nhc14 book of abstracts

Page 1

¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃ

¾×ªÊǹáË‹§ªÒμÔ

¤ÃÑ駷Õè 14

¾×ªÊǹä·Â äÃŒ¾ÃÁá´¹

º·¤Ñ´Â‹Í

Abstracts

18-20 ¾ÄȨԡÒ¹ 2558 ³ Êǹ¹§¹Øª ¾Ñ·ÂÒ ¨Ñ´»ÃЪØÁâ´Â

ÀÒ¤ÇÔªÒà·¤â¹âÅÂÕ¡ÒüÅÔμ¾×ª

¤³Ðà·¤â¹âÅÂÕ¡ÒÃà¡Éμà ʶҺѹ෤â¹âÅÂÕ¾ÃШÍÁà¡ÅŒÒ਌Ҥس·ËÒÃÅÒ´¡Ãкѧ ËÇÁ¡Ñº ¡ÃÁÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃà¡Éμà ¡ÃзÃǧà¡ÉμÃáÅÐÊˡó





การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง รู้สกึ เป็ นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้ รับ ความไว้ วางใจให้ เป็ นเจ้ าภาพการจัดการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14 ในหัวข้ อ “พืชสวนไทย ไร้ พรมแดน” ร่วมกับ กรมส่งเสริ มการเกษตร ในระหว่างวันที่วนั ที่ 18-20 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงแรม นงนุช การ์ เด้ น รี สอร์ ท จังหวัดชลบุรี ภายใต้ การสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ประกอบด้ วย สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่ง ชาติ (วช.) สานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจยั (สกว.) สานักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสถาบันศึกษาทางด้ านการเกษตร ทัว่ ประเทศ คณะฯ ตะหนักดีว่าความก้ าวหน้ าของการศึกษาวิจัยด้ านพืชสวนมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อประเทศทังในด้ ้ าน เศรษฐกิจ สังคม โภชนาการและคุณภาพชีวิตของประชากร จึงพร้ อมที่จะให้ การสนับสนุนส่งเสริ มการดาเนินกิจกรรมใดๆที่ เกี่ยวข้ องในเรื่ องดังกล่าว การประชุมวิชาการครัง้ นี ้เป็ นกิจกรรมหนึ่งที่จะเป็ นเวทีให้ นกั วิจยั คณาจารย์ นิสิต นักศึกษาและผู้ ที่ สนใจได้ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ และทราบความก้ าวหน้ าของการศึกษาวิจยั ทางด้ านพืชสวนของประเทศไทย ในนามของคณะกรรมการจัดการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14 คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง ขอขอบคุณผู้เกี่ ย วข้ องและผู้สนับสนุนทุกท่านที่ร่วมกันจัดงานนี จ้ นเป็ น ผลสาเร็จ และหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าทุกท่านจะได้ รับประโยชน์จากการประชุมในครัง้ นี ้ตามวัตถุประสงค์ของการจัดงานทุกประการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มณฑล แก่นมณี คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

18-20 พฤศจิกายน 2558

I


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

พืชสวนเป็ นกลุ่มพืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจและมีศกั ยภาพในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศเป็ นอย่างมาก โดยในแต่ละปี มีมลู ค่าการผลิตและการส่งออกนับหมื่นล้ านบาท อย่างไรก็ตามการผลิตพืชสวนให้ มีปริ มาณและคุณภาพดีตรง ตามที่ผ้ บู ริโภคต้ องการนัน้ จาเป็ นต้ องมีปัจจัยต่างๆ เข้ ามาเกี่ยวข้ อง มากมาย ตังแต่ ้ พนั ธุ์ที่ใช้ ในการเพาะปลูก ระบบการผลิตที่ ดีและเหมาะสม การปลูกและการดูแลรักษา การป้องกันกาจัดโรคและแมลง การใช้ สารควบคุมการเจริ ญเติบโตเพื่อเพิ่มปริ มาณ ผลผลิตและคุณภาพ และการจัดการหลังเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม ดังนันงานวิ ้ จยั ทางด้ านพืชสวนจึงมีขอบข่ายครอบคลุมงานวิจยั ที่ สอดคล้ องกับปั จจัยต่างๆ ดังกล่าวข้ างต้ น นอกจากนี ้ พืชสวนไม่ได้ มีบทบาทเฉพาะให้ ประโยชน์เพียงเพื่อการบริ โภคเท่านัน้ แต่ ยังมีบทบาทสาคัญในการสร้ างสรรค์สิ่งจรรโลงใจให้ กบั สังคมมนุษย์ โดยเฉพาะเพื่อการตกแต่งที่อยู่อาศัย หรื อการสร้ างภูมิทศั น์ ชุมชนเมือง ในปี พ.ศ. 2558 ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณ ทหารลาดกระบัง ได้ รับเกียรติอีกครัง้ ในการเป็ นเจ้ าภาพจัดการประชุมวิชาการพืช สวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14 (The 14th National Horticultural Congress) ร่ วมกับกรมส่งเสริ มการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในระหว่างวันที่ 18-20 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงแรมนงนุช การ์ เด้ น รี สอร์ ท จังหวัดชลบุรี ภายใต้ หวั ข้ อหลัก “พืชสวนไทย ไร้ พรมแดน” หลังจากที่เคยได้ รับเกียรติ เป็ นเจ้ าภาพในการจัดประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 5 มาแล้ วเมื่อปี พ.ศ. 2548 ณ จังหวัดชลบุรี เช่นกัน สาหรับ วัตถุประสงค์ของการประชุมครัง้ นี ้เพื่อที่จะเป็ นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจยั ของนักวิจยั รุ่ นใหม่ และนักวิจยั อาวุโส ตลอดจนเป็ นเวที แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิจยั แหล่งทุน และผู้ใช้ ผลงานวิจยั ที่เกี่ยวกับกิจกรรมการวิจยั หรื อภารกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง อย่างไร้ ขอบเขต เพื่อให้ พืชสวนไทย เจริญรุดหน้ า อย่างเข้ มแข็งและยัง่ ยืนตลอดไป ขอขอบคุณสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร สานักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ (วช.) สานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และหน่วยงานอื่นๆ ทังภาครั ้ ฐและเอกชนที่ให้ การสนับสนุน อย่างดียิ่ง ทาให้ การจัดประชุมครัง้ นี ้ประสบความสาเร็จลุลว่ งด้ วยดี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อามร อินทร์ สงั ข์ หัวหน้ าภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

II

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

หนังสือรวมบทคัดย่อประกอบการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14 เล่มนี ้ จัดทาขึ ้นเพื่อแสดงกาหนดการใน การจัดประชุมวิชาการฯ การเสวนาและบรรยายพิเศษจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ และรวมบทคัดย่องานวิจยั ที่นาเสนอในงาน ประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครัง้ ที่ 14 โดยมีภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง ร่ วมกับกรมส่งเสริ มการเกษตร ได้ รับเกียรติให้ เป็ นเจ้ าภาพจัดการประชุมฯ โดยได้ รับ การสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ทังภาครั ้ ฐและเอกชน มีกาหนดจัดขึ ้นในระหว่างวันที่ 18-20 พฤศจิกายน 2558 ณ สวนนงนุช พัทยา จังหวัดชลบุรี โดยมีหวั ข้ อหลักและวาระพิเศษของการจัดงานประชุมวิชาการในครัง้ นี ้ คือ พืชสวนไทย ไร้ พรมแดน มี วัตถุประสงค์เพื่อให้ นกั วิจยั นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา บุคลากรทังจากภาครั ้ ฐและเอกชนได้ เผยแพร่ ผลงานวิจยั แลกเปลี่ยน ความรู้ และประสบการณ์ การทางานวิจยั ออกสู่สาธารณะ ซึ่งก่อให้ เกิดการสร้ างเครื อข่ายงานวิจยั รวมทังร่้ วมกันพัฒนาแล้ ว ทางการทางานวิจยั เพื่อพัฒนา และส่งเสริ มระบบการผลิตพืชสวนให้ มีปริ มาณและคุณภาพดีตรงตามที่ผ้ บู ริ โภคต้ องการ ซึง่ จะ ช่วยเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางการตลาดของผลิตผลทางพืชสวนไทยในตลาดโลก การจั ด ประชุ ม วิ ช าการฯ ในครั ง้ นี ้ ได้ รั บ ความสนใจและการตอบรั บ อย่ า งดี ยิ่ ง จากนั ก วิ จั ย บุ ค ลากรจาก สถาบัน อุด มศึ ก ษา รวมถึ ง หน่ ว ยงานภาคเอกชน ร่ ว มส่ ง ผลงานวิ จัย เข้ าร่ ว มน าเสนอซึ่ ง แบ่ ง การน าเสนอเป็ น 6 กลุ่ม ประกอบด้ วย ระบบการผลิต สรี รวิทยา ปรับปรุงพันธุ์ เทคโนโลยีชีวภาพ วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว และด้ านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง คณะกรรมการจัดงานประชุมฯ ในครัง้ นี ้หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าบทคัดย่องานวิจยั ที่ตีพิมพ์ในหนังสือเล่มนี ้จะเป็ นประโยชน์ต่อวงการ วิชาการ รวมทังก่ ้ อให้ เกิดองค์ความรู้ และการขยายผลงานวิจยั ใหม่ๆ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประเทศที่ยงั่ ยืนต่อไป หากมี ข้ อผิดพลาดประการใดคณะกรรมการผู้จดั งานประชุมฯ ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี ้ ขอขอบคุณคณะกรรมการทุกท่านที่มีส่วนร่ วมในการจัดงานในครัง้ นี ้ ทาให้ การดาเนินงานจัดประชุมวิชาการพืชสวน แห่งชาติครัง้ ที่ 14 บรรลุวตั ถุประสงค์ และสาเร็จลุลว่ งไปได้ ด้วยดี จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี ้ด้ วย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลาแพน ขวัญพูล ประธานคณะกรรมการฝ่ ายดาเนินการ จัดประชุมวิชาการ

18-20 พฤศจิกายน 2558

III


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

สารจากคณบดี......................................................................................................................................... สารจากหัวหน้ าภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช........................................................................................... คานา....................................................................................................................................................... สารบัญ.................................................................................................................................................... กาหนดการประชุม.................................................................................................................................... กาหนดการนาเสนอผลงานวิจยั .................................................................................................................. สารบัญบทคัดย่อ...................................................................................................................................... บทคัดย่อทางด้ านเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ................................................................. บทคัดย่อทางด้ านปรับปรุงพันธุ์ (Breeding) ................................................................................ บทคัดย่อทางด้ านสรี รวิทยา (Physiology) ................................................................................... บทคัดย่อทางด้ านวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest) ........................................................ บทคัดย่อทางด้ านระบบการผลิต (Production system) ................................................................ บทคัดย่อด้ านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ อง (Other) ...................................................................................... ดัชนีผ้ แู ต่ง............................................................................................................................................... ดัชนีหวั เรื่ อง............................................................................................................................................. รายนามผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความฉบับเต็ม........................................................................................ โครงการจัดประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14.................................................................................. รายนามผู้สนับสนุนงบประมาณจัดประชุม..................................................................................................

IV

หน้ า I II III IV V VII XX 1 33 55 97 125 175 203 217 224 229 235

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 เวลา กาหนดการ 08.00-08.45 น. ลงทะเบียน 08.45-09.00 น. กล่าวต้ อนรับ

09.00-09.10 น. 09.10-09.30 น.

09.30-10.30 น.

10.30-10.45 น. 10.45-12.30 น.

12.30-13.45 น. 13.45-15.00 น.

กล่าวรายงาน กล่าวเปิ ดงาน พิธีมอบโล่รางวัลและ ประกาศนียบัตรแก่ผ้ ชู นะการ ประกวดผลิตผลทาง การเกษตร บรรยายพิเศษ เรื่ อง การพัฒนาพืชสวนไทยเพื่อ การท่ องเที่ยว เครื่ องดื่มและอาหารว่าง อภิปราย เรื่ อง ความร่ วมมือระหว่ างภาครั ฐ และภาคเอกชนเพื่อพัฒนา องค์ ความรู้ ส่ ูงานวิจัย

รับประทานอาหารกลางวัน บรรยายภาคนิทรรศการ (Oral Poster)

18-20 พฤศจิกายน 2558

วิทยากร คณะกรรมการฝ่ ายลงทะเบียนและประมวลผล อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง และ อธิบดีกรมส่งเสริ มการเกษตร คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร

สถานที่ ห้ องนันทา ห้ องนันทา

นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง อธิบดีกรมส่งเสริ มการเกษตร คุณกัมพล ตันสัจจา ผู้อานวยการสวนนงนุชพัทยา

ห้ องนันทา

ห้ องนันทา

ห้ องนันทา

ห้ องนันทา คุณเปรม ณ สงขลา บรรณาธิการวารสารเคหการเกษตร รศ.ดร.โสระยา ร่ วมรั งษี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คุณณัฏฐะวุฒิ เครื อประดับ ผู้จดั การฝ่ ายจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ กต าซธรรมชาติ ดร.พิศิษฐ เกษี วิศวกรใหญ่วิจยั และพัฒนา เทคโนโลยี บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑ์ ก่อสร้ าง จากัด รศ.ดร.อิทธิสุนทร นันทกิจ ข้ าราชการเกษี ยณอายุ สจล. ห้ องประชุมชัน้ 1 อาคารนันทา นักวิจยั ผู้ดาเนิน รายการ ผู้ร่วม อภิปราย

ห้ องนันทา

ริมบึง 1, 2, 3 V


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

15.00-15.15 น. 15.15-16.00 น. 16.00-18.00 น. 18.00-22.00 น.

เครื่ องดื่มและอาหารว่าง ชมผลงานภาคนิทรรศการ ชมงานประกวดผลิตผลทาง การเกษตร งานเลี ้ยงรับรอง

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2558 เวลา กาหนดการ 09.00-10.15 น. บรรยายพิเศษ เรื่ อง มาตรฐานสินค้ าเกษตรพืช สวน สาหรั บตลาด AEC 10.15-10.45 น. เครื่ องดื่มและอาหารว่าง 10.45-12.15 น. บรรยายภาคนิทรรศการ (Oral Poster) 12.15-13.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.30-15.00 น. บรรยายภาคนิทรรศการ (Oral Poster) 15.00-15.15 น. เครื่ องดื่มและอาหารว่าง 15.15-17.00 น. บรรยายภาคนิทรรศการ (Oral Poster) วันที่ 20 พฤศจิกายน 2558 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน เข้ าร่วมการทัศนศึกษาภายใน สวนนงนุช 09.00-12.00 น. ดูงานแหล่งรวบรวมพันธุ์ไม้ ภายในสวนนงนุช 12.00-13.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.30-14.30 น. มอบรางวัลการประกวด ผลงานภาคนิทรรศการ 14.30-15.00 น. 15.00-15.15 น.

VI

สรุปผลการประชุม ส่งมอบ เจ้ าภาพ และพิธีปิดการประชุม เครื่ องดื่มและอาหารว่าง

นักวิจยั จัดโดยกรมส่งเสริมการเกษตร

หน้ าห้ อง สนามนันทา สนามนันทา

วิทยากร รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ

สถานที่ ห้ องนันทา

นักวิจยั

ห้ องริมบิง 2 ริมบึง 1, 2, 3

นักวิจยั

ริมบึง 1, 2, 3

นักวิจยั

ริมบึง 1, 2, 3

คุณกาพล ตันสัจจา

อาคารนันทา

คุณกาพล ตันสัจจา และเจ้ าหน้ าที่สวนนงนุช

พื ้นที่โดยรอบ สวนนงนุช ห้ องนันทา ห้ องนันทา

นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั และนวัตกรรม สจล. คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย

ห้ องนันทา หน้ าห้ องนันทา

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

18-20 พฤศจิกายน 2558

VII


ประธาน /รหัส Pr - 01

Pr - 02

Pr - 03

Pr - 04

Pr - 05

13.45 – 13.50

13.50 – 13.55

13.55 – 14.00

14.00 – 14.05

14.05 – 14.10

เวลา

18 พย .58

Bi - 03

Bi - 02

ประธาน /รหัส Bi - 01

ผลของการเด็ดยอดต่ อการเจริญเติบโตและ Bi - 04 การออกดอกพิทเู นีย สุมิตรา สุปินราช อิศร์ สุปินราช และอังคณพร วังคา ศึกษาวิธีการปั กชาของพิทเู นียในสภาพ Bi - 05 เหมาะสม สุมิตรา สุปินราช อิศร์ สุปินราช และศิโรจน์ ทิมภู่

อิทธิพลของสีม้ ุงตาข่ ายต่ อการเจริญเติบโต และคุณภาพผลเมล่ อน ปวีณา รุ่งรักษาธรรม และลาแพน ขวัญพูล

ผลของการงดนา้ ในช่ วงก่ อนการเก็บเกี่ยว ต่ อคุณภาพในผลเมล่ อน นรกมล ขาวารี และลาแพน ขวัญพูล

ผลของการใช้ ป๋ ยน ุ า้ ชีวภาพจากมูลสัตว์ ต่อ การเจริญเติบโตของผักสลัดที่ปลูกในระบบ ไฮโดรพอนิกส์ ชัยอาทิตย์ อิ่นคา และโสระยา ร่วมรังษี

ห้ องริมบึง 1 ระบบการผลิต (Production system) ดร.เบญญา มะโนชัย ประธาน /รหัส Po - 01

การขยายพันธุ์หน้ าวัวลูกผสมด้ วยระบบ เพาะเลีย้ งจมชั่วคราว ประภาพร ฉันทานุมตั ิ อรทัย ธนัญชัย ยุพิน กสินเกษมพงษ์ และสุเมธ อ่องเภา

Po - 05

ศึกษาผลของปริมาณอาหารเหลว และสภาพ Po - 02 เลีย้ งที่มีต่อการแตกยอดว่ านแสงอาทิตย์ ใน สภาพปลอดเชือ้ อิศร์ สุปินราช สุมิตรา สุปินราช และณัฐยา เทพสาร การประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรม Po - 03 ของแอปเปิ ้ ลที่ได้ จากการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อ ด้ วยเทคนิค SRAP ปั ทมา ศรี น ้าเงิน และ Titnarong Heng การผลิตต้ นดับเบิลแฮพพลอยด์ ของมะเขือ Po - 04 (Solanum melongena L.) โดยวิธีการ เพาะเลีย้ งละอองเกสร จรรยา เหล่ปอ้ ง ยืนหยัด ธีระวัฒน์สกุล และ ดารุส สตุส

อิทธิพลของ BA และ NAA ต่ อการเพิ่ม จานวนยอดรวมของฟั กข้ าว ไซนียตะ สะ มาลา พลวัต ภัทรกุลพิสทุ ธิ สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้ อน

ห้ องริมบึง 2 เทคโนโลยีชีวภาพ )Biotechnology) ผศ.ดร.อภิชาติ ชิดบุรี

การวิเคราะห์ คุณค่ าทางอาหารและคุณภาพ ทางประสาทสัมผัสของเมล็ดทานตะวันและถั่ว เหลืองงอกหลังผ่ านการลวก หทัยรัตน์ ยิ ้วเหี ้ยง และปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ

เครื่องดื่มสามผสานเพื่อสุขภาพจากเม่ า หม่ อน และมะขามป้ อม ศุกฤชชญา เหมะธุลิน

ความสามารถในการต้ านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ การต้ านออกซิเดชันของผลเม่ าหลวง ศุกฤชชญา เหมะธุลิน

การตรวจสอบลักษณะเชิงคุณภาพ และความ แปรปรวนของยีนกากับเอนไซม์ ACC oxidase ในมะละกอพันธุ์การค้ าชนิดลูกผสมเปิ ด 3 สายพันธุ์ โสรยา ปั ญจะธา พิมพิไล แสงมณี ศันสนีย์ นา เจริ ญ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และปาริ ชาติ เบิร์นส ดัชนีเสื่อมสภาพและการใช้ ถุงพอลิเอทิลีน เจาะรู เพื่อยืดอายุวางจาหน่ ายของผักเหลียง พร้ อมปรุ ง กนกพร บุญญะอติชาติ

ห้ องริมบึง 3 วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest) ผศ.ดร.วชิรญา อิ่มสบาย


Pr - 06

Pr - 07

Pr - 08

Pr - 09

Pr - 10

14.10 – 14.15

14.15 – 14.20

14.20 – 14.25

14.25 – 14.30

14.30 – 14.35

การใช้ แหนแดงเป็ นวัสดุดนิ ผสมเร่ งการ เติบโตของต้ นอ่ อนกล้ วยนา้ ว้ าปากช่ อง 50 จากการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อ ศิริลกั ษณ์ แก้ วสุรลิขิต ประไพ ทองระอา กัลยาณี สุวิทวัส กานดา ฉัตรไชยศิริ นิศารัตน์ ทวีนตุ ภาสันต์ ศารทูลทัต และพิมพ์นิภา เพ็งช่าง

ศึกษาปริมาณลิกนิน แคลเซียมและโบรอน ระหว่ างการพัฒนาผลมะพร้ าวอ่ อนนา้ หอม กัญญาณัฐ นิคนธา กฤษณา กฤษณพุกต์ และวชิรญา อิ่มสบาย

ประเมินความต้ องการธาตุอาหารของมัน ฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกและพันธุ์สปุนต้ า ทิวาพร ผดุง ภาณุมาศ โคตรพงศ์ ปั ญจพร เลิศ รัตน์ ศุภกาญจน์ หล่ายแปด และการิ ตา จงเจือกลาง

ศึกษาวิธีการปั กชาของบัวตองในสภาพที่ เหมาะสม สุมิตรา สุปินราช อิศร์ สุปินราช และนงนุช ปู่ หล้ า ผลของความถี่ในการให้ นา้ ต่ อการแตกของ ผลมะพร้ าวนา้ หอม พงษ์ นาถ นาถวรานันต์

Bi - 10

Bi - 09

Bi - 08

Bi - 07

Bi - 06

การศึกษาโครงสร้ างของดอกและลักษณะทาง สัณฐานวิทยาของละอองเรณู ของกล้ วยพันธุ์ ป่ าและพันธุ์ลูกผสม รสมนต์ จีนแส และ ราตรี บุญเรื องรอด

ผลของความเข้ มข้ น IAA จากนา้ หมักร่ วมกับ สภาพเลีย้ งที่แตกต่ างกันต่ อการเจริญและ พัฒนาเชียงดาในสภาพปลอดเชือ้ อภิชาติ ชิดบุรี พิทกั ษ์ พุทวรชัย และศิริพรรณ สริ นทร์

การชักนาให้ เกิดยอดและแคลลัสของลิลลี่ใน สภาพปลอดเชือ้ พิศวรรณ เพ็ชร์ ยิ่ง งามนิจ ชื่นบุญงาม ปวีณา ไตรเพิ่ม และกัญจนา แซ่เตียว ผลของความเข้ มข้ น IAA จากนา้ หมัก Methylobacterium radiotolerans กลุ่มแยก ED5-9 ต่ อการเพาะเลีย้ งแคลลัสเชียงดา เพียงพิมพ์ ชิดบุรี ศิริพรรณ สาริ นทร์ และอภิชาติ ชิดบุรี ผลของ NAA ต่ อการผลิตรากและการสะสม สารอัลคาลอยด์ ของหนอนตายหยากใน สภาพปลอดเชือ้ นาตยา มนตรี สุกญ ั ญา แสนภักดี และอัญจนา จันทร์ ปะทิว

Po - 10

Po - 09

Po - 08

Po - 07

Po - 06

ผลของระยะสุกแก่ ของผลสับปะรด รู ปแบบ การตัดแต่ ง และอุณหภูมใิ นการเก็บรั กษาที่มี ต่ อคุณภาพสับปะรดนางแลตัดแต่ งพร้ อม บริโภค นิอร โฉมศรี สุพจนี อินทรโมฬี และอัมฤทธิ์ สีกล่อม การศึกษาแบคทีเรียที่สามารถผลิตเอนไซม์ ย่ อยสลายเซลลูโลสในระหว่ างการบ่ มฝั กวา นิลลา ธิติมา วงษ์ ชีรี ผ่องเพ็ญ จิตอารี ย์รัตน์ เฉลิมชัย วงษ์ อารี กัลย์ธีรา สุนทราภิรักษ์ กลุ และพจนา แก้ วแจ่ม การหาปริมาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บกิ ในไวน์ เม่ า ด้ วยเครื่องโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง จารุวรรณ ดรเถื่อน

ผลของการให้ ความร้ อนในรู ปแบบต่ างๆ ต่ อ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลแคนตาลูป กัญญารัตน์ เหลืองประเสริ ฐ

คุณสมบัตแิ ละความต้ านทานปลวกของไม้ การบูร มานพ ธรสินธุ์ และ วิกนั ดา รัตนพันธ์


Pr - 11

Pr - 12

Pr - 13

Pr - 14

Pr - 15

14.35 – 14.40

14.40 – 14.45

14.45 – 14.50

14.50 – 14.55

14.55 - 15:00

ผลของนา้ ส้ มควันไม้ และสารสกัดแมงลักคา Bi - 15 ที่มีต่อการเจริญเติบโตและการงอกของ เมล็ดแตงกวาลูกผสม อัญชลี สวาสดิ์ธรรม ปรี ยานุช เพ็งอุดม และวิจิตรา รุ่งศรี

Bi - 14

Bi - 13

การให้ ผลผลิตและความงอกของข้ าวเย็นใต้ นิชาภา บุญบริ วารกุล ภาณุมาศ ฤทธิไชย และ เยาวพา จิระเกียรติกลุ

การจัดทรงพุ่มต้ นทุเรี ยนรู ปแบบต่ างๆ ใน ระยะปลูกชิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตทุเรียนคุณภาพ ศิริพร วรกุลดารงชัย อรวิมทินี ชูศรี ชมพู จันที และอุษา สิทธิฤทธิ์

Bi - 12

Bi - 11

การเพิ่มผลผลิตเห็ดนางรม โดยใช้ อุณหภูมิ ต่าและสารกระตุ้นการเจริญ วิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก และชัยพร จันคง

ผลกระทบของการปลูกหอมและกระเทียม ผสมผสานมะนาวในวงบ่ อซีเมนต์ สันติ ช่างเจรจา และธีรพล ดอนมูล

Po - 12

Po - 11

การส่ งถ่ ายยีน DFR (dihydroflavonol 4reductase) เข้ าสู่ปทุมมากระถางด้ วยเชือ้ แบคทีเรีย Agrobacterium tumefaciens รัฐพร จันทร์ เดช และวารุต อยู่คง

Po - 15

การเพิ่มชุดโครโมโซมของดาวเรืองอเมริกัน Po - 13 และดาวเรืองฝรั่งเศสโดยใช้ สารละลายโคลชิซนิ มรกต บูรณสุบรรณ รสมนต์ จีนแส รุ่งฟ้า จีนแส นงลักษณ์ คงศิริ และราตรี บุญเรื องรอด ผลของระยะเวลาเพาะเลีย้ งในสภาพปลอด Po - 14 เชือ้ ต่ อปริมาณสารทุตยิ ภูมิ ของยอดหัวข้ าว เย็น (Dioscorea birmanica Prain & Burkill) รัชนีวรรณ จิระพงศ์พฒ ั นา เยาวพา จิระเกียรติกลุ ภาณุมาศ ฤทธิไชย ศรี โสภา เรื องหนู และอรุณพร อิฐรัตน์

การพัฒนาวิธีการระบุเพศมะละกอในระยะ ต้ นกล้ าต้ นทุนต่า ภัทราภรณ์ ทรัพย์อดุ มมาก นงลักษณ์ คงศิริ อลิษา ภู่ประเสริ ฐ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และราตรี บุญเรื องรอด การศึกษาการกระจายตัวของละอองเกสร มะละกอจากดอกชนิด elongata ภายใต้ สภาวะธรรมชาติ ภานุวรรณ บัวทองจันทร์ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และปาริ ชาติ เบิร์นส

ผลของการลดอุณหภูมอิ ย่ างรวดเร็วต่ อ คุณภาพและอายุการเก็บรักษามะม่ วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ สมชาย กล้ าหาญ และรอสมี ยะสะแต

ผลของสารละลายพัลซิ่งและความยาวก้ าน ดอกต่ ออายุการปั กแจกันดอกบัวหลวงพันธุ์ สัตตบุตย์ ธนิตชยา พุทธมี แสงระวี พ่วงสมบัติ วนิตา ตุ้มมล และณัฐพล จันทร์ บาง

ผลของสาร 1-methylcyclopropene ต่ ออายุ การเก็บรักษาผักหวานป่ า (Melientha suavis) จิตตา สาตร์ เพ็ชร์ มยุรา ล้ านไชย เกศินี เสาวคนธ์ สายันต์ ตันพานิช โสรยา ใบเตต ะ อรอุมา พรมน้ อย และลาแพน ขวัญพูล การเปลี่ยนแปลงปริมาณกลูโคซิโนเลตใน ผักกาดฮ่ องเต้ อนิ ทรีย์ท่ ผี ่ านและไม่ ผ่านการลด อุณหภูมดิ ้ วยระบบสุญญากาศก่ อนการเก็บ รักษา เพชรดา อยู่สขุ ดนัย บุณยเกียรติ ศิวาพร ธรรมดี และพิชญา บุญประสม พูลลาภ ผลของภาชนะบรรจุต่ออายุการเก็บรักษาขิงสด สมชาย กล้ าหาญ อรทัย พูดงาม และเมธินี พร้ อมพวก


ประธาน Pr - 16

Pr - 17

Pr - 18

Pr - 19

Pr - 20

เวลา 10.50 – 10.55

10.55 – 11.00

11.00 – 11.05

11.05 – 11.10

11.10 – 11.15

19 พย .58

Bi - 19

Bi - 18

Bi - 17

ประธาน Bi - 16

ผลของจานวนข้ อและความเข้ มข้ นของ IBA Bi - 20 ต่ อการปั กชาผักเชียงดา ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ พิทกั ษ์ พุทธวรชัย นภา ขันสุภา และติยะดา ฝนบริ บรู ณ์

ห้ องริมบึง 1 ระบบการผลิต (Production system) ผศ.ดร.ลดาวัลย์ เลิศเลอวงค์ การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในดินบริเวณ ทรงพุ่มของ ต้ นกีวีฟรุ ตปลูกที่สถานีเกษตร หลวงอ่ างขาง จังหวัดเชียงใหม่ จุฑามาศ ทองอิ่ม วัชระ จินตโกวิท ศุภชัย อาคา และอุษณีษ์ พิชกรรม ผลของปุ๋ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดต่ อ อัตราการเติบโต ผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ปริมาณธาตุอาหารในใบและในดิน และ ฤทธิ์การต้ านอนุมูลอิสระในผักเชียงดา ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ และทิพย์วรรณ ทูเดอะ ผลของปุ๋ยมูลไก่ ต่ออัตราการเติบโต ผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ปริมาณธาตุอาหาร ในใบและในดินและฤทธิ์การต้ านอนุมูล อิสระในผักเชียงดา ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ และมยุรี โมงปั นแก้ ว ผลของการขาดนา้ ต่ อการเติบโตของตาย อด ส่ วนที่บริโภคได้ และกิจกรรมต้ าน อนุมูลอิสระในผักเชียงดา ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ และชิติ ศรี ตนทิพย์ Po - 17

ประธาน Po - 16

การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ ปริมาณสารต้ าน อนุมูลอิสระ และปฏิกริ ิยาต้ านอนุมูลอิสระ ของผลเม่ าหลวง 10 สายต้ น สุดารัตน์ สกุลคู และเมวิกา ไชยฤทธิ์

การหาความสัมพันธ์ กล้ วยไม้ ท้องถิ่น )สกุล แวนด้ า( โดยใช้ เทคนิค Randomly Amplified Polymorphic DNA (RAPD) ราตรี พระนคร

Po - 20

Po - 19

การคัดเลือกแคลลัสแอปเปิ ้ ลทนแล้ งในหลอด Po - 18 ทดลองและการทดสอบความแปรปรวนด้ วย เครื่องหมาย SRAP Titnarong Heng และปั ทมา ศรี น ้าเงิน

การชักนาให้ เกิดแคลลัสจากการเพาะเลีย้ ง ชิน้ ส่ วนลาต้ นในสภาพปลอดเชือ้ ของ ข้ าวเย็นเหนือ (Smilax corbularia Kunth.) ปพิชญา ขวานทอง เยาวพา จิระเกียรติกลุ และภาณุมาศ ฤทธิไชย

ห้ องริมบึง 2 เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ดร.สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ ง การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอเพื่อใช้ ในการ จาแนกเพศอินทผลัมไทย (แม่ โจ้ 36) นพรัตน์ อินถา กวี สุจิปลุ ิ ปิ ยรัษฎ์ ปริ ญญาพงษ์ เจริ ญทรัพย์ และพีระศักดิ์ ฉายประสาท

ผลของการเติมสารอาหารที่ต่างกันต่ อการเกิด สารอะเซทัลดีไฮด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และสาร ที่ให้ กลิ่นที่ดีในไวน์ ขาวที่สร้ างโดยยีสต์ Saccharomyces สองสายพันธุ์ ภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ และ Doris Rauhut เปรียบเทียบคุณภาพทางเคมีกายภาพ และ คุณสมบัตกิ ารต้ านอนุมูลอิสระของฟั กทองพันธุ์ พืน้ เมือง พันธุ์โอโตะ และพันธุ์ทางการค้ า ภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ และจานุลกั ษณ์ ขนบดี

ผลของก๊ าซคลอรีนไดออกไซด์ ต่อกิจกรรมของ เอนไซม์ ไคติเนสและกลูคาเนสของผลลาไย หลัง เก็บเกี่ยวที่ปลูกเชือ้ Cladosporium sp. นิติยา กันธิยะ บุญสม บุษบรรณ์ จานงค์ อุทยั บุตร และกอบเกียรติ แสงนิล

ความสัมพันธ์ ระหว่ างลักษณะทางกายภาพ และเคมีของกะลากับการแตกในมะพร้ าว นา้ หอมเจีย ธนาโชค ตติเจริ ญ อนรรฆ พรรคเจริ ญ และจริ งแท้ ศิริพานิช

ห้ องริมบึง 3 วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest) ผศ.ดร.เฉลิมชัย วงษ์ อารีย์ ผลของระยะเวลาในการแช่ นา้ ปูนใสต่ อการ เปลี่ยนแปลงคุณภาพของมะละกอ ‘พันธุ์ ฮอลแลนด์ ’ สมชาย กล้ าหาญ และรอสมี ยะสะแต


Pr - 21

Pr - 22

Pr - 23

Pr - 24

Pr - 25

Pr - 26

11.15 – 11.20

11.20 – 11.25

11.25 – 11.30

11.30 - 11:35

11.35 – 11.40

11.40-– 11.45

ประสิทธิภาพของปุ๋ยอินทรีย์ต่อการ เจริญเติบโตของต้ นสตรอเบอรี่พนั ธุ์ พระราชทาน 80 สุมิตร คุณเจตน์ นิสาชล เทศศรี และศุภาวณี รวดชัยภูมิ

ผลของสารเคมีต่อการยับยัง้ การแตกใบ อ่ อนของลาไย ชิติ ศรี ตนทิพย์ สันติ ช่างเจรจา ยุทธนา เขาสุเมรุ และรัตนชัย พรมเทพอานวย ผลของนา้ หมักชีวภาพต่ อการเจริญเติบโต และคุณภาพของผักสลัดพันธุ์บัตเตอร์ เฮด และเรดคอเรล เยาวรัตน์ วงศ์ศรี สกุลแก้ ว สรศักดิ์ ทวีสิน สุชาทัศน์ คงเจริ ญ และคณพศ ศรี รุวฒ ั น์ การใช้ ประโยชน์ ของปุ๋ยแคลเซียมซิลิเกต ต่ อการผลิตกล้ ามะเขือเทศ กมลวรรณ คงสุดรู้ ศุภชัย อาคา ธงชัย มาลา และพรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง ผลของการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับวิธีการ ให้ ป๋ ยด้ ุ วยแคลเซียมซิลิเกตต่ อการผลิตกล้ า ผักกาดหัว รังสินี ประเสริ ฐวัฒนะ ศุภชัย อาคา ธงชัย มาลา และพรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง

ผลของวัสดุปลูกต่ อการเจริญเติบโตของ พริกหนุ่ม ชิติ ศรี ตนทิพย์ สันติ ช่างเจรจา ยุทธนา เขาสุเมรุ และสัญชัย พันธโชติ

Bi - 26

Bi - 25

Bi - 24

Bi-23

Bi - 22

Bi - 21

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม ของพันธุ์มะพร้ าวโดยโมเลกุลเครื่องหมาย เอสเอสอาร์ อลิษา ภู่ประเสริ ฐ นงลักษณ์ คงศิริ และราตรี บุญเรื องรอด

