บทที่ 10 การนาระบบไปใช้ /การบารุงรักษาระบบ
1
บทนำ ระยะนี้ จะท ำให้ ร ะบบเกิ ด ผลด้ว ยกำรสร้ ำ งระบบขึ้ น มำ ซึ่ งข้อ งเกี่ ย วกับ กิจกรรมต่ำง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. กำรจัดหำระบบ 2. กำรเขียนโปรแกรม (Coding) 3. กำรทดสอบ (Testing)
4. กำรติดตั้ง (Installation) 5. กำรจัดทำเอกสำรคู่มือกำรใช้งำน (Documentation) 6. กำรฝึ กอบรม (Training) 7. กำรประเมินผลระบบ (System Evaluation)
หัวข้ อกำรเรี ยนร้ ู 1. ขั้นตอนกำรเขียนโปรแกรม 2. กำรทดสอบแบบ Black Box และ White Box
3. วิธีกำรติดตั้งระบบ 4. เอกสำรคู่มือกำรใช้งำน
5. ชนิดของกำรฝึ กอบรม 6. แบบฟอร์มกำรประเมินผล 7. วิธีกำรบำรุ งรักษำระบบ
การจัดหาระบบ เกิ ดขึ้ นเมื่ อที มงำนโครงกำรทำกำรออกแบบระบบได้เสร็ จสิ้ นลง ที มงำน พัฒนำระบบก็จะทรำบว่ำระบบสำรสนเทศที่จะพัฒนำขึ้นใหม่จะมีส่วนประกอบ อะไรบ้ำง ซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่งของกำรพัฒนำระบบ การจัดหาอุปกรณ์ กำรจัดหำระบบ
การจัดหาโปรแกรมประยุกต์ การพิจารณาข้ อเสนอของผู้ขาย
กำรจัดหำระบบ 1. การจัดหาอุปกรณ์ (Hardware Acquisition) การซื ้อระบบสาเร็ จรู ป
การขอข้ อเสนอทั่วไป กำรจัดหำอปุ กรณ์
การขอข้ อมูลเสนอที่เฉพาะเจาะจง การซื ้อจากผู้ขายรายเดียวหรื อหลายราย
กำรจัดหำระบบ 2. การจัดหาโปรแกรมประยุกต์ (Application Software Acquisition)
การซื ้อเข้ ามาทั้งโปรแกรม กำรจัดหำโปรแกรมประยกุ ต์ การพัฒนาขึน้ เอง
กำรจัดหำระบบ 3. การพิจารณาข้ อเสนอของผู้ขาย (Vendor Review and Evaluation)
การทดสอบแบบ Benchmark กำรพิจำรณำข้ อเสนอของผ้ ขู ำย การให้ คะแนนผู้ขาย
การเขียนโปรแกรม (Coding) คือกำรสร้ำงระบบขึ้นมำเพื่อใช้งำน โดยผูร้ ับผิดชอบคือโปรแกรมเมอร์ โดย กำรเขียนโปรแกรม ประกอบด้วยขั้นตอนต่ำง ๆ ดังต่อไปนี้
•
ศึกษาจากเอกสารต่ าง ๆ หมำยถึงเอกสำรที่ได้จำกกำรวิเครำะห์ และออกแบบ ที่ นักวิเครำะห์ ระบบได้จัดทำไว้ให้ ประกอบด้วย แผนภำพกระแสข้ อมู ล ค ำอธิ บ ำยกำรประมวลผลข้อ มู ล พจนำนุ ก รมข้อ มู ล รวมถึ ง รู ป แบบกำร บันทึกข้อมูลทำงจอภำพ และรู ปแบบเอำต์พตุ หรื อรำยงำนต่ำงๆ
•
ออกแบบโปรแกรม เพื่อแก้ปัญหำ และตัดสิ นใจแนวทำงเพื่อให้กำรพัฒนำใน ขั้นตอนนี้เกิดผลสำเร็ จ
•
