การถายภาพเพื่อสื่ออารมณและความรูสึก
บทที่ 10 การถายภาพเพือ่ สือ่ อารมณและความรูส ึก การสื่ออารมณและความรูสึกจากถายภาพนั้นนอกจากการแสดงออกจากสี หนาและทาทางของแบบแลว ชางภาพยังสามารถใชมุมกลองหรือจัดองคประกอบ ตางๆ ชวยเสริมใหสื่ออารมณและความรูสึกไดมากขึ้น ภาพถายที่มีคุณคาคือภาพที่ สามารถสะทอนอารมณและความรูสึกได ดวยตนเองโดยไมจํ าเป นตองมีขอความ ประกอบ ซึ่งจะเห็นไดจากสื่อเพื่อการรณรงคตางๆ ที่มักเลือกใชภาพประเภทนี้ในการ กระตุนความคิดหรือปรับเปลี่ยนทัศนคติของผูชม เทคนิคการถายภาพเพื่อสื่ออารมณและความรูสึก 1) การเลือกใชมุมภาพ ภาพที่ถายดวยมุมกลองตางกันถึงแมจะเปนวัตถุหรือสิ่งของอยางเดียวกันแต จะมีผลตอการสื่อความหมาย อารมณ และความรูสึกที่แตกตางกัน โดยทั่วไปมุม กลองแบงเปน 3 ระดับคือ 1.1) ภาพระดับสายตา (Eye-level Angle) เปนการถายภาพที่กลองอยูใน ตํ า แหน ง ขนานกั บ พื้ น ดิ น ในระดั บ เดี ย วกั น กั บ สายตา ใหความรูสึกเปนปกติธรรมดา ภาพที่ 10-1 ภาพระดับสายตา
1.2) ภาพมุมต่ํา (Low Angle) เปนการถายภาพที่กลองอยูในตําแหนงต่ํา กวาวัตถุที่ถาย ใหความรูสึกถึงความสูงใหญ สงา ผาเผย มีอํานาจ มั่นใจ ทรงพลัง เปนตน ภาพที่ 10-2 ภาพมุมต่ํา
ณัฐกร สงคราม | 85
การถายภาพเพื่อการสื่อสาร 1.3) ภาพมุมสูง (High Angle) เปนการถายภาพที่กลองอยูในตําแหนงสูง กวาวัตถุที่ถาย ใหความรูสึกถึงขนาดเล็ก ความต่ํา ตอย ไมสําคัญ หดหู หมดอํานาจวาสนา เปนตน ภาพที่ 10-3 ภาพมุมสูง
2. การเลือกใชเสน การเลื อ กนํ า เส น เข า มาเป น ส ว นหนึ่ ง ขององค ป ระกอบภาพสามารถสื่ อ ความหมาย อารมณและความรูสึกที่แตกตางกันได ดังนี้ 2.1) เสนแนวนอน แสดงถึงความรูส ึกที่สงบนิ่ง เคลื่อนไหวชา และมั่นคง
ภาพที่ 10-4 ภาพที่มีเสนแนวนอน
2.2) เสนแนวตั้ง แสดงถึงความแข็งแรง มั่นคง สงางาม
ภาพที่ 10-5 ภาพที่มีเสนแนวตั้ง 86 | PHOTOGRAPHY FOR COMMUNICATIONS
การถายภาพเพื่อสื่ออารมณและความรูสึก 2.3) เสนเฉียง หรือซิกแซก แสดงถึงการเคลื่อนไหวที่รวดเร็ว รุนแรง
ภาพที่ 10-6 ภาพที่มีเสนเฉียง
2.4) เสนโคง แสดงถึงความออนโยน ออนชอย ราเริง เบิกบาน และมีความ งดงามประกอบกันไป
ภาพที่ 10-7 ภาพที่มีเสนโคง
3. การเลือกใชแสง ควรจัดลักษณะของแสงและทิศทางที่มาของแสงใหเหมาะกับวัตถุที่ถาย ไดแก 3.1) แสงกระจายนุมๆ และการใหแสงแบบแบนๆ จะใหความนุมนวลและเปน ความรูสึกที่เหมาะสมกับวัตถุที่อยูนิ่ง
ภาพที่ 10-8 ภาพที่แสงกระจายนุมๆ
ณัฐกร สงคราม | 87
การถายภาพเพื่อการสื่อสาร 3.2) แสงที่แรงจัด เปนแสงที่ให ความรูสึกหนัก รอนแรง และเปดเผย
ภาพที่ 10-9 ภาพที่แสงแรงจัด
3.3) แสงที่มาในแนวเฉียง เหมาะ สําหรับอารมณและบรรยากาศที่ตื่นเตน
ภาพที่ 10-10 ภาพที่แสงแนวเฉียง