การเสริมนา้ สับปะรดเพื่อเป็ นสับสเตรทร่ วม ในการหมักนา้ ส้ มสายชูแอปริคอต นิอร โฉมศรี ณัฐวุฒิ คาปต อก และสุพจนี อินทรโมฬี การศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่ างปริมาณเบต้ า แคโรทีนกับส่ วนประกอบจีโนมของกล้ วย อลิษา ภู่ประเสริ ฐ วารี รัตน์ ศรี ฉ่า วชิรญา อิ่มสบาย กัลยาณี สุวิทวัส และราตรี บุญเรื องรอด

ผลของ BA PBZ TDZ และ CPPU ต่ อการชัก นาการออกดอกของกล้ วยไม้ หวายแคระใน สภาพปลอดเชือ้ ศุภธิดา อับดุลลากาซิม ศุภกาญจน์ หล่ายแปด และเสริ มศิริ จันทร์ เปรม การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม ของดาวเรือง สุวรรณี ปาลี ปรี ชาวุฒิ พลัดทองศรี จิรานันท์ ไชยวรรณ์ ภมรพรรณ มงคลแช่มช้ อย และพรพันธ์ ภู่พร้ อมพันธุ์ ผลของสูตรอาหารเพาะเลีย้ งต่ อการงอกของ เมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงในสภาพปลอดเชือ้ จารุวรรณ อภัย และเยาวพรรณ สนธิกลุ

Ph - 01

Po - 25

Po - 24

Po - 23

Po - 22

Po - 21

การพัฒนาและใช้ ประโยชน์ ผลิตภัณฑ์ เทียน อบขนมกลิ่นดอกจาปี ในขนมไทย พงศ์ยทุ ธ นวลบุญเรื อง ธัญญลักษณ์ บัวผัน และรุ่งนภา ช่างเจรจา อิทธิพลของไคโตซานและฟิ ล์ มเคลือบผิวต่ อ คุณภาพส้ มโอพันธุ์ทองดีในระหว่ างการเก็บ รักษา ราไพ นามพิลา นันท์นลิน บัวจันทร์ สมยศ มีทา สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และสังคม เตชะวงค์เสถียร การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารคล้ ายจิบเบอ เรลลินในช่ วงแตกใบอ่ อนของต้ นลองกอง ปฐม คงแก้ ว และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์

บรรจุภณ ั ฑ์ และสารเคมีท่ เี หมาะสมต่ อการ เก็บรักษาเงาะสด ฐปกร ลิขิตนภาเวทย์ พรกรัณย์ ธนไพโรจน์ กาญจน แซ่จงั และวรภัทร ลัคนทินวงศ์

อายุการเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วในบรรจุภณ ั ฑ์ สุญญากาศร่ วมกับวัตถุดูดซับออกซิเจน ณชยุติ จันท์โชติกลุ ณัฐจรี ย์ จิรัคคกุล นิภาพร เส็งคาปาน ศักริ นทร์ นนทพจน์ และบังอร เหมัง ผลของสภาวะการเก็บรักษาต่ อคุณภาพการ สุกของกล้ วยไข่ เพื่อการส่ งออก สมคิด ใจตรง


Pr - 27

Pr - 28

Pr - 29

Pr - 30

11.45 – 11.50

11.50 – 11.55

11.55 – 12.00

12.00 - 12.05

Bi - 27

ผลของ BA ที่ระดับความเข้ มข้ นต่ างๆ ต่ อ การเจริญของตาที่ก้านช่ อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนนอปซิส สุเมธ ตรี ศกั ดิ์ศรี และดวงตา จวนเจริ ญ

อิทธิพลของการผสมข้ ามที่มีผลต่ อการติดผล Bi - 28 ของส้ มโอทองดี ประวิทย์ ธรรมทะ สมยศ มีทา ราไพ นามพิลา สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา สุชีลา เตชะวงค์ เสถียร และสังคม เตชะวงค์เสถียร การศึกษาผลของวัสดุรองรับต่ อการ Bi - 29 เปลี่ยนแปลงจานวนประชากร T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหาร หมุนเวียน คเณศ ใจเก่งกาจ ชิติพนั ธ์ ทองเจริ ญสุขชัย และพรหมมาศ คูหากาญจน์

อิทธิพลของการพรางแสงต่ อการเจริญเติบโต และผลผลิตของบัวบก (Centella asiatica (L.) Urb.) ในช่ วงปลายฤดูหนาว บุษบา บัวคา และรักเกียรติ แสนประเสริ ฐ

Ph - 05

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม Ph - 02 และโครงสร้ างประชากรของ Paphiopedilum spp โดยใช้ เครื่องหมาย EST-SSR อรอุมา รุ่งน้ อย ประกิจ สมท่า ชุตินธร หยุนแดง สิทธิโชค ตังภั ้ สสรเรื อง ทศพร ธนามี ธีรพันธ์ โตธิรกุล และพีระศักดิ์ ศรี นิเวศน์ การประเมินลักษณะความหลากหลายทาง Ph - 03 พันธุกรรมของเมล่ อนโดยเทคนิคเครื่องหมาย ดีเอ็นเอสนิปส์ วิภาดา เจริ ญชาติ เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี แสงทอง พงษ์ เจริ ญกิต และอรพินธุ์ สฤษดิ์นา การประเมินฟั กทองพันธุ์พนื ้ เมืองในสภาพฤดู Ph - 04 ร้ อนในเขตอาเภอกาแพงแสน นพวรรณ หนองใหญ่ ปณาลี ภู่วรกุลชัย ปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ และอัญมณี อาวุชานนท์ ผลการพรางแสงด้ วยตาข่ ายต่ อการ เปลี่ยนแปลงสีใบ และการตอบสนองทาง สรีรวิทยา บางประการของสับปะรดสีสกุล Neoregelia sp. ภาณุพล หงษ์ ภกั ดี และกฤษฎา ภักดีลนุ ผลของการฟอกฆ่ าเชือ้ และสารควบคุมการ เจริญเติบโต NAA และ BA ที่มีผลต่ อการชัก นาให้ เกิดแคลลัสของสตรอเบอรี่พนั ธุ์ พระราชทาน 80 ในสภาพปลอดเชือ้ มงคล ศิริจนั ทร์ พุทธพงษ์ สร้ อยเพชรเกษม กวี สุจิปลุ ิ ณรงค์ชยั พิพฒ ั น์ธนวงศ์ และพีระศักดิ์ ฉายประสาท ผลของสารสกัดจากไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra L.) ต่ อการเติบโตของต้ นกล้ าและการมี ชีวิตของเซลล์ (cell viability) ในต้ อยติ่ง (Ruellia tuberosa Linn.) อินทิรา ขูดแก้ ว

ผลกระทบของปริมาณนา้ ฝนต่ อการออกดอก ของลองกองที่ชักนาด้ วยการราดสารพาโคล บิวทราโซลและการรัดลาต้ น พิมาภรณ์ แก้ วสวัสดิ์ และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์


ประธาน /รหัส Pr -31

Pr -32

Pr -33

Pr -34

Pr -35

13.35 – 13.40

13.40 – 13.45

13.45 – 13.50

13.50 – 13.55

13.55 – 14.00

เวลา

19 พย .58

Br - 03

Br - 02

ประธาน /รหัส Br - 01

อิทธิพลของปุ๋ยฟอสฟอรัสต่ อคุณภาพและ ผลผลิตของหน่ อไม้ ฝรั่ง สุกญ ั ญา แย้ มประชา นุจรี บุญแปลง และนารี พันธุ์จินดาวรรณ

Br - 05

การเจริญเติบโตของปลีกล้ วยไข่ และผลของ Br - 04 สารเคมีป้องกันกาจัดแมลงต่ อการควบคุม เพลีย้ ไฟในกล้ วยไข่ ยศพล ผลาผล และเจตนา ทองแย้ ม

ผลของการห่ อผลต่ อคุณภาพผลผลิตส้ มโอ พันธุ์ทองดีและมณีอีสาน สมยศ มีทา สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และสังคม เตชะวงค์เสถียร

การให้ ป๋ ยพร้ ุ อมระบบนา้ ร่ วมกับการฉีดพ่ น ทางใบด้ วยนา้ หมักชีวภาพผสมสปอร์ สด แขวนลอยไตรโครเดอร์ มาในการเพิ่ม ผลผลิตและควบคุมโรคพริกขีห้ นู มนตรี อิสรไกรศีล วาริ น อินทนา และอรรถกร พรหมวี

การทดสอบความสามารถในการเป็ น ปฏิปักษ์ ของรา Trichoderma จากวัสดุ รองรับ ต่ อเชือ้ Pythium sp. ทักษพร ช้ างม่วง ปาณิศา ประสม และพรหมมาศ คูหากาญจน์

ห้ องริมบึง 1 ระบบการผลิต (Production system) ดร.ทินน์ พรหมโชติ

การทดสอบความต้ านทานของมะเขือเทศ ผสมกลับรุ่ นที่ 6 ชั่วรุ่ นที่ 2 (BC6F2) ต่ อเชือ้ ไวรัสใบหงิกเหลืองมะเขือเทศสายพันธุ์ นครปฐม เชียงใหม่ และหนองคาย อิสระยศ สินบุญยะมะ อุไรวรรณ พงษ์ พยัคเลิศ นริ ศา เจือจุล อรอุบล ชมเดช และจุลภาค คุ้นวงศ์ การศึกษาความหลากหลายอัลลีลของยีน Lin5 ที่เกี่ยวข้ องกับ Soluble Solid Content จุฬาลักษณ์ น้ อยแสง เกียรติสดุ า เหลืองวิไล และจุลภาค คุ้นวงศ์ การศึกษาตาแหน่ งยีนต้ านทานเชือ้ ไวรัส ChiVMV ในประชากรพริกดับเบิลแฮพลอยด์ จุลภาค คุ้นวงศ์ จิตรภานุ แย้ มจะบก กมลสิริ เพชรบูรณ์ ณัฏยา ศรี สวัสดิ์ สุจินต์ ภัทรภูวดล และสิริกลุ วะสี

ผลของความสูงจากระดับนา้ ทะเลต่ อการ เจริญเติบโต ผลผลิต และสารเผ็ดของพริก เผ็ด (Capsicum chinense) ภายใต้ สภาพ โรงเรือน นคริ นทร์ จี ้อาทิตย์ สุชีลา เตชะวงค์เสถียร พลัง สุริหาร และสังคม เตชะวงค์เสถียร การตรวจสอบความมีชีวิตของละอองเกสร เพศผู้ในผักกาดขาวปลี ศรสวรรค์ ศรี มา และจุฑามาส คุ้มชัย

ห้ องริมบึง 2 ปรับปรุ งพันธุ์ (Breeding) รศ.ดร.จุลภาค คุ้นวงศ์

Ph - 10

Ph - 09

Ph - 08

Ph - 07

ประธาน /รหัส Ph - 06

อุณหภูมทิ ่ เี หมาะสมในการเก็บรั กษาเมล็ด หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงพันธุ์ Nepenthes mirabilis เอรี ยา เทพริ นทร์ สมพงษ์ สุขขาวงษ์ สุรัตน์วดี ชู โชติ สรายุทธ อ่อนสนิท และสุรพล ฐิ ติธนากุล

ผลของอุณหภูมแิ ละระยะเวลาการเก็บรั กษาหัว พันธุ์ต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกของ กล้ วยไม้ ดนิ นางกราย (Habenaria lindleyana Steud.) นิพนธ์ กิติดี โสระยา ร่วมรังษี และณัฐา โพธาภรณ์ การควบคุมแรงดันออสโมติกในต้ นมันเทศที่ ปลูกภายใต้ สภาวะการขาดนา้ จาก PEG ด้ วย การสะสมนา้ ตาล การเปลี่ยนแปลงด้ าน สรีรวิทยา และการเจริญเติบโต สุณิสา เจตน์ตะพุก สุริยนั ตร์ ฉะอุ่ม ฐาปนีย์ สามพุ่มพวง คัทริ นทร์ ธีระวิทย์ และสุรวุฒน์ อยู่ยงเวชช์ การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อตาจากก้ านช่ อดอก กล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส กาญจนา รุ่งรัชกานนท์ และรัชนีกร ดีดวงพันธ์

ผลของระยะการเก็บรั กษาหัวพันธุ์ท่ อี ุณหภูมิ ต่าต่ อการชะลอการออกดอกของว่ านอึ่งและ ว่ านหัวครู พงษ์ นที ปิ นตาแจ่ม และณัฐา โพธาภรณ์

ห้ องริมบึง 3 สรีรวิทยา (Physiology) รศ.ดร.พงษ์ นาถ นาถวรานันต์


Pr -36

Pr -37

Pr -38

Pr -39

Pr -40

Pr -41

14.00 – 14.05

14.05 – 14.10

14.10 – 14.15

14.15 – 14.20

14.20 – 14.25

14.25 – 14.30

Br - 08

Br - 07

Br - 06

การศึกษาตัวทาละลายอินทรีย์ท่ เี หมาะสม Br - 09 ในการสกัดสารอัลลีโลพาทีจากใบเลี่ยน ภัทริ น วิจิตรตระการ มณทินี ธีรารักษ์ และจารูญ เล้ าสินวัฒนา การสารวจโรคใบจุดในแปลงกล้ วยหอม Br - 10 ทองอินทรีย์เพื่อการส่ งออก ความสามารถ ในการเกิดโรค และการควบคุมเชือ้ สาเหตุ โดยชีววิธี อทิตยา ปาลคะเชนทร์ สมศิริ แสงโชติ และวีระณีย์ ทองศรี อิทธิพลของนา้ คัน้ ชุมเห็ดเทศ (Cassia alata Br - 11 L.) ต่ อเชือ้ ราปฏิปักษ์ และเชือ้ ราสาเหตุโรค พืชผัก สุริยสิทธิ์ สมนึก ไพลิน เนินหาด ทิพประภา เมฆพัฒน์ และถนิมนันต์ เจนอักษร

ผลของปุ๋ยนา้ ต่ อการเจริญเติบโตและ ผลผลิตของผักกาดฮ่ องเต้ ชลธิชา วัดแป้น ศรสวรรค์ ศรี มา และจุฑามาส คุ้มชัย ผลของความเข้ มข้ นของปุ๋ยนา้ ต่ อการ เจริญเติบโตและผลผลิตคะน้ า พฤกษา วังแสง ศรสวรรค์ ศรี มา และจุฑามาส คุ้มชัย ประสิทธิภาพการเข้ าทาลายของไส้ เดือน ฝอยศัตรู แมลงต่ างชนิดในแมลงวันผลไม้ ศัตรูพริก ภานุพงศ์ แสนบุดดา นุชรี ย์ ศิริ และประกายจันทร์ นิ่มกิ่งรัตน์

การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมความ ต้ านทานโรครานา้ ค้ างของแตงกวา จานุลกั ษณ์ ขนบดี พัชรดา ทองลา และปิ ยะวดี เจริ ญวัฒนะ

คุณภาพการบริโภคของทุเรียนพืน้ บ้ านบาง สายต้ นในประเทศไทย อุษณีษ์ พิชกรรม ศศิวิมล โฉมเฉลา แสวงผล วิษุวตั สงนวล ปวีณา ไตรเพิ่ม สมบัติ ตงเตต า และ ปิ ยรัษฎ์ ปริ ญญาพงษ์ เจริ ญทรัพย์ การพัฒนาพันธุ์ลูกผสมของฟั กทองให้ มี ผลผลิตและคุณภาพสูง วันไณ เอา จานุลกั ษณ์ ขนบดี และ ภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ Screening Germplasm of Long Fruit Cucumber Lines for Resistance to Downy Mildew Cause by Pseudoperonospora cubensis Ahmad Hadi Chanulak Khanobdee Piyavadee Charoenwattana

การเปรียบเทียบพันธุ์ปาล์ มนา้ มันในพืน้ ที่ จันทบุรี อรวินทินี ชูศรี ศิริพร วรกุลดารงชัย ณิศชาญา บุญชนัง และศิริวรรณ ศรี มงคล การประเมินลักษณะพันธุ์ของข้ าวโพดข้ าว เหนียวสีม่วงโดยใช้ การวิเคราะห์ องค์ ประกอบ หลักและการจัดกลุ่ม ณัฐพร บุตรนุช และบุบผา คงสมัย

Ph - 16

Ph - 15

Ph - 14

Ph - 13

Ph - 12

Ph - 11

การเจริญเติบโต ปริมาณไนโตรเจนและ คาร์ โบไฮเดรตที่ไม่ อยู่ในรู ปโครงสร้ างของว่ าน แสงอาทิตย์ ท่ ไี ด้ รับการพรางแสงแตกต่ างกัน รุ่งนภา ช่างเจรจา พงศ์ยทุ ธ นวลบุญเรื อง และสันติ ช่างเจรจา

พัฒนาการของเมล็ดพันธุ์กระเจี๊ยบแดง (Hibiscus sabdariffa L.) ชนันดา ศรี บญ ุ ไทย ภาณุมาศ ฤทธิไชย และ เยาวพา จิระเกียรติกลุ อัตราการสังเคราะห์ ด้วยแสงในรอบวันของ เรือนพุ่มทุเรียนพันธุ์หมอนทอง เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ ศรปราชญ์ ธไนศวรรยางกูร พูนพิภพ เกษมทรัพย์ ดวงรัตน์ ศตคุณ เชฏฐ์ สาทรกิจ อรอุมา ด้ วงงาม และดอกแก้ ว จุระ การตอบสนองต่ อแสงในการสังเคราะห์ ด้วย แสงของใบทุเรียนพันธุ์หมอนทอง เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ พูนพิภพ เกษมทรัพย์ ดวงรัตน์ ศตคุณ ดอกแก้ ว จุระ และอรอุมา ด้ วงงาม การทดสอบสมการประเมินพืน้ ที่ใบแบบไม่ ทาลายของพีช้ และเนคทารีน ที่ปลูกบนพืน้ ที่ สูงของประเทศไทย พูนทรัพย์ สืบมา อุณารุจ บุญประกอบ และ สุภาวดี คงทับทิม

ผลของการเก็บรักษาหัวพันธุ์ท่ อี ุณหภูมติ ่าต่ อ การเจริญเติบโตเอือ้ งตีนกบ ชลเวทย์ ไทยรัตน์ และณัฐา โพธาภรณ์


Pr -42

Pr -43

Pr -44

Pr -45

14.30 – 14.35

14.35 – 14.40

14.40 – 14.45

14.45 – 14. 50

พฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรู พชื ของ เกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัด ราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี อุดมพร จอมพงษ์ จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และอามร อินทร์ สงั ข์ ผลของสารธรรมชาติกาจัดวัชพืชจากพลู เขียวต่ อการงอก การดูดนา้ และกิจกรรม เอนไซม์ อัลฟา-อะไมเลสของหญ้ าข้ าวนก ปริ ยาภรณ์ เนตรสว่าง ภัทริ น วิจิตรตระการ มณทินี ธีรารักษ์ และจารูญ เล้ าสินวัฒนา ศักยภาพทางอัลลีโลพาทีจากใบปอขีไ้ ก่ ต่อ การงอกและการเจริญเติบโตของพืช ทดสอบ ณัฐนันท์ บุญยะพันธ์ ภาวิณี คาแสน ภัทริ น วิจิตระการ จารูญ เล้ าสินวัฒนา และมณทินี ธีรารักษ์ ผลของนา้ มันหอมระเหยจากพืชต่ อตัวเต็ม วัยไรแดงแอฟริกนั (Eutetranychus africanus (Tucker )) สุชีรา ด่านอรุณ ภัทราภรณ์ หอมคง จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และอามร อินทร์ สงั ข์ Br - 15

Br - 14

Br - 13

Br - 12

การประเมินค่ าความหลากหลายทาง พันธุกรรมของพริกโดยเทคนิคเครื่องหมาย โมเลกุล เอส เอส อาร์ อรพินธุ์ สฤษดิ์นา

การวิเคราะห์ เสถียรภาพของสายพันธุ์และ ลูกผสมของแตงไทย ปราโมทย์ พรสุริยา พรทิพย์ พรสุริยา ศิริมา ธีรสกุลชล และอนุชา จุลกะเสวี

การสกัดและคัดเลือกสายพันธุ์อนิ เบรด ดาวเรืองฝรั่งเศสเพื่อพัฒนาเป็ นไม้ ดอก กระถาง นงลักษณ์ คงศิริ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และราตรี บุญเรื องรอด การพัฒนาสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ปนด้ ุ่ วยรังสี แกมมาเพื่อเพาะในเขตพืน้ ที่ราบ ธนภักษ์ อินยอด ตันติมา กาลัง วันทนา สะสมทรัพย์ และธนภัทร เติมอารมณ์

Ph - 20

Ph - 19

Ph - 18

Ph - 17

การประยุกต์ ใช้ GA3 เพื่อส่ งเสริมการงอกของ เมล็ดทานตะวันในระหว่ างการผลิตเป็ นผักไม โครกรีน ดนุพล เกษไธสง ประกาศิต ดวงพาเพ็ง และชบา ทาดาวงษา

การกระตุ้นความงอกด้ วยแคลเซียมซิลิเกตต่ อ คุณภาพและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ผักกาดหอม สุวรัตน์ กรรมการ พรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง ศุภชัย อาคา และธงชัย มาลา การศึกษาโครโมโซมของตีนฮุ้งดอย (Paris polyphylla Smith) อัปสร วิทยประภารัตน์ และฉันทลักษณ์ ติยายน

ผลของอุณหภูมกิ ลางคืนต่ อการออกดอกและ ปริมาณธาตุอาหารในว่ านแสงอาทิตย์ รุ่งนภา ช่างเจรจา และวันเฉลิม รูปเขียน


ประธาน Pr -46

Pr -47

Pr -48

Ot - 01

Ot - 02

Ot - 03

เวลา 15.20 – 15.25

15.25 – 15.30

15.30 – 15.35

15.35 – 15.40

15.40 – 15.45

15.45 – 15.50

19 พย .58

ผลของไคโตซานนา้ หนักโมเลกุลต่า ปาน กลาง และสูง ต่ อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยว ผักงอกไควาเระ ณภัทร ขวัญช่วย และพรประพา คงตระกูล การสารวจและอนุรักษ์ พนั ธุ์ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่น ในเขตศูนย์ วิจัยและถ่ ายทอดเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหาร ลาดกระบัง อ.ด่ างช้ าง จ.สุพรรณบุรี สุดที่รัก สายปลื ้มจิตต์ ศุภร เหมินทร์ นิภาพร ยลสวัสดิ์ และจารูญ เล้ าสินวัฒนา การเข้ าทาลายแฝงของเชือ้ รา Phomopsis sp. สาเหตุโรคใบจุดของทุเรียน (Durio zibethinus Murr.) พันธุ์หมอนทอง วีระณีย์ ทองศรี และสมศิริ แสงโชติ ปริมาณประชากร พัฒนาการ และการ ทดสอบเบือ้ งต้ นในการใช้ เชือ้ ราสาเหตุโรค แมลงเพื่อควบคุมด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย แสงแข น้ าวานิช วิบลู ย์ จงรัตนเมธีกลุ วราภรณ์ บุญเกิด โสภณ อุไรชื่น และกัลยาณี สุวิทวัส

ผลของการใช้ เชือ้ รา Trichoderma sp. ต่ อ การส่ งเสริมการเจริญเติบโตของว่ านหาง จระเข้ ปวีณา บัญญัติ และศิริวรรณ แดงฉ่า

ห้ องริมบึง 1 สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง (Other) ดร.นงลักษณ์ เภรินทวงศ์ การสารวจประชากรแมลงวันผลไม้ และ แมลงเบียนในแปลงพริก อโนทัย วิงสระน้ อย ศรี สภุ า ลีทอง และปราณี แสนวงศ์

Ot - 15

Ot - 14

Br - 19

Br - 18

Br - 17

ประธาน Br - 16

Ph - 24

Ph - 23

Ph - 22

ประธาน Ph - 21

ประสิทธิภาพของนา้ มันหอมระเหยจากพืชในการ Ph - 25 ป้ องกันการลงทาลายของปลวกใต้ ดนิ Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) วิกนั ดา รัตนพันธ์ และมานพ ธรสินธุ์ การปรับปรุ งสายพันธุ์เห็ดสกุลเลนไทนัสให้ Ph - 26 ได้ ผลผลิตสูงด้ วยรั งสีแกมมา สาวิตรี ปราโมช ณ อยุธยา กัลยา รัตนถาวรกิติ และศิริชยั กีรติมณีกร

การประยุกต์ ใช้ เครื่องหมายทางพันธุกรรมใน การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรม ของมะปราง สมบัติ แก้ วผ่องอาไพ สุพตั รา โพธิ์เอี่ยม และ โองการ วณิชาชีวะ

ผลกระทบของการผสมสลับพ่ อแม่ ต่อ คุณภาพผลในลูกผสมฝรั่ ง วรพล ลากุล และอุณารุจ บุญประกอบ

การประเมินสัณฐานวิทยาของผลแตงไทย เพื่อใช้ ประโยชน์ ในการเป็ นเชือ้ พันธุกรรม ภวัตร นาควิไล ปณาลี ภู่วรกุลชัย วชิรญา อิ่ม สบาย และอัญมณี อาวุชานนท์

ห้ องริมบึง 2 สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง (Other) ผศ.ดร.นาตยา มนตรี การเปรียบเทียบผลผลิตและองค์ ประกอบ ผลผลิตของถั่วฝั กยาวเขียวพันธุ์ ศฝก. 2 ใน ระบบเกษตรธรรมชาติ ทิพวรรณ สิทธิรังสรรค์

ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตต่ อการเจริญเติบโต ของมะกอกโอลีฟพันธุ์อะบีควินา/อาเอสพีจี ชัยมงคล ใจหล้ า จิราพร บุตรศรี และบุญร่วม คิดค้ า ผลของปุ๋ยทางใบที่มีโพแทสเซียมสูงต่ อ ผลผลิต และอายุการเก็บรักษาหอมหัวใหญ่ กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง ภานุรักษ์ ประทับกอง อภิญญา ศรี อ่อนดี และรวี เศรฐภักดี

ห้ องริมบึง 3 สรีรวิทยา (Physiology) ผศ.ดร.ฉันทลักษณ์ ติยายน การฉีดพ่ น N-6-Benzyladenine เพื่อชักนาให้ เกิดตาดอกใน Dendrobium Sonia ‘Earsakul’ อายุ 4 ปี ศุภธิดา อับดุลลากาซิม ธนทัต อินทชิต และภาสันต์ ศารทูลทัต การขาดนา้ ของใบก่ อนการปั กชาไม่ ทาให้ ความสามารถในการเกิดรากและไรโซมจาก การปั กชาแผ่ นใบย่ อยของต้ นกวักมรกตลดลง สุรีพร นันท์ดี กฤษณา กฤษณพุกต์ และลพ ภวภูตานนท์ ผลของการพรางแสงต่ อการเกิดรากและไรโซม จากการปั กชาแผ่ นใบย่ อยของต้ นกวักมรกต สุภาพร สุกประเสริ ฐ กฤษณา กฤษณพุกต์ และลพ ภวภูตานนท์ ความเข้ มข้ นของโคลชิชินต่ อการเจริญเติบโต ของยอดและการเปลี่ยนแปลงสัณฐานวิทยา ของปากใบในผักเชียงดา พิทกั ษ์ พุทธวรชัย นภา ขันสุภา ชิติ ศรี ตนทิพย์ และปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์


Ot - 04

Ot - 05

Ot - 06

Ot - 07

Ot - 08

Ot - 09

Ot - 10

15.50 – 15.55

15.55 – 16.00

16:00 - 16:05

16.05 – 16.10

16.10 – 16.15

16.15 – 16.20

16.20 – 16.25

เปรียบเทียบลักษณะบางประการของฟั ก Ot - 21 ข้ าว 6 สายต้ น พิทกั ษ์ พุทธวรชัย นภา ขันสุภา วิรัติ อาพันธุ์ ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ และอุกฤษฎ เจริ ญใจ การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของกล้ วยไม้ Ot - 22 สกุลม้ าวิ่งในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่ าง ศรี ประไพ ธรรมแสง และกาญจนา รุ่งรัชกานนท์

ผลของเชือ้ ราอาบัสคูล่า ไมคอไรซ่ าในการ Ot - 18 เพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตของมะเขือ เทศสีดา สิริพร สิริชยั เวชกุล และนิจพร ณ พัทลุง การพัฒนาการของโรคและระดับความ Ot - 19 ต้ านทานต่ อสารเคมีคาร์ เบนดาซิมของเชือ้ รา สาเหตุโรคใบจุดของกล้ วยไข่ เพื่อการส่ งออก ในภาคตะวันออกของประเทศไทย สุมาพร แสงเงิน สมศิริ แสงโชติ และวีระณีย์ ทองศรี สหสัมพันธ์ ระหว่ างลักษณะทางกายภาพ Ot - 20 และสารพฤกษเคมีของผลหนามแดง สุนีรัตน์ อุดมภูมิ รักเกียรติ แสนประเสริ ฐ และทินน์ พรหมโชติ

ประสิทธิภาพการรมของสูตรนา้ มันหอม Ot - 16 ระเหยจากกานพลูและอบเชยต่ อไรกินเชือ้ รา (Tyrophagus communis Fan&Zhang) และไรฝุ่ น (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)) สาวิตรี ชื่นบาล จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และอามร อินทร์ สงั ข์ ลักษณะโครมาโตแกรมโดย HPLC และฤทธิ์ Ot - 17 ต้ านออกซิเดชันของกระชายและข่ า ศรัณย์ ฉวีรักษ์ และประธาน ฦๅชา

Ph - 31

Ph - 30

Ph - 29

Ph - 28

Ph - 27

การสร้ างคุณค่ าร่ วม และความร่ วมมือระหว่ าง Ph - 32 เกษตรกร นักวิชาการและภาคธุรกิจในการ ผลิตพริกแห้ งคุณภาพ: กรณีศึกษาในอาเภอ ม่ วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี ภาสกร นันทพานิช การพัฒนาแผนกลยุทธ์ หมากเม่ าในจังหวัด Ph - 33 สกลนคร กรรณิการ์ สมบุญ สุดารัตน์ สกุลคู พรประภา ชุน ถนอม ศิริพร สารคล่อง และเดือนรุ่ง อุบาลี

ฤทธิ์ทางชีวภาพของหัวมันแกวเพื่อพัฒนา เป็ นผลิตภัณฑ์ เพื่อสุขภาพ สุธิดา เรื อนเงิน ฉันทนา อารมย์ดี นาฎศจี นวล แก้ ว สุธาสินี ทัพพสารพงศ์ และรัชยาพร อโนราช

การจัดจาแนกเชือ้ Xanthomonas axonopodis pv. citri สาเหตุโรคแคงเกอร์ ในมะนาว สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง วราภรณ์ ศรี วิเศษ และคณิน ศรี ขจร การประเมินความต้ านทานต่ อไวรัสใบด่ าง แตงในพริกพันธุ์ลูกผสม สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง จตุพร ไกรถาวร และสรพงษ์ เบญจศรี ความเป็ นพิษและประสิทธิภาพการรมของ นา้ มันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตในการ กาจัดด้ วงงวงข้ าว Sitophilus oryzae (L.) อรรถสิทธิ์ คล้ ายสุบรรณ และฤชุอร วรรณะ

การดัดแปรแป้ งข้ าวทางกายภาพ และการ ประยุกต์ ใช้ อุตสาหกรรมการผลิตเส้ น ก๋ วยเตี๋ยว สุภาวดี แช่ม และสุกญ ั ญา สายธิ

ผลของอุณหภูมติ ่าในระยะต้ นกล้ าต่ อการ เจริญเติบโต และผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่ พันธุ์พระราชทาน 80 โดยใช้ วัสดุปลูกใน โรงเรือนควบคุมสภาพอากาศ สุมิตร คุณเจตน์ นิสาชล เทศศรี และธนภูมิ อ่อนพรมราช การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารเบต้ าแคโรทีน และคุณภาพที่สาคัญในระหว่ างการพัฒนา ของผลฟั กทอง ธรธ อาพล พจนา สีมนั ตร อัญมณี อาวุชานนท์ และอุษณีย์ เพ็ชรปุ่ น อิทธิพลของสารพาโคลบิวทราโซลต่ อการ เจริญเติบโตของต้ นมะพร้ าวนา้ หอม วนาลี ตรุดไทย กฤษณา กฤษณพุกต์ และลพ ภวภูตานนท์

ผลของการใช้ ป๋ ยแคลเซี ุ ยม โบรอนและปุ๋ย โพแทสเซียมสูงต่ อผลผลิต และคุณภาพของมันฝรั่ง กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง ภานุรักษ์ ประทับกอง อภิศกั ดิ์ เบ้ าลี และรวี เสรฐภักดี การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพผลชมพู่พนั ธุ์ ทับทิมจันท์ ด้ วยปุ๋ยทางใบที่มี NPK สัดส่ วน 3:1:2 กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง และรวี เสรฐภักดี อิทธิพลของจิบเบอเรลลิคแอซิดต่ อการหลุด ร่ วง และคุณภาพผลของมะพร้ าวนา้ หอม เมษา เกื ้อคลัง กฤษณา กฤษณพุกต์ และลพ ภวภู ตานนท์

ผลของการพ่ นปุ๋ย NPK ทางใบสัดส่ วน 3:1:2 ต่ อการขยายขนาดผลในมะม่ วงพันธุ์ นา้ ดอกไม้ สีทอง กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง อภิศกั ดิ์ เบ้ าลี และรวี เสรฐภักดี


Ph - 39

16.50 – 17.00

Ph - 36

Ph - 38

การประยุกต์ ใช้ รูปแบบสวนยุคอาณานิคม เพื่อสร้ างสวนสาธารณะแบบร่ วมสมัยในการ ออกแบบภูมสิ ถาปั ตยกรรมพืน้ ที่รอบ โบราณสถานของชาติโรงเรียนเบ็ญจะมะ มหาราชหลังเก่ า วรงศ์ นัยวินิจ ภาคภูมิ สืบนุการณ์ รักเกียรติ แสนประเสริ ฐ และทวีศกั ดิ์ วิยะชัย

Ph - 35

Ph - 34

16.45 – 16.50

Ot - 13

16.35 – 16.40

การเสริมสร้ างทักษะทางด้ านการเกษตร สาหรั บผู้พกิ ารทางสายตา วรวุฒิ ร่มฟ้าจรรกุล จันทรา ไชยแสน กรอง กาญจน์ สายมัน และสุรพล ใจวงศ์ษา

การสารวจกิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการของสถานที่ท่องเที่ยวเชิง เกษตร 3 แห่ ง ในจังหวัดราชบุรี ปาณิตา อ่อนแสง และศศิยา ศิริพานิช

Ph - 37

Ot - 12

16.30 – 16.35

การวิเคราะห์ ปริมาณโฮโลเซลลูโลสในไผ่ Ot - 23 หวานอ่ างขางโดยวิธีอนิ ฟราเรดย่ านใกล้ ทศพล อุมะมานิต ณัฐภรณ์ สุทธิวิจิตรภักดี ศุมาพร เกษมสาราญ สุธีรา วิทยากาญจน์ และมะลิวลั ย์ หฤทัยธนาสันติ์ การคัดแยกกระเจี๊ยบเขียวที่มีหนอนฝั งตัว Ot - 24 อยู่ภายในด้ วยการวิเคราะห์ หลายตัวแปร ในช่ วงคลื่นอินฟราเรดย่ านใกล้ ณัฐภรณ์ สุทธิวิจิตรภักดี ศุมาพร เกษมสาราญ ทศพล อุมะมานิต และวารุณี ธนะแพสย์ การผลิตไข่ นา้ ด้ วยนา้ ทิง้ จากบ่ อเลีย้ งปลาดุก Ot - 25 นิตยา เกตุแก้ ว ดวงรัตน์ ชูเกิด และสุรพล ฐิ ติธนากุล

16.40 – 16.45

Ot - 11

16.25 – 16.30

ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและปริมาณ สารประกอบฟี นอลิกรวมของผลทุเรียนพันธุ์ การค้ า กษิ ดิ์เดช อ่อนศรี เบญญา มะโนชัย และชินวัฒน์ ยัพวัฒนพันธ์ อัตราการคายนา้ ของส้ มโอพันธุ์มณีอีสานใน ระยะการเจริญเติบโตของผล สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา สมยศ มีทา ราไพ นามพิลา พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และ สังคม เตชะวงค์เสถียร การศึกษาประสิทธิภาพการสังเคราะห์ ด้วย แสงของเฟิ นพันธุ์การค้ า 5 พันธุ์เพื่อใช้ ประดับภายในอาคาร สหรัฐ คุมพล พัชรี ยา บุญกอแก้ ว และณัฏฐ พิชกรรม

ผลของสารแพกโคลบิวทราซอลต่ อการ เพาะเลีย้ งต้ นกล้ วยไม้ ดนิ นกคุ้มไฟในสภาพ ปลอดเชือ้ นิติพงศ์ หอวัฒนพาณิชย์ พรสุดา ศิริรักวงษา พัชรี ยา บุญกอแก้ ว และอารยา อาจเจริญ เทียนหอม

