บทที่ 13 การถ่ายภาพในสตูดิโอ

Page 1

การถายภาพในสตูดิโอ|

บทที่ 13 การถายภาพในสตูดิโอ การถายภาพในสตูดิโอแตกตางจากการถายภาพโดยใชแสงจากธรรมชาติ ตรงที่ชางภาพสามารถควบคุมสภาพแสงไดดวยตนเอง ทิศทาง ความสูง ตลอดจน ระดับแสงสวางของการจัดไฟ ชวยสรางรูปทรงและมิติของภาพไดตามที่ชางภาพ ตองการ การถายภาพในสตูดิโอสวนใหญจึงเปนงานแฟชั่น รวมทั้งประกอบสื่อ สิ่งพิมพประเภทตางๆ เนื่องจากไมมีปญหาเรื่องฉากหลังเหมือนกับการถายภาพ นอกสถานที่ที่ยุงยากในการลบฉากหลังที่ไมตองการ อุปกรณที่ใชในสตูดิโอถายภาพ การถายภาพในสตูดิโอ นอกจากกลองถายภาพแลว ยังมีอุปกรณที่จําเปน อีกหลายอยาง ประกอบดวย 1. ไฟแฟลชสตู ดิ โ อ คื อ แหล ง กํ า เนิ ดแสงสว า งที่ ใ ช ใ นการถ า ยภาพ ประกอบดวยหลอดไฟนําทางที่สามารถเปดใหสวางไดตลอดเวลาสําหรับใชในการ จั ด ไฟเบื้ อ งต น และหลอดไฟแฟลชที่ จ ะปล อ ยแสงแฟลชออกมาเมื่ อ เมื่ อ ส ง สัญญาณซึ่งผูใชสามารถกําหนดระดับความสวางของไฟได กําลังไฟ (วัตต) ของไฟ แตละดวงอาจไมเทากันขึ้นอยูกับหนาที่ของไฟดวงนั้นๆ ซึ่งโดยปกติไฟที่ใหแสง หลักจะมีกําลังไฟมากกวาไฟที่ใหแสงเสริม

ภาพที่ 13-1 ไฟแฟลชสตูดิโอ ณัฐกร สงคราม | 151


การถายภาพ | เทคนิคและการนําไปใชเพื่อการสื่อสาร

2. ขาตั้งไฟแฟลช เปนอุปกรณที่ใชยึดไฟแฟลชใหวางไวในตําแหนงและ ระดับที่ตองการ ควรเปนขาที่มั่นคงแข็งแรง สามารถรับน้ําหนักไดดี เนื่องจาก ไฟแฟลชโดยทั่วไปมีน้ําหนักมากพอสมควร หากขาตั้งไมมั่นคงอาจทําใหเ กิดการ สะดุดลมไดงาย

ภาพที่ 13-2 ขาตั้งไฟแฟลช

3. อุปกรณชวยควบคุมแสง เชน Softbox, Umbrella, Reflector และ Snoot การจั ดแสงถายภาพสตูดิโอสามารถทํ าให แสงนุ มนวลขึ้นและเกิ ดเงา นอยลง โดยใช Softbox, Umbrella หรือ Reflector กรองหรือสะทอนแสงจาก ไฟแฟลช หรือใช Snoot ชวยในการบีบแสงเปนลํา

ภาพที่ 13-3 อุปกรณชวยควบคุมแสง

4. ฉากหลัง เปนสวนสําคัญที่จะชวยเพิ่มความสวยงามและเดนใหกับ แบบ อีกทั้งยังช วยสรางเรื่องราวใหกับภาพถ าย แบงออกเปนฉากสีพื้น เช น น้ําเงิ น เขียว แดง ขาว ฉากที่มีลวดลายงายๆ เชน ลายควันบุหรี่ หรือฉากที่เปนภาพวาด หรือภาพถาย 152 | Photography: Technique and Implementation for Communications


การถายภาพในสตูดิโอ|

ภาพที่ 13-4 ฉากหลัง

5. เครื่องวัดแสง ใชในการวัดแสงไฟแฟลชอยางละเอียด เพื่อกําหนดคา ความสวางของไฟแตละดวงใหสัมพันธกัน

