เพื่อแกปญหาและหรือ

ตัวชี้วัด

1.5 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู

มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-64

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


2. ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน 2.1 การบริหารจัดการชั้นเรียน

ตัวชี้วัด

1.ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมมี ส ว น ร ว ม อ ย า ง ส ร า ง ส ร ร ค ใ น ก า ร จั ด สภาพแวดล อ มบรรยากาศที่ เ อื้ อ ต อ การ เรียนรูมีความปลอดภัยและมีความสุข 2. สงเสริมใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม เกิดกระบวนการคิด มีทักษะชีวิตและทักษะ การทํางาน 3. อบรมบ ม นิ สั ย ให ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรมมีคุณธรรม คุณธรรม จริยธรรม คุ ณลัก ษณะอัน พึ งประสงค คานิ ย มที่ ดีงาม ปลู ก ฝ ง ความเป น ประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 4. เสริมแรงใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม มีความมั่น ใจในการพัฒ นาตนเองเต็มตาม ศักยภาพ

พัฒ นาการเรี ย นรู ข องผู เ รี ย นหรื อ ผูเ ข า รั บ การฝกอบรม

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-65

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.รวบรวมข อ มู ล วิ เ คราะห สั ง เคราะห จัดทํ าและใชสารสนเทศของผูเรีย นหรือผูเขา รั บ การฝ ก อบรมในระบบดู แ ลช ว ยเหลื อ ผูเรียน 2. มีโครงการและจัดกิจกรรมเชิงสรางสรรค ดวยวิธีการที่หลากหลายในการดูแลชวยเหลือ ผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม 3. สงเสริม ปองกันและแกปญหาผูเรียนหรือ ผูเขารับการฝกอบรมอยางเปนระบบ 2.3 การจัดทําขอมูลสารสนเทศ และ 1.จัดทําขอมูลสารสนเทศและเอกสารผูเรียน เอกสารประจําชั้นเรียนหรือประจํา ในที่ปรึกษาหรือประจําวิชาอยางเปนระบบ วิชา ถูกตองและเปนปจจุบัน 2. ใช ส ารสนเทศในการเสริ ม สร า งและ พัฒนาผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม 3. ให คํ า ปรึ ก ษาแก ครู ใ นสถานศึ ก ษาด า น การจัดทําขอมูลสารสนเทศ 3. ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนา วิชาชีพ 3.1 การพัฒนาตนเอง 1. จัดทําแผนพัฒนาตนเองที่สอดคลองกับ

2.2 การจัดระบบดูแลชวยเหลือ ผูเรียนหรือผูที่เขารับการฝกอบรม

ตัวชี้วัด

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-66

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


ตัวชี้วัด

สภาพการปฏิบัติงานความตองการจําเปน ห รื อ ต า ม แ ผ น ก ล ยุ ท ธ ของห น ว ย ง า น การศึกษาหรือสวนราชการตนสังกัด 2. พั ฒ นาตนเองตามแผนและตามที่ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา กําหนดเพิ่มเติม 2 เรื่องไดแกไดแกการใช ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษแ ล ะ ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศในการสื่อสาร ดังนี้ 2.1 การใชภาษาอังกฤษ 2.1.1 การใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารเพื่อ 1) การแนะนําตัวเอง 2) การใชชีวิตประจําวัน 3) ในงานอาชีพ 2.1.2 เขี ย นเอกสารวิช าการในอาชีพ เป น ภาษาอังกฤษ 2.1.3 มี ผ ลการสอบภาษาอั ง กฤษตาม มาตรฐานที่สถานศึกษากําหนด 2.2การใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศในการ สื่อสาร

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-67

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


3.2 การพัฒนาวิชาชีพ

ตัวชี้วัด

2.2.1 ใช เทคโนโลยี สารสนเทศในการค น หา ขอมูล สืบคน และเรียนรูขอมูลใหมๆมาใช ในการจัดการเรียนการสอน/การปฏิบัติงาน 2.2.2 ใชโปรแกรมสําเร็จรูปชวยในการ ประมวลผลการจัดการเรียนสอน 2.2.3 ใช โปรแกรมสําเร็จรูปในการสรางสื่อ การเรียนการสอนและใชเทคโนโลยีชวยในการ จัดการเรียนการสอน 3. นําความรูความสามารถ และทักษะที่ไดจาก การพัฒ นาตนเองมาพัฒ นานวัตกรรมการ จัดการเรียนรูที่สงผลตอคุณภาพผูเรียนหรือ ผูเขารับการฝกอบรม 1. เขารวมชมรมวิชาชีพ หรือชุมชนการ เรียนรูทางวิชาชีพ 2. นําองคความรูที่ไดจากการเขารวมชมรม วิชาชีพ หรือชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพไป ใชในการจัดการเรียนการสอน 3. สรางนวัตกรรมที่ไดจากการเขารวมใน ชมรมวิ ช าชี พ หรื อ ชุ ม ชนการเรี ย นรู ท าง

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-68

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


ตัวชี้วัด

วิชาชีพ 4. สรางเครือขายชมรมวิชาชีพ หรือชุมชน การเรียนรูทางวิชาชีพ

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-69

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1. ดานการจัดการเรียนการสอน 1.1 การสรางและหรือพัฒนา หลักสูตร

ตัวชี้วัด

1.วิเคราะหหลักสูตรจุดประสงค สมรรถนะ และคํ าอธิบ ายรายวิช าหรือ คําอธิบ ายของ หลักสูตรและนําไปจัดทํารายวิช าและหรือ หนวยการเรียนรูใหสอดคลองกับจุดประสงค สมรรถนะ และคํ า อธิ บ ายรายวิ ช าหรื อ คําอธิบายของหลักสูตร 2. ปรั บประยุ กตหลัก สูตรรายวิชา กิจกรรม หรื อ โครงการ และหน ว ยการเรี ย นรู ใ ห กั บ บริบทของสถานศึกษาหรือสถานประกอบการ ผูเรียน ทองถิ่น และสามารถนําไปปฏิบัติได จริง 3. ประเมินผลการใชหลักสูตร กิจกรรม หรือ โครงการอย า งเป น ระบบและนํ า ผลการ ประเมินมาปรับปรุงพัฒนาใหมีคุณภาพสูงขึ้น

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-70

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)

ให ค รู ป ระเมิน ตนเองโดยใส เ ครื่ อ งหมาย  ในช องสมรรถนะป จ จุ บั น ตามระดั บ คุ ณ ภาพที่ กํ า หนดตามตํ า แหน ง และวิ ท ยฐานะ ทั้ ง 3 ด า น ตามตั ว ชี้ วั ด ในระดับสมรรถนะตามเกณฑคุณภาพที่กําหนด กรุณากรอกรายละเอียดในชองรายการการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติหนาที่ของครูสายงานการสอนใหครบถวนทุกชอง

สําหรับตําแหนงและวิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ

ตอนที่ 3 รายการประเมินระดับสมรรถนะ 3 ดาน 13 ตัวชี้วัด


1.2 การจัดการเรียนรู 1.2.1 การออกแบบหนวยการ เรียนรู

ตัวชี้วัด

1. ออกแบบหน ว ยการเรีย นรู หรือเนื้อหา สาระการเรีย นรู โดยการปรับประยุกต ให สอดคล องกับ บริบ ทของสถานศึกษา หรื อ สถานประกอบการและหรื อ ท อ งถิ่ น และ เหมาะสมกับผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม 2. มีกิจกรรมการเรียนรูดวยวิธีการปฏิบัติที่ สอดคล อ งกั บ ธรรมชาติ ข องเนื้ อ หาสาระ การเรี ยนรู อย า งหล า กหล า ย แล ะ สมรรถนะนําไปปฏิบัติไดจริง 3. ประเมินผลการใชหนวยการเรียนรู หรือ เนื้อหาสาระการเรียนรู และนําผลการ ประเมินมาปรับปรุงใหมีคุณภาพสูงขึ้น 4. เปนแบบอยางที่ดี เปนผูนํา เปนพี่เลี้ยง และเปนที่ปรึกษาดานการออกแบบหนวย การเรียนรู

4. เปนแบบอยางที่ดี เปนผูนํา เปนพี่เลี้ยง และเปนที่ปรึกษาดานหลักสูตร

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-71

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.2.2 การจัดทําแผนการจัดการ เรียนรู / แผนการฝกอาชีพ / แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) / แผนการสอนรายบุคคล (IIP) / แผนการจัดประสบการณ

ตัวชี้วัด

1. วิเคราะหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม เปนรายบุคคล 2. จั ด ทํ า แผนการจั ด การเรี ย นรู แ ละหรื อ แผ น กา ร ฝ กอ า ชี พส อ ด คล อ ง กั บ ก า ร ออกแบบหน ว ยการเรี ย นรู ธ รรมชาติ ข อง ผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมและบริบท ของสถานศึกษาหรือสถานประกอบการและ ท อ งถิ่ น ที่ มี อ งค ป ระกอบครบถ ว นตาม รู ป แบบที่ ห น ว ยงานการศึ ก ษาหรื อ ส ว น ราชการตนสังกัดกําหนดและสามารถนําไป ปฏิบัติไดจริง 3. มีกิ จกรรมการเรี ยนรูดวยวิธีการปฏิบัติที่ สร า งสรรค สอดคล อ งกั บ ธรรมชาติ ข อง เนื้อหาสาระการเรียนรู และผูเรียน หรือผูเขา รับการฝกอบรมอยางหลากหลาย 4. มี บัน ทึ กหลังการสอนหรือหลัง การจัด กิจกรรมการเรียนรูที่สอดคลองกับจุดประสงค การเรี ย นรู และนํ า ผลมาปรั บ ประยุ ก ต แผนการจัดการเรียนรูใหมีคุณภาพสูงขึ้น

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-72

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.2.3 กลยุทธในการจัด การเรียนรู

ตัวชี้วัด

5. เปนแบบอยางที่ดี เปน ผูนํา เปนพี่เลี้ย ง และหรื อ เป น ที่ ป รึ ก ษา ด า นการจั ด ทํ า แผนการจัดการเรียนรู 1. จั ด การเรี ย นรู โ ดยใช รู ป แบบ เทคนิ ค และวิ ธี ก ารที่ เ น น วิ ธี ก ารปฏิ บั ติ มี ค วาม หลากหลาย ใช สื่ อ นวั ตกรรม เทคโนโลยี การจัดการเรียนรู การวัดผลและประเมินผล ตามแผนการจัดการเรี ยนรู หรื อแผนการฝ ก อาชีพที่สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู สมรรถนะประจํ า หน วยหรื อ สมรรถนะของ หลั ก สู ต ร และสอดคล อ งกั บธรรมชาติ ข อง ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บการฝ กอบรมและเนื้ อ หา สาระการเรียนรู 2. ประเมินผลการใช กลยุทธในการจัดการ เรี ย นรูแ ละนํ าผลการประเมิ น มาปรั บ ปรุ ง พัฒนาใหมีคุณภาพสูงขึ้น 3. นิเทศการจัดการเรียนรูในสถานศึกษา 4. กลยุทธการจัดการเรียนรูสามารถนําไปใช ไดในสถานศึกษาที่มีบริบทใกลเคียง

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-73

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.4 การวัดและประเมินผลการ เรียนรู

1.3 การสรางและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลงเรียนรู

1.2.4 คุณภาพผูเรียน

ตัวชี้วัด

จํานวนผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมไม นอยกวารอยละ 75 มีผลการพัฒนาคุณภาพ เปนไปตามคาเปาหมายที่สถานศึกษากําหนด 1. สรางและพัฒนา สื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี ทางการศึกษาและแหลงเรีย นรูนําไปใชใน การจัดการเรียนรูเหมาะสมกับผูเรียนหรือผู เขารับการฝกอบรมสอดคลองกับเนื้อหาสาระ รายวิชา และจุดประสงคการเรียนรู 2. ประเมินผลการใชสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทางการศึกษาและแหลงเรียนรู และนําผล การประเมินไปปรับปรุงพัฒนาใหมีคุณภาพสูงขึ้น 3. สามารถนําสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยี ทาง การศึกษาและแหลงเรียนรูไปปรับประยุกต ใชในสถานศึกษาที่มีบริบทใกลเคียง 4. เปนแบบอยางที่ดี และเปนผูนํา 1. คัดสรรและหรือพัฒนาเครื่องมือวัดและ ประเมิ น ผลที่ ห ลากหลายเหมาะสมและ สอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู

5. เปนแบบอยางที่ดี และเปนผูนํา

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-74

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.5 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู

ตัวชี้วัด

2. มีการประเมินตามสภาพจริง 3. มีการประเมินคุณภาพของเครื่องมือวัด และประเมินผลการเรียนรู และนําผลการ ประเมินคุณภาพของเครื่องมือวัดและ ประเมินผลการเรียนรูไปปรับปรุงพัฒนาใหมี คุณภาพสูงขึ้น 4. เปน แบบอยางที่ดีเป น ผูนํ า เปน พี่ เลี้ย ง และใหคําปรึกษาดานการวัดและประเมินผล 1. ใชกระบวนการวิจัยหรือดําเนินการวิจัย ในการสรางองคความรูใหม เพื่อแกปญหา และหรือพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนหรือผู เขารับการฝกอบรม โดยใชวิธีการที่ถูกตอง และเหมาะสมกั บ สภาพป ญ หาและความ ตองการจําเปน 2. นํ าผลการแกปญหาหรือการพัฒนาการ เรี ย นรูข องผูเ รีย นของผูเ รีย นหรือ ผูเ ขา รั บ การฝกอบรมหรือผลการวิจัยไปใช 3. เป นผูนํา และใหคําแนะนําในการใช กระบวนการวิจัยหรือดําเนินการวิจัย ในการ

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-75

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


2. ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน 2.1 การบริหารจัดการชั้นเรียน

ตัวชี้วัด

1.ผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมและผูที่ เกี่ยวของมีสวนรวมอยางสรางสรรคในการ จัดสภาพแวดลอมบรรยากาศที่เอื้อตอการ เรียนรูมีความปลอดภัยและมีความสุข 2. สงเสริมใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม เกิดกระบวนการคิด มีทักษะชีวิตและทักษะ การทํางาน 3. อบรมบ ม นิ สั ย ให ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝกอบรมมีคุณธรรม คุณธรรม จริยธรรม คุ ณลั ก ษณะอัน พึ งประสงค คานิ ย มที่ ดีงาม ปลู ก ฝ ง ความเป น ประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 4. เสริมแรงใหผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม มีความมั่น ใจในการพัฒ นาตนเองเต็มตาม ศักยภาพ เกิดแรงบันดาลใจ

สรางองคความรูใหมเพื่อแกปญหาและหรือ พัฒ นาการเรี ย นรู ข องผู เ รี ย นหรื อ ผูเ ข า รั บ การฝกอบรม

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-76

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.รวบรวมข อ มู ล วิ เ คราะห สั ง เคราะห จัดทําและใชสารสนเทศของผูเรีย นหรือผูเขา รั บ การฝ ก อบรมในระบบดู แ ลช ว ยเหลื อ ผูเรียน 2. มีโครงการและจัดกิจกรรมเชิงสรางสรรค ดวยวิธีการที่หลากหลายในการดูแลชวยเหลือ ผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม 3. สงเสริม ปองกันและแกปญหาผูเรียนหรือ ผูเขารับการฝกอบรมอยางเปนระบบ 4. นําไปประยุกตใชในสถานศึกษาที่มีบริบท ใกลเคียง 5. เปนแบบอยางที่ดี 2.3 การจัดทําขอมูลสารสนเทศ และ 1. จัดทําขอมูลสารสนเทศและเอกสารผูเรียน เอกสารประจําชั้นเรียนหรือประจํา ในที่ปรึกษาหรือประจําวิชาอยางเปนระบบ วิชา ถูกตองและเปนปจจุบัน 2. ใช ส ารสนเทศในการเสริ ม สร า งและ พัฒนาผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรม 3. ให คํ า ปรึ ก ษาแก ครู ใ นสถานศึ ก ษาด า น การจัดทําขอมูลสารสนเทศ

2.2 การจัดระบบดูแลชวยเหลือ ผูเรียนหรือผูที่เขารับการฝกอบรม

ตัวชี้วัด

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-77

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


3. ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนา วิชาชีพ 3.1 การพัฒนาตนเอง

ตัวชี้วัด

1. จัดทําแผนพัฒนาตนเองที่สอดคลองกับ สภาพการปฏิบั ติงานความตองการจําเปน ห รื อ ต า ม แ ผ น ก ล ยุ ท ธ ของห น ว ย ง า น การศึกษาหรือสวนราชการตนสังกัด 2. พั ฒ นาตนเองตามแผนและตามที่ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา กําหนดเพิ่มเติม 2 เรื่องไดแกไดแกการใช ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษแ ล ะ ก า ร ใ ช เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศในการสื่อสาร ดังนี้ 2.1 การใชภาษาอังกฤษ 2.1.1 การใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารเพื่อ 1) การแนะนําตัวเอง 2) การใชชีวิตประจําวัน 3) ในงานอาชีพ 2.1.2 เขียนเอกสารวิชาการในอาชีพเปน

4. เปนแบบอยางที่ดี

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-78

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


ตัวชี้วัด

ภาษาอังกฤษและเปนตนแบบ/ใหคําปรึกษา แกบุคคลอื่นได 2.1.3 มี ผ ลการสอบภาษาอั ง กฤษตาม มาตรฐานที่สถานศึกษากําหนด 2.2 การใช เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศในการ สื่อสาร 2.2.1 ใช เทคโนโลยี สารสนเทศในการค น หา ขอมูล สืบคน และเรียนรูขอมูลใหมๆมาใช ในการจัดการเรียนการสอน/การปฏิบัติงาน 2.2.2 ใชโปรแกรมสําเร็จรูปชวยในการ ประมวลผลการจัดการเรียนสอน 2.2.3 ใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการสรางสื่อ การเรียนการสอนและใชเทคโนโลยีชวยใน การจัดการเรียนการสอน 2.2.4 เปนตนแบบในการใชเทคโนโลยีชวย ในการจัดการเรียนการสอน 3. นําความรูความสามารถ และทักษะที่ไดจาก การพัฒ นาตนเองมาพัฒ นานวัตกรรมการ

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-79

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


3.2 การพัฒนาวิชาชีพ

ตัวชี้วัด

จัดการเรียนรูที่สงผลตอคุณภาพผูเรียนหรือ ผูเขารับการฝกอบรม 4. สรางองคความรูใหมที่ไดจากการพัฒนา ตนเอง 5. เปนแบบอยางที่ดี 1. เขารวมชมรมวิชาชีพ หรือชุมชนการ เรียนรูทางวิชาชีพ 2. นําองคความรูที่ไดจากการเขารวมชมรม วิชาชีพ หรือชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพไป ใชในการจัดการเรียนการสอน 3. สรางนวัตกรรมที่ไดจากการเขารวมใน ชมรมวิ ช าชี พ หรื อ ชุ ม ชนการเรี ย นรู ท าง วิชาชีพ 4. สรางเครือขายชมรมวิชาชีพ หรือชุมชน การเรียนรูทางวิชาชีพ 5. สรางวัฒนธรรมทางการเรียนรูในสถานศึกษา 6. เปน ผูนําการเปลี่ย นแปลงที่สงผลตอ เพื่อนรวมวิชาชีพ 7. เปนแบบอยางที่ดี

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) หลักฐาน / รองรอย

ผ-80

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


ลําดับ ความสําคัญ

สมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ

1. แผนการพัฒนาดวยตนเอง รูปแบบ / วิธีการพัฒนา

แหลงเรียนรู

ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มตน สิ้นสุด

ผ-81

แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID PLAN) ประจําปการศึกษา..................... ชื่อ – สกุล..............................................................................ตําแหนง………………………วิทยฐานะ………………………………… ชื่อสถานศึกษา.......................................................................................................................... ---------------------------------------จากการประเมินตนเองแลว พบวา ความตองการในการพัฒนาตนเองใหมีสมรรถนะสูงขึ้น โดยสรุปแผนการพัฒนาตนเองเรียง ตามลําดับความสําคัญ สรุปดังนี้

ตอนที่ 4 แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN)


ลําดับ ความสําคัญ

สมรรถนะ /เรื่อง /หัวขอ

รูปแบบ/วิธีการพัฒนา

แหลงเรียนรู

ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มตน สิ้นสุด

ผ-82

2. แผนการพัฒนาตนเองรวมกับบุคลากรภายในสถานศึกษา และหนวยงานภายนอก (สามารถดูรายละเอียดคําอธิบายกรอบแนวคิดในคูมือบทที่ 2)


ลําดับ ความสําคัญ

สมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ สถานศึกษา

อศจ.

ตําแหนง..............................................................

สถาบันฯ

สสอ.

การขอรับการสนับสนุนจากหนวยงาน

ลงชื่อ.......................................................ผูจ ัดทําแผนพัฒนาตนเอง (....................................................)

รูปแบบ / วิธีการพัฒนา

ระยะเวลา ในการพัฒนา เริ่มตน สิ้นสุด

3. แผนการขอรับการสนับสนุนการพัฒนาจากหนวยงาน (สามารถดูรายละเอียดคําอธิบายกรอบแนวคิดในคูมือบทที่ 2)

อื่นๆ

ผ-83


ลงชื่อ............................................ (.................................................) ผูอํานวยการสถานศึกษา.........................................................

........................................................................................................ ....................................................................................................... ………………………………………………………………………………………….

ความเห็นของผูอํานวยการสถานศึกษา

ลงชื่อ............................................ (.................................................) ตําแหนง...........................................

........................................................................................................ ........................................................................................................ ………………………………………………………………………………………….

........................................................................................................ ........................................................................................................ …………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ............................................ (.................................................) ตําแหนง.........................................................

ความเห็นของคณะกรรมการ

ความเห็นของหัวหนาแผนก

ผ-84


ภาคผนวก ค ตัวอยางการกรอกขอมูลในแบบการประเมินตนเอง และการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN)


สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 2.....อาชีวศึกษาจังหวัด....แพร.........

วิทยาลัย....อาชีวศึกษาแพร..........

แผนกวิชา...คอมพิวเตอรธุรกิจฯ................

ตําแหนง ....ครูผูชวย................................

ชื่อ - สกุล…นายโชคดี....มีชัย.............

ประจําปการศึกษา....2560......

(Individual Development Plan : ID PLAN)

แบบประเมินตนเอง และแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล

ผ-86


ผ-87

ตอนที่ 1 ขอมูลเบื้องตน 1. ชื่อ – สกุล.........นายโชคดี....มีชัย....................................................... 2. ตําแหนง…ครู……วิทยฐานะ…-…… ระยะเวลาที่ดํารงตําแหนงปจจุบัน…1....ป...-...เดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน..3...ป 3. วุฒิการศึกษา  ปริญญาตรี สาขา.....ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร...............  ปริญญาโท สาขา.....................................................................................  ปริญญาเอก สาขา........................................................................... อื่น ๆ ถามี โปรดระบุ........................................................................... 4. แผนกวิชาที่สังกัด....คอมพิวเตอรธุรกิจฯ.................................................................... 5. สถานศึกษา......วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร......................................................................... 6. รายวิชาที่สอนและจํานวนชั่วโมงที่สอน ในปการศึกษา...2560........

ครูที่ทําหนาที่สอนทุกคน ใหทําการประเมินตนเองและจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID PLAN) โดยใชแบบประเมิน สมรรถนะในการปฏิบัติหนาที่ ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาตามที่กําหนด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบสมรรถนะในการปฏิบัติ หนาที่ของครูเปนรายบุคคลตามกระบวนการที่กําหนด แลวนําผลที่ประเมินไปประกอบการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) แบบประเมินนี้ แบงออกเปน 4 ตอน

คําชี้แจง

แบบประเมินสมรรถนะในการปฏิบัติหนาที่ ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สําหรับตําแหนง ...ครูผูชวย........ ประจําปการศึกษา..2560.... ********************


วิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ รหัส 3204-2012 วิชาคณิตศาสตรคอมพิวเตอร รหัส 2201-2402 วิชาฮารดแวรและยูทิลิตี้เบื้องตน รหัส 2201-2416 วิชาโปรแกรมตารางคํานวณ วิชาการเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการเท็กซโหมด วิชาระบบเครือขายเบื้องตน

ชื่อรายวิชา ปวส. ปวช. ปวช. ปวช. ปวช. ปวช.

ระดับ

จํานวนชั่วโมง ตอสัปดาห 2 ชม./สัปดาห 2 ชม./สัปดาห 2 ชม./สัปดาห 2 ชม./สัปดาห 2 ชม./สัปดาห 2 ชม./สัปดาห

ผ-88

8. งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน ......สงเสริม สนับสนุน นักเรียน นักศึกษา และบุคลากรในสถานศึกษาเกี่ยวกับการวิจัย การพัฒนาองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐตาง ๆ เพื่อ ประโยชนในการจัดการศึกษา การประกอบอาชีพ และประโยชนโดยรวมของสังคม ชุมชน และทองถิ่น..........

7. งานสนับสนุนการเรียนรู .......- วิเคราะห วิจัย และประเมินผลการใชหลักสูตร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอน การใชเครื่องมือวัสดุ อุปกรณ ครุภัณฑทางการศึกษา ในการจัดการเรียนการ สอน การใชอาคารสถานที่ และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับจัดการเรียนการสอนและประเมินผลการจัดอบรมและการจัดกิจกรรมในสถานศึกษา......... .......- รวบรวมและเผยแพรผลการวิเคราะห วิจัย และประเมินผลการจัดการเรียนการสอน นวัตกรรม และสิ่งประดิษฐ การพัฒนาสถานศึกษา การบริหาร และการ พัฒนาวิชาชีพ รวมทั้งผลงานทางวิชาการของครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษา.......... ......- รวบรวมขอมูลจากหนวยงานภายในและภายนอกสถานศึกษา ประมวลผล จัดเก็บ รักษา จัดทํา และบริการขอมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับนักเรียน นักศึกษา สถานประกอบการ ตลาดแรงงาน บุคลากร งบประมาณ ครุภัณฑ อาคารสถานที่ แผนการเรียน และขอมูลทางเศรษฐกิจและสังคมตามหลักเกณฑ และวิธีการที่ สอศ. กําหนด ดวยระบบอิเล็กทรอนิกส โดยประสานงานกับแผนกวิชา และงานตางๆ ในสถานศึกษาและหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ....... ........- ดูแล บํารุงรักษา และรับผิดชอบทรัพยสินของสถานศึกษาที่ไดรับมอบหมาย และปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย............

