Thesis Book

Page 1

การออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส IDENTITY DESIGN FOR “GOING JESSE”

โดย นายนพ สุขสงวนศรี รหัส 5111313382 ศศ.บ.511(4)/13A

ศิลปนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศศิลป์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปีการศึกษา 2555


การออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส IDENTITY DESIGN FOR “GOING JESSE”

โดย นายนพ สุขสงวนศรี

ศิลปนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศศิลป์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปีการศึกษา 2555


วิจัยเรื่อง : การออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส ชื่อนักศึกษา : นายนพ สุขสงวนศรี สาขาวิชา : ศิลปกรรม (แขนงออกแบบนิเทศศิลป์) ปีการศึกษา : 2555 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม อนุมัติให้ศิลปนิพนธ์ ออกแบบนิเทศศิลป์นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาระดับปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต ………………………………………….. (อาจารย์ราเชนทร์ เหมือนชอบ) คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะกรรมการสอบศิลปนิพนธ์ออกแบบนิเทศศิลป์ ประจาปีการศึกษา 2555 ………………………………………….. (อาจารย์ธีระชัย สุขสวัสดิ์) ประธานกรรมการ ………………………………………….. (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร) กรรมการ

………………………………………….. (ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรรัตน์ พ่วงพงษ์) กรรมการ

………………………………………….. (อาจารย์ไชยพันธุ์ ธนากรวัจน์) กรรมการ

………………………………………….. (อาจารย์วารดา พุ่มผกา) กรรมการ

………………………………………….. (อาจารย์จารุณี เนตรบุตร) กรรมการ

………………………………………….. (อาจารย์เกวรินทร์ พันทวี) กรรมการ

………………………………………….. (อาจารย์ฐปนนท์ อ่อนศรี) กรรมการ

………………………………………….. (อาจารย์อดิสรณ์ สมนึกแท่น) กรรมการ


บทคัดย่อ หัวข้อ : การออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส อาจารย์ที่ปรึกษา : อาจารย์ฐปนนท์ อ่อนศรี ผู้วิจัย : นายนพ สุขสงวนศรี วิทยานิพนธ์นี้ต้องการศึกษาและออกแบบอัตลักษณ์ให้กับบริษัท โกอิ้งเจ็ส โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อ ต้องการให้ บริษัท เป็นที่รู้จักของบุคลคลทั่วไป และหน่วยงาน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้ มากขึ้น และ เพื่อให้การออกแบบอัตลักษณ์ออกมาในรูป แบบที่ส ามารถมองเห็นแล้ว สื่อให้ เข้าใจได้ทันที เนื่องจาก บริษัทเพิ่งก่อตั้งมาได้ โดยประมาณ 3 ปี เพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่ใช้ในสานักงาน จึงมีความคิดใน การออกแบบให้มี รูป ลักษณ์ ที่มีความ เด่นชัด และสื่อความหมายถึงผลงานเด่นของบริษัท ซึ่ง การ ออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กระบวนการออกแบบอัตลักษณ์ สาหรับองค์กร เพื่อผลิตสื่อสิ่ง พิมพ์ต่างๆ ที่ใช้ในสานักงาน โดยผลิตต้นแบ บเหมือนจริง ซึง่ มี โลโก้ บริษัท , ตรายาง, นามบัตร, ซองจดหมาย, หัวจดหมาย, แก้ว น้า, โปสเตอร์ , แผ่นพับ , และ เสื้อ พนักงาน อีกทั้งยังเป็นการประชาสัมพันธ์บริษัท โกอิ้งเจ็ส อีกด้วย วิธีการดาเนินการวิจัยเริ่มต้นจากการศึกษาข้อมูลเกี่ยวข้องกับการออกแบบอัต ลักษณ์ ข้อมูล ต่างๆ ของบริษัท และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อนาไปวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ ออกแบบ หรือพัฒนาต่อไป ในการออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส นั้นต้องมี สีสันที่ โดดเด่น จดจาง่าย สื่อความหมายสอดคล้องกับ จุดมุ่งหมายบริษัท มีเอกลักษณ์เฉพาะตน และมี ความยืดหยุ่น พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต และเมื่อทาการผลิตต้นแบบเหมือนจริงสาเร็จสมบูรณ์แล้ว จึงได้ ทาการส่ง มอบผลงานต่าง ๆ ให้ทางบริษัท โกอิ้งเจ็ส เพื่อนาไปใช้ ในการทางานจริง และยังทา การ เผยแพร่ในนิทรรศการแสดงงานศิลปนิพนธ์ ของนักศึกษา สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศ ศิลป์ จากผลการสารวจความคิดเห็นที่มีต่อผลงานการออกแบบ อัตลักษณ์ พบว่า การออกแบบ อัตลักษณ์ สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส นั้นมีภาพโดยรวมของการออกแบบอยู่ในระดับเกณฑ์ดี การผลิตผล งานต้นแบบเหมือนจริง มีความถูกต้อง สวยงามโดดเด่น และค่อนข้างสมบูรณ์ซง่ึ เป็นไปตามสมมติฐาน ที่ได้ตั้งไว้ และเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ อยู่ในระดับ ดี กล่าวคือ ได้ผลงานที่ หลากหลาย สามารถนา ผลงานที่ได้ออกแบบมา ไปใช้ งานได้จริง และได้ทาให้ผู้เข้าชมได้เข้าใจถึง การออกแบบอัตลักษณ์และ สื่อสิ่งพิมพ์ทใี่ ช้ในองค์กรในครั้งนี้


ง สาขาวิชาศิลปกรรม (แขนงออกแบบนิเทศศิลป์) ปีการศึกษา 2555 ลายมือชื่อนักศึกษา …………………………………………… (นายนพ สุขสงวนศรี) ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงการพิเศษออกแบบนิเทศศิลป์ …………………………………………… (อาจารย์ฐปนนท์ อ่อนศรี)


ABSTRACT Research Title : Identity Design for “Going Jesse” Advisor : Instructor Thapanon Onsri Researcher : Mr. Nop Suksanguansri The purpose of the research was to design a company identity for Going Jesse in order to make the company better known by the general public and any other associated businesses and organizations. Since the company had been established for only three years the company identity design had to be easily recognizable and convey the intended messages. Furthermore, the company identity design would appear on the office paper and printing supplies so the design features had to stand out and publicize the company’s outstanding achievement. The purpose of designing company identity for Going Jesse was to study the design process for an organization and used the design on office paper and printing supplies. The prototype items and designs comprised company logo, rubber stamp, business cards, envelopes, letter head, company mugs, posters, brochures and shirts. In addition, all these designs and items could be used as a means for Going Jesse public relations campaign. The research was conducted by studying information related to company identity design, various company information details, other associated information and analysis of other case studies to come up with design ideas for further development. The Going Jesse company identity design was aimed to have bright colors for easy recognition, convey the messages consistent with the company’s goals, reflect company’s own identity and show adaptability to future changes. The finished company identity design was used on the prototype items which were given to Going Jesse for actual use. The company identity design was also on display at the art theses exhibition by the university arts major students specializing in visual communication design


ฉ The results of the opinion survey indicated that the overall design was perceived to be good. The produced prototypes were true to the design, strikingly attractive, and quite complete which were rated as good and consistent with the research assumptions and objectives. The research produced a variety of prototypes that were of practical use and helped viewers understand the company identity design and use of the design on printing supplies.

Fine and Applied Art (Visual Communication Design) Academic year 2012 Researcher’s Signature …………………………………………… (Mr. Nop Suksanguansri) Signature of Art Thesis Committee Visual Communication Design …………………………………………… (Professor Thapanon Onsri)


กิตติกรรมประกาศ การวิจัยเรื่องการ ออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส จะสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีไม่ได้ หากไม่ได้รับความช่วยเหลือ และความร่วมมือจากหลายๆ ฝ่ายข้าพเจ้าขอขอบคุณบุคคลสาคัญดังที่จะ เอ่ยนามดังต่อไปนี้ เป็นอย่างยิ่ง ซึ่งได้แก่ อาจารย์ฐปนนท์ อ่อนศรี อาจารย์ที่ปรึกษา ที่ให้คาแนะนาใน การทาศิลปนิพนธ์ครั้งนี้ และยังรวมถึงคณาจารย์ในสาขาวิชาศิลปกรร มที่อบรมสั่งสอน ให้คาปรึกษา ต่างๆ ยังรวมถึงนางสาวยศวดี สวนเลิศ พนักงานบริษัท โกอิ้งเจ็ส จากัด ที่ให้ความอนุเคราะห์ในเรื่อง ของข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท ยังรวมถึงเพื่อน ๆ สาขาวิชาศิลปกรรมที่ช่วยเหลือ และร่วมมือ กันดาเนินการทาศิลปนิพนธ์ตั้งแต่ต้นจนเสร็จสิ้นกระบวนการทางาน ท้ายนี้ขอขอบพระคุณบุคคลที่ทาให้ข้าพเจ้าได้ก้าวย่างมาถึง ทุกวันนี้ คือ บิดามารดาและ ญาติพี่น้องอันเป็นที่รักยิ่ง ซึ่งได้อบรมเลี้ยงดูมาเป็นอย่างดี พร้อมทั้งให้โอกาสในการศึกษาอย่างเต็มที่ และยังเป็นกาลังใจ เอาใจใส่เสมอมาในทุกด้านอันหาที่เปรียบมิได้ ข้าพเจ้าขอระลึกในพระคุณอัน มหาศาล และขอกราบขอบพระคุณมา ณ ที่นี้

นพ สุขสงวนศรี ผู้วิจัย


สารบัญ บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญภาพ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการศึกษา สมมติฐาน ขอบเขตของงาน นิยามศัพท์เฉพาะ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 การศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการออกแบบอัตลักษณ์ การออกแบบสัญลักษณ์ การออกแบบกราฟิก จิตวิทยาเกี่ยวกับสี การออกแบบสิ่งพิมพ์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน ขั้นตอนการวางแผนก่อนการผลิตงาน (Pre Production Stage) การกาหนดแบบร่างทางความคิด การพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน ขั้นตอนการพัฒนาและการผลิตผลงาน (Development and Production Stage) ขั้นตอนหลังการผลิตผลงาน (Post Production Stage) ประชากรในการวิจัย เครื่องมือในการวิจัย

หน้า ค จ ช ญ ฎ 1 1 2 2 3 3 4 7 11 15 19 26 29 29 30 30 31 31


สารบัญ (ต่อ) ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล

หน้า 32

บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนการวางแผนก่อนการผลิตงาน (Pre Production Stage) การสร้างแบบร่างทางความคิด (Concept Sketch) ผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ ต้นแบบเหมือนจริง (Photo Type) ขั้นตอนหลังการผลิต (Post Production Stage)

34 39 65 66

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธีการดาเนินการวิจัย ผลการวิจัยโดยสรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ

68 68 69 69 70

บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้วิจัย


สารบัญภาพ ภาพที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26

ภาพสัญลักษณ์จากธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ภาพสัญลักษณ์จากรูปแบบที่มนุษย์สร้าง ภาพสัญลักษณ์จากภาษาภาพ ภาพสัญลักษณ์จากเครื่องหมายตัวอักษร ภาพสัญลักษณ์จากลักษณะแบบผสมผสาน ภาพเส้น ภาพวงจรสี ภาพโลโก้ของบริษัท เน็กเวฟเวอร์ดอตเนท จากัด ภาพโลโก้ของบริษัท อินโฟลิสท์ จากัด ภาพโปสเตอร์ของบริษัท อินโนเวทีฟ บิสซิเนส จากัด ภาพโปสเตอร์ของบริษัท บริษัท ไอ เอ็ม ดี จากัด ภาพแรงบัลดาลใจในการออกแบบโลโก้ ภาพแบบร่างโลโก้แบบที่ 1 ภาพแบบร่างโลโก้แบบที่ 2 ภาพแบบร่างโลโก้แบบที่ 3 ภาพแบบร่างโลโก้แบบที่ 4 ภาพการปรับปรุงโลโก้แบบที่ 1 ภาพการปรับปรุงโลโก้แบบที่ 2 ภาพการปรับปรุงโลโก้แบบที่ 3 ภาพการปรับปรุงโลโก้แบบที่ 4 ภาพโลโก้ที่ได้ทาการออกแบบเสร็จสมบูรณ์ ภาพร่างแบบโลโก้ในโปรแกรม Illustrator ภาพการใช้เครื่องมือ Pen Tool ในโปรแกรม Illustrator ภาพการพิมพ์ตัวอักษรชื่อบริษัทไว้ใต้โลโก้ ภาพแบบร่างนามบัตรแบบที่ 1 ภาพแบบร่างนามบัตรแบบที่ 2

หน้า 7 8 8 9 9 14 17 35 36 37 38 39 40 40 41 41 42 42 43 43 44 44 45 45 46 47


สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53

ภาพการปรับปรุงนามบัตรแบบที่ 1 ภาพการปรับปรุงนามบัตรแบบที่ 2 ภาพนามบัตรที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์แบบที่ 1 ภาพนามบัตรที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์แบบที่ 2 ภาพนามบัตรที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์แบบที่ 3 ภาพร่างแบบนามบัตรในโปรแกรม Illustrator ภาพการใช้เครื่องมือ Pen Tool ในโปรแกรม Illustrator ภาพสเก็ตซ์แบบร่างหัวจดหมาย ภาพภาพสเก็ตซ์แบบร่างหัวจดหมายแบบที่ 1 ภาพภาพสเก็ตซ์แบบร่างหัวจดหมายแบบที่ 2 ภาพการปรับปรุงหัวจดหมายแบบที่ 1 ภาพการปรับปรุงหัวจดหมายแบบที่ 2 ภาพหัวจดหมายที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์ ภาพร่างแบบหัวจดหมายในโปรแกรม Illustrator ภาพการใช้เครื่องมือ Pen Tool ในโปรแกรม Illustrator ภาพแบบร่างชุดพนักงานแบบที่ 1 ภาพแบบร่างชุดพนักงานแบบที่ 2 ภาพการปรับปรุงชุดพนักงานแบบที่ 1 ภาพการปรับปรุงชุดพนักงานแบบที่ 2 ภาพชุดพนักงานที่แก้ไขจนเสร็จสมบูรณ์ ภาพร่างแบบชุดพนักงานในโปรแกรม Illustrator ภาพแบบร่างโปสเตอร์แบบที่ 1 ภาพแบบร่างโปสเตอร์แบบที่ 2 ภาพโปสเตอร์ที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์แบบที่ 1 ภาพโปสเตอร์ที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์แบบที่ 2 ภาพกาสร้างโปสเตอร์ด้วยเครื่องมือในโปรแกรม Illustrator ภาพแบบร่างแผ่นพับสื่อโฆษณา ด้านหน้า

หน้า 47 48 48 49 49 50 50 51 52 52 53 53 54 55 55 56 56 57 57 58 58 59 60 60 61 62 62


สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ 54 55 56 57 58 59

ภาพแบบร่างแผ่นพับสื่อโฆษณาด้านหลัง ภาพโแผ่นพับสื่อโฆษณาด้านหน้าที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์ ภาพแผ่นพับสื่อโฆษณาด้านหลังที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์ ภาพกาสร้างพับสื่อโฆษณาด้วยเครื่องมือในโปรแกรม Illustrator ภาพผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ ภาพตัวอย่างผลงานที่ได้ทาการเผยแพร่

หน้า 63 63 64 65 65 66


สารบัญตาราง ตารางที่ 1 2 3 4 5

ตารางแผนการดาเนินงานตลอดโครงการ ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษาที่ 1 บริษัท เน็กเวฟเวอร์ดอตเนท จากัด ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษาที่ 2 บริษัท อินโฟลิสท์ จากัด ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษาที่ 3 บริษัท อินโนเวทีฟ บิสซิเนส จากัด ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษาที่ 4 บริษัท ไอ เอ็ม ดี จากัด

หน้า 32 35 36 37 38


บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ทุกวันนี้ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มีความ จาเป็นต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน รวมไปถึงการดาเนินงานธุรกิจต่างๆ เป็นอย่างยิ่ง เนื่องจาก อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายแบบไร้สายนั้นมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว มาก เช่น แท็บเล็ต , วินโดว์โมบาย อีกทั้งยังมีฟังก์ชั่นและขนาดหน้าจอต่างๆ ให้ใช้มากมาย แถมยัง ราคายังไม่แพงมากเหมือนเมื่อก่อนอีกด้วย ทาให้ในธุรกิจต่างๆ เริ่มหันมาให้ความสนใจกับการนาเอา อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เหล่านี้เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เช่นการดู รายงาน กราฟ แสดงผลต่างๆ เป็นต้น ด้วยเหตุนี้เองทาให้ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาซอฟต์แวร์เพื่อใช้งานบนเครื่องมืออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้เติบโต และกระจายตัวอย่างรวดเร็วไปด้วย บวกกับองค์กรและบริษัทต่างๆ ได้ให้ ความสนใจกับซอฟต์แวร์ที่เป็น Open Source กันอย่างแพร่หลายมากขึ้น เพราะเป็นการประหยัด ต้นทุนในส่วนของค่าลิขสิทธิ์ นั่นเอง ทาให้บริษัทที่พัฒนาระบบโดยใช้เครื่องมือที่เป็น Open Source นั้นก็มีมากขึ้นเช่นกัน จากสาเหตุนี้ทาให้การแข่งขันทางด้านธุรกิจซอฟต์แวร์เหล่านี้มีการแข่งขันกัน มากขึ้นทั้งแข่งกับบริษัทซอฟต์แวร์ค่ายใหญ่ เช่น IBM, Microsoft และยังต้องแข่งกับบริษัทที่ใช้ Open Source ด้วยกันอีก ดังนั้นการออกแบบอัตลักษณ์ให้กับบริ ษัท โกอิ้งเจ็ส มีจุดมุ่งหมายคือ ต้องการให้บริษัทมีความชัดเจน และเพื่อให้เป็นที่รู้จักของบุคลคลอย่างแพร่หลายมากขึ้น เนื่องจาก บริษัทเพิ่งก่อตั้งมาได้แค่ 3 ปีนั่นเอง อีกทัง้ ยังขาดการประชาสัมพันธ์บริษัท ทาให้กว่าจะเป็นที่รู้จัก ก็ ต้องใช้ระยะเวลา จากปัญหาในข้างต้น ผู้จัดทาจึงมีความคิดที่ จะออกแบบอัตลักษณ์ให้กับบริษั ท โกอิ้งเจ็ส เพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่ใช้ในสานักงาน ซึ่งได้ผลิตต้นแบบเหมือนจริงโดยมี โลโก้บริษัท , ตรายาง, นามบัตร, ซองจดหมาย, หัวจดหมาย, แก้วน้า, แผ่นพับ , โปสเตอร์ และชุดพนักงาน ซึ่งแบบเดิมนั้น บางอย่างก็ไม่มี หรือหากมีแต่ก็ไม่ค่อยมีจุดเด่น และไม่เป็นที่ สะดุดตาเท่าไหร่นักเวลาไปออกบูท หรือ การนาเสนอผลงา นให้กับบริษัทลูกค้า ให้มีความชัดเจน โดดเด่น และสะดุดตามากขึ้น เพื่อเป็นการ ประชาสัมพันธ์ ส่งเสริมบริษัทให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น และเพื่อที่จะเปิดตลาดให้กว้างขวางมากขึ้น ทา ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องได้รู้จักบริษัทมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังทาให้มีภาพพจน์ขององค์กรที่ดีอีกด้วย


2

วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบอัตลักษณ์ 2. เพื่อผลิตอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส 3. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์บริษัท โกอิ้งเจ็ส สมมติฐาน เนื่องจากเป็นบริษัทที่เพิ่งจะเปิดใหม่ได้ไม่นาน และเป็นผู้บุกเบิกตลาดของการใช้งาน ซอฟต์แวร์ที่เป็นประเภท Open Source จึงยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก และผู้จัดทาได้เล็งเห็นว่ายังไม่มี การประชาสัมพันธ์อย่างจริงจังเท่าไหร่นัก อีกทั้งยังขาดรูปแบบของสัญลักษณ์ที่แน่นอน และยังไม่ มีอัตลักษณ์ที่เป็นที่เอกลักษณ์ของทางบริษัท จึงมีแนวความคิดที่จะต้องการที่จะส่งเสริม และทาการ เผยแพร่ให้เป็ นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น โดยการใช้แนวความคิดที่จะออกแบบอัตลักษณ์ให้กับทางบริษัท ซึ่งใช้หลักการออกแบบกราฟฟิกมาเป็นตัวช่วยในการออกแบบ โดยทาการออกแบบอัตลักษณ์ซึ่งให้ เป็นเอกลักษณ์ของทางบริษัทเพื่อให้เป็นที่จดจาได้ง่าย และออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อส่งเสริมทางบริ ษัท ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น และยังเป็นการประชาสัมพันธ์ไปในอีกทางหนึ่งด้วย โดยคิดว่าสื่อ ประชาสัมพันธ์นี้จะ เป็นการกระตุ้น และส่งเสริมทางบริษัทให้เป็นที่รู้จักแก่บุคคลทั่วไป และบุคคลที่ เกี่ยวข้อง สาหรับการออกแบบอัตลักษณ์สาหรับ บริษัท โกอิ้งเจ็ส นั้นเพื่อที่ จะให้เป็นเอกลักษณ์ของ ทางบริษัทและสามารถจดจาได้ง่าย สามารถสื่อถึงทางบริษัทได้อย่างชัดเจน ซึ่งได้ทาการอ อกแบบอัต ลักษณ์จานวนหนึ่งชุด และสามารถนาไปใช้ในงานที่ได้ออกแบบชิ้นงานอื่นๆ ได้อีกด้วย ขอบเขตของงาน 1. แบบร่างทางความคิด 2. อัตลักษณ์ จานวน 1 รูปแบบ ใช้กับการออกแบบ 2.1 นามบัตรขนาด 5 x 9 cm. 2.2 ซองจดหมายขนาด 1.8 x 23.5 cm. 2.3 หัวจดหมายขนาด 21 x 29.7 cm. 2.4 ตรายางขนาด 3 x 3 cm. 2.5 แก้วน้า 2.6 โปสเตอร์ขนาด 50.8 x 76.2 cm. 2.7 แผ่นพับขนาด 21 x 29.7 cm. 3. ออกแบบลายบนเสื้อพนักงาน 4. รายงานการวิจัยจานวน 3 ชุด


3

นิยามศัพท์เฉพาะ 1. อัตลักษณ์ หมายถึง คาว่า อัตลักษณ์ หมายถึง ตน หรือ ตัวเอง กับ ลักษณ์ ซึ่งหมาย ถึง สมบัติเฉพาะตัว คาว่า อัตลักษณ์ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า identity หมายถึง ผลรวมของ ลักษณะเฉพาะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งทาให้สิ่งนั้นเป็นที่รู้จักหรือจาได้ เช่น นักร้อง กลุ่มนี้ มี อัตลักษณ์ ทางด้านเสียงที่เด่นมาก ใครได้ยินก็จาได้ทันที 2. Open Source (โอเพนซอร์ซ ) หมายถึง วิธีการในการออกแบบ พัฒนา และแจกจ่าย สาหรับต้นฉบับของสินค้าหรือความรู้ โดยเฉพาะซอฟต์แวร์ โดยโอเพนซอร์ซถูกพิจารณาว่าเป็นทั้ง รูปแบบหนึ่งในการออกแบบ และแผนการในการดาเนินการ โดยโอเพนซอร์ซเปิดโอกาสให้บุคคลอื่น นาเอาระบบนั้นไปพัฒนาได้ต่อไป นอกเหนือจากด้านซอฟต์แวร์คาว่าโอเพนซอร์ซยังคงเริ่มนามาใช้ ในส่วนของไบโอเทคโนโลยีอีกด้วย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบถึงกระบวนการออกแบบอัตลักษณ์ 2. ได้ชิ้นงานเสมือนจริงของอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส 3. ได้ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์บริษัท โกอิ้งเจ็ส