ภาพที่ 13-5 เครื่องวัดแสง

6. สายซิงกหรือเครื่องรับสงสัญญาณวิทยุ ที่เชื่อมตอกับกลองถายภาพและ ทําหนาที่ในการสงสัญญาณไปยังไฟแฟลชเพื่อใหฉายแสงออกมา

ภาพที่ 13-6 สายซิงก และเครื่องรับสงสัญญาณวิทยุ

7. มอนิเตอร ชวยในการตรวจสอบภาพถายเนื่องจากจอแอลซีดี (LCD) ของกลองถายภาพอาจมองไมเห็นไดอยางชัดเจนนัก นอกจากนี้ยังช วยใหแบบ มองเห็นใบหนาและทาทางตนเองเพื่อการปรับแกไขมุมหรือทาทางไดงาย ณัฐกร สงคราม | 153


การถายภาพ | เทคนิคและการนําไปใชเพื่อการสื่อสาร

ภาพที่ 13-7 จอมอนิเตอร

8. หองแตงตัวและกระจก เพื่อใหนายแบบและนางแบบไดมีพื้นที่สําหรับ เปลี่ยนชุดแตงกาย และแตงหนาหวีผมกอนที่จะถายภาพ

ภาพที่ 13-8 หองแตงตัวและกระจก

9. เกาอี้และอุปกรณประกอบฉาก นอกจากจะใชเพื่อถายภาพนั่งแลว เกาอี้ยังเพิ่มความนาสนใจ รวมทั้งเปนอุปกรณฉากเสริมเรื่องราวใหกับภาพ

ภาพที่ 13-9 เกาอี้และอุปกรณประกอบฉาก

ประเภทของไฟในการถายภาพสตูดิโอ การถายภาพบุคคลโดยใชแสงไฟประดิษฐหรือแสงไฟแฟลชในสตูดิโอนั้น สิ่งแรกที่จําเปนตองทําความเขาใจคือลักษณะของไฟพื้นฐานประเภทตางๆ ที่ใช ในการถายภาพ ซึ่งมีอยู 4 ประเภท คือ 154 | Photography: Technique and Implementation for Communications


การถายภาพในสตูดิโอ|

1. แสงหลัก (Main Light) เปนแสงที่สองสวางที่สุดสูตัวแบบหรือสิ่งที่ถูก ถาย เนื่องจากในแสงธรรมชาติปกติมักจะมาจากทางดานบน โดยทั่วไปแสงหลัก จึงนิยมวางไวเหนือสิ่งที่ถูกถายและสองสวางลงมาเฉียงดานหนา อยางไรก็ตาม การจัดแสงของไฟหลักนี้ สามารถจัดไดหลายวิธีซึ่งในที่นี้แบงออกได 6 ประเภท โดยจําแนกตามทิศทางของแสงที่เขาสูแ บบ ดังนี้ การจัดแสงแบบกวาง (Broad Light) คือ แสงที่เขาทางดานหนาจากระดับ สายตาของแบบ แสงประเภทนี้ชวยเปดรายละเอียดทั้งหมดของแบบเนื่องจากไม ทําใหเกิดเงาบนแบบเลย แตทําใหเกิดเงาดานหลังของแบบ แสงประเภทนี้มักจะ ทําใหแบบดูมีสัดสวนกวางหรืออวนมากกวาแสงประเภทอื่น จึงมักใชถายกับคนที่ หนาแคบ

Broad Light

Short Light

ภาพที่ 13-10 เปรียบเทียบการจัดไฟแบบ Broad Light และ Short Light

การจัดแสงแบบแคบ (Short Light หรือ Narrow Light) คือ แสงที่เขา เยื้องทางดานขางเล็กนอย โดยที่สวนสูงของไฟแฟลชยังอยูในระดับเดียวกันกับ Broad Light (ระดับสายตาของแบบ) ทําใหเกิดสันเงาที่จมูกของแบบ โดยที่แสง ยังคงเขาถึงใบหนาทั้ง 2 ดาน แสงประเภทนี้ชวยทําใหภาพดูมีมิติมากขึ้น นิยมใช กับคนใบหนากวางหรือรูปไข ณัฐกร สงคราม | 155


