รายวิชา
อ.โสภณ มหาเจริญ
งานไฟฟ้าเบื้องต้นสาหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
บทที่ 6 เรื่อง การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
วัตถุประสงค์ 6.1 6.2 6.3 6.4
เข้าใจการปอกสาย เข้าใจการต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ เข้าใจการต่อสายไฟฟ้าด้วยไวร์นัท (Wire nut) เข้าใจการใช้เทปพันสาย
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. อธิบายการปอกสาย 2. อธฺบายการต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 3. อธิบายการต่อสายไฟฟ้าด้วยไวร์นัท (Wire nut) 4. อธิบายการใช้เทปพันสาย
การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ ในการเดินสายไฟฟ้าและติดตั้งระบบไฟฟ้าโดยทั่วไปแล้วจะมีการตัด สายไฟฟ้าให้สั้นลงถ้าหากว่าสายนั้นยาวเกินความจาเป็นในทาง กลับกันจะต้องต่อสายไฟฟ้าเข้าด้วยกัน ถ้าหากว่าสายนั้นสั้นเกินไป หรืออีกกรณีหนึ่งคือเป็นการต่อแยกออกจากสายเมนที่พบเห็นทั่วไป คือการต่อสายเมนที่เสาไฟฟ้าบริเวณหน้าบ้านนั่นเอง
ข้อควรคานึงในการต่อสายไฟฟ้า 1. ความแข็งแรงของรอยต่อ รอยต่อจะต้องมั่นคง แข็งแรงไม่หลุดออก จากกันอย่างง่าย ๆ ถ้าหากรอยต่อหลวมจะเกิดอาร์กเป็นประกายไฟและอาจทาให้ เกิดเพลิงไหม้ได้ 2. ความต่อเนื่องทางไฟฟ้า จะต้องทาให้ตัวนาสัมผัสกันมาก ที่สุด เพื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลได้สะดวกที่สุด 3. จะต้องทาให้รอยต่อเป็นฉนวนไฟฟ้า โดยทั่วไปจะพันปิดทับไว้ด้วย วัสดุท่เี ป็นฉนวนไฟฟ้า ซึ่งก็คือเทปพันสายนั่นเอง ทั้งนี้ก็เพื่อป้องกันอันตรายที่ อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ท่มี าสัมผัสหรือ อาจจะก่อให้เกิดการลัดวงจรในบริเวณรอยต่อก็ เป็นได้
การปอกสาย ก่อนที่จะต่อสายไฟฟ้าเข้าด้วยกัน จะต้องปอกเอาฉนวนที่หุ้ม ตัวนาออกให้หมด โดยใช้คัทเตอร์ มีดปลอกสาย คีมหรือคีม สาหรับ ปอกสายโดยเฉพาะ ถ้าหากเป็นขดลวดอาบน้ายา ควรขดฉนวนออก ก่อน เมื่อต่อเสร็จแล้วจึงทาการบัดกรีด้วยหัวแร้ง จะทาให้รอยต่อนั้นคง แข็งแรงมากขึ้น
4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ การต่อสายไฟฟ้ามีด้วยกันหลายแบบ แต่ละแบบจะมีข้อดีแตกต่างกันในที่น้ีจะกล่าว เฉพาะวิธีนิยมต่อใช้งานกันทั่วไป ดังนี้ 4.2.1 การต่อแบบหางเปีย ใช้สาหรับสายขนาดเล็กและปานลาง นิยม ต่อในกล่องต่อสวิตช์ ปลั๊ก เนื่องจากไม่ต้องรับแรงดึงใด ๆ
4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2.2 การต่อแบบแยกทางเดียว ให้สาหรับต่อแยกออก จากสายเมนและไม่ต้องการแรงดึง มากนัก
4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2.3 การต่อแบบแยกสองทาง เป็นการต่อแยกออกจาก สายเมน จานวน 2 เส้น หรือมากกว่าขึ้นอยู่กับความต้องการ
4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2.4 การต่อแบบ่อตรง การต่อแบบนี้สามารถรับแรงดึงได้มากขึ้น เนื่องจากปลายสายแต่ละด้านจะพันแนบแน่นไว้ท่ีปลายทั้งสองด้าน
