คู่มือปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ

Page 1

คู่มือปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ หลักสูตรพัฒนาการเกษตร และหลักสูตรนิเทศศาสตร์เกษตร

ภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

พ.ศ. 2561



I

คำนำ เอกสาร “คู่มือปัญหาพิเศษและโครงงานพิเศษ” เล่มนี้ จัดทาขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ เป็น คู่มือในการทาปัญ หาพิเศษและโครงงานพิเศษ ของนักศึกษาหลักสูตรพัฒ นาการเกษตรและ หลัก สูต รนิเ ทศศาสตร์เ กษตร ภาควิช าพัฒ นาการเกษตรและการจัด การทรัพ ยากร คณะ เทคโนโลยีการเกษตร สถาบัน เทคโนโลยีพ ระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง และอาจารย์ที่ ปรึกษา เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันตลอดจนใช้อ้างอิงเมื่อมีข้อสงสัยในการทาวิจัยและการเขียน อันเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการวิจัยเพื่อปัญหาพิเศษและโครงงานพิเศษของ นักศึกษา ขอขอบคุณคณาจารย์ภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากรทุกท่าน ที่ได้ให้ ข้อ แนะนาในการปรับ ปรุงเอกสารคู่มือ ปัญ หาพิเศษและโครงงานพิเศษ ให้มีค วามสมบูรณ์ม าก ยิ่งขึ้น ศุภสมบูรณ์ อึงรัตนากร ปัญญา หมั่นเก็บ ณัฐกร สงคราม พัชรา เอี่ยมกิจการ


II

สำรบัญ หน้ำ คานา …………………………………………………………………………………………………………………………………I สารบัญ ………………………………………………………………………………………………………………………………II บทที่ 1 บทนา ……………………………………………………………………………………………………………...……1 1.1 ความสาคัญของปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ………………………..…………………….………1 1.2 ส่วนประกอบของปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ……………………………………….…..……….1 1.3 ลักษณะปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษที่มีคุณภาพ …………………………………..….…………2 บทที่ 2 ขั้นตอนการทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ …………………………………………………….….………3 2.1 ข้อกาหนดและแนวปฏิบัติ ……………………………………………………………………...…….……3 2.2 โครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ……………………………………………………….….………3 2.3 การเสนอโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ……………………………………………..………3 2.4 การสอบโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ …………………………………………….…..……4 2.5 ข้อกาหนดและขั้นตอนการสอบโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ………………..……4 2.6 กรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ …………………………………………….……….……5 2.7 การประเมินผลการทาวิจัยเพื่อปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ……………………….….….……5 2.8 การสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ……………………………………………….………….….……5 2.9 การขอใช้ผลงานทางวิชาการแทนการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ………….…..……8 2.10 รูปเล่มปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ………………………………………………………..….….……8 2.11 การส่งปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ และแผ่นบันทึกข้อมูล …………………….…….…..……9 บทที่ 3 ส่วนประกอบของปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ………………………………………………..…………..11 3.1 ส่วนที่ 1 ส่วนนา ……………………………………………………………………………….………………11 3.2 ส่วนที่ 2 ส่วนเนื้อหาหลัก …………………………………………………………………………..………11 3.3 ส่วนที่ 3 ส่วนท้าย ……………………………………………………………………………………....……11 บทที่ 4 การพิมพ์ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ………………………………………………….……………………16 4.1 กระดาษที่ใช้พิมพ์ ………………………………………………………………………………………..……16 4.2 ตัวพิมพ์ ……………………………………………………………………………………………………………16 4.3 การทาสาเนา …………………………………………………………………….……………………..………16 4.4 การเว้นระยะการพิมพ์ …………………………………………………...…………………………………16 4.5 การเว้นระยะห่างจากริมกระดาษ …………………………………………..…………………..………16 4.6 การลาดับหน้าและการพิมพ์เลขหน้า …………………………………………………………..………16 4.7 การแบ่งบท หัวข้อใหญ่และหัวข้อย่อย …………………………………………………………..……16 4.8 การพิมพ์ตาราง ………………………………………………………………………………..………………17 4.9 การพิมพ์รูปภาพ …………………………………………………………………………….…………………17


III

สำรบัญ (ต่อ) หน้ำ 4.10 การพิมพ์สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญรูป (หรือสารบัญภาพ) ………………..…..…18 4.11 การพิมพ์ชื่อวิทยาศาสตร์ ……………………………………………………………………….………18 4.12 สมการคณิตศาสตร์ ………………………………………………………………………………….……18 4.13 การพิมพ์ภาษาต่างประเทศ ……………………………………………..…………………………..…19 4.14 การพิมพ์เครื่องหมายวรรคตอนสาหรับการพิมพ์เนื้อหา ……..…………….…………..……19 บทที่ 5 การอ้างอิง ………………………………………………………………………………………………………….…20 5.1 การอ้างอิงแบบแทรกปนในเนื้อหา ระบบนาม-ปี ……………………………….………….……20 5.2 การอ้างอิงแบบแทรกปนไปในเนื้อหา ระบบลาดับหมายเลข ……………….…………….…25 บทที่ 6 การเขียนบรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง ……………………………………………..…….……………27 6.1 หลักเกณฑ์การเขียนบรรณานุกรม …………………………………………….……………….………27 6.2 วิธีลงรายการของบรรณานุกรม …………………………………………….………….….……….……27 6.3 รูปแบบการพิมพ์บรรณานุกรม ……………………………………………………..……………..……30 6.3.1 หนังสือทั่วไป ……………………………………………….…………………………..………31 6.3.2 หนังสือแปล ……………………………………………………………………..….….………32 6.3.3 หนังสือแปลที่ไม่ระบุชื่อผู้แต่งในภาษาเดิม ……………………………….….………33 6.3.4 หนังสือที่ผู้แต่งเป็นหน่วยงาน …………………………………………………….………33 6.3.5 บรรณาธิการหรือผู้รวบรวม ผู้เรียบเรียง ……………………………………..………34 6.3.6 รายงานการประชุม บทความจากหนังสือ ………………………….………..………34 6.3.7 บทความในวารสาร ………………………………………………………………………..…35 6.3.8 วิทยานิพนธ์ ……………………………………………………………………………..………35 6.3.9 บทวิจารณ์ ……………………………………………………………………………..…..……36 6.3.10 บทความในสารานุกรม ………………………………………………..……………..……36 6.3.11 บทความในหนังสือพิมพ์ ……………………………………………….…………….……37 6.3.12 การติดตามข่าวและข้อเท็จจริงในหนังสือพิมพ์ช่วงระยะเวลาหนึ่ง……..……37 6.3.13 จุลสาร เอกสารอัดสาเนาและเอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์อื่นๆ ………………………37 6.3.14 สิ่งพิมพ์รัฐบาล และเอกสารอื่นๆ ทางราชการ ………………………………….…38 6.3.15 การสัมภาษณ์ …………………………………………………………………………………38 6.3.16 โสตทัศนวัสดุ …………………………………………………………………….……………38 6.3.17 สิทธิบัตร ……………………………………………………………………………….….……39 6.3.18 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ …………………………………………………………………….………39


IV

สำรบัญ (ต่อ) หน้ำ ▪ หนังสือ …………………………………………………………….……….….….………41 ▪ บทความวารสาร ……………………………………….………………...……………41 ▪ บทความในนิตยสาร ………………………………………………….………………41 ▪ สารสนเทศที่สืบค้นจากเว็บไซต์ต่างๆ ………………………..…………………42 ▪ บทความในหนังสือพิมพ์ ……………………………………………….……………42 ▪ สื่อวีดิทัศน์จาก YouTube หรือจากเว็บไซต์ต่างๆ…………..………………43 ภาคผนวก ………………………………………………………………………………………………………………….….……44 ภาคผนวก ก. ตัวอย่างส่วนประกอบของปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ………………………….....…………45 - ตัวอย่างที่ 1 (ปกนอกและปกในปัญหาพิเศษ) …………………………………………………….………46 - ตัวอย่างที่ 2 (ปกนอกและปกในโครงงานพิเศษ) ……………………………………………….…………47 - ตัวอย่างที่ 3 (ใบรับรองปัญหาพิเศษ) ………………………………………………………………...………48 - ตัวอย่างที่ 4 (ใบรับรองโครงงานพิเศษ) ………………………………………………………..……………49 - ตัวอย่างที่ 5 (บทคัดย่อปัญหาพิเศษ) …………………………………………………………………………50 - ตัวอย่างที่ 6 (บทคัดย่อโครงงานพิเศษ) ………………………………………………….…….……………51 - ตัวอย่างที่ 7 (กิตติกรรมประกาศ) …………………………………………………………………….….……52 - ตัวอย่างที่ 8 (สารบัญ) ……………………………………………………………………………………..………53 - ตัวอย่างที่ 9 (สารบัญตาราง) …………………………………………………………..…………….…………54 - ตัวอย่างที่ 10 (สารบัญภาพ) ……………………………………………………………………………….……55 - ตัวอย่างที่ 11 (บทนา) ………………………………………………………………………………………..……56 - ตัวอย่างที่ 12 (เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง) ……………………………..……………….…………57 - ตัวอย่างที่ 13 (วิธีดาเนินการศึกษา) ……………………………………………………….…………………58 - ตัวอย่างที่ 14 (ผลการศึกษา) ……………………………………………………………………………………59 - ตัวอย่างที่ 15 (การจัดวางตาราง) …………………………………………………………..…………………60 - ตัวอย่างที่ 16 (การจัดวางภาพ) ……………………………………………………………………..…………61 - ตัวอย่างที่ 17 (สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ) …………………..…………………………..………62 - ตัวอย่างที่ 18 (ประวัติผู้ศึกษา) …………………………………………………………………..…………….63 ภาคผนวก ข. แบบฟอร์มต่างๆ ………………………………………………………………………………….…….……65 - แบบฟอร์ม ทน. 1 แบบคาร้องเสนอหัวข้อปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ …………….…….……66 - แบบฟอร์ม ทน. 2 แบบคาร้องขอสอบโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ……….…………67 - แบบฟอร์ม ทน. 3 แบบคาร้องขอสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ………………………………68 - แบบฟอร์ม ทน. 4 แบบคาร้องขอใช้ผลงานทางวิชาการแทนการสอบปัญหาพิเศษ/ …..……69 โครงงานพิเศษ


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

1

บทที่ 1

บทนำ 1.1 ควำมสำคัญของปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ปั ญหาพิเศษ/โครงงานพิ เศษเป็ นการน าเสนอผลการศึกษาหรือการวิจัยของนักศึกษาระดั บ ปริญญาตรี เพื่ อทาวิจัยในหั วข้อใดหั วข้อหนึ่งจนครบถ้วนตามกระบวนการ แล้ วนามาพรรณนาและ วิเคราะห์อย่างเป็นระบบจนเสร็จสิ้นสมบูรณ์ กล่าวคือเมื่อทาวิจัยสิ้นสุดแล้วจะต้องเขียนรายงานของการ วิจัยนั้นตั้งแต่ต้นจนจบทั้งหมด รายงานฉบับสมบูรณ์ ของหลักสูตรพัฒนาการเกษตรเรียกว่า “ปัญหา พิเศษ” และรายงานฉบับสมบูรณ์ของหลักสูตรนิเทศศาสตร์เกษตรเรียกว่า “โครงงานพิเศษ” ต่อจากนั้น จะต้องมีการสอบ “ป้องกันปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ” จนเป็นที่พึงพอใจของคณะกรรมการสอบ ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ นักศึกษาจึงจะสามารถจบการศึกษาและรับปริญญาได้ การทาปั ญ หาพิเศษ/โครงงานพิเศษที่ส มบูรณ์ สิ่งส าคัญ ที่สุดคือ “การทาวิจั ย” ซึ่งในที่นี้ หมายรวมถึ ง องค์ ป ระกอบและขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ต่ า งๆ ที่ ถู ก ต้ อ งตามห ลั ก การศึ ก ษาและหลั ก วิทยาศาสตร์ การดาเนินการวิจัยจึงเป็นการสร้างเสริมความรู้ ความสามารถให้แก่นักศึกษา เช่น ความ สนใจใฝ่รู้และติดตามความเคลื่อนไหวทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง ความสามารถในการศึกษาหาความรู้ เพิ่มเติมด้วยตนเอง ความสามารถเชิงวิชาการด้านวิเคราะห์ วิจารณ์ เชิงสร้างสรรค์ และความสามารถ เชิงการเขียน เป็ นต้น ซึ่งความสามารถทั้งหลายเหล่านี้เป็นคุณสมบัติที่พึงประสงค์ของบัณฑิตของ ภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง การทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษจึงเป็นส่วนสาคัญในการ เสริมสร้างความสามารถที่พึงประสงค์ทั้งหลายเหล่านี้ จากความสาคัญของปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษดังกล่าวข้างต้น จึงเป็น “สัญลักษณ์” แสดง ถึงความวิริยะอุตสาหะ ความรอบรู้ ความสามารถในการทาวิจัย และคุณภาพของบัณฑิตที่จะจบไป ของภาควิ ช าพั ฒ นาการเกษตรและการจั ด การทรั พ ยากร คณะเทคโนโลยี ก ารเกษตร สถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง โดยสามารถตรวจสอบและยืนยันในคุณภาพและ ผลงานวิจัยที่เป็นรูปธรรมได้ ดังนั้นการทาความเข้าใจอย่างถ่องแท้ลึกซึ้งและการใช้ความสามารถใน การทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ จึงนับเป็นหัวใจสาคัญของการศึกษาในระดับปริญญาตรี

1.2 ส่วนประกอบของปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ รูป เล่มของปั ญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษที่สมบูรณ์มีส่วนประกอบที่สาคัญ 3 ส่วนย่อย คือ ส่วนนา ส่วนเนื้อความ และส่วนอ้างอิงหรือส่วนท้าย 1.2.1 ส่วนนำ ส่วนนาเป็นส่วนแรกของปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ประกอบด้วยส่วนย่อยๆ ได้แก่ ปกนอก ใบรองปก หน้ า ปกใน หน้ า อนุ มั ติ โ ดยคณ ะกรรมการสอบปั ญ หาพิ เ ศษ /โครงงานพิ เ ศษ กิตติกรรมประกาศ หน้าบทคัดย่อ สารบัญ สารบัญตาราง และสารบัญภาพ 1.2.2 ส่วนเนื้อควำม เนื้ อ หาหลั ก ของปั ญ หาพิ เศษ/โครงงานพิ เศษ มี อ งค์ ป ระกอบที่ ส าคั ญ 5 บท คื อ บทน า เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดาเนินการศึกษา ผลการศึกษา และสรุปผล อภิปรายผลการศึกษา ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


2

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

และข้อเสนอแนะ โดยในแต่ละองค์ประกอบมีเนื้อหาและหัวข้อย่อยที่สาคัญ ได้แก่ บทนาจะเป็นการ เริ่มต้นของส่วนเนื้อหาหลักกล่าวถึงความเป็นมาของการศึกษาวิจัย เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจะ ท าการศึ ก ษาทบทวนเอกสารและงานวิ จั ย ที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ ประเด็ น ที่ ท าการศึ ก ษาวิ จั ย วิธีดาเนินการศึกษาจะนาเสนอขั้นตอนการดาเนินการศึกษาอย่างเป็นระบบ ผลการศึกษาจะนาเสนอ ผลที่ ได้ รั บ จากการด าเนิ น การศึ ก ษาอย่ างเป็ น ระบบ ส่ ว นสรุ ป ผล อภิ ป รายผลการศึ ก ษา และ ข้อเสนอแนะเป็ นหั วข้อสุดท้ายที่จะนาเสนอบทสรุปของงานวิจัยโดยเป็น การเขียนอย่างย่อเฉพาะ ประเด็ น ส าคั ญ ที่ เป็ น ผลของการวิ จั ย เพื่ อ ปั ญ หาพิ เศษ/โครงงานพิ เศษ การอภิ ป รายต่ อ ผลของ การศึกษา และการให้ ข้อเสนอแนะที่เป็ นความเห็น จากผลของการวิจัยซึ่งจะเป็นประโยชน์ในด้าน ต่างๆ ต่อไป เช่น การนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ การชี้แนะเพื่อศึกษาวิจัยต่อเพื่อให้ได้ความรู้เพิ่ม หรือหาความรู้แนวใหม่ที่อาจเป็นประโยชน์มากกว่าหรือเพื่อหาคาตอบต่อไป 1.2.3 ส่วนอ้ำงอิงหรือส่วนท้ำย ประกอบด้วยรายการต่างๆ ดังนี้ 1) บรรณานุกรม คือส่วนที่เป็นรายการสารสนเทศประเภทต่างๆ ที่ผู้เขียนปัญหา พิเศษ/โครงงานพิเศษอ้างถึงเพื่อประกอบเหตุผล หรือเพื่ออธิบายข้อความตอนนั้น 2) ภาคผนวก หมายถึง ส่วนเพิ่มเติมที่ใส่เข้าไปไว้เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่สมบูรณ์ขึ้น ในข้อมูล เนื้อหา กระบวนการศึกษา และผลการศึกษา 3) ประวัติผู้ศึกษา หมายถึง ประวัติโดยย่อของผู้ทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ โดย ปกติจะต้องระบุชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด สถานที่เกิด ประวัติการศึกษา ทุนการศึกษาหรือทุนวิจัย ที่ได้รับ

1.3 ลักษณะปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษที่มีคุณภำพ ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษที่มีคุณภาพนอกจาก “งานวิจัย” ที่มีคุณภาพแล้ว การนาเสนอ ผลการวิจั ย ในลั ก ษณะรู ป เล่ ม “ปั ญ หาพิ เศษ/โครงงานพิ เศษ” ต้ อ งมี คุ ณ ภาพด้ ว ยเช่น กัน ซึ่ งมี ลักษณะสาคัญบางประการดังนี้ 1.3.1 มีความถูกต้องและเป็นไปได้ในแง่มุมวิชาการ 1.3.2 นาเสนออย่างเป็นขั้นตอนและง่ายต่อการทาความเข้าใจ 1.3.3 ใช้ภาษาที่สละสลวยถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ 1.3.4 ความสมดุลในบทต่างๆ ที่เป็นส่วนประกอบ เช่น บทนาไม่ควรจะยาวมากกว่าตัวเรื่อง และข้อสรุปควรมีความกะทัดรัด สมกับการสรุป เป็นต้น 1.3.5 มีแง่มุมความคิดของการนาเสนอที่ลึกซึ้ง 1.3.6 ส่งเสริมให้มีการขยายผลการศึกษาหรือการวิจัยเพิ่มเติมในภายหลัง

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

3

บทที่ 2

ขั้นตอนกำรทำปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ 2.1 ข้อกำหนดและแนวปฏิบัติ การทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษมีขั้นตอนแบ่งออกเป็น 2 ระยะตามลาดับดังนี้ คือ 2.1.1 วิชำปัญ หำพิ เศษ 1/โครงงำนพิ เศษ 1 ซึ่งจะต้องจัดท าและเสนอโครงร่างปัญ หา พิเศษ/โครงงานพิเศษใน 3 บทแรก และสอบโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ พร้อมส่งโครงร่าง ฉบับสมบูรณ์ 2.1.2 วิชำปัญหำพิเศษ 2/โครงงำนพิเศษ 2 ซึ่งจะต้องดาเนินการวิจัยตามโครงร่างปัญหา พิเศษ/โครงงานพิเศษ การเขียนปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ การสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ และการส่งรูปเล่มและแผ่นบันทึกข้อมูลปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษฉบับสมบูรณ์ทั้ง 5 บท

2.2 โครงร่ำงปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ โครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษเป็นเอกสารที่นักศึกษาเสนอแนวทางการทาวิจัยเพื่อให้ การทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษมีความชัดเจนมากขึ้น เอกสารโครงร่างปัญ หาพิ เศษ/โครงงาน พิ เศษที่ เสนอนี้ ป ระกอบด้ ว ยส่ ว นต่ า งๆ ที่ แ สดงเหตุ ผ ลที่ จ ะน าไปมาสู่ หั ว ข้ อ เรื่ อ งที่ ป ระสงค์ จ ะ ทาการศึกษา วัตถุประสงค์ของการศึกษา พร้อมวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง วิธีการศึกษา ตลอดจนผลที่ คาดว่าจะได้รับจากการศึกษา ภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร กาหนดให้นักศึกษาที่จะทาการวิจัยเพื่อ ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษระดับปริญญาตรี จานวน 1 คนต่อเรื่อง ทั้งนี้ กรณีมีจานวนนักศึกษา มากกว่า 1 คนต่อเรื่องให้อยู่ในดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษา โดยนักศึกษาจะต้องจัดทาโครงร่าง ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ และดาเนินการตามขั้นตอนจนกระทั่งผ่านการสอบโครงร่างปัญหาพิเศษ/ โครงงานพิเศษโดยคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษจานวน 4 คนเป็นที่เรียบร้อยจึงจะ สามารถดาเนินการวิจัยตามโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษที่เสนอได้

