เอกสารการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4
“นวัตกรรม : เครือ่ งมือสาคัญของห้องสมุด ยุค Social Network” 22 – 24 มกราคม พ.ศ. 2557 ณ โรงแรมอมรินทร์ลากูน อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ร่วมกับ ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมภิ าค
เอกสารการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญ ของห้องสมุดยุค Social Network / สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ISBN : 978-616-7322-90-2 สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย โดยสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
จัดพิมพ์โดย : สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร 99/9 ถนนพิษณุโลก-นครสวรรค์ ต.ท่าโพธิ์ อ.เมือง จ. พิษณุโลก 65000 โทรศัพท์/โทรสาร 0-5596-2676
e-mail : library@nu.ac.th http://www.lib.nu.ac.th
ข้อมูลทางบรรณานุกรม การสัมมนา PULINET วิชาการ ( ครั้งที่ 4 : 2557 : พิษณุโลก ) เอกสารการสัมมนา PULINET วิชาการครั้งที่ 4 เรื่อง นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญของห้องสมุดยุค Social Network 22-24 มกราคม พ.ศ. 2557 ณ โรงแรมอมรินทร์ลากูน อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก : สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2557 381 หน้า : ภาพประกอบ ISBN 978-616-7322-90-2 1. ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค – ไทย – การประชุม. 2. ความร่วมมือ ระหว่างห้องสมุด – ไทย – การประชุม. I. ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (Provincial University Library Network: PULINET) II. ชื่อเรื่อง Z674.83.T5
025.5
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์การพิมพ์ เลขที่ 999/2-3 ถนนมิตรภาพ ต. ในเมือง อ. เมือง จ. พิษณุโลก 65000
คานา เอกสารประกอบการสัมมนาเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 ในหัวข้อ “นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญของห้องสมุดยุค Social Network” ซึ่งจัดขึ้นระหว่าง วันที่ 22 - 24 มกราคม พ.ศ. 2557 ณ โรงแรมอมรินทร์ลากูน อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ผลงานวิชาการภายในเล่มประกอบด้วย ผลงานวิชาการที่นาเสนอโดยวาจาและนาเสนอโดย โปสเตอร์ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม 2) บริการสารสนเทศและการ จัดการสารสนเทศ 3) การบริหารองค์กร การจัดการความรู้ และอื่นๆ ซึ่งผลงานดังกล่าวได้ผ่านการ พิจารณาจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ (peer review) เพื่อให้ผลงานวิชาการที่นาเสนอในครั้งนี้มี ความสมบู ร ณ์ ยิ่ ง ขึ้ น และเป็ น ประโยชน์ ใ นการพั ฒ นาวงการห้ อ งสมุ ด และวิ ช าชี พ ให้ มี ค วาม เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น ทางคณะกรรมการจัดการสัมมนาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการสัมมนาเล่มนี้จะ เป็นประโยชน์สาหรับทุกท่านที่สนใจ และขอขอบพระคุณวิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิจากสถาบันต่างๆ และเจ้าของผลงานวิชาการที่ทาให้การสัมมนาครั้งนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี มา ณ โอกาสนี้
(รองศาสตราจารย์ ดร. ภญ. รัตติมา จีนาพงษา) ผู้อานวยการสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ประธานคณะทางานจัดสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4
สารบัญ ส่วนที่ 1 บทนา โครงการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 “นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญของห้องสมุด ยุค SOCIAL NETWORK”
2
กาหนดการสัมมนา
5
คากล่าวรายงานการสัมมนา
7
คากล่าวเปิดการสัมมนา
9
ส่วนที่ 2 ผลงานวิชาการ การนาเสนอด้วยวาจา การพัฒนาระบบควบคุมห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม
13
การประยุกต์ XIBO ในการดาเนินงานประชาสัมพันธ์ห้องสมุดผ่านจอแสดงผลเครื่องรับโทรทัศน์ LED 19 ระบบจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศออนไลน์ของสานักหอสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร: 5 ปีแห่งการพัฒนาสู่ความสมบูรณ์แบบ
24
ระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงิน สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
31
เทคโนโลยี NFC และ QR CODE ในสมาร์ทโปสเตอร์แนะนาห้องสมุด
40
“จินดามณี” ระบบห้องสมุดเพื่อการพี่งพาตนเองทางเทคโนโลยี
46
แอนดรอยด์และไอโอเอสแอปพลิเคชัน สาหรับวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์และงานวิจยั อิเล็กทรอนิกส์ 52 ระบบบริหารจัดการจองห้องออนไลน์ของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม
59
ระบบยืมหนังสือด้วยเครื่องสแกนลายนิ้วมือของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
63
BOOK HUNTER แอพพลิเคชั่นชี้ตาแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
69
การพัฒนาระบบให้บริการห้องสมุดบนเครือข่ายเคลื่อนที่ CMUL AIRPAC
75
ประตูทางเข้าอัตโนมัติ SMART GATE
80
การพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือน 3 มิติ โดยใช้ GOOGLE API
91
การประยุกต์ใช้นวัตกรรมสาหรับบริการส่งเสริมการวิจัยของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
98
บูรณาการนวัตกรรมสู่งานบริการสารสนเทศ
111
การพัฒนาการให้บริการในรูปแบบ SELF-SERVICE สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
122
ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการที่มตี ่อภาพลักษณ์ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
127
การสกัดข้อมูลและสร้างระเบียนรายการหลักฐานจากระเบียนสหบรรณานุกรม
136
แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
144
ฐานข้อมูลช่วยสืบค้นสารสนเทศประกอบรายวิชา
154
การจัดการสารสนเทศดิจิทัลชุดวิชา ตารา มสธ.
160
พฤติกรรมการค้นคว้าข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา : นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่น่าน
166
CMUL DIGITAL HERITAGE COLLECTION: จากเอกสารมรดกสู่สารสนเทศดิจิทัล
173
ความคุ้มทุนของทรัพยากรสารสนเทศของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
181
การใช้ประโยชน์จากบริการรายชื่อหนังสือใหม่ของห้องสมุดต่างๆ ต่อการพัฒนาคอลเลคชัน และบริการเชิงอ้างอิง : กรณีศึกษาสาขาการเกษตร ห้องสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้
190
เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
196
สานักงานเลขานุการยุคใหม่ ทางานอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ
202
OFFICE TIMELINE เครื่องมือสาหรับการบริหารจัดการแผนการปฏิบัติงานและโครงการของ หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร
210
การพัฒนาระบบคลังพัสดุศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
216
การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้เพื่อชีวิตอย่างสร้างสรรค์ด้วยกิจกรรม KKU LIB. COVER DANCE CONTEST 2013
234
โครงการผู้บริหารสานักหอสมุดพบผู้บริหารคณะ
240
มุมมองของสังคมออนไลน์: ทาให้รักและทาต่อไป
245
โต้วาทีนอ้ งใหม่ ชิงโล่อธิการบดี
250
ถอดบทเรียนการจัดการความรูใ้ นงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ระหว่างปี 2553-2556
256
LIVE AND LEARN LIBRARY TOUR : เรียนรู้สู่การปฏิบัตจิ ริง
264
คาพูดเชิงบวกทีม่ ีผลต่อการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน
270
แนวทางการพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด
276
การจัดการสารสนเทศพระปกเกล้าศึกษา: 120 ปี ผ่านฟ้า ประชาธิปก
283
การจัดเก็บและให้บริการหนังสืองานศพ : กรณีศึกษาศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
290
ส่วนที่ 3 ผลงานวิชาการ การนาเสนอโดยโปสเตอร์ ระบบฐานข้อมูลจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
298
RSU LIBRARY EBOOK
300
ภาพลักษณ์ใหม่ของห้องสมุด มข. บนโลกออนไลน์
302
แฟนเพจหอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยขอนแก่น
304
IT MAN @ KKU LIBRARY: การจัดการองค์ความรู้ด้านไอทีสนู่ วัตกรรมการแก้ไขปัญหา IT SUPPORT ภายในห้องสมุดอย่างยั่งยืน
305
โครงการพัฒนาแอปพลิเคชันสาหรับให้บริการสารสนเทศบนโทรศัพท์มือถือ SMARTPHONE สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
306
การพัฒนาเว็บไซต์เพือ่ บริการสารสนเทศ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
308
การพัฒนาฐานข้อมูลภาพถ่ายในอดีตของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
310
การใช้โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ LIBERTY ของนักศึกษาและคณาจารย์ เพื่อการสืบค้นภายในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
314
โครงการพัฒนาระบบการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศผ่านอุปกรณ์สื่อสารทุกรูปแบบ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
316
การพัฒนาการแสดงผลบนหน้า WEB OPAC ด้วยแนวคิด MOBILE RESPONSIVE WEB และ WEB ACCESSIBILITY
318
ฐานข้อมูลวารสารสถาบัน มหาวิทยาลัยบูรพา
320
ระบบการควบคุมภายในที่ดีของกระบวนงานการพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุด ให้ติดอันดับต้นในผลการค้นด้วยเซิร์ชเอ็นจิน
321
โซเชียลมีเดีย เพื่อการประชาสัมพันธ์สานักหอสมุด
323
ฐานข้อมูลวัดในจังหวัดนครศรีธรรมราช
324
ดาวน์โหลดอีสานสนเทศทันใจด้วย QR CODE
326
มุมหนังสือฟรี
327
หนังสือมือสองปันความรู้สู่ชุมชน
329
ศูนย์ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์
330
ชุมชนนักอ่านทรงพลัง
331
NPU LIBRARY TOUR: โครงการห้องสมุดเคลือ่ นที่สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม (โรงเรียน ตชด. คอนราดเฮงเค็ล)
332
LIBRARY ORIENTATION
333
OPEN LIBRARY@YOUR SCHOOLS : เปิดโลกการเรียนรู้....สูโ่ รงเรียนคุณ
335
สมาร์ทไลบราลี@ ่ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
336
การสารวจการใช้และความต้องการใช้บริการ IPAD ของนักศึกษา ในศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
337
การเรียนรู้และการมีส่วนร่วมกับชุมชนของห้องสมุดเครือข่ายสารสนเทศนครศรีธรรมราช (LIGORNET)
339
ปรับปรุงเทคนิคการใช้ผ้าและกระดาษแรกซีนในการซ่อมหนังสือ
341
ความสัมพันธ์ในการใช้หนังสือและงบประมาณการจัดซื้อ ของหน่วยงานในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
342
รับอรุณ พูดคุยยามเช้า
345
ระบบประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
346
โปรแกรมคานวณค่าปฏิบัติงานนอกเวลาของบุคลากรศูนย์บรรณสาร และสือ่ การศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา
347
ผ้าทอพื้นเมืองอ่างศิลา
348
การบริหารจัดการงานซ่อมหนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ
349
มุมมอง บทบาท และความคาดหวังการให้บริการศูนย์การเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : บทสรุปจากการสนทนากลุ่ม
350
ส่วนที่ 4 เอกสารอื่นๆ กาหนดการนาเสนอผลงานวิชาการ
352
คาสั่งมหาวิทยาลัยนเรศวร
358
ประวัติวิทยากร
366
รายนามผู้ให้การสนับสนุนการจัดสัมมนา PULINET วิชาการครั้งที่ 4
377
ส่วนที่ 1 บทนา
โครงการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 “นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญของห้องสมุดยุค Social Network” วั น ที่ 22 – 24 มกราคม พ.ศ. 2557 ณ โรงแรมอมริ น ทร์ ล ากู น อาเภอเมื อ ง จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก 1. หลักการและเหตุผล นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค PULINET (Provincial University Library Network) จานวน 20 สถาบัน ทั่วประเทศได้หมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพจัด สัมมนา PULINET วิชาการ โดยกาหนดจัดสัมมนาปีละ 1 ครั้งเพื่อให้สมาชิกห้องสมุดต่าง ๆ ทั่ว ประเทศไทย ได้ติดตามความก้าวหน้าในวงการวิชาชีพห้องสมุด และแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น และ ประสบการณ์ร่วมกัน การจัดสัมมนาดังกล่าว นับจนถึงปี พ.ศ. 2556 นับเป็นครั้งที่ 3 และในครั้งนี้ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพในการจัดสัมมนา นวัตกรรมได้เป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นต่อการพัฒนาองค์กร ที่ได้รับการยอมรับกันว่าสามารถ นาแนวคิดใหม่ๆ กระบวนการใหม่ ๆ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ไปใช้ปฏิบัติงานแล้วทาให้องค์กรเกิดการ เปลี่ยนแปลงจากสิ่งใหม่ ๆ เหล่านี้ให้ประสบความสาเร็จไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบใดๆ ก็ตาม หากองค์กร ใดมี น วั ต กรรมเคี ย งคู่ อ ยู่ กั บ การด าเนิ น งานอยู่ เ สมอ เป็ น ที่ แ น่ น อนว่ า องค์ ก รนั้ น มี ค วามโดดเด่ น ได้ เ ปรี ย บ มี ค วามสามารถเหนื อ กว่ า ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น ความท้ า ทายในการดาเนิ นงานในสภาวะการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมอยู่ตลอดเวลา ปั จจุ บั นสั ง คมมี ก ารเปลี่ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว โดยเทคโนโลยี อิ นเทอร์ เ นต เครื อข่ า ยไร้ พรมแดนซึ่งมีบทบาทกับวิถีชีวิตประจาของกลุ่มคนในสังคมอยู่ตลอดเวลา เป็นสังคมออนไลน์ที่นับวัน ขยายวงกว้างเพิ่มขึ้น เชื่อมโยงเป็นสื่อกลางในการติดต่อสื่อสารระหว่างสมาชิกในกลุ่มบนพื้นฐานของ เทคโนโลยีที่ทุกคนเข้าถึงได้ หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า Social Network ห้องสมุดเป็นหน่วยงานให้บริการสารสนเทศ ที่จาเป็นต้องปรับตัวให้ทันกับพฤติกรรมของผู้ใช้ ยุค Social Network เนื่องมาจากผู้ใช้บริการห้องสมุดปัจจุบันมีความหลากหลาย ทั้งการสืบค้นที่นิยม พึ่ง Google มาก นิยมการอ่าน การ load การ Share มากกว่าจะใช้จากฐานข้อมูล, e-Journal, e-Book เป็นต้น ตลอดจนมีการติดต่อสื่อสารกับห้องสมุดผ่าน Social Network เพิ่มมากขึ้น ส่งผล ให้ผู้ให้บริการสารสนเทศจะต้องพัฒนาศักยภาพของตนเองให้มีทักษะความสามารถการปฏิบัติงานใน หลาย ๆ ด้านอย่างต่อเนื่องด้วย ซึ่งจะเป็นโอกาสให้ห้องสมุดได้แสวงหานวัตกรรมมารองรับพฤติกรรม
3
การใช้สารสนเทศเหล่านั้น และนามาซึ่งการพัฒนาห้องสมุดให้เป็นแหล่งความรู้ แหล่งเรียนรู้ ของ สังคมในยุค Social Network ได้อย่างยั่งยืน ด้วยความสาคัญดังที่กล่าวมา สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวรร่วมกับ ข่ายงานห้องสมุด มหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET) จึงเห็นสมควรจัดสัมมนาในหัวข้อ “นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญ ของห้องสมุดยุค Social Network” ซึ่งการสัมมนานี้จะช่วยให้ ผู้บริหาร บรรณารักษ์ นักสารสนเทศ และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้ ความเข้าใจ เปิดมุมมองในมิติใหม่จากผู้เชี่ยวชาญ รวมถึงการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกันเพื่อประโยชน์ของห้องสมุดที่จะได้นาแนวคิด แนวทางไปต่อยอด ขยายผลการดาเนินงานต่อไป 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่ อ สนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม การสร้ า งแรงบั น ดาลใจ แนวคิ ด แนวทาง ให้ กั บ ผู้ บ ริ ห าร บรรณารั ก ษ์ นั ก สารสนเทศ และผู้ ป ฏิ บั ติ ง านที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการด าเนิ น งานห้ อ งสมุ ด ยุ ค Social Network 2.2 เพื่ อ เป็ น เวที ก ารน าเสนอนวั ต กรรมใหม่ ท างสารสนเทศและแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ประสบการณ์ร่วมกัน 2.3 เพื่อเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรของบุคลากรสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวรในการ จัดสัมมนาความร่วมมือระหว่างห้องสมุดในระดับประเทศ 3. เป้าหมายของโครงการ/กิจกรรม 3.1 เป้าหมายการดาเนินงาน จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ จานวนทั้งสิ้น นิสิต บุคลากรสายสนับสนุน บุคลากรสายวิชาการ ผู้บริหารห้องสมุด
300 50 200 20 30
คน คน คน คน คน
3.2 กิจกรรม/เนื้อหาที่จะดาเนินการ 1) การประชุมสัมมนาวิชาการ การบรรยาย โดยผู้เชี่ยวชาญ 2) การนาเสนอผลงานวิชาการโดยวาจา และโปสเตอร์ ได้แก่ ผลงานวิจัย นวัตกรรม หรือกิจกรรมดีเด่นหรือที่ได้รับรางวัลของบุคลากรในข่ายงาน
4
3) การศึกษาดูงาน ณ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวรและการศึกษาดูงาน เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมและภูมิประเทศของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 4. ค่าลงทะเบียน 4.1 สมาชิกข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค คนละ 1,000 บาท 4.2 สถาบันนอกข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคและผู้สนใจทั่วไปคนละ 1,500 บาทรวมรายการต่าง ๆ ดังนี้ - ค่าตอบแทนวิทยากร - ค่ากระเป๋าและเอกสารการสัมมนา - ค่าอาหารว่าง 4 มื้อ อาหารกลางวัน 2 มื้อ และอาหารเย็น 1 มื้อ 5. ระยะเวลาในการประชุม จานวน 3 วัน ระหว่างวันพุธที่ 22 ถึงวันศุกร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ.2557 6. สถานที่ประชุม ณ โรงแรมอมรินทร์ลากูน อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7.1 ผู้บริหาร บรรณารักษ์ นักสารสนเทศ และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับความรู้ แนวคิด แนวทางการดาเนินงานห้องสมุดยุค Social Network และสามารถนาไปใช้ในการดาเนินงานได้ 7.2 ผู้บริหาร บรรณารักษ์ นักสารสนเทศ และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องได้นาเสนอนวัตกรรม ใหม่ทางสารสนเทศและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกัน 7.3
เกิดบรรยากาศการประสานงานบนความร่วมมือที่ดีในการดาเนินงานของเครือข่าย
ห้องสมุดระดับประเทศ
กาหนดการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 เรื่อง “นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญของห้องสมุดยุค Social Network” วั น ที่ 22 - 24 มกราคม พ.ศ. 2557 ณ ห้ อ งคอนเวนชั่ น โรงแรมอมริ น ทร์ ล ากู น อาเภอเมื อ ง จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก วันพุธที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2557 08.30 - 09.00 น.
ลงทะเบียน
09.00 – 09.30 น.
พิธีเปิด • กล่าวรายงาน โดย รองศาสตราจารย์ ดร. ภญ. รัตติมา จีนาพงษา ผู้อานวยการสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร • กล่าวเปิด และปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “แนวคิดการพัฒนาห้องสมุดยุค Social Network” โดย ศาสตราจารย์ ดร. นพ. กระแส ชนะวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร
09.30 – 09.50 น.
เปิดตัว Logo ใหม่ของ PULINET และมอบรางวัลชนะเลิศผู้ออกแบบ
09.50 - 10.40 น.
บรรยาย 1 “เครือข่ายสังคมออนไลน์กับงานบริการห้องสมุด : ปัจจุบัน และอนาคต (Social Medias in Library Service)” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เด่นพงษ์ สุดภักดี รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และสารสนเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
“ปัจจุบันเครือข่ายสังคมออนไลน์มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้สารสนเทศของผู้ ใช้บริการอย่างมาก และมีโปรแกรมสังคมออนไลน์ใหม่ๆพัฒนาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โปรแกรมเหล่านี้มีผลกระทบต่องาน ห้องสมุดอย่างไร ห้องสมุดจะใช้ประโยชน์จากสังคมออนไลน์ได้อย่างไรบ้าง และห้องสมุดควรจะ ปรับตัวให้ทันกับสภาพแวดล้อมเช่นนี้ได้อย่างไร มีหลักในการพิจารณาและคัดเลือกโปรแกรมอย่างไร เพื่อให้เหมาะสมกับงานของห้องสมุด” 10.40 - 11.00 น.
อาหารว่าง
11.00 - 11.50 น.
บรรยาย 2 “มาตรฐานเทคโนโลยีสื่อดิจิตอลเพื่อการบริการบนโลก ออนไลน์ (Digital Content Format for Smart Devices)” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. ธนชาติ นุ่มนนท์ ผู้อานวยการสถาบันไอเอ็มซี (IMC Institute) และอดีตผู้อานวยการ Software Park Thailand
6
“สื่อสารสนเทศมีแนวโน้มที่จะอยู่ในรูปแบบของดิจิตอลมากขึ้น การผลิตสื่อสารสนเทศของห้องสมุด เพื่อการให้บริการ ควรมีทิศทางและมาตรฐานไปในทางเดียวกัน ห้องสมุดควรมีการผลิตและการลง รายการสื่อดิจิตอลอย่างไร เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีขึ้นอย่างต่อ เนื่อง และควรนาออกให้บริการบน Cloud ในรูปแบบใด จึงจะสามารถตอบสนองต่อความต้องการ ของผู้ใช้บริการมากที่สุด” 11.50 - 12.30 น.
บรรยาย 3 “นวัตกรรม : ใครๆ ก็สร้างได้จริงหรือ?” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. ภญ. รัตติมา จีนาพงษา ผู้อานวยการสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
“การสร้างนวัตกรรมไม่ต้องอาศัยพรสวรรค์ ไม่ต้องผ่านการอบรม แต่ทุกคนสามารถสร้างได้จากจุดที่ ตนเองยืนอยู่ ด้วยเคล็ดลับง่ายๆ ทุกคนก็สามารถสร้างนวัตกรรมที่นามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่องานได้” 12.30 - 13.30 น.
อาหารกลางวัน
13.30 - 15.00 น
นาเสนอผลงานในรูปแบบโปสเตอร์
15.00 – 15.30 น.
อาหารว่าง
15.30 - 18.00 น.
เยี่ยมชม มหาวิทยาลัยนเรศวร และสานักหอสมุด
18.00 - 21.00 น.
งานเลี้ยงรับรอง ณ ห้องวังธารา โรงแรมอมรินทร์ลากูน อ. เมือง จ. พิษณุโลก
วันพฤหัสบดีที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2557 09.00 - 10.30 น.
นาเสนอผลงานด้วยวาจา
10.30 - 10.45 น.
อาหารว่าง
10.45 - 12.00 น.
นาเสนอผลงานด้วยวาจา (ต่อ)
12.00 - 13.00 น.
อาหารกลางวัน
13.00 - 14.30 น.
นาเสนอผลงานด้วยวาจา (ต่อ)
14.30 - 14.45 น.
อาหารว่าง
14.45 - 15.30 น
พิธีมอบรางวัลการนาเสนอผลงาน
15.30 - 16.30 น.
พิธีปิด และส่งมอบธงให้กับเจ้าภาพครั้งต่อไป
วันศุกร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2557 08.30 - 16.30 น.
ศึกษาดูงานเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมของจังหวัดพิษณุโลกและจังหวัด ใกล้เคียง (จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดเพชรบูรณ์)
คากล่าวรายงาน ในพิธีเปิดการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 เรื่อง “นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญของห้องสมุดยุค Social Network” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. ภญ. รั ต ติ ม า จี น าพงษา ผู้ อานวยการสานั ก หอสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร วั น พุ ธ ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2557 ณ ห้ อ งคอนเวนชั่ น โรงแรมอมริ น ทร์ ล ากู น อาเภอเมื อ ง จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก กราบเรียน
ท่านนายกสภามหาวิทยาลัย (ศาสตราจารย์ ดร. นพ. กระแส ชนะวงศ์)
ดิฉัน ในนามของคณะกรรมการจัด “การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4” และ มหาวิทยาลัยนเรศวร ขอขอบพระคุณท่านนายกสภาเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้กรุณาให้เกียรติมาเป็นประธาน ในพิธีเปิดการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 ในวันนี้ พร้อมกันนี้ขอต้อนรับท่านผู้บริหาร ท่าน วิทยากร และผู้มีเกียรติทุกท่าน ที่ได้เดินทางมาร่วมสัมมนาฯ ด้วยความยินดียิ่ง ดิฉันขออนุญาตกราบเรียนถึงความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของการสัมมนาโดยสังเขป ดังนี้ การสัมมนา PULINET วิชาการ ได้เริ่มจัดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2553 โดยห้องสมุดมหาวิทยาลัยและ วิทยาเขตส่วนภูมิภาค จานวน 20 สถาบันทั่วประเทศที่เป็นสมาชิก PULINET ได้หมุนเวียนกันเป็น เจ้าภาพ โดยกาหนดจัดสัมมนาปีละ 1 ครั้งเพื่อให้สมาชิกห้องสมุดต่าง ๆ ได้ติดตามความก้าวหน้าใน วงการวิชาชีพห้องสมุด แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและประสบการณ์ร่วมกัน ในการจัดสัมมนาครั้งนี้นับเป็น ครั้ ง ที่ 4 ซึ่ ง คณะกรรมการอ านวยการข่ า ยงานห้ อ งสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย ส่ ว นภู มิ ภ าค เห็ น ชอบให้ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นเจ้าภาพจัดสัมมนาฯ ในหัวข้อเรื่อง “นวัตกรรม : เครื่องมือ สาคัญของห้องสมุดยุค Social Network” โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่ อ สนั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม การสร้ า งแรงบั น ดาลใจ แนวคิ ด แนวทาง ให้ กั บ ผู้ บ ริ ห าร บรรณารั ก ษ์ นั ก สารสนเทศ และผู้ ป ฏิ บั ติ ง านที่ เ กี่ ย วข้ อ งในการด าเนิ น งานห้ อ งสมุ ด ยุ ค Social Network 2. เพื่อเป็นเวทีการนาเสนอนวัตกรรมใหม่ทางสารสนเทศและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ ร่วมกัน
8
การสั ม มนาครั้ ง นี้ จั ด ให้ มี ก ารบรรยาย การน าเสนอผลงานทางวิ ช าการ ทั้ ง ในรู ป แบบ นิ ท รรศการโดยโปสเตอร์ การเสนอผลงานด้ ว ยวาจา รวมทั้ ง การศึ ก ษาดู ง าน ณ ส านั ก หอสมุ ด มหาวิทยาลัยนเรศวร และทัศนศึกษา ณ จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้ เ ข้ า ร่ ว มสั ม มนาในครั้ ง นี้ ประกอบด้ ว ย ผู้ บ ริ ห าร ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ อาจารย์ บรรณารั ก ษ์ นักเอกสารสนเทศ นักคอมพิวเตอร์ และผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับห้องสมุดจากสถาบันการศึกษาทั้งใน และนอกข่ายงาน PULINET รวมทั้งสิ้น 250 คน และได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากผู้ทรงคุณวุฒิ ท่านวิทยากร รวมทั้งบริษัท ห้างร้าน ที่ได้ช่วยสนับสนุนการจัดสัมมนาครั้งนี้ บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว ดิฉันขอกราบเรียนเชิญ ท่านนายกสภา มหาวิทยาลัยนเรศวร (ศาสตราจารย์ ดร. นพ. กระแส ชนะวงศ์ ) ได้ ก รุ ณ ากล่ า วเปิ ด การสั ม มนา และปาฐกถาพิ เ ศษ เรื่อง “แนวคิดการพัฒนาห้องสมุดยุค Social Network” เพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา และ คณะผู้จัดงานต่อไป ขอกราบเรียนเชิญ ค่ะ
คากล่าวเปิด การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 เรื่อง “นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญของห้องสมุดยุค Social Network” โดย ศาสตราจารย์ ดร. นพ. กระแส ชนะวงศ์ นายกสภา มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร วั น พุ ธ ที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2556 ณ ห้ อ งคอนเวนชั่ น โรงแรมอมริ น ทร์ ล ากู น อาเภอเมื อ ง จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลก ท่านประธานคณะกรรมการอานวยการ และท่านผู้บริหาร ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค ท่านผู้บริหารห้องสมุด ท่านวิทยากร และผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่าน
ผม มีความยินดีและรู้สึกเป็นเกียรติ ที่ได้มาเป็นประธานในพิธีเปิดการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 เรื่อง “นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญของห้องสมุดยุค Social Network” ในวันนี้ ท่ า มกลางกระแสของเทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ มี ก ารพั ฒ นาอย่ า งรวดเร็ ว หลายรู ป แบบ มีบทบาทต่อพฤติกรรมการใช้ชีวิตและการค้นคว้าหาความรู้ของผู้คนในสังคมอย่างหลีกเลี่ยงมิได้ นับวันจะแผ่ขยายไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด ห้องสมุดในฐานะหน่วยงานบริการสารสนเทศ จาเป็นต้อง ปรับตัวรองรับกับพฤติกรรมการใช้สารสนเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทั้งการอ่าน การ โหลด การโพสต์ การโหวต การแชร์ ด้วยสื่อออนไลน์บนเครือข่ายอินเทอร์เนต ทั้งนี้ในการดาเนินงาน ต่าง ๆ ทั่วทั้งองค์กรควรสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการนาหรือใช้นวัตกรรมในการจัดการ เผยแพร่ บริการความรู้อย่างเหมาะสมกับสังคมออนไลน์ เพื่อให้ห้องสมุดเป็นองค์กรที่สังคมนึกถึงเป็นอันดับ ต้นๆ เมื่อต้องการค้นหาความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และได้รับบริการที่ประทับใจ ดังนั้น การที่ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค และสานักหอสมุด มหาวิท ยาลัย นเรศวร ได้ร่วมมือจัดการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 เรื่อง “นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญของ ห้องสมุดยุค Social Network” โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ มาเข้าร่วมให้ความรู้ และแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นใน ครั้งนี้ จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้บริหาร อาจารย์ บรรณารักษ์ นักเอกสารสนเทศ นัก คอมพิ วเตอร์ และผู้ ป ฏิ บั ติ ง านเกี่ ย วข้ องกั บ ห้อ งสมุ ด ที่ จ ะน าแนวคิ ดไปต่อ ยอดขยายผลการ ดาเนินงานของแต่ละห้องสมุดให้ประสบความสาเร็จ ต่อไป
10
ผมขอขอบคุ ณ ท่ า นวิ ท ยากรทุ ก ท่ า นที่ ใ ห้ เ กี ย รติ ส ละเวลาอั น มี ค่ า ของท่ า นมาให้ ค วามรู้ ขอบคุณคณะทางานที่ร่วมกันจัดงาน ขอบคุณผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกท่านที่มาร่วมสัมมนาในครั้งนี้ ขอให้ การสัมมนาบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ทุกประการ บัดนี้ ถึงเวลาอันสมควร จึงขอเปิดการสัมมนา ณ โอกาสนี้
ส่วนที่ 2 ผลงานวิชาการ การนาเสนอด้วยวาจา
การพัฒนาระบบควบคุมห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม The development of group study room controlling system เกดิ ษ ฐ เกิ ด โภคา * ขวั ญ อ่าดี สานักหอสมุดม หาวิทยาลัยนเรศวร e-mail : geaditk@nu.ac.th*
บทคัดย่อ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ให้บริการห้องศึกค้นคว้ากลุ่มจานวน 11 ห้อง ซึ่งผู้ใช้ สามารถจองห้องล่วงหน้าผ่านระบบออนไลน์หรือที่เคาน์เตอร์บริการ โดยก่อนใช้ห้องผู้ใช้ต้องติดต่อที่ เคาน์เตอร์เพื่อรับกุญแจห้องและเครื่องเขียน ทั้งนี้ ก่อนหมดเวลาใช้ห้อง 15 นาที เจ้าหน้าที่จะต้องละ ทิ้งเคาน์เตอร์เพื่อเดินไปแจ้งเตือนผู้ใช้บริการตามห้องต่างๆ การศึกษานี้จึงมีความประสงค์ที่จะพัฒนา ระบบควบคุมห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม เพื่ออานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ โดยไม่ เปลี่ยนขั้นตอนการปฏิบัติงานเดิม ระบบดังกล่าวถูกพัฒนาด้วย Visual Basic 6 ให้ทางานร่วมกับ บอร์ดควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และระบบฐานข้อมูล MySQL ของ โปรแกรมจองห้องศึกษาค้นคว้า ผลจากการพัฒนาระบบ ทาให้เจ้าหน้าที่ลดขั้นตอนในการเดินไปตาม ห้องต่างๆ เพื่อแจ้งเตือนหมดเวลา โดยระบบที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถเปิดระบบแจ้งเตือนหมดเวลาด้วย เสียงโดยอัตโนมัติ และทาการปิดอุปกรณ์ไฟฟ้ารวมถึงเครื่องปรับอากาศในห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มโดย อัตโนมัติเมื่อหมดเวลาใช้บริการ ทาให้เจ้าหน้าที่มีความสะดวกในการปฏิบัติงานมากขึ้น อีกทั้งยังเป็น การประหยัดพลังงานกรณีที่ผู้ใช้บริการลืมปิดไฟและเครื่องปรับอากาศ คาสาคัญ : ระบบควบคุมห้อง, การให้บริการห้องศึกษาค้นคว้า, ห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม ABSTRACT Naresuan University Library provides 11 group study rooms for all students and staff with pre-booking or walk-in means. The users must report to the Service Counter for the keys and stationery. The library staff has to notify the users 15 minutes before the end of each session. In the meantime, the counter is leave unattended. The room controlling system has been developed using Visual Basic 6 and is able to work with the room circuit board and MySQL database of the current online room booking system. This results in reduced work processes; satisfaction of both users and working staff; and energy saving. Keywords : room controlling system, study room service, group study room
14
บทนา สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร ได้ให้บริการห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม จานวน 11 ห้อง โดยมีโปรแกรม ระบบจองห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มออนไลน์สาหรับให้ผู้ใช้บริการจองห้องผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหรือขอใช้บริการที่ เคาน์เตอร์ การให้บริการในปัจจุบัน เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการพบปัญหาเรื่องการแจ้งเตือนหมดเวลาการใช้ห้องแก่ ผู้ใช้บริการที่ใช้บริการอยู่ ซึ่งเจ้าหน้าที่จะต้องเดินไปตามห้องต่างๆ เพื่อแจ้งเตือนและให้ข้อมูลด้วยตนเอง ทาให้ เจ้าหน้าที่ต้องละทิ้งเคาน์เตอร์ไปชั่วคราว ซึ่งส่งผลกระทบต่อการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการท่านอื่นๆ ซึ่งรอใช้บริการ อยู่ หรือส่งผลต่อผู้ใช้บริการที่ต้องการมาติดต่อกับเจ้าหน้าที่ในช่วงเวลาดังกล่าว เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้ จัดทาระบบควบคุมการใช้งานห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มขึ้น เพื่ออานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ผู้ ให้บริการ โดยพัฒนาโปรแกรมสาหรับควบคุมห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม ให้สามารถควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในห้อ ง และระบบปรับอากาศ รวมถึงระบบการแจ้งเตือนหมดเวลาใช้บริการด้วยเสียงโดยอัตโนมัติจากระบบ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบควบคุมห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มให้ทางานร่วมกับ ระบบจองห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มออนไลน์ ทีอ่ านวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ขั้นตอนและวิธีดาเนินการ การพัฒนาระบบควบคุมห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มมีขั้นตอนและวิธีดาเนินการ 3 ขั้นตอนดังนี้ 1. การวิเคราะห์ปัญหาและความต้องการ คณะผูพ้ ัฒนาระบบได้ทาการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มถึงขั้นตอนการให้บริการ และปัญหาที่พบจากการให้บริการรวมทั้งความต้องการ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1.1 ขั้นตอนการให้บริการ 1.1.1 ขั้นตอนการขอใช้ห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มของผู้ใช้บริการมี 2 วิธี คือ ผู้ใช้บริการขอใช้ห้องโดยจองห้อง ทางอิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่ า นโปรแกรมระบบจองห้อ งศึ ก ษาค้ น คว้ า กลุ่ ม ออนไลน์ ซึ่ ง เป็ น เว็ บ โปรแกรมประยุ ก ต์ และ ผู้ใช้บริการขอใช้ห้องโดยการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการโดยตรงที่เคาน์เตอร์ให้บริการ 1.1.2 ขั้นตอนการเข้าใช้บริการ การเข้าใช้ห้อง ผู้ใช้บริการต้องแลกบัตรประจาตัวหรือบัตรสมาชิกห้องสมุด กับกุญแจห้อง ซึ่งเจ้าหน้าทีจ่ ะให้ข้อมูลช่วงระยะเวลาที่ผู้ใช้บริการสามารถใช้ห้องได้โดยดูข้อมูลจากโปรแกรมระบบ จองห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มออนไลน์ 1.1.3 ขั้นตอนการคืน ห้อง เมื่ อผู้ใ ช้บริ การใช้บ ริการจนหมดเวลาหรื อต้อ งการคืน ห้องก่อนหมดเวลา ผู้ใช้บริการต้องทาการปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิดในห้องแล้วนากุญแจห้องมาคืนเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ เมื่อเจ้าหน้าที่ ได้รับกุญแจห้องแล้วก็จะคืนบัตรประจาตัวหรือบัตรสมาชิกห้องสมุด แก่ผู้ใช้บริการ จากนั้นก็จะทาการบันทึกข้อมูล การใช้บริการในโปรแกรมระบบจองห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มเพื่อเก็บสถิติการใช้บริการ
15
ปัญหาที่พบจากการให้บริการ ปัญหาที่เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการพบคือ ปัญหาที่เกิดจากขั้นตอนการคืนห้องของผู้ใช้บริการ ได้แก่ 1.2.1 ผู้ใช้บริการไม่คืนห้องตามเวลาที่กาหนด ทาให้เจ้าหน้าที่ต้องเดินไปแจ้งเตือนด้วยตนเอง ซึ่งอาจ สร้างความไม่พอใจให้แก่ผู้ใช้บริการ และอาจส่งผลกระทบต่อการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการท่านอื่นที่รออยู่ 1.2.2 ผู้ใช้บริการออกจากห้องโดยไม่ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น เครื่องปรับอากาศ ไฟแสงสว่าง เป็นต้น ทาให้ สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้า 1.3 ความต้องการแก้ไขปัญหา จากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว พบว่า เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการต้องการระบบที่สามารถแจ้งเตือนหมดเวลาแก่ผู้ใช้บริการ และระบบที่สามารถปิด อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยอัตโนมัติเมื่อหมดเวลาใช้บริการ เพื่อลดการเผชิญหน้าระหว่างผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ 2. การออกแบบและพัฒนาระบบ 2.1 การออกแบบระบบ การพัฒนาระบบควบคุมห้องศึกษาค้ นคว้ากลุ่ม คณะผู้พัฒนาระบบได้ออกแบบระบบให้ทางานร่วมกับ โปรแกรมจองห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มโดยที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการปฏิบัติงานปกติของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ
1.
/
2.
4.
3.
รูปที่ 1 แสดงขั้นตอนการทางานของระบบควบคุมห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม จากรูปที่ 1 อธิบายขั้นตอนการทางานของระบบที่ออกแบบได้ดังนี้
16
1) ผู้ใช้บริการจองห้องหรือยกเลิกจองห้องผ่านเว็บเบราว์เซอร์ไปยังโปรแกรมจองห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม โปรแกรมจองห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มบันทึกข้อมูลการจองหรือยกเลิกเข้าฐานข้อมูล 2) เมื่อถึงเวลาใช้ห้องที่จองไว้ ผู้ใช้บริการไปติดต่อขอใช้ห้องที่เคาน์เตอร์หรือคืนห้องเมื่อใช้บริการเสร็จ 3) เมื่อผู้ใช้บริการติดต่อเข้าใช้ห้องหรือคืนห้อง เจ้าหน้าที่จะบันทึกข้อมูลการเข้าใช้ห้องหรือคืนห้องเข้า ระบบ โปรแกรมจองห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มบันทึกข้อมูลการเข้าใช้ห้องหรือคืนห้องเข้าฐานข้อมูล 4) โปรแกรมควบคุมห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มจะคอยตรวจสอบข้อมูลการเข้าใช้ห้องหรือคืนห้องจาก ฐานข้อมูล เพื่อส่งคาสั่งไปควบคุมบอร์ดควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อเปิด -ปิด อุปกรณ์บอร์ดบันทึกเสียงพูดแจ้งเตือน เครื่องปรับอากาศ ไฟแสงสว่างหรืออุปกรณ์อื่นๆ ในห้อง 2.2 การพัฒนาระบบ เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบควบคุมห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มมีดังนี้ - โปรแกรม Visual Basic 6 - โปรแกรม PHP - โปรแกรมระบบฐานข้อมูล MySQL - บอร์ดควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้า รุ่น NC800 ของ บริษัท แลมด้านิว จากัด - บอร์ดบันทึกเสียง ของ บริษัท ฟิวเจอร์คิตมาร์เก็ตติ้ง จากัด - บอร์ดควบคุมอุปกรณ์ Magnetic contactor coil 220v ที่พัฒนาขึ้นเอง ขั้นตอนการพัฒนาระบบสามารถแสดงเป็นแผนภูมิได้ดังนี้
17
NC800
Magnetic contactor coil 220v
Visual Basic 6 , PHP
3 การติดตั้งและการใช้งานระบบ 1) การติดตั้งฮาร์ดแวร์ คณะผู้พัฒนาระบบได้นาบอร์ดควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้า บอร์ดบันทึกเสียง และบอร์ด ควบคุมอุปกรณ์ Magnetic contactor coil 220v ติดตั้งไว้ในกล่องอเนกประสงค์ แล้วนาไปติดตั้งไว้ที่บนฝ้าเพดาน ห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มโดยประสานงานเจ้าหน้าที่ระบบไฟฟ้าในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ ไฟแสง สว่าง และสายเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เข้ากับบอร์ดต่างๆ ในกล่องอเนกประสงค์ 2) การติดตั้งซอฟต์แวร์ คณะผู้พัฒนาได้ติดตั้งโปรแกรมควบคุมห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มไว้ที่เครื่องให้บริการ ของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 3) การใช้งานระบบ คณะผู้พัฒนาได้ทาการอบรมการใช้งานระบบและการตรวจสอบความพร้อมของระบบ ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในการให้บริการห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม
18
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผล จากการนาระบบควบคุมห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มมาใช้ในการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการโดยทางาน ร่วมกับโปรแกรมจองห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มโดยที่ไม่มีการแก้ไขขั้นตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ โดยตัวระบบ สามารถส่งเสียงพูดแจ้งเตือนเหลือเวลาใช้บริการ อีก 5 นาที จานวน 1 ครั้ง และแจ้งเตือนหมดเวลาใช้บริการอีก 1 ครั้ง และหลังจากหมดเวลาใช้บริการ 1 นาที ระบบจะทาการปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในห้องโดยอัตโนมัติ ประโยชน์ที่ได้จากการใช้งานระบบดังกล่าว คือ 1) ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ 2) เจ้าหน้าที่ ไม่ต้องละทิ้งเคาน์เตอร์เพื่อไปแจ้งเตือนหมดเวลาใช้ห้องตามห้องต่างๆ 3) ลดการเผชิญหน้ากับผู้ใช้บริการ เนื่องจาก การแจ้งเตือนดังกล่าวอาจทาให้ผู้ใช้บริการบางท่านรู้สึกไม่พอใจ และ 4) ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้า ข้อเสนอแนะ 1) การติดตั้งระบบทางด้านฮาร์ดแวร์ ควรติดตั้งอุปกรณ์สารองไฟฟ้าเพื่อป้องกันปัญหาไฟฟ้าตกหรือดับ ชั่วคราว ซึ่งอาจส่งผลทาให้บอร์ดควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าทางานผิดพลาดได้ 2) ควรเพิ่มพัดลมระบายอากาศและแผ่นระบายความร้อนให้กับบอร์ดต่างๆ ในกล่องอเนกประสงค์ เพื่อ ป้องกันปัญหาการทางานไม่เสถียรของบอร์ดต่างๆ ที่เกิดจากการสะสมของความร้อน 3) ควรแยกระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สาหรับระบบควบคุมห้องศึกษาค้นคว้าโดยเฉพาะออกจากระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์อื่นๆ ในหน่วยงาน เพื่อให้ง่ายต่อการบริหารจัดการหมายเลข IP Address สาหรับบอร์ด ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และง่ายต่อการตรวจสอบปัญหาที่เกิดจากระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ การนาไปใช้ประโยชน์ จากการพัฒนาระบบควบคุมห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่มครั้งนี้ทาให้สามารถนาแนวคิดและวิธีการนาบอร์ด ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ไปประยุกต์ใช้กับงานควบคุมอัตโนมัติ ด้านอื่น ๆ เช่น ระบบ ตั้งเวลาเปิดปิดเครื่องปรับอากาศในหน่วยงาน ระบบควบคุมแสงสว่างในอาคารเป็นต้น นอกจากนี้ยังเป็นต้นแบบใน การนาแนวคิดและวิธีการนี้ไปประยุกต์ใช้ ระบบการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าในหน่วยงานอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับงาน ระบบห้องสมุดได้ รายการอ้างอิง กิตติ ภักดีวัฒนะกุล, จาลอง ครูอุตสาหะ. (2546). Visual Basic 6 ฉบับฐานข้อมูล. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์. ดอนสัน ปงผาม, ทิพวัลย์ คาน้านอง. (2552). ไมโครคอนโทรลเลอร์PICและการประยุกต์ใช้งาน. พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). อภิชาติ ภู่พลับ. (2546). เริ่มต้นเขียนโปรแกรมติดต่อและควบคุมฮาร์ดแวร์ด้วย Visual Basic. นนทบุรี: อินโฟ เพรส.
19
การประยุกต์ XIBO ในการดาเนินงานประชาสัมพันธ์ห้องสมุดผ่านจอแสดงผล เครื่องรับโทรทัศน์ LED XIBO: Digital Signage management in library เกดิ ษ ฐ เกิ ด โภคา * วรรณาภรณ์ เที ย รท้ า ว สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร e-mail: geaditk@nu.ac.th *
บทคัดย่อ ระบบ Digital Signage เป็นที่นิยมใช้ในงานประชาสัมพันธ์และการโฆษณา งานวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการนา XIBO มาประยุกต์ใช้ในสานักหอสมุดเพื่อปรับปรุง ประสิทธิภาพการ ประชาสัมพันธ์ผ่านจอแสดงผลเครื่องรับโทรทัศน์ LCD และอานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่ในการบริหารจัดการสื่อประชาสัมพันธ์และการบริหารจัดการหน้าจอแสดงผล โดยมีการ ดาเนินงานเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาการทางานของ XIBO 2) การติดตั้ง XIBO ทั้งในส่วน XIBO Server, XIBO Client และการนาจอภาพแสดงผลกับเครื่อง XIBO Client ไปติดตั้งที่จุด ประชาสัมพันธ์ และ 3) การฝึกอบรมการใช้งาน XIBO ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชาสัมพันธ์ ให้สามารถดาเนินงานการประชาสัมพันธ์ผ่านจอแสดงผลเครื่องรับโทรทัศน์ LCD ได้ ผลที่ได้จากการ ประยุกต์ใช้งาน XIBO ทาให้เจ้าหน้าที่มีความสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานมากขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยประหยัดงบประมาณของสานักหอสมุดในการจัดหาระบบ Digital Signage มาใช้งาน คาสาคัญ : การประชาสัมพันธ์, ห้องสมุด, เครื่องรับโทรทัศน์แอลอีดี ABSTRACT Digital signage has been widely used in public relations and advertisement. This work aimed to improve the management of Digital Signage in the Naresuan University Library using an open source software called XIBO. The implementation were composed of three steps: 1) exploring the XIBO software; 2) setting XIBO server and clients and 3) training staff. The results show that XIBO was able display most of the content format including pictures, VDO file and website at the pre-set schedule. The staff easily managed Digital Signage content via web-based platform. In addition, XIBO and Digital Signage help to save cost in printing PR and advert materials. Keywords : public relations, library, LED TV
20
บทนา การประชาสั ม พั น ธ์ เ ป็ น งานที่ มี บ ทบาทส าคั ญ ในการสร้ า งภาพลั ก ษณ์ ที่ ดี ข องหน่ ว ยงานที่ ใ ห้ บ ริ ก าร สารสนเทศ เป็นงานที่ต้องทาอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ เพื่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีโดยการให้ข้อมูล ข่าวสาร ที่เป็น ประโยชน์ ตรงความต้องการ และทันต่อเวลา การเลือกใช้สื่อ ประชาสัมพันธ์ในห้องสมุดที่หลากหลายย่อมทาให้ ผู้ใช้บริการมีความสนใจ และรับทราบข้อมูลข่าวสารที่ทางห้องสมุดต้องการสื่อออกไปอย่างทั่วถึง ในปีงบประมาณ 2555 สานักหอสมุด ได้ติดตั้งเครื่องรับโทรทัศน์ LCD ขนาด 40 นิ้ว เพื่อใช้ในการ ประชาสัมพันธ์จานวน 3 เครื่อง โดยติดตั้งที่อาคารสานักหอสมุด 2 เครื่อง ณ บริเวณด้านหน้าทางเข้าสานักหอสมุด และบริเวณเคาน์เตอร์ One Stop Service ชั้น 1 และอีก 1 เครื่องติดตั้งไว้ที่ห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เพื่อเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์และข่าวสารต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้บริการในการใช้บริการห้องสมุด ในช่วงต้น ของการด าเนิ น งานเจ้ า หน้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ง านโดยการวิ ธี อ อกแบบรู ป ภาพ ประชาสั ม พั น ธ์ แล้ ว น าไฟล์ รู ป ภาพ ประชาสัมพันธ์ขึ้นที่จอภาพแสดงผลผ่านทรัมไดร์ทั้ง 3 จุดๆละ 1 อัน ปัญหาที่พบคือ ปัญหาในการบริหารจัดการไฟล์ รูปภาพประชาสัมพันธ์และปัญหาในการนาทรัมไดร์ไปติดตั้งที่เครื่องโทรทัศน์แต่ละเครื่อง และเมื่อต้องการเปลี่ยน เนื้อหาของรูปภาพประชาสัมพันธ์ก็มีความยุ่งยาก เนื่องจากเครื่องโทรทัศน์ติดตั้งอยู่ในที่สูงและอยู่ต่างอาคารกัน นอกจากนี้ยังพบปัญหาข้อจากัดของสื่อ ประชาสัมพันธ์ที่สามารถแสดงเฉพาะรูปภาพได้เพียงอย่างเดียว ไม่สามารถ แสดงภาพเคลื่อนไหวหรือตัวอักษรวิ่งได้ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว คณะผู้พัฒนาจึงได้นาเทคโนโลยี Digital Signage เข้ามาบริหารจัดการ จอแสดงผลเครื่องรับโทรทัศน์ LCD เพื่อการประชาสัมพันธ์ และใช้ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สชื่อ XIBO (อ่านว่า เอ๊กซ์อี-โบ) ซึ่งมีความสามารถหลายอย่างในการจัดการข้อมูลสื่อประชาสัมพันธ์บนจอแสดงผลเครื่องรับ โทรทัศน์ LCD โดยแสดงข้อมูลสื่อประชาสัมพันธ์ที่เป็น ได้ทั้งข้อความ รูปภาพ วิดีโอ เว็บเพจ เป็นต้น โดยการบริหารจัดการสื่อ ประชาสัมพันธ์สามารถดาเนินการผ่านเว็บเบราว์เซอร์ได้ ทาให้ง่ายต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ด้วยเหตุนี้คณะ ผู้พัฒนาจึงได้นา XIBO มาใช้ในการดาเนินงานประชาสัมพันธ์ในสานักหอสมุดรวมถึงห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ และจะมีการขยายการใช้งานไปยังอาคารใหม่ที่กาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ด้วย วัตถุประสงค์ เพื่อประยุกต์ใข้ XIBO ในการดาเนินงานประชาสัมพันธ์ห้องสมุดผ่านจอแสดงผลโทรทัศน์ LED ขั้นตอนและวิธีดาเนินการ ขั้นตอนการนา XIBO มาใช้ในการดาเนินงานมี 3 ขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาการทางานของ XIBO XIBO เป็นระบบบริหารจัดการ Digital signage บนเว็บเบราว์เซอร์ที่เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สซึ่งมี รูปแบบ Digital signage เป็นแบบ Distributed System คือ เจ้าหน้าที่ผู้บริหารจัดการข้อมูลสามารถบริหาร จัดการสื่อประชาสัมพันธ์รูปแบบต่างๆ บนเว็บเบราว์เซอร์ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะอยู่ส่วนไหนที่ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าถึง และสามารถจัดการจอแสดงผลได้จานวนมากถึง 200 จุด
21
Monitor / TV
XIBO Client
Monitor / TV
XIBO Client
Monitor / TV
XIBO Client
Play content Play content
Play content
Internet / Private Network
Manage content
Stream content
Staff
XIBO Server
รูปที่ 1 แสดงภาพรวมการทางานของโปรแกรม XIBO จากรูปที่ 1 องค์ประกอบที่จะนาโปรแกรม XIBO มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานในสานักหอสมุด ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) XIBO Server: ติดตั้งโปรแกรม XIBO บนเครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลการทางานของระบบ และให้บริการสื่อประชาสัมพันธ์ประเภทต่างๆ โดยส่งข้อมูลไปยังเครื่อง XIBO Client ผ่านระบบเครื่อข่าย คอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถติดตั้งได้บนระบบปฏิบัติการทั้ง Windows Server และ Linux 2) XIBO Client: ติดตั้ง XIBO Client Application บนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่ใช้ ระบบปฏิบัติการ Windows XP, Windows 7 หรือ Linux เพื่อทาหน้าที่นาสื่อประชาสัมพันธ์ประเภทต่างๆ ที่ได้ รับมาจากเครื่อง XIBO Server ผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาแสดงผลที่จอ LCD 3) เจ้าหน้าที่ผู้บริหารจัดการข้อมูล: ทาหน้าที่บริหารจัดการสื่อประชาสัมพันธ์ และบริหารจัดการจอภาพ แสดงผลบน XIBO Web application ผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ 4) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์: ทาหน้าที่เป็นสื่อกลางในการเชื่อมต่อการทางานระหว่าง XIBO Server, XIBO Client และ XIBO Web application 2. การติดตั้ง XIBO การติดตั้ง XIBO แบ่งขั้นตอนการดาเนินงานเป็น 5 ขั้นตอนดังนี้ 1) การติดตั้ง XIBO Server คณะผู้พัฒนาได้ดาเนินการติดตั้ง XIBO Server Version 1.4.2 ไว้ที่เครื่อง Server ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Windows 2008 Server และชุดโปรแกรม AppServ Version 2.5.10 ที่ทาหน้าที่ เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์และดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์
22
2) การติดตั้ง XIBO Client ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีพอร์ต HDMI หรือ DVI โดยใช้ระบบปฏิบัติการ Windows XP ซึ่งจาเป็นต้องติดตั้งโปรแกรม Internet Explorer 8 และ .Net framework 3.5 ตามความต้องการ ของโปรแกรม XIBO Client Version 1.4.2 3) ทดสอบการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ XIBO Client ในการทางานร่วมกับ XIBO Server 4) การติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ XIBO Client โดยยึดติดที่ด้านหลังเครื่องรับโทรทัศน์ LCD และเชื่อมต่อ สายสัญญาณภาพจากพอร์ต HDMI หรือ DVI ระหว่างเครื่องทั้ง 2 เครื่อง จานวน 3 ชุด 5) นาเครื่องโทรทัศน์ที่ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ XIBO Client เสร็จแล้วไปติดตั้งที่จุดประชาสัมพันธ์ จานวน 3 จุดคือ บริเวณทางเข้าสานักหอสมุด บริเวณเคาน์เตอร์ยืมคืนชั้น 1 และที่ห้องสมุดสาขาวิทยาศาสตร์ สุขภาพ 3. อบรมการปฏิบัติงานแก่ผู้ปฏิบัติงาน คณะผู้พัฒนาดาเนินการฝึกอบรมแก่ผู้ปฎิบัติงานที่ทางานเกี่ยวกับงานประชาสัมพันธ์จานวน 4 คน เพื่อ เตรียมความพร้อมและความเข้าใจต่อการใช้งาน XIBO โดยมีเนื้อหาที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงานดังนี้ 1) การบริหารจัดการไฟล์สื่อประชาสัมพันธ์ประเภทต่างๆ 2) การบริหารจัดการจอภาพแสดงผล 3) การจัดการรูปแบบการแสดงผล 4) การบริหารจัดการตารางเวลาแสดงผล เมื่ออบรมเสร็จแล้วทาให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้โปรแกรม XIBO ในการดาเนินงานประชาสัมพันธ์ผ่าน จอแสดงผลเครื่องรับโทรทัศน์ LCD ได้ ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผลจากการนา XIBO มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานประชาสัมพันธ์ผ่านจอแสดงผลเครื่องรับโทรทัศน์ LCD ทาให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์สะดวกต่อการบริหารจัดการสื่อประเภทต่างๆ เช่น รูปภาพ ข้อความอักษรวิ่ง เว็บเพจ ไฟล์วิดีโอ ในการออกแบบรูปแบบการแสดงผลที่ซับซ้อนได้ และการบริ หารจัดการ จอภาพแสดงผลแต่ละจุดประชาสัมพันธ์ให้แสดงผลที่เหมือนกันหรือแตกต่างกันในช่วงเวลาต่างๆ ตามแผนการ ประชาสัมพันธ์ที่กาหนดไว้ได้ นอกจากนี้ยังช่วยสานักหอสมุดประหยัดงบประมาณในการจัดหาระบบ Digital signage มาใช้ในการดาเนินงานเนื่องจาก XIBO เป็นซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สเมื่อนามาประยุกต์ใช้กับ ทรัพยากรคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่สานักหอสมุดมีอยู่แล้วทาให้เสียค่าใช้จ่ายที่น้อยมาก ข้อเสนอแนะ 1. โปรแกรม XIBO ที่นามาประยุกต์ใช้เหมาะสมกับหน่วยงานที่มีจอภาพแสดงผลหลายจุด เพื่อให้ง่ายต่อ การบริหารจัดการสื่อและจอภาพแสดงผลผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์เซอร์ฟเวอร์
23
คอมพิวเตอร์ Client ประจาแต่ละจอภาพแสดงผลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สาหรับหน่วยงานที่มีจอภาพ แสดงผลที่ ไ ม่ ม ากซึ่ ง การบริ ห ารจั ด การยั ง ท าได้ ไ ม่ ย ากอาจยั ง ไม่ จ าเป็ น ต้ อ งใช้ โ ปรแกรม XIBO เพื่ อ ประหยั ด งบประมาณในการจัดหาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่นามาเป็น XIBO Client ควรมี CPU ความเร็วไม่ต่ากว่า 2GHz RAM ไม่น้อยกว่า 1GB เพื่อให้การแสดงผลภาพที่ดี การนาไปใช้ประโยชน์ Digital Signage เป็นเทคโนโลยีที่สามารถนาไปใช้ในงานสัมพันธ์ได้ในทุกองค์กรและทุกสถานที่ที่มีระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าถึงได้ เช่น บริเวณอาคารต่างๆของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ สนามบิน เป็นต้น และการใช้ ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส อย่าง XIBO สามารถช่วยให้หน่วยงานประหยัดค่าใช้จ่ าย เกี่ ย วกั บ ลิ ข สิ ท ธิ์ ไ ด้ อ ย่ า งมาก นอกจากนี้ ยั ง เป็ น การประหยั ด งบประมาณในส่ ว นของการจั ด พิ ม พ์ เ อกสาร ประชาสัมพันธ์ ซึ่งวัสดุที่ใช้ส่วนมากไม่สามารถนากลับมาใช้ซ้าได้ รายการอ้างอิง เฉลิมพล นารี, จรูญลักษณ์ นารี. (2554). การพัฒนาสื่อประชาสัมพันธ์บริการห้องสมุดสาหรั บจุดบริการข่าวสาร ห้องสมุดโดยใช้เทคโนโลยีระบบจอสัมผัสสาหรับสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อินฟอร์เมชั่น, 18(2), 15-21 Dangarner, Alexharrington. (2013). Install Guide NET Client. Retrieved on 5 Nov 2013, from http://wiki.xibo.org.uk/wiki/Install_Guide_NET_Client Timoa. (2011). Install Guide Xibo Server. Retrieved on 5 Nov 2013, from http://wiki.xibo.org.uk/wiki/Install_Guide_Xibo_Server Xibo Project. (2013). Xibo Documentation. Retrieved on 5 Nov 2013, from http://xibo.org.uk/manual/
24
ระบบจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศออนไลน์ของสานักหอสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร: 5 ปีแห่งการพัฒนาสู่ความสมบูรณ์แบบ NU Library Online Purchasing System: 5 years of development to a perfect software ชั ย พร คาเจริ ญ คุ ณ * สุ ม าลี อิ่ ม ศิ ล ป์ พรทิ พ ย์ อาจวิ ชั ย สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร* e-mail: chaiyapornk@nu.ac.th
บทคัดย่อ ระบบ NU Library Online Purchasing System ได้นามาใช้ในงาน NU Book Fair ครั้ง แรกในปี 2553 เพื่อตอบโจทย์ของการบริการจัดซื้อให้มีประสิทธิภาพแก่สาหรับนิสิต บุคลากร และ อาจารย์ ที่คัดเลือกหนังสือต่างๆ เข้าห้องสมุด ซึ่งที่ผ่านมามักประสบปัญหาหลายๆ ด้าน เช่น การ จัดซื้อซ้าซ้อน ความล่าช้า รวมทั้งการตรวจสอบและการควบคุมงบประมาณ ดังนั้น จึงได้นาเสนอ แนวคิดในการพัฒนาระบบจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศออนไลน์ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว และได้นา ระบบจัดซื้อนี้มาใช้ในปีต่อๆมา ซึ่งในระหว่างการใช้งานพบปัญหาและข้อบ่งพร่องต่างๆ ผู้พัฒนาจึงได้ ปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน จนได้ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยมีการ พัฒนาในส่วนของการตรวจรับ การแจ้งรายละเอียดผลการจัด ซื้อหนังสือไปยังผู้ใช้งานระบบ ซึ่งระบบ ดังกล่าวทาให้เกิดความสะดวกรวดเร็วแก่ผู้ใช้บริการและผู้ปฏิบัติงาน นอกจากนี้ยังลดขั้นตอนที่ ซับซ้อนในการปฏิบัติงานด้วย ส่งผลให้การเบิกจ่ายงบประมาณในแต่ละปีงบประมาณรวดเร็วยิ่งขึ้น คาสาคัญ : การพัฒนาระบบสารสนเทศ, เทคโนโลยีห้องสมุด, งานสัปดาห์หนังสือ ABSTRACT Naresuan University Book Fair is held annually to provide students and staff opportunity in selecting books for the main library, Naresuan University Library. Several problems were found during the event such as repeat purchases; delayed purchase; over budget etc. This work aimed to develop software that can solve or minimize the problems. The first version was implemented in 2010 and able to solve those problems. Meanwhile additional requirements have been raised by the acquisition staff. Therefore, the software has been developed for another three years. More functions are included in the current version including book delivery checking system; e-mailing system; etc. As a result, the staff’s working processes have
25
been reduced and the users as well as staff are satisfied with our online purchasing system. In addition, the budget has been spent more effectively. Keywords : information technology development, library information technology, book fair บทนา สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นแหล่งรวมทรัพยากรสารสนเทศเทศต่างๆ เพื่อให้บริการแก่ อาจารย์ นิสิต และเจ้าหน้าที่ภายในมหาวิทยาลัย เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ตรงกับความต้องการและทันสมัยอยู่เสมอ สานักหอสมุดจึงจัดงาน NU Book Fair โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาจารย์ นิสิต และบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยมี โอกาสเลื อ กซื้ อ หนั ง สื อ จากส านั ก พิ ม พ์ ต่ า งๆ เพื่ อ ใช้ ป ระกอบการเรี ย นการสอน การจั ด งานทุ ก ครั้ ง ที่ ผ่ า นมา สานักหอสมุดมักประสบปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการ กระบวนการต่างๆ ในการทางาน การจัดซื้อทรัพยากร สารสนเทศ ไม่สามารถตรวจสอบและควบคุมการใช้งบประมาณได้ จัดซื้อหนังสือซ้าภายในงาน กระบวนการจัดซื้อ ล่าช้าส่งผลให้หนังสือออกให้บริการไม่ทันกับความต้องการของผู้ใช้ เป็นประจาทุกครั้ง สานักหอสมุดได้ตระหนักถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น และได้พยายามหาวิธีการแก้ปัญหาโดยได้นาเทคโนโลยี สารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศและปรับกระบวนการทางานใหม่ทั้งหมด โดยนาปัญหาจากการทางานที่ผ่านมาเป็นโจทย์ในการกาหนดทิศทางการทางาน และนาเครื่องมือต่างๆ มาช่วยใน การแก้ไขปัญหา เพื่อให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงได้พัฒานาระบบจัดซื้อหนังสือออนไลน์ ขึ้น เพื่อช่วยในการบริหารจัดการการซื้อหนังสือภายในงาน NU Book Fair ทาให้สามารถตรวจสอบกระบวนการ ทางานต่างๆ ได้ทุกขั้นตอน ตลอดจนมีระบบรายงานการจัดซื้อแบบ Real Time ทาให้ลดขั้นตอนและระยะเวลาใน การทางาน อีกทั้งผู้ปฏิบัติงาน ผู้เสนอซื้อ และร้านค้าต่างๆ สามารถตรวจสอบรายการที่มีการเสนอผ่านเว็บไซต์ได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว ในระยะเริ่มแรกของการใช้งานระบบสารสนเทศ ได้ประสบปัญหาทั้งจากขั้นตอนการทางาน ปัญหาการ ทางานของระบบ ปัญหาการใช้งานจากนิสิต บุคลากร อาจารย์ และร้านค้าผู้เข้าร่วมงาน ภายหลังจากสิ้นสุดการจัด งาน NU Book Fair ทุกครั้ง สานักหอสมุดจะจัดการประชุมเพื่อสรุปปัญหาที่เกิดขึ้น ทาการระดมความคิดเพื่อหา แนวทางการแก้ไข และทาการพัฒนาต่อยอดระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาและรองรับ ความต้องการของผู้ใช้ทุกครั้งไป วัตถุประสงค์ พัฒนาระบบจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศออนไลน์ (NU Library Online Purchasing System) เพื่อแก้ไข ปัญหาการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร วิธีการดาเนินการ การพัฒนาระบบจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศออนไลน์ มีขั้นตอนการดาเนินการ ดังนี้ 1. วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของระบบ
26
การศึกษาปัญหาและความต้องการของระบบทาให้ทราบว่า ระบบเดิมที่ทาอยู่มีขั้นตอนการทางานอย่างไร มีการรับส่งข้อมูลอย่างไร และสามารถนาระบบสารสนเทศเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหาในจุดใดได้บ้าง ซึ่งจากการศึกษา ระบบเดิมที่ทาอยู่ทาให้พบว่า มีการจัดเก็บใบเสนอซื้อในรูปแบบของแฟ้มเอกสาร มีการแบ่งการจัดซื้อทรัพยากรแยก ตามกลุ่มสาขาวิชาที่บุคลากรแต่ละท่านสังกัดอยู่ ซึ่งทาให้ยากต่อการบริหารจัดการและเกิดปัญหาการจัดซื้อซ้าซ้อน จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า สามารถนาระบบสารสนเทศเข้ามาจัดเก็บข้อมูลการเสนอซื้อของบุคลากรได้ ซึ่งจะทา ให้ง่ายต่อการบริหารจัดการ และสามารถจัดทารายงานการจัดซื้อของทรัพยากรได้ ตัวอย่างปัญหาของระบบเดิม - จัดซื้อหนังสือล่าช้าไม่ทันกับความต้องการของผู้ใช้ - ได้ทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ - อาจารย์ นิสิต ผู้เสนอซื้อทรัพยากรไม่ทราบผลการจัดซื้อ - จัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศซ้าจานวนมาก - เกิดปัญหายอดสั่งซื้อทรัพยากรสารสนเทศเกินงบประมาณที่มีอยู่ 2. สัมภาษณ์บุคลากรผู้ปฏิบัติงาน การสัมภาษณ์บุคลากรผู้ปฏิบัติงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ผู้ปฏิบัติงานพัสดุและการเงิน และ ผู้บริหารสานักหอสมุด ทาให้ทราบถึงปัญหาที่พบในการทางานและความต้องการในด้านอื่นๆของผู้ปฏิบัติงาน เช่น ระบบตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ป้อนเข้าสู่ระบบ ระบบฐานข้อมูลบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ระบบสถิติ และรายงานสรุปผลการเสนอซื้อและจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ ตัวอย่างความต้องการของผู้ใช้ - มีระบบควบคุมงบประมาณแยกเป็นรายคณะ - มีระบบตัดสินใจสัง่ ซือ้ ทรัพยากรสารสนเทศ - มีระบบแจ้งผลการดาเนินงานทางอีเมล - มีระบบรายงานผลการจัดซือ้ ทรัพยากรสารสนเทศแบบ Real Time - ตัวระบบต้องตรวจสอบความซ้าซ้อนในการเสนอซื้อได้ - มีระบบตรวจรับทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมจัดทารายงาน 3. การออกแบบและพัฒนาระบบ ในการออกแบบระบบ ผู้พัฒนาได้ใช้แนวทางการออกแบบระบบตามหลักการของการวิเคราะห์และ ออกแบบระบบ (System Analysis and Design) [1] ในขั้นตอนการออกแบบระบบจะต้องกาหนดขอบเขตการ พัฒนาระบบ เพื่อที่จะได้ทราบถึงลักษณะการทางานและข้อจากัดของระบบสารสนเทศ นอกจากนี้ยังมีการกาหนด หน้าที่การทางานของผู้ใช้งานระบบในแต่ละระดับชั้นด้วย สิ่งสาคัญที่สุดในการออกแบบคือการนาวิธีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นซึ่งได้จากการวิเคราะห์ระบบการ ทางานเดิม และการนาความต้องการของผู้ใช้ที่ได้จากการการสัมภาษณ์บุคลากรที่เกี่ยวข้องมาทาการออกแบบระบบ เพื่อให้ได้ระบบสารสนเทศที่ตรงกับความต้องการ ง่ายต่อการทาความเข้าใจและการใช้งานของผู้ใช้งาน โดยระบบ จะต้องลดขั้นตอนการทางานที่ซ้าซ้อน และมีการตรวจสอบความถูกต้องขอข้อมูลที่ป้อนเข้าสู่ระบบในทุกขั้นตอน
27
การพัฒนาระบบโดยใช้เทคโนโลยีเว็บแอพพลิเคชั่น (Web-based application Technology) ผู้พัฒนา ได้เลือกใช้โปรแกรมภาษา PHP และ JavaScript [2] ระบบจัดการฐานข้อมูล MySQL [3] และ Software สาหรับ เปิดให้บริการเว็บแอพพลิเคชั่น Apache [4] ซึ่งเป็น Open Source ทาให้ไม่มคี ่าใช้จ่ายในการพัฒนา 4. การพัฒนาระบบอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร มีการจัดงาน NU Book Fair เป็นประจาทุกปี ระหว่างการ จัดงานผูใ้ ช้งานระบบพบปัญหาจากการใช้งาน บางกรณีจะเป็นปัญหาเล็กน้อย เช่น การแสดงรายงานผิดพลาด บาง กรณีจะเป็นปัญหาใหม่ที่จะต้องหาทางแก้ไขหรือพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมารองรับทันที เพื่อให้การทางานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพมากที่สุดตลอดระยะเวลาการจัดงาน หลังจากสิ้นสุดการจัดงาน NU Book Fair ทุกครั้ง สานักหอสมุด จะจัดประชุมสรุปผลการดาเนินงานเพื่อสรุปปัญหาและข้อเสนอแนะจากบุคลากรสานักหอสมุด ร้านค้าและบุคลากร ผู้เข้าร่วมงานทุกท่าน และนาข้อมูลที่ได้มาพัฒนาปรับปรุงระบบสารสนเทศทุกครั้งไป ตัวอย่างปัญหาที่พบและการแก้ไขปรับปรุงระบบ NU Library Online Purchasing System 4.1. ปีงบประมาณ 2553 -
เป็นระบบต้นแบบ ฐานข้อมูลไม่สามารถนาไปใช้งานในปีต่อไปได้
-
ขั้นตอนการเสนอซื้อหนังสือยุ่งยาก ซับซ้อน
4.2. ปีงบประมาณ 2554 -
ออกแบบฐานข้อมูลใหม่ทั้งหมด
แต่ยังพบปัญหาการจัดเก็บข้อมูลเสนอซือ้ หนังสือไม่ครบถ้วน
ทาให้ไม่สามารถเปรียบเทียบราคาหนังสือระหว่างร้านได้ (ระบบจะแสดงเฉพาะร้านที่เสนอราคา ต่าสุดเท่านั้น) -
ออกแบบระบบใหม่ มีการนาระบบคูปองมาใช้งาน
-
ออกแบบการเพิม่ ข้อมูลเสนอซือ้ หนังสือใหม่
-
เพิ่มการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่จะป้อนเข้าระบบ (ทั้งตัวเลขและตัวอักษร)
4.3. ปีงบประมาณ 2555 -
ออกแบบฐานข้อมูลใหม่ทั้งหมด เพื่อให้สามารถเก็บสถิติต่างๆ ได้อย่างครบถ้วน แก้ปัญหาการ เปรียบเทียบราคา และออกแบบให้รองรับการใช้งานในปีตอ่ ๆไปได้
-
มีการนาเข้าข้อมูลของบุคลากรประเภทอาจารย์ ช่วยลดขั้นตอนในการป้อนข้อมูลเสนอซือ้ หนังสือ
-
ลดตัวเลือกในขั้นตอนการป้อนข้อมูลเสนอซื้อหนังสือ ทาให้ทางานได้เร็วขึ้น
-
พัฒนาระบบตรวจรับหนังสือโดยใช้รหัสบาร์โค้ด ISBN
-
พัฒนาระบบการส่งอีเมลให้แก่อาจารย์ และเจ้าหน้าที่
-
ใช้ menu รูปภาพแทนตัวอักษร
4.4. ปีงบประมาณ 2556 -
เพิ่มการจัดทารายงาน สถิติ การเสนอซือ้ การจัดซื้อ จานวนบุคลากร และร้านค้า
28
-
ปรับปรุงโครงสร้างฐานข้อมูลเพื่อให้รองรับการใช้งานเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน
-
ปรับปรุงโปรแกรมของระบบให้รองรับการใช้งานเป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน โดยสามารถเรียกดูข้อมูล ย้อนหลังได้
-
เพิ่มระบบการจัดซื้อนอกระยะเวลาการจัดงาน NU Book Fair
ภาพที่ 1 หน้าจอแสดงเมนูหลักของ ระบบ NU Library Online Purchasing System
ภาพที่ 2 ตัวอย่างหน้าจอสรุปรายการสั่งซื้อแยกตามร้านค้าพร้อมแสดงสถานะการตรวจรับการส่งหนังสือ
29
ภาพที่ 3 ตัวอย่างหน้าจอแสดงข้อมูลการเปรียบเทียบราคาระหว่างร้านค้าเพื่อใช้ในการตัดสินใจสั่งซือ้ ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ จากการนาระบบ NU Library Online Purchasing System เข้ามาใช้ในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ ในงาน Book Fair ตั้งแต่ปี 2553 และได้ทาการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานอย่างต่อเนื่องจนถึง ปั จ จุ บั น พบว่ า ตั ว ระบบสารสนเทศสามารถช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการท างาน ลดความซ้ าซ้ อ นในการจั ด ซื้ อ ทรัพยากรสารสนเทศได้เป็นอย่างดี การจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศสามารถทาได้รวดเร็วขึ้น อาจารย์มีความพึง พอใจต่อการรายงานผลการเสนอซื้อหนังสือผ่านทาง E-mail เป็นอย่างมาก และเมื่อมีการนาระบบตรวจรับหนังสือ โดยใช้หมายเลข ISBN เข้ามาใช้งาน ทาให้การตรวจรับหนังสือทาได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วยิ่งขึ้น นอกจากนี้ระบบ NU Library Online Purchasing System ยังได้รับความสนใจจากห้องสมุดสถาบัน อุดมศึกษาต่างๆ เป็นจานวนมาก โดยในปัจจุบันได้มีห้องสมุดของเพื่อนสมาชิกข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วน ภูมิภาค(Provincial University Library Network, PULINET) ได้นาโปรแกรมจัดซื้อหนังออนไลน์นี้ไปใช้ในการ ปฏิบัติงานแล้วจานวนไม่น้อยกว่า 4 แห่ง ข้อเสนอแนะ จากการใช้งานและพัฒนาระบบ NU Library Online Purchasing System อย่างต่อเนื่อง พบว่า ยังต้อง มีการพัฒนาระบบเพื่อแก้ไขปัญหาและอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้งานทั้งในส่วนของบุคลากรสานักหอสมุด อาจารย์ นิสิต และร้านค้าผู้เข้าร่วมงาน NU Book Fair เช่น ในส่วนการติดต่อสื่อสารกับ อาจารย์ นิสิต และร้านค้า ผู้เข้าร่วมงาน ระบบบารุงดูแลรักษาและสารองข้อมูล การติดตั้งใช้งานในกรณีที่มีผู้ร้องขอ ทั้งนี้ เพื่อให้ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวรมีระบบจัดซื้อที่สมบูรณ์แบบที่สุด การนาไปใช้ประโยชน์ ใช้ในการปฏิบัติงานจัดซื้อหนังสือของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร และของสถาบันอื่นๆที่สนใจ
30
รายการอ้างอิง โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2544). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System analysis and design). กรุงเทพฯ : ซี เอ็ดยูเคชั่น. วิชา ศิริธรรมจักร์. (2549). Web Programming ด้วย AJAX และ PHP. กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอน ซัลท์. ชาญชัย ศุภอรรถกร. (2554). จัดการฐานข้อมูลด้วย MySQL ครอบคลุมถึงเวอร์ชั้น 6.0. กรุงเทพฯ : ซิมพลิฟาย. บรรพต ดลวิทยากุล. (2549). เก่ง Apcahe ให้ครบสูตร. กรุงเทพฯ : วิตตี้ กรุ๊ป.
31
ระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงิน สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Budgeting and Financial Database System, Chiang Mai University Library อภิ ญ ญา ธงไชย* เกรี ย งไกร ชั ย มิ น ทร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail : apinya_pkk@hotmail.com*
บทคัดย่อ เนื่องจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ปรับเปลี่ยนระบบบัญชี จากระบบบัญชีคู่มาเป็นระบบบัญชี ลักษณะ 3 มิติ ตามนโยบายของรัฐบาล แต่ระบบบัญชี ลักษณะ 3 มิติ ที่มหาวิทยาลัยนามาใช้นั้น ยัง ไม่สามารถให้รายละเอียดการใช้จ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงานย่อยภายในมหาวิทยาลัยได้ ทาให้ หน่วยงานย่อยต่างๆ ไม่สามารถใช้ระบบของมหาวิทยาลัยในการบันทึกรายละเอียดการใช้จ่ายเงิน งบประมาณของหน่วยงานได้ครบทุกระบบ สานักหอสมุดจึงนาระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและ การเงิน (e-Budget) มาใช้ เพื่อจัดเก็บและติดตามข้อมูลทางด้านการเงินของสานักหอสมุด เพื่อให้ ข้อมูลทางการเงินของสานักหอสมุด ที่เข้าไปอยู่ในระบบฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัย เป็นไปอย่าง ถูกต้อง ครบถ้วน และสามารถนามาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการงานงบประมาณและการเงิน ของหน่วยงานได้อย่างถูกต้องแม่นยา การปรับเปลี่ยนระบบการทางานด้านงบประมาณและการเงิน จากระบบมือมาเป็นระบบฐานข้อมูล และเพื่อสนับสนุนการพัฒนามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ให้เป็น eUniversity ในครั้งนี้ สานักหอสมุดได้นาระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงินของคณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาปรับใช้ให้ สอดคล้องกับงานงบประมาณและการเงินของ สานักหอสมุด ในระยะเริ่มแรกของโครงการ ได้จัดให้มีบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการด้าน งานงบประมาณและการเงินและระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงินของคณะมนุษยศาสตร์ โดย วิทยากรผู้พัฒนาระบบฐานข้อมูลดังกล่าว จัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างบุคลากรที่เกี่ยวข้องของ ทั้งสองหน่วยงาน เพือ่ พัฒนาฐานข้อมูลของสานักหอสมุดร่วมกัน และร่วมกันจัดทาขั้นตอนและวิธีการ ดาเนินงาน เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงินของสานักหอสมุด มีการประเมินการใช้ ระบบ เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาฐานข้อมูล โดยการดาเนินงานในระยะแรก เป็นการ ดาเนินงานตามระบบเดิมควบคู่ไปกับระบบใหม่ และเมื่อการพัฒนาฐานข้อมูลประสบความสาเร็จ ได้ นาระบบฐานข้อมูลมาใช้ดาเนินงานแทนระบบเดิมทั้งหมด ผลการพัฒนาและการปรับระบบฐานข้อมูล ทาให้สานักหอสมุดได้ระบบฐานข้อมูลที่สามารถ จั ด เตรี ย มข้ อ มู ล ทางการเงิ น อย่ า งละเอี ย ด ครบถ้ ว น และชั ด เจน ในลั ก ษณะที่ ฐ านข้ อ มู ล ของ มหาวิทยาลัยไม่สามารถให้ได้นั่นคือ ระบบฐานข้อมูลดังกล่าวได้ถูกสร้างให้มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน
32
อย่างละเอียดครบถ้วน ตั้งแต่ระบบการจัดสรรงบประมาณ ระบบการขอใช้เงินงบประมาณ ระบบการ เบิกจ่ายเงินงบประมาณ ระบบการติดตาม ค้นหาข้อมูล และการรายงานข้อมูลและจัดทาทะเบียนคุม ข้อมูล ทาให้สามารถติดตามการเคลื่อนไหวของเงินงบประมาณในทุกระบบอย่างครบถ้วน สามารถนา ข้อมูลเงินงบประมาณและการเงินจากระบบไปใช้ในการบริหารจัดการและตัดสินใจได้ทันทีและสามารถ นาข้อมูลงบประมาณการเงินจากระบบฐานข้อมูลของสานัก ไปสอบยันกับข้อมูลเงินงบประมาณใน ระบบฐานข้ อ มู ลของมหาวิ ท ยาลัย เชี ย งใหม่ ไ ด้ และดาเนิน งานได้ ต ามแผนที่ตั้ ง ไว้ คื อ น าระบบ ฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงินมาใช้อย่างเต็มรูปแบบร่วมกัน ในปี 2556 และสามารถขยายไปยัง ฝ่าย/งาน/หน่วย เพื่อให้ฝ่าย/งาน/หน่วยทาหน้าที่ขอใช้เงินงบประมาณ ในปีงบประมาณ 2557 ระบบ ฐานข้อมูลยังสามารถพัฒนาต่อยอดให้เชื่อมโยงเข้ากับระบบฐานข้ อมูลงบประมาณอื่นที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ฐานข้ อ มู ลค าของบประมาณการจัด ท าโครงการตามแผนปฏิ บั ติก ารประจาปี (e-Project) ฐานข้อมูลคาของบบุคลากร และฐานข้อมูลคาของบลงทุน เป็นต้น และเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานอื่น ที่มีลักษณะงานที่คล้ายกันได้ คาสาคัญ : ระบบฐานข้อมูล, ระบบการจัดการงบประมาณอิเล็กทรอนิกส์ , งานงบประมาณและ การเงินสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ABSTRACT In response to the government’s policy, Chiang Mai University had changed its accounting system from double-entry to 3-dimension accounting system. However the latter 3-dimension accounting system was still unable to provide detail on expenses of those sub-divisions of the university. Those sub-divisions then could not fully utilize the system of the university to record detail of their expenses. Chiang Mai University Library thus decided to bring the budgeting and financial database system (e-Budget) to store and assess its financial data. With this latest system, the financial data of the Library provided for the university’s data base would be correct and complete, and could be accurately used as a tool for budget and financial management. Besides, the introduction of this new system helped transforming the budgeting and financial management system from the manual system to the database one, and also helped supporting the development of Chiang Mai University to be an e-University. To make the system consistent with its structure, the budgeting and financial data base system of the Library had been applied from that of the Faculty of Humanities (Chiang Mai University). At the initial stage of the project, the lecturer who developed this system organized a lecture class on budgeting and
33
financial management and budgeting and financial data base system of the Faculty of Humanities, and also invited the staff involved with this project from both units to develop the Library’s database together. These staff also jointly created the working process and method in order to develop the budgeting and financial database of the Library. Moreover, the system evaluation was conducted to derive the result to develop the database. At the beginning, the new and the old system had been simultaneously operated, and once the database development had been completed, the old system was totally replaced by the new one. The result from the database development and improvement led the Library to be equipped with the database enabling it to prepare financial data thoroughly, completely and clearly; this was what cannot be provided by the university’s database. In short, this new database was created to include the complete operation process, ranging from the budget allocation system, the budget requesting system, the budget reimbursement system, the assessment system, the data searching, the data reporting and the data register creating. The new system allowed the Library to thoroughly follow the change in budget of every system; it could directly use the budget and finance data from the system in its management and decision making process. Furthermore, the budget and financial data from this new database of the Library could be derived to recheck with those stored in the database of the university. The Library thus had achieved its goal in fully utilizing the budgeting and financial database in 2013 and will be extend using the database for departments/sections/units to request to approve the budget for doing their projects in fiscal year 2014. In fiscal year 2014, the database could be further developed to connect with other related budget databases such as the annual plan’s projects (eProject), the personnel budget requesting database and investment budget requesting database etc. Also, the database could benefit other units with similar working structure. Keywords : Budgeting and Financial Database System, e-Budget, Chiang Mai University Library
34
บทนา จากนโยบายของรัฐบาลที่กาหนดให้หน่วยงานของรัฐบาล ต้องจัดทาบัญชีตามเกณฑ์คงค้างหรือเกณฑ์พึง รับ-พึงจ่าย เพื่อใช้ในการควบคุมและรายงานการเงินตามภารกิจขององค์กร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงได้ปรับเปลี่ยน ระบบบัญชี จากระบบบัญชีคู่มาเป็นระบบบัญชี ลักษณะ 3 มิติ ระบบบัญชีดังกล่าวเป็นระบบปฏิบัติการที่มีการ เชื่อมโยงข้อมูลตั้งแต่ระบบงบประมาณ พัสดุ การเงินและบัญชีกองทุ นของทุกหน่วยงานย่อยภายในมหาวิทยาลัยไป ไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน ทาให้มหาวิทยาลัยสามารถนาข้อมูลทางการเงินของทุกหน่วยงานจากระบบไปใช้ในการ บริหารจัดการงานได้ทันที แต่เนื่องจากระบบบัญชี ลักษณะ 3 มิติ ที่มหาวิทยาลัยนามาใช้นั้น ยังไม่ สามารถให้ รายละเอียดการใช้จ่ายเงิน งบประมาณของหน่วยงานย่อยภายในมหาวิทยาลัยได้ ทาให้หน่วยงานย่อยต่างๆ ไม่ สามารถใช้ระบบของมหาวิทยาลัยในการบันทึกรายละเอียดการใช้จ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงานได้ครบทุกระบบ ส่งผลให้หน่วยงานย่อยขาดรายละเอียดในการติดตามและตรวจสอบข้อมูลคู่ขนานไปกับมหาวิทยาลัย ดังนั้น เพื่อให้ ข้อมูลทางการเงินของหน่วยงานที่เข้าไปอยู่ในระบบฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัยอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และสามารถ นามาใช้ในการบริหารจัดการงานของหน่วยงานได้อย่างถูกต้องแม่นยานั้น สานักหอสมุดจึงนาระบบฐานข้อมูลงาน งบประมาณและการเงิน (e-Budget) มาใช้เพื่อจัดเก็บและติดตามข้อมูลทางด้านการเงินของสานักหอสมุด โดยนา ฐานข้อมูลด้านการบริหารจัดการงบประมาณและการเงินที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นระบบฐานข้อมูลที่ดีและหน่วยงาน ที่พัฒนาระบบฐานข้อมูลมีระบบการบริหารจัดการด้านงานงบประมาณและการเงินที่คล้ายกับสานักหอสมุด มา พัฒนาและปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับระบบการดาเนินงานของสานักหอสมุด ในการนี้ สานักหอสมุดได้ขอความ อนุ เ คราะห์ ร ะบบฐานข้ อ มู ล งานงบประมาณและการเงิ น ของคณะมนุ ษ ยศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ซึ่ ง สานักหอสมุดได้ทราบว่าเป็นระบบฐานข้อมูลที่ได้รับการยอมรับและชื่นชมด้วยวาจาจากคณะกรรมการตรวจสอบ และประเมินระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายนอก (สมศ.) เมื่อครั้งตรวจประเมินระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2553 การศึกษาในครั้งนี้ จะทาให้ได้เครื่องมือในการบริหาร จัดการงานทางด้านการเงินของสานักหอสมุด ทีป่ รับเปลี่ยนระบบการทางานด้านงบประมาณและการเงินจากระบบ มือมาเป็นระบบฐานข้อมูล อันจะส่งผลทาให้สานักหอสมุดสามารถเชื่อมโยงข้อมูลงานงบประมาณ การขอใช้เงิน งบประมาณ และการเบิกจ่ายเงินไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน ข้อมูลงบประมาณและการเงิน มีความถูกต้อง แม่นยา ครบถ้วน และทันเวลาต่อการนาไปใช้ในการบริหารและการตัดสินใจ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดขบวนการปฏิบัติงาน และจะสามารถเห็นความเคลื่อนไหวการปฏิบัติงานงบประมาณและการเงินได้ทุกระบบ ประหยัดงบประมาณในการ จั ด ซื้ อ กระดาษ หมึ ก พิ ม พ์ และประหยั ด เวลาในการปฏิ บั ติ ง าน และส านั ก หอสมุ ด ได้ ส นั บ สนุ น การพั ฒ นา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ให้เป็น e-University วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงินของสานักหอสมุด สาหรับจัดเก็บและติดตามข้อมูล ทางด้านการเงิน ก่อนบันทึกรายการเบิกจ่ายเงินงบประมาณลงในระบบ 3 มิติ ของมหาวิทยาลัย ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน 1. จัดประชุมหารือระหว่างผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องของสานักหอสมุด เพื่อหามติร่วมกันในการนาระบบ ฐานข้อมูลมาใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการงานงบประมาณและการเงินของสานักหอสมุด 2. แสวงหาหน่วยงานที่มีระบบบริหารจัดการด้านงานงบประมาณและการเงินที่คล้ ายกับสานักหอสมุด และพบว่าคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีระบบบริหารจัดการด้านงานงบประมาณและการเงินที่คล้าย
35
กับสานักหอสมุด และนักพัฒนาระบบที่พัฒนาระบบฐานข้อมูลเป็นบุคลากรของสานักหอสมุด จึงได้เลือกระบบ ฐานข้อมูลของคณะมนุษยศาสตร์ และได้ขอความอนุเคราะห์ระบบฐานข้อมูลดัง กล่าวมาพัฒนาและปรับเปลี่ยนให้ สอดคล้องกับงานงบประมาณและการเงินของสานักหอสมุด 3. ขออนุญาตเข้าศึกษาระบบและการใช้ระบบฐานข้อมูลของคณะมนุษยศาสตร์ 4. จัดให้มีการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านงานงบประมาณและการเงินและระบบ ฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงิ นของคณะมนุษยศาสตร์ โดย หัวหน้างานและบุคลากรงานนโยบายและแผน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งเป็นผู้พัฒนาระบบฐานข้อมูลดังกล่าว 5. จัดให้มีการประชุมร่วมกันระหว่างบุคลากรที่เกี่ยวข้องของทั้งสองหน่วยงาน เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลของ สานักหอสมุดร่วมกัน 6. บุคลากรที่เกี่ยวข้องของทั้งสองหน่วยงานร่วมกันจัดทาขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน เพื่อพัฒนา ฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงินของสานักหอสมุด ดังนี้ 6.1 ศึกษาและทาความเข้าใจระบบฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 6.2 ศึกษาและทาความเข้าใจการดาเนินงานด้วยระบบฐานข้อมูลของคณะมนุษยศาสตร์ 6.3 ศึกษาและทบทวนขั้นตอนและวิธีการดาเนินงานงบประมาณและการเงินตามระบบเดิมของ สานักหอสมุด 6.4 ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงระบบการดาเนิน งานระบบเดิมให้เป็นระบบฐานข้อมูล โดยไม่ให้ กระทบกับการปฏิบัติงานประจาที่มีอยู่เดิม 6.5 ประเมินการใช้ระบบ โดยทีมงานคือ งานนโยบายและแผน งานการเงิน การคลังและพัสดุของ สานักหอสมุด เพื่อนาผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาฐานข้อมูล 6.6 กาหนดให้การดาเนินงานในระยะแรก เป็นการดาเนินงานตามระบบเดิมควบคู่ไปกับระบบใหม่ 6.7 นาระบบฐานข้อมูลมาใช้ดาเนินงานแทนระบบเดิมทั้งหมด เมื่อการพัฒนาฐานข้อมูล ประสบ ความสาเร็จ 6.8 พัฒนาต่อยอดระบบฐานข้อมูลทางการเงินให้สามารถเชื่อมต่อกับระบบฐานข้อมูลงบประมาณอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป ผลการศึกษา 1. ระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงิน เป็นระบบจัดเตรียมข้อมูลทางการเงินอย่างละเอียด ครบถ้วน และชัดเจน ในลักษณะที่ฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัยไม่สามารถให้ได้ นั่นคือ ระบบฐานข้อมูลดังกล่าวได้ถูกสร้าง ให้ มี ขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านอย่ า งละเอี ย ดครบถ้ ว น ตั้ ง แต่ ร ะบบการจั ด สรรงบประมาณ ระบบการขอใช้ เ งิ น งบประมาณ ระบบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ระบบการติดตาม ค้นหาข้อมูล และการรายงานข้อมูลและจัดทา ทะเบียนคุมข้อมูล ทาให้สามารถติดตามการเคลื่อนไหวของเงินงบประมาณในทุกระบบอย่างครบถ้วน สามารถนาข้อมูล เงิ น งบประมาณและการเงิ น จากระบบไปใช้ ใ นการบริ หารจั ด การและตั ด สิ น ใจได้ ทั น ที และไปสอบยั น กั บ เงิ น งบประมาณในระบบฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ ระบบการดาเนินงานของฐานข้อมูลงานงบประมาณ และการเงิน ประกอบด้วย
36
1.1 ระบบการจัดสรรงบประมาณ รับผิดชอบการปฏิบัติการ โดยงานนโยบายและแผน แบ่งระบบ การจัดสรรงบประมาณออกเป็น 4 ระดับ ดังนี้ ระดับปฏิบัติการ วัตถุประสงค์ ระดั บ ที่ 1 การจั ด สรรเงิ น งบประมาณตามกองทุ น ใช้ควบคุมเงินงบประมาณคู่ขนานไปกับฐานข้อมูลของ แผนงาน งาน หมวดรายจ่าย มหาวิทยาลัย ระดั บ ที่ 2 การจั ด สรรเงิ น งบประมาณตามประเภท ใช้ควบคุมประเภทรายจ่ายประจาปีของสานักหอสมุด รายจ่ายประจาปีของสานักหอสมุด ระดับที่ 3 การจัดสรรเงินงบประมาณประจาหน่วยงาน ใช้ควบคุมรายจ่ายประจาหน่วยงานที่ได้รับการจัดสรร ย่อยของสานักหอสมุด เงินงบประมาณจากสานักหอสมุด ระดับที่ 4 การจัดสรรเงินงบประมาณให้ผู้รับผิดชอบ ใช้ควบคุมผู้รับผิดชอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณของ ระบบประจาหน่วยงาน สานักหอสมุด 1.2 ระบบการขอใช้เงินงบประมาณ รับผิดชอบการปฏิบัติการ โดย หน่วยงานย่อยที่ได้รับการ จัดสรรเงินงบประมาณ 1.3 ระบบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประกอบด้วยระบบย่อย (1) ระบบการตัดยอดงบประมาณ ตามระเบียนพัสดุ รับผิดชอบการปฏิบัติการ โดย หน่วยพัสดุ (2) ระบบการตัดยอดงบประมาณที่ไม่เกี่ยวกับระเบียน รับ ผิด ชอบการปฏิ บัติ การ โดย ผู้รั บ ผิด ชอบการตั้ ง หนี้ (3) ระบบการควบคุ มการเบิก จ่า ยเงิ นงบประมาณของ สานักหอสมุด รับผิดชอบการปฏิบัติการ โดย ผู้รับผิดชอบตั้งหนี้ 1.4 ระบบการติ ด ตาม ค้ น หาข้ อ มู ล และการรายงานข้ อ มู ล และจั ด ท าทะเบี ย นคุ ม ข้ อ มู ล รับผิดชอบการปฏิบัติการ โดย ผู้ปฏิบัติการทุกระบบ 2. ผลสาเร็จของการปรับเปลี่ยนขั้นตอนและวิธีการใช้จ่ายงบประมาณจากระบบเดิมให้เป็นระบบ ฐานข้อมูลของสานักหอสมุด เปรียบเทียบให้เห็นได้ตามตาราง ดังนี้ ระบบเดิม ระบบฐานข้อมูล ระบบการจัดสรรเงินงบประมาณ งานนโยบายและ ระบบการจั ด สรรเงิ น งบประมาณ งานนโยบายและ แผนจัดสรรงบประมาณด้วยระบบเอกสารส่งให้ แผนจัดสรรงบประมาณตามโครงสร้างของมหาวิทยาลัย หน่วยงานขอใช้งบประมาณ ด้วยระบบฐานข้อมูลส่งให้หน่วยงานขอใช้งบประมาณ ระบบการขอใช้เงินงบประมาณ หน่วยงานย่อย ระบบการขอใช้ เ งิ น งบประมาณ หน่ ว ยงานย่ อ ย ภายในสานักฯ ส่งคาขอใช้งบประมาณด้วยระบบ ภายในส านั ก ฯ ส่ ง ค าขอใช้ ง บประมาณผ่ า นทางระบบ เอกสารให้งานการเงินฯ เป็นผู้เบิกจ่ายเงินงบประมาณ ฐานข้อมูลและระบบเอกสารให้งานการเงินฯเป็นผู้เบิก จ่ายเงินงบประมาณ ระบบการควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณ งาน ระบบการควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณ งาน การเงินฯ ควบคุมเงินงบประมาณในทะเบียนคุมเงิน การเงิ น ฯ ควบคุ ม เงิ น งบประมาณประจ าปี ด้ ว ยระบบ งบประมาณประจาปี ฐานข้อมูล ระบบรายงานการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ งาน ระบบรายงานการเบิ ก จ่ า ยเงิ น งบประมาณ งาน การเงินฯ รายงานการใช้จ่ายเงินงบประมาณ การเงิ น ฯ ควบคุ ม รายการเบิ ก จ่ า ยเงิ น งบประมาณ ด้วยทะเบียนคุมฎีกา ด้วยระบบฐานข้อมูล ระบบรายงานเงินงบประมาณ งานนโยบายและ ระบบรายงานเงินงบประมาณ งานนโยบายและแผน
37
ระบบเดิม แผน รายงานงบประมาณประจาปีด้วยระบบเอกสาร
ระบบฐานข้อมูล รายงานงบประมาณประจาปีด้วยระบบฐานข้อมูล
3. สานักหอสมุด สามารถนาระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงินมาทดแทนการดาเนินงาน ด้ ว ยระบบมื อ ได้ ทุ ก ระบบ และให้ ข้ อ มู ล ได้ อ ย่ า งละเอี ย ด ถู ก ต้ อ ง ควบถ้ ว น ชั ด เจน สามารถประมวลผลการ ดาเนินงานได้รวดเร็วกว่าระบบเดิม 4. งานนโยบายและแผน และงานการเงิน การคลังและพัสดุ สามารถควบคุมงานงบประมาณและการเงิน ได้อย่างแม่นยาและรวดเร็ว กล่าวคือ โปรแกรมสามารถคานวณ บันทึกรายการ และประมวลผลการดาเนินงานได้อย่างมี หลักฐานเชิงประจักษ์ 5. สานักหอสมุดดาเนินงานได้ตามแผนที่ตั้งไว้ คือ นาระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงินมาใช้ อย่างเต็มรูปแบบร่วมกัน ในปี 2556 และสามารถขยายไปยังฝ่าย/งาน/หน่วย เพื่อให้ฝ่าย/งาน/หน่วยทาหน้าที่ขอใช้ เงินงบประมาณ ในปีงบประมาณ 2557 โดยได้มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การควบคุมเงิน งบประมาณของ สานักหอสมุด ด้วยระบบฐานข้อมูล e-Budget ให้แก่หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน และบุคลากรที่รับผิด ชอบโครงการ เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2556 อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ อภิปรายผล การนาระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงินมาใช้แทนระบบมือทั้งหมดเป็นไปอย่างราบรื่นและมี ประสิทธิภาพ สามารถใช้ฐานข้อมูลอย่างเต็มรูปแบบตามแผนที่ตั้งไว้ เนื่องด้วยได้ศึกษาระบบการทางานด้วยระบบ มือ อย่างถี่ถ้ว นและครบถ้ว นทุกขั้นตอน มีก ารจั ดบรรยายให้ความรู้ค วามเข้ าใจในการปฏิบัติ งานและชี้ให้เห็น ประโยชน์ที่ได้รับแก่ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
38
ข้อเสนอแนะ ควรศึ ก ษาและพั ฒ นาฐานข้ อ มู ล อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพราะระบบฐานข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วจะสามารถเชื่ อ มต่ อ ระบบงานงบประมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการและตัดสินใจต่อสานักหอสมุดได้อีก มาก การนาไปใช้ประโยชน์ 1. ประโยชน์ที่เกิดกับสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1.1 ระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงิน เป็นระบบที่เชื่อมโยงข้อมูลงานงบประมาณ การขอใช้ เงินงบประมาณ และการเบิกจ่ายเงินไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน ส่งผลให้ได้รับข้อมูลงบประมาณและการเงินที่ถูกต้อง แม่นยา ครบถ้วน และทันเวลาต่อการนาไปใช้ในการบริหารและการตัดสินใจ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดขบวนการ ปฏิบัติงาน และสามารถเห็นความเคลื่อนไหวการปฏิบัติงานงบประมาณและการเงินได้ทุกระบบ 1.2 การปรับระบบงานงบประมาณและการเงินจากระบบเอกสารมาเป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่ระบบ การจัดสรรงบประมาณ ระบบการขอใช้เงินงบประมาณ ระบบการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ระบบการติดตาม ค้นหาข้อมูล และการรายงานข้อมูลและจัดทาทะเบียนคุมข้อมูล ทาให้ประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อกระดาษ หมึกพิมพ์ และ ประหยัดเวลาในการปฏิบัติงาน 1.3 ลดเวลาในการติดต่อสอบถามข้อมูลงบประมาณและการเงิน โดยผู้บริหารและบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน สามารถตรวจสอบข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลด้วยตนเอง 1.4 สามารถนาระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงินไปพัฒนาต่อยอดให้เชื่อมโยงเข้ากับระบบ ฐานข้อมูลงบประมาณอื่นที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ฐานข้อมูลคาของบประมาณการจัดทาโครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจาปี (e-Project) ฐานข้อมูลคาของบบุคลากร และฐานข้อมูลคาของบลงทุน 1.5 บุคลากรมีความรู้และความเข้าใจระบบงานงบประมาณและการเงินของสานักหอสมุดมากขึ้น 2. ประโยชน์ที่เกิดกับหน่วยงานอื่น หากมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ยั ง ไม่ ไ ด้ พั ฒ นาระบบฐานข้ อ มู ล ของมหาวิ ท ยาลั ย ให้ ส ามารถรองรั บ การ ดาเนินงานของหน่วยงานย่อยภายในมหาวิทยาลัยได้ ระบบดังกล่าวยังจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานต่างๆ ที่มี ลักษณะงานที่คล้ายกันได้เป็นอย่างดี แต่อย่างไรก็ตาม หากมหาวิทยาลัยทาการพัฒนาระบบฐานข้อมูลให้สามารถ เก็บรายละเอียดการใช้จ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงานได้ก็จะลดภาระการดาเนินงานของหน่วยงานย่อยลงไปได้
39
แผนภูมิแสดงระบบฐานข้อมูลงานงบประมาณและการเงินสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (e-Budget)
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีให้สานักหอสมุด
สานักหอสมุด จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาหน่วยงานย่อยภายในสานักหอสมุด
งานนโยบายและแผน จัดสรรงบประมาณประจาหน่วยงานลงในฐานข้อมูล
หน่วยงานย่อยที่ได้รับ
หน่วยงานย่อยที่ได้รับ
e-Budget
จัดสรรเงินงบประมาณ
จัดสรรเงินงบประมาณ
หน่วยงานย่อยที่ได้รับ
หน่วยงานย่อยที่ได้รับ
จัดสรรเงินงบประมาณ
จัดสรรเงินงบประมาณ
งานการเงินฯ ระบบการจัดซื้อ-จัดจ้าง
งานการเงินฯ ระบบควบคุมเงินงบประมาณ
ระบบการเบิกจ่ายในระบบ 3 มิติ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
40
เทคโนโลยี NFC และ QR Code ในสมาร์ทโปสเตอร์แนะนาห้องสมุด Near Field Communication (NFC) and QR Code Technology for Libraries Using Smart Poster กมลมาลย์ เสวตวงษ์ * กิ ต ติ นั น ท์ นาภา วนิ ด า แก่ น อากาศ วลั ย ลั ก ขณ์ แสงวรรณกู ล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น e-mail: jeepatamiw@gmail.com*
บทคัดย่อ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือ การประยุกต์ เทคโนโลยีสนามสื่อสารระยะใกล้ (Near Field Communication : NFC) และการพิมพ์รหัสคิวอาร์ (Quick Response Code : QR Code) ในการจัดทาสมาร์ทโปสเตอร์สาหรับแนะนาข้อมูลด้านบริการ ทรัพยากรห้องสมุด จุดบริการต่าง ๆ และเวลาบริการของห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยพัฒนาแอพพลิเคชั่น บนอุปกรณ์สมาร์ทโฟนที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเอ็นเอฟซี ข้อมูลของห้องสมุดที่ต้องการแสดงให้ผู้ใช้ได้ ทราบจะถูกทาให้เป็นลิ้งค์ (Link) และบรรจุลงในเอ็นเอฟซีแท็กก่อนที่จะผนึกแท็กนั้นลงบนแผ่น โปสเตอร์ และเมื่อผู้ใช้บริการต้องการทราบข้อมูลที่ต้องการก็สามารถนาสมาร์ทโฟนที่ได้รับการติดตั้ง ซอฟท์แวร์ที่สามารถอ่านและแปลงข้อมูลที่เก็บไว้ในเอ็นเอฟซีแท็ก (NFC Tag Reader) มาวางใกล้ ๆ กับบริเวณที่ได้ผนึกเอ็นเอฟซีแท็กไว้ (Touch Point Indicator) รายละเอียดก็จะปรากฏบนหน้าจอ ของโทรศั พท์ซึ่งผู้ใช้ จะได้รับทราบรายละเอียดของข้อมูลโดยทันที และเพื่อให้สมาร์ทโปสเตอร์ สามารถรองรับสมาร์ทโฟนได้ทุกระบบ จึงมีการพิมพ์รหัสคิวอาร์ (QR Code) ลงบนแผ่นโปสเตอร์ ควบคู่กับเอ็นเอฟซีแท็ก ซึ่งผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมเพื่อสแกนอ่านข้อมูลได้เช่นเดียวกับ ระบบเอ็นเอฟซี คาสาคัญ: สมาร์ทโปสเตอร์, รหัสคิวอาร์, เทคโนโลยี เอ็นเอฟซี ABSTRACT The purpose of this study is to apply the NFC technology and QR Code for use in preparing the smart poster for the introduction of service locations, time service and other library resources in the Engineering Library, Khon Kaen University by developing applications on the smart phone device using NFC technology. The information of services in the library is linked and stored in NFC tags prior to the attaching of the tag on the poster. When users want to know the information, the smart phone with installed software which can read and convert the information
41
stored in NFC tags, is placed near the NFC tags and the details will appear on the phone screen, which users can get detailed information immediately. And to have the smart poster to support the smart phone in all system, the QR codes are labeled in the poster along with NFC tag. Thus, user can download the program to read the data in a similar fashion to the NFC system. Keywords: Smart Poster, QR Code, NFC Technology บทนา สนามสื่อสารระยะใกล้ (Near Field Communication (NFC)) คือเทคโนโลยีที่มีกระบวนการสื่อสาร ผ่านคลื่นวิทยุระยะสั้น ได้ถูกพัฒนาขึ้นเมื่อปลายปี ค.ศ. 2002 โดยบริษัทฟิลลิปส์และบริษัทโซนี่ [3] และต่อมาในปี ค.ศ. 2004 บริษัทโนเกีย บริษัทโซนี่ และบริษัทฟิลลิปส์ ก็ได้ร่วมกันกาหนดมาตรฐานของเทคโนโลยี NFC ที่ใช้กัน อยู่ในปัจจุบันนี้ [6] เทคโนโลยี NFC ที่ถูกพัฒนาเพื่อช่วยให้การสื่อสารระหว่างอุปกรณ์เป็นเรื่องง่าย เพียงแค่นา อุปกรณ์มือถือเช่นโทรศัพท์ไปใกล้กับเครื่องอ่านหรือแถบป้ายข้อมูลแสดงตัวตนด้วยคลื่นวิทยุ (Radio Frequency Identification (RFID) tag) ก็สามารถส่งข้อมูลระหว่างกันได้เลยโดยไม่จาเป็นต้องมีการตั้งค่าใดๆ ก่อนการใช้งาน และไม่จาเป็นต้องมีเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เนื่องจากแถบป้ายข้อมูล NFC (NFC tag) จะมีอุปกรณ์อ่านและสามารถ แปลงข้อมูลที่เก็บไว้ในรูปแบบข้อมูลที่แลกเปลี่ยนได้ (NFC Data Exchange Format-NDEF) จากความสะดวกสบายในการใช้งานดังกล่าวจึงทาให้บริษัทผู้ผลิตมือถือสมาร์ทโฟน (Smart Phone)ได้นา เทคโนโลยี NFC ไปบรรจุไว้ใน Smart Phone รุ่นมาตรฐานสูงสุดเพื่ออานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการสื่อสาร ระหว่างอุปกรณ์ด้วยกัน [2] ในปัจจุบันได้มีการประยุกต์เทคโนโลยี NFC ไปใช้งานมากขึ้นโดยเฉพาะงานที่ต้องการ ความรวดเร็ว เช่นระบบการชาระเงินในร้านสะดวกซื้อ ระบบการขายตั๋วของบริษัทการบินต่าง ๆ ซึ่งจะทาให้ง่าย และรวดเร็ว ลดการเข้าคิว นอกจากระบบการชาระเงินแล้วบริษัทห้างร้านต่างๆ ก็ได้มีการนาเทคโนโลยีนี้ไปใช้ใน สื่อโฆษณาสินค้า หรือโปสเตอร์รวมถึงสื่อประกอบในการจัดนิทรรศการต่าง ๆ โดยการผนึก NFC tag ที่บรรจุ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการแจ้งให้ผู้ใช้บริการหรือลูกค้าได้ทราบลงใน NFC tag เมื่อลูกค้าต้องการทราบรายละเอียด สิ น ค้ า เพี ย งแต่ น าโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ มาวางไว้ ใ กล้ ๆ รายละเอี ย ดของข้ อ มู ล ที่ ต้ อ งการจะปรากฏบนหน้ าจอ โทรศัพท์มือถือทันที ซึ่งสื่อโฆษณาแบบนี้จะเป็นที่สะดุดตาแก่ผู้ที่เดินผ่านไปมาได้เป็นอย่างดี [5] อย่างไรก็ดีเทคโนโลยี NFC ยังมีข้อจากัดเพราะไม่ได้ถูกบรรจุอยู่ใน Smart Phone ทุกรุ่น ดังนั้นการ ออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์จึงมักมีการพิมพ์รหัสคิวอาร์ (Quick Response Code : QR code) ซึ่งเป็นรหัสที่สามารถเก็บ ข้อมูลต่าง ๆ ได้ในปริมาณมากและสามารถอ่านคืนได้อย่างรวดเร็ว [1] ควบคู่ไปกับการมี NFC tag เพื่ออานวย ความสะดวกให้กับผู้ใช้ Smart Phone ในทุกระบบเพียงแต่ผู้ใช้บริการดาวน์โหลดโปรแกรมไว้ใน Smart Phone ก็ สามารถนามาสแกนอ่านข้อมูลได้เช่นเดียวกัน [4]
42
วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อประยุกต์เทคโนโลยีสนามสื่อสารระยะใกล้ (Near Field Communication : NFC) และการพิมพ์รหัส คิวอาร์ (Quick Response Code : QR Code) ในการจัดทาสมาร์ทโปสเตอร์สาหรับแนะนาห้องสมุดคณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขั้นตอนและวิธีดาเนินการ 1. รวบรวมความต้องการของผู้ใช้เกี่ยวกับข้อมูลการบริการห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์ และศึกษา ข้อมูลวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี NFC และ Smart Poster 2. ออกแบบระบบจากข้อมูลที่ได้ในขั้นตอนที่ 1 และวางแผนขั้นตอนงานเพื่อการพัฒนา 3. พัฒนาแผนที่ จากข้อมูลพิกัดตาแหน่งมุมบริการต่าง ๆ และข้อมูลการให้บริการที่มีในห้องสมุด 4. จัดเก็บข้อมูลที่ได้ในขั้นตอนที่ 1 และ 2 ของห้องสมุดลงใน NFC tag 5. ออกแบบและพิมพ์โปสเตอร์พร้อมพิมพ์ส่วนที่เป็น QR code 6. ผนึก NFC tag ที่บรรจุข้อมูลเรียบร้อยแล้วลงในจุดสัมผัส (Touch Point Indicator) 7. นาโปสเตอร์จัดแสดง และทดลองใช้ พร้อมทั้งบันทึกข้อมูลป้อนกลับการใช้งาน เพื่อนาไปพัฒนา ปรับปรุงให้เหมาะสมกับการใช้งานจริง 8. นาผลข้อมูลป้อนจากผู้ใช้กลับมาปรับปรุงระบบ และเผยแพร่การใช้งานระบบให้กับผู้ใช้และผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ 1. โปรแกรม QR code generator 2. โปรแกรม NFC tag writer 3. โปรแกรม Google map maker 4. NFC tag ระยะเวลาดาเนินการวิจัย 9 เดือน (มิถุนายน 2556-กุมภาพันธ์ 2557 )
43
ภาพที่ 1 แสดงระยะเวลาดาเนินการวิจัยในช่วงเวลา 9 เดือน ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ รายละเอียดข้อมูลพื้นฐานของห้องสมุดที่ต้องการแสดงให้ผู้ใช้บริการได้ทราบ ประกอบด้วย 4 หัวข้อหลัก คือ ทรัพยากรห้องสมุดที่มีให้บริการ (Library Resources) บริการของห้องสมุด (Library Services) แผนผังและ มุมบริการต่าง ๆ (Library Map) และเวลาเปิด-ปิด การให้บริการของห้องสมุด (Library Time) ดังปรากฎในภาพที่ 2 และเมื่อนา Smart Phone ที่มีเทคโนโลยี NFC ฝังตัวอยู่มาวางใกล้ ๆ จุดสัมผัสที่กาหนด ก็สามารถอ่าน รายละเอียดแสดงบนหน้าจอโทรศัพท์ตามที่ห้องสมุดต้องการ สาหรับ Smart Phone ที่ไม่มีเทคโนโลยี NFC ก็ สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมเพื่อใช้สแกน QR code ก็จะสามารถอ่านรายละเอียดได้เช่นเดียวกัน สาหรับการ ทดลองในครั้งนี้เป็นการทดลองที่ใช้ห้องสมุดคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นต้นแบบ หากจะ นาไปใช้กับหน่วยงานอื่น ๆ ก็จะมีรายละเอียดที่แตกต่างกันซึ่งทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับความต้องการของแต่ละหน่วยงานว่า ต้องการที่จะสื่อสารอะไรบ้างกับลูกค้าหรือผู้ใช้บริการ ทั้งนี้การออกแบบโปสเตอร์ก็ไม่ได้มีข้อจากัดในกฎเกณฑ์ หรือ รูปแบบทั้งในเรื่องขนาด วัสดุ ซึ่งสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม อุปกรณ์ที่สาคัญอื่น ๆ ก็คือ NFC tag ที่ ภายในต้องบรรจุข้อมูล NDEF ภาพที่แสดงจุดสัมผัส (รายละเอียดปรากฏในภาพที่ 2) และโปรแกรมที่สามารถ แปลงข้อมูลเพื่อให้อ่านได้จาก Smart Phone
44
ภาพที่ 2 สมาร์ทโปสเตอร์ของห้องสมุดวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การนาไปใช้ประโยชน์ รายละเอียดที่อ่านได้จากโปสเตอร์จะทาให้ผู้ใช้บริการได้รับข้อมูลที่รวดเร็ว และสามารถนาข้อมูลที่บันทึก ไว้ใน Smart Phone มาใช้ได้ในภายหลัง เพิ่มความสะดวกสบายให้กับผู้รับบริการในการได้รับข้อมูลการให้บริการได้ ด้วยตนเอง และเป็นการลดขั้นตอนในการให้ได้มาซึ่งข้อมูลการบริการ นอกจากนี้แล้วในด้านการบริหารจัดการ ห้องสมุด การนาเอาเทคโนโลยี NFC และ QR code มาประยุกต์ใช้จะเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ ของห้องสมุด ลดขั้นตอนในการทางาน เพิ่มความสะดวกให้กับผู้รับบริการที่ไม่ต้องบันทึกข้อมูลต่าง ๆ ด้วยตนเอง และเพิ่มศักยภาพในการให้บริการได้กว้างขวางกับลูกค้าทั้งในเชิงปริมาณ และพื้นที่ เหมาะสาหรับพื้นที่การบริการที่ มีขนาดใหญ่ มีข้อมูลจานวนมากที่ต้องการประชาสัมพันธ์ให้ผู้รับบริการได้ทราบ และมีจานวนผู้ใช้บริการจานวน มาก
45
งานวิจัยนี้ได้ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี NFC และ QR code มาใช้ในการการประชาสัมพันธ์การให้บริการ ห้องสมุดโดยใช้สมาร์ทโปสเตอร์จะช่วยประหยัดพื้นที่ของการโฆษณา ให้ข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยากว่า ง่ายต่อการใช้ และเหมาะกับยุคสมัยที่ Smart Phone กลายเป็นปัจจัยสาคัญของคนยุคใหม่ รายการอ้างอิง ดวงกมล นาคะวัจนะ. (2554). QR Code คืออะไร [ฉบับอิเล็กทรอนิกส์]. วารสารประกาย. 8 (85), 36 นัฐฬส สุภาจารธรรมคุณ. (ม.ป.ป.). NFC (Near Field Communication) [ออนไลน์] ค้นเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2556. จาก http://www.kmitl.ac.th/~ktnarin/17.pdf Coskun, Vedat, Busra Ozdenizci and Kerem Ok. (2013). A Survey on Near Field Communication (NFC) Technology [Electronic version]. Wireless Pers Commun. 71, 2259-2294.[4] Enlighten. (2013). NFC & QR: Working in Partnership. [online]. Retrieved November,08 2013. From http://www.smartposter.co.uk/what-is-nfc/nfc-in-smart-posters NFC Forum, Inc. (2011). Smart Posters : How to use NFC Tags and readers to create interactive experiences that benefit both consumers and businesses [Electronic version]. Wakefield, MA. : NFC Forum, Inc. Piyapong (Iszmor) Pongteekayu. (2012). Near Field Communication คืออะไรและทางานอย่างไร? [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2556. จาก http://howstuffworksinthai. wordpress.com /2012/02/27/near-field-communication/
46
“จินดามณี” ระบบห้องสมุดเพื่อการพี่งพาตนเองทางเทคโนโลยี “Jindamanee” open source integrated library system ถิ ร นั น ท์ ดารงค์ ส อน* อภิ ย ศ เหรี ย ญวิ พั ฒ น์ ดลนภา แว่ ว ศรี สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ libtnd@ku.ac.th *
บทคัดย่อ “ระบบจินดามณี” เป็นระบบห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัสของไทย ที่พัฒนาต่อยอดมาจาก ระบบ Koha ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ห้องสมุดอัตโนมัติแบบเปิดเผยรหัสระบบแรกของโลก และได้รับการ พัฒนาให้สามารถใช้งานกับภาษาไทย เพื่อใช้เป็นระบบห้องสมุดเปิดเผยรหัสต้นแบบสาหรับห้องสมุด ในประเทศไทย จุดเด่นที่น่าสนใจของ Koha คือมีฟังก์ชั่นการทางานโมดูลต่างๆเทียบเท่ากับระบบ ห้องสมุดอัตโนมัติเชิงพาณิชย์ สามารถปรับแต่งระบบ และพัฒนาฟังก์ชั่นเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับ ความต้องการของแต่ละห้องสมุด ได้ นอกจากนี้ ยังรองรับการทางานของห้องสมุด ตั้งแต่ขนาดเล็ก จนถึงขนาดใหญ่ Koha จึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมสาหรับห้องสมุดที่ต้องการประหยัดงบประมาณใน การจัดซื้อระบบและต้องการพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยี สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ ศึกษาและพัฒนาระบบห้องสมุดจินดามณีขึ้น โดยทดลองใช้บริหารจัดการและให้บริการทรัพยากรใน ห้องสมุดศูนย์ความรู้ด้านการเกษตร ตั้งแต่ปี 2549 และติดตั้งระบบในห้องสมุด Eco library ในปี 2553 และได้รับการพัฒนาต่อยอดเพื่อใช้เป็นระบบสารองหรือทดแทนระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ได้ ในอนาคต ABSTRACT "Jindamanee" is a Thai open-source library system developed from Koha, which is the world's first open-source integrated library system (ILS). It has been developed to be compatible with Thai language in order to be the prototype for Thailand's open-source library system. Koha's main attractive features are the full featured integrated library system having all modules equivalent to the commercial integrated library system, the system customizable feature to meet each library's requirements, and the capacity to serve all libraries regardless of size. Therefore, Koha is the most appropriate choice for the libraries aiming to save their budgets. Kasetsart University Library has studied and developed the Jindamanee system for managing resources and providing services in the Agriculture Knowledge Centre Library since 2006 and later in 2010 has installed the system for the Eco-Library.
