THESIS URBAN DESIGN MINBURI COMMUNITY CENTER

Page 1

URBAN DEVELOPMENT PROJECT OG MINBURI COMMUNITY CENTER FOR MASS TRANSIT DEVELOPMENT AROUND MINBURI STATION โครงการพัฒนาศูนย์กลางชุมชนเมืองมีนบุรี เพื่อรองรับการพัฒนารถไฟบริเวณสถานีมีนบุรี

นายณัฐพงษ์ กุลสุวรรณ 59011112075 อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ เพชรลัดดา เพ็ชรภักดี


VISION

“MINBURI HEALTHY CITY” เพื่อเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ การค้าขายและ แหล่งงานให้กบั พืน้ ทีช่ มุ ชนเมืองมีนบุรี

มีนบุรี ชุมชนเมืองแห่งสุขภาวะ

เพื่อเป็นศูนย์กลางของการเดินทางที่หลากหลาย และกระจายการเดินทางขนส่ง Feeder

GOAL พัฒนาที่อยู่อาศัยและพาณิชยกรรมแบบ Multi – Use ให้กับชุมชนเมืองมีนบุรีและพัฒนาชุมชนเมืองมีนบุรีเป็น Transportation Hub พร้อมทั้งสร้างคุณภาพชีวิตให้กับผู้คน ใช้ชีวิตในพื้นที่เมืองได้อย่างปลอดภัยและเท่า เทียม

ส่งเสริมทีอ่ ยู่อาศัยให้มสี ภาพแวดล้อมทีด่ ี เพิ่ม พื้นที่สีเขียวและพืน้ ที่นนั ทนาการให้กบั ชุมชน


Location มีนบุรี เป็น 1 ในเขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร เป็นชุมชนชาญเมืองฝัง่ ตะวันออก ที่มีความเป็นเป็นแหล่ง ที่อยู่อาศัยทีส่ าคัญและเป็นแหล่งรวมการค้าให้กบั กรุงเทพมหานครฝัง่ ตะวันออก

Administrative : 2 แขวง : แขวงมีนบุรี แขวงแสนแสบ 7 ตาบล 107 หมู่บ้าน พื้นที่รวมทัง้ หมด 63.64 ตารางกิโลเมตร


MINBURI SUB CBD


History Of MINBURI

2445

2475

Present

เมื่อปี พ.ศ.2445 พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯให้รวมท้องที่ อาเภอคลองสามวา อาเภอแสนแสบ อาเภอเจียรดับและอาเภอหนองจอก รวมเป็น 4 อาเภอตั้งเป็นเมืองขนา นามว่า ‘เมืองมีนบุรี”

วันที่1 กันยายน ต่อมาในระหว่างปี พ.ศ. 2474 เนื่องจากในสมัยรัชกาลที่ 7 ประสบกับภาวะเศรษฐกิจตกต่า จึงมีพระ ราชดาหริยุบส่วนราชการบางส่วน โดย ยุบจังหวัดมีนบุรีมารวมเข้ากับจังหวัดพระ นคร ขึ้นต่อมณฑลกรุงเทพ เว้นไว้แต่ อาเภอหนองจอก ให้ยกไปขึ้นกับจังหวัด ฉะเชิงเทรา

จากอดีตอันยาวนาน จากเรือกสวนไร่นา บ่อ ปลา สู่ความเป็นเมือง ปัจจุบันย่านมีนบุรี ค่อย ๆ เปลี่ยนไป พื้นที่การเกษตรลดลง ถูก แทนที่ด้วยที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน จัดสรร อาคารพาณิชย์ สถานที่ ประกอบการทัง้ เล็กและขนาดใหญ่ นิคม อุตสาหกรรม โดยมีศูนย์กลางของการ ค้าขายอยู่ที่ตลาดมีนบุรี

King Rama I

King Rama I

King Rama III

เมื่อมีการขุดคลองแสนแสบแล้ว ชาวสยามอาจเปลี่ยนมาประกอบ อาชีพรับจ้างหรือให้บริการ เนื่องจากเริ่มมีผู้คนอยู่อาศัยมากขึ้น มีการสัญจรและค้าขายทางน้าอย่าง คึกคักและเมื่อมีโครงการขุดคลอง รังสิต

“ชาวจีน” หรือ “ชาวไทยเชื้อสายจีน ” นั้น ชุดแรกน่าจะเป็น ผู้ที่รับจ้างขุดคลองและ ลงหลักปักฐาน จับจองที่ดินทามาค้าขาย ตามชุมชนต่าง ๆ ตามแนวคลอง มีอพยพ ตามกันมาอีกเป็นระยะ โดยอาชีพหลักของ ชาวจีน คือ รับจ้างและค้าขาย อันเป็นไป ตามแนวทางที่นิยมกระทากันในอดีต