การถายภาพ | เทคนิคและการนําไปใชเพื่อการสื่อสาร

การจัดแสงแบบแยก (Split Light) คือ แสงที่เขาทางดานขางของแบบ และสวนสูงของไฟแฟลชยังคงอยูในระดับสายตาเชนเดิม แสงประเภทนี้แตกตาง จาก Broad Light และ Short Light คือ แสงที่จะเขาถึงใบหนาของแบบได เพียงขางเดียว สวนอีกขา งหนึ่งจะมีรายละเอียดนอ ยหรือไมมีรายละเอียดเลย ขึ้นอยูกับอัตราสวนแสงและขนาดของไฟแฟลช แสงประเภทนี้ทําใหภาพดูมีมิติ มากที่สุด การจัดแสงแบบผีเสื้อ (Butterfly Light) คือ แสงที่เขาหาแบบทางดานหนา แตตางจาก Broad Light ตรงที่ Butterfly Light นั้นมีตําแหนงไฟแฟลชสูงกวา Broad Light (ประมาณ 45 องศา) ซึ่งจะทําใหเกิดสวนสวางบนหนาผาก สันจมูก โหนกแกม และทําใหบริเวณใตตา ใตจมูก ใตปาก และคาง (คําวา Butterfly มา จากสวนมืดใตจมูกที่คลายๆ รูปผีเสื้อ) การที่เกิดเงาในลักษณะนี้จะทําใหคางเปน สวนมืดที่ดูเรียวและผอมบาง จึงเหมาะสําหรับคนใบหนารูปไข มีชื่อเรียกอีกชื่อวา แสงแบบพาราเมาท (Paramount Lighting) เนื่องจากโรงถายในฮอลลีวูดชอบ จัดไฟลักษณะนี้ในการถายทําภาพยนตร

Split Light

Butterfly Light Rembrandt Light

Loop Light

ภาพที่ 13-11 เปรียบเทียบการจัดไฟแบบ Split Light, Butterfly Light, Rembrandt Light และ Loop Light

การจัดแสงแบบเรมบรันต (Rembrandt Light) คือ แสงที่เขาหาแบบ จากทางดานบนเชนเดียวกับ Butterfly Light แตมีทิศทางเยื้องจากดานหนา 156 | Photography: Technique and Implementation for Communications


การถายภาพในสตูดิโอ|

ออกไปดานขางทําใหแสงตกลงบนใบหนาของแบบไมเทากันทั้ง 2 ดาน ลักษณะ เดนของ Rembrandt Light คือ ดานไกลของใบหนาแบบจะมีแสงตกลงบน แกมเปนรูปสามเหลี่ยม บริเวณอื่นจะเปนสวนมืดทั้ง หมด แสงประเภทนี้เรีย ก ตามชื่อศิลปน Rembrandt เนื่องจาก Rembrandt เปนศิลปนที่ชอบวาดภาพ ในลัก ษณะแสงประเภทนี้เปน ประจําและมีชื่อเสีย งโดงดัง มาก แสงประเภทนี้ เหมาะสํ า หรับ ภาพที ่ดูเ ศรา เนื ่อ งจากชว ยดึง อารมณ เ ศรา โศกของผู ช มได มากกวาแสงประเภทอื่นๆ การจั ดแสงแบบต อ วน (Loop Light) คื อ แสงที่ ใ กล เ คี ย งกั บ แบบ Rembrandt Light มาก แตมีทิศทางเยื้องกลับมาทางดานหนาของแบบมากกวา ซึ่งทําใหเงาใตจมูกทอดมาเปนสามเหลี่ยม แตยังไมยาวจนชนเงาของใบหนาอีกฝง เหมือน Rembrandt Light การจัดแสงแบบนี้นิยมใชถายภาพคูของเจาบาว เจาสาว 2. แสงเสริมหรือแสงลบเงา (Fill-in Light) เปนแสงที่ใชลบเงาซึ่งเกิด จาก Main Light โดยเพิ่มรายละเอียดในสวนเงาใหมองเห็นไดมากขึ้น ทําใหเห็น วัตถุเพิ่มขึ้นเปน 3 มิติ โดยทั่วไปมักใชแหลงของแสงที่เปนแสงกระจาย (Diffuse Light) เชน ใชรมหรือแผนสะทอนแสง ตําแหนงที่วางไฟเสริมนี้ตามปกติมักวาง เอาไวขางกลองดานตรงขามกับ Main Light และอยูระดับเดียวกับกลอง แต ต อ งระวั ง ไม ใ ห เ กิ ด เงาซ อ นขึ้ น อี ก เงาหนึ่ ง ควรทดลองเลื่ อ นหาตํ า แหน ง ที่ เหมาะสมใหมีความเขมของแสงตามที่ตองการ สวนที่เปนเงามืดนี้จะมีความสวาง มากหรือนอยเพียงใดขึ้นอยูกับผูที่ตองการใหอัตราสวนของ Fill-in Light กับ ความสวางของ Main Light เปนเทาใด ซึ่งโดยปกติมักจะใหคาความสวางที่นอย กวา Main Light และถาหากตองการใหแสงสวางสวนเงามีความสวางมากนอยก็ ใชวิธีปรับความแรงของไฟ หรือ เลื่อนดวงไฟใหอยูใกลหรือไกลออกไป หรือใช กระดาษบังไฟใหออนลง ณัฐกร สงคราม | 157