47
Furthermore, the Jindamanee System has been developed to be used as a backup or replacement system for the commercial integrated library system in the future. คาสาคัญ: ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ, ระบบห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัส, ระบบจินดามณี, Koha, integrated library system บทนา ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เป็นระบบบริหารจัดการทรัพยากรห้องสมุดที่มีความจาเป็นสาหรับการปฏิบัติงาน และการให้บริการของห้องสมุดทุกแห่ง ตั้งแต่ห้องสมุดขนาดเล็กไปจนถึงห้องสมุดขนาดใหญ่ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ที่มีการใช้งานในปัจจุบัน ส่วนใหญ่เป็นซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์จากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาค่าลิขสิทธิ์และค่าบารุงรักษา ค่ อ นข้ า งสู ง ท าให้ ห้ อ งสมุ ด จะต้ อ งรั บ ภาระในการจั ด หางบประมาณเพื่ อ จั ด ซื้ อ ระบบ และงบประมาณในการ บ ารุ ง รั ก ษาระบบอย่ า งต่ อ เนื่ อ งทุ ก ปี เพื่ อ ให้ ส ามารถจั ด การทรั พ ยากรในห้ อ งสมุ ด และให้ บ ริ ก ารได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ปัจ จุบั นได้ มีการศึ กษาและพัฒนาระบบห้องสมุ ด แบบเปิ ดเผยรหัส ขึ้น อย่า งกว้ างขวาง ส่ว นใหญ่เ ป็ น ซอฟท์แวร์จากต่างประเทศที่มีประสิทธิภาพสูงและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากกลุ่มนักพัฒนาซอฟท์แวร์ ร่วมกับ บรรณารักษ์ และผู้ ใ ช้ง านระบบ จึ ง ทาให้ใ นปั จ จุบั น ซอฟต์ แ วร์ ร ะบบห้อ งสมุ ด แบบเปิด เผยรหัส มีป ระสิ ท ธิภ าพ เทียบเท่ากับซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ที่คิดค่าลิขสิทธิ์ราคาแพง อีกทั้งยังมีการพัฒนาฟังก์ชันการทางานใหม่ๆเพื่อ ตอบสนองความต้องการของบรรณารักษ์และผู้ใช้บริการอย่างต่อเนื่อง และที่สาคัญไม่มีค่าลิขสิทธิ์ในการติดตั้งเพื่อใช้ งาน สามารถปรับแก้ได้ตามความต้องการของห้องสมุดที่นาไปใช้ ดังนั้นระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบเปิดเผยรหัสจึง เป็นทางเลือกที่น่าสนใจสาหรับห้องสมุดที่ยังไม่มีระบบห้องสมุดและมีงบประมาณไม่เพียงพอ รวมถึงห้องสมุดที่ใช้ ระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ราคาแพงอยู่ในปัจจุบัน และต้องการลดงบประมาณในการบารุงรักษาระบบ เพื่อนาไป พัฒนาทรัพยากรห้องสมุดให้สมบูรณ์มากขึ้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระบบห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัสกับระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ 2. เพื่อทดสอบระบบห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัส และทดลองใช้บริหารจัดการทรัพยากรในห้องสมุด สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ 1. ประชุมคณะทางาน ระดมความคิดเห็น และวางแผนการดาเนินงาน 2. ติดตั้งระบบและกาหนดค่าพื้นฐานของระบบ 3. ศึกษาและทดสอบระบบโดยรวม และระบบงานพื้นฐาน ได้แก่ OPAC, Circulation, Patrons, Cataloging และ Administration
48
4. ทดสอบถ่ายโอนข้อมูลจากระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ และนาเข้าระบบ Koha 5. ศึกษาและทดสอบระบบเพิม่ เติม ได้แก่ Serials, Acquisition และ Report 6. ติดตั้งและทดสอบ SIP2 เชื่อมต่อสาหรับอุปกรณ์ RFID ได้แก่ ประตูจับสัญญาณ เครื่องยืมอัตโนมัติ และอุปกรณ์ยืมที่เจ้าหน้าที่ 7. จัดทาเอกสารคู่มือการใช้งานระบบ และจัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่และผู้ให้บริการ 8. พัฒนาระบบสารอง ติดตั้งและทดสอบระบบห้องสมุดสารองบน Cloud 9. ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ระบบ และจัดกิจกรรม ประชุม/อบรม/สัมมนา 10. สรุปและประเมินผล ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้เริ่มศึกษาและทดสอบระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบเปิดเผย รหัส Koha เวอร์ชั่น 2 ซึ่งจากการศึกษาพบว่า Koha มีจุดเด่นที่น่าสนใจและมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการนามาใช้ บริหารจัดการทรัพยากรห้องสมุดในสถาบันอุดมศึกษา แต่ยังคงมีข้อจากัดบางประการ (อัศนีย์ ก่อตระกูล, สมโชค เรืองอิทธินันท์ และอารีย์ ธัญกิจจานุกิจ, 2549) สรุปได้ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 สรุปจุดเด่นและข้อจากัดของระบบห้องสมุด Koha จุดเด่น ข้อจากัด 1. ติดตั้งและใช้งานได้โดยไม่เสียค่าลิขสิทธิ์ 1. ขั้นตอนการติดตั้งซับซ้อน 2. ไม่มีข้อจากัดหรือข้อผูกมัดกับบริษัทใดๆ 2. มีความเสถียรน้อยกว่าซอฟท์แวร์ลิขสิทธิ์ 3. สามารถปรับแต่งและพัฒนาเพิ่มเติมได้ตามต้องการ 3. การสนับสนุนทางด้านเทคนิคยังไม่เพียงพอ 4. มีฟังก์ชั่นการทางานโมดูลต่างๆครบถ้วนสมบูรณ์ 4. อาจมีค่าใช้จ่ายด้านการติดตัง้ และพัฒนาระบบเพิ่มเติม 5. รองรับมาตรฐานรายการบรรณานุกรม MARC21 5. ผู้ดูแลระบบต้องมีความเชี่ยวชาญและมีความสามารถ และ UNIMARC ด้านเทคนิค 6. ส่วนประสานกับผู้ใช้แบบ Web-based ใช้งานง่าย 6. พัฒนาด้วยภาษา PERL ซึ่งยากต่อการปรับปรุงแก้ไข 7. สามารถศึกษาหาข้อมูลได้จาก Koha Community จากคุณสมบัติที่เหมาะสมและจุดเด่นของ Koha สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้ศึกษา และพัฒนา Koha เวอร์ชัน 2.2.4 เพิ่มเติมจนสามารถใช้งานกับภาษาไทยได้ ปรับปรุงรูปแบบการแสดงผล ระบบ การสืบค้นข้อมูล และเพิ่มเติมรายการบรรณานุกรมตามมาตรฐานข้อมูลด้านการเกษตร เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ และให้บริการทรัพยากรด้านการเกษตร ในห้องสมุดศูนย์ความรู้ด้านการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยใช้ ชื่อ “ระบบห้องสมุดจินดามณี” เริ่มเปิดให้บริการตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ 2549 (วันเพ็ญ ศรีจันทร์กุล และคณะ, 2553) ปัจจุบันมีระเบียนบรรณานุกรม จานวน 2,996 รายการ ระเบียนรายการตัวเล่ม จานวน 4,874 รายการ ต่อมาในปี พ.ศ 2553 ได้ขยายผลการศึกษาและพัฒนาต่อยอดระบบ Koha เวอร์ชั่น 3 ซึ่งเป็นเวอร์ชั่นใหม่ที่มีการ พัฒนา ปรับปรุงและแก้ไขปัญหาข้อจากัดใน Koha เวอร์ชั่น 2 (Brown, Wolbers, Usiondek, Quigley, &
49
Jaccarino, 2010) เพือ่ ขยายผลการใช้งานในการบริหารจัดการและให้บริการทรัพยากรประเภทหนังสือทั่วไปไม่เน้น วิชาการของห้องสมุด Eco library เริ่มเปิดให้บริการตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ 2554 ปัจจุบันมีระเบียนบรรณานุกรม จานวน 14,423 รายการ ระเบียนรายการตัวเล่ม จานวน 19,052 รายการ
ภาพที่ 1 ระบบจินดามณีห้องสมุดศูนย์ความรู้ดา้ นการเกษตรและ Eco-library จากการใช้งานระบบห้องสมุดจินดามณี โดยทดลองใช้งานโมดูลพื้นฐานของระบบ สรุปข้อดีและข้อจากัด ได้ดังตารางที่ 2 และจากการประเมินผลการใช้งาน พบว่าระบบสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับ ระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ ดังนั้นสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงมีแผนการพัฒนาระบบห้องสมุดจินดา มณีเพิ่มเติม เพื่อเป็นระบบสารองหรือทดแทนระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ต่อไปในอนาคต (ถิรนันท์ ดารงค์สอน, ดล นภา แว่วศรี และอภิยศ เหรียญวิพัฒน์, 2556) ตารางที่ 2 สรุปข้อดีและข้อจากัดของโมดูลต่างๆในระบบห้องสมุดจินดามณี ข้อดี 1. โมดูล Administration - สามารถกาหนดค่าพารามิเตอร์ต่างๆได้ง่าย - บริหารจัดการข้อมูลได้เอง เช่น การตรวจสอบข้อมูล การเข้าใช้ระบบ (log) การจัดทารายงานสถิติ เป็นต้น 2. โมดูล Catalog - รองรับมาตรฐานรายการบรรณานุกรม MARC 21 - สร้าง Framework ได้ตามต้องการ - สามารถสืบค้นข้อมูลผ่าน Z39.5 ได้ - มีรายการ Authority control 3. โมดูล Patron - แสดงรายการข้อมูลของสมาชิกได้อย่างละเอียด - สามารถบริหารจัดการข้อมูลสมาชิกได้ง่าย - สามารถส่งข้อความถึงสมาชิกได้หลายช่องทาง 4. โมดูล Circulation - สามารถให้บริการยืม -คืน ยืมต่อ จองหนังสือ ยกเว้น ค่าปรับ และกาหนดวันส่งหนังสือตามความต้องการได้ - สามารถใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ระบบ RFID ได้ 5. โมดูล OPAC
ข้อจากัด - บางฟังก์ชันยังไม่ตรงตามความต้องการ ต้องพัฒนา เพิ่มเติม เช่น การจัดทารายงาน ข้อมูลสถิติต่างๆ การ แสดงผลรายการข้อมูล เป็นต้น - ผลการสืบค้น ไม่แสดงข้อมูลชื่อเรื่องย่อย ยากต่อการ ตรวจสอบข้อมูลซ้า - ไม่สามารถซ่อนหรือย้ายรายการบรรณานุกรม (Bib) - เขตข้อมูลรายการตัวเล่ม (item) ไม่เพียงพอ - แสดงนามสกุลก่อนชื่อ ซึ่งไม่สอดคล้องกับชื่อคนไทย
- ไม่สามารถจองหนังสือชือ่ เดียวกันได้มากกว่า 1 เล่ม
50
ข้อดี ข้อจากัด - มีช่องทางการสืบค้นข้อมูลแบบละเอียด - พบปัญหาการแสดงผลและการสืบค้นตัวอักษร - สามารถจองหนังสือ ยืมต่อ แสดงความคิดเห็น เพิ่ม ภาษาไทยบางตัว Tag Cloud สร้างชั้นหนังสือ และเสนอสั่งซื้อหนังสือ - ไม่แสดงชื่อเรื่องย่อย - สมาชิกสามารถบริหารจัดการข้อมูลได้เอง แก้ไขข้อมูล ส่วนตัว และดูประวัติการยืมย้อนหลังได้ การใช้งานระบบห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัสจาเป็นต้องมีผู้ดูแลระบบที่มีความสามารถด้านเทคนิคเป็นอย่าง ดี จึงจะสามารถพัฒนาและดูแลระบบให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ห้องสมุดบางแห่งที่ต้องการการ สนับสนุนด้านเทคนิคจากบริษัท ควรพิจารณาเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายและค่าบารุงรักษารายปี ข้อมูลจากเว็บไซต์ บริษัท Liblime เมื่อปี 2011 (ที่มา : http://www.liblime.com/contact) พบว่าค่าติดตั้งเริ่มต้นของระบบ ห้องสมุดเชิงพาณิชย์และระบบ Koha ราคา $15,000 และค่าบารุงรักษาระบบเป็นเวลา 10 ปี แสดงดังตารางที่ 3 สรุปค่าใช้จ่ายตั้งแต่ติดตั้งระบบเริ่มต้นและบารุงรักษาระบบเป็นเวลา 10 ปี ของระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ รวม ทั้งสิ้น $261,474.40 และระบบ Koha รวมทั้งสิ้น $59,813.53 ดังนั้นหากใช้ระบบ Koha เป็นเวลา 10 ปีจะมี ค่าใช้จ่ายต่ากว่าระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ถึง 4 เท่า ตารางที่ 3 เปรียบเทียบค่าบารุงรักษาระบบของระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์กับระบบ Koha ค่าบารุงรักษา ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5
ระบบเชิงพาณิชย์ $22,000 $22,550 $23,113.75 $23,691.59 $24,283.88
KOHA ค่าบารุงรักษา $4,000 ปีที่ 6 $4,100 ปีที่ 7 $4,202.50 ปีท่ี 8 $4,307.56 ปีท่ี 9 $4,415.25 ปีที่ 10
ระบบเชิงพาณิชย์ $24,890.98 $25,513.26 $26,151.09 $26,804.86 $27,474.99
KOHA $4,525.63 $4,638.77 $4,754.74 $4,873.61 $4,995.45
การนาไปใช้ประโยชน์ ปัจจุบันสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้นาระบบห้องสมุดจินดามณีไปใช้งานในการบริหาร จัดการและให้บริการทรัพยากรในห้องสมุดศูนย์ความรู้ด้านการเกษตร และในห้องสมุด Eco library และได้รับการ พัฒนาต่อยอดเพื่อเป็นระบบสารองหรือทดแทนระบบห้องสมุดเชิงพาณิชย์ในอนาคต นอกจากนี้ยังได้ขยายผลการใช้ งาน โดยได้ติดตั้งระบบให้กับห้องสมุด เฉลิมพระเกียรติ วัดปัญญานันทาราม ในโครงการห้องสมุดชุมชน และ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต สปป.ลาว ในโครงการความร่วมมือระหว่างห้องสมุดเครือข่าย 4 วิทยาเขต ของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อึกทั้งยังเป็นที่ปรึกษา ให้คาแนะนาในการติดตั้งและใช้งานระบบห้องสมุดจินดามณี ให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนอีกหลายแห่ง คณะท างานพั ฒ นาระบบห้ อ งสมุ ด อั ต โนมั ติ จิ น ดามณี ได้ ร่ ว มกั น พั ฒ นาเว็ บ ไซต์ ร ะบบจิ น ดามณี (http://jindamanee.lib.ku.ac.th/) เพื่อรวบรวมและเผยแพร่ข้อมูลการศึกษาและพัฒนาระบบจินดามณีจาก ซอฟท์แวร์แบบเปิดเผยรหัส Koha ให้หน่วยงานหรือผูท้ ส่ี นใจสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาต่อยอดได้ และ เพื่อเป็นช่องทางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของกลุ่มผู้พัฒนาและผู้ใช้ระบบห้องสมุดจินดามณี ทาให้เกิดการพัฒนาต่อ
51
ยอดและนาไปใช้มากยิ่งขึ้น นับเป็นการพัฒนาวิชาชีพด้านบรรณารักษ์และสารสนเทศให้มีความเข้มแข็ง และยังเป็น การพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยี เพื่อก่อให้เกิดความยั่งยืนในสังคม กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ คณะทางานพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติจินดามณี และหน่วยปฏิบัติการวิจัยเชี่ยวชาญ เฉพาะการประมวลผลภาษาธรรมชาติและเทคโนโลยีสารสนเทศอัจฉริยะ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ ที่ร่วมกันศึกษาและพัฒนาระบบห้องสมุดจินดามณี รายการอ้างอิง ถิรนันท์ ดารงค์สอน, ดลนภา แว่วศรี และอภิยศ เหรียญวิพัฒน์. (2556). “ระบบห้องสมุดจินดามณี” เอกสาร ประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ WUNCA ครั้งที่ 26. สกลนคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต เฉลิมพระเกียรติสกลนคร. วันเพ็ญ ศรีจันทร์กุล, อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ, ถิรนันท์ ดารงค์สอน, วสุเทพ ขุนทอง, พุฒิพงษ์ ยองทอง, พิศิษฐ์ โสมวดี, และสุพรรณี หงษ์ทอง. (2553). การพัฒนาและประยุกต์ใช้ระบบห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัสภาษาไทย เพื่อการพึ่งพาตนเองทางเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. อัศนีย์ ก่อตระกูล, สมโชค เรืองอิทธินันท์ และอารีย์ ธัญกิจจานุกิจ . (2549). การศึกษาความเป็นไปได้เชิงเทคนิค และการออกแบบเชิงสถาปัตยกรรม สาหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์ห้องสมุดแบบเปิดเผยรหัส . กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. Brown D., Wolbers F., Usiondek N., Quigley P., & Jaccarino P. (2010). KOHA Manual. Retrieved 2011, from http://koha-community.org/files/2010/02/wayne-state-university-koha-3.0reference-manual.pdf Liblime. (2011). LibLime is the global leader in Koha support. Retrieved 11 30, 2011, from http://www.liblime.com/contact
52
แอนดรอยด์และไอโอเอสแอปพลิเคชัน สาหรับวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์และ งานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ Android and IOS Applications for CMU e-Theses and CMU e-Research เกรี ย งไกร ชั ย มิ น ทร์ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail : krkrai@lib.cmu.ac.th
บทคัดย่อ แอปพลิเคชันวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ (CMU e-Theses) และแอปพลิเคชันงานวิจัย อิเล็กทรอนิกส์ (CMU e-Research) แบบ Offline search ใช้สาหรับการสืบค้นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าแบบอิสระอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU e-Theses) และฐานข้อมูล งานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU e-Research) ในลักษณะการให้บริการแบบ ห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) ผ่านเครือข่ายและอุปกรณ์การสื่อสารประเภท Smart Device ได้แก่ Smart Phone และ Tablet Computer ซึ่งเป็นการเพิ่มทางเลือกในการสืบค้นฐานข้อมูล CMUL OPAC, CMU e-Theses และ CMU e-Research ผู้รับบริการสามารถดาวน์โหลดผ่าน App Store และใช้แอป พลิเคชันนี้ผ่านโทรศัพท์มือถือไอโฟน หรือคอมพิวเตอร์แท็บเล็บระบบปฏิบัติการ IOS (ไอแพด) สาหรับผู้ใช้บริการโทรศัพท์มือถือระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ สามารถดาวน์โหลดผ่าน Play Store ได้ จากผลการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการ พบว่า ผู้รับบริการพึงพอใจต่อการใช้แอปพลิเคชัน CMU e-Theses และ CMU e-Research ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.40, 4.20) การพัฒนาแอปพลิเคชันทั้ง สองชุด ทาให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดได้ทุกเวลา และไม่มีข้อจากัด ด้านสถานที่ โดยไม่ต้องเข้าใช้ผ่านหน้าเว็บไซต์สานักหอสมุดและสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้พัฒนานวัตกรรมบริการด้วยการนาเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ สืบค้นสารสนเทศแก่ผู้รับบริการ และได้ ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรสารสนเทศอย่างคุ้มค่า และ ห้องสมุดอื่นสามารถนาแนวคิดในการพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันนี้ไปพัฒนาโมบายแอปพลิเคชัน สาหรับเข้าถึงฐานข้อมูลสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของห้องสมุดได้ คาสาคัญ : โมบายแอปพลิเคชัน, วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์, งานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์, สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
53
ABSTRACT Those applications use for accessing CMU electronic theses and electronic research reports digitized by the library and providing as a virtual library through networking and smart devices including smart phones and tablet computers. The aim of the applications is to provide a new choice for users. Users can download the applications via App Store using their mobile phones or iPhones or tablet computers with IOS (iPad). Users who use Android mobile phones have to download the applications via Play Store. By surveying user satisfaction, it was found that users were very satisfied with those two applications with the average score of 4.40 and 4.20. In conclusion, the creation of those two applications make users access to our information resources at any time and any places without accessing via the library website. Chiang Mai University always encourages our staff to create service innovation using information technology to help users access to the information resources effectively as well as encourages users to use the library resources worthily. The ideas of developing applications for mobile devices are very useful and it will be delighted if any other libraries get the ideas of developing some mobile applications for accessing their electronic resources. Keywords : Mobile application, CMU e-Theses, CMU e-Research, Chiang Mai University Library บทนา สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มุ่งพัฒนาสานักหอสมุดให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ (Learning Center) ระดับแนวหน้า โดยได้กาหนดเป้าหมายสาคัญของการเป็นศูนย์การเรียนรู้ ที่สนองต่อแผนกลยุทธ์ สานักหอสมุด ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2555-2559) และการพัฒนามหาวิทยาลัยในการมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยและมหาวิทยาลัย ดิจิทัล ประกอบด้วย การเป็นห้องสมุดดิจิทัล ห้องสมุดสนับสนุนการวิจัย ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ ศูนย์ข้อมูล ท้องถิ่นภาคเหนือ และแหล่งข้อมูลกลุ่มประเทศอาเซียนและ GMS อีกทั้งสานักหอสมุดได้ตระหนักถึงความสาคัญ ของการพัฒนาโมบายแอปพลิเคชัน (Mobile application) เพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึง ทรัพยากรสารสนเทศดิจิทั ลและทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทได้ทุกที่ ทุกเวลา ไม่ถูกจากัดการรับบริการด้วย พื้นที่ผ่านอุปกรณ์สื่อสารประเภท Smart Device เช่น Smartphone, Tablet และพัฒนาบริการสืบค้นสารสนเทศ ให้ทันต่อ พฤติกรรมของผู้รับบริการและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบัน และรองรับการ ให้บริการในรูปแบบห้องสมุดดิจิทัลและห้องสมุดสนับสนุนการวิจัย ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ ในปีงบประมาณ 2556 ได้พัฒนาโมบายแอปพลิเคชันสาหรับการสืบค้นฐานข้อมูลดิจิทัล จานวน 2 แอปพลิเคชัน ได้แก่ แอปพลิเคชัน วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ (CMU e-Theses) และแอปพิเคชันงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ (CMU e-Research) แบบ Offline
54
search เนื่องด้วยเป็นฐานข้อมูลที่สานักหอสมุดสร้างขึ้นและมีผู้ใช้จานวนมากในแต่ละปี โดยได้ตั้งเป้าหมายการ พัฒนาอย่างน้อย 1 แอปพลิเคชันต่อปี ในการพัฒนาระบบการเข้าถึงสารสนเทศดิจิทัลและทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทของสานักหอสมุดให้ ทันต่อพฤติกรรมของผู้รับบริการและความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบัน เพื่อสนับสนุนการเรียนการ สอนและการวิจัยของนักศึกษา อาจารย์ และนักวิจัยของมหาวิทยาลัย และรองรับการให้บริการในรูปแบบห้องสมุด ดิจิทัลและห้องสมุดสนับสนุนการวิจัย ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ สานักหอสมุดจึงตระหนักถึงความสาคัญของการ พัฒนาโมบายแอปพลิเคชัน (Mobile application) เพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้รับบริการสามารถเข้าถึง ทรัพยากร สารสนเทศดิจิทัลและทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทได้ทุกที่ ทุกเวลา ไม่ถูกจากัดการรับบริการด้วยพื้นที่ผ่านอุปกรณ์ สื่อสารประเภท Smart Device เช่น Smartphone, Tablet ในปีงบประมาณ 2556 ได้พัฒนาโมบายแอปพลิเคชัน สาหรับการสืบค้นฐานข้อมูลดิจิทัล จานวน 2 แอปพลิเคชัน ได้แก่ แอปพลิเคชันวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ (CMU eTheses) และแอปพิเคชันงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ (CMU e-Research) แบบ Offline search เนื่องด้วยเป็นฐานข้อมูลที่ สานักหอสมุดสร้างขึ้นและมีผู้ใช้จานวนมากในแต่ละปี โดยได้ตั้งเป้าหมายการพัฒนา อย่างน้อย1 แอปพลิเคชันต่อปี วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ (CMU e-Theses) และแอปพลิเคชันงานวิจัย อิเล็กทรอนิกส์ (CMU e-Research) แบบ Offline Search ในระบบปฏิบัติการ Android และ IOS ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ 1. ศึกษาวิธีการใช้งานโปรแกรมโฟนแกป (Phonegap) 2. ศึกษาวิธีการใช้งานภาษาเอชทีเอ็มแอลไฟว์ (HTML5) (จีราวุธ วารินทร์, 2555ก; ไพบูลย์ สวัสดิ์ปัญญา โชติ (ผู้แปล), 2556) 3. ศึกษาวิธีการใช้งานภาษาเจคิวรี่ (jQuery) (จีราวุธ วารินทร์, 2555ข) 4. ศึกษาระบบฐานข้อมูลเอสคิวไลท์ (SQLite Database) 5. ศึกษาภาษาจาวาเกี่ยวกับการนาเข้าไฟล์ฐานข้อมูลเอสคิวไลท์ เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ (Android Operating System) 6. ศึกษาภาษาอ็อบเจกทีฟ-ซี (Objective-C) เกี่ยวกับการนาเข้าไฟล์ฐานข้อมูลเอสคิวไลท์ เพื่อใช้เป็น ฐานข้อมูลในระบบปฏิบัติการไอโอเอส (iOS Operating System) 7. สร้างและทดสอบแอปพลิเคชันวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์และงานวิจัยอิเล็กทรอนิก ส์ สาหรับ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ โดยใช้โปรแกรมแอนดรอยด์ สตูดิโอ (Android Studio) 8. สร้างและทดสอบแอปพลิเคชันวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์และงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับ ระบบปฏิบัติการไอโอเอส โดยใช้โปรแกรมเอ็กซ์โค๊ท (Xcode)
55
9. นาแอปพลิเคชันวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิ กส์และแอปพลิเคชันงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับ ระบบปฏิบัติการแอนดรอย ให้บริการที่กูเกิล เพลย์ (Google Play) 10. นาแอปพลิเคชันวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์และแอปพลิเคชันงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับ ระบบปฏิบัติการไอโอเอส ให้บริการที่แอป สโตร์ (App Store) (รวิทัต ภู่หลา, 2554) 11. ประเมินการใช้บริการ ผลการศึกษา 1. แอปพลิเคชันวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ (CMU e-Theses) และแอปพลิเคชันงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ (CMU e-Research) แบบ Offline search ใช้สาหรับการสืบค้นฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าแบบอิสระ อิเ ล็ กทรอนิ กส์ของมหาวิท ยาลั ย เชีย งใหม่ (CMU e-Theses) และฐานข้ อ มูล งานวิ จัย อิ เ ล็ก ทรอนิ กส์ ของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU e-Research) ในลักษณะการให้บริการแบบห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) ผ่าน เครือข่ายและอุปกรณ์การสื่อสารประเภท Smart Device ได้แก่ Smart Phone และ Tablet Computer ซึ่งเป็นการ เพิ่มทางเลือกในการสืบค้นฐานข้อมูล CMUL OPAC, CMU e-Theses และ CMU e-Research 2. ผู้รับบริการสามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน CMU e-Theses และ CMU e-Research จาก App Store ระบบปฏิบัติการ IOS (ไอโฟนและไอแพด) โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สาหรับผู้ใช้บริการโทรศัพท์มือถือ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ สามารถดาวน์โหลดผ่าน Play Store ได้ โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายเช่นเดียวกัน โดยใช้คา สืบค้นว่า CMU eTheses หรือ CMU eResearch
ภาพที่ 1 สืบค้นจากคาว่า CMU eTheses หรือ CMU eResearch จาก App Store
ภาพที่ 2 สืบค้นจากคาว่า CMU eTheses หรือ CMU eResearch จาก Play Store
56
3. แอปพลิเคชัน CMU e-Theses สามารถสืบค้นข้อมูลได้จากทุกฟิลด์ (Any field) ได้แก่ Author (ผู้แต่ง) Title (ชื่อเรื่อง) Subject (หัวเรื่อง) และ Year (ปีที่พิมพ์)
ภาพที่ 3 เมนูสบื ค้นทุกฟิลด์ (Any field) 4. แอปพลิเคชัน CMU e-Theses ยังมีเมนู Any Field of study เพื่อสืบค้นจากสาขาวิชาต่างๆ ส่วนแอป พลิเคชัน CMU e-Research มีเมนูสืบค้นคณะ/สถาบัน/ศูนย์ เพื่อสืบค้นงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์จากคณะ/สถาบัน/ ศูนย์ สังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภาพที่ 4 เมนู Any Field of study ภาพที่ 5 เมนูสืบค้นคณะ/สถาบัน/ศูนย์ 5. ตัวอย่างการสืบค้นจากแอปพลิเคชัน CMU e-Theses จากเมนู Title (ชื่อเรื่อง) โดยใช้คาว่า “การวิเคราะห์ เนื้อหา” ผลการสืบค้นพบวิทยานิพนธ์ จานวน 17 รายการ จากนั้นคลิกเลือกเล่มวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ ต้องการ หากต้องการดูเอกสารฉบับเต็ม เลื่อนลงมาที่ข้อความ Full Text (require Internet Connection) ซึ่ง หมายถึงว่าหากต้องการดูเอกสารฉบับเต็มจะต้องดาวน์โหลดผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
57
ภาพที่ 6 การสืบค้นจากแอปพลิเคชัน CMU e-Theses จากเมนู Title 6. ตัวอย่างการสืบค้นจากแอปพลิเคชัน CMU e-Research เมนูการสืบค้นทุกคณะ/สถาบัน/ศูนย์ หรือจาก ทางเลือก List จะปรากฏรายละเอียดคณะ/สถาบัน/ศูนย์ ให้ผู้ใช้ได้เลือกสืบค้น เมื่อคลิกเลือกไปที่ สานักหอสมุดจะ ปรากฏงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ที่จัดทาโดยสานักหอสมุด จานวน 55 items หากผู้ใช้คลิกเลือกเล่มที่ต้องการจะปรากฏ ข้อมูลงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ และเมื่อต้องการดูรายละเอียดเอกสารฉบับเต็ม ให้เลื่อนลงมาที่ข้อความFull Text (require Internet Connection) เพื่อดูเอกสารที่แยกไว้เป็นบทคัดย่อและเอกสารฉบับเต็ม โดยจะต้องดาวน์โหลด ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ภาพที่ 7 การสืบค้นจากแอปพลิเคชัน CMU e-Research เมนูการสืบค้นทุกคณะ/สถาบัน/ศูนย์
7. ผลจากการประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการใช้แอปพลิเคชัน CMU e-Theses พบว่าอยู่ ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.40) ในส่วนของแอปพลิเคชัน CMU e-Research มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
58
เช่นเดียวกัน (ค่าเฉลี่ย 4.20) โดยผู้รับบริการให้ข้อเสนอแนะว่าควรให้บริการในรู ปแบบ Online search เพื่อเพิ่ม ความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ จากการพัฒนาแอปพลิเคชันวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์และงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้ผู้รับบริการ สามารถเข้าถึงสารสนเทศดิจิทัลของสานักหอสมุดได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น สานักหอสมุดควรพัฒนา แอปพลิเคชันอย่างต่อเนื่อง เพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้รับบริการได้เข้าถึง ทรัพยากรสารสนเทศ และให้ทันต่อ พฤติกรรมของผู้รับบริการ ตลอดจนให้ทันต่อความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศในยุคปัจจุบัน อันส่งผลต่อการ ใช้ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดอย่างคุ้มค่า การนาไปใช้ประโยชน์ การดาเนินการพัฒนาแอปพลิเคชันวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์และแอปพลิเคชันงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้รับบริการและห้องสมุด ดังนี้ ประโยชน์ผู้รับบริการ 1. ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดได้จากหลากหลายช่องทาง เป็นการอานวย ความสะดวกให้ผู้ใช้ในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้ทุกเวลาและไม่มีข้อจากัดด้านสถานที่ 2. ผู้ รั บบริ การได้ รั บความสะดวกในการสื บค้ นที่ ฐานข้ อมู ล วิ ท ยานิ พ นธ์ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ แ ละงานวิ จั ย อิเล็กทรอนิกส์จากแอปพลิเคชัน โดยไม่ต้องเข้าใช้ผ่านหน้าเว็บไซต์สานักหอสมุด ประโยชน์ต่อสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1. เพื่อตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาของสานักหอสมุดตามแผนกลยุทธ์ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2555-2559) 2. ได้พัฒนานวัตกรรมบริการด้วยการนาเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ สืบค้นสารสนเทศแก่ผู้รับบริการ 3. ได้ส่งเสริมให้มีการใช้ทรัพยากรสารสนเทศอย่างคุ้มค่า ประโยชน์ต่อห้องสมุดอื่น ห้องสมุดอื่นๆ สามารถนาแนวคิดในการพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันนี้ ไปพัฒนาโมบายแอปพลิเคชัน สาหรับเข้าถึงฐานข้อมูลสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของห้องสมุดได้ รายการอ้างอิง จีราวุธ วารินทร์. (2555). พัฒนาเว็บไซต์สมัยใหม่ด้วย HTML5 + CSS + JavaScript. กรุงเทพฯ: รีไวว่า. จีราวุธ วารินทร์. (2555). พัฒนาเว็บไซต์อย่างไร้ขีดจากัดด้วย jQuery. กรุงเทพฯ: รีไวว่า. ไพบูลย์ สวัสดิ์ปัญญาโชติ. (ผู้แปล). (2556). HTML5 Developer’ s Cookbook. กรุงเทพฯ: ทรู ดิจิตอล คอนเท้นท์ แอนด์ มีเดีย. รวิทัต ภู่หลา. (2554). คู่มือเขียน iPhone Apps. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น.
59
ระบบบริหารจัดการจองห้องออนไลน์ ของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม (Management System of Online Room Reservation of Academic Resource Center , Nakhon Phanom University) สุ รั ก ษ์ สิ ม คาน สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม e-mail : surak@npu.ac.th
บทคัดย่อ ปัจจุบันความต้องการในการใช้ห้องเรียน ห้องประชุม และห้องอบรมมีมากขึ้น การจองโดยใช้ เอกสาร โทรศัพท์หรือการเดินไปหากันมักจะทาให้เสียเวลาและไม่สะดวก บทความนี้นาเสนอการ พัฒนาระบบบริหารจัดการจองห้องออนไลน์ เพื่อช่วยลดเวลาและอานวยความสะดวกในการทางาน ส าหรั บ ผู้ ดู แ ลห้ อ งและผู้ ข อใช้ ห้ อ ง โดยระบบที่ พั ฒ นาขึ้ น ช่ ว ยให้ นั ก ศึ ก ษาและบุ ค ลากรของ มหาวิทยาลัยนครพนมที่ต้องการใช้ห้องสามารถจองห้องผ่านระบบผ่านทางเว็บแอปพลิเคชัน และโม บายแอปพลิเคชันบนอินเตอร์เน็ต นอกจากนี้ยังสามารถเรียกดูข้อมูลการจองห้องผ่านเว็บเซอร์วิสของ ระบบที่นาเสนอนี้ได้และสามารถนามาใช้งานได้จริงในสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม คาสาคัญ: ระบบบริหารจัดการ, จองห้องออนไลน์, เว็บเซอร์วิส ABSTRACT Currently, the demand for classrooms, conference rooms, training rooms and more. Using a paper, Phone or walking to often be time-consuming and inconvenient. This is paper presents the development of Management System of Online Room Reservation. To reduce the time and facilities to work. the administrative work and request a room. The developed system allows the students and staff of Academic Resource Center, Nakhon Phanom University to the reservation system via the web application . Mobile application available on the internet. You can also browse through the information to find Web services of the proposed system is practical and can be used in the Academic Resource Center, Nakhon Phanom University. Keywords : Management system, Online Room Reservation, Web service
60
บทนา ในปัจจุบันการจองห้องภายในสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม ไม่ว่าจะเป็น ห้องสืบค้นส่วนตัว ห้องวีดีทัศน์ ผู้ใช้บริการจาเป็นต้องเดินมาขออนุญาตจากผู้ดูแลห้อง เพื่อทาการค้นหาเวลาและห้องที่ว่าง ซึ่งเป็นการ เสียเวลาทั้งสองฝ่าย บทความนี้จึงนาเสนอการพัฒนาระบบจองห้องออนไลน์ เพื่อการจัดการ ห้องสืบค้นส่วนตัว ห้อง วีดีทัศน์ โดยที่ระบบนี้จะอานวยความสะดวกให้กับผู้ที่ต้องการใช้ห้อง ให้สามารถจองห้องและค้นหาดูห้องที่ว่างผ่าน ระบบ และขณะเดียวกันระบบนี้ก็ จะอานวยความสะดวกให้กับผู้ดูแลห้องในการเปิดและปิดห้องให้บริการกับ ผู้ใช้บริการ ในการออกแบบระบบนี้คานึงถึงความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานของผู้รับบริการเป็นหลัก วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการจองห้องออนไลน์ ของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน 1. การศึกษาข้อมูลและปัญหาการทางานแบบเดิม การทางานระบบเดิมของการจองห้องค้นคว้าส่วนตัว ห้องวีดีทัศน์ ของสานักวิทยบริการมหาวิทยาลัย นครพนมนั้น ผู้ที่ต้องการใช้ห้องจะต้องติดต่อกับเจ้าหน้าที่ดูแลห้องโดยตรงและสอบถามว่าห้องที่ต้องการใช้งานใน วันและเวลาดังกล่าวว่างหรือไม่ เมื่อจองห้องได้แล้วเจ้าหน้าที่ที่ดูแลการจองห้องจะทาการแจ้งเจ้าหน้าที่ที่ดูแลเปิด ปิดห้องประชุมได้ทราบถึงกาหนดการใช้งานของห้องตามเวลาการใช้งานนั้นๆ 2. การวิเคราะห์ระบบ จากการเก็บรวบรวมความต้องการ ที่เกิดขึ้นของระบบการทางานได้นาไปสู่การออกแบบ ทาให้ทราบถึง กระบวนการออกแบบระบบออนไลน์เพื่อการจัดการห้องค้นคว้าส่วนตัว ห้องวีดีทัศน์ได้ พร้อมทั้งการจองการใช้ห้อง แต่ละห้องนั้น จะเปิดให้จองในช่วงเวลาเดียวกันไม่ได้ เมื่อมีการจองห้องจะมีการตรวจสอบสิทธิ์การเข้าใช้งานผ่าน ระบบ และเมื่อผู้ใช้จองห้อง และผลการอนุมัติการจองห้องก็จะแสดงข้อ มูลที่ปฏิทินแสดงการใช้ห้องแบบรายเดือน รายสัปดาห์และรายวัน เพื่อให้เกิดความสะดวกกับผู้ใช้บริการในการดูว่าห้องที่ต้องการใช้งานว่างหรือไม่
61
นัก ศึก ษา บุคลากร มหาวิทยาลัยนครพนม
แจ้งขอจองห้อง
กาหนดสิทธิการเข้าใช้งาน ผู้ดูแ ลระบบสูงสุด
ตรวจสอบข้อมูการจองห้อง ระบบบริหารจัดการจองห้อง ออนไลน์ สานักวิทยบริหการ มหาวิทยาลัยนครพนม
รับคาร้องสิทธิการขอใช้งาน
ตรวจสอบการแจ้งขอใช้ห้อง ตรวจสอบห้องที่ดูแล
ทาการอนุมัติให้ใช้ห้อง
ผู้ดูแ ลระบบ
เจ้าหน้าที่ดูแลห้อง
รูปที่ 1 แสดงแผนภาพยูสเคสภาพรวมของระบบบริหารจัดการจองห้องออนไลน์ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม จากรูปที่ 1 จะแสดงยูสเคสการทางานในภาพรวมของระบบบริหารจัดการจองห้องค้นคว้าส่วนตัว ห้อง บรรยาย ห้องสืบค้นอินเตอร์เน็ต โดยแสดงผู้ที่เกี่ยวข้องในการทางาน
จัดการข้อมูลผู้ใช้ ผู้ดูแ ลระบบ ผู้ดูแ ลระบบระดับสูง
กาหนดสิทธิการเข้าใช้งาน
จัดการข้อมูลห้อง
อนุมัติการจองห้อง
จองห้อง
รายการจองห้อง นัก ศึก ษา บุคลากร มหาวิทยาลัยนครพนม
เจ้าหน้าที่ดูแลห้อง
รูปที่ 2 แสดงแผนภาพยูสเคสของระบบบริหารจัดการจองห้องออนไลน์แบบละเอียด จากรูปที่ 2 เป็นแผนภาพยูสเคสแสดงการทางานของระบบจองห้องออนไลน์ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม โดยได้แบ่งกระบวนการทางานออกเป็นส่วนต่างๆ ตามหน้าที่การทางานของผู้ใช้แต่ละคน
62
ประกอบด้วย นักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยนครพนม เจ้าหน้าที่ดูแลห้อง ผู้ดูแลระบบ ผู้ดูแลระบบระดับสูง พร้อมทั้งได้แบ่งการทางานย่อยได้แก่ การจัดการข้อมูลผู้ใช้ การกาหนดสิทธิ์เข้าใช้งาน การจัดการข้อมูลห้อง การ อนุมัติการจองห้อง การจองห้อง และการแสดงรายการจองห้อง เป็นต้น 1. การพัฒนาโปรแกรม ในขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนการพัฒนาระบบงาน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1) เว็บแอปพลิเคชัน 2) เว็บ เซอร์วิส 3) โมบายแอปพลิเคชัน 1) การออกแบบและพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน เว็บแอปพลิเคชัน ทางานอยู่บนฝั่งเซิร์ฟเวอร์ ใช้ภาษาพีเฮชพี (PHP) ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการจองห้องออนไลน์ ของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม 2) การออกแบบและพัฒนาเว็บเซอร์วิส การพัฒนาเว็บเซอร์วิสให้กับข้อมูลการจองห้องต่างๆโดยใช้ภาษา พีเฮชพี 3) โมบายแอปพลิเคชัน การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชัน ค้นหาข้อมูลการจองห้องผ่านระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ โดยแอปพลิเคชันนี้ทาการเรียกใช้งานเว็บเซอร์วิ สและได้ผลลัพธ์กลับมาเป็น เอกสาร XML นามา ประมวลผล ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ระบบสามารถจัดเก็บและสืบค้นข้อมูลการจองห้องได้อย่างถูกต้อง และมีเว็บเซอร์วิสแสดงผลการจองห้อง ออกมาในรูปแบบภาษา XML ซึ่งสามารถนาข้อมูลไปใช้งานต่อในระบบอื่นนอกเหนือจากระบบนี้ เช่นในงานวิจัยนี้ สามารถนาข้อมูลไปแสดงผลในระบบปฏิบัติการแอนดรอย์ที่เป็นระบบปฏิบัติการบนมือถือได้อย่างถูกต้อง บทสรุป ระบบบริหารจัดการจองห้องออนไลน์ของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม ที่ได้พัฒนาขึ้นมาเพื่อ เพิ่มความสะดวกในการทางานระหว่างผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการ ให้มีการทางานที่รวดเร็วขึ้น เนื่องจากกระบวนการ ทางานของระบบเดิมจะมีความยุ่งยากเนื่องจากต้องมีการติดต่อ ส่งหนังสือ สืบค้นห้องว่างและตารางเวลา ซึ่งระบบ บริหารจัดการจองห้องออนไลน์มีความคล้ายคลึงกันในหน่วยงานต่างๆ จึงสามารถนาไปใช้งานร่วมกันได้โดยไม่ต้อง พัฒนาหลายๆระบบ คือพัฒนาระบบให้มีการทางานแบบศูนย์กลาง (Centralize) โดยมีการใช้งานจริงที่ สานักวิทย บริการ มหาวิทยาลัยนครพนม รายการอ้างอิง จักรชัย โสอินทร์, พงษ์ศธร จันทร์ยอย, ณัฐณิชา วีระมงคลเลิศ. (2555). Android App Development ฉบับ สมบูรณ์. นนทบุรี : ไอดีซีฯ . บัญชา ปะสีละเตสัง. (2551). พัฒนาเว็บด้วยเทคนิค Ajax และ PHP . กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. ศุภชัย สมพานิช. (2544). เข้าใจและใช้งานภาษา XML ฉบับโปรแกรมเมอร์ . นนทบุรี : อินโฟเพรส. อรพิน ประวัติบริสุทธิ์. (2556). คู่มือเขียนโปรแกรมด้วยภาษา JAVA ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : โปรวิชั่น.
63
ระบบยืมหนังสือด้วยเครื่องสแกนลายนิ้วมือของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง Book Borrowing System Using Finger Scan : Thaksin University Library (Phattalung Campus) พิ ท ย์ พิ ม ล ชู ร อด* เนาวลั ก ษณ์ แสงสนิ ท สุ พิ ริ ย า ผลนาค สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง e-mail : pitpimon@gmail.com*
บทคัดย่อ ระบบยืมหนังสือด้วยเครื่องสแกนลายนิ้วมือของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยา เขตพัทลุง พัฒนาขึ้นโดยใช้ ซอฟต์แวร์ Microsoft Visual Basic .NET 2008 และใช้ Oracle 8i ใน ลักษณะ .NET Application เป็นระบบยืมหนังสือโดยใช้ลายนิ้วมือที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความ สะดวกให้กับสมาชิกห้องสมุดในการยืมหนังสือรวมถึงเป็นการแก้ปัญหาและป้องกันการนาบัตรของ ผู้อื่นมายืมหนังสือ จากผลการประเมินการใช้ระบบ พบว่าผู้ใช้มีความพึงพอใจในการยืมหนังสือที่มี ความสะดวกมากยิ่งขึ้น มีระดับประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ ดีมาก และระบบช่วยให้การยืมหนังสือมี ความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น มีระดับประสิทธิภาพอยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.31 คาสาคัญ: ระบบยืมหนังสือ เครื่องสแกนลายนิ้วมือ ลายนิ้วมือ, สานักหอสมุด วิทยาเขตพัทลุง, มหาวิทยาลัยทักษิณ ABSTRACT Book Borrowing System Using Fingerprint :Thaksin University Library(Phattalung Campus)was developed by using Microsoft Visual Basic. NET 2008 and Oracle 8i as known in .NET Application. The book borrowing system using fingerprint has been developed to facilitate the library member to borrow books, as well as to solve and protect the problems of using others card members to borrow books. The evaluation results of using system found that the users are satisfied. There are more convenient and the performance is very strong. Moreover it also gives more secure for borrowing books, The performance of using the system is satisfactory with score of 4.31.
64
Keywords: Book borrowing system, Finger scan, Fingerprint, Library Center (Phattalung Campus), Thaksin University Research and Development Institute of Thaksin University บทนา สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ได้เล็งเห็นความสาคัญทางด้านการนาระบบเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์มาใช้งานเพื่อบริการด้านต่างๆ แก่ผู้ใ ช้ เช่น การมีระบบยืมและคืนหนังสือด้วยตนเอง การให้บริการ หนังสือพิมพ์ออนไลน์ การบริการสืบค้นข้อมูลทรัพยากรห้องสมุดออนไลน์ เป็นต้น และจากการติดตามการใช้งาน ระบบยืมและคืนหนังสือด้วยตนเองนั้น ระบบนี้เป็นระบบที่ช่วยลดภาระงานของเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ได้มากกว่า 95% ในการให้บริการยืมหนังสือแก่ผู้ใช้แต่เนื่องจากระบบเดิมที่ใช้อยู่ปัจจุบันเป็นระบบที่ใช้บัตรสมาชิกที่มีแถบเลข บาร์โค้ดในการระบุตัวตนผู้ใช้งานทาให้สมาชิกห้องสมุดสามารถที่จะนาบัตรของผู้อื่นที่เป็นสมาชิกห้องสมุดมาใช้งาน แทนกันได้ทาให้พบว่า มีการนาบัตรสมาชิกของผู้อื่นมาใช้ในการยืมหนังสือทั้งโดยการขอและไม่ขออนุญาตเจ้ าของ บัตร ทาให้เกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น เจ้าของบัตรสมาชิกต้องมีพันธะติดค้างกับสานักหอสมุดโดยที่เจ้าของบัตรไม่ได้เป็น ผู้ที่มาทาการยืมหนังสือเล่มนั้นเอง เจ้าของบัตรต้องมีค่าปรับติดค้างในกรณีที่หนังสือเล่ม นั้น ๆ ถูกนามาส่งเกินวัน กาหนดส่ง เจ้าของบัตรต้องมีค่าปรับและค่าหนังสือสูญหายติดค้างในกรณีที่หนังสือเล่มนั้น ๆ ไม่ถูกนามาส่งคืนยัง สานักหอสมุด เป็นต้น ซึ่งปัญหาต่างๆ เหล่านี้เป็นปัญหาที่ทางเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์และผู้ดูแลระบบห้องสมุด อัตโนมัติต้องเข้ามาตรวจสอบ วิเคราะห์รวมทั้งแก้ไขปัญหาต่างๆ เหล่านี้เป็นระยะเวลาที่ค่อนข้างนานเพื่อให้เกิด ความเป็นธรรมแก่ผู้ใช้บริการมากที่สุดและหากเกิดปัญหาเหล่านี้บ่อย ๆ จะทาให้ผู้ใช้เกิดความไม่เชื่อถือในการใช้ งานกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สานักหอสมุด วิทยาเขตพัทลุง ที่ใช้งบประมาณในการลงทุนไปเป็นจานวนไม่น้อย ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดในการช่วยเพิ่มความปลอดภัยและรักษาสิทธิ์ให้กับเจ้าของบัตรสมาชิกห้องสมุดในการ เข้ามาใช้งานระบบยืมอัตโนมัติของสานักหอสมุด วิทยาเขตพัทลุงโดยการนาเทคโนโลยีไบโอเมตริกส์โดยใช้ลายนิ้วมือ บุคคลมาเป็นสิ่งที่ใช้ในการระบุ ตัวตนของผู้ใช้งานเพื่อช่วยลดปัญหาดังกล่าว เนื่องจากลายนิ้วมือบุคคลนั้นถือว่ามี ความปลอดภัยของข้อมูลในระดับสูงที่ไม่สามารถนาหรือคัดลอกเพื่อใช้ทดแทนกันได้และเป็นวิธีที่ถูกเลือกใช้มาก ที่สุด (โสรัตย์ อุนหะวรากรและอารัมภีย์ จันทร์ใย, 2546) โดยเลือกใช้เทคโนโลยี .NET ในการพัฒนา สุรสิทธิ์ คิว ประสพศักดิ์และนันทนี แขวงโสภา, 2546). กัลยาณี บรรจงจิตร (2551) ได้ทาการวิจัยเรื่อง ระบบเช็คชื่อนิสิตด้วย ลายนิ้วมือ (Smart Student Attendant Finger Scan System) ซึ่งเป็นระบบที่พัฒนาขึ้นโดยใช้ซอฟต์แวร์ Microsoft Visual Studio.Net 2005 และ Microsoft SQL Server 2005 ที่สามารถบันทึกเวลาเข้าเรียนนิสิตด้วย การสแกนลายนิ้วมือ โดยสามารถยืนยันตัวตนได้เป็นอย่างดี และนฤพนธ์ พนาวงศ์ (2551) ได้ทาการวิจัยเรื่อง ระบบ สารสนเทศตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแบบยืนยั นตัวบุคคลด้วย ลายนิ้วมือพบว่าระบบสามารถช่วยลดอัตราความผิดพลาดจากการลงชื่อแทนกันให้เหลือ 0 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์ในกรณีที่ผู้ใช้ลืมบัตรสมาชิกห้องสมุดรวมถึงช่วยลดภาระให้แก่สมาชิกห้องสมุด ที่จะต้องพกพาบัตรสมาชิกห้องสมุดทุกครั้งที่เข้ามาใช้บริการของสานักหอสมุด วิทยาเขตพัทลุงด้วย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาระบบยืมหนังสือด้วยเครื่องสแกนลายนิ้วมือของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขต พัทลุง
65
2. เพื่อใช้เครื่องสแกนลายนิ้วมือแทนบัตรสมาชิก 3. เพื่อสารวจความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบการยืมหนังสือโดยใช้เครื่องสแกนลายนิ้วมือของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ การยืมหนังสือในระบบงานปัจจุบันโดยใช้บัตรสมาชิกห้องสมุดที่มีรหัสบาร์โค้ดในการยืมหนังสือที่เครื่อง Self Check Out Station ดังรูปที่ 1 (ซ้าย) แสดงการยืมหนังสือในด้วยเครื่องสแกนลายนิ้วมือโดยไม่ต้องใช้รหัส บาร์โค้ดในการยืมหนังสือที่เครื่อง Self Check Out Station ดังรูปที่ 1 (ขวา)
รูปที่ 1 แสดงการยืมหนังสือในระบบงานปัจจุบัน (ซ้าย) และแสดงการยืมหนังสือในด้วยเครื่องสแกนลายนิ้วมือ (ขวา) จากการรวบรวมความต้องการของระบบ จึงนามาวิเคราะห์เพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและความ ต้องการของผู้ใช้ ได้กาหนดของเขตในการสร้าง Use Case Diagram ของระบบดังนี้
รูปที่ 2 แสดง Use Case Diagram ของระบบยืมหนังสือด้วยลายนิ้วมือ จากรูปที่ 2 แสดง Use Case Diagram ของระบบยืมหนังสือด้วยเครื่องสแกนลายนิ้วมือ ซึ่งประกอบด้วย สมาชิกห้องสมุดที่จะต้องทาการตรวจสอบลายนิ้วมือกับระบบฐานข้อมูลลายนิ้วมือโดยมีกระบวนการของการยืนยัน ตัวตนด้วยเครื่องตรวจสอบลายนิ้วมือ ดังแสดงในรูปที่ 3 ดังนี้ เริ่มจากกระบวนการรับข้อมูลลายนิ้วมือ (Finger Scan) ที่มาจากเครื่องสแกนลายนิ้วมือ (Self Check Out Station) ต่อจากนั้นโปรแกรมตรวจสอบลายนิ้วมือจะ ทางานตามขั้นตอนที่ได้ถูกโปรแกรมไว้ โดยจะทาการเปรียบเทียบความเหมือนกันของลายนิ้วมือ ที่รับมาจากเครื่อง สแกนลายนิ้วมือกับข้อมูลลายนิ้วมือที่ได้มีการจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลลายนิ้วมือ (Oracle Server-Fingerprint) และ เมื่อได้รหัสลายนิ้วมือ (User ID) ออกมาแล้วก็จะนาไปสืบคืนรหัสสมาชิกห้องสมุดในฐานข้อมูลห้องสมุด (Oracle Server-Library) เพื่อให้ได้รหัสสมาชิกห้องสมุด (Library Member ID)
66
รูปที่ 3 แสดงภาพรวมการทางานของระบบ ผลการศึกษา อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ จากการดาเนินการพัฒนาระบบช่วยยืมหนังสือด้วยเครื่องสแกนลายนิ้วมือของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัย ทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ทาให้ได้ผลการดาเนินการดังต่อไปนี้
รูปที่ 4 ขั้นตอนการยืมหนังสือด้วยลายนิ้วมือ อธิบายขั้นตอนการยืมหนังสือด้วยเครื่องสแกนลายนิ้วมือ จากรูปที่ 4 ดังนี้ 1. สมาชิกห้องสมุดทาการสแกนลายนิ้วมือที่เครื่องสแกนลายนิ้วมือที่เครื่อง Self Check Out Station ดังขั้นตอนที่ 1 2. ระบบทาการส่งข้อมูลลายนิ้วมือของสมาชิกห้องสมุดเพื่อไปทาการค้นหาข้อมูลที่ฐานข้อมูลลายนิ้วมือ (Oracle) ที่เก็บข้อมูลลายนิ้วมือนิสิต/บุคลากรพร้อมส่งเสียงบอก “กรุณารอซักครู่ครับ” 3. หลังจากระบบดาเนินการ – หากพบข้อมูลผู้ใช้จะได้ค่า STUDENTID (รหัสนิสิต/บุคลากร) พร้อมส่งเสียงสัญญาณบอกดาเนินการต่อ
67
-หากไม่พบระบบหยุดการทางานกลับคืนสู่หน้าแรกพร้อมส่งเสียงสัญญาณบอกไม่พบลายนิ้วมือ 4. ค่ารหัสนิสิต/บุคลากรถูกส่งต่อไปยังฐานข้อมูลห้องสมุดที่เก็บข้อมูลสมาชิกห้องสมุด (Oracle) หลังจาก ระบบดาเนินการ - หากพบข้อมูลสมาชิกผู้ใช้ จะได้คา่ STUDENTCODE (รหัสสมาชิกห้องสมุด) - หากไม่พบระบบหยุดทางานกลับคืนสู่หน้าแรก 5. STUDENTCODE จะปรากฎบน Textbox บนหน้าจอดังขั้นตอนที่ 2 พร้อมส่งค่า ชื่อและนามสกุล สมาชิกห้องสมุดจะ ปรากฎบนหน้าจอ Self Check Out Station ดังขั้นตอนที่ 3 6. สมาชิกห้องสมุดวางหนังสือที่ต้องการจะยืมที่เครื่อง Self Check Out Station จะปรากฎรายละเอียด เกี่ยวกับหนังสือที่ทาการยืมดังขั้นตอนที่ 4 7. เมื่อทาการยืมเสร็จสิ้นแล้ว สมาชิกห้องสมุดรับสลิปรายการยืมที่เครื่องพิมพ์สลิปดังขั้นตอนที่ 5 จากผลการดาเนินงาน ระบบสามารถช่วยอานวยความสะดวกแก่ สมาชิกห้องสมุดในการให้บริการยืม หนังสือได้มากยิ่งขึ้นเนื่องจาก หากสมาชิกลืมนาบัตรสมาชิกห้องสมุดมาก็สามารถใช้นิ้วในการสแกนลายนิ้วมือเพื่อ ยืมหนังสือได้ แต่ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาและป้องกันการนาบัตรสมาชิกห้องสมุดของผู้อื่นมาใช้แทนได้ 100% เนื่องจากยังอยู่ในช่วงปรับเปลี่ยนรหัสสมาชิกห้องสมุดจึงต้องดาเนินการยืมหนังสือด้วยลายนิ้วมือควบคู่กันกับการยืม หนังสือด้วยรหัสบาร์โค้ดไปก่อนจนกว่าจะดาเนินการเปลี่ยนรหัสนิสิต /บุคลากรแล้วเสร็จ และมีข้อแนะนาในการ จัดเก็บข้อมูลลายนิ้วมือของผู้ใช้ลงในฐานข้อมูลลายนิ้วมือโดยควรจะให้ได้ ลายนิ้วมือจากผู้ใช้ที่ชัดเจน(วางนิ้วมือที่ สะอาดให้มีน้าหนักพอสมควรและวางตรงๆ บนเครื่องสแกนลายนิ้วมือ ) เพื่อในการสแกนลายนิ้วมือแต่ละครั้งจะทา ให้การสแกนนิ้วมือง่ายและรวดเร็วขึ้นจากการตรวจสอบฐานข้อมูลลายนิ้วมือจากระบบ รวมถึงในอนาคตควรมีการ พัฒนาระบบให้บุคคลภายนอกสามารถใช้การสแกนลายนิ้วมือเพื่อยืมหนังสือด้วย Sef Check Out Station ได้ด้วย และการประยุกต์ใช้รหัสแท่งสองมิติเพื่อเพิ่มช่อ งทางในการยืมหนังสือมากยิ่งขึ้น 5] และผลการประเมินระบบยืม หนังสือด้วยเครื่องสแกนลายนิ้วมือของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง จากสมาชิกห้องสมุด จานวน 39 คน สรุปได้ดังนี้ คือ ผู้ใช้มีความพึงพอใจในประสิทธิภาพของระบบด้านประสิทธิภาพและประโยชน์ของ ระบบ (Functional Test) ระดับ ดี (ค่าเฉลี่ย 4.23 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.63) และ ด้านการออกแบบ/การ สนับสนุนการใช้ระบบ (Usability Test) ระดับ ดี (ค่าเฉลี่ย 4.44 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.59) โดย มีผลสรุปการ ประเมินระบบอยู่ในระดับ ดี (ค่าเฉลี่ย 4.31 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.62) และสามารถสรุปได้ว่าระบบมี ประสิทธิภาพและมีประโยชน์ และมีความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานระบบจริง การนาไปใช้ประโยชน์ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้กับระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่มีระบบ Self Check Out Station ในการ ให้บริการยืมทรัพยากรสารสนเทศทั้งระบบ RFID และรหัสแท่ง
68
รายการอ้างอิง กัลยาณี บรรจงจิตร. 2551. ระบบเช็คชื่อนิสิตด้วยลายนิ้วมือ. รายงานวิจัยคณะวิทยาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ นฤพนธ์ พนาวงศ์. 2551. ระบบสารสนเทศตรวจสอบการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี แ บบยื น ยั น ตั ว บุ ค คลด้ ว ยลายนิ้ ว มื อ . รายงานวิ จั ย คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี , มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. นครสวรรค์ โสรัตย์ อุนหะวรากร, อารัมภีย์ จันทร์ใย. (2546). เครื่องตรวจสอบลายนิ้วมือสาหรับระบบรักษาความปลอดภัย. เซมิคอนดักเตอร์อิเล็กทรอนิกส์. 244 กราคม 2546), 149-153. สุรสิทธิ์ คิวประสพศักดิ์, นันทนี แขวงโสภา. (2546). อินไซต์ Visual Basic .NET ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น.
69
Book Hunter แอพพลิเคชั่นชี้ตาแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด The Book Hunter กิ ต ติ ศั ก ดิ แก้ ว เนี ย ม* ภั ท ธ์ เอมวั ฒ น์ ศิ ร ประภา ศิ ล ปรั ต น์ ทั บ ทิ ม บุ ญ ทอง, สมบั ติ นพจนสุ ภ าพ สุ ภ าวดี มโนรั ต น์ ส กุ ล พั ช รี นพจนสุ ภ าพ หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี e-mail : kittisak-k@bunga.pn.psu.ac.th*
บทคัดย่อ Book Hunter นวัตกรรมบริการรูปแบบใหม่ในลักษณะ โมบายส์ แอพพลิเคชั่น (Mobiles Application) ของหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยา เขตปัตตานี ที่อานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการในการเข้า ถึงทรัพยากรสารสนเทศภายในห้องสมุด อย่างรวดเร็ว โดยการชีต้ าแหน่งจัดเก็บให้ทราบ รองรับการทางานผ่านสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต (Tablet) และอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่แบบไร้สายทั่วไปที่ขับเคลื่อนด้วยระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) สามารถดาวน์โหลดติดตั้งใช้งานได้ง่ายผ่าน Google Play คาสาคัญ : book hunter, mobiles application, android, สมาร์ทโฟน, ห้องสมุด บทนา หนึ่งในหลาย ๆ ปัญหาที่มักพบเจอกับห้องสมุดขนาดใหญ่ซึ่งมีทรัพยากรสารสนเทศจานวนมาก นั่นก็คือ ปัญหาการเข้าถึงตัวเล่มบนชั้นของผู้ใช้บริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้ใช้ใหม่ที่ ยังไม่คุ้นชินกับรูปแบบการจัด หมวดหมู่และสถานที่จัดเก็บทรัพยากรของห้องสมุด ส่งผลให้เกิดความยุ่งยากและล่ าช้าในการได้รับทรัพยากร สารสนเทศมาศึกษาเรียนรู้หรือทารายการยืม จนก่อให้เกิดความเบื่อหน่ายในการเข้าใช้บริการ แม้ว่าทางห้องสมุดจะ มีบริการค้นหาตัวเล่ม แต่ก็ยังไม่เพียงพอและทันต่อความต้องการของผู้ใช้ที่มีอยู่อย่างมากมายในปัจจุบันกลุ่มงาน พั ฒ นาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี ส ารสนเทศ หอสมุ ด จอห์น เอฟ เคนเนดี้ จึ ง เกิ ด แนวคิ ด ในการพั ฒนา นวัตกรรมบริการที่ช่วยในการชี้ตาแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด สาหรับใช้ ในหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เพื่อช่วยให้ผู้ใช้บริการทุกกลุ่ มของ ห้องสมุดสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างสะดวกรวดเร็วด้วยตนเอง รวมทั้งเป็นเครื่องมือ ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ห้องสมุดที่มีหน้าที่ให้บริการค้นหาตัวเล่มสามารถทางานได้อย่างราบรื่น โดยเป็นความร่วมมือกัน ระหว่างบรรณารักษ์ นักวิทยาศาสตร์ เจ้าหน้าที่ห้ องสมุด และหัวหน้าอาคาร พัฒนานวัตกรรมในรูปแบบโมบายส์ แอพพลิเคชั่น (Mobiles Application) ที่ชื่อว่า “Book Hunter” ทาหน้าที่คอยชี้ตาแหน่งจัดเก็บทรัพยากรเมื่อ ผู้ใช้บริการป้อนเลขเรียกหนังสือเข้าไป โดยจะทางานผ่านอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่แบบไร้สายอย่างสมาร์ทโฟนและ แท็บเล็ตที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) ซึ่งเป็นอุปกรณ์ด้านเทคโนโลยีที่กาลังได้รับความนิยมอย่างสูง ในปัจจุบัน เนื่องจากตอบโจทย์การใช้งานที่หลากหลายได้อย่างครบถ้วนและสะดวกรวดเร็ว
70
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนา Application ชี้ตาแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดผ่านอุปกรณ์ Smart Device 2. เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยเหลือผู้ใช้บริการและผู้ให้บริการค้นหาตัวเล่ม ในการค้นหาทรัพยากรสารสนเทศบน ชั้นของหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้ อย่างสะดวกรวดเร็ว 3. เพื่อพัฒนารูปแบบการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ (e-Services) ของห้องสมุดผ่านอุปกรณ์ Smart Devices ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ ขั้นตอนการดาเนินงานถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนของการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเลขเรียก หนังสือ ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ และการจัดเรียงทรัพยากรบนชั้นเพื่อบริการในหอสมุดจอห์น เอฟ เคน เนดี้ ส่วนของการออกแบบแผนผังแสดงตาแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ และส่วนของการพัฒนาแอพพลิเคชัน่ 1. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเลขเรียกหนังสือ ประเภททรัพยากรสารสนเทศ และการจัดเรียง ทรัพยากรบนชั้นเลขเรียกหนังสือ (Call Number) และประเภททรัพยากรสารสนเทศ (Collection) คือ 2 องค์ประกอบสาคัญที่ถูกนามาใช้เป็นตัวกาหนดเงื่อนไขการค้นหาเพื่อแสดงตาแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศใน ห้องสมุด เนื่องจากหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ มีรูปแบบการจั ดหมวดหมู่หนังสือตามหลักทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) ที่มีการแบ่งหนังสือออกเป็นหมวดหมู่ใหญ่และหมวดหมู่ย่อยดังภาพที่ 1 ส่งผลให้เลขเรียก หนังสือ 000
Computer science, information & general works
010
Bibliographies
100
Philosophy & psychology
020
Library & information sciences
200
Religion
030
Encyclopedias & books of facts
300
Social sciences
040
[Unassigned]
400
Language
050
Magazines, journals & serials
500
Science
060
Associations, organizations & museums
600
Technology
070
News media, journalisms & publishing
700
Arts & recreation
080
Quotations
090
Manuscripts & rare books
800
Literature
900
History & geography
ภาพที่ 1 แสดงตัวอย่างการแบ่งหมวดหมู่หนังสือตามหลักทศนิยมดิวอี้ (D.D.C) โดยทางด้านซ้ายเป็นการแบ่งสรรพ วิชาออกเป็น 10 หมวดหมูใ่ หญ่ (แบ่งครั้งที่ 1) และทางด้านขวาเป็นการแบ่งหมวดหมูใ่ หญ่ (หมวด 000) ออกเป็น 10 หมวดหมู่ยอ่ ย (แบ่งครัง้ ที่ 2) ที่ประกอบไปด้วย 4 ส่วน คือ เลขหมู่ (ระบบทศนิยมดิวอี้), เลขผู้แต่ง, ปีที่พิมพ์ และ เล่มที่/ฉบับที่ ดังตัวอย่างใน ภาพที่ 2 ลักษณะของเลขหมู่จะประกอบขึ้นจากตัวเลขเพียงอย่างเดียว อย่างน้อยที่สุด 3 หลัก และอาจมากที่สุดถึง 15 หลัก (ตามที่ได้สารวจ) โดยมีจุดทศนิยมในหลักที่ 4 ทาหน้าที่ขั้นระหว่างตัวเลขชุดหน้าและชุดหลังเพื่อเจาะจง ความครอบคลุมของเนื้อหาในหมวดหมู่ย่อย ดังตัวอย่างในภาพที่ 3 โดยการจัดเรียงทรัพยากรสารสนเทศบนชั้นจะ
71
เรียงลาดับตามเลขเรียกหนังสือจากน้อยไปหามากเสมอ ซึ่งเมื่อนาเลขเรียกหนังสือมาพิจารณาความสัมพันธ์ร่วมกับ ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศที่บริการภายในห้ องสมุด โดยที่แต่ละประเภทจะมีสถานที่ จัดเก็บ (Location) แยกกันอย่างชัดเจนแล้วพบว่า ปัจจัยที่สามารถช่วยให้ผู้ใช้บริการเข้าถึงทรัพยากรบนชั้นหนังสือได้อย่างถูกต้องคือ ประเภททรัพยากรสารสนเทศ เลขหมู่ และเลขผู้แต่งเพียงเท่านั้น ผลจากการดาเนินงานในส่วนนี้จึงทาให้เกิดแนวคิด ในการออกแบบโครงสร้างข้อมูล (Data Structure) และขั้นตอนวิธี (Algorithm) ในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นขึ้น
เลขหมู่
เลขผู้แต่ง ปีที่พิมพ์ ฉบับที่
ภาพที่ 2 แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ของเลขเรียกหนังสือ หลักที่ ตัวอย่าง 1 ตัวอย่าง 2 ตัวอย่าง 3
1 1 0 6
2 5 0 2
3 2 4 0
4
5
6
7
8
9
10 11 12 13 14 15
. .
0 0
1 0
5 4
1 2
0
2
8
5
ภาพที่ 3 แสดงตัวอย่างเลขหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ที่มีจานวนหลักแตกต่างกัน 2. การออกแบบแผนผังแสดงตาแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ แผนผั ง ที่ ต อบโจทย์ ก ารเข้ า ถึ ง ทรั พ ยากรสารสนเทศบนชั้ น ได้ ส ะดวกรวดเร็ ว ที่ สุ ด โดยที่ ผู้ ค้ น หาไม่ จาเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องของเลขเรียกหนังสือหรือระบบการจัดหมวดหมู่ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดเลยนั้น ย่อมต้องเป็นแผนผังที่มีความละเอียดและสามารถสื่อสารกับผู้ใช้บริการได้ง่ายและชัดเจน ซึ่งเมื่อพิจารณาตาแหน่ง จัดเก็บทรัพยากรตามจุดต่าง ๆ ทั่วห้องสมุด การออกแบบแผนผังในมุมมองจากด้านบน (Top View) โดยอิงตาม แบบแปลนจริงของอาคารแต่ละพื้นที่หรือแต่ละชั้นจะสามารถทาความเข้าใจได้ง่ายที่สุด แม้ว่าจะเน้นแค่รายละเอียด ของตู้ชั้นหนังสือเป็นหลัก ในส่วนของการสื่อสารกับผู้ค้นหา แม้ว่าทางทฤษฎีจะสามารถระบุ ตาแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ โดยอิงจาก “ช่วงเลขเรียกหนังสือเริ่มต้น/สิ้นสุดประจาชั้น” ในแต่ละชั้นของล็อคตู้หนังสือ และนาเสนอแผนผังใน มุมมองจากด้านหน้า (Front View) ได้ก็ตาม แต่ทีมพัฒนาเลือกที่จะสื่อสารจาก “ช่วงเลขเรียกหนังสือเริ่มต้น/สิ้นสุด ประจาล็อค” ของตู้หนังสือ และนาเสนอแผนผังในมุมมองจากด้านบน (Top View) แทน โดยมีแถบสีแดงเป็น สัญลักษณ์บ่งบอกให้ผู้ค้นหาทราบถึงตาแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหรือ “ช่วงล็อค” ที่ทรัพยากรสารสนเทศ ฉบับนั้น ๆ ควรอยู่เมื่อถูกนาขึ้นชั้นบริการ ดังภาพที่ 4 แม้การใช้วิธีนี้ผู้ค้นหาอาจต้องใช้เวลานานกว่า เพราะต้องไล่ ค้นหาทุกช่วงชั้นของล็อคนั้น ๆ แต่เมื่อเปรียบเทียบกับพฤติกรรมในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศที่ผ่านมาของ ผู้ใช้บริการ นับว่าวิธีการดังกล่าวช่วยลดระยะเวลาลงไปได้มาก ทั้งนี้สาเหตุสาคัญก็เพื่อเป็นการลดภาระงานของ
72
แอพพลิเคชั่นในการโหลดข้อมูลช่วงเลขเรียกหนังสือเข้าสู่ฐานข้อมูลและลดปริมาณแผนผังที่ต้องใช้งานในระบบลง เพื่อไม่ให้แอพพลิเคชั่นมีขนาดใหญ่เกินไปนั่นเอง
ภาพที่ 4 แสดงแผนผังที่ออกแบบขึ้นใช้งานในแอพพลิเคชั่น เพื่อชี้ตาแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศให้ผู้ใช้บริการทราบ 3. การพัฒนาแอพพลิเคชั่น หลักการทางานของแอพพลิเคชั่นคือ การค้นหาและแสดงผลการสืบค้น ในการค้นหาจาเป็นต้องมีการรับ ค่าจากผู้ใช้เพื่อนาไปสร้างเงื่อนไขของการค้นหา คือ ประเภททรัพยากรสารสนเทศ และ เลขเรียกหนังสือ โดย ประเภททรัพยากรสารสนเทศจะเป็นตัวกาหนดตาราง (Table) ที่ใช้ค้นหาเลขเรียกหนังสือตามที่ผู้ใช้ป้อน ซึ่งจะ จัดเก็บช่วงเลขเรียกหนังสือเริ่มต้น/สิ้นสุดประจาล็อคที่ต่อเนื่องกันไปเรื่อย ๆ ตามขอบเขตเลขเรียกของทรัพยากร ประเภทนั้น ๆ โดยจะจัดเก็บในรูปของช่วงตัวเลขจานวนเต็ม 15 หลักที่ถูกแปลงมาจากเลขเรียกหนังสือทั่วไป ดัง ภาพที่ 5 สาหรับการแสดงผลการสืบค้น เมื่อระบบค้นพบช่วงเลขเรียกที่ครอบคลุมเลขเรียกหนังสือตามที่ผู้ใช้ป้อน ก็ จะทาการดึงแผนผังแสดงตาแหน่งจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศที่สอดคล้องขึ้นมาปรากฏที่หน้าจอเพื่อแจ้งผู้ใช้
73
ทีมพัฒนาได้เลือกใช้ Eclipse เป็นเครื่องมือหลักในการพัฒนาแอพพลิเคชั่น Book Hunter เนื่องจาก โปรแกรมดังกล่าวเป็น IDE (Integrated Development Environment) ที่รองรับการพัฒนาแอพพลิเคชั่นด้วย ภาษา Java อย่างครบถ้วนและมีประสิทธิภาพสูง (Android Developers, 2007) จึงเหมาะอย่างยิ่งต่อการพัฒนา แอพพลิเคชั่นที่ทางานบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android)
ภาพที่ 5 ทางด้านซ้ายแสดงช่วงเลขเรียกหนังสือที่ผ่านการแปลงให้อยู่ในรูปของตัวเลขจานวนเต็ม 15 หลักและ จัดเก็บในฐานข้อมูล ตรงกลางแสดงตัวอย่างหน้าจอการรับข้อมูลเพื่อค้นหา และทางด้านขวาแสดงตัวอย่างหน้าจอ ผลการสืบค้นของแอพพลิเคชั่น Book Hunter ที่ใช้งานผ่านสมาร์ทโฟน ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ปัจจุบันแอพพลิเคชั่น Book Hunter อยู่ระหว่างการพัฒนาในเวอร์ชั่น 1.0 โดยมีความสามารถที่โดดเด่น ด้า นการชี้ ตาแหน่ งจั ด เก็บ ทรั พยากรสารสนเทศที่บ ริ การอยู่ ในหอสมุด จอห์น เอฟ เคนเนดี้ สานั กวิ ทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้อย่างแม่นยา รองรับการค้นหาทรัพยากรประเภทหนังสือทั่วไป (General Collection) ส่งผลให้ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงตัวเล่มได้อย่างสะดวกรวดเร็ว แอพพลิเคชั่นทางานได้บนอุปกรณ์สื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) เวอร์ชั่น 2.2 (API Level 8) ขึ้นไป โดยสามารถตอบสนองการทางานได้อย่างรวดเร็วและมีเสถียรภาพสูง เพราะเรียกใช้ หน่วยความจาปริมาณน้อยและไม่ต้องการการเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อย่างไรก็ตามแอพพลิเคชั่นยังคงมีข้อจากัดในหลาย ๆ ส่วนที่ต้องการการแก้ไขและปรับปรุงต่อไป ไม่ว่าจะ เป็นผลกระทบจากการปรับขยายช่วงชั้นหนังสือในห้องสมุดซึ่งส่งผลโดยตรงต่อฐานข้อมูลของแอพพลิเคชั่น หรือการ จัดการกับปริมาณและขนาดภาพแผนผังเพื่อไม่ให้แอพพลิเคชั่นมีขนาดใหญ่เกินไป รวมถึงการพัฒนาแอพพลิเคชั่นให้ รองรับการทางานบนระบบปฏิบัติการอื่น ๆ อย่าง iOS หรือ Windows Phone การประยุกต์การทางานร่วมกับ RFID ในการชี้ตาแหน่งทรัพยากรสารสนเทศโดยตรง ตลอดจนการหาแนวทางจัดการความเสี่ยงต่อภัยคุกคามที่ยาก ต่อการควบคุม เช่น การซ่อนหนังสือของผู้ใช้บริการ หรือการจัดชั้นที่ผิดพลาดของเจ้าหน้าที่ห้องสมุด
74
การนาไปใช้ประโยชน์ ผู้ใช้บริการห้องสมุดและเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการค้นหาตัวเล่ม สามารถใช้แอพพลิเคชั่น Book Hunter เป็น เครื่ อ งมื อ ช่ ว ยค้ น หาทรั พ ยากรสารสนเทศบนชั้ น ของหอสมุ ด จอห์ น เอฟ เคนเนดี้ ส านั ก วิ ท ยบริ ก าร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้อย่างสะดวกรวดเร็ว รายการอ้างอิง Android Developers. (2007). Package Index. Retrieved August 5, 2013, from http://developer.android.com/reference/packages.html
75
การพัฒนาระบบให้บริการห้องสมุดบนเครือข่ายเคลื่อนที่ CMUL AirPAC The Development of Mobile Library Service System CMUL AirPAC ปราชญ์ สงวนศั ก ดิ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail : pratchaya@lib.cmu.ac.th
บทคัดย่อ โปรแกรม CMUL AirPAC ถูกพัฒนาขึ้นโดยโปรแกรมเมอร์ของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยใช้ Android SDK มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มช่องทางการให้บริการทรัพยากร สารสนเทศของสานักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผ่านอุปกรณ์สื่อสารประเภท Smart Device ใน รูปแบบของ Mobile Application ให้ผู้รับบริการสามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุด สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาในประเทศไทยรวม 11 แห่ง และฐานข้ อ มู ล ออนไลน์ ที่ ส านั ก หอสมุ ด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บอกรับ รวมถึงให้บริการ ยืม นาส่ง ยืมต่อผ่านระบบตะกร้าหนังสือออนไลน์ ที่ ผู้ รั บ บริ ก ารสามารถตรวจสอบสถานะการน าส่ ง ประวั ติ ก ารน าส่ ง และบริ ก ารช่ ว ยการค้ น คว้ า ทรัพยากรสารสนเทศได้ด้วยโปรแกรมเดียว นอกจากนี้ยังทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการเชื่อมโยงข้อมูล ระหว่ า งเครื อ ข่ า ยสั ง คมและระบบห้ อ งสมุ ด อั ต โนมั ติ เ ข้ า ด้ ว ยกั น เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ท รั พ ยากร สารสนเทศใหม่ที่ห้องสมุดกลางจัดซื้อ จากการให้คะแนนความพึงพอใจของผู้ดาวน์โหลดโปรแกรม จาก Google Play พบว่า ได้คะแนนอยู่ในระดับ 4.5 จากคะแนนเต็ม 5 คาสาคัญ : ห้องสมุด, การพัฒนาโปรแกรม, โมบายแอพพลิเคชัน, บริการออนไลน์ ABSTRACT CMUL AirPAC is an application software developed by the programmer of Chiang Mai University Library using Android SDK in order to add new channel for accessing information resources from Chiang Mai University Library as a mobile application which users can download to their smart devices. Users can access to information resources available in 11 academic libraries in Thailand as well as online databases subscribed by Chiang Mai University Library. Furthermore, users can checkout, use of document delivery service and renew via online book basket. By using this software users can check the document delivery processes, preview the previous delivery and search information at the same time. In addition, the program is designed to relate the library automated system with social networking software in
76
order to publicize new information resources acquired by the Main Library. By studying of the satisfaction of users who downloaded the application via Google Play, it was found that the score of satisfaction was 4.5 from the full score of Keywords : Academic Libraries, Programming, Mobile Application, Online Service บทนา ด้วยสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีพันธกิจในการบริการทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท ทุกรูป แบบอย่างมีคุณภาพ จึงตระหนักถึงความสาคัญของการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศบนเครือข่ายไร้สาย (Mobile service) ผ่านอุปกรณ์สื่อสารประเภท Smart Device เช่น สมาร์ตโฟน หรือแท็บเล็ตที่มีแนวโน้มเติบโตขึ้นตาม ประสิทธิภาพของระบบเครือข่ายไร้สายในประเทศไทยที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากผู้รับบริการสามารถ เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้ทุกที่ ทุกเวลา ไม่ถูกจากัดการรับบริการด้วยพื้นที่ เพื่อให้ผู้รับบริการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างหลากหลายและตรงตามความต้องการนั้นห้องสมุดจาเป็นต้อง มีเครื่องมือสืบค้น (Searching tool) ที่มีประสิทธิภาพ เช่น ระบบสืบค้นแบบสหพันธ์ (Federated search) ซึ่งเป็น เทคโนโลยีที่ผู้รับบริการสามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศจากหลายแหล่งได้โดยใช้ระบบสืบค้นเพียงแค่ระบบเดียว ด้านการนาทรัพยากรสารสนเทศไปใช้งานโดยเฉพาะการยืมทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบ ดิ จิ ทั ล ผู้ รั บ บริ ก ารจ าเป็ น ต้ อ งน าทรั พยากรที่ ต้ อ งการยื ม ไปติ ด ต่ อ ที่ จุ ด ให้ บ ริ ก ารยื ม -คื น ของห้ อ งสมุ ด เจ้ า ของ ทรัพยากรเพื่อยืนยันตนเองด้วยบัตรสมาชิกห้องสมุดจึงจะสามารถยืมทรัพยากรออกนอกห้องสมุดได้ ทาให้การ ให้บริการถูกจากัดด้วยพื้นที่ ไม่เป็นการบริการในเชิงรุกอย่างแท้จริง ดังนั้นสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงได้พัฒนาโปรแกรม CMUL AirPAC ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้เป็นระบบสืบค้นแบบสหพันธ์ที่สามารถสืบค้นข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศจากหลากหลายห้องสมุด รวมถึง ฐานข้อมูลออนไลน์และหนังสืออิเล็คทรอนิกส์ ให้บริการบนอุปกรณ์สื่อสารประเภท Smart Device นอกจากนี้ ผู้รับบริการยังสามารถยืม-นาส่ง ยืมต่อ ตรวจสอบสถานะ-ดูสถิติการนาส่งผ่านระบบตะกร้าหนังสือ และสอบถาม ข้อมูลช่วยการค้นคว้าได้ด้วยโปรแกรมเดียว เป็นการให้บริการเชิงรุกที่ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงบริการได้ทุกที่ ทุก เวลา ไม่ถูกจากัดด้วยพื้นที่ให้บริการ วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศบนอุปกรณ์สื่อสารประเภท Smart Device 2. พัฒนาระบบสืบค้นแบบสหพันธ์ (Federated Search) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และหน่วยงานภายนอกที่ต้องการเชื่อมโยงข้อมูล
ให้กับหน่วยงานในสานักหอสมุด
ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ 1. ศึกษาช่องทางการเข้าควบคุมและเชื่อมโยงระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Millennium เข้ากับกับระบบอื่น
77
2. วิเคราะห์ระบบเพื่อออกแบบโครงสร้างข้อมูลในส่วนของ Search Engine และส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User Interface) 3. พัฒนาโปรแกรม โดยเลือกใช้ซอฟต์แวร์ประเภทฟรีแวร์หรือโอเพ่นซอร์ส 4. ทดสอบระบบโดยเริ่มใช้งานภายในห้องสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 5. ปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาดที่พบจากการทดสอบ 6. เผยแพร่โปรแกรมโดยเริ่มจากเปิดให้ดาวน์โหลดฟรีบน Google Play 7. จัดเก็บสถิติการใช้งานเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาต่อไปในอนาคต ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผล การพัฒนาโปรแกรม CMUL AirPAC วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศบน อุปกรณ์สื่อสารประเภท Smart Device ในรูปแบบของ Mobile Application ที่ครอบคลุมการให้บริการสืบค้น ยืมนาส่งเอกสาร ตรวจสอบการนาส่งเอกสาร ยื มต่อ ติดต่อสอบถามข้อมูลช่วยการค้นคว้า รวมถึงประชาสัมพันธ์ข้อมูล ต่าง ๆ ของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เช่น ข่าวสาร แนะนาทรัพยากรสารสนเทศ เป็นต้น ระบบได้ถูก พัฒนาด้วย Android SDK (Software Develop Kit) สามารถสรุปผลการศึกษาออกเป็น 4 ด้านด้วยกัน ด้านการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ CMUL AirPAC มีหน้าที่เป็นตัวกลางในการจัดหาข้อมูลตามที่ ผู้รับบริการสืบค้นจากห้ อ งสมุ ด 11 แห่ ง ได้ แ ก่ สานั ก หอสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ศู น ย์ วิ ท ยทรั พ ยากร จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย สานักวิทยบริการมหาวิทยาลัยขอนแก่น สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยรามคาแหง หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล สานักหอสมุดกลางมหาวิทยา ศิลปากร สานักวิทยบริการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยนเรศวร สานักหอสมุดกลางสถาบัน เทคโนโลยีแห่งเอเชีย สานักหอสมุดกลางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ รวมถึงฐานข้อมูล อิเล็คทรอนิกส์ที่สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่บอกรับ นอกจากนี้ยังมี API (Application Programming Interface) เพื่อเป็นช่องทางให้หน่วยงานที่สนใจสามารถพัฒนาโปรแกรมเข้าเชื่อมโยงกับ CMUL AirPAC เพื่อสืบค้น ข้อมูล ด้านการให้บริการยืม นาส่งเอกสาร และยืมต่อ CMUL AirPAC มีระบบตะกร้าหนังสือเพื่อให้ผู้รับบริการ สามารถเลือกหนังสือที่ได้จากการสืบค้นมาใส่ในตะกร้า พร้อมระบุปลายทางที่ต้องการให้จัดส่งหนังสือซึ่งมีทั้งสิ้น 22 จุด ยืนยันตนเองด้วยอุปกรณ์สื่อสารซึ่งระบบจะทาการเชื่อมโยงหมายเลขเครื่องเข้ากับข้อมูลสมาชิกผ่านระบบ Mobile Passport โดยผู้รับบริการสามารถตรวจสอบกระบวนการนาส่งรวมถึงสามารถยืมทรัพยากรสารสนเทศ ต่อได้ ด้านการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร CMUL AirPAC สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างระบบห้องสมุดอัตโนมัติ กับเครือข่ายสังคมในการแนะนาทรัพยาการสนเทศใหม่ เมื่อมีการปรับเปลี่ยนรายชื่อทรัพยากรสารสนเทศใหม่บน เครือข่ายสังคมจะทาให้หน้าแนะนาทรัพยากรสารนิเทศใหม่ของ CMUL AirPAC ปรับเปลี่ยนตาม และผู้รับบริการ สามารถเข้าดูข้อมูล บรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศนั้นได้ ช่วยลดขั้นตอนในการประชาสัมพันธ์ข่าวสารจาก เดิมที่ต้องปรับปรุงข้อมูลหลายแห่ง
78
ด้านการช่วยการค้นคว้าทรัพยากรสารสนเทศ CMUL AirPAC ได้เชื่อมโยงระบบกับ Mailbox ของ สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทาให้เมื่อมีการสอบถามข้อมูลจากผู้รับบริการ ข้อมูลข้างต้นจะถูกส่งไปยังอีเมล ของผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้รับผิดชอบติดต่ อกลับไปยังผู้สอบถามข้อมูล เป็นการอานวยความสะดวกด้านการบริการ ช่วยการค้นคว้าให้กับผู้รับบริการ จากการประเมินด้วยการเก็บแบบสอบถามหลังจากเปิดตัว CMUL AirPAC ในกิจกรรมวันนวัตกรรมไอที สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จากอาจารย์ นักวิจัย บรรณารักษ์ นักวิชาการ นักเอกสารสนเทศ พนักงาน ปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่สานักงาน นักศึกษา และบุคคลทั่วไปทั้งภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และหน่วยงานภายนอก รวม 71 คน พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมแสดงความเห็นในภาพรวมว่าโปรแกรม CMUL AirPAC สามารถนามาใช้ ประโยชน์ได้ในอัตราความพึงพอใจในระดั บมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.62) และจากผู้ใช้งานที่ดาวน์โหลด CMUL AirPAC จาก Google Play ให้คะแนนความพึงพอใจในโปรแกรมในระดับ 4.5 เต็ม 5 คะแนน
รูปที่ 1 โปรแกรม CMUL AirPAC
79
ข้อเสนอแนะ 1. พัฒนาโปรแกรมให้สามารถใช้งานได้บนระบบปฏิบัติการอื่น เช่น iOS Windows เป็นต้น 2. เพิ่มบริการแนะนาทรัพยากรสารสนเทศลงใน CMUL AirPAC 3. นาเทคโนโลยี AR-Code เข้ามาใช้งานในห้องสมุด การนาไปใช้ประโยชน์ โปรแกรม CMUL AirPAC เปิดให้บุคคลทั่วไปดาวน์โหลดไปใช้งานได้ฟรีที่ Google Play ตั้งแต่วันที่24 กรกฏาคม 2556 ปัจจุบันมีการปรับปรุงเป็นเวอร์ชัน 2 รองรับอุปกรณ์สื่อสารประเภท Smart Device รวม 4,014 รุ่น ณ วันที่ 8 ตุลาคม 2556 มีจานวนการดาวน์โหลดทั้งสิ้น 53 ครั้ง และสามารถในมาใช้ประโยชน์ได้ดังนี้ 1. เพิ่มช่องทางการให้บริการทรัพยากรสารสนเทศบนอุปกรณ์สื่อสารประเภท Smart Device 2. สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดในประเทศไทยรวม 11 แห่ง และฐานข้อมูล อิเล็คทรอนิกส์ทสี่ านักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่บอกรับ 3. หน่วยงานอื่นที่สนใจพัฒนาระบบสืบค้นข้อมูล สามารถพัฒนาโปรแกรมเพื่อเชื่อมโยงข้อมูลผ่าน API ของ CMUL AirPAC ได้ 4. เพิ่มช่องทางในการประชาสัมพันธ์ทรัพยากรสารสนเทศใหม่และข่าวสารของสานักหอสมุด 5. ลดค่าใช้จ่ายในการจัดซือ้ ซอฟต์แวร์ รายการอ้างอิง Deshmukh, S., Bhavsar, S., & Bhavsar, S. (2012). Open Source Software for Federated Search. DESIDOC Journal Of Library & Information Technology, 32(5), 427-430. Krogfoss, B., Hanson, G., & Vale, R. J. (2011). Impact of consumer traffic growth on mobile and fixed networks: Business model and network quality impact. Bell Labs Technical Journal, 16(1), 105-120. doi:10.1002/bltj.20489
80
ประตูทางเข้าอัตโนมัติ Smart gate นายสมพงศ์ หุ ต ะจู ฑ ะ สานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ e-mail sompong.h@psu.ac.th
บทคัดย่อ สานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ จัดเก็บสถิติการเข้าใช้บริการของสมาชิกห้องสมุดในทุกๆ ปีการศึกษา เพื่อนาข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์ และเป็นสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจในการดาเนินงานต่างๆ ในปีการศึกษาถัดไป โดยอาศัย ข้อมูลสถิติการเข้าใช้จากประตูทางเข้าแบบอัตโนมัติซึ่งประกอบไปด้วยแผงกั้ นทางเข้าจานวนสอง ช่องทาง ทีผ่ ู้ใช้บริการจาเป็นต้องยืนยันตัวตนก่อนเข้าห้องสมุด ในการยืนยังตัวตนจะสามารถแยกแยะ ประเภทของผู้ใช้บริการได้ กล้องเว็บแคมจะทาหน้าที่ถ่ายภาพผู้ที่ได้ยืนยันตัวตนแล้ว เพื่อใช้ในการ เปรียบเทียบระหว่างภาพถ่ายกับรูปถ่ายที่อยู่ในระบบฐานข้อมูล และสามารถเรียกดูภาพถ่ายย้อนหลัง ในเวลาต่ า งๆได้ เซ็ น เซอร์ ที่ ติ ด ตั้ ง บริ เ วณแผงกั้ น จะท าหน้ า ที่ ต รวจนั บ จ านวนคนที่ เ ดิ น ผ่ า นและ ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งในการยื น ยั น ตั ว ตน เมื่ อ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารเดิ นผ่ า นประตูโ ดยไม่ ไ ด้ยื น ยั น ตั ว ตน เซ็ น เซอร์ จ ะท าหน้ า ที่ ต รวจจั บ และส่ ง สั ญ ญาณไปให้ อุ ป กรณ์ แ จ้ ง เตื อ น ตั ว ระบบใช้ ซ อฟต์ แ วร์ คอมพิวเตอร์ในการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้การทางานเป็นไปตามลาดับขั้นตอนและมีความ สอดคล้องกันอย่างเป็นระบบ คาสาคัญ: ประตูทางเข้าอัตโนมัติ, ประตูห้องสมุด, สถิติการเข้าใช้ห้องสมุด, สานักทรัพยากรการ เรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ABSTRACT Khunying Long Athakravisunthorn Learning Resources Center, Prince of Songkla University has kept the number of traffic throughout the year the data were analyzed and used to work in the next year. Smart gate made using the two channel barrier Members will need to verify their identity before entering . To stand still is to classify the identity of the subscriber. The Webcam to take pictures to use in comparison with the database. And three known photos backwards. Gate Sensor to count the number of people walking through. When walking through the door
81
without authentication Sensor will sound an alarm. The system uses computer software to control the device operation is automatic. Keywords: Smart Gate, Optical Barrier , Library Statistics , RFID , Khunying Long Athakravisunthorn Learning Resources Center, Prince of Songkla University บทนา สานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้จัดเก็บสถิติการ เข้าใช้บริการของนิสิตนักศึกษา ผู้สอน นักเรียนรวมถึงผู้ใช้บริการภายนอก ในทุกๆ ภาคการศึกษาเพื่อนาข้อมูล เหล่านี้กลับมาศึกษาวิเคราะห์และเป็นสารสนเทศเพื่อใช้ในการประกอบการตัดสินใจดาเนินงานต่างๆ ในปีการศึกษา ถัดไป ในการได้มาซึ่งสถิติการเข้าใช้บริการของสมาชิกห้องสมุดนั้นต้องอาศัยเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาช่วยในการ จัดเก็บข้อมูลเพื่อให้เกิดความสะดวกและลดภาระงานของเจ้าหน้าทีใ่ นการดาเนินการรวบรวมข้อมูลทางด้านสถิติ คง เป็นเรื่องที่สับสนและสิ้นเปลืองทรัพยากรบุค ลากรอย่างยิ่งถ้าต้องการเก็บข้อมูลของผู้เข้าใช้บริการห้องสมุด ด้วย เจ้าหน้าที่โดยที่ไม่มีเครื่องมือที่ใช้ในการอานวยความสะดวก จึงมีการศึกษาการทางานของเทคโนโลยีหรือเครื่องมือที่ ใช้ในการจัดเก็บสถิติของผู้ใช้บริการห้องสมุด จากหน่วยงานอื่นๆ ที่มีการนาเครื่องมือต่างๆ เหล่านั้นมาทาการนับ จานวนสมาชิกที่ เ ข้าใช้ บ ริการ จากการศึ กษาพบว่า การนั บ จ านวนผู้ ใช้ บ ริ การห้อ งสมุ ด นั้น เกิ ด ขึ้น ตรงบริ เ วณ ทางเข้าออกของห้องสมุดโดยอาศัยตัวเซ็นเซอร์ Sensor เป็นอุปกรณ์สาคัญในการตรวจนับ นอกจากนี้ยังพบว่าการ ยืนยันตัวตนก่อนเข้าใช้บริการก็เป็นวิธีหนึ่งในการนับจานวนคนที่เข้าใช้บริการห้องสมุดในช่วงเวลานั้นๆ ได้ เช่นกัน อุปกรณ์เหล่านี้ต้องอาศัยการกาหนดทิศทางในการเคลื่อนที่ของผู้ใช้บริการเพื่อให้ทิศทางการไหลเข้าของผู้ใช้บริการ เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้ การบังคับให้ผู้ใช้บริการสามารถเดินเข้าห้องสมุดด้วยวิธีการเดินเรียงแถวตอนจึงเป็น วิธีการนับจานวนคนที่มีความเที่ยงตรงกับการใช้อุปกรณ์เซ็นเซอร์เพื่อตรวจนับจานวนคน รวมถึงการยืนยันตัวตนก็ จะสามารถให้บริการได้อย่างเป็นระเบียบ การนาเครื่องมือในการตรวจนับและการยืนยันตัวตนก่อนเข้าใช้บริการ ของสานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทรจึงมีการกาหนดทิศทางในการเดินเข้าออกห้องสมุดโดย แบ่งเส้นทางเข้าและเส้นทางออกจากห้องสมุดเป็นสองเส้นทาง เส้นทางเข้าห้องสมุดจะถูกแบ่งออกเป็นสองช่องทาง โดยใช้แผงกั้นจานวนสามชิ้นวางขนานกันและเว้นระยะห่างประมาณ 70 เซนติเมตรต่อ 1 ช่องทาง ซึ่งเพียงพอที่จะ ให้ผู้ใช้บริการสามารถเดินผ่านช่องทางนี้ได้ ส่วนเส้นทางออกจะมีเพียงช่องทางเดียวเพื่อให้เกิดความสะดวกกับ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจหาทรัพยากรที่ไม่ได้ผ่านระบบการยืมก่อนออกไปจากห้องสมุด ในส่วนของ ขั้นตอนยืนยันตัวตนจะอาศัยบัตรสมาชิกห้องสมุด, บัตรนักศึกษา, บัตรข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานมหาวิทยาลัย , บัตรสมาชิก PULINET, บัตรนักเรียน, บัตรผู้เยี่ยมชม, และคูปองเข้าใช้บริการ เพื่อเป็นเสมือนตัวแทนของผู้ถือบัตร เหล่านั้น ข้อมูลที่ถูกเชื่อมโยงกับตัวบัตรในระหว่างการยืนยันตั วตนจะสามารถบอกได้ว่าบัตรเหล่านั้นเป็นของผู้ถือ บัตรจริงหรือไม่โดยการอาศัยการเปรียบเทียบรูปถ่ายกับใบหน้าที่จะปรากฏทุกครั้งเมื่อมีการยืนยันตัวตน เมื่อผ่าน ขั้นตอนการยืนยันตัวตนด้วยการนาบัตรสมาชิกห้องสมุดไปใช้กับหัวอ่าน RFID หรือหัวอ่าน BARCODE แล้ว ประตู Smart Gate จะส่งสัญญาณพร้อมให้กับสมาชิกทราบและเดินผ่านประตูเพื่อเข้า ไปใช้บริการต่างๆ ภายในห้องสมุด แต่ในกรณีที่เดินผ่านประตู Smart Gate โดยที่ไม่ได้ทาการยืนยันตัวตนตัว Sensor ที่อยู่ระหว่างประตูจะทาหน้าที่ ส่งสัญญาณไปให้กับอุปกรณ์ Alarm เพื่อส่งเสียงเตือนให้ผู้ปฏิบัติงานตรงจุดทางเข้าออกห้องสมุดทราบและให้คา ชี้แนะกับสมาชิกถึงวิธีการยืนยันตัวตนที่ถูกต้องก่อนการเข้าใช้บริการห้องสมุด ในส่วนสถิติของผู้เข้าใช้บริการ
82
ห้องสมุดจะถูกบันทึกในระหว่างขั้นตอนการยืนยันตัวตนซึ่งข้อมูลนี้จะบอกได้ว่าสมาชิกท่านนั้นเป็นใคร สังกัดใด วั น เวลาที่เข้าใช้บริการรวมถึงภาพถ่ายบุคคลในเวลานั้น ส่วนข้อมูลที่ได้รับจากตัว Sensor จะเป็นตัวเลขที่บอกจานวน ครั้งของผู้เข้าใช้บริการในภาพรวมของแต่ละวัน และแยกแยะช่วงเวลาต่างๆ ออกเป็น 6 ช่วงเวลาเพื่อดูความคับคั่ง ของการเข้าใช้บริการห้องสมุดในแต่ละช่วงเวลา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อนาสถิติการเข้าใช้บริการของสมาชิกห้องสมุดมาศึกษาวิเคราะห์และนาข้อมูลที่ได้ไปประกอบการ ตัดสินใจดาเนินงานต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางในการให้บริการในเชิงรุกต่อไป 2. เพื่อจัดเก็บข้อมูลของผู้ใช้บริการห้องสมุดและสามารถนากลับมาใช้ได้ในภายหลังเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ มิจฉาชีพแฝงตัวเข้ามาเป็นผู้ใช้บริการห้องสมุดหรือการที่ผู้ใช้บริการมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม โดยอาศัยการทางาน ร่วมกับข้อมูลหลักฐานที่ได้จากกล้องวงจรปิดตามจุดต่างๆ โดยรอบห้องสมุด 3. เพื่อช่วยลดภาระงานของผู้ปฏิบัติงานบริเวณจุดทางเข้าออกห้องสมุดด้วยการนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมา ประยุกต์ใช้กับการให้บริการและการรวบรวมข้อมูลเชิงสถิติ ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ หลังจากการศึกษาดูงานตามห้องสมุดต่างๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศรวมถึ งการเข้าไปทดสอบ ผลิตภัณฑ์กับผู้ผลิตประตูทางเข้าออกด้วยตนเอง พบว่าการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ที่ได้รับการนาเสนอนั้นเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ขั้นพื้นฐานตามที่ต้องการ แต่ราคาสินค้าที่วางขายในท้องตลาดก็มีราคาค่อนข้างสูงจึงมีแนวคิดที่จะ ลดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อประตูทางเข้าด้วยจัดซื้อชิ้นส่วนต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบสาคัญของประตูทางเข้ามาเพื่อ ทาการศึกษาวิธีการใช้งานจนสามารถนามาประยุกต์ใช้และติดตั้งใช้งานได้จริงตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ การ พัฒนานวัตกรรมต่างๆ ขึ้นมาใช้เองนั้นนอกจากเป็นการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยีแล้ วยังเป็นการใช้ งบประมาณที่มีอยู่ให้เกิดความคุ้มค่าสูงสุด หลังจากที่ได้นาเสนอข้อมูลที่ได้ ทาการศึกษามากับคณะกรรมการบริหาร ส านั ก ทรั พ ยากรการเรี ย นรู้ คุ ณ หญิ ง หลง อรรถกระวี สุ น ทร ภายหลั ง การหารื อ จึ ง มี ก ารตั ด สิ น ใจจากคณะ กรรมการบริหารว่าจะดาเนินการพัฒนาระบบประตูอัตโนมัติขึ้นใช้งานเองแทนการจัดซื้อชุดประตูทางเข้าจากบริษัท ตัวแทนจาหน่าย ในเบื้องต้นจึงทาการจัดซื้อวัสดุต่างๆ เพื่อใช้ทาการศึกษาดังนี้ - จัดซื้อเครื่องอ่านเขียนบัตร RFID ชนิด Mifare ที่ทางานรวมกับมาตรฐาน ISO 14443 Type A เพื่อใช้ใน การพัฒนาโปรแกรมอ่านเขียนข้อมูลจากบัตร RFID - จัดซื้ออุปกรณ์เซนเซอร์ Photoelectric Sensor เพื่อศึกษาวิธีการควบคุมอุปกรณ์ Sensor - จัดซื้ออุปกรณ์ RS232 To USB เพื่อเขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ - จัดซื้อวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ไอซี ตัวต้านทาน รีเลย์ หลอดไฟLED แผงวงจรและอุปกรณ์อื่นๆ เพื่อประกอบเป็นชุดควบคุมอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
83
ออกแบบโครงสร้างประตูด้วยวัสดุที่หาได้ในห้องสมุด จากนั้นจึงนาวัสดุต่างๆ ที่จัดซื้อมาทาการประกอบ เข้าด้วยกันเพื่อพัฒนาอุปกรณ์ต้นแบบที่ใช้รองรับการเขียนชุดคาสั่งคอมพิวเตอร์ ในการควบคุมการทางานในส่วน ต่างๆ ให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้
ภาพแสดงประตูทางเข้าอัตโนมัติ Smart Gate และหน้าจอโปรแกรมควบคุมประตูทางเข้าอัตโนมัติ Smart Gate ในการพัฒนาประตูทางเข้าอัตโนมัติ Smart Gate (version 3) จะแบ่งเป็นภาคส่วนต่างๆ ดังนี้ การยืนยันตัวตน ในการยืนยันตัวตนนั้นสามารถใช้เครื่องมือ ต่างๆ ได้หลากหลายเช่นการแสดงบัตรประจาตัวพร้อมรูปถ่าย, การป้อนรหัสประจาตัวเข้าไปในระบบผ่านแป้นพิมพ์, การใช้รหัสแทงบาร์โค้ด, การสแกนลายนิ้วมือ และการใช้บัตร ชนิด RFID ซึ่งเป็นรูปแบบที่ถูกเลือกมาใช้กับโครงการนี้ ด้วยเหตุผลของการใช้บัตร RFID ที่มีความสะดวกสามารถ อ่านข้อมูลที่อยู่ภายในบัตรได้โดยไม่จาเป็นต้องสัมผัสกับเครื่องอ่านบัตรโดยตรง เทคโนโลยี RFID สามารถส่งผ่าน ข้อมูลได้ในระยะใกล้และไกลด้วยสัญญาณคลื่นวิทยุที่ปล่อยออกจากเครื่องอ่าน สัญญาณคลื่นวิทยุยังสามารถทะลุ ทะลวงได้แม้ว่าบัตร RFID จะอยู่ภายใต้วัสดุห่อหุ้มเช่น กระเป๋าสตางค์หรือกระเป๋าถือ การใช้บัตรชนิด RFID มีความ แม่นยาและรวดเร็วกว่าการยืนยันตัวตนด้วยวิธี สแกนลายนิ้วมือ เมื่อใช้ข้อมูลในส่วนที่เป็นข้อมูล Serial Number หรือหมายเลขจาเพาะของบัตรร่วมกับหมายเลขประจาตัว สมาชิกห้องสมุดจะให้ความปลอดภัยในการถือบัตร ประจาตัว สมาชิกได้เป็นอย่างดี ซึ่งในกรณีที่ทาบัตรหายสามารถแจ้งยกเลิกบัตรใบนั้นได้โดยการยกเลิก Serial Number ของบัตรใบเดิม และจับคู่กับ Serial Number ใหม่ในระบบฐานข้อมูลให้ตรงกับหมายเลขสมาชิกอีกครั้ง ในปัจจุบันได้มีการปรับรู ปแบบบัตรประจาตัวนักศึกษาซึ่งสามารถใช้เป็นบัตรสมาชิกห้องสมุดโดยอัตโนมัติให้เป็น บัตรชนิด RFID และได้มีการเริ่มต้นใช้บัตรนักศึกษาชนิด RFID ตั่งแต่ปีการศึกษา 2554 เป็นต้นไป สาหรับบัตร ข้าราชการหรือบัตรพนักงานมหาวิทยาลัยกองการเจ้าหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบในการออกบัตรชนิด RFID ให้กับ บุคลากร ในการบันทึกข้อมูลสมาชิกในบัตร RFID นั้นจาเป็นต้องอาศัยเครื่องมือในการเขียนข้อมูลลงในบัตรให้ สามารถใช้งานร่วมกันกับมาตรฐานของบัตร RFID ที่กาหนดไว้ได้ บัตร RFID ที่นามาใช้กับบัตรนักศึกษาและบัตร บุคลากรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์นั้นคณะกรรมการได้มีการเลือกบัตร RFID ที่ใช้ย่านความถี่ 13.56 MHz อยู่ในมาตรฐาน ISO 14443A มีความจุข้อมูลจานวน 1 Kilobyte ในท้องตลาดมักจะเรียกบัตรชนิดนี้ว่า Mifare
84
Card คุณสมบัติต่างๆ ที่ดีของบัตรชนิด Mifare เป็นเหตุผลหลักที่คณะกรรมการของมหาวิทยาลัยได้ตัดสินใจเลือกใช้ บัตรชนิดนี้ คือเป็นบัตรที่มีความปลอดภัยสูง มีระบบป้องการเข้าถึงข้อมูลภายในบัตรด้วยรหัสผ่าน ระยะการอ่าน ข้อมูลระหว่างหัวอ่านกับตัวบัตรอยู่ในระยะสั้นช่วยป้องกันการโจรกรรมข้อมูลด้วยเครื่องอ่านระยะไกล ตัวบัตรมี ลักษณะบางกว่าบัตรในมาตรฐานอื่นๆ คุณสมบัติที่ดีอีกประการหนึ่งของบัตรชนิด RFID คือมีความสามารถรับ สัญญาณทะลุทะลวงได้ในระยะใกล้เช่นสามารถอ่านข้อมูลในบัตร RFID ที่อยู่ภายในกระเป๋าสตางค์ หรือกระเป๋าถือ ได้ซึ่งมีความแตกต่างจากรหัสบาร์โค้ดหรือแถบแม่เหล็กที่จาเป็นต้องนาบัตรออกมาสัมผัส กับลาแสงและตัวเครื่อง อ่านทุกครั้งส่งผลให้บัตรเกิดการชารุดได้ง่ายอายุการของบัตรที่ใช้บาร์โค้ดจึงมีอายุการใช้งานที่ต่ากว่าการใช้งานบัตร ชนิด RFID
ภาพตัวอย่างบัตรข้าราชการพลเรือนและบัตรนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ชนิด RFID และหัวอ่าน RFID การเขียนข้อมูลส่วนบุคคลในบัตร RFID แบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่ๆ คือบัตร RFID สาหรับนักศึกษา ธนาคาร ไทยพานิชย์เป็นผู้ดาเนินการบันทึกข้อมูลลงบัตร โดยมีข้อตกลงกับมหาวิทยาลัยว่าจะใช้มาตรฐานการจัดเก็บข้อมูล ในแบบเดียวกันกับที่มหาวิยาลัยใช้ในการบันทึกข้อมูลลงในบัตร RFID ส่วนบัตร RFID ในกลุ่มที่สองเป็นบัตร บุคลากรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซึ่ง มีการใช้งานบัตร RFID กับบัตรข้าราชการ, ลูกจ้าง พนักงานที่อยู่ใน สังกัดของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บัตรเหล่านี้จะถูกจัดทาที่กองการเจ้าหน้าที่โดยมีกระบวนการบันทึกข้อมูล ส่วนบุคคลลงในบัตร RFID เป็นขั้นตอนสุดท้าย เจ้าหน้าที่จะนาบัตรไปวางทาบกับหัวอ่านเขียนบัตรและเรียกใช้ โปรแกรม นกเงือก เพื่อบันทึกข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลบุคลลากรลงในบัตร RFID ซึ่งถือว่าเป็นการเสร็จสิ้น กระบวนการจัดทาบัตรประจาตัวบุคลากร ทั้งนี้รหัสบุคลากรที่อยู่ในบัตรจะกลายเป็นรหัสประจาตัวสมาชิกห้องสมุด โดยอัตโนมัติเช่นเดียวกับรหัสประจาตัวของนักศึกษา
85
ภาพตัวอย่างโปรแกรมนกเงือก ทาหน้าที่บันทึกข้อมูลส่วนบุคคลจากระบบฐานข้อมูลบุคลากรลงในบัตร RFID ในการยืนยันตัวตนของสมาชิกห้องสมุดผู้ใช้บริการจาเป็นจะต้องนาบัตรสมาชิกห้องสมุดติดตัวมาด้วยเสมอ นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีบัตรประจาตัวนักศึกษาที่เป็นบั ตรสมาชิกห้องสมุด ด้านหลังของบัต ร ประจาตัวนักศึกษาจะประกอบด้วยแถบบาร์โค้ดซึ่งเก็บข้อมูลรหัสประจาตัวนักศึกษาไว้ในรหัสแท่ ง ส่วนบัตร ประจาตัวนักศึกษาที่ออกให้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 เป็นต้นไปจะเป็นบัตรชนิด RFID ภายในตัวบัตรรุ่นใหม่จะมี ขดลวดรับสัญญาณคลื่นวิทยุและชิปข้อมูลเพื่อใช้เก็บข้อมูลพื้นฐานอยู่ในตัวบัตร ในบัตรประจาตัวของผู้ปฏิบัติ งาน ภายในสังกัดของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และสมาชิกประเภทรายปีของสานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง ฯ จะมีทั้งรหัสแทงบาร์โค้ดและเป็นบัตรชนิด RFID เช่นเดียวกันกับบัตรประจาตัวนักศึกษา ผู้ใช้บริการสามารถนา รหัสแทงบาร์โค้ดหรือบัตร RFID ไปใช้กับหัวอ่านแต่ละประเภทได้ทันที
BARCODE
RFID
RFID
ภาพแสดงบัตรสมาชิกชนิดต่างๆ ที่มรี หัสแท่งบาร์โค้ด เครือ่ งอ่านบาร์โค้ดและตาแหน่งของหัวอ่าน RFID
ภาพแสดงการใช้บัตรสมาชิกห้องสมุดเพื่อยืนยันตัวตนสมาชิกประเภทอื่นๆ มีลักษณะการเข้าใช้บริการตามประเภทต่างๆ ดังนี้
86
นักเรียนในชุดเครื่องแบบ สามารถเข้าใช้บริการได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยทาการลงทะเบียนเข้าใช้บริการที่เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ห้องสมุดจัดเตรียมไว้ แล้วนาบัตรนักเรียนของห้องสมุดไปทาการสแกนเพื่อเข้าใช้บริการก่อนนาบัตรนักเรียนคืนที่ กล่องรับบัตร สาหรับนักเรียนที่ไม่ได้สวมเครื่องแบบจะกลายเป็นบุคคลทั่วไปและต้องเสียอัตราค่าบริการจานวน 5 บาทซึ่งสามารถใช้บริการห้องสมุดได้ตลอดวันทาการ
ภาพแสดงโปรแกรม Another ที่ติดตัง้ ไว้ในเครือ่ งคอมพิวเตอร์เพื่อให้เด็กนักเรียกในเครื่องแบบ ได้ลงทะเบียนก่อนเข้าใช้บริการห้องสมุด บุคคลภายนอก การเข้าใช้บริการห้องสมุดในฐานะบุคคลภายนอก ห้องสมุดจะคิดค่าบริการตามอัตราดังนี้ผู้ใช้บริการที่อยู่ ในระดับอุดมศึกษาเป็นต้นไปคิดค่าบริการ 10 บาทส่วนกลุ่มที่ต่ากว่าระดับอุดมศึกษาคิดค่าบริการในราคา 5 บาท การชาระค่าบริการเพื่อเข้าใช้ห้องสมุดสามารถทาได้ด้วยตัวเองโดยการซื้อคูปองเข้าใช้บริการผ่านเครื่องข่ายคูปอง อัตโนมัติที่ทางสานักทรัพยากรการเรียนรู้ฯ เป็นผู้พัฒนาขึ้นและนาคูปองที่ได้พร้อมรหัสบาร์โค้ดไปสแกนกับเครื่อง อ่านบาร์โค้ดของประตู Smart Gate ก่อนเข้าใช้บริการห้องสมุดและคูปองนี้สามารถใช้บริการห้องสมุดได้ตลอดวัน ทาการผู้ใช้บริการที่ซื้อคูปองนี้ไปจะเก็บคูปองติดตัวไว้ เสมอเมื่อมีการเข้าออกในช่วงวันจะสามารถกลับเข้ามาใหม่ได้ โดยไม่ต้องชาระค่าบริการอีกครั้ง
ภาพแสดงตัวอย่างคูปองและเครื่องจาหน่ายคูปองเข้าใช้บริการห้องสมุดแบบอัตโนมัติ สาหรับกลไกของการกาหนดทิศทางการเข้าใช้บริการสานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวี สุนทรจาเป็นต้องผ่านประตูทางเข้า Smart Gate ที่ออกแบบมาให้สามารถใช้งานร่วมกับบัตรสมาชิกชนิด RFID และ รหัสบาร์โค้ดได้โดยผู้ใช้บริการจาเป็นต้องสแกนบัตรบริเวณประตูทางเข้าก่อนเข้าห้องสมุดทุกครั้ง ในกรณีที่ไม่มีการ สแกนบัตรเพื่อยืนยันตัวตนเมื่อเดินผ่านประตูจะมีสัญญาณไฟเตือนดังขึ้น ทาให้เจ้าหน้าที่ที่อยู่บริเวณทางเข้าออก สามารถตรวจสอบความผิดปกติและให้คาแนะนากับผู้เข้าใช้บริการ
87
ในการเข้าออกสานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลงฯ ได้แบ่งเส้นทางเข้าออกเป็นสองส่วนคือ การเดิน เข้าห้องสมุดถูกจัดให้อยู่ทางด้านซ้ายมือ ผู้ใช้บริการจะไม่สามารถเดินออกจากห้องสมุดผ่านช่องทางเข้าได้ เพราะจะ ทาให้เกิดเสียงสัญญาณเตือนดังขึ้นถ้าเดินออกจากห้องสมุดผิดช่องทาง ส่วนทางออกจากห้องสมุดจะถูกจัดอยู่ ทางด้ า นขวามื อ เพื่ อ เป็ น การบั ง คั บ ให้ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารเดิ น ไปหาเจ้ า หน้ า ที่ ที่ ท าหน้ า ที่ ต รวจความเรี ย บร้ อ ยของ ทรัพยากรห้องสมุดก่อนออกจากห้องสมุดไป ทั้งนี้ผู้ใช้บริการจะสามารถสังเกตทิศทางการเดินเข้าออกได้จาก สัญลักษณ์ลูกศรบนพื้นกระเบื้อง
ภาพแสดงทิศทางการเข้าออกของผู้ใช้บริการสานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร การประมวลผลข้อมูล ทุกครั้งที่มีการอ่านข้อมูลเลขประจาตัวสมาชิกห้องสมุด ตัวโปรแกรม Smart Gate จะนาข้อมูลนี้ไปทาการ เปรียบเทียบในฐานข้อมูล Local Computer ก่อนเป็นลาดับแรก ถ้าไม่สามารถเปรียบเทียบข้อมูลได้จากฐานข้อมูล Local Computer โปรแกรมจะทาการติดต่อกับฐานข้อมูลระบบห้องสมุดอัตโนมัติ (ALIST) และฐานข้อมูลเครื่อง ขายคูปองเพื่อทาการเปรียบเทียบข้อมูลอีกครั้ง ถ้าค้นพบว่าเลขประจาตัวสมาชิกมีตัวตนอยู่ในระบบฐานข้อมูล โปรแกรมจะอนุญาตให้สมาชิกท่านนั้นสามารถเดินผ่านประตูเข้าไปโดยไม่มีเสียงเตือน ในขั้นตอนการอนุญาตให้ สมาชิกเดินผ่านเข้าประตูนั้นจะมีกระบวนการทางานในส่วนต่างๆ อีกหลายประการดังต่อไปนี้ 1. การ Import ข้อมูลของผู้ใช้บริการในระบบ ALIST มายัง Local Computer 2. การเปลี่ยนสัญญาณจากไฟสีแดงเป็นไฟสีเขียวและการส่งเสียงบีบ 3. การถ่ายภาพสมาชิกและจัดเก็บลงใน Local Computer 4. การบันทึกข้อมูลของสมาชิกห้องสมุดลงใน Log file 5. การเพิ่มจานวนผู้ใช้บริการและการแยกแยะจานวนครั้งออกเป็นช่วงเวลา 6. การส่งเสียงพูด “ยินดีต้อนรับ”
88 Start Member card & Another
RFID Reader
Barcode Reader
Local Database
ALIST Database
find
find
Ticket Database
Beeb !
find Photograph
Import to Local database
Report Log File Statistics
Access the gate Alarm Welcome !
