วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
795
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
796
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การสารวจและอนุรักษ์ พนั ธุ์ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่นในเขตศูนย์ วิจัยและถ่ ายทอดเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง อ.ด่ านช้ าง จ.สุพรรณบุรี The Exploration and Conservation of Native Trees at Research and Technology Transfer Center of King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Dan Chang, Suphan Buri. สุดที่รัก สายปลืม้ จิตต์ 1 นายศุภร เหมินทร์ 1 นิภาพร ยลสวัสดิ์1 และ จารู ญ เล้ าสินวัฒนา1 Sudteerak Saipluemchit1, Suporn Hemindra 1 Nipaporn Yonsawad1 and Chamroon Laosinwattana1
บทคัดย่ อ การสารวจและอนุรักษ์ พนั ธุ์ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่นในเขตศูนย์วิจยั และถ่ายทอดเทคโนโลยีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง อ.ด่านช้ าง จ.สุพรรณบุรี มีวตั ถุประสงค์เพื่อกาหนดพันธุ์ไม้ ยืนต้ นในท้ องถิ่นที่ควรอนุรักษ์ และเพื่อ จัดทาฐานข้ อมูลพันธุ์ไม้ ยืนต้ นในท้ องถิ่น พื ้นที่ศกึ ษามีเนื ้อที่ประมาณ 3.5 ไร่ แบ่งด้ วยระบบกริ ดออกเป็ น 3 ส่วน เนื ้อที่สว่ นละ 500 ตารางเมตร ได้ แก่ ส่วน A1-4, B1-4 และ C1-3 เก็บข้ อมูลโดยการถ่ายภาพประกอบ และวิเคราะห์ข้อมูลแบบสถิติร้อยละ ผลการศึกษาพบพันธุ์ไม้ ยืนต้ นที่ควรอนุรักษ์ จานวน 20 ชนิด 15 วงศ์ กระจายอยู่เกือบทุกส่วนของพื ้นที่ ไม้ ยืนต้ นที่พบมากที่สดุ ในส่วน A1-4 ได้ แก่ แดง ซาก ประดู่ป่า มะค่าแต้ และรัง ตามลาดับ ในส่วน B1-4 ได้ แก่ แดง แคทราย ประดู่ป่า รัง และ แสมสาร ตามลาดับ และส่วน C1-3 ได้ แก่ ประดูป่ ่ า มะค่าแต้ แดง แคทราย และรัง ตามลาดับ คาสาคัญ: การสารวจ การอนุรักษ์ ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่น
Abstract The exploration and conservation of native trees at Research and Technology transfer Center of King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Dan Chang, Suphan Buri. The objective were determined some native trees for conservation and collected in database. The study area was separated in to 3 zones ( A1-4, B1-4 and C1-3) in certain areas about 3.5 Rai . The data collection were gathered by photographing and percentage statistic was used as data analysis. Twenty species in 15 family of native trees were found in the study area. The most native trees in zone A were Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var.kerrii (Craib & Hutch.) Nielsen, Erythrophloeum succirubrum Gagnep, Pterocarpus macrocarpus, Sindora siamensis var. siamensis and Shorea siamensis Miq., zone B were Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var.Kerrii (Craib & Hutch.) Nielsen, Stereospermum neuranthum Kurz , Pterocarpus macrocarpus, Shorea siamensis Miq. and Cassia garrettiana, zone C were Pterocarpus macrocarpus, Sindora siamensis var. siamensis, Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var.Kerrii (Craib & Hutch.) Nielsen, Stereospermum neuranthum Kurz and Shorea siamensis Miq., respectively. Key words: exploration, conservation, native trees
คานา
การศึกษาเพื่ออนุรักษ์ พรรณไม้ โดยเฉพาะพรรณไม้ พื ้นถิ่น มีความสาคัญเป็ นอย่างมากในการพัฒนาพื ้นที่ ทังการ ้ พัฒนาในรูปแบบของการพัฒนาเมือง หรื อการพัฒนาเพื่อวางผังก่อสร้ างอาคารและสิ่งปลูกสร้ างอื่นๆ ทังนี ้ ้การพัฒนาดังกล่าว บนพื ้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูง ได้ แก่ พื ้นที่ป่า พื ้นที่สีเขียวขนาดใหญ่จาเป็ นจะต้ องกาหนดรูปแบบการพัฒนาที่ ชัดเจนเพื่อคงความหลากหลายทางสภาพแวดล้ อมเดิมไว้ ให้ ได้ มากที่สดุ การพัฒนาพื ้นที่เพื่อการพัฒนาเมืองทังในระดั ้ บเมือง ขนาดเล็กถึงเมืองขนาดใหญ่ ต้ องมีการดูแลจัดการภูมิทศั น์ในเมืองที่ดี เพื่อให้ เมืองมีความสวยงาม ร่มรื่ น น่าอยู่ ช่วยลด อุณหภูมิภายในเมืองและช่วยลดมลพิษทางอากาศ ทาให้ ผ้ อู ยู่อาศัยมีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดีมากขึ ้น องค์ประกอบของงานด้ านภูมิ ทัศน์นนล้ ั ้ วนมีความเกี่ยวข้ องโดยตรงกับต้ นไม้ ทงสิ ั ้ ้นดังนันพรรณไม้ ้ ที่เลือกใช้ ควรเหมาะสมและเจริ ญเติบโตได้ ดีในพื ้นที่นนั ้ การ 1
สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
797
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
เลือกใช้ พรรณไม้ พื ้นถิ่นนอกจากจะมีผลดีตอ่ สภาพแวดล้ อมโดยตรงแล้ วยังสามารถควบคุมงบประมาณในการพัฒนาได้ อีกด้ วย ในการพัฒนาพื ้นที่ การอนุรักษ์ พรรณไม้ พืน้ ถิ่นจึงมีความสาคัญมาก เพราะพรรณไม้ พืน้ ถิ่นมีการปรับตัวและสามารถ เจริญเติบโตบนพื ้นที่นนๆได้ ั ้ เป็ นอย่างดี จึงลดการสูญเสียเนื่องจากต้ นไม้ ตาย ลดค่าใช้ จ่ายในการขนส่ง ทังอาจเป็ ้ นพรรณไม้ หา ยากที่ไม่สามารถพบเจอบนพื ้นที่อื่นจึงเป็ นการอนุรักษ์ เพื่อให้ ชนรุ่ นหลังได้ ศึกษาหาความรู้ ต่อไป การพัฒนาเพื่อจัดสร้ าง ศูนย์วิจยั และถ่ายทอดเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง อ.ด่านช้ าง จ.สุพรรณบุรี เดิมทีพื ้นที่ มี ส ภาพเป็ น ภู เ ขา และมี ท รั พ ยากรป่ าไม้ ที่ ค่ อ นข้ างสมบู ร ณ์ ดัง นั น้ การพั ฒ นาจึ ง ต้ องวางแผนควบคู่ กั บ การอนุ รั ก ษ์ สภาพแวดล้ อมเพื่อให้ พืน้ ที่ทรงคุณค่าและเกิดประโยชน์ สูงสุด และเพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลในการจัดทาผังแม่บทและกาหนดทิศ ทางการพัฒนาต่อไปในอนาคต ไม้ ต้น คือ พืชที่ลาต้ นแข็งแรง มีเนื ้อไม้ (wood) ส่วนลาต้ น (trunk) ตังตรงชั ้ ดเจน อายุหลายปี และมีการแตก กิ่งก้ านสาขามาก ที่ตอนปลายของลาต้ น เรี ยกส่วนนี ้ว่าเรื อนยอด (crown) บางชนิดส่วนโคนของลาต้ นแผ่ขยายออกไปเป็ นครี บ เรี ยกว่า พูพอน (buttress) ไม้ ต้นสามารถแบ่งออกเป็ น 3 กลุม่ โดยอาศัยความสูงเป็ นเกณฑ์ดงั นี ้ ไม้ ต้นขนาดเล็ก มีความสูงไม่ เกิน 10 เมตร ไม้ ต้นขนาดกลางมีความสูงระหว่าง 10 - 20 เมตร และไม้ ต้นขนาดใหญ่มีความสูงตังแต่ ้ 20 เมตรขึ ้นไป คุณค่า ทางนิเวศวิทยาของต้ นไม้ ใหญ่ ได้ แก่ การลดความร้ อน การบรรเทาภูมิอากาศและการอนุรักษ์ พลังงาน การกรองฝุ่ นและมลพิษ ในอากาศ การปลดปล่อย O2 และการดูด CO2 ของต้ นไม้ ใหญ่ในเมืองและในป่ า การดูดสารพิษประเภทโลหะหนัก การลดหรื อ เพิ่มความเร็วลม การลดเสียงรบกวน การควบคุมการชะล้ างของดินและชะลอการไหลของน ้า การเสริ มสร้ างระบบนิเวศน์และที่ อยูอ่ าศัยของสัตว์ และ ผลดีตอ่ สุขภาพประชาชน (เดชา, 2543) ลักษณะโครงสร้ างภายนอกของต้ นไม้ ต้ นไม้ แต่ละชนิดจะมีขนาดและลักษณะโครงสร้ างที่แตกต่างกันสามารถนาไป ใช้ ในการจาแนกชนิด (species) ได้ ลักษณะโครงสร้ างภายนอกของไม้ ต้นประกอบไปด้ วยส่วนต่างๆ ได้ แก่ ลาต้ น เปลือกไม้ ใบ ดอก และผล ลักษณะของเปลือกไม้ ชนนอก ั้ (outer bark character) (วิทยา, 2543) ส่วนประกอบของใบพืช ประกอบไปด้ วย ส่วนสาคัญ ได้ แก่ แผ่นใบ ก้ านใบ และหูใบ นอกจากนี ้รูปร่างของใบ (leaf shape) มีหลายชนิดแล้ วยังสามารถแบ่งชนิดของใบ เป็ น ใบเดี่ยว (Simple leaf) ใบประกอบ (Compound leaf) เป็ นต้ น และมีลกั ษณะการจัดระเบียบหรื อการเรี ยงตัวของใบ แตกต่างกัน นอกจากนี ้ยังมีลกั ษณะของปลายใบ (leaf apex) ขอบใบ (Leaf margin) ผิวใบ (Leaf surface) เนื ้อใบ (Leaf texture) และ การเรี ยงเส้ นใบหรื อการจัดระเบียบของเส้ นใบ (venation) ที่แตกต่างกันมากมาย (พเยาว์, 2548) ทังนี ้ ้ยังมีสว่ น ของรายละเอียดต่างๆ ของ ดอก ผล และส่วนของพืชที่ต้องนามาใช้ ประกอบการระบุชนิดและจาแนกชนิดของพรรณไม้ ในการ สารวจ เช่น ลักษณะขนใบ ลักษณะใบอ่อน เป็ นต้ น พืน้ ที่ศึกษาเป็ นพืน้ ที่บริ เวณใกล้ เคียงอุทยานแห่งชาติพุเตย จึงมีลักษณะภูมิประเทศที่คล้ ายคลึงกันคือเป็ นพืน้ ที่ เทือกเขาสลับซับซ้ อนแต่มีความลาดชันน้ อยกว่า พื ้นที่อทุ ยาน ทรัพยากรป่ าไม้ ในเขตอุทยานฯ ได้ แก่ ป่ าเบญจพรรณ ป่ าเต็งรัง ผสมป่ าดิบแล้ ง และป่ าสนสองใบ กระจายพันธุ์อยู่ในพื ้นที่ส่วนต่างๆของอุทยานตามลักษณะภูมิประเทศที่เหมาะสมแก่การ กระจายพันธุ์ของป่ าชนิดนัน้ พรรณไม้ ที่สาคัญได้ แก่ แดง ชิงชัน รัง ประดู่ มะค่าโมง สนสองใบ (http://park.dnp.go.th/visitor/ nationparkshow.php?PTA_CODE=1084, 2558) วัตถุประสงค์ของการสารวจและอนุรักษ์ พนั ธุ์ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่นในเขตศูนย์วิจยั และถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ ครัง้ นี ้ เพื่อ กาหนดพันธุ์ไม้ ยืนต้ นในท้ องถิ่นที่ควรอนุรักษ์ และเพื่อจัดทาฐานข้ อมูลพันธุ์ไม้ ยืนต้ นในท้ องถิ่น ซึง่ จะมีประโยชน์ต่อการวางแผน พัฒนาพื ้นที่เชิงอนุรักษ์ ในอนาคต
อุปกรณ์ และวิธีการ อุปกรณ์ที่ใช้ ในการสารวจ ได้ แก่ กล้ องถ่ายภาพ แผนที่ เข็มทิศ เทปวัด ตลับเมตร ป้ายรหัส ฯลฯ โดยกาหนดพื ้นที่ บางส่วนด้ านทิศเหนือติดทิศตะวันออกของศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ ย่อยพืน้ ที่ศึกษาด้ วยการแบ่งพืน้ ที่แบบระบบกริ ด (grid survey) (พื ้นที่ 1 กริด เท่ากับ 500 ตารางเมตร) จากนันท ้ าการสารวจลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ของพันธุ์ไม้ ในแต่ละพื ้นที่ ย่อย วิเคราะห์ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ และกาหนดพันธุ์ไม้ ที่ควรอนุรักษ์ ในพื ้นที่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติแบบร้ อยละ
798
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ผลการศึกษา จากการสารวจพื ้นที่ด้านทิศเหนือติดทิศตะวันออกของศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ เป็ นพื ้นที่ภเู ขา มีเนื ้อที่ทงหมด ั้ 3.5 ไร่ จึงแบ่งพื ้นที่ศกึ ษาออกได้ เป็ น 11 ส่วนย่อย ภายใต้ 3 โซน ได้ แก่ Zone A1-4 Zone B1-4 และ Zone C1-3 โดยแต่ละส่วนย่อย มีพื ้นที่ 500 ตารางเมตร และ Zone C เป็ นพื ้นที่รอยต่อกับพื ้นราบและมีความลาดชันน้ อยที่สดุ พันธุ์ไม้ ที่สารวจพบและควร อนุรักษ์ จานวน 20 ชนิด 15 วงศ์ กระจายอยูใ่ น Zone A-C ได้ แก่ ก้ านเหลือง กระทุม่ กระโดน คางคก แคทราย งิ ้ว ซาก แดง ตะคร้ อ ตะครา้ ตะขบป่ า ประดู่ป่า มะเม่า มะค่าแต้ รัง ลาไยป่ า แสมสาร สมอตีนเป็ ด สาโรง และอ้ อยช้ าง (Table 1) โดยแสดงร้ อยละของพันธุ์ไม้ ที่พบในแต่ละพื ้นที่ได้ ดงั นี ้ Zone A พบ แดง ซาก ประดู่ป่า มะค่าแต้ และรัง มากที่สดุ คือ 7.5, 7, 7, 6.5 และ6.5 ตามลาดับ (ภาพที่ 1) Zone B พบ แดง แคทราย ประดู่ป่า รัง และแสมสาร มากที่สดุ คือ 8, 7.5, 7.5, 6.75 และ6.75 ตามลาดับ (ภาพที่ 2) และ Zone C พบ ประดู่ป่า มะค่าแต้ แดง แคทราย และรัง มากที่สดุ คือ 9, 8.3, 8, 7 และ 7 ตามลาดับ (ภาพที่ 3) เนื่องจากพื ้นที่ศึกษาเป็ นพื ้นที่บริ เวณใกล้ เคียงกับพื ้นที่อทุ ยานแห่งชาติพเุ ตย อาเภอด่านช้ าง จังหวัดสุพรรณบุรี ทังนี ้ ้ อุทยานแห่งชาติพเุ ตยมีทรัพยากรป่ าไม้ ทงั ้ ป่ าดิบแล้ ง ป่ าเบญจพรรณ ป่ าเต็งรัง และป่ าสนสองใบ กระจายพันธุ์อยู่ในพื ้นที่สว่ น ต่างๆของอุทยาน ดังนันในพื ้ ้นที่ศกึ ษาจึงพบพันธุ์ไม้ ยืนต้ นที่พบในเขต ป่ าเบญจพรรณ และป่ าเต็งรัง ในพื ้นที่อทุ ยานแห่งชาติพุ เตย ที่โดดเด่น ได้ แก่ แดง ประดูป่ ่ า รัง เป็ นต้ น Table 1 The list of native trees for conservation in study area (Zone A-C) No. Thai name Scientific name 1 ก้ านเหลือง Nauclea orientalis Linn 2 กระทุม่ Anthocephalus cadamba Miq. 3 กระโดน Careya sphaerica Roxb. 4 คางคาก Nyssa javanica (Blume) Wangerin 5 แคทราย Stereospermum neuranthum Kurz 6 งิ ้ว Bombax anceps Pierre. 7 ซาก Erythrophloeum succirubrum Gagnep 8 แดง Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var. kerrii (Craib & Hutch..) Nielsen 9 ตะคร้ อ Schleichera oleosa 10 ตะครา้ Garuga pinnata 11 ตะขบป่ า Flacourtia indica (Burm.f.) Merr. 12 ประดูป่ ่ า Pterocarpus macrocarpus 13 มะเม่า Antidesma ghaesembilla Gaertn. 14 มะค่าแต้ Sindora siamensis var. siamensis 15 รัง Shorea siamensis Miq. 16 ลาไยป่ า Walsura trichostemon Miq 17 แสมสาร Cassia garrettiana 18 สมอตีนเป็ ด Vitex limonifolia Wall 19 สาโรง Sterculia foetida L. 20 อ้ อยช้ าง Lannea coromandelica (Houtt.) Merr.
Family name RUBIACEAE RUBIACEAE LECYTHIDACEAE NYSSACEAE BIGNONIACEAE BOMBACACEAE LEGUMINOSAE LEGUMINOSAE SAPINDACEAE BURSERACEAE FLACOURTIACEAE LEGUMINOSAE EUPHORBIACEAE LEGUMINOSAE DIPTEROCARPACEAE MELIACEAE LEGUMINOSAE LABIATAE STERCULIACEAE ANACARDIACEAE
สรุ ป การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
799
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การสารวจและอนุรักษ์ พนั ธุ์ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่นในเขตศูนย์วิจยั และถ่ายทอดเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง อ.ด่านช้ าง จ.สุพรรณบุรี พบพันธุ์ไม้ ยืนต้ นที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ จานวน 20 ชนิดและ 15 วงศ์ ได้ แก่ ก้ านเหลือง (Nauclea orientalis Linn) กระทุ่ม(Anthocephalus cadamba Miq.) กระโดน (Careya sphaerica Roxb.) คาง คาก (Nyssa javanica (Blume) Wangerin) แคทราย(Stereospermum neuranthum Kurz) งิ ้ว (Bombax anceps Pierre.) ซาก (Erythrophloeum succirubrum Gagnep) แดง (Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var. kerrii (Craib & Hutch.) Nielsen) ตะคร้ อ (Schleichera oleosa) ตะครา้ (Garuga pinnata) ตะขบป่ า (Flacourtia indica (Burm.f.) Merr.) ประดู่ป่า (Pterocarpus macrocarpus ) มะเม่า(Antidesma ghaesembilla Gaertn.) มะค่าแต้ (Sindora siamensis var. siamensis ) รัง (Shorea siamensis Miq.) ลาไยป่ า (Walsura trichostemon Miq) แสมสาร (Cassia garrettiana) สมอ ตีนเป็ ด (Vitex limonifolia Wall) สาโรง (Sterculia foetida L.) และอ้ อยช้ าง (Lannea coromandelica (Houtt.) Merr.) ได้ แก่ กระจายอยู่เกือบทุกส่วนของพื ้นที่ ไม้ ยืนต้ นที่พบมากที่สดุ ในส่วน A1-4 ได้ แก่ แดง ซาก ประดู่ป่า มะค่าแต้ และรัง ตามลาดับ ในส่วน B1-4 ได้ แก่ แดง แคทราย ประดู่ป่า รัง และแสมสาร ตามลาดับ และส่วน C1-3 ได้ แก่ ประดู่ป่า มะค่าแต้ แดง แคทราย และรัง ตามลาดับ การอนุรักษ์ พนั ธุ์ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่นดังกล่าว เป็ นการชี ้ให้ เห็นถึงคุณค่าของพันธุ์ไม้ ใหญ่ที่เป็ นเอกลักษณ์ ในท้ องถิ่นซึ่ง เชื่อมโยงกับความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรป่ าไม้ ทังนี ้ ้พื ้นที่ศกึ ษาเป็ นพื ้นที่ในเขตศูนย์วิจยั และถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ ซึง่ ต้ องมี การพัฒนาในด้ านต่างๆ เช่นการก่อสร้ างอาคาร เป็ นต้ น การศึกษาครัง้ นี ้จึงเป็ นอีกหนึ่งแนวทางเพื่อช่วยกาหนดรู ปแบบการ พัฒนาพื ้นที่ในเชิงอนุรักษ์ ตอ่ ไป N. orientalis ก้ านเหลือง
Zone A
กระทุ่ม กระโดน คางคก C. sphaerica แคทราย งิ ้ว N. javanica ซาก แดง S. neuranthum ตะคร้ อ ตะครา้ B. anceps ตะขบป่ า ประดู ป ่ ่ า E. succirubrum มะเม่า มะค่ X. xylocarpa าแต้ รัง S. oleosa ลาไยป่ า แสมสาร G. pinnata สมอตีนเป็ ด สาโรง F. indica อ้ อยช้ าง
A. cadamba
P. macrocarpus
0
2
4
6
8
Number of Trees (%) Fig. 1 Percentage of Native trees in study area (Zone A)
800
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
อง N. orientalis ก้ านเหลื กระทุ่ม
Zone B
A. cadamba
กระโดน คางคก แคทราย C. sphaerica งิ ้ว ซาก N. javanica แดง S. neuranthumตะคร้ อ ตะครา้ B. anceps ตะขบป่ า ประดูป่ ่ า E. succirubrumมะเม่า X. xylocarpa มะค่าแต้รัง S. oleosa ลาไยป่ า แสมสาร สมอตี G. pinnata นเป็ ด สาโรง อ้ อ ยช้ าง F. indica
P. macrocarpus
0
2
4
6
8
10
Number of Trees (%)
A. ghaesembilla Fig. 2 Percentage of Native trees in study area (Zone B)
N. orientalis ก้ านเหลือง
กระทุ่ม กระโดน คางคก C. sphaerica แคทราย งิ ้ว N. javanica ซาก S. neuranthumตะคร้แดงอ B. anceps ตะครา้ ตะขบป่ า E. succirubrumประดูป่ ่ า มะเม่า X. xylocarpa มะค่าแต้ รัง S. oleosa ลาไยป่ า แสมสาร G. pinnata สมอตีนเป็ ด สาโรง F. indica อ้ อยช้ าง
Zone C
A. cadamba
P. macrocarpus
0
2.25
4.5
6.75
9
11.25
Number of Trees (%)
A. ghaesembilla Fig. 3 Percentage of Native trees in study area (Zone C)
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
801
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง ที่มอบทุนสนับสนุน งานวิจยั นี ้
เอกสารอ้ างอิง กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช สานักอุทยานแห่งชาติ ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศอุทยานแห่งชาติ. พุเตย. 2558. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://park.dnp.go.th/visitor/nationparkshow.php?PTA_CODE=1084. 13 สิงหาคม 2558 เดชา บุญค ้า .2543 .ต้ นไม้ ใหญ่ในงานก่อสร้ างและพัฒนาเมือง. สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.กรุงเทพฯ 463 .หน้ า เต็ม สมิตินนั ทน์. 2544. ชื่อพรรณไม้ แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ ป่าไม้ สานักวิชาการป่ าไม้ กรมป่ าไม้ . กรุงเทพฯ. 810 หน้ า เต็ม สมิตินนั ทน์. 2518. ไม้ ที่มีค่าทางเศรษฐกิจของไทย ตอนที่ 2. ฝ่ ายพฤกษศาสตร์ ป่าไม้ กองบารุง กรมป่ าไม้ . กรุงเทพฯ. 267 หน้ า. เต็ม สมิตินนั ทน์. 2526. ไม้ ที่มีค่าทางเศรษฐกิจของไทย ตอนที่ 3. ฝ่ ายพฤกษศาสตร์ ป่าไม้ กองบารุง กรมป่ าไม้ . กรุงเทพฯ. 258 หน้ า. พเยาว์ อินทสุวรรณ. 2548. อนุกรมวิธานของพืช. มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยา แก้ วศรี . 2543. การสารวจพรรณไม้ เพื่อใช้ ในงานออกแบบภูมิทศั น์ บริ เวณหาดราชรักษ์ อาเภอปะนาแระ จังหวัดปั ตตานี. ปั ญหาพิเศษ ปริ ญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. สานักงานหอพรรณไม้ สารานุกรมพืชในประเทศไทย. 2558. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.dnp.go.th/botany/detail.aspx?words สานักวิจยั และพัฒนาการป่ าไม้ .การจาแนกชนิดไม้ .กรมป่ าไม้ . 2558. (ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://nsw.forest.go.th/portal/org-research/classification.aspx
802
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ปริมาณประชากร พัฒนาการ และการทดสอบเบือ้ งต้ นในการใช้ เชือ้ ราสาเหตุโรคแมลง เพื่อควบคุมด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย Population Abundance, Development and Preliminary Test of Using Entomopathogenic Fungi for Banana Stem Weevil Control, Odoiporus longicollis Olivier (Coleoptera: Curculionidae) แสงแข น้ าวานิช1 วิบลู ย์ จงรัตนเมธีกุล2 วราภรณ์ บุญเกิด1 โสภณ อุไรชื่น3 และกัลยาณี สุวิทวัส4 Sangkhae Nawanich1 Wiboon Chongrattanameteekul2 Warapon Bunkoed1 Sopon Uraichuen3 and Kunlayanee Suvittawat4
บทคัดย่ อ ด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย Odoiporus longicollis Olivier (Coleoptera: Curculionidae) เป็ นแมลงศัตรูกล้ วยที่สาคัญ ชนิดหนึ่ง การทดลองนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาปริ มาณประชากร และพัฒนาการของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย รวมทังการทดสอบ ้ เบื ้องต้ นในการใช้ เชื ้อราสาเหตุโรคแมลงเพื่อควบคุมแมลงชนิดนี ้ ดาเนินการทดลองที่สถานีวิจยั ปากช่อง และห้ องปฏิบตั ิการ ศูน ย์ วิ จัย ข้ า วโพดและข้ า วฟ่ างแห่ง ชาติ อ. ปากช่ อง จ. นครราชสี ม า ระหว่า งเดื อ นกันยายน 2556 – พฤษภาคม 2558 ทาการศึกษาปริ มาณประชากรด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยโดยการวางกับดักต้ นกล้ วย พบว่าด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยมี 4 ชัว่ อายุขยั โดย มี 4 peaks คือ ช่วงเดือนกันยายน – ตุลาคม ช่วงเดือนธันวาคม ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ และช่วงเดือนเมษายน – พฤษภาคม การศึกษาพัฒนาการของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยพบว่ามีระยะไข่เฉลี่ย 3.08±0.40 วัน ระยะหนอนมี 5 วัยเฉลี่ย 23.52±3.99 วัน ระยะดักแด้ 12.40±2.08 วัน ระยะตัวเต็มวัยมีอายุยืนเฉลี่ยถึง 206±147.77 วัน สาหรับการทดสอบเบื ้องต้ นในการใช้ เชือ้ รา สาเหตุโรคแมลง Beauveria bassiana และ Metarhizium anisopliae เพื่อควบคุมระยะตัวหนอนโดยการฉีดสารแขวนลอย สปอร์ เข้ าท่อนกล้ วยทดสอบ ที่ระดับความเข้ มข้ น 4.0×107 สปอร์ /มล อัตรา 50 มล/ท่อน พบว่า B. bassiana และ M. anisopliae ทาให้ ตวั หนอนด้ วงมีอตั ราการตาย 20 และ 70% ตามลาดับ ที่ 7 วันหลังการทดสอบ จึงควรทาการศึกษาการใช้ เชื ้อ M. anisopliae เพื่อควบคุมหนอนด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยในสภาพแปลงต่อไป คาสาคัญ: ด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย, Odoiporus longicollis Olivier, ปริมาณประชากร, Beauveria bassiana, Metarhizium anisopliae
Abstract Banana stem weevil (BSW), Odoiporus longicollis Olivier (Coleoptera: Curculionidae) is one of the most important pests of banana. The objectives of this study were to investigate the population abundance and development of BSW and also to perform a preliminary test of using entomopathogenic fungi for BSW control. The experiment was conducted at Pakchong Research Station and National Corn and Sorghum Research Center, Pakchong, Nakhon Ratchasima province during September 2013 – May 2015. Population abundance of BSW was studied at Pakchong Research Station by monthly monitoring number of adult weevil from traps. Traps were made of cuts of banana pseudostem. The result revealed that BSW in the studied area had 4 generations per year with 4 population peaks in September-October, December, February and April-May. Study on development of BSW was conducted under laboratory conditions at National Corn and Sorghum Research Center. It was found 1 2 3 4 1 2 3 4
ศูนย์วิจยั ข้ าวโพดและข้ าวฟ่ างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถานีวิจยั ปากช่อง คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ National Corn and Sorghum research Center, Faculty of Agriculture, Kasetsart University Department of Entomology, Faculty of Agriculture, Kasetsart University Department of Entomology, Faculty of Agriculture Kamphaeng Saen, Kasetsart University Pakchong Research Station, Faculty of Agriculture, Kasetsart University
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
803
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
that the egg period was 3.06 ± 0.40 days while the larval stage consisted of 5 instars with the total period of 23.52 ± 3.99 days. Pupal stage took 12.40 ± 2.08 days. Adult BSW had an average longevity of 206±147.77 days. For preliminary test of using entomopathogenic fungi for BSW control, each cut of pseudostem with BSW larvae was injected with 50 ml of either Beauveria bassiana or Metarhizium anisopliae at the concentration of 4.0×107 spores/ml. The result showed that B. bassiana and M. anisopliae could cause 20 and 70% mortality to BSW larvae, respectively at 7 days after application. Further investigation is needed in order to verify the efficacy of M. anisopliae against BSW under field conditions. Keywords: Banana Stem weevil, Odoiporus longicollis Olivier, population dynamic, Beauveria bassiana, Metarhizium anisopliae
คานา กล้ วยเป็ นผลไม้ ที่มีประโยชน์ตอ่ สุขภาพมากที่สดุ ชนิดหนึง่ เป็ นอาหารที่อดุ มด้ วยเส้ นใย วิตามิน และแร่ธาตุนานาชนิด ที่มีประโยชน์ ต่อร่ างกาย เช่น ธาตุเหล็ก ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม คาร์ โบไฮเดรต โปรตี น วิตามินเอ วิตามินบี6 วิตามินบี12 และวิตามินซี (ดวงจันทร์ , 2557) กล้ วยยังเป็ นพืชเศรษฐกิจของไทย ได้ แก่ กล้ วยหอม ในปี 2556 มีเนือ้ ที่ให้ ผล 86,270 ไร่ ได้ ผลผลิต 234,220 ตัน ใช้ ในประเทศ 232,689 ตัน และส่งออกเป็ นกล้ วยหอมสด 1,531 ตัน คิดเป็ นมูลค่า 46.07 ล้ านบาท กล้ วยไข่ ในปี 2556 มีเนื ้อที่ให้ ผล 33,820 ไร่ ได้ ผลผลิต 94,930 ตัน ใช้ ในประเทศ 77,994 ตันและส่งออกเป็ นกล้ วย ไข่สด 16,936 ตัน คิดเป็ นมูลค่า 149.72 ล้ านบาท (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2556) และกล้ วยน ้าว้ า ในปี 2554 มีพื ้นที่ ให้ ผล 192,774 ไร่ ได้ ผลผลิต 781,683 ตัน รายได้ รวมจากการขายผลผลิตคิดเป็ น 8,684.50 ล้ านบาท (กองบรรณาธิ การ เทคโนโลยีชาวบ้ าน, 2556) แต่การปลูกกล้ วยยังคงมีปัญหาแมลงศัตรูพืชรบกวน ด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย banana stem weevil, Odoiporus longicollis Olivier (Coleoptera: Curculionidae) จัดเป็ นแมลงศัตรูกล้ วยที่สาคัญชนิดหนึ่ง เป็ นด้ วงที่มกั พบในทุก พื ้นที่ที่มีการปลูกกล้ วย โดยตัวเต็มวัยมักวางไข่บริเวณกาบกล้ วยเหนือพื ้นดินถึงบริเวณกลางลาต้ น รอยแผลมียางเหนียวไหลซึม ออกมาสังเกตเห็นได้ ง่าย หนอนและตัวเต็มวัยด้ วงกัดกินลาต้ นไปเรื่ อย ๆ จนถึงบริ เวณแกนกลางของต้ น เป็ นสาเหตุสา คัญให้ ต้ นกล้ วยตาย ด้ วงมักเข้ าทาลายและเพิ่มปริมาณได้ มากในกล้ วยอายุ 5 เดือนขึ ้นไป ใกล้ ออกปลี หรื อกาลังตกเครื อ ทาให้ หกั พับ กลางลาต้ น ลาต้ นเน่า ต้ นล้ ม หรื ออาจยืนต้ นตาย (Hill, 1987; Padmanaban and Sathiamoorthy, 2001; Priyadarshini et al, 2014) ในพื ้นที่ที่มีการปลูกกล้ วยติดต่อกันเป็ นเวลานานยิ่งทาให้ ด้วงสามารถหาอาหาร ขยายพันธุ์ เจริ ญเติบโตและสามารถ เข้ าทาลายกล้ วยสร้ างปั ญหาให้ เกษตรกรผู้ปลูกกล้ วยในระยะยาว การทดลองนีไ้ ด้ ดาเนินการศึกษาปริ มาณประชากร และ พัฒนาการของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย รวมทังการทดสอบเบื ้ ้องต้ นในการใช้ เชื ้อราสาเหตุโรคแมลง Beauveria bassiana และ Metarhizium anisopliae สายพันธุ์ที่ใช้ อยูใ่ นประเทศไทย เพื่อควบคุมระยะตัวหนอนของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย เพื่อเป็ นแนวทาง ในการจัดการแมลงชนิดนี ้ต่อไปในอนาคต
อุปกรณ์ และวิธีการ ดาเนินการศึกษาประชากรของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย ณ แปลงปลูกกล้ วยของสถานี วิจัยปากช่อง อ. ปากช่อง จ. นครราชสีมา ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระหว่างเดือนกันยายน 2556 – สิงหาคม 2557 โดย ทาการศึกษาในแปลงปลูกกล้ วยนา้ ว้ าซึ่งมีระยะปลูก 3×3 ม. จานวน 6 แถว ๆ ละ 15 หลุม รวมพื ้นที่ปลูก 800 ม 2 ตัดหยวก กล้ วยที่เหลือทิ ้งจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตในแปลงอื่นออกเป็ นท่อนยาวขนาด 30 ซม. ผ่าครึ่งตามความยาวและวางท่อนหยวก กล้ วยที่ผ่าคว่าลงที่บริ เวณโคนกอกล้ วยจานวน 6 ชิ ้น ทิ ้งไว้ ค้างคืนเพื่อเป็ นกับดักล่อให้ ตวั เต็มวัยของด้ วงมาลงทาลายหยวก กล้ วยที่วางไว้ วางกับดักเดือนละหนึ่งครัง้ ครัง้ ละ 15 กอ รวมทังสิ ้ ้น 12 ครัง้ เพื่อศึกษาปริ มาณประชากรของด้ วงเจาะลาต้ น กล้ วยในรอบ 1 ปี ทาการศึกษาพัฒนาการและระยะการเจริ ญเติบโตของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย โดยการเก็บรวมรวมหนอนและตัวเต็มวัย ด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยจากแปลงปลูกกล้ วยสถานีวิจยั ปากช่อง นามาเลี ้ยงในห้ องปฏิบตั ิการกีฏวิทยาที่ศนู ย์วิจยั ข้ าวโพดและข้ าว ฟ่ างแห่ง ชาติ อ. ปากช่ อ ง จ. นครราชสี ม า คณะเกษตร มหาวิ ท ยาลัย เกษตรศาสตร์ ระหว่ า งเดื อ นกุม ภาพัน ธ์ 2557 – พฤษภาคม 2558 โดยเลี ้ยงในกล่องพลาสติกขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 40 ซม. สูง 28 ซม. ใส่หยวกกล้ วยที่ตดั เป็ นท่อนหนา 4 ซม. ให้ เป็ นอาหาร เมื่อหนอนเปลี่ยนเป็ นตัวเต็มวัยและวางไข่ จะเก็บรวมรวมไข่ และเลีย้ งในถ้ วยพลาสติกขนาดเส้ นผ่าน 804
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ศูนย์กลาง 11 ซม. สูง 5 ซม. โดยใช้ หยวกกล้ วยเป็ นอาหารเช่นเดียวกัน สังเกตและบันทึกการเจริ ญเติบโต การเข้ าดักแด้ และ เป็ นตัวเต็มวัยทุกวันจนกระทัง่ ตัวเต็มวัยตาย ทดสอบประสิทธิภาพเบื ้องต้ นของการใช้ เชื ้อราสาเหตุโรคแมลง Beauveria bassiana และ Metarhizium anisopliae ในการควบคุมระยะตัวหนอนของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย โดยใช้ สายพันธุ์ในประเทศไทย ที่ได้ รับจากศูนย์วิจยั ความคุมศัตรูพืชโดย ชีวินทรี ย์แห่งชาติ บางเขน กรุงเทพฯ นามาเลี ย้ งในอาหารเลี ้ยงเชื ้อ potato dextrose agar (PDA) เมื่อเชื ้อราเจริ ญได้ จานวน มาก จึงนามาขยายในข้ าวสวยแล้ วนาเชือ้ รามาทดสอบการควบคุมตัวหนอนด้ วง โดยวางแผนการทดลองแบบ completely randomized design จานวน 4 ซ ้า 3 สิง่ ทดลอง ดังนี ้ 1) สปอร์ แขวนลอยของเชื ้อรา M. anisopliae ความเข้ มข้ น 4.0×107 สปอร์ /มล 2) สปอร์ แขวนลอยของเชื ้อรา B. bassiana ความเข้ มข้ น 4.0×107 สปอร์ /มล 3) ชุดควบคุม (untreated check) น ้าเปล่า โดยใส่ตวั หนอนด้ วงอายุ 10 วัน จานวน 5 ตัว ลงในหยวกกล้ วยที่ตดั เป็ นท่อนยาว 30 ซม วางท่อนกล้ วยแนวตังใน ้ ภาชนะพลาสติกซึ่ งอยู่ในกรงตาข่ายอีกชัน้ หนึ่ง ปล่อยให้ หนอนอาศัยกัดกิ นหยวกกล้ วยเป็ นเวลา 1 วัน จากนัน้ จึงฉี ดสาร แขวนลอยสปอร์ ของเชื ้อราลงในท่อนหยวกกล้ วยอัตรา 50มล/หยวกกล้ วย 1 ท่อนโดยวิธี injection ตรวจดูอาการและจานวน หนอนตายที่ 7 และ 10 วัน หลังฉีดเชื ้อราโดยเก็บซากหนอนเพื่อสัง เกตการเป็ นโรค นาข้ อมูลที่ได้ นามาคานวณหาเปอร์ เซ็นต์ การตายของระยะตัวหนอน
ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการศึกษาประชากรด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยพบว่าตลอด 1 ปี ของการวางกับดัก จะมีจานวนตัวเต็มวัยด้ วงเจาะลาต้ น กล้ วยเข้ ามาติดในกับดักที่วางบริ เวณโคนกอกล้ วยในปริ มาณสูงประมาณ 4 ครัง้ (peaks) คือ ครัง้ แรกในช่วงเดือนกันยายน – ตุลาคม (2556) ครัง้ ต่อมาในเดือนธันวาคม (2556) เดือนกุมภาพันธ์ (2557) และครัง้ สุดท้ ายในช่วงเดือนเมษายน – พฤษภาคม (2557) (Figure 1) ซึ่งมีความเป็ นไปได้ ว่าด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยในพื ้นที่ดงั กล่าวมี 4 ชัว่ อายุขยั ต่อปี ซึ่งสอดคล้ องกับรายงาน ของณัฐกฤต และคณะ (2544) ที่ระบุวา่ ในสภาพแปลงจะพบปริมาณตัวเต็มวัยด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยเข้ ากับดักมากที่สดุ ในเดือน กรกฎาคม ตุลาคม และกุมภาพันธ์ และจากปริ มาณตัวเต็มวัยที่ตรวจนับในพื ้นที่แปลงปลูกพบว่าตัวเต็มวัยมี 4 ชัว่ อายุขยั ต่อปี ในขณะที่ Zhou and Wu (1986) รายงานว่าด้ วงชนิดนี ้มีถงึ 6 ชัว่ อายุขยั ต่อปี และมีปริมาณมากอยู่ 2 ช่วงได้ แก่ เดือนเมษายน – พฤษภาคม และกันยายน – ตุลาคม สาหรับประเทศไต้ หวัน Kung (1955) พบว่าด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยมี 4 ชัว่ อายุขยั ต่อปี และ ไม่พกั ตัวในช่วงฤดูหนาว ส่วนที่ประเทศอินเดีย Laishram et al (2015) รายงานว่ากล้ วยได้ รับความเสียหายจากด้ วงเจาะลา ต้ นกล้ วยตลอดปี ถึงแม้ ว่าจะมีปริ มาณลดลงในเดือนธันวาคม – กุมภาพันธ์ โดยจะพบความเสียหายสูงที่ สุดในช่วงเดือน กันยายน
Figure 1 Population abundance of banana stem weevil, Odoiporus longicollis Olivier at Pakchong Research Station during September 2013 – August 2014. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
805
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ผลการศึกษาพัฒนาการของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยในห้ องปฏิบตั ิการพบว่า มีระยะไข่เฉลี่ย 3.08±0.40 วัน ไข่เป็ นฟอง เดี่ยว มีสีขาวครี ม ทรงกระบอกหัวท้ ายมน อยู่ในช่องว่างของกาบกล้ วย ระยะหนอนมี 5 วัย ระยะตัวหนอนวัยที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 ใช้ เวลา 2.56±0.51, 2.44±0.51, 2.96±0.61, 3.68±0.69 และ 8.80±3.35 วัน ตามลาดับ หนอนหัวสีเหลืองปนน ้าตาล ลาตัว สีขาว อ้ วนป้อม ตัวย่น และอ่อนนุ่ม เมื่อใกล้ เข้ าดักแด้ จะเปลี่ยนเป็ นสีเหลืองครี ม และใช้ เศษเนื ้อเยื่อของกล้ วยที่กินมาห่อหุ้ม ลาตัว ระยะดักแด้ 12.40±2.08 วัน ดักแด้ มีสีเหลืองเป็ นแบบ exarate เห็นรยางค์ต่าง ๆ ชัดเจน ระยะตัวเต็มวัยมีอายุตงแต่ ั้ 5 – 414 วัน เฉลี่ย 206 วัน (Table 1) ตัวเต็มวัยสีน ้าตาลแดง บางตัวมีสีดา ผลการทดลองสอดคล้ องกับ Azam et al (2010) ซึง่ รายงานว่าระยะไข่ของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยในฤดูร้อนมีอายุ 3 – 5 วัน ฤดูหนาวมีอายุ 5 – 8 วัน ในขณะที่ณฐั กฤต และคณะ (2544) รายงานว่าระยะไข่ หนอน และดักแด้ มีอายุเฉลี่ย 4.5, 25.9 และ 13.2 วัน ตามลาดับ นอกจากนันแล้ ้ ว Kung (1955) รายงานว่าในไต้ หวันเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน ระยะไข่ หนอนและ ดักแด้ ของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยมีอายุ 5 -12, 21 – 42 และ 3 – 13 วัน ตามลาดับ แต่ในช่วงเดือนกันยายน – ตุลาคม ระยะไข่ และหนอนมีอายุ 3 – 5 และ 25 – 27 วัน ตามลาดับ สาหรับระยะตัวเต็มวัย Visalakshi et al (1989) รายงานว่า ตัวเต็มวัยของ ด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยสามารถมีอายุยืนถึง 90 – 120 วัน Table 1 Duration of various developmental stages of Odoiporus longicollis Olivier under laboratory condition. Stage of Development N Mean ±SD (days) Range (days) Egg: 25 3.08±0.40 2-4 Larval: Instar 1 25 2.56±0.51 2-3 Instar 2 25 2.44±0.51 2-3 Instar 3 25 2.96±0.61 2-5 Instar 4 25 3.68±0.69 3-6 Instar 5 25 8.80±3.35 4-18 Total from first to last instar: 25 23.52±3.99 18-34 Pupae 25 12.40±2.08 7-16 Adult 25 206±147.77 5-414 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของเชื อ้ รา Metarhizium anisopliae และ Beauveria bassiana สายพันธุ์ที่ใช้ อยู่ใน ประเทศไทยในการควบคุมระยะตัวหนอนของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย โดยการฉี ดเชื อ้ ราเข้ าลาต้ นกล้ วยพบว่า เชือ้ รา M. anisopliae ความเข้ มข้ น 4.0×107spores/ml ทาให้ หนอนตายได้ ดีที่สดุ 70.00% ที่ 7 วันหลังเริ่ มทดสอบ และมีความแตกต่าง ทางสถิติจากเชื ้อรา B. bassiana 4.0×107spores/ml ที่ทาให้ หนอนตายเพียง 20.00% ทังนี ้ ้หลังการทดสอบผ่านไป 10 วันยัง พบว่าเชื ้อรา M. anisopliae ทาให้ ตวั หนอนตายเพิ่มมากขึ ้นเป็ น 95.00% (Table 2) จากผลการทดลองในเบื ้องต้ นนี ้แสดงให้ เห็นว่า การใช้ เชื ้อรา M. anisopliae ฉีดเข้ าลาต้ นกล้ วยมีประสิทธิภาพในการควบคุมตัวหนอนด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยได้ ดีและ สามารถแสดงประสิทธิภาพได้ เร็ วกว่าเชื ้อรา B. bassiana ซึ่งสอดคล้ องกับ แสงแข และคณะ (2557) ที่รายงานว่า เชื ้อรา M. anisopliae และ B. bassiana ทาให้ ตัวหนอนตายได้ ในห้ องปฏิบัติการได้ ถึง 100% อย่างไรก็ตามเชือ้ ราทัง้ สองชนิดมี ประสิทธิภาพต่าต่อตัวเต็มวัยของด้ วง โดยทาให้ ด้วงตายเพียง 13 – 33% Padmanaban and Sathiamoorthy (2001) รายงาน ว่า M. anisopliae ทาให้ ด้วงเจาะลาต้ นกล้ วยตายถึง 90% ส่วน Irulandi et al (2012) รายงานว่า การฉีดสารเข้ าลาต้ นกล้ วย ด้ วย monocrotopos และ azadirachtin และการวางกับดักต้ นกล้ วยร่วมกับการใช้ เชื ้อรา B. bassiana บริ เวณพื ้นดินในสวน กล้ วย ทาให้ ด้วงตายถึง 96.15, 84.74 และ 75.36% ตามลาดับ ภายในเวลา 4 วันหลังการทดสอบ อย่างไรก็ตามยังจาเป็ นต้ อง ทาการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อหาวิธีการและประยุกต์ใช้ เชื ้อราอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อควบคุมด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยภายในต้ นกล้ วย ในสภาพแปลงต่อไป
806
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Table 2 Mortality of Odoiporus longicollis Olivier larvae under laboratory conditions after injection of pseudostem with 50 ml of Metarhizium anisopliae and Beauveria bassiana. Mortality of O. longicollis larvae(%)1/ Treatment Day after treated 7 10 7 M. anisopliae 4.0×10 spores/ml 70.00a 95.00a 7 B. bassiana 4.0×10 spores/ml 20.00b 20.00b Untreated check 0.00b 0.00b P 0.0016 0.0003 1/ Means followed by the same letter in a column are not significantly different at the 0.05 level by DMRT.
สรุ ปผลการทดลอง ด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยพื ้นที่การวิจยั มี 4 ชัว่ อายุขยั ต่อปี การศึกษาพัฒนาการของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยพบว่ามีระยะไข่ เฉลี่ย 3.08±0.40 วัน ระยะหนอนมี 5 วัยเฉลี่ย 23.52±3.99 วัน ระยะดักแด้ 12.40±2.08 วัน ระยะตัวเต็มวัยมีอายุยืนเฉลี่ยถึง 206 วัน สาหรับการทดสอบเบื ้องต้ นในสภาพห้ องปฏิบตั ิการเพื่อควบคุมตัวหนอนด้ วงด้ วยเชื ้อราสาเหตุโรคแมลง Beauveria bassiana และ Metarhizium anisopliae พบว่าหนอนด้ วงมีอตั ราการตาย 20 และ 70% ตามลาดับที่ 7 วันหลังการฉีดสาร แขวนลอยเชื ้อราเข้ าลาต้ น โดยเชื ้อ M. anisopliae สามารถทาให้ หนอนตายเพิ่มขึ ้นเป็ น 95% ที่ 10 วันหลังฉีด
กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั นี ้เป็ นส่วนหนึ่งของโครงการวิจยั ที่ได้ รับการสนับสนุนทุนวิจยั จากสานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) ประจาปี 2556 และศูนย์วิจยั ความคุมศัตรู พืชโดยชีวินทรี ย์แห่งชาติ บางเขน กรุ งเทพฯ ให้ ความอนุเคราะห์เชื ้อราสาเหตุโรค แมลง
เอกสารอ้ างอิง กองบรรณาธิการเทคโนโลยีชาวบ้ าน. 2556. กล้ วยน ้าว้ า สร้ างชาติ สร้ างเงิน. เทคโนโลยีชาวบ้ าน. สานักพิมพ์มติชน. กรุงเทพฯ. 224 หน้ า. ณัฐกฤต พิทกั ษ์ เกรี ยงไกร จาเริ ญมา และ อรนุช กองกาญจนะ. 2544. ชีวประวัติของหนอนเจาะลาต้ นกล้ วย Odoiporus longicollis Olivier และ การป้องกันกาจัดโดยใช้ ไส้ เดือนฝอย Steinernema carpocapsae Weiser. ว.กีฏ.สัตว. 23(2): 93-98. ดวงจันทร์ เฮงสวัสดิ์. 2557. กล้ วย คุณค่าล้ นหวี ผลไม้ ดีคสู่ ขุ ภาพ. วารสารอาหาร. 44(1):15-18. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2556. ข้ อมูลพื ้นฐานเศรษฐกิจการเกษตร. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด สาขา 4. นนทบุรี. 104 หน้ า. แสงแข น้ าวานิช วิบลู ย์ จงรัตนเมธีกลุ โสภณ อุไรชื่น วราภรณ์ บุญเกิด กัลยาณี สุวิทวัส และสมชาย ธนสินชยกุล. 2557. ประสิทธิภาพของเชื ้อรา Beauveria bassiana และ Metarhizium anisopliae ที่มีต่อด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยในสภาพห้ องปฏิบตั ิการ. วารสารแก่นเกษตร. 42:707–-711. Azam, M., J. S. Tara, S. Ayri, M. Feroz and V. V. Ramamurthy. 2010. Bionomics of Odoiporus longicollis Olivier (Coleoptera: Rhynchophoridae) on banana plant (Musa paradisica). Mun. Ent. Zool. 5(2):627-635. Hill, D. S. 1987. Agricultural Insect Pests of the Tropics and Their Control. Cambridge Univ. Press. 746 pp. Irulandi, S., K. Eraivan Arutkani Aiyanathan and S. Srivara Buddhi Bhuvaneswari. 2012. Assessment of biopesticides and insecticide against pseudostem weevil Odoiporus longicollis Olivier in red banana. J. Biol. Pest., 5: 68-71. Kung, K. S. 1955. The banana stem - weevil Odoiporus longicollis Oliv. in Taiwan. Journal of Agriculture Forum, Taiwan, 4:80-113. Laishram, D., G. Abhijit, K. Veronica and B. Bandyopadhyay. 2015. Banana pseudostem weevil, Odoiporus longicollis (Olivier) and its population dynamics. Indian Journal of Entomology. 77(1):18-20. Padmanaban, B. and S. Sathiamoorthy. 2001. The banana stem weevil Odoiporus longicollis. Montpellier (France). INIBAP, 4. Priyadarshini, G. I., U. Mukherjee and N. Kumar. 2014. Biology and seasonal incidence of pseudostem weevil, Odoiporus longicollis Olivier (Coleoptera: Curculionidae) in banana. Pest Manage. in Hort. Ecol., 20(1):8-13. Zhou, S. F. and X. Z. Wu. 1986. Monitoring and control of the banana borer, Odoiporus longicollis (Olivier). Acta Phytophylactica Sinica (CHN), 13(3): 195-199. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
807
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ประสิทธิภาพการรมของสูตรนา้ มันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชยต่ อไรกินเชือ้ รา (Tyrophagus communis Fan&Zhang) และไรฝุ่ น (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)) Fumigant Properties of Clove and Cinnamon Essential Oil Formulas against the Mold Mite (Tyrophagus communis Fan&Zhang) and House Dust Mite (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)) สาวิตรี ชื่นบาล1 จรงค์ ศักดิ์ พุมนวน2 และ อามร อินทร์ สังข์ 2 Sawitri Cheanban1*, Jarongsak Pumnuan2 and Ammorn Insung2
บทคัดย่ อ การทดสอบประสิทธิภาพการรมของสูตรน ้ามันหอมระเหยจากกานพลู (Syzygium aromaticum Merr.&L.M. Perry) และ อบเชย (Cinnamomum verum JS. Presl) ซึง่ ประกอบด้ วยอัตราส่วนของน ้ามันหอมระเหยจากกานพลูต่ออบเชยเท่ากับ 4:0, 3:1, 2:2, 1:3 และ 0:4 (Cl4Ci0 ,Cl3Ci1, Cl2Ci2, CI1Ci3 และ Cl0Ci4 ตามลาดับ) ต่อไรกินเชื ้อรา (Tyrophagus communis Fan&Zhang) และไรฝุ่ น (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)) โดยวิธีการรมในตู้ ขนาด 25 ลิตร ทาการทดสอบ ประสิทธิภาพการรมต่อไรในโรงเก็บที่ความเข้ มข้ น 0 (95% ethanol), 0.12, 0.18, 0.24, 0.30, 0.36 และ 0.42 ไมโครลิตรต่อลิตร และทดสอบประสิทธิภาพการรมต่อไรฝุ่ นที่ความเข้ มข้ น 0 (95% ethanol), 0.24, 0.36, 0.48, 0.60, 0.72 และ 0.84 ไมโครลิตรต่อ ลิตร รมนาน 1 ชัว่ โมง ตรวจนับการตายที่ 24 ชัว่ โมง พบว่าสูตรน ้ามันหอมระเหย Cl3Ci1 ที่ระดับความเข้ มข้ น 0.42 ไมโครลิตรต่อ ลิตร มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรกินเชื ้อราได้ ดีที่สดุ 100% โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.215 ไมโครลิตรต่อลิตร รองลงมาคือสูตรน ้ามัน หอมระเหย Cl4Ci0 โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.241 ไมโครลิตรต่อลิตร ส่วนสูตรน ้ามันหอมระเหย Cl3Ci1ที่ระดับความเข้ มข้ น 0.84 ไมโครลิตรต่อลิตร มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรฝุ่ นได้ ดีที่สดุ 100% โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.424 ไมโครลิตรต่อลิตร รองลงมาคือสูตร น ้ามันหอมระเหย Cl2Ci2 โดยมีคา่ LC50 เท่ากับ 0.446 ไมโครลิตรต่อลิตร คาสาคัญ: สูตรน ้ามันหอมระเหย, ตู้รม, สารฆ่าไร, ไรในโรงเก็บ
Abstract Fumigant toxicity of essential oil (EO) formulas with different mixtures between ratios clove (Syzygium aromaticum Merr.&L.M. Perry) and cinnamon (Cinnamomum verum JS. Presl) EO ratios (4:0, 3:1, 2:2, 1:3 and 0:4 represented by Cl4Ci0, Cl3Ci1, Cl2Ci2, Cl1Ci3 and Cl0Ci4, respectively) against adult of mold mite (Tyrophagus communis Fan&Zhang) and house dust mite (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)) were investigated.The fumigation bioassay was performed for mold mite with 0 (95% ethanol), 0.12, 0.18, 0.24, 0.30, 0.36 and 0.42 µl/L air and house dust mite with 0 (95% ethanol), 0.24, 0.36, 0.48, 0.60, 0.72 and 0.84 µl/L air EO formulas in 25 L fumigation chamber for 1 hr. The mortalities of both mites were observed at 24 h after the treatments. The results showed that Cl3Ci1 EO formula was highly effective in controlling mold mite, at 0.42 µl/L air resulted in complete mortality with LC50 value of 0.215 µl/L air, followed by Cl4Ci0 which presented LC50 value of 0.241 µl/L air. Besides, Cl3Ci1 EO formula was highly effective in controlling house dust mite, at 0.84 µl/L air resulted in complete mortality with LC50 value of 0.424 µl/L air, followed by Cl2Ci2 which presented LC50 value of 0.446 µl/L air. Key words : essential oil formulas, fumigation chamber, acaicide , stored product mite
1 2
นักศึกษาปริ ญญาโท คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 808
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
คานา ไร อยู่ใน Acaridida ส่วนใหญ่ทาความเสียหายให้ กบั ผลผลิตทางการเกษตรที่เก็บรักษาในโรงเรื อน เช่น ธัญพืช ยาสูบ และแป้ง (Sanchez and Castanera, 2005) ทาให้ เกิดความเสียหายต่อผลผลิต 5-10 % (กรมการข้ าว, 2556) ซึ่งไร ในกลุ่มนี ้สามารถเจริ ญได้ ที่อณ ุ หภูมิต่าสุด 7-10 °C อุณหภูมิสงู สุดที่ 35-37 °C และความชื ้นสัมพัทธ์ 90% ไรตัวเต็มวัยเพศ เมียสามารถวางไข่ได้ 100-700 ฟอง ไรสามารถเจริ ญเติบโตนับจากไข่ถึงตัวเต็มวัยใช้ ระยะเวลา 1-3 สัปดาห์ ทั ้งนี ้ขึ ้นอยู่กับ อุณหภูมิ (Qing Hai and Zhi-Qiang, 2007) ไรอันดับนี ้นอกจากไรในโรงเก็บแล้ วยังมีไรฝุ่ น ซึ่งเป็ นไรที่มีความสาคัญทาง สาธารณสุขอีกด้ วย ไรในโรงเก็บหรื อไรผลิตผลทางการเกษตร (stored product mite หรื อ stored food mite) เป็ นไรที่นอกจากจะปนเปื อ้ น อยู่ในผลิตผลทางการเกษตรหรื อผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้ แก่ ข้ าวกล้ อง ข้ าวสาร ข้ าวโพด และถัว่ บางชนิดยังเข้ าทาลายผลิตภัณฑ์ อาหารที่ถกู เก็บรักษาไว้ เพื่อรอการจาหน่ายและบริ โภค ได้ แก่ ปลาหมึกแห้ ง ปลาแห้ ง กุ้งแห้ ง ผลไม้ อบแห้ ง วุ้นเส้ น แป้ง และ อาหารสัตว์ (อามร, 2543) การสืบพันธุ์อย่างรวดเร็วของไรนันส่ ้ งผลกระทบต่อผลผลิตทางเศรษฐกิจ ถ้ าหากไรมีการแพร่ระบาด เป็ นปริ มาณมากจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตในโรงเก็บทาให้ สญ ู เสียในเชิงคุณภาพและปริ มาณ ซึง่ โดยทัว่ ๆ ไปแล้ วแมลงศัตรูใน โรงเก็บที่สร้ างความเสียหายให้ กบั ผลผลิตมีอยู่หลากหลายชนิดขึ ้นอยู่กบั ชนิดของอาหารและแหล่งที่ ตงของโรงเก็ ั้ บ ไรชนิดนี ้ สามารถสร้ างสารก่อให้ เกิดโรคภูมิแพ้ กบั มนุษย์อีกด้ วย (Kondreddi et al., 2006) จากการรายงานของพลอยชมพูและคณะ (2553) ถึงความหลากหลายของไรในโรงเก็บในเขตภาคกลางของประเทศไทยในปี 2551 – 2552 ทังหมด ้ 143 ตัวอย่าง พบไร ทังหมด ้ 127 ตัวอย่าง โดยเป็ นไรในโรงเก็บ 61.4 % และยังพบอีกว่าเป็ นไร Tyrophagus sp. 30% โดยพบในหอม กระเทียม และพริ กแห้ ง เป็ นต้ น ยิ่งไปกว่านันยั ้ งมีไรอีกหลากหลายชนิดที่ก่อให้ เกิดความเสียหายและเป็ นอันตรายต่อมนุษย์ เช่น ไรฝุ่ น (house dust mite) เป็ นตัวการสาคัญและเป็ นสาเหตุหลักในการสร้ างสารก่อภูมิแพ้ โดยไรฝุ่ นจะอาศัยอยู่ตาม ที่นอน หมอน ผ้ า ห่ม และพรม ซึ่งเกิดจากสารโปรตีนจากมูลและคราบลาตัว สายพันธุ์ของไรฝุ่ นที่สาคัญมี 2 ชนิดคือ Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart) และ Dermatophagoides farinae (Hughes) ซึ่งถ้ าหากมีปริ มาณสารก่อภูมิแ พ้ ไรฝุ่ นมาก สามารถทาให้ ผ้ ทู ี่แพ้ เกิดอาการอย่างเฉียบพลันและอาจสูญเสียชีวิตได้ (ณิชนันท์ และคณะ, 2556) จากการรายงานของอามร และคณะ (2553) ถึงความหลากหลายของไรฝุ่ นในเขตภาคกลางของประเทศไทยในปี 2551 – 2552 ทังหมด ้ 638 ตัวอย่าง พบ ไรทังหมด ้ 222 ตัวอย่าง ในจานวนนัน้ พบว่าเป็ นไรฝุ่ น D. pteronyssinus 69.4% รองลงมาคือ Blomia tropicalis (Bronswijk) 23.46% และพบไรฝุ่ น D. farina เพียง 0.75% เท่านัน้ ในปั จจุบนั การป้องกันกาจัดไรโดยการใช้ สารเคมีได้ รับการนิยมเพราะการใช้ สารเคมีนนสามารถฆ่ ั้ าไรได้ รวดเร็ ว ซึง่ การ ใช้ ส ารเคมี นัน้ มี อ ยู่ หลายๆ วิ ธี เช่น การใช้ ส ารเคมี กับเมล็ด พันธุ์ โ ดยตรง การรมด้ ว ยแก๊ สพิ ษ (fumigation) เมทธิ ลโบรไมด์ (CH3Br) และฟอสฟี น (PH3) นับว่าเป็ นวิธีการที่นิยมใช้ ในการป้องกันไรมากที่สดุ (Collins, 2006; Azevedo et al., 2007) เนื่องจากประหยัดทังเวลาและแรงงานตลอดจนค่ ้ าใช้ จ่ ายอื่น ๆ แต่อย่างไรก็ตามถ้ าหากมีการใช้ สารเคมีเป็ นจานวนมากจะทา ให้ เกิดการดื ้อยาของไร อีกทังยั ้ งอาจเป็ นพิษตกค้ างต่อตัวเกษตรกรและผู้บริ โภค ตลอดจนสภาพแวดล้ อม ด้ วยเหตุนีก้ ารหา แนวทางและวิธีการป้องกันกาจัดที่ไม่มีผลตกค้ างต่อสภาพแวดล้ อมและผลผลิตจึงเป็ นแนวทางที่น่าสนใจปั จจุบนั วิธีการที่ได้ รับ ความนิยมและใช้ เป็ นทางแนวในการป้องกันกาจัดไร คือ การใช้ น ้ามันหอมระเหยที่ได้ จากพืชสมุนไพร เช่น กานพลูและอบเชย ซึง่ จากการรายงานของอามร และคณะ(2552) เกี่ยวกับประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยจากพืชต่อไรฝุ่ น D. pteronyssinus พบว่า น ้ามันหอมระเหยจากกานพลู (Syzygium aromaticum Merr.&L.M. Perry) และอบเชย (Cinnamomom bejolghota Buch.-Ham.)ที่ความเข้ มข้ น 1.2 µg/cm3 มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรฝุ่ นสูงสุด 100% โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.092 และ 0.032 µg/cm3 ตามลาดับ ขณะที่จรงค์ศกั ดิ์ และคณะ(2555) รายงานว่า น ้ามันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชยที่ความเข้ มข้ น 1%1.2 µg/cm3สามารถฆ่าไรในโรงเก็บ Suidasia pontifica Oudemans ได้ 95.4 และ 93% โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.419 และ 0.467 µg/cm3 ตามลาดับ ด้ วยเหตุนี ้จึงได้ มีการทดสอบประสิทธิภาพของสูตรน ้ามันหอมระเหยที่ได้ จากพืชที่มีส่ วนผสมของ น ้ามันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชยเป็ นองค์ประกอบในการฆ่าไรกินเชื ้อราและไรฝุ่ น โดยวิธีการรมในสภาพห้ องปฏิบตั ิการ ทังนี ้ ้เพื่อเป็ นสูตรพื ้นฐานในการพัฒนาเป็ นผลิตภัณฑ์นามาใช้ ในสภาพจริงต่อไป
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
809
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
อุปกรณ์ และวิธีการ 1. การเพาะเลีย้ งไร เก็บตัวอย่างไรเชื ้อรา (T. communis) จากอาหารสัตว์ ส่วนไรฝุ่ น (D. pteronyssinus) เก็บตัวอย่างจากบนที่นอนของ ชาวบ้ าน ในเขตลาดกระบัง กรุ ง เทพมหานคร หลังจากนัน้ น าไรเชื อ้ ราและไรฝุ่ นมาเพิ่ ม ปริ ม าณโดยเลีย้ งในขวดเลี ย้ งไร (mite bottle) โดยแยกกันเลี ้ยงในตู้ควบคุมอุณหภูมิ (mite chamber) ซึง่ มีถาดพลาสติกใส่สารละลายอิ่มตัวของ KCl เพื่อเก็บ รักษาความชื ้นภายในตู้ที่อณ ุ หภูมิ 25±1°C ส่วนอาหารเลี ้ยงไร ประกอบด้ วย อาหารหนูบดละเอียด จมูกข้ าวสาลี และยีสต์ อัตราส่วนเท่ากับ 4:4:1 (ดัดแปลงจาก Insung and Boczek, 1995) 2. การเตรี ยมนา้ มันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชย น ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร ได้ แก่ ดอกตูมแห้ งกานพลู (S. aromaticum) และใบสดอบเชย (C. verum) จัดซื ้อ ผลิตภัณฑ์น ้ามันหอมระเหยจากบริ ษัทอุตสาหกรรมเครื่ องหอมไทย-จีนจากัดนามาจัดทาสูตรของน ้ามันหอมระเหยจากพืช โดย ใช้ อตั ราส่วนของน ้ามันหอมระเหยจากกานพลูต่ออบเชยเท่ากับ 4:0, 3:1, 2:2, 1:3 และ 0:4 (Cl4Ci0, Cl3Ci1, Cl2Ci2, CI1Ci3 และ Cl0Ci4 ตามลาดับ) เพื่อใช้ ในการทดสอบประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยกับไรเชื ้อราและไรฝุ่ นต่อไป 3.การทดสอบประสิทธิภาพของสูตรนา้ มันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชยต่ อไรเชือ้ ราและไรฝุ่ นโดยวิธีการรม เขี่ยตัวไรเชื ้อรา หรื อ ไรฝุ่ น ไม่จากัดเพศ จานวน 10 ตัวต่อกรง ใส่ลงในกรงทดสอบไร (mite cage) ขนาดกว้ างxยาวxสูง เท่ากับ 3x5x0.45 cm (แยกกรงทดสอบ) หลังจากนันท ้ าการรมโดยนากรงใส่ในตู้รม (knockdown chamber) ขนาด 25 L และ รมด้ วยสูตรน ้ามันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชยในแต่ละความเข้ มข้ นที่แตกต่างกัน โดยทดสอบประสิทธิภาพการรมต่อไร เชื ้อราที่ความเข้ มข้ น 0 (95% ethanol), 0.12, 0.18, 0.24, 0.30, 0.36 และ 0.42 µl/L air และทดสอบประสิทธิภาพการรมต่อไรฝุ่ น ที่ความเข้ มข้ น 0 (95% ethanol), 0.24, 0.36, 0.48, 0.60, 0.72 และ 0.84 µl/L air รมนาน 1 ชัว่ โมง ตรวจนับการตายที่ 24 ชัว่ โมง 4. การวิเคราะห์ ค่าทางสถิต วางแผนทดลองแบบ CRD (completely randomized design) คานวณหาเปอร์ เซ็นต์การตายที่แท้ จริ งของไร โดยใช้ สตู ร ของ Abbott (Abbott’s, 1925) และนาข้ อมูลทังหมดมาวิ ้ เคราะห์ความแปรปรวนและเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยโดย วิธีการ DMRT (Duncan’s multiple rang test) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% (P <0.05) โดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรูป SAS จากข้ อมูล ขันต้ ้ น คานวณหาค่า LC50และ LC90 โดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS Probit analysis
ผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง จากการทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพการรมของสูต รน า้ มัน หอมระเหยจากกานพลูแ ละอบเชยในการควบคุม ไรเชื อ้ รา (T. communis) และไรฝุ่ น (D. pteronyssinus) ในอัตราส่วนของสูตรน ้ามันหอมระเหยจากกานพลูต่ออบเชยเท่ากับ 4:0, 3:1, 2:2, 1:3 และ 0:4 (Cl4Ci0 ,Cl3Ci1, Cl2Ci2, CI1Ci3 และ Cl0Ci4 ตามลาดับ) โดยทาการทดสอบกับไรเชื ้อราที่ความเข้ มข้ น 0 (95% ethanol), 0.12, 0.18, 0.24, 0.30, 0.36 และ 0.42 µl/L air ตรวจนับการตายที่ 24 ชัว่ โมง พบว่าที่ความเข้ มข้ น 0.30 µl/L air สูตร น ้ามันหอมระเหย Cl4Ci0 และ Cl3Ci1 มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรกินเชื ้อราได้ มากกว่า 70% ซึง่ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ ความเชื่อมัน่ 95% และสูงกว่าสูตรน ้ามันหอมระเหย Cl2Ci2, CI1Ci3 และ Cl0Ci4 ตามลาดับ ขณะที่ระดับความเข้ มข้ น 0.42 µl/L air สูตรน ้ามันหอมระเหย Cl3Ci1 และ Cl4Ci0 มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรกินเชื ้อราได้ ดีที่สดุ 100% และ 93.0% โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.215 และ 0.241µl/L air ตามลาดับ รองลงมาคือสูตรน ้ามันหอมระเหย Cl2Ci2, CI0Ci4 และ Cl1Ci3 โดยมีคา่ LC50 เท่ากับ 0.269, 0.293 และ 0.295 µl/L air ตามลาดับ (Table1) ส่วนการทดสอบประสิทธิภาพการรมของสูตรน ้ามันหอมระเหยจาก กานพลูและอบเชย ในการควบคุมไรฝุ่ น ที่ความเข้ มข้ น 0 (95% ethanol), 0.24, 0.36, 0.48, 0.60, 0.72 และ 0.84 L µl/L air รม นาน 1 ชัว่ โมง ตรวจนับการตายที่ 24 ชัว่ โมง พบว่า ที่ความเข้ มข้ น 0.60 µl/L air สูตรน ้ามันหอมระเหย Cl4Ci0 ,Cl3Ci1 และ Cl2Ci2 มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรฝุ่ นได้ มากกว่า 80% ซึง่ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ความเชื่อมัน่ 95% และสูงกว่าสูตรน ้ามันหอม ระเหย CI1Ci3 และ Cl0Ci4 ตามลาดับ ขณะที่มากระดับความเข้ มข้ น 0.84 L µl/L air สูตรน ้ามันหอมระเหย Cl3Ci1 มีประสิทธิภาพ ในการฆ่าไรฝุ่ นได้ ดีที่สดุ 100% ตามลาดับ โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.424 µl/L air รองลงมาคือสูตรน ้ามันหอมระเหย Cl2Ci2และ Cl4Ci0 มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรฝุ่ นได้ มากกว่า 90% โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.446 µl/L air ตามลาดับ (Table 2) จากการทดลอง พบว่าสูตรน ้ามันหอมระเหยจากพืชที่มีสว่ นประกอบของน ้ามันหอมระเหยจากกานพลูเป็ นองค์ประกอบหลักสูงกว่าพืชน ้ามันหอม ระเหยจากอบเชยมีประสิทธิภาพในการฆ่าไรเชื ้อราและไรฝุ่ นมากกว่าสูตรอื่นๆ ทังนี ้ ้อาจเป็ นเพราะน ้ามันหอมระเหยจากกานพลูมี ประสิทธิภาพในการฆ่าไรทัง้ 2 ชนิดนี ้สูงกว่าน ้ามันหอมระเหยจากอบเชย ซึ่งสอดคล้ องกับการศึกษาของ จรงค์ศกั ดิ์และอามร 810
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
(2552) พบว่าน ้ามันหอมระเหยจากกานพลู สามารถฆ่าไรฝุ่ น D. pteronyssinus ได้ สงู กว่าอบเชย โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.092 และ 0.232 µg/cm3 ตามลาดับ และสอดคล้ องกับจรงค์ศกั ดิ์ และอามร (2555) รายงานว่า น ้ามันหอมระเหยจากกานพลูและ อบเชยสามารถฆ่า ไรในโรงเก็บ Suidasia pontifica Oudemans ได้ 95.4 และ 93% โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.419 และ 0.467 µg/cm3 ตามลาดับ กล่าวคือสูตรน ้ามันหอมระเหย Cl4Ci0 และ Cl3Ci1 มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรทัง้ 2 ชนิดได้ มากกว่าสูตร Cl1Ci3 และ Cl0Ci4 ขณะที่การรวมกันในสารประกอบของน ้ามันหอมระเหยจากพืชอาจจะเท่าผลในการเสริ มฤทธิ์ (Miresmaili el al., 2006) จากตัวอย่างการศึกษาของ Kim et al. (2012) รายงานว่าการผสมของน ้ามันหอมระเหยจาก Lemongrass : Xanthoxylum : Vanillin อัตราส่วน 1:1:1 มีประสิทธิภาพในการไล่ยงุ (Aedes aegypti)ได้ มากกว่า 90% ภายใน 2 ชัว่ โมง โดยมี ประสิทธิภาพสูงกว่าการใช้ น ้ามันหอมระเหยเพียงชนิดเดียว ซึง่ จากการศึกษาครัง้ นี ้แสดงให้ เห็นว่าการผสมกันของน ้ามันหอมระเหย จากกานพลูและอบเชยส่งผลให้ การตายของไรทังสองชนิ ้ ดตายมากกว่าการใช้ น ้ามันหอมระเหยจากกานพลูหรื ออบเชยเพียงอย่าง เดียว กล่าวคือสูตรนา้ มันหอมระเหย Cl3Ci1 (อัตราส่วนผสมของนา้ มันหอมระเหยของกานพลู:อบเชย เท่ากับ 3:1) มี ประสิทธิภาพในการฆ่าไรทังสองชนิ ้ ดสูงกว่าสูตร Cl4Ci0 และ Cl0Ci4 (อัตราส่วนผสมของน ้ามันหอมระเหยของกานพลู:อบเชย เท่ากับ 4:0 และ 0:4 ตามลาดับ) Table 1 Mortality percentages of mold mite (Tyrophagus communis Fan&Zhang) after fumigation with plant essential oil formulas with different mixtures between ratios clove (Syzygium aromaticum Merr.&L.M. Perry) and cinnamon (Cinnamomum verum JS. Presl) at various concentrations (24 hours). Essential oil formulas2/ Cl4Ci0 Cl3Ci1 Cl2Ci2 Cl1Ci3 Cl0Ci4 %CV
0 0.0±0.0Ea 0.0±0.0Ea 0.0±0.0Da 0.0±0.0Ea 0.0±0.0Ea -
Mortality (%)1/ Concentration (µL/L air)
0.12 0.18 0.24 0.30 22.7±2.5Da 30.0±12.CDa 36.3±3.4Cb 70.0±5.8Ba 27.1±6.0Da 42.2±2.0Ca 46.7±1.8Ca 75.7±7.7Ba 9.3±5.5Db 21.8±1.6Cbc 28.5±6.3Cb 63.6±6.4Bab 3.3±5.8DEb 11.0±3.9CDc 18.8±5.0CDc 52.7±8.8Bbc 5.9±5.2DEb 11.9±4.1Dc 15.9±3.2Dc 48.1±7.8Cc 43.28 25.88 16.92 12.27
0.36 0.42 87.1±2.5Aa 96.7±5.8Aa 91.1±8.4Aa 100.0±0.0Aa 83.3±5.8Aa 94.4±9.6Aa 82.7±6.8Aa 91.0±7.5Aa 82.0±7.1Aa 95.8±7.2Aa 7.98 7.12
LC50 LC90
Slop
SE
%CV
0.241 0.215 0.269 0.295 0.293
8.976 9.249 10.040 11.571 11.638
0.592 0.615 0.659 0.764 0.765
16.18 13.83 9.02 16.97 18.87
0.384 0.353 0.396 0.406 0.403
1/
Means in row followed by the same superscript capital letter and column followed by common letter were not significantly different (P<0.05) according to DMRT Clove and Cinamon ratio 4:0, 3:1, 2:2, 1:3 and 0:4 represented as formulas Cl4Ci0, Cl3Ci1, Cl2Ci2, Cl1Ci3 and Cl0Ci4, respectively.
2/
Table 2 Mortality percentages of house dust mite (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)) after fumigation with plant essential oil formulas with different mixtures between ratios clove (Syzygium aromaticum Merr.&L.M. Perry) and cinnamon (Cinnamomum verum JS. Presl) at various concentrations (24 hours). Essential oil formulas2/ Cl4Ci0 Cl3Ci1 Cl2Ci2 Cl1Ci3 Cl0Ci4 %CV
0
0.0±0.0Da 0.0±0.0Da 0.0±0.0Fa 0.0±0.0Ca 0.0±0.0Da -
0.24
9.1±4.5Da 12.4±4.8Da 13.1±7.6Ea 6.1±5.9Ca 11.5±4.7CBa 53.93
Mortality (%)1/ Concentration (µL/L air) 0.36 0.48 0.60
34.1±14.3Ca 36.9±17.3Ca 36.9±3.4Da 24.3±3.7Ba 21.2±7.8Ca 36.96
58.3±7.2Bab 61.6±5.6Bab 65.7±1.7Ca 62.2±3.8Aab 53.7±3.2Bb 7.85
80.6±7.3Aab 92.8±6.5Aa 80.8±1.3Bab 65.5±13.5Ab 67.2±7.5ABb 10.71
0.72
88.4±11.1Aa 97.0±5.2Aa 88.8±1.3ABa 70.7±9.7Ab 71.1±11.3Ab 10.44
0.84
93.0±6.1Aab 100.0±0.0Aa 90.6±9.1Aab 74.8±6.2Ac 78.2±13.7Abc 9.55
LC50 LC90 Slop SE %CV 0.463 0.424 0.446 0.545 0.544
0.723 0.608 0.729 0.904 0.897
4.932 6.973 4.541 3.570 3.632
0.318 0.481 0.293 0.257 0.259
11.84 10.23 14.77 16.10 15.65
1/
Means in row followed by the same superscript capital letter and column followed by common letter were not significantly different (P<0.05) according to DMRT Clove and Cinamon ratio 4:0, 3:1, 2:2, 1:3 and 0:4 represented as formulas Cl4Ci0, Cl3Ci1, Cl2Ci2, Cl1Ci3 and Cl0Ci4, respectively.
2/
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
811
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สรุปผลการทดลอง จากการทดสอบประสิทธิภาพการรมของสูตรน ้ามันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชย พบว่าสูตรน ้ามันหอมระเหย ที่ อัตราส่วนกานพลูต่ออบเชยเท่ากับ 3:1 ที่ระดับความเข้ มข้ น 0.42 L µl/L air มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรกินเชื ้อราได้ ดีที่สดุ 100% โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.215 µl/L air ส่วนสูตรน ้ามันหอมระเหยอัตราส่วนกานพลูต่ออบเชยเท่ากับ 3:1 ที่ระดับความเข้ มข้ น 0.84 µl/L air มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรฝุ่ นได้ ดีที่สดุ 100% ตามลาดับ โดยมีคา่ LC50 เท่ากับ 0.424 µl/L air
เอกสารอ้ างอิง กรมการข้ าว. 2556. องค์ความรู้ เรื่ องข้ าว. (แหล่งออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.brrd.in.th/rkb/postharvest/index. phpfile=content.php&id=5.htm. จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และ อามร อินทร์ สงั ข์. 2555. ประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชยในการควบคุมไร Suidasia pontifica Oudema ในผลผลิตในโรงเก็บ. วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 40(4): 1205-1213. ณิชนันท์ อารี ย์การเลิศ และ ณัฐ มาลัยนวล. 2556. ประสิทธิภาพของผ้ าหนังในการป้องกันไรฝุ่ นและสารก่อภูมิแพ้ จากไรฝุ่ น. วารสารพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. 31(2): 83-90. พลอยชมพู กรวิภาสเรื อง จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และ อามร อินทร์ สงั ข์. 2553. ความหลากหลายของไรในโรงเก็บในเขตภาคกลางของประเทศไทย. วารสารกีฏและสัตววิทยา. 28(2): 10-18. อามร อินทร์ สงั ข์ จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และ พลอยชมพู กรวิภาส. 2553. ความหลากหลายของไรฝุ่ นในเขตภาคกลางของประเทศไทย. วารสารกีฎและ สัตววิทยา. 28(1): 31-39. อามร อินทร์ สงั ข์ และ จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน 2552. ผลของน ้ามันหอมระเหยจากพืชต่อไรฝุ่ น Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart). วารสารวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 37(2): 183-191. Abbott, W.S. 1925. A method of computing the effectiveness of an insecticide. Journal of Economic Entomology. 18: 265-267. Azevedo, D.O., Zanuncio, J.C., Zanuncio, J.S., Martins, G.F., Marques-Silva, S., Sossai, M.F. and J.E. Serrao. 2007. Biochemical and morphological aspects of salivary glands of the predator, Brontocoria tabidus (Heteropera: Pentatomidae). Brazilian Archives of Biology and Technology. 50: 469-477. Collins, D.A. 2006. A review of alternatives to organo phosphorous compounds for the control of storage mites. Journal of Stored Products Research. 42: 285-293. Insung, A. and J. Boczek. 1995. Effect of some extract of medicinal and spicy plant on acarid mites. pp. 211-223. In Proceedings of the Symposium on Advances of Acarology in Poland, September 26-27,1995; Siedlce Kim, S., J. Yoon, S. Baeck, S. Lee., Y. Ahn. and H.W. Kwon. 2012. Toxicity and synergic repellency of plant essential oil mixtures with vanillin against Aedes aegypti (Diptera: Culicidae). Journal of Medical Entomology. 49(4): 876-885. Kondreddi, P.K., Elder, B.L., Morgan, M.S., Vyszenski-Moher. D.L., and L.G. Arlian. 2006. Importance of sensitization to Tyrophagus putrescentiae in the United States. Annals of Allergy Sthma&Immunology. 96(1):124. Miresmaili, S., Bradbury, R. and M.B. Isman. 2006. Comparative toxicity of Rosmarinus offcinalis L.essential oil and blends of its major constituents against Tetranychus urticae Koch (Acari: Tetranychidae) on two different host plant. Pest Management Science. 62: 366-371. Qing-Hai, F. and Z. Zhi-Qiang. 2007. Tyrophagus (Acari: Asticmata: Acaridae). Fauna of New Zealand 56, 291 pp. Sanchez-Ramos, I. and P. Castanera. 2005. Effect of temperature on reproductive parameters and longevity of Tyrophagus putrescentiae (Acari: Acaridae). Experimental and Applied Acarology. 36(1-2): 93-105.