ที่ 2

ที่ 1

ภาคเรียน


เรื่อง เขารวมอบรมโครงการปฏิบัติธรรมครูผูนําบุญ ฟนฟูศีลธรรมโลก เปนวิทยากร ขยายผลครูแกนนําโดยใช ICT (Google Apps for Education)

12. การฝกอบรม และการศึกษาดูงาน (ยอนหลัง 1 ปการศึกษา) หนวยงาน World Peace Valley จังหวัดนครราชสีมา โรงเรียนเมืองศรีเทพ

วันเดือนป ในวันที่ 24 – 28 เมษายน 2558 ในวันที่ 19 มีนาคม 2558

11. การพัฒนาดวยตนเอง (ยอนหลัง 1 ปการศึกษา) ........อยูระหวางศึกษาตอในระดับปริญญาโท สาขา วิทยาการคอมพิวเตอร..........

ผ-89

10. ความสามารถพิเศษ ......การเขียนโปรแกรม บนระบบปฏิบัติการแอนดดรอย, การซอมประกอบเครื่องคอมพิวเตอร, การติดตั้งระบบ Authentication เครือขายอินเตอรเน็ต ภายในดวย Microtik, การเลนตะกรอ, การเลนฟุตบอล, การเลนหมากฮอส....................

9. งานภาระหนาที่อื่น ๆ 1. ไดรับมอบหมายใหทําหนาที่ หัวหนาแผนกวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ของวิทยาลัยฯ 2. ไดรับมอบหมายใหทําหนาที่ หัวหนางานวิจัย พัฒนา นวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ ของวิทยาลัยฯ 3. ไดรับมอบหมายใหทําหนาที่ ผูชวยงานศูนยขอมูลสารสนเทศ ของวิทยาลัยฯ 4. ไดรับมอบหมายใหทําหนาที่ เจาหนาที่งานทะเบียน 5. ไดรับมอบหมายใหทําหนาที่ตามคําสั่งวิทยาลัย


มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ World Peace Valley จังหวัดนครราชสีมา

ในวันที่ 24 – 28 เมษายน 2558

ผ-90

ใหครูพิจารณาระดับสมรรถนะในการปฏิบัติหนาที่ 3 ดาน 13 ตัวชี้วัด ตามรายละเอียดการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติหนาที่ ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในระดับเกณฑคุณภาพที่กําหนดตามตําแหนงและวิทยฐานะแลวมาเทียบกับสมรรถนะปจจุบันวามีหรือไมมีสมรรถนะที่ทําให เกิดงานตามเกณฑระดับสมรรถนะที่กําหนดในแตละตัวชี้วัด ถามี ใหใสเครื่องหมาย  ในชองที่มี ถาไมมีหรือมีแตไมถึงเกณฑที่กําหนดใหใสเครื่องหมาย  ในชองไมมี

ตอนที่ 2 การประเมินตนเอง 2.1 วิธีการประเมิน

โรงเรียนหนองไผ

หนวยงาน

ในวันที่ 26 – 27 กุมภาพันธ 2558

ในวันที่ 10 มีนาคม 2558

วันเดือนป

13. จุดมุงหมายของชีวิต ......การพัฒนาตนเองและผูเรียนใหประสบความสําเร็จ.......... 14. เปาหมายของการรับราชการ ......เปนครู เชี่ยวชาญพิเศษ.......... 15. เปาหมายของสถานศึกษาที่คาดหวัง .......จัดการเรียนการสอนดวยการใช ICT อยางมีประสิทธิภาพเละเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรียน..........

เรื่อง เขารวมโครงการอบรม Google Apps for Education เขารวมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ระบบ หองสมุดอัตโนมัติ ulibM เพื่อเชื่อมโยงการเรียนรู หองสมุด” เขารวมอบรมโครงการปฏิบัติธรรมครูผูนําบุญ ฟนฟูศีลธรรมโลก


ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 1 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 2 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 2 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 3 ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 4

ดานที่ 1 (8 ตัวชี้วัด)

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 1

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาในระดับ 2

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาในระดับ 3

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาในระดับ 4

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาในระดับ 5

พนักงานราชการ (ครู ) ครูพิเศษสอน ครูผูชวย ครู

ครูชํานาญการ

ครูชํานาญการพิเศษ

ครูเชี่ยวชาญ

ครูเชี่ยวชาญพิเศษ

ตําแหนงและวิทยฐานะ

เกณฑการประเมินที่กําหนด ดานที่ 2 (3 ตัวชี้วัด)

เกณฑการประเมิน ซึ่งแบงตามตําแหนงและวิทยฐานะ แบงออกเปน 5 ระดับ/กลุม ดังนี้

2.2 เกณฑการประเมิน

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 4

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 3

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 2

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 2

ทุกตัวชี้วัด ผลการประเมิน ไมต่ํากวาระดับ 1

ดานที่ 3 (2 ตัวชี้วัด)

ผ-91


1. ดานการจัดการเรียนการสอน 1.1 การสรางและหรือพัฒนา หลักสูตร

ตัวชี้วัด

1.วิเคราะหหลักสูตร จุดประสงค สมรรถนะ และคําอธิบายรายวิชาหรือคําอธิบายของ หลักสูตรและนําไปจัดทํารายวิชาและหรือ หนวยการเรียนรูใหสอดคลองกับจุดประสงค สมรรถนะ และคํ า อธิ บ ายรายวิ ช าหรื อ คําอธิบายของหลักสูตร 2. ร วมพั ฒ นาหลั ก สู ตรรายวิ ช า กิ จ กรรม หรื อ โครงการ และหน ว ยการเรี ย นรู ใ ห สอดคลองกับบริบ ทของสถานศึก ษาหรื อ สถานประกอบการ ผู เ รี ย น ท อ งถิ่ น และ สามารถนําไปปฏิบัติไดจริง 3. มี ส ว นร ว มในการประเมิ น ผลการใช หลักสูตร กิจกรรมหรือโครงการ

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด

มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน

-

-

-

สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย) 1) หลักสูตร รายวิชาที่สอน 2) หนวยการ เรียนรูรายวิชา ที่สอน 3) หลักฐานการ ประเมินผล การใชหลักสูตร รายวิชาที่สอน กิจกรรมหรือ โครงการ เรียน รู 4) คําสั่ง และ ภาพประกอบ กิจกรรม

หลักฐาน / รองรอย

-

ผ-92

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)

ให ค รู ป ระเมิน ตนเองโดยใส เ ครื่ อ งหมาย  ในช องสมรรถนะป จ จุ บั น ตามระดั บ คุ ณ ภาพที่ กํ า หนดตามตํ า แหน ง และวิ ท ยฐานะ ทั้ ง 3 ด า น ตามตั ว ชี้ วั ด ในระดับสมรรถนะตามเกณฑคุณภาพที่กําหนด และกรอกรายละเอียดในชองรายการการประเมินสมรรถนะการปฏิบัติหนาที่ของครูสายงานการสอนใหครบถวนทุกชอง

สําหรับตําแหนงและวิทยฐานะ พนักงานราชการ (ครู) / ครูพิเศษสอน / ครูผูชวย / ครู

ตอนที่ 3 รายการประเมินระดับสมรรถนะ 3 ดาน 13 ตัวชี้วัด


1.2.2 การจัดทําแผนการจัดการ เรียนรู / แผนการฝกอาชีพ / แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) / แผนการสอนรายบุคคล (IIP) / แผนการจัดประสบการณ

1.2 การจัดการเรียนรู 1.2.1 การออกแบบหนวยการ เรียนรู

ตัวชี้วัด

1. วิเคราะหผูเรียนหรือผูเขารับการ ฝกอบรมเปนรายบุคคล 2. จัดทําแผนการจั ดการเรียนรูและหรือ แผนการฝ ก อาชี พ สอดคล อ งกั บ การ ออกแบบหนว ยการเรียนรูธรรมชาติของ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมและ

1. ออกแบบหนวยการเรียนรู หรือเนื้อหา สาระการเรี ย นรู ให ส อดคล อ งกั บบริ บท ของสถานศึกษา หรื อสถานประกอบการ และหรือทองถิ่น และเหมาะสมกับผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม 2. มีกิจกรรมการเรียนรูดวยวิธีการปฏิบัติ ที่สอดคลองกับธรรมชาติของเนื้อหาสาระ การเรียนรู และสมรรถนะนําไปปฏิบัติไดจริง 3. ประเมินผลการใชหนวยการเรียนรู หรือเนื้อหาสาระการเรียนรู

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด

มี 

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน

-

-

สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย)

1) เอกสารการ วิเคราะหผูเรียน 2) เอกสาร แผนการจัดการ เรียนรูหรือแผน การฝกวิชาชีพ 3) เอกสารบันทึก หลังการสอน

1) เอกสาร หนวยการ เรียนรูของ รายวิชาที่สอน 2) เอกสาร หลักฐานการ ประเมินผล การใชหนวย เรียนรู 3) คําสั่ง และ ภาพประกอบ กิจกรรม 4) เอกสารสรุป ประเมินผลการ ใชหนวยเรียนรู

หลักฐาน / รองรอย

ผ-93

ศึกษาการเขียนโครงการในการขอสนับสนุน งบประมาณในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพิ่มเติม

ดานการจัดการเรียนรู

การจัดกิจกรรมการเรียนรู เพิม่ เติม - อบรมหัวขอการออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู ทักษะวิชาชีพยุคไทยแลนด 4.0 - อบรมเรื่องการจัดการเรียนรูในศตวรรษที่ 21

ดานการออกแบบหนวยเรียนรู/เนื้อหา สาระการเรียนรู - ศึกษาวิธีการออกแบบหนวยการเรียนรูและ

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.2.3 กลยุทธในการจัด การเรียนรู

ตัวชี้วัด

บริ บ ทของสถานศึ ก ษาหรื อ สถาน ประกอบการและทองถิ่นที่มีองคประกอบ ค ร บ ถ ว น ต า ม รู ป แ บ บ ที่ ห น ว ย ง า น การศึ ก ษาหรื อ ส ว นราชการต น สั ง กั ด กําหนดและสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง 3. มี กิ จ กรรมการเรี ย นรู ส อดคล อ งกั บ ธรรมชาติของเนื้อหาสาระการเรียนรู และ ผูเรียน หรือผูเขารับการฝกอบรม 4. มีบันทึกหลังการสอนหรือหลังการจัด กิ จ กรรมการเรี ย นรู ที่ ส อดคล อ งกั บ จุดประสงคการเรียนรู จัดการเรียนรูโดยใช รูปแบบ เทคนิค และ วิ ธี ก า ร ที่ เ น น วิ ธี ก า ร ป ฏิ บั ติ มี ค ว า ม หลากหลาย ใชสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ก า ร วั ด ผ ล แ ล ะ ประเมินผลตามแผนการจัดการเรียนรูหรือ แ ผ น ก า ร ฝ ก อ า ชี พ ที่ ส อ ด ค ล อ ง กั บ จุ ด ประสงค ก ารเรี ย นรู ส มรรถนะประจํ า หน ว ยหรื อ สมรรถนะของหลั ก สู ต ร และ

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด

มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน

-

สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย)

1) เอกสาร แผนการจัดการ เรียนรูหรือแผน การฝกวิชาชีพ 2) สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีการ เรียนการสอน

หลักฐาน / รองรอย

ผ-94

- ศึกษาเทคนิคการสอนแบบโครงงาน เพิ่มเติม - ฝ ก อ บ ร ม หั ว ข อ ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ แ ล ะ กระบวนการดวยโครงงานตามแนวทาง STEM Education สํ า ห รั บ ค รู ส อ น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ระดับพื้นฐาน - ฝกอบรมหัวขอการพัฒนานวัตกรรมการเรียน การสอนอาชี ว ศึ ก ษาแบบปฏิ สั ม พั น ธ โ ดยใช เทคโนโลยี เ สมื อ นจริ ง สํ า หรั บ ครู ส าขาวิ ช า

ดานการจัดการเรียนรู

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


1.4 การวัดและประเมินผลการ เรียนรู

1.3 การสรางและการพัฒนา สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหลงเรียนรู

1.2.4 คุณภาพผูเรียน

ตัวชี้วัด

เลื อ กใช แ ละหรื อ พั ฒ นาสื่ อ นวั ต กรรม เทคโนโลยี ทางการศึ กษาและแหล ง การ เรี ย นรู นํ า ไปใช ใ นการจั ด การเรี ย นรู เหมาะสมกั บ ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การ ฝ ก อบรมสอดคล อ งกั บ เนื้ อ หาสาระ รายวิชา และจุดประสงคการเรียนรู 1. เลือกใชและหรือพัฒนาเครื่องมือวัด และที่ประเมินผลหลากหลายเหมาะสม และสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู 2. มีการประเมินตามสภาพจริง

สอดคลองกับธรรมชาติของผูเรียนหรือผูเขา รับการฝกอบรมและเนื้อหาสาระการเรียนรู จํานวนผูเรียนหรือผูเขารับการฝกอบรมไม นอยกวารอยละ 55 มีผลการพัฒนา คุณภาพเปนไปตามคาเปาหมายที่ สถานศึกษากําหนด

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด

-

1) เอกสาร แผนการจัดการ เรียนรูหรือแผน การฝกวิชาชีพ 2) เอกสาร หลักฐานที่แสดง ถึงการวิเคราะห จุดประสงคการ

หลักฐาน / รองรอย

จํานวนผูเรียนราย เอกสารหลักฐาน วิชาระบบสารสนเทศ ผลการประเมิน เพื่อการจัดการ รอย วัดผลผูเรียน ละ 62 มีผลการ พัฒนาคุณภาพเปนไป ตามคาเปาหมายที่ สถานศึกษากําหนด สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีการ เรียนการสอน และแหลงเรียนรู

ไมมี

สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย)

มี

สมรรถนะ ปจจุบัน

ผ-95

- ศึกษาการวัดและประเมินผลผูเรียนเพิ่มเติม

ดานเลือกใชและหรือพัฒนาเครื่องมือวัด

-

-

คอมพิวเตอร ระดับพื้นฐาน

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


2. ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน 2.1 การบริหารจัดการชั้นเรียน

1.5 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู

ตัวชี้วัด

1. จัดสภาพแวดลอมบรรยากาศที่เอื้อตอ การเรียนรูเพื่อใหผูเรียนหรือผูเขารับการ ฝกอบรมมีความปลอดภัยและมีความสุข 2. ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย นหรื อผู เข ารั บการ ฝกอบรมเกิดกระบวนการคิด มีทักษะชีวิต และทักษะการทํางาน 3. อบรมบ ม นิ สั ย ให ผู เ รี ย นหรื อ ผู เ ข า รั บ การฝ กอบรมมี คุ ณธรรม จ ริ ย ธ ร ร ม คุณลักษณะอันพึงประสงคคานิยมที่ดีงาม ปลู ก ฝ ง ความเป น ประชาธิ ป ไตยอั น มี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

ใชกระบวนการวิจัย เพื่อแกไขปญ หาหรือ พัฒนาการเรียนรูของผูเรียนหรือผูเขารับ การฝกอบรม

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด

มี 

-

ไมมี

-

สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย)

สมรรถนะ ปจจุบัน

3) รางวัล โรงเรียนพระ ราชทาน 4) รางวัลโรง เรียนคุณธรรม

1) เอกสาร หลักฐานที่แสดง การบริหารจัด การในชั้นเรียน 2) ภาพประกอบ บรรยากาศ สภาพแวดลอมที่ เอื้อตอการเรียนรู

เรียนรูเพื่อวัด และประเมินผล

หลักฐาน / รองรอย

ผ-96

-ฝกอบรม/สัมมนา หัวขอเกี่ยวกับการจัดการ เรียนรูในศตวรรษที่ 21 -ฝกอบรม/สัมมนา หัวขอเกี่ยวกับการพัฒนาการ ใชและการจัดทําเครื่องมือสงเสริมและประเมิน ทักษะความคิดสรางสรรคและการคิดวิเคราะห ในชั้นเรียน

ดานการสงเสริมใหผูเรียนเกิดกระบวนการ คิด มีทักษะชีวิตและทักษะการทํางาน

- ฝกอบรม / สัมมนา หัวขอการวิจัยในชั้นเรียน - ฝกอบรมหัวขอการพัฒนาศักยภาพครูดานการ เรียนการสอนคอมพิวเตอร และงานวิจัยในชั้น เรียนดวยการเรียนรูจ ากการปฏิบตั ิจริง ระดับพื้นฐาน

ดานกระบวนการวิจัย

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


-

-

1. จัดทําแผนพัฒนาตนเองที่สอดคลองกับ  สภาพการปฏิบัติงานความตองการจําเปน หรื อ ตามแผนกลยุ ท ธ ของหน ว ยงาน การศึกษาหรือสวนราชการตนสังกัด 2. พั ฒ นาตนเอง 2 เรื่ อ งได แ ก การใช  ภาษาอั ง กฤษและการใช เ ทคโนโลยี สารสนเทศในการสื่อสาร ดังนี้ 2.1การใชภาษาอังกฤษ 2.1.1 การใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารเพื่อ

จัดทําขอมูลสารสนเทศและเอกสารผูเรียน ในที่ ป รึ ก ษาหรื อ ประจํ า วิ ช าอย า งเป น ระบบ ถูกตองและเปนปจจุบัน

2.3 การจัดทําขอมูลสารสนเทศ และ เอกสารประจําชั้นเรียนหรือประจํา วิชา 3. ดานการพัฒนาตนเองและพัฒนา วิชาชีพ 3.1 การพัฒนาตนเอง

ไมมี -

มี

สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย)

รวบรวมขอมูล วิเคราะห สังเคราะห จัดทํา และใชสารสนเทศของผูเ รีย นหรือ ผูเ ขา รั บ การฝ ก อบรมในระบบดู แ ลช ว ยเหลื อ ผูเรียน

2.2 การจัดระบบดูแลชวยเหลือ ผูเรียนหรือผูที่เขารับการฝกอบรม

ตัวชี้วัด

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด

สมรรถนะ ปจจุบัน

1) เอกสารแผน พัฒนาตนเอง 2) เกียรติบัตร อบรมดานกราฟก แอนิเมชัน 3D บนอุปกรณโมบาย และการอบรม ภาษาอังกฤษ ขั้นพื้นฐาน 3) สื่อการเรียนที่ จัดทําโดยใช กราฟกแอนิเมชัน

ขอมูลสารสนเทศ และเอกสาร ผูเรียน

1) เอกสาร หลักฐานการ จัดระบบดูแล ชวยเหลือผูเรียน 2) ภาพประกอบ กิจกรรม.....

หลักฐาน / รองรอย

ผ-97

เขารวมอบรมเชิงปฏิบัติการ/ ดูงานนอกสถานที่ หัวขอเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมทางธุรกิจบน โทรศัพทมือถือสมารทโฟน ดวยโปรแกรม Android Studio ระดับกลาง

การใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร

ศึกษาการสื่อสารภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐาน เพิ่มเติม

ดานการใชภาษาอังกฤษ

-

เขาประชุม /สัมมนา หัวขอเรื่องทักษะการ ชวยเหลือผูเ รียน

ดานการจัดระบบดูแลชวยเหลือผูเรียน

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


3.2 การพัฒนาวิชาชีพ

ตัวชี้วัด

1) การแนะนําตัวเอง 2) การใชชีวิตประจําวัน 2.1.2 มี ผ ลการสอบภาษาอั ง กฤษตาม มาตรฐานที่สถานศึกษากําหนด 2.2 การใช เ ทคโนโลยีส ารสนเทศในการ สื่อสาร 2.2.1 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการคนหา ขอมูล สืบคน และเรียนรูขอมูลใหมๆมาใช ในการจัดการเรียนการสอน/การปฏิบัติงาน 2.2.2 ใช โปรแกรมสํ าเร็ จรู ป ช ว ยในการ ประมวลผลการจัดการเรียนสอน เขารวมชมรมวิชาชีพ หรือชุมชนการ เรียนรูทางวิชาชีพ

ระดับสมรรถนะ ตามเกณฑคุณภาพ ที่กําหนด

มี

ไมมี

สมรรถนะ ปจจุบัน สมรรถนะ ที่สูงกวาเกณฑ (อธิบาย)

เขารวมเปน สมาชิกชมรมครู คอมพิวเตอร ธุรกิจ

3D 4) จัดทําโปรแกรม สําหรับประมวล ผลการทดสอบ ของผูเรียน

หลักฐาน / รองรอย

ผ-98

ศึกษาดูงานการบริหารงานชมรมวิชาชีพ หรือ ชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพตนแบบ และ ประสบผลสําเร็จ ของ สอศ.

ดานการพัฒนาวิชาชีพ

ความตองการในการพัฒนาตนเอง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้น (โปรดระบุชื่อสมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ)


2.

ลําดับ ความสําคัญ 1.

การสื่อสารภาษาอังกฤษขั้นพื้นฐาน

วิธีการออกแบบหนวยการเรียนรูและการ จัดกิจกรรมการเรียนรู

สมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ

1. แผนการพัฒนาดวยตนเอง

เอกสารตัวอยางใน หองสมุดและเพื่อน รวมงานที่มีผลงานเปนที่ ยอมรับ บนเครือขายอินเตอรเน็ท

ศึกษาดวยตนเองจากสื่อ ECHOVE และสื่อ Online ภาษาอังกฤษตาง ๆ

แหลงเรียนรู

ศึกษาดวยตนเองจากตัวอยาง เอกสารตาง ๆ และดําเนินการทํา ตามรูปแบบทางวิชาการหรือที่ หนวยงานกําหนด

รูปแบบ / วิธีการพัฒนา

มิ.ย.61

พ.ค.61

ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มตน สิ้นสุด พ.ค.61 มิ.ย.61

แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (Individual Development Plan : ID PLAN) ประจําปการศึกษา...2560... ชื่อ – สกุล.....นายโชคดี.......มีชัย............................ตําแหนง…ครูผูชวย……วิทยฐานะ……-……………………… ชื่อสถานศึกษา.......วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร.......................................... ---------------------------------------จากการประเมินตนเองแลว พบวา ความตองการในการพัฒนาตนเองใหมีสมรรถนะสูงขึ้น โดยสรุปแผนการพัฒนาตนเองเรียง ตามลําดับความสําคัญ สรุปดังนี้

ตอนที่ 4 แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN)

ผ-99


การวัดและประเมินผลผูเรียน

ดานการพัฒนาวิชาชีพ

2.

3.

- ดานการจัดการเรียนการสอน เรื่อง เทคนิคการสอนแบบโครงงาน

ลําดับ สมรรถนะ /เรื่อง /หัวขอ ความสําคัญ 1. - การเขียนโครงการในการขอสนับสนุน งบประมาณในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน

การศึกษาดูงาน เกี่ยวกับการบริหารงานชมรมวิชาชีพ หรือชุมชนการเรียนรูทางวิชาชีพตนแบบ

ส.ค.61

ม.ค.62

ชมรมวิชาชีพ หรือ ชุมชนการเรียนรูทาง วิชาชีพตนแบบ ใน สถานศึกษา สังกัด สอศ.

ม.ค.62

ส.ค.61

ระยะเวลาในการพัฒนา เริ่มตน สิ้นสุด มิ.ย.61 มิ.ย.61

เพื่อนรวมงาน

ผูบังคับบัญชา

รูปแบบการฝกขณะปฏิบัติงาน(On the Job Training) - โดยขอคําแนะนําจากผูบังคับบัญชาและ เรียนรูจนสามารถปฏิบัติไดอยางถูกตอง - การขอรับคําปรึกษาแนะนําจาก ผูบังคับบัญชา รูปแบบการเปนพี่เลี้ยง (Mentoring) โดยขอคําแนะนําและใหเพื่อนรวมงาน เปนที่ปรึกษาในการจัดทําจนสามารถ ปฏิบัติไดอยางถูกตอง

แหลงเรียนรู

รูปแบบ/วิธีการพัฒนา

ผ-100

2. แผนการพัฒนาตนเองรวมกับบุคลากรภายในสถานศึกษา และหนวยงานภายนอก (สามารถดูรายละเอียดคําอธิบายกรอบแนวคิดในคูมือบทที่ 2)


ดานการจัดการเรียนการสอน หัวขอ - การวิจัยในชั้นเรียน

2.

- ฝกอบรมสัมมนา

- ฝกอบรมสัมมนา - ฝกอบรมสัมมนา

รูปแบบ / วิธีการพัฒนา

- ฝกอบรมสัมมนา/การขอรับ คําปรึกษาแนะนําจากผูเชี่ยวชาญ - ฝกอบรมหัวขอการพัฒนาทักษะและ - ฝกอบรมสัมมนา กระบวนการดวยโครงงานตามแนวทาง STEM Education สํ า ห รั บ ค รู ส อ น คอมพิวเตอร ระดับพื้นฐาน - ฝกอบรมหัวขอการพัฒนานวัตกรรม - ฝกอบรมสัมมนา การเรี ย นการสอนอาชี ว ศึ ก ษาแบบ ปฏิสัมพันธโดยใชเทคโนโลยีเสมือนจริง สํ า หรั บ ครู ส าขาวิ ช าคอมพิ ว เตอร ระดับพื้นฐาน

ดานการจัดการเรียนการสอน เรื่อง - การออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู ทักษะวิชาชีพยุคไทยแลนด 4.0 - อบรมเรื่องการจัดการเรียนรูใน ศตวรรษที่ 21

สมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ

1.

ลําดับ ความสําคัญ

ก.ย.61

ก.ค.61

ต.ค.61

ส.ค.61

ระยะเวลา ในการพัฒนา เริ่มตน สิ้นสุด 

สถานศึกษา

อศจ.

สถาบันฯ

สสอ.

การขอรับการสนับสนุนจากหนวยงาน

3. แผนการขอรับการสนับสนุนการพัฒนาจากหนวยงาน (สามารถดูรายละเอียดคําอธิบายกรอบแนวคิดในคูมือบทที่ 2)

ผ-101

อื่นๆ


4.

3.

ลําดับ ความสําคัญ -ประชุม /สัมมนา /การขอรับ คําปรึกษาแนะนําจาก ผูเชี่ยวชาญ -ฝกอบรม/สัมมนา

รูปแบบ / วิธีการพัฒนา

มี.ค.62

มี.ค.62

อศจ.