Stop
ภาพแสดงขั้นตอนการทางานของ Smart Gate ข้อมูลเชิงสถิติของการใช้งานประตู อัตโนมัติจะถูกบันทึกไว้ในเครื่องคอมพิว เตอร์ที่ควบคุมประตูและ สามารถเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ได้โดยง่ายดังตัวอย่างต่อไปนี้
ภาพแสดงข้อมูลจานวนครั้งของการเข้าใช้บริการห้องสมุดในวันที่ 6 ธ.ค. 56 จากประตูชอ่ งที่ 1 สถิติที่เก็บได้ในวันที่ 6 ธ.ค. 56 ตั้งแต่เวลา 08:30 น. ถึงเวลา 22:30 น. คิดเป็นจานวนครั้งของผู้ใช้บริการ รวมทั้งสิ้น 1,567 ครั้งและสามารถแบบช่วงเวลาในการเก็บสถิติได้เป็น 6 ส่วนโดยมีรายละเอียดดังนี้ - sec1 (08:00 - 11:45) 403 ครั้ง - sec2 (11:45 - 13:00) 190 ครั้ง - sec3 (13:00 - 16:30) 514 ครั้ง - sec4 (16:30 - 19:30) 389 ครั้ง - sec5 (19:30 - 22:30) 71 ครั้ง - sec6 (22:30 - 23:50) 0 ครั้ง
ภาพแสดงข้อมูลของสมาชิกที่ได้จากการยืนยันตัวตนในแต่ละครั้ง
89
ภาพแสดงรูปถ่ายของสมาชิกห้องสมุดภายหลังการยืนยันตัวตนและการรายงานสถิติการเข้าใช้บริการห้องสมุดใน วันที่ 21 ถึงวันที่ 27 พ.ย. 2556 มีผู้ใช้บริการทั้งสิ้นรวมแล้ว 3,325 คน คณะที่มีนักศึกษาเข้าใช้บริการมาก ในลาดับต้นๆ คือ คณะวิทยาศาสตร์ และคณะวิศวกรรมศาสตร์ ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ เทคโนโลยีที่นามาใช้ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ของสานักทรัพยากรการเรียนรู้ คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร จึงพบปัญหาหลายอย่างในการดาเนินงาน แต่ผู้พัฒนาก็พยายามแก้ปัญหาด้วยทักษะที่เกิดจากการเรียนรู้ในเนื้องาน นั้นๆ ปัญหาหลักที่ได้พบในระหว่างการทางานจึงมีดังนี้ การสร้างวงจร MAX232 เพื่อเชื่อมต่อกับหัวอ่าน RFID มีความซับซ้อนอยู่พอสมควรจึงใช้เวลา ค่อนข้างมาก ในการประกอบวงจรสาหรับผู้ที่เริ่มต้นพัฒนาหัวอ่านเขียน RFID ขึ้นใหม่ จึงแนะนาให้จัดซื้อหัวอ่านที่ สามารถติดตั้งเข้ากับคอมพิวเตอร์ควบคุมได้โดยตรงจะเป็นการลดระยะเวลาในการพัฒนาไปส่วนหนึ่ง เมื่อมีการติดตั้งระบบเพื่อใช้งานแล้ว การดูแลรักษาตรงบริ เวณหน้างานจะเป็น เรื่องที่ทาได้ยากมาก บางครั้งจะไม่สามารถทาการแก้ไขได้เลย ต้องปิดระบบถึงจะสามารถบารุงรักษาได้ จาเป็นอย่างยิ่งสาหรับผู้พัฒนา ระบบควบคุมฮาร์ดแวร์จะต้องสร้างเครื่องต้นแบบไว้อย่างน้อยสองชุดเสมอ และจะต้องสารองชุดหนึ่งไว้เพื่อการ ตรวจสอบหาข้อบกพร้องที่จะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคต ในการสื่อสารกับสมาชิกห้องสมุดจาเป็นอย่างมากที่จะต้องสื่อสารให้ครบทุกช่องทางและมีความชัดเจน เพื่ อ ปู ท างสร้ า งพื้ น ฐานความเข้า ใจในการใช้ ง านระบบ โดยเฉพาะระบบที่ ท าหน้ า ที่ ใ นการควบคุ ม ซึ่ ง มี ผ ลกั บ ผู้ใช้บริการโดยตรง ซึ่งเขาเหล่านั้นอาจจะไม่มีความคุ้นเคยกับ ระเบียบใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิม การจากัดสิทธิ บางอย่างของผู้ใช้บริการออกไป เรื่องเหล่านี้อาจสร้างความไม่เข้าใจให้กับผู้ใช้บริการ และอาจจะทาให้การให้บริการ ของระบบเกิดความล้มเหลวได้ การนาเสนอและการกาหนดช่วงเวลาเปิดบริการที่เหมาะสมจะช่วยลดความขัดแย้ง หรือความสับสนวุ่นวายให้น้อยลงได้ การนาไปใช้ประโยชน์ การเข้าใช้บริการห้องสมุดที่เป็นพื้นที่สาธารณะย่อมมีปัจจัยเสียงเรื่องอาชญากรรมหรือการลักขโมยซึ่งมีให้ เห็นอยู่บ่อยครั้งการสอดสองดูแลไม่สามารถทาได้ ตลอดเวลา แต่สามารถหากลวิธีการป้องปรามไม่ให้เกิดเหตุการณ์ ร้ายแรงได้ด้วยการวางนโยบายป้องกัน สานักทรัพยากรการเรียนรู้ฯ จึงมีการกาหนดระเบียบวิธีการเข้าใช้บริการ ห้องสมุดด้วยวิธียืนยันตัวตนก่อนเข้าใช้บริการ นอกจากกล้องวงจรปิดที่สามารถจับภาพพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ภายในห้องสมุดเป็นบริเวณกว้างแล้ว การควบคุมการเข้าออกห้องสมุดสามารถทาให้เราทราบได้ว่ามีผู้ใช้บริการท่าน ใดบ้างเข้ามาใช้งานห้องสมุดในเวลานั้น ในกรณีที่เกิดความสงสัยกับบุคคลที่อาจมีส่วนในพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ซึ่ง ถ้าสามารถระบุตัวบุคคลต้องสงสัยได้จะทาให้สามารถติดตามตัวผู้ต้องสงสัยได้จากที่อยู่ที่ได้ลงทะเบียนไว้ในระบบ
90
ผลพลอยได้จากการยืนยันตัวตนเราสามารถนาเอาสถิติการเข้าใช้บริการมาวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้บริการได้อย่าง แม่ยา เช่นช่วงเวลาใดในรอบปีที่มีการใช้บริการมากเป็นพิเศษ ข้อมูลนี้ทาให้ห้องสมุดสามารถเตรียมตัวจัดรูปแบบ การให้บริการเช่น การเตรียมจานวนที่นั่งอ่านหนังสือเพิ่มขึ้นให้มากเพียงพอกับจานวนผู้ใช้บริการในช่วงเวลานั้นๆ หรือขยายเวลาให้เปิดบริการให้ยาวนานขึ้น ส่วนในช่วงเวลาที่มีผู้ใช้ในปริมาณไม่มากนัก สามารถที่จะขยายเวลาใน การยืมหนังสือและสาระสนเทศต่างๆ ได้ และในการวิเคราะห์อย่างละเอียดด้วยการแบ่งแยกกลุ่มผู้ใช้บริการออกเป็น ประเภทต่างๆ เช่นกลุ่มนักศึกษาปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก กลุ่มนักเรียน กลุ่มผู้สอนและกลุ่มผู้ใช้บริการ ภายนอกข้อมูลเหล่านี้สามารถเป็นดัชนีชี้วัดเพื่อกาหนดทิศทางในจัดซื้อทรัพยากรของห้องสมุดได้ เช่นกัน การแบ่ง ช่วงเวลาในการนับสถิติ สามารถบอกได้ว่าในช่วงเวลาใดห้องสมุดจะมีปริมาณผู้ใช้บริการมากกว่าปกติ ตัวเลขเหล่า เป็นเครื่องมือในการกาหนดยุทธศาสตร์ในบริหารจัดการในการให้บริการได้เป็นอย่างดี ข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการเก็บ สถิติการเข้าใช้บริการจึงเปรียบเสมือนข้อมูลที่มีค่าสาหรับการให้บริการในเชิงรุกต่อไป บรรณานุกรม รายงานโครงการพัฒนางานสานักงานอธิการบดี ประจาปี 2552 ประเภทนวัตกรรม ของสานักทรัพยากรการเรียนรู้ คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร ในหัวข้อโครงการระบบประตูอัตโนมัติ Smart Gate. ข้อมูลสถาบันส่งเสริมความเป็นเลิศทางเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีแห่งประเทศไทย RFID Institute of Thailand. เข้าถึงได้จาก http://www.rfid.or.th/ (วันที่ค้นข้อมูล 16 ม.ค. 2554). Philips. (2007). MF1 IC S50 Functional specification. อภิชาติ ภู่พลับ, สัจจะ จรัสรุ่งรวีวร. (2546). เริ่มต้นเขียนโปรแกรมติดต่อและควบคุมฮาร์ดแวร์ด้วย Visual Basic.
91
การพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือน 3 มิติ โดยใช้ Google API 3D Virtual Library Development Using Google API สุ ข สั น ต์ พรมบุ ญ เรื อ ง สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม e-mail : suksun.p@msu.ac.th
บทคัดย่อ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี จุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ พั ฒ นาระบบห้ อ งสมุ ด เสมื อ นสามมิ ติ ส านั ก วิ ท ยบริ ก าร มหาวิทยาลัยมหาสารคามและศึกษาความพึ งพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อการใช้ระบบ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ใช้บริการที่เข้าใช้บริการสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จานวน 300 คน และ ผู้ปฏิบัติงาน จานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย ระบบห้องสมุดเสมือนสามมิติสานักวิทย บริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามและแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าผู้ปฏิบัติงานได้ประเมินผล อยู่ในระดับมากที่สุด โดยประเมินผลจากด้านประสิทธิภาพของระบบงาน และด้านการแสดงผล และ มีความพึงพอใจต่อระบบห้อ งสมุดเสมือนสามมิติอยู่ในระดับมากถึงระดับมากที่สุดและผู้ใช้บริการมี ความพึงพอใจต่อระบบห้องสมุดเสมือนสามมิติสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยรวม อยู่ในระดับมาก ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือนสามมิติสามารถช่วย ค้นหาและนาพาไปยังตาแหน่ง สารสนเทศได้เร็วมากยิ่งขึ้นโดยนาเสนอในรูปแบบโมเดลสามมิติและ เพิ่มความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการที่ไม่คุ้ นเคยกับสานักวิทยบริการและเกิดประสิทธิภาพสูงสุดต่อการ แนะนาสารสนเทศภายในสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามต่อไป คาสาคัญ : ห้องสมุดเสมือน, 3 มิติ, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ABSTRACT The purposes of this research are to develop the 3D virtual library system for the Academic Resource Center Mahasarakham University. And to study user satisfaction with the system. The sample consisted of a total of 300 users, and 30 library staffs. Research tools used included 3D virtual library system of the Academic Resource Center Mahasarakham University and the users satisfaction questionaire. The statistics used in data analysis were mean and standard deviation. The results showed that the library staffs operational evaluation in the highest level on the performance and the display of the
92
system and satisfied with 3D virtual library system of the Academic Resource Center Mahasarakham University overall at the high level. The findings show that the development of 3D virtual library can help users finding information more quickly by presenting in three dimensions. And more convenience to users who are not familiar with the Academic Resource Center, therefore increase the optimization to the information services of the Academic Resource Center , Mahasarakham University in the future. Keywords: Virtual Library, 3D, Mahasarakham University บทนา ปัจจุบันการสืบค้นสารสนเทศภายในห้องสมุดผู้ใช้บริการได้รับข้อมูลในรูปแบบตัวอักษร เช่น ชื่อหนังสือ เลขเรียกหนังสือ และข้อมูลสถานภาพ ซึ่งการแสดงผลดังกล่าวยังไม่ตอบสนองการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว ผู้วิจัยเห็นว่าการพัฒนาห้องสมุดเสมือน 3 มิติ จะช่วยนาทางพาผู้ใช้ไปยังตาแหน่งของหนังสือได้อย่างถูกต้องและ รวดเร็วยิ่งขึ้น(กิตติมศักดิ์ ในจิต. 2553: 1) ทาให้ผู้ใช้บริการมองภาพได้ว่าหนังสือเล่มที่ต้องการอยู่ตาแหน่งใด รวมทั้งสามารถทางานบน Web Browser ได้(ศานติ เจริญวงศ์. 2551: 2) และอานวยความสะดวกสาหรับ ผู้ใช้บริการที่ไม่คุ้นเคยกับสานักวิทยบริการและสามารถทราบถึงบริการทั้งหมดภายในสานักวิทยบริการได้ ซึ่งระบบ ได้จาลองสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ภายในสานักวิทยบริการและแสดงผลในรูปแบบเสมือน 3 มิติ โดยจะทาการสร้าง โมเดลจาลองต่าง ๆ เสมือนภายในจริง(อนิรุทธิ์ โชติถนอม. 2548: 3) นามาประกอบกันเป็นห้องสมุดจาลอง 3 มิติ (Enji Sun และคณะ. 2009: 4) ซึ่งจะนามาใช้งานร่วมกับระบบสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศกับ WebOPAC ที่ใช้ อยู่ในปัจจุบัน เมื่อผู้ใช้สืบค้นหนังสือภายในสานักวิทยบริการ ระบบแสดงชั้น 3 ที่จัดเก็บหนังสือในมุมมอง 3 มิติ โดยมีการจาลองเสมือนเป็นผู้ใช้บริการ ซึ่งจะนาพาไปยังตาแหน่งชั้นหนังสือที่ต้องการได้ อย่างสะดวกด้วยการ ประยุกต์ใช้ Google Earth API ซึ่งเป็นซอร์ฟแวร์ฟรีที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากซึ่งได้ให้แผนที่โลกเสมือนจริง และสามารถที่จะเขียนโปรแกรมเพื่อที่จะควบคุมการแสดงผลในรูปแบบต่างๆ โดยการสร้างไฟล์ KML ซึ่งเป็นไฟล์ รูปแบบที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูลทางภูมิศาสตร์บนบราวเซอร์ของ Google Earth Plug in หรือ Google Maps สาหรับมือถือ รวมทั้งสามารถนาโมเดลสามมิติที่สร้างจากโปรแกรม Google Sketch up ซึ่งในโครงสร้างไฟล์จะ ประกอบไปด้วย Tag และ Attribute ตามรูปแบบของ KML มีความคล้ายกับรูปแบบของโครงสร้างภาษา XML จากนั้นสามารถใช้ภาษา JavaScript ในการควบคุมการแสดงผลจุด Mark บน Earth API(Haifeng H. 2011: 6) ได้อย่างง่าย จากเหตุผลดังกล่าวผู้วิจัยจึงได้เห็นถึงความสาคัญของการพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือน 3 มิติ เพื่อใช้บ่งชี้ ตาแหน่งสารสนเทศให้แก่ผู้ใช้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาห้องสมุดเสมือน 3 มิติ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
93
2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อการใช้งานห้องสมุดเสมือน 3 มิติ ของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาทฤษฎี Google Earth API สาหรับแสดงโมเดลสามมิติจากนั้นประยุกต์ใช้ภาษา Javascript ในการควบคุมการเคลื่อนไหวเมื่อมีเหตุการณ์ที่ผู้ใช้สืบค้นสารสนเทศที่ได้สร้างไว้ในรูปแบบไฟล์ KMZ ซึ่ง สามารถแทรกไฟล์ .dae เป็นไฟล์โมเดลสามมิติที่สร้างมาจากโปรแกรม Google Sketch up ดังภาพที่ 1 และ สารวจโครงสร้างภายในอาคารสานักวิทยบริการตามแผนผังชั้น 3 โดยปรึกษาจากผู้บริหาร บุคลากรสานักวิทย บริการ เจ้าหน้าที่งานบริการและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกส่วน User
Ge API
JavaScript
File KMZ
File .dae
ภาพที่ 1 Flow Chart Diagram ขั้นตอนที่ 2 ออกแบบจาลองโมเดล 3 มิติ จากโครงสร้างที่ได้เก็บข้อมูลจากการสารวจดังภาพที่ 2
ภาพที่ 2 ภาพการนาเข้าโมเดลเสมือน 3 มิติ ขั้นตอนที่ 3 นาแบบจาลอง 3 มิติเข้าสู่เว็บเพจและกาหนดตาแหน่งสารสนเทศดังภาพที่ 3
ภาพที่ 3 ภาพรวมระบบห้องสมุดเสมือน 3 มิติ
94
ขั้นตอนที่ 4 ออกแบบหน้าเว็บเพจสาหรับการแสดงผลโดย ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์จานวน 2 ท่านได้แก่ 1) นายสมพงษ์ เจริญศิริ รองผู้อานวยการฝ่ายนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2) นางจีรกาญจน์ เต็มพรสิน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชานาญการ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และผู้เชี่ยวชาญด้านสื่อโสตทัศน์จานวน 1 ท่าน ได้แก่ นายอารยะ เสนาคุณ นักวิชาการ โสตทัศน์ชานาญการพิเศษ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวม ได้แก่ แบบสอบถามประมาณค่า (Rating scale) จานวน 2 ฉบับ ฉบับแรกสาหรับผู้เชี่ยวชาญ จานวน 10 ข้อ ฉบับที่สอง สาหรับ ผู้ใช้บริการ จานวน 10 ข้อ จากนั้นผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยให้ผู้เชี่ยวชาญทดลองใช้ระบบ ขั้นตอนที่ 5 ดาเนินการติดตั้งเพื่อใช้งานออนไลน์ที่ http://metal.msu.ac.th/upload3d และสามารถ เชื่อมโยงกับ Web Opac ได้ ดังภาพที่ 4
ภาพที่ 4 ภาพเชื่อมโยงกับ Web Opac ขั้นตอนที่ 6 ทดสอบระบบโดยทดสอบจากผู้ใช้บริการจากสานักวิทยบริการของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม จานวน 300 คน ผู้ปฏิบัติงานจานวน 30 คนโดยใช้วิธีคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงในการทดสอบกับแบบประเมิน ขั้นตอนที่ 7 การประเมินผลระบบโดยผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองระหว่างวันที่ 1-30 ตุลาคม 2556 จากนั้นนามาวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาระบบ 1) ระบบปฏิบัติการ Windows 7 2) โปรแกรมApache 2.5.10 สาหรับจาลองเครื่องแม่ข่าย 3) โปรแกรม Macromedia DreamweaverCS6 4) โปรแกรม Google Earth 5) โปรแกรม Google Sketchup สรุปผลการวิจยั 1) ผลการวิจัยการพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือนสามมิติโดยใช้ Google Earth API ในการจาลอง สภาพแวดล้อมของตาแหน่งสารสนเทศชั้น 3 สานักวิทยบริการ(A) มหาวิทยาลัยมหาสารคามและจัดเก็บข้อมูลใน รูปแบบ KML ไฟล์ ควบคุมการนาเสนอโดยใช้ JavaScript และใช้ภาษา Html ในการสร้างเว็บเพจ จากนั้น ผู้ใช้บริการสามารถสืบค้นตาแหน่งสารสนเทศด้วยเลขเรียกหนังสือและยังสามารถเชื่อมโยงกับเว็บสืบค้น Web Opac ปัจจุบันได้ระบบจะเพิ่มเมนู Go to SHELF ในแต่ละรายการที่ผู้ใช้สืบค้นจาก Web Opac 2) ผลการประเมินจากผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจ ดังตารางที 1
95
ตารางที่ 1 ผลการประเมินผู้ปฏิบัติงาน รายการประเมิน 1.1 ความสามารถในการสืบค้นข้อมูลโดยเลขเรียกหนังสือ 1.2 ความสามารถในการนาพาผู้ใช้ไปยังสารสนเทศ 1.3 ความสามารถในการแนะนาผู้ใช้ 1.4 ความเหมาะสมของในการนาเสนอสารสนเทศ 1.5 ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล 2.1 ความเหมาะสมของรูปแบบผลการค้น 2.2 ความเหมาะสมในการสืบค้นข้อมูล 2.3 ความรวดเร็วในการแสดงผลรายการค้น 2.4 ความครบถ้วนของข้อมูล 2.5 การจัดองค์ประกอบหน้าจอโดยรวม โดยรวม
4.60 4.50 4.67 4.63 4.50 4.53 4.63 4.57 4.43 4.63 4.55
0.49 0.50 0.47 0.49 0.50 0.50 0.49 0.50 0.50 0.49 0.32
พบว่าผู้ปฏิบัติงานมีความพึงพอใจโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.67,SD = 0.47) ดังนี้คือ ด้านประสิทธิภาพของระบบงานพบว่าความสามารถในการแนะนาผู้ใช้ ( =4.67,SD=0.47) ด้านความสามารถใน การสืบค้นข้อมูลโดยเลขเรียกหนังสือ ( = 4.60,SD=0.49) ด้านความสามารถในการนาพาผู้ใช้ไปยังสารสนเทศ ( = 4.50,SD=0.50) และค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ด้านความครบถ้วนของข้อมูล ( = 4.43,SD=0.50) และผลการ ทดลองใช้ระบบพบว่าผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจ
96
ตารางที่ 2 ผลการประเมินผู้ใช้บริการ รายการประเมิน 1.1 ความสามารถในการสืบค้นข้อมูลโดยเลขเรียกหนังสือ 1.2 ความสามารถในการนาพาผู้ใช้ไปยังสารสนเทศ 1.3 ความสามารถในการแนะนาผู้ใช้ 1.4 ความเหมาะสมในการนาเสนอสารสนเทศ 1.5 ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล 2.1 ความเหมาะสมของรูปแบบผลการค้น 2.2 ความเหมาะสมในการสืบค้นข้อมูล 2.3 ความรวดเร็วในการแสดงผลรายการค้น 2.4 ความครบถ้วนของข้อมูล 2.5 การจัดองค์ประกอบหน้าจอโดยรวม โดยรวม
4.52 4.38 4.46 4.34 4.37 4.41 4.43 4.42 4.33 4.47 4.41
0.51 0.51 0.56 0.50 0.54 0.53 0.59 0.57 0.57 0.55 0.35
พบว่าผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก ( = 4.41,SD=0.35) ดังนี้คือ ความสามารถในการสืบค้นข้อมูลโดยเลขเรียกหนังสือ ( =4.52,SD=0.51) ด้านความสามารถในการแนะนาผู้ใช้ ( =4.46,SD=0.56) ด้านความสามารถในการนาพาผู้ใช้ไปยังสารสนเทศ ( = 4.38,SD=0.51) และด้านที่มีค่าเฉลี่ย น้อยที่สุดคือ ด้านความครบถ้วนของข้อมูล ( =4.33,SD=0.57) อภิปรายผล ปัจจุบันการสืบค้นสารสนเทศภายในห้องสมุดผู้ใช้บริการได้รับข้อมูลในรูปแบบตัวอักษร เช่น ชื่อหนังสือ เลขเรียกหนังสือ และข้อมูลสถานภาพ ซึ่งผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการพัฒนาห้องสมุดเสมือน 3 มิติสามารถบ่งชี้ ไปยังตาแหน่งของสารสนเทศได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วยิ่งขึ้น รวมทั้งอานวยความสะดวกผู้ใช้บริการที่ไม่คุ้นเคยกับ สานักวิทยบริการและสามารถทราบถึงบริการที่ มีต่างๆได้ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการนาระบบห้องสมุดเสมือน สามมิติมาใช้งานภายในสานักวิทยบริการ ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจต่อระบบโดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อเสนอแนะ ควรเพิ่มความสามารถในการปรับเปลี่ยนสถานที่สารสนเทศได้ในอนาคตและพัฒนาระบบให้ครอบคลุมทุก ส่วนบริการภายในสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามเพื่อให้เสมือนจริงมากยิ่งขึ้น การนาไปใช้ประโยชน์ 1. สามารถประยุกต์ใช้ในการนาพาไปยังตาแหน่งจัดเก็บสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. สามารถประยุกต์เพิ่มสื่อได้หลากหลายประเภทเพื่อแนะนาสารสนเทศห้องสมุดมหาวิทยาลัยได้อย่าง น่าสนใจ
97
รายการอ้างอิง กิตติมศักดิ์ ในจิต. (2553). การพัฒนาระบบห้องสมุดเสมือนออนไลน์เพื่อการสืบค้นสื่อประสมและหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ, 6 (12), 45-50. ศานติ เจริญวงศ์. (2551). การพัฒนาเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์บ้านเรือนไทยอีสานในรูปแบบ 3 มิติ. ปริญญานิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาสื่อนฤมิต คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. อนิรุทธ์ โชติถนอม. (2548). รายงานการวิจัยเรื่องการวิจัยและพัฒนาเว็บเพจสาหรับแนะนามหาวิทยาลัย มหาสารคามในรูปแบบ 3 มิติ. คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. Enji, S., Nieto, A., & Zhongxue, L. (2009, 26-29 Nov. 2009). Real-time Google Earth 3D assisted driving system in surface mining operations. Paper presented at the Computer-Aided Industrial Design & Conceptual Design, 2009. CAID & CD 2009. IEEE 10th International Conference on. Haifeng, H., & Wei, L. (2011, June 29 2011-July 1 2011). Development of three dimensional digital tourism presentation system based on Google Earth API. Paper presented at the Spatial Data Mining and Geographical Knowledge Services (ICSDM), 2011 IEEE International Conference on.
98
การประยุกต์ใช้นวัตกรรมสาหรับบริการส่งเสริมการวิจัยของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร An application of Research Support Service Innovation for Naresuan University Library ศศิ ธ ร ติ ณ ะมาศ * สุ ภ ชั ย ธนานุ วั ต รพงศ์ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร e-mail: sasithornt@nu.ac.th *
บทคัดย่อ การศึก ษาเรื่อ งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ อพัฒนานวัตกรรมสาหรับบริการส่งเสริ มการวิจัยของ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร และเพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสืบค้นฐานข้อมูล ผลงานวิชาการนักวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวรที่เผยแพร่ในฐานข้อมูลสากล ซึ่งระบบที่ห้องสมุดพัฒนา เพื่อใช้ในการให้บริการส่งเสริมการวิจัย ประกอบด้วย 3 ระบบ ดังนี้ 1) ระบบบริหารจัดการผู้ใช้ ( Customer Relationship Management) 2) ระบบลงทะเบียนการใช้งาน ( Registration System) ซึ่งประกอบด้วยระบบบริหารจัดการฝึกอบรม และระบบลงทะเบียนขอรับบริการให้ คาปรึกษาด้านวิชาการ Clinic@Library 3) ระบบสืบค้นฐานข้อมูลผลงานนักวิชาการนักวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวรที่เผยแพร่ในฐานข้อมูลสากล (NU Scholarly Research Report) หรือ NUSRR ผลการศึกษาได้มาจาก 2 ส่วนคือ สถิติการใช้บริการ และผลการประเมินการใช้ฐานข้อมูล ซึ่งจาก สถิติผลการใช้บริการส่ง เสริมการวิจัย ตั้งแต่ปี 2554-2556 พบว่า บริการตรวจสอบค่า Journal Impact Factor มีปริมาณการใช้งานมากที่สุด ส่วนบริการวิเคราะห์การอ้างอิงและบริการสืบค้น สารสนเทศเพื่ อ การวิ จั ย มี ป ริ ม าณการใช้ ง านน้ อ ย และบริ ก ารให้ ค าปรึ ก ษาด้ า นวิ ช าการ Clinic@Library ในระยะแรกที่เปิดให้บริการ พบว่าได้รับความสนใจจากอาจารย์อย่างมาก ส่วนผล การประเมินการใช้ฐานข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ผู้ใช้บริการเป็นอาจารย์มากที่สุด รองลงมาเป็น บุคลากรสายสนับสนุน ส่วนความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ด้านความเหมาะสมในการทางานของ ระบบ พบว่าผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อความรวดเร็วในการประมวลผลข้อมูลมากที่สุด (xˉ =4.03) ด้าน ความถูกต้องในการทางานของระบบ ผู้ใช้มีความพึงพอใจในความถูกต้องของผลงานวิจัยที่ตรงตามที่ ปรากฎจากต้นแหล่งมากที่สุด (xˉ =4.19) ส่วนประโยชน์การใช้งาน ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อประโยชน์ ของผลงานวิจัยที่มีต่อคณะ/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัยมากที่สุด (xˉ =4.25) ซึ่งโดยภาพรวมผู้ใช้บริการมี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยสรุปการนานวัตกรรมมาประยุกต์ใช้สาหรับบริการส่งเสริมการวิจัย ช่วยสนับสนุนการให้บริการให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ช่วยอานวยความสะดวกแก่ทั้งผู้ให้บริการและ ผู้ใช้บริการ และเป็นการเพิ่มปริมาณการใช้บริการให้มากขึ้น
99
คาสาคัญ: บริการส่งเสริมการวิจัย; การประยุกต์ใช้นวัตกรรม; สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร Abstract The purpose of this study were to develop the innovation of Research Support Service of Naresuan University and to study users’ satisfaction on searching NU Scholarly Research Report (NUSRR). The system for Research Support Service were separated in 5 systems : 1) Customer Relationship Management 2) Registration System such as Training management system and Registration system of Academic Consultancy Service called “Clinic@Library”. The tools of this study were the statistical of services and the online questionnaire of users’ satisfaction on using NUSRR. Statistical of Research Support Service since 2011-2013 were as follow : 1) Journal Impact Factor were used the most. 2) Citation Analysis and Literature Search Service were used less and there were students and lecturers interested in Clinic@Library increased more . The results of Evaluation of NUSRR as follow ; The most users used NUSRR the most were lecturers and the minor users were supporting staffs. For the aspect of the system were : 1) Suitablilty of database ; the most users were satisfied in speed of processing (xˉ =4.03). 2) Accuracy of database : the most users were satisfied in correctness of scholarly document data (xˉ =4.19). 3) Benefit of database ; the most users were satisfied in useful of NUSRR to the Faculties/Department and University (xˉ =4.25). The users’ satisfaction of UNSRR were in high level all aspects. and the conclusion were : the Innovation of Research Support Service increased the efficiency of service, facilitated both user and staffs and increased the quantity of using service much more. Keywords: Research Support Service; Application of Innovation Service; Naresuan University Library. บทนา สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นหน่วยงานบริการสารสนเทศที่สนับสนุนภารกิจหลักของ มหาวิทยาลัย ทั้งการเรียนการสอนและการวิจัย โดยได้จัดให้มีบริการส่งเสริมการวิจัย ภายใต้ความรับผิดชอบของ ฝ่ายบริการสารสนเทศ บรรจุไว้เป็นโครงการตามแผนปฏิบัติงานประจาปีของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2555 แต่ในระยะแรก ในปี 2554 ได้เริ่มดาเนินการโดยผนวกบริการส่งเสริมการวิจัยไว้เป็น
100
ส่วนหนึ่งของบริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้า ประกอบด้วยบริการตรวจสอบค่าดัชนีผลกระทบการอ้างอิงของ วารสาร (Journal Impact Factor) บริการวิเคราะห์การอ้างอิง (Citation Analysis) และบริการสืบค้นสารสนเทศ เพื่อการวิจัย (Literature Search Service) และจากการศึกษาข้อมูลจากวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมา ประกอบ ได้แก่งานวิจัยของพรชนิตว์ ลีนาราช (2555) ที่ศึกษารูปแบบการจัดบริการสนับสนุนการวิจัยสาหรับ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยในประเทศไทย ซึ่งผลการศึกษาในมุมมองของผู้รับบริการและผู้ให้บริการพบว่า ห้องสมุด มหาวิทยาลัยวิจัย มีนโยบายชัดเจนในด้านการจัดบริการเพื่อสนับสนุนการวิจัย มีรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศโดย จั ด กลุ่ ม ตามสาขาวิ ช าต่ า งๆจากฐานข้อ มู ล ภายในห้ อ งสมุ ด เพื่ อ สนั บ สนุ น การวิ จั ย แต่ ก็ ยั ง ประสบปั ญ หา อาทิ ห้องสมุดยังไม่ให้ความสาคัญในการดาเนินการเชิงรุก และผู้ให้บริการยังไม่เป็นผู้เชี่ยวชาญสารสนเทศเฉพาะสาขา อย่างแท้จริง ในส่วนของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้เริ่มพัฒนานวัตกรรมที่นามาใช้ในการให้บริการ ดังกล่าวในลักษณะของ e-form เชื่อมโยงกับจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมจัดเก็บข้อมูลผู้ใช้บริการในฐานข้อมูลที่ พัฒนาขึ้นด้วยภาษา PHP และ Web Application เผยแพร่บนเว็บไซต์หลักของสานักหอสมุด มาตั้งแต่ปี 2554 และต่อมาในปี 2555 จึงได้เริ่มพัฒนาฐานข้อมูลสาหรับจัดเก็บผลงานวิชาการและวิจัยของบุคลากรมหาวิทยาลัย นเรศวร ที่เผยแพร่ในฐานข้อมูลสากล ได้แก่ SCOPUS และ ISI Web of Knowledge โดยจัดเก็บรายละเอียดทาง บรรณานุกรมของผลงานวิชาการและวิจัยของบุคลากรมหาวิทยาลัยและเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาฉบับเต็มในฐานข้อมูล ต้ น แหล่ ง ซึ่ ง ในเบื้ อ งต้ น ท าการศึ ก ษาจากตั ว อย่ า งการด าเนิ น งานคลั ง ผลงานวิ จั ย ของมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ (สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556) แล้วนามาปรับปรุงการทางานให้เหมาะสมกับการดาเนินงานของ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ต่อมาในปี 2556 สานักหอสมุดได้เริ่ม จัดให้มีบริการใหม่ ในลักษณะการให้คาปรึกษาแนะนาทางด้าน วิชาการสาหรับอาจารย์ นักวิจัยและนักศึกษาทั้งปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา ภายใต้ชื่อ บริการให้คาปรึกษาด้าน วิชาการ Clinic@Library เป็นการให้คาปรึกษาแนะนาในหัวข้อที่นักวิจัยสนใจโดยเฉพาะ เช่น ความรู้เรื่องสถิติที่ใช้ สาหรับการวิจัย โดยเชิญอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสถิติมาให้คาปรึกษาแนะนาที่ห้องสมุด ซึ่งโดยภาพรวม นวัตกรรมที่สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวรได้พัฒนาขึ้นเพื่อการให้ บริการส่งเสริมด้านวิจัย มาตั้งแต่ปี 2554 ต่อเนื่องจนถึงปี 2556 สามารถทางานเชื่อมโยงกันได้หลายส่วน และบางส่วนยังคงต้องพัฒนาปรับปรุงให้ดีขึ้น เพื่อ รองรับบริการเชิงรุกใหม่ๆในอนาคตอันใกล้ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนานวัตกรรมสาหรับใช้ในการให้บริการส่งเสริมการวิจัยของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้บริการสืบค้นฐานข้อมูลนักวิจัยที่เผยแพร่ผลงานในฐานข้อมูลนานาชาติ ของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ การพัฒนานวัตกรรมสาหรับให้บริการส่งเสริมการวิจัยของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ใช้หลัก ทฤษฎีวงจรพัฒนาระบบ (SDLC : System Development Life Cycle) (โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์, 2548) ซึ่ง ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัญหา รวบรวมปัญหาจากการปฏิบัติงาน และวิเคราะห์ปัญหาที่พบระหว่างการ ให้บริการผู้ใช้ โดยเฉพาะกลุ่มอาจารย์และนักวิจัย
101
ระยะที่ 2 วิเคราะห์ความต้องการและศึกษาความเป็นไปได้ วิเคราะห์ความต้องการจากผู้มาใช้บริการ ห้องสมุด ทั้งจากข้อเสนอแนะผ่า นช่องทางรับสารต่างๆ และผลสารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้องสมุด พร้อมทั้งศึกษา วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องและจากการศึกษาตัวอย่างบริการวิจัยของห้องสมุดอื่นๆ ได้แก่ สานักหอสมุด มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ส านั ก หอสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ รวมทั้ ง ห้ อ งสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น น าใน ต่างประเทศ จากนั้นเสนอความต้องการของบรรณารักษ์ผู้ให้บริการ สรุปเป็นความต้องการของระบบให้กับ ผู้พัฒนาโปรแกรม ระยะที่ 3 ออกแบบและพัฒนาระบบ ผู้วิจัยจาแนกระบบการให้บริการส่งเสริมการวิจัย ตามลักษณะ การใช้งานประกอบด้วย 3 ระบบ คือ 3.1 ระบบบริหารจัดการผู้ใช้ (Customer Relationship Management) ระบบบริหารจัดการผู้ใช้ของ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้เริ่มพัฒนามาตั้งแต่ปี 2554 โดยระยะแรกพัฒนาเป็นฐานข้อมูลจัดเก็บข้อมูล ผู้ใช้บริการ 4 ส่วน คือ 1) บริการตรวจสอบค่าดัชนีผลกระทบการอ้างอิงของวารสาร (Journal Impact Factor) 2) บริการวิเคราะห์การอ้างอิง (Citation Analysis) 3) บริการสืบค้นสารสนเทศเพื่อการวิจัย (Literature Search Service) และ 4) บริการ Ask a Librarian ซึ่งระยะแรกพัฒนาเป็นฐานข้อมูลสาหรับจัดเก็บด้วย MySQL และ เขียนด้วยภาษา php และต่อมาได้พัฒนาแบบฟอร์มสาหรับเชื่อมโยงข้อมูลผู้ใช้โดยผู้ใช้สามารถกรอกคาขอใช้ บริการและรายละเอียดผ่าน e-form ได้ 3.2 ระบบลงทะเบียนการใช้งาน (Online Registration System) ประกอบด้วย 2 ระบบคือ 3.2.1 ระบบบริหารจัดการฝึกอบรม ( Training management system) หรือระบบลงทะเบียนเข้า อบรมการรู้สารสนเทศของสานักหอสมุด เดิมห้องสมุดใช้ระบบการลงทะเบียนผ่านการกรอกแบบฟอร์มออนไลน์ (e-form) โดยระบุชื่อนามสกุลและข้อมูลรายละเอียดอื่นๆ สาหรับลงทะเบียนเข้าอบรม แต่มีปัญหาไม่สามารถ เชื่อมโยงกับข้อมูลนักศึกษาจากกองบริการการศึกษาได้ และไม่สามารถตรวจสอบสถานะผู้ใช้ได้ว่ายังคงสถานะ นักศึกษาหรือบุคลากรหรือไม่ ต่อมาจึงได้ปรับปรุงระบบการลงทะเบียนใหม่ให้ใช้รหัสบาร์โคดนักศึกษาและบุคลากร เพื่อระบุตัวตนผู้ใช้ ซึ่งระบบดังกล่าวสามารถจัดเก็บสถิติ และผู้ใช้สามารถจัดการข้อมูลลงทะเบียนของตนเองได้ 3.2.2 ระบบลงทะเบียนขอรับบริการให้คาปรึกษาด้านวิชาการ Clinic@Library เป็นระบบลงทะเบียน ออนไลน์และจัดการหัวข้อให้คาปรึกษา รวมถึงจัดการตารางเวลา ในการเข้ารับคาปรึกษาด้านวิชาการสาหรับ อาจารย์ และนักศึกษา เพื่อให้ผู้ใช้สามารถลงทะเบียนในการเข้ารับการปรึกษาได้สะดวกยิ่งขึ้น จึงทาการพัฒนา ระบบแบบ Web Application ทางานผ่าน Web Browser โดยมี Data Base ในการเก็บข้อมูล ผู้ใช้สามารถ ลงทะเบียนผ่าน Web Browser จากที่บ้าน ที่ทางาน หรือคอมพิวเตอร์ส่วนตัว ที่เชื่อมต่อ Internet โดยสามารถ เลือกเวลาที่เข้าพบ และสามารถเขียนคาถามหรือปัญหาที่ต้องการสอบถามในวันเวลานั้น ซึ่งตัวระบบจะเป็นเสมือน ตัวกลางเชื่อมกัน ระหว่างผู้เชี่ยวชาญที่ให้คาปรึกษา กับผู้ที่เข้ารับคาปรึกษา ระบบจะทาการส่งข้อมูล วัน เวลา คาถามและปัญหาที่ผู้เข้ารับการปรึกษาจะมาพบ ผ่านทาง E mail และระบบจะทาการส่ง E mail เพื่อเป็นการแจ้ง เตือนให้กับผู้เข้ารับการปรึกษาก่อนวันเข้าพบ
102
ส่วนการออกแบบระบบ Clinic @Library มี 2 ส่วนหลักๆ ดังนี้ 1) ส่วนผู้รับการปรึกษา เมนูจะออกแบบให้อยู่ทางซ้ายมือ เพื่อสะดวกในการจัดการ และตรงกลางจะเป็น การแสดงข่าวประชาสัมพันธ์ และตารางเวลาหัวข้อที่เปิดลงทะเบียน แยกตามเดือน และข้อมูลต่างๆที่เลือกได้จาก เมนู
แผนผังการทางานของระบบ Clinic@Library 2) ส่วนผู้ดูแลระบบ เมนูจะออกแบบให้อยู่ทางซ้ายมือ เพื่อสะดวกในการจัดการ ส่วนตรงกลางจะแสดง จัดการข้อมูลตาราง ชื่อหัวข้อ ข้อมูลวิทยากร รวมถึงแสดงข้อมูลสถิติแยกเป็นแต่ละเดือนได้
103
แผนผังหน้าจอการทางานของส่วนผู้ดูแลระบบ 3.3 ระบบสืบค้นฐานข้อมูลผลงานวิชาการนักวิจัยที่เผยแพร่ในฐานข้อมูลสากล (NU Scholarly Research Report: NUSRR) หลังจากเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติในช่วงปีงบประมาณ 2555 และศึกษาความ ต้องการของระบบแล้ว ผู้พัฒนาระบบได้เริ่มดาเนินการดังนี้ 3.3.1 ศึกษาการทางานของฐานข้อมูล SCOPUS และ ISI จากตัวอย่างข้อมูลที่บรรณารักษ์ Export ข้อมูล ออกมาในรูป file csv และ excel เพื่อใช้เป็นข้อมูลตัวอย่างสาหรับการพัฒนา จานวน 1,200 กว่ารายการ 3.3.2 ออกแบบและพัฒนาระบบตามความต้องการของบรรณารักษ์ ซึ่งข้อมูลประกอบด้วย รายละเอียด ทางบรรณานุกรมเกี่ยวกับงานวิจัย เช่น ชื่อนักวิจัย , ชื่อผลงานพร้อมสาระสังเขป(ถ้ามี) ชื่อวารสาร แหล่งจัดเก็บ เอกสารฉบับเต็มในฐานข้อมูล SCOPUS & ISI รายละเอียดทางบรรณานุกรม พร้อม DOI ซึ่งส่วนประกอบของการ ทางานบนระบบประกอบด้วย 1) ส่ ว นสื บ ค้ น งานวิ จั ย สามารถใช้ ค าสื บ ค้ น ก าหนดข้ อ มู ล ตามจ านวนปี ชื่ อ ผู้ แ ต่ ง ประเภทเอกสาร สามารถเก็บเป็นไฟล์ Word และ PDF และดาวน์โหลดเนื้อหาบทความฉบับเต็มได้ โดยเชื่อมโยงไปที่ลิงก์ของ ฐานข้อมูลออนไลน๋ต้นแหล่งที่จัดเก็บเนื้อหา 2) ส่วนรายงานสถิติ สามารถเลือก ฐานข้อมูลที่จะแสดง และปีพ.ศ โดยการแสดงผลจะแยกตามคณะและ สามารถลิ้งก์ไปดูข้อมูลได้ 3) ส่วนผู้ดูแลระบบ ในการนาข้อมูลเข้าระบบ จากฐานข้อมูล Scopus และ ISI Web of Knowledge นั้น สามารถ Export File ออกมาในรูป File text ซึ่งสามารถนามาแปลงเป็น File Excel เพื่อทาการ Import ลงใน ฐานข้อมูลได้ ทาให้สะดวกแก่การนาข้อมูลเข้าระบบ และมีการจัดการ ตรวจสอบ แก้ไขข้อมูลในแต่ละชื่อเรื่องได้
104
แผนผังการทางานของระบบฐานข้อมูล NU Scholarly Research Report ส่วนสืบค้นงานวิจยั
แผนผังการทางานของระบบฐานข้อมูล NU Scholarly Research Report ส่วนของผู้ดูแลระบบ
แผนผังการทางานของระบบฐานข้อมูล NU Scholarly Research Report ส่วนของรายงานสถิติ สาหรับการพัฒนาระบบ ทั้งระบบ Clinic@Library และ ระบบฐานข้อมูล NUSRR เป็นการพัฒนาระบบ แบบ Web Application ภาษาที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ PHP และ เทคโนโลยี Ajax เพื่อช่วยในกระบวนการรับส่ง ข้อมูลระหว่าง Web Browser และ Web Server ให้รวดเร็วขึ้น โดยใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล MySQL ในการ จัดการข้อมูล (บัญชา ปะสีละเตสัง, 2551 ; สาธิต ชัยวิวัฒน์ตระกูล, 2547)
105
ระยะที่ 4 ทดสอบระบบและติดตั้ง 4.1 การทดสอบระบบฐานข้อมูล NU Scholarly Research Report มีขั้นตอน ดังนี้ 4.1.1 ปรับปรุงเพิ่มเติม function การทางานของ admin ให้สามารถจัดการข้อมูลและนาข้อมูลเข้าได้ ได้แก่ การ Export ข้อมูลเข้าในรูปแบบ Excel file การแก้ไขข้อมูลตามวันที่นาข้อมูลเข้า แยกตามแหล่งที่มาคือ SCOPUS และ ISI การค้นข้อมูล แก้ไขและลบข้อมูล และการเรียกดูสถิติการทางานบนระบบ 4.1.2 นา Function alert e-mail บนฐานข้อมูล SCOPUS และ ISI มาช่วยในการตรวจสอบข้อมูลให้ มีความทันสมัย พร้อมทั้งทดสอบการตรวจสอบการซ้า ปรับปรุงแก้ไขและลบข้อมูล การปรับปรุงข้อมูลให้เป็น ปัจจุบันเดิมหลังจากเริ่มต้นใช้งานแล้ว ปรับปรุงข้อมูลเฉพาะเมื่อได้รับ e-mail แจ้งเตือนข้อมูลใหม่เข้ามาในฐาน SCOPUS และ ISI แต่เนื่องจากข้อมูลจานวนระเบียนคลาดเคลื่อนไม่ตรงกัน จึงใช้วิธีการอัพเดทข้อมูลใหม่ โดยลบ ข้อมูลของปีปัจจุบันออก แล้วทาการนาข้อมูลเข้าฐานข้อมูลใหม่ทั้งหมดเฉพาะปีล่าสุด 4.1.3 บรรณารักษ์ผู้ปฏิบัติงานปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน และทาการทดสอบระบบ จากนั้นนาข้อมูล เข้าสู่ระบบใหม่ทั้งหมด จากทั้ง SCOPUS และ ISI ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงปีปัจจุบัน และเปิดให้บริการเข้าถึงฐานข้อมูล ผ่านเว็บไซต์ของห้องสมุด ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2555 เป็นต้นมา 4.2 การทดสอบระบบบริการให้คาปรึกษาด้านวิชาการ Clinic@Library ทาการติดตั้งทดสอบการ ลงทะเบียน กันยายน 2556 และตรวจสอบแก้ไข และได้มีการสารองข้อมูลทุกเดือน มีการเพิ่ม แก้ไขการทางาน บางส่วนของระบบตามความต้องการของผู้ใช้งาน และในช่วงระยะแรกที่รอการพัฒนาระบบ บรรณารักษ์ได้ใช้ Application Form ของ Google ซึ่งเป็นแบบฟอร์มออนไลน์สาหรับลงทะเบียนผู้ขอรับคาปรึกษาและช่วงเวลาเข้า พบผู้เชี่ยวชาญ ตั้งแต่เดือนจากนั้นได้เริ่มมาใช้ระบบใหม่ โดยเปิดใช้งานตั้งแต่เดือนกันยายน 2556 จนถึงปัจจุบัน ระยะที่ 5 ประเมินผลการใช้งาน ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาประเมินผลการใช้งานในลักษณะความพึงพอใจ ของผู้ใช้บริการเฉพาะบริการฐานข้อมูล NU Scholarly Research Report ส่วนบริการอื่นๆ ประเมินผลด้วยสถิติ การใช้งานที่เก็บรวบรวมในแต่ละปี
106
สถิติบริการส่งเสริมการวิจัย ตั้งแต่ปี 2554-2556 บริการ
ปี 2554
ปี 2555
ปี 2556
1. บริการตรวจสอบค่า Journal Impact Factor
66
78
92
2. บริการสืบค้นเพื่อการวิจัย Literature Search Service
7
4
6
3. บริการวิเคราะห์การอ้างอิง Citation Analysis
5
4
1
ผลการสารวจสถิติการให้บริการส่งเสริมการวิจัย พบว่า บริการที่มีปริมาณการใช้งานมากที่สุดคือ บริการ ตรวจสอบค่า Journal Impact Factor ส่วนบริการที่มีปริมาณการใช้งานน้อยที่สุดคือ บริการวิเคราะห์การอ้างอิง บริการตรวจสอบค่า Journal Impact Factor นักศึกษา บุคลากร อาจารย์ บุคคลภายนอก รวม
ปี 2554
ปี 2555
ปี 2556
10
6
15
28
22
26
26
47
50
2
3
1
66
78
92
จานวนผู้ใช้บริการตรวจสอบค่า Journal Impact Factor มากที่สุด คือ อาจารย์ รองลงมาคือ บุคลากร และนักศึกษาตามลาดับ ซึ่งบุคลากรที่ใช้บริการ จะเป็นบุคลากรที่รับผิดชอบด้านวิจัยของคณะ บริการสืบค้นเพือ่ การวิจยั Literature Search Service นักศึกษา บุคลากร อาจารย์ บุคคลภายนอก รวม
ปี 2554 1 1 5 7
ปี 2555 1 3 4
ปี 2556 3 3 6
จานวนผู้ใช้บริการสืบค้นเพื่อการวิจยั ตั้งแต่ปี 2554 ถึง 2556 ยังคงมีปริมาณน้อยและเป็นอาจารย์มากกว่านักศึกษา
107
สาหรับจานวนผูใ้ ช้บริการวิเคราะห์การอ้างอิง ตัง้ แต่ปี 2554 ถึง 2556 มีจานวน 10 คน และเป็นอาจารย์ทั้งหมด บริการให้คาปรึกษาด้านวิชาการ Clinic@Library
ปี 2556
วิทยากรผู้เชี่ยวชาญ 4 คน โปรแกรมหัวข้อที่จัด 3 หัวข้อ นักศึกษาปริญญาตรี 5 คน นักศึกษาปริญญาโท 3 คน นักศึกษาปริญญาเอก 5 คน บุคลากรสายสนับสนุน 1 คน อาจารย์ 6 คน รวม 20 คน จานวนผู้ใช้บริการ Clinic@Library ตั้งแต่เริ่มให้บริการเดือนกรกฎาคม 2556 พบว่าเป็นนักศึกษามากที่สุด รองลงมาเป็นอาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน สรุปผลการศึกษา 1. สรุปผลการนานวัตกรรมมาประยุกต์ใช้กับบริการส่งเสริมการวิจัย จากภาพรวมของสถิติการให้บริการ ส่งเสริมการวิจัย ที่ประกอบด้วย บริการตรวจสอบค่าดัชนีผลกระทบการอ้างอิงของวารสาร(Journal Impact Factor) บริการวิเคราะห์การอ้างอิง (Citation Analysis) บริการสืบค้นสารสนเทศเพื่อการวิจัย (Literature Search Service) บริการให้คาปรึกษาด้านวิชาการ Clinic@Library ซึ่งบริการทั้งหมดได้นานวัตกรรมมาใช้ช่วยใน การอานวยความสะดวกทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ โดยผ่านระบบรับคาขอใช้บริการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (e-form) และมีระบบจัดเก็บข้อมูล สามารถจัดการเรียกใช้ข้อมูล และระบบแจ้งเตือนไปยังผู้ใช้และผู้ให้บริการ ช่วย อานวยความสะดวกให้ผู้ใช้มีช่องทางการเข้าถึงผ่านเว็บที่สะดวกรวดเร็ว ทาให้การให้บริการมีความคล่องตัว ช่วยเพิ่ม ปริมาณการใช้บริการเพิ่มมากขึ้น จากปริมาณการใช้ง านในปีแรก ตัวอย่างเห็นได้จากบริการตรวจสอบค่า Journal Impact Factor ซึ่งจานวนผู้ใช้งานเพิ่มมากขึ้น 2. สรุปผลการใช้ฐานข้อมูล NU Scholarly Research Report ผู้วิจัยได้ใช้วิธีสารวจความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการที่มีต่อการทางานของระบบ และประโยชน์จากการใช้ฐานข้อมูล ซึ่งมีขั้นตอนและวิธีดาเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ 1) ประชากรที่ศึกษาทาการ เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ใช้ฐานข้อมูล ได้แก่ อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ภายในสถาบัน ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ใช้แบบสอบถามออนไลน์บน Google Doc ส่งไปยังประชากร กลุ่มเป้าหมายด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในมหาวิทยาลัย 2) กลุ่มประชากร ใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ในกลุ่มประชากร 5 กลุ่ม ดังนี้ 1) อาจารย์ เจ้าของผลงานจานวน 50 คน ซึ่งสุ่มตัวอย่างจากรายชื่อนักวิจัยที่มีผลงานเผยแพร่ในฐานข้อมูล SCOPUS และ ISI 2) บุคลากรที่รับผิดชอบด้านวิจัยของคณะและหน่วยงานด้านวิจัยของมหาวิทยาลัย ได้แก่ กองบริหารงานวิจัย จานวน 10 คน 3) ผู้บริหารระดับคณะ/สานัก/ศูนย์/กอง จานวน 10 คน 4) บุคลากรห้องสมุด จานวน 10 คน
108
และ 5) ผู้ใช้ข้อมูลได้แก่นักศึกษา จานวน 10 คน รวมทั้งสิ้น 100 คน ซึ่งได้รับแบบสอบถามคืนกลับมาจานวน 32 ฉบับ 3) สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้มาตรประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) (บุญชม ศรีสะอาด, 2547) 4) ผลการศึกษา แบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้ 4.1 ข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อมูลด้านสถานภาพ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามที่มีจานวนมากที่สุดคือ อาจารย์ (ร้อยละ 34.38) รองลงมาเป็นบุคลากรสายสนับสนุน (ร้อยละ 31.25) นักศึกษาปริญญาตรี (ร้อยละ 28.13) และน้อยที่สุด คือ นักศึกษาปริญญาโท/เอก (ร้อยละ 6.25) ส่วนตาแหน่งของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า เป็นผู้เข้าใช้ข้อมูลมากที่สุด (ร้อยละ 43.75) รองลงมาคือ อาจารย์เจ้าของผลงานวิจัย (ร้อยละ 31.25) และ บุคลากรของห้องสมุด (ร้อยละ 18.75) ส่วนที่มีจานวนน้อยที่สุดคือ ผู้บริหารระดับคณะ/สานัก/ศูนย์/กอง และ บุคลากรที่รับผิดชอบด้านวิจัยของมหาวิทยาลัยและของคณะ (ร้อยละ 3.13) 4.2 ความพึงพอใจต่อการใช้ฐานข้อมูล NU Scholarly Research Report แบ่งเป็น 3 ด้าน 4.2.1 ด้านความเหมาะสมในการทางานของระบบฐานข้อมูล พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจ ต่อความรวดเร็วในการประมวลผลข้อมูลบนระบบมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย 4.03) รองลงมาเป็นความเหมาะสมของ ขั้นตอนการใช้งานบนระบบ และความง่าย (User Friendly) ของการใช้งานของระบบ (xˉ =3.97) เอกสาร/คู่มือ ประกอบการใช้งาน มีความชัดเจนเข้าใจง่าย (xˉ = 3.91) และ การเชื่อมต่อของระบบฐานข้อมูลฯ มีประสิทธิภาพต่อ การใช้งาน (xˉ =3.87) ส่วนที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุดคือ การมีช่องทางในการติดต่อ/สอบถามปัญหา (xˉ =3.66) โดยทุกข้อมีความพึงพอใจในระดับมาก 4.2.2 ด้านความถูกต้องในการทางานของระบบฐานข้อมูล พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจ มากที่สุดต่อความถูกต้องของผลงานวิจัยที่ตรงตามที่ปรากฎในฐานข้อมูลต้นแหล่ง (xˉ =4.19) และรองลงมาคือ ข้อมูลผลงานวิจัยที่นาเสนอไม่ซ้าซ้อนกัน (xˉ =4.09) และความครบถ้วนของรายละเอียดผลงานวิจัยบนฐานข้อมูล (xˉ =4.03) ตามลาดับ ส่วนที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุดคือระบบฐานข้อมูลสามารถค้นหาข้อมูลผลงานวิจัยได้ตรงตาม ต้องการ และการประมวลผลข้อมูลสถิติ/รายงานนาเสนอได้อย่างถูกต้อง (xˉ =3.97) โดยทุกข้อมีความพึงพอใจใน ระดับมาก 4.2.3 ด้านประโยชน์ในการใช้งานระบบฐานข้อมูล พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจมากที่สุด ต่อระบบฐานข้อมูลทีม่ ีผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อคณะ/หน่วยงาน/มหาวิทยาลัย และระบบฐานข้อมูลสามารถนา ข้อมูลมาใช้ในการกากับติดตามและประเมินผลการทางานด้านวิจัยของมหาวิทยาลัยได้ (xˉ =4.25) รองลงมาคือ ระบบฐานข้อมูลมีข้อมูลใช้สะท้อนคุณภาพด้านวิจัยของมหาวิทยาลัยได้ (xˉ =4.22) ระบบฐานข้อมูลมีข้อมูล ผลงานวิจัยที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน และระบบฐานข้อมูลสามารถนาข้อมูลมาใช้ในการกากับติดตาม และประเมินผลการทางานด้านวิจัยของมหาวิทยาลัยได้ (xˉ =4.13) ส่วนที่มีความพึงพอใจน้อยที่สุดคือ การนาเสนอ ระบบฐานข้อมูลผลงานวิจัยสอดคล้องกับภารกิจ /ความต้องการของมหาวิทยาลัย(xˉ =4.09) โดยทุกข้อมีความพึง พอใจอยู่ในระดับมาก
109
4.2.4 ด้านข้อเสนอแนะ พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเสนอแนะว่าข้อมูลควรมีความครบถ้ วนมากขึ้นกว่านี้ และควรมีข้อมูลจานวนที่ถูกนาไปอ้างอิง อีกทั้งข้อมูลบางส่วนไม่สามารถ link ไปยังเอกสารฉบับเต็มได้ นอกจากนี้ ผู้ใช้ยังต้องการให้มีหน้าเว็บเพจทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ จากสรุปผลสถิติการให้บริการส่งเสริมการวิจัย ทั้ง 4 บริการ ได้แก่ บริการตรวจสอบค่า Journal Impact Factor บริการวิเคราะห์การอ้างอิง บริการสืบค้นสารสนเทศเพื่อการวิจัย และบริการให้คาปรึกษาด้านวิชาการ Clinic@Library แสดงให้เห็นว่าบริการที่มีปริมาณผู้ใช้งานมากที่สุดของบริการส่งเสริมการวิจัย คือบริการ ตรวจสอบค่า Journal Impact Factor ซึ่งจานวนผู้ใช้งานเพิ่มมากขึ้นจากปีแรก เนื่องจากผู้ใช้บริการกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นอาจารย์ส่วนใหญ่ ไม่มีเวลามาขอใช้บริการด้วยตนเอง แต่สะดวกในการขอรับบริการผ่านการส่งแบบฟอร์มขอ ใช้ผ่านอินเทอร์เน็ต การนานวัตกรรมมาช่วยในการให้บริก ารจึงช่วยทาให้เกิดประสิทธิผลในการให้บริการมากขึ้น ขณะที่ปริมาณการใช้งานในบริการบางส่วน เช่น บริการวิเคราะห์การอ้างอิงและบริการสืบค้นสารสนเทศเพื่อการ วิจัย ยังมีปริมาณน้อยมาก แม้จะมีช่องทางการส่งคาขอใช้บริการผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่สะดวกแล้ว ก็ตาม แต่ อาจเนื่องจากผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ที่เป็นอาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มีความชานาญในการค้นคว้าด้วย ตนเองมากขึ้น และมีเครื่องมือช่วยเหลือในการสืบค้นที่สะดวกรวดเร็วด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย จึงไม่เป็นที่นิยมใน การใช้บริการนัก ขณะเดียวกันยังมีบริการอีกประเภทที่นานวัตกรรมมาใช้ในการให้บริการ คือ บริการให้คาปรึกษา ด้านวิชาการ ทีไ่ ด้รับความสนใจมากขึ้นโดยเฉพาะอาจารย์ แต่ยังมีปริมาณการใช้งานน้อย อีกทั้งเป็นบริการใหม่ใน ปี 2556 จึงต้องติดตามประเมินผลการให้บริการอย่างต่อเนื่องสักระยะหนึ่ง สาหรับสรุปผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้ฐานข้อมูล NU Scholarly Research Report ใน ภาพรวมพบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก แสดงว่าการพัฒนานวัตกรรมในลักษณะของแหล่งจัดเก็บผลงาน วิชาการและวิจัยของมหาวิทยาลัย เป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่ออาจารย์และนักวิจัยในสถาบัน ซึ่งเมื่อวิเคราะห์จาก จานวนผู้ใช้บริการที่มีจานวนมากที่สุดเป็นอาจารย์ และเป็นเจ้าของผลงานวิจัย และรองลงมาเป็นบุคลากรสาย สนับสนุน แสดงว่าการพัฒนาฐานข้อมูลจัดเก็บผลงานวิชาการและวิจัยของมหาวิทยาลัยยังได้รับความสนใจจากผู้ใช้ ส่วนในด้านเทคนิคของระบบ ผู้ใช้ยังมีความพึงพอใจในความรวดเร็วในการประมวลผลข้อมูล ระบบมีความง่ายและ ชัดเจนต่อการใช้งาน (User Friendly) แต่ยังขาดช่องทางในการติดต่อและสอบถามปัญหา หรืออาจเพิ่มช่องทาง สื่อสารอื่นๆ เช่น เครือข่าย social network ส่วนด้านความถูกต้องของระบบผู้ใช้มีความพึงพอใจในความถูกต้อง ครบถ้วนของข้อมูล แต่พบว่ามีงานวิจัยจานวนหนึ่งที่ไม่ปรากฎในฐานข้อ มูลที่พัฒนาขึ้น จึงอาจต้องมีการพัฒนา เพิ่มเติมในส่วนของข้อมูลผลงานวิจัยในระดับชาติ หรือผลงานวิจัยที่เผยแพร่ในแหล่งอื่นๆ นอกเหนือจากฐานข้อมูล SCOPUS และ ISI ด้วย ส่วนด้านประโยชน์ในการใช้ฐานข้อมูล จากผลการศึกษาผู้ ใช้ยังมีความพึงพอใจในประโยชน์ที่ได้จาก ฐานข้อมูล ซึ่งเป็นประโยชน์ทั้งต่อคณะและหน่วยงาน รวมทั้งมหาวิทยาลัย แต่อย่างไรก็ตามผู้ใช้บริการบางส่วนก็ยัง มีความเห็นว่าการนาเสนอระบบฐานข้อมูลยังไม่สอดคล้องกับภารกิจและความต้องการของมหาวิทยาลัยเท่าใดนัก เนื่องจากเป็นข้อมูลที่เหมาะสาหรับการนาไปใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจมากกว่า และหน่วยงานที่รับผิดชอบ ด้านวิจัยของมหาวิทยาลัยยังไม่เห็นประโยชน์ของการนาข้อมูลเชิงสถิติไปใช้วิเคราะห์และนาเสนอต่อมหาวิทยาลัย
110
ข้อเสนอแนะ 1. ห้องสมุดควรมีการประชาสัมพันธ์บริการส่งเสริมการวิจัย ให้ผู้ใช้ภายในมหาวิทยาลัยได้รับทราบ และ เห็นประโยชน์ของการใช้บริการ และเพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้ให้ครอบคลุมทั่วถึงมากขึ้น 2. บริการส่งเสริมการวิจัยบางประเภท ที่มีปริมาณการใช้บริการน้อย อาจต้องปรับปรุงวิธีการให้บริ การ ช่องทางการประชาสัมพันธ์ ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้กลุ่มเป้าหมาย หรือ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการให้ เหมาะสมกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด 3. ควรมีการปรับปรุงการทางานของระบบฐานข้อมูลผลงานวิชาการและวิจัยที่เผยแพร่ในฐานข้อมูลสากล ให้สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น เพิ่มข้อ มูลจานวนการอ้างอิง (Citation) ผลงานวิชาการและ วิจัยในระดับชาติ หรือผลงานวิจัยที่เผยแพร่อยู่ในแหล่งอื่นๆ นอกเหนือจากฐานข้อมูลสากล เพื่อสนองความ ต้องการของผู้ใช้ในสถาบันได้ครอบคลุมขึ้น การนาไปใช้ประโยชน์ นวัตกรรมที่สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวรได้พัฒนาขึ้นสาหรับบริการส่งเสริมการค้นคว้าวิจัย ทั้งส่วน ของระบบจัดการผู้ใช้ ระบบลงทะเบียนการใช้งาน ระบบฐานข้อมูลผลงานวิชาการนักวิจัยมหาวิทยาลัยนเรศวรใน ฐานข้อมูลสากล และระบบจัดเก็บข้อมูลบนเว็บเพจ ช่วยทาให้ห้องสมุดมีฐานข้อมูลนักวิจัยและฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ ไว้ให้บริการสาหรับบุคลากรในมหาวิทยาลัย สามารถอานวยความสะดวกในการขอใช้บริการผ่านระบบเครือข่าย สามารถติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้ได้ผ่านอินเทอร์เน็ต ด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรืออุปกรณ์สานักงานได้ และยังสามารถนามาเป็นข้อมูลสาหรับผู้บริหารใช้ในการตัดสินใจ และใช้ในการอ้างอิงสาหรับการประเมินคุณภาพ ของมหาวิทยาลัยได้ รายการอ้างอิง บัญชา ปะสีละเตสัง. (2551). พัฒนาเว็บด้วยเทคนิค Ajax และ PHP. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. บุญชม ศรีสะอาด. (2547). วิธีการทางสถิติสาหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์. พรชนิตว์ ลีนาราช. (2555). รูปแบบการจัดบริการสนับสนุนการวิจัยสาหรับห้องสมุดมหาวิทยาลัยวิจัยในประเทศ ไทย วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สาธิต ชัยวิวัฒน์ตระกูล (2547). เติมเทคนิค MySQL ให้เต็มประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น. สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2556). คลังข้อมูลผลงานวิชาการของนักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่ เผยแพร่ในฐานข้อมูลสากล. ค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2556 จาก http://library.cmu.ac.th/scholarly โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2548). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
111
บูรณาการนวัตกรรมสู่งานบริการสารสนเทศ An Integrated Innovation for Information Services ขวั ญ ตระกู ล กลิ่ น สุ ค นธ์ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร e-mail: khwantrakulk@nu.ac.th
บทคัดย่อ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวรมีการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนการสร้าง นวัตกรรมต่างๆ เพื่อนามาใช้ในการบริหาร การปฏิบัติงาน และการให้บริการที่สอดคล้องกับความ ต้องการของผู้ใช้บริการ โดยมีการพัฒนางาน และนวัตกรรมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยแบ่งนวัตกรรม ดังกล่าวออกเป็น 4 กลุ่ม คือ ระบบสืบค้น ระบบบริการออนไลน์ ระบบสนับสนุนงานวิจัย และระบบ สนับสนุนการปฏิบัติงานให้บริการ ซึ่งผลจากการดาเนินการให้บริการผ่านระบบต่างๆนี้ ส่งผลให้ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างความพึง พอใจให้แก่ผู้ใช้บริการเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ ยังมีระบบฐานข้อมูลอีกจานวนหนึ่งที่ยังอยู่ในระหว่างการพัฒนา เพื่อนามาใช้เสริมสร้าง ประสิทธิภาพในการทางานอย่างต่อเนื่อง คาสาคัญ : นวัตกรรม, งานบริการสารสนเทศ, สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ABSTRACT : Naresuan University Library has employed information technology in creating new innovations through which quality services are delivered. The innovations have been classified into four groups: resource search tools; online services; research support system; and service staff working support system. As a result, users are easily gain access to the subscribed resources and our own collection. The staff can work more efficiently with the reduced working processes. The users are satisfied with the services provided. Keywords : Innovation, Information Services, Naresuan University Library บทนา พันธกิจหลักหนึ่งของสานักหอสมุดนั้นคือ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีห้องสมุดให้สามารถใช้ทรัพยากร สารสนเทศได้สะดวกและรวดเร็ว ซึ่งจะนาไปสู่ความพึงพอใจและเกิดประโยชน์สูงสุดของผู้ใช้บริการในด้านต่างๆ อันประกอบด้วย ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ขั้นตอนการให้บริ การ ผู้ให้บริการ สถานที่ สิ่งอานวยความสะดวก และ
112
การประชาสัมพันธ์ ดังวิสัยทัศน์ของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวรที่ว่า “สำนักหอสมุดเป็นศูนย์กลำง นวัตกรรมบริกำรเพื่อกำรเรียนรู้ของสำธำรณชน” สานักหอสมุดได้กาหนดนโยบายการบริหารงานที่มุ่งให้การดาเนินงานมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องด้วย ความมีประสิทธิภาพ สามารถให้บริการได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว สนับสนุนการนาเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการ และการบริการในทุกภารกิจ ดังนั้น ในการดาเนินงานและการให้บริการจึงมีการพัฒนาเกิดขึ้น อย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็นวัฒนธรรมในการทางานที่สามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมบริการที่เกิดจากความร่วมมืออัน ดีระหว่างผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงาน และผู้ใช้บริการ วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมและนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลที่มีการพัฒนาขึ้ นเพื่อใช้ในงานบริการสารสนเทศ ที่เกิดจากการทางานร่วมกันระหว่างผู้ปฏิบัติงานในแต่ละฝ่าย/งาน และบุคลากรงานเทคโนโลยีห้องสมุด ขั้นตอนและวิธีดาเนินการ 1. ที่มาของนวัตกรรม และระบบสารสนเทศต่างๆ ที่สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวรนามาใช้นั้น เพื่อนามา พัฒนาการให้บริการให้ผู้ใช้บริการได้รับประโยชน์สูงสุด โดยเกิดขึ้นจากสาเหตุต่างๆ ได้แก่ 1) แก้ปัญหาจากการปฏิบัติงาน และการให้บริการ 2) การนาแนวคิด หรือปฏิบัติการที่ดี (Best Practice) จากหน่วยงาน สถาบันอื่นๆ นามาประยุกต์ใช้ 3) การศึกษาจากเทคโนโลยีสมัยใหม่ การคิด สร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ 2. บุคลากรที่เกี่ยวข้องจากฝ่าย/ งานต่างๆ ที่มแี นวคิด หรือพบปัญหาจากการปฏิบัติงาน ปรึกษาหารือรายละเอียด ต่างๆ กับบุคลากรงานเทคโนโลยีห้องสมุด 3. บุคลากรงานเทคโนโลยีห้องสมุดพัฒนาระบบขึ้นมา และฝึกอบรมผูป้ ฏิบัตงิ านที่เกี่ยวข้อง เพื่อทดลองใช้งาน และ มีปรับปรุงให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน และการให้บริการ 4. มีการประชุมแจ้งแก่บุคลากรรับทราบร่วมกันเมื่อนาระบบใหม่มาให้บริการ เพื่อให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานสามารถ แนะนากับผู้ใช้บริการได้ถูกต้อง ผลการศึกษา ผลการดาเนินการจนถึงปัจจุบัน พบว่างานบริการสารสนเทศ ได้มีการพัฒนานวัตกรรมที่นามาใช้ในการ ให้บริการทั้งในรูปแบบ Off-line และ Online เป็นจานวนมาก โดยแบ่งเป็น 4 ส่วนใหญ่ๆ ได้แก่ ระบบสืบค้น บริการออนไลน์ ระบบสนับสุนการวิจัย และระบบสนับสนุนเพื่อการปฏิบัติงานบริการ
113
ภาพที่ 1 ภาพรวมการนานวัตกรรมมาใช้ในงานบริการสารสนเทศ 1. ระบบสืบค้น แต่เดิมก่อนที่สานักหอสมุดจัดซื้อ One Search มาใช้ เพื่อเป็นเครื่องมือใช้สาหรับสืบค้น ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด รวมถึงทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ที่ห้องสมุดบอกรับเป็นสมาชิกจาก ฐานข้อมูลออนไลน์ต่างๆ นั้น ได้มีการพัฒนา Quick Search ซึ่งสะดวกสาหรับผู้ใช้บริการที่อาจมีความต้องการใช้ สารสนเทศในรูปแบบที่แตกต่างกัน เพื่อสืบค้นสารสนเทศใน 3 รูปแบบ ประกอบด้วย การสืบค้นหนังสื อผ่านระบบ WebOPAC (Search for Books) การสืบค้นบทความ (Search for Articles) และการสืบค้นรายชื่อวารสาร (Search for Journals) ดังภาพที่ 2
ภาพที่ 2 หน้าจอแสดงระบบสืบค้น 2. บริการออนไลน์ 2.1 ระบบบริการนาส่งทรัพยากรสารสนเทศระหว่างห้องสมุด (Document Delivery Service, DDS) เป็นบริการที่อานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการในการนาส่งทรัพยากรสารสนเทศสาหรับการยืม – คืน ที่ ผู้ใช้บริการต้องการจากห้องสมุดหนึ่ง ไปยังห้องสมุดอีกแห่งหนึ่งภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร โดยสามารถขอรับ เอกสารที่ห้องสมุดคณะ/ จุดรับเอกสารที่กาหนดไว้ (ภาพที่ 3)
114
2.2 ระบบ VDO Online เป็นระบบที่จัดทาขึ้นเพื่อส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ ตลอดจน การศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองนอกห้องเรียน นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนบางรายวิชาได้นาไปใช้เพื่อสอนนิสิตใน ห้องเรียนอีกด้วย โดยระบบนี้สามารถใช้ได้เฉพาะภายในเครือข่ายมหาวิทยาลัยเท่านั้น (ภาพที่ 4)
ภาพที่ 3 หน้าจอแสดงระบบบริการนาส่งทรัพยากร
ภาพที่ 4 หน้าจอแสดงระบบ VDO Online
สารสนเทศระหว่างห้องสมุด 2.3 ระบบจองห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม สานักหอสมุดจัดบริการห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม จานวน 11 ห้อง โดยระบบเดิมนั้นจะเป็นการจองห้องกับเจ้าหน้าที่ ณ เคาน์เตอร์บริการเท่านั้น ซึ่งระบบใหม่ได้ปรับให้สะดวกในการ ใช้บริการมากยิ่งขึ้น โดยสามารถจองห้องล่วงหน้าแบบออนไลน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ (ภาพที่ 5)
เวอร์ชั่นเดิม
เวอร์ชั่นปัจจุบัน
ภาพที่ 5 หน้าจอแสดงระบบจองห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม 3. ระบบสนับสนุนการวิจัย เป็นบริการหน้าเว็บเพจสาหรับบริการข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการ ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนการให้บริการสืบค้นที่สนับสนุนการผลิตผลงานวิจัยของคณาจารย์และนักวิจัยของมหาวิทยาลัย ได้แก่ 3.1 ถามบรรณารักษ์ (Ask a Librarian) เป็นบริการตอบคาถามและช่วยการค้นคว้าออนไลน์ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อแนะนาช่วยเหลือผู้ใช้ในคาถามเชิงวิชาการ ตลอดจนปัญหาหรือข้อสงสัยการใช้บริการต่าง ๆ ของ สานักหอสมุดทาง e-mail โดยมีการตอบกลับทาง e-mail ภายใน 24 ชั่วโมง (ภาพที่ 6)
115
3.3 บริการสืบค้นสารสนเทศเพื่อการวิจัย (Literature Search Service) บริการสืบค้นสารสนเทศที่ เป็นบทความวารสาร วิทยานิพนธ์ สิทธิบัตร หนังสือ เอกสาร ฯลฯ ในรูปของบรรณานุกรม บทคัดย่อ และเอกสาร ฉบับเต็ม จากฐานข้อมูลต่างๆ ที่สานักหอสมุดมีให้บริการ โดยผู้ใช้บริการจะต้องระบุหัวข้อวิจัย และคาสาคัญในการ สืบค้น เพื่อให้ตรงตามความต้องการให้มากที่สุด (ภาพที่ 7)
ภาพที่ 6 หน้าจอแสดงบริการถามบรรณารักษ์ เพื่อการวิจัย
ภาพที่ 7 หน้าจอแสดงบริการสืบค้นสารสนเทศ
3.2 บริการวิเคราะห์การอ้างอิง (Citation Analysis) เป็นบริการตรวจสอบการอ้างอิงผลงานหรือ บทความของนักวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารซึ่งอยู่ในฐานข้อมูล ISI Web of Science และฐานข้อมูล SCOPUS และ ได้รับการอ้างอิง (Citation) จะให้บริการโดยจัดส่งผลการวิเคราะห์ทาง E-mail (ภาพที่ 8) 3.3 บริการตรวจสอบค่าดัชนีผลกระทบการอ้างอิงของวารสาร (Journal Impact Factor) ซึ่งเป็น หนึ่งในเครื่องมือที่ช่วยในการประเมินคุณภาพของวารสารและเป็นประโยชน์สาหรับนักวิจัยในการคัดเลือกวารสารที่ เหมาะสมเพื่อการตีพิมพ์โดยจะให้บริการส่งผล Journal Impact Factor ทาง E-mail (ภาพที่ 9)
ภาพที่ 8 หน้าจอแสดงบริการวิเคราะห์การอ้างอิง
ภาพที่ 9 หน้าจอแสดงบริการตรวจสอบค่าดัชนีผลกระทบ การอ้างอิงของวารสาร
3.4 NU Digital Repository ให้บริการผลงานวิจัยของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ภาพกิจกรรม คู่มือ นิสิตของมหาวิทยาลัย รวมถึงเอกสารต่างๆของมหาวิทยาลัย (ภาพที่ 10)
116
3.5 ฐานข้อมูลสาหรับจัดเก็บผลงานวิชาการและวิจัยของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร (Scholarly Research Support) ที่เผยแพร่ในฐานข้อมูลสากล ได้แก่ SCOPUS และ ISI Web of Knowledge โดยจัดเก็บ รายละเอียดทางบรรณานุกรมของผลงานวิชาการและวิจัยของบุคลากรมหาวิทยาลัยและเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาฉบับ เต็มในฐานข้อมูลต้นแหล่ง (ภาพที่ 11)
ภาพที่ 10 หน้าจอแสดงระบบ NU Digital Repository
ภาพที่ 11 หน้าจอแสดงฐานข้อมูลสาหรับจัดเก็บ ผลงานวิชาการและวิจัยของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร
3.6 ระบบบริหารจัดการฝึกอบรม (Library Training Management System) ประกอบด้วยระบบ การลงทะเบียนออนไลน์สาหรับการฝึกอบรม ข้อมูลรายละเอียดของแต่ละหลักสูตร การเก็บประวัติการเข้าอบรม ตลอดจนระบบบริ หารจั ด การสมาชิ กผู้ เ ข้า อบรม หรื อ ระบบลู ก ค้ า สั ม พั น ธ์ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ในการแจ้ ง เตื อ น ส่งข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ (ภาพที่ 12) 3.7 Clinic @Library เป็นบริการเชิงรุก ซึ่งตอบสนองความต้องการเฉพาะกลุ่ม โดยจัดบริการให้ คาปรึกษาและแนะนาด้านวิชาการ เชิญบุคลากรผู้เชี่ยวชาญในเรื่องต่างๆ มาให้คาแนะนา/ปรึกษาเฉพาะด้าน เป็น รายบุคคล ซึ่งผู้ขอเข้ารับคาปรึกษานั้นจะต้องลงทะเบียนเพื่อนัดหมายเวลาขอคาปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญล่วงหน้า (ภาพที่ 13)
ภาพที่ 12 หน้าจอแสดงระบบบริหารจัดการฝึกอบรม
ภาพที่ 13 หน้าจอแสดงระบบ Clinic@Library
3.8 ระบบบริหารจัดการให้บริการช่วยการค้นคว้า ทาหน้าที่จัดเก็บรายการคาถามที่ผู้ใช้สอบถาม การ จัดเก็บสถิติ ตลอดจนระบบบริหารจัดการข้อมูลสมาชิก เพื่อนาไปเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ เพื่อ เกิดการบริการที่เป็นเลิศและบริการเชิงรุกอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผู้ใช้ประทับใจเหนือความคาดหมายต่อไป (ภาพที่ 14)
117
ภาพที่ 14 หน้าจอแสดงระบบบริหารจัดการให้บริการช่วยการค้นคว้า 4. ระบบสนับสนุนเพื่อการปฏิบัติงานบริการ 4.1 Digital Post-it กระดานแจ้งข่าวสารงานบริการ ติดตั้งอยู่บน Desktop ของเครื่องคอมพิวเตอร์ทุก เครื่องที่ใช้ในการบริการยืม-คืน จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการส่งต่อข้อความ หรือสื่อสารกันระหว่างผู้ปฏิบัติงานประจากับ ผู้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ หรือส่งต่อการให้บริการระหว่างรอยต่อการปฏิบัติงาน เพื่อลดการใช้กระดาษโน้ตติด บริเวณเคาน์เตอร์ ซึ่งทาให้เกะกะไม่สวยงาม และอาจทาให้เกิดความผิดพลาดได้ในกรณีที่กระดาษโน้ตสูญหาย (ภาพ ที่ 15)
ภาพที่ 15 หน้าจอแสดง Digital Post – it 4.2 ระบบตรวจสอบรายชื่อนิสิต/ บุคลากร เพื่อตรวจสอบสถานภาพปัจจุบันของบุคลากร และนิสิต มหาวิทยาลัยนเรศวร นาไปใช้ประโยชน์ในงานบริการยืมทรัพยากรสารสนเทศ และบริการทาบัตรสมาชิกห้องสมุด สาหรับบุคลากร ทาให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูล (ภาพที่ 16)
118
ภาพที่ 16 หน้าจอแสดงระบบตรวจสอบรายชื่อนิสิต/ บุคลากร 4.3 ระบบฐานข้ อ มู ล สมาชิ ก ห้ อ งสมุ ด เป็ น ระบบที่ ร วบรวมข้ อ มู ล สมาชิ ก ห้ อ งสมุ ด ประเภท บุคคลภายนอก/ PULINET เพื่อใช้ในการตรวจสอบสถานะการเป็นสมาชิกภาพ จัดเก็บสถิติ และลดการจัดเก็บ หลักฐานการสมาชิกในรูปกระดาษ (ภาพที่ 17)
ภาพที่ 17 หน้าจอแสดงฐานข้อมูลสมาชิกห้องสมุด 4.4 ระบบแจ้งหารายการทรัพยากรไม่พบ ระบบนี้เกิดขึ้นจากบุคลากรผู้ปฏิบัติงานขึ้นชั้นหนังสือ หารือ ร่วมกับงานเทคโนโลยีห้องสมุด เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการ กรณีหาตัวเล่มไม่พบที่ชั้น ซึ่งแต่เดิมไม่มีการ จัดเก็บข้อมูล สถิติอย่างเป็นระบบ อีกทั้งยังมีระบบแจ้งกลับผ่าน E-mail ไปยังผู้ใช้บริการอีกด้วย (ภาพที่ 18)
ภาพที่ 18 หน้าจอแสดงระบบแจ้งหารายการทรัพยากรไม่พบ 4.5 ระบบสารองข้อมูลการคืนทรัพยากรสารสนเทศ ระบบนี้เกิดขึ้นจากการที่สานักหอสมุดจะต้องทา การปิดระบบห้องสมุดอัตโนมัติทุก module เพื่อทาการย้าย Server และเปลี่ยน Platform จาก UNIX เป็น Linux
119
และปรับ Version ของระบบห้องสมุดอัตโนมัติจาก Ver. 2007 เป็น Ver. 2011 และ Upgrade เครื่อง client ทุก เครื่องในระหว่างวันที่ 24 กันยายน ถึงวันที่ 7 ตุลาคม 2555 จึงมีความจาเป็นต้องจัดทาระบบสารอง เพื่อให้สามารถ ให้บริการแก่ผู้ใช้บริการอย่างต่อเนื่อง และมีการตรวจสอบข้อมูลการคืนทรัพยากรสารสนเทศอย่างเป็นระบบ (ภาพที่ 19) 4.6 Internet Room Calendar ระบบจองการใช้ห้องอบรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งบูรณาการเพื่อใช้งาน ร่วมกันระหว่างฝ่าย/งานต่างๆ กล่าวคืองานบริการสารสนเทศที่มีการอบรมการรู้สารสนเทศให้แก่ผู้ใช้บริการอย่าง ต่อเนื่อง และงานธุรการที่มีการรับเรื่องขอใช้ห้องเพื่อการเรียนการสอน หรือกิจกรรมต่างๆ ที่ทางคณะ/ภาควิชาขอ ความอนุเคราะห์ ใช้ห้อง นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับงานเทคโนโลยีห้องสมุดในการเตรียมอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ และ คอมพิวเตอร์ให้พร้อมใช้งาน ดังนั้น ระบบนี้จึงถูกใช้เป็นจุดศูนย์กลางในการประสานงานและปฏิบัติงานร่วมกันอย่าง มีประสิทธิภาพ (ภาพที่ 20)
120
ภาพที่ 19 หน้าจอแสดงระบบสารองข้อมูล
ภาพที่ 20 หน้าจอแสดงระบบ Internet Room Calendarการคืนทรัพยากรสารสนเทศ
4.7 ระบบจัดทาและรายงานสถิติฝ่ายบริการสารสนเทศ เป็นการลดการใช้กระดาษในการรายงานสถิติ ตลอดจนผู้รับผิดชอบในการสรุปรวบรวมข้อมูลสามารถกรอกข้อมูลได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ประกอบกับในส่วนที่เป็น ระบบบริการออนไลน์อยู่แล้ว ก็สามารถดึงสถิติมายังระบบสถิติของฝ่ายฯ ได้โดยอัตโนมัติ และผู้บริหารสามารถ เรียกดูสถิติการปฏิบัติงานและการให้บริการได้ตลอดเวลาเพื่อการวางแผนและการตัดสินใจ (ภาพที่ 21)
ภาพที่ 21 หน้าจอแสดงระบบสถิติฝ่ายบริการสารสนเทศ 4.8 ระบบบริการยืมระหว่างห้องสมุด (อยู่ระหว่างการพัฒนา) ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันหน่วยบริการยืม ระหว่างห้องสมุด ฝ่ายบริการสารสนเทศมีการบันทึกข้อมูลในสมุดบัญชี และจัดเก็บเอกสาร หลักฐานต่างๆ ในแฟ้ม เอกสาร ซึ่งพบปัญหาต่างๆ อยู่เนืองๆ เช่น ผู้ให้บริการ (ที่ไม่ใช่ผู้รับผิดชอบหลัก) จะไม่ทราบว่ามีการดาเนินการถึง ขั้นตอนใด เมื่อผู้ใช้บริการมาสอบถามข้อมูล หรือความซ้าซ้อนในการออกเลขคาขอ และความยุ่งยากในการรายงาน ผลสถิติข้อมูล เป็นต้น จึงเห็นว่าเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น และเพื่อเป็นการปรับปรุงกระบวนการขั้นตอนในการ ให้บริการ พัฒนาการให้บริการอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 4.9 ระบบแจ้งแก้ไขตัวเล่มหนังสือ (อยู่ระหว่างการพัฒนา) แนวคิดการพัฒนาระบบนี้เกิดขึ้นจากงานขึ้น ชั้นหนังสือมักพบปัญหาเกี่ยวกับการให้เลขหมู่ หรือข้อผิดพลาดในการพิมพ์สันหนังสือ แต่ขาดการจัดเก็บข้อมูลสถิติ อย่างเป็นระบบ ตลอดจนการส่งต่อปัญหาไปงานฝ่ าย/งานที่เกี่ยวข้อง เช่น งานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ เป็นต้น
121
อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และการนาไปใช้ประโยชน์ หน่วยงาน /สถาบันอื่นๆ สามารถนานวัตกรรมการบริการสารสนเทศต่างๆ ไปประยุกต์ใช้ภายใต้บริบทของ หน่วยงานตนเองได้ บรรณานุกรม สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร. [มปป.]. นโยบายการบริหารสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วงปี พ.ศ. 2555 – 2559. [มปป.]. แผนยุทธศาสตร์ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวรช่วงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559).
122
การพัฒนาการให้บริการในรูปแบบ Self-service สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ The Development of Self-service in Chiang Mai University Library ปราชญ์ สงวนศั ก ดิ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail: pratchaya@lib.cmu.ac.th
บทคัดย่อ การพั ฒ นาการให้ บ ริ ก ารในรู ป แบบ Self-service ภายในส านั ก หอสมุ ด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นเป้าหมายของการพัฒนาของสานักหอสมุดตามแผนกลยุทธ์ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2555-2559) มีวัตถุประสงค์เพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ผู้รับบริการในการเข้าถึงทรัพยากร สารสนเทศและบริการโดยการเพิ่มช่องทางในการใช้บริการ ลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และแก้ ไ ขปั ญ หาด้ า นการติ ด ต่อ สื่อ สารระหว่า งเจ้า หน้า ที่ ผู้ให้บ ริ ก าร ในปี 2556 สานัก หอสมุ ด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พัฒนาการให้บริการในรูปแบบ Self-service จานวน 2 บริการ คือ บริการ จองห้องค้นคว้ากลุ่มด้วยตนเองและบริการยืมด้วยตนเอง พัฒนาโดยใช้ HTML5 จากการศึกษาข้อมูล พบว่า การนาบริการในรูปแบบ Self-service มาให้บริการในห้องสมุด ทาให้มีผู้รับบริการเพิ่มขึ้น รวมถึงสามารถลดค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานให้กับสานักหอสมุดได้ คาสาคัญ: ห้องสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, การพัฒนาระบบ, การให้บริการ, ระบบบริการด้วย ตนเอง ABSTRACT The development of self-service in Chiang Mai University Library is one of the objectives of the five-year development strategic plan (2012-2016). The objectives of this service to help users to access information resources and services by adding more channels for use, decreasing the staff’s workloads, improving the misunderstandings communication between the library staff and users, as well as decreasing the organization’s expenditures. In the fiscal year 2013, the library has developed 2 types of self-service: self-reservation of group study room and selfcheckout using HTML5. By statistical study, it was found that using a self-service method could increase the number of users and decrease the library’s expenditures.
123
Keywords: Chiang Mai University Library, Programming, Services, Self-service บทนา สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มุ่งพัฒนาสานักหอสมุดให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ (Learning Center) ระดับแนวหน้า โดยกาหนดเป้าหมายสาคัญของการเป็นศูนย์การเรียนรู้ที่สอดรับแผนกลยุทธ์ สานักหอสมุด ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2555-2559) และการพัฒ นามหาวิ ท ยาลั ย ในการเป็น มหาวิ ทยาลั ยวิ จั ยและมหาวิ ท ยาลั ยดิ จิ ทั ล ประกอบด้วย การเป็นห้องสมุดดิจิทัล ห้องสมุดสนับสนุนการวิจัย ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น ภาคเหนือ และแหล่งข้อมูลกลุ่มประเทศอาเซียนและ GMS การพัฒนาการให้บริการที่ผู้รับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็ว ในการเข้า ถึงทรัพยากรสารสนเทศและ บริการต่างๆ ซึ่งการพัฒนาบริการ Self-service เป็นรูปแบบหนึ่งที่จาเป็น เนื่องจากเป็นการอานวยความสะดวกให้ ผู้รับบริการสามารถเข้าถึงบริการของสานักหอสมุดได้ด้วยตนเองอย่างรวดเร็ว การใช้บริการไม่จาเป็นต้องติดต่อ กับ เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ อีกทั้งเป็นการเพิ่มช่องทางในการใช้บริการ ประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อโปรแกรม สาเร็จรูป และลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการอย่างยั่งยืน โดยสานักหอสมุด ตั้งเป้าหมายในการพัฒนา โปรแกรมเพื่อให้บริการในรูปแบบ Self-service อย่างน้อย 1 ระบบต่อปี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาโปรแกรมการให้บริการในรูปแบบ Self-service อย่างน้อยปีละ 1 ระบบ 2. เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้รับบริการ ในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศและบริการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว 3. เพื่อเพิ่มช่องทางในการใช้บริการ 4. เพื่อลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 5. เพื่อลดปัญหาด้านการติดต่อสื่อสารระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการและผู้รับบริการ 6. เพื่อประหยัดงบประมาณของสานักหอสมุด 7. เพื่อตอบสนองเป้าหมายการพัฒนาตามแผนกลยุทธ์ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2555-2559) ของสานักหอสมุด ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ ศึกษากระบวนการให้บริการของสานักหอสมุด เพื่อนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาทดแทนในขั้นตอนการ ให้บริการ โดยเลือกจากบริการที่มีผู้ใช้จานวนมาก หรือมีปัญหาในการให้บริการ พิจารณาซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาระบบ โดยเลือกประเภทฟรีแวร์หรือโอเพ่นซอร์ส 1. พัฒนาโปรแกรม 2. ทดสอบโปรแกรมโดยการทดลองใช้ในห้องสมุดกลาง
124
3. ปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาดที่พบจากการทดสอบ โดยพิจารณาจากการทางานโดยภาพรวมและรวบรวม ข้อเสนอแนะจากผู้ปฏิบัติงานและผู้รับบริการ 4. จัดเก็บสถิติการใช้งาน เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาและปรับปรุงโปรแกรม ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผลการศึกษา ในปีงบประมาณ 2556 สานักหอสมุด ได้พัฒนาโปรแกรมการให้บริการในรูปแบบ Self-service จานวน 2 ระบบด้วยกัน คือ 1. ระบบการยืมด้วยตนเองผ่านเว็บไซต์และ Mobile Application ประกอบด้วย ระบบย่อย 3 ระบบ ดังนี้ 1.1 ระบบยืมด้วยตนเอง เป็นระบบตะกร้าหนังสือออนไลน์ (Online book cart) ที่ผู้รับบริการสามารถ เลือกหนังสือจากรายชื่อหนังสือที่สืบค้นใส่ลงในตะกร้าและยืนยันตนเองด้วยการกรอกข้อมูลบัตรสมาชิกห้องสมุด (ในกรณีที่ใช้งานผ่านเว็บไซต์) หรือยืนยันตนเองผ่านระบบ Mobile Passport ที่เชื่อมโยงข้อมูลโทรศัพท์มือถือเข้า กับระเบียนสมาชิกของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ (ในกรณีที่ใช้ผ่าน Mobile Application) 1.2 ระบบนาส่งเอกสาร ผู้รับบริการสามารถระบุสถานที่ที่ต้องการให้ห้องสมุดกลาง และห้องสมุดคณะ นาส่งทรัพยากรสารสนเทศได้ด้วยตนเอง โดยผู้รับบริการสามารถตรวจสอบขั้นตอนการดาเนินงานได้ว่าทรัพยากร สารสนเทศที่ยืมกาลังดาเนินการอยู่ในขั้นตอนใด 1.3 ระบบยืมต่อด้วยตนเอง ในกรณีที่ครบกาหนดคืนทรัพยากรสารสนเทศ หากยังไม่ต้องการคืนทรัพยากร สารสนเทศที่ยืมมาผู้รับบริการสามารถใช้บริการยืมต่อได้ด้วยตนเองผ่านเว็บไซต์และ Mobile Application ตาม ระเบียบการยืมทรัพยากรสารสนเทศที่สานักหอสมุดกาหนด คือ ยืมต่อได้สูงสุด 3 ครั้ง จากการใช้งานระบบตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม 2556 พบว่า มีการใช้บริการทั้งสิ้นจานวน 1,186 ครั้ง คิดเป็นทรัพยากรสารสนเทศจานวน 2,531 ชื่อ 1. การจองห้องค้นคว้ากลุ่มด้วยตนเอง พัฒนาโดยใช้โปรแกรม HTML5 และ jQuery Mobile เป็นระบบ ที่ผู้รับบริการใช้บัตรสมาชิกห้องสมุดประเภท RFID ยืนยันตนเองกับเครื่องอ่านเพื่อจองห้องค้นคว้ากลุ่ม ตามเวลาที่ ต้องการแต่ละห้อง ซึ่งภายในห้องค้นคว้ากลุ่มแต่ละห้องจะมีอุปกรณ์อานวยความสะดวกที่ไม่เหมือนกัน เช่น ระบบ คีย์การ์ดในการเปิดห้อง กระดานไวท์บอร์ด อินเตอร์แอคทีฟโปรเจคเตอร์พร้อมปากกาอิเล็กทรอนิกส์ อินเทอร์เน็ต ทีวี แว่นตา 3 มิติ ระบบเครือข่ายไร้สาย โต๊ะและเก้าอี้นั่งอ่าน โดยระบบจะกาหนดสิทธิให้ผู้รับบริการกลุ่มที่จอง สามารถใช้บัตรสมาชิกทาบผ่านระบบคีย์การ์ดได้ในเวลาที่จองเท่านั้น รวมถึงสามารถรายงานการใช้งานห้องค้นคว้า กลุ่มแยกตามช่วงเวลาและประเภทผู้รับบริการได้ จากการใช้งานระบบตั้งแต่เดือนเมษายน จนถึงเดือนตุลาคม 2556 พบว่า 1. มีจานวนผู้รับบริการห้องค้นคว้ากลุ่มเพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาเดียวกัน
125
เม.ย.-ต.ค. 2553 เม.ย.-ต.ค. 2556 ช่วงเวลา เม.ย.-ต.ค. 2554 เม.ย.-ต.ค. 2555 จานวนผู้รับบริการ 1,596 คน 9,034 คน 3,884 คน 16,381 คน 2. สามารถบริหารจัดการสิทธิการเข้าใช้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น กาหนดระยะเวลาการใช้ห้อง กาหนดจานวนคนขั้นต่าในการใช้ห้อง
3. ประหยัดงบประมาณ อย่างน้อยจานวน 140,000 บาท ดังนี้ ค่าจัดซื้อ Controller จานวนเงิน 80,000 บาท ค่าเดินสายสัญญาณจาก Controller มายัง RFID Reader จานวนเงิน 30,000 บาท ค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อซอฟต์แวร์ จานวนเงิน 30,000 บาท 4. ลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการในการลงชื่อจองห้องค้นคว้ากลุ่มได้สูงสุดถึง 12 ชั่วโมงต่อวัน ข้อเสนอแนะ 1. ควรเพิ่มบริการยืมระหว่างห้องสมุด (Inter library loan) ลงในระบบยืมด้วยตนเอง 2. ควรกาหนดมาตรการที่เข้มงวดสาหรับผู้ที่จองห้องค้นคว้ากลุ่มด้วยตนเองแต่ไม่มาใช้บริการ การนาไปใช้ประโยชน์ ในปีงบประมาณ 2556 สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาการให้บริการ ในรูปแบบ Self-service จานวน 2 บริการ คือ บริการจองห้องค้นคว้ากลุ่ม ด้วยตนเอง ที่สามารถให้บริการได้ใน ห้องสมุดกลาง ห้องสมุดคณะ/สถาบัน/ศูนย์ และบริการยืมด้วยตนเอง ผ่านเว็บไซต์และในรูปแบบของ Mobile Application ส่งผลให้ผู้รับบริการได้ประโยชน์ดังนี้ 1. ผู้รับบริการมีทางเลือกในการเข้าถึงบริการของสานักหอสมุดมากขึ้น 2. มีขั้นตอนการเข้าถึงบริการน้อยลง 3. จานวนผู้รับบริการเพิ่มมากขึ้น 4. ลดค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานและการจัดซื้อระบบสาเร็จรูป รายการอ้างอิง AlSudairi, M. T. (2013). The Effects of self-service web portals on online banking service quality: A Theoretical model. International Journal Of Business & Management, 8(18), 121-139. doi:10.5539/ijbm.v8n18p121
126
Hilton, T., & Hughes, T. (2013). Co-production and self-service: The application of servicedominant logic. Journal of Marketing Management, 29(7/8), 861-881. doi:10.1080/0267257X.2012.729071
127
ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการที่มีต่อภาพลักษณ์ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี Users’s Opinions on the Image of The Center for Library Resources and Educational Media Suranaree University of Technology คนึ ง นิ ต ย์ หี บ แก้ ว ธั น ยกานต์ สิ น ปรุ พุ ท ธชาติ เรื อ งศิ ริ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี e-mail : nit@sut.ac.th
บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้บริการที่มีต่อภาพลักษณ์ของศูนย์ บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีของผู้ใช้บริการทั้งหมด 9 ด้าน ได้แก่ ด้ า น ทรั พ ยากรสารสนเทศ ด้านการบริการห้องสมุด ด้านบริการสื่อการศึกษา ด้านบุคลากร ด้าน สถานที่ ด้านการสื่อสาร ด้านเครื่องมือหรืออุปกรณ์ ด้านเทคโนโลยี และด้านการมีส่วนร่วมกับชุมชน และสังคม และลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจานวน 385 ชุด จากประชาคมชาวมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารีที่เคยเข้ามาใช้บริการ 5 ครั้งขึ้นไปและเข้ามาใช้บริการขณะทาการวิจัย ประกอบด้วย นักศึกษา ระดับปริญญาตรี นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา บุคลากรสายวิชาการ และบุคลากรสายปฏิบัติการวิชาชีพของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการที่มีต่อภาพลักษณ์ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารีในภาพรวมทั้งหมด 9 ด้านพบว่า ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารทุ ก กลุ่ ม ตั ว อย่ า งมี ค วามคิ ด เห็ น ต่ อ ภาพลั ก ษณ์ อ ยู่ ใ นระดั บ ดี ( = 4.41, SD = 0.71) เมื่อจาแนกภาพรวมแต่ละด้านพบว่า ความ คิดเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์ด้านเทคโนโลยีมากที่สุด ( = 4.56, SD = 0.65) มีภาพลักษณ์ระดับดีมาก รองลงมา ได้แก่ ด้านสถานที่ ( = 4.53, SD = 0.67) มีภาพลักษณ์ระดับดีมาก และด้านการบริการ ห้องสมุด ( = 4.45, SD = 0.69) มีภาพลักษณ์ระดับดี ตามลาดับ ส่วนจาแนกตามประเด็นพบว่า ความคิดเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์ประเด็นเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ ออกแบบและตกแต่งอาคารทันสมัย สวยงาม และสะอาดมากที่สุด ( = 4.68, SD = 0.57) มี ภาพลักษณ์ ร ะดั บ ดี ม าก รองลงมา ได้แก่ ประเด็นเป็ นแหล่ง เรีย นรู้ ที่มี ร ะบบห้องสมุ ดอัตโนมั ติที่ ทันสมัย ( = 4.59, SD = 0.61) มีภาพลักษณ์ระดับดีมาก และประเด็นเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มี ทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายประเภท( = 4.59, SD = 0.62) มีภาพลักษณ์ระดับดีมาก
128
ความคิดเห็นต่อลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นพบว่า ผู้ใช้บริการทุกกลุ่มตัวอย่างสามารถจดจา ชื่อ เต็มเว็บไซต์ สัญลักษณ์หรือโลโก้ คาขวัญหรือสโลแกน สีของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้ ถูกต้อง และสถานที่เป็นลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นที่สุด ส่วนทรัพยากรสารสนเทศ เป็นลักษณะเฉพาะที่ โดดเด่นที่จะทาให้ผู้ใช้บริการเข้ามาใช้บริการในปัจจุบันและอนาคต “ทรัพยากรสารสนเทศ” จึงถือว่า เป็นเแก่นแท้ของแบรนด์ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา เมื่อนาผลวิจัยตอนที่ 2 ความคิดเห็นที่มีต่อ ภาพลักษณ์และตอนที่ 3 ความคิดเห็นต่อลักษณะเฉพาะที่ โดดเด่นมาวิเคราะห์ร่วมกั นพบว่า บุคลิกภาพศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา คือ “องค์การตื่นรู้” คาสาคัญ : ภาพลักษณ์องค์การ, ความภักดีต่อตราผลิตภัณฑ์ ABSTRACT The purpose of this research project was to investigate users’s opinions on the image of the Center for Library Resources and Educational Media (CLREM), Suranaree University of Technology in nine areas: information resources, library services, educational services, personnel, building, communication, tool or technological equipment and corporate social responsibility. The study on the outstanding characteristics of the CLREM was also conducted. By questionnaires 385 sets from subjects were undergraduate students, graduate students, faculty and staff of Suranaree University of Technology. They were sampled from users at list five times or more and during the research period. The research result on the 9 area images revealed that the users from all groups had an opinion on the images in the good level ( = 4.41, SD = 0.71) However, if each area was separately considered, the area that the users liked were technology ( = 4.56, SD = 0.65) ), venue ( = 4.53, SD = 0.67), and service ( = 4.45, SD = 0.69) respectively. The users also liked the CLREM as a learning center with a modern, beautiful, and clean design ( = 4.68, SD = 0.57) ), as a learning center with a modern automated system ( = 4.59, SD = 0.61), and as a center with various information resources ( = 4.59, SD = 0.62) respectively.
129
In the aspect of outstanding characteristics, the subjects were able to remember the full name, website, symbol or logo, slogan and color of the CLREM correctly. The building of the CLREM was the most prominent characteristics. Moreover, the information resources of the CLREM, another outstanding characteristic of the CLREM, played a major role in attracting the present and future users to come and use the CLREM. Therefore, "Information Resources" is a “Brand Essence” of the CLREM. Considered from the results of the study, it could summarized that the personality of the CLREM is an “Awakening Organization”. Keywords : Organizational image, Brand loyalty บทนา ภาพลักษณ์เกิดขึ้นมาพร้อมกับทุกสรรพสิ่ง และอยู่รอบตัวเราแสดงออกมาในรูปการดาเนินชีวิต อุปนิสัย รสนิยม ภาพลักษณ์เป็นส่วนสาคัญในการทาให้บุคคล องค์การ สินค้าหรือบริการต่างๆ ประสบความสาเร็จ มีคุณค่า ต่อทุกสรรพสิ่งที่เกี่ยวข้องเป็นพลังแห่งความคิดของกระบวนการเรียนรู้ที่ทาให้เกิดการตัดสินใจ และทัศนคติด้านใด ด้านหนึ่งต่อเรื่องราวนั้นๆ ที่อาจจะเป็นด้านบวกหรือด้านลบก็ ได้ (พจน์ ใจชาญสุขกิจ, 2548) ซึ่งหากองค์การมี ภาพลักษณ์ด้านลบจะนามาซึ่งอุปสรรคในการปฏิบัติงาน และทาให้เกิดการล่มสลายไปในที่สุด แต่ ถ้ า มี ภาพลักษณ์ ด้านบวกปรากฏเด่นชัด สอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน ย่อมเป็นการเพิ่มคุณค่าอันโดดเด่น และสร้างความแตกต่าง ให้กับบริการของตน ทาให้ผู้ใช้บริการมีความเชื่อถือในบริการอยากเข้าใช้บริการมากขึ้น รวมทั้งทาให้บุคลากรมี ความภูมิใจตั้งใจทางาน ส่งผลให้มีการบริการที่ดีมีคุณภาพแก่ผู้ใช้บริการ (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2553) ปัจจุบันห้องสมุดเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงหลายประการ เช่น จานวนผู้ใช้บริการลดลงและพฤติกรรม ของผู้ ใ ช้ บ ริ การเปลี่ ย นไป อาจสื บ เนื่ อ งมาจากความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารท าให้ ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศได้ทุกโอกาสและสถานที่ ไม่จาเป็นต้องไปค้นหาทรัพยากรสารสนเทศ ที่ห้องสมุดเหมือนในอดีตหรืออาจมีเหตุผลอื่นๆ ที่ห้องสมุดยังไม่ทราบแน่ชัด ดังนั้นห้องสมุดจึงจาเป็นต้องปรับปรุง และรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าว โดยนาแนวคิดกลยุทธ์ทางการตลาดเข้ามาสร้างการรับรู้และความรู้สึก ความ ผูกพันแก่ผู้ใช้บริการ เช่น การสารวจหรือศึกษาความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ห้องสมุดในปัจจุบันว่ามีภาพลักษณ์ด้ าน ใด สามารถเชื่อมโยงความรู้สึกของผู้ใช้บริการให้เกิดความไว้วางใจหรือประทับใจ ดึงดูดให้เข้ามาใช้บริการมากขึ้นใน ทางตรงข้ามหากมีภาพลักษณ์ด้านใดที่ทาให้ผู้ใช้บริการขาดความเชื่อถือ ศรัทธา และการไว้วางใจจึงไม่มาเข้าใช้ บริการ ศู น ย์ บ รรณสารและสื่ อ การศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี สุ ร นารี เป็ น หน่ ว ยงานงานบริ ก ารที่ เ น้ น ผู้ใช้บริการเป็นสาคัญการประเมินผลความพึงพอใจด้านบริการอย่างต่อเนื่ อง อยู่ในระดับดี น่าชื่นชม (รายงานการ ประเมินตนเอง ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา, 2554) การมีบริการที่ดีมีคุณภาพซึ่งเป็นการตอบสนองทาง กายภาพอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ ต้องมีลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น ผนวกกับความรู้สึก จึงจะรับมือกับสภาพการณ์ ปัจจุบันได้ อีกทั้งศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษายังไม่เคยทบทวน ตรวจสอบ วิเคราะห์ว่ามีสิ่งใดเป็นลักษณะ
130
เฉพาะที่โดดเด่นสามารถสร้างความรู้สึก สร้างความแตกต่าง สร้ า งคุ ณ ค่ า ทางจิ ต ใจ และทาให้ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารเกิ ด ความภั ก ดี ต่ อ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา จากเหตุ ผ ลดั ง กล่ า วจึ ง ท าให้ ผู้ วิ จั ย ศึ ก ษาความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ ภาพลั ก ษณ์ ข องศู น ย์ บ รรณสารและ สื่อการศึกษาจากการรับรู้ของผู้ใช้บริการทั้งหมด 9 ด้าน ได้แก่ ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ด้านการบริการห้องสมุด ด้านบริการสื่อการศึกษา ด้านบุคลากร ด้านสถานที่ ด้านการสื่อสาร ด้านเครื่องมือหรืออุปกรณ์ ด้านเทคโนโลยี และ ด้านการมีส่วนร่วมกับชุมชนและสังคมภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของศูนย์บรรณสาร และสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เพื่อนาผลการวิจัยไปส่งเสริมและพัฒนาภาพลักษณ์ที่ดี รวมทั้งได้ ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ไปวิเคราะห์ร่วมกับ SWOT Analysis และจุดเด่น จากสรุปผลการประเมินรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในศูนย์บรรณ สารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา 2555 เพื่อสร้างแบรนด์ศูนย์บรรณสารและ สื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อ ศึ ก ษาความคิ ด เห็ น ของผู้ ใ ช้ บ ริ ก ารที่ มี ต่ อ ภาพลั ก ษณ์ ข องศู น ย์ บ รรณสารและสื่ อ การศึ ก ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้ใช้บริการต่อลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ขั้นตอน และวิธีการดาเนินการ ใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ใช้บริการศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา บุคลากรสายวิชาการ และบุคลากรสายปฏิบัติการวิชาชีพ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีที่ เคยเข้ามาใช้บริการ 5 ครั้งขึ้นไปและเข้ามาใช้บริการขณะทาการวิจัย จานวน ทั้งสิ้น 385 คน แบบสอบถามแบ่งเป็น 4 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความ คิดเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ตอนที่ 3 ความคิดเห็น ต่อลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะอื่นๆ ที่มีต่อภาพลักษณ์และลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1
ใช้มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับของ Likert ความหมาย ดีมาก ดี ปานกลาง ไม่ดี ไม่ดีเลย
ค่าเฉลี่ย 4.50-5.00 3.50-4.49 2.50-3.49 1.50-2.49 1.00-1.49
131
การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ความคิดเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์และความคิดเห็นต่อ ลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี วิเคราะห์ข้อมูลทาง สถิติด้วยโปรแกรม SPSS เป็นค่าเฉลี่ย ร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนข้อเสนอแนะอื่นๆ ที่มีต่อภาพลักษณ์ และลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี วิเคราะห์ข้อมูล โดยสรุปประเด็นเนื้อหา แยกประเด็นเป็นหมวดหมู่นาเสนอเป็นความเรียง ผลการศึกษา อภิปราย และข้อเสนอแนะ ผลการศึกษา ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศของผู้ ต อบแบบสอบถามพบว่ า เพศหญิ ง ตอบ แบบสอบถามมากที่สุด จานวน 184 คน (ร้อยละ 55.40) และเป็นเพศชาย จานวน 148 คน (ร้อยละ 44.60)อายุ ของผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า อายุต่ากว่า 25 ปี ตอบแบบสอบถามมากที่ สุ ด จานวน249 คน (ร้อยละ 74.60) รองลงมา ได้แก่ อายุ 26-30 ปี จานวน 32 คน (ร้อยละ 9.60) และอายุ 41-50 ปี จานวน 24 คน (ร้อยละ 7.20) ตามลาดับ ประเภทของผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า นักศึกษาระดับปริญญาตรี ต อบแบบสอบถามมากที่สุด จานวน 229 คน (ร้อยละ 68.60) รองลงมา ได้แก่ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จานวน 58 คน (ร้อยละ 17.40) และบุคลากร สายปฏิบัติการวิชาชีพ จานวน 32 คน (ร้อยละ 9.60) ตามลาดับ สานักวิชาและหน่วยงานอื่นพบว่า สานักวิชาวิ ศ วกรรมศาสตร์ ต อบแบบสอบถาม มากที่สุด จานวน 171 คน (ร้อยละ 51.70) รองลงมา ได้แก่ สานักวิชาแพทยศาสตร์ จานวน 43 คน (ร้อยละ 13.00) และสานักวิชา เทคโนโลยีการเกษตร จานวน 41 คน (ร้อยละ 12.40) ตามลาดับ ตอนที่ 2 ความคิดเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาในภาพรวมทั้งหมด 9 ด้าน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทุกกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์อยู่ในระดับดี ( = 4.41, SD = 0.71) เมื่อจาแนกภาพรวมแต่ละด้านพบว่า ความคิดเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์ด้านเทคโนโลยีมากที่สุด ( = 4.56, SD = 0.65) มีภาพลักษณ์ระดับดีมาก รองลงมา ได้แก่ ด้านสถานที่ ( = 4.53, SD = 0.67) มีภาพลักษณ์ระดับดีมาก และด้านการบริการห้องสมุด ( = 4.45, SD = 0.69) มีภาพลักษณ์ระดับดี ตามลาดับ ส่วนจาแนกตามประเด็นพบว่า ความคิดเห็นที่มีต่อภาพลั ก ษณ์ ป ระเด็ น เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ที่ ออกแบบ และตกแต่งอาคารทันสมัย สวยงาม และสะอาดมากที่สุด ( = 4.68, SD = 0.57) มี ภ าพลั ก ษณ์ ร ะดั บ ดีมาก รองลงมา ได้แก่ ประเด็นเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีระบบห้องสมุดอัตโนมัติที่ทันสมัย ( = 4.59, SD = 0.61) มี ภาพลักษณ์ระดับดีมาก และประเด็ น เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ที่มีทรัพยากรสารสนเทศหลากหลายประเภท ( = 4.59, SD = 0.62) มีภาพลักษณ์ระดับดีมาก ตามลาดับ ตอนที่ 3 ความคิดเห็นต่อลักษณะเฉพาะที่ โดดเด่นของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารีพบว่า ผู้ใช้บริการทุกกลุ่มตัวอย่างสามารถจดจา ชื่อเต็ม เว็บไซต์ สั ญ ลั ก ษณ์ ห รื อ โลโก้ คาขวัญ หรือสโลแกน สีของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้ถูกต้อง ส่วนประโยชน์ และเหตุผลที่จะทาให้ผู้ใช้บริการมาใช้ บริการศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาในปัจจุบันและในอนาคต คือ ทรัพยากรสารสนเทศ
132
อภิปราย เมื่อจาแนกภาพรวมแต่ละด้านพบว่า ความคิดเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์ด้านเทคโนโลยีมากที่สุด มีภาพลักษณ์ ระดับดีมาก อาจสืบเนื่องมาจากศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาให้ความสาคัญและกาหนดยุทธศาสตร์สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยคือ เน้นทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงนาเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาให้บริการ และอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการ รองลงมาภาพลักษณ์ด้านสถานที่ภาพรวม มีภาพลักษณ์ระดับดีมาก ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ นงเยาว์ สุคาภา (2547) ได้ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีพบว่า ปัจจัยด้านอาคาร สถานที่และสิ่งอานวยความสะดวกมีภาพลักษณ์ระดับดีมาก ภาพลักษณ์ด้านการบริการห้องสมุดภาพรวม มีภาพลักษณ์ระดับดี ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของธันยากร สตางค์พุฒิ (2550) ได้ศึกษาภาพลักษณ์ของโรงพยาบาลหนองบัวระเหวตามการรับรู้ของผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และประชาชน และช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสมต่อการสร้างรับรู้ภาพลักษณ์พบว่า การให้บริการมีบริการที่ดี มี ระบบมาตรฐาน ดูแลรักษาความรวดเร็วและต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง อาจสืบเนื่องมาจากศูนย์บรรณสารและ สื่ อ การศึ ก ษา เป็ น หน่ ว ยงานที่ ส นั บ สนุ น การเรี ย นการสอน การวิ จั ย กิ จ กรรมของมหาวิ ท ยาลั ย ทะนุ บ ารุ ง ศิลปวัฒนธรรม และให้บริการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย รวมทั้งเน้นผู้ใช้บริการเป็นสาคัญ เมื่อจาแนกตามประเด็นพบว่า ความคิดเห็นที่มีต่อภาพลักษณ์ประเด็นเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ออกแบบและ ตกแต่งอาคารทันสมัย สวยงาม และสะอาดมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ นฤมล กิจไพศาลรัตนา (2552) ได้ศึกษาภาพลักษณ์ของห้องสมุดยุคใหม่ : การประยุกต์ใช้กลยุทธ์การตลาดเพื่อการบริ หารคุณภาพในห้องสมุดคณะ รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพบว่า ห้องสมุดมีสภาพแวดล้อมที่ดี สะอาด และมีห้องน้าสะอาดมาก อาจสืบ เนื่องมาจากสถานที่เป็นลักษณะภายนอกที่ผู้ใช้บริการมองเห็นและสัมผัสได้ชัดเจน แต่ประเด็นเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มี อุ ณ หภู มิ ร ะบบปรั บ อากาศที่ เ หมาะสมมี ค่ า เฉลี่ ย น้ อ ยสุ ด อาจสื บ เนื่ อ งมาจากประสิ ท ธิ ภ าพการท างานของ เครื่องปรับอากาศ ภาพลักษณ์ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ประเด็นเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีทรัพยากรสารสนเทศหลากหลาย ประเภทมีภาพลักษณ์ระดับดีมาก อาจสืบเนื่องมาจากผู้ใช้บริการส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ หลากหลายประเภทได้หลายช่องทางผ่านเว็บไซต์ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา เช่น E-book ฐานข้อมูลออนไลน์ ภาพลักษณ์ด้านเครื่องมือหรืออุปกรณ์ ได้แก่ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตรงกับความ ต้องการ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทันสมัย เป็น แหล่งเรียนรู้ที่มีเครื่องมือหรืออุปกรณ์พร้อมใช้งาน และเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีเครื่องมือหรืออุปกรณ์จานวนเพียงพอกับความต้องการมีภาพลักษณ์ระดับดี แต่ประเด็นเป็น แหล่งเรียนรู้ที่มีเครื่องมือหรืออุปกรณ์มีจานวนเพียงพอกับความต้องการมีค่าเฉลี่ยน้อยสุด อาจสืบเนื่องมาจากศูนย์ บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้รับงบประมาณจากัด จึงไม่สามารถจัดหาเครื่องมือหรืออุปกรณ์ให้มีจานวนเพียงพอ กับความต้องการของผู้ที่เข้ามาใช้บริการ ภาพลักษณ์ด้านบริการสื่อการศึกษา มีภาพลักษณ์ระดับดี อาจสืบเนื่องมาจากผู้ใช้บริการส่วนใหญ่เป็น นักศึกษาระดับปริญญาตรี เข้ามาใช้บริการห้องสมุดมากกว่าใช้บริการสื่อการศึกษา จึงทาให้ภาพลักษณ์ด้านบริการ สื่อการศึกษามีภาพลักษณ์ระดับดี
133
ภาพลักษณ์ด้านบุคลากร ได้แก่ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีบุคลากรมีความรู้ความสามารถด้านวิชาชีพ เป็นแหล่ง เรียนรู้ที่มีบุคลากรมีจิตบริการ เอาใจใส่ผู้ใช้ บริการ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีบุคลากรแต่งกายเหมาะสม และเป็นแหล่ง เรียนรู้ที่สามารถติดต่อบุคลากรได้สะดวก รวดเร็ว มีภาพลักษณ์ระดับดี สอดคล้องกับงานวิจัยของนิธิวดี พิกุลศิริ (2547) ได้ศึกษาเปรียบเทียบมุมมองของผู้ใช้บริการเกี่ยวกับภาพลักษณ์การบริการของสายการบินภายในประเทศ พบว่า พนักงานต้อนรับ ยิ้มแย้มแจ่มใส และเป็นกันเอง และงานวิจัยของธันยากร สตางค์พุฒิ (2550) ได้ศึกษา ภาพลักษณ์ของโรงพยาบาลหนองบัวระเหวตามการรับรู้ของผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และประชาชน และช่องทางการ สื่อสารที่เหมาะสมต่อการสร้างรับรู้ภาพลักษณ์พบว่า บุ คลากรมีพฤติกรรมการบริการที่ดี อัธยาศัยไมตรีดี มีความ เป็นมิตร มีความกระตือรือร้นในการให้บริการภาพลักษณ์ด้านบุคลากรอยู่ในด้านบวกเช่นกัน ภาพลักษณ์ด้านการสื่อสาร ได้แก่ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารที่มีเนื้อหาเหมาะสม เป็น แหล่งเรียนรู้ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ ที่น่าสนใจ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารต่อเนื่องและ สม่าเสมอ เป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีบุคลากรใช้ภาษาได้อย่างเหมาะสม ชัดเจน และจับประเด็นได้ถูกต้อง เป็นแหล่งเรียนรู้ ที่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ข้ อ มู ล ข่ า วสารรวดเร็ ว ทั น ต่ อ เหตุ ก ารณ์ มี ภ าพลั ก ษณ์ ร ะดั บ ดี แต่ ป ระเด็ น เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ ที่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อหลากหลายประเภท และน่าสนใจมีค่าเฉลี่ยน้อยสุด อาจสืบเนื่องมาจากปัจจุบัน ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่รับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านทางโซเชียลมีเดีย มากกว่าสื่อสิ่งพิมพ์ จึงทาให้ไม่ทราบว่าศูนย์บ รรณสาร และสื่อการศึกษา ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อหลากหลายประเภทและน่าสนใจ ภาพลักษณ์ด้านการมีส่วนร่วมกับชุมชนและสังคมภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ได้แก่ เป็นแหล่ง เรียนรู้ที่มีบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ให้ความช่วยเหลือสังคม และเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีส่วน ร่วมในการทะนุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม มีภาพลักษณ์ระดับดี แต่ประเด็นเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ให้ความช่วยเหลือ สังคมมีค่าเฉลี่ยน้อยสุด อาจสืบเนื่องมาจากศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ไม่ได้กาหนดสัดส่วนการช่วยเหลือสังคม ให้ชัดเจน รวมทั้ง บางกิจกรรมถือเป็นงานประจา งบประมาณมีจากัด ทาให้ผู้ใช้บริการรับรู้ภาพลักษณ์ประเด็น ดังกล่าวอยู่ในลาดับสุดท้ายของภาพลักษณ์ด้านการมีส่วนร่วมกับชุมชนและสังคมภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะหรือความคิดเห็นอื่นๆ ที่มีต่อภาพลักษณ์และลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นของศูนย์ บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ข้อเสนอแนะที่มีต่อภาพลักษณ์ เสนอแนะด้านสถานที่ มากที่สุด เรื่องพื้นที่หรือห้องอ่านหนังสือ โดยเฉพาะช่วงก่อนและระหว่างการสอบ จานวนผู้เสนอแนะ 10 คน รองลงมา ได้แก่ อุณหภูมิระบบปรับอากาศระหว่าง 2 อาคาร ไม่เท่ากัน (อาคารบรรณสาร 1 อากาศเย็นเกินไป ส่วน อาคารบรรณสาร 2 อากาศร้อน) และด้านเทคโนโลยี เรื่องระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และระบบ Wifi ช้าทาให้ ค้นคว้าไม่สะดวก เท่ากัน จานวนผู้เสนอแนะ 9 คน ตามลาดับ ข้อเสนอแนะ 1. ควรบู ร ณาการการท างานฝ่ า ยที่ ท างานเกี่ ย วข้ อ งกั บ ทรั พ ยากรสารสนเทศและความต้ อ งการของ ผู้ใช้บริการร่วมกันเพื่อนาเสนอภาพลักษณ์ด้านทรัพยากรสารสนเทศให้ครอบคลุมทุกประเด็นและชัดเจนมากยิ่งขึ้น 2. ควรออกแบบการสื่อสารและผสมผสานทุกเครื่องมือ การสื่ อ สา ร ทั้งภายในและภายนอก ทิศทาง เดียวกันเป็นรายไตรมาส เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับรู้และเข้าถึงคุณค่าการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรสารสนเทศที่มี ให้บริการมากที่สุด
134
3. ควรมีศูนย์กลางการสื่อสารหรือเครือข่ายการสื่อสารที่เป็น “นวัตกรรมทรัพยากรสารสนเทศ” ระหว่าง ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ผู้ใช้บริการ และทรัพยากรสารสนเทศที่ชัดเจน 4. ควรให้ความสาคัญกับบุคลากรมากยิ่งขึ้น เพราะบุคลากรถือว่าเป็นกระบอกเสียงและตัวแทนในการ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกและบุคลิกภาพศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา 5. ควรเลือกกิจกรรมหลักที่สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นเพียง 1 กิจกรรม โดยกาหนดสัดส่วน 80: 20 หมายความว่า เน้นลักษณะเฉพาะที่โดดเด่น ร้อยละ 80 และการมีส่วนร่วมกับชุมชนและสังคม ร้อยละ 20 เพื่อเน้นย้าภาพลักษณ์การมีส่วนร่วมกับชุมชนและสังคมภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยให้ชัดเจน ส่วนกิจกรรม อื่นๆ ก็บรรจุเป็นงานประจาตามปกติ 6. หากมีโอกาสหรือวาระสาคัญ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ควรจัดประชุมแถลงข่าวให้คาแนะนาดีๆ ที่เป็นความเชี่ยวชาญด้านทรัพยากรสารสนเทศหรือการบริการ 7. ควรกาหนดจุ ด ยื น ที่ชัดเจนว่าจะเป็นห้องสมุดเชี่ ย วชาญเฉพาะด้าน (Specialized Library) ด้าน ไหน เลือกเนื้อหาที่โดดเด่นที่สุดเพียง 1 ด้าน เพื่อให้แตกต่างจากห้องสมุดอื่น ส่วนทรัพยากรสารสนเทศด้านอื่นๆ มี ให้บริการตามปกติ 8. ควรออกแบบตราสัญลักษณ์หรือโลโก้ให้ทั น สมั ย สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นและบุคลิกภาพ สีหลักเป็นสีม่วง ถือว่าไม่ขัดกับบุคลิกภาพ แต่ควรใช้สีอื่นเพิ่มเติมที่สะท้อนถึงความเคลื่อนไหว เช่น สีแดง ฟ้า และ เหลือง เมื่อออกแบบใหม่แล้วควรสารวจว่าผู้ใช้บริการเข้าใจความหมายจากตราสัญลักษณ์หรือโลโก้ตรงตามที่ศูนย์ บรรณสารและสื่อการศึกษาต้องการสื่อให้เห็นถึงลักษณะเฉพาะที่โดดเด่นและบุคลิกภาพหรือไม่ 9. คาขวัญหรือสโลแกน ควรใส่ประโยชน์หลักของทรั พ ยากรสารสนเทศเข้าไปในคาขวัญ สะท้อนความ เป็นลักษณเฉพาะที่โดดเด่น ชัดเจน จดจาง่าย 10. ควรให้ความสาคัญกับ สิ่ ง ที่เกี่ยวข้องกั บ ลั ก ษณะเฉพาะที่โดดเด่นเนื่ อ งจากเป็นสิ่ ง ที่ผู้ใช้บริการ สามารถสัมผัสได้ และทาให้เกิดประสบการณ์รวมที่เด่นชัดขึ้น 11. ควรวิ เ คราะห์ หาคุณค่าด้านความรู้ สึ ก จากผู้ใช้บริการในอนาคต โดยนาลั ก ษณะเฉพาะที่ โ ดด เด่ น มาวิเคราะห์ร่วมวิสัยทัศน์ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ว่าต้องการให้ผู้ใช้บริการรู้ สึ ก อย่างไรกั บ ศู น ย์ บรรณสารและสื่ อ การศึ ก ษา และนาข้อมูลดังกล่าวมากาหนดเป็นแบรนด์โมเดลเพื่อแนวทางการสร้างแบรนด์ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาต่อไป รายการอ้างอิง ธันยากร สตางค์พุฒ.ิ (2550). ภาพลักษณ์ของโรงพยาบาลหนองบัวระเหวตามการรับรู้ของผู้ให้บริการผู้รับสารและ ประชาชนและช่องทางการสื่อสารที่เหมาะสมต่อการรับรู้ภาพลักษณ์ . รายงานการศึกษาอิสระ ปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด, ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. นงเยาว์ สุคาภา. (2547). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี . วิทยานิพนธ์บริหาร การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
135
นฤมล กิจไพศาลรัตนา. (2552). ภาพลักษณ์ของห้องสมุดยุคใหม่ : การประยุกต์ใช้กลยุทธ์การตลาดเพื่อการ บริหารคุณภาพในห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย . กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. นิธิวดี พิกุลศิริ. (2547). มุมมองของผู้ใช้บริการเกี่ยวกับภาพลักษณ์การบริการของสายการบินภายในประเทศ. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนสังคม, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พจน์ ใจชาญสุขกิจ. (2548). พลังแห่งภาพลักษณ์. กรุงเทพฯ: ฐานมีเดีย เน็ตเวิร์ค. มหาวิทยาลัยนเรศวร. (2553). เจาะลึก! การสื่อสารเชิงกลยุทธ์เพื่อการบริหารภาพลักษณ์องค์กร. [ออนไลน์]. ได้ จาก: www.mis.nu.ac.th/bpm/read.php. รายงานการประเมิ น ตนเอง ศู น ย์ บ รรณสารและสื่ อ การศึ ก ษา. (2554). นครราชสี ม า: ศู น ย์ บ รรณสารและ สื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
136
การสกัดข้อมูลและสร้างระเบียนรายการหลักฐานจากระเบียนสหบรรณานุกรม Data Extracting and Generating the Authority Recordsfrom Union Catalog Bibliographic Records วิ ท ยา เทวรั ง ษี * ศิ ว นาถ นั น ทพิ ชั ย ยุ ท ธนา เจริ ญ รื่ น สานักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ e-mail : twittaya@wu.ac.th
บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษา วิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์ของข้อมูลการลง รายการบรรณานุกรม และการลงรายการหลักฐานตามมาตรฐาน MARC 21 Format (2) เพื่อสร้าง ระเบียนรายการหลักฐานจากระเบียนบรรณานุกรมโดยอัตโนมัติและ (3) เพื่อศึกษาวิธีการควบคุม ความถู ก ต้องของระเบี ย นรายการหลัก ฐานจากระเบี ย นบรรณานุ ก รมโดยอัต โนมั ติ วิธีก ารศึ ก ษา ประกอบด้วย (1) การวิเคราะห์เอกสาร (Document Analysis) (2) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) จากผู้เชี่ยวชาญของคณะกรรมการเครือข่าย ThaiLIS และ (3) การประชุมกลุ่ม (Focus Group) โดยการจัดประชุมกลุ่มร่วมกับห้องสมุดสมาชิกเครือข่าย ThaiLIS จานวน 24 แห่ง ผลการศึกษา พบว่า (1) สามารถกาหนดวิธีการสร้างเป็นข้อมูลรายการหลักฐาน (Authority Data) จากข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Data) ของห้องสมุดสมาชิกที่นาเข้า โดยนาข้อมูลมา สกัดข้อมูล (Extract) และจาแนกเป็นรายการหลักฐาน 3 ประเภทคือ ชื่อ (Name) หัวเรื่อง (Subject) และชื่อชุด (Series) (2) สามารถสร้างระเบียนรายการหลักฐาน (Authority record) ตาม รูปแบบ MARC 21 Format for Authority Data ประกอบด้วย Name 594,845ระเบียน Subject 413,980 ระเบียน Series 23,269 ระเบียน และ Subdivision 35,507 ระเบียน (3) สามารถสร้าง กระบวนการตรวจสอบความซ้าซ้อน และกฎเกณฑ์ เงื่อนไขสาหรับการตรวจสอบความถูกต้องของ ระเบียนเช่น การตรวจสอบรูปแบบขอบตัวอักษรพิมพ์ การตรวจสอบอักขระพิเศษ การตรวจสอบซ้า ระเบี ยนจาแนกตามประเภทและข้อ กาหนดรายการเขตข้ อมู ลสาหรั บการสร้ า งระเบีย นรายการ หลักฐาน ซึ่งผลการศึกษาทั้งหมดนี้จะนาไปใช้เป็นพื้นฐานสาหรับการพัฒนาโปรแกรมและเครื่องมือใน การตรวจสอบความถูกต้องของระเบียนรายการหลักฐานต่อไป คาสาคัญ : ระเบียนรายการหลักฐาน, การสกัดข้อมูล, ระเบียนบรรณานุกรม Keywords: Authority Record, Data Extracting, Bibliographic Record
137
บทนา การพัฒ นาระบบฐานข้ อ มู ล สหบรรณานุ ก รมส าหรั บ ห้อ งสมุ ด สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของไทยภายใต้ การ ดาเนินงานของคณะทางาน ThaiLIS มุ่งพัฒนาองค์ประกอบที่สาคัญ 3 ส่วนคือ (1) ฐานข้อมูลเลขมาตรฐานสากล ของหนังสือ/วารสาร เพื่อรองรับการตรวจสอบเลขมาตรฐานสากล และการทารายการสิ่งพิมพ์สาเร็จรูป (2) ฐาน ข้อมูลสหบรรณานุกรม เพื่อรองรับการทารายการตามหลักเกณฑ์การทารายการ (AACR2, MARC21) และตาม มาตรฐานของการสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูล (ISO2709, Z39.50) และ (3) โปรแกรมรองรับการตรวจสอบ รายการ การทารายการ และการใช้รายการร่วมกัน ประกอบด้วยระบบย่อย (Module) ที่สาคัญคือ ระบบการ จัดการเลขมาตรฐานสากลของหนังสือ /วารสาร (ISN Module) ระบบการทารายการ (Union Cataloging Module) ระบบการสืบค้นฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม (Web OPAC for Union Catalog Module) และระบบการ ตรวจสอบและควบคุมรายการหลักฐาน (Union Catalog Authority Control Module) ระบบงานควบคุมรายการหลักฐาน (Authority Control) ซึ่งเป็นระบบงานย่อยหนึ่งที่ทาหน้าที่ควบคุม และจัดการความสัมพันธ์ข้อมูลประเภทต่างๆ ได้แก่ ชื่อ (Name) หัวเรื่อง (Subject) และชื่อชุด (Series) จัดเก็บอยู่ ในรูปแบบของระเบียนรายการหลักฐาน (Authority Record) โดยอยู่ในรูปแบบของ MARC21 Format for Authority Data ซึ่งเป็นมาตรฐานในการจัดเก็บข้อมูลระเบียนควบคุมรายการเพื่อให้ข้อมูลอยู่ในรูปแบบเดียวกัน ตามมาตรฐานที่กาหนด ปัจจุบันระบบสหบรรณานุกรมไม่มีระบบควบคุมรายการหลักฐาน และประกอบกับข้อมูลที่ อัพโหลดมาจากห้องสมุดสถาบันต่างๆ ไม่ใช่การลงรายการใหม่และเป็นข้อมูลบรรณานุกรมเดิมของแต่ละสถาบัน ส่งผลให้ข้อมูลควบคุมมีความหลากหลาย และมีความผิดพลาดเกิดขึ้น ซึ่งส่งผลให้การสื บค้นในระบบ OPAC ไม่มี ประสิทธิภาพ จากปัญหาดังกล่าวจึงมีแนวคิดที่จะพัฒนาระบบงานควบคุมรายการสาหรับสหบรรณานุกรมเพื่อใช้ใน การจัดการข้อมูลควบคุมให้ถูกต้องและอยู่ในรูปแบบเดียวกัน เพื่อทาให้ข้อมูลบรรณานุกรมถูกต้อง ซึ่งส่งผลให้เกิด การสืบค้นที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์ของข้อมูลการลงรายการบรรณานุกรม และการลงรายการ หลักฐานตามมาตรฐาน MARC 21 Format 2. เพื่อสร้างระเบียนรายการหลักฐานจากระเบียนบรรณานุกรมโดยอัตโนมัติ 3. เพื่อศึกษาวิธีการควบคุมความถูกต้องของระเบียนรายการหลักฐานจากระเบียนบรรณานุกรมโดย อัตโนมัติ วิธีการศึกษา 1. วิเคราะห์เอกสาร (Document Analysis) เพื่อทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบ โครงสร้าง มาตรฐาน และการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องรวมทั้งวิเคราะห์กฎการตรวจสอบข้อมูลที่มีอยู่เดิมจากเอกสารการประชุม ของคณะกรรมการThaiLIS 2. สัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) เพื่อสรุปปัญหาและข้อจากัดของการดาเนินงาน โดยใช้การสุ่ม ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จากผู้เชี่ยวชาญของคณะกรรมการเครือข่าย ThaiLIS จานวน 1 คน
138
3. การประชุมกลุ่ม (Focus Group) เพื่อนาเสนอผลการวิเคราะห์และสรุปแนวทางการตรวจสอบความ ถูกต้องของระเบียนบรรณานุกรมสู่การกาหนดเป็นกฎเกณฑ์สร้างรายการหลักฐานโดยการจัดประชุมกลุ่มร่วมกับ ห้องสมุดสมาชิกเครือข่าย ThaiLIS จานวน 24 แห่ง จานวน 1 ครั้ง ผลการศึกษา 1. ข้อมูลรายการหลักฐานของระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม
ภาพที่ 1 แสดงการสกัดข้อมูลรายการหลักฐาน
ภาพที่ 1 ข้อมูลบรรณานุกรม (Bibliographic Data) ของห้องสมุดสมาชิกที่นาเข้าและจัดเก็บในฐานข้อมูล สหบรรณานุกรมถูกนามาสกัดข้อมูล (Extract) เพื่อนามาสร้างเป็นข้อมูลรายการหลักฐาน (Authority Data) สามารถจาแนกรายการหลักฐานออกเป็น 3 ประเภทคือ ชื่อ (Name) หัวเรื่อง (Subject) และชื่อชุด (Series) โดย การสกัดข้อมูลนั้นจะพิจารณาจากเขตข้อมูล (Tag) ในระเบียนบรรณานุกรมเป็นสาคัญ เขตข้อมูลที่นามาพิจารณา ประกอบด้วยเขตข้อมูลกลุ่ม 1XX, 6XX, 7XX และ 8XX ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 เขตข้อมูลที่นามาใช้พิจารณาในการจัดทาข้อมูลรายการหลักฐาน Type Name
Tag
Fields
100
Main Entry - Personal Name
110
Main Entry - Corporate Name
111
Main Entry - Meeting Name
130
Main Entry - Uniform Title
700
Added Entry - Personal Name
710
Added Entry - Corporate Name
711
Added Entry - Meeting Name
139
Subject
Series
730
Added Entry - Uniform Title
600
Subject Added Entry - Personal Name
610
Subject Added Entry - Corporate Name
611
Subject Added Entry - Meeting Name
630
Subject Added Entry - Uniform Title
648
Subject Added Entry - Chronological Term
650
Subject Added Entry - Topical Term
651
Subject Added Entry - Geographic Name
655
Index Term - Genre/Form
800
Series Added Entry - Personal Name
810
Series Added Entry - Corporate Name
811
Series Added Entry - Meeting Name
830
Series Added Entry - Uniform Title
2. ข้อมูลที่สกัดได้ทั้งหมดถูกสร้างเป็นระเบียนรายการหลักฐาน (Authority Record) โดยสร้างเขตข้อมูล หลัก (1XX) ตามรูปแบบ MARC 21 Format for Authority Data และแยกตามประเภทได้แก่ Subject, Author และ Seriesนอกจากนี้ระบบฯ ยังสร้างหัวเรื่องย่อย (Subdivision) โดยการสกัดข้อมูลจากรายการหลักฐานที่เป็นหัว เรื่อง ในเขตข้อมูลย่อย (Subfield) ได้แก่ v, x, y และ z จากนั้นนามาสร้างเป็น Authority Record ที่มีเขตข้อมูล หลักเป็น 18X เพื่อใช้ในการควบคุมข้อมูลของ Authority Record อีกระดับหนึ่ง การนาข้อมูลจากระเบียนบรรณานุกรมไปสร้างเป็นข้อมูลรายการหลักฐาน ข้อมูลในรายการ แต่ละเขต ข้อมูลย่อยจะตัดอักขระพิเศษออกทั้งหมดและนาไปตรวจสอบซ้ากับรายการหลักฐาน ในกรณีที่ไม่มีรายการหลักฐาน ให้สร้างเป็นระเบียนรายการหลักฐานใหม่ หลังจากนั้นจะนาข้อมูลในเขตข้อมูลย่อย (Subfield) ที่กาหนดไปสร้าง View สาหรับการสืบค้นของ OPAC โดยรายการที่กาหนดได้แก่ a, b, c, d, v, x, y และ z ผลการดาเนินงานโดย ระบบฯ ทาให้สามารถแปลงข้อมูลจากระเบียนบรรณานุกรมจานวน 712,788 ระเบียนไปเป็นระเบียนรายการ หลักฐานได้จานวน 1,032,094 ระเบียน ดังตารางที่ 2
140
ตารางที่ 2 ผลการดาเนินงานจัดทาระเบียนรายการหลักฐานของระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม Type
Tag
Fields
Record
100
Main Entry - Personal Name
525,750
30,239
Name
110
Main Entry - Corporate Name
58,676
245
(594,845 records)
111
Main Entry - Meeting Name
10,135
50
130
Main Entry - Uniform Title
284
12
100
Subject Added Entry - Personal Name
22,607
208
110
Subject Added Entry - Corporate Name
25,298
557
111
Subject Added Entry - Meeting Name
59
0
130
Subject Added Entry - Uniform Title
820
25
Subject
148
Subject Added Entry - Chronological Term
0
0
(413,980 records)
150
Subject Added Entry - Topical Term
337,343
14,872
151
Subject Added Entry - Geographic Name
27,804
1,569
155
Index Term - Genre/Form
49
19
100
Series Added Entry - Personal Name
44
3
Series
110
Series Added Entry - Corporate Name
504
5
(23,269 records)
111
Series Added Entry - Meeting Name
7
0
130
Series Added Entry - Uniform Title
22,714
120
180
Heading - General Subdivision
18,767
-
Subdivision
181
Heading - Geographic Subdivision
6,186
-
(35,507 records)
182
Heading - Chronological Subdivision
2,803
-
185
Heading - Form Subdivision
7,751
-
1,067,601
47,924
รวม
Similarity
141
3. การตรวจสอบความถูกต้องของระเบียนรายการหลักฐาน นอกจากการสร้างระเบียนรายการหลักฐานแล้ว ระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมยังได้สร้างกระบวนการ ตรวจสอบความซ้าซ้อนของข้อมูลรายการหลักฐานด้วย และจากการพบข้อมูลที่คล้ายคลึงกัน ที่เกิดจากการลง รายการแตกต่างกัน แต่มี view สาหรับการสืบค้นเหมือนกัน (Similarity) ดังนั้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึง นาเสนอปัญหานี้กับที่ประชุมห้องสมุดสมาชิก เครือข่าย ThaiLIS เพื่อทาความตกลงและกาหนดขอบเขตการแปลง ข้อมูลเพิ่มเติม ที่จะทาให้ลดจานวนข้อมูลรายการหลักฐาน (Authority Data) และลดความซ้าซ้อนของระเบียน รายการหลักฐาน (Authority Record) ซึ่งจากมติที่ประชุมในวันที่ 20 พฤศจิกายน 2556 ได้มีการกาหนดข้อตกลง ร่วมกันดังนี้ 1. รูปแบบขอบตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ พิมพ์เล็กของข้อมูลดูจากรูปแบบการกาหนดของ LC คือตัวอักษรแรก ของแต่ละ Subfield เป็นตัวใหญ่และตัวอักษรที่ตามหลังจะเป็นตัวเล็กทั้งหมด 2. ข้อมูลจะตัดอักขระพิเศษที่อยู่ท้ายสุดของแต่ละ subfield ออกทั้งหมด 3. การตรวจสอบซ้าของ Authority Record จะจาแนกตามประเภทของ Authority และ Authority Tag 4. รายการ Tag และ Subfield ที่นาไปสร้างเป็น Authority record ดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3 รายละเอียดของข้อกาหนดการตรวจสอบระเบียนรายการหลักฐาน Type
Bib Tag
Authority Tag
Name
100
100
รายละเอียดของข้อกาหนด - นาไปตรวจสอบซ้าและสร้าง Authority record เฉพาะ $a และไม่สนใจ space
110
110
111
111
130
130
700
100
- นาข้อมูลทุก subfield ที่ลงรายการไปตรวจสอบซ้าและสร้าง Authority record โดย subfield นั้นจะต้องเป็น subfield ที่กาหนดให้ใช้ใน MARC21 format for Authority data ด้วย - นาไปตรวจสอบซ้าและสร้าง Authority record เฉพาะ $a และไม่สนใจ space
Subject
710
110
711
111
730
130
600
100
- นาข้อมูลทุก subfield ที่ลงรายการไปตรวจสอบซ้าและสร้าง Authority record โดย subfield นั้นจะต้องเป็น subfield ที่กาหนดให้ใช้ใน MARC21 format for Authority data ด้วย
- นาไปสร้าง Authority record เฉพาะ $a, $v, $x, $y, $z
142
Type
Bib Tag
Authority Tag
610
110
611
111
630
130
รายละเอียดของข้อกาหนด - หมายเลขไทยในหัวเรื่องให้แปลงเป็นเลขอาราบิค - กรณีที่หัวเรื่องมีความคล้ายคลึงกัน และมีความแตกต่างเฉพาะการลงรายการ ระหว่าง $x และ $v ถ้าระเบียนทีพ่ บว่าคล้ายกันนั้นมีการสร้างระเบียนโดยมี การลง $v ไว้ก่อนแล้วให้แก้ $x เป็น $v และไม่ต้องสร้าง Authority record ใหม่
Series
648
148
- กรณีที่หัวเรื่องมีการลงรายการโดยการใส่ -- ลงใน$a ให้นาข้อมูลดังกล่าวไป
650
150
ค้นหาแบบ Similarity ก่อน ถ้าพบระเบียนที่คล้ายคลึงกันให้แก้ไขข้อมูลการ
651
151
ระเบียนใหม่
655
155
800
100
810
110
811
111
830
130
ลงรายการหัวเรื่องให้เหมือนกับรายการคล้ายคลึงที่พบและไม่ต้องสร้าง
- นาไปสร้าง Authority record เฉพาะ $a
บทสรุป ผลการศึ กษาในภาพรวมที่ น อกจากจะได้ รู ป แบบ โครงสร้ า ง และเงื่ อ นไขต่ า ง ๆ ที่ ส ามารถน าไปใช้ ตรวจสอบและการควบคุมระเบียนรายการหลักฐานแล้ว ยังสามารถนาไปพัฒนาโปรแกรมการจัดการระเบียน บรรณานุกรมได้อีกด้วย ซึ่งก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมมีโปรแกรมที่สามารถ แก้ไขเขตข้อมูลควบคุมอัตโนมัติ ที่สาคัญคือเงื่อนไขการตรวจสอบข้อมูลนี้ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการพัฒนาระบบ ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมได้มากยิ่งขึ้น ทาให้ระเบียนบรรณานุกรมมีความถูกต้องสมบูรณ์ในการนาไปประมวลผล และสร้างเป็นรายการหลักฐาน (Authority Control) ที่มีความถูกต้องสมบูรณ์ซึ่งส่งผลต่อระบบสืบค้น (OPAC) มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อย่ างไรก็ตามในการดาเนินงานดังกล่าวจาเป็นต้องใช้ระยะเวลา และความร่วมมือจาก ห้องสมุดสมาชิก ในการตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลเพื่อ นาเข้า ระบบจาเป็นต้องแสวงหาความร่วมมือกับบุคคล คณะทางาน และหน่วยงานกลางที่ทาหน้าที่บริหารจัดการข้อมูลสหบรรณานุกรม รวมไปถึงดาเนินการฝึกอบรมและ เตรียมความพร้อมของห้องสมุดสมาชิกในการพัฒนาฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมต่อไป บรรณานุกรม คณะทางานกลุ่มวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา. ภาษาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 4).