เขียนโปรแกรม ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั ภำษำคอมพิวเตอร์ หรื อแอปพลิเคชันที่ใช้เขียน
การเขียนโปรแกรม (Coding) 4. ทดสอบโปรแกรม ตำมปกติแล้ว โปรแกรมเมอร์ จะดำเนิ นกำรเขียนโปรแกรม ควบคู่ไปกับกำรทดสอบโปรแกรมเสมอ โปรแกรมเมอร์ นอกจำกตรวจสอบควำม ถูกต้องในรู ปแบบภำษำเขียนแล้ว ยังต้องตรวจสอบควำมถูกต้องของผลลัพ ธ์ที่ได้ จำกกำรประมวลผลของโปรแกรมด้วย 5. จัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม เอกสำรที่ใช้ประกอบกำรเขียนโปรแกรม กำร จัดทำเอกสำรดังกล่ำว ก็เพื่อประโยชน์ต่อกำรปรับปรุ งแก้ไขโปรแกรมในอนำคต
การทดสอบ (Testing) เป็ นกำรทดสอบโปรแกรมที่ ใ ช้ง ำนในระบบว่ำ สำมำรถท ำงำนได้อ ย่ำ ง ถู ก ต้อ งหรื อ ไม่ ก่ อ นที่ จ ะด ำเนิ น กำรติ ด ตั้ง ระบบเพื่ อ ใช้ง ำนจริ ง อำจมี ค วำม จำเป็ นต้องจำลองสถำนกำรณ์กำรดำเนินงำนขึ้นมำ
กำรทดสอบ (Testing) เทคนิคกำรทดสอบ (Testing Techniques) สามารถดาเนินการทดสอบวิธีการต่ อไปนี ้ Black Box Testing เป็ นการทดสอบฟั งก์ ชันการทางานของระบบที่ต้องการ ทราบเพียงว่ า เมื่อมีการอิ นพุตข้ อมูลเข้ าสู่ ระบบแล้ ว จะได้ ผลลัพ ธ์ ออกมาอย่ างไร โดยไม่ สนใจว่ าระบบมีกระบวนการทางานอย่ างไร White Box Testing เป็ นการทดสอบโปรแกรมภายในว่ ามีวิธีการเขียนอย่ างไร มีการตรวจสอบฟั งก์ ชันการทางานว่ าถูกต้ องและครบถ้ วนหรื อไม่ โปรแกรมที่ เขียนขึน้ มีข้อผิดพลาดเชิ งตรรกะ (Logic Error) หรื อไม่ มีการออกแบบตรรกะ โปรแกรมที่มปี ระสิ ทธิ ภาพหรื อไม่ อย่ างไร
การทดสอบ (Testing) เทคนิคกำรทดสอบ (Testing Techniques)
กำรทดสอบ (Testing) ขั้นตอนกำรทดสอบ (Stages of Tests) จะประกอบด้ วย 4 ขัน้ ตอนพืน้ ฐาน คือ 1. การทดสอบหน่ วยย่ อย (Unit Testing)
2. การทดสอบด้ วยการนาโปรแกรมมาประกอบรวมกัน (Integration Testing) 3. การทดสอบทั้งระบบ (System Testing)
4. การทดสอบการยอมรั บในระบบ (Acceptance Testing)
การทดสอบ (Testing) การทดสอบหน่ วยย่ อย (Unit Testing) มุ่งเน้นถึงกำรตรวจสอบควำมถูกต้องและ ข้อผิดพลำดที่เกิดขึ้นภำยในโมดูล โปรแกรมเมอร์ ก็จะทดสอบจนกระทัง่ เชื่ อว่ำ โค้ดโมดูลนี้ปรำศจำกข้อผิดพลำด การทดสอบด้ วยการนาโปรแกรมมาประกอบรวมกัน (Integration Testing) คือกำร ทดสอบ ด้วยกำรนำกลุ่มโปรแกรมหรื อโมดูลต่ำง ๆ มำประกอบรวมกัน ระบบ จะต้องทำงำนโดยปรำศจำกข้อผิดพลำด และต้องมี ควำมมัน่ ใจว่ำกำรเชื่ อมโยง และกำรส่ งผ่ำนข้อมูลไปมำระหว่ำงโมดูลจะต้องทำงำนอย่ำงถูกต้องและครบถ้วน สำมำรถดำเนิ นกำรด้วยวิธีแบบล่ำงขึ้นบน (Bottom-up Integration) และวิธีแบบ บนลงล่ำง (Top-down Integration)