บทที่ 2 การศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ในการออกแบบ อัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส ครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อ ศึกษา กระบวนการ และหลักการในการออกแบบ อัตลักษณ์ เพื่อให้ตรงตามแนวคิดที่กาหนดถูกต้องเป็นไป ตามหลักการออกแบบ ผู้ศึกษาจึงใช้หลักการที่เกี่ยวข้องดังนี้ 1. ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการออกแบบอัตลักษณ์ 2. การออกแบบสัญลักษณ์ 3. การออกแบบกราฟิก 4. จิตวิทยาเกี่ยวกับสี 5. การออกแบบสิ่งพิมพ์ 6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการออกแบบอัตลักษณ์ 1.1 ความสาคัญของแบรนด์ (Brand) ภายใต้สถานการณ์การแข่งขันที่รุนแรงในปัจจุบัน ตราสินค้าหรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า “แบรนด์ ” (Brand) ถือเป็นสิ่งที่มีบทบาทและมีความสาคัญต่อความอยู่รอดของธุรกิจ เราจะเห็นว่า ปัจจุบันนี้สินค้าในท้องตลาดได้เพิ่มปริมาณขึ้นเป็นจานวนมาก อีกทั้งยังมีให้เลือกมากมายหลาย ประเภท หรือแม้แต่สินค้าประเภทเดียวกันต่างก็มีผู้ผลิตหลายบริษัท ด้วยเหตุนี้บริษัทผู้ผลิตจึงมีความ จาเป็นที่จะต้องสร้าง “สัญลักษณ์ ” อย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นมาเป็นตัวแทนของสินค้าที่แสดงถึง เอกลักษณ์เฉพาะตัว เพื่อทาให้สินค้านั้นมีความแตกต่างและโดดเด่นจากสินค้าอื่น ส่งผล ให้ผู้บริโภค ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้า เป้าหมายของธุรกิจ สามารถรับรู้และจดจาข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าได้ ง่ายขึ้น ซึ่งจะ นาไปสู่การตัดสินใจซื้อในที่สุด โดยสัญลักษณ์ที่ว่านี้ก็คือ “ตราสินค้า” (Brand) นั่นเอง สร้างความแตกต่างของสินค้าด้วยตัวสินค้าเองในสมัย นี้ทาได้ค่อนข้างยาก เพราะว่าสินค้ามี ความหลากหลายมากขึ้นและมีประเภทสินค้าออกมาสู่ต ลาดมากมาย การที่เราจะคิดแต่ว่าจะ สร้าง ความแตกต่างจากสินค้าไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เพราะช่องว่างของตลาดเริ่มแคบลงทุกทีจึงเป็นผลให้การ สร้างแบรนด์เป็นกลยุทธ์ที่ค่อนข้างได้รับความสาคัญในปัจจุบัน 1.2 เอกลักษณ์ขององค์กร เอกลักษณ์องค์กร หรือ เอกลักษณ์กลุ่มบริษัท (corporate identity) เป็นรูปแบบที่เป็น เอกลักษณ์ของหน่วยงานหรือองค์กร ซึ่งถูกออกแบบให้สอดคล้องกับเป้าหมายทางธุรกิจ ที่แสดง


5

ออกมาทางในรูปแบบของแบรนด์ และการใช้งานเครื่องหมายการค้า แม้ว่าเรื่องของเอกลักษณ์จะ ไม่ใช่สิ่งเดียวที่เกี่ยวกับแบรนด์ (เพราะแบรนด์ประกอบด้วยหลายองค์ประกอบ ) แต่เรื่องของแบรนด์ กับเอกลักษณ์เป็นเรื่องที่ต้องเกิดขึ้นควบคู่กันอยู่เสมอ เราสามารถสร้างแบรนด์ ให้โดดเด่นได้ด้วยการ สร้างเอกลักษณ์ให้กับแบรนด์ ซึ่งสามารถสื่อสารออกมาได้ 3 ส่วนด้วยกัน คือ การสร้างเอกลักษณ์ ผ่านทางภาพ (Visual Identity) การสร้างเอกลักษณ์ผ่านทางพ ฤติกรรม (Behavioral Identity) และ การสร้างเอกลักษณ์ผ่านการพูด (Verbal Identity เช่น การใช้สโลแกน จิงเกิ้ล เป็นต้น) การออกแบบสร้าง “เอกลักษณ์” ให้กับองค์กรหรือแบรนด์เป็นงานที่ยากยิ่งเพราะไม่ใช่เป็น เพียงการออกแบบ “โลโก้” ให้สวยงามแล้วจบ แต่สิ่งที่เราต้องการคื อเอกลักษณ์ด้ านภาพที่จะสื่อสาร ถึงจุดยืน บวกกับ บุคลิกภาพรวมถึงวิสัยทัศน์ของแบรนด์ จากนั้นค่อยพัฒนาต่อในเรื่องระบบ การใช้โลโก้ การใช้ตัวอักษร การใช้สี การใช้ภาพ และอื่นๆ อีกมากมายที่จะทาให้ภาพลักษณ์ของ องค์กรมีเอกลักษณ์ตามที่ต้องการ 1.3 วัตถุประสงค์ทางเอกลักษณ์ขององค์กร 1.3.1 วัตถุประสงค์ทางด้านจิตวิทยา (Psychology Objective) วัตถุประสงค์ทางด้าน จิตวิทยา คือการต้องการให้ผู้บริโภคเกิดความรู้สึกความเชื่อมั่นเกิดความเข้าใจในตัวสินค้า และ ยอมรับในตัวสินค้า และในการเอกลักษณ์ขององค์กรปัจจุบันวัตถุประสงค์ทางจิตวิทยา ที่สาคัญคือ ความต้องการที่จะสร้างให้ผู้บริโภคเกิดความรู้สึกประทับใจในร้านที่เข้า 1.3.2 วัตถุประสงค์ทางด้านพฤติกรรม (Action Objective) วัตถุประสงค์ทางด้าน พฤติกรรม คือการที่ต้องการให้ผู้บริโภคแสดงพฤติ กรรมตอบสนองการจูงใจของเอกลักษณ์ขององค์กร เช่น การกระตุ้นให้เกิดการเข้าร้าน ตลอดจนการกระตุ้นให้ผู้บริโภคแสวงหาข้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียด ในตัวร้าน เป็นต้น 1.3.3 วัตถุประสงค์ทางด้านภาพพจน์ (Corporate Objective) วัตถุประสงค์ทางด้าน ภาพพจน์ของร้าน เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดทัศนคติที่ดี มีความนิ ยมชมชอบต่อร้านอาหาร เช่น ให้ผู้ บริโภค เห็นว่าร้านมีความห่วงใยต่อสังคม มีความรับผิดชอบต่อลูกค้า เป็นต้น ซึ่งเมื่อผู้บริโภคเกิด ทัศนคติที่ดี มีภาพพจน์ที่ดีต่อร้านอาหารแล้วสิ่งเหล่านี้ก็จะมีผลต่อยอด ขายของร้านนั้น เป็นต้น 1.4 ความสาคัญของการออกแบบเอกลักษณ์ขององค์กร การออกแบบเอกลักษณ์ขององค์กรมีส่วนสร้างสรรค์สัญลักษณ์ และข้อตกลงร่วมกันของ คนในสังคม โดยเข้ามามีส่วนช่วยเสริ มการรับรู้ทางการมองเห็น เป็นลู่ทาง หรือสื่อกลางช่วยการรับรู้ แห่งข้อตกลงต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพ มีความชัดเจน มีผลกระทบทางด้านจิตวิทยา ในอันที่จะระลึกถึง และเป็นเครื่องหมายแห่งความทรงจาข้อเ ตือนใจ ข้อควรระวังในระบบระเบียบ ของกฎเกณฑ์และ ความเชื่อที่จะปฏิบัติต่อกันไป เพื่อความคงอยู่ของสังคมที่สงบร่มเย็น ดังเช่นที่ ปรากฏ อยู่เป็น เครื่องหมายสัญลักษณ์ แล ะข้อตกล งต่างๆ เช่น สัญลักษณ์แทนศาสนา ลัทธิ เครื่องหมายจราจร


6

เป็นต้น ซึ่งเครื่องหมายสัญลักษณ์ต่างๆ ทางเอกลักษณ์ขององค์กรนี้ จาเป็นต้องอาศัย การออกแบบให้ มีขนาดรูปทรงที่ชัดเจน เรียบร้อย สวยงาม และเหมาะสมกับ อานาจทางการมอง (Visual Perception) ของมนุษย์ การออกแบบเอ กลักษณ์ขององค์กรเป็นสื่อแสดงแห่งพลังการสร้างสรรค์ความเจริญ ก้าวหน้าทางวิทยาการทั้งหลายที่คิดค้นขึ้น ล้วนแต่เกิดจากการถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์ก็ออกมา ผ่านการขีดเขียนหรือการสร้างภาพ (Image) ทางลักษณะของงานเอกลักษณ์ขององค์กรด้วยกัน ทั้งนั้นเพราะเป็นลู่ทางที่สา มารถรองรับความคิดฉับพลันและการกระทาของมนุษย์ได้รวดเร็วที่สุด แม้กระทั่งมีการขัดเกลาแก้ไขดัดแปลงและนาเสนอ (Presentation) รูปร่างของความคิด หรือการ ประกอบเพื่อสร้างต้นแบบ และคาอธิบายที่เป็นสื่อแสดงให้ผู้ดูได้รู้ได้เห็นเกิดความสนใจเข้าใจ และคล้อยตามในควา มคิดสร้างสรรค์ที่ ได้เพียรพยายามขึ้นมา ดังเช่น การเขียนแบบ ทางวิศวกรรม สถาปัตยกรรม เค รื่องจักรกลต่างๆ ตลอดจนงานสร้างสรรค์ศิลป กรรมแขนงอื่นๆ การออกแบบ เอกลักษณ์ขององค์กรเป็นการเสริมสร้างแต่งข่าวสารให้ดึงดูดสายตา และน่าสนใจขึ้นโดยการปรับปรุง เพิ่มเติมเสริมแต่งด้ วยทักษะทางศิลปะและให้หลักจิตวิทยาการรับรู้เข้าช่วย เช่น การจัดวางรูปแบบ ของข้อความ รูปภาพ เปลี่ยนขนาด การเสนอข้อความ ที่กะทัดรัดได้ใจความ เป็นต้น 1.5 แนวคิดการสร้างสรรค์งานเอกลักษณ์ขององค์กร 1.5.1 ไม่ซับซ้อน (Simplicity) ไม่ซับซ้อนเน้นแนวคิดเพียงบางแนวคิดเดียวซึ่งสามารถ จะพัฒนาเป็นแนวคิดสร้างสรรค์ได้หลากหลายในเวลาต่อไป 1.5.2 การมีลักษณะเฉพาะตัว (Uniqueness) การมีลักษณะเฉพาะตัวโดยแนวคิดหลัก ที่เลือกมา ต้องมีความแตกต่างไปจากคู่แข่งขัน เช่น ถ้าเสนอลักษณะเฉพาะตัวในเรื่องของเทคโ นโลยี ก็ต้องพูดถึงความชานาญ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ 1.5.3 ความเหมาะสม (Appropriateness) ความเหมาะสมที่โฆษณาสถาบันจะ ต้อง ดึงความ สนใจข องคนมาสู่คุณลักษณะของตัวบริษัทโฆษณา สถาบันที่ประสบความสาเร็จต้อง สอดคล้องกับคุณลักษณะ หรือวัตถุประสงค์ของบริษัท 1.5.4 การมีความสัมพันธ์กัน (Relevance) การมีความสัมพันธ์กันโฆษณาสถาบันที่ดี จะต้องเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่คัดสรรไว้แต่แรก 1.5.5 การมีสายตายาวไกล (Foresight) การมีสายตายาวไกลโดยวัตถุประสงค์หลัก ของโฆษณา เพื่อสร้างภาพพจน์คือการเข้าถึงผู้รับก่อนที่เขาจะมีทัศนคติกับบริ ษัทในเชิงลบ เพราะฉะนั้นการโฆษณาประเภทนี้จะเข้าไปปรับมุมมองของผู้รับที่มีกับบริษัทในทางที่ถูกต้อง 1.5.6 ความต่อเนื่อง (Continuity) ความต่อเนื่ องเป็นปัจจัยของการโฆษณาสถาบัน ที่ ประสบผลสาเร็จ เพราะการโฆษณาประเภทนี้ต้องการให้การพบเห็นติดตาอย่างต่อเนื่องในระยะเ วลา หนึ่ง


7

1.5.7 ความน่าเชื่อถือ (Credibility) ความน่าเชื่อถือการโฆษณาสถาบันแม้จะวางแผน อย่างดีหรือเงินทุนดี แต่จะไม่ประสบความสาเร็จถ้าไม่อ้าง อิงเกี่ยวข้องกับสิ่งที่เป็นจริง อย่างไรก็ตาม เครื่องหมายบริษัท (Corporate Marks) ที่ดีจะต้องประกอบด้วยสิ่งต่างๆ ดังนี้ - เป็นต้นฉบับคือไม่ลอกเลียนแบบใคร และโดดเด่น - อ่านง่าย ชัดเจน - เข้าใจง่าย - จดจาได้ง่าย - เกี่ยวเนื่องกันดีกับบริษัท - สามารถปรับเปลี่ยนเพื่อใช้กับงานกราฟิกอื่นๆ ได้ง่าย 2. การออกแบบสัญลักษณ์ นักออกแบบจะต้องใช้ความรู้ความสามารถอย่างยิ่งในการวิเคราะห์เนื้อหาของสารที่จะต้อง การสื่อความหมาย และสังเคราะห์ให้เป็นรูปลักษณ์ที่ใช้ เป็นสิ่งแทนอันสามารถจะบอกได้ถึง ความหมาย ทั้งยังต้องใช้ความสามารถในการเขียนภาพ หรือผลิตภาพสัญลักษณ์ให้ประณีตคมชัด เพื่อสื่อความหมายได้ถูกต้องชัดเจน 2.1 แรงบัลดาลใจในการออกแบบสัญลักษณ์ ในการออกแบบสัญลักษณ์ นักออกแบบจะมีแหล่ง ที่มาของแรงบันดาลใจสาคัญ 2 ประการ ดังนี้ 2.1.1 จากธรรมชาติสิ่งแวดล้อม (Natural Form) ได้แก่ ภาพดอกไม้ ใบไม้ ภูเขา ทะเล สัตว์ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ฯลฯ จัดเป็นสัญลักษณ์ที่เกิดจากธรรมชาติ (Natural Symbol)

ภาพที่ 1 ภาพสัญลักษณ์จากธรรมชาติสิ่งแวดล้อม (ที่มา: http://www2.feu.ac.th/admin/pr/newscontrol/atts/D20120503112054)


8

2.1.2 จากรูปแบบที่มนุษย์สร้าง (Manmade Form) ได้แก่ อาคารบ้านเรือน เครื่องใช้ สิ่งของต่างๆ สัญลักษณ์ที่มนุษย์สร้างขึ้น (Conventional Symbol) นอกจากนี้การออกแบบ สัญลักษณ์ให้บรรลุเป้าหมาย นักออกแบบควรคานึงถึงหลักสาคัญ 3 ประการคือ - ความงามของสัญลักษณ์ จะต้องเกี่ยวโยงกับสุนทรียภาพ (Aesthetic Form) คือความงดงามของรูปแบบของสัญลักษณ์ไม่ว่าจะเป็น Representation หรือ Abstract - ต้องเหมาะสมกับกาลเวลาทุกยุคทุกสมัย ควรหลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็นความนิยม ชั่วคราว - ต้องนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายประการ สามารถลอกเลียนด้วยวิธีต่างๆ เช่น การย่อหรือขยายได้

ภาพที่ 2 ภาพสัญลักษณ์จากรูปแบบที่มนุษย์สร้าง (ที่มา: http://www2.feu.ac.th/admin/pr/newscontrol/atts/D20120503112054) 2.2 เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ (Logo) เป็นผลของการออกแบบกราฟิกที่เกี่ยวข้อง กับสัญลักษณ์ (Symbolism) อันได้แก่ ภาพ สัญลักษณ์แ ละเครื่องหมายต่างๆ ที่ช่วยสร้าง เอกลักษณ์ ได้แก่สินค้าและบริษัทผู้ผลิต เช่น การ ออกแบบตราสัญลักษณ์ของสินค้า และบริษัทให้มีเอกลักษณ์แบบเฉพาะตนเอง เพื่อความจา ความเชื่อถือ และตราตรึง ผู้บริโภคตลอดไป ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน 2.3 สัญลักษณ์ หรือ เครื่องหมาย (Symbol) โดยพื้นฐานหมายถึง สิ่งที่ใช้แทนความหมาย ของอีกสิ่งหนึ่งหรือถ้าจะกล่าวให้ลึกลงไปอีก สัญลักษณ์หมายถึงวัตถุอักษร รูปร่าง หรือสีสัน ซึ่งใช้ในการสื่อความหมายหรือแน วความคิดให้มนุษย์ เข้าใจไปในทางเดียวกัน อาจจะเป็น รูปธรรมหรือนามธรรมก็ได้ในทางปรัชญา มักมีคานิยามว่าทุกสิ่ง ทุกอย่างในธรรมชาติ หรือแม้ในจักรวาลสามารถแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ทั้งสิ้น


9

2.4 ภาษาภาพ (Pictograph) ไม่ใช้ภาษาทางตัวอักษรประกอบ แต่ใช้ภา พบอกแทน หรือสื่ อความหมายด้วยภาพ ให้ทราบถึงทิศทาง กิจกรรม หรือแทนสิ่งเฉพาะ เช่น เครื่องหมา ยบอกทิศทางความปลอดภัย การคมนาคม

ภาพที่ 3 ภาพสัญลักษณ์จากภาษาภาพ (ที่มา: http://www2.feu.ac.th/admin/pr/newscontrol/atts/D20120503112054) 2.5 เครื่องหมายตัวอักษร (Letter Marks) มักอยู่ในรูปตัวอักษรที่เกิดจากการย่อเอาตัวอักษรออกมาจากคาเต็ม หรือชื่อเต็มขององค์กร บริษัท สถาบันต่างๆ ออกมาใช้เป็นเครื่องหมายแสดงแท น ได้แก่ การออกแบบสัญลักษณ์โดยอาศัย รูปแบบตัวอักษรมาประดิษฐ์จัดวางให้สวยงาม ชัดเจน การอ อกแบบอาจจะใช้เฉพาะตัวอักษรหรือ คาย่อของหน่วยงาน บริษัทหรือสถาบันองค์การต่างๆ มาใช้

ภาพที่ 4 ภาพสัญลักษณ์จากเครื่องหมายตัวอักษร (ที่มา: http://www2.feu.ac.th/admin/pr/newscontrol/atts/D20120503112054) 2.6 ชื่อหรือคาเต็มที่เป็นตัวอักษร (Logo) อ่านออกเสียงได้ตามหลัก ไวยากรณ์ของภาษาโดยใช้ตัวอักษรเพียงเท่านั้น


10

2.7 ลักษณะแบบผสมผสาน (Combination Marks) คือการออกแบบภาพสัญลักษณ์ โดยนาเอารูปแบบตัวอักษรกับรูปภาพมาประกอบกันใน การออกแบบอย่างสัมพันธ์กันและเหมาะสม

ภาพที่ 5 ภาพสัญลักษณ์จากลักษณะแบบผสมผสาน (ที่มา: http://www2.feu.ac.th/admin/pr/newscontrol/atts/D20120503112054) 2.8 เครื่องหมายการค้า (Trademarks) ซึ่งอาจจะมิได้หลายลักษณะที่ได้กล่าวไว้ ทั้ง 5 ประการ ขึ้นอยู่กับว่าเจ้าของกิจการต้องการ ให้เครื่องหมายของตนเองอยู่ในลักษณะใด ก็เลือกใช้ตามความเหมาะสม แนวคิดในการออ กแบบ สัญลักษณ์ ควรจะยึดหลักกว้าง ๆ เพื่อเป็นแนวคิด ได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับความงาม แนวคิดเกี่ยวกับ ความหมาย แนวคิดในการสร้างความเด่นและน่าสนใจ และความเหมาะสมในการออกแบบและการใช้ งาน วิธีการออกแบบสัญลักษณ์ สัญลักษณ์ในทุกลักษณะที่ทา งการออกแบบ ผู้ออกแบบควรจะ พิจารณาให้ชัดเจนก่อนว่างานออกแบบนั้นมีวัตถุประสงค์อย่างไร ทั้งนี้เพื่อให้ผลงานออกแบบสามารถ สื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจได้โดยง่าย มีความชัดเจน สามารถดึงดูด ความสนใจได้ดี ภาพเครื่องหมาย สามารถนาไปใช้งานได้หลายลักษณะ มีรูปแบบที่น่าเชื่อถือ เกิดจากความเชื่อมั่นและยอมรับ มีค วาม เป็นเอกลักษณ์ ซึ่งปัจจัยต่างๆ ผู้ออกแบบจะละเลยไม่ได้ โดยมีขั้นตอนการออกแบบ ดังนี้ 2.8.1 ศึกษารวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเพื่อเป็นแนวคิดในการออกแบบ 2.8.2 กาหนดแนวคิดหลักโดยใช้ข้อมูลเบื้องต้นเป็นบรรทัดฐาน 2.8.3 เลือกหาสิ่งดลใจในการออกแบบ อาจเป็นรูปทรงเรขา คณิต รูปทรงอิสระ หรือ สิ่งในธรรมชาติ 2.8.4 กาหนดรูปร่างภายนอก 2.8.5 ร่างภาพเพื่อหารูปแบบที่เหมาะสมโดยการร่างไว้หลายๆ แบบ 2.8.6 ลดทอนรายละเอียด


11

2.8.7 ร่างแบบเขียนสี 2.8.8 เขียนแบบจริง ในความเป็นจริง เราพบเห็นสัญลักษณ์ที่มีผู้ออกแบบไว้แล้ว และมีการนามาใช้อยู่โดยทั่วไป ซึ่งเราอาจนาภาพสัญลักษณ์เหล่านั้นมาใช้หรือประยุกต์ หรือเป็นแนวทางในการออกแบบสร้างภาพ สัญลักษณ์ เพื่อสื่อความหมายในการเรียนการสอนได้ สั ญลักษณ์ที่นามาใช้อาจเป็นรูปภาพ ตัวหนังสือ ตัวเลข และเครื่องหมายต่างๆ เรานามาใช้ได้ทุกเนื้อหาวิชา ให้เหมาะสมและสามารถสื่อความหมายได้ ตรงจุดประสงค์ที่สุด 3. การออกแบบกราฟิก 3.1 การออกแบบ (Design) การออกแบบจะต้องมาจากรากฐานทางด้านเทคนิค ความคิด และพื้นฐานทางทัศนะสื่อสาร (Visual Communication) เพราะมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งไม่ว่าคุณจะอยู่ในฐานะผู้วิพากษ์วิจารณ์ หรือผู้สร้างสรรค์งานออกแบบโดยตรง ความรู้ความสามารถในระดับพื้นฐานเป็นสิ่งสาคัญที่สุดสาหรับ กระบวนการศึกษาทางด้านนี้ และจะต้องเป็นไปใน ลักษณะเข้มข้นผู้ที่ มีพื้นฐานในการออกแบบที่ดี จะช่วยให้สามารถมีพัฒนาการแก้ปัญหาบนพื้นฐานของประสบการณ์ และชั้นเชิงทางด้านนี้ได้เป็น อย่างดี หากคุณออกแบบงานเพียงฉาบฉวย ย่อมเป็นอันตรายยิ่ง ปัญหาหลักของการออกแบบกราฟิก (Graphic Design) อยู่ที่พลังสองด้านที่ต่างขั้วกัน ซึ่งปัญหานี้จา เป็นต้อ งได้รับการขุดค้นอย่าง ระมัดระวัง ต้องแก้ ปัญหาให้ตก และสร้างดุลยภาพให้เกิดขึ้นให้ได้ ปัญหา 2 ด้านที่ว่าก็คือ พลังการ แสดงออกตามปัจเจกภาพ หรือการสร้างสรรค์เฉพาะบุคคลจะต้องสร้างให้ตรงกับความพึงพอใจของ กลุ่มประชากร ทั้งนี้งานออกแบบ จะต้องมีคุณค่าสูงการออก แบบไม่ใช่ศิลปะโดยตรง แต่เป็นการ สร้างสรรค์ที่เกิดความสมดุล กับความพึงพอใจ การออกแบบจะต้องตอบสนองความจาเป็นของมนุษย์ การแสดงออกของ งานออกแบบจะต้องสร้างให้ปรากฏได้หรือตรวจสอบได้ เราจะต้องมีเกณฑ์ที่พิสูจน์ ได้ เพื่อการตัดสินใจในทางคุณค่าของงานออกแบบ 3.2 กระบวนการออกแบบ นักออกแบบจะทางานออกแบบเพื่อสนองวัตถุประสงค์หลักของการผลิตงานสร้างสรรค์ สื่อแต่ละประเภท เพื่อให้ผลงานต้นแบบมีความสมบูรณ์ สวยงาม น่าสนใจ สามารถกระตุ้นผู้ดูให้รู้สึก พึงพอใจและเกิดทัศนคติคล้อยตาม โดยอาศัยหลักและวิธีการทางศิลปะเป็นตัวกาหนดองค์ ประกอบ หลักการที่นามาจัดองค์ประกอบ (Composition) มี 8 ประการดังนี้ 3.2.1 ความเป็นเอกภาพ (Unity) 3.2.2 ความสมดุล (Balance) 3.2.3 ความประสานกลมกลืน (Harmony)