สถาบันฯ

สสอ.

การขอรับการสนับสนุนจากหนวยงาน สถานศึกษา

ลงชื่อ...........นายโชคดี...มีชยั ..........ผูจัดทําแผนพัฒนาตนเอง (.........นายโชคดี...มีชัย.............) ตําแหนง..........ครูผูชวย..........................

- หัวขอเกี่ยวกับการจัดการเรียนรูใน ศตวรรษที่ 21 - หัวขอเกี่ยวกับการพัฒนาการใชและ -ฝกอบรม/สัมมนา การจัดทําเครื่องมือสงเสริมและประเมิน ทักษะความคิดสรางสรรคและการคิด วิเคราะหในชั้นเรียน ดานการพัฒนาตนเอง ในหัวขอ เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมทางธุรกิจ อบรมเชิงปฏิบัติการ/ดูงาน บนโทรศัพทมือถือสมารทโฟน ดวย นอกสถานที่ โปรแกรม Android Studio ระดับกลาง

ดานการบริหารจัดการชั้นเรียน หัวขอ -เรื่องทักษะการชวยเหลือผูเรียน

สมรรถนะ / เรื่อง / หัวขอ

ระยะเวลา ในการพัฒนา เริ่มตน สิ้นสุด พ.ย.61 ธ.ค.61

ผ-102

อื่นๆ


ลงชื่อ............................................ (.................................................) ผูอํานวยการสถานศึกษา.........................................................

........................................................................................................ ....................................................................................................... ………………………………………………………………………………………….

ความเห็นของผูอํานวยการสถานศึกษา

ลงชื่อ............................................ (.................................................) ตําแหนง...........................................

........................................................................................................ ........................................................................................................ ………………………………………………………………………………………….

........................................................................................................ ........................................................................................................ …………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ............................................ (.................................................) ตําแหนง.........................................................

ความเห็นของคณะกรรมการ

ความเห็นของหัวหนาแผนก

ผ-103


ภาคผนวก ง การปรับปรุงมาตรฐานตําแหนงและมาตรฐานวิทยฐานะของขาราชการครู และ บุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน (ว 20 ลว 5 กรกฎาคม 2560)


fl. 1'1.1''1.

G11,rfl·n'U

G11,rmTUU~l1Im:::VI~'N~mn5fl1~ flVl:IJ.(9)omoo

, Vi ~5 o~ob.c(lJ , c(. 'Vl,r.:l~aG11,rfl.:l1'U fl.I'l.PL Vi ~5 o~ob.cd'J

sn,

'Vl,r.:l~aG11,rfl'n'U

Q.J

diI

0

odI

0

Q.J.cJ

VI ~5 o~ob.m/'J

~o

~. 'Vl,r.:l~aG11,rfl.:l1'U fl.I'l.~.

Q.J

~.:I'J'UVI c;,.;5'U'J11'l:IJ~crcrc;,.;

d

Q.J

b. 'Vl'U.:IG'laG'll'Ufl.:l1'Ufl.I'l.~.

~ l:IJ'Vl,r.:l~a~

~~

d

Q.J

cr. 'Vl'U.:IG'laG'll'Ufl.:l1'Ufl.I'l.~. Q..I

, ~.:I1'UVi ~ 'V'l~~~fl1~'U ~crcrcr , (9)cr ~.:I1'UVi (9)0 'V'l~~~fl1~'U ~crcr~

fl.I'l.~.

d

Q.J

Q.J

VI ~5 o~ob.m/'J ~b ~.:I'J'UVI sno 5'U'J11'l:IJ~crcrc;,.; , , , 1Pl'J'UViG'lVl Vi ~5 o~ob.C(/'J cr ~.:I1'UVi ~o :W'U11'l:IJ~crbo ,

eJ 1.:15.:1 (9) n.a. ~.

uaeu

1\9ln1'Vl'U Vl:IJ1~ ~;j1 'U~1 bb'VltJ.:I

...

ee

!I

vodId!J

'1Ja.:l'1J1~1"1lfl1~I'l~bb~:::'UI'l~lmVl1.:1fl1~~fl~1 'IJ , 1\9l:W m ~u -r'UU ~.:I:IJ1~~;j1'U ~1 CI 6.8

msaou

G'l1~.:I1'U

6.8

~ I'l~\I

~a:IJ1 m:::VI~'J.:IPifl~15fl1~:W'U 1~'U1mJ.:I b-U'U1VI-ii'l~l"1lfl1~I'l~ ,

b~~'J"1l1qJ1 'Ufl1~UllU~.:I1'U q.Q.

dJI

,

VI1.:1fl1~~fl~1:IJl'lru5~~:IJ

.:I1'U\9l1'Ufl1~~Vl fl1~ b~~'U

~.:I1 'Ub'll.:lU~:lJ1rubb~:::~ru.fl1'V'l

...

msaeu

uaeu

'IJ

b~a

""

~

bb~:::m:IJ'Vl'U.:IG'laVlm.:ltl.:l

u'VltJ.:Iuaeu 1 ~ ~ ;j1'U lV1 ~ ;j1'U:::'1Ja .:I-ii'l~1"1lm

:Wfl1~i.:lG'l:IJU ~:::G'I'Ufl1 ~ru1 'Ufl1~ullu~

cf

VlflG'll~.:I1'U ,

1 ~ ~;j 1 'UlV1 ~;j1 'U:::

q

~ - ~ fl.I'l.~.

I'l~ 1 fl ~Vl1.:1rn ~ ~ fl~l

bb~:::'UI'l~lmVl1.:1fl1~~fl~1 ,

ua 111.:15.:1 m 1:IJ"1l1'U1 qJbb~:::

~'J:IJ~.:I~.:IbG'l~:lJ1 VI-ii'l~l"1lfl1~I'l~bb~:::~l'lmm

4o::::!1d

Q.I

Q.J,Q,q

1iJ~~5~~:IJ bb~:::1iJ ~~ ~ 1'U ~~ru'J"1l1"1l'V'l :IJfl1~'V'lWJ'U1~'Uba.:l bb~:::'V'lWJ'U1'J"1l1"1l'V'l

1

1

a ~1.:1~a b~ a.:l G'l1:1J1~tlG'l~l.:1I'l'J1:IJ b-ii':IJbb~.:I Vln'Ul"1l1~'V'lI'l~ bb~:::G'l1:1J1~tl~m:::~'U1'l ruil1'V'l1'l~ VI:WPi' fl ~il1'V'l 'IJ

''IJ

/fl.I'l.~

.. "

ผ-105


- lv -

fl. fl. PI. ~\lih.J~1 ~tJ-rutJ':i q \I:U11'1':i~1'U1'i'1bb 'VItl\lbb1;l~:U11'1 ':i~1'U1'V1tJ ~1'U~"1Je:wrr1':i1"1lfl1':im\.I uae d.I td d.I '4f1mm'Vl1\1fl1':i~mJ1

?l1CJ\l1'Ufl1':i?leJ'Um:U~\I~~\I:U1~"JCJ 1~CJ1miu\lfi''IJ~\lbb~1'U~

ct mfl~1f1:U

lverbo

biJ'U~'UltJ

~\ld f1ru~m':i:Ufl1':i-rr'IJ bfl~eJ'Ufl1':itJn':itJfl1':i~m~n"1JeJ\lm~'Vl':il\1~m~n5fl1':i ~u

1'U.f1iJ.f11f1l~ii:u~ u

b~'U"1leJ'IJ 1~ flPl"'il. ~1b-U'Ufl1':ib~mn'IJ fl1':i'IJ~'VI1':i\l1'U'IJ G'11'V1-r'IJoU1':i1"1l fl1':ifl':iuuaeu , f11;l1m'Vl1\1fl1':i~ fl'tf1 , f1f11;l ..

o

0

1'11:U'Vlfl.f1.PI. fl1'V1'U~

1'Vl':i. 0 lvlv~o lv~lv~ 1'Vl':i?l1':i 0 lvlv~o (9)Olv~

ผ-106


G't1~.:J1'Uf111G'teJ'Ui1~fl~ru~.:J1'U~tJ~Uib~~dn\Jf111~1'If111b~~'Uf111G'teJ'U ~1'If11':i-&'Ub~~'U ~~'U1~\~~'U \J

b~eJ~dlJn'U~~'U1~

eJ'lJ1lJthJ'u61~1~~\~~'Ui11,rtJ '\J..

~.:JbG't~lJf111b~~'Ui

'IJ~Vn1

I"1ru511lJ "iJ~~5':i1lJ bb~~l"1ru~fl~ru~e)'UV;.:JtJ1~G't.:Jfi ..

b~~'U fl11'IJ~fl1161.:Jl"1lJ~1'U1"1j1fl11 ~~'U11'l'UbeJ.:J bb~~1"1j1"1iyj ua ~tJ~,j'~.:J1'U~'U1'l1lJ~

1~-r'IJlJeJ'lJv!lJ1~ do.

'tIeJ~1 Lt'VI'U{I 1/.

1"11t:J"ljd~ 'II'll 1"11 'II

1"1~"Il'1'U1qjf111YhPl~ 1"11b"1i~d"lj1ru 'II ...

fl.I"1.Pl.

ผ-107


o

,

2J1~'l!1'U~1 LLVIWI ... 0

II,

,

'tIi)~1LLVlWI

fl'l~'tI1t1 '11'11

., d

U

Q

VI'U1'V1LLfI::fl112J'l'U~~'tIi)'U ~'VI,j'1~ LL(;l~1'ld12J~'U~I'l"1leJ'UVI~n 1'Um'f:ij'l'ln1~L~EJ'Un1~"eJ'U~.:JL"~2Jm~L~EJ'U ~ 'U~'VI1)-:ij'l'ln1)-&'Ub~EJ'U 'II

II

.,

...

~. 1'l1'Un1'l~~n1'l~tI'Un1'lfli)'U (9).(9)

'\h:.J(;lm)ibl'l)1~~VI~n"~)\J ICi

Q.

2J1~);'j1'Um)b~EJ'U~ bb(;l~~1~11'l'VI~m.J(;lm)b~EJ'U~ :!.J11m'Um)-:ij'1'l'V11 cd \.I 'U

IJ'

)1 EJ1"1l1 bb(;l~eJeJ n u'U'U'VI'U1 EJm)b )EJ'U) 'II

(9).~

(9).Q1

eJeJmL'U'Um)-:ij'l'lm)L~EJ'U'nl'lm,j''U~\~m.Jb.u'UG11~ru L~eJ1~~L~EJ'U~1'l112J~ Vi'n~~ I'lru~n~ru~ co

~I'l n\l n))2J

n1)

'\I

'"

\J

cu

q

L~EJ'U f'II a1'U1EJI'ld12J"~1'l1n1'Um)L~ EJ'U~LL(;l~~ .:JL"~2Jm)L~EJ'U~~1EJi5n1) 'II 'II

~'VI(;l1n'VImEJ11'lm,j''U~L~m.JL U'UG11~qJ (9).~

L~eJmL(;l~1i~eJL'V1l'll'Ul(;l~LL(;l~LL'VI~.:JL~m.J~ ~"eJl'll'l~eJ.:Jn'Uihm)2Jm)L~EJ'U~

(9).~

11'lLL(;l~'th~Lii'U~(;lm)L~EJ'U~~1EJi5m)~'VI(;l1n'VI(;l1EJL Vl2J1~"2J LL(;l~"eJl'll'l~eJ.:Jn'U~1~11'l LL(;l ~ 'II

'II

'II

\l1'l'lh~".:Jf'lm)L~EJ'U~ • 'II II

Q

U

~.teI

lI:l. f11'Un1'l'U'lVl1'l~fln1'l'tl'UL 'ltl'U ~.(9)

II

Ill.

-:ij'1'l'U))EJ1mj3lVl~.:JL"~2Jm)L~EJ'U~ m~'U1'Um)~1'l Vi'n~~"1ii~ bL(;l~~WJ'U1~L~EJ'U 'II

'II

.,

fl1'Un1'l'W~'U1~'ULi){1 ~WJ'U1~'ULeJ.:JL~eJ1~~1'ld12Ji 1'l112J6'l12J1)(1 Vi'n~~ ~1EJi5m)~1.:J1

eJ~1.:JL'VI2J1~6'l2J Lb(;l~ij~1'U~12J

1'U"1l2J"1l'Um)L~EJ'U~'V11.:Ji"1l1"1i'V'l , 'II

ijitJEJ flru 5))2J \l ~ EJ5))2J 'th~'V'I q &i'tJ5u&i ~ 'ULu'U LL'U'UeJ~ 1.:J~~ ~1) .:J"1ii~ ~ 12J'VI~n'tJf"1lqJ1"1J eJ.:J LP1)~~fi\l'V'lm YiEJ-:J ij~~i~qJ1ruI'l112J

Lu'Ul'l~ ~~~G1l'unm12Jf'U~I'l"1leJ'U 1'Ui"1l1~'V'II'l~ LL(;l~~\l))m'U))ru

ผ-108


- Ie> -

.

QIQ

0,."

110

0

I

flWa2JU~Lu'W1~a1'V1'iU~~1'i~~1LL'VI'IH ~ (9).

ii'l~'W~1frhtflrufiJ1I'l~'vn\lfm~f1'I~1Vl~eJ'VI1\1~'U 't

Ie>.

m

III

~ n.f1.!31.n1Vl'U~LtJ'Uf1ru~2JlliiL0'V'41~~1Vl-r'U~1LLVl,j\ld

CU

"

mJ1'U'v11iLL~~\l1

'UeJ'Un 11I'ltl';i~ neJ'U1"111"ii'V'4f1';iVl~eJVl~ , o~ \I

L~eJtl fi'U1iVl'U1~~eJ'U d.J

cQ

'Umnlse

neJ'U1"111"ii'V'4f1';i1'l12J~f1';i~.n1eJeJn 1~ \I 't 't

rieu m';i'U';i';i'OJ, LLG'l~LL~\I~\ILtJ'UoV1';i1"11m';if1';iLLG'l~'Uf1mm'VI1\1 \I

m';i~ m~1

"

n1'itm~i'uL~'UL;iil'U 1m~-r'U L~'UL~eJ'Ue)'U~'Uf1';i~"1i'l ~ \1\1

ctbo

ผ-109


""

0

,

'tiel ~ 1 LLvr'lJ.:l II

CIII

..,

~

vrU1~U~~A11~~U~~'tIelU ijV!ti1~ LLfl~m11J1'u~~"llBUV!~ fl1'Ufl1'f~'~ fl11b~~'Ufl11?fB'U ~-:Ib?f~1Jfl11b~m.J~U~V!11~~fl11.ff'Ub~~'U 'II

-W~'U1~L~~'U BU11J'l11J'lhr~1~~L~~'Um,r~I"lruli111J:U~~li111J bbfl~l"lru~m~ru~e)'U~-:lth~?f-:lrl tJnU~-:l1'U'Vml"ll1fl11 '\J '\J It • ~ "lJB-:I?fm'U~fl'l~ntJ1~?f1'Um11J111Jljf.lflU~tJfl1"l1B-:I U, I"ll"lfl1'W"ll1J"ll'W bbfl~V!1B?fm'WtJ 1~ nBUfl11 b~ B111Jn'U-w~'W1 'II ,

1/

...

""

@. ~1Un1~~~n1~~aUn1~aBU

n

C9l.C9l ?f~1-:1 LLfl~V!1B-W~'W1V!~ fl?f(;)1 1~~~~vl111 ~1"ll1ua ~V!'\..h~rns b~~'U'II ~?fB~ I"l~B-:InU1J1(;)1;'i1'U 'II dO

C9l.l!:> BBflLLUUfl11~~fl11b~~'WTI~mti'W~L~~'WLtJ'W~1~f11b~B1~~b~~'UijI"l111J~ Vi'fl~~ I"lru~fl~ru~ cu \I \I '\J g~

<I

tJ1~~11"ll1 I"lru~fl~ru~e)'U~-:ltJ1~?f-:lrl bbfl~?f1J11~'W~~~1I"i'ru m1JV!~fl?f\911 , w 'II

hrn BU11J'l11J'WG1~ 1~~b~~'Uijl"lruli111J :U~~li111JI"lru~fl~ru~e)'U~-:ltJ1~?f-:lrl bbfl~f11ij~1J~~-:l11J 'II' , l!:>. ~

~ ~vl1-1fB1Jfl?f11?f'Ub 'VII"! bBfl?f11tJ1~~1.ff'Ub~ ~'UV!1mBfl?f11tJ1~~11"ll1b~ B1-til'Ufl11~ -:Ib?f~1J?f,r U?f'U 'U 'II ,

ผ-110


- ~-

II

Q,I

c:I

Q,

sn, ~1'1Jn1''a'WWJ'U1~'ULe:J~LLa~1''111''11'W brI.@)-.5'~vll LLtJ'U~w.J'Ull'l'ULe:J-:J LL"~~l L-U'Ufl111'l1lJ LLtJ'Ue:J~l-:J LtJ'U1~'U'U LL"~~m ~ e:J-:J brI.~ ii61,;)'U~,;)lJLL"~'Vl~e:J LtJ'U~\11Vm1"1l1fl111 ~

Q

QQ,/

Q.

q

1'Utl f1W5':i'UI

"':itl5':i':ilJ

LLa~"':i':itl1\J':i':iW1"111"11'W

ii111~

~ruD11lJ

\)~~D11lJ

LPl1~~ihV'lm

'U"IllJ"Il'Ufl11L~~'U'rVl1-:J1"1l1~V'l , ~

'I.h~V'l~ ~'U~,r~I'l'UL

vhJ-:J ii~1'l1 qjqjlrumllJ

tJ'U LL'U'Ue:J~1-:J~~ ~11-:J~11'l mlJ'Vl~ fl'U~"Ilqjl"1J e:J-:J

LtJ'UfI~ ii~ 1'l~1i1flmllJ~'U~~"Ile:J'U1

'U1"1l1~V'lfl~

LL,,~ii\)11~1'U

11ru

"1Je:J-:J1"1l1~V'l

o

,

"

""

m LL'Vl'U-:J'U ~. ~11-:J1'i'1LL'Vl'll-:Jfl1~"1i';)m tJ'UL,;)"11~tJe:J~fl';h ~~ I

Q..I

J,I

Q..I

({

QoC'iI

o q

~

tJ <dI

0

LL,,~eJl'Ufll1'U1~LiJ'Ufl11LI'l~~lJmllJV'l~e:JlJLL" 0

0

I

0

4

q

0

d

~

I

V'lw.J'Ule:J~1-:JL"1JlJmlJ'Vl"mflru'YlLL"~,;)Dfl11V1 n.a. Pl. fl1'Vl'U~ 'Vl1e:J~11-:JmLL'Vl'U-:Je:J'UVI fl.f1. Pl. LVI~'ULvn

en,

m'Ue:J'Urull'l'U1~fle:J'U1"1l1~V'lfl1 .~ ~

n1':itm~i'\JL~'ULtle:J'U 1mJl~'UL~'UL~e:J'Ue)'U~'U f1Pl.@) ~"U ~11 -:J1'i'1LL'Vl'll-:Jf11~~ \I \I o

eJ1'1..1 fll1'U 1~ LiJ'U 1 ~ii1Vl

'0

CI

Q

..:::!II.q

mil'U~ d.i

"':ll

fI 1'\.I "111'1..1 1 ru fll1 III

QJ

f11"1l1'1..1 1 ru ms V'lLPl~ f11 L"Il~ ,;)"Ill ru 'Vl1e:Jf11 L"Il~ ,;)"Ill ru V'lLPl~ m lJ 'Vl" ""

1mJl~'UL~'UL~e:J'Ue)'U~'U

\I

ClJ

\I

w

({

'Vl~e:JL~ e:J'1..1 LtJ'U 1 VI~ cUI~1 'U~ Qq

rufl ru 'YlLL" ~ ';)Dfll1

0

q

0

VI fl. fl. Pl. rn 'Vl'1..1 ~

f1Pl.~ f1Pl.brI f1Pl.~ 'Vl~e:Jf1Pl.ct mlJ~l~'U

ผ-111


lid

UQ,

VI'U1'V1 ua ~f1113J~U~ fl 't1VU ijVltJ1~~~~~fl113J1''U~~"1lvU~~~~~fl~tu~\l1'U~tJf'iU~~1:W:W1~'Hi1'U~1~~'Vlt1\1fl1 d.J .... 'U flrufl1Wn1~tJ~~~1'U ijfl11:W~ fl11:WG113J11t) ~fl~~ 1'U11tJl"1l1fl~:WG111~fl11~~tJ'U~ 'Vl~v'Vl~flG1~1 ~1''U~~"1lV'UG1\1fll11~~'U~'U~1'U CU 'l '\I 'tI '\J cd G11:W11t)tJliU~\l1'U~1'Ufl11~~fl11~~tJ'Ufl11?lV'U ~1'Ufl11'U~'Vl11~~fl11-&'U~~tJ'U ~~~~~1'Ufl11~~'U1~'U~v\l ~~~~1"1l1'liy.j v~1\1ijfltumy.j?l\lfll11~~'U~'U~1'U 1~m~G1~\l1~~~'Ul1ijfl11tJf'iU~\l1'UV~1\1~.u'U1~'U'U t)fll'lv\l ~'Vl:W1~G1:W II CU cd d.J \J ~1 tJ15fl11~'Vl~1fl'VlmtJ

~.u'Uer ~~tJ'U~~ ~Vfl11 ~tJ~ tJ'U~~ tJ~\I~ V~'U~V\l 'U1tu1 fl11m1:W~61 rrml f'iu~ 1~ tJl.l\l~ tJ'U '\.I 'U '\.I 'U \I d.J II

~~V~b1a1n1~tJ~~~1'U (9).

,

ijJl11~\l1'U?lv'Um:wVi fl. fI.l'1. n1'Vl'U~

Iv. ij1~ tJ~ ~1 a 1 mstl liU~ \l1'U~ 1:W'VltJ 1~ fl11:W1''U~ ~"1lv'U ;\1 ~~G1 ~\l1 ~ ~~'U (i\l fl11i \I?l:Wfl11:w"l11'U111J ,

q

q

0

fl11:W~"1ltJ1"1l111J ~1:W'V1 fl.fI.l'1. fl1'Vl'U~

f!ru D11:W Ii]~ tJD11:W tJ1~y.j ~ ~tJ liU~ ~'U ~.u'Uu 'U'Uv ~ 1\1~~ ~11 \I'lil ~ ~ 1:W'Vl~ml f"1l11J1'lJv \I ~ tJ\I ij~ ~1 ruru1tum 1:W~.u'Ufl1 ij~ ~ Ghu flm 1:W1''U ~ ~"1lv'U1'Ul"1l1'liy.jfl1 ua ~ijli] 11 tJ1'U11tu

ijl'lT tJ ~m~~fili]y.jm dol

"