(2547).
หัวเรื่องสาหรับหนังสือ
143
สุวันนา ทองสีสุขใส. (2543). MARC 21 สาหรับระเบียนหนังสือ / เอกสาร. ขอนแก่น: สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อุหมาด หมัดอาด้า. (2551). โครงสร้างข้อมูล. นครศรีธรรมราช: สานักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัย ลักษณ์. Chan, Lois Mai. (1995). Library of Congress Subject Heading. (3rded.). Englewood, Colorado: LIBRARIES UNLIMITED, INC. Drozdek, Adam. (2008). Data Structure and Algorithm in Java. (3rded.). Singapore: Cengage Learning Asia. Ganendran, Jacki. (1998). Learn SUBJECT ACCESS. (2nded.). Canberra: DocMatrix. Julien, Charles-Antoine, Tirilly, Prerre, Leide, John E., & Guastavino, Catherine. (2012) Constructing a True LCSH Tree of a Science and Engineering Collection. Journal of The American Society for Information Science and Technology 63(12), 2405-2418. Maneewongvatana, Suthathip, & Maneewongvatana, Songrit. (2011). A Similarity Model for Bibliographic Records Using Subject Headings. In Eighth International Joint Conference on Computer Science and Software Engineering (JCSSE), Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE),263-268. Miller, Joseph. (1997). Sear List of Subject Heading (16thed.). New York: The H. W. Wilson Company. Mortimer, Mary. (2543). Introducing MARC 21. กรุงเทพฯ: บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส. Yi, Kwan, & Chan, Lois Mai. (2009). Linking Folksonomy to Library of Congress subject heading: an exploratory study. Journal of Documentation 65(6), 872-900.
144
แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย Management guideline of back issue’s journal in university library มั ณ ฑนา เจริ ญ แพทย์ สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ e-mail : mantana@g.swu.ac.th
บทคัดย่อ งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการให้บริการ วิธีการจัดการ และการกาหนดแนว ทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคื อ ผู้บริหารห้องสมุด จานวน 21 คนและหัวหน้าฝ่ายวารสาร จานวน 23 คน โดยสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง จากห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐที่เป็นสมาชิกกลุ่ มคณะทางานฝ่ายวารสารและเอกสาร ภายใต้ คณะกรรมการความร่วมมือระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา จานวน 25 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัยคือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง โดยเก็บข้อมูลจากหัวหน้าฝ่ายวารสารก่อน แล้วจึงนามาสร้าง แบบสัมภาษณ์สาหรับผู้บริหารห้องสมุด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) แล้วนาเสนอในรูปตาราง พร้อมแสดงค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการให้บริการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย มีดังนี้ (1) รูปแบบ วารสารที่ให้บริการเป็นรูปแบบฉบับพิมพ์มากที่สุด รองลงมาคือรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบ ไมโครฟิลม์/ไมโครฟิช และรูปแบบซีดีรอมตามลาดับ (2) ส่วนใหญ่ไม่มีนโยบายการจัดการวารสาร ฉบับล่วงเวลา (3) ประเภทของวารสารที่จัดเก็บประกอบด้วย วารสารวิชาการ วารสารที่จัดทาดรรชนี วารสารที่ห้องสมุดจัดซื้อ วารสารที่อาจารย์เสนอแนะให้จัดเก็บ และวารสารที่ไม่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูล ตามลาดับ (4) เกณฑ์ในการพิจารณาจัดเก็บวารสารฉบับล่วงเวลาคือ กาหนดปีของวารสารที่จัดเก็บ และสถิติการใช้ ตามลาดับ (5) จัดเก็บวารสารตามลาดับตัวอักษรของชื่อวารสาร (6) ส่วนใหญ่ไม่ได้ แปลงรูปวารสารฉบับล่วงเวลา และ (7) ส่วนใหญ่มีห้องจัดเก็บโดยเฉพาะอยู่ภายในห้องสมุด 2. วิธีการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยสรุปได้ดังนี้ (1) ผู้บริหาร ห้องสมุดส่วนใหญ่เห็นว่ายังมีความจาเป็นที่จะต้องจัดเก็บวารสารฉบับล่วงเวลาในรูปฉบับพิมพ์เอาไว้ และ (2) กรณีที่ต้องจัดเก็บตัวเล่มนั้นจาเป็นต้องมีนโยบายการจัดการที่เป็นรูปธรรม โดยองค์ประกอบ ของนโยบายควรประกอบด้วยประเภทของวารสารที่จัดเก็บ ได้แก่ วารสารวิชาการ วารสารที่ทา ดรรชนี และการพิจารณาเนื้อหาของวารสาร เช่น วารสารที่ทรงคุณค่า หรือวารสารของสถาบัน
145
3. แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ตามความคิดเห็นของ ผู้บริหารห้องสมุด สรุปได้ดังนี้ 3.1 ด้านการบอกรับ ส่วนใหญ่เห็นว่าแนวโน้มเกี่ยวกับการบอกรับวารสารของห้องสมุดควร เป็นการสร้างภาคีการบอกรับฐานข้อมูลวารสารออนไลน์เพื่อช่วยลดปัญหาเรื่องงบประมาณ 3.2 ด้านสถานที่จัดเก็บ ส่วนใหญ่เห็นว่าควรพัฒนาความร่วมมือในการจัดเก็บวารสารร่วมกัน โดยให้ห้องสมุดที่มีฉบับ (holdings) ที่สมบูรณ์เป็นผู้จัดเก็บ มีบริการยืมระหว่างห้องสมุด และบริการ จั ด ส่ ง ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากนี้ ห้ อ งสมุ ด แต่ ล ะแห่ ง ควรจั ด ท าคลั ง ปั ญ ญา (Institutional Repository) สาหรับจัดเก็บเฉพาะสิ่งพิมพ์และวารสารที่เป็นของมหาวิทยาลัยตนเอง และไม่ จาเป็นต้องเก็บรูปเล่มอีกต่อไป 3.3 ด้านการแปลงรูปวารสาร ส่วนใหญ่เห็นว่า เมื่อห้องสมุดแปลงวารสารฉบับพิมพ์ให้อยู่ใน รูปดิจิตอลและวารสารนั้นไม่มีปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ ไม่จาเป็นต้องเก็บตัวเล่มเอาไว้ ในกรณีวารสารที่มี ปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ เมื่อแปลงรูปแล้วให้เก็บในรูปของซีดีรอมและอนุญาตให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น หรือใช้เฉพาะภายในมหาวิทยาลัย (Intranet) นอกจากนี้ ควรมีตัวแทนซึ่งทาหน้าที่เป็นคนกลางเพื่อ เจรจาขออนุญาตสานักพิมพ์ที่เป็นหน่วยงานราชการและเอกชนที่ไม่หวังผลกาไรให้สามารถแปลงรูป วารสารได้โดยไม่ผิดกฎหมาย 4. ปัจจัยที่จะทาให้ความร่วมมือเพื่อช่วยให้การจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาประสบผลสาเร็จ ส่วนใหญ่เ ห็นด้ วยมากที่ สุด คื อ การที่ผู้บ ริหารมองเห็นถึง ความสาคั ญของการสร้า งความร่ วมมื อ รองลงมาคือ ความพร้อมของแต่ละห้องสมุด การกาหนดเงื่อนไขหรือกลไกการให้บริการ และ งบประมาณในการลงทุน ตามลาดับ คาสาคัญ : ห้องสมุดมหาวิทยาลัย, วารสารฉบับล่วงเวลา, การจัดการวารสาร ABSTRACT This research aims at studying the service, management method and management guideline of back issue’s journals among public university library. The sample consists of 21 library administrators and 23 periodical chiefs through purposive sampling from members in Thai Library Network Committee. Questionnaire items by periodical chiefs’ opinions are constructed as a constructed – interviews for
146
library administrator. Then data are converted by content analysis and presented with percentage. The results revealed as follows: 1. In case of the service, it is found that most library had printed version, electronic version, microfilm/microfiche, and CD-ROM, respectively. Nevertheless, most of them have no managerial policy about the back issues. The preserved issues include academic journal, indexed journal, purchased journal, faculty suggestion, and ones that cannot find on the database, while they set their own preservation criteria as year duration and usage statistics and the journal titles are alphabetical arranged and put in library’ stored room 2. The management method used can be summarized as library administrator consider the importance of printed issues and should have written policy which includes type of journals such as academic journal, indexed journal, and its content as university journal or its value. 3. Back issue’ management guidelines by library administrator opinion are 3.1 Acquisition: Most of them consider to performing the online journal ‘s consortia that can be assisted for the limited budget. 3.2 Store space: Most of them agree to cooperate among library university with the complete holdings as a store place and lending the service through interlibrary-loan with effective delivery. Moreover, Institutional Repository (IR) is an alternative option for preserving university publications as well as journals without printed version’s preserving. 3.3 Digitization: Most of them consider not to preserve the printed ones in case there are no copyright problem, except it there are, let keep CD-ROM and service only in the library or Intranet system. Furthermore, there should have an agent to negotiate for the non-profit publisher or organization’s allowance of the digitization process.
147
4. Finally, factors affected the successfulness of back issue management’s cooperation include cooperation realization of library administrator, library readiness, service condition and budget, respectively. Keywords : University Library, Back Issue’s Journals, Management of Journal บทนา การทีห่ ้องสมุดมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งบอกรับวารสารฉบับพิมพ์เพื่อให้บริการด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยแก่ อาจารย์ นักวิจัยและนักศึกษา ส่งผลให้ห้องสมุดต้องมีวิธีการจัดการวารสารทั้งในเรื่ องของงบประมาณเพื่อการ บอกรับวารสาร โดยเฉพาะวารสารภาษาต่างประเทศที่มีราคาค่าบอกรับเพิ่มสูงขึ้นทุกปี ซึ่งทาให้ห้องสมุดไม่สามารถ บอกรับวารสารทุกรายการได้ แม้ว่าทางสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จะมีโครงการดาเนินการบอกรับ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น (Reference Database) จานวน 14 ฐานให้แก่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั้ง 78 แห่ง เพื่อให้สืบค้นเอกสารฉบับเต็มได้ โดยที่ห้องสมุดแต่ละแห่งไม่ต้องบอกรับซ้าซ้อนกันเพื่อประหยัด งบประมาณแล้วก็ตาม อีกทั้งจากการที่วารสารเป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องและมีกาหนดออกเป็นระยะ ย่อมส่งผลห้องสมุด ต้องจัดเตรียมพื้นที่สาหรับจัดเก็บตัวเล่ม จากการศึกษางานวิจัยพบว่า ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ประสบปัญหา เรื่องพื้นที่สาหรับจัดเก็บวารสารเนื่องจากมีพื้นที่จากัด คับแคบ ไม่สามารถรองรับปริมาณตัวเล่มที่เพิ่มขึ้น (นวพร สุริยะ. 2541: บทคัดย่อ; ปิยะนาท สระสงคราม. 2541: บทคัดย่อ) และอุณหภูมิของห้องสาหรับจัดเก็บตัวเล่มอาจ ก่อให้เกิดปัญหาในเรื่องกระดาษกรอบ เปื่อยหรือขึ้นราได้ แม้ว่าห้องสมุดบางแห่งจะใช้วิธีการยกเลิกบอกรับวารสาร ในรูปฉบับพิมพ์ และบอกรับในรูปอิเล็กทรอนิกส์หรือฐานข้อมูลออนไลน์ ทดแทน หรือทาคลังเก็บสิ่งพิมพ์ที่มีการใช้ น้อยหรือจาหน่ายวารสารฉบับล่วงเวลาที่ได้รับบริจาคหรือวารสารที่ไม่มีการใช้หรือใช้น้อยออกจากห้องสมุด เป็นต้น แต่แนวทางดังกล่าวนี้ยังไม่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการจัดการวารสารทั้งหมดได้ ไม่ว่าจะเป็น ด้านการบอกรับ การ จัดเก็บและการให้บริการ เนื่องจากปัญหาเรื่องงบประมาณที่จากัดไม่สอดคล้ องกับราคาค่าวารสารที่สูงขึ้น หรือการ เปลี่ยนรูปแบบการบอกรับจากฉบับพิมพ์มาเป็นวารสารออนไลน์เพื่อลดปัญหาการจัดเก็บ รวมถึงการที่ห้องสมุดต้อง ปรับเปลี่ยนบทบาทการให้บริการไปสู่โลกดิจิตอลนั้น ทาให้เกิดประเด็นที่ต้องพิจารณาด้านข้อจากัดต่างๆ ผู้วิจัยจึง เห็นสมควรที่จะศึกษาแนวทางการจัดการวารสารล่วงเวลา โดยศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการวารสารล่วงเวลา จากห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เพื่อนามาวิเคราะห์เป็นแนวทางที่เหมาะสมสาหรับการจัดการวารสารล่วงเวลา รวมทั้งการวางแผนเพื่อการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาสาหรับห้องสมุดมหาวิทยาลัยต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสภาพการให้บริการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย 2. เพื่อศึกษาวิธีการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย 3. เพื่อกาหนดแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
148
ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ 1. ประชากร มีจานวน 2 กลุ่ม ประกอบด้วย ผู้บริหารห้องสมุด และหัวหน้าฝ่ายวารสารของห้องสมุด มหาวิทยาลัยของรัฐ ที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลของสานักคณะกรรมการการอุดมศึกษา จานวน 25 แห่ง 2. กลุ่มตัวอย่าง มีจานวน 2 กลุ่ม ประกอบด้วย ผู้บริหารห้องสมุด และหัวหน้าฝ่ายวารสารจากห้องสมุด มหาวิทยาลัยของรัฐที่เป็นสมาชิกกลุ่มคณะทางานฝ่ายวารสารและเอกสารห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาฯ จานวน 23 แห่ง โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง 3. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง จานวน 2 ชุดคือ แบบสัมภาษณ์หัวหน้า ฝ่ายวารสาร จะเป็นข้อคาถามเกี่ยวกับ สภาพของการดาเนินงานของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกี่ ยวกับวารสารฉบับ ล่วงเวลา เช่น รูปแบบและนโยบาย วิธีการจัดการ ฯลฯ สาหรับแบบสัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด จะนาข้อมูลจากการ สัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสารและข้อมูลจากการศึกษาเอกสาร/งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มาทาการสังเคราะห์เป็น ข้อ คาถามเกี่ยวกับแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลา เช่น นโยบายการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาแนวทางการ บอกรับ การจัดเก็บ การแปลงรูปวารสาร เป็นต้น 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล ดาเนินการดังนี้คือ 1) สัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสาร ใช้วิธีการส่ง และรับแบบ สัมภาษณ์ทางไปรษณีย์ 2) สัมภาษณ์ผู้บริหารห้องสมุด แยกดาเนินการ 2 วิธี คือ เดินทางไปสัมภาษณ์ด้วยตนเอง เฉพาะห้องสมุดมหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จานวน 11 แห่ง และใช้การส่งและรับแบบ สัมภาษณ์ทางไปรษณีย์สาหรับห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในต่างจังหวัด จานวน 12 แห่ง 5. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้วิธีวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) แล้วนาเสนอในรูปตาราง แสดงค่าร้อยละ และนาผลการวิเคราะห์ข้อมูลมาสรุปเพื่อ กาหนดเป็นแนว ทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ผลการศึกษา อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ จากการวิจัยสามารถสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ 1. สภาพการให้บริการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย สัมภาษณ์หัวหน้าฝ่ายวารสาร สรุปได้ดังนี้
เป็นข้อมูลที่ได้จากการ
1.1 รูปแบบวารสารที่มีให้บริการในปัจจุบัน พบว่า ห้องสมุดทุกแห่งมีวารสารรูปแบบฉบับพิมพ์ให้บริการ รองลงมาคือรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ 1.2 ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ไม่มีนโยบายการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลา 1.3 ประเภทของวารสารที่ห้องสมุดจัดเก็บ อันดับแรกคือ เป็นวารสารวิชาการ รองลงมาคือวารสารที่ จัดทาดรรชนี และวารสารที่ห้องสมุดจัดซื้อ 1.4 เกณฑ์ในการพิจารณาจัดเก็บวารสารฉบับล่วงเวลาอันดับแรกคือ กาหนดปีของวารสารที่จัดเก็บ เช่น เก็บตัวเล่มย้อนหลัง 5 ปี 10 ปี รองลงมาคือ พิจารณาจากสถิติการใช้
149
1.5 ห้องสมุดมหาวิทยาลัยทุกแห่งจัดเก็บวารสารตามลาดับตัวอักษรของชื่อวารสาร 1.6 ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ไม่ได้แปลงรูปวารสารฉบับล่วงเวลา 1.7 สถานที่จัดเก็บวารสารฉบับล่วงเวลาพบว่า ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่มีห้องจั ดเก็บโดยเฉพาะอยู่ ภายในห้องสมุด 2. วิธีการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย เป็นข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ผู้บริหารห้องสมุด สรุปได้ดังนี้ 2.1 ความจาเป็นในการจัดเก็บตัวเล่มวารสารฉบับล่วงเวลาพบว่า ผู้บริหารห้องสมุดส่วนใหญ่เห็นว่า ยังมี ความจาเป็นที่ห้องสมุดจะต้องจัดเก็บวารสารฉบับล่วงเวลาในรู ปฉบับพิมพ์เอาไว้ และจาเป็นต้องมีนโยบายการ จัดการวารสารฉบับล่วงเวลา 2.2 องค์ประกอบของนโยบายการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลา 3 อันดับแรกคือ ประเภทของวารสารที่ จัดเก็บ เช่น วารสารวิชาการ วารสารที่ทาดรรชนี จาเป็นที่ต้องเก็บตัวเล่มไว้ทั้งหมด รองลงมาคือ พิจารณาจาก เนื้อหาของวารสาร เช่น วารสารที่ทรงคุณค่า วารสารของมหาวิทยาลัย และพิจารณาตามอายุของวารสาร 3. แนวทางการจัดการวารสารฉบับล่ วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย จากการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ นาเสนอแนวทางการจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาของห้องสมุดมหาวิทยาลัย 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการบอกรับ ด้าน สถานที่จัดเก็บ และด้านการแปลงรูปวารสาร จึงขอนามาอภิปรายดังนี้ 3.1 ด้านการบอกรับ 3.1.1 ความร่วมมือในการบอกรับ ผลการวิจัยพบว่า ห้องสมุดมหาวิทยาลัยควรร่วมมือกันสร้างภาคีการ บอกรับฐานข้อมูลวารสารออนไลน์เพื่อลดปัญหาเรื่องงบประมาณ เนื่องจากการบอกรับในรูปภาคีเครือข่ายร่วมกัน สามารถซื้อฐานข้อมูลในราคาที่ถูกลง สามารถต่อรองราคาได้ และบางฐานข้อมูลสามารถเพิ่มสิทธิในการสืบค้ น วารสารชื่ออื่นได้อีกด้วย ตัวอย่างที่เห็นเด่นชัดสาหรับประเทศไทยคือ โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดใน ประเทศไทย (ThaiLIS) ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ที่บอกรับฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อ การสืบค้น (Reference Database) จานวน 14 ฐานให้กับห้องสมุดมหาวิทยาลัยทั้ง 78 แห่งในปี พ.ศ. 2556 ซึ่ง สามารถลดความซ้าซ้อนและช่วยให้ห้องสมุดแต่ละแห่งสามารถใช้งบประมาณสาหรับบอกรับวารสารหรือฐานข้อมูล รายการอื่นที่จาเป็นต่อการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยได้หรือ ความร่วมมือกันในการบอกรับฐานข้อมูลทาง การแพทย์ ข องกลุ่ ม ห้ อ งสมุ ด แพทย์ ข องห้ อ งสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย ต่ า งๆ หรื อ กลุ่ ม ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งห้ อ งสมุ ด สถาบันอุดมศึกษาเอกชน (อพส.) ที่จัดทาโครงการความร่วมมือการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของศรีไพร โชติจิรวัฒนา (2554: 78) ที่ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในการจัด หาวารสาร อิเล็กทรอนิกส์และพบว่า งบประมาณการจัดซื้อวารสารอิเล็กทรอนิกส์ของห้องสมุดจานวน 73 แห่งนั้นมีไม่เพียงพอ อีกทั้งการจัดซื้อในรูปอิเล็กทรอนิกส์ยังช่วยลดปัญหาในเรื่องพื้นที่ในการจัดเก็บได้อีกด้วย 3.1.2 การยกเลิกการบอกรับ เป็นการยกเลิกบอกรับวารสารฉบับพิมพ์และบอกรับรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ทดแทน หรือยกเลิกในกรณีที่วารสารมีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลแล้ว เป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยแก้ไขปัญหาเรื่องพื้นที่จัดเก็บ ได้ และผู้ใช้บริการเองก็ไม่จาเป็นต้องเดินทางมาที่ห้องสมุด สามารถสืบค้นข้อมูลได้จ ากที่บ้านหรือที่ทางานก็ได้ ซึ่ง
150
จะสอดคล้องกับงานวิจัยของสมิทธ์ (Smith. 2009) ที่ศึกษาความซ้าซ้อนของการบอกรับเป็นรูปเล่มกับรายชื่อ วารสารที่ปรากฏในฐานข้อมูลออนไลน์ หรือวารสารที่เก็บในรูปไมโครฟิลม์ กับรายชื่อในฐานข้อมูลออนไลน์ หรือ วารสารที่มีรายชื่อซ้ากันระหว่างฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดบอกรับ ผลของการศึกษาพบว่า จากวารสารทั้งหมดที่ ห้องสมุดบอกรับจานวน 908 ชื่อเรื่อง มีจานวน 47 ชื่อเรื่องที่ต้องจัดหาแบบรูปเล่มต่อ มีจานวน 78 ชื่อเรื่องที่ต้อง บอกรับในรูปไมโครฟิลม์ต่อ และมีจานวน 664 ชื่อเรื่องที่มีรายชื่อปรากฏในฐานข้อมูลออนไลน์ที่ห้องสมุดบอกรับแต่ ในขณะเดียวกันสานักพิมพ์บางแห่งอาจจากัดปีที่ห้องสมุดสามารถสืบค้นเอกสารฉบับเต็มเอาไว้ (Embargo) จึงทาให้ ห้องสมุดไม่สามารถยกเลิกบอกรับฉบับพิมพ์ได้ นอกจากนี้ ห้องสมุดแต่ละแห่งอาจจะพิจารณาดาเนินการตามความ พร้อมเช่น อาจจัดเก็บวารสารรูปฉบับพิมพ์ไว้เป็นเวลา 1-3 ปี พร้อมๆ กับมีรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ไว้บริการด้วย แต่ อย่างไรก็ตาม มีความคิดเห็นจากผู้บริหารห้องสมุดที่แตกต่างออกไปว่าวารสารบางชื่อนั้นยังคงต้องบอกรับในรูปฉบับ พิ ม พ์ ต่ อ ไปหรื อ ส านั ก พิ ม พ์ บ างแห่ ง ก าหนดเงื่ อ นไขให้ ห้ อ งสมุ ด ให้ บ อกรั บ วารสารทั้ ง รู ป ฉบั บ พิ ม พ์ แ ละรู ป อิเล็กทรอนิกส์พร้อมกัน นอกจากนี้ การจัดซื้อฐานข้อมูลวารสารภาษาต่างประเทศเก่า เช่น JSTOR เพื่อแทนการเก็บตัวเล่ม วารสารฉบับ ล่วงเวลา เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ห้องสมุดหลายแห่งให้ความสนใจเนื่องจากสามารถเลือกซื้อได้ตาม สาขาวิชาและความต้องการของผู้ใช้ และสอดคล้องกับงานวิจัยของมาดาราช์ -ฮิลล์ (2005) ที่ศึกษาพบว่า มีการใช้ วารสารจาก JSTOR มากกว่าฉบับพิมพ์และไมโครฟิชถึง 3 เท่า และสาขาที่ถูกใช้มากที่สุดคือ สังคมวิทยา/ มานุษยวิทยา สาขาที่ถูกใช้น้อยที่สุดคือ คณิตศาสตร์ /สถิติ แต่อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการจัดทาฐานข้อมูลสาหรับ วารสารภาษาไทย จึงทาให้ห้องสมุดบางแห่งจาเป็นต้องเก็บตัวเล่มวารสารภาษาไทยเอาไว้ 3.1.3 การให้บริการประเภท Open Source จากการที่ห้องสมุดบางแห่งใช้ซอฟต์แวร์ประเภท Open Source เช่น ระบบจัดการวารสารวิชาการแบบอิเล็กทรอนิกส์ Open Journal Systems (OJS) ที่มีการประยุกต์ใช้ กันอย่างแพร่หลายทั้งในต่างประเทศและในประเทศ จะเป็นทางเลือกหนึ่ งสาหรับห้องสมุดมหาวิทยาลัย พิจารณา จัดเก็บวารสารในรูปวารสารอิเล็กทรอนิกส์แทนการเก็บในรูปฉบับพิมพ์ เนื่องจากวารสารภาษาไทยที่ใช้ระบบ OJS ส่วนใหญ่จะเป็นวารสารวิชาการที่บริจ าคให้แก่ห้องสมุดต่างๆ อยู่แล้ว และจัดพิมพ์โดยมหาวิทยาลัยหรือหน่วยงาน ราชการ ซึ่งมีศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Citation Index : TCI) เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบและสานัก คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ทาหน้าที่ดูแลระบบ ทั้ง server ความปลอดภัยระบบ สารองข้อมูล (backup) จึงทาให้เป็นที่น่าไว้วางใจได้ว่า ข้อมูลวารสารจะไม่สูญหาย ดังนั้น ห้องสมุดจึงควรที่จะ พิจารณาการเก็บรักษาวารสารฉบับล่วงเวลาในรูปแบบนี้แทน นอกจากนี้ยังมีฐานข้อมูลวารสารภาษาต่างประเทศ เช่น Directory of Open Access Journal หรือ DOAJ ที่ครอบคลุมหลายสาขาวิชาซึ่งบรรณารักษ์ควรแนะนาให้ ผู้ใช้ได้มีโอกาสได้รู้จักแหล่งสารสนเทศให้เปล่าประเภทนี้ เนื่องจากไม่เสียค่าใช้จ่ายในการสืบค้น และสามารถสืบค้น ได้ตั้งแต่ฉบับแรกที่มีการเผยแพร่ นอกจากนี้ รายชื่อวารสารที่มีอยู่ในฐานข้อมูลนี้ จะจัดพิมพ์โดยหน่วยงาน สถาบัน องค์กรที่จัดตั้งขึ้นโดยไม่หวังผลกาไร ซึ่งจะช่วยให้ห้องสมุดสามารถประหยัดงบประมาณในการบอกรับวารสารได้อีก วิธีหนึ่ง 3.2 ด้านสถานที่จัดเก็บ 3.2.1 ความร่วมมือในเรื่องสถานที่จัดเก็บ ผลการวิจัยพบว่า ห้องสมุดมหาวิทยาลัยควรสร้างความร่วมมือ กันในเรื่องสถานที่จัดเก็บโดยให้ห้องสมุดที่มี holdings สมบูรณ์เป็นผู้จัดเก็บวารสารและจัดให้มีบริการยืมระหว่าง ห้องสมุด มีบริการจัดส่งที่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ห้องสมุดที่เข้าร่วมต้องตกลงกันว่า จะไม่เก็บวารสารชื่อซ้าซ้อนกัน
151
และยืนยันการให้บริการตลอดเวลา ซึ่งจะช่วยให้ห้องสมุดลดภาระในการจัดเก็บตัวเล่มลดความซ้าซ้อนและประหยัด งบประมาณ แต่เงื่อนไขการให้บริการต้องชัดเจน ละเอียดรอบคอบ เพื่อให้ห้องสมุดที่เป็นสมาชิกได้รับบทความฉบับ เต็มตลอดไปด้วย อย่างไรก็ตามผู้บริหารห้องสมุดบางแห่งมีความคิดเห็นแตกต่างออกไปเช่น วารสารชื่อที่เก็บซ้าซ้อน นั้น อาจจะเป็นชื่อที่สาคัญต่อการเรียนการสอนของบางมหาวิทยาลัย หรืออาจเป็นนโยบายของมหาวิทยาลัยที่ต้อง เก็บวารสารชื่อนั้นๆ 3.2.2 การจัดทาคลังปัญญา (Institutional Respiratory) เพื่อจัดเก็บเฉพาะสิ่งพิมพ์และวารสารของ มหาวิทยาลัยตนเองและไม่จัดเก็บวารสารนั้นในรูปเล่ม แต่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยบางแห่งยังมีความจาเป็นต้องจัดเก็บ ตัวเล่มไว้ เนื่องจากเป็นนโยบายของมหาวิทยาลัย ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของสุดา หมัดอะดั้ม (2546: 34) ว่าการ จัดเก็บเอกสารไว้ในรูปอิเล็กทรอนิกส์สามารถแก้ปัญหาการสิ้นเปลืองพื้นที่ในการจัดเก็บทั้งยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ในการเย็บเล่ม สามารถค้นคืนได้สะดวกและรวดเร็วไม่ จากัดจานวนเหมือนการใช้ตัวเล่มและหากมีการนาฐานข้อมูล วารสารเนื้อหาเต็มมาใช้ก็จะเกิดประโยชน์แก่หน่วยงานและผู้ใช้บริการมาก 3.3 การแปลงรูปวารสารฉบับพิมพ์ ให้อยู่ในรูปดิจิตอล หากไม่มีปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ ไม่จาเป็นต้องเก็บตัวเล่มวารสารไว้เนื่องจากจะลดปัญหา เรื่องพื้นที่จัดเก็บได้ แต่อย่างไรก็ตามผู้บริหารห้องสมุดบางแห่งมีความกังวลใจในเรื่องกฎหมายลิขสิทธิ์และเสนอแนะ ว่า ควรมีการจัดเสวนาในมุมมองของนักกฎหมายว่า ห้องสมุดสามารถทาซ้าได้ขนาดไหนถึงจะถือว่า ไม่ผิดกฎหมาย ลิขสิทธิ์ สาหรับวารสารที่มีปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์ เมื่อแปลงรูปแล้วให้เก็บในรูปซีดีรอม และอนุญาตให้ใช้ภายใน ห้องสมุดเท่านั้น หรือใช้เฉพาะในมหาวิทยาลัย (intranet) นอกจากนี้ ควรมีตัวแทนที่ทาหน้าที่เป็นคนกลางเจรจาขอ อนุญาตจากสานักพิมพ์ที่เป็นหน่วยงานราชการและเอกชนที่ไม่หวังผลกาไร เพื่อให้สามารถแปลงรูปวารสารได้โดยไม่ ผิดกฎหมาย โดยที่ห้องสมุดแต่ละแห่งไม่ต้องติดต่อขออนุญาตด้วยตนเอง ผู้บริหารห้องสมุดบางแห่งให้ความเห็นว่า อาจมาจากคณะทางานฝ่ายวารสารและเอกสาร หรือสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) หรือที่ประชุม อธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) ที่จะทาหนังสือไปถึงเจ้าของวารสารหรือสานักพิมพ์ หน่วยงานต่างๆ เพื่อขอ อนุญาตให้หอ้ งสมุดสามารถแปลงรูปวารสารได้ 4. ปัจจัยที่จะทาให้ความร่วมมือเพื่อช่วยให้การจัดการวารสารฉบับล่วงเวลาประสบผลสาเร็จ อันดับ แรกควรมาจากผู้บริหาร โดยเริ่มจากผู้บริหารมหาวิทยาลัยที่จะเป็นผู้กาหนดนโยบายเรื่องการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ส่งผ่านต่อมาที่ผู้บริหารห้องสมุด และผู้บริหารต้องมีความเข้าใจเรื่องความร่วมมืออย่างแท้ จริงเพื่อให้เกิดความ ต่อเนื่องและให้การสนับสนุนการสร้างความร่วมมือ รองลงมาคือ ความพร้อมของแต่ละห้องสมุด โดยอาจเริ่มจาก ห้องสมุดในกรุงเทพฯ หรือ ภูมิภาคเดียวกันจากห้องสมุด 2-3 แห่ง และขยายไปในที่ห้องสมุดอื่น ๆ สาหรับ การ กาหนดเงื่อนไขหรือกลไกการให้บริการนั้น ต้องมีความชัดเจน ได้มาตรฐาน ละเอียด รอบคอบ ทั้งนี้ผู้บริหารห้องสมุด เห็นว่า งบประมาณในการลงทุน เป็นเรื่องสาคัญลาดับสุดท้ายที่แต่ละแห่งอาจแบ่งกันรับผิดชอบเรื่องค่าใช้จ่าย ซึ่ง ขึ้นอยู่กับรูปแบบของความร่วมมือที่จะเกิดขึ้น ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
152
1. การแก้ปัญหาเรื่องพื้นที่จัดเก็บ ห้องสมุดควรสร้างความร่ วมมือกันเรื่องการจัดเก็บวารสาร โดยให้ ห้องสมุดที่มี holdings สมบูรณ์เป็นผู้เก็บ ไม่เก็บชื่อซ้าซ้อนกัน มีบริการยืมระหว่างห้องสมุด มีบริการนาส่งเอกสารที่ มีประสิทธิภาพ จะเป็นแนวทางช่วยแก้ปัญหาเรื่องพื้นที่จัดเก็บวารสารได้ 2. ห้องสมุดมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งควรจัดทาคลังปัญญา (Institutional Respiratory) และเปิดโอกาสให้ ห้องสมุดอื่นได้เข้าใช้อย่างไม่จากัด นอกจากจะเป็นแหล่งเรียนรู้ทางวิชาการแล้ว ยังเป็นทางเลือกให้แก่ห้องสมุดอื่นๆ ได้พิจารณาเกี่ยวกับความจาเป็นในการจัดเก็บตัวเล่มวารสารนั้นๆ อีกด้วย 3. คณะทางานความร่วมมือฝ่ายวารสารและเอกสาร ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ควรเป็นผู้ริเริ่มโครงการ รวบรวมรายชื่อวารสารที่จัดพิมพ์จากหน่วยงานราชการ/เอกชนโดยไม่หวังผลกาไร และนาเสนอผ่านต่อสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เพื่อให้ติดต่อหน่วยงานนั้นๆ อนุญาตให้ห้องสมุดแปลงรูปวารสารได้โดยไม่ผิด กฎหมายลิขสิทธิ์ ข้อเสนอแนะสาหรับการทาวิจัยในครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาพัฒนาแนวทางการทาคลังเก็บสิ่งพิมพ์ร่วมกันแบบแบ่งปัน สาหรับเก็บสิ่งพิมพ์หรือวารสาร โดยไม่ซ้าชื่อกัน การนาไปใช้ประโยชน์ ผลจากงานวิจัยครั้งนี้ ได้ก่อให้เกิดความร่วมมือในเรื่อง การพัฒนาคลังวารสารร่วมกันของกลุ่มห้องสมุด เครือข่ายด้านประกันคุณภาพการศึกษาระหว่างห้องสมุด 5 สถาบันได้แก่ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สานักบรรณสารการ พัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ และสานักหอสมุด มหาวิทยาลัย ศรีปทุม โดยใช้รูปแบบการจัดเก็บ วารสารที่ให้ห้องสมุดที่มี holdings สมบูรณ์เป็นผู้เก็บ ไม่เก็บชื่อซ้าซ้อนกัน มีบริการยืมระหว่างห้องสมุด มีบริการ นาส่งเอกสารที่มีประสิทธิภาพ โดยได้เริ่มต้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ซึ่งขณะนี้กาลังอยู่ในขั้นตอนของการกาหนด แนวทางการทางาน เช่น การแลกเปลี่ยนรายชื่อวารสาร วิธีการนาส่งเอกสาร เป็นต้น รายการอ้างอิง เดชดนัย จุ้ยชุม. (2554, มกราคม-เมษายน). วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Journal) : อีกหนึ่งทางเลือกของการ ให้บริการ. วารสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 3(1): 118-123. นวพร สุริยะ. (2541). การจัดการงานวารสารในห้องสมุดแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคาแหง. ถ่าย เอกสาร. ปิยะนาท สระสงคราม. (2541). บริการวารสารของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ถ่ายเอกสาร. ศรีไพร โชติจิรวัฒนา. (2554, มกราคม). การจัดหาวารสารอิเล็กทรอนิกส์ในห้องสมุดมหาวิทยาลัย . วารสาร บรรณารักษศาสตร์. 31(1): 65-82.
153
สุดา หมัดอะดั้ม. (2543, กันยายน-ธันวาคม). การพัฒนาฐานข้อมูลวารสารเนื้ อหาเต็ม. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 14(3): 26-36. Madarash-Hill. (2005). The use of JSTOR aggregator titles in an Academic library. Louisiana Libraries. Fall: 3-8. Smith, A. Debbi. (2009). A journal back file overlap analysis: looking back to move forward. Library Collections, Acquisition & Technical Services. 33: 25-30.
154
ฐานข้อมูลช่วยสืบค้นสารสนเทศประกอบรายวิชา Information Seeking by Course Code ดาวนภา สุ ย ะนนท์ นภสิ น ธ์ งามการ จุ ฑ ารั ต น์ มาลาวิ ล าศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง e-mail : daonapa.suy@mfu.ac.th
บทคัดย่อ หน้าที่หลักของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา คือการสนับสนุนพันธกิจด้านการเรียนการสอน และการวิจัยของมหาวิทยาลัย ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงตระหนักถึง ความสาคัญดังกล่าว จึงได้จัดทา “ฐานข้อมูลช่วยสืบค้นสารสนเทศตามรายวิชา” (Information Seeking by Course Code) โดยมีวัตถุประสงค์สาคัญเพื่ออานวยความสะดวกแก่นักศึกษาในการ สืบค้นหนังสือ ตารา วารสาร และฐานข้อมูลที่ประกอบการศึกษาค้นคว้าในรายวิชาต่างๆ “ฐานข้อมูลช่วยสืบค้นสารสนเทศตามรายวิชา” เป็นการรวบรวมหนังสือ ตารา วารสารและ ฐานข้ อ มู ล อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ แ ต่ ล ะรายวิ ช าต้ อ งใช้ ป ระกอบการเรี ย นการสอน ตามแบบมคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification) เชื่อมโยงกับลิงค์ของข้อมูลที่อยู่ในระบบห้องสมุด อัตโนมัติ และฐานข้อมูลอิเล็ก ทรอนิกส์ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาจัดหาและให้บริการ ฐานข้อมูลดังกล่าวพัฒนาขึ้นโดยใช้โปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL เพื่อให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล ออนไลน์ของหนังสือ ตารา วารสาร และฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านรหัสรายวิชา (Course Code) หรือชื่อรายวิชา (Course Name) โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 นาร่องจากสานักวิชาพยาบาล ศาสตร์ จานวน 34 รายวิชา ประกอบด้วยข้อมูลหนังสือ ตารา มากกว่า 423 รายการ วารสาร 15 รายชื่อ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ 7 ฐาน และแหล่งลิงค์ข้อมูลอื่น ๆ จานวน 14 ลิงค์ ซึ่งปัจจุบันอยู่ใน ระหว่างการให้นักศึกษาสาขาพยาบาลศาสตร์ทุกชั้นปี ทดลองใช้งานฐานข้อมูลดังกล่าว การพัฒนาฐานข้อมูลดังกล่าวได้ช่วยอานวยความสะดวกให้นักศึกษามีฐานข้อมูลที่สามารถ สืบค้นทรัพยากรสารสนเทศที่แต่ละรายวิชาต้องใช้ประกอบการเรียนการสอน นอกจากนั้นยังเป็น ประโยชน์ต่ออาจารย์ในการตรวจสอบว่าศูนย์บ รรณสารและสื่อการศึกษามีทรัพยากรสารสนเทศของ แต่ละรายวิชาความครบถ้วน สมบูรณ์ตามที่ระบุไว้ในแบบมคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification) หรือไม่ประการใด และประโยชน์ต่อศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ในการจัดหา ทรัพยากรสารสนเทศให้สอดคล้องตรงกับหลักสูตรการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย คาสาคัญ: แบบมคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา, Course Specification, ฐานข้อมูล
155
บทนา การส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน และการวิจัยของมหาวิ ทยาลัย เป็นพันธกิจหลักของห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา ดังนั้น ห้องสมุดในฐานะหน่วยงานทางวิชาการจึงมีหน้าที่ในการจัดหา รวบรวม และบริการ หนังสือ ตารา วารสารและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่แต่ละรายวิชาต้องใช้ประกอบการเรียนการสอน ศูนย์บรรณสารและ สื่ อ การศึ ก ษาตระหนั ก ถึ ง ความส าคั ญ ดั ง กล่ า ว จึ ง ได้ จั ด ท า “ฐานข้ อ มู ล ช่ ว ยสื บ ค้ น สารสนเทศตามรายวิ ช า” (Information Seeking by Course Code) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออานวยความสะดวกให้นักศึกษามีแหล่งข้อมูลที่ สามารถสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องใช้ประกอบการศึกษาค้นคว้า ของแต่ละรายวิชา โดยการรวบรวมหนังสือ ตารา วารสารและฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่แต่ละรายวิชาต้องใช้ในแบบมคอ.3* รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification) เชื่อมโยงกับลิงค์ของข้อมูลที่อยู่ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ และฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ศูนย์ บรรณสารและสื่อการศึกษาจัดหาและให้บริการ โดยฐานข้อมูลดังกล่าวพัฒนาขึ้นโดยใช้โปรแกรม PHP เชื่อมต่อกับ MySQL เพื่อให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลออนไลน์ของทรัพยากรสารสนเทศในรายวิชา ผ่านรหัสรายวิชา (Course Code) หรือชื่อรายวิชา (Course Name) โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 นาร่องจากสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ จานวน 34 รายวิชา ประกอบด้วยข้อมูลหนังสือ ตารา มากกว่า 423 รายการ วารสาร 15 รายชื่อ ฐานข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ 7 ฐาน และแหล่งลิงค์ข้อมูลอื่น ๆ จานวน 14 ลิงค์ ซึ่งปัจจุบันอยู่ในระหว่างการให้นักศึกษาสาขา พยาบาลศาสตร์ทุกชั้นปี ทดลองใช้งานฐานข้อมูลดังกล่าว วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อ อ านวยความสะดวกให้ นั ก ศึ ก ษามี ฐ านข้ อ มู ล ที่ ส ามารถสื บ ค้ น ข้ อ มู ล ทรั พ ยากรสารสนเทศ ประกอบการเรียนการสอนของแต่ละรายวิชา 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาบอกรับอย่างคุ้มค่า 3. เพื่อให้การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษามีความสอดคล้องและตรง กับหลักสูตรการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย 4. เพื่อพัฒนาฐานข้อมูลการให้บริการใหม่ ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง แบบมคอ.3 หมายถึง รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification) เป็นเอกสารที่แต่ละหลักสูตรของ มหาวิทยาลัย จาเป็นต้องจัดทาประกอบการเรียนการสอนของแต่ละสานักวิชา ในแบบมคอ.3 รายละเอียดของ รายวิชา ประกอบด้วยข้อมูลที่สาคัญ ดังนี้ 1) ข้อมูลรหัสและชื่อรายวิชา จานวนหน่วยกิต หลักสูตรและประเภท รายวิชา อาจารย์ผู้ประสานรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน สถานที่เรียน และวันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 2) จุดมุ่งหมายของรายวิชา และวัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา 3) คาอธิบายรายวิชา จานวนชั่วโมง ที่ใช้ ต่อภาคการศึกษา จานวนชั่วโมงที่อาจารย์ให้คาปรึกษา แนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 4) มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม ความรู้ทักษะปัญญา ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การ วิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5) แผนการสอนและการประเมินผล 6) ทรัพยากร ประกอบการเรียนการสอน ได้แก่เอกสารตาราหลัก เอกสารและข้อมูลสาคัญ อาทิ หนังสือ วารสาร ฐานข้อมูลและ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง 7) การประเมินและการปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
156
ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ ขั้นตอน
วิธีการดาเนินการ
เริ่มต้น 1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องและความเป็นไปได้ของการพัฒนาระบบ 2. เสนอโครงการกับผู้บริหารของศูนย์บรรณสารฯและมหาวิทยาลัย 3. ประสานขอแบบ มคอ.3 จากสานักวิชาพยาบาลศาสตร์
4. ตรวจสอบรายชื่อหนังสือ ตารา วารสารและฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้ประกอบ ในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง และศึกษาความเป็นไป ได้ของการจัดทาฐานข้อมูล 2. เสนอโครงการจัดทาฐานข้อมูลกับผู้บริหารของ ศูนย์บรรณสารฯ ผู้บริหารของสานักวิชาและของ มหาวิทยาลัย 3. ประสานกับสานักวิชาพยาบาลศาสตร์เพื่อขอ แบบ มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification) 4. ตรวจสอบรายชื่อหนังสือ ตารา วารสาร และ ฐานข้อมูลออนไลน์ ในหัวข้อ “ทรัพยากร ประกอบการเรียนการสอน” ของแต่ละรายวิชา ใน ฐานข้อมูลระบบห้องสมุดอัตโนมัติและฐานข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ที่ศูนย์บรรณสารฯ บอกรับ 4.1 กรณีมีหนังสือ/ตารา หรือมีข้อมูลในฐานข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ที่ศูนย์บรรณสารฯ บอกรับ จะทา การบันทึกข้อมูลบรรณานุกรมตามรูปแบบของ
มี
มหาวิทยาลัย และเชื่อมโยงไปยังระบบห้องสมุด
ไม่มี
อัตโนมัติ และลิงค์ของเอกสารฉบับเต็มของ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ศูนย์บรรณสารฯ บอกรับ
4.1 บันทึกข้อมูลบรรณานุกรมและทา
4.2 แจ้ง อ.ผู้สอน และรวบรวม
4.2 กรณีไม่มรี ายชื่อหนังสือ วารสารในฐานข้อมูล
ลิงค์ไปยังระบบห้องสมุดอัตโนมัติและ
รายชื่อให้บรรณารักษ์ฝ่ายจัดหา
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ จะทาการรวบรวมรายชื่อ
ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
เพื่อแจ้งให้อาจารย์ผู้สอน และบรรณารักษ์ฝ่าย จัดหา
5. ทาการจัดหาตามงบประมาณที่สานักวิชาได้รับ โดยผ่าน การเห็นชอบจากคณบดีฯ และผู้บริหารของมหาวิทยาลัย
5. บรรณารักษ์ทาการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ ดังกล่าว โดยผ่านการเห็นชอบจากคณบดีของ สานักวิชาและผู้บริหารของมหาวิทยาลัย 5.1 จัดหาได้ศูนย์บรรณสารฯ แจ้งอาจารย์รับทราบ
5.1
5.2
จัดหาได้
จัดหาไม่ได้
และดาเนินการตามกระบวนการข้อที่ 4.1, 6 - 7 5.2 จัดหาไม่ได้ศูนย์บรรณสารฯ แจ้งอาจารย์ รับทราบ 6. จัดทาคู่มือสืบค้น และประชาสัมพันธ์การใช้งาน
6. จัดทาคู่มือการสืบค้น และประชาสัมพันธ์การ
แจ้งอาจารย์
ผ่านช่องทางต่างๆ 7. สารวจความพึงพอใจการใช้งานฐานข้อมูล
ใช้งานฐานข้อมูลแก่นักศึกษาของสานักวิชาฯ
7.1. รายงานเสนอผู้บริหารของมหาวิทยาลัย 7.2 นาผลไปปรับปรุงและพัฒนาสานักวิชาอื่นต่อไป
7. สารวจความพึงพอใจการใช้ฐานข้อมูล 7.2 นาผลไปปรับปรุง และ 7.1 รายงานต่อผู้บริหารศูนย์ฯ และ ผู้บริหารมหาวิทยาลัย
พัฒนาสานักวิชาอื่นต่อไป สิ้นสุด
157
ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาและอภิปรายผล “ฐานข้อมูลช่วยสืบค้นสารสนเทศตามรายวิชา” (Information Seeking by Course Code) พัฒนาขึ้น โดยใช้โปรแกรม PHP และใช้ My SQL เป็นฐานข้อมูล ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 นาร่องการจัดเก็บข้อมูลจาก แบบ มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification) จากสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ จานวน 34 รายวิชา ประกอบด้วยข้อมูลหนังสือ ตารามากกว่า 423 รายการ วารสาร 15 รายชื่อ ฐานข้อมูลออนไลน์ 7 ฐาน และแหล่ง ลิงค์ข้อมูลอื่น ๆ จานวน 14 ลิงค์ โดยที่นักศึกษาสามารถสืบค้นข้อมูลโดยเลือกสืบค้นจาก รหัสรายวิชา (Course Code) หรือชื่อรายวิชา (Course Name) เมื่อสืบค้นแล้วจะปรากฏรายละเอียดของทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน จาแนกตามหัวข้อ ดังนี้ 1. Textbooks ประกอบด้วยรายการหนังสือ ตารา ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา 1.1 Download eBook เป็นการเชื่อมโยงลิงค์ไปยังฐานข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (eBook) ไปยัง ฐานข้อมูลที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาบอกรับ เพื่อให้นักศึกษาเปิดอ่านเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) 1.2 View Record from Library เป็นการเชื่อมโยงลิงค์ไปยังรายการหนังสือ ตารา ไปยังเวบ OPAC ของระบบห้องสมุดอัติโนมัติ VTLS เพื่อให้นักศึกษาทราบเลขหมู่ และสถานะของหนังสือที่มีให้บริการในศูนย์บรรณ สารฯ 2. Journals ประกอบด้วยรายชื่อวารสารที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา โดยจะเชื่อมโยง ลิงค์รายการวารสารไปยังเวบ OPAC ของระบบห้องสมุดอัติโนมัติ VTLS และเชื่อมโยงลิงค์ไปยังฐานข้อมูลวารสาร อิเล็กทรอนิกส์ (e-Journal) ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาบอกรับ หรือลิงค์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. Electronic Resources ประกอบด้วยรายชื่อฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ประกอบการศึกษาค้นคว้า ในแต่ละรายวิชา โดยจะเชื่อมโยงลิงค์ไปยังฐานข้อมูลออนไลน์ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาบอกรับ 4. Link ประกอบด้วยแหล่งข้อมูลแนะนาหรือข้อมูลเพิ่มเติมอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้าใน แต่ละรายวิชา เป็นการเชื่อมโยงลิงค์ไปยังเอกสารและข้อมูลแนะนาเหล่านั้น
158
ภาพที่ 1 แสดงหน้าจอการสืบค้น คณะผู้จัดทาได้จัดทาคู่มือการสืบค้นฐานข้อมูล และทาการประชาสัมพันธ์การใช้ฐานข้อมูลดังกล่าวผ่าน ช่องทางต่างๆ และได้จัดส่งลิงค์ของฐานข้อมูลดังกล่าวผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ของมหาวิทยาลัย ไปยังนักศึกษาสานักวิชาพยาบาลศาสตร์ทุกชั้นปี จานวน 410 คน เพื่อให้นักศึกษาทดลองใช้ในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 และเมื่อเสร็จสิ้นภาคเรียนที่ 2 จะทาการสารวจความพึงพอใจของการใช้ฐานข้อมูลดังกล่าว (Feedback) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาฐานข้อมูลของสานักวิชาอื่นให้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะ คณะผู้จัดทาศูนย์บรรณสารฯ ได้นาเสนอ “ฐานข้อมูลช่วยสืบค้นสารสนเทศตามรายวิชา” (Information Seeking by Course Code) กับผู้บริหารของศูนย์บรรณสารฯและของมหาวิทยาลัย ในการรายงานผลการ ดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 ณ สิ้นสุดไตรมาส 4 เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2556 ที่ผ่านมา โดยมี ข้อเสนอแนะ ดังนี้ ข้อเสนอแนะจากผู้บริหารของมหาวิทยาลัย เพื่อให้เกิดประโยชน์กับนักศึกษาอย่างทั่วถึงทั้งมหาวิทยาลัย จึงเสนอแนะให้มีการจัดทาฐานข้อมูลนี้ไปยัง สานักวิชาที่เปิดสอนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป (General Education) อาทิ สานักวิชาศิลปศาสตร์ สานักวิชาการ จัดการ สานักวิชาวิทยาศาสตร์ สานักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น และเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาศูนย์ บรรณสารฯ ให้เป็นห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library) ควรจัดหาหนังสือ ตาราหลักที่แต่ละวิชาใช้ในรูปของหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (eBook) ควบคู่ไปด้วย ข้อเสนอแนะจากคณะผู้จัดทาฐานข้อมูล การจัดทาฐานข้อมูลดังกล่าว ถึงแม้ว่าจะเป็นภาระงานที่เพิ่มขึ้น แต่ก็เป็นฐานข้อมูลที่สนับสนุนการเรียน การสอนทางวิชาการของมหาวิทยาลัย เพื่อให้การจัดทาฐานข้อมูลดังกล่าวมีความครบถ้วน สมบูรณ์ทุกสานักวิชา มหาวิทยาลัยควรพิจารณาอัตราพนักงานใหม่ที่รับผิดชอบภาระงานดังกล่าว
159
การนาไปใช้ประโยชน์ ด้านนักศึกษา นักศึกษาสามารถใช้ฐานข้อมูลดังกล่าว เป็นเครื่องมือ อานวยความสะดวกสาหรับช่วยในการสืบค้นข้อมูล สารสนเทศประเภทต่าง ๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนของแต่ละรายวิชา ด้านอาจารย์ อาจารย์ผู้สอนสามารถตรวจสอบว่ารายการหนังสือ ตารา วารสาร ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนใน รายวิชาที่รับผิดชอบ มีความครบถ้วน หรือมีให้บริการในศูนย์บรรณสารฯ มากน้อยเพียงใด ด้านศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาสามารถจัดหาเอกสาร ตารา วารสาร และฐานข้อมูล ให้มีความสอดคล้อง และตรงกับหลักสูตรการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย และช่วยให้มีการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่ศูนย์บรรณสารฯ จัดหามาอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ รายการอ้างอิง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สานักวิชาพยาบาลศาสตร์. (2556). หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2555 : รายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3 และ มคอ. 4) หมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพบังคับ. เชียงราย: หน่วยพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ส่วนประกันคุณภาพการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร. (2555). แนวทางในการดาเนินการ หลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. เชียงราย: บดินทร์การพิมพ์. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา (Course Specification). สืบค้นเมื่อ21 ตุลาคม 2556, จาก http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/news Tarr, A. (2012). PHP and MySQL: 24-hour trainer. Indianapolis, IN: John Wiley & Sons.
160
การจัดการสารสนเทศดิจิทัลชุดวิชา ตารา มสธ. Digital Information Management for STOU Superseded Textbooks. ชลลดา หงษ์ ง าม สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช e-mail: chollada@hotmail.com
บทคัดย่อ สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญ ของชุดวิชาหรือตาราเรียนของ มสธ. ที่ประกอบไปด้วย เอกสารการสอนชุดวิชา แบบฝึกปฏิบัติชุดวิชา ประมวลสาระชุดวิชาและแนวการศึกษาชุดวิชา ฉบับพิมพ์ครั้งแรก ซึ่งเป็นภูมิปัญญา มสธ. ที่มีคุณค่า ทางวิชาการอย่ า งมาก แม้ ไ ม่ ไ ด้ ใ ช้ ใ นการเรี ย นการสอนในปั จจุ บั นแล้วก็ ตาม แต่นับ เป็ นตาราใน ระดั บ อุ ด มศึ ก ษาส าหรั บ การเรี ย นทางไกล เป็ น นวั ต กรรมแห่ ง การเรี ย นรู้ ที่ เ กิ ด จากค ณาจารย์ นักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิในศาสตร์ต่างๆ สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช จึงได้พัฒนาคลังปัญญา ตารา มสธ. เพื่อเป็นแหล่งบริการ เผยแพร่และอนุรักษ์สารสนเทศ ภูมิปัญญา ทางวิชาการของ มสธ. รองรับการศึกษาค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต โดยขั้นตอน 1) จัดเก็บภูมิปัญญาทาง วิชาการของ มสธ. ฉบับเต็มที่เป็นเอกสารการสอนชุดวิชา แบบฝึกปฏิบัติชุดวิชา ประมวลสาระชุดวิชา และแนวการศึกษาชุดวิชา ฉบับพิมพ์ครั้งแรก และได้รับการปรับปรุงชุดวิชาดังกล่าวแล้ว ในรูปแบบ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2) จัดการสารสนเทศดิจิทัล โดยใช้หลักการความรู้ทางบรรณารักษศาสตร์ และสารสนเทศศาสตร์ในการสร้างระเบียนทรัพยากรสารสนเทศด้วยมาตรฐาน MODS (Metadata Object Description Schema) ในการพรรณาวัตถุสารสนเทศดิจิทัล และมาตรฐาน METS (Metadata Encoding and Transmission Standard) ในการระบุและจัดการสารสนเทศดิจิทัลใน ฐานข้อมูลที่เผยแพร่บนเว็บ โดยใช้โปรแกรม Greenstone Digital Library (GSDL) 3) ออกแบบ เว็บ ไซต์เพื่อเป็ นช่ อ งทางการเข้ าถึ ง และเชื่อมโยงเนื้อหาสารสนเทศดิจิทัล และ 4) เผยแพร่ และ ประชาสัมพันธ์การใช้งานคลังปัญญา ตารา มสธ. โดยนับตั้งแต่เริ่มโครงการคลังปัญญา ตารา มสธ. เมื่อปี พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน มีชุดวิชา มสธ. ในฐานข้อมูล จานวน 500 รายการ โดย 1 ชุดวิชา จะ ประกอบไปด้วยภาพหน้าปก(ไฟล์ .JPG) และเนื้อหาฉบับเต็ม(ไฟล์ .PDF) คาสาคัญ: คลังปัญญา, ตารา มสธ., หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ABSTRACT The Office of Document and Information, Sukhothai Thammathirat Open University, gives precedence to superseded editions of University’s textbook,
161
workbooks and guides. All of which was deliberately edited by experts to be an invaluable collection in the distance-learning system. The Office of Document and Information initiated a project to build a digital library of superseded editions of the University’s textbook, workbooks and guides. The project aims to digitize and preserve the University’s most notable set packages in the distance-learning system. These superseded editions are in printed paper format. GSDL was used to create the digital library, which was based upon two important standards: MODS (Metadata Object Description Schema) and METS (Metadata Encoding and Tranmission Standard). The digital library can be accessible via the internet to the public. Having been originated since 2010, STOU Superseded Textbooks database contains 500 items of STOU textbooks. Each of which comprises .JPG file of its cover and .PDF file of its full text Keywords: knowledge bank, University Textbook, e-book บทนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชในฐานะที่เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการเรียนการสอนในระบบเปิด ได้ ผลิตทรัพยากรสารสนเทศของตนเองหลากหลายประเภทที่เป็นภูมิปัญญาของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สานัก บรรณสารสนเทศในฐานะที่ เป็นหน่วยงานที่จัดเก็บภูมิปัญญา มสธ. และให้บริการผ่านระบบการจัดเก็บที่เป็น หมวดหมู่ การสืบค้นที่ได้มาตรฐาน เพื่อส่งเสริ มและสนับสนุนการใช้และการเผยแพร่ภูมิปัญญา มสธ.กับผู้ใช้บริการ อย่างมีประสิทธิภาพ ส านั ก บรรณสารสนเทศตระหนั ก ถึ ง คุ ณ ประโยชน์ แ ละความส าคั ญ ของภู มิ ปั ญ ญา มสธ . ที่ มี อ ยู่ ใ น มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช โดยเฉพาะเอกสารการสอนชุดวิชา แบบฝึกปฏิบัติชุดวิชา ประมวลสาระชุดวิชาและ แนวการศึกษาชุดวิชา ฉบับพิมพ์ครั้งแรกและได้มีการปรับปรุงชุดวิชาต่างๆ เหล่านี้แล้วมากกว่าหนึ่งครั้ง ซึ่งเป็นภูมิ ปัญ ญา มสธ. ที่มี คุณ ค่า ทางวิ ชาการ แม้ ไม่ ได้ ใช้ ในการเรีย นการสอนในปั จจุ บัน แล้ วก็ ตาม แต่ นับ เป็ นต าราใน ระดับอุดมศึกษาทีร่ วบรวมงานเขียนจากคณาจารย์ นักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิในศาสตร์ต่างๆ นับแต่การก่อตั้งในปี 2521 และเปิดสอนเป็นครั้งแรกนับแต่ปี 2523 เป็นต้นมา เพื่อให้สารสนเทศอันเกิดจากภูมิปัญญา มสธ. สามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้หลากหลายและยาวนานมากยิ่งขึ้น สานักบรรณสารสนเทศจึงดาเนินการพัฒนา “คลังปัญญา ตารา มสธ.” ขึ้นมา เพื่อจัดการเอกสารการสอน แบบฝึกปฏิบัติชุดวิชา ประมวลสาระชุดวิชา และแนว การศึกษาชุดวิชา ให้อยู่ในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถให้บริการผู้ใช้สารสนเทศในระบบห้องสมุดดิจิทัล ได้ง่ายและสะดวกมากยิ่งขึ้น รวมถึงการค้นที่ได้มาตรฐานและตรงตามความต้องการของผู้ใช้
162
ภาพที่ 1 หน้าเว็บไซต์ “คลังปัญญา ตารา มสธ.” วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อพัฒนาคลังปัญญาตารา มสธ. ให้เป็นแหล่งจัดเก็บ ค้นหา จัดการสารสนเทศดิจิทัลที่เป็นระบบ และ เป็นแหล่งอนุรักษ์ภูมิปัญญาอันทรงคุณค่าจากงานเขียนของคณาจารย์ นักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิอย่างยั่งยืน ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการพัฒนาคลังปัญญา ตารา มสธ. 1. คัดเลือก รวบรวม และจัดทารายการเอกสารการสอนชุดวิชา แบบฝึกปฏิบัติชุดวิชา ประมวลสาระชุด วิชา และแนวการศึกษาชุดวิชา ฉบับพิมพ์ครั้งแรกและได้มีการปรับปรุงแล้ว 2. ตรวจความซ้าซ้อนกับฐานข้อมูล หากพบว่าข้อมูลซ้าก็ทาการคัดออก 3. แปลง ตกแต่ง และตรวจสอบ สารสนเทศในรูปแบบดั่งเดิมให้อยู่ในรูปแบบสารสนเทศดิจิทัล 4. จัดทารายการเมตะดาตาด้วย 4.1 มาตรฐาน MODS (Metadata Object Description Schema) ในการพรรณนาวัตถุสารสนเทศ ดิจิทัลสาหรับห้องสมุดดิจิทัล 4.2 มาตรฐาน METS (Metadata Encoding and Transmission Standard) ในการระบุและจัดการ ข้อมูลทางเทคนิคต่างๆ 5. พั ฒ นาระบบห้ อ งสมุ ด ดิ จิ ทั ล ด้ ว ยโปรแกรม GSDL เพื่ อ จั ด เก็ บ ค้ น หา และน าเสนอได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ 6. ออกแบบเว็บไซต์เพื่อเป็นช่องทางการเข้าถึง สืบค้น และเชื่อมโยงเนื้อหาสารสนเทศดิจิทัล เพื่อความ สะดวกในการใช้งาน 7. เผยแพร่และประชาสัมพันธ์การใช้งานคลังปัญญา ตารา มสธ. ทั้งในงานปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ ข่าว ประชาสัมพันธ์หน้าเว็บไซต์สานักบรรณสารสนเทศ และประชาสัมพันธ์ผ่านเฟสบุ๊คของสานักบรรณสารสนเทศ
163
แผนภาพที่ 1 แสดงขั้นตอนและวิธีการดาเนินการพัฒนาคลังปัญญา ตารา มสธ.
การสืบค้นข้อมูล การสืบค้นข้อมูล สามารถทาได้ 3 ช่องทาง คือ สืบค้นจากชื่อเรื่อง (Title) สืบค้นจากชื่อผู้แต่ง/ผู้รับผิดชอบ (Creator) และสืบค้นจากหัวเรื่อง (Subject)
164
ภาพที่ 2 แสดงหน้าจอการค้นสารสนเทศดิจิทัลชุดวิชา ตารา มสธ. ผลการสืบค้นข้อมูล จะแสดงผลได้ 4 รูปแบบ คือ 1. การแสดงผลแบบสั้น (Short Record) 2. การแสดงผลแบบยาว (View Record) 3. การแสดงผลในรูปรายการ METS (View METS Record) 4. การแสดงผลรูปเอกสารฉบับเต็ม (View Full Text PDF) ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ จากการศึกษาพัฒนาและเผยแพร่ฐานข้อมูลคลังปัญญา ตารา มสธ. มาตั้งแต่เริ่ม ปี พ.ศ. 2553 จนถึง ปัจจุบัน คณะผู้พัฒนาสรุปผลการศึกษาที่ได้เป็น 3 ประเด็น คือ 1. องค์ความรู้ 3 ประการ ได้แก่ 1.1 การแปลงสารสนเทศ การแปลงสารสนเทศในรูปแบบดั่งเดิม คือ เอกสารตีพิมพ์ ให้อยู่ในรูปแบบ สารสนเทศดิจิทัล (e-Book) ซึ่งช่วยอนุรักษ์เอกสารเหล่านั้นเอาไว้เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ได้ยาวนานยิ่งขึ้น และเป็นการ ประหยัดพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารตีพิมพ์ ซึ่งปัจจุบันมีฉบับปรับปรุงแก้ไขออกมาทดแทนเป็นจานวนมาก 1.2 การท ารายการเมทาดาทา จุ ด มุ่ ง หมายของการจั ด ท าเมทาดาทาเพื่ อ บอกถึ ง คุ ณ ลั ก ษณะและ รายละเอียดของสารสนเทศเหล่านั้น เพื่อให้ได้สารสนเทศตามลักษณะเฉพาะที่แท้จริงในแต่ละรายการ เป็นการ นาไปสู่การสืบค้นที่มีประสิทธิภาพ และรวดเร็ว สามารถกาหนดว่าต้องการสารสนเทศเกี่ยวกับเรื่องอะไรก็จะได้ สารสนเทศในเรื่องนั้นๆ นอกจากนี้เมทาดาทาเป็นตัวช่วยจัดการทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ (Organizing electronic resources) การใช้งานได้หลายหลายระบบ (Interoperability) ทาให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกัน และกันได้ 1.3 ห้องสมุดดิจิทัล เป็นห้องสมุดที่มีการจัดการและให้บริการเนื้อหาของเอกสารการสอนชุดวิชา มสธ. อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ผู้ใช้เข้าถึงเนื้อหาเอกสารเต็มรูป(Full – text) ได้จากทุกที่ ทุกเวลา มีการสร้างหรือ จัดหาข้อมูลดิจิตอลมาจัดเก็บอย่างเป็นระบบเพื่อความสะดวกในการสืบค้น โดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
165
2. ข้อดี ข้อเสีย 2.1 ข้อดี คือ ข้อมูลเป็นเนื้อ หาฉบับเต็มรูป (Full Text) โดยจะแบ่งเนื้อหาออกตามบท ซึ่งสามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของสานักบรรณสารสนเทศ นั้นคือ การเป็นหน่วยงาน สนับสนุนส่งเสริมด้านการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย และตอบสนองการใช้งานในรูปแบบการศึกษาทางไกล ที่ ไม่ว่าผู้เรียนอยู่ที่ไหน เวลาใด ก็สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยผู้ใช้สามารถเปิดอ่านผ่านคอมพิวเตอร์ได้ และหากต้องการพิมพ์ออกมาเป็นตัวเอกสารก็สามารถทาได้ในแต่ละบท 2.2 ข้อจากัด คือ การที่ข้อมูลเป็นเนื้อหาฉบับเต็มรูป (Full Text) ซึ่งเอกสารชุดวิชา มสธ. แต่ละเล่มจะมี จานวนหน้าเฉลี่ย 100-200 หน้า ทาให้ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บจานวนมาก ทาให้มีปัญหาพื้นที่ในการจัดเก็บไม่ เพียงพอ ซึ่งได้มีการแก้ไขปัญหาโดยการขยายพื้นที่ในการจัดเก็บ ทั้งนี้เพื่อรองรับข้อมูลที่จะมีเพิ่มมากขึ้นในอนาคต อีกด้วย 3. Feedback ของผู้ใช้ จากการเปิดใช้งานฐานข้อมูลคลังปัญญาตารา มสธ. ได้รับข้อคิดเห็นและเสียงสะท้อนจากผู้ใช้งานทั้งคาชม และคาแนะนาแก้ไข โดยได้รับ Feedback ของผู้ใช้จากหลายช่องทาง 1) ติชมแนะนาผ่านทางบรรณารักษ์งาน บริการโดยตรง 2) ติชมแนะนาผ่านทางโทรศัพท์ และ 3) ติชมแนะนาผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ คือ Facebook สานักบรรณสารสนเทศ ซึ่งมีทั้งคาชื่นชมจากนักศึกษาที่ระบุว่า ฐานข้อมูลช่วยในการศึกษาค้นคว้าและการเตรียมตัว สอบได้เป็นอย่างดี ในส่วนคาแนะนาในการปรับปรุง อาทิเช่น การเชื่องโยงข้อมูลผิด หรือไม่ครบถ้วน รวมทั้งการ สอบถามวิธีการใช้งาน เป็นต้น ซึ่งทางผู้ดูแลและพัฒนาระบบได้นาข้อเสนอแนะเหล่านั้นมาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา ฐานข้อมูลให้ดียิ่งขึ้น เพื่อให้เป็นแหล่งสนุบสนันการศึกษาค้นคว้าในระบบการศึกษาทางไกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนาไปใช้ประโยชน์ จากการศึกษาและพัฒนาฐานข้อมูลคลังปัญญาตารา มสธ. และเปิดใช้งานมาตั้งแต่ พ.ศ.2553 ห้องสมุดมี วัตถุประสงค์หลักเพื่อให้เป็นแหล่งสารสนเทศทางเลือกในการเข้าถึง สืบค้น ตารา ชุดวิชา มสธ. ที่สะดวกและเข้าถึง ได้ง่าย เพื่อนักศึกษาได้ใช้ในอ่านประกอบการเรียน การค้นคว้าวิจัยและการเตรียมสอบในระหว่างยังไม่ได้รับเอกสาร ชุดวิชาจากทางมหาวิทยาลัย โดยสามารถเข้าใช้งานได้จากทุกที่และทุกเวลา รายการอ้างอิง นันทพร ธนะกูลบริภัณฑ์, อานาจ ธรรมกิจ. (2549). Metadata : คู่มือการใช้มาตรฐาน MADS สาหรับการ พรรณนาชื่อหรือคาแทนสารสนเทศในห้องสมุดดิจิทัล . นนทบุรี :สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นันทพร ธนะกูลบริภัณฑ์, อานาจ ธรรมกิจ. (2549). Metadata : คู่มือการใช้มาตรฐาน MODS และ METS สาหรับการพรรณาและจัดการสารสนเทศในห้องสมุดดิจิทัล. นนทบุรี :สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สมพร พุทธาพิทักษ์ผล และคนอื่น ๆ. (2548). โครงกำรวิจัยและพัฒนำต้นแบบแหล่งสำรสนเทศดิจิทัลสู่ ห้องสมุดชุมชน: รำยงำนกำรวิจัย. นนทบุร:ี สานักบรรณสารสนเทศมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
166
พฤติกรรมการค้นคว้าข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา : นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่น่าน Research Data Behaviour on Internet Network, Case study : Student University Technology Lanna Nan Area. พั ช ราภรณ์ หงษ์ สิ บ สอง* นั น ทา เติ ม สมบั ติ ถ าวร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน e-mail: aompat@rmutl.ac.th*
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นคว้าข้อมูล (2) เป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษา ประชากรและกลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยจานวน 323 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิ เคราะห์ ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test โดยวิธีการของ Scheffe พบว่า 1. นักศึกษาส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาเพศชาย สาขาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ สังกัด คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งอินเทอร์เน็ตใช้ส่วนตั ว โดยเริ่มใช้ คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตตั้งแต่อายุ 13 – 15 ปี มีความถี่ในการใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต 1 – 2 ครั้งต่อวัน และใช้บริการคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตวันละ 1 – 2 ชั่วโมง ช่วงเวลาที่นิยมใช้ คือช่วงเย็น สาหรับสถานที่ในการใช้อินเทอร์เน็ตคือบ้านพักหรือที่พัก 2. นักศึกษามีจุดประสงค์การใช้อินเทอร์เน็ต เมื่อพิจารณารายด้านและรายข้อไม่แตกต่างกัน ระหว่างเพศอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อมูลที่ถูกค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ต เมื่อพิจารณารายข้อไม่แตกต่างกันระหว่างเพศอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 ข้อมูลที่ถูกค้นคว้ามากที่สุดคือข้อมูลด้านการศึกษา และข้อมูลด้าน บันเทิง 4. เว็บไซต์ที่เข้าใช้บริการบ่อยที่สุด เมื่อพิจารณารายข้อไม่แตกต่างกันระหว่างเพศอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักศึกษาชายและนักศึกษาหญิงเข้าใช้บริการเว็บไซต์ Google มากที่สุด
167
5. ความพึงพอใจในการเข้าใช้อินเทอร์เน็ตโดยภาพรวมไม่แตกต่างกันระหว่างเพศอย่างมี นั ย ส าคั ญ ทางสถิ ติ ที่ ร ะดั บ .05 โดยนั ก ศึ ก ษาชายและนั ก ศึ ก ษาหญิ ง ต่ า งคิ ด ว่ า การใช้ บ ริ ก าร อินเทอร์เน็ตมีความสาคัญต่อชีวิตประจาวัน 6. ปัจจัยที่ทาให้ไม่อยากเข้าใช้อินเทอร์เน็ต ไม่แตกต่างกัน ระหว่างเพศอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ คาสาคัญ: อินเทอร์เน็ตม, พฤติกรรมการค้นคว้า, การวิจัย- -พฤติกรรมการค้นคว้าข้อมูล ABSTRACT The purposes of this research were 1) To study the behavior of the Internet to research students. 2) As a way to change the behavior of students using the Internet, the populations and the sample were 323. The requirements which were used in data collection were questionnaires and statistical analysis by using percent, mean, standard deviation, t-test independent, and scheffe’s The results of this research were as follows: 1) Most students are male students. Field of computer information systems.Under the Faculty of Business Administration and Liberal Arts. Computer science is the Internet for personal use. Starting the computer and Internet age 13-15 years. The frequency of the computer and the Internet 1-2 times per day, and use computers and the Internet each day 1-2 hours at a popular evening. 2) Students intended to use the Internet. When focusing on the item and no difference between gender statistically significant at the .05. 3) Information is the Internet research. Based on item no difference between gender statistically significant at 0.5, Research data was the most educational information and entertainment. 4) Site access most frequently overall No difference between gender statistically significant at the .05. The students, male and female students to use Google sites as possible.
168
5) Satisfaction with access to the Internet . No difference between gender statistically significant at the .05. The students, male and female students thought that the use of various Internet services are important to everyday life. 6) Factors that cause I do not want to use the Internet. No difference between gender statistically significant at the .05 level, which is not in the hypothesis set. Keywords : Internet, Behaviour Of Data Serach, Research- - Behaviour Of Data Search. บทนา ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตถือได้ว่าเข้ามามีบทบาทต่อการดารงชีวิตของคนไทยอย่างมาก มีบางกลุ่มนั่งติดอยู่ หน้าจอคอมพิวเตอร์ ไม่สนใจที่จะออกไปรับรู้เรื่องราวผ่านสื่ออื่นๆ โดยเฉพาะกับกลุ่มนักศึกษาที่สื่ออินเทอร์เน็ตมี บทบาทในชีวิตประจาวันเป็นอย่างมากทั้งในด้านความบันเทิง การค้นคว้าข้อมูล การเล่นเกมส์ออนไลน์ และการ ดาวโหลดข้ อมู ล ต่า งๆ โลกวั น นี้ได้ม าถึงจุ ดเลี้ ยวต่อ ที่วั ฒนธรรมได้หักมุ มจากสั งคม ที่แ ต่เ ดิม มี ศูน ย์ก ลางอยู่ ที่ เครือข่ายวิทยุ โทรทัศน์ และโทรศัพท์ มาสู่เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่อุดมไปด้วยข้อมูลข่าวสาร ซึ่งผลักดันให้สังคมก้าว สู่สังคมดิจิทัล (digital society) โดยทุกวันนี้ทั่วโลกมีมนุษย์ใช้อินเทอร์เน็ตอยู่ประมาณ 200 ล้านคน หรือร้อยละ 3.2 ของประชากรโลก เฉพาะสหรัฐอเมริกาแห่งเดียวมีผู้ใช้ถึง 80 ล้านคน (ประมาณร้อยละ29 ของพลเมือง) จาก ข้อมูลการสารวจผู้ใช้อินเทอร์เน็ตของชาวอเมริกัน พบว่าหนึ่งในสามของชาวอเมริกันใช้อินเทอร์เน็ตในการจับจ่าย สินค้า ปรึกษาแพทย์ ฟังการถ่ายทอดวิทยุ ลงทุน จานองบ้าน ติดตามพัสดุ รับทราบข่าว สนทนาโทรศัพท์ รวมทั้งทา กิจกรรมการเมืองและแม้กระทั่งหาคู่ เนื่องจาก โครงข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นโครงข่ายเปิดที่เปิดให้ประชาคมโลกใช้กัน อย่างเสรี จึงย่อมมีผลกระทบทั้งในแง่ดีและร้ายต่อสิทธิส่วนบุคคล และวัฒนธรรมความเป็นอยู่ของมนุษย์ อินเทอร์เน็ตไม่แตกต่างไปจากเทคโนโลยีอื่น คือ เป็นเพียงเครื่องมืออย่างหนึ่งของมนุษยชาติ การควบคุมจัดการ จึงตกอยู่กับพวกเราทุกคน ที่ต้องคานึงถึงจรรยาบรรณและความรับผิดชอบในการใช้อินเทอร์เน็ตให้อย่างถูกต้องตาม ครรลองคลองธรรม ดั ง นั้ น คณะผู้ วิ จั ย จึ ง หยิ บ ยกประเด็ น พฤติ ก รรมการค้ น คว้ า ข้ อ มู ล ของนั ก ศึ ก ษาว่ า ปั จ จุ บั น นั ก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่น่านสืบค้น ค้นคืนข้อมูลสารสนเทศจากแหล่งข้อมูลใดบ้าง เพื่อจะ นาไปประยุกต์ ปรับเปลี่ยน หาแนวทางการป้องกัน แก้ไข ให้นักศึกษามีพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่เหมาะสมและ เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาให้มากที่สุด วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นคว้าข้อมูลของนักศึกษา 2. เพื่อเป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษา
169
ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาทุกชั้นปีรวมทั้งสิ้น 323 คนโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ โควตา (Quota Sampling) โดยกาหนดโควตาจากสัดส่วนของนักศึกษาในแต่ละสาขา และแต่ละชั้นปีทาการ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา ตาราง 1 จานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่างนักศึกษาจาแนกตามสาขาวิชา คณะวิชา
สาขาวิชา
บริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
การจัดการทั่วไป
21
การตลาด
36
ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
68
การบัญชี
30
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล
6
รวม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการเกษตร
161 เทคโนโลยีการอาหาร
14
ประมง
6
สัตวศาสตร์
28
พืชศาสตร์
44
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
33
ชีววิทยา
4
เทคโนโลยีภูมิทัศน์
8
รวม คณะวิศวกรรมศาสตร์
137 ช่างไฟฟ้า
18
ช่างยนต์
5
คณะวิชา
สาขาวิชา เทคโนโลยีไฟฟ้า
2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
จานวน
จานวน 2
รวม
25
รวมทั้งสิ้น
323
170
การวิจัยในครั้งนี้คือวิจัยภาคสนาม เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม, การสัมภาษณ์นักศึกษารายเดี่ยวและ รายกลุ่ม และการให้ นักศึกษาแสดงความคิดเห็น ในเรื่องพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นคว้าข้อมูลของ นักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยใช้วิธีแจกแบบสอบถามและกาหนดรับแบบสอบถามคืนภายใน 1 เดือน แบบสัมภาษณ์นักศึกษาราย เดี่ยวและรายกลุ่ม และให้นักศึกษาแสดงความคิด เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในรายวิชาสารสนเทศเพื่อการเขียน รายงาน, การเขียนรายงานและการใช้ห้องสมุด และวิชาการค้นคืนสารสนเทศ ใช้ระยะเวลา 1 เดือนในการเก็บ ข้อมูล 4. การจัดกระทาข้อมูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลพร้อมตรวจสอบความถูกต้องของแบบสอบถาม, แบบสัมภาษณ์ และการแสดง ความคิดเห็นเรียบร้อยแล้ว ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามลาดับดังนี้ 1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม และคัดเลือกเฉพาะแบบสอบถามที่สมบูรณ์ มาใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล 2. นาแบบสอบถามมาตรวจให้คะแนน 3. นาไปหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลความหมาย โดยใช้เกณฑ์การแปลความหมายของ ลิเคอร์ (Likert) 4. นาแบบสอบถามไปทดสอบความแตกต่างตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 5. แบบสัมภาษณ์และแบบการแสดงความคิดเห็นนาไปวิเคราะห์ในขั้นตอนผลการศึกษา อภิปรายผล และ ข้อเสนอแนะ 6. เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปตาราง 5. สถิติที่ใช้ในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรม SPSS ในสถิติ ดังนี้ 1. สถิติพื้นฐานได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2. ทดสอบความสมมติฐาน ใช้ t-test independent 3. การหาค่าความเที่ยงตรง ผู้วิจัยนาแบบสอบถาม จานวน 30 ฉบับไปทดสอบกับกลุ่มที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง เพื่อหาค่าความเที่ยงตรงใน เนื้อหา (Content Validity) และทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้วิธีการหาค่าความเชื่อมั่นแบบ สัมประสิทธิ์แอลฟ่า (Alpha Coefficient) ของ Cronbach ผลการทดสอบแบบสอบถาม ปรากฏว่า ได้ค่าสัมประ สิทธ์แอลฟ่า 0.7022 แสดงว่าแบบสอบถามที่ใช้ครั้งนี้อยู่ในเกณฑ์ที่สามารถนาไปใช้ได้
171
ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1. นักศึกษาชายจะให้ความสนใจในเรื่องการค้นหาข้อมูล ความรู้ การฟังเพลง/ดูทีวี/มิวสิควิดีโอออนไลน์ ดาวโหลดเพลง/ภาพยนตร์ มากกว่านักศึกษาหญิง ในทางกลับกันนักศึกษาหญิงจะให้ความสนใจในเรื่องการคุยผ่าน ทางโปรแกรม (MSN,Yahoo, ICQ) และการใช้บริการจดหมายอิเล็กโทรนิค (E-mail) มากกว่านักศึกษาชายดังนั้น สถานศึกษาจึงส่งเสริมให้นักศึกษามีพฤติกรรมการใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตให้มากที่สุด อี กทั้งสถานศึกษาใน ปัจจุบันมีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์เพื่อรองรับการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษา สถานศึกษาจึงเป็นปัจจัยสาคัญ อย่างหนึ่งต่อการเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษา และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของสุชาดา มวยมั่น (2548 : บทคัดย่อ) พบว่าสถานศึกษาเป็นแหล่งสาคัญที่สุดแห่งหนึ่งในการสนับสนุนและส่งเสริมพฤติกรรมการใช้ อินเทอร์เน็ตของนักศึกษา 2. ข้อมูลที่ถูกค้นคว้าทางอินเทอร์เน็ตในระดับมากคือ การค้นคว้าหาข้อมูลในด้านการศึกษา และการ ค้นคว้าหาข้อมูลด้านบันเทิง โดยนักศึกษาชายจะให้ความสาคัญกับการค้นหาข้อมูลด้านกีฬา และข้อมูลด้าน คอมพิวเตอร์ /เทคโนโลยี สาหรับนักศึกษาหญิงจะให้ความสาคัญกับการค้นหาข้อมูลด้านบันเทิงและด้านการ ท่องเที่ยวซึ่งเป็นผลสืบเนื่องจากในยุ คปัจจุบันเป็นยุคแห่งสื่อเอนเตอร์เทนเมนท์ มีบริการเพื่อความบันเทิงอยู่ มากมายหลากหลายประเภท การใช้คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตจึงมีจุดประสงค์เพื่อตอบสนองความชื่นชอบและ ความสนใจเฉพาะบุคคลมากยิ่งขึ้น 3. เว็บไซต์ที่เข้าใช้บริการบ่อยที่สุดคือ เว็บ Google เว็บ Hotmail เว็บ Hi5/Facebook/Twitter และ เว็บ Youtube โดยนักศึกษาชายจะเข้าใช้บริการเว็บ Youtube มากกว่านักศึกษาหญิง สาหรับนักศึกษาหญิงจะเข้า ใช้บริการเว็บ Hotmail Hi5/Facebook/Twitter และ MSN มากกว่านักศึกษาชาย ซึ่งไม่สอดคล้องกับงานวิจัย ของทยาพร ร่มโพธิ์ (2551 : บทคัดย่อ) พบว่านักเรียนส่วนใหญ่นิยมการใช้บริการเกมส์ออนไลน์ ดังนั้น จึงควรมี การศึกษาเว็บไซต์หรือเกมส์เกี่ยวกับอะไรที่นักเรียนสนใจ เพื่อจะได้นาข้อมูลที่ได้มาเฝ้าระวังภัยที่เข้ามากับเกมส์จากการ เล่นเกมส์ นอกจากนั้นยังใช้วางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และแนะนาเว็บไซต์เกมส์ที่น่าสนใจเป็นประโยชน์ ในการการสร้างเสริมความรู้ให้นักเรียนต่อไป 4. นักศึกษามีความพึงพอใจในเรื่องอินเทอร์เน็ตสามารถอานวยความสะดวกในการหาข้อมูล เพราะเห็น ว่ามีความสาคัญต่อชีวิตประจาวัน นักศึกษาเชื่อว่าอินเทอร์เน็ตมีผลต่อพฤติกรรมของเยาวชน นักศึกษามีความพึง พอใจต่อความเร็วของการเชื่อมโยงเครือข่ายมีผลต่อการใช้บริการ บรรยากาศมีผลต่อการใช้อินเทอร์เน็ต และ นัก ศึกษามี ความนิ ยมพูด คุ ยผ่ านอิ นเทอร์ เน็ ต นัก ศึก ษาชายคิด ว่ าการใช้บ ริก ารอิ นเทอร์ เน็ ต มีค วามสาคัญ ต่ อ ชีวิตประจาวันมากที่สุด ตรงกันข้ามกับนักศึกษาหญิงที่ให้ความสาคัญกับอินเทอร์เน็ตในเรื่องอานวยความสะดวกใน การหาข้อมูล 5. ปัจจัยที่ทาให้ไม่อยากเข้าใช้อินเทอร์เน็ต คือ นักศึกษาชายคิดว่าปัจจัยที่ไม่อยากเข้าใช้อินเทอร์เน็ต เนื่องจากเว็บไซต์ดีๆ ยังมีเนื้อหาที่ไม่มีคุณภาพ ไม่มีประโยชน์ในเนื้อหาสาระเท่าที่ ควร สาหรับนักศึกษาหญิงส่วน ใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่าไม่มีความจาเป็นที่จะเข้าใช้อินเทอร์เน็ต บริการออนไลน์ที่มีประโยชน์ เนื่องจากนักศึกษายัง ขาดประสบการณ์ในการสืบค้นจึงไม่มีความรู้ ความชานาญในการสืบค้นข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
172
การนาไปใช้ประโยชน์ 1.นาข้อมูลจากผลการศึกษาจัดทาโครงการบูรณาการการเรียนการสอน จากผลงานการวิจัยในรายวิชาการ ค้นคืนระบบสารสนเทศ, วิชาสารสนเทศเพื่อการเขียนรายงาน และวิชาการเขียนรายงานและการใช้ห้องสมุด 2.นาผลการศึกษาประกอบการจัดทาโครงการฝึกอบรมการใช้งานระบบสารสนเทศแก่นักศึกษา ซึ่งระบุไว้ ในเรื่องประกันคุณภาพการศึกษา ตามตัวบ่งชึ้ที่ 2.5 ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษาและสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ รายการอ้างอิง ทยาพร ร่มโพธิ์. 2551. การศึกษาพฤติกรรมในการใช้อนิ เทอร์เน็ต ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนประชาอุทิศ (จันทาบอนุสรณ์). (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://school.bangkok.go.th/prachautid/vijai_teach.htm. นงนุช พรหมวีระไชย, ประชุมพร ชัยศรี. 2552. รายงานการวิจัยเรื่องพฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตที่มีผลต่อการ รับรู้ข้อมูลสารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน. นิตยา เจรียงประเสริฐ, อรุณี อินทไพโรจน์. 2545. ระบบสนับสนุนการบริหาร (Management Support Systrm, MSSs) เชียงใหม่ : คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พรรณี สวนเพลง. 2552. เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมสาหรับการจัดการความรู้ . กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคชั่น. สุชาดา มวยมั่น. 2548. การเปรียบเทียบพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้น สู ง สาขาวิ ชาคอมพิว เตอร์ธุ ร กิจ สถาบั นการอาชี ว ศึ ก ษาภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ . กรุ งเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2552. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตทางที่ผิดของ นักศึกษามหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://202.183.233.75/~trang/main/index.php/181-2009-06-05-11-26-23
173
CMUL Digital Heritage Collection: จากเอกสารมรดกสู่สารสนเทศดิจิทัล CMUL Digital Heritage Collection: From Paper Documents to Digital Files กชพร ศรี พ รรณ์ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail: kochaporn@lib.cmu.ac.th
บทคัดย่อ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นศูนย์การเรียนรู้ระดับแนวหน้าที่รวบรวมทรัพยากร สารสนเทศทุกประเภทเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนของอาจารย์ นักวิจัย และนักศึกษา รวมทั้งเป็น แหล่ ง ทรั พ ยากรการเรี ย นรู้ ข องประชาคมภาคเหนื อ และประเทศไทย ส านั ก หอสมุ ด เล็ ง เห็ น ความสาคัญของข้อมูลเอกสารมรดกภูมิปัญญาภาคเหนือ การสงวนรักษา และอนุรักษ์ทรัพยากร สารสนเทศทุกประเภทจึงได้จัดทาฐานข้อมูล CMUL Digital Heritage Collection ขึ้นมา โดยมี วัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างฐานข้อมูลเอกสารมรดกฉบับเต็ม 2) เพื่ออนุรักษ์ และสงวนรักษาเอกสาร มรดกให้ยั่งยืนพร้อมทั้งรวบรวมองค์ความรู้ของเอกสารมรดกที่สาคัญของภาคเหนือมาไว้ในแหล่ง เดียวกันรูปฐานข้อมูล 3) เพื่อรวบรวมและเผยแพร่เอกสารมรดกฉบับเต็มอย่างเป็นระบบ 4) เพื่อ เผยแพร่องค์ความรู้จากเอกสารมรดกผ่านเว็บไซต์ โดยมีขั้นตอนการดาเนินงานดัง นี้ 1) วางแผนการ ดาเนินงานกาหนดประเภทของเอกสารมรดกที่จะดาเนินการ 2) จัดทาโครงการเสนอของบประมาณ สนับสนุน 3) กาหนดเมทาดาทา 4) ดาเนินการจัดเตรียมและแปลงผันเอกสารมรดกให้อยู่ในรูป สารสนเทศดิจิทัล 5) สร้างฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม 6) เผยแพร่ฐานข้อมูลเอกสารมรดกฉบับเต็ม 7) ติดตามผลการดาเนินงาน 8) ประเมินผลการใช้ฐานข้อมูล จากการประเมินผลการใช้ฐานข้อมูล พบว่า ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อฐานข้อมูล Digital Heritage Collection ในระดับมากทุกด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านการสืบค้น ด้านการแสดงผล และ ด้านการเผยแพร่ ซึ่งได้มีการนาผลการประเมินมาปรับปรุง และวางแผนการดาเนินงานในการเพิ่มเติม ข้อมูลเอกสารมรดกประเภทอื่น และแปลเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็น ประชาคมอาเซียน ฐานข้อมูล CMUL Digital Heritage Collection ถือเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ ศาสนา และศิลปวัฒนธรรม จากเอกสารมรดกที่มีคุณค่าซึ่งแสดงผลในรูปเอกสารฉบับ เต็มจานวนกว่า 800 รายการ ที่มีการดาเนินงานทุกขั้นตอนอย่างมีมาตรฐานในการจัดการทรัพยากร
174
สารสนเทศ เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้จากเอกสารมรดกที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ มนุษยชาติได้ศึกษาอย่างกว้างขวางผ่านเว็บไซต์
ให้แก่มวล
คาสาคัญ: เอกสารมรดก, ฐานข้อมูล, เมทาดาทา, การสงวนรักษา, การอนุรักษ์และบารุงรักษา, การแปลงผัน, ฐานข้อมูลเอกสารมรดก, สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ABSTRACT Chiang Mai University Library, the topflight learning center, who collects all types of information resources to support the teaching of professors, researchers and students, as well as the source of learning and community of northern Thailand. Chiang Mai University Library has realized the importance of intellectual heritage of Northern Thailand. By the importance of the preservation and conservation of all types of information, so Chiang Mai University Library has implemented a database by the name “CMUL Digital Heritage Collection”. The objectives are as follows 1.To create a database full heritage documents. 2. To conserve and preserve heritage documents to sustainability and that’s be collection of Northern knowledge into the same source. 3. To collect and publish full heritage documents by using the system that the public can easily access anywhere and anytime. 4. To disseminate knowledge of heritage documents through the website. Thus the implementation planning of database management has been planned for effectiveness and efficiency which plans are as follows. 1. Planning define the type of heritage documents 2. Prepare funding proposals. 3. Assign metadata 4. To performed and digitize on heritage documents. 5. Create a database full documentation. 6. Publish the full database of heritage documents. 7. Monitoring the implementation. 8. Evaluate the use of database, with a survey of user satisfaction by Purposive sampling method then collect quantitative data to analysis statistical percentage. The results showed that Service Receivers were satisfied with the high level of all aspects such as the content, the search, the rendering and dissemination of information which was introduced to improve the work process. And implementation plan for more information and other ancient documents translated into English to prepare for ASEAN Community.