อิทธิพลของความแก่ ของผลและระดับความ เข้ มข้ นของไคโตซานที่มีต่อการเจริญเติบโต และ คุณภาพของผลองุ่นพันธุ์ Canadice Seedless กิตติพงศ์ กิตติวฒ ั น์โสภณ และทัศนารถ กระจ่างวุฒิ ผลของไคโตซานต่ อการควบคุมการเข้ าทาลาย ของแมลงวันพริกในผลพริกขีห้ นู วรรณิศา ปั ทมะภูษิต และพรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

รหัส Bi - 01

ชื่อเรื่อง อิทธิพลของ BA และ NAA ต่อการเพิ่มจานวนยอดรวมของฟั กข้ าว

Bi - 02

Bi - 05

ศึกษาผลของปริ มาณอาหารเหลว และสภาพเลี ้ยงที่มีต่อการแตก ยอดว่านแสงอาทิตย์ในสภาพปลอดเชื ้อ การประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแอปเปิ ล้ ที่ได้ จาก การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อด้ วยเทคนิค SRAP การผลิตต้ นดับเบิลแฮพพลอยด์ของมะเขือ (Solanum melongena L.) โดยวิธีการเพาะเลี ้ยงละอองเกสร การขยายพันธุ์หน้ าวัวลูกผสมด้ วยระบบเพาะเลี ้ยงจมชัว่ คราว

Bi - 06

การชักนาให้ เกิดยอดและแคลลัสของลิลลี่ในสภาพปลอดเชื ้อ

Bi - 07

ผลของความเข้ มข้ น IAA จากน ้าหมัก Methylobacterium radiotolerans กลุม่ แยก ED5-9 ต่อการเพาะเลี ้ยงแคลลัสเชียงดา ผลของ NAA ต่อการผลิตรากและการสะสมสารอัลคาลอยด์ของ หนอนตายหยากในสภาพปลอดเชื ้อ ผลของความเข้ มข้ น IAA จากน ้าหมักร่วมกับสภาพเลี ้ยงที่แตกต่าง กันต่อการเจริญและพัฒนาเชียงดาในสภาพปลอดเชื ้อ การศึกษาโครงสร้ างของดอกและลักษณะทางสัณฐานวิทยาของ ละอองเรณู ของกล้ วยพันธุ์ป่าและพันธุ์ลกู ผสม การพัฒนาวิธีการระบุเพศมะละกอในระยะต้ นกล้ าต้ นทุนต่า

Bi - 03 Bi - 04

Bi - 08 Bi - 09 Bi - 10 Bi - 11

Bi - 12 Bi - 13 Bi - 14

Bi - 15 Bi - 16 Bi - 17 Bi - 18

XX

การศึกษาการกระจายตัวของละอองเกสรมะละกอจากดอกชนิด elongata ภายใต้ สภาวะธรรมชาติ การเพิ่มชุดโครโมโซมของดาวเรื องอเมริ กนั และดาวเรื องฝรั่งเศส โดยใช้ สารละลายโคลชิซิน ผลของระยะเวลาเพาะเลี ้ยงในสภาพปลอดเชื ้อต่อปริ มาณสาร ทุติยภูมิ ของยอดหัวข้ าวเย็น (Dioscorea birmanica Prain & Burkill) การส่งถ่ายยีน DFR (dihydroflavonol 4-reductase) เข้ าสู่ ปทุมมากระถางด้ วยเชื ้อแบคทีเรี ย Agrobacterium tumefaciens การพัฒนาเครื่ องหมายดีเอ็นเอเพื่อใช้ ในการจาแนกเพศอินทผลัม ไทย (แม่โจ้ 36) การชักนาให้ เกิดแคลลัสจากการเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนลาต้ นในสภาพ ปลอดเชื ้อของข้ าวเย็นเหนือ (Smilax corbularia Kunth.) การคัดเลือกแคลลัสแอปเปิ ล้ ทนแล้ งในหลอดทดลอง และการทดสอบความแปรปรวนด้ วย เครื่ องหมาย SRAP

ชื่อผู้แต่ ง ไซนียตะ สะมาลา พลวัต ภัทรกุลพิสทุ ธิ สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้ อน อิศร์ สุปินราช สุมิตรา สุปินราช และณัฐยา เทพสาร ปั ทมา ศรี น ้าเงิน และ Titnarong Heng

หน้ า 3

จรรยา เหล่ปอ้ ง ยืนหยัด ธีระวัฒน์สกุล และดารุส สตุส ประภาพร ฉันทานุมตั ิ อรทัย ธนัญชัย ยุพิน กสินเกษมพงษ์ และสุเมธ อ่องเภา พิศวรรณ เพ็ชร์ ยิ่ง งามนิจ ชื่นบุญงาม ปวีณา ไตรเพิ่ม และกัญจนา แซ่เตียว เพียงพิมพ์ ชิดบุรี ศิริพรรณ สาริ นทร์ และอภิชาติ ชิดบุรี นาตยา มนตรี สุกญ ั ญา แสนภักดี และอัญจนา จันทร์ ปะทิว อภิชาติ ชิดบุรี พิทกั ษ์ พุทวรชัย และศิริพรรณ สริ นทร์ รสมนต์ จีนแส และราตรี บุญเรื องรอด

6

4 5

7 8 9 10 11 12

ภัทราภรณ์ ทรัพย์อดุ มมาก นงลักษณ์ คงศิริ อลิษา ภู่ประเสริ ฐ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และราตรี บุญเรื องรอด ภานุวรรณ บัวทองจันทร์ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และปาริ ชาติ เบิร์นส มรกต บูรณสุบรรณ รสมนต์ จีนแส รุ่งฟ้า จีนแส นงลักษณ์ คงศิริ และราตรี บุญเรื องรอด รัชนีวรรณ จิระพงศ์พฒ ั นา เยาวพา จิระเกียรติกลุ ภาณุมาศ ฤทธิไชย ศรี โสภา เรื องหนู และอรุณพร อิฐรัตน์ รัฐพร จันทร์ เดช และวารุต อยู่คง

13

นพรัตน์ อินถา กวี สุจิปลุ ิ ปิ ยรัษฎ์ ปริ ญญาพงษ์ เจริ ญทรัพย์ และพีระศักดิ์ ฉายประสาท ปพิชญา ขวานทอง เยาวพา จิระเกียรติกลุ และภาณุมาศ ฤทธิไชย Titnarong Heng และปั ทมา ศรี น ้าเงิน

18

14 15 16

17

19 20

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

รหัส Bi - 19 Bi - 20 Bi - 21 Bi - 22

Bi-23 Bi - 24 Bi - 25 Bi - 26 Bi - 27

Bi - 28 Bi - 29 Br - 01

Br - 02 Br - 03

Br - 04 Br - 05

ชื่อเรื่อง การหาความสัมพันธ์กล้ วยไม้ ท้องถิ่น (สกุลแวนด้ า) โดยใช้ เทคนิค Randomly Amplified Polymorphic DNA (RAPD) การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ ปริ มาณสารต้ านอนุมลู อิสระ และ ปฏิกิริยาต้ านอนุมลู อิสระของผลเม่าหลวง 10 สายต้ น ผลของ BA PBZ TDZ และ CPPU ต่อการชักนาการออกดอกของ กล้ วยไม้ หวายแคระในสภาพปลอดเชื ้อ การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของดาวเรื อง

ผลของสูตรอาหารเพาะเลี ้ยงต่อการงอกของเมล็ด หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงในสภาพปลอดเชื ้อ การเสริ มน ้าสับปะรดเพื่อเป็ นสับสเตรทร่วมในการหมัก น ้าส้ มสายชูแอปริ คอต การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริ มาณเบต้ าแคโรทีนกับ ส่วนประกอบจีโนมของกล้ วย การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพันธุ์มะพร้ าวโดย โมเลกุลเครื่ องหมายเอสเอสอาร์ การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและโครงสร้ าง ประชากรของ Paphiopedilum spp. โดยใช้ เครื่ องหมาย ESTSSR การประเมินลักษณะความหลากหลายทางพันธุกรรมของเมล่อน โดยเทคนิคเครื่ องหมายดีเอ็นเอสนิปส์ การประเมินฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองในสภาพฤดูร้อนในเขตอาเภอ กาแพงแสน ผลของความสูงจากระดับน ้าทะเลต่อการเจริ ญเติบโต ผลผลิต และสารเผ็ดของพริ กเผ็ด (Capsicum chinense) ภายใต้ สภาพ โรงเรื อน การตรวจสอบความมีชีวิตของละอองเกสรเพศผู้ในผักกาดขาวปลี การทดสอบความต้ านทานของมะเขือเทศผสมกลับรุ่นที่ 6 ชัว่ รุ่นที่ 2 (BC6F2) ต่อเชื ้อไวรัสใบหงิกเหลืองมะเขือเทศสายพันธุ์ นครปฐม เชียงใหม่ และหนองคาย การศึกษาความหลากหลายอัลลีลของยีน Lin5 ที่เกี่ยวข้ องกับ Soluble Solid Content การศึกษาตาแหน่งยีนต้ านทานเชื ้อไวรัส ChiVMV ในประชากร พริ กดับเบิลแฮพลอยด์

Br - 06

การเปรี ยบเทียบพันธุ์ปาล์มน ้ามันในพื ้นที่จนั ทบุรี

Br - 07

การประเมินลักษณะพันธุ์ของข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วงโดยใช้ การ วิเคราะห์องค์ประกอบหลักและการจัดกลุม่

18-20 พฤศจิกายน 2558

ชื่อผู้แต่ ง ราตรี พระนคร

หน้ า 21

สุดารัตน์ สกุลคู และเมวิกา ไชยฤทธิ์

22

ศุภธิดา อับดุลลากาซิม ศุภกาญจน์ หล่ายแปด และเสริ มศิริ จันทร์ เปรม สุวรรณี ปาลี ปรี ชาวุฒิ พลัดทองศรี จิรานันท์ ไชยวรรณ์ ภมรพรรณ มงคลแช่มช้ อย และพรพันธ์ ภู่พร้ อมพันธุ์ จารุวรรณ อภัย และเยาวพรรณ สนธิกลุ

23

นิอร โฉมศรี ณัฐวุฒิ คาปต อก และสุพจนี อินทรโมฬี อลิษา ภู่ประเสริ ฐ วารี รัตน์ ศรี ฉ่า วชิรญา อิ่มสบาย กัลยาณี สุวิทวัส และราตรี บุญเรื องรอด อลิษา ภู่ประเสริ ฐ นงลักษณ์ คงศิริ และราตรี บุญเรื องรอด อรอุมา รุ่งน้ อย ประกิจ สมท่า ชุตินธร หยุนแดง สิทธิโชค ตังภั ้ สสรเรื อง ทศพร ธนามี ธีรพันธ์ โตธิรกุล และพีระศักดิ์ ศรี นิเวศน์ วิภาดา เจริ ญชาติ เฉลิมศรี นนทสวัสดิศ์ รี แสงทอง พงษ์ เจริ ญกิต และอรพินธุ์ สฤษดิ์นา นพวรรณ หนองใหญ่ ปณาลี ภู่วรกุลชัย ปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ และอัญมณี อาวุชานนท์ นคริ นทร์ จี ้อาทิตย์ สุชีลา เตชะวงค์เสถียร พลัง สุริหาร และสังคม เตชะวงค์เสถียร

26

ศรสวรรค์ ศรี มา และจุฑามาส คุ้มชัย อิสระยศ สินบุญยะมะ อุไรวรรณ พงษ์ พยัคเลิศ นริ ศา เจือจุล อรอุบล ชมเดช และจุลภาค คุ้นวงศ์

36 37

จุฬาลักษณ์ น้ อยแสง เกียรติสดุ า เหลืองวิไล และจุลภาค คุ้นวงศ์ จุลภาค คุ้นวงศ์ จิตรภานุ แย้ มจะบก กมลสิริ เพชรบูรณ์ ณัฏยา ศรี สวัสดิ์ สุจินต์ ภัทรภูวดล และสิริกลุ วะสี อรวินทินี ชูศรี ศิริพร วรกุลดารงชัย ณิศชาญาบุญชนัง และศิริวรรณ ศรี มงคล ณัฐพร บุตรนุช และบุบผา คงสมัย

38

24

25

27 28 29

30 31 35

39

40 41

XXI


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” รหัส Br - 08

ชื่อเรื่อง คุณภาพการบริ โภคของทุเรี ยนพื ้นบ้ านบางสายต้ นในประเทศไทย

Br - 09

การพัฒนาพันธุ์ลกู ผสมของฟั กทองให้ มีผลผลิตและคุณภาพสูง

Br - 10

Screening Germplasm of Long Fruit Cucumber Lines for Resistance to Downy Mildew Cause by Pseudoperonospora cubensis การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมความต้ านทานโรคราน ้าค้ าง ของแตงกวา การสกัดและคัดเลือกสายพันธุ์อินเบรดดาวเรื องฝรั่งเศสเพื่อ พัฒนาเป็ นไม้ ดอกกระถาง การพัฒนาสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ปนุ่ ด้ วยรังสีแกมมาเพื่อเพาะในเขต พื ้นที่ราบ การวิเคราะห์เสถียรภาพของสายพันธุ์และลูกผสมของแตงไทย

Br - 11 Br - 12 Br - 13 Br - 14 Br - 15 Br - 16 Br - 17 Br - 18 Br - 19 Ph - 01 Ph - 02 Ph - 03

Ph - 04

Ph - 05

Ph - 06

XXII

การประเมินค่าความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริ กโดย เทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล เอส เอส อาร์ การเปรี ยบเทียบผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของถัว่ ฝักยาว เขียวพันธุ์ ศฝก. 2 ในระบบเกษตรธรรมชาติ การประเมินสัณฐานวิทยาของผลแตงไทยเพื่อใช้ ประโยชน์ในการ เป็ นเชื ้อพันธุกรรม ผลกระทบของการผสมสลับพ่อแม่ตอ่ คุณภาพผลในลูกผสมฝรั่ง การประยุกต์ใช้ เครื่ องหมายทางพันธุกรรมในการประเมินความ หลากหลายทางพันธุกรรมของมะปราง การเปลี่ยนแปลงปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในช่วงแตกใบ อ่อนของต้ นลองกอง ผลกระทบของปริ มาณน ้าฝนต่อการออกดอกของลองกองที่ชกั นา ด้ วยการราดสารพาโคลบิวทราโซลและการรัดลาต้ น ผลการพรางแสงด้ วยตาข่ายต่อการเปลี่ยนแปลงสีใบ และการ ตอบสนองทางสรี รวิทยา บางประการของสับปะรดสีสกุล Neoregelia sp. ผลของการฟอกฆ่าเชื ้อและสารควบคุมการเจริ ญเติบโต NAA และ BA ที่มีผลต่อการชักนาให้ เกิดแคลลัสของสตรอเบอรี่ พนั ธุ์ พระราชทาน 80 ในสภาพปลอดเชื ้อ ผลของสารสกัดจากไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra L.) ต่อการ เติบโตของต้ นกล้ าและการมีชีวิตของเซลล์ (cell viability) ใน ต้ อยติ่ง (Ruellia tuberosa Linn.) ผลของระยะการเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิต่าต่อการชะลอการ ออกดอกของว่านอึง่ และว่านหัวครู

ชื่อผู้แต่ ง อุษณีษ์ พิชกรรม ศศิวิมล โฉมเฉลา แสวงผล วิษุวตั สงนวล ปวีณา ไตรเพิ่ม สมบัติ ตงเตต า และปิ ยรัษฎ์ ปริ ญญาพงษ์ เจริ ญทรัพย์ วันไณ เอา จานุลกั ษณ์ ขนบดี และภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ Ahmad Hadi, Chanulak Khanobdee and Piyavadee Charoenwattana

หน้ า 42

จานุลกั ษณ์ ขนบดี พัชรดา ทองลา และปิ ยะวดี เจริ ญวัฒนะ นงลักษณ์ คงศิริ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และราตรี บุญเรื องรอด ธนภักษ์ อินยอด ตันติมา กาลัง วันทนา สะสมทรัพย์ และธนภัทร เติมอารมณ์ ปราโมทย์ พรสุริยา พรทิพย์ พรสุริยา ศิริมา ธีรสกุลชล และอนุชา จุลกะเสวี อรพินธุ์ สฤษดิ์นา

45

ทิพวรรณ สิทธิรังสรรค์

50

ภวัตร นาควิไล ปณาลี ภู่วรกุลชัย วชิรญา อิ่มสบาย และอัญมณี อาวุชานนท์ วรพล ลากุล และอุณารุจ บุญประกอบ สมบัติ แก้ วผ่องอาไพ สุพตั รา โพธิ์เอี่ยม และโองการ วณิชาชีวะ ปฐม คงแก้ ว และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์

51

พิมาภรณ์ แก้ วสวัสดิ์ และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์

58

ภาณุพล หงษ์ ภกั ดี และกฤษฎา ภักดีลนุ

59

มงคล ศิริจนั ทร์ พุทธพงษ์ สร้ อยเพชรเกษม กวี สุจิปลุ ิ ณรงค์ชยั พิพฒ ั น์ธนวงศ์ และพีระศักดิ์ ฉายประสาท อินทิรา ขูดแก้ ว

60

พงษ์ นที ปิ นตาแจ่ม และณัฐา โพธาภรณ์

62

43 44

46 47 48 49

52 53 57

61

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” รหัส Ph - 07

Ph - 08

Ph - 09

ชื่อเรื่อง ผลของอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาหัวพันธุ์ต่อการ เจริ ญเติบโตและการออกดอกของ กล้ วยไม้ ดินนางกราย (Habenaria lindleyana Steud.) การควบคุมแรงดันออสโมติกในต้ นมันเทศที่ปลูกภายใต้ สภาวะ การขาดน ้าจาก PEG ด้ วยการสะสมน ้าตาล การเปลี่ยนแปลงด้ าน สรี รวิทยา และการเจริ ญเติบโต การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อตาจากก้ านช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส

ชื่อผู้แต่ ง นิพนธ์ กิติดี โสระยา ร่วมรังษี และณัฐา โพธาภรณ์

หน้ า 63

สุณิสา เจตน์ตะพุก สุริยนั ตร์ ฉะอุ่ม ฐาปนีย์ สามพุ่มพวง คัทริ นทร์ ธีระวิทย์ และสุรวุฒน์ อยู่ยงเวชช์ กาญจนา รุ่งรัชกานนท์ และรัชนีกร ดีดวงพันธ์ เอรี ยา เทพริ นทร์ สมพงษ์ สุขขาวงษ์ สุรัตน์วดี ชูโชติ สรายุทธ อ่อนสนิท และสุรพล ฐิ ติธนากุล ชลเวทย์ ไทยรัตน์ และณัฐา โพธาภรณ์

64

Ph - 10

อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเก็บรักษาเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง พันธุ์ Nepenthes mirabilis

Ph - 11

ผลของการเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิต่าต่อการเจริ ญเติบโต เอื ้องตีนกบ พัฒนาการของเมล็ดพันธุ์กระเจี๊ยบแดง (Hibiscus sabdariffa L.) ชนันดา ศรี บญ ุ ไทย ภาณุมาศ ฤทธิไชย และเยาวพา จิระเกียรติกลุ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงในรอบวันของเรื อนพุ่มทุเรี ยนพันธุ์ เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ ศรปราชญ์ ธไนศวรรยางกูร หมอนทอง พูนพิภพ เกษมทรัพย์ ดวงรัตน์ ศตคุณ เชฏฐ์ สาทรกิจ อรอุมา ด้ วงงาม และดอกแก้ ว จุระ การตอบสนองต่อแสงในการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบทุเรี ยนพันธุ์ เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ พูนพิภพ เกษมทรัพย์ หมอนทอง ดวงรัตน์ ศตคุณ ดอกแก้ ว จุระ และอรอุมา ด้ วงงาม การทดสอบสมการประเมินพื ้นที่ใบแบบไม่ทาลายของพี ้ชและ พูนทรัพย์ สืบมา อุณารุจ บุญประกอบ เนคทารี น ที่ปลูกบนพื ้นที่สงู ของประเทศไทย และสุภาวดี คงทับทิม การเจริ ญเติบโต ปริ มาณไนโตรเจนและคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ใน รุ่งนภา ช่างเจรจา พงศ์ยทุ ธ นวลบุญเรื อง รูปโครงสร้ างของว่านแสงอาทิตย์ที่ได้ รับการพรางแสงแตกต่างกัน และสันติ ช่างเจรจา ผลของอุณหภูมิกลางคืนต่อการออกดอกและปริ มาณธาตุอาหาร รุ่งนภา ช่างเจรจา และวันเฉลิม รูปเขียน ในว่านแสงอาทิตย์ การกระตุ้นความงอกด้ วยแคลเซียมซิลิเกตต่อคุณภาพและการ สุวรัตน์ กรรมการ พรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอม ศุภชัย อาคา และธงชัย มาลา การศึกษาโครโมโซมของตีนฮุ้งดอย (Paris polyphylla Smith) อัปสร วิทยประภารัตน์ และฉันทลักษณ์ ติยายน การประยุกต์ใช้ GA3 เพื่อส่งเสริ มการงอกของเมล็ดทานตะวันใน ดนุพล เกษไธสง ประกาศิต ดวงพาเพ็ง ระหว่างการผลิตเป็ นผักไมโครกรี น และชบา ทาดาวงษา การฉีดพ่น N-6-Benzyladenine เพื่อชักนาให้ เกิดตาดอกใน ศุภธิดา อับดุลลากาซิม ธนทัต อินทชิต Dendrobium Sonia ‘Earsakul’ อายุ 4 ปี และภาสันต์ ศารทูลทัต การขาดน ้าของใบก่อนการปั กชาไม่ทาให้ ความสามารถในการเกิด สุรีพร นันท์ดี กฤษณา กฤษณพุกต์ รากและไรโซมจากการปั กชาแผ่นใบย่อยของต้ นกวักมรกตลดลง และลพ ภวภูตานนท์ ผลของการพรางแสงต่อการเกิดรากและไรโซมจากการปั กชาแผ่น สุภาพร สุกประเสริ ฐ กฤษณา กฤษณพุกต์ ใบย่อยของต้ นกวักมรกต และลพ ภวภูตานนท์ ความเข้ มข้ นของโคลชิชินต่อการเจริ ญเติบโตของยอดและการ พิทกั ษ์ พุทธวรชัย นภา ขันสุภา ชิติ ศรี ตนทิพย์ เปลี่ยนแปลงสัณฐานวิทยาของปากใบในผักเชียงดา และปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์

Ph - 12 Ph - 13

Ph - 14 Ph - 15 Ph - 16 Ph - 17 Ph - 18 Ph - 19 Ph - 20 Ph - 21 Ph - 22 Ph - 23 Ph - 24

18-20 พฤศจิกายน 2558

65 66

67 68 69

70 71 72 73 74 75 76 77 78 79 80

XXIII


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” รหัส Ph - 25 Ph - 26 Ph - 27 Ph - 28 Ph - 29 Ph - 30 Ph - 31

Ph - 32 Ph - 33 Ph - 34

Ph - 35 Ph - 36

Ph - 37 Ph - 38 Ph - 39 Po - 01

Po - 02 Po - 03 Po - 04

XXIV

ชื่อเรื่อง ผลของสารควบคุมการเจริ ญเติบโตต่อการเจริ ญเติบโตของ มะกอกโอลีฟพันธุ์อะบีควินาอาเอสพีจี/ ผลของปุ๋ ยทางใบที่มีโพแทสเซียมสูงต่อผลผลิตและอายุการเก็บ รักษาหอมหัวใหญ่ ผลของการพ่นปุ๋ ย NPK ทางใบสัดส่วน 3:1:2 ต่อการขยายขนาด ผลในมะม่วงพันธุ์ น ้าดอกไม้ สีทอง ผลของการใช้ ปยแคลเซี ุ๋ ยม โบรอนและปุ๋ ยโพแทสเซียมสูงต่อ ผลผลิตและคุณภาพของมันฝรั่ง การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพผลชมพูพ่ นั ธุ์ ทับทิมจันท์ ด้ วยปุ๋ ยทาง ใบที่มี NPK สัดส่วน 3:1:2 อิทธิพลของจิบเบอเรลลิคแอซิดต่อการหลุดร่วงและคุณภาพผล ของมะพร้ าวน ้าหอม ผลของอุณหภูมิต่าในระยะต้ นกล้ าต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิต ของต้ นสตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 โดยใช้ วสั ดุปลูกใน โรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ การเปลี่ยนแปลงปริ มาณสารเบต้ าแคโรทีนและคุณภาพที่สาคัญ ในระหว่างการพัฒนาของผลฟั กทอง อิทธิพลของสารพาโคลบิวทราโซลต่อการเจริ ญเติบโตของต้ น มะพร้ าวน ้าหอม อิทธิพลของความแก่ของผลและระดับความเข้ มข้ นของไคโตซานที่ มีต่อการเจริ ญเติบโตและ คุณภาพของผลองุ่นพันธุ์ Canadice Seedless ผลของไคโตซานต่อการควบคุมการเข้ าทาลายของแมลงวันพริ ก ในผลพริ กขี ้หนู ผลของสารแพกโคลบิวทราซอลต่อการเพาะเลี ้ยงต้ นกล้ วยไม้ ดิน นกคุ้มไฟในสภาพปลอดเชื ้อ ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระและปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมของผล ทุเรี ยนพันธุ์การค้ า อัตราการคายน ้าของส้ มโอพันธุ์มณีอีสานในระยะการเจริ ญเติบโต ของผล การศึกษาประสิทธิภาพการสังเคราะห์ด้วยแสงของเฟิ นพันธุ์ การค้ า 5 พันธุ์เพื่อใช้ ประดับภายในอาคาร การตรวจสอบลักษณะเชิงคุณภาพ และความแปรปรวนของยีน กากับเอนไซม์ ACC oxidase ในมะละกอพันธุ์การค้ าชนิด ลูกผสมเปิ ด 3 สายพันธุ์ ดัชนีเสื่อมสภาพและการใช้ ถงุ พอลิเอทิลีนเจาะรูเพื่อยืดอายุวาง จาหน่ายของผักเหลียงพร้ อมปรุง ความสามารถในการต้ านอนุมลู อิสระและฤทธิ์การต้ าน ออกซิเดชันของผลเม่าหลวง เครื่ องดื่มสามผสานเพื่อสุขภาพจากเม่า หม่อน และมะขามป้อม

ชื่อผู้แต่ ง ชัยมงคล ใจหล้ า จิราพร บุตรศรี และบุญร่วม คิดค้ า กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง ภานุรักษ์ ประทับกอง อภิญญา ศรี อ่อนดี และรวี เศรฐภักดี กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง อภิศกั ดิ์ เบ้ าลี และรวี เสรฐภักดี กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง ภานุรักษ์ ประทับกอง อภิศกั ดิ์ เบ้ าลี และรวี เสรฐภักดี กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง และรวี เสรฐภักดี

หน้ า 81

เมษา เกื ้อคลัง กฤษณา กฤษณพุกต์ และลพ ภวภูตานนท์ สุมิตร คุณเจตน์ นิสาชล เทศศรี และธนภูมิ อ่อนพรมราช

86

ธรธ อาพล พจนา สีมนั ตร อัญมณี อาวุชานนท์ และอุษณีย์ เพ็ชรปุ่ น วนาลี ตรุดไทย กฤษณา กฤษณพุกต์ และลพ ภวภูตานนท์ กิตติพงศ์ กิตติวฒ ั น์โสภณ และทัศนารถ กระจ่างวุฒิ

88

วรรณิศา ปั ทมะภูษิต และพรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง

91

นิติพงศ์ หอวัฒนพาณิชย์ พรสุดา ศิริรักวงษา พัชรี ยา บุญกอแก้ ว และอารยา อาจเจริ ญ เทียนหอม กษิ ดิ์เดช อ่อนศรี เบญญา มะโนชัย และชินวัฒน์ ยัพวัฒนพันธ์ สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา สมยศ มีทา ราไพ นามพิลา พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และสังคม เตชะวงค์เสถียร สหรัฐ คุมพล พัชรี ยา บุญกอแก้ ว และณัฏฐ พิชกรรม โสรยา ปั ญจะธา พิมพิไล แสงมณี ศันสนีย์ นาเจริ ญ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และปาริ ชาติ เบิร์นส

92

กนกพร บุญญะอติชาติ

100

ศุกฤชชญา เหมะธุลิน

101

ศุกฤชชญา เหมะธุลิน

102

82 83 84 85

87

89 90

93 94 95 99

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” รหัส Po - 05 Po - 06 Po - 07 Po - 08

Po - 09

Po - 10 Po - 11

Po – 12

Po – 13 Po – 14 Po – 15 Po - 16 Po - 17 Po - 18

Po - 19

Po - 20 Po - 21

ชื่อเรื่อง การวิเคราะห์คณ ุ ค่าทางอาหารและคุณภาพทางประสาทสัมผัสของ เมล็ดทานตะวันและถัว่ เหลืองงอกหลังผ่านการลวก คุณสมบัติและความต้ านทานปลวกของไม้ การบูร ผลของการให้ ความร้ อนในรูปแบบต่างๆ ต่อการเปลี่ยนแปลง คุณภาพของผลแคนตาลูป ผลของระยะสุกแก่ของผลสับปะรด รูปแบบการตัดแต่ง และ อุณหภูมิในการเก็บรักษาที่มีต่อคุณภาพสับปะรดนางแลตัดแต่ง พร้ อมบริ โภค การศึกษาแบคทีเรี ยที่สามารถผลิตเอนไซม์ย่อยสลายเซลลูโลสใน ระหว่างการบ่มฝักวานิลลา การหาปริ มาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิกในไวน์เม่า ด้ วย เครื่ องโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง ผลของสาร 1-methylcyclopropene ต่ออายุการเก็บรักษา ผักหวานป่ า (Melientha suavis) การเปลี่ยนแปลงปริ มาณกลูโคซิโนเลตในผักกาดฮ่องเต้ อินทรี ย์ที่ ผ่านและไม่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศก่อนการ เก็บรักษา ผลของภาชนะบรรจุต่ออายุการเก็บรักษาขิงสด ผลของสารละลายพัลซิ่งและความยาวก้ านดอกต่ออายุการปั ก แจกันดอกบัวหลวงพันธุ์สตั ตบุตย์ ผลของการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วต่อคุณภาพและอายุการเก็บ รักษามะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ ผลของระยะเวลาในการแช่น ้าปูนใสต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ ของมะละกอ ‘พันธุ์ฮอลแลนด์’ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและเคมีของกะลากับ การแตกในมะพร้ าวน ้าหอมเจีย ผลของกต าซคลอรี นไดออกไซด์ต่อกิจกรรมของเอนไซม์ไคติเนส และกลูคาเนสของผลลาไย หลังเก็บเกี่ยวที่ปลูกเชื ้อ Cladosporium sp. ผลของการเติมสารอาหารที่ต่างกันต่อการเกิดสารอะเซทัลดีไฮด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และสารที่ให้ กลิ่นที่ดีในไวน์ขาวที่สร้ างโดยยีสต์ Saccharomyces สองสายพันธุ์ เปรี ยบเทียบคุณภาพทางเคมีกายภาพ และคุณสมบัติการต้ านอนุมลู อิสระของฟั กทองพันธุ์พื ้นเมือง พันธุ์โอโตะ และพันธุ์ทางการค้ า อายุการเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วในบรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศร่วมกับ วัตถุดดู ซับออกซิเจน

18-20 พฤศจิกายน 2558

ชื่อผู้แต่ ง หทัยรัตน์ ยิ ้วเหี ้ยง และปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ

หน้ า 103

มานพ ธรสินธุ์ และวิกนั ดา รัตนพันธ์ กัญญารัตน์ เหลืองประเสริ ฐ

104 105

นิอร โฉมศรี สุพจนี อินทรโมฬี และอัมฤทธิ์ สีกล่อม

106

ธิติมา วงษ์ ชีรี ผ่องเพ็ญ จิตอารี ย์รัตน์ เฉลิมชัย วงษ์ อารี กัลย์ธีรา สุนทราภิรักษ์ กลุ และพจนา แก้ วแจ่ม จารุวรรณ ดรเถื่อน

107

จิตตา สาตร์ เพ็ชร์ มยุรา ล้ านไชย เกศินี เสาวคนธ์ สายันต์ ตันพานิช โสรยา ใบเตต ะ อรอุมา พรมน้ อย และลาแพน ขวัญพูล เพชรดา อยู่สขุ ดนัย บุณยเกียรติ ศิวาพร ธรรมดี และพิชญา บุญประสม พูลลาภ

109

สมชาย กล้ าหาญ อรทัย พูดงาม และเมธินี พร้ อมพวก ธนิตชยา พุทธมี แสงระวี พ่วงสมบัติ วนิตา ตุ้มมล และณัฐพล จันทร์ บาง สมชาย กล้ าหาญ และรอสมี ยะสะแต

111

สมชาย กล้ าหาญ และรอสมี ยะสะแต

114

ธนาโชค ตติเจริ ญ อนรรฆ พรรคเจริ ญ และจริ งแท้ ศิริพานิช นิติยา กันธิยะ บุญสม บุษบรรณ์ จานงค์ อุทยั บุตร และกอบเกียรติ แสงนิล

115

ภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ และ Doris Rauhut

117

ภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ และจานุลกั ษณ์ ขนบดี

118

ณชยุติ จันท์โชติกลุ ณัฐจรี ย์ จิรัคคกุล นิภาพร เส็งคาปาน ศักริ นทร์ นนทพจน์ และบังอร เหมัง

119

108

110

112 113

116

XXV


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” รหัส Po - 22 Po - 23 Po - 24 Po - 25

Pr - 01 Pr - 02 Pr - 03 Pr - 04 Pr - 05 Pr - 06 Pr - 07 Pr - 08

Pr - 09 Pr - 10

Pr - 11 Pr - 12 Pr - 13 Pr - 14 Pr - 15 Pr - 16

XXVI

ชื่อเรื่อง ผลของสภาวะการเก็บรักษาต่อคุณภาพการสุกของกล้ วยไข่เพื่อ การส่งออก บรรจุภณ ั ฑ์และสารเคมีที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาเงาะสด การพัฒนาและใช้ ประโยชน์ผลิตภัณฑ์เทียนอบขนมกลิน่ ดอกจาปี ในขนมไทย อิทธิพลของไคโตซานและฟิ ล์มเคลือบผิวต่อคุณภาพส้ มโอพันธุ์ ทองดีในระหว่างการเก็บรักษา

ชื่อผู้แต่ ง

หน้ า 120

สมคิด ใจตรง ฐปกร ลิขิตนภาเวทย์ พรกรัณย์ ธนไพโรจน์ กาญจน แซ่จงั และวรภัทร ลัคนทินวงศ์ พงศ์ยทุ ธ นวลบุญเรื อง ธัญญลักษณ์ บัวผัน และรุ่งนภา ช่างเจรจา ราไพ นามพิลา นันท์นลิน บัวจันทร์ สมยศ มีทา สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และสังคม เตชะวงค์เสถียร ชัยอาทิตย์ อิ่นคา และโสระยา ร่วมรังษี

