ศู น ย์ พั ฒ น า แ ล ะ บา บั ด จ ิ ต ใ จ เ พื ่ อ ผู ้ ป่ ว ย โ ร ค ท า ง ก า ย เ รื ้ อ รั ง
ความเป็นมาของโครงการ
ภาวะซึมเศร้า (Depression) หรือที่รู้จักกันว่าโรคซึมเศร้า เป็นภาวะความผิดปกติทางอารมณ์ ที่ผู้ป่วยอาจรู้สึกเศร้า สิ้นหวัง ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ หรือรู้สึกว่าตนด้อยค่า แม้ความรู้สึก และอารมณ์เหล่านี้จะเกิดขึ้นได้กับทุกคนเป็นครั้งคราว แต่อาการของภาวะซึมเศร้านั้นมีความ รุนแรงและยาวนานกว่ามากจนถึงขั้นส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตในด้านต่าง ๆ ของผู้ป่วย โรคซึมเศร้ามีปัจจัยการเกิดที่ค่อนข้างซับซ้อนและหลากหลาย สาเหตุของโรคซึมเศร้าในผู้ป่วย แต่ละรายอาจแตกต่างกันไป ดังนี้ ปัจจัยทางกายภาพ ปัจจัยทางจิตวิทยา ปัจจัยด้า น สิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางพันธุกรรม ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามีอาการและอาการแสดงหลายด้าน ได้แก่ 1. อาการทางอารมณ์ (mood symptoms) ได้แก่อารมณ์เศร้า ความสนใจหรือความ เพลิดเพลินใน สิ่งต่างๆ ลดลง 2. อาการทางกาย (somatic symptoms) ได้แก่อาการอ่อนล้า นอนไม่หลับ ความ อยากอาหารลดลง น้้าหนักลดลงหรือบางรายเพิ่มขึ้นและนอนมากขึ้น ประจ้าเดือนผิดปกติ ปัญหาสมรรถภาพทางเพศ 3. อาการพฤติกรรมการเคลื่อนไหว (psychomotor symptoms) ได้แก่การเคลื่อนไหว ช้าลง (psychomotor slowness) กระสับกระส่าย (psychomotor agitation) 4) อาการทาง ความคิด (cognitive symptoms) ได้แก่ สมาธิลดลง ไม่สามารถตัดสินใจรู้สึกผิดโทษหรือ ต้าหนิ
รูปแบบการมารับการรักษาในสถานพยาบาลพบว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มา รับบริการในสถานพยาบาลปฐมภูมิจะมาด้วยอาการทางกายถึงสองในสามของ ผู้ป่วยทั้งหมดอาการทางกายเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ส้าคัญต่อการเกิดโรคซึมเศร้าความ ทุพพลภาพที่เกี่ยวข้องกับอาการทางกายจ้านวนและความรุนแรงของอาการทาง กายสัมพันธ์กับความรุนแรงของอาการซึมเศร้า สะท้ อนได้อย่างชัดเจนว่ าปั ญหาภาวะซึ มเศร้าไม่ไ ด้จ้า กัดเฉพาะผู้ ป่วยทาง สุขภาพจิตและจิตเวชเท่านั้น แต่เป็นปัญหาในกลุ่มผู้ป่วยทางกายโรคเรื้อรังด้วย บุคลากรในทุกสาขาวิชาชีพจึงควรตระหนักและให้ความส้าคัญกับภาวะซึมเศร้าที่ ผู้ป่วยเผชิญอยู่เพราะภาวะซึมเศร้าอาจเป็นปัจจัยกระตุ้นที่ท้าให้ภาวะโรครุนแรงขึ้นได้
ร่าง กาย จติ ใจ
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพื่อป้องกันและลดความรุนแรงของโรคทางกายเรื้อรังที่สัมพันธ์กับ ภาวะซึมเศร้า 2. เพื่อเป็นทางเลือกให้แก่ผู้ป่วยทางกายเรื้อรังในการบ้าบัดภาวะซึมเศร้า 3. เพื่อสร้างสังคมและความสัมพันธ์ให้กับผู้ป่วยได้แลกเปลี่ยนความ คิดเห็นระหว่างผู้ป่วยด้วยกัน 4. เพื่อเปลี่ยนทัศนคติในด้านบวกต่อสถานที่บ้าบัดและลดทัศนคติด้านลบ ที่ส่งผลต่อร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย
โรงพยาบาลมหาวชิราลงกรณ ธัญบุรี ศูนย์พัฒนาและบ้าบัดจิตใจเพื่อผู้ป่วยโรค ทางกายเรื้อรัง ผู้อ้านวยการ
รองผู้อ้านวยการ เลขานุการ ฝ่ายผู้ป่วยใน - ผู้ป่วยนอก
ฝ่ายสุขภาพ
ฝ่ายบริการ
ฝ่ายงานทะเบียน
แผนกแพทย์และพยาบาล
แผนกแพทย์และพยาบาล
แผนกรักษาความปลอดภัย
ฝ่ายประชาสัมพันธ์
แผนกผู้เชี่ยวชาญ
แผนกผู้เชียวชาญ
แผนกท้าความสะอาด
ฝ่ายการเงิน
แผนกจิตเวช
ฝ่ายนักกิจกรรมบ้าบัด
แผนกซ่อมบ้ารุง
ฝ่ายบริหารทั่วไป