2.3 กำรเสนอโครงร่ำงปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ในการเสนอโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ให้นักศึกษาดาเนินการตามข้อกาหนดและ ขั้นตอนดังนี้ 2.3.1 เมื่อนักศึกษาลงทะเบียนปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษแล้ว ให้นักศึกษาจัดทาโครงร่าง ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ซึ่งประกอบด้วย 5 ส่วน ดังต่อไปนี้ 1) ส่วนนำ ประกอบด้วยส่วนย่อยๆ ได้แก่ ปกนอก สารบัญ สารบัญตาราง และสารบัญภาพ 2) ส่วนเนื้อควำม ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ 2.1) บทที่ 1 บทนา (Introduction) - ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา - วัตถุประสงค์ของการศึกษา - สมมติฐานของการศึกษา (ถ้ามี) - ขอบเขตของการศึกษา ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


4

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

- ขั้นตอนการศึกษา - ข้อตกลงเบื้องต้น (ถ้ามี) - ข้อจากัดของการศึกษา (ถ้ามี) - คาจากัดความที่ใช้ในการศึกษา 2.2) บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Literature Review) - เอกสารที่เกี่ยวข้อง - งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง - กรอบแนวคิดในการศึกษา (ถ้ามี) 2.3) บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา (Research Methodology) - ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง - เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา - ขั้นตอนการศึกษา - การวิเคราะห์ข้อมูล 3) ส่วนอ้ำงอิงหรือส่วนท้ำย ประกอบด้วยรายการต่างๆ ดังนี้ 3.1) บรรณำนุกรม คือส่วนที่เป็นรายการสารสนเทศประเภทต่างๆ ที่ผู้เขียนปัญหา พิเศษ/โครงงานพิเศษอ้างถึงเพื่อประกอบเหตุผล หรือเพื่ออธิบายข้อความตอนนั้น 3.2) ภำคผนวก ประกอบ ตารางการปฏิบัติงาน งบประมาณที่ใช้ในการศึกษา และ ตัวอย่างเครื่องมือการศึกษา (ถ้ามี) 2.3.2 ให้นักศึกษาเขียนคาร้องเพื่อเสนอหัวข้อและโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษตาม แบบฟอร์มทน.1 (ภาคผนวก ข.) ผ่านอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาปัญหาพิเศษ 1/โครงงานพิเศษ 1 โดยหัวหน้าภาควิชาฯ เป็นผู้เสนอรายนามคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษต่อคณบดี เพื่อแต่งตั้งต่อไป

2.4 กำรสอบโครงร่ำงปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ สาระสาคัญของการสอบโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ เพื่อพิจารณาความเหมาะสม ในเนื้อหาของโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ โดยเน้นหัวข้อดังต่อไปนี้ 2.4.1 ประเด็น ของปั ญ หาที่นั กศึกษานาเสนอเพื่อเป็นหั วข้อปัญ หาพิ เศษ/โครงงานพิ เศษ รวมทั้งความชัดเจน ความถูกต้องแม่นยา และความกะทัดรัดของหัวข้อปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ 2.4.2 ระเบียบวิธีการศึกษา 2.4.3 ความเป็นไปได้ของระยะเวลาในการจัดทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ 2.4.4 ประโยชน์ที่พึงได้รับจากการทาศึกษา

2.5 ข้อกำหนดและขั้นตอนกำรสอบโครงร่ำงปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร ได้กาหนดขั้นตอนการดาเนินการสอบ โครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ตามลาดับดังนี้ 2.5.1 ให้นักศึกษากรอกรายละเอียดตามแบบฟอร์ม ทน.2 (ภาคผนวก ข.) เสนอต่ออาจารย์ที่ ปรึกษาและอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาปัญหาพิเศษ 1 /โครงงานพิเศษ 1 ก่อนกาหนดวันสอบอย่าง น้อย 7 วัน เพื่อลงนามและอนุมัตใิ ห้ความเห็นชอบในการสอบโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

5

2.5.2 เมื่อนักศึกษาสอบโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษผ่านเรียบร้อยแล้ว นักศึกษาจึง จะสามารถเริ่มดาเนินการทาการศึกษาวิจัยเพื่อปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ตามโครงร่างฯ ที่ได้รับ ความเห็นชอบนั้นได้ 2.5.3 ให้ประธานคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ เสนอแบบฟอร์ม ทน. 2 (ภาคผนวก ข.) ที่ได้กรอกข้อความครบถ้วนแล้วต่อหัวหน้าภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการ ทรัพยากรผ่านมายังอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ภายใน 7 วัน หลังจาก การสอบโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษแล้ว

2.6 กรรมกำรสอบปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ กำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ หัวหน้าภาควิชาพัฒ นาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร เป็นผู้เสนอรายนามกรรมการ สอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษต่อคณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร เพื่ออนุมัติและมีคาสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ หน้ำที่และองค์ประกอบ 1) คณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ มีหน้าที่ดังนี้ 1.1) ให้คาแนะนาและเป็นที่ปรึกษาแก่นักศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหาทางวิชาการ ทฤษฎี แนวคิด วิธีการศึกษา การเขียนปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ และการใช้ภาษา รวมทั้งการแก้ปัญหา ต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น 1.2) ประเมินผลการทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษของนักศึกษา จนกว่าการทา ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษจะแล้วเสร็จสมบูรณ์ 1.3) ให้ความเห็นชอบในการขอสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษของนักศึกษา 2) คณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ต้องมีจานวนไม่น้อยกว่า 4 คน

2.7 กำรประเมินผลกำรทำวิจัยเพื่อปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ การประเมิน ผลการท าวิจั ยเพื่ อปั ญ หาพิ เศษ/โครงงานพิ เศษ มี วัต ถุประสงค์เพื่ อต้ องการ ติดตามความก้าวหน้าการทาวิจัยของนักศึกษาว่ามีความก้าวหน้ามากน้อยเพียงใด และเป็นไปตาม แผนงานที่กาหนดไว้ในโครงร่างปั ญหาพิ เศษ/โครงงานพิเศษหรือไม่ ซึ่งความก้าวหน้าดังกล่ าวจะ สัมพันธ์กับการสอบโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษและการควบคุมดูแลของคณะกรรมการสอบ ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ หากอาจารย์ผู้ควบคุมดูแลปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษเอาใจใส่ติดตาม การทาวิจัย ของนักศึกษาอย่างใกล้ชิด จะทาให้ ทราบปัญหาอุปสรรคของนักศึก ษา และสามารถให้ คาแนะนาแก่นักศึกษาได้ทันท่วงทีหากนักศึกษามีปัญหาในระหว่างการทาศึกษา ทาให้นักศึกษาไม่ต้อง เสียเวลาในการทาการศึกษาเกินความจาเป็น และสามารถทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษแล้วเสร็จ ตามแผนที่กาหนดไว้

2.8 กำรสอบปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ การสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ มีวัตถุประสงค์เพื่อพิจารณาความสามารถของนักศึกษา ในการทาศึกษา รวมทั้งความสามารถในการนาเสนอผลงาน ทั้งในด้านการพูด การเขียน ความรอบรู้

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


6

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

ในเนื้ อ หาเกี่ ย วกับ เรื่ อ งที่ ท าศึ กษา ความสามารถเชิงความรู้ ความเข้าใจ ความชัด เจน ตลอดจน ปฏิภาณและไหวพริบในการตอบคาถาม ขั้นตอนกำรขอสอบปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ในการขอสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ นักศึกษาต้องผ่านขั้นตอนดังนี้ 1) นักศึกษาได้ใช้เวลาในการทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ไม่น้อยกว่า 3 เดือน นับจากวันที่ได้มีการสอบโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ 2) ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษให้ทา การขอสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษได้ 3) ได้ ส่ ง เล่ ม ปั ญ หาพิ เศษ/โครงงานพิ เศษตามรู ป แบบที่ ภ าควิ ช าก าหนด ให้ คณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ อ่านล่วงหน้าอย่างน้อย 15 วัน ก่อนกาหนดการสอบ

กำรยื่นขอสอบและแจ้งผลกำรสอบปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ให้นักศึกษาดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1) ให้ นักศึกษากรอกรายละเอียดตามแบบฟอร์ม ทน.3 (ภาคผนวก ข.) เสนอต่อเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาปัญหาพิเศษ 2 /โครงงานพิเศษ 2 2) เมื่อการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษเสร็จสิ้นแล้ว ให้คณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/ โครงงานพิเศษร่วมอภิปรายและแสดงความคิดเห็น ต่อจากนั้นให้คณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/ โครงงานพิเศษลงมติตัดสินผลการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษของนักศึกษาผู้นั้น 3) การลงมติตัดสิน ผลการสอบของคณะกรรมการสอบปัญ หาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ต้อง ตัดสินผลการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษว่า “ผ่ำน” หรือ “ผ่ำนโดยมีเงื่อนไข” หรือ “ไม่ผ่ำน” อย่างใดอย่างหนึ่ง 4) ให้ประธานคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษแจ้งมติของคณะกรรมการสอบ ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษต่อหัวหน้าภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากรโดยผ่าน อาจารย์ผู้รับผิ ดชอบวิชาปั ญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษภายใน 7 วัน หลังจากวันสอบปัญหาพิเศษ/ โครงงานพิเศษ โดยใช้แบบฟอร์ม ทน. 3 (ภาคผนวก ข.)

เกณฑ์กำรตัดสินผลกำรสอบปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ในการตัดสินผลการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษของคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/ โครงงานพิเศษ ให้ใช้เกณฑ์ดังนี้ “ผ่ำน” หมายถึง การที่นักศึกษาสามารถแสดงผลการศึกษาของปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ และตอบข้อซักถามเป็นที่พอใจของคณะกรรมการฯ และไม่ต้องมีการแก้ไขหรือเพิ่มเติมสาระสาคัญ นักศึกษาสามารถจัดพิมพ์รูปเล่มปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษฉบับสมบูรณ์ได้ทันที “ผ่ำ นโดยมี เงื่อ นไข” หมายถึง การที่ นั ก ศึก ษายั งไม่ส ามารถแสดงผลงานปั ญ หาพิ เศษ/ โครงงานพิเศษ หรือตอบคาถามให้เป็นที่พอใจของคณะกรรมการฯ ได้อย่างสมบูรณ์ คณะกรรมการ สอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษมีความเห็นว่า สมควรให้แก้ไข หรือเพิ่มเติมสาระสาคัญ /หรือแก้ไข วิธีการเรียบเรียงปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ทั้งนี้คณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ จะต้องระบุเงื่อนไขนั้นๆ พร้อมทั้งระบุระยะเวลาที่กาหนดให้นักศึกษาดาเนินการแก้ไขปรับปรุง แต่ ต้องไม่เกิน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่นักศึกษาทราบผลการตัดสิน ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

7

หากนั กศึกษาไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขภายในระยะเวลาที่กาหนด นักศึกษาต้องแจ้ง เหตุผลพร้อมทั้งขอขยายระยะเวลาการปฏิบัติงานไปยังหัวหน้าภาควิชาพัฒ นาการเกษตรและการ จัดการทรัพยากร โดยผ่านประธานคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ และอาจารย์ ผู้รับผิดชอบวิชาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ มิฉะนั้นจะถือว่าผลการสอบเป็น “ตก” ซึ่งจะมีผลให้ นั ก ศึ ก ษาต้ อ งด าเนิ น การท าปั ญ หาพิ เศษ/โครงงานพิ เศษภายใต้ หั ว ข้ อ ใหม่ และเริ่ม ขั้ น ตอนการ ดาเนินการทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษใหม่ทั้งหมด “ไม่ผ่ำน” หมายถึงนักศึกษาไม่สามารถแสดงผลงานปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษให้เป็นที่ พอใจของคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ และ/หรือไม่สามารถตอบข้อซักถามของ คณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษได้ ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักศึกษา ไม่มีความเข้าใจอย่าง ถ่องแท้ถึงสาระของปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ และ/หรือวิธีการศึกษาที่ตนเองได้ทา

ข้อกำหนดสำหรับนักศึกษำที่สอบ “ไม่ผ่าน” 1) นั กศึกษาที่สอบไม่ “ไม่ผ่าน” จะต้องดาเนินการปรับปรุงจัดทาปัญ หาพิเศษ/โครงงาน พิเศษใหม่ตามคาแนะน าของคณะกรรมการสอบปัญ หาพิเศษ/โครงงานพิเศษภายในระยะเวลาที่ กาหนดให้ 2) เมื่อ สิ้ น สุ ดระยะเวลาที่ กาหนดไว้ใน ข้ อ 1. ให้ นั กศึ ก ษาท าเรื่อ งขอสอบปั ญ หาพิ เศษ/ โครงงานพิเศษต่อคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษอีกครั้ง 3) ให้ประธานคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ แจ้งผลการสอบปัญหาพิเศษ/ โครงงานพิ เศษต่ อ หั ว หน้ า ภาควิ ช าพั ฒ นาการเกษตรและการจั ด การทรั พ ยากร ผ่ า นอาจารย์ ผู้รับผิดชอบวิชาปัญหาพิเศษ 2/โครงงานพิเศษ 2 ตามแบบฟอร์ม ทน.3 (ภาคผนวก ข.) ภายใน 7 วัน 4) หากนักศึกษาไม่สามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขภายในระยะเวลาที่กาหนด นักศึกษาต้องแจ้ง เหตุผล พร้อมทั้งขออนุมัติขยายระยะเวลาการปฏิบัติงานต่อหัวหน้าภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการ จัดการทรัพยากร โดยผ่านประธานคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ และอาจารย์ ผู้รับผิดชอบวิชาปัญหาพิ เศษ/โครงงานพิเศษ มิฉะนั้นจะถือว่าผลการสอบเป็น “ตก” นักศึกษาต้อง ดาเนิ น การจั ดทาปั ญหาพิ เศษ/โครงงานพิเศษภายใต้หั ว ข้อใหม่ และเริ่มต้นขั้นตอนการทาปัญหา พิเศษ/โครงงานพิเศษใหม่ทั้งหมด

ข้อกำหนดสำหรับนักศึกษำที่สอบ “ผ่านโดยมีเงื่อนไข” 1) กรณีที่ผลการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษของนักศึกษา “ผ่านโดยมีเงื่อนไข” และ นักศึกษาได้แก้ไขปรับปรุงปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสอบปัญหา พิ เศษ/โครงงานพิ เศษเรี ย บร้ อ ยแล้ ว นั ก ศึ ก ษาต้ อ งส่ งปั ญ หาพิ เศษ/โครงงานพิ เศษที่ แ ก้ ไขนั้ น ให้ ประธานคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ 2) ให้ประธานคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษรายงานผลการแก้ไขปัญหา พิเศษ/โครงงานพิเศษ ตามแบบฟอร์ม ทน.3 (ภาคผนวก ข.) ต่อหัวหน้าภาควิชาพัฒนาการเกษตรและ การจัดการทรัพยากรเพื่อเสนอผลการแก้ไขนั้นต่อไป

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


8

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

2.9 กำรขอใช้ผลงำนทำงวิชำกำรแทนกำรสอบปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ กรณีที่นักศึกษาสามารถเผยแพร่ผลงานโดยการตีพิมพ์บทความวิจัยในวารสาร หรือนาเสนอ ผลงานวิชาการในการประชุมวิชาการ ให้นักศึกษายื่นแบบฟอร์ม ทน.4 (ภาคผนวก ข) พร้อมแนบ หลักฐาน/เอกสารอนุมัติการตีพิมพ์/การนาเสนอ เพื่อขอใช้ผลงานทางวิชาการแทนการสอบปัญหา พิ เศษ/โครงงานพิ เศษได้ โดยต้อ งได้รั บ การลงนามให้ ผ่ านจากคณะกรรมการสอบ ปั ญ หาพิ เศษ/ โครงงานพิเศษ โดยให้ประธานคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษแจ้งผลการพิจารณา ของคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษต่อหัวหน้าภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการ จัดการทรัพยากรโดยผ่านอาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ

2.10 รูปเล่มปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ กำรพิมพ์ปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษฉบับสมบูรณ์ต้องพิมพ์ตามรูปแบบที่กาหนดไว้ตาม “ข้อกาหนด ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ” อย่างเคร่งครัด เมื่อนักศึกษาได้สอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ “ผ่าน” แล้ว ให้คณะกรรมการสอบปัญหา พิเศษ/โครงงานพิเศษตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาและรูปแบบอีกครั้ง แล้วจึงให้นักศึกษาจัดทา รูปเล่มปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษตามข้อกาหนดได้

แผ่นบันทึกข้อมูลปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ข้อกาหนดสาหรับแผ่นบันทึกข้อมูลที่ใช้และการบันทึกมีดังนี้ 1) กาหนดให้ใช้แผ่นซีดี (CD) บันทึกข้อมูล 2) ให้แจ้งโปรแกรมที่ใช้ในการพิมพ์โดยพิมพ์แล้วติดไว้บนแผ่นบันทึกข้อมูล 3) โปรแกรมที่ใช้ในการพิมพ์ ให้ใช้โปรแกรมการพิมพ์ที่เป็นระบบวินโดว์ที่ใช้กันแพร่หลายใน ปัจจุบัน คือ Microsoft Word for Windows 4) ให้กาหนดแฟ้มข้อมูล ในแผ่นบันทึกข้อมูล แยกตามจานวนบทในปัญหาพิเศษ/โครงงาน พิเศษ ทั้งนี้โดยให้เลขหน้าในปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษต่อเนื่องกันทั้งเล่ม

กำรกำหนดชื่อแฟ้มข้อมูล การกาหนดชื่อแฟ้มข้อมูลให้กาหนดชื่อ ดังนี้ 1) บทคัดย่อ (Abstract) ให้ใช้ชื่อแฟ้มข้อมูลว่า Abstract.doc 2) บทนา (Introduction) ให้ใช้ชื่อแฟ้มข้อมูลว่า Intro.doc 3) เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Literature Review) ให้ใช้ชื่อแฟ้มข้อมูลว่า Liter.doc 4) วิธีดาเนินการศึกษา (Research Methodology) ให้ใช้ชื่อแฟ้มข้อมูลว่า Method.doc 5) ผลการศึกษา (Results) ให้ใช้ชื่อแฟ้มข้อมูลว่า Results.doc 6) สรุ ป ผล อภิ ป รายผลการศึ ก ษา และข้ อ เสนอแนะ (Conclusion Discussion and Suggestion) ให้ใช้ชื่อแฟ้มข้อมูลว่า Conclude.doc 7) บรรณานุกรม (Bibliography) ให้ใช้ชื่อแฟ้มข้อมูลว่า Biblio.doc 8) ภาคผนวก (Appendix) ให้ใช้ชื่อแฟ้มข้อมูลว่า Appendix.doc 9) ส่วนอื่นๆ เช่น ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

9

- ปก (Cover) ให้ใช้ชื่อแฟ้มข้อมูลว่า Cover.doc - ใบรับรอง (Approval Sheet) ให้ใช้ชื่อแฟ้มข้อมูลว่า Approv.doc - คาขอบคุณหรือกิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) ให้ใช้ชื่อแฟ้มข้อมูลว่า Acknow.doc - สารบัญ (Contents) ให้ใช้ชอื่ แฟ้มข้อมูลว่า Conts.doc

กำรลงนำมใน “หน้ำเสนอปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ” และ “หน้ำอนุมัติ” มีข้อกาหนดดังนี้ 1) “หน้ ำ เสนอปั ญ หำพิ เศษ/โครงงำนพิ เศษ” และ “หน้ ำ อนุ มั ติ ” ต้ อ งมี ผู้ ที่ ได้ รั บ การ กาหนดไว้ ลงนามให้ครบถ้วน 2) “หน้ ำ เสนอปั ญ หำพิ เ ศษ/โครงงำนพิ เศษ ” และ “หน้ ำ อนุ มั ติ ” ให้ ป ระธาน คณะกรรมการปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ คณะกรรมการปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ และหัวหน้า ภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากรเป็นผู้ลงนาม ตามลาดับ และให้เสนอเฉพาะแผ่นที่ ต้องการลงนามเพียงแผ่นเดียว

2.11 กำรส่งปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ และแผ่นบันทึกข้อมูล นักศึกษาต้องส่ง “ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษฉบับสมบูรณ์” จานวน 3 เล่ม พร้อมแผ่น บันทึกข้อมูลปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ 1 ชุด และแบบฟอร์ม ทน.3 (ภาคผนวก ข.) ผ่านอาจารย์ ผู้รับผิดชอบรายวิชาภายในระยะเวลาไม่เกิน 30 วัน หลังจากวันที่สอบผ่าน หากนั ก ศึ ก ษาส่ งเล่ ม ปั ญ หาพิ เศษ/โครงงานพิ เศษ และแผ่ น บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ปั ญ หาพิ เศษ/ โครงงานพิเศษหลังจากสอบปัญหาพิเศษผ่านเกิน 30 วัน ให้ถือว่าเป็นการส่งปัญหาพิเศษ/โครงงาน พิเศษ และแผ่นบันทึกข้อมูลปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษล่าช้า นักศึกษาต้องชาระค่าปรับ วันละ 50 บาท แต่ทั้งนี้การล่าช้าต้องไม่เกิน 2 ภาคการศึกษา โดยนักศึกษาจะได้เกรด “I” หรือ Incomplete หมายถึงได้ค่าคะแนนไม่สมบูรณ์ หลังจากนั้นจะ ยกเลิกผลการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนและเริ่มขั้นตอนการทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษใหม่ทั้งหมด