ผลของการใช้ ปยน ุ๋ ้าชีวภาพจากมูลสัตว์ต่อการเจริ ญเติบโตของผัก สลัดที่ปลูกในระบบไฮโดรพอนิกส์ ผลของการงดน ้าในช่วงก่อนการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพในผลเมล่อน นรกมล ขาวารี และลาแพน ขวัญพูล อิทธิพลของสีม้ งุ ตาข่ายต่อการเจริ ญเติบโตและคุณภาพผลเมล่อน ปวีณา รุ่งรักษาธรรม และลาแพน ขวัญพูล ผลของการเด็ดยอดต่อการเจริ ญเติบโตและการออกดอกพิทเู นีย สุมิตรา สุปินราช อิศร์ สุปินราช และอังคณพร วังคา ศึกษาวิธีการปั กชาของพิทเู นียในสภาพเหมาะสม สุมิตรา สุปินราช อิศร์ สุปินราช และศิโรจน์ ทิมภู่ ศึกษาวิธีการปั กชาของบัวตองในสภาพที่เหมาะสม สุมิตรา สุปินราช อิศร์ สุปินราช และนงนุช ปู่ หล้ า ผลของความถี่ในการให้ น ้าต่อการแตกของผลมะพร้ าวน ้าหอม พงษ์ นาถ นาถวรานันต์ ประเมินความต้ องการธาตุอาหารของมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกและ ทิวาพร ผดุง ภาณุมาศ โคตรพงศ์ พันธุ์สปุนต้ า ปั ญจพร เลิศรัตน์ ศุภกาญจน์ หล่ายแปด และการิ ตา จงเจือกลาง ศึกษาปริ มาณลิกนิน แคลเซียมและโบรอนระหว่างการพัฒนาผล กัญญาณัฐ นิคนธา กฤษณา กฤษณพุกต์ มะพร้ าวอ่อนน ้าหอม และวชิรญา อิ่มสบาย การใช้ แหนแดงเป็ นวัสดุดินผสมเร่งการเติบโตของต้ นอ่อนกล้ วย ศิริลกั ษณ์ แก้ วสุรลิขิต ประไพ ทองระอา กัลยาณี น ้าว้ าปากช่อง 50 จากการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ สุวิทวัส กานดา ฉัตรไชยศิริ นิศารัตน์ ทวีนตุ ภาสันต์ ศารทูลทัต และพิมพ์นิภา เพ็งช่าง ผลกระทบของการปลูกหอมและกระเทียมผสมผสานมะนาวในวง สันติ ช่างเจรจา และธีรรพล ดอนมูล บ่อซีเมนต์ การเพิ่มผลผลิตเห็ดนางรม โดยใช้ อณ ุ หภูมิต่าและสารกระตุ้นการเจริ ญ วิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก และชัยพร จันคง การให้ ผลผลิตและความงอกของข้ าวเย็นใต้ นิชาภา บุญบริ วารกุล ภาณุมาศ ฤทธิไชย และเยาวพา จิระเกียรติกลุ การจัดทรงพุ่มต้ นทุเรี ยนรูปแบบต่างๆ ในระยะปลูกชิด เพื่อเพิ่ม ศิริพร วรกุลดารงชัย อรวิมทินี ชูศรี ชมพู จันที ประสิทธิภาพการผลิตทุเรี ยนคุณภาพ และอุษา สิทธิฤทธิ์ ผลของน ้าส้ มควันไม้ และสารสกัดแมงลักคาที่มีต่อการ อัญชลี สวาสดิธ์ รรม ปรี ยานุช เพ็งอุดม เจริ ญเติบโตและการงอกของเมล็ดแตงกวาลูกผสม และวิจิตรา รุ่งศรี การเปลี่ยนแปลงปริ มาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม จุฑามาศ ทองอิ่ม วัชระ จินตโกวิท ศุภชัย อาคา ในดินบริ เวณทรงพุม่ ของ ต้ นกีวีฟรุตปลูกที่สถานีเกษตรหลวง และอุษณีษ์ พิชกรรม อ่างขาง จังหวัดเชียงใหม่

121 122 123

127 128 129 130 131 132 133 134

135 136

137 138 139 140 141 142

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” รหัส Pr - 17

Pr - 20

ชื่อเรื่อง ผลของปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดต่ออัตราการเติบโต ผลผลิต ส่วนที่บริ โภคได้ ปริ มาณธาตุอาหารในใบและในดิน และฤทธิ์การ ต้ านอนุมลู อิสระในผักเชียงดา ผลของปุ๋ ยมูลไก่ต่ออัตราการเติบโต ผลผลิตส่วนที่บริ โภคได้ ปริ มาณธาตุอาหารในใบและในดินและฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ ในผักเชียงดา ผลของการขาดน ้าต่อการเติบโตของตายอด ส่วนที่บริ โภคได้ และ กิจกรรมต้ านอนุมลู อิสระในผักเชียงดา ผลของจานวนข้ อและความเข้ มข้ นของ IBA ต่อการปั กชาผักเชียงดา

Pr - 21

ผลของวัสดุปลูกต่อการเจริ ญเติบโตของพริ กหนุ่ม

Pr - 22

ผลของสารเคมีต่อการยับยังการแตกใบอ่ ้ อนของลาไย

Pr - 23

ผลของน ้าหมักชีวภาพต่อการเจริ ญเติบโตและคุณภาพของผัก สลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮดและเรดคอเรล การใช้ ประโยชน์ของปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกตต่อการผลิตกล้ ามะเขือเทศ

Pr - 18

Pr - 19

Pr - 24 Pr - 25 Pr - 26 Pr - 27 Pr - 28

Pr - 29 Pr - 30 Pr -31 Pr -32

Pr -33

ผลของการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับวิธีการให้ ปยด้ ุ๋ วยแคลเซียมซิลิ เกตต่อการผลิตกล้ าผักกาดหัว ประสิทธิภาพของปุ๋ ยอินทรี ย์ต่อการเจริ ญเติบโตของต้ นสตรอเบอรี่ พันธุ์พระราชทาน 80 อิทธิพลของการพรางแสงต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของ บัวบก (Centella asiatica (L.) Urb.) ในช่วงปลายฤดูหนาว อิทธิพลของการผสมข้ ามที่มีผลต่อการติดผลของส้ มโอทองดี

การศึกษาผลของวัสดุรองรับต่อการเปลี่ยนแปลงจานวนประชากร T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียน ผลของ BA ที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ ต่อการเจริ ญของตาที่ก้าน ช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนนอป การทดสอบความสามารถในการเป็ นปฏิปักษ์ ของรา Trichoderma จากวัสดุรองรับ ต่อเชื ้อ Pythium sp. การให้ ปยพร้ ุ๋ อมระบบน ้าร่วมกับการฉีดพ่นทางใบด้ วยน ้าหมัก ชีวภาพผสมสปอร์ สดแขวนลอยไตรโครเดอร์ มาในการเพิ่มผลผลิต และควบคุมโรคพริ กขี ้หนู ผลของการห่อผลต่อคุณภาพผลผลิตส้ มโอพันธุ์ทองดี และมณีอีสาน

18-20 พฤศจิกายน 2558

ชื่อผู้แต่ ง ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ และทิพย์วรรณ ทูเดอะ

หน้ า 143

ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ และมยุรี โมงปั นแก้ ว

144

ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ และชิติ ศรี ตนทิพย์

145

ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ พิทกั ษ์ พุทธวรชัย นภา ขันสุภา และติยะดา ฝนบริ บรู ณ์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ สันติ ช่างเจรจา ยุทธนา เขาสุเมรุ และสัญชัย พันธโชติ ชิติ ศรี ตนทิพย์ สันติ ช่างเจรจา ยุทธนา เขาสุเมรุ และรัตนชัย พรมเทพอานวย เยาวรัตน์ วงศ์ศรี สกุลแก้ ว สรศักดิ์ ทวีสิน สุชาทัศน์ คงเจริ ญ และคณพศ ศรี รุวฒ ั น์ กมลวรรณ คงสุดรู้ ศุภชัย อาคา ธงชัย มาลา และพรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง รังสินี ประเสริ ฐวัฒนะ ศุภชัย อาคา ธงชัย มาลา และพรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง สุมิตร คุณเจตน์ นิสาชล เทศศรี และศุภาวณี รวดชัยภูมิ บุษบา บัวคา และ รักเกียรติ แสนประเสริ ฐ

146

ประวิทย์ ธรรมทะ สมยศ มีทา ราไพ นามพิลา สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา สุชีลา เตชะวงค์เสถียร และสังคม เตชะวงค์เสถียร คเณศ ใจเก่งกาจ ชิติพนั ธ์ ทองเจริ ญสุขชัย และพรหมมาศ คูหากาญจน์ ซิส สุเมธ ตรี ศกั ดิ์ศรี และดวงตา จวนเจริ ญ

154

ทักษพร ช้ างม่วง ปาณิศา ประสม และพรหมมาศ คูหากาญจน์ มนตรี อิสรไกรศีล วาริ น อินทนา และอรรถกร พรหมวี

157

สมยศ มีทา สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และสังคม เตชะวงค์เสถียร

159

147 148 149 150 151 152 153

155 156

158

XXVII


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” รหัส Pr -34 Pr -35 Pr -36 Pr -37 Pr -38 Pr -39 Pr -40 Pr -41 Pr -42 Pr -43 Pr -44

Pr -45 Pr -46 Pr -47 Pr -48 Ot - 01

Ot - 02 Ot - 03 Ot - 04

XXVIII

ชื่อเรื่อง การเจริ ญเติบโตของปลีกล้ วยไข่และผลของสารเคมีปอ้ งกันกาจัด แมลงต่อการควบคุมเพลี ้ยไฟในกล้ วยไข่ อิทธิพลของปุ๋ ยฟอสฟอรัสต่อคุณภาพและผลผลิตของหน่อไม้ ฝรั่ง

ชื่อผู้แต่ ง ยศพล ผลาผล และเจตนา ทองแย้ ม

สุกญ ั ญา แย้ มประชา นุจรี บุญแปลง และนารี พันธุ์จินดาวรรณ ผลของปุ๋ ยน ้าต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของผักกาดฮ่องเต้ ชลธิชา วัดแป้น ศรสวรรค์ ศรี มา และจุฑามาส คุ้มชัย ผลของความเข้ มข้ นของปุ๋ ยน ้าต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิต พฤกษา วังแสง ศรสวรรค์ ศรี มา คะน้ า และจุฑามาส คุ้มชัย ประสิทธิภาพการเข้ าทาลายของไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงต่างชนิด ภานุพงศ์ แสนบุดดา นุชรี ย์ ศิริ ในแมลงวันผลไม้ ศตั รูพริ ก และประกายจันทร์ นิ่มกิ่งรัตน์ การศึกษาตัวทาละลายอินทรี ย์ที่เหมาะสมในการสกัดสารอัลลีโล ภัทริ น วิจิตรตระการ มณทินี ธีรารักษ์ พาทีจากใบเลี่ยน และจารูญ เล้ าสินวัฒนา การสารวจโรคใบจุดในแปลงกล้ วยหอมทองอินทรี ย์เพื่อการส่งออก อทิตยา ปาลคะเชนทร์ สมศิริ แสงโชติ ความสามารถในการเกิดโรค และการควบคุมเชื ้อสาเหตุโดยชีววิธี และวีระณีย์ ทองศรี อิทธิพลของน ้าคันชุ ้ มเห็ดเทศ (Cassia alata L.) ต่อเชื ้อรา สุริยสิทธิ์ สมนึก ไพลิน เนินหาด ทิพประภา ปฏิปักษ์ และเชื ้อราสาเหตุโรคพืชผัก เมฆพัฒน์ และถนิมนันต์ เจนอักษร พฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอ อุดมพร จอมพงษ์ จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน จอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี และอามร อินทร์ สงั ข์ ผลของสารธรรมชาติกาจัดวัชพืชจากพลูเขียวต่อการงอก การดูด ปริ ยาภรณ์ เนตรสว่าง ภัทริ น วิจิตรตระการ น ้า และกิจกรรมเอนไซม์อลั ฟา-อะไมเลสของหญ้ าข้ าวนก มณทินี ธีรารักษ์ และจารูญ เล้ าสินวัฒนา ศักยภาพทางอัลลีโลพาทีจากใบปอขี ้ไก่ต่อการงอกและการ ณัฐนันท์ บุญยะพันธ์ ภาวิณี คาแสน เจริ ญเติบโตของพืชทดสอบ ภัทริ น วิจิตระการ จารูญ เล้ าสินวัฒนา และมณทินี ธีรารักษ์ ผลของน ้ามันหอมระเหยจากพืชต่อตัวเต็มวัยไรแดงแอฟริ กนั สุชีรา ด่านอรุณ ภัทราภรณ์ หอมคง (Eutetranychus africanus (Tucker )) จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และอามร อินทร์ สงั ข์ การสารวจประชากรแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนในแปลงพริ ก อโนทัย วิงสระน้ อย ศรี สภุ า ลีทอง และปราณี แสนวงศ์ ผลของการใช้ เชื ้อรา Trichoderma sp. ต่อการส่งเสริ มการ ปวีณา บัญญัติ และศิริวรรณ แดงฉ่า เจริ ญเติบโตของว่านหางจระเข้ ผลของไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลต่า ปานกลาง และ สูง ต่อ ณภัทร ขวัญช่วย และพรประพา คงตระกูล คุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวผักงอกไควาเระ การสารวจและอนุรักษ์ พนั ธุ์ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่นในเขตศูนย์วิจยั และ สุดที่รัก สายปลื ้มจิตต์ ศุภร เหมินทร์ ถ่ายทอดเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหาร นิภาพร ยลสวัสดิ์ และจารูญ เล้ าสินวัฒนา ลาดกระบัง อ.ด่านช้ าง จ.สุพรรณบุรี การเข้ าทาลายแฝงของเชื ้อรา Phomopsis sp. สาเหตุโรคใบจุด วีระณีย์ ทองศรี และสมศิริ แสงโชติ ของทุเรี ยน (Durio zibethinus Murr.) พันธุ์หมอนทอง ปริ มาณประชากร พัฒนาการ และการทดสอบเบื ้องต้ นในการใช้ แสงแข น้ าวานิช วิบลู ย์ จงรัตนเมธีกลุ วราภรณ์ เชื ้อราสาเหตุโรคแมลงเพื่อควบคุมด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย บุญเกิด โสภณ อุไรชื่น และกัลยาณี สุวิทวัส ประสิทธิภาพการรมของสูตรน ้ามันหอมระเหยจากกานพลูและ สาวิตรี ชื่นบาล จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน อบเชยต่อไรกินเชื ้อรา (Tyrophagus communis Fan&Zhang) และอามร อินทร์ สงั ข์ และไรฝุ่ น (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart))

หน้ า 160 161 162 163 164 165 166 167 168 169 170

171 172 173 174 177

178 179 180

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” รหัส Ot - 05 Ot - 06 Ot - 07

Ot - 08 Ot - 09 Ot - 10 Ot - 11

Ot - 12 Ot - 13 Ot - 14

Ot - 15 Ot - 16 Ot - 17 Ot - 18 Ot - 19 Ot - 20

Ot - 21

ชื่อเรื่อง ลักษณะโครมาโตแกรมโดย HPLC และฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของ กระชายและข่า ผลของเชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่าในการเพิ่มการเจริ ญเติบโต และผลผลิตของมะเขือเทศสีดา การพัฒนาการของโรคและระดับความต้ านทานต่อสารเคมีคาร์ เบนดาซิมของเชื ้อราสาเหตุโรคใบจุดของกล้ วยไข่เพื่อการส่งออก ในภาคตะวันออกของประเทศไทย สหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสารพฤกษเคมีของ ผลหนามแดง เปรี ยบเทียบลักษณะบางประการของฟั กข้ าว 6 สายต้ น การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของกล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งในเขต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง การวิเคราะห์ปริ มาณโฮโลเซลลูโลสในไผ่หวานอ่างขางโดยวิธี อินฟราเรดย่านใกล้ การคัดแยกกระเจี๊ยบเขียวที่มีหนอนฝังตัวอยู่ภายในด้ วยการ วิเคราะห์หลายตัวแปรในช่วงคลื่นอินฟราเรดย่านใกล้ การผลิตไข่น ้าด้ วยน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุก ประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยจากพืชในการป้องกันการลง ทาลายของปลวกใต้ ดิน Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) การปรับปรุงสายพันธุ์เห็ดสกุลเลนไทนัสให้ ได้ ผลผลิตสูงด้ วยรังสี แกมมา การดัดแปรแป้งข้ าวทางกายภาพ และการประยุกต์ใช้ อุตสาหกรรมการผลิตเส้ นก๋วยเตี๋ยว การจัดจาแนกเชื ้อ Xanthomonas axonopodis pv. citri สาเหตุ โรคแคงเกอร์ ในมะนาว การประเมินความต้ านทานต่อไวรัสใบด่างแตงในพริ กพันธุ์ลกู ผสม ความเป็ นพิษและประสิทธิภาพการรมของน ้ามันหอมระเหยส้ มโอ และเกรฟฟรุตในการกาจัดด้ วงงวงข้ าว Sitophilus oryzae (L.) ฤทธิ์ทางชีวภาพของหัวมันแกวเพื่อพัฒนาเป็ นผลิตภัณฑ์เพื่อ สุขภาพ การสร้ างคุณค่าร่วม และความร่ วมมือระหว่างเกษตรกร นักวิชาการและภาคธุรกิจในการผลิตพริ กแห้ งคุณภาพ: กรณีศกึ ษาในอาเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี

18-20 พฤศจิกายน 2558

ชื่อผู้แต่ ง ศรัณย์ ฉวีรักษ์ และประธาน ฦๅชา

หน้ า 181

สิริพร สิริชยั เวชกุล และนิจพร ณ พัทลุง

182

สุมาพร แสงเงิน สมศิริ แสงโชติ และวีระณีย์ ทองศรี

183

สุนีรัตน์ อุดมภูมิ รักเกียรติ แสนประเสริ ฐ และทินน์ พรหมโชติ พิทกั ษ์ พุทธวรชัย นภา ขันสุภา วิรัติ อาพันธุ์ ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ และอุกฤษฎ เจริ ญใจ ศรี ประไพ ธรรมแสง และกาญจนา รุ่งรัชกานนท์

184

ทศพล อุมะมานิต ณัฐภรณ์ สุทธิวิจิตรภักดี ศุมาพร เกษมสาราญ สุธีรา วิทยากาญจน์ และมะลิวลั ย์ หฤทัยธนาสันติ์

187

ณัฐภรณ์ สุทธิวิจิตรภักดี ศุมาพร เกษมสาราญ ทศพล อุมะมานิต และวารุณี ธนะแพสย์ นิตยา เกตุแก้ ว ดวงรัตน์ ชูเกิด และสุรพล ฐิ ติธนากุล วิกนั ดา รัตนพันธ์ และมานพ ธรสินธุ์

188

สาวิตรี ปราโมช ณ อยุธยา กัลยา รัตนถาวรกิติ และศิริชยั กีรติมณีกร สุภาวดี แช่ม และสุกญ ั ญา สายธิ

191

สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง วราภรณ์ ศรี วิเศษ และคณิน ศรี ขจร สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง จตุพร ไกรถาวร และสรพงษ์ เบญจศรี อรรถสิทธิ์ คล้ ายสุบรรณ และฤชุอร วรรณะ

193

สุธิดา เรื อนเงิน ฉันทนา อารมย์ดี นาฎศจี นวลแก้ ว สุธาสินี ทัพพสารพงศ์ และรัชยาพร อโนราช ภาสกร นันทพานิช

196

185 186

189 190

192

194 195

197

XXIX


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” รหัส Ot - 22

ชื่อเรื่อง การพัฒนาแผนกลยุทธ์หมากเม่าในจังหวัดสกลนคร

Ot - 23

การสารวจกิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการของ สถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร 3 แห่ง ในจังหวัดราชบุรี การเสริ มสร้ างทักษะทางด้ านการเกษตรสาหรับผู้พิการทางสายตา วรวุฒิ ร่มฟ้าจรรกุล จันทรา ไชยแสน กรองกาญจน์ สายมัน และสุรพล ใจวงศ์ษา การประยุกต์ใช้ รูปแบบสวนยุคอาณานิคมเพื่อสร้ างสวนสาธารณะ วรงศ์ นัยวินิจ ภาคภูมิ สืบนุการณ์ แบบร่วมสมัยในการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมพื ้นที่รอบ รักเกียรติ แสนประเสริ ฐ และทวีศกั ดิ์ วิยะชัย โบราณสถานของชาติโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า

Ot - 24 Ot - 25

XXX

ชื่อผู้แต่ ง กรรณิการ์ สมบุญ สุดารัตน์ สกุลคู พรประภา ชุนถนอม ศิริพร สารคล่อง และเดือนรุ่ง อุบาลี ปาณิตา อ่อนแสง และศศิยา ศิริพานิช

หน้ า 198 199 200 201

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

18-20 พฤศจิกายน 2558

1


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

2

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-01 อิทธิพลของ BA และ NAA ต่ อการเพิ่มจานวนยอดรวมของฟั กข้ าว Effectes of BA and NAA on Multiple Shoot Induction in Gac Fruit ไซนีย๊ะ สะมาลา1 พลวัต ภัทรกุลพิสุทธิ1 สมปอง เตชะโต2 และสุรีรัตน์ เย็นช้ อน2 Sainiya Samala1 Ponlawat Pattarakulpisutti1 Sompong Te-chato2 and Sureerat Yenchon2

บทคัดย่ อ ฟั กข้ าว (Momordica cochinchinensis (Lour.) Spreng) จัดเป็ นพืชใบเลี ้ยงคู่ นิยมขยายพันธุ์โดยใช้ เมล็ด แต่ เนื่องจากฟั กข้ าวมีระยะการพักตัวของเมล็ดอีกทังมี ้ เปลือกหุ้มเมล็ ดที่หนามาก และเป็ นต้ น เพศผู้กบั ต้ นเพศเมีย ซึ่งไม่สามารถ แยกเพศในระยะเมล็ดหรื อต้ นอ่อนได้ ส่งผลให้ การขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มผลผลิตเป็ นปั ญหาต่อเกษตรกรเป็ นอย่างมาก การศึกษา ครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อขยายพันธุ์ฟักข้ าวแบบไม่อาศัยเพศ โดยศึกษาผลของสารควบคุมการเจริ ญเติบ โต 2 ชนิด คือเบนซิลอา ดินีน (6-benzyladenine ; BA) และกรดแนปธาลีนอะซีติค (∂-naphthalene acetic acid ; NAA) ที่มีผลต่อการเพิ่มจานวน ยอดรวม ผลการทดลองพบว่าจากการเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนข้ อบนอาหารแข็งสูตร MS ที่ เติมน ้าตาลซูโครส 3 เปอร์ เซ็นต์ เติม BA ความเข้ มข้ นต่า ง ๆ (0-2 มิลลิกรัมต่อลิตร) ร่ วมกับ NAA ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร นาไปเลี ้ยงในที่อุณหภูมิ 26±2 องศาเซลเซียส ให้ แสง 14 ชัว่ โมงต่อวัน หลังการเพาะเลี ้ยงเป็ นเวลา 6 สัปดาห์ พบว่าชิ ้นส่วนข้ อที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารที่เติม BA เข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA เข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ เปอร์ เซ็นต์การเกิดยอดรวมได้ 100 เปอร์ เซ็นต์ และให้ จานวนยอดสูงสุด 8.93 ยอด สูงกว่าชิ ้นส่วนข้ อที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารที่เติม NAA เพียงอย่างเดียว ดังนันการศึ ้ กษาครัง้ นี ้พบว่า ความเข้ มข้ นของ BA และ NAA มีปฏิกิริยาปฏิสมั พันธ์ระหว่างกันในการชักนาการเกิดยอด คาสาคัญ: การขยายพันธุ์ ฟั กข้ าว สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช

Abstract Gac fruit (Momordica cochinchinensis (Lour.) Spreng) is a dicotyledonous plant. Even though this plant can be propagated from seeds; however, due to seed dormancy, thick seed coat, and the dioecious nature of Gac fruit that sex cannot be identified from seeds or sprouts, propagation to increase crop production for farmers is still difficult. This study aimed to develop a protocol for asexual propagation of the species. In particular effect of 2 growth regulators, i.e. 6-benzyl adenine (BA) and ∂-naphthalene acetic acid (NAA) on multiple shoot induction were studied. Nodal explants were cultured on MS supplemented with 3 % sucrose with various concentration of BA ranging from 0-2 mg/l, and NAA 0.5 mg/l. The explants were kept at 26±2 oC under 14 hour’s photo period for 6 weeks. The result showed that, the highest multiple shoot percentage (100%) and number of shoot per explant (8.93 shoots per explant) could be achieved from nodal explants cultured on 1 mg/l BA supplemented with 0.5 mg/l NAA, which was better than using only NAA. Therefore, this study indicated the positive combination effect of BA and NAA on multiple shoot induction. Keywords: propagation, Momordica cochinchinensis (Lour.) Spreng, plant growth regulators 1 2

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ ธานี จังหวัดสุราษฎร์ ธานี 84100 ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จ. สงขลา 90112

18-20 พฤศจิกายน 2558

3


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-02 ศึกษาผลของปริมาณอาหารเหลวและสภาพเลีย้ งที่มีต่อการแตกยอดว่ านแสงอาทิตย์ ในสภาพปลอดเชือ้ Effect of Liquid Medium Quantity and Culture Condition for Axillary Shoot of Haemanthus multiflorus (Tratt.) อิศร์ สุปินราช1 สุมิตรา สุปินราช2 และณัฐยา เทพสาร3 Natthaya Thepsan3 Iss Supinrach1 and Sumidtra Supinrach2

บทคัดย่ อ ว่านแสงอาทิตย์ (Haemanthus multiflorus Tratt.) มีช่อดอกสีแดงรูปทรงแบบ umbel สามารถปลูกได้ ดีในกระถาง และมีศักยภาพในการใช้ เป็ นไม้ ตัดดอกได้ ดี พัฒนาเป็ นไม้ กระถางหรื อไม้ ดอกประดับแปลงได้ การทดลองนีจ้ ึ งศึกษาสูตรที่ เหมาะสมต่อการชักนาให้ เกิดยอดว่านแสงอาทิตย์ในสภาพปลอดเชื ้อ โดยนาชิ ้นส่วนของหัวว่านแสงอาทิตย์นามาเพาะเลี ้ยงบน อาหารสูตร Murashige and Skoog (MS) ที่มีปริ มาณอาหารเหลว 10, 15, 20 และ 25 มิลลิกรัมต่อลิตร เลี ้ยงบนเครื่ องเขย่า และเลี ้ยงบนที่เรี ยบ เป็ นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ภายใต้ สภาพอุณหภูมิ 25+3 องศาเซลเซียส ความชื ้นสัมพัทธ์ 80% และความ เข้ มแสง 3,000 ลักซ์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่มีปริ มาณอาหารเหลว 10 มิลลิลิตร มีผลทาให้ น ้าหนักต้ นกล้ าว่านแสงอาทิตย์สงู ที่สดุ คือ 1197.210 มิลลิกรัม ส่วนการวางอาหารเหลวบนเครื่ องเขย่าและเลี ้ยงบนพื ้นเรี ยบไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่การ เลี ้ยงบนเครื่ องเขย่ามีแนวโน้ มทาให้ การเจริญเติบโตด้ านความสูงของหน่อ จานวนกลีบ และน ้าหนักสดสูงที่สดุ คาสาคัญ: ว่านแสงอาทิตย์ การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ อาหารเหลว shaker

Abstract Haemanthus multiflorus Tratt. has red inflorescence with umbel shape. It is well adapted in potting cultivation. It has high potential for being cutting flower plant, which can be further developed for ornamental potting plant and ornamental gardening plant. This research focused on finding the optimal liquid medium for shoot formation of Haemanthus multiflorus under sterile condition. Pieces of the bulb were cultured in 10, 15, 20 and 25 ml of Murashige and Skoog (ms) with and without shaking for 12 weeks (25 C0, 80% humidity and 3,000 lux). It was found that 10 ml of MS yielded the highest fresh weight, 1,197.210 mg. There was no significant different between shoot formations under shaking and non-shaking condition. However, there was slight trend that shaking condition resulted in better growth, plant height, petals number and fresh weight. Keywords: Haemanthus multiflorus, tissue culture, liquid medium, shaker

1

อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีภมู ิทศั น์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง อาจารย์ประจาสาขาวิชาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 3 นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 2

4

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-03 การประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแอปเปิ ้ ลด้ วยเทคนิค SRAP Assessment of Genetic Variability of Apple Using SRAP Technique ปั ทมา ศรีนา้ เงิน 1และTitnarong Heng1 Pattama Srinamngoen1 and Titnarong Heng1

บทคัดย่ อ การทดลองนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแอปเปิ ล้ ด้ วยเทคนิค Sequence-related Amplified Polymorphism (SRAP) ที่ได้ จากการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อด้ วยเมล็ด แอปเปิ ล้ 4 พันธุ์ (Gold, Red delicious, Fuji และ New Zealand Jazz) มีลกั ษณะภายนอกแตกต่างกันจานวน 14 สายต้ น พบว่า มีความแตกต่างกันทางพันธุกรรมและสามารถ จัดกลุ่มความสัมพันธ์ ทางพันธุกรรม ในรู ปแบบ Phylogenetic tree โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ ความคล้ ายคลึง (Similarity coefficient) และค่า Cophenetic correlation อยูท่ ี่ 0.69 - 0.93 และ 0.83 ตามลาดับ คาสาคัญ: แอปเปิ ล้ การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ ความแปรปรวนทางพันธุกรรม เครื่ องหมาย SRAP

Abstract The aim of this experiment was to detect the variation of an apple’s genome using the Sequence-related Amplified Polymorphism (SRAP) technique. The sample of apple genome was the 14 clones by tissue culture from seeds of 4 apple varieties (Gold, Red Delicious, Fuji and New Zealand Jazz). The result showed that every apple tree differents genetically from each other. For the clustering and phylogenetic tree analysis, the similarity coefficient and cophenetic correlation were 0.69-0.93 and 0.83, respectively. Keywords: apple, tissue culture, genetic variability, srap marker

1

สาขาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตจันทบุรี จ.จันทบุรี 22170

18-20 พฤศจิกายน 2558

5


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-04 การผลิตต้ นดับเบิลแฮพพลอยด์ ของมะเขือ (Solanum melongena L.) โดยวิธีการเพาะเลีย้ งละอองเกสร Double Haploid Production in Eggplant (Solanum melongena L.) via Shed Microspore Culture จรรยา เหล่ ป้อง1 ยืนหยัด ธีระวัฒน์ สกุล1 และดารุ ส สตุส1 Janya Laepong1 Yuenyad Teerawatsakul1and Darush Struss1

บทคัดย่ อ มะเขือ (Solanum melongena L.) เป็ นพืชผักที่สาคัญในสกุล Solanaceae การผลิตต้ นดับเบิลแฮพพลอยด์เพื่อ สนับสนุนการปรับปรุ งพันธุ์โดยวิธีการเพาะเลี ้ยงละอองเกสรแบบใหม่เป็ นการเพิ่มประสิทธิภาพให้ สงู ขึ ้นและย่นระยะเวลาการ ผลิต โดยเพาะเลี ้ยงละอองเกสรบนอาหารสูตร Nitsch 2 ชัน้ ประกอบด้ วยชันล่ ้ างเป็ นอาหารกึ่งแข็ง และชันบนเป็ ้ นอาหารเหลว และระยะที่เหมาะสมของอับละอองเกสร ควรมีละอองเกสรระยะ early ถึง late unicellular ก่อนระยะ tetrad หลังการเลี ้ยง ละอองเกสรเป็ นเวลา 12 สัปดาห์พบว่ามีการเกิดของคัพภะและเป็ นต้ นปกติสงู สุด 37 % และเมื่อตรวจสอบชุดของโครโมโซม โดย Flow cytometer ยังพบอีกว่าวิธีการเลี ้ยงละอองเกสรแบบใหม่มีอตั ราการเพิ่มโครโมโซมเป็ นสองเท่าโดยอัตโนมัติ 100% คาสาคัญ: การเลี ้ยงละอองเกสร มะเขือ ดับเบิลแฮพพลอยด์ ในหลอดแก้ ว

Abstract Eggplant (Solanum melongena L.) is one of the important species in Solanaceae. Double haploid production with the new technique via shed microspore culture was used to support the breeding program. The shed microspore culture increased the efficiency drastically. However, the appropriate stage of microspores is crucial factor of this protocol. The early to late unicellular microspores before tetrad stage were used. Based on the appearance of flower buds, anthers were cultured on double layer medium which contained Nitsch components in semi-solid under layer and in liquid upper layer. The results showed higher production (>37%) of normal-looking embryos and normal plantlet after 12 weeks culturing. Ploidy was determined by flow cytometer and found 100% of dihaploid were spontaneous. Keywords: shed microspore culture, eggplant, double haploid, in vitro

1

อีสท์เวสต์ซีด บริ ษัท ฮอทิเจนเนติคส์รีเสิร์ช (เอส.อี.เอเชีย) จากัด 6

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-05 การขยายพันธุ์หน้ าวัวลูกผสมด้ วยระบบเพาะเลีย้ งจมชั่วคราว In Vitro Propagation of Anthurium Hybrids by Temporary Immersion Bioreactor System ประภาพร ฉันทานุมัต1ิ อรทัย ธนัญชัย1 ยุพนิ กสินเกษมพงษ์ 2 และสุเมธ อ่ องเภา3 Prapaporn Chantanumat1 Orathai Tananchai1 Yupin Kasinkaseampong2and Sumate Ongpao3

บทคัดย่ อ ศึกษาการขยายพันธุ์ในสภาพปลอดเชื ้อ หน้ าวัวลูกผสมใหม่ จานวน 3 สายพันธุ์ ( พันธุ์ HC028 HC049 และ HC084 ) ด้ วยระบบเพาะเลี ้ยงจมชัว่ คราว (Temporary Immersion Bioreactor System, TIBs) เพื่อเพิ่มจานวนต้ นอ่อน เมื่อเลี ้ยงได้ 12 สัปดาห์ พบว่าหน้ าวัวลูกผสมทัง้ 3 สายพันธุ์สามารถเจริ ญและพัฒนาได้ เป็ นต้ นอ่อนขนาดเล็กและขนาดใหญ่ มีนาหนักรวมของ ชิ ้นส่วนเนื ้อเยื่อเพิ่มมากขึ ้นเป็ น 2 – 29 เท่าของน ้าหนักเริ่ มต้ น สาหรับน ้าหนักต่อต้ นของต้ นอ่อนขนาดเล็กพันธุ์ HC028 และ HC049 เพิ่มขึ ้น 3.3 และ 4.17 ส่วนจานวนต้ นทังหมด ้ เพิ่มหรื อลดเป็ น 1.16 และ 0.88 เท่า ขณะที่น ้าหนักต่อต้ นของต้ นอ่อน ขนาดใหญ่ พันธุ์ HC028 และ HC049 ลดลงหรื อเพิ่มขึ ้น 0.83 และ 1.44 เท่าเมื่อจานวนต้ นทังหมดเพิ ้ ่มขึ ้นเป็ น 3.38 และ 1.40 เท่าของเมื่อเริ่มต้ น ตามลาดับ คาสาคัญ: หน้ าวัวลูกผสมกรมวิชาการเกษตร ระบบเพาะเลี ้ยงจมชัว่ คราว การขยายพันธุ์

Abstract The aim of in vitro propagation of 3 Anthurium hybrids using temporary immersion bioreactor system (TIBs) was increase the plantlet. After 12 weeks, the results indicated that the Anthurium plantlets could be propagated rapidly in the bioreactor. The total weight of plantlets increased 2-29 times, depended on variety. The weight per plantlet (small size) of HC028 and HC049 increased 3.33 and 4.17 folds when the total number of plantlets increased/decreased 1.16 and 0.88 folds. By contrast, the weight per plantlet (big size) of HC028 and HC049 decreased/increased 0.83 and 1.44 folds when the total number of plantlets increased 3.38 and 1.40 folds, respectively. Keywords: Anthurium hybrids, TIBs, In vitro propagation

1

ศูนย์วิจยั พืชสวนชุมพร สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร กลุม่ วิชาการ สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร 3 ศูนย์วิจยั และพัฒนาการเกษตรลาปาง สานักวิจยั และพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 กรมวิชาการเกษตร 2

18-20 พฤศจิกายน 2558

7


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-06 การชักนาให้ เกิดยอดและแคลลัสของลิลลี่ในสภาพปลอดเชือ้ In Vitro Callus and Shoot Induction of Lilium formolongo Hort. พิศวรรณ เพ็ชร์ ย่งิ 1 งามนิจ ชื่นบุญงาม2 ปวีณา ไตรเพิ่ม2 และกัญจนา แซ่ เตียว1 Phitsawan Phetying1, Ngarmnij Chuenboonngarm2, Paweena Traiperm2, Kanjana Saetiew1

บทคัดย่ อ การเพาะเลี ้ยงใบลิลลี่ขนาด 0.5 เซนติเมตรบนอาหารสูตร Murashige and Skoog(1962,MS) ที่เติม α-Napthalene acetic acid (NAA) เข้ มข้ น 0, 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ 6-Benzylaminopurine (BA) เข้ มข้ น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร เลี ้ยงในที่มืดเป็ นเวลา 10 สัปดาห์ วางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) จานวน 15 ทรี ตเมนต์ ๆ ละ 3 ซ ้า ๆ ละ 8 ชิ ้น พบว่าใบที่เลี ้ยงในอาหารสูตร MS ที่เติม NAA เข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร มีการพัฒนาไปเป็ น friable callus ได้ ดีที่สดุ โดย callus มีเส้ นผ่านศูนย์กลาง 0.93 เซนติเมตร และ จานวนยอดเฉลี่ย 1.08 ยอดต่อชิ ้น และ บนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มี การเกิดยอดมากที่สดุ 1.25 ยอดต่อชิ ้น ส่วนชิ ้นส่วนใบบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่ วมกับ BA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่ามีการเกิด Compact callus ขนาดเฉลี่ยมากที่สดุ 0.83 เซนติเมตร และมีจานวนยอดเฉลี่ย 0.41 ยอดต่อ ชิ ้น ส่วนที่เลี ้ยงในอาหารสูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโตและอาหาร MS ที่เติม BA เข้ มข้ น 0, 0.25, 0.5, 0.75, และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าไม่สามารถทาให้ ชิ ้นส่วนพัฒนาไปเป็ นยอดหรื อแคลลัสได้ และตายในที่สดุ โดยพบว่ามีความ แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ คาสาคัญ: เอมบริโอ สารควบคุมการเจริญเติบโต การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ ลิลลี่