812
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ลักษณะโครมาโตแกรมโดย HPLC และฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของกระชายและข่ า HPLC Chromatographic Profile and Antioxidant activity of Fingerrootand Galangal 1
ศรัณย์ ฉวีรักษ์ ประธาน ฦๅชา2* Saran Chaweerak1 Prathan Luecha2*
บทคัดย่ อ กระชาย [fingerroot; Boesenbergia rotunda (L.) Mansf] และข่า [galangal; Alpinia galangal (L) Wild] เป็ นพืช สวนครัวที่เป็ นที่ร้ ู จกั ในประเทศไทยและใช้ ในการประกอบอาหารหลายตารับ นอกเหนือจากประโยชน์ทางอาหารแล้ วยังมีการ นาหัวกระชายและเหง้ าข่ามาใช้ โดยหมอพื ้นบ้ านไทยเพื่อแก้ ลมวิงเวียนขับลม ช่วยให้ เจริ ญอาหาร แก้ ท้องอืดท้ องเฟ้อและเสริ ม สมรรถภาพทางเพศ การศึกษาครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาปั จจัยด้ าน รูปแบบการเตรี ยมตัวอย่าง สด-แห้ ง, แหล่งปลูก และ ฤดูกาลที่เก็บเกี่ยว ต่อลักษณะโครมาโตแกรมที่ได้ จากเครื่ อง HPLC และเปรี ยบเทียบฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระรวมถึงปริ มาณสารฟี นอลิกรวมของสารสกัดเอธานอลของหัวกระชายและเหง้ าข่า ผลการศึกษาพบว่า หัวกระชายและเหง้ าข่าที่สกัดจากตัวอย่างสด และแห้ งมีลกั ษณะของโครมาโตแกรมที่ใกล้ เคียงกัน และยังพบว่ากระชายและข่าที่เก็บเกี่ยวในช่วงฤดูร้อนให้ ปริ มาณสารมาก ที่สดุ ส่วนตัวอย่างที่เก็บในฤดูฝนจะมีจานวนชนิดของสารมากที่สดุ ผลการศึกษาฤทธิ์ ต้านอนุมลู อิสระ ด้ วยวิธี DPPH และ FRAP assay พบว่า สารสกัดหัวกระชายมีฤทธิ์ต้านออกซิเดชันได้ ดีกว่าสารสกัดเหง้ าข่า โดยมีค่า IC50 = 177.89±0. 27 และ 198.09±0. 49 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และ มีค่าTEAC = 4.596±0.15 และ 3.612±0.13 มิลลิกรัมต่อกรัมของสารสกัด ตามลาดับ คาสาคัญ: โคมาโตแกรม โดย HPLC และ ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของกระชายและข่า
Abstract Fingerroot [Boesenbergia rotunda (L.) Mansf] and galangal [Alpinia galangal (L) Wild] are the famous home-grown vegetables used for cooking of various food recipes in Thailand. In addition to their consumption benefits, these plants had been used by Thai folklore healers to treat many illnesses such as vertigo, flatulence and also used as appetite stimulant and aphrodisiac. This study focuses on the various factors (sample preparation, collecting location and harvesting season) affected on HPLC chromatograms of fingerroot and galangal ethanolic extract as well as their antioxidants activity and total phenolic evaluation.The results showed that ethanolic extracts of fresh or dry fingerroot and galangal exhibited somewhat similar HPLC chromatogram. The extract of herb which collected in summer season showed higher area under the curve of HPLC peak whereas the extract from rainy season presented more variation of chemical constituents. The antioxidant activity using DPPH assay revealed that fingerroot extract gave higher antioxidant activity than galangal extract with IC50 of about 177.89±0. 27 and 198.09±0. 49 µg/ml, and TEAC of about 4.596±0.15, 3.612±0.13 mg/g crude extract respectively. Keywords : HPLC Chromatogram Antioxidant activity Fingerroot Galangal
1
วท.ม. เภสัชเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ 2 ภาควิชาเภสัชเวทและพิษวิทยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
813
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
คานา กระชาย [Fingerroot; Boesenbergia rotunda (L.) Mansf] และ ข่า [galangal; Alpinia galangal (L) Wild]เป็ นพืช ในวงศ์ Zingiberaceae ที่มีการนามาใช้ ประโยชน์อย่างแพร่หลายตังแต่ ้ อดีตจนถึงปั จจุบนั ทังการน ้ ามาทาเป็ นเครื่ องเทศในการ ประกอบอาหารและยังสามารถนาไปใช้ เป็ นเครื่ องยาในตารับต่างๆเพื่อบรรเทาหรื อบาบัดอาการแห่งโรคที่เกิดขึ ้น เนื่องจากใน กระชายและข่ามีองค์ ประกอบทางเคมีที่น่าสนใจหลายชนิด โดยในหัวกระชายพบว่ามีสารPinostrobin, Pinocembrin, Alpinitin, Chalcone, Cardamonin, Boesenbergin (Tan et al, 2012) และสารสกัดเอธานอลจากหัวกระชายมีฤทธิ์กระตุ้น กาหนัดในหนูทดลองเพศผู้ได้ (Sudwan et al, 2007)ส่วนเหง้ าข่าพบว่ามี 1,8-cineole, Methyl cinnamate, α-cadinene, Galangin, 3-O-methyl galangin, Kaempferitrin, Alpinin, Galangal (Tao et al, 2006) จาการศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของ ช่วงเวลาการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพของสารสกัดของสมุนไพรพบว่า สารองค์ประกอบเคมีสาคัญในพืชมีก ารเปลี่ยนแปลงตาม ฤดูกาลเก็บเกี่ยว โดยคาดว่าปั จจัยหลักเกิดจากปริ มาณน ้าในแต่ละฤดูกาล ซึ่งเหตุดงั กล่าวส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนรู ปของ สารในกลุ่มพอลีฟีนอล(polyphenols) ของพืช และลักษณะของสารกลุ่มนี ้ถูกใช้ เป็ นข้ อมูลเพื่อศึกษาเกี่ยวกับวิธีการควบคุม คุณภาพและเป็ นการสร้ างมาตรฐานที่ดีสาหรับผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร (นิรมล และคณะ, 2556) ดังนันการเก็ ้ บเกี่ยวพืชหรื อ สมุนไพรให้ ได้ สารสาคัญที่ออกฤทธิ์ (Active constituents) ในปริ มาณที่สงู ที่สดุ เพื่อนามาใช้ เป็ นยาและแสดงผลทางเภสัช วิทยาในการบาบัดรักษา จึงควรเก็บพืชสมุนไพรในฤดูกาลที่เหมาะสมกับพืชแต่ละชนิด อีกทังยั ้ งมีปัจจัยอื่นที่มีผลต่อคุณภาพ ของสมุนไพรได้ แก่ วิธีการเก็บเกี่ยว ช่วงเวลาที่เก็บสมุนไพร วิธีการเก็บรักษาสมุนไพรหลังเก็บเกี่ยวตลอดจนวิธีการเตรี ยม ตัวอย่างให้ เหมาะสม ซึง่ ทังหมดนี ้ ้มีผลต่อปริมาณสารสาคัญในสมุนไพรทังสิ ้ ้น (รังสรรค์, 2545) ในช่วงหลายปี ที่ผ่านมามีหลายงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ได้ แสดงให้ เห็นบทบาทของสารต้ านอนุมลู อิสระในการลด ความเสี่ยงของการเกิดโรคต่างๆ หลายโรค เช่นโรคมะเร็ งและโรคหัวใจ (Chew, 2008) สารต้ านอนุมลู อิสระหรื อสารต้ าน ออกซิเดชัน (antioxidant) เป็ นสารที่สามารถชะลอหรื อป้องกันปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารที่ไวต่อการเกิดปฏิกิริยาไม่ให้ ทาลาย สารชีวโมเลกุลในร่างกายเช่นดีเอ็นเอไขมันโปรตีนเป็ นต้ น ซึง่ หากเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันขึ ้นในร่างกายมาก จะนาไปสูก่ ารเกิด โรคและความผิดปกติตา่ งๆ ของร่างกายได้ (Halliwell et al., 1997) ดังนันการศึ ้ กษาถึงผลกระทบจากปั จจัยด้ านการเพาะปลูกและเก็บเกี่ยว (รูปแบบการเตรี ยมตัวอย่าง สด-แห้ ง, แหล่ง ปลูกที่แตกต่างกัน และ ฤดูการที่เก็บเกี่ยว) ต่อลักษณะโครมาโตแกรมที่ได้ จากเครื่ อง HPLC ของสารสกัด 95% ethanol ของหัว กระชายและเหง้ าข่ า และเปรี ยบเที ยบฤทธิ์ ต้านออกซิเดชันรวมถึงปริ มาณสารฟี นอลิกรวม จึงเป็ นการศึกษาที่ น่าจะเกิ ด ประโยชน์ตอ่ เกษตรกรในแง่ของการเก็บเกี่ยวผลผลิตเพื่อให้ ได้ พืชสมุนไพรที่มีคณ ุ ภาพและปริมาณสารสาคัญในปริ มาณสูง และ เป็ นแนวทางในการส่งเสริมให้ มีการใช้ พืชในท้ องถิ่นให้ เกิดประโยชน์อีกด้ วย
อุปกรณ์ และวิธีการ 1. การเก็บตัวอย่ าง การเตรียมตัวอย่ างและการสกัดสารตัวอย่ าง เก็บตัวอย่างหัวกระชายและเหง้ าข่าจากแหล่งที่มีการปลูกและแหล่งทางการค้ าที่สามารถหาได้ โดยแบ่งตามเขต จังหวัดในประเทศไทย จากนันน ้ าตัวอย่างพืชที่เก็บมาล้ างทาความสะอาดผึ่งลมให้ แห้ งในร่ ม และทาการลดขนาดลงเป็ นชิน้ เล็กๆ ประมาณ 0.5 ซม. สาหรับการเตรี ยมตัวอย่างแห้ ง นามาทาให้ แห้ งโดยการอบด้ วยลมร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 50°C เป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง แล้ วจึงนามาบดให้ เป็ นผงหยาบ จะได้ ตวั อย่างแห้ ง จากนันน ้ าตัวอย่างสดหรื อแห้ งน ้าหนักอย่างละ50 กรัม ไปหมักด้ วย 95% ethanol เป็ นเวลา 5-7 วันโดยทาการหมักซ ้าจนครบ 3 ครัง้ แล้ วจึงนาสารสกัดที่ได้ จากการหมักทัง้ 3 ครัง้ มารวมกันนาไป ระเหยตัวทาละลายออกด้ วยเครื่ องระเหยแบบสุญญากาศ (rotary evaporator) โดยใช้ อณ ุ หภูมิในการระเหยแห้ งที่ 40°C แล้ ว นาไปทาให้ แห้ งด้ วยเครื่ อง freeze dryer จะได้ สารสกัดหยาบของกระชายและข่า จากนันน ้ าสารสกัดที่ได้ ไปเก็บในภาชนะทึบ แสงปิ ดสนิทในที่อณ ุ หภูมิ -20°C จนกว่าจะนามาวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี 2. การวิเคราะห์ องค์ ประกอบทางเคมีด้วยเครื่ อง High Performance Liquid Chromatography (HPLC) เตรี ยมสารสกัดหยาบของหัวกระชายและเหง้ าข่าให้ มีความเข้ มข้ น 0.1 กรัม ในตัวทาละลาย 1 มิลลิลิตรฉี ด สารละลายตัวอย่างที่เตรี ยมไว้ ครัง้ ละ 5 ไมโครลิตรตัวอย่างละ 3 ซ ้า โดยใช้ เครื่ อง HPLC ของ Agilent รุ่น 1100 โดยกาหนด สภาวะในการวิเคราะห์ดงั นี ้ ใช้ คอลัมน์ C18 ขนาด 4.6 x 250mm (GL Sciences inc.) ตรวจวัดสารองค์ประกอบเคมีโดยใช้ ตวั 814
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ตรวจวัด ultraviolet-visible ที่ความยาวคลื่น 205 นาโนเมตร (nm) อัตราการไหลของ mobile phase เท่ากับ 1 มิลลิลิตรต่อ นาที และใช้ Acetonitrile:น ้าเป็ น mobile phase โดยทาการวิเคราะห์ด้วยระบบ isocratic ใช้ 60%Acetonitrile สาหรับ วิเคราะห์ องค์ ประกอบทางเคมี ในหัว กระชาย และใช้ 50%Acetonitrile สาหรั บวิเคราะห์ องค์ ประกอบทางเคมี ในเหง้ าข่ า ตามลาดับ โดยทาการวิเคราะห์เป็ นเวลา 60 นาทีต่อการฉีดสารในแต่ละครัง้ สาหรับการศึกษาในหัวกระชาย และใช้ เวลา 30 นาที สาหรับการวิเคราะห์ในส่วนของเหง้ าข่า 3. การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ 3.1 การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดย 1,1-Diphenyl-2-picryl-hydrazyl(DPPH) ดัดแปลงตามวิธีการของ Yamazaki et al.,1994 เตรี ยมสารละลาย DPPH ใน methanol โดยเตรี ยมให้ มีความเข้ มข้ นของ DPPH เท่ากับ 0.2 มิลลิโมลาร์ จากนัน้ เตรี ยมสารละลายของสารสกัดหยาบใน methanol ให้ มีความเข้ มข้ นระหว่าง 1-1000 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรแล้ วนาสารละลาย ตัวอย่างไปทาปฏิกิริยากับสารละลาย DPPH ในถาดหลุมขนาด 96-well โดยตังทิ ้ ้งไว้ ที่อณ ุ หภูมิห้องในที่มืดเป็ นเวลา 30 นาที แล้ วจึงนาไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 517 nm ด้ วยเครื่ องอ่านผลปฏิกิริยาบนไมโครเพลท (microplate reader) โดยใช้ สารละลาย Trolox® ที่ความเข้ มข้ นต่างๆ เป็ นสารมาตรฐาน จากนันค ้ านวณผลเป็ นความเข้ มข้ นของสารที่สามารถยับยัง้ อนุมลู อิสระชนิด DPPH ได้ ร้อยละ 50 (IC50 = inhibition concentration at 50%) ดังสมการ ร้ อยละ (%) การยับยังอนุ ้ มลู อิสระ DPPH = [(A0-A1)/A0] ×100 A0 = ค่าการดูดกลืนแสงของสารควบคุม A1 = ค่าการดูดกลืนแสงของตัวอย่าง 3.2 การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้ วยวิธี Ferric reducing antioxidant power(FRAP) assay ดัดแปลงตาม วิธีการของ Benzie et al.,1996 เตรี ยมสารละลาย FRAP reagent โดยเตรี ยม Acetate buffer pH 3.6 เตรี ยมสารละลาย TPTZ (2,4,6 Tripyridyltriazine) ความเข้ มข้ น 10 mM ใน 40 mM HCl และ เตรี ยมสารละลาย ferric chloride ความเข้ มข้ น 20 mM แล้ วนา สารละลายมาผสมกันในสัดส่วน 10:1:1 (v:v:v) จากนันเตรี ้ ยมสารละลายตัวอย่างที่ความเข้ มข้ น 500 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร แล้ วนามาผสมให้ ทาปฏิกิริยากับ FRAP reagent และนาไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 593 nm โดยใช้ FRAP เป็ น ตัวควบคุม นาค่าการดูดกลืนแสงไปเปรี ยบเทียบกับกราฟมาตรฐานของสารละลาย Iron (II) sulphate7-hydrate โดยใช้ Trolox® เป็ นสารมาตรฐานในการทดสอบคานวณหาปริ มาณ Relative antioxidant activity (FRAP value) และค่า TEAC (Trolox equivalent antioxidant capacity) จากกราฟมาตรฐานของ FeSO4 และ Trolox® ที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความ เข้ มข้ นของ FeSO4 , Trolox®กับค่า absorbance โดยแสดงฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระเป็ นค่าRelative antioxidant activity (FRAP value) มีหน่วยเป็ น Fe(II)/g และค่า Trolox equivalent antioxidant capacity (TEAC) ในหน่วยมิลลิกรัมของ Trolox®ต่อกรัม ของสารสกัด (mg Trolox/g crude extract) 4. การทดสอบหาปริมาณสารฟี นอลิก (phenolic compounds) ด้ วยวิธี Folin-Ciocalteu colorimetric method โดย ดัดแปลงตามวิธีการของ Singelton et al.,1999 เตรี ยมสารตัวอย่างที่ต้องการทดสอบให้ มีความเข้ มข้ นต่างๆ จากนัน้ เติม น ้ายา Folin-Ciocalteu ที่ผสมโซเดียม คาร์ บอเนตลงไปผสมกับสารละลายตัวอย่างที่เตรี ยมไว้ แล้ ว ตังทิ ้ ้งไว้ ให้ ทาปฏิกิริยาที่อณ ุ หภูมิห้องเป็ นเวลา 30 นาที จากนัน้ นาไปวัดค่าการดูดกลืนแสงด้ วยเครื่ องอ่านปฏิกิริยาบนไมโครเพลท (microplate reader) ที่ความยาวคลื่น 750 nm สร้ างกราฟ มาตรฐานโดยเตรี ยม Gallic acid ระหว่างความเข้ มข้ นของ Gallic acid และค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 750 nm ของ สารตัวอย่าง จากนันน ้ าไปแทนค่าในสมการเส้ นตรงที่ได้ จากกราฟมาตรฐาน แล้ วแสดงผลโดยเทียบเป็ นจานวนในหน่วย µg/ml gallic acid equivalent
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
815
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. การเก็บตัวอย่ าง การเตรี ยมตัวอย่ างและการสกัดสารตัวอย่ าง ตัวอย่างหัวกระชายและเหง้ าข่าจานวนทัง้ สิน้ 14 ตัว อย่างถูกเก็บจากแหล่งปลูกที่ต่างกัน ในเขต 5 จังหวัด ได้ แก่ ขอนแก่น เลย ร้ อยเอ็ด อุบลราชธานี แม่ฮ่องสอน โดยตัวอย่างที่เก็บจากจังหวัดขอนแก่น ได้ ดาเนินการเก็บในฤดูกาลที่แตกต่าง กัน 3 ฤดู (ฝน หนาว ร้ อน) ดังได้ แสดงไว้ ใน Table 1 จากนันท ้ าการสกัด และวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีตอ่ ไป Table 1 Show place and collecting period of plant samples collection Harvesting Harvesting No. Plants Province seasons seasons fingerroot KhonKaen Mar 2014 galangal KhonKaen Apr 2014 1 8 fingerroot KhonKaen Jul 2014 galangal KhonKaen Aug 2014 2 9 fingerroot KhonKaen Nov 2014 galangal KhonKaen Dec 2014 3 10 fingerroot Loei Mar 2014 galangal Loei May 2014 4 11 fingerroot Roiet Apr 2014 galangal Roi et Apr 2014 5 12 fingerroot Ubonratchatani Apr 2014 galangal Ubonratchathani Jun 2014 6 13 fingerroot Mae Hong Son May 2014 galangal Mae Hong Son May 2014 7 14 ***Summer = February – May , Rainy = June – September , Winter = October–December No.
Plants
Province
2. ผลการวิเคราะห์ องค์ ประกอบทางเคมีด้วยเครื่ องHPLC 2.1 ศึกษาผลกระทบจากการเตรี ยมตัวอย่ างสดและแห้ ง จากลักษณะของ HPLC โครมาโตแกรม แสดงให้ เห็นว่า วิธีการเตรี ยมตัวอย่างที่แตกต่างกัน(สดหรื อแห้ ง)ให้ ผลการ วิเคราะห์ด้วยเครื่ อง HPLC ที่คล้ ายคลึงกัน (Figure 1-10) โดยลักษณะของโครมาโตแกรมของหัวกระชายและเหง้ าข่ามีความ สอดคล้ องกันในพืชชนิดเดียวกันไม่วา่ จะสกัดจากตัวอย่างสดและแห้ ง โดยสัญญาณ (peak) ที่แสดงถึงองค์ประกอบทางเคมีใน สารสกัดมีแบบแผน (pattern) ที่ใกล้ เคียงกันอย่างมากโดยพิจารณาจากค่า retention time ของสัญญาณจากโครมาโทแกรมที่ ได้ มาจากตัวอย่างสดและแห้ ง แต่หากพิจารณาในแง่ของปริ มาณสารที่สกัดออกมาได้ เปรี ยบเทียบกันระหว่างสัญญาณที่มี retention time เท่ากันพบว่าโดยส่วนใหญ่พื ้นที่ใต้ สญ ั ญาณ (area under the curve; AUC) ของโครมาโตแกรมที่ได้ จาก ตัวอย่างแห้ งจะมีพื ้นที่มากกว่าที่ได้ จากตัวอย่างสด ซึง่ บ่งชี ้ว่ามีสารองค์ประกอบเคมีในปริ มาณที่มากกว่า (Figure 1, 2, 4, 6, 8) แต่อย่างไรก็ตามในหลายโครมาโตแกรมโดยเฉพาะในสารสกัดจากหัวกระชายพบว่าปริ มาณสารองค์ประกอบทางเคมีที่ได้ จากตัวอย่างแห้ งและสดมีปริมาณใกล้ เคียงกัน (Figture 3, 5, 6, 7, 9, 10)
816
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Figure 1 HPLC chromatograms of fresh and dried fingerroot of sample 1
Figure 2 HPLC chromatograms of fresh and dried galangal of sample 8
Figure 3 HPLC chromatograms of fresh and dried fingerroot of sample 4
Figure 4 HPLC chromatograms of fresh and dried galangal of sample 11
Figure 5 HPLC chromatograms of fresh and dried fingerroot of sample 5
Figure 6 HPLC chromatograms of fresh and dried galangal of sample 12
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
817
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Figure 7 HPLC chromatograms of fresh and dried fingerroot of sample 6
Figure 8 HPLC chromatograms of fresh and dried galangal of sample 13
Figure 9 HPLC chromatograms of fresh and dried fingerroot of sample 7
Figure 10 HPLC chromatograms of fresh and dried galangal of sample 14
2.2 ศึกษาผลกระทบจากแหล่ งปลูกพืช จากลักษณะของโครมาโตแกรมที่ได้ จากแหล่งปลูกที่แตกต่างกัน 5 แหล่ง โดยเก็บในฤดูกาลเดียวกัน (ฤดูร้อน) และใช้ สารสกัดจากการเตรี ยมด้ วยตัวอย่างแห้ ง (Figure 11, 12) แสดงลักษณะของแบบแผนของสัญญาณที่คล้ ายคลึงกันในพืชชนิด เดียวกันที่เก็บมาจากแหล่งปลูกที่แตกต่างกัน แต่หากพิจารณาในด้ านปริ มาณของสารที่มี retention time สอดคล้ องกันจะ สังเกตเห็นว่า ตัวอย่างที่ เก็บมาจากจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีปริ มาณสารองค์ประกอบเคมีมากกว่าตัวอย่างอื่นที่เก็บมาจากจังหวัด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยในโครมาโตแกรมของหัวกระชายจะเห็นได้ วา่ พื ้นที่ใต้ สญ ั ญาณของสัญญาณในช่วงนาทีที่ 4-7 และ 26-32 จากหัวกระชายที่เก็บจากแม่ฮ่องสอนมีมากกว่าในระดับที่ สงั เกตเห็นได้ แต่ก็ไม่ได้ แตกต่างกันอย่างชัดเจน (Figure 11) ในส่วนของเหง้ าข่าพบว่าพื ้นที่ใต้ สญ ั ญาณของสัญญาณที่ได้ จากตัวอย่างที่เก็บจากจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีมากกว่าของ จังหวัดอื่นๆ เล็กน้ อยในช่วงนาทีที่ 2-4 แต่มีความแตกต่างชัดเจนในสัญญาณที่ช่วง 5.5-6.5 นาที และ 13 นาที (figure 12)
818
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Mae Hong Sorn
UbonRatchathani RoiEt
Loei
KhonKaen
Figure 11 HPLC chromatograms of fingerroot collected from different locations (sample 1, 4-7)
Mae Hong Sorn UbonRatchathani RoiEt Loei KhonKaen
Figure 12 HPLC chromatograms of galangal collected from different locations (sample 8, 11-14)
2.3 ศึกษาผลกระทบจากฤดูกาลเก็บเกี่ยวพืช จากลักษณะของโครมาโตแกรมที่ไ ด้ จากสารสกัดที่มาจากตัวอย่างพื ชที่เก็บจากจังหวัดเดียวกันและเตรี ยมจาก ตัวอย่างแห้ งเช่นเดียวกัน แต่เก็บเกี่ยวในฤดูกาลที่แตกต่างกัน คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว (Figure 13, 14) พบว่าลักษณะ แบบแผนของสัญญาณจากเหง้ าข่ามีความใกล้ เคียงกันแม้ ว่าจะเก็บเกี่ยวในฤดูกาลที่แตกต่างกันและเป็ นที่น่าสังเกตว่าปริ มาณ สารที่ได้ จากเหง้ าข่าที่เก็บเกี่ยวในฤดูร้อนมีปริ มาณสารองค์ประกอบเคมีสงู กว่าฤดูกาลอื่นโดยเฉพาะสารที่ถกู ชะออกมาในนาที ที่ 13 (Figure 13) ส่วนโครมาโตแกรมที่ได้ จากหัวกระชาย พบว่ามีแบบแผนที่สอดคล้ องกันระหว่างฤดูกาล แต่สารองค์ประกอบ เคมีในหัวกระชายที่เก็บในฤดูฝนที่มีขวสู ั ้ งมีปริ มาณที่สงู กว่าที่เก็บเกี่ยวจากฤดูกาลอื่น (Figure 14; ช่วงนาทีที่ 2-7) หาก พิจารณาสารองค์ประกอบเคมีที่มีขวต ั ้ ่าลงมาจะเห็นได้ ว่าสารสกัดที่ได้ จากการเก็บเกี่ยวในฤดูร้อนจะมีปริ มาณมากกว่าฤดูกาล อื่น (Figure 14; นาทีที่ 8-11, 15 และ 25-30) ซึง่ สอดคล้ องกับหลักการเก็บสมุนไพรที่เป็ นส่วนรากหรื อลาต้ นใต้ ดินที่ควรเก็บ เกี่ยวในช่วงฤดูร้อน (กองประกอบโรคศิลปะ กระทรวงสาธารณสุข, 2543) ซึง่ น่าจะมีผลมาจากการที่พืชสะสมสารองค์ประกอบ เคมีไว้ ในส่วนดังกล่าวเพื่อที่จะใช้ สาหรับกิจกรรมของพืชเมื่อเข้ าสู่ฤดูฝน โดยเฉพาะกระชายที่ส่วนเหนือดินจะเหี่ยวเฉาตายไป ในช่วงฤดูร้อนเพื่อลดการสูญเสียน ้า เหลือไว้ แต่สว่ นลาต้ นใต้ ดินที่พร้ อมจะแตกใบใหม่เมื่อได้ รับน ้าในฤดูฝน
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
819
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Figure 13 HPLC chromatograms of fingerroot collected in different season (sample 1-3)
Figure 14 HPLC chromatograms of galangal collected in different seasons (sample 8-10)
3. ผลการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และการทดสอบหาปริมาณสารฟี นอลิก เมื่อนาสารสกัดหัวกระชายที่เก็บจากจังหวัดขอนแก่นในฤดูร้อนมาทดสอบหาฤทธิ์ ต้านอนุมลู อิสระพบว่าฤทธิ์ ต้าน อนุมลู อิสระที่ทดสอบโดยวิธี DPPH radical scavenging assay มีค่า IC50=177.89±0.27 µg/ml และ มีค่า FRAP values = 4.596±0.15 mg/g crude extract เมื่อทดสอบด้ วยวิธี FRAP assay ซึง่ ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระจากสารสกัดหัวกระชายที่ได้ จาก การศึกษาในครัง้ นี ้น้ อยกว่าที่เคยมีการศึกษาโดย ธนศักดิ์ แซ่เลี่ยว และคณะ (2552) พบว่าสารสกัดหัวกระชายมีค่า IC50 = 65.17±4.62 µg/ml ในการทดสอบด้ วยวิธี DPPH assay ส่วนสารสกัดจากเหง้ าข่าที่เก็บจากจังหวัดเดียวกันและในฤดูเดียวกัน มีฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระน้ อยกว่าหัวกระชายโดยมีค่า IC50=198.09±0.49 µg/ml และมีค่า FRAP values =3.612±0.13 mg/g crude extract ซึง่ ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระที่ได้ จากวิธี DPPH assay ต่ากว่าผลการศึกษา ของ Mahae และ Chaiseri (2009) โดย ทดสอบได้ ค่า IC50=100.50 µg/ml นอกจากนี ้เมื่อทาการทดสอบหาปริ มาณสาร ฟี นอลิกรวม (Total phenolic content) พบว่าสารสกัดจากหัวกระชายมีปริ มาณสารกลุม่ ฟี นอลิกมากกว่าสารสกัดจากเหง้ าข่า (86.17±0.92 µg/mg และ 53.47±0.45 µg/mg) แสดงให้ เห็น ความสัมพันธ์ ระหว่างปริ มาณของสารประกอบกลุ่มฟี นอลิก และฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระ โดย ฤทธิ์ ต้าน อนุมลู อิสระของสารสกัดจากหัวกระชายและเหง้ าข่าแปรผันตรงกับปริ มาณสารประกอบกลุม่ ฟี นอลิกที่พบ และสารสกัดจากหัว กระชายมีฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระสูงกว่าสารสกัดจากเหง้ าข่า 820
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Table 2 Results of Antioxidant activities and Total phenolic content FRAP Sample TEAC*(mg/g crude extract) 177.89±0.27 4.596±0.15 Fingerroot 198.09±0.49 3.612±0.13 Galangal 25.72±0.41 Trolox® * Trolox equivalent antioxidant capacity DPPH IC50(µg/ml)
Total Phenolic Content(µgGAE/mg) 86.17±0.92 53.47±0.45 -
สรุ ปผลการทดลอง สารสกัด 95% ethanol ของหัวกระชาย และเหง้ าข่า มีลกั ษณะองค์กอบทางเคมีที่ไม่แตกต่างกัน จากการศึกษาถึง ลักษณะของการเตรี ยมตัวอย่าง จากปั จจัยด้ านสภาพภูมิประเทศและแหล่งปลูกที่ต่างกัน พบว่า ตัวอย่างที่เก็บจากแหล่งต่างๆ มีสารสาคัญและองค์ประกอบทางเคมี คล้ ายกัน แต่ตวั อย่างที่เก็บจากจังหวัดแม่ฮ่องสอนมีปริ มาณมากกว่าที่เก็บจากขอนแก่น เลย ร้ อยเอ็ด และอุบลราชธานีเนื่อง นอกจากนี ้ยังพบว่าฤดูกาลเก็บเกี่ยวมีผลอย่างยิ่งต่อปริ มาณของสารที่เป็ นองค์ประกอบ ทางเคมีในกระชายและข่า จากการศึกษาพบว่ากระชายและข่าที่เก็บในฤดูร้อนจะให้ ปริ มาณสารที่มากกว่าฤดูอื่น ผลการ ทดลองที่ได้ จากการศึกษาในครัง้ นีช้ ่วยชี ้ให้ เห็นปั จจัยที่เกี่ยวข้ องในการเก็บกระชายและข่า ให้ มีปริ มาณสารสาคัญสูงและเป็ น วัตถุดิบที่มีคณ ุ ภาพ จากการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระและปริ มาณสารกลุม่ ฟี นอลิก พบว่าสารสกัด 95% ethanol ของกระชายมีฤทธิ์ ต้ านอนุมูลอิส ระและปริ มาณสารกลุ่มฟี นอลิกมากกว่า การศึกษาในข่ า แสดงว่าปริ มาณของสารประกอบกลุ่มฟี นอลิก มี ความสัมพันธ์กบั ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระ ดังนันการศึ ้ กษาในครัง้ นี ้สามารถส่งเสริมสนับสนุนการใช้ กระชายในการดูแลและส่งเสริ ม สุขภาพและลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคเรื อ้ รังต่างๆ อย่างไรก็ตาม มีฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระและปริ มาณสารกลุม่ ฟี นอลิกของข่า ที่ได้ จากการศึกษาในครัง้ นี ้ก็ยงั มีคา่ ที่ดีกว่าพืชที่มีการศึกษามาแล้ วหลายชนิด
เอกสารอ้ างอิง กองประกอบโรคศิลปะ กระทรวงสาธารณสุข. 2543. ตาราแพทย์แผนโบราณทัว่ ไป สาขาเภสัชกรรมไทย เล่ม 2. กรุงเทพ. :277 น. นิรมล สิงห์ทองรัตน์ จิรดา สิงขรรัตน สุมณฑา วัฒนสินธ. 2556. ผลของฤดูการเก็บเกี่ยวต่อลักษณะรูปแบบทางเคมีของสารสาคัญในใบพลู. Thai Journal of Science and Technology. 2: 192-199. รังสรรค์ ชุณหวรากรณ์ . 2545. การเก็บเกี่ยวสมุนไพร จัดรูปผลผลิตเพื่อการพืชจาหน่ายและการกาหนดราคา. แหล่งที่มา http://www.angelfire.com/ri2/rangsan/keep_hook.html., สืบค้ นเมื่อ 19 สิงหาคม 2558. ธนศักดิ์ แซ่เลี่ยว ศศิธร จันทนวรางกูร วรรณี จิรภาคย์กลุ . 2552. ผลของตัวทาละลายต่อปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกและความสามารถต้ าน ออกซิเดชันของกระชายเหลือง (Boesenbergia pandurata). วารสารเกษตรพระจอมเกล้ า. พิเศษ: 1-8. Benzie, I.F.F. and Strain, J.J. 1996. The Ferric Reducing Ability of Plasma (FRAP) as a Measure of “Antioxidant Power”: The FRAP assay. Anal Biochem 239: 70-76. Chew, Y.L., Y.Y. Lim, M. Omar and K.S. Khoo. 2008. Antioxidant Activity of Three Edible Seaweeds from Two Areas in South East Asia. Journal of Food Science and Technology. 41(6): 1067-1072. Halliwell, B., 1997. Antioxidants and human diseases: a general introduction. Nutr Rev. 55: 44-52. Mahae, N., Chaiseri, S. 2009. Antioxidant Activities and Antioxidative Components in Extracts of Alpinia galanga(L.). Kasetsart J. (Nat. Sci.) 43: 358-369. Singelton, V., R., Orthifer, R.,Lamuela-Raventos, R., M. 1999. Analysis of total phenols andother oxidation substrates and antioxidants by means of Folin-Ciocalteu reagent Methods in Enzymology. 299: 152-178. Tao, L., Wang, Z.T., Zhu, E.Y., Lu, Y.H., Wei, D.Z. 2006. HPLC analysis of bioactive flavonoids from the rhizome of Alpiniaofficinarum. South African J of Botany. 72: 163-166. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
821
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Yusuf, N.A., Annuar, M.S.M., Khalid, N. 2013. Existence of Bioactive Flavonoids in Rhizomes and Plant Cell Cultures of Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. Kulturpfl. AJCS. 7(6): 730-734. Yamazaki, K., Hashimoto, A., Kokusenya, Y., Miyamoto, T., and Sato, T. 1994. Electrochemical Method for Estimating the Antioxidative Effect of Methanol Extracts of Crude Drugs. Chem. Pharm. Bull. 42(8): 1663-1665.
822
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ผลของเชือ้ ราอาบัสคูล่า ไมคอไรซ่ าในการเพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตของมะเขือเทศสีดา Arbuscular Mycorrhizal Fungi Promote Growth and Yield of Seeda Tomato (Solanum lycopersicum L.) สิริพร สิริชัยเวชกุล1 และนิจพร ณ พัทลุง2 Siriporn Sirichaiwetchakul1 and Nidchaporn Nabhadalung2
บทคัดย่ อ ทาการศึกษาผลของเชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่าจานวน 4 ชนิด คือ Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2, Glomus sp. no 3 และ Acaulospora sp. ต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของมะเขือเทศสีดา เปรี ยบเทียบกับการไม่ใส่เชื ้อรา วางแผนการ ทดลองแบบ CRD จานวน 5 วิธีการทดลอง 3 ซ ้า ได้ แก่ (1) ไม่ใส่เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่า (2) ใส่เชื ้อรา Glomus sp. no 1 (3) ใส่เชื ้อรา Glomus sp. no 2 (4) ใส่เชื ้อรา Glomus sp. no 3 (5) ใส่เชื ้อรา Acaulospora sp. พบว่าการใช้ เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่าชนิดต่างๆ มีผลต่อการเจริ ญเติบโตอย่างมีนัยสาคัญ (p<0.05) และมีผลต่อผลผลิตของมะเขื อเทศสีดาอย่างมี นัยสาคัญยิ่ง (p<0.01) โดยการใส่ Glomus sp. no 3 จะทาให้ มะเขือเทศสีดามีความสูงมากที่สดุ (p<0.05) และการใส่ Glomus sp. no 1 จะทาให้ จานวนผลต่อต้ นมากที่สดุ (p<0.01) ขณะที่ Glomus sp. no 2 จะทาให้ มะเขือเทศมีจานวนผลผลิต ต่อต้ นมากที่สดุ (p<0.01) อย่างไรก็ตามการใส่เชื ้อรา Acaulospora sp. นัน้ ไม่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของมะเขือ เทศสีดา (p>0.05) เมื่อเปรี ยบเทียบกับการไม่ใส่เชื ้อรา ซึ่งเชื ้อราที่มีความสามารถในการเข้ าอยู่อาศัยในรากมะเขือเทศสีดา และผลิตสปอร์ ได้ มากที่สดุ คือ Glomus sp. no 3, Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2 และ Acaulospora sp. ตามลาดับ จากผลการศึกษาสรุปได้ ว่า Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2 และ Glomus sp. no 3 เป็ นเชื ้อราที่สง่ ผลดีต่อมะเขือเทศสี ดาในด้ านการเจริญเติบโตและการให้ ผลผลิตซึง่ อาจพัฒนาสาหรับการนาไปใช้ เพื่อเป็ นหัวเชื ้อปุ๋ ยชีวภาพสาหรับมะเขือเทศสีดา ต่อไป คาสาคัญ : เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่า, มะเขือเทศสีดา, ปุ๋ ยชีวภาพ, Solanum lycopersicum L.
Abstract Study on four species of arbuscular mycorrhizal fungi, Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2, Glomus sp. no 3 and Acaulospora sp., to promote growth and yield of Seeda tomato comparing with no inoculation of arbuscular mycorrhizal fungi was conducted. The experiment design was CRD with five treatments and three replications namely 1) non inoculated 2) inoculated with Glomus sp. no 1 3) inoculated Glomus sp. no 2 4) inoculated Glomus sp. no 3 and 5) inoculated Acaulospora sp. The result showed that arbuscular mycorrhizal fungi promoted growth (p<0.05) and yield (p<0.01) of Seeda tomata. Inoculation with Glomus sp. no. 3 showed highest for height of Seeda tomato (p<0.05) and inoculation with Glomus sp. no 1 showed highest for number of fruit per plant (p<0.05). The highest total yield of Seeda tomato (p<0.01) was shown when inoculation with Glomus sp. no 2. However inoculation with Acaulospora sp. showed no promotion on growth and yield of Seeda tomato (p>0.05) comparing with no inoculation of arbuscular mycorrhizal fungi. The AM colonization in Seeda tomato root and number of AM fungal spore in soil was highest when inoculation with Glomus sp. no 3 following by Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2 and Acaulospora sp., respectively. In conclusion, Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2 and Glomus sp. no 3 could promote the growth and yield of Seeda tomato, indicated that they might be used as biofertilizer for Seeda tomato. Keywords : Arbuscular mycorrhizal fungi, Seeda tomato, Biofertilizer, Solanum lycopersicum L
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
823
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
คานา เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่าเป็ นจุลินทรี ย์ที่ดารงชีวิ ตแบบพึง่ พาอาศัย (symbiosis) ร่วมกับรากพืชซึง่ สามารถพบได้ ทัว่ ไป โดยเส้ นใยของเชื ้อราที่อยู่ภายนอกรากพืชนันจะท ้ าหน้ าที่เหมือนรากฝอยของพืชช่วยดูดซับธาตุอาหารต่างๆ โดยเฉพาะ ธาตุอ าหารเคลื่ อ นที่ ไ ด้ ย ากในดิ น เช่ น ฟอสฟอรั ส สัง กะสี และทองแดง และส่ง ผ่ า นธาตุอ าหารดัง กล่ า วไปสู่พื ช ต่ า งๆ (Marschner and Dell, 1994) เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่ามีความสามารถในการเข้ าอยู่อาศัยและช่วยส่งเสริ มการเจริ ญเติบโต ให้ แก่พืชต่างๆ ทังพื ้ ชไร่ ไม้ ผล ไม้ ดอกมากมายหลายชนิด เช่น ข้ าว (นิจพรและพินิจนันท์, 2555) อ้ อย (เมธาวีการณ์ และ โสภณ, 2554) ถัว่ ลิสง (ปั ทมา, 2539) ข้ าวโพด (Na Bhadalung et al., 2005) หญ้ าแฝกหอม (ภัทรวดี, 2543) ทานตะวัน (อรจิ รา, 2546) ไม้ ยืนต้ นอื่นๆ เช่น ลาไย (นงลักษณ์ และ จีราภรณ์, 2556) และไม้ ปลูกป่ าต่างๆหลายชนิด (MacDicken, 1993) นอกจากนี ้เชื ้อราอาบัสคูล่า ไมคอไรซ่า ยังช่วยส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตของพืชในด้ านอื่นๆ เช่น การช่วยให้ พืชมีความต้ านทาน โรคต่างๆ เช่นโรคราน ้าค้ าง (ธีรภัทรและวิพรพรรณ, 2555) สามารถยับยังเชื ้ ้อราก่อโรค Phytophthora (นันทิดา, 2553) เพิ่ม ความต้ านทานโรครากเน่าของกล้ าส้ ม (สมจิตร และ เบญจวรรณ, 2556) ช่วยให้ พืชสามารถเจริ ญเติบโตในสภาพที่มีเกลือสูง (salt stress) (Hashem et al., 2015) ช่วยให้ พืชทนแล้ ง (Augé, 2001; Qiangsheng, 2006) ช่วยให้ พืชสามารถเจริ ญเติบโต ในสภาพที่มีสารโลหะหนัก (Harley and Smith, 1983) (Bothe et al., 2010; Upadhyaya et al., 2010; ปั จจุบนั มีการนาเชื ้อ ราอาบัสคูล่า ไมคอไรซ่ามาใช้ ในการปลูกพืชเพื่อช่วยเพิ่มการดูดซับธาตุอาหารจากดินและลดการใช้ ปยเคมี ุ๋ (พักตร์ เพ็ญและ วิศณี ย์, 2556) ในดินลูกรั งซึ่งไม่เหมาะต่อการเจริ ญเติบโตของพืชการใส่ เชื อ้ ราอาบัสคูล่า ไมคอไรซ่ามี แนวโน้ มทาให้ การ เจริ ญเติบโตและผลผลิตของข้ าวโพดฝั กอ่อนเพิ่มมากขึ ้น (Khundaram and Nabhadalung, 2012) มะเขือเทศ (Solanum lycopersicum L.) เป็ นพืชผักที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจมีประโยชน์ และคุณค่าทางโภชนาการ สามารถนาไปประกอบ อาหารได้ หลายชนิด มีสรรพคุณทางยาค่อนข้ างสูง ช่วยป้องกันการแข็งตัวของหลอดเลือด และโรคหัวใจ (Pauling, 1992) มี ฤทธิ์ขบั ปั สสาวะจึงสามารถแก้ อาการความดันโลหิตสูง มะเขือเทศมีวิตามินเอจึงสามารถรักษาโรคตาได้ (Elizabeth, 2002) อีก ทังมี ้ วิตามินซีมาก จึงทาให้ สามารถป้องกันและรักษาโรคลักปิ ดลักเปิ ด (Fonorow, 2006) นอกจากนี ้มะเขือเทศมีสารไลโคพีน (lycopene) ซึง่ เป็ นสารที่มีคณ ุ สมบัติในการเป็ นแอนตี ้ออกซิแดนท์ ซึง่ มีกลไกการออกฤทธิ์ที่สาคัญ คือ เข้ าไปจับกับอนุมลู อิสระ (Free radical) ยับยังการเกิ ้ ดออกซิเดชัน่ ของไขมันชนิด Low density lipoprotein (LDL) ทาให้ ลดระดับของคอเรสเตอรอล จึง สามารถป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดแข็งตัว (Atherosclerosis) (Blum et al., 2005) คนไทยคุ้นเคยกับการรับประทาน มะเขือเทศสีดา ที่มีผลเล็ก สีชมพู มานานโดยนาไปใช้ ปรุ งรส และกลิ่นของอาหารหลายชนิด เช่น ส้ มตา ซุปเนื ้อ ซุปไก่ น ้าพริ ก อ่อง ผัดเปรี ย้ วหวาน เป็ นต้ น เนื่องจากมะเขือเทศสีดาได้ รับนิยมในการบริ โภคตลอดทังปี ้ การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของ มะเขือเทศสีดา ควรมีความสอดคล้ องกับปริมาณความต้ องการในการบริโภคโดยเฉพาะอย่างยิ่งมะเขือเทศปลอดสารพิษซึง่ เป็ น ที่นิยมบริ โภคในกลุม่ ผู้รักสุขภาพ ดังนันเพื ้ ่อเป็ นการตอบสนองผู้บริ โภค และเพิ่มอัตราการผลิตต่อต้ นให้ สงู ขึ ้น การนาเชื ้อราอา บัสคูล่า ไมคอไรซ่าชนิดต่างๆ มาใช้ เป็ นปุ๋ ยชีวภาพเพื่อให้ ทราบถึงความสามารถในการเจริ ญเติบโตและการเพิ่มผลผลิตของ มะเขือเทศสีดาจึงเป็ นอีกแนวทางเลือกที่น่าสนใจ
อุปกรณ์ และวิธีการศึกษา การศึกษาเชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่าต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตของมะเขือเทศสีดา ณ ศูนย์ฝึกอบรมและวิจยั การเกษตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ตาบลชัยมงคล อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ในระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2557 ถึงเดือนมีนาคม 2558 โดยวางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (Completely Randomized Design, CRD) ประกอบด้ วย 5 วิธีการทดลอง 3 ซ ้า ได้ แก่ ชุดการทดลองควบคุมการใส่เชื ้อรา Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2, Glomus sp. no 3 และ Acaulospora sp. นาเมล็ดพันธุ์ลกู ผสมมะเขือเทศสีดา ล้ างฆ่าเชื ้อที่ผิวหน้ าของเมล็ดด้ วยแอลกอฮอล์ 70 เปอร์ เซ็นต์ นาน 5 นาที ล้ างด้ วยน ้ากลัน่ 4 ครัง้ นาเมล็ดมาเพาะลงในพีทมอสที่ผ่านการอบฆ่าเชื ้อแล้ ว และนาดินหัวเชื ้อที่มี สปอร์ ของเชื ้อราอาบัสคูลาร์ ไมคอร์ ไรซาจานวน 50-100 สปอร์ ตอ่ ต้ น กลบเมล็ดด้ วยพีทมอสที่อบฆ่าเชื ้อ เมื่อกล้ ามะเขือเทศ อายุ 30-35 วัน ย้ ายลงในกระถางพลาสติกดาขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 12 นิ ้ว ให้ น ้าเช้ า-เย็นและทาการย้ อมสีรากเพื่อดู โครงสร้ างเวสสิเคิล (vesicle) และอาบัสคูล (arbuscule) และทาการตรวจนับเปอร์ เซ็นต์การเข้ าอาศัยอยู่ของเชื ้อราในราก มะเขือเทศสีดา โดยวิธีของ Phillip and Hayman (1970) และ Trouvelet’s method (1985) ทาการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT) ของความสูงของลาต้ น เส้ นรอบลา ต้ น จานวนช่อดอกต่อต้ น จานวนดอกต่อต้ น จานวนผลต่อต้ น น ้าหนักต่อผล น ้าหนักผลต่อต้ น น ้าหนักสดต้ น น ้าหนักแห้ งต้ น 824
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
น ้าหนักสดราก น ้าหนักแห้ งราก จานวนอาบัสคูลและเวสสิเคิลของเชื ้อราที่อาศัยอยูใ่ นราก และจานวนสปอร์ ของเชื ้อราต่อดิน 1 กรัม
ผลการทดลองและวิจารณ์ จากผลการทดลอง พบว่าเมื่อใส่เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่า ชนิดต่างๆ จะทาให้ มะเขือเทศสีดามีความสูงเพิ่มมากขึ ้น อย่างมีนยั สาคัญ (p< 0.05) เมื่อมะเขือเทศสีดาอายุ 62 วัน โดย Glomus sp. no.3, Glomus sp. no.1 และ Glomus sp. no.2 จะให้ คา่ เฉลี่ยความสูงของมะเขือเทศสีดา ดังนี ้ 42.58, 41.65 และ 40.45 เซนติเมตร ตามลาดับ ส่วนการใส่เชื ้อรา Acualospora sp.จะให้ ความสูงต่อต้ นไม่แตกต่างจากการไม่ใส่เชื ้อรา (Control) เมื่อมะเขือเทศสีดาอายุ 56 วัน การใส่เชื ้อรา Acualospora sp. จะทาให้ มีขนาดเส้ นรอบวงของลาต้ นเล็กที่สดุ อย่างมีนยั สาคัญ (p<0.05) โดยการใส่ Glomus sp. no.1 มี แนวโน้ มจะทาให้ มะเขือเทศสีดามีเส้ นรอบวงของลาต้ นมากที่สดุ ซึง่ ไม่แตกต่างกับการไม่ใส่เชื ้อรา (Table 1) เมื่อมะเขือเทศสีดา อายุ 85 วัน การใส่เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่า ชนิดต่างๆ ไม่มีผลต่อจานวนช่อดอกต่อต้ น (p>0.05) และจานวนดอกต่อต้ น อย่างมีนยั สาคัญ (p>0.05) โดยการใส่ Glomus sp. no.1 มีแนวโน้ มจะทาให้ มะเขือเทศสีดามีจานวนช่อดอกต่อต้ นและจานวน ดอกต่อต้ นมากที่สดุ (Table 2) แม้ วา่ การใส่เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่า ชนิดต่างๆ ไม่มีผลต่อน ้าหนักสดต้ น น ้าหนักแห้ งต้ น น ้าหนักสดราก น ้าหนักแห้ งรากอย่างมีนยั สาคัญ (p>0.05) แต่การใส่ Glomus sp. no.3 จะทาให้ มะเขือเทศสีดามีน ้าหนักสด ต้ น น ้าหนักแห้ งต้ น น ้าหนักสดราก น ้าหนักแห้ งรากมากที่สดุ รองลงมา ได้ แก่ การใส่ Glomus sp. no.1, Glomus sp. no.2 และ Acualospora sp. ตามลาดับ (Table 3) การใส่เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่า ชนิดต่างๆ มีผลทาให้ จานวนผลต่อต้ นและ ผลผลิตต่อต้ นของมะเขือเทศสีดาเพิ่มขึ ้นอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง (p<0.01) โดยการใส่เชื ้อรา Glomus sp. no.1 จะทาให้ ได้ จานวน ผลต่อต้ นมากที่สดุ รองลงมาคือ Glomus sp. no.3 และ Glomus sp. no.2 และการใส่เชื ้อรา Acualospora sp.ทาให้ มีจานวน ผลต่อต้ นน้ อยที่สดุ (p<0.01) โดยไม่มีความแตกต่างจากการไม่ใส่เชื ้อรา (p>0.05) และการใส่เชื ้อรา Glomus sp. no.2 จะทา ให้ ได้ จานวนผลต่อต้ นมากที่สดุ (p<0.01) รองลงมาคือ Glomus sp. no.1 และ Glomus sp. no.3 (Table 4) เปอร์ เซ็นต์การ เข้ าอยูอ่ าศัยของเชื ้อราในรากมะเขือเทศสีดาเมื่ออายุ 120 วัน มีเปอร์ เซ็นต์ระหว่าง 8-22% และมีจานวนสปอร์ ระหว่าง 7.25-21 สปอร์ ตอ่ ดิน 1 กรัม โดยการเข้ าอยูอ่ าศัยในรากมะเขือเทศของเชื ้อรา Glomus sp. no.2, Glomus sp. no.1 และ Glomus sp. no.3 แตกต่างกับ Acualospora sp. (p<0.01) ขณะที่จานวนสปอร์ ตอ่ ดิน 1 กรัมของไม่แตกต่างกัน (p> 0.05) โดยเชื ้อราที่มี ความสามารถในการเข้ าอยูอ่ าศัยในรากมะเขือเทศสีดาและผลิตสปอร์ มากที่สดุ คือ Glomus sp. no.3 รองลงมาคือ Glomus sp. no.1 ส่วน Glomus sp.no.2 มีความสามารถเข้ าอยูอ่ าศัยมากกว่าแต่ผลิตสปอร์ น้อยกว่า Acualospora sp. (Table 5) จากผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่าการใส่เชื ้อราอาบัสคูล่า ไมคอไรซ่าสามารถส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของมะเขือ เทศสีดาได้ ดีกว่าการไม่ใส่เชื ้อราและเชื ้อราต่างชนิดกันก็มีความสามารถในการส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของมะเขือ เทศสีดาได้ แตกต่างกันโดย Glomus genera จะส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของมะเขือเทศสีดาได้ ดีกว่า genera อื่นๆ จากการศึกษาวิจยั เกี่ยวกับการเข้ าอาศัยอยู่ของเชื ้อราอาบัสคูล่าไมคอไรซ่ากับ รากมะเขือเทศ พบว่าเชื ้อราไมคอไรซ่าสามารถ ทาให้ น ้าหนักแห้ งของยอดมะเขือเทศเพิ่มขึ ้นถึง 243 เปอร์ เซ็นต์ (Sylvia et al., 2001) น ้าหนักแห้ งยอดและราก จานวนดอก ผลผลิต และปรับปรุ งคุณภาพผลของมะเขือเทศเพิ่มขึ ้น (Copetta et al., 2011) Tahat et al. (2008) พบว่า Glomus mosseae สามารถส่งเสริ มให้ มะเขือเทศมีการเจริ ญเติบโตของส่วนเหนือดินและราก จานวนดอก จานวนราก ขนาดของราก การแตกแขนงของราก ตลอดจนโครงสร้ างทางกายวิภาค และความยาวของรากของมะเขือเทศสีดาเพิ่มมากขึ ้น Salvioli et al. (2008) รายงานว่าเชื ้อรา Glomus mosseae ช่วยเพิม่ พัฒนาการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตและทาให้ มีระยะเวลาการผลิตให้ ยาวนานขึ ้น สิริพร (2554) ศึกษาผลของเชื ้อราอาบัสคูล่า ไมคอไรซ่าจานวน 7 สายพันธุ์ ที่สามารถส่งเสริ มการเจริ ญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพผลของมะเขื อเทศสีดา คือ Glomus sp.1, Glomus sp.2, Glomus sp.3, Glomus mosseae, Acaulospora sp.1, Entrophospora schenkii, Scutellospora fulgida และไม่ใส่เชื ้อรา พบว่าเชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่าทัง้ 7 สายพันธุ์สามารถเข้ าอยู่อาศัยในรากมะเขือเทศสีดาและการใส่เชื ้อรา G. mosseae ทาให้ มะเขือเทศสีดามีผลผลิตและ คุณภาพผลสูงที่สดุ ให้ น ้าหนักผล 21.36 กรัมต่อผล เส้ นผ่านศูนย์กลางผล 31.53 มิลลิเมตรต่อผล ผลผลิตรวม 248 กรัมต่อต้ น เช่นเดียวกันกับ Rizvi et al. (2015) พบว่าการใช้ เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่าต่างชนิดกัน มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของมะเขือ เทศ สายพันธุ์ Pusa Ruby แตกต่างกันไป โดย Glomus mosseae มีผลต่อการเจริ ญเติบโต การเข้ าอยู่อาศัยในรากมะเขือเทศ จานวนสปอร์ ตอ่ ดิน 100 กรัม และปริมาณฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในมะเขือเทศมากที่สดุ รองลงมาคือ G. constrictum, G. fasciculatum, G. aggregatum, Acaulospora scrobiculata และ Gigaspora gigantean ตามลาดับ
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
825
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Table1 Height and circumference of Seeda tomato at 56 DAP and 62 DAP AMF inoculation
Seeda tomato Seeda tomato Seeda tomato Seeda tomato height height circumference circumference at 56 DAP (cm) at 62 DAP (cm) at 56 DAP (cm) at 62 DAP (cm) 2.24 a 2.70 Control 28.33 38.82 c 2.38 a 2.74 Glomus sp. no.1 28.67 41.65 ab 2.27 a 2.52 Glomus sp. no.2 29.07 40.45 abc 2.24 a 2.59 Glomus sp. no.3 29.73 42.58 a 1.85 b 2.63 Acaulospora sp. 28.32 40.01 bc ** ns F-test ns * 6.64 4.65 C.V. (%) 5.73 3.86 In a column, means followed by a different letter are significantly different by DMRT0.05 Table 2 Number of inflorescences per plant and number of flower per plant of Seeda tomato at 85 DAP AMF inoculation Control Glomus sp. no.1 Glomus sp. no.2 Glomus sp. no.3 Acaulospora sp. F-test C.V. (%)
Number of inflorescences per plant 8.17 11.00 8.92 10.17 9.67 ns 17.99
Number of Flower per plant 45.00 61.75 45.58 53.50 51.08 ns 19.99
Table 3 Shoot fresh weight, shoot dry matter weight, root fresh weight and root dry matter weight of Seeda tomato at 120 DAP AMF inoculation Control Glomus sp. no.1 Glomus sp. no.2 Glomus sp. no.3 Acaulospora sp. F-test c.v. (%)
826
Shoot fresh weight (g) 68.73 82.86 69.67 79.55 62.42 ns 16.23
Shoot dry matter weight (g) 14.68 14.94 12.79 17.11 11.29 ns 22.09
Root fresh weight (g) 12.59 13.98 13.21 15.36 10.41 ns 26.90
Root dry matter weight (g) 2.07 5.52 2.47 2.88 1.98 ns 19.14
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Table 4 Fruit number, weight per fruit and Yield per plant of Seeda tomato plant at 120 DAP AMF inoculation
Fruit number of Weight per fruit of Yield per plant of Seeda tomato Seeda tomato (g) Seeda tomato (g) Control 16.00 ab 12.75 201.39 b Glomus sp. no.1 19.67 a 13.40 262.94 a Glomus sp. no.2 18.58 a 14.60 264.28 a Glomus sp. no.3 18.92 a 12.13 229.56 ab Acaulospora sp. 14.92 b 13.46 199.18 b F-test ** ns ** C.V. (%) 9.35 11.41 11.25 In a column, means followed by a different letter are significantly different by DMRT0.05. Table 5 AMF colonizing in Seeda tomato roots and AMF spore g-1 soil at 120 DAP AMF inoculation AMF colonization (%) AMF spore g-1 soil Control 0.0 b 0.00 b 18.0 a Glomus sp. no.1 11.41 a 14.0 a Glomus sp. no.2 7.25 a 22.0 a Glomus sp. no.3 21.00 a Acaulospora sp. 8.0 b 9.78 a F-test ** * c.v. (%) 54.52 76.43 In a column, means followed by a different letter are significantly different by DMRT0.05.
สรุ ปผลการทดลอง จากผลการศึกษาการใส่เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่า จานวน 4 สายพันธุ์ คือ Glomus sp. no.1, Glomus sp. no.2, Glomus sp. no.3, และ Acualospora sp. เปรี ยบเทียบกับการไม่ใส่เชื ้อราสามารถตรวจพบการเข้ าอาศัยของเชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่า(AFM) ในรากของมะเขือเทศสีดาได้ การใส่เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่าสามารถส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตและผลผลิต ได้ ดีกว่าการไม่ใส่เชื ้อรา และการเจริ ญเติบโตของต้ นมะเขือเทศสีดาที่ปลูกร่วมกับเชื ้อรา Glomus sp. no.1, Glomus sp. no.2, Glomus sp. no.3 มีการเจริ ญเพิ่มขึ ้นทังด้ ้ านความสูงของต้ น เส้ นรอบวงของลาต้ น จานวนผลต่อต้ น ผลผลิตต่อต้ น เปอร์ เซ็นต์ การเข้ าอยูอ่ าศัยในราก และจานวนสปอร์ ในดินปลูกมะเขือเทศสีดาสูงสุด ทังนี ้ ้เนื่ องจากเชื ้อราไมคอไรซ่าอยู่ร่วมกับรากพืชแบบ พึ่งพาอาศัย อีกทังส่ ้ งเสริ มให้ พืชมีอตั ราการสังเคราะห์แสงที่สงู กว่าพืชที่ ไม่มีการใส่เชื ้อราซึ่งเชื ้อไมคอไรซ่าแต่ละชนิดมีผลต่อ การเจริญต่อพืชแตกต่างกันควรจะนาเชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่าที่ทดสอบในระดับกระถางไปลงทดสอบในระดับแปลงต่อไป
กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจยั ขอขอบคุณสานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ สาหรับงบประมาณสนับสนุนการทาวิจยั และศูนย์ ฝึ กอบรมและวิจยั การเกษตร (100 ไร่) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โปรแกรมวิชาเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาที่เอื ้อเฟื อ้ สถานที่และอุปกรณ์ในการวิจยั ในครัง้ นี ้
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
827
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
เอกสารอ้ างอิง ธีรภัทร เลียวสิริพงศ์ และ วิพรพรรณ เนื่องเม็ก. 2555. การใช้ เชื ้อราอาร์ บสั คูลาร์ ไมคอร์ ไรซาในการปรับปรุงดิน และเพิ่มความต้ านทานโรค ราน ้าค้ าง ในแตงกวา. การประชุมวิชาการพะเยาวิจยั ครัง้ ที่1 “ปั ญญาเพื่อความเข้ มแข็งของชุมชน” พะเยา. หน้ า 80-86. นันทิดา วัฒนโรจนาพร. 2553. การยับยังเชื ้ ้อราก่อโรคชุมชนของเชื ้อราไมคอไรซาในระบบปลูกข้ าวและพัฒนาเทคนิคในการติดตาม. วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี นครราชสีมา. 242 หน้ า นิจพร ณ พัทลุง และ พินิจนันท์ วรนุช. 2555. ผลของเชื ้อราอาบัสคูล่าร์ ไมคอร์ ไรซ่าต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของข้ าวขาวดอกมะลิ 105 นอก ฤดูกาลในสภาพกระถาง. แก่นเกษตร ฉบับพิเศษ 40: 373-380. นงลักษณ์ ปูระณะพงษ์ และ จีราภรณ์ อินทสาร. 2556. การศึกษาผลของการใช้ เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอร์ ไรซาและพีจีพีอาร์ (PGPR) ต่อการดึงดูด ธาตุอาหาร การเจริ ญเติบโตและผลผลิตของลาไย. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัด เชียงใหม่. 62 หน้ า. ปั ทมา เหล่านิพนธ์. 2539. ชนิดการเข้ าอยู่อาศัยในรากและผลของเชื ้อราเวสสิคลู า-อาบัสคูลา ไมคอไรซ่าร่วมกับไรโซเบียมต่อการเจริ ญของถัว่ ลิสง. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 128 หน้ า พักตร์ เพ็ญ ภูมิพนั ธ์ และ วิศณีย์ โพธิ์หล้ า. (2556). ผลของราอาร์ บสั คูลาร์ ไมคอร์ ไรซาต่อการเจริ ญเติบโตของข้ าวโพดฝักอ่อน.Thai Journal of Science and Technology. 19 (4) : 80-87. ภัทรวดี สุม่ ทอง. 2543. ผลของเชื ้อราเวสสิคลู าร์ -อาบัสคูลาร์ ไมคอไรซา ร่ วมกับปุ๋ ยฟอสเฟตระดับต่างๆ ที่มีต่อการเจริ ญเติบโตของหญ้ าแฝกหอม แหล่งพันธุ์สรุ าษฎร์ ธานี. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 192 หน้ า เมธาวีการณ์ พรมลา และ โสภณ บุญลือ. 2554. ชนิดและผลของเชื ้อราอาร์ บสั คูลาร์ ไมคอร์ ไรซาต่อการเจริ ญเติบโตของอ้ อย. การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น “การพัฒนาอนาคตชนบทไทย : ฐานรากที่มนั่ คงเพื่อการพัฒนาประเทศอย่างยัง่ ยืน” 27-29 มกราคม 2554 : 16-22. สิริพร สิริชยั เวชกุล. (2554).ผลของเชื ้อราอาบัสคูล่า ไมคอไรซ่าต่อมะเขือเทศสีดา Solanum lycopersicumL. ที่การให้ น ้าระดับต่างกัน. วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาเอก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี . 162 หน้ า. สมจิตร อยู่เป็ นสุข วรรณวิณี ผิวเผือก และ เบญจวรรณ ฤกษ์ เกษม. (2556). ผลของสายพันธุ์ส้มเขียวหวานและชนิดของพืชตระกูลส้ มที่ใช้ เป็ นต้ น ตอของส้ มเขียวหวานพันธุ์สายน ้าผึ ้งที่ตอบสนองต่อเชื ้อราอาร์ บสั คูลาร์ ไมคอร์ ไรซ่าและเชื ้อราสาเหตุโรครากเน่า . รายงานวิจยั . สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . กรุงเทพมหานคร. [Online] Available : http://research.trf.or.th/node/6465 อรจิรา ทองสุกมาก. (2546). ผลของเชื ้อราเวสสิคลู าร์ -อาบัสคูลาร์ ไมคอไรซา ร่วมกับปุ๋ ยฟอสเฟตระดับต่างๆ ที่มีต่อการเจริ ญเติบโตของทานตะวัน (Helianthus annuus L.). วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 152 หน้ า. Augé, R.M. 2001. Water relations, drought and vesicular-arbuscular mycorrhizal symbiosis. Mycorrhiza 11:3–42 Blum, A., M. Monir, I. Wirsansky, and S. Ben-Arzi. 2005. The beneficial effects of tomatoes. J. Internal Medicine. 16: 402-404. Bothe,, H., M. Regvar and K. Turnau. 2010. Arbuscular Mycorrhiza, Heavy Metal and Salt Tolerance, pp 87-111. In I. Sherameti and A. Varma, ed. Soil Heavy Metals, Volume 19 of the series Soil Biology. Springer Berlin Heidelberg Press. [Online] Available : http://link.springer.com/book/10.1007%2F978-3-642-02436-8 Copetta, A., L. Bardi, E. Bertolone, and G. Berta. 2011. Fruit production and quality of tomato plants (Solanum lycopersicum L.) are affected by green compost and arbuscular mycorrhizal fungi.Plant Biosystems. 145(1): 106-115. Elizabeth, J.J. 2002. The role of carotenoids in human health. Nutrition in Clinical Care 5(2): 56–65. Fonorow, O.R. 2006. The natural of vitamin C. [Online] Available : http://www.Vitamincfoundation.org/NaturalC.pdf Harley, J.L., and S.E. Smith. 1983. Mycorrhizal Symbiosis. Academic Press, New York, USA.pp. 483. Hashem, A., E. F. Abd_Allah, A. A. Alqarawi, A. Aldubise and D. Egamberdieva. 2015. Arbuscular mycorrhizal fungi enhances salinity tolerance of Panicum turgidum Forssk by altering photosynthetic and antioxidant pathways. Journal of Plant Interactions 10(1) : 230-242 Khundaram, C. and N. Nabhadalung. 2012. Effects of Arbuscular Mycorrhizal Fungi on Growth and Yield of Baby Corn (Zea mays Linn.) in Skeletal SoilsUnder Non-Sterilized Soil. Proc. the International Conference on “The Excellence in Teacher Education and Research Innovation”. December, 24th – 28th 2012. The Royal Orchid Sheraton, Bangkok Thailand. pp 300 – 304. MacDicken, K. G. 1993. Research results : inoculation of forest trees : the use of rhizobium, frankia and mycorrhiza. Food and Agricultre Organization of the United Nations, Bangkok. 40 p Marschner, H. and B. Dell. 1994. Nutrient uptake in mycorrhizal symbiosis. Plant Soil 159: 89-102. Na Bhadalung N., A. Suwanarit, B. Dell, O. Nopamornbodi, A. Thamchaipenet and J. Rungchang. 2005. Effects of long-term NPfertilization on abundance and Diversity of arbuscularmycorrhizal fungi under a maize cropping system. Plant and Soil 270 : 371-382 Pauling, L. 1992. A unified theory of cardiovascular disease. ION. (video). 60 min. Phillip, T. A., and O.S. Hayman. 1970. Improve procedures for cleaning roots and staining parasitic and vasicular-arbuscular mycorrhizal fungi for rapid assessment of infection. Trans Brit Mycol Soc. 53: 158-161.
828
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Qiangsheng, W., X. Renxue, H. Zhengjia. 2006. Effect of Arbuscular Mycorrhiza on the Drought Tolerance of Poncirus trifoliate Seedlings. Frontiers of Forestry in China 1(1): pp 100-104 Rizvi, R., J. lqbal, I. Mahmood and R. Ali Ansari. 2015. Comparative efficacy of different arbuscular mycorrhizal fungal spp. (AMF) on tomato (Lycopersicon esculentum Mill.). Journal of Science&Technology (e-JST). [Online] Available : http://ejst.teiath.gr13 Salvioli, A., M. Novero, I. Lacourt, P. Bonfante. 2008. The impact of mycorrhizal symbiosis on tomato fruit quality. In: Neuhoff, D. [et al.] (eds.), Cultivating the Future Based on Science, Volume 2: Livestock, Socio-economy and Cross disciplinary Research in Organic Agriculture. Proc. the Second Scientific Conference of the International Society of Organic Agriculture Research (ISOFAR), Modena, Italy, 16-20 June 2008. pp 332-335. [Online] Available : http://orgprints.org/12844/1/12844.pdf Syvia, D. M., A.K. Alagely, D.O. Chellemi and L.W. Demchenko. 2001. Arbuscular mycorrhizal fungi influence tomato competition with bahiagrass. Bio Fertil Soil. 34: 448-452. Tahat, M.M., S. Kamaruzaman, O. Radziah, J. Kadir and H.N. Masdek. 2008. Response of (LycopersicumesculentumMill.) to different arbuscular mycorrhizal fungi Species. Asian J. Plant Sci. 7(5): 479-484. Trouvelot, A., J. L. Kough and V. Gianinazzi-Pearson. 1986. Mesure du taux de mycorhization VA d’un système radiculaire. Recherche de méthodes d’estimation ayant une signification fonctionnelle, pp. 217-221. In V. Gianinazzi-Pearson and S. Gianinazzi, eds. Physiological and Genetical Aspects of Mycorrhizae. INRA Press, Paris Upadhyaya, H., S. K.r Panda, M. K. Bhattacharjee and S. Dutta. 2010. Role of arbuscular mycorrhiza in heavy metal tolerance in plants: prospects for phytoremediation. Journal of Phytology 2(7): 16–27
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
829
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การพัฒนาการของโรคและระดับความต้ านทานต่ อสารเคมีคาร์ เบนดาซิมของเชือ้ ราสาเหตุโรคใบจุด ของกล้ วยไข่ เพื่อการส่ งออกในภาคตะวันออกของประเทศไทย Disease development and carbendazim resistance in plant pathogenic fungi of leaf spot on KluaiKhai banana for export in eastern Thailand สุมาพร แสงเงิน1 สมศิริ แสงโชติ1 และวีระณีย์ ทองศรี1* Sumaphorn Sangngern1, Somsiri Sangchote1 and Veeranee Tongsri1*
บทคัดย่ อ ใบจุดของกล้ วยเป็ นโรคที่มีความสาคัญในการผลิตกล้ วยไข่ในภาคตะวันออกเพื่อการส่งออกของประเทศไทย โดย ก่อให้ เกิดการลดลงทังปริ ้ มาณและคุณภาพของผลผลิตเป็ นจานวนมาก ในงานวิจยั นี ้จึงได้ ทาการศึกษาเชื ้อราที่ก่อให้ เกิดโรค จากพื ้นที่ปลูก 3 แหล่ง ได้ แก่ จังหวัดตราด จันทบุรี และระยอง เพื่อศึกษาการเพิ่มขึ ้นของโรค การงอกของสปอร์ และระดับ ความต้ านทานต่อสารเคมีป้องกันกาจัดเชื ้อราคาร์ เบนดาซิมของเชื ้อ โดยพบว่าเชื ้อราที่ก่อให้ เกิดการเพิ่มขึ ้นของโรคมากที่สดุ จากการปลูกเชื ้อบนใบกล้ วยไข่มี 2 ไอโซเลท คือ เชื ้อรา Curvularia sp. ไอโซเลท T2K และ Corynespora sp. ไอโซเลท SJ1 และพบว่าสปอร์ ของเชื ้อราทัง้ 2 genus เริ่ มงอกที่เวลา 1 ชัว่ โมงบนอาหาร potato dextrose agar สาหรับการทดสอบความ ต้ านทานต่อสารเคมีปอ้ งกันกาจัดเชื ้อราคาร์ เบนดาซิมที่ ระดับความเข้ มข้ น 1, 10, 50, 100, 500, 1,000, 2,000 และ 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตรพบว่าเชื ้อรา Curvularia sp. ไอโซเลท T2K มีความต้ านทานต่อสารเคมีในระดับสูง (HR; ≥ 500 mg/l) ส่วน เชื ้อรา Corynespora sp. ไอโซเลท SJ1 มีความอ่อนแอต่อสารเคมี (S; ≤ 1 mg/l) ซึง่ สามารถบ่งชี ้ได้ ว่าถึงแม้ ในบางพื ้นที่ปลูก จะมีการใช้ สารเคมีดงั กล่าวในอัตราแนะนา (1,000 มิลลิกรัมต่อลิตร) อย่างต่อเนื่องก็ไม่สามารถลดการเกิดโรคลงได้ จึงควรหา วิธีการอื่นๆ ที่เหมาะสมในการจัดการโรคให้ มีประสิทธิภาพต่อไป คาสาคัญ: โรคใบจุดกล้ วย การเพิ่มขึ ้นของโรค ความต้ านทานสารเคมี การงอกของสปอร์ Curvularia sp. Corynespora sp. 1
Abstract
Banana leaf spot is an important disease of KluaiKhai banana production for export in eastern region of Thailand. It causes a vast reduction in both quantity and quality of banana yields. This study aims to determine the causal agents of disease obtained from 3 locations of banana orchard, Trat, Chanthaburi and Rayong provinces. Increased disease on banana leaf, spore germination and carbendazim resistance of pathogens were investigated. The result revealed that two isolates of causal agents, Curvularia sp. isolate T2K and Corynespora sp. isolate SJ1 were the most increasing disease by artificial inoculation on banana leaf. Spore germination of both fungi started to germinate at 1 hour after incubation on potato dextrose agar. Pathogen resistance to carbendazim was conducted at concentrations of 1, 10, 50, 100, 500, 1,000, 2,000 and 3,000 mg/l. It was shown that Curvularia sp. isolate T2K was classified to highly resistant level (HR; ≥ 500mg/l), whereas Corynespora sp. isolate SJ1 was classified as sensitive level (S; ≤ 1 mg/l). This indicated that regular use of carbendazim at recommended dose (1,000 mg/l) could not decrease the disease. Thus, appropriate strategies to control banana leaf spot disease should be advised. Keywords: banana leaf spot, increased disease, fungicide resistance, spore germination, Curvularia sp. Corynespora sp.
1 *
ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 Corresponding author, email:fagrvnt@ku.ac.th 830
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
คานา กล้ วยไข่เป็ นกล้ วยที่มีผ้ นู ิยมบริ โภคกันทัว่ ไป โดยเฉพาะกล้ วยไข่ที่สกุ แล้ ว เนื่องจากมีรสชาติที่ดี ลักษณะการเรี ยงตัว ของผลเป็ นที่สะดุดตา ในปั จจุบนั ส่งออกจาหน่ายต่างประเทศมากขึ ้น ตลาดที่สาคัญคือ จีน และฮ่องกง เป็ นพืชที่สามารถปลู ก ได้ แทบทุกภาคของประเทศ (กรมวิชาการเกษตร , 2545) ปั ญหาสาคัญที่ส่งผลต่อการผลิตคือการระบาดของโรค ซึ่งทาให้ เกิด การลดลงทังคุ ้ ณภาพและปริ มาณของผลผลิต จากการสารวจพื ้นที่ปลูกกล้ วยไข่ในจังหวัด ตราด จันทบุรี และระยอง พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ประสบปั ญหาการระบาดของโรคใบจุด โดยอาการของโรคจะปรากฏบนใบล่างก่อน เริ่ มแรกจะเป็ นจุดสนิม เล็กๆ ต่อมาขยายใหญ่ขึ ้นเป็ นแผลสีน ้าตาลบริเวณขอบแผลมีสีเหลืองล้ อมรอบ ต่อมาแผลมีขนาดใหญ่ขึ ้นจนมาชนกันทาให้ เกิด เป็ นแผลขนาดใหญ่กว้ าง เนื ้อเยื่อบริ เวณกลางแผลแห้ งตาย พบมีการะบาดไปทัว่ แปลง รวมไปถึงแปลงข้ างเคีย งด้ วย ซึ่งมีการ ระบาดมากในช่วงฝนตกชุกเป็ นระยะเวลาติดต่อกัน เกษตรกรจึงแก้ ปัญหาโดยการใช้ สารเคมีในการป้องกันกาจัดเนื่องจาก สามารถควบคุมโรคได้ รวดเร็ ว โดยส่วนใหญ่ ใช้ สารเคมีคาร์ เบนดาร์ ซิม พบว่าสามารถป้องกันกาจัดโรคได้ ดีแค่ในช่วงแรก เท่านัน้ หลังจากใช้ ติดต่อกันเป็ นเวลานานยังพบการระบาดของโรคเกิดขึ ้นเหมือนเดิม ดังนัน้ ในงานวิจยั นี ้จึงทาการสารวจและ เก็บตัวอย่างโรคใบจุดของกล้ วยไข่ในพื ้นที่ปลูกทางภาคตะวันออกของประเทศไทย ในพื ้นที่สามจังหวัดคือ ตราด จันทบุรี และ ระยอง ในช่วงปลายเดือนพฤษภาคม 2558 มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาหาเชื อ้ ราสาเหตุที่ทาให้ เกิดโรคโดยแยกตามลักษณะของ แผลที่ปรากฏบนใบ รวมไปถึงศึกษาการเพิ่มขึ ้นของโรค ระยะเวลาการงอกของสปอร์ ของเชื ้อรา และระดับความต้ านทานของ เชือ้ ราต่อสารเคมีคาร์ เบนดาร์ ซิม อันจะนาไปสู่แนวทางการป้องกันกาจัดโรคใบจุดได้ อย่างเหมาะสม เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อ เกษตรกรผู้ปลูกกล้ วยไข่ในพื ้นที่สารวจและพื ้นที่ปลูกอื่นๆ ต่อไป
อุปกรณ์ และวิธีการ ส ารวจพื น้ ที่ ป ลูก กล้ ว ยไข่ ใ นจั ง หวัด ตราด จัน ทบุ รี และระยอง เก็ บ รวบรวมใบกล้ ว ยไข่ ที่ แ สดงอาการใบจุ ด ใส่ถุงพลาสติกผูกปากถุง นากลับมาทาการแยกเชือ้ ราที่ห้องปฏิบตั ิการภาควิชาโรคพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน โดย แยกตัวอย่างที่เก็บมาในแต่ละสวนออกเป็ นลักษณะแผลบนใบ ถ่ายรูปลักษณะอาการที่ปรากฏ จากนันท ้ าการแยกเชื ้อโดย วิธี tissue transplanting technique ตัดชิ ้นใบกล้ วยบริ เวณแผลกับเนื ้อเยื่ อปกติให้ มีขนาดประมาณ 0.5 x 0.5 เซนติเมตร ฆ่า เชื ้อที่ผิวโดยแช่ในสารละลาย sodium hypochlorite (10% Clorox) เป็ นเวลา 5 นาที ผึง่ ชิ ้นส่วนใบกล้ วยให้ แห้ งสนิท นาชิ ้นส่วน พืชวางบนอาหาร potato dextrose agar (PDA) บ่มเชื ้อไว้ ที่อณ ุ หภูมิห้อง (25-30˚C) เมื่อเชื ้อเจริ ญออกมาจากชิ ้นพืช ใช้ cork borer ตัดปลายเส้ นใยของเชื ้อรา เลี ้ยงบนอาหารใหม่อีกครัง้ จนได้ เชื ้อที่บริ สทุ ธิ์ จากนันทดสอบหาเชื ้ ้อสาเหตุที่เป็ นเชื ้อก่อโรค และการเพิ่มขึ ้นของโรคในห้ องปฏิบตั ิการโดยใช้ cork borer ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 5 มิลลิเมตร ตัดบริ เวณขอบโคโลนีของ เชื ้อราแต่ละไอโซเลท วางบนใบกล้ วยไข่โดยการสร้ างบาดแผล 1 แผล บ่มในกล่องพลาสติกชื ้นตลอดเวลา วัดขนาดแผลทุกสอง วันเป็ นเวลา 6 วัน คานวณการเพิ่มขึ ้นของโรคโดยใช้ สตู ร ID = (L2 – L1) / (t2 – t1) โดยที่ ID = การเพิ่มขึ ้นของโรค L1 = เส้ นผ่าศูนย์กลางแผล ณ ช่วงเวลา t1 L2 = เส้ นผ่าศูนย์กลางแผล ณ ช่วงเวลา t2 t1 = ช่วงเวลาบันทึกผล ณ ช่วงเวลา t1 t2 = ช่วงเวลาบันทึกผล ณ ช่วงเวลา t2 ศึกษาการงอกของสปอร์ ของเชื ้อราสาเหตุโรค โดยเลี ้ยงเชื ้อราบนอาหาร PDA ภายใต้ แสง near ultra violet (NUV) 12 ชัว่ โมง เพื่อกระตุ้นให้ มีการสร้ างสปอร์ จากนันเตรี ้ ยม spore suspension ของเชื ้อราโดยใช้ ไมโครปิ เปตดูดมา 100ไมโครลิตร หยดลงบนอาหาร PDA เกลี่ยสปอร์ ให้ กระจายทัว่ หน้ าอาหารจนหน้ าอาหารแห้ ง บันทึกการงอกของสปอร์ ที่เวลา 0, 1, 3, 5, และ 7 ชัว่ โมง ทดสอบระดับความต้ านทานสารเคมีป้องกันกาจัดเชื ้อราคาร์ เบนดาซิม โดยเตรี ยมอาหารเลี ้ยงเชื อ้ PDA ผสมกับ สารเคมีปอ้ งกันกาจัดเชื ้อราคาร์ เบนดาซิมที่มีสารออกฤทธิ์ 50% (บริ ษัทสหายเกษตรเคมีภณ ั ฑ์ ) ที่ระดับความเข้ มข้ น 1, 10, 50, 100, 500, 1,000, 2,000, และ 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยอัตราแนะนาอยู่ที่ 1,000 มิลลิกรัมต่อลิตร เลี ้ยงขยายเชื ้อราบน อาหาร PDA บ่มเชื ้อเป็ นเวลา 10 วัน ภายใต้ แสงสว่างสลับมืด 12/12 ชัว่ โมง ที่ 25 องศาเซลเซียส ใช้ cork borer ขนาดเส้ น การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
831
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ผ่านศูนย์กลาง 0.5 มิลลิเมตร ตัดบริ เวณขอบโคโลนีของเชื ้อราแต่ละไอโซเลทเลี ้ยงบนอาหาร PDA ที่ผสมสารเคมีปอ้ งกันกาจัด เชื ้อราในแต่ละระดับความเข้ มข้ นดังที่กล่าวข้ างต้ น วางแผนการทดลองแบบ CRD วิธีการละ 3 ซ ้าๆ ละ 3 จาน บ่มเชื ้อเป็ นเวลา 10 วัน ภายใต้ สภาพเดิม บันทึกเส้ นผ่าศูนย์กลางของโคโลนีเปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม (ผสมน ้ากลัน่ นึ่งฆ่าเชื ้อ) ซึง่ คานวณจาก สมการ เปอร์ เซ็นต์ยบั ยังการเจริ ้ ญของเชื ้อรา = ค่าเฉลี่ยเส้ นผ่าศูนย์กลางโคโลนีชดุ ทดสอบ x 100 ค่าเฉลี่ยเส้ นผ่าศูนย์กลางโคโลนีชดุ ควบคุม ทาการประเมินระดับความต้ านทานต่อสารเคมีปอ้ งกันกาจัดเชื ้อรา โดยแบ่งความต้ านทานเป็ น 4 ระดับ ได้ แก่ sensitive (S), weakly resistant (WR), moderately resistant (MR) และ highly resistant (HR) ดัดแปลงจากวิธีการของ พรประพา และสรัญยา (2553) ดังแสดงใน Table 1 Table 1 Phenotype-resistant levels of fungi to carbendazim fungicide. Carbendazim concentration (mg/l) Resistant levels 1 10 50 100 500 1,000* Sensitive (S) + Weakly resistant (WR) + + Moderately resistant (MR) + + + + + + + Highly resistant (HR) + + + + + + + + + + +
2,000 +
3,000 +
* = field-use recommended rate - = percentage of growth <10% compared with the control + = percentage of growth ≥ 10% compared with the control
ผลการทดลองและวิจารณ์ ผล จากการสารวจและเก็บตัวอย่างอาการใบจุดของกล้ วยไข่ในพื ้นที่จงั หวัด ตราด จันทบุรี และระยอง และทาการแยกเชื ้อ ราสาเหตุโรคโดยวิธี tissue transplanting technique พบว่า มีเชื ้อราที่ก่อให้ เกิดโรค 2 ไอโซเลท คือ Curvularia sp. ไอโซเลท T2K และ Corynespora sp. ไอโซเลท SJ1 และเมื่อทาการศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของเชือ้ ราทังสอง ้ genus พบว่า Curvularia sp. ไอโซเลท T2K มีลกั ษณะโคโลนีบนอาหารเลี ้ยงเชื ้อ PDA เป็ นสีเทาฟูเล็กน้ อยและค่อยๆ เปลี่ยนเป็ นสีเทาเข้ ม จนเกือบดาเมื่ออายุมากขึ ้น (Figure 1A) เส้ นใยมีผนังกัน้ ก้ านชูสปอร์ เป็ นแบบเดี่ยวหรื อแตกกิ่ง สปอร์ มีลกั ษณะโค้ งงอสีน ้าตาล อ่อนถึงเข้ ม มี 4 เซลล์ เซลล์ตรงกลางมีสีเข้ มและขนาดใหญ่กว่าหัวท้ าย (Figure 1B) สามารถจัดจาแนกได้ เป็ นเชือ้ รา Curvularia sp. ซึง่ ตรงตามรายงานของ จิตรา และคณะ (2557) ที่รายงานเกี่ยวกับเชื ้อรา Curvularia oryzae พบว่าเชื ้อรามี ลักษณะดังที่กล่าวมาเช่นกัน ส่วนเชื ้อรา Corynespora sp. ไอโซเลท SJ1 มีลกั ษณะเส้ นใยของเชื ้อราบนอาหารเลี ้ยงเชื ้อ PDA เป็ นสีเขียวเข้ มอมเทา เจริ ญเป็ นวงโคโลนีซ้อนกันสม่าเสมอ เส้ นใยฟูเล็กน้ อย (Figure 1C) สปอร์ มีรูปร่างคล้ ายสามเหลี่ยมโดย เซลล์ด้านล่างจะมีขนาดใหญ่กว่าด้ านบน โดยที่ฐานจะสังเกตเห็นโครงสร้ าง protruding hilum อย่างชัดเจน ผิวนอกเรี ยบ มีสี เข้ ม มีผนังกันแบบ ้ pseudoseptum (Figure 1D) ซึง่ สอดคล้ องกับการรายงานลักษณะสัณฐานวิทยาของเชื ้อรา Corynespora sp. ของพงษ์ เทพ และกาญจณสินธุ์ (2530)
832
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
A
B
C
D
Figure 1 Morphological characteristics of fungal isolates causing banana leaf spot disease. (A) Colony of Curvularia sp. Isolate T2K at 7 days on PDA medium. (B) Conidial shape of Curvularia sp. Isolate T2K (40x). (C) Colony of Corynespora sp. Isolate SJ1 at 7 days on PDA medium. (D) Conidial shape of Corynespora sp. Isolate SJ1 (40x). ในส่วนของการศึกษาการเพิ่มขึ ้นของโรคในห้ องปฏิบตั ิการของเชื ้อราสาเหตุโรคโดยวิธี detached leaf และทาบาดแผล พบว่าการเพิ่มขึ ้นของโรคของเชื ้อราทังสองไอโซเลทเป็ ้ นไปในทิศทางเดียวกั นคือ เริ่ มแรกจะพบลักษณะอาการฉ่าน ้า (water soaked) ภายใน 2 วันหลังจากปลูกเชื ้อ ต่อมาเมื่อแผลเปลี่ยนเป็ นสีน ้าตาลและขยายใหญ่ขึ ้น ที่ 4 วันหลังจากปลูกเชื ้อ จะพบ วงแหวนสีเหลือง (yellow halo) ล้ อมรอบแผล นอกจากนี ้ยังพบว่าไอโซเลท SJ1 มีความรุนแรงมากกว่าไอโซเลท T2K ซึง่ สังเกต ได้ จากขนาดแผลที่มีขนาดใหญ่กว่าในช่วงระยะเวลาที่เท่ากัน (Figure 2) โดยขนาดแผลจะมีการพัฒนาเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ ตาม ระยะเวลาที่บ่มเชื ้อ ตามสมการความสัมพันธ์ ของระยะเวลาและการพัฒนาโรค โดยเชื ้อรา Curvularia sp. ไอโซเลท T2K มี สมการเส้ นตรง คือ y = 0.42x+0.323 (R2 =0.99) ส่วนเชื ้อรา Corynespora sp. ไอโซเลท SJ1 มีสมการเส้ นตรง คือ y = 0.365x+0.306 (R2 =0.88) โดยทัง้ 2 ไอโซเลทจะพบโรคเพิ่มขึ ้นสูงสุดที่ 2 วันแรกหลังจากปลูกเชื ้อ ซึ่งต่อมาการเกิดโรคมี แนวโน้ มลดลงจนถึงวันที่ 6 (Figure 3) จากการทดลองดังกล่าวเป็ นการทดสอบการพัฒนาของโรคเบื ้องต้ นในระดับ ห้ อ งปฏิ บัติ ก าร จึง อาจเกิ ด ความคาดเคลื่ อ น เนื่ อ งมาจากการปลูก เชื อ้ บนใบพื ช ที่ ถูก ตัด ออกมาจากต้ น จะท าให้ พื ช เกิ ด ความเครี ยด ซึง่ ส่งผลทาให้ ปัจจัยภายในของพืชผิดปกติไป (Chaerle et al., 2002) จึงอาจเป็ นเหตุให้ การเพิ่มขึ ้นของโรคเพิ่ม สูงขึ ้นในระยะแรกอย่างรวดเร็วภายใน 2 วัน ซึง่ ต่อมาการเพิ่มขึ ้นของโรคจะลดลงอย่างรวดเร็วเช่นเดียวกัน อันอาจจะมีสาเหตุ เนื่องจากการมีพื ้นที่อยู่อย่างจากัด (Mahato, 2015) ดังนันจึ ้ งควรที่จะศึกษาการเพิ่มขึ ้นของโรคโดยการปลูกเชื ้อบนต้ นกล้ วย ในสภาพธรรมชาติต่อไป ในการศึกษาการงอกของสปอร์ ของเชื ้อราสาเหตุโรคบนอาหาร PDA ที่เวลา 0, 1, 3, 5, และ 7 ชัว่ โมง พบว่าสปอร์ ของ เชื ้อราทัง้ 2 genus เริ่ มงอกที่เวลาประมาณ 1 ชัว่ โมง โดย Joyce and Sivanasan (1972) ได้ ศกึ ษาการงอกของสปอร์ ของ เชื ้อรา Curvularia cymbopogonis พบว่าสปอร์ เริ่ มงอกหลังจากบ่มเชื ้อไวที่อณ ุ หภูมิ 23-25๐ C เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมงเช่นเดียวกัน ซึง่ ควรจะทาการศึกษาการงอกของสปอร์ ของเชื ้อราสาเหตุโรคบนเนื ้อเยื่อพืชต่อไป
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
833
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Isolate/day
2
4
6
T2K
SJ1
Figure 2 Disease development by artificial inoculation of Curvularia sp. isolate T2K and Corynespora sp. isolate SJ1 on detached leaf of KluaiKhai banana. Inoculated leaf incubated in moist chamber for 2, 4 and 6 days at room temperature (25-30˚C).
A
Lesion diameter (cm)
T2K 2 y = 0.425x + 0.3233 R² = 0.9923
1.5 1 0.5 0
4
6
increased disease (%)
2
Incubation period (day) Figure 3 Linear regression between lesion diameter of banana leaf spot and incubation period by inoculated with Curvularia sp. isolate T2K (A) and Corynespora sp. isolate SJ1 (B) at 2, 4 and 6 day after inoculation. Percent increased disease of banana leaf spot by inoculated with Curvularia sp. isolate T2K (C) and Corynespora sp. isolate SJ1 (D). Vertical bars represent standard errors of means.
834
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
จากการทดสอบระดับความต้ านทานสารเคมีปอ้ งกันกาจัดเชื ้อราคาร์ เบนดาซิมของเชื ้อราสาเหตุโรคทัง้ 2 genus ที่ระดับ ความเข้ มข้ น 1, 10, 50, 100, 500, 1,000, 2,000, และ 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าเชื ้อรา Curvularia sp. ไอโซเลท T2K มี ความต้ านทานต่อสารเคมีในระดับสูง (HR; ≥ 500 mg/l) (Figure 4A) ส่วนเชื ้อรา Corynespora sp. ไอโซเลท SJ1 มีความ อ่อนแอต่อสารเคมี (S; ≤ 1 mg/l) (Figure 4B) ซึง่ แสดงให้ เห็นว่า การใช้ สารเคมีคาร์ เบนดาซิมซึง่ อยูใ่ นกลุม่ ของสารเคมี ประเภทดูดซึม (systemic fungicide) ในการควบคุมโรคติดต่อกันเป็ นเวลานานจะส่งผลให้ เชื ้อมีการพัฒนาและมีการดื ้อยาขึ ้น จึงควรใช้ สลับกันกับสารเคมีในกลุม่ ประเภทสัมผัส (contact fungicide) ซึง่ สอดคล้ องกับการทดลองของ Budakov et al. (2014) ศึกษาระดับการต้ านทานต่อสารเคมีคาร์ เบนดาซิมของเชื ้อรา Cercospora beticola สาเหตุโรคใบจุดของชูก้าบีทใน ประเทศเซอเบีย พบว่าเชื ้อราCercospora beticola มีการต้ านทานต่อสารเคมีคาร์ เบนดาซิมเช่นกัน โดยเกือบทุกไอโซเลทมี ระดับการต้ านทานในระดับสูง Frac (2014) ได้ จดั MOA ของสารเคมีคาร์ เบนดาร์ ซิม อยูใ่ น Code 1 ออกฤทธิ์ยบั ยัง้ B-tubulin assembly in mitosis ซึง่ ถ้ าหากมีการใช้ ติดต่อกันเป็ นเวลานานทาให้ ยีน B-tubulin เกิดการกลายพันธุ์ นอกจากนี ้ Kongtrakoul et al. (2011) ยังพบอีกว่าเชื ้อรา Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรกโนสในมะม่วงไอโซเลท ที่มีความต้ านทานสารคาร์ เบนดาซิมในระดับสูง มีการเปลี่ยนแปลงของลาดับของยีน B-tubulin เช่นกัน ในส่วนของเชื ้อรา Corynespora sp. ไอโซเลท SJ1 ที่มีระดับอ่อนแอต่อสารเคมีคาร์ เบนดาซิมนัน้ อาจจะมีสาเหตุเนื่องจากเชื ้อราดังกล่าวได้ ถกู เก็บมาจากแปลงกล้ วยไข่ที่ไม่มีการใช้ สารเคมี หรื อเคยใช้ สารเคมีคาร์ เบนดาซิมมาเป็ นระยะเวลาหนึง่ และหยุดการใช้ ไป จึงทา ให้ ออ่ นแอต่อสารเคมีขึ ้น
A
B
Figure 4 Carbendazim-resistant assay of plant pathogenic fungi causing banana leaf spot disease on PDA amended with carbendazim. A. Curvularia sp. isolate T2K classified to highly resistant level (HR), B. Corynespora sp. isolate SJ1 classified as sensitive level (S).