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

10

วิชำปัญหำพิเศษ 1 /โครงงำนพิเศษ 1

นักศึกษาลงทะเบียนวิชาปัญหาพิเศษ 1/โครงงานพิเศษ 1

นักศึกษาเสนอหัวข้อและโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาตามแบบฟอร์ม ทน.1 หัวหน้าภาควิชาเสนออนุมัติขอแต่งตั้งกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ นักศึกษาจัดทาโครงร่างปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ และดาเนินการสอบโครงร่างโดยการผ่าน การพิจารณาจากกรรมการ 4 ท่าน ตามแบบฟอร์ม ทน.2 นักศึกษาทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ โดยใช้เวลาไม่น้อยกว่า 3 เดือน

กรณี ทน.4

นักศึกษาขอสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ หรือขอใช้ผลงานทางวิชาการแทนการสอบ โดยผ่านความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา ตามแบบฟอร์ม ทน.3/ทน.4 นักศึกษาสอบปัญหาพิเศษ /โครงงานพิเศษ ตามกาหนดการ ประธานคณะกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ รายงานผลต่อหัวหน้าภาควิชา ภายใน 7 วันหลัง จากวันสอบ ตามแบบฟอร์ม ทน.3/ทน.4

วิชำปัญหำพิเศษ2 /โครงงำนพิเศษ2

ผลการสอบ/ พิจารณา

ไม่ผา่ น

ผ่านอย่างมีเงื่อนไข ต้องแก้ไข ภายในไม่เกิน 30 วัน

สอบผ่าน

จัดทาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษฉบับสมบูรณ์จานวน 3 เล่ม และแผ่นบันทึกข้อมูล 1 ชุด ให้ภาควิชาฯ ภายในไม่เกิน 30 วัน หลังจากวันที่สอบผ่านตามแบบฟอร์ม ทน.3/ทน.4

แผนภำพที่ 1 แสดงขั้นตอนดาเนินการปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

11

บทที่ 3

ส่วนประกอบของปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ เป็นผลงานการศึกษาค้นคว้าวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มีข้ อ มู ล ที่ ถูก ต้ อ ง มี คุ ณ ค่า สามารถน าไปอ้างอิ ง หรือ ให้ ผู้ อื่ น ได้ ใช้ ศึก ษาค้ น คว้ าสื บ ต่ อ ไปได้ การ นาเสนอผลงานวิจัยจึงมีความสาคัญไม่น้อยไปกว่าเนื้อหาของงานวิจัย ดังนั้นภาควิชาพัฒนาการเกษตร และการจัดการทรัพยากร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง จึงกาหนดรูปแบบและการจัดพิมพ์ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษของนักศึกษา หลักสูตร พัฒนาการเกษตรและหลักสูตรนิเทศศาสตร์เกษตรออกเป็น 3 ส่วน ตามลาดับดังนี้ คือ

3.1 ส่วนที่ 1 ส่วนนำ (The Front Matter or Preliminaries) ประกอบด้วย 3.1.1 3.1.2 3.1.3 3.1.4 3.1.5 3.1.6 3.1.7 3.1.8 3.1.9

ปกนอก (Cover) กระดาษรองปก (Fly Leaf) ปกใน (Title Page) ใบรับรองปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ (Approval Sheet) บทคัดย่อ (Abstract) กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) สารบัญ (Table of Contents) สารบัญตาราง (List of Tables) สารบัญภาพ (List of Illustration or Figures)

3.2 ส่วนที่ 2 ส่วนเนื้อหำหลัก ประกอบด้วย 3.2.1 บทที่ 1 บทนา (Introduction) 3.2.2 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (Literature Review) 3.2.3 บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา (Research Methodology) 3.2.4 บทที่ 4 ผลการศึกษา (Results) 3.2.5 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ (Conclusion Discussion and Suggestion)

3.3 ส่วนที่ 3 ส่วนท้ำย ประกอบด้วย 3.3.1 บรรณานุกรม (Bibliography) 3.3.2 ภาคผนวก (Appendix, Appendices) 3.3.3 ประวัติผู้ศึกษา (Author Biography)

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


12

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

คำอธิบำยส่วนประกอบของปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ส่วนที่ 1 ส่วนนำ 1) ปกนอก (Cover) (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 1) ข้อความส่วนบนประกอบด้วยคาว่า ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ถัดลงมาเป็น ชื่อปัญ หา พิเศษ/โครงงานพิเศษภาษาไทย และภาษาอังกฤษ โดยแยกระยะห่างกัน 1 บรรทัด ข้อความส่วนกลาง ประกอบด้วย ชื่อและนามสกุลผู้เขียนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษโดย ไม่ใช้คานาหน้านาม เช่น นาย นาง นางสาว ร้อยตรี ฯลฯ ข้อความส่วนล่าง ประกอบด้วย หลักสูตรพัฒนาการเกษตร ใช้คาว่า หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (พัฒนาการเกษตร) ภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. ........... (ปีพ.ศ. ที่ส่งเล่มปัญหาพิเศษฉบับสมบูรณ์) หลักสูตรนิเทศศาสตร์เกษตร ใช้คาว่า หลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (นิเทศศาสตร์เกษตร) ภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. ........... (ปีพ.ศ. ที่ส่งเล่มโครงงานพิเศษฉบับสมบูรณ์) 2) กระดำษรองปก (Fly Leaf) ใช้กระดาษขาวปราศข้อความใดๆ ทั้งสิ้น 3) ปกใน (Title Page) ข้อความเขียนเหมือนปกนอกทุกประการ (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 1/2) 4) ใบรับรองปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ (Approval Sheet) (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 3/4) 5) บทคั ด ย่อ (Abstract) ประกอบด้ว ยหั ว ข้อปัญ หาพิ เศษ/โครงงานพิ เศษ ชื่อนักศึกษา รหัสประจาตัวนักศึกษา ชื่อ ปริญญา ชื่อสาขา พ.ศ. ที่ส่งปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ชื่ออาจารย์ ที่ ปรึกษาปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 5/6) 6) กิตติกรรมประกำศ (Acknowledgement) ให้กล่าวขอบคุณชื่อบุคคลที่มีส่วนร่วมให้ ความช่วยเหลือจนปัญหาพิเศษสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ซึ่งได้แก่ อาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ/โครงงาน พิเศษ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการให้ข้อมูล รวมทั้งแหล่งทุน (ถ้ามี) (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 7)

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

13

7. สำรบั ญ (Table of Contents) เป็นรายการแสดงเลขหน้าตามล าดับความส าคัญ ใน ปัญหาพิเศษ โดยใช้ตัวอักษรโรมัน I II III IV V…แสดงหน้าบทคัดย่ อถึงสารบัญภาพ (ถ้ามี) และให้ใช้ ตัวเลขอารบิคตั้งแต่หน้าบทนาไปจนถึงหน้าสุดท้าย (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 8) 8. สำรบัญตำรำง (List of Tables) เป็นรายการแสดงเลขหน้าตามลาดับของตารางต่างๆ รวมทั้งตารางในภาคผนวกที่มีอยู่ในปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 9) 9. สำรบัญภำพ (List of Illustration or Figures) เป็นรายการแสดงเลขหน้าของตามลาดับ ของรูปภาพ แผนที่ กราฟ ฯลฯ ทั้งหมดที่มีอยู่ในปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 10)

ส่วนที่ 2 ส่วนเนื้อหำหลัก 1) บทที่ 1 บทนำ (Introduction) เป็นส่วนเริ่มต้นของเนื้อหา ประกอบด้วย (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 11) 1.1) ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ (Statement and Significance of the Problems) กล่าวถึงที่มาของเรื่องที่จะทาวิจัย เนื่องมาจากเหตุอะไร กล่าวถึงปัญหาที่เป็น จุดสนใจในกรณีการค้นคว้า การวิจัยให้ประโยชน์อะไรบ้าง และจะก่อประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมอย่างไร 1.2) วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องกำรศึ ก ษำ (Objective) ระบุ ถึ ง ความมุ่ ง หมาย และ วัตถุประสงค์ของการศึกษาว่าต้องการพิสูจน์เรื่องอะไร หรือต้องการรู้เรื่องอะไรบ้าง 1.3) สมมติ ฐ ำนของกำรศึ ก ษำ (Hypothesis to be Tested) เป็ น การตอบ คาถามล่วงหน้าจากวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยการอ้างอิงหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 1.4) ขอบเขตของกำรศึกษำ (Scope of the Study) เป็นการระบุว่าการศึกษา นั้นจะทาในเรื่องอะไร มีขอบเขตกว้างหรือแคบเพียงไร 1.5) ขั้ น ตอนกำรศึ ก ษำ (Process of the Study) เป็ น การระบุ ให้ ท ราบว่ า มี ขั้นตอนอะไรบ้างโดยสรุป 1.6) ข้อ ตกลงเบื้องต้น (Assumption) เป็ นการกล่ าวให้ ทราบว่าการศึกษานี้ มี อะไรเป็นเงื่อนไข 1.7) ข้อจำกัดของกำรศึกษำ (Limitation of the Study) ระบุถึงกรณีห รือตัว แปรที่ควบคุมไม่ได้ เช่น ข้อจากัดของระยะเวลาหรืองบประมาณ หรือตัวแปรอื่นๆ 1.8) คำจำกัดควำมที่ใช้ในกำรศึกษำ (Definition) หมายถึงกรณีที่กาหนด หรือ นิยามศัพท์เฉพาะขึ้นมา เพื่อประโยชน์ในการศึกษา หรือเป็นศัพท์ทางวิชาการ (Technical Term) ควรอธิบายไว้ให้ชัดเจน 2) บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง (Literature Review) เป็ น การกล่ า วถึ ง แนวคิด ทฤษฎี วรรณกรรม หรือผลงานวิจัยที่มีผู้ศึกษามาแล้ว และมีความสาคัญต่องานวิจัยนี้ เพื่อ เป็นแนวทางเข้าสู่กระบวนการวิจัย (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 12) 3) บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรศึกษำ (Research Methodology) เป็นการกล่าวถึงสาระดังนี้ (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 13) 3.1) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.2) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 3.3) ขั้นตอนการศึกษา 3.4) การวิเคราะห์ข้อมูล ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


14

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

4) บทที่ 4 ผลกำรศึกษำ (Results) เป็นการนาผลของการศึกษาข้อมูลมากล่าวโดยละเอียด อาจมีตารางหรือภาพประกอบไว้ด้วย หรืออาจมีวิธีการทางสถิติประกอบเพื่อให้การตีความข้อมูล ชัดเจน (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 14) 5) บทที่ 5 สรุปผล อภิปรำยผลกำรศึกษำ และข้อเสนอแนะ (Conclusion Discussion and Suggestion) เป็นการกล่าวถึงสาระ ดังนี้ (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 17) 5.1) สรุปผลการศึกษา 5.2) อภิปรายผลการศึกษา 5.3) ข้ อ เสนอแนะ ซึ่ ง จะประกอบด้ ว ย ข้ อ เสนอแนะจากผลการศึ ก ษา และ ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาครั้งต่อไป โดยในส่วนของเนื้อความสามารถแทรกตาราง (Tables) และภาพ (Illustration or Figures) ปนไปในแต่ละบทของตัวเนื้อเรื่องที่มีความสัมพันธ์กัน (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 15/16)

ส่วนที่ 3 ส่วนท้ำย 1) บรรณำนุกรม (Bibliography) คือรายชื่อหนังสือ หรือเอกสาร หรือสื่ออื่นๆ ที่ได้อ้างอิง ในระบบนามปีไว้ในปัญหาพิเศษ 2) ภำคผนวก (Appendix) (ถ้ ามี ) เป็ น ส่ ว นที่ ช่ ว ยให้ ผู้ อ่ า นเข้ าใจเนื้ อ หาปั ญ หาพิ เศษ/ โครงงานพิ เศษได้ ล ะเอี ย ดชัด เจนยิ่ งขึ้ น หรื อ ได้ รับ ความรู้ เพิ่ ม ขึ้ น จากตั ว เนื้ อเรื่อ ง ซึ่ งได้ แ ก่ แบบ สัมภาษณ์ แบบสอบถาม เวลาที่ใช้ในการวิจัย งบประมาณเพื่อการวิจัย ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการ ทาปัญหาพิเศษ หรือข้อมูลบางประการ ภาคผนวกอาจจะมีมากกว่า 1 ภาคผนวกก็ได้ โดยกาหนดเป็น ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข หรือ ภาคผนวก ค เป็นต้น 3) ประวัติผู้ศึกษำ ในส่วนประวัติผู้ศึกษา (Author Biography) ให้กล่าวถึงชื่อ นาย/นาง/นางสาว ตามด้วยชื่อ วัน เดือน ปีเกิด และสถานที่เกิด วุฒิการศึกษาขั้นปริญญา สถานศึกษา ปี พ.ศ. ที่สาเร็จการศึกษา รางวัล ทุนการศึกษา (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 18)

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

แผนภำพที่ 2 แสดงองค์ประกอบของปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ปก กระดำษรองปก ปกใน ใบรับรองปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกำศ สำรบัญ / สำรบัญตำรำง / สำรบัญภำพ บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรศึกษำ บทที่ 4 ผลกำรศึกษำ บทที่ 5 สรุปผล อภิปรำยผลกำรศึกษำ และข้อเสนอแนะ บรรณำนุกรม ภำคผนวก ประวัติผู้ศึกษำ

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.

15


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

16

บทที่ 4

กำรพิมพ์ปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ก่อนพิมพ์ปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ นักศึกษาจะต้องศึกษาข้อกาหนดและรูปแบบการ พิมพ์ตามคู่มือที่กาหนดก่อน เพื่อให้รูปแบบการพิมพ์ได้มาตรฐานเดียวกัน โดยมีรายละเอียด ดังนี้

4.1 กระดำษที่ใช้พิมพ์ กระดาษที่ใช้พิมพ์จะต้องเป็นกระดาษสีขาวไม่มีบรรทัด ขนาด A4 (กว้าง 210 ม.ม. ยาว 297 ม.ม.) ชนิด 70 หรือ 80 แกรม และใช้เพียงหน้าเดียว

4.2 ตัวพิมพ์ การพิมพ์ ปกนอกปั ญหาพิเศษ คาว่า ปัญ หาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ใช้อักษร ขนำด 24 พอยท์ ชื่อเรื่อง ชื่อนักศึกษา ทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ (ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่หมด) รายละเอียดหลักสูตร และปี พ.ศ. ให้ใช้อักษรขนำด 20 พอยท์ โดยใช้แบบ TH SarabunPSK ตัวเข้มทั้งหมด

4.3 กำรทำสำเนำ การท าส าเนาปั ญ หาพิ เ ศษ/โครงงานพิ เ ศษก าหนดให้ ใ ช้ วิ ธี ถ่ า ยส าเนาเอกสาร (Photocopy) โดยต้องเป็นสาเนาที่มีคุณภาพดี ไม่ลบเลือนง่าย มีความชัดเจนและคงทนของตัวอักษร

4.4 กำรเว้นระยะกำรพิมพ์ การย่อหน้ าให้ เว้น ระยะ 7 ช่วงอักษร เริ่มพิมพ์ตัวอักษรที่ 8 บรรทัดหนึ่งให้ พิมพ์ให้ ได้ ใจความประมาณ 60 ตัวอักษร

4.5 กำรเว้นระยะห่ำงจำกริมกระดำษ - ด้านบนให้เว้นระยะห่างจากขอบกระดาษ 1 นิ้ว (หรือ 25.4 ม.ม.) - ด้านซ้ายมือให้เว้นระยะห่างจากขอบกระดาษ 1.5 นิ้ว (หรือ 38.1 ม.ม.) - ด้านขวามือให้เว้นระยะห่างจากขอบกระดาษ 1 นิ้ว (หรือ 25.4 ม.ม.) - ด้านล่างให้เว้นระยะห่างจากขอบกระดาษ 1 นิ้ว (หรือ 25.4 ม.ม.)

4.6 กำรลำดับหน้ำและกำรพิมพ์เลขหน้ำ 1) ในส่วนที่ 1 คือตั้งแต่บทคัดย่อถึงสารบัญภาพ (ถ้ามี) ให้ใช้ตัวอักษรโรมัน I II III IV V แสดงเลขหน้า โดยพิมพ์ไว้ตรงกลางส่วนของหน้า 2) ในส่วนของเนื้อหา ให้ใช้ตัวเลขอารบิค 1 2 3 4 5 แสดงโดยพิมพ์ไว้ด้านบนขวามือห่าง จากขอบกระดาษด้านบน 0.5 นิ้ว และริมขอบกระดาษด้านนอก 1 นิ้ว 3) หน้าที่เป็นบทที่ (คือหน้าแรกของแต่ละบท) ไม่ต้องใส่เลขหน้าแต่ให้นับหน้า

4.7 กำรแบ่งบท หัวข้อใหญ่และหัวข้อย่อย บทที่ (เช่น บทที่ 1) ให้พิมพ์อยู่กลางหน้ากระดาษ ตัวเข้ม ขนำด 20 พอยท์ ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

17

ชื่อเรื่องประจำบท (รวมทั้งกิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ ภาคผนวก ประวัติผู้ศึกษา) ให้ พิมพ์ไว้กลางหน้ากระดาษด้วยตัวอักษรเข้ม ขนำด 24 พอยท์ โดยหน้าแรกของแต่ละบทและหน้าแรก ภาคผนวกไม่ต้องใส่เครื่องหมายเลขกากับ ก่อนจะพิมพ์เนื้อความต่อไปให้เว้นไว้ 1 บรรทัดปกติ หัว ข้อใหญ่ คือหั วข้อที่ไม่ใช่ชื่อเรื่องประจาบทให้ พิมพ์ไว้ชิดขอบด้านซ้าย และใส่ เลข หมายประจาบทด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (.) และตามด้วยเลขลาดับของหัวข้อ เว้น 2 ตัวอักษรแล้ว ตามด้วยชื่อหัวข้อใช้ตัวเข้ม ขนำด 18 พอยท์ และพิมพ์เว้นระยะห่างจากบรรทัดบน ½ บรรทัด วิธีการกาหนดหมายเลขหัวข้อ 1.1// (หัวข้อใหญ่ของบทที่ 1) …………………………………………………………. 1.1.1// (หัวข้อย่อย) …………………………………………………………………….. 1.1.1.1// (หัวข้อย่อยของ 1.1.1) …………………………………………… 1.1.1.1.1// (หัวข้อย่อยของ 1.1.1.1) …………………………………. หรือจะใช้ 1) แทนในระดับที่ 1.1.1.1// เพื่อลดความยาวของตัวเลขหัวข้อ เช่น 1.1// (หัวข้อใหญ่ของบทที่ 1) …………………………………………………………. 1.1.1// (หัวข้อย่อย) …………………………………………………………………….. 1)// (หัวข้อย่อยของ 1.1.1) …………………………………………… 1.1)// (หัวข้อย่อยของ 1.1.1.1) …………………………………. ในแต่ละบทไม่จาเป็นต้องแบ่งหัวข้อย่อยเหมือนกันทุกบท โดยทั่วไปบทสรุปจะไม่มีหัวข้อ ย่อย เนื้อเรื่อง ให้ใช้ตัวอักษรสีดาแบบ TH SarabunPSK ขนำด 16 พอยท์ (ขนาดความสูง ประมาณ 2 ม.ม.) และเป็ นตัวอักษรแบบเดียวกันตลอดทั้งเล่มสาหรับสัญญลั กษณ์ หรือตัวพิมพ์ซึ่ง เครื่องพิมพ์ไม่มีให้เขียนด้วยหมึกสีดาอย่างประณีต

4.8 กำรพิมพ์ตำรำง ให้แทรกปนไปในแต่ละบทของตัวเนื้อเรื่องที่มีความสัมพันธ์ โดยให้เว้นไว้ 1 บรรทัดก่อน พิมพ์คาว่าตารางที่ ตามด้วยตัวเลข (ใช้อักษรตัวเข้ม) ไว้ชิดด้านซ้าย ตามด้วยชื่อตาราง (ใช้อักษรตัว ปกติ) ถ้าชื่อตารางมีความยาวเกินกว่า 1 บรรทัด ให้พิมพ์บรรทัดบนยาวกว่าบรรทัดล่าง โดยบรรทัด ล่างเริ่มตรงกับ อักษรตัว แรกของชื่อตาราง โดยไม่ต้องเว้นบรรทัด ถ้าบรรทัดมีความกว้างมากให้ ย่อส่วนลงแต่ต้องอ่านได้ชัดเจน หรือจะพิมพ์ตามแนวขวางของกระดาษก็ได้ แต่ถ้าตารางมีความยาว มากจนไม่สามารถจะบรรจุไว้ ภายในหน้าเดียวให้ พิมพ์ตาราง ในหน้าถัดไปไว้ชิดขอบด้านซ้าย โดย พิมพ์คาว่า (ต่อ) ไว้ด้ว ย เช่น ตารางที่ 1.1 (ต่อ) เมื่อหมดตารางให้ เว้น 1 บรรทัด ก่อนพิ มพ์ ต่อไป ตามปกติ (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 15)