Abstract Callus induction of Lilium formolongo was studied. The leaf explants (size 0.5 cm) were cultured on Murashige and Skoog (1962) (MS) medium supplemented with 0, 0.5, 1 mg/l α-Napthalene acetic acid (NAA) combination with 0, 0.25, 0.5, 0.75, 1 mg/l 6- Benzylaminopurine (BA) and cultured in the dark condition for ten weeks. The experiment design was CRD (Completely randomized design) consist of fifteen treatments three replication and eight pieces in a replication. The leaf explant cultured on MS medium supplement with 1 mg/l NAA and 0.25 mg/l BA developed to creamy-white friable callus and callus size was 0.93 cm and shoot was amount 1.08 shoots. Explants cultured on MS medium supplement with 1 mg/l NAA and 0.5 mg/l BA developed 1.25 shoot. On MS medium supplemented with 1 mg/l NAA and 1 mg/l BA the explants developed to compact callus size was 0.83 cm and 0.41 shoot. The explants cultured on MS medium without growth regulators and explant cultured on MS medium with 0, 0.25, 0.75, 1 mg/l BA did not develop into callus and explant turned brown and died. These results suggest that the difference were statistically significant. Keywords: embryo, plant growth regulator, tissue cultured, lily 1 2

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ 8

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-07 ผลของความเข้ มข้ น IAA จากนา้ หมัก Methylobacterium radiotolerans กลุ่มแยก ED5-9 ต่ อการเพาะเลีย้ งแคลลัสเชียงดา Effect of IAA Concentration from Methylobacterium radiotolerans Isolate ED5-9 Fermentation Broth on Callus Culture of Chiang-Da (Gymnema inodorum (Lour.) Decne.) เพียงพิมพ์ ชิดบุรี1 ศิริพรรณ สารินทร์ 2 และอภิชาติ ชิดบุรี3 Piengpim Chidburee1 Siripun Sarin2 and Aphichat Chidburee3

บทคัดย่ อ การศึกษาครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อเปรี ยบเทียบความเข้ มข้ นที่แตกต่างกันของ IAA จากน ้าหมัก Methylobacterium radiotolerans กลุม่ แยก ED5-9 กับการใช้ IAA สังเคราะห์ ต่อการเพาะเลี ้ยงแคลลัสเชียงดา โดยเพาะเลี ้ยงแคลลัสเชียงดาใน อาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA จากน ้าหมักความเข้ มข้ นต่างๆ (0.0049, 0.0098, 0.0196, 0.0293 และ 0.0390 มก./ล.) เปรี ยบเทียบกับอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA สังเคราะห์ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร (ชุดตรวจสอบ), อาหารแข็งที่เติม IAA จากน ้าหมักความเข้ มข้ น 0.0098 มิลลิกรัมต่อลิตร และอาหารแข็งสูตร MS (ชุดควบคุม) เลี ้ยงนาน 4 สัปดาห์ พบว่า น ้าหนักสดของแคลลัสเชียงดาที่เลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA สังเคราะห์ (0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร) มีมากที่สดุ คือ 0.79 กรัม ส่วนอาหารแข็งที่เติม IAA จากน ้าหมักมีน ้าหนักสดที่ไม่แตกต่างกัน อยู่ในช่วง 0.35 – 0.55 กรัม สาหรับน ้าหนักแห้ งของ แคลลัสมีมากที่สดุ เมื่อเลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA สังเคราะห์ กับอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA จากน ้าหมักความ เข้ มข้ น 0.0098 มิลลิกรัมต่อลิตร คือ 0.0626 และ 0.04860 กรัม ตามลาดับ ส่วนคะแนนความเขียวของแคลลัสไม่แตกต่างกัน ในทุกกรรมวิธี คาสาคัญ: น ้าหมัก เชียงดา

Abstract This study aimed to compare different concentrations of IAA from Methylobacterium radiotolerans isolate ED5-9 fermentation broth with the synthetic IAA on callus culture of the Chiang-da (Gymnema inodorum (Lour.) Decne.). The callus cultures of the Chiang-da grown on the MS solid medium added IAA from the fermentation broth with different concentrations (0.0049, 0.0098, 0.0196, 0.0293 and 0.0390 mg/l) were compared to the MS solid medium + 0.5 mg/l IAA synthesis (check), solid medium + 0.0098 mg/l IAA from fermentation broth and the MS solid medium (control) after culturing for 4 weeks. The result showed that the highest fresh weight of the Chiang-da callus culture found on the MS solid medium + 0.05 mg/l synthetic IAA (0.79 g) and the MS solid medium added IAA from fermentation broth. However the culture in these added IAA from fermentation broth medium were not significant differences in the fresh weight (0.35 – 0.55 g). The highest dry weight of Chiang-da callus culture was on the MS solid medium + 0.5 mg/l synthetic IAA (0.0626 g) and the MS solid medium + 0.0098 mg/l IAA from fermentation broth concentration (0.04860 g). The green point of callus was similar in all treatments. Keywords: fermentation broth, Chiang-da 1

สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 65000 3 สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 2

18-20 พฤศจิกายน 2558

9


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-08 ผลของ NAA ต่ อการผลิตรากและการสะสมสารอัลคาลอยด์ ของหนอนตายหยากในสภาพปลอดเชือ้ Effect of NAA on Root Production and Alkaloids Accumulation of Stemona curtisii Hook. f. In Vitro นาตยา มนตรี 1 สุกัญญา แสนภักดี1 และอัญจนา จันทร์ ปะทิว1 Nattaya Montri1 Sukanya Saenpakdee1 and Anjana Junpatiw1

บทคัดย่ อ จากการศึกษาผลของ α-naphthalene acetic acid (NAA) ต่อการผลิตรากของหนอนตายหยากและการสะสม สารอัลคาลอยด์ในสภาพปลอดเชื ้อ โดยนาต้ นกล้ าที่ได้ จากการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อมาเลี ้ยงในอาหารสูตร MS (Murashige and skoog, 1962) ที่เติม NAA ความเข้ มข้ น 0, 0.2, 0.4, 0.6, 0.8 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร หลังการเลี ้ยงเป็ นเวลา 2 เดือน บันทึ ก น ้าหนักสด น ้าหนักแห้ งและคานวณเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ ง จากนันบดรากให้ ้ ละเอียดแล้ วนาไปสกัดด้ วยเอทานอลความเข้ มข้ น 95 เปอร์ เซ็นต์ นาสารสกัดหยาบไปวิเคราะห์ปริ มาณ total stemona alkaloids ด้ วยเครื่ อง UV-Visible spectrophotometer พบว่า การเติม NAA ความเข้ มข้ น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตรในอาหาร ช่วยส่งเสริ มการผลิตรากของหนอนตายหยาก โดยต้ นกล้ ามี น ้าหนักสด น ้าหนักแห้ ง และเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ งของรากเฉลี่ยต่อต้ น มากที่สดุ ที่ 0.41, 0.06 กรัม และ 12.92 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ส่วนการสะสมสารอัลคาลอยด์ พบว่า รากของต้ นกล้ าที่เลี ้ยงในอาหารที่เติม NAA ความเข้ มข้ น 0.6 มิลลิกรัมต่อ ลิตร มีการสะสมสาร total stemona alkaloids มากที่สดุ ที่ 179.930 x 10-3 มิลลิกรัมต่อกรัมน ้าหนักแห้ ง คาสาคัญ: หนอนตายหยาก สารทุติยภูมิ การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ

Abstract Effect of α-naphthalene acetic acid (NAA) on root production and alkaloids accumulation of Stemona curtisii Hook. f. in vitro were investigated. Seedlings were cultured on MS (Murashige and Skoog, 1962) supplemented with 0, 0.2, 0.4, 0.6, 0.8 and 1.0 mg/l NAA. After culturing for 2 months, roots were harvested and fresh weight and dry weight were recorded. Percentage of dry weight was also calculated. Dry roots were then ground and extracted with 95 % ethanol. Crude ethanol extract were analyzed for total stemona alkaloids contents by UV-VIS Spectrophotometer. The results found that adding with 1.0 mg/l NAA could promote root production of S. curtisii Hook.f. with the maximum of average root fresh and dry weight and percentage of root dry weight per plant at 0.41 g., 0.06 g and 12.93 %, respectively. The highest accumulation of total stemona alkaloid was achieved in 0.6 mg/l NAA treatment at 179.930 x 10-3 mg/gDW. Keywords: Stemona, secondary compound, tissue culture

1

หลักสูตรพืชสวน ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ชุมพร 86160

10

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-09 ผลของความเข้ มข้ น IAA จากนา้ หมักร่ วมกับสภาพเลีย้ งที่แตกต่ างกันต่ อการเจริญและพัฒนา เชียงดาในสภาพปลอดเชือ้ Effect of IAA Concentration from Fermentation Broth with Culture Condition on Growth and Development of Chiang-da In Vitro อภิชาติ ชิดบุรี1 พิทกั ษ์ พุทธวรชัย1 และศิริพรรณ สรินทร์ 2 Aphichat Chidburee1 Pitak Putawanchai1 and Siripun Sarin2

บทคัดย่ อ การศึกษาครัง้ นีม้ ีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลร่ วมกันของความเข้ มข้ นของ IAA จากน ้าหมัก Methylobacterium radiotolerans กลุ่ม แยก ED5-9 กับ สภาพเลี ย้ งเนื อ้ เยื่ อ ที่ แ ตกต่า งกัน ต่อ การเจริ ญ และพัฒ นาของเนื อ้ เยื่ อ เชี ย งดา ในสภาพปลอดเชื ้อ โดยเลี ้ยงส่วนปลายยอดเชียงดาในอาหารสูตร MS ที่เติมความเข้ มข้ นต่างๆ ของ IAA (Indole-3-acetic acid) จากน ้าหมัก (1, 2 และ 4 มิลลิกรัมต่อลิตร) ร่วมกับสภาพเลี ้ยงที่แตกต่างกัน (อาหารแข็ง และอาหารเหลว) เปรี ยบเทียบ กับ ชุดควบคุม (อาหารแข็งและเหลวสูตร MS ที่เติม IAA สังเคราะห์ ความเข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร) เมื่อเลี ้ยงได้ 5 สัปดาห์ พบว่าค่าดรรชีความเขียว (SPAD index) ชิ ้นส่วนปลายยอดเชียงดาที่เลี ้ยงในอาหารแข็งสูตร MS (1962) ที่เติม 1 มิลลิกรัมต่อ ลิตร IAA สังเคราะห์ กับอาหารแข็งที่เติม 2 มิลลิกรัมต่อลิตร IAA จากน ้าหมัก มีค่ามากที่สดุ คือ 35.29  2.61 และ 30.09  1.77 ตามลาดับ นอกจากนี ้ชิ ้นส่วนปลายยอดเชียงดาที่เลี ้ยงบนอาหารเหลวมีการเจริ ญได้ ดีกว่าอาหารแข็ง (จานวนยอดใหม่, ความยาวของยอ, จานวนใบ, จานวนราก, นา้ หนักแห้ ง) ส่วนความเข้ มข้ นที่แตกต่างกันของ IAA จากนา้ หมัก กับ IAA สังเคราะห์ มีการเจริญและพัฒนาที่ไม่แตกต่างกัน คาสาคัญ: น ้าหมัก เชียงดา สภาพปลอดเชื ้อ

Abstract The aim of this research was to study the effect of the IAA concentration in fermentation broth produced by Methylobacterium radiotolerans isolate ED5-9 cooperated with different culture conditions on the growth and development of Chiang-da [Gymnema inodorum (Lour.) Decne]. The Chiang-da shoot tips were planted on both solid and liquid MS medium supplemented with different concentrations of the IAA (Indole-3-acetic acid) (1, 2 and 4 mg/l) and were compared with the control (solid medium and liquid medium of MS + 1 mg/l of synthetic IAA). After culturing for 5 weeks, the results showed that the highest leaf SPAD index were the Chiang-da explant cultured on the MS solid medium supplemented with 1 mg/l of synthetic IAA and the MS solid medium with 2 mg/l IAA from fermentation broth (35.29  2.61 and 30.09  1.77, respectively). The Chiang-da shoot tip cultured on liquid medium were grown and developed better than the solid medium, including number of new shoots, length of shoot, number of leaves, number of roots and dry weight. The concentrations of different types of IAA showed no different in the growth and development. Keywords: fermentation broth, Chiang-da, in vitro 1 2

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 65000

18-20 พฤศจิกายน 2558

11


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-10 การศึกษาโครงสร้ างของดอกและลักษณะทางสัณฐานวิทยาของละอองเรณู ของกล้ วยพันธุ์ป่าและพันธุ์ลูกผสม Study of Floral Structure and Pollen Morphology of Banana Wild Species and Hybrid Cultivars รสมนต์ จีนแส1 และราตรี บุญเรืองรอด1 Rossamon Jeensae1 and Ratri Boonruangrod1

บทคัดย่ อ กล้ วยพันธุ์ปลูกที่มีอยู่ในปั จจุบนั ส่วนมากเป็ นกล้ วยไม่มีเมล็ด มีทงั ้ ดิพลอยด์ ทริ พลอยด์ และ เตตระพลอยด์ ซึง่ เป็ น ลูกผสมระหว่างกล้ วย 2 สายพันธุ์คือ Musa acuminata (จีโนม A) และ M. balbisiana (จีโนม B) การปรับปรุงพันธุ์กล้ วยทาได้ ช้ าเนื่องจากความเข้ าใจที่มีอยู่อย่างจากัดในเรื่ องระบบสืบพันธุ์ของกล้ วย การสร้ างเซลล์สืบพันธุ์ รวมถึงระดับ ploidy ของ กล้ วยแต่ละสายพันธุ์ การถ่ายละอองเรณู กระบวนการปฏิสนธิ และความเข้ ากันได้ ของกล้ วยที่มีจีโนมแตกต่างกัน ในการศึกษา ครัง้ นี ้ทาการทดลองโดยใช้ กล้ วย 9 สายพันธุ์ได้ แก่ AA-wild type (กล้ วยป่ า 2 สายพันธุ์), BB-wild type (กล้ วยตานี), AAcultivar (กล้ วยไข่ และกล้ วยเล็บมือนาง), AAA (กล้ วยหอม), AAB (กล้ วยจีน) และ ABB (กล้ วยน ้าว้ า และกล้ วยหักมุก) ศึกษา โครงสร้ างของดอก และลักษณะทางสัณฐานวิทยาของละอองเรณู พบว่า กล้ วยทุกสายพันธุ์มีลกั ษณะของดอก เกสรเพศเมีย เกสรเพศผู้ และรังไข่ คล้ ายคลึงกัน แต่ขนาดของดอกแตกต่างกันในแต่ละสายพันธุ์ โดยกล้ วยน ้าว้ า มีขนาดของดอกใหญ่ที่สดุ และจากการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของละอองเรณู พบว่า ละอองเรณูของกล้ วยเป็ นเรณูเดี่ยว มีสมมาตรแบบรัศมี มี ช่องเปิ ดแบบ inaperturate รู ปร่ างเป็ นทรงคล้ ายทรงกลม ผนังละอองเรณูมีพื ้นผิวเรี ยบ ละอองเรณูของกล้ วย จัดเป็ นละออง เรณูขนาดใหญ่ โดยมีขนาดของละอองเรณูตงแต่ ั ้ ขนาดใหญ่ (51–100 ไมโครเมตร) จนถึงขนาดยักษ์ (>200 ไมโครเมตร) ซึ่ง ขนาดของละอองเรณูของกล้ วยจะแตกต่างกันในแต่ละสายพันธุ์ คาสาคัญ: กล้ วย โครงสร้ างดอก ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของละอองเรณู

Abstract Cultivated bananas are mostly seedless diploid, triploid, and tetraploid plants resulting from combination of two diploid species, M. acuminata (A genome) and M. balbisiana (B genome). Progress in banana breeding program has been slow due to limited understanding of their reproductive system including meiotic behavior of various ploidy levels, pollination and fertilization process, and compatibility between different genomes. In this study, nine Musa genotypes, AA wild type (two accessions of Kluai Pa), BB wild type (Tani), AA-cultivar (‘Kluai Khai’ and ‘Kluai Leb Mue Nang’), AAA (‘Kluai Hom’), AAB (‘Kluai Jeen’) and ABB (‘Kluai Namwa’ and ‘Kluai Hak Mook’), were investigated. Floral structure and pollen morphology were examined. In terms of floral structure, all the nine accessions have similar pistil, stamen, and ovary, but possess different flower sizes. The largest flower size was found in ‘Kluai Namwa’. The pollen morphology could be described as monad pollen with isopolar and inaperturate. The pollen shape is spheroidal and the exine sculpture of these cultivars is psilate. The pollen grain size varies from large size (51–100 µm) to giant size (>200 µm). Keywords: banana, floral structure, pollen morphology

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 12

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-11 การพัฒนาวิธีการระบุเพศมะละกอในระยะต้ นกล้ าต้ นทุนต่า Low-cost Technique Development for Sex-type Identification of Papaya Seedling ภัทราภรณ์ ทรัพย์ อุดมมาก1 นงลักษณ์ คงศิริ1 อลิษา ภู่ประเสริฐ1 เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ 1 และราตรี บุญเรืองรอด1 Pattraporn Sab-udommak1 Nongluck Kongsiri1 Alisa Pooprasert1 Kriengsak Thaipong1 and Ratri Boonruangrod1

บทคัดย่ อ มะละกอเป็ นพืชที่มี ดอกแยกเพศ ต่างต้ น 3 เพศ คือ ต้ นเพศผู้ ต้ นเพศเมีย และต้ นสมบูรณ์ เพศ ซึ่งเกษตรกรที่ปลูก มะละกอในเชิงการค้ าต้ องการเฉพาะต้ นสมบูรณ์ เพศ แต่ต้องใช้ ระยะเวลานานประมาณ 3-4 เดือนมะละกอเริ่ มออกดอก จึง สามารถระบุเพศของมะละกอได้ ในขณะที่การตรวจสอบเพศมะละกอในระดับโมเลกุลสามารถดาเนินการได้ ในระยะต้ น กล้ าแต่ มีต้นทุนที่สงู การศึกษาในครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อลดต้ นทุนและระยะเวลาในการระบุเพศมะละกอด้ วยเครื่ องหมายดีเอ็นเอ ชนิด SCARs ที่จาเพาะเจาะจงต่อเพศมะละกอ แบ่งการทดลองเป็ น 2 การทดลอง คือ การทดลองที่ 1 ทดสอบเครื่ องหมายดี เอ็นเอโดยนาตัวอย่างสดใบมะละกอจากต้ นเพศผู้ เพศเมีย และสมบูรณ์เพศ มาสกัดดีเอ็นเอด้ วยวิธี CTAB แล้ วตรวจสอบเพศ ด้ วยเครื่ องหมายดีเอ็นเอ T1 และ W11 และการทดลองที่ 2 เปรี ยบเทียบต้ นทุน ระยะเวลาที่ใช้ และผลการระบุเพศของมะละกอ ด้ วยเครื่ องหมายดีเอ็นเอ T1 และ W11 เมื่อใช้ การสกัดดีเอ็นเอ 2 วิธี คือ CTAB และ NaOH โดยใช้ มะละกอ 3 พันธุ์ คือ พันธุ์ แขกนวล พันธุ์แขกดา และพันธุ์ปลักไม้ ลาย จานวนพันธุ์ละ 16 ต้ น ในระยะต้ นกล้ า จากการทดลอง พบว่าไพรเมอร์ T1 และ W11 สามารถระบุความแตกต่างของเพศมะละกอได้ โดยสามารถแยกมะละกอเพศผู้และสมบูรณ์เพศออกจากเพศเมียได้ และ การสกัดดีเอ็นเอโดยใช้ สารละลาย NaOH ใช้ ต้นทุนที่ต่ากว่า ใช้ เวลาน้ อยกว่า การสกัดดีเอ็นเอด้ วยวิธี CTAB คิดเป็ น 25-42 เปอร์ เซ็นต์ และ 95 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับและผลการระบุเพศมะละกอจากทังสองวิ ้ ธีให้ ผลไม่แตกต่างกัน คาสาคัญ: CTAB NaOH เครื่ องหมายโมเลกุล การสกัดดีเอ็นเอ

Abstract Papaya is a dioecious plant. There are three sex types; male, female and hermaphrodite. The hermaphrodite plant is much more beneficial for commercial planting system. Identifying sex-types can be done based on floral morphology in their reproductive stage, about 3-4 months after transplanting. However, sex-type can also be distinguished in their vegetative or seedling stage using molecular markers. But the cost of this technique still high. In this study, we aimed to reduce materials and time cost in DNA preparation for sex-type identification using PCR-based markers. Two experiments were performed. Experiment 1: Reliability test of sexspecific SCAR markers; DNA from fresh leaf tissue of male, female and hermaphrodite papaya were isolated using CTAB method. Selected SCAR markers, T1 and W11, were tested. Experiment 2: Comparisons of materials and time cost as well as the sex-type identification results, between two DNA preparation methods, i.e. CTAB and NaOH. Sixteen seedlings of each of three cultivars, ‘Khaknuan’, ’Khakdam’ and ‘Plak Mai Lai’ were investigated. The results confirmed that T1 and W11 could be used for sex-type identification. Using NaOH method for DNA preparation had materials and time cost lower than CTAB method by 25-42% and 95%, respectively. Both DNA preparation methods revealed identical results in sex-type identification. Keywords: CTAB, NaOH, molecular marker, DNA extraction

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

13


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-12 การศึกษาการกระจายตัวของละอองเกสรมะละกอจากดอกชนิด elongata ภายใต้ สภาวะธรรมชาติ Investigation of Papaya Pollen Disperse from Elongata Flowers under Natural Condition ภานุวรรณ บัวทองจันทร์ 1 เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ 2 และปาริชาติ เบิร์นส3,4,5 Panuwan Buathongjan1 Kriengsak Thaipong2 and Parichart Burns3,4,5

บทคัดย่ อ มะละกอเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทยโดยใช้ บริ โภคภายในประเทศและส่งออกจานวนมาก แต่มะละกอ นันมี ้ ความอ่อนไหวต่อโรคเช่นกันโดยโรคที่สง่ ผลกระทบต่อมะละกอได้ มากที่สดุ คือ โรคใบด่างจุดวงแหวนที่ทาให้ มะละกอได้ รับ ความเสียหายมาก มีการใช้ วิธีการต่างๆ อาทิ พันธุวิศวกรรมและการปรับปรุ งพันธ์ เพื่อพัฒนามะละกอต้ านทานโรค อย่างไรก็ดี พันธุ์ที่จะประสบความสาเร็จนอกจากจะต้ องมีคณ ุ สมบัติต้านทาน/ทนทานต่อโรคแล้ ว ยังต้ องสามารถที่จะเพิ่มจานวนได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ มะละกอแบ่งออกเป็ น 3 เพศได้ แก่ เพศผู้ เพศเมีย และเพศกระเทย เนื่องจากมะละกอเพศผู้ (มีดอกชนิด staminate) ไม่สามารถผลิตลูก ดังนัน้ เฉพาะมะละกอเพศกระเทยที่มีผลซึง่ เป็ นที่ต้องการมีการปลูกโดยทัว่ ไป มะละกอเพศกระ เทยมีดอก 2 ชนิด ได้ แก่ elongata และ reduced elongate ในการศึกษาครัง้ นีโ้ ดยใช้ มะละกอทังหมด ้ 3 สายพันธุ์คือ พันธุ์แขก ดาเบอร์ 25-99-22, พันธุ์แขกดาเบอร์ 25-99-23 และพันธุ์แขกดาเบอร์ 24-41-16 โดยใช้ ระยะเวลาทังหมด ้ 3 วัน ระหว่างวันที่ 23-25 มกราคม พ.ศ 2557 จากนันน ้ า pollen trap ไปวางไว้ ใต้ ดอกของมะละกอทัง้ 3 สายพันธุ์ และทาการเก็บ pollen trap ทุกๆ 1 ชัว่ โมง จนครบ 12 ชัว่ โมง ตังแต่ ้ เวลา 07.00-19.00 นาฬิกา แล้ วนา pollen trap ไปย้ อมสีด้วยสารละลาย Safranin O และทาการนับจานวนของละอองเกสรโดยใช้ กล้ องจุลทรรศน์ในการนับ ผลการศึกษาแสดงว่าละอองเกสรปลดปล่อยมากที่สดุ ระ หว่าง 10-12 นาฬิกา และการปลดปล่อยมากที่สดุ ในวันแรก และลดลงอย่างรวดเร็วในวันที่ 2 และ 3 คาสาคัญ: มะละกอ ละอองเกสร ดอกสมบรูณ์เพศ

Abstract Papaya is an economically important plant in Thailand for domestic consumption, export and processing into products. Among important diseases in papaya, papaya ringspot virus is the most revere and cause major economic losses. In order to handle this problem, several strategies including genetic engineering and development of PRSV tolerant/resistant cultivars through breeding are developed. The success of new varieties is not only based on the disease resistance, but also the ability to reproduce effective and efficiently. Papaya can be divided into; male, female and hermaphrodite. Male plants (with staminate flowers) do not bear fruits hence only hermaphrodite plants with desirable fruit are cultivated. Hermaphrodite plants produce elongata and reduced elongata flowers. In this study, pollen release from 3 elongata flowers (Khaekdum No. 25-99-22, Khaekdum No. 25-99-23 and Khaekdum No. 24-41-16) was investigated over 3 days (23-25 January 2014). Pollen traps were placed under the flowers and changed every hour from 7.00 – 19.00 hr. Viable pollens were red stained with Safranin O solution and observed under light microscope. The results indicated that pollen release reached its peak between 10-12 hr. with coincide with flower blooming time. The first day had highest rate of pollen release and dramatically dropped on day 2 and 3. Keywords: Carica papaya, pollen, elongate 1

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ.นครปฐม 73140 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 3 ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 4 ศูนย์ความเป็ นเลิศด้ านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจยั ด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร 10900 (AG-BIO/PERDO-CHE) 5 ห้ องปฏิบตั ิการวิจยั ด้ านพืช หน่วยวิจยั เทคโนโลยีจีโนม ศูนย์พนั ธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 2

14

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-13 การเพิ่มชุดโครโมโซมของดาวเรืองอเมริกันและดาวเรืองฝรั่งเศสโดยใช้ สารละลายโคลชิซิน Chromosome Doubling in American Marigold and French Marigold using Colchicine Treatment มรกต บูรณสุบรรณ1 รสมนต์ จีนแส1 รุ่ งฟ้ า จีนแส1 นงลักษณ์ คงศิริ1 และราตรี บุญเรืองรอด1 Morrakot Booranasubun1 Rossamon Jeensae1 Rungfa Jeensae1 Nongluck Kongsiri1 and Ratri Boonruangrod1

บทคัดย่ อ การเพิ่มชุดโครโมโซม เป็ นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยเพิ่มความหลากหลายทางพันธุกรรม ในงานปรับปรุ งพันธุ์ งานทดลองนี ้มี วัตถุประสงค์เพื่อ หาวิธีที่เหมาะสมในการเพิ่มชุดโครโมโซมของดาวเรื อง เพื่อใช้ เป็ นเชื ้อพันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์ แบ่งการ ทดลองออกเป็ น 2 ส่วน ในส่วนที่ 1 เพื่อหาความเข้ มข้ นของสารละลายโคลชิซินที่เหมาะสมต่อการชักนาให้ เกิดการเพิ่มชุด โครโมโซม ในดาวเรื องอเมริ กนั พันธุ์การค้ า (ดิพลอยด์) ใช้ ความเข้ มข้ น 6 ระดับ คือ 0 พีพีเอ็ม, 200 พีพีเอ็ม , 400 พีพีเอ็ม, 600 พีพีเอ็ม, 800 พีพีเอ็ม และ 1,000 พีพีเอ็ม แช่เมล็ดเป็ นเวลา 4 ชัว่ โมง ก่อนนาไปเพาะ ส่วนที่ 2 ทดสอบการเพิ่มชุดโครโมโซม ของดาวเรื องฝรั่งเศส (เตตระพลอยด์) สายพันธุ์ IM57031 โดยใช้ สารละลายโคลชิซินความเข้ มข้ นที่เหมาะสมจากผลการ ทดลองส่วนที่ 1 ทาการตรวจสอบพลอยดิโดยการวัดขนาดของปากใบและวัดปริ มาณดีเอ็นเอด้ วย Flow cytometry จากการ ทดลองในส่ว นที่ 1 พบว่า เมล็ดที่ ไ ด้ รับ สารละลายโคลชิ ซิ นความเข้ มข้ นสูง มี ก ารงอก การรอดชี วิต และให้ จ านวนต้ น ที่ เจริ ญเติบโตจนสร้ างตาดอกได้ น้ อยกว่าเมล็ดที่ได้ รับสารละลายความเข้ มข้ นต่า ความเข้ มข้ นที่เหมาะสมที่สดุ คือ 400 พีพีเอ็ม ซึง่ ให้ ต้นเตตระพลอยด์ที่สร้ างตาดอกได้ มากที่สดุ คิดเป็ น 24 เปอร์ เซ็นต์ จากจานวนเมล็ดเริ่ มต้ น ในส่วนที่ 2 พบว่าจากการแช่ เมล็ดดาวเรื องฝรั่งเศส 30 เมล็ด ในสารละลายโคลชิซินที่ความเข้ มข้ น 400 พีพีเอ็ม เป็ นเวลา 4 ชัว่ โมง ก่อนนาไปเพาะ เมื่อ ตรวจสอบระดับพลอยดิ พบต้ นออคตะพลอยด์ จานวน 1 ต้ น ที่สามารถเจริ ญเติบโตสร้ างตาดอกได้ ซึง่ มีขนาดปากใบใหญ่ ใบ อวบหนา ทรงพุม่ กระทัดรัด คาสาคัญ: ระดับพลอยดิ ขนาดของปากใบ ปริมาณดีเอ็นเอ เตตระพลอยด์ ออคตะพลอยด์

Abstract Chromosome doubling is a tool used to create variation of genetic materials for cultivar improvement. In this experiment, we looked for an optimized chromosome doubling condition for Marigolds. Two parts of the experiment were conducted. Part 1 Optimization of colchicine concentration for seed treatment: six concentrations of colchicine, i.e., 0 ppm, 200 ppm, 400 ppm, 600 ppm, 800 ppm, and 1000 ppm, were applied on an American marigold F1 commercial variety (diploid). Part 2 Chromosome doubling in French marigold: the optimized condition found in Part 1 was applied on French marigold line IM57031 (tetraploid). Ploidy level was determined based on the size of stomatal guard cells and DNA content measured by flow cytometry. Results from Part 1 show that the higher the colchicine concentration applied, the lower seed germination, seedling survival, and number of mature plant forming flower buds found. Soaking seeds with 400 ppm colchicine for four hours gave the highest percentage of tetraploid plants, 24 percent. In Part 2, one mature plant (octaploid) with larger stomatal guard cells, thicker leaves, and more compact growth habit was obtained from 30 seeds of the IM57031 French marigold treated with the optimized treatment condition. Keywords: ploidy level, stomatal guard cells, DNA content, tetraploidy, octaploidy 1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

15


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-14 ผลของระยะเวลาเพาะเลีย้ งในสภาพปลอดเชือ้ ต่ อปริมาณสารทุตยิ ภูมิ ของยอดหัวข้ าวเย็น (Dioscorea birmanica Prain & Burkill) Effect of In Vitro Culture Periods on Secondary Metaboite Contents of Hua-Khao-Yen (Dioscorea birmanica Prain & Burkill) รัชนีวรรณ จิระพงศ์ พฒ ั นา1 เยาวพา จิระเกียรติกุล1* ภาณุมาศ ฤทธิไชย1 ศรีโสภา เรื องหนู2 และอรุ ณพร อิฐรัตน์ 2 Ratchaneewan Jirapongpattana1 Yaowapha Jirakiattikul1 Panumart Rithichai1 Srisopa Ruangnoo2 and Arunporn Itharat2

บทคัดย่ อ หัวข้ าวเย็น (Dioscorea birmanica Prain & Burkill) นิยมใช้ สว่ นของเหง้ าร่วมกันสมุนไพรชนิดอื่นๆ เพื่อ รักษาโรค ต่างๆ เช่น โรคมะเร็ ง โรคน้ าเหลืองเสีย โรคระบบทางเดินหายใจ และโรคเอดส์ สารสาคัญที่พบคือ 3-0-α-Lrhamnopyranosyl(1->2)- β-D glucopyranoside หรื อ prosapogenin A of dioscin (DBS1) ระยะเวลาในการ เพาะเลี ้ยง เนื ้อเยื่ออาจมีผลต่อปริ มาณสารทุติยภูมิของพืชในสภาพปลอดเชื อ้ ดังนันการศึ ้ กษาครัง้ นี ้ จึงมีวตั ถุประสงค์ เพื่อศึกษาปริ มาณ สาร DBS1 และสารประกอบฟี นอลิคทังหมดเมื ้ ่อเพาะเลี ้ยงในสภาพปลอดเชื ้อเป็ นระยะเวลานาน ต่างๆกัน วางแผนการทดลอง แบบ Completely Randomized Design มี 5 สิ่งทดลอง โดยเพาะเลี ้ยงข้ อบนอาหาร สูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) ที่เติม BA ความเข้ มข้ น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร IAA ความเข้ มข้ น 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร และผงถ่าน ความเข้ มข้ น 0.01 เปอร์ เซนต์ เป็ นเวลานาน 4, 6, 8, 10 และ 12 สัปดาห์ จากการทดลองพบว่าปริ มาณสาร DBS1 แตกต่าง อย่างมีนยั สาคัญตาม ระยะเวลาในการเพาะเลี ้ยง โดยยอดที่เพาะเลี ้ยงเป็ นเวลานาน 8-12 สัปดาห์มีปริ มาณสาร DBS1 (0.72±0.16 - 0.91±0.11 เปอร์ เซนต์) สูงกว่ายอดที่เพาะเลี ้ยงนาน 4-6 สัปดาห์ ส่วนสารประกอบฟี นอลิคทังหมด ้ (54.17±0.05 - 68.14±0.03 มิลลิกรัม GAE ต่อกรัมน ้าหนักแห้ ง) ไม่แตกต่างกันทางสถิติ คาสาคัญ: Dioscorea birmanica DBS1 ระยะเวลาเพาะเลี ้ยง สารประกอบฟี นอลิคทังหมด ้ สารทุติยภูมิ

Abstract Hua-Khao-Yen (Dioscorea birmanica Prain & Burkill) is a medicinal plant which its rhizome has been used with other medicinal plant species for the treatments of cancers, lymphatic diseases, respiratory tract disease and AIDS. The important secondary metabolite of this plant species is 3-0-α-L-rhamnopyranosyl(1->2)- βD glucopyranoside or prosapogenin A of dioscin (DBS1). Culture period may affect secondary metabolite of micropropagated shoots cultured in vitro. Therefore, the objective of this study was to determine the DBS1 and total phenolic contents of Hua-Khao-Yen at different in vitro culture periods. The experiment was arranged in Completely Randomized Design with 5 treatments. Single node segments were cultured on MS medium supplemented with 2 mg/l BA, 0.1 mg/l IAA and 0.01 % activated charcoal for 4, 6, 8, 10 and 12 weeks. The results revealed that DBS1 contents were significantly different among the treatments. The regenerated shoots cultured for 8-12 weeks exhibited higher contents of DBS1 (0.72±0.16 - 0.91±0.11 % w/w) than those cultured for 4-6 weeks. Total phenolic contents (54.17±0.05 - 68.14±0.03 mg GAE/g dry extract) were not significantly different among the treatments. Keywords: Dioscorea birmanica, DBS1, cultured period, total phenolics, secondary metabolite

1 2

ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ปทุมธานี ภาควิชาแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ปทุมธานี 12120 16

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-15 การส่ งถ่ ายยีน DFR (dihydroflavonol 4-reductase) เข้ าสู่ปทุมมากระถางด้ วยเชือ้ แบคทีเรีย Agrobacterium tumefaciens Agrobacterium tumefaciens-Mediated Transformation of DFR (dihydroflavonol 4-reductase) Gene into Potted Curcuma วารุ ต อยู่คง1 รัฐพร จันทร์ เดช1 และณิชมน ธรรมรักษ์ 1 Warut U-kong1 Ruttaporn Chundet1 and Nitchamon Thamaragsa1