ในรั ช กาลที่ 3 ชาวมุ ส ลิ มหั ว เมื อ งมลายู ถู ก นามาไว้ตลอดแนวคลองแสนแสบ มีการตั้ง ถิ่ น ฐานและตั้ ง ชุ ม ชน มี ก ารสร้ า งมั ส ยิ ด สุ ส าน ก่ อ งตั้ ง เรี ย งรายตามคลองซอยที่ แยกออกจากคลองแสนแสบ

? เมื่อมีการพัฒนาของรถไฟฟ้าเข้ามาชุมชน เมืองมีนบุรีจะมีการพัฒนาและการ เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใด


Urban change

Core Issues เนื่องจากชุมชนเมืองมีนบุรีเป็น ศูนย์กลางเศรษฐกิจมีความเป็นพื้นที่แหล่งที่อยู่ อาศัยและพาณิชยกรรม มีศูนย์กลางเศรษฐกิจ ที่ตลาดมีนบุรี สถานีมีนบุรีสายสีชมพูและสาย สีส้มที่กาลังจะเกิดขึ้นในอนาคต ทาให้พื้นที่ ชุมชนเมืองมีนบุรี ได้มีความเจริญและมีการใช้ ประโยชน์ที่ดินที่หลากหลายยิ่งขึ้น หนาแน่น ยิ่งขึ้นอีกทั้งทาให้ราคาที่ดินที่สูงขึ้น เกิดการ เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชน เปลี่ยนแปลง สภาพภูมิทัศน์และเพิ่มศักยภาพในการพัฒนา เศรษฐกิจภายในชุมชนเพิ่มขึ้น

Increase in Population

Harmonious Symbiosis

Transportation System


Soive The Problem โครงการพัฒนาศูนย์กลางชุมชนเมืองมีนบุรี เพื่อรองรับการพัฒนาบริเวณรถไฟสถานีมีนบุรี ความเป็นมา กรุงเทพมหานคร ได้พัฒนาการคมนาคมระบบราง เพื่อเชื่อม ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษนาทาให้ ย่านที่อยู่อาศัยและพาณิชยกรรม ได้มีการพัฒนาเพิ่มสูงขึ้น เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจ การ ท่องเที่ยว ให้กับย่านมีนบุรี

วัตถุประสงค์

เพื่อพัฒนาย่านที่อยู่อาศัยและพาณิชยกรรม ที่หลากหลายการใช้งาน (Multi-use) รองรับการพัฒนาของย่านให้เป็นศูนย์ กลางเศรษฐกิจ ตามรถไฟฟ้า และสถานีรถไฟฟ้าที่กาลังจะสร้างเสร็จ รองรับนักท่องเที่ยวและเชื่อมต่อเศรษฐกิจ ตะวันออกเข้าศูนย์กลางเมือง

เป้าหมาย 1.ศูนย์กลางเศรษฐกิจที่มีความหลากหลายของ กิจกรรม 2. Transportation hub ให้กับกรุงเทพฯ เชื่อมไป ยังภาคตะวันออก 3. ศูนย์กลางแหล่งที่อยู่อาศัยที่มีคุณภาพที่ดี

วิเคราะห์พนื้ ที่ศกึ ษา

แนวคิดและทฤษฎี Transit-Oriented Development (TOD) แนวคิดการออกแบบเมืองสมัยใหม่ (New Urbanism) แนวคิดการพัฒนาเมืองสุขภาวะ (healthy city) แนวคิดการพัฒนาเมืองกระชับ (compact city)

เก็บข้อมูล

ข้อมูลปฐมภูมิ - Visual survey - การสุ่มสอบภาม


แผนพัฒนา กรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี

แผนพัฒนาระดับ ภาคกลางและพื้นที่ กรุงเทพมหานคร

แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉลับ 12

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

Policy ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพคน

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้าน ความสามารถในการ แข่งขัน

การพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรม

การสร้างความ เข้มแข็งทางเศรษฐกิจ และแข่งขันได้อย่าง ยั่งยืน

ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนากรุงเทพมหานคร เป็น นครทันสมัยระดับโลกควบคู่กับการพัฒนา คุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเมือง

มหานครปลอดภัย

ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้าน การสร้างโอกาส ความเสมอภาค

การพัฒนาภาคเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ

ยุทธศาสตร์ที่ 6 ปรับสมดุลและพัฒนา ระบบการบริหารจัดการ

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

การสร้างความเป็น ธรรมและลดความ เหลื่อมล้​้าในสังคม

ยุทธศาสตร์ที่ 5 เปิดประตูการค้า การลง และการท่องเที่ยว เชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจ พิเศษทวาย-ภาคกลาง-เขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก

มหานครสีเขียว สะดวกสบาย

การเสริมสร้างและ พัฒนาศักยภาพทุน มนุษย์

ความร่วมระหว่าง ประเทศเพื่อการ พัฒนา

ยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาความเชื่อมโยง เศรษฐกิจและสังคมกับทุกภาคเพื่อเสริม สรงเสถียรภาพและลดความเหลื่อมล้​้าา ภายในประเทศ

มหานครส้าหรับทุกคน


INVENTORY ACCESSILIBITY

TRANSPORTATION

PUBLIC SPACE

LAND USE

FLOOD 2554

BUILDING DENSITY


URBAN SPAWL 2558


การออกแบบชุมชนเมือง ที่จะสนองตอบกับแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่ จริงจัง เน้นการสร้างความกระชับ ลดการกระจายตัวโดยใช้การพัฒนา ในทางสูงบริเวณใจกลางเมืองเพื่อประหยัดการใช้ที่ดินและเพิ่มคุณค่า การ ใช้ที่ดินให้ได้ประโยชน์สูงสุด

คือการวางแผนและออกแบบชุมชนที่ให้ความสาคัญกับ ส่วนรวม(Public) อยู่เหนือความเป็นส่วนตัว (private) คานึงถึงการใช้ประโยชน์ที่ดินและความหนาแน่นที่สัมพันธ์กับ เส้นทางคมนาคม ระบบทางเดินเท้า ทางเดินจักรยาน และ การให้ความสาคัญกับพื้นที่สาธารณะ

ลดการเดินทางติดต่อและการใช้รถยนต์ส่วนตัว แนวคิดการออกแบบ เมืองสมัยใหม่ (New Urbanism)

ส่งเสริมการใช้พื้นที่อย่างผสมผสานและสร้างความหลากหลายมีชีวิตชีวา

แนวคิดการพัฒนาเมือง กระชับ (compact city)

แนวคิดการพัฒนาเมืองสุขภาวะ (healthy city)

THEORY

แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ รอบสถานีขนส่งมวลชน ( TOD ) แนวคิด TODมุ่งสร้างกิจกรรมหลากหลายในพื้นที่โดยรอบสถานีขนส่ง มวลชน โดยมีที่พักอาศัย อาคารพาณิชย์ สานักงาน และการใช้ประโยชน์ ประเภทอื่น ๆ พร้อมกับออกแบบเพื่อรองรับผู้ใช้ระบบขนส่งมวลชนเป็น หลัก

หมายถึง เมืองที่เอื้ออานวยต่อการสร้างภาวะแห่งการมีความสุขให้กับประชากรเมืองทั้งด้าน สุขภาพกายและสุขภาพจิต ประชากรเมืองมีร่างกายที่แข็งแรง และมีความสุขทางจิตใจ ภายใต้ บริบทของความเป็นอยู่แบบเมือง เนื่องจากเมืองมีวิถีชีวิตที่รีบเร่งและเผชิญกับความเครียดสูง ต้องแย่งชิงทรัพยากรต่าง ๆ มีกฎระเบียบที่เคร่งครัด เพื่อความสงบสุขและความเป็นธรรมในสังคมมีความเป็นอยู่อย่างแออัด


SWOT ANALYSIS จุดอ่อน (Weaknesses)

จุดแข็ง (Strengths)

1. การจราจรที่หนาแน่นและการจราจรภายในพื้นที่ติดขัดและมีปัญหา 2. ระบบการจัดการน้าเสียและขยะมูลฝอยที่ไม่เหมาะสม 3. โครงข่ายการสัญจรมีปริมาณที่สูงขึ้น ทาให้เกิดการจราจรติดขัด

1. เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยและพาณิชยกรรมให้กับกรุงเทพมหานครฝั่งตะวันออก 2. มีรถไฟฟ้าสายสีส้มและรถไฟฟ้าสายสีชมพู อยู่ในพื้นที่ทาให้มีนบุรีสามารถ เชื่อมต่อกับย่านอื่น ๆ ในกรุงเทพมหานคร 3. ชุมชนมีนบุรีมีบทบาทของพื้นที่ ที่ชัดเจนในการเป็นจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทาง

โอกาส (Opportunities)

อุปสรรค (Threats)