4.9 กำรพิมพ์รูปภำพ ให้เว้น 1 บรรทัดก่อนจัดวางรูปกลางหน้ากระดาษและใส่คาว่า “ภาพที่” ตามด้วยตัวเลข (ใช้อักษรตัวเข้ม) ตามด้วยคาบรรยายภาพไม่เกิน 1 บรรทัดให้วางไว้ตรงกลางใต้ภาพ (ใช้อักษรตัว ปกติ) ถ้าคาบรรยายเกินกว่า 1 บรรทัดให้วางไว้ชิดขอบด้านซ้าย และเว้น 1 บรรทัดก่อนพิมพ์ปกติ ต่อไป และหากอ้างอิงให้ระบุแหล่งที่มาไว้ด้านล่างด้วย (ภาคผนวก ก. ตัวอย่างที่ 16) การเรียงหมายเลขภาพที่ ให้เรียงเหมือนการเรียงตาราง

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


18

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

4.10 กำรพิมพ์สำรบัญ สำรบัญตำรำง สำรบัญภำพ ให้พิมพ์คาว่า “สารบัญ” “สารบัญตาราง” “สารบัญภาพ” ไว้กลางหน้ากระดาษห่างจาก ขอบบน 1 นิ้ว ขนำดตัวอักษร 24 พอยท์ ตัวเข้ม เว้น 1 บรรทัดพิมพ์คาว่า “หน้า” ชิดขวา ส่วนเลขหน้าให้พิมพ์ไว้ตรงกับแนวขอบด้านขวา และพิมพ์จุดไข่ปลาเชื่อมกับเนื้อหา ถั ด มา 1 บรรทั ด จะเป็ น เนื้ อ หาของสารบั ญ ระหว่ า งบทต่ า งๆ บรรณานุ ก รม และ ภาคผนวกให้ เว้น 1 บรรทัด ส่ วนสารบั ญ ตาราง สารบั ญ ภาพ คาว่า “ตารางที่ ” “ภาพที่ ” ไว้ ซ้าย หน้ากระดาษ (บรรทัดเดียวกับคาว่า หน้า) เว้น 1 บรรทัดพิมพ์ จึงเริ่มพิมพ์เลขตาราง/ภาพ และตาม ด้วยชื่อตาราง/ภาพ ส่วนเลขหน้าให้พิมพ์ไว้ตรงกับแนวขอบด้านขวา และพิมพ์จุดไข่ปลาเชื่อมกับ ชื่อ ตาราง/ภาพ

4.11 กำรพิมพ์ชื่อวิทยำศำสตร์ การพิ ม พ์ ชื่ อ วิ ท ยาศาสตร์ ข องจุ ล ชี พ พื ช สั ต ว์ ให้ ใช้ ต ามประมวลนามศาสตร์ ส ากล (International Code Nomenclature) ทาให้เด่นชัดแตกต่างจากอักษรอื่นหรือข้อความอื่นๆ โดย ขีดเส้นใต้ หรือ พิมพ์ด้วย ตัวเอน อย่างใดอย่างหนึ่ง ชื่อวิทยาศาสตร์เป็นไปตาม Binomial system หรื อ ประกอบด้ ว ย 2 ค าแรก เป็ น ชื่ อ Genus ขึ้ น ต้ น ด้ ว ยอั ก ษรพิ ม พ์ ใหญ่ ค าหลั ง เป็ น Specific epithet เขี ย นห่ า งจากค าแรกเล็ ก น้ อ ย และขึ้ น ต้ น ด้ ว ยตั ว อั ก ษรพิ ม พ์ เล็ ก ท้ า ยชื่ อ เฉพาะทาง วิทยาศาสตร์ มักมีชื่อบุคคลแรกที่กาหนดชื่อและคาบรรยายของสิ่งมีชีวิตนั้นกากับอยู่ด้วย ชื่อของ บุ ค คลมั ก ใช้ ชื่ อ สกุ ล เท่ านั้ น ถ้ าเป็ น ชื่ อ ผู้ มี ชื่ อ เสี ย งและเป็ น ที่ รู้จัก แพร่ห ลายแล้ ว จะใช้ ชื่ อ ย่ อ เช่ น Linnaeus ย่อเป็น Linn. หรือ L. ในบางครั้งมีผู้กาหนดชื่อ 2 คน ก็ให้ใช้ 2 ชื่อ เช่น ก. จุลชีพ เช่น Escherichia coli, Bacillus subtilis, Azospirillum brasilense ข. พืช เช่น Coccinia grandis L., Canna indica Linn., Cocos nucifera Linn. ค. สัตว์ เช่น Ptilolaemus ticketi, Panthera tigris

4.12 สมกำรคณิตศำสตร์ สมการคณิตศาสตร์สามารถที่จะพิมพ์แทรกปนลงไปในเนื้อหาได้ และหากต้องการความ เป็นระเบียบให้แยกเฉพาะบรรทัดไว้ โดยบรรทัดที่พิมพ์สมการนั้นควรมีระยะห่างจากบรรทัดปกติบน และล่าง 1 บรรทัด ตัวสมการควรเขียนไว้ประมาณกลางหน้ากระดาษตามความเหมาะสม หมายเลขสมการพิ มพ์ ชิดขวาไว้ในวงเล็ บ การเรียงหมายเลขสมการให้ เรียงตามบทที่ เช่นเดียวกับการเรียงตารางและภาพ เช่น S.D. =   (i −)  −

(4.1)

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

19

4.13 กำรพิมพ์ภำษำต่ำงประเทศ สาหรับคาในภาษาต่างประเทศให้พิมพ์ทับศัพท์เป็นภาษาไทยโดยวงเล็บภาษาต่างประเทศ ในคาแรกตามความจาเป็น เช่น เทคนิค (Technique) และการพิมพ์ภาษาต่างประเทศไม่นิยมใส่รูป วรรณยุกต์ เช่น Technology เป็น เทคโนโลยี Oxygen เป็น ออกซิเจน Condenser เป็น คอนเดนเซอร์ คาที่เป็นพหุพจน์ ไม่เติม “ส” หรือ “ส์” ในภาษาไทย เช่น Games เป็น เกม Integrals เป็น อินทิกรัล Semigroups เป็น เซมิกรุป ยกเว้นคานามที่ใช้เป็นชื่อเฉพาะ เช่น SEAGAMES เป็น ซีเกมส์ ASIAIN GAMES เป็น เอเซียนเกมส์ BANGKOK AIRWAYS เป็น บางกอกแอร์เวส์

4.14 กำรพิมพ์เครื่องหมำยวรรคตอนสำหรับกำรพิมพ์เนื้อหำ เครื่องหมาย มหัพภาค (.) ให้พิมพ์ เว้นระยะ 2 ช่วงตัวอักษร เครื่องหมาย จุลภาค (,) ให้พิมพ์เว้นระยะ 1 ช่วงตัวอักษร เครื่องหมาย อัฒภาค (;) ให้พิมพ์ เว้นระยะ 1 ช่วงตัวอักษร เครื่องหมาย มหัพภาคคู่ (:) ให้พิมพ์เว้นระยะ 1 ช่วงตัวอักษร เครื่องหมาย อัญประกาศ (“ ”) ให้พิมพ์เว้นระยะ 1 ช่วงตัวอักษร

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


20

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

บทที่ 5

กำรอ้ำงอิง การอ้างอิง (Citation) หมายถึง เอกสารอ้างอิงที่ใช้ในการเขียนปัญ หาพิเศษ/โครงงาน พิเศษ เป็ น การแจ้ งให้ ท ราบถึงแหล่ งที่มาของข้อความ แนวความคิดหรือข้อความใดๆ ที่ มิได้เป็ น ผู้เขีย นเอง ทั้งนี้เพื่อเป็ น การให้ เกียรติแก่บุ คคลหรือองค์กร ผู้ เป็นเจ้าของแนวคิด หรือข้อมูล นั้นๆ รวมทั้งอานวยสะดวกแก่ผู้อ่านที่มีความประสงค์อยากทราบรายละเอียดอื่นๆ จากต้นฉบับเดิม เพื่อ ติดตามค้นคว้าได้ถูกต้อง การอ้างอิงอาจสรุปใจความสาคัญเดิม หรืออาจยกข้อความโดยรักษารูปแบบ การเขียนตามต้นฉบับเดิมไว้ทุกประการก็ได้ เพราะในรายการอ้างอิงจะต้องมีความถูกต้อง แม่นยา และสามารถตรวจสอบแหล่งที่มาได้ เมื่อสิ้นสุดเนื้อหาในปัญหาพิเศษบรรดาเอกสาร และข้อมูลต่างๆ ที่ อ้ า งอิ ง นั้ น จะถู ก น ามาเรี ย งตามล าดั บ ที่ ไ ด้ อ้ า งถึ ง ในเนื้ อ หา รวมเรี ย กว่ า “รายการอ้ า งอิ ง (References)” หรืออาจจัดลาดับ ของเอกสารที่ได้อ้างอิงนั้นตามตัวอักษรของชื่อผู้ เขียน ซึ่งรวม เรียกว่า “บรรณานุกรม (Bibliography)” ในการเขียนรายการเอกสารอ้างอิง ในปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษของภาควิชาพัฒนาการ เกษตรและการจัดการทรัพยากร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ ทหารลาดกระบัง ได้กาหนดการอ้างอิงไว้ 2 ลักษณะ คือ การอ้างอิงแบบแทรกปนในเนื้อหา ระบบ นาม-ปี และการอ้างอิงแบบแทรกปนในเนื้อหา ระบบลาดับหมายเลข 5.1 กำรอ้ำงอิงแบบแทรกปนในเนื้อหำ ระบบนำม-ปี การใช้การอ้างอิงแบบแทรกปนในเนื้อหา ระบบนาม-ปี จะกาหนดให้อยู่ในเนื้อหาส่วนที่ ผู้เขีย นอ้างถึง โดยการอ้างอิงให้ ระบุ น ามผู้แต่ง และปีที่พิมพ์ และอาจระบุเลขหน้าของเอกสารที่ อ้างอิงต่อจากปีที่พิมพ์ โดยคั่นด้วยเครื่องหมายมหัพภาคคู่ ( : ) ซึ่งการอ้างอิงสามารถปรากฏได้ทั้งต้น หรือท้ายประโยคตามรูปประโยคที่เขียนขึ้น กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำต้นประโยค

กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค

ชื่อ- สกุล/(ปีพิมพ์/:/เลขหน้า)

(ชื่อ- สกุล./ปีพิมพ์/:/เลขหน้า)

หมายเหตุ เครื่องหมาย / หมายถึง เว้นวรรค 1 ครั้ง ตัวอย่ำง (ผู้แต่งอยู่ตน้ ประโยค) สนธยา พลศรี (2545 : 5) อธิบายความหมายของการพัฒ นาว่า หมายถึง กระบวนการ เปลี่ยนแปลงของสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ดีขึ้น ทั้งด้านคุณภาพ ปริมาณ และสิ่งแวดล้อม…….. Poplin (1972 : 8) ได้ให้ความหมายของชุมชน คือ กลุ่มที่มีความร่วมมือกัน มีความรู้สึก เป็นเจ้าของชุมชนร่วมกัน มีการสมาคมแบบเผชิญหน้ากัน ………………. ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

21

ตัวอย่ำง (ผู้แต่งอยู่ท้ำยประโยค) … นักสังคมวิทยาได้ให้ความหมายของ “การพัฒนา” ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ของสังคม ซึ่งได้แก่ คน กลุ่ม การจัดระเบียบความสัมพันธ์ทางสังคม ด้วยการจัดสรรทรัพยากรของ สังคมอย่างยุติธรรม และมีประสิทธิภาพ (ฑิตยา สุวรรณชฏ. 2527 : 354) การพัฒนาเป็นทั้งเป้าหมาย และกระบวนการที่ครอบคลุ มถึงทั้ งการเปลี่ ยนแปลงทั ศนคติของคนต่อชีวิตและการท างาน การ เปลี่ยนแปลงสถาบันต่างๆ ทางสังคม วัฒนธรรมและการเมืองอีกด้วย (Streeten. 1972 : 3) และในกรณีที่ ระบุนามผู้แต่งไว้แล้วในเนื้อหาหรือข้อความนั้น การอ้างอิงไม่จาเป็นต้อง ระบุถึงนามผู้แต่งซ้าอีกในวงเล็บ ให้ระบุเฉพาะปีที่พิมพ์และเลขหน้าที่อ้างอิง ยกเว้น เมื่ออ้างชื่อชาว ต่างประเทศเป็นภาษาไทย ต้องกากับชื่อภาษาต่างประเทศไว้ในวงเล็บด้วย ตัวอย่ำง ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ (2522: 41) กล่าวถึงหลักปฏิบัติของมุสลิม ดังนี้ .............. แบร์เนตร์ (Barnett. 1953:3) ให้ความหมายของ “นวกรรม” ไว้ดังนี้ ............... ในการอ้างอิงอาจมีกรณีแตกต่างกันดังต่อไปนี้ 1) ผู้แต่งคนเดียว

กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำต้นประโยค

กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค

ประเวศ วะสี (2550) สมศรี อมาตยกุล (2549 : 42) Adam (2010) Kidd (1987 : 15-16) (ประเวศ วะสี. 2550) (สมศรี อมาตยกุล. 2549 : 42) (Adam. 2010) (Kidd. 1987 : 15-16)

2) ผู้แต่ ง 2 คน ให้ ระบุชื่อผู้ แต่งและชื่อสกุล ของผู้ แต่งทั้ง 2 คน เชื่อมด้วยคาว่า และ สาหรับชาวต่างประเทศให้ใส่เฉพาะชื่อสกุล และเชื่อมด้วยคาว่า and กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำต้นประโยค

กนกอร ทีปชัย และ สุณี ไทธนา (2554) ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ (2536 : 45) Drucker and Keegan (2009) Anderson and Prati (1995 : 156) กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (กนกอร ทีปชัย และ สุณี ไทธนา. 2554) (ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. 2536 : 45) (Drucker & Keegan. 2009) (Anderson & Prati. 1995 : 156) ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


22

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

3) ผู้แต่งมำกกว่ำ 2 คน ให้ใส่เฉพาะชื่อผู้แต่งและชื่อสกุลของผู้แต่งคนแรก ตามด้วยคา ว่า และคณะ สาหรับชาวต่างประเทศให้ใส่เฉพาะชื่อสกุลแล้วตามด้วยคาว่า et al. โดยใช้เครื่องหมาย มหัพภาค (period) “.” คั่น กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำต้นประโยค

ศรีสุภา รัตนา และคณะ (2550 : 9) Green et al. (2009 : 44-47) กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (ศรีสุภา รัตนา และคณะ. 2550 : 9) (Green et al.. 2009 : 44-47) 4) ผู้แต่งมีฐำนนันดรศักดิ์ บรรดำศักดิ์ สมณศักดิ์ กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำต้นประโยค

ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล (2525 : 33) พระยาสุนทรพิพิธ (2514 : 59) สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส (2521 : 8-ง) กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (ม.จ. สุภัทรดิศ ดิศกุล. 2525 : 33) (พระยาสุนทรพิพิธ. 2514 : 59) (สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. 2521 : 8-ง) 5) ผู้แต่งที่มียศทำงทหำร ตำรวจ รวมทั้งตำแหน่งทำงวิชำกำร กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำต้นประโยค

ศุภวัฒน์ เกษมศรี (2525 : 33) ไกรสิทธิ์ ตันติศิรินทร์ (2524 : 24) กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (ศุภวัฒน์ เกษมศรี. 2525 : 33) (ไกรสิทธิ์ ตันติศิรินทร์. 2524 : 24) 6) ผู้แต่งที่เป็นสถำบัน องค์กร นิติบุคคล หรือหน่วยงำน ชื่อสถาบันควรเขียนชื่อเต็มทุก ครั้ง ถ้าสถาบันนั้นเป็นหน่วยงานรัฐบาลอย่างน้อยต้องเริ่มต้นระดับกรม กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำต้นประโยค

กรมการปกครอง (2547 : 12) กรมโรงงานอุตสาหกรรม (2546 : 32) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, คณะ เทคโนโลยีการเกษตร, ภาควิชาเทคนิคเกษตร (2546 : 45) กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (กรมการปกครอง. 2547 : 12) (กรมโรงงานอุตสาหกรรม. 2546 : 32) (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง , คณะ เทคโนโลยีการเกษตร, ภาควิชาเทคนิคเกษตร. 2546 : 45)

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

23

7) ผู้แต่งที่เป็นสถำบันที่มีอักษรย่อเป็นทำงกำร หากสถาบันนั้นมีอักษรย่อเป็นที่ยอมรับ กันอย่างแพร่หลายให้ใช้อักษรย่อของสถาบันนั้นได้ กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำต้นประโยค

สกศ. (2545 : 26) กพ. (2547 : 14) กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (สกศ. 2545 : 26) (กพ. 2547 : 14) 8) กรณีที่มีเอกสำรมำกกว่ำหนึ่งเรื่อง โดยผู้แต่งคนเดียวกันและพิมพ์ปีเดียวกัน สาหรับ ภาษาไทยให้ กาหนดอักษร ก ข ค … กากับ ไว้ที่ปี พ.ศ. ด้ว ย และส าหรับภาษาต่างประเทศให้ กาหนดอักษร a b c… กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำต้นประโยค

ประเวศ วะสี (2547ก) Agger (1991c) กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (ประเวศ วะสี. 2547ก) (Agger. 1991c) 9) กรณีที่มีกำรอ้ำงอิงในเรื่องเดียวกันจำกเอกสำรมำกกว่ำหนึ่งรำยกำร ให้ใช้อ้างอิงใน แบบตามท้ายประโยคโดยเรียงตามลาดับของปีที่พิมพ์ กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (เยาวนุช แสงยนต์. 2525ข ; สุภาดา อินทรานุกูล. 2525) (Kartner. 1973 ; Kartner and russel. 1975) 10) กรณีที่ไม่ปรำกฏผู้แต่ง ให้ใช้ นิรนาม หรือ Anonymous กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำต้นประโยค นิรนาม (2545) Anonymous (2011) กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (นิรนาม. 2545) (Anonymous. 2011) 11) ผู้แต่งหลำยคน เอกสำรหลำยเรื่อง และต้องอ้ำงถึงพร้อมๆ กัน ให้ ลงนามผู้แต่ง เรียงตามลาดับอักษร คั่นด้วยเครื่องหมายอัฒภาค (semi-colon) “;” กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (วราภรณ์ บวรศิ ริ . 2529; สายหยุ ด จ าปาทอง. 2520 : 55; อดุลย์ วิเชียรเจริญ. 2527 : 25-35) (Chick. 1992 : 16; Crawhall. 1994 : 93; Forrest. 1994 : 191; Luckett. 1993 : 78-79)

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


24

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

12) กำรอ้ ำ งอิ ง จำกแผนที่ ภำพยนตร์ สไลด์ ฟิ ล ม์ ส ตริ ป เทปบั น ทึ ก เสี ย ง ตลั บ แผ่นเสียง ให้บอกชื่อเรื่อง คั่นด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (period) “.” ตามด้วยประเภทของวัสดุนั้นๆ และปีที่จัดทา กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (กรุงเทพมหานครแสดงเขตคลองสาน. แผนที่ 2528) (การใช้บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์. เทปโทรทัศน์ 2530) 13) กำรบรรยำย ปำฐกถำ สั ม ภำษณ์ ให้ ร ะบุ ชื่ อ ผู้ บ รรยาย ผู้ แ สดงปาฐกถา ผู้ ให้ สัมภาษณ์ กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (อารันต์ พัฒโนทัย. สัมภาษณ์) (Sumalee Santipollavut. Interview) 14) ข้อควำมที่ยกมำอ้ำงอิงตำมต้นฉบับเดิม ถ้ำมีควำมยำวเกินกว่ำ 3 บรรทัด ให้พิมพ์ แยกจากเนื้อหาของเรื่อง โดยระยะห่างระหว่างบรรทัดข้อความของผู้เขียนกับบรรทัดข้อความที่ยกมา อ้างอิง เท่ากับ 1 บรรทัดพิมพ์ ส่วนริมกระดาษทั้ง 2 ข้าง พิมพ์ด้านซ้ายและด้านขวาให้ร่นเข้ามาจาก แนวพิ ม พ์ ป กติ 8 ช่ ว งตั ว อั ก ษร แล้ ว ตามด้ ว ยแหล่ งที่ ม าระบบ นาม-ปี ใส่ ไว้ในวงเล็ บ ไม่ ต้ อ งใส่ เครื่องหมายอัญประกาศ (“ ”) ถ้ามีการละข้อความบางตอน ต้องใส่เครื่องหมายมหัพภาคไว้ 3 จุด (…) ตัวอย่ำง … องค์ ค วามรู้ ท้ อ งถิ่ น เป็ น การศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ รวบรวมองค์ ค วามรู้ ท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้เกื้อกูลกับการพัฒ นา ระบบเกษตรกรรมยั่งยื น ทั้งความรู้เกี่ยวกับแหล่งทรัพยากร การเก็บหา การ เลือกใช้และวิธีการใช้ให้เกิดความยั่งยืน ดังที่ อรรฉรา รักยุติธรรม ได้กล่าวไว้ว่า (1 บรรทัดพิมพ์) ภูมิปัญญาท้องถิ่นไม่ได้หยุดนิ่ง ตายตัว หากแต่มีการพัฒนาผสมผสาน และปรับ ตัว เพื่อตอบสนองต่อเงื่อนไขใหม่ๆ ได้อยู่เ สมอ ดังนั้นในการพัฒ นา ระบบเกษตรยั่งยืน นอกจากจะใช้ความรู้พื้นบ้านที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ แล้ว ชาวบ้านยังนาความรู้สมัยใหม่มาปรับใช้อย่างผสมผสานจนเกิดภูมิปัญญา หรือความรู้ใหม่ทีมีแบบฉบับเฉพาะของตนเอง ในชุมชนที่กาลังปรับตัวระบบ เกษตรเชิงพาณิชย์มาสู่ระบบเกษตรยั่งยืนได้รับเอาความรู้ด้านเทคนิคการเกษตร จากภายนอกมาปรับใช้อย่างมากเพื่อเร่งฟื้นฟูระบบนิเวศและศักยภาพในการ พึ่ ง พาตนเองของเกษตรกรให้ มี ค วามก้ า วหน้ า อย่ า งรวดเร็ ว (อรรฉรา รั ก ยุติธรรม. 2547: 21)