4. การเลือกใชโทนสี โทนสีที่ตางกันยอมสื่ออารมณและความรูสึกที่แตกตางกันไปดวย ยกตัวอยาง เชน 4.1) โทนสีสวางขาว (High Key) ใหความรูสึกสดใส ออนหวาน นุมนวล ราเริง มีชีวิตชีวา สนุกสนาน บอบบาง
ภาพที่ 10-11 ภาพโทนสีสวางขาว (High Key) 88 | PHOTOGRAPHY FOR COMMUNICATIONS
การถายภาพเพื่อสื่ออารมณและความรูสึก 4.2) โทนสีมืดเขม (Low Key) ใหความรูที่โศกเศราเสียใจ ลึกลับนากลัว เครงขรึม บางภาพอาจมีคาน้ําหนักสีสวนที่สวางขาวตัดกับสีมืดมากๆ ก็ได ลักษณะนี้ ใหความรูสึกที่นาตื่นเตนสะดุดสายตา
ภาพที่ 10-12 ภาพโทนสีมืดเขม (Low Key)
5. การเลือกใชชองวาง การจั ด พื้น ที่ว า งทางด า นหน า ของวั ต ถุห รือ แบบก็ ส ามารถสื่ อ อารมณ แ ละ ความรูสึกไดเชนกัน ไดแก 5.1) ชองวางดานหนามาก สื่อถึงการที่วัตถุกําลังเคลื่อนที่ ความกวาง ไกล เหมอลอย 5.2) ชองวางดานหนานอย สื่อถึงการเคลื่อนไปสูทางตัน แคบ เครงเครียด กดดัน ไมมีทางออก
ภาพที่ 10-13 ภาพที่เวนชองวางดานหนามากหรือนอย
ณัฐกร สงคราม | 89
การถายภาพเพื่อการสื่อสาร ตัวอยางภาพถายเพือ่ สือ่ อารมณและความรูส กึ
1 2
4
3 5 “ตากหมึก” เสนเฉียงของทางเดินและแผงตากหมึกใหความรูสึกถึงการเคลื่อนที่ 1 “กองเกลือ” มุมต่ําสื่อถึงพลังในการทํางาน และเสนเฉียงของเมฆเสริมทาทางการทํางาน 2 “โรงฆาสัตว” การใชโทนสี Low Key สื่อถึงบรรยากาศที่ลึกลับ นากลัวในโรงฆาสัตว 3 “ขนฟาง” แสงที่แรงจัด ใหความรูสึกถึงความเหนี่อยยากของการทํางาน 4 “ทุกขของชาวนา” การเวนชองวางดานหนานอย สะทอนความลําบากทุกขใจของเกษตรกร 5
90 | PHOTOGRAPHY FOR COMMUNICATIONS
การใชเทคนิคพิเศษเพื่อสรางสรรคภาพถาย
บทที่ 11 การใชเทคนิคพิเศษเพือ่ สรางสรรคภาพถาย การถายภาพโดยใชเทคนิคพิเศษเปนวิธีการสรางสรรคภาพถายใหมีมุมมองที่ แปลกตาเพื่อกระตุนความสนใจของผูชม ในอดีตการใชเทคนิคพิเศษจะมีความยุงยาก มากตองอาศัยวัสดุอุปกรณประกอบในการถายภาพ แตปจจุบันสามารถทําไดงายดาย ขึ้นดวยเทคโนโลยีของกลองดิจิตอลที่ชวยใหการสรางสรรคภาพถายทําไดอยางสะดวก รวดเร็ว และใหผลลัพธที่ดีขึ้น อยางไรก็ตามการทําความเขาใจเทคนิคพิเศษตางๆ ก็ ยังเปนสิ่งที่นาสนใจและควรทําการศึกษาเพื่อการนําไปประยุกตใชตอไป ภาพหลอกสายตา โดยการใชมุมกลองในการสรางมุมมองที่แปลกๆ ตามจินตนาการของชางภาพ และใชรูรับแสงที่แคบเพื่อใหภาพมีความชัดลึกทั้งสิ่งที่อยูใกลหรือที่อยูไกล
ภาพที่ 11-1 ภาพหลอกสายตา
ภาพซอน เปนเทคนิคที่นิย มถายในยุคของกลองฟลม โดยการถายซอนลงไปในฟลม เฟรมเดียวกัน สามารถทําไดหลายลักษณะ เชน แบบถาย 2 ครั้ง ครั้งละครึ่งเฟรม และใชกระดาษดําปด แบบถาย 2 ครั้งในฉากหลังที่มืดสนิท แบบถาย 2 ครั้ง เพื่อให ไดภาพลักษณะนุมนวล (Soft) เปนตน กลองดิจิตอลที่จะถายดวยเทคนิคนี้ควรมีปุม ถายภาพซอนอยูดวย สวนกลองดิจิตอลจะตองอาศัยการปรับแตงโหมดการทํางาน ของกล องเพื่ อ ใหไ ด ภาพในลัก ษณะซอ นกั น โดยในบางรุ นก็ ไม จํา เปน ต อ งอาศั ย ณัฐกร สงคราม | 91