1. มีโอกาสในการพัฒนาได้อย่างรวดเร็วตามการพัฒนาของ รถไฟฟ้า 2. โอกาสในการพัฒนาพื้นที่เพื่อการอยู่อาศัย พาณิชยกรรม และการเชื่อมต่อการเดินทางทุกรูปแบบ 3. เพื่อรองรับการขยายตัวของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ด้านที่อยู่อาศัยและแหล่งงาน

1. พื้นที่โครงการ มีพื้นที่ว่างเปล่าที่ยังไม่ได้นามาใช้ประโยชน์เป็น จานวนมาก แต่ไม่สามารถพัฒนาได้เต็มประสิทธิภาพ 2. ระบบโครงข่ายทางราง ที่ยังไม่มีการบูรณาการเชื่อมต่อการสัญจร ระบบขนส่งสาธารณะในพื้นที่โครงการ

สรุป สามารถพัฒนาพื้นที่โครงการ ให้มีศักยภาพสูงสุดในการพัฒนาให้เป็น ศูนย์กลางพาณิชยกรรม เป็นแหล่งเศรษฐกิจและเป็นจุดเชื่อมต่อที่ สาคัญให้กับกรุงเทพมหานครฝั่งตะวันออกในอนาคตได้


HEALTHY CITY MISSION

HEALTHY CITY MOBILITY

การเชือ่ มต่อและระบบขนส่งสาธารณะ

สร้างอนาคตที่สามารถเข้าถึงได้กับทุก คนและการเชื่อมต่อกันของระบบขนส่ง ทุกรูปแบบอย่างทั่วถึง

HEALTHY CITY ENVIRONMENT

เมืองที่พัฒนาภายใต้การคานึงถึง ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม การจัดการ การพัฒนาของเมือง พื้นที่ สาธารณะคานึงถึงการแก้ปัญหาและ การจัดการกับสิ่งแวดล้อม

HEALTHY CITY QUALITY OF LIVING

การใช้ชีวติ ของคนในชุมชนที่มี มาตราฐาน

สร้างคุณภาพชีวิตให้กับคนในชุมชน เมือง ทั้งการเข้าถึงแหล่งงาน การค้า และการบริการ

HEALTHY CITY ECONOMIC

การพัฒนาและการเพิ่มของแหล่งงาน สร้างพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ให้เกิดความ หลากหลาย พร้อมเป็นย่านพาณิชยกรรม แห่งนวัตกรรมที่เป็นสุขภาวะกับคนใน ชุมชน


MINBURI STRATEGY HEALTHY CITY MOBILITY

CITY MOBILITY

HEALTHY CITY ENVIRONMENT

HEALTHY CITY QUALITY OF LIVING

MINBURI COMMUNITY NEW LIFE

HEALTHY CITY ECONOMIC

INNOVATIVE DISTRICT


CONCEPTUAL DIAGRAM Quality of life

New Urbanism OLD COMMERCIAL DISTRIC

EQUALITY

รถไฟฟ้าสายสีชมพู

CBD

Transportation hub

กรุงเทพมหานคร SAFETY

Pollution

NEW COMMERCIAL DISTRIC

OLD COMMUNITY

TOD compact city

OPEN SPACE

Healthy City ระบบขนส่งสาธารณะภายในเมืองแบบครบวงจร การเชื่อมต่อและการเข้าถึงพื้นที่ได้ ทั้ง รถ เรือ ราง ทางเดินเท้าและทางจักรยาน

อุตสาหกรรม ฉะเชิงเทรา

Pollution


OVER ALL FRAME WORK MINBURI COMMUNITY NEW LIFE

สร้างคุณภาพชีวิตให้กับคนในชุมชนเมือง ทั้งการเข้าถึงแหล่งงาน การค้า และการ บริการ

สร้างพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ให้เกิดความ หลากหลาย พร้อมเป็นย่านพาณิชยก รรมแห่งนวัตกรรมที่เป็นสุขภาวะกับ คนในชุมชน

OLD COMMERCIAL

OLD COMMUNITY

NEW COMMERCIAL RESIDENTAIL CITY MOBILITY

สร้างอนาคตที่สามารถเข้าถึงได้กับ ทุกคนและการเชื่อมต่อกันของระบบ ขนส่งทุกรูปแบบอย่างทั่วถึง

INNOVATIVE DISTRICT


MASTER PLAN SCALE 1:3000

MOBILITY CITY

OLD COMMUNITY NEW LIFE

INNOVATIVE DISTRICT


CONCEPTUAL PLAN

CITY MOBILITY

Legend

ISSUES ปัญหาของการเชื่อมต่อกันของระบบ ขนส่งสาธารณะขนาดเล็กภายในเมือง ที่ยัง ไม่เอื้อหรือเชื่อมกับระบบขนส่งสาธารณะ ระบบราง

