อ.โสภณ มหาเจริญ
รายวิชา
งานไฟฟ้าเบื้องต้นสาหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์ บทที่ 11 เรื่อง การซ่อมบารุงระบบไฟฟ้าภายในบ้าน
วัตถุประสงค์ 11.1 เพื่อให้ผ้เู รียนเข้าใจวงจรที่สาคัญของวงจรไฟฟ้าประจาบ้าน 11.2 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ ตรวจซ่อมวงจรไฟฟ้าเบื้องต้นได้ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม นักศึกษาตรวจสอบวงจรไฟฟ้าอย่างถูกวิธี
สะพานไฟ สะพานไฟและการเปลี่ยนฟิวส์ สะพานไฟ เป็นจุดแรกและจุดที่ สาคัญที่สุดของระบบไฟฟ้าภายใน บ้าน เนื่องจากเป็นระบบตัดต่อ ระหว่างไฟฟ้าจากองค์การไฟฟ้า กับระบบไฟฟ้าภายในบ้าน
การเปลี่ยนฟิวส์สะพานไฟเมื่อฟิวส์ขาด การเปลี่ยนฟิวส์สะพานไฟเมื่อฟิวส์ขาด ควรเปลี่ยนฟิวส์ท่มี ีขนาดเหมาะสมกับ กระแสที่ใช้ และก่อนทาการเปลี่ยนฟิวส์ จะต้องตรวจสอบต้นเหตุของการเกิน กระแสไฟฟ้าลัดวงจรเสียก่อน และการ เปลี่ยนฟิวส์จะต้องดึงคันโยกของสะพาน ไฟลงมาให้อยู่ในตาแหน่งตั้งฉากกับตัว สะพานไฟ หรือให้หลุดออกจากวงจรเมน แล้วจึงเปิดฝาครอบฟิวส์ออก
การเปลี่ยนฟิวส์สะพานไฟเมื่อฟิวส์ขาด ทาการเปลี่ยนฟิวส์ตัวใหม่ด้วยการ นา ตาแหน่งของฟิวส์ (1) ใสด้านบน และ (2) ใส่ด้านล่าง และใช้ไขควง ขันให้แน่น
เบรกเกอร์รุ่นใหม่ สาหรับเบรกเกอร์รุ่นใหม่ๆ เมื่อเกิด กระแสไฟฟ้าลัดวงจรจนทาให้เบรกเกอร์ตัดไฟ การแก้ปัญหานี้ทาได้ง่ายเพียง ดันคันโยกของ เบรกเกอร์ตัวที่ดีดลงกลับขึ้นไป หมายเหตุ หากดันขึ้นแล้วเบรกเกอร์ยังดีด กลับอีกแสดงว่าต้นเหตุท่ที าให้ไฟฟ้าลัดวงจร ยังไม่ได้รับการแก้ไข ต้องหาสาเหตุให้เจอก่อน
ฟิวส์กระเบื้อง ฟิวส์กระเบื้องมีลักษณะเป็นรูปขวด ทาจากกระเบื้อง ส่วนใหญ่จะต่อ หลังจากสะพานไฟต่อที่สาย L ของ สายเมนหลัก เพื่อป้องกันกระแส เกินอีกระดันหนึ่ง
การเปลี่ยนฟิวส์สะพานไฟเมื่อฟิวส์ขาด ชนิดของฟิวส์ท่ใี ช้กับสะพานไฟแบบต่างๆ
หลอดฟูลออเรสเซนต์ หลอดฟูลออเรสเซนต์ เป็นหลอดไฟ ที่มีลักษณะยาว สีขาว มีขั้วหลอด สองข้าง มีขนาด 20W และ 40W ปัจจุบันยังเป็นที่นิยมใช้เพื่อให้แสง สว่างทั้งภายในและภายนอก บ้านเรือน
หลอดฟูลออเรสเซนต์ ส่วนประกอบของหลอดฟูลออเรสเซนต์ ประกอบด้วย ตัวหลอด, บัลลาสต์, สตาร์ทเตอร์, และขาหลอด