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้ศึกษาการส่งถ่ายยีน DFR จากอัญชันเข้ าสู่ปทุมมากระถาง โดยใช้ เชื ้อ Agrobacterium tumefaciens ทา การชักนาให้ เกิด retarded shoots โดยนาชิ ้นส่วนช่อดอกปทุมมากระถาง มาเพาะเลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ดัดแปลงที่เติม BA 10 มิลลิกรัมต่อลิตร และ IAA 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็ นเวลา 1 เดือน หลังจากนันจึ ้ งย้ ายไปเพาะเลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ TDZ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตรและ IMA 4 มิลลิกรัมต่อลิตร. ในการส่งถ่ายยีนเข้ าสู่ retarded shoots ของปทุมมากระถาง ใช้ A. tumefaciens สายพันธุ์ LBA4404 ที่บรรจุ binary vector pStart DFR ซึง่ มียีน neomycin phosphotransferase (nptII) เป็ นยีนคัดเลือก และยีน DFR เป็ นยีนที่สนใจ พบว่า ยอดที่ต้านทานต่อกานามัยซินจะ เกิดภายใน 4 สัปดาห์ หลังจากการเพาะเลี ้ยงร่วมกันระหว่างชิ ้นส่วนพืชกับ A. tumefaciens โดยมีเปอร์ เซ็นต์การรอดชีวิตบน อาหารคัดเลือก 55 เปอร์ เซ็นต์ และการส่งถ่ายยีนยืนยันด้ วย PCR และ RT-PCR พบว่ามีการสอดแทรกของยีน DFR ใน retarded shoots ของปทุมมากระถาง คาสาคัญ: ปทุมมากระถาง ยีน DRF การส่งถ่ายยีน Agrobacterium tumefaciens

Abstract The research is Studied on transformation of DFR gene form Clitoria ternatea Linn. into potted Curcuma via A. tumefaciens. Retarded shoots were initiated by culturing the inflorescence explants of potted Curcuma cultivar on modified MS solid medium containing 10 mg/l BA and 0.1 mg/l IAA for 1 month. After that, the tissues were transferred to MS medium containing 0.1 mg/l IAA, 0.5 mg/l TDZ and 4mg/l IMA for induction of retarded shoots. Retarded shoots of potted Curcuma were transformed using A. tumefaciens strain LBA4404 with the binary vector pStart DFR containing the neomycin phosphotransferase gene (nptII) as a selectable marker and the DFR as the gene of interest. Results showed that, kanamycin resistant shoots were regenerated 4 weeks after cocultivation of explants with A. tumefaciens. The survival percentage on selective medium was 55%. Transformation was confirmed by PCR and RT-PCR indicated the integration of DFR gene in transgenic retarded shoots of potted Curcuma. Keywords: potted curcuma, DFR gene, gene transformation, Agrobacterium tumefaciens

1

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ 50290

18-20 พฤศจิกายน 2558

17


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-16 การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอเพื่อใช้ ในการจาแนกเพศอินทผลัมไทย (แม่ โจ้ 36) Development of DNA Markers for Sex Identification in Thai Date Palm (Phoenix dactylifera L.) cv. Maejo#36 นพรัตน์ อินถา1 กวี สุจปิ ุล1ิ ปิ ยรัษฎ์ ปริญญาพงษ์ เจริญทรัพย์ 2 และพีระศักดิ์ ฉายประสาท1,3 Noppharat Intha1 Kawee Sujipuli1 Piyarat Parinyapong Chareonsap2 and Peerasak Chaiprasart1,3

บทคัดย่ อ อินทผลัม (Phoenix dactylifera L.) เป็ นไม้ ผลชนิดหนึ่งที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจโดยนิยมปลูกในหลายพื ้นที่ของ ประเทศไทย แต่ปัญหาหนึ่งที่พบคื อ ต้ นอินทผลัมเพศผู้แ ละเพศเมี ยสามารถจาแนกได้ ชัดเจนเมื่ อถึงระยะออกดอก ซึ่งใช้ เวลานาน 5-8 ปี ดังนัน้ การวิจยั ครัง้ นี ้จึงมีจดุ ประสงค์เพื่อจาแนกเพศของอินทผลัมในระยะต้ นกล้ า โดยใช้ เทคนิคเครื่ องหมายดี เอ็นเอ ผลการทดลองพบว่า จากการใช้ ไพรเมอร์ จานวน 18 ชนิด มี ไพรเมอร์ PH02F-PH03R ให้ ผลิตภัณฑ์ พีซีอาร์ (PCRproduct) ขนาดประมาณ 320 คู่เบส เฉพาะในอินทผลัมเพศผู้เท่านัน้ ผลการทดลองบ่งชี ้ว่าไพรเมอร์ มีศกั ยภาพในจาแนกเพศ ในอินทผลัมไทย (แม่โ จ้ 36) ดังนัน้ จึงนามาพัฒนาใช้ ร่วมกับคู่ไ พรเมอร์ PH01 ทาหน้ าที่เป็ นตัวควบคุมความถูกต้ องของ ปฏิกิริยาพีซีอาร์ ให้ ผลิตภัณฑ์พีซีอาร์ ขนาดประมาณ 430 คู่เบส ในทังเพศผู ้ ้ และเพศเมียทาให้ สามารถจาแนกเพศอินทผลัมได้ ตังแต่ ้ ในระยะต้ นกล้ า ตลอดจนเทคนิคที่ได้ จากการวิจยั ครัง้ นี ้ยังสามารถประหยัดเวลา และใช้ จ่ายได้ มากกว่าวิธีที่ใช้ ในปั จจุบนั ที่ปลูกโดยไม่ทราบเพศแน่ชดั คาสาคัญ: อินทผลัมไทย (แม่โจ้ 36) ไพรเมอร์ เครื่ องหมายดีเอ็นเอ

Abstract Date palm (Phoenix dactylifera L.) is one of the most economically important fruit crops, cultivated in many regions of Thailand. However, date palms take 5–8 years after planting to flowering, the earliest stage at which male and female trees can be clearly distinguished. Therefore, in this research, we have attempted to identify sex (male and female) of the Thai date palm cultivar Maejo 36 during the seedling stage by using a DNA marker technique. Among 18 primers (random and specific primers) used to identify sex of Maejo#36 based on the PCR technique, one pairs of primers, PH02F-PH03R, could generate PCR-products with the length approximately 320 bp in male (but not female) date palm trees. Therefore, develop combined with primer PH01, is an accurate control of the reaction PCR, could generate PCR-products with the length approximately 430 bp respective in both male and female. This result indicated that these primers could be potentially used for rapidly distinguishing date-palm sex from both male and female plant in seedling stage. Therefore, this technique would be helpful for saving time and cost more than present conventional plantation. Keywords: Thai date palm (Phoenix dactylifera L.) cv. Maejo 36, primers, DNA marker

1

ภาควิชาวิทยาศาสตร์ การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 65000 สานักงานโครงการอนุรักษ์ พนั ธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี สวนจิตรลดา ถ.ราชวิถี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10303 3 สถานวิจยั เพื่อความเป็ นเลิศทางวิชาการด้ านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวคณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 65000 2

18

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-17 การชักนาให้ เกิดแคลลัสจากการเพาะเลีย้ งชิน้ ส่ วนลาต้ นในสภาพปลอดเชือ้ ของข้ าวเย็นเหนือ (Smilax corbularia Kunth.) Callus Induction from In Vitro Culture Stem Segment of Khao-Yen-Nuea (Smilax corbularia Kunth.) ปพิชญา ขวานทอง1 เยาวพา จิระเกียรติกุล1 และภาณุมาศ ฤทธิไชย1 Papichaya Kwanthong1 Yaowapha Jirakiattikul1 and Panumart Rithichai1

บทคัดย่ อ ข้ าวเย็นเหนือ (Smilax corbularia Kunth.) เป็ นพืชสมุนไพรที่ใช้ รักษาโรคมะเร็ง และเอดส์ การเพิ่มสาร ทุติยภูมิใน การเพาะเลีย้ งเนื ้อเยื่อนิยมใช้ แคลลัสเป็ นชิ ้นส่วนที่นามาศึกษา แต่ยงั ไม่มีรายงานถึงการชักนาให้ เกิดแคลลัส ในข้ าวเย็นเหนือ การทดลองนี จ้ ึ ง มี วัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาผลของออกซิ น ร่ ว มหรื อ ไม่ ร่ ว มกับ น า้ มะพร้ าวต่ อ การชัก น าให้ เ กิ ด แคลลัส ใน ข้ าวเย็นเหนือ โดยทาการเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนลาต้ นบนอาหารสูตร MS ที่เติม 2,4-D ความเข้ มข้ น 0 – 4 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่ วม หรื อไม่ร่วมกับน ้ามะพร้ าว 15% เป็ นเวลา 8 สัปดาห์ วางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design มี 12 สิ่ง ทดลอง จากการทดลองพบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม 2,4-D ความเข้ มข้ น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่ วมกับน ้ามะพร้ าว 15% สามารถชักนาให้ การเกิดแคลลัสได้ สงู สุด 70% แต่ขนาด น ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ งของแคลลัสไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ คาสาคัญ: ข้ าวเย็นเหนือ Smilax corbularia แคลลัส 2,4-D น ้ามะพร้ าว

Abstract Khao-Yen-Nuea (Smilax corbularia Kunth.) is a medicinal plant which is used for the treatment of cancer and AIDS. Callus has been reported to use as an explant for secondary metabolite production in many plant species. However, callus induction has not yet been studied in Khao-Yen-Nuea. Therefore, the objective of this experiment was to investigate the effects of auxin with or without coconut water on callus induction of Khao-Yen-Nuea. Stem segments of Khao-Yen-Nuea were cultured on MS medium supplemented with 0 – 4 mg/l 2,4-D with or without 15% coconut water for 8 weeks. The experiment arranged in completely randomized design with 12 treatments. It was found that the highest percentage (70%) of callus formation was obtained on MS medium supplemented with 2 mg/l 2,4-D and 15% coconut water. However, size, fresh weight and dry weight of callus were not significantly different among the treatments. Keywords: Khao-Yen-Nuea, Smilax corbularia, callus, 2,4-D, coconut water

1

ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ปทุมธานี 12120

18-20 พฤศจิกายน 2558

19


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-18 การคัดเลือกแคลลัสแอปเปิ ้ ลทนแล้ งในหลอดทดลองและการทดสอบความแปรปรวนด้ วย เครื่องหมาย SRAP In Vitro Selection of Apple Callus for Drought Tolerance and Detection of Variation by SRAP Marker Titnarong Heng1 และปั ทมา ศรีนา้ เงิน1 Titnarong Heng1 and Pattama Srinamngoen1

บทคัดย่ อ แอปเปิ ล้ (Malus domestica) เป็ นไม้ ผลเมืองหนาว และไม่นานนี ้เริ่ มการปลูกแอปเปิ ล้ เป็ นการค้ าในประเทศไทย โดย มีการปลูกกันมากบริ เวณที่ราบสูงดอยอ่าง จึงได้ ทดลองชักนาแคลลัสจากใบของแอบเปิ ล้ สายพันธุ์ Granny Smith ในอาหาร แข็งสูตร MS ที่เติม 2,4-D เข้ มข้ น 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA เข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตรและคัดเลือกแคลลัสทนแล้ ง ด้ วยการนาไปเลี ้ยงในอาหารเหลวสูตรเดิมที่เติม สาร PEG6000 ในระดับความเข้ มข้ น 6 ระดับคือ 0, 2, 4, 8, 12 และ 20 เปอร์ เซ็นต์ เป็ นระยะเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าที่ระดับความเข้ มข้ น 0, 2, 4 และ 8 เปอร์ เซ็นต์ แคลลัสมีการขยายตัวและมีน ้าหนัก สดเพิ่มขึ ้น ในขณะที่ระดับความเข้ มข้ น 12 และ 20 เปอร์ เซ็นต์ แคลลัสไม่มีการเจริ ญเติบโตและน ้าหนักลดลง เมื่อทาการย้ อมสี แคลลัสด้ วยสาร Trypen Blue พบว่า เซลล์ของแคลลัสที่ความเข้ มข้ นสาร 0 เปอร์ เซ็นต์ ยังมีชีวิตอยู่รอดถึง 90 เปอร์ เซ็นต์ ในขณะที่ ความเข้ มข้ นสูงขึ ้น เซลล์ที่รอดมีอตั ราลดลงตามลาดับ และเมื่อทาศึกษาความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแคลลัสทนแล้ งด้ วย เทคนิค Sequence-related Amplified Polymorphism (SRAP) พบว่าแถบดีเอ็นเอที่เกิดขึ ้นของแต่ละระดับความเข้ มข้ นมีความ แตกต่างกันอย่างชัดเจน ดังนันการคั ้ ดเลือกแอปเปิ ล้ ทนแล้ งโดยใช้ การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อจึงเป็ นเทคนิคหนึ่งที่ประสิทธิภาพ และเพิ่ม โอกาสในการพัฒนาสายพันธุ์แอปเปิ ล้ ทนแล้ งเพื่อปลูกในประเทศไทยได้ คาสาคัญ: แอปเปิ ล้ การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ การคัดเลือกทนแล้ ง เครื่ องหมาย SRAP

Abstract Apple (Malus domestica) is a temperate plant. Recently, apple has planted in Thailand for commercial by growing in the flat area at Doi Ang Khang. In this experiment, callus of Apple Granny Smith is induced by using the leaf on solid MS medium containing with 2.5mg/l 2,4-D and 0.5 mg/l BA. For a selection of drought tolerance, the callus were cultured on same liquid medium and supplemented with PEG6000 at the different concentrations of 0, 2, 4, 8, 12 and 20 % for 4 weeks. The result showed the callus fresh weight of 0, 2, 4, and 8 % of PEG600 was increased while the others didn’t grow. The Trypen Blue dying was investigated to detect the cell viability. We found that callus in 0% PEG6000 has the survival rate over 90% and the others were decreased. The genetic variability of the drought candidate callus was detected using Sequence-related Amplified Polymorphism (SRAP) marker. As the result, tissue culture is an effective technique for selection drought tolerance in apple in order to improving the apple’s varieties that can grow in Thailand widely. Keywords: apple, in vitro culture, drought tolerance, SRAP marker

1

สาขาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตจันทบุรี จ.จันทบุรี 22170 20

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-19 การหาความสัมพันธ์ กล้ วยไม้ ท้องถิ่น (สกุลแวนด้ า) โดยใช้ เทคนิค Randomly Amplified Polymorphic DNA (RAPD) Genetic relationship of Native Orchid (Vanda) base on Randomly Amplified Polymorphic DNA (RAPD) analysis ราตรี พระนคร1 Ratree Pranakhon1

บทคัดย่ อ การศึกษานีม้ ีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ ของกล้ วยไม้ ท้องถิ่น (สกุลแวนด้ า) โดยใช้ เทคนิค Randomly Amplifiled Polymorphid DNA (RAPD) สารวจและรวบรวมกล้ วยไม้ ในสกุลกุหลาย จากจังหวัดสกลนคร และจังหวัดใกล้ เคียง พบว่าลักษณะภายนอกของกล้ วยไม้ ในสกุลนีม้ ีลกั ษณะที่คล้ ายคลึงกัน ในการศึกษาครัง้ นีใ้ ช้ เทคนิค RAPD ใช้ ในการหา ความสัมพันธ์ของกล้ วยไม้ สกุลกุหลาบ 7 ตัวอย่าง แล้ วนาข้ อมมูลมาวิเคราะห์ด้วบโปรมแกรม Quality one (BioRad, USA). นาแถบดีเอนเอที่ได้ ไปวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม N-TSYSpc2.1 และสร้ างแผนภูมิต้นไม้ เพื่อหาความสัมพันธ์ ของตัวอย่าง ผล การศึกษาพบว่าเทคนิค RAPD สามารถจาแนกตัวอย่างกล้ วยไม้ สกุลกุหลาบทัง้ 7 ชนิดได้ โดยใช้ primers 11 primers ประกอบด้ วย M13F S7 S23 S26 S33 S50 S60 S65 S67 S68 และ S80 ทาให้ เกิดแถบดีเอนเอทังหมด ้ 495 แถบ และ จัดทาแผนภูมิต้นไม้ พบว่าเทคนิค RAPD สามารถหาความสัมพันธุของกล้ วยไม้ ทงั ้ 7 ตัวอย่างได้ คาสาคัญ: กล้ วยไม้ ท้องถิ่น กล้ วยไม้ สกุลแวนด้ า Randomly Amplified Polymorphic DNA (RAPD) ความสัมพันธ์ทาง พันธุกรรม

Abstract The object of this study was used to investigate the genetic relationship of Native orchid (Vanda sp.) base on Randomly Amplifiled Polymorphid DNA (RAPD) analysis. Seven of Vanda were collected from Sakon Nakhon province and neighboring provinces, Thailand. Morphology appearance of Vanda sp. were very similar. The RAPD technique was used to investigate the genetic relationship of them. The data was analyzed by Quality one (BioRad, USA) program. Then DNA fingerprints were analyzed by N-TSYSpc2.1 and produced pylogenetic trees. The results showed that RAPD technique can be used to identify all of samples. 11 primers; M13F S7 S23 S26 S33 S50 S60 S65 S67 S68 and S80 could generate different bands of all samples and got 495 bands. The phylogenetic tree can showed the genetic relationship of all sample. Keywords: Native Orchid, Vanda sp., Randomly Amplified Polymorphic DNA (RAPD), genetic relationship

1

คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร จังหวัด สกลนคร 47160 18-20 พฤศจิกายน 2558

21


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-20 การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ ปริมาณสารต้ านอนุมูลอิสระ และปฏิกิริยาต้ านอนุมูลอิสระของ ผลเม่ าหลวง 10 สายต้ น Changing of properties, Quantities of Antioxidant Substance and Antioxidant Activities of Mao Luange in Different Stages of Ripening สุดารั ตน์ สกุลคู1 และเมวิกา ไชยฤทธิ์1 Sudarath Sakulkoo1 and Maviga Chairit1

บทคัดย่ อ น ้าผลไม้ จากผลเม่าหลวงได้ รับความนิยมเนื่องจากมีรสชาติดี และมีสารต้ านอนุมลู อิสระสูง ธรรมชาติการสุกแก่ของ ผลเม่าหลวงจะไม่สกุ พร้ อมกันทังช่ ้ อ เม่าพันธุ์ดีที่ใช้ ในธุรกิจแปรรูปน ้าผลไม้ จะเลือกเก็บเกี่ยวช่อเม่าที่มีผลสุกดาร้ อยละ 60 ของ ช่อผล ส่วนที่เหลือจะเป็ นเม่าสุกแดง โดยทัว่ ไปผลเม่ามักจะร่วงก่อนที่จะสุกดา มีเพียงสายต้ นที่คดั เลือกแล้ วจึงมีผลสุกดาทังช่ ้ อ หรื อเกือบทังช่ ้ อ การศึกษาคุณสมบัติของผลเม่าทังในด้ ้ านองค์ประกอบทางเคมีของเม่าเขียว (ดิบ) แดง(ห่าม) และเม่าดา (สุก) จะเป็ นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาใช้ ประโยชน์จากผลเม่าทังสามระยะ ้ อันจะมีผลต่อการอนุรักษ์ พนั ธุกรรมพืชต่อไป จากการศึกษา คุณสมบัติทางเคมี สารประกอบฟี นอลิค และปฏิกริยาต้ านอนุมลู อิสระของน ้าคันและกากของผลเม่ ้ าที่ระยะสุกแตกต่างกัน วาง แผนการทดลองแบบ 6x10 Factorial in Complete Randomized Design ประกอบด้ วย 2 ปั จจัยคือ 1.สายต้ นเม่าหลวงที่ใช้ ใน การแปรูปน ้าผลไม้ 10 สายต้ น และ 2. น ้าคันจากผลเม่ ้ าและกากเม่าที่เหลือจากการคันน ้ ้า ที่ระยะ ดิบ(เขียว) ห่าม(แดง) และ สุก(ดา) พบว่า ค่าความเป็ นกรด (pH) ในน ้าคันจากผลเม่ ้ า และกากเม่าจะเพิ่มขึ ้นเมื่อเม่าสุกเพิ่มขึ ้น ส่วนเปอร์ เซ็นต์กรดจะ ลดลง ในขณะที่ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ จะเพิ่มขึ ้นเมื่อเม่าสุกมากขึ ้น ส่วนปฏิกิริยาต้ านอนุมลู อิสระในน ้าคันจากเม่ ้ าเขียว จะสูงกว่าน ้าคันจากเม่ ้ าดา โดยมีค่าสูงสุดคือ 97.74 เปอร์ เซ็นต์ เช่นเดียวกับปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกของน ้าคันจากผลเม่ ้ า เขียวคือ 1165.72 ไมโครกรัม/กรัม ในกากเม่าจะมีค่าปฏิกิริยาต้ านอนุมลู อิสระ และปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกต่ากว่าในน ้า คัน้ จากเม่ า มี ค่ า ปฏิ กิ ริ ย าต้ า นอนุมูล อิ ส ระสูง ที่ สุด คื อ 93.25 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ปริ ม าณสารประกอบฟี นอลิ ก สูง ที่ สุด คื อ 689.68 ไมโครกรัม/กรัม โดยสายต้ น ส่วนที่ศึกษาและระยะสุก รวมถึงปฏิกิริยาสัมพันธ์ ระหว่างสองปั จจัยที่ศึกษามีผลทาให้ ลักษณะที่ศกึ ษาแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญที่ p≤ 0.01 คาสาคัญ: น ้าคันจากผลเม่ ้ า เม่าดิบ เม่าห่าม เม่าสุก กากเม่า

Abstract Consumer accepted Mao juices as a healthy juice for its good test with high antioxidant. The mature of Mao fruit ripening is not simultaniously. Mao juice grower harvested 60% ripped fruit (dark purple), and send to Mao juice processing plant. Apart from selected Mao acssesion used in the juice processing. The riped fruit always fall from the inflorescence. The information of fruit chemical properties, quantities of phenolic compound and antioxidant activities of Mao fruit juice and pomace at difference stage of ripening will be usefull for products development. The experimentation plan of this study was 10x6 Factorial in Completely Randomized Design, with 2 factors: 1) 10 selected acssesions of Mao Luang used in fruit juice processing. And 2) ripening stages of raw fruit (green), half ripped fruit (red) , ripped fruit (dark purple) and part of fruits: juice and pomace. The result show that acidity (pH) of fruit juice and pomace were decrease at the more ripening stage, while percentage of acid (TA) and total soluble solid (TSS) were decrease at the more ripening stage. Antioxidant activities (DPPH) found the higest activities in raw (green) Mao juice 97.74% with the highest quantity of total phenolic compound 1165.72 µgm/gm. In Mao pomace there were highest antioxidant activity (DPPH) 93.25% and the highest totoal phenolic compound 689.68 µgm/gm. All parameter were significant difference at p≤0.01 by the facter of acssesions, stage of rippening and part of fruit, and interaction between both facters. Keywords: Mao fruit juice, raw fruit, half ripped fruit, ripped fruit, Mao pomace 1

คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร จังหวัด สกลนคร 47160 22

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-21 ผลของ BA PBZ TDZ และ CPPU ต่ อการชักนาการออกดอกของกล้ วยไม้ หวายแคระ ในสภาพปลอดเชือ้ Effects of BA PBZ TDZ or CPPU on In Vitro Flower Induction of Dwarf type Dendrobium ศุภธิดา อับดุลลากาซิม1 ศุภกาญจน์ หล่ ายแปด1 และเสริมศิริ จันทร์ เปรม1 Supatida Abdullakasim1 Suphakarn Laipad1 and Sermsiri Chanprame1

บทคัดย่ อ การชักนาให้ เกิดดอกในกล้ วยไม้ หวายแคระในสภาพปลอดเชื ้อโดยนากล้ วยไม้ ที่มีอายุประมาณ 1 ปี มาตัดรากแล้ ว ย้ ายลงอาหารแข็งสูตร MS ที่ดดั แปลงโดยเพิ่มฟอสฟอรัสในรูปของ KH2PO4ขึ ้น 5 เท่าและลดไนโตรเจนในรูปของ KNO3 ลง 20 เท่าร่วมกับการเติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโต 4 ชนิดที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ คือ N-6-benzyladenine (BA) ความเข้ มข้ น 0.5 1 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตรpaclobutrazol (PBZ) ความเข้ มข้ น 0.25, 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร thidiazuron (TDZ) ความ เข้ มข้ น 0.05 0.1 และ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตรและ forchlorfenuron (CPPU) ความเข้ มข้ น 1 และ 5 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยใช้ อาหารแข็งสูตร MS ดัดแปลงที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโตเป็ นชุดควบคุม วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ทรี ทเมนต์ละ 6 ซ ้า ซ ้าละ 1 ต้ น ผลการทดลองพบว่าอาหารสูตร MS ดัดแปลงจานวน 3 สูตร คือ 1) เติม CPPU ความเข้ มข้ น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร 2) เติม TDZ ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 3) เติม CPPU ความ เข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตรสามารถชักนาให้ เกิดช่อดอกได้ 100 เปอร์ เซ็นต์แต่ใช้ เวลาเฉลี่ยในการชักนาช่อดอกแตกต่างกัน คือ 66, 96 และ 126 วันตามลาดับอย่างไรก็ตามช่อดอกที่พบมีลกั ษณะเป็ นดอกตูมที่พฒ ั นาได้ ไม่เต็มที่และเกิดการฝ่ อก่อนดอก บานแต่สามารถสังเกตเห็นสีของกลีบดอกได้ ในกล้ วยไม้ ที่เพาะเลี ้ยงในอาหารแข็งสูตร MS ดัดแปลงที่เติม CPPU ความเข้ มข้ น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร คาสาคัญ: กล้ วยไม้ สภาพปลอดเชื ้อ การออกดอก สารควบคุมการเจริญเติบโต

Abstract The in vitro flower induction has been conducted in a dwarf type Dendrobium. The one-year-old in vitro seedlings were pruned roots and cultured on modified solid MS medium with high phosphorus (5-fold KH2PO4) and low nitrogen (1/20-fold NH4NO3) and supplemented with four different plant growth regulators at various concentrations i.e. N-6-benzyladenine (BA) at 0.5, 1, 2 mg/l, paclobutrazol (PBZ) at 0.25, 0.5, 1 mg/l, thidiazuron (TDZ) at 0.05, 0.1, 0.5 mg/l and forchlorfenuron (CPPU) at 1, 5 mg/l. The control treatment was growth regulatorfree modified MS solid medium. The experimental design was completely randomized design (CRD) with six replications per treatment and one plant per replication. The results showed that seedlings produced 100 % flower inflorescence on the modified MS medium containing 3 different plant growth regulators, 1) 5 mg/l CPPU 2) 0.5 mg/l TDZ and 3) 1 mg/l CPPU, but at the different duration by the average of 66, 96 and 126 days of culturing respectively. However, the flower buds were immature and aborted before blooming. The medium that flower buds could develop until coloration observed was the modified MS containing 5 mg/L CPPU. Keywords: orchid, in vitro, flowering, plant growth regulators

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรสาสตร์ กาแพงแสน นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

23


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-22 การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของดาวเรือง Genetic Diversity Study of Marigold (Tagetes erecta) ___________________________________________________________________________________________________________ สุวรรณี ปาลี1 ปรีชาวุฒิ พลัดทองศรี 1 จิรานันท์ ไชยวรรณ์ 1 ภมรพรรณ มงคลแช่ มช้ อย2 และพรพันธ์ ภู่พร้ อมพันธุ์2 Suwannee Palee1 Preechavut Pludtongsri1 Jiranan Chaiwan1 Phanormphan Mongkonchamchoi 2 and Pornpan Pooprompan2

บทคัดย่ อ การศึกษาความหลากหลายของเชื ้อพันธุกรรมดาวเรื องอเมริ กนั ของห้ างหุ้นส่วนจากัดโฮมซีดส์ โดยจาแนกลายพิมพ์ดี เอ็นเอ ด้ วยเทคนิค Random Amplified Polymorphic DNA (RAPD) วัตถุประสงค์เพื่อจาแนกความแตกต่างทางพันธุกรรมของ สายพันธุ์พ่อแม่ และลูกผสม และบ่งชี ้ลายพิมพ์ดีเอ็นเอสาหรับจาแนกสายพันธุ์ และสร้ างฐานข้ อมูล ใช้ เครื่ องหมายดีเอ็นเอที่ แสดงความแตกต่างจานวน 16 เครื่ องหมายที่ให้ อลั ลีลที่แตกต่างกัน 46 อัลลีล นามาใช้ ในการจาแนกดาวเรื องอเมริ กนั 45 สายพันธุ์ จานวนอัลลีลที่พบอยู่ระหว่าง 1 ถึง 5 อัลลีล การสร้ างเดนโดรแกรม (dendrogram) ด้ วยวิธี UPGMA โดยใช้ ค่า สัมประสิทธิ์ Jaccard’s coefficient สามารถแบ่งกลุ่มดาวเรื องออกเป็ นกลุ่มหลักได้ 2 กลุ่ม ตามระระห่างทางพันธุกรรมซึ่ง สอดคล้ องกับกลุ่มที่เป็ นพันธุ์ออกดอกช้ า และกลุ่มที่ออกดอกเร็ ว ค่าสัมประสิทธิ์ ความห่างทางพันธุกรรมอยู่ระหว่าง 0.46 ถึง 0.91 ความแตกต่างทางพันธุกรรมที่มากที่สุดระหว่าง 2 กลุ่ม ได้ แก่ หมายเลข 057700 มีค่าสัมประสิทธิ์ ความเหมือนทาง พันธุกรรมเท่ากับ 0.46 ผลการทดลองชี ้ให้ เห็นว่าสามารถจาแนกสายพันธุ์พ่อแม่ และลูกผสมได้ และสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ ในโปรแกรมปรับปรุงพันธุ์ตอ่ ไป คาสาคัญ: ดาวเรื อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม เทคนิคอาร์ เอพีดี

Abstract Genetic diversity of Homeseeds Limited Partnership germplasm of American Marigold (Tagetes erecta) was identified using Random Amplified Polymorphic DNA (RAPD). The objectives of this study were to identify genetic distance between parental lines and their progenies as well as to determine DNA fingerprinting for varietal identity and database establishment. A total of 16 polymorphic markers with 46 observed alleles were identified in 45 American Marigold varieties. The number of alleles ranged from 1 to 5. The dendrogram constructed based on the UPGMA cluster using Jaccard’s coefficient. The genetic distance separated the 45 American Marigold varieties into 2 main groups according late varieties and early variety. The genetic distance was ranged from 0.46 to 0.91. The highest genetic distance observed between the 2 groups was No.057700 with 0.46 similarity coefficient. The results suggested that the parental lines and their progenies can be identified and useful for breeding program. Keywords: marigold, genetic diversity, Random Amplified Polymorphic DNA (RAPD)

1 2

ห้ างหุ้นส่วนจากัด โฮมซีดส์ 233/2 หมู่ 4 ต.บ้ านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ 50160 สาขาวิชาพืชสวนประดับ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ 50290 24

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-23 ผลของสูตรอาหารเพาะเลีย้ งต่ อการงอกของเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงในสภาพปลอดเชือ้ The Effect of Culture Media on In Vitro Nepenthes spp. Seed Germination จารุ วรรณ อภัย1 และเยาวพรรณ สนธิกุล1 Charuwan Aphai1 and Yaowaphan Sontikun1

บทคัดย่ อ หม้ อ ข้ า วหม้ อ แกงลิ ง เป็ น พื ช กิ น แมลงที่ มี มูล ค่า เนื่ อ งจากลัก ษณะที่ โ ดดเด่ น เป็ น ที่ นิ ย มในตลาดไม้ ป ระดับ การ เพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อเป็ นแนวทางหนึง่ ในการเพิ่มปริมาณต้ นพันธุ์ให้ มีปริมาณมากขึ ้น ในการศึกษานี ้ จึงได้ ศกึ ษาการงอกของเมล็ด และการเกิดรากของหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงสายพันธุ์ N. mirabilis และ N. mirabilis var. globosa ในสภาพปลอดเชื ้อ โดยนา เมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงมาฟอกฆ่าเชื ้อแล้ วเพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร MS (Murashige and Skoog) และ 1/2 MS ที่เติมและ ไม่เติมผงถ่าน พบว่าเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงเริ่มงอกหลังเพาะเลี ้ยงเป็ นระยะเวลา 1 เดือน และเมื่อเพาะเลี ้ยงเป็ นระยะเวลา 4 เดือน พบว่าเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงสายพันธุ์ N. mirabilis มีการงอกได้ สงู 88 ± 11.69 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อเพาะเลี ้ยงบนอาหาร สูตร 1/2 MS ที่เติมผงถ่าน 0.1 เปอร์ เซ็นต์ ส่วนเมล็ด N. mirabilis var. globosa มีการงอก 73 ±15.20 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อ เพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร 1/2 MS และสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการชักนารากของทังสองสายพั ้ นธุ์ คือ 1/2 MS ไม่เติมสาร ควบคุมการเจริ ญเติบโต โดยมีอตั ราการเกิดราก 100 เปอร์ เซ็นต์ มีจานวนรากเฉลี่ย จานวน 4 รากต่อต้ น และรากมีความยาว เฉลี่ย 0.46 เซนติเมตร คาสาคัญ: หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง การงอกของเมล็ด การเกิดราก สูตรอาหาร

Abstract Nepenthes spp. is a carnivorous plant, which is also in a great demand for ornamental value due to its curious pitcher. Tissue culture was an alternative method for produces large number of plants. This study was aimed to examine the suitable media for seed germination and root formation of N. mirabilis and N. mirabilis var. globosa. Seeds were cultured on MS (Murashige and Skoog) medium and 1/2 MS medium with or without activated charcoal for 4 months. The results show that seeds of N. mirabilis were cultured on 1/2 MS medium supplemented with activated charcoal gave the highest percentage of germination (88 ± 11.69) and the 1/2 MS free medium was greatly promoted N. mirabilis var globosa seed germination (73 ± 15.20). Root development occurred 100 % on 1/2 MS medium gave 4 root/shoot and root length of 0.46 cm. Keywords: Nepenthes spp., seed germination, root formation, culture medium

1

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ ธานี 84000

18-20 พฤศจิกายน 2558

25


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-24 การเสริมนา้ สับปะรดเพื่อเป็ นสับสเตรทร่ วมในการหมักนา้ ส้ มสายชูแอปริคอต Supplementation of Pineapple Juice as Co-Substrate for Apricot Vinegar Fermentation นิอร โฉมศรี1 ณัฐวุฒิ คาป๊ อก1 และสุพจนี อินทรโมฬี1 Ni-orn Chomsri1 Nattawut Kampok1 and Supojjanee Intaramoree1

บทคัดย่ อ แอปริ คอต Prunus armeniaca L. เป็ นผลไม้ ที่มีพฤกษเคมีที่สาคัญอยู่มากมาย ซึง่ ช่วยให้ คณ ุ ลักษณะที่เฉพาะของ กลิ่น รสชาติ สี และคุณค่าทางสารอาหาร การทดลองนี ้ศึกษา ผลของน ้าสับปะรดที่เสริ มเป็ นรูปแบบสับสเตรทร่วม เพื่อใช้ ใน การผลิตน ้าส้ มสายชูแอปริ คอตด้ วยกระบวนการหมักให้ เกิดกรดอะซิติกแบบผิวหน้ าคงที่ ระดับของการเสริ มน ้าสับปะรดทาที่ ร้ อยละ 0 5 10 20 และ 30 ของสับสเตรทหลัก ผลการศึกษาพบว่า ระดับของการใช้ น ้าสับปะรดร้ อยละ 10 เป็ นสับสเตรท ร่ วมให้ ร้อยละของผลผลิตปริ มาณกรดทัง้ หมดสูงที่สดุ ในผลิตภัณฑ์ คือมีค่าเท่ากับร้ อยละ 5.92 เมื่อใช้ นา้ สับปะรดเสริ มใน รูปแบบสับสเตรทร่วม ทาให้ ผลิตภัณฑ์น ้าส้ มสายชูหมักที่ได้ มีค่าสี L* a* และ b* มีค่าเพิ่มสูงขึ ้น การเพิ่มขึ ้นของปริ มาณ สับเตรทร่วมทาให้ คา่ การนาไฟฟ้าและค่าความขุ่นของผลิตภัณฑ์มีคา่ เพิ่มสูงขึ ้น ทังนี ้ ป้ ริ มาณสารประกอบฟี นอลิค และค่าฤทธิ์ การต้ านอนุมลู อิสระในน ้าส้ มสายชูที่ได้ จากการหมัก มีค่าอยู่ในช่วง 211.67-273.67 มิลลิกรัมต่อลิตร และร้ อยละ 23.0832.96 ตามลาดับ โดยพบว่าการใช้ สบั สเตรทร่วมในระดับที่สงู ขึ ้น ทาให้ ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิคทังหมดของน ้ ้าส้ มสายชู หมักมีคา่ เพิ่มสูงขึ ้น แต่ไม่สง่ ผลต่อความแตกต่างกันของฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระในผลิตภัณฑ์น ้าส้ มสายชูแอปริ คอต คาสาคัญ: แอปริคอต สับปะรด น ้าส้ มสายชู