175
CMUL Digital Heritage Collection database is a source of learning and wisdom. Historical, religious and cultural from heritage documents valuable. The results in full documentation of more than 800 items with all operating procedures are standard. And consistency in information resources management. To disseminate knowledge of heritage documents that mankind has studied extensively through the website. Keywords: Heritage manuscripts, Database, Metadata, Conservation, Preservation and conservation, Digitization, CMUL Digital Heritage Collection, Chiang Mai University Library บทนา สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มุ่งพัฒนาสานักหอสมุดให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ (Learning Center) ระดับแนวหน้า โดยได้กาหนดเป้าหมายสาคัญของการเป็นศูนย์การเรียนรู้ ที่สนองต่อแผนกลยุทธ์ สานักหอสมุด ระยะ 5 ปี และการพัฒนามหาวิทยาลัยในการมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัยและมหาวิทยาลัยดิจิทัล ประกอบด้วย การเป็นห้องสมุดดิจิทัล ห้องสมุดสนับสนุนการวิจัยศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้ ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นภาคเหนือ และ แหล่งข้อมูลกลุ่มประเทศอาเซียนและ GMS ในการพัฒนาศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นภาคเหนือ ได้ให้ความสาคัญต่อการรวบรวมและเผยแพร่องค์ความรู้ เกี่ยวกับท้องถิ่นภาคเหนือ ทั้งในรูปของเอกสารมรดก (Heritage manuscripts) สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ โดยการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ การสร้างฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ ม การนาออกเผยแพร่เพื่อให้ บริการการอนุรักษ์และบารุงรักษาทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท ในส่วนการดาเนินการด้านเอกสารมรดก มุ่งดาเนินการสงวนรักษา และอนุรั กษ์เอกสารมรดกที่มีอยู่ใน ห้องสมุดแต่เดิม และการรวบรวม เผยแพร่เอกสารมรดกที่มีอยู่ในท้องถิ่นในรูปของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยนามาสร้าง ฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็มในชื่อว่า CMUL Digital Heritage Collection เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณชนอย่าง กว้างขวางผ่านเว็บไซต์ โดยในปี 2550 ได้จัดทาโครงการ Digitization Initiative for Traditional Manuscripts of Northern Thailand เสนอขอทุนสนับสนุนจากบริษัท อีเอ็มซี คอร์เปอเรชั่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ภายใต้โครงการ EMC Heritage Trust และได้ผ่านการคัดเลือกให้ได้รับรางวัลทุนสนับสนุนจากโครงการ EMC Heritage Trust เป็น 1 ใน 7 โครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ นับเป็นโครงการแรกของประเทศที่ได้รับรางวัลนี้จากใบสมัคร 325 ใบสมัครจากทั่วโลก ในระยะเริ่มโครงการสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ร่วมมือกับ 3 หน่วยงาน ประกอบด้วย สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ภาควิช าวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และศูนย์ เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) และต่อมาในปี 2551 ได้ขยายการดาเนินงาน โดย ร่วมกับสานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และ Prof. Emeritus Harald Hundius ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจาก รัฐบาลเยอรมัน เพื่อแปลงผันไมโครฟิล์มเอกสารมรดก และในปี 2557 ได้วางแผนร่วมจัดทาโครงการ Direct Digitisation of Manuscripts in Northern Thailand กับ Prof. Emeritus Harald Hundius เพื่อแปลงผัน เอกสารมรดกต้นฉบับในวัดต่างๆ ในภาคเหนือ ที่ยังดาเนินการไม่แล้วเสร็จจากโครงการแปลงผั นเอกสารมรดกของ สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลเยอรมัน
176
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างฐานข้อมูลเอกสารมรดกฉบับเต็ม 2. เพื่อรวบรวม และเผยแพร่เอกสารมรดกฉบับเต็มอย่ างเป็นระบบ เข้าถึงได้ อย่างสะดวกทุกที่ และ ตลอดเวลา 3. เพื่ออนุรักษ์ และสงวนรักษาเอกสารมรดกให้ยั่งยืน โดยการซ่อมบูรณะ และบารุงรักษาเอกสารมรดก ต้นฉบับ และแปลงผันเอกสารมรดกต้นฉบับ และไมโครฟิล์มเอกสารมรดกให้อยู่ในรูปสารสนเทศดิจิทัล และเผยแพร่ ในฐานข้อมูล 4. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้จากเอกสารมรดกที่มีคุณค่าทางประวัติศ าสตร์ให้แก่มวลมนุษยชาติได้ศึกษา อย่างกว้างขวางผ่านเว็บไซต์ ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ 1. วางแผนการดาเนินงานกาหนดประเภทของเอกสารมรดกที่จะดาเนินการ ประกอบด้วย (1) เอกสาร มรดกต้นฉบับที่มีให้บริการในสานักหอสมุด 3 ประเภท ได้แก่ พับสา ใบลาน และสมุดข่อย (2) ไมโครฟิล์มเอกสาร มรดกของสานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2. จัดทาโครงการเสนอของบประมาณสนับสนุนทั้งจากหน่วยงานภายนอก และจากสานักหอสมุด 3. กาหนดเมทาดาทา (Metadata) เพื่อใช้ในการอธิบายรายละเอียดของเอกสารมรดกตามหลัก มาตรฐานสากล โดยอ้างอิงจาก Dublin Core Metadata มีการกาหนดรายละเอียดร่วมกันระหว่างผู้รู้ด้านเอกสาร มรดกจากสถาบั น วิ จั ย สั ง คม ผู้ รู้ ใ นท้ อ งถิ่ น ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นประวั ติ ศ าสตร์ ล้ า นนา ร่ ว มกั บ บรรณารั ก ษ์ ข อง สานักหอสมุด 4. ดาเนินการจัดเตรียม และแปลงผันเอกสารมรดกให้อยูใ่ นรูปสารสนเทศดิจิทัล 4.1 เอกสารมรดกต้นฉบับที่มีให้บริการในสานักหอสมุด 4.1.1 ให้ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นเอกสารมรดก และภาษาล้ า นนา ภาษาไทลื้ อ และภาษาบาลี ด าเนิ น การ ตรวจสอบ และจัดเรียงหน้าให้ถูกต้อง พร้อมจัดทาเรื่องย่อเป็น ภาษาไทย เพื่อความสะดวกในการนาข้อมูลไปลง รายการในฐานข้อมูลให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน และผู้รับบริการสามารถอ่านเรื่องย่อเป็นภาษาไทยได้ 4.1.2 อนุ รักษ์ และบารุ งรั กษาเอกสารมรดก โดยดาเนิน การตามหลักวิ ชาการทางวิท ยาศาสตร์ จาก บรรณารักษ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์เอกสารมรดกของสานักหอสมุด เพื่อทาความสะอาด และซ่อมบูรณะเอกสาร มรดกเพื่อยืดอายุการใช้งาน และให้อยู่ในสภาพที่พร้อม ก่อนนาไปแปลงผันข้อมูล 4.1.3 แปลงผันเอกสารให้อยู่ในรูปดิจิทัล (Digitized) ด้วยกล้องดิจิทัล และเครื่องสแกนเนอร์ โดย ดาเนินการตามมาตรฐานสากลด้านคุณภาพความคมชัด การปรับขนาดให้เหมาะสม และการกาหนดชื่อเอกสาร ดิจิทัล โดยใช้มาตรฐานการแปลงผันข้อมูลให้อยู่ในรูปเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Image Standard) และ มาตรฐานการกาหนดชื่อแฟ้มเอกสาร (Electronic file name standard)
177
4.2 ไมโครฟิล์มเอกสารมรดก 4.2.1 วางแผนและดาเนินการร่วมกับสานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และ Prof. Emeritus Harald Hundius ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลเยอรมัน เพื่อแปลงผันไมโครฟิล์มเอกสารมรดก 4.2.2 แปลงผันไมโครฟิล์มเอกสารมรดก ดาเนินการโดย Prof. Emeritus Harald Hundius 4.3 ร่วมจัดทาโครงการ Direct Digitisation of Manuscripts in Northern Thailand กับ Prof. Emeritus Harald Hundius เพื่อแปลงผันเอกสารมรดกต้นฉบับในวัดต่างๆ ในภาคเหนือ ที่ยังดาเนินการไม่แล้ว เสร็จจากโครงการแปลงผันเอกสารมรดกของสานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย Prof. Emeritus Harald Hundius ได้ขอสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลเยอรมัน จะเริ่มดาเนินการในปีงบประมาณ 2557 5. สร้างฐานข้อมูลเอกสารฉบับเต็ม 5.1 สร้ า งฐานข้ อ มู ล เอกสารฉบั บ เต็ ม จากเอกสารมรดกต้ น ฉบั บ ที่ พั ฒ นาโดยโปรแกรมเมอร์ ข อง สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 5.2 ได้ฐานข้อมูลเอกสารมรดกในลักษณะ Offline Database และภาพดิจิทัลจากการแปลงผัน ไมโครฟิล์มเอกสารมรดกจากโครงการสร้างฐานข้อมูลเอกสารมรดกของ Prof. Emeritus Harald Hundius 6. นาฐานข้อมูลเอกสารมรดก CMUL Digital Heritage Collection ออกเผยแพร่ที่ http://library.cmu.ac.th/digital_collection/digitalheritage เพื่ อ ให้สาธารณชนได้ ศึ ก ษาค้น คว้ า อย่ า ง กว้างขวาง 7. ติดตามผลการดาเนินงาน โดยการประชุม เพื่อปรับปรุง และวางแผนการดาเนินงาน 8. ประเมินผลการใช้ฐานข้อมูล โดยสอบถามจากผู้ให้บริการ และผู้รับบริการ โดยวิธีสุ่มแบบเจาะจง เก็บ ข้อมูลเชิงปริมาณ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติหาค่าร้อยละ และได้นาผลการประเมินมาปรับปรุงในการเพิ่มเติม ข้อมูลเอกสารมรดกประเภทอื่น และการแปลเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคม อาเซียน ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1. ผลการศึกษา 1.1 ฐานข้อมูล CMUL Digital Heritage Collection สานักหอสมุดมีฐานข้อมูล Digital Heritage Collection ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเอกสารมรดกฉบับเต็มที่มีการอธิบายรายละเอียดของเอกสาร (Metadata) จานวน 13 elements ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง (TITLE) ผู้แต่ง (CREATOR) หัวเรื่อง (SUBJECT) คาสาคัญ (KEYWORDS) เรื่องย่อ (SUMMARY) แหล่งที่ทาดิจิไทซ์ (Digitization Location) ชื่อผู้จาร (Name of script) ชื่อผู้บริจาค (Name of Donor) ชื่อผู้สารวจ (Investigator) จุลศักราช ที่จาร (Hulsakrach of Script) พุทธศักราช ที่สารวจ (Buddhist era of Investigation) ประเภทของวัสดุ (TYPE) จานวน (FORMAT of ORIGINAL) รูปแบบไฟล์
178
เอกสาร (DIGITAL FORMAT) รหัส/เลขทะเบียน (IDENTIFIER NUMBER) อักษร (SCRIPT) ภาษา (LANGUAGE) ลิขสิทธิ์ของหน่วยงานที่ทาดิจิไทซ์ (Rights of Digitization Institution) สภาพเอกสาร (Manuscript Condition) ลักษณะชุด (Integrity) การอนุรักษ์ซ่อมแซม (Resolution Detail) ในปี 2556 มีจานวนเอกสารมรดก 800 ระเบียน 1.2 เมทาดาทา (Metadata) เอกสารมรดก เป็นเมทาดาทาต้นแบบสาหรับอธิบายรายละเอียดของข้อมูล เอกสารมรดกตามมาตรฐานสากล โดยอ้างอิงจาก Dublin Core Metadata จากการกาหนดรายละเอียดร่วมกัน ระหว่างผู้รู้ด้านเอกสารมรดกจากสถาบันวิจัยสังคม ผู้รู้ในท้องถิ่ น ผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ล้านนา ร่วมกับ บรรณารักษ์ของสานักหอสมุด 1.3 การอนุรักษ์ และบารุงรักษาเอกสารมรดกต้นฉบับให้มีอายุยืนนาน ใช้หลักวิชาหลักวิชาการทาง วิ ท ยาศาสตร์ ใ นการอนุ รั ก ษ์ แ ละบ ารุ ง รั ก ษา โดยบรรณารั ก ษ์ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการอนุ รั ก ษ์ เ อกสารมรดกของ สานักหอสมุด 1.4 การทางานร่วมกันเพื่อการอนุรักษ์ และเผยแพร่มรดกของมวลมนุษยชาติ โดยสานักหอสมุดดาเนินการ ร่วมกับหน่วยงานอื่นทั้งภายในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้แก่ สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ หน่วยงานภายนอก คือ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) และ ต่างประเทศ โดยผ่าน Prof. Emeritus Harald Hundius 1.5 ฐานข้อมูลเอกสารมรดกในลักษณะ Offline Database และภาพดิจิทัลจากการแปลงผันไมโครฟิล์ม เอกสารมรดก จากการแปลงผันไมโครฟิล์มเอกสารมรดกของสานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยโครงการสร้างฐานข้อมูลเอกสารมรดกของ Prof. Emeritus Harald Hundius 1.6 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อฐานข้อมูล Digital Heritage Collection ในระดับมากทุกด้าน ได้แก่ ด้านเนื้อหา ด้านการสืบค้น ด้านการแสดงผล และด้านการเผยแพร่ มีการนาผลการประเมินมาปรับปรุง และ วางแผนการดาเนินงานในการเพิ่มเติมข้อมูลเอกสารมรดกประเภทอื่น และแปลข้อมูลเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อการ เตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียน 2. อภิปรายผล การดาเนินการสร้างฐานข้อมูล CMUL Digital Heritage Collection มีความต่อเนื่องมาตั้งแต่ ปี 2550 จนถึ ง ปั จ จุ บั น เนื่ อ งด้ ว ยได้ รั บ ความกรุ ณ าจาก ม.ร.ว.ดร.รุ จ ยา อาภากร อดี ต ผู้ อ านวยการส านั ก หอสมุ ด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และอดีตผู้อานวยการสานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นที่ปรึกษา โครงการ และให้ความช่วยเหลือในการดาเนินการมาโดยตลอด มีการร่วมมือกับผู้รู้ ผู้เชี่ยวชาญด้านเอกสารมรดกใน การกาหนด เมทาดาทาให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน และร่วมมือกับผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศด้านเอกสารมรดก คือ Prof. Emeritus Harald Hundius ทาให้การสร้างฐานข้อมูลไม่จากัดเฉพาะเอกสารมรดกต้นฉบับที่มีให้บริการ ในสานักหอสมุด แต่ขยายไปสู่การแปลงผันไมโครฟิล์มเอกสารมรดกที่สานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมได้ดาเนินการถ่าย ไว้ และการแปลงผันเอกสารมรดกในลักษณะ Direct digitization ที่มีอยู่ตามวัดต่างๆ ในภาคเหนือ ที่ยังคงค้างไม่ได้ ดาเนินการตามโครงการของสานักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ทาให้ฐานข้อมูลมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้นในอนาคต และ จะเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติต่อไป
179
3. ข้อเสนอแนะ 3.1 การสร้างฐานข้อมูล CMUL Digital Heritage Collection ควรแปลฐานข้อมูลเป็นภาษาอังกฤษ จะ เป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาติอย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น 3.2 การสร้างฐานข้อมูลเอกสารมรดกของท้องถิ่น ของสถาบันหรือหน่วยงานต่าง ๆ ควรใช้มาตรฐานสากล การลงรายการอธิบายรายละเอียดของเอกสาร (Metadata) เพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างหน่วยงาน ในการจัดทาฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม และการสืบค้นจากแหล่งเดียว (Single search) ฐานข้อมูลต่าง ๆ ที่สร้างขึ้น จะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ ต่อประเทศชาติ และมวลมนุษยชาติต่อไป การนาไปใช้ประโยชน์ 1. ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ ฐานข้อมูล CMUL Digital Heritage Collection เป็นแหล่งเรียนรู้ของนักศึกษา อาจารย์ นักวิจัย และ ประชาชนทั่ ว ไป เกี่ย วกับ ภูมิ ปัญ ญาท้ องถิ่น ประวั ติศ าสตร์ ศาสนา และศิล ปวัฒ นธรรมจากเอกสารมรดกที่ มี มาตรฐาน และหลักวิชาในการอนุรักษ์ สงวนรักษา และการจัดการทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลทาให้สามารถเข้าถึง เอกสารมรดกฉบับเต็มได้อย่างสะดวก รวดเร็วผ่านเว็บไซต์ 2. ประโยชน์ต่อห้องสมุด หน่วยงานด้านอนุรักษ์เอกสารมรดก และชุมชน 2.1 สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่ห้องสมุด และหน่วยงานด้านอนุรักษ์ เอกสารมรดก ในการศึกษาดูงานด้านการอนุรักษ์ และสงวนรักษาเอกสารมรดก การแปลงผั นเอกสารมรดก การ สร้างฐานข้อมูลเอกสารมรดกฉบับเต็ม ที่สามารถนาความรู้ และประสบการณ์จากสานักหอสมุดไปต่อยอดพัฒนาการ การอนุรักษ์ และสงวนรักษาเอกสารมรดกของหน่วยงานให้เป็นประโยชน์ต่อไป 2.2 เมทาดาทา (Metadata) ต้นแบบ ที่สานักหอสมุดจัดทาขึ้นร่วมกับผู้รู้ด้านเอกสารมรดกจาก สถาบันวิจัยสังคม ผู้รู้ในท้องถิ่น ผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์ล้านนานั้น ห้องสมุดหรือหน่วยงานอื่นสามารถ นาไปใช้ในการอธิบายรายละเอียดเอกสารมรดกในการสร้างฐานข้อมูลได้เป็นอย่างดี รายการอ้างอิง Darnton, Robert. (2009). The case for books : past, present, and future. New York: PublicAffairs. Federal Agencies Digitization Guidelines Initiative. (2012). A Resource List for Standards Related to Digital Imaging of Print, Graphic, and Pictorial Materials. Retrieved October 10, 2013, from http://www.digitizationguidelines.gov/guidelines/digitize-standards.html Hughes, Lorna M. (2004). Digitizing collections : strategic issues for the information manager. London: Facet. นงคราญ วณีสอน. (2538). คู่มือการอนุรักษ์และบารุงรักษาหนังสือ เอกสารหายาก. เชียงใหม่: สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
180
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สานักหอสมุด. (2538). รายชื่อเอกสารโบราณ. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัย. เรณู วิ ช าศิ ล ป์ . (2548). การศึ กษาอั ก ศรและเอกสารโบราณภาษาไทย. เชี ย งใหม่ : ภาควิ ช าภาษาไทย คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ . (2548). คู่มือการอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุลายลักษณ์อักษรของสานักหอ จดหมายเหตุแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร.
181
ความคุ้มทุนของทรัพยากรสารสนเทศของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Cost Effectiveness of Information Resources of the Center for Library and Educational Media, Walailak University อาภรณ์ ไชยสุวรรณ* บุญเพ็ญ ชูทอง จริยา รัตนพันธุ์ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ e-mail : caporn@wu.ac.th*
บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์งบประมาณการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ กับอัตราการใช้ 2) วิเคราะห์ความคุ้มทุนของการลงทุนในทรัพยากรสารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและ สื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยการศึกษานี้จะดาเนินการศึกษาหนังสือที่ห้องสมุดอนุญาต ให้ยืมออกได้ผ่านระบบห้องสมุดอัตโนมัติ WalaiAutoLib ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาจัดหา ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2552-2554 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบบันทึกข้อมูลนับความถี่ที่ ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ร้อย ละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการใช้ ผลการศึกษา พบว่า เมื่อพิจารณางบประมาณค่าหนังสือที่ใช้ไปกับการจัดซื้อหนังสือทั้ง 3 ปีงบประมาณ พบว่างบประมาณในปี 2554 มีสัดส่วนการใช้งบประมาณเพิ่มขึ้นจากปี 2553 ร้อยละ 95 แต่เมื่อเทียบจานวนงบประมาณการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ ในปี 2555 มีสัดส่วนที่ลดลงจาก ปีงบประมาณ 2554 ร้อยละ 131.50 และพบว่าจานวนหนังสือที่จัดซื้อทั้ง 3 ปีงบประมาณนั้น สอดคล้องกับงบประมาณในการจัดซื้อดังนี้ ในปีงบประมาณ 2554 จานวนหนังสือที่จัดซื้อมากกว่า จานวนหนังสือที่จัดซื้อในปี 2553 และจานวนหนังสือที่จัดซื้อในปี 2555 จะมีจานวนน้อยกว่าหนังสือ ที่จัดซื้อในปี 2554 เมื่อพิจารณางบประมาณค่าหนังสือที่ใช้ไปปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 - 2555 กับการใช้ ใน ภาพรวม พบว่า งบประมาณค่าหนังสือที่ใช้ไปเป็นเงิน 14,066,512.42 บาท จัดหาหนังสือได้ทั้งหมด 15,888 เล่ม ราคาเฉลี่ยต่อเล่มเป็นเงิน 885.35 บาทต่อเล่ม มีจานวนการใช้ทั้งหมด 73,842 ครั้ง โดย มีอัตราเฉลี่ยการใช้ 4.65 ครั้งต่อเล่ม แสดงให้เห็นว่าใช้หนังสือที่มีการจัดหามานั้นมีการใช้คุ้มทุนกับ จานวนหนังสือที่ได้มีการจัดซื้อ แต่หากคิดเป็นค่าใช้จ่ายต่อการใช้ คิดเป็นมูลค่า 190.49 บาทต่อการ ใช้ 1 ครั้ง ดังนั้นหากศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาจะต้องหาวิธีการลดมูลค่าของการใช้งานแต่ละ ครั้งให้น้อยลงเรื่อย ๆ โดยจะต้องหาวิธีการในการส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการมีการใช้ประโยชน์จากหนังสือ
182
ที่มีการเสนอแนะให้มีการจัดซื้อมากขึ้น รวมทั้งจะต้องพยายามศึกษาเชิงลึกในด้านการใช้งานจาก วิธีการอื่น ๆ นอกเหนือจากการยืมผ่านระบบห้องสมุดอัตโนมัติ คาสาคัญ : ความคุ้มทุน ทรัพยากรสารสนเทศ, ทรัพยากรสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Keywords : Cost Effectiveness, Information Resources, Walailak University บทนา ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นหน่วยงานหนึ่งที่สนับสนุนด้านวิชาการของ มหาวิทยาลัยในฐานะเป็นแหล่งรวมของทรัพยากรการเรียนรู้และเป็นแหล่งบริการสารสนเทศทางวิชาการแก่อาจารย์ พนักงานและนักศึกษาให้สามารถใช้ประโยชน์ในการศึกษาค้นคว้าอย่างกว้างขวาง มีภารกิจหลักในการพัฒนาและ ให้บริการทรัพยากรสารสนเทศ การผลิตและพัฒนาสื่อการศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอนและ กิจกรรมของมหาวิทยาลัย ด้านการเป็นแหล่งรวมของทรัพยากรสารสนเทศนั้นมีหน้าที่ในการจัดหา รวบรวม ทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภททั้งประเภทสิ่งตีพิมพ์ และสิ่งไม่ตีพิมพ์ รวมถึงการบอกรับฐานข้อมูลออนไลน์ใน สาขาวิชาที่สอดคล้องกับการเรียนการสอน การวิจัยของมหาวิทยาลัย และได้มีการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศอย่าง เป็นระบบ เพื่อให้บริการแก่นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรของมหาวิทยาลัย ในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศนั้น มีสิ่งที่ต้องคานึงถึงคืองบประมาณถือเป็นหัวใจหลักสาคัญของการดาเนินงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้ บริการแก่ผู้ใช้ ซึ่งมีผลต่อการจัดสรรงบประมาณ และในการดาเนินการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของศูนย์บรรณ สารและสื่ อการศึ กษาในปีง บประมาณ 2553-2555 ที่ ผ่ านมา ได้ รับ การจั ด สรรงบประมาณสาหรับ การจั ด หา ทรัพยากรสารสนเทศให้กับสานักวิชาและหน่วยงานต่าง ๆ โดยมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอย่างเป็นระบบและ ดาเนินการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศตลอดปีงบประมาณเพื่อให้มีทรัพยากรสารสนเทศที่เพียงพอต่อการเรียนการ สอนของมหาวิทยาลัย ดังนั้น การศึกษาความคุ้มทุนของทรัพยากรสารสนเทศที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ให้บริการโดยการวิเคราะห์งบประมาณจัดหาทรัพยากรสารสนเทศกับอัตราการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ รวมถึงการ วิเคราะห์ความคุ้มทุนของการลงทุนทรัพยากรสารสนเทศจึงมีความจาเป็นและสาคั ญเป็นอย่างยิ่ง เพราะสามารถใช้ เป็ นข้ อ มูล การกาหนดนโยบายการจั ดการทรัพยากรสารสนเทศให้มี ค วามเหมาะสม คุ้ ม ทุน และสอดคล้ องกั บ งบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากมหาวิทยาลัย วัตถุประสงค์ 1. วิเคราะห์งบประมาณการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศกับอัตราการใช้ 2. วิเคราะห์ความคุ้มทุนของการลงทุนในทรัพยากรสารสนเทศ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา
ขั้นตอนและวิธีการศึกษา 1. ประชากรที่ศึกษาคือ หนังสือฉบับพิมพ์ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จัดหาเข้ามาให้บริการในห้องสมุดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553-2555 จานวน 15,888 เล่ม และวารสารฉบับพิมพ์ทั้ง ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่บอกรับ/ต่ออายุ จานวน 335 รายการ
183
2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย 2.1 แบบบันทึกข้อมูลหนังสือ สาหรับบันทึกข้อมูลนับความถี่ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel ประกอบด้วย 1) ลาดับที่ 2) ชื่อเรื่อง 3) ชื่อผู้แต่ง 4) ปีพิมพ์ 5) จานวนเล่ม 6) ปีงบประมาณที่จัดซื้อ 7) ราคา 8) สาขาวิชาและอาจารย์ที่เสนอแนะให้จัดซื้อ 9) จานวนครั้งในการยืม 2.2 แบบบันทึกข้อมูลวารสาร สาหรับบันทึกข้อมูลนับความถี่ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel ประกอบด้วย 1) ลาดับที่ 2) ชื่อวารสาร 3) ISSN 4) ปีที่ 5) ฉบับที่ 6) วัน เดือน ปี 7) ปีพิมพ์ 8) BARCODE 9) จานวนเล่ม 10) ราคา 11) สาขาวิชาที่เสนอแนะ 12) จานวนครั้งในการยืม 13) ความคุ้มทุน 2.3 แบบบันทึกการคิดค่าเสื่อมราคา โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel ประกอบด้วย 1) วัน เดือน ปี 2) ชื่อหนังสือ/ร้านค้า 3) เลขที่ใบส่งของ 4) วันตรวจรับ 5) จานวนเล่ม 6) จานวนเงิน – ราคาเต็มและราคาลด 7) หมายเหตุ – เลขทะเบียนและหมายเลขบาร์โค้ด 8) ค่าเสือ่ มราคา 9) ราคาสุทธิ 3. การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.1 รวบรวมข้อมูลจากรายการหนังสือที่จัดหาและปริมาณการใช้ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2553- 2555 รายการหนังสือที่จัดหาประจาปีงบประมาณในแต่ละสานักวิชา ระหว่างปีงบประมาณ 2553-2555 จากงานจัดหา ทรัพยากรสารสนเทศ ฝ่ายห้องสมุด ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา และจากฐานข้อมูล Walai Autolib โมดูล Circulation เพื่อดึงข้อมูลการยืมหนังสือ ดังกล่าว และตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในแต่ละปีงบประมาณ 3.2 รวบรวมข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศที่มีมูลค่าเกินกว่า 10,000 บาท ในห้องสมุดที่จัดซื้อ ระหว่าง ปีงบประมาณ 2553-2555 เพื่อนามาคิดค่าเสื่อมราคา 3.3 รวบรวมข้อมูลจากรายการวารสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศฉบับพิมพ์ ที่มีการบอกรับ และต่อ อายุวารสารในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 - 2555 จากงานสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง ฝ่ายห้องสมุด ศูนย์บรรณสารและ สื่อการศึกษา และจากฐานข้อมูล Walai Autolib โมดูล Circulation เพื่อดึงข้อมูลการยืมวารสารดังกล่าว และเก็บ สถิติการใช้วารสารฉบับปัจจุบันและฉบับย้อนหลังจากการนาตัวเล่มลงมาจากชั้นจัดเก็บ โดยเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4.1 วิเคราะห์ข้อมูลการเปรียบเทียบงบประมาณในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศกับสถิติการใช้ โดยการ หาค่าร้อยละ และค่าเฉลีย่ 4.2 วิเคราะห์ความคุ้มทุนของการลงทุนทรัพยากรสารสนเทศ โดยมีเกณฑ์ในการวิเคราะห์ดังนี้ ความคุ้มทุนในการใช้งานทรัพยากรสารสนเทศ วิเคราะห์จากสูตรดังนี้
184
งบประอัตราการใช้ มาณการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ การประเมินความคุ้มทุนหนังสือนั้น ผู้ดาเนินงานได้คิดราคาเทียบกับปริมาณการใช้ประโยชน์ โดยมีเกณฑ์ การคิดความคุ้มทุน ดังนี้ คือ หากไม่มีการใช้ ก็ไม่มีความคุ้มทุน และ ค่าความคุ้มทุนยิ่งน้อย ยิ่งมีความคุ้มทุนสูง (ใช้ มากคุ้มทุนมาก) ตัวอย่างเช่น หนังสือเล่มหนึ่งมีราคา 300 บาท หากมีการใช้ 1 ครั้ง หนังสือเล่มนี้ก็มคี วามคุ้มทุน 300 บาท หากมีการใช้ 2 ครั้ง หนังสือเล่มนี้ก็มีความคุ้มทุน 150 บาท หากมีการใช้ 5 ครั้ง หนังสือเล่มนี้ก็มีความคุ้มทุน 60 บาท หากมีการใช้ 300 ครั้งหนังสือเล่มนี้ก็มีความคุ้มทุน1 บาท และหากไม่มีการใช้ประโยชน์จากหนังสือเล่มนั้นเลย แม้แต่ครั้งเดีย ว หนังสือเล่มนั้นก็จะไม่มีความคุ้มทุน เลย กลับจะต้องมีการประเมินความสูญเปล่าจากการจัดหา และการดาเนินงานทางเทคนิคต่าง ๆ ที่ต้องทา ก่อนนา หนังสือเล่มนั้นออกบริการ ซึ่งเป็นความสูญเปล่าเชิงวิชาชีพที่เสียหายอย่างร้ายแรง ค่าเสื่อมราคาของทรัพยากรสารสนเทศ คณะกรรมการนโยบายการเงินและทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (2551) ได้มีการกาหนดในเรื่องการ คิดค่าเสื่อมราคาของหนังสือไว้ มหาวิทยาลัยได้กาหนดหลักเกณฑ์ไว้ว่าหากทรัพยากรสารสนเทศใด มีมูลค่าไม่ถึง 10,000 บาท ถือว่าเป็นวัสดุ ไม่มีค่าเสื่อมราคา แต่จะทาการวิเคราะห์ ค่าเสื่อมราคาของทรัพยากรสารสนเทศที่มี มูลค่าเกิน 10,000 บาท ไว้ดังนี้ คือ หนังสือทั่วไป ให้คิดค่าเสื่อมราคาในอัตราปีละ 10% และหนังสือหมวด เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้คิดค่าเสื่อมราคาในอัตราปีละ 20% เมื่อคิดค่าเสื่อมราคาแล้วราคาของหนังสือเล่มนั้นก็จะมี สัดส่วนของราคาต่อเล่มลดลงไปตามปีที่เพิ่มขึ้น หลังจากนั้นจึงนาไปคิดค่าความคุ้ มทุนในการใช้งานทรัพยากร สารสนเทศอีกครั้งหนึ่ง จึงสามารถที่จะประเมินได้ว่าหนังสือเล่มนั้นมีความคุ้มทุนในการให้บริการมากน้อยเพียงใด อย่างไรก็ตามทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดที่มีมูลค่าเกิน 10,000 บาท มีจานวนไม่มากนัก ต้นทุนการใช้ทรัพยากรสารสนเทศต่อครั้ง วิเคราะห์จากสูตรดังนี้ งบประมาณค่าวัสดุห้องสมุดตัง้ แต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2553-2555 จานวนการใช้ทรัพยากรสารสนเทศของผู้ใช้
การวิเคราะห์ความคุ้มทุนของทรัพยากรสารสนเทศของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา จะดาเนิ นการ ตามขั้ น ตอน คื อ หาค่ า ความคุ้ ม ทุ น โดยการน าค่ า ความคุ้ ม ทุ น ในการใช้ ง านทรั พ ยากรสารสนเทศ ที่ คิ ด จาก งบประมาณการจัด หาทรั พยากรสารสนเทศกับ อัต ราการใช้ และค่า เสื่ อมราคาของทรั พยากรสารสนเทศ มา วิเคราะห์รวมกัน
185
4.3 สถิติที่ใช้ เป็นสถิติที่ใช้ในการวัดค่าความคุ้มทุน โดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสูตรการวิเคราะห์ค่าความคุ้มทุน สรุปผลการศึกษา 1. การวิเคราะห์การใช้งบประมาณสาหรับการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ 1.1 การใช้งบประมาณสาหรับการจัดซื้อหนังสือโดยรวม สรุปได้ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์การใช้งบประมาณสาหรับการจัดซื้อหนังสือจาแนกตามปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 รวม
รายจ่ายตามงบประมาณที่จ่ายจริง (บาท) 4,930,263.50 5,189,627.10 3,946,618.82 14,066,509.42
จานวนหนังสือที่จัดซื้อ (เล่ม) 5,419 5,661 4,808 15,888
จากตารางที่ 1 จะเห็นว่า เมื่อพิจารณางบประมาณค่าหนังสือที่ใช้ไปกับการจัดซื้อหนังสือทั้ง 3 ปีงบประมาณ พบว่างบประมาณค่าหนังสือในปีงบประมาณ 2553 มีการจัดซื้อหนังสือ จานวน 4,930,263.50 บาท ปีงบประมาณ 2554 จานวน 5,189,627.10 บาท และปีงบประมาณ 2555 จานวน 3,946,618.82 บาท รวม งบประมาณทั้ง 3 ปี จานวน 14,066,509.42 บาท เมื่อเปรียบเทียบงบประมาณการจัดซื้อ หนังสือในแต่ละปี พบว่า งบประมาณในปี 2554 มีสัดส่วนการใช้ งบประมาณเพิ่มขึ้นจากปี 2553 ร้อยละ 95 แต่เมื่อเปรียบเทียบจานวนงบประมาณการจัดซื้อในปี 2555 มีสัดส่วนที่ ลดลงจากปีงบประมาณ 2554 ร้อยละ 131.50 ซึ่งจานวนหนังสือที่จัดซื้อทั้ง 3 ปีงบประมาณนั้นสอดคล้องกับ งบประมาณในการจัดซื้อดังนี้ ในปีงบประมาณ 2554 จานวนหนังสือที่จัดซื้อมากกว่าจานวนหนังสือที่จัดซื้อในปี 2553 และจานวนหนังสือที่จัดซื้อในปี 2555 จะมีจานวนน้อยกว่าหนังสือที่จัดซื้อในปี 2554
1.2 การใช้งบประมาณสาหรับการบอกรับ/ต่ออายุวารสาร สรุปได้ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์การใช้งบประมาณสาหรับการบอกรับ/ต่ออายุวารสารจาแนกตามปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 รวม
รายจ่ายตามงบประมาณที่ จ่ายจริง (บาท) 99,863 91,615 87,550 279,028.00
จานวนวารสารที่บอกรับ/ ต่ออายุ (ชื่อเรื่อง) 118 111 106 335
จานวนเล่มของวารสารที่ บอกรับ/ต่ออายุ 1,174 1,149 1,100 3,423
186
ในการบอกรับและต่ออายุวารสาร เมื่อพิจารณางบประมาณค่าวารสารฉบับพิมพ์ที่ใช้ไปปีงบประมาณ พ.ศ. 2553-2555 กับการใช้ในภาพรวม พบว่า งบประมาณค่าวารสารที่ใช้ไป เป็นเงิน 279,028.00 บาท บอกรับและต่อ อายุได้ทั้งหมด 335 รายการ 3,423 เล่ม โดยแยกเป็นปีงบประมาณได้ดังนี้ ในปีงบประมาณ 2553 งบประมาณค่า วารสารที่ใช้ไป เป็นเงิน 99,863.00 บาท บอกรับและต่ออายุได้ทั้งหมด 118 ชื่อเรื่อง 1,174 เล่ม ปีงบประมาณ 2554 งบประมาณค่าวารสารที่ใช้ไป เป็นเงิน 91,615.00 บาท บอกรับและต่ออายุได้ทั้งหมด 111 ชื่อเรื่อง 1,149 เล่ม ปีงบประมาณ 2555 งบประมาณค่าวารสารที่ใช้ไป เป็นเงิน 87,550.00 บาท บอกรับและต่ออายุได้ทั้งหมด 106 ชื่อเรื่อง 1,100 เล่ม 2. การวิเคราะห์การใช้และความคุ้มทุนของทรัพยากรสารสนเทศ 2.1 การวิเคราะห์การใช้หนังสือ สรุปได้ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์การใช้หนังสือจาแนกตามปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 รวม
รายจ่ายตามงบประมาณ ที่จ่ายจริง (บาท) 4,930,263.50 5,189,627.10 3,946,618.82 14,066,509.42
จานวนหนังสือที่ จัดซื้อ (เล่ม) 5,419 5,661 4,808 15,888
จานวนการใช้ (ครั้ง) 34,227 24,119 15,496 73,842
อัตราเฉลี่ยการใช้ ต่อครั้ง 6.32 4.26 3.22 4.65
เมื่อพิจารณางบประมาณค่าหนังสือที่ใช้ไปปีงบประมาณ พ.ศ. 2553-2555 กับการใช้ ในภาพรวม พบว่า งบประมาณค่าหนังสือที่ใช้ไป เป็นเงิน 14,066,512.42 บาท จัดหาหนังสือได้ทั้งหมด 15,888 เล่ม มีจานวนการใช้ ทั้งหมด 73,842 ครั้ง โดยมีอัตราเฉลี่ยการใช้ 4.65 ครั้งต่อเล่ม โดยแยกเป็นปีงบประมาณได้ดังนี้ ในปีงบประมาณ 2553 มีจานวนการใช้ทั้งหมด 34,227 ครั้ง โดยมีอัตราเฉลี่ยการใช้ 6.32 ครั้งต่อเล่ม ปีงบประมาณ 2554 มีจานวน การใช้ทั้งหมด 24,119 ครั้ง โดยมีอัตราเฉลี่ยการใช้ 4.26 ครั้งต่อเล่ม ปีงบประมาณ 2555 มีจานวนการใช้ทั้งหมด 15,496 ครั้ง โดยมีอัตราเฉลีย่ การใช้ 3.22 ครั้งต่อเล่ม เมื่อพิจารณาการใช้หนังสือของสานักวิชา พบว่า สานักวิชาที่มีจานวนการใช้มากที่สุด คือ สานักวิชา แพทยศาสตร์ มีอัตราเฉลี่ยการใช้ 10.19 ครั้งต่อเล่ม รองลงมาคือสานักวิชาวิทยาศาสตร์ มีอัตราเฉลี่ยการใช้ 4.14 ครั้งต่อเล่ม และสานักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ มีอัตราเฉลี่ยการใช้ 3.11 ครั้งต่อเล่มรายละเอียด สรุปได้ดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการใช้หนังสือจาแนกตามสานักวิชา สานักวิชา เภสัชศาสตร์
รายจ่ายตามงบประมาณ ปี 2553-2555 (บาท) 2,470,235.10
จานวน หนังสือ (เล่ม) 982
จานวน การใช้ (ครั้ง) 1,637
อัตราเฉลี่ย ในการใช้ 1.67
187
สานักวิชา
รายจ่ายตามงบประมาณ ปี 2553-2555 (บาท)
แพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ศิลปศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์ การจัดการ วิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร เทคโนโลยีการเกษตร พยาบาลศาสตร์
1,806,727.10 1,545,593.40 905,002.77 289,844.05 851,538.15 634,464.65 486,068.47 429,996.60 339,221.35 317,152.00
จานวน หนังสือ (เล่ม) 1,425 978 1,207 146 657 476 373 134 84 161
จานวน การใช้ (ครั้ง) 4,331 2,736 1,870 605 2,047 530 549 123 163 293
อัตราเฉลี่ย ในการใช้ 10.19 2.80 1.55 4.14 3.11 1.11 1.47 0.92 2.18 1.82
2.2 การวิเคราะห์ความคุ้มทุนของหนังสือ สรุปได้ดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความคุ้มทุนในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศ ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 รวม
รายจ่ายตามงบประมาณ ที่จ่ายจริง (บาท) 4,930,263.50 5,189,627.10 3,946,618.82 14,066,509.42
จานวนหนังสือ ที่จัดซื้อ (เล่ม) 5,419 5,661 4,808 15,888
จานวนการใช้ (ครั้ง) 34,227 24,119 15,496 73,842
ความคุ้มทุน 144.47 215.17 254.69 190.49
เมื่อพิจารณาต้นทุนการใช้ทรัพยากรสารสนเทศต่อครั้ง โดยการนาค่าความคุ้มทุนในการใช้งานทรัพยากร สารสนเทศ ที่คิดจากงบประมาณการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศกับอัตราการใช้ และค่าเสื่อมราคาของทรัพยากร สารสนเทศ มาวิเคราะห์รวมกัน พบว่าการจัดซื้อหนังสือระหว่างปีงบประมาณ 2553-2555 ดังนั้นต้นทุนจึงคิด เฉพาะจากงบประมาณการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศกับอัตราการใช้เท่านั้น ไม่ได้รวมค่าเสื่อมราคาของทรัพยากร สารสนเทศเนื่องจากหนังสือที่จัดซื้อไม่อยู่ในเกณฑ์ของการคิดค่าเสื่อมราคาของทรัพยากรสารสนเทศ ดังนั้นความคุ้ม ทุนในการใช้งานทรัพยากรสารสนเทศ ระหว่างปีงบประมาณ 2553-2555 มีการคุ้มทุน 190.49 บาท แสดงให้เห็นว่า ใช้หนังสือที่มีการจัดหามานั้นมีการใช้คุ้มทุนกับจานวนหนังสือที่ได้มีการจัดซื้อ 2.3 การวิเคราะห์การใช้วารสารและความคุ้มทุนของวารสาร สรุปได้ดังตารางที่ 6
188
ตารางที่ 6 ผลการวิเคราะห์การใช้วารสารและความคุ้มทุนของวารสารจาแนกตามปีงบประมาณ ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 รวม
รายจ่ายตาม งบประมาณที่จ่าย จริง (บาท) 99,863 91,615 87,550 279,028.00
จานวนเล่มของ จานวนการ วารสารที่บอกรับ/ต่อ ใช้ (ครั้ง) อายุ (เล่ม) 1,174 2,880 1,149 2,370 1,100 1,810 3,423 7,060
อัตราเฉลี่ยใน ความคุ้มทุน การใช้ 2.45 2.06 1.64 2.06
34.67 38.66 48.37 39.52
เมื่อพิจารณาผลการวิเคราะห์การใช้และความคุ้มทุนของวารสาร พบว่า วารสารมีจานวนการใช้ทั้งหมด 7,060 ครั้ง โดยมีอัตราเฉลี่ยการใช้ 2.06 ครั้งต่อเล่ม และเมื่อแยกตามปีงบประมาณ พบว่าปีงบประมาณ 2553 มี จานวนการใช้ทั้งหมด 2,880 ครั้ง โดยมีอัตราเฉลี่ยการใช้ 2.45 ครั้งต่อเล่ม ปีงบประมาณ 2554 มีจานวนการใช้ ทั้งหมด 2,370 ครั้ง โดยมีอัตราเฉลี่ยการใช้ 2.06 ครั้งต่อเล่ม ปีงบประมาณ 2555 มีจานวนการใช้ทั้งหมด 1,810 ครั้ง โดยมีอัตราเฉลี่ยการใช้ 1.64 ครั้งต่อเล่ม และเมื่อพิจารณาต้นทุนการใช้วารสารฉบับพิมพ์พบว่า มีอัตราการใช้ เฉลี่ย 2.06 ต่อเล่ม และหากพิจารณาต้นทุนการใช้งานต่อครั้ง โดยการนาค่าความคุ้มทุนในการใช้งานทรัพยากร สารสนเทศ ที่คิดจากงบประมาณการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศกับอัตราการใช้ และค่าเสื่อมราคาของทรัพยากร สารสนเทศมาวิเคราะห์รวมกัน พบว่าการบอกรับ/ต่ออายุวารสารระหว่างปีงบประมาณ 2553-2555 มีต้นทุนที่คิด เฉพาะจากงบประมาณการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศกับอัตราการใช้ เท่านั้น ไม่ได้รวมค่าเสื่อมราคาของทรัพยากร สารสนเทศเนื่องจากวารสารที่บอกรับ /ต่ออายุไม่อยู่ในเกณฑ์ของการคิดค่าเสื่อมราคาของทรัพยากรสารสนเทศ ดังนั้นความคุ้มทุนในการใช้งานวารสาร ระหว่างปีงบประมาณ 2553-2555 มีการคุ้มทุน 39.52 บาท แสดงให้เห็นว่า ใช้วารสารที่บอกรับ/ต่ออายุที่มีการจัดหามานั้นมีการใช้คุ้มทุนกับจานวนที่ได้มีการจัดซื้อ การนาไปใช้ประโยชน์ โดยสรุปแล้วศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาจะต้องหาวิธีการลดมูลค่าของการใช้งานแต่ละครั้งให้น้อยลง เรื่อย ๆ โดยจะต้องหาวิธีการในการส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการมีการใช้ประโยชน์จากหนังสือที่มีการเสนอแนะให้มีการ จัดซื้อมากขึ้น รวมทั้งจะต้องพยายามศึกษาเชิงลึกในด้านการใช้งานจากวิธีการอื่น ๆ นอกเหนือจากการยืม ผ่าน ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ดังนั้นผลจากการศึกษาครั้งนี้ ห้องสมุดสามารถใช้เป็นข้อมูลการกาหนดนโยบายการจัดการ ทรัพยากรสารสนเทศให้มีความเหมาะสม คุ้มค่าและสอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากมหาวิทยาลัยได้มาก ยิ่งขึ้น รายการอ้างอิง คณะกรรมการนโยบายการเงิ น และทรั พ ย์ สิ น มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ . (2551). รายงานการประชุ ม คณะกรรมการนโยบายการเงินและทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ครั้งที่ 3/2551. นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
189
ณรงค์ ป้อมบุบผา. (2549). เอกสารประกอบการสอนวิชา 1202231 การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (พิมพ์ครั้งที่ 2). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. พวา พันธุ์เมฆา. (2541). สารนิเทศกับการศึกษาค้นคว้า. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพ. ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ . (2553) . รายงานประจาปีเพื่อการประกัน คุณภาพ การศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2553. นครศรีธรรมราช : ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์. สุเพ็ญ ทาเกิด และคณะ. (2543). เกณฑ์การจัดสรรงบประมาณเพื่อจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2555). ประกาศ เรื่อง มาตรฐานห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2544. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. อุทัย ทุติยะโพธิ . (2541). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทรัพยากรสารนิเทศในเอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนา ทรัพยากรสารนิเทศ หน่วยที่ 1-8 (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
190
การใช้ประโยชน์จากบริการรายชื่อหนังสือใหม่ของห้องสมุดต่างๆ ต่อการพัฒนา คอลเลคชันและบริการเชิงอ้างอิง : กรณีศึกษาสาขาการเกษตร ห้องสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ Utilization of New Books Service for Collection Development and Referral Service : a Case Study of Agricultural Books of Maejo University Library สุ ธ รรม อุ ม าแสงทองกุ ล สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ e-mail : sutham_uma@hotmail.com
บทคัดย่อ การวิจัยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อสร้างฐานข้อมูลเชิงอ้างอิงรายการหนังสือใหม่สาขาการเกษตร (2) เพื่อศึกษาการนาข้อมูลรายชื่อหนังสือใหม่ไปใช้งานวิเคราะห์และทารายการ (3) เพื่อประเมิน ทรัพยากรสารสนเทศสาขาเกษตรศาสตร์รายชื่อใหม่ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ดาเนินการรวบรวมข้อมูล ประชากรคือรายการบรรณานุกรมรายชื่ อหนังสือใหม่จากจากห้องสมุดสถาบันอุดม 14 แห่ง ผลการวิจัยพบว่า 1. ฐานข้อมูลเชิงอ้างอิงรายชื่อหนังสือใหม่สาขาการเกษตร มีข้อมูลทั้งสิ้น 1,316 รายชื่อ บริการด้วยโปรแกรม Ulibm ณ เว็บไซต์ http://library.mju.ac.th:8080/agtxt/ 2. การนาข้อมูลไปใช้ในโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ Horizon ผ่านมาตรฐาน ISO-2709 สามารถกระทาได้ มีข้อดีในด้านการลดภาระงาน ความรวดเร็ว และคุณภาพข้อมูล มีปัญหาเชิง คุณภาพของข้อมูลในด้าน รูปแบบข้อมูลตามมาตรฐาน MARC การลงรายการตามหลักการทาง บรรณารักษศาสตร์ และรูปแบบการพิมพ์ 3. การประเมินรายชื่อหนังสือใหม่เปรียบเทียบระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เกี่ยวกับ หนังสือใหม่ที่จัดหาได้ หนังสือซ้ารายการ หนังสือที่หา ได้เฉพาะแห่ง การประเมินรายชื่อหนังสือใหม่ของห้องสมุดต่างๆ ในภาพรวม เกี่ยวกับจานวนหนังสือ ใหม่ที่เพิ่มขึ้น รายชื่อหนังสือใหม่ที่ไม่มีในห้องสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ การกระจายหนังสือยังห้องสมุด ต่างๆ และปีพิมพ์ของหนังสือ คาสาคัญ : การพัฒนาทรัพยากรห้องสมุด, รายการบรรณานุกรมของห้องสมุด, หนังสือ, เกษตรกรรม
191
ABSTRACT The purposes of this study were (1) to create referral database of agricultural new books (2) to study the usage of new book bibliographic data in cataloging (3) to evaluate Maejo University new book collection. Bibliographic data of new books from 14 libraries was collected. The results were as follows: 1. The database was created and was presented at http://library.mju.ac.th:8080/agtxt. It consisted of 1,316 titles based on Ulibm library software. 2. Transfer of new book data to Horizon database using ISO-2709 format is well done with the pros of reducing librarian task, work time, and increasing data quality. Some data quality problems were found concerning the areas of MARC format, cataloging data, and typing format. 3. Evaluation new books statistics between Maejo University Library and Kasetsart University Library were analyzed on new book quantity, duplicated titles, and uniqued titles provided only its library. Evaluation new books statistics between 14 Libraries were analyzed on new book quantity, books that unavailable in Maejo University Library, new books received in libraries, and imprinted year of new books. Keyword : Collection development, Library catalogs, Books, Agriculture บทนา บริการรายชื่อหนังสือใหม่ของห้องสมุดช่วยให้ผู้ใช้ทราบว่าห้องสมุดมี หนังสือใหม่ๆ รายการใดมาบริการ ติดตามสภาพการณ์ แนวโน้มวิทยาการใหม่ๆ ได้ และยังช่วยบรรณารักษ์ในการจัดหาหนังสือใหม่เข้าห้องสมุด นอกจากนี้แนวคิดใหม่ๆ ในการให้บริการสารสนเทศที่เน้นการเข้าถึงสารสนเทศอันเป็นการขยายขอบเขตไปยัง ทรัพยากรนอกเหนือที่ห้องสมุดถือครอง ทาให้ห้องสมุดสามารถบริการข้อมูลเชิ งอ้างอิงที่ผู้ใช้จะทราบและเข้าถึง ข้ อ มู ล ในแหล่ ง ข้ อ มู ล นอกเหนื อ ห้ อ งสมุ ด ของตนได้ ประกอบกั บ ปั จ จุ บั น ข้ อ มู ล บรรณานุ ก รมเป็ น รู ป แบบ อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถถ่ายโอนข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูลบรรณานุกรมหนังสือของห้องสมุดได้สะดวก แต่ก็อาจมีปัญหา เชิงคุณภาพของข้อมูลดังกล่าว ผูว้ ิจัยจึงสนใจศึกษาวิจัยเรื่องนี้ วัตถุประสงค์ (1) เพื่อสร้างฐานข้อมูลเชิงอ้างอิงรายการหนังสือใหม่สาขาการเกษตรของห้องสมุดสาคัญในไทย
192
(2) เพื่อศึกษาการนาข้อมูลรายการบรรณานุกรมรายชื่อหนังสือใหม่ไปใช้ในฐานข้อมูลโปรแกรมห้องสมุด อัตโนมัติ และปัญหาเชิงคุณภาพของข้อมูล (3) เพื่อประเมินทรัพยากรสารสนเทศสาขาเกษตรศาสตร์รายชื่อใหม่ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และของ ห้องสมุดต่างๆ ในภาพรวม ขั้นตอน และวิธีการดาเนินการ ด าเนิ น การรวบรวมข้ อ มู ล ประชากรคื อ รายการบรรณานุ ก รมรายชื่ อ หนั ง สื อ ใหม่ จ ากห้ อ งสมุ ด สถาบันอุดมศึกษาที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย 13 แห่ง และจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่เป็นกรณีศึกษาอีก 1 แห่ง รวม 14 แห่ง โดยรวบรวมข้อมูลจากห้องสมุดแม่โจ้ที่เป็นแหล่งกรณีศึกษา และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่เป็นแหล่งเปรียบเทียบ เป็นเวลา 1 ปี (ม.ค.-ธ.ค. 2555) และรวบรวมข้อมูลจากห้องสมุดต่างๆ 14 แห่งเพื่อศึกษาในภาพรวมเป็นเวลา 4 เดือน (ก.ย.-ธ.ค. 2555) เครื่องมือที่ใช้คือโปรแกรม CDS/ISIS, Ulibm, Qedit สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 1. การรวบรวมบรรณานุกรมและสร้างฐานข้อมูลเชิงอ้างอิงรายชื่อหนังสือใหม่สาขาการเกษตร ดาเนินการ แล้วเสร็จ มีข้อมูลทั้งสิ้น 1,316 รายชื่อ (ปัจจุบันข้อมูลมากขึ้น) บริการด้วยโปรแกรม Ulib เว็บ ณ เว็บไซต์ http://library.mju.ac.th:8080/agtxt/ ในการนี้ใช้แนวทางการสร้างระเบียนข้อมูลโดยนาข้อมูลรูปแบบ MARC ลักษณะที่แยกเขตข้อมูล (tagged format) ในแฟ้มข้อมูลข้อความ (text file) แปลงผันเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลที่ใช้ งาน ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Rajendiran, Parihar and Deshpande (2007) โดยข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบ มาตรฐาน มาตรฐาน MARC format และ ISO-2709 เป็นคุณสมบัติและเงื่อนไขสาคัญในการสร้างฐานข้อมูลครั้งนี้ 2. การศึกษาการนาข้อมูลรายการบรรณานุกรมรายชื่อหนังสือใหม่ ไปใช้ประโยชน์ 2.1 การนาข้อมูลรายชื่อหนังสือใหม่ไปใช้ในฐานข้อมูลโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติ Horizon ทดลองนา ข้อมูลเข้าตามมาตรฐาน ISO-2709 ได้สะดวก 2.2 ข้อดีของการถ่ายโอนข้อมูลไปใช้งาน มีหลายประการคือ (1) ลดภาระการบันทึกข้อมูล (2) ข้อมูลมี รายละเอียดสมบูรณ์มากขึ้น (3) ข้อมูลบางรายการมีสารบาญหรือบทคัดย่อ (4) ข้อมูลได้ถูกบรรณาธิกรเบื้องต้น โดย ข้อ (1) และ (2) สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Rajendiran, Parihar and Deshpande (2007) แต่ไม่สอดคล้อง กับประเด็นที่ว่าไม่จาเป็นต้องอาศัยบุคลากรที่มีความชานาญด้านการทารายการ เพราะแนวทางวิจัยครั้งนี้มีภาระ งานบรรณาธิกรข้อมูลเบื้องต้นเพื่อแก้ไขข้อมูลให้เป็นแบบแผนเดียวกันและต้องใช้บรรณารักษ์ที่มีทักษะ อนึ่ง แม้ การสร้างข้อมูลจากการสาเนาข้อมูลจากแหล่งอื่น (copy catalog) สะดวกรวดเร็วขึ้น แต่สภาพปัจจุบันก็ยังพบว่ามี บรรณารักษ์ที่นิยมลงรายการข้อมูลเองหรือนาข้อมูลจากแหล่งภายนอกมาใช้เพียงบางส่วน อาจเนื่องจากสาเหตุ เช่น ขาดทักษะในการใช้วิธีถ่ายโอน ขาดแหล่งกลาง (เช่น สหบรรณานุกรม) ที่จะค้นหาจุดเดียว ขาดแหล่ง สารสนเทศที่มีข้อมูลต้นแบบคุณภาพดี และขาดซอฟต์แวร์ที่นาข้อมูลทั้งระเบียนเข้าระบบได้สะดวก 2.3 ปัญหาเชิงคุณภาพของข้อมูล พบปัญหาเกี่ยวกับ (1) ปัญหารูปแบบข้อมูลตามมาตรฐาน MARC format (1.1) เขตข้อมูลที่ห้องสมุดต่างๆ ใช้ต่างกัน (1.2) ข้อมูล indicator แตกต่างกัน (1.3) ข้อมูลเขตข้อมูล ค่าคงที่ Tag 008 Fixed field (2) ปัญหาการลงรายการทางบรรณารักษศาสตร์ (2.1) ความผิดพลาดในการลง
193
รายการ (2.2) ความผิดพลาดในการวิเคราะห์และจัดทาหัวเรื่อง (2.3) การลงรายการเอกสารรายงานการประชุม สัมมนา (2.4) การลงรายการเอกสารรายงานประจาปี และเอกสารต่อเนื่อง (2.5) การลงรายการเอกสารรายงาน การวิจัย และวิทยานิพนธ์ (3) ปัญหารูปแบบการพิมพ์ โดยปัญหาของข้อมูลที่เกี่ยวกับรูปแบบ MARC และการทารายการตามหลักการบรรณารักษศาสตร์ จาเป็นต้องมีการตรวจสอบและบรรณาธิกรข้อมูลที่แตกต่างกันให้เป็นแนวทางเดียวกัน เพื่อให้ข้อมูลถูกต้อง มีความ สมบูรณ์ มีความสม่าเสมอในการทารายการ ซึ่งสอดคล้องกับข้อเสนอในการประเมินคุณภาพฐานข้อมูลของ Jasco (1997) ที่มีหลักเกณฑ์ 4 ประการ ในจานวนนี้มี 2 ประการที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของตัวเนื้อหาข้อมูลรายการ บรรณานุกรม คือ ข้อ (3) ความถูกต้องของข้อมูล เช่น การพิมพ์ การสะกดคา และ ข้อ (4) ความสม่าเสมอของการ ลงรายการข้อมูล และความสมบูรณ์ของข้อมูลในระเบียนข้อมูล ปัญหาคุณภาพข้อมูลนี้จาเป็นต้องแก้ไขโดย กระบวนการบรรณาธิกรข้อมูล ซึ่งปัญหานี้ไม่เพียงเกิดขึ้นกับการสร้างฐานข้อมูลครั้งนี้ เท่านั้น แต่ยังจะเกิดขึ้นกับ ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมที่นาข้อมูลจากห้องสมุดต่างๆ มารวมกันด้วย ปัญหาการทารายการเอกสารบางชนิดที่พบปัญหามากคือ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ รายงานประจาปี เอกสารการประชุ ม สั ม มนา ซึ่ ง มี ก ารลงรายการแตกต่ า งกั น ปั ญ หานี้ ส ะท้ อ นถึ ง ความรู้ ความเข้ า ใจทาง บรรณารักษศาสตร์ที่ต่างกัน ควรมีความร่วมมือกาหนดมาตรฐานทางาน และฝึกอบรมความรู้ความเข้าใจ 3. การประเมินทรัพยากรสารสนเทศสาขาเกษตรศาสตร์รายชื่อใหม่ 3.1. การประเมินทรัพยากรสารสนเทศรายชื่อใหม่ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เทียบกับห้องสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พบว่า (1) สัดส่วนหนังสือใหม่ที่จัดหาใน 1 ปี ห้องสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้จัดหาได้ เท่ากับร้อยละ 76.27 ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จัดหาได้ (ฐาน 100%) (2) สัดส่วนหนังสือซ้ารายการ ห้ อ งสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ จั ด หาใน 1 ปี แ ละที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม เท่ า กั บ ร้ อ ยละ 15.08 ของห้ อ งสมุ ด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ฐาน 100%) (3) สัดสวนหนังสือหาได้เฉพาะแห่ง หนังสือใหม่ที่มีในห้องสมุด มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ แ ต่ ไ ม่ มี ใ นมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ จ านวน ต่ อ หนั ง สื อ ใหม่ ที่ มี ใ นห้ อ งสมุ ด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์แต่ไม่มีในห้องสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เท่ากับ 1:3 หากพิจารณาเพียงข้อ (1) การจัดหา หนังสือใหม่ จะมีค่าสูง (76.27) แต่ข้อมูลดังกล่าวเป็นเพียงสถิติ 1 ปี ไม่ได้นาคอลเลคชันที่มีอยู่เดิมมาคานวณ เมื่อ พิจารณาสถิติข้อ (2) หนังสือซ้ารายการกัน จะมีค่าต่า (15.08) คือหนังสือที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีบริการ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้มักไม่มีบริการ ส่วนการพิจารณาสถิติข้อ (3) หนังสือหาได้เฉพาะแห่ง จะมีค่าต่า 1 : 3 ดังนั้นผู้วิจัยมีความเห็นว่า การประเมินโดยการเปรียบเทียบ หากใช้เฉพาะสถิติเพียงบางข้อ อาจทาให้หลงผิดและ ไม่ได้ภาพครบถ้วน 3.2. การประเมินทรัพยากรสารสนเทศใหม่ๆ ของห้องสมุดต่างๆ ในภาพรวม พบว่า (1) จานวนหนังสือใหม่จากห้องสมุดต่างๆ 14 แห่งในช่วง 4 เดือน (ก.ย.-ธ.ค. 2555) มี 983 รายชื่อ ห้องสมุด 3 ลาดับแรกคือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ร้อยละ 22.58) มหาวิทยาลัยมหิดล (ร้อยละ 18.41) มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (ร้อยละ 16.48) เป็นที่น่าสังเกตว่าบางมหาวิทยาลัยไม่มีชื่อเสีย งรู้จักว่าเกี่ยวข้องกับการเกษตร เช่น มหิดล ศิลปากร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มีหนังสือสาขานี้จานวนมาก ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะการวิจัยครั้ง นี้นิยามสาขาการเกษตรว่า ครอบคลุม สาขาใกล้เคียงหรื อเกี่ยวข้ องไว้ด้วย รวมทั้ ง
194
มหาวิ ท ยาลั ย ดั ง กล่ า วอาจมี ก ารเรี ย นการสอนสาขานี้ โ ดยที่ บุ ค คลทั่ ว ไปไม่ ท ราบ เช่ น สั ต วศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีการเกษตร วิศวกรรมการเกษตร เทคโนโลยีอาหาร เป็นต้น (2) รายชื่อหนังสือใหม่จากห้องสมุดต่างๆ 907 รายชื่อ เมื่อตรวจสอบกับฐานข้อมูลห้องสมุดมหาวิทยาลัย แม่โจ้พบว่าไม่มีในฐาน 579 รายชื่อ (ร้อยละ 63.83 จากยอดฐานที่ใช้คานวณคือ 907 รายชื่อ) เมื่อพิจารณารายชื่อ ดังกล่าวพบว่ามีหลายรายการเป็นหนังสือที่มีคุณค่าและเนื้อหาเชิงอ้างอิง สถิติ แผนและนโยบาย เอกสารคู่มือ หนังสือที่มีเนื้อหาแปลกใหม่หรือไม่ค่อยมีการเขียนเผยแพร่ ผลงานวิจัยหรือวิทยานิพนธ์ที่ให้ ข้อมูลในภาพรวมหรือ เชิงลึก และควรจัดหาเข้าห้องสมุด (3) การกระจายของหนังสือใหม่สาขาการเกษตรในห้องสมุดต่างๆ พบว่า มีหนังสือที่พบในห้องสมุดเพียง 1 แห่ง (ร้อยละ 75.99) รองลงมาคือพบในห้องสมุด 2-3 แห่ง (ร้อยละ 19.93) และพบในห้องสมุด 4-5 แห่ง (ร้อย ละ 3.86) ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม ค่าสถิตินี้ไม่ควรนาไปใช้อ้างอิง เพราะระยะเวลาจัดเก็บข้อมูลค่อนข้างน้อย ไม่ได้ตรวจสอบว่าหนังสือที่มีอยู่ในห้องสมุดก่อนหน้าระยะเก็บข้อมูลวิจัย ห้องสมุดต่างๆ อาจจัดหาหนังสือดังกล่าว ในอนาคต ซึ่งจะทาให้สถิติการพบหนังสือในห้องสมุดมากแห่งมีค่ามากขึ้น (4) ปีพิมพ์ของหนังสือที่พบมากคือ หนังสือปี 2554 (ร้อยละ 27.06) หนังสือปี 2555 (ร้อยละ 20.75) และหนังสือก่อนปี 2550 (ร้อยละ 18.31) ตามลาดับ สัดส่วนปีพิมพ์ 2550-2555 รวมกันร้อยละ 81.27 สอดคล้อง กับลักษณะความต้องการของผู้ใช้ทั่วไปที่ต้องการหนั งสือใหม่ ซึ่งจะมีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย นอกจากนี้ยัง อาจเกี่ยวข้องกับการที่หนังสือปีพิมพ์ใหม่ๆ มีการวางจาหน่ายและจัดซื้อได้ง่ายกว่าปีพิมพ์เก่าๆ ที่อาจหมดสต็อกแล้ว หรือไม่วางจาหน่ายตามร้านค้าทั่วไป ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยครั้งนี้ (1) ห้องสมุดแต่ละแห่งควรจัดบริการรายชื่อหนังสือใหม่ประจาเดือน บริการ (2) การทางานให้รองรับมาตรฐานข้อมูลรายการบรรณานุกรม เช่น AACR2, MARC format, ISO-2709 ช่วยให้การถ่ายโอนและแลกเปลี่ยนข้อมูลกระทาได้สะดวก (3) การทารายการเอกสารของห้องสมุดต่างๆ ควรลง รายการทางบรรณานุกรมที่ละเอียดขึ้น มีมาตรฐาน มีการจัดทาคู่มือและฝึกอบรมบุคลากร ซึ่งจะช่วยในการ รวบรวมบรรณานุกรมมาสร้างฐานข้อมูลเฉพาะทาง หรือฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม (4).ฐานข้อมูลกลาง สห บรรณานุกรม หรือฐานข้อมูลที่เป็นแหล่งรวมข้อมูลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ควรมีการพัฒนาให้มีข้อมูลที่มีคุณภาพ การนาไปใช้ประโยชน์ 1. สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ สามารถใช้ข้อมูลเป็นพื้นฐานในการวางแผนพัฒนาคอลเลคชัน ใช้ ข้อมูลในการสร้างระเบียนข้อมูลหนังสือโดยถ่ายโอนหรือทาสาเนาอย่างรวดเร็ว และใช้ฐานข้อมูลรายชื่อหนังสือใหม่ ห้องสมุดต่างๆ บริการผู้ใช้ในลักษณะฐานข้อมูลเชิงอ้างอิงเพื่อเข้าถึงสารสนเทศแห่งอื่นๆ 2. บรรณารักษ์ นักเอกสารสนเทศ และผู้เกี่ยวข้องกับงานบริการสารสนเทศ และงานสร้างฐานข้อมูล สามารถศึกษาแนวทางสร้างฐานข้อมูล และนาไปประยุกต์ใช้กับสาขาอื่นๆ นอกเหนือจากสาขาการเกษตรได้ 3. ผู้รับผิดชอบงานฐานข้อมูลลักษณะสหบรรณานุกรม และบรรณารักษ์ฝ่ายวิเคราะห์ทรัพยากร สารสนเทศ สามารถทราบลักษณะของข้อมูลและปัญหาการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เข้าด้วยกัน และ หาแนวทางจัดการให้ข้อมูลมีคุณภาพเป็นมาตรฐานเดียวกัน แลกเปลี่ยนข้อมูลและใช้ข้อมูลร่วมกันได้
195
รายการอ้างอิง ประภาวดี สืบสนธิ์. 2533. “การประเมินทรัพยากรสารนิเทศที่จัดหา”. การพัฒนาทรัพยากร สารนิเทศ : เอกสาร การสอน. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ประยงศรี พัฒนกิจจารูญ. 2533. “กระบวนการพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ” การพัฒนาทรัพยากร สารนิเทศ : เอกสารการสอน. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. Jasco, Peter. 1997. “Content evaluation of databases”. Annual Review of Information Science and Technology 32 : 231-267. Rajendiran, P., Parihar, Y. S. and Deshpande, Arati U. 2007. “Automated bibliographic record capturing from web OPAC and online bibliographic database for library cataloguing in LibSys”. Annals of Library and Information Studies. V. 54 (September) : 140-145.
196
เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ The Library Network in Northeast of Thailand ไชยวั ฒ น์ วงค์ สุ ว รรณ์ * สมพงษ์ เจริ ญ ศิ ริ สั น ติ ภ าพ เปลี่ ย นโชติ ชนั ญ ชิ ด า สุ ว รรณเลิ ศ วิ ร าวรรณ ศิ ริ ว งษ์ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม e-mail : chavarit.w@msu.ac.th*
บทคัดย่อ การศึ ก ษาวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ สร้ า งเครื อ ข่ า ย เชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ย และการใช้ ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือร่วมกัน รูปแบบการดาเนินการสร้าง เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุด โดยการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันและจัดฝึกอบรมการใช้ โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULIbM (Union Library Management) ที่พัฒนาเพื่อมาจัดเก็บ ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดในกลุ่มสมาชิกเครือข่าย เน้นการใช้ทรัพยากรร่วมกันในเครือข่ายและ การประหยั ด งบประมาณในส่วนของคอมพิ วเตอร์ แม่ ข่ า ย (Server) โดยนาหลัก การของ Cloud Computing มาใช้บริหารจัดการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในห้องสมุด โรงเรี ย น โรงพยาบาล ห้ อ งสมุ ด ประชาชน มหาวิ ท ยาลั ย ของรั ฐ และเอกชน ทุ ก จั ง หวั ด ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 151 คน ได้มาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม และแบบบันทึก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุป ผู้เข้าร่วมประชุมและฝึกอบรมเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความพร้อมในการเชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุด จานวน 46 แห่ง มีความพึงพอใจใน เครือข่ายสารสนเทศโดยรวมทุกด้านในระดับมาก และมีการเชื่อมโยงมวลทรัพยากรสารสนเทศใน เครือข่าย จานวน 901,546 รายการ คาสาคัญ : เครือข่ายห้องสมุด, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ , ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM, การใช้ทรัพยากรห้องสมุดร่วมกัน ABSTRACT The purpose of this research is to build the network, link the network and resource sharing of library information resources in the Northeast of Thailand. The methodology in building the information library network by the mutual exchange ideas together and training library automation system, ULibM (Union Library
197
Management). Which developed for the storage of library information resources in the network members. Focuses on resource sharing in the network and save the budget of the host computer (Server) manage by using the concept of Cloud Computing. The sample used in this study by Purposive sampling method are 151 library staffs who work in schools libraries, hospitals libraries, public libraries, including public and private universities libraries. Form every provinces in the Northeast of Thailand. The tool used was a questionnaire and note form. Analyze data using mean and standard deviation. It was found that the attendees and training in the Northeast Library Network from 46 libraries are complete to link information together in the network. The satisfaction in all aspects of the overall is in the high level. And the mass of information resources in a network of 901,546 items are linked together. Keywords : Library Network, Northeast of Thailand, Library Automation ULibM, Resource Sharing บทนา ห้องสมุดถือเป็น แหล่งการเรียนรู้ที่สาคัญประเภทหนึ่ง เพราะห้องสมุดเป็น แหล่งรวบรวมสารสนเทศที่ หลากหลาย สามารถส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และการที่จะให้ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ สมบูรณ์ได้นั้นจะต้องมีการจัดการที่ดี มีระบบการสืบค้นสารสนเทศที่มีคุณภาพ ซึ่งปัจจุบันห้องสมุดทุกระดับ เช่น ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดเฉพาะ และห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ ได้นาเทคโนโลยี สารสนเทศมาปรับใช้ในการดาเนินงานห้องสมุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ปั จ จั ย ส าคั ญ ในการที่ จ ะด าเนิ น งานห้ อ งสมุ ด อั ต โนมั ติ ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพนั้ น บรรณารั ก ษ์ ห รื อ ผู้รับผิดชอบจะต้องเป็นผู้มีความรู้เบื้องต้ นเกี่ยวกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เพื่อให้สามารถนามาปรั บใช้ในการ ด าเนิ น งานห้อ งสมุ ด ได้ แต่ เ นื่ อ งจากผู้ รั บ ผิ ด ชอบห้ อ งสมุ ด ส่ ว นใหญ่ ยั ง ขาดประสบการณ์ ใ นเรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การ ดาเนินงานห้องสมุดอัตโนมัติ ทาให้ไม่สามารถนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาปฏิบัติงานในห้องสมุดได้ มีผลทาให้ไม่ สามารถก้า วได้ ทั น ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงของสั ง คมที่ จ ะต้ อ งปรั บ ปรุ ง ห้อ งสมุ ด หรื อ แหล่ ง สารสนเทศให้ส ามารถ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการได้อย่างสูงสุด สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ซึ่งเป็นห้องสมุดในข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค และได้ดาเนินงานระบบห้องสมุดอัตโนมัติทั้ งภายในระบบห้องสมุดที่ใช้อยู่ และความร่วมมือในระบบห้องสมุด อัตโนมัติห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ตลอดจนความรู้และประสบการณ์การทางานร่วมกัน ทาให้ ทราบปัญหาการดาเนินงานห้องสมุดที่ดาเนินอยู่เป็นอย่างดี
198
จากเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้นาเสนอโครงการเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM เพื่อบริหารจัดการเชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุด อัน นาไปสู่มาตรฐานการพัฒนาระบบฐานข้อมูลห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือร่วมกัน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างเครือข่ายห้องสมุดในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ 2. เพื่อเชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. เพื่อใช้ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดร่วมกัน ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ พื่ อ สร้ า งเครื อ ข่ า ย เชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ย และใช้ ท รั พ ยากรสารสนเทศห้อ งสมุ ด ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือร่วมกัน เริ่มโครงการเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2556 สิ้นสุดโครงการเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2556 ประชากร คือ แหล่งสารสนเทศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยมีหน่วยงานทั้งหมด 87 แห่ง จานวน 151 คน ได้แก่ ห้องสมุดโรงเรียนประจาจังหวั ดและอาเภอ 53 แห่ง จานวน 98 คน โรงพยาบาล 7 แห่ง จานวน 12 คน ห้องสมุดประชาชน 9 แห่ง จานวน 9 คน มหาวิทยาลัยรัฐและเอกชน 18 แห่ง จานวน 32 คน ได้มาโดยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยมีขั้นตอนดาเนินงานดังนี้ 1. วิเคราะห์ปัญหาจากระบบงานกับคณะทางาน และศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อหา แนวคิดและทฤษฎีมาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุด 2. ประชุมวางแผนกับคณะทางานเพื่อกาหนดกลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่างหน่วยงานต่างๆ ที่อยู่ใน ขอบข่ายเครือข่าย 3. ขั้นตอนการออกแบบระบบจัดเก็บข้อมูลไว้เซิร์ฟเวอร์กลาง (Central Server) ที่เดียวโดยใช้หลักการ Could Computing ใช้โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล มายเอสคิวแอล (MySQL) ใช้ภาษาพีเอชพี (PHP) ในการติดต่อ กับฐานข้อมูล ประมวลผลบนระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ (Linux) และติดตั้งระบบห้องสมุดอัตโนมัติ UlibM สาหรับ หน่วยงานในเครือข่ายเพื่อบันทึกรายการทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดเข้าสู่ระบบ 4. ฝึกอบรมการบันทึกรายการทรัพยากรสารสนเทศเข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM ให้กับหน่วยงาน เครือข่ายสมาชิกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 87 หน่วยงาน ในเดือนสิงหาคม 2556 5. เชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดสาหรับห้องสมุดเครือข่ายสมาชิกที่ผ่านการฝึกอบรม โดยระบบ ตรวจสอบการซ้าของระเบียน (Bib) และเพิ่ม Holding Location สาหรับระเบียนที่มีข้อมูล (Bib) ซ้ากัน 6. เก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เข้าร่วมฝึกอบรม โดยแบบสอบถามและแบบบันทึก 7. สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
199
สรุปผลการวิจยั ผลจากการวิจัย เครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้เข้าร่วมเครือข่ายสารสนเทศ ห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความพึงพอใจในเครือข่ายฯโดยรวมในระดับมาก ( X = 4.07) เมื่อจาแนก เป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับดีมาก จานวน 2 ด้าน คือ เนื้อหาสาระของการอบรมตรงกับความต้องการ ( X = 4.60) และวิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหา ( X = 4.51) ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจระดับมาก จานวน 7 ด้าน คือ ในภาพรวมของการอบรมท่านมีความพึงพอใจ ( X = 4.30) รูปแบบการอบรมมีความเหมาะสม ( X = 4.19) ห้องอบรมและอุปกรณ์มีความเหมาะสมและหลังการอบรมท่านได้รับความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ( X = 4.15) เอกสารประกอบการอบรมมีความชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหา ( X = 4.11) ท่านสามารถนาความรู้ความเข้าใจไปใช้ ปฏิบัติงานจริงได้ ( X = 4.08) ระยะเวลาของการจัดอบรมมีความเหมาะสม ( X = 3.75) และด้านที่อยู่ในระดับปาน กลางคือ ก่อนรับการอบรมท่านมีความรู้ความเข้าใจในเครือข่ายสารสนเทศในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ( X = 2.89) ผลจากการติดตามดาเนินงานของเครือข่ายการเชื่อมโยง พบว่า หน่วยงานส่วนใหญ่มีความพร้อมในการ ดาเนินงานเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุด โดยใช้โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมั ติ ULibM มีความต้องการใช้ Cloud Computing (Server) ของมหาวิทยาลัยมหาสารคามร่วมกัน และจัดตั้งเครือข่ายในการให้ความช่วยเหลือ ด้านการติดตั้งระบบ การดูแลในเบื้องต้น จนเป็นเครือ ข่ายสารสนเทศห้องสมุดที่สมบูรณ์ ปัจจุบันมีสมาชิกเชื่อมโยง เครื อ ข่ า ยสารสนเทศห้ อ งสมุ ด เพื่ อ การเรี ย นและการแลกเปลี่ ย นใช้ ท รั พ ยากรสารสนเทศรวมกั น ในภู มิ ภ าค ตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 46 แห่ง มีมวลทรัพยากรสารสนเทศร่วม 901,546 รายการ อภิปรายผล อภิปรายผลจากการดาเนินงานวิจัยเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีผู้เข้าร่วม เครือข่าย คือ หน่วยงานที่มีความต้องการเชื่อมโยงเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดและอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีความพึงพอใจในเครือข่ายสารสนเทศโดยรวมในระดับมาก พบว่าด้านที่มีความพึงพอใจดีมาก คือ เนื้อหาสาระของ การอบรมตรงกับความต้องการ และวิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหา ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจระดับ มากคือ ในภาพรวมของการอบรมท่านมีความพึงพอใจ รูปแบบการอบรมมีความเหมาะสม ห้องอบรมและอุปกรณ์มี ความเหมาะสม หลังการอบรมท่านได้รับความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น เอกสารประกอบการอบรมมีความชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหา ท่านสามารถนาความรู้ความเข้าใจไปใช้ปฏิบัติงานจริงได้ และระยะเวลาของการจัดอบรมมีความ เหมาะสม ส่วนด้านก่อนรับการอบรมท่านมีความรู้ความเข้าใจในเครือข่ายสารสนเทศในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยู่ ในระดับปานกลาง ซึ่ง Dr. Lynn Scott Cochrane ได้กล่าวถึงเหตุผลที่ห้องสมุดในประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะ North Carolina, South Carolina, Pennsylvania, Wisconsin, Virginia และ Ohio ร่วมมือกันเพื่อการให้บริการที่ดีที่สุด ผู้ใช้บริการเข้าถึงข้อมูลได้โดยสะดวกและง่ายที่สุด และดีที่สุด ไปยัง แหล่งข้อมูลให้มากแหล่งที่สุด และมีค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด ผลจากการติดตามดาเนินงานของเครือข่ายการเชื่อมโยง พบว่า หน่วยงานส่วนใหญ่มีความพร้อมในการ ดาเนินงานเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีความต้องการใช้ Cloud Computing ของมหาวิทยาลัยฯ ร่วมกัน ซึ่งสอดคล้องกับบทความของสานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (SIPA) กล่าวว่า สถาบันการศึกษาในประเทศไทยได้นาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเข้ามาใช้งานในมหาวิทยาลัย หรือหน่วยงาน
200
ตนเอง โดยถ้ามองในแง่การใช้งานแล้วทุกระบบห้องสมุดอัตโนมัติจะมีความเป็นมาตรฐานเดียวกัน การทางานมี โมดูลเหมือนกัน ดังนั้นในเมื่อเครือข่ายสื่อสารมีความรวดเร็วขึ้น การทางานของระบบห้องสมุดก็น่าจะนาหลักการ ของ Cloud Computing เข้ามาใช้งานในเครือข่ายระดับจังหวัด ท้องถิ่น ภูมิภาคหรือระดับประเทศได้ อันจะ ก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ประหยัดงบประมาณทั้งในด้านการลงทุนคอมพิวเตอร์แม่ข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้ดูแล ระบบ แอร์ การปรับเปลี่ยนไปสู่เวอร์ชั่นใหม่ของโปรแกรมระบบได้ง่ายขึ้น ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีผู้รับผิดชอบหลักและมีความรู้พื้นฐานทางด้านการดาเนินงานห้องสมุดอัตโนมัติ 2. ควรมีการจัดประชุมสมาชิกในเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดอยูส่ ม่าเสมอ 3. ควรมีการติดตามดาเนินงานห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และให้ความช่วยเหลือเสมือนพี่ช่วย น้อง (Joint Use Library) 4. ในอนาคตควรจัดตั้งคณะกรรมการดาเนินงานความร่วมมือกันของเครือข่ายสมาชิกเครือข่ายในรูปแบบ MOU 5. ควรศึกษาและพัฒนานาไปสู่การจัดทาฐานข้อมูลบรรณานุกรมเสมือนแห่งชาติ (Virtual Union Catalogue) การนาไปใช้ประโยชน์ 1. ควรศึกษาการสร้างเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดให้เข้มแข็งและครอบคลุมทุกภูมิภาคของประเทศและ เกิดเป็นรูปธรรม 2. ควรหาแนวทางในการให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร่วมกัน รายการอ้างอิง กิจติเดช แสงงามม ชัยวัฒน์ ปานสมบัติ. (2546). การวางแผนและสร้างฐานข้อมูลระบบวัสดุคงคลังของภาควิชาอุต สาหการ. พิษณุโลก : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. รุ่งเรือง สิทธิจันทร์. (2555). การพัฒนาการให้บริการทรัพยากรร่วมกันในเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษาจังหวัดมหาสารคาม (MALINET) = Development of the resource sharing services for Mahasarakham library network (MALINET). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : สานักวิทย บริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สมพงษ์ เจริญศิริ, สันติภาพ เปลี่ยนโชติ. (2554). การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยงและให้บริการ ทรัพยากรสารสนเทศ สาหรับห้องอ่านหนังสือคณะในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม : The Development of Library Automation for Connection and Services In Reading Room at Mahasarakham University Faculty. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
201
. (2553). โครงการเชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมือห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดมหาสารคาม ภายใต้การให้บริการเสมือนหนึ่งระบบเดี่ยวระบบเดีย วกัน (Mahasarakham Library Network). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สันติภาพ เปลี่ยนโชติ. (2553). ระบบการค้นคืนสารสนเทศยุคใหม่. ใน 4 ทศวรรษ สานักวิทยบริการมหาวิทยาลัย มหาสารคาม. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2554). Cloud Computing. สืบค้นจาก http://www.sipa.or.th/th/news/detail.php?newID= 1930&&ModuleKey=PRNews , (22 พฤษภาคม 2554) อัจฉรา ศิลปอนันต์. (2546). การพัฒนาระบบงานพัสดุ ครุภัณฑ์เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. Dr. Lynn Scott Cochrane. ผู้อานวยการห้องสมุด มหาวิทยาลัยเดนิสัน (Denison University) ได้บรรยาย เรื่อง “Library Collaboration : Why and How ?” และ “Library Collaboration : HIOLINK Experience” วันที่ 7 มกราคม 2553 ณ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
202
สานักงานเลขานุการยุคใหม่ ทางานอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ New-Age Back Office : How to Provide Effective Support สุ นิ ส า พรหมมณี สานักงานเลขานุการ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร e-mail : sumisaph@nu.ac.th
บทคัดย่อ ส านั ก หอสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร แบ่ ง โครงสร้ า งการบริ ห ารงานออกเป็ น 3 ฝ่ า ย ประกอบด้วย ฝ่ายบริการสารสนเทศ ฝ่ายพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ และสานักงาน เลขานุการ ซึ่งบุคลากรส่วนใหญ่ปฏิบัติงานสังกัดในสองฝ่ายแรก บุคลากรสานักงานเลขานุการแม้ไม่มี หน้าที่ให้บริการโดยตรงกับผู้ใช้บริการ แต่ปฏิบัติภารกิจหลักในการจัดหาสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อ สนับสนุนฝ่าย/งานต่าง ๆ ของสานักหอสมุด ดังนั้น การสร้า งนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกิด จากกระบวนการระดมสมองของทีมงานบุคลากรจึงถูกนามาใช้ในการปฎิบัติงานการเงินและพัสดุ และ งานธุรการ ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนพื้นฐานกระบวนการทางานบนกระดาษสู่กระบวนการทางานแบบ ออนไลน์ที่สามารถรายงานผลทันทีตามเวลาจริงและลดขั้นตอนการปฏิบัติงานแบบเดิม คาสาคัญ : นวัตกรรม, การทางานเป็นทีม, บุคลากรสายสนับสนุนม สานักงานเลขานุการ ABSTRACT Naresuan University Library is composed of three main department including Department of Information Service; Department of Acquisitions and Cataloging and Office of the Secretary or Back office. Although the Back Office staff do not directly deliver services to the library users, we must aim to support the other departments in order to provide the best services. Hence innovation have been created using information technology to improve the working processes of the Back Office staff. Brainstorming and team work processes have been used as tools in creating the innovation for the Finance and Procurement Unit as well as the General Affairs Unit. These resulted in the shifting of paper-based to the online-based working processes. In addition, real-time reports have been generated leading to reduction In the working processes. Keywords: innovation, team work, back office, supportive staff, office of the secretary
203
บทนา บุคลากรห้องสมุดผู้มีหน้าที่ให้บริการควรเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้ทันกับ ความต้องการของผู้ใช้บริการในการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และเป็นปัจจุบันที่ควบคู่กับความก้าวหน้า อย่างไม่หยุดยั้งของเทคโนโลยีสารสนเทศ บุคลากรที่ปฎิบัติงานในส่วนของสานักงานเลขานุการก็ต้องมีการปรับตัว ด้วยการนาเทคโนโลยีหรือนวัตกรรมมาใช้ในการปฏิบัติงานที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทรัพยากรประเภทต่าง ๆ เพื่อ ปรับปรุงและพัฒนางาน รวมถึงการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นทั้งในปัจจุบันและอนาคต สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร แบ่งโครงสร้ างการบริหารงานออกเป็น 3 ฝ่าย ประกอบด้วย ฝ่าย บริการสารสนเทศ ฝ่ายพัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ และสานักงานเลขานุการ โดยแต่ละฝ่ายมีการ ปรับปรุงและพัฒนางานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ทันกับความต้องการที่หลากหลายของผู้ใช้บริการและมุ่งสู่การบรรลุ วิสั ย ทั ศ น์ ของส านั กหอสมุ ด ที่กาหนดไว้ ว่ า “สานั ก หอสมุด เป็ น ศู นย์ ก ลางนวั ต กรรมบริ ก ารเพื่ อ การเรี ย นรู้ ของ สาธารณชน” สานักงานเลขานุการ สานักหอสมุด (Office of the Secretary หรือ Back Office) มีหน้าที่ประสานงาน หน่วยงานภายในและภายนอก และสนับสนุนสิ่งอานวยความสะดวกแก่บุคลากรทุกฝ่าย/งานในการปฏิบัติงานให้ ลุล่วงด้วยดีและมีประสิทธิภาพ ดังนั้น บุคลากรสานักงานเลขานุการ ควรเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในวิชาชีพ ปฏิบัติงานในหน้าที่ที่สอดคล้องกับตาแหน่งงาน ได้แก่ งานธุรการ งานการเงินและพัสดุ งานนโยบายและแผน และ งานอาคารสถานที่ ซึ่งบุคลากรแต่ละงานปฎิบัติงานเป็นทีมด้วยการะดมสมอง แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน รวมถึงความร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมทาที่สานักงานเลขานุการได้รับจากบุคลากรงานเทคโนโลยีห้องสมุด สังกัดฝ่าย บริการ เป็นผู้พัฒนาฐานข้อมูล จนนาไปสู่การปรับเปลี่ ยนจากการทางานบนกระดาษเป็นการบันทึกลงฐานข้อมูล เกิดการสร้างนวัตกรรมที่สามารถนามาใช้เป็นเครื่องมือในการอานวยความสะดวก รวดเร็ว และการได้รับข้อมูลที่เป็น ปัจจุบัน ส่งผลให้การปฏิบัติงานประจาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย ฐานข้อมูลครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลวัสดุ ระบบทะเบียนคุมใบสาคัญทดรองจ่าย ระบบติดตามการใช้งบประมาณ ระบบสารสนเทศสาหรับบุคลากร ฐานข้อมูล การลา ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลด้านนโยบายและแผน และฐานข้อมูลการประกันคุณภาพ (SAR Online) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างนวัตกรรมที่ช่วยแก้ไขปัญหาในการทางานและพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์กรในรูปแบบร่วมคิด ร่วมทา ขั้นตอนและวิธีดาเนินงาน 1. ระบุปัญหาหรืองานที่ต้องการปรับปรุงพัฒนา บุคลากรสานักงานเลขานุการทุกคนสามารถเสนอความ คิดเห็นได้ 2. ประชุมร่วมกับบุคลากรงานเทคโนโลยีห้องสมุด มีการอธิบายขั้นตอนการทางานตามปกติโดยละเอียด พร้อมทั้งชี้ให้เห็นถึงประเด็นปัญหาที่ต้องการแก้ไขหรืองานที่ต้องการปรับปรุงพัฒนา โดยในขั้นตอนนี้ บุคลากรทั้ง สองส่วนต้องมีความเข้าใจที่ตรงกัน
204
3. ออกแบบระบบ บุคลากรงานเทคโนโลยีห้องสมุด นาเสนอแนวทาง ระบบฐานข้อมูลหรือ โปรแกรมที่จะ พัฒนา พร้อมทั้งสอบถามความคิดเห็น ความต้องการอื่นๆ เพิ่มเติม ระหว่างนี้จะต้องพิจารณาว่า การปฏิบัติงาน นั้นๆ เกี่ยวข้องกับระเบียบหรือประกาศต่างๆ หรือไม่ เช่น ระเบียบการเงินและพัสดุ ประกาศกระทรวงการคลัง หาก มีความเกี่ยวข้องกัน ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสอบถามไปยังหน่วยงานที่ผิดชอบหลักของมหาวิทยาลัยว่า การปฏิบัติงาน ด้วยฐานข้อมูล มีผลเหมือนกับการปฏิบัติงานบนกระดาษตามปกติหรือไม่ เช่น การตรวจสอบกับกองคลังของ มหาวิทยาลัยว่า รายงานการตรวจสอบครุภัณฑ์ประจาปีที่จัดทาโดยฐานข้อมูลที่กาลังจะพัฒนาขึ้นนี้ สามารถใช้เป็น รายงานการสารวจครุภัณฑ์ประจาปีตามข้อกาหนดของประกาศกระทรวงการคลังได้หรือไม่ 4. ทดสอบโปรแกรมหรือฐานข้อมูลฉบับร่าง ว่าสามารถแก้ปัญหาหรือปรับปรุงพัฒนางานได้ตรงกับความ ต้องการหรือไม่ 5. แก้ไขปรับปรุงโปรแกรมหรือฐานข้อมูล เมื่อได้ผลการทดสอบเบื้องต้น หากพบข้อผิดพลาด หรือมีความ ต้องการเพิ่มเติมจากผู้ใช้โปรแกรมหรือฐานข้อมูล ผู้พัฒนาจะทาการแก้ไขหรือปรับปรุงให้โปรแกรมหรือฐานข้อมูล ทางานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 6. ใช้งานจริง โปรแกรมหรือฐานข้อมูลที่ได้รับการแก้ไขปรับปรุงจะถูกนามาใช้ปฏิบัติงานจริง ในช่วงแรก จะใช้ควบคู่ไปกับการปฏิบัติงานแบบเดิม เพื่อป้องกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น และเมื่อได้ผลเป็นที่น่าพอใจ ก็จะ ใช้ปฏิบัติงานบนโปรแกรมหรือฐานข้อมูลที่พัฒนาขึ้นเพียงแบบเดียว ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การดาเนินการในขั้นตอนแรกหรือการระบุปัญหานั้นไม่ใช่เรื่องที่สามารถกระทาได้ทันที แต่การที่จะทาให้ บุคลากรมองเห็นปัญหาหรือยอมรับว่ามีปัญหาในงานที่รับผิดชอบอยู่นั้นต้องผ่านกระบวนการปรับวิธีคิด และมุมมอง หรื อ สร้ า งความกล้ า ในการน าเสนอปั ญ หา จากการที่ ส านั ก หอสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร จั ด กิ จ กรรมหรื อ กระบวนการที่เน้นการร่วมคิด ร่วมแสดงความคิดเห็น และยอมรับในความคิดเห็น ซึ่งกันและกัน พบว่า บางปัญหา สามารถร่วมกันแก้ไขได้ด้วยการใช้นวัตกรรมก็จะดาเนินการทันที ขณะที่บางประเด็นอาจเกี่ยวข้องกับนโยบาย ที่ ต้องได้รับการแนะนาจากผู้บริหารเพื่อหาแนวทางแก้ไขต่อไป จากผลการดาเนินการดังกล่าว ทาให้เกิดวัฒนธรรมองค์กรการทางานในลักษณะร่วมคิดและร่วมทา จน กลายเป็นแนวปฏิบัติของบุคลากรส่วนใหญ่ เกิดการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่มีใช้ในการปฏิบัติ งานประจา สามารถ จ าแนกออกเป็ น 2 ส่ ว นใหญ่ ๆ คื อ ระบบฐานข้อ มู ล ด้ า นการปฏิ บั ติ ง านของงานการเงิ น และพั ส ดุ และระบบ ฐานข้อมูลด้านการปฏิบัติงานของงานธุรการ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. งานการเงินและพัสดุ 1.1 ฐานข้อมูลครุภัณฑ์ เป็นฐานข้อมูลที่รวบรวมรายละเอียดครุภัณฑ์ของสานักหอสมุดอย่างครบถ้วน รวมถึงประวัติการซ่อมครุภัณฑ์ สามารถสารวจครุภัณฑ์ประจาปีโดยผ่านระบบบาร์โค้ด ซึ่งช่วยให้ลดขั้นตอนการ ทางาน ค่าใช้จ่าย ระยะเวลา และจานวนบุคลากรที่ทาหน้าที่สารวจครุภัณฑ์ รวมถึงรายงานสรุปผลการสารวจ ครุภัณฑ์ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
205
ภาพที่ 1 ภาพหน้าจอฐานข้อมูลครุภัณฑ์ 1.2 ฐานข้อมูลวัสดุ เป็นฐานข้อมูลที่ใช้สารวจความต้องการใช้วัสดุของแต่ละฝ่า ย/งาน ตามไตรมาสเพื่อ ประมาณการการใช้วัสดุ รวมทั้งรายงานยอดวัสดุคงเหลือเป็นปัจจุบันที่ช่วยลดภาระงานตัดสต๊อกของเจ้าหน้าที่พัสดุ
ภาพที่ 2 ภาพหน้าจอฐานข้อมูลวัสดุ 1.3 ระบบทะเบียนคุมใบสาคัญทดรองจ่าย เป็นระบบคุมเงินสดที่สานักหอสมุดสารองจ่าย แสดงสภาพ คล่องของเงินสดที่เป็นปัจจุบัน
206
ภาพที่ 3 ภาพหน้าจอทะเบียนคุมใบสาคัญทดรองจ่าย 1.4 ระบบติดตามการใช้งบประมาณ เป็นระบบที่หน่วยนโยบายและแผน และหน่วยการเงินและบัญชีใช้ ร่วมกัน โดยหน่วยนโยบายและแผนเป็นผู้บันทึกข้อมูลตามประเภทของงบประมาณที่มหาวิทยาลัยจัดสรรและ หน่วย การเงินและบัญชีเบิกจ่ายงบประมาณต่าง ๆ ผ่านระบบ ทาให้การเบิกจ่ายงบประมาณเป็นไปตามแผนที่กาหนด สามารถรายงานผลการดาเนินงานที่เป็นปัจจุบัน
ภาพที่ 4 ภาพหน้าจอระบบติดตามการใช้งบประมาณ
207
2. งานธุรการ 2.1 ระบบสารสนเทศสาหรับบุคลากร เป็นฐานข้อมูลที่บุคลากรสานักหอสมุดบันทึกผลการปฎิบัติงาน ประจาวัน การอบรม ประชุม สัมมนนา ข้อมูลประวัติส่วนตัว อ่านเอกสาร/จดหมายแจ้งเวียนที่เกี่ยวข้อง หรือ เอกสารต่างๆ ที่ใช้ร่วมกัน
ภาพที่ 5 ภาพหน้าจอระบบสารสนเทศสาหรับบุคลากร 2.2 ฐานข้อมูลการลา เป็นฐานข้อมูลที่บุคลากรใช้เสมือนการเขียนใบลาทุกประเภท ผ่านระบบออนไลน์ จาแนกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนสาหรับผู้บริหาร เพื่ออนุมัติหรือไม่อนุมัติการลา ที่ระบุรายละเอียดต่างๆเพิ่มเติม พร้อมสรุปการลา ประจาปีเพื่อรายงานมหาวิทยาลัยเมื่อสิ้นปีงบประมาณ และส่วนของผู้ใช้งานสาหรับ บุคลากรที่ต้องการลาทุก ประเภท ใช้ผ่านระบบ และจัดพิมพ์เพื่อเสนอขอความเห็นชอบผ่านหัวหน้าฝ่าย/ งาน เบื้องต้น ผู้ใช้งานสามารถดู ประวัติการลาของตนเองพร้อมตรวจสอบความถูกต้องได้ตลอดเวลา
ภาพที่ 6 ภาพหน้าจอระบบฐานข้อมูลการลา 2.3 ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ เป็นระบบจัดเก็บเอกสารทุกประเภทที่รับเข้าสานักหอสมุด ทาให้งาน ธุรการสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์นี้สามารถส่งข้อมูลข่าวสารให้
208
บุคลากรพร้อมกันทั้งสานักหอสมุด หรือ บางคนและบางกลุ่มที่เกี่ยวข้อง และช่วยค้นหาเอกสารที่ต้องการได้ในเวลา อันรวดเร็ว จากการออกแบบการใช้งานได้ทั้งเจ้าหน้าที่ธุรการและบุคลากรสานักหอสมุด
ภาพที่ 7 ภาพหน้าจอระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ 2.4 ฐานข้อมูลด้านนโยบายและแผน รวบรวมข้อมูล รายละเอียด เอกสารที่เกี่ยวข้องกับนโยบายและแผน ที่บุคลากรทุกคนสามารถนาข้อมูลไปใช้ประโยชน์ได้ โดยจาแนกเป็นส่วนของผู้บริหาร ผู้ใช้งานทั่วไป และผู้บริหาร จัดการข้อมูล สามารถเรียกดูข้อมูลแยกเป็นรายปีงบประมาณได้
ภาพที่ 8 ภาพหน้าจอฐานข้อมูลด้านนโยบายและแผน
209
2.5 SAR Online เป็นฐานข้อมูลที่เก็บรวบรวมหลักฐานอ้างอิง ประกอบการดาเนินการประกันคุณภาพ โดยคณะกรรมการประเมินตรวจสอบสามารถตรวจประเมินและให้ข้อเสนอแนะผ่านระบบออนไลน์ บุคลากรทุกคน สามารถดูผลการประเมินได้ตลอดเวลา
ภาพที่ 9 ภาพหน้าจอฐานข้อมูล SAR Online การนาไปใช้ประโยชน์ นวัตกรรมที่พัฒนาโดยสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ทุกรายการดังกล่าวเป็นนวัตกรรมเทคโนโลยี สารสนเทศที่เพิ่มประสิทธิภาพและลดขั้นตอนในการปฎิบัติงาน Back office ผู้บริหารสามารถพิจารณาข้อมูลที่ช่วย ในการตัดสินใจจากการรายงานผลในทันทีโดยนวัตกรรมดังกล่าว สามารถไปประยุกต์ให้กับหน่วยงานสนับสนุนของ องค์กรอื่น ๆ ได้ บรรณานุกรม สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร. (2555). นโยบายการบริหาร สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร. ในช่วงปี พ.ศ. 2555 - 2559. พิษณุโลก : สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร. สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร. (2556). แผนพัฒนาบุคลากรสานักหอสมุด มหาวิทยาลัย นเรศวร. 2556 2559. พิษณุโลก : สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร.
210
Office Timeline เครื่องมือสาหรับการบริหารจัดการแผนการปฏิบัติงานและ โครงการของหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร Office Timeline : Tool for the action plan and project management of Sanamchandra Palace Library, Central Library, Silpakorn University จั น ทร์ เ พ็ ญ กล่ อ มใจขาว* สมปอง มิ ส สิ ต ะ หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร kchanpen@su.ac.th
บทคัดย่อ หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สานัก หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้นา Office Timeline (Free edition) เข้ามาจัดการแผนการปฏิบัติงาน (Action Plan) และโครงการประจาปี ภายในหน่วยงาน โดยมีขั้นตอนการติดตั้งใน 4 ลักษณะคือ 1) สร้างแผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) และ Timeline ด้วยการปักหมุด (Milestone) และกาหนดการดาเนินงาน (Task) ตามช่วงเวลาที่ กาหนดในแผนการปฏิบัติ งานและโครงการที่มีในหอสมุ ดทั้งหมด เพื่ อให้เห็นภาพรวม 2) สร้า ง แผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) และ Timeline ของแผนการปฏิบัติงานและโครงการ โดยเจาะลึกลง ไปในแต่ละโครงการด้วยการปักหมุด (Milestone) และกาหนดการดาเนินงาน (Task) เพื่อให้ทราบ ช่วงเวลาของแต่ละแผนการปฏิบัติงานและโครงการ 3) ทาการ Attacth File ข้อมูลต่างๆ ที่จาเป็นใน แต่ละโครงการผ่าน Google Drive และ 4) ทาการ save ไฟล์ จะ save เป็น Powerpoint show เพื่อให้สามารถเข้าถึงแผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) และ Timeline ได้แบบ Slideshow ที่สามารถ เชื่อมโยงไฟล์ข้อมูลที่แนบ (attach) มาได้ คาสาคัญ : Office Timeline, การบริหารโครงการ, การจัดการเอกสาร ABSTRACT Sanamchandra Palace Library, Silapakorn University, has been doing the action plans and annual projects within its office by installing 4 Office Timelines (Free Edition) ; 1) create Gantt Chart and Timeline by Milestone and specify tasks by the Action Plan and all the projects in order to see overall of the Library., 2) create Gantt Chart and Timeline of the Action Plan and Projects by Milestone and specify tasks in order to identify time of each Action Plan and Project., 3) Attach necessary
211
information files of each project via Google Drive, and 4) Save files as Power Point Shows in order to access to Gantt Chart and Timeline as slideshow attachment. Keywords : Office Timeline, Project management บทนา เวลาจานวน 24 สี่ชั่วโมง ใน 1 วัน เป็นสิ่งที่โลกกาหนดให้ทุกคนมีเท่ากัน ในความเท่ากัน หอสมุด พระราชวังสนามจันทร์ สานักหอสมุดกลาง ได้ใช้แผนการปฏิบัติงานหรือโครงการมาช่ วยจัดการเวลาสาหรับการ ทางาน เพื่อแสดงผลลัพธ์และความก้าวหน้าขององค์กรซึ่งเป็นความภาคภูมิใจในความรู้สึก และสะท้อนอย่างเป็น รูปธรรมด้วยตัวเลขคะแนนเพื่อการประกันคุณภาพ แต่ความชื่นชมมักเป็นระยะเวลาสั้นๆ เพราะต่อจากนั้นเราจะใช้ เวลาเพื่อเริ่มต้นใหม่แสวงหาแนวทางการทางานที่คิดว่าดีหรือสมบูรณ์มากกว่าเก่า การทางานที่อาศัยแผนการปฏิบัติงานหรือโครงการมาช่วย มี วงจรชีวิต อยู่ 5 ขั้น ซึ่งแต่ละขั้นมีความ แตกต่างกัน คือ (Cleland and King,1975: 186-189) 1. ขั้นคิดริเริ่มโครงการ (Conceptual Phase) เป็นการริเริ่มแนวคิดโครงการด้วยการศึกษา จากปัญหา หรือการสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นในองค์กร วิเคราะห์เบื้องต้นเกี่ยวกับความเสี่ยงและผลกระทบต่อเวลา ต้นทุนค่าใช้จ่าย และการทางาน รวมทั้งผลกระทบต่อทรัพยากรขององค์กร วิเคราะห์เบื้องต้นเกี่ยวกับความเป็นไปได้ของโครงการที่ เป็นทางเลือกเพื่อหาคาตอบเบื้องต้นว่าควรจะทาโครงการหรือไม่ 2. ขั้นกาหนดโครงการ (Definition Phase) เป็นขั้นวิเคราะห์โครงการให้ลึกว่า โครงการนั้นจาเป็นต้องใช้ ทรัพยากรอะไรบ้าง มากน้อยเท่าใด รวมทั้งกาหนดเวลา ต้นทุนค่าใช้จ่าย และผลงานที่ต้องการให้แน่นอนและ สมจริง กาหนดปัจจัยอื่นๆ ที่ต้องการเพื่อสนับสนุนให้โครงการเกิดขึ้นและดาเนินไปได้ เช่น นโยบายขององค์กร งบประมาณ วิธีการทางาน เป็นต้น ระบุปัญหาข้อขัดแย้งต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในโครงการ ระบุความเสี่ยงและความ ไม่แน่นอนของโครงการด้วย 3. ขั้นผลิต (Production Phase) เป็นขั้นที่จัดทาแผน/โครงการโดยละเอียด ระบุทรัพยากร และวิธีการ บริหารทรัพยากรที่ต้องการมาสนับสนุนกระบวนการผลิต เช่น สินค้าคงคลัง วัตถุดิบ แรงงาน ทุน เป็นต้น มีการ จัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน และแบบฟอร์มเอกสารต่าง ๆ ให้พร้อมใช้งาน เช่น แบบฟอร์มการเบิกจ่ายเงิน บันทึกเวลา ทางาน การเบิกจ่ายพัสดุ เป็นต้น 4. ขั้นปฏิบัติการ (Operational Phase) ในขั้นนี้จะต้องมีการประสานผลิตภัณฑ์ใหม่ของโครงการให้เข้า กับแผนกหรือฝ่ายต่างๆ ขององค์กร เพื่อการนาผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดตามวงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ มีการประเมิน โครงการทางด้านเทคนิค ด้านเศรษฐกิจและสังคม และประเมินระบบสนับสนุนต่างๆ ว่าเพียงพอต่อการปฏิบัติจริง ตามแผน/โครงการหรือไม่ 5. ขั้นปิดโครงการ (Divestment Phase) เป็นขั้นสุดท้ายของวงจรชีวิตโครงการ เป็นการยุติโครงการมีการ ส่งทรัพยากร เช่น คน เครื่องจักร แก่องค์กร หรือโยกย้ายไปโครงการอื่นๆ และสรุปบทเรียนที่ได้จากโครงการเพื่อ การพัฒนาโครงการอื่น
212
ต่อมาจนถึงปัจจุบันวงจรของ PDCA เข้ามาช่วยอธิบายถึงกระบวนการโครงการตั้งแต่แรกจนเสร็จสิ้นและ การมองต่อไป P = Plan ประกอบด้วยการชี้บ่งปัญหา วิเคราะห์ สังเคราะห์ (แนวทางแก้ไข) และวางแผน D=Do การลงมือปฏิบัติ C=Check การควบคุมและประเมินผล และ A=Act กาหนดมาตรฐาน ปรับปรุง พัฒนาและ สรุปผล ไม่ว่าจะใช้ทฤษฎี กฏ กติกา หรือมารยาทใดๆ คาถามที่ต้องตอบคือ จะจัดการกับแผนการปฏิบัติงานหรือ โครงการได้อย่างไรในเวลาที่กาหนด วิธีการใดสามารถจัดเก็บเอกสารที่เดียวและใช้ด้วยกันได้ตลอดเวลา และทางาน อย่างไรให้เห็นทั้งระบบย่อยและภาพกว้างของการดาเนินงานที่ต่างร้อยรัด เติมเต็มและผูกพันจนเป็นภาพรวมของ องค์กร ด้วยการใช้ศักยภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศ และต้องเป็นสิ่งที่บรรณารักษ์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง จากด้วยการใช้เครื่องมือบริหารจัดการโครงการอย่างแผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) ที่อยู่ในกระดาษ หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ได้เลือกใช้ Office Timeline เนื่องจากเป็นโปรแกรมที่สามารถสร้างแผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) หรือ Timeline เพื่อการบริหารจัดการโครงการต่างๆ เป็นโปรแกรมเสริม (Add-in) ของ Microsoft PowerPoint จึงไม่ยากต่อการเรียนรู้ที่จะนาความสามารถของโปรแกรมโดยใส่แผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) หรือ Timeline ส าหรั บ งานหรื อโครงการ อย่ า งละเอี ยดและชั ด เจนมากยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ ยัง ใช้ ในการท าเป็ น Presentation ด้วย PowerPoint ได้อีกด้วย วัตถุประสงค์ เพื่อใช้ Office Timeline เป็นเครื่องมือสาหรับการบริหารจัดการแผนและโครงการของหอสมุดพระราชวัง สนามจันทร์ สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร ขั้นตอนและวิธีดาเนินงาน เมื่อหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ มีการจัดทาแผนการปฏิบัติงานและโครงการต่างๆ ในทุกปีงบประมาณ โดยมีการทาเป็น Gantt Chart หรือ Timeline อย่างกว้างๆ มีเฉพาะระยะเวลาการดาเนินงาน และแผนการที่ ครอบคลุมทั้งปีงบประมาณ แต่มีข้อจากัดในเรื่องของการติดตามเอกสาร การประเมินผล รวมทั้งการเตรียมตัว ดาเนินการ เนื่องจากมีภารกิจที่แยกส่วนไปตามฝ่ายต่างๆที่สังกัด หรือหากเป็นงานที่อยู่ในลักษณะขององค์ รวมจะ แยกไปสู่ที่ผู้รับผิดชอบหลัก ทาให้ไม่เห็นงานที่จะเกิดในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งมีผลเกี่ยวเนื่องไปยังการบริหารบุคลากร งบประมาณ วัสดุ ครุภัณฑ์ และการรายงานผล รวมทั้งในเรื่องของการให้บริการและประชาสัมพันธ์ หากอยู่ใน กระดาษจะเป็นลักษณะเอกเทศไม่เห็นภาพรวมของการทางานทั้งองค์กร จึงได้ทดลองนา Add-In ที่ชื่อว่า Office Timeline มาประยุกต์ใช้ในการทางาน ซึ่งเป็นโปรแกรมสร้างแผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) หรือ Timeline เพื่อ การบริหารจัดการโครงการต่างๆ เป็นโปรแกรมเสริม (Add-in) ของ Microsoft PowerPoint ในเวอร์ชั่น 2007 และ 2010 การติดตั้ง Office Timeline (Free edition) มี 4 ลักษณะคือ 1) สร้างแผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) และ Timeline ด้วยการปักหมุด (Milestone) และกาหนดการ ดาเนินงาน (Task) ตามช่วงเวลาที่กาหนดในแผนการปฏิบัติงานและโครงการที่มีในหอสมุดทั้งหมด เพื่อให้เห็น ภาพรวม
213
ภาพ 1 ช่วงเวลาที่กาหนดในแผนการปฏิบตั ิงานและโครงการ: ภาพรวม 2) สร้าง Gantt Chart และ Timeline ของแผนการปฏิบัติงานและโครงการ โดยเจาะลึกลงไปในแต่ละ โครงการด้วยการปักหมุด (Milestone) และกาหนดการดาเนินงาน (Task) เพื่อให้ทราบช่วงเวลาของแต่ละแผนการ ปฏิบัติงานและโครงการ
ภาพ 2 ช่วงเวลาที่กาหนดในแผนการปฏิบตั ิงานและโครงการ: รายแผน/โครงการ 3) หลังจากที่ได้สร้างแผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) และ Timeline เรียบร้อยแล้ว จะทาการ Attacth File ข้อมูลต่างๆ ที่จาเป็นในแต่ละโครงการได้ด้วย เช่น ข้อมูลโครงการ แบบประเมิน ผลการประเมิน เป็นต้น เพื่อ ความสะดวกและเป็นประโยชน์ในการติดตามความก้าวหน้า รวมถึงการดาเนินโครงการต่างๆ ผ่าน Google Drive
214
ภาพ 3 การ Attacth File 4. ทาการ save ไฟล์ จะ save เป็น Powerpoint show เพื่อให้สามารถเข้าถึงแผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) และ Timeline ได้แบบ Slideshow ที่สามารถเชื่อมโยงไฟล์ข้อมูลที่แนบ (attach) มาได้
ภาพ 4 การเชื่อมโยงไฟล์ข้อมูล ผลการศึกษา จากการนาศักยภาพของโปรแกรม Office Timeline มาใช้พบว่า การทางานระหว่างฝ่ายที่เป็นภารกิจ หลักของหอสมุดฯ คือ ฝ่ายวิเคราะห์และพัฒนาทรัพยากรห้องสมุด ฝ่ายบริการ และฝ่ายโสตทัศนศึกษา นั้นทาให้ เห็นภาพรวม และรายกิจกรรม/โครงการ การแสดงผลเป็นกราฟแท่งในแนวนอน แสดงระยะเวลาของกิจกรรมแต่ละ
215
ขั้นตอน ทาให้เห็นลาดับของแต่ละกิจกรรมที่ต่อเนื่องกัน ทาให้สามารถจัดการเรื่องบุคลากรและจังหวะเวลาในการ ทางานที่ไม่ให้ทับซ้อนกัน และงานธุรการยังสามารถบริหารจัดการในเรื่องของงบประมาณ อาคารและสถานที่ รวมทั้งทาให้ผู้บริหารสามารถติดตามงานและเรียกใช้เอกสารได้ในทันที รวมทั้งยังสามารถนาไปใช้กับงานอื่นเช่น การประกันคุณภาพการศึกษา การจัดทารายงานต่างๆ เป็นต้น การนาไปใช้ประโยชน์ 1. ด้านการบริหารงาน สามารถบริหารจัดการทั้งในเรื่องของงบประมาณ บุคลากรและเวลาได้เป็นอย่างดี 2. ด้านการพัฒนาบุคลากร ทาให้เกิดการแสวงหาเครื่องมือที่เกิดจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีมาใช้ใน งานประจา และเป็นเครื่องมือที่บรรณารักษ์สามารถดาเนินการได้ด้วยตนเอง เสริมสร้างความเชื่อมั่นและให้เกิดการ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 3. ด้านการเพิ่มพูนทักษะด้านเทคโนโลยี จากการศึกษาพบว่าโปรแกรมมีข้อจากัดเนื่องจากเป็น Free edition ที่ไม่สามารถใช้งานได้ในหลายทางเลือก หากมีการประเมินผลการใช้งานแล้วพบว่ามีประสิทธิภาพ และลด เวลาในการเขียนโปรแกรม หรือจัดซื้อในราคาสูงการพิจารณาโปรแกรมที่เป็น Plus Edition มาใช้งานต่ออาจเป็น ทางเลือกหนึ่ง รายการอ้างอิง Cleland, David I., William R. King. (1975). Systems analysis and project management. Tokyo: McGraw-Hill Kogakusha. CowboyManager. (2555). “การจัดการโครงการ ตอนที่ 5 วงจรชีวิตของโครงการ (Project Life Cycle)”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttp://cowboymanager.blogspot.com/2012/10/5-project-lifecycle.html. (วันที่ค้นข้อมูล: 3 พฤศจิกายน 2556).
