อนุสารการจัดการความรู้ ฉบับที่ 1/2554

Page 1

อนุสารการจั ารการจัดการความรู้ คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ปีที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

สู......การวิ .่ ..การวิจัยในชั้นเรียน



สารจากคณบดี สืบเนื่องจากคณะเทคโนโลยีการเกษตรไดเห็นถึงความสําคัญของการจัดการองค ความรู ใ นองค ก ร เนื่ อ งจากการจั ด การองค ค วามรู เ ป น ตั ว ชี้ วั ด หนึ่ ง ของคํ า รั บ รอง การปฏิบัติราชการของสํานักงานพัฒนาระบบราชการ (กพร.) และการประกันคุณภาพ การศึกษา นอกจากนี้การจัดการองคความรูยังมีความสําคัญตอพัฒนาการบริหารจัดการ คณะเพื่อใหพรอมรับการเปลี่ยนแปลงและพรอมสําหรับการแขงขันที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อีกดวย ผมมีความยินดีที่การดําเนินงานดานการจัดการองคความรูของคณะไดประสบ ผลสําเร็จเปนอยางดี เปนที่ยอมรับทั้งในระดับในสถาบัน และหนวยงานภายนอก การ จัดพิมพอนุสารเปนการแสดงใหเห็นถึงพัฒนาการอีกรูปแบบหนึ่งของการดําเนินการดาน การจัดการองคความรูของคณะเรา ผมหวังวาอนุสารนี้จะเปนประโยชนตอการทํางานของ บุคลากร เพื่อพัฒนาคณะของเราใหมีความกาวหนาตอไป รศ.ศักดิ์ชัย ชูโชติ คณบดี


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

จากใจบรรณาธิการ ตลอดเวลานับ ตั้ง แตผ มไดรั บ มอบหมายจากทา นคณบดีใ ห รับ ผิด ชอบในการ ดําเนินการดานการจัดการองคความรูของคณะเมื่อ 4 ปที่แลว ผมไดรับความรวมมืออยางดี ยิ่งจากกรรมการในคณะกรรมการจัดการองคความรูของคณะทุกทานที่ไดชวยกันทํางาน อยางเสียสละ และผลักดันจนทําใหเ รื่องการจัดการองคความรูของคณะเราเริ่ม เห็นเปน รูปธรรม เมื่อเทียบกับในระยะเริ่มตนที่เรื่องดังกลาวยังใหมสําหรับพวกเราหลายๆคน ใน ปจ จุบันนี้เ รื่องการจัดการความรูเ ปนที่ยอมรับ กันวาเปนเครื่องมือที่สําคัญตอปจ จัยใน ความสําเร็จในการพัฒนาคน พัฒนางานและพัฒนาองคกร อนุสารนี้เปนอีกความพยายาม หนึ่งของคณะกรรมการฯ ที่จะใชเปนสื่อกลางทําใหเรื่องของการจัดการองคความรูเขาไปถึง บุคลากรทุกคนของเรา หากผูอานมีความคิดเห็น ขอเสนอแนะประการใด ขอความกรุณา ทานชวยแจงมายังผมหรือกรรมการทุกทานครับ ผศ.ดร.มณฑล แกนมณี

กองบรรณาธิการ ผศ.ดร.มณฑล แกนมณี ผศ.ดร.ปญญา หมั่นเก็บ ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม ดร.ลําแพน ขวัญพูล

ดร.นิตยา ผกามาศ นางสาวมณฑา สุวรรณรัตน นายจรงคศักดิ์ พุมนวน นายอําพล กลอมปญญา

2

ที่ปรึกษา รศ.ศักดิ์ชัย ชูโชติ รศ.ศรีสกุล วรจันทรา นางสําเนา ภัทรรัตนนันท


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

Content 4 ………………… แนะนําสมาชิกทีมงาน KM 6 ……………….. กิจกรรม KM ในรอบป 2553 – 2554 8 ……………….. บันทึกที่นาสนใจจาก Weblog

บทความวิชาการ 74 …….. การจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ 30 ……………….. การวิจัยในชั้นเรียนทําอยางไร

41 …………….. แลกเปลี่ยนเรียนรู 61 …………….. ความรูคงู าน 63 …………….. เรื่องราวนารู รอบรั้วบุนนาค

3


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

แนะนําสมาชิก

ทีมงาน KM สวัส ดีทานผูอานที่เ คารพรัก ทุก ทาน สํ า หรั บ ที ม งานการจั ด การองค ค วามรู ข อง คณะเทคโนโลยีก ารเกษตร เราไดดําเนินงาน มาแลวหลายป มีการปรับเปลี่ยนคณะทํางาน มาแลวหลายครั้งแตก็ยังมีการทํางานกันอยาง ตอเนื่อ ง จากจุดเล็ก ๆ ที่ เ รี ยกว า “เปน ไข ” จนมาถึ ง จุ ด ๆ นี้ ที่ อ าจจะเรี ย กได ว า “ตั ว ออน” จากแนวความคิดที่จะยึดหลักการเรียน การสอนโดยเน น ผู เ รี ย นเป น สํ า คั ญ โดยใช กระบวนการการจัดการองคความรูเขามาชวย มีก ารแลกเปลี่ยนเรีย นรูเ กี่ยวกับ ปญ หาการ เรียนการสอนระหวางของอาจารยรุนใหมกับ การรวบรวมเทคนิ ค การเรี ย นการสอนของ อาจารยที่ จ ะเกษี ย ณ รวมทั้ ง การให ค วามรู เกี่ยวกับการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปน

สําคัญแกผูที่สนใจทั่วไป พวกเราไดดําเนินการ อยางตอเนื่องจนนําเขาสูการวิจัยในชั้นเรียน ในประเด็น ปญ หาดานตางๆ ที่เ กิดขึ้นในชั้ น เรียน ดังรายละเอียดในอนุสารเลมนี้ ประการ หนึ่งก็อยากจะบอกกลาวกับทานผูอานวา ใน ปหนาพวกเราจะนําผลการทําวิจัยในชั้นเรียน มาเผยแพรใหทานผูอานไดรับ ทราบ รวมทั้ง การทดลองใชกับ นัก เรียนหรือนัก ศึกษาของ ตนเอง และอาจจะมี เ วที ก ารแลกเปลี่ ย น เรียนรู ตกผลึกในกระบวนการหรือเทคนิคใน การแก ปญ หาต างๆ เพื่อ ใหก ารจั ดการการ เรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ เปน ผลใหส ถาบัน เราเขม แข็ง และเปน ที่ยอมรั บ ของสถาบันอื่นๆ มากขึ้นนะครับ ซึ่งจุดๆ นั้น เราเรียกวาเปน “ตัวเต็มวัย” ที่สมบูรณ

ในฉบับปฐมฤกษนี้จึงใครอยากจะขอแนะนําคณะกรรมการ KM ที่ไดทุมเททั้งกายและใจใน การทํางาน โดยเริ่มจากทานที่ปรึกษาและตามดวยคณะกรรมการ จํานวน 10 คน ซึ่งในปนี้นอกจาก ทีมงานเดิมจากปกอนๆ แลวเรายังมีสมาชิกใหม เพิ่มเขามาชวยงานอีกหลายทาน ที่ปรึกษา ดังรายชื่อ ตอไปนี้ครับ รศ.ศรีสกุล วรจันทรา

4


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ทานประธาน

กรรมการ

ผศ.ดร.มณฑล แกนมณี

นางสําเนา ภัทรรัตนนันท

รองประธาน

กรรมการและเลขาฯ

ผศ.ดร.ปญญา หมั่นเก็บ

นายวรัญู แกนทองหลาง

กรรมการ

กรรมการและผูชวยเลขาฯ

ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม

นางสาวมณฑา สุวรรณรัตน

กรรมการ

กรรมการ

ดร.ลําแพน ขวัญพูล

นายจรงค์ศักดิ พุมนวน

กรรมการ

กรรมการ

ดร.นิตยา ผกามาศ

นายอําพล กลอมปญญา

ทางทีมงานสัญญาวาพวกเราจะสรางสรรคงาน KM ใหครบถวนและสมบูรณยิ่งๆ ขึ้นไปในทุก ดานดวยครับ 5


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

กิจกรรม KM ในรอบป 2553 - 2554 สรุปผลการดําเนินงานการจัดการองคความรูของคณะเทคโนโลยีการเกษตร ประจําปงบประมาณ 2554 ในป ง บประมาณ 2554 ช ว งเวลาที่ จ ะดํ า เนิ น การด า นการจั ด การองค ค วามรู มี ก าร เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมซึ่งดําเนินการตามปงบประมาณ เปนดําเนินการตามปการศึกษา ดังนั้นจึงมี ความขลุกขลักเล็กนอยในเรื่องของการจัดทําและการดําเนินการตามแผน อยางไรก็ตามคณะฯ ได พยายามกําหนดประเด็นการจัดการองคความรูระดับคณะใหสอดคลองกับแผนระดับสถาบัน โดยใน สวนสายวิชาการประเด็นที่กําหนดไวคือ “การเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ” สวนในสาย สนับสนุนคือ “การลดขั้นตอนการบริการ” โดยในประเด็นของสายวิชาการเปนการดําเนินการ ตอเนื่องไปจากในป ที่ผ านมา ซึ่ ง ไดเ คยจัด กิจ กรรมการแลกเปลี่ ยนเรียนรูใ นเรื่ องดั ง กลาวกลุ ม บุคคลากรสายวิชาการของคณะฯและไดนําขอสรุปที่ไดมาเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมในปนี้ สวน ในสายสนับสนุนนั้นงานทรัพยากรบุคคลของ คณะฯไดเ ปนหนวยงานนํารองในการจัดทํา แนวทางการลดขั้นตอนการบริการ บรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรูเมื่อปที่แลว คณะกรรมการจัดการองคความรูของคณะฯไดมีการประชุมอยางตอเนื่องเพื่อวางแผนการจัด กิจกรรมตามแผนและไดจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียน เปนสําคัญในหัวขอ “การวิจัยในชั้นเรียน” ขึ้นในวันที่ 4 สิงหาคม 2554 โดยมีทั้งการบรรยายให ความรู โ ดยวิ ท ยากรรับ เชิ ญ และการเสวนาในกลุม ผูเ ขา รว มกิ จ กรรม ซึ่ ง ไดรั บ ความสนใจจาก คณาจารยทั้งในคณะฯและตางคณะเขามารวมในกิจกรรมเปนจํานวนมาก สวนในสายสนับสนุนนั้น งานทรัพยากรบุคคลของคณะจะแสดงแผนภาพขั้นตอนการลาในเรื่องตางๆของบุคคลากร รวมทั้ง 6


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

เอกสารที่เกี่ยวของไวในเว็บไซตของคณะฯเพื่อใหบุคลากรไดใชประโยชน และยังมีการพัฒนาเว็บไซต การจัดการความรูของคณะฯซึ่งไดเก็บองคความรูตางๆ รวมทั้งเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู ของบุคคลากรในคณะ โดยเว็บไซตนี้ไดรับ ความ สนใจและคําชมเชยจากบุคคลภายนอกที่เ ขามา เยี่ยมชมอยูเสมอ

บรรยากาศการแลกเปลี่ยนเรียนรู เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2554 นอกจากนี้คณะกรรมการจัดการองคความรูของคณะฯ ยังไดเขารวมกิจกรรมการจัดการองค ความรูตางๆที่สถาบันและคณะอื่นๆจัดขึ้น อาทิ งาน K-sharing Day ของสถาบัน การบรรยาย เกี่ยวกับ การเรียนการสอนโดยเนนผูเ รียนเปน สําคัญซึ่งจัดโดยคณะวิทยาศาสตร เปนตน

7


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

บันทึกที่นาสนใจ จาก

Weblog

คอลัมนนี้เปนการคัดเลือกบันทึกบางเรื่องที่นาสนใจจากบล็อกในเว็บ ไซต KM ของคณะ (http://www.agri.kmitl.ac.th/km/blog) ที่มีทานสมาชิกไดเขียนไว มาลงในอนุสารเพื่อเปนอีกหนึ่ง ชองทางสําหรับทานที่ไมไดเขาไปในเว็บไดเกิดการแบงปนขอมูลความรูรวมทั้งแนวคิดตางๆ ที่นาจะ เปนประโยชน และอาจจะชวยจุดประกายใหทานผูอานไดเขาไปเขียนบันทึกลงในบล็อกดวยตัวทาน เอง ซึ่งทางทีมงานหวังเปนอยางยิ่งวาในฉบับตอๆ คงมีโอกาสไดนําบันทึกของทานผูอานมาแบงปนกัน บางนะครับ

เรื่องเลา…เราพลัง

ทุนการศึก ษาใหลูก ๆ บางครั้ง แมก็ใชส ตางค ของแมเอง ลูกบางคนผมยาวมากไมเรียบรอย เลยแตนิสัยดี ใครๆ ก็อยากใหลูกตัดผม มีเงิน จางเปนพันก็ไมยอมตัด แมคนนี้ก็ไดพูดคุยกับ ลูก ยังบอกลูกอีกวาหากตัดผมแลวอะไรๆ ดีๆ หลายอยางก็จะเขามาหาลูกเอง ไมวาจะเปน ทุนการศึกษา กิจกรรมที่ไดทํารวมกับสถาบันฯ ลูกคนนี้ยินดีที่จะตัดผมตามคําขอของแม และ อีกหลายเรื่องที่แมคนนี้ยินดีที่จะทําเพื่อลูกทุก คน แมบอกวาการรักในอาชีพของทน ทํางาน ดวยความรัก เห็นนักศึกษาที่เขามารับบริการ ทุกคนเปนเหมือนลูกเหมือนหลาย แลวเราจะ มีความสุขกับงานที่เราทํา ผมเปนคนหนึ่ง ที่ ชื่อชมแมคนนี้ม าก แม ค นนี้ คื อ …“คุ ณ สมทรง ธรฤทธิ์ งาน กิ จ กรรมนั ก ศึ ก ษา คณะสถาป ต ยกรรม ศาสตร”…

โดย จรงคศักดิ์ พุมนวน 3 มิถุนายน 2553 !!! ผมมีเรื่องของคนอื่นที่จะเลาใหฟง เรื่องนึง ครับ เปนเรื่องที่ไดรับ ฟง มาตอนเขา รวม storytelling ในงาน K Sharing Day ของสถาบันฯ เปนเรื่องของ “แม” แมคนนี้มีลูก มาก นับ ไดก็เ ปนรอยๆ คนตอป ลูก มีนิสัยที่แตกตางกันมาก บางคน พูดจาดี บางคนพูดจาไมเ พราะ บางคนไวผ ม ยาว บางคนแตง กายไมเรียบรอย บางคนไม คอยมีสะสตางค บางคนร่ํารวย ในฐานะที่เปนแม ไมวาลูก ๆ จะเปน อยางไร แมกร็ ักลูกทุกคน ใครไมมีสตางคแลว มาหาแม แมก็พยายามหางานพิเศษใหลูกทํา ใน ส วน ขอ ง ที่ ทํ า ง าน แม เ อ ง ห รื อ ก็ ห า

8


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

นานาเรื่องราวกับ google : 1

agriculture technology หากเราใสคํานี้ลง ไปเลยแลวกด search เราจะไดผลออกมาดัง ภาพนี้

โดย ณัฐกร สงคราม 22 มิถุนายน 2554 เดี๋ยวนี้ชองทางสําคัญที่นับเปนแหลง ทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอนรวมทั้ง การทํางานอื่นๆ ที่ถูกใชงานมากที่สุดก็นาจะ เปน search engine ที่ชื่อวา google นี่แหละ แทบจะนอยคนมากที่จะไมเคยใช google ใน การสืบคนขอมูล เมื่อกอนผมก็คิดวา google ใชเพียงแคการสืบคนอยางเดียว แตเมื่อลองใช มาเรื่อยๆ กลับพบวามันมีอะไรที่มากมายกวา นั้น และใชประโยชนไดหลากหลาย วันนี้ก็เลย จะขอพูดถึงเรื่องราวของ google โดยจะเริ่ม จากการเทคนิคการสืบคนที่ผมใชงานบอยที่สุด เพราะชวยใหคนหาไดตรงและเร็วขึ้น ปกติ เ วลา เราใ ส คํ า สํ า คั ญ หรื อ Keyword ลงไป หากเปนคําเดียวก็ไมตอ ง กังวลอะไร แตหากเปนคําที่มากกวา 1 คํา เชน

แตถาเราใสเครื่องหมาย “” (อัญประกาศ หรือ เครื่องหมายคําพูด ) ลงไปเปน “agriculture technology” เราจะไดผลดังภาพนี้

เห็นมั้ยครับ วา ผลการคนหาจะนอยลงทันที เพราะมันจะคนหาเฉพาะเว็บที่มีคํา 2 คํานี้อยู ติดกันเทานั้น ในขณะที่แบบแรกมันจะคนทุก เว็บที่มีคํา 2 คํานี้ แตจะอยูหางกันหรือติดกัน ก็ได อันนี้ก็เปนเทคนิคงายๆ ที่ผมใชเปน ประจํา ลองนําไปใชกันดูนะครับ

นานาเรื่องราวกับ google : 2

ยอๆ ที่แสดงใตชื่อเว็บนั้นๆ) แตปรากฏวาพอ คลิก เข าไปที่ url ของเว็บ กลับ ไม พบเว็ บ ดัง กลาว เพราะเว็บ นั้นอาจลม ชั่วคราว หรือ เขาไปแลวกลับไมเจอเนื้อหาที่ตองการเพราะมี การ update ขอมูลใหมใสเขาไป

โดย ณัฐกร สงคราม 21 กรกฎาคม 2554 ในเครื่องมือ search engine ของ google ยังมีวิธีการไดมาซึ่งขอมูลอีก 1 อยาง ที่ผมใชบอยๆ นั้นคือ ปุม “แคช” (Cached) ซึ่งจะมีประโยชนมากในกรณีที่ search ดวย keyword และพบเว็ บ ที่ ต องการแลว จาก รายชื่อที่ google แสดงให (และเห็นเนื้อหา

9


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

แรกๆ เหตุ ก ารณ ลั ก ษณะนี้ ทํ า ให ผ มเสี ย อารมณมากเพราะเห็นเว็บแลวแตไมสามารถ นําขอมูลที่ตองการมาใชงานได ตอมาจึง รูวา google ไดตระหนักถึงปญหานี้ (จริงๆ คงกลัว วาคนใชจะตอวาที่ไมเห็นมีขอมูลตามตัวอยาง ที่แ สดง) ดั ง นั้ น google จึ ง มี ปุ ม “แคช” (Cached) มาใหทายชื่อของเว็บไซตที่แสดง ขึ้นมาในหนาแสดงผลการคนหา ซึ่ง เมื่อคลิก เขาไปจะเจอหนาเว็บ นั้นๆ ที่ google ไดทํา การบั น ทึ ก เก็ บ ไว ใ นฐานข อ มู ล ครั้ ง ล า สุ ด ที่ ระบบโปรแกรม robot ของ google เขาไป

สํารวจเว็บดัง กลาว และชวยใหผูใชส ามารถ เขาไปดูเนื้อหาที่ตองการได ต อ ไป เ วล า คลิ ก ไป ที่ เ ว็ บ ต า ม ที่ google แสดงผลการคนหาแลวไมเจอขอมูล ดั ง กล า ว อย า เพิ่ ง โมโหนะครั บ กด back กลับ มาที่ห นาผลการคนหาอีก ครั้ง แลวลอง คลิกปุม ”แคช” (Cached) ดู ผมเชื่อวาทาน จะไดขอมูลที่ตองการแนนอน แตถายังไมพบก็ โทษระบบของ google แลวกันนะครับ…อยา โทษผมเลย

ไรฝุน…ภัยรายใกลตัวที่มองไมเห็น โดย จรงคศักดิ์ พุมนวน 20 ธันวาคม 2552 ไรฝุน หรื อไรฝุ น บา น (house dust mite) จัดเปนสัตวขาปลองชนิดเดียวกับแมลงและแมง มีขนาด ประมาณ 0.3 มิล ลิเ มตร ชอบอาศัยอยูในที่มีอุณหภูมิ 25–30°C ความชื้นสัมพัท ธ 60–70%RH ไมชอบแสง สวาง แหลงที่อยูของไรฝุนมักพบในบานเรือนเชน ที่นอน หมอน ผาหม โซฟา ผามาน พรม และตุก ตาที่ใชวัส ดุ ภายในเปนเสนใยเปนตน ไรฝุนจะมีชีวิตอยูโดยการกินเศษขี้ไคล ขี้รังแค สะเก็ดผิวหนังเปนอาหาร รายงานวาความชุกของโรคภูมิแพที่มีสาเหตุมาจากไรฝุนสูงและมีแนวโนมที่จะมากขึ้นทุกป ผูที่ไดรับ สารกอภูมิแพไรฝุนจากการสูดดมมูลไรฝุนทําใหไปกระตุนรางกายใหเกิดอาการภูมิแพ เชน น้ํามูกไหล คันตา ไอ จาม โพรงจมูกอักเสบ ตอมาก็เปนโรคหอบหืด หรือหลอดลมตีบตันถึงแกชีวิตได ปจจุบันประชาชนไดเริ่มตระหนักถึงอันตรายของโรคภูมิแพที่เกิดจากไรฝุน จึงใหความสนใจ ในการดูแลรักษาและปองกันสุขภาพของตนเองมากขึ้น ดังนั้นจึงมีผลทําใหเกิดการศึกษาคนควาและ วิจัยเพื่อหาวิธีการปองกันกําจัด และลดปริมาณของไรฝุนใหนอยลงจนอยูในระดับที่ไมกอใหเกิดอาการ ของโรคภูมิแพ เชน การใชความรอน การใชความเย็น การใชสารเคมี การรักษาความสะอาดเครื่อง 10