กำรทดสอบ (Testing) การทดสอบทั้งระบบ (System Testing) คือกำรทดสอบระบบทั้งหมดก่อนที่ จะ ดำเนิ นกำรส่ งมอบให้กบั ลูกค้ำ นักวิเครำะห์ ระบบจะต้องมัน่ ใจว่ำทุ ก ๆ โมดู ล และโปรแกรมต่ำง ๆ จะต้องทำงำนร่ วมกันโดยปรำศจำกข้อผิดพลำด และตรง ตำมควำมต้อ งกำรของผู ้ใ ช้ รวมถึ ง กำรทดสอบประสิ ทธิ ภ ำพของระบบ (Performance Testing) ว่ำระบบมีควำมน่ำเชื่อถือมำกน้อยเพียงไร การทดสอบการยอมรับในระบบ (Acceptance Testing) คือกำรตรวจรับระบบ ที่ผใู ้ ช้ จะเป็ นผูย้ ืนยันถึงควำมสมบูรณ์ของระบบ ว่ำระบบสำมำรถรองรับกระบวนกำร ทำงธุรกิจได้ตรงควำมต้องกำร ถูกต้อง และครบถ้วนหรื อไม่ อย่ำงไร
การทดสอบ (Testing) การทดสอบแบบอัลฟา (Alpha Testing) จะดำเนิ นกำรทดสอบระบบด้วยกำรจำลอง สภำพแวดล้อมขึ้นมำ
การทดสอบแบบเบต้ า (Beta Testing) ทีมงำนจะให้ผใู ้ ช้งำนจริ งทำกำรทดสอบระบบ บนสภำพแวดล้อมจริ ง และใช้ขอ้ มูลจริ งในกำรทดสอบ
การติดตั้ง (Installation) นักวิเครำะห์ระบบ สำมำรถเลือกใช้วิธีกำรติดตั้งที่มีอยูห่ ลำยวิธีดว้ ยกันตำม ควำมเหมำะสม ซึ่ งประกอบด้วยวิธีกำรติดตั้ง 4 วิธีดว้ ยกันคือ
1. การติดตั้งเพื่อใช้ งานใหม่ ทันที (Direct Installation) เนื่ องมำจำกระบบเดิมกับ ระบบใหม่มีควำมแตกต่ำงกันอย่ำงสิ้ นเชิง ไม่สำมำรถนำผลลัพธ์จำกระบบทั้งสอง มำทำกำรเปรี ยบเทียบกันได้ สำหรับวิธีน้ ี บำงครั้งอำจเรี ยกว่ำ Immediate Cutover ซึ่ งถือเป็ นวิธีกำรติดตั้งที่ง่ำยที่สุด
การติดตั้ง (Installation) 1. การติดตั้งเพื่อใช้ งานใหม่ ทนั ที (Direct Installation) ข้อดี
- ระบบใหม่สำมำรถดำเนินกำรใช้งำนได้ทนั ที -
สถำนกำรณ์บงั คับให้ผูใ้ ช้งำนต้องใช้ระบบใหม่ โดยไม่สำมำรถกลับไปใช้ ระบบงำนเดิมได้
- ง่ำยต่อกำรวำงแผน - ค่ำใช้จ่ำยต่ำ และใช้เวลำน้อย
การติดตั้ง (Installation) 1. การติดตั้งเพื่อใช้ งานใหม่ ทนั ที (Direct Installation) ข้อเสี ย
- อำจเกิดข้อผิดพลำดที่คำดไม่ถึงในขณะที่ใช้ระบบใหม่ - ถึงแม้ระบบใหม่จะใช้งำนได้จริ งก็ตำม แต่นนั่ ไม่ได้หมำยถึงควำมสมบูรณ์ของ ระบบใหม่โดยรวม - จัดเป็ นวิธีกำรติดตั้งที่มีควำมเสี่ ยงสู งที่สุด เมื่อเปรี ยบเทียบกับกำรติดตั้งด้วยวิธีอื่น ๆ