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
835
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สรุ ปผลการทดลอง จากการสารวจโรคในพื ้นที่ปลูกกล้ วยไข่ในภาคตะวันออก ได้ แก่ จังหวัดตราด จันทบุรี และระยอง พบเชื ้อราก่อโรค 2 genus ได้ แก่ Curvularia sp. ไอโซเลท T2K และ Corynespora sp. ไอโซเลท SJ1 ที่ก่อให้ เกิดการเพิ่มขึ ้นของโรคมากที่สดุ โดยสปอร์ ของเชื ้อราทัง้ 2 genus เริ่มงอกที่เวลา 1 ชัว่ โมงบนอาหาร PDA และเชื ้อรา Curvularia sp. ไอโซเลท T2K มีความต้ านทานต่อ สารเคมีคาร์ เบนดาซิมในระดับสูง (HR; ≥ 500 mg/l) ในขณะที่เชื ้อรา Corynespora sp. ไอโซเลท SJ1 มีความอ่อนแอต่อ สารเคมี (S; ≤ 1 mg/l)
กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสถาบันวิจยั และพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่สนับสนุนทุนวิจยั ในครัง้ นี ้ และขอขอบคุณเกษตรกรผู้ ปลูกกล้ วยไข่ในพื ้นที่สามจังหวัด ได้ แก่ ตราด จันทบุรี และระยอง ที่อนุเคราะห์ให้ ใช้ พื ้นที่ในการสารวจโรคและเก็บตัวอย่าง
เอกสารอ้ างอิง กรมวิชาการเกษตร. 2545. เกษตรดีที่เหมาะสมสาหรับกล้ วยไข่: เกษตรดีที่เหมาะสม ลาดับที่ 27. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์. สืบค้ นจาก: http://agebook.lib.ku.ac.th/ebooks/2011/2011-004-0070/index.html#/1/zoomed. (20 ส.ค. 58). จิตรา กิตติโมรากุล, วสันณ์ เพชรรัตน์ และเสมอใจ ชื่นจิต. 2557. การควบคุมเชื ้อรา Curvularia oryzae สาเหตุโรคใบจุดใน ปาล์มน ้ามันและการใช้ สารเคมีและชีววิธี. วารสารพืชศาสตร์ สงขลานคริ นทร์ . 1(1): 39-47. พงษ์ เทพ ขจรไชยกุล และ กาญจณสินธุ์ มีศขุ . 2530. โรคใบจุดก้ างปลาของยางพารา. วารสารยางพารา. 8(2): 92-98. พรประพา คงตระกูล และสรัญยา ณ ลาปาง. 2553. ลักษณะของเชื ้อรา Colletotrichum gloeosporioides ที่ต้านทานสารป้องกันกาจัดคาร์ เบนดาร์ ซิม. วารสารเกษตร. 26(3): 203-212. Budakov, D., N. Nagl., V. Stojsin., F. Bagi., D. Danojevic., T. D.Neher. and T. K. Ajdukovic. 2014. Sensitivity of Cercospora beticola isolates from Serbia to carbendazim and flutriafol. Crop protection. 66: 120-126. Chaerle, L., F. D. Boever. and V. D. Straeten. 2002. Infrared detection of early biotic and wound stress in plants. Thermology international. 12(3). Frac. 2014. FRAC Code List 2015. Fungicides sorted by mode of action. (Available Source): http://www.frac.info/docs/defaultsource/publications/frac-code-list/frac-code-list-2015-finalC2AD7AA36764.pdf?sfvrsn=4. ( august 29, 2015). Hall, A. J. and Sivanesan, A. 1972. Cochliobolus state of Curvularia ctmbopogonis. Mycology Society 59(2). Kongtragoul, P., S. Nalumpang., Y. Miyamoto., Y. Izumi. and K. Akimitsu. 2011. Mutation at codon 198 of tub2 gene for carbendazim resistance in Colletotrichum gloeosporioides causing mango anthracnose in Thailand. Plant protection research. 51(4): 337-384. Mahato, A. 2015. Monocyclic disease. Analysis of Epidemics of Monocyclic Plant Disease. (Available Source): https://www.academia.edu.(August 30, 2015).
836
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สหสัมพันธ์ ระหว่ างลักษณะทางกายภาพและสารพฤกษเคมีของผลหนามแดง Correlation Coefficient of Physical and Phytochemical Properties of Karandas สุนีรัตน์ อุดมภูม1ิ รักเกียรติ แสนประเสริฐ1 และทินน์ พรหมโชติ1 Sunerat Udomphoom1 Rugkeart Sanprasert1 and Thin Promchot1
บทคัดย่ อ หนามแดง หรื อมะม่วงหาวมะนาวโห่ มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Carissa carandas L. เป็ นผลไม้ ที่อดุ มด้ วยสารพฤกษเคมี ที่สาคัญหลายชนิด เช่น สารประกอบฟี นอลิค และสารแอนโทไซยานิน เป็ นต้ น สารเหล่านี ้เป็ นสารต้ านอนุมลู อิสระที่สาคัญ ผล หนามแดงสามารถบริ โภคได้ ทงในระยะผลแดงและผลม่ ั้ วงดา ซึง่ ทังสองระยะอาจมี ้ ปริ มาณสารพฤกษเคมีที่แตกต่างกัน ดังนัน้ จึงได้ ทาการศึกษาเปรี ยบเทียบอายุผล (65 และ 85 วันหลังดอกบาน) และประเมินค่าสหสัมพันธ์ ของลักษณะทางกายภาพและ ปริ มาณสารพฤกษเคมีของหนามแดง โดยทาการบันทึกลักษณะทางกายภาพ ได้ แก่ น ้าหนักผล (FW) ความกว้ างผล (FDI) ความยาวผล (FL) ความแน่นเนื ้อ (FF) และค่าสี a* และลักษณะทางพฤกษเคมี ได้ แก่ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ทงหมด ั้ (TSS) ปริ มาณฟี นอลิกทังหมด ้ (TPH) และปริ มาณแอนโทไซยานินทังหมด ้ (TAN) พบว่า อายุผลมีผลต่อทุกลักษณะที่ ทาการศึกษา ยกเว้ นค่า FL โดยผลที่อายุ 65 วันหลังดอกบานมีค่า FW FDI FF และ TPH สูง ขณะที่ผลอายุ 85 วันหลังดอก บานมีค่า TSS และ TAN สูง และจากการประเมินค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสารพฤกษเคมี ของผลหนามแดงอายุ 65 และ 85 วันหลังดอกบาน พบว่า FW FDI FF TPH และค่า a* มีสหสัมพันธ์ ไปในทิศทางเดียวกัน ในขณะที่ปริ มาณ TAN มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ ามกับ FW และ FD สาหรับปริ มาณ TSS มีความสัมพันธ์ในทิศทาง ตรงกันข้ ามกับ FF และปริมาณ TPH และค่า a* คาสาคัญ: คุณภาพผล สหสัมพันธ์ อายุผล
Abstract
Karandas (Carissa carandas L.) is a fruit tree that is rich in phytochemical contents such as total phenolic compounds and anthocyanin contents which are an important antioxidants. The unripe red fruits and ripe purple fruits of karandas can be consumed. Both of them could have difference phytochemical compounds. Therefore, the objective of this study was to compare the physical (fruit weight, FW; fruit diameter,FD; fruit length, FL; flesh firmness, FF and a* value) and phytochemical (total soluble solids, TSS; total phenolic compound, TPH and total antocyanin compound,TAN) properties of the unripe red fruits (65 days after full bloom) and the ripe purple fruits (85 days after full bloom) and correlation coefficient between physical and phytochemical properties of karandas fruits was also estimated. The results revealed that 65 days after full bloom fruits had the highest FW, FD, FF, TSS, TPH and TAN. However, the high value of TSS and TAN were found from the 85 days after full bloom fruits. The FW, FDI, FF, TPH and a* values had positive correlation, while the TAN showed negative correlation with FW and FD. Moreover, negative correlation of TSS with FF, TPH and a* values was performed. Keywords : Fruit quality, correlation, fruit age
1
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 ถนนสถลมาร์ ค ตาบลเมืองศรี ไค อาเภอวาริ นชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190 1 Faculty of Agriculture, Ubon Ratchathani University, 85 Sathollamark Rd., Muang Srikai, Warinchamrap, Ubon Ratchathani, 34190. Thailand
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
837
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
คานา มะม่วงหาวมะนาวโห่ หรื อ หนามแดง เป็ นผลไม้ พื ้นบ้ านของไทยมีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Carissa carandas Linn. ชื่อ สามัญ karandas อยู่ในวงศ์ Apocynaceae หนามแดงมีลกั ษณะเป็ นไม้ พ่มุ ยืนต้ นสูงราว 2-3 เมตร เปลือกสีน ้าตาลเข้ ม แตก เป็ นริ ว้ ตามกิ่งก้ าน และลาต้ นเป็ นหนามแหลม มียางสีขาว ใบเป็ นใบเดี่ยวออกตรงกันข้ าม ใบรู ปรี เกือบกลม ปลายใบเว้ า เล็กน้ อย โคนใบบนเว้ าเข้ าหาก้ านใบ และท้ องใบเรี ยบ ใบอ่อนมีสีแดงและก้ านใบสัน้ ดอกออกเป็ นช่อ ออกตามตาแหน่งของ ซอกใบ ใกล้ กบั ปลายยอด ดอกมีสีขาว ประกอบด้ วยกลีบดอก 5 กลีบ ปลายกลีบดอกแหลม โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็ น หลอด และมีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกดอกตลอดปี ผลอ่อนจะมีสีชมพูอ่อนๆ และค่อยๆ เข้ มขึ ้นเป็ นสีแดงจนกระทัง่ ผลสุก (บงกช กมล และคณะ, 2554) ปั จจุบนั มีผ้ รู ้ ูจกั และต้ องการผลหนามแดงมากขึ ้นเนื่องด้ วยผลสุกที่อายุ 85 วันหลังดอกบานจะมีสีเข้ มมากจนถึงดา จึง จัดเป็ นแหล่งของแอนโทไซยานิน (anthocyanin) ที่สาคัญ จากรายงานของสกุลกานต์ และคณะ (2556) พบสารประกอบฟี นอลิกทังหมด ้ 111.60 มิลลกรัมสมมูลของกรดแกลิคต่อ 100 กรัมน ้าหนักสด และพบปริ มาณแอนโทไซยานินทังหมดเท่ ้ ากับ 427.40 มิลลิกรัมสมมูลไซยาดินิน-3-กลูโคไซด์ตอ่ 100 กรัมน ้าหนักสด ซึง่ สารพฤกษเคมีต่างๆ เหล่านี ้ถือเป็ นแหล่งของสารต้ าน อนุมลู อิสระที่ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื อ้ รังหลายชนิด เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจ และโรคเบาหวาน เป็ นต้ น สารต้ านอนุมลู อิสระทาหน้ าที่ป้องกันการเกิด กระบวนการออกซิเดชั่นซึ่งเป็ นกระบวนการสาคัญที่ทาให้ เกิดอนุมูล อิสระ และสารต้ านอนุมูลอิสระจะหยุดยังปฏิ ้ กิริยาลูกโซ่ของอนุมลู อิสระทาให้ คงตัวและหยุดการก่อตัวใหม่ นอกจากนัน้ ยัง ซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดจากตัวอนุมลู อิสระทาลายเซลล์ต่างๆ ในร่างกาย คุณสมบัติอีกอย่างหนึ่งของสารต้ านอนุมลู อิสระ คือ การกาจัดและแทนที่โมเลกุลที่ถูกทาลายเนื่องจากสารเหล่านีอ้ าจเป็ นพิษต่อร่ างกาย โดยมักพบสารต้ านอนุมลู อิสระใน อาหารจาพวกผักและผลไม้ ได้ แก่ วิตามินอีจากเมล็ดทานตะวัน วิตามินซีจากผักใบเขียวทัว่ ไป แคโรทีนอยด์พบในมะเขือเทศ สารประกอบฟี นอลพบในองุ่น กระถิน เป็ นต้ น (นวลศรี และอัญชนา, 2545; ประสงค์, 2553) จริ งแท้ (2549) กล่าวว่า คุณภาพ หมายถึง ลักษณะประจาของบุคคลหรื อสิ่งของ ผลไม้ ที่มีคณ ุ ภาพดีหรื อมีลกั ษณะที่ ดีย่อมขายได้ ราคากว่าผลไม้ ที่มีคุณภาพต่า องค์ ประกอบของคุณภาพผลประกอบด้ วย 2 ลักษณะ ดังนี ้ 1) ลักษณะทาง กายภาพหรื อลักษณะภายนอก (external characteristic) ได้ แก่ ลักษณะต่างๆ ที่มองเห็นได้ ด้วยตาเปล่า สัมผัสได้ ด้วยมือ เช่น รูปร่าง สีผิวผล สีเนื ้อผล และ 2)ลักษณะทางเคมีหรื อลักษณะภายใน (internal characteristic) ได้ แก่ ลักษณะที่สมั ผัสได้ จาก การบริ โภคด้ วยปาก ลิ ้น และจมูก ได้ แก่ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ทงหมด ั้ ปริ มาณวิตามินซี และสารพฤกษเคมีอื่นๆ เป็ น ต้ น สหสัมพันธ์ (correlation) เป็ นการศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรตังแต่ ้ 2 ตัวแปรขึ ้นไป หรื อข้ อมูล 2 ชุดขึ ้นไป เช่น การหาความสัมพันธ์ระหว่างน ้าหนักและปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ทงหมด ั้ เป็ นต้ น ซึง่ ข้ อมูลที่ได้ เป็ นประโยชน์มากต่อ ผู้บริ โภคและนักปรับปรุงพันธุ์ เนื่องจากลักษณะกายภาพส่วนใหญ่เราสามารถมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่า ขณะที่ลกั ษณะทางเคมี หรื อสารพฤกษเคมีเราไม่สามารถมองเห็นได้ ด้วยตาเปล่า จาเป็ นต้ องอาศัยเครื่ องมื อในการประเมินค่าดังกล่าว ดังนันถ้ ้ าเรา สามารถทานายสารพฤกษเคมีภายในผลได้ จากลักษณะทางกายภาพภายนอกก็จะเป็ นประโยชน์ต่อผู้บริ โภคเป็ นอย่างมาก นอกจากนีน้ กั ปรับปรุ งพันธุ์ยงั สามารถนาผลการทดลองดังกล่าวมาใช้ สาหรับการคัดเลือกลูกผสมต่อไปได้ อีกด้ วย เนื่องจาก ความเป็ นประโยชน์ของค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ที่กล่าวไปข้ างต้ นจึงมีการศึกษาความสัมพันธ์ ของลักษณะทางกายภาพและ ทางเคมีของผักผลไม้ หลายชนิด เช่น มะเขือเทศ (นิตยา และสุชีรา, 2551) สตรอเบอรี่ (Sistrunk and Moore, 1983) ฝรั่ง (เกรี ยงศักดิ์ และคณะ, 2551) ชมพู่ (สุทิน และจินตนา, 2554) และหมากเม่า (จิรายุ และอัมพร, 2556) เป็ นต้ น การศึก ษาครั ง้ นี จ้ ึง ได้ ท าการทดลองเพื่ อ ต้ อ งการทราบว่า อายุผ ลหนามแดงมี ผ ลต่ อ ลัก ษณะทางกายภาพและ สารพฤกษเคมีของผลหนามแดงหรื อไม่ และเพื่อทราบถึงสหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสารพฤกษเคมีของหนาม แดงว่ามีความสัมพันธ์กนั อย่างไร ซึง่ ผลการวิจยั ดังกล่าวจะมีประโยชน์อย่างมากต่อการนาไปประยุกต์ใช้ โดยเฉพาะการบริ โภค ผลสดรวมถึงการส่งเสริมให้ มีการบริโภคหนามแดงมากยิ่งขึ ้นในอนาคต
838
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
อุปกรณ์ และวิธีการ ทาการสุ่มเลือกผลหนามแดงในระยะเก็บเกี่ยวที่อายุ 65 และ 85 วันหลังดอกบาน (ระหว่า งวันที่ 5 กันยายน ถึง 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555) จากต้ นหนามแดงจานวน 5 ต้ นๆ ละ 20 ผล จากนันน ้ าไปบันทึกลักษณะทางกายภาพ และลักษณะ ทางพฤกษเคมี ดังนี ้ 1) น ้าหนักผล ชัง่ น ้าหนักผลแต่ละผลด้ วยเครื่ องชัง่ ทศนิยมสองตาแหน่ง มีหน่วยเป็ นกรัม 2) ความกว้ างผล บันทึกความกว้ างผลแต่ละผลด้ วยเวอร์ เนียคาร์ ลิปเปอร์ จากตาแหน่งของแก้ มผลข้ างหนึ่งไปยังแก้ มผลอีกข้ างหนึ่ง มีหน่วยเป็ น เซนติเมตร 3) ความยาวผล บันทึกความยาวผลแต่ละผลโดยวัดจากขัวผลไปยั ้ งก้ นผลด้ วยเวอร์ เนียคาร์ ลิปเปอร์ มีหน่วยเป็ น เซนติเมตร 4) ความแน่นเนื ้อ บันทึกความแน่นเนื ้อของผลแต่ละผลบริ เวณแก้ มผลทังสองข้ ้ าง โดยการเฉือนที่แก้ มผลทังสองข้ ้ าง แล้ วใช้ เครื่ อง Fruit Hardness Tester ขนาด 5 กิโลกรัม (N.O.W., Japan) กดลงเบาๆ มีหน่วยเป็ นนิวตัน 5) สีผิวผล บันทึกสีผิว ผลบริ เวณที่เข้ มที่สดุ ด้ วยแผ่นเทียบสีมาตรฐาน The Royal Horticultural Society (RHS) นารหัสสีที่ได้ มาเปิ ดตาราง เปรี ยบเทียบเป็ นค่า a* (The Royal Horticultural Society Colour Charts Edition V; http://rhscf.orgfree.com) 6) ปริ มาณ ของแข็งที่ละลายน ้าได้ ทงหมด ั้ (Total Soluble Solid; TSS) ด้ วยการนาน ้าคันจากผลหนามแดงหยดลงบนปริ ้ ซึมของเครื่ อง hand refractometer (Atago, Japan) และอ่านค่าที่ได้ มีหน่วยเป็ นองศาบริ กซ์ 7) ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิคทังหมด ้ ด้ วย การสุ่มผลหนามแดงจานวน 10 ผลต่อซ ้า จานวน 2 ซ ้า/ต้ น จานวน 5 ต้ น/ระยะเก็บเกี่ยว นามาชัง่ น ้าหนักและสกัดด้ วย สารละลายเมทานอล (MeOH:H2O; อัตราส่วน 1:1) วิเคราะห์ หาปริ มาณฟี นอลิกทัง้ หมดตามวิธี Folin-Ciocalteau colorimetric มีหน่วยเป็ นมิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลิคต่อ 100 กรัมน ้าหนักสด และ 8) ปริ มาณสารแอนโทไซยานินทังหมด ้ สุม่ ผลหนามแดงและสกัดด้ วยวิธีการเดียวกับการวิเคราะห์ปริ มาณฟี นอลิคทังหมด ้ ดาเนินการวิเคราะห์หาปริ มาณแอนโทไซยานิน ตามวิธีการของ Rangana (1977) มีหน่วยเป็ นมิลลิกรัมต่อ 100 กรัมน ้าหนักสด นาข้ อมูลที่บนั ทึกได้ มาเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างอายุผล 2 ระยะด้ วยวิธี t-test และทาการประเมิน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสารพฤกษเคมีในผลหนามแดงที่อายุ 65 และ 85 วันหลังดอกบานจาก ตัวอย่าง 200 ผล ตามสูตรของสุรพล (2536) ดังนี ้ r=
̅) ∑(X−x̅)(Y−y √{∑(X−x̅)²}{∑(Y−y ̅)²}
โดยค่า x คือ ข้ อมูลของตัวแปรที่ 1 และ ค่า y คือ ข้ อมูลของตัวแปรที่ 2
ผลการทดลองและวิจารณ์ อิทธิพลของอายุผลต่ อลักษณะกายภาพ และสารพฤกษเคมีของผลหนามแดง จากการบันทึกลักษณะทางกายภาพ และสารพฤกษเคมีของผลหนามแดงอายุ 65 และ 85 วันหลังดอกบาน โดยการ สุม่ ผลหนามแดงจากต้ นจานวน 5 ต้ นต่ออายุผล ต้ นละ 20 ผล รวมทังหมด ้ 200 ผล ได้ ผลการทดลองดังนี ้ น ้าหนักผลของหนาม แดงที่มีอายุ 65 วันหลังดอกบาน มีค่าแตกต่างกัน (P. ≤ 0.001) โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.95 ± 0.26 กรัม และ 3.33 ± 0.77 กรัม ตามลาดับ (Table 1) ซึ่งพบว่าระยะที่ 65 วันหลังดอกบานมีน ้าหนักสูงกว่าผลหนามแดงที่มีอายุ 85 วันหลังดอกบาน ทังนี ้ ้ เนื่องจากเมื่อผลหนามแดงมีอายุมากขึ ้นจะเริ่ มเข้ าสูก่ ระบวนการสุกแก่ เกิดการสูญเสียน ้าระหว่างอยู่บนต้ น ส่งผลให้ ผิวเปลือก เหี่ยว จึงทาให้ น ้าหนักรวมของผลหนามแดงเมื่ออายุ 85 วันหลังดอกบานมีค่าน้ อยกว่าน ้าหนักผลหนามแดงที่มีอายุ 65 วันหลัง ดอกบาน สอดคล้ องกับรายงานของ จักรี และคณะ (2556) พบว่าผลหนามแดงที่มีอายุการเก็บเกี่ยวต่างกัน ทาให้ น ้าหนักผล หนามแดงมีคา่ แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ (P. ≤ 0.01) ความกว้ างผลหนามแดงที่อายุ 65 และ 85 วันหลังดอกบานมีความกว้ างผลแตกต่างกัน (P. ≤ 0.001) โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.76±0.02 และ 1.67±0.02 เซนติเมตร ตามลาดับ (Table 1) ซึ่งหนามแดงที่มีอายุการพัฒนาของผลน้ อยกว่าจะมี ความกว้ างผลมากกว่าผลหนามแดงที่มีอายุการพัฒนาของผลมากกว่า แสดงให้ เห็นว่ารูปร่างของผลหนามแดงในช่วงอายุ 6585 วันหลังดอกบานยังคงมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ โดยเฉพาะความกว้ างผล อาจทาให้ ผลหนามแดงมีความกลมลดลงหรื อมีความ รี ของทรงผลมากขึ ้นเมื่อผลมีอายุเพิ่มขึ ้น สาหรับความยาวผลหนามแดงที่มีอายุ 65 และ 85 วันหลังดอกบานไม่พบความแตกต่างทางสถิติ (Prob. ≥ 0.05) โดยมีคา่ เฉลี่ยเท่ากับ 2.27±0.02 และ 2.24±0.10 เซนติเมตร ตามลาดับ (Table 1) แสดงให้ เห็นว่าเมื่อผลหนามแดงมีอายุมาก ขึ ้นรู ปร่ างของผลจะไม่มีการเปลี่ ยนแปลงทางด้ านความยาวมากนัก สอดคล้ องกับรายงานของจักรี และคณะ (2556) ที่พบว่า ความยาวผลหนามแดงที่อายุ 65 และ 85 วันหลังดอกบานไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
839
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ความแน่นเนื ้อของผลหนามแดงที่อายุ 65 วันหลังดอกบานมีค่ามากกว่า ผลของหนามแดงที่อายุ 85 วันหลังดอกบาน (P. ≤ 0.001) โดยมีคา่ เท่ากับ 2.38±1.66 และ 1.00±0.08 นิวตัน ตามลาดับ (Table 1) จากผลการทดลองนี ้แสดงให้ เห็นว่าเมื่อ ผลหนามแดงมีอายุมากขึ ้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้ างของผนังเซลล์ทาให้ ผลนิ่มขึ ้น ดังนันผลหนามแดงที ้ ่มีอายุ 85 วันหลังดอกบานจึงมีความแน่นเนื ้อต่ากว่าผลหนามแดงที่มีอายุ 65 วันหลังดอกบาน ค่าสี a*แสดงถึงสีแดงบนผิวผลหนามแดง จากการศึกษาครัง้ นี ้พบว่า สีผิวผลหนามแดงที่มีอายุ 65 วันหลังดอกบาน จะมีสีผิวผลขาวปนแดงเล็กน้ อย ค่าสี a* เท่ากับ 44.72±0.32 และเมื่ออายุผลเพิ่มขึ ้นเป็ น 85 วันหลังดอกบาน ซึง่ เข้ าสูร่ ะยะสุก แก่จะมีสีแดงอมม่วง และมีค่า a* เท่ากับ 7.28±0.70 (Table 1) ซึ่งผลการทดลองที่ได้ สอดคล้ องกับงานวิจยั ของ สกุลกานต์ และคณะ (2556) ที่พบว่าเมื่อผลหนามแดงมีอายุมากขึ ้นจะมีสีม่วงเพิ่มขึ ้นจนถึงสีดา ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ทงหมด ั้ (TSS) ของผลหนามแดงที่อายุ 65 วันหลังดอกบาน มีน้อยกว่า ผลหนามแดงที่ อายุ 85 วันหลังดอกบาน (P. ≤ 0.001) โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 6.57±0.12 และ 12.11±0.76 องศาบริ กซ์ ตามลาดับ (Table 1) แสดงให้ เห็นว่าเมื่อผลหนามแดงมีอายุมากขึ ้นจะมีปริ มาณ TSS เพิ่มขึ ้น สอดคล้ องกับการทดลองของจักรี และคณะ (2556) ที่พบว่าเมื่อผลหนามแดงมีอายุ 85 วันหลังดอกบานมีปริ มาณ TSS สูงกว่าผลหนามแดงที่อายุ 65 วันหลังดอกบานถึงสองเท่า ทังนี ้ ้เนื่องจากผลไม้ เมื่อเข้ าสู่ระยะสุกแก่จะมีการเปลี่ยนแปลงของปริ มาณแป้งหรื อกรดที่สะสมในผลไปเป็ นน ้าตาล (จริ งแท้ , 2549) จึงทาให้ มีปริมาณ TSS สูงขึ ้นเมื่อผลสุก ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิคทังหมดในผลหนามแดงที ้ ่อายุ 65 วันหลังดอกบาน มีค่ามากกว่าผลที่มีอายุ 85 วันหลัง ดอกบาน (P. ≤ 0.001) โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.43±0.08 และ 0.66±0.10 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลิคต่อ 100 กรัมน ้าหนัก สด (Table 1) กล่าวได้ ว่าปริ มาณฟี นอลิคในผลหนามแดงจะลดลงตามอายุการพัฒนาของผล เนื่องด้ วยผลไม้ ที่มีรสฝาดจะมี ปริ มาณสารฟี นอลิคสูง ซึง่ มักจะพบในผลดิบมากกว่าผลสุก และเมื่อผลสุกปริ มาณสารฟี นอลิคเหล่านี ้จะค่อยๆ ลดลง (จริ งแท้ , 2549) Table 1 Average of fruit weight, fruit diameter, fruit length, flesh firmness, a* value, Total Soluble Solid contents (TSS), Total Phenolic Compounds (TPH) and Total Anthocyanin contents (TAN) of 65 and 85 days after full bloom of Karandas fruits. Traits 65 days after full bloom 85 days after full bloom t-test 1/ Fruit weight (g) 4.95±0.26a 3.33±0.77b <0.001 Fruit diameter (cm) 1.76±0.02a 1.67±0.02b <0.001 Fruit length (cm) 2.27±0.02 2.24±0.14 0.819 Flesh firmness (N) 2.38±1.66a 1.00±1.08b <0.001 a* value 44.72±0.32a 7.28±0.70b <0.001 o TSS ( Brix) 6.57±0.12b 12.11±0.76a <0.001 TPH (mg GAE/100 g FW) 2.43±0.08a 0.66±0.10b <0.001 TAN (mg/100 g FW 16.91±1.01b 23.92±2.44a <0.012 1/ Each value in the table is represented as mean±SD (n=100). Values in the same column followed by a different letter are significantly different. ปริ มาณแอนโทไซยานินทังหมดในผลหนามแดงที ้ ่มีอายุ 65 และ 85 วันหลังดอกบานมีความแตกต่างกันทางสถิติ อย่างมีนยั สาคัญ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.91±1.01 และ 23.92±2.44 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมน ้าหนักสด ตามลาดับ (Table 1) แสดงให้ เห็นว่าเมื่อผลหนามแดงมีอายุมากขึ ้นจะพบปริ มาณแอนโทไซยานินทังหมดเพิ ้ ่มขึ ้น สอดคล้ องกับการทดลองของ สกุล กานต์ และคณะ (2556) ที่พบว่าเมื่อผลหนามแดงมีอายุมากขึ ้นจะมีปริ มาณแอนโทไซยานินทังหมดสู ้ งขึ ้นเช่นกัน เมื่อพิจารณา จากลักษณะภายนอกของผลจะเห็นว่าผลหนามแดงจะมีการเปลี่ยนแปลงของสีผิวจากสีชมพูอ มแดงเป็ นสีดาเมื่อผลสุก ซึ่ง ลักษณะดังกล่าวสามารถใช้ เป็ นตัวชี ้วัดอย่างหนึง่ ที่แสดงให้ เห็นว่าน่าจะมีปริมาณแอนโทไซยานินสูงขึ ้นเมื่อเปรี ยบเทียบกับผลที่ มีอายุออ่ นกว่า
840
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สหสัมพันธ์ ระหว่ างลักษณะทางกายภาพและสารพฤกษเคมีของผลหนามแดง จากการวิเคราะห์คา่ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและพฤกษเคมีของผลหนามแดงเมื่ออายุ 65 และ 85 วันหลังดอกบาน จานวน 7 ลักษณะ ได้ แก่ นา้ หนักผล ความกว้ างผล ความยาวผล ความแน่นเนือ้ ปริ มาณ TSS ปริ มาณ TPH และปริ มาณ TAN สามารถจัดแบ่งสหสัมพันธ์ ได้ 3 ประเภท คือ สหสัมพันธ์ ในทิศทางเดียวกัน (ทางบวก) สหสัมพันธ์ทิศทางตรงกันข้ าม (ทางลบ) และไม่มีสหสัมพันธ์ ลักษณะที่มีความสัมพันธ์ ในทิศทางเดียวกัน ได้ แก่ น ้าหนักผลมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับความกว้ างผล ความ แน่นเนื ้อ และค่า a* โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ เท่ากับ 0.2346 0.2293 0.2170 และ 0.3500 ตามลาดับ (Table 2) กล่าวคือ ผลหนามแดงที่มีน ้าหนักมากมีแนวโน้ มที่จะมีความกว้ าง ความแน่นเนื ้อ และค่าสี a* มาก สอดคล้ องกับรายงานของ นิตยา และสุชีลา (2551) พบว่า น ้าหนักผลของมะเขือเทศมีความสัมพันธ์ ในทิศทางเดียวกันกับความกว้ างผล ความยาวผล และความหนาเนื ้อ ขณะที่เกรี ยงศักดิ์ และคณะ (2551) พบว่าขนาดผลฝรั่งมีความสัมพันธ์ ในทิศทางเดียวกันกับความแน่นเนื ้อ (r=0.48, P. < 0.01) นอกจากนี ้ยังมีรายงานของ สุทิน และจินตนา (2554) ที่พบว่าขนาดของผลชมพู่ (น ้าหนักผล ความกว้ าง ผล และความยาวผล) มีสหสัมพันธ์ ในทิศทางเดียวกับความแน่นเนื อ้ สาหรับการทดลองครัง้ นี ้มีการค้ นพบว่าความแน่นเนื ้อมี ความสัมพันธ์ ในทิศทางเดียวกันกับปริ มาณ TPH และค่า a* โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ 0.4161 และ 0.6487 ตามลาดับ (Table 2) กล่าวได้ ว่าผลหนามแดงที่มีความแน่นเนื ้อมากมักจะมีแนวโน้ มให้ ค่า a* สูง หรื อมีสีผลเป็ นสีแดงอมชมพู และมีปริมาณ TPH สูงเช่นเดียวกัน Table 2 Correlation coefficient of fruit weight (FW), fruit diameter (FD), Fruit length (FL) flesh firmness (FF) Total Phenolic Content (TPH), Total Anthocyanin Contents (TAN), Total Soluble Solid Contents (TSS) and a* of 65 and 85 day after full bloom of Karandas fruits. Traits FW FD FL FF TPH TAN TSS FD 0.2346** FL -0.0049 -0.0021 FF 0.2293** 0.2107** 0.0190 TPH 0.1675 -0.0879 0.2054 0.4161** TAN -0.3863** -0.3154* -0.1247 -0.2230 0.2665 TSS -0.0496 0.1698 -0.1777 -0.4058** -0.8907** -0.2131 a* 0.3500** 0.2400* 0.0377 0.6487** 0.5428** -0.3924 -0.7317* * = values are significantly different at 95%, ** = values are significantly different at 99% ปริมาณ TAN มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ ามกับน ้าหนักผล และความกว้ างผล โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ -0.3863 และ -0.3154 ตามลาดับ (Table 2) เมื่อหนามแดงมีอายุมากขึ ้นน ้าหนักผลและความกว้ างผลจะมีค่าลดลง ส่วนปริมาณ TAN จะมีคา่ เพิ่มขึ ้นตามอายุของผล นอกจากนี ้ยังพบว่า ปริ มาณ TSS มีความสัมพันธ์ในทางตรงกันข้ ามกับความ แน่นเนื ้อ และปริ มาณ TPH โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ -0.4058 และ -0.8907 ตามลาดับ (Table 2) แสดงให้ เห็น ว่าผลหนามแดงที่มีปริ มาณ TSS สูงมักจะมีความแน่นเนื ้อน้ อย และจะมีปริ มาณ TPH มาก เมื่อผลหนามแดงมีปริ มาณ TSS ต่า และจากการทดลองยังพบอีกว่าค่า a* มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ ามกับปริ มาณ TSS แสดงให้ เห็นว่าค่าสี a* ต่าจะ แสดงถึงสีผลที่เปลี่ยนเป็ นสีแดงอมม่วงหรื อสีดา ซึง่ จะมีปริมาณ TSS สูง สาหรับลักษณะที่ไม่พบสหสัมพันธ์ ได้ แก่ น ้าหนักผลไม่พบสหสัมพันธ์ กบั ความยาวผล ปริ มาณ TPH และปริ มาณ TSS ส่วนปริมาณ TAN ก็ไม่พบสหสัมพันธ์กบั ความยาวผล ความแน่นเนื ้อ และปริ มาณ TPH สาหรับปริ มาณ TSS ในผลหนาม แดง พบว่าไม่มีสหสัมพันธ์ กบั ขนาดผล (น ้าหนักผล ความกว้ างผล และความยาวผล) และปริ มาณ TAN จากผลการทดลอง ดังกล่าวสามารถกล่าวได้ ว่าเกษตรกร นักปรับปรุ งพันธุ์ และผู้บริ โภคไม่สามารถใช้ ความยาวผลประเมินปริ มาณ TSS ปริ มาณ TPH และปริ มาณ TAN ที่อยู่ภายในผลหนามแดงได้ เนื่องจากลักษณะดังกล่าวไม่มีความสัมพันธ์กนั หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ ผลที่มีขนาดสันหรื ้ อยาวรี ไม่สามารถบอกได้ วา่ จะมีปริมาณ TSS ปริมาณ TPH และ ปริมาณ TAN ในผลมากหรื อน้ อยอย่างไร
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
841
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สรุ ป จากการบันทึกลักษณะทางกายภาพ และลักษณะทางพฤกษเคมีของผลหนามแดงอายุ 65 และ 85 วันหลังดอกบาน โดยการเก็ บ ผลหนามแดงจากต้ น จ านวน 5 ต้ น ๆ ละ 20 ผล รวมทัง้ หมด 200 ผล พบว่ า อายุผ ลมี ผ ลต่ อ ทุก ลัก ษณะที่ ทาการศึกษา ยกเว้ นความยาวผล โดยผลที่อายุ 65 วันหลังดอกบานมีค่าน ้าหนักผล ความกว้ างผล ความแน่นเนื ้อ และปริ มาณ TPH สูง ขณะที่ผลอายุ 85 วันหลังดอกบานมีค่าปริ มาณ TSS และปริ มาณ TAN สูง และจากการประเมินค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสารพฤกษเคมีของผลหนามแดงอายุ 65 และ 85 วันหลังดอกบาน พบว่าน ้าหนัก ผล ความกว้ างผล ความแน่นเนื ้อ ปริ มาณ TPH และค่า a* มีสหสัมพันธ์ ไปในทิศทางเดียวกัน ในขณะที่ปริ มาณ TAN มี ความสัมพันธ์ ในทิศทางตรงกันข้ ามกับน ้าหนักผล และความกว้ างผล สาหรับปริ มาณ TSS มีความสัมพันธ์ ในทิศทางตรงกัน ข้ ามกับความแน่นเนื ้อ และปริมาณ TPH และค่า a*
เอกสารอ้ างอิง เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ นิภาดา เจริ ญธนกิจกุล และอุณารุจ บุญประกอบ. 2551. ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดผล ขนาดเซลล์และลักษณะทาง กายภาพที่สาคัญของผลฝรั่ง. ว.วิทย์. กษ. 39(3)(พิเศษ): 40-43. จริ งแท้ ศิริพานิช. 2549. สรี รวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักผลไม้ . พิมพ์ครัง้ ที่ 6. สานักพิมพ์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. 396 น. จิรายุ มุสิกา และอัมพร แซ่เอียว. 2556. ผลของสีและสายพันธุ์ของผลหมากเม่าต่อสมบัติกายภาพเคมีและสารเชิงสุขภาพ. การประชุมวิชาการ เสนอผลงานวิจยั ระดับบัณฑิตศึกษา, มหาวิทยาลัยขอนแก่., หน้ า 392-400. จักรี แก้ วจันดี รักเกียรติ แสนประเสริ ฐ และทินน์ พรหมโชติ. 2556. อิทธิพลของอายุการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพของผลหนามแดง (Carissa carandas L.) ในการประชุมวิชาการ ม.อบ. วิจยั ครัง้ ที่ 7, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. นวลศรี รักอริ ยะธรรม และอัญชนา เจนวิถีสขุ . 2545. แอนติออกซิแดนซ์: สารต้ านมะเร็งในผักสมุนไพร. นพบุรีการพิมพ์, เชียงใหม่. 33 น. นิตยา ถมหนวด และสุชีรา เตชะวงศ์เสถียร. 2551. ความดีเด่นและสหสัมพันธ์ระหว่างวิตามินซีกบั องค์ประกอบของผลผลิตของลูกผสมมะเขือเทศ รับประทานสดผลเล็ก. ว.วิทย์. กษ. 39(3)(พิเศษ): 269-272. บงกชกมล กาแหงมิตร ปิ ยวรรณ ไทรงามเอี่ยม และวรรณพร แช่มเมือง. 2554. การศึกษาผลดิบของมะม่วงหาวมะนาวโห่ในการทาลูกอมให้ เป็ นที่ พึงพอใจของผู้บริ โภค. แหล่งที่มา: http://202.143.154.147/-sbts/files/3.7.doc, 2 ธันวาคม 2556. ประสงค์ เทียนบุญ. 2553. บทบาทของสารต้ านอนุมลู อิสระกับสุขภาพ. วารสารคลินิกอาหารและโภชนาการ. 4(2): 69-76. สกุลกานต์ สิมมา สุรศักดิ์ บุญแต่ง และพัชรี สิริตระกูลศักดิ์. 2556. การประเมินสารพฤกษเคมีบางประการและกิจกรรมของสารอนุมลู อิสระใน Carissa carandas L. แก่นเกษตร 41(ฉบับพิเศษ 1): 602-606. สุทิน พรหมโชติ และจินตนา แก้ วนิล. 2554. สหสัมพันธ์ของคุณภาพผลระหว่างคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของผลชมพุ่พนั ธุ์ “ทับทิมจันทร์ ”. ว.วิทย์.กษ. 42(3)(พิเศษ): 335-338. สุรพล อุปดิสสกุล. 2536. สถิติ:การวางแผนการทดลอง. สหมิตรออฟเซท, กรุงเทพฯ. 145 น. Rangana, S. 1977. Manual of Analysis of Fruit and Vegetable Products. McGraw-Hill, New Delhi. Sistrunk, K. and Moore, J.N. 1983. Quality In Methods in Fruit Breeding. J.N. Moore and J. Janick (eds.) . Purdue University Press, West Lafayette, Indiana. 274-293 pp.
842
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
เปรียบเทียบลักษณะบางประการของฟั กข้ าว 6 สายต้ น A Comparison on Some Characters of 6 Clones Cocchincion Gourd (Momordica cochinchinensis (Lour.) spreng พิทกั ษ์ พุทธวรชัย1 นภา ขันสุภา1 วิรัติ อาพันธุ์1, ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 1 และอุกฤษฎ เจริญใจ Pitak Puttawarachai1 Napa khunsupa1*, Wirat Amphan1,Parinyawadee Sritontip1and Uookrit Chareanjai1
บทคัดย่ อ การเปรี ยบเทียบลักษณะทางพืชสวนประการของฟั กข้ าว 6 สายต้ น ทาการทดลอง ณ แปลงพืชผัก สถาบันวิจัย เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ต.พิชยั อ.เมือง จ.ลาปาง ระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2555 – มกราคม 2556 วางแผนการทดลองแบบ RCBD มี 4 ซ ้าจานวน 6 สายต้ น ได้ แก่สายต้ นเบอร์ 3 เบอร์ 15 เบอร์ 16 เบอร์ 41-2 เบอร์ 44-1 และเบอร์ 53 พบว่า สายต้ นที่ 41-2 มีน ้าหนักยอดสด ความยาวยอด และเส้ นผ่าศูนย์กลางโคนยอดมี ค่าเฉลี่ยสูงสุด มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ โดยค่าเฉลี่ยน ้าหนักยอดสด น ้าหนักแห้ ง และความยาวของ ยอดเท่ากับ 6.48 กรัมต่อยอด 0.3 กรัมต่อยอดและ 37.42 ซม.ตามลาดับ มีค่าเฉลี่ยนา้ หนักสดและนา้ หนักแห้ งของส่วนที่ บริ โภคได้ เท่ากับ 4.35 และ 0.60 กรัมต่อยอดตามลาดับ สาหรับน ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งของส่วนที่บริ โภคไม่ได้ ไม่มีความ ทางสถิติ ของทัง้ 6 สายต้ น คาสาคัญ: ฟั กข้ าว, ลักษณะทางพืชสวน สายต้ น
Abstract A comparison on some horticultural characters of 6 clones cochincion gourd was carried out at the Vegetable Section, Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, Tumbol Pichai, Amphur Muang, Lampang province, during Nouvember 2012-January 2013. The experimental design employed was a randomized complete block design (RCBD) consisted of 6 clones cocchincion gourd (teeatments) and each with 4 replications. The clones were no.3, no.15, no.16, no.41-2, no.44-1 and no.53. The results revealed that clone no. 41-2 produced significantly the greatest of shoot fresh weight, shoot length and diameter or shoot stem base as compared with the others. In that, the averages of shoot fresh weight, dry weight and length were 6.48 g/shoot, 0.83 g/shoot and 37.42 cm., respectively. The fresh and dry weight of the edible portion of shoots were 4.35 and 06.0 g/shoot, respectively. The fresh and dry weight of the inedible portion of shoots were similar for all 6 clones under study. Key words : Sweet Gourd, Cochinchin Gourd Momordica cochinchinensis (Lour.) spreng) Horticultural Characters, Clones.
คานา ฟั กข้ าวเป็ นผักที่ชาวบ้ านทางภาคเหนือและภาคอีสานรับประทานกันอยู่เป็ นประจา โดยจะรับประทานยอดอ่อนและ ผลอ่อน เป็ นผักลวกนึ่งรับประทานกับนา้ พริ กหรื อแกง จะพบผลอ่อนและยอดอ่อนของฟั กข้ าววางจาหน่ายอยู่ในตลาดตาม ชุมชนทางภาคเหนือ ปั จจุบนั เป็ นพืชที่ได้ รับความสนใจใช้ ในวงการแพทย์พิ สจู น์แล้ วว่า มีผลลดความเสี่ยงของการเกิดโรค หลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งปอด มะเร็งกระเพาะอาหาร ฟั กข้ าวยังเป็ นสมุนไพรที่นิยมใช้ เป็ นยาดับพิษ ร้ อนถอนพิษไข้ มักจะพบการใช้ เถา ราก หรื อใบ เป็ นส่วนประกอบของการรักษา การถอนพิษผิดสาแดง ดับพิษไข้ ทงปวง ั้ แก้ ร้ อนในกระหายน ้า แก้ พิษอักเสบ แก้ กษัย แก้ พิษฝี แก้ ฝีในท้ อง แก้ ปวดบวม ดูดหัวฝี แก้ พิษแมลงสัตว์กดั ต่อย ฆ่าเหา รวมทังใช้ ้ 1
สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000 Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, Thailand 52000 * Corresponding author: napa@rmutl.ac.th การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
843
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สระผมแทนแชมพู ส่วนของเมล็ดก็นิยมใช้ เป็ นยาทาภายนอกโดยตาผสมกับน ้ามันงาหรื อน ้ามันมะพร้ าวในการรักษาหูด อาการ อักเสบบวม กลากเกลื ้อน ฝี อาการฟกช ้า อาการผื่นคันและโรคผิวหนังติดเชื ้อต่าง ๆ (กมลวรรณ , 2539) ปั จจุบนั ได้ มีการผสมเกสรข้ ามสายพันธุ์ ไทยผลโต กับ เวียดนาม ซึ่งกาลังอยู่ระหว่างการศึกษา ซึ่งอาจเป็ นพันธุ์ ลูกครึ่ง ที่มีความเหมาะสมกับการเพาะปลูก และปริ มาณการติดผลได้ ดียิ่งขึ ้น ฟั กข้ าวสายพันธุ์เวียดนาม มีความแตกต่างจาก จากพันธุ์ไทยผลโต คือ เมล็ดมีขนาดใหญ่ มีหยักรอบเมล็ดแหลมคม และมีเปลือกหนากว่าพันธุ์ไทย ผลมีลกั ษณะสีแดงเข้ ม มีเนื ้อผลหนา เมล็ดหนาแน่น มีเส้ นใยมาก การติดดอกติดผลอายุ 6 - 8 เดือน และจะมีระยะพักตัว ติดดอกช่วงสันๆ ้ คือ เดือน ธันวาคม - มกราคม. (พนิดา , 2554) ดังนันจึ ้ งเปรี ยบเทียบลักษณะบางประการของฟั กข้ าวที่รวบรวมในจังหวัดลาปาง เพื่อคัดพันธุ์ที่มีลกั ษณะที่ดี เหมาะ แก่การส่งเสริมให้ เกษตรกรปลูกต่อไป
อุปกรณ์ และวิธีการ จากการเปรี ยบเทียบลักษณะบางประการของฟั กข้ าว 6 สายต้ น วางแผนการทดลองแบบ RCBD มี 4 ซ ้า ประกอบด้ วย 6 สายต้ น ดาเนินการขยายสายพันธุ์ฟักข้ าวเพื่อการทดลอง โดยวิธีการปั กชาในวัสดุปักชาเป็ น แกลบดา
ผสมทรายละเอียด ในอัตรา 1:1 ใส่ถงุ ดาเล็ก รดน ้าให้ ดินชุ่มตัดกิ่งฟั กข้ าวยาวประมาณ 5 นิ ้ว โดยมีข้อ 1 ข้ อ มาจุ่ม สารเร่งราก มาชาในถุงดาที่เตรี ยมไว้ เมื่อชาเสร็ จรดน ้าให้ ดินชุ่มดูแลรักษา เมื่อกิ่งชาอายุได้ ประมาณ 45 วัน เริ่ มออก ราก แล้ วนาไปแยกใส่ถงุ ดาเล็ก คอยรดน ้าให้ ดินชุ่มตลอด รอให้ กล้ าฟั กข้ าวตังตั ้ ว ประมาณ 1 - 2 สัปดาห์ จึงย้ ายลง แปลงปลูกในแปลง การเก็บข้ อมูลได้ แก่ ความยาวยอด เก็บเกี่ยวใบที่ 5 นับจากปลายยอด(Fig.1) ความกว้ างใบวัดจาก ส่วนขอบใบด้ านซ้ ายไปใบด้ านขวาที่กว้ างที่สดุ (Fig.2) ความยาวใบวัดจากโคนใบไปปลายสุดของใบ (Fig.3) ความยาวก้ าน ใบวัดจากส่วนโคนใบถึงส่วนลาต้ น (Fig.4) เส้ นผ่าศูนย์กลางโคนยอด (วัดจากโคนยอดสุดของยอด) ผลผลิตน ้าหนักสดของ ยอดชัง่ ทังยอด ้ ส่วนที่บริ โภคได้ คือส่วนของยอดที่นบั จากปลายยอดลงมา 3 ใบแรก (Fig.5) ส่วนที่บริ โภคไม่ได้ คือส่วนของ ยอดจากปลายยอดลงมาข้ อที่4 ถึงข้ อที่ 5 (Fig. 6) น ้าหนักแห้ งของยอด น ้าหนักแห้ งส่วนที่บริ โภคได้ และน ้าหนักแห้ งส่วนที่ บริโภคไม่ได้ เป็ นน ้าหนักของส่วนต่าง ๆ ที่นาไปอบในตู้อบลมร้ อนอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียสนาน 72 ชม. จานวนยอดเฉลี่ยต่อ ต้ น ดาเนินการเก็บข้ อมูล ระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2555 – มกราคม 2556 วิเคราะห์ข้อมูล ผลการทดลองโดยวิธีวิเคราะห์ ความแปรปรวน (anova F-test) และความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยโดยวิธี DMRT
844
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Fig.1 Measurement of cochincion gourd shoot Fig.2 Measurement of the first width of cochincion gourd
Fig.3 Measurement of the first length of cochincion gourd
Fig.5 Edible part of of cochincion gourd
Fig.4 Measurement of cochincion gourd leaf petiole
Fig.6 non-edible part of cochincion gourd
Fig.7Shoot characteristic of each cochincion gourd clone
Fig.8 Leaf characteristic
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
845
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ผลการทดลอง Table 1 Shoot length, Fresh weight and shoot base diameter, the 5th leaf width, length and petiole length in 6 clones of cochincion gourd Clones Horticultural characteristics Edible part (g)
non-edible part (g) Shoot dry weight (g)
3
29.21 c
3.56 b
3.20 b
15
28.65 b
3.09 b
2.70 b
16
37.38 a
5.17 b
3.15 b
41-2(male)
37.42 a
6.48 a
3.97 a
44-1
31.33 c
4.31 b
3.23 b
53
30.90 b
4.54 b
3.23 b
F-test
*
**
*
C.V. (%)
9.90
14.75
7.33
edible part dry weight (g)
Non-edible part dry weight (g)
Average shoot number/plant (shoot)
4.68 c 4.80 c 5.72 b 4.61 c 5.21 b 6.31 a * 9.40
5.99 b
2.51 d
6.69 b
2.57 c
6.64 b
2.92 a
4.80 c
2.55 d
6.12 b
2.57 d
7.43 a
2.82 b
**
*
7.20
7.15
** means with different alphabet were statistically different at p≤ 0.01 * means with different alphabet were statistically different at p≤ 0.05 Table 2 The Edible and non-edible parts, shoot dry weight, dry weight of edible and non-edible parts and average shoot number per plant in 6 clones of cochincion gourd Horticultural characteristics Clones Edible part (g)
non-edible part (g)
Shoot dry weight (g)
edible part dry weight (g)
Non-edible part dry weight (g)
Average shoot number/plant (shoot)
3
2.33 b
1.23
0.58 b
0.41 b
0.17
3.50 b
15
1.94 b
1.15
0.43 b
0.32 b
0.11
5.56 a
16
3.22 b
1.94
0.78 b
0.56 b
0.22
5.75 a
41-2(male)
4.35 a
2.13
0.83 a
0.60 a
0.94
4.69 b
44-1
2.99 b
1.33
0.68 b
0.47 b
0.21
1.93 c
53
2.91 b
1.62
0.68 b
0.57 b
0.11
4.75 b
F-test
**
ns
*
*
ns
**
C.V. (%)
12.41
23.09
14.86
16.47
27.26
8.55
** means with different alphabet were statistically different at p≤ 0.01 * means with different alphabet were statistically different at p≤ 0.05
846
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
จากการทดลอง ลักษณะของฟั กข้ าว 6 สายต้ นต่าง ๆ พบว่า สายต้ นเบอร์ 41-2 มีค่าเฉลี่ยความยาวยอดสูงที่สดุ เท่ากับ 37.42 เซนติเมตร ซึง่ มีความแตกต่างกันทางสถิตอิ ย่างมีนยั สาคัญยิง่ กับสายต้ นเบอร์ 44-1 53 3 และ 15 มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 31.33 30.90 29.21 และ 28.65 เซนติเมตร ตามลาดับ สายต้ นเบอร์ 53 มีค่าเฉลี่ยความกว้ างใบมากที่สดุ (ใบที่5 จากยอด)เท่ากับ 6.31 เซนติเมตร ซึง่ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่งเมื่อเทียบกับสายต้ นเบอร์ 16 44-1 15 3 และ 41-2 ที่มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.72 5.21 4.80 4.68 และ 4.61 เซนติเมตร ตามลาดับ สายต้ นเบอร์ 53 มีค่าเฉลี่ยความ ยาวใบ(ใบที่5 จากยอด)มากที่สดุ เท่ากับ 7.43 เซนติเมตร สูงที่สดุ ซึง่ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง สาหรับ สายต้ นเบอร์ 15 16 44-1 3 และ 41-2 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 6.69 6.64 6.12 5.99 และ 4.80 เซนติเมตร ตามลาดับ ( Table1 ) ลักษณะความยาวก้ านใบของฟั กข้ าว สายต้ นต่าง ๆ พบว่า สายต้ นเบอร์ 16 มีค่าเฉลี่ยความยาวก้ านใบมากที่สดุ เท่ากับ 2.92 เซนติเมตร ซึง่ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง ส่วนสายต้ นเบอร์ 53 15 44-1 41-2 และ 3 มีคา่ เฉลี่ยเท่ากับ 2.82 2.57 2.57 2.55 และ 2.51 เซนติเมตร ตามลาดับ สายต้ นเบอร์ 41-2 มีค่าเฉลี่ยเส้ นผ่าศูนย์กลาง โคนยอดมากที่สดุ อย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ โดยมีค่าเท่ากับ 3.97 มิลลิเมตร สาหรับสายต้ นเบอร์ 44-1 53 3 16 และ 15 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.23 3.23 3.20 3.15 และ 2.70 มิลลิเมตร ตามลาดับ สายต้ นเบอร์ 41-2 มีค่าเฉลี่ยน ้าหนัก สดของยอดสูงที่สดุ อย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 6.48 กรัมต่อยอด สูงที่สดุ ส่วนสายต้ นเบอร์ 16 53 44-1 3 และ 15 มีคา่ เฉลี่ยน ้าหนักของยอดในลาดับรองลงไป โดยมีค่าเท่ากับ 5.17 4.54 4.31 3.56 และ 3.09 กรัมต่อ ยอด ตามลาดับ (Table 2) ลักษณะส่วนที่บริ โภคได้ ของฟั กข้ าว สายต้ นต่าง ๆ พบว่า สายต้ นเบอร์ 41-2 มีค่าเฉลี่ยส่วนที่บริ โภคได้ สงู ที่สดุ เท่ากับ 4.35 กรัมต่อยอด ซึง่ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่งเมื่อเปรี ยบเทียบกับสายต้ นเบอร์ 16 44-1 53 3 และ 15 ซึง่ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.22 2.99 2.91 2.33 และ 1.94 กรัมต่อยอด ตามลาดับ สาหรับส่วนที่บริ โภคไม่ได้ ทุก สายต้ นไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ สายต้ นเบอร์ 41-2 มีค่าเฉลี่ยน ้าหนักแห้ งของยอดสูงที่สดุ เท่ากับ 0.83 กรัมต่อยอด ซึง่ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง ในขณะที่สายต้ นเบอร์ 16 44-1 53 3 และ 15 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.78 0.68 0.68 0.58 และ 0.43 กรัมต่อยอด ตามลาดับ (Table 2) จากการทดลอง ลักษณะของฟั กข้ าว สายต้ นต่าง ๆ พบว่า สายต้ นเบอร์ 41-2 มีค่าเฉลี่ยน ้าหนักแห้ งส่วนที่บริ โภค ได้ มากที่สดุ เท่ากับ 0.60 กรัมต่อยอด ซึง่ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง ส่วนสายต้ นเบอร์ 53 16 44-1 3 และ 15 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.57 0.56 0.47 0.41 และ 0.32 กรัมต่อยอด ตามลาดับ ในขณะที่น ้าหนักแห้ งส่วนที่ บริ โภคไม่ได้ ทุกสายต้ นไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ สายต้ นเบอร์ 16 มีค่าเฉลี่ยจานวนยอดต่อต้ นมากที่สดุ เท่ากับ 5.75 ยอด ซึง่ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญยิ่ง เมื่อเปรี ยบเทียบกับสายต้ นเบอร์ 53 41-2 3 และ 44-1 มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.75 4.69 3.50 และ 1.93 ยอด ตามลาดับ (Table 2 )
วิจารณ์ ผลการทดลอง การเปรี ยบเทียบลักษณะทางพืชสวนบางประการของฟั กข้ าว 6 สายต้ น พบว่า สายต้ นเบอร์ 41-2 มีความยาวยอด เส้ นผ่าศูนย์กลางโคนยอด นา้ หนักสดของยอด ส่วนที่บริ โภคได้ สงู กว่า ที่มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญยิ่ง ทังนี ้ ้อาจเป็ นเพราะมีลกั ษณะทางพันธุกรรมที่แตกต่างกัน ซึง่ สอดคล้ องจากงานทดลองของ พนิดา , (2554) ที่พบว่า สายพันธุ์ เวียดนาม มีความแตกต่างจากพันธุ์ไทย คือ เมล็ดมีขนาดใหญ่ มีหยักรอบเมล็ดแหลมคม และมีเปลือกหนากว่าพันธุ์ไทย ผล มีลกั ษณะสีแดงเข้ ม มีเนื ้อผลหนา เมล็ดหนาแน่น มีเส้ นใยมาก การติดดอกติดผลอายุ 6-8 เดือน และจะมีระยะพักตัว ติด ดอกช่วงสันๆ ้ คือ เดือน ธันวาคม-มกราคม นอกจากนี ้ยังสอดคล้ องกับรายงานลักษณะทางพืชสวนบางประการที่แตกต่างกัน อันเป็ นผลเนื่องมาจากลักษณะทางพันธุกรรมในแตงกวา (จานุลกั ษณ์, 2540) และฟั กทอง (รพีพร, 2548) ปวันรัตน์ และ คณะ (2555) อ้ างโดย ณัฐยาพร และคณะ (2557) ทาการเปรี ยบเทียบผลผลิตในฟั กข้ าวสายพันธุ์ต่างๆ รายงานว่าฟั กข้ าวพันธุ์ KKU ac. 09-094 ซึง่ เป็ นพันธุ์ที่รวบรวมมาจากประเทศเวียดนาม มีน ้าหนักผล และน ้าหนักเยื่อหุ้มเมล็ดสูงที่สดุ แต่ไม่สอดคล้ อง กับรายงานของ ยุทธนา และคณะ (2553) อ้ างโดยณัฐยาพร และคณะ (2557) ที่สรุปว่าฟั กข้ าวพันธุ์ไทยให้ จานวนผล และ หนักผลผลิตมากกว่าพันธุ์เวียดนาม ซึ่งอาจเป็ นไปได้ ว่าฟั กข้ าวพันธุ์เวียดนามที่ปลูกในแปลงทดสอบเป็ นฟั กข้ าวต่างพันธุ์ และ การนาต้ นมาขยายพันธุ์ เช่น ต้ นกล้ าจากการเพาะเมล็ด หรื อการใช้ กิ่งตอน เป็ นต้ น อาจมีผลต่อการเจริ ญ และการให้ ผลผลิตใน ปี แรก ซึง่ อาจจะทาให้ จานวนผลต่อต้ น และน ้าหนักผลสด แตกต่างกัน ในการผลิตฟั กข้ าวเชิงการค้ าหรื อเชิงอุตสาหกรรม การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
847
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สรุ ปผลการทดลอง จากการทดลองเปรี ยบเทียบลักษณะบางประการของฟั กข้ าว 6 สายต้ นพบว่า พันธุ์ที่มีแนวโน้ มให้ ผลผลิตลักษณะ ยอดสูงสุดคือพันธุ์ 41-2 มี ลักษณะทางพื ชสวนที่ ดีกว่าสายต้ นอื่นๆ ที่มีค่าเฉลี่ยความยาวยอด เส้ นผ่าศูนย์ กลางโคนยอด น ้าหนักสดของยอด ส่วนที่บริโภคได้ น ้าหนักแห้ งของยอด และน ้าหนักแห้ งบริโภคได้ สงู ที่สดุ
ข้ อเสนอแนะ ควรมีการเก็บข้ อมูล ลักษณะของพื ้นที่ใบของฟั กข้ าวเฉลี่ย จานวนผลเฉลี่ยต่อต้ น น ้าหนักของผลเฉลี่ยต่อต้ น และ ควรมีการเก็บข้ อมูลในรอบ 1 ปี
กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนาที่ให้ การสนับสนุนทุนวิจยั
เอกสารอ้ างอิง กมลวรรณ วิชิตกุล. 2539 . อาหารหน้ าร้ อน. ครัวนิตยสารอาหารและการครัว . [สืบค้ นใน]: http://www.suandusitcuisine.com . 20 ตุลาคม 2554. จานุลกั ษณ์ ขนบดี. 2540. การรวบรวมและคัดเลือกพันธุ์แตงกวา . การคัดเลือกสายพันธุ์แตงกวาสาหรับ บริ โภคผลผลิตสด สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันวิจยั และฝึ กอบรมการเกษตรลาปาง. ลาปาง. 80 หน้ า. ณัฐยาพร หนันต๊ ะ, พัชริ น ส่งศรี , พลัง สุริหาร และ กมล เลิศรัตน์.. 2557. การเปรี ยบเทียบผลผลิตฟั กข้ าวสายต้ น ต่างๆ. แก่นเกษตร 42 ฉบับพิเศษ 1 : (2557). 627-633. ปวันรัตน์ วิหงส์, พัชริ น ส่งศรี , น ้าอ้ อย บุตรพรม, พลัง สุริหาร และกมล เลิศรัตน์. 2555. การเปรี ยบเทียบผลผลิตใน ฟั กข้ าวสายพันธุ์ต่างๆ. แก่นเกษตร. 40: 497-503. ยุทธนา บรรจง, มะลิวลั ย์ หฤทัยธนาสันติ์, เกษม หฤทัยธนาสันติ์ และวิชยั หฤทัยธนาสันติ์. 2553. สมรรถภาพการ เจริ ญเติบโตและผลผลิตของฟั กข้ าวแหล่งพันธุ์ไทยและเวียดนามในการเก็บเกี่ยวปี แรก. วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร. 41: 1-4 เต็ม สมิตินนั ทน์. 2554. ชื่อพรรณไม้ แห่งประเทศไทย . สวนพฤกษศาสตร์ ป่าไม้ สานักวิชาการป่ าไม้ กรมป่ าไม้ . กรุงเทพฯ. 810 หน้ า. พนิดา เกษรศรี . 2554. ฟั กข้ าว . [สืบค้ นใน]: http://www. Gacfruitfarm.com . 20 ตุลาคม 2554. รพีพร ศรี สถิตย์. 2548. การเปรี ยบเทียบพันธุ์ฟักทอง 6 สายพันธุ์. การวิเคราะห์พืชเศรษฐกิจหลัก สานักวิจยั และพัฒนาการเกษตร กรมวิชาการเกษตร . 71 หน้ า
848
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของกล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่ าง Morphological Study of Local Thai Doritis in Lower Region of North - Eastern Thailand ศรี ประไพ ธรรมแสง1 และกาญจนา รุ่งรัชกานนท์ 1 Sriprapai Thummasaeng1 and Karnchana Rungruchakanont1
บทคัดย่ อ การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของกล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง เพื่อเป็ นข้ อมูล เบื ้องต้ นในการนาไปใช้ ในการปรับปรุ งพันธุ์ต่อไป ผลการศึกษาพบว่า กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งที่เก็บรวบรวมได้ มี 2 สายพันธุ์คือ กล้ วยไม้ แดงอุบล และ กล้ วยไม้ ม้าวิ่ง ซึง่ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา แต่ละสายพันธุ์มีความหลากหลาย ดังนี ้ ลักษณะดอกของ กล้ วยไม้ แดงอุบล มีความหลากหลายทังหมด ้ 8 รูปแบบ ส่วนสีของกลีบดอกมีตงแต่ ั ้ สีม่วงอ่อนจนถึงสีชมพูเข้ ม สีของปากดอก มีสีขาว ชมพูอ่อน ม่วงอ่อน ม่วงเข้ ม และชมพูเข้ ม มีลาย สีของหูกลีบดอก มีสีเหลืองส้ ม ชมพูอ่อน ชมพูเข้ ม ม่วงอ่อน ม่วงเข้ ม ใบกล้ วยไม้ แดงอุบล มีลกั ษณะแตกต่างกัน 5 รู ปแบบ ลักษณะดอกของกล้ วยไม้ ม้าวิ่ง มีความหลากหลายทังหมด ้ 7 รูปแบบ สี ของกลีบดอกมีตงแต่ ั ้ สีขาว ชมพูอ่อน ชมพูเข้ ม ม่วงอ่อน และม่วงเข้ ม สีของปากดอก มีสีขาว เหลือง เหลืองอมส้ ม ม่วงอ่อน ม่วงเข้ ม สีของหูกลีบดอก มีสีเหลืองส้ ม ชมพู ม่วงอ่อน ม่วงเข้ ม ส่วนใบกล้ วยไม้ ม้าวิ่ง มีลกั ษณะแตกต่างกัน 3 รูปแบบ คาสาคัญ: กล้ วยไม้ แดงอุบล กล้ วยไม้ ม้าวิ่ง สัณฐานวิทยา
Abstract A study on morphology of Doritis in the lower region of North Eastern Thailand was conducted to examine morphology of Doritis to obtain fundamental data to be used for breeding program. Results showed that two species of Doritis were Doritis pulcherrima var. buyssoniana (Daeng - ubon) and Doritis pulcherrima (Ma - wing). Daeng - ubon had different shape and color of leaf and flowers as follows : There were 8 forms of Daeng - ubon flowers. Color of petals range from light purple to dark pink. Lip colors were white, light pink, light purple, dark purple and dark pink with stripe. Colors of side lobe were yellowish orange, light pink, dark pink, light purple and dark purple. Leaves of Daeng - ubon consisted of 5 different forms. There were 7 forms of Ma - wing flowers. Petals colors were white, light pink, dark pink, light purple and dark purple. Lip colors were white, yellow, yellowish orange, light purple and dark purple. Colors of side lobe were yellow, orange, pink, light purple and dark purple. Leaves of Ma - wing consisted of 3 different forms. Keywords : Doritis pulcherrima var. buyssoniana (Daeng - ubon), Doritis pulcherrima (Ma - wing), morphology
คานา กล้ วยไม้ ที่พบบนโลกนี ้มีอยูป่ ระมาณ 20,000 - 25,000 ชนิด และมีมากกว่า 800 สกุล ซึง่ นับว่าวงศ์กล้ วยไม้ เป็ นวงศ์ที่ ใหญ่ที่สดุ วงศ์หนึง่ ของพืชมีดอก สามารถเจริ ญเติบโตได้ ทกุ ทวีปยกเว้ น ทวีปอาร์ กติก (ครรชิต, 2547) กล้ วยไม้ ในธรรมชาติสว่ น ใหญ่จะพบมากในเขตอบอุ่นและเขตร้ อนของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริ เวณเขตร้ อนของทวีปเอเชีย อเมริ กาใต้ และแอฟริ กา ประเทศไทยเป็ นแหล่งหนึ่งที่มีการกระจายพันธุ์ของกล้ วยไม้ สงู กล้ วยไม้ ป่าหรื อกล้ วยไม้ พนั ธุ์แท้ ของไทยที่มีก ารค้ นพบและ ตรวจสอบรายชื่ออย่างถูกต้ องแล้ ว มีทงหมด ั้ 177 สกุล จานวน 1,125 ชนิด (ฐิ ติพร, 2545) กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่ง (Doritis) เป็ นกล้ วยไม้ ที่ขึ ้นอยู่ตามพื ้นดิน ซอกหินและแอ่งหิน ที่มีอินทรี ย์วตั ถุทบั ถม ลักษณะต้ น จะสันๆ ้ ใบแบนค่อนข้ างหนา ใบมีสีเขียวหรื อสีเขียวอมม่วง ช่อดอกยาวตังตรง ้ ดอกมีสีแดงอ่อนๆ ไปจนถึงสีแดงอมม่วง ดอกจะ ทยอยบานขึ ้นไปเรื่ อยๆ จนถึงปลายช่อดอก (ระพี,2517) กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่ง ที่พบกระจายพันธุ์ในประเทศไทยมี 4 พันธุ์ คือ 1) ม้ าวิ่ง (Doritis pulcherrima) พบทัว่ ไปทังในภาคกลาง ้ ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) 1
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 34190
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
849
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
แดงอุบล (Doritis pulcherrima var. buyssoniana) พบในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น จังหวัดอุบลราชธานี ศรี สะเกษ 3) ม้ าบิน (Doritis pulcherrima var.chumpornensis) พบที่ภาคใต้ เช่น จังหวัดชุมพร และ 4) Doritis pulcherrima var.coerulea (ไม่มีชื่อพื ้นเมือง) พบทัว่ ไปในภาคเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ (สมศักดิ์, 2535) ซึ่ง กล้ วยไม้ สายพันธุ์ม้าวิ่งและแดงอุบลจะมีลกั ษณะคล้ ายคลึงกันมาก แต่แดงอุบลจะมีขนาดดอก ลาต้ นและใบใหญ่กว่าม้ าวิ่ง กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่ง พันธุ์แดงอุบล (Doritis pulcherrima var. buyssoniana) เป็ นกล้ วยไม้ ที่เกิดบนดินหรื อหิน พบ มากที่จงั หวัดอุบลราชธานี จึงเป็ นกล้ วยไม้ ประจาถิ่น ออกดอก ช่วงเดือน มิถนุ ายน - พฤศจิกายน กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งพันธุ์แดง อุบล มีการเจริ ญเติบโตเป็ นลาต้ นเดี่ยว มักพบขึ ้นเป็ นกอใหญ่บนลานหิน ลาต้ นสูง 6 - 20 เซนติเมตร ใบ มีหลายแบบ เช่น ใบ เรี ยวยาว ใบรี รูปไข่ ใบแคบ สีของใบมีความแตกต่างกัน เช่น ใบเขียวขอบน ้าตาลแดง ใบเขียวจุดน ้าตาลกว้ างกลม ส่วนดอกมี หลายสีและช่อดอกก็แตกต่างกัน กล้ วยไม้ ชนิดนี ้มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากศัตรูทางธรรมชาติมีมาก (ศรี ประไพ และคณะ, 2544) กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่ง พันธุ์ม้าวิ่ง (Doritis pulcherrima ) ชื่ออื่น ละเม็ด หญ้ าดอกหิน เป็ นกล้ วยไม้ ป่าที่เกิดบนดินหรื อหิน พบการ กระจายตัวทุกภาคของประเทศ ออกดอกปี ละครัง้ คือ ช่วงเดือนมิถุนายน - พฤศจิกายน การกระจายพันธุ์ จีนตอนใต้ และ เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ มักพบขึน้ เป็ นกอใหญ่ บนลานหิน ลาต้ นสูง 5 - 12 เซนติเมตร ใบ รู ปรี ถึงกลม ความกว้ างของใบ ประมาณ 2 - 4 เซนติเมตร ความยาวของใบ 7 -12 เซนติเมตร สีเขียวถึงแดงคล ้า ดอก ออกเป็ นช่อตังตามซอกใบ ้ ก้ านช่อดอก ยาว 20 - 50 เซนติเมตร กลีบเลี ้ยงและกลีบดอกสีม่วงอ่อนหรื อม่วงแดง กลีบเลี ้ยงลู่ไปด้ านหลัง กลีบปากมีสีขาวแซมจากโคน กลีบ ดอกบานเต็มที่กว้ าง 1.5 - 2 เซนติเมตร (วีระชัย , 2543) นอกจากนีย้ ังพบว่ากล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งพันธุ์ม้าวิ่งมีความ หลากหลายทางสัณฐานวิทยา ดังนัน้ คณะวิจยั จึงได้ ดาเนินงานวิจยั การเก็บรวบรวมพันธุ์กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่ ง พันธุ์แดงอุบล และ ม้ าวิ่ง เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตและสัณฐานวิทยาของกล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่ง เพื่อเป็ นข้ อมูลพื ้นฐานในการปรับปรุงพันธ์ตอ่ ไป
อุปกรณ์ และวิธีการ สารวจกล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่ง ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้ รวบรวมมาจากสถานที่ต่างๆ โดยการออกไป เก็บตัวอย่างในช่วงฤดูออกดอก คือ ช่วงเดือน มิถนุ ายน ถึง พฤศจิกายน ของทุกปี เป็ นเวลา 2 ปี ดังนี ้ กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่ง พันธุ์แดงอุบล ได้ จาก ภูพลาญใหญ่ อาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี (NK) บ้ านแดงหม้ อ อาเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี (UB) ภูฆ้องคา อาเภอกุดข้ าวปุน้ จังหวัดอุบลราชธานี (PK) ช่องเม็ก อาเภอโขงเจียมจังหวัดอุบลราชธานี (DB) และจังหวัดมุกดาหาร (MDD) กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งพันธุ์ม้าวิ่ง ได้ จาก ช่องเม็ก อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี (CM) สวนของนางราพึง แก้ ว เขียว บ้ านหนองครก อาเภอน ้ายืน จังหวัดอุบลราชธานี (MV) อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี (MVP) ภูผาเทิบ จังหวัด มุกดาหาร (PT) ตลาดอินโดจีน จังหวัดมุกดาหาร ( MDM) และหมูบ่ ้ านทับทิมสยาม จังหวัดศรี สะเกษ (TT) จากนันน ้ ามาปลูก เรื อนเพาะชา คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา โดยศึกษาลักษณะดอก ดังนี ้ รูปแบบของดอก สีของปากดอก สีของกลีบดอก หูกลีบดอก ศึกษาลักษณะใบ ดังนี ้ รูปแบบใบ สี ใบ โดยใช้ แผ่นเทียบสีมาตรฐาน RHS 2001 (colour chart) และบันทึกภาพ
ผลการศึกษา ผลการศึกษาสัณฐานวิทยาของกล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่ง กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่ง พันธุ์แดงอุบล สัณฐานวิทยาของกล้ วยไม้ พนั ธุ์นี ้ พบมี ลาต้ นตังตรง ้ ขนาดสันเตี ้ ้ย และพบว่ามีความหลากหลายของดอกและใบ ดังนี ้ 1 ส่วนของดอก กล้ วยไม้ พนั ธุ์แดงอุบล ออกดอกเป็ นช่อ ช่อดอกแบบกระจะ (raceme) (สลิล และ นฤมล, 2545) 1.1 รูปแบบของดอก จากการศึกษาพบว่ามีรูปแบบของดอกหลายชนิดสามารถ แยกได้ 8 รูปแบบ ดังนี ้ รูปแบบที่ 1 ดอกมีลกั ษณะค่อนข้ างกลม กลีบดอกกว้ าง ชิดกัน หน้ าดอกค่อนข้ างลูไ่ ปข้ างหลังเล็กน้ อย ช่อดอกยาวแข็งและตัง้ ตรง ดอกสีม่วงอ่อน - ม่วงเข้ ม ปากดอกเป็ นลายสีม่วงเข้ มกับม่วงอ่อน (purple - violet 80 A) หูกลีบดอก มีสีม่วงเข้ ม (red purple group N74 A) พื ้นที่ที่พบ ภูพลาญใหญ่ อาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี (Figure 1A) 850
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
รูปแบบที่ 2 ดอกรี กลีบดอกแคบ กลีบดอกห่าง หน้ าดอกลูไ่ ปทางด้ านหลังเล็กน้ อย ดอกสีม่วง ปากดอก เป็ นลายขีดสีมว่ งเข้ ม (red - purple N74 B) หูกลีบดอก มีสีม่วงเข้ ม (red - purple N74 A) พื ้นที่ที่พบ ช่องเม็ก อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี (Figure 1B) รูปแบบที่ 3 ดอกกลม กลีบดอกกว้ าง เหลื่อมซ้ อนทับกัน หน้ าดอกลูไ่ ปทางด้ านหลังเล็กน้ อย มีสีม่วงอ่อน หน้ าดอกลูไ่ ปทาง ด้ านหลัง ช่อดอกตัง้ ช่อดอกยาวแข็งและตรง ปากดอก สีม่วง (purple - violet 80 A) เป็ นลายขีดสีม่วงคาดม่วงอ่อนเหมือน กลีบดอก หูกลีบดอก มีสีเหมือนปากดอก (purple group 76 A) พื ้นที่ที่พบ ช่องเม็ก อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี (Figure1C ) รูปแบบที่ 4 ดอกกลม กลีบดอกกว้ าง เหลื่อมซ้ อนกัน หน้ าดอกตรง ซึง่ ถือว่าเป็ นลักษณะดอกที่ดีและสวยงาม ดอกสีม่วงอ่อน ม่วงเข้ ม ช่อดอกตัง้ ช่อดอกยาวแข็งและตรง ปากดอกสีมว่ ง ( purple - violet N 82 A) เป็ นลายขีดสีม่วงเข้ มคาดสีม่วงอ่อน หู กลีบดอกมีสีม่วงเข้ ม (red - purple N74 A) พื ้นที่ที่พบ ช่องเม็ก อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี (Figure 1D) รูปแบบที่ 5 ดอกรี กลีบดอกค่อนข้ างกว้ าง ชิดกัน หน้ าดอกลูไ่ ปทางด้ านหลังมาก ดอกมีสีม่วงอ่อน ปากดอก สีม่วง (purple violet N 80 A) เป็ นลายสีมว่ งอ่อน คาดม่วงเข้ ม หูกลีบดอก สีเหลืองส้ ม (orange group N25 B) พื ้นที่ที่พบ ช่องเม็ก อาเภอ โขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี (Figure 1E) รูปแบบที่ 6 ดอกรี ใหญ่ กลีบดอกแคบและห่างกัน หน้ าดอกลูไ่ ปทางด้ านหลังเล็กน้ อย ดอกสีชมพูออ่ น - ม่วง ปากดอกสีมว่ ง อ่อน (violet group 84 B ) เป็ นลายขีดสีมว่ งเข้ มคาดม่วงอ่อน หูกลีบดอกมีสีเหลืองส้ ม( orange group N25 C ) พื ้นที่ที่พบ ภู ฆ้ องคา อาเภอกุดข้ าวปุน้ จังหวัดอุบลราชธานี (Figure 1F) รูปแบบที่ 7 ดอกใหญ่คอ่ นข้ างกลม กลีบดอกแคบ ห่างกัน หน้ าดอกตรง ดอกมีสีม่วงอ่อน - ม่วงเข้ ม ปากดอกสีม่วงเข้ ม (red purple group N74 A ) เป็ นลาย สีม่วงเข้ มกว่ากลีบดอก หูกลีบดอกมีสีมว่ งเข้ ม (red - purple group N74 A ) พื ้นที่ที่พบ ช่อง เม็ก อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี (Figure 1G ) รูปแบบที่ 8 ดอกใหญ่กลม กลีบดอกค่อนข้ างกลม กลีบดอกเหลื่อมซ้ อนกัน และลูไ่ ปด้ านหลังเล็กน้ อย ดอกมีสีม่วงอ่อน ปาก ดอกสีม่วง (purple - violet N 80 A) เป็ นลาย สีมว่ งเข้ มกว่ากลีบดอก หูกลีบดอกมีสีเหลืองส้ ม (orange group N25 B) พื ้นที่ที่ พบ ช่องเม็ก อาเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี (Figure 1H) 1.2 ขนาดดอก มีขนาดกว้ าง 3.0 - 4.3 เซนติเมตร ยาว 2.5 - 4.0 เซนติเมตร และสูง 2.8 - 4.1 เซนติเมตร จานวนดอก 10 18 ดอก/ช่อ จานวนช่อดอก 1 - 2 ช่อ/ต้ น ขนาดของช่อดอกยาว 37 - 90 เซนติเมตร
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
851
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Figure 1A form 1
Figure 1C form 3
Figure 1E form 5
Figure 1B form 2
Figure 1D form 4
Figure 1F form 6
Figure 1G form 7 Figure 1H form 8 Figure 1 Doritis pulcherrima var. buyssoniana (Daeng - ubon) flower forms ; A) form 1, B) form 2, C) form 3, D) form 4, E) form 5, F) form 6, G) form 7, and H) form 8.
852
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
2 ส่วนของใบ การจัดเรี ยงของใบ เป็ นแบบซ้ อนสลับ มีความหลากหลายของสีและรูปร่างใบ 2.1 รูปแบบและสีของใบ มี 5 รูปแบบ ดังนี ้ รูปแบบที่ 1 ใบรูปขอบขนานแกมรูปรี สีเขียว (green group 143 A, B) จุดสีเขียวเข้ มตามใบ พื ้นที่ที่พบ ภูพลาญใหญ่ อาเภอ บุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี (Figure 2A) รูปแบบที่ 2 ใบรูปขอบขนานสีเขียวอมม่วง (grayed - brown N 199 A) มีจดุ สีน ้าตาลตามใบ พื ้นที่ที่พบ ช่องเม็ก อาเภอโขง เจียม จังหวัดอุบลราชธานี (Figure 2B ) รูปแบบที่ 3 ใบรูปขอบขนานแกมรูปรี สีเขียวอมเหลือง (yellow green 152 A) ขอบใบสีน ้าตาลและมีจดุ สีน ้าตาล พื ้นที่ที่พบ จังหวัดมุกดาหาร (Figure 2C) รูปแบบที่ 4 ใบรูปขอบขนานแกมรูปรี สีเขียวอมม่วง (grayed - brown N 199 B) มีจดุ สีน ้าตาลตามใบ พื ้นที่ที่พบ จังหวัด มุกดาหาร (Figure 2D) รูปแบบที่ 5 ใบรูปขอบขนานแกมรูปหอกสีเขียว (green 143 A) มีจดุ สีน ้าตาลตามใบ พื ้นที่ที่พบ ภูฆ้องคา อาเภอกุดข้ าวปุน้ จังหวัดอุบลราชธานี (Figure 2E) 2.2 ขนาดของใบ ขนาดใหญ่ กว้ าง 1.5 - 5.4 เซนติเมตร ยาว 2.0 - 20.0 เซนติเมตร
Figure 2A form 1
Figure 2C form 3
Figure 2B form 2
Figure 2D form4
Figure 2E form 5 Figure 2 Doritis pulcherrima var. buyssoniana (Daeng - ubon) leaf forms ; A) form 1, B) form 2, C) form 3, D) form 4, and E) form 5, การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
853
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่ง พันธ์ ม้าวิ่ง สัณฐานวิทยาของกล้ วยไม้ กลุม่ นี ้ พบว่ามีความหลากหลายของดอกและใบ ดังนี ้ 1 ส่วนของดอก กล้ วยไม้ พนั ธุ์ม้าวิ่ง ออกดอกเป็ นช่อแบบกระจะ (raceme) (สลิล และนฤมล, 2545) 1.1 รูปแบบของดอก จากการศึกษาพบว่ามีรูปแบบของดอกหลายชนิดสามารถ แยกได้ 7 รูปแบบดังนี ้ รูปแบบที่ 1 ดอกมีขนาดเล็ก กลีบดอกกว้ าง ห่างและกาง กลีบดอกลูไ่ ปทางด้ านหลังมาก ปากดอก สีม่วงเข้ มกว่ากลีบดอก (red - purple 71 D) หูกลีบดอกสีม่วงอมแดง (red - purple group 63 A) พื ้นที่ที่พบ จังหวัดมุกดาหาร (Figure 3A) รูปแบบที่ 2 ดอกมีขนาดเล็ก กลีบดอกค่อนข้ างกลมชิดกัน กลีบดอกลูไ่ ปทางด้ านหลัง ปากดอกสีม่วง (purple group N 78 B) หูกลีบดอกสีม่วงอ่อน (red – purple group 73 C) พื ้นที่ที่พบ อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดมุกดาหาร (Figure 3B) รูปแบบที่ 3 ดอกมีขนาดเล็ก กลีบดอกรี ยาวห่างกัน กลีบดอกลูไ่ ปทางด้ านหลังเล็กน้ อย ดอกสีม่วงอ่อน กลีบดอกจะลู่ไปทาง ด้ านหลัง ปากดอกสีม่วงเข้ มกว่ากลีบดอก (red - purple 74 B) หูกลีบดอกสีม่วงแดง (red - purple group 63 A) พื ้นที่ที่พบ อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี (Figure 3C) รู ปแบบที่ 4 ดอกมีขนาดเล็ก กลีบดอกค่อนข้ างกลมห่างกัน กลีบดอกลู่ไปทางด้ านหลังเล็กน้ อย ดอกสีขาว ปากดอกสีม่วง (purple - violet N 80 A) เป็ นลายสีม่วงอ่อน คาดม่วงเข้ ม หูกลีบดอกสีม่วง (purple - violet N 80 A) พื ้นที่ที่พบ อาเภอโพธิ์ ไทร จังหวัดอุบลราชธานี (Figure 3D) รู ปแบบที่ 5 ดอกมีขนาดเล็ก กลีบดอกรี ชิดกัน กลีบดอกลู่ไปทางด้ านหลังมากจนดอกหงายขึ ้น และยื่นคล้ ายหอก ปากดอกสี ม่วงอ่อน (purple - violet N 80 A) เป็ นลายสีขาวม่วงคาดม่วงอ่อน หูกลีบดอกสีม่วง พื ้นที่ที่พบ อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัด อุบลราชธานี (purple - violet N 80 A) (Figure 3E) รู ปแบบที่ 6 ดอกมีขนาดเล็ก สีม่วงอ่อนเกือบขาว กลีบดอกรี ห่าง ลู่ไปด้ านหลังจนดอกหงายขึ ้น ปากดอกสีม่วงอ่อน (purpleviolet N 82 D) หูกลีบดอกสีเหลืองส้ ม (yellow - orange group 22 A) พื ้นที่ที่พบ ภูผาเทิบ จังหวัดมุกดาหาร (Figure 3F) รูปแบบที่ 7 ดอกมีขนาดเล็ก สีขาว กลีบดอกชิดกัน ลูไ่ ปด้ านหลัง ปากดอกสีม่วงอ่อน ( purple - violet N 80 A) หูกลีบดอกสี เหลืองส้ ม (yellow - orange group 17 A) พื ้นที่ที่พบ ภูผาเทิบ จังหวัดมุกดาหาร (Figure 3G)
854
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Figure 3A form 1
Figure 3C form 3
Figure 3E form 5
Figure 3B form 2
Figure 3D form 4
Figure 3F form 6
Figure 3G form 7 Figure 3 Doritis pulcherrima (Ma - wing) flower forms ; A) form 1, B) form 2, C) form 3, D) form 4, E) form 5, F) form 6, and G) form 7
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
855
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
1.2 ขนาดดอก มีขนาดกว้ าง 1.4 - 2.5 เซนติเมตร ยาว 1.6 - 2.8 เซนติเมตร และสูง 1.6 - 2.7 เซนติเมตร จานวนดอก 2 – 19 ดอก/ช่อ จานวนช่อดอก 1 - 3 ช่อ/ต้ น ขนาดของช่อดอกยาว 42 - 91 เซนติเมตร 2 ส่วนของใบ การจัดเรี ยงของใบ เป็ นแบบซ้ อนสลับ มีความหลากหลายของสีและรูปร่างใบ 2.1 รูปแบบและสีของใบ มี 3 รูปแบบ ดังนี ้ รูปแบบที่ 1 ใบรู ปขอบขนานแกมรูปรี สีเขียว (green 143 B) ขนาดเล็ก แผ่นใบและขอบใบมีจดุ สีน ้าตาล พื ้นที่ที่พบ ภูผาเทิบ จังหวัดมุกดาหาร (Figure 4A) รูปแบบที่ 2 ใบรูปขอบขนานสีเขียว (green 143 B) แผ่นใบและขอบใบมีจดุ สีน ้าตาล พื ้นที่ที่พบ จังหวัดมุกดาหาร (Figure 4B) รู ปแบบที่ 3 ใบรู ปขอบขนานแกมรู ปไข่สีเขียว (yellow-green 144 B) แผ่นใบและขอบใบมีจดุ สีน ้าตาล พื ้นที่ที่พบ จังหวัด มุกดาหาร (Figure 4C) 2.2 ขนาดของใบ มีขนาดกว้ าง 1.4 - 4.6 เซนติเมตร ยาว 3.0 -14.0 เซนติเมตร
Figure 4A form 1
Figure 4B form 2
Figure 4C form 3 Figure 4 Doritis pulcherrima (Ma - wing) leaf forms ; A) form 1, B) form 2, and C) form 3
วิจารณ์ ผล ผลการศึ ก ษาลัก ษณะทางสัณ ฐานวิ ท ยาของกล้ ว ยไม้ ส กุล ม้ า วิ่ ง พัน ธุ์ แ ดงอุบ ล และพัน ธุ์ ม้ า วิ่ ง พบว่ า มี ค วาม หลากหลายของ ดอก ใบ คือมีความหลากหลายของสีและรู ปแบบของดอกและใบ พบว่าดอกของกล้ วยไม้ พนั ธุ์แดงอุบลมี ขนาดใหญ่กว่าพันธุ์ม้าวิ่ง คือมีขนาดดอกกว้ าง 3 - 4.3 เซนติเมตร ยาว 2.5 - 4 เซนติเมตร และสูง 2.8 - 4.1 เซนติเมตร โดย รู ปแบบของดอกที่ถือว่าสวยงามจะมีลกั ษณะดอกค่อนข้ างกลม กลีบดอกกว้ างชิดหรื อซ้ อนกัน ดอกมีสีม่วงอ่อน ปากดอกมีสี ม่วงเป็ นลายและ สีของหูกลีบดอก มีสีม่วงเข้ ม หน้ าดอกตรงหรื อลู่ไปด้ านหลังเล็กน้ อย และนอกจากนี ้ยังมีดอกที่มีสีของหูกลีบ ดอกเป็ นสีเหลืองไปจนถึงส้ ม ดังนัน้ จากลักษณะดีเด่นเหล่านี ้ กล้ วยไม้ พนั ธุ์แดงอุบลที่รวบรวมและศึกษาลักษณะต่างๆนี ้ จึง เหมาะสมที่จะนาไปเป็ นพ่อหรื อแม่พนั ธุ์ในการปรับปรุงพันธุ์ตอ่ ไป ซึง่ กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งพันธุ์แดงอุบลมีผ้ นู ิยมนาไปผสมพันธุ์กบั 856
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สกุลอื่น ที่มีความใกล้ เคียงกัน ได้ แก่ สกุลฟาเลนอปซิส (ครรชิต 2547) ทาให้ ลกู ผสมที่ได้ เป็ นกล้ วยไม้ ที่มีความสาคัญทาง เศรษฐกิจ ส่วนกล้ วยไม้ พนั ธุ์ม้าวิ่ง ดอกมีขนาดเล็กกว่า โดย มีขนาดดอกกว้ าง 1.4 - 2.5 เซนติเมตร ยาว 1.6 - 2.8 เซนติเมตร และสูง 1.6 - 2.7 เซนติเมตร แต่มีความโดดเด่นคือออกดอกเร็วกว่าพันธุ์แดงอุบล สรุ ป การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของกล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ทาการศึกษา จากต้ นกล้ วยไม้ ที่เก็บรวบรวมได้ ทังหมด ้ 2 พันธุ์ คือกล้ วยไม้ พนั ธุ์แดงอุบลและพันธุ์ม้าวิ่ง พบว่า กล้ วยไม้ ทงสองพั ั้ นธุ์ มีความ หลากหลายของรูปแบบของดอก ใบ ตลอดจนสีของดอกและสีของใบ ซึง่ สามารถนาต้ นที่มีลกั ษณะเด่นเหล่านี ้ใช้ เป็ นพ่อหรื อแม่ พันธุ์ได้ และกล้ วยไม้ พนั ธุ์ม้าวิ่ง มีต้นขนาดเล็กเหมาะที่ จะนาไปปรับปรุ งพันธุ์ ให้ เป็ นไม้ กระถางขนาดเล็ก ใช้ ประดับตกแต่ง อาคารสานักงานได้
กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ มหาวิ ท ยาลัย อุบ ลราชธานี ที่ ส นับ สนุน งบประมาณในการท าวิ จัย ขอขอบคุณ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ที่สนับสนุนโรงเรื อนเพาะปลูก และเครื่ องมืออุปกรณ์ ต่างๆ ที่ใช้ ในการวิจัย ขอขอบคุณ นักศึกษา และบุคลากรของ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ที่มีสว่ นช่วยเหลือในการทาวิจยั ครัง้ นี ้
เอกสารอ้ างอิง ครรชิต ธรรมศิริ. 2547. เทคโนโลยีการผลิตกล้ วยไม้ . อัมริ นทร์ แอนพริ น้ ติ ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง. กรุงเทพฯ. 283 น. ฐิ ติพร พิทยาวุธวินิจ. 2545. การสารวจกล้ วยไม้ ป่าในโครงการอนุรักษ์ พนั ธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี พื ้นที่โคกภูตากกา อ. ภูเวียง จ. ขอนแก่น. ศูนย์ศกึ ษาค้ นคว้ าและพัฒนาเกษตรกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 5 น. ระพี สาคริ ก. 2517. การเพาะปลูกกล้ วยไม้ ในสภาพแวดล้ อมของประเทศไทย โรงพิมพ์ชวนพิมพ์. กรุงเทพฯ. 866 น. วีระชัย ณ นคร. 2543. สวนพฤกษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ เล่ม 6 กล้ วยไม้ ไทย. โอ.เอส.พริ น้ ติ ้งเฮ้ าส์. กรุงเทพฯ. 173 น. ศรี ประไพ ธรรมแสง กาญจนา รุ่งรัชกานนท์ ภาคภูมิ สืบนุการณ์ วรงค์ นัยวินิจ ธีรวุฒิ มาประชา และอุทยั อันพิมพ์. 2544. สารวจและเก็บรวบรวม พันธุ์กล้ วยไม้ แดงอุบล.รายงานการสัมมนาและเสวนาทางวิชาการงานแสดงเทคโนโลยีการเกษตรอินโดจีน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 25 - 31 พฤษภาคม 2554. หน้ า 419-434. สมศักดิ์ รักไพบูลย์สมบัติ. 2535. ทาเนียบกล้ วยไม้ ไทย. สุริย์วงศ์บ๊ คุ เซ็นเตอร์ . เชียงใหม่. 245 น. สลิล สิทธิสจั จธรรม และนฤมล กฤษณชาญดี. 2545. คู่มือกล้ วยไม้ . สานักพิม์สารคดี. กรุงเทพฯ. 248 น.
