L6_

Page 1

บทที่ 6 จริยธรรมในวิชาชีพ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจริยธรรม ความหมายของจริยธรรม ความสําคัญของจริยธรรม องคประกอบของจริยธรรม ประเภทของจริยธรรม คุณลักษณะของจริยธรรม

จริยธรรมในการประกอบอาชีพ ความหมายที่เกี่ยวของกับจริยธรรมในการประกอบอาชีพ ความสําคัญของในการประกอบอาชีพ องคประกอบของในการประกอบอาชีพ จริยธรรมที่ควรปฏิบัติสําหรับการประกอบอาชีพ พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร

จริยธรรมคอมพิวเตอร ความหมายของจริยธรรมคอมพิวเตอร จริยธรรมที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร ขอกําหนดเกี่ยวกับจริยธรรมคอมพิวเตอร พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร

จุดประสงค บอก


2

มัลติมีเดียเพื่องานประชาสัมพันธ

บทนํา ปจจุบันนี้จะพบเห็นขาวเกี่ยวกับอาชญากรรมตามหนาหนังสือพิมพ ในสื่อวิทยุ และสื่อโทรทัศนทั่วไป สาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดปญหาตาง ๆ เหลานี้คือ การขาดคุณธรรม จริยธรรมในจิตใตสํานึก ซึ่งมีผลมาจาก ปจจุบันเปนยุคแหงเทคโนโลยี ซึ่งมีการนําเอาเทคโนโลยีดานตาง ๆ เขามาใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน รวมถึงหนวยงานตาง ๆ ไมวาจะเปนหนวยงานภาครัฐ หรือหนวยงานภาคเอกชน หรือแมแตสถาบันการศึกษา ตาง ๆ ก็นําเทคโนโลยีเขามามีสวนในการจัดการเรียนการสอน อีกทั้งยังเปนยุคของโลกไรพรมแดน สามารถ ติดตอสื่อสารกันไดภายในเวลาไมถึงเสี้ยววินาที โดยเชื่อตอผานเครือขายอินเตอรเน็ต และในปจจุบันนี้ไดกาว ล้ําเขาสูยุคการติดตอไรสาย ทุกคนสามารถติดตอสื่อสารกันไดเพียงแคมีโทรศัพทมือถือเพียงเครื่องเดียว สามารถใชบริการไดทุกอยาง ถึง แม วาการสอนในป จ จุ บันจะเนนปลูก จิตสํานึก ดานคุณธรรมจริยธรรมใหกับผู เรี ยน แตดว ย ความกาวหนาทางเทคโนโลยีและจากการเปดรับวัฒนธรรมจากประเทศตาง ๆ มากมาย ทําใหเยาวชน หรือ วัยรุนในปจจุบันนี้มีอิสระทางดานความคิดมากขึ้น ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนควรสอดแทรกเนื้อหา ทางดานจริยธรรมในทุก ๆ วิชา

6.1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจริยธรรม 6.1.1 ความหมายของจริยธรรม ไดมีผูกลาวถึงความหมายของคําวา “จริยธรรม” ไวอยางหลากหลาย แตคําอธิบายเหลานั้นสวน ใหญก็มีความหมายใกลเคียง ดังนั้น จึงขอเสนอความหมายของจริยธรรมพอสังเขป ดังนี้ ราชบัณฑิตยสถาน (2545) ใหความหมายของ “จริยธรรม” ไววา เปนธรรมที่เปนขอปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม ชัชชัย คุมทวีพร (2541) ใหความหมายของ “จริยธรรม” ไววา เปนปรัชสาขาหนึ่งที่เกี่ยวของกับ องคประกอบทางจริยธรรมของมนุษย สะทอนใหเห็นถึงความประพฤติที่ดีและไมดีของคนในสังคม ชวยใหเรา สามารถแยกแยะพฤติกรรมที่ดีและพฤติกรรมที่ไมดไดอยางชัดเจนมากยิ่งขึ้น จริยธรรมจึงเปนเสมอือน แนวทางหรือหลักปฏิบัติของมนุษยในสังคม วิทย วิศทเวทย และเสฐียรพงษ วรรณปก (อางถึงใน ชัชพรรษ ฟูอินหลง. 2545: 179) ให ความหมายของ “จริยธรรม” ไววา เปนหลักธรรมคําสอนวาดวยความประพฤติ เปนหลักใหบุคคลยึดถือใน


บทที่ 6

จริยธรรมในวิชาชีพ

3

วศิน เพิ่มทรพัย และวิโรจน ชัยมูล (2548) ใหความหมายของ “จริยธรรม” ไววา เปนแบบแผน ความประพฤติหรือความมีสามัญสํานึกตอสังคมในทางที่ดี โดยไมมีกฎเกณฑตายตัว ชึ้นอยูกับกลุมสังคมหรือ การยอมรับในสังคมนั้น ๆ เปนหลัก โดยสวนใหญจริยธรรมจะเกี่ยวของกับการคิดและตัดสินใจไดวาสิ่งไหน ควร-ไมควร ดี-ไมดี ถูก-ผิด กลาวโดยสรุป “จริยธรรม” หมายถึง พฤติกรรมการแสดงออก พฤติกรรมการปฏิบัติของบุคคล ที่แสดงใหเห็นถึงการกระทําในสิ่งที่ถูกตองและอยูในกรอบของศีลธรรม ถือในการประพฤติปฏิบัติตนใหเปน คนดี สามารถคิดและตัดสินใจไดวาสิ่งไหน ควร-ไมควร ดี-ไมดี ถูก-ผิด 6.1.2 ความสําคัญของจริยธรรม จริยธรรมเปนสิ่งสําคัญในสังคมที่จะนําความสุขสงบและความเจริญกาวหนามาสูสังคมนั้น ๆ เพราะเมื่อคนในสังคมมีจริยธรรม จิตใจก็ยอมสูงสง มีความสะอาดและสวางในจิตใจ จริยธรรมเปนความประพฤติ การกระทําและความคิดที่ถูกตองดีงาม รวมถึงการทําหนาที่ของ ตนใหครบถวนสมบูรณ เวนในสิ่งที่ควรละเวน ประกอบการและดํารงชีวิตอยางฉลาด ดวยสติและปญญา รู เหตุรูผลรูกาลเทศะ กระทําทุกอยางดวยความรอบคอบ เสียสละอุทิศตน มุงมั่นและบากบั่น ความสําคัญของจริยธรรม จึงเปนเครื่องมือยุทธศาสตรของชาติ และ สังคมเครื่องชี้วัดความ เจริญความเสื่อมของสังคมจริยธรรมเปนเรื่องที่จําเปนยิ่งสําหรับทุกคน ทุกหมูเหลาและทุกอาชีพ สังคมจะอยู รอดและเปนสุขได ก็ดวยจริยธรรม 6.1.3 องคประกอบของจริยธรรม 1) ระเบียบวินัย (Discipline) การที่สังคมจะมีระเบียบวินัย ในสังคมจะตองประพฤติปฏิบัติ ตนใหเปนไปตามขอตกลงของสังคม อันไดแก กฎหมาย จารีต ประเพณี 2) สังคม (Society) การรวมกลุมกันเปนสังคมหรือประกอบกิจกรรมใด ในสังคมก็ตาม จะตองมีแบบแผน มุงเนนหรือเห็นแกประโยชนสวนรวม 3) อิสระเสรี (Autonomy) การมีอิสระเสรีนั้นสังเกตไดจากการที่บุคคลในสังคมมีเสรีภาพใน การปกครองตน 6.1.4 ประเภทของจริยธรรม