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

25

15) หนังสือแปล ให้ระบุนามผู้เขียนที่เป็นเจ้าของเรื่อง ถ้าไม่ทราบจึงลงนามผู้แปล กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (นิดดา หงษวิวัฒน์. ผู้แปล. 2523: 306) (Howlett, Trans. 1990: 79) 16) ผู้แต่งคนเดียวเขียนเอกสำรหลำยเล่มแต่ตีพิมพ์ต่ำงกัน ต้องอ้ำงอิงถึงพร้อมกัน ให้ ลงนามผู้แต่งครั้งเดียว แล้วระบุปีที่พิมพ์ตามลาดับ โดยใช้เครื่องหมายมหัพภาค (period) “ . ” คั่น กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (ประเวศ วะสี. 2524: 5. 2527: 19. 2547: ก-จ) (Townsley. 1996: 23. 2004: 17) 17) อ้ำงอิงส่วนหนึ่งของหนังสือซึ่งเป็นสิ่งพิมพ์ที่รวบรวมบทควำม หรือผลงำนของ ผู้เขียนหลำยคน และมีผู้รับผิดชอบในกำรรวบรวมหรือทำหน้ำที่บรรณำธิกำรต่ำงหำก กำรอ้ำงอิงในเนื้อหำท้ำยประโยค (ปิ่ น รัช ฏ์ กาญจนั ษ ฐิ ติ และ จิ ต ติ ศั ก ดิ์ ธรรมาภรณ์ พิ ล าศ, ใน ทวีป ศิริรัศมี, บรรณาธิการ. 2547: 3-12) (Walters, In Brown, Ed. 1973: 352) 18) อ้ำงถึงเอกสำรที่ปรำกฏในเอกสำรอื่น ให้ระบุนามผู้แต่งของเอกสารทั้งสองรายการ โดยระบุน ามผู้แต่งและปีที่พิมพ์ของเอกสารอันดับแรก ตามด้วยคาว่า อ้ำงถึงใน หรือ กล่ำวถึงใน สาหรับเอกสารภาษาไทย และ quoted in หรือ cited by สาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ แล้ว จึงระบุนามผู้แต่งของเอกสารอันดับรอง และปีที่พิมพ์ ตัวอย่ำง Anderson and Plomp (2000) อ้ า งถึ งใน พรธิ ด า วิ เชี ย รปั ญ ญา (2547: 112) ได้ ให้ ความหมายของทักษะความรู้ของผู้เรียนที่จะใช้ไอซีทีเพื่อการจัดการความรู้ … Radelet and Sachs (1998) cited by Manason (2004: 324) argued that a 9ycombination of panic, policy mistakes, and poorly designed international rescue programs are the main criminals that turn the withdrawal of foreign capital … 19) สื่อสำรนิเทศอิเล็กทรอนิกส์ เช่น CD-ROM, Internet ให้ ใช้วิธีการอ้างอิงตามที่ กล่าวมาแล้วข้างต้น 5.2 กำรอ้ำงอิงแบบแทรกปนไปในเนื้อหำ ระบบลำดับหมำยเลข การอ้างอิงในระบบนี้ ให้ลาดับเลขที่อ้างอิงตามลาดับของการอ้าง ต่อเนื่องตั้งแต่บทแรกจนถึง บทสุดท้าย หมายเลขอ้างอิงเขียนไว้ในวงเล็บใหญ่ระดับเดียวกัน หลังข้อความที่ต้องการอ้างอิง ถ้ามี การอ้างอิงซ้าให้ใช้หมายเลขเดิม

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


26

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

ตัวอย่ำง เนื่องจากในการถอดรหัสในเชิงความถี่นี้จะต้องใช้การแปลงและแปลงกลับเป็นส่วนสาคัญ [1] นอกเหนือไปจากการคานวณอื่นๆ การแปลงและการแปลงกลับจะต้องใช้การคานวณเป็นจานวนมาก จึงมีการนาวิธีการตัดประกอบปฐมมาใช้เพื่อลดจานวนการคานวณลงโดยใช้ร่วมกับวิธีการแปลงข้อมูล จานวนน้อยๆ [2] ในแง่ของการนาวิธีการดังกล่าวไปใช้งานจริงซึ่งจะต้องพิจารณา...

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

27

บทที่ 6

กำรเขียนบรรณำนุกรมหรือเอกสำรอ้ำงอิง ในการเขียนบรรณานุกรม (Bibliography) หรือเอกสารอ้างอิง (References) ให้เลือกใช้ ระบบใดระบบหนึ่ ง กล่ า วคื อ ให้ ใช้ “บรรณำนุ ก รม” เมื่ อ อ้ า งอิ ง แบบแทรกปนนาม-ปี และใช้ “เอกสำรอ้ำงอิง” เมื่ออ้างอิงแบบแทรกปนระบบลาดับหมายเลข สาหรับปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กาหนดให้ใช้ระบบ “บรรณำนุกรม” โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้

6.1 หลักเกณฑ์กำรเขียนบรรณำนุกรม มีข้อกาหนดดังนี้ 6.1 ให้พิมพ์คาว่า “บรรณำนุกรม” ไว้กลางหน้ากระดาษด้วย ขนำดอักษร 24 พอยท์ ตัวเข้ม 6.2 ให้ เรีย งรายการที่ใช้อ้างอิงทั้งหมดไว้ด้ว ยกัน โดยเรียงล าดับตามตัวอักษร โดยยึด วิธีการเรียงลาดับอักษรตามแบบพจนานุกรม 6.3 ให้ เรี ย งล าดั บ รายการบรรณานุ ก รมภาษาไทยไว้ ก่ อ น แล้ ว จึ ง ตามด้ ว ยรายการ บรรณานุกรมภาษาอังกฤษ 6.4 การพิมพ์บรรณานุกรม ให้พิมพ์แต่ละรายการที่อ้างอิงชิดขอบหน้ากระดาษด้ายซ้าย ถ้ามีข้อความที่พิมพ์ต่อจากบรรทัดแรกให้พิมพ์บรรทัดต่อไป โดยย่อหน้าเว้นเข้าไป 7 ช่วงตัวอักษร เริ่มพิมพ์ตัวอักษรที่ 8 ถ้าไม่จบใน 2 บรรทัด ขึ้นบรรทัดใหม่ให้ตรงกับบรรทัดที่ 2 จนจบรายการ เมื่อ เริ่มรายการใหม่ ก็ให้ชิดขอบกระดาษด้านซ้ายเช่นเดิมโดยไม่ต้องเว้นบรรทัด 6.5 การพิมพ์อ้างอิงหลายเล่มที่มีผู้แต่งเป็นชื่อเดียวกัน ให้เขียนชื่อผู้แต่งเฉพาะเล่มแรก เล่มต่อๆ ไปให้ขีดเส้นเท่ากับ 7 ตัวอักษร แทนชื่อผู้แต่ง แล้วตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาพ (Period) “ . ” ตรงช่วงตัวอักษรที่ 8

6.2 วิธีลงรำยกำรของบรรณำนุกรม รายการที่จาเป็นต้องมีได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ปีที่พิมพ์ ชื่อหนังสือ สานักพิมพ์ สถานที่พิมพ์ หรือ ข้อมูลอื่นๆ ที่ระบุเพิ่มเติมเพื่อความชัดเจนของรายการอ้างอิงนั้น ได้แก่ ครั้งที่พิมพ์ ชื่อชุดหนังสือและ ลาดับที่ จานวนเล่ม จานวนหน้าทั้งหมด 6.2.1 ผู้แต่ง หรือ บรรณำธิกำร กาหนดให้เขียนดังนี้ 1) ชื่อผู้แต่ง ไม่ต้องใช้คานาหน้านาม เช่น นาย นาง นางสาว ดร. ศ. นายแพทย์ 2) รายการอ้างอิงที่เป็นภาษาไทย ชื่อผู้แต่งให้ใช้ชื่อตัวและตามด้วยนามสกุล 3) รายการอ้างอิงที่เป็นภาษาอังกฤษ ชื่อผู้แต่งให้ใช้ชื่อสกุลนาหน้าชื่อตัว โดยคั่นด้วย จุลภาค (comma) “ , ” ตามด้วยตัวอักษรย่อของชื่อแรก และชื่อกลาง ตามลาดับ ตัวอย่ำง Mullen, N.D. Whitman, R.L. ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


28

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

4) ผู้แต่งที่มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ หรือ ยศ ให้ใช้ชื่อตัว สกุล ตามด้วยเครื่องหมาย จุลภาค (comma) “ , ” และฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ หรือยศ ตัวอย่ำง สุภัทรดิศ ดิศกุล, ม.จ. ธรรมศักดิ์ มนตรี, เจ้าพระยา 5) ผู้แต่งที่มีสมณศักดิ์ให้ใช้ชื่อตามที่ปรากฏตามเอกสาร 6) ถ้ า มี ผู้ แ ต่ ง 2 คน ให้ ใ ช้ ชื่ อ ผู้ แ ต่ ง แรก ตามด้ ว ยค าว่ า “และ” หรื อ “and” ใน ภาษาอังกฤษคั่นระหว่างชื่อผู้แต่งทั้ง 2 คน 7) ถ้าผู้แต่งมากกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 6 คนให้ใช้ชื่อผู้แต่งทุกคน และใช้คาว่า “และ” ถ้าผู้ แต่งเป็นคนไทย หรือ & (ampersand) ถ้าเป็นเอกสารภาษาต่างประเทศ ถ้ามีผู้แต่งมากกว่า 6 คน ลงชื่อผู้แต่งคนแรก ตามด้วยคาว่า และคณะ หรือ et al. ตัวอย่ำง ปรีชา จาปารัตน์ และไพศาล ชัยมงคล สมชัย สวาสดิพันธ์ และคณะ Lientz, B.P., and Rea, K.P. Upayokin, P., Dendoung, S., and Muttiko, M. Stowe, H.D., et al. 8) ผู้ แต่งเป็ น สถาบั น หรือนิ ติบุ คคล ให้ ลงชื่อของสถาบันหรือนิติบุคคล เช่น กระทรวง ทบวง กรม ฯลฯ และต้องไม่ต่ากว่าระดับสถาบัน หรือ กรม ในกรณีเอกสารที่ออกในนามหน่วยงาน ระดับกรม หรือหน่วยงานย่อยไปกว่ากรมและสังกัดอยู่ในกรมนั้นๆ แม้ว่าจะปรากฏชื่อกระทรวงอยู่ ให้ ใช้ชื่อกรมเป็นผู้แต่ง ส่วนชื่อของหน่วยงานย่อยให้ใส่ไว้ส่วนของผู้พิมพ์ ตัวอย่ำง กรมประมง สานักงานมาตรฐานและสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 9) ถ้าไม่มีผู้แต่ง ให้เขียนชื่อเรื่องในตาแหน่งผู้แต่ง ตัวอย่ำง ธรณีสัณฐานประเทศไทยจากห้วงอวกาศ Merriam-Webster’s dictionary 10) หนั งสื อ ที่ มี เฉพาะชื่ อ บรรณาธิ ก าร (editor) หรือ ผู้ ร วบรวม (compiler) ให้ เขี ย น บรรณาธิ ก ารแทนต าแหน่ งผู้ แ ต่ ง และใส่ ค าว่ า “บรรณาธิ ก าร” หรื อ “ผู้ ร วบรวม” ในเอกสาร ภาษาไทย หรือ Ed. หรือ Eds. หรือ compiler สาหรับเอกสารภาษาอังกฤษโดยใส่ไว้ในเครื่องหมาย วงเล็บ ต่อจากชื่อบรรณาธิการคนสุดท้าย ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

29

ตัวอย่ำง ทวีป ศิริรัศมี (บรรณาธิการ) Robinson, D.N. (Ed.) Manning, A. and Dawkins, M.S. (Eds.) 11) ผู้แต่งที่ใช้นามแฝงให้ใช้นามแฝงตามที่ปรากฏในเอกสาร 12) เอกสารแปล ให้ใส่ชื่อผู้แต่งก่อน ส่วนชื่อผู้แปลให้ใส่ไว้หลังชื่อเรื่องนาด้วยคาว่า “แปล จากเรื่อง ……..โดย...” หรือ “translated from ……by…” หรือ “แปลโดย” “translated by” หรือ “แปลและเรียบเรียงโดย” ในกรณีไม่ทราบชื่อเรื่องเดิม 13) ปิดท้ายส่วนนี้ด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (period) “ . ” 6.2.2 ปีที่พิมพ์ กาหนดให้เขียนดังนี้ 1) ระบุปีที่พิมพ์ต่อจากชื่อผู้แต่ง หรือ บรรณาธิการ (สาหรับผลงานที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์ ปีที่ พิมพ์หมายถึงปีที่ผลิตงานนั้น) ตัวอย่ำง เอกวิทย์ ณ ถลาง. 2544. Robinson, D.N. (Ed.). 1992. 2) รายการอ้างอิงที่อยู่ในระหว่างการจัดพิมพ์เผยแพร่ ในกรณีภาษาไทยให้ใช้ (อยู่ระหว่าง การพิมพ์) ส่วนภาษาอังกฤษ ให้ใช้ (in press) 3) ถ้าไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ ให้ระบุ (ม.ป.ป.) หรือ (n.d.) 4) ปิดท้ายส่วนนี้ด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (period) “ . ” 6.2.3 ชื่อหนังสือหรือวำรสำร กาหนดให้เขียนดังนี้ 1) สาหรับภาษาอังกฤษให้พิมพ์ตัวใหญ่เฉพาะอักษรแรกของชื่อเรื่อง ชื่อเรื่องรอง (ถ้ามี) และชื่อเฉพาะ 2) ชื่อหนังสือหรือวารสารให้ พิมพ์ตัวเข้ม 3) ชื่อวารสารต่างประเทศ อาจใช้ชื่อย่อที่ถูกต้องของวารสารนั้นๆ ได้ 4) สาหรับชื่อหนังสือที่พิมพ์เป็นชุด ถ้าอ้างเล่มเดียวให้ลงเฉพาะเล่มนั้น เช่น เล่ม 3 ถ้า อ้างอิงมากกว่า 1 เล่ม แต่ไม่ต่อเนื่องกันให้ใส่เครื่องหมายเลขของแต่ละเล่มโดยมีเครื่องหมายจุลภาค คั่น เช่น เล่ม 1, 3, 5 หรือ Vol. 1, 3, 5 แต่ถ้าอ้างทุกเล่มในชุดนั้นให้ใส่จานวนเล่มทั้งหมด เช่น 5 เล่ม หรือ 5 vol. ให้พิมพ์ตัวเข้ม ต่อเนื่องจากชื่อหนังสือ 5) ปิดท้ายส่วนนี้ด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (period) “.” 6.2.4 ครั้งที่พิมพ์ กาหนดให้เขียนดังนี้ 1) การพิมพ์ครั้งที่ 1 หรือเป็นการพิมพ์ครั้งแรกไม่ต้องระบุในบรรณานุกรม 2) ให้ ระบุ รายการครั้งที่พิมพ์สาหรับครั้งที่ 2 ขึ้นไป ตามที่ปรากฏในสิ่ งพิมพ์นั้นๆ เช่น พิมพ์ครั้งที่ 2 พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม. พิมพ์ครั้งที่ 3 ปรับปรุงแก้ไข. หรือ 2nd .Ed. 2nd , rev.ed. เป็นต้น ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


30

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

6.2.5 สถำนที่พิมพ์และสำนักพิมพ์ กาหนดให้เขียนดังนี้ 1) สาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ กาหนดให้ ระบุชื่อเมือง ถ้าชื่อเมืองไม่เป็นที่รู้จัก แพร่หลาย ให้ระบุชื่อรัฐ หรือประเทศที่สานักพิมพ์นั้นตั้งอยู่กากับ โดยคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (comma) “ . ” ตัวอย่ำง San Jose, CA Oxford, England ยกเว้นเมืองที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักแพร่หลาย ไม่ต้องลงอักษรย่อชื่อรัฐ หรือ ชื่อประเทศ กากับไว้ เช่น Los Angeles, Toronto, Amsterdam, Paris, Rome, Tokyo, Moscow, Stockholm, New York, Chicago เป็นต้น 2) เอกสารอ้างอิงภาษาไทยให้ลงชื่อจังหวัดเป็นเมืองที่พิมพ์ สาหรับกรุงเทพมหานครให้ใช้ คาว่า “กรุงเทพฯ” 3) ให้ใช้เครื่องหมายมหัพภาคคู่ (colon) “ : ” คั่นระหว่างสถานที่พิมพ์และสานักพิมพ์ 4) ถ้าสานักพิมพ์มีสานักงานตั้งอยู่หลายเมือง และชื่อเมืองเหล่านั้นปรากฏอยู่ในเอกสาร ให้ใช้ชื่อเมืองแรกที่ปรากฏเป็นสถานที่พิมพ์ 5) ให้ลงชื่อสานักพิมพ์โดยไม่ต้องใส่คาว่า “สานักพิมพ์” “บริษัท---จากัด” “Publisher” “Co---Inc.” “Co.Ltd.” เช่น สานักพิมพ์ดอกหญ้า ให้ลงว่า “ดอกหญ้า” บริษัทประชาช่าง ให้ลงว่า “ปราชาช่าง” 6) ถ้าเอกสารสิ่งพิมพ์ไม่ปรากฏชื่อสานักพิมพ์ ให้ลงชื่อโรงพิมพ์โดยใส่คาว่า “โรงพิมพ์” ไว้ด้วย 7) สานักพิมพ์ที่เป็นสมาคม มหาวิทยาลัย ให้ระบุชื่อเต็ม เช่น สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 8) ผู้พิมพ์เป็นหน่วยงานในภาครัฐและเอกชน ให้ใช้ชื่อหน่วยงานนั้นเป็นสานักพิมพ์แทน 9) ถ้าไม่ปรากฏชื่อสานักพิมพ์หรือสถานที่พิมพ์ ให้เขียนว่า ม.ป.ท. (ไม่ปรากฏที่พิมพ์) หรือ n.p. (no place of publishing) ในภาษาอังกฤษ 10) ปิดท้ายส่วนนี้ด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (period) “ . ”

6.3 รูปแบบกำรพิมพ์บรรณำนุกรม ข้อกาหนดในการพิมพ์บรรณานุกรม มีดังนี้ 1) ตั ว แปรในรายการต่ า งๆ เช่ น ผู้ แ ต่ ง วั น เดื อ น ปี ส านั ก พิ ม พ์ ใ ช้ รู ป แบ บ TH SarabunPSK ตัวปกติ 2) ตัวแปรในรายการต่างๆ ที่ต้องพิมพ์ด้วยตัวเข้มใช้รูปแบบ TH SarabunPSK ตัวปกติ 3) ที่ต้องพิมพ์ด้วยคาคานั้น เช่น คาว่ า ผู้แปล ใน โดย ใช้รูปแบบ TH SarabunPSK ตัว ปกติ 4) ระยะว่าง 1 ตัวอักษรพิมพ์ แทนด้วย เครื่องหมาย / 5) ในกรณีที่พิมพ์บรรทัดเดียวไม่พอ บรรทัดที่ 2 ต้องเริ่มพิมพ์ตัวที่ 8 เว้น 7 ตัวอักษร 6) เครื่องหมายอื่น เช่น . , “ ” ; - [ ] ให้พิมพ์ตามเครื่องหมายที่ระบุ ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

31

6.3.1 หนังสือทั่วไป รูปแบบ ผู้แต่ง.//ปี พ.ศ.ที่พิมพ์.//ชื่อหนังสือ./เล่มที่.(ถ้ามี)//ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี)//เมืองที่พิมพ์/://สานักพิมพ์. ตัวอย่ำง ผู้แต่งคนเดียว เกษม จันทร์แก้ว. 2526. กำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. ณั ฐ กร สงคราม. 2557. กำรออกแบบและพั ฒ นำมั ล ติ มี เดี ย เพื่ อ กำรเรี ย นรู้ (Multimedia for Learning : Design & Development). (พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 3). กรุ ง เทพฯ : ส านั ก พิ ม พ์ แ ห่ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ณั ฐ กร สงคราม. 2557. กำรถ่ ำ ยภำพ เทคนิ ค และกำรน ำไปใช้ เ พื่ อ กำรสื่ อ สำร. กรุ ง เทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปาริชาติ สถาปิตานนท์. 2545. ระเบียบวิธีวิจัยกำรสื่อสำร. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ปั ญ ญา หมั่ น เก็ บ . 2554. กำรวิ จั ย เพื่ อ กำรสื่ อ สำร. กรุงเทพฯ : ห้ า งหุ้ น ส่ ว นจ ากั ด มี น เซอร์วิ ส ซัพพลาย. ปัญ ญา หมั่น เก็บ . 2559. กำรใช้ค อมพิวเตอร์เพื่อกำรวิเครำะห์ทำงกำรเกษตร. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจากัด มีนเซอร์วิส ซัพพลาย. วินัย วีระวัฒนานนท์. 2546. สิ่งแวดล้อมศึกษำ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์. Banta, G.R. 1982. Asian Cropping Systems Research : Microeconomic Evaluation Procedures. Ottawa : International Development Research Centre. Foucalt, M. 1980. Power/Knowledge : Selected Interview and Other Writings 1972-1977. New York : Panteon Book. Sumner, M. 1990. Computer : Concept and uses. 2nd ed. New York : McGraw-Hill. ผู้แต่ง 2 คน หรือมากกว่า 2 คน แต่ไม่เกิน 6 คน นันทิยา หุตานุวัตร และ ณรงค์ หุตานุวัตร. 2547. เกษตรกรรมยั่งยืน : กระบวนทัศน์ กระบวนกำร และตัวชีวัด. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย. สนานจิ ตร สุ คนธทรัพ ย์ , อุ ทัย บุ ญ ประเสริฐ และ เอกชัย กี่ สุ พัน ธ์ . 2532. บรรยำกำศองค์กำร. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Garbiel, Y. and Lang, T. 1995. The Unmanageable Consumer. London : Sage Publication Gilbert, A. and Gunglir, J. 1982. Cities Poverty and Development Urbanization in the Third World. London : Oxford University Press.