QJ

'U

'\J

~~~~~1'Ufl11tJ1~~iJ'U~1:W'Vl~mfltu"]~~~~15fl11~ fl.fI.l'1. n1'Vl'U~ 'Vl~v

Iv. ~11\1~1~~'Vlt1\1B'UVim'V1tJ~1'U~i1'U1rufl11 "" " n1~tm~i'ub~'Ub~v'U 1VIl~1''U~~'U~~v'Ue)'U~'U fll'1.1vuae 1VIl~1''U~~'Ul'V1tJ~1'U~fl1"l11'U1rufl11 ""

'U

fl.fI.l'1. n1

"

<tbo

ผ-112


,

"" ....

...

'tIel1'V1l1\)1'U:: II

.d

fU

Q,

'VI'U1'V1LLi'l::f1113J'l'U~fl'tlel'U i1'Vlt:r1~LL~~fld1lJ1''U~~"11e)'lJ LL~~~mmJ~':)1'U~tJnllii mlJlJ11'l1~1'U~1 LL'Vltl':)1'l1 ':.J ... 'U

fJ N111'Wm'ltillUil.:l1'U i1~ tum'Yjfl11tJiJu~ ':)1'UmlJlJ11'l1~1'Ul'VltJ~1'U~I'l~"1l1'U1qJ 011 LL~~~e:l~LL?f~,:) 1~ L~'Ul1i1 fl11tJ1''UtJ1~~fl ~ fl11'U1tu1 fl11 fl11i1~1'U~1lJ"1l €I,:) ~ LMtJ1i €I,:) LL~~1im~'U1'U

"\J

fl111~tJ L~e:lLLni1t:U'Vl1LL~~~~'U 1fl1'l L~tJ'U~ '\J

CLI

?f~1,:)'Ull'lfl11lJ"il1flfl11tJn'U1i':)1'U~~,:)[:.J~l'ial'l tum'Yj~ L~tJ'Ul~tJi1 fld1lJ~\J fld1lJ?f1lJ11t1 Vi'm~~ LL~~011~~'U11'l'ULm d.J "'\J

1

LL~~1"111"il'Yj ~,:)l'ieJtJ.Q (9).

i1m1lJ~

\I

m1lJ?f1lJ11t1 Vi'm~~ 1'U11tJl"111 mllJ?f11~fl11L~tJ'U~ "\J

eJamL'U'Ufl11~~fl11L~tJ'U~~Lt:r'U~L~tJ'ULtJ'U~1fO)f11 fO)~?f11LL~~TI~'U1~a'Ull'lfl11lJ 'U 'U g~

'Vl~e:l'Vl~fl?fm ~1''U~~"11a'U \I

1~~LL~~LL'Vl~':)L~tJ'U~

L'Vll'll'U

'U

1~LL~~tJ1~dj'Ul:.J~fl11L~tJ'U~eJ~1':)'Vlmfl'VlmtJ LL~~?fe:l~I'l"'e:l,:)n'U'\ll~fl?fm 'U 'U

cs::. i1fl11TI~'U11'l'ULeJ':)LL~~1"111"il'YjLtJ'U~t11'Vl1':)1"111 fl111 'U"11lJ"11'U fl11L~ tJ'U~'Vl1':)1"111"il'Yj LL~~ 'U , 'U LtJ'U~'U1'Vl11~ ~ fl111~ Ln~fl11LtJ~ tJ'ULL tJ~,:)~~,:)[:.J~ I'ie:l~ L~tJ'U 'U 'U 'l::lI::L 1i'l1m'ltillUil.:l1'U (9).

i1.fl11~':)1'U?fe:l'UmlJVifl.l'l. Pl. n1'Vl'U~

tv. i11~tJ~ L1~ 1fl11tJiJU~':)1'U1'l1lJ'Vlt:r1~1'l11lJ1''U~~"11eJ'U~':)LL?f~,:)1 ~L~'U5,:)fl11i':)?flJI'l11lJ"1l1'U1 qJ d

d

0

1'l11lJL"11tJ1"111qJ 1'l1lJ'Vlfl.I'l.Pl. fl1'Vl'U~

i11,rtJ ~ tuD11lJ "il1tJD11lJ tJ1~'Yj~ ~tJ iJU~ I'l'ULtJ'ULL'U'UeJ~ 1':)~ ~ ~11 ':)"illl'l I'lllJ'Vl~nil 1'"11 qJ1"1la':) LPl1~~n"il'Yjm Vi tJ,:)i1~ I'll qJqJ1tul'l11lJ LtJ'Ul'l~ i1~1'l~1,j

n m 1lJ1''U~~"11a'U1'Ul"111"il'YjI'l~ LL~~i1"il11tJ1'U 11tu

ผ-113


-

~-

rm 1m.li''UL~'LILflnu

1m~-r'U L~'UL~e)'U-e)'U~'U ~P1.Q1 LL~::: 1m~-r'UL~'Ui'VI~~1'U:::~1-a1'U1rufl11~LP1~ ...

'II

.,

ผ-114


lid

G.I,Q

VI'L! 1'VI ua ::fl11 :U~'I.J ~ ~"lIeJ'I.J i1V1Ul~bb~~fldl:u-r'U~~"1le),lJbb~~61fl~tu~\ll'U~'lJfiU~(911:UlJl(91<Hil'U(.hbbVltJ\lfI'a 6J

'"

'IJ

f'lWfl1~n1~t111Ui.:l1'L! i1rJtufl1'V'l fl1';i'IJ~llii\ll'U(911lJ:U1(91';i~1'U1'V1tJ~1'U~fI~"1lTUl 1bfl';il~v1

~\lbfl';jl~v1

qjfl1'a'W bl'll~

ua~~ e:J\Iua ~\l1 Vlb~tdli1 m ';ifl~fl'U

~b~lJ?f~l\1?f';i';ifi' 1~tJ byjmbnuruVllbb~~~~'Ulfl1';ib~tJ'U~'lJeJ\I~b~tJ'U V 'IJ

'IJ

~~'Ul'U1(91m';ilJ1

VlbU'U

1

(91'Ube:J\lbb~~1"1l1~'V'l~\I~e:J 'IJ.Q (9).

i1mllJ~

\J

fll1lJ?fllJl';i~

1/1

q

Vi'fl~~ 1'U';iltJ1"1l1

!VQJ

fl1'a b';itJ'U';ie:J tJ1\1VlmflVlm 'IJ 1Jl.

milJ?fl';i::fl1';ib~tJ'U~ II

'U

Vl1eJVl61fl?fm \J

~-r'U~~"1le:J'U

Q.I

tJ bb~~?fe:J~fI~ e:J\Ifl'UVl~ fl?f(91';i 'IJ

?fllJl';i~'U~Vll';i~~fl1';i.ff'Ub~tJ'U

bb~~?f~l\1

u';i\lU'U~l~

h1 Vl~ b~tJ'Ub yjeJ1 Vlbn~fl1';i 'IJ

b'IJ~

uuu 'IJ~\I

~:m::b1~1n1~t111Ui.:l1'L! (9).

i1fll'a~\ll'U?fe:J'U(911lJVi

fl. fl. I'll. fhVl'U~

b. i1';i~ tJ~ b1~lfll';i'IJ~U~\ll'U(911lJVlUl~fl11lJ-r'U ,

,

d

d

fll1lJb"1ltJl"1l1qj

i11tJtJ

~~"1le:J'U 65\1bb?f~\l1 Vlb~'U~\I fll'ai\l?flJfll1lJ"1l1'Ul

qj

0

(911lJ'VI fl.fI.l'll. fl1Vl'U~

rJ tu'O';i';ilJ

"il~ tJ'O';i';ilJ 'IJ';i~'V'l~ ~'IJ

bl'll';i~~n"il'V'lm ~ tJ\I i1~ (911runn tufll1lJ cUI QI

Q.I

5'IJ~(91'UbU 'U u'U'U e:J~ 1 \I~ ~

~1 ';i\I~1 (91mlJVl~

bu'U fI';i'lJ i1~ (91?fTt1n m llJ-r'U ~ ~"lle:J'U1 'U1"1l1~'V'l fI';i\J

fl'IJ -r"1lqjl"il eJ\I

ua ~i1"il ';i';itJl'U';i';itu

ผ-115


-

o

0

I

d.iI

,

,

qq.o::::!l.

q

~ -

,

~. ~11.:J~1 bL'V!'U.:Je:J'U'Vll.J'J'VlCJ\il'U~ b"lfCJ'J"lflru '" '"

m':iL m~i'\Jb~'UL~e:J'IJ

1mvi'-ru

b~'Ub~e:J'Ue)'U#lu flPl.<S:

uae 1mvi'-rub~'Ul'VlCJ\il'U~fl1b~CJ'J"lflru '" "

'"

fl.fl.Pl

ผ-116


II

,

.tel

Q,I

Q

~~1~U~~A11~1UN~~~U i1'Vl':h~bb~~1"l11l.J1''U~I,,"1!eJ'Ubb~~~n~ru~,nu~tJn'U1iml.Jl.J11'1~~1'U~hbb'Vl1..i.:JI"l~ '6J

...

"

flru.n1'Wn11tJ~Ui.:l1~

i

i1l"lru.n1'Ym1~tJnllii.:J1'U1'11l.Jl.J1m~1'U1'VltJ~1'U~I"l~ b~ tJ1"111 1~ b~'U'i1i1 ms 1 m1l.Jf;l~~ b~l.J " 6.J d.8 d.8 'U gtflibb~~~eJ.:Jbb61(;N (;1~1.:J(;1~~1ili1n1~1-.5' tJbb"~~~'U 1'U11'1m~l.J rns b~tJ'U~ btJ'U~\h n1~~~'U1'U11'1 m~l.J~~.:J t:.J"menu

"

eJ.:Jlilm1l.Jn 'Vll.Jb ~ml1t:.J~

"

1tJ1m'Um~~~'U1m~b~tJ'U~

"

~eJ1"111~V'I

"

sn, (;11l.J1~(1'U~'Vl1~-.5'~m~.ff'Ub~tJ'U b(;1~l.Jbb~.:J 1~ ~ b~tJ'Ui11"l11l.J11'U 11iJ 1'Um~~~'U11'1'UbeJ.:Jb~l.J~1l.J~ ntJ.n1V'1

"

~

.Q.q

QJ

.

1.I.di11

..:::iiI

l.I.Q.q

IIcv

CS::. l.Jn1~V'I~'U11'1'UbeJ.:J bb~~1"111"11'V'j (;1~1.:Jbl"l~eJ"lJ1tJ"1Il.J"1I'U msi ~tJ'U~'Vl1.:J1"111"11V'1 (;1~1.:J1~'U6~~l.J m~b~tJ'Un'U(;1m'UPin~1

"

btJ'U~'l11m~btJ~tJ'UbbtJ~.:J~~.:Jt:.J~~m.:J1"111~'V'j

"

~

(9).

"

~

0

l.J.n1~~.:J1'U(;1eJ'U~1l.J'Vl n.I"l.I'1. m'Vl'U~

l!l. i1~~ tJ~ b1~ 1 n1~tJ5U~.:J1'Uml.J'Vl,j'1~m1l.J1''U

i11'\JtJ

fl ru6~~l.J

1iJ~tJ6~~l.J tJ ~~'V'j~ ~tJ5u~

bl'1~~~nliJV'lm oW tJ~ i1~1'11ruru1ru1"l11l.J bu'Um d.8 tV

ClI

\I

~~"1IeJ'U ~.:Jbb(;1~.:J1 ~b ~'U~.:J n1~i.:J(;1l.J1"l11l.J"ll1'U1 fkJ

U

1'1'Ub 'Uu 'U'U €I ~ 1.:J~ ~ ~1 ~ .:J~11'1ml.J'Vl~ n tJ 1'"11 fkJ 1"lJeJ.:J

i1~I'1~1'i! n m 1l.J1''U~~"1IeJ'U1'U1"111~'V'jI"l~'\.I bb~~i1liJ~~ tJ1'U ~~ ru

ผ-117


-

Cil.

~-

~1~~~1LL'V!'ll~I"l~~ii1'VltJ3I1'IJ~I"l~L~tJ1"1l1qj 1J1LL~dl1J,j'eltJfd1 ct

tJ

'V!~eJ~1~~~1LL'V!'ll~~'IJ~f1.I"l.Pl.

LVitJ'lJL'vh1~tJ~1'IJm~~WJ'lJ1LL"~~1'IJm~tJ~~Li1'IJ1'l11J'V!~mf1ru"LL"~1TIm~~ f1.I"l.Pl.n1'V!'IJ~'V!~eJ

n1~tm~i''UL~'UL;'imJ

1m~-r'IJL~'lJL~eJ'lJei''IJ~'IJ I"lPl.ctLL"~1m~-r'IJL~'lJ1'VltJ~1'IJ~I"l~L~tJd"1l1f1IViLPl~ 0t: ...

\J

ctbo

ผ-118


ภาคผนวก จ หลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตําแหนงครู มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ (ว 21 ลว 5 กรกฎาคม 2560 )


ผ-120

,~GIO® O~G)G) 0 'Jl;00®

o~G)G) 0 ~LI.!l~1A 1

~G)~G) O~G)G) 0 '®lrI~G) O~G)G) 0 '~IA1 Cgl

'® lA~nL~~IAL~m1N11t1,11Ll.1lnJ\'~~l'?UsLU' F

'Co'

I

0

"=>

@l'lfl,nI1LLleb~~mmfl, ., ~

n.

Lj»,U~~LU ~LIAW L~lebfl,:::~11~leb~LUll.L~L~fl,kIt1,L¥l~leblebfl,nL~UIt1,~fl,UU

fl,11L~~1 ~LUnG 1L~ 'l'?WU ~ tfl,@ll.n~

i

I

o~JlG)

1

n.~~

~ 11~J.'l1 lebLU'~Lm ~LUgLj»,U~ ~L~IA:::W ~@fl,Lj»,U~~LU [b~~[b~LU n@ ~ l0m£o~ LU I1~W~!'tH~ , ~LJ.'lLI1~!>,!~~gI1Ll!1~~~1:::~~L~ [bln~nr;1

Wt r3~l nL~nr3

fl,~~,Cb~

" "

I1lebLUUW Jl ~n!-~11~14

I

I

II

~[b 1L~L 1:::r3:::~~Lp.nt~LUnG 1L~~LU ~,Cb~[bLn m~nIt1,L~:::~11 :::nL~r3IA~n@~1:::~11:::nL~~IA~~

n.

n.

~l0~f1.1t1, 11L~ Lj»,U~~LU~LIAWL~l0fl,~~11~leb~LUll.L~L~~ n.

t ~LU£~:::~11y.sruU1U~iI1,~nIt1,L~J.'ll~~

'w 'l0'U

~~I!,k\11~Lr@J.'l1 n~~ 1~MLU'rul0~12~t':l~!>,!fl,fl,~~nr; 1~~11~@~1@~~Lr@Lj»,U~~LUMLU'rul0Ln~~ M~Lll.~ru~~rb..L~~~I!,:::m1 ~@ml!1Ln~~~LU~

11~~g~~l'?

11~~gru ~ r3lb~~

n@IJ~LUn~~ 1~LU ~,Il;~LU n t fuLll.W~

~~~L r@fl,mmr;

no

f'P

"

t7

tl1~1.!l1 ~!>'!::: m1

ml!1~,Cb~[b~bM:::~[b~

111LtlebfuLnLp.I1L tl0I1IJ~¥~LU ~Lj»,U~~LU~LIAWL~lebn.~~11

n...

~leb~LUll.L~L~~ t n,Cb1~ftr3Lfl,r31n~J.'ll ~LUgLRU ~~L~IA:::W L 11@ ~ nlb:::nL~r3IA~n@

~1 :::m1sru.s r31A~~LRU ~~LU ~LIA '

gW IA 'W'l0'U nL~UnLI.!l@IJ~nlt1, 'us

~JlJlG) I1l0LiI1,~1J® IAnL~~ lrI® L/lrI'~OG)o FI'lI

F

~JlJlG) I1lebLUUW ;0G) IAnL~~ ote L/~'~OG)o

I"ttO!'?rtI

gW IA 'W'leb'U nL~UnLIJ@IJ~nlt1, 'G) F

F'1'lI

rbOf?rb

OOlrlO®'I1IAU ~LugLRU~~L~IA~W~~[bnL~UlbL¥l 'W'leb'U nL~ulbL¥l


r.un Lib 1"5

ผ-121 I'b

I"b

1;1>

I"b

~LU mLn.LQ.~~~n.UH;JlAt,lblA~~l:'rl,l,1 0 FlO to"",

I'b

I"b

B'P

"LWI:'~L~N~W RkI'M.~LUmLn.LQ.~~~n.LTh[;JlAt, 0 1"5 ~ 0

to

ZOloZ

LlA1rb[;JlA' °klo~oU lAn.G.I:'n.l.1"LWI:'~L~G.~l.1 I "'" F' Flo 0 ~

b

tJ,fl,t G.~I:'~~lbklru~~I:'G.~ ~

B'P

B'P

,

"

I"b

~n.LTh[;JlA~~ ~~I:'fl,l.1" L~ LRU~~LUI:'LlAWL~~n.~~"~l!!~LUQ.L~L!l-~

'z

S" ~n.~~"I:'~n.~l:'lbLl-Wt

~n.L~[;JlA~

"

, I"b

B'P

I"b

~n.LTh[;JlA~n.G.~'~~"~n.LTh[;JlA~~G.fl.t:l

[btn.~n.o-' 09S"Z Ib~djuw n.G.~'~~"

t~LU£~~~"

1hruU1U~l.1 °l

IA9nl UW ,.121/1,

p

E"P

n.

IrP

b

t:[b t G.~I:'~ ~n.LTh[;JlA~n.G.~,~~"~n.LTh[;JlA~~ ~l!!I:'fl,l.1"L~ ,

~ ~~

~,03mDQ.L~~~M.I:'yt."vS" L~WLIb~~"

(v)

t Ib~kl' I:'~~m' 1:'13 ~, 13~I:'L ~ G.I:'G.mwLn.r'M~~L U~ n.G.kl~LU n.[;J~' ~LU ~~~LUn. t n.

I'b

I"b

n.

b

LRU~~LUM.LU'rul!!~~'~

t G.~' n.,tt.I:'~

~

,

nsu L[;JM.klALr1.1M~~LU

~~ t ~n.l.1Ly ~t

14sruU'U~l.1IbLW n.G.kl~LUn.[;J~'~LUn.L~n.

n.LI:'~Dg[b~LUM.LU'ru~

I'b

!tl~LUn.kl~~[b

t~Ltt-l.1

M.~LQ.~ru~~n.L[;J~~l!.

L~WLIbIbLW~n.L~[;JlA~ I"b

b

I'b

vS"

°kl°M. LRU~~LUI:'LlAWL~~n.~~"~l!!~LUfl.L~L!l-n.[;J~'~~~,03mDQ.L~~~M.I:'yt." I"b

Ibkl~LIbl.1'~

,

M.LU'rul!!~~ t n.[;J~'t:lLn.r'M~Lj~LIbLkl~~"

Lj~LIbLklIbLt,l!!~~ t ~l!!l!!

°~ 0l!!°U ~~LU£~~~"

mLn.Lp.IbLt,l!!

Zv

t:1:'~ n.~'~~[bUUn.Lf:lI:'~ '

liP

~t~n.LTh[;JlAWLRU~~LUI:'LlAWL~~n.~~"~l!!~LUQ.L~L!l-~

I"b

b

LVS"Z

"f\

~~I:'fl,l.1" L~I:'~L~ t:l LRU ~~LUI:'LlAW L~~n.~~', ~l!!~LUQ.L~L!l-~ t n.n.kln.,tt.kl

t,L~UI:'~kllA '~~[bLn.r'M~~LU}WklLklglA~~t!1'[;JLIbl.1UUI:'G.fl.!LlIb~Ln.Wl!.mLw~t

Lj~LIbLklIbLt,~~

,,~n.l.1Ly

mLQ.W~mLt,~

[;J,tt.~n.L~~bM.~~[bIbLt,l!!I:'~l:'nL~~t

" "

IrP

I'b

LRU~~LUI:'LlAWL~l!!n.~~',

,

6l L~WLIbn.tIbLt,l!!IbLWl!.Ln.L~[;JjtLG. M.~LQ.~ru~~n.L[;J~~l!.~~" 1b~~g[;J~l!.Ib~~grul!! [;J,tt.~~

~~I:'L ~G.n.n.,mo- mw ~Dg[b~bM.~~[b~l!!~ I'b

m LQ.W ~ mLt,l!!~~ ~" mLn.Lp.IbLt,~lbkll:'¥~LU ~~t Ib~kl' I:'~~LU~~ t ~n.l.1Ly~t,l!!lbkl

,

~n.Lj~~lbkl~m'

,

o °v [;JlAtkllA, ~~[bLn.r'M~~LU n.kI:'G.~lbkl~LIbl.1'~~n.Lj~mkl~~" kllA'~~[bLn.r'M~~LU}WklL~glA~~~" ~Dg[b~LUULl!.~~'~n.LI:'~t':l 1b~~g[;J~l!. Ib~~gru~ IrP

n.LTh~WLIbIbLW[b t n.o-' I:'G.~ ~t ~n.LTh[;JlA~n.omG.~'~LU~~" I'b

L~~,03mD I"b

b

t~LU"

L~WLIb n.,Vn.G.U~~[b

b

,,~l!!M.~LQ.~n.G.U~~[bt:lI:'G.fl.~l!!l!! n.n.LI:'~Ll.1~n.~LU n.t Ib~~gru l!!n.n.~~I:'L~kl Ul ~U ~I:'~lbt,~

n.G.kl~LU n.t M.LU'glA~~~[b~ ~"

~

n.

I"b

fb

I"b

fb

Lj~LIbLklIbLt,l!!n.,Vlbkl~LIbl.1' ~n.lA" n.G.WL~n.k~ll:'~l!.,t;t" I:'L~G.Lj~LIbLklIbLt,l!!~IbLt,l!!~ ~l!!n.o-mLt,l!!I:'G.fl.ruLmm~W~~t:l~W I"b

n,

fb

I:'G.W~~ W~t':l~LUn.n.~~~~'1Ut

~~Ll!.LG.~~"~l!!M.~LQ.~n.G.U~~[bt:lLn.r'M~~m' 0l!. 8S"Z L~WLIb ~lA'~~[b[b~g[b~LU

fb

fb

9l

~t,Ibl.1~~"

,,~LQ.kllA'~~[b~~"

~LQ.n.t l!.t~U' r;J,tt.~~ ~n.~n.o-'~

~U~~ t"

fb

(0

L~~,03mD

t

LRU~~LUn.L~

b

t n.[;J~'t:lLn.r'M~l:'rtI:'G.~I:'t,[bI:'~LRU~~LU"

~

II

B'P

vS"

1b~1:'~n.Q.IbQ.t,k~n.G.~l!!G.~n.G.Q.~~n.kIbLt,l!!~~t!1' f\

I"b

Ib

n.WI:'G.fl.~,tt.LjIbLt,l!!IbLW~t mLQ.U;J~ m~LIbLkl , L~~,03mD ~l!!~~t,

fb

f\

B'P

L~WLIb ThkI:'G.fl.~Ltt-l.1S"~t,Ibl.1 09S"Z Q.LWjtglAM. [;JlAlW~LruLG.Q.L~I:'yt."mn.Ib~~gThk~[;J~l ,

"

(09S"Z Ibl!!LUUW

lZ

S" ~n.p~

t,/£090ZO

g~ ~ V~oU

5'P

""

n.LI:'U,tt.L~G.~I:',tt.l.1IbG.~M.I:'~)

II>

::nl.~liJlA,tn@~1::~11::nl.~IiJIA,e,1tt~r;.nIf1.111.~ F'

'="

'="1'='

I

0


ผ-122 ~~11kn,~~ 1~Llln,Ul,~WLn,~~@~

1~]'-~~Lll

nt ~n,lj~~lbkl~~n,tt 1~ t~~kl11 ~Ull Lll.~~L Ii\,ru, ~~1'<1 n,[J1~~fb~Lll n,L~~ @)tl rb

('b

Il"P

rb

('b

IN'

l~11 1'£ @E-IbLWn,[!1~~fb~Llln,L~~@)tlllL~ll@n, R!.l1~mLll.W~1~le\~n,L!WIi\,~~~11mLll.W~1~le\~n,L~~Ii\,~ Z·£ M,ll.Lll.lLn,~M,~~11~@mwLn,~M,~Llln,L~~~11n,~~ mll.~Lll~~~LIit,~n,~Llln,L~ n,@kl~Llln,~~1~Lll "=" " F='

~

rb

I'i

('b

F='

rb

f'5

rb

p:;:r

'" "''' n.~~ n,[!1~~fb~Llln,L~~@)tl~n,L~~Ii\,~n,@~m~Iit,~n,L~~Ii\,~U:@Il.~ .£ b

"

n.

'

b

('b

~~lbklmle\~LIl.~n,r; 1L~@~~t n.!!omll1ll~Iit,IbLWfb t n,r;1[bt~~lbklmle\U:L~n,M,l~11n,@kl~l~W~~Iit,~LLWLIit,~ l~@Il.~~@1l. " n. n. n. 1\ ~~lbklmle\ n,_vl~ ~mL~ll ~Iit,~ ~11 Uklll@ 1 ~1b@E-~@~n,k~n,r; 1LRll ~n,Llj kl~Lll n In,L~~ ~ ~11@Il.~~ t n.~kt " " Il"P