หลอดฟลูออเรสเซนต์ วงจรการต่อหลอดฟลูออเรสเซนต์
หลอดฟลูออเรสเซนต์ การตรวจเช็คเบื้องต้น เนื่องจากหลอดฟลูออเรสเซนต์ มี ส่วนประกอบหลายส่วน การจะทราบ ได้ว่า หากหลอดไฟไม่ติด จะเกิดจาก สาเหตุใด
หลอดฟลูออเรสเซนต์
อาการหลอดติด แต่กระพริบไม่หยุด หากเปิดสวิทช์ไฟแล้วหลอดไฟติดๆ ดับๆ ตลอดเวลา แสดงว่า หลอดที่ใช้อยู่เริ่มมี อาการเสีย สังเกตได้จากขั้วหลอดจะมีสีดา ทั้ง 2 ข้าง แก้ไขด้วยการเปลี่ยนหลอดใหม่
หลอดฟลูออเรสเซนต์ อาการหลอดไม่ติด หากเปิดสวิทช์ไฟแล้วหลอดไฟไม่ติด ให้ สังเกตสิ่งแรกที่มองเห็นง่ายที่สุดก็คือ ขั้ว หลอด หากขั้วหลอดมีสีดาแสดงว่า หลอดใช้ งานมาเป็นเวลานานแล้ว และมีโอกาสเสียได้ ง่าย แต่หากขั้วหลอดไม่ดา ให้ลองหมุน หลอดสาย/ขวา เพื่อให้แน่ใจว่าขั้วหลอด เชื่อมต่อกับขาอย่างแน่นหนาดี
หลอดฟลูออเรสเซนต์ อาการหลอดไม่ติด 2 หากขยับขั้วหลอดแล้วไม่ได้ผล ให้ทดลอง หมุนตัวสตาร์ทเตอร์ออกมาแล้วใส่เข้าไปใหม่ ทดลองเปิดสวิทช์อีกครั้ง ถ้าเปิดไฟแล้วหลอดยังไม่ติด แสดงว่า สตาร์ทเตอร์ไม่ทางาน ต้องเปลี่ยน สตาร์ทเตอร์ใหม่
หลอดฟลูออเรสเซนต์ อาการหลอดไม่ติด 3 หากตรวจดูแล้วว่าตัวสตาร์ทเตอร์ยังดูดีอยู่ ให้ตรวจดูท่ี บัลลาสต์ด้วยการใช้ไขควงเช็คไฟ วัดไฟที่ขั้วทั้งสองของ บัลลาสต์ สามารถวิเคราะห์อาการได้ดังนี้ วัดแล้ว มีไฟทั้งสองขั้ว ผล สตาร์ทเตอร์เสีย วัดแล้ว มีไฟเพียงขั้วเดียว ผล บัลลาสต์เสีย วัดแล้ว ไม่มีไฟเลยทั้งสองเส้น ผล สวิทช์ท่ใี ช้เปิดปิด เสีย หรือหน้าสัมผัสขาดความเป็นตัวนาไฟฟ้า
หลอดฟลูออเรสเซนต์ เมื่อใช้ไขควงเช็คไฟจี้ท่ีตาแหน่ง (1) จะต้องมีไฟหากระบบไฟฟ้าปกติ เนื่องจากวัดที่สายไฟ (L) เข้า บัลลาสต์ เมื่อใช้ไขควงเช็คไฟจี้ท่ีตาแหน่ง (2) ทางออกของ บัลลาสต์ หากมีไฟแสดงว่า ไม่เสียหากไม่มีไฟออกมาแสดงว่าขดลวด ภายในบัลลาสต์ อาจจะขาดแล้ว ต้องทา การเปลี่ยนบัลลาสต์ ใหม่
1 2
หลอดไฟ การตรวจเช็คหลอดไฟ สาหรับหลอดไฟสมัยใหม่ จะใช้หลอด ชนิด LED ซึ่งมีขั้วต่อแบบเกลียว ซึ่ง ง่ายต่อการบารุงรักษาและเปลี่ยน หลอด กว่าหลอดแบบเก่า เพียงหมุน เกลียวหลอดออกมาจากขั้วหลอดหาก พบว่าหลอดใดขาด
ปลั๊กพ่วง
