บทที่ 11 ระบาดวิทยาของโรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศnew

Page 1

ระบาดวิทยาของโรคติดเชื้อ ทีเ่ ป็นปัญหาสาธารณสุข ของประเทศ

รายวิชา: ระบาดวิทยา (Epidemiology) รหัสวิชา: ๔๑๐๒๗๐๖ อ. กมลวรรณ บุตรประเสริฐ


บทที่ ๑๑ ระบาดวิทยาของโรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสาธารณสุข ของประเทศ

หัวข้อการบรรยาย ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ


วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้นักศึกษาอธิบายการระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและ สัตว์ได้ถูกต้อง ๒. เพื่อให้นักศึกษาอธิบายการระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ ได้ถูกต้อง ๓. เพื่อให้นักศึกษาอธิบายการระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส ได้ถูกต้อง ๓


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ โรคไข้เลือดออก  โรคไข้เลือดออก (dengue hemorrhagic fever, DHF) จัดเป็นโรคซึ่งเป็น ปัญ หาทางสาธารณสุขที่ สาคัญ ของประเทศในแถบเอเซี ยตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งประเทศไทย  การระบาดของโรคไข้เลือดออกในประเทศไทย  การเกิดภาวะโลกร้อนทาให้มีการแพร่กระจายของยุงลายและมีการติดเชื้อไวรัส เดงกีเพิ่มขึ้นในหลายพื้นที่ในโลก  ประเทศไทยพบโรคไข้เลือดออกได้ตลอดทั้งปีแต่พบได้บ่อยในฤดูฝน ๔


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ ปัจจัยเสี่ยงของโรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายบ้าน (Aedes aegypti)


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ การป้องกันโรคไข้เลือดออก ๑. ทางกายภาพ ๒. ทางชีวภาพ ๓. ทางเคมี


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์

ไข้สมองอักเสบเจอี  เป็นโรคติดเชื้อจากเชื้อไวรัสที่ชื่อว่า (japanese encephalitis virus) หรือเรียกว่าเชื้อ JEV  ทาให้เกิดอาการอักเสบของระบบประสาทส่วนกลาง ประกอบด้วย สมอง ไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมอง  โรคนี้มียุงราคาญ(culex)เป็นพาหะ ๗


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ ระบาดวิทยาของโรคไข้สมองอักเสบ เจอี เป็นโรคที่เป็นปัญหาของทวีปเอเชีย ประเทศไทยมีการระบาดของโรคนี้ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ ปัจจัยเสี่ยงของโรคไข้สมองอักเสบ เจอี การติดเชื้อไข้สมองอักเสบเจอี พบอยู่ในพวกนกกระสา และสัตว์เลี้ยง เช่น สุนัข ม้า โค กระบือ สุกร แล้วติดต่อมายังคน โดยมียุงราคาญ (culex) เป็นพาหะ


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ การป้องกันและควบคุมโรคไข้สมองอักเสบ เจอี ควบคุมสัตว์เลี้ยงที่สามารถแพร่พันธุ์เชื้อนี้ ควบคุมยุงที่เป็นพาหะนาโรค โดยทาลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ป้องกันไม่ให้ยุงกัดโดยการนอนกางมุ้ง การฉีดวัคซีนในเด็ก ฉีดวัคซีนป้องกันให้กับสัตว์เลี้ยง ใช้มาตรการทางสาธารณสุขในการควบคุมและป้องกันโรคโดยเน้น ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรม ๑๐


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ โรคสครับไทฟัส ระบาดวิทยาของโรคสครับไทฟัส  เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อริกแกตเซีย (rickettsia)  เป็นโรคติดต่อของสัตว์ป่าโดยเฉพาะสัตว์ตระกูลฟันแทะ  พบครั้งแรกเมื่อ ๒๐๐ กว่าปีที่แล้ว โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น

๑๑


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ โรคสครับไทฟัสในประเทศไทย

๑๒


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ ปัจจัยเสี่ยงของโรคสครับไทฟัส ๑. ต้องมีหนูป่า (wild rat) โดยเฉพาะหนูใน subgenus Rattus ๒. ต้องมีไรอ่อน (chigger) ในกลุ่ม leptotrombidium deliense ๓. พื้นที่ที่เป็นแหล่งอาศัยของไร (transitional vegetation) เช่น ป่า โปร่ง fringe vegetation พื้นที่เพาะปลูกหรือพื้นที่เกษตรกรรม ๔. มีเชื้อ orientia tsutsugamushi ในพื้นที่ แหล่งที่มีเชื้อนี้แพร่กระจาย อยู่ได้แก่ เขตร้อน (tropical zones) จนถึงเขตอบอุ่น (temperate zones) ซึ่งจะ ครอบคลุมถึงป่าร้อนชื้น (rain forest) ป่าสน พื้นที่กึ่งทะเลทราย และพื้นที่ ชายทะเลใน temperate zones ๑๓