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
857
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การวิเคราะห์ ปริมาณโฮโลเซลลูโลสในไผ่ หวานอ่ างขางโดยวิธีอินฟราเรดย่ านใกล้ Analysis of Holocellulose Content in Bamboo (Dendrocalamus latiflorus) Using Near Infrared Spectroscopy 1
ทศพล อุมะมานิต ,ณัฐภรณ์ สุทธิวจิ ติ รภักดี*,ศุมาพร เกษมสาราญ,สุธีรา วิทยากาญจน์ และมะลิวัลย์ หฤทัยธนาสันติ์ Thotsaphon Umamanit,Nattaporn Suttiwijitpukdee*,Sumaporn Kasemsumran, Suteera Witayakran, Maliwan Haruthaithanasan
บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้เป็ นการพัฒนาวิธีการวิเคราะห์ปริมาณโฮโลเซลลูโลสของไผ่หวานอ่างขางในลาไผ่ที่มีช่วงอายุต่างกันโดยใช้ วิธีอินฟราเรดย่านใกล้ โดยใช้ ตวั อย่างไผ่หวานอ่างขาง (Dendrocalamus latiflorus) จานวน 30 ต้ น จากจังหวัดเชียงใหม่ มี อายุลาไผ่ในช่วง 1-3 ปี โดยในแต่ละต้ นจะแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนปลาย ส่วนกลาง และส่วนโคน รวมเป็ น 90 ตัวอย่าง นา ตัวอย่างผงไม้ ไผ่บดแห้ งทังหมดมาวั ้ ดค่าการดูดกลืนแสงในช่วงความยาวคลื่น 680-2500 นาโนเมตร จากนันน ้ าผงไผ่ที่ผ่านการ วัดแสงแล้ วมาวิเคราะห์ค่าปริ มาณโฮโลเซลลูโลสโดยวิธีทางเคมีเพื่อคานวณสร้ างสมการ เมื่อเปรี ยบเทียบอายุของลาไผ่พบว่า ปริ มาณโฮโลเซลลูโลสจะมีปริ มาณเพิ่มขึ ้นตามช่วงอายุ แต่เมื่อนาไผ่แต่ละส่วนของลาไผ่ มาคานวณเปรี ยบเที ยบกันพบว่า ค่า องค์ประกอบโฮโลเซลลูโลสบริ เวณส่วนต่างๆ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ จากนันเมื ้ ่อนาปริ มาณโฮโลเซลลูโลสที่ วิเคราะห์ ได้ ทัง้ หมดมาคานวณสร้ างสมการหาความสัมพันธ์ ของการดูดกลืนแสงกับปริ มาณโฮโลเซลลูโลส พบว่า เมื่อนา สเปกตรัมการดูดกลืนแสงของผงไผ่มาคานวณปรับแต่งด้ วยวิธี multiplicative scattering correction (MSC) ร่ วมกับการ ปรับแต่งด้ วยวิธีอนุพนั ธ์อนั ดับสอง (second derivative) จะให้ สมการที่มีความคลาดเคลื่อนในการทานายต่าที่สดุ โดยสมการมี ค่า coefficient of correlation (R) เป็ น 0.947 เปอร์ เซ็นต์ และเมื่อนาสมการมาทดสอบทานายปริ มาณโฮโลเซลลูโลส พบว่ามี ความคลาดเคลื่อน (root mean square of standard error of prediction , RMSEP) เป็ น 1.438 เปอร์ เซ็นต์ แสดงให้ เห็นว่า มี ความเป็ นไปได้ ในการนาวิธีอินฟราเรดย่านใกล้ มาใช้ ในการทานายปริมาณองค์ประกอบโฮโลเซลลูโลสในไม้ ไผ่ คาสาคัญ: ไผ่หวานอ่างขาง,โฮโลเซลลูโลส,อินฟราเรดย่านใกล้
Abstract This research aims to develop the analytical method for holocellulose determination in bamboo clums (Dendrocalamus latiflorus) using near-infrared spectroscopy at different bamboo ages and different culm height. Thirty bamboo trees of 1-3 year old culms were used for measurement. Each culm was divided into three parts with different height: the top, the middle, and the bottom. The spectral data of ninety samples were collected in the region of 680-2500 nm, and then the bamboo powders were further analyzed by standard methodology. From the chemical analysis, the amount of holocellulose increased with increasing bamboo culm age, while the content was not significantly different in comparison of each part with different height. Partial least square equation model that was performed with the combinative spectra of multiplicative scattering correction (MSC) and second derivative showed the relationship between the spectral values and holocellulose content. The correlation coefficient of calibration (R) and the root mean square of standard error of prediction (RMSEP) equal to 0.947 and 1.438%, respectively. Thus, this work is to demonstrate a possibility of using near infrared spectroscopy for determining the amount of holocellulose content in bamboo. Keywords: bamboo (Dendrocalamus latiflorus), holocellulose, near-infrared spectroscopy
1
สถาบันค้ นคว้ าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุ งเทพฯ 10900 858
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
คานา ไผ่จดั เป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญชนิดหนึ่งที่สามารถเจริ ญเติบโตได้ ในพื ้นที่เขตร้ อนและพื ้นที่เขตกึ่งร้ อน พบการปลูกใน พื ้นที่เขตหนาวเพียงเล็กน้ อย ส่วนในประเทศไทยซึ่งอยู่ในเขตร้ อน ทาให้ เป็ นศูนย์กลางของความหลากหลายของแห่งหนึ่งของ โลก (Dransfield and Widjaja, 1995) ประเทศไทยมีไผ่ที่ขึ ้นตามธรรมชาติประมาณ 15-20 สกุล ประมาณ 80-100 ชนิด พบ กระจายอยู่ทวั่ ทุกภูมิภาค (สราวุธ และคณะ, 2544) ทาให้ ประเทศไทยมีการนาไผ่มาใช้ ประโยชน์ในด้ านอาหาร การก่อสร้ าง อุตสาหกรรม เฟอร์ นิเจอร์ การหัตถกรรม การอนุรักษ์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมเพื่อการท่องเที่ยว เป็ นต้ น (จรัล และคณะ, 2548) ไผ่สกุล Dendrocalamus สามารถหาได้ ง่ายในท้ องถิ่น และมีการนามาปลูกเพื่อใช้ ในอุตสาหกรรม เนื่องจากไผ่มีขนาด กลางถึงขนาดใหญ่ ไม่มีหนาม ลาตรง กาบมีขนาดใหญ่และหลุดล่วงเร็ว บริเวณข้ อมีลกั ษณะบวมนูน ในประเทศไทยพบไผ่สกุล นี ้หลากหลายพันธุ์ เช่น ไผ่ตง, ไผ่ซางหม่น, ไผ่หมาจู๋, ไผ่เป๊ าะ, ไผ่ยกั ษ์ , ไผ่หวาน, ไผ่หวานอ่างขาง( รุ่งนภาและคณะ, 2544) ไผ่ จึงเป็ นพืชที่ไม่อาจมองข้ ามได้ เนื่องจากจัดเป็ นพืชที่มีการเจริ ญเติบโตเร็ว มีอายุรอบตัดฟั นเพียง 2 ปี (สุทศั น์ , 2544) เซลลูโลส เป็ นองค์ประกอบทางเคมีที่มีอยู่ในไผ่ ซึ่งเป็ นสารประกอบที่มีมากที่สุดของเนือ้ ไม้ คือ ประมาณ 40 % (ปรี ชา, 2528) มี โครงสร้ างอัดกันแน่ นเป็ นเส้ นตรงไม่มีกิ่ง ลักษณะของเส้ นใยไผ่มีความยาวและขนาดแตกต่างกันขึน้ อยู่กบั พันธุ์ โดยเฉลี่ย ประมาณ 1.5-3.2 มิลลิเมตร การหาปริ มาณเซลลูโลสจึงมีความสาคัญมาก เพื่อนามาใช้ วิเคราะห์คณ ุ ภาพของไผ่เพื่อการแปร รูปเป็ นผลิตภัณฑ์ เช่น การนาเส้ นใยไผ่มาทาเยื่อกระดาษและสิ่งทอ เทคโนโลยีอินฟราเรดย่านใกล้ (Near Infrared Spectroscopy; NIRs) ซึง่ เป็ นเทคโนโลยีการวิเคราะห์ที่มีการเตรี ยม ตัวอย่างในการวิเคราะห์น้อย สามารถทดสอบได้ อย่างรวดเร็ ว สามารถลดการใช้ สารเคมีและนาไปใช้ ทดแทนวิธีทางเคมีได้ ใน อนาคต เป็ นวิธีที่นิยมนามาใช้ การวัดปริมาณและคุณภาพของสินค้ าเกษตรทังในภาคอุ ้ ตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรม รวมถึง มีการนามาประยุกต์ใช้ ในด้ านการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีและกายภาพภายในไม้ ชนิดต่างๆ เช่น ศึกษาการวิเคราะห์ ปริ มาณลิกนิน เฮมิเซลลูโลส และเซลลูโลส ในไม้ สน (Shultz and Burns, 1990) การนามาใช้ ทานายปริ มาณเซลลูโลส ในไม้ ยู คาลิปตัส (Raymond and Schimleck, 2002) และใช้ การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีได้ แก่ ปริ มาณสารแทรก, ลิกนิน, คาร์ โบไฮเดรต รวมถึงศึกษาสมบัติทางกายภาพ ได้ แก่ ค่าความคงตัว (stiffness) และความแข็งแรง (strength) เป็ นต้ น (Kelly et al., 2004) งานวิจยั นี ้เป็ นการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอินฟราเรดสเปกโตรสโกปี ย่านใกล้ มาใช้ ในการวิเคราะห์องค์ประกอบโฮโล เซลลูโลสในไผ่หวานอ่างขาง เพื่อช่วยให้ นกั วิจยั และโรงงานอุตสาหกรรมสามารถประเมินคุณภาพวัตถุดิบ ซึง่ เป็ นองค์ประกอบ สาคัญในเนื ้อไม้ นามาทาการแปรรูป และวางแผนล่วงหน้ าในการจัดการได้ ทังยั ้ งเป็ นการพัฒนาวิธีการตรวจวิเคราะห์ซงึ่ ต้ องใช้ เวลาในการตรวจวิเคราะห์นานให้ มีความรวดเร็วมากยิ่งขึ ้น เพื่อการนาไปใช้ ในอนาคตอีกด้ วย
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
859
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
อุปกรณ์ และวิธีการ การวัดค่ าการดูดกลืนแสงของผงไผ่ ด้วยวิธีเนียร์ อนิ ฟราเรดย่ านใกล้ นาไผ่หวานอ่างขาง (Dendrocalamus latiflorus) ที่มีอายุลาในช่วง 1-3 ปี จากจังหวัดเชียงใหม่ จานวน 30 ต้ น โดย แต่ละต้ นแบ่งออกเป็ นส่วนต่างๆ คือ ส่วนโคนของลาไผ่ ส่วนกลางของลาไผ่ และส่วนปลายของลาไผ่ รวมเป็ นทัง้ หมด 90 ตัวอย่าง มาอบแห้ งและบดเป็ นผง แล้ วนามาที่ร่อนผ่านตะแกรงขนาด 40-60 mesh เพื่อให้ ได้ ผงไม้ ไผ่ที่มีขนาดใกล้ เคียงกัน จากนันน ้ าผงไผ่ที่ร่อนแล้ ว มาบรรจุใน close powder cup และวัดค่าการดูดกลืนแสงในช่วงความยาวคลื่น 680-2500 นาโน เมตร โดยการวัดด้ วยระบบ reflectance (Spectra Star, Unity scientific, USA) และวัดทุกๆ 2 นาโนเมตร ตลอดช่วงความยาว คลื่น โดยทาการวัดซ ้าจานวน 5 ครัง้ ต่อตัวอย่าง จากนันน ้ าผงไผ่ที่ผ่านการวัดค่าการดูดกลืนแสงแล้ วไปวิเคราะห์ปริ มาณโฮโล เซลลูโลส การวิเคราะห์ ปริมาณโฮโลเซลลูโลส นาผงไผ่ที่ผ่านการวัดค่าการดูดกลืนแสงแล้ ว มาสกัดสารแทรกออกจากผงไผ่ออกก่อน (ตามวิธีมาตรฐาน TAPPI T264 om-88) โดยนามาสกัดด้ วยตัวทาละลายเอทานอล-เบนซีน ด้ วยเครื่ องสกัดสารแทรก เป็ นระยะเวลา 6-8 ชัว่ โมง โดย ระดับการล้ างไม่น้อยกว่าชัว่ โมงละ 4 ครัง้ จากนันน ้ ามาสกัดอีกครัง้ ด้ วยเอทานอล เป็ นระยะเวลา 4 ชัว่ โมง จากนันน ้ ามาต้ ม และล้ างด้ วยน ้ากลัน่ หลังจากนันน ้ ามาผึ่งให้ แห้ งและนาผงไม้ ที่ปราศจากสารแทรกไปวิเคราะห์ปริ มาณโฮโลเซลลูโลสด้ วยวิธี มาตรฐาน ชัง่ ตัวอย่างผงไผ่ที่สกัดสารแทรกแล้ วมาวิเคราะห์ปริ มาณโฮโลเซลลูโลสมาตรฐาน ( Browning,1967) ปริ มาณ 3 กรัม ใส่ขวดรูปกรวยเติมน ้ากลัน่ 160 มิลลิลิตร เติมกรดอะซิติก 0.5 มิลลิลิตร และโซเดียมคลอไรต์ 1.5 กรัม จากนันน ้ าไปวางไว้ ใน อ่างควบคุมอุณหภูมิที่ 80 องซาเซลเซียส เป็ นเวลา 4 ชัว่ โมง (เติมกรดอะซิติก และโซเดียมคลอไรต์ ลงในตัวอย่างไผ่ทกุ ๆ 1 ชัว่ โมง) เมื่อครบ 4 ชัว่ โมง นาตัวอย่างใส่อ่างน ้าแข็ง 10-20 นาที กรองด้ วยถ้ วยกรองเบอร์ 1 และล้ างด้ วยน ้ากลัน่ จนโฮโล เซลลูโลสมีสีขาว ล้ างครัง้ สุดท้ ายด้ วยอะซิโตน และนาเข้ าตู้อบลมร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 105 องศาเซลเซียส อย่างน้ อย 1 ชัว่ โมง จน น ้าหนักคงที่ นามาชัง่ น ้าหนักเพื่อคานวณหาปริมาณโฮโลเซลลูโลส การคานวณสร้ างสมการ การคานวณสร้ างสมการความสัมพันธ์ ทางคณิตศาสตร์ สาหรับวิเคราะห์ป ริ มาณโฮโลเซลลูโลสของไผ่ โดยนาข้ อมูล การดูดกลืนแสงของไผ่ และค่าปริ มาณโฮโลเซลลูโลสที่วิเคราะห์ได้ จานวนทังหมด ้ 90 ตัวอย่าง โดยแบ่งตัวอย่างไผ่เป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุม่ สร้ างสมการ (calibration set) จานวน 63 ตัวอย่าง และกลุม่ ทานาย (prediction set) จานวน 27 ตัวอย่าง โดยนา ข้ อมูลสเปกตรัมและปริ มาณโฮโลเซลลูโลสของตัวอย่างกลุ่มสมการมาคานวณสร้ างสมการด้ วยวิธี partial least squares regression (PLSR) และทดสอบสมการด้ วยวิธี full cross validation method จากนันเปรี ้ ยบเทียบผลและความแม่นยาใน การทานายผลในแต่ละสมการที่คานวณได้ ด้วยกลุม่ ตัวอย่างทานาย
ผลการทดลองและวิจารณ์ ค่ าองค์ ประกอบทางเคมีของไผ่ หวานอ่ างขาง เปรี ยบเทียบองค์ประกอบทางเคมีของลาไผ่ที่อายุต่างกัน เปรี ยบเทียบแต่ละส่วนของลาไผ่ ได้ แก่ ส่วนปลาย ส่วนกลาง และ ส่วนโคน ปริ มาณโฮโลเซลลูโลสลาไผ่อายุ 1 ปี , 2 ปี , 3 ปี ของส่วนปลายมีค่าเฉลี่ย 72.236 เปอร์ เซนต์, 73.526 เปอร์ เซนต์, 74.509 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ปริ มาณโฮโลเซลลูโลสลาไผ่อายุ 1 ปี , 2 ปี , 3 ปี ของส่วนกลางมีค่าเฉลี่ย 72.313เปอร์ เซนต์, 73.346 เปอร์ เซนต์, 74.599 เปอร์ เซนต์ ตามลาดับ ปริ มาณโฮโลเซลลูโลสลาไผ่อายุ 1 ปี , 2 ปี , 3 ปี ของส่วนโคนมีค่าเฉลี่ย 72.101 เปอร์ เซนต์, 73.669 เปอร์ เซนต์ , 74.506 เปอร์ เซนต์ ตามลาดับ (Table 1) แต่ละส่วนของลาไผ่มีค่าเฉลี่ยปริ มาณโฮโล เซลลูโลสไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ แต่อย่างไรก็ตามจะเห็นแนวโน้ มปริ มาณโฮโลเซลลูโลสที่เพิ่มขึ ้นเมื่ออายุของ ลาไผ่เพิ่มขึ ้น จากนันเมื ้ ่อนาทุกส่วนมาวิเคราะห์รวมกันพบว่า ค่าโฮโลเซลลูโลสของไผ่ที่อายุ 1 ปี 2 ปี และ 3 ปี มีความแตกต่าง กันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยอายุ 2 ปี มีค่าของเฉลี่ยของโฮโลเซลลูโลส มากที่สดุ คือ 72.808 เปอร์ เซ็นต์ รองลงมาไผ่อายุ 3 ปี มีค่าเฉลี่ยโฮโลเซลลูโลสคือ 71.9087 เปอร์ เซ็นต์ และไผ่อายุ 1 ปี มีค่าเฉลี่ยโฮโลเซลลูโลส น้ อยที่สดุ คือ 71.5607 เปอร์ เซ็นต์ (Table 2)
860
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Table 1 The amount of holocellulose content in the total of 90 bamboo powder samples. Holocellulose (% dry basis)
culm age (year)
1
2
3
part top
range
average
69.847-77.527
72.236
middle
69.078-77.669
72.313
bottom
70.024-76.662
72.101
total
69.650-77.286
72.217
top
71.137-76.238
73.526
middle
71.355-77.321
73.346
bottom
71.517-76.530
73.669
total
71.336-76.696
73.514
top
71.580-76.688
74.509
middle
72.620-76.730
74.599
bottom
72.542-75.864
74.506
total
72.247-76.427
74.538
Table 2 Show of analysis Duncan’s new multiple range test for comparing with age of bamboo.
Year 1 2 3
N 30 30 30
Average of years 71.5607c 72.8087a 71.9087b
จากนันเมื ้ ่อนาไผ่อายุ 1-3 ปี มาวิเคราะห์รวมกันโดยเปรี ยบเทียบค่าโฮโลเซลลูโลสออกเป็ นส่วนๆ ค่าโฮโลเซลลูโลสของไผ่ จากส่วนปลายของลาต้ น ส่วนกลางของลาต้ น และส่วนโคนของลาต้ น มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ โดยไผ่ ส่วนกลางของลาต้ น มีค่าเฉลี่ยของโฮโลเซลลูโลสมากที่สดุ คือ 72.293 เปอร์ เซ็นต์ รองลงมาส่วนโคนของลาต้ น มีค่าเฉลี่ยโฮโล เซลลูโลส คือ 72.1452 เปอร์ เซ็นต์ และส่วนปลายของลาต้ น มีคา่ เฉลี่ยโฮโลเซลลูโลสน้ อยที่สดุ คือ71.5607 เปอร์ เซ็นต์ (Table 3) ดังนันจะเห็ ้ นได้ ว่าปริ มาณองค์ประกอบโฮโลเซลลูโลสในลาไผ่เป็ นผลมาจากอายุของลาต้ นมากกว่าความสูงในแต่ ละส่วนของลาไผ่
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
861
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Table 3 Show of analysis Duncan’s new multiple range test for comparing with section of bamboo. Section
N
Average of section
Top Middle Bottom
30 30 30
71.5607b 72.2933c 72.1452ab
การดูดกลืนแสงอินฟราเรดย่ านใกล้ ในผงไม้ ไผ่ สเปกตรัมค่าการดูดกลืนแสงของผงไม้ ไผ่จะใช้ ช่วงความยาวคลื่น 680-2500 นาโนเมตร (Figure 1) เพื่อให้ ได้ ข้อมูลค่าการ ดูดกลืนแสงซึง่ สัมพันธ์กบั ขององค์ประกอบทางเคมีของไผ่ให้ มากที่สดุ จากค่า absorbance เห็นพีคการดูดกลืนแสงที่ชดั เจน 4 พีค ได้ แก่ ที่ความยาวคลื่น 1450 นาโนเมตร และ 1930 นาโนเมตร ซึง่ เป็ นพีคการดูดกลืนที่มีลกั ษณะกว้ าง และพบได้ ทวั่ ไปใน ตัวอย่างทางด้ านเกษตร มีความสัมพันธ์กบั การสัน่ ของหมู่ O-H ซึง่ เป็ นองค์ประกอบที่มีอยู่ในน ้าหรื อความชื ้นในผงไม้ รวมถึง เกี่ยวพันธุ์กบั หมู่ O-H ในองค์ประกอบของ cellulose ด้ วย ส่วนพีคการดูดกลืนแสงที่ 2100 นาโนเมตรอาจสัมพันธ์กบั การสัน่ ของ C=O-O แบบ 3rd overtone หรื อ เป็ นการสัน่ รวมของ O-H bending และ C-O stretching ของหมู่ polysaccharide นอกจากนันมี ้ พีคการดูดกลืนแสงที่ประมาณ 1210 นาโนเมตร อยู่ในกลุ่มความสัมพันธ์ กบั การสัน่ ของหมู่ C-H (Burns and Ciurczak, 2001) ส่วนสเปกตรัมเฉลี่ยของไผ่อายุ 1-3 ปี มีคา่ การดูดกลืนแสงไม่แตกต่างกันมาก 0.5
1930 2100
Absorbance
0.4
1450
0.3
0.2
1210 0.1
0.0 750
1000
1250
1500
1750
2000
2250
2500
Wavelength (nm)
Figure 1 The near-infrared spectra of the bamboo powder (Dendrocalamus latiflorus) ผลการสร้ างสมการวิเคราะห์ ปริมาณโฮโลเซลลูโลสกับสเปกตรั มการดูดกลืนแสงที่วัดจากผงไผ่ เมื่อนาข้ อมูล calibration set มาคานวณสร้ างสมการและทดสอบด้ วยกลุ่มทานาย prediction set ผลทางสถิติของ สมการ (Table.4) พบว่า สมการที่ปรับแต่งด้ วยวิธี multiplicative scattering correction (MSC) ร่วมกับ second derivative ให้ ค่าทางสถิติดีที่สดุ คือสมการทานายมีค่า correlation coefficient (R) เป็ น 0.947 และความคลาดเคลื่อนในการทานายเมื่อ ทดสอบด้ วยกลุม่ ทานาย (root mean square error of prediction; RMSEP) เป็ น 1.438 เปอร์ เซ็นต์ Table 4 The statistical summaries of holocellulose calibration model with different spectral pretreatment methods. Spectral Pretreatment Factor Calibration Cross Validation Prediction R
RMSEC(%)
R
RMSECV(%) RMSEP(%)
Bias
Absorbance
5
0.571
1.498
0.459
1.642
1.634
0.19
MSC
4
0.539
1.537
0.394
1.702
1.686
0.208
2D
13
0.962
0.501
0.608
1.579
1.475
0.554
MSC+ 2D
12
0.947
0.586
0.582
1.638
1.438
0.618
862
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สรุ ปผลการทดลอง ในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริ มาณโฮโลเซลลูโ ลสของไผ่หวานอ่างขางที่ ช่วงอายุลาไผ่ที่ต่างกันโดยใช้ วิธี เนี ยร์ อินฟราเรดย่านใกล้ พบว่า เมื่อเปรี ยบเทียบอายุของลาไผ่ ปริ มาณโฮโลเซลลูโลสจะมีปริ มาณเพิ่มขึ ้นตามช่วงอายุ และส่วนของ ลาไผ่ที่นามาคานวณเปรี ยบเทียบกัน จะมีค่าองค์ประกอบโฮโลเซลลูโลสบริ เวณส่วนต่างๆ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทาง สถิติ และการคานวณสร้ างสมการหาความสัมพันธ์ของการดูดกลืนแสงกับปริ มาณโฮโลเซลลูโลส สมการที่ได้ มีค่า correlation coefficient (R) เป็ น 0.947 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อมีการปรับแต่งสเปกตรัมด้ วยวิธี MSC ร่วมกับ second derivative แสดงถึงค่าการ ดูดกลืนอินฟราเรดย่านใกล้ ที่วดั ได้ จากผงไม้ ไผ่โดยตรงมีความสัมพันธ์ กบั ปริ มาณองค์ประกอบโฮโลเซลลูโลสที่มีอยู่ในผงไม้ ไผ่ และเมื่อนาสมการที่คานวณได้ มาทดสอบทานายปริ มาณโฮโลเซลลูโลสในตัวอย่างกลุ่มทานาย มีความคลาดเคลื่อน root mean square of standard error of prediction (RMSEP) เป็ น 1.438 เปอร์ เซ็นต์ จากผลการทดลองจะเห็นได้ ว่า มีความ เป็ นไปได้ ของการนาเทคโนโลยีอินฟราเรดย่านใกล้ มาใช้ ในการทานายปริมาณโฮโลเซลลูโลสในเนื ้อไม้ ไผ่หวานอ่างขาง
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี ไ้ ด้ รับการสนับสนุนทุนอุดหนุนวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจาปี งบประมาณ 2557-2558 และขอบคุณคุณกิตติศกั ดิ์ จินดาวงศ์ เจ้ าหน้ าที่งานป่ าไม้ มูลนิธิโครงการหลวง แปลงทดลองพันธุ์ไผ่ แม่เหียะ จ.เชียงใหม่ สนับสนุนเก็บตัวอย่างไผ่ในงานวิจยั
เอกสารอ้ างอิง จรัล เห็นพิทกั ษ์ นวลปรางค์ ไชยตะขบ และบุญร่ วม จันทร์ ชื่น . 2548. การขยายพันธุ์ไผ่พนั ธุ์หมาจู๋และพันธุ์ล่ยุ จู๋ โดยการตัดชาลา. รายงาน ความก้ าวหน้ าการดาเนินงานโครงการวิจยั ทุนอุดหนุนวิจยั มก. เรื่ อง การวิจยั และพัฒนาการปลูกไผ่เพื่อการ ผลิตหน่อไม้ และการใช้ ประโยชน์จากไม้ ไผ่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ,กรุงเทพ ฯ, หน้ า 13-21. ปรี ชา เกียรติกระจา. 2528. เคมีของเนื ้อไม้ . ภาควิชาวนผลิตภัณฑ์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . รุ่งนภา พัฒนวิบลู ย์ บุญฤทธิ์ ภูริยากร และ วลัยพร สถิตวิบรู ณ์. 2544. ไม้ ไผ่ในประเทศไทย. สานักวิชาการป่ าไม้ .กรุงเทพฯ 120 น. สราวุธ สังข์แก้ ว อัจฉรา ดีระวัฒนานนท์ และ กิตติศกั ดิ์ จินดาวงศ์. 2554. ไผ่ในเมืองไทย. สานักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพฯ 261 น. สุทศั น์ เดชวิสิทธิ์. 2544. การปลูกไผ่. สานักพิมพ์เกษตรสาส์น. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ 200 น. Burns. D., A. 2001. Handbook of Near Infrared Analysis. 2nd edition. Marcel Dekker. Inc.New York. p.814 Browning. B.L. 1967. Methods of Wood Chemistry. Vol.2. wiley Interscience. New York. Chap.19 Dransfield. S. and E.A. Widjaja, 1995, Plant Resources of South-East Asia No.7: Bamboo, Backhuys Publishers, Netherlands,189 p. Kelly, S.S., T.G. Rials,R. Snell, L.H. Groom and A. Sluiter. 2004. Use of Near Infrared spectroscopy to measure The chemical and mechanical properties of soil wood. Wood Sci Technol. 38: 257-276. Osborne. B.G., T. Fearn and P.H. Hindle. 1993. Practical NIR Spectroscopy with Application on Food and Beverage Analysis. Longman Scientific & Technical.217 p. Raymond. C. A. and L. R. Schimleck. 2002. Development of near infrared reflectance analysis calibrations for estimating genetic parameters for cellulose content in Eucalyptus globules Canadian Journal of Forest Research. 32(1): 170-176. Schultz. T.P. and D..A. Burns, 1990. Rapid secondary analysis of lignocelluloses: comparison of near Infrared (FTIR).Tappi J. 5: 209-212. Technical Association of the Pulp and Paper Industry (TAPPI). 1996. Preparation of wood for chemical analysis. Official Test Method T264 OM-88. Tappi press. Atlanta.
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
863
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การคัดแยกกระเจี๊ยบเขียวที่มีแมลงเข้ าทาลายอยู่ภายในด้ วยการวิเคราะห์ หลายตัวแปร ด้ วยเนียร์ อินฟราเรดสเปกโทสโกปี Separation of Damaged Green Okra Pods Infested by Internal Insects Using Multivariate Analysis of Near Infrared Spectroscopy ณัฐภรณ์ สุทธิวิจติ รภักดี1 ศุมาพร เกษมสาราญ1 ทศพล อุมะมานิต1 วารุ ณี ธนะแพสย์ 1 Nattaporn Suttiwijitpukdee1, Sumaporn Kasemsumran1, Thotsaphon Umamanit1 and Warunee Thanapase1
บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อพัฒนาการคัดแยกกระเจี๊ยบเขียว (Abelmoschus esculentus (L.) Moench)ที่มีแมลง ทาลายอยู่ภายในโดยใช้ เทคนิคเนียร์ อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี (near-infrared spectroscopy, NIRs) ในการทดลองนี ้ใช้ ตัวอย่างฝั กกระเจี๊ยบเขียว จานวน 508 ตัวอย่าง วัดค่าการดูดกลืนแสงในระบบการส่องผ่าน (transmittance mode) ช่วง ความยาวคลื่น 665-955 นาโนเมตร สมการการคัดแยกได้ คานวณจากข้ อมูลสเปกตรัมโดยใช้ วิธีการคานวณหลายตัวแปร 2 วิธี ได้ แก่ วิธี principal component analysis (PCA) และวิธี partial least squares discriminant analysis (PLS-DA)เพื่อคัด แยกฝั กกระเจี๊ยบเขียว ผลการศึกษาพบว่าการการคัดแยกด้ วยวิธี principal component analysis (PCA) มีความถูกต้ อง มากกว่า 65% และการคานวณการคัดแยกด้ วยวิธี partial least squares discriminant analysis (PLS-DA) มีความถูกต้ อง มากกว่า 87.5% ดังนันในการคั ้ ดแยกฝักกระเจี๊ยบเขียวด้ วยเทคนิค NIRs โดยวิธีการคานวณแบบ PLS-DA จึงมีประสิทธิภาพ มากกว่าวิธีการคานวณแบบ PCA คาสาคัญ : เนียร์ อินฟราเรด กระเจี๊ยบเขียว การวิเคราะห์หลายตัวแปร
Abstract This research attempted to develop the method for separating the green okra (Abelmoschus esculentus (L.) Moench) pods infared by internear insects using near-infrared spectroscopy (NIRs). The spectra of 508 samples were collected in the region of 665-955 nm with the transmittance mode. The classification models were calculated by two types of multivariate analysis methods from spectral data namely principal component analysis (PCA) and partial least squares discriminant analysis (PLS-DA). For PCA classification models, the accuracies of all equations were higher than 65%, while the comparative results that were calculated from PLS-DA method presented higher than 87.5% accuracy. From the calculated value of discrimination model, it possibly indicated that the PLS-DA calculated method is more efficient than that of PCA calculation in case of the separation of internal insect infestation classification in green okra. Keywords : NIRs, okra, multivariate analysis
คานา กระเจี๊ยบเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ คือ Abelmoschus esculentus (L.) Moench เป็ นพืชล้ มลุกที่มีความสาคัญทาง เศรษฐกิจชนิดหนึ่งของประเทศไทย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรได้ รายงานการส่งออกกระเจี๊ยบไปยังตลาดต่างประเทศ ใน ปี พ.ศ. 2554 มีมลู ค่ามากกว่า 320 ล้ านบาท ซึ่งส่งออกในรู ปแบบของกระเจี๊ยบฝั กสด รวมทังการแช่ ้ แข็งและบรรจุกระป๋ อง ประเทศที่มีการส่งออกไปมากที่สดุ คือ ประเทศญี่ ปนุ่ ซึ่งปั ญหาของการส่งออกผักและผลไม้ ไปยังต่างประเทศคือหนอนและ แมลงที่ฝังตัวอยู่ภายใน ทาให้ เกิดความเสียหายอย่างมากต่อผลิตผลทางการเกษตรและระบบการส่งออก การนาเทคนิคเนียร์ อินฟราเรด สเปกโทรสโกปี (near-infrared spectroscopy, NIRs) มาใช้ ในการตรวจสอบผลิตผลทางการเกษตร จึงเป็ นอีก 1
สถาบันค้ นคว้ าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900
864
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ทางเลื อ กหนึ่ ง ที่ ใ ช้ กัน อย่ า งกว้ า งขวาง และมี ค วามเป็ น ไปได้ ใ นการจ าแนกและท านายคุณ ภาพภายในของผลิ ต ผลทาง การเกษตรแบบไม่ทาลาย ได้ อย่างรวดเร็ว ประหยัดเวลา และมีประสิทธิภาพ แสงอินฟราเรดย่านใกล้ ในช่วงความยาวคลื่นสัน้ (short wave near-infrared region, SWNIR) มีความยาวคลื่น 800 ถึง 1100 นาโนเมตร เป็ นคลื่นแสงที่มีพลังงานสูงสามารถทะลุทะลวงเข้ าไปในตัวอย่างได้ ดี โดยทัว่ ไปสามารถทะลุเข้ าไปได้ ถึง ประมาณ 1 เซนติเมตร จึงมักนิยมใช้ ช่วงคลื่นสันในการวิ ้ เคราะห์ตวั อย่างที่ต้องการข้ อมูลลึกเข้ าไปภายใน (ศุมาพร, 2555) การ ใช้ เทคนิคการวิเคราะห์ด้วย NIRs จึงมีความสาคัญที่สามารถนาไปตรวจวิเคราะห์คุณภาพของผลผลิตทางการเกษตร เช่น สามารถจาแนกเมล็ดคลอเดียที่มีความผิดปกติภายในและเมล็ดที่ปกติไ ด้ (Tigabu and Odén, 2002) ใช้ วิเคราะห์ความ ผิดปกติภายในผลกีวีฟรุต (Clark et al., 2004) การฝังตัวของหนอนในเมล็ด Picea abies, เชอร์ รี และพุทรา (Tigabu et al., 2004; Xing and Guyer, 2008, Wang et al., 2011) รวมทัง้ Saranwong et al., (2010) นาเทคนิค NIRs มาประยุกต์ใช้ กบั การตรวจสอบไข่และหนอนของแมลงวันผลไม้ ในผลมะม่วง เป็ นต้ น
อุปกรณ์ และวิธีการ รั บ ตัว อย่า งฝั ก กระเจี๊ ย บเขี ย วที่ ผ่า นการคัดแยกเบื อ้ งต้ น โดยการสัง เกตุลักษณะความผิด ปกติ จ ากภายนอกฝั ก กระเจี๊ยบจากบริษัทผู้สง่ ออกกระเจี๊ยบในจังหวัดสมุทรสาคร สัปดาห์ละ 1 ครัง้ ทุกสัปดาห์ เป็ นระยะเวลา 3 เดือน จากนันน ้ ามา ทาการวัดค่าการดูกกลืนแสงแล้ วจึงนามาผ่าเพื่อคัดแยกดูการฝั งตัวของหนอนภายในฝั ก โดยแต่ละครัง้ ทาการวิเคราะห์ภาย 3 วัน นับตังแต่ ้ รับตัวอย่าง ใช้ ตวั อย่างฝั กกระเจี๊ยบเขียวสาหรับใช้ ในการวิเคราะห์จานวน 508 ตัวอย่าง แบ่งออกเป็ นฝักกระเจี๊ยบเขียวที่ไม่มี หนอนจานวน 254 ฝัก และฝักที่มีหนอน จานวน 254 ฝักมาควบคุมอุณหภูมิที่ 25 องศาเซลเซียส ก่อนนามาวัดค่าการดูดกลืน แสงด้ วยระบบ transmittance ในช่วงคลื่นสันความยาวคลื ้ ่น 665-955 นาโนเมตร ด้ วยเครื่ อง near-infrared spectrometer (Purespect, Saika, Japan) โดยวัดค่าการดูดกลืนแสงของฝักกระเจี๊ยบ ซึ่งแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน ได้ แก่ ส่วนหัว (head) กาหนดให้ อยู่ในระยะระหว่าง 2-3 เซนติเมตร เมื่อวัดจากขัว้ ส่วนกลาง (middle) ระยะระหว่าง 4-5 เซนติเมตร และส่วนปลาย (bottom) ระยะระหว่าง 5-6 เซนติเมตร ในแต่ละส่วนวัดสเปกตรัมทัง้ 5 ด้ านของฝักกระเจี๊ยบเขียว ในการทดลองลองนี ้ระหว่าง การวัดสเปกตรัมแสงจากแหล่งกาเนิดแสง (light source) เดินทางผ่านไฟเบอร์ ออฟติก(fiber optic) ด้ านบนส่องมายังฝั ก กระเจี๊ยบเขียว และผ่านเข้ าสู่ตวั ตรวจวัด (detector) อยู่ด้านล่างโดยให้ แหล่งกาเนิดแสง และตัวตรวจวัด ทามุมต่อกัน 180 องศา (Figure 1) จากนันน ้ ากระเจี๊ยบเขียวที่ผ่านการวัดสเปกตรัมแล้ วมาผ่าเพื่อตรวจสอบหนอนในฝักกระเจี๊ยบเขียวแต่ละจุด
Light source
1 5
2 4
3
Detector
Figure 1 Setting light source and detector for the spectral acquisition in transmittance mode
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
865
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
นาสเปกตรัมของฝักกระเจี๊ยบทังหมดจ ้ านวน 508 ฝัก แบ่งออกเป็ น 2 กลุม่ ได้ แก่ กลุม่ สร้ างสมการ (calibration set) จานวน 408 ฝัก และกลุม่ ทานาย (prediction set) จานวน 100 ฝัก มาคานวณสมการคัดแยกโดยวิธี principal component analysis (PCA) และวิธี partial least squares discriminant analysis (PLS-DA) เพื่อตรวจสอบความเป็ นไปได้ ในการคัดแยก โดยกาหนดให้ สเปกตรัมของกระเจี๊ยบเขียวที่ไม่มีหนอนมีคา่ เท่ากับ 0 และสเปกตรัมของกระเจี๊ยบเขียวที่มีหนอนมีคา่ เท่ากับ 1
ผลการทดลองและวิจารณ์ จากสเปกตรัมการดูดกลืนแสงเฉลี่ยของฝักกระเจี๊ยบเขียวปกติและฝักกระเจี๊ยบที่มีหนอนฝังตัวอยูภ่ ายใน (Figure 2) พบว่ามีความคล้ ายคลึงกันมาก แตกต่างกันเพียงฐาน (base line) และความชันของสเปกตรัม ในช่วงความยาวคลื่นในช่วง 660-850 นาโนเมตร และเมื่อเปรี ยบเทียบกับสเปกตรัมของตัวหนอนพบว่าสามารถสังเกตเห็นพีคการดูดกลืนแสงอย่างชัดเจน จากสเปกตรัมที่ปรับแต่ง (transform) ด้ วยวิธีอนุพนั ธ์อนั ดับสอง (second derivative) ที่ความยาวคลื่นประมาณ 740 นาโน เมตร ดังนันการที ้ ่สเปกตรัมเฉลี่ยของกระเจี๊ยบที่มีหนอนแมลงอยูภ่ ายในมีคา่ การดูดกลืนแสงสูงกว่ากระเจี๊ยบเขียวปกติอาจเป็ น ผลมาจากการซ้ อนทับกันของพีคการดูดกลืนแสงของหนอนที่อยูภ่ ายในฝักกระเจี๊ยบ จากรายงานของ Saranwong et al. (2010) ในการวิเคราะห์มะม่วงสุกที่มีหนอนและแมลงวันด้ วยความยาวคลื่นในช่วงเนียร์ อินฟราเรด สามารถสังเกตเห็นพีคการ ดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 740 นาโนเมตรเช่นเดียวกัน และอาจสัมพันธ์กบั ค่าการดูดกลืนแสงของพีคน ้า (Saranwong et al., 2010))
Figure 2 The spectra of normalized absorbance (A) and second derivative (B) of the infested and noninfested okra pods and the pure fresh larva การคานวณการคัดแยก ในการคานวณคัดแยกใช้ การคานวณหลายตัวแปรโดยเปรี ยบเที ยบการคานวณ 2 วิธี ได้ แ ก่ วิธี principal component analysis (PCA) และ partial least squares regression discriminant analysis (PLS-DA) โดยแต่ละวิธีจะแยก คานวณกระเจี๊ยบเขียวในแต่ละส่วนออกจากกัน การคานวณด้ วยวิธี principal component analysis (PCA) พบว่าสมการการคัดแยกโดยการวัดสเปกตรัม จากส่วน ปลายฝั กที่คานวณจากสเปกตรั ม ดัง้ เดิม ให้ ผลการคัดแยกที่ถูกต้ องมากที่สุด 95 % รองลงมาคือ การวัดสเปกตรัม จาก ส่วนกลางฝักที่คานวณการคัดแยกจากสเปกตรัมที่ปรับแต่งด้ วยวิธี multiplicative scatter correction (MSC) ให้ ผลการคัดแยก ถูกต้ อง 72.5 % และคานวณการคัดแยกจากการวัดสเปกตรัมส่วนหัวฝักที่ปรับแต่งด้ วยวิธี second derivative ร่วมกับวิธี MSC ให้ ความถูกต้ องในการคัดแยก 65 % และเมื่อนาสเปกตรัมที่วดั ได้ จากทุกส่วนมารวมกันและคานวณคัดแยก สเปกตรัมของ ตัวอย่างกลุม่ ทานายเมื่อคานวณผ่านสมการคัดแยกแล้ ว พบว่าไม่สามารถแยกกันได้ อย่างชัดเจน แสดงดังให้ รูป scatter plot
866
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
(Figure 3) ซึ่งสมการสามารถคัดแยกได้ ถกู ต้ อง 72 % จากผลการคานวณทังหมดดั ้ งนันจะเห็ ้ นได้ ว่า สมการการคัดแยกที่ คานวณด้ วยวิธี PCA นี ้ให้ ความถูกต้ องในการคัดแยกมากกว่า 65%
Figure 3 Scatter plot of the first two principal components (PC1 and PC2) for 100 okra samples; non-infested okras ( ); infested okras ( ). การคานวณคัดแยกสเปกตรัมของฝั กกระเจี๊ยบเขียวด้ วยวิธี partial least squares regression discriminant analysis (PLS-DA) โดยกาหนดค่าตัวแปรตามในการคานวณ (Y) ในกลุม่ ตัวอย่างกระเจี๊ยบเขียวที่ไม่มีหนอนและมีหนอนอยู่ ภายใน ให้ มีค่าเท่ากับ 0 และ เท่ากับ 1 ตามลาดับ ค่าทานายการคัดแยกของกระเจี๊ยบที่ไม่มีหนอนที่มีค่าน้ อยกว่า 0.5 กระเจี๊ยบเขียวที่มีหนอนมีค่ามากกว่า 0.5 เป็ นค่าการทานายที่ถกู ต้ อง และส่วนที่อยู่นอกกลุม่ เป็ นค่าการทานายที่คลาดเคลื่อน (Figure 4) จากการคานวณสเปกตรัมส่วนกลางฝักปรับแต่งโดยวิธี MSC ให้ ผลการคัดแยกที่ถกู ต้ องมากที่สดุ 92.5 % รองลงมา คือ สเปกตรัมส่วนกลางฝั กที่ปรับแต่งด้ วยวิธี second derivative ให้ ผลการคัดแยกถูกต้ อง 90% และในส่วนหัวฝั ก เมื่อนา สเปกตรัมมาปรับแต่งด้ วยวิธี second derivative สามารถคัดแยกได้ ถกู ต้ อง 87.5% ส่วนสมการการคัดแยกโดยใช้ สเปกตรัม จากทุกส่วนของฝัก ปรับแต่งสเปกตรัมด้ วยวิธี MSC ให้ ผลการทานายการคัดแยกได้ ถกู ต้ อง 93% เมื่อเปรี ยบเทียบการคานวณทังสองวิ ้ ธีจะเห็นได้ ว่า การคานวณด้ วยวิธี PLS-DA เป็ นวิธีคดั แยกที่มีประสิทธิ ภาพ มากกว่าการคานวณด้ วยวิธี PCA ซึง่ สอดคล้ องกับการคานวณเปรี ยบเทียบจากรายงานอื่น (Lucio-Gutierrez et al., 2011) อาจเนื่องมาจากการคานวณแบบ PLS-DA นาค่าตัวแปร Y มาใช้ คานวณร่วมกับค่าการดูดกลืนแสงด้ วย ส่วนการคานวณด้ วย วิธี PCA เป็ นการคานวณจากค่าสเปกตรัมการดูดกลืนแสงเพียงอย่างเดียว
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
867
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Figure 4 Actual versus predicted values obtained by partial least square discriminant analysis on data for the entire spectra, 665-955 nm, in the predicted set. The infested okras are indicated by a value of 1 and the noninfested okras are indicated by a value of 0.
สรุ ปผล จากผลการศึกษาการสร้ างสมการเพื่อใช้ ในการคัดแยกฝักกระเจี๊ยบเขียวที่มีหนอนฝังตัวอยูภ่ ายในโดยวัดสเปกตรัมใน ระบบ transmittance ซึง่ คานวณการคัดแยกสองวิธี ได้ แก่ วิธี PCA สามารถคัดแยกได้ ถกู ต้ องมากกว่า 65% โดยสมการการวัด สเปกตรัมที่สว่ นปลายฝักให้ คา่ ความถูกต้ องมากที่สดุ และวิธี PLS-DA สามารถคัดแยกได้ ถกู ต้ องมากกว่า 87.5% โดยสมการ คัดแยกที่สว่ นกลางฝักให้ ผลการทานายที่แม่นยาที่สดุ ในส่วนของสมการคัดแยกทุกส่วนของฝัก การคานวณการคัดแยกด้ วยวิธี PLS-DA ให้ ผลการทานายถูกต้ องมากกว่าวิธี PCA
กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั นี ้ได้ รับการสนับสนุนโดยสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอขอบคุณ บริษัทชัชวาลออร์ คิด จากัด ที่อนุเคราะห์ตวั อย่างฝักกระเจี๊ยบเขียวสาหรับใช้ ในการทดลอง
เอกสารอ้ างอิง ศุมาพร เกษมสาราญ. 2555. หลักการพื ้นฐานของสเปกโตรสโกปี อินฟราเรดย่านใกล้ . 2-17. ใน เทคโนโลยีอินฟราเรดย่านใกล้ และการประยุกต์ใช้ ใน อุตสาหกรรม. สถาบันค้ นคว้ าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. Clark, C.J., V..A. McGlone, H.N. De Silva, M.A. Manning, J. Burdon and A.D. Mowat. 2004. Prediction of storage disorders of kiwifruit (Actinidia chinensis) based on visible–NIR spectral characteristics at harvest. Postharvest Biol. Technol. 32: 147–158. Lucio-Gutiérrez, J. R., J. Coello, and S. Maspoch. 2011. Application of near infrared spectral fingerprinting and pattern recognition techniques for fast identification of Eleutherococcus senticosus. Food Res. Int. 44(2): 557-565. Saranwong, S., R.P. Haff., W. Thanapase, A. Janhiran., S. Kasemsumran and S. Kawano. 2011. A feasibility study using simplified near infrared imaging to detect fruit fly larvae in intact fruit. J. Near Infrared Spectrosc. 19: 55–60. Tigabu, M. and P.C. Oden. 2002. Multivariate classification of sound and insect-infested seeds of a tropical multipurpose tree, Cordia africana, with near infrared reflectance spectroscopy. J. Near Infrared spectrosc.10: 45–51. Tigabu, M. and P.C. Odén. 2004. Simultaneous detection of filled, empty and insect-infested seeds of three Larix species with single seed near-infrared transmittance spectroscopy. New Forests. 27: 39–53. Wang, J., K. Nakano and S. Ohashi. 2011. Nondestructive detection of internal insect infestation in jujubes using visible and nearinfrared spectroscopy. Postharvest. Biol. Technol. 59: 272–279. Xing, J. and D. Guyer. 2008. Comparison of transmittance and reflectance to detect insect infestation in Montmorency tart cherry. Comput.Electron.Agric. 64:194–201.
868
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การผลิตไข่ นา้ ด้ วยนา้ ทิง้ จากบ่ อเลีย้ งปลาดุก Wolffia spp. production from catfish pond waste water นิตยา เกตุแก้ ว1 ดวงรั ตน์ ชูเกิด2 และ สุรพล ฐิตธิ นากุล1 Nittaya Ketkaew1 Duangrat Chookird2 and Suraphon Thitithanakul1
บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้มีจดุ ประสงค์เพื่อผลิตไข่น ้า (Wolffia spp.) โดยใช้ น ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุก ซึง่ มีธาตุอาหารสาหรับพืช ให้ เกิดประโยชน์ ควบคู่กับการปรับปรุ งคุณภาพนา้ และนาผลผลิตที่ได้ มาใช้ เป็ นอาหารสัตว์ นา้ การศึกษามีทงั ้ หมด 5 ชุดการ ทดลอง โดยใช้ ปริมาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ นต่างกัน 5 ระดับ คือ 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 และ 2.5 กรัม/ลิตร ใช้ น ้าทิ ้งปริ มาตร 10 ลิตร/ หน่วยทดลอง เลี ้ยงในภาชนะพลาสติก สภาพโรงเรื อนกลางแจ้ ง เป็ นระยะเวลา 30 วัน ผลการศึกษาพบว่าปริ มาณไข่น ้า เริ่ มต้ นที่ 1.5 กรัม/ลิตร ให้ ผลผลิตเพิ่มขึ ้นเฉลี่ยสูงสุด (P<0.05) ในด้ านคุณภาพของไข่น ้า ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 2.5 กรัม/ ลิตร จะมีระดับโปรตีนเฉลี่ยสูงสุด (P<0.05) และที่ใช้ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 1.0 กรัม/ลิตร มีระดับแคโรทีนอยด์รวมเฉลี่ย สูงสุด (P<0.05) และเมื่อศึกษาระหว่างการเลี ้ยงพบว่าการใช้ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 1.5-2.5 กรัม/ลิตร ใช้ ระยะเวลาเลี ้ยง 10-20 วัน เป็ นระดับที่เหมาะสมในการนามาใช้ ผลิตไข่น ้า ด้ านการปรับปรุงคุณภาพน ้าทิ ้ง พบว่าใช้ ไข่น ้าปริ มาณหัวเชื ้อเริ่ มต้ น 0.5-2.5 กรัม/ลิตร ระยะเวลาการเลี ้ยง 30 วัน สามารถใช้ บาบัดน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุกได้ อย่างมีประสิทธิภาพ คาสาคัญ : ไข่น ้า ; น ้าทิ ้ง ; อาหารสัตว์น ้า
Abstract The aim of this study was to produce Wolffia spp. using catfish pond waste water in order to take advantage of high nutrient concentration coupling with the improvement of water quality. The obtaining Wolffia spp. product will be used as aquatic feed ingredient. The experiment was conducted outdoor with plastic cover for 30 days to evaluate the effects of Wolffia spp. concentration on production and water quality. Wolffia spp. was added to 10 liters the waste water in 5 different levels : 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 and 2.5 g/l. The result showed that 1.5 g/l. Wolffia spp. treatment had highest production of Wolffia spp .(P<0.05). the treatment of 2.5 g/l had highest in protein content basis (P<0.05). For carotenoid content 1.0 g/l. Wolffia spp. treatment had more total carotenoid content (P<0.05). This study also found that from 10 to 20 days was appropriated to produce Wolffia spp. with the initial amount of Wolffia spp. 1.5-2.5 g/l. In order to improve in waste water quality, it was found that the initial amount of Wolffia spp. 0.5-2.5 g/l with culture period of 30 days can be used to treat waste water from the catfish pond effectively Keywords : Water meal (Wolffia spp.) ; Waste water ; Aquatic feed.
บทนา ปั จจุบนั การเพาะเลี ้ยงสัตว์น ้าจืดมีปริ มาณมากขึ ้น เพื่อให้ เพียงพอกับความต้ องการของผู้บริ โภค ในขันตอน ้ การเลี ้ยงหลังจับสัตว์น ้าแล้ วมักจะมีการระบายน ้าทิ ้งออกสู่แหล่งน ้าสาธารณะ จัดเป็ นน ้าทิ ้งที่มีความสกปรกต่า แต่มีปริ มาณ มาก ส่วนใหญ่เกิดจากการตกค้ างของเศษอาหารและมูลสัตว์น ้า เป็ นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ใช้ และผู้บริ โภค (กรมควบคุม มลพิษ, 2544) การนาพืชน ้ามาใช้ ในการบาบัดน ้าทิ ้งเป็ นวิธีการทางธรรมชาติที่ปลอดภัยต่อสภาพแวดล้ อม ประหยัดค่าใช้ จ่าย และเป็ นการใช้ ทรัพยากรให้ เกิดประโยชน์สงู สุด พืชน ้าที่นามาใช้ ในการวิจยั ครัง้ นี ้คือ ไข่น ้า หรื อ ผา ชื่ออังกฤษ Water meal ชื่อวิทยาศาสตร์ Wolffia spp. จัดเป็ นพืชมีดอกที่มีขนาดเล็กที่สดุ ในโลก อยู่ใน Family Lemnaceae มีลกั ษณะเป็ นเม็ด สีเขียวลอยอยูต่ ามผิวน ้า ไม่มีราก มีขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.5-1.5 มิลลิเมตร สามารถเจริ ญเติบโตแพร่ขยายพันธุ์ได้ 1 2
สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี สาขาวิชาทรัพยากรประมงและชายฝั่ง คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
869
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
อย่างรวดเร็ว นับเป็ นพืชที่มีคณ ุ ค่าทางอาหารสูง โดยใช้ เป็ นอาหารเสริ มหรื อเป็ นส่วนผสมในอาหารสัตว์ ซึง่ นอกจากจะเป็ นการ ลดต้ นทุนการผลิตแล้ ว ยังเป็ นการนาทรัพยากรในท้ องถิ่นมาใช้ ให้ เกิ ดประโยชน์ (นพรัตน์, 2547) โดยไข่น ้ามีโปรตีนอยู่ระหว่าง 6.8 - 45 เปอร์ เซ็นต์ ผันแปรตามปริ มาณสารอาหารในน ้า (กองประมงน ้าจืด , 2538) มีการศึกษาการเพาะเลี ้ยงไข่น ้าในบ่อ บาบัดนา้ ทิง้ ทางการเกษตร พบว่ามีโปรตีนอยู่ระหว่าง 29.5-45 กรัม /100 กรัมนา้ หนักแห้ ง ซึ่งสูงกว่าไข่นา้ จากแหล่งนา้ ธรรมชาติ (Rusoff et al.,1980 ; Skillicorn et al.,1993) ไข่น ้ามีปริ มาณโปรตีนและกรดอะมิโนส่วนใหญ่ใกล้ เคียงกับ กากถัว่ เหลือง และเป็ นแหล่งสารสีธรรมชาติที่ดีสาหรับสัตว์ปีก (อาณัติ , 2553) ในทางการประมงไข่น ้าจัดเป็ นอาหารธรรมชาติ ประเภทพืชที่มีประโยชน์สาหรับสัตว์น ้ามาก (อาพลและอารี ย์ , 2532) งานวิจยั นี ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและเปรี ยบเทียบ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ นที่เลี ้ยงระดับต่างกันต่อผลผลิต คุณภาพของไข่น ้า และประสิทธิภาพการบาบัดน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยง ปลาดุก เพื่อเป็ นแนวทางในการผลิตไข่น ้ามาใช้ เป็ นอาหารสัตว์น ้า และนาน ้าหมุนเวียนกลับมาใช้ ในการเลี ้ยงสัตว์น ้าหรื อระบาย ทิ ้งโดยไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อม
อุปกรณ์ และวิธีการ เตรี ยมภาชนะพลาสติกทรงกลม ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร สูง 15 เซนติเมตร จานวน 144 ใบ ใช้ น ้าทิ ้ง จากบ่อเลี ้ยงปลาดุกของเกษตรกร ในพื ้นที่อาเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ ธานี นาไข่นา้ พันธุ์ Wolffia spp. จากแหล่งนา้ ธรรมชาติในพื ้นที่อาเภอบ้ านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ ธานี มาเพาะขยายพันธุ์ไว้ ในบ่อซีเมนต์สาหรับใช้ ในการทดลอง วางแผนการ ทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) ใช้ น ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุกปริ มาตร 10 ลิตร/หน่วย ทดลอง นาไข่น ้ามาเลี ้ยงในปริ มาณเริ่ มต้ นแตกต่างกัน 5 ระดับ คือ 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 และ 2.5 กรัม/ลิตร ชุดการทดลองละ 24 ซ ้า ในสภาพโรงเรื อนกลางแจ้ ง ผลิตไข่น ้าเป็ นเวลา 30 วัน ทาการเก็บไข่น ้าหลังจากการเลี ้ยงทุกๆ 5 วัน เพื่อบันทึกน ้าหนักสด จากนันน ้ าไปทาแห้ งเยือกแข็ง (freeze dry) แล้ ววิเคราะห์ระดับโปรตีน โดยใช้ เครื่ องวิเคราะห์ธาตุ C,H,N และ S รุ่น CHNS628 และระดับแคโรทีนอยด์รวม ตามวิธีการของ Britton และคณะ (1995) ติดตามการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน ้าระหว่างการ ผลิตไข่น ้าที่ใช้ หวั เชื ้อไข่น ้าปริมาณเริ่มต้ นต่างกัน และที่ไม่ใช้ ไข่น ้า (0 กรัม/ลิตร) โดยการสุม่ ตัวอย่างน ้าทุก ๆ 5 วัน เพื่อวิเคราะห์ ค่าบีโอดี (BOD) ของแข็งแขวนลอย (SS) แอมโมเนีย (NH3-N) ฟอสฟอรัสทังหมด ้ (TP) ค่าความเป็ นกรดเป็ นด่าง (pH) และ ค่าการนาไฟฟ้า (EC) ตามวิธีการของ Standard Method for the Examination of Water and Waste water 20th Edition. APHA. AWWA. WEF.,1998 คานวณและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% โดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS/PC 15.0
ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลผลิตไข่ นา้ ผลการศึกษาเพื่อสิ ้นสุดการทดลอง 30 วัน พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) ไข่น ้าที่ เพาะเลี ้ยงในน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุกที่ใช้ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 1.5 กรัม/ลิตร มีน ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งเพิ่มขึ ้นเฉลี่ย สูงสุด เท่ากับ 84.12±6.40 กรัม และ 3.55±0.28 กรัม/หน่วยทดลอง รองลงมาคือชุดการทดลองที่ใช้ ปริ มาณไข่น ้าเริ่ มต้ น 2.5, 1.0, 0.5 และ 2.0 กรัม/ลิตร ตามลาดับ เมื่อเปรี ยบเทียบผลผลิตไข่น ้าตามระยะเวลาการทดลอง พบว่าไข่น ้ามีการเจริ ญเติบโต เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง จากนันปริ ้ มาณค่อนข้ างคงที่ และผลผลิตลดต่าลงเมื่อระยะเวลาการเลี ้ยงนานขึ ้น โดยพบว่าที่ใช้ ปริ มาณ ไข่น ้าเริ่ มต้ นที่ 2.0 และ 2.5 กรัม/ลิตร ให้ ปริ มาณผลผลิตสูงสุดหลังจากการเลี ้ยง 15 วัน ขณะที่ใช้ ปริ มาณไข่น ้าเริ่ มต้ น 0.5 ,1.0 และ1.5 กรัม/ลิตร ให้ ผลผลิตสูงสุดหลังจากเลี ้ยง 20 วัน อย่างไรก็ตามเมื่อเปรี ยบเทียบระหว่างชุดการทดลองพบว่า การใช้ ปริมาณไข่น ้าเริ่มต้ นที่ 1.5-2.5 กรัม/ลิตร ให้ ผลผลิตมากกว่าหัวเชื ้อเริ่มต้ น 0.5 -1.0 กรัม/ลิตร ตังแต่ ้ เริ่ มต้ นการทดลองจนถึง 20 วันของการเลี ้ยง หลังจากนันผลผลิ ้ ตของทุกชุดการทดลองมีแนวโน้ มลดลงอย่างต่อเนื่อง (Figure 1,2) สอดคล้ องกับ บุญทิวา (2555) ที่ศกึ ษาการบาบัดน ้าเสียจากฟาร์ มสุกรที่ใช้ ระยะเวลาบาบัดแตกต่างกัน ใช้ ชีวมวลไข่น ้า 20 กรัมน ้าหนักสด/ตารางเมตร พบว่าที่ความเข้ มข้ น 40 เปอร์ เซ็นต์ ที่ระยะเวลาบาบัด 20 วันให้ ผลดีที่สดุ อาพลและอารี ย์ (2532) กล่าวว่า การเจริ ญเติบโต ของไข่นา้ ขึน้ อยู่กับอาหารหรื อธาตุอาหารที่มีอยู่ในนา้ ซึ่งไข่นา้ ต้ องการธาตุอาหารเช่นเดียวกับพืชโดยทัว่ ไป เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในการทดลองครัง้ นี ้พบว่าการใช้ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 1.5 กรัม/ลิตร ใช้ ระยะเวลาการเลี ้ยง 20 วันให้ ผลผลิตเพิ่มขึ ้นเป็ นน ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งมากที่สดุ
870
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
140
0.5 g/l 1.0 g/l 1.5 g/l 2.0 g/l 2.5 g/l
120 100
Wet weight (g)
80 60 40 20 0 0
5
10
15
20
25
30
35
Day
Figure 1 Wet weight of water meal produced using waste water from catfish pond at 5 days interval time and lasted for 30 days. 6 0.5 g/l 1.0 g/l 1.5 g/l 2.0 g/l 2.5 g/l
5
Dry weight (g)
4 3 2 1 0 0
5
10
15 20 Day
25
30
35
Figure 2 Dry weight of water meal produced using waste water from catfish pond at 5 days interval time and lasted for 30 days. คุณภาพของไข่ นา้ ระดับโปรตีนในไข่น ้า เมื่อสิ ้นสุดการทดลอง 30 วัน มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยที่ไข่น ้า ที่เพาะเลี ้ยงในน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุกที่ใช้ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 2.5 กรัม/ลิตร มีระดับโปรตีนสูงเฉลี่ยสูงที่สดุ เท่ากับ 26.07±1.05 เปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ ง รองลงมาคือ ที่ใช้ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 1.5, 1.0 ,2.0 และ 0.5 กรัม/ลิตร ตามลาดับ เมื่อเปรี ยบเทียบระดับโปรตีนของไข่น ้าในระหว่างการเลี ้ยง พบว่าไข่น ้ามีระดับโปรตีนเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องตังแต่ ้ เริ่ มทดลองจนถึง เวลาการเลี ้ยง 10 วัน และการใช้ ปริ มาณไข่นา้ เริ่ มต้ น 2.5 กรัม/ลิตร มีระดับโปรตีนสูงสุดเมื่อเลี ้ยง 10 วัน มีค่าเท่ากับ 36.82±1.56 เปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ ง จากนันระดั ้ บโปรตีนในไข่น ้าจะลดลงหลังจากการเลี ้ยง 20 วัน และลดลงต่าสุดเมื่อสิ ้นสุดการ ทดลอง อยู่ในระดับ 21.09±0.24-26.07±1.05 เปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ ง (Figure 3) เมื่อระยะเวลาการเลี ้ยงนานขึ ้นระดับโปรตีนจะ ลดลง มีความสัมพันธ์กบั ปริ มาณสารอาหารในน ้าทิ ้ง ซึง่ มีระดับสูงในช่วง 5-10 วัน เมื่อไข่น ้าได้ นาไปใช้ ในกระบวนการสังเคราะห์ แสงแล้ วน ้าทิ ้งจะมีคณ ุ ภาพดีขึ ้นตามระยะเวลาการเลี ้ยงที่นานขึ ้น (Figure 3 และ Figure 5-10 ) ศิริภาวี และคณะ (2544) กล่าว การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
871
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ว่าปริ มาณโปรตีนในไข่น ้าผันแปรตามคุณภาพและสารอาหารในแหล่งน ้าที่ไข่น ้าเจริ ญเติบโต ระดับโปรตีนในไข่น ้าที่เลี ้ยงในน ้า ทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุกอยู่ในระดับใกล้ เคียงกับการศึกษาของ อาณัติ และคณะ (2553) ที่ได้ ศกึ ษาองค์ประกอบทางเคมีของไข่น ้า ในฟาร์ มผลิตไข่น ้าเชิงการค้ าพบว่าระดับโปรตีนของไข่น ้ามี 29.61 กรัม/100 กรัมน ้าหนักแห้ ง ใกล้ เคียงกับระดับโปรตีนในไข่น ้าที่ ถูกรายงานอยู่ในช่วง 29.9 -31.25 กรัม/100 กรัมน ้าหนักแห้ ง (Chowdhury et al., 2000 ; Huque et al.,1996) แม้ ว่าระดับ โปรตีนในไข่น ้าจะค่อนข้ างมีความผันแปรแต่ข้อมูลเบื ้องต้ นแสดงให้ เห็นว่าไข่น ้ามีโปรตีนค่อนข้ างสูง ระดับแคโรทีนอย์รวม เมื่อสิ ้นสุดการทดลอง พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยที่การ ใช้ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 1.0 กรัม/ลิตร มีระดับเฉลี่ยสูงที่สดุ เท่ากับ 699.55±61.01 ไมโครกรัม/กรัม รองลงมาคือ ที่ใช้ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 2.5,1.5, 2.0 และ 0.5 กรัม/ลิตร ตามลาดับ เมื่อทาการเปรี ยบเทียบระดับแคโรทีนอยด์รวมในไข่น ้า แห้ งในระหว่างการเลี ้ยงพบว่า จะมีระดับสูงขึ ้นและเพิ่มมากที่สดุ ในช่วง 5-15 วัน และการใช้ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 1.5 กรัม/ลิตร ไข่น ้ามีระดับแคโรทีนอยด์รวมสูงสุดเมื่อเลี ้ยง 10 วัน มีค่าเท่ากับ 1033.40±122.19 ไมโครกรัม/กรัม หลังจากนันจะ ้ ลดปริ มาณลงตามระยะเวลาการเลี ้ยงในลักษณะใกล้ เคียงกับระดับโปรตีน (Figure 4) เนื่องจากปริ มาณไข่น ้าจะเจริ ญเติบโต ลอยอยู่บริ เวณผิวน ้าเท่านัน้ และมีปริ มาณเพิ่มมากขึ ้นตามระยะเวลาการเลี ้ยง ทาให้ พื ้นที่มีจากัด ตลอดจนได้ รับแสงแดดไม่ ทั่วถึง และปริ มาณสารอาหารในนา้ ทิง้ ลดลง ส่งผลให้ ระดับแคโรทีนอยด์ ในไข่นา้ ลดลง ซึ่งต่างจาการศึกษาของ กันย์ สินี (2552) ที่ศกึ ษาปั จจัยที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของไข่น ้า (Wolffia arrhiza (L.) Wimm.) โดยใช้ ปยุ๋ N-P-K สูตร 16-16-16 ที่ ระดับความเข้ มข้ น 100 มิลลิกรัมต่อลิตรและทดลองเลี ้ยงไข่น ้าเป็ นระยะเวลา 30 วัน นาผลผลิตไข่น ้าที่ได้ จากการเลี ้ยงทุกๆ 6 วัน ไปวิเคราะห์ค่า Beta-carotene พบว่าไข่น ้าจะมีค่า Beta-carotene เพิ่มขึ ้นตาม ระยะเวลาการเลี ้ยงที่เพิ่มขึ ้นโดยไข่น ้าที่มี ระยะเวลา 24 วัน มีคา่ Beta-carotene เท่ากับ 600 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน ้าหนักแห้ ง 40
0.5 g/l 1.0 g/l 1.5 g/l 2.0 g/l 2.5 g/l
38 36 34 Protein (%)
32 30 28 26 24 22 20 18 0
5
10
15
20
25
30
35
Day
Figure 3 Protein of water meal, produced using waste water from catfish pond, at 5 days interval time and lasted for 30 days.
Total carotenoid content (ug/g)
1200
0.5 g/l 1.0 g/l 1.5 g/l 2.0 g/l 2.5 g/l
1000 800 600 400 200 0
5
10
15
20
25
30
35
Day
Figure 4 Total carotenoid content of water meal, produced using waste water from catfish pond, at 5 days interval time and lasted for 30 days. 872
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ประสิทธิภาพการบาบัดนา้ ทิง้ ของไข่ นา้ จากการวิเคราะห์คุณภาพนา้ ทิง้ จากบ่อเลี ้ยงปลาดุกที่ ใช้ ปริ มาณไข่นา้ เริ่ มต้ น ระดับต่างกัน พบว่าเมื่อสิน้ สุดการ ทดลอง 30 วัน ค่าบีโอดี อยู่ระหว่าง 14.5±9.57-19.75±8.88 มิลลิกรัม/ลิตร ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P>0.05) (Figure 5) แอมโมเนีย (NH3-N) มีค่าระหว่าง 0.0405 ± 0.01-0.0552±0.01 มิลลิกรัมไนโตรเจน/ลิตร มีความ แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) (Figure 6) ฟอสฟอรัสรวม (Total Phosphorus) มีค่าระหว่าง 0.2850±0.01 -0.3575±0.23 มิลลิกรัมฟอสฟอรัส/ลิตร มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) (Figure 7) ความเป็ นกรด และด่าง (pH) มีค่าระหว่าง 7.37±0.22-7.86±0.27 ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P>0.05) (Figure 8) สาร แขวนลอย (Suspended Solids) มีค่าระหว่าง 2.15±0.03-2.33±0.09 มิลลิกรัม/ลิตร ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ ทางสถิติ (P>0.05) (Figure 9) ส่วนค่าการนาไฟฟ้า Electric Conductivity) มีค่าระหว่าง 0.855±0.04-0.890±0.04 เดซิซีเมน/เมตร มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) (Figure 10) ทุกชุดการทดลองมีผลการปรับปรุ ง คุณภาพนา้ ได้ ตามมาตรฐานการการระบายนา้ ทิง้ จากบ่อเพาะเลี ้ยงสัตว์นา้ จืดของกรมควบคุมมลพิษ กล่าวคือ มีค่าบีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร แอมโมเนีย (NH3-N) ไม่เกิน 1.1 มิลลิกรัมไนโตรเจนต่อลิตร ฟอสฟอรัสรวม (Total Phosphorus) ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัมฟอสฟอรัสต่อลิตร ค่าความเป็ นกรดและด่าง (pH) ระหว่าง 6.5-8.5 สารแขวนลอย (Suspended Solids) ไม่เกิน 80 มิลลิกรัมต่อลิตร ยกเว้ นค่าการนาไฟฟ้า (Electric Conductivity) ที่เกินตาม มาตรฐานที่กาหนดคือ ต้ องไม่เกิน 0.75 เดซิซีเมน/เมตร ที่อณ ุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียส (กรมควบคุมมลพิษ, 2544) เมื่อทาการ เปรี ยบเทียบประสิทธิ ภาพของไข่นา้ ที่ใช้ ในการบาบัดนา้ ทิง้ จากบ่อเลี ้ยงปลาดุก ตามระยะเวลาการทดลอง พบว่าค่าบีโอดี แอมโมเนีย ฟอสฟอรัสรวม ความเป็ นกรดและด่าง และสารแขวนลอย มีระดับสูงในช่วง 5 วันแรกของการทดลอง หลังจากนัน้ จะลดระดับลงตามปริ มาณหัวเชือ้ ไข่น ้าและระยะเวลาที่เพิ่มขึน้ และลดลงต่าสุดอยู่ในระดับปกติ เมื่อสิ ้นสุดการทดลอง และ พบว่าการใช้ ปริ มาณไข่น ้าเริ่ มต้ น 2.5 กรัม/ลิตร เวลาเลี ้ยง 20 วัน และ ใช้ ไข่น ้า 0.5 - 2.0 กรัม/ลิตร ระยะเวลา 30 วันสามารถ ใช้ บาบัดน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุกได้ ทกุ ชุดการทดลอง สอดคล้ องกับการศึกษาของ เสาวนิตย์ (2548) ที่ศกึ ษาความเป็ นไปได้ ของการบาบัดคุณภาพน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงกุ้งกุลาดาโดยใช้ ไข่น ้า พบว่าคุณภาพน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงกุ้งกุลาดามีแนวโน้ มดีขึ ้นตาม ระดับชีวมวลและระยะเวลาในการบาบัดที่เพิ่มขึ ้น โดยที่ระดับชีวมวลไข่น ้าเท่ากับ 12 กรัม/ลิตร ที่ระยะเวลา 30 วัน ให้ ผลใน การบาบัดคุณภาพน ้าดีที่สดุ และการศึกษาของ Suppadit (2011) ที่ศกึ ษาการใช้ ไข่น ้า (Wolffia arrhiza) บาบัดน ้าทิ ้งจาก ฟาร์ มเลี ้ยงนกกระทา ระยะเวลา 30 วัน พบว่าชีวมวลของไข่น ้า 12 กรัม/ลิตร ทาให้ คณ ุ ภาพของน ้าทิ ้งที่บาบัดได้ แก่ ของแข็ง แขวนลอย ฟอสฟอรัสรวม แอมโมเนียไนโตรเจน และ ค่าความเป็ นกรดด่าง ให้ ผลในการบาบัดน ้าทิ ้งได้ ดีที่สดุ จากรายงานเห็น ได้ ว่าปริ มาณไข่น ้าที่ใช้ ในการบาบัดน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุก ใช้ ในระดับที่ต่ากว่าใช้ บาบัดน ้าทิ ้งจากแหล่งอื่น ในระยะเวลา ใกล้ เคียงกัน และให้ ผลผลิตได้ ในระดับ เดียวกัน น ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุกจึงสามารถนามาใช้ ผลิตไข่นา้ สาหรับเป็ นอาหาร สัตว์น ้า และสามารถนาไข่น ้าใช้ เป็ นทางเลือกในการบาบัดน ้าทิ ้งได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 250
0 g/l 0.5 g/l 1.0 g/l 1.5 g/l 2.0 g/l 2.5 g/l
BOD (mg/l)
200 150 100 50 0
0
5
10
15
20
25
30
35
Day
Figure 5 Biochemical Oxygen Demand (BOD) of cultured media at 5 days interval time and lasted for 30 days
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
873
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
5
0 g/l 0.5 g/l 1.0 g/l 1.5 g/l 2.0 g/l 2.5 g/l
4
NH3-N (mg/l)
3 2 1 0 -1 -2 0
5
10
15
20
25
30
35
Day
Figure 6 Ammonia (NH3-N) of cultured media at 5 days interval time and lasted for 30 days. 2.5 0 g/l 0.5 g/l 1.0 g/l 1.5 g/l 2.0 g/l 2.5 g/l
Total phosphorus (mgp/l)
2.0 1.5 1.0 .5 0.0 -.5 0
5
10
15
20
25
30
35
Day
Figure 7 Total phosphorus of cultured media at 5 days interval time and lasted for 30 days. 10.0 0 g/l 0.5 g/l 1.0 g/l 1.5 g/l 2.0 g/l 2.5 g/l
9.5
pH
9.0 8.5 8.0 7.5 7.0 0
5
10
15
20
25
30
35
Day
Figure 8 pH of cultured media at 5 days interval time and lasted for 30 days.
874
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
60
0 g/l 0.5 g/l 1.0 g/l 1.5 g/l 2.0 g/l 2.5 g/l
Suspended solids (mg/l)
50 40 30 20 10 0 0
5
10
15
20
25
30
35
Day
Figure 9 Suspended solids (SS) of cultured media at 5 days interval time and lasted for 30 days. 2.0 0 g/l 0.5 g/l 1.0 g/l 1.5 g/l 2.0 g/l 2.5 g/l
Electric conductivity (ds/m)
1.8 1.6 1.4 1.2 1.0 .8 .6 0
Figure 10 Electric Conductivity
5
10
15 20 Day
25
30
35
(EC) of cultured media at 5 days interval time and
lasted for 30 days.
สรุ ปผลการทดลอง การผลิตไข่น ้าด้ วยน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุกโดย ใช้ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ นระดับต่างกัน ระยะเวลาการศึกษา 30 วัน ผลการศึกษาพบว่าการใช้ หวั เชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 1.5 กรัม/ลิตร ให้ ผลผลิตเป็ นน ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งเพิ่มขึ ้นเฉลี่ย สูงสุด เท่ากับ 84.12±6.40 กรัม และ 3.55±0.28 กรัม/หน่วยทดลอง (P<0.05) ในด้ านคุณภาพของไข่น ้า ที่ใช้ หวั เชื ้อไข่น ้าปริ มาณ เริ่ มต้ น 2.0 กรัม/ลิตร จะมีระดับโปรตีนเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 26.07±1.05 เปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ ง (P<0.05) และที่ใช้ หวั เชื ้อไข่น ้า ปริ มาณเริ่ มต้ น 1.0 กรัม/ลิตร มีระดับแคโรทีนอยด์รวมเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 699.55±61.01 ไมโครกรัม/กรัม (P<0.05) เมื่อศึกษา ระหว่างการเลี ้ยงพบว่าการใช้ ปริ มาณหัวเชือ้ ไข่นา้ เริ่ มต้ น 1.5-2.5 กรัม/ลิตร เป็ นระดับที่เหมาะสมในการนามาใช้ ผลิตไข่นา้ เพราะทาให้ ได้ ผลผลิตไข่น ้าและคุณภาพของไข่น ้าสูงสุดในช่วงระหว่างการเลี ้ยง 10-20 วัน หลังจากนันจะลดปริ ้ มาณลงในทุก ชุดการทดลอง ซึ่งความหนาแน่นของไข่นา้ ที่ลอยอยู่บริ เวณผิวนา้ มีอิทธิ พลต่อการเจริ ญเติบโตของไข่นา้ เนื่องจากไข่นา้ ที่ หนาแน่นเกินไปจะเกิดการทับถมกัน และการสังเคราะห์แสงไม่ทวั่ ถึง ประกอบกับปริ มาณสารอาหารที่จาเป็ นสาหรับพืชลดลง จากกระบวนการสังเคราะห์แสงของไข่น ้า ด้ านประสิทธิภาพในการบาบัดน ้าทิ ้ง พบว่าที่ใช้ หวั เชื ้อไข่น ้าปริ มาณเริ่ มต้ น 0.5-2.5 กรัม/ลิตร ระยะเวลาการเลี ้ยง 30 วัน สามารถใช้ บาบัดน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุกได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
875
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี ที่ให้ ทนุ สนับสนุนค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาที่เน้ นการศึกษาวิจยั และสถานที่ทาการวิจยั ในครัง้ นี ้
เอกสารอ้ างอิง กันย์สินี พันธ์วนิชดารง และสุขมุ เร้ าใจ. 2552. การศึกษาทดลองเพาะเลี ้ยงไข่น ้า (Wolffia arrhiza (L.) Wimm.) และการนาไปใช้ ปรับปรุงคุณภาพ สีปลาทอง. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 47 : สาขาประมง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ; กรุงเทพฯ. หน้ า 1-30. กองประมงน ้าจืด. 2538. พรรณไม้ น ้าในประเทศไทย. กรมประมง. โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ. 154 น. กรมควบคุมมลพิษ. 2554. คูม่ ือการประเมินปริ มาณน ้าทิ ้งและปริ มาณมลพิษจากกิจกรรมเพาะเลี ้ยงสัตว์น ้า.สานักจัดการคุณภาพน ้าทิ ้ง กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม,กรุงเทพฯ .77 น. นพรัตน์ ผดุงโชค. 2547. ปริ มาณโปรตีนและการเจริ ญของไข่น ้า (Wolffia arrhiza (L.) Wimm) ที่เพาะเลี ้ยงด้ วยน ้าสกัดมูลวัวผสมปุ๋ ยเคมี โครงงานชีววิทยา. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. บุญทิวา ชาติชานิ. 2555. การบาบัดน ้าเสียฟาร์ มสุกรโดยใช้ ไข่น ้าเพื่อเป็ นอาหารเสริ มเลี ้ยงสัตว์ วิทยานิพนธ์ (วท.ม. เทคโนโลยีสิ่งแวดล้ อม) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ศิริภาวี ศรี เจริ ญ นาชัย เจริ ญเทศประสิทธิ์ วิรัช จิ๋วแหยม พีระพงษ์ แพงไพรี และรัศมี ชูชีพ. 2544. การเพาะเลี ้ยงไข่น ้า (Wolffia arrhiza) สาหรับการลดต้ นทุนค่าอาหารปลา.วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 6 (2) : 6-15. เสาวนิตย์ พุฒิเลอพงศ์. 2549. การศึกษาความเป็ นไปได้ ของการบาบัดคุณภาพน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงกุ้งกุลาดาโดยใช้ ไข่น ้า. วิทยานิพนธ์ (วท.ม. การจัดการสิ่งแวดล้ อม), สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ . อาณัติ จันทร์ ถิระติกลุ อรวรรณ ชินราศรี อภิเดช แสงดี ปิ ยะเนตร จันทร์ ถิระกุล อุดมลักษณ์ มณีโชติ และชัยภูมิ บัญชาศักดิ์. 2553. การผลิตและการใช้ ไข่น ้าเป็ นแหล่งโปรตีนในอาหารสัตว์ปีก. รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์. สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. อาพล พงศ์สวุ รรณ และอารี ย์ สิทธิมงั ค์. 2532. คูม่ ือการเพาะเลี ้ยงสัตว์น ้าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. กรมประมง, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. กรุงเทพฯ. 388 น. APHA. AWWA., WEF. 1998. Standard Method for the Examination for Water and Waste water. 20 th ed. Washington, DC. : American Public Health Association. 25(6): 3-5 Britton, G.,S Liaaen-Jensen, and H . Pfender. 1995. Carotenoids : Isolation and Analysis Vol 1 A. Birkhauser Verlag. Basel. 368 p. Chowdhury, S.A., N. Sultana, K.S., Huque and Q.M.E. Huque. 2000. Manure based duckweed production in shallow sink: effect of genera on biomass and nutrient yield of duckweed under the same nutritional and management conditions. Asian-Aust. J Anim. Sci. 13: 686-693. Huque, K. S., S. A. Chowdhury, and S. S. Kibria. 1996. Study on the potentiality of duckweeds as a feed for cattle. Asian-Aust. J. Anim. Sci. 9:133-137. Rusoff, L.L., E.W.J Blakeney., and D.D.J. Culley. 1980. Duckweeds (Lemnaceae family): a potential source of protein and amino acids. potential source of protein and amino acids. Journal of Agricultural and Food Chemistry. 28, 848-850 Skillicorn, P., W. Spira, and W. Journey. 1993. Duckweed aquaculture : a new aquatic farming system for developing countries. Washington, D.C., The World Bank. 76 Suppadit, T. 2011. Nutrient removal of effluent from quail farm through cultivation of Wolffia arrhiza. Bio resource Technology 102:7388-7392.