b

,

(Z' Thl) LRll~~Lll Q:~L~

" n,L~~I'<1n,[!1~~fbn,fl,1mu-tll~n,~~~Ib@E-llL~Lm~L~~~~1

~~~:l,Iit, 11L~ ~L!bIit,~~gfb~LllllL~~~1~

LRll~~LllQ: £ L~ll~@!b[bt 9 @E-!!omll1ll~Iit,IbLlil!!omllmL~

n,[!1~~ fb~Lll ~1'<1u:~m1S' @E-!!omuiu ~Iit,IbLliln,[!1~~ fb~Lll u:~t ~~ @Il.L~n,~I1n,ln,@~ LRll ~~Lll Q:n,~n,p~ n,,t1 n,_v@~~~ I

f'5

I,

V'Z

~n,l~~n,,t1 Q: S' ~~Iit,n,@JlL~L.1~~~~~lP.n,t ~n,Iit,L1J·!.l·~·ll ~~Lll£~~~11!!omll1ll~Iit,IbLlil Ln,~~~Llln,L~

S"Z

LRll~~LllQ: S' ~~Iit,n,@JlL~l1~~n~lp.n,t

n,@kl~Llln,L~~Lkl ~L!bIit,~~gfb~LllllL~~~1~n,L~~I'<1U:

(L 'M,'ll) ~Lllll.L~LE-~l~~fbn,~!}1~Ii\,LmL~@~1it,(91 ·!.l·~·ll) LRll~~Lll~LIi\,WL~~h~~11

"b " Q: S' ~~Iit,n,@Jl n,,t1~LllLll.~~LIi\,n,L~~I'<1@n,kl111 ~n,~~1~Lll~~Lkllb~ll/LIl.Lkl/Lll.~n,t n,@kl~lbll]oU:~@.\!~~@Il.~ ", , L~l1~~~~~lP.n,t ~~1 ~l~~n,Iit,L1J ·!.l·~·ll I1IbLlilL~n,]on,@kl~lbll]oU:~@.\! n.~kt ~lbll]o OS' L~ll~@!b[btQ:~~~1m t M,~Lll.~~LIi\, I

I

f'5

f'l

I

S'P

n,

rb

f'5

I

t ~~1 ~lbll~ 006 L~ll~@!b[btQ:~~~1m t n,L~~~gfb~Lll

kn,~~1~Llln,ll.IbQ.n,t Ibl~n,l~U:~Lll~lbll~u:~@.\!n,L~~~gfb~Lll~lbll~n, n,

rb

~lbll~U:~@.\! R!.l1 ~mLll.l~~1~~~n,L~~

rn:'

1i\,~@~lit,mLll.l~~1~~~n,L~~lA,~n,r;

m@~1 @Il.Ull

Z'Z'Z

~l~~n,Iit,L1J ·!.l·le\·llI1IbLlilL~n,]on,@kl~lbll]oU:~@.\! n.~kt ~lbll]o OS' L~ll~@!b[btQ:~~~1m t M,~Lll.~~LlA, I

f'5

I

ttl

I

S'P

(\

f'5

,

t ~~1 ~lbll~ 008 L~ll~@!b[btQ:~~~1m t n,L~~~gfb~Lll

kn,~~1~Llln,ll.IbQ.n,t Ibl~n,l~U:~Lll~lbll~u:~@.\!n,L~~~gfb~Lll~lbll~n, Ib

1\

Ib

Il"P

m@~1@~Iit,~LllmLn,Lp.~le\~n,L~~lA,~U:@Il.~Lll 1'Z'Z

~lbll~U:~@.\! R!.l1~~LllmLn,Lp.~~~n,L~~Ii\,~n,r;

n.~~ @Il.L~n,~I1n,l~~n,,t1 Q: S' ~~Iit,n,@JlL~L.1~~~~ " ' , @~~L~~~n,LTh~ Ii\,~n,t~~~fblit, 11L~@~1it, ~~~fblit,11L~n, tn,L~~~gfb~Lll ~lbll~U: Z'Z

~lP.n, t n,~~~Gr

Lytm~111 ·!.l·~·ll ~n,~~fbIit,11L~~~L~@~1it, @Il.L~n,~~n,l~~n,,t1 Q: S' L~ll~@!b[bt 1\

Ib

n.

Il"P

I"b

Ib

lIP

l ~11Lib m Lll.l~ F'll.1t ~ ~n,L~ ~ Ii\,'C;:rF='F' llbli\,~~~ n,1it,11Llil~~L ~ ~@lil R!.l1 M,mLll.l~ F'll.1t ~ ~n,L~ ~ Ii\,"="l I"fi

I

0

0

I1i

t>

v '1' Z

-Z -


ผ-123 t}~~

~

Q;LJlA,~@t}1@~~L~@ M.~LQ.~Ln,~~::g~11~@m~Ln,~~tLLJn,L,\,4::g~11 ,

n,~~m_E.tLLJ~]>tLIA~,rbtLLJn,L,\,4

~

n,@~t LLJn,~~ 1tLLJ~ ]>tLLJn,L,\,4 ~LJ:bIA~,Cb~f1.tLLJLJL~~~1~n,L~mm~1::gtf1.tLLJ n,k,\,4t~@~t~~rtIA11L ~~tL~~ ~LJ:bIA~,Cb~f1.tLLJLJL~~~1~n,L~~f':ln,~1::gtf1.tLLJ "5

b

n,

IrP

I>P

n,!b~ l-1A~]>n,t L~LJ ~t LLJ~L IA,W L~~n,::g~11 t~tLLJ Q.LtL Jlo~}£l ~~11 . ~l.! LJ @n,~1Xbt @1l.!&::gn,LTh ~ IA,~L~LJL~::gn,LTh~ IA,~~ 11

11

n.

IrP

I>P

I

I

n.

f1,

L~LJ~n,Llj~tLLJ ~ t.n,L~~ LJLIA ::gn,LTh~1A,~n,@ ~1@~IA::gn,LTh ~1A,~~@Il.L~n,~,\,4ttlE,l~rtlA11L~~ tL~ ~~~W r:. n, n, n,1A, 11 !&LJ:bIA~~ f1.tLLJLJL~~~1!&n,L~~f':ln,c;1::gtf1.~n,Q11b~::gLrtlA mtLIbL~IbLt.~ kIbLt.~~!&n,!b~l-IA~]>n, t ,I

L~LJ~tLLJ ~LIA,WL

~1E,l

I

h::g~11t~tLLJQ.LtLJlo~}£l~~11 .~l.!LJ @n,~1Xbt ~ ~t ~1A1~ t.,\,4t~~rtIA11 L~~tL~~

~

11

~@Il.!&LJ:bIA~,Cb~[b ,

n,

tLLJLJL~~~1 ~n,L~~f':ln,~1 ::gtf1.~L@ftt L~LJ~n,Llj~tLLJ ~ t.n,L~~LJLIA ~t L~LJ~tLLJQ;n,t n,~1::gtf1.tLLJ~W L~LJ~tLLJ Q;::g ~ ~1m t ~LJ:bIA~,Cb~f1.tLLJ LJL~~~1 ~n,L~~f':ln,~1::gt f1.LrutL~~tLLJ n,@LJ ::gtf1.@~m~ mLt.~ n,

n,

n,

@n,~1::g~11n,L~~ Ltt~~rtIA11 L~~tL~ ~!&~Ib@Jlo~@W n,~LJ::gm1 n,@~~t.t~@ ~ 1 L~LJ ~n,Llj~LJ@n,@~IAn,!bL~LJ~n,Llj~n, I

n.

b

L~LJ ~t LLJ~L IA,W L ~ ~ n,::g~11t

IE,l t

I

I

t

11

n.

b

I;'P

L LJQ.LU JloLJ L ~tL LJIbtt usru ~~}£lL~LJ ~ ru.u ~U LJ~ r,ru.~ ~Xbt ~ ~1::gn,LTh~ IA,~LJIA,

~

~LJ:bIA~,Cb~f1.tLLJLJL~~~1 ~n,L~ ~f':ln,~1::gt f1.~n,r; 1LQ.fu,Cbn,~~,Cb~ ::gn,Li~n,t L~LJ ~n,Llj~tLLJ~

t.n,L~~

1'17 n,

t}~~ n,~1::gtf1.~~Xbt

~

'17

t.~11LIb::gn,L~~IA,~n,@~1 @~IA::gn,L~~IA,~~Xb t @~1@~IA~rtIA11 L~n,@~1@~'Jlot ~~, !&tLLJLQ.~~LIA,n,L~~f':ln,Qm~IA I

I

~ ~tt ~,Cb~t}l.!LLJ::gtf1.@~IA Lfufu~f1.n,k@~'

I'

L~LJ~tLLJ ~@Il.~~IAn,t.~n,r;

,~t~ULJ

I

LQ.~~LIA,n,L~~tmr;'

ftt~@~::g ~"

n,

@Il.L~n,~!&n,p~n,!b

Q; ~ ~~IAn,@~L~L..1::g~::gt~t.p.n,tn,L~~f':ln,Q 1~@~ @n,~mll.~!&tLLJLQ.~~LIA,n,L~~f':l t}~Xt

I'

I

11

11

1 ~@mL~@

tLLJ~Lt n,@~tL LJn,~ ~, U LJ~]>ULJ n,1l t.~ ~ W]> ~n,L~n, Q' ~@~ ~ ~1U LJ~ Lt Ln,~~@~ '~IbLt.~~~@f1.t~tLLJ~f1.

t L!b::g~'1LlAfur:~"@~'

n,

'0

l:;:r

"

,

n,

b

Z L ~LJ~ @J:bfttn,t.n,L ~ n, ~ ~,~ ~@Il.M.LLfru~

~ ~L~~IbLt.~~~@::g~" ~~blA, ~~t.m'L~LJ~tLLJ~

n,

b

n,L~~f':l@tIA M.Q.LQ.t.~LlA,tn,~t 1tLLJn,Q.IbQ.LJL~~LJ' IA,tn,~t' tLLJ~~tLLJLn,~M.tLLJ~f':ln,L~~Lt@tIA Pi=' F=' t'5 F=' F"rri F=' ~

kn,~~ ,tLLJ

n,@~tLLJ n,~ t,II'=' tLLJ

Ii'

f'b

" " ::gn,LTh~ '" IA,~ Z'Z'£ ~,£;tLLJ n,1l t.~~' ~]> ~n,L~n,r;' ~~ tLLJ LQ.~~LIA,n,L~~f':l~~@ ~ ~l.!' ~mLQ.t.~ ~, W tLLJ~Lt

1 ~@J:b~L~@n,~~m_E.n,t~]>~n,L~n,Q'~@~~~l t L!b::g~1'LlAfur:~" n.

n.

l'L~LJ~tLLJ~

@~, ~ ~L~kIbLt.~~ ,

n.

~~'!&k n,~ ~1t L LJ~]>t ' n,

"

n,

L~LJ~@J:bftt

~@::g~" ~~blA,

r:~"tLLJn, t ~ LIbIA~ft~~~~ b

fb

kn,~~, tLLJ ~]>tLLJn,f':l" n,1l~@~~ ~@~::g~'m~ ~'~~@Il.kn,~~, tLLJn,L,\,4LlAm b

,

t

Z

tLLJ~Lt

~

n,t.n,L~ n,~~ '~~@Il.M.LLfru~Ln,~~@~ , 'kIbLt.~~~@f1.t~tLLJ~f1. ~~t.n,

"

n,~ ::gru~LJ~ n,t U LJLQ.~~L IA,n,L~~ f':l@~IA M.~LQ.~~ L IA,kn, ~ ~, U LJn,Q.IbQ.LJL ~ n,L~~LW~IA

b

L LJL n, ~ ~t L LJ~ f':l

'"

n,~~ m_E.n, ~]>~n,L~n,Q' ~~ tLLJLQ.~~LIA,n,L~~f':l~~@~ mLQ.t.~~' tlE,l::gn,LTh~ IA,~ 1'Z'£ ~,

,


ผ-124 L~U8@J:l[ttr.,~1m,Vlbr.,t~~11

Z

rt~~tL~UL~[tt ,

M,L~

z

I:-Xt

'"

M,l:1~tfbtLU~I':l!JI:-@~ M,!l!LQ.tLM,~~~~111:-@mWLM,~~tLUM,L~

£

IAM,L~~~11 M,8t mQ.tLU~i!l.tLbI\,trttLUM,L~ F' 1"5 ~::: rtI

~~11

£

rt~~tL~UL~[tt

1:::>

f5

Z

IAM,L~ F' I1i

(Z)

M,l:1~tfbtLU~I':l!JI:-@~

~r.,Q.r.,wuiA,M,@lJtLUM,8t1tLU~i!l.tLUM,L~ 1 IAM,L~ (1) fb,.".

'"

("b

,.".

('b

11i'"

1'5

'

!}I:-~ ~LJ:lbl\,~DgfbtLUULi!l.~~1~

'"

b

'

'

b

I'b

M,LI:-~I':lM,LLJ'rul.l rt~~t!J~~11 ~l!l!r.,)!l UIAM,l:1~t fbtLU rt,t-~tl:-@~ fbl,kl1~tLU

n.

BY

m LM,LP.tl.l~M,Llli8IAt

" ~l!l!r.,)!l1

L~U8@J:l[tt

Z

rt~~tL~UL~[ttM,l:1~tfbtLU~I':l!JI:-@~

"

'

£

IAM,L~~~11 M,8tf=7mQ.tLU~i!l.tLbI\,trttLUM,L~ P' I'li

,"

(b

~~11

Z

1:::>

f'b

rt~~tL~UL~[tt

1"5

Z

IAM,L~ 1'5 f='

(Z)

'

M,l:1~tfbtLU~I':l!JI:-@~

~r.,Q.r.,wuiA,M,@lJtLUM,8t1tLU~i!l.tLUM,L~ 1 IAM,L~ (1) rtlf=>' f'b F=" 11i'" 1'5 ('1)

"

'

!}I:-~ ~LJ:lbl\,~DgfbtLUU Li!l.~~1~ , '

"

,

,

M,LI:-~I':lM,LU'rul.lrt~~t!J~~11~l~r.,)!lUIAM,l:1~tfbtLUrt,t-~tl:-@~

" !}fbt@~I:-~ ~M,bI\,L1J·kl·l.I·U ~IbLw~ruumL~

"

tLULQ.~I:-LIAM,LI:-~I':l~~11LfbI,U~tLUf.1

£

L~U8@J:l[tt

'

M,l:1~tfbtLu~ruumL~I:-@~8~1

@Q.L)pM,~~M,lM,@~ LfbI,U~tLUf.1M,~M,ll:-~rt,t1 , , "

M,,V@~~~LfbI,U~tLUf.1

~ l:-~bI\,M,@~

~LJ:lbl\,~DgfbtLUULi!l.~~1~M,LI:-~I':l!JI:-@~~i!l.!}tLU~~~~11~ruU1U~bI\,IbLW~M,L~81A~M,@~1@~bI\,~M,L~81A~!J~i!l.~~ 'I'l

I

I

I

,

M,1J~WtLUlAsruU1 '9 ~,.. ,

~1JM,~M,~M,r;1@~~ t ~t tLu~tfbM,r;

1

" ~ ~ @Jlo~t@!J1~~11 M,,t1LfbI,U~tLUf.1I:-@Q.M,l:1 ~tfbtLU

~l':lrt@1Ji!l.r.,tWtLUlbtW

~rul.ll:-)!lI:-~11@~1LfbI,U~UU~M,~W

1'1

I

1'1

n.

I

Il.mLI:-U ,t1L¥l

1'1

I

n.

n.

n.

I:-~fbtl:-~1ml:1~tfb~~

t M,l:1~tfb~rt,VI:-@~l.I~@IJ[tt M,~1IbLr.,l.I!JM,,t1~~11r.,~111:-~i!l.M,r; 1IbLtl.lIbLWl:-tWI:-@~UL!M,l:1~tfbtLU~1':l

"

~ L~M,~ 1r.,~11LrutLi!l.~M,l:1~tfb~ULbI\,

1:-i!l.11~~~11 LfbI,U~fb~W tIJLU@l

"

n.

I:-tL~~~UJW ,

l:-,t-l.I 1 ~~LfbI,U~tLUf.1

n.

~O:1~ t

~ M,,t1M,l:1~tfbtLU~l':lrt,V8r.,~M,~

"

n.

n.

b

9

~pM,L~81A~M,@~1@~bI\,~M,L~8IAW@ll.fbt r.,L~UI:-~M,l:1~tfbtLU ~I':lL!bL!tLIbLIJ ~1':l~~11~l~r.,)!lUIAM,l:1 ~tfbtLU!JL~

f.1I:-XtIbr.,tM,WM,tM,l:1~tfb~

z

t

"

@JloM, t ~M,bI\,L1J~IbLW

~M,8~1l.1LU'M,l:1~tfbtLU~~11 '

1 ~M,8~1l.1WM,l:1~tfbtLUM,t8~11:-,t-l.I ,

n.

1[tt tl.ll:-)1b1\, 11L~

£'~

rtLtlAtl.ll:-)1b1\,11L~l:-tL~~~tM,l:1~tfbUU~l':lfbtlJM,l:1~tfb~~t

"

, ~ruumL~M,l:1~tfbtLU

" LM,~~~~11L!b~m1L)p~t@~ml:1nfbtLUM,r;1 , n.

1 ~~M,8~1l.1LU' LfbI,U~tLUf.1 ~

"

n.

~

Z·~

L ~ U~8 ~t M,r;1 tl.ll:-)1b1\,11L~ I:-tL~ ~ I:-@Il.~L J:lbl\,~,Cb!-! fbtLU U L i!l.~~1 ~M,LI:-~I':lM,l:1 ~t fb M,l:1~t fb~~ t l:-,t-l.I1 ~~LfbI,U~tLUf.1 M,l:1~tfb~@M,1J1(Z·~r.,) LfbI,U~tLUf.18Lt

"

~

M,@lJtLUM,LI:-8LIJ ~LJ:lbl\,~DgfbtLUUL~

~'

~

~~1 ~M,LI:-~I':lM,LI:-8Ltrtrt 111bLW~LJ:lbl\,~D!-!fbtLUULi!l.~~1~M,LI:-~I':lM,LI:-8LtLiA~]ltl.ll:-)1b1\, 11L~l:-tL~~~ t 1 S

- 17 -


ผ-125 ,

"

,

~~~~vt,~k!el!tlf,n.rmnl~m!el~f,rtn.krt~f,LuLQ.~~LlAnL~~f':1n.k,lPl 'le!'!eI'UnLw,tbL~~nl-nG~rtl~f':1~~l

~

,

,

'

~LtnG 'le!'!eI'UULvt, f,LULQ.~~LlAnL~~f':1~f,rtn.krtf,LU~~~W

!tlf, f\rmnl~n.f,!eI~G E-W~1~nL~U~vt,f,L~UG1~~~ f,LULQ.~~LlAnL~~f':1~~11 ~Lt1vt,~lbgrtf,LUUL~~ ~1~nL~~f':1nCf1~f,rtf,LU~f':1

'" ~nL~~IA~nG~1Gfl,L~n.k,lPl

' " ~LtnGJ:nQ1 'le!'!eI'U ~l

'le!'!eI'U nLN.l,tbL~~nl-nG~rtl~f':1~~l~~l

~GE-l~ ~1~nL~U ~vt,f,L~UG1 ~XtIbG~M,~Lt1vt,~lbgrtf,LU UL~~~1 ~nL~~f':1nCf1~f, rtf,LU ~f':1~~11 ~nL~~ lA~nG ~1G~vt, I

I

I!'

1

'

08 ~~~G~L~uL~rtl n!el~~~11f,LUIbf,wuL~nm1~!eI,lPl~GJPf,LULQ.~~LlAnL~~f':1(£) ~~11~l-~l~

~

L~U~Gt1rtll~1m~lblf,~~1117

n.~~f,L~uL~rtl ,

£

nL,lP Z ~Xt ~

nCf1~f,rtf,LU~f':1~~GJP M,~LQ.~Ln~~~~11~G1nWLn~~f,LUnL,lP

£ IAnL~~~11 n~f, mQ.f,LU~~f,Lvt,f,n.f,LUnL~ Z IAnL~ (Z) F=" ,~

I1i

Ii='

Ib

fb

1'5

"=7

,

F='

f1:

~~11 s- n.~~f,L~uL~rtl nCf1~f,rtf,LU~f':1~~GJP ~lQ.lWUiA. nG~f,LUn~f,1f,LU~~f,LUnL~ F=' F=' fb 1'5 fb

~

I'b

1 IAnL~ (1) ,f;::o

I1i

~t}~~ ,~Lt1vt,~lbgrtf,LUUL~~~1~,

,

,

nL~~ f':1M,L UlLl!eln.~~f,~~~11~l-~l~ UIAnCf1~f,rtf,LU n.k,lPl~G JP

~

S-L ~~~G~L~uL~rtl n!el~~~11f,LUIbf,WUL~nm1~!eI,lPl~GJP f,LULQ.~~LlAnL~~f':1(£)

£

~~11~l-~l~

~

£ n.~~f,L~uL~rtl nL,lP Z ~Xt , ~

L~U~Gt1rtll~1m~lblf,~~11

nCf1~f,rtf,LU~f':1~~GJP M,~LQ.~Ln~~~~11~G1nWLn~~f,LUnL,lP

£ ,~ ~nL,lP~~11n~~m,Eof,LU~,Q>f,Lvt,~n.f,LUnL,lP Z ~nL,lP (Z) , ~~1117n.~~f,L~uL~rtl nCf1~f,rtf,LU~f':1~~GJP

,

,

nL~~f':1M,LU'lLl!eln.~~f,~~~11~l-~l~UlAnCf1~f,rtf,LUn.k,lPl~GJP

~

- s- -


ผ-126 LRUl't~LUQ ~ n,mLl!

(Z'~l) LRUl't~LUQ~L~ ~L<!lr:-rJ.1,11L~ ~L,CbJ.1,\!.n.~fb~LUUL~~\l1~n,LN~t':In,Lr:-~L~(Z)

n-~l) tL<!lr:-rJ.1,"L~~n,L~~lA.~n,G~m~J.1,~n,L~~lA.~~Gfl.L~ t:r:-~

~Q. V

I'l

n,t.n,Ll!~L~UGm~~t I'

n,,liln,Q1Ln,~~~LUn,L~~~,.Cl~l

(1)

R\.l,~fuLR.W~1~L<!l~n,L~~lA.~~tmfuLR.t.~~1~L<!l~n,L~~lA.~ Z'Z I

n,Lr:-~LIbJ.1,n.GIbr:-~L~ n,G~r:-L~L~ n,P.1r:-G]ot.~~1~n,~n,L~U~J.1,~L~UG' (V)

>jooqaol Ln~~~~m1:~n.G~LuNtl

~tvtt nn mtGkM.

LRUl'tn,Llj~~LU~t.n,L~~UL~r:-G~n.k~LUn,L~~~11

t.~ n,Lr:-~,.Cl~fb~Lur:-lblt.~~~~l (>jooqaOl) n,Lr:-~,Cb~fb~LU~~~~fbUi1n,,.Cl (£)

LRUl't~LUQ s n,mLl! (Z'~t.) LRUl't~LUQ~L~ tL<!lr:-rJ.1,11L~ ~L,CbJ.1,~~fb~LUUL~~\l1~n,Lr:-~t':In,Lr:-~L~ (Z) I;P

n.

(l'!kt.) b

I;P

I;P

~L<!lr:-rJ.1,11L~ ~n,L!k~lA.~n,G~1G~J.1,~n,L!k~lA.WGfl.L~ (1) "

t:r:-~ ~R. Z n,t.n,Ll!~L~UGm~~t

~

'"

I;P

I'll

",

8'P

R\.l1~~LumLn,Lp.~L<!l~n,L!k~lA.~~~11~LumLn,Lp.~L<!l~n,L!k~lA.~ 1'Z

,

t:r:-~ Lrtl~L~~~LUn.GU~~fbG~mL~U~J.1,~L~UGmGkM.

~

r:-kL<!l 1 ~~Qn.G~ Q~G~~~t

~

,

b

LRUl'tn,Llj~G~Gfl.L~n,~~t~~l

8'P

n.

I;P

Z G]O!,AsrtlUW~J.1,r1:L~~,.Clr1:~rtlL<!l~r:-G,lil ~n,L!k~lA.~n,G~1G~J.1,~n,L!k~lA.~~Gfl.~ 'z (Z'~t.)

LRUl't~LUQ~L~ n,G~~LUn,Lr:-~L~ ~L,CbJ.1,~,.Cl~fb~LUUL~~\l1~n,Lr:-~t':In,Lr:-~L~n.n.1mtn,~1~~fb~LU~t':IUi1n,,.Cl~~11 ~L<!lr:-rJ.1,11L~ n.

n.

r:-~L~~r:-Gfl.~r1:G]or:-GW n,~u ~~11n.G~ ~t.~~ G~ 1 1b~~Lr1:J.1, 1r1:Lt.L<!lr1:L~~LUr1:~W ~rtlL<!lr:-~r:-~11 ~~l I

LRUl't~LU Qn,~G~1

f1

I

I'l

I

LRUl't~LUQUtA, ~L<!lr:-rJ.1, 11L~r:-~L~~r:-Gfl.~L,CbJ.1,~,.Cl~fb~LUUL~~\l1~mr:-~t':In,~1~~fb~LUn,Q 1L~ n,~1~~fb~~ t '1

n,,Cb 1~~~~11 ~ Ln.~l mG n,~ n.G~n,Lr:-~~11 %n,~~ 1~LU~]l~LUn,h~n.!1~n,Lr:-

n,G~r:-L~L~r1:L~n,G~r:-r1:1t.]on,t.n,Ll! ,

r:-l:1~LIbJ.1,"n,Lr:-~,.Cl~fb~LU r:-r1:1 t.]o" ,

~t.~ ~L<!ln,LJ.1,r1:M.lA.1r:-W/~~J.1,r:-]l'n,\.lU n,Lr:-U!1L~ r:-l:1r1:t.~r1:Lt.L<!l~LIbJ.1,~ t "LRUl't~Lu~n,~~fl.mLr:-U!1L~"

~

,

~ t.~ ~LUR.L~n,t.~ r:-l:1r1:t.~r1:Lt.L<!l~LIbJ.1,~ t "~~J.1,r:-]l~LUgLRUl'tn,Lr:-U!1L~,, t:~LU£~~~11!,AsrtlU1U~J.1,r1:L~'01

~

~ ~r1:Lt.L<!ln,Q 1~~11 r:-G]oW~1 ~~~~" I

~n,L~~lA.~n,G~1 G~J.1,~n,L~~lA.~~Gfl.~r:-Gfl.n.GR.~~n.kIbLt.L<!ln,Q1L~G~~ t ~ ~t n.GR.~~

I

I

I

~LUn,Q 1L~~LU~G~J.1, t:~Lu£~~m1!,AsrtlU1 U~J.1,r1:L~fbtn,Q1~ t~,.Cl~fbfl:t G~m~1lA.LIb~~fbG~J.1,~tr:-~~~1 ~LUn,Q' L~~LU~

~

L,t.n.M.n.G~ ~t.~ ~r:-~J.1,~LLJU LJ.1,~kL<!lr:-~L<!l1 ~~lt:~LU£~~

~11_tAsrtlU1 U~J.1,r1:L~Lrtl~L ~~~LU n,Q 1L~1b t

~

'6

~~n,~n,Qn,Q1

~

G~1bt t.~11 ~t~LU~~

fbn,Q 1~ r1:~~~1m~1 ~~fb~LU ~t':ILrtl~L ~~ ~W,~11 t.~11 '\.l' L<!l'U G~J.1,'~\.lU

G~1

'8

-9-


ผ-127 .,.

.,.

n.

n.L!'lM~n.L~~ [A,~n.I3~'13~1t1,;::n.UW [A,~~I3fl.~~~m~~' LFbLJ ~!'LLJ~n.~~fl. mL~LJ!1L~~~ [bl n.C;';::!,[b!'LLJ~ LJ,~~13Jlo •

I

~Xtrtl3kM, Lru!'L~~!'LlJ~t':l~~"~llt1,~,Q:!'LLJgLFbLJ~n.LW!1L~~t

I

"

~L"n.l3rtl~rt~

~

IN>

'MILJ

~tyW ZTL ,

n.

""

B'P

n.L!'[A,;::n.L~~[A,ln.I3~' 13!,1t1,;::n.L~ ~ [A,lrtl3fl.t':l~~" 13M" LFbLJ Iel!'LLJ[A,n.M,~fl.' n.L~LJt'bo/,& n.L~~~";:: ~" sn L~ ~ [A,'='r, 'eo'PI'F -F=oI'TiI1I'F $=7 Ji=l'1'F ,

.,.

n.13~'I3~It1,;::n.L~~[A,~~~t~~~~,,~~ I

II

cs

I

I

n.

111

L!'~LrtrtL~~Ln.L~~~~t

~L"n.I3~rt~

'~IrlLJ

I

~tyW ~TL I

~

1\

IN>

n.

'"

8'P

Fblrl'~!'LLJmLn.Lp.!'~;::n.L~~[A,~;::~"!'LLJmLn.Lp.!'~;::n.L~~[A,~

tL

'~IrlLJ ~13fl.!'LLJn.'G 'L~Lru!'L~~!'LLJ Lru!'L~~

'~IrlLJ ;::~" '~IrlLJI3 13n.~'l~"

....

t'b

~t:!'LLJ~~;::~"lAsruLJ'LJ~lt1,rtL~n.t.~n.!'~ ~13~LJlJ~tLrt~~LFbLJ~!'LLJ~n.~~fl.' , ~

'eo'

B'P

~llt1,~~!'LLJQLFbLJIrln.L~LJn.L~ '9 ro P 0

-",

n.

8'P

.,.

.L

n.

.

n.L~LJn.L~[A,rtL~n.L~LJ~1t1,!'L~LJI3' ;::~" nrn ;::!'[b!'LLJ~t':l ~n.rt~ru~n.I3~~l!'~ I'll 0 F'

n '~l)

lL~LJ~~n.L~LJ~It1,!'L~LJI3'~~~,Qll~"

no>

!'~~fblt1,"L~

('b

"'"

t'b

8'P

.

;::n.L~~[A,~n.I3~'I3~It1,;::n.L~~[A,WI3fl.L~n.ll.1m tn.~ mLl~~

t ;::~"

Lrt~~LFbLJ~n.LlJ~~rtL~n.L~LJ~It1,!'L~LJI31;::~"n.C;';::!'[b!'LLJ~t':l~,.C1rt~ru~n.I3~~l!'~ LFbLJ~!'LLJ~n.~~fl.mL~LJ!1L~ S ,

'

'"

LFbLJ~!'LLJ~n.~~ fl.mL~LJ!1L~~ t ~I3JloW~' ~n.L~LJ~1t1,!'L~LJI3'~Xtrtl3kM, ,

"

(~) ;::~" (17) (£)

(n Z'Z

I

~

.