ปลั๊กพ่วง เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าชนิด หนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้กันมากใน ปัจจุบัน การตรวจสอบสภาพการ ใช้งานและการซ่อมบารุงจึงมีความ จาเป็นอย่างยิ่ง
ปลั๊กพ่วง
อย่าใช้ไฟเกิน ปลั๊กพ่วงแต่ละชนิดจะมีข้อกาหนด ในการใช้กาลังของไฟฟ้า และ ขีดจากัดของกระแสไฟฟ้าที่ใช้ จึงไม่ ควรใช้กระแสไฟฟ้าให้เกินกาหนด
ปลั๊กพ่วง
ฟิวส์ ปลั๊กพ่วงแต่ละชนิดจะมีอุปกรณ์ตัด ไฟหากเกิดไฟฟ้าลัดวงจร ที่ เรียกว่า ฟิวส์ขวดแก้ว โดยที่ตัวฟิวส์จะมีตัวเลขบอกระดับ การทนกระแสและแรงดันไว้
ปลั๊กพ่วง
การเปลี่ยนฟิวส์ ถอดปลั๊กของปลั๊กพ่วงออกจากช่องเสียบ เสียก่อน จากนั้นให้หมุนฝาเกลียวที่ใสฟิวส์ ของปลั๊กพ่วงเพื่อนาฟิวส์ออกมา สังเกตดู หากเส้นลวดภายในฟิวส์ขาดก็ให้เปลี่ยน ฟิวส์ตัวใหม่โดยดูขนาดและการทากระแสที่ เหมาะสม
ปลั๊กพ่วง ปลั๊กพ่วงรุ่นใหม่จะมีตัวตัดไฟเป็นแบบอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้ง่ายต่อการใช้งาน
สรุป
การตรวจเช็ควงจรไฟฟ้า ภายในบ้านประกอบด้วยวงจรไฟฟ้าหลัก ผ่านสะพานไฟ หากเกิดกระแสไฟฟ้าภายใน บ้านลัดวงจร การเปลี่ยนฟิวส์ของสะพานไฟ จะต้องทาอย่างระมัดระวัง และไม่ควรใช้สายไฟฟ้ามาแทนฟิวส์เพราะอาจเกิด อันตรายร้ายแรงได้ ปลั๊กพ่วงเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีใช้ในบ้านเรือนมากมายเพื่ออานวยความสะดวกหลายประการเช่น เพิ่มจานวน เต้ารับปกติให้มากขึ้น หรือเพื่อเพิ่มความยาวของสายไฟให้สะดวกต่อการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า แต่ถึงอย่างไร ก็ต้อง ควรระวังการใช้กระแสไฟฟ้าเกินกาหนดเพราะจะเกิดอันตรายได้ ดวงไฟให้แสงสว่างก็มีความจาเป็นและมีใช้มากภายในบ้านเรือน การดูแลรักษาและการตรวจซ่อมจึงมีความ จาเป็นอย่างยิ่ง
แบบฝึกหัด ให้ผู้เรียน สรุปวิธีการตรวจเช็คหลอดไฟส่องสว่าง ทั้งหลอดตะเกียบ และหลอดฟลูออเรสเซนต์ 2. จงคานวณและยกตัวอย่างเครื่องใช้ไฟฟ้าให้เหมาะสมกับปลั๊กพ่วงขนาด 1500W ให้สามารถใช้ปลั๊กได้อย่างปลอดภัย 3. จงอธิบายข้อควรปฏิบัติในการเปลี่ยนฟิวส์สะพานไฟอย่างปลอดภัย 4. หากอยู่ดีๆ เกิดไฟฟ้าภายในบ้านดับ ข้อสันนิฐานแรกสุดน่าจะเป็นอะไร 1.