876
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ประสิทธิภาพของนา้ มันหอมระเหยจากพืชในการป้ องกันการลงทาลายของปลวกใต้ ดนิ Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) Efficacy of Plant Essential Oils on Asian Subterranean Termite Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) วิกันดา รัตนพันธ์ 1 และ มานพ ธรสินธุ์2 Wigunda Rattanapun1 and Manop Tarasin2
บทคัดย่ อ การศึกษาประสิทธิภาพน ้ามันหอมระเหยในการป้องกันการลงทาลายของปลวกใต้ ดิน Coptotermes gestroi ได้ ทาการศึกษาในน ้ามันหอมระเหย 6 ชนิด คือ การบูร หญ้ าแฝก เสม็ด ยูคาลิปตัส ตะไคร้ ต้น และ ตะไคร้ หอม โดยใช้ วิธีการจุ่ม ชิ ้นไม้ ยางพาราสดและชิ ้นไม้ ที่ผ่านการอบแล้ วในน ้ามันหอมระเหยความเข้ มข้ น 100 50 และ 25 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ จากนัน้ นาไปทดสอบการลงทาลายของปลวกใต้ ดิน C. gestroi แบบไม่มีตวั เลือก ผลการศึกษาพบว่า ชิ ้นไม้ สดที่จ่มุ น ้ามัน หอมระเหย ทุกชนิดมีเปอร์ เซ็นน ้าหนักไม้ ที่สญ ู เสียไปจากการทาลายของปลวกไม่แตกต่างกัน แต่ชดุ ควบคุมมีเปอร์ เซ็นน ้าหนักไม้ ที่สญ ู เสีย ไปจากการทาลายของปลวกสูงกว่าทรี ทเมนต์อื่นอย่างมีนยั สาคัญ ในขณะที่ชิ ้นไม้ แห้ งที่จ่มุ น ้ามันยูคาลิปตัสสูญเสียน ้าหนักจาก การทาลายของปลวกน้ อยกว่านา้ มันชนิดอื่นอย่างมีนัยสาคัญ รองลงมาคือนา้ มันตะไคร้ หอม และนา้ มันการบูร ซึ่งให้ ผลไม่ แตกต่างกันกับน ้ามันเสม็ด น ้ามันตะไคร้ ต้น ชุดควบคุม และน ้ามันหญ้ าแฝก ตามลาดับ เมื่อเปรี ยบเทียบในระหว่างความ เข้ มข้ นในน ้ามันชนิดเดียวกัน พบว่า ทังชิ ้ ้นไม้ แห้ งและชิ ้นไม้ สดมีเปอร์ เซ็นน ้าหนักไม้ ที่สญ ู เสียไปจากการทาลายของปลวกไม่มี ความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญในระหว่างความเข้ มข้ นของน ้ามันหอมระเหยแต่ละชนิด คาสาคัญ : น ้ามันหอมระเหย ปลวก เสม็ด หญ้ าแฝก ตะไคร้
Abstract The study on efficacy of essential oil from six plant species, camphor, vetiver grass, cajeput, eucalyptus, Cymbopogon citratus and Cymbopogon nardus on Asian subterranean termite Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) resistance was carried out by dipping fresh rubberwood sample and dried rubberwood sample in 100, 50 and 25 % of each essential oils before tested with C. gestroi. Result of fresh rubberwood presented that there was no significant difference in the percent of mass loss between six essential oils. However, percent of mass loss of control sample was highest. Result of dried sample presented that rubberwood dipped in eucalyptus essential oil had lowest percent of mass loss, followed in rank by C. nardus, camphor, cajeput, C. citratus, control and vetiver grass, respectively. Percent of mass loss of fresh and dried rubberwood did not differ between levels of essential oil concentration in each plant species. Keywords: essential oil, Coptotermes gestroi, cajeput, vetiver grass, Cymbopogon spp.
1
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี สุราษฎร์ ธานี 84000 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมไม้ หน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมไม้ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี สุราษฎร์ ธานี 84000 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
877
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
คานา ในปั จจุบนั จากปั ญหาสารเคมีที่ใช้ ในการป้องกันรักษาเนื ้อไม้ ยางพารา เช่น chromated copper arsenate (CCA) และ chromated copper borate (CCB) ได้ ถกู จากัดการใช้ เนื่องจากมีอนั ตรายต่อผู้ใช้ และตกค้ างในสิ่งแวดล้ อม การหาสารที่ มีความปลอดภัยต่อการใช้ งาน เช่น สารที่ได้ จากธรรมชาติ จึงเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งเพื่อนามาใช้ ในอุตสาหกรรมการผลิตไม้ แปร รู ป น ้ามันหอมระเหยจากพืชเป็ นทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจ เนื่องจากหลายรายงานการศึกษายืน ยันถึงประสิทธิภาพของน ้ามัน หอมระเหยที่สามารถรบกวนกระบวนการทางานของระบบเมแทบอลิซึมของแมลง รวมไปถึงชีวเคมี สรี รวิทยาและพฤติกรรม ตามปกติของแมลง เช่น มีผลต่อการตายของตัวอ่อนและยับยังการกิ ้ นอาหาร (Gbolade, 2001; Adebayo et al., 1999) ยับยัง้ การเจริ ญเติบโตของแมลงให้ ช้าลงกว่าปกติ ยับยัง้ การออกจากดักแด้ เป็ นตัวเต็มวัย และความสมบูรณ์ พันธุ์ของตัวเต็มวัย (Marimuthu et al., 1997) มีผลในการขับไล่เพศเมียไม่ให้ วางไข่ หรื อขับไล่ไม่ให้ แมลงลงมาเกาะบนพืช (Landolt et al., 1999) น ้ามันหอมระเหยจากพืชที่มีผลต่อแมลงพบในพืชเพียงบางวงศ์ เท่านัน้ เช่น วงศ์ฝรั่ง (Myrtaceae) วงศ์อบเชย (Lauraceae) วงศ์ส้ม (Rutaceae) วงศ์กะเพรา (Lamiaceae) วงศ์ทานตะวัน (Asteraceae) วงศ์ผกั ชี (Apiaceae) วงศ์สน (Cupressaceae) วงศ์หญ้ า (Poaceae) วงศ์ขิง (Zingiberaceae) และ วงศ์พริ กไทย (Piperaceae) (Tripathi et al., 2009) ปั จจุบนั หลาย ประเทศที่เป็ นแหล่งอุตสาหกรรมไม้ ที่สาคัญในแถบยุโรป เช่น เยอรมนี ออสเตรี ย และฟิ นแลนด์ ได้ มีความสนใจศึกษาวิธีการ สกัดน ้ามันหอมระเหยจากพืชเพื่อใช้ ในอุตสาหกรรมไม้ อย่างกว้ างขวางในรูปแบบของ green technology อย่างยัง่ ยืน ปลวกใต้ ดิน Coptotermes gestroi (Wasmann) (Isoptera: Rhinotermitidae) เป็ นแมลงศัตรูในไม้ ที่สาคัญในแถบ ร้ อนชื ้น จากการศึกษาพบว่า การอบไม้ ภายใต้ ระดับอุณหภูมิ 190-230 องศาเซลเซียส สามารถลดการทาลายของปลวกใต้ ดิน ลงได้ ดีกว่าไม้ ที่ไม่ผ่านการอบ แต่ไม่สามารถยับยังการลงท ้ าลายจากปลวกชนิดนี ไ้ ด้ (Rattanapun and Tarasin, 2014) นอกจากนี ้ Tarasin (2013) และ Tarasin et al. (2013) พบว่า การใช้ น ้าส้ มควันไม้ จากไม้ ยคู าลิปตัส และการใช้ สารโบรอนใน การป้องกันรักษาเนื ้อไม้ จากการทาลายของปลวกใต้ ดิน ยังไม่สามารถยับยังการลงท ้ าลายของปลวกชนิดนี ้ได้ นอกจากนี ้แม้ โบรอนจะมีประสิทธิภาพดีในการลดการทาลายจากปลวกใต้ ดิน แต่เป็ นสารที่ต้องนาเข้ าจากต่างประเทศ ทาให้ มีต้นทุนการ ผลิตสูง
อุปกรณ์ และวิธีการ ดาเนินการทดลองที่ศนู ย์ทดสอบไม้ ยางพาราและผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี วางแผนการทดลองแบบ CRD (Completely Randomized Design) การศึกษาการสกัดน ้ามันหอมระเหยจากการบูร ยูคาลิปตัส เสม็ด ตะไคร้ หอม ตะไคร้ ต้น และหญ้ าแฝก นาส่วนใบ ของการบูร ยูคาลิปตัส เสม็ด และส่วนใบกับลาต้ นของ ตะไคร้ หอม ตะไคร้ ต้น และหญ้ าแฝก (Poaceae) มาสับย่อยให้ ละเอียด นาไปกลัน่ ด้ วยน ้า เพื่อเก็บน ้ามันหอมระเหยจากพืชแต่ละชนิด จากนันน ้ ามาผสมกับแอลกอฮอล์ในสัดส่วน 25:75, 50:50, และ ไม่ต้องผสม (100%) เพื่อใช้ ในการทดสอบกับปลวก วิธีทดสอบประสิทธิภาพนา้ มันหอมระเหยโดยการใช้ วธิ ีการแบบจุ่ม (dipping method) นาไม้ ยางพาราสด ขนาด 2.5 x 2.5 x 0.64 เซ็นติเมตร แบ่งเป็ น 2 ชุด ชุดแรกอบด้ วยตู้อบที่อณ ุ หภูมิ 60 องศา เซลเซียสจนน ้าหนักคงที่ ชุดที่สองเป็ นไม้ ที่สภาวะไม้ สด จากนันน ้ ามาทาการจุ่มในน ้ามันหอมระเหยที่เตรี ยมไว้ ที่ระดับความ เข้ มข้ นต่าง ๆ เป็ นเวลา 15 วินาที ทิ ้งไว้ 1 วัน ก่อนนาไปทดสอบกับปลวกในห้ องปฏิบตั ิการ การทดสอบแบบไม่ มีตัวเลือก นาชิ ้นไม้ มาทดสอบกับปลวกใต้ ดิน C. gestroi โดยดาเนินตามมาตรฐานการทดสอบของ American Society for Testing and Materials (ASTM) นาไม้ ตวั อย่างที่เตรี ยมไว้ ชัง่ น ้าหนักก่อนวางในกล่องพลาสติกทรงกระบอก ขนาด เส้ นผ่าศูนย์กลาง 10.5 เชนติเมตร สูง 5.5 เชนติเมตร รองพื ้นด้ วยทรายที่ผ่านการฆ่าเชื ้อและมีความชื ้น กล่องละ 1 ท่อน ปล่อย ปลวกจานวน 1 กรัม ซึง่ ประกอบด้ วยปลวกงาน 90% และปลวกทหาร 10% ต่อกล่องทดลอง ใช้ กลุ่มละ 10 ซ ้า ทิ ้งไว้ เป็ นเวลา 4 สัปดาห์ ภายใต้ ระดับอุณหภูมิ 24 ± 0.5 ในห้ องปฏิบตั ิการ โดยมีชดุ ควบคุมคือไม้ ยางพาราที่ไม่ผ่านกระบวนการรักษาเนื ้อไม้ จากนันน ้ าไปอบด้ วยตู้อบที่อณ ุ หภูมิ 60 องศาเซลเซียสจนน ้าหนักคงที่ก่อนนามาชัง่ เพื่อหาน ้าหนักไม้ ที่หายไป การประเมินความเสียหายบนไม้ ทดลอง โดยใช้ น ้าหนักของไม้ ที่สญ ู หาย (weight loss) จากน ้าหนักไม้ ก่อนและหลัง การทดสอบ เป็ นร้ อยละของความเสียหายที่เกิดจากการเข้ าทาลายของปลวก Weight loss (%) = (W1-W2) x100/W1 878
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Weight loss (%) = ค่าร้ อยละน ้าหนักที่สญ ู หาย W1 = น ้าหนักไม้ ก่อนการทดลอง W2 = น ้าหนักไม้ หลังการทดลอง การใช้ สถิตวิ เิ คราะห์ การวิเคราะห์ความแตกต่างของนา้ หนักไม้ ที่ หายไปโดยเปรี ยบเทียบระหว่างความเข้ มข้ นของนา้ มันหอมระเหยที่ แตกต่างกันของไม้ ตวั อย่างกับชุดควบคุม ใช้ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (one-way ANOVA) และแบบสองทาง (two-way ANOVA)
ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลการทดสอบในชิน้ ไม้ ท่ ีผ่านการอบแห้ งก่ อนนามาจุ่มในนา้ มันหอมระเหย ผลการศึกษา พบว่า เมื่อเปรี ยบเทียบผลการป้องกันการลงทาลายของปลวกด้ วยวิธีการจุ่มชิ ้นไม้ ที่ผ่านการอบแห้ ง แล้ วในน ้ามันหอมระเหยชนิดต่าง ๆ ทิ ้งไว้ 1 วัน จึงนามาทดสอบกับปลวก เห็นได้ ว่า เปอร์ เซ็น ต์น ้าหนักไม้ ที่สญ ู เสียไปจากการ ทาลายของปลวกมีความแตกต่างกันอย่ างมีนยั สาคัญในแต่ละระดับความเข้ มข้ นและแต่ละชนิดน ้ามันหอมระเหย (two-way ANOVA: F12,84 = 2.537, P = 0.007) โดยพบว่า ไม่มีความแตกต่างกันระหว่างเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักไม้ ที่สญ ู เสียไปจากการทาลาย ของปลวกเมื่อเปรี ยบเทียบระหว่างความเข้ มข้ น (two-way ANOVA: F2,84 = 0.879, P = 0.419) ในขณะที่เมื่อเปรี ยบเทียบ ระหว่างชนิดน ้ามันหอมระเหยจากทุกระดับความเข้ มข้ น พบว่า ชิ ้นไม้ แห้ งที่จ่มุ น ้ามันยูคาลิปตัสสูญเสียน ้าหนักจากการทาลาย ของปลวกน้ อยที่สดุ โดยไม่แตกต่างกันกับชิ ้นไม้ ที่จ่มุ น ้ามันตะไคร้ หอมและการบูร สาหรับลาดับถัดมาคือ ชิ ้นไม้ แห้ งที่จ่มุ น ้ามัน เสม็ด ตะไคร้ ต้น หญ้ าแฝก และชุดควบคุม ตามลาดับ (two-way ANOVA: F2,84 = 17.301, P ≤ 0.0001) เมื่อเปรี ยบเทียบในระหว่างความเข้ มข้ นในนา้ มันชนิดเดียวกัน พบว่า เปอร์ เซ็น ต์ นา้ หนักไม้ ที่สญ ู เสียไปจากการ ทาลายของปลวกไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญในแต่ละความเข้ มข้ นของนา้ มันหญ้ าแฝก นา้ มันเสม็ด นา้ มันยูคา ลิปตัส น ้ามันตะไคร้ ต้น และน ้ามันตะไคร้ หอม (one-way ANOVA: หญ้ าแฝก F2,12 = 0.330, P = 0.725; เสม็ด F2,12 = 2.495, P = 0.124; ยูคาลิปตัส F2,12 = 0.074, P = 0.929; ตะไคร้ ต้น F2,12 = 0.855, P = 0.450; ตะไคร้ หอม F2,12 = 1.408, P = 0.282) ในขณะที่ที่ระดับความเข้ มข้ น 100% ของน ้ามันการบูร มีเปอร์ เซ็น ต์นา้ หนักไม้ ที่สญ ู เสียไปจากการทาลายของปลวกต่ากว่า ระดับความเข้ มข้ นอื่นอย่างมีนยั สาคัญ (one-way ANOVA: F2,12 = 7.977, P = 0.006) (Figure 1) ผลการศึกษาเห็นได้ ชดั ว่า วิธีการจุ่มไม้ ยางพาราอบแห้ งในน ้ามันหอมระเหยนัน้ น ้ามันยูคาลิปตัสให้ ประสิทธิภาพใน การลดการทาลายจากปลวกมากที่สดุ แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรี ยบเทียบในระหว่างความเข้ มข้ น พบว่าผลการลดการทาลาย จากปลวกไม่มีความแตกต่างกัน ยกเว้ นเพียงน ้ามันการบูร ซึง่ อาจเป็ นเพราะแม้ ว่าน ้ามันหอมระเหยที่ทดสอบจะแตกต่างกันใน ระดับความเข้ มข้ น แต่วิธีการจุ่มไม่สามารถสนับสนุนให้ น ้ามันหอมระเหยซึมลงในเนื ้อไม้ ได้ ดีนกั นอกจากนี ้สาหรับไม้ ที่ผ่านการ อบแห้ งแล้ ว ท่อลาเลียงน ้าและท่อลาเลียงอาหารล้ วนตีบตันหมดแล้ ว น ้ามันหอมระเหยจึงซึมผ่านได้ น้อย ดังนันอาจเป็ ้ นสาเหตุ ให้ ผลในการลดการทาลายจากปลวกไม่มีความแตกต่างกันเมื่อเปรี ยบเทียบระหว่างความเข้ มข้ นในน ้ามันหอมระเหยแต่ละชนิด อย่างไรก็ตาม ผลที่ได้ สอดคล้ องกับการรายงานที่ยืนยันว่าน ้ามันหอมระเหยจากพืชในวงศ์ Myrtaceae และวงศ์ Poaceae มีผล ต่อแมลง (Tripathi et al., 2009) โดยมีผลต่อการตายของตัวอ่อนและยับยังการกิ ้ นอาหารของแมลง (Gbolade, 2001; Adebayo et al., 1999) ซึง่ จากการทดลองพบว่ามีผลในการยับยังการกิ ้ นอาหารของปลวก C. gestroi
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
879
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Figure 1 Percent of mass loss of dried wood sample dipped in essential oils ผลการทดสอบในชิน้ ไม้ สดที่นามาจุ่มในนา้ มันหอมระเหย ผลการศึกษา พบว่า เมื่อเปรี ยบเทียบผลการป้องกันการลงทาลายของปลวกด้ วยวิธีการจุ่มชิ ้นไม้ สดในน ้ามันหอม ระเหยชนิดต่างๆ ทิ ้งไว้ 1 วันจึงนามาทดสอบกับปลวก เห็นได้ ว่า เปอร์ เซ็นน ้าหนักไม้ ที่สญ ู เสียไปจากการทาลายของปลวกใน ระหว่างนา้ มันหอมระเหยแต่ละชนิ ดในแต่ละความเข้ มข้ นมี ความแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญกับชุดควบคุม (Two-way ANOVA: F12,84 = 3.451, P ≤ 0.0001) โดยพบว่า ชิ ้นไม้ สดที่จ่มุ น ้ามันทุกชนิดมีเปอร์ เซ็นน ้าหนักไม้ ที่สญ ู เสียไปจากการทาลาย ของปลวกไม่แตกต่างกัน แต่ชดุ ควบคุมมีเปอร์ เซ็นน ้าหนักไม้ ที่สญ ู เสียไปจากการทาลายของปลวกสูงกว่าทรี ทเมนต์อื่นอย่างมี นัยสาคัญ เมื่อเปรี ยบเทียบในระหว่างความเข้ มข้ นในนา้ มันชนิดเดียวกัน พบว่า เปอร์ เซ็นนา้ หนักไม้ ที่สูญเสียไปจากการ ทาลายของปลวกไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญในแต่ละความเข้ มข้ นของน ้ามันหญ้ าแฝก น ้ามันเสม็ด น ้ามันตะไคร้ ต้น และน ้ามันตะไคร้ หอม (One-way ANOVA: หญ้ าแฝก F2,12 = 0.269, P = 0.769; เสม็ด F2,12 = 0.480, P = 0.630; ตะไคร้ ต้น F2,12 = 0.149, P = 0.863; ตะไคร้ หอม F2,12 = 0.242, P = 0.788) ในขณะที่ที่ระดับความเข้ มข้ น 100% ของน ้ามันการบูร มี เปอร์ เซ็นน ้าหนักไม้ ที่สญ ู เสียไปจากการทาลายของปลวกต่ากว่าระดับความเข้ มข้ นอื่นอย่างมีนยั สาคัญ (One-way ANOVA: F2,12 = 7.600, P = 0.007) เช่นเดียวกับผลที่ได้ ในน ้ามันยูคาลิปตัส ซึง่ พบว่าระดับความเข้ มข้ น 100% สามารถลดการทาลาย จากปลวกได้ มากที่สดุ (One-way ANOVA: F2,12 = 4.524, P = 0.034) (ภาพที่ 2) ผลการศึกษาในชิ ้นไม้ สดพบว่ามีบางส่วนสอดคล้ องกับผลการศึกษาในชิ ้นไม้ ที่ผ่านการอบแห้ ง กล่าวคือ น ้ามันยูคา ลิปตัสและน ้ามันการบูรที่ระดับความเข้ มข้ น 100 % มีผลในการลดการทาลายจากปลวกมากกว่าที่ระดับความเข้ มข้ นที่ต่า กว่า โดยรวมแล้ วพบว่า การสูญเสียมวลจากการทาลายของปลวกในชิ ้นไม้ สดมีน้อยกว่าชิ ้นไม้ ที่ผ่านการอบแห้ ง ทังนี ้ ้เนื่องจาก ท่อ ลาเลียงน ้าและท่อลาเลียงอาหารในชิ ้นไม้ สดยังมีน ้าบรรจุอยู่ภายในและท่อยังไม่ตีบตัน ดังนันเมื ้ ่อจุ่มชิ ้นไม้ ในน ้ามันหอมระเหย น ้ามันหอมระเหยจึงแพร่ผ่านเข้ าไปยังเนื ้อไม้ ได้ ดีกว่าชิ ้นไม้ ที่ผ่านการอบแห้ งซึง่ ท่อลาเลียงต่าง ๆ ตีบตันหมดแล้ ว
880
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Figure 2 Percent of mass loss of fresh wood sample dipped in essential oils
สรุ ป น ้ามันหอมระเหยจากพืชในวงศ์ Myrtaceae ที่นามาทดสอบ คือ การบูร ยูคาลิปตัส และเสม็ด และวงศ์ Poaceae คือ ตะไคร้ หอม ตะไคร้ ต้น และหญ้ าแฝก นัน้ มีประสิทธิภาพในการลดการทาลายจากปลวก C. gestroi ได้ เมื่อเปรี ยบเทียบกับ ไม้ ที่ไม่ผ่านการจุ่มน ้ามันหอมระเหย โดยพบว่า วิธีการใช้ ไม้ สดจุ่มในน ้ามันหอมระเหยได้ ประสิทธิภาพดีกว่าการใช้ ไม้ ที่อบแห้ ง แล้ ว และจากทัง้ สองวิธีพบว่าไม้ ที่ผ่านการจุ่มนา้ มันหอมระเหยยูคาลิปตัสและการบูรที่ระดับความเข้ มข้ น 100% สูญเสีย น ้าหนักจากการทาลายของปลวกน้ อยกว่า 15%
กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั นี ้ได้ รับทุนสนับสนุนจากทุนโครงการวิจยั ภายใต้ โครงการมหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2558
เอกสารอ้ างอิง Adebayo, T.A., A.A. Gbolade and J.I. Olaifa. 1999. Comparative study of toxicity of essential oils to larvae of three mosquito species. Nig. J. Nat. Prod. Med. 3: 74-76. Gbolade, A.A. 2001. Plant-derived insecticides in the control of malaria vector. J. Trop. Med. Plants 2: 91-97. Landolt, P.J., R.W. Hofstetter and L.L. Buddick. 1999. Plant essential oils as arrestants and repellants for neonate larvae of the codling moth (Lepidoptera: Tortricidae). Environ. Entomol. 28: 954-960. Marimuthu, S., G. Gurusubramanian and S.S. Krishna. 1997. Effect of exposure of eggs to vapours from essential oils on egg mortality, development and adult emergence in Earias vittella (F.) (Lepidoptera: Noctuidae). Biol. Agric. Horticult. 14: 303-307. Rattanapun, W. and M. Tarasin. 2014. Effect of thermal modification on termite resistance and performance properties of rubberwood. The 3rd International Conference Technologies for the Forest and Biobased Products Industries, September 24-26, University of Applied Sciences, Campus Kuchl, Salzburg, Austria. Tarasin, M. 2013. Effect of eucalyptus wood vinegar on rubberwood infestation by Asian subterranean termite, Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae). Comm. Agri. App. Biol. Sci. 78: 317-322. Tarasin, M., A. Petharwut and W. Rattanapun. 2013. Potential of boron rubberwood preservatives against การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
881
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Asian subterranean termite Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae). The 5th International Symposium of IWoRS, November 78, Novotel Hotel, Balikpapan, Indonesia. Tripathi, A.K., S. Upadhyay, M. Bhuiyan and P.R. Bhattacharya. 2009. A review on prospects of essential oils as biopesticide in insect-pest management. J. Pharmacog. Phytotherap. 1: 52-63.
882
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การปรับปรุงสายพันธุ์เห็ดสกุลเลนไทนัสให้ ได้ ผลผลิตสูงด้ วยรังสีแกมมา Strain Improvement of Mushroom in Lentinus for High Yield by Gamma Radiation สาวิตรี ปราโมช ณ อยุธยา1 กัลยา รัตนถาวรกิต1ิ และศิริชัย กีรติมณีกร1 Sawithree Pramoj Na Ayudhya1 Kanlaya Ratanathawornkiti1 and Sirichai Kiratimanekorn11
บทคัดย่ อ การศึกษาผลของการฉายรังสีแกมมา 5 ระดับ คือ 0, 0.10, 0.25, 0.50 และ 0.75 กิโลเกรย์ เพื่อการกลายพันธุ์ของ เส้ นใยเห็ดสกุลเลนไทนัส เพื่อพัฒนาสายพันธุ์ให้ มีผลผลิตสูงขึ ้นกว่าสายพันธุ์เดิม เมื่อเพาะเส้ นใยเห็ดที่ได้ รับการฉายรังสีระดับ ต่าง ๆ พบว่า ได้ โคโลนีใหม่ที่คาดว่ากลายพันธุ์จานวน 715 isolates และเมื่อนาสายพันธุ์เห็ดที่ได้ จากการฉายรังสีจานวน 193 isolates มาเพาะเพื่อเปรี ยบเทียบผลผลิตกับสายพันธุ์เดิมที่คดั เลือกแล้ วจานวน 7 สายพันธุ์พบว่า มีเพียง 34 isolates ที่ให้ ผล ผลิตสูงกว่าสายพันธุ์เดิม เมื่อวิเคราะห์ผลทางสถิติพบว่าเห็ดที่ได้ รับการฉายรังสีที่ 0.10, 0.25 และ 0.50 กิโลเกรย์ มีผลผลิตสูง กว่าสายพันธุ์เดิมอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ คาสาคัญ: เห็ดสกุลเลนไทนัส, รังสีแกมมา, การกลายพันธุ์
Abstract Study on effects of gamma radiation at 5 levels including 0, 0.10, 0.25, 0.50 and 0.75 KGrey on Lentinus spp. mutation was done for higher yield mutant strains. Suspected mutant colonies were selected totally 715 isolates. Cultivation of mushroom for confirmation the ability of 193 screened mutant isolates if they showed higher yield than 7 parent strains, it was apparent that 34 isolates still showed higher yield than parent strain. Statistical analysis indicated that the selected isolates that had radiated at 0.10, 0.25 and 0.50 KGrey had significant higher yield than the parent strains. Keywords : Lentinus spp., gamma radiation, mutation
คานา เห็ดสกุลเลนไทนัส (Lentinus) เป็ นเห็ดสกุลหนึ่งที่นิยมรับประทานกันมากในประเทศไทย โดยเห็ดในสกุลนี ้ที่คนไทย รู้จกั กันดีได้ แก่ เห็ดหอม เห็ดลม และเห็ดบด เนื่องจากเป็ นเห็ดที่มีรสชาติดี มีกลิ่นหอม มีสารสาคัญที่ช่วยบารุงสุขภาพและช่วย ในการรักษาโรค เช่น เลนติแนน (Lentinan) ช่วยลดการสะสมไขมันในเส้ นเลือด สารอีริทาดีนิน (Eritadenin) เป็ นสารที่ต่อต้ าน เซลล์เนื ้องอก (มะเร็ง) โดยเฉพาะมะเร็งกระเพาะอาหาร และสารเอซีทพู ี (Ac2p) เป็ นสารที่ต่อต้ านเชื ้อไวรัสที่ทาให้ เกิดโรคหวัด หัด และโปลิโอ (บรรณ, 2547) แต่การเพาะเห็ดสกุลดังดังกล่าวมีปัญหาอยู่มาก โดยพบว่าผลผลิตมักจะต่าและออกดอกไม่ สม่าเสมอ บางชุดจะออกดอกดี บางชุดไม่คอ่ ยออกดอก และในบางครัง้ ไม่สามารถให้ ผลผลิตได้ ทังนี ้ ้อาจเนื่องมาจากเชื ้อเห็ดมี อัตราการกลายพันธุ์สงู หากคัดเลือกหรื อเก็บรักษาไม่ถกู วิธี โอกาสที่เชื ้อจะกลายพันธุ์ก็มีมาก (สัญชัย, 2537) การพัฒนาสายพันธุ์เห็ดสกุลเลนไทนัสยังไม่มีมากเท่าที่ควร ปั จจุบนั นิยมใช้ วิธีคดั เลือกจากนาเนื ้อเยื่อดอกเห็ดที่มี ลักษณะดีมาแยกเนือ้ เยื่อเพื่อขยายทาเชื อ้ ใหม่ หากต้ องการผลิตเชื อ้ เห็ดที่มีลกั ษณะทางพันธุกรรมที่มีความแตกต่างทาง พันธุกรรมสูง อาจต้ องใช้ วิธีการปรับปรุงพันธุ์อื่น ๆ ร่ วมด้ วย ได้ แก่ การปรับปรุ งพันธุ์ด้วยการฉายรังสีแกมมา เพื่อชักนาให้ เกิด สายพันธุ์ใหม่ที่ให้ ผลผลิตสูงกว่าสายพันธุ์เดิม ดังตัวอย่างจากงานวิจยั ของ Djajanegara and Harsoyo (2009) พบว่าการฉาย รังสีแกมมาให้ แก่เห็ดนางรมสีขาว 0.75 กิโลเกรย์ สามารถทาให้ ผลผลิตดอกเห็ดสูงกว่าสายพันธุ์แม่ 1
ฝ่ ายเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ปทุมธานี 12120
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
883
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
อุปกรณ์ และวิธีการ การเตรี ยมตัวอย่างสาหรับฉายรังสี ขูดเส้ นใยเห็ดที่เจริญเต็มจานอาหารเลี ้ยงเชื ้อ PDA ใส่ในสารละลายที่มีสว่ นผสม ของ Tween 0.01% และ NaCl 0.85% ในน ้ากลัน่ นาเส้ นใยเห็ดที่แขวนลอยในสารละลายดังกล่าวมาปั่ นด้ วย Homogenizer เพื่อตัดเส้ นใยออกเป็ นชิ ้นเล็ก ๆ จากนัน้ นาไปเขย่าด้ วย Vortex mixer ให้ เข้ ากันเป็ นอย่างดี แล้ วใช้ ปิเป็ ตต์ดดู เส้ นในเห็ดที่ แขวนลอยในสารละลายให้ มีปริ มาตร 2.5 มิลลิลิตร (มล.) ต่อหลอดทดลอง รวม 7 หลอด นาหลอดทดลองจานวน 6 หลอดแช่ ในน ้าแข็งเพื่อเตรี ยมฉายรังสี ส่วนอีกหลอดเก็บไว้ เป็ นตัวควบคุม (Control) การฉายรังสี ใช้ เครื่ องฉายรังสีแกมมามาร์ ควัน (Mark I Gamma Irradiator) ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึง่ มี ซีเซียม-137 เป็ นต้ นกาเนิดรังสี ปริมาณรังสีที่ใช้ ในการทดลองคือ 0, 0.10, 0.25, 0.50 และ 0.75 กิโลเกรย์ ตามลาดับ แยกเชื ้อที่ คาดว่ากลายพันธุ์ด้วยรังสีโดยนาเส้ นใยที่ฉายรังสีและไม่ฉายรังสีมาทาให้ เจือจางด้ วย Tween 0.01% และ NaCl 0.85% ในน ้า กลัน่ จนได้ ความเจือจางเป็ น 1:10, 1:102 จากนันดู ้ ด 0.1 มล. ของเส้ นใยเห็ดในแต่ละความเจือจางของแต่ละปริ มาณรังสี ใส่ลง บนผิวหน้ าอาหาร PDA โดยวิธี Drop Dilution Technique จนทัว่ ผิวหน้ าอาหาร รอจนผิวหน้ าอาหารแห้ ง จากนันน ้ าไปบ่มที่ อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 5 วัน จะปรากฏโคโลนีของเห็ดขึ ้นบน PDA จากนันใช้ ้ เข็มเขี่ยโคโลนีที่คาดว่ากลายพันธุ์ โดยสังเกตจากลักษณะของเส้ นใยที่เปลี่ยนแปลงไปจากสายพันธุ์เดิม นามาเก็บไว้ จากนันเลี ้ ้ยงเส้ นใยบนอาหาร PDA ทาการ คัดเลือกเชื ้อเห็ดเบื ้องต้ นจากเส้ นใยที่เจริญเต็มจานเลี ้ยงเชื ้อได้ เร็ว และนามาใช้ ในงานทดลองต่อไป ทดสอบการเจริญเติบโตของเชื ้อเห็ดสกุลเลนไทนัสที่ได้ รับการคัดเลือกภายหลังจากได้ รับการฉายรังสี โดยเตรี ยมเชื ้อ ์ เห็ดบริ สทุ ธิจากเชื ้อพันธุ์ที่เก็บไว้ นามาขยายบนอาหาร PDA แล้ วนามาบ่มที่อณ ุ หภูมิ 25 องศาเซลเซียสจนเส้ นใยเจริ ญเต็มจาน เลี ้ยงเชื ้อ จากนันตั ้ ดเส้ นใยเห็ดมาเพาะเลี ย้ งในอาหารเมล็ดข้ าวฟ่ างที่บรรจุในขวด นาไปบ่มที่อณ ุ หภูมิห้อง (25 องศาเซลเซียส) จนกระทัง่ เส้ นใยเจริ ญเต็มขวด จากนันเตรี ้ ยมวัสดุเพาะประกอบด้ วยขี ้เลื่อย 100 กิโลกรัม : ราข้ าว 5 กิโลกรัม : ปูนขาว 1 กิโลกรัม เติมน ้าให้ มีความชื ้นร้ อยละ 65-70 บรรจุวสั ดุเพาะที่ผสมแล้ วลงถุงพลาสติกขนาด 8×12.5 นิ ้ว ใส่คอขวด ปิ ดจุกด้ วยฝา จุกประหยัดสาลี จากนันน ้ าไปนึ่งในหม้ อนึ่งที่อณ ุ หภูมิ 90-100 องศาเซลเซียส นาน 3 ชัว่ โมง จากนันทิ ้ ้งไว้ ให้ ก้อนเชื ้อเย็น แล้ ว จึง ใส่เ ชื อ้ เห็ด ที่ เ ตรี ย มไว้ และน าไปบ่ม ในโรงเรื อ นจนเส้ น ใยเจริ ญ เต็ม ก้ อ นเชื อ้ จึ ง น าไปเปิ ดดอก รดน า้ และเก็ บ ผลผลิ ต ดาเนินการทดลอง isolate ละ 15 ซ ้า (ถุง) บันทึกผลการทดลอง โดยชั่งนา้ หนักดอกเห็ดเพื่อนามาคานวณผลผลิตจากค่า เปอร์ เซ็นต์ประสิทธิภาพการให้ ผลผลิต (Biological efficiency, %B.E.) สามารถคานวณได้ จาก (Quimio et al, 1990) ดังนี ้ %B.E.
=
น ้าหนักผลผลิตสดทังหมด ้ × 100 น ้าหนักแห้ งวัสดุเพาะ
บันทึกผลเป็ นระยะเวลา 3 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลด้ วย Analysis of variance และ Duncan’s multiple range test ที่ ระดับความเชื่อมัน่ 95%
ผลการทดลองและวิจารณ์ รวบรวมเชื ้อเห็ดสกุลเลนไทนัสทังหมด ้ 7 สายพันธุ์ที่รวบรวมได้ จากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ สาหรับเป็ นสายพันธุ์แม่ จากนัน้ นามาฉายรังสีที่ 0, 0.10, 0.25, 0.50 และ 0.75 กิโลเกรย์ ตามลาดับ พบว่าเส้ นใยเห็ดที่ผ่านการฉายรังสีทงหมดมี ั้ อตั ราการรอด ชีวิตและคาดว่ากลายพันธุ์มีทงหมด ั้ 715 isolates โดยสังเกตจากลักษณะของเส้ นใยที่เ ปลี่ยนแปลงไป และ/หรื อมีอตั ราการ เจริ ญเติบโตของเส้ นใยเห็ดที่เทียบเท่าหรื อสูงกว่าสายพันธ์ เดิม เมื่อนามาทดสอบในจานอาหารเลี ้ยงเชื ้อสามารถคัดเลือกสาย พันธุ์ที่มีอตั ราเจริญเติบโตได้ ดีกว่าสายพันธุ์แม่ จานวน 193 isolates ดังตารางที่ 1
884
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Table1 Number of preliminary screened of mutant isolates for higher yield. Radiation levels (KGrey) No. of suspected mutant No. of preliminary screened isolates isolates 0.00 7 7 0.10 188 65 0.25 351 71 0.50 168 50 0.75 1 0 เมื่อนาเส้ นใยเห็ดสกุลเลนไทนัสที่ผ่านการฉายรังสี และผ่านการคัดเลือกเบื ้องต้ นแล้ วว่ามีอตั ราการเจริ ญดีกว่าสาย พันธุ์แม่ (control) จานวน 7 สายพันธุ์ มาเพาะให้ เกิดดอกพบว่า มีเพียง 34 isolates ที่ยงั คงให้ ค่า Biological efficiencies (B.E.) สูง และผลผลิตดอกเห็ดสูงกว่าสายพันธุ์เดิม โดยเห็ดที่ได้ รับการฉายรังสีที่ 0.50 กิโลเกรย์ให้ ค่า B.E. เฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 35.32% แต่ ไ ม่ แ ตกต่ า งจากเห็ ด ที่ ไ ด้ รั บ การฉายรั ง สี ที่ 0.10 และ 0.25 กิ โ ลเกรย์ (33.48 และ 32.23% ตามล าดับ ) เมื่ อ เปรี ยบเทียบกับสายพันธุ์แม่และการไม่ฉายรังสีที่ให้ ค่า B.E. น้ อยที่สดุ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 14.97 และ 13.36% ตามลาดับ (ตารางที่2, ภาพที่ 1) แสดงให้ เห็นว่ารังสีมีส่วนช่วยต่อการเพิ่มผลผลิตของเห็ด สอดคล้ องกับงานวิจยั ของงามนิจ และ เสา วพงศ์ (2555) รายงานว่าการฉายรังสีแกมมาปริมาณ 0.10 กิโลเกรย์นนั ้ ให้ ผลผลิตดอกเห็ดสูงสุด Table2 Biological efficiencies and average yield per bag of screened mutant isolates and parent strain of Lentinus. Radiation levels (KGrey) B.E. (%) Avg.Yield bag (g.) control 14.97a* 28.06a 0.00 13.36a 26.34a 0.10 33.48b 45.23b 0.25 32.23b 57.01b 0.50 35.32b 56.13b
% Biological Efficiency
*Means with the same letter(s) in the same column are not significantly different at P≤0.05 (DMRT) 40 35 30 25 20 15 10 5 0
b
a
control
b
b
a
0
0.1
0.25
0.5
Irradiation Level (KGray) Fig. 1 Biological efficiency of screened mutant isolates and parent strain of Lentinus.
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
885
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สรุ ป การใช้ รังสีแกมมาที่ระดับ 0.10, 0.25 และ 0.50 กิโลเกรย์ ส่งผลให้ เห็ดสกุลเลนไทนัสที่ ผ่านการคัดเลือกภายหลัง ได้ รับการฉายรังสีให้ ผลผลิตสูงขึ ้นกว่าสายพันธุ์เดิม
เอกสารอ้ างอิง งามนิจ เสริ มเกียรติพงศ์ และ เสาวพงศ์ เจริ ญ. 2555. การปรับปรุงสายพันธุ์เห็ดฟางให้ มีผลผลิตสูงด้ วยรังสีแกมมา. เห็ดไทย 2555. กรุงเทพฯ บรรณ บูรณะชนบท. 2547. คูม่ ือเพาะเห็ด. กรุงเทพฯ, 277 หน้ า สัญชัย ตันตยาภรณ์. 2537. เปรี ยบเทียบอัตราการเจริ ญและผลผลิตของเชื ้อเห็ดขอนขาว 10 สายพันธุ์. การสัมมนา ทางวิชาการปรับปรุงพันธุ์พืช ครัง้ ที่ 4 เรื่ อง พันธุ์พืชใหม่และความปลอดภัยทางชีวภาพ. โรงแรมมารวยการ์ เด้ น, กรุงเทพฯ Djajanegara I. and Harsoyo. 2009. Mutation study on white oyster mushroom (Pleurotus floridae) using gamma (60Co) irradiation. JCNRE 4(1) : 12-21 Quimio, T.H., S.T. Chang and D.J. Royse. 1990. Technical guidelines for mushroom growing in the tropics. FAO; Rome
886
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การดัดแปรแป้ งข้ าวทางกายภาพและการประยุกต์ ใช้ อุตสาหกรรมการผลิตเส้ นก๋ วยเตี๋ยว Physical Modification of Rice Flour and Application in Noodle Industry สุภาวดี แช่ ม1 และ สุกัญญา สายธิ2 Supawadee cham1 Sukaya Saithi2
บทคัดย่ อ การดัดแปรแป้งข้ าวทางกายภาพด้ วยวิธี Heat moisture treatment (HMT) และวิธี Annealing (ANN) เพื่อปรับปรุง สมบัติทางกายภาพของแป้งข้ าวมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการดัดแปรแป้งข้ าวทางกายภาพนาไปพัฒนาคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์จากข้ าวให้ ดีขึน้ โดยใช้ ข้าวที่มีปริ มาณแอมิโลสสูง คือ ข้ าวพันธุ์ตะเคียน (Takandtong ;TK) ใช้ เทคนิคพืน้ ผิว ตอบสนอง (RSM) โดยวางแผนการทดลองแบบ Face-centered Central Composite Design (FCCD) เพื่อหาสภาวะที่ เหมาะสมในการดัดแปรแป้งข้ าว ซึ่งผลของสภาวะดัดแปรที่ใช้ คือ ปริ มาณความชื ้น อุณหภูมิ และระยะเวลาการดัดแปร ต่อ คุณสมบัติด้านความหนืด และคุณลักษณะเนื ้อสัมผัสของเจลแป้งข้ าว พบว่าการดัดแปรวิธี ANN มีผลต่อคุณภาพของแป้งข้ าว น้ อยกว่า วิธี HMT ทุกคุณลักษณะ จากการศึกษาค่าตอบสนองของสมการถดถอยที่ใช้ ในการทานาย มีค่า R2 > 0.85 ด้ านค่า ความหนืดสุดท้ าย เซตแบค และความแข็งของเจล (Hardness) สมการของสภาวะที่เหมาะสมจากการดัดแปรด้ วยวิธี HMT และ ANN ใช้ กบั การกาหนดคุณภาพด้ านเนื ้อสัมผัส และคุณภาพการต้ มสุก ได้ จดุ เหมาะสมของสภาวะดัดแปร พื ้นที่ที่ดีแต่ละ ชนิดของผลิตภัณฑ์ก๋วยเตี๋ยวได้ รับการคัดเลือก และทาการทดสอบสามซ ้าเพื่อยืนยันการตรวจสอบ พบว่า ก๋วยเตี๋ยวเส้ นสด ใช้ แป้งข้ าวดัดแปรวิธี ANN ที่ความชื ้น 60 % อุณหภูมิ 65 oC เป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง ก๋วยเตี๋ยวเส้ นเล็กกึ่งแห้ ง ใช้ แป้งข้ าวดัดแปรวิธี HMT ที่อณ ุ หภูมิ 105 oC ความชื ้น 22.5% เป็ นเวลา 2 ชัว่ โมง และเส้ นเล็กแห้ ง ใช้ แป้งข้ าวดัดแปรที่อณ ุ หภูมิ 105 oC ความชื ้น 27 % เป็ นเวลา 2 ชัว่ โมง คาสาคัญ : การดัดแปรทางกายภาพ แป้งข้ าว เส้ นก๋วยเตี๋ยว
Abstract The hydrothermal treatments which are commonly used in modifying the physicochemical properties of starch are heat–moisture treatment (HMT) and annealing (ANN). This research aims to study the effects of hydrothermally modified rice flour on improving rice products quality. High-amylose rice flour (Takandtong variety; TK) was modified using heat–moisture treatment (HMT) and annealing (ANN). Response surface methodology (RSM) with face-centered central composite design (FCCD) was applied to optimize the hydrothermal treatment condition. The effects of treatment conditions– moisture content; heating temperature and heating time on pasting and textural properties of rice flour gel were observed. ANN showed a lower response than HMT for all parameters. The responses studied were better explained by a second-order model. Responses equation with high fitting (R2> 0.85); final viscosity, setback, gel hardness were selected for a further predictive model. The optimization equation of HMT and ANN treatment conditions for various rice noodles was determined using their texture and cooking quality. Data points (Fresh Noodle used ANN flour modified at 60%moisture content, 65oC and 24 hour: Semi dry used HMT flour modified at 105 oC, 22.5% moisture content, 2 hour and dry noodle used HMT flour modified at 105 oC, 27% moisture content, 2 hour) within the optimized area of each noodle product were selected and run in triplicate for validation purposes. Keyword : Physical Modification Rice flour Noodle
1
สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 2คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลอีสาน สกลนคร 47160 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
887
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
คานา ผลิตภัณฑ์แป้งข้ าวที่มีมลู ค่าเพิ่ม เช่น เส้ นก๋วยเตี๋ยว เส้ นหมี่ และเส้ นขนมจีน ซึง่ คุณภาพของผลิตภัณฑ์เหล่านี ้ขึ ้นกับ คุณสมบัติด้านความหนืด และ สมบัติรีโอโลจี (Rheological properties) ของแป้งข้ าวหลังให้ ความร้ อน คุณสมบัติด้านความ หนืด และ สมบัติรีโอโลจีของแป้งข้ าวมีความสาคัญต่อลักษณะเนื ้อสัมผัสและการยอมรับของผู้บริ โภค ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด ต้ องการแป้งที่มีสมบัติดงั กล่าวแตกต่างกัน ปั จจุบนั ในกระบวนการผลิตมีการใส่สารส้ ม หรื อ อะลูมิเนียม อะลัม ในแป้งที่ใช้ ทา เส้ นก๋วยเตี๋ยวเพื่อเพิ่มความคงตัวของเจลแป้งข้ าว ทาให้ มีปริ มาณอะลูมินมั สูงถึง 620 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (สานักงานกองทุน สนับสนุนงานวิจยั , 2551) ซึ่งถือว่าอันตรายต่อสุขภาพมาก ดังนันงานวิ ้ จยั นี ้จึงมีการใช้ วิธีการดัดแปรคุณสมบัติของแป้งข้ าว ทางกายภาพโดยใช้ ความร้ อนร่ วมกับ ความชื ้น (Hydrothermal modification) ในแป้งข้ าวที่มีปริ มาณแอมิโลสสูงหลายสาย พันธุ์โดยมีจดุ ประสงค์เพื่อปรับปรุ งสมบัติดงั กล่าว การดัดแปรทางกายภาพของแป้งข้ าวโดยใช้ ความร้ อนร่ วมกับความชื ้นมี 2 แบบ คือ Annealing (ANN) และ Heat moisture treatment (HMT) ANN และ HMT มีความแตกต่างคือ ANN เป็ นการทาดัด แปรที่ระดับปริ มาณความชื ้นมากกว่า 60 เปอร์ เซ็นต์ (น ้าหนัก/น ้าหนัก) แต่ถ้าระดับความชื ้นต่า คือน้ อยกว่า 35 เปอร์ เซ็นต์ (น ้าหนัก/น ้าหนัก) เป็ นการดัดแปรแบบ HMT อุณหภูมิที่ใช้ ในทัง้ 2 วิธีต้องสูงกว่าอุณหภูมิกลาซทรานซิชนั (Glass transition temperature : Tg) แต่ต่ากว่าอุณหภูมิในการเกิดเจลาทิไนเซชันของสตาร์ ช (Jacobs and Delcour ,1998; Collado and Corke ,1999; Lim et al., 2001) การกระทาดังกล่าวสามารถปรับเปลี่ยนเค้ าโครงทางแคลอรี เมตริกของแป้ง (DSC thermal profile) ซึง่ มีผลต่อคุณสมบัติด้านความหนืด และคุณสมบัติกระแสวิทยาของแป้งข้ าว เปลี่ยนแปลงไปสามารถนาไป ปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์จากแป้งข้ าวที่มีลกั ษณะเป็ นเจลเหนียว เช่น ก๋วยเตี๋ยวเส้ นจันท์กึ่งแห้ ง และเส้ นจันท์แห้ ง (งาม ชื่น, 2541) ผลที่ได้ จากงานวิจยั จะเป็ นประโยชน์แก่อตุ สาหกรรมการผลิตอาหารที่ใช้ แป้งข้ าวเป็ นวัตถุดิบในการทาเส้ นก๋วยเตี๋ยว นอกจากนี ้ยังสามารถใช้ เป็ นแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์แป้งข้ าวที่มีคณ ุ ภาพและเป็ นการลดการใช้ สารเคมีซงึ่ เป็ นอันตราย ต่อผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์อาหารเส้ นมักใช้ ข้าวเมล็ดยาว ที่มีปริ มาณแอมิโลสในระดับปานกลางจนถึงสูง (ไม่น้อยกว่า 22 %) เพราะ คุณภาพเนือ้ สัมผัสของผลิตภัณฑ์ขึน้ อยู่กับความแข็งแรงยืดหยุ่นของเจลสตาร์ ชข้ าวเป็ นหลัก (อรพรรณ,2547) เจลสตาร์ ชที่ เตรี ยมจากนา้ แป้งสุกประกอบจากแอมิโ ลสเรี ยงตัวสานต่อกันเป็ นร่ างแห (continuous network) และเม็ดแป้งสุกซึ่ง ประกอบด้ วยแอมิโลเพกตินฝังเติมลงในช่องว่างของโครงสร้ างร่างแหแอมิโลส (Mestres et al., 1998) ดังนันความหยื ้ ดหยุ่น แข็งแรงของเจลสตาร์ ชขึน้ กับ ปริ มาณแอมิโลส อัตราส่วนของแอมิโลสและแอมิโลเพกติน และ การจัดเรี ยงตัวของโมเลกุล สตาร์ ชในเม็ดแป้ง โดยการจัดเรี ยงของโครงร่างเครื อข่าย 3 มิติที่มีการแตกกิ่งก้ านย่อยออก ซึง่ กิ่งก้ านต้ องมีจดุ เชื่อมต่อกัน และ แต่ละจุดมีความแน่นหนาแข็งแรง จากผลึกของสตาร์ ชที่มีแอมิโลสเป็ นองค์ประกอบสูงมากพอ และมีค่าความแข็งแรงของเจ ลสูงเป็ นข้ าวที่เหมาะต่อการผลิตเส้ นหมี่ (Li and Luh , 1980) คุณสมบัติความหนืดของสตาร์ ชในแป้งเป็ นสมบัติ ที่สาคัญ สาหรั บการนาไปใช้ ประโยชน์ ซึ่งพฤติกรรมความข้ นหนื ดเป็ นคุณสมบัติเฉพาะตัวที่แตกต่างกันไปในแป้งแต่ละชนิดและมี การศึกษาคุณสมบัติด้านความหนืดของแป้งจากข้ าว 10 สายพันธุ์ ซึ่งมีปริ มาณแอมิโลสอยู่ในช่วงร้ อยละ 11.9-25.6 พบ ความแตกต่างของรูปแบบการเปลี่ยนแปลงความหนืดซึง่ มีผลมาจากสายพันธุ์ข้าวแต่ละสายพันธุ์ ซึง่ ให้ ค่าความหนืดไม่แน่นอน อยู่ในระดับต่าถึงปานกลาง แอมิโลสมีผลต่อสมบัติของสตาร์ ชข้ าว คือ ทาให้ ค่า peak viscosityและ ค่า final viscosity ต่าลง แต่ค่า final viscosity และค่า setback สูงขึ ้น จะเป็ นผลทาให้ ผลิตภัณฑ์มีคณ ุ ภาพเนื ้อสัมผัสยืดหยุ่น พันธุ์ข้าวและสมบัติทาง กายภาพของข้ าวยังมีอิทธิพลต่อสมบัติของเส้ นก๋วยเตี๋ยว โดยแป้งข้ าวที่มีปริ มาณแอมิโลสสูง มีค่า setback มากว่า 500 B.U. จะให้ ผลิตภัณฑ์เส้ นก๋วยเตี๋ยวที่มีลกั ษณะเนื ้อสัมผัสที่ดี (บุญทิวา, 2548)
อุปกรณ์ และวิธีการ 1. การเตรี ยมวัตถุดบิ นาข้ าวพันธุ์ตะเคียนทอง มาล้ างทาความสะอาดและแช่น ้าที่อณ ุ หภูมิห้องเป็ นเวลาประมาณ 4 ชัว่ โมง โม่ด้วยเครื่ องโม่ หิน พร้ อมกับค่อย ๆ เติมน ้าตลอดเวลา ใช้ อตั ราส่วนข้ าว : น ้า เท่ากับ 1: 2 จากนันเหวี ้ ่ยงแยกน ้าออกจากน ้าแป้งด้ วยเครื่ องหมุน เหวี่ยงความเร็ว 1,500 รอบต่อนาที นาน 3-5 นาที ลดขนาดของก้ อนแป้งให้ เล็กลงโดยใช้ ไม้ บดแป้งแบบลูกกลิ ้ง แล้ วนาไปใส่ ถาดเข้ าอบในตู้อบลมร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 40- 45 องศาเซลเซียส นาน 15 ชัว่ โมง นาแป้งที่ได้ ไปโม่ด้วยเครื่ องบดโดยผ่านตะแกรง ขนาด 0.5 และ 0.2 มิลลิเมตรตามลาดับ จากนันจึ ้ งร่อนแป้งผ่านตะแกรงขนาด 100 เมช
888
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
2. การกาหนดสภาวะการดัดแปรแป้ งข้ าวทางกายภาพ นาค่าอุณหภูมิการเปลี่ยนแปลงโครงสร้ างผลึก (glass transition temperature, Tg) และ อุณหภูมิที่จดุ สูงสุดหรื ออุณหภูมิ เจลาทิไนเชชัน (peak temperature or gelatinization temperature) ของแป้งข้ าวที่ช่วง 40 ถึง 60 องศาเซลเซียส (Hormdok and Noomhorm, 2007) กาหนดสภาวะในการดัดแปรทางกายภาพแบบ Heat moisture treatment และ Annealing ดังนี ้ 2.1 การดัดแปรแป้งข้ าวแบบ Annealing ชัง่ แป้งข้ าวที่ทราบปริ มาณความชื ้นแล้ ว ใส่ลงในเครื่ องผสมเติมน ้าให้ มีความชื ้นของแป้งข้ าวให้ มากกว่า 60 % (น ้าหนัก/ น ้าหนัก) โดยดัดแปลงจากวิธีของ Jacobs et.al. (1995) นาแป้งไปอบในตู้อบลมร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 40 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง นาไปโม่หยาบด้ วยเครื่ องบดหยาบ และ โม่ละเอียดด้ วยเครื่ องบดของแข็งแห้ ง แล้ วจึงร่อนผ่านตะแกรงขนาด 100 เมช 2.2 การดัดแปรแป้งข้ าวแบบ Heat-moisture treatment ชัง่ แป้งข้ าวที่ทราบปริ มาณความชื ้นแล้ ว ใส่ลงเครื่ องผสม ปรับความชื ้นของแป้งข้ าวให้ เป็ น 18- 27 % ) โดยดัดแปลง จากวิธีของ Lim et.al., 2001 นาแป้งไปอบในตู้อบลมร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 40 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง นาไปโม่หยาบด้ วย เครื่ องบดหยาบ และโม่ละเอียดด้ วยเครื่ องบดของแข็งแห้ ง แล้ วจึงร่อนผ่านตะแกรงขนาด 100 เมช 3. การศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัตทิ างความหนืด สมบัตริ ี โอโลจี และ สมบัตลิ ักษณะเนือ้ สัมผัส 3.1 สมบัติทางความหนืดโดยใช้ เครื่ องวิเคราะห์ความหนืดแบบรวดเร็ว (Rapid visco analyzer) (RVA3D,Newport Scientific Instruments & Engineering, Australia) ตามวิธีการของ AACC (no. 61-02) (2000) เพื่อวิเคราะห์อณ ุ หภูมิที่เริ่ ม เกิดความหนืด (pasting temperature) ความหนืดสูงสุด (peak viscosity) ความหนืดต่าสุด (trough) ความหนืดสุดท้ าย (final viscosity) ความหนืดลดลง (breakdown) และค่าเซตแบค (setback) 3.2 สมบัติรีโอโลจี โดยใช้ เครื่ อง Rheometer (Physica MCR 300 Series; Anton Paar, Graz, Austria ) ด้ วยหัวกด แบบ parallel-plate 50 ดัดแปรจากวิธีของ บุญทิวา (2548) เพื่อวิเคราะห์หาค่า Temperature sweep ที่อณ ุ หภูมิ 45 ถึง 95 องศาเซลเซียส และ 95 ถึง 25 องศาเซลเซียส กาหนดค่าความถี่ที่ 0.1 Hz และ ค่า strain ที่ร้อยละ 0.5 บันทึกค่า Storage modulus (G’) Loss modulus (G’’) และ Tan 3.3 สมบัติลกั ษณะเนื ้อสัมผัส โดยใช้ เครื่ องวัดเนื ้อสัมผัส Texture Analyzer รุ่ น TA.XT Plus ที่การเสียรู ป (deformation) เท่ากับ 50 % ด้ วยหัววัดทรงกระบอกขนาด 6 mm (P/6) ใช้ ความเร็วของหัวกดเท่ากับ 20 mm/min ทาการ บันทึกค่า Hardness, Cohesiveness, Adhesiveness, Springiness, Gumminess 4. การวิเคราะห์ ผลทางสถิติของการดัดแปรทางกายภาพ ต่ อ คุณสมบัติทางความหนื ด คุณสมบัติรีโอโลจี และ สมบัตลิ ักษณะเนือ้ สัมผัส ข้ อมูลที่ได้ จากการวัดค่าคุณสมบัติต่าง ๆ จากข้ อที่ 3 ของแป้งข้ าวดัดแปรทางกายภาพ แบบ annealing และheatmoisture treatment นาข้ อมูลมาวิเคราะห์เชิงปริ มาณในรูปของพื ้นผิวตอบสนอง (Response Surface Methodology) ด้ วย โปรแกรม Stat Soft Statistica วิเคราะห์หาค่า R2 จากสมการถดถอยอย่างง่าย และสมการถดถอยเชิงพหุในการทานายปั จจัย คุณภาพที่ทาการตรวจวัด เพื่อกาหนดปั จจัยสภาวะในการดัดแปรทางกายภาพ เพื่อใช้ เป็ นสมการต้ นแบบในการผลิตผลิตภัณฑ์ จากแป้งข้ าวในการทดลองต่อไป 5. การผลิตผลิตภัณฑ์ เส้ นก๋ วยเตี๋ยวจากแป้ งข้ าวที่ได้ จากสภาวะการดัดแปรเหมาะสม นาแป้งข้ าวดัดแปรที่สภาวะที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์จากแป้งข้ าวแต่ละชนิด ได้ แก่ ก๋วยเตี๋ยวเส้ นจันท์กึ่งแห้ ง และเส้ น จันท์แห้ ง ที่ได้ จากข้ อ 4 มาใช้ เป็ นแป้งต้ นแบบในการผลิตผลิตภัณฑ์เส้ นก๋วยเตี๋ยวจากแป้งข้ าว โดยใช้ วิธีการผลิตก๋วยเตี๋ยวเส้ น จันท์ ตามวิธีของ อรอนงค์และน ้าฝน (2547) 6. การทวนสอบ (verification) ทวนสอบความถูกต้ องจากสภาวะการดัดแปรที่ได้ จากพื ้นที่ที่ซ้อนทับ โดยเลือกจุดในพื ้นที่ที่ซ้อนทับมาทาการผลิต ผลิตภัณฑ์ นามาวัดค่าตอบสนอง เปรี ยบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของค่าที่วดั ได้ จริ งและค่าที่ทานายโดยสมการถดถอย ทดสอบความแตกต่างของค่าทังสองด้ ้ วยการทดสอบแบบ t-test โดยค่าทังสองต้ ้ องไม่มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทาง สถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 % การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
889
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลของการดัดแปรแป้ ง KT ด้ วยวิธี HMT และ ANN ต่ อคุณสมบัตทิ างกายภาพ การดัดแปรทางกายภาพโดยการใช้ ความร้ อนร่วมกับความชื ้นทังสองวิ ้ ธี คือ Heat moisture treatment (HMT) และ Annealing (ANN) มีสภาวะดัดแปรที่ใช้ คือ ปริ มาณความชื ้น (X1) อุณหภูมิ (X2) และระยะเวลาการดัดแปร (X3) ต่อ คุณสมบัติทางกายภาพของแป้งข้ าว ได้ ผลการทดลอง ดังนี ้ สมบัตดิ ้ านความหนืด ความหนืดสุดท้ าย (Final viscosity) และ ค่าเซตแบค (Setback) ของแป้ง TK วิธี HMT และ ANN มีค่า R2 สูง ทดสอบ Lack of Fit ของลักษณะดังกล่าว ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้ อยละ 95 แสดงว่า สมการถดถอยมีความเหมาะสมที่จะใช้ ในการทานาย ได้ สมการถดถอย มีดงั ต่อไปนี ้ สมการถดถอยของแป้งข้ าวดัดแปรด้ วยวิธี HMT Final viscosity = 8605.02 - 55.71x1- 62.91x2- 317.71x3+ 0.21x12- 17.36x22+ 7.18x32 + 0.54x1x2+ 0.88x1x3+ 3.30x2x3 Setback = 3866.75 - 14.63x1- 531.30x2- 223.29x3- 0.07x12 + 39.73x22+ 2.13x32 + 2.10x1x2+ 1.69x1x3+ 9.13x2x3 สมการถดถอยของแป้งข้ าวดัดแปรด้ วยวิธี ANN Final viscosity = - 16461.67 + 492.71x1- 22.46x2 - 3.03x12+ 0.71x22 - 0.0001x1x2 Setback = - 11065.36 + 280.14x1 - 4.91x2 - 1.30x12 + 0.53x22- 0.26x1x2 สมบัตทิ างรี โอโลจี สมบัติทางรี โอโลจีของแป้งข้ าวด้ วยวิธี HMT และ ANN พบว่า ค่า G′95 oC และ G′25 oC มีค่า R2 สูง ทดสอบ Lack of Fit ของลักษณะดังกล่าว ไม่แตกต่างกันอย่ างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้ อยละ 95 แสดงว่าสมการถดถอยมี ความเหมาะสมที่จะใช้ ในการทานาย ได้ โดยมีสมการถดถอย ดังนี ้ สมการถดถอยของค่า G′ ที่อณ ุ หภูมิ 95 oC และ 25 oC ด้ วยวิธี HMT คือ G′ 95 oC = -17784.23 + 664.92x1+ 91.20x2- 1306.14x3- 3.45x12 - 353.20x22 + 14.72x32 - 4.28x1x2 + 7.31x1x3+ 98.62x2x3 G′ 25 oC = 89084.30 - 1282.81x1+ 3809.55x2- 1260.31x3+ 6.60x12 - 563.63x22 + 21.51x32 - 20.82x1x2 + 4.31x1x3+ 47.28x2x3 สมการถดถอยของค่า Storage modulus ที่อณ ุ หภูมิ 95 และ 25 oC ด้ วยวิธี ANN คือ G′ 95 oC = 27929.90 - 689.25x1- 71.01x2+ 5.82x12 + 1.19x22+ 0.31x1x2 G′ 25 oC = 95620.74 - 3179.71x1+ 581.80x2 + 30.77x12+ 3.21x22- 11.79x1x2 ลักษณะเนือ้ สัมผัสของเจล ค่าความแข็ง (hardness) และค่าการคืนตัวกลับ (springiness) ของแป้ง TK ดัดแปรด้ วยวิธี HMT และ ANN มี ค่า 2 R สูง ทดสอบ Lack of Fit ของลักษณะดังกล่าว ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้ อยละ 95 แสดงว่าสมการถดถอยมีความเหมาะสมที่จะใช้ ในการทานาย ได้ โดยมีสมการถดถอย ดังนี ้ สมการถดถอย ของแป้งข้ าวดัดแปรวิธี HMT คือ Hardness = -3531.84 + 72.09 x1 + 80.51 x2 – 16.57 x3- 0.33 x12- 18.18 x22 + 0.59 x32 + 0.40 x1x2 - 0.09 x1x3- 0.88 x2x3 Springiness = 0.574 - 0.002 x1- 0.357 x2+ 0.019 x3 - 0.00003 x12+ 0.035 x22 - 0.001 x32+ 0.001 x1x2 + 0.0004 x1x3 + 0.003x2x3 สมการถดถอย ของแป้งข้ าวดัดแปรวิธี ANN คือ Hardness = 2082.88 - 67.51 x1 + 7.83 x2 + 0.57 x12+ 0.01 x22 - 0.11 x1x2 Springiness = 23.72 - 0.70 x1- 0.05 x2 + 0.005 x12+ 0.0003 x22+ 0.0007 x1x2
890
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ผลการหาสภาวะการดัดแปรที่เหมาะสมสาหรั บการผลิตเส้ นก๋ วยเตี๋ยวชนิดต่ างๆ การประยุกต์ใช้ สมการการทานายทุกค่าตอบสนอง ที่มีค่า R2 สูง (>0.85) (Khuri and Cornell, 1987) และมี Lack of Fit ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้ อยละ 95 คือสมการของความหนืดสุดท้ าย ค่าเซตแบค ค่าความแข็ งของเจล ค่าการคื นตัวของเจล ของการดัดแปรทัง้ สองวิธี มาใช้ ทานายพฤติกรรมของแป้งข้ าวดัดแปรที่ ทา ผลิตภัณฑ์ เส้ นก๋วยเตี๋ยวต้ นแบบ โดยนาค่าตอบสนองทุกค่าจากสมการการทานายมา เปรี ยบเที ยบกับค่าคุณสมบัติทาง กายภาพอ้ างอิง (ตารางที่ 1) จากแป้งทางการค้ า 3 รหัส โดยแป้ง PS1 เป็ นแป้งสาหรับทาก๋วยเตี๋ยวเส้ นสด PS2 เป็ นแป้ง สาหรับทาก๋วยเตี๋ยวเส้ นเล็กกึ่งแห้ ง และ PS3 เป็ นแป้งสาหรับทาก๋วยเตี๋ยวเส้ นเล็กแห้ ง และใช้ เทคนิคพื ้นผิวตอบสนอง (Response Surface Methodology) ด้ วยโปรแกรม Stat Soft Statistica ทานายปั จจัยคุณภาพทังหมดที ้ ่ทาการตรวจวัด ได้ สภาวะในการดัดแปรทางกายภาพ เพื่อใช้ สภาวะต้ นแบบในการผลิตผลิตภัณฑ์ดงั แสดงในภาพที่ 1 Table 1 Physical characteristics of Commercial Modified Rice flour for produce noodles. คุณลักษณะทางกายภาพ แป้ง PS1® แป้ง PS2® ความหนืดสุดท้ าย (Cp) 2900 3800 เซตแบค (Cp) 1650 1500 ความแข็ง (g) 135 280 การคืนตัวกลับ (gs) 0.65 0.74 o 7500 12500 G′95 C (Pa) 17000 25000 G′25 oC (Pa)
แป้ง PS3® 4300 2200 298 0.75 14000 28000
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
891
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Temperature (oC)
Temperature (oC)
(a)
(b)
Temperature (oC)
(C) Fig. 1 Contour plot of hydrothermal treatment conditions on physicochemical properties of TK rice flour and its overlaid of (a) ANN fresh noodle, (b) HMT semi dried rice noodle, (c) HMT dried rice noodle. จากภาพที่ 1 ได้ สภาวะดัดแปรที่เหมาะสมโดยใช้ สมการถดถอย กับค่าตอบสนองของข้ าวดัดแปรทางกายภาพด้ วยวิธี HMT และ ANN ได้ สภาวะมาทาการผลิตเพื่อทวนสอบความถูกต้ อง โดยเลือกจุด ที่เหมาะสมมาทาการผลิตแล้ ววัดค่า ตอบสนอง ดังนี ้ 1) สภาวะการดัดแปรเพื่อผลิตแป้งทาก๋วยเตี๋ยวเส้ นสด คือ วิธี ANN ที่อณ ุ หภูมิ 65 oC เป็ นเวลา 24 h 2) สภาวะการดัดแปรเพื่อผลิตแป้งทาก๋วยเตี๋ยวเส้ นเล็กกึ่งแห้ ง คือ วิธี HMT ที่อณ ุ หภูมิ 105 oC ความชื ้น 22.5% นาน 2 h และ 3) สภาวะการดัดแปรเพื่อผลิตแป้งทาเส้ นก๋วยเตี๋ยวเส้ นเล็กแห้ ง คือ วิธีHMT ที่อณ ุ หภูมิ 105 oC ความชื ้น 27 % เป็ นเวลา 2 h เมื่อได้ จดุ ที่เหมาะสมเป็ นสภาวะการดัดแปรแป้งข้ าวที่ใช้ ผลิตเส้ นก๋วยเตี๋ยวทัง้ 3 ประเภท ทาการวัดค่าตอบสนอง คือ Final viscosity, Setback, Hardness, Springiness, G′ 95 oC และ G′ 25 oC มาทวนสอบเพื่อยืนยันความแม่นยาของสมการ ถดถอยที่ใช้ ในการทานาย เปรี ยบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของค่าที่ตรวจสอบได้ และค่าจากสมการ โดยใช้ t-test ยืนยันผล การคาดคะเน ค่าที่ตรวจสอบได้ และค่าจากสมการไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p<0.05) แสดงว่าสามารถ ใช้ สมการของตัวแปรตอบสนองที่สภาวะดังกล่าวในการทานายค่าตอบสนองและเป็ นสภาวะที่เหมาะสมในการทดลองเพื่อใช้ ใน การดัดแปรแป้งข้ าวให้ มีสมบัติทางเคมีกายภาพไม่แตกต่างจาก แป้งข้ าวทางการค้ า PS1® (แป้งก๋วยเตี๋ยวเส้ นสด), PS2® (แป้ง ก๋วยเตี๋ยวเส้ นเล็กกึ่งแห้ ง) และ PS3® (แป้งก๋วยเตี๋ยวเส้ นเล็กอบแห้ ง)
892
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สรุ ป การดัดแปรทางกายภาพด้ วยวิธี ANNแป้งข้ าวพันธุ์ตะเคียน (Takandtong ;TK) มีผลต่อคุณภาพของแป้งข้ าวน้ อย กว่า วิธี HMT ทุกคุณลักษณะ จากการศึกษาค่าตอบสนองของสมการถดถอยที่ใช้ ในการทานาย มีค่า R2 > 0.85 ด้ านค่าความ หนืดสุดท้ าย เซตแบค และความแข็งของเจล (Hardness) สมการของสภาวะที่เหมาะสมจากการดัดแปรด้ วยวิธี HMT และ ANN ใช้ กบั การกาหนดคุณภาพ ได้ สภาวะดัดแปร ที่เหมาะสม กับการผลิตผลิตภัณฑ์ก๋วยเตี๋ยว คือ ก๋วยเตี๋ยวเส้ นสด ใช้ แป้ง ข้ าวดัดแปรวิธี ANN ที่ความชื ้น 60 % อุณหภูมิ 65 oC เป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง ก๋วยเตี๋ยวเส้ นเล็กกึ่งแห้ ง ใช้ แป้งข้ าวดัดแปรวิธี HMT ที่อณ ุ หภูมิ 105 oC ความชื ้น 22.5% เป็ นเวลา 2 ชัว่ โมง และเส้ นเล็กแห้ ง ใช้ แป้งข้ าวดัดแปรที่อณ ุ หภูมิ 105 oC ความชื ้น 27 % เป็ นเวลา 2 ชัว่ โมง
เอกสารอ้ างอิง งามชื่น คงเสรี . 2541.ข้ าวที่เหมาะสมสาหรับการแปรรูปก๋วยเตี๋ยวและการตรวจสอบคุณภาพ. หน้ า 14-32. ใน เอกสารประกอบการบรรยาย โครงการฝึ กอบรมเรื่ อง การพัฒนาและ ยกระดับอุตสาหกรรมก๋วยเตี๋ยว และขนมจีนโดยใช้ เทคโนโลยีสะอาด. สถาบัน ค้ นคว้ าและ พัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. บุญทิวา นิลจันทร์ . 2548. การศึกษาสมบัติเคมีฟิสิกส์ของฟลาวและสตาร์ ชข้ าวจากข้ าวพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . 2551 . สกว. แฉอันตรายจากเส้ นก๋วยเตี๋ยว : http://www.kroobannok.com/3318 , 21 กันยายน 2557. อรพรรณ กัลปนายุทธ. 2547. การปรับปรุงคุณภาพก๋วยเตี๋ยวพร้ อมบริ โภคในบรรจุภณ ั ฑ์ปิดสนิทผ่านกระบวนการพาสเจอไร เซชัน. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . อรอนงค์ นัยวิกลุ และน ้าฝน ลาดับวงศ์. 2547. ผลของกระบวนการใช้ ความร้ อนฆ่าเชื ้อในภาชนะปิ ดสนิทชนิดอ่อนตัวที่มีการ เปลี่ยนแปลงคุณภาพ. รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ปีที่ 2. สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ, กรุงเทพฯ AACC. 2000. Method 61-02.01. Determination of the Pasting Properties of Rice with the Rapid ViscoAnalyser. In: AACC International Approved Methods of Analysis, eleventh ed. AACC internation, St. Paul, MN.U.S.A. Collado, L.S. and H. Corke. 1999. Heat-moisture treatment effects on sweet potato starches differing in amylose content. Food Chem. 65: 339-346. Jacobs, H., R. C. Eerlingen, W. Clauwaert and J. A. Delcour. 1995. Influence of annealing on the pasting properties of starches from varying botanical sources. Cereal Chemistry. 72: 480-487 Jacobs, H. and J.A. Delcour. 1998. Hydrothermal modifications of granular starch, with retention of the granular structure: review. J. Agric. Food Chem. 46: 2895-2905. Khuri, A.L., Cornell, J.A., 1987. Response Surfaces : Designs and Analyses. Marcel Dekker, New York. Li CF and Luh BS. , Rice snack foods, pp 690-711. In Rice : Production and Utilization, Ed by Luh BS, AVI, Westort, CT, 980p Lim, S.T., E.H. Chang and H.J. Chung. 2001. Thermal transition characteristics of heat-moisture treated corn and potato starches. Carbohydrate Polymers 46: 107-115. Mestres, C., Colonna, P. and Buleon, A. 1988. Characteristics of Starch Networks within Rice Flour Noodles and Mungbean Starch Vermicelli Journal of Food Science. 53: 1809-1812 Hormdok, R., Noomhorm, A., 2007. Hydrothermal treatment of rice starch for improvement of rice noodle quality. Journal of Food Science and Technology. 61: 1–9.
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
893
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การประเมินแนวโน้ มความต้ านทานต่ อไวรัสใบด่ างแตงในพริกพันธุ์ลูกผสม Evaluation of Cucumber mosaic virus (CMV) Resistant Tendency in Chilli Hybrid สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ ง1 จตุพร ไกรถาวร2 และสรพงษ์ เบญจศรี 2 Supaporn Ieamkheng1 Jathuporn Kritavorn2 and Sorapong Benchasri2
บทคัดย่ อ โรคไวรัสใบด่างแตง เป็ นโรคที่สาคัญชนิดหนึ่งที่ทาให้ เกิดความเสียหายต่อการปลูกพริ กในประเทศไทย การคัดเลือก พันธุ์พริ กที่ต้านทานต่อโรคจึงมีความจาเป็ นต่อการปรับปรุ งพันธุ์พริ กอย่างมาก การศึกษาครัง้ นี ้มีจดุ ประสงค์การประเมินความ ต้ านทานต่อไวรัสใบด่างแตง (Cucumber mosaic virus, CMV) ของพริ กลูกผสมจานวน 22 พันธุ์ โดยการปลูกเชื ้อไวรัสลงพริ ก อายุ 8 สัปดาห์ หลังการปลูกเชื ้อไวรัสเป็ นเวลา 2 สัปดาห์ ประเมินระดับความรุนแรงของโรค และตรวจหาเชื ้อไวรัส ด้ วยเทคนิค ELISA ผลการทดลองพบว่า สามารถแบ่งกลุ่มของพริ กได้ 3 กลุ่ม ตามลักษณะอาการที่ปรากฏ และผลการตรวจหาเชื ้อไวรัส ด้ วยเทคนิค ELISA ได้ แก่ กลุ่มที่ 1 ต้ านทานโรค ไม่พบอาการของโรค และตรวจไม่พบเชื ้อไวรัส พบพริ กที่มีแนวโน้ มต้ านทาน โรค 1 พันธุ์ กลุม่ ที่ 2 ทนทานต่อโรค ไม่พบอาการของโรค แต่สามารถตรวจพบเชื ้อไวรัส พบพริ กที่ทนทานต่อโรคจานวน 6 พันธุ์ และกลุม่ ที่ 3 อ่อนแอต่อโรค พบอาการของโรคอย่างชัดเจน และสามารถตรวจพบเชื ้อไวรัสได้ ในปริ มาณมาก พบพริ กที่อ่อนแอ ต่อโรคจานวน 15 พันธุ์ ตามลาดับ คาสาคัญ: ไวรัสใบด่างแตง พริก ความต้ านทาน การประเมิน
Abstract Cucumber mosaic virus (CMV) is one of the important diseases for chilli plantation in Thailand. The selection for chilli CMV resistant is necessary for chilli breeding. The aim in this study was to evaluate CMV resistance in chilli hybrid. Twenty-two varieties of chilli hybrid at 8 weeks after plantation were used to evaluate of CMV resistance by inoculation with CMV. The detection of CMV was conducted by Enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) technique before and 2 weeks after the inoculation. The results showed that there were three groups divided by symptoms occurred on chilli plants and chilli CMV detected by ELISA technique. The first group was resistance, no symptom was shown on chilli plants and CMV was not detected by ELISA. Only one variety was found in this group. The second group was tolerance, no symptom was shown on chilli plants but CMV was detected by ELISA. There were six varieties of chilli were found in this group. The last group was susceptibility, severe symptom was found on chilli plants and CMV was detected by ELISA. There were fifteen varieties of chilli in this group. Keywords: Cucumber mosaic vrus (CMV), Chilli, Resistance, Evaluation
คานา พริกเป็ นพืชที่มีความสาคัญของประเทศไทย สามารถปลูกและเจริญเติบโตได้ ทกุ ภูมิภาคทัว่ ประเทศ และสามารถปลูก ได้ ตลอดทังปี ้ โดยเฉพาะการปลูกในพื ้นที่ทางภาคใต้ ของประเทศไทย การปลูกพริ กทางภาคใต้ เป็ นการปลูกพริ กเพื่อจาหน่าย ภายในประเทศ และส่งออกต่างประเทศ แหล่งผลิตพริ กที่สาคัญทางภาคใต้ ได้ แก่ จังหวัดพัทลุง สุราษฎร์ ธานี นครศรี ธรรมราช กระบี่ และสงขลา ส่วนตลาดค้ าพริ กที่สาคัญของภาคใต้ คือ ตลาดหาดใหญ่ ตลาดหัวอิฐ และตลาดภูเก็ต ตลาดส่งออกพริ กใน ต่างประทศที่ สาคัญ ได้ แ ก่ ประเทศมาเลเซียและสิงคโปร์ การปลูกพริ กในภาคใต้ มักจะพบปั ญหาเรื่ องของโรคและแมลง โดยเฉพาะโรคใบด่ า งที่ เ กิ ด จากเชื อ้ ไวรั ส ท าให้ เ กิ ด ความเสี ย หายในพริ ก จ านวนมาก ซึ่ง โรคที่ เ กิ ด เป็ น โรคใบด่ า งแตง (Cucumber mosaic virus, CMV) เชื ้อไวรัส CMV เป็ นเชื ้อไวรัสที่อยู่ในตระกูล Cucumovirus วงศ์ Bromovirideae มีสายพันธุ์ 1 2
คณะเกษตรศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ต. บางพระ อ. ศรี ราชา จ. ชลบุรี 20110 หน่วยวิจยั พืชเขตร้ อน คณะเทคโนโลยีและพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ ต. บ้ านพร้ าว อ.ป่ าพะยอม จ. พัทลุง 93110 894
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
จานวนมากกว่า 70 สายพันธุ์ ในแต่ละสายพันธุ์ก็จะมีความแตกต่างกันในชนิดของพืชอาศัยความสามารถในการก่อโรคโดยมี เพลี ้ยอ่อนเป็ นพาหะรวมทังการถ่ ้ ายทอดโรคจากต้ นพืชที่เป็ นโรคไปยังต้ นพืชปกติ (มณีรัตน์, 2554ก) ปั จจุบนั มีรายงานว่าเชื ้อ ไวรัสชนิดนี ้สามารถทาลายต้ นพืชได้ ถึง 1,200 ชนิดใน 100 วงศ์ (Roossinck et al., 2001) ประกอบด้ วยพืชใบเลี ้ยงเดี่ยวใบ เลี ้ยงคู่พืชล้ มลุก ไม้ พ่มุ และไม้ ยืนต้ น (Stephen and Rebecca, 2004) ลักษณะอาการของพริ กที่ถกู เชื ้อไวรัส CMV เข้ าทาลาย จะมีทงที ั ้ ่ไม่แสดงอาการของโรค (no symptom) จนถึงแสดงอาการใบด่าง (mosaic) หรื อใบด่างเขียวสลับเหลือง (yellow mosaic) แผลจุดตายเฉพาะแห่ง (necrosis) ใบลดเรี ยวขนาดเล็กคล้ ายใบเฟิ ร์ น (fern leaf) ต้ นเตี ้ย แคระแกร็น (stunting) และ บางครัง้ อาจพบลักษณะจุดดวงวงแหวนสีเหลืองซีด เกิดเซลล์ตายเป็ นวงบริ เวณนัน้ ก็จะหยาบเป็ นสีหม่น ผลบิดเบี ้ยวเสียรู ป (ธีระ, 2532) โดยความเสียหายของพริกจะส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพและปริมาณของผลพริ ก การตรวจสอบเชื ้อไวรัส CMV ก่อนนาเมล็ดพันธุ์และต้ นกล้ าพริ กลงปลูกในแปลง หรื อการตรวจสอบเชื ้อไวรัสในช่วงที่ มีการแพร่ ระบาด จะเป็ นการควบคุมโรคที่เกิดจากไวรัสชนิดนี ้อีกวิธีหนึ่ง ทาให้ สามารถนาข้ อมูลที่ได้ ไปใช้ วางแผนการป้องกัน กาจัดโรคได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพมากขึน้ ปั จจุบัน การตรวจสอบโรคพืชที่อาจเกิดจากการเข้ าทาลายของเชือ้ ไวรัส CMV สามารถใช้ เทคนิค Reverse transcription polymerase chain reaction (RT-PCR) และเทคนิค Enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) ซึง่ มีความไว (sensitivity) ในการตรวจเชือ้ ไวรัสได้ ถึงระดับนาโนกรัม (ศรี หรรษา, 2551; มณี รัตน์, 2554ข) แต่โดยส่วนใหญ่จะใช้ เทคนิค ELISA เนื่องจากเป็ นวิธีที่ใช้ ตรวจสอบไวรัสได้ ง่าย สามารถตรวจสอบได้ ครัง้ ละ มากๆ ให้ ผลที่แม่นยาและรวดเร็ว ซึง่ การตรวจสอบจะใช้ โมโนโคลนอลแอนติบอดี (Monoclonal antibody) และโพลีโคลนอล แอนติบอดี (Polyclonal antibody) ที่มีความจาเพาะต่อเชื ้อไวรัส CMV งานวิจยั ครัง้ นี ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อคัดเลือกสายพันธุ์ พริ กลูกผสมที่ต้านทานต่อเชื ้อไวรัสใบด่างแตง (CMV) โดยการปลูกเชื ้อไวรัส CMV ลงบนพริ กและตรวจหาเชื ้อไวรัส CMV ด้ วย เทคนิค indirect ELISA
อุปกรณ์ และวิธีการ 1. การเตรี ยมกล้ าพริกลูกผสม นาพริ กลูกผสมจานวน 22 พันธุ์ ได้ แก่ Karang, Bird chilli, Hot pepper bouns, Keenukaw, Jindadum, Jindadang, Cho Sawai, Dumnean 1, Jeedjard, Huai Sri Thon, Bird pepper, Top star, Pratadtong, Dorset Naga, Mundum, Chaiprakarn F1, Bird chilli, Top Green, Chamming, OP2, TYRC 758 และ CA 363 ที่ต้องการทดสอบเพื่อ ประเมินความต้ านทานโรคไวรัสใบด่างแตง (CMV) นามาเพาะเมล็ดภายในโรงเรื อนกันแมลง ให้ พริ กมีอายุ 30-45 วัน หรื อมีต้น สูงประมาณ 10-15 เซนติเมตร และมีใบจริ ง 4-5 ใบ คัดเลือกต้ นพริ กที่สมบูรณ์จานวน 25 ต้ นต่อพันธุ์พริ ก สาหรับใช้ ในการ ทดลองในขันต่ ้ อไป 2. การเพิ่มปริมาณเชือ้ ไวรั ส CMV เชื ้อไวรัส CMV ได้ รับการอนุเคราะห์จาก ดร.สุจินต์ ภัทรภูวดล ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม ถูกนามาเพิ่มปริ มาณในยาสูบสายพันธุ์ Nicotiana bentamina โดย การบดใบยาสูบที่มีเชื ้อไวรัส CMV ในโกร่ งแช่เย็นที่เติม 0.01 M phosphate buffer (pH 7.0) อัตราส่วนใบพืช 1 กรัมต่อ บัฟเฟอร์ 5 มิลลิลิตร บดให้ ละเอียด กรองด้ วยผาขาวบางที่ปราศจากเชื ้อ จากนันผสมผงคาร์ ้ บอรันดรัม (carborundum) ลงใน น ้าคันพื ้ ช คนให้ เข้ ากัน แล้ วจึงนาน ้าคันพื ้ ชไปทาบนใบยาสูบสายพันธุ์ Nicotiana bentamina หลังจากการปลูกเชื ้อประมาณ 14-20 วัน เริ่ มเห็นอาการ ใบด่างเขียวเข้ มสลับเขียวอ่อนและลีบเรี ยวเล็ก บนใบยาสูบ จากนัน้ จะเลี ้ยงต้ นยาสูบในห้ องที่มี อุณหภูมิ 25-28 องศาเซลเซียส ที่ปราศจากแมลงเพื่อใช้ เป็ นแหล่งสาหรับปลูกเชื ้อลงบนพริกต่อไป 3. การตรวจสอบหาเชือ้ ไวรั ส CMV ก่ อนทาการปลูกเชือ้ นาส่วนใบอ่อนของพริกมาตรวจสอบด้ วยเทคนิค indirect ELISA ตามวิธีการของ มณีรัตน์ (2554ข) โดยใช้ แอนติบอดี ที่จาเพาะต่อเชือ้ ไวรัส CMV ซึ่งได้ รับความอนุเคราะห์จาก ดร.มณี รัตน์ คูหาพิทกั ษ์ ธรรม กลุ่มเทคโนโลยีการเกษตร คณะ วิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา บันทึกผลการตรวจสอบหาเชื ้อไวรัส CMV ก่อนทาการปลูกเชื ้อลงในพริ กจาก การอ่านค่าจากเครื่ อง ELISA reader จากนันจะน ้ าพริกไปทดลองในขันตอนต่ ้ อไป
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
895
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
4. การปลูกเชือ้ ไวรั สCMV ลงบนใบพริกเพื่อทาการทดสอบ การปลูกเชื ้อไวรัส CMV ลงบนใบพริ กที่มีอายุ 30-45 วัน โดยการบดใบยาสูบที่มีการปลูกเชื ้อไวรัส CMV ไว้ แล้ วใน 0.01 M phosphate buffer (pH 7.0) อัตราส่วนใบพืช 1 กรัมต่อบัฟเฟอร์ 5 มิลลิลิตร บดด้ วยโกร่ งแช่เย็น จากนันผสมผง ้ คาร์ บอรันดรัม (carborundum) ลงในน ้าคันพื ้ ช คนให้ เข้ ากัน แล้ วจึงนาน ้าคันพื ้ ชไปทาบนใบพริ ก ทิ ้งไว้ ประมาณ 10 นาที จึง ล้ างใบพริกด้ วยน ้ากลัน่ เก็บต้ นพริกที่มีการปลูกเชื ้อแล้ วในโรงเรื อนที่มีอณ ุ หภูมิ 29-30 องศาเซลเซียส และทาการปลูกเชื ้อซ ้าอีก ครัง้ ภายหลังจากการปลูกเชื ้อครัง้ แรกเป็ นเวลา 7 วัน ตรวจดูลกั ษณะอาการที่ปรากฎบนใบพริ กที่มีการถ่ายเชื ้อ เช่น ใบหงิกงอ ใบด่างเหลือง ต้ นแกร็ น เป็ นต้ น หลังจากการปลูกเชื ้อ 14 วัน เปรี ยบเทียบกับต้ นพริ กปกติของแต่ละพันธุ์ที่ทดสอบด้ วยน ้ากลัน่ นึง่ ฆ่าเชื ้อ ตรวจสอบหาเชื ้อไวรัส CMV ในพริกทัง้ 22 พันธุ์ ด้ วยเทคนิค ELISA
ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. การตรวจสอบหาเชือ้ ไวรั ส CMV ก่ อนทาการปลูกเชือ้ จากการตรวจสอบเชื ้อไวรัสใบด่างแตง (Cucumber mosaic virus, CMV) ในพริ ก 22 พันธุ์ อายุ 30-45 วัน ที่ปลูกใน สภาพโรงเรื อนเมื่อนามาตรวจหาเชื ้อไวรัส CMV ก่อนการปลูกเชื ้อ ตรวจไม่พบลักษณะอาการใบด่างที่เกิดจากเชื ้อไวรัส CMV เมื่อนามาตรวจหาเชื ้อไวรัส CMV ด้ วยเทคนิค ELISA ที่ O.D405 ตรวจไม่พบเชื ้อไวรัส CMV กับพริ กทุกต้ น โดยมีค่า O.D405ต่า กว่าศูนย์ แสดงให้ ทราบว่าพริ กทุกต้ นไม่มีเชื ้อไวรัส CMV แฝงอยู่ในต้ นพริ กที่อาจเกิดมาจากการติดเชื ้อไวรัส CMV มากับเมล็ด พันธุ์หรื อจากแมลงพาหะ สอดคล้ องกับรายงานของ Akhtar Ali.et.al (2010) ซึง่ เป็ นการศึกษาเชื ้อไวรัส CMV ในการทดลอง ปลูกเมล็ดพริ กโดยการปลูกพริ กจานวน 150 เมล็ด จาก 5 พันธุ์ แล้ วตรวจสอบด้ วยเทคนิค RT-PCR พบว่า พริ กมีการติดเชื อ้ ไวรัส CMV จากเมล็ดประมาณ 95-100 เปอร์ เซ็นต์ 2. การปลูกเชือ้ ไวรั สCMV ลงบนใบพริกเพื่อทาการทดสอบ จากการตรวจสอบเชื ้อไวรัสใบด่างแตง (Cucumber Mosaic Virus, CMV) ในพริ ก 22 พันธุ์ ที่ปลูกภายในโรงเรื อน โดยปลูกเชื ้อไวรัส CMV ลงบนใบพริ กอายุประมาณ 30-45 วัน เมื่อทาการปลูกเชื ้อไวรัส CMV จานวน 2 ครัง้ ลงบนใบพริ ก และ ตรวจดูลกั ษณะอาการที่เกิดขึ ้นภายหลังจากการปลูกเชื ้อเป็ นเวลา 14-20 วัน พบว่า พันธุ์พริ กที่มีความต้ านทานต่อไวรัส จะไม่ พบลักษณะอาการใดๆ บนพริ ก (Figure 1A) เมื่อนามาตรวจหาเชื ้อไวรัส CMV ด้ วยเทคนิค ELISA จะพบค่าค่าการดูดกลืนแสง ที่ความยาวคลื่น 405 นาโนเมตร (O.D405) ต่ากว่าหรื อมีค่าใกล้ เคียงกับ PBS buffer (O.D405 = 0.2-0.5) และต้ นพริ กปกติ (O.D405 = 0.2-0.4) (negative control) ในขณะที่ต้นที่มีความอ่อนแอต่อโรคจะแสดงอาการใบด่างเขียวเข้ มสลับเขียวอ่อน ใบ หงิก เสียรูป ภายหลังจากการปลูกเชื ้อ 7-14 วัน (Figure 1B) เมื่อนามาตรวจหาเชื ้อไวรัส CMV ด้ วยเทคนิค ELISA จะพบค่า การดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 405 นาโนเมตร อยู่ระหว่าง 0.8-3.0 และมีค่า O.D405 ใกล้ เคียงกับใบยาสูบที่มีเชื ้อไวรัส CMV (O.D405 = 1.3-3.5) (positive control) ในขณะที่พริ กพันธุ์ที่มีความทนทานต่อเชื ้อไวรัส อาจไม่พบอาการใดๆ แต่เมื่อนามา ตรวจหาเชื ้อไวรัส CMV ด้ วยเทคนิค ELISA จะพบค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 405 นาโนเมตร O.D405 มีค่ามากกว่าหรื อ เท่ากับ PBS
896
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
A
B
Figure 1 Symptom observation on chilli at 7-14 days after inoculation with CMV. (A) No symptom shown on chilli. (B) CMV infected on chilli. จากการทดลองสามารถแบ่งลักษณะอาการของพริกในแต่ละพันธุ์ออกเป็ น 3 ลักษณะ (มณีรัตน์, 2554ก) ดังนี ้ (Table 1) 1. ลักษณะต้ านทานไวรัส CMV (Resistance) ไม่พบลักษณะอาการที่เกิดจากเชื ้อไวรั ส CMV บนต้ นพริ ก และตรวจ ไม่พบไวรัส CMV ด้ วยเทคนิค ELISA ซึง่ ค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 405 นาโนเมตร ที่ได้ จากเทคนิค ELISA มีน้อยกว่า PBS buffer สามารถตรวจพบพริกที่มีแนวโน้ มต้ านทานเชื ้อไวรัส CMV เพียง 1 พันธุ์ ได้ แก่ Chamming 2. ลักษณะทนทานต่อไวรัส CMV (Tolerance) ไม่พบลักษณะอาการที่เกิดจากเชื ้อไวรัส CMV บนต้ นพริ ก แต่เมื่อ ตรวจหาเชื ้อไวรัส CMV ด้ วยเทคนิค ELISA มีค่าดูดกลืนแสงที่ความยาว 405 นาโนเมตรค่าที่ได้ มากกว่าหรื อเท่ากับ PBS buffer สามารถตรวจพบพริ กที่ทนทานจานวน 7 พันธุ์ ได้ แก่ Dorset Naga, OP2, Mundum, Chaiprakarn F1, Bird chilli, Top Green และ Chamming 3. ลักษณะอ่อนแอต่อไวรัส CMV (Susceptibility) พบลักษณะอาการเชื ้อไวรัส CMV อย่างชัดเจนและเมื่อตรวจหา เชื ้อไวรัส CMV ด้ วยเทคนิค ELISA มีค่าดูดกลืนแสงที่ความยาว 405 นาโนเมตร ค่าที่ได้ มากกว่า PBS buffer 2 เท่า สามารถ ตรวจพบพริ กที่อ่อนแอจานวน 15 พันธุ์ ได้ แก่ Karang, Bird chilli, Hot pepper bouns, Keenukaw, Jindadum, Jindadang, Cho Sawai, Dumnean 1, Jeedjard, Huai Sri Thon, Bird pepper, Top star F1, Pratadtong, TYRC 758 และ CA 363
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
897
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Table 1 The results from CMV detection on chilli hybrids at 14-20 days after inoculation. Chilli hybrids Dorset Naga OP2 (Trang) Mundum Karang Bird chilli Hot Pepper Bouns Dumnean 1 Cho Sawai Keenukaw Jindadum Jindadang Chaiprakarn F1 Keenuson#1 Jeedjard Huai Sri Thon Bird Pepper Top Green Top star F1 Pratadtong Chamming TYRC 785 CA363 * ** *** ****
Total Chilli plants* 25 25 25 22 16 20 23 24 25 15 20 24 20 17 25 25 25 14 15 12 20 25
% Susceptible chilli** 28 32 24 72.73 100 75 100 96 72 53.33 52 16 36 88.23 68 64 0 57.14 93.33 0 100 56
% Tolerant chilli*** 40 56 60 22.72 0 20 0 4 24 26.67 8 52 40 11.76 32 36 56 16 6.66 50 0 36
% Resistant chilli**** 32 12 16 4.55 0 5 0 0 4 20 20 24 4 0 0 0 44 14.28 0 50 0 8
Replication Percentage of No. of susceptible chill hybrids/Total chilli plants Percentage of No. of tolerant chill hybrids/Total chilli plants Percentage of No. of resistant chill hybrids/Total chilli plants
เมื่อทาการปลูกเชื ้อไวรัส CMV ลงบนพริก ปริมาณเชื ้อไวรัส CMV ที่เข้ าไปทาลายต้ นพริ กอาจจะไม่เท่ากัน จึงทาให้ ต้น พริ กบางต้ นมีลกั ษณะที่อ่อนแอต่อโรค บางต้ นมีลกั ษณะทนทานต่อโรคและบางต้ นมีลกั ษณะที่ต้านทานต่อโรค ในพริ กที่มี ลักษณะต้ านทานต่อโรคคือ ไม่แสดงลักษณะอากรของเชื ้อไวรัส CMV และค่าที่ได้ จากการตรวจด้ วยเทคนิค ELISA น้ อยกว่า PBS buffer ซึง่ เกิดในพริ กบางพันธุ์ เช่น Dorset Naga, OP2, Mundum, Hot pepper bouns, Bird pepper, Jindadum, Jindadang, Bird chilli, Chaiprakarn F1, Top star F1, และ CA 363 ส่วนสายพันธุ์ที่มีแนวโน้ มมีความต้ านทานมากที่สดุ คือ Chamming
898
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สรุ ปผลการทดลอง จากการตรวจสอบความต้ านทานเชื ้อไวรัส CMV ในพริ ก สายพันธุ์ลกู ผสมทังหมด ้ 22 สายพันธุ์ โดยตรวจสอบเชื ้อ ไวรัส CMV ด้ วยเทคนิค ELISA ก่อนการปลูกเชื ้อไวรัส CMV บนพริ กอายุ 30-45 วัน และภายหลังจากการปลูกเชื ้อไวรัส CMV บนพริกอายุ 14-20 วัน ซึง่ สามารถตรวจพบลักษณะอาการของพริ กได้ เป็ น 3 ลักษณะ ได้ แก่ ลักษณะต้ านทานต่อไวรัส CMV มี จานวน 1 พันธุ์ ลักษณะทนทานต่อไวรัส CMV มีจานวน 6 พันธุ์ และลักษณะอ่อนแอต่อไวรัส CMV มีจานวน 15 พันธุ์ ในการ ตรวจสอบความต้ านทานเชื ้อไวรัส CMV ในพริ กทังหมด ้ 22 สายพันธุ์ พริ กพันธุ์ Chamming มีแนวโน้ มความต้ านทานต่อเชื ้อ ไวรัส CMV ได้ ดีที่สดุ
กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบพระคุ ณ ส านั ก งานคณะกรรมการวิ จั ย แห่ ง ชาติ (วช.) ที่ ใ ห้ การสนั บ สนุ น ทุ น ในการท าวิ จั ย ในครั ง้ นี ้ ขอขอบพระคุณสถาบันวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิ ณ ที่สนับสนุนการทาวิจยั ในครัง้ นี ้ ขอขอบพระคุณ ดร.สุจินต์ ภัทร ภูวดล อาจารย์ประจาภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน อาเภอกาแพงแสน จังหวัด นครปฐมที่ได้ ให้ ความอนุเคราะห์เชื ้อไวรัส CMV ขอขอบพระคุณ ดร.มณีรัตน์ คูหาพิทกั ษ์ ธรรม กลุม่ เทคโนโลยีการเกษตร คณะ วิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ได้ ให้ ความอนุเคราะห์ Anti-CMV polyclonal antibody
เอกสารอ้ างอิง ธีระ สูตะบุตร. 2532. ไวรัสและโรคคล้ ายไวรัสของพืชสาคัญในประเทศไทย. พิมพ์ครัง้ ที่ 1 ห้ างหุ้นส่วนจากัด ฟั นนี่พบั บลิชิ่ง, กรุงเทพฯ. มณีรัตน์ คูหาพิทกั ษ์ ธรรม. 2554ก. การแพร่กระจายและการจัดกลุม่ สายพันธุ์เชื ้อไวรัสใบด่างแตงในพริ กที่ปลูกในพื ้นที่ภาคใต้ โดยใช้ วิธี RT-PCR. รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์. ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ , สงขลา. มณีรัตน์ คูหาพิทกั ษ์ ธรรม. 2554ข. การผลิตแอนติซีรัมสาหรับการตรวจวินิจฉัยเชื ้อไวรัสใบด่างแตงในพริ ก. รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ . ภาควิชาการ จัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, สงขลา. ศรี หรรษา มลิจารย์. 2551. การพัฒนาชุดตรวจสอบแบบรวดเร็วเพื่อตรวจหาเชื ้อไวรัสใบด่างแตงโดยใช้ เทคนิคอิมมูโนโครมาโทกราฟี .โครงงานวิจยั . มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ Akhtar, A. and Kobayashi, M. 2010. Seed transmission of Cucumber Mosaic Virus in pepper. Journal of Virological Methods 163: 234–237. Roossinck, M.J. 2001. Cucumber mosaic virus, a model for RNA virus evolution. Mol. Plant Pathol. 2: 59-63. Stephen, A.F. and A.B. Rebecca. 2004. Cucumber mosaic virus crop knowledge. Available Source: http://extento.hawaii.edu/kbase/crop/Type/cucvir.htm, May 5, 2004.