12

3.2.4 การตัดกัน (Contrast) 3.2.5 การซ้า (Repeatition) 3.2.6 จังหวะ (Rhythm) 3.2.7 สัดส่วน (Proportion) 3.2.8 การเน้น (Emphasis) 3.3 ความเป็นเอกภาพ (Unity) หมายถึงการรวมตัวเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไ ม่แตกแยกออกจากกัน ในงานศิลปะเอก ภาพ ทาให้เกิดรู้สึกแน่นแฟ้นและสามัคคี ส่วนที่มีความสาคัญมากที่สุดได้แก่ส่วน ที่มีความโดดเด่น มากที่สุด การทาให้สาระและองค์ประกอบทุกส่วนมีความสัมพันธ์คล้องจองกัน ย่อมเป็นการเน้นความมีเอกภาพ ที่ดี การจัดส่วนให้ส่วนประกอบย่อยหลายๆ ส่วนประกอบกันขึ้นเป็นหน่วย เป็นส่วนรวมอย่างต่อเนื่อง ไม่กระจัดกระจายบนพื้นฐานลั กษณะของรูปร่าง ขนาด พื้นผิว และ โครงสีก็จะเป็น การสร้างจุดรวม สายตาและการเน้นองค์ประกอบงานนั้นมีความโดดเด่นยิ่งขึ้น 3.4 ความสมดุล (Balance) หมายถึง ความเท่ากันหรือความถ่วง เพื่อให้เกิดความเท่ากันในแง่ของศิลปะ ซึ่งแตกต่าง จากในแง่ของวิทยาศาสตร์ คือทางศิลปะเราอาศัยความรู้สึกที่เกิดจากสายตา เท่านั้นที่ให้ความรู้สึก เท่ากัน ไม่เอียงไปทางใด ความสมดุลมี 2 ประเภทคือ 3.4.1 ความสมดุลแบบเท่ากัน 2 ข้าง คือความเท่ากันพอดีแบบสมมาตร ไม่มีส่วนใด ใหญ่กว่า ซ้าย ขวา เหมือนกัน ความสมดุลแบบนี้ก่อให้เกิดความรู้สึกสง่างาม มั่นคง แข็งแรงแฝงความ เป็นระเบียบ เช่น วัด รถยนต์ เครื่องบิน 3.4.2 ความสมดุลแบบไม่เท่ากัน ความสมดุลแบบนี้นิยมใช้ในงานออกแบบเพราะมีจุด ที่ น่าสนใจมีการเคลื่อนไหว ซึ่งสมดุลแบบนี้จะพูดให้เข้าใจได้ยาก เพราะวัดความสมดุลกันโดยเน้น ความรู้สึก ต่อสายตาเท่านั้น เช่น การมองคนอ้วน 1 คน เทียบกับคนผอม 2 คน 3.5 ความประสานกลมกลืน (Harmony) ความพอเหมาะในงานออกแบบที่ดูแล้วสร้างความพอใจ ไม่ขัดตาซึ่งการออกแบบให้ กลมกลืน แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะคือ 3.5.1 ออกแบบให้กลมกลืนด้านความคิด 3.5.2 ออกแบบให้กลมกลืนด้านรูปทรง 3.5.3 ออกแบบให้กลมกลืนตามธรรมชาติความกลมกลืนในการออกแบบมี 5 ประเภท - ความกลมกลืนให้เส้นมีทิศทางกลมกลืนกันไปในทางเดียวกัน - การออกแบบให้กลมกลืนกันด้วยรูปร่างคือการออกแบบให้มีรูปร่าง ใกล้เคียง กันมีขนาดใกล้เคียงกันหรือมีรูปร่างเหมือนกันแต่ขนาดต่างกัน


13

- การออกแบบให้กลมกลืนทางด้านขนาด - การออกแบบให้กลมกลืนกันด้วยสี - การออกแบบให้กลมกลืนกันด้วยพื้นผิว 3.6 การตัดกัน (Contrast) ความที่ไม่ตกลงกัน ซึ่งเป็นการขัดแย้ง และเป็นการกระทาที่ตรงข้ามกันอีกนัยหนึ่งคือ ขาด การประสานกัน ความขัดแย้งมี 8 ลักษณะ เช่นเดียวกับการประสานกลมกลืน 3.6.1 การตัดกันด้วยเส้น 3.6.2 การตัดกันด้วยรูปร่าง 3.6.3 การตัดกันด้วยรูปทรง 3.6.4 การตัดกันด้วยขนาด 3.6.5 การตัดกันด้วยทิศทาง 3.6.6 การตัดกันด้วยสี 3.6.7 การตัดกันด้วยค่าความเข้ม 3.6.8 การตัดกันด้วยลักษณะผิว 3.7 การซ้า (Repetition) อาการแห่งการต่อเนื่อง ในรูปลักษณะเดียวกัน ขององค์ประกอบอันเดียวกั น หรือ คล้ายกัน เช่น เส้นตรงที่ขีดลงมายาวเท่าๆ กันระยะห่างเท่าๆ กันและขีดไปในทิศทางเดียวกัน ลักษณะซ้านี้มี หลายลักษณะ เช่น เส้น รูปทรง รูปร่าง คุณค่าทางความเข้ม ลักษณะผิวและสี 3.8 จังหวะ (Rhythm) การเคลื่อนไหวที่มีลีลาซ้าและต่อเนื่อ งกันเป็นระยะ โดยมีอัตราสม่าเสมอ และถือได้ว่าเป็น การซ้าที่มีท่วงทานองที่แปลกแตกต่างกั น การแสดงออกของจังหวะในงานศิลป์ นั้นมี 3 ประการ คือ จังหวะในรูปร่าง ความเข้ม ขนาด 3.9 สัดส่วน (Proportion) ความสัมพันธ์ซึ่งมีอยู่ระหว่างส่วนประกอบต่างๆ ในตัวของวัตถุตัวเอง แล ะความสัมพันธ์ เมื่อเทียบเคียงกับวัตถุอื่นในวัตถุหนึ่ง เราจะพิจารณาถึงความกว้างยาวในกรณี 2 มิติ หรือความกว้าง ความยาวและความ ลึก นักออกแบบจะต้องคานึงถึงหลักการจัดให้ได้ คุณค่าทางความงาม การเน้น เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างสัด ส่วนกับการจัดตาแหน่ง สัดส่วนกับ โครงสี สัดส่วนกับพื้นที่ว่าง สัดส่วน ของตัวอักษรข้อความและรูปภาพประกอบ ตลอดจนความอ่อนเข้มของแสงและเงา สิ่งดลใจในการหา แรงกระตุ้นในการกาหนดสัด ส่วนต่างๆ ที่ปรากฏขึ้นบนภาพหรือชิ้ นงาน ได้แก่จากสิ่งที่อยู่รอบตัว จาก ธรรมชาติ จากวัตถุสิ่งของมาเป็นแนวคิดการสร้างสัดส่วนที่แปลกตาออกไป ย่อมจะมีผลสะท้อนให้เกิด ความน่าสนใจ และชวนมองยิ่งขึ้น


14

3.10 การเน้น (Emphasis) เป็นหลักการที่สาคัญอันหนึ่งในการออกแบบ ซึ่งการเน้นต้องคิดก่อนลงมือทางาน เพราะ ต้องรู้ว่าส่วนใดต้องเน้นให้เป็นจุดเด่น และจุดใดควรเป็ นส่วนรอง จุดมุ่งหมายของการเน้น ก็คือ การสร้างจุดสนใจให้ผู้ดูได้รับข้อมูลหลักตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ 3.11 เส้น (Line) เส้น คือ ร่องรอยที่เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด หรือถ้าเรานาจุดมาวางเรียงต่ อๆ กันไปก็จะเกิด เป็นเส้นขึ้นเส้นมีมิติเดียว คือความยาวไม่มีความกว้าง ทาหน้าที่เป็นขอบเขตของที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง น้าหนัก สี ตลอดจนกลุ่มรูปทรงต่างๆ รวมทั้งเป็นแกนหรือโครงสร้างของรูปร่าง รูปทรง เส้นเป็น พื้นฐานที่สาคัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดงความรู้สึก และอารมณ์ได้ด้วย ตัวเอง และด้วยการสร้างเป็นรูปทรงต่างขึน้ เส้นมี 2 ลักษณะคือ เส้นตรง (Straight Line) และเส้นโค้ง (Curve Line) เส้นทั้งสองชนิดนี้ เมื่อนามา จัดวางในลักษณะต่างๆ กันจะมีชื่อเรียกต่าง ๆ และให้ความหมาย ความรู้สึก ที่แตกต่างกัน อีกด้วย 3.11.1 ลักษณะของเส้น - เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนักแน่น เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง - เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย - เส้นเฉียง หรือ เส้นทแยงมุม ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มั่นคง - เส้นหยัก หรือ เส้นซิกแซกแบบฟันปลา ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว อย่างเป็น จังหวะ มีระเบียบ ไม่ราบเรียบ น่ากลัว อันตราย ขัดแย้ง ความรุนแรง - เส้นโค้งแบบคลื่น ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ อ่อนโยน นุ่มนวล - เส้นโค้งแบบก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว คลี่คลาย หรือเติบโตในทิศทาง ทีห่ มุนวนออกมา ถ้ามองเข้าไปจะเห็นพลังความเคลื่อนไหวที่ไม่สิ้นสุด - เส้นโค้งวงแคบ ให้ความรู้สึกถึงพลังความเคลื่อนไหวที่รุนแรง การเปลี่ยน ทิศทางที่รวดเร็ว ไม่หยุดนิ่ง - เส้นประ ให้ความรู้สึกที่ไม่ต่อเนื่องขาดหาย ไม่ชัดเจน ทาให้เกิดความเครียด


15

ภาพที่ 6 ภาพเส้น (ที่มา: http://www.trueplookpanya.com/data/product/uploads/other4/image006.gif) 3.11.2 ความสาคัญของเส้น - ใช้ในการแบ่งที่ว่างออกเป็นส่วน ๆ - กาหนดขอบเขตของที่ว่าง หมายถึง ทาให้เกิดเป็นรูปร่าง (Shape) ขึ้นมา - กาหนดเส้นรอบนอกของรูปทรง ทาให้มองเห็นรูปทรง (Form) ชัดขึ้น - ทาหน้าที่เป็นน้าหนักอ่อนแก่ของแสดงและเงา หมายถึง การแรเงาด้วยเส้น - ให้ความรู้สึกด้วยการเป็นแกนหรือโครงสร้างของรูปและโครงสร้างของภาพ 4. จิตวิทยาเกี่ยวกับสี ความพึงพอใจ ความชอบและไม่ชอบไ ม่เกี่ยวกับสีแต่ละสีของคนแต่ละคน แต่ละกลุ่ม เป้าหมาย มีส่วนที่จะชักจูงให้เกิดความรู้สึกสนใจและเข้าใจถึงคุณค่าของภาพเหล่านั้น สามารถ ตอบสนองแรงจูงใจให้เกิดความรู้สึกสนใจและเข้าใจถึงคุณค่าของภาพเหล่านั้น สามารถตอบสนองแรง กระตุ้นได้ตามวัตถุประสงค์เป็นเป้าหมายสาคัญของงานออกแบบทีเดียวแม้ว่าจะมีทฤษฎีเกี่ยวกับสี อย่างมากมายแตกต่างกันออกไปตามลักษณะการนาไปใช้ แต่ลักษณะเฉพาะตัวหรือคุณค่าเฉพาะ ของ แต่ละสีย่อมจะเป็นตัวแทนของอารมณ์ต่างๆ ในวัตถุที่มีสีเกิดขึ้นในตัว เมื่อสายตาได้สัมผัสวัตถุ ได้เห็น ความแตกต่างหลากหลายของสีในวัตถุย่อมเกิด ความรู้สึกต่างๆ ได้แก่ ตื่นเต้น หนาวเย็นห รืออบอุ่น อ่อนหวาน นุ่มนวลหรือเข้มแข็ง และนอกจาก ความรู้สึกทั่วๆไปแล้ว ยังเป็นที่ ยอมรับกันว่า สีเป็น สัญลักษณ์ของ ความคิดทางนามธรรมบางประการอีกด้วย เช่น ความสงบสันติ การเคลื่อนไหว อันตราย ความตาย ฯลฯ อิทธิพลของสีที่เกี่ยวเนื่องกับการรับรู้และการจดจาสิ่งต่างๆ รอบตัว


16

มีผลกระทบ ต่อระบบประสาทสัมผัสได้ดีกว่า รูปร่าง ลายเส้นหรือถ้อยคา ตลอดจนมโนทัศน์ต่างๆ การใช้สีในงานออกแบบย่อมจะแสดงคุณค่า อย่างเด่นชัด ในอันที่จะเชื่อมโยงส่วนที่เป็นเนื้อห าสาระ และจิตใต้สานึกของคนให้รับรู้ และเกิดทัศนคติอย่างใด อย่างหนึ่งอันเ กี่ยวเนื่องกับความชอบแ ละไม่ ชอบของแต่ละคน การมีความรู้ และประสบการณ์ในการเลือกใช้สีของนักออกแบบจึงเป็นส่วนสาคัญ ที่จะทาให้เอกสารเหล่านั้นบรรลุเป้าหมายตามที่ต้องการได้ไม่ยากนัก ลักษณะและสัญลักษณ์ของสี (Characteristics and Symbolism of color) 4.1 สี (Colour) 4.1.1 สีแดง มีความอบอุ่น ร้อนแรง เปรียบดังดวงอาทิตย์ นอกจากนี้ยังแสดงถึง ความ มีชีวิตชีวาความรัก ความปรารถนา เช่น ดอกกุหลาบแดงวัน วาเลนไทน์ ในทางจราจร สีแดงเป็น เครื่องหมายประเภทห้าม แสดงถึงสิ่งที่อันตราย เป็นสีที่ต้อง ระวังเป็นสีของเลือด ในสมัยโรมัน สีของ ราชวงศ์เป็นสีแดง แสดงความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์และอานาจ 4.1.2 สีเขียว แสดงถึงธรรมชาติสีเขียว ร่มเย็น มักใช้สื่อความหมายเกี่ยวกับการ อนุรักษ์ธรรมชาติเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม การเกษตร การเพาะปลูก การเกิดใหม่ ฤดูใบไม้ผลิ การงอกงาม ในเครื่องหมายจราจรหมายถึงความปลอดภัย ในขณะเดียวกัน อาจหมายถึงอันตราย ยาพิษ เนื่องจาก ยาพิษและสัตว์มีพิษก็มักจะมีสีเขียวเช่นกัน 4.1.3 สีเหลือง แสดงถึงความสดใส ความเบิกบาน โดยเรามักจะใช้ดอกไม้สีเหลือง ใน การไปเยี่ยมผู้ป่วย และแสดงความรุ่งเรืองความมั่งคั่ง และฐานันดรศักดิ์ ในทางตะวันออกเป็นสี ของ กษัตริย์จักรพรรดิของจีนใช้ฉลองพระองค์สีเหลือง ในทางศาสนาแสดงความเจิ ดจ้าปัญญาพุทธศาสนา และยังหมายถึงการเจ็บป่วย โรคระบาด ความริษยา ทรยศ หลอกลวง 4.1.5 สีส้ม เป็นการผสมกันระหว่างสีแดงกับสีเหลือง จึงให้ความรู้สึกเช่นเดียวกับสี แดงและเหลืองรวมกัน คือ ให้ความรู้สึก ร้อน ความอบอุ่น ความสดใส มีชีวิต ชีวา วัยรุ่น ความคึก คะนอง การปลดปล่อย ความเปรี้ยว การระวัง 4.1.6 สีน้าเงิน แสดงถึงความเป็นสุภาพบุรุษ มีความสุขุม หนักแน่นและยังหมายถึง ความสูงศักดิ์ ในธงชาติไทย สีน้าเงิ นหมายถึงพระมหากษัตริย์ ในศาสนา คริสต์ เป็นสีประจาตัวแม่พระ โดยทั่วไปสีน้าเงินหมายถึงโลก ซึ่งเราจะเรียกว่าโลกสีน้าเงิน (Blue Planet) เนื่องจากเป็นดาวเคราะห์ ที่มองเห็นจากอวกาศโดยเห็นเป็นสีน้าเงินสดใส เนื่องจากมีพื้นน้าที่กว้างใหญ่ 4.1.7 สีม่วง แสดงถึงพลังความมีอานาจ ในสมัยอียิปต์สีม่วงแดงเป็นสีข องกษัตริย์ ต่อเนื่องมาจนถึงสมัยโรมันนอกจากนี้ สีม่วงแดงยังเป็นสีชุดของพระสังฆราช สีม่วงเป็นสีที่มีพลังหรือ การมีพลังแอบแฝงอยู่ และเป็นสี แห่ง ความผูกพัน องค์การลูกเสือโลกก็ใช้สีม่วง ส่วนสีม่วงอ่อนมัก หมายถึง ความเศร้า ความผิดหวังจากความรัก


17

4.1.8 สีฟ้า แสดงถึงความสว่าง ความปลอดโปร่ง เปรียบเหมือนท้องฟ้า เป็นอิสระเสรี เป็นสีขอองค์การสหประชาชาติ เป็นสีของความสะอาด ปลอดภัย สีขององค์การ อาหารและยา แสดง ถึงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การใช้พลังงานอย่างสะอาด แสดงถึงอิสรภาพที่สามารถโบยบิน เป็นสีแห่ง ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการที่ไม่มีขอบเขต 4.1.9 สีทอง มักใช้แสดงถึงคุณค่าราคา สิ่งของหายาก ความสาคัญ ความสูงส่งสูงศักดิ์ ความศรั ทธาสูงสุด ในศาสนาพุทธ หรือเป็นสีกายของพระพุทธรูปในงานจิตรกรรม เป็น สีกายของ พระพุทธเจ้า พระมหากษัตริย์ หรือเป็นส่วนประกอบของเครื่องทรงเจดีย์ต่าง ๆ มักเป็นสีทองหรือขาว และเป็นเครื่องประกอบยศศักดิ์ของกษัตริย์และขุนนาง 4.1.10 สีขาว แสดงถึงความสะอาดบริสุทธิ์เหมือนเด็กแรกเกิด แสดงถึงความว่างเปล่า ปราศจากกิเลสตัณหา เป็นสีอาภรณ์ของผู้ทรงศีล ความเชื่อถือ ความดีงาม ความศรัทธา และหมายถึง การเกิด โดยที่แสงสีขาว เป็นที่กาเนิดของแสงสี ต่าง ๆ เป็นความรักและความหวัง ความห่วงใยเอื้อ อาทร และเสียสละของพ่อแม่ ความอ่อนโยน จริงใจ บางกรณีอาจหมายถึงความอ่อนแอ ยอมแพ้ 4.1.11 สีดา แสดงถึงความมืด ความลึกลับ สิ้นหวัง ความตายเป็นที่สิ้นสุดของทุกสิ่ง โดยที่สีทุกสีเมื่ออยู่ในความมืด จะเห็นเป็นสีดา นอกจากนี้ยังหมายถึง ความชั่วร้าย ในคริสต์ศาสนา หมายถึงซาตาน อาถรรพ์เวทมนต์ มนต์ดา ไสยศาสตร์ ความชิงชัง ความโหดร้าย ทาลายล้าง ความลุ่ม หลงเมามัว แต่ยังหมายถึงความอดทน กล้าหาญ เข้มแข็ง และเสียสละได้ด้วย 4.1.12 สีชมพู แสดงถึงความอบอุ่ น อ่อนโยน ความ อ่อนหวาน นุ่มนวล ความน่ารัก แสดงถึงความรักของมนุษย์ โดยเฉพาะรุ่นหนุ่มสาวเป็นสีของความ เอื้ออาทร ปลอบประโลม เอาใจใส่ ดูแล ความปรารถนาดี และอาจ หมายถึงความเป็ นมิตร เป็นสีของวัยรุ่นโดยเฉพาะ ผู้หญิง และนิยมใช้ กับสิ่งของเครื่องใช้ของเด็กวัยรุ่นเป็นส่วนใหญ่ 4.2 สีกับการออกแบบ ผู้สร้างสรรค์งานออกแบบจะเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้สีโดยตรง มัณฑนากรจะคิดค้นสี ขึ้นมาเพื่อใช้ในงานตกแต่ง คนออกแบบฉากเวทีการแสดงจะคิดค้นสีเกี่ยวกับแสง จิตรกรก็จะคิดค้นสี ขึ้นมาระบายให้เหมาะสมกับความคิดและจินตนาการของตน แล้วตัวเราจะคิดค้นสีขึ้ นมาเพื่อความ งามความสุขสาหรับเรามิได้ หรือสีที่ใช้สาหรับการออกแบบนั้น ถ้าเราจะใช้ให้เกิดความสวยงาม ตรงตามความต้องการของเรามีหลักในการใช้กว้างๆ อยู่ 2 ประการ คือการใช้สีกลมกลืนกัน และการ ใช้สีตัดกัน 4.2.1 การใช้สีกลมกลืนกัน มีดังนี้ - การใช้สีกลมกลืนกัน เป็น การใช้สีหรือน้าหนั กของสี ให้ใกล้เคียงกัน หรือ คล้ายกัน - การใช้สีแบบเอกรงค์ เป็นการใช้สีสีเดียวที่มีน้าหนักอ่อนแก่หลายลาดับ


18

- การใช้สีข้างเคียง เป็นการใช้สีที่เคียงกัน 2 – 3 สี ในวงสี - การใช้สีใกล้เคียง เป็นการใช้สีที่อยู่เรียงกันในวงสีไม่เกิน 5 สี ตลอดจนการใช้สี วรรณะร้อนและวรรณะเย็น (Warm tone colors and cool tone colors)

ภาพที่ 7 วงจรสี (ที่มา: http://nanthiya5250110076.blogspot.com/p/lecture.html) 4.2.2 การใช้สีตัดกัน โดยสีตัดกันคือสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสี การใช้สีให้ตัดกัน มี ความจาเป็นมาก ในงานออกแบบ เพราะช่วยให้เกิดความน่าสนใจในทันทีที่ พบเห็น สีตัดกันอย่าง แท้จริงมีอยู่ด้วยกัน 6 คู่สี คือ - สีเหลือง ตรงข้ามกับ สีม่วง - สีส้ม ตรงข้ามกับ สีน้าเงิน - สีแดง ตรงข้ามกับ สีเขียว - สีเหลืองส้ม ตรงขามกับ สีม่วงน้าเงิน - สีส้มแดง ตรงข้ามกับ น้าเงินเขียว - สีม่วงแดง ตรงข้ามกับ สีเหลืองเขียว การใช้สีตัดกัน ควรคานึงถึงความเป็นเอกภาพด้วยวิธีการใช้มีหลายวิธี เช่นใช้สีให้มี ปริมาณต่างกัน เช่น ใช้สีแดง 20 % สีเขียว 80% หรือ ใช้เนื้อสีผสมในกันและกัน หรือใช้ สีหนึ่งสีใด ผสมกับสีคู่ที่ตัดกัน ด้วยปริมาณเล็กน้อยรวมทั้งการ เอาสีที่ตัดกันมาทาให้เป็นลวดลายเล็ก ๆ สลับกัน ในผลงานชิ้นหนึ่ง อาจจะใช้สีให้กลมกลืนกันหรือตัดกันเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง หรืออาจจะใช้พร้อมกัน ทั้งสองอย่าง ทั้งนี้ แล้วแต่ความต้องการ และความคิดสร้างสรรค์ของเรา ไม่มีหลักการ หรือรูปแบบที่ ตายตัว ในงานออกแบบ หรือการจัดภาพ หากเรารู้จักใช้สีให้มีสภาพโดยรวมเป็ นวรรณะร้อน หรือ