4

มัลติมีเดียเพื่องานประชาสัมพันธ

1) จริยธรรมภายนอก เปนจริยธรรมที่บุคคลแสดงออกทางพฤติกรรมภายนอกที่ปรากฏให เปนที่สังเกตเห็นไดอยางชัดเจน เชน ความรับผิดชอบ ความเปนระเบียบเรียบรอยความมีวินัย การตรงตอเวลา เปนตน 2) จริยธรรมภายใน เปนจริยธรรมที่เกี่ยวของกับความรูสึกนึกคิดหรือทัศนคติของบุคคลิตาม สภาพของจิตใจและสภาวะแวดลอม เชน ควงาใมซื่อสัตย ความยุติธรรม ความเมตตากรุณา ความกตัญู กตเวที เปนตน 6.1.5 คุณลักษณะของจริยธรรม คุณลักษณะของจริยธรรมเปนสิ่งที่แสดงลักษณะเฉพาะของจริยธรรมเพื่อใหเห็นเดนชัดในดาน หนึ่งและมีความแตกตางจากจริยธรรมดานอื่น ๆ ทั้งนี้มีหนวยงานที่เกี่ยวของกับการจัดการดานการศึกษา หลายหนวยงาน ไดกําหนดโครงสรางจริยธรรม พรอมทั้งกําหนดคุณลักษณะของจริยธรรม ไวดั้งนี้ 1) ความรับผิดชอบ หมายถึง การปฏิบัติหนาที่อยางตั้งใจ มีความละเอียดรอบคอบ มีความ พากเพรียรพยายามเพื่อใหงานหรือภาระที่รับผิดชอบอยูบรรลุผลสําเร็จตรงตามเปาหมาย 2) ความซื่อสัตย หมายถึง การประพฤติปฏิบัติตนอยางตรงไปตรงมา ตรงตอความเปนจริง ทั้ง การ วาจา ใจ ตอตนเองและผูอื่น 3) ความมีเหตุผล หมายถึง การรูจักใชสติปญญา ไตรตรอง คิดใครครวญ หรือพิสูจน สิ่งใด สิ่งหนึ่งใหประจักษ โดยไมผูกพันกับอารมณ และความยึดมั่นในความคิดของตนเอง 4) ความกตัญูกตเวที หมายถึง ความรูสึกสํานึกในบุญคุณของบุคคลผูมีอุปการะคุณ หรือสิ่ง อันมีคุณตอมนุษยเรา และแสดงออกถึงความสํานึกในบุญคุณนั้นดวยการตอบแทนคุณ อาจกระทําดวยสิ่งของ หรือการกระทําอยางนอบนอม 5) ความอุตสาหะ หมายถึง ความพยายามอยางยิ่งยวด เพื่อใหบรรลุผลสําเร็จในการงานหรือ กิจกรรมที่ทําดวยขยันขันแข็งกระตือรือรน อดทน ถึงแมจะประสบปญหาหรืออุปสรรคขัดขวางก็ไมยอมแพ และไมยอทอ 6) ความสามัคคี หมายถึง ความพรอมเพียงเปนนําหนึ่งใจเดียวกัน การใหความรวมมือในการ กระทํากิจกรรมอยางใดอยางหนึ่งใหสําเร็จลุลวงดวยดี โดยคํานึงถึงประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชน สวนตัว รวมทั้งมีความรักในหมูคณะของตน 7) ความมีระเบียบวินัย หมายถึง การควบคุมความประพฤติของตนเองใหปฏิบัติไดอยาง ถูกตองและเหมาะสมกับจรรยามารยาททางสังคม กฏ ระเบียบ ขอบังคับ กฏหมายและศลีธรรม การแบงปนแกคนที่ควรใหดวย 8) ความเสียสละ หมายถึง การลดละความเห็นแกตัว ทรัพยสิน กําลังกาย และกําลังปญญาของตนเอง 9) ความประหยัด หมายถึง การใชสิ่งของหรือใชจายอยางระมัดระวังและพอเหมาะพอควร เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด ไมฟุงเฟอ ฟุมเฟอยจนเกิดฐานะของตน


บทที่ 6

จริยธรรมในวิชาชีพ

5

10) ความยุติธรรม หมายถึง การปฏิบัติตนดวยความเที่ยงตรง การพิจารณาเรื่องราวตางๆ จะตองอยูบนพื้นฐานของความเปนจริง ไมมีความลําเอียงหรือเขากับฝายใดฝายหนึ่ง 11) ความเมตตากรุณา หมายถึง ความรักใครปรารถนาจะใหผูอื่นเปนสุข และมีความสงสาร อยากจะชวยใหผูอื่นพนจากความทุข กลาวโดยสรุป จริยธรรมเปนหลักหรือแนวทางของความประพฤติของมนุษยในสังคมใหอยูรวมกัน อยางสงบสุ ข เป นสิ่งจําเป นที่ ทั้ง คุณคาและประโยชน อยางมากมายแกบุคคลทั้งระดับครอบครัวไปจนถึง ระดับประเทศชาติ จริยธรรมประกอบดวยองคประกอบ 3 องคประกอบที่สําคัญคือ ระเบียบวินัย สังคม และ อิสระเสรี การแบงประเภทของจริยธรรมแบงไดแบบกวาง ๆ 2 ประเภท คือ จริยธรรมภายนอก ไดแก จริยธรรมภายใน ไดแก จริยธรรมมีแหลงที่มาจากดตนกําเนิดหลายสาขาดวยกัน คือ ดานปรัชญา ศาสนา วรรณคดี สังคม และการเมืองการปกครอง และจากรากฐานที่กลาวมาจึงคอย ๆ พัฒนามาเปนจริยธรรม

6.2 จริยธรรมในการประกอบอาชีพ 6.2.1 ความหมายที่เกี่ยวของกับจริยธรรมในการประกอบอาชีพ 1) งาน (Work) เปนคําที่มีความหมายกวางขวางมาก ใชกันตั้งแต การปดกวาด ถูบาน ไป จนกระทั่งถึงงานที่ทําในสํานักงาน ที่มีระยะเวลากําหนดไวแนนอน เชน 9.00 น. ถึง 17.00 น. 2) อาชีพ (Occupation) หมายถึงกิจกรรมที่เกี่ยวของกับงานทุกประเภทที่เกี่ยวของกับ องคประกอบทางดนเทคนิค เศรษฐกิจ และสังคม 2) วิชาชีพ (Professional) วิชาชีพนั้นเปนการทํางานอาชีพที่ตองใชทักษะและการฝกในขั้นสูง เทานั้น กิจกรรมที่เรียกวาวิชาชีพจะตองไดรับการพัฒนาและปรับปรุงแกไข เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ 6.2.2 ความสําคัญของจริยธรรมในการประกอบอาชีพ จริยธรรมเปนมาตรฐานความประพฤติของมนุษยจะเกิดขึ้นไดตองอาศัยความสัมพันธระหวาง จรรยา คือความประพฤติ และธรรม คือเครื่องรักษาความประพฤติ การประกอบอาชีพใดๆ ก็ตาม ผู ประกอบอาชีพจะตองคํานึงถึงผลตอสังคมภายนอกเสมอทั้งนี้ก็จะตองไมใชความรูความสามารถในทางที่ผิด หากประกอบอาชีพโดยไรจริยธรรมผลเสียหายจะตกอยูกับสังคมและประเทศชาติ ฉะนั้นจริยธรรมจึงมี บทบาทสําคัญอยางยิ่งที่จะลดปญหาที่อาจจะเกิดขึ้น ความสําคัญของจริยธรรม มีดังนี้ 1) ชวยใหผูประกอบอาชีพแตละสาขาไดใชวิชาชีพในทางที่ถูกตองเหมาะสม และประโยชนตอ สังคมและประเทศชาติ 2) ชวยควบคุมและสงเสริมใหผูประกอบอาชีพทํางานอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีความสํานึก ในหนาที่และความรับผิดชอบในงานของตน


