1/50
หลักการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ในสถานประกอบการ วิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเบื้องต้น (Introduction to Occupational Health and Safety) รหัสวิชา: 4103709 ผู้สอน: อาจารย์นันทิดา โหวดมงคล 2/34
หัวข้อเนื้อหาประจาบท 5. ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 6. ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดสวัสดิการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
3/34
ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย มีอะไรบ้าง ???
4/34
5. ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ตัวอย่างเอกสารส่งราชการของสถานประกอบการ
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการจัดทาเอกสารส่งทางราชการ เป็ น กิ จ กรรมที่ มี ค วามส าคั ญ อย่ า งยิ่ ง ที่ ทุ ก สถาน ประกอบการต้ อ งจั ด ให้ มี ต ามกฎหมาย รวมทั้ ง ต้ อ ง ด าเนิ น การ ส่ ง เอกสารให้ กั บ หน่ ว ยงานราชการตาม ระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด ในกิจกรรมหรืออันตรายที่ มีการดาเนินการ ในสถานประกอบการ ตัวอย่างเอกสาร ส่งราชการของสถานประกอบการ
5/34
5. ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ต่อ)
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย การอบรมเป็นกิจกรรมที่ทุกสถานประกอบการต้อง ดาเนินการ เพื่อพัฒนาบุคลากรในสถานประกอบการมี ความรู้ ต้ า นอาชี ว อนามัย ความปลอดภั ย และสภาพแวดล้ อ มในการ ทางาน เพื่อนาไปสู่การปรับเปลี่ยนทัศนคติ และ การปฏิบัติตน ด้านความปลอดภัยที่ถูกต้อง สามารถทาได้ในรูปแบบ On the job training และ Out the job training ตัวอย่างการ ฝึกอบรมค้านอาซีวอนัยและความปลอดภัย แสดงดังนี้
6/34
5. ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ต่อ)
7/34
5. ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ต่อ)
8/34
5. ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ต่อ) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมการตรวจความปลอดภัย เป็นการค้นหาสาเหตุของอุบัติเหตุหรืออันตรายจาก การปฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ใช้ ป ระเมิ น ความจ าเป็ น ในการ ก าหนด มาตรการป้องกันก่อนที่อุบิติเหตุ การบาดเจ็บและโรคจากการ ปฏิบัติงานจะเกิดขึ้น ในสถานประกอบการ มีกิจกรรมตรวจความ ปลอดภัยหลายรูปแบบ ได้แก่ • การตรวจความปลอดภัยโดยผู้ปฏิบัติงาน • การตรวจความปลอดภัยโดยหัวหน้างาน • การตรวจความปลอดภัยโดยเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย •การตรวจความปลอดภัย โดยทีม งานหรื อ คณะกรรมการตรวจ ความปลอดภัย • การตรวจโดยนายจ้าง ผู้จัดการโรงงาน หรือผู้จัดการบริษัท •การตรวจความปลอดภัยโดยหน่วยงานราชการ หรือหน่วยงาน ภายนอก
9/34
5. ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ต่อ)
10/34
5. ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ต่อ)
11/34
5. ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ต่อ)
12/34
5. ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ต่อ)
13/34
ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดสวัสดิการด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย มีอะไรบ้าง ???
14/34
6. ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดสวัสดิการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เมื่อสถานประกอบการจัดสวัสดิการและการบริการด้านอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดล้อม ใน การทางานขององค์กรอย่างเพียงพอและเหมาะสม ต่อการป้องกันควบคุมอุบัติเหตุและโรคจากการทางาน รวมทั้ง ส่งเสริมสุขภาพ ผู้ปฏิบัติงานให้มีสุขภาพอนามัยที่ดี ทาให้สถานประกอบการได้วับประโยชน์ต่างๆ ได้แก่ 1) เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายของสถานประกอบการ 2) เป็นการจูงใจพนักงานให้ปฏิบัติงานด้วยความรัก และเต็มใจในการปฏิบัติงาน 3) ได้พนักงานที่มีคุณภาพเนื่องจากสามารถใช้สวัสดิการเป็นแรงจูงใจ 4) พนักงานเกิดความจงรักภักดีกับองค์กร ไม่เปลี่ยนงานหรือย้ายงานบ่อย 5) แสดงถึงความห่วงใย จรรยาบรรณ และความวับผิดขอบของนายจ้างที่มีต่อลูกจ้าง 6) ทาให้เกิดความปลอดภัยแก่พนักงานในสถานประกอบการ 7) ลดค่าใช้จ่ายที่เกิดจากอุบัติเหตุและโรคจากการทางาน 8) ลดการกีดกันทางการค้า และสามารถขายสินค้าได้ในระดับสากล 15/34
6. ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดสวัสดิการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ต่อ) รูปกิจกรรมการจัดสวัสดิการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการ
16/34
บทสรุป การจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการ เป็นสิ่ง จาเป็ นที่เ จ้าของสถาน ประกอบการต้อง ด าเนิ น การเพื่ อ ให้ เ กิ ด แรงจู ง ใจในการปฏิ บั ติ ง านของลู ก จ้ า ง ท าให้ ลู ก จ้ า งจงรั ก ภั ก ดี กั บ องค์ ก ร ปฏิ บั ติ ง านในองค์ ก รอย่ า งเต็ ม ก าลั ง ความสามารถที่สุด รวมทั้งแสดงออกถึงความห่วงใย จริยธรรม จรรยาบรรณ ของนายจ้างที่มีต่อลูกจ้าง โดยการอัดสวัสดิการนั้นจะยึด หลักการปฏิบัติที่ไม่ขัดต่อกฎหมาย มีความเห่าเทียมและ ทั่วถึงทุกคนในองค์กร รวมทั้งควรมีความต่อเนื่องในการให้บริการ ประเภทของการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มี 2 ประเภทได้แก่ การจัดบริการตามกฎหมาย เช่น กองทุน เงินทดแทน กองทุนประกันสังคม น้าดื่มสะอาด ห้องน้า ห้องส้วม ห้องพยาบาล การบริการ ทางการแพทย์ เป็นต้น และการจัดบริการการ นอกเหนือที่กฎหมายกาหนด เช่น รถรับส่งพนักงาน ที่อยู่อาศัย เงินช่วยเหลือพิเศษ ขุดพนักงาน โบนัส เบี้ยเลี้ยง เบี้ยขยัน กองทุนสารอง เลี้ยงชีพ เป็นต้น การจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการ สาหรับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ที่เริ่มปฏิบัติงานใน สถานประกอบ สามารถโซ่โครงสร้างของการบริหารจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เป็นแนวคิดในการดาเนินงาน ประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ ได้แก่ นโยบาย การจัดการ การวางแผน การนาไปปฏิบัติ การประเมินผล การปรับปรุง การตรวจสอบ และการปรับปรุง อย่างต่อเนื่อง โดยกิจกรรมการจัดบริการ ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ประกอบด้วย 9 กิจกรรม ที่ต้องวางแผนให้มีขึ้นในสถาน ประกอบการ ได้แก่ กิจกรรมการจัดทาเอกสารส่งทางราชการ กิจกรรมการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย กิจกรรมการประขุมด้านความ ปลอดภัย กิจกรรมการเตรียมความพร้อมสาหรับรับ เหตุฉุกเฉิน กิจกรรมการตรวจความปลอดภัย กิจกรรมการ ควบคุมอันตรายจากการ ทางาน กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทางาน กิจกรรมความปลอดภัยนอกงาน และกิจกรรมด้านความปลอดภัยอื่นๆ 17/34
คาถามท้ายบท 1. ให้นักศึกษาบอกประเภทของการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยพร้อมทั้งอธิบายและ ยกตัวอย่างประกอบ 2. สถานที่ประกอบการที่มีลูกจ้าง 300 คน นายจ้างต้องจัดให้มีการจัดสวัสดิการใดบ้างตามกฎหมาย 3. ให้นักศึกษายกตัวอย่างเอกสารที่ต้องส่งหน่วยงานราชการมา 5 ประเภท พร้อมทั้งระบุระยะเวลาในการจัดส่ง 4. ให้นักศึกษายกตัวอย่างการอบรมด้านความปลอดภัยมา 5 ประเภท 5. ให้นักศึกษายกตัวอย่างกิจกรรมการวางแผนรับเหตุฉุกเฉินมา 3 ประเภท 6. ให้นักศึกษายกตัวอย่างกิจกรรมความปลอดภัยนอกงานมา 3 ประเภท 7. ให้นักศึกษาประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดสวัสดิการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการ
18/34
เอกสารอ้างอิง 1. เกียรติศักดิ์ บัตรสูงเนิน. เอกสารประมวลสาระวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยพื้นฐาน (Basic Occupational Health and Safety). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. 2. กระทรวงแรงงาน. พระราชบัญญัติแรงงาน พ.ศ. 2541. ให้ไว้ ณ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 เป็นปีที่ 53 ในรัชกาลปัจจุบัน. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 115 ตอนที่ 8 ก 3. กระทรวงแรงงาน. พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554. ให้ใว้ ณ วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2554 เป็นปีที่ 66 ในรัชกาลปัจจุบัน. ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาหน้า 5 เล่ม 128 ตอนที่ 4 ก 4. กฎกระทรวงแรงงาน. กฎกระทรวงว่ า ด้ วยการว่ า ด้ว ยการจั ดสวั ส ดิก ารในสถานประกอบกิ จ การ พ.ศ. 2548. ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาหน้า 14 เล่ม 122 ตอนที่ 29 ก วันที่ 29 มีนาคม 2548 5. คู่มือการจัดทาระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มอก. 18001. กองส่งเสริมและฝึกอบรม สานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. 2543 6. International Labour Organization. Guidelines on Occupational Safety and Health Management Systems ILOOSH 2001. 2001 7. กฎกระทรวงแรงงาน. แนวปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพสถานประกอบกิจการตามข้อกาหนดมาตรฐานแรงงานไทย มรท. 80012553. กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. กระทรวงแรงงาน. 2553 19/34
20/50