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

นอนเครื่องใชตางๆ เปนตน สําหรับการใชสารเคมียังไมเปนที่นิยมแมวาสารบางชนิดสามารถฆาไรได แตวิธีการนี้ยังไมมีรายงานยืนยันในความปลอดภัยในการใชระยะยาวซึ่งมีผลความเสี่ยงจากพิษตกคาง ทั้งนี้เนื่องจากตองนํามาใชกับเครื่องนอน ซึ่งมีการสัมผัสโดยตรงและยาวนานตอผูใช การลดสารกอภูมิแพในบานเรือน โดย การลดจํานวนประชากรของไรที่มีชีวิต เพื่อลด ระดับสารกอภูมิแพ และลดการที่เราไดรับสาร กอภูมิแพ สามารถทําไดโดยวิธีตอไปนี้ 1. การเลื อ กใช เ ครื่ อ งนอน ควร เลือกใช เ ครื่องนอนที่หุม ด วยผาที่มี ก ารสาน ด ว ยเส น ใยที่ อั ด แน น หรื อ พลาสติ ก หรื อ เลือกใชวัสดุที่ทําเครื่องนอน 2. การทิ้งเครื่องนอน ในกรณีที่มีไร ฝุนมากอาจทิ้งเครื่องนอน พรม เฟอรนิเจอรที่ ภายในทําจากวัสดุเสนใย หรือนุน ที่มีอายุการ ใชงานหลายป 3. การใชความรอนและความเย็ น เนื่องจากการควบคุมปริมาณไรฝุนและสารกอ ภูมิแพในเครื่องนอนและเฟอรนิเจอรสามารถ ทําไดย าก โดยทั่ว ไปไรฝุ นจะไมส ามารถทน ความรอนสูงได การนําออกมาผึ่ง แดดยัง ไมมี ประสิท ธิภาพในการฆาไรฝุนมากพอ เพราะ แสงแดดไมสามารถฆาตัวไรฝุนหรือทําลายสาร ภูมิแพได อุณหภูมิจากแสงแดดจัดๆ ซึ่งไรฝุน จะหนี ค วามร อ นจากด า นบนไปสะสมอยู ดานลาง ซึ่งสามารถฆาไขไรฝุนได เพียง 10% เท า นั้ น อย า งไรก็ ต ามเนื่ อ งจากมู ล ไรฝุ น มี คุณสมบัติละลายน้ําไดดีดังนั้นจึงควรนําวิธีการ ซัก (Washing) มาใชใ นการกํ าจั ด สารก อ ภูมิแพไรฝุน แตการซักผาในน้ําเย็นปกติหรือใช ผงซักฟอกไมสามารถฆาตัวไรฝุนได เพราะไร ฝุนสามารถมีชีวิตอยูในน้ําไดนานหลายวัน

4. การลดความชื้นภายในบาน ไรฝุน ชอบอาศัยในสิ่งแวดลอมที่มีความชื้นสูง ดังนั้น การลดระดับความชื้นในบานใหต่ํากวา 50% สามารถลดจํานวนของไรและลดระดับสารกอ ภูมิแพได เพราะความชื้นมีอิทธิพลตอการอยู รอดของไร จากการศึกษาในหองปฏิบัติการที่ อุณหภูมิ 25–34°C และความชื้นสัมพัทธ 40– 50%RH ไรจะตายเพราะการขาดน้ําภายใน 511 วั น แต วิ ธี ก ารนี้ ป ฏิ บั ติ ไ ด ย ากมากใน ประเทศไทย 5. การดู ด ฝุ น เนื่ อ งจากการศึ ก ษา เกี่ยวกับประสิทธิภาพของเครื่องดูดฝุนในการ ดูดฝุนเพื่อกําจัดไรฝุนยังมีไมม ากนัก และใน ปจจุบัน ยังไมมีเครื่องดูดฝุนที่เปนมาตรฐานที่ ใชในการดูดตัวไรฝุนอยางไดผ ลดี จึง ยัง ไมมี ขอสรุปที่เพียงพอในการใหคําแนะนํา อยางไร ก็ตามผูปวยอาจใชเ ครื่องดูดฝุนชนิดธรรมดา หรือชนิด high filtration machine เพื่อลด จํ า นวนไรฝุ น และสารภู มิ แ พ ล งได บ า ง ไม แนะนําใหใชพรมในหองผูปวย เนื่องจากไรฝุน มีขาที่แข็งแรงในการยึดเกาะติดกับเสนใย ทํา ใหดูดตัวไรฝุนออกมาไดยาก แมเครื่องดูดฝุน จะดู ด เอาสารก อ ภู มิ แ พ อ อกได แต ส ารก อ ภูมิแพนั้นอาจฟุงกระจายออกจากเครื่องดูดฝุน ที่ มี ถุ ง เก็ บ ฝุ น แบบธรรมดา ดั ง นั้ น การใช เครื่องดูดฝุนจะไดประโยชนอยางแทจริง เมื่อ ใชถุ ง เก็ บ ฝุน ชนิด ที่ส ามารถปอ งกัน การเล็ ด ลอดของไรฝุนและสารกอภูมิแพได 11


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

6. การคลุมดวยผา เสนใยสานแนน เนื่องจากตัวไรฝุนมีขนาดประมาณ 0.3 mm และมูลไรฝุนมีขนาด 0.01-0.04 mm ดังนั้น เพื่อใหได ผ ล จะตอ งใช ผาที่ มีเ สน ใยขนาดถี่ เพียงพอคลุมชั้นในกอน ปจจุบันมีผาคลุมที่ใช วัสดุตางๆกัน เชน ผาที่ทําจาก vinyl, nylon, cotton หรือวัส ดุอื่นๆ บางชนิดอาจเคลือบ น้ํายาประเภท polyurethane ไวดานในอีก ชั้น หนึ่ ง สํา หรั บ ผ าพลาสติ ก จะทึ บ ไมมี ชอ ง ระบายความร อ น และไมนุ ม ทํ า ให น อนไม สบายตัว การใชผาเสนใยสานแนนชนิดนี้ ควร ใชคลุมหมอนแลวจึงสวมผาปลอกหมอน และ คลุมที่นอนกอนปูทับดวยผาปูที่นอน ปจจุบันมี การศึกษาพบวา หมอนที่บรรจุขนสัตวภายใน จะตรวจพบสารภู มิ แ พ จ ากไรฝุ น น อ ยกว า หมอนที่บ รรจุดวยใยโพลีเอสเตอรถึง 5 เทา เนื่องจากหมอนขนสัตว ใชผาเสนใยถี่หอหุม เพื่ อ ป อ งกั น ขนสั ต ว เ ล็ ด ลอดและมี ป ลอก ภายนอกอีกชั้น ทําใหมีการปองกัน 2 ชั้น ตัว ไรฝุนและมูลจึงออกมาไดยากขึ้น 7. การใชสารเคมี สารเคมีที่ใชในการ ฆาตัวไรฝุนหรือที่เรียกวา acaricide ที่นิยมใช กันไดแก benzyl benzoate, pyrethroids, natamycin ในประเทศไทยการใช acaricides ในการทํ า ลายไรฝุ น ยั ง ไม แ พร ห ลาย แต ใ น

ตางประเทศนิยมใชในการฆาไรฝุนในพรมแต ยัง ไมแนะนําใหใชกับ ที่นอนหรือเครื่องนอน เนื่องจากอาจทําใหมีการสะสมของสารเคมี เพราะตองใชทุก 1-2 เดือน นอกจากนี้ยัง มี สารอีกประเภทที่ทําใหสารแพซึ่ง เปนโปรตีน เสื่ อ มสภาพ ได แ ก tannic acid พบว า สามารถทํา ลายสารภูมิ แพ ได ป จ จุ บัน ได มี ผลิตภัณฑหลายชนิด ที่กลาววาสามารถยับยั้ง ไร ฝุ น ห รื อ ทํ า ล าย ส า ร แพ จ า ก ไร ฝุ น ได ออกจําหนายในรูปแบบตางๆกันเชน สเปรย โฟม ผงโรย การเคลือบสารเคมีหรือสารจาก ธรรมชาติลงบนผา จากนั้นนําผามาบุเพื่อทํา เปนที่นอนหรือโซฟา อยางไรก็ตามสารเหลานี้ มีอายุก ารใชง านจึง จึ ง ยัง ไม มีง านวิ จัยใด ที่ ยื น ยั น แน ชั ด ว า สารเคลื อ บเหล า นี้ จะมี ประสิ ท ธิ ภ าพตลอดอายุ ก ารใช ง านของ เครื่องใชนั้นๆ 8. การใชน้ํา มันหอมระเหยจากพืช ในการปองกันและกําจัดไรฝุน โดยการนําสาร สกัดหรือน้ํามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรฉีด พ น หรื อ รมเครื่ อ งนอน เช น ที่ น อนหรื อ หองนอน ซึ่งนับวาเปนวิธีการที่นาสนใจ ทั้งใน แงของประสิทธิภาพในการควบคุมและความ ปลอดภัยตอผูอยูอาศัยรวมทั้งตอสิ่ง แวดลอม เพื่อการนํามาใชแทนสารเคมีกําจัดไร

ชัดลึก ชัดตื้น โดย Mr.Photo 24 มิถุนายน 2552 ในการถายภาพคําวา “ชัดลึก” “ชัดตื้น” มักมี “ความเขาใจผิด” สวนใหญคิดวาชัดตื้นคือ วัตถุที่อยูใกลชัด วัตถุที่อยูไกลเบลอ สวนชัดลึกคือวัตถุที่อยูใกลเบลอ แตวัตถุที่อยูไกลชัด 12


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

แตจริงๆ แลวภาพทั้งสองภาพนี้เราเรียกวาชัดตื้น โดยความหมายที่ถูกตองของภาพชัดตื้นคือ หากเราโฟกัสที่ไหน สวนที่อยูในระยะที่ใกลหรือไกลจากจุดสนใจจะเบลอหรือชัดนอยกวา ในขณะที่ ภาพชัดลึกคือภาพที่ไมวาเราโฟกัสที่ใด สวนที่อยูใกลหรือไกลก็ชัดเชนเดียวกัน ตามตัวอยาง ในที่นี้ผมขอแนะนําวิธีงายๆ สําหรับผูใชทั่วๆ ไปที่ใชกลอง compact ธรรมดา ดังนี้ 1. เปลี่ยนจากการใชโหมด Auto ไปเปน โหมดถายภาพวิว หากตองการใหภาพชัดลึก และเปลี่ ย นไปใช โ หมดภาพกี ฬ า หรื อ ภาพ บุคคล หากตองการภาพชัดตื้น 2. หากตองการภาพชัดตื้น ใหเขาไปใกล ตัวแบบมากๆ แตอยาใกลเกินไปจนโฟกัสไมได หรือใชวิธีถอยหางจากตัวแบบแลวใชวิธีซูมเขา ไป (Zoom In) 3. หากตองการภาพชัดลึก ใชวิธีซูมออก (Zoom Out) แตก็ไมควรเขาใกลวัตถุหรือตัว แบบจนเกินไป หากมีเวลาก็ลองทดลองดูนะครับวาไดผล อยางที่ตองการรึเปลา….

โดยปกติ เ รามั ก ถ า ยภาพชั ด ลึ ก กั บ ภาพมุมกวางที่เนนวิวทิวทัศน สวนภาพชัดตื้น มักใชกับภาพบุคคลเพื่อใหตัวแบบเดนกวาฉาก หนาหรือฉากหลังที่เราไมตองการ วิธีการถายภาพเพื่อใหไดชัดลึกชัดตื้น มีหลายแนวทาง ไมวาจะเปนเรื่องการเลือกใช ชวงซูม ของเลนส การกําหนดขนาดรูรับแสง ระยะหางระหวางกลองกับแบบ ซึ่งผูใชกลอง ตอ งเข าใจวิธี ก ารปรับ แตง กลอ งพอสมควร

13


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

บทความวิชาการ การจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ แตเ ดิม แนวคิ ดในการจั ดการเรีย นการสอนเป นการยึดผู ส อนเปน ศูนย ก ลาง (Teacher centered) โดยผูสอนเปนผูกําหนดเนื้อหาและวิธีก ารเรียนการสอนเอง ซึ่งสวนใหญเปนเพียงการ บรรยายหนาชั้นเรียนเทานั้น ตอมานักการศึกษาเชื่อวาแนวคิดดังกลาวไมไดเ อื้อตอเกิดการพัฒนา ผูเรียนอยางแทจริง เพราะไมใชวิธีการที่ตอบสนองตอความตองการหรือลักษณะของผูเรียน การศึกษา ควรใหความสําคัญกับ “การเรียน” มากกวา “การสอน” และนํามาสูแนวคิดของการจัดการเรียนการ สอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง (Student centered หรือ Child centered) ซึ่งตอมาไดเปลี่ยนมา เรียกวา “การเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ” การเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปน สําคัญ หมายถึง “การจัดการเรียนการสอนที่ มุ ง ให ผู เ รี ย นสามารถแสวงหาความรู และ พัฒ นาความรูไ ดตามธรรมชาติและเต็ม ตาม ศักยภาพของตนเอง สนับสนุนใหมีการฝกและ ปฏิ บั ติ ใ นสภาพจริ ง ของการทํ า งาน มี ก าร เ ชื่ อ ม โ ย ง สิ่ ง ที่ เ รี ย น กั บ สั ง คม แล ะ ก า ร ประยุ ก ต ใ ช รวมทั้ ง การจั ด กิ จ กรรมและ กระบวนการ ให ผู เ รี ย นได คิ ด วิ เ คราะ ห สัง เคราะห ประเมินและสรางสรรคสิ่ง ตางๆ โดยไมเนนไปที่การทองจําเพียงเนื้อหา”

ผูสอนทําหนาที่เตรียมการจัดบรรยากาศการ เรียนรู จัดสื่อสิ่งเราเสริมแรงใหคําปรึกษาและ สรุปสาระการเรียนรูรวมกัน 2. Construct เปนกิจกรรมที่ผูเรียน ไดคนพบสาระสําคัญหรือองคการความรูใหม ดวยตนเอง อันเกิดจากการไดศึก ษาคนคว า ทดลอง แลกเปลี่ยนเรียนรูและลงมือปฏิบัติ จริง ซึ่งจะทําใหผูเรียนสามารถนําสิ่งที่เรียนรู ไปใช ไ ดจ ริ ง ในชี วิ ตประจํ า วัน รวมทั้ ง ทํา ให ผูเ รียนรัก การอาน รั ก การศึก ษาคนควาเกิ ด ทักษะในการแสวงหาความรู เห็นความสําคัญ ของการเรียนรู ซึ่งนําไปสูก ารเปนบุคคลแหง การเรียนรู (Learning Man) ที่พึงประสงค 3. Resource เปนกิจกรรมที่ผูเรียน ไดเรียนรูจากแหลงเรียนรูตางๆ ที่หลากหลาย ทั้ง บุค คลและเครื่อ งมือทั้ ง ในหองเรีย นและ นอกหองเรียน ผูเรียนไดสัมผัสและสัมพันธกับ สิ่ ง แวดล อ มทั้ ง ที่ เ ป น มนุ ษ ย เช น ชุ ม ชน ครอบครัว องคก ร ธรรมชาติและเทคโนโลยี

ลักษณะของกิจกรรมการเรียนการสอน 1. Active Learning เปนกิจกรรม ที่ผูเ รียนเปนผูก ระทําหรือปฏิบัติดวยตนเอง ดวยความกระตื อรื อร น เชน ไดคิ ด คน คว า ทดลองรายงาน ทํ า โครงการ สั ม ภาษณ แกปญหา ฯลฯ ไดใชประสาทสัมผัสตางๆ ทํา ใหเกิดการเรียนรูดวยตนเองอยางแทจริง โดย 14


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ตามหลัก การที่วา "การเรียนรูเ กิดขึ้นไดทุก ที่ ทุกเวลาและทุกสถานการณ" 4. Thinking เปนกิจกรรมที่สงเสริม กระบวนการคิด ผูเ รียนไดฝก วิธีคิดในหลาย ลัก ษณะ เช น คิดคลอ ง คิดหลากหลาย คิ ด ละเอียด คิดชัดเจน คิดถูก ทางคิดกวาง คิด ลึกซึ้ง คิดไกล คิดอยางมีเหตุผล เปนตน การ ฝกใหผูเรียนไดคิดอยูเสมอในลักษณะตางๆ จะ ทําใหผูเรียนเปนคนคิดเปน แกปญหาเปน คิด อยางรอบคอบมีเหตุผล มีวิจารณญาณ ในการ คิด มีความคิดสรางสรรค มีความสามารถใน การคิดวิเคราะหที่จะเลือกรับและปฏิเสธขอมูล ขาวสารต างๆ ไดอ ยางเหมาะสม ตลอดจน สามารถแสดงความคิดเห็นออกไดอยางชัดเจน และมี เหตุผ ลอันเปนประโยชนตอการดํารง ชีวิตประจําวัน 5. Happiness เป น กิ จ กรรมที่ ผูเรียนเรียนอยางมีความสุข ซึ่งเปนความสุขที่ เกิดจาก 1) ผูเรียนไดเรียนในสิ่งที่ตนชอบหรือ สนใจ ทําใหเ กิดแรงจูงใจในการใฝรู ทาทาย อยากคนควา อยากแสดงความสามารถและให ใช ศั ก ยภาพของตนอย า งเต็ ม ที่ 2) การมี ปฏิสัมพันธ (Interaction) ระหวางผูเรียนกับ ผูสอนและระหวางผูเรียนกับผูเรียน มีลักษณะ เปนกัลยาณมิตร มีการชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกัน และกั น มี กิ จ กรรมร ว มด ว ยช ว ยกั น ทํ า ให ผูเรียนรูสึกมีความสุขและสนุกกับการเรียน 6. Participation เปนกิจ กรรมที่ เนนการใหผูเรียนมีสวนรวม ตั้งแตการวางแผน กํ า หนดงาน วางเป า หมายร ว มกั น และมี โอกาสเลือกทํางานหรือศึกษาคนควาในเรื่องที่

ตรงกับ ความถนัดความสามารถ ความสนใจ ของตนเอง ทํ า ให ผู เ รี ย นเรี ย นด ว ยความ กระตื อรือ รน มองเห็นคุ ณคา ของสิ่ง ที่ เ รีย น และสามารถ ประยุ ก ต ค วามรู นํ า ไปใช ประโยชนในชีวิตจริง 7. Individualization เปนกิจกรรม ที่ผูสอนใหความสําคัญแกผูเรียนในความเปน เอกัตบุคคล ผูสอนตองยอมรับในความสามารถ ความคิดเห็น ความแตกตางระหวางบุคคลของ ผู เ รี ยน มุ ง ให ผู เ รี ยนได พั ฒ นาตนเองให เ ต็ ม ศักยภาพมากกวาเปรียบเทียบแขงขันระหวาง กั น โ ด ย มี ควา ม เ ชื่ อ มั่ น ผู เ รี ย น ทุ ก คน มี ความสามารถในการเรี ยนรู ได และมี วิธี ก าร เรียนรูที่แตกตางกัน 8. Good Habit เปนกิจ กรรมที่ ผูเรียนไดพัฒนาคุณลัก ษณะนิสัยที่ดีงาม เชน ความรับผิดชอบ ความเมตตา กรุณา ความมี น้ําใจ ความขยัน ความมีร ะเบียบวินัย ความ เสียสละ ฯลฯ และ ลักษณะนิสัยในการทํางาน อยางเปนกระบวนการการทํางานรวมกับผูอื่น การยอมรับผูอื่น และ การเห็นคุณคาของงาน เปนตน 9. Self Evaluation เปนกิจกรรม ที่เ น น การประเมิ น ตนเอง เดิ ม ผู ส อนเป น ผู ประเมินฝายเดียว แตการเปดโอกาสใหผูเรียน ประเมินตนเองอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง จะ ช ว ยให ผู เ รี ย นเข า ใจตนเองได ชั ด เจนขึ้ น รุ จุดเดนจุดดอยและพรอมที่จ ะปรับ ปรุง หรื อ พัฒนาตนเองใหเหมาะสมยิ่งขึ้น การประเมิน ในสวนนี้เปนการประเมินตามสภาพจริงและ อาจใชแฟมสะสมผลงานชวย 15