6

มัลติมีเดียเพื่องานประชาสัมพันธ

3) งานสงเสริมและควบคุมการผลิต และการปฏิบัติงานใหมีคุณภาพเปนที่เชื่อถือและไววางใจ ไดในเรื่องของความปลอดภัยและการบริการที่ดี 4) ชวยสงเสริมใหผูประกอบอาชีพไมเอารัดเอาเปรียบผูบริโภค และไมเห็นแกตัว ทั้งนั้น จะตองยึดหลักโดยคํานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดแกผูบริโภคเสมอ 5) ชวยใหวงการธุรกิจของผูประกอบอาชีพมีความซื่อสัตย ยุติธรรม และมีความเอื้อเฟอตอ สังคมสวนรวมมากขึ้น 6.2.3 องคประกอบของจริยธรรมในการประกอบอาชีพ อารเธอร ซอลซ (Arthur Sals) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ใหทัศนะในเรื่ององคประกอบของ งานอาชีพทุกประเภทไววามีองคประกอบหลัก ๆ ดังนี้ (ดํารง ฐานดี. 2536: 3) 1) ตองเปนกิจกรรมที่ใชกําลังกายหรือใชกําลังสมอง หรือใชทั้งกายและกําลังสมองในการ จัดการ เพื่อผลิตอยางมีระบบ 2) ตองเปนกิจกรรมที่ทําแลวไดผลตอบแทนกอใหเกิดเปนรายได เพื่อนมาใชจายในการดํารง ชีพ 3) ตองเปนงานที่ยอมรับของคนในสังคม โดยไมขัดตอขนบธรรมเนียม ประเพณี และ ศีลธรรมอันดีงาม 4) ตองเปนงานที่สุจริตและไมขัดตอกฎหมาย และผูประกอบอาชีพตองมีจริยธรรมในการ ประกอบอาชีพดวย 6.2.4 จริยธรรมที่ควรปฏิบัติสําหรับการประกอบอาชีพ 1) จริยธรรมที่ผูประกอบอาชีพควรประพฤติ หลักในการยึดถือปฏิบัติของผูประกอบอาชีพทั่ง ไปพึงการกระทําเพื่อความเจริญกาวหนาในอาชีพของตน และรวมมือรับผิดชอบในสังคม ควรมีดังนี้ 1.1) ความซื่อสัตยสจุ ริต และมีความรับผิดชอบตอสังคม 1.2) การมีจริยธรรมตอสิ่งแวดลอม 1.3) ความนาเชื่อถือและความปลอดภัยในบริการ 1.4) การมีจรรยาอาชีพและดําเนินกิจการอยางมีคุณภาพ 1.5) การสรางสัมพันธภาพที่ดีตอลูกคา 1.6) การเคารพสิทธิและรักษาผลประโยชนของผูอื่น 1.7) การใชจริยธรรมในการติดตอสื่อสาร 1.8) การสรางสัมพันธภาพกับชุมชน 1.9) การสรางวินัยในการประกอบอาชีพ


บทที่ 6

จริยธรรมในวิชาชีพ

7

1.10) การดําเนินงานอยางถูกตองตามกฎหมาย 1.11) การใหแหลงขอมูลขาวสารอยางถูกตอง 1.12) การประกอบอาชีพดวยความขยันหมั่นเพียร 2) วิธีการสรางจริยธรรมในการประกอบอาชีพ ตองอาศัยการฝกฝนเปนหลัก ปจจุบันนี้โลกเรา กําลังมีปญหาดานศีลธรรม ปญหาการขาดคุณธรรม จริยธรรมในหลาย ๆ อาชีพ ฉะนั้นจะตองมีการพัฒนาสิ่ง ที่มีอยูแลวใหดียิ่งขึ้น และสรางเสริมตอสิ่งที่ยังขาดอยูใหมีขึ้น วิธีการนํามาใชสรางจริยธรรมสามารถทําได ดังนี้ 2.1) การอบรมตามหลักของศาสนา 2.2) การปลูกฝงพฤติกรรมที่พึงประสงค 2.3) การสอนใหรูจักความเมตตาตอผูอื่น 2.4) การสรางคานิยมที่พึงประสงค 2.5) การใชอิทธิพลของกลุมใหเกิดความคลอยตาม 2.6) การใชหลักมนุษยสัมพันธ 2.7) การจัดสิ่งแวดลอมและประสบการณในทางที่ดี 3) การนําจริยธรรมไปใชในงานอาชีพของนักสื่อสารมวลชน ผูประกอบอาชีพจะตองดําเนิน กิจการของตนดวนการนําหลักจริยธรรมนํามาใชควบคูกับหลักในอาชีพของตน และควรปฏิบัติใหสอดคลอง กับแนวปฏิบัติตามหลักวิชาชีพ ดังนี้ 3.1) จริยธรรมของนักสื่อสารมวลชน 3.2) มีความสุจริตตอวิชาชีพ ไมเห็นแกอามิสสินจาง 3.3) เสนอขาวหรือขอมูลตามหลักฐานและความเปนจริง 3.4) ยกยองเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย 3.5) คํานึงถึงประโยชนของสังคมสวนรวมมากกวาของตนเอง 3.6) มีความรับผิดชอบตอขอมูลหรือขาวที่เสนอออไป 3.7) วางตัวเปนกลางไมเปนเครื่องมือของฝายหนึ่งฝายใด

6.3 จริยธรรมคอมพิวเตอร 6.3.1 ความหมายของจริยธรรมคอมพิวเตอร จริยธรรม หมายถึง "หลักศีลธรรมจรรยาที่กําหนดขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติ หรือควบคุม การใชระบบคอมพิวเตอรและสารสนเทศ" แตในทางปฏิบัติแลว การระบุวาการกระทําสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น


8

มัลติมีเดียเพื่องานประชาสัมพันธ

6.3.2 จริยธรรมที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอร เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและสารสนเทศแลว จะกลาวถึง ใน 4 ประเด็น ที่รูจักกันในลักษณะตัวยอวา PAPA ประกอบดวย 1) ความเปนสวนตัว (Information Privacy) ความเปนสวนตัวของขอมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยูตามลําพัง และเปนสิทธิที่เจาของสามารถที่จะควบคุมขอมูลของตนเองในการ เปดเผยใหกับผูอื่น สิทธินี้ใชไดครอบคลุมทั้งปจเจกบุคคล กลุมบุคคล และองคการตางๆ ซึ่งในปจจุบันมี ประเด็นเกี่ยวกับความเปนสวนตัวที่เปนขอหนาสังเกตดังนี้ 1.1) การเขา ไปดู ข อความในจดหมายอิ เล็ก ทรอนิ ก สแ ละการบันทึก ขอมูล ในกเครื่ อ ง คอมพิวเตอร รวมทั้งการบันทึก-แลกเปลี่ยนขอมูลที่บุคคลเขาไปใชบริการเว็บไซตและกลุมขาวสาร 1.2) การใชเทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เชน บริษัทใชคอมพิวเตอรในการตรวจจับหรือเฝาดูการปฏิบัติงาน/การใชบริการของพนักงาน ถึงแมวาจะเปนการ ติดตามการทํางานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใชบริการ แตกิจกรรมหลายอยางของพนักงานก็ถูกเฝาดูดวย พนักงานสูญเสียความเปนสวนตัว ซึ่งการกระทําเชนนี้ถือเปนการผิดจริยธรรม 1.3) การใชขอมูลของลูกคาจากแหลงตางๆ เพื่อผลประโยชนในการขยายตลาด 1.4) การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท ที่อยูอีเมล หมายเลขบัตรเครดิต และขอมูลสวนตัว อื่นๆ เพื่อนําไปสรางฐานขอมูลประวัติลูกคาขึ้นมาใหม แลวนําไปขายใหกับบริษัทอื่น ดังนั้น เพื่อเปนการปองกันการละเมิดสิทธิความเปนสวนตัวของขอมูลและสารสนเทศ จึงควร จะตองระวังการใหขอมูล โดยเฉพาะการใชอินเตอรเน็ตที่มีการใชโปรโมชั่น หรือระบุใหมีการลงทะเบียนกอน เขาใชบริการ เชน ขอมูลบัตรเครดิต และที่อยูอีเมล 2) ความถูกตอง (Information Accuracy) ในการใชคอมพิวเตอรเพื่อการรวบรวม จัดเก็บ และเรียกใชขอมูลนั้น คุณลักษณะที่สําคัญประการหนึ่ง คือ ความนาเชื่อถือไดของขอมูล ทั้งนี้ ขอมูลจะมีความ นาเชื่อถือมากนอยเพียงใดยอมขึ้นอยูกับความถูกตองในการบันทึกขอมูลดวย ประเด็นดานจริยธรรมที่ เกี่ยวของกับความถูกตองของขอมูล โดยทั่วไปจะพิจารณาวาใครจะเปนผูรับผิดชอบตอความถูกตองของขอมูล ที่จัดเก็บและเผยแพร เชน ในกรณีที่องคการใหลูกคาลงทะเบียนดวยตนเอง หรือกรณีของขอมูลที่เผยแพร ผานทางเว็บไซต อีกประเด็นหนึ่ง คือ จะทรายไดอยางไรวาขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นนั้นไมไดเกิดจากความจงใจ และผูใดจะเปนผูรับผิดชอบหากเกิดขอผิดพลาด ดังนั้น ในการจัดทําขอมูลและสารสนเทศใหมีความถูกตอง และนาเชื่อถือนั้น ขอมูลควรไดรับการตรวจสอบความถูกตองกอนที่จะนําเขาฐานขอมูล รวมถึงการปรับปรุง ขอมูลใหมีความทันสมัยอยูเสมอ นอกจากนี้ ควรใหสิทธิแกบุคคลในการเขาไปตรวจสอบความถูกตองของ