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
899
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ความเป็ นพิษและประสิทธิภาพการรมของนา้ มันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตในการกาจัดด้ วงงวงข้ าว Sitophilus oryzae (L.)(Curculionidae) Fumigant Toxicity and Efficacy of Essential Oils from Pomelo and Grapefruit against Rice Weevil Sitophilus oryzae (L.)(Curculionidae) อรรถสิทธิ์ คล้ ายสุบรรณ1 และฤชุอร วรรณะ1 Atthasit Klaysuban1 and Ruchuon Wanna1
บทคัดย่ อ การศึกษาความเป็ นพิษและประสิทธิภาพการรมของน ้ามันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตในการกาจัดด้ วงงวงข้ าว (Sitophilus oryzae (L.); Curculionidae) ในสภาพห้ องปฏิบตั ิการ โดยวางแผนการทดลองแบบ Factorial in Completely Randomized Design (CRD) จานวน 4 ซ ้า ด้ วยวิธี vapor-phase test ทาการบันทึกผลความเป็ นพิษทางการรมและ ประสิทธิภาพการรมฆ่า ที่ 24 48 72 และ 96 ชัว่ โมง พบว่าน ้ามันหอมระเหยเกรฟฟรุตมีความเป็ นพิษทางการรม (LC50 = 192.32 µl/L air) สูงกว่าน ้ามันหอมระเหยส้ มโอ (LC50 = 237.81 µl/L air) ที่ 48 ชัว่ โมง และยังพบว่าน ้ามันหอมระเหยส้ มโอ และเกรฟฟรุตที่ระดับความเข้ มข้ น 300 µl/L air มีประสิทธิภาพการรมฆ่าด้ วงงวงข้ าวสูงสุด (ค่าเฉลี่ยการตาย 100%) และไม่ พบความแตกต่างทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบกับน ้ามันหอมระเหยเกรฟฟรุต ที่ระดับความเข้ มข้ น 200 µl/L air (ค่าเฉลี่ยการตาย 95%) ที่เวลา 48 ชัว่ โมง คาสาคัญ : น ้ามันหอมระเหย ความเป็ นพิษ การรม แมลงศัตรูในโรงเก็บ ด้ วงงวงข้ าว
Abstract Fumigant toxicity and efficacy of pomelo and grapefruit essential oils against the rice weevil (Sitophilus oryzae (L.);Curculionidae) were studied in laboratory condition. The experiments were conducted as a factorial in completely randomized design (CRD) with 4 replications by vapor-phase tests method. Data of fumigant toxicity and killing efficiency were recorded at 24, 48, 72 and 96 hours. The results showed that grapefruit essential oil was higher fumigant toxicity (LC50 = 192.32 µl/L air) than pomelo essential oil (LC50 = 237.81 µl/L air) at 48 hours. And it found that pomelo and grapefruit essential oils at concentration of 300 µl/L air (average of adult mortalities 100%) was the highest killing efficiency with grapefruit essential oil at concentration of 200 µl/L air (average of adult mortalities 95%) at 48 hours. Keywords : essential oil, toxicity, fumigation, stored insect pest, rice weevil
คานา ข้ าว เป็ นพืชอาหารที่สาคัญชนิดหนึ่งของโลก โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียที่นิยมรับประทานข้ าวเป็ นอาหาร ประจาวัน แต่ข้าวที่ผลิตได้ ส่วนใหญ่จะใช้ เพื่อการบริ โภคภายในประเทศ ทาให้ มีข้าวเพียงร้ อยละ 6 เท่านันที ้ ่เข้ าสู่ตลาดการค้ า ข้ าวระหว่างประเทศ โดยประเทศที่มีบทบาทมากที่สดุ ในการส่งออกข้ าว คือ ประเทศไทย (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2542) แต่ผลผลิตข้ าวมักประสบปั ญหาด้ วงงวงข้ าว (Sitophilus oryzae (Linnaeus)) เข้ าทาลายก่อให้ เกิดความเสียหาย แมลง ชนิดนี ้จะกัดกินข้ าวก่อให้ ความเสียหายโดยตรงทังด้ ้ านปริ มาณและคุณ ภาพ ซึง่ ส่งผลกระทบต่อการซื ้อขายและการส่งออกข้ าว (ใจทิพย์ และคณะ, 2553) วิธีการป้องกันกาจัดด้ วงงวงข้ าวมีทงวิ ั ้ ธีการควบคุมที่ไม่ใช้ สารเคมีฆ่าแมลงและใช้ สารเคมีฆ่าแมลง การไม่ใช้ สารเคมีฆ่าแมลงทาได้ หลายวิธี เช่น การใช้ วิธีทาความสะอาด การคลุกเมล็ดด้ วยวัสดุที่ไม่เป็ นพิษ การควบคุมปริ มาณ ออกซิเจน คาร์ บอนไดออกไซด์ การใช้ ความร้ อนหรื อเย็น การใช้ รังสี การใช้ สารขับไล่และสารล่อแมลง ใช้ กฎหมายควบคุม การ ควบคุมโดยชีววิธี การใช้ พลังงานจากคลื่น เสียง สาหรับวิธีการใช้ สารเคมีฆ่าแมลง สามารถทาได้ หลายลักษณะ เช่น การพ่น 1 1
ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาสารคาม 44150 Department of Agricultural Technology, Faculty of Technology, Mahasarakham University, Mahasarakham 44150 900
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สารเคมีบนผนังหรื อเพดานหรื อพื ้นของโรงเก็บผลผลิต การชุบกระสอบ หรื อการคลุกเมล็ดพืช ตลอดถึงการใช้ สารรมในการ ควบคุมแมลง อย่างไรก็ตาม การป้องกันกาจัดส่วนใหญ่นิยมใช้ สารเคมี เนื่องจากสะดวกและให้ ผลเร็ ว แต่ทงนี ั ้ ส้ ารพิษของ สารเคมีอาจก่อให้ เกิดการปนเปื อ้ นหรื อตกค้ างในเมล็ดพืชทาให้ มีปัญ หาต่อการส่งออก และอาจเป็ นอันตรายต่อผู้บริ โภคได้ (กนกวรรณ, 2547) ดังนันเพื ้ ่อเป็ นการลดปั ญหาสารเคมีและช่วยการแก้ ปัญหาแมลงศัตรู เข้ าทาลายข้ าว การใช้ น ้ามันหอม ระเหยป้องกันกาจัดด้ วงงวงข้ าวจึงเป็ นอีกวิธีการหนึง่ ที่น่าสนใจ เพราะจะสามารถป้องกันการเข้ าทาลายของด้ วงงวงข้ าวได้ ทังนี ้ ้ ์ อาจเนื่องมาจากน ้ามันหอมระเหยมีสารออกฤทธิ ที่มีความเป็ นพิษต่อด้ วงงวงข้ าว ทาให้ แมลงไม่ชอบหรื อเมื่อแมลงกินเข้ าไป แล้ วทาให้ วงจรชีวิตผิดปกติ (antibiosis) จึงช่วยลดปริ มาณแมลงลงถึงระดับที่ไม่ก่อให้ เกิดความเสียหายได้ (ดวงสมร และ คณะ, 2554) นา้ มันหอมระเหยในพืชเป็ นสารทุติยภูมิที่พืชสร้ างขึน้ และพบได้ ที่ส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น ใบ เมล็ด ผล ดอก และ เปลือก เป็ นต้ น น ้ามันหอมระเหยจากพืชแต่ละชนิดจะมีสารประกอบเชิงซ้ อนที่แตกต่างกันไป สารทุติยภูมิบางชนิดที่มีอยู่ใน น ้ามันหอมระเหยของพืชสามารถนามาใช้ กาจัดศัตรูพืชได้ หลายแบบ เช่น ใช้ เป็ นสารพิษทางการสัมผัส (contact toxicity) สาร ไล่แมลง (repellency) สารรม (fumigant) หรื อสารยับยังการกิ ้ น (antifeedant) เป็ นต้ น (ดวงสมร และคณะ, 2554) น ้ามันหอม ระเหยจากพืชจึงเป็ นทางเลือกหนึ่งที่น่าสนใจในการควบคุมแมลงศัตรู ผลิตผลเกษตร นอกจากนี ้ยังพบรายงานว่า น ้ามันหอม ระเหยพืชวงศ์ส้มบางชนิด สามารถช่วยลดจานวนประชากรด้ วงงวงข้ าวลงได้ (Safavi and Mobki, 2012) การศึกษาครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์ที่จะนาน ้ามันหอมระเหยส้ มโอ (Pomelo, Citrus maxima Merr.) และเกรฟฟรุ ต (Grapefruit, Citrus paradise MacFad.) มาใช้ ในการกาจัดด้ วงงวงข้ าว เนื่องจากพืช 2 ชนิดนี ้ มีสารสกัดจากธรรมชาติที่ได้ จากน ้ามันหอมระเหย ได้ แก่ limonoids, pectins และ pentanone เป็ นต้ น ซึง่ สารเหล่านีไ้ ม่ทาลายสิ่งแวดล้ อม ไม่ทาให้ เกิด สารพิษตกค้ าง อีกทังช่ ้ วยลดการนาเข้ าสารเคมีที่มีราคาแพง และเป็ นการนาสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้ ให้ เกิดประโยชน์สงู สุด อีกด้ วย
อุปกรณ์ และวิธีการ 1. การเลีย้ งด้ วงงวงข้ าว S. oryzae ด้ วงงวงข้ าวที่ใช้ ในการทดลองได้ มาจากการรวบรวมตัวเต็มวัยด้ วงงวงข้ าวจากโรงสีข้าวหรื อโรงเก็บเมล็ดพันธุ์ข้าว มา เลี ้ยงในสภาพห้ องปฏิบตั ิการที่อุณหภูมิ 34±4 องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ์ 74±5% จากนัน้ เลือกใช้ ตวั เต็มวัยเพศผู้และ เพศเมีย จานวน 15 คู่ นามาปล่อยเลี ้ยงในถังพลาสติกขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร สูง 50 เซนติเมตร ที่บรรจุ ข้ าวสารพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ปริ มาณ 2 กิโลกรัม โดยจะเลี ้ยงเพื่อเพิ่มปริ มาณของด้ วงงวงข้ าวให้ มีจานวนมากขึ ้นและเพื่อ ความสม่าเสมอในการทดลอง 2. การเตรี ยมนา้ มันหอมระเหย ใช้ น ้ามันหอมระเหยบริ สทุ ธิ์ (pure essential oil) ความเข้ มข้ น 100% ของส้ มโอ Citrus maxima Merr. จากร้ าน Kanitas Wellness (ที่ตงั ้ 96 บ้ านสิริดา ซอยลาดพร้ าว 26 จตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร) และเกรฟฟรุ ต Citrus paradise MacFad. จากร้ าน Aroma and More (ที่ตงั ้ 14/4 ราชพฤกษ์ ซอย 24 ตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร) ที่มีการผลิตเป็ นการค้ าใน การศึกษาครัง้ นี ้ 3. ศึกษาความเป็ นพิษทางการรม (LC50) ของนา้ มันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตต่ อด้ วงงวงข้ าว การทดสอบความเป็ นพิษ (LC50) โดยทดสอบฤทธิ์ในการรมฆ่าตัวเต็มวัยด้ วงงวงข้ าว ตามวิธีการของ vapor-phase test (Kim and Lee, 2014) ในภาชนะบรรจุที่ปิด นาน ้ามันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุตมาเจือจางด้ วย acetone จนได้ ความ เข้ มข้ น 5 ระดับ และนาสารละลายน ้ามันหอมระเหยแต่ละความเข้ มข้ น ไปใส่ลงบนแผ่นกระดาษกรอง เบอร์ 4 (ขนาด 1.5 × 5 เซนติเมตร) จานวน 100 ไมโครลิตร/แผ่น ปล่อยให้ กระดาษกรองแห้ งที่อณ ุ หภูมิห้องเป็ นเวลานาน 5 นาที นาแผ่นกระดาษกรอง ดังกล่าวติดที่ผนังของหลอดแก้ ว ขนาดเล็ก (ปริ มาตร 26.2 ลูกบาศก์เซนติเมตร) นาหลอดแก้ วขนาดเล็กแขวนห้ อยจากจุ ด กึ่งกลางฝาปิ ดของขวดแก้ วทดสอบ (ปริ มาตร 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร) ทาการปล่อยตัวเต็มวัยของด้ วงงวงข้ าว จานวน 10 ตัว (คละเพศ) ลงภายในขวดแก้ วทดสอบ นาขวดแก้ ววางไว้ ในสภาพห้ องปฏิบัติการที่อุณหภูมิ 34±4 องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ์ 74±5% ตรวจนับการตายของด้ วงงวงข้ าว ที่เวลา 24, 48, 72 และ 96 ชัว่ โมง วิเคราะห์หาค่าความเข้ มข้ นที่ทาให้ ด้วง งวงข้ าวตาย 50% (LC50) โดยใช้ Probit analysis
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
901
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
4. ศึกษาประสิทธิภาพการรมฆ่ าของนา้ มันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตต่ อด้ วงงวงข้ าว ทดสอบฤทธิ์ การเป็ นสารรมของนา้ มันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตในการฆ่าตัวเต็มวัยของด้ วงงวงข้ าว ด้ วยวิธี vapor-phase test (Kim and Lee, 2014) ในภาชนะบรรจุที่ปิด วางแผนการทดลองแบบ Factorial in CRD (completely randomized design) ปั จจัย A คือ น ้ามันหอมระเหย 2 ชนิด และปั จจัย B คือ ระดับความเข้ มข้ น 7 ระดับ จานวน 4 ซ ้า นา น ้ามันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุตมาเจือจางด้ วย acetone จนได้ ความเข้ มข้ น 7 ระดับ โดยที่ระดับความเข้ ม 0 µl/L air จะ ใช้ สารละลาย acetone เพียงอย่างเดียว และจัดเป็ นชุดควบคุม (control) นาข้ อมูลการตายของด้ วงงวงข้ าวที่เวลา 48, 72 และ 96 ชัว่ โมง มาวิเคราะห์ผลตามแผนการทดลองและเปรี ยบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี LSD (least significant difference)
ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. ศึกษาความเป็ นพิษทางการรม (LC50) ของนา้ มันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตต่ อด้ วงงวงข้ าว การทดสอบความเป็ นพิษ (LC50) ทางการรมของน ้ามันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุตต่อด้ วงงวงข้ าว (S. oryzae) ที่ ระดับความเข้ มข้ น 5 ระดับ ด้ วยวิธี vapor-phase test ในสภาพห้ องปฏิบตั ิการ ที่อณ ุ หภูมิ 34±4 องศาเซลเซียส ความชื ้น สัมพัทธ์ 74±5 เปอร์ เซ็นต์ ที่เวลา 48, 72 และ 96 ชัว่ โมง พบว่า ที่ 48 ชัว่ โมงน ้ามันหอมระเหยเกรฟฟรุ ตแสดงความเป็ นพิษ ทางการรม (LC50= 192.32 µl/L air) ต่อด้ วงงวงข้ าวสูงกว่าน ้ามันหอมะเหยส้ มโอ (LC50= 237.81 µl/L air) ซึง่ เมื่อเพิ่ม ระยะเวลาการทดสอบความเป็ นพิษทางการรมยาวนานขึ ้นจนถึงที่เวลา 96 ชัว่ โมง จะเห็นได้ ว่า ความเป็ นพิษทางการรมต่อด้ วง งวงข้ าวของน ้ามันหอมระเหยทัง้ 2 ชนิด มีความเป็ นพิษสูงเพิ่มขึ ้นตามไปด้ วย แสดงให้ เห็นว่า ด้ วงงวงข้ าวที่นามาทดสอบมี ความอ่อนแอต่อน ้ามันหอมระเหยเกรฟฟรุตมากที่สดุ โดยสัมพันธ์ กบั ค่าความเป็ นพิษ ทางการรม (LC50) ที่ได้ มีค่าน้ อยที่สดุ ใน ทุกช่วงเวลาของการทดสอบ (Table 1) Table 1 Fumigant toxicity (LC50) of pomelo and grapefruit essential oils against rice weevil (S. oryzae) 95% CL time n LC50 Essential oils (h) (µl/L air) Lower Pomelo 24 150 240.75 224.11 (Citrus maxima) 48 150 237.81 217.59 72 150 183.15 173.52 96 150 150.30 139.68 Grapefruit 24 150 173.90 157.00 (Citrus paradise) 48 150 192.32 138.19 72 150 149.33 137.33 96 150 119.59 101.40 n = Total number of rice weevil (S. oryzae) 95% CL = 95% confidence interval.
Upper 262.56 264.56 195.11 157.68 193.82 267.65 160.03 141.06
2. ศึกษาประสิทธิภาพการรมฆ่ าของนา้ มันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตต่ อด้ วงงวงข้ าว การทดสอบประสิทธิภาพการรมฆ่าของน ้ามันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตต่อด้ วงงวงข้ าว (S. oryzae) ที่ 7 ระดับความ เข้ มข้ น ด้ วยวิธี vapor-phase test ในสภาพห้ องปฏิบตั ิการ ที่อณ ุ หภูมิ 34±4 องศาเซลเซียส ความชื ้นสัมพัทธ์ 74±5 เปอร์ เซ็นต์ ที่เวลา 48, 72 และ 96 ชัว่ โมง พบว่า น ้ามันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุตที่ระดับความเข้ มข้ น 300 µl/L air มีประสิทธิภาพในการกาจัดด้ วง งวงข้ าวสูงที่สดุ (ค่าเฉลี่ยการตาย 100%) ที่เวลา 48, 72 และ 96 ชัว่ โมง แต่ไม่พบความแตกต่างกันทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบกับน ้ามัน หอมระเหยเกรฟฟรุตที่ระดับความเข้ มข้ น 200 µl/L air ภายในเวลา 48 ชัว่ โมง ที่ให้ ค่าเฉลี่ยการตาย 95% นอกจากนี ้ยังพบว่าค่าเฉลี่ย การตายของด้ วงงวงข้ าวหลังทดสอบประสิทธิภาพการรมฆ่าด้ วยน ้ามันหอมระเหยทัง้ 2 ชนิด จะเพิ่มสูงขึ ้นเมื่อระยะเวลาการทดสอบ ประสิทธิภาพการรมฆ่าในสภาพปิ ดยาวนานขึ ้น สอดคล้ องกับรายงานของ Cloyd et al. (2009) กล่าวว่าสารออกฤทธิ์หรื อ 902
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สารสาคัญที่มีอยู่ในนา้ มันหอมระเหยของพืชที่แตกต่างกัน จะส่งผลต่อการออกฤทธิ์ ของสารรมในลักษณะการเป็ นสารฆ่า เนื่องจากน ้ามันหอมระเหยสามารถออกฤทธิ์ในลักษณะเป็ นสารฆ่า สารไล่ และสารรม ที่มีพิษต่อด้ วงงวงข้ าว แต่ทงนี ั ้ ้วิธีการนี ้ จะให้ ผลในการกาจัดที่มีประสิทธิภาพดีก็ต่อเมื่ออยูใ่ นสภาพปิ ดเท่านัน้ (Table 2) Table 2 Mortality percentage of rice weevil (S. oryzae) exposed to 2 essential oils with 7 concentrations at 48, 72 and 96 hours after treated. Essential oils Concentrations % mortality of rice weevil (S. oryzae) (µl/L air) 48 h 72 h 96 h Pomelo 0 00.00 d1/ 00.00 e 00.00 f (Citrus maxima) 50 00.00 d 10.00 de 17.50 e 100 00.00 d 15.00 d 22.50 de 150 10.00 d 30.00 c 37.50 c 200 30.00 c 70.00 b 85.00 b 250 60.00 b 100.00 a 100.00 a 300 100.00 a 100.00 a 100.00 a Grapefruit 0 00.00 d 00.00 e 00.00 f (Citrus paradise) 50 00.00 d 00.00 e 00.00 f 100 00.00 d 25.00 e 00.00 f 150 35.00 c 17.50 d 30.00 cd 200 95.00 a 95.00 a 100.00 a 250 95.00 a 100.00 a 100.00 a 300 100.00 a 100.00 a 100.00 a F-test ** ** ** LSD 5.66 5.50 5.45 CV (%) 21.38 17.04 15.68 1/ Means in column followed by the same letters are not significantly different (LSD, P ≤ 0.05).
สรุ ปผลการทดลอง น ้ามันหอมระเหยเกรฟฟรุ ตมีความเป็ นพิษทางการรม (LC50) ต่อด้ วงงวงข้ าวสูงกว่าน ้ามันหอมระเหยส้ มโอ และยัง พบว่าน ้ามันหอมระเหยทัง้ 2 ชนิด ที่ระดับความเข้ มข้ น 300 µl/L air มีประสิทธิภาพในการรมฆ่ากาจัดด้ วงงวงข้ าวได้ สูงสูด 100% ไม่แตกต่างกันในทุกช่วงเวลาการทดสอบ
กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจยั ขอขอบคุณห้ องปฏิบตั ิการสาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สาหรับการเอื ้อเฟื อ้ สถานที่และอนุเคราะห์อปุ กรณ์ในการศึกษาวิจยั ในครัง้ นี ้
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
903
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
เอกสารอ้ างอิง กนกวรรณ ศักดิ์สรุ ิ ยา. 2547. ผลของข้ าวสารพันธุ์ต่าง ๆ ต่อการเจริ ญเติบโตและการทาลายของด้ วงงวงข้ าว. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,เชียงใหม่. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2542. การผลิตและการตลาดข้ าวหอมมะลิ. เอกสารเศรษฐกิจการเกษตร. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. กรุงเทพฯ. 7 หน้ า. ใจทิพย์ อุไรชื่น อัจฉราพร เพชรโชติ และพรทิพย์ วิสารทานนท์. 2553. การควบคุมด้ วงงวงข้ าวโพด Sitophilus zeamais Motschulsky (Coleoptera: Curculionidae) ศัตรูข้าวหลังการเก็บเกี่ยวด้ วยการใช้ ความร้ อน. หน้ า 54-64. ในเอกสารประกอบการประชุมทาง วิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 48. กรุงเทพฯ. ดวงสมร สุทธิสทุ ธิ์ P.G. Fields และอังศุมาลย์ จันทราปั ตย์. 2554. ประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยจากพืชตระกูลขิงในการไล่ด้วงงวงข้ าวโพด (Sitophilus zeamais Motschulsky) และมอดแป้ง (Tribolium castaneum (Herbst)). วารสารแก่นเกษตร 39(4): 345-358. Cloyd R.A., C.L. Galle, S.R. Keith, N.A. Kalscheur and K.E. Kemp. 2009. Effect of commercially available plant-derived essential oil products on arthropod pests. Journal of Economic Entomology 102(4): 1567-1579. Kim, S.I. and D.W. Lee. 2014. Toxicity of basil and orange essential oils and their components against two coleopteran stored products insect pests. Journal of Asia-Pacific Entomology 17(1): 13-17. Safavi, S. A. and M. Mobki. 2012. Fumigant toxicity of essential oils from Citrus reticulata Blanco fruit peels against Tribolium castaneum Herbst (Coleoptera: Tenebrionidae). Journal of Crop Protection 1(2): 115-120.
904
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ฤทธิ์ทางชีวภาพของหัวมันแกวเพื่อพัฒนาเป็ นผลิตภัณฑ์ เพื่อสุขภาพ Screening of Biological Activities of Pachyrhizus erosus L. Root For Developing Health Products สุธิดา เรือนเงิน1,ฉันทนา อารมย์ ดี1*, สุธาสินี ทัพพสารพงศ์ 1, รัชยาพร อโนราช1 Suthida Rueanngoen ,Chantana Aromdee1*, Suthasinee Thapphasaraphong1,Rutchayaporn Anorach 1 1
บทคัดย่ อ หัวมันแกว (Pachyrhizus erosus L., Fabaceae) มีคาร์ โบไฮเดรตประเภท fructan ที่ไม่ถกู ย่อยและดูดซึมที่ กระเพาะอาหารแต่จะถูกย่อยโดยแบคทีเรี ยในลาไส้ ใหญ่ ในการศึกษาครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์ เพื่อศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสาร สกัด 95% เอทานอลของมันแกวและจากน ้าคันสด ้ ได้ แก่ ฤทธิ์ยบั ยังเอนไซม์ ้ ไทโรซิเนสและแอลฟากลูโคซิเดส ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระและฤทธิ์ ยบั ยังการเกิ ้ ดออตโตออกซิเดชัน ผลการทดสอบได้ ค่า IC50 ของสารสกัดเอทานอลเรี ยงตามลาดับดังนี ้ 39.38 , 68.35, 22.14 และ 100 มก /มล น ้าคันสดไม่ ้ มีฤทธิ์ ยบั ยังเอนไซม์ ้ แอลฟากลูโคซิเดสและออตโตออกซิเดชัน ส่วนฤทธิ์ ต้าน เอนไซม์ไทโรซิเนสและอนุมลู อิสระมีค่า IC50 177.79 และ 30.08 มก/มล จากการทดลองสรุปได้ ว่าสารสกัด 95% เอ ทานอลของมันแกวมีฤทธิ์ทงสี ั ้ ่ดีกว่าน ้าคันสด ้ จากผลการทดลองจึงได้ เลือกสารสกัด 95% เอทานอลมาใช้ เป็ นสารสาคัญในการ ผลิตเครื่ องสาอาง คาสาคัญ: มันแกว ฤทธิ์ยบั ยังเอนไซม์ ้ ไทโรซิเนส ฤทธิ์ยบั ยังเอนไซม์ ้ แอลฟากลูโคซิเดส ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระ ฤทธิ์ยบั ยังการเกิ ้ ด ออตโตออกซิเดชัน
Abstract Pachyrhizuserosus L. root (Fabaceae) is a source of dietary fibers, fructan, which is not digested in the stomach but digested by bacteria in colon. In this work, biological activities of juice squeezed from the tuberous root and the 95% ethanolic extract were determined for the tyrosinase and -glucosidase inhibitions, DPPH radical scavenging and auto-oxidation activities. The activities of the ethanolic extract IC50 (mg.mL-1) are 39.38, 68.35, 22.14 and 100, respectively. Whereas, no activities of the squeezed juice on the -glucosidase and autooxidation were detected, but the 50% inhibition concentrations (IC50) for anti-tyrosinase and radical scavenging were 177.79 and 30.08 mg.mL-1, respectively. The ethanolic extract was employed as an active ingredient in a cosmetic product. Keywords: Pachyrhizus erosus, tyrosinase inhibition, -glucosidase inhibition, radical scavenging, auto-oxidation activities
1
Faculty of Pharmaceutical Sciences, KhonKaen University, KhonKaen, Thailand * Correspondence author: Associate Professor in Pharmaceutical Chemistry.Faculty of Pharmaceutical Sciences, KhonKaen University, KhonKaen, Thailand 40002 Tel/Fax 66-43362095/ 66-43202379 e-mail: chaaro@gmail.com การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
905
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
คานา มันแกว (Pachyrhizus erosus L.) Family Fabaceae เป็ นพืชพื ้นเมืองในแถบอเมริ กากลางประเทศไทยมีการปลูกมันแกวมา เป็ นเวลานาน สันนิษฐานว่าชาวเวียดนามเป็ นผู้นาเข้ ามาปลูกทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนที่ใ ช้ รับประทานคือหัวซึ่งเป็ น รากสะสมอาหารขนาดใหญ่ใต้ ดิน แต่เมล็ดของมันแกวมีพิษเนื่องจากมีสาร rotenone 0.5% (Hosein, 2001) คุณค่าทางโภชนาการของมันแกว มันแกว 100 กรัม ให้ พลังงานทังหมด ้ 38 กิโลแคลอรี่ ประกอบไปด้ วย คาร์ โบไฮเดรต เส้ นใย ไขมัน โปรตีน 8.82, 4.9, 0.19 และ 0.72 กรัม ตามลาดับ นอกจากนี ้ มันแกวยังมีวิตามินและเกลือแร่ ดังแสดงไว้ ใน Table1 (USDA Nutrient database) จะเห็นได้ วา่ หัวมันแกวมีวิตามินในปริมาณที่สงู เช่น วิตามินซี และอี ที่มีคณ ุ สมบัติในการเป็ นสารต้ านอนุมลู อิสระทังคู ้ ่ Table 1 Vitamins and minerals in Pachyrhizus erosus L root. Vitamins
mg/100 g(mg%)
Minerals
mg/100g(mg%)
Thaiamin
0.020
Sodium
4
Riboflavin
0.029
Potassium
150
Niacin
0.200
Calcium
12
Pantothenic acid
0.135
Copper
0.048
Vitamin B-6
0.042
Iron
0.60
Folic acid
12 g
Magnesium
12
Vitamin C
20.2
Manganese
0.60
Vitamin A
21 IU
Zinc
0.16
Vitamin E
0.46
Vitamin K
0.3 g
Beta-carotene
13 g
National Nutrient Database for Standard reference Release 27.United States Department of Agricultural Research Service. (date accessed: December 20, 2014).
จากการมันแกวเปลี่ยนสีน้อยมากหลังปอกเปลือกทิ ้งไว้ ประกอบกับมีวิตามินเกลือแร่ และสารต้ านออกซิเดชันหลาย ตัว เช่น วิตามินซีและอี และมีฟลาโวนอยด์ ซึ่งเป็ นองค์ประกอบทัว่ ไปของพืช จึงได้ นามาศึกษาหาฤทธิ์ต้านเอนไซม์ไทโรซิเนส ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระและฤทธิ์ยบั ยังการเกิ ้ ดออตโตออกซิเดชัน มันแกวมีคาร์ โบไฮเดรตประเภท fructan อยู่ด้วย (Food Components. http://www.food-info.net/uk/carbs/fructans) และสารเหล่านี ้ไม่ย่อยโดยเอนไซม์ แอลฟา-กลูโคซิเดส ดังนันจึ ้ งต้ องการพิสจู น์ว่าการไม่ ถูกย่อยนันมี ้ สาเหตุมาจากการต้ านเอนไซม์นี ้ด้ วยหรื อไม่ ฤทธิ์ที่ได้ จากการศึกษานี ้จะนามาผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้ องกับมัน แกวต่อไป
อุปกรณ์ และวิธีการ หัวมันแกวได้ จากตลาดวาริ นเจริ ญศรี อาเภอวาริ นชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี (เดือนมิถนุ ายน-กรกฎาคม 2557) โดย นามาแยกสกัด 2 วิธีคือ คันน ้ ้าจากหัวสด และการสกัดหัวแห้ งด้ วยเอทานอล หัวสด ใช้ มนั แกวสด 1 กก ปอกเปลือก แล้ วปั่ นในเครื่ องปั่ น (Blender, Sharp) คันน ้ ้าออก นาน ้าคันที ้ ่ได้ ไปปั่ นเหวี่ยงที่ ความเร็ว 5000 รอบ/นาที เป็ นเวลา 10 นาที นาส่วนใสไปทา freeze dry (FTS System,UK) หัวแห้ ง อบมันแกว ขนาดประมาณ 7x6 ซม ที่ 45ซ เป็ นเวลา 1 สัปดาห์ พลิกเป็ นระยะ ๆ นาหัวแห้ ง ปอกเปลือกแล้ ว ปั่ นจนละเอียด (186.70 กรัม) เติม 95% ethanol 1 ล ตังทิ ้ ้งไว้ 1 สัปดาห์ เขย่าเป็ นระยะ ๆ และกรอง นาชัน้ ethanol ไประเหยแห้ ง ด้ วยเครื่ อง rotary evaporator (Buchi, Switzerland)
906
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การจัดทาเอกลักษณ์ ของสารสกัดด้ วยวิธี TLC: สารละลายตัวอย่าง: น ้าคันจากหั ้ วสดทาแห้ ง (100 มก/มล ในน ้า) สารสกัดเอทานอล (100 มก/มล ในเมทานอล) สารละลายมาตรฐานเพื่อใช้ เป็ น marker: ascorbic acid, rutin และ sucrose (10มก/มล ในเมทานอล) วัฎภาคนิ่ง: silica gel 60 GF 254 (Merck, Germany) วัฏภาคเคลื่อนที่: benzene: ethylacetate: methanol: glacial acetic acid=40:20:30:10 การตรวจ: ตรวจภายใต้ แสงอัตราไวโอเลต 254 และ 360 นม และการพ่นด้ วยสารละลาย 1 % vanillin-sulfuric acidอบที่ 105ซ เป็ นเวลา 5 นาที การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ การทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพทังหมดท ้ าในถาดหลุม 96 หลุม (Corning Incorporated 3599) ์ 1. ฤทธิยบั ยังเอนไซม์ ้ ไทโรซิเนส (ดัดแปลงจาก Lee et al., 1997): โดยใช้ 0.02 M phosphate buffer pH 6.8 เป็ นตัวกลาง ไทโรซิเนสเข้ มข้ น 250 ยูนิต/มล สารละลาย L-DOPA 3.8 mM เป็ นซับสเตรต โดยใช้ kojic acid เข้ มข้ น 0.01, 0.1 และ 1 มก/มล เป็ นสารยับยังมาตรฐานอ้ ้ างอิง สารละลายตัวอย่างเข้ มข้ น 0.1, 1, 10 และ 100 มก/มล บ่มที่อณ ุ หภูมิ25ซ เป็ น เวลา 10 นาที วัดการดูดกลืนแสงด้ วย microplate reader (Sunrise, Switzerland) ที่ความยาวคลื่น 475 นาโนเมตร (นม) 2. ฤทธิ์ยบั ยังเอนไซม์ ้ แอลฟา-กลูโคซิเดส (ดัดแปลงจาก Kim et al., 2004): โดยใช้ 0.1 M phosphate buffer pH 6.8 เป็ น ตัวกลาง เอนไซม์แอลฟา-กลูโคซิเดสเข้ มข้ น 100ยูนิต/มล สารละลาย p-nitrophenyl--D-glucopyranoside 0.2 mM เป็ นซับสเตรต โดยใช้ acarbose เข้ มข้ น 0.03, 0.3 และ 3 มก/มล เป็ นสารยับยังมาตรฐานอ้ ้ างอิง สารละลายตัวอย่าง เข้ มข้ น 0.1, 1, 10 และ 100 มก/มล บ่มที่อณ ุ หภูมิ 37ซ เป็ นเวลา 10 นาที เติมสารละลาย 1 M โซเดียมคาร์ บอเนตหยุด ปฏิกิริยา วัดการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 492 นม 3. ฤทธิ์ ต้านอนุมลู อิสระ (ดัดแปลงจาก ปรี ยานันท์, 2549): สารละลายอนุมลู อิสระ DPPH เข้ มข้ น 0.4 mM สารละลาย ตัวอย่างเข้ มข้ น 0.1, 1 และ 10มก/มล สารยับยังมาตรฐานอ้ ้ างอิงคือ gallic acid เข้ มข้ น 0.01, 0.1 และ 1 มก/มล เก็บในที่ มืด 30 นาที วัดการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 515 นม 4. ฤทธิ์ยบั ยังการเกิ ้ ด auto-oxidation (ดัดแปลงจาก Lee et al., 1997): ทดสอบเช่นเดียวกับข้ อ 1. ฤทธิ์ยบั ยังเอนไซม์ ้ ไทโร ซิเนส แต่ไม่เติมเอนไซม์ไทโรซิเนส และบ่มที่อณ ุ หภูมิ 37ซ เป็ นเวลา 2 วัน วัดการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 475 นม
ผลการทดลองและวิจารณ์ ผล การสกัด ปริมาณสารที่เตรี ยมได้ (% yield) จากน ้าคันสดและสารสกั ้ ดเอทานอลเท่ากับ 3.50 และ 5.18% ตามลาดับ TLC fingerprint
เมื่อนาน ้าคันสดท ้ าแห้ งและสารสกัดเอทานอลมา spot บนแผ่น TLC เพื่อจัดทาบันทึก (documentation) เป็ นลักษณะของ สารทัง้ สองที่ เ ตรี ย มได้ ผลของโครมาโตแกรมดัง แสดงใน Figure 1A เป็ น ของน า้ คัน้ สดท าแห้ ง และสารสกัด เอทานอลโดยมีวิตามินซีเป็ น marker เมื่อส่องด้ วยแสงอัตราไวโอเลต 254 นม Figure 1B เป็ นโครมาโตแกรมที่พ่นด้ วยน ้ายาแวนิล ลิน-กรดซัลฟูริคและอบที่ 105ซ ส่วน Figure 1C เป็ นโครมาโตแกรมที่มี rutin และน ้าตาลทราย (sucrose) เป็ น marker สารสกัดเมื่อ นามาตรวจภายใต้ แสง UV น ้าคันสดท ้ าแห้ งจะมีองค์ประกอบที่ดดู กลืนแสงน้ อยกว่าสารสกัดเอทานอลมาก แต่เมื่อพ่นด้ วยแว นิลลิน-กรดซัลฟูริค และอบที่ 105ซ พบว่าส่วนที่ทาปฏิกิริยามีมาก ซึ่งเชื่อว่าสารเหล่านี ้น่าจะเป็ นสารจาพวกน ้าตาล จึงได้ นา น ้าตาลทราย (sucrose) รวมทังน ้ า rutin ซึ่งใช้ เป็ นตัวแทนของฟลาโวนอยด์มาเป็ น marker ด้ วย พบว่าสารสกัดน ้าคันสดท ้ าแห้ งมี ปริมาณของน ้าตาลสูงกว่าและทาให้ มนั แกวมีรสหวานอ่อน ๆ ในขณะที่สารสกัดเอทานอลมีองค์ประกอบอื่นหลากหลายกว่า
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
907
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
A
B
C
Figure 1 Chromatogram of freeze-dried juice and 95% ethanolic extract of Pachyrhizus erosus. Stationary phase: Silica gel 60 F254; Mobile phase: benzene: ethyl acetate: methanol: glacial acetic acid (40:20:30:10). Figure 1A&1B) spot 1. freeze-dried juice; spot 2. 95% ethanolic extract; spot 3. Vitamin C; Figure 1C) spot 1. freeze-dried juice; spot 2. 95% ethanolic extract; spot 3. rutin; spot 4. sucrose. Figure 1A examined under the UV 254; Figure 1B and 1C sprayed with 1% vanillin-sulfuric acid. ฤทธิ์ทางชีวภาพ จากการทดลองฤทธิ์ ทางชีวภาพของหัวมันแกว พบว่า สารสกัดเอทานอลมีฤทธิ์ สงู กว่าน ้าคันสดท ้ าแห้ ง ดัง แสดงในตารางที่ 2 (Table 2) จากผลการทดลองจะเห็นได้ ว่าสารสกัดเอทานอลมีฤทธิ์ทางชีวภาพที่แรงกว่า ทังนี ้ ้เนื่องมาจาก เอ ทานอลซึง่ เป็ นตัวทาละลายที่มีขวจะสามารถละลายสารออร์ ั้ แกนิคที่มีขวออกมาได้ ั้ มากกว่า จึงทาให้ มีฤทธิ์ในด้ านต่าง ๆ สูงกว่า ส่วนน ้าคันนั ้ นองค์ ้ ประกอบส่วนใหญ่คือน ้าและมีสว่ นที่เป็ นน ้าตาลสูงกว่า Table 2 Biological activities of freeze-dried juice and 95% ethanolic extract of Pachyrhizus erosus. Biological activities
IC 50 (mg.mL-1) freeze-dried juice 95% ethanolic extract
Reference inhibitors
177.79 0.02
39.38 0.08
0.040.02 (Kojic acid)
Alpha-glucosidase inhibition
No activity
68.35 0.38
18.04 0.20 (Acarbose)
Radical scavenging
30.08 0.15
22.140.30
0.04 0.03 (Gallic acid)
Auto-oxidation inhibition
No activity
1000.40
-
Tyrosinase inhibition
หัวมันแกวหลังปอกเปลือกมีสีน ้าตาลน้ อยมากต่างจากพืชชนิดอื่น อาจเนื่องมาจากมีสาร phenolic น้ อยกว่าเพราะมี ปริ มาณน ้าค่อนข้ างสูง (80-90%) ดังนัน้ กลุม่ OH จึงถูกออกซิไดซ์ไปเป็ นคาร์ โบนิล (-C=O) ทาให้ มีสีน ้าตาล จึงเห็นไม่ชดั เหมือ น พืชบางชนิด หรื อมันแกวเองมีสารยับยังเอนไซม์ ้ ไทโรซิเนสได้ ทาให้ ไม่เห็น browning effect ในการทดลองนี ้ได้ มีการนาสารสกัด หัวมันแกว และน ้าคันมั ้ นแกวมาทดสอบฤทธิ์ ยบั ยังเอนไซม์ ้ ไทโรซิเนส ส่วนการตรวจฤทธิ์ ต้านเอนไซม์แอลฟา-กลูโคซิเดสนัน้ เนื่องจากมันแกวมีคาร์ โบไฮเดรตที่ เป็ น sucrose และ fructan ซึ่ง fructan ไม่ย่อยด้ วยเอนไซม์แอลฟา-กลูโคซิเดส ดังนัน้ จึงได้ ตรวจสอบว่า fructan ที่มีในมันแกวมีผลต่อการต้ านเอนไซม์ชนิดนี ้หรื อไม่ ส่วนฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระนันพบอยู ้ ่ได้ ในพืช ทัว่ ๆ ไป เพื่อดูความสามารถของตัวอย่างมันแกวที่จาหน่ายในท้ องตลาดว่ามีฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระมากน้ อยเพียงใด และการตรวจฤทธิ์ ต้ านการเกิด auto-oxidation ของ DOPA นัน้ เป็ นการยืนยันว่าฤทธิ์ต้านออกซิเดชันมาจากฤทธิ์ของสารที่ทดสอบโดยตรงหรื อจาก การต้ านของเอนไซม์ของสารที่ทดสอบ
908
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สรุ ปผลการทดลอง ฤทธิ์ ยบั ยังเอนไซม์ ้ ไทโรซิเนสแอลฟา-กลูโคซิเดสฤทธิ์ ต้านอนุมลู อิสระ และฤทธิ์ ยบั ยังการเกิ ้ ด auto-oxidation ของสาร สกัดเอทานอลจากหัวแห้ งดีกว่านา้ คัน้ สดที่ทาแห้ ง การทดลองนี จ้ ะได้ น าสารสกัดเอทานอลจากหัวแห้ ง ไปประยุกต์ ใช้ ใน ผลิตภัณฑ์เครื่ องสาอางต่อไป
เอกสารอ้ างอิง ปรี ยานันท์ บัวสด. 2549. การตรวจสอบความสามารถในการเป็ นสารแอนตี ้ออกซิแดนท์ของเครื่ องดื่มชาโดยวิธีไซคลิกโวลแทมเมตรี . วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาเคมีวิเคราะห์. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศิลปากร. Food components. Carbohydrate: Fructanshttp://www.food-info.net/uk/carbs/fructans.htm, date accessed: August 9, 2015. Full Report (All Nutrients): 11603, Yambean (jicama), raw. United States Department of Agricultural Research Service. National Nutrient Database for St andard reference Release 27. http://ndb.nal.usda.gov/ndb/foods/show/3303, date accessed:December 20, 2014. Hosein, F. 2001. Isolation of high quality RNA from seeds and tubers of the Mexican yam bean (Pachyrhizus erosus). Plant. Mol.Biol. Rep. 19:65a-65e. Kim, Y., Wang, M. and Rhee, H. 2004. A novel α-Glucosidase Inhibitor from Pine Bark. Carbohyd.Res.339:715-717. Lee, K. T. Kim, J. H. Heo, Y. and Kim, H. P. 1997. Biological screening of 100 plant extracts for cosmetic use: inhibitory oftyrosinase and DOPA auto-oxidation.[Electronic version]. In. J. Cos. Sci.19:291-298.
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
909
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การพัฒนาแผนกลยุทธ์ หมากเม่ าในจังหวัดสกลนคร Devlopment of Strategic Plan for Mak Mao in Sakon Nakhon. กรรณิการ์ สมบุญ1 สุดารัตน์ สกุลคู2 ศิริพร สารคล่ อง3 พรประภา ชุนถนอม4 และเดือนรุ่ ง สุวรรณโสภา5
บทคัดย่ อ การพัฒนาแผนกลยุทธ์ หมากเม่าในจังหวัดสกลนครดาเนินการโดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่ วม (Participatory Action Research : PAR ) มีวตั ถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้ อจากัด เพื่อการจัดทาแผนกลยุทธ์หมาก เม่าในจังหวัดสกลนคร ดาเนินการระหว่าง ตุลาคม 2555- กันยายน 2556 รวบรวมข้ อมูลโดยการใช้ ข้อมูลทุติยภูมิ การประชุม เชิงปฏิบตั ิการระหว่างผู้เชี่ยวชาญ และผู้มีส่วนร่ วมในธุรกิจหมากเม่าสกลนครทังภาครั ้ ฐและชุมชน การประชุมกลุ่มย่อย การ สังเกตแบบมีส่วนร่ วม และการใช้ แบบสอบถามความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูลโดยจาแนกข้ อมูล และสรุ ปแต่ละประเด็นย่อย โดยเรี ยบเรี ยงเชิงพรรณนา จากการดาเนินการวิจยั ได้ แผนกลยุท ธ์ประกอบด้ วย 7 พันธกิจ 6 เป้าหมาย 4 วัตถุประสงค์ 20 ยุทธศาสตร์ ได้ รับการยอมรับทุกภาคส่วน และเหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมของจังหวัดสกลนคร และเป็ นที่พอใจของผู้มีส่วน เกี่ยวข้ องในระดับที่มากถึงมากที่สดุ คาสาคัญ : ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย, หมากเม่า, การมีสว่ นร่วม
Abstract This strategic plan of Mak Mao Sakon Nakhon was develop by Participatory Action Research (PAR). The project objective was to analysis strengths weaknesses opportunities and threats of Mao Sakon Nakhon for strategic plan of Mak Mao Sakon Nakhon set up. The project duration was October 2012-September 2013. Data collection by participatory observation, focus group discussion, questionnaires and workshop of all stakeholder in both communities and local government agent operated by the expert. Data were classified and conclude into issue and description. The strategic plan consist of 7 mission 6 target. 4 objectives and 20 strategic. The data from the questionnaires reveal that all stakeholder satisfied that strategic plan found that the plan suitable to Sakon Nakhon environment. Keywords : Stakeholder, Mak Mao, Participatory
คานา เม่ า มะเม่ า เม่ า หลวง หรื อหมากเม่ า เป็ นไม้ ผลท้ องถิ่ น ที่ ส ามารถขึ น้ ได้ ทุ ก ภาค และพบมากในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ในแถบจังหวัดสกลนคร อุดรธานี กาฬสินธุ์ มุกดาหาร และนครพนม โดยเฉพาะพื ้นที่ที่ติดเทือกเขาภูพาน (อร่ามและวินยั , 2543) ซึง่ หมากเม่ามีการใช้ ประโยชน์อย่างเป็ นรูปธรรม โดยการแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์น ้าผลไม้ และไวน์ จน เป็ นที่ร้ ู จกั กันดีในจังหวัดสกลนคร และจังหวัดใกล้ เคียง ทาให้ มีการขยายตัวสูภ่ ายนอกออกไปอย่างกว้ างขวาง ด้ วยคุณค่าทาง สารอาหาร สีสนั และ รสชาติในตัวผลไม้ โดยผลหมากเม่าสุกที่มีสารอาหารที่มีความจาเป็ นต่อร่ างกายของมนุษย์หลายชนิด จากรายงานพบว่าหมากเม่าในจังหวัดสกลนครมีความหลากหลายทางพันธุกรรม ชนิดของสารต้ านอนุมลู ที่พบในปริ มาณมาก คือ gallic acid, catechin epicatechin และ procyanidin และจากข้ อมูลสารต้ านอนุมลู อิสระจะเป็ นฐานข้ อมูลสาหรับการ คัดเลือกพันธุ์เพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่มีมลู ค่าสูงต่อไป (สุดารัตน์และนิภาพร, 2557) จากที่ได้ มีการศึกษาวิจยั พัฒนาผลิตภัณฑ์จากหมากเม่าตังแต่ ้ ปี พ. ศ. 2539 เป็ นผลิตภัณฑ์น ้าผลไม้ ที่ได้ มาตรฐาน ซึง่ ได้ มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ กบั 1,4 2 3 5
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
910
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ชุมชน โดยสถาบันวิจัยและฝึ กอบรมการเกษตรสกลนคร (ปั จจุบนั คือคณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร) และต่อมาในปี พ.ศ. 2544 ไวน์หมากเม่าของสถาบันวิจยั และฝึ กอบรมการเกษตรสกลนคร ได้ รับรางวัลสิ่งประดิษฐ์ คิดค้ นในระดับนานาชาติ โดยได้ รับเหรี ยญบรอนซ์ในงาน BRUSSEL EUREKA 2001 ณ กรุงบรัสเซลส์ ราชอาณาจักรเบลเยี่ยม ทาให้ ไวน์หมากเม่าได้ รับความสนใจอย่างกว้ างขวาง ประกอบกับนโยบายของรัฐที่มีการเปิ ดเสรี ในการ ผลิตสุราแช่ ทาให้ เกิดผู้ประกอบการรายย่อยจานวนมาก ที่ดาเนินธุรกิจแปรรูปไวน์ และน ้าผลไม้ จากหมากเม่า ทาให้ เกิดธุรกิจ ต่อเนื่องเช่น การผลิตกิ่งพันธุ์ ธุรกิจรวบรวมผลผลิต และธุรกิจจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์แปรรู ป ส่งผลให้ การบริ โภคผลิตภัณฑ์ แปรรู ปจากหมากเม่าเริ่ มขยายวงกว้ างมากขึน้ ทังภายในจั ้ งหวัดและภายนอกจังหวัดสกลนครจนถึงปั จจุบนั ทาให้ มีผ้ สู นใจ หมากเม่าเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง และมีหลายหน่วยงานให้ ความสนใจทังด้ ้ านวิชาการและด้ านธุรกิจ จนได้ มีการปลูกสร้ างสวน หมากเม่าในจังหวัดต่างๆ เพิ่มขึ ้นหลายจังหวัด เช่น อุดรธานี เลย ชลบุรี กาญจนบุรี โดยใช้ สายพันธุ์หมากเม่าจากจังหวัด สกลนคร และมีแนวโน้ มที่จะขยายตัวเพิ่มขึ ้นอีกหลายจังหวัด แม้ ผลหมากเม่า และน ้าหมากเม่าสกลนคร ได้ มีการขึ ้นทะเบียน สิ่งบ่งชี ้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical Indications หรื อ GI) ไปแล้ วก็ตาม แต่ก็ยงั ไม่มีแผนกลยุทธ์ หมากเม่าที่ใช้ ในการ ขับเคลื่อนหรื อพัฒนาหมากเม่าในจังหวัดสกลนคร ดัง นันหากได้ ้ มีการพัฒนาแผนกลยุทธ์หมากเม่าในจังหวัดสกลนครอย่างมี ส่วนร่ วมทุกภาคส่วน จะทาให้ มีการกาหนดทิศทางการพัฒนาที่ชดั เจนเป็ นรู ปธรรม ซึ่งจะส่งผลดีในการพัฒนาหมากเม่าของ จังหวัดสกลนครให้ เกิดความยัง่ ยืน เกิดประโยชน์กบั ผู้มีส่ว นเกี่ยวข้ องกับธุรกิจหมากเม่า เช่น เกษตรกรผู้ปลูก เจ้ าของสวน คนกลางผู้รวบรวม ผู้แปรรู ป ผู้จาหน่ายผลิตภัณฑ์ ตลอดจนเครื อข่ายผู้ปลูก หมากเม่าและผู้แปรรู ปผลิตภัณฑ์ หมากเม่าทัว่ ประเทศได้ มีต้นแบบในการพัฒนาหมากเม่า ทาให้ พืชท้ องถิ่นได้ ขยายตัวในระดับประเทศ และต่างประเทศอย่างมีทิศทาง เพื่อที่หมากเม่าจะเป็ นผลไม้ ทางเลือกที่ มีศกั ยภาพสามารถทดแทนการนาเข้ าผลไม้ คณ ุ ภาพสูงจากต่างประเทศได้ อีกทางของ ประเทศไทยในอนาคตข้ างหน้ า โดยมีวตั ถุประสงค์การวิจยั เพื่อวิเคราะห์จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้ อจากัดในการจัดทาแผน กลยุทธ์ หมากเม่าสกลนคร เพื่อระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้ องกับหมากเม่าในระดับชุมชน และระดับนโยบาย หน่วยงานรัฐ ที่มีต่อการพัฒนาหมากเม่า ตลอดจนการสร้ างแผนกลยุทธ์ หมากเม่าที่สอดคล้ องกับสภาพแวดล้ อมและเป็ นที่ ยอมรับกับผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องในจังหวัดสกลนคร
อุปกรณ์ และวิธีการ การวิจยั ครัง้ นี ้เป็ นการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีสว่ นร่วม (Participatory Action Research : PAR) มีขนตอน ั้ และ วิธีการดาเนินงานดังต่อไปนี ้ 1. การวิเคราะห์ข้อมูลมือสอง (secondary data analysis) โดยการรวบรวมและประมวลข้ อมูล จากเอกสารที่ เกี่ยวข้ องกับหมากเม่า และข้ อมูลแผนพัฒนาจังหวัดสกลนครทางด้ านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้ อม และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ อง 2. ประชุมเพื่อชี ้แจงทาความเข้ าใจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย และวิธีการทางานกับผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับหมากเม่าใน จังหวัดสกลนคร ได้ แก่ เกษตรกรผู้ปลูกหมากเม่า ผู้แปรรูป ผู้รวบรวม และผู้จดั จาหน่าย 3. จัดตังที ้ มงานหลัก (core team) หลังจากที่ได้ มีการประชุมชี ้แจงผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับหมากเม่าได้ จงั หวัดสกลนคร 4. ดาเนินการวิเคราะห์พื ้นที่ เพื่อศึกษาบริบทของชุมชน โดยเก็บรวบรวมรวมโดยเทคนิคการประชุมกลุม่ ย่อย (Focus Group Discussion) โดยมีกรอบประเด็นหลักที่ใช้ ในการวิเคราะห์พื ้นที่ 2 ประเด็นหลัก ได้ แก่ 1) สภาพบริบทชุมชนทัว่ ไปของ จังหวัดสกลนคร 2) สภาพบริบทเฉพาะ เช่น ผู้แปรรูป เกษตรกรผู้ปลูกหมากเม่า 5. จัดประชุมเสวนา โดยใช้ การจัดเวทีประชาคม โดยนักวิ จยั ดาเนินการรวมกับทีมงานหลัก จัดเวทีประชาคมจานวน 2 ครัง้ หลังจากการวิเคราะห์พื ้นที่เสร็จ ใช้ การประชุมเสวนาครัง้ ที่ 1 จัดเวทีประชาคมเพื่อตรวจสอบข้ อมูล และเติมเต็มข้ อมูลที่ ได้ จากการวิเคราะห์พื ้นที่ และจัดเวทีประชาคมครัง้ ที่ 2 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อดาเนินการจัดทาแผนกลยุทธ์หมากเม่าในจังหวัด สกลนคร โดยการจัดเวทีประชาคมทังสองครั ้ ง้ ผู้เข้ าร่วม เป็ นนักวิจยั ทีมงานหลัก และหน่วยงานราชการ เอกชน ที่เกี่ยวข้ องกับ การพัฒนาหมากเม่าจังหวัดสกลนคร 6. การวิเคราะห์ข้อมูล สาหรับข้ อมูลการวิเคราะห์พื ้นที่ ในการศึกษาบริ บทได้ ใช้ เ ทคนิคการประชุมกลุม่ ย่อย (Focus Group Discussion) รวบรวมข้ อมูล และตรวจสอบข้ อมูลจากการประชุมเสวนา จัดเวทีประชาคม และจากการรวบรวมข้ อมูล มือสองที่เป็ นข้ อมูลเชิงคุณภาพที่ใช้ ในการวิจยั ได้ ถกู นามาวิเคราะห์เนื ้อหา (content analysis) ส่วนข้ อมูลเชิงปริ มาณที่ได้ จากการวิจยั ได้ นามาค่าสถิติเชิงพรรณนา ได้ แก่ ค่าร้ อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเพื่อประเมินข้ อคิดเห็นการยอมรับ แผนกลยุทธ์หมากเม่าในจังหวัดสกลนครโดยผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับหมากเม่าในจังหวัดสกลนคร การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
911
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
จัดเตรี ยมข้ อมูลเพื่อ ดาเนินการวิจยั
การจัดตังที ้ มงานหลัก (core team)
การสร้ างแผนกลยุทธ์ -การวิเคราะห์ SWOT -การระดมความคิดเห็น การประเมินความ
การมอบหน้ าที่ความรับผิดชอบ
สอดคล้ องของแผนกลยุทธ์
ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของ
โดยผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ อง
แผนกลยุทธ์
ภาพที่ 1 กระบวนการวิจยั ในการจัดทาแผนกลยุทธ์หมากเม่าในจังหวัดสกลนคร
ผลการศึกษาและวิจารณ์ 1. การวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่ อน โอกาส และข้ อจากัด ของหมากเม่ าสกลนคร การวิเคราะห์สภาวะแวดล้ อม (SWOT analysis) ในการจัดทาแผนกลยุทธ์หมากเม่าในจังหวัดสกลนคร ใช้ การ วิเคราะห์สภาพแวดล้ อมภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้ องกับหมากเม่าของจังหวัดสกลนคร โดยใช้ กระบวนการมีสว่ นร่วมจากทุก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้ องกับหมากเม่าในจังหวัดสกลนคร จานวน 50 คน ได้ แก่ เกษตรกร ผู้แปรรูป ผู้รวบรวม ผู้จาหน่ายผลิตภัณฑ์ ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้ องได้ แก่ สานักงานเกษตร สานักงานพัฒนาชุมชน สานักงานสาธารณสุข สานักงาน พาณิชย์ สานักงานอุตสาหกรรม โดยใช้ การประชุมเสวนาแลกเปลี่ยนข้ อคิดเห็น เพื่อสะท้ อนสภาพปั ญหาและความต้ องการที่ แท้ จริงของผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ อง ซึง่ ผลที่วิเคราะห์ได้ แสดงไว้ ในตารางที่ 1
912
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ตารางที่ 1 แสดงการวิเคราะห์ SWOT ของผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับหมากเม่าในจังหวัดสกลนคร จากการจัดเวทีประชาคม จุดแข็ง(Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) โอกาส(Opportunities) อุปสรรค (Threats) -สภาพภูมิประเทศและสภาพ -เทคโนโลยี ด้ า นการผลิ ต -กระแสความต้ อ งการ -ขาดระบบฐานข้ อมูล จาก ภูมิอากาศของจังหวัดสกลนคร วั ต ถุ ดิ บ ยั ง ไ ม่ เ พี ย ง พ อ ที่ ดูแลสุขภาพของผู้บริ โภค หน่วยงานภาครัฐ ที่ใช้ ในการ สามารถปลูกได้ และให้ ผลผลิต สามารถทาให้ หมากเม่าการ สู ง โดยเฉพาะสิ น ค้ า ส่งเสริ มและพัฒนาหมากเม่า ที่ดี ออกผลได้ สม่ า เสมอ และ บารุงสุขภาพ ในจั ง หวั ด สกลนคร ได้ แก่ -มีการคัดเลือกสายพันธุ์ดีเชิง หน่ ว ยงานราชการยัง ไม่ ใ ห้ -มี ก า ร ข ย า ย แ ล ะ ระบบข้ อ มูล ในการวางแผน การค้ าไว้ หลายสายพันธุ์ ความสนใจเท่าที่ควร ปรั บ ปรุ งโรงงานหลวง ผ ลิ ต ก า ร แ ป ร รู ป แ ล ะ -มี ง านวิ จัย ด้ านการพัฒ นา -ผลผลิ ต ออกตามฤดูก าล ดอยค า ภายในจั ง หวั ด การตลาดที่มีประสิทธิภาพ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ รองรั บ การใช้ ธรรมชาติ ป ระมาณเดื อ น สกลนคร ย่อมส่งผลดีกับ -พื ้นที่ปลูกสร้ างสวนหมาก ประโยชน์ จ ากหมากเม่ า อย่ า ง ก ร ก ฎ า ค ม สิ ง ห า ค ม เกษตรกรผู้ปลูกหมากเม่า เม่าลดลง เนื่องจากเกษตรกร ชัดเจน กันยายน ในระยะเวลาสัน้ ๆ ที่ มี ต ลาดรั บ ซื อ้ เพิ่ ม เติ ม หันมาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิด -ห ม า ก เ ม่ า เ ป็ น ไ ม้ ป่ า ที่ การผลิ ต เพื่ อ แปรรู ป ส าหรั บ นอกจากโรงงานแปรรู ป อื่นแทนโดยเฉพาะ ยางพารา สา ม า ร ถ เ ติ บ โ ต ไ ด้ เ อ ง ต า ม อุ ต สาหกรรมจึ ง มี ข้ อจ ากั ด ชุมชน -มี ก า ร ป ลู ก ส ร้ า ง ส ว น ธรรมชาติ ซึ่ ง วัต ถุดิ บ สามารถ เนื่ อ งจากต้ อ งเร่ ง รี บ ในการ -หน่วยงานภาครั ฐและ หมากเม่ า ภายนอกจั ง หวั ด ส นั บ ส นุ น ธุ ร กิ จ แ ป ร รู ป ผลิต เนื่ องจากผลหมากเม่า เ อ ก ช น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ใ ห้ สกลนครมากขึ น้ ประกอบ ผลิ ต ภัณ ฑ์ เ ครื่ อ งดื่ ม ในจัง หวัด จะสุกพร้ อมๆ กันจานวนมาก ความสนใจในการพัฒนา กับประเทศแถบอินโดจีน เช่น ส ก ล น ค ร เ พิ่ ม มู ล ค่ า ท า ง -ไม่ ส ามารถเชื่ อ งโยงการ หมากเม่าเป็ นผลิ ตภัณ ฑ์ ประเทศลาว มีผลผลิตหมาก เศรษฐกิจได้ ผลิ ต ในส่ ว นของเกษตรกร ทางยาหรื อ สมุน ไพรเพื่ อ เม่าตามธรรมชาติอยู่จึงอาจ เจ้ า ของวัต ถุดิ บ กับ ส่ว นการ เพิ่ ม มูล ค่ า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ เกิดคูแ่ ข่งขันขึ ้นได้ ในอนาคต แปรรูปได้ อย่างชัดเจน สูง กว่ า เป็ น อาหารอย่ า ง -ไม่สามารถกาหนดผลผลิต เดียว ที่ ชั ด เ จ น แ ต่ ล ะ ปี ไ ด้ เ ป็ น -มี ก ารขยายตลาดทั ง้ อุป สรรคในด้ า นการแปรรู ป ภ า ย ใ น แ ล ะ ภ า ย น อ ก และการตลาด ประเทศจากนักธุ รกิ จที่ มี ความสนใจเรื่ องหมากเม่า
2. การระดมข้ อคิดเห็นจากทุกภาคส่ วนที่เกี่ยวข้ องกับหมากเม่ าในระดับชุมชนและระดับนโยบาย จากการประชุมเสวนาเชิงปฏิบตั ิการจัดเวทีประชาคมผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับหมากเม่าจังหวัดสกลนคร โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อดาเนินการจัดทาแผนกลยุทธ์หมากเม่าในจังหวัดสกลนคร โดยการจัดเวทีเป็ นผู้เข้ าร่วมการประชุมเสวนา เป็ น นักวิจยั ทีมงานหลัก และหน่วยงานราชการ เอกชน ที่เกี่ยวข้ องกับการพัฒนาหมากเม่าจังหวัดสกลนคร ได้ ข้อเสนอแนวทางใน การแก้ ปัญหา ดังนี ้ ด้ านต้ นนา้ • จัดทาฐานข้ อมูลผู้ปลูก พื ้นที่ปลูก ปั ญหาการผลิต สายพันธุ์ที่ปลูก • จัดการความรู้ในการดูแลรักษา สายพันธุ์หมากเม่า • สนับสนุนการขยายพันธุ์หมากเม่าพันธุ์ดี ที่เหมาะสมกับสภาพพื ้นที่ ให้ ความรู้ และมีการรับรองพันธุ๋ที่สนับสนุนจาก แหล่งขาย การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
913
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
• • •
ในอนาคต ควรจะต้ องมีตลาดกลางหมากเม่า เพื่อรองรับวัตถุดิบผลหมากเม่า หน่วยงานภาครัฐ ควรให้ การสนับสนุน และประชาสัมพันธ์ เรื่ องการปลูกหมากเม่า จะต้ องมีการจัดทาแปลงสาธิต การปลูกหมากเม่าในแต่ละอาเภอ เพื่อเป็ นศูนย์เรี ยนรู้เรื่ องหมากเม่าในระดับพื ้นที่ แต่ จะต้ องมีระบบช่วยเหลือติดตาม • สร้ างเครื อข่าย จัดระบบการจัดซื ้อผลหมากเม่าสด • จัดกิจกรรมการประกวดผลหมากเม่า ต้ นหมากเม่าโบราณ และสวนหมากเม่า • ทางชมรมหมากเม่าสกลนคร จะต้ องนาเสนอให้ หน่วยงานภาครัฐ ได้ เห็นความสาคัญของหมากเม่า โดยจัดตัง้ สมาคมหมากเม่าสกลนคร ภายใน 5 ปี ข้ างหน้ า ด้ านกลางนา้ • ควบคุมมาตรฐานในการผลิต เพื่อให้ มีคณ ุ ภาพการผลิตในระดับเดียวกัน ถึงแม้ วา่ สมาชิกผุ้แปรรูปจะมีหลายโรงงาน ซึง่ เป็ นขนาดเล็กก็ตาม ซึง่ เราต้ องการความหลากหลาย แต่ต้องมีมาตรฐานขันต ้ ่า • เครื่ องมือที่ใช้ ในการพัฒนากระบวนการผลิต ที่ต้องมี คือ เครื่ องคันน ้ ้าผลไม้ แบบไฮโดรริก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตให้ ได้ มาตรฐาน • สร้ างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ เช่น น ้าเม่าเข้ มข้ น น ้าเม่าแท้ ไอศกรี ม ไวน์ และเครื่ องสาอางเช่น สบู่ โลชัน่ โดยทาให้ มีของเสียออกจากระบบให้ น้อยที่สดุ • ส่งเสริ มการปลูกหมากเม่าให้ เพียงพอ โดยการจับคูธ่ ุรกิจ ผู้แปรรูป กับผู้ปลูกหมากเม่าเพื่อให้ ได้ คณ ุ ภาพที่ดี • ทาให้ บรรจุภณ ั ฑ์มีความทันสมัย ทาให้ ถกู ใจผู้บริโภค • มีเงินทุนหมุนเวียนที่เพียงพอ ในการผลิตแต่ละปี ด้ านปลายนา้ • พัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ให้ มีความหลากหลายสนองความต้ องการผู้บริโภค เช่น มีขวดไวน์ขนาดเล็ก เพิ่มขึ ้น เพื่อเป็ น ตัวอย่างในการทดลองซื ้อ • ความช่วยเหลือไปยังหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้ อง ในเรื่ องช่องทางการตลาดทังภายในและภายนอกประเทศ ้ • ถ่ายทอดความรู้ด้านการบริหารจัดการ ด้ านการตลาดให้ กบั สมาชิกที่เกี่ยวข้ อง พร้ อมจัดทาทะเบียนลูกค้ าเพื่อการ ติดตามประเมินผล • แก้ ปัญหาเรื่ องค่าขนส่งแพง โดยทาการตกลงกับลูกค้ าให้ ทราบล่วงหน้ า และมีการกาหนดปริมาณการสัง่ ซื ้อขันต ้ ่า ให้ กบั ลูกค้ าเพื่อให้ ลกู ค้ าตัดสินใจ • ผลิตสินค้ าให้ เพียงพอในยอดสัง่ ซื ้อเพื่อไม่ให้ เสียโอกาสทางการตลาด โดยเพิ่มกาลังการผลิต หรื อเสนอสินค้ าผลไม้ ใน ฤดูกาลตัวอื่นทดแทนให้ ลกู ค้ า • จัดการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ ในงานจัดแสดงสินค้ า การจัดทา website การโฆษณาผ่านสื่อต่างๆ เช่นวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือ แผ่นพับ ด้ านการส่ งเสริมสนับสนุน • ส่งเสริ มให้ เกษตรกรขยายพื ้นที่การปลูกหมากเม่าเพิ่มมากขึ ้นเน้ นรูปแบบการเกื ้อกูลผสมผสาน • ส่งเสริ มพัฒนาพันธุ์หมากเม่าให้ เหมาะสม กับพื ้นที่ ให้ มีความหลากหลาย • พัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ให้ ให้ เป็ นสากล • พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ มีความหลากหลาย จากการสร้ างองค์ความรู้ผ้ ปู ระกอบการ • พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ ได้ มาตรฐาน • จัดหาแหล่งงบประมาณเพื่อการผลิตหมากเม่า เช่นงบประมาณพันธุ์หมากเม่า วัสดุอปุ กรณ์ในการผลิต การ ประชาสัมพันธ์ • จะต้ องส่งเสริมองค์ความรู้ ให้ สปู่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เช่นภาษา การตลาด เป็ นต้ น • ส่งเสริ มให้ เป็ นแหล่งพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ซึง่ จะต้ องแสดงให้ เห็นวิวฒ ั นาการของความเป็ นหมากเม่าให้ ได้ • แบ่งภาระหน้ าที่ ในการส่งเสริมเป็ นอย่างๆ เป็ นเรื่ องๆ เช่นการพัฒนาพันธุ์ มาตรฐาน แหล่งทุน การส่งเสริมองค์ ความรู้ การพัฒนาการท่องเที่ยว โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบ
914
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
3. แผนพัฒนากลยุทธ์ หมากเม่ าในจังหวัดสกลนคร หลังจากได้ มีจดั ประชุมเสวนาจัดเวทีประชาคมครัง้ ที่ 1 เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้ อมของหมากเม่าในจังหวัด สกลนคร จึงได้ ประชุมเสวนาจัดเวทีประชาคมครัง้ ที่ 2 เพื่อร่วมกันจัดทาแผนพัฒนาหมากเม่าสกลนคร โดยการจัดทาแผน ดังกล่าวได้ อิงกับผลการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้ อมของหมากเม่าจังหวัดสกลนครทัง้ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค เพื่อ นามากาหนดเป็ นแผนกลยุทธ์ ในด้ านวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ และกิจกรรม ซึง่ ใช้ เป็ น แนวทางในการพัฒนาหมากเม่าของจังหวัดสกลนคร ซึง่ ได้ 5 ยุทธศาสตร์ 20 กิจกรรม ดังรายละเอียดที่แสดงไว้ ในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 แสดงรายละเอียดของประเด็นแผนกลยุทธ์ หมากเม่ าในจังหวัดสกลนคร วิสัยทัศน์ พัฒนาหมากเม่าให้ เป็ นพืชเอกลักษณ์คกู่ บั จังหวัดสกลนคร พันธกิจ 1. สร้ างองค์กรพัฒนาหมากเม่าให้ เป็ นหน่วยงานหลักของการพัฒนาทังระบบเพื ้ ่อให้ เกิดความยัง่ ยืน 2. สร้ างระบบฐานข้ อมูลการผลิต การแปรรู ปและการตลาดที่ชดั เจน 3. กาหนดเทคโนโลยีการผลิตและแปรรูปให้ เป็ นไปในทางเดียวกันและสร้ างมาตรฐานการผลิตการแปรรูป 4. เชื่อมโยง การผลิต การแปรรูป การตลาดให้ เกิดความร่วมมือสูค่ วามยัง่ ยืน 5. เชื่อมโยงเครื อข่ายธุรกิจเพื่อพัฒนาการผลิตและการแปรรูปของจังหวัดสกลนครให้ กว้ างขวางมากขึ ้น 6. จัดทาเอกสารข้ อมูลเสนอหน่วยงานต่างๆ เกี่ยวกับการวิจยั และพัฒนาเพื่อขอการสนับสนุนงบประมาณ 7. ติดตามประเมินผลและรายงานผล เป้ าหมาย 1. จัดตังศูนย์วิจยั การพัฒนาหมากเม่าของจังหวัดสกลนคร 2. กาหนดพันธุ์ที่สง่ เสริมและพัฒนาจานวน 2-5 พันธุ์ 3. จัดทาระบบข้ อมูลพื ้นที่ปลูกทัว่ ประเทศระดับจังหวัด อาเภอ ตาบล หมูบ่ ้ าน ปริมาณผลผลิตแต่ละปี 4. ประกาศใช้ มาตรฐานการผลิต และการแปรรูปร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง 5. กาหนดเป้าหมายการผลิต การแปรรูป และการตลาดภายในจังหวัดสกลนคร 6. จัดทาทะเบียนการเพาะปลูกของเกษตรกร ผู้แปรรูปและผู้ทาการตลาด วัตถุประสงค์ 1. เพิ่มประสิทธิภาพทางการผลิต การแปรรูป การตลาด ด้ วยการสร้ างระบบให้ เกิดความยัง่ ยืน 2. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การแปรรูปด้ วยแนวทางที่สอดคล้ องกันเพื่อปรับปรุงคุณภาพสินค้ าให้ เกิดความยัง่ ยืน 3. เพื่อให้ เกิดการเชื่อมโยงผู้เกี่ยวข้ องทังภาครั ้ ฐ เอกชน และอื่น ๆ ในการร่วมมือวิจยั และพัฒนาสูค่ วามยัง่ ยืนเป็ นพืชและ สินค้ าของประเทศไทย 4. สร้ างตลาดต่างประเทศเพื่อรองรับฐานการผลิตและการขยายการผลิตและรองรับรายได้ ที่มงั่ คงไม่เกิดปั ญหาผลผลิต สินค้ าตลาด ราคาตกต่า ประเด็นยุทธศาสตร์ / กิจกรรม หน่ วยงานรั บผิดชอบ ยุทธศาสตร์ ท่ ี 1 การจัดตังศู ้ นย์กลางการพัฒนาหมากเม่า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร, 1) จัดตังองค์ ้ กรพัฒนาหมากเม่าเป็ นศูนย์กลางในการ ชมรมหมากเม่าสกลนคร ผลิต การแปรรูปและการตลาด โดยขอการสนับสนุน งบประมาณจากแหล่ง เงิ น ทุน หรื อ ภาครั ฐ ให้ เ ป็ น หน่วยงานบริหารยุทธศาสตร์ ทงระบบ ั้ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
915
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
2) จั ด ตั ง้ คณะกรรมการพั ฒ นาหมากเม่ า เพื่ อ ร่ ว ม พิจารณาและกาหนดทิศ ทางการพัฒนาตลอดจน การวิจยั และแนวทางการตลาด 3) ประสานเชื่อมโยงหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องในการ พัฒนาหมากเม่าในจังหวัดสกลนคร 4) นาเสนอยุทธ์ศาสตร์ ตอ่ จังหวัดสกลนครเพื่อขอการ สนับสนุนในด้ านงบประมาณ ยุทธศาสตร์ ท่ ี 2 การสร้ างระบบฐานข้ อมูล 1) ศึกษาสารวจสอบถามเพื่อรวบรวมข้ อมูลการผลิต การแปรรู ปและการตลาดใช้ ในการวางแผน ดาเนินการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 2) จั ด ท าทะเบี ย นผู้ ปลู ก ผู้ แปรรู ป ผู้ จ าหน่ า ย เพื่ อ ติดตามเชื่อมโยงข่าวสารข้ อมูลกันอย่างต่อเนื่องต้ อง มีการทบทวนทะเบียนอย่างน้ อย 2 ปี ต่อ 1 ครัง้ ยุทธศาสตร์ ท่ ี 3 การผลิตวัตถุดิบ และ การแปรรูป 1) จัดทาแนวทางการผลิตเพื่อให้ เกษตรกรยึดถือเป็ น แนวทางเดียวกันเพื่อรองรับการผลิตวัตถุดิบผล หมากเม่า 2) จัดทาแนวทางการแปรรู ปเป็ นแนวทางเดียวกันเพื่อ รั ก ษามาตรฐานคุ ณ ภาพสิ น ค้ าให้ อยู่ ใ นระดั บ เดียวกันหรื อใกล้ เคียงกัน 3) จัดการฝึ กอบรมการผลิตปี ละ 1-2 ครัง้ เป็ นการกระจาย ความรู้ แก่ ผ้ ูผลิ ตและผู้สนใจให้ สามารถผลิ ตให้ ได้ คุณภาพ ผลผลิตสูง ส่งผลต่อรายได้ ของผู้ผลิตที่ยงั่ ยืน 4) จั ด การฝึ กอบรมการแปรรู ป ปี ละ 1-2 ครั ง้ เพื่ อ เผยแพร่ความรู้การแปรรูปให้ สามารถปรับมาตรฐาน ให้ ใกล้ เคียงกันและก้ าวสูม่ าตรฐานสากล 5) กาหนดแปลงสาธิตหมากเม่าให้ ได้ จานวนเหมาะสม ในการเข้ าเยี่ยมชมและศึกษาดูงานปี ละ 1-10 แปลง 6) กาหนดโรงงานแปรรูปของจังหวัดสาคัญอย่างน้ อย 1 โรงงานเพื่ อ เป็ นจุ ด สาธิ ต การแปรรู ป เพื่ อ ให้ ได้ ผลิตภัณฑ์ที่มีคณ ุ ภาพ ยุทธศาสตร์ ท่ ี 4 การตลาด และช่องทางการตลาด 1) ประชาสัมพันธ์คณ ุ ประโยชน์ของหมากเม่าอย่าง ต่อเนื่องเพื่อให้ ข้อมูลเข้ าถึงผู้บริโภคให้ มากที่สดุ เป็ น ช่องทางการตลาดที่เป็ นหัวใจสาคัญ 916
สานักงานเกษตร, สานักงานสาธารณสุข, สานักงาน อุตสาหกรรม, สานักงานสรรพสามิต, สานักงานพาณิชย์, สานักงานเกษตรและสหกรณ์, ชมรมหมากเม่าสกลนคร
สานักงานการเกษตร, สานักงานสาธารณสุข, ชมรมหมาก เม่าสกลนคร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยา เขตสกลนคร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระ เกียรติสกลนคร, ศูนย์วิจยั และพัฒนาการเกษตร
สานักงานพาณิชย์, สานักงานประชาสัมพันธ์, ชมรมหมากเม่า สกลนคร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระ เกียรติสกลนคร, สานักงานหอการค้ า, สานักงานพัฒนาชุมชน
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
2) ประสานตลาดต่างประเทศเป็ นการรองรับและขยาย การผลิ ต และรั ก ษาระดับ ราคาสิ น ค้ า ซึ่ ง จะส่ ง ผล กระทบต่อผลผลิตที่เป็ นวัตถุดิบในทิศทางที่ดี 3) ประชาสัมพันธ์ด้านคุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ 4) กาหนดราคาวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม เพื่อให้ เกิดความยัง่ ยืนกับธุรกิจของหมากเมาของ จังหวัดสกลนคร 5) กาหนดคุณภาพผลิตภัณฑ์แปรรู ปให้ เป็ นมาตรฐาน เดียวกัน 6) จัด การฝึ ก อบรมด้ านการตลาด และการบริ ห าร จัดการปี ละ 1-2 ครัง้ ยุทธศาสตร์ ท่ ี 5 การติดตามประเมินผล ชมรมหมากเม่าสกลนคร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน วิทยาเขตสกลนคร 1) มีการติดตามการผลิต การแปรรูปและการตลาด โดยรวบรวมข้ อมูล และจัดทารายงาน 2) นาข้ อมูลที่ได้ มาปรับแผนหรื อยุทธศาสตร์ ให้ ทนั สมัย ทุกปี จากตารางที่ 2 เมื่อได้ แผนกลยุทธ์หมากเม่าสกลนครแล้ ว ได้ มีการสารวจความคิดเห็นผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับหมากเม่า สกลนคร จานวน 100 ราย ที่มีตอ่ แผนกลยุทธ์หมากเม่าในจังหวัดสกลนคร ตามประเด็นแผนกลยุทธ์ พบว่า ผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องมี ความพอใจในประเด็นต่างๆ ในระดับที่มากถึงมากที่สดุ ซึง่ แสดงถึงความสอดคล้ องกับความต้ องการของผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับ หมากเม่าในจังหวัดสกลนครเป็ นอย่างดี โดยเกิดจากการวิจยั อย่างมีสว่ นร่วมทาให้ ชมุ ชนเกิดการเรี ยนรู้ และแลกเปลี่ยน ประสบการณ์กนั เองในการพัฒนา จากกระบวนการมีสว่ นร่วม (Kadari, 2004) ซึง่ ทาให้ ทราบว่าหากชุมชนและผู้คน/กลุม่ คน ต่างๆ ที่อยู่กบั ปั ญหาถือว่าเป็ นเงื่อนไขสาคัญของความสาเร็จหรื อล้ มเหลวในการใช้ การวิจยั เชิงปฏิบตั ิการเป็ นเครื่ องมือเพื่อ แก้ ปัญหา (สิทธิณฐั , 2545) ซึง่ แผนกลยุทธ์หมากเม่าสกลนคร จะประสบความสาเร็จได้ หรื อไม่ ย่อมขึ ้นอยูก่ บั ผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ อง กับหมากเม่าสกลนครที่ต้องขับเคลื่อนร่วมกันอย่างแท้ จริง และได้ มีการมอบหมายหน้ าที่ความรับผิดชอบให้ กบั หน่วยงานที่ เกี่ยวข้ อง กับหมากเม่าในจังหวัดสกลนคร ทังที ้ ่เป็ นหน่วยงานภาครัฐ และภาคชุมชน โดยมอบหมายตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของแผนกลยุทธ์ จากการประชุมเสวนาเชิงปฏิบตั ิการแบบมีสว่ นร่วม จะเห็นได้ วา่ ชมรมหมากเม่าสกลนคร มีบทบาทสาคัญใน ความรับผิดชอบครบทุกประเด็นยุทธศาสตร์ เนื่องจากชมรมหมากเม่าสกลนครเป็ นองค์กรที่เกิดจากการรวมตัวของผู้มีสว่ นได้ ส่วนเสียกับหมากเม่าในจังหวัดสกลนคร และผู้ที่มีความสนใจเรื่ องหมากเม่าทังภายในและภายนอกจั ้ งหวัดสกลนคร ซึง่ ชมรม หมากเม่าสกลนครมีวตั ถุประสงค์ที่ต้องการใช้ แผนกลยุทธ์หมากเม่าสกลนครเป็ นเครื่ องมือในการทางานประสานความร่วมมือ กับหน่วยงานภาครัฐ หรื อเอกชน ทังภายในและภายนอกจั ้ งหวัดสกลนครอย่างเป็ นระบบ ตามที่ชมรมหมากเม่าสกลนครได้ ดาเนินการร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ หรื อเอกชน ในการจดทะเบียนสิ่งบ่งชี ้ทางภูมิศาสตร์ เป็ นที่เรี ยบร้ อย ซึง่ หากมีการใช้ แผนกลยุทธ์หมากเม่าในการผลักดัน การพัฒนาหมากเม่าย่อมมีผลสาเร็จอย่างเป็ นรูปธรรม
สรุ ป จากการวิจยั ครัง้ นี ้เป็ นแนวทางในการพัฒนาหมากเม่าให้ กบั จังหวัดสกลนคร โดยวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้ อจากัดในการจัดทาแผนกลยุทธ์ หมากเม่าสกลนคร ซึ่งระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้ องกับหมากเม่าใน ระดับชุมชนและระดับนโยบายหน่วยงานรัฐ เพื่อให้ ทราบถึงความต้ องการของชุมชนและหน่วยงานรัฐที่มีต่อการพัฒนาหมาก เม่าโดยนามาสร้ างแผนกลยุทธ์หมากเม่าที่สอดคล้ องกับสภาพแวดล้ อม จากการรวบรวมข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับหมากเม่า จังหวัด สกลนคร โดยดาเนินการวิจยั โดยการจัดประชุมกลุ่มย่อย จานวน 5 ครัง้ ได้ แก่ เกษตรกรผู้ปลูกหมากเม่า ผู้แปรรู ป ผู้ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
917
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
รวบรวม และผู้จาหน่ายผลิตภัณฑ์ และหน่วยงานภาครัฐที่สนับ สนุน และจากการประชุมเสวนาโดยการจัดเวทีประชาคม จานวน 2 ครัง้ เพื่อตรวจสอบข้ อมูล และจัดทาแผนกลยุทธ์ ในด้ านวิสยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ และกิจกรรม เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการพัฒนาหมากเม่าของจังหวัดสกลนคร ซึง่ ได้ 5 ยุทธศาสตร์ 20 กิจกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นหัวข้ อที่ใช้ ในการจัดทาแผนกลยุทธ์หมากเม่าในจังหวัดสกลนคร มีความสอดรับกับความต้ องการ ของผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับหมากเม่าของจังหวัดสกลนคร ทาให้ ผ้ มู ีสว่ นเกี่ยวข้ องกับหมากเม่าสกลนคร เกิดกระบวนการเรี ยนรู้ร่วม แลกเปลี่ยนประสบการณ์กนั เองภายในผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย (stakeholders) นอกจากงานวิจยั ครัง้ นี ้ยังเกิดการขับเคลื่อน ในกลุม่ ทีมงานหลัก (core team) ซึง่ ทีมงานหลักได้ มีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ร่วมกันในการพัฒนาหมากเม่าอย่างต่อเนื่อง ซึง่ แผนและ กิจกรรมจะเป็ นแนวทางในการขับเคลื่อนหมากเม่าระดับในจังหวัดสกลนครต่อไป
กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ที่สนับสนุนทุนวิจยั และหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้ องในจังหวัด สกลนครที่ให้ ความร่วมมือในการทาวิจยั โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมาชิกชมรมหมากเม่าสกลนครที่เสียสละเวลาในการร่วมกิจกรรม และ ผศ.ดร.ภาสกร นันทพานิช ที่ให้ การช่วยเหลือแนะนาให้ ความรู้ในการวิจยั จนทาให้ งานวิจยั สาเร็จลุลว่ งไปได้ ด้วยดี ตลอดจนหน่วยงานต้ นสังกัดคือคณะทรัพยากรธรรมชาติ
เอกสารอ้ างอิง สิทธณัฐ ประพุทธนิติสาร. 2545.การวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีสว่ นร่วม : แนวคิดและแนวปฏิบตั ิ. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. หจก.วนิดาการพิมพ์.เชียงใหม่.180 น. สุดารัตน์ สกุลคู และนิภาพร สุธรรม. 2557. การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมเม่าหลวง Antidesma sp. ด้ วยเทคนิค AFLP และการ เปรี ยบเทียบชนิด และปริ มาณสารต้ านอนุมลู อิสระในใบเม่าหลวง. วรสารแก่นเกษตร ปี ที 42 ฉบับพิเศษ 1: 443-449. อร่าม คุ้มกลาง และวินยั แสงแก้ ว. 2543. งานประดิษฐ์ คิดค้ นผลิตภัณฑ์จากพืชตระกูลเม่า. โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้ าว. กรุงเทพฯ . 72 น. Kadiri , K. O. 2004. Planned community and development in Nigeria. Journal of Applied Science.4(4): 619-622.