4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2.5 การต่อสายพีวีซีคู่ เป็นการต่อสายพีวีซี คู่หุ้มฉนวนที่ใช้งานตาม บ้านเรือนทั่วไป โดยที่แต่ละเส้นจะต่อเข้าด้วยกันแบบต่อตรง ดังรูป ทั้งนี้ จะต้องให้รอยต่อเยื้องกันเล็กน้อย เพื่อป้องกันการลัดวงจร
4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2.6 การต่อสายอ่อนกับสายแข็ง เพื่อป้องกันสายหลุดออกจาก กัน จะต้องพันสายอ่อนหลายๆ รอบ จากนั้นจึงงอสายแข็งทับสายอ่อน ไว้ไม่ให้คลายตัวออก
4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2.7 การต่อสายตีเกลียวแบบต่อตรง เนื่องจากสายตีเกลียวหรือสายสแตรน จะมีตัวนา จานวนหลาย ๆ เส้น ดังนั้นก่อนที่จะต่อเข้าด้วยกันจะต้องแยกตีเกลียวออกจากกัน จากนั้นจึง นาสอดประสานกัน และเริ่มพันทีละเส้นจนครบ ถ้าหากใช้ตะกั่วบัดกรี จะทาให้รอยต่อ แข็งแรงมากยิ่งขึ้น การต่อสายวิธีน้ีจะสามารถรับแรงดึงได้มาก
4.2 การต่อสายไฟฟ้าแบบต่าง ๆ 4.2.8 การต่อสายตีเกลียวแบบต่อแยก ทาได้โดยการแบ่ง สายตัวนา (ที่จะนามาต่อแยก) ออกเป็นสองส่วนจากนั้นนาไปสอดเข้า กับสายเมน พร้อมกับพันไปรอบ ๆ สายเมน โดยพันให้มีทิศทาง สลับกัน
4.3 การต่อสายไฟฟ้าด้วยไวร์นัท (Wire nut) การต่อสายด้วยไวร์นัท จะใช้วิธีหมุนเพื่อให้ไวร์นัทรัดสายให้แนบชิด กัน เมื่อต่อเสร็จเรียบร้อยแล้วไม่ต้องใช้เทปพันสาย เนื่องจากปลอกของไวร์นัท เป็นฉนวนอยู่แล้ว แต่มีข้อควรระวังคือ อย่าปอกสายยาวเกินไป จะทาให้ตัวนา ทองแดงโผล่ออกมาจากใต้โคนของไวร์นัท ซึ่งจะทาให้จุดต่อสายดังกล่าวลงกราวด์ ได้ การต่อสายไฟฟ้าด้วยไวร์นัทจะนิยมต่อในกล่องต่อสาย (Junction box) โดยเฉพาะการเดินสายในท่อร้อยสายจะนิยมใช้กันมาก
4.4 การใช้เทปพันสาย เทปพันสายเป็นวัสดุฉนวนไฟฟ้าที่นิยมใช้ พันปิดทับรอยต่อต่าง ๆ โดยเริ่มจากพันเอียงไปด้านใดด้านหนึ่งจนสุดรอยต่อจากนั้นจึงพันวกกลับมาที่ จุดเริ่มต้น ปฏิบัติเช่นนี้จนกระทั่งแน่ใจว่ามีความปลอดภัยแต่จะต้องไม่หนา จนเกินไป จนเป็นการสิ้นเปลืองเทปพันสายโดยใช่เหตุข้อควรคานึงคือ ในขณะที่พัน จะต้องดึงเทปพันสายให้ยืดออกเล็กน้อย เพื่อให้เทปรัดรอยต่อแน่มากยิ่งขึ้น
สรุปประจาบท ข้อสาคัญในเรื่องของการต่อสายไฟก็คือ เมื่อต่อสายไฟแล้ว จุดต่อนั้นจะต้องมีความแน่นหนาไม่มอี าการหลวม เพราะ หากการต่อสายไฟหลวมแล้วจะทาให้เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านจะทาให้มีความ ร้อนสะสมเกิดความเสียหายได้ การต่อสายไฟโดยเฉพาะสายไฟที่มีขนาดใหญ่จะมีความแข็งเพิ่มขึ้นตามขนาดของ สายไฟทาให้การต่อนั้นทาได้ยากมากขึ้นหากไม่ศึกษาวิธีการต่อสายไฟให้ถูกต้อง เสียก่อน
แบบฝึกหัด ให้ผู้เรียนต่อสายไฟฟ้าตัวอย่างมาคนละ 2 แบบดังต่อไปนี้ การต่อสายด้วยไวร์นัท ต่อสายตีเกลียวแบบต่อแยก ต่อสายตีเกลียวแบบต่อตรง ต่อสายอ่อนกับสายแข็ง
การต่อแบบแยกทางเดียว ต่อแบบแยกสองทาง ต่อแบบ่อตรง ต่อสายพีวีซีคู่