บทที่ 6

จริยธรรมในวิชาชีพ

9

3) ความเปนเจาของ (Information Property) สิทธิความเปนเจาของ หมายถึง กรรมสิทธิ์ใน การถือครองทรัพยสิน ซึ่งอาจเปนทรัพยสินทั่วไปที่จับตองได เชน คอมพิวเตอร รถยนต หรืออาจเปน ทรัพยสินทางปญญา (ความคิด) ที่จับตองไมได เชน บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร แตสามารถถายทอด และบันทึกลงในสื่อตางๆ ได เชน สิ่งพิมพ เทป ซีดีรอม เปนตน ในสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มักจะกลาวถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร เมื่อทานซื้อ โปรแกรมคอมพิวเตอรที่มีการจดลิขสิทธิ์ นั่นหมายความวาทานไดจายคาลิขสิทธิ์ในการใชซอฟตแวรนั้น สําหรับทานเองหลังจากที่ทานเปดกลองหรือบรรจุภัณฑแลว หมายถึงวาทานไดยอมรับขอตกลงเกี่ยวกับ ลิขสิทธิ์ในการใชสินคานั้น ซึ่งลิขสิทธิ์ในการใชจะแตกตางกันไปในแตละสินคาและบริษัท บางโปรแกรม คอมพิวเตอรจะอนุญาตใหติดตั้งไดเพียงครั้งเดียว หรือไมอนุญาตใหใชกับคอมพิวเตอรเครื่องอื่นๆ ถึงแมวา คอมพิวเตอรเครื่องนั้นๆ ทานเปนเจาของ และไมมีผูอื่นใชก็ตาม ในขณะที่บางบริษัทอนุญาตใหใชโปรแกรมนั้น ไดหลายๆ เครื่อง ตราบใดที่ทานยังเปนบุคคลที่มีสิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ซื้อมา การคัดลอกโปรแกรมคอมพิวเตอรใหกับเพื่อน เปนการกระทําที่จะตองพิจารณาใหรอบคอบ กอนวาโปรแกรมที่จะทําการคัดลอกนั้น เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ทานมีสิทธในระดับใด ตัวอยางเชน - copyright หรือ software license -> ทานซื้อลิขสิทธิ์มา และมีสิทธิ์ใช - shareware -> ใหทดลองใชไดกอนที่จะตัดสินใจซื้อ - freeware -> ใชงานไดฟรี คัดลอก และเผยแพรใหผูอื่นได 4) การเขาถึงขอมูล (Data Accessibility) ปจจุบันการเขาใชงานโปรแกรม หรือระบบ คอมพิวเตอรมักจะมีการกําหนดสิทธิตามระดับของผูใชงาน ทั้งนี้ เพื่อเปนการปองกันการเขาไปดําเนินการ ตางๆ กับขอมูลของผูใชที่ไมมีสวนเกี่ยวของ และเปนการรักษาความลับของขอมูล ตัวอยางสิทธิในการใชงาน ระบบ เชน การบันทึก การแกไข/ปรับปรุง และการลบ เปนตน ดังนั้น ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรจึงไดมี การออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเขาถึงของผูใช และการเขาถึงขอมูลของผูอื่นโดยไมไดรับความ ยินยอมนั้น ก็ถือเปนการผิดจริยธรรมเชนเดียวกับการละเมิดขอมูลสวนตัว ในการใชงานคอมพิวเตอรและเครือขายรวมกันใหเปนระเบียบ หากผูใชรวมใจกันปฏิบัติตามระเบียบ และขอบังคับของแตละหนวยงานอยางเครงครัดแลว การผิดจริยธรรมตามประเด็นดังที่กลาวมาขางตนก็คงจะ ไมเกิดขึ้น 6.3.3 ขอกําหนดเกี่ยวกับจริยธรรมคอมพิวเตอร 1) จริยธรรมการใชคอมพิวเตอร เมื่อคอมพิวเตอรเขามามีบทบาทตอการดํารงชีวิตประจําวัน ของมนุษยมากยิ่งขึ้น เนื่องจากคอมพิวเตอรมีความสามารในการจัดเก็บขอมูล ประมวลผลสารสนเทศ และ


10

มัลติมีเดียเพื่องานประชาสัมพันธ

2) ทรัพยสินทางปญญา (Intellectual Property) ถือเปนทรัพยสินชนิดหนึ่งนอกเหนือจาก อสังหาริมทรัพย ความสามารถ ประสบการณหรือทักษะ โดยผลิตผลหรือผลงานนั้น อาจจะเปนสิ่งประดิษฐ ผลิตภัณฑ สินคา บริการ หรือกรรมวิธี เปนตน แบงออกเปน 2 ประเภท คือ เรื่องของลิขสิทธิ์ และทรัพยสิน ทางอุตสาหกรรม ซึ่งไดแก สิทธิบัตร (Patent) เครื่องหมายการคา (Trademark) ความลับทางการคา (Trade Secrets) ชื่อทางการคา (Trade Name) แบบผังภูมิทางวงจรรวม (Layout Designs of Integrated) และสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical_Indication) 3) ลิขสิทธิ์ คือ การคุมครองการแสดงออกทางดานความคิด (Expression of Ideas) ซึ่ง เปนการสรางสรรคจากการริเริ่มของตนเอง (Original) โดยไมจําเปนตองมีความใหม (Novelty) งานที่ไดรับ ความคุมครองภายใตกฎหมายลิขสิทธิ์สวนใหญเปนงานประเภทในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม หรืองานภาพยนตร เปนตน และงานดานอื่นๆ ในแผนกวิทยาศาสตร รวมทั้งสิทธิขางเคียงที่เกิดจากการนํางาน ดานลิขสิทธิ์ออกแสดง โปรแกรมคอมพิวเตอรหรือชุดคําสั่งที่ใชกับเครื่องคอมพิวเตอร งานฐานขอมูลที่ รวบรวมเพื่อใชใหเกิดประโยชนดานตางๆ 3.1) ลักษณะการละเมิดลิขสิทธิ์ - ทําซ้ํา/ดัดแปลง - เผยแพรตอสาธารณชน - ใหเชาตนฉบับ หรือสําเนางานดังกลาว - ขาย หรือมีไวเพื่อขาย เสนอขาย ใหเชา ใหเชาซื้อ หรือเสนอใหเชาซื้อ - แจกจายในลักษณะที่อาจกอใหเกิดความเสียหายแกเจาของลิขสิทธิ์ 3.1) โทษของการละเมิดลิขสิทธิ์ เมื่ อมี การละเมิดลิข สิทธิ์เกิดขึ้น ผูละเมิดจะถูก ดําเนินคดีทั้งทางแพงและอาญา ในทางแพง