การถายภาพเพื่อการสื่อสาร กระดาษดํ า มาป ด เพราะกล อ งจะมี โ หมด บั นทึ ก ภาพที ล ะครึ่ งเฟรมอยูแ ล ว และนํ า มา ซอนใหเองโดยอัตโนมัติ ภาพที่ 11-2 ภาพซอน
การสรางโบเก (Bokeh) คําวาโบเกมาจากภาษาญี่ปุน หมายถึงลักษณะของประกายแสงในภาพที่เกิด จากแหลงกําเนิดแสงตางๆ ที่พบเมื่อใชการถายภาพในลักษณะชัดตื้น ประกายแสง เหลานี้เราสามารถสรางสรรคใหมีรูปรางแปลกๆ ไดโดยการใชกระดาษเจาะรูเปน รูปทรงตางๆ แลวสวมไวหนาเลนส ซึ่งจะทําใหภาพที่ออกมามีความแปลกตาและ นาสนใจมากขึ้น
ภาพที่ 11-3 การสรางโบเกใหกับฉากหลัง
การวาดด การวาดดวยแสงไฟ เปนการใชแสงสวางจากวัตถุตางๆ เชน ไฟฉาย ธูป หรือแมกระทั่งไฟตกแตง ในทองถนนสรางลวดลายตางๆ โดยในการถายภาพจะใชชัตเตอร B หรือตั้งเวลาเปด ปดชัตเตอรเปนเวลานาน หรือจะใชวิธีวาดดวยแสงไฟกอนแลวจึงใชแฟลชยิงออกไป เพื่อเก็บรายละเอียดของแบบ สามารถถายทั้งในฉากหลังที่มืดสนิทหรือสวางก็ได (แต ตองสวางนอยกวาแสงไฟหรือมีสีของพื้นหลังไมเหมือนกัน) ลวดลายของแสงไฟที่ ไดมาจากการเคลื่อนไหวแหลงกําเนิดแสงหรือการเคลื่อนไหวกลองแทนก็ได 92 | PHOTOGRAPHY FOR COMMUNICATIONS
การใชเทคนิคพิเศษเพื่อสรางสรรคภาพถาย
ภาพที่ 11-4 การวาดดวยแสงไฟ
เทคนิคระเบิดเลนส เป นการสรา งความแปลกตาใหกั บภาพวิธีห นึ่งที่ ไม ยุ งยากในการถ ายและ สามารถถายไดโดยไมตองมีอุปกรณชวยและในพื้นที่สวางทั่วไป โดยในขณะที่กดชัต เตอร ใหทําการ Zoom In หรือ Zoom Out อยางใดอยางหนึ่งอยางรวดเร็ว ซึ่ง หากใหไดผลลัพธที่ดีขึ้นควรวางกลองไวบนขาตั้งกลองเพื่อใหลักษณะของเสนที่มี ความตรงและวัตถุที่เปนแบบมีความชัดมากขึ้น
ภาพที่ 11-5 เทคนิคระเบิดเลนส
การถายภาพเคลื่อนไหว โดยการใชความเร็วชัตเตอรสูง (1/250 ขึ้นไป) เพื่อใหวัตถุที่กําลังเคลื่อนไหว ในภาพมี อ าการหยุ ด นิ่ ง เช น คนกํ า ลัง ลอยตั ว อยู ก ลางอากาศ หรื อใช ค วามเร็ ว ณัฐกร สงคราม | 93
การถายภาพเพื่อการสื่อสาร ชัตเตอรต่ํา (1/30, 1/15, 1/8) เพื่อใหวัตถุเบลอตามทิศทางการเคลื่อนไหว นอกจากนี้ยังมีเทคนิคการถายภาพเคลื่อไหวอีกวิธีที่นิยมถายทําและไมยุงยากมากนัก นั่นคือการใชเทคนิคแพนกลองตามวัตถุที่กําลังเคลื่อนไหวโดยใชความเร็วชัตเตอรต่ํา (1/60, 1/30, 1/15) เพื่อใหวัตถุมีความชัดในขณะที่รอบขางมีความเบลอใน ลักษณะของเสนตามทิศทางการเคลื่อนไหว
ภาพที่ 11-6 การถายภาพเคลื่อนไหว
ตัวอยางการใชเทคนิ เทคนิคพิเศษเพื ศษเพือ่ สรางสรรคภาพถาย
1
2
3
“แอปเปล พิศวง” ใชการวาดแสงไฟสรางเสนแสงรอบๆ ผลแอปเปลใหดูแปลกตา นาสนใจ 1 “หนาสับปะรด” ใชการตกแตงสับปะรดดวยพริก มัน และแวนตาเพื่อใหคลายใบหนาคน 2 “ฝรัง่ จิ๋ว” ใชมุมกลองหลอกสายตา และตั้งชัดลึกเพื่อใหเหมือนผลฝรั่งเล็กจนวางบนชอนได 3
94 | PHOTOGRAPHY FOR COMMUNICATIONS