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

บทบาทของผูสอน บทบาทของผูสอนในการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสํา คัญจะไมเปนผูชี้นําหรือผูออก คําสั่งแตจะเปลี่ยนเปนผูกระตุน ผูอํานวยความสะดวกและใหคําแนะนําชวยเหลือเมื่อจําเปน ติดตาม ตรวจสอบ รวมทั้งใหการสนับสนุนดานอุปกรณการเรียนรู เชน แหลงขอมูล เทคโนโลยี คอมพิวเตอร อุปกรณที่เปนสื่อการเรียนรูรูปแบบ ตางๆ เว็บไซด อีเมล ฯลฯ ซึ่งเมื่อ เ ป รี ย บ เ ที ย บ ลั ก ษณะ ก า ร จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนของ อาจารย ส มัยใหมกับ อาจารย ส มั ย เกาก็จะเห็นความแตกตาง ดังนี้

อาจารยสมัยใหม 1. สอนผูเรียนโดยวิธีบูรณาการเนื้อหาวิชา 2. แสดงบทบาทในฐานะผูแนะนํา (Guide) ประสบการณทางการศึกษา 3. กระตือรือรนในบทบาท ความรูสึกของผูเรียน 4. ใหผูเรียนมีสวนรวมในการวางแผนของ หลักสูตร 5. ใชเทคนิคการคนพบดวยตนเองของผูเรียนเปน กิจกรรมหลัก 6. เสริมแรงหรือใหรางวัลมากกวาการลงโทษ โดยใชแรงจูงใจภายใน 7. ไมเครงครัดกับมาตรฐานทางวิชาการจนเกินไป 8. มีการทดสอบเล็กนอย 9. มุงเนนการทํางานแบบรวมใจ 10. สอนโดยไมยึดติดกับหองเรียน 11. มุงสรางสรรค ประสบการณใหมใหผูเรียน 12. มุงเนนความรูทางวิชาการและทักษะดานจิต พิสัยเทาเทียมกัน 13. มุงเนนการประเมินกระบวนการเปนสําคัญ

อาจารยสมัยเกา 1. สอนแยกเนื้อหาวิชา 2. มีบทบาทในฐานะตัวแทนของเนื้อหาวิชา (Knowledge) 3. ละเลยเฉยเมยตอบทบาทผูเรียน 4. ผูเรียนไมมีสวนรวมแมแตจะพูดเกี่ยวกับ หลักสูตร 5. ใชเทคนิคการเรียนโดยใชการจําเปนหลัก 6. มุงเนนการใหรางวัลภายนอก เชน เกรด แรงจูงใจภายนอก 7. เครงครัดกับมาตรฐานทางวิชาการมาก 8. มีการทดสอบสม่ําเสมอเปนระยะๆ 9. มุงเนนการแขงขัน 10. สอนในขอบเขตของหองเรียน 11. เนนย้ําประสบการณใหมเพียงเล็กนอย 12. มุงเนนความรูทางวิชาการเปนสําคัญ ละเลย ความรูสึกหรือทักษะทางดานจิตพิสัย 13. ประเมินกระบวนการเล็กนอย

16


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

กลยุทธในการจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ กลยุทธที่ 1 การใชรูปแบบและวิธีการเรียนการสอน เปนการนํารูปแบบและวิธีการเรียนการสอนที่นาสนใจมาใชจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ สอดคลองตามหลักการของการเรียนการสอนโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งมีทั้งเทคนิคและวิธีการสอน ประกอบการบรรยายโดยผูสอน หรือการใชกระบวนการเรียนการสอนที่เนนใหผูเรียนเปนผูดําเนิน กิจกรรมตามขั้นตอนที่กําหนดไว ตัวอยางเชน  การเรียนที่ใชปญหาเปนหลัก (Problem-based Learning)  การเรียนที่ใชการวิจัยเปนฐาน (Research–based Learning)  การเรียนแบบโครงงาน (Project-based Learning)  การจัดการเรียนการสอนแบบสืบคน (Inquiry Instruction)  การเรียนแบบรวมมือ (Cooperative/Collaborative Learning)  การจัดการเรียนแบบบูรณาการ (Integrated Learning Management)  เทคนิคการใช Concept Mapping  เทคนิคการใช Learning Contracts  เทคนิคบทบาทสมมติ (Role Playing Model)  เทคนิคหมวก 6 ใบ  เทคนิคการเรียนการสอนแบบจิ๊กซอร (Jigsaw) ฯลฯ กลยุทธที่ 2 การใชสื่อและเทคโนโลยีประกอบการเรียนการสอน เปนการนําสื่อการเรียนการสอนรูปแบบตางๆ ทั้งดานภาพและเสียง รวมทั้ง เทคโนโลยีที่ นาสนใจ โดยเฉพาะทางดานคอมพิวเตอรมาใชในการเรียนการสอน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยสราง ความรูความเขาใจในเนื้อหาบทเรียน กระตุนความสนใจและสรางแรงจูง ใจในการเรียน รวมทั้ง สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในรูปแบบแหลงทรัพยากรการเรียนรู การติดตอสื่อสาร ระหวางผูสอนกับผูเรียน หรือระหวางผูเรียนดวยกันเอง ตัวอยางเชน  การใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI) หรือสื่อเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง  การเรียนอิเล็กทรอนิกส (E-learning, M-learning, U-learning)  การเรียนแบบผสมผสาน (Blended / Hybrid Learning)  การใชเครื่องมือทางปญญา (Cognitive Tools)  การใชเครือขายสังคมออนไลน (Social Network)

17


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

การวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลในการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญตามสภาพจริง นิยมใช การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) เปนการประเมินการแสดงออกของผูเรียน รอบดานตลอดเวลา ใชขอมูลและวิธีการหลากหลาย ดวยวิธีการและเครื่องมือ ดังนี้ 1. ศึกษาวัตถุประสงคของการประเมิน เปนการประเมินเพื่อพัฒนาผูเรียนรอบดาน ดังนั้น จึงใชวิธีก ารที่ห ลากหลาย ขึ้นอยูกับ จุดประสงค เชน การสังเกต สัม ภาษณ การตรวจผลงาน การ ทดสอบ บันทึกจากผูเกี่ยวของ การรายงานตนเองของผูเรียน แฟมสะสมงาน เปนตน 2. กําหนดเครื่องมือในการประเมิน เมื่อกําหนดวัตถุประสงคของการประเมิน ใหเปนการ ประเมินพัฒนาการของผูเรียนรอบดานตามสภาพจริงแลว ในการกําหนดเครื่องมือจึงเปนเครื่องมือที่ หลากหลาย เปนตนวา - การบันทึกขอมูล จากการศึกษา ผลงาน โครงงาน หนังสือที่ผูเรียนผลิต แบบบันทึก ตา งๆ ได แ ก แบบบั น ทึ ก ความรู สึ ก บั น ทึ ก ความคิ ด บัน ทึ ก ของผู เ กี่ ย วขอ ง (ผู เ รี ยน เพื่อ น ครู ผูปกครอง) หลักฐานรองรอยหรือผลงานจากการรวมกิจกรรม เปนตน - แบบสังเกต เปนการสังเกตพฤติกรรม การรวมกิจกรรมในสถานการณตาง ๆ - แบบสัมภาษณ เปนการสัมภาษณความรูสึก ความคิดเห็น ทั้งตัวผูเรียน และผูเกี่ยวของ - แฟม สะสมงาน เป นสื่ อที่ ร วบรวมผลงานหรือ ตัวอยา งหรือหลัก ฐานที่แ สดงถึ ง ผลสัมฤทธิ์ ความสามารถ ความพยายาม หรือความถนัดของบุคคลหรือประเด็นสําคัญที่ตองเก็บไว อยางเปนระบบ - แบบทดสอบ เปนเครื่องมือวัดความรู ความเขาใจที่ยังคงมีความสําคัญตอการประเมิน สําหรับ ผู ป ระเมิ น ประกอบด วย ผูเ รียนประเมิ นตนเอง ครู เพื่อน/กลุ ม เพื่ อน ผูป กครอง และ ผูเกี่ยวของกับผูเรียน

18


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ตัวอยางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ

ตัวอยางที่ 1

การเรียนที่ใชปญหาเปนหลัก การเรียนที่ใชปญหาเปนหลัก (Problem-based Learning) เปนรูปแบบการเรียนที่มีผูเรียน เปนศูนยกลางรูปแบบหนึ่งที่นิยมใชกันมากโดยเริ่มมาจากสาขาแพทยศาสตรและแพรหลายไปสูสาขา อื่นๆ แนวคิดหลักของรูปแบบนี้คือการใชสถานการณปญหาเปนตัวกระตุนใหผูเรียนแสวงหาความรู เพื่อนํามาแกปญหานั้น ซึ่งจะชวยใหผูเรียนสามารถพัฒนาโครงสรางความรูไดดวยตนเอง ในที่นี้จะขอ ยกตัวอยางจากงานวิจัยของ อ.ณัฐกร สงคราม ที่ไดทําการทดลองใชกับนักศึกษาสาขาพัฒนาการ เกษตรและการจัดการทรัพยากร ในรายวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเกษตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553 โดยมีกระบวนการของการเรียนการสอนดังตอไปนี้ ขั้นตอนที่ 1) เตรียมความพรอมผูเรียน 1.1) ผูส อนปฐมนิเ ทศเพื่อใหผูเ รียน ทราบเป าหมายของการเรีย น ขั้น ตอนและ วิธีก ารเรีย นการสอน สื่อและเครื่องมื อที่ใ ช สถานที่ บทบาทของผูสอน บทบาทของผูเรียน การแบง กลุม ผูเ รียน ระยะเวลาในการเรียน รวมทั้ง วิธี ก ารและเกณฑ ก ารประเมิ น หรื อ เงื่อนไขสําคัญอื่นๆ ที่เกี่ยวของ

เฉลี่ยความรู ความสามารถแตละกลุมใกลเคียง กั น และ ไม ค วร จั ด ผู เ รี ยนที่ ป ร ะพฤติ ไ ม เหมาะสมหรือไมคอยสนใจการเรียนอยูรวมกัน จากนั้นคัดเลือกสมาชิก ในกลุมเพื่อทําหนาที่ เปนประธานและเลขานุการ 1.3) ผู ส อนฝ ก อบรมเพื่อ ให ความรู ความเขาใจ และทักษะที่จําเปนตอการเรียน และการทํางานกลุม ไดแก การระบุปญหาและ การเขี ย นสมมติ ฐ าน การเขี ย นผั ง ความคิ ด เทคนิคและวิธีการประชุม การจดบันทึกและ การเขียนรายงานการประชุม รวมทั้งการสาธิต และใหผูเ รียนไดท ดลองฝกปฏิบัติก ารใชงาน สื่อหรือเครื่องมือที่จะชวยสนับสนุนการเรียน หรือการทํางานของกลุม ขั้นตอนที่ 2) เสนอสถานการณปญหา 2.1) ผูสอนเกริ่นนําเขาสูสถานการณ ที่ผูเ รียนจะไดพบ โดยพยายามเชื่อมโยงกับ

1.2) ผูสอนแบงกลุม ผูเรียนออกเปน กลุม ยอย (5-8 คน) โดยพยายามจัดกลุม ให 19


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ความรูและประสบการณเดิมเพื่อใหผูเรียนเห็น ความสําคัญและคุณคาของปญหานั้น

2.4) ผูส อนแนะนํา ชองทางสํ าหรั บ สืบ คนขอมูล ทั้งจากแหลง ขอมูล ภายในหรือ จากแหลงขอมูลภายนอกที่ผูเรียนสามารถเขา ไปคนควาเพื่อหาแนวทางการแกปญหา ขั้นตอนที่ 3) กําหนดกรอบการศึกษา 3.1) ผูเรียนรวมกันพิจารณาปญหาที่ ไดรับอยางละเอียด ทําความเขาใจคําศัพทและ ขอความที่ปรากฏอยูในโจทยปญหาใหชัดเจน เพื่อใหสมาชิกในกลุมเกิดความเขาใจที่ถูกตอง สอดคลองกัน 3.2) ผูเ รียนระดมความคิดเห็นจาก สมาชิก ทุก คนในกลุ ม เพื่ อเชื่ อมโยงแนวคิ ด ของแตล ะคน ซึ่งอาศัยความรูเ ดิมเปนขอมูล ในการสรางสมมติฐานโดยสรางสมมติฐานให ได ม ากที่ สุ ด จากนั้ น ร ว มกั น คั ด เลื อ กแต สมมติฐานที่นาจะเปนไปได และคัดที่ไมนาจะ ใชทิ้งไป

2.2) ผู ส อนนํ า เสนอสถานการณ ปญหาทางการเกษตร โดยในการวิจัยครั้งนี้ใช กรณีตัวอยางของ “ลุง สําราญ” เกษตรกร เจาของสวนมั ง คุดในจัง หวัด ระยอง ที่กําลั ง ประสบปญหาผลผลิตลนตลาดทําใหขายมังคุด ได ร าคาต่ํ า เนื่ อ งจากสถานการณ ป ญ หา ดังกลาวเกี่ยวของกับสาขาวิชาของผูเรียนและ เปนปญหาที่มีหลายสาเหตุรวมกันสงผลใหเกิด ปญหา ซึ่งลักษณะปญหาเชนนี้จะชวยใหผูเรียน ไดฝกการวิเคราะหปญหาและตั้งสมมติฐานได หลากหลายรวมทั้ ง สามารถวางแผนการ แกปญหาไดทั้งในระยะสั้นและระยะยาว 2.3) ผู ส อนใช คํ า พู ด ที่ ท า ทายเพื่ อ กระตุ น ให ผู เ รี ย นอยากที่ จ ะแก ป ญ หาจาก สถานการณ

3.3) ผูเรียนรวมกันระบุประเด็นการ เรี ย นรู ที่ ต อ งทํ า การศึ ก ษาค น คว า ข อ มู ล เพิ่ม เติม จากแหล ง สารสนเทศตางๆ เพื่อใช ตอบคําถามจากสมมติฐานที่คัดเลือกไว ซึ่งยัง ไมส ามารถตอบไดดวยความรูปจจุบันที่มีอยู ภายในกลุม

20


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

4.3) ผูเ รียนแตล ะคนรายงานความ คืบหนาของหนาที่ที่ไดรับผิดชอบเพื่อรวมกัน พิจ ารณาวาไดขอมูล ที่ตองการครบถวนแลว หรื อ ไม หรื อ หากเจอป ญ หาอุ ป สรรคใดก็ สามารถชวยกันหาแนวทางแกไข ขั้นตอนที่ 5) เลือกแนวทางแกปญหา 5.1) ผูเ รียนประชุม อภิปรายรวมกัน ในกลุมเพื่อพิจารณาเลือกสมมติฐานที่นาจะ ถูกตองที่สุดในการนําไปใชเปนแนวทางในการ แกปญ หา โดยใชขอมูล ที่ส มาชิกแตละคนไป ศึก ษาคนความาประกอบการตัดสินใจ หรือ หากมีสมมติฐานที่นาจะถูกตองมากกวาหนึ่ง ก็ ใหจัดเรียงลําดับความนาจะเปน

3.4) ผูเ รียนรวมกันวางแผนงานเพื่อ กํ า หนดกรอบหรื อ ขอบเขตที่ จ ะศึ ก ษาแนว ทางการแก ปญ หา จากนั้นแบงหนาที่ความ รั บ ผิ ด ชอบของสมาชิ ก ภายในกลุ ม ในการ ดําเนินการคนควาขอมูล ขั้นตอนที่ 4) คนควาขอมูล 4.1) ผูเรี ยนแตล ะคนแยกย ายกั นไป คนควาหาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นการ เรียนรูจากแหลงขอมูลภายในและภายนอกทั้ง เอกสารวิชาการ ขาวสาร ภาพยนตร วีดิทัศน หรือพูดคุยขอคํ าปรึกษาจากผู เชี่ยวชาญดาน ตางๆ รวมทั้งอาจทําการทดลอง สังเกต คํานวณ โดยอาจแยกทํางานเปนรายบุคคล หรือไปเปน กลุมตามที่ไดแบงหนาที่ความรับผิดชอบ 4.2) ผูเรียนทําการบันทึกขอมูล ที่ได จากการสืบ คนเพื่อเตรียมสําหรับ นําไปใชใน การอภิปรายรวมกัน

5.2) กลุมผูเรียนนําแนวทางที่เลือกไป ต ร ว จ ส อ บ ห รื อ ท ด ล อ ง แ ก ป ญ ห า ใ น ห อ งปฏิ บั ติ ก าร หรื อ ขอความคิ ด เห็ น จาก ผูเ ชี่ยวชาญเพื่อพิจารณาความเปนไปไดของ แนวทางการแกปญหาที่เลือก 5.3) กลุมผูเรียนพิจารณาผลจากการ ตรวจส อบหรื อทดล องใช แนวท างกา ร แกปญหาที่เลือก หากผลที่ออกมายังไมชัดเจน ก็ทําการคนควาขอมูล เพิ่ม เติม เพื่อปรับ ปรุ ง ทางเลือกนั้นใหสมบูรณยิ่งขึ้นและนําไปทดลอง

21


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ใหมอีกครั้ง หรือหากมีแนวโนมที่จะแกปญหา ไมไดก็ใหใชทางเลือกขอถัดไป

ปรับปรุงใหชัดเจนขึ้น 6.2 จากนั้นจึงเชิญบุคคลภายนอกที่ เกี่ ย วข อ ง เช น เกษตรกร ผู ป ระกอบการ นักวิชาการเกษตร เขามารวมฟงการนําเสนอ

5.4) ผูเรียนรวมกันสรุปผลการเรียนรู หลั ง จากไดข อ มูล ครบถว นในการพิ สู จ น ข อ สมมติ ฐานแลว จากนั้น วางแผนการเตรี ย ม ขอ มูล และสื่อ ประกอบการนํา เสนอ และ รวมกันผลิตสื่อการนําเสนอ โดยอาจปรึกษา ผู เ ชี่ ย วชาญเพื่ อ ขอความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ รูปแบบการนําเสนอที่วางแผนไว

6.2) ในการ นําเสนอแตละครั้ง ผูสอน ควรสรางบรรยากาศการ วิพ ากษวิ จ ารณ ซั ก ถาม เสนอแนะความคิด เห็ น ระหว างผู ที่นํ าเสนอและผู ที่ เ ข าร ว มฟ ง การ นําเสนอ และสรุปใหเห็นประโยชนที่ผูเรียนจะ ไดรับ รวมทั้งแนวทางในการนําความรูนั้นไป ใชในการแกปญหาในสถานการณอื่นๆ

6) นําเสนอผลงาน

6.1) ผูเรียนแตละกลุมนําเสนอผลการ แกปญหาหนาชั้นเรียน โดยในรอบแรกทําการ นํ า เสนอต อ คณาจารย ใ น สาขาวิ ช าและผู เ รี ย นกลุ ม อื่ น ๆ เพื่ อ ประเมิ น ความ เหมาะสมในเบื้ อ งต น และ

6.3) ผูเรียนเผยแพรผลงานที่นําเสนอ รวมทั้ ง หลัก การ แนวคิดตางๆ ที่ไดจ ากการ แก ป ญ หา เพื่ อ ให เ กิ ด แลกเปลี่ ย นความรู ระหวางผูเรียน 22


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

จากผลการวิจัยพบวา นักศึกษาที่เ รียนตามรูปแบบการเรียนที่ใชปญหาเปนหลักมีคะแนน ความสามารถในการแกปญหาหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ พบวานักศึกษามีความพึงพอใจตอรูปแบบการเรียนอยูในระดับมาก โดยเห็นวา กิจกรรมการเรียน กระตุนใหนักศึกษาไดฝกคิดวิเคราะห มากกวาการทองจํา สงเสริมใหนักศึกษาสามารถบูร ณาการ ความรูและทักษะในดานตางๆ ไปใชในการแกปญหาทางการเกษตร รวมทั้งเชื่อมโยงไปสูการทํางานใน อนาคต และสงเสริมใหนักศึกษาศึกษาคนควาและแสวงหาความรูดวยตนเอง นอกจากนี้ผลการสังเกต พฤติกรรมการเรียนยังพบวา นักศึกษาตั้งใจและกระตือรือรนมากขึ้นเพราะเปนรูปแบบการสอนใหมที่ ตางจากการเรียนแบบบรรยายโดยทั่วไป