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ การป้องกันและควบคุมสโรคครับไทฟัส  ควรดูแลรักษาความสะอาดบริเวณที่อยูอ่ าศัยให้เรียบร้อย  หลีกเลี่ยงการเข้าไปในแหล่งของพาหนะนาโรค  ถ้าจาเป็นที่จะต้องเข้าไปในแหล่งที่มีพาหะนาโรค ควรใส่เสื้อผ้าที่ ปกปิดมิดชิด และใช้ยากันแมลง ทาตามแขน ขา  ให้คาแนะนาแก่ประชาชนโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง  การกินยาป้องกันโรค  ดาเนินการควบคุมโรคในบางพื้นที่  การควบคุมพาหะ

๑๔


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ ไข้มาลาเรีย

มาลาเรีย (ไข้มาลาเรีย ไข้จับสั่น ไข้ป่า ) ยังคงเป็นโรคที่พบได้ บ่อยในบ้านเรา มักพบในบริเวณที่เป็นป่าเขา จึงพบได้แทบทุกภาคของ ประเทศ

๑๕


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ ระบาดวิทยาของไข้มาลาเรีย

มาลาเรีย มีขอบเขตการแพร่กระจายอย่างกว้างขวางระหว่าง เส้นรุ้งที่ ๖๔๐ เหนือ ถึงเส้นรุ้งที่ ๓๒๐ ใต้ และครอบคลุมพื้นที่ซึ่งอยู่ต่า กว่าระดับน้าทะเลถึง ๔๐๐ เมตร เช่น บริเวณทะเลทรายเดดซี dead sea จนถึงพื้นที่ที่อยู่สูงกว่าระดับน้าทะเลถึง ๒,๖๐๐ เมตร เช่น ประเทศเคนยา ปัจจุบันมีประชากรถึง ๒,๐๒๐ ล้านคนจากกว่า ๙๐ ประเทศ ที่ตั้งอยู่ในบริเวณดังกล่าวมีความเสี่ยงที่จะเป็นมาลาเรียได้ ๑๖


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ ปัจจัยเสี่ยงของโรคไข้มาลาเรีย การแพร่กระจายของโรค พาหะที่นาโรคไข้มาลาเรีย คือ ยุงก้นปล่อง (anopheles) ตัวเมียที่ติดเชื้อ ที่พบได้ในประเทศ ไทยคือ บาลาบาเซนซิล ซึ่งเป็นยุงพาหะหลักที่สาคัญของประเทศ ไทย ยุงมินิมัส และยุงแมคคูลาตัส ยุงพวกนี้ส่วนใหญ่จะออกหา กินเวลากลางคืน ๑๗


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ การป้องกันไข้มาลาเรีย

๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๑.๕ ๑.๖ ๑.๗ ๑.๘ ๑.๙

๑. การป้องกัน การป้องกันก่อนเข้าท้องที่ ที่มีเชื้อมาลาเรีย รีบให้การรักษาทันทีแก่ผู้ป่วยทั้งรายที่เฉียบพลันและเรื้อรัง ใช้สารเคมีหรือยาฆ่ายุง ใช้สารเคมีฆ่ายุงที่ใช้ฉีดสเปรย์ในบ้านเรือนหรืออาคารที่พักอาศัยเวลากลางคืน ป้องกันไม่ให้ยุงกัด โดยการนอนกางมุ้ง การปรับปรุงสุขาภิบาลเพื่อกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ใช้ยาหรือสารเคมีฆ่าลูกน้าของยุง เช่น ทรายอะเบท ใช้วิธีทางชีววิทยา เช่น ใช้ปลาบางชนิด ระมัดระวังเรื่องการให้เลือด ตรวจเลือดผู้ให้ว่าปลอดภัยจากเชื้อมาลาเรีย ๑๘


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์

๒.๑ ๒.๒ ๒.๓ ๒.๔ ๒.๕ ๒.๖ ๒.๗

๒. การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัสและสิ่งแวดล้อม ควรมีการเฝ้าระวังโรคอย่างจริงจัง แยกผู้ป่วยเพื่อไม่ให้กระจายเชื้อได้ง่าย การตรวจหาผู้สัมผัสโรค ด้วยการเจาะเลือดหาเชื้อมาลาเรีย การตรวจเลือดของผู้ให้หรือผู้บริจาคเลือด การให้การรักษาเฉพาะที่ถูกต้อง การป้องกันการเกิดซ้าของเชื้อไวแวกซ์และโอวาเลโดยการให้ยาไพรมาควิน การใช้วัคซีน ๑๙


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์

๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔

๓. การควบคุมการระบาด การควบคุมยุงที่เป็นพาหนะนาโรค การควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุง การให้สุขศึกษา การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ ผู้นาชุมชน

