บทที่ 3 SITE LOCATION
ประวัติความเป็นมาจังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานีมีความเป็นถิ่นฐานบ้านเมืองมาแล้วไม่น้อยกว่า 300 ปี นับตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา คือ เมื่อ พ.ศ. 2202 มังนันทมิตรได้กวาดต้อนครอบครัวมอญ เมืองเมาะตะมะ อพยพหนีภัย จากศึกพม่า เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวกรุงเทพทวาราว ดีศรีอยุธยา ซึ่งสมเด็จ พระนายรายณ์ม หาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ครอบครัวมอญเหล่านั้นไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคก ต่อมาในแผ่นดินสมเด็จ พระเจ้าตากสินมหาราชแห่งกรุงธนบุรี ชาวมอญได้อพยพหนีพม่าเข้ามาพึ่งพระ บรมโพธิส มภารอีก เป็ น ครั้ ง ที่ 2 พระองค์ท รงพระกรุณ าโปรดเกล้ าฯ ให้ตั้ ง บ้านเรือนที่บ้านสามโคกอีก และในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ก็ได้มีการอพยพชาวมอญครั้งใหญ่จากเมืองเมาะตะมะเข้าสู่ประเทศไทยเรียกว่า "มอญใหญ่ " พระองค์ ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ช าวมอญบางส่ ว นตั้ ง บ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคกอีกเช่นเดียวกัน จากชุมชนขนาดเล็ก บ้านสามโคกจึง กลายเป็น เมืองสามโคก ในเวลาต่อมา ต่อมาเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2358 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อเมืองสามโคก เป็น เมืองประทุมธานี และเมื่อ พ.ศ. 2461 พระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎ เกล้ าเจ้ าอยู่หัวโปรดเกล้ าฯ ให้ใช้ค าว่ า "จั ง หวั ด " แทน "เมือ ง" และให้ เปลี่ ย นการสะกดชื่อ ใหม่จ าก "ประทุ ม ธานี " เป็ น "ปทุ ม ธานี " กลายเป็ น จั ง หวั ด ปทุ ม ธานี ต่ อ มาเมื่ อ พ.ศ. 2475 ในสมั ย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ยุบจังหวัดธัญบุรีมาขึ้นกับ จังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานีจึงได้แบ่งการปกครองเป็น 7 อาเภอดังเช่น ปัจจุบัน
ลักษณะทางกายภาพ ที่ตั้งโครงการ ตาบลบึงสนั่น อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
ผังเมืองรวมจังหวัดปทุมธานี ที่มา : สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดปทุมธานี
ความเหมาะสมในการเข้าถึงโครงการ
SITE
การวิเคราะห์ที่ตั้งและการเข้าถึงโครงการ ข้อดี - ที่ตั้งโครงการรายล้อมด้วยธรรมชาติอย่างแท้จริง เหมาะแก่การพักผ่อนและเป็น ปัจจัยที่สาคัญต่อการบาบัดทางด้านสภาพแวดล้อม - ไม่มีความแออัดและหนาแน่นของชุมชน โรงงาน หรืออาคารสูง เงียบสงบ เหมาะแก่ การพักผ่อนของผู้ป่วยอย่างแท้จริง
ข้อเสีย - การเข้าถึงโครงการนั้นค่อนข้างลาบาก หากผู้ที่สนใจไม่ได้มีรถยนต์ส่วนตัวและไม่มีจุด สนใจในการเดินทางเข้าถึงโครงการ