ตัวอยางที่ 2

การเรียนแบบโครงงานรวมกับเครื่องมือทางปญญา การจัดการเรียนแบบโครงงาน (Project Based Learning) เปนกระบวนการแสวงหาความรู หรือการคนควาหาคําตอบในสิ่งที่ผูเรียนอยากรูหรือสงสัยดวยวิธีการตางๆ คลายกับกระบวนการของ Problem-based Learning โดยอาจนําปญหามาเปนจุดเริ่มตนแตใหโอกาสผูเรียนไดวางโครงการ แกปญหาขึ้นมาเองและดําเนินการใหสําเร็จตามความมุงหมายของโครงการนั้น อาจเปนโครงการที่ จัดทําเปนกลุมหรือคนเดียวก็ได โดยมีสวนรวมในการปฏิบัติงานดวยตนเองจนไดชิ้นงานที่สามารถนํา ผลการศึกษาไปใชไดในชีวิตจริง ในที่นี้จะขอยกตัวอยางสถานการณที่ใชการเรียนแบบโครงงานรวมกับ การสนับ สนุนให ผูเ รียนนําโปรแกรมคอมพิวเตอรม าใชในลัก ษณะเครื่องมือทางปญ ญาเพื่อชว ย สนับสนุนกระบวนการคิดของผูเรียน พีทเปนนักศึกษาในมหาวิทยาลัยแหง หนึ่ง เขาไดรับมอบหมายจากอาจารยผูสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศใหคิดคนโครงงานที่ แสดงให เ ห็ น ถึ ง รู ป แบบการนํ า โปรแกรม คอมพิวเตอรที่ไดเ รียน รวมทั้ง เว็บ ไซต และ เทคโนโลยี ส ารสนเทศอื่ น ๆ ไปประยุ ก ต ใ ช ประโยชนในชีวิตประจําวันหรือเหตุการณจริง พีทเปนผูที่สนใจเรื่องของการทองเที่ยวและใน

ภาคเรียนนี้เขาไดลงทะเบียนเรียนวิชาทางดาน ภูมิศาสตรโลก ดังนั้นเขาจึงนํารายวิชาทั้งสอง มาบู ร ณาการร ว มกั น โดยออกแบบเป น โครงงานเดิน ทางท องเที่ยวรอบโลกเสมือ น (Virtual Travel) จากเมืองที่เขาอยูอาศัยไป ทางภาคตะวันออกผานประเทศตางๆ และวน กลับมาทางทิศตะวันตกในระยะเวลา 2 เดือน กอนปดภาคเรียน ซึ่งเมื่อเขานําแผนงานนี้ไป

23


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ปรึก ษากับ อาจารยผูส อนทั้ง 2 วิชา ก็ไดรั บ คําแนะนําเกี่ยวกับ แนวทางการใชเ ครื่องมือ ตา งๆ ในการปฏิ บัติ ง านและขอ มูล ตา งๆ ที่ จําเปนจะตองศึกษา พีทเริ่มการทําโครงงานโดยการสราง กรอบแนวคิ ด ที่ เ กี่ ย วข อ งต อ การวางแผน เส นท า งของ เ ขา ด วย กา ร ใช โป ร แก ร ม CmapTools (เปนโปรแกรมที่ชวยในการสราง แผนภาพหรือผังความคิด) เพื่อใหเห็นภาพรวม ของข อ มู ล ด า นต า งๆ ที่ เ ขาจะต อ งค น หา รวมทั้งความเชื่อมโยงระหวางปจ จัยตางๆ ที่ สงผลตอการออกแบบเสนทาง จากนั้นเขาใช ความรูจากวิชาภูมิศาสตรโลกมาลองกําหนด เสนทางเดินทางโดยใชโปรแกรม CmapTools สรางแผนผัง การเดินทางฉบับรางออกมา ซึ่ง ประกอบดวยเสนทางผานประเทศตางๆ ที่เขา คิดวานาจะเปนไปไดในการเดินทางจริง

โหวตเกี่ยวกับสถานที่ที่เขาสนใจ หลังจากได จุดทองเที่ยวตามเสนทางแลว พีทใชโปรแกรม Microsoft Excel ทําการคํานวณความเปนไป ไดในการเดินทาง เชน การคํานวณระยะทางที่ เปนไปไดในแตละวัน การคํานวณคาใชจายใน การเดินทาง คาอาหาร คาที่พัก จากนั้นจึงทํา การปรับลดหรือเพิ่มโปรแกรมการเดินทางใน แ ต ล ะ วั น ใ ห ล ง ตั ว กั บ ร ะ ย ะ เ ว ล า แ ล ะ งบประมาณที่ตั้งไว และทําการสรางแผนภูมิ และกราฟสรุป รายละเอียดคาใชจายรายวัน รายสัปดาห และรายเดือน นอกจากนี้ พีทยัง ไดจัดทําฐานขอมูลดวยโปรแกรม Microsoft Access เกี่ย วกั บ สถานที่ ที่เ ขาจะหยุ ด พั ก ไดแก ที่อยูและเบอรติดตอของที่พัก รวมทั้ง หนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ตํารวจทองเที่ยว สถานฑูต เพื่อใหสะดวกตอการนําขอมูลมาใช งานในภายหลัง พีท นํ าแผนที่ว างไวไปขอคํ าปรึ ก ษา จากอาจารยผูสอน อาจารยไดตั้งคําถามพีทวา รูไ ด อ ย า งไรว าแผนที่ ว างไว ไม ผิ ด พลาด ซึ่ ง อาจารยไดแนะนําแนวทางในการตรวจสอบ ความเหมาะสมของแผนที่วางไว โดยใหพีท ล องสอบถามความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญหรือผู

ใน ก า ร กํ า ห น ด จุ ด ท อ ง เ ที่ ย วใ น ประเทศที่เสนทางผาน พีทใชวิธีการสืบคนผาน Search Engine ที่ เ ขาคุ นเคยไมว าจะเป น Google, Yahoo หรือ MSN เพื่อคนหาแหลง ทองเที่ยวที่นาสนใจ รวมทั้งจากเว็บไซตอื่นๆ เชน เว็บ ไซตแนะนําการทองเที่ยวของแตล ะ ประเทศเพื่อใหไดขอมูล ที่มากขึ้น นอกจากนี้ เขายัง ศึก ษาขอมูล เกี่ยวกับ สถิติและคะแนน 24


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ที่มีป ระสบการณ ดัง นั้นเขาจึง ทําการคนหา รายชื่ อ นัก ทอ งเที่ ย วที่ เ คยเดิ น ทางรอบโลก มาแลว จากเว็ บ ทอ งเที่ย วและทํ าการติ ดต อ บุ ค ค ล เ ห ล า นั้ น ผ า น ร ะ บ บ สื่ อ ส า ร ใ น อิ น เทอร เ น็ ต ไม ว า จะเป น E-mail หรื อ Webboard เพื่อสอบถามความคิดเห็นและ ประเมินความเหมาะสมของแผนการเดินทาง ในการติดตอครั้งนี้เขาไดรับคําแนะนําที่สําคัญ ซึ่ ง เขามองข า มไปนั่ น คื อ การวางแผนการ เดินทางที่ดีตองมีก ารศึก ษาสภาพภูมิอากาศ หรือขาวเกี่ยวกับภัยธรรมชาติของสถานที่ที่เรา จะไปในชวงนี้ใหดี ซึ่ง เมื่อพีทไดเขาไปสืบคน จากขาวพยากรณอากาศก็พบวามีบ างจุดใน ทวีปอัฟริกาเหนือมีการแจงเตือนเรื่องพายุ ทํา ใหเขาตองรีบเขาโปรแกรม CmapTools เพื่อ ปรับเปลี่ยนเสนทางการเดินทางในแผนผัง

ภาพถ า ยสถานที่ นั้ น ๆ และบางครั้ ง ก็ มี ก าร พู ด คุ ย กั บ ผู ค นที่ อ ยู ใ นภู มิ ภ าคนั้ น ๆ ผ า น Skype ซึ่งในการทองเที่ยวแตละสถานที่ พีท ได ทํ า การบั น ทึ ก สิ่ ง ที่ พ บเห็ น ลงไปใน Blog ของเขา ในวันสรุปผลการดําเนินโครงงาน พีท นําเสนอแผนการเดิน ทาง และรายละเอีย ด ของสถานที่ แ ต ล ะที่ ที่ เ ขาไปผ า นโปรแกรม Microsoft PowerPoint ที่บ รรจุขอมูล ทั้ง ภาพนิ่ง เสียง และภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเหมือน เขาได ไ ปยั ง สถานที่ นั้ น ๆ จริ ง ทํ า ให ก าร นําเสนอของเขานาสนใจและไดรับเสียงชื่นชม จากเพื่อนๆ และอาจารยผูสอนทั้ง 2 วิชาที่เขา มาชมและใหขอเสนอแนะ สถานการณดัง กลาว ผูส อนไดส ราง สภาพแวดลอมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เป น สํ า คั ญ โดยใช ป ระโยชน จ ากโปรแกรม คอมพิวเตอรเ ปนเครื่องมือทางปญ ญา โดย ผู เ รี ย น ทํ า ห น า ที่ เ ส มื อ น นั ก อ อ ก แ บ บ (Designer) ที่ใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเปน เครื่องมือสําหรับการวิเคราะห เขาถึงและแปล ความข อ มูล จัด โครงสร า งความรู ของตน ร ว ม ทั้ ง ส ร า ง ตั ว แ ท น สิ่ ง ที่ รู สู ผู อื่ น ซึ่ ง ประกอบดวยโปรแกรม CmapTools สําหรับ สร า งกรอบแนวคิ ด และแผนในการจั ด ทํ า โครงงาน โปรแกรม Search Engine และ ฐานข อ มู ล ของเว็ บ ไซต เ พื่ อ สื บ ค น ข อ มู ล ที่ ตองการ โปรแกรม Microsoft Excel เปน สําหรับนํามาใชในการวิเคราะห เชื่อมตอและ จั ด การข อ มู ล ที่ ห ามาได และโปรแกรม Microsoft PowerPoint ที่ เ ข า ไปช ว ย ถ า ยทอดผลงานที่ เ ป น ตั ว แทนความรู ข อง

หลังจากที่ทุกอยางลงตัว พีทก็เริ่มตน ทองเที่ยวเสมือนจริงรอบโลกตามแผนที่วางไว โดยเขาได เ ข า ไปยั ง เว็ บ ไซต ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ สถานที่ตางๆ ตามเสนทางและกําหนดเวลา ของแผนการเดินทาง ไมวาจะเปนพิพิธภัณฑ หอศิลป หรือหนวยงานอื่นซึ่งใหขอมูลความรู เกี่ยวกับสถานที่ที่เดินทางไป รวมทั้งการคนหา 25


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ผูเ รีย น โปรแกรมคอมพิ วเตอร เ หล านี้ ถู ก นํามาใชเ ปนเครื่องมือทางการคิดระดับ สูง ที่ ผูสอนใชในการขยายกระบวนการคิดและการ แกปญหาของผูเรียนในชั้นเรียน ชวยใหผูเรียน สามารถเอาชนะขอจํากัดบางอยางของพวก

เขา เชน ความจํา การประมวลสารสนเทศ หรือการแกปญหาซึ่งทําใหผูเรียนเกิดความรู ควา ม เ ข า ใ จ ใ น คว า ม คิ ด ร วบ ย อ ด ขอ ง เนื้อหาวิชาและสามารถประยุกตใชความรูใน สถานการณจริงไดตามเปาหมายของรายวิชา

ตัวอยางที่ 3

การใชเทคนิคหมวก 6 ใบ เทคนิคหมวก 6 ใบ (Six Thinking Hats) เปนเทคนิคการสอนแบบตั้งคําถามเพื่อพัฒนาการ คิดสําหรับผูเ รียนทุกระดับ ชั้น โดย Edward de bono ซึ่งเปนวิธีที่ชวยใหก ารคิดเปนกลุม มี ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยหลัก การคือ เปนการจัดความคิดของทุก คนในกลุมใหคิดไปในแนวทาง เดียวกันในเวลาเดียวกันเพื่อปองกันการขัดแยงทางความคิดซึ่งกันและกัน และลดทิฐิในความคิดของ ตนเอง จากนั้นคอยสั่ง ใหเปลี่ยนแนวคิดไปอีก แนวหนึ่ งพรอมๆกัน โดยควรที่จ ะวนจนคิดครบทุก มุมมองเพื่อใหไดพิจารณาในทุกแงมุม หมวกแตละสีจะมีมุมมองความคิดที่แตกตางกัน ดังนี้ หมวกขาว ไดแก ความเปนกลาง มีลักษณะของความวางเปลา เกี่ยวของกับ ขอเท็จจริง และจํานวนตัวเลข เมื่อมีการ สวมหมวกนี้ จึ ง หมายถึ ง ต อ งการได ข อ มู ล ที่ เ ป น ข อ เท็ จ จริ ง ไม ใ ส ค วาม คิ ด เ ห็ น ส ว น ตั ว ล ง ไ ป อาจจะคิดวาตอนนี้ยังขาดขอมูลอะไรอยูก็ได

หมวกดํ า ได แ ก การคิ ด อย า ง ระมั ด ระวั ง คื อ คิ ด ในแง ร า ยไว ก อ น เป น หมวกที่มีประโยชนในการที่จ ะชวยใหเห็น ความเสี่ย งหรื อผลเสี ย ที่ อาจจะเกิดขึ้นได เมื่อมี การสวมหมวก หมายถึ ง ตองการใหพูดถึง จุด ดอย ข อ ผิ ด พลาด สิ่ ง ที่ ไ ม ดี โดยใช เ หตุ ผ ล ประกอบ

หมวกแดง ไดแก อารมณ ความรูสึ ก สัญชาตญาณ โกรธ ฉุนเฉียว เมื่อมีการสวม หมวกนี้จึงหมายถึง สามารถบอกความรูสึก ข อ ง ต น เ อ ง เ กี่ ย ว กั บ ประเด็นนั้นได เปนการ คิดทีย่ ึดอารมณเปนหลัก

หมวกเหลือง ไดแก การคิดบวก ซึ่ ง จะช ว ยให เ ราเห็ น ประโยชน ทั้ ง หมดที่ อาจจะเกิดขึ้นจากไอเดียที่ คิดออกมาได เมื่อมีก าร สวมหมวก จึ ง เป น การ แสดงความคิ ด เห็ น ใ น 26


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ทางดานดี คิดถึงประโยชน คุณคา จุดเดน ความคิ ด ใหม ๆ ที่ ดี มี คุ ณ ค า ต อ ส ว นรวม สังคม

คิดแปลกใหม กาวไปขางหนา สรางความ เปนไปไดเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา หมวกฟ า ได แ ก ภาพรวม การ ควบคุ ม เป น หมวกที่ ใ ช ใ นการควบคุ ม ภาพรวมในการคิดทั้งหมด มัก ใหหัวหนากลุม ใส เพื่อ ควบคุม วาตอนนี้ทุก คนใน ที ม ควรใช ห มวกอะไรคิ ด และตอไปจะใชหมวกอะไรตอดี

หมวกเขียว ไดแก การสรางสรรค ความคิ ด นอกกรอบที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ ความคิ ด ริ เ ริ่ ม สร า งสรรค เมื่ อมี ก ารสวม หมวก จึ ง หมายถึ ง การ คิดอยางสรางสรรค คิดให มีทางเลือกที่หลากหลาย

เนื่องจากหมวกความคิดมีจํานวนถึง 6 ใบ แตล ะสีใชแทนวิธีคิดแตล ะแบบ เมื่อนําไปใช อาจจะมีปญหาจะเริ่มใชหมวกสีไหนกอน ตอไปจะใชสีอะไรและตองใชหมวกทั้ง 6 ใบ ในลักษณะใด ดังนั้นจะเสนอแนะวิธีการใชหมวกความคิดในขั้นพื้นฐานดังนี้ 1. ใชหมวกทีละใบสําหรับความคิดแตละครั้ง คือ เลือกใชหมวกใบใดใบหนึ่งแลวทุกคนใน กลุมจะตองสวมหมวกใบเดียวกันหมด หมายความวา ในขณะนั้นทุกคนคิดในทิศทางเดียวกันตามหัว เรื่องที่กําหนด โดยไมคํานึงถึงสิ่งที่คนกอนหนาพูดไว 2. เลือกใชหมวกที่เหมาะกับลักษณะงาน ได 2 วิธี คือ 2.1 ใชหมวกลักษณะเดียว เปนการกําหนดใหใชวิธีคิดแบบใดแบบหนึ่งในทิศทาง เดียวทีละครั้ง 2.2 ใชหมวกลักษณะเปนชุด เปนการใชห มวกหลายใบตอเนื่องกันเปนชุด โดยชุด ของหมวกอาจกําหนดไวลวงหนา 3. บุคคลแตละคนสมารถใชความคิดไดกับหมวกทุกใบ ควรมีการทบทวนความหมายของสี บอย ๆ 4. การจัดกิจกรรม ควรใหบรรยากาศของความสนุกสนานและมีชวี ิตชีวา 5. การฝกใหมองทั้งทางบวกและทางลบ (หมวกสีเหลืองและหมวกสีดํา) การจัดกิจกรรมฝกการคิด โดยใชหมวก 6 ใบ สําหรับผูเรียนที่ยังไมเคยผานกิจกรรมนี้ควรจัด 2 รอบ เพื่อใหสมาชิกไดเห็นขอเปรียบเทียบและไดขอคิดจากกิจกรรมชัดเจนยิ่งขึ้น รอบแรก 1. แบงสมาชิกออกเปนกลุมๆ ละ 8-12 คน อาจจะได 2-4 กลุม 2. กําหนดใหมีกลุมอภิปรายและกลุมสังเกตการณ 27


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

3. ผูสอนกําหนดหัวขอสําหรับอภิปรายใหกลุมอภิปรายและมอบหมายงานใหสมาชิกกลุม สังเกตการณแตละคน ๆ ละคนหนึ่งมีหนาที่จดบันทึกคําพูด ขอคิดเห็น ของสมาชิกกลุมอภิปรายทุก คน แตเลือกจดเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับสีหมวกของตนเองที่ไดรับ 4. สมาชิกกลุมอภิปรายดํานเนินการอภิปรายตามหัวขอที่ผูสอนกําหนด ประมาณ 15-20 นาที สมาชิกสังเกตการณ จดบันทึกขอความ คําพูดของสมาชิกกลุม 5. ผูสอนใหสมาชิกสังเกตการณแตละคนนําเสนอผลการสังเกต 6. ผูสอนและผูเรียนรวมกันอภิปรายในประเด็นตอไปนี้ 6.1 สมาชิกสังเกตการณแตละคนจดบันทึกการอภิปรายของสมาชิกกลุมไดครบถวน สอดคลองกับสีหมวกที่ไดรับหรือไม 6.2 กลุมอภิปรายไดอภิปรายครบทุกประเด็นตามสีหมวกหรือไม หมวกสีใดอภิปรายนอย 6.3 บรรยากาศเปนอยางไร มีขอดีขอปรับปรุงอยางไร 6.4 ผูสอนเสนอแนะเกี่ยวกับบรรยากาศ บทบาทของสมาชิกและผูนํา รอบสอง 1. ใหสมาชิกกลุมอภิปรายและกลุมสังเกตการณสลับบทบาทหนาที่ 2. ผูสอนกําหนดหัวขอสําหรับการอภิปราย ควรเปนหัวขอใหมและมอบหมายงานใหสมาชิก กลุมสังเกตการณ 3. สมาชิก อภิป รายดําเนิ นการอภิป รายตามหัวขอ ประมาณ 15-20 นาที และสมาชิ ก สังเกตการณจดบันทึก 4. ผูสอนใหสมาชิกกลุมสังเกตการณแตละคนนําเสนอ ประเด็นการอภิปราย 1. ขอแตกตางของบรรยากาศการอภิปรายกลุมระหวางรอบแรกกับรอบสอง มีหรือไมมีและ เปนอยางไร 2. ขอแตกตางและผลสรุปการอภิปรายระหวางรอบแรกกับรอบ 2 มีหรือไมมีและเปนอยางไร 3. ขอดี ขอเสีย ขอคิด หรือประโยชนที่ไดรับ จากกิจกรรมนี้มีอะไรบาง และที่ควรนําไป ปรับปรุงแกไขคืออะไร การใชเทคนิคหมวก 6 ใบ คิด 6 แบบ ทําใหผูเรียนไดรับความรูและทดลองฝกปฏิบัติวิธีการ คิดที่หลากหลาย ทําใหผูเรียนทราบวาเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือสถานการณใดสถานการณหนึ่ง สามารถมี วิธีการคิดหรือมุมมองในเรื่องเดียวกันนั้นไดหลายแบบ แลวแตวาจะคิดโดยใชหมวกสีใด ซึ่งการคิดโดย ใชหมวกสีตางๆ ลวนมีประโยชนทั้งสิ้น แลวแตความเหมาะสมและการนําไปใชประโยชน -----------------------------------------------------------------------28


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

รายการอางอิง ชัยวัฒน สุทธิรัตน. 2553. 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : แดเน็กซ อินเตอรคอรปอเรชัน. ณัฐกร สงคราม. 2552. บทบาทของคอมพิวเตอร จากเครื่องมือชวยสอนสูเครื่องมือทาง ปญญา (Computer Roles: from Teaching Tools to Cognitive Tools). [ออนไลน] แหลงที่มา: http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/article/cognitive tools.pdf ดวงกมล สินเพ็ง. 2553. การพัฒนาผูเรียนสูสังคมแหงการเรียนรู :การจัดการเรียนการสอนที่ เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. ทิศนา แขมมณี. 2550. ศาสตรการสอน องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มี ประสิทธิภาพ. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อาภรณ ใจเที่ยง. 2554. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ. วารสารครุ สาร. คณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏนครปฐม ปที่ 3 ฉบับที่ 4.