19

วรรณะเย็น เราจะสามารถควบคุมและสร้างสรรค์ภาพให้เกิดความประสานกล มกลืน งดงามได้ง่ายขึ้น เพราะสีมีอิทธิพลต่อมวล ปริมาตร และช่องว่าง สีมีคุณสมบัติที่ทาให้เกิดความกลมกลืนหรือขัดแย้งได้ สีสามารถขับเน้นให้เกิดจุดเด่น และการรวมกันให้เกิดเป็นหน่ วยเดียวกันได้ เราในฐานะผู้ใช้สีต้องนา หลัก การต่างๆ ของสีไปประยุกต์ใช้ให้สอ ดคล้องกับเป้าหมายในงานของเรา เพราะสีมีผลต่อการ ออกแบบคือ สร้างความรู้สึก สีให้ความรู้สึกต่อผู้พบเห็นแตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้ นอยู่ กับประสบการณ์ และภูมิหลังของแต่ละคน สีบางสีสามารถรักษาบาบัดโรคจิตบางชนิดได้ การใช้สีภายใน หรือภายนอก อาคาร จะมีผลต่อการสัมผั สและสร้างบรรยากาศได้ สร้างความน่าสนใจ สีมีอิทธิพลต่องานศิลปะกา ร ออกแบบ จะช่วยสร้างความประทับใจ และความน่าสนใจเป็นอันดับแรกที่ พบเห็น สีบอ กสัญลักษณ์ ของวัตถุซึ่งเกิดจากประสบการณ์ หรือภู มิหลัง เช่น สีแดงสัญลักษณ์ของไฟ หรือ อันตราย สีเขียว สัญลักษณ์แทนพืช หรือความปลอดภัย เป็นต้น สีช่วยให้เกิดการรับรู้ และจดจา งานศิลปะการ ออกแบบ ต้องการให้ผู้พบเห็น เกิดการ จดจาในรูปแบบและผลงาน หรือเกิดควา มประทับใจ การใช้สี จะต้องสะดุดตาและมีเอกภาพ 5. การออกแบบสิ่งพิมพ์ การออกแบบนับเป็นจุดเริ่มต้นที่สาคัญของการจัดทาสิ่งพิมพ์ ก่อนเริ่มต้นการออกแบบ สิ่งพิมพ์ โดยทั่วไปผู้ออกแบบจะต้องทราบประเภทลักษณะเนื้อหา และวัตถุประสงค์ในการจัดทา สิ่งพิมพ์เป็นสาคัญ นอกจากนี้ยังควรเข้าใจ ขั้นตอนและกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ ระบบการพิมพ์ที่ เลือกใช้ ประเภท และลักษณะของวัสดุพิมพ์ การรู้จักเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในการผลิตอย่างประหยัด สวยงามเพื่อให้การดาเนินการผลิตและผลสาเร็จของสิ่งพิมพ์ที่ได้รับในบั้นปลาย สอดคล้องกับประเภท ลักษณะและวัตถุประสงค์การผลิต และสามารถทาให้สิ่งพิมพ์นั้น เป็นสื่อกลาง ในการถ่ายทอดความรู้ ความคิดจากผู้เขียนสู่ผู้อ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 5.1 อักษรตัวพิมพ์ อักษรตัวพิมพ์คืออักษรสาเร็จที่ได้รับการออกแบบและผลิตเป็นแม่แบบ ไว้ สาหรับเลือกใช้ ในงานพิมพ์ต่างๆ อักษรตัวพิมพ์มีความสาคัญต่อการออกแบบกราฟิกมาก บางครั้งก็นามาเป็นสิ่ง ดึงดูดใจในสื่อนั้น รูปแบบอักษรตัวพิมพ์อาจแบ่งได้ดังนี้ 5.1.1 ตัวอักษรแบบมีเชิง (Serif) เป็นแบบตัวอักษรที่เส้นยื่นของฐาน และปลายตัว อักษรในทางราบที่เรียกว่า serif ลักษณะของตัวอักษรจะหนาบางไม่เท่ากัน เหมือนการเขียนประดิษฐ์ ด้วยขนนกหรือปากกาปากแบนมีหลายรูปแบบแตกต่างกันออกไป 5.1.2 ตัวอักษรแบบไม่มีเชิง (Sans Serif) เป็นตัวอักษรที่มีรูปแบบเรียบง่า ย ดูเป็น ทางการ ต่างจากแบบแรกคือ ไม่มีเชิง ไม่มีเส้นยื่นออกมาจากฐาน และปลายของตัวอักษรในทางราบ นิยมใช้ในงานพิมพ์ทั่วไปและงานประชาสัมพันธ์ ตัวอักษรแบบตัวเขียนเป็นตัวอักษรที่ถูกออกแบบให้มี


20

ลักษณะคล้ายกับการเขียนด้วยมือ มีหางโยงต่อเนื่องกันระหว่างตัวอักษร มีขนาดเส้นอักษรหนาบาง ต่างกัน นิยมทาให้เอียงเล็กน้อย 5.1.3 ตัวอักษรแบบอาลั กษณ์ (Text Letter) เป็นตัวอักษรโรมันแบบ ตัวเขียนอีก ลักษณะหนึ่ง คล้ายกับการเขียนด้วยพู่กันหรือปากกาปลายตัด นิยมใช้ในก ารจารึก ในเอกสารตารา สมัยโบราณ 5.1.4 ตัวอักษรประดิษฐ์ (Display Type) หรือตัวอักษรตัวพิมพ์ขนาดใหญ่ มีการ ออกแบบตกแต่งตัวอักษรให้สวยงานเพื่อดึงดู ดสายตา มีความหนาที่หนากว่าแบบอื่นๆ จึงนิยมใช้เป็น หัวเรื่อง ประกาศนียบัตร ฯลฯ 5.1.5 ตัวอักษรแบบสมัยใหม่ (Modern Type) เป็นตัวอักษรที่ประดิษฐ์ขึ้น มีลักษณะ เรียบง่าย ใช้ในงานประชาสัมพันธ์ ลักษณะของตัวอักษร (Type Character) - ประเภทตัวเอน (Italic) - ประเภทตัวธรรมดา (Normal) - ประเภทตัวบางพิเศษ (Extra Light) - ประเภทตัวแคบ (Condensed) - ประเภทตัวบาง (Light) - ประเภทตัวหนา (Bold) - ประเภทตัวเส้นขอบ (Outline) - ประเภทตัวหนาพิเศษ (Extra Bold) - ประเภทตัวดา (Black) ขนาดของตัวอักษร (Size Type) - 12 points = 1 pica - 6 picas = 1 inch (2.5 cm.) - 72 points = 1 inch 5.1.6 ระยะช่องไฟระหว่างตัวอักษร (Letter Spacing) เป็นการกาหนดระยะช่องไฟ ระหว่างตัวอักษรแต่ละตัวที่จะต้องมีระยะห่างพองาม ไม่ติดกันหรือห่างจนเกินไป การเว้นระยะช่องไฟ แต่ละตัวไม่ควรกาหนดว่าจะต้องห่าง กันเป็นเท่าใดเสมอ เพราะตัวอักษร แต่ละตัวทั้งภาษาไทยหรือ ภาษาอังกฤษจะมีลักษณะที่ แตกต่างกันเสมอ ควรจัดระยะช่องไฟ โดยคานึงถึงปริมาณที่มีความสมดุล โดยประมาณในระหว่างตัวอักษร หรือที่เรียกว่าปริมาตร ความสมดุลทางสายตา 5.1.7 ระยะช่องไฟระหว่างคา (Word Spacing) ส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับ ภาษา อังกฤษเสียมากกว่า ระยะ ระหว่างคาโดยทั่วไปจะเว้นระยะระหว่างคาประมาณ 1 ตัว อักษรปกติ


21

ถ้าระยะระหว่างคาประมาณ 1 ตัวอักษรปกติ ถ้าระยะระหว่างคาชิดเกินไป จะทาให้อ่านยาก และถ้า เว้นระยะห่างเกินไปจะทาให้ขาดความงามลงไป 5.1.8 ระยะช่องไฟระหว่างบรรทัด (Line Spacing) แนวคิดของการเว้นระยะ ระหว่าง บรรทัดมีจุดประสงค์เพื่อให้อ่านง่ายและดูสวยงาม โดยปกติในการจัดเรียงพิมพ์จะใช้ระยะ ห่างระหว่าง บรรทัดตั้งแต่ 0-3 พอยท์ หลักสาคัญในการกาหนดระยะระหว่างบรรทัด ให้วัดส่วนสูงสุดและส่วน ต่าสุดของตัวอักษร เมื่อจัดว างบนบรรทัดแล้วต้องไม่ทับซ้อนกัน แบบการจัดตัวอักษร (Type Composition) มีดังนี้ แบบชิดซ้าย, แบบชิดขวา, แบบซ้ายขวาตรงกัน , แบบศูนย์กลาง, แบบรอบ ขอบภาพ, แบบไม่สมดุล, แบบรูปธรรม, แบบแนวตั้ง, แบบเอียด 5.2 ระบบการพิมพ์ การออกแบบสิ่งพิมพ์ จาเป็นต้องมีการวางแผนทุกขั้นตอน เมื่อถึงขั้นที่เข้าสู่ระบบการพิมพ์ นักออกแบบสิ่งพิมพ์ต้องเลือกระบบและวิธีการพิมพ์ให้เหมาะสมกับประเภทของงาน และงบประมาณ ที่กาหนดไว้ หากเลือกได้ถูกต้องผลที่ตามมาคือความสาเร็จอย่างคุ้มค่า ดังนั้นนักออกแบบสิ่งพิมพ์จึง ควรเรียนรู้ระ บบการพิมพ์แบบต่างๆ ให้เข้าใจเพื่อจะสามารถจัดเตรียมต้นฉบับ สั่งการและสื่อ ความหมายให้เข้าใจตรงกันระหว่างผู้ทางานพิมพ์ ระบบการพิมพ์มีหลายระบบ แต่ระบบการพิมพ์ที่ นิยมใช้ในงานออกแบบสิ่งพิมพ์ ได้แก่ ระบบออฟเซต , ระบบเลตเตอร์เพรส , ระบบกราวัวร์และระบบ สกรีน 5.2.1 ระบบออฟเซต การพิมพ์ในระบบออฟเซต (offset printing) เป็นการพิมพ์ใน ระบบอุตสาหกรรม ซึ่งสามารถพิมพ์ได้เร็ว ได้จานวนมาก ค่าใช้จ่ายน้อย แต่ควรมีจานวนพิมพ์ตั้งแต่ 3,000 แผ่ นขึ้นไป เพราะ ถ้าน้อยกว่านี้ราคาต่อหน่วยจะสูง การพิมพ์สอดสีและมีภาพประกอบจะได้ งานที่มีคุณภาพดีเหมือนต้นฉบับ สามารถใช้กระดาษได้ 2 แบบ คือ แบบป้อนม้วน (webfed offset press) และแบบป้อนแผ่น (sheet fed offset press) การพิมพ์ในระบบนี้ไม่มีปัญหาเรื่องตัวพิมพ์สึก หรือหัก และแม่พิมพ์ก็มีเม็ดสกรีนละเอียด การพิมพ์ ในระบบออฟเซตนิยมใช้กับการพิมพ์นิตยสาร รายงานประจาปี จดหมายข่าว แผ่นปลิว แผ่นพับ และหนังสือพิมพ์ การพิมพ์ในระบบออฟเซต ปัจจุบันก้าวหน้ามาก คือมีแท่นพิมพ์ตั้งแต่ขนาดเล็กใช้ในสานักงานจนถึงขนาดใหญ่ใช้ในงาน อุตสาหกรรม พิมพ์ได้สีเดียวถึง 4 สี และยังสามารถพิมพ์ได้ 2 หน้าพร้อมกัน จึงนับว่าให้ความสะดวก แก่ผู้ใช้งานเป็นอย่างยิ่ง การพิมพ์ในระบบออฟเซตใช้แม่พิมพ์เป็นแผ่นโลหะพื้นแบนติดบนโมแม่พิมพ์ มีส่วนที่ต้องการพิมพ์และส่วนพื้นอยู่บนระนาบเดียวกัน ลูกคลึงน้าเป็นตัวหล่อน้าบนส่วนพื้นที่ไม่ ต้องการพิมพ์ และมีน้ามันเคลือบอยู่บนส่ วนที่ต้องการพิมพ์ เมื่อผ่านลูกคลึงหมึกลงบนโมแม่พิมพ์ ส่วนที่เป็นหมึกจะไม่ติดส่วนพื้น แต่จะติดส่วนที่ต้องการพิมพ์ซึ่งมีเคลือบน้ามันไว้ โมยางจะกลิ้งผ่าน ส่วนที่ต้องการพิมพ์โดยมีโมแม่พิมพ์กดไว้ได้ภาพกลับซ้ายเป็นขวากระดาษเปล่าจะถูกป้อนเข้าไป


22

ระหว่างโมยางและโมแรง กดเพื่อรับหมึกจากโมยางได้ออกมาเป็นงานพิมพ์ ขนาดของเครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ระบบออฟเซตแบ่งตามขนาดของแท่นพิมพ์ได้ดังนี้ (Paper Choices. 2005) - แท่นออฟเซตขนาดเล็ก เป็นแท่นพิมพ์ที่พิมพ์ด้วยกระดาษขนาดไม่เกิน 13” x 17” มีอุปกรณ์น้อยไม่ซับซ้อน เหมาะกับงานพิมพ์ขนาดเล็ก เช่น การพิมพ์หัวจดหมาย ซอง แผ่นปลิว หนังสือและโปสเตอร์ขนาดเล็ก - แท่นออฟเซตขนาดตัดสี่ เป็นแท่นพิมพ์ขนาดกลาง พิมพ์ด้วยกระดาษไม่เกิน 18” x 25” มีอุปกรณ์มากขึ้น สามารถพิมพ์ได้หลายสี เหมาะกับงานพิมพ์ทั่วไป - แท่นออฟเซตขนาดตัดสอง เป็นแท่นพิมพ์ขนาดใหญ่ พิมพ์ด้วยกระดาษไม่เกิน 28” x 40” (ใหญ่กว่าแท่นตัดสี่เกือบเท่าตัว) มีอุปกรณ์ช่วยพิมพ์ต่าง ๆ มากมายทาให้พิมพ์ได้เที่ยงตรง แม่นยา และมีความเร็วในการพิมพ์สูง - แท่นออฟเซตขนาดตัดหนึ่ง เป็นแท่นพิมพ์ขนาดใหญ่ พิมพ์ด้วยกระ ดาษที่มี ขนาดใหญ่กว่า 30” x 40” มีอุปกรณ์ช่วยพิมพ์มาก นอกจากจะพิมพ์สิ่ งพิมพ์ทั่วไปที่ต้องการปริมาณ มากๆ เช่นหนังสือพิมพ์แล้ว ยังสามารถพิมพ์บรรจุภัณฑ์ได้ด้วยใช้ได้ทั้งแบบป้อนกระดาษม้วนและ ป้อนแผ่น ซึ่งขึ้นกับจานวนพิมพ์เป็นสาคัญ สังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงและ ขยายวงกว้างมากขึ้น ความต้องการงานพิมพ์ทั้งสีเดียวและพิมพ์สอดสีมีมากขึ้นเป็นเงาตามตัว จึงทาให้มีการพัฒนาสร้าง แท่นพิมพ์ที่สามารถพิมพ์ได้ครั้งละ 2 - 4 สี หรือมากกว่านั้น ซึ่งปัจจุบันทาได้สาเร็จและมี ประสิทธิภาพดีการพิมพ์ระบบนี้เป็นที่นิยมกันมากในเมืองไทย แต่ละ แบบแต่ละรุ่นจะมีส่วนประกอบ แตกต่างกันเล็กน้อย ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์ขึ้นอยู่กับจานวนสีที่พิมพ์ ถ้าต้องการพิมพ์สีเดียวไม่ว่าจะ เป็นสีใดก็ตาม กระดาษจะพิมพ์ผ่านแผ่นแม่พิมพ์เพียงครั้งเดียว ถ้าต้องการพิมพ์มากกว่าหนึ่งสี กระดาษก็จะผ่านแม่พิมพ์ตามจานวนสี ซึ่งทาให้ค่าใช้จ่ายเพิ่มตามไปด้วย 5.2.2 ระบบเลตเตอร์เพรส การพิมพ์ในระบบเลตเตอร์เพรส (letterpress printing) เป็นระบบการพิมพ์ที่เก่าแก่มาก การทาแม่พิมพ์มีค่าใช้จ่ายสูง เสียเวลากับการเรียงพิมพ์ การพิมพ์ใน ระบบเลตเตอร์เพรสมี 3 ชนิด คือการพิมพ์ด้วยแท่นแบบเพลตเทน (platen press), การพิมพ์ด้วย แท่นนอน (flat - bed cylinder press) และการพิมพ์ด้วยแท่นแบบโรตารี (rotary letterpress) ปัจจุบันยังใช้อยู่ทั้ง 3 ชนิด แต่ที่นิยมคือการพิมพ์ด้วยแท่นแบบเพลตเทน เพื่อใช้ในการพิมพ์ นูน การ เจาะกรุ ปรุเส้น และที่นับหรือแสดงตัวเลข การพิม พ์ระบบเลต เตอร์เพรสใช้ในการพิมพ์ ฉลากสินค้า พิมพ์กราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ แบบฟอร์มงานธุรกิจ การ์ด วุฒิบัตรปกเทป หรือการพิมพ์ขนาดเล็กต่ างๆ การพิมพ์ระบบเลตเตอร์เพรสเป็นการพิมพ์ซึ่งใช้แม่พิมพ์ที่มีส่วนที่เป็นภาพนูนสูงกว่าพื้นและเป็นภาพ กลับซ้ายเป็นขวา ตัวพิมพ์หรือแม่พิมพ์ที่ใช้ ระบบนี้หล่อมาจากโลหะตะกั่วผสมแมกนีเซียม ปัจจุบันใช้ โพลีเมอร์ชนิดแข็งหรือวัสดุอื่นเป็นแม่พิมพ์ วิธีการคือนาตัวเรียงเข้าหน้าตาม ดัมมี่ให้กลับด้านอัด กรอบให้แน่น นาเข้าสู่แท่นรองรับชิ้นพิมพ์ซึ่งตั้งฉากกับพื้น เวลาเดินเครื่องลูกกลิ้งยางจะเคลื่อนจาก


23

จานคลึงหมึกลงไปเกลี่ยบนพื้นหน้าชิ้นพิมพ์บนแท่นรองรับชิ้นพิมพ์ หมึกจะติดเฉพาะส่วนที่นูนขึ้นมา เมื่อช่างพิมพ์ป้อนกระดาษเข้าไป โมกดกระดาษจะเข้าหาแท่นรองรับชิ้นพิมพ์ซึ่งนิ่งอยู่ แล้วอัดหรือกด กระดาษทั้งแผ่นกระทบชิ้นพิมพ์กระดาษรับหมึกจากพื้นหน้าของชิ้นพิมพ์แล้วถอยออกมา ได้ภา พและ ตัวอักษรตามต้องการ 5.2.3 ระบบกราวัวร์ การพิมพ์ระบบกราวัวร์ (gravure printing) ในปัจจุบันสามารถ พิมพ์ได้ทั้งกระดาษแบบป้อนแผ่นและแบบป้อนม้วน โดยเฉพาะถ้าพิมพ์ด้วยกระดาษแบบป้อนม้วนจะ ไวกว่าการพิมพ์ระบบออฟเซตถึง 2 เท่า ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์ก็สูงกว่าการพิมพ์ระบบอื่นเพราะต้นทุน ราคาแท่นพิมพ์ที่สูงกว่า กระบวนการทาแม่พิมพ์ต้องทาใหม่ทุกครั้งทาให้มีค่าใช้จ่ ายสูง ดังนั้น การ พิมพ์ระบบนี้จึงเหมาะกับงานที่ต้ องการคุณภาพสูงและพิมพ์จานวนมาก อย่างต่า 5 แสนสาเนาขึ้นไป การพิมพ์ระบบกราวัวร์ใช้ในการพิมพ์ภาพโปสการ์ด แคตตาล็อกสินค้าฟุ่มเฟือย บรรจุภัณฑ์ กระดาษ ปิดฝาผนัง แสตมป์ เป็นต้น การพิมพ์ระบบกราวัวร์ เป็นระบบการพิมพ์ซึ่งให้ภาพที่พิมพ์ออกมามี คุณภาพดีทั้งบนกระดาษเนื้อหยาบ กระดาษเนื้อละเอียดหรือกระดาษมัน พิมพ์ได้ทั้ งทีละหน้าหรือที ละ 2 หน้า แต่การพิมพ์ระบบกราวัวร์ก็มีข้อจากัดคือถ้าพิมพ์ตัวอักษรที่เล็กกว่า 8 พอยต์ขอบจะดู เลือนลาง ประสิทธิภาพในการมองเห็นจะลดลง โดยเฉพาะตัวอักษรที่บางเรียว การพิมพ์ระบบ กราวัวร์เป็นการพิมพ์ร่องลึก โดยส่วนที่ต้องการพิมพ์ในแม่พิมพ์นั้นจะเป็นร่องลึกสาหรับขังหมึกไว้คาย บนกระดาษที่ใช้ในการพิมพ์ แม่พิมพ์จะสัมผัสกับกระดาษที่ใช้ในการพิมพ์เช่นเดียวกับการพิมพ์ใน ระบบเลตเตอร์เพรส ต่างกันตรงแม่พิมพ์ระบบกราวัวร์ต้องสร้างภาพหรือตัวอักษรที่ต้องการบนแผ่น ทองแดง โดยการกัดกรดหรือใช้เลเซอร์ให้เป็นหลุมเล็กๆ มี ขนาดหรือความตื้นลึกต่างกัน ซึ่งจะทาให้ ผลงานมีความเข้มของสีแตกต่างกัน วิธีทางานของแท่นพิมพ์จะคล้ายการพิมพ์ระบบเลตเตอร์เพรสแต่ หมึกจะขังอยู่ในร่องแทนที่จะอยู่บนส่วนที่นูนเหมือนเลตเตอร์เพรส เครื่องพิมพ์จะมีมีดบางๆ ปาดหมึก ที่ล้นออกมา เมื่อป้อนกระดาษเข้าไปกระดา ษจะทาหน้าที่เหมือนกระดาษซับ คือ ดูดซับหมึกพิมพ์ ขึ้นมา โทนสีที่หลากหลายเกิดจากความหนาบาง ของหมึกที่ตกตะกอนในหลุมปฏิกิริยาเหล่านี้ทาให้ ภาพที่ออกมามีลักษณะลายเส้นคมชัดมาก 5.2.4 ระบบสกรีน การพิมพ์ในระบบสกรีน (Screen printing) เป็นระบบการพิมพ์ พื้นฐานที่มีวิธีการทางานแบบง่ายๆ ส่วนมากมักใช้แรงงานคน สามารถพิมพ์ได้หลายสีโดยไม่จากัดและ ผลงานยังออกมาประณีตพอสมควร ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์ระบบสกรีนไม่สูงนัก แต่ทาได้น้อยชิ้นกว่า ระบบอื่นและเสียเวลาเพราะหมึกที่ใช้พิมพ์มีคุณสมบัติแห้งช้า มักใช้พิมพ์สิ่งที่เล็กมากๆหรือใหญ่มากๆ เช่น บนอะไหล่คอมพิวเตอร์ (computer chips) สติกเกอร์ บิลบอร์ดลายผ้า กระดาษปิดฝาผนัง โปสเตอร์ ไม้ โลหะ เสื้อยืด เป็นต้น