Z'17 I3Jlo!'LLJ~~rtL~n.C;';::!'[b!'LLJ~t':l[b!'~n.Il.1' ;::~"

"

n) ~'Z I3Jlo!'LLJ~~n.1..H~n.It1,Ll1~rtL~n.L~LJ~It1,!'L~LJI3'~~

I3Jlo(17) ;::m, (£)

....

(£'~l) LJ~n.,.C1;::~"(Z'~l)

£'17

n.

LFbLJ~!'LLJQ: ~ rtl!'

!'~~fblt1,"L~ n.C;';::!'[b;::~'ml3~~l!'~!'LLJ~t':l[b!'~n.ll.1m

t~~

LFbLJ ~!'LLJ Q:~L!' ~~~fblt1," L~ ~L!1-It1,~D~[b!'LLJLJL~~lJ' ~n.L~~t':ln.L~~ L!'n.ll.1mL~n.L~~ L!'I3fl.~ ~rtL~ ,

"

t

LFbLJ ~!'LLJQ:~ rtl!' LFbLJ ~!'LlJ Q:;::~~'m 13fl.~~I3fl.~L!1-1t1,~D ~[b!'LLJLJL~~lJ'~n.L~~t':ln.[;1;::!,[b!'LLJ~t':l[bt~~

t Z'17 n.

t:~~ !'LLJn.'G'L~LFbLJ~n.LlJ~!'LLJ~ln.L~~~ t '17

~ ~

n.

n.~ L0~rtL ~ LQ.mn.n.~ ~n.t':l13 n.~, l~" t'b ro t1i f'! t'b

.,.

Z' Z 13fl.!' L LJQlrtL ~ n.L~ LJ~ 1t1,!,L~ LJ13'

~13!'n.!,;::~'ml3 ~ ~ l!' ~13M" Irln.LlJ ~ 13I~ F' LFbLJ lP

('b

I1i

t'b

'"

n.

8'P

n.

III

I'=''='

n.

t'b

1'"0 11

f'b

t Fblrl'~!'

~13!'m;::~'ml3~~l!'~I3M,'

1'1

"

t'b

1\

t'b

1\

8"P

13fl.~ Z'£

rt13kM,13fl.L~ n.~~ t Fblrl' ~m LQ.l ~ ~g ~;::n.L~ ~ [A,~;::~" m LQ.l~ ~,!,~ ;::n.L~ ~ [A,~n.Qml3~'

n.13~' 9 L~@I3!1-rtl !'LLJQ.L!'~Ll3ru~t}LJ' ;::~~n.ln.l3~ ~

n.~L~rtL~LQ.mn.n.~~n.t':lI3n.~, l~" 0

('b

13fl.L~ n.~~

~l-1t1,~,Ql!'LLJgLFbLJ ~ n.L~LJ!1L~~~ '"

LFbLJIrln.LlJ~l3~ ~'Z 13fl.!'LLJQlrtL~ n.L~LJ~It1,!'L~LJl3ml3!'M, t'b t1

f"

lP

I

8'P

1'5

pootr

1\

,.

n.

IN>

L LJm L n.LP.!' ~ ;::n.L~ ~ [A,~n.Q' n.13,~, 13fl.;::~,,!, L LJm L n.LP.!' ~;:: n.L~ ~ [A,~!J13fl.~ ~'£ n.

b

IN>

IN>

!,LLJQ.LWLl3ru ~FbLJ' ;::~[A,t':l n.!,It1,L~ ;::n.L~~[A,t.n.I3~'13!,1t1,;::n.L~~[A,lrtl3 fl.!'LLJ .£ 10 F'1li t'b 0 '=' F' Pi=' 'C;:IoF=>' ~ ;::~;::!'n.QmflI3JloLJ~n.D!'LLJ~~I3~(£) ;::~" (Z) I3JlortL~n.L~LJ~It1,!'L~LJI3't:~Xt

.

n.D~~Q.n.Q';::~'ml~n.!,~~t

~ ~

'" n.~n.Q' Ln.rt1>~!'LLJn.L~!'~D~l n.L~~Lrtlt1,n.l3rt~~L~ n.13~~L!'L~ n.p.' ~I3Jlol~~'~n.~n.L~LJ~It1,!'L~LJI3' (~) ~n.It1,Ll1lAsruLJlLJ ~1t1,~rtL~!'LLJLQ.~~L[A,n.L~~t':l (17)

>jooq8ol

~tvt l n.n.,m13kM, LFbLJ~n.LlJ~!'LLJ~ln.L~~LJL~~I3!'n.~!'LLJn.L~;::~" (>jooq80l) n.L~~D~[b!'LLJ~l;::!'[bLJ~n.D

Ln.rt1>~;::~'m!'n.I3!'LlJ~rtl l~ n.L~~D~[b!'LLJml l~~~~l

(£)

- L -


ผ-128 '"

n.

fbt !3~n,L!;'lA.:::nL~~IA{n!3~'!3fl.t:lI:-~"!3t&' I

I

nLI:-U!bL~I:-~fbt~U'I:-~!3~I:-)tI.Ib!3~M,~IbI:-~"

'ItnrU

~

LgU~!;'LU~nt&~fl. I

II

nLI:-U!bL~){bt

mLI:-U!bL~I:-~"!;'LUnG

, ~~n!3rtt~IbU

'kl'~'U

'L~!3t&'

~k-I!1.I:-~!;'LU£LgU~

~~W ,

9'S

, !;'LUnG'L~!3t&'~k-I!1.I:-~!;'LU£LgU~nLI:-U!bL~I:-~fbt~IbI:-~"

,

,lftW~t.,lfI:-~l!.nLI:-~n,gfb~nLl3~ '"

!;'LU£~:::~"!;'LUnt.n,:::W!3n~'

L!bLIb:::nL~~lA.~n!3~'

'kl'~'U

nLI:-U!bL~){bt ~~n!3~IbU

'kl'~'U

ru n~':::!;,fbfb t I!.L!3!;'LUIb!;'W:::ru~:::~" n.

n.

!3fl.t:l){b t I!.L!3 n~~ 't:l!3~n!3~!;'LUn~~

~~W S"S '

t.L~UI:-~I:-!3~m t !;,LUnG 'L~

'!;'LU~~!;'LUn l..nQ.~l :::!;,fbnQ,:::~"

M,LU'rul.!Ib!;'LU LQ.t.I:-LlA.nLI:-~f':lLt.nl!1.' t.m, Lru!;'LI!.M, !;'LULQ.t.I:-LlA.nU~f':lnlb1 :::!;,fb!;,LUIb!;,W :::ru~ruw 1'0' %,1'1 '1;:10

I

'1;:10

l:;7

'0

jiS

~

~lA.~:::~~L~!3~){bt ~nI!1.L~~L~t.1:::~:::!;,n~I:-~!3~1!1. ,

~nI!1.L~~L~t.':::~

'"

n.

:::!;,nt ~ LU'~U'I:-~!3~IbL~I:-!;,fbn,l-fb~!;'LULQ.~I:-LlA.nLI:-~f':lI:-~rtpnL~~lA.~n!3~'!3fl.t:l~W

,

!;'LUIb!;,w:::ru~!3n~'

'kl'~'U

'"

£'S

n.

nLW !bL~){b t t.~"!;'LULQ.~I:-LlA.nLI:-~f':lI:-!;,fbn,l-fb:::nL~~ lA.~n!3 ~1!3fl.t:l!3~' n,L!;'lA.~k-I!1.I:-~!;'LU£LgU~nLI:-U !bL~){bt~ Ibl:-~"

'kl'~'U

nLI:-U!bL~~nk-~'m!b

n!3~'

£ nt~LU'

Z

~I:-l-~:::~"

I b

Z

'

1M I:-!;,fbn,l-fb){bt~IbU

n!3~'

9 nt~LU'

U!;"'I:-l-~ I:-l-~

II

11

b

~U'I:-~!3~IbL~I:-!;,fbn,l-fb){b n~ £ nt

Z

n~'rtt

,lft!;'LUIb!;'WI:-!31l.

II

1\

II

'kl'~'U

:::~" ,lftl:-!;,fbn,l-fbl3!;'LIbL~~~~~n

l..~!3I:-!3JP!;'LULQ.~I:-LlA.nLl:-~f':l t}I:-)tI.

~ ~

,

...

L~U~!3~rtt

!;'LUIb!;,W:::ru~ULI!.

~nI!1.L~ 'kl'~'U

,

!;'LULQ.~I:-LlA.nLI:-~f':lI:-!;,fbn,l-fb){b t !;,t.~n~' t.~"Lru!;'LI!.~

n.

n.

~IbL~~ruumL~n~':::!;,fb!;'LU~f':lUI:-!3JP:::nL~~lA.~n!3~1!3Il.~ , '

!;'LULQ.~I:-LlA.nLI:-~f':ln~' :::!;,fb!;'LUIb!;'W:::ru~~w

Z'S ~L!;'

...

:::nL~~lA.~n!3~1!3Il.t:l!3~n~':::!;,fb!;'LUIb!;,W:::ru~nQ'

n~ £ nt.nLlS

n~':::!;,fb:::~"I!.t.!;'~:::I!.~LQ.~LIl.L~n

,

1 nt.nLlS

~

tmLQ.W~':::~"

" 1\

l3!;'LIbL~IbLt.~

b

b

1'\

~IbLt.~U~~t.ru~I:-!;'lA.t:lULI!.

!;'LULQ.~I:-LlA.nLI:-~f':ln~':::!;,fb!;'LUIb!;,W:::ru~I:-~I:-~"

8'P

1\

I'll

o

Ifj

ts

!;'LULQ.t.I:-LlA.nLI:-~f':lLru!;'LI!.M,!;'LU 0

'O~

~1!1.!;'L~U!3':::~"

's

B"P

'0

-

'"

-

n.

I

'" ntru. I!. 1:-!3Il.WU'lA.nL~U F' F'

'kl'~'U

~

,

1\

ra

gkl'M,mLQ.wQ.'!;,~:::nL~~lA.t.:::~"mLfl.wQ.'!;,~:::nL~~lA.t.mI!1.L~ '=' F' f' ...

n,L!;'lA.:::nL~~lA.~n!3~'!3~I!1.:::nL~~lA.~U!3Il.t:lI:-~"!3t&'

,

~Q. £

LgU~!;'Lu~nt&~fl.

I

I

mLl:-u!bL~I:-~ fbt

II

nib' :::!;,fb!;,LU~U, 1:-~!3Il.I:-lA.Ib!3!;,M,Lru!;'LI!.M,!;'LU ~f':ll:-I!." ~t.I!1.I:-I!.!;'LUQLgUkl

rb

I'b

-

1'1

,

nLl:-u!bL~){bt ~nI!1.L~ 'kl'~'U

~

1"5

-

I'b

I:::>

'1;:10

Z'Z'L

'

Ib~m~ m~nL~U~I!1.!;'L~U!3'I:-~~~){b t U~~'I!.L!3 'kl'l,fU I

I'b

1'1

n.

'l!.klU ~~W

~IbL~~ruumL~rtt!3~I!1.~ll,lb~ru~UrtwnQ'L~~IbU ,

,lfWLru!;'LI!.~!;'LUn,!3U:::!;,fb!3t&' I

t}I:-)tI.

I

II

"

(tI)

~nI!1.L~~ruu1U~I!1.~IbL~!;'LULQ.~I:-LlA.nLI:-~f':l n.

1:-!3~Ul3LmL~I:-!3!;,n,ULUIb:::~"I:-!3Il.WU1lA.I:-!;'~ 'l!.klU ~Ib (£) 1'1 0 I"b 1'1 ,po::r , I'b ,.. p:::7

p:::7

(£'~t.)

S'

LgU~!;'LUr.:

~~I:-f11!1. "L~

~nI!1.L~ 'kl'~'U

'0

(Z)

n~':::!;,fb:::~'m!3~I!.t.!;'~!;'LU~t':1fbt~

,

~k-I!1.I:-~!;'Lu£LgU~nLl:-u!bL~){bt

n.

1\

l'Z'L

'l!.klU ~~W

~IbL~~,.CbIb~ru~Ut:lnQ'L~~IbU "'"

II'P

1\

I'll

I'P

Z'L

gkl'M,mLQ.t.~Q. '!;,~:::nL~~lA.t.:::~"mLQ.t.~Q. '!;,~:::nL~~lA.t. F' f' '1;:10

to'

-S-


ผ-129 ~

b

r::~~ W~'~IbL~~lA,~~~~' ~l-le\1 ~tc~fl.L~Ib~lj~LIbL~~t ZS'S'ZIb~L~Ib,V O£ ~lbp~ L 1 e.,fv090Z0 QIeJ~ ~~~lbt,~

1'5

n;

I

~

,

~

~

I

,

01eJ 0le\°U IbL~U!bL~G~~!bIl\.IbLWl.. ~LU£~~~"l,MLlU1U,%!II\.IbLW~IbL~~lA,~nG~mgll\.~nL~~lA,~~Gfl.~~~~~~~fbJ: °1 r::~~~LUno.'L~~t fbtG~~l-le\nW~LU£~~~"lkruu'U,%!II\.IbLW@~1I\. ZS'S'Z n~L~n,V O£ ~np~ f'5

f'5

f'5

b

L1 t,/V090Z0 QIeJ~ ~~~nt,~

"