29


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

บทความวิชาการ

การวิจัยในชั้นเรียน..ทําอยางไร การวิจัยในชั้นเรียนคืออะไร การวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Research) คือ กระบวนการหาความรูหรือวิธีการใหมๆ รวมทั้งการประดิษฐคิดคนสิ่งใหมๆ ที่อาจารยผูสอนนํามาใชในการเรียนการสอนเพื่อแกปญหาที่เกิด จากการเรียนการสอนในชั้นเรียนของตนเอง หรือเพื่อพัฒ นาการเรียนรูของผูเรียน โดยเปาหมาย สํ า คั ญ เพื่ อ พั ฒ นาการจั ด การเรี ย นการสอนของตนเอง เป น การวิ จั ย เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร (Action Research) ซึ่งทําวิจัยควบคูไปกับการปฏิบัติงานจริง โดยอาจารยผูสอนเปนทั้งผูผลิตงานวิจัยและ ผูบริโภคผลการวิจัย หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คืออาจารยผูสอนเปนนักวิจัยในชั้นเรียนของตนเอง โดย จะตั้งคําถามในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแลววางแผนการปฏิบัติงานและการวิจัย หลังจาก นั้นอาจารยผูสอนจะดําเนินการจัดการเรียนการสอนไปพรอมๆ กับจัดเก็บขอมูลตามระบบขอมูลที่ได วางแผนการวิจัยไว นําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหเพื่อสรุปผลการวิจัยและนําไปพัฒนาการจัดการเรียน การสอนใหมีคุณภาพยิ่งขึ้นตอไป โดยทั่วไปแลวประชากรเปาหมายของการวิจัยในชั้นเรียนจะถูกจํากัด เปนกลุมผูเรียนในความรับผิดชอบของอาจารยผูสอนเทานั้น และขอความรูที่ไดมักจะมีความเฉพาะ คือจะเกี่ยวกับสภาพปญหาและผลการพัฒนาผูเรียนในชั้นเรียนของอาจารยผูสอนเปนสําคัญ ความสําคัญของการวิจัยในชั้นเรียน เปนที่คาดหวังวา เมื่ออาจารยผูสอน ได ทํ า การวิ จั ย ในชั้ น เรี ย นควบคู ไ ปกั บ การ ปฏิ บั ติ ง านสอนอย า งเหมาะสมแล ว จะ กอใหเกิดผลดีตอวงการศึกษา และวิชาชีพครู อยางนอย 3 ประการ คือ (1) ผูเรียนจะมีการ เรียนรูที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (2) วงวิชาการการศึกษาจะมีขอความรูและ/หรือ นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนที่เปนจริง เกิดมากขึ้นอันจะเปนประโยชนตอครู-อาจารย และเพื่อนรวมวิชาชีพในการพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนเปนอยางมาก และ (3) วิถีชีวิต ของครู-อาจารย หรือวัฒนธรรมการทํางานจะ

พัฒนาสูความเปนครูมืออาชีพ(Professional Teacher) มากยิ่ง ขึ้นทั้งนี้เ พราะครู -อาจารย นักวิจัยจะมีคุณสมบัติของการเปนผูแสวงหา ความรูอ ยางตอเนื่องและมีชีวิตชีวา จนในที่สุด ก็จะเปนผูที่มีความรูความเขาใจที่กวางขวาง และลึกซึ้งในศาสตรและศิลปแหงการสอนเปน ครูที่มีวิทยายุทธแกรงกลาในการสอนสามารถ ที่จะสอนผูเรียนใหพัฒนากาวหนาในดานตางๆ ในหลายบริบทหรือที่เรียกวาเปน “ครูผูรอบรู หรือครูปรมาจารย (Master Teacher)” ซึ่ง ถามีปริม าณครู-อาจารย นักวิจัยดังกลาวมาก ขึ้นจะชวยใหการพัฒนาวิชาชีพครูเปนไปอยาง สรางสรรคและมั่นคง 30


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยในชั้นเรียนมีลักษณะสําคัญดังตอไปนี้ 1. อาจารยผูสอนเปนผูวิจัยเอง เพื่อเพิ่มพูนความรูใหแกวงการวิชาชีพดานการสอน 2. ผลการวิจัยสามารถแกปญหาผูเรียนไดทันเวลา และตรงจุด 3. การวิจัยชวยเชื่อมชองวางระหวางทฤษฏีและการปฏิบัติ 4. การเพิ่มศักยภาพการคิดสะทอน (Reflective Thinking) ของอาจารยผูสอนตอปญหาที่ เกิดในหองเรียน 5. การเพิ่มพลังความเปนอาจารยผูสอนในวงการการศึกษา 6. การเปดโอกาสใหอาจารยผูสอนกาวหนาทางวิชาการ 7. การพัฒนา และทดสอบการแกปญหาในชั้นเรียน 8. การเปดโอกาสใหผูเรียนแสดงความคิดเรื่องการเรียนการสอน และทางแกปญหา 9. การนําเสนอขอคนพบและการรับฟงขอเสนอแนะจากกลุมอาจารยผูสอน 10. การวิจัยและพัฒนาเปนวงจร (Cycle) เพื่อทําใหขอคนพบสมบูรณขึ้น ตารางเปรียบเทียบความแตกตางระหวางการวิจัยในชั้นเรียนกับการวิจัยดานการศึกษาอื่นๆ รายการ เปนการวิจัยหรือไม ใครทํา ทําอะไร

เริ่มที่ไหนและ อยางไร

ทําที่ไหน ทําเพื่ออะไร

การวิจัย ในชั้นเรียน ในสถานศึกษา การเรียนการสอน เปน เปน เปน ครู-อาจารยประจํา ศึกษานิเทศก ครู-อาจารยทมี่ ีเวลา ผูบริหารโรงเรียน และผูเชี่ยวชาญ แกปญหาผูเรียนบาง แกปญหาครูแกปญหาผูเรียนทั้ง คน บางเรื่อง อาจารยบางคน บาง หอง หาองคความรู เรื่อง สังเกตเห็นผูเรียน สังเกตครู-อาจารย ทบทวนงานวิจัย บางคนมีอาการ บางคนมีอาการ และระบุปญหาวิจัย ผิดปกติ ผิดปกติ ใน/นอกหองเรียน

ใน/นอกโรงเรียน

ใน/นอกหองเรียน/ โรงเรียน แกปญหาผูเรียนบาง แกปญหาครูทดลองแนวคิด คน บางเรื่อง อาจารยบางคน บาง ใหมๆ หาองค เรื่อง ความรู

31

การศึกษา เปน นักวิจัยการศึกษา นักการศึกษา แกปญหาระดับใหญ หาขอมูลเชิง นโยบาย ทบทวนงานวิจัย หรือผลการศึกษา เกี่ยวกับการศึกษา ของประเทศ ใน/นอกโรงเรียน ทดลอง/แกปญหา ระดับใหญ หา คําตอบใหม กําหนด นโยบายใหม


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

รายการ การออกแบบการ วิจัย เครื่องมือวิจัย

การระบุประชากร กลุมตัวอยาง การสุมตัวอยาง การเก็บขอมูล การวิเคราะหขอมูล

ในชั้นเรียน ไมเปนทางการ ไมจําเปนตองมี ครู-อาจารย คือ เครื่องมือวิจัย ไมจําเปน

ไมจําเปนตองมี ศึกษานิเทศก ผูบริหาร คือ เครื่องมือวิจัย ไมจําเปน

ไมจําเปน ระยะสั้น วิเคราะหเนื้อหา

ไมจําเปน ระยะสั้น วิเคราะหเนื้อหา

เวลาใชทําวิจัย ระยะสั้น ความยาวของรายงาน 2 – 3 หนา ทําเมื่อไร ทําไปสอนไปพรอม กัน เสียคาใชจาย ไมจําเปน อนาคตของผูทํา ครู-อาจารยมือ อาชีพ ทําเพื่อใคร ผูเรียน จํานวนเรื่อง/ป ผลงานเอาไปทํา อะไร

มากกวา 100 เรื่อง พัฒนาความเปน ครู-อาจารย

ขอบเขตที่ทํา เงื่อนไข

ตัวอยางงานวิจัย

การวิจัย ในสถานศึกษา การเรียนการสอน การศึกษา ไมเปนทางการ เปนทางการ เปนทางการ ตองมีและเชื่อถือได ตองมีและเชื่อถือได

ตองระบุ

ตองสุม ระยะยาว สถิติและทดสอบ นัยสําคัญ ระยะสั้น ระยะยาว 2 – 3 หนา 5 บท ทําไปนิเทศ/บริหาร เวลาวาง (จากการ ไปพรอมกัน สอน) ไมจําเปน ตอง ศึกษานิเทศก นักวิจัยการศึกษา ผูบริหารมืออาชีพ ครู-อาจารย ตัวเอง 1 เรื่อง ผลงานเพื่อเลื่อน ขั้น/ตําแหนง

ในหอง

มากกวา 50 เรื่อง พัฒนาความเปน ศึกษานิเทศก/ ผูบริหาร ในโรงเรียน

ตองการเปนครูอาจารยที่ดี เตรียม สอนอยางดี การแกปญหาผูเรียน 5 คน ป.3 ออก เสียง ร ล ไมชัด

ตองการเนน ศึกษานิเทศก/ ผูบริหารที่ดี การแกปญหาครูอาจารย 1 คน สอน ไมเปน

ตองการหาองค ความรูเพิ่ม

32

ใน-นอกหอง

ผลการใชเทคนิค ใหมในการสอน วิทยาศาสตร

ตองระบุ ตองสุม ระยะยาว สถิติและทดสอบ นัยสําคัญ ระยะยาว มากกวา 5 บท ตองมีเวลาวาง ตอง นักวิจัยการศึกษา ตัวเอง/แวดวง วิชาชีพ ½ - 1 เรื่อง ตอบปญหาของ ประเทศ/ผลงานขอ ตําแหนง หลายๆหอง หลายๆโรงเรียน ตองการหาคําตอบ ใหม ผลการปฏิรูป การศึกษา


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

รูปแบบของการวิจัยที่เหมาะในการนําไปวิจัยในชั้นเรียน 1. การวิจัยเชิง สํา รวจ เชน การสํารวจพฤติก รรมการเรียนของผูเ รียน การสํารวจความ ตองการในการเรียน การสํารวจความคิดเห็นของผูเรียนที่มีตอการเรียน การสํารวจปญหาที่พบในการ เรียน การสํารวจขอมูลพื้นฐานของผูเรียน เปนตน 2. การวิจัยหาความสัมพันธ เชน ผูเรียนกลุมที่เรียนเกงกับกลุมเรียนออนมีความสัมพันธกับ รูปแบบการรับเขาศึกษาหรือไม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเฉพาะมีความสัมพันธกับวิชาการศึกษา ทั่วไปหรือไม พฤติกรรมการเขาชั้นเรียนมีความสัมพันธกับวันและเวลาเรียนหรือไม เปนตน 3. การวิจัยเชิงทดลองเปรียบเทียบ ซึ่งจะแบงกลุมทดลองเปนกลุมๆ แลวเปรียบเทียบวากลุม ใดไดผลดีกวากัน เชน การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ระหวางการสอนแบบแสดงบทบาทสมมติกับการ สอนแบบบรรยาย การเปรียบเทียบความพึงพอใจระหวางการสอนแบบบรรยายกับการสอนแบบ สืบเสาะ การเปรียบเทียบพฤติกรรมดานเวลาเรียนระหวางวิธีการเรียกชื่อกับการทดสอบยอยโดยไม แจงลวงหนา เปนตน 4. การวิจัยเชิงทดลองและพัฒนา วิธีนี้ใชผูเรียนกลุมเดียวไมจําเปนตองเปรียบเทียบวิธีสอน แบบดั้งเดิมกับวิธีสอนใหม แตนําวิธีสอนแบบใหมมาใชไดเลย หรือพัฒนาสื่ออุปกรณมาใชสอนหรือ จัดทํา แผนการสอนใหดีแ ลวนํา ไปสอนผูเ รียน จะสอน 1 หอง หรือมากกวานั้น ก็ได สถิติที่ใชไ ม จําเปนตองใช T -Test หรือ F - test อาจใชเพียงคาเฉลี่ย คารอยละ และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานก็ พอแล ว โดยอาจจะมี ก ารทดสอบก อ นเรี ย น - หลั ง เรี ย น ซึ่ ง รู ป แบบที่ 4 นี้ กรมวิ ช าการ กระทรวงศึกษาธิการ เสนอแนะวาการวิจัยในชั้นเรียนที่นาทํา เพราะเหมาะกับการเรียนการสอนมาก ที่สุด กระบวนการทําวิจัยในชั้นเรียน 1. การวิเคราะหปญหาการเรียนการสอน เปนการวิเ คราะหปญ หาที่พบในการเรียนการสอน ซึ่ง ปญ หาสวนใหญเ กิดจากความ แตกตางระหวางสิ่งที่อาจารยผูสอนคาดหวังกับสิ่งที่เปนจริง โดยทั่วไปจําแนกออกเปนปญหาทางดาน พฤติกรรมในชั้นเรียน เชน การมาสาย การคุยกันในชั้นเรียนโดยไมสนใจผูสอน ออกจากหองกอนหมด เวลา ไมรับผิดชอบตองานที่มอบหมาย เปนตน และปญหาดานคุณภาพของผูเรียน เชน ไมสามารถ ตอบคําถามได ขาดทักษะการคิดวิเคราะห การแกปญหา การอภิปราย หรือ ผูเรียนสวนใหญสอบไม ผานเกณฑที่ตั้งไว เปนตน 2. ระบุสาเหตุและแนวทางการแกปญหา โดยการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวของ และวิเคราะหหาสาเหตุแหงปญหา เพื่อ ใชเปนแนวทางในการแกปญหา ซึ่งโดยทั่วไปมีสาเหตุมาจากปจจัย 3 ดาน คือ 33


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

- บุคคล (ความรู ความสามารถ ความเชื่อ การแสดง) - วิธีการ (การดําเนินงาน วางแผนและออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน) - สภาพแวดลอม (บรรยากาศ ทรัพยากร สภาพเศรษฐกิจและสังคม) นอกจากนี้ ยังสามารถจําแนกออกเปน 2 ประเภท คือ - ปญหาที่เกิดจากอาจารยผูสอน ซึ่งเปนปญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน/สื่อ/นวัตกรรมที่ไมเหมาะสมกับผูเรียน - ปญ หาที่ มี ผ ลกระทบที่ตั วเด็ ก ซึ่ง เปน ปญ หาที่เ กิ ดจากสัง คม สิ่ง แวดล อ ม ครอบครัว ทําใหผูเรียนมีพฤติกรรม/บุคลิกภาพที่ไมพึงประสงค 3. การพัฒนาวิธีแกไขหรือนวัตกรรมทางการเรียนการสอน หลัง จากทราบสาเหตุของปญ หาแลว จึงทําการระบุ วิธีแก ไขปญ หา ซึ่ง อาจเปนการใช รูปแบบหรือเทคนิควิธีการสอนแบบตางๆ ที่เหมาะสมตอปญหานั้นๆ หรือการใชนวัตกรรมประเภทสื่อ สิ่งประดิษฐ โดยอาจารยผูสอนตัดสินใจเลือกสิ่งที่เหมาะสมเองหรือศึก ษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวของ ยกตัวอยางเชน ปญหาการสอนในปที่ผานมา พบวา ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ําเนื่องจากเปน บทเรียนที่มีเนื้อหาวิชาที่ยาก ซับซอน ลําพังการบรรยายเพียงอยางเดียวอาจไมเพียงพอ ดังนั้นอาจแก โดยการใชรูปแบบการเรียนแบบรวมมือ รูปแบบการเรียนที่ใชปญ หาเปนหลัก เทคนิคการสรางผัง ความคิด เทคนิคหมวก 6 ใบ การสอนซอมเสริมโดยครู เพื่อนสอนเพื่อน พี่สอนนอง เปนตน หรือการใช สื่อประเภทตางๆ เพื่ อเสริ ม ความรูความเขาใจ เชน วีดิ ทัศน บทเรี ยนแบบโปรแกรม บทเรีย น คอมพิวเตอรชวยสอน เปนตน 4. การออกแบบการทดลองใชวิธีแกไขหรือนวัตกรรม การออกแบบการทดลองเปนการวางเงื่อนไขในการนําวิธีการแกปญหาที่เลือกไปทดลองใช ในการเรียนการสอน ซึ่งระยะเวลาที่จะใชเวลาไมควรนานเกินไป เพราะการวิจัยในชั้นเรียนมักจะเปน ปญหาเล็กๆ ที่สามารถดําเนินการใหเสร็จไดภายใน 1 ชั่วโมง หรือ 2 – 3 ชั่วโมง หรือ 1 สัปดาห หรือ 1 เดือนก็ได แตไมควรนานเกิน 2 เดือน 5. การสรางและพัฒนาเครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลมีหลายอยาง เชน แบบสังเกต แบบสัมภาษณ แบบ ประเมิน แบบซักถาม แบบวัดเจตคติ แบบทดสอบ หรือแบบตรวจผลงาน ในการวิจัยในชั้นเรียนไม จําเปนตองมีเครื่องมือที่ซับซอนเหมือนการวิจัยทั่วๆ ไป อาจารยผูสอนอาจใชการสังเกตเพียงอยาง เดียวก็ไดหากมั่นใจวาจะไดขอมูลที่ตองการอยางครบถวน 6. การทดลอง รวบรวม วิเคราะห และสรุปผลขอมูล การทดลองจะดํ า เนิ น การตามแผนการวิ จั ย ที่ อ อกแบบไว อย า งไรก็ ต ามสามารถ ปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณแตตองไมใหหลุดออกไปจากกรอบแนวคิดที่ตั้งไว สวนการวิเคราะห 34


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ขอมูลเปนการจัดระบบและสรุปขอมูลที่รวบรวมไดเพื่อตอบวัตถุประสงคของการวิจัย ถาขอมูล ที่ รวบรวมไดมีลักษณะเปนขอมูลเชิงคุณภาพไมจําเปนตองมีการใชสถิติ ถาขอมูลที่รวบรวมไดมีลักษณะ เปนขอมูล เชิงปริมาณ การใชส ถิติอยางงายวิเคราะหขอมูล จะเปนเครื่องมือสําคัญที่ชวยใหผูวิจัย สามารถสรุปผลการวิจัยไดชัดเจน ตัวอยางงานวิจัยในชั้นเรียน การศึกษาผลการสอนโดยการทําโครงงานในวิชาเกษตร เรื่อง การเพาะปลูกพืชผักสวนครัว ผูวิจัย : สัมพันธ ตนกันยา บทคัดยอ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ แผนการสอนที่ ผู วิ จั ย สร า งขึ้ น จํ า นวน 6 ศึกษาผลการสอนแบบโครงในวิชาเกษตร เรื่อง แผนการสอน การประเมินผลใชแบบทดสอบ การเพาะปลูกพืชผักสวนครัวดวยจุลินทรีย อี ความรูจุ ลิน ทรีย อี เ อ็ ม 25 ขอ ผลการวิ จั ย เอ็ ม การวิ จั ย นี้ เ ป น การวิ จั ย เชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร พบวานักเรียนมีความรู ความเขาใจ เรื่อง การ (Action research) ดําเนินการตามขั้นตอน นํา จุลินทรีย อีเอ็มมาใชในการทําการเกษตร คือ การวางแผน การปฏิ บั ติ ต ามแผน การ ปลอดสารพิษ นักเรียนสามารถนําความรูกอน สั ง เกต การเก็ บ รวบรวมข อ มู ล และการ และหลังการเรียนของนักเรียนพบวา นักเรียน สะท อ นการปฏิ บั ติ กลุ ม ผู ร ว มวิ จั ย เป น มีความรู เ พิ่ม ขึ้นอยา งมีนั ยสํา คัญ ทางสถิติ ที่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6/1 ปการศึกษา ระดับ .05 ดานความเห็นเกี่ยงกับ การเรีย น 2543 โรงเรียนคายประจักษศิล ปาคม สังกัด แบบนี้ นักเรียนสงนมากชอบและรับผิดชอบ สํ า นั ก งานการประถมศึ ก ษาอํ า เภอเมื อ ง งานดีมาก นักเรียนสามารถนําความรูในการ อุดรธานี จํานวน 31 คน ครูผูรวมวิจัย 3 คน ปลูกผักสวนครัวโดยใชจุลินทรีย อี เอ็ม ไปใช ผูวิจัย ผูปกครองนักเรียน 10 คน ผูเกี่ยวของ ในชีวิตประจําวันได และยังสามารถนําผลผลิต กับ การใชั จุลินทรีย อี เอ็ม 5 คน การวิจัยใช ที่ไดไปขายหารายไดพิเศษไดอีกดวย การเปรียบเทีย บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีระหวางการเรียนแบบรวมมือกับการสอนตาม คูมือครู ของ สสวท. ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 วิจัย : วีระยุทธ คุณารักษ บทคัดยอ การวิจัยครั้ง นี้เ ปนการเปรียบเทียบ ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกับการ ผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียนวิชาเคมี เรื่องพันธะ สอนตามคูมือครูของ สสวท. กลุมตัวอยางเปน เคมี ของ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ 4 ที่ นัก เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 แผนการเรียน 35