24

5.3 การออกแบบหัวกระดาษสิ่งพิมพ์ อักษรและสัญลักษณ์ของกระดาษบันทึกจะต้องสอดคล้องกับการออกแบบหัวจดหมาย ตัวอักษรที่ใช้เฉพาะชื่อที่อยู่และข้อมูลอื่นๆ ควรออกแบบให้สองคล้องกับตัวพิมพ์ดีดด้วย หรืออาจจะ เป็นตัวพิมพ์แบบธรรมดา และก่อนที่จะออกแบบหัวกระดาษควรจะติดต่อโรงพิมพ์ หรือร้า นขาย กระดาษเครื่องเขียนแบบพิมพ์ดูก่อนว่า มีกระดาษชนิดใดให้เลือกซื้อ เพราะคุณภาพและชนิดกระดาษ มีผลกระทบต่อการใช้ตัวพิมพ์ และการตัดสินใจในการออกแบบ เกิดความผิดพลาดอยู่บ่อยครั้งที่มีการ เลือกตัวพิมพ์ที่มีขนาดใ หญ่เกินไป สาหรับพิมพ์ชื่อและที่ อยู่ ทาให้ดู เหมือนพาดหัวในหนังสือพิมพ์ ดังนั้นก่อนจะออกแบบควรร่างแบบ โดยจัดตารางกะส่วน ดูว่าใหญ่หรือเล็กเกินไปหรื อไม่ทาการปรับ สัดส่วนให้พอดีโดยดูตัวอย่างแบบ อักษรในแคตตาล็อก ลอกอักษรแล้วระบาย สีให้ทึบด้วยหมึกสีจน เป็นที่พอใจแล้วให้นาไปถ่ายเอกสาร (Copy) เพื่อทาเป็นตัวอย่างต้นฉบับ ความเด่นของหัวกระด าษ คือ ตราหรือเครื่องหมายที่เป็น ข้อความที่เป็นส่วนประกอบจะบังคับตัวพิมพ์ไม่ ให้เกิน 12 พอยต์ (อักษรภาษาไทยไม่ควรเกิน 8 พอยต์) การพิมพ์ที่อยู่จะพิมพ์เป็นกลุ่มหรือพิมพ์บรรทัดเดียวกันก็ได้ 5.4 การออกแบบใบเสร็จรับเงิน (Invoices) ใบเสร็จรับเงิน ใบส่งของ และใบกากับสินค้ามีการออกแบบโดย ใช้หัวกระดาษแป้นตราของ บริษัทด้วย หากแต่ว่าใบเสร็จรับเงินมีรายการข้อความที่ต้องพิมพ์ ลงใบค่อนข้างมากกว่า แบบพิมพ์ อื่นๆ จึงจาเป็นที่จะต้องระมัดระวังและรอบคอบใน การวางตาแหน่งขององค์ประกอบ ต่างๆ ให้เกิด ประโยชน์มากที่สุด รายการต่างๆ ที่มีอยู่ในใบเสร็จรับเงินจะมีดังนี้คือ ตราบริษัท หมายเลขทะเบี ยน การค้า หมายเลขโทรศัพท์ แฟกซ์ เลขที่เสียภาษี เลขที่ประจาใบเสร็จ ที่อยู่ลูกค้า ช่องจานวนเงินรวม เงินสด ส่วนที่เพิ่มบริการ รายการภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นต้น ซึ่งในส่วนหัวกระดา ษ ใบเสร็จรับเงินจะต้อง ออกแบบให้ ทัดรัดมีทั้งตราบริษัท ที่อยู่ หมายเลขอ้ างอิงด้วย อาจจะใช้ ขนาดเดียวกัน กับหัวกระดาษ จดหมายก็ได้ ถ้าไม่ใหญ่จนไปกินเนื้อที่ส่วนอื่นๆ 5.5 การออกแบบตรา (Symbols of Design) ในการออกแบบตรา (Symbols) นั้น ขั้นแรกจ ะต้องทารายการภาพหรือสิ่งที่เป็น ตัวแทน ภาพให้สัมพันธ์กับเรื่องราวที่ต้องการสร้างเป็นสัญลักษณ์หรือตราโดยเฉพาะในข ณะนั้นที่เราต้องการ ออกแบบตราเกี่ยวกับงานด้านเทคโนโลยีชั้นสูงก็จะต้องเขียนรายการที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาเท่าที่คิดได้ เช่น ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์คอมพิวเตอร์และอื่นๆ จนกว่าจะได้นาคานั้นมาสร้างเป็นรูปง่ายและให้สร้ าง หลายรูปแบบจะได้รูปที่เห็นว่า มีความหมาย และให้ความ รู้สึกที่ดีกว่าภาพอื่นๆ โดยใช้องค์ประกอบ เหล่านี้มารวมกันเข้าเพื่อสร้างสัญลักษณ์แต่ก็ต้องจาไว้เสมอว่าแนวคิดที่ดี จะใช้ความง่ายที่สุดเสมอ การสร้างตารางหรือสัญลักษณ์ที่ยุ่งยากเพราะต้องใช้ความคิดและหลักการ เพื่อให้ได้ภาพที่พึงประสงค์ มีแบบตารางและสัญลักษณ์จานวนม ากที่ได้รับความ สาเร็จหรือไม่เป็นที่ยอมรับในการ สื่อสาร เพราะ ออกแบบมาในลักษณะที่ไม่พิถีพิถันหรือขาดรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ ไปในบางสิ่งบางอย่างที่สาคัญ


25

ในเรื่องของกาออกแบบและสัญลักษณ์ที่ได้รับการยอมรับคือ ป้ายจาราจร สัญลักษณ์กีฬา เอเชี่ยนเกมส์ โอลิมปิกเกมส์ และอื่นๆ 5.6 บัตรที่ใช้พิมพ์ (Printing Cards) บัตรที่ใช้พิมพ์ส่วนใหญ่จะออกแบบให้มีความประณีตบรรจงมากเป็นพิเศษ ส่วนใหญ่จะเป็น บัตรเชิญไปเที่ยว งานพิธีต่างๆ เช่น งานเลี้ยง งานแต่งงาน งานสมาคม งานการกุศล งานศพ เป็น ต้น ผู้ส่งบัตรเชิญส่วนใหญ่ประสงค์จะใช้บัตรเ ชิญที่มีคุณภาพและตามความเหมาะสม บัตรเชิญ และ บัตรที่เป็นพิธีการจะมีขนาดต่างๆ กันมีทั้งแบบบัตรเดี่ยวและบัตรพับมีการตกแต่งประดับใส่กระดาษ ผ้า มีการตกแต่งด้วยการผูกโบว์ ด้ายไหม หรือดอกไม้เล็กๆ ที่ทาสาเร็จรูปแล้ว บางครั้งก็ใช้กระดาษที่ มีการปั๊ม ดุนนูน และกระดาษห อม เป็นต้น การใช้แบบตัวพิมพ์และสีจะใช้ตกแต่งกันไปตามชอบ แต่ จะเป็นสีอ่อนแบบตัวพิมพ์ที่เป็นแบบตัวประดิษฐ์หรือตัวอาลักษณ์เพื่อให้ดูอ่อนช้อยสวยงาม ตามโรง พิมพ์จะมีตัวอย่างหรือต้นแบบของบัตรเชิญไว้ให้ดูและให้เลือกมากมาย ถ้าต้องการให้ แบบแตกต่าง ออกไปก็ต้องมีการออก แบบและทาบล็อกใหม่ ซึ่งจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ถ้าต้องการออกแบบ บัตรเชิญด้วยตนเองจะต้อง คานึงถึงสาระสาคัญของบัตรเชิญ เช่น ชนิด และคาที่ใช้ในบัตรเชิญให้ ถูกต้องตามระเบียบประเพณีและเป็นทางการมีความชัดเจน 5.6.1 บัตรอภินันทนาการ (Compliment Slip) เป็นลักษณะของบัตรที่ใช้กระดาษ อ่อนที่มีขนาดเล็กกว่ากระดาษบันทึก บัตรที่ใช้แสดงในการคารวะยินดี หรืออวยพรกัน ส่วนใหญ่จะใช้ แนบกับสิ่ง ของส่งไปให้กัน แนบหนังสือตัวอย่าสินค้า และของขวัญ โดยพื้นที่ของบัตรจะมีที่สาหรับ เขียนข้อความสั้นๆ และลายเซ็น ซึ่งไม่จาเป็นจะต้อง มีรายละเอียดข้อมูลของผู้ส่งมามากเหมือนกับหัว กระดาษจดหมายหรือใบเสร็จรับเงิน รูปแบบในการเขียนจะไม่เป็นทางการ จะใช้ถ้อยคาสั้นๆ เช่น ขอ แสดงความยินดี หรืออภินันทนาการจาก.. ซึ่งบัตรอภินันทนาการ บัตรอวยพรและนามบัตรจะใช้โลโก้ เดียวกัน เพื่อแสดงถึงสัญลักษณ์ของบริษัท โดยจะมีขนาดต่างกันตามลักษณะการใช้งาน 5.6.2 บัตรอวยพรหรือบัตรแสดงความยินดีในโอกาสต่างๆ เช่น วันปีใหม่ วันครบรอบ แต่งงานวันคริสต์มาส วันเปิดกิจการร้านค้า เป็นต้น ในปัจจุบันบัตรอวยพ รได้ได้รับความนิยมอย่าง แพร่หลายในรูปแบบที่แตกต่างกัน มีจาหน่ายตามร้านค้าเครื่องเขียนแบบเรียนใหญ่ๆ เพื่อใช้ส่งถึงกัน แสดง ความยินดี มีมิตรภาพและความรักต่อกัน การผลิตบัตรอวยพรวิธีการผลิต หลายวิธีด้วยกัน เช่น การทาภาพมอนเทจ ซึ่งเป็นวิธีการนาภาพมากว่าหนึ่งภาพมาผสมกันเพื่อให้เกิดภาพใหม่ที่แปลกขึ้น เช่น การนาภาพถ่ายสองภาพมาผสมกัน 5.6.3 นามบัตร (Business Cards) เป็นบัตรที่นิยมใช้กันอย่างกว้างในงานธุรกิจหรือ กิจกรรมเกือบทุกชนิด เพื่อประโยชน์ต่อการติดต่อหรือการใช้บริการทางธุรกิจและส่วนตัว นามบัตรมี ส่วนช่วยให้มีการเก็บรวบรวมรายชื่อผู้ที่ต้องการติดต่อไว้อย่างเป็นระเบียบ และสะดวกต่อการแนะนา ตัว บางครั้งเราอาจจะเคยเห็นการให้รายชื่อและที่อยู่กันด้วยเศษกระดาษ ทาให้เกิดความรู้สึกไม่เป็น


26

หลักฐาน ขาดความเชื่อถือและหายง่าย ในนามบัตรจะมีรายละเอียดขอ ง ชื่อ นามสกุล ตาแหน่ง ทางการงาน ที่อยู่ และสานักงาน เบอร์โทรศัพท์และตราบริษัท ขนาดของนามบัตรควรเล็กกะทัดรัด เหมาะสาหรับการพกพา มีขนาดเท่ากับบัตรเครดิต ข้อความในนามบัตรจะต้องกะทัดรัด และไม่มาก เกินความจาเป็น ขนาดของสัญลักษณ์ต้องเล็กลงด้วยแต่ต้องยังคงรูปแบบ เดิมและสีเดิมของหัว จดหมายเอาไว้ 6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6.1 โครงการออกแบบเอกลักษณ์องค์กรสาหรับร้าน Plus café (Corporate identity design for “Plus café”) ร้านหนังสือเช่า เป็นธุรกิจที่อยู่คู่กับผู้รักการอ่านมานาน และได้รับความสนใจจากผู้ ประกอบธุรกิจรายย่อย เพราะเป็นธุรกิจขนาดเล็กที่ทารายได้และเติบโตขึ้นเรื่อยๆ สามารถเห็นได้จาก ร้านเช่าหนังสือนี้แทรกตัวอยู่ตามชุมชนต่างๆมากขึ้น ดังนั้นการแข่งขัน จึงเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะใน ย่านทาเลที่มีกลุ่มเป้าหมายเยอะ ก็จะมีร้านเช่าหนังสือเปิดตัวมากขึ้นตามไปด้วย บางร้านก็นา โปรโมชั่นต่างๆมาแข่งขันกันเพื่อดึงดูดลูกค้าให้เข้าร้านมากขึ้ น ข้าพเจ้าได้เล็งเห็นแนวทางเหล่านี้ และ ได้ศึกษารวบรวมข้อมูลของระบบร้านเช่าหนังสือ จนเกิดเป็นโครงการชิ้นนี้ขึ้น เพื่อเสริมสร้าง เอกลักษณ์องค์กรสาหรับร้านหนังสือเช่า ให้มีความโดดเด่น สามารถแข่งขันกับร้านเช่าหนังสือที่มีอยู่ ได้ โดยการออกแบบเพื่อแก้ไขปัญหาที่มี อยู่ แต่ปัญหาที่พบจากการดาเนินงานคือปัญหาด้านการ ออกแบบเพื่อให้สื่อสาร และสร้างภาพลักษณ์ให้ร้านหนังสือเช่าดูแตกต่างจากร้านหนังสือทั่วไป ซึง่ ต้องใช้ความรู้ความเข้าใจ ศึกษาเกี่ยวกับธุรกิจร้านเช่าหนังสือและการออกแบบเพื่อสร้างภาพลักษณ์ องค์กรให้มากขึ้น 6.2 โครงการออกแบบอัตลักษณ์องค์กรสาหรับแบรนด์ “หนุกหนม” (Identity design for “NookNom” Brand) โครงการศิลปนิพนธ์ฉบับนี้ ข้าพเจ้าเลือกทาการออกแบบอัตลักษณ์องค์กรสาหรับแบรนด์ สินค้า “หนุกหนม” (Identity Design for “nooknom” Brand) ในปัจจุบันการรับวัฒนธรรมจาก ต่างชาติ ทาให้ไลฟ์สไตล์ของคนไทยเปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมการรับประทาน การแต่ง กาย หรือเป็นทางด้านของเทคโนโลยีหากคนในชาติยังมีความภูมิใจในเอกลักษณ์ของชาติตัวเองมาก พอที่จะเปิดรับอย่างมีสติข้าพเจ้าจึงคิดว่าทาอย่างไรจึงสามารถปลูกฝังความรัก ในขนมไทยให้ กับ เด็กไทยและคนทั่วไปในรูปแบบที่เป็นสากลอันจะทาให้เกิดความภูมิใจในเอกลักษณ์ของชาติ ไทยจึงได้ คิดที่จะนาเสนอขนมไทยที่มีความละ เอียดอ่อนรูปลักษณ์สวยงามและเป็น เอกลักษณ์ มาสร้างคาแร็ก เตอร์นาเสนอในรูปแบบของเครื่องเขียนประเภทกระดาษ ซึ่งเป็นที่ชื่นชอบ ของเด็กในวัยเรียน การ ทางานในครั้งนี้ นอกเหนือจากปัญหาในการออกแบบ คาแร็คเตอร์ที่ช้าแล้ว ขั้นตอนของการคิด


27

เรื่องราวของภาพ ก็ล่าช้าเช่นกันปัญหาทั้งเรื่องวัสดุในการ ทางาน ที่หลากหลายจึงต้องเสียเวลากับ การออกไปสรรหา ดังนั้น ในการทางานควรมีการจัดสรร เวลาอย่างเป็นระบบ เพราะขั้นตอนในการ ผลิตชิ้น งานให้ออกมาเสร็จสมบูรณ์ นั้นต้องผ่าน กระบวนการทางานหลายขั้นตอน การที่จะได้ชิ้นงาน ที่ตรงกับที่ต้องการนั้น จึงขึ้นอยู่กับ การวางแผนการทางานที่ดี และการทางานอย่างเป็นระบบ ข้าพเจ้าหวังว่าในการ ทาสมุดจดบันทึก ในครั้งนี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจ ได้ทราบถึง ปัญหา และวิธีการแก้ไขจาก ศิลปะนิพนธ์ชิ้นนี้คงจะทาให้สร้างงานได้ง่ายและเสร็จเร็วขึ้น 6.3 โครงการออกแบบอัตลักษณ์องค์กร สาหรับ โรงแรมเมธาวลัย ชะอา (Corporate Identity Design for the Cha-am Methavalai Hotel) หาดทราย สายลม เสียงคลื่น ยังคงเป็นทางเลือกยอดนิยม สาหรับการได้พบช่วงเวลาดีๆ รวมทั้งการหยุดเวลาของความเครียดจากชีวิตในเมืองหลวง มาพบกับความสุข ความสนุกสนาน ความ สงบ และความผ่อนคลาย จากชายหาดชะอา จังหวัดเพชรบุรี และเป็นอะไรที่ปฏิเสธ ไม่ได้ว่าธุรกิจ โรงแรมเพื่อการพักผ่อน ก็ย่อมมีจานวนเพิ่มมากขึ้นตามความนิยมดังกล่าว อีกด้วย “โรงแรมเมธาวลัย ชะอา” เป็นโรงแรมระดับสี่ดาว ที่เปิดให้บริการและสร้างความประทับใจ ให้กับนักท่องเที่ยวทั้งชาว ไทยและชาวต่างชาติ มายาวนานกว่า 20 ปี และยังคงได้รับความนิยม มาอย่างต่อเนื่องจนถึงทุกวั นนี้ ข้าพเจ้าเห็นถึงโอกาสที่จะได้นา “การออกแบบ” มาเป็นแนวทาง ในการปรับปรุง แก้ไข และเพิ่มเติม ทางด้านภาพลักษณ์และการประชาสัมพันธ์ ให้กับโรงแรมดังกล่าวด้วยการออกแบบที่สามารถใช้งาน ได้จริง ตามสมัยนิยม สร้างความน่าจดจา ความดึงดูดลูกค้า สร้างความน่าเชื่อถือ คว ามเป็นสากลที่ ผสมผสาน กับเอกลักษณ์ความเป็น ร่วมสมัยแบบไทย (Contemporary Thai) รวมทั้งยังส่งเสริมการ ท่องเที่ยว ในประเทศไทย ได้อีกทางหนึ่ง การออกแบบปรับปรุง อัตลักษณ์องค์กร เริ่มจากการศึกษา รวบรวมและวิเคราะห์ ข้อมูลเบื้องต้นของโรงแรม ลักษณะการให้บริการและส่วนบริการต่าง ๆ ภายใน โรงแรม การวิจัยทางการตลาด ทั้งทางด้านภาพลักษณ์ ความเป็นไปได้ระหว่าง ผลงานออก แบบกับ การใช้งานจริงรวมถึงปัญหาในจุดต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อการวางรูปแบบแนวความคิดของงาน ทาการ ออกแบบเพิ่มเติมรวมทั้ งปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่เดิมต่าง ๆ ไว้หลายๆ แบบ ผ่ านการปรับปรุงกลั่นกรอง จน สาเร็จเป็นผลงานออกแบบที่สามารถนาไปใช้ได้จริงในอนาคต


บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน การดาเนินงานโดยการศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวกับการออกแบบอัตลักษณ์ และการออกแบบ กราฟิกบนสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อต่างๆ ที่มีไว้สาหรับเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จักในตัวองค์กร โดยศึกษาจาก ตัวอย่างกรณีศึกษา การศึกษาโลโก้รวมถึงความรู้ในการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออื่นๆ ที่ใช้ใน สานักงานทั่วไป จากนั้นจึงได้นาข้อมูลมาวิเคราะห์หาแนวทางในการออกแบบ โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ขั้นตอนการวางแผนก่อนการผลิตงาน (Pre Production Stage) 1.1 ตั้งสมมติฐาน 1.2 การศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) 1.3 การศึกษาตัวอย่างจากกรณีศึกษา (Case Study) 2. การกาหนดแบบร่างทางความคิด การพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน 2.1 การออกแบบโครงสร้างโดยออกแบบแนวเทคนิค (Concept) 2.2 ภาพร่างทางความคิดโดยออกแบบตามแนวคิดที่วางไว้ 2.3 การปรับปรุงแก้ไขจนได้รูปแบบที่ถูกต้องและเหมาะสม 3. ขั้นตอนการพัฒนาและการผลิตผลงาน (Development and Production Stage) 3.1 การร่างแบบจริง (Working Drawing) 3.2 ผลิตผลงานจริงตามวัตถุประสงค์และสมมติฐานที่ได้กาหนดไว้ 4. ขั้นตอนหลังการผลิตผลงาน (Post Production Stage) 4.1 การเผยแพร่งานวิจัย 4.2 การตรวจสอบ ทดสอบและสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงาน 4.3 การวิเคราะห์สรุปผลงาน อภิปรายและข้อเสนอแนะ


29

1. ขั้นตอนการวางแผนก่อนการผลิตงาน (Pre Production Stage) การกาหนดประเด็นและการศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (Related Literature) 1.1 ตั้งสมมติฐาน เริ่มตั้งแต่การรวบรวมข้อมูลที่ได้มาเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบสรุปหาแนวความคิดจัด วางระบบวิธีการเพื่อทาการออกแบบ และได้ผลิตผลงานจริงของสื่อสิ่งพิมพ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส 1.2 การศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) ในรูปแบบต่างๆ ทั้งที่เป็นทฤษฎีแนวความคิดและผลงานวิจัย ซึ่งรวบรวมข้อมูลที่ได้จาก การศึกษาค้นคว้ามาทาการสรุปเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบอัตลักษณ์เหล่านี้แล้วก็ทาการ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้แนวทางและองค์ความรู้โดยรวมในการทางานที่ชัดเจนขึ้น 1.3 การศึกษาตัวอย่างจากกรณีศึกษา (Case Study) จากการศึกษางานด้านการออกแบบสื่อโฆษณาสาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส ทาให้ได้ทราบว่า การออกแบบและวิธีทาอย่างไร เพื่อจะได้ นาเอาประโยชน์ที่ได้จากการศึกษา ตัวอย่างนี้มาใช้ในงาน ออกแบบวิจัยต่อไป เช่น เรื่องการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ และได้นาความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ มาใช้ในงานวิจัยได้เป็นต้น 2. การกาหนดแบบร่างทางความคิด การพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน การกาหนดแบบร่างทางความคิดนั้นเริ่มต้นจากการกาหนดเนื้อเรื่องว่าแต่ละส่วนนั้นมีเนื้อ หาอย่างไร แล้วตีความของเนื้อเรื่องนั้นๆ ให้ออกมาเป็นรูปภาพ โดยจะเน้นให้มี สวยงามทัน สมัยและ สามารถแสดงความสวยงาม ในลักษณะของกราฟ และรูปทรงเลขาคณิต ซึ่งลักษณะต่างๆ ที่กล่าวมานี้ จะต้องทาการออกแบบให้อยู่ลักษณะที่เข้าใจง่ายและเป็นที่หน้าจดจา 2.1 การออกแบบโครงสร้างโดยออกแบบแนวคิด ในการออกแบบออกแบบโดยการสร้างภาพลักษณ์ที่เป็นเอกลักษณ์ของทางบริษัท โกอิ้งเจ็ส จะเริ่มการออกแบบสัญลักษณ์ของบริษัท ซึ่งจะสื่อถึง กราฟต่างๆ ซึง่ เป็นจุดเด่นของบริษัท และทรง เลขาคณิต ต่างๆ โดยนาสัญลักษณ์ นี้เป็นตัวกาหนดถึงสื่อสิ่งพิมพ์ ทางบริษัท โกอิ้งเจ็ส อาทิเช่น โล โก้ นามบัตร ซองจดหมาย ตรายาง แก้วน้า โปสเตอร์ แผ่นพับ และชุดพนักงาน เป็นต้น 2.2 ภาพแบบร่างทางความคิดโดยออกแบบตามแนวคิดที่วางไว้ ซึ่งแบบที่ได้ทาการออกแบบนั้นจะต้องมีการตีความจากเนื้อหาในแต่ละส่วนของการ ออกแบบก่อนเป็นอันดับแรก แล้วจึงทาการร่างแบบออกมาให้มีความสอดคล้องกัน ในขั้นตอนนี้ผู้วิจัย ได้ทาการร่างแบบ โดนการสเก็ตด้วยมือไว้ การทาเริ่ม จากร่างแบบสเก็ ตหลายๆ รูปแบบโดยส่วนใหญ่ จะเป็นรูปร่างของกราฟต่างๆ ที่ตัดทอนแล้ว จากนั้นจึงทาเป็นรูปแบบจริงของสื่อโฆษณาอัน ได้แก่ โลโก้