MASS TRANSPORTATION

STRATEGY

WALKABILITY

ACCESSABILITY


EXISTING SECTION ROAD SECTION SUWINTHAWONG ROAD 12.00

2.50

2.50

12.00

SECTION SIHABURANUKIT ROAD 9.00

1.50

2.00

9.00

1.50

SECTION RAMKHAMHAENG ROAD 3.50

15.00

15.00

SECTION ALLEY WAY

6.00

3.50


DETAIL PLAN

การปรับปรุงพืน้ ที่การเชือ่ มต่อรอบสถานีตลาดมีนบุรี

Key plan

WALKABLE

STRATEGY

แก้ความแออัดรอบสถานีรถไฟฟ้ า

ปรับปรุ งเป็ นจุดเปลี่ยนถ่าย


SECTION SIHABURANUKIT ROAD

FREE ZONE

PREDESTRIAN ZONE

PREDESTRIAN ZONE

PREDESTRIAN ZONE

PREDESTRIAN ZONE

FREE ZONE


DETAIL PLAN

การออกแบบและปรับปรุงสถานีขนส่งสาธารณะประจาทาง (ขสมก)

Key plan

จุดเปลี่ยนถ่าย

STRATEGY

การเชื่อมต่อ

ระบบขนส่งสาธารณะภายในเมือง


ISOMATRICT DETAIL TERMINAL MINBURI Solar Roof Top ปรับปรุงอาคารให้การใช้พลังงานจาก ธรรมชาติเพิ่มขึ้น ทั้งพลังงาน แสงอาทิตย์และการระบายอากาศจาก พลังงานลม

PUBLICTRANSIT 17 เส้นทาง เฉลี่ย 819 คัน 19 สาย ทั่ว กรุงเทพมหานคร เฉลี่ย 143 คัน

เชื่อมต่อ 3 ท่าเรือ

เป็นพื้นที่จุดเปลี่ยนถ่ายของขนส่ง สาธารณะของเมืองและการขนส่ง สาธารณะถายในเมืองที่สามารถ เชื่อมต่อกับพื้นที่ ทุกพื้นที่ได้

GREEN WAY

WATER MANEGEMENT การเดินทางเท้า เส้นทางจักรยาน ริมคลอง พื้นที่ว่างสาธารณะ

การจัดการน้าจากธรรมชาติลงสู่คลอง


SOLA ROOF TOP เพือ่ ให้ตัวสถานีกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์เพือ่ มาใช้ เป็ นพลังงานทดแทนตามจุดต่างๆภายในสถานี

VENTILATION เพือ่ ให้อากาศถ่ายเท และให้พนื้ ที่ใน สถานีโปร่งและโล่งระบายอากาศได้ดี

PERSPECTIVE


SOLA MANEGEMENT ใช้วัสดุทกี่ ันความร้อนแต่ยังคงให้แสงสว่างลงมาสู่พนื้ ที่ใต้หลังคา

RIAN GARDEN ให้พนื้ ทีม่ ีการรองรับนา้ ฝนทีใ่ ห้นา้ สามารถซึมป่ านได้และระบายลงสู่การ ระบายนา้ เสีย

RIAN GARDEN ให้พนื้ ทีม่ ีการรองรับนา้ ฝนทีใ่ ห้นา้ สามารถซึมป่ านได้และระบายลงสู่การ ระบายนา้ เสีย VENTILATION ให้พนื้ ทีม่ ีการระบายอากาศทั้งด้านหน้าและการระบายอากาศภายในอาคาร เพือ่ ช่วยให้อากาศมีการหมุนเวียนจากด้านนอกเข้าสู่ภายในอาคาร

ท่าเรือ เพือ่ เชื่อมต่อการสัญจรทางนา้ สู่ย่านและพืน้ ทีต่ ่างๆภายในเมือง

PERSPECTIVE


CONCEPTUAL PLAN OLD COMMUNITY NEW LIFE

ISSUES ย่านพาณิชยกรรมเดิม ที่พื้นที่ส่วน ใหญ่ยังคงดาเนินกิจกรรมการค้าและการ ใช้วิถีชีวิตแบบเดิม ทาให้ย่านชุมชนเมืองมีน บุรีขาดชีวิตชีวาในการทากิจกรรมที่ หลากหลาย

RE-FUNCTION

STRATEGY

RE-IMAGE

RE-LIVING


OLD COMMUNITY USER

จันทร์ - ศุกร์

เสาร์ - อาทิตย์



DETAIL PLAN

การออกแบบทีอ่ ยู่อาศัยบริเวณย่านพาณิชยกรรมเดิม เพื่อรองรับการพัฒนาของสถานีตลาดมีนบุรี