I

~~~,t,~"~~L~un~fb t G~n!bIb~'~LU£~~~" "

lkruu,U ,%!II\.IbLW~LU no.' L~~ t ~~~, t,~" fbt~Luno.' L~~~ ~" n,~~,Cb.str::~LU£~~~"lkruu, 01eJ 0le\°U ~ l.. ~LU£~~~"lkruu,

~

8"P

"

(\,

U,%!1I\.~Ibl-nG~Ib~'~ t ~nIl\.L1l '

1\

U,%!II\.IbLW~nL~~lA,~nG~'GgII\.~nL~~lA,~~Gfl.L~n~~t~le\~!1I1\." L~~~L~J:~W

nl.,f'ma~f1.' I.,~e.,::a::J:.t-e.p.n lJ:.l.,unQ' 1.,~J:.l.,u~£tgf1.e.n" Lru~L~~ °1eJ°le\°U Gn~'~t r::~LU£~~~"lkruU1U,%!II\.IbLwfbtnQ'fbW~w °11 "

'

t,~m~l~~~,t,~,,~t ~LUnG'L~~LU~l-~~'~ t k}~LU£~~~"lkruU1U,%!II\.IbLW~LunG 'L~~LU °01 "

b

~

~¥L~UGGnl-~'m!b nl- L nt~Ll.f °1eJ°le\°U nL~U!bL~~t ~fl. 1 nt,nLi! ~G~W~'~nL~U,%!1I\. ~L~UG'~~"~~L~LmL~~~~t

v06 - 1°6 G~ IbLW~nL~~lA,~~~~'mt~~~~',~~"~~~m~L~UGGG~' f'5

I

I

k}~~ 1'5

f'5

I

~

L~UI:-~~I:-~~'~Ut nG~mt' L~W~ GgII\.n,80n t n,l-~W t 1b~'L!AmG~mt'L~W~GgII\.n,80~fbt L,I} 1b~'L!AmG~mt'L~W~GgII\.n,80n t S' 01eJle\ n,~n~nB~mtml-~t "

~

1\

"

8"P

~ t~~" RIeJ'~fULfl.W~' ~le\~nL~~ lA,~nQmG~'~ tl:-~I:-~" I

t, L~U'

f'5

I

8"P

I>'P

"

b

1\

~~fb 1LruW~~M,I:-~lA,G~'~lA,Ible\I:-,Cbn,LWIbLt,le\L!tG~' I

n,

b

I

n.

(\

b

n.

n.

Ib

gWnlb~l-u ~LnG n~' L!t~,V1:~L]" gwnlb~l-~ t~ ~" ~~~ m~J:nQ' ~G~,Vl:-~n!bJ:~~LUfl.L~nt,~I:-Gfl.~~1:-~Lfl.fU,Cbn,~I:-,CbJ:~ t "

,

~

~

,

b

~ nil\. LU °IeJ0le\°U lA, IbLWLn rY1I M,UUn L I':l ~ n L~ ~ lA,t,n G~, Gfl.1':l ~ ~" WIbn GWIbIb °IeJ°le\°U lA, ru w o F F ~ ~~ '=' F" rb

I

F=>'

'C;o

IC'

~

"

~

RIeJ'M,fULfl.t,~fl.'~le\~nL~~lA,t, v06 F' '0

'C;o

~

L~UI:-~~I:-~~'~Ut nG~mt'L~W~GgII\.n,80nt n,l-~W t 1b~'L!AmG~mt' L~w~GgII\.n,80~fbt L,I} Ib~' L!AmG~mt' "

,

~

"

L~W~GgII\.n,80ntv 01eJle\ n,~n~nG~mtml-~Wt~~"

"

~

fULfl.W~l~le\~nL~~lA,~nQmG~'~tl:-~~~"~~

f'5

I

n.

£S' L~WLIbIbLw~LnL~

1'5

I

n.

8"P

b

~J:~t ~nIl\.L1l °1eJ°le\°U ~IbLWLnrY1l~~LUnL~~nL~~lA,~nG~'Gfl.J:~~"~lbnG~Ib~

I

°1eJ°le\°U ~~W

..

~

~

fULfl.Wfl.'~le\~nL~~lA,t, £°6 F

~

-

..

L~UI:-~~I:-~~,~ut nG~mt'L~W~GgII\.n,80nt n,l-~W t 1b~'L!AmG~mt'L~w~GgII\.n,80~fbt L,I} 1b~'L!AmG~mt'L~w~ ,

..

..

GgII\.n,80nt£ 01eJle\ n,~n~nG~mtml-~wt~~"

~

~

RIeJ'~~LufULnLp.~le\~nL~~lA,~nQmG~'~tl:-~I:-~"I:-~

11

n.

8"P

£S' L~WLIbIbLW

1'5

I

n.

I

b

~nIl\.L1l °1eJ°le\°U ~IbLWLnrY1l~~LUnL~~nL~~lA,~nG~mfl.J:~~"~lbnG~Ib~ O~IeJU ~~w

~LnL~~J:~t

..

~

~

RIeJ'~!.LUfULnLp.!'le\~nL~~lA,~ZO6 L~UI:-~~I:-~~'~Ut nG~mt'L~W~GgII\.n,80nt n,l-~W t 1b~'L!AmG~mt'L~W~BgII\.n,80~fbt L,I} , " " ~ '" 1b~'L!AmG~mt'L~W~GgII\.n,80nt Z 01eJle\ n,~n~nG~mtml-~wt~~" ~LufULnLp.~le\~nL~~lA,W~tl:-~I:-~"I:-~£S' L!.WLIbIbLW " " ' fb no O~IeJU~~w

..

8"P

~LnL~~J:~t

b

~nIl\.L1l °1eJ°le\°U ~IbLWLnrY1l~~LUnL~~nL~~lA,~~Gfl.J:~~"~lbnG~Ib~

~

"

~

~LufULnLp.~le\~nL~~lA,~ 1°6 I:-~I:-~"!.LU °6 "


ผ-130 t}~Lu£~~m11'fsmU1U~b'brtLlM,LUn,G 1L~~ 1 rt t G~~n,L~~IA~n,G~1~~11 ~n,L~~IA~~Gfl.~LUn,G 1L~~LU ~

0

~W~11t,~11 n,Lrn,~~rt1L~t,1~~~~C't,P.n,1~Lun,G1L~~Lu~,Clgrtmm'Gfl.

n1~LlJ'

~ GJlo~~11v GJlo£ GJlol GJlortLW~n,b'bL'y~L~U~~~~

n,r:1~~rt~LUn.kGfl.L.\e!n,~~tr:G~b'b t,~11rtt n,Lrn,~~rt 1L~t, 1~~~!'.N",P.n,ll~~l n,~Lrm~

O£ ~n,p~

b

Q;

('b

O£ F' 1An,t,C'~ L l ('b

'9

l n,1~LlJ' C'kL.!l ~tGfl.L.\e!n,~lj!'.LrtLk'!~l

o

nm.snu

L l t,/v'90lO ~

g!el ~ ~k'!~n,t,~ '!el'L.!'U n,LC'U,tI.Lg:m~C'rl.VbrtLwL.!'.Lu£~~m11'fsmU1U~b'brtLWn,r:1~!'.rt!'.LUn.kGfl.L.\e!n,~~t~~ mL.!~,Clrtk'!m~~~n,l~1m,tl. zssz

~

0

b

t,/V'90ZO g!el F'IA ~k'!IAn,t,~ '!el'~'U n,LC'Un,Lk'!Gk'!C'n,b'brtLW L.~LU9t,~~11IAsmU1U~b'brtLW F' I

('b

0

fi::>

I'b

I=''='',!i

('b

'" ~ IN' ~LUfljLn,LQ.!'.L.!~n,UWIAt,rtGfl.~~L.!C'k'!~~rtULb'b 6~~Z rtL.!Lmg O£ F 1An,t,C'~ 9Z t,/£'90ZO g!el F IA '!el'L.!'Un,LC'Un,Lk'!Gk'!C'n,b'brtLW o "="F::I',9 f'b 0 ('b

I

I

zssz

('b

IN'

1 t}!'.LU£~~~111'fsmU1Ll~b'brtLW!'.LUn,G1L~~ 1 ~n,LTh~IA~n,G~1~~11 f'S

I

I

~

~

rt t n,:pn,r; m~C',Cl,So m!'.LU£~~~111'fsmU1Ll~b'b~n,l~11C'~ !'.L.!C'rb'b 11L~C'~L~~ ~

l n,l~LlJ~tGfl.L.\e!n,~lj!'.LrtLk'!~l

I';:'

('b

~

~n,b'bL'y '!el'L.!'U ~fl.t n,G~mLwrt t n,r; 1~!'.Ll~~~~1m~ IN'

~n,LTh~IA~~Gfl.!'.LUn,G 1L~~LU

Q;

0

n,~L~n,~ O£ ~n,lC'~

S

~

b

n t,/v'90lO

g!el ~ ~k'!~n,t,~ '!el'L.!'Un,LW,tl.L~G~C',tI.b'brtLW

L.!'.LU£~~ ~111'fsmU1U~b'brtLW~n,L~ ~ 1A~n,G~1 G~b'b~n,L~ ~ IA~~Gfl.~ ~~C' k'!~!'.rtu Lb'b rt t n,:pn,r; 1n.~ C',Cl,So W!'.LU£~~ o

IAsmU1U~b'bIAn,t,W11C'W zssz F=' t'b

,9

I

(b

('b

nm.nnu

'f'5

f'b

~11

~

b

l/V'90ZO g!el IA ~k'!IAn,t,~ '!el'L.!'Un,LC'Un,Lk'!Gk'!C'n,b'brtLW L.!'.LU9t,~~11

O£ 1An,t,C'~ Ll ~

F='

('b

I

p;:::.

I

I

('b

0

fp'

('b

Jt;>'~

I

b

B'P

1'fsmU1U~b'brtLW n,r:1 nrt!'.LU

n.

n.

'v

n.kG fl.~ ~~~n,LTh ~ 1A~n.kb'bL~~LM.m ~,Clrtk'!mL.!~!'.L.!C'rb'b11L~C'!'.L~ ~~!'.Ll

n.~C',Cl,SoW!'.LU£~~~111'fsmU1U~b'b~n,l~1m,tl.Q; l n,1~LlJ' ~

0

b

Z~~l n,~L~n,~ O£ ~n,lC'~ L l t,/v'90lO

~tGfl.L.\e!n,~lj!'.LrtLk'!~l

g!el ~ ~k'!~n,t,~

'!el'L.!'U n,LC'U,tI.L~G~C',tI.b'brtLw

L.!'.LU£~~~111'fsm U1U~b'brtLW ~n,L~ ~ 1A~n,G~1 G~b'b~n,L~~ 1A~~Gfl.~ ~~C'k'!~~rtULb'b n.~C',Cl,So W~Lu£~~m11'fsm o

~

1An,t,n,GU~G F' f'b I

I

U1U~b'b

~

b

Z~~l n,~L~n,U O£ F'1An,t,C'~ L l t,/V'90ZO g!el IA ~k'!IAn,t,~ '!el'L.!'U n,LC'Un,Lk'!Gk'!C'n,b'brtLWL.~LU9t,~~11 F' F' ('b

f'tI

I

('b

p:;:::.

0

F::>'''=''

I'b

n.

n.

b

B'P

1'fsmu1U~b'brtLW n,r:1~!'. rt!'.LU n.kGfl.~ ~~~n,LTh~ 1A~n.kb'bL~~LM.m ~,Clrtk'!mL.!~!'.L.!C'rb'b11L~ C'!'.L~~~!'.Ll

'£

m!'.LlW11t,~11'!el'L.!'U n,LC'Un,Lk'!G!'.b'b !'.LUQ.L!'.n,t,k'!LRU!el~LUIAn,M.Wfl.1 f=I' 1'5 I';:>' F=' p;:. I

n,LC'U,tI.L~G oW n,~ ~

~l rt~1

0

f'b

I

L.!'.LU£~~ ~111'fsmuw ~b'brtLW Gfl.L.\e!Ugw ~ C'~1m~C',tI.b'b~~ It}!'.LU£~~

o

~

o

~

~111'fsmuw ~b'brtLW

~

~

n,l:1~!'.rt!'.Lun.kGfl.L.\e!n,~~~~C'k'!~!'.rtn,,tI.~ULb'b ~~k'!1t,~11fb\,C'QLm!'.L~~!'.LUn,G1L~!'.LU~11 n.~C',Cl2-W!'.LU£~~~111'fsmU1U~b'b~n,ln,G~ ,

f'S

rt~1H ~n,b'bL'y '!el'L.!'U ~

f'5

I

L.!'.LU£~~~111'fsmU1Ll~b'brtLW~n,L~~1A~n,G~m~b'b~n,L~~IA~~Gfl.L.\e!n,~~t~~!'.Ll t,~~1IAsmU1Ll~b'bC'~M.1 F=',9 ('b

,.,

C't}b'b1'fsmU1U ~b'b~1...lAsmU1U ~b'brtLW~t Gfl.L.\e!n,~~1 ~t,~t}!'.LU£~~~111'fsmu1u ~b'brtLW~~11rt~1H ~n,b'bL'y '!el'L.!'U ~ L.!'.LU£~~~11 I

I1i

I

t

n.

b

n.

n.

'z

1'fsmu1U~b'brtLWn.!'.~~,Clrtk'!m L.!~ULb'bn.~C',Cl,So tt}!'.LlJ£~~~111'fsmlJ1lJ~b'b~n,ln,G~ ~Gf,~t;-rv\' 11L~C'~L~~~W ~

Q;

~n,l~1m,tl.

l n,l~LLJ ~tGfl.L.\e!n,~~l

,

0

~,CthGf,LlJn.k~tfbt

rt~1Hn,~~n,r:1~!'.rt!'.LUn.kGfl.L.\e!~!'.Lll'l

I

I

G~C',tI.V\,~~n,llJLb'b~11n,,tI.~rtC'~1m~C',tI.b'b~~n,l~1m,tl. ,

I'li'

Q;

I

~

IN'

l n,1~LLJ Gfl.L.\e!n,~~1 t,~11~G~trt t ~Q~n,LTh~IA~n,G~1Gfl.~~~ I

b

I

I

b

n.f,L.!~,Clrtk'!mL.!~~rtC'~11G~C',tI.V\,~~n,ln, p~11 ~,Ctn,G!'.Lun.k~t rt~1H n,~~n,r:1~!'.rtf,LUn.kGfl.L.\e!~!'.Ll

l'l

- Ol -


------

---

"

-

- -

---------------------

-------

ผ-131 ,

t}t;-~

~ n.(W~!'fbG!;&'

t;-G]ow~'

~nLlW ~1t1.!'LIJUG'

rmkfv1.

LFbU~nLIjIJG~Gfl,L~n~n~'

, Lnrt!l~~LUnL~~~D~t,

"

lMI. V nUbL~ ~

LFbU~~LUr:!: S" nt,nL~

(Z"~l)

~LJ:bIt1.~,C1~fb~LUUL~~~' ~nLt;-~~nLt;-~L~

LFbU~nLIjIJ@~@fl,L~n~n~'

IbL~,¥ t ~nIt1.LiJP~mU'

L~!'LU ~,C1~fbt,n"

"

"

ro

Lrm.L~~!'LU

~!'fb!'LU n.kGfl,~~ t

~ nLN~LIbIt1.n.GIbt;_¥L~ nGIJt;_L~L~ np., t;_@]ou~~'~n~nL~U~It1.~LIJU@' LFbu~!,Lur:!:~L!,ng.mLN~Lw~'m~l

~LJ:bIt1.~,C1~fb~LUUL~~~' ~nLt;-~~nLt;-~L~n.n. 'mL~

(£) LFbU~~LUr:!:~L~ tt"lt;-rlt1."L~

(Z)

, ~ n.@U~~ fb@!;&' t;-@]ot,~~' ~nL~U~It1.!,LIJU@m@kM.

I'l)

~

"

Z

t}t;-~ ~R.

nt,nL~

LrmL~~~LU

~!'fb!'LU n.k@fl,~~ t

fN'>

I"b

",

ff'P

1"8

FbI.l'~~LUmLnLp.~t"I~nL~~IA.~~~"~LumLnLp.~t"I~nL~~IA{ t}t;-~!'LunG 'L~~ t t}~LU£~~~"~mU'U~It1.IbL~n~'~~fb~LUn.k@fl,~~J1t;-IJ~!,fbULIt1. t;_t,p.ntuunG'

U~It1.~IbL~~,C1lblJmlel~~n~'

nL~n~

~fb 'L~t, ,~~~~

.

"8

gfb~LUn.k@fl,D

(Z"~t,) LFbU~~LUr:!:~L~ tt"lt;_rlt1."L~ ~LJ:bIt1.~,C1~fb~LUUL~~~'~nLt;-~~nLt;-~L~n.mmL~

t,L~Ut;-~~i1@]ot;-@~n.k~~" LFbU~~LUr:!: S" t;_~lt1.n@~LFbU~~Lur:!:~L~ng.'

~LJ:bIt1.~,C1~fb~LUUL~~~'~nLt;-~~nLt;-~L~ n[S'~~fb~LUn.kGfl,DXbt t}t;-Xt Gfl,L~n~~nl_n@~LFbu~~Lur:!:ngnl_t;-~n.D I

I

LFbU~~LUr:!:

S"

11

t;_~lt1.n@~L~l'~~~~t;-t,p.nt

n@IJ~LunLt;_~LIJ

I1i

,

,

f'b

1Z

n~L~n~

"I.l" t"I"U t;_@fl,n.@R.n~mLlt"l~~l

I

ZL r:!: S" L~t, mg.,

,

S"ZL£ - vZLU£"90Z0

~nl-t;-~

gl.l ~~~~nt,~

~nIt1.LiJ~LUR.L~nt,~~IbL~L~n,e.nLt;-~~LL!L~uL~rtt I

ff'P

I"b

",

I

IN'

I

I1!i

Z"1" L

'~t"I~nL~~IA.~ng. m@~mfl,~LU

I

I

I"b

fb

u S" L~l1ng.'

L~u~@J:brttn~Ibt,~

~nIt1.LiJ~LUR.L!,nt,~~IbL~L~n,e.nLt;-~~LL!L~UL~rtt

ff'P

n~@~~~

11

£"L

~LJ:bIt1.~,C1~fb~LUUL~~~'~nLt;-~~~ , ,

~nIt1.LU "l.l"t"I"U F' IA.~LUgt,~~'1IA9mU'U~It1.IbL~Lnrt!lM.~LUnL~ o r==r'=".9 f'b

t;-Iblt,,e. OOS"'v L~U~@J:brttn~lbt,~

£S"S"Z

t;_~lt1.n@~IbIJ~~n@~nLt;-~UL!~t;-@~~~" "l.l"t"I"U nLt;_uDL~@~t;-DIt1.IbL~

1\

fb

n@~nLt;_~~LL!~t;-@~ FbI.l'~mLR.W~'~t"I~nL~~IA.~@~lt1.mLR.W~

OOO'v

t;-Ibll~

nLt;_uDL~@~t;-DIt1.IbL~ "I.l"t"I"U t;_@fl,n.@R.n~'IbLt,t"I~~l n,

I'b

11

n@~nLt;_~~LL! I

IN>

~t;-@~ Fbl.l' ~~ LU m LnLp.!'t"I ~nL~ ~ lA.~ng.' n@~' G~It1.~LU mLnLp.~t"I~nL~

1"1"L

~ 1A.~~@fl,~LU

r:!: S" L~t,mg.'

t}t;-~ @fl,L~n~~nl_t;-~n.D ' ,

" t;_~lt1.n@~ n,C1~~Q.n t~ Gt;_~L~~~nL~

~ IA.~G~It1.t;-rlt1."L~n tlb~~~nLt;-~,C1~fb~LUt;-lbl

1"L

t,~nt,nL~~

~t~nL~~IA.~n@~'@~1t1.

u-tf1.

~ ~nL~~IA.~~@fl,~LUn

,

t L!bXbWfb t @~t;-~ ~,C1Ib~mt"I~~~"

"

H~nIt1.LiJ~mUW~It1.~IbL~fb 1"Z

L~l1~~~~

t}~LU£~~~"

~mu, U~It1.IbL~n~' ~!'fb~LU n.k@fl,~~J1t;-~~~fbuLIt1.

"

t ng. 'rtt

S""Z @]o~~"

~LJ:bIt1.~,C1~fb~LUUL~~~'~nLt;-~~

, ~

v"Z

Lnrt!l~~LU

G]o nLt;-~,C1~fb~LU

~

@]o t}~mlJ1U~It1.IbL~~,C1lblJmt"l~!,t"It;-rlt1.

"L~t;-~L~~ULIt1.

nL~n~~fb

"

'L~l1~~~!,t;_t,p.n

"L

t

'

-n -


---

- - - . --

--------------

ผ-132 LrtH.L~~ ·1t·~·U Bn,fJ'~ t r:n,L~n,r3~jb'L~t, ,;:r3;:tt_t,P.n,ttLUn,G'L~tLU~n,gjbt,n, mtL~jb tn,r; ,rtW~W '" , ,

'171

r3t,,lPn,Lfi'U~lt\,n,r;''¥ t t,L~Ut_~n,~,;:tjbtLun,k BIl.n,~~~fuDL!A~~

~tU ~" t,~"

tLUQ.Ltn,t,~B~lt\,Li>bU~tLU~n,~~1l. tru.su l1L~~ t r:n,L~n,r3 ~jb' L~U;:r3 ;:tt_t,p.n,t

I

I

tLUn,G'L~tLu~Dgjbt,mmL~

11

11

I

ZS'S'Z n,r3Lr3n,~O£ ~n,p~ L1 t,/17'90Z0 QIt ~ ~~~n,t,~ ·1t·~·U.n,Lt-Ul1L~B~t-l1lt\,rtL~ no

l,. tLU£~;:

~" ~ruu, U~lt\,rtL~n,~, ;:tjbt LUn,kBIl.n,~~ ~ULlt\, t,~"r:tLU£~;:

''''

r:tLU£~;:~',~ruu,U~lt\,n,

'"

~,,~ru U,U~lt\,~tItLU;:~ jbB~' .£ 1

u-t ~n,lt\,L1J~rtL~jbt n,r;'~ t t_~t_~"tLU;:~"

,

tLULQ.~WA,n,Lt-~I':lLrutL~~tLU

'''' ,

'~ItU t_Bll.tLUn,G'L~Lru~L~~~LU jbt B~tLUn,G'L~B~'

no

n,~';:tjbtLU~I':l~,ttn,BLrutL~~tLU

~W ~"t,~"

n,g~~tLU~ruU'

n,~,;:tjb~

'zt

tLUQ.Ltn,t,~B~lt\,Li>bU ~tLU ~n,~~1l.mLt-Ul1L~~ t t_BE-t,r3~'~n,Lfi'U~lt\,~L~UB't-X\rtBkM,

I

I'l

I

,

I

I

11

,

~~n,gn,~n,r;' B~~ t ~t tLU;:tjbn,r; '~r3BE-,lPt B~' n,~';:tjbtLU~I':ln,BfJ~t,t~tLUrttW;:ru~t-~t-~"B~' 11

,

11

I

no

Li>bU~tLu~n,~~ll.mLt-Ul1L~t-~

jbtt-~'m~'

'" no

no

n,~ mLt,~~n,l1~~"

t,~"t-~~n,r; mLt,~

'"

no

;:tjb~ULlt\, t_~" ~~ tfJLUBl

~Q'~ t n,l1n,~, ;:tjbtLU ~I':ln,~

'"

no

no

n,LtlA.n,~,;:tjbtLUn,kBIl.~~ t n,~';:tjbtLU~I':lt-~'mcr'

no

I

no

;:tjb~~ t n,~,;:tjb~n,~t-B~~~B~rtt

rtL~t_~ ~t-BJ!lUljn,~, ;:tjbtLU ~I':l L~n,~, t,~" LrutL~~n,~, no

r3t,,lPn,~,rtt n,~, ;:tjbtLU n,kBIl.~~~W .,.

,

(£.~t,) t~t-f1.lt\,"L~ n,cr';:tjb;:~'mB~~t,t~tLU~l':ljbt~n,mm

tt-~U~n,D;:~"

'"

;:tjb~~ t £'01

Li>bU~tLUQ S' rtt,t Li>bU~tLUQr3Ltn,Q'

r:.

no

no

n,cr';:tjbu r3" r3~l n,cr';:trl,~LU n,kBIl.~ t-BIl.~L,C1lt\,~D~jb~LUUL~~~'~n,Lt_~I':ln,cr';:tjb n,cr';:tjb~~ t

Z'O 1

L BE-n,L~n,r3~jb' L~t" ;:r3;:tt_t,P.n,t ~LUn,G'L~~LU~Dgjbt,n, 'mL~jb t n,Q'~ t n,cr';:~jbtLUn,kBIl.~t-BIl.~Drt~ru~n,B~~t,t~n,cr';:~jb~~t

1'01

r:t-~ tLUn,G'L~~tn,cr';:~jbtLU

'01

'" '"

no

'It' ~.U n,Lt-Un,L~t_ljn,~L~rtL ~LQ.mn,n,~t_n,I':lBn,~, t,~" t_Btn,t;:~'mB~~t,t~BM,' I"b

0

P

I"b

0

I"b

I'll

"I'b

I'b/'li

~

~

~

~

tLfJUBmBkM, BIl.L~n,~~ t i>blt,~mLQ.W~'t~;:n,L~r3lA.~;:~"mLQ.W~

F'

~

.,.

Li>bUItn,Llj~B~ Z'g Bll.rtL~ n,L~U~lt\, P

t1i

I

~

't~;:n,L~r3lA.~n,r; mB~mll.~

~

,

I'b

Z' 6

n,B~' 9 L~Ur3B,C1rtttLUQ.Ltr3LBrur3f}U,;:~~n,B~~~lt\,t-~tLUgLi>bU~n,Lt-Ul1L~t-12 '"

no

n,~L~rtL~ LQ.mn,n,~t_n,1':l Bn,fJ' t,~" t_Btn,t;:~'mB~ I'b 0 rtI I'b 1'1)11 I1i

.,.

~t,t~BM,' F'

I"b

n.

ttl

Li>bUItn,LljfJB~ 1'9 Bll.rtL~ n,L~U ~lt\,tL~uBmBtM,I1i P I t1 I"b

8'P

1\

ttl

B Il.L~n,~~ t i>bIt' ~tL Uru Ln,Lpot ~;: n,L~ r3lA.~n,QmB~';:

1\

8'P

l' 6

~" tL Uru Ln,Lpot ~ ;:n,L~ r3lA.~~BIl.~

Z L~Ur3B,C1rtt n,t,n,Ll!-~LULQ.~t-LlA.n,Lt-~1':l (£)

~n,lt\,L1J~ruU1U~lt\,~rtL~tLUr3Lt

'"

no

Li>bU~tLUQr3Ltn,QmLt_r3LWr3"r3~l Li>bU~~LUQS' n,t,n,Ll!-(Z'~L,) Li>bU~tLUQr3Lt t~t-f1.lt\,"L~ ~L,C1lt\,~Dgjb~LUUL~~~,~n,Lt-~I':ln,Lt-r3Lt (Z)

~L,C1lt\,~DgjbtLUUL~~~,~n,Lt-~I':lI'1,Lt-r3Ltn,mmL~ 1\

IrP

I"P

IrP

(1'~t,) ~~t-f1.lt\, "L~ ;:n,L~r3lA.~n,B~1B~lt\,;:n,L~r3lA.~~BIl.L~ (1)


ผ-133 lt1.Ll~n~/I:-rt:lul.· ..····..·nUl,L~·····

I

"

I Orb

,9

I

,9

1Df'b

,

fb

0

lt1.L~n~/I:-rt:lt,Q.·"······'nt,nL ~ f'b

,

0

n.~~~;nQ.

~

f'b

~

f'b

~

I'b

~

f'b

f'b

···..··..···~n~~'~LU~~L~rt:~U/Lfl.L~/LQ.t, f'5

p;:::.

I

~

n.~~~/nQ.·······"·"···"···"·""···"···"··"··· ~nns , ~LU~~L~rt:~U/Lfl.L~/LQ.t, f'b

f'5

Ji::I'

~

................... LFbU~~LUQ:S'·Z lt1.L~n ~/I:-rt:lt,Q.········· 'nWL ~ iD('b

f'b

,

0

lt1.L~n~/I:-rt:lt,Q.·"·······nt,nL~ ,9

IClf'b

,

f'b

0

n.~~~/nQ.·"····"······"···"·"·····"···"··"··· ~n~~ , ~LU~~L~rt:~U/Lfl.L~/LQ.t, I'b

I1i

p;:::.

I

t:o

n.~~~/nQ.·"·· ··..·..···..···..···..···..···..··..···~n~~'~LU~~L~rt:~U/Lfl.L~/LQ.t, f'b

1"5

f=7

I

~

................... LFbU~~LUQ:V·Z lt1.L~f\,~/I:-rt:l t,Q.·..····..·nt,nL~ "

I'b

~

0

lt1.L~n~/mlt,Q.······· "'nt,nL~ ,9

l°('b

I'b

,

n.~~~/nQ.· I'b

~

n.~~~/nQ.··..···..········..···..· 0

I'b

~

('b

~

f'b

I'b

~n~~ '~LU ~~L~rt:~U/Lfl.L~/LQ.t, ITi

p;:::.

I

'="

···..·..··~n~~ '~LU~!.L~rt:~U/Lfl.L~/LQ.t, 1'5

F::r

I

~

................... LFbU~~LUQ:£·Z lt1.L~IOn! n ~/I:-rt:lt,Q.····"··"nWL~"""""""" 0

,9

,

f'b

lt1.L~n~/I:-rt:lt,Q.···· ····..nWL~···

I

,9

I

,9

l°l'b

,9

rb

,

0

n.~~~/nQ.·"··""·"···"···"·"··········"··"··· t1i~nnsp;:::. '~LU ~~L~rt:~U/Lfl.L~/LQ.t, n.~~~/nQ.·"··

I

~

1'5'"

f'b

~

fb

~

I'b

f'b

to

~n~~ '~LU~~L~rt:~U/Lfl.L~/LQ.t,

Ii

f'b

('b

t1

ro

I

to

................... LFbU~!.LUQ:Z·Z lt1.L~n~/I:-rt:lt,Q.·"····"'nt,nL~""'''''''''''' 0('b

,

fb

0

lt1.L~n~/I:-rt:lt,Q.········· 'nt,nL~"'''''''''''''' 0,."

,

f'b

0

n.~~~/nQ.··"···"·""···"···"·"·····"···"·"··

~n~!.' ~LU~!.L~rt:~U/Lfl.L~/LQ.t, I

to

n.~~~/nQ.··"········"···"·············"···"·····~n~!.l~LU ~!.L~rt:~U/Lfl.L~/LQ.t, p::7

I

0:::.

................... LFbU~~LUQ:~'Z

10

n.

b

b

f\,tl:-~lt1.nB~Bfl.L~n~!&n~~'mJ:b nB~~LUL!'t!& n.14~~/n,E-ulA, kn~~'~LU~!.L~rt:~U/Lfl.L~/LQ.~UIA, nLI:-~L!.~ 1) I

I

I

1$

lt1.1,~nl!!/t-111e,Jl,·····················I1e,~ l,Jl,e,.. ····.. ·.. ············ne,nl,& nBI!!~l,Ul,lA,lA,~nB~,~l,U:::~l,l!!l1~U/l,ILl,l!!fl,Jl,e,

~

l'

I ulO

~

0 F'II

0

..........................................................................................................................

J:r

I

~

,

·Z

·······..············ ..······~LUQ.L~nt,~~UI:-~ , '" '"

...... ~fl.' ·..·····..···..···············LFbU~rt:~gLt/LFbU~rt:lj~~f\,LFbU~!.LU!&n~~fl.mLI:-UJ:bL~ ............................ BLnL~/~fl.'·

~~lt1.I:-~

~

··..···..···..·..·······LFbU~!.LUnLI:-~t,!'blt1./LFbU~nLIj~ IA,Ln.

nB~mtVn].

'~l!l n.14nQnB~mtmk

~ B'P 1\ ~nL~~IA,t, ~l!ll:-nlt1."L~

................ 1A,fl.~'mlt1."L~ f"

n

I

0

I

to

~LB············..···..···..···..·····..···..···~U~rt:Ln ··..··..···

·

b b ~U1jl!l

·

0

l::o

·..···..·········..··..···..···

··t,L~I:-Ln/I:-Ln/~Ln Bfl.~BQ.

I~

I1i

F'


ผ-134 n,G~1 ••••••••••

Q

..................... lA,n,l~lj II:'

f'b

F='

,

f'b

p;::r

,

p

,

f'b

('b

n,lI1.L~ IA,n,U~11N~

1:!!1>

n,G~1

~!'tI1

,

Q

..................... unuu

",

" n,lI1.L~ ~

1'\

8'P

n.

IA,n,U~11~~~1tl'M-~LUmLn,LoQ.~l!,l:::n,L!M~IA,~ ~l!,lm,J.1, "Lo~

P

It'

n,G~' •••..••••• Q ..................... lA,n,l~lj

f'b I'"

"

_.

0

--

n,lI1.L~ lA,n,l~" ~~

P

It'

n,G~1 ...•••••.• Q ················~I':I~J.1,1fb:::~

.................... lA,n,l~lj

I'b I

fb

"

n,lI1.L~ lA,n,l~"~~ F=>''''I '"

P

I'b

............................................................................................................ ······································~G~ 1 ·Z p

............................................................................................................ ······································~G~, ·r p

,

~

...................................................... ·············/kn,~~'~LU:::~L~I1~U/LQ.~LQ.L~ ~LULQ.~~LIA,n,L~~I':IGn,~,

............................................................................................................ ······································~G~, ·Z p

............................................................................................................ ······································~G~, ·r p

,

~

...................................................... ·············/kn,~~l~LU:::~L~I1~U/LQ.~LQ.L~ l:.LULQ.~~LIA,n,L~~I':IGn,~,

-Z-


·

ผ-135 ............................................... IA.i1,e ..~"~~ ··················································IA.i1,L~~ II="

I'bl

I'b

po.

t'b

" ............ "j

······~~L~·································~lA.li1,Lij~ ~~,

IA.Il.~, F

~

0

0

···············································IA.i1,L~"~~ ··················································IA.i1,L~~ II="

,

............./

I'bl

II="

I'b

"

'

I"b

······~~L~·································~lA.li1,Ll3~ ~~, 0

IA.Il.~, F

~

0

~[';1~I.1"h,:::~

11~,19~~~'1rlLn."l11 NmlJn.G~nU (£

Dld) M.~Lll.~ ~LlA.k11"~ U,LUn,ll.rtP. 11t rtt.~11t.~~!.LU ILt t.,!;l11L~!.LI1,~n.nU G~11,ruLrt~!.ILn.~ !.LI1,~n.11L~ ~l.!l.!h,11L~ !.LI1,~n.f1.L~ !.LULll.~ !.LI1,~n.f1.L~~n.~1L k11"~'!.LUi!)~!.LU 11hlJn.,C\IJf1.L~ (2:

c··················

~n.Ib~rulel~LIl.0 • ~Ib~ru~~ 0

c···················

c···················

v ~U

s ~U

~n,!-""~:)

~n,!-""~t)

c··················

~n,!-""~t)

~n,!-""~r)

z ~U

c ~U

c··················

~n,!-""~t)

1 ~U

-£-


ผ-136 tAL11.11\. F "

m~ftt I1.L~

0 0

m~ftt I1.L~

LRU~tLUU

LRU~tLUU

................

................

0 0

m~ftt I1.L~

0 0

I1.L~ftt m~

0 0

................

................

I1.L~ftt m~

0 0

~Q(b~LLJLJL~ l!lLJ'tAI1.LN~1':l F b

................ 11.~,::t (bt LLJ~ ta

................ ~I':l~It\"n.~!.

LRU~tLUU

LRU~tLUU

LRU~tLUU

, BIl.L~n,~~n,~n,B~L~U~~LUQ~~n,~~n,~t'~n,,tb n,,VB~~~L~U~~LUQ ~BI:'~L~~~n,L~~IA,~~~" t'fblt\,"L~n,~Lttlt\,~Dg[b~LUUL~~~'~n,LI:'~I':ln,l:'

t'lblUI;·····················

'n,tn,L~""""""""""""""""""""""""""'"

~

F ~

S' t'~It\,n,B~

~~[b~LU~I':l S"1:7

~ ~1A,n,Lt'~ tn,1t\, ~F

0

I

······~~~U~1t\,(£)

······································IA,n,tt'Ltlt\,~~······· I

~

I:'lbltR.·································n,tn,L~·······················································~~IA,n,Lt'~tn,1t\, ~

0

I"b

F'

I"b

F'

I

·····!.~~U~1t\, (Z)

···································· ..IA,n,tt'Ltlt\,~!.········

I"b

I

t'lbltR.·································n,tn,L~·······················································~~IA,n,Lt'~tn,1t\, ~

0

I"b

F'

I"b

········~~IA,n,LN~ tn,1t\,

0

I"b

f'b

f'b

F'

I

f'b

I

~~IA,n,LN~tn,1t\,

0

I"b

I"lI

F'

I

I"b

I

~~IA,n,LN~tn,1t\,

0

I'b

,p:::.

I

······~~~U~1t\,(t)

······································IA,n,tt'Ltlt\,~~······· F

I

I"b

I

'('

F' '('

F

,

I'b

0

F'

······~~~U~1t\,(t)

······································IA,n,tt'Ltlt\,~!.·······

Ntl tR.·································n,tn,L~

······~~~U~1t\,(£)

······································IA,n,tt'Ltlt\,~~······· t'lbltR.······························· "n,tn,L~""""'"

······~~~U~1t\,(Z)

······································IA,n,tt'Ltlt\,~!.······· NtltR.································ 'n,tn,L~"""""""""""""""""""""""""""'" ................ ~I':l~It\"n.~!.

, ~n,Ib~mt.l~LIl.

rb

I

NtltR.····················n,~l:'lA,lbt~······································BIl.IA,~n,L~~lA,tIbL~Ln,~M,~LUn,~LIl.' (t '('

~~

F'

-

('bf1

I"b

~,.Cm~m~~ 0

- 1:7 -


ผ-137 .....

!zI.M, ··································n,G~, Pi='

I;1,n,e., F

I'b

c····················································· ) ......................................................

············(GQ.I:'~) !"

~11~ru~~I.n. ~ruu, U~I!1.I1I.~n.e.~n.t~~,(tI1~ru~t£

0 0

1.e.n.I!1.' e.~1mB~&e.t~ •

.....

'"

II

!zI.M, ·······························n,G~, ".,

I;1,n,e., F'

I"tI

c····················································) ~LUIt~Wn,Lg:::~r.······················································(GQ.I:'~) !"

c····················································)

c····················································) ~LUIt~~U······················································(GQ.I:'~)

~LUIt~~U······················································(GQ.I:'~)

r-

!"

~ruU1U~I!1.I1L~n.e.~n.t~~,(tI1~ru~t£

0

Le.n.1!1.1 e.~1mB~&e.t~ •

......

'"

II

!zI.M, ·······························n,G~,

I;1,n,e., F'

P

.............................................................

Ib

I:'n,1I1, "L~ •

0

c····················································· ) Gfl.~····························································(GQ.I:'~) ~

!"

.

..

..

n.n.n~WI1BkM tLU::tIl.UIA.t-~&n.r;1I1Le.~I1L~t-t~::~11t-B~UIln.~t-L~e.L!!!Ut-~~I1B~q,t-Btn.kBn.L~1ML~

,.

-

~-


ผ-138 .... ·1tl·M, ··································M,G~1 lA,M,t, fp'

( ......................................................

f="

ttl

) ··············(GQ.I:'~) p

" LRU~~LU~M,~~u.mLt-U,ttL~~LUat.M,L~~t-@u.n~'rtLt.~ ,

II


--------------------------------------------------------------------

-

ผ-139 1:'~1 t~ 1:'~1 t~

~t.!.

n.J;m~I!.:::~m~Ln,~l m@n.J,;!n,@wMUI:'~l t~

()ld) M,ll.Lll.tI:'LIA,~n.~!.1!.LUn.ll.~R.n.' ~t!.n.tJ,m!.Lul:'~ltll.

l:'~lUl. ~

I'='

't;::r

I'ti

l:'~ltll.

&

II="

I

I

It='

~

~n.~!.1!.Lu~~!.LUn.h~n,n.~n.LI:'I:'~ltll.

~

I'S

I'='

1:'~1 t~

('b

('b

~

n.@J,;!I:'L!.Lw~Lwn.@~I:'~l t~ n.L~~~~!.LU~~lt.~

btbLWl~/I:'~ltll.········· ·n.tn.L~·····

I

.9

I

.9

I

.9

Vt'lI

,

('b

0/"b

Orb

I'b

,

I'b

,

~

('b

~

('b

~

('b

··..··..···..···

f'5

I

I'='

't;::r

I

't;::r

············~n.~!.1!.LU:::!.L~~~U/Lll.t 1'1

P=7

I

't;::r

··..·····~n.~!.1!.LU:::!.L~~~U/Lll.t

~

(b

I="

····..······~n.~!.1!.LU:::!.L~~~U/Lll.t

ro

······..···..···

I'b

n,~:::!./n.ll.

0

,

1'5

('b

b

f\

I'='

I

II

't;::r

II

,~

~t,!. LJ1,t, ·

~

~n.~!.1!.LU:::!.LJ,;!~~U/Lll.t 1'1

('b

n,~:::!./n.ll.

0

n,~:::!./n.ll.

0

·n.tn.L~·

,

(b

n,~:::!./n.ll."""""""""""""""""""""'"

0

btbL~n~/I:'~ltll. ..····..··n.tn.L~

btbL~n~/I:'~ltll. ..········n.tn.L~ btbL~n~/I:'~ltll. "IVI'b

t

n.@~!.LUn.~g1!.LU ~~~:H1~!.U n n.@~!.LULlA~ n,~:::!./n.,e.UIA,kn.~g 1!.LU :::!.LJ,;!~~U/LIl.L~/Lll.~UIA, n.LI:'~L!.~ n.'~~1t.J1,

I~

V

··•·•· .. n.t,n.L~ n.B~!.l..Ul..(,1,(,1,tn.~!. '!.LU::!.L~~~U/LU.L~/LJ1,t.

lI::7

0 f711

0

.......................................................................................................................

I

I='

.Z' ~

······················ ..········!.LUll.L!.n.t~~UI:'~

, ,..,..

...... WIl.1..·......··....·..........·UW~~~gLt/Lf>l,U~~(j:::!.fbLf>l,U~!.LU~n.~wll.mLl:'u!1L~ .......... ··....·....·....·....·....··~~btbl:'~

~

,

............................ GU'1L~/WIl.1··· ..······..···..··

Lf>l,U~!.LUn.LI:'~trtbtb/Lf>l,U~n.L(jJ,;!

IA,Ln,

n.G~mtvn.~

'le:Ileln,~n.~n.@~mtmk

~ r;p f\ :::n.LTh~lA,t!.lelt-n.btb11LW

................ 1A,1l.~11:'n.btb11LW F'

..

I}

I

0

I

't;::r

~LG·····..···..·..···..···..···

b b rootmlel

0

········..··..··..··~U~~Ln. ..··..···..···..···..···

't;::r

···..···..······..······..······tL~I:'Ln./I:'Ln./~Ln.

..·········..•.......... L.fOI.U~!.LUU n.

(1,4OI,U~tl,UU~l,t) tijt'rUl, 111,~

.!1l,ttlr1,~,Cb~rttl,UUl,&~~1!1nl,t'~~nl,t-~l,tn,m1 .


ผ-140 .................................................. .................................................. ....................................... ~I':1~L't' •

n.