30

นามบัตร ซองจดหมาย หัว จดหมาย แก้วน้า โปสเตอร์ แผ่นพับ และชุดพนักงาน เมื่อเสร็จสมบรูณ์ จากนั้นจึงนาไปผลิตจริงเพื่อใช้ในบริษัทต่อไป 2.3 ปรับปรุงแก้ไขแบบจนได้รูปแบบที่ถูกต้องและเหมาะสม จากแบบร่างด้วยมือแล้วนาไปออกแบบและสร้างสรรค์ด้วยคอมพิวเตอร์นั้น ทาให้สามารถ เพิ่มเติม และปรังปรุงผลงานให้ออกมาเป็นต้นแบบในการออกสื่อสิ่งพิมพ์สาหรับ บริษัท โกอิ้งเจ็ส ได้ ตามที่กาหนดไว้ตามสมมติฐาน 3. ขั้นตอนการพัฒนาและการผลิตผลงาน (Development and Production Stage) 3.1 การร่างแบบจริง (Working Drawing) งานออกแบบอัตลักษณ์สาหรับ บริษัท โกอิ้งเจ็ส นั้นเป็นต้นแบบที่สามารถนาไปผลิตได้จริง โดยการร่างแบบสเก็ตด้วยมือลงบนกระดาษแล้วนาไปทาการออกแบบสร้างสรรค์ และปรับปรุงด้วย คอมพิวเตอร์ให้เสร็จสมบูรณ์ก่อนนาไปผลิตจริง 3.2 ผลิตผลงานจริงตามวัตถุประสงค์และสมมติฐานที่ได้กาหนด ในการออกแบบสื่อโฆษณาสาหรับ บริษัท โกอิ้งเจ็ส ได้กาหนดขอบเขตของการทางานไว้ ได้แก่ การออกแบบโลโก้ นามบัตร ซองจดหมาย หัวจดหมาย แก้วน้า โปสเตอร์ แผ่ นพับ และชุด พนักงาน 4. ขั้นตอนหลังการผลิตผลงาน (Post Production Stage) 4.1 ทาการเผยแพร่งานวิจัย นาผลงานที่สาเร็จแล้วซึ่งก็คือ สื่อโฆษณาสาหรับทาง บริษัท โกอิ้งเจ็ส ไปเผยแพร่ให้กับ กลุ่มเป้าหมาย ที่ตั้งไว้และผู้ที่สนใจว่าเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ 4.2 การตรวจสอบ ทดสอบและสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงาน ใช้แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจในผลงานการออกแบบ จาแนกตาม ประเด็นของสมมติฐานจานวน 20 ชุด เพื่อ ใช้เป็นแบบสอบถาม โดยแบ่งประเด็น ของแบบสอบถาม เป็น 3 ส่วน ดังนี้ 4.2.1 ลักษณะทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้ แก่ อายุ เพศ วุฒิการศึกษา และ อาชีพ 4.2.2 ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม “การออกแบบอัตลักษณ์สาหรับ บริษัท โกอิ้งเจ็ส ” ของ นายนพ สุขสงวนศรี ที่นาเสนอ ซึ่งคาถามในส่วนนี้ได้แก่ ความเห็นเรื่องกระบวนการ ผลิตผลงาน และภาพรวมของผลงาน 4.2.3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม


31

4.3 การวิเคราะห์สรุปผลงาน อภิปรายและข้อเสนอแนะ เป็นขั้นตอนสุดท้ายเพื่อสรุปผลงานทั้งหมดที่ผู้วิจัยได้สร้างสรรค์ออกม า และวิเคราะห์ว่ามี ความสอดคล้องกับสมมติฐานและวัตถุประสงค์หรือไม่ พร้อมข้อเสนอแนะอื่นๆ ที่ผู้วิจัยได้จากการทา การวิจัยครั้งนี้ 5. ประชากรในการวิจัย 5.1 ผลงานการออกแบบ – เขียนแบบ การออกแบบอัตลักษณ์สาหรับ บริษัท โกอิ้งเจ็ส จากการร่างแบบของงานก่อนการผลิตจริง นั้นทาให้สามารถทราบถึงปัญหาของงานว่าเป็นเช่นไร และสามารถทาการแก้ไขให้งานนั้นสมบูรณ์ขึ้น ได้ด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่งทาให้ผลงานนั้นเกิดความสวยงาม และสมบูรณ์มากยิ่งขึ้นแล้วยังสามารถใช้ เป็นต้นแบบจริ งเพื่อตั้งแสดงงานนิทรรศการการ ออกแบบสื่อโฆษณาสาหรับ บริษัท โกอิ้งเจ็ ส ที่สามารถใช้เป็นต้นแบบจริงตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน 5.2 จัดทาเอกสารรูปเล่มรวมงานสรุปผลการวิจัย หลังจากทาการวิจัย สรุปผลการศึกษา และการออกแบบอัตลักษณ์สาหรับ บริษัท โกอิ้งเจ็ส แล้วนั้นจัดให้มีการนาเสนอผ่านอินเตอร์เน็ตที่ http://issuu.com/nops511 6. เครื่องมือในการวิจัย 6.1 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 6.1.1 โปรแกรม Adobe Photoshop CS5 ใช้ในการออกแบบและตกแต่งภาพ 6.1.2 โปรแกรม Adobe IllustratorCS5 ใช้ในการออกแบบและตกแต่งภาพ 6.1.3 โปรแกรม Microsoft Word 2007 ใช้ในการพิมพ์เนื้อหาของงานวิจัย 6.2 แบบสอบถาม แบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจจากบุคคลที่ช มสื่อสิ่งพิมพ์ สาหรับทางบริษัท โกอิ้งเจ็ส จานวน 20 ชุด


32

7. ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล ระยะเวลาทั้งหมด 12 เดือน กิจกรรม / ขั้นตอนการดาเนินงาน

ระยะเวลาในการดาเนินงาน ก.ย. 55

ต.ค. 55

พ.ย. 55

ธ.ค. 55

ม.ค. 56

ก.พ. 56

มี.ค. 56

เม.ย. 56

พ.ค .56

มิ.ย. 56

ก.ค. 56

ส.ค. 56

1.ขั้นตอนการวาง แผนก่อนการผลิตงาน (Pre - Production Stage) 2. การกาหนดแบบร่างทางความคิดการ พัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์ และ สมมติฐาน (Concept Render) 3. ขั้นตอนการพัฒนาและการผลิตผลงาน (Development and Production Stage) 4. ขั้นตอนหลังการผลิตผลงาน (Post Production Stage)

ตารางที่ 1 ตารางแผนการดาเนินงานตลอดโครงการ (ที่มา : นพ สุขสงวนศรี) เมื่อมีการวางแผนการดาเนินงานวิจัยแล้ว ในเรื่องต่อไปเป็นขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล จากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จากกรณีศึกษาและวิธีการดาเนินงานวิจัยที่มีรายละเอียดแยกย่อยลงไป อีก ดังที่ผู้วิจัยจะกล่าวต่อไปในบทที่ 4 คือ การวิเคราะห์ข้อมูล


บทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ทาให้พบว่ากระบวนการออกแบบ และการผลิตต้นแบบเหมือนจริงในการวิจัยครั้งนี้ต้องดาเนินการตามวัตถุประสงค์ภายใต้สมมติฐานที่ กาหนดไว้ซึ่งกาหนดตามแผนของระบบงานวิจัยเป็น 3 ขั้นตอนหลักคือขั้นตอนการวางแผนก่อนการ ผลิต ขั้นตอนการพัฒนาและการผลิต รวมไปถึงขั้นตอนหลังการผลิต ผู้วิจัยจึงได้เสนอผลการวิเค ราะห์ ข้อมูลโดยแยกออกเป็นส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. ขั้นตอนการวางแผนก่อนการผลิตงาน (Pre Production Stage) 1.1 ตั้งสมมติฐาน การออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส จากัด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กระบวนการออกแบบอัตลักษณ์สาหรับองค์กร และกระบวนการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ที่ใช้ใน สานักงาน โดยได้ผลิตต้นแบบเหมือนจริงโดยมี โลโก้บริษัท , ตรายาง, นามบัตร, ซองจดหมาย, หัว จดหมาย, โปสเตอร์, แผ่นพับ และชุดพนักงาน 1.2 การศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) จากการศึกษารวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลทั้ งทฤษฎี แนวความคิด และผลงานวิจัย ซึง่ สามารถสรุปข้อมูลที่รวบรวมได้ดังนี้ 1.1.1 ความสาคัญของแบรนด์ แบรนด์ถือได้ว่าเป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่ทาให้สินค้าของ ผู้ผลิตมีความแตกต่าง และโดดเด่น จากสินค้า อื่น เพราะคาว่าแตกต่างของสินค้านั้นไม่จาเป็นว่า ส่วนผสม หรือว่ารูปร่างหน้าตาสินค้าต้องต่างจากคนอื่น แต่แค่ให้รู้สึกแตกต่างจากความรู้สึกก็ เพียงพอ เช่น ทาไมเวลาเรา นึกถึงกระดาษจะต้องนึกถึง double A ทั้งที่สินค้า ทั้งๆ ที่เป็นสินค้าที่ผู้ผลิตร าย อื่นๆ ก็ไม่ได้มีความแตกต่างไปจากเจ้าที่เอ่ยมาเท่าไรนัก แต่ที่เรานึกถึงตามที่กล่าวมาเพราะ เรารู้สึกว่า สินค้า นั้นๆ แตกต่างจากคนอื่น เพราะแบรนด์นี่เอง พูดถึงการสร้างความแตกต่างของสินค้ าด้วยตัว สินค้าเองเดี๋ยวนี้ทาได้ ค่อนข้างยาก เพราะว่าสินค้ามีความหลากหลาย มากขึ้น และ มีประเภท สินค้าออก มาสู่ตลาดมาก มาย การที่เราจ ะคิดแต่ว่าจะสร้างความแตกต่างจาก สินค้าไม่ใช่เรื่องง่ายๆ เพราะช่องว่างของตลาดเริ่มแคบลงทุกที จึงเป็นผลให้การสร้าง แบรนด์เป็นกลยุทธ์ที่ค่อนข้างได้รับ ความสาคัญในปัจจุบัน


34

1.1.2 เอกลักษณ์ขององค์กรเอกลักษณ์องค์กร หรือ เอกลักษณ์กลุ่มบริษัท (corporate identity) เป็นรูปแบบที่ เป็นเอกลักษณ์ของหน่วยงานหรือองค์กร ซึ่งถูกออกแบบให้ สอดคล้อง กับเป้าหมายทางธุรกิจซึ่งแสดงออกมาทางในรูปแบบขอ งแบรนด์ และการใช้งาน เครื่องหมาย การค้า แม้ว่าเรื่องของเอกลักษณ์จะไม่ใช่สิ่งเดียวที่เกี่ยวกับแบรนด์ (เพราะแบรนด์ ประกอบด้วยหลายองค์ประกอบ) แต่เรื่องของแบรนด์กับเอกลักษณ์เป็นเรื่องที่ต้องเกิดขึ้นควบคู่กันอยู่ เสมอ เราสามารถสร้างแบรนด์ให้โดดเด่น ได้ด้วยการสร้างเอกลักษณ์ให้กับแบรนด์ ซึ่งสามารถสื่อสาร ออกมาได้ 3 ส่วนด้วยกัน คือ การสร้างเอกลักษณ์ ผ่านทางภาพ (Visual Identity) การสร้าง เอกลักษณ์ผ่านทางพฤติกรรม (Behavioral Identity) และการสร้างเอกลักษณ์ผ่านการพูด (VerbalIdentity เช่น การใช้สโลแกน จิงเกิ้ล เป็นต้น การออกแบบสร้าง “เอกลักษณ์ ” ให้กับองค์กรหรือแบ รนด์เป็นงานที่ยากยิ่ง เพราะไม่ใช่เป็นเพียงการออกแบบ “โลโก้ ” ให้สวยงามแล้วจบ แต่สิ่งที่เรา ต้องการคือ เอกลักษณ์ด้นภาพที่จะสื่อสารถึงจุดยืน + บุคลิกภาพ รวมถึงวิสัยทัศน์ของแบรนด์ จากนั้นค่อยพัฒนาต่อในเรื่องระบบการใช้โลโก้ การใช้ตัวอักษร การใช้สี การใช้ภาพ อื่น ๆ อีกมากมาย ที่จะทาให้ภาพลักษณ์ขององค์กร มีเอกลักษณ์ตามที่ต้องการ 1.1.3 การออกแบบกราฟิก การออกแบบ (Design) การออกแบบจะต้องมาจาก รากฐานทางด้านเทคนิค ความคิด และพื้นฐานทางทัศนะสื่อสาร (Visual Communication) เพราะมี ความสาคัญเป็นอย่างยิ่งไม่ว่าคุณจะอยู่ในฐานะผู้วิพากษ์วิจารณ์หรือผู้สร้างสรรค์งานออกแบบโดยตรง ความรู้ความสามารถ ในระดับพื้นฐานเป็นสิ่งสาคัญที่สุดสาหรับกระบวนการ ศึกษาทางด้านนี้ และ จะต้องเป็นไปในลักษณะเข้มข้นผู้ทีมีพื้นฐานในการออกแบบที่ดี จะช่วยให้สามารถมีการพัฒนาการ แก้ปัญหาบนพื้นฐานของประสบการณ์ และชั้นเชิงทางด้านนี้ได้เป็นอย่างดี หากคุณออกแบบงานเพียง ฉาบฉวย ย่อมเป็นอันตรายยิ่งปัญหาหลักของการออกแบบกราฟิก (Graphic Design) อยู่ที่พลังสอง ด้านที่ต่างขั้วกัน ซึ่งปัญหานี้จาเป็นต้องได้รับการขุดค้นอย่าง ระมัดระวัง ต้องแก้ปัญหาให้ตก และสร้าง ดุลยภาพให้เกิดขึ้นให้ได้ปัญหา 2 ด้านที่ว่าก็คือ พลังการแสดงออกตามปัจเจกภาพหรือการสร้างสรรค์ เฉพาะบุคคล จะต้องสร้างให้ตรง กับความพึงพอใจของกลุ่มประชากร ทั้งนี้งานอ อกแบบจะต้องมี คุณค่าสูงการออกแบบ ไม่ใช่ศิลปะโดยตรง แต่เป็นการสร้างสรรค์ที่เกิดความสมดุลกับควา มพึงพอใจ การออกแบบจะต้องตอบสนองความจาเป็นของมนุษย์ การแสดงออกของงานออกแบบจะต้อง สร้างให้ ปรากฏได้หรือตรวจสอบได้ เราจะต้องมีเกณฑ์ที่ พิสูจน์ได้ เพื่อการตัดสินใจใน ทางคุณค่าของงาน ออกแบบ


35

1.3 ลักษณะทั่วไปของตัวอย่าง (Case Study) จากการเก็บข้อมูลรวบรวมตัวอย่างที่เป็นก รณีศึกษา เพื่อนามาสรุปเป็นแนวทาง ในการ วิเคราะห์ข้อมูลทางการออกแบบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.3.1 กรณีศึกษาที่ 1 บริษัท เน็กเวฟเวอร์ดอตเนท จากัด

ภาพที่ 8 ภาพโลโก้ของบริษัท เน็กเวฟเวอร์ดอตเนท จากัด (ที่มา: http://www.nextwaver.com/) วิเคราะห์การออกแบบของ บริษัท เน็กเวฟเวอร์ดอตเนท จากัด ดาเนินงานธุรกิจเกี่ยวกับ การพัฒนาระบบสนับสนุน Information, Business Knowledge OnDemand และ E-Business OnDemand โลโก้บริษัท เน็กเวฟเวอร์ดอตเนท จากัด เป็นการออกแบบประเภทผสมผสานระหว่าง ภาพและตัวอักษรโดยได้ใช้รูปภาพเหมือนคลื่นน้าเพื่อให้สอดคล้องกับชื่อ และใช้เครื่องหมายวงกลม ทาเป็นขอบของโลโก้ และนาชื่อของบริษัทมาใส่ไว้ทางด้านล่างของโลโก้ ส่วนสีที่ใช้ก็เป็นโทนสีฟ้ากับ ขาว แสดงถึงอิสรภาพ ที่สามารถโบยบินเป็นสี แห่งความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการที่ไม่มีขอบเขต ซึ่งได้ออกแบบเป็นตัวของตัวเอง ทาให้เกิดการจดจาได้ถึงบริษัท ข้อดี - สีที่ใช้ก็เป็นโทนสีฟ้ากับขาว ทาให้ดูสบายตา - ใช้สัญลักษณ์สื่อความหมาย ได้ดี และมีเอกลักษณ์

ข้อด้อย สิ่งที่นามาใช้ - ชื่อบริษัทที่นามาใช้สีดู - การเลือกใช้สีมีความเหมาะสม กลมกลืนไป ไม่โดดเด่น - การใช้ภาพให้มีความสอดคล้อง - ฟอนต์ที่ใช้ในชื่อของบริษัท กับผลงานวิจัย และตัวโลโก้ดูเป็นการ์ตูนมาก เกินไป

ตารางที่ 2 ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษาที่ 3 บริษัท เน็กเวฟเวอร์ดอตเนท จากัด (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


36

1.3.2 กรณีศึกษาที่ 2 บริษัท อินโฟลิสท์ จากัด

ภาพที่ 9 ภาพโลโก้ของบริษัท อินโฟลิสท์ จากัด (ที่มา: http://www. infolyst.net/) วิเคราะห์การออกแบบ ของบริษัท อินโฟลิสท์ จากัด ดาเนินงานธุรกิจทางด้านให้ คาปรึกษาทางด้านการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ปัญญาอัจฉริยะ (Business Intelligence) ซึ่งเรามีความเชี่ยวชาญ โดยเฉพาะทางด้านทาเหมืองข้อมูล (Data Mining) บริการให้ คาปรึกษาแก่ลูกค้าในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบโจทย์ทางธุรกิจให้กับองค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชน โลโก้บริษัท อิน โฟลิสท์ จากัด เป็นการออกแบบประเภทตัวอักษร เครื่องหมายที่เป็นอักษรและ อ่านได้ ตัวอักษรที่ปรากฏชื่อเรียกของบริษัท การออกแบบอักขระตัวอักษรจะใ ช้ลูกเล่นกับตัวอักษร i โดยใช้การเน้นให้ใหญ่และดูลักษณะคล้ายกับรูปคน ซึ่งสีที่ใช้ก็เป็นสีโทนมืด ทาให้ไม่ค่อยเด่นสะสุดตา เท่าไหร่นัก ข้อดี - ใช้สีที่แตกต่างกันทาให้ ตัวอักษรตัวแรกดูโดดเด่น - เล่นลูกเล่นที่ตัวอักษรตัว แรกทาให้ตัวอักษรตั วแรกดู โดดเด่น

ข้อด้อย สิ่งที่นามาใช้ - ใช้โทนสีหม่น ดูไม่สดใส - การเลือกใช้สีมีความเหมาะสม - ข้อความด้านล่างเล็กเกินไป - การใช้ภาพให้มีความสอดคล้อง ทาให้มองไม่ค่อยเห็น และไม่ กับผลงานวิจัย สะดุดตา

ตารางที่ 3 ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษาที่ 4 บริษัท อินโฟลิสท์ จากัด (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


37

1.3.3 กรณีศึกษาที่ 3 บริษัท อินโนเวทีฟ บิสซิเนส จากัด

ภาพที่ 10 ภาพโปสเตอร์ของบริษัท อินโนเวทีฟ บิสซิเนส จากัด (ที่มา: http://www.innobiz.co.th/) วิเคราะห์การออกแบบของบริษัท อินโนเวทีฟ บิสซิเนส จากัด ดาเนินงานธุรกิจ ให้บริการด้าน Business Intelligence โดยให้คาปรึกษาพัฒนาและดูแลระ บบเพื่อประโยชน์สูงสุด ของลูกค้า การออกแบบโปสเตอร์โดยรวมแล้วการใช้สีและองค์ประกอบไม่มีความโดดเด่น ข้อดี

ข้อด้อย

สิ่งที่นามาใช้

- ใส่รายละเอียดของข้อมูล - ใช้สีพื้นทีเ่ รียบง่าย ดูไม่ตื่นตา - การเลือกใช้สีมีความเหมาะสม ครบถ้วน - องค์ประกอบโดยรวมดูไม่ - การใช้ภาพให้มีความสอดคล้อง - การจัดตัวอักษรอ่านได้ น่าสนใจ กับผลงานวิจัย ง่าย ตารางที่ 4 ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษาที่ 3 บริษัท อินโนเวทีฟ บิสซิเนส จากัด (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


38

1.3.4 กรณีศึกษาที่ 4 บริษัท ไอ เอ็ม ดี จากัด

ภาพที่ 11 ภาพโปสเตอร์ของบริษัท บริษัท ไอ เอ็ม ดี จากัด (ที่มา: http://www.imd.co.th/) วิเคราะห์การออกแบบของบริษัท ไอ เอ็ม ดี จากัด ดาเนินงานธุรกิจทางด้านการวางระบบ และให้บริการด้านการอบรมระบบซอฟท์แวร์ ที่ช่วยอานวยความสะดวกในการนาเสนอข้อมูล สารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูง การออกแบบโปสเตอร์โดยรวมแล้วใช้สีที่ ดูโดดเด่น แต่ใส่ข้อความที่มากเกินไป ข้อดี ข้อด้อย สิ่งที่นามาใช้ - ใช้สีโทนร้อนทาให้ข้อความดู - ใช้ข้อความที่มากเกินไป - การเลือกใช้สีมีความเหมาะสม โดดเด่น น่าจะใช้ข้อความที่กระชับกว่า - การใช้ภาพให้มีความสอดคล้อง - ใช้ภาพประกอบได้ดี ทาให้ นี้ กับผลงานวิจัย ดูน่าสนใจ ตารางที่ 5 ตารางวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษาที่ 4 บริษัท ไอ เอ็ม ดี จากัด (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


39

2. การสร้างแบบร่างทางความคิด (Concept Sketch) การออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส เริ่มต้นจากการทาความเข้าใจเกี่ยวกับการ ออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส ศึกษาข้อมูลและดูงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอัต ลักษณ์ และงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง แล้วจึงตีค วามออกมาเป็นชิ้นงาน ซึ่งในการออกแบบอัตลักษณ์ สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส นี้ ผู้วิจัยต้องการเผยแพร่ผ่านทางการออกแบบอัตลักษณ์ โดยจะเน้นและสื่อ ถึงกราฟซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์หลักของบริษัท โกอิ้งเจ็ส ซึ่งจะทาให้คนทั่วไปได้รู้จักและเข้าใจเกี่ยวกับ บริษัท โกอิ้งเจ็ส มากขึ้น โดยผู้วิจัยได้ ดาเนินการตามขั้นตอนทั้งหมดต่อไปนี้ 2.1 แบบร่างทางความคิด

ภาพที่ 12 ภาพแรงบัลดาลใจในการออกแบบโลโก้ (ที่มา: http://www.comicbase.com/images/Line_Graph_Lg.jpg) สาหรับการออกแบบนั้นได้มีการตีความจากโจทย์ซึ่งเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์หลักๆที่เป็นจุดเด่น ของบริษัท โกอิ้งเจ็ส ซึ่งก็คือกราฟต่างๆ จึงได้นารูปกราฟต่างๆ มาดัดแปลงและตัดทอนมาทาเป็นโล โก้ โดยต้องการให้มีเอกลักษณ์และสามารถจดจาได้ง่าย มีความน่าเชื่อถือ ดูแลเอาใจใส่ที่ดี และทันยุค สมัยอีกด้วย สเก็ตซ์แบบร่างสัญลักษณ์ (Logo) ของบริษัท โกอิ้งเจ็ส มีดังนี้ 2.1.1 แบบร่างสัญลักษณ์แบบที่ 1 ได้รับแรงบันดาลใจมาจากรูปแบบของกราฟเส้นที่มี ลักษณะเคลื่อนไหวจึงนามาตัดทอน และนารูปสี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยมมาจัดวางต่อกันให้อยู่ใน ลักษณะเหมือนคลื่น เพื่อให้ดูลื่นไหล มีการเคลื่อนไหวไปข้างหน้า จึงเติมลูกศรเพิ่มเติมที่ปลาย ด้านขวามีลักษณะพุ่งไปข้างหน้า แสดงให้เห็นถึงความราบรื่นและเจริญก้าวหน้า


40

ภาพที่ 13 ภาพแบบร่างโลโก้แบบที่ 1 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.1.2 แบบร่างสัญลักษณ์แบบที่ 2 ได้รับแรงบันดาลใจมาจากกราฟเหมือนแบบร่าง สัญลักษณ์แบบที่ 1 แต่มีการเพิ่มลูกเล่นที่ปลายด้านขวาของสัญลักษณ์ โดยใช้เส้นมาตัดแบ่งสลับกัน ให้มีความแตกต่างกับส่วนอื่นๆ ทาให้ดูหลากหลายมากขึ้น แทนที่จะใช้เส้นทึบเพียงอย่างเดียว