๒๐


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ ๔. การให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันโรค การควบคุม และป้องกันโรคไข้มาลาเรีย ๕. การควบคุมระหว่างประเทศ มีการกาหนดให้มีการกาจัดยุง บนเครื่องบินและที่พักผู้โดยสารระหว่างทาง

๒๑


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ โรคเท้าช้าง ระบาดวิทยาของโรคเท้าช้าง  โรคเท้าช้างเป็นโรคที่พบได้ทั่วไปในบริเวณเขตร้อน (tropical areas) และกึ่ง เขตร้อน (subtropical areas)  สถานการณ์ของโรคเท้าช้างในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

๒๒


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ ปัจจัยเสี่ยงของโรคเท้าช้าง โรคเท้าช้างในประเทศไทยมี ๒ ชนิด ชนิดแรกเกิดจากโรคที่เกิดจากการติดเชื้อบรูเกีย มาลาไย (brugia malayi) ชนิ ด ที่ ส องเกิ ด จากเชื้ อ วู เ ชอเรอเรี ย แบนครอฟ ไท (wuchereria bancrofti) ๒๓


ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ การป้องกันและควบคุมโรคเท้าช้าง การป้องกันการติดเชื้อพยาธิโรคเท้าช้างทาได้โดยหลีกเลี่ยงการ ถู ก ยุ ง กั ด โดยนอนในมุ้ ง หรื อ ห้ อ งที่ มี มุ้ ง ลวด สวมใส่ เ สื้ อ ผ้ า ให้ มิ ด ชิ ด หลี ก เลี่ ย งการใส่ เ สื้ อ ผ้ า สี ค ล้ า ทายาป้ อ งกั น ยุ ง หรื อ สุ ม ไฟไล่ ยุ ง นอกจากนี้ควรช่วยกันทาลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงทุกชนิดเพื่อลดจานวน ยุ ง ที่ เ ป็ น พาหะน าโรค เช่ น ใช้ ฝ าครอบปิ ด ภาชนะรองรั บ น้ า คว่ า ภาชนะและวัสดุที่อาจมีน้าขัง ๒๔


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ สถานการณ์การติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (sexually transmitted infections; STIs) เกิดจาก การติดต่อผ่านทางเพศสัมพันธ์ ไม่ว่าจะเป็นการร่วมเพศ ทางช่องคลอด ทางปาก หรือทางทวารหนัก กับผู้ที่เป็นโรคหรือผู้ติดเชื้อ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ๕ โรคหลัก ได้แก่ ซิฟิลิส หนองใน กามโรค ของต่อมและท่อน้าเหลือง หนองในเทียม และแผลริมอ่อน ๒๕


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส โรคหนองใน ระบาดวิทยาของโรคหนองใน

โรคหนองใน เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่พบได้บ่อยที่สุด มีระยะฟักตัวสั้น และแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว

๒๖


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส ปัจจัยเสี่ยงของโรคหนองใน โรคหนองในจะมีแหล่งโรคอยู่ในคนเท่านั้น ซึ่งสามารถติดต่อได้โดยตรง ทางเพศสัมพันธ์โดยเชื้อโรคอยู่ในสารคัดหลั่งหรือหนองที่ออกจากเยื่อบุทางเดิน ปัสสาวะ หรือช่องคลอดแล้วแพร่เข้าสู่ร่างกายผู้อื่นทางเยื่อบุทางเดินปัสสาวะ หรือ บริเวณปากมดลูก โดยการมีเพศสัมพันธ์ร่วมกันกับผู้เป็นโรค อาจติดต่อโดยการ สัมผัสทางอ้อม โดยการสัมผัสกับเสื้อผ้า เครื่องใช้ เครื่องมือแพทย์ห้องน้าหรือห้อง ส้วมที่ปนเปื้อนเชื้อโรค ซึ่งมีโอกาสติดเชื้อยาก เนื่องจากเชื้อโรคมีความทนทานต่า ต่อสภาวะแวดล้อมนอกร่างกาย เมื่อได้รับเชื้อโรคแล้วประมาณ ๒-๑๐ วัน จะเกิด อาการทางอวัยวะสืบพันธุ์และขับถ่ายปัสสาวะ เชื้อโรคนี้สามารถติดต่อได้นานเป็น เดือน ๆ หรือเป็นปี แหล่งแพร่เชื้อกามโรค ๒๗


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส การควบคุมและป้องกันโรคหนองใน ๑. การป้องกันก่อนการเกิดโรค ๑.๑ ให้สุขศึกษาแก่ประชาชนในเรื่องสุขภาพอนามัยการศึกษา การ เตรียมตัวก่อนการสมรส การเจาะเลือดตรวจ เป็นต้น ๑.๒ การควบคุมดูแลและแนะนาเกี่ยวกับการป้องกันโรคก่อนและหลัง ร่วมเพศ ให้กับหญิงบริการ ๑.๓ การจัดเตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ให้สะอาดปราศจากการเปรอะ เปื้อนเชื้อโรค ๑.๔ ในทารกแรกเกิดให้หยอดตาด้วย ๑% ซิลเวอร์ไนเตรท (๑% silver nitrate) เพื่อป้องกันโรคตาอักเสบจากเชื้อหนองใน ๒๘