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

วิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ในภาคเรียนที่ 1 ป การศึกษา 2542 ของโรงเรียนเบญจมราชูทิศ อํา เภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่ไดมา โดยวิธี ก ารสุ ม หลายขั้น ตอนได ก ลุ ม ทดลอง และกลุมควบคุม กลุมละ 47 คน กลุมทดลอง จั ด นั ก เรี ย นเข า กลุ ม ย อ ยที่ ป ระกอบด ว ย นั ก เรี ย นที่ มี ร ะดั บ คะแนนสู ง ปานกลาง และตํ่า ในอัตราสวน 1 : 2 : 1 โดยใชคะแนน ผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียน บทที่ 1 วิชาเคมี ว 432 เปนเกณฑ กลุมตัวอยางใชเวลาทดลอง กลุ ม ละ 18 คาบ ๆ ละ 50 นาที ในเรื่ อ ง พันธะเคมี กลุมทดลองไดรับการสอนโดยการ เรียนแบบรวมมือ กลุมควบคุมไดรับการสอน ตามคู มื อ ครู ของ สสวท. การดํ า เนิ น การ ทดลองตามแบบแผน Randomized Control

Group Pretest-Posttest Design เมื่อสิ้นสุด การทดลองแลวนํา คะแนนที่ไดมาทดสอบคา ที (t - test) ผลการวิจัยพบวา 1) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่ องพั นธะเคมี หลั ง ไดรับการ เรียนแบบรวมมือ แตกตางจาก กอน ไดรับ การเรีย นแบบรวมมือ มีนัยสําคั ญ ทาง สถิติที่ระดับ .01 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเคมี เรื่องพันธะเคมี หลัง ไดรับ การสอน ตามคูมือครูของ สสวท. แตกตางจาก กอน ไดรับการสอน มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่องพันธะ เคมี ระหวางการเรียนแบบรวมมือ แตกตาง จากการสอนตามคู มื อ ครู ข อง สสวท. มี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยวิธีการเรียน แบบรวมมือมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวา

การสงเสริมการทองคําศัพทในวิชา Social Studies ในเรื่องอาชีพและสถานที่ตางๆ ในชุมชน ผูวิจัย : วัฒน เทียนสวัสดิ์ บทคัดยอ การศึ ก ษาวิจัย นี้มีวัต ถุป ระสงคเ พื่ อ วิเคราะหผลคะแนนโดยใชวิธีการหาคาเฉลี่ย พัฒ นาการทองคําศัพทและสงเสริม การทอง และคารอยละ ผลปรากฏวา การใชกิจ กรรม คําศัพทของนักเรียนโดยใชกิจกรรมแบบฝกหัด การเขียนคําศัพทและทําแบบฝก หัดเกี่ยวกับ เกี่ยวกับคําศัพทภาษาอัง กฤษในวิชา Social คําศัพทภาษาอังกฤษ ทําใหนักเรียนมีความรู Studies โดยกลุม ทดลองเป น นัก เรี ยนชั้ น และความจํา ในการนําคําศัพทที่ไดเรียนมาใช ประถมศึกษาปที่ 2/6 จํานวน 35 คนโดยให และทําแบบฝกหัดหลังเรียนไดคะแนนเพิ่มขึ้น นัก เรีย นทดสอบเกี่ ยวกั บ คํ าศั พท กอ นเรีย น จากเดิม ดังจะเห็นไดจากการเปรียบเทียบผล แล ว หลั ง จากนั้ น ให นั ก เรี ย นทํ า แบบฝ ก หั ด การทดสอบก อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย นของ เกี่ยวกับคําศัพทที่ผูวิจัยไดสรางขึ้น จํานวน 3 นักเรียนที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยรอยละ 17 ฉบับ จากนั้นจึงทําการทดสอบหลังเรียน และ

36


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิชาสถิติเบื้องตน เรื่อง ทฤษฎีความนาจะเปนเบื้องตน ผูวิจัย : อภิญญา อิงอาจ บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสราง (S.D.) และทดสอบคาที (pair t-test) ดวย และหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวย โปรแกรมสําเร็จ รูป SPSS for Windows สอน ศึกษาผลสัมฤทธิ์กอนเรียนและหลังเรียน ผลการวิ จัยพบวา 1) บทเรียนคอมพิวเตอร ดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (pre-post ช ว ยสอนที่ ผู วิ จั ย พั ฒ นาขึ้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ test) และศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มี 82/81.33 ซึ่ ง สู ง กว า เกณฑ ที่ กํ า หนด 2) ตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนในการเรียน ผลสัม ฤทธิ์ ท างการเรี ยนหลัง การเรี ย นด ว ย การสอนวิชาสถิติเ บื้องตน เรื่องทฤษฎีความ บทเรี ยนคอมพิว เตอรช ว ยสอนสู ง กว า ก อ น น า จะเป น เบื้ อ งต น โดยกลุ ม ตั ว อย า งเป น เรีย นอยา งมี นัย สํา คัญ ทางสถิติ ที่ร ะดั บ .05 นั ก ศึ ก ษ า ต า ง ส า ข า ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า ต รี และ 3) ความคิ ด เห็ น ของนั ก ศึ ก ษาที่ มี ต อ มหาวิ ท ยาลั ย กรุ ง เทพ ชั้ น ป ที่ 2 ภา ค บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สวนมากพบวา การศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2545 จํานวน 51 นักศึกษาชอบเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอร คน โ ด ย ทํ า ก า ร สุ ม แบ บ ก ลุ ม ( Cluster ชวยสอนเพราะเห็นเปนความแปลกใหม ไม Sampling) เครื่องมือที่ใชในการวิจัยไดแ ก รูสึกเบื่อหนาย ตองการใหมีการเรียนการสอน บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ผูวิจัยพัฒนา ดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ทําใหมี ขึ้ น ให ไ ด ต ามเกณฑ 80/80 แบบทดสอบ ความเขาใจเนื้อหาในบทเรียนไดดีขึ้น ตองการ ผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียน และแบบสอบถาม ใหนัก ศึกษาผูอื่นและตนเองไดมีโอกาสเรียน ความคิดเห็น จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาทําการ ดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอนในวิชานี้ วิ เ คราะห เ พื่ อ หาค า ร อ ยละ (Percentage) และวิชาอื่นๆ อีกตอไป คาเฉลี่ย (Mean) ส วนเบี่ ยงเบนมาตรฐาน การพัฒนานาทักษะในดานการอาน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2/2 ผูวิจัย : มัตติกา ฉัตรเงิน บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุงหมายเพื่อการ สําคัญ ระยะเวลาที่ใชในการวิจัยทั้งสิ้น โดย พั ฒ นา ทั ก ษะในด านก ารอ า นระ ดั บ ชั้ น เริ่มทําการวิจัยตั้งแตเดือน พฤศจิกายน-เดือน ประถมศึก ษาปที่ 2/2 ในภาคเรียนที่ 2 ป กุ ม ภาพั น ธ ผลการวิ จั ย พบว า นั ก เรี ย น การศึกษา 2546 จากจํานวนนักเรียนทั้งหมด จํานวนหนึ่งมีการพัฒนาทักษะในดานการอาน 2 คน ดวยวิธีก ารประเมินที่เ นนผูเรียนเปน ดีขึ้นกวาเดิม ดวยวิธีการใหแรงเสริมโดยการ 37


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ชมเชยและใหระยะเวลาในการฝกทักษะการ อานมากพอสมควร ดังนั้น นักเรียนจึงเกิด ทักษะในดานการอานโดยฝกทักษะการประสม คํ า พยั ญ ชนะ สระ ตั ว สะกด และรู ป

วรรณยุกต ไดอยางถูกตอง โดยนํามาซึ่งการ พั ฒ น า ทั ก ษะ ใ น ด า น ก า ร อ า น ได อ ย า ง คลองแคลวและถูกตองเขาใจมากยิ่งขึ้น

การพัฒนาพฤติกรรมในการรักษาความสะอาดหองเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ผูวิจัย : ทัศนีย ยินดี บทคัดยอ การศึกษาวิจัยครั้ง นี้ มีวัตถุประสงค เหมือ นแบบที่ 3 แตเ พิ่ม ให มีถุง ขยะส วนตั ว เพื่อพัฒนาพฤติกรรมในการรักษาความสะอาด โดยกอนทดลองปฏิบัติ 4 วิธีการ ใหนักเรียน หองเรียนของนัก เรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 ทําแบบสอบถามพฤติก รรมการรัก ษาความ จํานวน 43 คน โดยการสอดแทรกในชั่วโมง สะอาด เพื่อดูพื้นฐานการรัก ษาความสะอาด สอน ขี้แนะใหเห็นขอดี – ขอเสีย โดยใชแบบ มอบหมายกลุมนักเรียนที่เปนเวรบันทึกผลสง บันทึกพฤติกรรมในการรักษาความสะอาด ซึ่ง รวมเวลา 1 เดือ น ผลปรากฏวา นัก เรียนมี ทดลองใชวิธีการ 4 แบบในการปฏิบัติ วิธีการ พื้นฐานที่จะพัฒนาใหมีนิสัยรักษาความสะอาด ละ 1 สัปดาห คือ แบบที่ 1 ทุกคนเปนเวรดูแล จึงเริ่มทําการวิจัยใหนักเรียนปฏิบัติแตละแบบ ทุกวัน แบบที่ 2 ใหนักเรียนจับกลุมเวรกันเอง จนครบ พรอมบันทึกผล พบวาในการปฏิบัติ 5 กลุม แบบที่ 3 ครูแบงเวรใหเปน 5 กลุม มี แบบที่ 4 ไดผลดีที่สุดเปนที่นาพอใจ สมควรใช ทั้งชาย – หญิง คละกัน แบบที่ 4 ครูแบงเวร วิธีการนี้และรวมกันปรับปรุงใหดีขึ้นเพื่อความ ให เ ป น 5 กลุ ม มีทั้ ง ชาย – หญิง คละกั น สะอาด บรรยากาศ ที่นาเรียนตอไป การศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6/6 ในเรื่องการไมสงงาน / การบาน ผูวิจัย : ทิพรัตน รัตตะมาน บทคัดยอ การศึกษาวิจัยครั้ง นี้ มีวัตถุประสงค ตามลําดับที่มากที่สุดจนถึงนอยที่สุดจากลําดับ เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนในระดับชั้น 1 – 15 และไดทําการนําผลของแตละสาเหตุ ประถมศึ ก ษาปที่ 6 / 6 โรงเรี ย นอั ส สั ม ชั ญ มาหาคา รอยละ แลวนําขอ มูล มาวิเ คราะห ระยองผูวิจัยไดจัดทําแบบสอบถามเพื่อศึกษา และหาข อสรุ ป พร อมทั้ ง นํ า เสนอในรูป ของ สาเหตุ ข องการไม ส ง งาน / การบ า นของ ตารางประกอบคํ า บรรยาย เพื่ อ ศึ ก ษา นั ก เรี ย นจํ า นวน 15 ข อ โดยให นั ก เรี ย น พฤติกรรมชองนักเรียนในเรื่องการไมสงงาน / เรียงลําดั บ สาเหตุ ก ารไมส ง งาน / การบา น การบ า น ผลการศึ ก ษาปรากฏว า จาก 38


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

การศึ ก ษาและวิ เ คราะห แ บบสอบถามเพื่ อ ศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 6 / 6 ในเรื่องการไมสง งาน / การบาน แสดงใหเ ห็ นว า สาเหตุ ของการไมสง งาน / การบาน ลําดับ ที่ 1 คือ การใหการบานมาก

เกินไป และแบบฝก หัดยากทําไมได โดยคิด จากนักเรียน 41 คน ที่เลือกเปนสาเหตุอันดับ ที่ 1 และ 2 จํานวน 27 คน คิดเปน รอยละ 65.85

การวัดเจตคติที่มีตอวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนในระดับชั้นประถมปที่ 6 ผูวิจัย : กุหลาบ สอาด บทคัดยอ การศึก ษาวิจัยครั้ง นี้ มีวัตถุป ระสงค แบบสอบถามวั ด เจตคติ จํ า นวน 15 ข อ ที่ เพื่ อวั ด เจ ต คติ ของ นั ก เ รี ย น ที่ มี ต อวิ ชา คณะผูวิจัยไดสรางขึ้น จํานวน 1 ฉบับ จากนั้น ภา ษ า อั ง ก ฤ ษ ข อ ง นั ก เ รี ย น ร ะ ดั บ ชั้ น จึงทําการวิเคราะหผลคะแนนโดยใชวิธีการหา ประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง คาเฉลี่ย ผลการศึกษาปรากฏวา คะแนนเฉลี่ย ในภาคเรี ย นที่ 2 ป ก ารศึ ก ษา 2546 กลุ ม ของแบบสอบถามมีคาเทากับ 3.56 ซึ่งแปล ทดลองเป นนั ก เรีย นชั้น ประถมศึก ษาปที่ 6 ความได ว า นั ก เรี ย นมี เ จตคติ ที่ ดี ต อ วิ ช า จํ า น ว น 2 4 3 ค น โ ด ย ใ ห นั ก เ รี ย น ทํ า ภาษาอังกฤษ การศึกษาปญหาความคงทนในการจําคําศัพทของนักเรียนชั้น ป. 6 ผูวิจัย : วาสนา กวางติ๊ด, ทิพรัตน รัตตะมาน, ศุภนุช วิสุทธิวรรณ และ กุหลาบ สอาด บทคัดยอ การศึก ษาวิจัยครั้ง นี้ มีวัตถุป ระสงค จึงทําการทดสอบหลังเรียน และวิเคราะหผล เพื่อพัฒนาการจดจําคําศัพท โดยใชกิจ กรรม คะแนนโดยใชวิธีการหาคาเฉลี่ยและคารอยละ การเขียนคําศัพท และทําแบบฝกหัดเกี่ยวกับ ผลการศึก ษาปรากฏวา การใชกิจ กรรมการ คําศัพทภาษาอังกฤษ ของนักเรียนระดับชั้น เขี ย นคํ า ศั พ ท แ ละทํ า แบบฝ ก หั ด เกี่ ย วกั บ ประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ภาษาอังกฤษ ทําใหนักเรียนมีความรู ความจํา ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2546 กลุมทดลอง ความเข า ใจในคํ า ศั พ ท แ ละสามารถทํ า เปนนัก เรียนชั้ นประถมศึก ษาปที่ 6 จํานวน แบบทดสอบหลังเรียนไดคะแนนเพิ่มขึ้นจาก 243 คน โดยให นั ก เรี ย นทดสอบเกี่ ย วกั บ เดิม ดังจะเห็นไดจากการเปรียบเทียบผลการ คําศัพทกอนเรียน แลวหลังจากนั้นใหนักเรียน ทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียน ทําแบบฝกหัดเกี่ยวกับคําศัพทภาษาอังกฤษ ที่ ทั้ง 6 หอง ที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย คิดเปนรอยละ คณะผูวิจัยไดสรางขึ้น จํานวน 4 ฉบับ จากนั้น 21.26 39


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ผลการจัดประสบการณโดยการใชแรงเสริมในการพัฒนาทักษะการพูด ผูวิจัย : มัลลิกา ทรัพยคง บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อฝก เพราะเด็กจะอานคําจากตัวอักษรไมได และครู ทัก ษะพัฒ นาการในการฟ ง และพูด ได อย า ง บั น ทึ ก การอ า นของผู เ รี ย นอย า งต อ เนื่ อ ง ชั ด เ จ น แล ะ ต อ เ นื่ อ ง ใ น ก า ร สื่ อ ส า ร ไ ด ผล กา รวิ จั ย ครั้ งนี้ พบ ว า ด .ช.ธนพ ง ษ ผู เ กี่ ย วข อ งกั บ เด็ ก จึ ง ควรมี ค วามเข า ใจ แสงอาทิตย สามารถฝก การพูดได จากการ พัฒนาการทางภาษา เพื่อหาวิธีการสงเสริมให สงเสริมใหผูเรียนไดฝกบอย ๆ จึงมีผลใหการ เด็กไดมีพัฒนาการทางภาษาดีขึ้น เครื่องมือที่ จั ด ป ระส บก ารณ มี ก าร พั ฒ น ามา กขึ้ น ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนการอานคําจากภาพ ตามลําดับ

------------------------------------------------------------------------

รายการอางอิง พิมพันธ เดชะคุปต. 2544. วิจัยในชั้นเรียน: หลักการสูการปฏิบัต.ิ กรุงเทพฯ: บริษัทเดอะ มาสเตอรกรุป แมเนจเมนท จํากัด. สุรพงษ คงสัตย และธีรชาติ ธรรมวงค. 2551. ความรูเกี่ยวกับวิจัยในชั้นเรียน. [ออนไลน] แหลงที่มา: http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id =653&articlegroup_id=146 สุวิมล วองวาณิช. การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน : Classroom Action Research. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 2543. สุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม. "หลักการ แนวคิดและรูปแบบที่เกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน" (หนา 6 - 11) ในลัดดา ภูเกียรติ (บรรณาธิการ). 2538. เสนทางสูการวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ บริษัท บพิธ การพิมพ.