Abstract The apricot (Prunus armeniaca L.) contains significant levels of various phytochemicals which contribute significantly to their specific aroma, taste, color and nutritive values. The effect of pineapple juice supplementation as co-substrate for production of apricot vinegar via static surface acetic acid fermentation was carried out. The supplementation levels were 0, 10, 20 and 30 % of the main substrate. Results revealed that 10% pineapple juice level as co-substrate gave the highest yield of total acidity in products (5.92%). When increase levels of pineapple juice was supplemented as co-substrate, higher L* a* and b* values were obtained. Increasing co-substrate levels produced higher values of conductivity and turbidity in the products. The vinegar products contained total phenolic content and antioxidant activity in the range of 211.67-273.67 mg/l and 23.08-32.96 %, respectively. The fermented vinegar product from higher levels of pineapple juice levels exhibited higher levels of total phenolic contents while ABTS radical scavenging capacity of the apricot vinegar products was not affected by different cosubstrate levels. Keywords: apricot, pineapple, vinegar

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 202 หมู่ 17 ต.พิชยั อ.เมือง จ.ลาปาง 52000 26

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-25 การศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่ างปริมาณเบต้ าแคโรทีนกับส่ วนประกอบจีโนมของกล้ วย Study on Relationships between Beta-carotene Content and Genome Composition in Bananas อลิษา ภู่ประเสริฐ1, วารี รัตน์ ศรีฉ่า1, วชิรญา อิ่มสบาย1,กัลยาณี สุวิทวัส2และราตรี บุญเรืองรอด1 Alisa Pooprasert1 Wareerat Srichum1 Wachiraya Imsabai1 Kunlayanee Suvittawat2 and Ratri Boonruangrod1

บทคัดย่ อ กล้ วยเป็ นผลไม้ ที่มีคณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง โดยเฉพาะสารเบต้ าแคโรทีน กล้ วยพั นธุ์ปลูกหรื อกล้ วยกินได้ กาเนิดมา จากกล้ วยป่ า 2 ชนิด คือ Musa acuminata (AA group) ประกอบด้ วย 9 ชนิดย่อย (subspecies) และ M. balbisiana (BB group) ซึง่ ไม่พบรายงานการจัดชนิดย่อย การศึกษานี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อประเมินปริมาณเบต้ าแคโรทีนร่วมกับส่วนประกอบของ จีโนม โดยใช้ เครื่ องหมายดีเอ็นเอชนิด SCARs (sequence characterized amplified regions) ที่จาเพาะเจาะจงกับกลุม่ จีโนม ในกล้ วยพันธุ์ปลูกและกล้ วยพันธุ์ป่าจานวน 23 พันธุ์ จากสถานีวิจยั ปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา พบว่ากล้ วยป่ าดิพลอยด์ AAw และ BBw ปริมาณเบต้ าแคโรทีนเฉลี่ยต่า มีคา่ 0.80 – 1.40 และ 1.57 ไมโครกรัมต่อกรัมน ้าหนักสด ตามลาดับ เมื่อเปรี ยบเทียบ กับกล้ วยพันธุ์ปลูก ดิพลอยด์และกล้ วยพันธุ์ลกู ผสม โดยเฉพาะกล้ วยสา (A4A4), กล้ วยไข่ (A1A4) และกล้ วยเล็บช้ างกุด (A3BB) ที่มีปริมาณเบต้ าแคโรทีนเฉลี่ยสูงที่สดุ มีคา่ 6.25, 6.25 และ 6.55 ไมโครกรัมต่อกรัมน ้าหนักสด ตามลาดับ กล่าวได้ ว่าการผสม ข้ ามระหว่าง subspecies ทาให้ มีปริ มาณเบต้ าแคโรทีนสูง โดยเฉพาะพันธุ์ที่มีจีโนมในกลุม่ A4 ในส่วนประกอบจีโนม ซึ่งกลุ่ม A4 ประกอบด้ วย 3 subspecies ได้ แก่ M. a. banksii, M. a. erran และ M. a. microcarpa ข้ อมูลที่ได้ จากการศึกษาครัง้ นี ้ สามารถใช้ เป็ นข้ อมูลพื ้นฐานสาหรับผู้บริโภคและนักปรับปรุงพันธุ์ เพื่อการพัฒนาพันธุ์ตอ่ ไป คาสาคัญ: เบต้ าแคโรทีน กล้ วยพันธุ์ป่า กล้ วยพันธุ์ปลูก เครื่ องหมายดีเอ็นเอ จีโนม

Abstract Banana is one of the most nutritious fruits containing a high amount of beta-carotene. Cultivated bananas or edible bananas are mainly originated from two wild species, Musa acuminata (AA group) and M. balbisiana (BB group). Nine subspecies were recognized in M. acuminata, whereas there is no report of subspecific recognition for M. balbisiana. In this study, we aimed to evaluate the amount of beta-carotene and its relationship with the genome composition of 23 banana cultivars from Banana Germplasm Collection at Pak Chong Research Station, Nakhon Ratchasima, using group-specific SCARs markers. The results showed that diploid wild types AAw and BBw have the lowest amount of beta-carotene of 0.80 – 1.40 and 1.57 µg/gFW, respectively. By contrast, the diploid cultivated banana AACV and hybrid banana, especially ‘Kluai Sa’ (A4A4), ‘Kluai Khai’ (A1A4), and ‘Klaui Lep Chang Khut’ (A3BB), have the highest amount of beta-carotene of 6.25, 6.25, and 6.55 µg/gFW, respectively. The result suggested that the AA-cultivars resulted from hybridization between subspecies possess a higher amount of beta-carotene, especially the genotype carrying the A4 genome, which consists of three subspecies, i.e. M.a. banksii, M. a. errans, and M. a. microcarpa. The information from this study could be used as basic information for consumers on banana consumption and breeders on cultivar improvement. Keywords: beta-carotene, wild-type banana, cultivated banana, DNA marker, genome 1 2

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 สถานีวิจยั ปากช่อง คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 30130

18-20 พฤศจิกายน 2558

27


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-26 การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพันธุ์มะพร้ าวโดยโมเลกุลเครื่องหมายเอสเอสอาร์ Genetics Diversity in Coconut Cultivars Revealed by SSR Markers อลิษา ภู่ประเสริฐ1, นงลักษณ์ คงศิริ1 และราตรี บุญเรืองรอด1 Alisa Pooprasert1 Nongluck Kongsiri1 and Ratri Boonruangrod1

บทคัดย่ อ การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพันธุ์มะพร้ าว 29 พันธุ์ ที่รวบรวมจากศูนย์วิจยั พืชสวนชุมพร และแหล่ง พันธุ์มะพร้ าวน ้าหอม จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครสวรรค์ โดยใช้ เครื่ องหมายโมเลกุล Simple Sequence Repeats (SSRs) จานวนไพร์ เมอร์ ทงหมด ั้ 14 ตาแหน่ง พบอัลลีลทังหมด ้ 87 อัลลีล เฉลี่ย 6.12 อัลลีลต่อตาแหน่ง โดยมีค่า PIC (Polymorphism Information Content) อยู่ในช่วงประมาณ 0.19 - 0.63 โดยเฉลี่ย ประมาณ 0.43 เมื่อวิเคราะห์ จัดกลุ่มโดยวีธี UPGMA (Unweighted Pair Group Method with Arithmetic Mean) สร้ างแผนภูมิต้นไม้ พบว่ามีค่าดัชนีความเหมือนอยู่ในช่วง 0.16-1 สามารถแบ่งกลุม่ ของพันธุ์มะพร้ าว ออกเป็ น 4 กลุม่ ประกอบด้ วย มะพร้ าวต้ นสูงกลุม่ ที่ 1 ได้ แก่ พันธุ์ปากจกยาว ปากจกสัน้ และ ทะลายร้ อย มะพร้ าวต้ นสูงกลุม่ ที่ 2 ได้ แก่ พันธุ์ทบั สะแก กะโหลก ชุมพรพื ้นเมือง นครศรี ธรรมราช และสตูล มะพร้ าวต้ นเตี ้ยกลุม่ ที่ 1 ได้ แก่ มะพร้ าวน ้าหวาน1 ทุ่งเคล็ด มะแพร้ ว นาฬิเก และหมูสีน ้าตาล มะพร้ าวต้ นเตี ้ยพันธุ์ปลูกกลุม่ ที่ 2 ได้ แก่ พันธุ์ปะทิว หมูสี แดง หมูสีเหลือง พวงร้ อย เปลือกหวาน มลายูเหลือง × กะทิ มะพร้ าวน ้าหวาน2 และมะพร้ าวน ้าหอม ซึง่ กลุม่ นี ้ส่วนใหญ่เป็ นพันธุ์ที่ นิยมบริ โภคผลอ่อนและค้ าขายเชิงพาณิ ชย์ การจาแนกพันธุกรรมโดยใช้ เครื่ องหมาย SSR สามารถนามาใช้ ในการศึกษา ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมได้ ซึง่ จะประโยชน์ในการจัดทาฐานข้ อมูลทางพันธุกรรมสาหรับงานปรับปรุงพันธุ์มะพร้ าวต่อไป คาสาคัญ: Simple Sequence Repeat มะพร้ าวต้ นเตี ้ย มะพร้ าวต้ นสูง

Abstract Simple Sequence Repeats (SSRs) were used to study the genetic diversity among 29 coconut cultivars from Coconut Germplasm Collection at Chumphon Horticultural Research Centre, Samutsakorn and Nakhon Sawan. A total of 14 SSR primer pairs were applied in this study. The result showed that 14 SSR markers were polymorphic that generated a total of 87 alleles, with an average of 6.12 alleles per locus. The Polymorphism Information Content (PIC) value was between 0.19 to 0.63, with an average of 0.43. The dendrogram produced based on UPGMA revealed four distinct groups, with Similarity Index (SI) ranged from 0.16-1. The four groups were: Group 1 consists of tall coconut varieties, including PakJokYao, PakJokSun and TalaiRoi; Group 2 consists of TabSaKae, Kaloak, ChumPhon Landrace, Nakhon Si Thammarat, and Satun; Group 3 consists of dwarf coconut, including NamWan1, TungKled, MaPraew, NaliKe, and MooSeeNamTan; Group 4 consists of dwarf and commercial cultivars, including Patew, MooSeeDaeng, MooSeeLueng, PoungRoi, PluakWan, Malayouleang × Kati, NamWan2, and NamHom. Genotype identification based on SSR markers could be used for genetic relationship evaluation, which would be beneficial for coconut breeding programs. Keywords: simple sequence repeat, dwarf coconut, tall coconut

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 28

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-27 การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและโครงสร้ างประชากรของกล้ วยไม้ รองเท้ านารี โดยใช้ เครื่องหมาย EST-SSR Genetic Diversity and Population Analysis of Lady’s Slipper Orchid Based on EST-SSR Markers อรอุมา รุ่ งน้ อย1 ประกิจ สมท่ า2 ชุตนิ ธร หยุนแดง2 สิทธิโชค ตัง้ ภัสสรเรือง3 ทศพร ธนามี4 ธีรพันธ์ โตธิรกุล5 และพีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์ 2 On-Uma Rungnoi1 Prakit Somta2 Chutintorn Yundaeng2 Sithichoke Tangphatsornruang3 Thotsaphorn Thanami4 Teeraphan Toterakun5 and Peerasak Srinives2

บทคัดย่ อ การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและโครงสร้ างประชากรของกล้ วยไม้ รองเท้ านารี จานวน 73 ตัวอย่าง โดย ใช้ เครื่ องหมาย EST-SSR จานวน 11 เครื่ องหมายที่พฒ ั นาขึ ้นใหม่จากกล้ วยไม้ รองเท้ านารี เหลืองตรังด้ วยเทคโนโลยีการค้ นหา ลาดับเบสยุคใหม่ (next-generation sequencing) ผลการตรวจสอบ พบจานวนอัลลีลทังสิ ้ ้น 95 อัลลีล เฉลี่ย 8.64 อัลลีลต่อ เครื่ องหมาย มีคา่ polymorphism information content (PIC) 0.459 ถึง 0.934 เฉลี่ย 0.720 ต่อเครื่ องหมาย ค่าเฮตเตอโรไซ โกซิตี ้ (HO) และค่าความหลากหลายของยีน (HE) ตังแต่ ้ 0.016 ถึง 0.297 และ 0.486 ถึง 0.960 ตามลาดับ การวิเคราะห์ โครงสร้ างประชากรด้ วยวิธี Bayesian clustering แบ่งตัวอย่างทังหมด ้ ออกเป็ น 2 ประชากรย่อย ซึง่ สอดคล้ องกับการวิเคราะห์ วิเคราะห์องค์ประกอบแกนหลัก Principle component analysis (PCA) และการวิเคราะห์ neighbor-joining analysis คาสาคัญ: กล้ วยไม้ รองเท้ านารี ความหลากหลายทางพันธุกรรม โครงสร้ างพันธุกรรมของประชากร เครื่ องหมาย EST-SSR

Abstract Genetic diversity and population structure of 73 lady’s slipper orchid accessions were assessed using 11 novel EST-SSR markers developed from Paphiopedilum godefroyae by next generation sequencing technology. A total of 95 alleles were detected with a mean value of 8.64. Polymorphic information content (PIC) values ranged from 0.459 to 0.934 with the average of 0.720 per locus. Observed heterozygosity (HO) varied from 0.016 to 0.297 per locus, while gene diversity (HE) ranged from 0.486 to 0.960 per locus. STRUCTURE analysis, principle component analysis and neighbor-joining analysis consistently clustered 73 accessions into 2 subpopulations. Keywords: lady’s slipper orchid, genetic diversity, population genetic structure, EST-SSR markers1

1

สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 2 ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 3 ศูนย์พนั ธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 113 อุทยานวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตาบลคลองหนึง่ อาเภอคลองหลวง ปทุมธานี 12120 4 โครงการอนุรักษ์ พนั ธุ์กล้ วยไม้ รองเท้ านารี อินทนนท์ ตามพระราชดาริ ในพื ้นที่ภาคเหนือ (ดอยอินทนนท์) อาเภอจอมทอง เชียงใหม่ 50160 5 มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง โครงการพัฒนาดอยตุง อาคารเอนกประสงค์ โครงการพัฒนาดอยตุง ตาบลแม่ฟ้าหลวง อาเภอแม่ฟ้าหลวง เชียงราย 57240 18-20 พฤศจิกายน 2558

29


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-28 การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของเมล่ อนโดยเทคนิคเครื่องหมายสนิปส์ Evaluation of Genetic Diversity in Melon (Cucumis melo L.) by SNP Markers Technique วิภาดา เจริญชาติ1 เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี 1 แสงทอง พงษ์ เจริญกิต2 และอรพินธุ์ สฤษดิ์นา1 Wipada Charoenchad1 Chalermsri Nontaswatsri1 Saengtong Pongjaroenkit2 and Orapin Saritnum1

บทคัดย่ อ เมล่อน (Cucumis melo L.) เป็ นพืชที่สาคัญในสกุลแตงทังในด้ ้ านเศรษฐกิจและคุณค่าทางโภชนาการ เมล่อนมีความ หลากหลายทางด้ านพันธุกรรมและลักษณะทางสัณฐานวิทยา เช่น ลักษณะผิวผล สีผล สีเนื ้อผล ขนาดผล กลิ่น ความหวาน และความต้ านทานโรค เป็ นต้ น จากการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของเมล่อนจานวน 15 ตัวอย่าง โดยการเก็บ บันทึกลักษณะทางสัณฐานวิทยาจานวน 7 ลักษณะ และเครื่ องหมายดีเอ็นเอสนิปส์ (SNP) พบว่า เครื่ องหมายดีเอ็นเอสนิปส์ จานวน 232 เครื่ องหมาย จาก 350 เครื่ องหมาย แสดงความแตกต่างระหว่างแต่ละตัวอย่างเมล่อน มีค่าสัมประสิทธิ์ ความ เหมือนทางพันธุกรรมอยู่ระหว่าง 0.63-0.97 การจัดกลุม่ โดยวิธี UPGMA สามารถแบ่งได้ 4 กลุม่ โดยเมล่อนที่มีลกั ษณะผิวผล แบบตาข่ายสามารถจัดอยู่ในกลุ่มที่ 1 และ 2 ซึ่งในสองกลุ่มนี แ้ ตกต่างกันที่ ลักษณะสีผิวผลและสีเนื อ้ ผล ส่วนเมล่อนที่ มี ลักษณะผิวผลแบบเรี ยบสามารถจัดได้ ในกลุม่ ที่ 3 และ 4 ซึ่งการจัดกลุม่ ดังกล่าวมีความสัมพันธ์กบั ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ข้ อมูลที่ได้ นี ้จะเป็ นประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์เมล่อนต่อไป คาสาคัญ: เมล่อน สัณฐานวิทยา สนิปส์ ความหลากหลายทางพันธุกรรม

Abstract Melon (Cucumis melo L.) is one of the most important cultivated cucurbits in both of economic and nutrient value. They are grown primarily for their fruit, which show variation of genotype and phenotype such as fruit surface, fruit color, flesh color, fruit size, aromatic, total soluble solid and disease resistance. Genetic diversity among 15 melon samples was studied by analyzing seven morphological traits and SNP molecular markers. The genetic diversity based on 232 of 350 SNP markers was showed similarity coefficient by Simple-matching method range between 0.63-0.97. A cluster analysis by UPGMA method was revealed to 4 clusters. Netted melon was grouped in cluster I and II which differentiated in fruit and flesh color. Smooth melon was grouped in cluster III and IV. The cluster analysis was related to morphology and the data will be useful for melon breeding program further. Keywords: Cucumis melo L., morphology, SNP marker, genetic diversity

1 2

Program in Horticulture, Faculty of Agricultural Production, Maejo University, Chiang Mai 50290, Thailand Faculty of Science, Maejo University, Chiang Mai 50290, Thailand 30

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Bi-29 การประเมินฟั กทองพันธุ์พนื ้ เมืองในสภาพฤดูร้อนในเขตอาเภอกาแพงแสน Evaluation of Landrace Pumpkin Cultivars during Summer Season in Kamphaeng Saen District นพวรรณ หนองใหญ่ 1 ปณาลี ภู่วรกุลชัย1 ปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ1 และอัญมณี อาวุชานนท์ 1 Nopawan Nongyai1 Panalee Pooworakulchai1 Piyanath Pagamas1 and Anyamanee Auvuchanon1

บทคัดย่ อ ปั ญหาของการผลิตฟั กทองอย่างหนึ่งคือ การไม่ติดผลในช่วงฤดูร้อน จึงทาการศึกษาฟั กทองพันธุ์พื ้นเมือง 18 พันธุ์ ที่ รวบรวมจากจังหวัด น่าน เชียงราย ชัยภูมิ สกลนคร ชุมพร นครปฐม และกาญจนบุรี เพื่ อประเมินความสามารถในการให้ ผล ผลิตในเขตอาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยปลูกฟั กทองทุกพันธุ์ ให้ มี การติดผลในสัปดาห์ที่ 1 และ 2 ของเดือนเมษายน และมีการพัฒนาผลฟั กทองจนสิ ้นสุดในสัปดาห์สดุ ท้ ายของเดือนพฤษภาคม ซึ่งอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดของเดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 เป็ น 37.3 และ 36.8 องศาเซลเซียส ตามลาดับ ฟั กทองที่สามารถให้ ผลผลิตได้ ดีในช่วงดังกล่าวมี 7 พันธุ์ คือ ดอนตูม -1 KPS-1 กาญจนบุรี-1 กาญจนบุรี-3 กระโถน สังขละ บุรี-2 และสวี โดยมีน ้าหนักผลเฉลี่ย 1,066.2 1,133.2 749.2 1,299.3 830.8 951.4 และ 401.3 กรัม ตามลาดับ โดยพบ ความสัมพันธ์ ของนา้ หนักผลกับความหนาเนือ้ (r=0.822**) และเปอร์ เซ็นต์นา้ หนักแห้ งกับความแน่นเนือ้ (r=0.841**) พบ ความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติของลักษณะเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ ง และค่าความแน่นเนื อ้ แต่ไม่พบความแตกต่าง ของปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองที่มีแหล่งปลูกในเขตอุณหภูมิต่าของประเทศไทยส่วนใหญ่ไม่ทนทาน ต่อโรคไวรั ส แต่ฟักทองที่ ให้ ผลผลิตได้ ทัง้ 7 พันธุ์ทนทานต่อโรครานา้ ค้ างและไวรั สได้ ดี จึงทาการคัดเลือกเพื่อใช้ เป็ นเชื อ้ พันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์ฟักทองที่ทนต่อสภาพร้ อนของไทยต่อไป คาสาคัญ: ฟั กทอง อุณหภูมิสงู การติดผล

Abstract A problem of pumpkin in the summer is the fruit setting. In this study, 18 landrace pumpkin cultivars were evaluated their ability to produce in Kamphaeng Saen, Nakhon Pathom during February to May 2014 by planting for pumpkin fruit set in the first and second week of April and the development of the pumpkin fruit until the last week of May. In April and May 2014, an average maximum temperature was 37.3 and 36.8 C, respectively. Seven pumpkin cultivars can be harvested that were Dontum-1 KPS-1 Kanchanaburi-1 Kanchanaburi-3 Katone Sagklaburi-2 and Savee with average fruit weight are 1,066.2 1,133.2 749.2 1,299.3 830.8 951.4 and 401.3 g, respectively. There are correlation between fruit weight and fresh thickness (r=0.822**), and percent of dry weight and fresh firmness (r=0.841**). There are significant different of dry weight and fresh firmness but no different of total soluble solid. Most pumpkin cultivars from cold area of Thailand were susceptible to virus. However, all seven cultivars that can produce fruit were moderately virus resistance and resistance to downy mildew disease. We selected seven landrace pumpkin cultivars as germplasm for pumpkin breeding program to grow in the summer of Thailand. Keywords: pumpkin, high temperature, fruit setting

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

31


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

32

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

18-20 พฤศจิกายน 2558

33


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

34

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-01 ผลของความสูงจากระดับนา้ ทะเลต่ อการเจริญเติบโต ผลผลิต และสารเผ็ดของพริกเผ็ด (Capsicum chinense) ภายใต้ สภาพโรงเรือน Impact of Elevations above Sea Level on Growth, Fruit Yield and Capsaicinoid Accumulations of Hot Pepper (Capsicum chinense Jacq.) under Control-House นครินทร์ จีอ้ าทิตย์ 1 สุชีลา เตชะวงค์ เสถียร1 พลัง สุริหาร1 และสังคม เตชะวงค์ เสถียร1 Nakarin Jeeatid1 Suchila Techawongstien1 Bhalang Suriharn1 and Sungcom Techawongstien1

บทคัดย่ อ การศึกษาการตอบสนองของพันธุ์พริ กเผ็ดจานวน 10 พันธุ์ ที่มีความเผ็ดแตกต่างกัน ภายใต้ โรงเรื อนใน 2 พื ้นที่ที่มี ความสูงจากระดับน ้าทะเลแตกต่างกัน ( 200 เมตร ณ หมวดพืชผัก คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ 20 เมตร ณ บริ ษัท บางกอกแลป แอนด์ คอสเมติค จากัด จังหวัดราชบุรี ) พบว่า อิทธิพลของปฏิสมั พันธ์ระหว่างพันธุ์และพื ้นที่ปลูกมีผล ต่อการเจริ ญเติบโต ผลผลิต และสารเผ็ด โดยพริ กที่ปลูก ณ ขอนแก่น มีการเจริ ญเติบโต จานวนผลต่อต้ น และผลผลิตแห้ งต่อ ต้ นสูงกว่าพริ กที่ปลูกที่จงั หวัดราชบุรี อีกทังพั ้ นธุ์ Phet Mordindang และ Tubtim Mordindang มีผลผลิตสูงทังสองพื ้ ้นที่ ใน ลักษณะสาร Capsaicinoid พบว่า พันธุ์ Bhut Jolokia และ HB3 มีความเผ็ดที่สงู ทัง้ 2 พื ้นที่ แต่ในลักษณะผลผลิตสารเผ็ดนัน้ พบว่า พันธุ์ Phet Mordindang และ Tubtim Mordindang มีผลผลิตสารเผ็ดสูงทังสองพื ้ ้นที่ ในการศึกษานี ้ยังพบอีกว่า พริ กที่ มีสารเผ็ดสูงมากกว่า 300,000 SHU (Bhut Jolokia และ HB3) ซึง่ ปลูกในพื ้นที่ที่มีความสูงจากระดับน ้าทะเลมากกว่าจะมีสาร เผ็ดสูง ส่วนพันธุ์ที่มีความเผ็ดต่ากว่า 300,000 SHU จะมีความผันแปรต่อสภาพพื ้นที่แตกต่างกัน งานทดลองนี ้สรุปได้ ว่า พริ ก พันธุ์ลกู ผสม Phet Mordindang และ Tubtim Mordindang ไม่แปรผันต่อสภาพพื ้นที่ปลูกและเหมาะสมสาหรับการผลิตพริ ก เพื่อนาสารเผ็ดไปใช้ ในอุสาหกรรมสารเผ็ด คาสาคัญ: แคปไซซิน ไดไฮโดรแคปไซซิน เภสัชกรรม อุตสาหกรรมสารเผ็ด

Abstract Ten cultivars of hot pepper based on pungency level were grown during a dry season, at elevations above sea level of 200 m (Khon Kaen) and 20 m (Ratchaburi) in Thailand. The interactions between varieties and locations were observed in most characteristics studied. Growth, fruit number and dry fruit yield, for most varieties were higher at Khon Kaen than at Ratchaburi. Phet Mordindang and Tubtim Mordindang gave high yield in both locations. Although, Bhut Jolokia and HB3 gave high capsaicinoid contents at both locations but Phet Mordindang, Tubtim Mordindang and HB1 showed the highest capsaicinoids yield at both locations. Moreover, Bhut Jolokia and HB3 (≥300,000 SHU) gave higher pungency at higher elevation though it fluctuated for lower pungent varieties. Our results suggest that Phet Mordindang and Tubtim Mordindang cultivars showed high stability for pungency and good for capsaicinoids extraction industries. Keywords: Capsaicin, dihydrocapsaicin, pharmaceutical, capsaicinoids extraction industries 1

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น 40002

18-20 พฤศจิกายน 2558

35


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-02 การตรวจสอบความมีชีวิตของเรณูในผักกาดขาวปลี The Investigation of Pollen Viability in Chinese Cabbage ศรสวรรค์ ศรีมา1 และจุฑามาส คุ้มชัย1 Sornsawan Srima1 and Jutamas Kumchai1

บทคัดย่ อ การศึกษาความมีชีวิตของเรณูในผักกาดขาวปลีพนั ธุ์จานวน 7 พันธุ์ ได้ แก่พนั ธุ์ 23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 1426-5, 142-7-12 และ พันธุ์จากประเทศจีน เป็ นการศึกษาเบื ้องต้ นของการปรับปรุงและการผลิตลูกผสมผักกาดขาวปลีที่เหมาะ กับประเทศไทย ระยะเวลาทาการทดลองระหว่างเดือนสิงหาคม 2557 ถึงกรกฎาคม 2558 ณ สถานีวิจัยแม่เหียะคณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตรวจสอบลักษณะสัณฐานวิทยาของดอกและเก็บอับเรณู จากดอกที่บานของแต่ละพันธุ์ นามาย้ อมสีละอองเกสรเพศผู้ด้วย I2-KI แล้ วนามาส่องภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์แบบใช้ แสง พบว่าลักษณะเกสรพันธุ์ 23-6, 23-87, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5, 142-7-12 มีลกั ษณะดอกที่ปกติและสามารถย้ อมสีติดในส่วนของเรณูและอับเรณู ในขณะที่ พันธุ์ จากประเทศจีนปรากฏการติดสีเฉพาะอับเรณูแต่ไม่พบเรณู และลักษณะของดอกก็มีความแตกต่างจากพันธุ์อื่นๆ โดยบางต้ น ดอกจะมีกลีบดอกยาวปลายแหลม ส่วนของเกสรเพศเมียยื่นเลยกลีบดอกที่ไม่บาน จากการทดลองนีส้ รุ ปได้ ว่า ในการผลิต เมล็ดพันธุ์ลกู ผสมนันสามารถเลื ้ อกพันธุ์ 23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5 และ 142-7-12 เป็ นพ่อและแม่พนั ธุ์ได้ เนื่องจากมีเกสรเพศผู้ปกติทงหมด ั้ สาหรับพันธุ์จากประเทศจีนนันเป็ ้ นพันธุ์ที่มีเกสรเพศผู้เป็ นหมันนามาใช้ แม่พนั ธุ์ ซึ่งเป็ นอีก ทางเลือกหนึ่งในการลดต้ นทุนและแรงงานในการผลิตเมล็ดพันธุ์ลกู ผสม นอกจากนี ้ยังมีความน่าเชื่อถือและแม่นยากว่าระบบ การผลิตลูกผสมโดยการอาศัยลักษณะการผสมตัวเองไม่ติด คาสาคัญ: ผักกาดขาวปลี เกสรเพศผู้เป็ นหมัน ความมีชีวิตของละอองเกสรเพศผู้ สีย้อมโพแทสเซียม ไอโอไดด์

Abstract The study on pollen viability in seven varieties of Chinese cabbage, 23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5, 142-7-12 and a variety from China were basic study of Chinese cabbage improvement and seed production that suitable for Thailand. This research was done during August 2016 to July 2017 at Mae-Hia Agricultural Research, Demonstrative, and Training Center. Morphology of the flower was determined and fresh pollen from opened flower of seven varieties were collected and stained with I2-KI. The samples were observed under a light microscope. The results found that pollens of 23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5, and 142-7-12 varieties were round shape, uniform and normal size. While, a variety from China had anther, without pollen grain. Moreover, flowers of some plant were different with other varieties such as long and sharp petals. The stigma extruded petal and flower did not open. This study indicated that the possible male and female lines of Chinese cabbage seed production were 23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5, 142-7-12 because there were normal pollen grains. A variety from China was male-sterile that used to be a female line. It is an optional way for hybrid seed production because it decreases the cost and labors. Moreover, it is also reliability and validity for hybrid seed production than the self-incompatibility system. Keywords: chinese cabbage, cytoplasmic male sterility, pollen viability, I2-KI stain

1

สาขาวิชาพืชสวน ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 36

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-03 การทดสอบความต้ านทานของมะเขือเทศผสมกลับรุ่ นที่6 ชั่วรุ่นที่ 2 (BC6F2) ต่ อเชือ้ ไวรัสใบหงิก เหลืองมะเขือเทศสายพันธุ์นครปฐม เชียงใหม่ และหนองคาย The Resistance Test of BC6F2Generation to Tomato Yellow Leaf Curl Virus (TYLCV);Nakhon Pathom, Chiang Mai and Nong Khai Strains. อิสระยศ สินบุญยะมะ1,2อุไรวรรณ พงษ์ พยัคเลิศ1นริศา เจือจุล1 อรอุบล ชมเดช1,2 และจุลภาค คุ้นวงศ์ 1,2,3 Itsarayot Sinbunyama1,2 Uraiwan Pongpayaklers1Narisa Juejun1Ornubol Chomdej1,2 and Julapark Chunwongse1,2,3

บทคัดย่ อ การปรับปรุ งพันธุ์มะเขือเทศให้ มีความต้ านทานโรคใบหงิกเหลืองมะเขือเทศเกิดจากเชื ้อ Tomato Yellow Leaf Curl Virus (TYLCV) โดยนาลักษณะความต้ านทานจากมะเขือเทศสายพันธุ์ป่า Solanum habrochaites มาผสมกลับ และคัดเลือกต้ น ที่มียีนต้ านทานหลักบนโครโมโซม 11 โดยใช้ เครื่ องหมายโมเลกุล 3 ตาแหน่งได้ แก่ TG400, T0302 และ TG105A จนถึงรุ่น BC6F2 จากนันน ้ าไปทดสอบความต้ านทานต่อเชื ้อ TYLCV สายพันธุ์นครปฐม เชียงใหม่ และ หนองคาย โดยให้ คะแนนจากอาการของ โรคทุกๆ สัปดาห์ เป็ นเวลา 8 สัปดาห์ และตรวจสอบปริ มาณเชื ้อด้ วยเทคนิค ELISA พบว่ามะเขือเทศสายพันธุ์ป่า แสดงความ ต้ านทานต่อเชื ้อไวรัสทังสามสายพั ้ นธุ์ โดยมีค่าเฉลี่ยของการเกิดโรคสูงสุดไม่เกิน 0.3 และค่า ELISA ที่ต่าแสดงว่าไม่เป็ นโรค ส่วน มะเขือเทศลูกผสมรุ่น F1 แสดงความต้ านทานอยูใ่ นระดับสูงถึงปานกลาง โดยมีคะแนนการเกิดโรคอยู่ระหว่าง 0.73-1.5 แต่มะเขือ เทศรุ่ น BC6F2 กลับแสดงความต้ านทานไม่ดีเท่ามะเขือเทศสายพันธุ์พ่อและลูกผสมรุ่ น F1 ในทุกพื ้นที่ทดสอบ ซึ่งเป็ นผลมาจาก การคัดเลือกตาแหน่งยีนต้ านทานหลักบนโครโมโซม 11 เพียงตาแหน่งเดียว ทาให้ ยีนต้ านทานรองหลุดหายไปดังนันจึ ้ งควรมีการ รวมยีนต้ านทานที่เกี่ยวข้ อง เพื่อให้ มะเขือเทศสามารถต้ านทานต่อเชื ้อ TYLCV ได้ ในหลายพื ้นที่ปลูก คาสาคัญ: มะเขือเทศ ไวรัสใบหงิกเหลืองมะเขือเทศ ยีนต้ านทานโรคใบหงิกเหลืองมะเขือเทศ Abstract To improve the resistance to tomato yellow leaf curl disease caused by Tomato Yellow Leaf Curl Virus (TYLCV), backcrossing (BC) is used to introgress resistant genes from a wild species, Solanum habrochaites. Tomato seedlings from the BC6 F2 generation were verified by 3 DNA markers (TG400, T0302 and TG105A) for major resistant gene on chromosome 11. Selected lines were tested to 3 strains of TYLCV, i.e., Nakhon Pathom, Chiang Mai and Nong Khai. Symptom observations were made every week for 8 weeks and plants were validated for viral accumulation using ELISA technique at 8 weeks post inoculation. The results showed that the wild species expressed a complete resistance to all 3 strains of viruses (score at ≤ 0.3) with low ELISA readings and the F1 hybrid showed a moderate level of resistance at 0.73 to 1.5 disease scoring. Unfortunately, derived lines at BC 6F2 were susceptible to all viral strains. This indicated that resistance was quantitatively inherited from a donor parent and controlled by a concert with multiple genes. In order to develop a commercial cultivar that expresses a high resistant level to several planting areas, major and minor genes will need to be combined. Keywords: tomato, Tomato Yellow Leaf Curl Virus, TYLCV resistance genes

1

ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 Agricultural Biotechnology, Science and Technology Postgraduate Education and Research Development Office ( AG/BIO-PERDO) 3 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 2

18-20 พฤศจิกายน 2558

37


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-04 การศึกษาความหลากหลายอัลลีลของยีน Lin5 ที่เกี่ยวข้ องกับ Soluble Solid Content Study of Allellic Variation in Lin5Gene Associated with Soluble Solid Content จุฬาลักษณ์ น้ อยแสง1,2 เกียรติสุดา เหลืองวิไล3 และจุลภาค คุ้นวงศ์ 1,2,3 JuraluckNoisang 1, 2 KietsudaLuengwilai3 and JulaparkChunwongse 1,2, 3

บทคัดย่ อ การศึกษาความสัมพันธ์ความหวานในผลมะเขือเทศกับความแตกต่างในบริ เวณ Lin5 gene จากการวิเคราะห์ความ หลากหลายอัลลีล ของยีน Lin5 ที่ควบคุมการสร้ าง extracellular invertase ซึง่ มีหน้ าที่เปลี่ยน sucrose เป็ น glucose และ fructose พบได้ ในผลที่เข้ าสู่ระยะสุกร่วมกับการตรวจสอบลักษณะทางฟี โนไทป์ ได้ แก่ Brix, ปริ มาณแป้งและ น ้าตาลจาก มะเขือเทศทังหมด ้ 3 ชนิด จานวน 11 พันธุ์ ได้ แก่ S. pimpinellifolium: Wva700, L3708, TOMAC 547S. lycopersicum: SD2, SD3, Cherry154, Cherry267, Cherry155, Tony, O4 และ S. hirsutum: L06112 (C1) พบว่าสามารถแยกความ แตกต่างของยีน Lin5 ของพันธุ์มะเขือเทศได้ ด้วยไพรเมอร์ 3 คู่ ที่ครอบคลุมบริ เวณยีน Lin5 โดยสามารถใช้ ไพรเมอร์ ดงั กล่าว คัดเลือกมะเขือเทศที่ผลมีความความหวานสูง และสัมพันธ์ กบั ลักษณะจีโนไทป์ เพื่อปรับ ปรุ งพันธุ์มะเขือเทศเชอร์ รี่ให้ มีความ หวานเพิ่มขึ ้นในลาดับต่อไป คาสาคัญ: มะเขือเทศเชอร์ รี่ ความหลากหลายอัลลีล ยีน Lin5 ลักษณะความหวาน