Key plan

ปรับปรุ งอาคารทีไ่ ม่มกี ารใช้งาน

STRATEGY

่ กั อาศัย เพิม่ ทีพ

เส้นทางเชื่อมต่อของย่าน


DESIGN CONCEPT ปรับปรุงอาคาร

พ.5–2

สามารถสร้างที่อยู่อาศัยประเภทอาคารพื้นที่ไม่ เกิน 10,000 ตร.ม สามารถโรงแรมสร้างโรงแรมได้ เกิน 80 ห้อง

MATERIAL

ปรับปรุงอาคารที่ไม่มีการใช้งานและ อยู่ในพื้นที่ ที่มีแนวโน้มในการพัฒนา เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยตามแนวทางการ พัฒนาของรถไฟฟ้า

พัฒนาทีพ่ กั อาศัย

WATER AND ENERGY MANEGEMENT

เพิ่มพื้นที่อยู่อาศัย เพื่อนรองรับกลุม่ ผู้ใช้งานที่เข้ามาเพิ่มในย่านพาณิชยก รรมเดินของย่าน

Key plan

GREEN COMMUNITY Green Building Green Roof

ISOMATRICT DEATAIL

การใช้พลังงานที่เป็นพลังงานจากธรรมชาติ การใช้แสงสว่างจากแสงอาทิตย์ในตอนเช้า

Green Corridor

การระบายสู่คลอง พื้นที่น้าสามารถซึมผ่าน แสงสว่างจากธรรมชาติ การเก็บพลังงานจากแสงอาทิตย์ การระบายน้าลงสู้ท่อระบายน้าเสียของชุมชน

CLIMATE

Optimal building orientation วางแนวอาคารที่เป็นที่อยู่อาศัยให้มี ความเหมาะสมและโดนความร้อนจาก แสงอาทิตย์น้อยที่สุด


SECTION PERSPECTIVE


ROOF TOP GARDENS ่ ักผ่อน เพิม่ พืน้ ทีส่ ีเขียวบนอาคารเพือ่ เป็ นพืน้ ทีพ ให้กับผู้ใช้งานภายในอาคาร

ROOF TOP GARDENS ่ ักผ่อน เพิม่ พืน้ ทีส่ ีเขียวบนอาคารเพือ่ เป็ นพืน้ ทีพ ให้กับผู้ใช้งานภายในอาคาร

BUS STOP

RIAN GARDEN ให้พนื้ ทีม่ ีการรองรับนา้ ฝนทีใ่ ห้นา้ สามารถซึมป่ าน ได้และระบายลงสู่การระบายนา้ เสีย

PERSPECTIVE


DETAIL PLAN โครงปรับปรุงพืน้ ที่ตลาดนัดจตุจกั ร 2

Key plan

ปรับเปลี่ยนกิจกรรม

STRATEGY

ปรับปรุ งพืน้ ทีด่ ้านหน้า

จัดการพลังงาน


Solar Roof Top ปรับปรุงอาคารให้การใช้พลังงานจาก ธรรมชาติเพิ่มขึ้น ทั้งพลังงาน แสงอาทิตย์และการระบายอากาศจาก พลังงานลม

WATER MANEGEMENT Waste water drainage

DESIGN CONCEPT

วางระบบการระบายน้าเสียของตลาดจตุจักร2 ลงสู่การระบายน้าหลักของเมือง

WALKABILITY สามารถเดินทางเท้าจากพื้นที่ตลาดจตุจักร 2 เชื่อม ไปยังย่านต่างๆ ได้ภายใน 10 นาที โดยเชื่อมกับ ระบบขนส่งสาธารณะของเมือง

สาย/เส้นทาง 200 150 100 50 0 รถโดยสารประจาทาง (ขสมก)

รถตู้

วินมอเตอร์ไซค์

สาย/เส้นทาง

Key plan

PUBLICTRANSIT

ISOMATRICT DETAIL

พื้นที่ ด้านหน้าทาให้เป็นพื้นที่ ที่การสับเปลี่ยนของกิจกรรม พร้อมทั้งเป็นพื้นที่จุดเปลี่ยนถ่ายของการขนส่งสาธารณะสู่ เมือง


Solar Roof Top ปรับปรุงอาคารให้การใช้พลังงานจากธรรมชาติเพิ่มขึ้น ทั้งพลังงานแสงอาทิตย์และการระบายอากาศจาก พลังงานลม

WALKABILITY สามารถเดินทางเท้าจากพื้นที่ตลาดจตุจักร 2 เชื่อมไปยังย่านต่างๆ ได้ภายใน 10 นาที โดยเชื่อมกับระบบขนส่งสาธารณะของเมือง