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส การควบคุมและป้องกันโรคหนองใน ๒. การควบคุมและป้องกันเมื่อมีโรค ๒.๑ พบแพทย์เพื่อการวินิจฉัย และการรักษาที่ถูกต้อง เหมาะสม ๒.๒ ดาเนินการสอบสวนโรค โดยการค้นหาผู้สัมผัสกับผู้ป่วยเพศ ชายที่มีเพศสัมพันธ์กันภายใน ๑๔ วัน ก่อนเริ่มมีอาการ ส่ว นผู้สัมผัส ผู้ป่วยเพศหญิงที่มีอาการปีกมดลูกอักเสบ ให้ติดตามค้นหาผู้สัมผัสที่มี เพศสัมพันธ์ ๖๐ วัน ก่อนเริ่มมีอาการ ส่วนผู้ไม่มีอาการของโรคให้ติดตาม ผู้สัมผัสที่มีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด ๒๙


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส โรคซิฟิลิส ระบาดวิทยาของโรคซิฟิลิส  ซิฟิลิส เคยมีการระบาดอย่างรุนแรงในยุโรปประมาณปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๕  ซิฟิลิสเกิดจากเชื้อเกลียวสว่าน ชึ่งเรียกว่า เทร็ปโปนีมา ปัลลิดุม (treponema pallidum)  ทฤษฎียูนิตาเรียน (unitarian theory)  การค้ น พบที่ ส าคั ญ มากอี ก ครั้ ง หนึ่ ง คื อ การที่ ช อร์ ดิ น และฮอฟแมน (Schaudinn และ Hoffmann) ๓๐


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส ปัจจัยเสี่ยงของโรคซิฟิลิส

โรคนี้สามารถติดต่อได้โดยการสัมผัสโดยตรง ได้แก่ การมี เพศสัมพันธ์ การจูบปาก การให้โลหิต ทางบาดแผล และผ่านทาง รกภายหลังตั้งครรภ์ได้ ๔ เดือน อาจติดต่อโดยการสัมผัสทางอ้อม ได้แก่ การใช้เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม เครื่องใช้ที่เปรอะเปื้อนเชื้อโรค

๓๑


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส การควบคุมและป้องกันโรคซิฟิลิส ๑. การป้องกันก่อนการเกิดโรค ๑.๑ ให้สุขศึกษาแก่ประชาชนให้ทราบถึงอันตราย การติดต่อและการ ป้องกันโรคตลอดจนการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา การเตรียมตัวก่อนการสมรส เป็นต้น ๑.๒ การจัดสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและสนามกีฬาให้แก่ประชาชน เพื่อใช้ในการออกกาลังกาย ๑.๓ การควบคุมดูแล และแนะนาหญิงบริการทางเพศให้รู้จักหลักสุข วิทยาส่วนบุคคล การป้องกันการติดเชื้อและการแพร่เชื้อโรค ๑.๔ หมั่นตรวจสุขภาพ ตรวจโลหิตในรายที่สัมผัสกับโรค ๓๒


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส ๒. การควบคุมและป้องกันเมื่อเกิดโรคขึ้น ๒.๑ พบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยและการรักษาที่ถูกต้อง ๒.๒ งดการมีเพศสัมพันธ์เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น ๒.๓ สาลี ผ้าพันแผล น้าเลือด หนอง เสื้อผ้า เครื่องใช้ของผู้ป่วย ให้ทาลายเชื้อโรคโดยการแช่น้ายาฆ่าเชื้อโรคก่อนนาไปทาความสะอาด ๒.๔ ตรวจค้นผู้ที่ติดต่อใกล้ชิดกับผู้ป่วย และหากพบโรคซิฟิลิส ตั้งแต่กาเนิดในครอบครัวใดให้ทาการตรวจคนในครอบครัวทั้งหมด ๓๓


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส การติดเชื้อเอชไอวีและเอดส์ เอดส์ (AIDS) ไม่ใช่โรค แต่เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากภาวะ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง คาว่า เอดส์ (AIDS) ย่อมาจากคาว่า acquired immunodeficiency syndrome หมายถึง “กลุ่มอาการของภาวะ ภูมิคุ้มกันบกพร่องจากการเสาะหา ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อ HIV (human immunodeficiency virus)” กลุ่มอาการเอดส์ดังกล่าว ได้แก่ การมีภาวะติดเชื้อฉวยโอกาส มะเร็งหลอดเลือด น้าหนักลด และมักจะเสียชีวิตด้วยโรคฉวยโอกาส