การถายภาพ | เทคนิคและการนําไปใชเพื่อการสื่อสาร

ภาพที่ 13-12 การใชแสงเสริมจะชวยลบเงาที่เกิดจากแสงหลัก

3. แสงหลังหรือแสงสองผม (Hair / Back Light) เปนแสงที่ใชเพิ่มเติม ในการถายภาพสตูดิโอเพื่อชวยใหเห็นรูปทรงของแบบและเพิ่มมิติดานความลึก ชว ยแยกแบบใหเ ดน ออกมาจากฉากหลัง ปกติมัก ตั้ง ไฟไวใ นทิศ ทางเยื้อ งกับ Main Light ในมุมสูง เฉียงหลังและสองเปนบริเวณเฉพาะจุดเทานั้น โดยใชไฟ ขนาดเล็กมีขาตั้งสองในบริเวณของแบบ ทําใหเกิด Hair Light ขึ้นที่บริเวณผม และไหลดา นขาง ขอที่ควรระวังก็คือ พยายามไมใ หแ สง Hair Light ไปตก บริเ วณใบหนา เพราะจะทํ า ใหเ กิด แสงสวา ง ปรากฏที่ใบหนาอีกแหงหนึ่ง ถาจัดดวงไฟโดย ใช Snoot ชวยในการบีบแสง (Spot Light) วางไวดา นหลัง หรือ คอ นไปขา งบนของแบบ หรือหลังศีรษะจะทําใหเกิดแสงที่ขอบเรียกวา Back Light

ภาพที่ 13-13 การใชแสงหลังหรือแสงสองผม 158 | Photography: Technique and Implementation for Communications


การถายภาพในสตูดิโอ|

4. แสงฉากหลัง (Background Light) ใชแสงจากหลอดไฟขนาดเล็ก วางระหวางวัตถุกับฉากหลัง เพื่อ ใหฉากหลังสวางขึ้นตามปริมาณแสงที่ตองการ ทําใหแยกวัตถุจากพื้นหลัง นิยมตั้งในระดับต่ํา หากตองการใหเห็นแสงที่ฉากหลัง เปนวงกลมคลายรัศมี ใหใช Snoot ชวยในการบีบแสง แตหากตองการใหเห็น ลวดลายหรือภาพบนฉากหลังไดชัดเจนควรใช Softbox หรือ Umbrella ชวยใน การกระจายแสงใหทั่วบริเวณฉากหลัง ขอควรระวังคือตองตรวจสอบใหดีวามอง ไมเห็นดวงไฟหรือขาตั้งติดเขามาในกลอง