บทที่ 6

จริยธรรมในวิชาชีพ

ผูถูกละเมิดลิขสิทธิ์ นอกจากการฟองรอง ดําเนินคดี

11

ยังสามารถฟองเรียก

คาเสียหายไดในทางอาญา 1. การละเมิดลิขสิทธิ์ทางตรง คือ การทําซ้ํา ดัดแปลง ผลงานที่มีลิขสิทธิ์ - ถากระทําเพื่อการคา มีโทษจําคุกตั้งแต 6 เดือน ถึง 4 ป หรือปรับ ตั้งแต 100,000-800,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ - ถาไมไดกระทําเพื่อการคา จะเสียคาปรับอยูระหวาง 20,000-200,000 บาท 2. การละเมิดลิขสิทธิ์ทางออม คือ พอคา แมคา รับของที่มีการละเมิดลิขสิทธิ์มา ขายตอจะถูกลงโทษปรับตั้งแต 10,000-100,000 บาท 4) สิทธิบัตร หมายถึง เอกสารสิทธิ์ที่แสดงถึงการจดทะเบียนคุมครองการประดิษฐและการ ออกแบบผลิตภัณฑ ใหความคุมครองสิ่งประดิษฐทางอุตสาหกรรมที่มีความใหมและสามารถประยุกตใช ในทางอุตสาหกรรมได เปนสิทธิพิเศษที่กฎหมายบัญญัติใหเจาของสิทธิบัตรมีสิทธิเด็ดขาด หรือสิทธิแตเพียงผู เดียว ในการแสวงหาประโยชนจากการประดิษฐ หรือการออกแบบผลิตภัณฑที่ไดรับสิทธิบัตรนั้น ขอควรทราบเกี่ยวกับการจดทะเบียนสิทธิบัตร ไมสามารถเผยแพรการประดิษฐคิดคน หรือ ออกแบบผลิตภัณฑกอนการตดสิทธิบัตรเวนแตเปนการแสดงในงานที่หนวยงานราชการไดจัดใหมีขึ้น การจด ทะเบียนสิทธิบัตรในประเทศไทยจะใหความคุมครองเฉพาะในประเทศไทยเทานั้น หากตองการจะไดรับความ คุมครองที่ประเทศใดก็ตองไปยื่นขอจดทะเบียนสิทธิบัตรในประเทศนั้น ๆ 5) อนุสิทธิบัตร หมายถึงเอกสารสิทธิที่แสดงถึงการจดทะเบียนคุมครองการประดิษฐและการ ออกแบบผลิตภัณฑ ใหความคุมครองสิ่งประดิษฐทางอุตสาหกรรมที่มีความใหม และสามารถประยุกตใช ในทางอุตสาหกรรมไดเชนกัน แตตางกับสิทธิบัตรที่เปนการประดิษฐที่มีเทคนิคไมสูงมากนัก อาจจะเปนการ ปรับปรุงเพียงเล็กนอย เงื่อนไขการขอรับอนุสิทธิบัตร เปนการประดิษฐขึ้นใหม ยังไมเคยมีการใช หรือเผยแพร กอนวันที่ยื่นจอ หรือยังไมเคยเปดเผยสาระสําคัญมากอนวันยื่นขอทั้งในประเทศ หรือตางประเทศ สามารถ ประยุกตใชในทางอุตสาหกรรมได 5) กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ดวยความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ICT (Information and communication Technology) ทําใหการดําเนินกิจกรรมตางๆ ทั้งทางดาน อุตสาหกรรมและบริการมีการทําธุรกิจผานทางอิเล็กทรอนิกสกันมากขึ้น การซื้อ-ขายสินคา แลกเปลี่ยนขอมูล ตลอดจนการใหบริการระหวางประชาชนกับองคการหรือระหวางองคการดวยกันเอง มีการดําเนินงานและ ใหบริการแบบไมจํากัดสถานที่และเวลา หรือการใหบริการแบบ 24 x 7 x 365 ดังนั้น เพื่อใหการดําเนินธุรกิจ และการใหบริการมีความคลองตัว นาเชื่อถือ และใชเปนแนวปฏิบัติรวมกัน ประเทศตางๆ จึงไดออกกฎหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศขึ้น สําหรับประเทศไทยก็ไดมีการรางกฎหมายที่เกี่ยวของทั้งสิ้น 6 ฉบับ คือ 6.1) กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (electronic transactions law)


12

มัลติมีเดียเพื่องานประชาสัมพันธ

6.2) กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส (electronic signatures law) 6.3) กฎหมายเกีย่ วกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร (computer crime law) 6.4) กฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส (electronic funds transfer law) 6.5) กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศใหทั่วถึงและเทาเทียมกัน (กฎหมายลําดับรองของรัฐธรรมนูญ มาตรา 78) (National information infrastructure law) ต อ มาได มี ก ารรวมเอากฎหมายธุ ร กรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ละกฎหมายลายมื อ ชื่ อ อิเล็กทรอนิกส เปนฉบับเดียวกันเปนพระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544 ซึ่งมีผลบังคับ ใชเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2545 แตในปจจุบันยังไมไดนํามาใชสมบูรณแบบ เนื่องจากยังไมมีคณะกรรมการ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส สวนกฎหมายอีก 4 ฉบับที่เหลือ ขณะนี้อยูระหวางการดําเนินการ (ขอมูล ณ ตุลาคม 2546) 7) อาชญากรรมคอมพิวเตอร (Computer crime หรือ cyber crime) เปนการกระทําที่ผิด กฎหมายโดยใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ เชน การโจรกรรมขอมูลหรือความลับของบริษัท การบิดเบือน ขอมูล การฉอโกง การฟอกเงิน การถอดรหัสโปรแกรมคอมพิวเตอร รวมถึงการกอกวนโดยกลุมแฮกเกอร (Hacker) เชน ไวรัสคอมพิวเตอร การทําลายขอมูลและอุปกรณ เปนตน โดยทั่วไปเขาใจกันวา แฮกเกอร คือ บุคคลที่ใชความรูความสามารถในทางที่ไมถูกตอง/ผิด กฎหมาย ไดแก การลักลอบเขาไปยังคอมพิวเตอรเครื่องอื่นโดยผานการสื่อสารเครือขายโดยไมไดรับอนุญาต เพื่อเขาไปอาน คัดลอก เปลี่ยนแปลง ลบ หรือทําความเสียหายใหกับขอมูล ซึ่งอาจจะกระทําไปดวยความสนุก ตองการทดลองความสามารถของตนเอง รวมทั้งการอวดความสามารถกับเพื่อนๆ สวนแครกเกอร (Cracker) คือ แฮกเกอรที่ลักลอบเขาไปยังคอมพิวเตอรของผูอื่นเพื่อวัตถุประสงคในเชิงธุรกิจ นอกจากนี้ ยังมีคําวา hacktivist หรือ cyber terrorist ซึ่งไดแก แฮกเกอรที่ใชอินเตอรเน็ตในการสงขอความเพื่อผลประโยชนทาง การเมืองไปยังบุคคลอื่นๆ โดยเฉพาะในชวงสงครามระหวางประเทศสหรัฐอเมริกากับอิรักที่ผานมา จะเห็นวามี การพูดถึง hacktivist กันมากขึ้น คอมพิวเตอรเปนทั้งเครื่องมือและเปาหมายของอาชญากรรมคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรใน ฐานะที่เปนเครื่องมือ เชน ใชในการขโมยเงิน รายชื่อลูกคา ขอมูลสวนตัว หมายเลขบัตรเครดิต และอื่นๆ สวน คอมพิวเตอรในฐานะที่เปนเปาหมายของการกออาชญากรรม เชน แฮกเกอรเขาไปกอกวน ทําลายระบบของ ผูอื่น 8) จรรยาบรรณในการใชงานคอมพิวเตอร ผูใชคอมพิวเตอรจะตองปฏิบัติตามจรรยาบรรณใน การใชคอมพิวเตอร ดังนี้ 8.1) จะตองไมใชคอมพิวเตอรเพื่อกออาชญากรรมหรือละเมิดสิทธิของผูอื่น 8.2) จะตองไมใชคอมพิวเตอรรบกวนผูอื่น