918
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การสารวจกิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการ ของสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร 3 แห่ ง ในจังหวัดราชบุรี Survey of Activities, Landscape Components, and Management of 3 Agro-Tourism Attractions in Ratchaburi Province ปาณิตา อ่ อนแสง1 และ ศศิยา ศิริพานิช2 Panita Onsaeng1 and Sasiya Siriphanich2
บทคัดย่ อ การสารวจกิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการของสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์ มี วัตถุประสงค์ หลักเพื่ อหาข้ อมูลพื น้ ฐานในการออกแบบสถานที่ท่องเที่ ยวเชิงเกษตรอินทรี ย์ และสามารถนาข้ อมูลที่ไ ด้ มา ประยุกต์ ใช้ เป็ นแนวทางสาหรับผู้ที่สนใจจะสร้ างสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์ โดยทาการสารวจสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์ที่มีชื่อเสียง 3 แห่ง ในจังหวัดราชบุรี ได้ แก่ ไร่ปลูกรัก The Blooms Orchid Park และไร่ เบญจวรรณ รี สอร์ ท พบว่าเมื่อนาข้ อ มูลที่ได้ มาพิจารณาเปรี ยบเทียบกับสถานที่ท่องเที่ยวทัว่ ไปแล้ วสิ่งที่สถานที่ท่องเที่ยวเชิง เกษตรและเกษตรอินทรี ย์มีความแตกต่างออกไป ด้ านกิจกรรมพบความแตกต่างคือ การถ่ายทอดความรู้ทางการเกษตร การชม แปลงปลูกพื ชทางการเกษตร การทาปุ๋ ยหมัก การพูดคุยแลกเปลี่ ยนความรู้ ทางก ารเกษตร การเลีย้ งสัต ว์ การสาธิ ตทาง การเกษตร และการฝึ กปฏิบตั ิทางการเกษตร ด้ านสิ่งอานวยความสะดวก ไม่พบความแตกต่างจากสถานที่ท่องเที่ยวทัว่ ไป และ ด้ านการจัดการพบความแตกต่างคือ การจัดการขยะทางการเกษตร และสาหรับสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรในรู ปแบบเกษตร อินทรี ย์มีสิ่งที่ต้องคานึงถึงเพิ่มเติมคือ ต้ องมีการสร้ างแนวกันชนให้ กบั พืชที่ปลูกในระบบอินทรี ย์ คาสาคัญ: สวนเกษตร เกษตรอินทรี ย์
Abstract Survey from 3 famous agro-tourism and organic agriculture attractions in Ratchaburi province on the activities, landscape components, and management was conducted in Rai Pluk-Rak, The Blooms Orchid Park, and Rai Benjawan Resort. The study was aimed to find basic information for designing of agro-tourism organic agriculture location. The data could be used as guidelines for those who were interested in establishing agrotourism and organic agriculture location. The data showed that when compared to the agro-tourism and organic agriculture location are different from any other tourism locations. The dissimilar activities were agricultural knowledge transfer, visiting agricultural field, composting of agricultural waste, exchanging agricultural ideas, animal husbandry, agricultural demonstration, and agricultural practice. The landscape components found were not different from any other tourism locations. The important management was agricultural waste management. In addition, the organic agriculture system needed a buffer zone to prevent chemicals and insects from surrounding areas. Keywords: Agricultural garden, Organic agriculture
คานา การท่องเที่ยวเป็ นอุตสาหกรรมภาคบริ การที่มีบทบาทสาคัญในระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย สามารถสร้ างรายได้ โดยมีมลู ค่าเป็ นอันดับหนึ่งของการค้ าบริ การรวมของประเทศ และยังเป็ นอุตสาหกรรมที่ก่อให้ เกิดธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องอีกมากมาย เช่น โรงแรมและที่พกั ภัตตาคารร้ านอาหาร ร้ านจาหน่ายของที่ระลึก และการคมนาคมขนส่ง เป็ นต้ น ซึ่งก่อให้ เกิดการลงทุน
1 2
หลักสูตรวิทยาการพืชสวน คณะบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 ภาควิขาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ.นครปฐม 73140
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
919
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การจ้ างงาน และการกระจายรายได้ ส่ทู ้ องถิ่น โดยในแต่ละปี สามารถสร้ างรายได้ เข้ าสู่ประเทศในรู ปเงินตราต่างประเทศปี ละ หลายแสนล้ านบาทและสร้ างกระแสเงินหมุนเวียนภายในประเทศอีกนับแสนล้ านบาท (กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2554) การท่องเที่ยวเชิงเกษตรเป็ นรูปแบบหนึ่งของการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืนที่เปิ ดโอกาสให้ นกั ท่องเที่ยวได้ มีสว่ นร่วมในการ ทากิจกรรมทางการเกษตร เข้ าไปสัมผัสกับธรรมชาติ โดยมีกระบวนการเรี ยนรู้ ต่าง ๆ ซึ่งทาให้ นกั ท่องเที่ยวเกิดจิตสานึกที่จะ อนุรักษ์ และตระหนักถึงความสาคัญของธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้ อมให้ ดารงอยู่ โดยการท่องเที่ยวเชิงเกษตรถือได้ ว่า เป็ นรูปแบบการท่องเที่ยวที่มีความเหมาะสมกับประเทศไทย เนื่องจากประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรมมีความหลากหลาย ในการประกอบอาชีพทางการเกษตร มีภูมิปัญญาทางการเกษตร มีชื่อเสียงทางด้ านการผลิตพืชผลรวมถึงการทาประมงและ ปศุสตั ว์ ซึง่ ความหลากหลายเหล่านี ้เป็ นสิ่งช่วยดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยวให้ เดินทางมายังสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร (สานักพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2553) ซึ่งในปี พ.ศ. 2557 มีนกั ท่องเที่ยว เดินทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรจานวน 494,852 คน สร้ างรายได้ จากการท่องเที่ยวเชิงเกษตรเป็ นเงินกว่า 23,166,512 บาท (กลุม่ งานส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร สานักพัฒนาเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร, 2557) ในขณะนี ้ได้ มีเกษตรกรและผู้ประกอบการด้ านการท่องเที่ยวเกิดความสนใจที่จะสร้ างสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดย ต้ องการสร้ างสถานที่ท่องเที่ยวที่มีลกั ษณะและความโดดเด่นแตกต่างกัน เพื่อสร้ างจุดขายของตนเอง และในปั จจุบนั การทา เกษตรอินทรี ย์กาลังได้ รับความนิยม จากการสารวจพื ้นที่การผลิตเกษตรอินทรี ย์ในประเทศไทยที่ได้ รับการรับรองมาตรฐาน เกษตรอินทรี ย์จากในปี พ.ศ. 2555 คือ 205,385 ไร่ เพิ่มเป็ น 213,183 ไร่ ใน พ.ศ. 2556 และในส่วนจานวนฟาร์ มเกษตรอินทรี ย์ ที่ได้ รับรองมาตรฐานจากในปี พ.ศ. 2555 คือ 7,189 ฟาร์ ม เพิ่มขึ ้นเป็ น 9,281 ฟาร์ ม ใน พ.ศ. 2556 (วิฑรู ย์, 2558) จึงทาให้ มี เกษตรกรและผู้ประกอบการสนใจจะสร้ างสถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรในรูปแบบเกษตรอินทรี ย์ แต่ยงั ขาดข้ อมูลพื ้นฐานที่สาคัญ ในการสร้ าง งานวิจยั นี ้ได้ ทาการศึกษาเพื่อหาข้ อมูลพื ้นฐานสาคัญในการออกแบบสถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรอินทรี ย์ คือ ข้ อมูล กิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการที่จาเป็ นต้ องมีในสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรอินทรี ย์ จึงได้ ทาการสารวจ สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์ที่มีชื่อเสียง 3 แห่งในจังหวัดราชบุรี โดยการเก็บข้ อมูลกิจกรรม สิ่งอานวยความ สะดวก และการจัดการที่พบในสถานที่ทอ่ งเที่ยว ทาให้ ทราบข้ อมูลพื ้นฐานที่สาคัญโดยเฉพาะข้ อมูลที่อยูภ่ ายใต้ กรอบมาตรฐาน เกษตรอินทรี ย์ซึ่งเพิ่มเติมขึ ้นมาจากการทาเกษตรแบบทัว่ ไป เพื่อเป็ นข้ อมูลพื ้นฐานให้ เกษตรกรหรื อผู้ประกอบการที่ต้องการ สร้ างสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์สามารถนาข้ อมูลที่ได้ ไปประยุกต์ใช้ ในการสร้ างสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ของตนเอง
อุปกรณ์ และวิธีการ 1..เลือกสถานที่ศึกษาวิจยั โดยคัดเลือกสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์ที่มีชื่อเสียงในจังหวัดราชบุรี เนื่องจากจังหวัดราชบุรีเป็ นเมืองท่องเที่ยวที่สาคัญในภาคกลางด้ านตะวันตก (การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, ม.ป.ป.) ซึ่งได้ คัดเลือกมาทังหมด ้ 3 แห่ง โดยทัง้ 3 แห่งนี ้เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่มีรูปแบบที่โดดเด่นต่างกัน ได้ แก่ 1. ไร่ปลูกรัก โดด เด่นด้ านการทาเกษตรอินทรี ย์ 2. The Blooms Orchid Park โดดเด่นด้ านการจัดภูมิทศั น์ที่สวยงาม และ 3. ไร่เบญจวรรณ รี สอร์ ท โดดเด่นด้ านการเป็ นสถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรที่มีที่พกั ค้ างแรม 2. สร้ างแบบสารวจกิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการในสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร จากการตรวจ เอกสารหาข้ อมูลและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้ องกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เกษตรอินทรี ย์ กิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการ จัดการในสถานที่ทอ่ งเที่ยว 3. เก็บข้ อมูลกิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการที่พบในแต่ละสถานที่ โดยเดินทางไปสารวจสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรทัง้ 3 แห่ง ทาการสอบถามข้ อมูล เดินสารวจ สังเกตการณ์ ถ่ายภาพ จดบันทึกลงในแบบสารวจ 4. นาข้ อมูลที่ได้ มารวบรวม วิเคราะห์และสังเคราะห์ สร้ างตาราง ใช้ สถิติเชิงพรรณนา พิจารณาเปรี ยบเทียบข้ อมูลกับ สถานที่ทอ่ งเที่ยวทัว่ ไป และสรุปผล
920
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ผลและวิจารณ์ ข้ อมูลสถานที่ ไร่ ปลูกรั ก ไร่ปลูกรักตังอยู ้ ่ที่ อาเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี มีพื ้นที่ประมาณ 60 ไร่ ไร่ปลูกรักดาเนินการผลิตสินค้ าเกษตรอินทรี ย์ และผลิตภัณฑ์แปรรู ปอินทรี ย์จาหน่ายทังในและต่ ้ างประเทศ และเป็ นศูนย์การเรี ยนรู้ เรื่ องการทาการเกษตรอินทรี ย์ ไร่ ปลูกรัก ได้ รับการตรวจสอบรับรองตามมาตรฐานจากสหพันธ์เกษตรอินทรี ย์นานาชาติ (IFOAM Accredited) มาตรฐานเกษตรอินทรี ย์ สหภาพยุโรป (EU Organic Regulation) และมาตรฐานเกษตรอินทรี ย์แคนาดา (Canadian Organic Regulation) ไร่ปลูกรัก เปิ ดให้ เป็ นสถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรในรูปแบบของเกษตรอินทรี ย์ สาหรับผู้ที่สนใจเข้ าเที่ยวชมต้ องติดต่อจองล่วงหน้ า ภายใน ไร่ เป็ นสวนเกษตรอินทรี ย์ เต็มรู ปแบบ มี แ ปลงผลิต พื ชผลทางการเกษตรหลากหลายชนิ ด แต่ละแปลงมี การปลูกพื ชสลับ หมุนเวียนกันไปตามฤดูกาล มีทัง้ ผัก สมุนไพร ธัญพืช ไม้ ดอก ไม้ ผล และข้ าว มีต้นไม้ ใหญ่ ให้ ร่มเงาตามทางเดินและฐาน กิจกรรม และมีการปลูกต้ นไม้ เป็ นแนวกันชนตามมาตรฐานเกษตรอินทรี ย์ The Blooms Orchid Park The Blooms Orchid Park ตังอยู ้ ่ที่ อาเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี มีเนื ้อที่ประมาณ 100 ไร่ The Blooms Orchid Park เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรให้ นักท่องเที่ยวสามารถเข้ ามาเที่ยวชมความงามของกล้ วยไม้ โดยจัดแสดงในรู ปแบบ อุทยานสวนป่ ากล้ วยไม้ ที่มีความร่ มรื่ นจากต้ นไม้ น้อยใหญ่ ให้ ความรู้ สึกเหมือนเดินอยู่กลางป่ าที่เต็มไปด้ วยดอกกล้ วยไม้ หลากหลายสายพันธุ์ หลากหลายรู ปแบบ สีสันสดใส กล้ วยไม้ ในอุทยานมีความกลมกลืนกับบรรยากาศโดยรอบ มีความ สวยงาม มีการจัดมุมถ่ายภาพไว้ หลายจุด มีบ่อน ้าล้ อมรอบอุทยาน นักท่องเที่ยวสามารถพายเรื อชมทิวทัศน์บริ เวณรอบอุทยาน ได้ นอกจากภายในอุทยานแล้ วยังมีการจัดแสดงกล้ วยไม้ ในร่ม และโรงเรื อนเพาะเลี ้ยงกล้ วยไม้ ที่สามารถเดิมเข้ าไปชมได้ อย่าง ใกล้ ชิ ด มี ห้ อ งสัง เกตการณ์ เ พาะเลี ย้ งเนื อ้ เยื่ อ กล้ ว ยไม้ ร้ านเครื่ อ งดื่ ม และร้ านจ าหน่ า ยของที่ ร ะลึก ไว้ ค อยให้ บ ริ ก าร แก่ นักท่องเที่ยว The Blooms Orchid Park มีการจัดสวนตกแต่งภูมิทศั น์ได้ อย่างสวยงามในรูปแบบของทรอปิ คอลโมเดิร์น ไร่ เบญจวรรณ รี สอร์ ท ไร่เบญจวรรณ รี สอร์ ท ตังอยู ้ ท่ ี่ อาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี มีเนื ้อที่ประมาณ 60 ไร่ เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ไร่ เบญจวรรณทาการเกษตรในรู ปแบบเกษตรปลอดสารเคมี การปลูกและการบารุ งดูแลรักษาต้ นไม้ ใช้ วสั ดุจากธรรมชาติมา หมักทาเป็ นปุ๋ ยและสารกาจัดแมลง ภายในไร่ ประกอบด้ วย สวนชมพู่ สวนฝรั่ง สวนมะม่วง และสวนมะยงชิด นักท่องเที่ยว สามารถเดินเล่นหรื อปั่ นจักรยานเที่ยวชมสวน เลือกซื ้อ เลือกชิมผลไม้ ภายในไร่ มีฟาร์ มแกะเล็ก ๆ ที่ นักท่องเที่ยวสามารถให้ อาหารได้ และมีบ้านพักไว้ คอยให้ บริ การเป็ นสถานที่พกั ผ่อนในบรรยากาศบ้ านสวนท่ามกลางธรรมชาติ อากาศดี เงียบสงบ ร่ม รื่ น มีการตกแต่งภูมิทศั น์ที่สวยงาม จากการสารวจและศึกษาสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร 3 แห่งในจังหวัดราชบุรี ได้ แก่ ไร่ปลูกรัก The Blooms Orchid Park และไร่เบญจวรรณ รี สอร์ ท ทาให้ ทราบข้ อมูล กิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการ ดังต่อไปนี ้ กิจกรรม พบกิจกรรมที่มีการจัดในแต่ละสถานที่แตกต่างกันไป มีกิจกรรมที่พบทัง้ 3 แห่ง รองลงมาที่พบ 2 แห่ง และที่พบเพียง 1 แห่ง ดังแสดงใน Table 1 ต่อไปนี ้
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
921
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Table 1> Activities of 3 Agro-Tourism Attractions in Ratchaburi Province Activities Agricultural knowledge transfer Visiting agricultural field Making compost Exchanging agricultural ideas Scenic point Animal husbandry Agricultural demonstration Agricultural practice Observation Sojourn
Rai Pluk-Rak / / / /
The Blooms Orchid Park / / / /
/ / /
Rai Benjawan Resort / / / / / /
/ /
การถ่ ายทอดความรู้ ทางการเกษตร มีทงการถ่ ั้ ายทอดผ่านทางวิทยากรและผ่านทางป้ายบรรยายความรู้ โดยการ ถ่ายทอดผ่านทางวิทยากรเป็ นการถ่ายทอดที่คอ่ นข้ างละเอียดและสามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ ส่วนการถ่ายทอดผ่านทางป้าย นันมี ้ ทงการให้ ั้ ความรู้พื ้นฐานและการให้ รายละเอียดขันตอนการปฏิ ้ บตั ิงานซึง่ จะแตกต่างกันไปในแต่ละพื ้นที่ตามความ เหมาะสม การชมแปลงปลูกพืชทางการเกษตร นักท่องเที่ยวสามารถเดินเที่ยวชมแปลงปลูกพืชได้ อย่างใกล้ ชิด ซึง่ สอดคล้ อง กับ ปณัฐ (2547) ที่กล่าวว่า การเดินชมสวนพรรณพืช เป็ นกิจกรรมที่นกั ท่องเที่ยวมีความคาดหวังให้ เกิดขึ ้นในสถานที่ทอ่ งเที่ยว เชิงเกษตร การทาปุ๋ยหมัก ซึง่ การทาปุ๋ ยหมักเป็ นการแปลงขยะและของเหลือใช้ ทางการเกษตรให้ เกิดประโยชน์ โดยบริเวณที่ทา ปุ๋ ยหมักควรจะแยกไว้ ในส่วนของคนงาน เนื่องจากการทาปุ๋ ยหมักมักมีกลิ่นไม่พงึ ประสงค์ที่อาจจะรบกวนนักท่องเที่ยวได้ การพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้ ทางการเกษตร ทาให้ ได้ รับความรู้ใหม่ ๆ สามารถซักถามข้ อสงสัย และสอบถาม ข้ อมูลต่าง ๆ จากวิทยากรได้ ซึง่ ธีรนาฏ (2552) ได้ กล่าวว่ากิจกรรมการพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้ทางเป็ นกิจกรรมที่ได้ รับความ สนใจมากจากเกษตรกร บุคคลทัว่ ไป รวมถึงเยาวชนจากสถานศึกษาต่าง ๆ การชมวิวทิวทัศน์ เป็ นกิจกรรมที่สร้ างความเพลิดเพลินและความสุนทรี ย์ให้ แก่นกั ท่องเที่ยว การเลีย้ งสัตว์ นักท่องเที่ยวสามารถเข้ าไปให้ อาหารและถ่ายภาพ และประโยชน์อีกอย่างที่ได้ จาการเลี ้ยงสัตว์คือ สามารถนามูลสัตว์ไปใช้ เป็ นปุ๋ ยคอก การสาธิตทางการเกษตร และ การฝึ กปฏิบัตทิ างการเกษตร กิจกรรมทัง้ 2 นี ้ ควรมีในสถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิง เกษตรทุกแห่ง เนื่องจากเป็ นกิจกรรมที่ได้ รับความสนใจมากจากเกษตรกร บุคคลทัว่ ไป รวมถึงเยาวชนจากสถานศึกษาต่าง ๆ (ธีรนาฏ, 2552) การสังเกตการณ์ นักท่องเที่ยวสามารถสังเกตการณ์ปฏิบตั ิงาน ขันตอนและวิ ้ ธีการต่าง ๆได้ การพักค้ างแรม ปณัฐ (2527) กล่าวว่าพักค้ างแรมเป็ นกิจกรรมที่นกั ท่องเที่ยวมีความคาดหวังให้ เกิดขึ ้นในสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร แต่ทงนี ั ้ ้การจะมีที่พกั รวมอยูใ่ นสถานที่ทอ่ งเที่ยวนันต้ ้ องขึ ้นอยูห่ ลายปั จจัย เช่น ปั จจัยด้ านวัตถุประสงค์ หลักของสถานที่ ด้ านงบประมาณ และด้ านขนาดของพื ้นที่ เป็ นต้ น เมื่อนาผลสารวจกิจกรรมที่ได้ มาพิจารณาเทียบกับในสถานที่ทอ่ งเที่ยวทัว่ ไปนันพบว่ ้ า กิจกรรมของสถานที่ทอ่ งเที่ยว เชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์มีความแตกต่างออกไป คือ การถ่ายทอดความรู้ทางการเกษตร การชมแปลงปลูกพืชทางการ เกษตร การทาปุ๋ ยหมัก การพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้ทางการเกษตร การเลี ้ยงสัตว์ การสาธิตทางการเกษตร และการฝึ กปฏิบตั ิ ทางการเกษตร เนื่องจากเป็ นกิจกรรมที่เกี่ยวข้ องเฉพาะกับการเกษตรโดยตรงจึงไม่พบกิจกรรมเหล่านี ้ในสถานที่ท่องเที่ยวอื่น ๆ
922
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สิ่งอานวยความสะดวก พบสิง่ อานวยความสะดวกที่มีการจัดไว้ ให้ บริการในแต่ละสถานที่แตกต่างกันไป มีสิ่งอานวยความสะดวกที่พบทัง้ 3 แห่ง รองลงมาที่พบ 2 แห่ง และที่พบเพียง 1 แห่ง ดังแสดงใน Table 2 ต่อไปนี ้ Table 2 Landscape Components of 3 Agro-Tourism Attractions in Ratchaburi Province Landscape Components Direction sign Enterprise sign board Entrance Parking lot Office Visitor center / reception Refreshment stall Landscaping Pavement Rest area Garbage bin Toilet Lighting Information sign Pond Photo spot Fences Restaurant Souvenir shop Guidepost Transportation service Seminar room Wi-Fi Guard house Observation room Lodging
Rai Pluk-Rak / / / / / / / / / / / / / / / / / / / /
The Blooms Orchid Park / / / / / / / / / / / / / / / / / / / /
/ / / /
Rai Benjawan Resort / / / / / / / / / / / / / / / / / /
/ / /
/
ป้ ายนาทางถนนภายนอก มีการใช้ รูปภาพสัญลักษณ์ของสถานที่ในการสื่อถึงสถานที่ช่วยทาให้ สะดุดตาได้ ดีกว่า การใช้ ตวั อักษรเพียงอย่างเดียว บอกเบอร์ โทรศัพท์ และระยะทางก่อนถึงที่หมาย ป้ ายชื่อสถานที่ มีลกั ษณะที่ช่วยให้ สะดุดตา สังเกตเห็นได้ ง่าย มีความโดดเด่น ตังอยู ้ บ่ ริ เวณทางเข้ าพื ้นที่ ซึง่ สอดคล้ องกับเอื ้อมพร (2527) ที่กล่าวว่าลักษณะที่ดีของสวนสาธารณะ และสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจควรมีปา้ ยชื่อบริเวณประตู ทางเข้ า ทางเข้ า-ออก ไม่ควรมีเกิน 1-2 ทาง เพราะจะทาให้ ยงุ่ ยากในการควบคุมระบบความปลอดภัย (เอื ้อมพร, 2527) ที่จอดรถ ที่จอดรถควรอยูใ่ กล้ ทางเข้ าออก (เอื ้อมพร, 2527) ที่จอดรถควรมีร่มเงาและมีช่องจอดรถที่ชดั เจน อาคารทาการ อยูใ่ นตาแหน่งที่เด่นนักท่องเที่ยวเข้ ามาถึงแล้ วสามารถมองเห็นได้ ทนั ที ควรอยูใ่ กล้ ประตูทางเข้ า การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
923
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
จุดบริการต้ อนรั บ ใช้ สาหรับติดต่อเข้ าชมสถานที่ จาหน่ายตัว๋ จุดบริ การต้ อนรับมีความสาคัญต่อสถานที่ทอ่ งเที่ยว เนื่องจากเป็ นจุดที่ให้ ข้อมูลและคาแนะนาแก่นกั ท่องเที่ยวในการเที่ยวชมสถานที่ ร้ านเครื่ องดื่ม ร้ านเครื่ องดื่มตังอยู ้ ใ่ นบริเวณที่นกั ท่องเที่ยวมองเห็นได้ ง่าย ใกล้ กบั บริ เวณที่พกั ผ่อน (เอื ้อมพร, 2527) ตกแต่ งภูมทิ ัศน์ และจัดสวน.การตกแต่งภูมิทศั น์และการจัดสวนที่สวยงามเป็ นสิ่งที่ช่วยดึงดูความสนใจแก่ นักท่องเที่ยว แต่ละที่จะมีรูปแบบการจัดที่ตา่ งกันขึ ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์หลักของสถานที่วา่ จะสร้ างให้ เป็ นสถานที่ทอ่ งเที่ยว เป็ น สถานที่พกั ค้ างแรม หรื อเป็ นสถานที่ผลิตสินค้ าทางการเกษตร และขึ ้นอยูก่ บั งบประมาณของเจ้ าของสถานที่ ทางเท้ า มีการจัดทางเท้ าโดยใช้ วสั ดุที่แตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสมของพื ้นที่ มีทงการใช้ ั้ ทางเท้ าบางช่วง ร่วมกับทางหลักที่รถวิ่ง และมีทงการจั ั้ ดทางเท้ าแยกไว้ โดยเฉพาะไม่ใช้ ร่วมกับทางหลัก ซึง่ สอดคล้ องกับเอื ้อมพร (2527) ที่ กล่าวว่าควรแยกถนนสาหรับรถและทางเดินเท้ าเพื่อความปลอดภัย ที่น่ ังพักผ่ อน มีการจัดที่นงั่ พักผ่อนไว้ ให้ บริการ ซึง่ จัดวางไว้ ในที่ที่มีร่มเงา มีหลากหลายรูปแบบแตกต่างกันไป อาจ จัดไว้ ใกล้ อาคารและตามจุดต่าง ๆ ใกล้ กบั กิจกรรม ถังขยะ มีรูปแบบถังขยะและมีการวางในตาแหน่งที่ตา่ งกัน จากการศึกษาของปณัฐ (2547) พบว่านักท่องเที่ยว ต้ องการให้ มีถงั ขยะในสถานที่ท่องเที่ยว จึงควรวางถังขยะไว้ ในตาแหน่งที่นกั ท่องเที่ยวสามารถมองเห็นและใช้ งานได้ สะดวก สุขา ควรมีการปลูกต้ นไม้ พรางห้ องสุขาไว้ ซึง่ เป็ นการใช้ ต้นไม้ ที่มีความงามบดบังสิง่ ที่ไม่สวยงาม เพื่อให้ ผ้ มู องเห็นสิ่ง ที่สวยงามกว่าทาให้ สภาพโดยรวมงดงามน่ามองขึ ้น (ศศิยา, 2554) และเอื ้อมพร (2527) ได้ กล่าวว่าห้ องน ้าควรมีปริมาณที่ เพียงพอต่อความต้ องการของผู้ใช้ และควรแบ่งแยกห้ องน ้าชาย-หญิง ไฟส่ องสว่ าง มีในบริเวณและจานวนที่แตกต่างกันไป บริเวณที่มีการทากิจกรรมในเวลากลางคืนและบริเวณที่พกั ค้ าง แรมควรมีไฟส่องสว่างอย่างเพียงพอและทัว่ ถึงเพื่อความปลอดภัย ป้ ายสื่อความหมาย ใช้ บอกตาแหน่งภายในพื ้นที่ เพื่อให้ นกั ท่องเที่ยวทราบตาแหน่งว่าอยู่ตรงบริเวณไหนของสถานที่ ป้ายควรอยูต่ รงทางเข้ าหลักของอาคารและในพื ้นที่ที่มีการเปลี่ยนแปลงทิศทาง (ไตรรัตน์, 2552) บ่ อนา้ มีการเก็บสารองน ้าไว้ ใช้ บ่อน ้าที่มีความสวยงามสามารถโชว์เป็ นจุดเด่นและใช้ ในการทากิจกรรมทางน ้าได้ เช่น การพายเรื อ เป็ นต้ น จุดถ่ ายภาพ มีการจัดทาจุดถ่ายภาพไว้ ให้ นกั ท่องเที่ยวได้ เก็บภาพความประทับใจ โดยมีการนาชื่อสถานที่มาเป็ น จุดเด่นในฉาก ซึง่ เป็ นการช่วยโปรโมทวิธีหนึง่ เนื่องจากในปั จจุบนั การอัพโหลดรูปภาพลงสื่อสังคมออนไลน์ได้ รับความนิยมเป็ น อย่างมาก ทาให้ คนที่เข้ ามาเห็นรูปภาพสวย ๆ แล้ วเกิดความสนใจไปเที่ยว สามารถทราบข้ อมูลและเดินทางไปยังสถานที่นนได้ ั้ รั ว้ มีรัว้ ที่เกิดจาการก่อสร้ าง (hardscape) และรัว้ ที่เกิดจากการปลูกต้ นไม้ (softscape) เป็ นแนวในการบอกขอบเขต ของพื ้นที่ โดยการปลูกต้ นไม้ สามารถใช้ เป็ นแนวกันชนในระบบเกษตรอินทรี ย์ได้ ต้ นไม้ ที่ปลูกทารัว้ ควรมีอายุยืนไม่ต้องรื อ้ บ่อยๆ เจริญเติบโตเร็ว และแตกกิ่งก้ านรอบตัวเป็ นพุม่ ควรปลูกแน่นและต้ องตัดแต่งให้ ได้ ความสูงตามต้ องการอย่างสม่าเสมอ (ศศิยา , 2554) สาหรับสถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรในรูปแบบเกษตรอินทรี ย์นนั ้ ต้ องให้ ความสาคัญกับการทารัว้ มากกว่าสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรทัว่ ไป เพราะรัว้ ของแปลงเกษตรอินทรี ย์ต้องสามารถป้องกันการปนเปื อ้ นสารเคมี ป้องกันแมลงที่มาจาก ภายนอกหรื อมาจากแปลงเกษตรเคมีที่อยูใ่ กล้ เคียงได้ ดังนันรั ้ ว้ จึงต้ องทาหน้ าที่เป็ นแนวกันชนให้ กบั พืชที่ปลูกในแปลงเกษตร อินทรี ย์ ซึง่ สามารถเลือกใช้ รัว้ ที่เป็ นของแข็ง (hardscape) หรื อรัว้ ที่เป็ นต้ นไม้ (softscape) หรื ออาจใช้ ทงสองอย่ ั้ างร่วมกันก็ได้ สิ่งสาคัญอยูท่ ี่ต้องสามารถเป็ นแนวกันชนให้ กบั พืชปลูกได้ โดยการปลูกต้ นไม้ เป็ นแนวกันชนนัน้ พืชที่ปลูกต้ องมีความสูงไม่น้อย กว่าพืชที่ปลูกในแปลงเกษตรเคมีข้างเคียงและมีความหนาแน่นของทรงพุม่ ที่ปอ้ งกันการปนเปื อ้ นทางอากาศได้ (วิฑรู ย์, 2547) โดยพืชที่ปลูกเป็ นแนวกันชนไม่สามารถจาหน่ายเป็ นผลิตภัณฑ์อินทรี ย์ได้ และควรเป็ นคนละพันธุ์กบั พืชที่ต้องการขอรับรอง มาตรฐานเกษตรอินทรี ย์ (สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย์, 2555) ร้ านอาหาร มีอาหารที่หลากหลายให้ บริการแก่นกั ท่องเที่ยว ร้ านจาหน่ ายของที่ระลึก จาหน่ายของที่ระลึก ผลิตภัณฑ์การเกษตรและผลิตภัณฑ์แปรรูป ป้ ายและลูกศรบอกทางภายใน ป้ายสามารถมองเห็นได้ ชดั เจน อยูบ่ ริเวณทางแยก สอดคล้ องกับเอื ้อมพร (2527) ที่ กล่าวว่าป้ายบอกทิศทางควรติดตังบริ ้ เวณทางแยกต่าง ๆ พาหนะให้ บริการภายใน มีการจัดพาหนะไว้ ให้ บริการเพื่อเป็ นตัวเลือกให้ นกั ท่องเที่ยวนอกจากการเดินเที่ยวชม เพียงอย่างเดียว การมีพาหนะให้ บริการถือเป็ นการเพิ่มกิจกรรมในสถานที่นนด้ ั ้ วย ซึง่ ปณัฐ (2547) ได้ กล่าวว่ากิจกรรมการปั่ น จักรยานและการพายเรื อเป็ นกิจกรรมที่นกั ท่องเที่ยวมีความคาดหวังให้ เกิดขึ ้นในสถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตร ห้ องประชุม สามารถรองรับความต้ องการของนักท่องเที่ยวในการจัดประชุมหรื อมาแบบหมูค่ ณะ 924
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
อินเทอร์ เน็ตไร้ สาย เป็ นบริการเสริมที่เพิ่มความสะดวกให้ แก่นกั ท่องเที่ยวในยุคปั จจุบนั ป้ อมยาม สามารถสอบถามข้ อมูลคร่าว ๆ ก่อนเข้ าไปยังด้ านในสถานที่ ตังอยู ้ ใ่ กล้ ประตูทางเข้ าซึง่ สอดคล้ องกับ เอื ้อม พร (2527) ที่กล่าวว่าป้อมยามควรอยูใ่ กล้ ประตูทางเข้ า ห้ องสังเกตการณ์ เป็ นห้ องกระจกที่นกั ท่องเที่ยวสามารถมองเห็นได้ จากภายนอก ซึง่ เป็ นองค์ประกอบใหม่ที่เพิ่ม ขึ ้นมาในสถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตร ที่พักค้ างแรม เพิ่มความสะดวกสบายในการพักค้ างแรมแก่นกั ท่องเที่ยว เมื่อนาผลสารวจสิ่งอานวยความสะดวกที่ได้ มาพิจารณาเทียบกับในสถานที่ทอ่ งเที่ยวทัว่ ไปนันพบว่ ้ า สิ่งอานวยความ สะดวกของสถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์ไม่มีความแตกต่างกับสิ่งอานวยความสะดวกที่พบในสถานที่ ท่องเที่ยวทัว่ ไป เนื่องจากสิ่งอานวยความสะดวกเหล่านี ้ถือได้ วา่ เป็ นสิ่งอานวยความสะดวกพื ้นฐานที่สามารถพบได้ ทวั่ ไปใน สถานที่ทอ่ งเที่ยงไม่เฉพาะเจาะจงว่าต้ องพบในสถานที่ทอ่ งเที่ยวรูปแบบใดรู ปแบบหนึง่ เท่านัน้ การจัดการ พบการจัดการในแต่ละสถานที่แตกต่างกันไป มีทงการจั ั้ ดการที่พบ 3 แห่ง และที่พบ 2 แห่ง ดังแสดงใน Table 3 ต่อไปนี ้ Table 3 Management of 3 Agro-Tourism Attractions in Ratchaburi Province Management Parking and traffic Agriculture waste management Visiting Tour guide
Rai Pluk-Rak / / / /
The Blooms Orchid Park / / /
Rai Benjawan Resort / / / /
การจอดรถและการสัญจร ช่วยเพิ่มความเป็ นระเบียบและความปลอดภัยของการสัญจรในพื ้นที่ ควรให้ จอดรถ บริเวณที่จอดรถด้ านหน้ าแล้ วเดินเข้ าไปในพื ้นที่เที่ยวชม การจัดการขยะทางการเกษตร มีการนาขยะที่เป็ นสิ่งเหลือใช้ จากการเกษตร กิ่งไม้ ใบไม้ และขยะที่สามารถย่อย สลายได้ ไปทาเป็ นปุ๋ ยหมัก ส่วนขยะชนิดอื่น ๆ ที่ไม่สามารถย่อยสลายได้ นนควรมี ั้ รถขยะมารับไปกาจัด การเข้ าชม มีรูปแบบแตกต่างกันไปตามความเหมาะสม มีทงการจองและโอนเงิ ั้ นล่วงหน้ าก่อน การซื ้อตัว๋ ก่อนเข้ าชม สถานที่ และแบบที่สามารถเข้ าเที่ยวชมได้ ฟรี วิทยากรหรื อมัคคุเทศก์ วิทยากรคอยให้ ความรู้เกี่ยวกับสถานที่ทอ่ งเที่ยว การปลูก การดูแล และการจัดการผลผลิต ชนิดต่าง ๆ ภายในสถานที่ ซึง่ สอดคล้ องกับภาควิชาเทคนิคเกษตร (ม.ป.ป.) ที่กล่าวถึงแนวทางบริหารจัดการของเจ้ าของ สถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรว่า ควรจัดมัคคุเทศก์นาชมสวนที่มีความสามารถอธิบายความรู้ได้ ดีเท่ากับหรื อมากกว่าเจ้ าของสวน เมื่อนาผลสารวจการจัดการที่ได้ มาพิจารณาเทียบกับในสถานที่ทอ่ งเที่ยวทัว่ ไปพบว่า การจัดการของสถานที่ท่องเที่ยว เชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์มีความแตกต่างคือ การจัดการขยะทางการเกษตร เนื่องจากเป็ นการจัดการกับสิง่ เหลือใช้ ทาง การเกษตร วัชพืช เศษเหลืองทิ ้งจากการเก็บเกี่ยวและการตัดแต่งผลผลิตทางการเกษตร ต้ นพืชที่กาจัดจากแปลงปลูก พืชที่ไม่ สามารถให้ ผลผลิตแล้ ว จึงพบในเฉพาะสถานที่ที่มีการทาการเกษตรเท่านัน้
สรุ ป จากการสารวจกิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการของสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร 3 แห่ง ในจังหวัด ราชบุรี ได้ แก่ ไร่ปลูกรัก The Bloom Orchid Park และไร่เบญจวรรณ รี สอร์ ท สามารถสรุปเป็ นข้ อมูลพื ้นฐานเพื่อเป็ นแนวทาง ในการสร้ างสถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์ได้ ดงั ต่อไปนี ้ กิจกรรมที่สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรจาเป็ นต้ องมี ได้ แก่ การถ่ายทอดความรู้ ทางการเกษตร การชมแปลงปลูกพืช ทางการเกษตร และการทาปุ๋ ยหมัก การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
925
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
กิจกรรมที่ในสถานที่ท่องเที่ยวเชิ งเกษตรควรมี ได้ แก่...การพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้ทางการเกษตร การชมวิวทิวทัศน์ การเลี ้ยงสัตว์ การสาธิตทางการเกษตร และการฝึ กปฏิบตั ิทางการเกษตร กิจกรรมที่สถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรสามารถเลือกจัดให้ มีหรื อไม่ก็ได้ ได้ แก่ การสังเกตการณ์ และการพักค้ างแรม สิ่งอานวยความสะดวกที่สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรจาเป็ นต้ องมี ได้ แก่ ป้ายนาทางถนนภายนอก ป้ายชื่อสถานที่ ทางเข้ า-ออก ที่จอดรถ อาคารทาการ จุดบริการต้ อนรับ ร้ านเครื่ องดื่ม ตกแต่งภูมิทศั น์และจัดสวน ทางเท้ า ที่นงั่ พักผ่อน ถังขยะ สุขา ไฟส่องสว่าง ป้ายสื่อความหมาย บ่อน ้า จุดถ่ายภาพ และรัว้ สิ่งอานวยความสะดวกที่สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรควรมี ได้ แก่ ร้ านอาหาร ร้ านจาหน่ายของที่ระลึก ป้ายและลูกศร บอกทางภายใน พาหนะให้ บริการภายใน ห้ องประชุม และอินเทอร์ เน็ตไร้ สาย สิ่ ง อ านวยความสะดวกที่ ส ถานที่ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรสามารถเลื อ กจัด ให้ มี ห รื อ ไม่ ก็ ไ ด้ ได้ แ ก่ ป้ อ มยาม ห้ อ ง สังเกตการณ์ และที่พกั ค้ างแรม การจัดการที่สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรจาเป็ นต้ องมี ได้ แก่ การจอดรถและการสัญจร การจัดการขยะทางการเกษตร และการเข้ าชม จัดการที่สถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตรควรมี ได้ แก่ วิทยากรหรื อมัคคุเทศก์ และสาหรับสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรในรูปแบบเกษตรอินทรี ย์นนมี ั ้ สิ่งที่ต้องคานึงถึงเพิ่มเติมนอกจากการเพาะปลูก แบบอินทรี ย์แล้ ว ต้ องมีการสร้ างแนวกันชนให้ กบั พืชที่ปลูกในระบบอินทรี ย์ เพื่อป้องกันการการปนเปื อ้ นสารเคมี และป้องกัน แมลงจากภายนอก
เอกสารอ้ างอิง กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. 2554. แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. กรุงเทพฯ. กลุม่ งานส่งเสริ มและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตร สานักพัฒนาเกษตรกร กรมส่งเสริ มการเกษตร. 2557. สรุปจานวนนักท่องเที่ยวและรายได้ จาก การท่องเที่ยวเชิงเกษตร. แหล่งที่มา: http://agrotourism.doae.go.th/agro-stat.html, 19 ตุลาคม 2558. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. ม.ป.ป. ข้ อมูลจังหวัดราชบุรี. แหล่งที่มา: http://thai.tourismthailand.org/ข้ อมูลจังหวัด/ราชบุรี, 29 ธันวาคม 2556. ไตรรัตน์ จารุทศั น์. 2552. การออกแบบสภาพแวดล้ อมและสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับทุกคน. สมาคมสถาปนิกสยามใน พระบรมราชูปถัมภ์. กรุงเทพฯ. 250 น. ธีรนาฏ กาลปั กษ์ . 2552. กิจกรรม องค์ประกอบภูมิทศั น์ และสัดส่วนการใช้ พื ้นที่ของสถานที่ทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตร. ปั ญหาพิเศษปริ ญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. ปณัฐ สุมาลย์โรจน์. 2547. ความต้ องการกิจกรรมและสิ่งอานวยความสะดวก เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในสถานที่พกั ตากอากาศ. ปั ญหาพิเศษ ปริ ญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. ภาควิชาเทคนิคเกษตร.คณะเทคโนโลยีการเกษตร.สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง.”ม.ป.ป..ท่องเที่ยวเชิงเกษตร... แหล่งที่มา: http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04090035_2202/multiweb/agrotour/index. htm, 17 ตุลาคม 2556. วิฑรู ย์ ปั ญญากุล. 2547. เกษตรอินทรี ย์ทาอย่างไรจึงได้ รับการรับรอง. พิมพ์ครัง้ ที่ 1 มูลนิธิสายใยแผ่นดิน. กรุงเทพฯ. วิฑรู ย์ ปั ญญากุล. 2558. ภาพรวมเกษตรอินทรี ย์ไทย 2556-57. มูลนิธิสายใยแผ่นดิน. แหล่งที่มา: http://www.greennet.or.th/article/organicfarming/thailand, 19 ตุลาคม 2558. สานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย์. 2555. มาตรฐานเกษตรอินทรี ย์ Organic Standards 2012. แหล่งที่มา: http://www.actorganic-cert.or.th/download/organic-standards, 25 ตุลาคม 2556. สานักพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. 2553. คูม่ ือการประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิง เกษตร. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. กรุงเทพฯ. ศศิยา ศิริพานิช. 2554. ภูมิทศั น์พื ้นฐาน. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . นครปฐม. เอื ้อมพร วีสมหมาย. 2527. หลักการจัดสวนสาธารณะและสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจ. โรงพิมพ์อกั ษรพิทยา. กรุงเทพฯ. 151 น.
926
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การเสริมสร้ างทักษะทางด้ านการเกษตรสาหรับผู้พกิ ารทางสายตา Agricultural Skill Development for the Blinds วรวุฒิ ร่ มฟ้ าจรรกุล1 จันทรา ไชยแสน1 กรองกาญจน์ สายมัน1 และ สุรพล ใจวงศ์ ษา1 Worawut Romfahkhachonkun1 Chantra Chaisaen1 Krongkan Saimun1 and Suraphon Chaiwongsar1
บทคัดย่ อ ทางเลือกอาชีพของผู้พิการทางสายตานัน้ มีไม่มากนัก โดยเฉพาะอาชีพทางการเกษตร งานวิจัยนีจ้ ึง ต้ องการที่จะ เสริ มสร้ างทักษะทางด้ านการเกษตรให้ แก่ผ้ พู ิการทางสายตา ด้ วยการออกแบบกิจกรรมการปลูกพืชผักที่เหมาะสมกับผู้พิการ ทางสายตาได้ ฝึกปฏิบตั ิ โดยได้ ดาเนินกิจกรรมร่วมกับผู้พิการทางสายตาจานวน 12 คนและคุณครูผ้ ดู แู ลจานวน 2 คนจากศูนย์ พัฒนาสมรรถภาพคนตาบอดลาปาง (มูลนิธิพิทกั ษ์ ดวงตาลาปาง) ในการทดลองปลูก ผักกวางตุ้ง โหระพา สะระแหน่ ผักสลัด ผักไผ่ เรดโอ๊ ค กรี นโอ๊ ค และ มะนาว จนกระทั่งมีความมัน่ ใจว่าผู้พิการทางสายตาสามารถปฏิบัติได้ จริ งและสามารถนามา พัฒนาเป็ นอาชีพได้ ในอนาคต จากการทดลองปฏิบตั ิได้ ร่วมถอดองค์ความรู้ร่วมกันและพัฒนาเป็ นข้ อเสนอแนะและแนวทางใน การปฏิบตั ิอย่างง่ายสาหรับการปลูกพืชผักให้ แก่ผ้ ูพิการทางสายตาคนอื่น ประกอบด้ วย หัวข้ อพิจารณาเกี่ยวกับการเตรี ยม ความพร้ อมผู้พิการทางสายตา และ การออกแบบกิจกรรมภายในสวนปลูกผัก ครอบคลุมถึง การออกแบบพื ้นที่เพาะปลูก การ คัดเลือกวัสดุ อุปกรณ์ ในการทาสวน การเลือกพืชที่จะปลูก การเพาะปลูกและการดูแลรักษา และ การเก็บเกี่ยว และจากการ ประเมินความพึงพอใจต่อกระบวนการผลิตพืชทังหมด ้ พบว่าผู้พิการทางสายตามีความพึงพอใจโดยรวมในการปลูกมะนาวใน วงล้ อยางเก่า และ การปลูกผักสลัด เรดโอ๊ ค กรี นโอ๊ ค และ ผักกวางตุ้งในไม้ พาเลทมากที่สดุ ซึง่ ได้ 4.12 คะแนน จาก 5 คะแนน เต็ม คาสาคัญ: การฝึ กทักษะทางด้ านการเกษตร สวนครัว ผู้พิการทางสายตา
Abstract There has been limited choice of career for the blinds, especially in agricultural field. This work wanted to develop agricultural skills for the blinds by creating kitchen garden and activities for vegetable production that appropriated for the blinds. The authors had been worked closely with 12 blind persons and 2 coaching teachers from Skill Development Center, Lampang (Eye Care Foundation, Lampang) to design and practice vegetables production (Chinese cabbage, sweet basil, peppermint, lettuce, Vietnamese coriander, red oak lettuce, green oak lettuce and lime). From the lesson learned, we developed practicable protocols for easy vegetable production for the blinds consisting of the concerned issues for the preparation and the vegetable production guidelines including garden design, choice of garden tools, equipments and supplies, choice of vegetables, planting and maintenance and harvesting. Moreover, from the assessment for the suitability of the activities, the blinds gave the highest score for lime cultivated in used tires and lettuce, red oak, green oak and Chinese cabbage cultivated in used wooden palette, which was 4.12 out of 5. Keywords: Agricultural skills training, kitchen garden, the blinds
1
สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
927
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
คานา กลุม่ ผู้พิการทางสายตาถือเป็ นกลุม่ ผู้ด้อยโอกาสในสังคม ซึ่งควรได้ รับการสนับสนุนให้ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ใน การดาเนินชีวิตให้ มากที่สดุ เท่าที่จะทาได้ ซึ่งนอกจากจะเป็ นการลดภาระค่าใช้ จ่ายในการดูแลผู้พิการทางสายตาแล้ ว ยังเป็ น การส่งเสริ มและสนับสนุนให้ ผ้ พู ิการทางสายตามีความภาคภูมิใจในการใช้ ชีวิตอย่างมีคณ ุ ค่า ไม่เป็ นภาระของสัง คม และยัง เป็ นกาลังสาคัญส่วนหนึ่งในการพัฒนาประเทศชาติให้ ก้าวหน้ าต่อไปได้ อีกด้ วย จากการสารวจความพิการและทุพพลภาพของ ประเทศไทยที่ผ่านมา พบว่าสัดส่วนผู้พิการทางสายตาในประเทศไทยมีแนวโน้ มที่จะเพิ่มขึน้ อย่างต่อเนื่อง (สานักงานสถิติ แห่งชาติ, 2556; สานักงานส่งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ กระทรวงพัฒนาการสังคมและความมัน่ คงของ มนุษ ย์ , 2558) แต่ อ ย่างไรก็ต าม พบว่ายัง มี ประเด็น ของความเหลื่ อมล า้ ในกลุ่มผู้พิ ก ารทางสายตาในหลายๆ ด้ า น เช่ น การศึกษา การประกอบอาชีพ และรายได้ เป็ นต้ น ซึ่งผลของความพิการนันจะก่ ้ อให้ เกิดผลกระทบต่อประเทศชาติและต่อตัว ของคนพิการเอง (David, 1997; Hosain et al., 2002) ปั จจุบนั ผู้พิการทางสายตาจานวนมากยังขาดทางเลือกในการประกอบอาชีพเพื่อพึ่งพาตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อาชีพทางด้ านการเกษตร ถึงแม้ ว่าจะมีการออกแบบกิจกรรมทางการเกษตรอยู่เป็ นจานวนมากให้ แก่ผ้ ู พิการทัว่ ไป (Field and Jones, 2006; Borcherding and Baldwin, 2002) แต่ยงั ขาดแคลนกิจกรรมทางการเกษตรที่เหมาะสมสาหรับผู้พิการทาง สายตา โดยเฉพาะในบริ บทของประเทศไทย ดังนันงานวิ ้ จยั นี ้จึงต้ องการที่จะมุ่งเน้ นการเสริ มสร้ างทักษะทางด้ านการเกษตร ให้ แ ก่ ผ้ ูพิ ก ารทางสายตาเพื่ อ ที่ จ ะสามารถน าทัก ษะดัง กล่า วมาท าสวนครั ว หรื อ สวนผัก ในบริ เ วณบ้ า นเพื่ อ ให้ มี ผัก ไว้ ใ ช้ รับประทานเอง เป็ นการประหยัดรายจ่าย หรื อขายเป็ นรายได้ พิเศษ เพื่อที่ในอนาคตอาจจะสามารถพัฒนาเป็ นการทาสวนผัก เพื่อส่งตลาดท้ องถิ่น ซึง่ เป็ นการสร้ างอาชีพและรายได้ ให้ แก่ผ้ พู ิการทางสายตาได้ อีกด้ วย
อุปกรณ์ และวิธีการ สาหรับการออกแบบพื ้นที่สวนและกิจกรรมภายในสวนนัน้ มีกลุม่ เป้าหมาย คือ กลุม่ ผู้พิการทางสายตาจานวน 12 คน ที่เข้ าร่วมโครงการพัฒนาอาชีพระยะยาวกับศูนย์พฒ ั นาสมรรถภาพคนตาบอดลาปาง ภายใต้ การดูแลของมูลนิธิพิทกั ษ์ ดวงตา ลาปาง และครูผ้ ดู แู ลภายในศูนย์ฯ จานวน 2 คน โดยทาการออกแบบกิจกรรมร่วมกันกับผู้พิการทางสายตา ครูผ้ ดู แู ล และ ผู้เชี่ยวชาญทางด้ านการเกษตร โดยประยุกต์ตามหลักการการออกแบบพื ้นที่สวนและกิจกรรมภายในสวนของ Dischinger (2000) และ Espinosa et al. (1998) ให้ ครอบคลุมตังแต่ ้ การวางแผนการผลิต การเตรี ยมพื ้นที่และอุปกรณ์เพาะปลูก ชนิดของ พืชที่จะปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และ การตลาด หลังการออกแบบและการวางแผนแล้ วจึงทดลองดาเนินการตามแผน ที่วางไว้ ภายในศูนย์ฯ ในพื ้นที่ประมาณ 800 ตารางเมตร โดยผู้พิการทางสายตาเป็ นผู้ปฏิบตั ิ และ ครูเป็ นผู้ดแู ลความเหมาะสม ของกิจกรรมและหาช่องทางจาหน่ายผลผลิต ซึง่ จะมีการปรับแก้ ไขกิจกรรมให้ เหมาะสมและมีประสิทธิภาพอยูเ่ ป็ นระยะจาก การประชุมรายเดือนร่วมกับผู้พิการทางสายตา ครูผ้ ดู แู ล และทีมนักวิจยั กิจกรรมดาเนินอย่างต่อเนื่องเป็ นระยะเวลา 6 เดือน ระหว่างเดือนสิงหาคม 2557 ถึงเดือนมกราคม 2558 ซึง่ ภายในระยะเวลาดังกล่าวมีการผลิตผักและจาหน่ายอย่างละ 3 ครัง้ ต่อ ชนิดผัก หลังกิจกรรมสิ ้นสุดทาการประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมการผลิตพืชต่อผู้พิการทางสายตา โดยใช้ แบบสอบถาม (Questionnaire) แบบอ่านให้ ตอบ และการสัมภาษณ์กบั ผู้พิการทางสายตาจานวน 12 คน ให้ ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์ที่ กาหนดขึ ้น แล้ วจึงทาการถอดองค์ความรู้ร่วมกับครูผ้ ดู แู ล และผู้พิการทางสายตา ในการออกแบบสวนและกิจกรรมการผลิตพืช ที่เหมาะสม จากการสังเกตการณ์และการประเมินเพื่อเป็ นแนวทางในการนาไปปฏิบตั ิให้ แก่ผ้ พู ิการทางสายตาคนอื่นๆต่อไป
ผลการทดลองและวิจารณ์ การเตรี ยมความพร้ อม ออกแบบร่ วมกับผู้พิการทางสายตาและครู ผ้ ดู แู ลประจาศูนย์ฯ เพื่อให้ ผ้ พู ิการทางสายตาได้ ทดลองปฏิบตั ิ โดยพืชที่ ทดลองเป็ นพืชที่ปลูกและดูแลง่าย ปั ญหาโรคและแมลงรบกวนน้ อย และสามารถจาหน่ายได้ ง่าย ได้ แก่ ผักกวางตุ้งโหระพา สะระแหน่ ผักสลัด ผักไผ่ เรดโอ๊ ค กรี นโอ๊ ค และ มะนาว โดยเลือกภาชนะปลูกที่หาง่าย ราคาถูก ปลอดภัย และมีขอบเขตที่ ชัดเจน เพื่ออานวยความสะดวกในการปลูกพืชให้ แก่ผ้ พู ิการทางสายตา (Dischinger, 2000) ได้ แก่ วงล้ อยางรถยนต์เก่าที่ไม่ใช้ แล้ ว ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางยาง 0.6 เมตร ความกว้ างยาง 0.2 เมตร จานวน 50 เส้ น และ ไม้ พาเลทเก่า ขนาด 0.9x0.9 เมตร มี ร่องสาหรับปลูกจานวน 4 ร่ อง จานวน 25 แผ่น ใช้ วงล้ อยางในการปลูกพืชจานวน 2 เส้ นต่อภาชนะปลูกวางซ้ อนกันให้ มีความ สูงประมาณ 0.4 เมตร เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผ้ พู ิการทางสายตา โดยไม่ต้องนัง่ หรื อคุกเข่ากับ พื ้นในการดูแลพืช วงล้ อที่อยู่ 928
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
บนสุดทาการกลับด้ านของล้ อยาง และกรี ดขอบยางเพื่อขยายพื ้นที่ข้างในให้ กว้ างขึน้ ทาการทาสีที่สดใสเพื่อให้ ผ้ ทู ี่มีสายตา เลือนรางสังเกตเห็นได้ วงล้ อชันล่ ้ างสุดที่ติดกับผิวดินใช้ แผ่นโฟมหรื อแผ่นพลาสติกเจาะรู เพื่อให้ น ้าระบาย จากนันน ้ าวัสดุปลูก (ดิน:ปุ๋ ยคอก:แกลบ อัตราส่วน 1:1:1) ใส่ลงไป สาหรับการใช้ ไม้ พาเลทนัน้ หลังจากทาความสะอาดไม้ พาเลทแล้ วนาวัสดุปลูก ผสมด้ วย EM และไส้ เดือนดิน เทลงบนไม้ พาเลทแล้ วเกลี่ยให้ ดินอัดลงไปในช่องว่างของไม้ พาเลทจนเต็ม แล้ วรดน ้าทิ ้งไว้ 1 คืน ก่อนปลูกพืช กิจกรรมทัง้ หมดนีป้ ฏิบัติโดยผู้พิการทางสายตา โดยทีมวิจัยทาการเตรี ยมอุปกรณ์ และสอนวิธีการทาก่อนการ ปฏิบตั ิ กิจกรรมการปลูกพืช การปลูกมะนาวในวงล้ อยางเก่า: เป็ นการนาเอาต้ นมะนาวพันธุ์ตาฮิติซงึ่ เป็ นพันธุ์มะนาวที่ไร้ เมล็ด และไม่มีหนามตาม กิ่งและลาต้ น อายุ 3 ปี จานวน 15 ต้ น มาปลูก ลงในวงล้ อยางเก่าที่เตรี ยมไว้ แล้ วใช้ เศษใบไม้ คลุมดินเพื่อรักษาความชุมชื ้นใน ดิน รดน ้าเป็ นประจา โดยใช้ มือสัมผัสผิวดินเพื่อวัดความชื ้น ใส่ปยคอกเดื ุ๋ อนละครัง้ เมื่อมะนาวออกผลใช้ มือสัมผัสขนาด และ เก็บมะนาวเมื่อได้ ขนาดพร้ อมเก็บเกี่ยว การปลูกโหระพา และ สะระแหน่ในวงล้ อยางเก่า จานวนพืชละ 5 วงล้ อยาง: เพาะกล้ าในถาดเพาะ เมื่อต้ นกล้ าได้ อายุ 2-3 สัปดาห์ ย้ ายมาปลูกในวงล้ อยางเก่าที่เตรี ยมไว้ จานวน 9 ต้ น/ภาชนะปลูก รดนา้ เป็ นประจา ใช้ มือสัมผัสผิวดินเพื่อวัด ความชื ้น ใส่ปยคอกเดื ุ๋ อนละครัง้ เมื่อปลูกได้ ประมาณ 4 – 6 สัปดาห์ ก็เก็บบริเวณยอด การปลูกผักกวางตุ้ง ผักสลัด ผักไผ่ เรดโอ๊ ค และ กรี นโอ๊ ค ในไม้ พาเลท จานวนพืชละ 5 ไม้ พาเลท: เพาะกล้ าในถาด เพาะ เมื่อต้ นกล้ าได้ อายุ 2 สัปดาห์ ทาการย้ ายมาปลูกในไม้ พาเลทที่เตรี ยมไว้ จานวน 4 ต้ น/ร่ อง หรื อ 16 ต้ น/ไม้ พาเลท รดน ้า เป็ นประจา โดยใช้ มือสัมผัสผิว ดินเพื่อวัดความชืน้ ใส่ปุ๋ยคอกเดือนละครัง้ เมื่อปลูกได้ ประมาณ 4 – 6 สัปดาห์ ก็เก็บเกี่ยว ผลผลิต ภายในระยะ 6 เดือนได้ ดาเนินการปลูกพืชดังกล่าวและเก็บจาหน่ายจานวน 3 รอบ ยกเว้ นต้ นมะนาวที่มีการเก็บ ผลผลิตและจาหน่ายอย่างต่อเนื่อง โดยแหล่งจาหน่ายที่สาคัญ คือ ร้ าน Power Blind และ ตลาดสดในบริ เวณใกล้ เคียงกับ ศูนย์ฯ โดยผู้พิการทางสายตาเป็ นผู้จาหน่ายด้ วยตัวเอง นอกจากนันยั ้ งทาการคานวณต้ นทุนในการผลิตและผลตอบแทนจาก การผลิตและจาหน่ายเพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลอ้ างอิงในอนาคตหากผู้พิการจะนากิจกรรมดังกล่าวไปปฏิบตั ิเพื่อการประกอบเป็ นอาชีพ การประเมินความเหมาะสมของกิจกรรม หลังกิจกรรมการผลิตพืชดังกล่าว ได้ ประเมินความเหมาะสมของกิจกรรมที่ได้ ดาเนินการกับผู้พิการทางสายตา โดย แบ่งออกเป็ น 2 ส่วน ได้ แก่ 1)ความเหมาะสมในแต่ละขันตอนของการผลิ ้ ตพืชแก่ผ้ พู ิการทางสายตา ซึง่ ประกอบด้ วย 1.1) การ เตรี ยมความพร้ อมในการปลูก 1.2) การดูแลรักษา (การให้ น ้า การให้ ปยุ๋ การกาจัดวัชพืช และ การป้องกันกาจัดโรคและแมลง) 1.3) การเก็บเกี่ยวผลผลิต 1.4) การจาหน่ายผลผลิต 1.5) การลงทุนและผลตอบแทน และ 1.6) การนาไปปฏิบตั ิจริ งด้ วยตนเอง โดยการให้ เกณฑ์คะแนนตังแต่ ้ 0 – 5 ซึง่ คะแนน = 0 หมายถึง ไม่เหมาะสมอย่างมาก คะแนน = 1 หมายถึง ไม่เหมาะสมปาน กลาง คะแนน = 2 หมายถึง ไม่เหมาะสมเล็กน้ อย คะแนน = 3 หมายถึง เหมาะสมเล็กน้ อยคะแนน = 4 หมายถึง เหมาะสม ปานกลาง และ คะแนน = 5 หมายถึง เหมาะสมอย่างมาก (Table 1) และ 2) การตังค ้ าถามปลายเปิ ดเพื่อประเมินถึงความพึง พอใจต่อกิจกรรมที่เกิดขึ ้นและความคิดเห็นต่อจุดที่ควรแก้ ไขปรับปรุ งหรื อแนะนาให้ แก่ผ้ อู ื่น เพื่อถอดออกมาเป็ นข้ อเสนอแนะ สาหรับการพัฒนาการทาสวนปลูกผักให้ แก่ผ้ พู ิการทางสายตา สาหรับการประเมินในด้ านการเตรี ยมความพร้ อมในการเพาะปลูก (Preparation) ซึง่ เริ่ มตังแต่ ้ การเตรี ยมภาชนะปลูก การเตรี ยมดิน การเพาะกล้ า และ การย้ ายกล้ า พบว่า ผักกวางตุ้งได้ รับคะแนนสูงสุด คือ 4.7 คะแนน โหระพา สะระแหน่ ผัก สลัด เรดโอ๊ ค และ กรี นโอ๊ ค ได้ คะแนนรองลงมา คือ 4.6 คะแนน และมะนาวนันได้ ้ คะแนนน้ อยที่สดุ คือ 3.8 คะแนน เป็ นเพราะ กระบวนการเพาะเมล็ดและการย้ ายต้ นกล้ าผักดังกล่าวง่ายกว่าเมื่อเทียบกับการย้ ายปลูกต้ นมะนาว และจากการสัมภาษณ์ผ้ ู พิการทางสายตาได้ ระบุวา่ ต้ นมะนาวมีขนาดค่อนข้ างใหญ่ การเปลี่ยนย้ ายภาชนะปลูกจึงค่อนข้ างลาบาก สาหรับวิธีการดูแลรักษา การให้ น ้า การให้ ปยุ๋ การกาจัดวัชพืช การป้องกันกาจัดโรคและแมลง (Maintenance and Pest Management) มีคะแนนที่ใกล้ เคียงกัน โดยโหระพามีคะแนนสูงสุด คือ 4.4 คะแนน ตามมาด้ วยผักสลัด เรดโอ๊ ค และ กรี นโอ๊ ค ได้ 4.3 คะแนน และ ผักไผ่ได้ คะแนนน้ อยที่สดุ คือ 3.9 คะแนน สาหรับวิธีการเก็บเกี่ยวผลผลิต (Harvesting) นัน้ มะนาวได้ คะแนนมากที่สดุ อยู่ที่ 4.6 คะแนน เนื่องจากมะนาวถูก ปลูกในภาชนะที่มีพื ้นที่จากัด จึงทาให้ มีความสูงไม่มากนัก จากการสัมภาษณ์ พบว่าผู้พิการทางสายตาชอบความสะดวกที่ สามารถยืนและเอื ้อมเก็บผลมะนาวได้ ง่าย โดยใช้ ขนาดของผลมะนาวเป็ นเกณฑ์กาหนด และไม่ต้องทาความสะอาดผลมะนาว ก่อนการจาหน่าย ในขณะที่พืชชนิดอื่นๆ ผู้พิการทางสายตาต้ องก้ มลงเก็บ และใช้ กรรไกรหรื อมีดในการเก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่ง การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
929
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ค่อนข้ างไม่สะดวก โดยเฉพาะอย่างยิ่งพืชที่ต้องเก็บเฉพาะปลายยอด จึงทาให้ สะระแหน่ โหระพาและ ผักไผ่ มีคะแนนน้ อยกว่า พืชชนิดอื่น คือ 4.1, 4.0 และ 3.8 ตามลาดับ สาหรับการจาหน่ายผลผลิต (Sales) มะนาวมีคะแนนสูงที่สดุ คือ 4.3 คะแนน เนื่องจากมะนาวเป็ นที่ต้องการของ ตลาด ขายได้ ง่ายในรูปแบบของจานวนผล สามารถเก็บ รักษาไว้ ได้ นาน (ภูวนาท, 2544) ส่วนโหระพา ผักไผ่ และ สะระแหน่ได้ คะแนนน้ อย คือ 3.9, 3.5 และ 3.3 คะแนน ตามลาดับ เนื่ องจากมีขนาดเล็ก และ พืชเหล่านี ้ต้ องการจัดเรี ยงและมัดรวมก่อน นาไปจาหน่าย และ จากการสังเกตการณ์ พบว่าข้ อจากัดในการมองเห็นทาให้ ผ้ พู ิการทางสายตาไม่สามารถคัดส่วนที่เสียหาย หรื อแก่เกินไปออกได้ จึงทาให้ ผ้ บู ริโภคเลี่ยงที่จะไปซื ้อสินค้ าจากร้ านค้ าอื่น แต่อย่างไรก็ตามผลผลิตสามารถจาหน่ายได้ เกินร้ อย ละ 80 ในแต่ละรอบ และผู้พิการทางสายตานาผลผลิตที่เหลือจากการจาหน่ายไปบริโภค เมื่อคานวณการลงทุนและผลตอบแทนที่ได้ รับ (Investment and Return) พบว่าผู้พิการทางสายตาให้ คะแนนการ ผลิตมะนาวสูงสุด คือ 4.4 คะแนน เนื่องจากขายได้ ราคา ถึงแม้ ว่าจะมีการลงทุนสูงกว่าพืชชนิดอื่น แต่ว่าลงทุนเพียงครัง้ เดียว และสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ นาน ส่วนพืชอื่นๆ ได้ คะแนนน้ อยตังแต่ ้ 4.3 ถึง 3.2 คะแนน เนื่องมาจากผู้พิการทางสายตารู้สกึ ว่าต้ องมีการลงทุนแรงงานใหม่ทกุ รอบที่ปลูก และถึงแม้ ชนิดพืชเป็ นที่นิยมของตลาด หากผลผลิตไม่ได้ คณ ุ ภาพ ผู้บริ โภคก็จะ เลี่ยงซื ้อผลผลิตดังกล่าว เมื่อสอบถามถึงการนาทักษะที่ได้ ไปปฏิบตั ิจริ งด้ วยตนเองในอนาคต (Future Adoption) พบว่ามีคะแนนที่ไล่เลี่ยกัน ระหว่าง 3.1 – 3.8 คะแนนโดย โหระพา ผักสลัด เรดโอ๊ ค และ กรี นโอ๊ ค ได้ คะแนนสูงสุด 3.8 คะแนน ซึง่ จากคะแนนดังกล่าวระบุ ให้ เห็นถึงความเป็ นไปได้ ที่ผ้ พู ิการทางสายตาจะสามารถนาเอารู ปแบบกิจกรรมที่ได้ ออกแบบนามาใช้ ในชีวิตจริ ง เพราะทุก กิจกรรมได้ รับคะแนนเกิน 3.0 ทังสิ ้ ้น จากการสัมภาษณ์ พบว่าประเด็นที่ผ้ พู ิการทางสายตาเป็ นกังวลหากต้ องปฏิบตั ิจริ งด้ วย ตนเองในอนาคต คือ การจัดหาวัสดุและอุปกรณ์ การหางบประมาณในการลงทุน และ ขาดความมัน่ ใจในการปฏิบตั ิเพียงลาพัง อย่างไรก็ตามทางศูนย์พัฒนาสมรรถภาพคนตาบอดลาปางได้ เล่งเห็นประโยชน์ ของกิจกรรมทางการเกษตรต่อผู้พิการทาง สายตา จึงได้ วางแผนในการสร้ างแปลงเกษตรเพื่อฝึ กปฏิบตั ิสาหรับผู้พิการทางสายตาภายในศูนย์ฯ โดยอิงจากการเรี ยนรู้และ ผลการปฏิบัติที่ผ่านมา พร้ อมทัง้ จัดโครงการส่งเสริ มอาชีพผู้พิการทางสายตา โดยการส่งบุคลากรไปช่วยเหลือผู้พิการทาง สายตาที่ต้องการประกอบอาชีพทางการเกษตร เมื่อนาค่าคะแนนแต่ละขันตอนมารวมและหาค่ ้ าเฉลี่ยแล้ ว พบว่า การผลิตมะนาวในวงล้ อยาง และการปลูกผักสลัด เรดโอ๊ ค กรี น โอ๊ ค และ ผัก กวางตุ้ง ในไม้ พ าเลทนัน้ มี ค ะแนนสูงสุด คื อ 4.12 คะแนน รองลงมาคื อการปลูก โหระพา และ สะระแหน่ในวงล้ อยาง ซึง่ มีคะแนน 4.05 และ 3.85 ตามลาดับ สาหรับการผลิตพืชที่ได้ คะแนนน้ อยที่สดุ คือการปลูกผักไผ่ในวง ล้ อยาง โดยได้ 3.75 คะแนน จะเห็นได้ วา่ การปลูกพืชที่เป็ นที่ยอมรับของผู้พิการทางสายตานัน้ เป็ นพืชที่มีราคาดี เป็ นที่ต้องการ ของตลาดในปริมาณมาก และ เก็บเกี่ยวได้ ง่าย เช่น มะนาว ผักสลัด เรดโอ๊ ค กรี นโอ๊ ค และ ผักกวางตุ้ง ข้ อเสนอแนะในการออกแบบการผลิตพืชสาหรั บผู้พกิ ารทางสายตา จากการทางานร่วมกับผู้พิการทางสายตาและครูผ้ ดู แู ลภายในศูนย์ฯอย่างใกล้ ชิด และการร่วมประชุมกันเพื่อปรับปรุง แนวทางการปฏิบตั ิอยู่เป็ นประจา ได้ ทาการพัฒนาข้ อเสนอแนะ เพื่อนาไปใช้ เป็ นแนวทางในการพัฒนาทักษะทางการเกษตร ให้ แก่ผ้ พู ิการทางสายตาในอนาคต โดยมีข้อเสนอแนะดังนี ้ หัวข้ อพิจารณาเกี่ยวกับการเตรี ยมความพร้ อมผู้พกิ ารทางสายตา จุดมุ่งหมายของผู้พิการทางสายตา: เป็ นสิ่งที่สาคัญอย่างยิ่ง เพื่อที่จะทาให้ สามารถออกแบบการดาเนินงานหรื อการ ฝึ กปฏิบตั ิที่เหมาะสมต่อวัตถุประสงค์และความต้ องการของผู้ปฏิบตั ิงาน ถ้ าหากมีจดุ มุง่ หมายที่กว้ างเกิ นไปจะทาให้ ยากแก่การ วางแผน ถ้ ามีจดุ มุ่งหมายที่ใหญ่เกินไป จะทาให้ เกิดการดาเนินงานที่มากขึ ้นและอาจทาให้ ผ้ ปู ฏิบตั ิเกิดอาการท้ อแท้ ก่อนที่จะ บรรลุวตั ถุประสงค์ที่ตงไว้ ั ้ ซึ่งควรเริ่ มต้ นด้ วยวัตถุประสงค์เล็กแต่ชดั เจน และใช้ ระยะเวลาสัน้ เพราะถ้ าหากผู้ พิการทางสายตา บรรลุจดุ มุง่ หมายแล้ วจะช่วยสร้ างกาลังใจและความคิดที่เป็ นบวก เพื่อที่จะพัฒนาตนเองและการปฏิบตั ิงานให้ ดีขึ ้นต่อไป ศักยภาพผู้พิการทางสายตา: จากประสบการณ์ การทางานร่ วมกับผู้พิการทางสายตา ครู ผ้ ดู ูแลได้ ให้ ความเห็นว่า ผู้ พิ ก ารทางสายตาแต่ล ะคนมี ร ะดับ การมองเห็ น และความสามารถที่ แ ตกต่ า งกัน ดัง นัน้ ควรประเมิ น ศัก ยภาพของผู้ที่ จ ะ ปฏิบตั ิงานว่าเหมาะสมกับกิจกรรมแบบไหน และยากง่ายเพียงไร เช่น ผู้ที่ตาบอดสนิทนันไม่ ้ สมควรผลิตพืชไร่ เนื่องจากใช้ พื ้นที่ กว้ าง มีปัญหาอุปสรรคมาก และยากที่จะประสบความสาเร็ จ และที่สาคัญควรประเมินเวลาที่ผ้ ู พิการทางสายตามีให้ ในแต่ละ วันในการดูแลพืช เพราะการเกษตรเป็ นกิจกรรมที่ต่อเนื่องและต้ องการการดูแลอยู่เสมอ หากขาดการดูแลรักษาในบางช่วง อาจจะทาให้ ผลผลิตเสียหายได้
930
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
พืน้ ที่ในการปฏิบัติ : ควรเลือกพืน้ ที่ที่ผ้ ูปฏิบัติมีความคุ้นเคยเพื่อเพิ่มความสะดวกในการดาเนินงาน เช่น พื น้ ที่ใน บริ เวณบ้ าน แต่อย่างไรก็ตาม การเลือกพื ้นที่ต้องคานึงถึงแหล่งน ้าซึ่งเป็ นปั จจัยสาคัญของการเกษตร และพื ้นที่ควรมีแสงอย่าง พอเพียงสาหรับการปลูกพืช หากว่ามีร่มเงามากเกินไปจะทาให้ พืชเจริ ญเติบโตไม่ดี และควรเริ่ มจากพื ้นที่ ขนาดเล็ก ดูแลได้ ง่าย เสียก่อน ก่อนที่จะพัฒนาเป็ นพื ้นที่กว้ างขึ ้น การให้ กาลังใจ: ก่อนการดาเนินงาน บ่อยครัง้ ผู้ปฏิบตั ิจะเกิดความกลัวและความไม่มนั่ ใจ ดังนันผู ้ ้ สอนหรื อผู้ดแู ลควร พูดคุยในลักษณะที่ให้ กาลังใจแก่ผ้ ปู ฏิบตั ิ และควรหลีกเลี่ยงการพูดถึงปั ญหาและอุปสรรคที่อาจจะเป็ นการพูดในเชิงลบ แต่ให้ เปลี่ยนเป็ นการพูดเชิงบวก เปลี่ยนมุมมองของปั ญหาและอุปสรรคเป็ นสิ่งที่ท้าทาย สิ่งที่น่าตื่นเต้ นแทน ซึ่งจะเพิ่มความมัน่ ใจ ให้ แก่ผ้ ปู ฏิบตั ิ งบประมาณ: งบประมาณเป็ นสิ่งจาเป็ นสาหรั บการวางแผน ผู้ปฏิบัติควรวางแผนการดาเนินงานที่เหมาะสมกับ งบประมาณที่มีอยู่ และก่อให้ เกิดความคุ้มค่าสูงสุด หากว่าวางแผนไม่ดี อาจจะทาให้ งบประมาณนันบานปลายได้ ้ ดังนันควร ้ วางแผนด้ านงบประมาณอย่างถี่ถ้วนและรอบคอบ และควรจัดสรรกันงบบางส่วนไว้ ในกรณีเกิดเหตุจาเป็ น การออกแบบกิจกรรมภายในสวนปลูกผัก จากการออกแบบกิจกรรมโดยประยุกต์ตามหลักการการออกแบบพื ้นที่สวนและกิจกรรมภายในสวนของ Dischinger (2000) และ Espinosa et al. (1998) และให้ ผ้ พู ิการทางสายตาทดลองปฏิบตั ิตามแผนที่วางไว้ นนั ้ สามารถพัฒนาข้ อเสนอแนะ ในการออกแบบกิจกรรมภายในสวนปลูกผักดังนี ้ พืชที่จะปลูก: ควรเริ่ มต้ นด้ วยการเลือกพืชที่สามารถใช้ ประโยชน์ได้ มีปัญหาเรื่ องโรคและแมลงน้ อย ง่ายต่อการดูแล รักษา และเหมาะสมต่อฤดูกาลที่จะปลูก ซึ่งการปลูกในระยะแรกไม่ควรเน้ นการผลิตเพื่อการขายเพราะจะเป็ นการสร้ างความ กดดันให้ แก่ผ้ ปู ฏิบตั ิ ควรเน้ นการปลูกเพื่อไว้ บริโภคเองก่อน ซึง่ จะเป็ นการเพิ่มทักษะและสร้ างความสุขให้ แก่ผ้ ปู ฏิบตั ิ ปลูกพืชในภาชนะหรื อพื ้นที่ที่มีขอบเขต: ควรปลูกพืชในภาชนะเนื่องจากลดปั ญหาการขุดดินและง่ายต่อการจัดการ โดยภาชนะอาจจะเป็ น กระถาง ถุงดา หรื อวัสดุเหลือใช้ เช่น ยางรถยนต์ และ ไม้ พาเลทหากมีการขึ ้นแปลงพืช (Bedding) ควร ใช้ วสั ดุทาขอบเขตแปลงตังแต่ ้ ต้นจนถึงปลายแปลงเพื่อเป็ นจุดสังเกตให้ แก่ผ้ พู ิการทางสายตา เช่น ก้ อนหิน ก้ อนอิฐ หรื อ เศษไม้ หากมีทกั ษะมากขึ ้น สามารถทา Square Foot Gardening คือการแบ่งสัดส่วนในแปลงปลูกพืชเป็ นช่อง ช่องละประมาณ 12 นิ ้ว x 12 นิ ้ว เพื่อช่วยให้ ผ้ ปู ฏิบตั ิสามารถปฏิบตั ิงานได้ ง่ายและรวดเร็วขึ ้น (Bartholomew, 2013) การสร้ างจุดสังเกตในแปลง: จุดสังเกตเป็ นสิ่งสาคัญของผู้พิการทางสายตาเพื่อใช้ เป็ นจุดอ้ างอิงภายในแปลง จากการ ออกแบบการสร้ างจุดสังเกตและทดสอบกับผู้พิการทางสายตา วิธีที่ได้ ผลตอบรับที่ดีจากผู้พิการทางสายตา ได้ แก่วิธีการเขียน ป้ายด้ วยปากกาสีเข้ มแล้ วเคลือบด้ วยแผ่นพลาสติกใสที่มีตวั อักษรเบรลล์แล้ วนาไปติดตังตามจุ ้ ดต่างๆในแปลง และ การใช้ ท่อน ไม้ ปักตามจุดต่างๆในแปลง แล้ วทาเครื่ องหมายบนท่อนไม้ เพื่อเป็ นข้ อมูล เช่น การใช้ จานวนหนังยางบนท่อนไม้ แทนข้ อมูล ตาแหน่งต่างๆในสวน หรื อ การใช้ กระดิ่งหรื อโมบายที่ให้ เสียงแตกต่างกันระบุตาแหน่งสาคัญต่างๆในแปลง เช่น บริ เวณแหล่ง น ้า บริเวณหัวแปลง-ท้ ายแปลง หรื อ บริเวณทางเข้ า ตามที่ตกลงกับผู้พิการทางสายตา การใช้ สีสนั ในแปลง: การทาสีให้ กบั ภาชนะปลูก หรื อขอบเขตรอบแปลง หรื อ จุดสังเกตหลักในแปลง ด้ วยสีสดใสที่ตดั กับสีของดินและสีของพืช เช่น สีเหลือง สีฟ้า สีแดง จะช่วยให้ ผ้ ทู ี่มีสายตาเลือนรางสามารถแยกแยะสิ่งต่างๆในแปลงได้ ดีขึ ้น (Coughlan & Manduchi 2007). การระบุแปลงปลูกพืช: สามารถใช้ ภาชนะที่แตกต่างกัน (เช่น สี ขนาด รูปร่าง) ในการปลูกพืชแต่ละชนิด เพื่อง่ายต่อ การจาแนกชนิดพืช หรื อ สามารถใช้ ป้ายภาพหรื อชื่อพืชแล้ วเคลือบด้ วยพลาสติกหรื อใส่ซองพลาสติกกันน ้า แล้ วทับซ้ อนด้ วย แผ่นพลาสติกใสที่พิมพ์ด้วยอักษรเบรลล์เพื่อผู้ที่มีสายตาเลือนรางและตาบอด สามารถรับรู้ถงึ ข้ อมูลบนป้ายได้ การสร้ างทางเดินในสวน: สามารถทาทางเดินในสวนโดยการโรยก้ อนกรวดทาเป็ นทางเดินในแปลง หรื อใช้ แผ่นปูพื น้ ทางเดินในสวน ควรหลีกเลี่ยงการวางของไว้ ชิดกับทางเดินจนเกินไป เพราะผู้ พิการทางสายตาอาจจะเดินชนจนได้ รับบาดเจ็บ หรื อสิ่งของเกิดความเสียหาย และควรหลีกเลี่ยงการใช้ ไม้ ไผ่หรื อเชือกผูกท่อนไม้ ทาเป็ นราวทางเดิน เพราะว่าไม่มีความแข็งแรง และทนทาน อาจจะเกิดอันตรายต่อผู้ปฏิบตั ิได้ หากมีการทิ ้งน ้าหนักตัวลงบนราว ระบบน ้า: ควรเลือกพื ้นที่ที่มีแหล่ง นา้ ในแปลงปลูกหรื ออยู่ในบริ เวณที่ใกล้ เคียง เพื่อลดปั ญหาการนาน ้าเข้ าสู่แปลง ปลูกและควรหลีกเลี่ยงการใช้ สายยางรดน ้าขนาดยาวภายในแปลง เนื่องจากสายยางที่ยาวเกินไป หากใช้ ไม่ระวังแล้ วออกแรง ดึงมากๆ อาจจะไปเกี่ ยวหรื อสร้ างความเสียหายต่อกระถางหรื อพืชในสวนได้ ควรใช้ ระบบสปริ งเกลอร์ ให้ นา้ ภายในสวน เนื่องจากสะดวกสาหรับการดาเนินงานแก่ผ้ พู ิการทางสายตา แต่ควรจัดระบบให้ น ้าเข้ าถึงทุกส่วนภายในสวน และแหล่งน ้าที่จะ ใช้ ควรมีแรงดันนา้ มากพอสมควร อย่างไรก็ตามระบบสปริ งเกลอร์ นัน้ มีงบลงทุนที่สูงและผู้พิการทางสายตาต้ องการความ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
931
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ช่วยเหลือในการวางแผนและติดตัง้ สปริ งเกลอร์ ดังนัน้ ควรคานึงถึงความคุ้มค่าในการลงทุนก่อนการติดตัง้ ในกรณี ทั่วไป สามารถใช้ บวั รดน ้า แต่ควรมีแหล่งน ้าภายในสวน หรื อจัดหาถังน ้าสาหรับกลางแจ้ งขนาดใหญ่มาไว้ กระจายทัว่ แปลงแล้ วต่อ ระบบนาน ้าจากภายนอกมาเก็บไว้ ในถัง การเก็บอุปกรณ์เครื่ องมือ: ควรทาพื ้นที่แยกจากกันสาหรับการเก็บวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ ในการทาสวน และอยู่ใกล้ บริ เวณสวนเพื่อสะดวกแก่การใช้ งานของผู้พิการทางสายตามีพื ้นในการเก็บเป็ นสัดส่วน และระบุอย่างชัดเจนถึงบริ เวณที่ เก็บ ของที่อาจจะเป็ นอันตราย (แหลมคม) เพื่อที่จะให้ ผ้ ปู ฏิบตั ิเพิ่มความระมัดระวังมากขึ ้น และเน้ นการฝึ กจัดบริ เวณสาหรับเก็บ วัสดุอปุ กรณ์ให้ เป็ นระเบียบเรี ยบร้ อย ง่ายต่อการเข้ าถึง และปลอดภัยในการค้ นหา พื ้นที่การทาปุ๋ ยหมัก: ในการทาสวน ควรมีการจัดพื ้นที่ไว้ สาหรับการทาปุ๋ ยหมักไว้ ใช้ เอง โดยสามารถใช้ เศษใบไม้ เศษ พืชต่างๆ หรื อ อาหารที่เหลือ นามาหมักเป็ นปุ๋ ยหมักได้ Table 1: The suitability assessment of the designed activities for vegetable production for the blinds. Activities Score (0 – 5)* (n = 12) Preparation Maintenance Harvesting Sales Investment Future Average and Pest and Adoption Score Management Return Lime cultivated in 3.8 4.1 4.6 4.3 4.4 3.5 4.12 used tires Sweet basil 4.6 4.4 4 3.9 3.6 3.8 4.05 cultivated in used tires Peppermint 4.6 4.2 4.1 3.3 3.2 3.7 3.85 cultivated in used tires Vietnamese 4.4 3.9 3.8 3.5 3.5 3.1 3.75 coriander cultivated in wooden pallet Lettuce 4.6 4.3 4.3 4.1 3.6 3.8 4.12 cultivated in wooden pallet Red oak lettuce 4.6 4.3 4.3 4.1 3.6 3.8 4.12 cultivated in wooden pallet Green oak 4.6 4.3 4.3 4.1 3.6 3.8 4.12 lettuce cultivated in wooden pallet Chinese 4.7 4.1 4.4 4.3 3.6 3.6 4.12 cabbage cultivated in wooden pallet * score = 0 means very unsuitable, score = 1 means unsuitable, score = 2 means slightly unsuitable, score = 3 means slightly suitable, score = 4 means suitable and score = 5 means very suitable
932
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
Figure 1 Blind student was harvesting lime cultivated in used tires.