ภาพที่ 13-14 การใชไฟสองฉากสรางมิติใหกับภาพ

รูปแบบการจัดไฟสตูดิโอ 1. การจัดไฟดวงเดียว การจัดไฟรูปแบบนี้ใชไฟดวงเดียวเปนไฟหลัก นิยม วางไวในตําแหนงเฉียงดานหนาแบบหรืออาจวางไวในตําแหนงดานขางหรือสอง มาดานหลังก็ได แบบจะสวางเพียงสวนเดียวอีกสวนหนึ่งจะเปนเงาดํา (อาจใช แผนรีเฟล็กซชวยเปดเงาได) ชวยแสดงใหเห็นเคาโครงรูปรางของแบบไดชัดเจน สามารถสรางอารมณเครงขรึมลึกลับใหกับภาพไดเปนอยางดี 2. การจัดไฟสองดวง การจัดไฟรูปแบบนี้ใชไฟดวงหนึ่งเปนไฟหลัก สวน อีกดวงเปนไฟเสริมหรือไฟลบเงา เพื่อทําหนาที่ลบเงาดานที่เปนเงามืดเนื่องจาก แสงจากไฟหลักสองมาไมถึง เพื่อใหเห็นรายละเอียดของแบบเพิ่มมากขึ้น ณัฐกร สงคราม | 159


การถายภาพ | เทคนิคและการนําไปใชเพื่อการสื่อสาร

3. การจัดไฟสามดวง การจัดไฟรูปแบบนี้ เพิ่ มไฟอีก 1 ดวงขึ้นมา นอกเหนือจากไฟหลักและไฟเสริมที่วางไวดานหนาของแบบ โดยไฟดวงที่สามจะ วางไวดานหลังและทําหนาที่เปนไฟแยกหรือไฟเนนรูปทรงของแบบใหเห็นเดนชัด หรือยกขึ้นสูงเพื่อบีบลําแสงมาที่ทรงผมชวยใหเกิดแฮรไลตที่สวยงาม 4. การจัด ไฟสี่ด วง การจัดไฟรูปแบบนี้ ไฟดวงที่สี่ที่เพิ่มมาจะตั้งอยู ดา นหลัง ทํา หนา ที่เ ปน ไฟสอ งฉากหลัง เพื่อ ใหเ ห็น รายละเอีย ดของฉากและ สรา งมิติใ หกับ ภาพโดยการทํา ใหแ บบเดน ออกมาจากฉากหลัง หากฉากหลัง เปน สีพื้น อยา งเดียวอาจใช Snoot ชวยบีบแสงเพื่อใหแสงที่สองกระทบฉาก หลังมีลักษณะเปนวงที่สวยงาม

ไฟ 1 ดวง

ไฟ 2 ดวง

ไฟ 3 ดวง

ไฟ 4 ดวง

ภาพที่ 13-15 เปรียบเทียบการจัดไฟที่มีจํานวนตางกัน

นอกจากนี้ เราสามารถเพิ่มไฟเสริมไดอีก เชน วางไวในระดับต่ําใกลพื้น ดานหนาเพื่อทําหนาที่เปนไฟเสริมชวยลบเงาบริเวณใตคางของแบบ เนื่องจากใน บางครั้งตองวางไฟหลักไวในตําแหนงสูงทําใหอาจเกิดเงาใตคางมาก หรือในการ ใชไฟแยก อาจมีทั้ง Back Light และ Hair light อยางละดวง เพื่อเนนรูปรางของ แบบใหเดนชัดจากฉากหลังมากขึ้น เปนตน 160 | Photography: Technique and Implementation for Communications