การติดตั้ง (Installation) 2. การติดตั้งแบบคู่ขนาน (Parallel Installation) เป็ นวิธีกำรติดตั้งที่ มีกำร ปฏิ บ ัติงำนทั้งระบบเดิ ม กับ ระบบใหม่ ข นำนกันไป หำกกรณี ที่ ร ะบบใหม่ เกิ ด ปั ญหำขึ้ น ก็จะไม่ส่งผลกระทบใด ๆ เนื่ องจำกระบบงำนเดิ มก็ยงั คงดำเนิ นกำร ปกติ โดยระบบจะสมบูรณ์ต่อเมื่อกำรดำเนิ นงำนของระบบใหม่เป็ นไปอย่ำงไม่มี ปั ญหำหรื อไม่พบข้อผิดพลำดใด ๆ จนกระทัง่ มัน่ ใจ แล้วจึ งค่อยดำเนิ นกำรใช้ ระบบใหม่ และยกเลิกใช้งำนระบบเดิมในที่สุด ข้อดี -
มีควำมปลอดภัยสู ง เนื่ องจำกหำกระบบใหม่เกิดข้อผิดพลำด ระบบเดิมก็ยงั สำมำรถนำมำใช้งำนเพื่อกำรสำรองได้
- สำมำรถเปรี ยบเทียบกระบวนกำรทำงำน รวมทั้งเอำต์พตุ ที่ได้จำก ระบบระหว่ำงระบบเดิมกับระบบใหม่
การติดตั้ง (Installation) 2. การติดตั้งแบบคู่ขนาน (Parallel Installation) ข้อเสี ย - ใช้ตน้ ทุนสู ง เนื่ องจำกจำเป็ นต้องดำเนิ นกำรทั้งระบบเดิม กับระบบใหม่ควบคู่ ด้วยกัน - สิ้ นเปลืองเวลำไปกับกำรทำงำนทั้งสองระบบ และกำรเปรี ยบเทียบระบบทั้งสอง
- ในกรณี ที่ระบบใหม่เกิดข้อผิดพลำด ผูใ้ ช้งำนอำจเกิดทัศนคติที่ไม่ดีต่อระบบใหม่ และอำจมุ่งควำมสนใจกับกำรใช้งำนระบบงำนเก่ำเช่นเดิม - ยำกต่อกำรวำงแผน และมีข้ นั ตอนควบคุมกำรทำงำนที่ยงุ่ ยำก
การติดตั้ง (Installation) 3. การติดตั้งแบบทีละเฟส (Phased Installation) เป็ นวิธีกำรติดตั้งที่มีกำรกำหนด เป็ นระยะ ๆ โดยแต่ละระยะจะมีกำรเพิ่มองค์ประกอบหรื อฟั งก์ชนั กำรทำงำนของ ระบบ ข้อดี - เจ้ำของระบบ หรื อเจ้ำของกิจกำรไม่จำเป็ นต้อง ชำระเงินก้อนใหญ่ท้ งั หมด สำมำรถชำระเงินค่ำระบบ ในแต่ละส่ วน ของแต่ละระยะนั้น ๆ ได้ - หำกเกิดข้อผิดพลำด จะไม่ส่งผลกระทบต่อระบบโดยรวม โดยจะส่ งผลต่อ ระบบ
การติดตั้ง (Installation) 3. การติดตั้งแบบทีละเฟส (Phased Installation) ข้อเสี ย - อำจใช้เวลำมำกเกินไปกับบำงระบบงำน ซึ่ งจะส่ งผลกระทบต่อกำรรอพัฒนำระบบงำนย่อย ในลำดับถัดไปของระยะต่อไป - หำกระบบย่อยต่ำง ๆ ไม่สำมำรถแบ่งแยกโดยอิสระได้ ก็จะยำกต่อกำรแบ่ง กำรติดตั้งทีละระยะ กล่ำวคือ ไม่เหมำะสมกับระบบงำนที่ไม่สำมำรถแบ่งระบบ ออกเป็ นส่ วนย่อย ๆ ได้
การติดตั้ง (Installation) 4.