บทที่ 6

จริยธรรมในวิชาชีพ

8.3) 8.4) 8.5) 8.6) 8.7)

13

จะตองไมทําการสอดแนม แกไข หรือเปดดูไฟลเอกสารของผูอื่นกอนไดรับอนุญาต จะตองไมใชคอมพิวเตอรในการโจรกรรมขอมูล ขอมูลขาวสาร จะตองไมใชคอมพิวเตอรสรางหลักฐานเท็จ จะตองไมใชคอมพิวเตอรในการ...คัดลอกโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์ จะตองไมใชคอมพิวเตอรใน..การละเมิดการใชทรัพยากรคอมพิวเตอรโดยที่ตนเอง

ไมมีสิทธิ์ 8.8) จะตองไมใชคอมพิวเตอร.........เพื่อนําเอาผลงานของผูอื่นมาเปนของตนเอง 8.9) จะตองคํานึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคม ที่จะตามมาจากการกระทํานั้น 8.10) จะตองใชคอมพิวเตอร โดยการเคารพกฎ ระเบียบ กติกา และมารยาท 6.3.4 พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ให ประกาศวา โดยที่เปนการสมควรมีกฎหมาย วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร จึงทรงพระ กรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของสภานิติบัญญัติแหงชาติ ดังตอไปนี้ มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ. ๒๕๕๐” มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดสามสิบวันนับแตวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเปนตนไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้ “ระบบคอมพิวเตอร” หมายความวา อุปกรณหรือชุดอุปกรณ ของคอมพิวเตอรที่เชื่อมการทํางานเขาดวยกัน โดยไดมีการกําหนดคําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใด และแนวทาง ปฏิบัติงานใหอุปกรณหรือชุดอุปกรณทําหนาที่ประมวลผลขอมูลโดยอัตโนมัติ “ขอมูลคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูล ขอความ คําสั่ง ชุดคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใดบรรดาที่อยูในระบบคอมพิวเตอรในสภาพที่ระบบ คอมพิวเตอรอาจประมวลผลได และใหหมายความรวมถึงขอมูลอิเล็กทรอนิกสตามกฎหมายวาดวยธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกสดวย “ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูลเกี่ยวกับการติดตอสื่อสารของ ระบบคอมพิวเตอร ซึ่งแสดงถึงแหลงกําเนิด ตนทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วันที่ ปริมาณ ระยะเวลาชนิด ของบริการ หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารของระบบคอมพิวเตอรนั้น “ผูใหบริการ” หมายความวา (๑) ผูใหบริการแกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเทอรเน็ต หรือใหสามารถติดตอถึงกัน โดยประการอื่น โดยผานทางระบบคอมพิวเตอร ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการใหบริการในนามของตนเอง หรือในนาม หรือเพื่อประโยชนของบุคคลอื่น


14

มัลติมีเดียเพื่องานประชาสัมพันธ

(๒) ผู ใ ห บ ริ ก ารเก็ บ รั ก ษาข อ มู ล คอมพิ ว เตอร เ พื่ อ ประโยชน ข องบุ ค คลอื่ น “ผูใชบริการ” หมายความวา ผูใชบริการของผูใหบริการไมวาตองเสียคาใชบริการหรือไมก็ตาม “พนักงาน เจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวง เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อ ไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร มาตรา ๕ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้น มิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือ ทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๖ ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรที่ผูอื่นจัดทําขึ้นเปนการ เฉพาะถานํามาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบ ในประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอื่น ตองระวาง โทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๗ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึงโดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองปหรือปรับไมเกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจํา ทั้งปรับ มาตรา ๘ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อดักรับไวซึ่ง ขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นที่อยูระหวางการสงในระบบคอมพิวเตอร และขอมูลคอมพิวเตอรนั้นมิไดมีไวเพื่อ ประโยชนสาธารณะหรือเพื่อใหบุคคลทั่วไปใชประโยชนไดตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหก หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๙ ผูใดทําใหเสียหาย ทําลาย แกไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติมไมวาทั้งหมดหรือ บางสวน ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรของผูอื่นโดยมิชอบ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสน บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๐ ผูใดกระทําดวยประการใดโดยมิชอบ เพื่อใหการทํางานของระบบคอมพิวเตอร ของผูอื่นถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนจนไมสามารถทํางานตามปกติไดตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๑ ผูใดสงขอมูลคอมพิวเตอรหรือจดหมายอิเล็กทรอนิกสแกบุคคลอื่นโดยปกปด หรือปลอมแปลงแหลงที่มาของการสงขอมูลดังกลาว อันเปนการรบกวนการใชระบบคอมพิวเตอรของบุคคลอื่น โดยปกติสุข ตองระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งแสนบาท มาตรา ๑๒ ถาการกระทําความผิดตามมาตรา ๙ หรือมาตรา ๑๐


บทที่ 6

จริยธรรมในวิชาชีพ

15

(๑) กอใหเกิดความเสียหายแกประชาชน ไมวาความเสียหายนั้นจะเกิดขึ้นในทันที หรือในภายหลัง และไมวาจะเกิดขึ้นพรอมกันหรือไม ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกินสองแสน บาท (๒) เปนการกระทําโดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายตอขอมูลคอมพิวเตอร หรือระบบคอมพิวเตอรที่เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความ มั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือการบริการสาธารณะ หรือเปนการกระทําตอขอมูลคอมพิวเตอรหรือ ระบบคอมพิวเตอรที่มีไวเพื่อประโยชนสาธารณะ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงสิบหาป และปรับตั้งแตหก หมื่นบาทถึงสามแสนบาทถาการกระทําความผิดตาม (๒) เปนเหตุใหผูอื่นถึงแกความตาย ตองระวางโทษจําคุก ตั้งแตสิบปถึงยี่สิบป มาตรา ๑๓ ผูใดจําหนายหรือเผยแพรชุดคําสั่งที่จัดทําขึ้นโดยเฉพาะเพื่อนําไปใชเปนเครื่องมือ ในการกระทําความผิดตามมาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ หรือมาตรา ๑๑ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๑๔ ผูใดกระทําความผิดที่ระบุไวดังตอไปนี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับ ไมเกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (๑) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรปลอมไมวาทั้งหมดหรือ บางสวน หรือขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกผูอื่นหรือประชาชน (๒) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่ นาจะเกิดความเสียหายตอความมั่นคงของประเทศหรือกอใหเกิดความตื่นตระหนกแกประชาชน (๓) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ อันเปนความผิด เกี่ยวกับความมั่นคงแหงราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการกอการรายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามก และขอมูลคอมพิวเตอรนั้นประชาชนทั่วไปอาจเขาถึงได (๕) เผยแพร ห รื อ ส ง ต อ ซึ่ ง ข อ มู ล คอมพิ ว เตอร โ ดยรู อ ยู แ ล ว ว า เป น ขอมูลคอมพิวเตอรตาม (๑)(๒) (๓) หรือ (๔) มาตรา ๑๕ ผูใหบริการผูใดจงใจสนับสนุนหรือยินยอมใหมีการกระทําความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอรที่อยูในความควบคุมของตน ตองระวางโทษเชนเดียวกับผูกระทําความผิดตาม มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๖ ผู ใ ดนํ า เข า สู ร ะบบคอมพิ ว เตอร ที่ ป ระชาชนทั่ ว ไปอาจเข า ถึ ง ได ซึ่ ง ขอมูลคอมพิวเตอรที่ปรากฏเปนภาพของผูอื่น และภาพนั้นเปนภาพที่เกิดจากการสรางขึ้น ตัดตอ เติม หรือ ดัดแปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้ โดยประการที่นาจะทําใหผูอื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือไดรับความอับอาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือ ปรับไมเกินหกหมื่น