~~~U~It\,Ln.I'it\~I3~It\,~~"~Lk~~LU 1'1

......................................... n.~~J:.

n.BI2J:.LUn.ij~'J:.LU~]lJ:.LUn.L~ ·1

,.

S

~1':1~L't 1jM.LlJru ~n.~::J:. ,.

17

£

Z

1

• ,. M.LlJruijn.~::J:.

Jl,t-n.e,~ ...'" , ,.

,.

LRU~n.LUl2tLUije,n.LBI':1 ... 011 t-B a. n.~,::t

t-Bm~n.~'::tll.tLU~1':l

Il.t LU ~ 1':1

n.

n.

,

UUrH.,n.L~~~ tl3n.~ml3~ ~n.It\,LiJ '!el'~' U ,~¥sruumL~~tfb14~~n. t~I3M,LlJru~~LR.U~~LUr.1~~rtt~M,LIJn.t ... n.L~~D~Jb~LU~ I':l ~~131n.~L~n.t:1nJb~ ~11Lru~LI!.t&Lrtn.~~1~LIJ~~~11n t n.L~~D~Jb~LUULI!.~ I':l L!b~~~LUll.L~LEo~1) q~~fbt~ ...

ct

n.L~

o ~LtLL't~£l.~ll.tLUUL~~!;!'~M.l.t-~I':1n.~'::tll.tLU~1':1 ·S , '

.......................................................................................................................................................................

('17)

~rtltll.································· ncru. I!. 7'

~I!.IA,n.L ~~tn.1t\, 1'bF'

0

················································IA,n.t~LtIt\,~~ F'

I'b

I

·································~~~U~1t\, (£) I'b

I

~rtltll.············································· ..n.tn.LI!.··········································································~I!.IA,n.L~~tn.1t\, 7'

1'bF'

0

F

I'b

I

·································~~~U~1t\, (Z')

················································IA,n.t~LtIt\,~~

I'b

I

~rtltll.···············································n.tn.LI!.··········································································~I!.IA,n.L~~tn.1t 7'

0

I'b

················································IA,n.t~LtIt\,~~ F

I'b

F

I

·································~~~U~1t\, (1) I'b

I

..............................

('17)

~rtltll.···············································n.tn.LI!.··········································································~I!.IA,n.L~~tn.1t 7'

0

1'bF'

.

F'

I'b

I'b

I

7'

~1!.1An.L~~ tn.1t\, 1'bF'

0

F' ~

I

n. ·································~~~U~1t\, (£)

················································IA,n.t~LtIt\,~~ ~rtltll.·············································· 'ntru, I!. ················································IA,n.t~LtIt\,~~

I

·································~~~U~1t\, (Z') I'b

I

~rtltll.···············································n.tn.LI!.··········································································~I!.IA,n.L~~tn.1t 7'

~F'

0

F'

I'b

lC;:P

I'b

I

n. ·································~~~U~1t\, (1)

················································IA,n.t~LtIt\,~~

I'b

I

~rtltll.································· ..n.~~lA,rtt~ , ......

······~n.L~~lA,trtL~Ln.I'it\M,~LUmLIl.1 (1

~

I'b

I'b

lC;:P

I'li

- Z' -


ผ-141 ....................................... •.•.•.••.••••••.•.•••••.•••.•••••••••••••

....................................... •.•••.••••••..•.•.•.•.••••••••••••.•.••••

~(';1~111., n.~:::J:.

,.

• ~(';1~111., n.~:::J:.

,.

~(';1~111.,

.......................................

n.~:::J:.

,.

.........................................

~(';1~111.,

.......................................

~~"LRLl~J:.LLl~LlA,~~ln

1~lA,'

rtJ:.WlM.,n GI!! Ln~M.J:.LLl~~"~LJ:.I!!J:.LLl £'1 ", F' I"b t1

•.•.•••••...••••••••••••••••••••••••••••• n.~:::J:.

,.

/~~~~~LJ:.nGI!!J:.LLln(';1n/~~~~

• ~(';1~111.,

.......................................

n.~:::J:.

,.

.........................................

ij(';1~II1., •

.......................................

...

~LM.mLRLl~J:.LLl~~J:.LLln(';1" ~

•••••••..••••••••••••••••.••••••••••••••• n.~:::J:.

,.

z LRU~nLU~J:.LU~~nL~~

n.

t-Bf1,n~':::J:.r.J:.LUij(';1


ผ-142

·······································~ta~lfI., .........................................n.~::.!'. ,.

·······································~ta~lfI., .........................................n.~::.!'. ,.

• ·······································~ta~lfI., .........................................n.~::.!'. ,.

~GmLtlLn,~~~LU

1'£

M.~Ln.~Lnl'M~::~m·Bm~Lnl'M~.!'.LUnL~.£

LQ.~L~~~fbG~I!1,n,~~mlloL~~~fb

"

• ·······································~ta~lfI., .........................................n.~::.!'. ,. .................................................. ..................................................

• ·······································~ta~lfI., .........................................n.~::.!'. ,.

n,~~mllo~Lu~,Q>~LI!1,~n,~Lu 1'Z

"

.................................................. ..................................................

• ·······································~ta~lfI., .........................................n.~::.!'. ,.

- 17 -


ผ-143 k! M,.

·····························rt@~, ··········lA,rtt. p

f" ~

c····················································· ) .............................................................

(@~C'~)

............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................. •

n.~,~1!l L~UWn.LU~~LU~~n.LB~~B~n.~'~L~~ ~ o~ ~

..... k!.M,.

·····························rt@~, ··········lA,rtt. IP

F'

t'tI

...................................................... ·····C'rtl!1. "L~ ,

0

)

( @fl.~ ~

(@Q.C'~) F

.

,,"

n.n."~'W~B~M.~Lu::~I1UIA.~~I!ln.fJ'~L~~~L~~~~::~,,~B~uun.~~L~~L~u~~~~B~L~~B~n.kB~L~'M.L~

'" -

~-


ผ-144 .

·

..................................

...................................................... ···································IJr-:l~II1.,n,~t !i..n.Il~rn~~Lfl. !i..n.Il~rn~~

0 0

(IM1.II1.LlI·!,j·t.l·UlA. o

...

tLu£~~!:m~rnU'Ul:'!II1.IlL~Ln~~f.LlInL~N~~) ~nIl1.L~

V'G

·left.l·U~f.LU£~~IJ"~rnU'lJl:'!II1.IlL~Ln~~f.LU

...........................................................................................................

(Bfl.Lt.ln~lA.ne..N.m,n •••••.•••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••

b

o

b

·1Jr-:l~lI1.m~t

Q

s LIJe..'~~~tnt~Llf

F'~

fb

P

fb

M,~Lll.~rnf.f.n.Wf.t!!.~IJ"

1lf.f.Q~&!!'1lf.f.Qrn~ ~J:b~glA.lc-lJu~~t.l're1) M,~Lll.~rnf.f.n.L~f.f.!!.~IJ'mf.f.Q~&!!.1lf.f.Qrn~ ~J:b~£'G ...................................... ..................................................................... ••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••••

b b ································IJr-:l~II1.,n.~f.

0

~.(l.Il~rn~~

0

!i..n.Il~rn~~Lfl.

([;1/Illl. 006 L~lJ~BJ:brq'M,ll.ll.~IJ" 'll.ll. Q/Illl. 008 L~lJ~BJ:brq·M,nll.~IJ" ·unll.) nLc-!i..n.~r.f.LUc-lllt.~ G'G

........................................................................... ···············IJI':l~II1., n,~t (Bfl.L~n~~nl-c-~n.J:b Q

s L~lJ~BJ:bre1)

~nL~~lA.Vc-f1.II1."L~c-f.L~f.LlJLIJt.1~~~f.T'G

............................................................................................................

···········································f.LuQ.Lf.nt.~~uC-~ , '" '"

...... ~fl.' ······························LglJ!,jrWQIl/LglJl2!lllj~f.r1LglJl2!tLlJlA.nM,~fl.mLc-lJnL~ p

p

fb

[III

f='

P

Pi='

"

,

fb

............................ Blf' LB/~fl.'···"···"·"···"···"···"···"···"·"·····"···"···"···"···"···""·····

~t.II1.c-!!.

0

fb

fb

LglJ ~f.LlJ nLC-~t.f1.II1./LgU ~nLlj ~

o

nB~mc-Vnfl.

lA, Lfb

F'

I

'12!t.ln.~nBnB~mc-mt

p'C::rl'b

I'bfb

p'C::rfb

" "' L~n" p ~'H'''''A"L'A ·..····..·····..·····..···..········..······~lrn~ ,.1b ::;"Vb~ "'''''b:b"b :i" =

...""L'A ................ lA.fl.IJ'C-, b"b IJlJ

G

0

, ~LB

• ·..lJlJ~1bL,b

·PL'""L /"L '" Jt>b-1b bib

/nLn ,.

...

t;9

t;9

n

.................................... ······ ..·..::nL~IlIA,t.nn IlIA,t.rm,o> ~ I':'nB~'BtL1.:mL~ p ~I=' 1;7


ผ-145 ..... !.I.M,

.

n.G~'

( n.~,~J;.[1~

'unr,

,..

'"

)

···················(G~I:'I;!)

~,C\It~ru~~Lf1. ~ruU1U~It1.ItLI!1n.t~ntl!f~£l.It~ru~~

0 0

L~n.~'t~'m@~&ttl!1 LRU~n.LU~tLUatn.L@~~@f1.n.It1.'ItLtl!f 011

'"

..... !.I.M, ·······························n.G~, ·········IAn.e.. f'

p;:.

/'1)

c····················································) J;.LlIItUlln.LQ~~[1······················································(GQ.I:'I;!) !"

c···..················································)

c····················································) ~LlIlb~J;.lI········

J;.LlIlbJ;.J;.lI······················································(GQ.I:'I;!)

·································(GQ.I:'I;!)

!"

!"

nru ~L~lI 13'IbL~~~~' ~I;!~L~!J~~l ...........................................................................................................

(n.lIG~~~ '"

• • I;!~~III"n,~~

..........................................................................................

• ~n,Ib~m~~Ln. =n>

• ~n,Ib~m~1b

""

=n>

0 0

,

=

LFbll~~LlIr,: s- LI;!t1~~~J;.I:'e..p.n.1. LFbll~J;.LlIr,:CZ L~lI~G!b[tt !!'mllmL~n.~'~~[1~LlIl;!~!JI:'G~)

sz

~L!bIll,~~[1~LlIlIL~~~'~n.LI:'I;!~n.~'~~[1~LlIl;!~

• I!1nlt~rul!f ...,.

• tLUltttU::rul!ft'@f1.l!1nlt~rul!fn@~&ttl!1tLU~h1 "',..

-Z -


ผ-146 ~~f1l~ £ L~U~GtJ.ftt

0

0

rtLf1 rtLf1 rtLf1 n.yrtU.~tl" 17n.~~~L~UL~ftt I---=-t---=-f--':'__~--':'__::~--:_' n.L~Z

0

rtLf1

0

rtLI'o1

0 ~+

~¥'£ - Z ~f1.L~(Z)

---l ~BmlllLn.rtllJt.~LU 1'£

s n.~~~L~UL~ftt M~Lf1,~Lrtl'M~::~m·@mI!lLrtrtll~tLUrtL~ .£

Q.~n.UllUiA. 1 1A.f1.L~ (1)

,f"

('b

'"

F''' n.

LQ.~L~~~fl.G~iI1.n.~~m~L~~~fl.

..

A.l!I'MruLf1,Wf1,U.ij~rtL~ijt.\C. F ~ ~

~~f1l~£L~U~GtJ.ftt~---r---~r---~---~----4-~-L-~-UG-'-~-tl'-'-~_1A._,n._~_~_L~_tl_~_G~~~L~~~~~~~_LU_£_·Z_~ n.yrtl~~tl" £ n.~~~L~UL~ftt 1----f----if------1------1-----+---n.-~.:::.~ f1.L~Z

~¥'£ -

,~~_G:_~iI1._'_~_:lP._tl_"_[;)_n._n._~_ _ __j

Z ~f1.L~(Z) 17n.~~~L~UL~ftt 1-

t-

f- __

-if-

__

---1

---1

n._ij...:~~m_a9'~t_L_U"'....c.~:_t_L_If

~~f1l~UiA.1 ~n.L~ (1) R

f\

""

ruLf1,C.ij~ 'tij::rtL~ijt.\~

1-

t-

f- __

-1

--+__

---1

~~f1l~ £ L~U~BtJ.ftt n.yrtl~~tl"

Z n.~~~L~UL~ftt

no

...:.}:_n._~...:~~'~_L_Utl_I';1_n._::~:_' ~_~...:..fl._~_tl'_' ~....::1-~~_LU__:_ _ __j ~n.~~,~~iI1.,,~tl"Lf'l.U~~LU~LIA.~tlln.lle!IA.

r-

r-__ -ir-

__

---1

---1

--+_rt_~~_U_lll.:.:1-_n._B.J:~~L_n._rtll~Jt.~~_L_U_~t _ __j

f1.L~Z ~1A. £ - Z 1A.f1.L~ (Z) F' 1'1 I1i

n.~~'~M.Ll!ru(,j17T1 I1i

~

JI;:>

£ n.~~~L~UL~ftt r- __

-ir-

__

-i

-+_ ___::~_n....:.~~:::..'_~L_U_~~:.:_&_~L_U_n.~ --l

-t

---1

~~f1l~UiA.1 ~f1.L~(1)

!U~LUn.~~f.fl.

'" n. .. A.l!I'~tLUruLn.L!l>tij::rtL~ijt.\~

~~~LUn.I';1Wtlle!le!rWL~n.B~~LUM" /tlle!le!h~LM.m Lf'l.U~~LU~&~LUn.I';1W~n.~~, p 10

~1_~l~1 L~U~BtJ.fttZ n.~~~

f'b

'"

~LU~~~LUn.I';1"L~~~~LU ZT1

L~UL~ftt £ - Z ~n.L~ (Z) ~tl"

Z n.~~~L~UL~ftt

Q.~n.llllUiA. 1 1A.f1.L~ (1) F'

~

I

I1i

f'b

......................................................

··········tl..ll!t-l..njt-l..njijl..n ijl..J:.

.

l..~U~J:.l..UU S" t-~lr1.n@~ ~l...ttIr1.~£I.~IlJ:.l..UUl..~~~, ~nl..t-~l1nt£'::J:.IlJ:.l..U~I1Il.l~ ,


ภาคผนวก ฉ หลักเกณฑและวิธีการพัฒนาขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน (ว 22 ลว 5 กรกฎาคม 2560 )


ผ-148


ผ-149


ผ-150


ผ-151


ผ-152


ผ-153


บรรณานุกรม กลุมพัฒนาบุคลากร กองการเจาหนาที่ กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ. (2553). คูมือแนะนําแนว ทางการพัฒนารายบุคคลโดยวิธีพัฒนาอื่น ๆ . กรุงเทพมหานคร ขจรศักดิ์ ศิริสมัย. (2554). เอกสารประกอบเรื่องนารูเกี่ยวกับสมรรถนะ . กรุงเทพมหานคร จิ ติ ม า วรรณศรี . (2552). คุ ณ ภาพการศึ ก ษากั บสมรรถนะของครูที่ พึง ประสงค . วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. 32 (1) สํานักงานขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2560). การปรับปรุงมาตรฐานตําแหนงและมาตรฐาน วิ ท ยฐานะของข า ราชการครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา สายงานการสอน. หนั ง สื อ เวี ย นที่ ศธ 0206.4/ว 20 วันที่ 5 กรกฎาคม 2560. สํานักงานขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2560).หลักเกณฑและวิธีการใหขาราชการครูและ บุ ค ลากรทางการศึ ก ษา ตํ า แหน ง ครู มี วิ ท ยฐานะและเลื่ อ นวิ ท ยฐานะ. หนั ง สื อ เวี ย นที่ ศธ 0206.3/ว 21 วันที่ 5 กรกฎาคม 2560. สํานักงานขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2560).หลักเกณฑและวิธีการพัฒนาขาราชการครูและ บุคลากรทางการศึ กษา สายงานการสอน. หนังสือเวีย นที่ ศธ 0206.7/ว 22 วันที่ 5 กรกฎาคม 2560. สํานั กงานข าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา. (2560).การกํา หนดชั่วโมงการปฏิบัติงานและการ ประเมิ น ผลงานที่ เ กิ ด จากการปฏิ บั ติ ห น า ที่ . หนั ง สื อ ที่ ศธ 0206.3/0636 วั น ที่ 10 ตุ ล าคม 2560. สํานักงานขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2561). เอกสารประกอบการประชุมคูมือการประเมินให ข า ราชการครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ กษาตํ า แหน ง ครู มี วิทยฐานะและเลื่ อนวิ ทยฐานะ สั งกั ด สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. เชียงใหม สํ า นั ก งานคณะกรรมการข า ราชการพลเรื อ น (สํ า นั ก งาน ก.พ.) . (2553). คู มื อ การกํ า หนดความรู ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะสําหรับตําแหนง. นนทบุรี : ประชุมชาง จํากัด สํ า นั ก งานศาลยุ ติ ธ รรม. (2556). แผนพั ฒ นารายบุ ค คล (Individual Development Plan : IDP). กรุงเทพมหานคร





คณะผูจัดทํา ที่ปรึกษา 1. เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2. รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (นายบุญสง จําปาโพธิ์) 3. รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (นายประชาคม จันทรชิต) 4. นางปทมา วีระวานิช ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ 5. นางศิริพรรณ ชุมนุม ผูชํานาญการดานการพัฒนาสถาบันการอาชีวศึกษาครูและระบบวิจัยและ นวัตกรรมอาชีวศึกษาและการพัฒนาสถานศึกษาอาชีวศึกษาไปสูมาตรฐานสากล 6. นายประดิษฐ ระสิตานนท ผูชํานาญการดานการพัฒนาระบบบริหารและสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวน รวมในการจัดการอาชีวศึกษา 7. นายวณิชย อวมศรี ผูชํานาญการดานการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการจัดการเรียนการสอน และมาตรฐานสถานศึกษาอาชีวศึกษา 1. คณะกรรมการกําหนดกรอบสมรรถนะครูอาชีวศึกษา 1. นางศิริพรรณ

ชุมนุม

2. นายสมประสงค สิงหสุวรรณ 3. นางสาวสุธิดา ภักดีบุญ 4. นายประพจน จุนทวิเทศ 5. นายสุรพงษ เอิมอุทัย 6. นายยงยุทธ ใจซื่อดี 7. นายเรืองแสง หาสกุล 8. นายศรายุทธ ทองอุทัย 9. นายศักดิ์ ศศิกุลกมล 10. นางนันทนา พุมอรัญ 11. นางอุมาพร แขดอน 12. นางสาวภูษณิศา ยูงทอง 13. นางปทุมมาศ รักษวงศ 14. นางสาววัฒนา พลวิชัย 15. นายวสันต คําเพราะ 16. นางเรณู สันตโยภาส 17. นางนิตยรดี ดําดวง 18. นางสาวปาณิสรา เพชรรัตน 19. นางสาวยศวดี ทั่งทอง 20. นางสาวจิราพร โพธิ์ใต

ผู ชํ า นาญการด า นการพั ฒ นาสถาบั น กาอาชี ว ศึ ก ษาครู แ ละระบบวิ จัย และ นวัตกรรมอาชีวศึกษาและการพัฒนาสถานศึกษาอาชีวศึกษาไปสูมาตรฐานสากล ผูอํานวยการสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ผูแทนผูอํานวยการสํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ ผูแทนหนวยศึกษานิเทศก สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคเพชรบุรี วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม วิทยาลัยสารพัดชางสมุทรปราการ วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุตรดิตถ วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค วิทยาลัยศิลปหัตถกรรมนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม วิทยาลัยเทคนิคนครนายก วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


2. คณะกรรมการจัดทําคูมือแผนการพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) 1. นายสมประสงค 2. นางเรณู 3. นายมงคล 4. นายสมบูรณ 5. นางสุภาภรณ 6. นางสาวอรพิน 7. นางศรัญญา 8. นางณัฐยา 9. นายชลัท 10. นายฉัตรชัย 11. นายประทีป 12. นางสาวภูษณิศา 13. นายภูชนะ 14. นางสาววิภารัตน

สิงหสุวรรณ สันตโยภาส วานิกร ชดชอย ปาลโฉม ดวงแกว สุขปลั่ง สลับสม อุยถาวรยิ่ง พันธุนุรัตน ระงับทุกข ยูงทอง อุดมเวช คูณวัตร

16. นางอนงค

กมลจิตรวี

18. นางสรพัศ 19. นางสาวอุษณี 20. นางนิตยรดี 21. นางสาวปาณิสรา 22. นางสาวยศวดี 23. นายนพคุณ 24. นางสาวจิราพร

ยิ้มนวล

15. นางสาวพัทธนันท แดงแหลม 17. นางสาวเยาวมาลย หุนนิวัฒน

ตันติชัยรัตนกูล

ดําดวง เพชรรัตน ทั่งทอง มานะวิสาร โพธิ์ใต

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา ผูทรงคุณวุฒิ ผูอํานวยการวิทยาลัยสารพัดชางนครศรีธรรมราช ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจีน ผูอํานวยการวิทยาลัยการอาชีพเชียงราย รองผูอํานวยการวิทยาลัยสารพัดชางปราจีนบุรี วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี วิทยาลัยเทคนิคราชสิทธาราม วิทยาลัยเทคนิคนครนายก วิทยาลัยศิลปหัตถกรรมนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคนิคนครนายก วิทยาลัยเทคนิคนครนายก วิทยาลัยเทคนิคนครนายก สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา

3. คณะเรียบเรียง และจัดทํารูปเลม 1. นางเรณู 2. นางนิตยรดี 3. นางสาวยศวดี 4. นางสาวปาณิสรา 5. นายนพคุณ 6. นางสาวจิราพร

สันตโยภาส ดําดวง ทั่งทอง เพชรรัตน มานะวิสาร โพธิ์ใต

สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา สํานักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา

คูมือการประเมินตนเองและการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) ของครูสายงานการสอน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.