PUBLIC TRANSIT พื้นที่ ด้านหน้าทาให้เป็นพื้นที่ ที่การสับเปลี่ยนของกิจกรรมพร้อม ทั้งเป็นพื้นที่จุดเปลี่ยนถ่ายของการขนส่งสาธารณะสู่เมือง

PERSPECTIVE


MARKET

ย้ายกิจกรรมทีเ่ ป็ นตลาดนัดด้านหน้าของตลาดจตุจักร ไปไว้ด้านเพือ่ เปิ ดพืน้ ทีด่ ้านหน้าของตลาดจตุจักร2 ให้เป็ น พืน้ ทีร่ องรับผู้คนเพือ่ เปลี่ยนถ่ายการสัญจรและเพือ่ พืน้ ที่ รองรับผู้คน VENTILATION ให้พนื้ ทีม่ ีการระบายอากาศทั้งด้านหน้าและการระบายอากาศ ภายในอาคาร เพือ่ ช่วยให้อากาศมีการหมุนเวียนจากด้านนอกเข้าสู่ภายใน อาคาร

RIAN GARDEN ให้พนื้ ทีม่ ีการรองรับนา้ ฝนทีใ่ ห้นา้ สามารถซึมป่ านได้

PERSPECTIVE


DETAIL PLAN

การออกแบบปรับปรุงตลาดเก่ามีนบุรีและพืน้ ที่โรงสีเก่ามีนบุรี

Key plan

ปรับเปลีย่ นกิจกรรมการใช้งาน

STRATEGY

เพิม่ พืน้ ทีส่ ีเขียวภายในพืน้ ที่

การเชื่อมต่อและการเข้าถึง


GREEN WAY พ.5–3

พัฒนาย่านการค้าสร้างสรรค์ พื้นที่นันทนาการ และรักษาอัตลักษณ์และสิ่งแวดล้อม

การเดินทางเท้า เส้นทางจักรยาน ริมคลอง พื้นที่ว่างสาธารณะ

ADAPTIVE RE-USE รักษาลักษณะของอาคารโรงสีเก่ามีนบุรี ที่ มีความเป็ นเฉพาะให้กบั พืน้ ที่ และเพิ่ม กิจกรรมเชิงการค้าเพื่อให้ภายในพืน้ ที่เกิด กิจกรรม

Key plan

WATER MANEGEMENT Waste water drainage

ISOMATRICT DETAIL

วางระบบการระบายน้าเสียของตลาดเก่ามีน ลงสู่การระบายน้าหลักของเมือง การจัดการน้าจากธรรมชาติลงสู่คลอง


PERSPECTIVE


PERSPECTIVE


DETAIL PLAN

การปรับปรุงพืน้ ที่คลองแสนแสบ เพื่อพื้นที่โล่งสาธารณะของเมืองและการสัญจรทางเรือ

POCKET SPACE

ท่าเรือ

Key plan LINEAR SPACE

กิจกรรมริมน้า

STRATEGY

POCKET SAPACE

การรสัญจรทางน้า

เพิ่มพื้นที่สีเขียว


SECTION SAEN SAEB CANAL

RIAN GARDEN ให้พนื้ ทีม่ ีการรองรับนา้ ฝนทีใ่ ห้นา้ สามารถซึมป่ านได้

PREDESTRIAN

POCKET SPACE

VENTILATION ให้พนื้ ทีม่ ีการระบายอากาศทั้งด้านหน้าและการระบาย อากาศภายในอาคาร เพือ่ ช่วยให้อากาศมีการหมุนเวียน จากด้านนอกเข้าสู่ภายในอาคาร

SEAN SEAB CANAL

LINEAR SPACE PREDESTRIAN


สะพานข้ามคลองแสนแสบ

กิจกรรมริมน้า ปรับปรุงพื้นที่รมิ คลอง ให้มีกิจกรรมริมน้าเพิ่มยิ่งขึน้

ท่าเรือ เพือ่ เชื่อมต่อการสัญจรทางนา้ จาก ตลาดเก่ามีนบุรี

พืชบาบัดน้า ปลูกพืชริมน้าเพื่อใช้กรองและบาบัดน้า

PERSPECTIVE


PERSPECTIVE

กิจกรรมริมน้า ปรับปรุงพื้นที่รมิ คลอง ให้มีกิจกรรมริมน้าเพิ่มยิ่งขึน้

ท่าเรือ เพือ่ เชื่อมต่อการสัญจรทางนา้ สู่ย่านและพืน้ ทีต่ ่างๆภายในเมือง

POCKET SPACE พืน้ ทีท่ ใี่ ช้ทากิจกรรมและเป็ นพืน้ ที่พักผ่อนริมนา้ ทีเ่ ชื่อมต่อกับ พืน้ ทีก่ ารค้าบริเวณโรงสีเก่ามีนบุรี เพือ่ ให้เกิดความต่อเนื่องของกิจกรรม