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

32

Jackson, T.M. and Hill, F.T. 1978. Agricultural Experimentation Design and Analysis. New York : John Wiley and Sons. Pearce, G.D. and Butler W.R. 1999. Contemporary Issues in Tourism Development. London and New York : Routldge. ผู้แต่งมากกว่า 6 คน สมชั ย สวาสดิ พั น ธ์ และ คณะ. 2547. ผลงำนวิ จั ย เรื่ อ ง เกษตรอิ น ทรี ย์ . อุ บ ลราธานี : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. Tchudi, S.N., et al. 1991. The English/language Art Handbooks: Class-room Strategies for Teachers. Rev.ed. Portmouth, NH: Boynton/Cook. ผู้แต่งที่มีบรรดาศักดิ์ อนุมานราชธน, พระยา. 2523. ชีวิตพระสำรประเสริฐที่ข้ำพเจ้ำรู้จัก. กรุงเทพฯ : ส่งสยาม. เนื่อง นิลรัตน์, ม.ล. 2539. ชีวิตในวัง 1. กรุงเทพฯ : ศรีสารา. ผู้แต่งที่มีสมณศักดิ์ สมเด็จพระญาณสังวร (เจริญ สุวัฑฒโน). 2535. คู่มือชีวิต. กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์. ผู้แต่งใช้นามแฝง น.ม.ส. (นามแฝง). 2496. นิทำนของ น.ม.ส. พิมพ์ครั้งที่ 3. พระนคร : คลังวิทยา. เสฐียร โกเศศ. 2531. ชีวิตชำวนำไทยสมัยก่อน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. 6.3.2 หนังสือแปล รูปแบบ ผู้แต่ง.//ปี พ.ศ.ที่พิมพ์.//ชื่อหนังสือ./เล่มที.่ (ถ้ามี)//แปลโดย/ผู้แปล.//ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี)//เมืองที่ พิมพ์/://สานักพิมพ์. หรือ ผู้แต่ง.//ปี พ.ศ.ที่พิมพ์.//ชื่อหนังสือ./เล่มที.่ (ถ้ามี)//แปลจาก/ชื่อหนังสือเดิม.//โดย/ผู้แปล.//ครั้งที่ พิมพ์ (ถ้ามี)//เมืองที่พิมพ์/://สานักพิมพ์. ตัวอย่ำง เมทส์ , บาร์ ตัน . 2533. มนุ ษ ย์กับ ธรรมชำติ . แปลโดย ประชา จันทรเวศิน และ ชูศ รี กี่ดารงกุล . กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

33

คาราส, แคทเธอรี น เซี ย นซี . 2534. ชนะความเครี ย ดด้ ว ยตนเอง. แปลจาก The Thought a Week Guides : How to Cope with Stress. โดย น้องใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สร้าง-สรรค์วิชาการ. เบ๊นท์ ฟริเบียร์. 2546. ฟื้นสังคมศาสตร์ : ทาไมการวิจัยสังคมศาสตร์จึงล้มเหลวและจะทาให้ประสบ ความส าเร็ จ ได้ อ ย่ า งไร?. แปลจาก Making Social Science Matter: Why social inquiry fails and how it can succeed again?. โดย อรทั ย อาจอ่ า. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. Davenport, J.H. 1993. Computer Algebra. Translated by Davenport, A and Davenport, J.H. 2nd ed. Great Britain : Academic Press. Lauriere, Jean-Louis. 1990. Problem-solving and Artificial Intelligence. Translated by Howlett, J. London : Prentice Hall. Shafarevich, I.R. 1994. Basic Algebraic Geometry 1. translated from Osnovy Algebraichskoj Geometrii, tom 1. by Reid, L. 2nd York : Springer. 6.3.3 หนังสือแปลที่ไม่ระบุชื่อผู้แต่งในภำษำเดิม รูปแบบ ชื่อผู้แปล,/ผู้แปล.//ปี พ.ศ.ที่พิมพ์.//ชื่อหนังสือ./เล่มที.่ (ถ้ามี)//ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี)//เมืองที่พิมพ์/:// สานักพิมพ์. ตัวอย่ำง เดือน บุนนาค, ผู้แปล. 2511. เศรษฐศำสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อภิชาติ เถาว์โท และ เสริมศักดิ์ อาวระกุล , ผู้แปล. 2526. ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกำรปลูกข้ำว. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 6.3.4 หนังสือที่ผู้แต่งเป็นหน่วยงำน รูปแบบ ชื่อหน่วยงาน.//ปี พ.ศ.ที่พิมพ์.//ชื่อหนังสือ./เล่มที.่ (ถ้ามี)//ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี)//เมืองที่พิมพ์/:// สานักพิมพ์. ตัวอย่ำง ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย . 2533. กำรแบ่ ง ส่ ว นรำชกำรของมหำวิ ท ยำลั ย สถำบั น ของรั ฐ สั ง กั ด ทบวงมหำวิ ท ยำลั ยและกำรจ ำแนกภำควิ ช ำตำมสำขำของ ISCED. กรุงเทพฯ: กอง แผนงานสานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ทบวงมหาวิทยาลัย. ห้องสมุดแห่งประเทศไทย, สมาคม. 2507. บรรณำรักษ์ศำสตร์ชุดครูมัธยม. พระนคร : สานักพิมพ์ สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย. กระทรวงศึกษาธิการ. 2530. กำรจัดกำรศึกษำไทยตำมแผนกำรศึกษำแห่งชำติ : อดีต-ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : อักษรไทย.

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


34

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

The Bank of Thailand. 1992. 50 Years of the Bank of Thailand 1942-1992. Bangkok : Amarin Printing Group. 6.3.5 บรรณำธิกำรหรือผู้รวบรวม ผู้เรียบเรียง รูปแบบ ชื่อบรรณาธิการ,/(บรรณาธิการ) หรือ (ผู้รวบรวม).//ปี พ.ศ.ที่พิมพ์.//ชื่อหนังสือ./เล่มที.่ (ถ้ามี)//ครั้งที่ พิมพ์ (ถ้ามี)//เมืองที่พิมพ์/://สานักพิมพ์. ตัวอย่ำง อุดม เมืองชุม และสมศักดิ์ ชัยวังซ้าย, (ผู้รวบรวม). 2535. รำยชื่อไมโครฟิลม์หนังสือพิมพ์ สำนักหอสมุดเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์, (บรรณาธิการ). 2519. สังคมกับเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Friedman, E.G., (Ed.). 1995. Clock Distribution Networks in VLSI Circuits and Systems. New York : IEEE Press. Stern, R.J., (Ed.). 1990. Wisdom : Its Nature, Origins, and Development. Cambridge, England : Cambridge University Press. 6.3.6 รำยงำนกำรประชุม บทควำมจำกหนังสือ รูปแบบ ผู้เขียนบทความ.//ปี พ.ศ.ที่พิมพ์.//”ชื่อบทความ (รายงาน).”//หน้า/เลขหน้า./ใน//บรรณาธิการ (ผู้รวบรวม).//ชื่อหนังสือ./เล่มที.่ (ถ้ามี)//ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี)//เมืองที่พิมพ์/://สานักพิมพ์. ตัวอย่ำง สมเกียรติ ศุภเดช และคณะ. 2536. “คุณสมบัติสวิชชิ่งของวงจรสองสถานะแบบซีมอส.” หน้า 410414. ใน กำรประชุมทำงวิศวกรรมไฟฟ้ำ ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. ศรีสกุล วรจันทรา และ อาวุธ ตันโช. 2539. “การศึกษาการตอบสนองต่อระดับโปรตีนและพลังงาน ในไก่ลูกผสมสามสายเลือดพันธุ์สุวรรณ 6.” หน้า 110-118. ใน กำรประชุมทำงวิชำกำร ของมหำวิทยำลัยเกษตรศำสตร์ ครั้งที่ 34 สำขำสัตวแพทย์ศำสตร์ . กรุงเทพฯ: คณะ วิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. Niwa, E. 1992. “Chemistry of surimi gellation.” 115-118. In Lainier, T.C. and Lee. C.M. Surimi Technology. New York : Marcel Dekker. Goenans, M.X. and Williamson, D.P. 1995. “The Primal-dual Method for Approximation Algorithms and its Application to Network design Problem”. 69-87. In D. Hochbaum, Approximation Algoriths for Np-hard Problems. Boston : PWS.

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

35

6.3.7 บทควำมในวำรสำร รูปแบบ ผู้เขียนบทความ.//ปี พ.ศ.ที่พิมพ์.//”ชื่อบทความ.”//ชื่อวำรสำร./ปีท(ี่ ฉบับที)่ /:/เลขหน้า-เลขหน้า. หรือถ้าบทความในวารสารไม่ปรากฏชื่อผู้เขียนบทความ กาหนดให้ลงรายการดังนี้ ชื่อบทความ.// ปี พ.ศ.ที่พิมพ์.//ชื่อวำรสำร./ปีท(ี่ ฉบับที)่ /:/เลขหน้า-เลขหน้า. ตัวอย่ำง จาระวรรณ จาติเสถียร. 2538. “การเลี้ยงเนื้อเยื่อส้มกับงานโรคพืช .” วำรสำรกสิกร. 68(6) : 524528. วีรบู ล ย์ วิสารทสกุล . 2539. “ข่ายความร่วมมือเพื่อสิ่งแวดล้ อมและการพัฒ นาไทย”. วำรสำร นิเวศวิทยำ. 23(1-2) : 21-53. Bentley, M Lee. 1986. “The Role of Backcountry Experience in Middle School Environmental Education.” Dissertation Abstracts International. 46(10) : 2900-A-2901. Mote, F.W. 1964. “Problems of Thai Prehistory”. Social Science Review. 2(2) : 100109. Robbins, S., Moss, P., Clark, C.T., Goering, S.’ Herter, R., Templin, M., and Wascha, K. 1995. “Negotiating Authority in Portfolio Classrooms: Teachers’ Use of Assessment Theory to Critique Practice”. Action in Teacher Education. 27: 40-51. 6.3.8 วิทยำนิพนธ์ รูปแบบ ผู้เขียนวิทยานิพนธ์.//ปี พ.ศ.ที่พิมพ์.//ชื่อวิทยำนิพนธ์.//ระดับวิทยานิพนธ์, สาขา คณะ มหาวิทยาลัย. ตัวอย่ำง กนิษฐ์ สายวิจิตร. 2537. วงจรกำเนิดสัญญำณไซน์แบบเลื่อนเฟสด้วย อำร์ซี ที่สำมำรถควบคุม ขนำดโดยกำรกำหนดเงื่อนไขเริ่มต้น . วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชา วิศวกรรมไฟฟ้า บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. จิระ อะสุรินทร์. 2544. ปัจจัยที่มีผลต่อกำรตัดสินใจทำกำรเกษตรผสมผสำนของเกษตรกรในเขต อำศั ย น้ ำฝนจั งหวั ด ขอนแก่ น . วิ ท ยานิ พ นธ์ วิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต , สาขาส่ ง เสริ ม การเกษตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

36

บุญโปรด หนั นชัยบุตร. 2529. พัฒนำกำรของนโยบำยกำรสื่อสำรในประเทศไทย: กำรศึกษำ วิเครำะห์แนวนโยบำยและแผนแม่บทกำรประชำสัมพันธ์แห่งชำติ . วิทยานิพนธ์ปริญญา วารสารศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อภิรัต น์ บุญ แยง. 2546. การศึกษากลุ่ มเกษตรกรปลู กผั กปลอดสารพิษ บ้านห้ว ยพระ หมู่ที่ 1 ตาบลห้ ว ยพระ อาเภอดอนตู ม จั งหวัด นครปฐม. ปั ญ หำพิ เศษปริ ญ ญำวิ ท ยำศำสตร บัณฑิต, สำขำพัฒนาการเกษตร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สถำบั นเทคโนโลยีพระจอม เกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง. Choomchuay, S. 1993. Algorithm and Architecture for Reed-Solomon Decoding. Ph.D. Thesis of University of London and the Diploma of Membership of the Imperial. Mankeb, P. 1993. Calibration of Genetic Coefficients of Paddy Rice (Oryza sativa L.) for Validation of the CERES Rice Model in Northern Thailand. M.Sc. Thesis in Agricultural Systems, Graduate School, Chiang Mai University. Sangwirach, T. 1995. The Effect of Corrective Feedback upon the Performance of Students in English Written Assignments. M.A. Thesis in Linguistics, Faculty of Graduate Studies, Mahidol University. 6.3.9 บทวิจำรณ์ รูปแบบ ผู้วิจารณ์.//วิจารณ์เรื่อง//ชื่อเรื่องที่ถูกวิจำรณ์.//โดย//ชื่อผู้แต่ง.//ชื่อหนังสือ (ที่บทวิจารณ์ ปรากฏ).//ครั้งที่พิมพ์.(ถ้ามี)//เลขหน้า-เลขหน้า. ตัวอย่ำง ชานาญ นาคประสม. วิจารณ์ เรื่อง ลำยสือสยำม. โดย ส. ศิวรักษ์ . สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 5(1) ฉบับที่ 1 (มิถุนายน-สิงหาคม 2510) : 139-141. 6.3.10 บทควำมในสำรำนุกรม รูปแบบ ผู้เขียนบทความ.// ปีที่พิมพ์.//”ชื่อบทความ.”//ชื่อสำรำนุกรม.//เล่มที(่ ปีที่พิมพ์)/://เลขหน้า-เลข หน้า. สถานที่พิมพ์: สานักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์. ตัวอย่ำง วิทย์ วิศทเวทย์. 2509-2511. “จริยศาสตร์”. สำรำนุกรมไทยฉบับรำชบัณ ฑิตยสถำน. เล่มที่ 8: 4581-4584. พระนคร: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม. Hasting, J. 1970. “Superstition”. Encyclopedia of Religion and Ethics. Vol. XII: 300. New York: Charles Scripner. Spring, M.B., and Hanhwe, K. 1993. “Virtual Reality”. Encyclopedia of Library and Information Science. Vol. 52: 366-376. New York: Marcel Dekker.

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

37

6.3.11 บทควำมในหนังสือพิมพ์ รูปแบบ ผู้เขียนบทความ.//ปีที่พิมพ์,/วันที่/เดือน//”ชื่อบทความ”.//ชื่อหนังสือพิมพ์.//หน้า/เลขหน้า. กรณีที่ไม่มีชื่อผู้เขียนบทความ ให้ลงรายการดังนี้ ชื่อบทความ.//ปีที่พิมพ์,/วันที่/เดือน//ชื่อหนังสือพิมพ์.//หน้า/เลขหน้า. ตัวอย่ำง ประสงค์ รณะนันท์. 2539, 17 ตุลาคม. “การบังคับใช้แรงงาน รูปแบบที่ยังคงอยู่”. มติชนรำยวัน. หน้า 21. เกรียงไกร ไทยอ่อน. 2538, 6 มกราคม. “กรมวิชาการฯ ทาสาเร็จเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อต้นตอส้มพันธุ์ ต่างประเทศ”. เดลินิวส์. หน้า 11. อภิวัฒน์ ไชยนุวัตน์. 2547, 9 สิงหาคม. “ประยงค์ รณรงค์ ปราชญ์ชาวบ้านผู้คว้า “แม็กไซไซ” 2547”. มติชน. หน้า34. Gole, D. 1985, 21 May. “New Focus on Multiple Personality”. New York Times. pp c1-c6. Economic management is all about borrowing. 1996, 21 December. Bangkok Post. p.11. 6.3.12 กำรติดตำมข่ำวและข้อเท็จจริงในหนังสือพิมพ์ช่วงระยะเวลำหนึ่ง รูปแบบ ชื่อหนังสือพิมพ์.// วันที่/เดือน//ปี ที่พิมพ์/-/วันที่/เดือน///ปี ที่พิมพ์. ตัวอย่ำง ไทยรัฐ. 4 มกราคม 2538 – 5 กุมภาพันธุ์ 2538. 6.3.13 จุลสำร เอกสำรอัดสำเนำและเอกสำรที่ไม่ได้ตีพิมพ์อื่นๆ ใช้แบบเดียวกับหนังสือ และให้ระบุคาว่า เอกสารอัดสาเนา (Mimeographed) หรือเอกสารไม่ตีพิมพ์ (Unpublished manuscript) แล้วแต่กรณี โดยให้เรียงไว้ท้ายสุด รูปแบบ ผู้แต่ง.//ปี พ.ศ.ที่พิมพ์.//ชื่อเอกสำร//ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี)//เมืองที่พิมพ์/://สานักพิมพ์./เอกสารอัด สาเนา. ตัวอย่ำง ชุมพน กองสาสนะ. 2532. เตำเผำขยะเมืองน่ำน. น่าน: โรงกลึงอานวยพร. แผ่นพับ. บุญเทียม เจริญยิ่ง. 2538. ยุทธศำสตร์เชิงรุกของกรมอำชีวศึกษำในแผนที่ 7. กรุงเทพฯ : กรม อาชีวศึกษา. เอกสารอัดสาเนา.