16

มัลติมีเดียเพื่องานประชาสัมพันธ

มาตรา ๑๗ ผูใดกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้นอกราชอาณาจักรและ (๑) ผูกระทําความผิดนั้นเปนคนไทย และรัฐบาลแหงประเทศที่ความผิดได เกิดขึ้นหรือผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษ หรือ (๒) ผูกระทําความผิดนั้นเปนคนตางดาว และรัฐบาลไทยหรือคนไทยเปน ผูเสียหายและผูเสียหายไดรองขอใหลงโทษจะตองรับโทษภายในราชอาณาจักร หมวด ๒ พนักงานเจาหนาที่ มาตรา ๑๘ ภายใตบังคับมาตรา ๑๙ เพื่อประโยชนในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มีเหตุ อันควรเชื่อไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้ เฉพาะที่จําเปนเพื่อประโยชนในการใชเปนหลักฐานเกี่ยวกับการกระทําความผิดและหาตัวผูกระทํา ความผิด (๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่เกี่ยวของกับการกระทําความผิดตาม พระราชบัญญัตินี้มาเพื่อใหถอยคํา สงคําชี้แจงเปนหนังสือ หรือสงเอกสาร ขอมูล หรือหลักฐานอื่นใดที่อยูใน รูปแบบที่สามารถเขาใจได (๒) เรียกขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรจากผูใหบริการเกี่ยวกับการติดตอสื่อสาร ผานระบบคอมพิวเตอรหรือจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวของ (๓) สั่งใหผูใหบริการสงมอบขอมูลเกี่ยวกับผูใชบริการที่ตองเก็บตามมาตรา ๒๖ หรือที่อยูในความครอบครองหรือควบคุมของผูใหบริการใหแกพนักงานเจาหนาที่ (๔) ทําสําเนาขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร จากระบบ คอมพิวเตอรที่มีเหตุอันควรเชื่อไดวามีการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในกรณีที่ระบบคอมพิวเตอร นั้นยังมิไดอยูในความครอบครองของพนักงานเจาหนาที่ (๕) สั่งใหบุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมขอมูลคอมพิวเตอร หรืออุปกรณที่ใช เก็บขอมูลคอมพิวเตอร สงมอบขอมูลคอมพิวเตอร หรืออุปกรณดังกลาวใหแกพนักงานเจาหนาที่ (๖) ตรวจสอบหรือเขาถึงระบบคอมพิวเตอร ขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจร ทางคอมพิวเตอรหรืออุปกรณที่ใชเก็บขอมูลคอมพิวเตอรของบุคคลใด อันเปนหลักฐานหรืออาจใชเปน หลักฐานเกี่ยวกับการกระทําความผิด หรือเพื่อสืบสวนหาตัวผูกระทําความผิดและสั่งใหบุคคลนั้นสง ขอมูลคอมพิวเตอรขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร ที่เกี่ยวของเทาที่จําเปนใหดวยก็ได


บทที่ 6

จริยธรรมในวิชาชีพ

17

(๗) ถอดรหัสลับของขอมูลคอมพิวเตอรของบุคคลใด หรือสั่งใหบุคคลที่ เกี่ยวของกับการเขารหัสลับของขอมูลคอมพิวเตอร ทําการถอดรหัสลับ หรือใหความรวมมือกับพนักงาน เจาหนาที่ในการถอดรหัสลับดังกลาว (๘) ยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอรเทาที่จําเปนเฉพาะเพื่อประโยชนในการทราบ รายละเอียดแหงความผิดและผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๙ การใชอํานาจของพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) ใหพนักงานเจาหนาที่ยื่นคํารองตอศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อมีคําสั่งอนุญาตใหพนักงานเจาหนาที่ดําเนินการ ตามคํารอง ทั้งนี้ คํารองตองระบุเหตุอันควรเชื่อไดวาบุคคลใดกระทําหรือกําลังจะกระทําการอยางหนึ่งอยางใด อันเปนความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เหตุที่ตองใชอํานาจ ลักษณะของการกระทําความผิด รายละเอียด เกี่ยวกับอุปกรณที่ใชในการกระทําความผิดและผูกระทําความผิด เทาที่สามารถจะระบุได ประกอบคํารองดวย ในการพิจารณาคํารองใหศาลพิจารณาคํารองดังกลาวโดยเร็วเมื่อศาลมีคําสั่งอนุญาตแลว กอนดําเนินการตาม คําสั่งของศาล ใหพนักงานเจาหนาที่สงสําเนาบันทึกเหตุอันควรเชื่อที่ทําใหตองใชอํานาจตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบใหเจาของหรือผูครอบครองระบบคอมพิวเตอรนั้นไวเปนหลักฐาน แตถาไมมีเจาของ หรือผูครอบครองเครื่องคอมพิวเตอรอยู ณ ที่นั้น ใหพนักงานเจาหนาที่สงมอบสําเนาบันทึกนั้นใหแกเจาของ หรือผูครอบครองดังกลาวในทันทีที่กระทําไดใหพนักงานเจาหนาที่ผูเปนหัวหนาในการดําเนินการตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) สงสําเนาบันทึกรายละเอียดการดําเนินการและเหตุผลแหงการดําเนินการใหศาล ที่มีเ ขตอํ านาจภายในสี่ สิ บแปดชั่ว โมงนับ แต เ วลาลงมือ ดํา เนิ น การ เพื่อ เป นหลั ก ฐานการทํ า สํ า เนา ขอมูลคอมพิวเตอรตามมาตรา ๑๘ (๔) ใหกระทําไดเฉพาะเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อไดวามีการกระทําความผิดตาม พระราชบั ญ ญั ติ นี้ และต อ งไม เ ป น อุ ป สรรคในการดํ า เนิ น กิ จ การของเจ า ของหรื อ ผู ค รอบครอง ขอมูลคอมพิวเตอรนั้นเกินความจําเปน การยึดหรืออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะตองสงมอบสําเนา หนังสือแสดงการยึดหรืออายัดมอบใหเจาของหรือผูครอบครองระบบคอมพิวเตอรนั้นไวเปนหลักฐานแลว พนักงานเจาหนาที่จะสั่งยึดหรืออายัดไวเกินสามสิบวันมิได ในกรณีจําเปนที่ตองยึดหรืออายัดไวนานกวานั้น ให ยื่นคํารองตอศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อขอขยายเวลายึดหรืออายัดได แตศาลจะอนุญาตใหขยายเวลาครั้งเดียวหรือ หลายครั้งรวมกันไดอีกไมเกินหกสิบวัน เมื่อหมดความจําเปนที่จะยึดหรืออายัดหรือครบกําหนดเวลาดังกลาว แลว พนักงานเจาหนาที่ตองสงคืนระบบคอมพิวเตอรที่ยึดหรือถอนการอายัดโดยพลัน หนังสือแสดงการยึด หรืออายัดตามวรรคหาใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๒๐ ในกรณีที่การกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เปนการทําใหแพรหลายซึ่ง ขอมูลคอมพิวเตอร ที่อาจกระทบกระเทือนตอความมั่นคงแหงราชอาณาจักร ตามที่กําหนดไวในภาคสอง ลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แหงประมวลกฎหมายอาญา หรือที่มีลักษณะขัดตอความสงบเรียบรอยหรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจาหนาที่โดยไดรับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยื่นคํารอง พรอมแสดง พยานหลักฐานตอศาลที่มีเขตอํานาจขอใหมีคําสั่งระงับการทําใหแพรหลายซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรนั้นได ในกรณี