40


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

แลกเปลี่ยนเรียนรู Knowledge Sharing ฉบับปฐมฤกษนี้ เพื่อใหเขากับ ประเด็นการจัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ ทางทีมงานไดติดตอขอสัมภาษณคณาจารยในคณะทั้งจากทานอาจารยอาวุโสและอาจารยรุนใหม เรา ลองมาฟงประสบการณเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนของคณาจารยทานเหลานั้นวาที่ผานมาเคย ประสบปญหาอะไรบางและแตละทานมีวิธีการแกไขปญหาอยางไร โดยไดแบงออกเปนประเด็นตางๆ ซึ่งเปนปญหาที่ไดจากเวทีการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2554 ณ หอง A207 อาคารเจาคุณทหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร เผื่อทานผูอานจะนําไปทดลองใชในรายวิชาของตนก็ ไมสงวนลิขสิทธิ์นะครับ

ผศ.ดร.อํามร อินทรสังข สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตพืช ประสบการณในการสอน 21 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบื้องตน ปญหาที่พบ  การเขียน นักศึกษาเขียนบรรยายความไม เปน ไมตรงประเด็น ขาดความตอเนื่อง เขาใจไดยาก  การพูด ตอบคําถามไมตรงประเด็น เรียบ เรียงคําพูดไมถูกตอง ขาดความชัดเจน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ซักซอมทําความเขาใจวาจะสื่อถึงเรื่องใด อะไรคือเนื้อหาสําคัญ และใหเขียนหรือให พูดใหมอีกครั้ง

41


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพื้นฐาน ปญหาที่พบ  ขาดความรูทั่วไปที่สําคัญๆ หรือ สถานการณเดนๆ ในชวงเวลานั้นๆ

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  บอกเลา ดึงดูดความสนใจ โดยชี้ใหเห็น ความสําคัญของประเด็นนั้นๆ และ เสนอแนะวา นักศึกษาควรมีความรอบรู เรื่องใด จากสังคมที่มีสอื่ ความรูอยาง กวางขวางในขณะนี้

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา ปญหาที่พบ  นักศึกษาหาขอมูลมานําเสนอเพียงบางขอ บางผลงานไมครอบคลุมทั้งหมด

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ย้ําเตือนใหไปหาขอมูลเพิ่มเติมใหม  ใหคําเสนอแนะเพิ่มเติมถึงกรอบ ประเด็น และชนิดของสื่อความรูที่ควรคนหาเพิ่มเติม

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมเขาเรียนในชั่วโมงบรรยาย หรือเขาเรียนสาย  ขาดความกระตือรือรนในชั่วโมง ปฏิบัติการ  แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช

 

 

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช เขาสอนและตรวจสอบรายชื่อ ตรงเวลา กรณีที่มีนักศึกษาจํานวนมาก จะสุม ตรวจสอบรายชื่อประมาณ 20-25% ของ จํานวนนักศึกษา (เชน 200 กวาคน) ตรวจผลการทํางานทายชั่วโมงปฏิบัติการ มีการใหคะแนนผลงานในสวนความตั้งใจ ทํางาน ประกอบดวย เชน การใหดาวขยัน ตั้งใจ เปนตน

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง ปญหาที่พบ  ขาดประสบการณในขั้นตอนการทํา ปญหาพิเศษ การหาขอมูล การเรียบเรียง และวิธีปฏิบัติในการทดลอง

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  แนะนํา ใหความรู วิธีเขียนปฏิบัติ รวมทั้ง การคนควา

42


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ปญหาที่พบ

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ใหทดลองปฏิบัติการหลายๆ ครั้ง  สงนักศึกษาไปฝกงาน ฝกปฏิบัติจริงกับ หนวยงานที่เกี่ยวของ (โดยใชความสัมพันธ สวนบุคคล)

ผศ.ดร.กัญจนา แซเตียว สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตพืช ประสบการณในการสอน 15 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบื้องตน ปญหาที่พบ  นักศึกษาเปนผูฟงฝายเดียว เมื่อถามหรือ ใหอธิบายไมสามารถลําดับการพูดได

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ฝกใหมีการนําเสนอหนาหองมากขึ้น

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพื้นฐาน ปญหาที่พบ  นักศึกษาขาดความรูพื้นฐานที่จะนํามา วิเคราะหหรืออธิบาย เพื่อใหเขาใจใน บทเรียนที่เกี่ยวเนื่องกัน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ตองสอนพื้นฐานที่นักศึกษายังขาดใหม ทํา ใหยังคงเปนการสอนเรื่องเดิมที่เคยเรียนมา แลวแตไมเขาใจ  ใหกลับไปทบทวนความรูพื้นฐาน ที่ เกี่ยวของกับวิชาที่กําลังเรียน

43


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมมีการคนควาขอมูลเพิ่มเติม จากที่อาจารยสอน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ใหทํารายงานโดยใหคนควาขอมูล โดยเนน ใหนักศึกษาคนควาและอานงานที่ออกมา ใหมใหทันตอขอมูลปจจุบัน

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน ปญหาที่พบ  มาเรียนสาย  เขาหองแลวไมตั้งใจเรียน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  เนนใหเห็นถึงความสําคัญของการเรียน

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง ปญหาที่พบ  นักศึกษานึกภาพงานหรือกิจกรรมตางๆ ที่ บรรยายในหองเรียนไมออก เนื่องจากไม เคยเห็นของจริง หรือไมเคยดูสถานที่จริง

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  เพิ่มการทัศนศึกษา และดูงานที่เกี่ยวของ ใหนักศึกษาในวิชานั้นๆ

รศ.ดร.จํารูญ เลาสินวัฒนา สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตพืช ประสบการณในการสอน 11 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบื้องตน ปญหาที่พบ  นักศึกษามักจะไมแสดงความคิดเห็น หรือ สอบถามในขอสงสัย

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ตั้งคําถามและชวนนักศึกษาพูดคุยใน เนื้อหาหลังจากเรียน 44


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพื้นฐาน ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมสามารถเขาใจในเนื้อหาที่จะ สอนตอยอดได

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  อธิบายโดยสรุปในสวนของความรูพื้นฐาน

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา ปญหาที่พบ  ขาดการคนควาจากแหลงขอมูลที่เชื่อถือได  นักศึกษามักใชขอมูลจากฐานขอมูลใน Internet ที่ไมสามารถตรวจสอบขอมูลได และใชวิธี Copy โดยไมอานทําความเขาใจ

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  การคนควากําหนดใหนักศึกษาสง เอกสารอางอิงดวย  รายงานการคนควากําหนดใหนักศึกษา เขียนดวยลายมือสง

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน ปญหาที่พบ  เขาเรียนสาย  ไมตั้งใจเรียน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  กําหนดเวลาในการเซ็นชื่อเขาเรียน  ตั้งคําถามในหัวขอที่สอน และสุมถาม นักศึกษาที่สังเกตวาไมเอาใจใสในการเรียน

ดร.ลําแพน ขวัญพูล สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตพืช ประสบการณในการสอน 4 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบื้องตน ปญหาที่พบ  นักศึกษาใชภาษาวัยรุนในการตอบคําถาม ในชั้นเรียนและในการทําขอสอบแบบ อัตนัย

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ฝกใหนักศึกษานําเสนองานหนาชั้นและใช ภาษาวิชาการ มีการทําขอสอบยอยทาย บทเรียน และตรวจแกภาษาใหนักศึกษา 45


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ปญหาที่พบ  นําเสนองานหนาชั้นไมได ไมรูจักสรุป ประเด็นมานําเสนอ

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ใหคําปรึกษา เสนอแนะแนวทางในการ นําเสนอ  ฝกใหนักศึกษาสรุปและจับประเด็นเนื้อหา

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพื้นฐาน ปญหาที่พบ  ไมสามารถเอาความรูพื้นฐานที่เรียนมาใช ในการตอบคําถามในการทําขอสอบ หรือ ในชั้นเรียนได

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ทบทวนความรูพื้นฐานใหนักศึกษากอน  ใหนักศึกษาทําการบานเกี่ยวกับหัวขอที่ ตองอาศัยความรูพื้นฐาน

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมสามารถทําขอสอบที่เปน คําถามทั่วไป (นอกกรอบได)  นักศึกษาไมอานหนังสืออื่น นอกจาก Sheet Slide ของอาจารยที่สอน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  มอบหมายงานใหคนควาเพิ่มเติมในแตละ หัวขอ  แนะนําแหลงขอมูล และวิธีการคนควาให นักศึกษา

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน ปญหาที่พบ  เดินเขา-ออกหองเรียนบอยๆ  รับโทรศัพทขณะมีการเรียนการสอน  คุยกัน ไมสนใจ

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ตกลงกันชั่วโมงแรกวาจะสอนกี่นาทีแลวให นักศึกษาพัก  บอกใหนักศึกษาปดเสียงโทรศัพทและหาม รับขณะเรียน  พยายามแทรกคําถามระหวางสอน และให ทํางานกลุม

46


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง ปญหาที่พบ  ไมเคยรูจักตนไม/ไมผลทางเศรษฐกิจที่ ปลูกในบานเรา  ไมสามารถเอามาปรับใชกับการเรียนใน แตละรายวิชาได

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ใหนักศึกษาคนควาอานวารสารงานวิจัย และวารสารขาวทั่วไปทางการเกษตรและ จัดทํารายงาน  ทัศนศึกษาดูงานนอกสถานที่  ฝกปฏิบัติจริงเพื่อใหนักศึกษามี ประสบการณ

ดร.นิตยา ผกามาศ สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตพืช ประสบการณในการสอน 4 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบื้องตน ปญหาที่พบ  เวลาเรียกใหตอบคําถามในหองเรียน นักศึกษาบางคนไมสามารถอธิบายได แม เราจะดูออกวานักศึกษาเขาใจบาง แต นักศึกษามักเรียบเรียงคําพูดไมถูก  การออกขอสอบแบบอัตนัย ปญหาที่พบ หลายครั้ง คือ นักศึกษามักไมทําขอสอบ เพราะไมชอบขอสอบที่ตองเขียนเยอะ บางครั้งเมื่อถามนักศึกษามักตอบวาไมรู จะเขียนอะไร

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  เวลาถามนักศึกษาตองมีมุกตลกๆ สอดแทรก เพื่อใหนักศึกษาผอนคลาย ในขณะที่นักศึกษาตอบแลวติดขัดก็ชวย เสนอแนะ เมื่อนักศึกษาตอบแลวควรสรุป ตอนทายพรอมเสริมวาตอไปถาเจอคําถาม แบบนี้ ควรจะตอบแนวทางไหน ฝกทํา บอยๆ จะเห็นพัฒนาการของนักศึกษา  ใหนักศึกษาฝกทําขอสอบ Pre-test หรือ Post-test ในชั้นเรียน และพยายามตรวจ และสงคือนักศึกษา เพื่อใหนักศึกษาเห็น ขอบกพรองของตัวเอง เวลาตอบขอสอบ พรอมทั้งมีการเสนอแนะแนวทางใหการคิด โจทก และวิเคราะหกอนการตอบอยางไร 47


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพื้นฐาน ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมนําความรูพื้นฐานที่เรียนมาใช ในวิชาที่มีเนื้อหาตอเนื่องกัน บางครั้งลอง นั่งวิเคราะหดู อาจจะเปนเพราะบางวิชา ออกขอสอบแบบปรนัย ดังนั้นเมื่อ นักศึกษาออกจากหองสอบก็จะลืมทันที

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  หากเราตองสอนวิชาที่เปนความรูพื้นฐาน จะเนนทําความเขาใจในหองเรียน โดยการ เรียกถาม-ตอบ เพื่อใหนักศึกษามีสวนรวม และจะชวยใหนักศึกษาจําไดดีขนึ้ และ พยายามออกขอสอบที่ตองอาศัยการคิด วิเคราะหบาง ใชความจําบาง  ถาเราตองสอนวิชาที่ตองอาศัยความรู พื้นฐานจากวิชาอื่นๆ อาจจะตองมีการ ทบทวนเนื้อหาในชั่วโมงแรกๆ เพื่อฟน ความจําจะสามารถทําใหนักศึกษาตอกัน ติดได

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา ปญหาที่พบ  เมื่อมีการสั่งใหนักศึกษาทํารายงานสง จะ สังเกตวานักศึกษา Copy งานของเพื่อน มาสง เพียงแตเปลี่ยนชื่อหนาปกรายงาน  เวลานักศึกษามีขอสงสัยอะไรจะไมยอม คนควากอนที่จะมาถามอาจารย เดินตรง มาถามอาจารยเลย ทั้งๆ ที่ขอมูล บางอยางสามารถคนควาไดในตําราเรียน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  การสอบยอยตนชั่วโมงและ Lock ประตู หองเปนเวลา 15 นาที ดังนั้นนักศึกษาที่มา สายก็จะไมไดสอบ ทําการสอบยอยเก็บ คะแนนบอยๆ นักศึกษาจะมีความ กระตือรือรนมากขึ้นกวาเดิม แตตองทํา สม่ําเสมอ  การเรียกสมาธินักศึกษากลับมาโดยใหตอบ คําถามในหองเรียน เชน ถานักศึกษากําลัง คุยกันหรือเลนโทรศัพท จะตั้งคําถามขึ้น 1 คําถาม แลวเรียกใหนักศึกษาคนดังกลาวให ตอบก็จะชวยใหเรียกสมาธินักศึกษากลับมา ไดบาง แตอาจารยก็ตองจําชื่อนักศึกษาได ดวย

48


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน    

ปญหาที่พบ นักศึกษาเขาหองเรียนสาย นักศึกษาคุยในหองเรียน นักศึกษานั่งหลับในหองเรียน นักศึกษาเลนโทรศัพทมือถือ และโนตบุค ในหองเรียน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  สอบยอยตนชั่วโมงและ Lock ประตูหอง เปนเวลา 15 นาที ดังนั้นนักศึกษาที่มาสายก็ จะไมไดสอบ ทําการสอบยอยเก็บคะแนน บอยๆ นักศึกษาจะมีความกระตือรือรนมาก ขึ้นกวาเดิม แตตองทําสม่ําเสมอ  เรียกสมาธินักศึกษากลับมาโดยใหตอบคําถาม ในหองเรียน เชน ถานักศึกษากําลังคุยกัน หรือเลนโทรศัพท จะตั้งคําถามขึ้น 1 คําถาม แลวเรียกใหนักศึกษาคนดังกลาวใหตอบก็จะ ชวยใหเรียกสมาธินักศึกษากลับมาไดบาง แต อาจารยก็ตองจําชื่อนักศึกษาไดดวย

ดร.นงลักษณ เภรินทวงศ สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตพืช ประสบการณในการสอน 5 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพื้นฐาน ปญหาที่พบ  นักศึกษาหลายคน (ไมทุกคน) ขาด พื้นฐานทางวิชาวิทยาศาสตรที่เกี่ยวของ กับ พืช-สัตว รวมทั้งวิทยาศาสตรทั่วไป  นักศึกษาขากการใฝหาความรูรอบตัว  เนื่องจากนักศึกษามีความรูพื้นฐานนอย และอาจารยมีเวลาสอนในแตละหัวขอ อยางจํากัด ทําใหนักศึกษาพลาดโอกาส ในการไดรับขอมูลเชิงลึกที่เกี่ยวของกับ

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ใชเวลามากขึ้นในการอธิบายและปูพื้นฐาน ใหใหม

49


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

เนื้อหาวิชา หรือทําใหอาจารยลังเลที่จะ ใหขอมูลเชิงลึก เพราะกลัววานักศึกษาจะ ไมรูเรื่อง และจะยิ่งทําใหสับสน

2 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา ปญหาที่พบ  นักศึกษาใชสื่อคอมพิวเตอรมากเกินไป ซึ่ง การคนควาดวยคอมพิวเตอรเปนเรื่องงาย แตขอมูลที่ไดกลับมาเปนขอมูลที่ “มักจะ” ยังไมไดรับการยืนยันอยางเปน ลายลักษณอักษร อีกทั้งยังเปนขอมูล เบื้องตนเปนสวนใหญ แตกตางจากการ คนควาดวยการอานหนังสือเฉพาะสวน ของเรื่องนั้นๆ ที่จะมีการอธิบาย แตก ประเด็น และมีขอมูลสนับสนุนการเขียน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  มอบหมายงานใหนักศึกษาคนควาใหมาก ขึ้น หรือใหหัวขอ (โจทย) และใหนักศึกษา คนหาบทความที่เกี่ยวของมานําเสนอ โดย ระบุวาตองเปนบทความที่มกี ารตีพิมพใน หนังสือหรือวารสารเทานั้น

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน 

 

ปญหาที่พบ นักศึกษาเขาเรียนสาย และนักศึกษามัก อางวามีระเบียบใหเขาสายไดไมเกิน 15 นาที หรือเขาสายไดไมเกิน...ครั้ง/ภาค การศึกษา นักศึกษาใชเครื่องเลน mp3 หรือ โทรศัพท อัดเสียงอาจารยขณะสอน นักศึกษาใชกลอง Digital หรือโทรศัพท ถายภาพสไลดหรือสื่อการสอนอื่นๆ แทน การจดหรือวาดภาพลงสมุดดวยลายชื่อ การแตงกายของนักศึกษาไมถูกกฎ ระเบียบ

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ตําหนิ หรือสั่งหาม เมื่อพบวา นักศึกษา อัดเสียงหรือถายภาพสื่อการสอน  เช็คชื่อนักศึกษาเมื่อผานเวลาเขาเรียนไป แลว 10-15 นาที หรือสุมเช็คชื่อในระหวาง สอน

50


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ผศ.สุขุมาภรณ ขันธศรี สาขาวิชา พัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร ประสบการณในการสอน 19 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบื้องตน ปญหาที่พบ  ภาษาของการสื่อสาร นักศึกษาสวนใหญใช ภาษาพูดเปนภาษาเขียน และภาษาพูดไม ถูกตองตามลําดับชั้นของการสื่อสาร  ภาษาเขียน สะกด การันต คําควบกลา คําพองเสียง พองรูป (จากรายงาน)  ภาษากาย การแสดงออกทางภาษากาย กับลําดับชั้นของการสื่อสารเปนสมัยใหม ทําใหบุคลิกลักษณะของนักศึกษาที่ แสดงออกไมถูกกับกาลเทศะ

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ใชวิธีสอดแทรกและสอนเสรมในรายวิชาที่ รับผิดชอบ  ใหฝกพูดหนาชั้น  การทํารายงาน

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพื้นฐาน ปญหาที่พบ  ความรูรอบตัวของนักศึกษามีนอยมาก  ความรูในการดํารงตนอยูในสังคมปจจุบัน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  พูด/บรรยายใหฟง/เลาเรื่องประกอบ  แนะนําหนังสือ/ศึกษาขอมูลจากเว็บไซต

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา ปญหาที่พบ  นักศึกษาคนควาจากขอมูลทางเดียวคือ ทาง Internet  คนควาแลวไมสรุปความและรวมความ/ ใชวิธี Copy Paste

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  แนะนําแหลงขอมูล เชน หองสมุด/ราน หนังสือ  ใชวิธีเรียนแลวอานออกเสียง (ใหยอ/สรุป เรื่อง) ในรายวิชา (ทําไดบางเปนบางวิชา) 51


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน ปญหาที่พบ  นักศึกษาบางคนขาดเรียนบอย  บางคนควบคุมตนเองไมได  อาจจะไมชอบ ไมสนใจสาขา/วิชาที่เรียน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  Attention Class Score (คะแนนเขาหอง)  โทรตาม/ใหเพื่อนตาม  Quiz รายชั่วโมงโดยไมบอกลวงหนา (บางครั้ง)

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง ปญหาที่พบ  สภาพครอบครัว วัฒนธรรมความเปนอยู ในสมัยปจจุบันไมเอื้อใหนักศึกษามี ประสบการณตรง สิ่งเราในสังคมปจจุบัน มาก เชน Web ตางๆ เกมส  ไมเรียนรูเรื่องอื่น/ไมสนใจศึกษาเพิ่มเติม เชน ไมรูจักสิ่งของเครื่องใชบางอยาง อาหาร ขนม วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม ประเพณี สํานวน ภาษาพูด ภาษาเขียน มารยาทพึงกระทํากับผูอาวุโสกวา

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  สอดแทรกในรายวิชาตามโอกาสอํานวย  การพูดคุยกับนักศึกษานอกรอบ  พบเห็นเตือนตามแตโอกาส

ผศ.ดร.ปญญา หมั่นเก็บ สาขาวิชา พัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร ประสบการณในการสอน 9 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบื้องตน ปญหาที่พบ  ขาดการคิดวิเคราะห การนําเสนอ การตั้ง คําถาม

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  เชน วิชาวิจัย จะมอบหมายใหนักศึกษา แบงกลุมรับผิดชอบในแตละหัวขอจาก เอกสารประกอบการเรียน ใหนักศึกษา 52


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

คนควาเพิ่มเติมและเปนผูนําเสนอในแตละ หัวขอ และใหกลุมอื่นๆ ตั้งคําถาม สรุป และใหคะแนน โดยอาจารยจะคอยเติมเต็ม และเสริมในรายละเอียดที่ขาดไป นักศึกษา สามารถมีทกั ษะการนําเสนอ การตั้งคําถาม การสรุปสาระสําคัญโดยใช Mind Map

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพื้นฐาน ปญหาที่พบ  นักศึกษายังขาดทฤษฎี หลักการ และการ ประยุกตใช

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  มีการนํา Mind Map มาชวยในการ วิเคราะห เชน การวิเคราะหทฤษฎีการ สื่อสาร หรือการวิเคราะหความยั่งยืน/การ พึ่งตนเองของการพัฒนาชุมชน โดยใช Model TREMS/BAN/PAR

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา ปญหาที่พบ  นักศึกษาขาดการคนควาเพิ่มเติมจาก ตําราที่สอน  ขาดการแสวงหาความรูใหมๆ และขาด การติดตามสถานการณ/ความรูที่ เกี่ยวของ

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  แบงการทํางานเปนกลุม และมอบหมายให นักศึกษาคนควาเพิ่มเติมและรายงานในชั้น เรียน เชน ปญหาและสถานการณ สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นในระดับประเทศและ โลก การคนควางานวิจัย/วิทยานิพนธที่ นักศึกษาสนใจ และนําเอาแนวคิดทฤษฎี/ หลักการที่เรียนมาเปรียบเทียบและ วิเคราะห รวมทั้งประยุกตเทียบเคียงใหเห็น ตัวอยางในเชิงรูปธรรมที่เห็นชัดเจนขึ้น

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน ปญหาที่พบ  ไมตรงตอเวลา (มาสาย)  คุยกันในชั้นเรียน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ตั้งคะแนนการเขาชั้นเรียนและเช็คชื่อทุก ครั้ง โดยอนุญาตใหสายไดไมเกิน 15 นาที  ตั้งกฎ กติการวมกัน กรณีที่มีเสียงโทรศัพท 53


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

หรือเลน BB จะหักคะแนนทั้งหอง และ เพื่อนขางๆ ของคนที่เลน BB จะตอง รับผิดชอบเพื่อนและหักคะแนนครึ่งหนึ่ง  กอนเริ่มการสอนจะแสดงคะแนนสะสมการ เขา Class ทุกครั้ง เพื่อกระตุนใหนักศึกษา รับทราบผลคะแนนสะสมของตนเอง รวมทั้งเพื่อนๆ ในหองไดรับทราบรวมกัน บางคนจะเกิดความละอาย และปรับ พฤติกรรมเขาชั้นเรียน

 เลน BB, คุย MSN, Chat ฯลฯ

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง ปญหาที่พบ  ไมสามารถอธิบายและวิเคราะหเนื้อหาใน เชิงความสัมพันธได  ไมสามารถยกตัวอยางที่เปนรูปธรรมได  ไมสามารถประยุกตทฤษฎี/หลักการได

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ใชสื่อวีดีทัศน  ทัศนศึกษาดูงาน  แบงกลุมอภิปราย และนําเสนอ