การถายภาพในสตูดิโอ|

การปรับตั้งคากลองถายภาพในสตูดิโอ การถายภาพสตูดิโ อ โดยทั่วไปใชโหมดแมนนวล (M) และตั้งคาความ สมดุลของสีขาว (White Balance) เปนโหมดไฟแฟลช ( ) เพื่อใหไดคาสีที่ ถูกตองและสั่งใหกลองปลอยสัญญาณเขาสูส ายซิงกหรือเครื่องรับสงสัญญาณวิทยุ ไปยังไฟแฟลชใหปลอยแสง (กลองบางรุนไมสงสัญญาณหากไมตั้งคาในโหมดนี้ ) และตั้งคาความไวแสง (ISO) ประมาณ 100-200 จากนั้นตั้งความไวชัตเตอรสูงสุด เทาที่จะสัมพันธกับไฟแฟลชสตูดิโอ (โดยทั่วไปประมาณ 1/200) ซึ่งหากตั้งสูง เกินไปจะทําใหภาพที่ออกมามีแถบดําดานหนึ่งซึ่งเกิดจากการที่ มานชัดเตอรปด กอนที่แสงไฟแฟลชจะกวาดไปทั่วภาพ และสุดทายคือขนาดชองรับแสงใหเริ่มที่ คากลางประมาณ f8-f11 แลวจึงทดลองถาย หากภาพออกมาสวางหรือมืดเกินไป ก็ ใ ห ป รั บ ขนาดช อ งรั บ แสงใหม หรือไมก็ปรับความสวางที่หลอดไฟ แฟลชแทน

ภาพที่ 13-16 ตัวอยางภาพที่ความไวชัตเตอรกับไฟแฟลชไมสัมพันธกัน

เทคนิคการถายภาพกับแบบลักษณะตางๆ 1. บุคคลที่มีใบหนากวางหรือเปนรุปสี่เหลี่ยมควรจัดไฟใหสวางนอย ใชไฟ สองดานขาง ใหนั่งเฉียงและตั้งกลองมุมสูง บุคคลที่มีใบหนาหนาแคบควรจัดไฟให สวางมากและตั้งกลองต่ํา สวนบุคคลที่มีใบหนาหนายาว ตั้งตําแหนงไฟหลักใหต่ํา และใชไฟสองดานหนา 2. บุคคลที่มี หน าผากกวางหรื อศีร ษะลาน ไม ตอ งใช ไฟสองผมใหแ หงน หนาขึ้นและตั้งกลองมุมต่ํา บุคคลที่มีหูกางควรนั่งเฉียงใหหูดานหนึ่งบังศีรษะ อีก ณัฐกร สงคราม | 161


การถายภาพ | เทคนิคและการนําไปใชเพื่อการสื่อสาร

ดานอยูในเงามืด บุคคลที่มีคางสองชั้นควรตั้งไฟหลักใหสูง ใหแบบแหงนคางขึ้น และตั้งกลองในมุมสูง บุคคลที่ใบหนามีริ้วรอยควรตั้งไฟหลักใหต่ํา นั่งเฉียงและ จัดแสงเกลี่ยกระจาย 3. บุคคลที่ มีรูป รา งใหญค วรใชไ ฟสอ งด านข างและใส เสื้อ ผ า สีเข ม สว น บุคคลที่มีรูปรางผอมควรใชไฟสองดานหนาและใสเสื้อผาสีออน 4. บุคคลที่ใสแวนตาควรใหกมศีรษะลงเล็กนอยเพื่อเลี่ยงแสงสะทอนและ ปรับไฟเสริมไปดานขาง บุคคลที่ตาโตตาโปนควรใหแบบมองต่ํา สวนบุคคลที่ตา ลึกควรตั้งไฟหลักใหต่ํา 5. การถายวัตถุ เชน ผักและผลไมเนนใหแสงเขาขางหรือเฉียงและควรฉีด น้ําใหดูสดชื่น สวนการถายแกวน้ํา ขวดน้ํา ควรใหแสงเขาดานบนหรือดานหลัง และฉีดน้ําใหดูสดชื่นเชนกัน ตัวอยางภาพถายในสตูดิโอ

W

X

Y

“เด็ก ARTIST” ใชไฟ 2 ดวงกระจายแสงทั่วตัวและเพิ่มแฮรไลตแยกแบบจากฉากหลัง W “แสงอาฆาต” ใชไฟดวงเดียวเพื่อเนนใบหนาและมือ โดยหันมุมกรรไกรใหสะทอนแสง X “น้ําสมตรามาลี” ใชผลและหยดน้ําสมเสริมเรื่องราวของภาพชวยใหภาพไมโลงจนเกินไป Y

162 | Photography: Technique and Implementation for Communications


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.