18

มัลติมีเดียเพื่องานประชาสัมพันธ

มาตรา ๒๑ ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่พบวา ขอมูลคอมพิวเตอรใดมีชุดคําสั่งไมพึงประสงค รวมอยูดวย พนักงานเจาหนาที่อาจยื่นคํารองตอศาลที่มีเขตอํานาจเพื่อขอใหมีคําสั่งหามจําหนายหรือเผยแพร หรือสั่งใหเจาของหรือผูครอบครองขอมูลคอมพิวเตอรนั้นระงับการใช ทําลายหรือแกไขขอมูลคอมพิวเตอรนั้น ได หรือจะกําหนดเงื่อนไขในการใช มีไวในครอบครอง หรือเผยแพรชุดคําสั่งไมพึงประสงคดังกลาวก็ได ชุดคําสั่งไมพึงประสงคตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคําสั่งที่มีผลทําใหขอมูลคอมพิวเตอร หรือระบบคอมพิวเตอร หรือชุดคําสั่งอื่นเกิดความเสียหาย ถูกทําลาย ถูกแกไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมขัดของ หรือปฏิบัติงานไมตรง ตามคําสั่งที่กําหนดไว หรือโดยประการอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวงทั้งนี้ เวนแตเปนชุดคําสั่งที่มุงหมายใน การปองกันหรือแกไขชุดคําสั่งดังกลาวขางตน ตามที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๒๒ หามมิใหพนักงานเจาหนาที่เปดเผยหรือสงมอบขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจร ทางคอมพิวเตอร หรือขอมูลของผูใชบริการ ที่ไดมาตามมาตรา ๑๘ ใหแกบุคคลใดความในวรรคหนึ่งมิใหใช บังคับกับการกระทําเพื่อประโยชนในการดําเนินคดีกับผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ หรือเพื่อ ประโยชนในการดําเนินคดีกับพนักงานเจาหนาที่เกี่ยวกับการใชอํานาจหนาที่โดยมิชอบ หรือเปนการกระทําตาม คําสั่งหรือที่ไดรับอนุญาตจากศาลพนักงานเจาหนาที่ผูใดฝาฝนวรรคหนึ่งตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือ ปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๒๓ พนั ก งานเจ า หน า ที่ ผู ใ ดกระทํ า โดยประมาทเป น เหตุ ใ ห ผู อื่ น ล ว งรู ข อ มู ล คอมพิวเตอรขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอร หรือขอมูลของผูใชบริการ ที่ไดมาตามมาตรา ๑๘ ตองระวางโทษ จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๒๔ ผูใดลวงรูขอมูลคอมพิวเตอร ขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรหรือขอมูลของ ผูใชบริการ ที่พนักงานเจาหนาที่ไดมาตามมาตรา ๑๘ และเปดเผยขอมูลนั้นตอผูหนึ่งผูใด ตองระวางโทษจําคุก ไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา ๒๕ ขอมูล ขอมูลคอมพิวเตอร หรือขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรที่พนักงานเจาหนาที่ ไดมาตามพระราชบัญญัตินี้ ใหอางและรับฟงเปนพยานหลักฐานตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาหรือกฎหมายอื่นอันวาดวยการสืบพยานได แตตองเปนชนิดที่มิไดเกิดขึ้นจากการจูงใจมี คํามั่นสัญญา ขูเข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอื่น มาตรา ๒๖ ผูใหบริการตองเก็บรักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวไมนอยกวาเกาสิบวันนับ แตวันที่ขอมูลนั้นเขาสูระบบคอมพิวเตอร แตในกรณีจําเปนพนักงานเจาหนาที่จะสั่งใหผูใหบริการผูใดเก็บ รักษาขอมูลจราจรทางคอมพิวเตอรไวเกินเกาสิบวัน แตไมเกินหนึ่งปเปนกรณีพิเศษเฉพาะรายและเฉพาะคราว ก็ได ผูใหบริการจะตองเก็บรักษาขอมูลของผูใชบริการเทาที่จําเปนเพื่อใหสามารถระบุตัวผูใชบริการ นับตั้งแต เริ่มใชบริการและตองเก็บรักษาไวเปนเวลาไมนอยกวาเกาสิบวันนับตั้งแตการใชบริการสิ้นสุดลง ความในวรรค


บทที่ 6

จริยธรรมในวิชาชีพ

19

มาตรา ๒๗ ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของศาลหรือพนักงานเจาหนาที่ที่สั่งตามมาตรา ๑๘ หรือ มาตรา ๒๐ หรือไมปฏิบัติตามคําสั่งของศาลตามมาตรา ๒๑ ตองระวางโทษปรับไมเกินสองแสนบาทและปรับ เปนรายวันอีกไมเกินวันละหาพันบาทจนกวาจะปฏิบัติใหถูกตอง มาตรา ๒๘ การแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูมี ความรูและความชํานาญเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร และมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีกําหนด มาตรา ๒๙ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ใหพนักงานเจาหนาที่เปนพนักงานฝาย ปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามีอํานาจรับคํารองทุกขหรือรับคํา กลาวโทษ และมีอํานาจในการสืบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ในการจับ ควบคุม คน การทําสํานวนสอบสวนและดําเนินคดีผูกระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ บรรดาที่เปนอํานาจของพนักงาน ฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญ หรือพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให พนักงานเจาหนาที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบเพื่อดําเนินการตามอํานาจหนาที่ตอไป ให นายกรัฐมนตรีในฐานะผูกํากับดูแลสํานักงานตํารวจแหงชาติ และรัฐมนตรีมีอํานาจ รวมกันกําหนดระเบียบ เกี่ยวกับแนวทางและวิธีปฏิบัติในการดําเนินการตามวรรคสอง มาตรา ๓๐ ในการปฏิบัติหนาที่ พนักงานเจาหนาที่ตองแสดงบัตรประจําตัวตอบุคคลซึ่ง เกี่ยวของ บัตรประจําตัวของพนักงานเจาหนาที่ใหเปนไปตามแบบที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก สุรยุทธ จุลานนท นายกรัฐมนตรี หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากในปจจุบันระบบ คอมพิวเตอรไดเปนสวนสําคัญ ของการประกอบกิจการ และการดํารงชีวิตของมนุษย หากมีผูกระทําดวย ประการใด ๆ ใหระบบคอมพิวเตอรไมสามารถทํางานตามคําสั่งที่กําหนดไว หรือทําใหการทํางานผิดพลาดไป จากคําสั่งที่กําหนดไว หรือใชวิธีการใด ๆ เขาลวงรูขอมูล แกไข หรือทําลายขอมูลของบุคคลอื่น ในระบบ คอมพิวเตอรโดยมิชอบ หรือใชระบบคอมพิวเตอร เพื่อเผยแพรขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ หรือมีลักษณะ อันลามกอนาจาร ยอมกอใหเกิดความเสียหาย กระทบกระเทือนตอเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของรัฐ รวมทั้งความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกําหนดมาตรการเพื่อปองกันและปราบปรามการ กระทําดังกลาว จึงจําเปนตองตรา

สรุปทายบท


20

มัลติมีเดียเพื่องานประชาสัมพันธ

แบบฝกหัดทายบท


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.