๓๔


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส ระบาดวิทยาของโรคเอดส์  สถานการณ์การแพร่กระจายของเชื้อเอชไอวีและเอดส์ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและ กระทบกับคนทั่วโลก ตั้งแต่มีรายงานการพบผู้ป่วยเอดส์ครั้งแรกที่นครนิวยอร์ก ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔  ตั้งแต่มีการระบาดของ HIV/AIDS จนถึงสิ้นปี พ.ศ. ๒๕๔๑ มีผู้เสียชีวิตจาก HIV/AIDS ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก รวมประมาณ ๑๓.๙ ล้านคน  ส่วนในประเทศไทย ตั้งแต่มีการพบผู้ ป่วยเอดส์รายแรกเมื่อเดือน กันยายน ๒๕๒๗ ๓๕


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส ปัจจัยเสี่ยงของโรคเอดส์ ๑. การร่วมเพศ โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย ๒. การรับเชื้อทางเลือด ๒.๑ ใช้เข็มหรือกระบอกฉีดยาร่วมกับผู้ติดเชื้อเอดส์ ๒.๒ รับเลือดในขณะผ่าตัด หรือเพื่อรักษาโรคเลือดบางชนิด ๓. ทารก ติดเชื้อจากแม่ที่ติดเชื้อเอดส์ การแพร่เชื้อจากแม่สู่ลูก ๓๖


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส การควบคุมและป้องกันโรคเอดส์ ๑. การควบคุมและป้องกันก่อนการเกิดโรค ๑.๑ ให้สุขศึกษาเกี่ยวกับโรคเอดส์แก่ประชาชนทั่วไปอย่างกว้างขวาง ๑.๒ หลีกเลี่ยงสิ่งเสพติดและการฉีดสิ่งเสพติดที่ใช้เข็มหรือกระบอกฉีดยาร่วมกับผู้อื่น ๑.๓ ให้เจ้าหน้าที่ด้านการแพทย์และสาธารณสุข หลีกเลี่ยงการใช้เข็มหรือกระบอกฉีด ยาอันเดียวกันซ้า ๆ กับบุคคลอื่น โดยมิได้ฆ่าเชื้อโรคอย่างดีเสียก่อน ๑.๔ งดรับเลือด อวัยวะสาหรับปลูกและสิ่งใช้ผสมเทียมจากบุคคลที่เสี่ยงต่อโรคเอดส์ เช่น ผู้ติดยาเสพติด รักร่วมเพศ หญิงและชายบริการ ผู้ต้องขัง ๑.๕ ตรวจเลือด ผลิตภัณฑ์เลือด อวัยวะสาหรับปลูก และสิ่งที่ใช้ผสมเทียมก่อน ให้แก่บุคคลอื่น ๓๗


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส ๑.๖ หลีกเลี่ยงพฤติกรรมรักร่วมเพศ สาส่อนทางเพศ และมีเพศสัมพันธ์ กับบุคคลที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเอดส์ ๑.๗ ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งที่ไม่แน่ใจในความปลอดภัย ๑.๘ หลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของร่วมกัน เช่น มีดโกน แปรงสีฟัน หวี ที่ตัดเล็บ ไม้แคะหู ๑.๙ หลีกเลี่ยงการสัมผัสน้าลาย น้าคัดหลั่งของบุคคลที่เป็นกลุ่มเสี่ยง ๑.๑๐ ตรวจเลือดหาเชื้อโรคเอดส์ก่อนทาการสมรส ๑.๑๑ สตรีที่มีเชื้อโรคเอดส์ เมื่อตั้งครรภ์ก็จะทาให้อาการรุนแรงขึ้น และ ทารกที่เกิดมาประมาณร้อยละ ๕๐ จะติดโรค ดังนั้นจึงป้องกันด้วยวิธีคุมกาเนิด ๑.๑๒ ผู้ที่มีเชื้อโรคเอดส์ต้องระมัดระวังป้องกันตนเองที่จะมิให้เชื้อโรคแพร่ ๓๘ ไปยังผู้อื่นได้


ระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส ๒. การควบคุมและป้องกันเมื่อเกิดโรคขึ้น ๒.๑ การวินิจฉัยโรคจะต้องรวดเร็ว และถูกต้อง ๒.๒ เมื่อพบผู้ป่วยต้องรายงานต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทราบภายใน ๒๔ ชั่วโมง ๒.๓ การแยกผู้ป่วยไว้รักษาในสถานพยาบาลที่จัดไว้เป็นพิเศษ ๒.๔ การทาลายเชื้อโรคโดยทาความสะอาดและฆ่าเชื้อด้วยความร้อน ต่อเข็มและหลอดฉีดยาให้ดี ๒.๕ การคุมไว้สังเกตในผู้ที่ตรวจพบว่ามีเชื้อโรคเอดส์จะต้องได้รับการ ติดตามดูอาการและได้รับการช่วยเหลือเกี่ยวกับสุขภาพ ๒.๖ การเพิ่มภูมิคุ้มกันโรค พบว่ายังไม่มีวัคซีน ๒.๗ การสืบสวนโรค ๓๙