ทีตั้งโครงการ (SITE & LOCATION) โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณธัญบุรี
139 หมู่ที่ 4 ถนน รังสิต-นครนายก ตาบล บึงสนั่น อาเภอ ธัญบุรี ปทุมธานี 12110
ที่ดินในบริเวณหมายเลข ๑.๑ ถึงหมายเลข ๑.๒๖ ที่กาหนดไว้เป็นสีชมพู ให้เป็นที่ดินประเภทชุมชน
หลักการเลือกที่ตั้งโครงการ ในการพิจารณาที่ตั้งโครงการทั้ง 3 แห่งจาเป็นที่จะต้องกาหนดที่ตั้งโครงการที่มี ความน่าจะเป็นมากที่สุด ตามหลักเกณฑ์ที่มีความสาคัญมากที่สุดที่ได้กาหนดไว้ในแนวความคิด โครงการ คือ 1. สภาพแวดล้อม (ENVIRONMENT) เป็นสิ่งแรกที่ต้องคานึงถึงในโครงการศูนย์บาบัดภาวะ ซึมเศร้า เนื่องจากโครงการนี้ต้องการอากาศที่บริสุทธิ์ ไม่มีมลภาวะเข้ามารบกวน 2. บริบทโดยรอบ (SURROUNDING) เป็นสิ่งสาคัญของโครงการนี้เช่นกัน ที่ตั้ง โครงการควรมีความสวยงาม ห่างไกลจากชุมชนและไกลจากโรงงานอุตสาหกรรม เนื่องจาก ต้องการความเงียบสงบ 3. มุมมอง (VIEW) เป็นสิ่งสาคัญของโครงการนี้เช่นกัน ต้องการมุมมองที่สบายตา เป็น การพักผ่อนที่ผ่อนคลายทั้งร่างกายและจิตใจ 4. รูปร่างที่ดิน ที่ตั้งโครงการมีด้านหน้าโครงการที่กว้าง ช่วยในการมองเห็นวิวทิวทัศน์ โดยรอบได้มาก 5. การเข้าถึง (ACCESSIBILITY) ทาเลที่ตั้งโครงการควรมีการเข้าถึงได้สะดวก 6. กิจกรรมหรือโครงการที่มาสนับสนุน ที่ตั้งโครงมีการนาสุนัขเข้ามาบาบัดร่วมกับผู้ป่วย และให้ ความสาคัญกับการบาบัดด้านจิตใจของผู้ป่วย
การเข้าถึง
6 1. หออภิบาลคุณภาพชีวิต (ดูแล ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย) 2. ตึกเวชศาสตร์นิวเคลียร์ 3. หอผู้ป่วย OPD - สานักงาน 4. หอพระ 5 หอพยาธิ (สาหรับขนย้าย ผู้เสียชีวิต) 6. หอพักเจ้าหน้าที่
รพ.มหาวชิราลงกรณ
5 ถนนเข้ ารพ. 900 ม.
ถนนทางเข้าโรงพยาบาล เส้นทางเคลื่อนย้ายผู้เสียชีวิต
3 4
2 1 N
สภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการ
4 1
3 3
2 2
3
1
SITE SELECT
B
A
การวิเคราะห์และเกณฑ์การเลือกที่ตั้งโครงการ SITE A
SITE B
112 เมตร 76 เมตร 47 เมตร
44เมตร 112 เมตร พื้นที่ประมาณ 3 ไร่ พื้นที่รวม 5264 ตร.ม
61 เมตร
60เมตร พื้นที่ประมาณ 2.90 ไร่ พื้นที่รวม 4636 ตร.ม
73เมตร
การวิเคราะห์และเกณฑ์การเลือกที่ตั้งโครงการ A
B
ลาดับ
รายการ
น้าหนัก
SITE A P/G
SITE B P/G
1
ลักษณะผู้ใช้งาน
7
4*2
6*4
2
การเชื่อมต่อกับผู้ใช้หลัก
7
3*1
7*4
3
สภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการ
4
4*4
4*4
4
ขนาดพื้นที่
3
3*3
2*3
5
พื้นที่สาหรับสุนัข
4
4*4
2*1
รวม
25
52
76
เกรด A = 4 คะแนน
B = 3 คะแนน
C = 2 คะแนน D = 1 คะแนน
SITE VISIT มุมที่ 1
มุมที่ 2
1 3
2 มุมที่ 3
เส้นทางสัญจรหลักในโครงการ