216
การพัฒนาระบบคลังพัสดุศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ CLM’s Stock System, Walailak University ประเสริ ฐ สี แ ก้ ว เมษา สิ น ทบทอง ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบคลังพัสดุศูนย์บรรณ สารและสื่อ การศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย วลั ย ลั ก ษณ์ ตามวิธี ก ารวงจรพั ฒ นาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) ประกอบด้วย (1) การกาหนดความต้องการของระบบ (System Requirements) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและกาหนดความต้องการของระบบ โดยการจัดประชุมกลุ่มผู้ใช้ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (2) การออกแบบและพัฒนาระบบระบบ (System Analysis & Design) เพื่อ กาหนดองค์ประกอบในส่วนต่าง ๆ ที่สาคัญคือ การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอน (Work Flow) และฟังก์ชั่นการทางานของระบบ (Function) การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างสถาปัตยกรรม (System Architecture) การพัฒนาระบบและส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (Web Interface) เพื่อใช้ในการ ทางาน การแสดงผล และการรายงานผล และ (3) การทดสอบและติดตั้งระบบ เพื่อติดตั้งระบบให้ ผู้ใช้ระบบแต่ละกลุ่มได้ทดลองใช้งานจริงเป็นเวลา 3 เดือน ผลการศึ ก ษาสามารถติ ด ตั้ ง และทดลองใช้ ง านระบบคลั ง พั ส ดุ ใ นเครื อ ข่ า ยอิ น ทราเน็ ต (http://clm.wu.ac.th/clm-stock) ผลการทดสอบความสามารถของระบบพบว่า ระบบสามารถ ทางานได้จริง แต่เนื่องจากยังเป็นช่วงในการเริ่มต้นใช้งานจึงยังต้องปรับปรุงและแก้ไขระบบเพิ่มเติม เพื่อให้รองรับกับการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น ปรับปรุงขั้นตอนการขอยืมพัสดุในบาง ประเภท การปรับปรุงขั้นตอนการออกแบบฟอร์มเพื่อลดการใช้กระดาษให้สะดวกและขั้นตอนน้อยลง และการพัฒนาระบบให้รองรับอุปกรณ์บางประเภทที่ไม่สามารถออกบาร์โค้ดกากับได้ เป็นต้น คาสาคัญ : ระบบคลังพัสดุ, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Keywords : Stock System, Walailak University บทนา ฝ่ า ยผลิ ต และพั ฒนาสื่ อ การศึ กษา ศู น ย์ บ รรณสารและสื่ อ การศึ ก ษาเป็ น หน่ ว ยงานที่ มี หน้ า ที่ ห ลั ก คื อ สนั บ สนุ น การเรี ย นการสอนและสนั บ สนุ น การท างานของหน่ ว ยงานต่ า ง ๆ ในปั จ จุ บั น ฝ่ า ยผลิ ต และพั ฒ นา สื่อการศึกษามีครุภัณฑ์ อุปกรณ์ และพัสดุอยู่ในความครอบครองเป็นจานวนมาก โดยเฉพาะงานบริการสื่อโสตทัศน์
217
ที่มีหน้าที่ในการให้บริการยืม -คืนอุปกรณ์สื่อโสต ฯ ควบคุมอุปกรณ์สื่อโสต ฯ ทั้งในห้องเรียน ห้องประชุม นอก สถานที่ รวมทั้งมีหน้าที่ในการจัดซื้อครุภัณฑ์และให้บริการคลังพัสดุสื่อโสตฯ อื่น ๆ เช่น เครื่องเสียง จอรับภาพ อุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ ซึ่งในการดาเนินงานที่ผ่านมา ฝ่ายผลิตฯ ได้ใช้โปรแกรม Microsoft office ในการจัดเก็บ และบันทึกรายการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการยืม –คืนพัสดุ การตรวจสอบครุภัณฑ์ ฯลฯ ซึ่งทาให้เจ้าหน้าที่ไม่สะดวกใน การทางาน ทั้งทางด้านการบริหารงานคลังพัสดุ การควบคุมพัสดุ การค้นหา และการให้บริการแก่ผู้อื่น ประกอบกับ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ และพัสดุต่าง ๆ ก็มีจานวนเพิ่มมากขึ้นในทุก ๆ ปี ดังนั้นฝ่ายผลิตฯ จึงจาเป็นต้องพัฒนาระบบคลัง พัสดุขึ้น เพื่อทาให้เพิ่มประสิทธิภาพการทางานและสามารถตอบสนองต่อการให้บริการโสตทัศนูปกรณ์อย่างมี ประสิทธิภาพ ระบบคลังพัสดุศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นในรูปแบบ Web-application ภาษาที่ใช้ในการพัฒนาคือ PHP โปรแกรมที่ใช้ในการจัดการฐานข้อมูล คือ MySQL ซึ่งผลของ การพัฒนาระบบฯ นี้อย่างเป็นรูปธรรม จะทาให้ฝ่ายผลิตมีระบบฐานข้อมูล (Database System) ที่สามารถช่วยใน การจัดการพัสดุคงคลัง การเบิก-จ่ายพัสดุ การถือครองพัสดุ การให้บริการยืม -คืนพัสดุ การวิเคราะห์จุดสั่งซื้อ การ จัดเก็บข้อมูลการเคลื่อนย้ายพัสดุ และรายงานต่าง ๆ เพื่อประกอบการวางแผนในการจัดซื้อในปีถัดไป นอกจากนี้ ระบบฯ ที่พัฒนาขึ้นในครั้งนี้ยังจะช่วยลดขั้นตอนการทางานให้กับเจ้าหน้าที่และขั้นตอนการขอใช้บริการของผู้ใช้งาน ทั่วไป ตลอดจนช่วยอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการตรวจสอบข้อมูล ช่วยลดการใช้กระดาษ และทาให้การ ให้บริการของฝ่ายผลิตและพัฒนาสื่อการศึกษามีความสะดวกและเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์การศึกษา 1. เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและกาหนดความต้องการของระบบคลังพัสดุศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา 2. เพื่อวิเคราะห์และออกแบบระบบคลังพัสดุศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาในด้านขั้นตอน (Work Flow) ฟังก์ชั่นการทางาน (Function) โครงสร้างสถาปัตยกรรม (System Architecture) และส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (Web Interface) 3. เพื่อพัฒนา ติดตั้ง และทดสอบระบบคลังพัสดุศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษาในด้านการทางาน การ แสดงผล และการรายงานผล ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ การพัฒนาระบบคลังพัสดุศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้กาหนดวิธีการและ ขั้นตอนการศึกษา โดยยึดหลักพัฒนาตามวิธีการวงจรพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) โดย ซึ่งแบ่งขั้นตอนที่สาคัญเป็น 2 ส่วนคือ 1. การกาหนดความต้องการของระบบ (System Requirements) เป็นการศึกษาเพื่อวิเคราะห์ปัญหาและ กาหนดความต้องการของระบบ โดยการจัดประชุมกลุ่มผู้ใช้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จากบุคคลที่เกี่ยวข้อง 4 คน ได้แก่ หัวหน้าฝ่ายผลิตและพัฒนาสื่อ ช่างเทคนิคผู้รับผิดชอบ การให้บริการสื่อโสตฯ จานวน 2 คน และเจ้าหน้าที่วิเคราะห์ระบบ ในการดาเนินงานครั้งนี้สามารถจัดประชุมได้ 2 ครั้ง จากนั้นจึงนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประชุมมาจัดลาดับความสาคัญเพื่อกาหนดเป็นความต้องการของระบบที่จะ นาไปใช้ในการออกแบบและพัฒนาระบบต่อไป
218
2. การออกแบบและพัฒนาระบบระบบ (System Analysis & Design) เป็นการศึกษาเพื่อกาหนด องค์ประกอบของระบบให้สามารถรองรับคุณลักษณะการทางานที่กาหนดไว้ โดยการจัดประชุมร่วมกันของบุคลากร ผู้เกี่ยวข้องอีกครั้งหนึ่ง เพื่อร่วมกันวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบในส่วนต่าง ๆ ที่สาคัญคือ 2.1 การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอน (Work Flow) และฟังก์ชั่นการทางานของระบบ (Function) 2.2 การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างสถาปัตยกรรม (System Architecture) 2.3 การพัฒนาระบบและส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (Web Interface) เพื่อใช้ในการทางาน การแสดงผล และการ รายงานผล 3. การทดสอบและติดตั้งระบบ เป็นการดาเนินงานเพื่อติดตั้งระบบให้ผู้ใช้ระบบแต่ละกลุ่มได้ทดลองใช้งาน จริง โดยติดตั้งระบบไว้ที่ฝ่ายผลิตเอกสารกลางและทดลองใช้งานเป็นเวลา 3 เดือน เพื่อนารายละเอียดมาปรับปรุง ระบบในระยะต่อไป ผลการศึกษา 1. การการกาหนดความต้องการของระบบ (System Requirements) จากการประชุมในส่วนของเจ้าหน้าที่ที่ดูแลคลังพัสดุ นายช่างเทคนิค และเจ้าหน้าที่ส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อ รับทราบถึงขั้นตอนการทางานเดิม ปัญหาของระบบการทางานที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน ผลจากการประชุม พบว่า ใน การทางานเดิมจะใช้การบันทึกรายการต่าง ๆ โดยใช้โปรแกรม Microsoft office และการจดบันทึกลงในแบบฟอร์ม เช่น ยืม–คืนพัสดุ การตรวจสอบครุภัณฑ์ การจัดเก็บข้อมูลพัสดุ ฯลฯ ซึ่งจะทาให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลคลังพัสดุมีความ ยุ่งยากและไม่สะดวกในการทางาน เนื่องจากการที่ปริมาณพัสดุที่ต้อ งดูแลเพิ่มมากขึ้นทุกปีและในการที่จะค้นหาขอ มูลต่างๆของพัสดุ เช่น ระยะประกัน ข้อมูลบริษัทที่จัดซื้อ อายุการใช้งาน การตรวจสอบการถือครองพัสดุก็ทาได้ยาก เนื่องจากต้องมาค้นเอกสารซึ่งมีจานวนมากและเสี่ยงต่อการที่เอกสารจะสูญหายหรือเสียหาย ซึ่งกว่าจะค้นเจอก็ทา ให้เสี ยเวลาเพิ่มขึ้น และในการขอยืมผู้ใช้บริการจากหน่วยงานภายในต่างๆของมหาวิทยาลัยก็จะต้องมากรอก เอกสารใบขอยืม นาไปยื่นเพื่อขออนุมัติจากต้นสังกัด และนามายื่นที่เจ้าหน้าที่ดูแลคลังพัสดุเพื่อขออนุมัติรับของ ต่อไป ซึ่งจะเป็นกระบวนการหลายขั้นตอนทาให้ไม่สะดวกในการขอใช้บ ริการและผู้ให้บริการ หลังจากได้ทราบถึง ขั้นตอนและปัญหาการทางานของงานพัสดุก็ได้มาวิเคราะห์ร่วมกันในที่ประชุมถึงความต้องการทั้งในส่วนของ เจ้าหน้าที่และผู้ใช้บริการได้รายละเอียดดังนี้
219
(1) ต้องการจัดเก็บรายละเอียดข้อมูลพัสดุ โดยให้สามารถสืบค้นข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ได้ (2) ต้องการดูสถิติรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับพัสดุที่จัดเก็บได้ (3) สามารถรับเข้าพัสดุจากไฟล์ excel ของส่วนพัสดุกลางของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เข้าสู่ระบบได้ (4) สามารถดูการเคลื่อนย้ายสถานที่ตั้งพัสดุที่มีการครอบครอง (5) ผู้ใช้บริการสามรถแจ้งขอยืมและตรวจสอบรายการขอยืมผ่านระบบออนไลน์ได้ (6) ระบบต้องอานวยความสะดวกต่อการวางแผนจัดหาครุภัณฑ์ประจาปี (7) ระบบต้องมีความรวดเร็วในการค้นหาครุภัณฑ์ (8) สามารถจัดเก็บประวัติการซ่อมบารุง (9) ระบบต้องสะดวกต่อการหาจุดติดตั้ง และผู้ครอบครอง (10) รองรับระบบบริการผ่านอินเตอร์เน็ต (11) ระบบต้องสามารถจัดการระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ทันสมัยและมีความปลอดภัย จากปัญหาดังกล่าวสามารถนามาสรุปเป็นความต้องการจาแนกความต้องการตามกลุ่มผู้ใช้งาน และ สามารถกาหนดเป็นคุณลักษณะของระบบที่ชัดเจน เพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาระบบต่อไป รายละเอียดสรุปได้ดัง ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ความต้องการของระบบ (System Requirements) กลุ่มผู้ใช้
คุณลักษณะของระบบ (Specification)
ผู้ควบคมดูแล
การกาหนดค่าเริ่มต้นของระบบ
คลังพัสดุ
สามารถนาเข้าข้อมูลจากฐานข้อมูลกลางของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ในส่วนของข้อมูล บุคลากร ข้อมูลหน่วยงานข้อมูลอาคารและข้อมูลพื้นฐานต่างๆได้
สามารถรับเข้าพัสดุ เป็นการบันทึกข้อมูลรายละเอียดของพัสดุที่มีการจัดเก็บเข้ามาใหม่ ในระบบเป็นครั้งแรก โดยการอัพโหลดไฟล์ ที่มีนามสกุลเป็น .CSV เพื่อบันทึกครั้งละ หลายรายการ
สามารถจัดการข้อมูลพื้นฐานต่างๆ ได้แก่ ข้อมูลประเภทพัสดุ สิทธิ์ข้อมูลผู้ใช้ระบบ ข้อมูล ที่ตั้งพัสดุ ข้อมูลบริษัท ข่าวประกาศ
การรับเข้าพัสดุ
สามารถบันทึกรายการพัสดุ โดยกรอกรายละเอียดต่างๆ รวมถึงสามารถอัพโหลดไฟล์ ภาพพัสดุแต่ละรายการได้
สามารถสืบค้นข้อมูลพัสดุ โดยใช้เงื่อนไขต่างๆ เช่น ค้นจากชื่อพัสดุ บาร์โค้ด serial number
220
กลุ่มผู้ใช้
คุณลักษณะของระบบ (Specification) ประเภทพัสดุ การเบิก/จัดสรรพัสดุ
สามารถบันทึกรายการจ่ายพัสดุให้กับพนักงานเป็นผู้ดูแลหรือถือครองพัสดุนั้นๆ โดย สามารถเก็บรายละเอียดต่างๆ เช่น ผู้ขอเบิก รายการพัสดุที่ถือครอง , ห้อง/อาคารที่ติดตั้ง / สถานที่ที่นาไปใช้ , วัตถุประสงค์ในการขอเบิก
สามารถบันทึกการจ่ายพัสดุโดยการสแกนบาร์โค้ดหรือเลือกจากการค้นหารายการพัสดุ
สามารถรับคืนการถือครองพัสดุ กรณีที่พนักงานลาออกจากการปฏิบัติงานหรือต้องการคืน พัสดุ โดยจะนาพัสดุคืนเข้าคลังพัสดุ
สามารถสืบค้นข้อมูลการถือครองพัสดุของพนักงานได้
การยืมพัสดุ
ผู้ดูแลคลังสามารถบันทึกรายการยืมพัสดุของผู้ใช้กรณีที่ไม่ได้ทารายการขอยืมผ่านระบบ ออนไลน์
สามารถอนุมตั ิรายการขอยืมจากรายการขอยืมพัสดุโดยผู้ใช้ผ่านระบบออนไลน์
สามารถล็อคสิทธิ์การให้ยืมของผู้ใช้ได้
ระบบสามารถแจ้งเตือนผู้ดูแลคลังกรณีที่มีการยืมเกินระยะเวลาที่กาหนด
สามารถรับคืนการขอยืมรายการพัสดุ
สามารถสืบค้นรายการขอยืมตาม ชื่อผู้ยืม วันทีท่ ารายการ เลขที่เอกสาร เป็นต้น
การส่งซ่อมพัสดุ สามารถบันทึกรายการส่งซ่อมพัสดุ สามารถตรวจสอบระยะเวลาประกันของพัสดุแต่ละรายการ กรณีพัสดุอยู่ในช่วงของการ รับประกันจะส่งซ่อมไปยังบริษัทที่รับประกัน แต่ถ้าพัสดุหมดประกันแล้วจะต้องเลือกบริษัท ที่จะส่งซ่อม สามารถรับคืนการส่งซ่อม กรณีอยู่ในระยะการประกันและได้ของชิ้นใหม่มาทดแทนของเดิม
221
กลุ่มผู้ใช้
คุณลักษณะของระบบ (Specification) สามารถเปลี่ยน Serial Number เดิมในระบบได้ สามารถสืบค้นประวัติการซ่อมบารุงของพัสดุแต่ละรายการได้ การทาทะเบียนพัสดุชารุด
สามารถกาหนดให้พัสดุที่เกิดการชารุดจนไม่สามารถใช้งานได้แล้วอยู่ในสถานะชารุดเพื่อรอ การแทงจาหน่ายต่อไป
สามารถสืบค้นรายการพัสดุที่ชารุดหรือหมดอายุการใช้งาน
การแทงจาหน่ายพัสดุ
ผู้บริหาร/หัวหน้า ฝ่าย
สามารถบันทึกรายการขออนุมัติแทงจาหน่ายพัสดุที่มีสถานะชารุดหรือหมดอายุการใช้งาน
สามารถตรวจสอบสถานการณ์ขออนุมัติแทงจาหน่ายพัสดุ
สามารถอนุมตั ิการแทงจาหน่ายที่มาจากการทารายการของผูด้ ูแลคลังพัสดุ
สามารถเรียกดูรายงานต่างๆ ได้แก่ รายงานมูลค่ารวมพัสดุ รายงานการรับเข้าพัสดุ รายงาน อายุการใช้งานพัสดุ รายงานคลังคงเหลือ รายงานการเบิกจ่ายพัสดุจาแนกตามชื่อ ผู้รับผิดชอบ รายงานการถือครองแยกตามอาคาร รายงานการส่งซ่อม รายงานการแทง จาหน่าย รายงานการยืม-คืนพัสดุ รายงานพัสดุที่มีการเคลื่อนย้าย
ผู้ใช้งานส่วนพัสดุ
สามารถดูรายงานการเคลื่อนย้ายพัสดุ
ผู้ใช้ทั่วไป
สามารถส่งคาร้องเพื่อขอยืมพัสดุผ่านระบบออนไลน์ โดยสามารถขอยืมพัสดุได้ครั้งละหลาย รายการ
สามารถตรวจสอบสถานะการอนุมัติการขอยืมพัสดุ
สามารถพิมพ์ใบคาร้องขอยืมพัสดุได้
สามารถแจ้งเตือนกรณีค้างกาหนดส่งคืนครุภัณฑ์ ให้กับผู้ขอยืมและผู้ดูแลคลังพัสดุได้
สามารถเรียกดูข้อมูลการถือครองพัสดุของตนเองได้
2. การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis & Design)
222
2.1 การออกแบบขั้นตอนและการทางานของระบบ (Work Flow) หลังจากที่ได้ศึกษาถึงกระบวนการทางานและความต้องการของผู้ใช้งานระบบ ผู้วิจัยจึงได้วิเคราะห์ กระบวนการทางานจาแนกตามกลุ่มผู้ใช้งาน โดยแบ่งกลุ่มตามการใช้งานระบบ ซึ่งแบ่งผู้ใช้เป็น 4 กลุ่ม คือ ผู้ ควบคุมดูแลคลังพัสดุ ผู้บริหาร/หัวหน้าฝ่าย ผู้ใช้งานส่วนพัสดุ และผู้ใช้บริการ สรุปกระบวนการทางานของผู้ใช้แต่ ละกลุ่มได้ดังภาพที่ 1-4
(
)
ภาพที่ 1 แสดงขั้นตอนการขอยืมพัสดุ
ภาพที่ 2 แสดงการคืนการถือครองพัสดุ
223
ภาพที่ 3 แสดงการแทงจาหน่ายพัสดุ
ภาพที่ 4 แสดงรายงานการเคลื่อนย้ายพัสดุ หลังจากนั้นผู้วิจัยได้นากระบวนการต่างๆ มาวิเคราะห์เพื่อกาหนดฟังก์ชั่นการทางาน และขั้นตอนการ ทางาน (Work Flow) โปรแกรม เพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาระบบต่อไป ซึ่งฟังก์ชั่นการทางานหลักของระบบคลังพัสดุ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา แสดงไว้ดังภาพที่ 5
/
ภาพที่ 5 แสดงฟังก์ชันการทางานหลักของระบบคลังพัสดุศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา
สาหรับรายละเอียดกระบวนการทางานของแต่ละฟังก์ชั่นหลักสรุปได้ดังภาพที่ 6 ถึง 12
224
/ (
ภาพที่ 6 แสดงการทางานฟังก์ชันการเบิกจ่าย/จัดสรรพัสดุ
(
)
ภาพที่ 7 แสดงการทางานฟังก์ชันการคืนการถือครองพัสดุ
)
225
ภาพที่ 8 แสดงการทางานฟังก์ชันการขอยืมพัสดุ
226
ภาพที่ 9 แสดงการทางานฟังก์ชันส่งซ่อมพัสดุ
serial number
serial number
ภาพที่ 10 แสดงการทางานฟังก์ชันรับคืนการส่งซ่อมพัสดุ
227
/
ภาพที่ 11 แสดงการทางานฟังก์ชันการแทงจาหน่ายพัสดุ
/ · · · · · · · ·
/ ·
ภาพที่ 12 แสดงสิทธิ์การเข้าถึงรายงานจาแนกตามกลุ่มผู้ใช้งาน
2.2 การออกแบบโครงสร้างสถาปัตยกรรมของระบบ (System Architecture)
228
กลไกการทางานของระบบคลังพัสดุศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้ออกแบบ และพัฒนาการทางานให้อยู่ในรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบทรีเทียร์ (Three-Tier Architecture) ซึ่งเป็น สถาปัตยกรรมซอร์ฟแวร์ที่ถูกออกแบบให้แยกออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนลูกข่าย ส่วนแม่ข่ายและส่วนระบบจัดการ ฐานข้อมูล (ดังภาพที่ 13) 2.2.1 ส่วนลูกข่าย การทางานในส่วนของลูกข่ายจะทางานโดยผ่านเว็บเบราเซอร์ที่ทาหน้าที่รับข้อมูลจาก ผู้ใช้งานผ่านคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ง าน จากนั้น ก็จะส่ งข้อมู ลมาทางเครือข่า ยอินเตอร์เ น็ตเพื่ อให้โ ปรแกรมเว็ บ เซิร์ฟเวอร์ประมวลผลแล้วส่งข้อมูลกลับมายังแสดงผลที่เครื่องลูกข่ายอีกครั้ง 2.2.2 ส่วนแม่ข่าย การทางานในส่วนนี้จะเป็นการรับการร้องขอและให้บริการต่างๆ ตามการร้องขอโดยจะ มีการประมวลผลที่เครื่องแม่ข่ายและส่งข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลกลับไปยังส่วนของลูกข่ายในรูปแบบ HTML ไฟล์ โดยมีการติดตั้งซอร์ฟแวร์ คือ ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Window Server 2008 สาหรับเครื่องแม่ข่าย ติดตั้ง โปรแกรมเว็บเซิร์ฟเวอร์ Apache และติดตั้งโปรแกรมทาหน้าที่แปลชุดคาสั่ง PHP 2.2.3 ส่วนระบบจัดการฐานข้อมูล ติดตั้งโปรแกรมจัดการฐานข้อมูล MySQL
/
/ HTML Windows Server 2008 PHP
/
MySQL
ภาพที่ 13 แสดงสถาปัตยกรรมของระบบแบบทรีเทียร์
229
2.3 การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (Web Interface) การออกแบบโครงสร้างหน้าเว็บไซต์ ได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ การออกแบบหน้าจอสาหรับผู้ใช้บริการ และหน้าจอสาหรับเจ้าหน้าที่ 2.3.1 การออกแบหน้าจอสาหรับผู้ใช้บริการ การแสดงผลจะใช้โทนสีที่สะอาดและสบายตาโดยใช้สีพื้นเป็น สีขาวตัดกับเมนูสีแดงเพื่อให้เห็นชัดในการเลือก การจัดวางเมนูก็จะเน้นให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแต่ละเมนูโดยการคลิกที่ จานวนครั้งน้อยที่สุด เมนูก็จะใช้เป็นแถบเมนูด้านบน โดยจะเป็นเมนูที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้งานซึ่งประกอบไปด้วยเมนู หน้าหลัก ยืมพัสดุ สืบค้นรายการขอยืม รายการถือครองพัสดุและออกจากระบบ (ดังภาพที่ 14 และ 15)
ภาพที่ 14 แสดงหน้าจอหลักของผู้ใช้บริการ
230
ภาพที่ 15 แสดงหน้าจอการขอยืมของผู้ใช้บริการ
2.3.2 การออกแบบหน้าจอสาหรับเจ้าหน้าที่ การแสดงผลก็จะเน้นโทนสีที่สะอาดและสบายตาโดยใช้สีพื้น เป็นสีขาวตัดกับเมนูสีฟ้าให้สามารถเห็นได้เด่นชัดในการเลือกเมนู โดยใช้เป็นแถบเมนูด้านบนสามารถเข้าถึงแต่ละ เมนูโดยการคลิกไม่เกิน 3 ครั้ง เนื่องจากเมนูในส่วนการทางานของเจ้าหน้าที่จะมีเมนูที่แยกย่อยค่อนข้างเยอะจึ งได้ จัดเมนูออกเป็นกลุ่มตามกลุ่มฟังก์ชันการทางานเพื่อให้การจัดวางเมนูเป็นระเบียบและง่ายในการเข้าถึงแต่ละเมนู โดยแบ่งเป็นกลุ่มฟังก์ชันการทางานหลักดังนี้ หน้าหลัก ค่าเริ่มต้น พัสดุ เบิกพัสดุ /จัดการพัสดุ ข้อมูลการถือครอง พัสดุ ยืมพัสดุ ส่งซ่อมพัสดุ พัสดุชารุด แทงจาหน่ายพัสดุและรายงาน โดยแต่ละเมนูหลักก็จะประกอบด้วยเมนูย่อย ของแต่ละฟังก์ชันการทางาน (ดังภาพที่ 16 และ 17)
231
ภาพที่ 16 แสดงหน้าจอหลักของเจ้าหน้าที่ดูแลคลังพัสดุ
ภาพที่ 17 แสดงหน้าจอรายการอนุมัติการขอยืมพัสดุของเจ้าหน้าที่ดูแลคลังพัสดุ
232
3. ขั้นตอนการทดสอบและติดตั้ง หลังจากพัฒนาได้มีการติดตั้งและทดสอบระบบ โดยติดตั้งระบบเพื่อใช้งานบนเซิร์ฟเวอร์ที่ใช้งานจริง โดย สามารถเข้าใช้งานระบบโดยผ่านทาง url http://clm.wu.ac.th/clm-stock พร้อมอบรมเจ้าหน้าที่ซึ่งประกอบไป ด้วยเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลคลัง หัวหน้าฝ่ายงานโสตและทัศนูปกรณ์ และนายช่างเทคนิค จานวน 5 คน เป็นเวลา 6 ชั่วโมง ที่ห้องระเบียงบรรณ4 ศูนย์บรรณและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และได้ทาการทดสอบการใช้งานจริง โดยได้แบ่งการทดสอบการเข้าใช้งานระบบผ่านทาง Web Browser 3 ประเภท คือ (1) Google Chrome (2) Internet Explorer และ (3) Mozilla Firefox โดยการทดสอบจะเป็นการทดสอบโดยการป้อนข้อมูลพัสดุ การ Import ข้อมูลพัสดุจากไฟล์ Micorsoft Excel การยืมคืนพัสดุ การแทงจาหน่าย การส่งซ่อมและฟังก์ชันการใช้งาน หลักต่างๆของระบบ สถานที่ทาการทดสอบ คือ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยให้ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและผู้ใช้งานที่เกี่ยวข้องทาการทดสอบ ทั้งนี้ในแต่ละขั้นตอนจะมีการบารุงรักษาและการ ประเมินผลระบบไปด้วย พร้อมกับสารองข้อมูลระบบทุกวันเพื่อป้องกันความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้น
อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ปั จ จุ บั น ระบบคลั ง พั ส ดุ ศู น ย์ บ รรณสารและสื่ อ การศึ ก ษาได้ ติ ด ตั้ ง และทดสอบใช้ ง าน เพื่ อ ทดสอบ ความสามารถของระบบ ทั้งในด้านการทางาน การแสดงผล และการรายงานผล ผลการทดสอบ พบว่า ระบบคลัง พัสดุสามารถทางานได้จริง แต่เนื่องจากยังเป็นช่วงในการเริ่มต้นใช้งานและทดสอบระบบ จึงยังคงมีจุดที่ต้อ งมีการ ปรับปรุงและแก้ไขระบบเพิ่มเติม เพื่อให้รองรับกับการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดในหลาย ๆ ซึ่งจากการ ทดสอบ ปัญหาและอุปสรรคที่พบคือ เนื่องจากระบบในการขอยืมพัสดุในบางประเภทและในบางกลุ่มผู้ขอยืมยังมี ความจาเป็นที่จะต้องมีการอนุมัติจากหัวหน้างานของผู้ขอยื มเอง จึงทาให้จาเป็นจะต้องมีขั้นตอนที่เป็นการนา แบบฟอร์มที่ออกโดยระบบพัสดุเพื่อไปยื่นขออนุมัติจากหัวหน้าของผู้ขอยืมด้วยตัวเอง และในการทางานทางเจ้าหน้า ยังเห็นความสาคัญในการเก็บเอกสารในรูปแบบกระดาษเพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐาน จึงจาเป็นต้องมีการออกแบบฟอร์ม เพื่อนามายืนในการรับอุปกรณ์ ซึ่งยังไม่ได้เป็นการลดการใช้กระดาษไปในขั้นตอนการทางานแต่ระบบจะเป็นการช่วย ในการทาให้ขั้นตอนการขอยืม-คืนสะดวกและลดขั้นตอนลง และในอุปกรณ์บางประเภทไม่สามารถนามาจัดเก็บเข้าสู่ ระบบคลังพัสดุได้เนื่องจากเป็นอุปกรณ์ชิ้นเล็กไม่สามารถออกบาร์โค้ดกากับได้ ดังนั้นระบบปัจจุบันจะจัดเก็บข้อมูลเฉพาะพัสดุของงานบริการโสตทัศนูปกรณ์ซึ่งยังไม่ครอบคลุมพัสดุ ทั้งหมดภายในศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ซึ่งเห็นควรว่าต่อไปจะต้องมีการปรับแก้ ระบบให้มีการจัดเก็บที่ครอบคลุมพัสดุทั้งหมดที่อยู่ในความดูแลของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ เพื่อให้ง่ายในการบริหารจัดการและตรวจสอบ รายการอ้างอิง กิตติพงศ์ ขจรเดชะ. (2547). ระบบจัดการสินค้าคงคลังของโรงงานผลิตบัตรอวยพร. นครศรีธรรมราช : สาขาวิชา การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. ชาญชัย ศุภอรรถกร. (2552). คู่มือจัดการฐานข้อมูล MySQL. กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดีย.
233
ธีรวัฒน์ ประกอบผล. (2552). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System analysis and design. กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดีย. มณธิรา นุชภู่. (2549). การปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบคลังพัสดุ :กรณีศึกษาโรงงานประกอบเครื่องยนต์ การเกษตร. กรุงเทพมหานคร :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิทยบริการ. สมศักดิ์ โชคชัยชุติกุล. (2551). Insight PHP ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น.
234
การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ เพื่อชีวิตอย่างสร้างสรรค์ด้วยกิจกรรม KKU Lib. Cover Dance Contest 2013 Creating an atmosphere of inspirational learning creative activities KKU Lib. ARC Cover Dance Contest 2013 นายิ ก า เดิ ด ขุ น ทด สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น e-mail: nayder@kku.ac.th
บทคัดย่อ พันธกิจหนึ่งในหลายพันธกิจที่สาคัญของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคือ การ เป็นศูนย์กลางการศึกษาเพื่อความบันเทิงและการพัฒนาตนเอง (Inspiration) โดยมีบทบาทในการ พัฒนาแหล่งเรียนรู้เพื่อชีวิต (Inspirational Learning) กิจกรรมหนึ่งที่จัดขึ้นเพื่อสร้างบรรยากาศการ เรียนรู้เพื่อชีวิตอย่างสร้างสรรค์ คือ KKU Lib. Cover Dance Contest 2013 ผลการศึกษาความพึง พอใจและไม่พึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมดังกล่าว พบว่า ความพึงพอใจในภาพรวม ค่าเฉลี่ย 4.42 จากคะแนนเต็ม 5 หรือร้อยละ 88.40 เมื่อวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เข้าร่ วมกิจกรรมจาแนกเป็น รายด้าน พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับมากตามลาดับดังนี้ 1) ด้านความ เหมาะสมของการจัดกิจกรรม ค่าเฉลี่ย 4.27 2) ด้านผลลัพธ์ของการจัดกิจกรรม ค่าเฉลี่ย 4.24 3) ด้านทีมงานจัดกิจกรรม ค่าเฉลี่ย 4.15 และ 4) ด้านการจัดการ ค่าเฉลี่ย 3.96 ส่วนความไม่พึงพอใจ พบว่า ไม่มี กิจกรรมนี้เป็นประโยชน์ ต่อการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้เพื่อชีวิตอย่างสร้างสรรค์ ใน ระดับมาก เป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้รับบริการเข้าใช้สานักวิทยบริการเพิ่มมากขึ้น ทั้งยังเป็นการ ประชาสัมพันธ์สานักวิทยบริการอีกทางหนึ่งด้วย คาสาคัญ: โคฟเวอร์ดานซ์, การเรียนรู้เพื่อชีวิต, การส่งเสริมการเรียนรู้ Abstract One of the many mission critical mission of the Academic Resources Center, Khon Kaen University as a center for edutainment and self-development (Inspiration) has a role in the development of inspirational learning. One event was held to create a learning environment to live creatively is KKU Lib. Cover Dance Contest 2013. The study of satisfaction and dissatisfaction of participants is that the overall average satisfaction score of 4.42 out of five, or 88.40 percent. When analyzing the satisfaction of participants classified it was found that the participants' satisfaction
235
level in the following order: 1) the appropriateness of the activity averaged 4.27 2) the outcome of the event. average 4.24 3) the team event averages 4.15 and 4) managing the average 3.96 dissatisfaction found none. This activity is beneficial to create an atmosphere of creative learning to life on a massive scale. To encourage customers to use the Library more. Moreover, the relations Academic Resources Center another one. Keyword: Cover dance, Inspirational learning, Learning promoting บทนา โลกทุกวันนี้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เนื่องจากได้รับผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ส่งผลให้พฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ของผู้รับบริการห้องสมุดเปลี่ยนแปลงไป จากที่ต้อง เดินทางไปศึกษาค้นคว้าสารสนเทศที่ต้องการในห้องสมุด สามารถค้นหาสารสนเทศที่ต้องการที่ไหน เมื่อไรก็ได้ ผู้ใช้ บางคนจึงไม่จาเป็นต้องเข้าใช้ห้องสมุดอีกต่อไป ส่งผลให้จานวนผู้ใช้ที่เข้าไปใช้บริการห้องสมุดลดลงอย่างมาก ด้วย เหตุนี้สานักวิทยบริการจึงต้องปรับยุทธวิธีการส่งเสริมการเรียนรู้ผู้ใช้ใหม่ โดยยังคงรักษาคุณค่าหลัก (Core value) ในการเป็นศูนย์กลางความรู้อย่างเหนียวแน่น ขณะเดียวกันก็ปรับเปลี่ยนบทบาทของตนมาเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ ตอบสนองความต้องการของคนยุคใหม่ได้อย่างแท้จริง โครงการหนึ่งที่สานักวิทยบริการจัดขึ้นในปีงบประมาณ 2556 คือโครงการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้เพื่อชีวิตอย่างสร้างสรรค์ด้วยกิจกรรม KKU Lib. Cover Dance Contest 2013 ซึ่งผู้เขียนเป็นหัวหน้าโครงการ ดังนั้นกิจกรรม KKU Lib. Cover Dance Contest 2013 ที่นาเสนอครั้งนี้คือ ประสบการณ์ตรงของผู้เขียนที่ได้จากการสร้างนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อการใช้ชีวิตอย่างชาญฉลาดแก่คนยุค ใหม่ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคน Gen Y วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างบรรยากาศการเรียนรู้เพื่อชีวิตอย่างสร้างสรรค์ด้วยกิจกรรม KKU Lib. Cover Dance Contest 2013 อันเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้รับบริการเข้าใช้สานักวิทยบริการเพิ่มมากขึ้น 2. เพื่อสร้างนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อการใช้ชีวิตอย่างชาญฉลาดแก่คนยุคใหม่ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคน Gen Y 3. เพื่อประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ที่ดีของสานักวิทยบริการ ขั้นตอนและวิธีดาเนินการ 1. สารวจความต้องการการจัดกิจกรรมของผู้รับบริการ ซึ่ง ส่วนใหญ่เป็นคน Gen Y ผลการสารวจ ผู้รับบริการมีความต้องการให้จัดกิจกรรม KKU Lib. Cover Dance Contest 2013 2. จัดทาโครงการและขออนุมัติดาเนินโครงการ โดยเสนอข้อมูลที่ได้จากการสารวจความต้องการของ ผู้รับบริการต่อผู้บริหารสานักวิทยบริการประกอบการตัดสินใจ
236
3. ประสานงานผู้เกี่ยวข้องเพื่อเตรียมการจัดกิจกรรม KKU Lib. Cover Dance Contest 2013 4. กาหนดปฏิทินการจัดกิจกรรม เกณฑ์การตัดสินการประกวด KKU Lib. Cover Dance Contest 2013 และจัดเตรียมรางวัลแก่ผู้ชนะการประกวด 5. networks
ประชาสัมพันธ์ ให้สาธารณชนทราบอย่างทั่วถึง ผ่านสื่อการประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ และ social
6. ดาเนินการจัดกิจกรรม KKU Lib. Cover Dance Contest 2013 ตามแผนงานและโครงการที่กาหนด ไว้ ดังนี้ 6.1 รอบคัดเลือก วันที่ 23 สิงหาคม 2556 มีทีมที่เข้าร่วมการประกวด จานวน 15 ทีม 6.2 รอบชิงชนะเลิศ วันที่ 27 สิงหาคม 2556 มีทีมที่เข้าร่วมการประกวด จานวน 9 ทีม 7. ประเมินผลและสรุปผลการจัดกิจกรรม สรุปผลการประเมินและข้อเสนอแนะ จากการประเมินผลการจัดกิจกรรม KKU Lib. Cover Dance Contest 2013 ด้วยการสอบถามความพึง พอใจและไม่พึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม จานวน 200 คน มีผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 172 คน (ร้อยละ 86) ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นนักศึกษามากที่สุด จานวน 153 คน (ร้อยละ 89) รองลงมาเป็นนักเรียน จานวน 7 คน (ร้อยละ 4.07) บุคลากรสายสนับสนุน จานวน 5 คน (ร้อยละ 2.91) อาจารย์ จานวน 4 คน (ร้อยละ 2.33) และเป็นบุคคลภายนอก/ผู้สนใจทั่วไป จานวน 3 คน (ร้อยละ 1.74) ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม KKU Lib. Cover Dance Contest 2013 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม พบว่า ความพึงพอใจในภาพรวม ค่าเฉลี่ย 4.42 จากคะแนนเต็ม 5 หรือร้อยละ 88.40 เมื่อวิเคราะห์จาแนกเป็นรายด้าน ได้แก่ ด้านการจัดการ ด้านความเหมาะสมของการจัดกิจกรรม ด้านทีมงานจัด กิจกรรม และด้านผลลัพธ์ของการจัดกิจกรรม พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในระดับมากตามลาดับ คือ 1) ด้านความเหมาะสมของการจัดกิจกรรม ค่าเฉลี่ย 4.27 2) ด้านผลลัพธ์ของการจัดกิจกรรม ค่าเฉลี่ย 4.24 3) ด้านทีมงานจัดกิจกรรม ค่าเฉลี่ย 4.15 และ 4) ด้านการจัดการ ค่าเฉลี่ย 3.96 สาหรับความไม่พึงพอใจพบว่า ไม่มีผู้ใดตอบว่าไม่พึงพอใจ (ดังตารางที่ 1)
237
ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมต่อการจัดกิจกรรม KKU Lib. Cover Dance Contest 2013 รายการ 1. ด้ำนกำรจัดกำร
ค่าเฉลี่ย ความหมาย 3.96
พอใจ
1.1 สถานที่มีความเหมาะสม
3.92
พอใจ
1.2 สือ่ /อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ร่วมกิจกรรมอย่างเพียงพอ
4.02
พอใจมาก
1.3 ความเหมาะสมของเวลาที่กาหนดไว้
3.94
พอใจ
1.4 การอานวยความสะดวกกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
3.92
พอใจ
1.5 การประสานงานของผูร้ ับผิดชอบโครงการกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
3.99
พอใจ
4.27
พอใจมำก
4.20
พอใจมาก
4.33
พอใจมาก
4.15
พอใจมำก
3.1 ความเอาใจใส่ กระตือรือร้น และเต็มใจให้บริการของทีมงานต้อนรับ
4.06
พอใจมาก
3.2 ความเหมาะสมของพิธีกร/ผู้ดาเนินรายการจัดกิจกรรม
4.18
พอใจมาก
3.3 การประสานงานและความพร้อมของทีมงานผู้จดั กิจกรรม
4.12
พอใจมาก
4.23
พอใจมาก
4.24
พอใจมำก
4.1 กิจกรรมนี้ตอบสนองตรงตามความต้องการของท่าน (โดนใจ)
4.27
พอใจมาก
4.2 ได้รับความจรรโลงใจและความรู้ที่เป็นประโยชน์
4.25
พอใจมาก
4.3 สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้
4.03
พอใจมาก
4.32
พอใจมาก
4.31
พอใจมาก
2. ด้านความเหมาะสมของการจัดกิจกรรม 2.1 กิจกรรมประกวด Cover Dance Contest รอบคัดเลือก 2.2 กิจกรรมประกวด Cover Dance Contest รอบชิงชนะเลิศ 3. ด้ำนทีมงำนจัดกิจกรรม
3.3 การแนะนา/ให้ข้อมูลที่ชดั เจน และตอบข้อสงสัย/ข้อซักถามได้เป็นอย่างดีของ ทีมงานประชาสัมพันธ์ 4. ด้ำนผลลัพธ์ของกำรจัดกิจกรรม Cover Dance Contest
4.4 กิจกรรมนี้เป็นการส่งเสริมการใช้พื้นที่ของสานักวิทยบริการให้นักศึกษาได้ แสดงออก เพื่อสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาให้เป็นผู้มีความคิด สร้างสรรค์และมีความสามารถในการแสดงออกในที่สาธารณะ 4.5 เป็นการเสริมสร้างภาพลักษณ์ของสานักวิทยบริการ ในการเป็นแหล่งเรียนรู้ ชั้นเลิศที่มีกิจกรรมหลากหลาย ทาให้ห้องสมุดมีชีวิตและสนับสนุนพันธกิจด้านการ ผลิตบัณฑิตที่พงึ ประสงค์ของมหาวิทยาลัย ผลการประเมินความคิดเห็นจากคาถามปลายเปิด พบดังนี้ 1. จุดเด่นของกิจกรรมคือ
238
1.1 ภาพรวมการจัดงาน (21 ความคิดเห็น) ได้แก่ จัดงานได้ดีสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์แก่เยาวชน ทา ให้มีคนรู้จักสานักวิทยบริการและอยากเข้ามาใช้บริการที่สานักวิทยบริการมากขึ้น เป็นการสร้างโอกาสให้นักเรียน นัก ศึ ก ษา หรื อ ผู้ ส นใจได้ มี โ อกาสแสดงความสามารถ เป็ น กิ จ กรรมที่ น่ า สนใจ เป็ น การส่ง เสริ ม เวลาว่ า งที่ เ ป็ น ประโยชน์แก่นักศึกษาและเยาวชน ได้เห็นความสามารถที่หลากหลายของผู้เข้าประกวด มีการแข่งขันที่หลากหลาย และมีสีสัน สนุกสนาน 1.2 สถานที่ (17 ความคิดเห็น) ได้แก่ สถานที่แปลกใหม่ ดูไม่เป็นทางการมากแต่ทาให้ผู้ร่วมกิจกรรมทั้งผู้ เข้าประกวดและผู้ชมอินกับบรรยากาศ หาง่าย อยู่ลานด้านหน้าอาคารของห้องสมุด ตั้งอยู่ข้างเส้นทางจราจรหลัก ของมหาวิทยาลัย เวทีเรียกความสนใจของผู้คนที่ผ่านไปมา มีเสียงเพลงเร้าใจ ทาให้มีผู้ชมจานวนมาก สถานที่จัดโดด เด่นดึงดูดความสนใจของผู้สัญจรไปมาได้ดีมาก จัดกลางแจ้งได้อารมณ์ดี เป็นการใช้พื้นที่ส่วนกลางจัดกิจกรรมที่เป็น ประโยชน์ 1.3 พิธีกรและผู้ดาเนินรายการ (10 ความคิดเห็น) ได้แก่ พิธีกรดาเนินรายการดีมาก สามารถดึงดูดความ สนใจของผู้ชมได้เป็นอย่างดี 1.4 ผู้เข้าประกวด (6 ความคิดเห็น) ได้แก่ ผู้เข้าประกวดทุกทีมเต้นดี มีความสามารถมาก มีท่าเต้นที่ หลากหลาย สวย/หล่อ แต่งกายสวยงาม 1.5 ช่วงเวลาจัดกิจกรรม (2 ความคิดเห็น) ได้แก่ จัดงานช่วงเย็นหลังเลิกเรียนดีแล้ว เป็นการใช้เวลาว่างที่ เป็นประโยชน์ จัดงานตอนเย็นอากาศไม่ร้อน 2. สิ่งที่ควรปรับปรุงคือ 2.1 สถานที่ (17 ความคิดเห็น) ได้แก่ ที่นั่งชมไม่เพียงพอกับจานวนผู้ชม พื้นที่แสดงกิจกรรมของผู้เข้า ประกวดแคบและเวทีแคบไป เวทีควรยกพื้น สถานที่จัดงานอยู่นอกอาคารร้อนมาก ยุงกัด ควรหาสถานที่อยู่ใน อาคาร มีเครื่องปรับอากาศและรองรับผู้ชมจานวนมาก ควรมีเก้าอี้ให้นั่งชม 2.2 เวลาในการจัดงาน (10 ความคิดเห็น) ได้แก่ ควรเริ่มงานให้เร็วกว่านี้ ประมาณ 17.30 น. ควรจัดงาน ตรงเวลา ตามกาหนดการที่แจ้งไว้ ไม่ควรให้ผู้ชมเสียเวลาคอยผู้เข้าประกวดแต่งตัวนานเกินไป พักช่วงเวลานานไป 2.3 การประชาสัมพันธ์น้อยและไม่ทั่วถึง (6 ความคิดเห็น) ได้แก่ ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึง ไม่ ทราบว่ามีการจัดงานนี้ บังเอิญเดินผ่านมาจึงได้เข้ามาชม 2.4 แสงและเสียง (4 ความคิดเห็น) ได้แก่ ควรปรับปรุงเครื่องเสียง ไฟส่องสว่างหน้าผู้ชมมากเกินไป ประโยชน์ที่ได้รับและการนาไปใช้ประโยชน์ กิจกรรมนี้เป็นประโยชน์ต่อการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้เพื่อชีวิตอย่างสร้างสรรค์ เป็นการส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้รับบริการเข้าใช้สานักวิทยบริการเพิ่มมากขึ้น ส่งเสริมสนับสนุนการใช้พื้นที่ของสานักวิทยบริการให้ ผู้รับบริการได้แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ส่งเสริม สนับสนุนผู้รับบริการมีความรัก ความสามั คคีต่ อกัน ทั้งภายในสถาบัน และต่างสถาบัน ส่งเสริม สนับสนุนผู้ รับบริการมี ก ารปรับตั วเข้ ากับ สังคม มหาวิทยาลัยได้เป็นอย่างดี มีความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัยขอนแก่น สาคัญยิ่งคือ ได้ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์ที่ดี
239
ของสานักวิทยบริการ เพิ่มความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ ทั้งยังเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างสานักวิทย บริการกับผู้รับบริการด้วย รายการอ้างอิง รายงานสรุปผลการจัดกิจกรรมการประกวด KKU Lib. Cover Dance Contest 2013. (2556). ขอนแก่น: สานัก วิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (เอกสารไม่ได้ตีพิมพ์). KKU Lib. Cover Dance. (2556). โครงการประกวด Cover Dance Contest 2013. ค้นเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2556 จาก https://www.facebook.com/KKUcoverdance
240
โครงการผู้บริหารสานักหอสมุ ดพบผู้บริหารคณะ Library Administrator meeting with Faculty Administrator Project อั จ ฉราภรณ์ กวมทรั พ ย์ * สายพิ ณ วิ ไ ลรั ต น์ วิ สิ ท ธิ บุ ญ ชุ ม สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ e-mail : boombim_9999@hotmail.com*
บทคัดย่อ พันธกิจที่สาคัญของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทัก ษิณคือ การแสวงหา การพัฒนาระบบ การเผยแพร่และการบริการสารสนเทศทุกชนิดทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อ สนับสนุนภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย ดังนั้น สานักหอสมุดจึงจัดโครงการ “ผู้บริหารสานักหอสมุด พบผู้บริหารคณะ” ขึ้น เพื่อเน้นศักยภาพการให้บริการสารสนเทศที่ทันสมัย ทันเวลา และสอดคล้อง กับความต้องการของประชาคมมหาวิทยาลัยทักษิณ อีกทั้งยังหาแนวทางสร้างความร่วมมือกับคณะ วิ ช าต่ า งๆ เพื่ อ จั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม กระบวนการเรี ย นรู้ แ ละสร้ า งวั ฒ นธรรมการเรี ย นรู้ แ ก่ นิ สิ ต นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสเพื่อรับฟังความต้องการ ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ จากผู้บริหารคณะ วิชา โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ ผู้บริหาร 6 คณะวิชาทั้งในวิทยาเขตสงขลาและพัทลุง ซึ่งมีการเข้าพบใน วันที่มีการประชุมผู้บริหารคณะ โดยใช้เวลาประมาณ 30 นาที ผลจากการจัดโครงการทาให้ สานักหอสมุดได้มีโอกาสประชาสัมพันธ์กิจกรรมและทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการ อีกทั้งยังได้รับ ข้อเสนอแนะซึ่งเป็นความต้องการจริงจากผู้ใช้ ข้อเสนอแนะทั้งหมดถูกนามาวิเคราะห์และดาเนินการ ตามขั้ นตอนเพื่ อ ตอบสนองความต้อ งการจริ ง จากผู้ใช้ ทาให้ผู้ใช้ป ระทับใจกับ การให้บ ริก ารของ สานักหอสมุดเป็นอย่างมาก คาสาคัญ : ผู้บริหาร, ประชาสัมพันธ์, ความต้องการ, ข้อเสนอแนะ Keywords : Administrator, public relation, requirement, suggestion บทนา ด้วยสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ มีพันธกิจหลักที่สาคัญคือ การแสวงหา การพัฒนาระบบ การ เผยแพร่และการบริการสารสนเทศทุกประเภท ทั้งที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อสนับสนุน ภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ การเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม โดยสานักหอสมุดได้กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาความเป็นเลิศในการให้บริการ สารสนเทศ เป้าประสงค์ที่ 1 สานักหอสมุดมีศักยภาพในการให้บริการสารสนเทศที่ทันสมัย ทันเวลา และ สอดคล้องกับความต้องการของประชาคมมหาวิทยาลัยทักษิณ ประกอบด้วยนักศึกษาและบุคลากร โดยไม่มี ข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่ โดยผู้ใช้ที่เป็นคณาจารย์ นักวิจัยที่มี ประสบการณ์ที่หลากหลายมีส่วนร่วมในการ เสนอรายชื่อสารสนเทศเพื่อการจัดหามาให้บริการในสานักหอสมุด นอกจากส่วนที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์แล้ว สื่อดิจิตอล
241
ต่างๆ ทั้งที่เป็นการจัดซื้อหรือการทดลองใช้ฟรีก็เป็นภารกิจหลักของสานักหอสมุดในการเสาะแสวงหามาให้บริการ แก่ผู้ใช้อีกด้วย นอกจากนี้กลยุทธ์ที่สาคัญคือกลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาบริการใหม่ ๆ ที่สนองตอบความต้องการของผู้ใช้ โดยเน้น E-Services , One Stop Services และ Proactive Services เป้าประสงค์ที่ 2 ประชาคมมหาวิทยาลัย ทักษิณ โดยเฉพาะนักศึกษามีทักษะสารสนเทศ เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) และการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) มีกลยุทธ์ที่สาคัญคือกลยุทธ์ที่ 1 ร่วมมือกับ คณาจารย์ในการกระตุ้น/การจัดกิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) และ การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) รวมทั้งสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่นิสิต (เร่งด่วน) กลยุทธ์ ที่ 3 จัดกิจกรรมส่งเสริม/กระตุ้นให้อาจารย์ใช้สารสนเทศในการสอน การทาผลงานทางวิชาการ/การวิจัยให้มากขึ้น โดยเฉพาะการ Road show ตามคณะ มุ่งเน้นการนาเสนอสารสนเทศและข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ใช้ทั้งที่เป็น คณาจารย์ นักวิจัย และนิสิตและกลยุทธ์ที่ 5 จัดกิจกรรม/บริการเสริมแก่อาจารย์ในการสนับสนุนการทาผลงานทาง วิชาการ การวิจัย เช่น บริการนาส่งเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-Document Delivery Services) อบรมการใช้ โปรแกรมการจัดการบรรณานุกรม เป็นต้น เพื่อให้การดาเนินงานของสานักหอสมุดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความต้องการและเป็น ประโยชน์กับคณะให้มากที่สุด สานักหอสมุดจึงจัดโครงการ ผู้บริหารสานักหอสมุดพบผู้บริหารคณะขึ้น โดยขอใช้ เวลาประมาณ 30 นาทีในวันที่คณะมีการประชุมผู้บริหารคณะ วัตถุประสงค์ 1. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความพร้อมของสานักหอสมุดในการสนับสนุนภารกิจหลักของคณะด้านการเรียนการ สอน การวิจัย การบริการทางวิชาการและการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม 2. หาแนวทางความร่วมมือกับคณะในการกระตุ้น/การจัดกิจกรรมส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Directed Learning) และการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) รวมทั้งสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ ตลอดชีวิตแก่นิสิต 3. รับฟังความต้องการ ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากคณะ ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ 1. เขียนขออนุมตั ิโครงการ 2. จัดทาหนังสือราชการภายในส่งไปยังคณะ เพื่อขอความอนุเคราะห์เข้าร่วมและบรรจุวาระ ในการ ประชุมประจาเดือนของคณะ 3. จัดตารางลาดับ และเข้าร่วมประชุมประจาเดือนกับแต่ละคณะ ตามปฏิทินนัดหมายตามหัวข้อที่ได้ กาหนด 4. นาผลการพบผู้บริหารคณะมาประชุมเพื่อสรุป และหาแนวทางปรับปรุงแก้ไข พร้อมจัดทาแผนการ ดาเนินงานเพื่อจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความต้องการและบริบทตามแต่ละคณะ ผลการดาเนินการ จากการดาเนินโครงการ ได้ผลลัพธ์ในเชิงบวก ได้รับการต้อนรับและให้ความร่วมมืออย่างดีมากจากคณะ วิชาต่างๆ ซึ่งคาแนะนาและข้อเสนอแนะเหล่านั้น สานักหอสมุดได้ นามาวิเคราะห์และดาเนินการในส่วนที่สามารถ ดาเนินการได้ ดังแสดงในตารางที่ 1
242
ตารางที่ 1 ตัวอย่างปัญหา/ข้อเสนอแนะและผลการดาเนินการ ลาดับที่ ประเด็นปัญหา/ข้อเสนอแนะ ผลการดาเนินการ 1 ควรให้มีการพบปะระหว่างผู้บริหาร - บรรจุ “โครงการผู้บริหารสานักหอสมุดพบ สานักหอสมุดกับอาจารย์ในสาขาวิขา สาขาวิชา” ในแผนปฏิบัติการปีการศึกษา 2556 - ปัจจุบันได้ดาเนินการไปแล้ว 50% 2 ควรประสานงานกับฝ่ายกิจการนิสิตเพื่อ - บรรจุ “โครงการห้องสมุดพบองค์การนิสติ ” ใน กาหนดกิจกรรมและช่วงเวลาที่ แผนปฏิบัติการปีการศึกษา 2556 สอดคล้องกัน - ปัจจุบันได้ดาเนินการไปแล้ว 40% 3 ควรเน้นกิจกรรมที่เอื้อต่อการเรียนการ - บรรจุโครงการ/กิจกรรม ในแผนปฏิบัติการปี สอนของนิสติ แต่ละชั้นปี การศึกษา 2556 เช่น อบรมการจัดการบรรณานุกรม ด้วยโปรแกรม EndNote อบรมเทคนิคการสืบค้นเพื่อ การทาสัมมนา/รายงาน/โครงงาน - ปัจจุบันได้ดาเนินการไปแล้ว 80% 4 ควรมีห้องสืบค้น ห้องศึกษากลุ่ม ห้อง - บรรจุ “โครงการห้องสมุดมีชีวติ ฯ” ในแผนปฏิบัติ ศึกษาส่วนบุคคล การปีการศึกษา 2556 - ปัจจุบันได้ดาเนินการไปแล้ว 40% 5 ควรจัดกิจกรรมเพื่อผ่อนคลายจากการ - บรรจุ “โครงการห้องสมุดมีชีวติ ฯ” ในแผนปฏิบัติ เรียนให้กับนิสิต การปีการศึกษา 2556 โดยสร้างห้องฝึกภาษาด้วย ภาพยนตร์/คาราโอเกะ - บรรจุ “โครงการปันน้าใจจากพี่สู่น้อง” ใน แผนปฏิบัติการปีการศึกษา 2556 ในรูปแบบค่ายอาสาฯเพื่อสร้างห้องสมุดให้กับ โรงเรียนด้อยโอกาส - ปัจจุบันได้ดาเนินการไปแล้ว 70% 6 ควรหาช่องทางเพื่อประชาสัมพันธ์ - บรรจุ “โครงการศึกษาผลสัมฤทธิ์และรูปแบบการ ข่าวสาร เช่นกิจกรรม free e-book, ประชาสัมพันธ์” ในแผนปฏิบัติการปีการศึกษา 2556 free e-database ไปยังผู้ใช้ - ปัจจุบันได้ดาเนินการไปแล้ว 50% 7 นิสิตที่วิทยาเขตสงขลาบางส่วน - ทาสาเนาวารสารดังกล่าวเพือ่ ให้บริการที่วิทยาเขต จาเป็นต้องใช้วารสารที่ถูกบอกรับโดย สงขลา วิทยาเขตพัทลุง - ปัจจุบันได้ดาเนินการไปแล้ว 100% 8 นิสิตส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์ส่วนตัว - ติดตั้งปลั๊กไฟฟ้าในบริเวณที่นสิ ิตใช้คอมพิวเตอร์ ควรให้บริการยืมปลั๊กไฟ ส่วนตัวในชั้น 1,2,3 อย่างทั่วถึง - ปัจจุบันได้ดาเนินการไปแล้ว 100% 9 แสดงป้ายและเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการด้าน - จัดทาป้ายแสดงจุดให้บริการต่างๆ พร้อมเจ้าหน้าที่ ต่างๆ ผู้รับผิดชอบ - ปัจจุบันได้ดาเนินการไปแล้ว 90%
243
อภิปรายผล 1. ประเด็นปัญหา/ข้อเสนอแนะจากคณะวิชาต่างๆ ที่สามารถดาเนินการได้ทันที โดยสานักหอสมุดได้ บรรจุเข้าไปในแผนการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2556 เช่น 1) การจัดให้มีห้องสาหรับอบรมการสืบค้น 2) การเพิ่ม กิจกรรม/โครงการที่เอื้อต่อการเรียนการสอน 3) การจัดกิจกรรมเพื่อผ่อนคลายให้กับนิสิต 4) การประสานงานกัน ระหว่างสานักหอสมุดกับกิจการนิสิตของคณะ 5) การหาช่องทางเพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารที่ดีจากสานักหอสมุดแก่ คณาจารย์และนักวิจัย 6) การสาเนาวารสารที่บอกรับที่วิทยาเขตพัทลุงเพื่อไปวางให้บริการที่วิทยาเขตสงขลา 7) การเพิ่มจุดให้บริการปลั๊กไฟฟ้าสาหรับนิสิตที่ใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 8) การเปิดให้รับประทานอาหารและ เครื่องดื่มในบางจุด 9) การแสดงป้ายจุดให้บริการพร้อมเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ 10) การขยายเวลาในการยืมหนังสือ ของอาจารย์ 11) การจัดอบรมการจัดการบรรณานุกรมด้วย EndNote เป็นต้น 2. ประเด็นปัญหา/ข้อเสนอแนะจากคณะวิชาต่างๆ ที่ไม่สามารถดาเนินการได้ เนื่องด้วยขัดกับระเบียบ มหาวิทยาลัยทักษิณ ว่าด้วยการใช้ห้องสมุดและขัดกับระเบียบอื่นๆ เช่น 1) การเพิ่มจานวนเล่ม ซึ่งนโยบายของ สานักหอสมุดกาหนดให้จัดซื้อภาษาไทยไม่เกิน 10 ฉบับ/ชื่อเรื่อง และภาษาอังกฤษไม่เกิน 2 ฉบับ/ชื่อเรื่อง 2) การ จัดหาฐานข้อมูล Scopus มาให้บริการ สานักหอสมุดไม่สามารถดาเนินการจัดหาได้เนื่องจากใช้งบประมาณค่อนข้าง สูง อีกทั้งฐานข้อมูลที่ สกอ. บอกรับก็ครอบคลุมอยู่แล้ว 3) การเปิด-ปิดเครื่องปรับอากาศ เนื่องด้วยมหาวิทยาลัยมี มาตรการด้านการประหยัดพลังงาน ดังนั้นจึงเปิดเครื่องปรับอากาศหลังจากเปิดทาการไปแล้ว 1 ชั่วโมงและปิด เครื่องปรับอากาศก่อนปิดทาการ 30 นาที 4) การเพิ่มระยะเวลาในการยืมให้แก่นิสิตบัณฑิตศึกษา ซึ่งจะต้องหารือใน ที่ประชุมกรรมการประจาสานักหอสมุดอีกครั้ง เป็นต้น 3. การจัดกิจกรรม/โครงการเพิ่มเติมให้แก่นิสิตและคณาจารย์ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ เช่น 1) โครงการสานักหอสมุดช่วยอาจารย์ทา มคอ.3 หมวดที่ 6 2) บริการนาส่งเอกสารถึงคณะ/หน่วยงานแก่ คณาจารย์และนักวิจัย (Document Delivery) เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้และส่งเสริมการใช้งาน 3) โครงการสุดยอดนักอ่าน เป็นการรวบรวมสถิติผู้ยืมหนังสือมากที่สุด ซึ่งประกาศผลและมอบรางวัลโดยอธิการบดี มหาวิทยาลัยทักษิณ ในวันไหว้ครู เป็นต้น ข้อเสนอแนะ ด้วยโครงการนี้เป็นโครงการที่สามารถสะท้อนภาพสานักหอสมุด ปัญหาต่างๆ ตามความจริงได้อย่ างดี สานักหอสมุดสามารถนามาปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่างๆให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการ และสานักหอสมุดได้ อธิบายชี้แจง และตอบคาถาม สิ่งที่ผู้ใช้บริการมีข้อสงสัย ในทุกประเด็น ดังนั้นในปีการศึกษา 2556 สานักหอสมุดมหาวิทยาลัยทักษิณ จึงได้จัดทาโครงการผู้บริหารสานักหอสมุด พบสาขาวิชา เพื่อจะได้ดาเนินการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร/กิจกรรม/โครงการแก่อาจารย์ อีกทั้งยังรับฟังปัญหาและ ข้อเสนอแนะจากอาจารย์ทุกท่านด้วย การนาไปใช้ประโยชน์ ทุกประเด็นปัญหา/ข้อเสนอแนะที่ได้รับจากคณะ สานักหอสมุดนามาดาเนินการวิเคราะห์และปรับปรุง แก้ไขตามลาดับขั้นตอน ซึ่งแม้ว่าในบางเรื่อง บางประเด็นไม่ได้ปรับแก้ตามที่ผู้ใช้ร้องขอมาทั้งหมด แต่ก็ได้รับทราบ และสะท้อนความต้องการไปยังส่วนงานอื่นๆ เพื่อดาเนินการปรับปรุงต่อไป นอกจากนี้ยังมีโอกาสได้ ตอบข้อสงสัย
244
ข้อข้องใจเกี่ยวกับระเบียบสานักหอสมุด และแจ้งธรรมเนียมปฏิบัติแก่ผู้ใช้ เพื่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ ให้บริการและผู้ใช้บริการ ซึ่งนาไปสู่ความพึงพอใจและความผูกพันธ์กับสานักหอสมุดต่อไป รายการอ้างอิง มหาวิทยาลัยทักษิณ . (2552). แผนพัฒนาสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ พ.ศ. 2552 - 2555. สงขลา : สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ. _______. (2553). แผนยุ ท ธศาสตร์ ร ะยะยาว (พ.ศ. 2553 - 2567). สงขลา : ฝ่ า ยแผนงานและการคลั ง มหาวิทยาลัยทักษิณ.
245
มุมมองของสังคมออนไลน์: ทาให้รักและทาต่อไป Social Aspect Online Community (Social Network) : be love and to be Continue สมปอง มิ ส สิ ต ะ หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร e-mail : missitaa@su.ac.th
บทคัดย่อ หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร นาเฟซบุ๊คมาใช้ เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2552 ผู้ศึกษานาแนวคิดทฤษฎีจากข้อมูล (grounded in theory) มา ประยุกต์เพื่อศึกษาจานวนการตั้งสถานะ ปฏิสัมพันธ์ในเฟซบุ๊ครวมทั้งเนื้อหา และเพื่อนาผลจาก การศึ ก ษาไปหาสื่ อ สั ง คมออนไลน์ อื่ น มาพั ฒ นางาน โดยรวบรวมข้ อ มู ล ในเฟซบุ๊ ค ของหอสมุ ด พระราชวังสนามจันทร์ ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2555–31 มิถุนายน พ.ศ.2556 ผลการศึกษา พบว่า จากจานวน 365 วัน มีการตั้งสถานะ 263 ครั้ง เดือนที่มากที่สุดคือ มกราคม จานวน 52 ครั้ง เดือนที่น้อยที่สุดคือ ธันวาคม การตั้งสถานะที่นิยมใช้มากที่สุดคือ มีข้อความและรูปภาพ จานวน 1,849 รูป 198 ข้อความ การตอบรับพบว่า เดือนมกราคม มีการตอบรับมากที่สุดในทุกรูปแบบ (ชอบ ความเห็น และแบ่งปัน ) เนื้อหาการตั้งสถานะที่นิยมใช้มากที่สุดคือ กิจกรรมห้องสมุด สื่อสังคม ออนไลน์อื่นที่นามาพัฒนาคือ การสร้างเว็บบล็อกเพื่อเล่าเรื่องหนังสือ และการสร้าง Pinterest เพื่อ นาเสนอรูปภาพ คาสาคัญ : เฟซบุ๊ค, การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด ABSTRACT Sanamchandra Palace Library, Silapakorn University launched the most popular online application, Facebook, to use on 15 September 2009. Grounded theory was applied to study the amount of timeline status and interactive message on the Facebook and in order to develop the result via other online networks by collecting Facebook messages of Sanamchandra Palace Library, Silapakorn University during 1 July 2012 to 31 June 2013. The result shows that there are 263 status added during 365 days and the highest timeline status was 52 times in January and the lowest was in December. The most popular timeline status was 1,849 photos and 198 messages. The most feedback was in January in any categories, such as, likes,
246
suggestions and shares. The most popular timeline status was the library activities. Other developed online network was story telling web block and Pinterest creator to present pictures. Keywords : Facebook, library promotion ริเริ่ม เมื่อวันที่ 15 กันยายน พ.ศ.2552 หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ได้ ตั้งสถานะ (status) แรกในเฟซบุ๊ค ของหอสมุดฯ ว่า “ทดลองเปิดบริการทางเลือกใหม่ ” ต่อมาผู้รับผิดชอบการทางานดังกล่าวได้เล่าเรื่องผ่านเว็บ บล็อกของหอสมุดฯ (http://www.snc.lib.su.ac.th/snclibblog/ ?p=8730) ไว้ว่า ถือเป็นการเปิดตัวเครื่องมือ สื่อสารอย่างเป็นทางการ หลังจากทาไว้เงียบ แบบชิมตลาดมาเกือบหนึ่งปีเต็ม หนึ่งปีที่ต้องทางาน และเรียนรู้กับ เสียงหลาย แบบ ทั้งในและนอกห้องสมุด มหาวิทยาลัยรวมถึงต่างประเทศ เพื่อหยั่งเสียงว่ารูปแบบไหนจึงจะถูก จริตของผู้ใช้บริการ ซึ่งสรุปแบบคร่าว ว่าไม่มีรูปแบบไหนที่สมบูรณ์แบบไปทั้งหมด เพราะโลกประกอบด้วยอนุภาค มากมาย ดังนั้นหน้าที่ของห้องสมุดคือต้องทาทุกอย่างที่เห็นว่าเป็นช่องทางที่จะเข้าถึงตัวผู้ใช้บริการได้ และคาว่า ผู้ใช้บริการไม่ได้ตีวงจากัดว่าคือประชาคมที่ยังอยู่ในศิลปากรเท่านั้น หากยังนับเนื่องไปถึงศิษย์เก่าที่ยังอยากฟัง เรื่องราวของถิ่นที่เคยพานัก ผู้ปกครองที่อยากรู้ว่าในมหาวิทยาลัยมีอะไร รวมไปถึงประชาชนที่ใครหลายคนบอกว่า อยากจะสร้างให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ที่เพาะบ่มไปจากสังคมแห่งการอ่าน เพียงแค่พวกเขาไม่ใช่คนที่ สวมหมวกของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง พวกเขาก็จะสูญเสียโอกาสไปเช่นนั้นหรือ ในเฟซบุ๊คของหอสมุดฯ ได้ สื่อสารเรื่องราวของปัจจุบัน อดีต และอนาคต รวมถึงเรื่องราวที่เป็นหน้าที่ของห้องสมุดโดยตรงคือ การสร้างให้เกิด Information Literacy ในศิลปากร ซึ่งโครงการของทุกฝ่าย/งานในห้องสมุดล้วนแล้วแต่สนับสนุนเรื่องนี้ทั้งสิ้น แต่ เป็นคนละเหลี่ยมและคนละมุม เฟซบุ๊คของหอสมุดในระยะแรก ออกแบบมีเรื่องราวน่ารักหลายเรื่อง มีการพูดคุย กันระหว่างทั้งอาจารย์ ศิษย์ปัจจุบันรวมถึงศิษย์เก่าที่ต่อไปคือสายใยผูกพันประหนึ่งเพื่อนพ้องน้องพี่ แบบที่เราไม่เคย เห็นตัวกันสายสัมพันธ์มีความจาเป็นต่อชีวิตไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง … วรรณกรรมว่าด้วยเฟซบุ๊คกับห้องสมุด ณ ปัจจุบัน พบว่า มีเนื้อหาประกอบด้วย 9 หัวข้อคือ ความเป็นมาและลักษณะ วัตถุประสงค์ในการใช้ การใช้และไม่ใช้ สมาชิก กลยุทธ์การส่งเสริมการใช้เฟซบุ๊ค ประโยชน์ ประเภทของบริการและกิจกรรมห้องสมุดที่ใช้เฟซบุ๊ค บทบาทของ บรรณารักษ์ ตลอดจนปัจจัยความสาเร็จและปัญหา/ผลกระทบในการประยุกต์ใช้เฟซบุ๊คของห้องสมุด (เทอดศักดิ์ ไม้ เท้าทอง, 2554: 49, 53) เนื่องจากเฟซบุ๊คคือ ชุมชนในโลกของออนไลน์ (on line) มีหอสมุดฯ ที่อยู่ในโลกของความ จริง (on earth) เป็นผู้กาหนดเนื้อหา (content) ผ่านช่องทางการสื่อสารระหว่างกันที่ระบบกาหนดขึ้น ซึ่งอาจมี บริ บ ทที่ เ หมื อ นหรื อต่ า งกับ สถาบัน อื่ น เพราะแต่ ละสั งคมมีก ลุ่ มต่ า งๆ แยกย่อ ยตามที่ก าหนด เช่ น เพศ อายุ ภูมิลาเนา อาชีพ ฯลฯ ขณะที่สุวิดา ธรรมมณีวงศ์ (2555: 5) กล่าวว่านักวิชาการด้านการสื่อสารเทคโนโลยีเห็นว่า การใช้ทฤษฎีจากข้อมูล (grounded in theory) เข้าไปศึกษาเกี่ยวกับการสื่อสารของมนุษย์และเทคโนโลยี เพื่อ ทา ความเข้าใจพฤติกรรมและการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ จาเป็นต้องเข้าใจในกระบวนการที่บุคคลได้สร้างความหมาย ให้กับสิ่งต่างๆ ตามโลกทัศน์ของตนเอง ซึ่งรวมทั้งการสร้างความหมายให้กับสื่อหรือเหตุ การณ์ต่างๆ ซึ่งเป็น องค์ประกอบของการสื่อสาร และจัดเป็นปรากฏการณ์ทางสังคม ดังนั้นการศึกษากระบวนการสื่อสาร (ไพโรจน์ วิไล นุช, 2556: 2) ไม่ว่าจะเป็นแบบแยกส่วนหรือองค์รวมย่อมต้องเกี่ยวข้องกับผู้รับสารและผู้ส่งสาร ซึ่งเป็นบุคคลที่ กาหนดพฤติกรรมการสื่อสารของตนทั้งสิ้น อีกทั้งปรากฏการณ์ของ web 2.0 (Bakardjieva, M. and Gaden, G. 2011: 411) ทาให้เกิดเทคโนโลยีการสร้างตัวตนให้สมดุลระหว่างการมีอิสระในการแสดงออกกับการอยู่ในวงจากัด
247
โดยเจ้าของเป็นผู้กาหนดเนื้อหา ควบคุมตัวเองและเปิดพื้นที่ให้ผู้อื่นเข้ามามีส่วนร่วม เพราะพื้ นฐานทางจิตใจของ มนุษย์คือความต้องการการยอมรับ จึงทาให้สังคมออนไลน์กลายเป็นสังคมที่น่าหลงใหล ที่ใครหลายๆ คนใช้เป็น ช่องทางแสดงความเป็นตัวเอง แต่ใช่ว่าบุคคลแต่ละบุคคลเท่านั้น หน่วยงานและองค์กรต่างๆ ก็ต้องการการยอมรับ จากสังคมด้วยการสร้าง "ตัวตน" ในโลกออนไลน์เช่นกัน การเรียนรู้และทาความเข้าใจสังคมที่เราเป็นผู้กาหนดเนื้อหา จาเป็นต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการ พิจารณาบทบาทในฐานะที่เป็นผู้ให้/สร้างการไหลเวียนของข้อมูลรวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น จะทาให้เราเข้าใจเพื่อน ที่ อ ยู่ สั ง คมในแบบหอสมุ ด พระราชวั ง สนามจั น ทร์ ม ากขึ้ น ผู้ ศึ ก ษาจึ ง สนใจน าแนวคิ ด ของทฤษฏี จ ากข้ อ มู ล (groundedin theory) มาประยุกต์เพื่อประโยชน์ดังกล่าวแล้วนาผลไปพัฒนาการทางานในโอกาสต่อไปด้วย เรียนรู้ การศึกษาครั้งนี้ มุ่งหวังเพื่อศึกษาจานวนของการตั้งสถานะและปฏิสัมพันธ์ในเฟซบุ๊ค เนื้อหา และเพื่อนา ผลจากการศึกษาไปแสวงหาสื่อสังคมออนไลน์อื่นมาพัฒนางาน โดยผู้ศึกษารวบรวมจานวนสถานะ (status) และการ มีปฏิสัมพันธ์ในเฟซบุ๊คของหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2555 – 31 มิถุนายน 2556 ได้แก่ 1) วันที่ของการตั้งสถานะ (status) 2) สถานะในรูปแบบต่างๆ แบ่งเป็น 4 ประเภท คือ ข้อความ ข้อความ และรูปภาพ วีดิทัศน์ และการเชื่อมโยง (link) 3) ผลการตอบรับ คือ ชอบ (like) ความเห็น (comment) และ แบ่งปัน (share) การตั้งสถานะและปฏิสัมพันธ์ในเฟซบุ๊ค ว/ด/ป
จานวน วัน
ก.ค.55 ส.ค.55 ก.ย.55 ต.ค.55 พ.ย.55 ธ.ค.55 ม.ค.56 ก.พ.56 มี.ค.56 เม.ย.56 พ.ค.56 มิ.ย.56 รวม
31 31 30 31 30 31 31 28 31 30 31 30 365
จานวน สถานะ 23 13 21 21 18 11 52 26 14 19 18 27 263
ข้อความ 1 2 1 7 1 7 2 1 2 1 25
สถานะ ภาพและ วีดิทัศน์/ ข้อความ สไลด์ 301/20 23/10 14/16 201/14 67/7 14/7 89/44 15/22 45/8 708/15 250/14 1 122/21 1 1,849/198 2
ผลการตอบรับ การ เชื่อมโยง 2 1 4 7 4 3 1 2 5 2 3 4 41
ชอบ
ความเห็น
แบ่งปัน
253 107 144 103 72 37 575 296 128 188 136 234 2,273
26 15 12 4 18 33 63 35 8 3 7 21 245
35 7 18 29 26 33 89 65 17 28 31 28 406
ตารางที่ 1 สถานะและจานวนการตอบรับ จากตารางที่ 1 สถานะและจานวนการตอบรับพบว่า ช่วงเวลาตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2555–31 มิถุนายน พ.ศ.2556 จานวน 365 วัน ตั้งสถานะจานวน 263 ครั้ง เฉลี่ยวันละ 1.3 ครั้ง เดือนที่มากที่สุดคือ มกราคม จานวน
248
52 ครั้ง เฉลี่ยวันละ 1.7 ครั้ง เดือนที่น้อยที่สุดคือ ธันวาคม จานวน 11 ครั้ง เฉลี่ยวันละ .35 ครั้ง สิ่งที่พบคือ สังคม ออนไลน์ไม่มีวันหยุดราชการ แต่การทางานกับสังคมออนไลน์จาเป็นต้องมีวันหยุดราชการหรือไม่ การตั้งสถานะที่นิยมใช้มากที่สุดคือ มีข้อความและรูปภาพ จานวน 1,849 รูป 198 ข้อความ รองลงมาคือ การเชื่อมโยง (link) จานวน 41 ครั้ง โดยเดือนเมษายนตั้งสถานะโดยใช้ข้อความและรูปภาพมากที่สุดคือ 708 ภาพ และมีข้อความ 15 ครั้งเท่านั้น สิ่งที่พบคือ มีรูปภาพจานวนมากแต่ไม่มีคาอธิบายเพื่อสื่อสารระหว่างกันอาจเป็น ข้อจากัด จึงเป็นเรื่องที่ทบทวนว่ารูปภาพแบบไหน เรื่องใด จานวนเท่าไรจึงจะพอเหมาะกับการรับรู้ของคนในสังคม การนาเสนอรูปภาพอาจต้องมีการเรียนรู้ว่าแบบไหนที่ตรงประเด็นกับเรื่องที่เราต้องการสื่อสาร ผลการตอบรับพบว่า เดือนมกราคม มีการตอบรับมากที่สุดในทุกรูปแบบคือ ชอบ (like) จานวน 575 ครั้ง ให้ความเห็น (comment) 63 ครั้ง และแบ่งปัน (share) 89 ครั้ง สิ่งที่พบคือ จานวนรูปภาพที่มากไม่มีผลต่อ ปฏิสัมพันธ์ ความถี่ของการตั้งสถานะแต่อาจมีผลต่อการตอบรับ เนื้อหา ว/ด/ป
จานวน วัน
ก.ค.55 ส.ค.55 ก.ย.55 ต.ค.55 พ.ย.55 ธ.ค.55 ม.ค.56 ก.พ.56 มี.ค.56 เม.ย.56 พ.ค.56 มิ.ย.56 รวม
31 31 30 31 30 31 31 28 31 30 31 30 365
จานวน สถานะ 23 13 21 21 18 11 52 26 14 19 18 27 263
ยืม-คืน 5 2 3 2 1 1 4 2 3 23
เนื้อหา การรู้ แนะนา กิจกรรม สารสนเทศ ทรัพยากร ห้องสมุด 2 4 12 3 6 2 4 12 2 4 7 8 12 3 2 2 9 1 2 48 4 2 16 5 3 6 2 7 10 5 4 7 3 5 16 47 55 138
ผลการตอบรับ ชอบ
ความเห็น
แบ่งปัน
253 107 144 103 72 37 575 296 128 188 136 234 2,273
26 15 12 4 18 33 63 35 8 3 7 21 245
35 7 18 29 26 33 89 65 17 28 31 28 406
ตารางที่ 2 เนื้อหาของการตั้งสถานะ จากตารางที่ 2 เนื้อหาการตั้งสถานะที่นิยมใช้มากที่สุดคือ กิจกรรมห้องสมุด ซึ่งในเดือนมกราคมเป็นช่วง ที่มีการจัด “ทับแก้วบุ๊คแฟร์” รองลงมาคือ กิจกรรมแนะนาทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรม หลักของฝ่ายบริการ มีการแนะนาหนังสือใหม่อย่างสม่าเสมอ สิ่งที่พบคือ เมื่อศึกษารายละเอียดแล้วพบว่า การ แนะนาหนังสือในลักษณะของการเล่าเรื่องบอกเนื้อหา แนวคิด ความประทับใจ มีการปฏิสัมพันธ์ในเครือข่าย มากกว่าการนาเสนอด้วยปก ที่มีจานวนมาก อาจเป็นเพราะมากเกินกว่าที่จะรับรู้ได้ในช่วงเวลาสั้นๆ ผู้ปฏิบัติ จาเป็นต้องหากลวิธีใหม่ๆ นาเสนอ เช่น ลดจานวนปกแต่เพิ่มความถี่ จัดหนังสือให้เป็นกลุ่มเรื่องเดียวกัน หน้าปกสี เดียวกัน นักเขียนคนเดียวกัน สานักพิมพ์เดียวกัน หรือมีฉากในพื้นที่เดียวกัน รวมทั้งเขียนข้อความในสถานะให้
249
กระทบใจผู้อ่านในสังคมออนไลน์ที่เรากาหนด หรือทาเป็นคลิปแนะนาหนังสือ เป็นต้น เช่นเดียวกับการนาเสนอ กิจกรรมของหอสมุดฯ ด้วยรูปภาพ อาจต้องปรับลด และทาความเข้าใจกับศักยภาพของคาว่า “รูปเดียวแทนคาล้าน คา” ขณะเดียวกันจาเป็นต้องจัดสมดุลในเนื้อหาของสถานะที่ตั้งขึ้นให้ครอบคลุมทุกงาน รวมทั้งการแบ่งปันข้อมูลที่ เป็นประโยชน์ต่อสังคม และทาหน้าที่ในฐานะผู้ให้บริการสารสนเทศที่ดี ด้วยการตรวจสอบข้อมูลที่จะเชื่อมโยง (link) ทุกครั้งก่อนแบ่งปัน (share) การเรียนรู้และรู้จักสังคมออนไลน์ของเราจากอดีต ถือเป็นบทเรียนให้ปัจจุบัน ในโลกของออนไลน์อาจง่าย ที่จะเรียนรู้เพื่อดูปฏิสัมพันธ์เป็นการสร้างประสบการณ์ของการนาข้อมูลกลับมาใช้ต่อเช่น ใครคือผู้ที่แบ่งปันข้อมูล ของเรา แบ่งปันไปว่าอย่างไร ภาพไหนที่ควรต้องติดป้าย (tag) ให้กับเพื่อนคนใดเพื่อช่วยกระจายข่าวสาร ข้อมูล และเนื้อหาสาระแบบไหนที่เหมาะกับสังคมออนไลน์ที่เราเป็นผู้กาหนด ทั้งต้องทาความเข้าใจว่าการทางานในสังคม ออนไลน์ของหน่วยงานที่มีเพื่อนหลากหลาย จาเป็นต้องอาศัยทีมงานที่มีความถนัดและมีแนวคิดที่ต่างกันมาช่วยกัน เติมเต็มเพื่อสร้างการสื่อสารให้ครอบคลุมความหลากหลายนั้นด้วย ร้อยเรียง จากการเรียนรู้พบว่า นอกจากการทางานบนสังคมบนดินแล้ว ยังมีความจาเป็นที่ต้องหาสังคมออนไลน์ อื่นๆ นอกเหนือจากเฟซบุ๊คมาเป็นเครื่องมือสื่อสารควบคู่กับการสร้างนวัตกรรมงานบริการ เพื่อให้ขับเคลื่อนสังคม ต่อไปได้ โดยเฉพาะสังคมแห่งการเรียนรู้ ทั้งนี้หอสมุดฯ ได้ดาเนินการดังนี้คือ 1) สร้างเว็บบล็อกเพื่อเล่าเรื่องหนังสือ โดยเฉพาะซึ่งสามารถนาไปแบ่งปัน (share) รวมทั้งหาพันธมิตรอื่นๆ เข้ามาช่วยผลักดัน 2) สร้าง Pinterest เพื่อ นาเสนอรูปภาพในจานวนมาก 3) จัดตารางกิจกรรมในรอบปีเพื่อนาเสนอข้อมูลในจังหวะที่พอดี ไม่มีการแสดง สถานะที่มากไป เกินกว่าที่ รับรู้ได้ การเฝ้ามองสังคมประหนึ่งสุนัขเฝ้าบ้าน (watch dog) เพื่อให้เข้าใจพฤติกรรม ความคิดและความก้าวหน้า ของโลกเป็นภารกิจหนึ่งของบรรณารักษ์ ที่ต้องทาความรู้จักกับเพื่อนในสังคม รู้จักพาสารสนเทศไปร้อยเรียงแล้ว นาเสนอผ่านเครื่องมือแบบสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนโลกแห่งการเรียนรู้ที่เอื้อเฟื้อและแบ่งปัน และต้องรู้จักกระทั่ง สังคมออนไลน์แบบความลับคับอกแบบ WHISPER...Share Secrets, Express Yourself, Meet New People รายการอ้างอิง เทอดศักดิ์ ไม้เท้าทอง. (2554, กรกฎาคม-ธันวาคม). การประยุกต์ใช้เฟซบุ๊ค (Facebook) ในห้องสมุดสถาบัน อุดมศึกษา. อินฟอร์เมชั่น, 18 (2): 42-54 ไพโรจน์ วิไลนุช. การสร้างทฤษฎีฐานราก: อีกหนึ่งวิธีวิทยาเพือ่ การพัฒนาองค์ความรู้นิเทศศาสตร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://utcc2.utcc.ac.th/localuser/amsar/about/document14.html. (วันที่ค้น ข้อมูล : 18 กรกฎาคม 2556). สุวิดา ธรรมมณีวงศ์, จักรนาท นาคทอง. (2555). รำยงำนกำรวิจัยเรื่อง เว็บล็อกในฐำนะสื่อกำรเรียนรู้อย่ำง สร้ำงสรรค์ของชุมชนคนรุ่นใหม่. นครปฐม : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร. Bakardjieva, M. , Gaden, G. (2011). “Web 2.0 Technology of the self”. Philos. Technol., 25, Pong Missita. (2009). “Twitter and Facebook”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.snc.lib.su.ac.th/ snclibblog/?p=8730. (วันที่ค้นข้อมูล : 30 สิงหาคม 2556)
250
โต้วาทีน้องใหม่ ชิงโล่อธิการบดี สุ ภ ารั ก ษ์ เมิ น กระโทก* ธั น ยกานต์ สิ น ปรุ ชั ย สิ ท ธิ เปล่ ง วุ ฒิ ไ กร จั ก รี รั ง คะวั ต ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี e-mail : srisui@sut.ac.th*;
บทคัดย่อ การโต้วาที เป็นการโต้คารมในญัตติ ที่กาหนดมีฝ่ายค้านและฝ่ายเสนอ ศูนย์บรรณสารและ สื่อการศึกษา โดยฝ่ายส่งเสริมการู้สารสนเทศ ได้เห็นประโยชน์ของการโต้วาที จึงได้นามาประยุกต์ใช้ ในการประชาสัมพันธ์บริการสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศและสิ่งอานวยความสะดวก ของศูนย์ บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา โดยการ กาหนดญัตติที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุด เป็นการให้นักศึกษา อาจารย์เข้ามามีส่วนร่วมดาเนินกิจกรรม ดังกล่าว โดยบรรณารักษ์ทาหน้าที่สนับสนุน อานวยความสะดวก จัด หาวัสดุ อุปกรณ์ การมีส่วนร่วม ดังกล่าวช่วยทาให้การดาเนินกิจกรรมบรรลุวัตถุประสงค์เป็นอย่างดีและเป็นการสร้างความเข้าใจและ ความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ใช้บริการและบุคลากรของห้องสมุด คาสาคัญ : การโต้วาที, ห้องสมุด – การประชาสัมพันธ์, ห้องสมุด – กิจกรรม บทนา การโต้วาที หมายถึง การแสดงคารมโต้กันในญัตติมีฝ่ายค้านและฝ่ายเสนอ (วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม, 2535: 558) เป็นการเสนอเหตุผลหรือแนวความคิดของตนเอง เป็นการหักล้างเหตุผลหรือแนวความคิดของฝ่ายตรงข้ามเป็น การพูดที่ต้องใช้ปฏิภาณไหวพริบอย่างมาก มีท่าทางประกอบมากเป็นพิเศษ ผู้พูดต้องมีความพร้อมอย่างมาก เพราะ ต้องเตรียมคาพูดให้สุภาพ แหลมคมและกระชับ เป็นการพูดที่เกิดประโยชน์ทั้งต่อผู้โต้วาทีและผู้ฟัง คือ เกิดความ เข้าใจในหลักการ เหตุผล หรือแนวคิด ได้เรียนรู้วิธีแสดงเหตุผลแบบต่าง ๆ มีโอกาสเรียนรู้การใช้ถ้อยคาสานวน รู้จัก พิจารณาเหตุผล เสริมสร้างระบอบประชาธิปไตย รอบรู้ในหลักวิชา ได้ฝึกใช้ปฏิภาณไหวพริบในการแก้ปัญหา กล้า แสดงออกอย่างถูกทาง ได้ฝึกมารยาทการเป็นผู้พูด และผู้ฟังที่ดี รวมทั้งรู้วิธีการเสนอแนวคิดของตนไปยังบุคคล อื่น สาหรับประโยชน์ต่อผู้ฟัง ทาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาหรือหัวข้อญัตติในการโต้วาที มี เหตุผลหรือ แนวคิด ได้เรียนรู้วิธีแสดงเหตุผลแบบต่าง ๆ จากผู้โต้วาที เกิดประสบการณ์ที่แปลกใหม่ มีโอกาสเรียนรู้การใช้ ถ้อยคาสานวนมากขึ้น รู้จักพิจารณาเหตุผล เสริมสร้างระบอบประชาธิปไตย ส่วนประโยชน์ต่อผู้โต้วาทีนั้นจะทาให้ รอบรู้ในหลักวิชาการในญัตติที่กาหนด เกิดการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อนามาใช้ในการนาเสนอหรือคัดค้านอย่างมีเหตุ มีผล ทาให้มีทักษะการค้นหาสารสนเทศเพิ่มมากขึ้น เกิดการปรับปรุงแนวความคิดให้ลึกซึ้งมากขึ้น เกิดความชานาญ ในการพูด รอบรู้ในหลักวิชา ได้ฝึกใช้ปฏิภาณไหวพริบในการแก้ปัญหา กล้าแสดงออกอย่างถูกทาง ได้ฝึกมารยาท การเป็นผู้พูด และผู้ฟังที่ดี รู้วิธีการเสนอแนวคิดของตนไปยังบุคคลอื่น ในการโต้วาทีมีองค์ประกอบ 5 ประการ คือ ญัตติ ผู้ดาเนินรายการในการโต้วาที ผู้โต้วาที กรรมการ และผู้ฟัง สาหรับญัตติ หรือหัวข้อเรื่องที่ใช้ในการโต้วาทีเป็น การเสนอความคิดเห็นที่ขัดแย้งกันในเรื่องเดียวกัน การเลือกญัตติควรเป็นญัตติที่คนทั่วไปสนใจ มีประโยชน์ต่อผู้ โต้วาทีและคนฟัง เป็นญัตติที่ทั้งสองฝ่ายสามารถหาเหตุผลมาหักล้างกันได้ไม่เป็นภัยต่อสังคม
251
ศู น ย์ บ รรณสารและสื่ อ การศึ ก ษา ในฐานะห้อ งสมุ ด เพี ย งแห่ง เดี ย วของมหาวิ ท ยาลั ย ได้ ต ระหนั กถึ ง ความสาคัญของการส่งเสริมการใช้บริการสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ ที่ศูนย์ บรรณสารและสื่อการศึกษาได้จัดเตรียมไว้ โดยเฉพาะนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัย เพื่อให้ นักศึกษาใหม่ได้รู้จักบริการ ทรัพยากรสารสนเทศ และสิ่งอานวยความสะดวกดังกล่าว จึงเห็นควรดาเนินกิจกรรม “โต้วาทีน้องใหม่ ชิงโล่อธิการบดี” ต่อเนื่องเป็นหระจาทุกปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2554 โดยการกาหนดญัตติในการโต้วาที ที่เกี่ยวข้องกับด้านห้องสมุด หรือศูนย์บรรณสารฯ เช่น ญัตติการพูดดีกว่าการเขียน ท่องอินเทอร์ เน็ตเด็ดกว่าท่อง ห้องสมุด (ศูนย์บรรณสารฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) ญัตติใช้บริการศูนย์บรรณสารฯ ฟรี ดีกว่าจ่ายตังค์ ญัตติ อ่านหนังสือหรือจะสู้ eBook เป็นต้น กิจกรรมดังกล่าว ประกอบด้วยผู้โต้วาทีซึ่งได้แก่ นักศึกษา และผู้ฟังหรือกอง เชียร์ ได้แก่ นักศึกษา ดังนั้น การโต้วาที จึงเป็นการแนะนาบริการสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ และสิ่งอานวย ความสะดวกต่ า ง ๆ ที่ ศู น ย์ บ รรณสารและสื่ อ การศึ ก ษาจั ด ไว้ โดยนั ก ศึ ก ษาและให้ นั ก ศึ ก ษาด้ ว ยกั น ได้ รั บ ฟั ง บรรณารักษ์ทาหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนและอานวยความสะดวกในการดาเนินกิจกรรมดังล่าว จึงถือได้ว่ากิจกรรม โต้วาทีน้องใหม่นี้ เป็นกิจกรรมที่ผู้ใช้บริการทั้งนักศึกษา อาจารย์ประจาสานักวิชา/คณะ เข้ามามีส่วนร่วมในการ ดาเนินกิจกรรม ช่วยทาให้การดาเนินกิจกรรมของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา บรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ทุก ประการ นอกจากนี้นักศึกษาได้แสดงความสามารถ ความสามั คคีและสร้างโอกาสให้นักศึกษาใหม่ได้เข้ามาเรียนรู้ และใช้บริการต่าง ๆ ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการใช้บริการสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ และสิ่งอานวยความ สะดวกต่างๆ ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้จัดเตรียมไว้ 2. เพื่อให้นักศึกษาใหม่ได้แสดงความสามารถและพัฒนาทักษะการพูดผ่านการเรียนรู้และใช้บริการต่างๆ ของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา 3. เพื่อสร้างความสามัคคีในกลุ่มนักศึกษาใหม่ ขั้นตอนการดาเนินการ 1. ขออนุมัติโครงการและขออนุมัติค่าใช้จ่ายจากงบประมาณที่ตั้งไว้ 2. ขออนุญาตสลักนามอธิการบดีบนถ้วยรางวัลชนะเลิศการแข่งขันโต้วาที 3. กาหนดญัตติ กลุ่มเป้าหมายหรือผู้เข้าร่วมกิจกรรม วัน เวลา และสถานที่แข่งขัน 4. กาหนดเกณฑ์การให้คะแนน และกรรมการตัดสิน 5. เชิญชวนสานักวิชาส่งนักศึกษาใหม่เข้าร่วมกิจกรรม สานักวิชาละไม่เกิน 2 ทีม 6. ประชาสัมพันธ์กิจกรรมผ่านเว็บไซต์ โปสเตอร์ ป้ายประชาสัมพันธ์อิเล็กทรอนิกส์ email facebook 7. บันทึกเชิญกรรมการตัดสิน 8. ระยะเวลาการดาเนินโครงการ : ภาคการศึกษาที่ 1 ระหว่างเดือนมิถุนายน – สิงหาคม ของทุกปี
252
9. ดาเนินกิจกรรม 10. ประเมินผลและสรุปผลการดาเนินกิจกรรม วิธีดาเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน ผู้ดาเนินรายการจะเป็นผู้กล่าวแนะนาการโต้วาที ประกาศญัตติ ระเบียบการโต้วาทีและแนะนาผู้โต้วาทีทั้ง ฝ่ายเสนอ ฝ่ายค้าน เกณฑ์การตัดสินและการให้คะแนน รวมถึงคณะกรรมการผู้ให้คะแนนให้ผู้ฟังรู้จัก จากนั้น ผู้ดาเนินการโต้วาทีจะเชิญผู้โต้วาทีขึ้นพูดทีละคนตามลาดับ โดยหั วหน้าฝ่ายเสนอจะเป็นผู้พูดก่อน คนต่อมาคือ หัวหน้าฝ่ายค้าน หลังจากนั้นจะเป็นผู้สนับสนุนฝ่ายเสนอและผู้สนับสนุนฝ่ายค้านตามลาดับ 1. การแข่งขันแบ่งเป็น 2 รอบ รอบที่ 1 ผู้เข้าแข่งขันทุกทีม รายงานตัวพร้อมจับฉลากคู่แข่งขัน ในญัตติ ใช้บริการศูนย์บรรณสารฯ ฟรี ดีกว่าจ่ายตังค์ รอบที่ 2 ทีมชนะที่ 1, 2 และ 3 จากรอบที่ 1 แข่งขันประเภทพบกันหมด ทุกทีมพร้อมจับฉลากญัตติการ แข่งขันในการโต้วาที ประกอบด้วย ญัตติท่องอินเทอร์เด็ดกว่าท่องห้องสมุด (ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ญัตติอ่านหนังสือหรือจะสู้ eBook ฯลฯ (ในการศึกษาข้อมูลให้ยึดบริบทของศูนย์บรรณ สารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) 2. เวลา กาหนดให้แต่ละทีมบริหารเวลาภายในเวลา 11 นาที 1) หัวหน้าทีมพูดในช่วงเวลา 4 นาที 2) ลูกทีม / ผู้สนับสนุนพูดคนละ 3 นาที 3) หัวหน้าทีมพูดสรุปไม่เกิน 4 นาที 3. สถานที่ทาการแข่งขัน ณ ห้องบรรณสารสาธิต อาคารบรรณสาร ชั้น 4 4. เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน 1) พูดตามประเด็น 20 คะแนน 2) เสนอเหตุผลข้อเท็จจริงอ้างอิงได้เหมาะสมถูกต้อง 20 คะแนน 3) หักล้างข้อเสนอของฝ่ายตรงข้ามได้ชัดเจน 15 คะแนน 4) ลีลาน้าเสียง ท่าทาง 15 คะแนน 5) วิธีการพูดโน้มน้าว 15 คะแนน 6) การแปรญัตติ 5 คะแนน
253
7) มารยาทในการพูด 5 คะแนน 8) ตรงตามเวลาที่กาหนด 5 คะแนน 5. เกณฑ์การตัดสินและรางวัล 1) ทีมที่มีคะแนนสูงสุด ได้รับรางวัลชนะเลิศโล่จากอธิการบดี ทุนการศึกษา 3,000 บาทพร้อม เกียรติบัตร 2) ทีมที่มีคะแนนรอง ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ทุนการศึกษา 2,000 บาทพร้อมเกียรติบัตร 3) ทีมที่มีคะแนนรองอันดับสอง ได้รับรางวัลชมเชย ทุนการศึกษา 1,000 บาทพร้อมเกียรติบัตร 4) รางวัลกองเชียร์ดีเด่น ได้รับของที่ระลึกและของรางวัล จากศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา 6. คณะกรรมการการแข่งขัน จานวน 3 คน ประกอบด้วย 1) ดร.นฤมล รักษาสุข รองอธิการบดีฝ่ายกิจการสภามหาวทิยาลัยและอาจารย์ประจาสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ (สารสนเทศศึกษา) 2) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ หนึ่งหทัย ขอผลกลาง อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (นิเทศศาสตร์) 3) นางสุภารักษ์ เมินกระโทก บรรณารักษ์ หัวหน้าฝ่ายส่งเสริม การรู้สารสนเทศ ศูนย์บรรณสาร และสื่อการศึกษา ผลการดาเนินการและการประเมินผล ฝ่ายส่งเสริมการรู้สารสนเทศ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ได้ดาเนินกิจกรรม โต้วาทีน้องใหม่ ชิงโล่ อธิการบดี ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2554 และจัดต่อเนื่องมาทุกปีนับจนถึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2556) เป็นปีที่ 3 พบว่ามี นักศึกษาให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้นทุกปี รายละเอียดดังตารางที่ 1 และกราฟที่ 1
254
ที่ 1 2
ตารางที่ 1 แสดงจานวนการเข้าร่วมกิจกรรมโต้วาทีน้องใหม่ จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม กิจกรรม 2554 2555 2556 ทีมที่เข้าแข่งขันโต้วาทีนอ้ งใหม่ 4 5 8 จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมโต้วาทีน้องใหม่ 109 210 250 กราฟที่ 1 แสดงจานวนนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมโต้วาทีน้องใหม่
จากผลประเมินการดาเนินกิจกรรมโต้วาที พบว่า โดยภาพรวมนักศึกษา มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมโต้วาที น้องใหม่ ชิงโล่อธิการบดี ในระดับมาก-มากที่สุด กราฟที่ 2 แสดงผลการประเมินความพึงพอใจต่อกิจกรรมโต้วาทีน้องใหม่ ปี 2555 และ 2556
255
ประโยชน์และคุณค่าต่อการนาไปปรับใช้ในงานห้องสมุด 1. ได้ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการใช้ห้องสมุดให้กับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ซึ่งเป็นนักศึกษาใหม่ จึงอาจไม่รู้จักบริการต่างๆ ของห้องสมุด ซึ่งมีอยู่จานวนมาก การจัดกิจกรรมโต้วาที จึงเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะทาให้ นักศึกษาใหม่เหล่านี้ได้รู้จักบริการต่างๆ ของห้องสมุด ได้มาสัมผัสห้องสมุด เพราะสถานที่การจัดกิจกรรมโต้วาทีจัดที่ อาคารบรรณสาร หรือห้องสมุด จากผลการวิจัยของ ประภาวดี สืบสนธิ์และคณะ (2547) พบว่าผู้ใช้บริการไม่ใช้ บริการนั้น ๆ เนื่องจากไม่ทราบว่าห้องสมุดมีบริการดังกล่าว 2. เป็นวิธีการประชาสัมพันธ์ห้องสมุดอีกวิธี หนึ่งที่บรรณารักษ์ไม่ต้องไปแนะนาผู้ใช้บิรการด้วยตนเอง แต่ บรรณารักษ์ทาหน้าที่ในการจัดเตรียม สนับสนุน จัดหาวัสดุอุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก โดยให้นักศึกษา ด้วยกันเป็นคนบอกกันเอง ซึ่งจากงานวิจัยของประภาวดี สืบสนธิ์ และคณะ (2547) พบว่านักศึกษาเรียนรู้วิธีใช้ ห้องสมุด หรือ รู้จักบริการต่างๆ ของห้องสมุด จากเพื่อนเป็นอันดับแรก 3. สร้างความสามัคคีในกลุ่มนักศึกษาใหม่ เนื่องจากการแข่งขันการโต้วาทีเป็นการแข่งขันประเภททีมมี ตัวแทนจากสานักวิชา ทาให้เพื่อนๆ นักศึกมาชมและเป็นกองเชียร์ให้กับเพื่อนที่โต้วาที และบางสานักวิชาอาจารย์ ประจาสานักวิชามาร่วมกิจกรรมด้วยทาให้นักศึกษารู้สึกว่าเป็นกิจกรรมสาคัญของสานักวิชาอีกกิจกรรมหนึ่ง 4. ญัตติของการโต้วาทีที่กาหนดไว้ซึ่งเป็นญัตติที่เกี่ยวข้องกับห้องสมุด ไม่ว่าจะเป็น 1) การพูดดีกว่าการ เขียน 2) การใช้บริการบรรณสารฯ ฟรีดีกว่าจ่ายตังค์ 3) ท่องอินเทอร์เน็ตเด็ดกว่าท่องห้องสมุด (ศูนย์บรรณสารและ สื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี) 4) อ่านหนังสือหรือจะสู้ eBook เป็นต้น ข้อมูลสาหรับการสนับสนุน หรือคัดค้านญัตติดังกล่าว นักศึกษาต้องมาศึกษาค้นคว้าจากห้องสมุด เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปคัดค้านหรือสนับสนุนญัตติ ดังกล่าว ทาให้นักศึกษาเกิดทักษะการค้นหาสารสนเทศ ได้รู้จักบริการต่างๆ ของห้องสมุด 5. ด้านผู้ฟัง ผู้เข้าฟังหรือกองเชียร์ซึ่งหมายถึงนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรีจากสานักวิชาต่างๆ นอกจาก มาให้กาลังใจเพื่อนที่โต้วาทีบนเวทีแล้ว ในขณะเดียวกันก็ได้รับทราบบริการสารสนเทศ ทรัพยากรสารสนเทศ และ สิ่งอานวยความสะดวก จากการโต้วาทีใ นญัตติต่างๆ นั่นก็คือการประชาสัมพันธ์เกี่ย วกับศูนย์บรรณสารและ สื่อการศึกษาโดยนักศึกษาให้นักศึกษาฟัง 6. ผู้ใช้บริการมีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมของห้องสมุด ไม่ว่าจะเป็นนักศึกษา อาจารย์ประจาสานั ก วิชา และบุคลากรของห้องสมุด ช่วยทาให้การดาเนินกิจกรรมของห้องสมุดบรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้และเกิด ความสัมพันธ์อันนดีระหว่างนักศึกษา อาจารย์ประจาสานักวิชา และบุคลากรของห้องสมุด และศูนย์บรรณสารและ สื่อการศึกษา อีกด้วย รายการอ้างอิง ประภาวดี สืบสนธิ์ และคณะ. (2547). รายงานการวิจัยสถาบันเรื่องความพึงพอใจของนักศึกษาและคณาจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีต่อการใช้ทรัพยากรและบริการสารสนเทศ. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี. วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. (2535). พจนานุกรมไทย-อังกฤษ = Thai-English dictionary. กรุงเทพฯ : รวมสาน์ส
256
ถอดบทเรียนการจัดการความรู้ในงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ระหว่างปี 2553-2556 Lesson-Learned of Knowledge Management in Information Technology at STOU Library during the Years 2010 - 2013 ชั ย วั ฒ น์ น่ า ชม สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช e-mail: chaiwat.nar@stou.ac.th
บทคัดย่อ การจัดการความรูเปนเครื่องมือนาสติปญญาของคนหรือขององคกรมาเพิ่มศักยภาพ ในการ ท า ง า น ผ ล จ า ก ก า ร ร ว บ ร ว ม ค ว า ม รู ค ว า ม เ ชี่ ย ว ช า ญ ข อ ง บุ ค ล า ก ร ห้ อ ง ส มุ ด มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช อย่างเป็นระบบ สามารถใชประโยชน์ในด้านการเรียนรู้และการ ปฏิบัติงานอันเปนกระบวนการที่จาเปนสาหรับการทางานประจาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะ ความสามารถในการจัดการความรู้ ที่ดีจะส่งเสริมขีดความสามารถในการแขงขันและการปรับตัวมาก ยิ่งขึ้น นาไปสูการพัฒนาองค์กรอยางยั่งยืนได้ จากประสบการณ์การจัดการความรู้ในงานเทคโนโลยี สารสนเทศห้องสมุดอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 4 ปี ทาให้ได้องค์ความรู้ใหม่ที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะการปฏิบัติงานการพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดตามแนวคิด Library 2.0 การพัฒนาทักษะการ สื่อสารการบริการ e-Library และเทคนิคการทาเว็บไซต์ห้องสมุดให้ติดอันดับต้นในผลการค้นของ เซิร์ชเอ็นจินที่ห้องสมุดพัฒนาจนสามารถประกาศแนวปฏิบัติที่ดีที่นามาสู่การทางานประจาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สานักบรรณสารสนเทศสามารถพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ที่สามารถนามาพัฒนา ปรับปรุงงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุดตามภารกิจของสานักบรรณสารสนเทศได้อย่างมีมาตรฐาน มีความน่าเชื่อถือ และมีประสิทธิภาพสาหรับการนาเสนอสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและตรง ตามความต้องการของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น นับเป็นการพัฒนาองค์กรที่เกิดจากการจัดการความรู้ในงานที่ ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพแท้จริง คาสาคัญ : การจัดการความรู้, องค์ความรู้, สานักบรรณสารสนเทศ ABSTRACT Knowledge Management is a leading intellect of the person or the organization to enhance performance. The result of combining the knowledge expertise of STOU library staff systematically. Can be exploited in the field of learning and performing a process necessary for the work to be more effective.
257
Because of its ability to promote better knowledge management capabilities to compete and adapt even more. lead to sustainable development. Of experience in information technology , knowledge management, library continued for 4 years, making the new knowledge needed to perform the job. In particular, the performance of library website development based on the concept of Library 2.0. Developing the communication skills of e-Library services and techniques to created library website provides top rankings in search results of search engines that library developers can finally announce the good practices leading up to the work effectively. STOU Library can develop innovative and knowledge to enhance the mission of the library information technology with standards. Are reliable and effective presentation of information that is useful to society and meet the needs of the users even more. The evolution of the organization of knowledge management in practice, effectively true. Keywords : e-Library, Search Engine Optimization, SEO, STOU Library บทนา สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ดาเนินงานจัดการความรู้ในงานเทคโนโลยี สารสนเทศห้องสมุดตามพันธกิจหลักของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553–2556 รวม 4 ปี โดยอิ ง กรอบการด าเนิ น งานตามเกณฑ์ ม าตรฐานการจั ด การความรู้ แผนการจั ด การความรู้ ข องส านั ก บรรณ สารสนเทศ ประจาปีงบประมาณ (แผนปี) และแผนยุทธศาสตร์การจัดการความรู้ของสานักบรรณสารสนเทศ (แผน ระยะ 4 ปี) การจัดการความรู้ในงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุดมี ดังนี้ ปี 2553 เรื่อง การพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดตามแนวคิด Library 2.0 ปี 2554 เรื่อง การพัฒนาทักษะการสื่อสารการบริการ e-Library ปี 2555 เรื่อง เทคนิคการทาเว็บไซต์ห้องสมุดให้ติดอันดับต้นในผลการค้นของ Search Engine เน้นกระบวนการ Off Page SEO (Search Engine Optimization) ปี 2556 เรื่อง เทคนิคการทาเว็บไซต์ห้องสมุดให้ติดอันดับต้นในผลการค้นของ Search engine เน้นกระบวนการ On Page SEO นอกจากการพัฒนางานจัดการความรู้ในงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุดเป็นประจาทุกปีแล้ว ยังได้ ดาเนินการพัฒนางานบริหารความเสี่ยงในงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุดในเรื่องเดียวกันหรือเรื่องที่เกี่ยวเนื่อง สัมพันธ์กันทุกปีควบคู่กันไป ผลจากการจัดการความรู้ในงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้อ งสมุดอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ สานักบรรณสารสนเทศสามารถพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุดที่สามารถนามา พัฒนาปรับปรุงงานตามภารกิจของห้องสมุดและศูนย์เทคโนโลยีบรรณสารสนเทศได้อย่างมีมาตรฐาน มีความ น่าเชื่อถือ และมีประสิทธิภาพสาหรับการนาเสนอสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและตรงตามความต้องการของ ผู้ใช้มากยิ่งขึ้น นับเป็นการพัฒนาองค์กรที่เกิดจากการจัดการความรู้ในงานที่ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพแท้จริง
258
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและรวบรวมความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุดทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลหรือแหล่งความรู้ ต่างๆ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีมาจัดเก็บอย่างเป็นหมวดหมู่และเผยแพร่อย่างเป็นลายลักษณ์ อักษรเพื่อนาแนวปฏิบัติที่ดีนั้นมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ขั้นตอนและวิธีดาเนินงาน การด าเนิ น งานจั ด การความรู้ ใ นงานเทคโนโลยี ส ารสนเทศห้ อ งสมุ ด ตามแผนการจั ด การความรู้ 7 กระบวนการ ได้แก่ 1. การบ่งชี้ความรู้ โดยการตั้งคณะทางานเพื่อศึกษาสภาพข้อมูล เนื้อหา และกาหนด สารวจ ประเมิน ความรู้ที่จาเป็นในการจัดการความรู้ในภาพรวม 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ กาหนดกิจกรรมในการสร้างและแสวงหาความรู้ดังนี้ 2.1 กาหนดรูปแบบและแนวทางในการดาเนินงาน 2.2 กาหนดผู้รับผิดชอบในการรวบรวมความรู้จากแหล่งต่างๆ ที่ใช้ในการจัดการความรู้ 2.3 รวบรวมรายละเอียดความรู้ที่มีอยู่เดิมและทีต่ ้องเพิ่มเติม 3. การจัดระบบความรู้ เป็นการจัดกลุ่มความรู้ที่รวบรวมได้ให้เป็นหมวดหมู่ เพื่อประโยชน์ในการนาไปใช้ ได้อย่างสะดวก 4. การประมวลและการกลั่นกรองความรู้ ดาเนิ นงานโดยคณะทางานการจัดการความรู้ที่ตั้งขึ้นใน กิจกรรม 3 กิจกรรม คือ 4.1 ตรวจสอบ กลั่นกรอง ปรับปรุงเนื้อหาของความรู้ 4.2 นาเสนอรายละเอียดความรู้ต่อผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อพิจารณาให้คาแนะนา 4.3 ทบทวน ปรับปรุงรายละเอียดตามคาแนะนาของผู้ทรงคุณวุฒิ 5. การเข้าถึงความรู้ โดยการเผยแพร่ความรู้ที่พัฒนาใหม่ไปสู่บุคลากรของสานักบรรณสารสนเทศ โดยเฉพาะผูป้ ฏิบัติงานโดยตรงและทดลองการใช้งาน 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามหน่วยงานภายในสานักบรรณ สารสนเทศ ในลักษณะกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ CoPs เพื่อแบ่งปันและแลกเปลี่ยนความรู้ในงานที่เกี่ยวข้อง 7. การเรียนรู้ โดยประยุกต์ความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ เข้าสู่การปฏิบัติงานประจา ได้แก่ 7.1 ทบทวนและปรับปรุงกระบวนงานในการจัดการความรู้ เพื่อนความรู้ที่ได้ไปใช้เป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนงานประจา 7.2 รายงานผลการดาเนินงานต่อคณะกรรมการจัดการความรู้ สานักบรรณสารสนเทศ และจัดกิจกรรม KM Day ของสานักบรรณสารสนเทศ 7.3 สรุปและประเมินผลการจัดการความรู้
259
ผลการศึกษา อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ผลการดาเนินงานการพัฒนาองค์กรด้วยการจัดการความรู้ในงานเทคโนโลยีสารสนเทศของห้องสมุด มสธ. ที่สอดคล้องกับพันธกิจหลักของสานักในการจัดบริการห้องสมุดและสารสนเทศและการส่งเสริมการค้นคว้าด้วย ตนเองในระบบการศึกษาทางไกลของมหาวิทยาลัย รวมทั้งแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ. 2552-2557) ของสานัก ที่มุ่ง สู่การเป็นองค์กรที่มีแนวปฏิบัติที่ดี โดยการพัฒนาการจัดการความรู้ในงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด ตั้งแต่ปี 2553 – 2556 รวมระยะเวลา 4 ปี เพื่อให้บุคลากรเกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานเพื่อ พัฒนาห้องสมุดสู่องค์กรการเรียนรู้ มีผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐานการจัดการความรู้ ตามรายละเอียดใน ตารางที่ 1 ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 1 แสดงผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐานการจัดการความรู้ในงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด ระหว่างปี พ.ศ. 2553-2556 เกณฑ์มาตรฐาน การจัดการความรู้ 1. กาหนดประเด็นความรู้ และเป้ า หมายของการ จัดการความรู้ที่สอด คล้อง กั บ แ ผ น ก ล ยุ ท ธ์ ข อ ง หน่วยงาน
ผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐานการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2553 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555-56 1.1 กาหนดประเด็นความรู้ เรื่อง การพัฒนาเว็บไซต์ ห้อง สมุดตามแนวคิด Library 2.0 1.2 เป้าหมายการจัดการ ความรู้ ได้เว็บไซต์ห้องสมุด ใหม่ตามแนวคิด Library 2.0 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ กระบวนงานการ ประชาสัมพันธ์/สื่อสารกับ ผู้ใช้บริการทั้งภายในและ ภายนอกสานักผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์
1.1 กาหนดประเด็นความรู้ เรื่อง การพัฒนาทักษะการ สื่อสารการบริการ eLibrary 1.2 เป้าหมายการจัดการ ความรู้ ได้เทคนิคและ ความรู้ในการสื่อสารการ บริการ การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่กจิ กรรม ห้องสมุดผ่านเครือข่าย สังคม รูปแบบต่างๆ อาทิ Facebook, Twitter, RSS feed และ Library Blog
1.1 กาหนดประเด็นความรู้ เรื่อง เทคนิค การทาเว็บไซต์ห้องสมุดให้ตดิ อันดับต้น ในผลการค้นของ Search Engine 1.2 เป้าหมายการจัดการความรู้ ได้องค์ความรู้และเทคนิคการพัฒนา เว็บไซต์หอ้ งสมุดให้ติดอันดับต้นในผล การค้นของ Search Engine ทั้งแบบ Off Page และ On Page SEO และผล การค้นเว็บไซต์ห้องสมุดอยู่ใน 10 ลาดับ แรกในผลการค้นด้วย Google
260
เกณฑ์มาตรฐาน การจัดการความรู้ 2. ก าหนดบุ ค ลากรกลุ่ ม เ ป้ า ห ม า ย ที่ จ ะ พั ฒ น า ค ว า ม รู้ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ใ ห้ สอดคล้ อ ง กั บ ประเด็ น ความรู้ที่กาหนด
3. แบ่ ง ปั น แลกเปลี่ ย น เรี ย นรู้ จ ากความรู้ ทั ก ษะ ของผู้ มีประสบการณ์ ต รง (Tacit Knowledge) เพื่อ ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี ตาม ประเด็ น ความรู้ ที่ ก าหนด และเผยแพร่ไปสู่บุคลากร กลุ่มเป้าหมาย
ผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐานการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2553 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555-56 - ตั้งคณะทางาน 3 คณะ ได้แก่ 2.1 คณะทางานจัดการ ความรู้ด้านสถาปัตยกรรม สารสนเทศ (Information Architecture) บนเว็บไซต์ ห้องสมุด 2.2 คณะทางานจัดการ ความรู้ด้านแนวคิดและการ ประยุกต์ Lib 2.0 บน เว็บไซต์หอ้ งสมุด 2.3 คณะทางานพัฒนา เนื้อหา(CMS) เว็บไซต์ ห้องสมุด - จัดถ่ายทอดความรู้และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2 ครั้ง 3.1 การประชุมเชิง ปฏิบัติการ เรื่อง สถาปัตยกรรมสารสนเทศ จานวนผู้เข้าร่วม 30 คน 3.2 การฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนา เว็บไซต์ด้วยโปรแกรม Drupal จานวนผู้เข้าร่วม 30 คน
- ตั้งคณะทางาน 2 คณะ ได้แก่ 2.1 คณะทางานให้ความรู้ และฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ในงานห้องสมุด 2.2 คณะทางานให้ความรู้ และฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้งานเครือข่ายสังคม เพื่อการจัดการความรู้ในงาน ห้องสมุด
- ตั้งคณะทางาน 2 คณะ ได้แก่ 2.1 คณะทางานศึกษาเทคนิคการ พัฒนาเว็บไซต์หอ้ งสมุดให้ติดอันดับต้น ในผลการค้นของ Search Engine 2.2 คณะทางานพัฒนาเว็บไซต์ ห้องสมุดด้วยเทคนิค SEO (Search Engine Optimization)
- จัดถ่ายทอดความรู้และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2 ครั้ง 3.1 การฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการทักษะการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ใน งานห้องสมุด จานวนผู้เข้าร่วม 70 คน 3.2 การฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการ เรื่อง การใช้งาน เครือข่ายสังคมเพือ่ การ จัดการ ความรู้ในงาน ห้องสมุด จานวนผู้เข้าร่วม 35 คน
- จัดถ่ายทอดความรู้และแลก เปลี่ยน เรียนรู้ 5 ครั้ง 3.1 การสัมมนา เรื่อง การแลกเปลีย่ น เรียนรู้ผ่านบล็อก “บรรณสาระความรู”้ สานักบรรณสารสนเทศ จานวนผู้เข้าร่วม 30 คน 3.2 การบรรยายเรื่อง SEO เทคนิคการ ทาเว็บไซต์ห้องสมุดให้ติดอันดับต้นใน ผลการค้นของ Search Engine จานวนผู้เข้าร่วม 35 คน 3.3 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง SEO กับเว็บไซต์ห้องสมุด จานวนผู้เข้าร่วม 35 คน 3.4 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร เรื่อง คีย์เวิร์ด กุญแจสาคัญของการทา SEO จานวนผู้เข้าร่วม 30 คน 3.5 การฝึกอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารเรื่อง ขั้นตอนการปรับแต่งคีย์เวิร์ดบนเว็บไซต์ ห้องสมุดเพื่อการจัดลาดับทีด่ ีขึ้น จานวนผู้เข้าร่วม 30 คน
261
เกณฑ์มาตรฐาน การจัดการความรู้ 4. รวบรวมความรู้ ต าม ประเด็ น ความรู้ ที่ ก าหนด ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและ แหล่ ง เรี ย นรู้ อื่ น ๆ ที่ เ ป็ น แนวปฏิ บั ติ ที่ ดี ม าพั ฒ นา และจัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยเผยแพร่ อ อก มาเป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร (Explicit Knowledge)
5. นาความรู้ที่ได้จากการ จั ด การความรู้ ที่ เ ป็ น ลาย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร (Explicit Knowledge) แ ล ะ จ า ก คว า มรู้ ทั กษ ะ ขอ ง ผู้ มี ประสบการณ์ ต รง (Tacit Knowledge) ที่เป็นแนว ปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการ ปฏิบัติงานจริง
ผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐานการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2553 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555-56 - ผลผลิตทีไ่ ด้จากการจัดการ ความรู้ที่รวบรวมไว้เป็นลาย ลักษณ์อักษร และเผยแพร่ บนเว็บไซต์ห้องสมุด ได้แก่ 4.1 คู่มือการพัฒนาเว็บไซต์ ห้องสมุดตามแนวคิด Library 2.0 4.2 แนวปฏิบัติที่ดีในการ พัฒนาเว็บไซต์หอ้ งสมุดตาม แนวคิด Library 2.0
- ผลผลิตทีไ่ ด้จากการจัดการ ความรู้ที่รวบรวมไว้เป็นลาย ลักษณ์อักษร และเผยแพร่ บนเว็บไซต์ห้องสมุด ได้แก่ 4.1 พัฒนางานบริการ ข่าวสารและกิจกรรมของ ห้องสมุด ผ่านเครือข่าย สังคม 4 ช่องทางสาคัญ คือ Facebook, Twitter, RSS และ Blog 4.2 คู่มือ 100 ทริปง่ายๆ ที่ ทาได้ด้วยตนเอง 4.3 แนวปฏิบัติที่ดีในการ ประชาสัมพันธ์ข่าวสารและ กิจกรรมของห้องสมุดผ่าน เว็บไซต์หอ้ งสมุดและ เครือข่ายสังคม - นาความรู้ที่ได้จากการ - นาความรู้ที่ได้จากการ จัดการความรู้ และแนว จัดการความรู้ และแนว ปฏิบัติที่ดีมาพัฒนางาน ปฏิบัติที่ดีมาพัฒนางาน ประจา ได้แก่ ประจา ได้แก่ 5.1 ได้เว็บไซต์งานห้องสมุด 5.1 การประชาสัมพันธ์ รูปแบบใหม่ตามแนวคิด ข่าวสารและกิจกรรมของ Library 2.0 ที่ง่ายต่อการ ห้องสมุดแนวใหม่ ผ่าน บริหารจัดการ สะดวกต่อการ เว็บไซต์หอ้ งสมุด และ เข้าถึง และเป็นช่องทางใน เครือข่ายสังคม ทีท่ ันเวลา การสื่อสารกับผู้ใช้บริการได้ และเป็นปัจจุบัน สือ่ สารได้ ตรงตามความต้องการ ตรงประเด็น ชัดเจน และ ครอบคลุม สะดวกและ ครอบคลุมกลุม่ ผู้ใช้บริการ รวดเร็วมากยิ่งขึ้น มากยิ่งขึ้น
- ผลผลิตทีไ่ ด้จากการจัดการความรูท้ ี่ รวบรวมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และ เผยแพร่บนเว็บไซต์ห้องสมุด ได้แก่ 4.1 คู่มือการปฏิบตั ิงานการพัฒนา เว็บไซต์หอ้ งสมุดให้ติดอันดับต้นในผล การค้นของ Search Engine 4.2 ประกาศแนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง เทคนิคการพัฒนาเว็บไซต์หอ้ งสมุดให้ ติดอันดับต้นในผลการค้นของ Search Engine
4.3 บทความเรื่อง SEO กับเว็บไซต์ ห้องสมุด 4.4 Google Analytics View (Profile) STOU e-Library - นาความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ และประกาศแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนา งานประจา ได้แก่ 5.1 ปรับแก้ไขเทคนิคการออกแบบ เว็บไซต์หอ้ งสมุดให้ติดอันดับต้นในผล การค้นของ Search Engine 5.2 การปรับปรุงรายการ Meta Tag ในเว็บเพจหน้าต่างๆ ของเว็บห้องสมุด เพื่อให้ติอันดับต้นในผลการค้นด้วย เซิร์ชเอ็นจิน
สรุปประเด็นความรู้ที่เกิดจากการจัดการความรู้ในงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุดอย่างต่อเนื่องเป็น เวลา 4 ปี ต่อเนื่องกัน มีประเด็นความรู้ที่เป็นความรู้ใหม่ และแนวปฏิบัติที่ดีในการดาเนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ห้องสมุด ดังนี้ 1. ด้านองค์ความรู้ ได้รับความรู้ใหม่ๆ ที่เป็นหัวใจสาคัญในการดาเนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด ดังนี้ 1.1 ความรู้ด้านสถาปัตยกรรมสารสนเทศ (Information Architecture) บนเว็บไซต์ห้องสมุด 1.2 ความรู้ด้านการพัฒนาเนื้อหาสารสนเทศ (Content Management System: CMS)
262
1.3 ความรู้ด้านการออกแบบพัฒนาเว็บไซต์ด้วยโปรแกรม Drupal 1.4 ความรู้ด้านการใช้งานเครือข่ายสังคมเพื่อการจัดการความรู้ในงานห้องสมุด 1.5 ความรู้ด้านการเขียนบล็อกอย่างไรให้น่าสนใจและได้สาระความรู้ 1.6 ความรู้ด้านการพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดด้วยเทคนิค SEO (Search Engine Optimization) 1.7 ความรู้ด้าน 100 ทริปง่ายๆ ใน Microsoft Office 2010 ที่ทาได้ด้วยตนเอง 2. ด้านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนนักปฏิบัติของห้องสมุดในเรื่องต่างๆ ดังนี้ 2.1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านบล็อก “บรรณสาระความรู้” 2.2 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง คีย์เวิร์ด กุญแจสาคัญของการทา SEO 2.3 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่อง การปรับแต่งคีย์เวิร์ดบนเว็บไซต์ห้องสมุดเพื่อการจัดลาดับที่ดีขึ้น 3. แนวปฏิบัติที่ดี ห้องสมุดได้แนวปฏิบัติที่ดีในการดาเนินงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด ดังนี้ 3.1 แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง การพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดตามแนวคิด Library 2.0 3.2 แนวปฏิบัติที่ดี เรื่อง การประชาสัมพันธ์ข่าวสารและกิจกรรมของห้องสมุดผ่านเว็บไซต์ ห้องสมุดและเครือข่ายสังคม 3.3 ประกาศมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เรื่อง เทคนิคการพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดให้ติด อันดับต้นในผลการค้นของเซิร์ชเอ็นจิน ข้อเสนอแนะ ปัจจัยสาคัญในการดาเนินงานจัดการความรู้ในงานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุดคือความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจของบุคลากรสานักบรรณสารสนเทศ โดยเฉพาะของบุคลากรในศูนย์เทคโนโลยีบรรณสารสนเทศ ที่มีหน้าที่ หลักในการกากับดูแลและพัฒนางานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด ในการศึกษาค้นคว้า รวบรวมและประมวล ความรู้ที่สาคัญในการจัดการความรู้ การกาหนดประเด็นและหัวข้อในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดจนการสรุป วิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้ที่ได้รับ กลั่นกรองจนได้เป็นองค์ ความรู้ใหม่ๆ ที่จาเป็นและสาคัญต่อการดาเนินงาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด สุดท้ายได้แนวปฏิบัติที่ดีที่สามารถใช้เป็นแบบอย่างในการพัฒนาและเป็น ต้นแบบการจัดการความรู้ให้หน่วยงานอื่นๆ ภายในมหาวิทยาลัยได้เป็นอย่างดี จึงแสดงให้เห็นว่า การจัดการความรู้ ที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้น ทักษะ ความรู้ความสามารถของบุคลากรในองค์การนับเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุด ของการพัฒนางานการจัดการความรู้ การนาไปใช้ประโยชน์ สานักบรรณสารสนเทศได้นาความรู้ด้านสถาปัตยกรรมสารสนเทศ การจัดการเนื้อหา การพัฒนาเว็บไซต์ ด้วยโปรแกรม Drupal การพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดตามแนวคิด Library 2.0 เทคนิคการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร กิจกรรมห้องสมุดผ่านเครือข่ายสังคม และเทคนิคการทาเว็บไซต์ห้องสมุดให้ติดอันดับต้นในผลการค้นเซิร์ชเอ็นจิน ทั้งแบบ Off Page SEO และ On Page SEO ที่เกิดจากการจัดการความรู้อย่างต่อเนื่อง 4 ปี ในประเด็นความรู้ที่ เกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน มาใช้ในการปฏิบัติงานจริงโดยเฉพาะการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดที่ต้อง ดาเนินการตามมาตรฐาน แนวปฏิบัติที่ดี และตามประกาศแนวทางการพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดให้ติดอันดับต้นในผล การค้นเซิร์ชเอ็นจิน รวมถึงความรู้ด้านต่างๆ ที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากร และผู้ทรงคุณวุฒิหลายๆ
263
องค์ความรู้ที่ได้รับจากการดาเนินการจัดการความรู้ ซึ่งผลการดาเนินงานและปฏิบัติงานจริงตามแนวปฏิบัติที่ดีนั้น สามารถเป็นแบบอย่างในการดาเนินงานให้กับหน่วยงานอื่นๆ ภายในมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชได้เป็นอย่างดี ซึ่งกิจกรรมการจัดการความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ต่างๆ เหล่านี้ จะช่วยขยายผลของการจัดการความรู้ให้ กว้างขวางมากขึ้น จากระดับชุมชนนักปฏิบัติกลุ่มเล็กๆ ขยายสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ และสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ที่มี ชีวิต มีความเคลื่อนไหว มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างสม่าเสมอ กล่าวคือ การจัดการความรู้ที่ห้องสมุดดาเนินการ เป็นการจัดการความรู้ ที่แท้จริง เพราะความรู้ ที่ได้รับนั้นไม่เคยหยุดนิ่ง แต่มีการเพิ่มพูนความรู้จากบุคลากร ผู้ปฏิบัติงานทั้งจากการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองและจากกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา รายการอ้างอิง ปภาดา อมรนุรัตน์กุล. (2555) SEO & การตลาดออนไลน์ ทาเว็บดัง+ร้านเด่นได้ง่ายนิดเดียว. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น. Delo, Cotton. “Interactive Marketing Spending to Hit $76.6 Billion in 2016 Forrester Predicts Huge Growth in Mobile, Search Along With Daily Deal Fatigue”. www.adage.com: Available July 15, 2013.http://adage.com/article/digital/interactive-marketing-spend-hit-76-6b2016/229444 McGee, Matt. “The Numbers: Twitter Vs. Facebook Vs. Google Buzz” Search Engine land website: Available July 15, 2013, http://searchengineland.com/by-the-numbers-twitter-vsfacebook-vs-google-buzz-36709. Jurken, Steve. “Why Advertise on a Mobile Device?”. www.marquettegroup.com: Available July 15, 2013, http://www.marquettegroup.com/why-advertise-on-a-mobile-device.