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


38

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดอุดรธานี. 2527. กำรพัฒนำคุณภำพชีวิตโดยกระบวนกำรพัฒนำ ชุมชนอุดรธำนี. เอกสารอัดสาเนา. Sakallah, K.A. et.al. 1989. “Analysis and Design of Latch-Controlled Synchronous Digital Circuits”. Ann Arbor, Mi, : Dept. of EECS University of Michigan Technical Report CSE-TR-31-89. 6.3.14 สิ่งพิมพ์รัฐบำล และเอกสำรอื่นๆ ทำงรำชกำร รูปแบบ ชื่อหน่วยงาน.//ปี พ.ศ.ที่พิมพ์.//ชื่อสิ่งพิมพ์.//ครั้งที่พิมพ์ (ถ้ามี)//เมืองที่พิมพ์/://สานักพิมพ์. ตัวอย่ำง สานักงานเลขาธิการรัฐสภา. 2522. รำยงำนกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎรครั้งที่ 8 – ครั้งที่ 9 สมัย วิสำมัญเล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สานักพิมพ์เลขาธิการคณะรัฐมนตรี. 6.3.15 กำรสัมภำษณ์ รูปแบบ ผู้ให้สัมภาษณ์//วัน เดือน ปี ที่ให้สัมภาษณ์.//ตาแหน่ง (ถ้ามี).// สัมภาษณ์. ตัวอย่ำง มนัส สังวรศิลป์. 18 เมษายน 2541. สัมภาษณ์. สุขุมาภรณ์ ขันธ์ศรี. 19 พฤศจิกายน 2547. หัวหน้าภาควิชาเทคนิคเกษตร คณะ เทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. สัมภาษณ์. Vejjajiva, Athasit. 1996, February 14. President, Mahidol University. Interview. 6.3.16 โสตทัศนวัสดุ 1) โสตทัศนวัสดุประเภทสไลด์ เทปบันทึกเสียง ภาพยนต์ ฟิล์ม สตริปส์ วีดิทัศน์ เทปตลัป คอมแพคดิสก์ รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ เทปบันทึกภาพ รูปแบบ ชื่อผู้จัดทา.// (ผู้จัดทา)//.ปี พ.ศ. ที่จัดทา.//ชื่อเรื่อง.//[ชนิดของสื่อ].//สถานที่ผลิต/://ผู้ผลิต. ตัวอย่ำง กรมการปกครอง. (ผู้จัดทา). 2532. องค์กำรบริหำรส่วนตำบล. [เทปบันทึกเสียง]. กรุงเทพฯ: สานักงานเลขานุการ กรมการปกครอง. บริษัทเจริญโภคภัณฑ์ จากัด. 2525. กำรเลี้ยงไก่ไข่. [วีดิทัศน์]. กรุงเทพฯ : บริษัทเจริญโภคภัณฑ์ จากัด. พจน์ สารสิน. (ผู้พูด). 13 เมษายน 2520. ควำมอยู่รอดของเศรษฐกิจไทย. [บทวิทยุออกอากาศทาง สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย].

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

39

คณะเทคโนโลยีการเกษตร. (ผู้จัดทา). 2547. เอฟ ที เอ กับ เกษตรกรไทย. [วีดิทัศน์]. กรุงเทพฯ: ภาควิชาเทคนิคเกษตร, คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุณทหารลาดกระบัง. Alan W.B. Compiler. 1984. Using the Oscilloscope. [Slide]. London : The Slide Centre. RCA Records. 1984. Test Compact Disc; Extensive Test for Audio Equipment .[Compact Disc]. Germany : RCA Ltd. VRI Slide Library. (Producer). 1993. Major Galleries, Major Contemporary Artists. [Slide]. London: The Slide Centre. 2) แผนที่ รูปแบบ ชื่อ [ลักษณะของแผนที่].//ปี พ.ศ. ที่พิมพ์.//ชื่อสิ่งพิมพ์/://สานักพิมพ์. ตัวอย่ำง แผนที่กรุงเทพมหานคร [แผนที]่ . 2523. กรุงเทพฯ : ธนาคารกรุงไทย. Scotland [Photograph map]. Washingto (DC) : National Geographic Society (US.). 6.3.17 สิทธิบัตร รูปแบบ ผู้จดสิทธิบัตร./ชื่อสิ่งประดิษฐ์.//ประเทศที่จดสิทธิบัตร.//หมายเลขสิทธิบัตร.//วัน เดือน ปี ที่จด สิทธิบัตร). ตัวอย่ำง สาธิต เกษมสันต์, ม.ล.. กรรมวิธีในการทาแอบโซลูตอัลกอฮอล์. ประเทศไทย. สิทธิบัตรไทย เลขที่ 77. 4 กุมภาพันธุ์ 2526. Kamder, A.D. Method and Apparatus for Constraining the Compaction of components of a Circuit Layout. U.S patent no. 5636132, June 1997. 6.3.18 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ การสืบค้นข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เช่น ซีดีรอม อินเตอร์เน็ต (Internet [online] เป็นต้น รูปแบบ ผู้รับผิดชอบหลัก.//ปี พ.ศ.ที่เผยแพร่.//ชื่อเรื่อง.//[CD-ROM].// สถานที่ผลิต/://ผู้ผลิต.[วัน เดือน ปีที่ เข้าถึงข้อมูล]. หรือ ผู้รับผิดชอบหลัก.//ปี พ.ศ.ที่เผยแพร่ (หรือสืบค้น).//ชื่อเรื่อง.//[Online].//เข้าถึงได้จาก/://[วิธีการ เข้าถึงและสถานที่ของข้อมูล].

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


40

คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

ผู้รับผิดชอบหลัก (Author/editor) 1) ให้ ร ะบุ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก หรื อ บรรณาธิ ก ารในการสร้ า งแฟ้ ม ข้ อ มู ล หรื อ โปรแกรม คอมพิวเตอร์ ในตาแหน่งผู้แต่ง 2) วิธีการเขียนชื่อใช้หลักการเดียวกับชื่อผู้แต่ง ปีที่จัดทำ (Year) หมายถึงปีที่เผยแพร่แฟ้มข้อมูลหรือปีที่สร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีปี ที่จัดทาให้ใช้ No date ชื่อแฟ้มหรือชื่อโปรแกรม (Title) 1) ให้ระบุชื่อแฟ้มข้อมูลหรือปีที่สร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในลักษณะเดียวกับชื่อเรื่องหนังสือ 2) ถ้าแฟ้มข้อมูลไม่ใช่ชื่อเรื่อง ให้เขียนคาอธิบายเนื้อหาของแฟ้มข้อมูลไว้ในวงเล็บรวมทั้งปี ที่ รวบรวมข้อมูล ประเภทของสื่อที่เข้ำถึง (Type of medium) [online] [Computer file] [CD-ROM] [Computer software] สถำนที่ผลิต และชื่อผู้ผลิตหรือเผยแพร่ (Producer) 1) ระบุ ส ถานที่ แ ละชื่ อ ผู้ ผ ลิ ต (บุ ค คลหรื อ องค์ ก ร) ที่ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล หรื อ จั ด ท าโปรแกรม คอมพิวเตอร์ 2) ในกรณีของแฟ้มข้อมูลอาจระบุชื่อบุคคล หรือองค์กรผู้จัดทาและเผยแพร่ซึ่งสามารถติดขอ สาเนาข้อมูลได้โดยวงเล็บหน้าที่ของบุคคลหรืองค์กร (Producer) หรือ (Distributor) แล้วแต่กรณี 3) โปรแกรมคอมพิวเตอร์อาจเพิ่มเติมรายละเอียดอื่นๆ ที่จาเป็นสาหรับการสืบค้นโปรแกรมนั้น เช่น หมายเลขรายงาน หรือ หมายเลขของโปรแกรมต่อจากผู้ผลิตหรือเผยแพร่ แหล่งข้อมูล/สำรนิเทศ (Available : Supplier/Database identifier or number) or (Available Protocol : Site/Path/File) การเข้าถึงสารนิเทศอิเล็กทรอนิกส์จากแหล่งใด เปรียบเทียบได้กับสถานที่พิมพ์และสานักพิมพ์ ของหนังสือ ให้ระบุรายละเอียดที่เข้าถึงแหล่งที่สืบค้นได้ ถ้าใช้อินเตอร์เน็ท ให้ระบุวิธีใช้ค้นหาว่าใช้ Protocol ใด ได้ แ ก่ Telnet, FTP และอื่ น ๆ หากใช้ ส ารนิ เทศจาก World Wide Web ให้ ร ะบุ Site/Path/File โด ย ใช้ ค าว่ า Available : Supplier/Database identifier or numbers ห รื อ Available Protocol : Site/Path/File ในกรณี ที่ เป็ น สาระสั ง เขปออนไลน์ ให้ ใ ส่ ค าว่ า Abstract from : Supplier/Database identifier or numbers สาระสังเขปจากซีดีรอมให้ใส่คาว่า Abstract from : Source. สาหรับสารนิเทศภาษาไทย ให้ใช้คาว่าเข้าถึงได้จาก : หรือสาระสังเขปจาก แล้วแต่กรณี วัน เดือน ปี ที่เข้าถึงข้อมูล (Access date) ระบุวัน เดือน ปี ตามที่ปรากฏในเครื่องหมายวงเล็บ [ ]

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

41

ตัวอย่ำง หนังสือ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว). 2552. กระบวนการวิจัย [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.xxx.com/x1.htm. [1 มีนาคม 2559]. เลิศ พัดฉวี. 2553. รำยงำนทำงวิชำกำร กำรศึกษำสภำพ แนวทำงป้องกันและกำรแก้ไขทำงหลวง หมำยเลข 4013 (ตอนต่อเขตเทศบำลปำกพนัง – ท่ำพญำ – หัวไทร) ที่ถูกระทบจำกกำร กัดเซำะชำยฝั่ง [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.krabiurt.com/street /data_street/marttrakarn/22_05_55_1.pdf [2 มีนาคม 2559]. Sustainable Agriculture Research and Education (SARE). 2016. What is sustainable agriculture [Online]. Available: https://www.google.co.th/?gws_rd=cr&ei= 7FrWVoLiPIiWuASQk53QBw#q=sustainable+agriculture+pdf [2016, March 2]. Oxford English Dictionary Computer File : on compact Disc 1992 (2nd ed), [CD-ROM]. 1992. Available: Oxford UP [1995, May 27]. Prizker, T. (No Date). An Early Fragment From Central Nepal [Online]. Available: http://www.ingress.com/-astanart/pritzker/pritzker.html [1995, June 8]. Walker, G., and Janes, J. 1993. Online Retrieval. In A Dialogue of Theory and Practice [Online]. Englewood, CO: Libraries Unlimited. Abstract from: DIALOG (R) File: ERIC Item: ED368378 [1995, June 2]. บทควำมวำรสำร สุณีพร สุวรรณมณีพงศ์ สุวัฒน์ ทัศนะนาคะจิตต์ ศศิมา ฟักคง และฉันท์หทัย เกิดศรีเสริม. 2558. เกษตรเมืองในเขตกรุงเทพมหานคร: ลักษณะการผลิต การตลาดและความท้าทาย. วำรสำร เกษตรพระจอมเกล้ำ, 3(33), 109-120. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.agri.kmitl.ac.th/agritechjournal/index.php/list-of-issues/category/ 34-2558-33-3. [2 มีนาคม 2559]. Clark, J.K. 1993. Complications in academia: Sexual harassment and the law. Siecus Report [CD-ROM], 21(6), 6-10. Available: 1994 SIRS/SIRS 1993 School/Volume 4/Article 93A [1995, June 13] Jackson, S. 1990. Demographic and Social Trends: Implications for the Information Profession: Part 2. Library Management [Online]. 11, 6:4-17. Abstract from: BRS File: LISA Item: 919621 [1996, Jan 12]. Williams, J. (2008). The victims of crime. Sociology Review, 17(4), 30-32. [Online]. Available: http://www.philipallan.co.uk/ sociologyreview/index.htm บทควำมในนิตยสำร (Magazine Articles) Goodstein, C. 1991, September. Healers from the deep. American health [CD-Rom], 60-64. Available: 1994 SIRS/SIRS 1992 Life Science/Article 08A [1995, June 13].

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

42

Viviano, F. 1995, May/June. The New Mafia Order. Mother Jones Magazine [Online], 72 paragraphs. Available: http://www.momones.com/MOTHER_JONES/MJ95/ viviano.html [1995, July 17]. สำรสนเทศที่สืบค้นจำกเว็บไซต์ต่ำงๆ กรมควบคุมโรค. 2555. วัยรุ่นรู้ทัน ป้องกันได้โรคเอดส์...เอดส์ หยุดได้ถ้ำทุกคนร่วมใจหยุดเสี่ยง [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.thaiall.com/aids/ [14 พฤษภาคม 2557]. กรมส่งเสริมการเกษตร. 2557. กรมส่งเสริมฯ ชูไทย สมำร์ทฟำร์มเมอร์ รับ AEC [ออนไลน์]. เข้าถึง ได้จาก : http://www.smartsme.tv/breaking_detail.php?id=5941 [15 ธันวาคม 2558]. การดาน้าลึก. 2552. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :: http://www.xxx.com/x1.htm [1 ธันวาคม 2553]. นลิน ญานศิริ สรจักร เกษมสุวรรณ และเปี่ยมศักดิ์ เมนะเศวต. 2557. แหล่งที่มำของมลพิษทำง ทะเลในอ่ำวไทย [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.healthcarethai.com/แหล่งที่มา ของมลพิษทางทะเลในอ่าวไทย. [1 มีนาคม 2559]. Health Central Network. 2009. Heart attack symptoms and warning signs [Online]. Available: http://www.healthcentral.com/heart-disease/patient-guide-445106.html. [2016, March 21]. Angeli, E., Wagner, J., Lawrick, E., Moore, K., Anderson, M., Soderland, L., & Brizee, A. 2010. General format [Online]. Available: http://owl.english.purdue.edu/owl/resource/560/01/. [2016, March 21]. บทควำมในหนังสือพิมพ์ รูปแบบ กรณีมีชื่อผู้แต่ง ผู้แต่ง.//วัน เดือน ปีที่เผยแพร่.//ชื่อบทความ.//ชื่อหนังสือพิมพ์.//[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : (ระบุ URL) [วัน เดือนปี ที่เข้าถึงข้อมูล]. กรณีไม่มีชื่อผู้แต่ง ชื่อบทความ.//วัน เดือน ปีที่เผยแพร่.//ชื่อหนังสือพิมพ์.//[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : (ระบุ URL) [วัน เดือนปี ที่เข้าถึงข้อมูล]. ตัวอย่ำง กรณีมีชื่อผู้แต่ง ธวัชชัย วิสุทธิมรรค. 1 เมษายน 2557. ปฏิรูปการเมือง ปฏิรูปประเทศไทยแค่เอื้อมหรืออีก ไกล?. ไทยโพสต์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.thaipost.net/ news/category/66. [15 มกราคม 2558]. ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


คู่มือปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ : หลักสูตรพัฒนำกำรเกษตร และหลักสูตรนิเทศศำสตร์เกษตร

43

Heinlein, G. (2007, July 24). Michigan smoking ban takes big step. Detroit News. [Online]. Available: http://www.detnews.com. [2016, March 1]. กรณีไม่มีชื่อผู้แต่ง ครม.อนุมัติให้ รฟม.กู้เงินในประเทศสร้างรถไฟฟ้า 3 สายแทนกู้จากไจก้า. (1 เมษายน 2557). ประชำชำติธุรกิจ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.prachachat.net /news_detail.php?newsid=1396341620 [2 มีนาคม 2558]. พัฒนาไทยสู่สมาร์ทฟาร์มเมอร์. (2 กุมภาพันธุ์ 2559). 2556. คมชัดลึก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :: http://www.komchadluek.net/detail/20130923/168743C.html [29 กุมภาพันธ์ 2559]. GMOs are dangerous to our health, according to latest independent research. (2015, July 19). Natural News. [Online]. Available: http://www.naturalnews.com/ 050454_GMO_research_biotech_dangers_health_issues.html#. [2016, March 2]. สื่อวีดิทัศน์จำก YouTube หรือจำกเว็บไซต์ต่ำงๆ รูปแบบ ชื่อผู้แต่ง.//วัน เดือน ปีที่เผยแพร่.//ชื่อเรื่อง/[Video file].// เข้าถึงได้จาก หรือ Available: (ระบุ URL). ตัวอย่ำง ธนิต บุญเจริญ. 1 ตุลาคม 2554. พลังงำนทดแทนเพื่อคนไทยทุกคน [Video file]. เข้าถึงได้จาก : http://www.youtube.com/watch?v=EidVodOV7Mc [5 มกราคม 2559]. Goyen, A. 2007, February 22. Downtown Marquette dog sled races [Video file]. Available: http://www.youtube.com/watch?v=gW3CNCGGgTY [2016, March 1]. University of Chicago. 2007, December 12. European cartographers and the Ottoman world, 1500--1750 [Video file]. Available: http://www.youtube.com / watch?v=Xax5d4IKqrQ. [2015, March 21].

ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สจล.


ภำคผนวก


ภำคผนวก ก. ตัวอย่ำงส่วนประกอบของปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ


46

ตัวอย่างที่ 1 (ปกนอกและปกในปัญหาพิเศษ)

ปัญหำพิเศษ กำรศึกษำกลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดสำรพิษ บ้ำนห้วยพระ หมู่ที่ 1 ตำบลห้วยพระ อำเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม A STUDY ON PESTICIDE – FREE VEGETABLE FARMERS’ GROUP AT HUAY PRA VILLAGE, HUAY PRA SUB-DISTRICY, DON TOOM DISTRICT, NAKORNPATHOM PROVINCE

อภิรัตน์ บุญแยง APIRAT BOONYANG

หลักสูตรปริญญำวิทยำศำสตรบัณฑิต (พัฒนำกำรเกษตร) ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง พ.ศ. 2559


47

ตัวอย่างที่ 2 (ปกนอกและปกในโครงงานพิเศษ)

โครงงำนพิเศษ กำรผลิตหนังสั้นเข้ำร่วมประกวดโครงกำร เกษตรยุคใหม่ สู่ควำมยั่งยืน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ A SHORT FILM PRODUCTION FOR MODERN AGRICULTURE TO SUSTAINABILITY BY MINISTRY OF AGRICULTURE AND COOPERATIVES

คุณำนนต์ จินดำสมุทร์ KUNANON JINDASMUT

หลักสูตรปริญญำวิทยำศำสตรบัณฑิต (นิเทศศำสตร์เกษตร) ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง พ.ศ. 2559


48

ตัวอย่างที่ 3 (ใบรับรองปัญหาพิเศษ) คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง ใบรับรองปัญหำพิเศษ ------------------------------------หัวข้อปัญหำพิเศษ

นักศึกษำ รหัสประจำตัว ปริญญำ สำขำวิชำ อำจำรย์ที่ปรึกษำ

การศึกษากลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ บ้านห้วยพระ หมู่ที่ 1 ตาบลห้วยพระ อาเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม A Study on Pesticide – Free Vegetable Farmers’ Group at Huay Pra Village Huay Pra Sub – district, Don Toom District, Nakonpathom Province นายอภิรัตน์ บุญแยง 54065702 วิทยาศาสตรบัณฑิต (พัฒนาการเกษตร) พัฒนาการเกษตร รศ.ดร.ปัญญา หมั่นเก็บ

คณะกรรมกำรสอบปัญหำพิเศษ รศ.ดร.ปัญญา หมั่นเก็บ ผศ.พีรชัย กุลชัย ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน์

ลำยมือชื่อ

ได้รับการพิจารณาให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

……………………………………. ผศ.ดร.สมศักดิ์ คูหาสวรรค์เวช หัวหน้าภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร


49

ตัวอย่างที่ 4 (ใบรับรองโครงงานพิเศษ) คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง ใบรับรองโครงงำนพิเศษ ------------------------------------หัวข้อโครงงำนพิเศษ

นักศึกษำ รหัสประจำตัว ปริญญำ สำขำวิชำ อำจำรย์ที่ปรึกษำ

การผลิตหนังสั้นเข้าร่วมประกวดโครงการ เกษตรยุคใหม่ สู่ความยั่งยืน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ A Short Film Production for Modern Agriculture to Sustainability by ministry of Agriculture and Cooperatives นายคุณานนต์ จินดาสมุทร์ 54065658 วิทยาศาสตรบัณฑิต (นิเทศศาสตร์เกษตร) นิเทศศาสตร์เกษตร ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม

คณะกรรมกำรสอบโครงงำนพิเศษ รศ.ดร.ปัญญา หมั่นเก็บ ผศ.พีรชัย กุลชัย ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน์

ลำยมือชื่อ

ได้รับการพิจารณาให้นับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์เกษตร วันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

……………………………………. ผศ.ดร.สมศักดิ์ คูหาสวรรค์เวช หัวหน้าภาควิชาพัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร


50

ตัวอย่างที่ 5 (บทคัดย่อปัญหาพิเศษ) หัวข้อปัญหำพิเศษ นักศึกษำ

รหัสประจำตัว ปริญญำ สำขำวิชำ พ.ศ. อำจำรย์ที่ปรึกษำปัญหำพิเศษ

การศึกษากลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดสารพิษ บ้านห้วยพระ หมู่ที่ 1 ตาบลห้วยพระ อาเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม นายอภิรัตน์ บุญแยง 54065702 วิทยาศาสตรบัณฑิต (พัฒนาการเกษตร) พัฒนาการเกษตร 2559 รศ.ดร.ปัญญา หมั่นเก็บ