ผศ.ดร.กนก เลิศพานิช สาขาวิชา พัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร ประสบการณในการสอน 9 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบื้องตน ปญหาที่พบ  การใชภาษาในการเขียนและนําเสนอหนา ชั้นเรียนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษมี ความผิดพลาด และใชภาษาในการสื่อสาร ไมถูกตอง

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  คอยตรวจสอบและสงคืนเอกสารเพื่อให นักศึกษาไดทบทวนภาษาอีกครั้ง  เพิ่มเนื้อหาภาษาอังกฤษใหนักศึกษาได เรียนรูมากขึ้น 54


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพื้นฐาน ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมไดใชความรูพื้นฐานในการ เรียนรูวิชาอื่นๆ ที่เปนวิชาขั้นสูงขึ้น  นักศึกษาไมใสใจนําความรูเดิมมาใชใน การเรียนรูหรือแกปญหาในการเรียนรู เนื้อหาวิชาใหมๆ

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  อธิบายเนื้อหาพื้นฐานซ้ําใหนักศึกษาอีกครั้ง  ใหนักศึกษาสืบคนเนื้อหาพื้นฐานกอนเรียน  ทดสอบยอยเพื่อใหนักศึกษาเห็นถึง ความสําคัญวิชาพื้นฐาน

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมคนควาความรูเพิ่มเติมจาก การเรียนในชั้นเรียน  นักศึกษาไมมีกระบวนการกลั่นกรอง ขอมูลกอนนํามาใช โดยเฉพาะเนื้อหาที่ได จาก Internet

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  สอนวิธีสืบคนขอมูลจากแหลงตางๆ  ชี้ใหเห็นถึงความนาเชื่อถือของขอมูลที่ ไดมา  ใหคะแนนเพิ่มจากการอางอิงขอมูล

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน ปญหาที่พบ  นักศึกษาใช PC เพื่อเลน Facebook และ Social Network อื่นๆ  นักศึกษาพูดคุยในชั้นเรียน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  หักคะแนนความสนใจ ใสใจเรียน  ถามใหตอบเพื่อดึงนักศึกษาเขาสู เนื้อหาวิชาเรียนอีกครั้ง

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมเขาใจเนื้อหาที่เกี่ยวของกับ ประสบการณ เชน ไมทราบลักษณะของ เขตรักษาพันธุสัตวปาวามีลักษณะอยางไร

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  พานักศึกษาไปทัศนศึกษา  เปดโอกาสใหนักศึกษาไดปฏิบัติจริงในบาง เรื่องๆ ที่ไมใชงบประมาณมากจนเกินไป  ใชประสบการณเสมือน เชน เปดวีดิทัศนให ดูหรือดูจากสื่ออื่นๆ

55


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม สาขาวิชา พัฒนาการเกษตรและการจัดการทรัพยากร ประสบการณในการสอน 9 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบื้องตน ปญหาที่พบ  นักศึกษาขาดทักษะการพูดการนําเสนอ และการเขียนสรุปใจความสําคัญ  นักศึกษาไมเขาใจคําสั่งของอาจารยผูสอน วาใหทําอะไร อยางไร และนักศึกษาไม สามารถถายทอดไปยังเพื่อนในหองได

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  เลาและนําตัวอยางการพูดการนําเสนอหรือ การเขียนที่ดีจากรุนพี่มาใหนักศึกษาดู  เพิ่มชองทางการประกาศหรือสั่งงานผาน อินเทอรเน็ต เชน สรางกลุมใน Facebook เพื่อติดตอสื่อสารและสงงานในแตละวิชา

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพื้นฐาน ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมสามารถดึงความรูพื้นฐานเดิม มาใชในการตอยอดวิชาอื่นๆ ได

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ทบทวนความรูพื้นฐานเดิมโดยแบง นักศึกษาออกเปนกลุมแลวจัดกิจกรรมดึง ความรูเดิม เชน เขียนตอบลงในกระดาษ หรือนําเสนอหนาชั้นเรียน

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา ปญหาที่พบ  นักศึกษาใชการสืบคนจากแหลงเดียวและ บอยครั้งที่นําขอมูลมาจากแหลงที่ไม นาเชื่อถือ  นักศึกษาใชวิธี Copy & Paste

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  กําหนดเงื่อนไขวาตองนํามาจากแหลง สารสนเทศอยางนอย 3 แหลง  แนะนําแหลงสารสนเทศที่นาเชื่อถือ  หากงานที่สงมาเปนการ Copy & Paste ใหนักศึกษาทําการสรุปและเขียนสงใน กระดาษ

56


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน ปญหาที่พบ  นักศึกษามาสายหรือมาเช็คชื่อแลวหายไป จากหองเรียน  นักศึกษาคุย เลนอินเทอรเน็ต เลนมือถือ หลับ  นักศึกษาไมตั้งใจทําผลงานสง

 

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช มาใหตรงเวลาสอนทุกครั้งเพื่อเปนตัวอยาง ใชการเรียกชื่อสลับกับการใหเซ็นชื่อ โดย หากเลยเวลา 15 นาที Lock หองเรียนแลว คอยเปดเมื่อเช็คชื่อเสร็จ และบางครั้งก็ Quiz ตอนตนชั่วโมงโดยไมบอกลวงหนา พยายามใหนักศึกษามีสวนรวมในการเรียน การสอน เชน เรียกถามความรูเกา ใคร ตอบไดใหคะแนนเพิม่ นําผลงานทุกชิ้นขึ้นระบบอินเทอรเน็ต เพื่อใหนักศึกษาตระหนักวามีคนเขามาดู งานของตนโดยเฉพาะรุนนองเพื่อใหเกิด ความตื่นตัวและใสใจในการทํางานมากขึ้น

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมสามารถประยุกตหลักการที่ สอนไปใชในการสรางผลงานที่เหมาะสม กับวัตถุประสงคและกลุมเปาหมายได เนื่องจากยังใชความชอบสวนตัวเปน แนวทางในการออกแบบและผลิตผลงาน และดูจากตัวอยางผลงานรุนพี่เปนสวน ใหญ ทําใหผลงานที่ผลิตออกมานําไปใช งานจริงไมไดเทาที่ควร

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ใหดูผลงานของนักศึกษาในสถาบันอื่นๆ เพื่อกระตุนใหเกิดความตื่นตัวในวิชาชีพ  ใหนักศึกษานําผลงานไปใหผเู ชี่ยวชาญ ภายนอกสาขาวิชาทั้งจากหนวยงานเอกชน และสถาบันการศึกษาอื่นตรวจสอบ คุณภาพของผลงาน  สงเสริมใหทําการผลิตผลงานเพื่อสงเขา ประกวดในงานตางๆ

57


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

รศ.ดร.สุนีรัตน เรืองสมบูรณ สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตสัตวและประมง ประสบการณในการสอน 13 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบื้องตน ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมสามารถอธิบายสิ่งที่ตัวเองรูให ผูอื่นเขาใจผานการพูดหรือเขียนได

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ฝกใหนักศึกษาถายทอดความเขาใจในงาน ของตนเองหนาชั้นเรียนโดยไมอาน

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพื้นฐาน ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมนําความรูพื้นฐานจากการ เรียน ป1 ป2 มาใชตอนป3 ป4 สวนใหญ จะลืม

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ทบทวนใหใหม  ใหไปหาคําตอบมาอธิบายในสัปดาหตอไป

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา ปญหาที่พบ  ไมอานหนังสือเพิ่มเติม ไมคนควาเพิ่ม รับ ขอมูลเฉพาะที่ผูสอนใหในหองเรียน

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ใหนักศึกษาทํารายงานเรื่อง เอกสาร หนังสือที่ใช ประกอบการเรียน โดยใหนํา หนังสือเหลานั้นมา present หนาชั้น วา เปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร ใชประกอบการ เรียนบทไหนไดบาง

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน ปญหาที่พบ  นักศึกษามักนั่งหลับ นั่งคุย ไมสนใจฟง การบรรยาย

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  มีการทดสอบยอยทายชั่วโมงโดยไมแจงให ทราบลวงหนา 58


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมสามารถจินตนาการสิ่งที่ เกิดขึ้นจริงในฟารมเมื่อฟงการบรรยาย

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  พานักศึกษาออกไปทัศนศึกษา ลองปฏิบัติ จริงทั้งสถานที่จริงและหองปฏิบัติการ

ผศ.ดร.คมแข พิลาสมบัติ สาขาวิชา เทคโนโลยีการผลิตสัตวและประมง ประสบการณในการสอน 14 ป

1 ประเด็นนักศึกษาขาดทักษะดานการสื่อสารเบื้องตน ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมสามารถเรียบเรียงเคาโครง ของเนื้อหาใหเปนลําดับขั้นตอน ความคิด ยังสะเปะสะปะ  นักศึกษาไมมีทักษะในการเขียนงาน ทางดานวิชาการ การเขียนและการพูดจะ เปนภาษาวัยรุน และหลายครั้งนักศึกษา เขียนภาษาไทยผิด ตอนหลังมาเขียนผิด เยอะมาก

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ในวิชาสัมมนา และปญหาพิเศษ อาจารย จะตองเพียงพอกับจํานวนนักศึกษา เพื่อให ดูและและสอนการเขียนอยางจริงจัง กรณี สาขาสัตวศาสตร วิชาสัมมนา อาจารยทุก คนในสาขาตองเปนอาจารยประจําวิชา สัมมนา และดูแลนักศึกษาอยางจริงจัง

2 ประเด็นนักศึกษาขาดความรูพื้นฐาน ปญหาที่พบ  นักศึกษาโดยเฉพาะคณะเกษตรสอบตรง สัมภาษณเขาอยางเดียว บางครั้งมีปญหา การคัดเลือกเด็กที่มีความรูพื้นฐานไมดี

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  หาแนวทางคัดเลือกนักศึกษา และเกณฑที่ คัดเลือกเด็กอยางมีประสิทธิภาพ

59


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

3 ประเด็นนักศึกษาขาดการคนควา ปญหาที่พบ  เนื่องจากเทคโนโลยีกาวหนา นักศึกษา สวนใหญจะคนขอมูลใน Google เทานั้น ไมอานในหนังสือ และคัดลอกมาจาก Google อยางเดียว  นักศึกษาไมสนใจศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจาก เนื้อหาที่อาจารยสอน อาจารยสอนแค ไหนก็แคนั้น

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  การทํารายงานให Ref. อางอิงมาดวย พรอมสงอางอิงมาดูดวย ถาเปนอางอิงที่มา จาก Google อยางเดียว จะใหกลับไปทํา เพิ่มเติม แตอาจารยจะตองทํางานมากขึ้น เพื่อตรวจสอบงานนั้นๆ  กําชับ บังคับ โดยเอาคะแนนมาอางวาตอง คนควาหนังสือหรือ Journal ที่ตีพิมพแลว เปนตน

4 ประเด็นนักศึกษาขาดการใสใจในการเรียน ปญหาที่พบ  นักศึกษาเขาเรียนแตไมจด ไมสนใจ นั่ง นิ่งๆ บางคนเอาเพลงมาฟง (เสียบหูฟง)  นักศึกษามาเรียนสาย ขาดเรียนบอย

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  แบงหองเรียนใหเปนหองเล็ก เพื่ออาจารย จะไดควบคุมนักศึกษาไดงายขึ้น เชน หอง ละ 30-45 คน หรือไมเกิน 50 คน กรณี หองละ 100-200 คน ทําใหอาจารยเช็คชื่อ นักศึกษาไมได ควบคุมลําบาก  ตองเช็คชื่อตามเวลาที่กําหนด เชน จะเช็ค ชื่อทันทีที่เวลาเรียนเริ่มตน ซึ่งชวงแรกเด็ก มาเรียนตรงเวลาประมาณ 3 คนจาก 30 คน เมื่อโดนเช็คขาดเด็กจะมาเร็วขึ้นใน สัปดาหถัดไป แตนั่นหมายความวาอาจารย ตองมากอนเด็ก

5 ประเด็นนักศึกษาขาดประสบการณตรง ปญหาที่พบ  นักศึกษาไมมีทักษะในสาขาวิชาที่เรียน เนื่องจากนักศึกษาเยอะเกินไป การฝกฝน ทักษะเฉพาะเรื่องไมทั่วถึง และนักศึกษาก็ ไมสนใจ

แนวทางแกไขปญหาที่เคยใช  ควรใหนักศึกษาเลือกความสนใจเฉพาะ เรื่องและฝกฝนใน Lab ที่มีอยูใหมากขึ้น

60


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

ความรูคูงาน Knowledge for Worker ทีม งานไดจัด ทําคอลั ม นนี้ขึ้ นมาเพื่ อนําเสนอขอ มูล ความรูที่น าสนใจและจํ าเปน ตอการ ปฏิบัติงานของคณาจารยและบุคลากรของคณะฯ โดยฉบับแรกนี้ไดนําประเด็นที่ถูกสอบถามอยูเปน ประจําของงานบริหารทรัพยากรบุคคลเกี่ยวกับการขออนุมัติลาไปฝกอบรมและดูงาน ณ ตางประเทศ มาแสดงใหเห็นเปนขั้นตอนที่ชัดเจนและเอกสารที่ตองใชประกอบเพื่อใหงายตอการทําความเขาใจ และพรอมตอการนําไปปฏิบัติ

การขออนุมัติลาไปฝกอบรมและดูงาน ณ ตางประเทศ

1. ผูลาทําเรื่องผานประธานสาขาวิชา * หากมีการใชเงินรายไดคณะ ใหตัดยอดเงินจากสาขาวิชากอน

2. กรณีใชเงินรายไดคณะ สงใหการเงินเพื่อตัดยอดเงิน * หากเปนกรณีดูงานใหขามไปขอ 4

no

3. คณบดีอนุมัติ ใชเงินรายได ? yes A

61

1. เอกสารแนบการลาไปดูงานตางประเทศ 1.1 แบบใบลาไปศึกษา ฝกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย 1.2 หนังสือเชิญ 1.3 กําหนดการ (หากมี) 2. เอกสารแนบการลาไปนําเสนอผลงานทาง วิชาการ 2.1 ใบตัดยอดเงินรายไดคณะ 2.2 แบบใบลาไปศึกษา ฝกอบรม ดูงาน หรือปฏิบัติการวิจัย 2.3 แบบประมาณการเดินทางไป ตางประเทศ 2.4 บทคัดยอเรื่องที่จะนําเสนอผลงาน 2.5 หนังสือตอบรับหรือหนังสือเชิญไป นําเสนอผลงานทางวิชาการ


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554 A

4. งานบริหารทรัพยากรบุคคลคณะ ดําเนินการขอ อนุมัต/ิ จัดทําคําสั่ง/เสนอคณบดีลงนามในหนังสือนําสง

5. สวนบริหารทรัพยากรบุคคลสถาบัน ตรวจสอบ เอกสาร (สถาบันออกหนังสือรับรอง) * กรณีผูลาตองการหนังสือรับรองจากสถาบันเพื่อ นําไปใชประกอบการจัดทําหนังสือเดินทาง

no

6. อธิการบดี อนุมัติ ?

3. การทําสัญญาใหขาราชการไปฝกอบรม ตางประเทศ 3.1 การลาไปฝกอบรม (นําเสนอผลงานทาง วิชาการ, ประชุมเชิงปฏิบัติการ, สัมมนา เชิงปฏิบัติการ ณ ตางประเทศ) ไมเกิน 1 เดือน ใหทําเฉพาะสัญญาอนุญาตให ขาราชการไปฝกอบรมตางประเทศ 3.2 การลาไปดูงานเกิน 15 วัน ใหปฏิบัติ เชนเดียวกับการฝกอบรม 4. การทําสัญญาใหพนักงานไปฝกอบรมหรืองาน ตางประเทศ 3.1 พนักงานสถาบันที่ลาไปฝกอบรม ณ ตางประเทศ ที่มีระยะเวลาไมเกิน 90 วัน ไมตองทําสัญญาผูกมัดกับสถาบัน 3.2 พนักงานสถาบันที่ลาไปดูงาน ณ ตางประเทศ ที่มีระยะเวลาไมเกิน 60 วัน ไมตองทําสัญญาผูกมัด

yes

7. งานสารบรรณคณะ รับเรื่องคืนและลงทะเบียน รับเรื่อง 8. งานบริหารทรัพยากรบุคคลคณะ รับเรื่องเพื่อเตรียมแจงเจาของเรื่อง

9. สาขาวิชารับเรื่องจากงาน บริหารงานบุคคลคณะ และแจง เจาของเรื่องตอไป

ทานสามารถ download เอกสารที่เกี่ยวของ...ไดที่ http://www.agri.kmitl.ac.th/km/document/f_paper.zip

62


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

เรื่องราวนารู รอบรั้วบุนนาค รอบรั้วบุนนาคฉบับแรกนี้ ขอนําเสนอเรื่องราวของ “บานชื่น บานเย็น” หนึ่งในตํานานเล็กๆ ของหนาประวัติศาสตรคณะเทคโนโลยีการเกษตร ซึ่งคนรุนหลังๆ ควรไดรับรูเอาไว กําเนิดของสัตวทเี่ ปนกระดูกสันหลังของชาติรอบรั้วคณะเทคโนโลยีการเกษตร เจาคุณทหาร การแกบ นของผูที่ไดม าบนบานศาล กลาวตออนุสาวรียทานเจาคุณทหาร ทําใหหนึ่ง ชีวิตที่ชื่อวา “แมบานชื่น” ไดถูกนําเขามาอยู ในพื้นที่รอบๆ ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร สมั ย ที่ ยั ง ไม มี ตึ ก เกษตรหลั ง ใหม นั่ น ก็ คื อ บริเวณตึกบุญนาคหรือตึกเกษตรเกา ตอมาแม บานชื่นไดคลอดลูกออกมาเปนเพศเมีย โดยมี อาจารยทานหนึ่งของหลักสูตรสัตวศาสตรเปน ผูใหความเมตตาและคอยดูแลดานสุขภาพของ แม บ าน ชื่ นกั บ ลู ก อ าจ า ร ย ท า นนั้ น คื อ “อาจารย ข อม ถึ ง แก ว ” (ป จ จุ บั นเกษี ย ณ ราชการ) ซึ่งทานก็เปนผูตั้งชื่อใหแกลูกของแม บานชื่นว า “บานเย็น ” ตอมาแมบ านชื่นได ตายลง จึงเหลือแตบานเย็นเพียงตัวเดียวที่ใช ชีวิตหากินหญารอบๆ ตึกคณะเกษตรและรอบ ฟารมเลี้ยงสัตวเกา ยามที่มีอากาศรอนบานเย็น จะชอบวายน้ําลอยคออยูภายในบอน้ําคณะ เกษตร และใชชีวิตรอบๆรั้วของคณะแบบไม โรงเรือนอยู ดํารงชีวิตอยางอิสระสมบูรณแบบ บานเย็นเปนกระบือที่แสนรูและเปน ขวั ญ ใจของนั ก ศึ ก ษารวมทั้ ง คนงานคณะ

เทคโนโลยีการเกษตรมาก ทุกครั้ง ที่บานเย็น หายไป อาจารยและคนงานฟารมจะตองตาม หาจนเจอ ซึ่งถาบานเย็นหายไปสวนใหญก็จะ พบวาไปอยูในบอน้ําคณะเกษตรเสมอ จนเมื่อ ประมาณ ปพ .ศ. 2538 ความสุ ขสวนตัวของ บานเย็นก็เปนเหตุใหเชือกที่ทําการสนตะพาย คอไปพันกับพืชน้ําที่อยูที่บอ จึงทําใหบานเย็น ไมสามารถขึ้นฝง บอไดและยิ่งพยายามเทาไร เชือกก็ยิ่งเขาพันที่กีบเทาทําใหบานเย็นจมน้ํา ลงไปยิ่งกวาเดิม ในที่สุดบานเย็นก็ตองจบชีวิต ลงภายในบอน้ําของคณะเทคโนโลยีการเกษตร ซึ่งก็คือบริเวณใตตึกเจาคุณทหาร อาคารหลัง ใหมของคณะเทคโนโลยีการเกษตรในปจจุบัน นั่นเอง

63


อนุสารการจัดการความรู คณะเทคโนโลยีการเกษตร สจล. ปที่ 1 ฉบับที่ 1/2554

รําลึกพระคุณ “ทานเจาคุณทหาร”

เจาพระยาสุรวงษ ไวยวัฒน ดวยเล็งเห็น คุณคา สถาบัน เราชาว สจล. ขอรําลึก นอมเกศา บวงสรวง ดวงวิญญาณ

ทานไดจัด มอบที่ดิน เพื่อสรางสรรค ชนทุกชั้น ไดศึกษา วิชาการ จิตสํานึก ในพระคุณ เจาคุณทหาร ขอทานจง อภิบาลลูกหลานเทอญ ประพันธโดย...อาจารยจิตกานต ไพรศรี

64



คณะกรรมการจัดการองค์ความรู้

คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

www.agri.kmitl.ac.th/km


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.