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ วัณโรค  เป็นโรคติดเชื้อที่ติดต่อโดยการสูดเอาอากาศที่มีตัว เชื้อวัณโรคเข้าไป เชื้อวัณโรคจัดเป็นเชื้อโรคในกลุ่มเป็นแท่ง (bacilli) การติดต่อจะติดต่อทางลมหายใจสูดดมเอาฝุ่นละออง หรือละอองเสมหะ ๔๐


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ ปัจจัยเสี่ยงของโรควัณโรค โรควัณโรคปอด มีแหล่งรังโรค คือ คน บางพื้นที่เป็นโรคของโค กระบื อ ด้ ว ยสามารถติ ด ต่ อ โดยเชื้ อ วั ณ โรคจะออกจากร่ า งกายโดย ออกมากับเสมหะของผู้ป่วยที่ไอ จาม บ้วนเสมหะออกมาสู่สิ่งแวดล้อม เสมหะจะแห้งจนเป็นผง และเชื้อสามารถมีชีวิตอยู่ได้เป็นเวลานาน ผง เสมหะที่มีเชื้อจะปลิวอยู่ในอากาศ แล้วแพร่เข้าสู่ร่างกายของผู้อื่นได้ ทางการหายใจ ๔๑


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ การควบคุมและป้องกันโรควัณโรคปอด ๑. การป้องกันก่อนการเกิดโรค ทาได้โดย ๑.๑ สร้างความแข็งแรง และความต้านทานโรคให้แก่ร่างกายอยู่เสมอ โดยการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ออกกาลังกายสม่าเสมอ พักผ่อนให้ เพียงพอ ๑.๒ ป้องกันมิให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย โดยหลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิดกับคน ที่เป็นวัณโรคไม่เข้าไปในที่ที่แออัดมาก ๆ ๑.๓ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ ๑.๔ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้แก่ร่างกาย โดยการฉีดวัคซีน บี.ซี.จี. ๑.๕ หมั่นดูแลรักษาและตรวจสุขภาพด้วยการเอ็กซเรย์ปอด เป็นประจา

๔๒


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ ๒. การควบคุมป้องกันเมื่อเกิดโรคขึ้นแล้ว ทาได้โดย ๒.๑ ป้องกันมิให้เชื้อแพร่กระจายออกไปสู่ผู้อื่น โดยใช้ผ้าปิดปาก และจมูกเวลาไอหรือจาม เสมหะ น้ามูก หรือน้าลายควรบ้วนลงในภาชนะที่ มีฝาปิดมิดชิด และทาลายด้วยน้ายาฆ่าเชื้อโรคก่อนเททิ้ง ๒.๒ บารุงรักษาร่างกายให้แข็งแรงด้วยการรับประทานอาหารที่มี ประโยชน์ พักผ่อนให้เพียงพอ ๒.๓ ต้องรับประทานยารักษาวัณโรคอย่างสม่าเสมอ และครบ ระยะเวลาตามที่แพทย์สั่ง หากมีปัญหาจากการใช้ยาให้รีบปรึกษาแพทย์ไม่ ลดยา หยุดยา หรือเพิ่มยาโดยมิได้ปรึกษาแพทย์ ๔๓


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ การปฏิบัติตนเมื่อเป็นวัณโรค ๑. รับประทานยาให้สม่าเสมอ ๒. ปิดปาก จมูก เวลาไอหรือจาม เพื่อป้องกันการแพร่กระจายสู่ผู้อื่น ๓. บ้วนเสมหะลงในภาชนะ หรือกระป๋องที่มีฝาปิดมิดชิดทาลายเสมหะโดย นากระป๋องไปตั้งไฟให้เดือด อย่างน้อย ๕ นาที ๔. จัดบ้านให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก ให้แสงแดดส่องถึง ๕. ตัวผู้ป่วยควรนอนแยกห้องหรือมุ้งออกจากผู้อื่นในบ้านโดยเด็ดขาด ๖. ควรใช้ช้อนกลางในการตักกับข้าวรับประทานอาหาร ๗. ห้ามดื่มเหล้า สูบบุหรี่ และยาเสพติดทุกชนิด ๘. ผู้ที่อยู่ในบ้านเดียวกับผู้ป่วย อาจจะได้รับเชื้อจากผู้ป่วย

๔๔


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ โรคไข้หวัดใหญ่ ระบาดวิทยาของโรคไข้หวัดใหญ่ พบได้ทั่วโลก ในแถบอบอุ่นไข้หวัดใหญ่เป็นโรคที่เกิดขึ้นในฤดูหนาว ในแถบซีกโลกเหนือพบได้ในระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน และซีกโลกใต้พบในระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม การระบาดของไข้หวัดใหญ่ มีทั้งการระบาดในท้องถิ่น (endemic) ซึ่งมักเกิดทุก ๑-๓ ปี และการระบาดใหญ่ทั่วโลก (pandemics) ซึ่ง พบทุก ๑๐-๔๐ ปี ๔๕