Figure 2 Blind students were checking the size of green oak cultivated in used wooden pallet before harvesting.
สรุ ป จากการทดลองออกแบบการผลิตพืชเพื่อผู้พิการทางสายตาและนาไปทดสอบกับผู้พิการทางสายตา พบว่าผู้พิการทาง สายตามีศกั ยภาพในการพัฒนาทักษะทางด้ านการเกษตรเพื่อนาไปใช้ ในชีวิตจริ งได้ ในอนาคต หากกิจกรรมนันถู ้ กออกแบบมา อย่างเหมาะสมตรงตามสมรรถภาพและความต้ องการของผู้พิการทางสายตา โดยกิจกรรมการผลิตพืชต้ องเน้ นกิจกรรมที่ง่าย สะดวกสาหรับผู้พิการทางสายตา ให้ ผลตอบแทนที่ดี และปลอดภัยในการปฏิบตั ิ จากการทดสอบพบว่าสามารถใช้ วงล้ อยาง เก่าและไม้ พาเลทเก่ามาเป็ นภาชนะปลูกผักที่ปลอดภัยและมีราคาถูกได้ และ พืชที่เป็ นที่ชื่นชอบของผู้พิการทางสายตา ได้ แก่ มะนาว ผักสลัด เรดโอ๊ ค กรี นโอ๊ ค และ ผักกวางตุ้ง ซึง่ ผู้พิการทางสายตาสามารถนาทักษะที่ได้ ไปพัฒนาประกอบเป็ นอาชีพใน อนาคต
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
933
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ ธนาคารไทยพาณิชย์ จากัด ได้ ได้ สนับสนุนทุนในการดาเนินกิจกรรมภายใต้ โครงการกล้ าใหม่...ใฝ่ ร้ ู ปี 9 และขอขอบคุณศูนย์พฒ ั นาสมรรถภาพคนตาบอดลาปาง ภายใต้ การดูแลของมูลนิธิพิทกั ษ์ ดวงตาลาปาง ที่ได้ สนับสนุนในการ ใช้ พื ้นที่และบุคลากรเพื่อให้ งานประสบความสาเร็จได้
เอกสารอ้ างอิง ภูวนาท นนทรี ย์. 2544. มะนาวนอกฤดู. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. เกษตรสาส์น. กรุงเทพฯ. 88 หน้ า. สานักงานส่งเสริ มและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์. 2558. สถิติข้อมูลคนพิการที่มี บัตรประจาตัวคนพิการจาแนกตามเพศ และภูมิภาค Available from http://nep.go.th[Access on : June 30, 2015]. สานักงานสถิติแห่งชาติ. 2556. การสารวจความพิการ พ.ศ.2550., Available fromhttp://service.nso.go.th/ [Access on : April 16, 2013]. Bartholomew, M. 2013. All New Square Foot Gardening: The Revolutionary Way to Grow More in Less Space. Cool Springs Press. Borcherding, S. and Baldwin, D. 2002. Disability in context: A community-based learning experience. Occupational therapy in health care. 15:3-12. Coughlan, J. and Manduchi, R. 2007. Color targets: Fiducials to help visually impaired people find their way by camera phone. Journal on Image and Video Processing. 2: 10-11. David, R. 1997. Disability does not have to be the grief that never ends: helping patients adjusts. Rehabilitation nursing. 22(1), 32-35. Dischinger, M. 2000. Design for all Senses. Accessible Spaces for Visually Impaired Citizens. Chalmers University of Technology. Espinosa, M. A., Ungar, S., Ochaı́, E., Blades, M. and Spencer, C. 1998. Comparing methods for introducing blind and visually impaired people to unfamiliar urban environments. Journal of Environmental Psychology, 18(3): 277-287. Field, W. E. and Jones, P. 2006. Disability in agriculture. In Agricultural medicine (pp. 70-80). Springer New York. Hosain, G.M.M., Atkinson, D. and Underwood, P. 2002. Impact of disability on quality of life of rural disabled people in Bangladesh. Journal of Health, Population and Nutrition. 20(4): 297-305.
934
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
การประยุกต์ ใช้ รูปแบบสวนยุคอาณานิคมเพื่อสร้ างสวนสาธารณะแบบร่ วมสมัย ในการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมพืน้ ที่รอบโบราณสถานของชาติโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่ า Applying Colonial Garden Style to Design Contemporary Public Park of the National Historic Site, Ancient BenchamaMaharat Building วรงศ์ นัยวินิจ1, ภาคภูมิ สืบนุการณ์ 1, รักเกียรติ แสนประเสริฐ1,และทวีศักดิ์ วิยะชัย1 Warong Naivinit1, Parkpoom Suebnukarn1, Rukkeit Sanprasert1, Taweesak Wiyachai1
บทคัดย่ อ โรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า เป็ นอาคารสองชันทรงมะนิ ้ ลา สร้ างด้ วยไม้ เนื ้อแข็งทังหมด ้ ตังบนฐานที ้ ่ก่อด้ วย ซีเมนต์ ด้ านหน้ ามีมขุ สามมุขเรี ยงกัน หลังคามุงด้ วยกระเบื ้องเนื่องจากอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า นี ้เป็ นอาคารที่ มี เ อกลัก ษณ์ แ ละยัง คงอยู่ใ นสภาพที่ ดี กรมศิ ลปากรจึง พิจ ารณาขึน้ ทะเบี ยนอาคารหลังนี เ้ ป็ น โบราณสถาน แห่ง ชาติแ ละ ดาเนินการบูรณะอาคารตามหลักการซ่อมแซมบูรณะในแนวทางอนุรักษ์ สถาปั ตยกรรมด้ วยที่ตงของอาคารอยู ั้ ่ในใจกลางของตัว เมื อ งอุบ ลราชธานี การเดิ น ทางสะดวก ท าให้ พื น้ ที่ นี เ้ หมาะส าหรั บ สร้ างเป็ น จุด ท่ อ งเที่ ย วของจัง หวัด อุบ ลราชธานี แต่ สภาพแวดล้ อมของอาคารที่ทรุ ดโทรมส่งผลให้ อาคารหลังนี ้ขาดความน่าสนใจ ในขณะที่ งานภูมิสถาปั ตยกรรมยุคอาณานิคม ของประเทศไทยนันไม่ ้ มีรูปแบบที่ชดั เจน แต่การออกแบบงานภูมิสถาปั ตยกรรมของยุคอาณานิคมในทวีปยุโรปนันมี ้ การพัฒนา ชัดเจนโดยมีพืน้ ฐานมาจากการจัดสวนยุคทิวดอร์ และสวนยุค กลาง สาหรับโครงการออกแบบผังแม่บทของพื ้นที่ นีไ้ ด้ นาเอา วัฒนธรรมที่เป็ นอัตลักษณ์ ของจังหวัดอุบลราชธานีมาใช้ ร่วมกับการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมยุคอาณานิคม และประยุกต์ สร้ างสวนสาธารณะร่ วมสมัยที่สามารถตอบสนองกับความต้ องการของผู้ใช้ สวน พบว่าแนวคิดในการทาผังแม่บทนีม้ ีความ เหมาะสมกับตัวอาคารเนื่องจากสวนแบบประดิษฐ์ ด้านหน้ าอาคารจะทาหน้ าที่คล้ ายกับกรอบภาพขับให้ ตวั อาคารโดดเด่นขึ ้น อีกทังยั ้ งจะได้ เห็นความแตกต่างของสถานที่จากการเปลี่ยนแปลงของต้ นไม้ ตามช่วงเวลาต่างๆ และการปรับเปลี่ยนรูปแบบของ แปลงไม้ ดอกตรงกลางพื ้นที่ให้ สอดคล้ องกับกิจกรรมที่สามารถจัดได้ บริเวณหน้ าอาคาร คาสาคัญ : ภูมิสถาปั ตยกรรมของยุคอาณานิคม, โรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า, สวนสาธารณะ
Abstract
A two-story Manila architectural style building of the Ancient BenchamaMaharat School which was built entirely of hard wood on a cement base with 3 facades and roof tiles is still remained in good condition. The Fine Arts Department had registered national historic site for this building and restored this building under architectural conservation principles. Because of the reason that the building was situated at the heart of the city, it provided traveling convenient of Ubon Rachathani province to create a tourist attraction. The present deteriorated condition of the building and its surrounding caused a negative impact to attract visitors. The development of related colonial landscape architectural style in Thailand was not well defined. In contrary, the colonial landscape design in Europe was clearly developed from Tudor and Medieval garden styles. The key challenge of this design project was to integrate the unique cultures and features of Ubon Ratchathani into the colonial landscape architectural style and integrated into modern public park which served urban citizen needs. The design showed that a frontyard formal garden was appropriated with the building facades and helped to enhance appearance of through different seasons. The redesigned plant bed in the middle of the garden responded the need for activities. Keywords: Colonial garden style, Ancient BenchamaMaharat Building, Public park
1
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อาเภอวาริ ชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
935
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
คานา
เป็ นเวลากว่า 100 ปี ที่โรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราช อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ได้ ดาเนินการให้ การศึกษาแก่ เยาวชนทังของจั ้ งหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดอื่นๆโดยรอบ ดังนันโรงเรี ้ ยนเบ็ญจะมะมหาราชถือเป็ นสถานศึกษาที่สาคัญและมี ประวัติ ที่ ย าวนานคู่กับ การเปลี่ ย นแปลงของประเทศไทย โรงเรี ย นแห่ ง นี ไ้ ด้ ถูก ตัง้ ขึ น้ ในรั ช สมัย ของพระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั ในปี พ.ศ. 2440 โดยอยู่ในพื ้นที่ของวัดสุปัฏวนารามและใช้ ชื่อว่า โรงเรี ยนอุบลวิทยาคม เนื่องจากจานวน นักเรี ยนที่เพิ่มมากขึ ้น โรงเรี ยนจึงถูกย้ ายไปสร้ างบนพื ้นที่ใหม่บริเวณทิศตะวันออกเฉียงเหนือของทุ่งศรี เมืองในปี พ.ศ. 2458และ เปลี่ยนชื่อโรงเรี ยนเป็ น โรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชด้ วยเหตุผลเดิมคือ การรองรับจานวนนักเรี ยนที่เพิ่มมากขึ ้น โรงเรี ยนจึงถูก ย้ ายอีกครัง้ ในช่วงที่เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศไทย พ.ศ. 2478 โดยย้ ายไปตังอยู ้ ่ที่อาเภอวาริ นชาราบบนพื ้นที่ แห่งใหม่นี ้ได้ มีการก่อสร้ างสร้ างอาคารเรี ยนหลังใหม่ขึ ้นซึง่ เป็ นอาคารหลังที่ 2 ของโรงเรี ยน (ภาพที่ 1) อาคารเรี ยนหลังใหม่มลู ค่า 40,000 บาทในเวลานันเป็ ้ นอาคารสองชันทรงมะนิ ้ ลา 1 มีพื ้นที่ใช้ สอย 2,376 ตารางเมตร สร้ างด้ วยไม้ เนื ้อแข็งทังหมด ้ โดยประตูและหน้ าต่างเป็ นไม้ สกั ตัวอาคารตังบนฐานที ้ ่ก่อด้ วยซีเมนต์ ด้ านหน้ ามีมขุ สามมุขเรี ยง กั น หลั ง คามุ ง ด้ วยกระเบื อ้ ง ผู้ ออกแบบอาคารคื อ พระสาโรจน์ รั ต นนิ ม านสถาปนิ ก ประจ ากระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการในปั จจบัน) โรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชในขณะนันมี ้ พื ้นที่ทงหมด ั้ 40 กว่าไร่ นับว่าเป็ นโรงเรี ยนที่มีขนาด ใหญ่ มาก (BenchamaMaharat Alumni, 2008) รู ปแบบสถาปั ตยกรรมของอาคารหลังนี ม้ ีลักษณะเฉพาะโดยผสาน สถาปั ตยกรรมทางยุโรปเข้ ากับสถาปั ตยกรรมไทยและของท้ องถิ่น รูปแบบสถาปั ตยกรรมในยุคเดียวกันที่สาคัญจะพบได้ ในรัช สมัยของรัชกาลที่ 5 ถึง รัชกาลที่ 7 ได้ แก่ พระราชวังเกาะสีชงั พระราชวังสนามจันทร์ พระราชวังบ้ านปื น โรงเรี ยนมาแตร์ เดอี และสถานฑูตหลายแห่งในกรุงเทพมหานคร แต่รูปแบบทางภูมิสถาปั ตยกรรมของประเทศไทยในยุคสมัยนันยั ้ งไม่มีความชัดเจน ในปี พ.ศ. 2513 โรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชได้ ย้ายโรงเรี ยนไปตัง้ อยู่ที่บ้านท่าวังหิน ซึ่งเป็ นที่ตงั ้ ของโรงเรี ยนในปั จจุบัน แต่ อาคารหลังเก่านันยั ้ งคงมีการใช้ งานโดยส่วนราชการต่างๆ ของจังหวัดอุบลราชธานี จนกระทัง่ ในปี พ.ศ. 2543 ได้ มีการย้ ายส่วน ราชการออกทังหมดโดยบางส่ ้ วนของอาคารยังคงใช้ เป็ นสถานที่เก็บพัสดุ เนื่องจากอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า นี ้ เป็ นอาคารที่มีเอกลักษณ์ และยังคงอยู่ในสภาพที่ดีกรมศิ ลปากรจึงพิจารณาขึ ้นทะเบียนและกาหนดเขตที่ดินของอาคารหลังนี ้ เป็ นโบราณสถานเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2545 ต่อมาคณะกรรมการอานวยการจัดระบบศูนย์ราชการได้ มีมติเห็นชอบให้ ปรับปรุง ซ่อมแซมอาคารเพื่อใช้ เป็ นที่ตงของศู ั้ นย์องค์ความรู้ด้านชาติพนั ธุ์และวัฒนธรรมท้ องถิ่น (Association of the Ubon city, 2011) ดังนันทางคณะกรรมการจึ ้ งขอให้ ทางกรมศิลปากรเข้ าดาเนินการบูรณะอาคารตามหลักการซ่อมแซมบูรณะในแนวทางอนุรักษ์ สถาปั ตยกรรม การบูรณะอาคารหลังนี ้เริ่ มตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2551 และเสร็ จสิ ้นในปี พ.ศ. 2553 ปั จจุบนั อาคารหลังนี ้กาลังอยู่ใ น ระหว่างการดาเนินการเพื่อจัดตังเป็ ้ นศูนย์องค์ความรู้ ของจังหวัดอุบลราชธานีโดยเป็ นการทางานภายใต้ คณะกรรมการพัฒนา โบราณสถานแห่งชาติอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังที่ 2 ซึ่งเป็ นความร่ วมมือระหว่างหลายหน่วยงานในจังหวัด เช่น มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สานักศิลปากรที่ 11 อุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี เบญจะมะมหาราชสมาคม เทศบาลนครอุบลราชธานี สานักงานโยธาธิการและผังเมือง และภูมิพลังเมืองอุบลราชธานี
1
อาคารทรงมะนิลา เป็ นอาคารหลังคาปั น้ หยาและมีจวั่ ด้ านหน้ าเชื่อว่าได้ รับอิทธิพลมาจากสถาปั ตยกรรมของชาวฮอลันดา ประเทศฮอล์แลนด์ (Netherlands) ได้ เริ่ มมีให้ เห็นอย่างประปรายในสมัยรัชกาลที่ 5 ถ้ าเป็ นเรื อนชันเดี ้ ยวมักทาด้ านหน้ าเป็ นเฉลียงทางเดินและมีแนวเสาระเบียง (Colonnade) ตามทางเดินที่หน้ าจัว่ จะไม่มีลวดลายฉลุ แต่ทาเป็ นลายนูนเส้ นวงกลมอยู่กลางและมีปีกสามเหลี่ยมสองข้ าง ส่วนครี บชายคาเป็ นแบบ ขนมปั งขิง มีฉลุเป็ นหยาดน ้าฝนลักษณะลายละเอียดอ่อนมาก ที่ยอดหน้ าจัว่ จะมีเสากลึงข้ างบนและเสี ้ยมปลายแหลม หลังคาบางส่วนล้ มเข้ าหากัน เหนือบานประตูช่องลมเป็ นรูปโค้ งมีกรอบและลายฉลุ ลายทึบ เรื อนไม้ มะนิลาหรื อขนมปั ง (Wikipedia contributors. American colonial architecture, 2011) 936
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ภาพที่ 1 อาคารหลังที่ 2 ของโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชในปี พ.ศ. 2478 ปั จจุบนั ตังอยู ้ ท่ างทิศตะวันตกของทุง่ ศรี เมือง หลังจากการบูรณะอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า ก็ยิ่งมีความสวยงามมาก (ภาพที่ 2) กับทังเหตุ ้ การณ์ ทางการเมื องเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2553 ที่ศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานี ถูกเผาทาลายและถูกรื อ้ ถอนออกไป ทาให้ ทัศนียภาพของอาคารหลังนีไ้ ม่ถูกบดบังอีกต่อไป นอกจากนีอ้ าคารหลังนีย้ ังได้ รับรางวัลอนุรักษ์ ศิลปะสถาปั ตยกรรมดีเด่น ประจาปี 2554 ในงานสถาปนิก 54 ที่จดั โดยสมาคมสถาปนิกสยาม จึงนับได้ ว่าอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า มี ความส าคัญ เป็ น ที่ ภ าคภูมิ ใ จของทัง้ ชาวอุบ ลและของประเทศชาติ ด้ ว ยท าเลที่ ตัง้ ของอาคารอยู่ใ นใจกลางของตั วเมื อ ง อุบลราชธานี การเดินทางสะดวก และใกล้ กับสวนสาธารณะทุ่งศรี เมื อง ทาให้ พืน้ ที่ นีเ้ ป็ นจุดที่ เหมาะสาหรั บสร้ างเป็ นจุด ท่องเที่ยวเชิงความรู้ ของจังหวัดอุบลราชธานี แต่สภาพแวดล้ อมของอาคารในปั จจุบนั ที่ยงั คงเป็ นปั จจัยที่ลดความสง่างามขอ ง โบราณสถานแห่งนี ้ ด้ วยเหตุนี ้ทางคณะกรรมการอานวยการจัดระบบศูนย์ราชการจึงเห็นว่าการปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมของ บริ เวณโดยรอบอาคารหลังนี ้จึงมีความจาเป็ นอย่างยิ่ง เพื่อส่งเสริ มให้ ตวั อาคารโดดเด่นยิ่งขึ ้นและสามารถใช้ บริ เวณรอบอาคาร เป็ นพื ้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อน สันทนาการ และใช้ ประโยชน์ในด้ านต่างๆ ของประชาชน วัตถุประสงค์ของงานออกแบบผังแม่บทในโครงการนี เ้ พื่อนาผลการวิเคราะห์ศกั ยภาพและจุดที่ต้องปรับปรุ งของพื ้นที่ โดยรอบอาคารไปใช้ ในการออกแบบงานภูมิสถาปั ตยกรรมที่เน้ นให้ เกิดความกลมกลืนระหว่างตัว อาคารที่สร้ างขึ ้นในยุคอาณา นิคม และสภาพแวดล้ อม ดังนันเพื ้ ่อให้ เข้ าใจถึงแนวคิดการออกแบบของอาคารหลังนี ้ จึงจาเป็ นจะต้ องศึกษาสถาปั ตยกรรมและ การออกแบบภูมิทศั น์ที่ในยุคอาณานิคม ซึ่งรู ปแบบสถาปั ตยกรรมโคโลเนียลคือการออกแบบอาคารที่สาคัญ ศิลปะโคโลเนียล หมายถึงศิลปะของประเทศเจ้ าอาณานิคมที่เกิดขึ ้นในประเทศที่เป็ นอาณานิคม รูปแบบของอาคารยุคอาณานิคมแตกต่างกันไป ตามศิลปะของประเทศเจ้ าอาณานิคม เช่น โปรตุเกส ฮอลแลนด์ ฝรั่งเศส อังกฤษและสเปน และศิลปะของประเทศที่เป็ นอาณา นิคม แต่รูปแบบอาคารมักจะประกอบไปด้ วยมีศิลปะคลาสสิกของกรี ซและโรมัน (Wikipedia contributors, 2011)
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
937
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ภาพที่ 2 อาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า ได้ รับการขึ ้นทะเบียนเป็ นโบราณสถานเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2545 และ ได้ รับการบูรณะโดยกรมศิลปากรเสร็จสิ ้นในปี พ.ศ. 2553 ศิลปะโคโลเนียล ในประเทศไทยรูปแบบสถาปั ตยกรรมยุคอาณานิคมได้ เข้ าสูป่ ระเทศเป็ นครัง้ แรกในช่วงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้ าและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ า ลักษณะอาคารนี ้ถูกเรี ยกรวมกันว่า "ตึกฝรั่ง" สถาปั ตยกรรมของประเทศเจ้ า อาณานิคมที่ถกู นาไปก่อสร้ างในประเทศอาณานิคมจะถูกปรับเปลี่ยนเพื่อให้ เหมาะกับสภาพอากาศที่วสั ดุก่อสร้ าง โดยใน ประเทศไทยจะมีการรวมศิลปะไทยและภูมิปัญญาพื ้นเมืองเข้ ากับรูปแบบสถาปั ตยกรรมยุโรปอย่างไรก็ตามวิวฒ ั นาการที่ เกี่ยวข้ องกับงานภูมิสถาปั ตยกรรมโคโลเนียลของประเทศไทยกลับไม่มีรูปแบบที่ชดั เจน ในทางตรงกันข้ ามการออกแบบงานภูมิสถาปั ตยกรรมของยุคอาณานิคมในทวีปยุโรปนันมี ้ การพัฒนาค่อนข้ างชัดเจน โดยมีพื ้นฐานมาจากการจัดสวนยุคทิวดอร์ และสวนยุคกลาง (Tudor and Medieval period) ขนาดของสวนจะขึ ้นกับขนาดของ ครอบครัว สวนจะปลูกรอบๆ สิ่งก่อสร้ าง เช่น บ้ าน โรงนา, รัว้ , โรงเลี ้ยงสัตว์ทางเดินและบริเวณโดยรอบพื ้นที่ทางาน (The Consumer Horticulture Center, 2003) แต่ก็พบว่าบางแห่งจะไม่มีการปลูกต้ นไม้ รอบบ้ าน เช่น สวนในยุควิคตอเรี ยน อย่างไรก็ ตามพบว่าหลักฐานเอกสารที่เกี่ยวกับสวนสไตล์โคโลเนียลนี ้มีค่อนข้ างน้ อยเนื่องจากสวนแบบนี ้เกิดในช่วงที่ศิลปะเป็ นสิ่ง ต้ องห้ าม และเมื่อสวนแบบนี ้ก็เริ่ มมีการพัฒนากลับเกิดสงครามระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส ข้ อจากัดเหล่านี ย้ งั ทาให้ รูปแบบสวน นี ้มีการเปลี่ยนน้ อยมากแม้ กระทัง่ ในยุโรปที่เป็ นแหล่งกาเนิดสวนแบบนี ้ แต่พบว่ามีเอกสารของการวิวฒ ั นาการของสวนแบบโค โลเนียลในประเทศสหรัฐอเมริกาตามที่ Favretti and DeWolf Jr.(1972) แบ่งไว้ 3 รูปแบบ ดังนี ้ 1. สวนพลีมทั ธ (The Plymouth plantation) ได้ รับการพัฒนาระหว่างศตวรรษที่ 17 และ 18 บนพื ้นที่ทา การเกษตร สวนพลีมทั ธจะเน้ นการจัดการใช้ งานบนที่ดินมากกว่ามุมมองด้ านความงาม จุดเด่นของสวนพลีมทั ธก็คือตัวบ้ าน และโรงเก็บอุปกรณ์การเกษตร ในขณะที่การแบ่งพื ้นที่จะขึ ้นกับหลักการใช้ งานและความต้ องการของครอบครัว โดยสถานที่ตงั ้ ของบ้ านจะอยูบ่ นที่สงู สวนที่ปลูกอยูใ่ กล้ บ้าน ล้ อมด้ วยรัว้ และไม่มีการออกแบบสวน เนื่องจากความสาคัญจะอยูท่ ี่การใช้ งาน ขนาดของสวนจึงขึ ้นอยูก่ บั จานวนแรงงานของครอบครัวที่ดแู ลสวน พืชที่ปลูกก็จะเป็ นผักและสมุนไพร และมีปลูกดอกไม้ บ้างแต่ เพื่อใช้ ทาสร้ างกลิ่นหอมให้ กบั เครื่ องอุปโภคบริโภค เนื่องจากสวนพลีมทั ธไม่มีการวางผัง ทาให้ ไม่มีการวางรูปแบบทางเดินสวน ที่เป็ นแนวในการจัดสวนแบบโคโลเนียลที่เน้ นการจัดสวนแบบประดิษฐ์ (Formal style) ในเวลาต่อมา 2. The gardens of merchants and townsmenมีลกั ษณะการจัดสวนแบบประดิษฐ์ (Formal style) ที่สวนมี ลักษณะสมมาตรโดยมีทางเดินตรงกลางเป็ นแกนหลักและมีสวนขนานไปกับทางเดินและสวนทังสองด้ ้ านจะเหมือนกัน สวนนี ้ เลียนแบบรูปแบบสวนที่พบในยุโรปซึง่ เป็ นบ้ านเกิดของเจ้ าของสวนที่มกั จะเป็ นพ่อค้ าจากยุโรป ทางเดินในสวนถือเป็ น องค์ประกอบที่สาคัญ นอกจากทางเดินหลักแล้ วยังมีทางเดินรองแตกออกจากทางเดินหลัก จะมีจดุ นาสายตาตรงปลายทางเดิน 938
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
เช่น รูปปั น้ น ้าพุ สิ่งสาคัญที่ทาให้ สวนแบบนี ้แตกต่างจาก "สวนพลีมทั ธ" คือการออกแบบสวนและการใช้ งานแปลงพรรณไม้ ขนาดใหญ่เพื่อให้ สวนมีความงดงาม การที่สวนได้ รับออกแบบก่อนสร้ างจริงทาให้ สวนรูปแบบนี ก้ ลายเป็ นวิธีการจัดสวนที่เป็ น ระบบมากขึ ้นลักษณะของพืชที่ใช้ จะสัมพันธ์กบั รูปแบบของทางเดิน รัว้ ถือเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญที่เพิ่มความเป็ นส่วนตัวและ การป้องกันอันตรายจากสัตว์ พรรณพืชที่ใช้ จะแตกต่างขึ ้นกับความชอบของเจ้ าของ แต่โดยทัว่ ไปจะประกอบด้ วย ไม้ พื ้นเมือง ไม้ ผล ไม้ พมุ่ สมุนไพร ผัก นอกจากนี ้ยังมีการตัดแต่งต้ นไม้ ให้ เป็ นรูปทรงเรขาคณิตก็ถกู นามาใช้ ในสวน The gardens of merchants and townsmen 3. The gardens of wealthy landowners เป็ นการผสมผสานกันของการออกแบบจัดสวนแบบประดิษฐ์ กบั สวนแนวธรรมชาติ (Naturalistic garden) รูปแบบสวนนี ้ได้ รับความนิยมอย่างมากโดยเฉพาะสวนที่ออกแบบโดย Brown เรี ยก กันว่า Lancelot “Capability” Brown ในศตวรรษที่ 18 ลักษณะที่โดดเด่นของสวน คือ การที่มีทะเลสาบ พื ้นที่เปิ ดโล่งที่เป็ น สนามหญ้ าและการใช้ ไม้ พมุ่ จัดตกแต่งสวน แม้ วา่ การจัดสวนในสไตล์ธรรมชาตินี ้จะได้ รับความนิยมมากแต่ในสวนสไตล์นี ้ก็ยงั รักษาสวนแบบประดิษฐ์ ไว้ โดยเฉพาะบริเวณรอบๆ อาคารที่พกั อาศัย รัว้ ผนังหรื อกาแพงล้ อมรอบมักจะถูกแทนที่โดยใช้ การปรับ พื ้นที่ในเกิดความแตกต่าง เช่นการขุดคลองกว้ างที่ปลายทางเดิน ทังนี ้ ้ก็เพื่อสร้ างบรรยากาศที่ทาให้ ผ้ ทู ี่เข้ าชมสวนเกิ ดความ ประทับใจเรี ยกกันว่า ha-ha wall ซึง่ จะทาให้ เกิดการแบ่งพื ้นที่ใช้ สอยที่ไม่สะดุดตาเท่ากับรัว้ กาแพงแบบเดิมๆ ลักษณะโดยทัว่ ไปของการจัดวางผังภูมิทศั น์ยคุ อาณานิคมมีแปลงไม้ พมุ่ ไม้ คลุมดินอยูใ่ นกรอบรูปทรงเรขาคณิต โดยเฉพาะทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้ า ต้ นไม้ จะปลูกในระยะชิดให้ เป็ นกลุม่ แน่นเพื่อให้ มีพื ้นที่ใช้ สอยสาหรับกิจกรรมต่างๆ มีการใช้ ไม้ พมุ่ หรื อรัว้ เพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ ้นกับต้ นไม้ ที่ปลูกจากสัตว์และลม สร้ างผนัง กาแพง หรื อ ha-ha wall เพื่อเพิ่มความ ปลอดภัยและสร้ างความเป็ นส่วนตัวให้ กบั ผู้พกั อาศัยทางเดินจะปูและอัดบดด้ วยกรวดหรื อเปลือกหอยที่ปลายทางเดินจะมีจดุ นาสายตาเช่น รูปปั น้ หรื อ น ้าพุ สาหรับโครงการออกแบบนี ้จะนาเอาวัฒนธรรมที่เป็ นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของจังหวัดอุบลราชธานีมาใช้ ร่วมกับ การออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมที่ทนั สมัยและเข้ ากับแบบสถาปั ตยกรรมของอาคาร ที่สามารถตอบสนองกับความต้ องการของ ประชาชนในเมือง การประยุกต์ใช้ หลักการระหว่างการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมร่วมสมัยเข้ ากับการจัดสวนยุคอาณานิคมน่า เป็ นแนวคิดที่เหมาะสมกับการพัฒนาพื ้นที่ประวัติศาสตร์ แห่งนี ้ การออกแบบภูมสิ ถาปั ตยกรรมร่ วมสมัย การออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมร่วมสมัยเป็ นแนวความคิดค่อนข้ างใหม่ที่ถกู ใช้ ได้ อย่างลงตัวกับรูปแบบสถาปั ตยกรรม ที่ทนั สมัย โดยที่ตวั ภูมิสถาปั ตยกรรมก็มีลกั ษณะเด่นในตัวเองเทียบเท่ากับความโดดเด่นของสถาปั ตยกรรมที่มีอยู่ และตัว สถาปั ตยกรรมควรจะองค์ประกอบหนึง่ ของพื ้นที่ ในต้ นพุทธศักราชที่ 2500 งานสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ได้ ทาให้ เกิดรูปแบบภูมิ สถาปั ตยกรรมที่ทนั สมัยเพื่อสอดรับกับงานสถาปั ตยกรรมโดยการนาเอาสีสนั สดใส พื ้นผิววัสดุแบบใหม่ๆ มาใช้ ร่วมกับ แนวความคิดและรูปแบบของภูมิสถาปั ตยกรรมที่คอ่ นข้ างจะเป็ นเชิงนามธรรมที่เน้ นความงามของธรรมชาติให้ สอดคล้ องกับการ ดาเนินชีวิตที่ทนั สมัย แม้ วา่ การออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมร่วมสมัยมีความเหมาะสมกันกับงานสถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ แต่ หลักการก็สามารถนามาประยุกต์ใช้ กบั รูปแบบสถาปั ตยกรรมอื่นๆ ได้ (Schmidt, 2009) การออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมแนวนี ้จะมีการสร้ างเอกลักษณ์เฉพาะจากการปรับปรุงพื ้นที่ใช้ สอยภายนอกให้ ตอบสนองต่อความต้ องการและเสริมให้ เกิดประสบการณ์ที่ดีตอ่ ผู้ใช้ เป็ นแนวคิดที่การพัฒนากับความคงอยูข่ องธรรมชาติมี ความสาคัญเท่าเทียมกันเพื่อสร้ างความสัมพันธ์ที่สมดุลระหว่างงานสถาปั ตยกรรมและพื ้นที่โดยรอบ (Halper, 2009) ภูมิ สถาปั ตยกรรมที่ทนั สมัยมักจะมีการสร้ างหรื อนาเอาโครงสร้ างต่างๆ (Hardscape) มาใช้ เป็ นองค์ประกอบของสวนเพื่อลดภาระ การบารุงรักษาพรรณพืช และเพิ่มพื ้นที่ใช้ สอยภายนอก ประสบการณ์ที่ผ้ ใู ช้ ได้ รับถือเป็ นสิ่งสาคัญที่ต้องคานึงถึงในการออกแบบ ภูมิสถาปั ตยกรรมร่วมสมัยซึง่ เป็ นหลักการที่สอดคล้ องกับการออกแบบและวางแผนการใช้ พื ้นที่ของชุมชนที่เน้ นการตอบสนอง ต่อความต้ องการขันพื ้ ้นฐานของมนุษย์ที่ต้อง "อาศัยและใช้ พื ้นที่" และสิง่ นี ้ก็ถือว่าเป็ นหนึง่ หลักการของงานออกแบบภูมิ สถาปั ตยกรรมในยุคที่ 4 ที่ให้ ความสาคัญกับการเชื่อมโยงมนุษย์ให้ เป็ นหนึง่ เดียวกับสิง่ แวดล้ อม (Motloch, 2001)
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
939
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
กระบวนการออกแบบภูมสิ ถาปั ตยกรรมของโบราณสถานแห่ งชาติ อาคารโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่ า การจัดทาแบบผังพืน้ ที่ ข้ อมูลเชิงพื ้นที่ เช่น ผังการสารวจ, แผนที่ภมู ิประเทศ, ภาพถ่ายทางอากาศ, ภาพถ่ายดาวเทียมเป็ นข้ อมูลพื ้นฐานที่ควร จะต้ องมีก่อนจะเริ่ มการวิเคราะห์และการออกแบบ (Booth, 1983; Waterman, 2009) สาหรับการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรม ของโบราณสถานแห่งชาติอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า ไม่พบว่ามีข้อมูลพื ้นฐานที่กล่าวมา ดังนันคณะท ้ างานจึง ต้ องจัดทาแบบผังพื ้นที่เองคณะทางานได้ ทาการปั กหมุดรังวัดแบบง่ายๆ เพื่อวัดขนาดของอาคารและพื ้นที่รอบอาคาร จากนันท ้ า การสร้ างร่ างของแบบผังพื ้นที่ในโปรแกรมการออกแบบ (CAD) และเพื่อตรวจสอบความถูกต้ องของร่ างจึงมีการนาเครื่ องระบุ พิกดั ตาแหน่งทางภูมิศาสตร์ (GPS) มาใช้ สารวจพื ้นที่อีกครัง้ แล้ วนาข้ อมูลที่ได้ มาวางซ้ อนกับร่างของแบบผังพื ้นที่ในโปรแกรม การออกแบบ (CAD) และใช้ โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (QGIS) ทาการปรับร่างแบบผังพื ้นที่ให้ ตรงกับข้ อมูลพิกดั ที่ วางซ้ อนเพื่อสร้ างแบบผังพื ้นที่ที่สมบูรณ์ อย่างไรก็ตามหลังจากที่ประชุมคณะกรรมการพัฒนาโบราณสถานแห่งชาติอาคาร โรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังที่ 2 มีมติว่าให้ มีการปรับปรุงภูมิสถาปั ตยกรรมควรจะครอบคลุมพื ้นที่ทงหมดแทนที ั้ ่จะเป็ นเพียง อาคารและพื ้นที่ขนาดเล็กรอบตัวอาคาร มติข้อนี ้สอดคล้ องกับหลักการของการอนุรักษ์ ภมู ิทศั น์ของพื ้นที่ประวัติศาสตร์ ตามที่ ระบุไว้ โดย Turner (1988) ที่ว่าในปั จจุบนั แนวความคิดในการอนุรักษ์ สถานที่ ประวัติศาสตร์ นนไม่ ั ้ เพียงแต่ม่งุ เน้ นเฉพาะตัว อาคารโดย แต่ยงั ให้ ความสาคัญอย่างมากกับพื ้นที่โดยรอบที่ถือว่ามีคณ ุ ค่าทางประวัติศาสตร์ เช่นกัน งานออกแบบพื ้นที่โดยรอบ นันจ ้ าเป็ นจะต้ องอาศัยการตีความข้ อมูลทางประวัติศาสตร์ และการออกแบบอย่างสร้ างสรรค์เพื่อให้ เข้ ากันได้ กบั ดาเนินชีวิต ของผู้คนในยุคปั จจุบันโดยไม่ลืมคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และไม่ใช่แค่การจาลองภาพในอดีตมาไว้ ในพืน้ ที่ ข้ อสรุ ปจากที่ ประชุมนี ้ทาให้ คณะทางานจะต้ องทาการสารวจพื ้นที่ เพิ่มเติมเพื่อสร้ างแบบผังพื ้นที่ที่ครอบคลุมพื ้นที่ทงหมด ั้ เนื่องจากพื ้นที่มี ขนาดใหญ่กว่าเดิมค่อนข้ างมาก (ประมาณ 14 เท่า) คณะทางานตัดสินใจที่จะใช้ ภาพถ่ายจากดาวเทียมใน Google Earth วาง ซ้ อนแบบผังพื ้นที่ วิธีการนี ้น่าจะเป็ นวิธีที่สะดวกที่จะพิสจู น์ว่าแบบผังพื ้นที่ที่สร้ างขึ ้นนันมี ้ ความถูกต้ องเพียงพอที่จะใช้ สาหรั บ ขันตอนการออกแบบ ้ (ภาพที่ 3) จากนันแบบผั ้ งพื ้นที่ถกู ปรับเปลี่ยนให้ ตรงกับพื ้นที่จริง การเก็บและการวิเคราะห์ ข้อมูล คณะทางานได้ ทาการสารวจพื ้นที่ และใช้ ภาพถ่ายระบุปัญหาในพื ้นที่ พื ้นที่ไม่มีความแตกต่างของระดับความสูงมาก นัก จากภาพที่ 3 อาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า อยู่ใน Area F หันหน้ าไปทางทิศตะวันออก มีพื ้นที่เปิ ดโล่งด้ านหน้ า และเสาธง ส่วน Area D คือพื ้นที่ที่เคยเป็ นศาลากลางจังหวัด ปั จจุบนั ใช้ เป็ นลานจอดรถ ใน Area A, B และ C จะประกอบไป ด้ วย อนุสาวรี ย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั รัว้ คอนกรี ต และต้ นไม้ เดิม (ตะแบก) จากผลการสารวจพื ้นที่แสดงให้ เห็นว่าสิ่งแวดล้ อมภายนอกนันเป็ ้ นปั จจัยที่ทาให้ ตวั อาคารดู ไม่เหมาะสมที่จะเป็ นโบราณสถานแห่งชาติ (ภาพที่ 4) นอกจากนี ้ การใช้ พื ้นที่อย่างไม่มีแผนรองรับ เช่น งานแสดงสินค้ าเชิงพาณิชย์ การสร้ างห้ องสุขาชัว่ คราวบนพื ้นที่ Area E ยิ่งทาลายความ สวยงามและความสาคัญของตัวอาคาร การวางแผนและออกแบบผังแม่บทของพืน้ ที่แห่งนีจ้ ึงถือว่าเป็ นสิ่งที่จะต้ องทาอย่าง เร่งด่วน การวิเคราะห์พืน้ ที่แสดงให้ เห็นว่าข้ อจากัดที่สาคัญของพืน้ ที่ก็คือต้ นไม้ เดิมที่มีอยู่และโครงสร้ างเช่น รั ว้ และ ป้าย โฆษณานันปิ ้ ดกันมุ ้ มมองสูต่ วั อาคาร ในขณะที่ถนนคอนกรี ตภายในและลานจอดรถขนาดใหญ่ด้านหน้ าอาคารก็ทาให้ ตวั อาคาร ถูกแยกออกจากพื ้นที่โดยรวม สิง่ เหล่านี ้เป็ นปั จจัยลบที่ทาให้ คนไม่สนใจที่จะเข้ ามาใช้ ตวั อาคารและไม่อยากเข้ ามามีสว่ นร่วมใน กิจกรรมที่วางแผนไว้ สาหรับพื ้นที่ที่มีคณ ุ ค่าทางประวัติศาสตร์ นี ้ การเข้ าใช้ พื ้นที่อย่างเท่าเทียมกันเป็ นอีกประเด็นที่สาคัญจากผล การวิเคราะห์พื ้นที่ และจากข้ อเสนอจากกิจกรรมกลุม่ ที่ต้องการให้ มีบริ เวณจุดนัดพบเพื่อจัดกิจกรรมกลุ่มภายนอกตัวอาคารได้ ถูกเพิ่มเข้ าไปแทนที่พื ้นที่จอดรถที่ถกู เสนอให้ ลดขนาดลง
940
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ภาพที่ 3 แบบผังพื ้นที่รอบอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า นอกจากแง่มมุ ประวัติศาสตร์ และอัตลักษณ์ของอาคารโบราณสถานแห่งชาตินนเป็ ั ้ นปั จจัยที่สามารถดึงคนให้ เข้ ามา เยี่ยมชม สถานที่ตงของอาคารนี ั้ ้ก็ถือได้ ว่ามีศกั ยภาพสูงสาหรับพัฒนาให้ เป็ นพื ้นที่สาธารณะเนื่องจากพื ้นที่นี ้อยู่กลางเมืองที่ เขื่อมโยงกับระบบการขนส่งสาธารณะ โดยมีถนนสายหลักของเมืองคือถนนชยางกูรติดทางด้ านทิศตะวันออกและมีถนนศรี ณรงค์อยู่ทางทิศใต้ นอกจากนี ้ยังอยู่ใกล้ กับสวนสาธารณะทุ่งศรี เมืองซึ่งเป็ นสวนสาธารณะที่สาคัญและมีขนาดใหญ่ที่สดุ ใน จังหวัด ศักยภาพเหล่านี ้เป็ นเหตุผลที่แสดงให้ เห็นว่าพื ้นที่แ ห่งนี ้ควรได้ รับการพัฒนาให้ เป็ นสถานที่สาคัญแห่งใหม่ของจังหวัด อุบลราชธานี
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
941
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ภาพที่ 4 สภาพแวดล้ อมและรูปแบบการใช้ งานพื ้นที่โดยรอบอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า โครงการพัฒนาผังแม่บทสาหรับโบราณสถานอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า ถือเป็ นโครงการขนาดกลาง เมื่อใช้ จานวนตารางเมตรเป็ นตัววัด แต่กลับเป็ นโครงการขนาดใหญ่เมื่อดัชนีชี ้วัดคือจานวนผู้ที่เกี่ยวข้ องกับการพัฒนาเนื่องจาก ตอนนี ้อาคารหลังนี ้ได้ กลายเป็ นสมบัติของชาติที่ทกุ คนมีสิทธิที่จะเสนอแนวความคิดในการพัฒนา แต่จากข้ อจากัดด้ านเวลา และเงินสนับสนุนทาให้ การระดมความคิดจากการทาประชาพิจารณ์เป็ นเรื่ องที่ยาก คณะทางานจึงนาเทคนิคการจัดกิจกรรม กลุม่ และการนาเสนอแนวความคิดในการออกแบบ (ภาพที่ 5) มาใช้ เพื่อระดมความคิดเห็นหาแนวทางการพัฒนาผังแม่บท ร่วมกัน ผู้เข้ าร่วมกิจกรรมถูกคัดเลือกจากหลายสายอาชีพและหลากประสบการณ์ ผู้เข้ าร่วมกิจกรรมทังหมดยั ้ งเป็ นผู้ที่มีความ เกี่ยวข้ องโดยตรงกับการพัฒนาแผนแม่บทเพื่อปรับปรุงโบราณสถานอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า
942
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ภาพที่ 5 ผังแสดงให้ เห็นกรอบงานวิจยั ที่สร้ างขึ ้นจากการค้ นคว้ าข้ อมูล การวิเคราะห์พื ้นที่ และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ หลายฝ่ าย หมายเหตุ BCM Project คือ Ancient Bechamamaharat Building Project
แนวคิดการออกแบบ ผลจากระดมสมองในกิ จ กกรมกลุ่ม ท าให้ มี ก ารก าหนดแนวคิ ด ปรั ช ญาทั่ว ไปการออกแบบผัง แม่ บ ทส าหรั บ โบราณสถานอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า นี ้โดยเป็ นการประยุกต์ใช้ หลักการของการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรม ร่ ว มสมัย ร่ ว มกับ รู ป แบบสวนยุค โคโลเนี ย ลให้ ค วามส าคัญ กับ รู ป แบบภูมิ ส ถาปั ต ยกรรมที่ ท าให้ ผ้ ูใ ช้ ป ระทับ ใจและได้ รั บ ประสบการณ์ที่ดีกบั สวนแบบโคโลเนียล แนวคิดหลักนี ้ถูกใช้ เป็ นกรอบในการการออกแบบผังแม่บท และกาหนดทางเพื่อใช้ เป็ น แนวทางแก้ ไขข้ อจากัดที่พบ (Reid, 1993) สามแนวทางคือ 1.จะต้ องรองรับผู้ใช้ ทุกกลุ่มอย่างเท่าเทียมกัน สามารถใช้ เป็ น สถานที่พดู คุยระหว่างคนในชุมชน 2.เพื่อเพิ่มพื ้นที่สีเขียวสาหรับกิจกรรมที่สาคัญของชุมชน 3.จะต้ องเชื่อมการออกแบบภายใน กับภายนอกด้ วยองค์ประกอบเชิงวัฒนธรรม ผังแม่ บท ผังแม่บททางภูมิสถาปั ตยกรรมของโบราณสถานอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า (ภาพที่ 6) มีลกั ษณะเป็ น สวนของยุคอาณานิคมแบบประยุกต์โดยมีทางเดินกลางที่กว้ างเชื่อมทางเข้ าหลักด้ านถนนชยางกูรจากทิศตะวันออกไปสูอ่ าคาร เบ็ญจะมะมหาราชทางทิศตะวันตก จุดรวมสายตาจุดแรกคืออนุสาวรี ย์รัชกาลที่ 5 ซึง่ ตัวอนุสาวรี ย์จะมีการออกแบบใหม่เพื่อให้ สอดคล้ องกับหลักการการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมร่ วมสมัยที่มนุษย์ถือเป็ นส่วนหนึ่งของสวนและขนาดของสิ่งก่อสร้ างใดๆ ควรจะเหมาะสมกับสัดส่วนของมนุษย์ ณ อนุสาวรี ย์รัชกาลที่ 5 ทางเดินหลักจะถูกแยกออกเป็ นสองเส้ นทาง ทางเดินแรกจะมุ่ง ไปทางทิศเหนือสู่ต้นไทร1 (Ficusbenjamina L.) และอีกทางหนึ่งไปทางทิศใต้ โดยมีต้นยางนา (DipterocarpusalatusRoxb. Ex G. Don.)2ปลูกอยูท่ ี่ปลายทาง ทางเดินระดับรองอีกสายหนึง่ เชื่อมโยงระหว่าง อนุสาวรี ย์รัชกาลที่ 5 กับตัวอาคารผ่านเนินเสา ธง (ภาพที่ 7a) เส้ นทางเดินทังหมดถู ้ กใช้ เป็ นกรอบในการปลูกต้ นไม้ แบบประดิษฐ์ ด้านหน้ าอาคาร ทางเดินระดับที่สามที่แคบ 1 2
ต้ นไม้ ประจาโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราช ต้ นไม้ ประจาจังหวัดอุบลราชธานี
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
943
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ที่สดุ จะมีน ้าพุเป็ นจุดปลายทาง เส้ นทางเดินทังหมดเป็ ้ นองค์ประกอบที่สาคัญที่ช่วยให้ ผ้ ทู ี่เข้ ามาใช้ พื ้นที่สามารถเข้ าถึงทุกจุดได้ อย่างสะดวก และเพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้ กบั สถานที่แห่งนี ้ แปลงดอกไม้ ขนาดใหญ่สองจุดทรงลายผ้ ากาบบัวถูกกาหนดไว้ ใน ด้ านหน้ าเพื่อใช้ เป็ นพื ้นที่แสดงงานทางศิลปะหรื อใช้ ปลูกไม้ ดอกสลับเปลี่ยนให้ เกิดบรรยากาศที่ไม่ซ ้าเดิม (ภาพที่ 7b)
ภาพที่ 6 แบบผังแม่บทการปรับปรุงภูมิสถาปั ตยกรรมบริเวณรอบโบราณสถานแห่งชาติ อาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า เพื่อให้ สอดคล้ องกับความต้ องการของผู้ใช้ ที่ต้องการให้ พื ้นที่มีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ พรรณไม้ ที่ให้ ดอกใน ช่วงเวลาที่แตกต่างกันถูกนามาใช้ พรรณไม้ เหล่านี ถ้ ื อว่าเป็ นสนับสนุนให้ เกิดพลวัตของพื น้ ที่ภายใต้ หลักการออกแบบภูมิ สถาปั ตยกรรมร่วมสมัย น ้าพุที่ออกแบบไว้ นนมี ั ้ สามระดับ ที่ระดับต่าสุดจะปลูกดอกบัว (Nymphaea pubescens) ในขณะที่ สองชันบนติ ้ ดตังหั ้ วน ้าพุ ด้ านหน้ าทิศตะวันออกติดกับถนนชยางกรูเป็ นสนามหญ้ าปลูกใน Turf blocks สาหรับการจัดกิจกรรม พิเศษ เช่น วันปิ ยมหาราช เป็ นต้ น สถานที่นดั พบจะมีร้านค้ าขนาดเล็กที่จาลองแบบอาคารยุคอาณานิคมที่ล้อมรอบด้ วยไม้ ผลัด ใบ พื ้นที่นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้ เป็ นลานพูดคุยของคนในชุมชนและเพื่อให้ เป็ นร้ านขายเครื่ องดื่มและขายของที่ระลึก นอกจากนี ้ ห้ องนา้ มีบริ การในร้ านค้ านี ้ ทางทิศตะวันออกของร้ านค้ าจะมีพื ้นที่จอดรถบัส (ภาพที่ 7c) สุดท้ ายเพื่อเน้ นรู ปแบบสวนแบบ ประดิษฐ์ ที่อตั ลักษณ์ของสวนแบบอาณานิคมจึงนาต้ นอินทผาลัม (Phoenix sp.) และสนมังกร (Juniperuschinensis L. ) มาใช้ ในแบบยังกาหนดทางเข้ า-ออกสาหรับผู้พิการที่จะถูกสร้ างขึ ้นด้ านทิศเหนือของตัวอาคารโดยจะผ่านระเบียงไม้ ที่มี ต้นอินทผาลัม ปลูกอยู่ (ภาพที่ 7d) พื ้นที่ด้านหน้ าอาคารถูกจัดไว้ ให้ เป็ นเวทีเพื่อสนับสนุนกิจกรรมกลางแจ้ งเช่น ดนตรี ในสวน พื ้นที่ทงหมดถู ั้ ก ล้ อมรอบด้ วยมวลของไม้ พมุ่ และไม้ ยืนต้ นเพื่อใช้ แทนกาแพงที่ถกู รื อ้ ไป
944
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ภาพที่ 7 ภาพจาลองภูมิสถาปั ตยกรรมบริเวณรอบโบราณสถานแห่งชาติ อาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า; a) มุมมอง จากบริเวณทางเข้ าหลักทิศตะวันออก; b) มุมมองจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ ; c) มุมมองจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือแสดงให้ เห็น บริ เวณที่จอดรถขนาดใหญ่ ; d) มุมมองจากทิศตะวันตกเฉียงเหนือแสดงให้ เห็นระเบียงด้ านหลังอาคารและเป็ นจุ ดอานวยความ สะดวกให้ ผ้ พู ิการ (Handicap access)
สรุ ปและอภิปรายผล
คณะทางานพบว่าพื ้นที่โดยรอบของอาคารเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า เป็ นพื ้นที่ที่มีศกั ยภาพสูงที่จะทาการพัฒนาใน เป็ นสถานที่สาคัญระดับชาติ ด้ วยตัวอาคารโบราณสถานที่มีเอกลักษณ์และสวยงามและที่ตงที ั ้ ่ถือได้ ว่า เป็ นจุดยุทธศาสตร์ ของ จังหวัดอุบลราชธานี จึงเห็นได้ วา่ การพัฒนาพื ้นที่ผืนนี ้ให้ สวยงามสง่างามสาหรับคนรุ่นต่อไป เป็ นสิ่งที่จะต้ องทาให้ สาเร็จ แต่ใน ปั จจุบันกฎระเบียบแบบแผนการใช้ และผู้ที่มีอานาจในการจัดการพื ้นที่นนั ้ กลับไม่มีความชัดเจน ทาให้ สิ่งแวดล้ อมโดยรอบ อาคารเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า มีสภาพไม่ต่างจากลานจอดรถขนาดใหญ่ และบางครัง้ ก็กลายเป็ นตลาดสดชัว่ คราว สิ่งที่ เกิดขึ ้นในปั จจุบนั นี ้ไม่เหมาะสมอย่างยิ่งกับพื ้นที่ที่ได้ รับเกียรติให้ เป็ นโบราณสถานแห่งชาติ คณะทางานพบว่าการประยุกต์ใช้ หลักการของการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมร่ วมสมัยร่ วมกับรู ปแบบภูมิสถาปั ตยกรรมยุคอาณานิคมเป็ นแนวคิดในการทาผัง แม่บทนันมี ้ ความหมาะสมกับตัวอาคารเนื่องจากสวนแบบประดิษฐ์ ด้านหน้ าอาคารจะทาหน้ าที่คล้ ายกับกรอบภาพขับให้ ตวั อาคารโดดเด่นขึ ้น รวมทังทุ ้ กคนจะได้ รับประสบการณ์จากการที่สามารถเข้ าถึงทุกจุดในสวนด้ วยเส้ นทางเดินที่ครอบคลุมพื ้นที่ ทังหมด ้ อีกทังยั ้ งจะได้ เห็นความแตกต่างของสถานที่จากการเปลี่ยนแปลงของต้ นไม้ ตามช่วงเวลาต่างๆ และการปรับเปลี่ยน รูปแบบของแปลงไม้ ดอกตรงกลางพื ้นที่ในสอดคล้ องกับกิจกรรมที่สามารถจัดได้ ในบริ เวณเวทีหน้ าอาคาร แต่เนื่องจากข้ อจากัด ด้ านเวลาและจานวนเงินสนับสนุนทาให้ คณะทางานไม่สามารถรับฟั งความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางพัฒนาพื ้นที่จากกลุ่มคน จานวนมากได้ สิ่งนี ้อาจจะกลายเป็ นอุปสรรคในแง่ความขัดแย้ งทางด้ านความคิดที่ทาให้ การพัฒนาพื ้นที่แห่งนี ้ต้ องล่าช้ าหรื อ อาจจะไม่ประสบผลอย่างที่ต้องการ อย่างไรก็ตามผังแม่บทและเอกสารรายงานชุดนี ย้ งคงไม่เพียงพอต่อการนาไปใช้ สาหรั บการพัฒนาพืน้ ที่จริ ง ถ้ า ต้ องการไปใช้ ในการก่อสร้ างจริ งจะต้ องมีการจัดเตรี ยมเอกสารเพิ่มเติม เช่น ผังงานทางวิศวกรรม, ผังงานระบบสาธารณูปโภค และผังการปรับแต่งพื ้นที่ ซึ่งจะรวมไปถึงผังรายละเอียดอื่นๆ ของบริ เวณต่างๆ ที่สาคัญ เช่นเฉลียง ป้ายชื่อ ทางเดิน (Booth, 1983) ภูมิสถาปนิกนอกจากจะมีหน้ าที่ในการชี ้แจงแนวความคิดและรูปแบบที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ของโครงการแล้ วยังต้ อง มีหน้ าที่ในการประสานงานเพื่อเปิ ดโอกาสให้ กบั คนกลุม่ ต่างๆ ได้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางพัฒนาพื ้นที่ (Lynch et al., 1994) สาหรับงานการออกแบบโครงการนี ้คณะทางานหวังว่าผังแม่บทจะถูกใช้ เป็ นสื่อกลางเพื่อกระตุ้นให้ เกิดการพูดคุย ระหว่างกลุ่มผู้มีส่วนได้ สว่ นเสียต่างๆ และทาให้ เกิดความตระหนักถึงความสาคัญของพื ้นที่แห่งนี ้ ผังแม่บทนี ้น่าจะช่วยให้ ผ้ คู น การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
945
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
เห็น ภาพและจิ น ตนาการรู ป ลัก ษณ์ ข องภูมิ ส ถาปั ต ยกรรมที่ จ ะเกิ ด ขึน้ ในอนาคต และจะน าไปสู่ก ารร่ ว มกัน พัฒ นาพื น้ ที่ ประวัติศาสตร์ ของชาวอุบลแห่งนี ้
เอกสารอ้ างอิง Association of the Ubon city. 2011. Home Day 2011. Association of the Ubon city.UbonRatchathani. (in Thai). BenchamaMaharat Alumni. 2008. To the beauty of weeping fig: 111 anniversary of BenchamaMaharat School. BenchamaMaharat Alumni.UbonRatchathani. (in Thai). Booth, N.K. 1983. Basic Elements of Landscape Architectural Design. Illinois: Waveland Press Inc. Favretti, R., and DeWolf Jr, G.P. 1972. Colonial gardens. Barre Publishers. Halper, J. 2009. Contemporary Landscape Architecture [Online]. Available from http://www.articlesbase.com/gardeningarticles/contemporary-landscape-architecture-904074.html [6 September 2011]. Lynch, K., and Hack, G. 1994. Site planning.3rd. Maple-Vail, Inc. Motloch, J.L. 2001. Introduction to Landscape Design.2. Austin, Texas: John Wiley & Sons Inc. Reid, G.W. 1993. From Concept to Form in Landscape Design. New York: Van Nostrand Reinhold. Schmidt, R. 2009. Contemporary Landscape Architecture - Parks and Open Space, Duties and Responsibilities. Digital Landscape Architecture: A GIS-based Approach for Modeling the Spatial and Temporal Development. 21 May, 2009. Valletta. Turner, S.L. 1988. Historic Landscapes. In: Tishler, W.H. (ed.) American Landscape Architecture: Designers and Places, pp: 142144. Washington, D.C.: Wiley. Waterman, T.2009.The Fundamentals of Landscape Architecture. Lausanne, Switzerland: An AVA Publishing SA. Wikipedia contributors. American colonial architecture [Online]. 2011. Available from Wikipedia, The Free Encyclopedia: http://en.wilipedia.org/w/index.php?title=American_colonial_architecture&oldid=464311818 [7 December].
946
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
รศ.ดร.จารู ญ เล้ าสินวัฒนา
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
รศ.ดร.มยุรา สุนย์ วีระ
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
รศ.ดร.สมชาย กล้ าหาญ
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
รศ ดร.สุเม อรั ญนารถ
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
รศ.ดร.พรหมมาศ คูหากาญ
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
รศ.ดร.ถนิมนันต์ เจนอักษร
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
รศ.ดร.อิทธิสุนทร นันทกิจ
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
ผศ.ดร.กัญจนา แซ่ เตียว
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
ผศ.ดร.ศรายุทธ ผลโพธิ์
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
ผศ.ดร.ลาแพน ขวัญพูล
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
ผศ.ดร.มณทินี ธีรารั กษ์
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
ผศ.ดร.ธีรวัฒน์ ศรุ ตโยภาส
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
ผศ.ดร.อามร อินทร์ สังข์
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
ผศ.ดร.นุกูล ถวิลถึง
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
ดร. อรอุมา รุ่ งน้ อย
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
947
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ดร. นงลักษณ์ เภรินทวงศ์
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
ดร.สุกัญญา แย้ มประชา
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
อ. วนิดา ดวงก้ งแสน
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
รศ.ดร.นงนุช เลาหะวิสุทธิ์
ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
ดร.พรประภา คงตระกูล
คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร
ผศ.ดร.นาตยา มนตรี
คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร
รศ.ดร.พงษ์ นาถ นาถวรานันต์
สายวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน
ผศ.ดร.เฉลิมชัย วงษ์ อารี
สายวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน
ดร.ธิตมิ า วงษ์ ชีรี
กลุม่ วิจยั การจัดการทรัพยากรชีวภาพฐานชุมชน คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี หลักสูตรการจัดการทรัพยากรชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ
ดร.ภาณุมาศ โคตรพงศ์
กองวิจยั และพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร กรมวิชาการเกษตร เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจกั ร กรุงเทพ
รศ.ดร. ณัฐา โพธาภรณ์
ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ
ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ.ดร.โสระยา ร่ วมรั งษี
ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผศ.ดร. ศิวพร ธรรมดี
ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผศ.ดร. วีณัน บัณฑิตย์
ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
948
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ผศ.ดร. ฉันทลักษณ์ ติยายน
ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดร.ธนะชัย พันธ์ เกษมสุข
ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดร. จุฑามาส คุ้มชัย
ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รศ.ดร.ไสว บูรณพาณิชพันธุ์
ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช สาขาวิชาโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผศ.ดร.อังสนา อัครพิศาล
ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช สาขาวิชาโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดร.เยาวลักษณ์ จันทร์ บาง
ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช สาขาวิชาโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผศ.ดร.กานดา หวังชัย
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยชียงใหม่
ผศ.ดร. จารุ ณี จูงกลาง
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยชียงใหม่
รศ.ดร.จุลภาค คุ้นวงศ์
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
รศ.ดร.อรรั ตน์ มงคลพร
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
รศ.ศศิยา ศิริพานิช
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
ผศ.ดร.เสริมศิริ จันทร์ เปรม
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
ผศ.ดร. ณัฏฐ พิชกรรม
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
ผศ.ดร.วชิรญา อิ่มสบาย
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
ดร.ธีร์ หะวานนท์
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
ดร.ภาสันต์ ศารทูลทัต
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
949
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ดร.ราตรี บุญเรื องรอด
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
ดร.อัญมณี อาวุชานนท์
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
ดร.เกียรติสุดา เหลืองวิลัย
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
ผศ.ดร. ชัยสิทธิ์ ทองจู
ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
ดร. ศุภชัย อาคา
ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม
ดร.เบญญา มะโนชัย
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
ดร.ทัศไนย จารุ วัฒนพันธ์
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
ดร.อารยา อาจเจริญ เทียนหอม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ดร.ปริยานุช จุลกะ
ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
ดร.วีรณีย์ ศรี พรมสุข
ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
รศ.ดร.นพมณี โทปุญญานนท์
สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ. เชียงใหม่
ผศ.ดร.เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี
คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ. เชียงใหม่
ดร.เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์
คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ. เชียงใหม่
ดร. วีณา นิลวงศ์
คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ. เชียงใหม่
ศ.ดร.สมปอง เตชะโต
ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
ผศ.ดร.ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์
ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
รศ.ดร. จาเป็ น อ่ อนทอง
ภาควิชาธรณีศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
ผศ.ดร.สุภัทร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา
ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร สาขาพืชสวน
ผศ.ดร.กิริยา สังข์ ทองวิเศษ
ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร สาขาพืชไร่
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผศ. ศรี ประไพ ธรรมแสง
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี
ดร.ทินน์ พรหมโชติ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี
ดร. วรงศ์ นัยวินิจ
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี
950
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
ผศ.ดร.สุรัสวดี พรหมอยู่
สาขาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสกลนคร
ผศ ดร.งามนิจ ชื่นบุญงาม
ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพ
ผศ.ดร.ภาคภูมิ พระประเสริฐ
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ดร.กรกช ชัน้ จิรกุล
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ อาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
ดร. ณมนรั ก คาฉัตร
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี อ.เมือง จ.จันทบุรี
ผศ.ดร.วรั ญญู แก้ วดวงตา
ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม
ดร.บุษราคัม ป้ อมทอง
คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อ.เมือง จ.นครราชสีมา
อ. ศุภวัจน์ แก้ วขาว
คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ต. คลองหนึง่ อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี
ผศ.ดร.วิทยา แก้ วศรี
โครงการจัดตังวิ ้ ทยาเขตอานาจเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดล อ.เมือง จ.อานาจเจริ ญ
ดร.สุทนิ กันยะมี
โครงการจัดตังวิ ้ ทยาเขตอานาจเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดล อ.เมือง จ.อานาจเจริ ญ
คุณจรั ญญา ปิ่ นสุภา
งานกลุม่ วิจยั วัชพืช สานักวิจยั พัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร
ผศ ดร.อภิชาติ ชิดบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง อ.เมือง จ.ลาปาง
ดร.สุมติ ร คุณเจตน์
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี 57 หมู่ 1 ต.โขมง อ. ท่าใหม่ จ. จันทบุรี
ดร.ยศพล ผลาผล
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี 57 หมู่ 1 ต.โขมง อ. ท่าใหม่ จ. จันทบุรี
ดร. สมคิด ใจตรง
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ ว อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ ว
ดร.ศิริวรรณ แดงฉ่า
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี อ. เมือง จ. เพชรบุรี
คุณกิตติมา รั กโสภา
ศูนย์วิจยั ข้ าวราชบุรี 106 ตาบลอ่างทอง อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี
ดร.รุ จริ า สุขโหตุ
ศูนย์วิจยั ปาล์มน ้ามันกระบี่ 68 ม. 1 ต. ห้ วยน ้าขาว อ.คลองท่อม จ.กระบี่
คุณกฤษณา พินิจ
สถาบันวิจยั จุฬาภรณ์ 54 ถ.กาแพงเพชร 6 แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ
ผศ.ดร.สมัคร แก้ วสุกแสง
สาขาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ อ.ป่ าพะยอม จ.พัทลุง
ดร. นิจพร ณ พัทลุง
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ อ.เมือง จ. บุรีรัมย์
ดร.กาญจนา เชียงทอง
สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี อ. เมือง จ. กาญจนบุรี
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
951
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
1. หลักการและเหตุผล พืชสวนเป็ นกลุม่ พืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ โดยในแต่ละปี ผลิตผลทางพืชสวนมีมลู ค่าการผลิตและการส่งออก มากกว่าหมื่นล้ านบาท และพืชสวนหลายชนิดเป็ นพืชที่มีศกั ยภาพในการแข่งขัน ในตลาดต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนั การผลิตพื ชสวนให้ มีปริ มาณและคุณ ภาพดี ตรงตามที่ ผ้ ูบริ โ ภคต้ องการ มักมี ปัจจัยต่างๆ เกี่ ยวข้ อง เช่น พันธุ์ ที่ใช้ ในการ เพาะปลูก ระบบการผลิตที่ดีและเหมาะสม การปลูกและการดูแลรักษา การป้องกันกาจัดโรคและแมลงที่ถกู ต้ องและเหมาะสม การใช้ สารควบคุมการเจริญเติบโตเพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตและคุณภาพ และการจัดการหลังเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมดังนันงานวิ ้ จยั ทางด้ านพืชสวนจึงมีขอบข่ายที่ครอบคลุมงานวิจยั ที่สอดคล้ องกับปั จจัยต่างๆ ที่กล่าวมาข้ างต้ น ปั จจุบนั งานวิจยั ทางด้ านพืช สวนไม่เพียงแต่ผลิตเพื่อการบริ โ ภคเท่านัน้ ยังสามารถเป็ นอาหารทางใจให้ กบั สังคมเมืองในปั จจุบนั ที่มีพื ้นที่จากัด แต่ต้องการ พื ้นที่ทาสวนครัวหรื อสวนขนาดเล็กเพื่อตกแต่งที่อยูอ่ าศัย ดังนันหั ้ วข้ อหลักและวาระพิเศษของการจัดงานประชุมวิชาการในครัง้ นี ้ คือ พืชสวนไทย ไร้ พรมแดน การจัดประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ เริ่ มจัดครัง้ แรกเมื่อปี พ.ศ. 2544 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพมหานคร เมื่อวัน ที่ 11-13 กรกฎาคม 2544 โดยสถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร เป็ นเจ้ าภาพ และได้ รับการสนับสนุนจากแหล่ง ต่าง ๆ เช่น สานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจยั (สกว.) สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) และสมาคมพืชสวนแห่ง ประเทศไทย เป็ นต้ นที่ผ่านมา ภาควิชาพืชสวน คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหาร ลาดกระบัง ได้ รับเกียรติเป็ นเจ้ าภาพหลักในการจัดประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 5 ระหว่างวันที่ 26-29 เมษายน 2548 ณ โรงแรมเวลคัม จอมเทียน บีช พัทยา จังหวัดชลบุรี หลังจากนันได้ ้ มีการจัดประชุมติดต่อกันมาเป็ นประจาทุกปี โดยเจ้ าภาพ ในการดาเนินการจัดจะเวียนกันไปตามสถาบันอุดมศึกษา ทังส่ ้ วนกลางและภูมิภาค ในปี พ.ศ. 2558 ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณ ทหารลาดกระบัง ได้ รับเกี ยรติอีกครัง้ จากที่ประชุมคณะกรรมการร่ วมระหว่างมหาวิทยาลัย ให้ เป็ นเจ้ าภาพจัดการประชุม วิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14 ร่วมกับกรมส่งเสริ มการเกษตร และได้ รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ เช่น สมาคมพืช สวนแห่งประเทศไทย สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) สานักงานกองทุน สนับสนุนงานวิจยั (สกว.) สานักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครัง้ ที่ 14 กาหนดจัดขึ ้นในระหว่างวันที่ 18-20 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงแรม นง นุช การ์ เด้ น รี สอร์ ท จังหวัดชลบุรี โดยจะจัดให้ มีการบรรยายพิเศษจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ การแสดงผลงานการวิจัยของ นักวิชาการสาขาพืชสวน และสาขาที่เกี่ยวข้ อง และการแสดงนิทรรศการของภาคเอกชน 2. วัตถุประสงค์ เพื่อเป็ นเวทีเผยแพร่ ผลงานวิจยั และแลกเปลี่ยนความคิดระหว่างนักวิจยั รุ่ นใหม่กบั นักวิจยั อาวุโส แหล่งทุน และผู้ใช้ ผลงานวิจยั 3. ผู้เข้ าร่ วมสัมมนา นักวิ ชาการจากกรมวิ ชาการเกษตร กรมส่ งเสริ มการเกษตร สถาบันการศึ กษาต่ างๆ เจ้ าหน้ าที่ ข องภาคเอกชน ผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานภาครัฐเอกชนเกษตรกร ผู้ประกอบการทางด้ านพืชสวน และสาขาที่เกี่ยวข้ องประมาณ 300 คน 952
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
4. หน่ วยงานรั บผิดชอบ 1) ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหาร ลาดกระบัง 2) กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 5. สถานที่และระยะเวลาในการจัดประชุม โรงแรมนงนุช การ์ เด้ น รี สอร์ ท จังหวัดชลบุรี ระหว่างวันที่ 18-20 พฤศจิกายน 2558 เป็ นเวลา 3 วัน 6. รู ปแบบการจัดการประชุมวิชาการ 1) การบรรยายพิเศษจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิจากภาครัฐและเอกชน 2) การนาเสนอผลงานวิจยั บรรยายภาคโปสเตอร์ (Oral Poster Presentation) - ปรับปรุงพันธุ์ (Breeding) เช่น การปรับปรุงพันธุ์ไม้ ผล ไม้ ดอกไม้ ประดับ และผัก - ระบบการผลิต (Production) เช่น การให้ น ้า ให้ ปยุ๋ การป้องกันกาจัดศัตรูพืชสวน - สรี รวิทยา (Physiology) เช่น สรี รวิทยาของไม้ ผล ไม้ ดอกไม้ ประดับ ผัก และสรี รวิทยาของเมล็ดพันธุ์พืชสวน - วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest) เช่น การยืดอายุหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลสดทางพืชสวน การ ควบคุมโรคและแมลงหลังเก็บเกี่ยว และการแปรรูป - เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เช่น การใช้ เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุ งพันธุ์ เพื่อการศึ กษาการ เปลี่ยนแปลงทางสรี รวิทยาและเพื่อการยืดอายุผลิตผลหลังเก็บเกี่ยว - อื่นๆ (Other) เช่น ระบบการตลาด โลจิสติกส์ เศรษฐศาตร์ ธุรกิจพืชสวน ภูมิทศั น์ทางพืชสวน ส่งเสริ ม การเกษตร 3) การจัดนิทรรศการของภาครัฐและเอกชน 4) การจัดประกวดผลิตผลทางการเกษตร 7. งบประมาณรายจ่ าย 1) งบประมาณรายจ่ายในการดาเนินการจัดประชุมประมาณ 1,200,000 บาท (หนึง่ ล้ านสองแสนบาทถ้ วน) 2) งบสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย หน่วยงานราชการ องค์กร สมาคมและรายได้ จากการลงทะเบียนของผู้เข้ าร่วม ประชุม อัตราค่ าลงทะเบียน ประเภทบุคคล นิสิต/นักศึกษา บุคคลทัว่ ไป
ลงทะเบียนและชาระเงิน อัตราพิเศษ (ภายใน 30 ก.ค. 2558) อัตราปกติ (หลัง 30 ก.ค. 2558) 2,000 2,500 2,500 3,000
8. ประโยชน์ ท่ ีคาดว่ าจะได้ รับ 1) นักวิจยั ได้ นาเสนอและเผยแพร่ผลงานวิจยั เพื่อผู้เกี่ยวข้ องได้ นาไปใช้ ประโยชน์ 2) ผู้เข้ าร่วมประชุมได้ พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้ใหม่ๆ เป็ นการสร้ างเครื อข่ายระหว่างนักวิจยั และ ผู้เกี่ยวข้ องหลายภาคส่วน เพื่อประโยชน์ในการวิจยั และพัฒนาพืชสวน 3) เป็ นการพัฒนานักวิจยั และบุคลากรอื่นๆ ตลอดจนองค์ความรู้ด้านพืชสวน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
953
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
9. การประเมินผล ประเมินผลการประชุมฯ จากผู้เข้ าร่วมประชุมโดยใช้ แบบสอบถาม 10. กาหนดการสาคัญของการประชุม ช่ วงเวลา กาหนดการ 15 เมษายน 2558 ผู้เข้ าร่วมประชุมและผู้นาเสนอผลงานลงทะเบียนล่วงหน้ า 15 มิถนุ ายน 2558 วันสุดท้ ายของการส่งบทคัดย่อผลงานที่ต้องการนาเสนอ 16-30 มิถนุ ายน 2558 แจ้ งผลการพิจารณาเรื่ องที่นาเสนอ 30 กรกฎาคม 2558 วันสุดท้ ายของการส่งเรื่ องเต็ม และชาระเงินค่าลงทะเบียนในอัตราล่วงหน้ า 1-31 สิงหาคม 2558 ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจอ่าน และส่งคืนผู้นาเสนอผลงานเพื่อปรับปรุงแก้ ไข 15 ตุลาคม 2558 วันสุดท้ ายของการส่งกลับเรื่ องเต็มที่ปรับปรุงแก้ ไขแล้ ว 15-31 ตุลาคม 2558 ตีพิมพ์เรื่ องที่ผา่ นการแก้ ไข และชาระค่าลงทะเบียนล่วงหน้ าแล้ ว ในวารสารเกษตรพระจอมเกล้ า (ฉบับพิเศษ) 18-20 พฤศจิกายน 2558 นาเสนอบรรยายผลงานภาคโปสเตอร์ (Oral Poster Presentation) และรับวารสารเกษตรพระจอมเกล้ า (ฉบับพิเศษ) ที่ตีพิมพ์เรื่ องเต็มที่นาเสนอ 11. รายนามคณะกรรมการฝ่ ายต่ างๆ ของงานประชุม 1) คณะที่ปรึกษา - นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย - อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร - รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร - อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง - รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจยั 2) คณะกรรมการฝ่ ายอานวยการ - คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร - รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจยั - ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจยั - ผู้อานวยการสานักส่งเสริมและจัดการสินค้ าเกษตร - หัวหน้ าภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช หน้ าที่ กากับดูแลการดาเนินการจัดประชุม 3) คณะกรรมการฝ่ ายดาเนินการ - ผศ.ดร.ลาแพน ขวัญพูล ประธานกรรมการ - รศ.ดร.สมชาย กล้ าหาญ กรรมการ - รศ.ดร.จารูญ เล้ าสินวัฒนา กรรมการ - รศ.หัตชัย กสิโอฬาร กรรมการ - ผศ.ดร.อามร อินทร์ สงั ข์ กรรมการ - ผศ.ดร.ศรายุทธ ผลโพธิ์ กรรมการ - ผศ.ดร.กัญจนา แซ่เตียว กรรมการ 954
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
หน้ าที่
ผศ.ดร.มณทินี ธีรารักษ์ กรรมการ อาจารย์บญ ุ ลือ กล้ าหาญ กรรมการ ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม กรรมการ อาจารย์วนิดา ดวงก้ งแสน กรรมการ นายจรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน กรรมการและเลขานุการ กาหนดแนวทางการดาเนินงานและกิจกรรมในการจัดประชุม และประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่า งๆ ที่เกี่ยวข้ อง 4) คณะกรรมการฝ่ ายพิธีการ และต้ อนรับ - ผศ.ดร.ศรายุทธ ผลโพธิ์ ประธานกรรมการ - อาจารย์บญ ุ ลือ กล้ าหาญ กรรมการ - อาจารย์วนิดา ดวงก้ งแสน กรรมการ - ดร.อรอุมา รุ่งน้ อย กรรมการ - ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวฒ ั น์ กรรมการ - นางสาวมณฑา สุวรรณรัตน์ กรรมการ - นางสาววทัญญา วิสาระโท กรรมการ - นายจรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน กรรมการ - นายวสันต์ แสงอินทร์ กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ ต้ อนรับผู้เข้ าร่ วมประชุมวิชาการร่ างคากล่าวในพิธีเปิ ด -ปิ ดการประชุม จัดทาบัตรเชิญ เตรี ยมของที่ระลึก เตรี ยมผู้ดาเนินการในแต่ละช่วงของการประชุม ผู้ดาเนินการในและประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 5) คณะกรรมการฝ่ ายวิชาการ - ผศ.ดร.กัญจนา แซ่เตียว ประธานกรรมการ - รศ.ดร.ถนิมนันต์ เจนอักษร กรรมการ - รศ.ดร.จารูญ เล้ าสินวัฒนา กรรมการ - ผศ.ดร.อามร อินทร์ สงั ข์ กรรมการ - ผศ.ดร.ลาแพน ขวัญพูล กรรมการ - ดร.สุกญ ั ญา แย้ มประชา กรรมการ - รศ.ดร.มยุรา สุนย์วีระ กรรมการ - รศ.ดร.พรหมมาศ คูหากาญจน์ กรรมการ - ผศ.ดร.ธีรวัฒน์ ศรุตโยภาส กรรมการ - ดร.อรอุมา รุ่งน้ อย กรรมการ - ผศ.ดร.นุกลู ถวิลถึง กรรมการ - อาจารย์วนิดา ดวงก้ งแสน กรรมการ - นางนุจรี ย์ อินอุดม กรรมการ - ผศ.ดร.มณทินี ธีรารักษ์ กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ กาหนดแนวทางการดาเนินงานและกิจกรรมในการจัดประชุมวิชาการ แจ้ งกาหนดการ จัดวาระการประชุม และจัดรูปแบบการนาเสนอผลงานวิชาการ กาหนดแบบฟอร์ มการนาเสนอผลงานวิจยั บรรยายภาคโปสเตอร์ พิจารณาตอบรับผลงานทางวิช าการที่จะนาเสนอในงานประชุมวิชาการและติดต่อวิทยากรบรรยาย พิเศษ กาหนดรู ปแบบเอกสารบทคัดย่อ เรื่ องเต็มและจัดทาเอกสารเพื่อแจกให้ ผ้ เู ข้ าร่ วมประชุม และประสานงาน กับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
955
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
6) คณะกรรมการฝ่ ายประชาสัมพันธ์ - ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม ประธานคณะกรรมการ - รศ.หัตถ์ชยั กสิโอฬาร กรรมการ - นายอภิสทิ ธิ์ แสนหล้ า กรรมการ - นางสาววิไล ปั น้ ปิ ตานุสรณ์ กรรมการ - นายประพัฒน์ อธิปัญจพงษ์ กรรมการ - อาจารย์วนิดา ดวงก้ งแสน กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ เตรี ย มข้ อ มูล เพื่ อ จัด ท าเวปไซต์ ข องการประชุม แผ่ น พับ หรื อ โปสเตอร์ ป ระชาสั ม พัน ธ์ จัด ท าแผนการ ประชาสัมพันธ์การประชุมวิชาการและประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 7) คณะกรรมการฝ่ ายอาคารสถานที่ สวัสดิการ ยานพาหนะ และทัศนศึกษา - รศ.หัตถ์ชยั กสิโอฬาร ประธานกรรมการ - นายวสันต์ แสงอินทร์ กรรมการ - นายอภิสทิ ธิ์ แสนหล้ า กรรมการ - นายธนสิน ทับทิมโต กรรมการ - นางสาวนิภาพร ยลสวัสดิ์ กรรมการ - อาจารย์วนิดา ดวงก้ งแสน กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ ดาเนินการอานวยความสะดวกเรื่ องสถานที่และที่พกั ของผู้เข้ าร่วมประชุม วิทยากร และแขกรับเชิญ อานวย ความสะดวกเรื่ องอาหาร เครื่ องดื่มระหว่างการประชุมและงานเลี ้ยงรับรอง อานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ู น าเสนอผลงานในการใช้ โ สตทัศ นูป กรณ์ ด าเนิ น การจัด ทัศ นศึ ก ษาและจัด เตรี ย มยานพาหนะ และ ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 8) คณะกรรมการฝ่ ายลงทะเบียนและประเมินผล - ผศ.ดร.มณทินี ธีรารักษ์ ประธานกรรมการ - ผศ.ดร.นิตยา ผกามาศ กรรมการ - ดร.พจนา สีขาว กรรมการ - นางณัฐธิดา เปรมเพ็ชร กรรมการ - นางสาวพัชรี ชูอาไพ กรรมการ - นายอภิสทิ ธิ์ แสนหล้ า กรรมการ - นายชิษณุพงศ์ ป้อมงาม กรรมการ - นายทศพล เปลี่ยนประเสริฐ กรรมการ - ดร.ภัทรารัตน์ เทียมเก่า กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ จัดเตรี ยมแบบฟอร์ มการลงทะเบียนเข้ าร่ วมประชุม กาหนดรู ปแบบอัตราค่าลงทะเบียน ช่วงเวลาของการ ลงทะเบียน และช่องทางการชาระเงินค่าลงทะเบียนอานวยความสะดวกในการลงทะเบียนหน้ างาน การแจก เอกสารวิชาการจัดทาแบบประเมินผลการจัดประชุมวิชา การประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่ เกี่ยวข้ อง 9) คณะกรรมการฝ่ ายการเงิน - อาจารย์บญ ุ ลือ กล้ าหาญ ประธานคณะกรรมการ 956
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
หน้ าที่
ผศ.ดร.อามร อินทร์ สงั ข์ กรรมการ นางสาวพัชรี ชูอาไพ กรรมการ นางสาววทัญญา วิสาระโท กรรมการ นางสาวสุกญ ั ญา สมหมาย กรรมการ นางพัชรี เกิดชุ่ม กรรมการและเลขานุการ จัดเตรี ยมเอกสารใบเสร็ จค่าลงทะเบียนและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการเงินให้ แก่ผ้ เู ข้ าร่ วมประชุมวิชาการ สรุ ป รายรับ รายจ่ายในการจัดประชุมวิชาการ และประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 10) คณะกรรมการจัดหาทุนและจัดนิทรรศการของผู้สนับสนุน - รศ.ดร.สมชาย กล้ าหาญ ประธานคณะกรรมการ - ผศ.ดร.อามร อินทร์ สงั ข์ กรรมการ - ผศ.ดร.กัญจนา แซ่เตียว กรรมการ - ผศ.ดร.ลาแพน ขวัญพูล กรรมการ - นางสาวพัชรี ชูอาไพ กรรมการ - นางณัฐธิดา เปรมเพ็ชร กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ จัดหาทุนสนับสนุนทัง้ จากภาครั ฐและภาคเอกชน เสนอแผนการจัดประชุม วิชาการเพื่อของบประมาณ สนับสนุนจากสถาบันฯ และกรมส่งเสริ มการเกษตร จัดเตรี ยมรู ปแบบและอานวยความสะดวกในการจัด นิทรรศการของผู้ให้ งบประมาณสนับสนุน และประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
957
วารสารเกษตรพระจอมเกล้า
สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั สานักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (องค์การมหาชน) บริษัท โซตัส อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด บริษัท ป.เคมีเทค จากัด บริษัท เวิลด์เทค เอ็นเตอร์ ไพรส์ จากัด บริษัท ฮอริบา (ประเทศไทย) จากัด บริษัท ไบเออร์ ไทย จากัด บริษัท วงแหวน แพลนนิ่ง จากัด บริษัท คอร์ เดีย จากัด Dr. Knoell Consult Co.Ltd. บริษัท ที เจ อินสทรูเม้ นท์ จากัด บริษัท จาปาเงินการโยธา ชัยนาท จากัด บริษัท ซีดเทค มาร์ เก็ตติ ้ง จากัด บริษัท ดี.ที.ซี. เอ็นเตอร์ ไพรส์ จากัด ร้ านกมล ถ่ายเอกสาร บริษัท ห้ องปฏิบตั ิการกลาง (ประเทศไทย) จากัด บริษัท ไอดีไอ (ประเทศไทย) จากัด คุณสมพงษ์ อินสว่าง บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) ร้ านลาดกระบังการเกษตร ร้ านเกรี ยง เทพสุธา บริษัท อินเตอร์ โซล เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ เทคโนโลยีจากัด บริษัท ไทยเฮิร์บ มาเก็ตติ ้ง จากัด บริษัท คนดี กรุ๊ป จากัด สมาคมศิษย์เก่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
958
การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558
สมาคมศิษย์ เก่ า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง เลขที่ 1 อาคารสมาคมศิษย์เก่าสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง ถนนฉลองกรุงแขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 โทร.081-869-2071 หรื อ 089-811-5240 E-Mail: prsas168_k@yahoo.com / jaruneekmitl@yahoo.co.th