การติดตั้งแบบโครงการนาร่ อง (Pilot Project) โดยจะดำเนิ นกำรติดตั้งระบบ เฉพำะส่ วนงำนใดส่ วนงำนหนึ่ งก่อน ข้อดี - ลดควำมเสี่ ยงได้ดี และค่ำใช้จ่ำยต่ำ ข้อเสี ย
- วิธีน้ ี เหมำะสมกับระบบที่มีควำมสมบูรณ์ใน ตัวเอง ที่ไม่ขอ้ งเกี่ยวกับระบบงำนอื่น ๆ
กำรติดตั้ง (Installation)
การจัดทาเอกสารคู่มือใช้ งาน (Documentation/Manuals) จัดได้ว่ำเป็ นเอกสำรส่ วนหนึ่ งที่ ใช้สำหรั บกำรฝึ กอบรม คุ ณภำพ และชนิ ด ของเอกสำรคู่มือกำรใช้งำน แต่หมำยถึงควำมสำเร็ จของระบบ โดยพื้นฐำนชนิ ด ของเอกสำรคู่มือใช้งำน ประกอบด้วย เอกสำรคู่มือสำหรับผูใ้ ช้ และเอกสำรคู่มือ ระบบ เอกสารคู่มือสาหรับผู้ใช้ (User Documentation) อ่ำนคู่มือใช้งำนก่อนที่จะปฏิบตั ิงำน จริ งกับระบบ ข้อควำมในเอกสำรต้องชัดเจน อ่ำนแล้วง่ำยต่อกำรทำควำมเข้ำใจ และควรมีกำรจัดแบ่งลำดับหัวข้อต่ำง ๆ ให้เหมำะสม มีสำรบัญ และดัชนี เพื่อใช้ สำหรับช่วยค้นหำคำที่ตอ้ งกำรได้ เอกสำรคู่มือสำหรับผูใ้ ช้ ในบำงครั้งอำจเรี ยกว่ำ User’s Manual แบ่งเป็ น 3 ชนิดด้วยกัน คือ
การจัดทาเอกสารคู่มือใช้ งาน (Documentation/Manuals) เอกสารคู่มือสาหรับผู้ใช้ (User Documentation)
ระบบความช่ วยเหลือ (The Help System) เป็ นกำรออกแบบเพื่อให้ผใู ้ ช้ที่ ต้องกำรทรำบว่ำจะปฏิบตั ิงำนกับฟั งก์ชนั ต่ำง ๆ เหล่ำนี้อย่ำงไร
กำรจัดทำเอกสำรค่ มู ือใช้ งำน (Documentation/Manuals) เอกสารคู่มือสาหรับผู้ใช้ (User Documentation)
คู่มือปฏิบัติงาน (Procedures Manuals) เป็ นกำรอธิ บำยว่ำจะปฏิบตั ิงำนกับ งำนทำงธุรกิจนี้อย่ำงไร การฝึ กสอน (Tutorials) เป็ นกำร ฝึ กสอนให้ผใู ้ ช้สำมำรถระบบได้ดว้ ย บทเรี ยน
การจัดทาเอกสารคู่มือใช้ งาน (Documentation/Manuals) เอกสารคู่มือระบบ (System Documentation) จะ ช่วยให้ผูป้ ฏิ บตั ิกำรหรื อโอเปอเรเตอร์ ได้เข้ำใจเกี่ ยวกับ แอปพลิ เ คชัน ซอฟต์ แ วร์ ว่ ำ จะจัด กำรกับ ระบบ หรื อ บำรุ งรั กษำระบบอย่ำงไรหลังจำกที่ ได้ดำเนิ นกำรติดตั้ง ไปแล้ว รวมถึ งกำรปฏิ บัติกำรเพื่อปรั บปรุ งระบบให้มี ประสิ ท ธิ ภ ำพอย่ำ งไร จะด ำเนิ นกำรแก้ไ ขอย่ำ งไรใน กรณี ที่ระบบเกิ ดข้อขัดข้อง กำรติดตั้งอุปกรณ์ฮำร์ ดแวร์ และซอฟต์ แ วร์ ต ้อ งด ำเนิ น กำรอย่ ำ งไร กำรอนุ ญ ำต หรื อ ไม่ อ นุ ญ ำตให้ผูใ้ ช้งำนเข้ำถึ งข้อ มู ลในส่ วนต่ ำง ๆ วิธีกำรเพิ่มหรื อเคลื่ อนย้ำยอุปกรณ์ ออกจำกระบบ และ กำรสำรองข้อมูลระบบ
การฝึ กอบรม (Training) ผูใ้ ช้ คือ ผูท้ ี่โต้ตอบกับระบบเพื่อทำงำนประจำวัน
ผูป้ ฏิบตั ิกำรหรื อโอเปอเรเตอร์ ผูท้ ี่ทำหน้ำที่ปฏิ บตั ิกำรสนับสนุ นระบบให้ สำมำรถดำเนินกำรได้ตำมปกติ