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ ปัจจัยเสี่ยงของโรคไข้หวัดใหญ่ เชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ติดต่อทางการหายใจ โดยจะได้รับเชื้อที่ ออกมาปนเปื้อนอยู่ในอากาศเมื่อผู้ป่วยไอ จาม หรือพูด ในพื้นที่ที่มีคน อยู่รวมกันหนาแน่น เช่น โรงเรียน โรงงาน การแพร่เชื้อจะเกิดได้มาก นอกจากนี้การแพร่เชื้ออาจเกิดโดยการสัมผัสฝอยละอองน้ามูก น้าลาย ของผู้ป่วย (droplet transmission) จากมือที่สัมผัสกับพื้นผิวที่มีเชื้อ ไวรัสไข้หวัดใหญ่ แล้วใช้มือสัมผัสที่จมูกและปาก ๔๖


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ ป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ ๑. การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน ถ้าเป็นไปได้ควรหลีกเลี่ยงการอยู่ในพื้นที่ ปิด ที่ มี ค นหนาแน่น และสั ม ผั ส ใกล้ ชิด กั บ ผู้ ที่ มี อาการของการติ ด เชื้อ ทางเดิ น หายใจเฉียบพลัน รักษาสุขวิทยาส่วนบุคคลโดยเฉพาะการล้างมือ พยายามอย่า สัมผัสกับสัตว์ปีกและนกโดยเฉพาะอุจจาระของสัตว์เหล่านี้ ถ้าสัมผัสต้องล้างมือ ให้สะอาดด้วยสบู่ ๒. โดยการให้วัคซีนในช่วงก่อนฤดูกาลของไข้หวัดใหญ่ ๔๗


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.

รายงานการระบาด การแยกผู้ป่วย การทาลายเชื้อ การกักกัน การป้องกันผู้สัมผัส การสอบสวนผู้สัมผัสและแหล่งโรค ๔๘


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ มาตรการเมื่อเกิดการระบาด ๑. เน้นการให้สุขศึกษาและการบริการสาธารณสุข ๒. ต้องวางแผนเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับการระบาดใหญ่ การเฝ้าระวังโรค การประเมินภาระโรค การป้องกันโรค การบริหารจัดการ ๔๙


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ โรคคางทูม ระบาดวิทยาของโรคคางทูม คางทูมเป็นโรคที่พบในคนเท่านั้น การติดเชื้อมีทั่วโลกและพบได้ ตลอดปี ในประเทศเขตร้ อ นการระบาดมั ก เกิ ด ในเดื อ นมี น าคม – เมษายน พบมากในเด็กอายุ ๖-๑๐ ขวบ รองลงมาคือ ๑๐ – ๑๔ ปี มักไม่ พบในเด็กอายุต่ากว่า ๓ ขวบ และผู้ใหญ่อายุมากกว่า ๔๐ ปีสมัยก่อนจัดว่า เป็นโรคติดต่อที่พบได้บ่อยในเด็ก ปัจจุบันมีแนวโน้มลดลง หลังจากมีผู้ที่ฉีด วัคซีนป้องกันโรคนี้กันมากขึ้น ๕๐


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ ปัจจัยเสี่ยงของโรคคางทูม สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อคางทูม ซึ่งเป็นไวรัสในกลุ่มไวรั ส พารามิกโซ(paramyxovirus)เชื้อจะอยู่ในน้าลายของผู้ป่วย ติดต่อโดย การไอหรื อ จามใส่ กั น หรื อ โดยการสั ม ผั ส ถู ก สิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ (เช่ น ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว แก้วน้า จาน ชาม ฯลฯ) ที่ปนเปื้อนเชื้อจาก น้าลายของผู้ป่วย เมื่อเชื้อติดเข้าไปที่จมูกและลาคอก็จะมีการแบ่งตัว แล้วเข้าสู่กระแสโลหิตแพร่ไปยังอวัยวะต่างๆรวมทั้งต่อมน้าลาย ทาให้ เกิดการอักเสบของต่อมน้าลายและอวัยวะต่างๆ ๕๑


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ การควบคุมและป้องกันโรคคางทูม ๑. การป้องกันก่อนการเกิดโรค โดย ๑.๑ รักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง พักผ่อนให้เพียงพอ ๑.๒ ให้วัคซีนป้องกัน โดยใช้วัคซีนเชื้อเป็นที่ทาให้อ่อนแรง ซึ่งเพาะจาก เซลล์ ของตัวอ่อนลูกไก่ อาจให้ร่วมกับวัคซี นป้องกันหัดและหัดเยอรมันก็ได้ภูมิ ต้านทานที่เกิดขึ้นจะมีอยู่ตลอดชีวิต ๒. การควบคุมและป้องกันเมื่อเกิดโรค โดย ๒.๑ ต้องแยกคนที่เป็นโรคไว้ต่างหาก ติดตามดูแลผู้ที่คลุกคลีกับผู้ป่วย อย่างใกล้ชิด ๒.๒ เมื่อพบว่าเป็นโรคคางทูม ให้ปรึกษาแพทย์เพื่อรับการรักษา ๕๒