264
Live and Learn Library Tour : เรียนรู้สู่การปฏิบัติจริง Live and Learn Library Tour : Learning to Practice ชมพู นุ ช สราวุ เ ดชา เพี ย งขอบฟ้ า ปั ญ ญาเพ็ ช ร มั ณ ทะณี คาโพธิ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail: cboonyan@med.cmu.ac.th
บทคัดย่อ ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้นากระบวนการจัดการความรู้มาใช้ใน การพั ฒ นากระบวนการจั ด บริ ก ารน าชมห้ อ งสมุ ด ให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และผู้ขอเยี่ยมชมจากหน่วยงานอื่นๆ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดบริการนาชม ห้องสมุ ดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชีย งใหม่ ให้มี ป ระสิทธิภาพ และพั ฒนาศัก ยภาพของ ผู้ปฏิบัติงานห้องสมุดให้มีความสามารถในการเป็นผู้นาชมห้องสมุดที่มีมาตรฐานเดียวกัน ตลอดจนเพื่อ สร้างแนวปฏิบัติที่ดีในการให้บริการนาชมห้องสมุด โดยมีขั้นตอนในการดาเนินงาน ประกอบด้วย การ วางแผนการจัดบริการนาชม การเตรียมความพร้อมของผู้ปฏิบัติงานในการเป็นผู้นาชม การแบ่งกลุ่มผู้ เยี่ยมชมห้องสมุด การนาชมห้อ งสมุ ด และการประเมินผลการให้บริก าร ผลจากการดาเนินงาน ดังกล่าว ทาให้ห้องสมุดสามารถให้บริการนาชมห้องสมุดได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่งผลให้ ผู้รับบริการมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ห้องสมุดเป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง ตลอดจนใช้ ประโยชน์ของห้องสมุดได้อย่างเต็มที่ นอกจากนี้ห้องสมุดอื่น ๆ ยังสามารถนาไปใช้เป็นต้นแบบในการ จัดบริการนาชมห้องสมุดได้อีกด้วย คาสาคัญ: บริการนาชมห้องสมุด, การสอนการใช้ห้องสมุด, การจัดการความรู้, ห้องสมุดคณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ABSTRACT Medical library, Chiang Mai University has been utilizing knowledge management process as a tool to develop the library tour service for students and visitors from other institutes. The objectives of implementing knowledge management process in library touring are to provide the efficiency of library tour service, enhance the ability of library staffs in guiding and create the best practice for library tour service. From our past experiences, the knowledge management process consists of 1) Planning the library tour service. 2) Training the staffs. 3) Dividing visitors into groups. 4) Performing the library tour and 5) Evaluating the service provided. The
265
results of combining knowledge management process in library tour proved that users have gained essential knowledge and understanding on information resources accessment and services of Medical library which improve the self-learning and use all information resources effectively. Notably, the model can be used by other libraries to enhance their library tour service as well. Keywords: Library Tour Service, Library Instruction, Knowledge Management, Faculty of Medicine Library, Chiang Mai University บทนา การนาชมห้องสมุดจัดเป็นกระบวนการหนึ่งในการสอนการใช้ห้องสมุดที่มีบทบาทสาคัญในการส่งเสริมให้ ห้องสมุดเป็นแหล่งของการสร้างความรู้ และองค์กรแห่งการเรียนรู้ของบุคลากรในองค์กร รวมถึงการบริการวิชาการ แก่ชุมชน ซึ่งห้องสมุดเป็นแหล่งสารสนเทศที่มีทรัพยากรที่หลากหลายและทันสมัย การนาชมห้องสมุด (Library Tour) จึงเป็นบริการสาคัญที่ช่วยสนับสนุนให้เกิดการใช้ทรัพยากรสารสนเทศที่ห้องสมุดจัดให้บริการอย่างคุ้มค่า และเป็นงานบริการวิชาการแก่ชุมชนที่พัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างคุณภาพชีวิต บริการนาชมห้องสมุดของห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นาชมห้องสมุดโดยการนา ผู้รับบริการเดินชมอาคารสถานที่ พร้อมทั้งแนะนาให้รู้จักแหล่งค้นคว้าต่าง ๆ ภายในห้องสมุด เพื่อให้ผู้รับบริการมี ความคุ้นเคยกับสถานที่ เกิดความรู้สึกเป็นกันเองกับห้องสมุด และมาใช้ห้องสมุดในโอกาสต่อไป และได้จัดให้มี บริการนาชมห้องสมุดเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Library Orientation) ทุกปี การศึกษา ซึ่งห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ถือว่าเป็นงานสาคัญที่ต้องระดมบุคลากรทุกระดับมาช่วยในการจัดกิจกรรม เพื่อรองรับการให้บริการนาชมแก่นักศึกษาคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ชั้นปีที่ 2 รวมทั้งผู้ขอเข้าเยี่ยม ชมจากหน่วยงานอื่น ๆ ตลอดทั้งปี แต่ด้วยข้อจากัดด้านจานวนผู้ให้บริการนาชมที่ได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของ บรรณารักษ์ นักเอกสารสนเทศ และนักวิชาการศึกษา เท่านั้น ทาให้ไม่สามารถนาชมห้องสมุดแก่ผู้รับบริการจานวน มากในคราวเดียวกัน อีกทั้งทาให้ไม่สามารถนาชมห้องสมุดได้ครอบคลุมทุกจุดบริการ ประกอบกับสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้มีการนาการจัดการความรู้ (Knowledge Management) มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนา งาน และพัฒนาบุคลากร ตั้งแต่ปีพ .ศ. 2549 ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ จึงได้ใช้กระบวนการจัดการความรู้เป็น เครื่องมือในการปรับปรุงกระบวนการบริการนาชมห้องสมุด รวมทั้งพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทุกคนของห้องสมุด ให้มีความพร้อมในการเป็นผู้นาชมห้องสมุด วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ปรับปรุงพัฒนาบริการนาชมห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานห้องสมุดให้มีความสามารถในการเป็นผู้นาชมห้องสมุด ที่มี มาตรฐานเดียวกัน 3. เพื่อสร้างแนวปฏิบัติที่ดีในการให้บริการนาชมห้องสมุด
266
ขั้นตอนและวิธีการดาเนินการ 1. วางแผนการจัดบริการนาชม ใช้กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ในการวางแผนการจัดบริการนาชมห้องสมุด โดยเป็ น กิ จ กรรมของชุ ม ชนแนวปฏิ บั ติ ค นใกล้ ห มอ สมาชิ ก ของชุ ม ชน ประกอบด้ ว ย บุ ค ลากรห้อ งสมุ ด คณะ แพทยศาสตร์ จานวน 26 คน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในหัวข้อเรื่อง “การกาหนดเนื้อหาจุดนาชมห้องสมุด” ซึ่ง ทาให้ได้แนวทางในการจัดบริการนาชมห้องสมุด ดังนี้ 1.1 กาหนดจุดนาชม (Library Tour Stop) จากพื้นที่ให้บริการของห้องสมุดทั้งหมด ประมาณ 6,000 ตารางเมตร แบ่งออกเป็น 4 ชั้น และมีจุด จัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ จุดให้บริการต่าง ๆ จานวนมาก มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ให้บริการทุกปี ทาให้นาชม ห้องสมุดได้ไม่ทั่วถึง ห้องสมุดจึงได้กาหนดจุดนาชม (Library Tour Stop) ที่มีหมายเลขกากับอย่างชัดเจน เพื่อเป็น แนวทางในการนาชมให้ครบถ้วน ซึ่งในขั้นตอนนี้ ห้องสมุดได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างบรรณารักษ์ นัก เอกสารสนเทศ นักวิชาการศึกษา และผู้ปฏิบัติงานห้องสมุด จนได้จานวนจุดนาชมที่เหมาะสม พร้อมทั้งทาความ เข้าใจในรายละเอียดของทรัพยากรสารสนเทศและบริการในแต่ละจุด จากนั้นทาการกาหนดหมายเลข จัดทาป้าย แสดงหมายเลขสาหรับติดที่จุดนาชมให้ชัดเจน
ภาพที่ 1 สัญลักษณ์ของจุดนาชม (Library Tour Stop) และ การติดสัญลักษณ์ ณ จุดนาชม
1.2 กาหนดเนื้อหาบรรยายในแต่ละจุดนาชม การนาชมห้องสมุดแบบเดิม เนื้อหาการบรรยายขึ้นอยู่กับประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ และความทุ่มเท เอาใจใส่ในการนาชมห้องสมุดของผู้นาชมแต่ละบุคคล ทาให้ผู้เยี่ยมชมแต่ละกลุ่มได้รับความรู้และมุมมองที่แตกต่าง กัน ดังนั้น ห้องสมุดจึงได้ปรับปรุงเนื้อหาบรรยาย โดยสกัดความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) จากบุคลากรที่ เชี่ยวชาญในแต่ละจุดบริการมาเป็นผู้แบ่งปันความรู้ และแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ร่วมกันในกลุ่มผู้ปฏิบัติงานห้องสมุด ทา
267
ให้ได้องค์ความรู้คือเนื้อหาที่จะใช้บรรยายในแต่ละจุดนาชมที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน มีการบันทึกและจัดทาคู่มือการ ให้บริการนาชมห้องสมุด เพื่อใช้เป็นเอกสารสาหรับผู้นาชมในการซักซ้อมความเข้าใจและทบทวนก่อนการนาชม 2. เตรียมความพร้อมของผู้ปฏิบัติงานในการเป็นผู้นาชม เดิมผู้ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้นาชมห้องสมุด มีเพียงบรรณารักษ์ นักเอกสารสนเทศ และนักวิชาการศึกษา ซึ่งมี 4 คน เท่านั้น ทาให้การนาชมห้องสมุดแก่ผู้รับบริการจานวนมากในคราวเดียวกันต้องเพิ่มจานวนวันและรอบของ การนาชม ดังนั้น เพื่อเพิ่มจานวนผู้นาชมให้เหมาะสมกับจานวนผู้รับบริการ ห้องสมุดจึงมีแนวคิดในการพัฒนา ศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานห้องสมุดทุกคนให้มีความสามารถในการเป็นผู้นาชม โดยดาเนินการดังนี้ 2.1 จัดอบรมด้านบุคลิกภาพและภาพลักษณ์ของผู้ให้บริการยุคใหม่ โดยเชิญวิทยากรผู้มีคุ ณวุฒิมาเติมเต็ม ความรู้เพื่อปรับบุคลิกภาพให้เหมาะสมกับการเป็นผู้นาชม มีความมั่นใจในการให้บริการ และเป็นที่น่าเชื่อถือของ ผู้รับบริการ 2.2 ฝึกปฏิบัติการนาชมห้องสมุด โดยผู้ที่ปฏิบัติงานประจา ณ จุดที่เป็นจุดบริการนาชมแต่ละจุด เป็นผู้ แบ่งปันความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการบริการ ณ จุดนั้น ๆ หลังจากนั้นกาหนดให้บุคลากรฝึกปฏิบัตินาชมจาก การจาลองสถานการณ์จริง เพื่อให้ผู้นาชมเกิดความคุ้นเคย ลดความประหม่า ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนมีความรู้ใน เนื้อหาที่จะบรรยายครอบคลุมทุกจุดนาชม มีความสามารถและมีความพร้อมในการนาชมห้องสมุ ดทั้งนี้ ได้มีการ ประเมินผลการฝึกปฏิบัติโดยบรรณารักษ์นักเอกสารสนเทศ และนักวิชาการศึกษา เพื่อให้คาแนะนาสาหรับปรับปรุง การนาชมห้องสมุดของผู้ปฏิบัติงานแต่ละคนให้มีมาตรฐานเดียวกัน 3. แบ่งกลุ่มผู้เยี่ยมชมห้องสมุด เมื่อได้รับการติดต่อขอเข้าเยี่ยมชมห้องสมุดจากผู้รั บบริการกลุ่มต่างๆ ในกรณีที่ผู้เยี่ยมชมมีจานวนมาก ห้องสมุดจะพิจารณาแบ่งกลุ่มจานวนผู้เข้าเยี่ยมชมกลุ่มละไม่เกิน 15 คนต่อผู้นาชม 1 คน เพื่อให้ผู้นาชมสามารถ ดูแล ตลอดจนให้คาแนะนาการใช้ห้องสมุดแก่ผู้เยี่ยมชมได้อย่างทั่วถึง และผู้เยี่ยมชมมีโอกาสซักถามระหว่างการนา ชมได้อย่างเต็มที่ 4. นาชมห้องสมุด ในการนาชมห้องสมุด ผู้นาชมจะจัดระบบการนาชมไปตามเส้นทางของจุดนาชม (Library Tour Stop) ที่ ได้กาหนดไว้ โดยจัดลาดับการนาชมของแต่ละกลุ่มไม่ให้เวลาทับซ้อนกันในแต่ละจุดนาชม เช่น กลุ่มที่1 เริ่มต้นนาชม ที่จุดนาชมที่1 กลุ่มที่2 เริ่มต้นนาชมที่จุดนาชมที่ 2 และใช้เวลานาชมในแต่ละจุดเป็นเวลา 5 นาที โดยหมุนเวียนไป ตามลาดับหมายเลขของจุดนาชมจนครบทุกจุด ทั้งนี้ผู้นาชมห้องสมุดทุกคนจะบรรยายเนื้อหาการนาชมตามคู่มือการ ปฏิบัติงานบริการนาชมห้องสมุด
268
ภาพที่ 2 บรรยากาศการนาชมห้องสมุด 5. ประเมินผลการให้บริการ ห้องสมุดมีการประเมินผลการนาชมห้องสมุดจาก 2 กลุ่ม คือจากกลุ่มผู้รับบริการ และกลุ่มผู้นาชม ผลการ ประเมินความพึงพอใจจากผู้รับบริการ พบว่า ในภาพรวมของการบริการนาชมแต่ละครั้งผู้รับบริการมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก สาหรับการประเมินผลจากกลุ่ม ของผู้นาชม ห้องสมุดใช้วิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถอดบทเรียน เพื่อหาแนวปฏิบัติที่ดีในการให้บริการนาชมห้องสมุดในครั้งต่อไป ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผลจากการจัดบริการนาชมห้องสมุดตามกระบวนการข้างต้น ทาให้ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ สามารถ ให้บริการนาชมห้องสมุดด้วยกระบวนการให้บริการที่พัฒนาผ่านกระบวนการจัดการความรู้ของห้องสมุด เป็นผลให้ มีผู้นาชมห้องสมุดเพิ่มขึ้นจาก 4 คน เป็น 24 คน อีกทั้งมีจุดนาชมและเนื้อหาสาหรับบรรยายการนาชมในแต่ละจุด ชัดเจน สามารถให้บริการนาชมห้องสมุดได้อย่างครบถ้วน ครอบคลุมจุดให้บริการ ผู้นาชมสามารถบรรยายเนื้อหา ได้ถูกต้องทุกครั้ง บุคลากรของห้องสมุดมีศักยภาพและความพร้อมในการให้บริการนาชมห้องสมุดมากขึ้น รวมทั้งมี คู่มือปฏิบัติงานบริการนาชมห้องสมุดที่สามารถนามาทบทวน ปรับปรุงได้ตลอดเวลา ทาให้การให้บริการนาชมแก่ผู้ เยี่ยมชมมีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่งผลให้ผู้รับบริการได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ห้องสมุดและบริการ ต่างๆ อย่างถูกต้อง ครบถ้วน อีกทั้งสร้างความภาคภูมิใจให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน สร้างชื่อเสียงให้แก่หน่วยงาน และสร้าง ความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ อย่างไรก็ตาม เพื่อ ให้การนาชมห้องสมุดมีความหลากหลายเพิ่มขึ้น ห้องสมุดควรเพิ่มช่องทางในการ ให้บริการนาชมห้องสมุด เช่น การจัดทาคลิปวิดีโอนาชมห้องสมุดเผยแพร่ผ่านสื่อออนไลน์ ในขณะเดียวกันควรมี การจัดทาคู่มือการนาชมห้องสมุดเป็นภาษาอังกฤษ เพื่อใช้ในการให้บริการนาชมห้องสมุดแก่ผู้รับบริการชาวต่างชาติ
269
การนาไปใช้ประโยชน์ 1. ประโยชน์ต่อผู้รับบริการ 1.1 ผู้ รั บ บริ ก ารที่ เ ป็ น นั ก ศึ ก ษา อาจารย์ นั ก วิ จั ย และบุ ค ลากรจากคณะ/หน่ ว ยงานภายใน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับความรู้และมีความเข้าใจ ในการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศและบริการของห้องสมุด คณะแพทยศาสตร์ เพื่อใช้เป็นแหล่งค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง อีกทั้งเกิดความคุ้นเคยกับสถานที่ และผู้ให้บริการ ของห้องสมุด 1.2 ผู้รับบริการที่เป็นผู้เยี่ยมชมจากหน่วยงาน/บุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีโอกาสได้เรียนรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการบริหารจัดการห้องสมุดและการใช้ห้อ งสมุดทางการแพทย์ รวมทั้งเป็นการสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้รับบริการจากหน่วยงานอื่นๆ และห้องสมุดอีกด้วย 2. ประโยชน์ต่อบุคลากรห้องสมุด บุคลากรห้องสมุดทุกระดับได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ทางวิชาการและวิชาชีพเพื่อให้มีความพร้อมในการ เป็นผู้นาชมห้องสมุด ตลอดจนสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการให้บริการอื่น ๆ ของห้องสมุด ส่งผลให้ บุคลากรเกิดความภาคภูมิใจในการเป็นผู้ให้บริการอย่างมืออาชีพ 3. ประโยชน์ต่อห้องสมุด จากแนวทางการบริการนาชมห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ห้องสมุดอื่น ๆ ที่มี ข้อจากัดด้านจานวนผู้ให้บริการนาชม สามารถนาไปใช้เป็นต้นแบบในการให้บริการนาชมห้องสมุดเพื่อให้การนาชม ห้องสมุดมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รายการอ้างอิง จินดา จาเริญ. (2532). การสอนการใช้ห้องสมุด.บรรณารักษศาสตร์ มข., 8(1), 13-30. สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2555). วิสัยทัศน์ พันธกิจ จุดมุ่งหมาย. สืบค้นจาก http://library.cmu.ac.th/cmul/th/content/vision-mission-goals ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2556). ประวัติความเป็นมาห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์. สืบค้นจาก http://www.med.cmu.ac.th/library/about/
270
คาพูดเชิงบวกที่มีผลต่อการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน The effects of positive words in the development of school library สมปอง มิ ส สิ ต ะ* สุ กั ญ ญา โภคา จั น ทร์ เ พ็ ญ กล่ อ มใจขาว เอกอนงค์ ดวงจั ก ร์ พนิ ด า จมู ศ รี รุ่ ง ทิ ว า ฝ่ า ยดี หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร e-mail: missitaa@su.ac.th*
บทคัดย่อ การดาเนินงานโครงการ “ห้องสมุดมีชีวิตเพื่อชุมชน” ของหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นไปอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ พ.ศ.2539 ถึงปัจจุบัน และใน ปีงบประมาณ 2554 ได้เข้าไปพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนวัดวังกุลา อาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัด สุพรรณบุรีร่วมกับผู้บริหาร คณะครู บุคลากรและนักเรียน จนได้รับรางวัลโรงเรียนรักการอ่านระดับ เขตพื้นที่การศึกษา (สุพรรณบุรี) อันดับที่ 2 (โรงเรียนขนาดเล็ก) ปีการศึกษา 2555 และรางวัลที่ 1 กิจกรรมการพัฒนาห้องสมุดมีชีวิตในโรงเรียน ปี 2555 (ขนาดเล็ก) จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2556 คณะทางาประเมินผลโครงการโดย สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นผู้บริหารและบุคลากรของโรงเรียนวัดวังกุลา จานวน 7 คน แบ่งเป็น 4 ด้ า นคื อ ด้ า นกายภาพ ด้ า นบุ ค ลากร ด้ า นการบริ ห ารจั ด การ และด้ า นเทคโนโลยี หนั ง สื อ และ สื่อการศึกษา ซึ่งผู้ประเมินสามารถเขียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ จากนั้นรวบรวมข้อคิดเห็น โดย มีวัตถุประสงค์เพื่อหาคาพู ดเชิงบวกที่มีผลต่อการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน ผลการศึกษาพบว่า ด้าน กายภาพมีคาพูดเชิงบวกมากที่สุด จานวน 23 คา รองลงมาคือด้านบุคลากร มีคาพูดเชิงบวก จานวน 22 คา ด้านเทคโนโลยี หนังสือและสื่อการศึกษา มีคาพูดเชิงบวก จานวน 18 คา และด้านการบริหาร จัดการ มีคาพูดเชิงบวก จานวน 17 คา คาสาคัญ : ห้องสมุดโรงเรียน, การพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน, คาพูดเชิงบวก ABATRACT The project “Living Library for Community” of Sanamchandra Palace Library, Silpakorn University, has been activated since 1996 to present. For examples, in 2011, Wat Wang Kula Library, Doem Bang Nang Buat District, Supanburi Province received the second prize award of Reading School from Educational Service Area Supanburi and the first prize of living library activity development in 2012 from Suphanburi Primary Educational Service Area 3 on 16 January 2013. The project was evaluated by
271
questionnaires from 7 administrators and staffs of Wat Wang Kula School. The openended questionnaires are divided into 4 parts which are physical, personnel, administrative and technology books and education medias. The purpose of this study are gathered the positive words from the questionnaires. The result is revealed that there are 23 physical positive words, 22 personnel positive words, 18 technology positive words and 17 administrative positive words. Keywords : positive words, school library ความคิด หอสมุด พระราชวัง สนามจัน ทร์ ส านัก หอสมุด กลาง มหาวิท ยาลัย ศิล ปากร ได้จ ัด ท าโครงการ “ห้องสมุดมีชีวิตเพื่อชุมชน” อย่างต่อเนื่องตั้ง แต่ พ.ศ.2539 เป็น ต้น มา โดยในปีงบประมาณ 2554 หอสมุด พระราชวังสนามจันทร์ ได้เข้าไปพัฒนาห้องสมุดโรงเรียนวัดวังกุลา อาเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ร่ว มกับ ผู้บ ริ หาร คณะครู บุ ค ลากรและนั ก เรี ย น จนกระทั่ ง ได้ รั บรางวั ล โรงเรี ย นรั ก การอ่า นระดั บเขตพื้ น ที่ การศึกษา (สุพรรณบุรี) อันดับที่ 2 (โรงเรียนขนาดเล็ก) ปีการศึกษา 2555 และรางวัลที่ 1 กิจกรรมการพัฒนา ห้องสมุดมีชีวิตในโรงเรียนปี 2555 (ขนาดเล็ก) จากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 เมื่อ วันที่ 16 มกราคม 2556 ผลการดาเนินงานครั้งนี้ ทาให้คณะทางานสนใจแบ่งปันและถ่ายทอดบทเรียนของ ความสาเร็จ ดังกล่าว จากการศึกษาเรื่องความสาเร็จในการทางานพบว่า ผู้รับผิดชอบโครงการหรือกิจกรรมมักจะประเมิน ความสาเร็จโดยการประเมินความพึงพอใจ แต่คณะทางานเห็นว่าวิธีการดังกล่าวอาจมีข้อจากัดทั้งในเรื่องการแสดง ความคิดเห็น มีกรอบในการตอบ จานวนของผู้ตอบแบบสอบถาม รวมทั้งข้อจากัดของการสัมภาษณ์ จึงเลือกใช้ วิ ธี ก ารประเมิ น ผลการด าเนิ น งานตามโครงการดั ง กล่ า ว ด้ ว ยการหาค าพู ด ที่ มี ลั ก ษณะเชิ ง บวก ซึ่ ง น าแนวคิ ด “ถ้อยคา” และ “ทัศนะเชิงบวก” มาผสมผสานกัน ในเรื่องของ “ถ้อยคา” ตามทฤษฎีวัจนกรรมของจอห์น แอล ออสติน (John L. Austin) ซึ่งเชื่อว่าถ้อยคาในภาษาเป็นการกระทาเราสามารถกระทาการต่างๆ ได้ด้วยคาพูด เช่น เมื่อผู้พูดพูดว่า “I promise I’ll be there on time.” ก็เท่ากับว่าผู้พูดได้กระทาการตกลงที่จะกระทาการอย่างใด อย่างหนึ่งในอนาคต ที่เป็นข้อผูกมัดระหว่างผู้พูด ต่อผู้ฟัง นอกจากนี้คากริยาในประโยคคือ Promise เป็นกริยาที่ ทาให้เกิดการกระทาขึ้นได้ ซึ่งเราเรียกกริยานี้ว่า “กริยา ที่ก่อให้เกิดการกระทา” (Performative Verb) ต่อมา จอห์น เซอร์ล (John Searle) ได้พัฒนาแนวคิดนี้โดยตั้งสมมุติฐานไว้ว่า ถ้อยคาที่พูดออกมาไม่เพียงแต่ที่มีกริยาที่ ก่อให้เกิดการกระทาเท่านั้น แต่ทุกถ้อยคามีเจตนาแฝงอยู่เสมอ (นิภัทร อังกูรสินธนา, 2550: 137-138) ส่วน“ทัศนะเชิงบวก” เป็นการเริ่มต้นค้นหาความสาเร็จที่ไม่มีคาว่า สายเกินไป ในโลกนี้สิ่งที่ต้อง ยอมรับคือ ความแตกต่างระหว่างคนที่สาเร็จกับล้มเหลว คนที่เก่งกว่ากับด้อยกว่า ซึ่งมี “วิธีคิด” เป็นตัวแปรหลัก คนที่ไม่ประสบความสาเร็จหรือด้อยกว่าส่วนใหญ่กลัวความล้มเหลว กลัวไม่สาเร็จ กลัวตัวเองไม่มีค่า และคิดว่าการ จะประสบความสาเร็จเป็นเรื่องยาก แต่คนที่ประสบความสาเร็จ หรือเป็นคนเก่งที่สร้างตัวขึ้นมาเองโดยไม่มีกอง มรดก แต่เป็นคนที่มีความหวังและมุ่งมั่นที่จะมีอนาคตที่ดีกว่า และมีพลังที่จะทาให้ตัวเองสู้ มีบุคลิกและการ แสดงออกที่มั่นใจในตัวเอง และมีความสามารถที่จะพลิกตัวในสถานการณ์ที่ยากลาบากให้เป็นทางบวกและความโชค
272
ดีได้ เพราะวิธีคิดเป็นส่วนหนึ่งของการขยายให้เป็นการกระทา ถ้าคิดว่าเราเป็นคนอ่อนแอ และไม่ต่อสู้ก็จะไม่มีทาง สาเร็จ แต่ถ้าคิดว่าเราแข็งแกร่งกว่ามีความมุ่งมั่น อยากเป็นคนประสบความสาเร็จ จะทาให้แต่ละก้าวที่ก้าวไปสู่ ความสาเร็จได้ ก็ต้องอาศัยวิธีคิดในทางบวก เพื่อให้ใส่ใจแต่ปัจจัยบวกที่มุ่งเน้นให้เราไปสู่เป้าหมายได้ ซึ่งเราสามารถ พัฒนาต่อเพื่อให้เป็นไปในทางที่ดี เสริมสร้างการเรียนรู้ และสามารถนาความสาเร็จมาสู่ตัวเราได้ในท้ายที่สุด อุปสรรคหรือความล้มเหลวจึงไม่ใช่จุดสิ้นสุด หากแต่เป็นจุดเริ่มต้น เหมือนกาแพงยิ่งสูงยิ่งสะท้อนถึงโอกาสที่ดี ถ้า เรามีอุปสรรคยิ่งมาก ก็หมายความว่าภายใต้อุปสรรคหรือเบื้องหลั งของอุปสรรคก็คือ โอกาสมหาศาล หากเรามี ความสามารถที่จะฝึกตัวเองให้มีนิสัยและวิธีคิดให้เป็นทางบวก กระตุ้นให้เรามองเห็นทุกวันเป็นวันที่โชคดีและพร้อม จะเริ่มสิ่งใหม่ ๆ ก็จะทาให้เราคิดมุมกลับได้ (SVOA, 2556 : 1) ดังนั้นในการศึกษา คาพูดเชิงบวก จึงเป็นกรอบแนวคิดที่สร้างขึ้นมาใช้ในการตรวจสอบความคิดเห็นของผู้ ประเมิน ซึ่งผู้รับสารสามารถนาไปตีความ นาไปคิด วิเคราะห์และพัฒนาได้ในโอกาสต่อไป กระบวนการและผลการศึกษา คณะทางานได้สร้างแบบสอบถามความคิดเห็น แบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ ด้านกายภาพ ด้านบุคลากร ด้าน การบริหารจัดการ และด้านเทคโนโลยี หนังสือและสื่อการศึกษา โดยผู้บริหารและบุคลากรของโรงเรียนวัดวังกุลา จ านวน 7 คน เป็ น ผู้ ป ระเมิ น ผลการด าเนิ น งานห้อ งสมุ ด โรงเรี ย นฯ แบบสอบถามทุ ก ข้ อ เป็ น การสร้ า งค าถาม ปลายเปิด ให้เขียนแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกอย่างอิสระ จากนั้นคณะทางานได้นาข้อความทั้งหมดมารวบรวม โดยมีวัตถุประสงค์โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาคาพูดเชิงบวกที่มีผลต่อการพัฒนาห้องสมุดโรงเรียน ผลการศึกษาพบว่า 1. คาพูดเชิงบวกทางกายภาพ ได้กาหนดกรอบให้ผู้ตอบใน 4 เรื่องคือ ความสะดวกในการเข้าถึงและการ ใช้บริการ การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมภายใน การจัดสภาพแวดล้อมภายนอก และการจัดพื้นที่ใช้สอย ผล การแสดงความคิดมีคาพูดเชิงบวกทางกายภาพ ดังตารางที่ 1
ประเด็ น
จานวน
คาพู ด เชิ ง บวก
ด้ า นกายภาพ
23
- ธรรมชาติ -ไม่มีสิ่งรบกวน -เอื้อต่อการเรียนรู้ -เป็นสัดส่วน – เข้าใช้เวลาพักเที่ยง ได้ง่าย -มีการขยายห้องเพิ่ม -มีการทาที่บังแดดหน้าอาคารเพิ่มเติม –สถานที่ดี – สภาพแวดล้อมดี -บรรยากาศดี -เอื้อต่อการเรียนรู้ --อยู่ในตาแหน่งที่เหมาะสม -จัดได้ ดีเยี่ยม –สะอาด -มีภาพติดเข้าใจ -มีมุมศึกษาหลายมุม -การควบคุมดูแลดี –มีระบบ ห้องสมุดอัตโนมัติ -มีมุมต่างๆให้ศึกษาเรียนรู้ -ทันสมัย -เหมาะสม ตารางที่ 1 คาพู ด เชิ ง บวกด้ า นกายภาพ
จากตารางที่ 1 คาพูดเชิงบวกด้านกายภาพพบว่า มีจานวน 23 คา ที่สะท้อนให้เห็นถึงความสะดวกในการ เข้าถึงและการใช้บริการ (เป็นสัดส่วน เข้าใช้เวลาพักเที่ยงได้ง่าย อยู่ในตาแหน่งที่เหมาะสม) การจัดสภาพแวดล้อม ภายนอก (ธรรมชาติ มีสถานที่ดี สภาพแวดล้อมดี บรรยากาศดี เอื้อต่อการเรียนรู้ ) การจัดบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมภายใน (ไม่มีสิ่งรบกวน จัดได้ดีเยี่ยม สะอาด มีภาพติดเข้าใจ การควบคุมดูแลดี เหมาะสม มีมุมศึกษา
273
หลายมุม มีมุมต่างๆให้ศึกษาเรียนรู้ ) และการจัดพื้นที่ใช้สอย (ทันสมัย มีการขยายห้องเพิ่ม มีการทาที่บังแดดหน้า อาคารเพิ่มเติม มีระบบห้องสมุดอัตโนมัติ) 2. คาพูดเชิงบวกด้านบุคลากร ได้กาหนดกรอบให้ผู้ตอบใน 3 เรื่องคือ การเป็นนักจัดการ/ประสานงาน การทางานในห้องสมุด และการพัฒนาตนเอง ผลการแสดงความคิดมีคาพูดเชิงบวกด้านบุคลากร ดังตารางที่ 2 ประเด็ น
จานวน
คาพู ด เชิ ง บวก
ด้ า นบุ ค ลากร
22
-ทุ ก ระดั บ -ความร่ ว มมื อ -ทางานเป็ น -งานส่ ว นรวม -ใช้ ห้ อ งสมุ ด อย่ า ง ต่ อ เนื่ อ ง -มี ค รู บ รรณารั ก ษ์ -อบรม -สั ม มนา -ดู ง าน –แลกเปลี่ ย น ต่ อ เนื่ อ ง -มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ -มี เ ด็ ก นั ก เรี ย นทาหน้ า ที่ แ ทน -เอาใจใส่ เ ป็ น อย่ า งดี -ประสานความร่ ว มมื อ –ช่ ว ยเหลื อ ซึ่ ง กั น และกั น -มี ส่ ว นร่ ว ม -มี ความสามารถในการบริ ห ารจั ด การดู แ ลระบบห้ อ งสมุ ด -ทุ ก ท่ า น -ความ สนใจ -ตั้ ง ใจทางาน - การบริ ก ารด้ า นห้ อ งสมุ ด ดี ตารางที่ 2 คาพู ด เชิ ง บวกด้ า นบุ ค ลากร
จากตารางที่ 2 คาพูดเชิงบวกด้านบุคลากรพบว่า มีจานวน 22 คา ที่สะท้อนให้เห็นถึง การเป็นนักจัดการ/ ประสานงาน (ทุกระดับ งานส่วนรวม เอาใจใส่เป็นอย่างดี ประสานความร่วมมือ มีครูบรรณารักษ์ ช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน มีความสามารถในการบริหารจัดการดูแลระบบห้องสมุด ทุกท่าน ความสนใจ ตั้งใจทางาน ความร่วมมือ ทางานเป็นมีความรับผิดชอบ) การทางานในห้องสมุด (ใช้ห้องสมุดอย่างต่อเนื่อง มีเด็กนักเรียนทาหน้าที่แทน มีส่วน ร่วม การบริการด้านห้องสมุดดี) และการพัฒนาตนเอง (อบรม สัมมนา ดูงาน แลกเปลี่ยน ต่อเนื่อง) 3. คาพูดเชิงบวกด้านการบริหารจัดการ ได้กาหนดกรอบให้ผู้ตอบใน 4 เรื่องคือ ภาวะผู้นาของผู้บริหาร งบประมาณ การจัดการ และการบริหารงานภายในห้องสมุด ผลการแสดงความคิดมีคาพูด เชิงบวกด้านการบริหาร จัดการ ดังตารางที่ 3
274
ประเด็ น
จานวน
คาพู ด เชิ ง บวก
ด้ า นการบริ ห าร จั ด การ
17
-มีวิสัยทัศน์ -พยายาม -หาเครือข่าย -จัดสรรงบประมาณเพิ่มขึ้น -การประเมินเป็น ที่พอใจ -เป้าหมายการบริหารห้องสมุดชัดเจน –สอนโดยใช้ห้องสมุดเป็นแหล่ง เรียนรู้ -ร่วมมือกับครูบรรณารักษ์ -เสาะแสวงหาหนังสือที่มีประโยชน์ - มีการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น -บริการแก่เด็กอย่างเป็นรูปธรรม –จัดทาบัตรสมาชิก ห้องสมุด -มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ –มีเจ้าหน้าที่ดูแลรับผิดชอบห้องสมุดแต่ละวัน สนับสนุนงบประมาณ -ส่งเสริม -สามารถบริหารให้ห้องสมุดมีการพัฒนาขึ้น ตารางที่ 3 คาพู ด เชิ ง บวกด้ า นการบริ ห ารจั ด การ
จากตารางที่ 3 คาพูดเชิงบวกด้านการบริหารจัดการพบว่า มีจานวน 17 คา ที่สะท้อนให้เห็นถึงภาวะผู้นา ของผู้บริหาร (มีวิสัยทัศน์ พยายาม หาเครือข่าย เป้าหมายการบริหารห้องสมุดชัดเจน ส่งเสริม) งบประมาณ (จัดสรร งบประมาณเพิ่มขึ้น เสาะแสวงหาหนังสือที่มีประโยชน์ สนับสนุนงบประมาณ) การจัดการของผู้บริหาร (การประเมิน เป็นที่พอใจ มีการแต่งตั้ งผู้รับผิ ดชอบ สอนโดยใช้ห้องสมุดเป็น แหล่งเรียนรู้ สามารถบริหารให้ห้องสมุดมีการ พัฒนาขึ้น ร่วมมือกับครูบรรณารักษ์ มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การบริหารงานภายในห้องสมุด(-บริการแก่เด็ก อย่างเป็นรูปธรรม จัดทาบัตรสมาชิกห้องสมุด มีเจ้าหน้าที่ดูแลรับผิดชอบห้องสมุดแต่ละวัน) 4. คาพูดเชิงบวกด้านเทคโนโลยี หนังสือและสื่อการศึกษา ได้กาหนดกรอบให้ผู้ตอบใน 2 เรื่องคือ การนา เทคโนโลยีมาใช้ในห้องสมุด สภาพของหนังสือและสื่อการศึกษา ผลการแสดงความคิดมีคาพูดเชิงบวกด้านเทคโนโลยี หนังสือ สือ่ และอุปกรณ์ ดังตารางที่ 4 ประเด็ น
ด้านเทคโนโลยี หนังสือและ สื่อการศึกษา
จานวน
คาพู ด เชิ ง บวก
18
-มีการส่งเสริม -หนังสือเหมาะสม -มีการจัดซื้อหนังสือเพิ่มเติม –จัดกิจกรรมหลาย อย่าง -เพียงพอ –เอื้อ -สอดคล้อง -มีการใช้เทคโนโลยี -มีสืบค้นหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ -มีอินเทอร์เน็ต –มีคอมพิวเตอร์ –ตลอดเวลา -มีโทรทัศน์ -มีสื่อโปร เจ๊คเตอร์ -มีหนังสือหลากหลาย -ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน –มีการจัดกิจกรรม ประจาวัน –มีหนังสือหลากหลายมาก ตารางที่ 4 คาพู ด เชิ ง บวกด้ า นเทคโนโลยี หนั ง สื อ และสื่ อ การศึ ก ษา
จากตารางที่ 4 คาพูดเชิงบวกด้านบริหารจัดการ พบว่ามีจานวน 18 คา ที่สะท้อนให้เห็นถึงเทคโนโลยี (มี การส่งเสริม มีการใช้เทคโนโลยี มีอินเทอร์เน็ต มีคอมพิวเตอร์ ตลอดเวลา มีโทรทัศน์ สื่อโปรเจ๊คเตอร์ มีสืบค้น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์) หนังสือและสื่อการศึกษา (หนังสือเหมาะสม มีการจัดซื้อหนังสือเพิ่มเติม จัดกิจกรรมหลาย อย่าง เพียงพอ เอื้อ สอดคล้อง มีหนังสือหลากหลาย ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบัน มีการจัดกิจกรรมประจาวัน มีหนังสือ หลากหลายมาก)
275
อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ผลจากการศึกษาคาพูดเชิงบวกที่ มี ผลต่อการพัฒนาห้องสมุดโรงเรี ยนพบว่า การที่ห้องสมุดประสบ ผลสาเร็จได้ต้องอาศัยการสนับสนุนจากผู้บริหารและความร่วมมือจากเพื่อนร่วมงาน คาพูดเชิงบวกเป็นกลวิธีหนึ่งที่ สามารถทาให้ผู้อื่นเข้าใจถึงสภาพการทางานในห้องสมุดกับทุกภาคส่วนขององค์กร รวมทั้งหากเมื่อเปลี่ยนผู้บริหาร หรือเพื่อนร่วมงาน ซึ่งอาจมีแนวคิดและทิศทางในการทางานที่ ต่างไปจากเดิม แต่เราประสงค์ให้ “คาพูดเชิงบวก” ยังคงอยู่อย่างยั่งยืนในหน่วยงาน และมีการพัฒนาแบบต่อยอดจากเดิม การเริ่มต้นบทสนทนา หรือการรายงาน สภาพการดาเนินงานของห้องสมุดในเรื่องของกายภาพ บุคลากร การบริหารจัดการ รวมทั้งด้านเทคโนโลยีหนังสือ และสื่อการศึกษา สามารถใช้การสื่อสารทางอ้อมด้วยคาพูดเชิงบวกเพื่อความสุภาพ ให้เกียรติและหลีกเลี่ยงความ ขัดแย้ง จะมีผลต่อการเสริมสร้างจุดเริ่มต้นของความสัมพันธ์อันดี สร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้กันและกัน มีความรู้สึก มั่นใจ เกิดความไว้วางใจต่อกันได้รวมทั้งไม่บั่นทอนสภาพจิตใจ ความส าเร็ จ ของการด าเนิ น งานตามโครงการ “ห้ อ งสมุ ด มี ชี วิ ต เพื่ อ ชุ ม ชน” นั้ น กล่ า วได้ ว่ า หอสมุ ด พระราชวังสนามจันทร์ เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่ผลักดันให้ห้องสมุดโรงเรียนวัดวังกุลาประสบผลสาเร็จ ความสาเร็จของ โรงเรียนวัดวังกุลาขึ้นอยู่กับองค์ประกอบในทุกอณูของโรงเรียน ชุมชนรวมทั้งพันธมิตรอื่นๆ ที่ต้องอาศัยกาลังกาย กาลังสติปัญญาและกาลังทรัพย์เข้ามาช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ความสาเร็จดังกล่าวทาให้หอสมุดฯ สามารถพัฒนา ห้องสมุดโรงเรียนวัดวังกุลา เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาห้องสมุด โรงเรียนอื่นๆ ที่แสดงความสนใจและตั้งอยู่ใน บริเวณนั้น คาตอบซึ่งคณะทางานบอกกล่าวกับโรงเรียนต่างๆ เมื่อมีคาถามว่าทาอย่างไรจึงจะประสบผลสาเร็จบ้างคือ คาพูดในเชิงบวกทั้ง 80 คา ที่สะท้อนความเป็นมา ปัจจุบัน และอนาคต หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์เป็นเพียงส่วน หนึ่งเท่านั้น เพราะท้ายสุดไม่ว่าหอสมุดฯ จะเข้าไปช่วยมาก ปานกลางหรือน้อยแค่ไหน การดาเนินงานด้านเทคนิค และการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ล้วนแต่เป็นเรื่องของเจ้าภาพหลักทั้งสิ้น นอกจากนี้แล้วแนวความคิดของการดึง ความพูดเชิงบวกยังสามารถนาไปปรับใช้ในการระดมความคิดของบุคลากรในองค์ก ร แล้วนามาตีความเพื่อบริบท หรือคาตอบในการวางแผนงานได้อีกด้วย รายการอ้างอิง นิภัทร อังกูรสินธนา. (2550). “การศึกษาเปรียบเทียบวัจนกรรมอ้อมในการบริภาษในนวนิยายไทยต่างสมัย ” ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย 2,1: 133-134. SVOA. (2556). ความคิดเชิงบวกเพื่อความสาเร็จ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.svoa.co.th/about/65/article/: (วันที่ค้นข้อมูล: 18 กรกฎาคม 2556).
276
แนวทางการพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด Maha Sarakham “City Library” สมพงษ์ เจริ ญ ศิ ริ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม e-mail: Sompong.c@msu.ac.th
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เพื่อหาแนวทางการพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด (Maha Sarakham : City Library) กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยประกอบด้วยหัวหน้าหน่วยงานและชุมชนต่าง ๆ ดังนี้ 1. อุทยาน การเรียนรู้มหาสารคาม (MK Park), 2. สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3. สานักวิทย บริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม 4. ชุมชนเทศบาลเมือง มหาสารคาม ได้มาโดยวิธีเลือก แบบเจาะจง (Purposive Sampling) เก็บข้อมูลโดยแบบสัมภาษณ์ และใช้เครื่องบันทึกการสัมภาษณ์ ทั้งหมด 6 ด้าน สรุปผลเป็นรายด้านดังนี้ 1. ด้านความเป็นไปได้ของ โครงการ ทุกหน่วยงานเห็นด้วยและอยากให้จัดทาโครงการเมืองแห่งห้องสมุด เพื่อการเข้าถึงและ ใช้ ทรัพยากรร่วมกัน 2. ด้านทรัพยากรสารสนเทศ หน่วยงานที่มีความพร้อมด้านให้บริการห้ องสมุด ประชุมความร่วมมือในการช่วยเหลือด้านงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรห้องสมุดร่วมกันไม่ให้เป็น ภาระหน่ ว ยงานใดหน่ ว ยงานหนึ่ ง 3. ด้ า นหน่ ว ยงานและบุ ค ลากร มี ค ณะกรรมการร่ ว มกั น ทุ ก หน่วยงานที่ใ ห้บริก ารโดยมีหน่วยงานกลางเป็นหลักเพื่ อการบริหารงานที่เป็นเอกเทศจากระบบ ให้บริการเดิม เสนอให้อุทยานการเรียนรู้มหาสารคาม (MK Park) เป็นหน่วยงานหลักในการบริหาร จัดการด้านนี้ 4. ด้านงบประมาณ ทุกหน่วยงานควรมีการจัดตั้งงบประมาณสมทบในการจัดซื้อจัดหา ทรัพยากรสารสนเทศในแต่ละปีตามความสามารถขององค์กร แต่ ให้อุทยานการเรียนรู้มหาสารคาม (MK Park) ซึ่งบริหารงานโดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดและเทศบาลเมืองมหาสารคาม เป็น หน่วยงานหลักด้านงบประมาณ 5. ด้านกลุ่มประชากรผู้ใช้บริการ ทุกคนที่อาศัยและมีทะเบียนบ้านอยู่ ในจังหวัดมหาสารคามสามารถใช้บริการได้ทุกจุดบริการที่แหล่งสารสนเทศติดตั้งอยู่ 6. ด้านรูปแบบ การให้บริการ มีการกาหนดระเบียบการให้บริการโดยคณะกรรมการจากหน่วยงานหลัก และรูปแบบ ที่ให้บริการที่มีความพึงพอใจมากที่สุดคือใช้เครื่องยืม-คืนหนังสือระบบอัตโนมัติบนเครือข่ายนวัตกรรม และเทคโนโลยีห้องสมุดซึ่งตั้งอยู่ทุกมุมเมืองมหาสารคาม และสามารถให้บริการสืบค้นทรัพยากร สารสนเทศบนเว็บไซต์ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์, Tablet และ Smartphone ได้ คาสาคัญ: ห้องสมุด, ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด, เครือข่ายห้องสมุด, มหาสารคาม
277
ABSTRACT This research aims to seek guidelines to develop the city library of Maha Sarakham (Maha Sarakham: City Library). The sample consists of heads of agencies and communities as follows: (1) Maha Sarakham Knowledge Park , (2) Academic Resource Center , Mahasarakham University , (3) Academic Resources and Information Technology Center, Rajabhat Maha Sarakham University, and (4) Maha Sarakham Municipal Community , and was obtained with a purposive sampling recorded interviews. The results are as six following aspects: (1) As for the feasibility study of the project, all agencies agreed and wanted to have the city library with resources sharing and access, (2) As for information resources, agencies with the availability of library services should seek co-operation in information resource budget support in order not to burden one of any agencies specifically, (3) As for authority and personnel, the agencies should set up a federal agency to work independently which includes committees nominated by all agencies and the proposed main agency to work on this matter is Mahasarakham Knowledge Park , (4) As for the matter of budget, all agencies should have budgetary contribution in the procurement of information resources each fiscal year, accordingly to each agency’s capability. And the major budget should be contributed by Mahasarakham Knowledge Park, which is administered by the Provincial Administration and Maha Sarakham Municipality ,(5) As for the clients, any registered of Maha Sarakham population is eligible to access every service point , (6) As for innovative services, the service policy should be set up by the board of the organization . And the pattern that provide the most satisfaction is the automatic inter-library loan systems, which are located in every corner of Maha Sarakham. And search services of information resources should be made available on the website and accessed through computer tablets and smartphones. Keywords : Library, Co-operation, Library Network, Maha Sarakham บทนา สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ การผลิต ต่อยอด ถ่ายทอด บูรณาการ และใช้ความรู้เป็นหัวใจสาคัญ ของการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน การสร้างสังคมที่เข้มแข็งและมีคุณภาพ คนเป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงสุด การเรียนรู้และการศึกษาเป็นกลไกสาคัญของการพัฒนาคน การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศมีส่วนสาคัญในการ สนับสนุน การเรียนรู้ตลอดชีวิต การศึกษา เพื่อมวลชน และสนับสนุนการปลดปล่อยศักยภาพของเด็กไทย
278
โดยเฉพาะในพื้นที่ชนบทและถิ่นทุรกันดานให้มีการรับรู้และการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ตรงตามแนวคิดของอุทยานการ เรียนรู้แห่งชาติที่ว่า “แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตที่เน้นปลูกฝังและส่ง เสริมนิสัยรักการอ่าน เพื่อสร้างและแสวงหาความรู้ ในบรรยากาศการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ทันสมัย มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเชื่อมโยงเครือข่าย กระจายความรู้ในลักษณะศูนย์รวมสื่อและข้อมูลที่สะดวกในการเข้าถึงและใช้บริการ ประกอบด้วยสิ่งอานวยความ สะดวกในการจัดกิจกรรม สร้างสรรค์ต่าง ๆและเป็นการส่งเสริม สนับสนุนกระบวนการเรียนรู้สาธารณะ รวมทั้งการ พัฒนาความสามารถของบุคคลตลอดชีวิต อันจะเป็นกาลังสาคัญในการสร้างสรรค์สังคมและพัฒนาประเทศต่อไป” (สมพงษ์ เจริญศิริ : 2554) ห้องสมุดมีบทบาทสาคัญยิ่งต่อการศึกษาทุกระดับ โดยเฉพาะในระดับอุดมศึกษาห้องสมุดนับว่าเป็นปัจจัย สาคัญที่ส่งผลต่อการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการของมหาวิทยาลัย เนื่องจากเป็นแหล่งทรัพยากรที่ช่วยส่งเสริม การศึ ก ษา ร่ ว มถึ ง การค้ น คว้ า วิ จั ย ดั ง นั้ น แต่ ล ะมหาวิ ท ยาลั ย จึ ง พั ฒ นาห้ อ งสมุ ด ของตนและพยายามจั ด หา ทรัพยากรห้องสมุดประเภทต่าง ๆ มาไว้เพื่อให้บริการแก่ผู้ใช้ให้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ นอกจากการจัดหาทรัพยากร มาให้เพียงพอแก่ผู้ใช้แล้ว หน้าที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งซึ่งนับว่าเป็นหัวใจของห้องสมุด นั่นคือการจัดให้บริการ แต่ เนื่องจากมีเงื่อนไขและข้อจากัดต่างๆ โดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจ บุคลากรและทรัพยากรการบริหารต่าง ๆ แนวคิดเรื่องความร่วมมือระหว่างห้องสมุดจึงเกิดขึ้น และที่มีแนวคิดเรื่องความร่วมมือระหว่างกัน (Library Cooperation) เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างห้องสมุด (Library Resources Sharing) สานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา. (2554) ได้ดาเนินโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) โดยเชื่อมโยง เครือข่ายระหว่างมหาวิทยาลัย /สถาบันที่เป็นสมาชิกผ่านเครือข่าย UniNet โดยมีโครงการภายใต้เครือข่าย 5 โครงการ คือ - พัฒนาฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมห้องสมุดมหาวิทยาลัย/สถาบัน (Union Catalog) - พัฒนาระบบจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Collection) - ดาเนินการบอกรับฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น (Reference Database) - จัดหาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ eBooks - พัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติสาหรับห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย (Automatic Library) การสร้างองค์ความรู้ห้องสมุดเครือข่ายร่วมกัน จากการให้บริการมวลทรัพยากรสารสนเทศในมหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน ส่วนราชการต่าง ๆ ส่วนใหญ่ให้บริการมวลสมาชิกตนเอง แต่ในความเป็นจริงบุคคลภายนอกหรือ ชุมชนมีส่วนร่วมในการใช้บริการน้อยที่สุดทั้ง ๆ ที่สถานทีอ่ ยู่ใกล้ การสืบค้นผ่านเว็บไซต์สามารถเข้าถึง แต่การเข้าใช้ บริการเสมือนเป็นระบบปิด มีสิ่งปิดกั้นหรือกาแพงมากมายหลายด่าน ทาให้ไม่สะดวกในการเข้าใช้ และยืม คืนทั้ง ๆ ที่แหล่งบริการสารสนเทศที่เป็นส่วนราชการยินดีให้บริการก็ตาม ทาให้เกิดการเสียโอกาสของชุมชนในการพั ฒนา อาชีพและคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นโดยใช้สารสนเทศห้องสมุด ดังนั้น ผู้วิจัยเห็นว่าจังหวัดมหาสารคาม เป็นเมืองที่รู้กันทั้ง ประเทศและทั่วโลกว่าเป็นเมืองตักสิลาคือเมืองแห่งการศึกษา เป็นแหล่งเรียนรู้และผลิตบัณฑิตออกไปรับใช้สังคม มากมายและยาวนาน มีสถาบันการศึกษาแทรกอยู่กับชุมชนเมืองอย่างแยกกันไม่ออก จึงมีความสนใจในการหา แนวทางให้ทุกคนทั้งที่เป็นนักศึกษา นักวิจัย ชุมชน สามารถใช้มวลทรัพยากรสารสนเทศด้วยกันอย่างไม่มีระบบมา ปิดกั้น จึงได้นาเสนอโครงการวิจัย แนวทางพัฒนาไปสู่เมืองแห่ง ห้องสมุด (Maha Sarakham : City Library) เพื่อ
279
ชุมชนและสังคมทุกระดับสามารถเข้าใช้ทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างเท่าเทียมกันและทั่วถึงอย่างแท้จริง ทั้งนี้ โครงการดังกล่าวจะประสบผลสาเร็จมิได้ถ้าไม่ได้รับการสนับสนุนจาก อุทยานการเรียนรู้มหาสารคาม (MK Park) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัย ราชภัฎมหาสารคาม ชุมชนเทศบาลและเมืองมหาสารคาม ตลอดจน สถาบันการศึกษาและแหล่ง การเรียนรู้ต่าง ๆ ในจังหวัดมหาสารคาม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด (Maha Sarakham : City Library) 2. เพื่อศึกษาแหล่งสารสนเทศในเครือข่ายในการหาแหล่งสนับสนุน 3.เพื่อพัฒนาต้นแบบการพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด (City Library) ขั้นตอนและวิธีดาเนินการ การวิจัยครั้งนี้เพื่อหาแนวทางการพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด (Maha Sarakham : City Library) ทาการศึกษาและเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมกราคม 2556 ถึงพฤศจิกายน 2556 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยประกอบด้วย หัวหน้าหน่วยงานและชุมชนต่าง ๆ ดังนี้ 1. อุทยานการเรียนรู้มหาสารคาม (MK Park) จานวน 4 ท่าน 2. สานักวิทย บริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จานวน 2 ท่าน 3. สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราช ภัฎมหาสารคาม จานวน 2 ท่าน 4. ชุมชนเทศบาลเมืองมหาสารคาม จานวน 8 ท่าน ได้มาโดยวิธีเลือก แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยมีขั้นตอนดาเนินงานดังนี้ 1. วิเคราะห์ปัญหา และศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวคิดและทฤษฏีมาใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด 2. ประชุมวางแผนเพื่อกาหนดกลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่างหน่วยงานต่างๆ ในจังหวัดมหาสารคาม 3. สร้างแบบสัมภาษณ์เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 3.1 ความเป็นไปได้ของโครงการ 3.2 ด้านทรัพยากรสารสนเทศ 3.3 ด้านหน่วยงานและบุคลากร 3.4 ด้านงบประมาณ3.5 ด้านกลุ่มประชากร ผู้ใช้บริการ 3.6ด้านรูปแบบการให้บริการ 4. เก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง โดยแบบสัมภาษณ์และใช้เครื่องบันทึกการสัมภาษณ์ 5. สถิติที่ใช้วิเคราะห์ขอ้ มูล คือ ค่าเฉลี่ย จากแบบสัมภาษณ์และข้อเสนอแนะ 6. สรุปผลการวิจัย สรุปผลการวิจยั ผลจากการวิจัย แนวทางการพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด (Maha Sarakham : City Library) ผู้วิจัยได้ทา การสัมภาษณ์และใช้เครื่องบันทึกการสัมภาษณ์กับกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็น หัวหน้าหน่วยงานและชุมชน 4 กลุ่มคือ 1. อุทยานการเรียนรู้มหาสารคาม (MK Park) 2. สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3. สานักวิทยบริการและ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม 4. ชุมชนเทศบาลและเมืองมหาสารคาม โดยสรุปดังนี้
280
(แนวทางการพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด Maha Sarakham : City Library) 1. ด้านความเป็นไปได้ของโครงการ ทุกหน่วยงานเห็นด้วยและอยากให้เมืองมหาสารคามมีการจัดทาโครงการเมืองแห่งห้องสมุด เพื่อการเข้าถึงและใช้ ทรัพยากร ห้องสมุดร่วมกัน 2. ด้านทรัพยากรสารสนเทศ ทุกหน่วยงานที่เป็นแกนหลักและมีความพร้อมด้าน ให้บริการห้องสมุดประชุมความร่วมมือในการช่วยเหลือด้านงบประมาณในการจัดหาทรัพยากร ห้องสมุดร่วมกัน ไม่ให้เป็นภาระหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่ง 3. ด้านหน่วยงานและบุคลากร มีคณะกรรมการร่วมกันทุกหน่วยงานที่ ให้บริการโดยมีหน่วยงานกลางที่เป็นแกนหลักเพื่อเป็นการบริหารงานที่เป็นเอกเทศจากระบบให้บริการแบบเดิม เสนอให้ อุทยานการเรียนรู้มหาสารคาม (MK Park) เป็นหน่วยงานหลักในการบริหารจัดการ 4. ด้านงบประมาณ ทุ ก หน่ ว ยงานควรมี ก ารจั ด ตั้ ง งบประมาณสมทบในการจั ด ซื้ อ จั ด หามวลทรั พ ยากรสารสนเทศในแต่ ล ะปี ต าม ความสามารถขององค์กร แต่ให้อุทยานการเรียนรู้มหาสารคาม (MK Park) ซึ่งบริหารงานโดยองค์การบริหารส่วน จังหวัดและเทศบาลเมืองมหาสารคาม เป็นหน่วยงานหลักด้านงบประมาณ 5. ด้านกลุ่มประชากรผู้ใช้บริการทุกคนที่ อาศัยและมีทะเบียนบ้านอยู่ในจังหวัดมหาสารคามสามารถใช้บริการได้ทุกจุดบริการที่แหล่งสารสนเทศติดตั้งอยู่ 6. ด้านรูปแบบการให้บริการ มีการกาหนดระเบียบการให้บริการโดยคณะกรรมการจากหน่วยงานหลัก และรูปแบบที่ ให้บริการที่มีความพึงพอใจมากที่สุดคือใช้เครื่องยืม -คืนหนังสือระบบอัตโนมัติบนเครือข่ายนวัตกรรมและเทคโนโลยี ห้องสมุดซึ่งตั้งอยู่ทุกมุมเมืองมหาสารคาม และสามารถให้บริการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศบนเว็บไซต์ผ่านเครื่อง คอมพิวเตอร์, Tablet และSmartphone ได้ (แหล่งที่จะสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด ) โดยเรียงลาดับ 1. องค์การบริหารส่วน จั ง หวั ด มหาสารคาม 2. เทศบาลเมื อ งมหาสารคาม 3. มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม 4. มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ มหาสารคาม (ต้นแบบการพัฒนาสู่เมือง แห่งห้องสมุด Maha Sarakham : City Library) มีความต้องการจุด บริหารจัดการตรงกลางเป็นคลังสาหรับจัดเก็บสารสนเทศห้องสมุดร่วมกัน ดังภาพ ประกอบ 1 และกระจายเครื่อง สืบค้น ยืม คืน อัตโนมัติเป็นตู้ไปวางกระจายตามจุดสาคัญต่าง ๆ ของเมืองมหาสารคาม
อภิปรายผล จากการดาเนินงานวิจัย แนวทางการพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด (Maha Sarakham : City Library) ทุก หน่วยงานเห็นด้วยและอยากให้เมืองมหาสารคามมีการจัดทาโครงการเมืองแห่งห้องสมุด เพื่อชุมชนและสังคมทุก ระดับสามารถเข้าใช้ทรัพยากรสารสนเทศได้อย่างเท่าเทียมกันและทั่วถึง โดยทุกหน่วยงานที่เป็นหลักและมีความ พร้ อ มด้ า นให้ บ ริ ก ารห้ อ งสมุ ด ประชุ ม ความร่ ว มมื อ ในการช่ ว ยเหลื อ ด้ า นงบประมาณ บุ ค ลากร ในการจั ด หา ทรัพยากรห้องสมุดร่วมกันไม่ให้เป็นภาระหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งและมีการบริหารงานมีคณะกรรมการร่วมกัน
281
ทุกหน่วยงานที่ให้บริการโดยมีหน่วยงานกลางที่เป็นหลักเพื่อเป็นการบริหารงานที่เป็นเอกเทศจากระบบให้บริการ เดิม และให้บริการผู้ใช้ทุกคนที่อาศัยและมีทะเบียนบ้านอยู่ในจังหวัดมหาสารคามเพื่อสามารถติดตามทวงถามได้ง่าย และนงนุช สุขใจเจริญกิจ . (2554) ได้กล่าวถึง วิธีคิดและแนวทางความร่วมมือเครือข่าย OCLC : Online Computer Library Center, Inc. เป็นองค์กรนานาชาติที่ไม่แสวงหาผลกาไรและเป็นเครือข่ายห้องสมุดสากล นานาชาติที่มีฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่มลรัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา ให้บริการมวลทรัพยากร สารสนเทศแก่สมาชิกห้องสมุดมากกว่า 25,900 ห้องสมุดทั่วโลก ผลจากการร่วมมือทาให้แต่ล ะแห่งสามารถเข้าถึง มวลทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดและก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรร่วมกันทั่วโลก ทั้งยังเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการ ดาเนินงานด้านสารสนเทศห้องสมุดอีกด้วย ในอนาคตหากเกิดความร่วมมือดังกล่าวมากขึ้นจากสถาบันบริการ สารสนเทศทั่วโลกจะทาให้สามารถเข้าถึงมวลทรัพยากรสารสนเทศได้ทุกที่ ทุกเวลา และทุกรูปแบบตามที่ต้องการ อย่างไม่มีขีดจากัด รูปแบบการให้บริการ ผ่ านเครื่องยืม -คืนและสืบค้ นหนัง สือระบบอัตโนมัติบ นเครื อข่ายวัตกรรมและ เทคโนโลยีห้องสมุดซึ่งตั้งอยู่ทุกมุมเมืองมหาสารคาม และให้บริการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศบนเว็บไซต์ผ่านเครื่อง คอมพิวเตอร์, Tablet และ Smartphoneซึ่งสอดคล้องกับบทความของ NOPPORN. (2010) กล่าวว่า “ห้องสมุด ประชาชนเซินเจิ้น” เป็นห้องสมุดภายในสังกัดของเทศบาลเมืองเซินเจิ้น มณฑลกวางตุ้ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ห้องสมุดใช้ระบบ RFID จัดการกับหนังสือใช้เทคโนโลยีดังกล่าว เข้ากับระบบยืม- คืนอัตโนมัติ โดยจัดทาตู้หนังสือ อัจฉริยะ ที่เรียกว่า “Self-Service Library of City Blocks” ซึ่งเป็นตู้ที่มีการออกแบบมาอย่างพิเศษ ด้านบนจุหนังสือได้ 800 เล่ม ข้างล่างจุได้อีก 400 เล่ม รวมเป็น 1,200 เล่ม หนังสือแต่ละเล่มจะอยู่บนรางโลหะ ขวามือจะเป็นจอ OPAC ซึ่ง ผู้ใช้บริการสามารถค้นดูว่า ในตู้ “City Block” หากค้นและพอใจหนังสือเล่มใด ผู้ใช้บริการสามารถขอยืมได้ด้วยตนเอง ครั้งละ 2 เล่ม จุดติดตั้งจะกระจายไปทุกมุมเมืองจานวน 140 เครื่อง การยืมแบบนี้เป็นการส่งเสริมการอ่านแก่ผู้ใช้บริการ อย่างดียิ่ง ข้อเสนอแนะ 1.จัดประชุมหน่วยงานหลักในจังหวัดมหาสารคามให้ทราบถึงโครงการและข้อมูลที่ได้จากการวิจัย ในการ จัดตั้งคณะกรรมการ คณะทางาน กาหนดความร่วมมือในรูปแบบ MOU และนาเสนองบประมาณ เพื่อกาหนดจุด ร่วมและแนวทางพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด Maha Sarakham “City Library” ร่วมกัน 2.ควรมีการนาเสนอเพิ่มเติมในด้านมาตรฐานการจัดเก็บทรัพยากรสารเทศและเทคโนโลยีการเชื่อมโยง เครือข่ายของระบบ การนาไปใช้ระโยชน์ งานวิจัยแนวทางพัฒนาสู่เมืองแห่งห้องสมุด (Maha Sarakham : City Library) สามารถนางานวิจัยไปสู่ แนวปฏิ บั ติ ที่ เ ป็ น รู ป ธรรมโดยมี ก ารก าหนดหน่ ว ยงานหลั ก ที่ ป ระสานงานและเชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ยไปยั ง สถาบันการศึกษาและชุมชนต่าง ๆ เพื่อชุมชนและสังคมทุกระดับสามารถเข้าใช้ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุดได้ อย่างเท่าเทียมกันและทั่วถึง
282
ภาพประกอบ 1 คลังหนังสือกลางสาหรับจัดเก็บสารสนเทศห้องสมุดและจุดสาคัญในการให้บริการตู้สืบค้น ยืม คืน รายการอ้างอิง NIPORN. (2010). ห้องสมุดเซินเจิ้น: แหล่งความรู้คู่ชุมชน (Shenzhen Library : The House of Wisdom) : http://noppp700.wordpress.com/2010/08/15/ห้องสมุดเซินเจิ้น-แหล่ง/ นงนุช สุขใจเจริญกิจ. (2554) วิธีคิดและแนวทางความร่วมมือเครือข่าย OCLC. การสัมมนาความร่วมมือระหว่าง ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 29 เรื่อง มิติใหม่ในการพัฒนาความร่วมมือระหว่างห้องสมุด (The New Dimension of Library Cooperation Development) จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ร่วมกับ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา วันที่ 29 พฤศจิกายน-2 ธันวาคม 2554 ณ ห้องประชุมอาคาร เรียนรวม 5 ชั้น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลาปาง. สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2553) . โครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย = Thai Library Integrated System (ThaiLIS). สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา : กรุงเทพฯ. สมพงษ์ เจริ ญ ศิ ริ , และสั น ติ ภ าพ เปลี่ ย นโชติ . (2553). โครงการเชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ ห้ อ งสมุ ด สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดมหาสารคาม ภายใต้การให้บริการเสมือนหนึ่งระบบเดี่ยวระบบเดียวกัน (Mahasarakham Library Net). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
283
การจัดการสารสนเทศพระปกเกล้าศึกษา: 120 ปี ผ่านฟ้า ประชาธิปก King Prajadhipok Study Information Management : 120th Anniversary Year Phanpha Prajadhipok ชั ย วั ฒ น์ น่ า ชม สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช e-mail: chaiwat.nar@stou.ac.th
บทคัดย่อ วันที่ 8 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2556 เป็นวันครบรอบ 120 ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อแสดงความจงรักภักดีและ น้ อ มร าลึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ และพระเกี ย รติ คุ ณ ที่ มี แ ก่ อ าณาประชาราษฎร์ และ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้ใช้พระนามเดิม “กรมหลวงสุโขทัย ธรรมราชา” เป็นชื่อมหาวิทยาลัย สานักบรรณสารสนเทศ จึงจัดงาน “120 ปี ผ่านฟ้า ประชาธิปก” เพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 7 โดยดาเนินการ จัดการสารสนเทศและแหล่งเรีย นรู้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวหลากหลายประเภท อาทิ การพัฒนาฐานข้อมูลและเว็บไซต์ การจัดนิทรรศการถาวรและนิทรรศการออนไลน์ การจัดทาสิ่งพิมพื และสื่อดิจิทัลสือ รวมถึงการจัดเสวนาทางวิชาการเพื่อเผยแพร่สารสนเทศด้านพระปกเกล้าศึกษาและ พระเกี ยรติคุณ ให้เป็นที่ประจั กษ์แก่ ชาวไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ งเยาวชน นักเรียน นักศึก ษาและ ประชาชนที่สนใจทั่วไปที่จะได้เรียนรู้ถึงพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ พระราชจริยาวัตรตลอดจน ความสนพระทัยในด้านต่างๆ ที่ก่อให้เกิดผลงานที่เป็นมรดกของชาติตราบเท่าทุกวันนี้ คาสาคัญ : พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว, ประชาธิปก, พระปกเกล้าศึกษา, การจัดการ สารสนเทศ ABSTRACT On November 8, 2013 is the 120 years anniversary of the King Prajadhipok Birthday. To commemorate the devotion, the grace, the honorable for Thai people and Sukhothai Thammathirat Open University received the grace to use the name "Krom Luang Sukhothai Thammaraja" is the name of the university. STOU Library has organized a "120 years Phanpha Prajadhipok" in honor of the occasion the King Prajadhipok birthday by the management Information and resources about King Prajadhipok studies including database and website development. Permanent and
284
online exhibitions. The preparation of printed and digital media. Academic seminar to disseminate information on the King Prajadhipok study of fame that is clear to the Thai people. Especially young students and the general public to learn about the history. Royal duties and Royal activities in mind as well as various aspects. Causing a performance heritage to this day. Keywords : King Prajadhipok, King Rama VII, King Prajadhipok Study, Information Management บทนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้ใช้พระนามเดิม “กรมหลวงสุโขทัยธรรม ราชา” เป็นชื่อมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยได้จัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 7 เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2536 ต่อมาได้จัดตั้งห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี พระบรมราชินี ตั้งอยู่ที่อาคารห้องสมุด สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ได้เสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีเปิด ห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2538 ในปี 2549 มหาวิทยาลัยได้จัดสร้างอาคารอเนก นิ ทั ศ น์ เป็ น อาคารหอประชุ ม ขนาดใหญ่ เ พื่ อ ใช้ ใ นงานพิ ธี พ ระราชทานปริ ญ ญาบั ต ร และงานส าคั ญ ๆ ของ มหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับพระบรมราชานุญาตให้ใช้ชื่อห้องประชุมต่างๆ ของอาคาร ได้แก่ “ห้องพระปกเกล้า” และ “ห้องราไพพรรณี” เป็นต้น จากพระมหากรุณาธิคุณที่มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และสานักบรรณสารสนเทศ ได้ รั บ ทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม ห้อ งสมุ ด จึ ง ตระหนั ก ในภารกิ จ ที่ ส าคั ญ และสมควรจั ด การสารสนเทศเกี่ ย วกั บ พระปกเกล้าศึกษาที่ได้รวบรวมไว้ในห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี พระบรมราชิ นี อั น เป็ น ส่ ว นงานหนึ่ ง ของห้ อ งสมุ ด ที่ ไ ด้ ใ ห้ บ ริ ก ารเกี่ ย วกั บ การศึ ก ษาค้ น คว้ า และการเผยแพร่ สารสนเทศด้านพระปกเกล้าศึกษา อาทิ พระราชประวัติ พระราชกรณียกิจพระราชจริยาวัตร และความสนพระราช หฤทัยด้านการเรียนรู้ตลอดชีวิตอันเป็นแบบอย่างที่ดี สานักบรรณสารสนเทศจึงได้ดาเนินโครงการพัฒนาและ เผยแพร่สารสนเทศพระปกเกล้าศึกษาสู่ชุมชน เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในโอกาส 120 ปี วันคล้ายวันพระบรมราช สมภพ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว วันที่ 8 พฤศจิกายน 2556 วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทาและเผยแพร่แหล่งเรียนรู้สารสนเทศเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในด้านต่างๆ ทั้งรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อดิจิทัลที่ให้บริการทางอินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นฐานการเรียนรู้สาหรับประชาชนให้ได้รับ การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ขั้นตอนและวิธีดาเนินงาน การดาเนินงานการจัดการสารสนเทศพระปกเกล้าศึกษาได้ประยุกต์หลักการด้านบรรณารักษศาสตร์และ สารสนเทศศาสตร์ในการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ตั้งแต่การรวบรวมสารสนเทศ การค้นคว้าและจัดเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและเอกสาร และการประมวลเนื้อหาเพื่อพัฒนาเป็นสารสนเทศรูปแบบใหม่ๆ ที่มีความหลาก
285
หลายและเหมาะสม เพื่อให้การบริการเผยแพร่และการนาไปใช้ประโยชน์ (สานักบรรณสารสนเทศ, 2548) โดยมี ขั้นตอนหลักๆ ในการดาเนินการ 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การรวบรวมสารสนเทศ เป็นการรวบรวมสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ ได้แก่ เอกสารขั้นต้นและเอกสาร หายากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 เอกสารอื่นๆ ที่ให้เรื่องราวด้านสถานที่สาคัญ และด้านพระราชกรณียกิจ พระราชจริยาวัตร และเหตุการณ์สาคัญๆ ที่เกิดขึ้นในรัชสมัยของพระองค์ 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้เครื่องมือต่างๆ ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูล และแบบสัมภาษณ์ ทั้งการเก็บ ข้อมูลจากแหล่งบุคคล จากพิพิธภัณฑ์ หอประวัติและศูนย์ข้อมูล/เอกสารที่เกี่ยวข้องกับรัชกาลที่ 7 และรัชสมัย 3. การวิเคราะห์ข้อมูล โดยวิเคราะห์เนื้อหาสารสนเทศที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลทุกประเภท 4. การประมวลเนื้อหา โดยการสังเคราะห์ประมวลเนื้อหาสารสนเทศเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัวและรัชสมัยขึ้นมาใหม่เพื่อการจัดการและการเผยแพร่สารสนเทศพระปกเกล้าศึกษาได้อย่างมีมาตรฐาน ผลการศึกษา อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ จากการรวบรวมสารสนเทศ เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และการประมวลเนื้อหา เพื่อการจัดการ สารสนเทศพระปกเกล้าศึกษา สามารถดาเนินการจัดการสารสนเทศเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1. การพัฒนาฐานข้อมูลและเว็บไซต์ เป็นการพัฒนาฐานข้อมูลเกี่ยวกับสารสนเทศพระปกเกล้าศึกษา จานวน 2 ฐานข้อมูล เว็บไซต์พระปก และเว็บไซต์ห้องสมุดดิจิทัลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า พระผู้ทรงพากเพียร เรียนรู้ตลอดชีวิต โดยมีรายละเอียดการจัดการสารสนเทศแต่ละประเภท ดังนี้ 1.1 ฐานข้อมูลทะเบียนหนังสือส่วนพระองค์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อรวบรวมและ จัดเก็บทะเบียนหนังสือส่วนพระองค์ของล้นเกล้า รัชกาลที่ 7 ที่สานักบรรณสารสนเทศได้รับมอบจากคุณหญิงมณี สิริวรสาร และจากมิตรห้องสมุดผู้มีอภินันทนาการ จานวนทั้งสิ้น 1,736 เล่ม -ฉบับ รายการ ทั้งภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ โดยพัฒนาฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม Microsoft Access และ ASP ที่สามารถจัดเก็บและสืบค้นได้ผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ต โดยใช้มาตรฐานการลงรายการแบบ APA (Publication manual of the American psychological Association) ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 6 (2010) เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดทาบรรณานุกรมหนังสือส่วน พระองค์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว 1.2 ฐานข้อมูลรูปภาพพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นระบบการจัดเก็บและสืบค้นรูปภาพ รัชกาลที่ 7 จานวน 2,405 ภาพ จัดกลุ่มภาพเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มภาพพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว 2) กลุ่มภาพสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี พระบรมราชินี 3) กลุ่มภาพพระราชกรณียกิจและ เหตุการณ์สาคัญในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว 4) กลุ่มภาพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ 9 และพระบรมวงศานุวงศ์ที่เกี่ยวเนื่องและสัมพันธ์กับรัชกาลที่ 7 พัฒนาฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม iWeb Form
286
ทารายการเมตาดาตา Dublin Core ที่สะดวกต่อการค้นและการให้บริการผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
ภาพที่ 1 หน้าจอฐานข้อมูลรูปภาพพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า 1.3 การพัฒนาเว็บไซต์พระปกเกล้าศึกษา เพื่อเป็นช่องทางการเข้าถึงสารสนเทศพระปกเกล้าศึกษาได้ ตลอด 24 ชั่วโมง เว็บไซต์พระปกเกล้าศึกษาให้ข้อมูลสาคัญๆ เกี่ยวกับพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ พระราช จริยาวัตร และรวบรวมพระราชวลี พระบรมราโชวาทที่น่าสนใจของรัชกาลที่ 7 นอกจากนี้ยังให้สารสนเทศเกี่ยวกับ พิพิธภัณฑ์ดิจิทัล ห้องเอกสารรัชกาลที่ 7 นิทรรศการออนไลน์และข่าวสาร กิจกรรมที่น่าสนใจเกี่ยวกับ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว บทความวารสาร เกี่ ย วกั บ ล้ น เกล้ า ฯ รั ช กาลที่ 7 ในรู ป อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ สารสนเทศคัดสรร หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 120 ปี ผ่านฟ้า ภาพที่ 2 เว็บไซต์พระปกเกล้าศึกษา ประชาธิ ป ก และบรรณานุ ก รมหนั ง สื อ ส่ ว นพระองค์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในรูปอิเล็กทรอนิกส์ สารสนเทศดิจิทัลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยใช้โปรแกรม โดยใช้โปรแกรม Wordpress ในการ พัฒนาเว็บไซต์ ผู้ใช้สามารถเข้าถึงเว็บไซต์พระปกเกล้า ภาพที่ 2 หน้าจอเว็บไซต์พระปกเกล้าศึกษา ศึกษาได้ที่http://library.stou.ac.th/odi/rama-7/index.html ศึกษา 1.4 เว็บไซต์ห้องสมุดดิจิทัลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้ทรงพากเพียรเรียนรู้ตลอด ชีวิต เป็นการพัฒนาสารสนเทศฉบับเต็มรูปในลักษณะห้องสมุดดิจิทัล ในหัวข้อเรื่องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว พระผู้ทรงพากเพียรเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่รวบรวมหนังสือส่วนพระองค์ที่เป็น หนังสือหายาก บทความที่ เกี่ยวข้อง และรูปภาพสาคัญๆ ที่สัมพันธ์กับชื่อเรื่อง มาจัดทาเป็นสารสนเทศดิจิทัลในระบบห้องสมุดดิจิทัลของสานัก บรรณสารสนเทศ นอกจากการแปลงสารสนเทศให้อยู่ในรูปดิจิทัลแล้ว ยังทารายการสารสนเทศดิจิทัลด้วยมาตรฐาน เมตาดาตาเชิงพรรณนา MODS และมาตรฐานเมตาดาตาเชิงบริหาร METS และพัฒนาระบบห้องสมุดดิจิทัลด้วย โปรแกรม GSDL ปัจจุบันมีสารสนเทศในระบบห้องสมุดดิจิทัล พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้ทรง พากเพียรเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นหนังสือ จานวน 450 ชื่อเรื่อง บทความ จานวน 57 บทความ และรูปภาพรัชกาลที่ 7 จานวน 347 ภาพ 2. การจัดนิทรรศการ เป็นการจัดนิทรรศการที่มีเนื้อหาสารสนเทศเกี่ยวกับรัชกาลที่ 7 ทั้งในรูป นิทรรศการเคลื่อนที่ นิทรรศการถาวรภายในห้องเอกสารรัชกาลที่ 7 นิทรรศการออนไลน์ที่สามารถเข้าถึงได้ทาง อินเทอร์เน็ต และพิพิธภัณฑ์ดิจิทัลที่นาเสนอการเยี่ยมชมห้ องเอกสารรัชกาลที่ 7 ในลักษณะเสมือนจริง โดยมี รายละเอียดของการจัดการสารสนเทศ ดังนี้
287
2.1 นิทรรศการเคลื่อนที่ การจัดงาน 120 ปี ผ่านฟ้า ประชาธิปก ในครั้งนี้ สานักบรรณสารสนเทศได้ พัฒนาเนื้อหาสารสนเทศเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นนิทรรศการเคลื่อนที่ จานวน 30 ชื่อ เรื่อง โดยจัดทาเป็นนิทรรศการทั้งแบบ Spider 26 แผ่น และแบบ Parabola 3 แผ่น โดยจาแนก กลุ่มนิทรรศการเคลื่อนที่ออกเป็น 6 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ 1) พระ ราชประวัติ 2) พระราชกรณียกิจ 3) พระราชจริยาวัตร 4) พระ ราชนิยมส่งเสริมไทย 5) วิถีแห่งความเป็นไทยในสมัยรัชกาลที่ 7 และ 6) วิถีประชาธิปไตยและการอยู่ร่วมกันในสังคม นิทรรศการ เคลื่ อ นที่ นี้ ห น่ ว ยงานภายนอกมหาวิ ท ยาลั ย สามารถขอยื ม นิทรรศการเคลื่อนที่ออกไปจัดแสดงได้เพื่อเป็นการเผยแพร่พระ เกียรติคุณให้แผ่ไพศาลมากยิ่งขึ้น 2.2 นิทรรศการออนไลน์ เนื่องจากสารสนเทศ เกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวมีหลากหลาย เรื่ อ งราวที่ น่ า สนสนใจ ส านั ก บรรณสารสนเทศได้ พั ฒ นา เนื้อหาบางส่วนจัดทาเป็นนิทรรศการออนไลน์ เพื่อให้ผู้สนใจ ได้เยี่ยมชม อ่านและหาความรู้เกี่ยวกับพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทุกเวลาที่ต้องการผ่าน ภาพที่ 3 นิทรรศการเคลื่อนที่ รัชกาลที่ 7 อินเทอร์เน็ต ปัจจุบันสานักบรรณสารสนเทศได้พัฒนาเนื้อหานิทรรศการออนไลน์รัชกาลที่ 7 จานวน 13 ชื่อเรื่อง ผู้สนใจสามารถเข้าชมนิทรรศการออนไลน์ได้ที่ http://library.stou.ac.th/odi/rama-7/online.html 2.3 นิทรรศการถาวรในห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี พระบรมราชินี (ห้องเอกสารรัชกาลที่ 7) เป็นการจัดนิทรรศการประเภทสิ่งของ เครื่องใช้ และสารสนเทศส่วน พระองค์ที่น่าสนใจในตู้นิทรรรศการถาวรที่ตั้งแสดงในห้องเอกสารรั ชกาลที่ 7 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ และนาเสนอข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับสิ่งของ ของใช้ อาทิ แผ่นเสียงส่วนพระองค์ พระราชหัตถเลขาส่วนพระองค์ กล้องพระโอสถมวน ดวงตราและเหรียญตราสาคัญๆ ในรัชสมัยของล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 7 นิทรรศการถาวรนี้ อาจจะ มีการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาไปตามวาระโอกาสต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว 2.4 พิพิธภัณฑ์ดิจิทัลรัชกาลที่ 7 เป็นการนาชมห้อง พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ า เจ้ า อยู่ หัว แบบออนไลน์ ที่ ท า เสนอนิทรรศการกลุ่มภาพพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชทานรัฐธรรมนูญ ฉลอง พระนครครบ 150 ปี และสละราชสมบัติ ผู้ชมสามารถเลือก ชมได้ตามจุดต่างๆ ทางออนไลน์ เมื่อเลือกชม ณ จุดใด จะมี ทั้งเสียงบรรยาย รูปภาพ ข้อมูลสารสนเทศให้ความรู้ในจุ ด ต่างๆ เหล่านั้น และสามารถเชื่อมโยงถึงข้อมูลประกอบหรือให้ ภาพที่ 4 หน้าจอพิพิธภัณฑ์ดิจิทัลรัชกาลที่ 7 รายละเอียดในเนื้อหาที่น่าสนใจเพิ่มเติมได้อีกด้วย 3. การจั ด ท าสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ แ ละสื่ อ ดิ จิ ทั ล เป็ น การพั ฒ นาเนื้ อ หาสารสนเทศเกี่ ย วกั บ พระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวในรูปของสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อดิจิทัลเพื่อเพื่อเผยแพร่พระเกียรติคุรของล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 7 ใน
288
รูปลักษณ์ต่างๆ หลากหลายรูปแบบตามลักษณะของสารสนเทศที่ต้องการนาเสนอ การจัดการสารสนเทศในกลุ่มนี้ ประกอบด้วย 3.1 หนังสือ 120 ปี ผ่านฟ้า ประชาธิปก เป็นหนังสือเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัวในวาระโอกาสครบ 120 ปี วันคล้ายวันพระราชสมภพ 8 พฤศจิกายน 2556 เนื้อหาของหนังสือแบ่ง ออกเป็น 3 ตอน ตอนที่ 1 รวมบทความทางวิชาการเขียนโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 13 บทความที่เกี่ยวกับพระราช ประวัติ พระราชกรณียกิจต่างๆ และความสนพระราชหฤทัยในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ตอนที่ 2 เป็น บทความที่แสดงถึงเรื่องราวการจัดตั้งห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี พระบรมราชินี เพื่อเป็นห้องเอกสารที่รวบรวมสารสนเทสเกี่ยวกับพระปกเกล้าศึกษา
ภาพที่ 5 หนังสือ 120 ปี ผ่านฟ้า ประชาธิปก
การรวบรวมบรรณานุกรมหนังสือส่วนพระองค์พระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รวมทั้งสิ้น 1,602 ชื่อเรื่อง และ ตอนที่ 3 น าเสนอกาลานุ ก รมล าดั บ เหตุ ก ารณ์ สาคัญ 120 เหตุการณ์ตลอดพระชนม์ชีพของล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 7 หนังสือ 120 ปี ผ่านฟ้า ประชาธิปกนี้ มีทั้ง ฉบับพิมพ์และฉบับอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ยังได้มอบ หนังสือนี้ให้ห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชนทั่ว ประเทศ โรงเรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาและประถมศึ ก ษาใน จั ง หวั ด นนทบุ รี ปทุ ม ธานี สมุ ท รปราการและ กรุงเทพมหานครเพื่อให้บริการอ่านสาหรับผู้สนใจทั่วไป
3.2 สมุดภาพเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ๑๒๐ ปี บารมีพระปกเกล้า สมุด ภาพเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว 120 ปี บารมีพระปกเกล้า เป็นสมุด รวบรวมภาพล้นเกล้ารั ชกาลที่ 7 ที่จัดแบ่งหมวดหมู่ของภาพ ตามเหตการณ์สาคัญๆ ต่างๆ ในรัชสมัยของพระองค์ตั้งแต่ทรง เสด็ จ พระราชสมภพ โสกั น ต์ ศึ ก ษาวิ ช าการทั้ ง ในและ ต่างประเทศ ทรงผนวช ทรงรับราชการทหาร อภิเษกสมรส เสด็จขึ้นครองสิริราชสมบัติ พระราชจริยาวัตรและพระราชนิยม ทรงท านุ บ ารุ ง และพั ฒ นาประเทศชาติ บ้ า นเมื อ ง สื บ สาน สัมพันธไมตรีกับต่างประเทศ งานฉลองพระนคร 150 ปี ทรง พระราชทานรั ฐ ธรรมนู ญ และสละราชสมบั ติ จ นถึ ง เสด็ จ สู่ สวรรคาลัย รวมจานวนภาพทั้งสิ้น 120 ภาพ ภาพที่ 6 หนังสือ 120 ปี บารมีพระปกเกล้า
289
3.3 สมุดเสริมความรู้ และบันทึกความรู้ 120 ปี ผ่านฟ้า ประชาธิ ป ก เป็ น สมุ ด บั น ทึ ก ที่ จั ด ท าขึ้ น เพื่ อ เสริ ม ความรู้ เ กี่ ย วกั บ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน รัชสมัย เกล็ดเล็กเกร็ดน้อยที่เกี่ยวข้องกับพระองค์ท่านที่น่าสนใจ ดวง ตราสาคัญๆ เช่น ตราพระราชลัญจกรประจาพระองค์ พระปรมาภิไธย เข็มสหชาติและเข็มอุปชาติ เป็นต้น
ภาพที่ 7 สมุดเสริมความรู้ และบันทึกความรู้
ข้อเสนอแนะ สารสนเทศเกี่ยวกับพระปกเกล้าศึกษามีประเด็นและหัวข้อที่ควรศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจานวนมาก อัน เนื่องมาจากเป็นช่วงของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของประเทศไทย การตีความและทา ความเข้าใจเกี่ยวกับเหตุการณ์ เหตุผลความเป็นมา การตัดสินใจ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ต่างๆ ต้อง อาศัยผู้เชี่ยวชาญ ผู้รู้ ผู้ศึกษา ผู้วิจัยเฉพาะทาง และนักประวัติศาสตร์ด้านพระปกเกล้าศึกษามาช่วยให้ข้อมูลความรู้ จะส่งผลให้การจัดการสารสนเทศพระปกเกล้าศึกษาสามารถดาเนินการได้อย่างตรงประเด็น มีความน่าเชื่อถือ และ ความน่ า สนใจเพิ่ ม มากยิ่ ง ขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง สามารถสร้ า งสรรค์ ง านจากสารสนเทศพระปกเกล้ า ศึ ก ษาได้ อี ก หลากหลายรูปแบบ เช่น การรวบรวมเนื้อหาเป็นหมวดหมู่ เรื่องราว และจัด พิมพ์เป็นหนังสือ เอกสาร การจัดทา นิทรรศการให้ความรู้ ทั้งนิทรรศการเคลื่อนที่และนิทรรศการออนไลน์ ฯลฯ เพื่อนาไปเผยแผร่และใช้ประโยชน์ได้ อย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น การนาไปใช้ประโยชน์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชได้เผยแพร่พระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ หัว และ แหล่งเรียนรู้ด้านพระปกเกล้าศึกษาที่มีคุณภาพและน่าเชื่อถือเพิ่มมากขึ้น สามารถเป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าส่งเสริม การศึกษาตามอัธยาศัยให้แก่ประชาชน ตลอดจนการนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนและ สถาบันการศึกษา ตลอดจนเป็นประโยชน์แก่นักเรียน นักศึ กษา ครู อาจารย์ และประชาชนทั่วไป ทั้งยังเป็นการ ส่งเสริมและเทิดทูนให้เห็นความเป็นมาและความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่สามารถเข้าถึงสารสนเทศที่ ผ่านกระบวนการคัดสรร และจัดการอย่างเป็นระบบ มีมาตรฐาน และมีความน่าเชื่อถือในทางวิชาการ ผ่านช่องทาง ห้องสมุดดิจิทัลที่เข้าถึงได้ด้วยตนเอง อีกทั้งยังมีนิทรรศการเคลื่อนที่ที่หน่วยงานในส่วนภูมิภาคของมหาวิทยาลัย สามารถยืมไปใช้ได้อันจะช่วยเผยแพร่พระเกียรติคุณให้ประชาชนพลเมืองไทยได้สานึกในบุญคุณอันหาที่สุดมิได้มาก ยิ่งขึ้น รายการอ้างอิง ส านั ก บรรณสารสนเทศ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช. (2548) โครงการวิ จั ย และพั ฒ นาต้ น แบบแหล่ ง สารสนเทศดิจิทัลสู่ห้องสมุดชุมชน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระผู้ทรงพากเพียรเรียนรู้ตลอด ชีวิต. นนทบุรี สานักบรรณสารสนเทศ สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2555) นวัตกรรมบรรณสาร พ.ศ. 2548-2555 นนทบุรี สานักบรรณสารสนเทศ สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2556) อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จากัด
120 ปี ผ่านฟ้า ประชาธิปก กรุงเทพฯ
290
การจัดเก็บและให้บริการหนังสืองานศพ : กรณีศึกษาศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Thai Cremation Books Storage and Services : A Case Study of Center for Library Resources and Educational MediaWalailak University อรรจน์ บัณฑิตย์* ชิตชัย เมตตาริกานนท์ สานักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ e-mail : batt@wu.ac.th*
บทคัดย่อ หนังสืองานศพหรือหนังสืออนุสรณ์งานศพ (Cremation Books ) เกิดขึ้นในประเทศไทยครั้ง แรกเมื่อสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ครั้งนั้นจัดพิมพ์ขึ้นเป็นที่ระลึกใน งานพระราชทานเพลิงศพสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ต่อมาจึงได้ยึดถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ มาจนทุกวันนี้ ปัจจุบันนี้ หนังสืองานศพกลายเป็นธุรกิจที่ สาคัญและเป็นแหล่งสารสนเทศที่สร้าง คุณประโยชน์ในการเผยแพร่สารสนเทศได้อย่างดีในบริบทของสังคมไทย คาสาคัญ : หนังสืองานศพ, หนังสืออนุสรณ์งานศพ, การจัดเก็บและการค้นคืน, โครงการเอกสาร ทักษิณคดี, หนังสือหายาก ABSTRACT With the introduction of printing into Siam in the 1800s, certain influential people began to hand out commemorative books, and the idea soon caught on. Cremation Books (in Thai : Nangsu Anuson Ngansop) ; these books, published and distributed as gifts on the occasion of cremation ceremonies, are an important cultural artifact of Thai society, providing a rich source of literary, historical, cultural, and folk information. The custom of distributing books for free grew out of a traditional Thai emphasis on gift giving, often associated with Buddhist merit making. More specifically, the free distribution of cremation books is an extension of a cultural practice of giving gifts to people to celebrate a special, meritorious occasion. Keywords : Cremation Books, Storage and Service, Center for Library Resources, Educational Media
291
บทนา ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ได้ดาเนินงานก่อตั้งโครงการพิเศษขึ้น ซึ่งอยู่ภายใต้ โครงการอุทยานการศึกษาเฉลิมพระเกียรติ โดยมีวตถุประสงค์เพื่อจัดเก็บและให้บริการสารสนเทศลักษณะพิเศษ ซึ่ง ประกอบด้วยโครงการย่อยทั้งหมด 4 โครงการ ดังนี้ 1. โครงการเทิดพระเกียรติ 2. โครงการธรรมนิทัศน์ 3. โครงการเอกสารทักษิณคดีและหนังสือหายาก มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมจัดเก็บ และเป็นแหล่งค้นคว้าเผยแพร่ทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์หา ยากที่เกี่ยวกับข้อมูลท้องถิ่นภาคใต้ โดยเฉพาะจังหวัดนครศรีธรรมราช และหนังสือที่เกี่ยวกับบุคคลสาคัญในท้องถิ่น ทั้งในและต่างประเทศ เช่น หนังสืออนุสรณ์งานศพ หนังสือชีวประวัติ หนังสือรวบรวมผลงาน เป็นต้น • โดยเลขเรียกหนังสือใช้สัญลักษณ์พิเศษ คือ WT • มีจานวนทรัพยากรกว่า 7,000 รายการ * เฉพาะหนังสืออนุสรณ์งานศพมีทรัพยากรประมาณกว่า 3,500 รายการ 4. โครงการห้องสารสนเทศสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษามีหนังสืออภินนั ทนาการที่เป็น Special Collection ไว้ให้บริการแก่ผู้ใช้ ซึ่งได้รบั อภินนั ทนาการมาจาก 3 แหล่งด้วยกันคือ 1. สารสนเทศขุนอาเทศคดีศึกษา (Collection of Khun Ates) 2. สารสนเทศจีนศึกษา (Collection of Hanban) 3. สารสนเทศ รองศาสตราจารย์ ดร.สมบูรณ์ ศิริประชัย (Collection Dr.Somboon Siriprachai) 4. ธรรมนิพนธ์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) สาหรับงานวิจัยในเรื่องนี้มุ่งเน้นศึกษาเฉพาะการจัดเก็บและการให้บริการหนังสืองานศพ ซึ่งอยู่ภายใต้ โครงการเอกสารทักษิณคดีและหนังสือหายาก ซึ่งศึกษาเฉพาะหนังสืองานศพที่มีทรัพยากรประมาณกว่า 3,500 รายการแต่ได้กาหนดขอบเขตการศึกษาตามจานวนที่มี ณ วันที่ศึกษาคือ 3,500 ชื่อเรื่องเท่านั้น หนังสืองานศพหรือ หนังสืออนุสรณ์งานศพ (Cremation Books ) เกิดขึ้นในประเทศไทยครั้งแรกเมื่อสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ครั้งนั้นจัดพิมพ์ขึ้นเป็นที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพสมเด็จพระนางเจ้า สุนันทากุมารีรัตน์หรือที่รู้จักกันดีในหมู่ชาวไทยโดยออกพระนามว่าพระนางเรือล่ม เป็นหนังสือชื่อสาราทานปริยาย กถามรรค แต่ที่พบในหอสมุดแห่งชาติพบว่ามีหนังสือชื่อนนทกปการนน พิมพ์ขึ้นเพื่อแจกในงานพระศพกรมขุนโพธิ ไพศาลโสภนธ์ พิมพ์ขึ้นเมื่อปีพ.ศ.2419 และเมื่อเป็นพระราชนิยมต่อมาจึงได้ยึดถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติมาจนทุก วันนี้ จากการศึกษาวิจัยของ Olson (1992 ) ได้ชี้ให้เห็นว่าการจัดพิมพ์หนังสืองานศพในประเทศไทยนั้นมี ลักษณะเฉพาะและเป็นวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของสังคมไทย และจากการแบ่งหมวดหมู่ ของงานศึกษาวิจัยของ Pranee Kiriyanant ( 2012 ) ที่ได้ดาเนินการที่ห้องสมุดของศูนย์เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มหาวิทยาลัย เกียวโต ที่ถือว่ามีจานวนทรัพยากรสารสนเทศหนังสืองานศพที่อยู่นอกประเทศไทยมากที่สุด จากการศึกษาวิจัยนี้ได้ ทาการคัดแยกหมวดหมู่หนังสืองานศพเป็นจานวนถึง 4,000 ชื่อเรื่อง ส่วนงานวิจัยของสุดารัตน์ รัตนราช ( 2542 )ได้ ศึกษาการนาหนังสืองานศพไปใช้ในงานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์โดยได้ศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพกับนักประวัติศาสตร์เป็น เวลาถึง 3 ปีรวมถึงการศึกษาของนวลวรรณ ชั้นไพศาลศิลป์ ( 2542 ) ได้ทาการศึกษาวิจัยเรื่องการวิเคราห์หนังสือ อนุสรณ์งานศพที่จัดพิมพ์ในปี พ.ศ.2521 ถึง พ.ศ.2530 ที่ได้วิเคราห์เนื้อหาของหนังสืองานศพจากห้องสมุด 18 แห่ง
292
รวมถึงที่ห้องสมุดวัดบวรนิเวศวิหารด้วย นอดจากนั้น อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ ได้ศึกษาวิจัยเรื่องความหมายของตัวตน : พัฒนาการหนังสือแจกในงานศพ (2555 ) ซึ่งกล่าวว่าอาจารย์โยเนะโอะ อิฌิอิ ได้มอบมรดกสาคัญอย่างหนึ่งให้แก่ วงวิชาการไทยศึกษา คือ การรวมรวบหนังสือแจกในงานศพมากกว่า 6,000 เล่ม จากคุณจรัส พิกุล ไปไว้ที่ห้องสมุด ของศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (Center for Southeast Asian Studies) มหาวิทยาลัยเกียวโต ที่ผ่านมา วงการวิชาการเห็นถึงความสาคัญของหนังสืองานศพค่อนข้างมาก มีงานเขียนจานวนมากที่ใช้ สารสนเทศจากหนังสือ งานศพ และมีงานวิจัยหลายเรื่ องที่วิเคราะห์หนังสืองานศพ สุพัฒน์ ส่องแสงจันทร์ ซึ่งศึกษาหนังสือแจกงานศพใน ระหว่างพ.ศ. 2501 ถึง พ.ศ.2510 แสดงถึงประเภทของหนังสือที่นิยมพิมพ์แจก ที่แบ่งได้เป็น 2 ประเภทด้วยกัน ประเภทแรกเป็นหนังสือเกี่ยวกับศาสนากับประเพณีการทาบุญ หนังสือแจกประเภทแรกนี้ สุพัฒน์ สอ่งแสงจันทร์ ได้พบประเด็นที่สาคัญประเด็นหนึ่ง คือหนังสือที่ถูกเลือกมาพิมพ์แจกมากที่สุดได้แก่หนังสือในชุด กฎแห่งกรรมของ ท.เลียงพิบูลย์ อีกประเภทหนึ่งจะเป็นงานเขียนทั่วๆ ไป เช่น ชีวประวัติบุคคลสาคัญ การท่องเที่ยวตามทางรถไฟ ภาษาในราชส านั ก และในระยะหลั ง จะเป็ น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ การรั ก ษาพยาบาลมากขึ้ น การศึ ก ษาในกลุ่ ม บรรณารักษศาสตร์ที่น่าสนใจอีกฉบับหนึ่งได้แก่ การศึกษาของGrant A. Olson เรื่อง Thai Cremation Volumes: A Brief History of a Unique Genre of Literature ซึ่งได้สรุปประเด็นข้อถกเถียงในเรื่องการพิมพ์หนังสือแจก ฉบับแรก ขยายประเด็นที่ปรากฏในการศึกษาของสุพัฒน์ ส่องแสงจันทร์ และอธิบายถึงความพยายามรวบรวม หนั งสื อแจกงานศพจานวนมากไว้ใ นที่ เดี ยวกัน คื อที่ วัด บวรนิ เวศวิหารการศึ กษาในระยะหลั งที่ น่ าสนใจ ได้ แ ก่ การศึกษาของนวลวรรณ ชั้นไพศาลศิลป์ เรื่อง การวิเคราะห์หนังสืออนุสรณ์งานศพที่จัดพิมพ์ในปี พ.ศ.2521 ถึงพ.ศ. 2530 และธัญญาลักษณ์ ใจเที่ยง เรื่องการวิเคราะห์หนังสืออนุสรณ์งานศพ ที่จัดพิมพ์ในปี พ.ศ. 2531 ถึง พ.ศ. 2551 การศึกษาทั้งสองฉบับนี้มีความคล้ายคลึงกันในกรอบการวิเคราะห์แต่เป็นการศึกษาช่วงเวลาที่ต่อเนื่องกัน วัตถุประสงค์ 1.เพื่ อ ศึ ก ษาระบบการจั ด เก็ บ และให้ บ ริ ก ารหนั ง สื อ งานศพของศู น ย์ บ รรณสารและสื่ อ การศึ ก ษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 2.เพื่อศึกษาหาแนวทางในการจัดหาหนังสืองานศพของศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัย ลักษณ์ 3.เพื่ อ ศึ ก ษาการกระจายตั ว ของเนื้ อ หาของหนั ง สื อ งานศพของ ศู น ย์ บ รรณสารและสื่ อ การศึ ก ษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ขั้นตอนและวิธีดาเนินการ 1.กาหนดวัตถุประสงค์ในการวิจัย 2.กาหนดสมมติฐานในการวิจัยโดยแบ่งออกเป็น 3 ข้อคือ 2.1 เนื้อหาของหนังสืองานศพส่วนใหญ่ที่พิมพ์เผยแพร่จะมีเนื้อหาด้านศาสนาโดยจัดหมวดหมู่ในหมวด ศาสนาและปรัชญา 2.2 ความต้องการใช้งานหนังสืองานศพในการศึกษาค้นคว้าส่วนใหญ่เป็นหนังสือที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในด้าน ประวัติศาสตร์เป็นส่วนใหญ่
293
2.3 ปัญหาในการจัดเก็บและให้บริการหนังสืองานศพส่วนใหญ่จะเป็นด้านการจัดหมวดหมู่และการจัดสรร งบประมาณในการจัดซื้อหนังสืองานศพ และขาดผู้รับผิดชอบในการให้บริการที่มีความรู้ความเข้าในในเรื่องของ เนื้อหาและความสาคัญของหนังสืองานศพ 3.กระบวนการในการดาเนินการวิจัย 3.1 ก าหนดกลุ่ ม ประชากรที่ จ ะศึ ก ษาคื อ หนั ง สื อ งานศพที่ อ ยู่ ใ นศู น ย์ บ รรณสารและสื่ อ การศึ ก ษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์จานวน 3,500 ชื่อเรื่อง 3.2 จัดทาแบบลงรายการเพื่อจาแนกเนื้อหาตามหมวดหมู่ แบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Classification System )
Decimal
3.3 จัดทาแบบสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อใช้สัมภาษณืบรรณารักษ์ในศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จานวน 10 คน 3.4 วิเคราห์ข้อมูลในเชิงสถิติโดยใช้ค่ากลางเลขคณิต และร้อยละ เป็นหลัก 3.5 สรุปและอภิปรายผลเปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษา อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผลของการศึกษาพบว่ามีความสอดคล้องกับการวิจัยของ Olson (1992 ) ได้ชี้ให้เห็นว่าการจัดพิมพ์ หนังสืองานศพในประเทศไทยนั้นมีลักษณะเฉพาะและเป็นวัฒนธรรมที่ เป็นเอกลักษณ์ของสังคมไทย และจากการ แบ่งหมวดหมู่ของงานศึกษาวิจัยของ Pranee Kiriyanant ( 2012 ) ที่ได้ดาเนินการที่ห้องสมุดของศูนย์เอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา มหาวิทยาลัยเกียวโต ที่ถือว่ามีจานวนทรัพยากรสารสนเทศหนังสืองานศพที่อยู่นอกประเทศ ไทยมากที่สุด จากการศึกษาวิจัยนี้ได้ทาการคัดแยกหมวดหมู่หนังสืองานศพเป็นจานวนถึง 4,000 ชื่อเรื่อง ส่วน งานวิจัยของสุดารัตน์ รัตนราช ( 2542 )ได้ศึกษาการนาหนังสืองานศพไปใช้ในงานวิจัยเชิงประวัติศาสตร์โดยได้ ศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพกับนักประวัติศาสตร์เป็นเวลาถึง 3 ปีรวมถึงการศึกษาของนวลวรรณ ชั้นไพศาลศิลป์ ( 2542 ) ได้ทาการศึกษาวิจัยเรื่องการวิเคราห์หนังสืออนุสรณ์งานศพที่จัดพิมพ์ในปี พ.ศ.2521 ถึง พ.ศ.2530 ที่ได้วิเคราะห์ เนื้อหาของหนังสืองานศพจากห้องสมุด 18 แห่งรวมถึงที่ห้องสมุดวัดบวรนิเวศวิหารด้วย นอดจากนั้น อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ ได้ศึกษาวิจัยเรื่องความหมายของตัวตน : พัฒนาการหนังสือแจกในงานศพ (2555 ) และพบว่าหนังสือ งานศพอยู่ในศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์จานวน 3,500 ชื่อเรื่อง มากกว่าร้อยละ 23.6 มีเนื้อหาเน้นด้านศาสนาและปรัชญาและที่มีน้อยที่สุดคือมีเนื้อหาด้านเทคโนโลยีมีเพียงร้อยละ 2 เท่านั้น จึงแสดงให้ เห็นว่าการจัดพิมพ์และเผยแพร่หนังสืองานศพในประเทศไทยขาดการกระจายตัวในด้านเนื้อหา และการจัดเก็บและ ให้บริการมีปัญหาด้านงบประมาณที่ไม่เพียงพอยังขาดการให้ความสนใจและถึงคุณค่าของหนังสืองานศพ รวมถึงขาด ผู้ มี ค วามรู้ ที่ ลุ่ ม ลึ ก ที่ จ ะให้ บ ริ ก ารหนั ง สื อ งานศพให้ กั บ ผู้ ใ ช้ ใ นศู น ย์ บ รรณสารและสื่ อ การศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย วลัยลักษณ์ สาหรับในช่วงที่ยังขาดกาลังบุคลากรและงบประมาณในสถานการณ์ปัจจุบันการที่นาหนังสืองานศพไป รวมไว้ในโครงการเอกสารทักษิณคดีและหนังสือหายากที่มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมจัดเก็บ และเป็นแหล่งค้นคว้า เผยแพร่ ท รั พ ยากรสารสนเทศประเภทสิ่ ง พิ ม พ์ ห ายากที่ เ กี่ ย วกั บ ข้ อ มู ล ท้ อ งถิ่ น ภาคใต้ โดยเฉพาะจั ง หวั ด นครศรีธรรมราช และหนังสือที่เกี่ยวกับบุคคลสาคัญในท้องถิ่นทั้งในและต่างประเทศ เช่น หนังสืออนุสรณ์งานศพ
294
หนังสือชีวประวัติ หนังสือรวบรวมผลงาน เป็น สิ่งที่เหมาะสมต่อสภาพปัจจุบัน และจากสมมติฐานที่ตั้งไว้ทั้งสามข้อ นั้นมีการพิสูจน์สมมติฐานและยอมรับสมมติฐานทั้งสามขัอ การนาไปใช้ประโยชน์ 1.ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ควรนาผลงานศึกษาวิจัยนี้ไปขยายผลเพื่อ สร้างความเข้มแข็งของทรัพยากรสารสนเทศหนังสืองานศพ 2.ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ควรดาเนินการให้บริการในเชิงรุกเพื่อให้ผู้ใช้ ทรัพยากรสารสนเทศหนังสืองานศพสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ง่ายขึ้นและมีจานวนการใช้งานเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผล ในด้านการเพิ่มผลงานทางวิชาการที่มีมากขึ้นด้วย ทั้งงานวิจัยในระดับบัณฑิตศึกษาและงานวิจัยของคณาจารย์ที่ ตีพิมพ์เพิ่มมากขึ้นทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ รายการอ้างอิง Halbwach Maurice, (1992) On Collective Memory, Chicago: University of Chicago Press Nuanwan Chanpaisalsin. (1999). An Analysis of Cremation Books Published in 1978-1987. Master. Arts (Library and Information Science). Chulalongkorn University. Bangkok. (Thailand). Graduate School. Olson, Grant. (1992). Thai cremation volumes: a brief history of a uniquegenre of literature. Asian Folklore Studies, Vol 51, pp. 279-294. Pranee Kiriyanant. (2012). Articles of Thai Cremation Books in The Center for Southeast Asian Studies Library Kyoto University (IV). Kyoto : Center for Southeast Asian Studies. Sudarat Ratanaraj. (1999). The Use of Cremation Books by historians inState Universities. Master. Arts (Library and Information Science). Chulalongkorn University. Bangkok. (Thailand). Graduate School. Wasana Boonjong. (1999). Information Needs and Uses on the Internet by Thai Studies Researchers. Master. Arts (Library and Information Science). Chulalongkorn University. Bangkok. (Thailand). Graduate School.
295
ภาคผนวกตัวอย่างปกหนังสืองานศพ
296
ส่วนที่ 3 ผลงานวิชาการ การนาเสนอโดยโปสเตอร์
ระบบฐานข้อมูลจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Archives database system of Kasetsart University (KU e-Archives) พฎา พุ ท ธสมั ย * ปั ท มา คงศั ก ดิ ไพบู ล ย์ ณั ฐ ชุ ด า ธนายุ ดิ ษ กุ ล เรื อ งใจ คาพั น ธ์ รณรงค์ เที ย มทิ น กฤต มาลี ใจตั้ ง วี ณ า พวงแสงชั ย สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ e-mail: libpdb@ku.ac.th*
บทคัดย่อ ระบบฐานข้อมูลจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU e-Archives) เป็นระบบ ฐานข้อมูลที่ได้รับการพัฒนาจากฐานข้อมูล ICA-AtoM ซึ่งเป็นฐานข้อมูล open source software โดยอ้างอิง ระบบการจัด เก็บ เอกสารทางด้ า นจดหมายเหตุตามมาตรฐานคาอธิบ ายจดหมายเหตุ ระหว่างประเทศ (General International Standard Archival Description (ISAD (G)) ซึ่งได้มีการ พัฒนาปรับปรุงหน้าเว็บเพจระบบเดิม และมีการเพิ่มเติมในส่วนของภาษาไทยสาหรับการแสดงผลโดย ใช้ระบบปฏิบัติการ 2.0 ซึ่งเข้าสู่ระบบด้วยการใช้อีเมล์ สาหรับการบันทึกข้อมูลสามารถแนบไฟล์ เอกสารหรือเชื่อมโยงไฟล์เอกสารได้อีกด้วย โดยเป็นไฟล์เอกสารนามสกุล .jpeg ขนาดไม่เกิน 2 MB ถ้าไฟล์มีขนาดเกินสามารถเชื่อมโยงไปยังที่จัดเก็บไฟล์เอกสารดังกล่าวได้ ในกรณีที่จัดเก็บเอกสารแยก จากตัวระบบฐานข้อมูล ICA-AtoM ซึ่งระบบฐานข้อมูลจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KU e-Archives) นี้ช่วยในการจัดเก็บ เผยแพร่เอกสารจดหมายเหตุ และเพื่ออานวยความสะดวกแก่ ผู้ใช้บริการสาหรับการสืบค้นข้อมูลโดยไม่จาเป็นต้องเดินทางมาที่หอจดหมายเหตุของมหาวิทยาลัย คาสาคัญ : ฐานข้อมูล, จดหมายเหตุ, ISAD (G) ABSTRACT Kasetsart university's archives database system is developed by ICA-AtoM, it is a referral database system that uses archives from the information resource system, according to the General International Standard Archival Description (ISAD (G)). It is a modified webpage version of the old system with Thai language added for the display output. The system management uses operating system 2.0 with log in by user e-mail address. Therefore the users can access the system via the world wide web. In addition to normal archives retrieval, the system allows the attachment of documents for linking files which can be in JPEG format that must not exceed 2 MB. For archives that exceed the 2 MB limit, users can store the electronic files by linking
299
via URL, these documents can be separated from the ICA-AtoM database. KU earchives database system supports in storage and distributes the archives as a well known resource. The system facilitates users who can access all archives anywhere, without ever entering the university.
300
RSU Library eBook รั ต นาภรณ์ กาศโอสถ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยรังสิต e-mail : rattanapornn@rsu.ac.th
บทคัดย่อ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัยรังสิตที่มุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ (e-University) โดยการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาประยุกต์ใช้ในการบูรณาการ การ เรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยรังสิตได้ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ในการดาเนินงานและพัฒนาบริการของห้องสมุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสนับสนุนการพัฒนาระบบ บริการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (eBook) ภาษาไทย จึงได้ร่วมกับบริษัท โอเพ่น เซิร์ฟ จากัด พัฒนา บริการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถใช้งานบนเครื่องพีซีระบบปฏิบัติการวินโดว์ (Windows) และ บนอุปกรณ์แท็บเล็ตระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) โดยพัฒนาแอพพลิเคชั่นชื่อ “RSU Library” ขึ้น บริการของ RSU Library eBook มีความสามารถดังนี้ 1) ใช้สร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2) การบริหารระบบชั้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 3) บริการสืบค้นข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และ4) บริการยืม-คืนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ คาสาคัญ : หนังสืออิเล็กทรอนิกส์, อีบุ๊ก, แท็บเล็ต, โปรแกรมสาหรับอุปกรณ์พกพา, สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยรังสิต ABSTRACT Pursuing an electronic university, Rangsit University has integrated the advance technology with its teaching and learning processes. The Rangsit University Library as well has employed information technology solutions in order to develop and enhance the online user services. The eBook service is one among them. The new electronic Thai language book system is developed by the collaboration between the Open Serve Limited Company and RSU library team. This eBook system can be implemented on Windows PC and mobile device. The “RSU Library” mobile application has been developed for Android OS mobile device. The services provided by this eBook solution are as follow: 1) eBook
301
builder 2) eBook shelf management 3) eBook searching and browsing and 4) eBook circulation. Keywords : eBook, electronic book, tablet, mobile application, Rangsit University Library
302
ภาพลักษณ์ใหม่ของห้องสมุด มข. บนโลกออนไลน์ All New KKU Libraries on Digital Branding นิ ติ ย า ชุ่ ม อภั ย * อั ค ริ ม า สุ่ ม มาตย์ ธี ร ยุ ท ธ บาลชน *
สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น e-mail: nitiyach@kku.ac.th
บทคัดย่อ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้พัฒนาบริการและปรับเปลี่ยนการดาเนินงานของ ห้องสมุดให้มีความทันสมัย เข้าถึงได้ง่าย ตรงความต้องการของกลุ่มเป้าหมายหลักของห้องสมุด คือ กลุ่ม Gen Y เพื่อให้เป็น “แหล่งเรียนรู้ของคนรุ่นใหม่” โดยการพัฒนางานประชาสัมพันธ์และลูกค้า สัมพันธ์ของสานักวิทยบริการให้สามารถครองใจผู้ใช้บริการได้มากยิ่งขึ้น และเพิ่มช่องทางการเข้าถึง กลุ่มผู้ใช้บริการได้ตรงความต้องการ โดยผ่าน Social Network เป็นช่องทางหลักในการสื่อสารกับ ผู้ใช้กลุ่มเป้าหมาย รวมถึงสร้างภาพลักษณ์ของห้องสมุดให้มีความน่าสนใจ ดึงดูดผู้ใช้บริการ ให้สนใจ เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆของห้องสมุด รวมไปถึงเข้าใช้บริการห้องสมุดผ่านทางออนไลน์มากขึ้น โดย ดาเนินการ ดังนี้ 1) กาหนดสีและตราสัญลักษณ์ของห้องสมุด 2) กาหนดคาว่า KKU Library เพื่อใช้ แทนห้องสมุดและมีท่าประกอบเพื่อให้รู้สึกเป็นกันเอง 3) ผลิตสื่อสิ่งของ ที่มีตราสัญลักษณ์ 4) ผลิตสื่อ โทรทัศน์ เป็นคลิปวิดีโอสั้นๆ 5) ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ โดยใช้ภาษาที่ไม่เป็นทางการมาก 6) ใช้สื่อออนไลน์ ในการสื่อสารกับผู้ใช้เป็นหลัก 7) การทากิจกรรมให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมผ่าน Social Network 8) เปิดรับ ฟังความต้องการเพื่อให้เกิดความพึงพอใจสูงสุดของผู้รับบริการ 9) ปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีความทันสมัย ตรงใจกลุ่มเป้าหมาย ผลการศึกษา พบว่า การปรับเปลี่ยนภาพลักษณ์ทั้งหมดขององค์กร ไม่ว่าจะเป็น การปรับเปลี่ยนนโยบายให้มีความยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น การปรับเปลี่ยนบริการเพื่อสนองความต้องการ ของผู้รับบริการ อีกทั้งการนาเทคโนโลยีใหม่ๆ มาเพื่อสนับสนุนให้ผู้รับบริการมีโอกาสเข้าถึงทรัพยากร สารสนเทศทุกรูปแบบ และนาแนวคิดการการพัฒนา Branding มาใช้ในห้องสมุดในยุค Social Network เพื่อสร้างความน่าจดจาของห้ องสมุดบนสื่อออนไลน์ได้ เพื่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีของ ห้องสมุด เพื่อก้าวไปสู่การ“แหล่งเรียนรู้ของคนรุ่นใหม่” ได้ต่อไป คาสาคัญ : ภาพลักษณ์ห้องสมุด, การประชาสัมพันธ์ห้องสมุด, การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า, การสร้างชื่อตราผลิตภัณฑ์ห้องสมุด, เครือข่ายสังคม, ห้องสมุด มข. ABSTRACT Academic Resource Center, Khon Kaen University was develop and modify the operation of a modern library easy to access. Meet the needs of the library's
303
main goal is to keep the Gen Y group is a " Learning center of a new generation " through the development of public relations , public relations and customer service users to be able to win even more . And channels to reach consumers directly through the Social Network are the main channel of communication with the target audience. Includes an image library to be interesting and attract users. To participate in the activities of the library including access to library services through online. By doing the following : 1) Define color and emblem of the library, 2 ) Determine the KKU Library to use the library, and it is to feel friendly 3 ) Media production items with logo 4 ) Online Media : a short video clips 5) Publishing : use informal language 6 ) Use online media to communicate with users mainly 7 ) The activities users engage via Social Network 8) Open to listening to the needs to achieve maximum satisfaction of the clients 9) Improved website meets a modern audience results showed that modifying the appearance of all . Whether modifications are much more flexible. Modification services to meet the needs of the clients. The introduction of new technologies. Encourage patients to have access to information resources in all formats. Library branding and concept development libraries used in the Social Network to create a memorable online media library to achieve a good image of the library. To move to the "Learning center of a new generation”, in the further. Keywords : Library image, Libraries, Public relations, Relationship marketing, Social Network, Library Branding (Marketing), KKU Library. รายการอ้างอิง บุญเลิศ อรุณพิบูลย์. (2556). นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการสร้าง Branding ของห้องสมุด. สืบค้นจาก http://www.stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/3623-library-branding.html. (2556 ตุลาคม 18) มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สานักวิทยบริการ. (2556). แผนยุทธศาสตร์การบริหาร สานักวิทยบริการ (สานักหอสมุด และทรัพยากรการเรียนรู้ ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2556 – 2559. ขอนแก่น: สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วิศปัตย์ ชัยช่วย. (2553). การสร้างแบรนด์ห้องสมุดมหาวิทยาลัย. วารสารสารสนเทศศาสตร์, 28(1), 51 – 60 ; มกราคม – เมษายน, 2553.
304
แฟนเพจหอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยขอนแก่น KKU Archives Fan Page วั น ชาติ ภู มี กลุ่มภารกิจพิพธิ ภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น e-mail: bwanch@kku.ac.th
บทคัดย่อ แฟนเพจหอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประชาสัมพันธ์และ แลกเปลี่ยนข้ อมูลจดหมายเหตุที่น่าสนใจ เช่น ภาพถ่าย เอกสาร ประวัติจากคาบอกเล่า โดยใช้ แนวคิด Facebook Marketing : SMO (Social Media Optimization) เริ่มต้นจากการทา Profile Page ซึ่งได้รับความสนใจมีสมาชิกมากกว่า 4,500 คน และมีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จึงเป็นที่มา ของการปรับเปลี่ยนเป็น KKU Archives Fan Page ที่มีผู้ติดตามมากกว่า 7,900 คน คาสาคัญ : จดหมายเหตุ, เฟซบุ๊ค, เครือข่ายสังคมออนไลน์ ABSTRACT Facebook Fan Page of KKU Archives was designed for public relation and exchange interesting information on archives such as photographs, documents, oral histories using the concept that Facebook Marketing: SMO (Social Media Optimization). Starting from the Profile Page, which has received attention with over 4,500 people and has increased steadily, it is a modification of the KKU Archives Fan Page with over 7,900 followers. Keyword : Archives, Facebook, Social Network รายการอ้างอิง กลุ่มภารกิจพิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2550). หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ค้นเมื่อ31ตุลาคม 2556, จากhttp:// www.facebook.com/archive.kku
305
IT MAN @ KKU library: การจัดการองค์ความรู้ด้านไอทีสู่นวัตกรรมการแก้ไข ปัญหา IT Support ภายในห้องสมุดอย่างยั่งยืน IT MAN @ KKU library: IT Support Solution ธี ร ยุ ท ธ บาลชน สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น e-mail: theeba@kku.ac.th
บทคัดย่อ เป็นการจัดการองค์ความรู้ด้าน IT Support โดยเน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถ่ายทอด ความรู้ให้แก่บุคลากรที่เป็นตัวแทนของแต่ละฝ่ายภายในองค์กร เพื่อทาหน้าที่เป็น IT Key Man หลัก ในการแก้ไขปัญหาการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศขั้นพื้นฐานให้แก่เพื่อนร่วมงานภายในแผนก/ฝ่าย ของตนเอง โดยใช้นวัตกรรมระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพวงออนไลน์ เป็นเครื่องมือ สาคั ญ ในการแจ้ง ซ่ อ ม บั นทึ ก จัด เก็ บ ประวัติก ารซ่อมและการแก้ ไ ขปั ญหาหรื อวิธีก ารซ่อม และ สามารถเรียกดูหรือค้นคืนในรูปแบบฐานข้อมูลการแก้ไขปัญหาด้าน IT Support ซึ่งจะกระตุ้นให้เกิด การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ การถ่ า ยทอดและเผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ เ พื่ อ ใช้ ใ นการแก้ ไ ขปั ญ หาด้ า น IT Support ได้อย่างยั่งยืน คาสาคัญ : การจัดการองค์ความรู้ด้านไอที, การแก้ไขปัญหาด้าน IT Support
306
โครงการพัฒนาแอปพลิเคชันสาหรับให้บริการสารสนเทศบนโทรศัพท์มือถือ Smartphone สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Academic Resource Center, Mahasarakham University Application for Smartphone สั น ติ ภ าพ เปลี่ ย นโชติ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม e-mail:Suntiparp.p@msu.ac.th
บทคัดย่อ เนื่องจากเทคโนโลยีการสื่อสารพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วทาให้อุปกรณ์สื่อสารไร้สายเข้ามา เกี่ยวพันกับการใช้ชีวิตประจาวันเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะใช้สื่อสารกัน ทางเสียง ข้อความ รูปภาพนิ่ง หรือ ภาพวีดีโอ และในระยะหลังนี้อุปกรณ์เหล่านี้ยังสามารถเชื่อมต่อเครือข่ายอินเตอร์เ น็ตได้ด้วย ทา ให้มีความสะดวกสบาย ในการค้นหาข้อมูล หรือ ทาธุรกรรมผ่านเครือข่ายดังกล่าว สานัก วิทยบริก าร มหาวิทยาลัย มหาสารคามจึง มี ความจาเป็ นที่จะต้องเพิ่ มช่องทางการ ให้บริการที่สามารถให้บริการผ่านอุปกรณ์ Smartphone ซึ่งเป็นอุปกรณ์การสื่อสารหลักของทุกคน เพื่อที่จะสามารถให้บริการได้อย่างทั่วถึง อีกทั้งเป็นการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ให้สามารถ เข้าถึงผู้ใช้บริการได้มากขึ้น ในการพัฒนา ผู้พัฒนาได้ใช้เทคโนโลยีและการประยุกต์ใช้ดังนี้ 1) โปรแกรม Eclipse เพื่อ การพัฒนาหน้าจอสาหรับการใช้งานบนระบบปฏิบัติการ Android 2) Android Virtual Device Manager เพื่อทดสอบระบบการใช้งานบนระบบปฏิบัติการ Android 3) เว็บเซิร์ฟเวอร์ เพื่อให้บริการ ผ่านหน้าจอเว็บไซต์ และแลกเปลี่ยนข้อมูลกับ Application ผลการศึกษาพบว่า จากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ 7 ท่าน แยกออกเป็น 3 ด้านได้แก่ 1) ด้านเนื้อหา 2) ด้านการออกแบบ 3) ด้านการเชื่อมโยงข้อมูล 4) ด้านการประมวลผล ซึ่งมีผลประเมิน ในระดับ ดี ในทุกด้าน และจากการประเมินโดยกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นผู้ใช้บริการเว็บไซต์สานักวิทย บริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มีความพึงพอใจต่อการใช้แอปพลิเคชันและเว็บไซต์อยู่ในระดับมาก โดยมีข้อคิดเห็นเพิ่มเติมหลักคือการเพิ่มบริการที่ให้บริการบนแอปพลิเคชันสาหรับ Smartphone ให้ มากขึ้นและการพัฒนาเวอร์ชันสาหรับระบบปฏิบัติการอื่นเพิ่มเติม สรุ ป ได้ ว่ า การพั ฒ นาอุ ป พลิ เ คชั น ส าหรั บ ให้ บ ริ ก ารสารสนเทศบนโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ Smartphone ของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สามารถเข้าถึงและดึงดูดความสนใจ
307
ของผู้ใช้บริการให้เข้ามาใช้บริการมากขึ้น โดยยังจะต้องพัฒนาเพิ่มเติมและปรับเปลี่ยนให้ตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้และเทคโนโลยีด้านโทรศัพท์มือถือ Smartphone ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ คาสาคัญ : โทรศัพท์มือถือ, พัฒนาระบบ, ให้บริการผ่านเว็บไซต์, Smartphone รายการอ้างอิง วอนชนก ไชยสุนทร. 2546. การศึกษาพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษาปริญญาตรี ในสาขาวิชาด้าน คอมพิวเตอร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง . วิทยานิพนธ์, สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ. นคร ทุตาสิทธิ์. 2548. ประโยชน์ของเครื่องช่วยงานส่วนบุคคลแบบดิจิทัล . วิทยานิพนธ์, สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ. Ericsson Consumer Insight Summary (2011) From Apps to Everyday Situations. Retrieved October 8, 2011, From Ericson.com: http://www.ericsson.com/res/docs/2011/silicon_valley_brochure_letter.pdf Hugh Griffiths (2010). How the ubiquity of today’s smartphones make an ideal platform for delivering campus-based services. Retrieved October 8, 2011, From Reporting Made Easy’s Website: http://www.rms-inc.com/files/datasheets/Ombiel_Whitepaper.pdf Javelin Strategy & Research (2010) Keeping up with the Android: Segmenting the Smartphone Market vs. iPhone and BlackBerry, Javelin Strategy & Research https://www.javelinstrategy.com/brochure/189
308
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อบริการสารสนเทศ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม A Development of Information Service Website for Academic Resource Center, Mahasarakham University จี ร กาญจน์ เต็ ม พรสิ น สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม email : jeerakan.p@msu.ac.th
บทคัดย่อ งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาเว็บไซต์และระบบให้บริการศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ ออนไลน์ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อเป็นช่องทางให้กับผู้ใช้บริการที่ไม่สะดวก ในการเดินทาง โดยใช้แนวคิด Webometics และ Web2.0 เป็นแนวทางในการพัฒนา ใช้โปรแกรม ภาษา PHP, HTML5 และ JavaScript ใช้ระบบจัดการฐานข้อมูล MySQL ผลของงานวิจัยได้พัฒนา เว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและประชาสัมพันธ์ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม URL คือ http://www.library.msu.ac.th แสดงผลเป็น 2 ภาษา คือภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และ พัฒนาระบบศูนย์บริการเบ็ดเสร็จออนไลน์ (One Stop Service Online Center) URL คือ http://copper.msu.ac.th/OSS2 ซึ่งระบบศูนย์บริการเบ็ดเสร็จออนไลน์สามารถกรอกแบบฟอร์มเพื่อ ขอใช้บริการออนไลน์ ได้แก่ ขอสาเนาบทความ บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ หนังสือ วารสาร ทั้งในรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์และถ่ายเอกสาร โดยนาส่งทางไปรษณีย์ อีเมล์ หรือมารับด้วยตนเอง ณ หน่วยบริการ ของสานักวิทยบริการ ผู้ใช้งานระบบสามารถตรวจสอบสถานการขอใช้บริการได้ผ่านระบบศูนย์บริการ เบ็ดเสร็จออนไลน์ จาการประเมิ น ความสามารถของระบบจากผู้ เ ชี่ ย วชาญจ านวน 7 ท่ า น ประกอบด้ ว ย บรรณารักษ์ชานาญการพิเศษนั กวิชาการคอมพิวเตอร์ชานาญการพิเศษและนักวิชาการโสตทัศน์ ชานาญการพิเศษ และจาการประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง เป็นเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการและ ผู้ใช้บริการเว็บไซต์สานักวิทยบริการและระบบศูนย์บริการเบ็ดเสร็จออนไลน์พบว่า มีความพึงพอใจต่อ การใช้งานระบบในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ทั้ ง นี้ เ ว็ บ ไซต์ ส านั ก วิ ท ยบริ ก าร มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม สามารถเผยแพร่ แ ละ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารรวมทั้งเป็นช่องทางสื่อสารกับผู้ใช้ชาวต่างชาติเป็นภาษาสากล ส่วนของ ระบบศู น ย์ บ ริ ก ารเบ็ ด เสร็ จ ออนไลน์ จ ะท าการเชื่ อ มโยงการสื บ ค้ น ทรั พ ยากรสารสนเทศจาก
309
WebOPAC ของสานักวิทยบริการในการร้องขอใช้ทรัพยากรสารสนเทศ สามารถลดขั้นตอนการ ทางาน เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการข้อมูลภายในได้เป็นอย่างดี คาสาคัญ : Webometics, Web2.0, One Stop Service Online, WebSite, ศูนย์บริการเบ็ดเสร็จออนไลน์ รายการอ้างอิง น้ าลิ น เที ย มแก้ ว . (2555). การพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการให้ บ ริ ก ารศู น ย์ บ ริ ก ารเบ็ ด เสร็ จ ส านั ก วิ ท ยบริ ก าร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สานักวิทยบริการ. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สมควร เพียรพิทักษ์. (2546). การพัฒนาเกณฑ์การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา. ปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาบันฑิต. สาขาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา.สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. Mohamed Ahmed Elgharabawy. (2011). Web Content Accessibility and its Relation to Webometrics Ranking and Search Engines Optimization. Department of Information Systems International Islamic University Malaysia. from http://ieeexplore.ieee.org/stamp/stamp.jsp?tp=&arnumber=6125721 Rank Web of university. (2013). Decalogue of good practices in institutional web positioning. from http://www.webometrics.info/en/Best_Practices.