ภาพที่ 14 ภาพแบบร่างโลโก้แบบที่ 2 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.1.3 แบบร่างสัญลักษณ์แบบที่ 3 ได้รับแรงบันดาลใจมาจากแบบร่างสัญลักษณ์แบบ ที่ 2 ซึง่ เดิมทีป่ ลายลูกศรจะเป็นแบบเส้นสลับทีป่ ลายลูกศรทีโ่ ยงมาจากเส้นทีเ่ ชือ่ มต่อมายังปลาย ลูกศร โดยจะเปลี่ยนให้ปลายลูกศรเป็นแบบทึบไปเลย เพื่อให้มีการตัดแบ่งเส้นกับปลายลูกศร


41

ภาพที่ 15 ภาพแบบร่างโลโก้แบบที่ 3 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.1.4 แบบร่างสัญลักษณ์แบบที่ 4 ได้รับแรงบันดาลใจมาจากจากแบบร่างสัญลักษณ์ แบบที่ 3 ซึง่ เดิมลูกศรจะพุง่ ไปทางขวาของสัญลักษณ์ ก็เปลีย่ นให้ลกู ศรพุง่ ขึน้ เพือ่ แสดงถึงความ เจริญเติบโตพุ่งขึ้นไปเรื่อยๆ

ภาพที่ 16 ภาพแบบร่างโลโก้แบบที่ 4 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.2 แบบร่างเหมือนจริงโดยการออกแบบตามแนวความคิดที่วางไว้ เมื่อได้แบบจากสเก็ตซ์แล้ว ได้มีการปรับปรุงแก้ไขให้เกิดความชัดเจนและสื่อความหมาย มากขึ้น และได้ทาการทดลองการใช้แบบตัวอักษร และการใช้สีต่างๆ เพื่อความเหมาะสมและสื่อ ความหมายที่สุด การปรับปรุงสัญลักษณ์ของบริษัท โกอิ้งเจ็ส มีดังนี้ 2.2.1 การปรับปรุงสัญลักษณ์แบบที่ 1 ได้รับแรงบันดาลใจมาจากรูปแบบของกราฟ เส้นที่มีลักษณะเคลื่อนไหวจึงนามาตัดทอน และนารูปสี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยมมาจัดวางต่อกันให้อยู่ใน ลักษณะเหมือนคลื่น เพื่อให้ดูลื่นไหล มีการเคลื่อนไหวไปข้างหน้า จึงเติมลูกศรเพิ่มเติมที่ปลาย ด้านขวามีลักษณะพุ่งไปข้างหน้า แสดงให้เห็นถึงความราบรื่นและเจริญก้าวหน้า การใช้สีในสัญลักษณ์


42

ก็ได้แรงบันดาลใจมาจากสีมาตรฐานของกราฟซึ่งมี 3 สีหลักๆ คือ สีแดง แสดงความมั่งคั่งอุดม สมบูรณ์และอานาจ , สีเขียว สื่อความหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม และสี ฟ้า แสดงถึงความสว่าง คว ามปลอดโปร่ง เปรียบเหมือนท้องฟ้า เป็นอิสระ เสรี โดยสีจะไล่จากแดง , เขียว, ฟ้า ซึ่งจะใส่สีเข้มกับอ่อนคู่กัน

ภาพที่ 17 ภาพการปรับปรุงโลโก้แบบที่ 1 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.2.2 การปรับปรุงสัญลักษณ์แบบที่ 2 ได้รับแรงบันดาลใจมาจากกราฟเหมือน สัญลักษณ์แบบที่ 1 แต่มีการเพิ่มลูกเล่นที่ปลายด้านขวาของสัญลักษณ์ โดยใช้เส้นมาตัดแบ่งสลับกัน ให้มีความแตกต่างกับส่วนอื่นๆ ทาให้ดูหลากหลายมากขึ้น แทนที่จะใช้เส้นทึบเพียงอย่างเดียว โดยสี จากเดิมที่ใส่สีเข้มกับอ่อน ก็เปลี่ยนให้แต่ละสีมีโทนเดียว เพื่อลดความต่างของสีลง ทาให้ดูสมดุลขึ้น

ภาพที่ 18 ภาพการปรับปรุงโลโก้แบบที่ 2 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)ฃ 2.2.3 การปรับปรุงสัญลักษณ์แบบที่ 3 ได้รับแรงบันดาลใจมาจากสัญลักษณ์แบบที่ 2 ซึง่ เดิมทีป่ ลายลูกศรจะเป็นแบบเส้นสลับทีป่ ลายลูกศรทีโ่ ยงมาจากเส้นทีเ่ ชือ่ มต่อมายังปลายลูกศร โดยจะเปลี่ยนให้ปลายลูกศรเป็นแบบทึบไปเลย เพื่อให้มีการตัดแบ่งเส้นกับปลายลูกศร ใช้สีฟ้า , เขียว, แดงเช่นเดียวกับสัญลักษณ์แบบที่ 2


43

ภาพที่ 19 ภาพการปรับปรุงโลโก้แบบที่ 3 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.2.4 การปรับปรุงสัญลักษณ์แบบที่ 1 ได้รับแรงบันดาลใจมาจากจากสัญลักษณ์แบบ ที่ 3 ซึง่ เดิมลูกศรจะพุง่ ไปทางขวาของสัญลักษณ์ ก็เปลีย่ นให้ลกู ศรพุง่ ขึน้ เพือ่ แสดงถึงความ เจริญเติบโตพุ่งขึ้นไปเรื่อยๆ และเปลี่ยนแปลงโดยนาส่วนของรูปสามเหลี่ยมให้มาอยู่ติดกัน ทาให้ส่วน ของช่องว่างลดลง ดูเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันมาขึ้น ส่วนสีทใี่ ช้จะคล้ายกับสีตั้งต้นของกราฟ

ภาพที่ 20 ภาพการปรับปรุงโลโก้แบบที่ 4 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.3 การปรับปรุงแก้ไขจนได้รูปแบบที่ถูกต้องเหมาะสม รูปแบบของโลโก้ที่แก้ไขจนเสร็จสมบูรณ์ ซึ่งลักษณะของโลโก้จะคล้ายเส้นกราฟ มีการ เดินทางของเส้น เหมือนกับมรการเคลื่อนไหวไปข้างหน้า โดยใช้สีที่มาจากสีค่าตั้งต้นของกราฟ โดยสี ฟ้าหมายถึงความเป็นสากล ความกว้างขวาง , สีเขียวหมายถึงความ ดูแลเอาใจใส่ และสีแดงจะ สังเกตเห็นว่ามีเส้น 5 เส้น โดยนักออกแบบให้ความหมายถึงความสามัคคีและลูกศรชี้ขึ้นไปข้างบนสื่อ ความหมายถึงการก้าวไปข้างหน้าด้วยกัน


44

ภาพที่ 21 ภาพโลโก้ที่ได้ทาการออกแบบเสร็จสมบูรณ์ (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.4 ขั้นตอนการพัฒนาและการผลิตผลงาน การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Illustrator เริ่มต้นการทางานด้วย คอมพิวเตอร์ด้วยการร่างเส้นตามแบบร่างที่ได้ทาการออกแบบไว้ ให้ได้ตามที่ต้องการ เพื่อให้ได้แบบ ตามที่สเกตไว้ในขั้นต้น 2.4.1 เริ่มต้นขั้นตอนการทางานโดยคลิกที่ File แล้วคลิก New เพื่อสร้ างเอกสารใหม่ จากนั้นทาการตั้งค่าหน้ากระดาษ แล้วนาแบบร่างสเกตที่สแกนไว้นามาลงในหน้ากระดาษชิ้นงาน ปรับให้บาง โดยกด Opacity เพื่อให้สามารถดราฟแบบร่างได้ง่าย

ภาพที่ 22 ภาพร่างแบบโลโก้ในโปรแกรม Illustrator (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


45

2.4.2 เริ่มต้นโดยการใช้เครื่องมือ Pen Tool ลากตามเส้นที่ดราฟไว้ เพื่อสร้างรูปทรง ต่างๆตามแบบ จากนั้นจึงใส่สีลงไปตามที่ต้องการ

ภาพที่ 23 ภาพการใช้เครื่องมือ Pen Tool ในโปรแกรม Illustrator (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) เมื่อได้แบบร่างตามที่สเกตไว้แล้วจึงดาเนินการขั้นต่อไปคือ ทาการพิมพ์ฟอนต์ลงไปในแบบ ซึ่งฟ้อนที่ใช้คือ MyriadPro โดยมีขนาด 44 พ้อยต์ไว้ใต้โลโก้ ขั้นตอนสุดท้ายเมื่อแบบทุกอย่างเสร็จ แล้วจึง Create Outline เพื่อที่จะสามมารถนาไปใช้ในการพิมพ์ได้อย่างสมบูรณ์

ภาพที่ 24 ภาพการพิมพ์ตัวอักษรชื่อบริษัทไว้ใต้โลโก้ (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


46

2.5 แบบร่างทางความคิดนามบัตร สเก็ตซ์แบบร่างนามบัตรของบริษัท โกอิ้งเจ็ส จากัด มีดังนี้ 2.5.1 แบบร่างนามบัตรแบบที่ 1 ได้ออกแบบตามแบบนามบัตรทั่วๆไป คือใช้กระดาษ สีขาวโดยให้มีด้านหน้าและด้านหลัง แต่จะตัดกระดาษมุมบนด้านซ้ายและมุมล่างด้านขวาหากมอง จากด้านหน้าของนามบัตร ซึ่งด้านหน้าจะมีส่วนประกอบคือ โลโก้จะอยู่ด้านบน ถัดลงมาเป็น ชื่อ ส่วน ด้านล่างซ้ายมือจะเป็นรูปลูกศรเหมือนเครื่ องหมาย Play เพื่อเพิ่มสีสัน ส่วนประกอบของด้านหลัง นามบัตรคือ ด้านบนซ้ายหากมองจากหลังบัตร จะใส่รูปลูกศรเหมือนเครื่องหมาย Play ขนาดใหญ่ ส่วนทางด้านล่างจะเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับบริษัท

ภาพที่ 25 ภาพแบบร่างนามบัตรแบบที่ 1 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.5.2 แบบร่างนามบัตรแบบที่ 2 ใช้กระดาษสีขาวโดยให้มีด้านหน้าและด้านหลัง แต่ จะตัดกระดาษมุมมุมล่างด้านขวาหากมองจากด้านหน้าของนามบัตร ซึ่งด้านหน้าจะมีส่วนประกอบคือ โลโก้จะอยู่ค่อนๆด้านบนของนามบัตร ชื่อจะเน้นภาษาอังกฤษเป็นหลัก ทางด้านล่างจะใส่แถบสี แนวนอนลงไป เพื่อเพิ่มสีสันให้กับนามบัตร ส่วนประกอบของด้านหลังนามบัตรคือ จะใส่แถบด้านบน ซ้ายหากมองจากหลังบัตร จะใส่แถบสีแนวตั้งลงไป ส่วนด้านล่างจะเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับบริษัท


47

ภาพที่ 26 ภาพแบบร่างนามบัตรแบบที่ 2 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.5.3 การปรับปรุงนามบัตร ของบริษัท โกอิ้งเจ็ส จากัด - การปรับปรุงนามบัตรแบบที่ 1 ใช้กระดาษสีขาวโดยให้มีด้านหน้าและ ด้านหลัง แต่จะตัดกระดาษมุมบนด้านซ้ายและมุมล่างด้านขวาหากมองจากด้านหน้าของนามบัตร ซึ่ง ด้านหน้าจะมีส่วนประกอบคือ โลโก้จะอยู่ด้านบน ถัดลงมาเป็น ชื่อ ส่วน ด้านล่างซ้ายมือจะเ ป็นรูป ลูกศร ส่วนประกอบของด้านหลังนามบัตรคือ ด้านบนซ้ายจะใส่รูปลูกศรขนาดใหญ่ ส่วนทางด้านล่าง จะเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับบริษัท

ภาพที่ 27 ภาพการปรับปรุงนามบัตรแบบที่ 1 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


48

- การปรับปรุงนามบัตรแบบที่ 2 ใช้กระดาษสีขาวตัดกระดาษมุมมุมล่าง ด้านขวาหากมองจากด้านหน้าของนามบัตร โลโก้จะอยู่ด้านบน ถัดมาเป็น ชื่อ ด้านล่างจะใส่แถบสี แนวนอนลงไป ส่วนด้านหลังจะใส่แถบสีแนวตั้งลงไป ส่วนด้านล่างจะเป็นรายละเอียดเกี่ยวกับบริษัท

ภาพที่ 28 ภาพการปรับปรุงนามบัตรแบบที่ 2 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.5.4 รูปแบบของนามบัตรที่แก้ไขจนเสร็จสมบูรณ์ - แบบที่ 1 จะเน้นใช้สีแดงเป็นหลักที่ตัวอักษร แถบสีแดงที่ขอบล่างด้านหน้า และแถบข้างขวาด้านหลัง

ภาพที่ 29 ภาพนามบัตรที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์แบบที่ 1 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


49

- แบบที่ 2 จะเน้นใช้สีเขียวเป็นหลักที่ตัวอักษร แถบสีเขียวที่ขอบล่างด้านหน้า และแถบข้างขวาด้านหลัง

ภาพที่ 30 ภาพนามบัตรที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์แบบที่ 2 (ที่มา : นายนพ สุขสงวนศรี) - แบบที่ 3 จะเน้นใช้สีน้าเงินเป็นหลักที่ตัวอักษร แถบสีน้าเงินที่ขอบล่าง ด้านหน้าและแถบข้างขวาด้านหลัง

ภาพที่ 31 ภาพนามบัตรที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์แบบที่ 3 (ที่มา : นายนพ สุขสงวนศรี)


50

2.5.5 ขั้นตอนการออกแบบนามบัตร การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Illustrator เริ่มต้นการทางาน ด้วยคอมพิวเตอร์ด้วยการร่างเส้นตามแบบร่างที่ได้ทาการออกแบบไว้ขั้นต้น - เริ่มต้นขั้นตอนการทางานโดย สร้างเอกสารใหม่ ทาการตั้งค่าหน้ากระดาษ แล้วนาแบบร่างสเกตที่สแกนไว้มาลงในหน้ากระดาษปรับให้บาง โดยกด Opacity

ภาพที่ 32 ภาพร่างแบบนามบัตรในโปรแกรม Illustrator (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) - จากนั้นใช้เครื่องมือ Pen Tool ลากตามเส้นที่ดราฟไว้ตามแบบ แล้วจึงใส่สี

ภาพที่ 33 ภาพการใช้เครื่องมือ Pen Tool ในโปรแกรม Illustrator (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


51

- เมื่อได้แบบร่างตามที่สเกตไว้แล้วจึงดาเนินการขั้นต่อไปคือ คือทาการเพิ่ม รายละเอียดของทางบริษัทลงไปในชิ้นงาน โดยใส่ Logo บริษัท และละเอียดลงไป แล้วจึงทาการปรับ และจัดวางให้ดูสวยงามตามที่ได้ร่างแบบไว้ 2.6 แบบร่างทางความคิดหัวจดหมาย สเก็ตซ์แบบร่างหัวจดหมายของบริษัท โกอิ้งเจ็ส จากัด มีดังนี้

ภาพที่ 34 ภาพสเก็ตซ์แบบร่างหัวจดหมาย (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.6.1 แบบร่างหัวจดหมายแบบที่ 1 ออกแบบโดยนาโลโก้ไว้ด้านบนทางซ้ายส่วน ด้านล่าง รายละเอียดบริษัทจะอยู่ทางด้านซ้าย และทางด้านขวาจะเป็นแถบเหมือนที่อยู่ในนามบัตร


52

ภาพที่ 35 ภาพสเก็ตซ์แบบร่างหัวจดหมายแบบที่ 1 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.6.2 แบบร่างหัวจดหมายแบบที่ 2 ออกแบบโดยนาโลโก้และรายละเอียดบริษัทไว้ ด้านบนทางซ้ายกั้นด้วยเส้นสีดาแนวตรงระหว่างโลโก้กับรายละเอียดบริษัท ส่วนด้านล่างทางด้านขวา จะเป็นแถบเหมือนที่อยู่ในนามบัตร

ภาพที่ 36 ภาพสเก็ตซ์แบบร่างหัวจดหมายแบบที่ 2 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.6.3 การปรับปรุงหัวจดหมาย ของบริษัท โกอิ้งเจ็ส จากัด - การปรับปรุงหัวจดหมายแบบที่ 1 ออกแบบโดยนาโลโก้ไว้ด้านบนทางซ้าย ส่วนด้านล่าง รายละเอียดบริษัทจะอยู่ทางด้านซ้าย และทางด้านขวาจะเป็นแถบเหมือนที่อยู่ใน นามบัตร


53

ภาพที่ 37 ภาพการปรับปรุงหัวจดหมายแบบที่ 1 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) - การปรับปรุงหัวจดหมายแบบ 2 ออกแบบโดยนาโลโก้และรายละเอียดบริษัท ไว้ด้านบนทางซ้ายกั้นด้วยเส้นสีดาแนวตรงระหว่างโลโก้กับรายละเอียดบริษัท ส่วนด้ านล่างทาง ด้านขวาจะเป็นแถบเหมือนที่อยู่ในนามบัตร

ภาพที่ 38 ภาพการปรับปรุงหัวจดหมายแบบที่ 2 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


54

2.6.4 รูปแบบของหัวจดหมายที่แก้ไขจนเสร็จสมบูรณ์

ภาพที่ 39 ภาพหัวจดหมายที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์ (ที่มา : นายนพ สุขสงวนศรี) 2.6.5 ขั้นตอนการออกแบบหัวจดหมาย การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Illustrator เริ่มต้นการทางาน ด้วยคอมพิวเตอร์ด้วยการร่างเส้นตามแบบร่างที่ได้ทาการออกแบบไว้ ให้ได้ตามที่ต้องการ เพื่อให้ได้ แบบตามที่สเกตไว้ในขั้นต้น - เริ่มต้นขั้นตอนการทางานโดยคลิกที่ File แล้วคลิก New เพื่อสร้างเอกสาร ใหม่ จากนั้นทาการตั้งค่าหน้ากระดาษ แล้วนาแบบร่างสเกตที่สแกนไว้นามาลงในหน้ากระดาษชิ้นงาน ปรับให้บาง โดยกด Opacity เพื่อให้สามารถดราฟแบบร่างได้ง่าย


55

ภาพที่ 40 ภาพร่างแบบหัวจดหมายในโปรแกรม Illustrator (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) - เริ่มต้นโดยการใช้เครื่องมือ Pen Tool ลากตามเส้นที่ดราฟไว้ เพื่อสร้าง รูปทรงต่างๆตามแบบ จากนั้นจึงใส่สีลงไปตามที่ต้องการ

ภาพที่ 41 ภาพการใช้เครื่องมือ Pen Tool ในโปรแกรม Illustrator (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


56

- เมื่อได้แบบร่างตามที่สเกตไว้แล้วจึงดาเนินการขั้นต่อไปคือ คือทาการเพิ่ม รายละเอียดของทางบริษัทลงไปในชิ้นงาน โดยใส่ Logo บริษัท และละเอียดลงไป แล้วจึงทาการปรับ และจัดวางให้ดูสวยงามตามที่ได้ร่างแบบไว้ 2.7 แบบร่างทางความคิดชุดพนักงาน สเก็ตซ์แบบร่างชุดพนักงานของบริษัท โกอิ้งเจ็ส จากัด มีดังนี้ 2.7.1 แบบร่างชุดพนักงานแบบที่ 1 ออกแบบโดยนาโลโก้ไว้ที่หน้าอกด้านซ้าย และมี เครื่องหมายลูกศรที่แขนเสื้อด้านซ้ายกับชายเสื้อด้านหน้าทางขวาอีกด้วย

ภาพที่ 42 ภาพแบบร่างชุดพนักงานแบบที่ 1 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.7.2 แบบร่างชุดพนักงานแบบที่ 2 ออกแบบโดยนาโลโก้ไว้ที่หน้าอกด้านซ้าย เหมือนเดิม แต่ลายเสื้อได้นาเอาโลโก้มาแต่งที่ชายเสื้อด้านล่างขวาจากด้านหลังมาด้านหน้า

ภาพที่ 43 ภาพแบบร่างชุดพนักงานแบบที่ 2 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


57

2.7.3 การปรับปรุงชุดพนักงานของบริษัท โกอิ้งเจ็ส จากัด - การปรับปรุงชุดพนักงานแบบที่ 1 ออกแบบโดยนาโลโก้ไว้ที่หน้าอกด้านซ้าย และมีเครื่องหมายลูกศรที่แขนเสื้อด้านซ้ายกับชายเสื้อด้านหน้าทางขวาอีกด้วย

ภาพที่ 44 ภาพการปรับปรุงชุดพนักงานแบบที่ 1 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) - การปรับปรุงชุดพนักงานแบบที่ 2 ออกแบบโดยนาโลโก้ไว้ที่หน้าอกด้านซ้าย เหมือนเดิม แต่ลายเสื้อได้นาเอาโลโก้มาแต่งที่ชายเสื้อด้านล่างขวาจากด้านหลังมาด้านหน้า

ภาพที่ 45 ภาพการปรับปรุงชุดพนักงานแบบที่ 2 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


58

2.7.4 รูปแบบของชุดพนักงานที่แก้ไขจนเสร็จสมบูรณ์

ภาพที่ 46 ภาพชุดพนักงานที่แก้ไขจนเสร็จสมบูรณ์ (ทีม่ า: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.7.5 ขั้นตอนการออกแบบชุดพนักงาน การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Illustrator เริ่มต้นขั้นตอน การทางานสร้างเอกสารใหม่ ทาการตั้ง ค่าหน้ากระดาษ แล้วนาแบบร่างสเกตที่สแกนไว้นามาลงใน หน้ากระดาษชิ้นงาน ปรับให้บาง โดยกด Opacity จากนั้น ใช้เครื่องมือ Pen Tool ลากตามเส้น ที่ดราฟไว้ตามแบบ แล้วจึงใส่สี

ภาพที่ 47 ภาพร่างแบบชุดพนักงานในโปรแกรม Illustrator (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


59

2.8 แบบร่างทางความคิดโปสเตอร์ สเก็ตซ์แบบร่างโปสเตอร์ของบริษัท โกอิ้งเจ็ส จากัด มีดังนี้ 2.8.1 แบบร่างโปสเตอร์แบบที่ 1 ได้ออกแบบโดยนาโลโก้ของบริษัทมา ทาเป็นพื้นหลัง แบบลายน้า และนาเครื่องหมายลูกศรซึ่งมีอยู่ในโลโก้ของบริษัทมาเป็นลูกเล่นในโปสเตอร์ ส่วนเนื้อหา ในโปสเตอร์จะเป็นการประชาสัมพันธ์ในส่วนของการอบรมการใช้งาน Pentaho ซึ่งเป็น โปรแกรมหลักของบริษัท โดยตัวอักษรหลักๆ จะเน้นสีน้าเงิน , สีเขียว และสีแดง ซึ่งเป็นสีของโลโก้ ส่วนสีพื้นหลังจะใช้สีเหลือง เพื่อให้ตัดกับโลโก้และสีของตัวอักษร

ภาพที่ 48 ภาพแบบร่างโปสเตอร์แบบที่ 1 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.8.2 แบบร่างโปสเตอร์ แบบที่ 2 ออกแบมาเพื่อประชาสัมพันธ์การอบรมใช้งาน โปรแกรม Pentaho เช่นเดียวกับแบบที่ 1 แต่โทนสีที่ใช้จะต่างกันคือแบบที่ 2 จะใช้สีโทนมืด โดยนา สีดามาเป็นสีพื้นหลัง ส่วนหัวข้อหลักของการโฆษณาจะเล่นสี ที่ตัวอักษรโดยช้สีขาวบวกกับสีที่มีอยู่ ในโลโก้บริษัท และเพิ่มลูกเล่นโดยลากเส้นของตัวอักษร t, i ให้ยาวไปถึงเส้นขอบเหมือนเป็นการแบ่ง สัดส่วน และได้เน้นข้อความที่คาว่า NOW เพื่อเป็นการจูงใจให้ผู้ที่พบเห็นโปสเตอร์และสนใจที่จะเขา ร่วมอบรมมีความกระตือรือร้นที่จะสมัครเข้าร่วมอบรมทันที และโปสเตอร์แบบที่ 2 นี้จะมีรายละเอียด หัวข้อที่ใช้ในการอบรมอยู่ทางด้านล่าง ส่วนโลโก้จะอยู่เกือบๆ กึ่งกลางของโปสเตอร์