DETAIL PLAN

ปรับปรุงฟืน้ ฟูชมุ ชนมีนบุรีอปุ ถัมภ์ เพื่อส่งเสริมกิจกรรมภายในชุมชนที่เป็นเอกลักษณ์ของเมือง

Key plan

Conservation Community

STRATEGY

Recreation Area

Community Farm


LIVABILITY คนในชุมชนสามารถเข้าถึงพื้นที่ สาธารณะ แหล่งงาน ร้านค้า และ โอกาสในการเข้าถึงสิ่งอานวยความ สะดวกได้มากยิ่งขึ้น และชุมชนสามารถ พึ่งพาตัวเองได้

HEALTHY COMMUNITY COMMUNITY FARM เสนอให้ชุมชนมีนบุรีอุปถัมภ์ทาการเกษตร ภายในชุมชนเพื่อการอุปโภคของคนในชุมชน โดยเป็น พืชผักสวนครัว เห็ดนางและแปรรูป ผักตบชวา ที่ มีนบุรี มีแนวทางการเพาะปลูก จากสานักงานเขตมีนบุรี

Key plan WATER AND ENERG MANEGEMENT

ISOMATRICT DETAIL

การเก็บพลังงานจาก แสงอาทิตย์ การระบายสู่คลอง พื้นที่น้าสามารถซึมผ่าน


PERSPECTIVE


PERSPECTIVE


SOLA MANEGEMENT ใช้วัสดุที่กนั ความร้อนแต่ยงั คงให้แสงสว่างลง มาสู่พื้นที่ใต้หลังคา

PERSPECTIVE

ปรับปรุงพื้นที่ทางเดิน ให้เข้ากับบริบท ชุมชนมีนบุรอี ปุ ถัมภ์ บริเวณตลาดเก่า 100 ปี


CONCEPTUAL PLAN INNOVATIVE DISTRICT

ISSUES สร้างพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ให้เกิด ความหลากหลาย พร้อมเป็นย่านพาณิช ยกรรมแห่งนวัตกรรมที่เป็นสุขภาวะกับคน ในชุมชน

NEW COMMERCIAL DISTRICT

STRATEGY

NEW HUB

NEW LIVING



DETAIL PLAN การออกแบบและวางผังพื้นที่ พาณิชยกรรมใหม่รอบจุดตัด ของสถานีมนี บุรี

Key plan

พัฒนาพืน้ ทีร่ อบสถานี

STRATEGY

GREEN CITY

HEALTHY CITY


HEALTHY COMMUNITY ระบบขนส่งสาธารณะ การเชื่อมต่อพื้นที่ด้วยพื้นทีสาธารณะ COMMUNITY FARM VERTICAL FARM

พ.5–2

ข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน สามารถสร้างที่อยู่อาศัยประเภทอาคารพื้นที่เกิน 10,000 ตร.ม สามารถสร้างโรงแรมได้เกิน 80 ห้อง สามารถสร้างพื้นที่พาณิชยกรรมได้เกิน 10,000 ตร.ม.

GREEN WAY การเดินทางเท้า เส้นทางจักรยาน SKY WALK พื้นที่ว่างสาธารณะ

Key plan

WATER AND ENERGY MANEGEMENT

ISOMATRICT DETAIL

กรระบายสู่คลอง พื้นที่น้าสามารถซึมผ่าน แสงสว่างจากธรรมชาติ การเก็บพลังงานจากแสงอาทิตย์

FAR : 7.6 OSR : 4.5 อาคารไม่เกิน 25 ชั้น


SECTION

การคาดการณ์ในอนาคต

ประชากรใน 10 ปี มีแนวโน้ม เพิ่มขึ้นสูงสุด 869,045 คน

187,770 คน-เที่ยวต่อวัน

ประชากรใน 10 ปี ต่อมา มี แนวโน้มประชากรลดลง และเข้า สู้สังคมผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

คาดการณ์ว่าจะมีผู้โดยสารมา ใช้บริการ 400,000 คนต่อวัน


PERSPACETIVE


PERSPACETIVE


PERSPACETIVE


“MINBURI HEALTHY CITY”

Thank you

นายณัฐพงษ์ กุลสุวรรณ 59011112075 อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ เพชรลัดดา เพ็ชรภักดี


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.