310
การพัฒนาฐานข้อมูลภาพถ่ายในอดีตของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม The Development Database of the Old Photographs Database in AREC, Mahasarakham University รณชั ย เหล่ า โพธิ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม e-mail : ronachai.l@hotmail.com
บทคัดย่อ การวิ จั ย นี้ มี ค วามมุ่ ง หมายเพื่ อ พั ฒ นาฐานข้ อ มู ล ภาพถ่ า ยในอดี ต ของส านั ก วิ ท ยบริ ก าร มหาวิทยาลัยมหาสารคามและศึกษาความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงานและผู้ใช้บริการที่มีต่อ ฐานข้อมูล ภาพถ่ายในอดีตของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม การพัฒนาฐานข้อมูลได้ดาเนินการ ตามขั้นตอนของวงจรการพัฒนาระบบ (SDLC) โดยการพัฒนาระบบใช้โปรแกรม MySQL ในการ จัดการฐานข้อมูล ใช้ภาษา PHP ในการติดต่อกับฐานข้อมูล ประมวลผลบนระบบปฏิบัติการ Linux CentOS และใช้มาตรฐานดับลินคอร์เมทาดาทา (Dublin Core Metadata) ในการบันทึก รายละเอียดสารสนเทศ กลุ่มตั วอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บรรณารักษ์ สังกัดสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จานวน 20 คน และผู้ใช้บริการที่ เข้าใช้ฐานข้อมูลภาพถ่ายในอดีตของ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จานวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบวัดความพึงพอใจแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอานาจจาแนก ตั้งแต่ 0.45-0.82 และ ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .92 โดยเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันที่ 1-30 เมษายน 2555 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. ฐานข้อมูลภาพถ่ายในอดีตของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคามที่พัฒนาขึ้นมี คุณสมบัติครอบคลุมการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ สามารถบันทึกข้อมูล รายละเอียด ของภาพแต่ล ะภาพได้ สามารถปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข และลบรายการสารสนเทศได้ สามารถสื บ ค้ นได้ ทางเลือกในการสืบค้น ได้แก่ ชื่อ เรื่องของภาพ ชื่อบุคคล หัวเรื่อง รหัสหมวดภาพ คาสาคัญ อีกทั้ง ฐานข้อมูล ยังสามารถสืบค้นบุคคลในภาพได้ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ประเมิน ระบบแล้วปรากฏว่าระบบที่พัฒนามีประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก
311
2. ผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน มี ค วามพึ ง พอใจต่ อ ฐานข้ อ มู ล ภาพถ่ า ยในอดี ต ของส านั ก วิ ท ยบริ ก าร มหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยรวมและรายด้าน ทั้ง 5 ด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจาก สูงไปหาต่า คือ ด้านการเข้าถึง ( X = 4.31) รองลงมามีค่าเฉลี่ยเท่ากัน ได้แก่ ด้านเนื้อหา และด้าน วิธีการสืบค้น ( X = 4.28) และด้านโครงสร้าง ( X = 4.23) 3. ผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร มี ค วามพึ ง พอใจต่ อ ฐานข้ อ มู ล ภาพถ่ า ยในอดี ต ของส านั ก วิ ท ยบริ ก าร มหาวิทยาลัยมหาสารคามโดยรวมและรายด้านทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก โดยเรียงจากลาดับค่าเฉลี่ย จากสูงไปหาต่า คือ ด้านการเข้าถึง ด้านการแสดงผลการสืบค้น และด้านการสืบค้น ( X = 3.77) รองลงมา คือ ด้านเนื้อหา ( X = 3.74) โดยสรุ ป ฐานข้ อ มู ล ภาพถ่ า ยในอดี ต ของส านั ก วิ ท ยบริ ก าร มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคามที่ พัฒนาขึ้นสามารถนาไปใช้ในการจัดเก็บและค้นคืนภาพถ่ายในอดีตของสานักวิทยบริการมหาวิทยาลัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งผู้ใช้บริการยังสามารถเข้าถึงบุคคลในภาพได้ด้วย คาสาคัญ : ฐานข้อมูล, ภาพถ่าย, จดหมายเหตุ, เอกสารจดหมายเหตุ, ประวัติศาสตร์ ABSTRACT The objectives of this research are: to develop the development database of the old photographs database in AREC, Mahasarakham University. The database was developed by using the theory of System Development Life Cycle: SDLC, MySQL Program, PHP Language and Linux CentOS operating system and the information were recorded according to the standard of Dublin Core Metadata. The samples of this research are 20 librarians of Academic Resource Center and 200 users were selected by using purposive sampling method and the data collection were gathered during April 1-30, 2012. The satisfaction survey with rating scale in 5 levels has a discrimination powers ranging from 0.45-0.82 and a reliability of .92 The statistical data analysis comprise of mean and standard deviation. The results showed as following: 1. the development database of the old photographs database in AREC, Mahasarakham University is efficiency database which cover all work operation: data record, edit, delete, search fields; title, author, subject, image code, and keyword
312
including It’s also search the author inside the image. The results of the evaluated database by the computer experts showed the developed database is efficient system at a high level. 2. The practitioners were high satisfied with the development database of the old photographs database in AREC, Mahasarakham University as a whole and 5 aspects: database access ( X = 4.31), contents and search options ( X = 4.28), and structure ( X = 4.23), respectively. 3. The users were high satisfied with the development database of the old photographs database in AREC, Mahasarakham University as a whole and 4 aspects: database access, results display and search options ( X = 3.77), and contents ( X = 3.74) 4. In conclusion, the development database of the old photographs database in AREC, Mahasarakham University is be able to store and retrieve the old photographs of Academic Resource Center including the users can access the database and also retrieve the information of the persons inside the images. Keywords : Database; Photographs, Archives; Archives Document, History รายการอ้างอิง เกษรา บุญปาล, ธนโชค ภูมิศิริชโย. (2546). การพัฒนาระบบจัดเก็บและสืบค้นภาพถ่ายในหอจดหมายเหตุพระ จอมเกล้า สานักหอสมุด สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเหล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. สานักหอสมุด สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเหล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ดรณ์ แก้วนัย. (2554). “การจัดเก็บภาพจดหมายเหตุ,” จดหมายข่าวหอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 1(2) ; 17-18 ; เมษายน-มิถุนายน. วิศปัตย์ ชัยช่วย, ยศัสวิน บุญช่วย. (2552). “การสงวนรักษาเอกสารจดหมายเหตุประเภทภาพถ่ายดิจิทัล ,” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ .3(2), ตุลาคม 2551-มีนาคม 2552, 200223. สุขเกษม อุยโต. (2542). “การจัดทาฐานข้อมูลภาพ,” รังสิตสารสนเทศ. 5(2) : 54-60 ; กรกฎาคม-ธันวาคม. สุภาณี กอสุวรรณศิริ, สุมิตรา ขันตยาลงกต. (2531). จากอดีต...ถึงปัจจุบัน การถ่ายภาพ.กรุงเพทฯ : สารมวลชน.
313
อารยะ เสนาคุณ. (2547). “ภาพดิจิทัลกับการจัดการที่เหมาะสม,” กรกฎาคม-ธันวาคม.
วารสารสารสนเทศ. 11(1) : 41-51 ;
อุบล ใช้สงวน. (2533). “เอกสารจดหมายเหตุมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ,” สารกรมศิลปากร. 3(11) : 21-23 ; มกราคม.
314
การใช้โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Liberty ของนักศึกษาและคณาจารย์ เพื่อการสืบค้นภายในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ The use of the automatic Library Program of Liberty by the students and staff members for learning literary in Central Library of Surindra Rajabhat University สยาม ระโส * นริ ศ รา ระโส ฝนสุ ด า มณี รั ต น์ หอสมุดกลาง สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ email : raso30@hotmail.com*
บทคัดย่อ ในปั จ จุ บั น ห้ อ งสมุ ด มี ชี วิ ต มี ค วามจ าเป็ น ในพั ฒ นาการเรี ย นการสอนของนั ก ศึ ก ษาและ คณาจารย์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ การใช้โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ มีส่วนช่วยในการ สืบค้นบทความ หนังสือ และทรัพยากรสารสนเทศอื่นๆ ที่มีอยู่ภายในหอสมุดกลางของมหาวิยาลัย ราชภัฏสุรินทร์ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Liberty ถูกนามาพัฒนาและปรับใช้กับนักศึกษาและ คณาจารย์ในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 จนถึงปัจจุบันมหาวิทยาลัย ทาง หอสมุ ดกลางได้ ด าเนิ นการจัด การอบรมการใช้โ ปรแกรมระบบห้ องสมุ ดอั ตโนมั ติ Liberty ให้ แ ก่ บุคลากรภายในห้องสมุด นอกจากนี้ได้ดาเนินการจัดการอบรมการใช้ให้กับนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์จานวนทั้งหมด 300 คน อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้นักศึกษาสามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ จากสถานที่ต่างๆที่มีระบบปฏิบัติการอินเทอร์เนตได้โดยไม่ต้องเดินทางมายังห้ องสมุดกลาง โปรแกรม ระบบห้องสมุดอัตโนมัติLiberty นี้ถูกนามาใช้แทนที่โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ULibM และ โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Alice For Windows โดยย้ายฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งหมดมายังระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Liberty ปัจจุบันได้ดาเนินการทดลองใช้แล้ วแต่ยังมีปัญหาใน เรื่องของโปรแกรมที่ยังไม่มีการดาเนินการใช้แผนที่ เพื่อง่ายต่อการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศภายใน ห้ อ งสมุ ด ซึ่ ง ต้ อ งมี ก ารพั ฒ นาโปรแกรมต่ อ ไป ในอนาคตจ าเป็ น ต้ อ งด าเนิ น การอบรมการเข้ า ถึ ง ทรั พ ยากรสารสนเทศให้กั บ นัก ศึ ก ษาอย่ า งต่อเนื่อง เพื่ อส่ง เสริ ม การใช้ทรั พ ยากรสารสนเทศที่ มี ประสิทธิภาพของมหาวิยาลัยราชภัฏสุรินทร์ต่อไป คาสาคัญ : โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ, Liberty, การสืบค้น, มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
315
ABSTRACT Currrently, the living library is necessary for teaching and learning literacy improvement of students and staff members at Surindra Rajabhat University. The use of automatic library program of Liberty is a key to help students and staff members for searching online journal, books and other sources of literatures within the central library of Surindra Rajabhat University. The Liberty program has been employing and has adapted for students and staff members since 2011 till now. Firstly, the central library has organized the workshop for staff members of Central library how to use the program and has introduced this program to all first year students in, approximately 300 students regularly. The aim of the workshop is for students, who can access the library anywhere, where there is an internet available without to present at the library desks. The Liberty program is developed from the old Program Alice for Windows and ULibM. The all information literatures is needed to migrate from the program ULibM to program Liberty by the company provider. The disadvantage of this program is that it did not show the map of the book location within the library. In the future, the need of workshop on how to access the library with this program is needed to support the services and the using effectively of the central library of Surindra Rajabhat University to improve the literacy learning. Keywords : automatic library program, Libery, Searching, Surindra Rajabhat University
316
โครงการพัฒนาระบบการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศผ่านอุปกรณ์สื่อสารทุกรูปแบบ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น KKU Library Mobile Access to Digital Collections ทรรศนี ย์ อิ น ทร์ ล้า สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น e-mail : tasane_p@kku.ac.th
บทคัดย่อ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จัดทาโครงการพัฒนาระบบการเข้าถึงทรัพยากร สารสนเทศผ่า นอุ ป กรณ์ สื่อ สารทุ ก รู ป แบบ ดาเนินการตามยุ ทธศาสตร์ ก ารบริ หารในการพั ฒ นา ทรั พ ยากรสารสนเทศและความรู้ เ พื่ อ สนั บ สนุ น การเรี ย นรู้ แ ละสนับ สนุ นการวิ จั ย เพื่ อผลั ก ดั น ให้ มหาวิทยาลัยมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการวิจัยและเป็นศูนย์กลางความรู้และบริการสนับสนุนการ ผลิตบัณฑิตและการวิจัยของมหาวิทยาลัย เพื่อความเป็นเลิศ การขยายโอกาสการเรียนรู้อย่างไม่จากัด การเป็นแหล่งรวมความรู้ องค์ความรู้ การพัฒนาทักษะนักศึกษาและบุคลากรให้สามารถเข้าถึงข้อมูล สะดวกรวดเร็วด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยในปีงบประมาณ 2556 ระยะที่ 1 นั้น ได้ดาเนินกลยุทธ์ใน การจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์พ กพา (tablet) ที่สามารถตอบสนองต่อการใช้งานได้อย่างดี ได้แก่ Samsung Galaxy Tab 2 7.0 ในระบบปฏิบัติการแบบ Andriod ส่วนระยะที่ 2 ได้แก่ Microsoft Surface RT ซึ่งมีโปรแกรมการใช้งาน Microsoft Office กระบวนการจัดบริการนั้นมีการกาหนด ระเบี ย บการใช้ ง าน การให้ค วามรู้ แ ก่ บุ ค ลากรก่ อนให้บ ริ ก าร รวมถึ ง มี ก ารใช้ก ลยุ ทธ์ก ารสื่อสาร การตลาดหลากหลายช่องทาง ได้แก่ เว็บไซต์ เฟสบุ๊คของมหาวิทยาลัย สานักวิทยบริก าร ห้องสมุด คณะ ป้ายประชาสัมพันธ์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ บรรณารักษ์/เจ้าหน้าที่ ที่ให้บริการ โดยโครงการนี้ ใช้หลักการบริหารแบบ SIPOC Modle คาสาคัญ : คอมพิวเตอร์แบบพกพา, สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ABSTRACT Khon Kaen University provided Mobile Access To Digital Collections to respond of the administrative strategies to improve information materials and knowledges to support academic and research the khowledge center , support to university students and research production to the aim of excellent university, include of provided the chance of non-limit academic learning, knowledge sources, information literacy to rapid access with modern technology. In the budget year 2013
317
KKU Library acquired most popular tablet supplier in the country which have suitable of OS and best price, Phase I was decided for Samsung Galaxy Tab 2 7.0 and Phase II was decided for Microsoft Surface RT , because it can use Microsoft office and other utility program. Service process provided of loan rule , staff training , CRM through library and university website, facebook ,board ,e-mail, staffs etc. This project was manage under SIPOC Modle Keywords : tablet, KKU Library, Khon Kaen University รายการอ้างอิง สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2556. แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี 2556-2559. ขอนแก่น : สานักวิทยบริการ. Sipoc Model. ค้นจาก www.iSixSigma.com ค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2556
318
การพัฒนาการแสดงผลบนหน้ า Web OPAC ด้วยแนวคิด Mobile Responsive Web และ Web Accessibility Developing a Modernize Web OPAC Template : Mobile Responsive Web and Web Accessibility รั ก เผ่ า เทพปั น * วิ ภ าดา ดวงคิ ด อนุ วั ฒ น์ คาเงิ น ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง email: rakphao.tep@mfu.ac.th*
บทคัดย่อ ระบบ Web OPAC ที่ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้นามา ให้บริการยังมีข้อบกพร่องในด้านการออกแบบโครงสร้างและจัดวางข้อมูลในหน้า Web OPAC เนื่องจากบริษัทผู้พัฒนาใช้เทคนิคและมาตรฐาน HTML เวอร์ชั่นเก่าในการสร้างเทมเพลต ทาให้หน้า Web OPAC ขาดความยืดหยุ่นในการรองรับการแสดงผลบนโปรแกรมเว็บบราวเซอร์สมัยใหม่ที่ รองรั บ หน้ า จอแสดงผลได้ ห ลากหลายขนาด รวมถึ ง การแสดงผลบนอุ ป กรณ์ สื่ อ สารแบบพกพา (mobile device) ต่าง ๆ ซึ่งมีแนวโน้มว่าจะมีปริมาณผู้ใช้เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ก็ทาได้ไม่สมบูรณ์นัก ผู้ใช้งานส่วนใหญ่ยังรู้สึกว่าหน้า Web OPAC เดิมขาดการออกแบบที่ทันสมัย ขาดความสายงามดึงดูด ใจ และขาดความเป็นมิตรกับผู้ใช้ (user friendly) ซึ่งปัญหาที่พบเป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมทักษะ การค้นคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเอง รวมถึงการส่งเสริมการใช้บริ การออนไลน์ต่าง ๆ บน Web OPAC แก่ผู้ใช้ จากปั ญ หาและอุ ป สรรคที่ พ บ ท าให้ ค ณะท างานศู น ย์ บ รรณสารและสื่ อ การศึ ก ษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มีแนวคิดในการพัฒนาเทมเพลตสาหรับหน้า Web OPAC ใหม่ที่เป็นมิตรกับ ผู้ใช้มากขึ้น มีการจัดข้อมูลในหน้าเว็บเพจที่เข้าใจง่ายตามมาตรฐาน Web Content Accessibility Guidelines (WCAG) 2.0 ร่วมกับการออกแบบที่ดูทันสมัย และใช้หลักการ Responsive web design ซึ่งจะทาให้สามารถรองรับการแสดงผลได้บนอุปกรณ์หลากหลายประเภททั้งคอมพิวเตอร์ตั้ง โต๊ะและอุปกรณ์พกพา โดยผู้พัฒนาได้สร้างหน้าเทมเพลตสาหรับ Web OPAC โดยใช้มาตรฐานใน การพัฒนาเซ็บไซต์สมัยใหม่ คือ HTML5 และ CSS3 ร่วมกับ JQUERY (Java script library) นอกจากนี้ยังได้เพิ่มเติมความสามารถในหน้า Web OPAC ได้แก่ การแทรกปุ่มลิงค์ข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลในหน้า OPAC ไปยังหน้าเว็บไซต์ประเภท online social website ต่าง ๆ และเพิ่มการแสดงกล่องข้อความแนะนาการใช้งานแก่ผู้ใช้โดยอัตโนมัติ (balloon help) เมื่อ ระบบตรวจพบผู้ใช้รายใหม่ที่เพิ่งเข้าถึงหน้า Web OPAC เป็นครั้งแรก
319
คณะทางานหวังว่าการพัฒนาหน้า Web OPAC ใหม่นี้ จะช่วยสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ผู้ใช้ ช่วยส่งเสริมทักษะการค้นคืนทรัพยากรสารสนเทศด้วยตนเองและการเข้าถึงบริการออนไลน์ต่างๆ ของห้องสมุดแก่ผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ และจะช่วยเสริมภาพลักษณ์ที่ดีในงานบริการห้องสมุด คาสาคัญ : VTLS, OPAC, responsive web, mobile web, online social, HTML5, CSS3 รายการอ้างอิง Bohyun, K. (2013). The Present and Future of the Library Mobile Experience. [Article]. Library Technology Reports, 49(6), 15-28. Bohyun, K. (2013). Responsive Web Design, Discoverability, and Mobile Challenge. [Article]. Library Technology Reports, 49(6), 29-30. Frederick, K. (2013). Responsive web design 101. Computers in Libraries, 33(6), 11-14. Gloria, S. s. y. c. (2012). Building Website for Mobile Phone Users of an Indian Agriculture University Library: A Model. [Article]. DESIDOC Journal of Library & Information Technology, 32(4), 358-364. Inc., V. (2011). Vectors iPortal Interface Customization Guide (2010.3 and 2010.4). Virginia: VTLS Inc. JQUERY. jQuery API Retrieved October, 2013, from http://api.jquery.com/ Otto, M., Thornton, J., Rebert, C., & Thilo, J. Bootstrap. Sleek, intuitive, and powerful mobile first front-end framework for faster and easier web development. Retrieved 1 November, 2013, from getbootstrap.com Snell, J. (2013). FLEXIBLE EVERYTHING Getting Responsive With Web Design. Computers in Libraries, 33(3), 12-16. Van Bodengraven, M., & Pollitt, C. (2003). Making Websites and OPACS accessible. Rendre les sites Web et les OPAC accessibles., 29(4), 357. W3C. User Agent Accessibility Guidelines (UAAG) 2.0 Retrieved 1 October, 2013, from http://www.w3.org/TR/UAAG20/ W3School. CSS3 Introduction Retrieved October, 2013, from http://www.w3schools.com/css/css3_intro.asp W3School. HTML5 Introduction Retrieved 1 October, 2013, from http://www.w3schools.com/html/html5_intro.asp Wisniewski, J. (2013). Responsive Design. [Article]. Online Searcher, 37(1), 74-76.
320
ฐานข้อมูลวารสารสถาบัน มหาวิทยาลัยบูรพา BUU Journal Online Database จรั ญ ญา ศุ ภ วิ ฑิ ต พั ฒ นา สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา e-mail : jaranya@buu.ac.th
บทคัดย่อ ฐานข้อมูลวารสารสถาบัน มหาวิทยาลัยบูรพา (BUU Journal Online Database) เป็น ฐานข้อมูลวารสารที่ผลิตจากหน่วยงานในมหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 24 ชื่อ (2,590 บทความ) ตั้งแต่ ปี 2553 – ปัจจุบัน โดยใช้ระบบ Open Journal System (OJS) เป็นโปรแกรม Open Source ใน การดาเนินการจัดทารูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ให้เป็นวารสารในรูปแบบออนไลน์ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อ รวบรวมวารสารที่เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ซึ่งผลิตจากหน่วยงานต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยบูรพา 2) เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการในการเข้าถึงวารสารในรูปของสื่อดิจิทัล ซึ่งสามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวกรวดเร็ว และสืบค้นจากชื่อผู้แต่ง หรือชื่อสกุล, จากชื่อเรื่องบทความ, จากชื่อวารสาร และ บทคัดย่อทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ คาสาคัญ : ฐานข้อมูลวารสารสถาบัน, สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา Keywords : Journal Online Database, Burapha University Library
321
ระบบการควบคุมภายในที่ดีของกระบวนงานการพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุด ให้ติดอันดับต้นในผลการค้นด้วยเซิร์ชเอ็นจิน A Good Practisc of Internal Control Procedures on Library Website Development in Search Engine.Optimization ชั ย วั ฒ น์ น่ า ชม * สมชาย บุ ญ ปั ญ ญา สานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช e-mail : chaiwat.nar@stou.ac.th*
บทคัดย่อ ส านั ก บรรณสารสนเทศ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช ก าหนดปั จ จั ย ความเสี่ ย งที่ มี ผลกระทบต่องานบริการสารสนเทศห้องสมุดด้านโอกาสการค้นข้อมูลและสารสนเทศดิจิทัลจาก STOU e-Library ผ่านเซิร์ชเอ็นจินอยู่ในระดับน้อย พร้อมกาหนดมาตรการและกิจกรรมการควบคุม ภายในของห้องสมุดเรื่อง การพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดให้ติดอันดับต้นในผลการค้นด้วยเซิร์ชเอ็นจิน เพื่อเพิ่มโอกาสในการค้นสารสนเทศผ่านเซิร์ชเอ็นจิน (Search Engine Optimization: SEO) เพื่อให้ ได้ผลการค้นในลาดับต้นๆ ของการค้นด้วยเซิร์ชเอ็นจินทุกโปรแกรม ผลการดาเนินงานพัฒนาระบบควบคุมภายในที่ดีของกระบวนงานการพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุด ให้ติดอันดับต้นในผลการค้นด้วยเซิร์ชเอ็นจิน สานักบรรณสารสนเทศสามารถประเมินจุดแข็ง/จุดอ่อน ตามเกณฑ์องค์ประกอบการควบคุมภายใน ออกแบบระบบควบคุมภายในที่ดี กาหนดกระบวนการ ของการพั ฒ นาระบบและประกาศหลัก เกณฑ์ ข องการควบคุ ม ภายในที่ดี ข องการพั ฒ นาเว็ บ ไซต์ ห้องสมุดให้ติดอันดับต้นในผลการค้นด้วยเซิร์ชเอ็นจิน ของสานักบรรณสารสนเทศที่ใช้เป็นกรอบใน การพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดได้อย่างเป็นระบบ มีมาตรฐาน มีความน่ าเชื่อถือ และมีประสิทธิภาพ สาหรับการนาเสนอสารสนเทศที่เป็นประโยชน์และตรงตามความต้องการของผู้ใช้ คาสาคัญ : ระบบควบคุมภายใน, เว็บไซต์ห้องสมุด, Internal Control, Search Engine Optimization, SEO รายการอ้างอิง ปภาดา อมรนุรัตน์กุล. (2555). SEO & การตลาดออนไลน์ ทาเว็บดังร้านเด่นได้ง่ายนิดเดียว+. กรุงเทพมหานคร: โปรวิชั่น 224 หน้า. Cotton Delo. Interactive Marketing Spending to Hit $76.6 Billion in 2016 Forrester Predicts Huge Growth in Mobile, Search Along With Daily Deal Fatigue . www.adage.com: Available July
322
15, 2013. http://adage.com/article/digital/interactive-marketing-spend-hit-76-6b2016/229444 Matt McGee. The Numbers: Twitter Vs. Facebook Vs. Google Buzz�Search Engine land website: Available July 15, 2013, http://searchengineland.com/by-the-numbers-twitter-vsfacebook-vs-google-buzz-36709
323
โซเชียลมีเดีย เพื่อการประชาสัมพันธ์สานักหอสมุด Social Media For PR LIBRARY เฉลิ ม เกี ย รติ ดี ส ม สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ หลังทศวรรษที่ 20 นี้โซเชียลเน็ตเวิ ร์กและโซเชียลมีเดียได้เข้ามาทาให้วิถีวิชีวิตของผู้คน เปลี่ยนแปลงไปซึ่งประชากรไทยมีจานวนประมาณ 66 ล้านคน ซึ่งใช้อินเตอร์เน็ทอยู่ประมาณ 25 ล้านคน และมี 18 ล้านคนที่ใช้โซเชียลมีเดียและยังมีโอกาศที่จะเพิ่มขึ้นไปเรื่อยๆอีกเพราะ เนื่องด้วยมี การลงทุนทางเครือข่ายทางอินเตอร์เน็ทความเร็วสูงและอุป กรณ์ประเภท สมาร์ทโฟน,แทบเล็ตและ โน้ตบุคก็มีราคาที่ถูกลง จึงสามารถจะที่จะใช้ได้ จะเห็ น ได้ ว่ า หลายๆ กลุ่ ม ไม่ ว่ า ด้ า นธุ ร กิ จ ด้ า นบั น เทิ ง ตลอดจน ด้ า นการศึ ก ษา ได้ น า เทคโนโลยีโซเชลเน็ตเวิร์กได้เข้ามามีส่วนเพิ่มประสิทธิภาพแบรนด์ของตนเอง โดยการนามาประยุกต์ ในลักษณะการประชาสัมพันธ์ ซึ่งแต่ล่ะองค์กรมีการเลือกประเภทของ Socail Media แตกต่างกัน ตามความเหมาะสมของกลุ่มลูกค้า ทั้งนี้สานักหอสมุดได้เล็งเห็นความสาคัญของเทคโนโลยีดังกล่าวว่ามีประสิทธิภาพในการทา กิจกรรมในด้านการประชาสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการ ซึ่งก่อนเริ่มกิจกรรมนั้นทางสานักหอสมุดเองก็ได้ สังเกตเห็นว่าผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ที่ใช้บริการอินเตอร์เน็ตหรือนาอุปกรณ์ไม่ว่าเป็นโน๊ตบุ๊ค แท็บเล็ต ตลอดจนสมาร์ทโฟนที่มาใช้บริการภายในสานักหอสมุด ผู้ใช้บริการจะเปิด Facebook ไว้ด้วยเสมอ การศึ ก ษาครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ สร้ า งช่ อ งทางการประชาสั ม พั น ธ์ ช่ อ งทางหนึ่ ง ที่ มี ประสิทธิภาพในการเข้าถึงกลุ่มผู้ใช้บริการที่มีพฤติกรรมการใช้ Socail Media เพิ่มมากขึ้น การนาไปใช้ประโยชน์ในงานห้องสมุด 1.ใช้เป็นช่องทางในการประสัมพันธ์ข้อมูลที่สะดวก ง่าย และไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย 2. ใช้เป็นกิจกรรมปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใช้บริการกับสานักหอสมุดได้เป็น อย่างดี
324
ฐานข้อมูลวัดในจังหวัดนครศรีธรรมราช อาภรณ์ ไชยสุ ว รรณ * ประเสริ ฐ สี แ ก้ ว นั ส ราห์ จาปากลาย ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ e-mail : caporn@wu.ac.th
*
บทคัดย่อ ประชากรส่ ว นใหญ่ ใ นจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธประมาณ 93.57% รองลงมาได้แก่ ศาสนาอิสลาม และศาสนาคริสต์ สาหรับศาสนาพุทธ เป็นศาสนาที่แพร่หลายที่สุด มี โบราณสถานและโบราณวัตถุทางพุทธศาสนาที่แสดงถึงความรุ่งเรืองมาช้านาน ในปี 2551 มีวัดทาง พุทธศาสนา 589 แห่ง มีพระภิกษุ 3,272 รูปสามเณร 770 รูป ชาวนครศรีธรรมราชยึดมั่นในประเพณี ทางศาสนา และมีความผูกพันกับ พระบรมธาตุเจดีย์ จนกระทั่งจังหวัดนครศรีธรรมราชได้ชื่อว่า "เมืองพระ" เมื่อถึงวันสาคัญทางศาสนา เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา จะมีประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ซึ่ง เป็นประเพณีที่ชาวนครศรีธรรมราชและพุทธศาสนิกชนที่อยู่ในจังหวัดใกล้เคียงยึดถือปฏิบัติสืบทอด กันมาเป็นเวลายาวนาน และจะมีประชาชนจากสารทิศหลั่งไหลกันมา เป็นการแสดงให้เห็นถึงลักษณะ สังคมของนครศรีธรรมราชที่ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา และวัดก็เป็นศูนย์รวมจิตใจและความศรัทธา ของพุทธศาสนิกชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มีพันธกิจและเป้าหลายหลักในการ เป็ นแหล่ง เรี ย นรู้ ที่ มี ค วามพร้ อ ม และมี เ ทคโนโลยี สารสนเทศที่ทันสมั ย มุ่ ง มั่ นพั ฒ นาในการเป็ น ฐานความรู้ข องมหาวิท ยาลัย และท้ องถิ่ นที่มี ก ารให้บริ ก ารที่มี ประสิทธิภ าพ ศู นย์ บ รรณสารและ สื่อการศึกษา จึงตระหนักและเล็งเห็นความสาคัญในการมีส่วนร่วมรักษา อนุรักษ์ เผยแพร่ ข้อมูลวัด อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมและศาสนาอันเก่าแก่และมีคุณค่าอย่างยิ่งต่ออนุชนรุ่นหลัง จึงจัดทา ฐานข้อมูลวัดในจังหวัดนครศรีธรรมราชขึ้น เพื่อรวบรวม จัดเก็บข้อมูลและภาพถ่ายของวัดในจังหวัด นครศรีธรรมราช โดยจัดทาในรูปแบบของฐานข้อมูลที่สามารถสืบค้นได้ผ่านระบบออนไลน์ ดังนั้นการ มีศูนย์รวมของข้อมูลวัดในจังหวัดนครศรีธรรมราช จึงเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อประชาชนของจังหวัด นครศรีธรรมราช และผู้สนใจทั่วไป ทั้งในด้านของการเป็นแหล่งสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ รวมถึง การอนุรักษ์และเผยแพร่เผยแพร่ ข้อมูลวัดอันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมและศาสนาอันเก่าแก่ของชาติ อีกด้วย คาสาคัญ : วัด, ฐานข้อมูลวัด, วัดในจังหวัดนครศรีธรรมราช, พุทธศาสนา, ศาสนาพุทธ
325
รายการอ้างอิง กองพุทธศาสนสถาน สานักงานศาสนสมบัติ สืบค้นจาก http://www.thammapedia.com/ceremonial/buddhismorg_watthai.php ศาสนาและวัฒนธรรม จังหวัดนครศรีธรรมราช สืบค้นจาก http://www.nakhonsithammarat.go.th/web_52/rlig.php
326
ดาวน์โหลดอีสานสนเทศทันใจด้วย QR Code Quickly Download E-Saan Information by QR Code กฤติ ก า สุ น ทร นายิ ก า เดิ ด ขุ น ทด สมโภช พิ ม พ์ พ งษ์ ต้ อ น สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น email : gritiga@kku.ac.th
บทคัดย่อ เป็นการนาเทคโนโลยีรหัสคิวอาร์ (QR Code) ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายบนโทรศัพท์มือถือ มาชี้ แหล่งที่อยู่ของเว็บไซต์ (URL Link) และบทความในฐานข้อมูลอีสานสนเทศ เพื่อให้ผู้อ่านสามารถใช้ โทรศัพท์มือถือที่มีกล้องและโปรแกรม QR Code Reader ที่มีอยู่ในเครื่อง ทาการถ่ายและสแกนรหัส คิวอาร์ เพื่อเก็บข้อมูลลิ้งก์และนาไปใช้เปิดดูหน้าเว็บนั้นๆ ต่อไปได้ในทันที เพิ่มความสะดวกสบายใน การเข้าถึงหน้าเว็บของฐานข้อมูลอีสานสนเทศ และรายละเอียดของบทความได้เป็นอย่างมาก เพราะ บาง URL ของบทความในฐานข้อมูลอีสานสนเทศอาจจะยาวเกินไปจนผู้สนใจอ่านบทความไม่สามารถ จดจาได้ แต่เพียงแค่สแกนรูปรหัสคิวอาร์เพียงรูปเดียวก็สามารถเข้าสู่เว็บไซต์และบทความได้อย่าง สะดวกรวดเร็วโดยที่ไม่ต้องพิมพ์ URL คาสาคัญ : รหัสคิวอาร์, คิวอาร์โค้ด, ฐานข้อมูลอีสานสนเทศ ABSTRACT The QR code technology (QR Code) is widely used on mobile phones. The reader can use a mobile phone or smart phone with a camera and a QR Code reader shoot and scan QR codes link to E-san information database. It is convenience of accessing the E-Saan information database. Keywords : QR Code, E-Saan Information Database
327
มุมหนังสือฟรี Free Corner ชู ศ รี วั ง ศานุ วั ต ร นุ ช รั ต น์ คงสวี สานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
บทคัดย่อ การอ่านเป็นวิธีการแสวงหาความรู้ที่ทาได้ง่ายที่สุด ความรู้ที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครั ว และสั ง คม การอ่ า นจึ ง ส าคั ญ และควรได้ รั บ การฝึ ก ฝน ตั้ ง แต่ ปี 2553-ปั จ จุ บั น ส านั ก ทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลงฯ เริ่มทาโครงการมุมหนังสือฟรี โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมนิสัย รักการอ่าน และเพื่อสร้างสานึกจิตสาธารณะ โดยให้ผู้อ่านช่วยบริจาคเงินสมทบกองทุนประโยชน์ของ เพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง การจัดการมุมหนังสือฟรีจะกระทา 2 ครั้ง/เดือน บริจาคหนังสือประมาณ 500 เล่ม/ปี และส่งมอบเงินบริจาคแล้วจานวน 8 ครั้ง เป็นเงินประมาณ 10,000 บาท จากการสังเกต และการสัมภาษณ์โดยการสุ่มอย่างง่ายกับกลุ่มตัวอย่าง 10 คน พบว่านักเรียน นักศึกษา อาจารย์ และ บุคคลทั่ว ให้ความสนใจกับมุมหนังสือฟรี หนังสือที่ถูกนาไปอ่านส่วนใหญ่เป็นตาราภาษาอังกฤษด้าน การบริหารจัดการ ตาราพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ หนังสือทั่วไปภาษาไทย และหนังสือกวดวิชา ชั้น มัธยมศึกษา 4 ตามลาดับ เหตุผลการนาไปใช้ เพื่อการเรียน การสอน และการกวดวิชาให้กับน้อง ๆ นักเรียน มุมหนังสือฟรี ช่วยสร้างความผูกพันกับผู้รับบริการ เสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน ช่วยประหยัด เงินผู้รักการอ่าน และที่สาคัญสนับสนุนปณิธานมหาวิทยาลัย ขลานครินทร์ “ประโยชน์ของเพื่อน มนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง” คาสาคัญ : การรักการอ่าน, จิตสาธารณะ, หนังสือบริจาค ABSTRACT Reading is an easy way of acquiring knowledge. The knowledge gained will be beneficial to themselves, family and society. Reading is so important and should have been trained. In 2010 – present, Lady Atthakraweesunthorn Learning Resources Center has done the Free Corner project. The objective to promote reading habit and to create public mind awareness by inviting the readers to donate money to the Our Soul is for the Benefit of Mankind Fund. The Free Corner is managed 2 times per month, and donated books about 500 books per year. Delivering donations to 8 times were approximately 10,000 baht. It was study simple randomization to
328
observations and interviews of 10 people, found that students, teachers and general users interested in the Free Corner. The books were taken to read mostly English textbooks on management, basic science textbooks, general books and tutorial books for secondary school level 4-6 respectively. The reasons for using free books was study, teaching and tutoring younger students, The library can create a customer focus, enhance reading habit, saving money for the love of reading. and support Prince of Songkla University critical mission. " the Our Soul is for the Benefit of Mankind ". Keywords : Reading, Public mind, Donate book รายการอ้างอิง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2556). กองทุนประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง. ค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2556, จาก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ เว็ตไซต์: http://www.ffso.psu.ac.th/index.php/slide-news/96-2012-09-11-10-08-22
329
หนังสือมือสองปันความรู้สู่ชุมชน Second hand books จั ก รกริ ช อมศิ ริ หอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร e-mail : jusu@hotmail.co.th
บทคัดย่อ การที่จะพัฒนาเยาวชนให้เป็นคนดีมีคุณธรรม มีความคิดสร้างสรรค์ นั้นเป็นเรื่องที่จาเป็น และควรทาอย่างยิ่งการแบ่งปันหนังสือที่มีคุณค่า ก็เป็นอีกวิธีการหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาศักยภาพของ ทรัพยากรมนุษย์โดยเฉพาะเยาวชนซึ่งจะเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ และหนังสือถือเป็นสื่อ แห่งการเรียนรู้และเพิ่มศักยภาพของความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้เยาวชนเหล่านั้นได้มีจินตนาการ และความคิดที่กว้างไกลทาให้เยาวชนได้มีสื่อในการเรียนรู้ตลอดจนเติบโตขึ้นเป็นทรัพยากรบุคคลที่ดีมี คุณภาพของสังคมและประเทศชาติ หอสมุดเป็นหน่วยงานที่มีบทบาทในการเผยแพร่ความรู้ให้ กับสังคม จึงเป็นหน่วยงานที่มี ศักยภาพในการจัดหาสื่อความรู้ต่างๆ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนมีพัฒนาการที่ดีสามารถนา ความรู้ ต่ า งๆ มาพั ฒ นาประเทศชาติ บ้ า นเมื อ งสื บ ไป และยั ง เป็ น การตอบสนองต่ อ พั น ธกิ จ ของ มหาวิ ท ยาลั ย ในการเป็ น หน่ ว ยงานบริ ก ารวิ ช าการให้ แ ก่ สั ง คมอี ก ด้ ว ย ดั ง นั้ น หอสมุ ด วิ ท ยาเขต สารสนเทศเพชรบุรี จึงได้จัดทาโครงการ หนังสือมือสองปันความรู้สู่ชุมชนขึ้น เพื่อรับบริจาคหนังสือ จากหน่วยงานต่างๆ และนาไปปันความรู้ให้กับเยาวชนในพื้นที่ใกล้เคียงหอสมุดวิทยาเขตสารสนเทศ เพชรบุรีต่อไป คาสาคัญ : หนังสือมือสอง, การแบ่งปัน, ความคิดสร้างสรรค์ ABSTRACT To develop youth into godly people . Be creative It is necessary and should be doing it. Sharing valuable books It is another way to help develop the potential of human resources, especially the youth , which is a major force in developing countries . And the book as a medium of learning and enhance their creativity. For those youth have far-reaching imagination and make the youth media in learning and growing up to be good human resource quality of the society and the nation. Keywords : used books, sharing, creativity
330
ศูนย์ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์ Rattanokosin Island Information Center ดารารั ต น์ จุ ฬ าพั น ธุ์ * จุ ฑ ามาศ ถึ ง นาค หอสมุดสาขาวังท่าพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร e-mail: chulapan81t@hotmail.com*
บทคัดย่อ หอสมุ ด สาขาวัง ท่ า พระ ตระหนัก ถึ ง ความส าคั ญ ของเกาะรั ต นโกสินทร์ อัน เป็ น ที่ตั้ง ของ มหาวิทยาลัยศิลปากร ซึ่งเป็นพื้นที่ประวัติศาสตร์ของกรุงรัตนโกสินทร์ ถือเป็นศูนย์รวมทาง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมและแหล่ง ท่ อ งเที่ ย วที่ สาคั ญแห่ง หนึ่ง จึ ง จัด ตั้ง ศู นย์ ข้ อมู ลเกาะรั ต นโกสิน ทร์ โ ดย ด าเนิ น การรวบรวมและเรี ย บเรี ย งข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เกาะรั ต นโกสิ น ทร์ จ ากเอกสารและการ สัมภาษณ์บุคคลที่อาศัยอยู่ในชุมชนเกาะรัตนโกสินทร์นาขึ้น เผยแพร่บนอินเตอร์เน็ทภายใต้ เว็บไซต์ หอสมุ ด สาขา วั ง ท่ า พระ ที่ http:// www. lib.su.ac.th/ rattanagosin_web/ โดยใช้ โ ปรแกรม Drupal นาเสนอข้อมูลทางด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและข้อมูลที่สาคัญอื่น ๆ ของเกาะ รัตนโกสินทร์ จาแนกเนื้อหาเป็นด้านต่าง ๆ ได้แก่ ที่ตั้งและอาณาเขต ประชากร กฎระเบียบ สถานที่ สาคัญ ชุมชนในย่านต่าง ๆ แผนที่เส้นทางการเดินทาง และคลังทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อ เป็นแหล่ง รวบรวมข้อมูลของเกาะรัตนโกสินทร์ในทุกด้าน และสนองตอบยุทธศาสตร์ของหอสมุดด้านการเป็น ผู้นาสารสนเทศด้านศิลปะ วัฒนธรรม เพื่อเผยแพร่ข้อมูลอันเป็นเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัยสู่สังคม ภายนอก คาสาคัญ : เกาะรัตนโกสินทร์, ศูนย์ข้อมูล, สารสนเทศด้านศิลปวัฒนธรรม
331
ชุมชนนักอ่านทรงพลัง Kampong Pembaca นุ ส รา โต๊ ะ เซะ* กุ ล วดี ทั พ ภะ ประทุ ม รั ต น์ รั ต น์ น้ อ ย หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี e-mail : nusra-t@bunga.pn.psu.ac.th*
บทคัดย่อ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มีวิสัยทัศน์คือ เป็นองค์กร ที่มีคุณภาพการให้บริการในทุกภารกิจเพื่อสนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย และร่วมสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้ มุ่งพัฒนาสู่การเป็นองค์กรระดับมาตรฐานตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ภายในปี 2565 โดยการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้นั้น กระบวนการหนึ่งที่สาคัญคือ การสร้างให้ทุกคน มีนิสัยรักการอ่าน มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งต้องมีการส่งเสริมและสนับสนุนตั้งแต่วัยเด็กเล็กจนถึงวัย ผู้ใหญ่ หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ ซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งของสานักวิทยบริการ มีบทบาทสาคัญใน การให้บริการสารสนเทศและทรัพยากรการเรียนรู้แก่ผู้ใช้บริการ จึงได้จัดกิจกรรมเชิงรุกเพื่อเป็นการ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ใช้บริการทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย มีนิสัยรักการอ่าน มีการพัฒนาการอ่านให้ ดียิ่งขึ้น และรู้จักแบ่งปันความรู้ให้แก่ผู้อื่น ทั้งผู้ใช้บริการภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้แก่ นักศึกษา อาจารย์และบุคลากร รวมไปถึงผู้ใช้บริการภายนอก ได้แก่ ครู อาจารย์ และนักเรียนใน สถานศึกษาภายในชุมชน และประชาชนทั่วไป กิจกรรมที่จัดให้แก่ผู้ใช้บริการภายในมหาวิทยาลัย มีจานวน 5 กิจกรรม ได้แก่ 1) U get We get 2) ความรู้มือสอง: เพื่อเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง 3) ห้องสมุดหอพัก: Book @ Dorm. 4) หนังสือ ของฉันแบ่งปันกันอ่าน: JFK Library Book Lovers 5) อ่านเถิดชาวไทย: Read Me Now กิจกรรมที่ จัดให้แก่ผู้ใช้บริการในชุมชน มีจานวน 3 กิจกรรม ได้แก่ 1) Toy Library 2) ค่ายยุวบรรณารักษ์: The Young Librarian Camp) 3) การอบรมการสืบค้นสารสนเทศเพื่อการทาผลงานทางวิชาการ กิจกรรมเชิงรุกทั้งหมดที่หอสมุดฯ ได้จัดทาขึ้นนั้น เพื่อเป็นการช่วยกระตุ้น ส่งเสริม และ สนับสนุนให้ผู้ใช้บริการทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งผู้ใช้ภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และผู้ใช้ ภายในชุมชน ให้มีนิสัยรักการอ่าน มีการพัฒนาการอ่านให้ดียิ่งขึ้น รู้จักการแบ่งปันความรู้ให้แก่ผู้อื่น มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และร่วมช่วยกันสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดไป คาสาคัญ : การส่งเสริมการอ่าน, สังคมแห่งการเรียนรู้, หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้, สานักวิทยบริการ
332
NPU Library Tour: โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม(โรงเรียน ตชด. คอนราดเฮงเค็ล) Mobile library project. Academic Resource Center, Nakhon Phanom University. ปรี ช า อาษาวั ง สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม e-mail:preecha_0898423827@gmail.com
บทคัดย่อ โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม ประจาปี 2556 (NPU Library Tour) เป็นโครงการต่อเนื่อง ที่ทางสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม มีการดาเนินการ บริการวิชาการเป็นประจาทุกปี หมุนเวียนไปตามโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน ทั้ง 6 แห่ง ในเขต พื้นที่จังหวัดนครพนม ซึ่งได้ดาเนินกิจกรรมโครงการเพื่อขยายโอกาสให้โรงเรียนในท้องถิ่น จังหวัด นครพนม ได้มีโอกาสรับความรู้ทางการศึกษาที่ดีกว่า มีห้องสมุดที่สวยงาม ได้มาตรฐาน โดยเน้น โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนเขตพื้นที่จังหวัดนครพนมเป็นเป้าหมายหลักตามปรัชญา และภารกิจ หลักของมหาวิทยาลัยนครพนม
333
Library Orientation ประภั ย สุ ข อิ น กาญจน์ ห ทั ย ศรี บุ ญ เรื อ ง น้าใจ จุ ล พุ์ ป สาสน์ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ e-mail : prapai@mju.ac.th
บทคัดย่อ โครงการ Library Orientation เป็นบริการเชิงรุกของกลุ่มภารกิจบริการสารนิเทศ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ บริการให้กับสมาชิกห้องสมุดประเภทนักศึกษาทุกประเภท มี วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้นักศึกษาทราบกิจกรรม บริการต่างๆ ที่ห้องสมุดมีให้บริการ สามารถสืบค้น และเข้าถึงแหล่งสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง คุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุด 2) เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างผู้ให้บริการกับผู้ใช้ และกระตุ้นให้ผู้ใช้เข้าใช้ห้องสมุดเพิ่มมากขึ้น 3) เพื่อสร้างความเข้าใจใน การปฏิบัติตามระเบียบและมารยาทของการเข้าใช้ห้องสมุด การดาเนินงานได้มีการแนะนาห้องสมุด แนะนาบริการต่างๆ การสืบค้นฐานข้อมูลสารสนเทศ และวิธีการใช้ห้องสมุดแก่นักศึกษา โดยมีการประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนประจากระบวนการวิชา ทั้งระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา บูรณาการกิจกรรมร่วมกับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมีการจัดบริการนี้ให้แก่นักศึกษาในหอพักมหาวิทยาลัย และคณะต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการสร้างสื่อ ประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึงกลุ่มผู้ใช้เพื่อกิจกรรมและช่าวสารของห้องสมุด บนเว็บไซต์สานักหอสมุด เว็บไซต์มหาวิทยาลัย Social Network ประชาสัมพันธ์ผ่านตัวแทนนักศึกษาที่เป็นเครือข่ายรักการ อ่าน จัดกิจกรรมร่วมกับงานสัปดาห์ห้องสมุ ด (โครงการ Happy@Library) ได้แก่ นิทรรศการทัวร์ ห้องสมุดมหาสนุก การแข่งขันค้นหาหนังสือในห้องสมุด (iPac Rally) ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ ข่ายงานห้องสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ภายในโครงการได้แบ่งเป็นกิจกรรมเพื่อตอบสนองความต้องการ ของผู้ใช้ ดังนี้ 1) บริการนาชมสานักหอสมุด แนะนาบริการต่างๆ วิธีการใช้และข้อปฏิบัติการใช้ ห้องสมุด 2) สอนวิธีการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด (Web iPac) 3) สอนวิธีการสืบค้น ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และชี้แหล่งทรัพยากรสารสนเทศ 4)สอนการใช้โปรแกรมEndNote ผลการจัดโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ คือ นักศึกษารับทราบบริการที่ทางสานักหอสมุดมี ให้บริการ และมีการเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มขึ้น มีสถิติการเข้าใช้ฐานข้อมูลออนไลน์เพิ่มขึ้นทุกปี ดังนี้ ปี ง บประมาณ 2554 จ านวน 537,873 ครั้ ง ปี ง บประมาณ 2555 จ านวน 557,905 ครั้ ง และ ปีงบประมาณ 2556 จานวน 768,953 ครั้ง กิจกรรมต่างๆ ยังเป็นส่วนสร้างความสัมพันธภาพที่ดีใน การให้บริการที่เป็นกันเองระหว่างผู้ให้บริการกับผู้รับบริการ และที่สาคัญผู้ใช้บริการที่เข้าร่วมกิจกรรม สามารถใช้บริการต่างๆ ของห้องสมุดได้อย่างถูกต้อง ได้ข้อมูลสารสนเทศตามที่ต้องการมากที่สุดและ
334
จากความสัม พันธ์ที่ดี ทาให้การประชาสัมพันธ์กิ จกรรมหรื อการบริ การต่า งๆ ของห้องสมุ ด มี การ เผยแพร่ไปสู่ผู้รับบริการได้อย่างทั่วถึง มีประสิทธิภาพที่ดี คาสาคัญ : บริการเชิงรุก, การให้บริการ, สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยแม่โจ้
335
Open Library@Your schools เปิดโลกการเรียนรู้....สู่โรงเรียนคุณ เบ็ ญ จนา ทองนุ้ ย ประไพ จั น ทร์ อิ น ทร์ ภชิ ส า กุ ล กาญจนาภิ บ าล รตานา ยามมา เจริ ญ วิ ท วาพร โสภณ อรจิ ร า ทองเกลี้ ย ง พรทิ พ ย์ ถนอมกุ ล บุ ต ร จิ ร ะวั ฒ น์ พิ สุ ท ธิ พิ ท ยากุ ล สุ ด า พั น ธุ ส ะ สมพงศ์ หุ ต ะจู ฑ ะ สานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิง อรรถกระวีสุนทร
บทคัดย่อ สานักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิง อรรถกระวีสุนทร ตระหนักถึงความสาคัญของการให้ การศึ ก ษาแก่ ผู้ ใ ช้ บ ริ ก าร โดยเฉพาะการมี ทั ก ษะสารสนเทศ และการสื บ ค้ น สารสนเทศอย่ า งมี ประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามพบว่า ผู้ใช้บริการบางกลุ่มโดยเฉพาะผู้ใช้บริการที่เป็นบุคคลภายนอกยัง ไม่มีความรู้และทักษะดังกล่าว สานักฯ จึงจัดโครงการ Open Library@Your Schools ด้วยการออกพื้นที่ไปยังโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาและอาชีวศึกษาในเขตพื้นที่อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยให้ความรู้เกี่ยวกับ วิธีการใช้ห้องสมุด วิธีการสืบค้นโอแพค และแนะนาทรัพยากรสารสนเทศ ผ่านการเล่นเกมส์ต่าง ๆ อันจะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนสามารถใช้ห้องสมุด สามารถสืบคืนสารสนเทศด้วยตนเอง และเป็นการ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต อีกทั้งยังเป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับโรงเรียน ทั้งนี้เพราะ สานักฯ เล็งเห็นว่านักเรียนกลุ่มนี้จะเป็นผู้ใช้บริการในอนาคต จากการประเมินโครงการโดยการแจกแบบสอบถามพบว่า นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความ พึงพอใจในระดับมาก (4.36) และการประเมินโครงการโดยการสัมภาษณ์พบว่า ครูและนักเรียน ต้องการให้สานักฯ จัดกิจกรรมลักษณะนี้อย่างต่อเนื่อง คาสาคัญ : บริการสังคม, บริการสารสนเทศ, การสอนผู้ใช้, การค้นข้อสนเทศ
336
สมาร์ทไลบราลี่@สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Smart Library @ Academic Resource Center, MSU รุ่ ง เรื อ ง สิ ท ธิ จั น ทร์ * น้าลิ น เที ย มแก้ ว สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม e-mail : rungreang.s@msu.ac.th
*
บทคัดย่อ สานั ก วิ ท ยบริ ก ารมหาวิ ท ยาลัย มหาสารคาม มี ป ณิ ธ านมุ่ ง สู่ค วามเป็ น เลิ ศ ในการบริ ก าร สารสนเทศเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการด้วยจิตสานึกที่ดี และเทคโนโลยีที่ทันสมัยจึงได้ พัฒนาการบริการสารสนเทศบนอุปกรณ์สื่อสารไร้สาย โดยการนารหัสคิวอาร์ หรือ QR Code (Quick Response) มาประยุกต์ใช้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ อานวยความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ให้กับผู้ใช้บริการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพียงแต่ผู้ใช้บริการมีสมาร์ทโฟน หรือ Tablet และมี โปรแกรม QR Code Reader ก็สามารถเข้าใช้บริการและสืบค้นสารสนเทศของสานักวิทยบริการได้ อย่างง่าย สะดวก และรวดเร็ว แม้ไม่ได้อยู่หน้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งบริการสารสนเทศด้วย QR Code ประกอบด้วย บริการตรวจสอบข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือในเว็บโอแพค (WebOPAC) พร้อมทั้งอ่านบรรณนิทัศน์ -สารบัญหนังสือ บริการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ บริการวารสารและ หนังสือพิมพ์ บริการสื่อดิจิทัล และเว็บเพจบริการต่างๆ นอกจากนี้ยังนามาใช้พิธีเปิดหน่วยบริการแห่ง ใหม่ “หน่วยบริ การอาคารวิทยพั ฒนา” และแนวทางในการพั ฒ นาต่อในอนาคต ผู้เขี ยนตั้งที่จะ พัฒนาการสร้างรหัสคิวอาร์กับหนังสือใหม่ทุกเล่มที่เข้ามาในสานักวิทยบริการ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ อ่านฟรี โดยการนาหน้าปกหนังสือที่ติด QR Code มาจัดทาชั้นหนังสือเคลื่อนที่ไปยังคณะ-หน่วยงาน ต่ า งๆ โรงเรี ย น และชุ ม ชน ใกล้ เ คี ย งในมหาวิ ท ยาลั ย เพื่ อ การบริ ก ารสารสนเทศที่ เ หนื อ ความ คาดหมายแก่ผู้ใช้บริการให้ครอบคลุมทุกภาคส่วนต่อไป คาสาคัญ : รหัสคิวอาร์, QR Code, นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ, ห้องสมุดและบริการของ ห้องสมุด, สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม รายการอ้างอิง Kaywa qr-code. (2011). [Online]. Available from: http://qrcode.kaywa.com/ [accessed 23 September 2013]. Thomas, Lisa Carlucci. (2013). The State of Mobile in Libraries 2012. [Online]. Available from: http://www.thedigitalshift.com/2012/02/mobile/the-state-of-mobile-in-libraries-2012/ [accessed 19 November 2013] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2013). รหัสคิวอาร์. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/ [สืบค้นเมื่อ วันที่ 23 กันยายน 2556]
337
การสารวจการใช้และความต้องการใช้บริการ IPAD ของนักศึกษา ในศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ IPAD Service in the Center for Library and Educational Media : Survey of User Need and Use at Walailak University กิ ต ติ พ ร ศรี เ พ็ ช ร * ชื่ น ณั ส ฐา สุ ข ใส ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ e-mail : skittipo@wu.ac.th*
บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) เพื่อศึกษาการใช้และความ ต้องการใช้ IPAD ของนักศึกษาในด้านวัตถุประสงค์ ความถี่ โปรแกรมที่ใช้ และความพึงพอใจที่มีต่อ การใช้บริการ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักศึกษาที่เข้าใช้บริการ IPAD ในศูนย์บรรณสารและ สื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จานวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า นักศึกษาที่ใช้บริการ IPAD (ร้อยละ 74) ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 76) เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3 มากที่สุด (ร้อยละ 34) โดยส่วนใหญ่นักศึกษามีอุปกรณ์ Mobile (ร้อยละ 96) ในด้านวัตถุประสงค์การใช้ IPAD พบว่า นักศึกษาใช้เพื่อความบันเทิงส่วนตัวสูงสุด โดยใช้เพื่อ ถ่ายภาพ (ร้อยละ 69) เล่นเกมส์ (ร้อยละ 54) รองลงมาคือ ใช้เพื่อค้นคว้าข้อมูลทั่วไป/ประกอบ การศึกษา โดยใช้โปรแกรมอ่าน ebook เช่น truebook (ร้อยละ 13) ใช้เพื่อการติดต่อสื่อสาร/ ประสานงานทั่วไป ได้แก่ email (ร้อยละ 57) share calendar (ร้อยละ 6) และใช้เพื่อติดต่อสื่อสาร กับสังคมออนไลน์ ได้แก่ Line (ร้อยละ 38) Instagram (ร้อยละ 17) ในด้านระยะเวลาการเข้าใช้ พบว่า ส่วนใหญ่ใช้น้อยกว่า 30 นาที (ร้อยละ 65) และ Application ที่นักศึกษาใช้เป็นประจาอันดับ แรก คือ Facebook (ร้อยละ 16) รองลงมาคือ Google (ร้อยละ 14) ในด้านความพึงพอใจต่อการใช้บริการ IPAD พบว่า ความพึงพอใจโดยรวมต่อ iPad ที่จัดไว้ ให้บริการอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.84) โดยนักศึกษามีความพึงพอใจในแต่ละด้าน เรียงตามลาดับ ดังนี้ ความทันสมัยของ iPad ทีมีให้บริการ (ค่าเฉลี่ย 4.2) ความรวดเร็วของเครือข่ายในการใช้บริการ iPad (ค่าเฉลี่ย 4) การจัดวาง iPad บริเวณบนชั้นสองสะดวกต่อการใช้งาน (ค่าเฉลี่ย 3.74) วิธีการเข้า ใช้งาน iPad แต่ละเครื่องเหมาะสม (ค่าเฉลี่ย 3.7) จานวนเครื่อง iPad ที่มีเพียงพอกับความต้องการ (ค่าเฉลี่ย 3.6) และเนื้อหา/โปรแกรมประยุกต์ที่จัดให้บริการใน iPad เพียงพอและตรงกับความ ต้องการ (ค่าเฉลี่ย 3.57) ในด้านความต้องการใช้บริการ iPad พบว่า นักศึกษามีความต้องการในแต่
338
ละด้าน คือ ต้องการให้ปรับปรุงเครื่องให้ทันสมัยอยู่เสมอ (ค่าเฉลี่ย 4.2) ต้องการให้เพิ่มจานวนเครื่อง iPad ให้เพียงพอกับความต้องการ และต้องการให้เพิ่มเนื้อหา/โปรแกรมประยุกต์ให้เพียงพอและตรง กับความต้องการ (ค่าเฉลี่ย 4) และต้องปรับปรุงวิธีการให้บริการ iPad ให้สะดวกต่อการใช้งาน เช่น สามารถยืมได้ สามารถถอดได้ เป็นต้น (ค่าเฉลี่ย 3.9) นอกจากนี้นักศึกษายังได้เสนอแนะรายละเอียดเกี่ยวกับการนา iPad ไปใช้ในการเรียนการ สอนหลายด้าน คือ ควรมี e-book ที่หลากหลายในด้านการเรียนการสอน ควรใส่ข้อมูลหนังสือ ออนไลน์เพิ่มมากขึ้น ควรมี e-book หลายๆ ประเภทข้อมูลทั่วไปหรือบันเทิง และควรเปิดใช้งานได้ ง่าย ควรเพิ่มเนื้อหาที่ตรงกับการเรียนหรือมีแอพพลิเคชั่นที่จาเป็นต่อการเรียนของรายวิชาต่างๆ ควร มีเนื้อหาที่กว้างขึ้น ด้านวิทยาศาสตรเทคโนโลยีสังคมทั่วไป ควรเพิ่มเนื้อหาในรายวิชาต่างๆ ในแต่ละปี เพื่อสะดวกต่อการเรียนรู้ของนักศึกษา ควรมีอุปกรณ์สาหรับเชื่อมต่อ ipad สาหรับ download ข้อมูลสื่อการสอนต่างๆ ควรมีการอบรมการใช้งาน Ipad เบื้องต้น ควรโหลด application ที่มี ประโยชน์ในการศึกษาต่าง ๆ เช่น เรื่องยา anatomy ฯลฯ ที่มีประโยชน์ต่อสาขาวิชาต่างๆ ควร ให้บริการ e-book ของพวก text book ทางการแพทย์ ควรมีโปรแกรมแก้ไขเอกสารและโปรแกรม microsoft office ควรเพิ่มเนื้อหาด้านการเมืองการปกครอง ควรมีหนังสือ e-book /text book เพิ่มมากขึ้น ควรมีรูปภาพแผนที่ในมหวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ควรมี application เกี่ยวกับคาศัพท์ ภาษาอังกฤษต่างๆ และควรลงโปรแกรมใหม่อย่างสม่าเสมอ คาสาคัญ : บริการ IPAD, การศึกษาผู้ใช้, ความต้องการของผู้ใช้, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ Keywords : IPAD Service, User Studies, User Needs, Walailak University
339
การเรียนรู้และการมีส่วนร่วมกับชุมชนของห้องสมุดเครือข่ายสารสนเทศ นครศรีธรรมราช (LIGORNET) Learning & Community Participation of LIGORNET Libraries เครือข่ายสารสนเทศนครศรีธรรมราช (LIGORNET)
บทคัดย่อ เครื อ ข่ า ยสารสนเทศนครศรี ธ รรมราช (LIGORNET) เป็ น ข่ า ยงานของห้ อ งสมุ ด สถาบันอุดมศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งหวังให้เกิดการสร้างความ ร่วมมือในการให้บริการร่วมกัน ทั้งด้านทรัพยากรสารสนเทศ ด้านงานเทคนิคของห้องสมุด ด้านการ พัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานในห้องสมุด และแนวทางในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศร่ วมกันได้ อย่ างมี ประสิท ธิภ าพและเกิด ประโยชน์สูงสุด ซึ่งจะช่วยให้เกิ ดความเชื่อมโยงและความเข้ มแข็ ง ระหว่างสถาบันอุดมศึกษาภายในท้องถิ่น ประกอบไปด้วยสมาชิกทั้งหมด 12 สถาบัน ได้แก่ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล ศ รี วิ ชั ย วิ ท ย า เ ข ต น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช ( ไ ส ใ ห ญ่ ) (http://saiyai.rmutsv.ac.th/main.php) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาลัย เทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ (ขนอม) (http://cim.rmutsv.ac.th/) มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช (http://www.mcu.ac.th/site/) มหาวิทยาลัยมหา มกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีธรรมาโศกราช (http://www.ssc.mbu.ac.th/) มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครศรีธรรมราช (http://arc.nstru.ac.th/) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (http://clm.wu.ac.th) มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ (http://www.lib.ru.ac.th/rns/) วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้(http://www.sct.ac.th/)ศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จังหวัดนครศรีธรรมราช(http://www.stou.ac.th/offices/rdec/nakorn/ main/) วิทยาลัย พยาบาลบรมราชชนนีนครศรีธรรมราช(http://bcnnakhon.ac.th) ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้น คลินิก โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช (http://61.7.159.18/) สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป เขต วิทยาลัยนาฏศิลป์นครศรีธรรมราช (http://cdans.bpi.ac.th/home.html) ในการดาเนินงานที่ผ่านมา ห้องสมุด LIGORNET ได้เรียนรู้ร่วมกันผ่านกิจกรรมหลากหลาย คือ การจัดประชุมร่วมกันของคณะทางาน 3 ส่วน คือ คณะทางานฝ่ายอานวยการ คณะทางานฝ่าย บริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และคณะทางานฝ่ายจัดหาทรัพยากรสารสนเทศและข้อมูลท้องถิ่น การจัดกิจกรรมการอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรและให้ความรู้แก่ผู้ใช้บริการ โดยสนับสนุนให้มีการ แลกเปลี่ยนบุคลากรในการเป็นวิทยากรหัวข้อต่าง ๆ เช่น การลงรายการตามมาตรฐาน MARC21 การ อบรมการสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ การอบรมการใช้โปรแกรม Endnote ในการจัดการบรรณานุกรม เป็นต้น (3) การจัดทาแผนปฏิบัติงานปี 2557 ของคณะทางาน เป็นต้น นอกจากนี้ห้องสมุด
340
LIGORNET แต่ละห้องสมุดยังได้ดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยเข้าไปมีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่าง ๆ ใน จังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งในด้านการพัฒนาห้องสมุด ในด้านการส่งเสริมการอ่านและสนับสนุนการ เรียนรู้ และในด้านการทานุบารุงศิลปและวัฒนธรรม คาสาคัญ : เครือข่ายสารสนเทศนครศรีธรรมราช, ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา, การมีส่วนร่วมกับ ชุมชน, การเรียนรู้ Keywords : LIGORNET, Academic Libraries, Community Participation, Learning
341
ปรับปรุงเทคนิคการใช้ผ้าและกระดาษแรกซีนในการซ่อมหนังสือ Technical Improvement for Book-Repairing by Paper and Rexine กุ ศ ล เหลาธิ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น e-mail : lkuson@kku.ac.th
บทคัดย่อ งานซ่อมหนังสือถือเป็นงานหนึง่ ที่มีความสาคัญในห้องสมุด เพราะวัสดุที่ใช้ทาหนังสือนั้นบอบ บางและฉีกขาดง่ายอีกทั้งหนังสือที่ผ่านการใช้งานมาก ๆ ย่อมเกิดการชารุด การซ่อมบารุงให้อยู่ใน สภาพที่พร้อมจะใช้ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า จาเป็นต้องใช้ผ้าและกระดาษแรกซี น ซึ่งเป็นวัสดุ สิ้นเปลืองและมีราคาค่อนข้างแพง ผู้ปฏิบัติงานจึงใช้เทคนิคใหม่ในการจัดเตรียมวัสดุ ให้พร้อมใช้งาน และสามารถนาเศษวัสดุที่เหลือมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป คาสาคัญ : การเย็บเล่มหนังสือ, หนังสือ-การซ่อม-วัสดุและอุปกรณ์
342
ความสัมพันธ์ในการใช้หนังสือและงบประมาณการจัดซื้อ ของหน่วยงานในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ The Relationship of Book Acquisition Budget and Book Usage of Departments of Buriram Rajabhat University ศศิ ธ ร แสงการ ศูนย์วิทยบริการ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ e-mail : yailert@hotmail.com
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มี จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ในการใช้หนังสือและงบประมาณการ จัดซื้อของหน่วยงานในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ นอกจากนั้นยังศึกษาปริมาณการใช้หนังสือของ ศูนย์วิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ โดยแยกหมวดหมู่ตามระบบดิวอี้ Dewey Decimal Classification (D.C.) ทาให้สามารถนาผลการวิจัยมาใช้เป็นแนวทางในการจัดสรรงบประมาณในการ จัดซื้อให้เหมาะสมกับความต้องการของหน่วยงานในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ได้ต่อไป ผลการวิจัย พบว่าคณะครุศาสตร์ ได้รับงบประมาณสูงสุด รองลงมาคื อสานักวิทยบริการและ เทคโนโลยี ส ารสนเทศ (ศู น ย์ วิ ท ยบริ ก าร) ส่ ว นคณะที่ ไ ด้ รั บ งบประมาณต่ าที่ สุ ด คื อ คณะ เทคโนโลยีการเกษตร สาหรับสัดส่วนของจานวนบุคลากรต่อปริมาณการใช้หนังสือ คณะที่มีสัดส่วน การใช้สูงสุด ได้แก่ คณะวิทยาศาสตร์ ส่วนคณะที่มีสัดส่วนการใช้ต่าสุด คือ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม เมื่อหาค่าความสัมพันธ์ในการใช้หนังสือและงบประมาณการจัดซื้อ พบว่างบประมาณในการ จัดซื้อของแต่ละหน่วยงาน มีความสัมพันธ์กับปริมาณการใช้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ มีความสัมพันธ์ในระดับสูง คาสาคัญ : ความสัมพันธ์ในการใช้หนังสือและงบประมาณการจัดซื้อ , งบประมาณในการจัดซื้อ หนังสือ ABSTRACT This study aimed to investigate the relationship of book acquisition budget and book usage of departments of Buriram Rajabhat University (BRU) including the
343
quantity of the book usage in BRU Academic Resources Center classified by Dewey Decimal Classification (D.C.) to take the results of the study as a useful guideline on appropriate budget allocation for buying that serves to the needs of the BRU departments. The results revealed that Faculty of Education received the most book acquisition budget, the second was the Office of Academic Resources and Information Technology; whereas Faculty of Agriculture had the lowest. For the proportion of staff to the quantity of book usage, the highest one was Faculty of Sciences while the least was Faculty of Industrial Technology. Considering the relationship of the book acquisition budget and book usage, the findings showed that the budget had relationship to the book usage at a significance level of 0.05 with high. Keywords : The relationship of book acquisition budget and book usage, Budget for buying book รายการอ้างอิง ชื่นจิต อาทร, พรรณดาว รัตชะถาวร. (2547). การพัฒนาระบบงานจัดหาทรัพยากรสารสนเทศภาษาต่าง ประเทศ ด้วยระบบบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2000 และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบนเครือข่าย Internet. กรุงเทพฯ: สานักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. ผกานุช เหล่าพิเดช. (2545). “งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม”. วารสารสารนิเทศ. 9 (1-2) : 50 – 54. เพ็ญพันธ์ เพชรศร. (2543). “เขียนอย่างไรให้เป็นนโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ”. บรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ มข. 18 (3) : 60 – 65. มุกดา ตันชัย. (2549). “สถิติที่ใช้หาความสัมพันธ์ของข้อมูล”. ประมวลสาระชุดวิชาการวิจัยพยาบาลสารสนเทศ และสถิติหน่วยที่ 9-11. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วาสนา นะสุข. (2544). “วันนี้...ของการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ”. วารสารวิทยบริการ. 12 (2) : 1 – 12. ศิริพรรณ ตันติวัชรประกาย. (2553). ความสัมพันธ์ของงบประมาณการจัดซื้อหนังสือและการใช้หนังสือของ ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ:สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ.
344
Dinkins, Debbi. (Jan., 2003). “Circulation as Assessment : Collection Development Policies Evaluated in Terms of Circulation at a Small Academic Libraries”. College & Research Library. 64 (1) : 46 – 53.
345
รับอรุณ พูดคุยยามเช้า Sawasdee Morning Talk ธี ร พั น ธ์ สงวนวงศ์ สุ นิ ษ า เพชรจั น ทร์ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต e-mail: library@pkru.ac.th
บทคัดย่อ การให้บริการที่ดีให้กับผู้ใช้บริการเป็นหัวใจสาคัญในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสานักวิทย บริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังที่ปรากฏอยู่ในข้อความปรัชญาของที่ว่า “ศูนย์กลางแห่งการ เรียนรู้ สู่โลกเทคโนโลยีที่ทันสมัย บริการประทับใจ เป็นหนึ่งในอันดามัน” เพื่อให้การบริหาร จัดการระบบงานบริการภายในองค์กรให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สานักจึงได้จัดให้มีการประชุมเพื่อ สร้างความเข้าใจและติดตามความก้าวหน้าของการปฏิบั ติงาน โดยมีก ารประชุมกลุ่มผู้บ ริหาร ประชุมบุคลากร ทาให้มั่นใจได้ว่าทุกฝ่ายได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างต่อเนื่องและประสานสัมพันธ์กัน ส่งผล ให้งานโดยรวมดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการที่ดีวิธีการหนึ่งที่เกิดขึ้นโดยความร่วมแรงร่วมใจของบุคลากรในระดับผู้ปฏิบัติงานคือ การพู ด คุ ย กั น อย่ า งไมเป็ น ทางการในตอนเช้ า เป็ น ที่ รู้ จั ก กั น ในชื่ อ “รั บ อรุ ณ พู ด คุ ย ยามเช้ า (Sawasdee Morning Talk)” นับว่าเป็นวิธีการที่ส่งผลดีต่อการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งงาน ด้านการให้บริการจึงนับได้ว่ากิจกรรมดังกล่าวเป็นแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) และเป็นความ ภาคภูมิใจร่วมกันของบุคลากรทุกคน ซึ่งจะส่ งผลให้สานักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ สู่ องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) สืบไป คาสาคัญ : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, องค์การแห่งการเรียนรู้
346
ระบบประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ศิ ร ประภา ศิ ล ปรั ต น์ หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี e-mail: siraprapa-s@bunga.ps.psu.ac.th
บทคัดย่อ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ใช้เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) เป็นระบบการจัดการผลการดาเนินงานขององค์กรโดยรวม ซึ่งหมวด 7 ของเกณฑ์ได้กล่าวถึงผลลัพธ์ ด้านการมุ่งเน้นผู้ใช้บริการ โดยตัวชี้วัดที่สานักวิทยบริการได้กาหนดไว้ คือ การวัดระดับความพึงพอใจ ของผู้ใช้บริการ ในการวัดระดับความพึงพอใจนั้น หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สานักวิทยบริการนั้น ได้ใช้ 2 แบบ คือ แบบกระดาษและแบบออนไลน์ ซึ่งจะมีการประเมิน 2 ครั้งต่อปี ซึ่งทาให้เกิดความล่าช้าที่จะ ปรับปรุงการให้บริการแก่ผู้ใช้ได้อย่างทันท่วงที จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ประกอบกับราคาของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มีราคาลดลง จากเดิม หอสมุดฯ จึงได้นาเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา(Tablet PC) มาใช้ในการวัดค่าความพึงพอใจ โดยได้พัฒนาระบบประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการขึ้น จากการที่ได้นาระบบมาใช้ในการวัดระดับความพึงพอใจตั้งแต่เดือนเมษายน 2556 จนถึง ปัจจุบัน เป็นระยะเวลา 7 เดือน ปรากฏว่าผลการดาเนินงานของกิจกรรมนี้อยู่ในระดับดี และปัญหาที่ พบ คือ สัญญาณ wireless บางครั้งมีบ้างไม่มีบ้าง เนื่องจากระยะทางในการส่งสัญญาณอาจจะมี ระยะห่างมากเกินไป จากปัญหาที่พบระบบจะต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป คาสาคัญ : ระบบประเมินความพึงพอใจต่อการให้บริการ, หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ , สานักวิทยบริการ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
347
โปรแกรมคานวณค่าปฏิบัติงานนอกเวลาของบุคลากรศูนย์บรรณสาร และสื่อการศึกษามหาวิทยาลัยพะเยา Overtime Calculation Program For Library Resources and Educational Media Center University of Phayao ปิ ย ะราช สุ ข ภิ ญ โญ* สุ ด า ใจแก้ ว ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา e-mail :clm@up.ac.th*
บทคัดย่อ การพั ฒ นาโปรแกรมค านวณค่ า ปฏิ บั ติ ง านนอกเวลาของบุ ค ลากร ศู น ย์ บ รรณสารและ สื่อการศึ กษา มหาวิทยาลัย พะเยา มี วัตถุ ประสงค์เพื่ อลดขั้นตอนและเวลาในการทางานลง โดย แบ่งเป็นการคานวณค่าตอบแทน วันจันทร์ถึงศุกร์เวลา 16.30 – 20.30 น. ค่าตอบแทนคนละ 100 บาท และวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 09.00 – 17.00 น. ค่าตอบแทนคนล่ะ 250 บาท เพียงผู้ปฏิบัติงาน กรอกข้อมูลของการปฏิบัติงานนอกเวลา ผ่านฟอร์ม ระบบจะประมวลผลออกมา ในรูปแบบของ เอกสารตามต้องการ โดยสามารถดูย้อนหลังได้ตั้งแต่เริ่มนาโปรแกรมมาใช้งาน ABSTRACT This study was to develop scomputer program and create a manual for overtime for Library Resources and Educational Media Center (LEC) of University of Phayao, to reduce workflow and save time work. The LEC overtime seperate to 2 parts, first on Monday – Friday from 4.30 – 8.30 pm. pay 100.00 baht per person and second on Saturday and Sunday from 09.00 am. to 05.00 pm. pay 250.00 baht per person. This program can reports both present Information and archivements.
348
ผ้าทอพื้นเมืองอ่างศิลา Hand Woven Textile Ang-Sila ชั ย ยศ ปานเพชร สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา e-mail : chaiyod@buu.ac.th
บทนา ผ้าทอพื้นเมือง เป็นผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรม บ่งบอกถึงความเป็นเอกลักษณ์ของ ความเป็ นชาติม าช้ านาน บอกถึงภู มิปั ญญาท้องถิ่น ที่แตกต่างจากชาติอื่น และเป็นที่ยอมรับ ของ นานาชาติว่าเป็นงานหัตกรรมที่สามารถสร้างชื่อเสียงให้เป็นที่รู้จักของชาวต่างชาติ ได้เป็นอย่างดี ศิลปะลวดลายความงามบนผืนผ้าอันเกิดจากความรู้ภูมิปัญญาแต่ดั้งเดิมผสมผสานกับแนวความคิด สร้างสรรค์ที่เป็นผลมาจากการสั่งสมประสบการณ์ที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ เลือกสรร ปรุงแต่ง ความ แตกต่างของวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ และวัฒนธรรมท้องถิ่น ทาให้สินค้าประเภทนี้เป็นงานหัตกรรมที่มี คุณค่า มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น เป็นที่ชื่นชอบของผู้พบเห็นและผู้สนใจทั่วไปทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ดาเนินการรวบรวมข้อมูลของภาคตะวันออกเกี่ยวกับ การทอผ้า พื้นเมืองอ่างศิลา โดยนาข้อมูลเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา สภาพปัญหาของการทอผ้าอ่างศิลา และ ผ้าทออ่างศิลาในปัจจุบัน มาลงในฐานข้อมูลของศูนย์ข้อมูลภาคตะวันออก เพื่อสามารถเป็นประโยชน์ ต่อผู้ศึกษาค้นคว้าและนาไปใช้ประโยชน์ในการอ้างอิงต่อไป การศึกษาในครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาและสารวจสภาพปัจจุบันและปัญหาในการ ผลิตผ้าทอพื้นเมืองอ่างศิลา 2. รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ เกี่ยวกับการผลิตผ้าทอพื้นเมือง อ่างศิลา 3. ศึกษาแนวทางในการนาข้อมูลไปเผยแพร่ คาสาคัญ : ผ้าทอพื้นเมือง, ผ้าทอ, อ่างศิลา Keywords : Hand Woven Textile, Woven Cloth, Ang-Sila รายการอ้างอิง ปทักพล. (2556). คุณย่า วัย 93 เปิดตาราสอน การทอผ้าด้วยมือ โบราณ ต. อ่างศิลา. สัตหีบโพสต์, เข้าถึงได้จาก http://sattahippost.com/?p=2045
349
การบริหารจัดการงานซ่อมหนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ Management to Repair the Book Effectively สมพร เปล่ ง ปลั่ ง สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา e-mail : sompron108@gmail.com
บทคัดย่อ การบริหารจัดการงานซ่อมหนังสือ เป็นการบริหารเพื่อให้งานซ่อมหนังสือเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพโดยเป็นการบารุงรักษาหนังสือให้มีสภาพที่ดี เหมาะสมกับการให้บริการในห้องสมุด ซึ่งหนังสือทุกเล่มในห้องสมุดจาเป็นต้องได้รับการบารุงรักษาเพื่อให้สภาพรูปเล่มของหนังสือแข็งแรง มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน และในการบารุงรักษาหนังสือให้มีประสิทธิภาพนั้น ต้องประหยัด ใช้เวลา ในการซ่อมที่รวดเร็ว และคุ้มค่า โดยการการใช้วัสดุที่มีคุณภาพ โดยมีการวางแผนการจัดการอย่าง เป็นระบบ มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เพื่อให้ได้งานที่รวดเร็ว ทันต่อ ความต้องการใช้บริการของผู้ใช้ และทาให้การทางานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น การบริ ห ารจั ด การงานซ่ อ มหนั ง สื อ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิภ าพ ตามกระบวนการในการงานที่ ดาเนินงานของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา ทาให้การดาเนินงานเกี่ยวกับการซ่อมหนังสือได้งาน ที่รวดเร็ว ประหยัดวัสดุ และเวลาสามารถเพิ่มจานวนในการซ่อมหนังสือในแต่ละวั นในปริมาณที่เพิ่ม มากขึ้น โดยหลักในการทางานคือ แข็งแรง ทนทาน รวดเร็ว ประหยัดวัสดุ และสวยงาม ทั้งยังทาให้ การทางานของบุคลากรสามารถทางานร่วมกันโดยการทางานเป็นทีมและเพิ่มความสามัคคีในการ ทางานร่วมกันอีกด้วย ทั้งยังเป็นการรักษาหนังสือให้มีความคงทน ลดภาระเกี่ยวกับ งานซ่อมบารุงที่ จะต้องมีการเพิ่มขึ้นทุกปี คาสาคัญ : การบริหารจัดการ, งานซ่อมหนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ, สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา Keywords : Management, Repair the book effectively, Burapha University Library
350
มุมมอง บทบาท และความคาดหวังการให้บริการศูนย์การเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : บทสรุปจากการสนทนากลุ่ม Perspective, Role and Expectation of Learning Center Services, the Center for Library and Educational Media, Walailak University : Focus Group Study สั น ถั ต สารั ก ษ์ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ e-mail : tnapatsa@wu.ac.th
บทคัดย่อ การสนทนากลุ่มหรือกิจกรรมการจัดกลุ่มสนทนา เป็นการรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์ รูปแบบหนึ่ง เพื่อให้กลุ่มผู้ให้ข้อมูลที่มีประสบการณ์ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน ได้มีโอกาสแสดงความ คิดเห็นเป็นกลุ่ม ซึ่งนอกจากจะทาให้ผู้สัมภาษณ์ได้ทั้งสาระเรื่องราวของบุคคลและของกลุ่มแล้ว ยังได้ ความคิดเห็น ความคิดสะท้อน ปฏิกิริยา และข้อมูลที่ลึกซึ้งและหลากหลายจากผู้เข้าร่วมการสนทนา ทุกคนด้วย การสนทนากลุ่มที่จัดขึ้นในครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษามุมมอง บทบาท และความ คาดหวังต่อการให้บริการศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดยใช้วิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ร่วมกับกลุ่มผู้ใช้ ทั้งที่เป็นอาจารย์ นักศึกษา และบุคลากร จานวน 2 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 40 คน ผลการสนทนาสรุปได้เป็น 5 ประเด็น (1) สถานภาพของศูนย์การเรียนรู้ในปัจจุบันและ อนาคต (2) ประเด็นที่ควรมีการเปลี่ยนแปลงในการดาเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ (3) คุณค่าของศูนย์ การเรียนรู้ (4) ภาพอนาคตของศูนย์การเรียนรู้ และ (5) การปรับเปลี่ยนชื่อของศูนย์การเรียนรู้ให้ สะท้อนถึงบทบาทของศูนย์การเรียนรู้ บทสรุปทั้ง 5 ด้านนี้สามารถนาไปใช้ในการปรับปรุงวิธีการ ขั้นตอน และรูปแบบการให้บริการในศูนย์การเรียนรู้ได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น อีกทั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ ที่ ได้จากการศึกษาครั้งนี้ ยังนาไปสู่การปรับปรุงแผนปฏิบัติการปี 2557 ของศูนย์บรรณสารและ สื่อการศึกษาที่มีความชัดเจนในการสนับสนุนการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยด้วย คาสาคัญ : การศึกษาผู้ใช้, การสนทนากลุ่ม, ศูนย์การเรียนรู้, การจัดการบริการ Keywords : User Studies, Focus Group, Learning Centre, Services Management
ส่วนที่ 4 เอกสารอื่นๆ
352
กาหนดการนาเสนอผลงานวิชาการ รายชื่อผลงานที่นาเสนอโดยวาจา การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 เรื่อง “นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญของห้องสมุดยุค Social Network” วันพฤหัสบดีที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2557 ณ โรงแรมอมรินทร์ลากูน อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ห้องวังพิกุล 1
ห้องวังพิกุล 2
ห้องวังพิกุล 3
ลาดับ
เวลา
“เทคโนโลยีสารสนเทศและ นวัตกรรม”
“บริการสารสนเทศ การจัดการ สารสนเทศ”
“การบริหารองค์กร การจัดการ ความรู้ และอื่นๆ”
1
08.30-08.50 น.
การพัฒนาระบบควบคุม ห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม นำยเกดิษฐ เกิดโภคำ มหำวิทยำลัยนเรศวร
การประยุกต์ใช้นวัตกรรม สาหรับบริการส่งเสริมการ วิจัยของสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ดร. ศศิธร ติณะมำศ นำยสุภชัย ธนำนุวัตรพงศ์ มหำวิทยำลัยนเรศวร
สานักงานเลขานุการยุคใหม่ ทางานอย่างไรให้มี ประสิทธิภาพ นำงสุนิสำ พรหมมณี มหำวิทยำลัยนเรศวร
2
08.50-09.10 น.
การประยุกต์ XIBO ในการ ดาเนินงานประชาสัมพันธ์ ห้องสมุดผ่านจอแสดงผล เครื่องรับโทรทัศน์ LED นำยเกดิษฐ เกิดโภคำ น.ส. วรรณำภรณ์ เทียรท้ำว มหำวิทยำลัยนเรศวร
บูรณาการนวัตกรรมสู่งาน บริการสารสนเทศ น.ส. ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ มหำวิทยำลัยนเรศวร
Office Timeline : เครื่องมือสาหรับการบริหาร จัดการแผนการปฏิบัติงาน และโครงการของหอสมุด พระราชวังสนามจันทร์ สานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร น.ส. จันทร์เพ็ญ กล่อมใจขำว มหำวิทยำลัยศิลปำกร
3
09.10-09.30 น.
ระบบจัดซื้อทรัพยากร สารสนเทศออนไลน์ของ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร : 5 ปีแห่งการพัฒนาสู่ ความสมบูรณ์แบบ นำยชัยพร คำเจริญคุณ มหำวิทยำลัยนเรศวร
การพัฒนาการให้บริการใน รูปแบบ Self-service สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำยปรำชญ์ สงวนศักดิ์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
การพัฒนาระบบบริหาร จัดการคลังพัสดุ ศูนย์บรรณ สารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นำยเมษำ สินทบทอง มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
4
09.30-09.50 น.
ระบบฐานข้อมูลงาน งบประมาณ และการเงิน สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำยเกรียงไกร ชัยมินทร์ น.ส. อภิญญำ ธงไชย มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการ ที่มีต่อภาพลักษณ์ ศูนย์บรรณสารและสื่อการ ศึกษา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี นำงคนึงนิตย์ หีบแก้ว มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีสรุ นำรี
การสร้างบรรยากาศ การเรียนรู้เพื่อชีวิตอย่าง สร้างสรรค์ด้วยกิจกรรม KKU Lib Cover Dance Contest 2013 นำงนำยิกำ เดิดขุนทด มหำวิทยำลัยขอนแก่น
353
ห้องวังพิกุล 1
ห้องวังพิกุล 2
ห้องวังพิกุล 3
“บริการสารสนเทศ การจัดการ สารสนเทศ”
“การบริหารองค์กร การจัดการ ความรู้ และอื่นๆ”
การสกัดข้อมูลและสร้าง ระเบียนรายการหลักฐาน จากระเบียน สหบรรณานุกรม นำยวิทยำ เทวรังษี นำยยุทธนำ เจริญรื่น มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
โครงการผู้บริหาร สานักหอสมุด พบผู้บริหารคณะ ดร.วิสิทธิ์ บุญชุม น.ส. เนำวลักษณ์ แสงสนิท มหำวิทยำลัยทักษิณ
ลาดับ
เวลา
“เทคโนโลยีสารสนเทศและ นวัตกรรม”
5
09.50-10.10 น.
เทคโนโลยี NFC และ QR Code ในสมาร์ทโปสเตอร์ แนะนาห้องสมุด น.ส. กมลมำลย์ เสวตวงษ์ นำยกิตตินันท์ นำภำ มหำวิทยำลัยขอนแก่น
10.10-10.30น.
อำหำรว่ำง ห้องยูงทอง 2
6
10.30-10.50 น.
“จินดามณี” ระบบ ห้องสมุดเพือ่ การพี่งพา ตนเองทางเทคโนโลยี น.ส. ถิรนันท์ ดำรงค์สอน มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์
แนวทางการจัดการวารสาร ฉบับล่วงเวลาของห้องสมุด มหาวิทยาลัย นำงมัณฑนำ เจริญแพทย์ มหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มุมมองของสังคมออนไลน์ : ทาให้รักและทาต่อไป นำงสมปอง มิสสิตะ มหำวิทยำลัยศิลปำกร
7
10.50-11.10 น.
แอนดรอยด์และไอโอเอส แอปพลิเคชัน สาหรับ วิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ และงานวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ นำยเกรียงไกร ชัยมินทร์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
ฐานข้อมูลช่วยสืบค้น สารสนเทศประกอบรายวิชา นำงดำวนภำ สุยะนนท์ นำยนภสินธุ์ งำมกำร มหำวิทยำลัยแม่ฟำ้ หลวง
โต้วาทีน้องใหม่ ชิงโล่อธิการบดี น.ส. ธันยกำนต์ สินปรุ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีสรุ นำรี
8
11.10-11.30 น.
ระบบบริหารจัดการจอง ห้องออนไลน์ ของสานัก วิทยบริการ มหาวิทยาลัย นครพนม นำยสุรักษ์ สิมคำน มหำวิทยำลัยนครพนม
การจัดการสารสนเทศดิจิทัล ชุดวิชาตารา มสธ. น.ส.ชลลดำ หงส์งำม มหำวิทยำลัยสุโขทัย ธรรมำธิรำช
ถอดบทเรียนการจัดการ ความรู้ในงานเทคโนโลยี สารสนเทศห้องสมุด มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมา ธิราช ระหว่าง ปี 2553-2556 นำยชัยวัฒน์ น่ำชม มหำวิทยำลัยสุโขทัย ธรรมำธิรำช
9
11.30-11.50 น.
ระบบยืมหนังสือด้วย เครื่องสแกนลายนิ้วมือของ สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง น.ส. พิทย์พิมล ชูรอด น.ส. เนำวลักษณ์ แสงสนิท มหำวิทยำลัยทักษิณ
พฤติกรรมการค้นคว้าข้อมูล บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กรณีศึกษา : นักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้านนา เขตพื้นที่น่าน นำงพัชรำภรณ์ หงษ์สิบสอง มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำช มงคลล้ำนนำน่ำน
Live and Learn Library Tour : เรียนรูส้ ู่การปฏิบตั ิจริง นำงชมพูนุช สรำวุเดชำ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
12.00-13.00 น.
อำหำรกลำงวัน ห้องยูงทอง 1
354
ห้องวังพิกุล 1
ห้องวังพิกุล 2
ห้องวังพิกุล 3
ลาดับ
เวลา
“เทคโนโลยีสารสนเทศและ นวัตกรรม”
“บริการสารสนเทศ การจัดการ สารสนเทศ”
“การบริหารองค์กร การจัดการ ความรู้ และอื่นๆ”
10
13.00-13.20 น.
Book Hunter แอพพลิเคชั่นชี้ตาแหน่ง จัดเก็บทรัพยากร สารสนเทศในห้องสมุด นำยกิตติศักดิ์ แก้วเนียม มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขตปัตตำนี
CMUL Digital Heritage Collection : จากเอกสารมรดกสู่ สารสนเทศดิจทิ ัล นำงกชพร ศรีพรรณ์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
คาพูดเชิงบวกที่มีผลต่อการ พัฒนาห้องสมุดโรงเรียน นำงสมปอง มิสสิตะ มหำวิทยำลัยศิลปำกร
11
13.20-13.40 น.
การพัฒนาระบบให้บริการ ห้องสมุด บนเครือข่าย เคลื่อนที่ CMUL AirPAC นำยปรำชญ์ สงวนศักดิ์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
ความคุ้มทุนของทรัพยากร สารสนเทศที่จดั หาของศูนย์ บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ น.ส. บุญเพ็ญ ชูทอง มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
แนวทางการพัฒนา สู่เมืองแห่งห้องสมุด นำยสมพงษ์ เจริญศิริ มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม
12
13.40-14.00 น.
ประตูทางเข้าอัตโนมัติ นำยสมพงศ์ หุตะจูฑะ มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขตหำดใหญ่
การใช้ประโยชน์จากบริการ รายชื่อหนังสือใหม่ ของห้องสมุดต่างๆ ต่อการ พัฒนาคอลเลคชันและ บริการเชิงอ้างอิง : กรณีศึกษาสาขาการเกษตร ห้องสมุดมหาวิทยาลัยแม่โจ้ นำยสุธรรม อุมำแสงทองกุล มหำวิทยำลัยแม่โจ้
การจัดการสารสนเทศ พระปกเกล้าศึกษา : 120 ปี ผ่านฟ้า ประชาธิปก นำยชัยวัฒน์ น่ำชม มหำวิทยำลัยสุโขทัย ธรรมำธิรำช
13
14.00-14.20 น.
การพัฒนาระบบห้องสมุด เสมือน 3 มิติ โดยใช้ Google API นำยสุขสันต์ พรมบุญเรือง มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม
เครือข่ายสารสนเทศ ห้องสมุดในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ นำยไชยวัฒน์ วงค์สุวรรณ์ มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม
การจัดเก็บและให้บริการ หนังสืองานศพ : กรณีศึกษา ศูนย์บรรณสารและ สื่อการศึกษา มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ ผศ.ดร.อรรจน์ บัณฑิตย์ ผศ.ดิชิตชัย เมตตำริกำนนท์ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
14.20 – 14.50 น.
อำหำรว่ำง ห้องยูงทอง 2
14.50 – 15.30 น.
พิธีปิด และมอบธงแก่เจ้ำภำพครั้งต่อไป ณ ห้องวังพิกุล 1 – 2 - 3
355
รายชื่อผลงานทางวิชาการที่นาเสนอโดยโปสเตอร์ โครงการสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 “นวัตกรรม : เครื่องมือสาคัญของห้องสมุดยุค Social Network” วันพุธที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2557 ณ ห้องวังพิกุล 3 โรงแรมอมรินทร์ลากูน อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก “เทคโนโลยีสารสนเทศและ นวัตกรรม”
“บริการสารสนเทศ การจัดการสารสนเทศ”
“การบริหารองค์กร การจัดการความรู้ และอื่นๆ”
(15 ผลงาน)
(11 ผลงาน)
(8 ผลงาน)
ระบบฐานข้อมูลจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำงเรืองใจ คำพันธ์ น.ส. พฎำ พุทธสมัย น.ส. มำลี ใจตั้ง มหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ วิทยำเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
ดาวน์โหลดอีสานสนเทศทันใจด้วย QR code น.ส. กฤติกำ สุนทร นำงนำยิกำ เดิดขุนทด นำยสมโภช พิมพ์พงษ์ต้อน มหำวิทยำลัยขอนแก่น
ปรับปรุงเทคนิคการใช้ผ้าและกระดาษ แร็คซีนในการซ่อมหนังสือ นำยกุศล เหลำธิ มหำวิทยำลัยขอนแก่น
RSU Library eBook น.ส. รัตนำภรณ์ กำศโอสถ มหำวิทยำลัยรังสิต
มุมหนังสือฟรี น.ส. ชูศรี วังศำนุวัตร นำงนุชรัตน์ คงสวี มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขต หำดใหญ่
ความสัมพันธ์ในการใช้หนังสือ และ งบประมาณการจัดซื้อของหน่วยงาน ในมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ นำงศศิธร แสงกำร มหำวิทยำลัยรำชภัฏบุรีรัมย์
ภาพลักษณ์ใหม่ของห้องสมุด มข. บนโลกออนไลน์ น.ส. นิติยำ ชุ่มอภัย น.ส. อัคริมำ สุ่มมำตย์ นำยธีรยุทธ บำลชน มหำวิทยำลัยขอนแก่น
หนังสือมือสองปันความรู้สู่ชุมชน นำยจักรกริช อมศิริ มหำวิทยำลัยศิลปำกร วิทยำเขตสำรสนเทศ เพชรบุรี
รับอรุณ พูดคุยยามเช้า นำยธีรพันธ์ สงวนวงศ์ น.ส. สุนิษำ เพชรจันทร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏภูเก็ต
แฟนเพจหอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นำยวันชำติ ภูมี มหำวิทยำลัยขอนแก่น
ศูนย์ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์ นำงดำรำรัตน์ จุฬำพันธุ์ น.ส. จุฑำมำศ ถึงนำค มหำวิทยำลัยศิลปำกร วิทยำเขตวังท่ำพระ
ระบบประเมินความพึงพอใจต่อการ ให้บริการ หอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ น.ส. ศิรประภำ ศิลปรัตน์ มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขต ปัตตำนี
IT MAN @ KKU library: การ จัดการองค์ความรู้ด้านไอที สู่ นวัตกรรมการแก้ไขปัญหา IT Support ภายในห้องสมุดอย่าง ยั่งยืน นำยธีรยุทธ บำลชน มหำวิทยำลัยขอนแก่น
ชุมชนนักอ่านทรงพลัง น.ส. กุลวดี ทัพภะ น.ส. ประทุมรัตน์ รัตน์นอ้ ย น.ส. นุสรำ โต๊ะเซะ มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขต ปัตตำนี
โปรแกรมคานวณค่าปฏิบัติงานนอก เวลาของบุคลากร ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา นำยปิยะรำช สุขภิญโญ น.ส. สุดำ ใจแก้ว มหำวิทยำลัยพะเยำ
356
“เทคโนโลยีสารสนเทศและ นวัตกรรม”
“บริการสารสนเทศ การจัดการสารสนเทศ”
“การบริหารองค์กร การจัดการความรู้ และอื่นๆ”
(15 ผลงาน)
(11 ผลงาน)
(8 ผลงาน)
โครงการพัฒนาแอปพลิเคชันสาหรับ ให้บริการสารสนเทศบน โทรศัพท์มือถือ Smartphone สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นำยสันติภำพ เปลี่ยนโชติ มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม
NPU Library Tour : โครงการห้องสมุด เคลื่อนที่ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยนครพนม นำยปรีชำ อำษำวัง มหำวิทยำลัยนครพนม
ผ้าทอพื้นเมืองอ่างศิลา นำยชัยยศ ปำนเพชร มหำวิทยำลัยบูรพำ
การพัฒนาเว็บไซต์เพื่อบริการ สารสนเทศ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นำงจีรกำญจน์ เต็มพรสิน มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม
Library Orientation นำยประภัย สุขอิน น.ส. น้ำใจ จุลพุ์ปสำสน์ น.ส. กำญจน์หทัย ศรีบุญเรือง มหำวิทยำลัยแม่โจ้
การบริหารจัดการงานซ่อมหนังสืออย่าง มีประสิทธิภาพ นำยสมพร เปล่งปลั่ง มหำวิทยำลัยบูรพำ
การพัฒนาฐานข้อมูลภาพถ่ายใน อดีตของสานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นำยรณชัย เหล่ำโพธิ์ มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม
Open Library@Your schools: เปิด โลกการเรียนรู้ ....สู่โรงเรียนคุณ… น.ส. รตำนำ ยำมำเจริญ น.ส. วิทวำพร โสภณ มหำวิทยำลัยสงขลำนครินทร์ วิทยำเขต หำดใหญ่
มุมมอง บทบาท และความคาดหวังการ ให้บริการศูนย์การเรียนรู้มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ : บทสรุปจากการสนทนา กลุ่ม นำงสันถัต สำรักษ์ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
การใช้โปรแกรมระบบห้องสมุด อัตโนมัติ Liberty ของนักศึกษาและ คณาจารย์ เพื่อค้นคว้าภายใน ห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ น.ส. ฝนสุดำ มณีรัตน์ ดร. สยำม ระโส นำงนริศรำ ระโส มหำวิทยำลัยรำชภัฏสุรินทร์
สมาร์ทไลบราลี@ ่ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม นำงรุ่งเรือง สิทธิจนั ทร์ น.ส. น้ำลิน เทียมแก้ว มหำวิทยำลัยมหำสำรคำม
โครงการพัฒนาระบบการเข้าถึง ทรัพยากรสารสนเทศผ่านอุปกรณ์ สื่อสารทุกรูปแบบ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นำงทรรศนีย์ อินทร์ล้ำ มหำวิทยำลัยขอนแก่น
การสารวจการใช้และความต้องการใช้ บริการ IPAD ของผู้ใช้บริการ ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นำงกิตติพร ศรีเพ็ชร น.ส. ชื่นณัสฐำ สุขใส มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
การพัฒนาการแสดงผลบนหน้า Web OPAC ด้วยแนวคิด Mobile Responsive Web และ Web Accessibility
การเรียนรู้และการมีส่วนร่วมกับชุมชน ของห้องสมุด เครือข่ายสารสนเทศ นครศรีธรรมราช (LIGORNET) นำงเกษมำพร ตัญบุญยกิจ
357
“เทคโนโลยีสารสนเทศและ นวัตกรรม” (15 ผลงาน) นำยรักเผ่ำ เทพปัน น.ส. วิภำดำ ดวงคิด นำยอนุวัฒน์ คำเงิน มหำวิทยำลัยแม่ฟำ้ หลวง ฐานข้อมูลวารสารสถาบัน มหาวิทยาลัยบูรพา น.ส. จรัญญำ ศุภวิฑิตพัฒนำ มหำวิทยำลัยบูรพำ ระบบการควบคุมภายในที่ดีของ กระบวนงาน การพัฒนาเว็บไซต์ ห้องสมุดให้ติดอันดับต้นในผลการ ค้นด้วยเซิร์ทเอ็นจิน นำยชัยวัฒน์ น่ำชม นำยสมชำย บุญปัญญำ มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช โซเชียลมีเดีย เพื่อการ ประชาสัมพันธ์สานักหอสมุด นำยเฉลิมเกียรติ ดีสม มหำวิทยำลัยบูรพำ ฐานข้อมูลวัดในจังหวัด นครศรีธรรมราช น.ส. นัสรำห์ จำปำกลำย น.ส. อำภรณ์ ไชยสุวรรณ นำยประเสริฐ สีแก้ว มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
“บริการสารสนเทศ การจัดการสารสนเทศ” (11 ผลงาน) ห้องสมุดเครือข่ำยสำรสนเทศ นครศรีธรรมรำช(LIGORNET)
“การบริหารองค์กร การจัดการความรู้ และอื่นๆ” (8 ผลงาน)
358
359
360
361
362
363
364
365
366
ประวัติวิทยากร ศาสตราจารย์ ดร. นพ. กระแส ชนะวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร ประวัติการศึกษา - แพทยศาสตร์บัณฑิต จากคณะแพทย์ศาสตร์ ศิริราชพยาบาล (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยมหิดล) ในปีพ.ศ. 2503 - ปริญญาโท ด้านบริหารงานสาธารณสุข Diploma Tropical Public Health (D.T.P.H.) จาก มหาวิทยาลัยลอนดอน ประเทศอังกฤษ พ.ศ. 2510 - ปริญญาเอก ด้านบริหารงานทางด้านประชากรศาสตร์ Doctor of Public Health (Dr. P.H.) จาก มหาวิทยาลัยโคลัมเบีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2526 - ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขามนุษยศาสตร์ (Ph.D) จากมหาวิทยาลัยบาเกียว ประเทศฟิลิปปินส์ ในปี พ.ศ. 2528 - ปริญญาคุรุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาบริหารการศึกษา จากสถาบันราชภัฏมหาสารคาม ในปี พ.ศ. 2545
ประวัติการทางาน 2504
พนักงานเทศบาล ตาแหน่งแพทย์ตรี ตาบลเมืองพล จังหวัดขอนแก่น
2514
โอนไปรับราชการเป็นผู้อานวยการศูนย์อนามัยแม่และเด็กชนบทที่ 41 กรม อนามัย กระทรวงสาธารณสุข
2514
ได้รับพระราชทานโปรดเกล้าแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
2517 - 2520
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดขอนแก่น 2 สมัย
2522
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
2522
หัวหน้าผู้เชี่ยวชาญองค์การสหประชาชาติ ในด้านประชากรและการวางแผน ครอบครัว ประจาประเทศบังคลาเทศ
2522
ผู้อานวยการสถาบันฝึกอบรมและพัฒนาสาธารณสุขมูลฐานอาเซียน ศาลายา มหาวิทยาลัยมหิดล
2525
ผู้ริเริ่มหลักสูตรปริญญาโทวิชาการบริหารงานสาธารณสุขมูลฐาน สาหรับนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล
2532
ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งหลักสูตร นานาชาติ การบริหารและการพัฒนาชนบท ระดับมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2534
รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ฝ่ายการแพทย์และสาธารณสุข
367
2535
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร
2537
รัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย
2538
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
2544
รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี
2545
ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี
2548
นายกสภามหาวิทยาลัยนครพนม (ตามบทเฉพาะกาล ภายใต้พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยนครพนม พ.ศ. 2548)
2548-ปัจจุบัน
นายกสภามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ และนายกสภามหาวิทยาลัยนเรศวร
368
ประวัติวิทยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เด่นพงษ์ สุดภักดี รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประวัติการศึกษา - สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล) จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2538 - สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท Master of Engineering Science (Mechanical Engineering) จาก The University of New South Wales ประเทศออสเตรเลีย พ.ศ. 2541 - สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก Doctor of Philosophy (Mechanical Engineering) จาก The University of New South Wales ประเทศออสเตรเลีย พ.ศ. 2544
ประวัติการทางาน การดารงตาแหน่งบริหารที่สาคัญ 2552-ปัจจุบัน
รองอธิการบดีฝา่ ยวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2550-2552
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2550-2552
ผู้อานวยการสานักนวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2547-2550
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2545-2547
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
งานด้านการสอน - สอนรายวิชา เขียนแบบวิศวกรรม กลศาสตร์ของไหล กลศาสตร์ของไหลเชิงคานวณ เทอร์โมไดนามิกส์ กลศาสตร์เครื่องจักรกล กลศาสตร์ของวัสดุ การวัดทางวิศวกรรมเครื่องกล - สอนรายวิชา กลศาสตร์ของไหลเชิงคานวณ การพาความร้อน การทดลองขัน้ สูง และอาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ - สอนรายวิชา การทดลองขั้นสูง และอาจารย์ทปี่ รึกษาดุษฎีนิพนธ์ งานด้านวิชาการ - ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความลงพิมพ์ในวารสาร ได้แก่ วิศวกรรมสาร มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2546–ปัจจุบัน) - ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความลงพิมพ์ในสัมมนาวิชาการ ได้แก่ ITHERM International Conference, สัมมนาเครือข่ายวิศวกรรมเครือ่ งกลแห่งประเทศไทย (2546–ปัจจุบัน) - การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา
369
- คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายใน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (พ.ศ.2548) - คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพภายใน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (พ.ศ.2548) งานด้านการบริการวิชาการ - กองบรรณาธิการวิศวกรรมสาร มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2548-ปัจจุบัน) - กองบรรณาธิการ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี - วิทยากรบรรยายในการประชุม/สัมมนาที่จัดโดยหน่วยงานต่างๆ และสมาคม/ชมรมวิชาชีพ ในด้าน วิศวกรรมเครื่องกล การจัดการพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมด้านเครื่องกลและความร้อน การจัดการศึกษา การประกันคุณภาพ การพัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การจัดการ บทเรียนออนไลน์ การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษา การจัดการศึกษาด้าน วิศวกรรมศาสตร์ ในสถาบันอุดมศึกษา ฯลฯ ผลงานบรรยาย การบรรยายหัวข้อ “ หนึ่งปีกับ Google Apps for Education ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ” ในงาน สัมมนา Google Apps for Education Conference# 1at KMUTT
370
SPEAKER PROFILE THANACHART NUMNONDA, Ph.D. E-Mail: thanachart@imcinstitute,com
EDUCATION & PROFESSIONAL DEVELOPMENT UNIVERSITY OF AUCKLAND Auckland, New Zealand - Ph.D. (Electrical & Electronic Engineering), March 1995 - Master of Engineering (Electrical & Electronic Engineering), November 1991 KHON KAEN UNIVERSITY Khon Kaen, Thailand - Bachelor of Engineering (Electrical Engineering), February 1986
Training / Certifications - SUN Certified Java Programmer, October 1999 - SUN Certified Java Instructor, March 2001 - Training on Satellite Communication Systems, Matra Marconi Space Center, Toulouse, France, May 1999
WORK HISTORY January 2013 – Present
Executive Director, IMC Institute
Oct 2010 – December
Director Software Park Thailand
Jun 2010 – September
Director PricewaterhouseCoopers FAS Ltd.
Mar 2004 – Mar 2010
Business Development & Sales Director Sun Microsystems (Thailand)
Sep 2003 – Feb 2004
Associate Professor Faculty of Science, Khon Kaen University
Apr 1995 – Aug 2003
Lecturer & Assistant Professor Faculty of Engineering, Khon Kaen University
Other Positions August 2005 – April 2010
Director, The Association of Thailand ICT Industry
March 2003 – March 2004
Assistant President for ICT planning, Khon Kaen University
July 2003 – March 2004
Director, E-Saan Software Park
371
June 2000-September 2002
Associate Dean of Academic Affairs, Faculty of Engineering, Khon Kaen University
November 1997-May 2000
Head of Department of Computer Engineering, Faculty of Engineering, Khon Kaen University
May 1996-November 1997
Director, Computer Center, Faculty of Engineering, Khon Kaen University
July 1997- September 1997
Honorary research fellow, Department of Electrical and Electronic Engineering, University of Auckland, New Zealand
January 2005 – present
A member of steering committee of NECTEC research fund
January 2005 – July 2006
A member of Thailand National Opensource committee
Special Awards - Honorary judges for several software awards/contests including Asia Pacific ICT awards 2005-2011 - Thailand ICT awards 2004-2012, - National Software Contest 2000-2011 - Smart Innovation Award 2002-2012 and DTAC award 2003-2004.
Technical Skill Summary Skills in the following area: - Enterprise Architecture - Service Oriented Architecture (SOA) - Java SE, Java ME, Java EE, Servlet & JSP, Struts, JSF, EJB 2.1, EJB 3.0, Java Web Services - UML, Design Pattern - Data Communication - Eclipse, NetBeans, Apache Tomcat, Sun GlassFish Application Server, ESB using Sun Java CAPS, etc.
372
Certifications - SUN Certified Java Programmer, October 1999 - SUN Certified Java Instructor, March 2001 - Training on Satellite Communication Systems, Matra Marconi Space Center May 1999 - Data Communication & Computer Network Training, University of Adelaide, Australia, April 2000
Courses Attended - SB-CAP-501-2 Foundations of Sun Java Composite Application Platform Suite, June 2007 - SUN SEM-SL-351 Enterprise JavaBeans programming Seminar, March 2001 - SUN SL-301 Distributed Programming With Java Technology, Feb 2001 - SUN SL-285 Java Programming Workshop, November 2000 - SUN SL-275 Java Programming Language, March 1999
Courseware Development - Introduction to Java Programming (Textbook, Exercise, Slides) 2002 - Courseware in Mini-Master in Java Technology at KMITL (Java Fundamental, Java Web Programming, EJB, Java Web Services and SOA) 2005 Introduction to Service Oriented Architecture 2007
Teaching Experience An instructor for training institutes e.g.' King Mongkut’s Institute of Technology, Software Park Thailand, NSTDA, Sun Microsystems, NECTEC, Nokia, Samart Corp., TA Orange and DTAC to teach graduate students and IT staffs of private and government organizations. Selected courses include: - Mini-Master of Java Technology - Introduction to Service Oriented Architecture - SOA using Sun Java Composite Application Platform Suite - Object Oriented Analysis and Design using UML - Java Servlets and JSP - Java Web Services
373
- Introduction to Java Programming - Enterprise Java Beans - Introduction to J2ME - Java Client/Server and Distributed System
374
ประวัติวิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.รัตติมา จีนาพงษา ผู้อานวยการสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ทางาน: -
สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร - คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ประวัติการศึกษา: - พ.ศ. 2535: เภสัชศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - พ.ศ. 2537 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เภสัชวิทยา) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - พ.ศ. 2543 Doctor of Philosophy (Pharmacology), University of Newcastle upon Tyne, United Kingdom - พ.ศ. 2546 Postdoctoral Fellow (Neuropharmacology), Toyama Medical and Pharmaceutical University, Japan - พ.ศ. 2553 รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประวัติการทางาน: 16 สิงหาคม 2537 – 23 ธันวาคม 2544 อาจารย์ประจาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 24 ธันวาคม 2544 – 10 สิงหาคม 2549 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 11 สิงหาคม 2549 – ปัจจุบัน
รองศาสตราจารย์ประจาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
นเรศวร ประสบการณ์ด้านงานบริหาร: - รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะเภสัชศาสตร์ (2538 - มิถุนายน 2539) - รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะเภสัชศาสตร์ (20 มกราคม 2544 – 18 กุมภาพันธ์ 2545) - รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะเภสัชศาสตร์ (1 มิถุนายน 2546 – 19 มกราคม 2548) - รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะเภสัชศาสตร์ (20 มกราคม 2548 - 25 พฤษภาคม 2550)
375
- ผู้อานวยการสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ระหว่าง 26 มีนาคม 2551 – 25 มีนาคม 2555 (วาระที่ 1) - ผู้อานวยการสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร ระหว่าง 26 มีนาคม 2555 – ปัจจุบัน (วาระที่ 2) ประสบการณ์ด้านอื่นๆ: - ที่ปรึกษาด้านการให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (1 สิงหาคม 2547 – 30 กันยายน 2549) - กรรมการประจาสานักหอสมุด (พ.ศ. 2548-2550) - กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 - ปัจจุบัน - คณะกรรมการดาเนินการส่งเสริมและเผยแพร่ผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งแต่ 11 ตุลาคม 2554 – ปัจจุบัน - คณะกรรมการดาเนินงานสถานการศึกษาอาเซียน มหาวิทยาลัยนเรศวร - ประธานคณะกรรมการกากับดูแลการเลี้ยงและใช้สัตว์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งแต่วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 (คราวละ 2 ปี) - รองประธานกรรมการบริหารสถานสัตว์ทดลองเพื่อการวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวร ตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 – ปัจจุบัน - คณะกรรมการประจาสถานพัฒนาวิชาการด้านภาษา สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ 20 กันยายน 2556 – ปัจจุบัน - คณะอนุกรรมการเพื่อประเมินผลการสอนและเอกสารที่ใช้ประเมินผลการสอนเพื่อขอกาหนด ตาแหน่งรองศาสตราจารย์ - คณะอนุกรรมการเพื่อประเมินผลการสอนและเอกสารที่ใช้ประเมินผลการสอนเพื่อขอกาหนด ตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ - กรรมการบริหารสมาคมเภสัชวิทยาแห่งประเทศไทย วาระประจาปี พ.ศ. 2555-2557
376
ประวัติการบรรยาย: - แนวคิดในการพัฒนาระบบงานบริการสารสนเทศ - การปรับเปลี่ยนบริการห้องสมุดในยุคการเปลี่ยนแปลง - การนาเครื่องมือการจัดการความรู้ไปขับเคลื่อนและประยุกต์ใช้ในองค์กร - หลักการทางานเป็นทีมสู่ความสาเร็จ - การสร้างทีมงานเพื่อการให้บริการการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ - ถ่ายทอดเทคนิคและวิธีการคิดโจทย์งานวิจัยและการเขียนงานวิจัยทางด้านป้องกัน ควบคุมโรคและ ภัยสุขภาพ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - การเขียนผลงานวิทยานิพนธ์โดยไม่มีการคัดลอก - ห้องสมุดมีชีวิตและรักการอ่าน - การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ - การสืบค้นผลงานวิจัยในฐานข้อมูลสากล - หลักการทาสไลด์และเทคนิคการนาเสนอ - การใช้โปรแกรม EndNote - การทาสารบัญโดยอัตโนมัติด้วยโปรแกรม Microsoft Word
377
รายนามผู้ให้การสนับสนุนการจัด สัมมนา PULINET วิชาการครั้งที่ 4 ขอขอบพระคุณบริษัท ห้างหุ้นส่วนจากัด และตัวแทนจาหน่าย ดังต่อไปนี้ ที่ให้การสนับสนุนการจัดสัมมนา 1. บริษัท EBSCO
10. บริษัท EMERALD
2. บริษัทบุ๊คโปรโมชั่น
11. บริษัท 3M
3. บริษัท SYNSYS
12. ร้าน Café De More
4. บริษัท Informa Healthcare
13. บริษัทคิโนะ คูนิยะ บุ๊คสโตร์ (ประเทศ
5. บริษัท ELSEVIER
ไทย) จากัด
6. บริษัท SYNC
14. ร้านสปาร์คไอเดีย
7. บริษัทเอสแอนด์วี คอมมิวนิเคชั่น
15. บริษัทแอ้ดวานซ์ มีเดีย ซัพพลายส์
เซอร์วิส เน็ตเวริ์ค จากัด
จากัด
8. KARGER
16. ร้านบุ๊คส์ทูเดย์
9. WALAI AUTOLIB
17. ร้านไอทีคอร์นเนอร์ 18. สานักพิมพ์ Cengage Learning IndoChina Limited
'Medical and Scientific Publisher for Connecting the World of Biomedical Science
378
informa healthcare publishes เป็นสำนักพิมพ์วำรสำรชั้นนำ ที่มีสถิติยอดผู้ใช้งำนมำกกว่ำ 170 องค์กรต่อสัปดำห์ ครอบคลุมสำขำ pharmaceutical, life science and clinical medicine industries covering over 20 subject disciplines including Drug Delivery, Biotechnology, Nursing, Immunology & Infectious Diseases, Toxicology & Allied Health. • Acta Oncologica – 2.867 • Free Radical Research – 3.279 • Critical Reviews In Biochemistry & Molecular Biology – 5.578 • Nanotoxicology – 7.844 • Drug Metabolism Reviews – 5.538 • Chronobiology International – 4.35 • Annals of Medicine – 5.094 • Critical Reviews in Biotechnology – 5.095 • International Reviews of Immunology – 5.733 Impact Factors - ©Thomson Reuters, Journal Citation Reports®, 2012
informahealthcare.com
ก่อตั้งขึ้นในปี ์ดยมีจุดปรีสงค์ 1991คือกำรแสดงผล 3D จำกภำพ Scan จริงจำกร่ำงกำยมนุษย์ ชุดของเรำที่มี รำยลีเอียดมำกที่สุด แลีครอบคลุมเรื่องกำยวิภำค แลี ได้รับรำงวัล 3D anatomy model กำรศึกษำ Primal Picture มีควำมหลำกหลำย มีรำยลีเอียดทีถ่ ูกต้อง แลีเนื้อหำที่ง่ำยต่อกำรทำควำมเข้ำใจ ปรีกอบด้วยเนื้อหำ ดังต่อไปนี้ • • • •
Regional Anatomy 3D Realtime Anatomy Anatomy and physiology Dental Anatomy Anatomy resources www.anatomy.tv Anatomy and physiology resources www.primalonlinelearning.com
มีกำรใช้มำกกว่ำ 200,000+ องค์กรชั้นนำ , updated annually มำกกว่ำ 3,500+ อุตสำหกรรม, updated annually
มีใช้ในมำกกว่ำ 110 ปรีเทศ, updated annually
มีข่ำวสำรกว่ำ 50,000+ แลี บทควำมกว่ำ 60,000+ อัพเดททุกวัน
มีกำรเพิ่ม focused Case Studies กว่ำ 170+ อัพเดทในทุกสัปดำห์
มีสถิติกำร Database ครอบคลุม 215 ปรีเทศ
http://www.marketline.com/
+886 919-451115 Mr YangCheng SHEN Yangcheng.shen@informa.com
379
380
381
&DIH· 'H 0RUH öşąìÔąĐò þìşąĀą×ąöýĜąìĄÔþĀýôċç ôþąúćêõąøĄõìďöûúö