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุป ระสงค์ เพื่อศึกษากลุ่มปลู กผั กปลอดสารพิษ บ้า นห้ วยพระ หมู่ที่ 1 ตาบลห้วยพระ อาเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม เกี่ยวกับความเป็นมาของกลุ่ม การบริหารจัด การ ปัจ จัยที่มีผลต่อการดาเนิ น งานของกลุ่ ม รวมทั้งปัญ หาอุปสรรคในการดาเนินงานของกลุ่ ม โดยใช้ เทคนิ ควิธีการวิจัยเชิงคุณภาพหลายๆ เทคนิคร่วมกัน เช่น การสัมภาษณ์ แบบเจาะลึก (In-depth Interview) และการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม (Non – Participant Observation) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มปลู กผักปลอดสารพิษบ้านห้วยพระ เริ่มมีมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2538 และได้จัดตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 โดยการนาของนางสมจิตร ไพร สีม่วง ประธานกลุ่ม ปัจจุบันมีสมาชิก 33 คน ปัจจัยที่ทาให้กลุ่มประสบความสาเร็จ แบ่งออกเป็น 2 ปั จจั ยคือ 1) ปั จจั ย ภายใน กล่ าวคือ กลุ่มมีผู้ นาที่มีความสามารถ ประกอบกับ การมีส่ วนร่วมของ สมาชิก 2) ปัจจัยภายนอก ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐคือ สานักงานเกษตรอาเภอดอน ตูม และบริษัทผู้รับซื้อ ได้แก่ บริษัทกาแพงแสน คอมเมอร์เชียล จากัด บริษัท เอกซ์ เซล และบริษัท สวิฟฟ์ การดาเนินงานของกลุ่ม ทุกฝ่ายจะขึ้นอยู่กับประธานกลุ่ม ทั้งนี้ภายในกลุ่มได้มีการบริหารงาน ตามหน้าที่ของสมาชิกแต่ละคน ส่วนการดาเนินงานด้า นการผลิตจะเป็นในลักษณะของการช่วยกัน หรือการเอาแรงกัน ซึ่งเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการผลิต ส่งผลทาให้สมาชิกมีรายได้จากการดาเนินงาน ปีละประมาณ 140,000 บาท/ครอบครัว และสามารถสร้างรายได้ให้กับกลุ่ม โดยเฉลี่ย ปีละประมาณ 4,700,000 บาท ส่ ว นปั ญ หาอุ ป สรรคในการด าเนิ น งานของกลุ่ ม ปั จ จุ บั น ยั งไม่ พ บ จะมี บ้ า งคื อ เกี่ยวกับสมาชิกซึ่งมีเพียง 1 ราย ที่ไม่สามารถผลิตผักได้มาตรฐานตามที่บริษัทกาหนด จึงไม่สามารถ ส่งผลผลิตให้กับ บริษัทผู้รับซื้อได้ อย่ างไรก็ตาม ทางกลุ่มก็ได้มีการแก้ไขและพัฒ นาการผลิตอย่าง ต่อเนื่อง


51

ตัวอย่างที่ 6 (บทคัดย่อโครงงานพิเศษ) หัวข้อโครงงำนพิเศษ

การผลิตหนังสั้นเข้าร่วมประกวดโครงการ เกษตรยุคใหม่ สู่ความยั่งยืน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นักศึกษำ นายคุณานนต์ จินดาสมุทร์ รหัสประจำตัว 54065658 ปริญญำ วิทยาศาสตรบัณฑิต (นิเทศศาสตร์เกษตร) สำขำวิชำ นิเทศศาสตร์เกษตร พ.ศ. 2559 อำจำรย์ที่ปรึกษำโครงงำนพิเศษ ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม

บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตหนังสั้นเข้าร่วมโครงการประกวดหนังสั้น “เกษตรยุค ใหม่ สู่ความยั่งยืน ” และเพื่อประเมินคุณภาพหนังสั้นจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหา จานวน 3 คน การประเมินคุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านการผลิตสื่อ จานวน 5 คน และประเมินความพึงพอใจ ในการรับชมหนังสั้นจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็น นักเรียนนักศึกษา จานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินคุณภาพหนังสั้นโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและผู้เชี่ยวชาญด้าน การผลิตสื่อ และแบบประเมินความพึงพอใจในการรับชมหนังสั้น ผลการศึ ก ษาพบว่ า 1) การประเมิ น คุ ณ ภาพสื่ อ โดยผู้ เชี่ ย วชาญทางด้ า นเนื้ อ หา พบว่ า รายละเอียดเนื้อหาเกี่ยวกับ Smart Farmer ยังน้อยเกินไป ควรนาเสนอรายละเอียดการผลิตที่มาก ขึ้น 2) การประเมินคุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านการผลิตสื่อ พบว่า ภาพมีความหลากหลาย นาเสนอให้เข้าใจได้ดี สีสันของภาพสวยมีการใช้เทคนิคได้ดี เสียงบุคคลมีความชัดเจน และคมชัด ดนตรี ป ระกอบเหมาะสม แต่ ในบางฉากใช้ ก ารปรั บ แต่ ง สี ที่ มี Contrast มากเกิ น ไป ท าให้ เห็ น รายละเอียดไม่ชัด 3) การประเมินความพึงพอใจในการรับชมหนังสั้น ของกลุ่มตัวอย่าง โดยรวมอยู่ใน ระดับ มาก (ค่าเฉลี่ย 2.87) ซึ่งส่ วนใหญ่ มีความคิดเห็ นสอดคล้ องกันว่า ภาพและกราฟฟิค มีความ สวยงาม การดาเนินเรื่องกระชับ ต่อเนื่อง ดนตรีประกอบเร้าใจ และช่วยให้เห็นความสาคัญของภาค การเกษตรมากขึ้น


52

ตัวอย่างที่ 7 (กิตติกรรมประกาศ)

กิตติกรรมประกำศ ปั ญหาพิ เศษ/โครงงานพิเศษเล่ มนี้ ส าเร็จได้ด้ วยความกรุณ าจากอาจารย์ที่ปรึกษา รศ.ดร. ปั ญ ญา หมั่น เก็บ ที่ ให้ ค วามช่ว ยเหลื อ ให้ คาชี้แนะ ตลอดจนช่ว ยแก้ปั ญ หา ทาให้ เกิ ด ความรู้และ ประสบการณ์ที่ดีแก่ข้าพเจ้า ขอขอบพระคุณ ผศ. พีรชัย กุลชัย ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม และ อ.ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวัฒน์ กรรมการสอบหัวข้อและโครงร่างปัญหาพิเศษที่ได้กรุณาให้คาแนะนาตลอดจนข้อชี้แนะ จนในที่สุดทาให้ปัญหาพิเศษฉบับนี้สาเร็จลงได้ ขอขอบพระคุณครูอาจารย์ทุกท่านที่ประสิทธิประสาท วิชาความรู้และถ่ายทอดประสบการณ์ที่ดีให้แก่ข้าพเจ้า ขอขอบคุ ณ กลุ่ ม เกษตรกรปลู ก ผั ก ปลอดสารพิ ษ บ้ านห้ ว ยพระ หมู่ ที่ 1 ต าบลห้ ว ยพระ อาเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐมที่ให้การสนับสนุนการวิจัยนี้ สุดท้ายต้องขอขอบคุณครอบครัวและเพื่อนๆ ที่ให้ความช่วยเหลือในการศึกษาจนทากระทั่งสู่ ความสาเร็จในวันนี้ อภิรัตน์ บุญแยง


53

ตัวอย่างที่ 8 (สารบัญ)

สำรบัญ หน้ำ บทคัดย่อ …………………………………………………………...............……………………......................................I กิตติกรรมประกาศ …………………………………………………….......................................……………………..…II สารบัญ ………………………………………………………………………………………………………………………………..III สารบัญตาราง ……………………………………………………………………………………......................................IV สารบัญภาพ ……………………………………………………………………………………......................................….V บทที่ 1 บทนา …………………………………………………………………………………….......................................1 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา …………………………………………………………….....1 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา………………………………………………………….............................3 1.3 สมมติฐานของการศึกษา..................................................................................................3 1.4 ขอบเขตของการศึกษา ……………………………………………………………….............................5 1.5 ขั้นตอนของการศึกษา..............…………………………………………………….........................….6 1.6 ข้อตกลงเบื้องต้น..............................................................................................................7 1.7 ข้อจากัดของการศึกษา.....................................................................................................8 1.8 คาจากัดความที่ใช้ในการศึกษา........................................................................................8 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง....………………………………………………….................................20 บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา……………………………………………………………………...................................25 บทที่ 4 ผลการศึกษา .......................………………………………………………………………...........................37 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ ………………………………………………........…60 บรรณานุกรม ……………………………………………………………………………………...................................…64 ภาคผนวก (ถ้ามี) ………………………………………………………………………………..................................….69 ประวัติผู้ศึกษา …………………………………………………………………………...................................………..101

หมำยเหตุ: เนื้อความของปัญ หาพิเศษ/โครงงานพิเศษจะแบ่งออกเป็นกี่บทก็ได้ตามความจาเป็น และขอให้ร ะบุ รายละเอียดหัวข้อสาคัญในแต่ละบทด้วย


54

ตัวอย่างที่ 9 (สารบัญตาราง)

สำรบัญตำรำง ตำรำงที่ 3.1 แสดงตัวอย่างการสุ่มแบบหลายขั้นตอนของครัวเรือนเกษตรกร 4.1 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคม 4.2 จานวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามปัจจัยด้านสื่อมวลชน

หน้ำ 50 56 59


55

ตัวอย่างที่ 10 (สารบัญภาพ)

สำรบัญภำพ ภำพที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย 2.1 แบบจาลองทฤษฎีสิ่งเร้าและการตอบสนอง

หน้ำ 5 28


56

ตัวอย่างที่ 11 (บทนา)

บทที่ 1

บทนำ (Introduction) 1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ …………………(กล่าวถึงความเป็นมา และความสาคัญของเรื่องและประเด็นสาคัญที่จะศึกษาโดย เขียนให้กระชับและชัดเจน)

1.2 วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ ………………. (กล่าวถึงความมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษา ว่าต้องการที่จะพิสูจน์หรือ ต้องการที่จะรู้เรื่องอะไร)

1.3 สมมติฐำนของกำรศึกษำ ………………. (กล่าวถึงการตอบปัญหาล่วงหน้า จากวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยอ้างอิงหลักการ และ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง)

1.4 ขอบเขตของกำรศึกษำ ………………… (กล่าวถึงขอบข่ายเกี่ยวกับปรากฏการณ์บุคคล หรือสถานที่ และช่วงเวลาที่ เกี่ยวข้อง)

1.5 ขั้นตอนของกำรศึกษำ ……………… (สรุป วิธีการดาเนินการศึกษา)

1.6 ข้อตกลงเบื้องต้น ……………… (กล่าวถึงข้อตกลงและเงื่อนไขในการดาเนินการศึกษา)

1.7 ข้อจำกัดของกำรศึกษำ ……………… (กล่าวถึงกรณีหรือตัวแปรที่ควบคุมไม่ได้ในการดาเนินการศึกษา)

1.8 คำจำกัดควำมที่ใช้ในกำรศึกษำ ……………… (การกาหนดหรือนิยมคาศัพท์เฉพาะในการดาเนินการศึกษา)


57

ตัวอย่างที่ 12 (เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง)

บทที่ 2

เอกสำรและงำนวิจยั ที่เกี่ยวข้อง (Literature Review) (กล่าวถึงแนวคิด ทฤษฎี วรรณกรรม หรือผลงานวิจัยที่มีผู้ทามาแล้ว และมีความสาคัญต่อ งานวิจัยนี้เพื่อเป็นแนวทางเข้าสู่กระบวนการวิจัย) ………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………...............…………………………………..


58

ตัวอย่างที่ 13 (วิธีดาเนินการศึกษา)

บทที่ 3

วิธีดำเนินกำรศึกษำ (Research Methodology) (กล่ าวถึงประชากรและกลุ่ มตัว อย่ าง เครื่องมือในการศึกษา ขั้น ตอนการศึกษา และการ วิเคราะห์ข้อมูล) ……………………………………………………………………….…………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………...............…………………………………..


59

ตัวอย่างที่ 14 (ผลการศึกษา)

บทที่ 4

ผลกำรศึกษำ (Results) (การนาผลของการศึกษาข้อมูลมากล่าวโดยละเอียด อาจมีตารางหรือภาพประกอบไว้ด้วย หรืออาจมีวิธีการทางสถิติประกอบเพื่อให้การตีความข้อมูลชัดเจน) …………………………………………… ………………………….………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………...............……… …………………………..


60

ตัวอย่างที่ 15 (การจัดวางตาราง) ……………………………………………………………….. (เนื้อความที่บรรยายมาก่อน) …......................….. (เว้น 1 บรรทัด) ตำรำงที่ 5.1 จานวนและร้อยละของระยะเวลาในการรับข่าวสารเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ระยะเวลำในกำรรับข่ำวสำร N ร้อยละ 31-60 นาที 181 45.48 61-90 นาที 84 21.10 มากกว่า 90 นาที 133 33.42 รวม 398 100.00 (เว้น 1 บรรทัด) ..........................(เนื้อความต่อไป)..................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................ หมำยเหตุ: ตัวเลขทศนิยมในปัญหาพิเศษต้องมีทศนิยม 2 ตาแหน่ง และรูปแบบตารางดังภาพ


61

ตัวอย่างที่ 16 (การจัดวางภาพ) ……………………………………………………………….. (เนื้อความที่บรรยายมาก่อน) ……………………………….. (เว้น 1 บรรทัด)

ภำพที่ 3.12 ผลผลิตมันสาปะหลังของประเทศไทย ปี 2546-2556 ที่มำ : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2557) (เว้น 1 บรรทัด) เนื้อความต่อไป....................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................


62

ตัวอย่างที่ 17 (สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ)

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรำยผลกำรศึกษำ และข้อเสนอแนะ (Conclusion Discussion and Suggestion) …………… (ให้กล่าวสรุปเรื่องทั้งหมดของปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ การอภิปรายข้อสรุป ของปัญหาในการศึกษา การแปลความหมายของข้อมูล ผลการวิจัย เทียบกับการวิจัย หรือการค้นพบ ที่มีมาก่อน ซึ่งนาไปสู่ข้อเสนอแนะในการศึกษาปัญหาอื่นๆ ต่อไป อาจกล่าวได้ว่าคล้ายกับการขยาย ความในบทคัดย่อให้ชัดเจนเพียงพอสาหรับผู้ไม่มีเวลาอ่านปัญหาพิเศษทั้งเล่ม ได้อ่านศึกษาให้เข้าใจ ง่าย รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะการนาผลการวิจัยนี้ไปใช้ประโยชน์)


63

ตัวอย่างที่ 18 (ประวัติผู้ศึกษา)

ประวัติผู้ศึกษำ ชื่อ-นามสกุล วัน เดือน ปีเกิด ที่อยู่ ประวัติการศึกษา ทุนการศึกษา (ถ้ามี)

……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

ภาพถ่ายชุดครุย ขนาด 1 นิ้ว


64

ภำคผนวก ข. แบบฟอร์มต่ำงๆ


65

แบบฟอร์ม ทน.1 แบบคำร้องเสนอหัวข้อปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง ชื่อนักศึกษำ (นาย/นางสาว/นาง) ...........................................………รหัสประจาตัว  (นาย/นางสาว/นาง) ........…………….........................................………รหัสประจาตัว  และ (นาย/นางสาว/นาง) ........…………….................................………รหัสประจาตัว  หัวข้อเรื่อง (ภาษาไทย) ............................................................................................................................. ........................................................................................................................................ .............................. โดยมีอำจำรย์ที่ปรึกษำปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ คือ....................................................................... (ลงนามนักศึกษา)............................................................. (...........................................................) วันที่....../......../....... ลงนำมรับรองกำรตรวจสอบและเห็นชอบของอำจำรย์ที่ปรึกษำและกรรมกำรสอบปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ

ชื่อ-นำมสกุล

คณะกรรมกำร

ลงนำม

1. (อ./ผศ./รศ./ศ.).................................

อาจารย์ที่ปรึกษา

...........................................

2. (อ./ผศ./รศ./ศ.).................................

กรรมการ

...........................................

3. (อ./ผศ./รศ./ศ.).................................

กรรมการ

...........................................

4. (อ./ผศ./รศ./ศ.).................................

กรรมการ

...........................................

**หมายเหตุ : ให้ส่งแบบฟอร์ม ทน.1 ที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาปัญหาพิเศษ 1 /โครงงานพิเศษ 1


66

แบบฟอร์ม ทน.2 แบบคำร้องขอสอบโครงร่ำงปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง

ชื่อนักศึกษำ (นาย/นางสาว/นาง) ...........................................………รหัสประจาตัว  (นาย/นางสาว/นาง) ........…………….........................................………รหัสประจาตัว  และ (นาย/นางสาว/นาง) ........…………….................................………รหัสประจาตัว  หัวข้อเรื่อง (ภาษาไทย) ....................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................

กำหนดกำรสอบโครงร่ำงปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ วันที่ ………......................................……...……… เวลา ……………ณ ห้อง..........…...….. (ลงนามนักศึกษา) ……………............…………………. (…………………………………..) วันที่ ………/……………/…………

ลงนำมรับทรำบ .................….................. อำจำรย์ที่ปรึกษำปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ มติของคณะกรรมกำรสอบฯ ตัดสินผลกำรสอบของนักศึกษำ ดังนี้  ผ่าน  ผ่านโดยมีเงื่อนไข (ระบุเงื่อนไข) ……………………......................………………………..  ไม่ผา่ น นักศึกษาต้องดาเนินการขอสอบใหม่ภายในไม่เกินวันที่ …...........………….

ลงนำมรับรองผลกำรสอบข้ำงต้น ลงนาม..................................................ประธานกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ลงนาม................................................................กรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ลงนาม................................................................กรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ลงนาม................................................................กรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ **หมายเหตุ : ให้ส่งแบบฟอร์ม ทน.2 ที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาปัญหาพิเศษ 1 /โครงงานพิเศษ 1


67

แบบฟอร์ม ทน.3 แบบคำร้องขอสอบปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง ชื่อนักศึกษำ (นาย/นางสาว/นาง) ...........................................………รหัสประจาตัว  (นาย/นางสาว/นาง) ........…………….........................................………รหัสประจาตัว  และ (นาย/นางสาว/นาง) ........…………….................................………รหัสประจาตัว  หัวข้อเรื่อง (ภาษาไทย) ....................................................................................................................... ................................................................................................................................................................

กำหนดกำรสอบปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ วันที่ ………......................................……...……… เวลา ……………ณ ห้อง..........…...….. (ลงนามนักศึกษา) ……………............…………………. (…………………………………..) วันที่ ………/……………/…………

ลงนำมรับทรำบ .................….................. อำจำรย์ที่ปรึกษำปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ มติของคณะกรรมกำรสอบฯ ตัดสินผลกำรสอบของนักศึกษำ ดังนี้  ผ่าน  ผ่านโดยมีเงื่อนไข (ระบุเงื่อนไข) ……………………......................………………………..  ไม่ผา่ น นักศึกษาต้องดาเนินการขอสอบใหม่ภายในไม่เกินวันที่ …...........………….

ลงนำมรับรองผลกำรสอบข้ำงต้น ลงนาม..................................................ประธานกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ลงนาม................................................................กรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ลงนาม................................................................กรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ลงนาม................................................................กรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ **หมายเหตุ : ให้ส่งแบบฟอร์ม ทน.3 ที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาปัญหาพิเศษ 2 /โครงงานพิเศษ 2


68

แบบฟอร์ม ทน.4 แบบคำร้องขอใช้ผลงำนทำงวิชำกำรแทนกำรสอบปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ ภำควิชำพัฒนำกำรเกษตรและกำรจัดกำรทรัพยำกร คณะเทคโนโลยีกำรเกษตร สถำบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำเจ้ำคุณทหำรลำดกระบัง ชื่อนักศึกษำ (นาย/นางสาว/นาง) ...........................................………รหัสประจาตัว  (นาย/นางสาว/นาง) ........…………….........................................………รหัสประจาตัว  และ (นาย/นางสาว/นาง) ........…………….................................………รหัสประจาตัว  หัวข้อเรื่อง (ภาษาไทย) ....................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................

ขอใช้ผลงำนทำงวิชำกำรแทนกำรสอบปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ  การตีพิมพ์ผลงานวิชาการ ในวารสาร............................................................................... ปีที่....................................ฉบับที่..............................................................................  การนาเสนอผลงานวิชาการ ในการประชุมวิชาการชื่อ..................................................... วันที่.....................................................................สถานที่.......................................... (ลงนามนักศึกษา) ……………............…………………. (…………………………………..) วันที่ ………/……………/…………

ลงนำมรับทรำบ .................….................. อำจำรย์ที่ปรึกษำปัญหำพิเศษ/โครงงำนพิเศษ มติของคณะกรรมกำรสอบฯ ตัดสินผลกำรขอใช้ผลงำนแทนกำรสอบของนักศึกษำ ดังนี้  ผ่าน  ผ่านโดยมีเงื่อนไข (ระบุเงื่อนไข) ……………………......................………………………..  ไม่ผา่ น นักศึกษาต้องดาเนินการขอใช้ผลงานใหม่ภายในไม่เกินวันที่ …...………….

ลงนำมรับรองผลกำรสอบข้ำงต้น ลงนาม..................................................ประธานกรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ลงนาม................................................................กรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ลงนาม................................................................กรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ ลงนาม................................................................กรรมการสอบปัญหาพิเศษ/โครงงานพิเศษ **หมายเหตุ : ให้ส่งแบบฟอร์ม ทน.4 พร้อมแนบเอกสารอนุมัติการนาเสนอผลงานวิชาการที่อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาปัญหาพิเศษ 2 /โครงงานพิเศษ 2


69


70

มนุษยสัมพันธ์ดี มีคุณธรรม รู้รอบ รูค้ ิด ปฏิบัติได้จริง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.