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ โรคไข้หวัดนก โรคไข้หวัดนก (avian Influenza หรือ bird flu) เป็นโรคติดต่อของ สัตว์ปีก พบการติดต่อไปยังมนุษย์ครั้งแรกเมื่อ พ.ค. ๒๕๔๐ เมื่อต้นเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๔๗ เริ่มมีรายงานการระบาดของเชื้อ ไวรัสไข้หวัดใหญ่ H๕N๑ในสัตว์ปีก ๕๓


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ ปัจจัยเสี่ยงของโรคไข้หวัดนก คนสามารถติ ดเชื้อจากสั ตว์ ได้จากการสัมผัสสัตว์ ป่ว ยโดยตรง และโดยทางอ้ อมจากการสัม ผัส กับ สิ่ง คัด หลั่ งจากสัต ว์ ที่ เป็ นโรค เช่ น อุจจาระ น้ามูก น้าตา น้าลายของสัตว์ป่วย จากการเฝ้าระวังโรค ยังไม่มี การติดต่อระหว่างคนและคน แต่มีหลักฐานว่าผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยได้รับเชื้อ แต่ไม่เกิดอาการ เนื่องจากสามารถตรวจพบหลักฐานของการมีภูมิคุ้มกัน ต่อเชื้อนี้ในผู้ใกล้ชิด ผู้ที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรค ได้แก่ ผู้ที่มีอาชีพและ ใกล้ชิดสัตว์ปีก เช่น ผู้เลี้ยง ฆ่า ขนส่ง ขนย้าย ผู้ขายสัตว์ปีกและซากสัตว์ ปีก สัตวบาล และสัตวแพทย์ รวมถึงเด็ก ๆ ที่เล่นและคลุกคลีกับสัตว์ ๕๔


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ การป้องกันโรคไข้หวัดนก ๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

ผู้บริโภคไก่และผลิตภัณฑ์จากไก่ ผู้ประกอบอาหาร ผู้ชาแหละไก่ ผู้ขนย้ายสัตว์ปีก เกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ ๕๕


ระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ การควบคุมการระบาดในสัตว์ ๑. ฆ่าตัดทาลายวงจร ๒. ทาลายซากและผลิตภัณฑ์ของไก่ที่สงสัยว่ามีการติดเชื้อ ๓. การกาจัดเชื้อในสิ่งแวดล้อม ๔. เว้นระยะการนาสัตว์รุ่นใหม่มาเลี้ยงในฟาร์มที่ติดเชื้อเป็นระยะเวลา ๒๑ วัน

๕๖


บทสรุป ระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ การระบาดวิทยาของ โรคทางเดินหายใจ และการระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส เป็นโรค ที่คุกคามสุขภาพอนามัยของมนุษย์ ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขและ ปัญหาสังคมที่สาคัญ การระบาดของโรคติดเชื้อที่นาโดยแมลง ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคไข้สมองอักเสบ โรคสคับไทฟัส โรคไข้มาลาเรีย โรคเท้าช้าง การระบาดของโรคติดเชื้อโดยการสัมผัส ได้แก่ โรคหนอง ใน โรคซิ ฟิ ลิ ส โรคเอดส์ และการระบาดของโรคทางเดิ น หายใจ ได้แก่ วัณโรค ไข้หวัดใหญ่ คางทูม ๕๗


คาถามทบทวน ๑. ให้นักศึกษาอธิบายการระบาดวิทยาของโรคโดยแมลงและ สัตว์ ๒. ให้นักศึกษาอธิบายการระบาดวิทยาของโรคทางเดินหายใจ ๓. ให้นักศึกษาอธิบายการระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัส ๔. ให้นักศึกษาอธิ ปรายร่วมกันเกี่ยวกับสถานการณ์การระบาด วิทยาของโรคโดยแมลงและสัตว์ การระบาดวิทยาของโรคทางเดิน หายใจ และการระบาดวิทยาของโรคโดยการสัมผัสในปัจจุบัน ๕๘


เอกสารอ้างอิง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๕๗).รายงานผลการดาเนินงาน สานักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปี พ.ศ.๒๕๕๗. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. หน้า ๔๓. ไพบูลย์ โล่ห์สุนทร.(๒๕๕๒) ระบาดวิทยา พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ลดารัตน์ ผาตินาวิน, ธีรศักดิ์ ชักนา. ไข้หวัดใหญ่.ค้นเมื่อ กรกฎาคม ๓,๒๕๕๙, จาก http://www.boe.moph.go.th/fact/Influenza.htm

๕๙


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.