60

ภาพที่ 49 ภาพแบบร่างโปสเตอร์แบบที่ 2 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.8.3 รูปแบบของโปสเตอร์แก้ไขจนเสร็จสมบูรณ์ - แบบที่ 1 จะเน้นใช้สี โทนสว่างและนาโลโก้มาเป็นพื้นหลัง เพิ่มลูกเล่นโดยนา ลูกศรซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโลโก้มาทาให้โปสเตอร์ดูไม่ทื่อ เหมือนมีการเคลื่อนไหว

ภาพที่ 50 ภาพโปสเตอร์ที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์แบบที่ 1 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


61

- แบบที่ 2 จะใช้สีโทนมืดโดยนาสีดามาเป็นสีพื้นหลัง และมีรายละเอียด เกี่ยวกับการอบรมอยู่ทางด้านล่าง เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ใช้ประกอบในการพิจารณาตัดสินใจเข้าร่วม อบรมอีกด้วย

ภาพที่ 51 ภาพโปสเตอร์ที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์แบบที่ 2 (ที่มา : นายนพ สุขสงวนศรี) 2.8.4 ขั้นตอนการออกแบบโปสเตอร์ การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Illustrator เริ่มต้นการทางาน ด้วยคอมพิวเตอร์ด้วยการร่างเส้นตามแบบร่างที่ได้ทาการออกแบบไว้ขั้นต้น - เริ่มต้นขั้นตอนการทางานโดย สร้างเอกสารใหม่ ทาการตั้งค่าหน้ากระดาษ แล้วนาแบบร่างสเกตที่สแกนไว้มาลงในหน้ากระดาษปรับให้บาง โดยกด Opacity - จากนั้นใช้เครื่องมือ Pen Tool ลากตามเส้นที่ดราฟไว้ เพื่อสร้างรูปทรงต่างๆ ตามแบบ จากนั้นจึงใส่สีลงไปตามที่ต้องการ - เมื่อได้แบบร่างตามที่สเกตไว้แล้วจึงดาเนินการขั้นต่อไปคือ คือทาการเพิ่ม รายละเอียดของทางบริษัทลงไปในชิ้นงาน โดยใส่ Logo บริษัท และละเอียดลงไป แล้วจึงทาการปรับ และจัดวางให้ดูสวยงามตามที่ได้ร่างแบบไว้


62

ภาพที่ 52 ภาพกาสร้างโปสเตอร์ด้วยเครื่องมือในโปรแกรม Illustrator (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.9 แบบร่างทางความคิดแผ่นพับสื่อโฆษณา สเก็ตซ์แบบร่างแผ่นพับสื่อโฆษณาของบริษัท โกอิ้งเจ็ส จากัด มีดังนี้ 2.9.1 แบบร่างแผ่นพับสื่อโฆษณาด้านหน้า ได้นาสีของโลโก้ มาเป็นลูกเล่นโดยทาเป็นสี เหลี่ยมซ้อนไล่ระดับกัน ส่วนด้านหน้าสุดได้นาโลโก้มาใส่ไว้เป็นจุดเด่น ส่วนรายละเอียดจะมีแค่ข้อมูล เกี่ยวกับบริษัท

ภาพที่ 53 ภาพแบบร่างแผ่นพับสื่อโฆษณา ด้านหน้า (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


63

2.9.2 แบบร่างแผ่นพับ สื่อโฆษณาด้านหลัง ได้นาโลโก้บริษัทมาทาเป็นพื้นหลังแบบ ลายน้า ส่วนสีพื้นหลังในแต่ละส่วนได้นาสีของโลโก้มาใช้ ส่วนเนื้อหาจะเกี่ยวกับรายละเอียดของ โปรแกรม Pentaho ว่าสามารถนาไปพัฒนาเป็นระบบอะไรได้บ้าง เพื่อให้เห็นภาพรวม

ภาพที่ 54 ภาพแบบร่างแผ่นพับสื่อโฆษณาด้านหลัง (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 2.9.3 รูปแบบของแผ่นพับสื่อโฆษณาแก้ไขจนเสร็จสมบูรณ์ - แผ่นพับสื่อโฆษณาด้านหน้า ในส่วนแรกได้ใช้สีดาเป็นพื้นหลัง ส่วนกลางได้ใช้ สีเทาเป็นพื้นหลัง ส่วนสุดท้ายได้ใช้สีขาวเป็นพื้นหลัง

ภาพที่ 55 ภาพโแผ่นพับสื่อโฆษณาด้านหน้าที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์ (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


64

- แผ่นพับ สื่อโฆษณาด้านหลัง ได้นาโลโก้บริษัทมาทาเป็นพื้นหลังแบบลายน้า ส่วนสีพื้นหลังในแต่ละส่วนได้นาสีของโลโก้มาใช้

ภาพที่ 56 ภาพแผ่นพับสื่อโฆษณาด้านหลังที่ออกแบบเสร็จสมบูรณ์ (ที่มา : นายนพ สุขสงวนศรี) 2.9.4 ขั้นตอนการออกแบบแผ่นพับสื่อโฆษณา การออกแบบด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Illustrator เริ่มต้นการทางาน ด้วยคอมพิวเตอร์ด้วยการร่างเส้นตามแบบร่างที่ได้ทาการออกแบบไว้ขั้นต้น - เริ่มต้นขั้นตอนการทางานโดย สร้างเอกสารใหม่ ทาการตั้งค่าหน้ากระดาษ แล้วนาแบบร่างสเกตที่สแกนไว้มาลงในหน้ากระดาษปรับให้บาง โดยกด Opacity - จากนั้นใช้เครื่องมือ Pen Tool ลากตามเส้นที่ดราฟไว้ เพื่อสร้างรูปทรงต่างๆ ตามแบบ จากนั้นจึงใส่สีลงไปตามที่ต้องการ - เมื่อได้แบบร่างตามที่สเกตไว้แล้วจึงดาเนินการขั้นต่อไปคือ คือทาการเพิ่ม รายละเอียดของทางบริษัทลงไปในชิ้นงาน โดยใส่ Logo บริษัท และละเอียดลงไป แล้วจึงทาการปรับ และจัดวางให้ดูสวยงามตามที่ได้ร่างแบบไว้


65

ภาพที่ 57 ภาพกาสร้างพับสื่อโฆษณาด้วยเครื่องมือในโปรแกรม Illustrator (ที่มา : นายนพ สุขสงวนศรี) 3. ผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ หลังจากที่ได้ชิ้นงานจากการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ในคอมพิวเตอร์เสร็จ จึงนาไปผลิตชิ้นงาน จริงออกมามีดังนี้

ภาพที่ 58 ภาพผลงานที่เสร็จสมบูรณ์ (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


66

4. ขั้นตอนหลังการผลิตงาน (POST PRODUCTION STAGE) 4.1 ทาการเผยแพร่งานวิจัย เมื่อทาการผลิตผลงานที่สมบูรณ์ออกมาเป็นที่เรียบร้อยแล้วได้มีการนาไปทดสอบ และ นาเสนอให้แก่กลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ตามวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้แต่แรก โดยได้ทาการเผยแพร่ให้ ตามกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้เกิดการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จัก

ภาพที่ 59 ภาพตัวอย่างผลงานที่ได้ทาการเผยแพร่ (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี) 4.2 การตรวจสอบ ทดสอบและสารวจความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงาน จากการสารวจความคิดเห็นการออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส ซึ่งได้ทา แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจในผลงานการออกแบบจานวน 20 ชุด ซึ่งได้ใช้ สอบถามความคิดเห็นต่อผลงานการออกแบบให้กับผู้ที่ได้เข้ารับชมผลงาน โดยทาการวิเคราะห์ข้อมูล ของแบบสอบถามได้เป็นร้อยละดังนี้ จานวนผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศ หญิง คิดเป็น ร้อยละ 65 ซึ่งอยู่ในช่วงอายุ ระหว่าง 20-30 ปี และส่วนมากกลุ่มตัวอย่างที่ทาการตอบแบบสอบถามอยู่ในกลุ่ม นักเรียน /นักศึกษา คิดเป็น 100 ของจานวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดที่มีต่อผลงานการออกแบบอัตลักษณ์สาหรับ บริษัท โกอิ้งเจ็ส โดยมีความคิดเห็นต่อผลงานการออกแบบดังต่อไปนี้


67

จากผลสารวจการตอบแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีความคิดเห็น ผลงานมี ความสอดคล้องกับสมมติฐานที่เป็นแนวคิดหลัก คิดเป็นร้อยละ 90, แสดงแนวความคิดในมุมมองที่ แตกต่าง และน่าสนใจ 86, ผลงานมีความคิดสร้างสรรค์ 88, ความเหมาะสมของวัสดุที่นามาใช้ 89, ผลงานมีความประณีต เรียบร้อย และสวยงาม 92, ขนาดของผลงานมีความเหมาะสม 89, ผลงานมี ความสมบูรณ์ สามารถใช้งานได้จริง 90, ความเหมาะสมของการใช้งาน 91, ผลงานมีความแข็งแรง ทนทาน 91, ความเป็นไปได้ในการผลิต 94, ภาพรวมของผลงานทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 91 เมื่อดาเนินงานวิจัยมาถึงขั้นตอนที่ได้ผลงานสมบูรณ์แล้ว ขั้นตอนต่อไปซึ่งเป็นขั้นตอน สุดท้าย คือ การสรุปผลงานทั้งหมดที่ผู้วิจัยได้สร้างสรรค์ออกมา และวิเคราะห์ว่ามีความสอดคล้องกับ สมมติฐานหรือไม่ พร้อมข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยดังที่จะกล่าวต่อไปในบทที่ 5


บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การเสนอผลงานวิจัย โครง การออกแบบ อัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส ครั้งนี้มีสาระ ครอบค ลุมถึงวัตถุประสงค์ของการวิจัย วิธี การดาเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบอัตลักษณ์ 2. เพื่อผลิตอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส 3. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์บริษัท โกอิ้งเจ็ส วิธีการดาเนินการวิจัย 1. ขั้นตอนการวางแผนก่อนการผลิตงาน (Pre Production Stage) 1.1 ตั้งสมมติฐาน 1.2 การศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) 1.3 การศึกษาตัวอย่างจากกรณีศึกษา (Case Study) 2. การกาหนดแบบร่างทางความคิด การพัฒนาแบบตามวัตถุประสงค์และสมมติฐาน 2.1 การออกแบบโครงสร้างโดยออกแบบแนวคิด (Concept) 2.2 ภาพแบบร่างทางความคิดโดยออกแบบตามแนวคิดที่วางไว้ 2.3 การปรับปรุงแก้ไขแบบจนได้รูปแบบที่ถูกต้องและเหมาะสม 3. ขั้นตอนการพัฒนาและการผลิตผลงาน (Development and Production Stage) 3.1 การร่างแบบจริง (Working Drawing) 3.2 ผลิตผลงานจริงตามวัตถุประสงค์และสมมติฐานที่ได้กาหนดไว้ 4. ขั้นตอนหลังการผลิตผลงาน (Post Production Stage) 4.1 ทาการเผยแพร่งานวิจัย 4.2 การวิเคราะห์สรุปผลงาน อภิปรายและข้อเสนอแนะ


69 ผลการวิจัยโดยสรุป ในการจัดนิทรรศการแสดงงานศิลปนิพนธ์ของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม แขนง วิชา ออกแบบนิเทศศิลป์ครั้งนี้ผู้วิจัยได้ทาการแสดงผลงานการออกแบบ อัตลักษณ์บริษัท โกอิ้งเจ็ส ซึ่งมีผล การดาเนินงาน และผลการวิจัยโดยสรุป คือ ได้ต้นแบบผลงานการออกแบบ อัตลักษณ์บริษัท โกอิ้งเจ็ส มาผลิตเป็นต้นแบบเหมือนจริงโดยมีโลโก้บริษัท, ตรายาง, นามบัตร, ซองจดหมาย, หัวจดหมาย, แก้ว น้า, โปสเตอร์ , แผ่นพับ และชุดพนักงา น ซึง่ สามารถนาไปผลิตได้จริง ตัวผลงานที่ได้ทาการผลิต ออกมาจริงนั้นเป็นไปตามสมมติฐานที่ได้ทาการตั้งไว้ อภิปรายผล จากการทางานศึกษาค้นคว้าการออกแบบ อัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส ผู้วิจัยได้ เล็งเห็นถึงปัญหาและประโยชน์ ทั้งทางด้านการค้นคว้าข้อมูลที่ทาให้เกิดความรู้ การเรียนรู้จาก ข้อผิดพลาด และการปฏิบัติงานจริงตามขั้นตอนที่ได้กาหนดไว้นั้นต้องอาศัยความรู้ และทักษะ ทางด้านการออกแบบ ทั้งนี้ยังรวมถึงความคิดสร้างสรรค์ และความมุ่งมั่นในการ ทางาน ซึ่งการเรียนรู้ การทางานเหล่านี้จะทาให้ผลงานออกมาตรงตามเป้าหมายที่วางไว้ นอกจากนั้นแล้วผู้วิจัยยังได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการออกแบบครั้งนี้ ช่วยให้ อัตลักษณ์ ของบริษัท โกอิ้งเจ็ส มีความชัดเจน โดดเด่นยิ่งขึ้น อีกทั้งยังสร้างสื่อที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์บริษัท ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น โดยภาพรวมทั้งหมดของการ ออกแบบ อัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส ผู้วิจัยได้นาเอา ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการออกแบบ ดังนี้ 1. หลักการออกแบบอัตลักษณ์สาหรับองค์กร จากการศึกษาค้นคว้าเรื่ องการออกแบบอัตลักษณ์ สาหรับองค์กร ทาให้ผู้วิจัยมีความเข้าใจ ถึงความสาคัญของการออกแบบอัตลักษณ์สาหรับองค์กรให้มี เอกลักษณ์ด้านภาพที่จะสื่อสารถึงจุดยืน บวกกับบุคลิกภาพรวมถึงวิสัยทัศน์ของ บริษัท จากนั้น จึง พัฒนาต่อในเรื่องระบบการใช้โลโก้ การใช้ ตัวอักษร การใช้สี การใช้ภาพและอื่นๆ อีกมากมายที่จะทาให้ภาพลักษณ์ขององค์กรมีเอกลักษณ์ เมื่อ ได้ออกแบบโดยใช้หลักการสาคัญเหล่านี้ ผลงานที่ได้ทาการออกแบบนั้นจะออกมาตรงตามที่ต้องการ อย่างสมบูรณ์แบบ 2. การออกแบบกราฟิก ในการออกแบบอัตลักษณ์ สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส ได้นาความรู้ที่ ได้จากการศึกษาเกี่ยวกับ การออกแบบกราฟิกมาใช้ในการออกแบบ ซึ่งพบว่าในการออกแบบกราฟฟิกนั้นมีความสาคัญอย่างยิ่ง ในการสร้างอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส โดยอาศัยห ลักและวิธีการทางศิลปะเป็นตัวกาหนด องค์ประกอบ เพื่อให้ผลงานต้นแบบมีความสมบูรณ์ สวยงาม น่าสนใจ สามารถกระตุ้ นผู้ดูให้รู้สึกพอใจ


70 และเกิดทัศนคติคล้อยตาม ซึ่งเมื่อนาความรู้ดังกล่าวมาใช้ส่งผลให้ อัตลักษณ์ สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส มี ความน่าสนใจมากขึ้น 3. การออกแบบสิ่งพิมพ์ จากการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ การออกแบบสิ่งพิมพ์ พบว่า ประเภทลักษณะเนื้อหา และ วัตถุประสงค์ในการจัดทาสิ่งพิมพ์ นั้นสาคัญ นอกจากนี้ยังเข้าใจขั้นตอนและกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ ระบบการพิมพ์ที่เลือกใช้ประเภท และลักษณะของวัสดุพิมพ์ การรู้จักเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ในการผลิต อย่างประหยัด สวยงามเพื่อให้การดาเนินการผลิตและผลสาเร็จของสิ่งพิมพ์ที่ได้ รับในบั้นปลาย สอดคล้องกับประเภทลักษณะและวัตถุประสงค์การผลิตผลงานได้เป็นอย่างดี จากทฤษฎีที่ได้ทาการศึกษา และทาการวิจัยมาทั้งหมดนี้ ได้นามาปฏิบัติและใช้ในการผลิต ผลงานจริง ซึ่งผลออกเป็นไปตามแบบที่ได้ทาการกาหนด ซึ่งผลสรุปออกมาว่าสามารถนาผลงานที่ทา การออกแบบไว้นั้นไปผลิตเป็นสมุดภาพได้จริง ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน และจุดมุ่งหมายที่วางได้ ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาค้นคว้าทั้งทางด้านทฤษฎี และการปฏิบัติงานในการออกแบบอัตลักษณ์ สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส พบข้อบกพร่องในการทาการออกแบบ ในเรื่องของแนวความคิดในการ ออกแบบ และรูปแบบของการสร้างสรรค์ผลงาน รวมไปจนถึงขั้นตอนของการทางานในส่วนของการ ทางานทางด้านการออกแบบที่ดีนั้นจะต้องมีส่วนที่สาคัญคือ แนวความคิดที่สร้างสรรค์ การสื่อสารกับ กลุ่มเป้าหมายได้ตรงจุด การวางแผนการทางานที่ดี รวมถึงความรู้ความสามารถในการทางานด้าน ออกแบบ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดที่เป็นข้อค้นพบในการทางานวิจัยบางส่วน สามารถสรุปเป็นข้อเสนอแนะได้ เพื่อการนาไปใช้ในการทางานวิจัยในครั้งต่อไป ดังนี้ 1. อัตลักษณ์ โกอิ้งเจ็ส ควรนาไปปรับปรุงให้มีมิติและความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ สามารถเข้าถึงผู้พบเห็นและบุคลากรที่เกี่ยวข้องอีกด้วย 2. เนื่องจากการออกแบบนามบัตรเป็นงานเฉพาะอย่างและต้องมีความแม่นยาในการจัดวาง ควรจาวางรายละเอียดและโลโก้ให้ดูมีความสมดุลมากกว่านี้ 3. สาหรับการพัฒนาแบบร่างในการทางานนั้นควรทาการสรุปรูปแบบของแนวความคิด รูปแบบของชิ้นงานให้ตรงตามวัตถุประสงค์ และตรงตามกลุ่ม เป้าหมายของงานวิจัย เพราะเป็นส่วน สาคัญที่สุดในการทางาน รวมไปจนถึงการดาเนินงานการออกแบบให้เป็นไปตามแผนการทางานที่ได้ กาหนดไว้ เพื่อที่จะสามารถทาให้ผลงานการออกแบบสาเร็จลุล่วงตามระยะเวลาในแผนงาน ทั้งนี้ในการออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส จะมีความสาคัญที่สุดก็ต่อเมื่อผู้ที่พบ เห็นเข้าใจถึงตัวเอกลักษณ์ของบริษัท และเข้าใจถึงเจตจานงของบริษัท ที่ผู้วิจัยต้องการนาเสนอ ซึ่งจะ ส่งผลให้การออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส ประสบความสาเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้


บรรณานุกรม หนังสือและบทความ ทองเจือ เขียดทอง. การออกแบบสัญลักษณ์. กรุงเทพมหานคร: สิปประภา, 2542. ทานอง จันทิมา. การออกแบบ. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2532. วิรุณ ตั้งเจริญ. การออกแบบ. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2539. ศิริพรณ์ ปีเตอร์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพมหานคร: ปรีดาการพิมพ์, 2530. สุมิตรา ศรีวิบูลย์. การออกแบบอัตลักษณ์ (Corporate Identity). กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์คอร์ฟังชั่น, 2547. อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. อัตลักษณ์ (Identity) การทบทวนทฤษฎี และกรอบแนวคิด. กรุงเทพมหานคร: สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2546. อารยะ ศรีกัลยาณบุตร. การออกแบบสิ่งพิมพ์. กรุงเทพมหานคร: วิสคอมเซ็นเตอร์, 2550. เอกสารเนื้อหาจากเว็บไซต์ นันทิยา สุขบูลย์. วงล้อสี. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก (http://nanthiya5250110076. blogspot.com/p/lecture.html) พงษ์ศักดิ์ ไชยทิพย์. การออกแบบเครื่องหมายและสัญลักษณ์. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก (www2.feu.ac.th/admin/pr/newscontrol/atts/D20120503112054.pdf) โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย. องค์ประกอบศิลป์_เส้น. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก (http://www.prc.ac.th/newart/webart/element02.html) วิกิพีเดีย. เอกลักษณ์องค์กร. (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก (http://th.wikipedia.org/wiki/ เอกลักษณ์องค์กร)


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก แบบสอบถามความคิดเห็น


แบบสอบถามความพึงพอใจ เรื่อง การออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส คาชี้แจง 1. แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจความพึงพอใจของผู้ชมที่มีต่อผลงาน การออกแบบอัตลักษณ์สาหรับบริษัท โกอิ้งเจ็ส และนาผลการประเมินไปพัฒนาปรับปรุงแก้ไขงานให้ มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 2. แบบสอบถามมีทั้งหมด 3 ตอน 3. โปรดเติมเครื่องหมาย  และกรอกข้อความให้สมบูรณ์ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. เพศ ( ) หญิง ( ) ชาย 2. อายุ ( ) น้อยกว่า 15 ปี ( ) 15-20 ปี ( ) 21 ปีขึ้นไป 3. ระดับการศึกษา ( ) ประถมศึกษา ( ) มัธยมศึกษา ( ) ปริญญาตรีขึ้นไป ( ) อื่นๆ 4. อาชีพ ( ) นักเรียน / นักศึกษา ( ) ผู้บริหาร / อาจารย์ ( ) รัฐวิสาหกิจ ( ) ธุรกิจส่วนตัว ( ) อื่น ๆ ระบุ ........................................ ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ 5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย และ1 = น้อยที่สุด ประเด็นการสารวจความพึงพอใจ 1. ผลงานมีความสอดคล้องกับสมมติฐานที่เป็นแนวคิดหลัก 2. แสดงแนวความคิดในมุมมองที่แตกต่าง และน่าสนใจ 3. ผลงานมีความคิดสร้างสรรค์ 4. ความเหมาะสมของวัสดุที่นามาใช้ 5. ผลงานมีความประณีต เรียบร้อย และสวยงาม 6. ขนาดของผลงานมีความเหมาะสม

5

4

3

2

1


ประเด็นการสารวจความพึงพอใจ

5

4

3

2

1

7. ผลงานมีความสมบูรณ์ สามารถใช้งานได้จริง 8. ความเหมาะสมของการใช้งาน 9. ผลงานมีความแข็งแรง ทนทาน 10. ความเป็นไปได้ในการผลิต ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... .......................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................

นายนพ สุขสงวนศรี ศศ.บ.511(4)/13A สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


ภาคผนวก ข ภาพการจัดแสดงงานนิทรรศการ


ภาพบอร์ดแสดงงาน แผ่นที่ 1 (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


ภาพการจัดบูธแสดงงานนิทรรศการ (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


ภาพการจัดแสดงงานนิทรรศการ (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


ภาพการจัดแสดงงานนิทรรศการ (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


ภาคผนวก ค แบบร่างทางความคิด


ภาพแบบร่างทางความคิด (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)

ภาพแบบร่างทางความคิดเสมือนจริง (ที่มา: นายนพ สุขสงวนศรี)


ประวัติผู้วิจัย

ชื่อสกุล วัน เดือน ปีเกิด สถานที่เกิด ที่อยู่ ประวัติการศึกษา อนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ปริญญาตรี

นายนพ สุขสงวนศรี 28 เมษายน 2530 กรุงเทพมหานคร 79 ถนนคู้บอน แขวงรามอินทรา เขตคันนายาว จังหวัดกรุงเทพมหานคร โรงเรียนอนุบาลวัฒนานคร โรงเรียนวัดคู้บอน โรงเรียนวัดคู้บอน ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียน เขตมีนบุรี สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.