การฝึ กอบรม (Training) ชนิดของการฝึ กอบรม (Types of Training) กำรฝึ กอบรม จึ งสมควร ดำเนิ นกำรฝึ กอบรมตำมชนิ ดของกลุ่มบุ คคล ซึ่ งประกอบด้วย กำรฝึ กอบรมผูใ้ ช้ และกำรฝึ กอบรมผูป้ ฏิบตั ิกำร - กำรฝึ กอบรมผูใ้ ช้ (User Training) จะตั้งอยูบ่ นพื้นฐำนกำรทำงำนของระบบ และควำมต้องกำรเข้ำถึงข้อมูลของผูใ้ ช้เป็ นสำคัญ จะต้องอธิ บำยให้ผู ้ ใช้เข้ำใจถึง กำรทำงำนของระบบว่ำประกอบด้วยอะไรบ้ำง และจะต้องดำเนิ นกำรอย่ำงไรเป็ น สำคัญ - กำรฝึ กอบรมผูป้ ฏิบตั ิกำร (Operator Training) จะมุ่งควำมสนใจถึงหน้ำที่กำร สนับสนุนระบบเป็ นสำคัญ ด้วยกำรอธิ บำยว่ำระบบมีกำรทำงำนอย่ำงไร มำกกว่ำที่ จะอธิ บำยว่ำระบบทำอะไรบ้ำง
การฝึ กอบรม (Training) วิธีการฝึ กอบรม (Training Method)
ฝึ กอบรมโดยใช้วิ ท ยำกร กำรบรรยำย กำรอภิ ป รำย หรื อ กำรสำธิ ต ประกอบกำรฝึ กอบรม - ฝึ กอบรมด้วยตนเอง (Online Help) CBT (Computer-Based Training)
การประเมินผลระบบ (System Evaluation) ควรกำหนดในช่วงระยะเวลำที่เหมำะสมของกำรประเมินผลระบบ ก็คือ ควร ดำเนินกำรภำยหลังกำรติดตั้งและใช้งำนไปแล้วประมำณ 6 – 9 เดือน จุดประสงค์หลัก ก็คือ ต้องกำรประเมินผลระบบงำนว่ำ ระบบใหม่ที่ติดตั้งและ ใช้ ง ำนนั้ นเป็ นไปตำมควำมต้ อ งกำรหรื อวัต ถุ ป ระสงค์ ข องผู ้ใ ช้ ห รื อไม่ มี ข้อบกพร่ องส่ วนใดบ้ำงที่ คิดว่ำน่ ำจะได้รับกำรปรับปรุ ง ไม่ว่ำจะเป็ นด้ำนฟั งก์ชนั กำรท ำงำนของระบบ กำรโต้ต อบกับ ระบบ ควำมปลอดภัย ของระบบ รวมถึ ง เอกสำรคู่มือประกอบกำรใช้งำน
การบารุ งรักษาระบบ (Systems Maintenance) ชนิดของกำรบำรุ งรักษำประกอบด้วย 4 วิธี
1. การบารุ งรั กษาด้ วยการแก้ ไขให้ ถูกต้ อง (Corrective Maintenance) เป็ นกำร ควบคุมกำรทำงำนของระบบที่ดำเนิ นงำนอยูป่ ระจำวัน ให้ดำเนิ นกำรต่อไปได้ ซึ่ ง ผูใ้ ช้อำจพบข้อผิดพลำดในระบบกำรทำงำนบำงส่ วน ดังนั้น จะต้องได้รับกำรแก้ไข ให้ถูกต้องเพื่อให้ระบบงำนสำมำรถดำเนิ นกำรต่อไปได้ตำมปกติ 2. การบ ารุ ง รั ก ษาด้ ว ยการปรั บ ระบบให้ ส ามารถรองรั บ สภาพแวดล้ อ มใหม่ ที่ เปลีย่ นแปลงไป (Adaptive Maintenance) หรื อเป็ นไปตำมเทคโนโลยี นอกจำกนี้ Adaptive Maintenance ยังรวมถึงกำรปรับปรุ งซอฟต์แวร์ ให้เป็ นไปตำมควำม ต้องกำรใหม่ดว้ ย
การบารุ งรักษาระบบ (Systems Maintenance) ชนิดของกำรบำรุ งรักษำประกอบด้วย 4 วิธี
•
การบ ารุ ง รั ก ษาด้ ว ยการปรั บ ปรุ ง ให้ ร ะบบมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพดี ยิ่ ง ขึ้น (Perfective Maintenance) เป็ นกำรบำรุ งรักษำด้วยกำรเพิ่มคุณสมบัติใหม่ (Features) หรื อ ปรับปรุ งกระบวนกำรที่มีอยูใ่ ห้มีประสิ ทธิ ภำพดียงิ่ ขึ้นกว่ำเดิม
•
การบารุ งรั กษาด้ ว ยการป้ องกัน (Preventive ข้อผิดพลำดที่อำจเกิดขึ้นในอนำคต
Maintenance)
เพื่ อ ช่ วยลด