Abstract An association study of allelic variation of Lin5 gene with sweetness in tomato fruit was conducted. Soluble solid content in fruit was found to associate with an extracellular invertase gene (Lin5 gene) that cleaves sucrose molecules into glucose and fructose. Lin5 gene has been found to express specifically in ovaries and developing fruits. The analysis of allelic variations of Lin5 gene together with fruit phenotype measurements, i.e., °Brix, starch and sugar contents including sucrose, glucose and fructose, will be done. The allelic variation in the Lin5 gene from three tomato species including 11 tomato varieties i.e., S. pimpinellifolium: ‘Wva700’, ‘L3708’, ‘TOMAC547’, S. lycopersicum: ‘SD2’,’SD3’, ‘Cherry154’, ‘Cherry267’, ‘Cherry155’, ‘Tony’, ‘O4’and S. hirsutum: L06112 (C1). The three primer pairs were designed to span the Lin5 gene and used to identify variations in Lin5 gene. These Lin5 markers can be used to select for higher sweetness allele to improve soluble solid content of cherry tomato in breeding program. Keywords: cherry tomato, allelic variation, Lin5 gene, sweetness

ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 ศูนย์ความเป็ นเลิศด้ านเทคโนโลยี ชีวภาพเกษตร สานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจยั ด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กรุงเทพฯ 10900 3 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสนนครปฐม 73140 1

2

38

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-05 การศึกษาตาแหน่ งยีนต้ านทานเชือ้ ไวรัส ChiVMV ในประชากรพริกดับเบิลแฮพลอยด์ Molecular Mapping Study of ChiVMV Resistance in Double Haploid Pepper population จุลภาค คุ้นวงศ์ 1,2,3 จิตรภานุ แย้ มจะบก2 กมลสิริ เพชรบูรณ์ 2 ณัฏยา ศรีสวัสดิ์2 สุจนิ ต์ ภทั รภูวดล2, 3, 4 และสิริกุล วะสี5 Julapark Chunwongse1, 2, 3 Jitpanu Yamjabok2 Kamonsiri Petchaboon2, Nattaya Srisawad2 Sujin Patarapuwadol2, 3, 4 and Sirikul Wasee5

บทคัดย่ อ การประเมินความต้ านทานเชือ้ ไวรัส chiVMV ในประชากรพริ กดับเบิลแฮพลอยด์ จากพริ กคู่ผสม 83-168 และ PEPAC25 ทัง้ 155 สายพันธุ์ ต่อเชื ้อ ChiVMV-KPS9 และ ChiVMV-NK ด้ วยเทคนิค indirect ELISA ภายหลังการปลูกเชื ้อ 2 สัปดาห์ และ 4 สัปดาห์ นาผลมาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความต้ านทานเชื ้อ ChiVMV สายพันธุ์ KPS9 และ NK โดยใช้ ค่า ELISA และค่าการให้ คะแนนความรุนแรง กับจีโนไทป์ ของดีเอ็นเอเครื่ องหมาย พบว่า CN434 ที่อยู่บน linkage group 2 และ pvr6 ที่อยู่บน linkage group 9 มีความสัมพันธ์ในระดับที่สงู (p<0.00005) และมีค่า %variation ประมาณ 16-29% และ 10-20% ตามลาดับ เมื่อนาเอาประชากร DH มาจัดกลุม่ ตามจีโนไทป์ ของดีเอ็นเอเครื่ อ งหมายทัง้ 2 ตาแหน่งได้ 4 กลุม่ พบว่า กลุม่ จีโนไทป์ ที่ได้ อลั ลีล ต้ านทานของ CN4343 จาก PEPAC25 และอัลลีลต้ านทานของ pvr6 จาก 83-168 มีความต้ านทาน มากกว่ากลุม่ จีโนไทป์ อื่นๆ คาสาคัญ: เชื ้อไวรัสใบด่างประพริก ChiVMV-KPS9 ChiVMV-NK การหาตาแหน่งยีนต้ านทาน

Abstract Chili Veinal Mottle Virus (ChiVMV) resistance evaluations of 155 double haploids of pepper derived from the cross between ’83-168’ and ‘PEPAC25’ were done for 2 ChiVMV isolates, ChiVMV-KPS9 and ChiVMV-NK. Indirect ELISA were assessed after 2 and 4 weeks after inoculation. The association of ChiVMV resistant phenotypes to ChiVMV-KPS9 and NK, using ELISA reading and disease scoring, with DNA markers genotypes was conducted. The markers CN434 on linkage group 2 and pvr6 on group 9 were found to be highly related to the resistance (p<0.00005), with phenotypic variation of 16-29% and 10-20% respectively. When compare 4 groups of the DH lines which were grouped according to both DNA marker genotypes, the group with resistance allele from CN434 and resistance allele from pvr6 from 83-168 show the highest resistance than other genotype groups. Keywords: Chili Veinal Mottle Virus, ChiVMV-KPS9, ChiVMV-NK, mapping disease resistance

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 3 ศูนย์ความเป็ นเลิศด้ านเทคโนโลยี ชีวภาพเกษตร สานักพัฒนาบัณฑิตศึกษา และวิจยั วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กรุงเทพฯ 10900 4 ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 5 ศูนย์วิจยั และพัฒนาพืชผักเขตร้ อน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 2

18-20 พฤศจิกายน 2558

39


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-06 การเปรียบเทียบพันธุ์ปาล์ มนา้ มันในพืน้ ที่จันทบุรี Comparison of Oil Palm in Chanthaburi อรวินทินี ชูศรี1 ศิริพร วรกุลดารงชัย1 ณิศชาญา บุญชนัง1 และศิริวรรณ ศรีมงคล1 Orwintinee Chusri Siripron Vorakhuldumrongchai1 Nitchaya Boonchanung1 and Siriwan Srimongkol1 1

บทคัดย่ อ การทดสอบพันธุ์ปาล์มน ้ามันลูกผสมในพื ้นที่ จันทบุรี ณ ศูนย์ วิจยั พืชสวนจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี โดยใช้ ปาล์มน ้ามัน ลูกผสมเทเนอรา (DxP) 6 พันธุ์ ได้ แก่ สุราษฎร์ ธานี (สฎ.) 1 2 3 4 5 และ 6 ลงปลูกในแปลงเมื่อวันที่ 22-23 ธันวาคม 2549 ดูแลรักษาแปลงทดลองและให้ ปยเคมี ุ๋ ตามเอกสารวิชาการปาล์มน ้ามัน กรมวิชาการเกษตร ผลการทดสอบ พบว่า อัตราส่วนช่อ ดอกเพศเมีย (sex-ratio) เฉลี่ย 8 ปี อยู่ระหว่าง 51.6-71.0 เปอร์ เซ็นต์ โดยพันธุ์ สฎ 2 มีอตั ราส่วนช่อดอกเพศเมียสูงสุดเฉลี่ย 71.0 เปอร์ เซ็นต์ ผลผลิตทะลายปาล์มนา้ มันลูกผสมตลอดระยะเวลา 7 ปี (มี.ค.52-พ.ค.58) พบว่า พันธุ์ สฎ 1 ให้ ผลผลิต ทะลายสะสมเฉลี่ยสูงสุด 3,595.6 กิโลกรัม/ไร่ รองลงมาคือ พันธุ์ สฎ 2, สฎ 4, สฎ 5, สฎ 3 และ สฎ 6 ซึ่งให้ ผลผลิตทะลาย สะสม 3,358.0 3,228.4 3,146.1 2,966.5 และ 2,947.9 กิโลกรัม/ไร่ โดยพันธุ์ สฎ 1, สฎ 2 และ สฎ 4 มีแนวโน้ มเป็ นพันธุ์ปลูกที่ เหมาะสาหรับปลูกในพื ้นที่จงั หวัดจันทบุรี เนื่องจากสามารถเจริ ญเติบโตได้ ดีให้ ผลผลิตทะลายและจานวนทะลายสูง มีจานวน ช่อดอกเพศเมีย ช่อดอกกระเทย และอัตราส่วนเพศ (sex-ratio) ค่อนข้ างสูง ซึ่งลักษณะดังกล่าวสามารถบ่งบอกแนวโน้ มการ ให้ ผลผลิตที่จะเกิดขึ ้นในอนาคต แต่อย่างไรก็ตามจาเป็ นต้ องมีการจัดการแปลงที่เหมาะสมและการให้ น ้าเพิ่มเติมในช่วงฤดูแล้ ง คาสาคัญ: ปาล์มน ้ามัน ผลผลิต ทะลาย อัตราส่วนเพศ

Abstract A Study on yield trial of oil palm grown Chanthaburi Horticultural Research Center (CHRC), Chanthaburi Province was conduct. All palms are true hybrid Tenera (DXP), the varieties were Suratthani (SR) 1 2 3 4 5 and 6. There were planted on 22-23 December 2006. Maintenance of soil and fertilizer were contributed according to the oil palm guide line, Department of Agriculture. The result showed that, the average of proportion flowering females (sex-ratio) of Suratthani varities ranged from 51.6-71.0 %. SR-2 showed the highest sex-ratio about 71.0 %. In Much 2009- May 2015, there was the highest total yield in the SR-1 about 3,595.6 Kg/rai There were total yield in the SR-2, SR-4, SR-5, SR-3 and SR-6 about 3,358.0 3,228.4 3,146.1 2,966.5 and 2,947.9 Kg/rai, respectively. Base on the result, SR-1, SR-2 and SR-4 are trends to be cultivated in Eastern Region. Because there are quite well vegetative growth and high yield also the number of female inflorescences and number of hermaphrodite inflorescences and sex-ratio are relatively high. Such characteristics can indicate the trend of the yield that will occur in the future. However, we should be requires a suitability management and water supplement during the dry season. Keywords: oil palm, yield, inflorescence, sex-ratio

1

ศูนย์วิจยั พืชสวนจันทบุรี ต.ตะปอน อ.ขลุง จ.จันทบุรี 22110 40

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-07 การประเมินลักษณะพันธุ์ของข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วงโดยใช้ การวิเคราะห์ องค์ ประกอบหลัก และการจัดกลุ่ม Characterization and Evaluation of Purple-waxy Corn Varieties Using Principal Component and Cluster Analysis ณัฐพร บุตรนุช1 และบุบผา คงสมัย2 Nattaporn Butnut1 และ Buppa Kongsamai2

บทคัดย่ อ ประเทศไทยข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วงหรื อสีแดงได้ รับความนิยมบริ โภคสดมากขึ ้น เนื่องจากมีสารต้ านอนุมลู อิสระที่ สาคัญคือแอนโทไซยานิน การวิจัยนีจ้ ึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมในลักษณะผลผลิตและการ เจริ ญเติบโตของข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วงพันธุ์ลกู ผสม สายพันธุ์ปรับปรุ งของประเทศไทยและจีน จานวน 13 พันธุ์ พบว่า ลักษณะน ้าหนักฝักสดปอกเหลือกและน ้าหนักฝักไม่ปอกเปลือก มีสหสัมพันธ์ ทางสถิติในทางบวกกับลักษณะขนาดฝั ก ผลการ วิเคราะห์องค์ประกอบหลัก พบว่า มี 5 องค์ประกอบที่มีค่า eigenvalues มากกว่า 1.0 คิดเป็ น 91.3% ของความแปรปรวน ทังหมดโดยที ้ ่น ้าหนักฝักทังปอกเปลื ้ อกและไม่ปอกเปลือก ความกว้ างและความยาวฝัก และอายุออกดอก มีค่าสัมประสิทธิ์ของ ความแปรปรวนหลักสูงกว่าลักษณะอื่น ๆ แสดงว่า เป็ นลักษณะที่สาคัญต่อการคัดเลือกเพื่อเพิ่มผลผลิตในข้ าวโพดข้ าวเหนียว โดยสามารถจัดกลุม่ ข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วงโดยใช้ Euclidean distance ได้ เป็ น 3 กลุม่ คือ กลุม่ ที่ 1 ประกอบด้ วย 4 พันธุ์ กลุม่ ที่ 2 ประกอบด้ วย 3 พันธุ์ และกลุม่ ที่ 3 ประกอบด้ วย 6 พันธุ์ โดยกลุม่ พันธุ์ที่มีอายุออกดอกเร็วและขนาดฝักเล็ก จัดอยู่ใน กลุม่ ที่ 1 ส่วนกลุม่ พันธุ์ที่ให้ ผลผลิตฝักสูง และขนาดฝักใหญ่ รวมทังพั ้ นธุ์ที่มาจากประเทศจีนจัดอยูใ่ นกลุม่ ที่ 3 คาสาคัญ: ข้ าวโพดข้ าวเหนียว สหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางฟี โนไทป์ การวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก การจัดกลุม่

Abstract Red or purple waxy corn is gradually consumed In Thailand because of availability of an antioxidant substance, especially anthocyanin. The objective of this research was to evaluate yield and growth performance of 13 varieties of the commercial hybrids and breeding lines of purple waxy corn of Thailand and China. The phenotypic correlation between ear weights was significantly and positively associated with ear size. From the principal component analysis, five components, which their eigenvalues higher than 1.0, were accounted for 91.3% of the total variation. A large variability was observed for the un-husked and husked ear weight, ear width and ear length, and days to flowering relative to the other traits, indicating that these are the important traits that should be considered for selection to increase yield in these purple waxy corns. Cluster analysis, based on Euclidean distance, grouped 13 varieties into 3 district clusters. Cluster I, included 4 varieties, which had earlyflowering and small ear width. Cluster II, included 3 varieties, and cluster III included 6 varieties. The varieties that gave high ear weight, and large ear size, including the varieties from China, were grouped into the third group. Keywords: waxy corn, phenotypic correlation, principal component analysis, cluster analysis

1 2

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม

18-20 พฤศจิกายน 2558

41


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-08 คุณภาพการบริโภคของทุเรียนพืน้ บ้ านบางสายต้ นในประเทศไทย Eating Quality of Some Native Durian Clones in Thailand อุษณีษ์ พิชกรรม1*, ศศิวิมล โฉมเฉลา แสวงผล1, วิษุวัต สงนวล1, ปวีณา ไตรเพิ่ม1, สมบัติ ตงเต๊ า2 และ ปิ ยรัษฎ์ ปริญญาพงษ์ เจริญทรัพย์ 3 A. Pichakum1*, S. C. Swangpol, W. Songnuan, P. Traiperm, S. Tongtao2 and P. P. Charoensap3

บทคัดย่ อ ทุเรี ยนพื ้นบ้ านในประเทศไทยมีจานวนมากกว่า 500 สายต้ น (clones) ที่ได้ ถกู รวบรวมไว้ โดยหน่วยงานภาครัฐ และยัง พบทุเรี ยนพื ้นบ้ านจานวนมากที่ได้ รับการคัดเลือกและอนุรักษ์ โดยชาวสวน ซึ่งสายต้ นเหล่านีเ้ ป็ นแหล่งพันธุกรรมสาคัญที่มี คุณค่าอย่างมากต่อการปรับปรุงพันธุ์ทเุ รี ยนในอนาคต จากการประเมินคุณภาพเนื ้อผลของทุเรี ยนพื ้นบ้ านจานวน 28 สายต้ นที่ รวบรวมไว้ ในศูนย์วิจยั พืชสวนจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี และจานวน 80 สายต้ นจากสวนผลไม้ ในจังหวัดชุมพร แล้ วนาข้ อมูลความ หวาน (ปริ มาณ total soluble solids) สีเนื ้อ (ปริ มาณ carotenoid) ปริ มาณ dry matter และรสสัมผัส (ปริ มาณ fiber) มา วิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติกบั ทุเรี ยนหมอนทองและจัดกลุม่ พบว่าทุเรี ยนพื ้นบ้ านหลายสายต้ นมีคณ ุ ภาพการบริ โภคด้ าน ความหวานและรสสัมผัสไม่แตกต่างทางสถิติจากหมอนทอง นอกจากนี ้บางสายต้ นมีปริ มาณ fiber น้ อย แต่มีปริ มาณ total soluble solids สูงเหมาะกับการพัฒนาเป็ นทุเรี ยนเพื่อการแปรรูป คาสาคัญ: Durio zibethinus L. ประเทศไทย ของแข็งที่ละลายน ้าได้ แคโรทีนอยด์ เส้ นใย

Abstract More than 500 native clones of durian in Thailand were collected under missions of government sectors and also selected and conserved by local gardeners. Such durian clones are important germplasm for future durian improvement. Ripe fruits from 28 clones grown in collection plot in Chanthaburi Horticulture Research Center, Chanthaburi, and 80 clones from orchards in Chumphon were quality evaluated. Several attributes such as sweetness (total soluble solid content, TSS), fruit flesh color (carotenoid content), dry matter and fiber contents were statistically analyzed and grouped comparing to commercial durian ‘Mon Thong’. The results revealed that various native clones gave relatively similar sweetness and texture to ‘Mon Thong’. Some clones with low fiber and high TSS contents might be suitable to be developed for commercial processing. Keywords: Durio zibethinus L., thailand, total soluble solid, carotenoid, starch, fiber

1

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร ศูนย์วิจยั พืชสวนจันทบุรี กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อ.พลิ ้ว จ.จันทบุรี 3 สานักงานโครงการอนุรักษ์ พนั ธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 2

42

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-09 การพัฒนาพันธุ์ลูกผสมของฟั กทองให้ มีผลผลิตและคุณภาพสูง The Development of Hybrid Varieties of Pumpkin (CucurbitamoschataDuch. ex Poir) for High Yield and Quality วันไณ เอา1 จานุลักษณ์ ขนบดี1 และภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ1 Vannai Or1, Chanulak Khanobdee1, and Pattharaporn Srisamatthakarn1

บทคัดย่ อ การประเมินผลผลิตองค์ประกอบของผลผลิต และคุณภาพของฟั กทองสายพันธุ์แม่และพ่อ 20 สายพันธุ์ เพื่อคัดเลือก และสร้ างพันธุ์ลกู ผสมที่ให้ ผลผลิตและคุณภาพสูง ดาเนินการระหว่างกันยายน 2557 ถึง มกราคม 2558 ณ สถาบันวิจัย เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จังหวัดลาปาง พบว่า สายพันธุ์แม่และพ่อมีผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 2.0 ตัน และน ้าหนักผลเฉลี่ย 1.8 กิโลกรัม สายพันธุ์ฟักทองสายพันธุ์ PK20 ให้ ผลผลิตต่อไร่สงู สุด เท่ากับ 2.6 ตัน น ้าหนักผล 2.3 กิโลกรัม ด้ านลักษณะคุณภาพการบริ โภค พบว่า สายพันธุ์ PK 12 มีปริ มาณของแข็งทังหมดสู ้ งสุด ร้ อยละ 23.7 และปริ มาณ ของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดในเนื ั้ ้อดิบและเนื ้อสุกสูงสุด เท่ากับ 13.0 และ 11.2 องศาบริ กซ์ การสร้ างพันธุ์ลกู ผสมได้ จานวน 48 พันธุ์ ดาเนินการทดสอบพันธุ์ลกู ผสม ร่วมกับพันธุ์มาตรฐาน 2 พันธุ์ วางแผนการทดลองแบบสุม่ บล็อกสมบูรณ์ จานวน 2 บล็อก ระหว่างมกราคม ถึง พฤษภาคม 2558 พบว่าสามารถคัดเลือกได้ 13 พันธุ์ ที่ให้ ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 2.2 ตัน และน ้าหนักผลเฉลี่ย 1.9 กิโลกรัม พันธุ์ลกู ผสม PK 3 /PK 1 ให้ ผลผลิตและน ้าหนักผลสูงสุด พันธุ์ลกู ผสม PK 8 /PK 3 มีปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทังหมดของเนื ้ ้อดิบและเนื ้อสุกสูงสุด พันธุ์ลกู ผสมที่มีแนวโน้ มผลผลิตต่อไร่ และลักษณะทางคุณภาพการบริ โภคสูง คือ PK 1 /PK 14 คาสาคัญ: ฟั กทอง พันธุ์ลกู ผสม ผลผลิต คุณภาพ

Abstract The evaluation for yield, yield components and quality was conducted 20 pumpkin parental lines for selected high yield and quality hybrids during September 2014 to January 2015 at Agricultural Technology Research Institute, Rajamagala University of Technology Lanna, Lampang province. The average yield and fruit weight of parental lines were 2.0 ton/rai and 1.8 kg while the PK12 line had the highest total solid and total soluble solid of fresh and cooked flesh; 23.7 %, 13.0 and 11.2 o brix, respectively. The 48 hybrids were trailed with 2 commercial checks by 2 blocks of RCB duringJanuary to May 2015. The 13 elited hybrids were selected which averaged yield and fruit weight at 2.2 ton/rai and 1.9 kg. PK 3 /PK 1 had the highest yield and fruit weight and PK 8 /PK 3 expressed the highest total soluble solid on fresh and cooked flesh. The elited PK1 / PK14 was trended the highest yield and total solid content. Keywords: pumpkin, hybrid, yield, quality

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 202 หมู่ 17 ต. พิชยั อ. เมือง จ. ลาปาง 52000

18-20 พฤศจิกายน 2558

43


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-10 Screening Germplasm of Long Fruit Cucumber Lines for Resistance to Downy Mildew Cause by Pseudoperonospora cubensis (Berk. And Curt) Rostov Ahmad Hadi1 Chanulak Khanobdee1 and Piyavadee Charoenwattana2

Abstract Cucumber (Cucumis sativus L.) is the most fourth important vegetables in the world while downy mildew is a major foliar disease of cucumber, it’s caused by the oomycete pathogen Pseudoperonospora cubensis (Berk. And Curt) Rostov. The objective of this study was to screened long cucumber lines for resistance to the downy mildew. This study involved 75 long cucumber lines and 5 commercial varieties (check) to be screened under both conditions greenhouse and natural field epidemics of the downy mildew disease. Randomized Complete Block Design was used by composition treatments 80 lines including 75 entries and 5 checks replicated into 2 blocks through greenhouse and natural field. Inoculation downy mildew spore was required in the greenhouse. Disease symptom was observed within 3, 5, 7, 10 and 14 day after inoculation (DAI) while in the field symptom was observed at 20, 30, 45 day after transplanting (DAT) by using scale 0 – 9. The t-test analysis showed a significance difference between both data collections from greenhouse and field while analysis of correlation between greenhouse and field study showed a highly significant correlation between observation at 5 DAI and 45 DAT by coefficient correlation 0.301. Analysis of variance indicated that treatments gave a highly significant effect. There were totally 35 and 44 lines recognized as moderate and intermediate resistance class. Keywords: long cucumber, downy mildew, resistance

1 2

Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, P.O.Box 89, Muang, Lampang 52000. Faculty of Agricultural Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thanyaburi, Pathum Thani 12 44

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-11 การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมความต้ านทานโรครานา้ ค้ างของแตงกวา Inheritance of Resistance to Downy Mildew in Cucumber (Cucumis sativus L.) จานุลักษณ์ ขนบดี 1 พัชรดา ทองลา1 และปิ ยะวดี เจริญวัฒนะ2 Chanulak Khanobdee, Patcharada Thongla, and Piyavadee and Charoenwattana2

บทคัดย่ อ การศึกษาการถ่ายทอดพันธุกรรมควบคุมลักษณะต้ านทานต่อ โรครานา้ ค้ างของแตงกวา นาสายพันธุ์ที่มีลกั ษณะ ต้ านทานและอ่อนแอต่อโรคราน ้าค้ าง 2 สายพันธุ์ คือ CSL 0067 และ CSL 0139 ซึง่ ได้ รับการคัดเลือกแบบสกัดสายพันธุ์แท้ 17 และ 5 ชัว่ ตามลาดับ จากนันน ้ ามาสร้ างประชากรลูกผสมชัว่ ที่ 2 แล้ วปลูกประเมินและวิเคราะห์การกระจายตัวของยีน ควบคุมความต้ านทานโรคราน ้าค้ างในสภาพแปลงและโรงเรื อน ระหว่างพฤศจิกายน 2556 ถึง ธันวาคม 2557 พบว่าประชากร ลูกผสมชัว่ ที่ 2 ในสภาพโรงเรื อนมีอิทธิพลของยี นควบคุม มากกว่า 2 คู่ แต่ ในสภาพแปลงเป็ น อิท ธิ พ ลของยี น 2 คู่ ซึ่ง เป็ น ยี น ข่ม ควบคุม ลักษณะอ่อนแอ ยีนแฝงควบคุมลักษณะต้ านทาน และเป็ นปฏิกิริยาสัมพันธ์ ระหว่างยีนต่างคู่กัน อัตราส่วนของ ลักษณะต้ านทาน : อ่อนแอ เท่ากับ 7 : 9 ซึง่ เป็ นปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างยีนต่างคู่กนั แบบอัลลีลแฝงเข้ าคู่กนั จะสามารถข่มอัลลี ลข่มได้ (duplicate recessive epistasis) และการศึกษาค่าเฉลี่ยของรุ่นจานวน 6 รุ่น คือ สายพันธุ์แม่พ่อ พันธุ์ลกู ผสม พันธุ์ ลูกผสมชัว่ ที่ 2 และพันธุ์ลกู ผสมกลับไปหาสายพันธุ์แม่และพ่อ พบว่าความต้ านทานต่อโรคราน ้าค้ างของแตงกวาในสภาพ โรงเรื อนและสภาพแปลงเป็ นอิทธิพลของยีนแบบข่มและปฏิสมั พันธ์ของยีนต่างตาแหน่งแบบบวก x แบบข่ม ส่วนปฏิสมั พันธ์ ของยีนแบบข่ม x แบบข่ม พบเฉพาะในสภาพแปลง คาสาคัญ : แตงกวา โรคราน ้าค้ าง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

Abstract

A study of the inheritance of downy mildew in cucumber was carried out using progenies of the CSL 0067 S17 and CSL 0139 S5, a selected lines with highly resistance and susceptible to downy mildew as female and male parents, respectively. The F2 population were evaluated and analyzed the segregated of gene control ratios in field and greenhouse conditions during November 2013 to December 2014. The gene controlled resistance in F2 population was the influence of 2 genes in field condition, accept the resistance to susceptibility ratio was 7:9, the dominant gene controlled the susceptible trait and recessive gene controlled the resistant trait, and duplicate recessive epistasis (presence the recessive allele in the homozygous in the genotype could suppress the expression of a dominant allele of the other) but in greenhouse condition was the influence of more than 2 genes. The general mean analysis for 6 generations as follow P1, P2, F1, F2 and BC 1 with reciprocal both in field and greenhouse conditions. The results indicated that dominant gene action and non-allelic interaction or epistasis controlled the resistance to downy mildew. Epistasis was additive gene x dominant gene. The epistasis of dominant gene x dominant gene was found only in the field condition. Keywords: cucumber, Cucumis sativus L., downy mildew, genetic inheritance

1

2

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 202 หมู่ 17 ต. พิชยั อ. เมือง จ. ลาปาง 52000 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อ. ธัญบุรี จ. ปทุมธานี 12110.

18-20 พฤศจิกายน 2558

45


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-12 การสกัดและคัดเลือกสายพันธุ์อินเบรดดาวเรืองฝรั่งเศสเพื่อพัฒนาเป็ นไม้ ดอกกระถาง French Marigold Inbred Line Isolation and Selection for Flowering Pot Plant นงลักษณ์ คงศิริ1 เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ 1 และราตรี บุญเรืองรอด2 Nongluck Kongsiri1 Kriengsak Thaipong1 and Ratri Boonruangrod1

บทคัดย่ อ การใช้ ประโยชน์จากดาวเรื องฝรั่งเศสในประเทศไทยยังไม่เป็ นที่แพร่หลาย มักปลูกเป็ นไม้ ดอกประดับแปลง มีการใช้ งานในรู ปแบบไม้ กระถางอย่างจากัด การศึกษาครัง้ นีจ้ ึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อสกัดและคัดเลือกสายพันธุ์อินเบรดดาวเรื องสาหรับ ใช้ ในการพัฒนาเป็ นพันธุ์ไม้ ดอกกระถาง จึงรวบรวมพันธุ์ดาวเรื องฝรั่งเศสจากในและต่างประเทศรวมจานวน 17 สายพันธุ์ การศึกษาแบ่งเป็ น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมด้ วยวิธี UPGMA โดยใช้ เทคนิค SSRs พบค่าดัชนีความ เหมือนในสายพันธุ์เริ่ มต้ น (S0) อยู่ระหว่าง 0.7 ถึง 1 ส่วนที่ 2 ศึกษาลักษณะปรากฏจานวน 20 ต้ นต่อสายพันธุ์ สกัดสายพันธุ์ อินเบรดโดยการผสมตัวเอง 5 รอบ คัดเลือกสายพันธุ์ดีตามเกณฑ์อ้างอิงจากผู้ประกอบการขายไม้ กระถางที่สวนจตุจกั ร คือ ลา ต้ นเป็ นทรงพุ่มเตี ้ย ดอกสีแดง สีส้ม หรื อสีเหลือง มีดอกย่อยชันนอกหนึ ้ ่งชัน้ หรื อมากกว่า ที่สามารถปลูกได้ ในฤดูร้อน-ฤดูฝน และฤดูหนาว จานวน 10 สายพันธุ์ ปลูกประเมินสายพันธุ์ในรุ่น S5 จานวน 50 ต้ นต่อสายพันธุ์ในกระถาง 6 นิ ้ว พบว่าสายพันธุ์ อินเบรดทัง้ 10 สายพันธุ์เข้ าสู่การคงตัวทางพันธุกรรมร้ อยละ 97 และศึกษาองค์ประกอบความแปรปรวน โดยวางแผนการ ทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ จัดสิ่งทดลองแบบแฟคทอเรี ยลมี 2 ปั จจัย คือ พันธุ์และฤดูกาล จานวน 30 ซ ้า (ต้ น) จากการวิเคราะห์ องค์ประกอบความแปรปรวน พบว่าการแสดงออกของลักษณะความสูงทรงพุ่ม ความกว้ างทรงพุ่ม และวันที่ดอกแรกบานเป็ น ผลเนื่องมาจากฤดูกาลมากกว่าร้ อยละ 80 ส่วนขนาดดอกเป็ นผลเนื่องมาจากพันธุกรรมร้ อยละ 85 คาสาคัญ: Tagetes patula ความคงตัวทางพันธุกรรม องค์ประกอบความแปรปรวน

Abstract French marigold is usually grown as a bedding plant rather than a potted plant and has not been widely utilized in Thailand. This current study we aimed to isolate and select French marigold inbred lines for flowering pot plant cultivars improvement. A collection of domestic and foreign French marigold germplasm in total 17 lines was used in this study. In the first part, genetic relationships study was performed based on UPGMA using the SSR markers. The coefficient of similarity between lines of 0.7 to 1 was revealed. In the second study, 20 plants per line were planted for phenotypic evaluation. The isolation of inbred line was performed through five rounds of selfing. Selection criteria gathered from pot plant traders at Chatuchak market were being bushy in plant shape; having red, orange, or yellow flower colors; and having single or double layer of ray floret. Genetic fixation evaluation; Ten inbred lines that can be grown in Summer-Rainy and Winter seasons were selected. Then, 50 S5 plants per line grown in 6-inch pots were evaluated. The results indicated that the genetic fixation was 97%. Variance component analysis; the experimental design was 10 (lines) x 2 (seasons) factorial in CRD with 30 replications. Differences in plant height, plant spread and number of days to first flowering were more than 80% due to seasonal variance, whereas differences in flower size were 85% due to genotypic variance. Keywords: Tagetes patula, genetic fixation, variance components

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 46

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-13 การพัฒนาสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ปุ่นด้ วยรังสีแกมมาเพื่อเพาะในเขตพืน้ ที่ราบ Development of Yanagi Mutsutake Strain with Gamma Riation for Cultivation in Lowland ธนภักษ์ อินยอด1 ตันติมา กาลัง1 วันทนา สะสมทรัพย์ และธนภัทร เติมอารมณ์ 1 Tanapak Inyod1 Tuntima Kumlung1 Vathana \Sasomsaup and Thanapat Toemarrom1

บทคัดย่ อ จากการรวบรวมสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ปนุ่ ที่ใช้ ทดสอบจานวน 10 สายพันธุ์ และคัดเลือกสายพันธุ์เห็ดที่มีศกั ยภาพ ซึง่ ให้ ผลผลิตสูงได้ 5 สายพันธุ์ ได้ แก่ ย1, ย2, ยอ, ยผ และ ยข และนาเส้ นใยทัง้ 5 สายพันธุ์ไปปรับปรุงพันธุ์โดยการฉายรังสี ด้ วยเครื่ องฉายรังสี Gammacell 220 ซึง่ มี Co-60 เป็ นต้ นกาเนิดรังสี อัตราปริ มาณรังสีที่ใช้ ในการทดลองนี ้ คือ 0, 10, 25 และ 50 กิโลแรด และคัดเลือกเชื ้อเห็ดโคนญี่ปนุ่ ที่เจริญสร้ างเป็ นเส้ นใยใหม่และมีชีวิตรอดหลังจากบ่มไว้ ที่อณ ุ หภูมิ 40 องศา เซลเซียส ซึง่ คาดว่าจะกลายพันธุ์ด้วยรังสีแกมมาและทนร้ อนได้ จานวนทังหมด ้ 186 isolates โดยมี 87, 98 และ 1 isolates ที่ รอดชีวิตหลังฉายรังสีแกมมาปริ มาณ 10, 25 และ 50 กิโลแรด ตามลาดับ จากการทดสอบเบื ้องต้ นเมื่อนาเส้ นใยเห็ดที่ผ่านการ ฉายรังสีไปศึกษาอัตราการเจริญเติบโตในก้ อนเชื ้อเห็ดเปรี ยบเทียบกับสายพันธุ์แม่ พบว่า เห็ดที่คาดว่าจะเป็ นพันธุ์กลายด้ วย รังสีมีอตั ราการเจริญที่เร็วกว่าโดยมีอตั ราการเจริ ญของเส้ นใยเฉลี่ย 2-2.6 เซนติเมตรต่อสัปดาห์ ในขณะที่สายพันธุ์แม่มีอตั รา การเจริญของเส้ นใยในก้ อนเชื ้อเห็ดเพียง 2 เซนติเมตรต่อสัปดาห์ สาหรับการเปรี ยบเทียบผลผลิตและคุณค่าทางโภชนาการบาง ชนิด และแร่ธาตุอาหารที่เป็ นองค์ประกอบของเห็ดโคนญี่ปนุ่ พบว่าสายพันธุ์ที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาให้ ผลผลิตและคุณค่า ทางโภชนาการส่วนใหญ่ที่สงู กว่าเห็ดสายพันธุ์แม่อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ นอกจากนี ้เมื่อนาดอกเห็ดมาศึกษาลักษณะทาง สัณฐานวิทยาเบื ้องต้ น ได้ แก่ น ้าหนักดอก ความกว้ างของดอกเห็ด ความยาวก้ านเห็ด พบว่าลักษณะดอกเห็ดจากสายพันธุ์ที่ คาดว่าจะเป็ นพันธุ์กลายและทนร้ อน มีน ้าหนักดี ขนาดดอกและก้ านดอกที่ใหญ่ซงึ่ แตกต่างจากสายพันธุ์แม่อย่างมีนยั สาคัญ ทางสถิติ คาสาคัญ: เห็ดโคนญี่ปนุ่ รังสีแกมมา การกลายพันธุ์

Abstract From the collection of Yanagi Mutsutake mushroom varieties in total of 10 varieties. Selected mushroom strains with high yield potential, which have 5 strains for parent strains, including Y1, Y2, YL, YA and YS. Mushroom mycelia of parents were irradiated by irradiation with radiation Gammacell 220, with Co-60 radiation sources at 0, 10, 25 and 50 Krad. Mushroom colonies that generated a new mycelium and survived after incubation at 40 °C, which is expected to be mutated by gamma radiation and heat resistant, were selected in total of 186 isolates. Mushroom isolates that survived after irradiation at 10, 25 and 50 krad were 87, 98 and 1 isolates, respectively. The initial test of growth rate of the irradiated mycelium on mushroom spawn were studied and compared to the parent strains. The result showed that suspected mutants, the growth rate is faster than parent strains with mycelial growth rate of 2 to 2.6 cm per week while the growth rate of parent strains, only 2 cm per week. For comparative productivity, some nutritional values and mineral nutrient contents of Yanagi Mutsutake mushroom cultivation, it was found that irradiated isolates gave highly significant differences from parent strains. Furthermore, morphology of mushroom: weight of fruiting body, wide and length of stalk were initially studied. The result showed that the suspected mutants that expected to be heat tolerant have a good weight, large pileus and stalk which significant differences from parent strains. Keywords: yanagi mutsutake, gamma riation, mutation

1

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) เทคโนธานี คลอง 5 คลองหลวง ปทุมธานี 12120

18-20 พฤศจิกายน 2558

47


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-14 การวิเคราะห์ เสถียรภาพของสายพันธุ์และลูกผสมของแตงไทย Stability Analysis of Thai Melon Lines and Hybrids ปราโมทย์ พรสุริยา1 พรทิพย์ พรสุริยา1 ศิริมา ธีรสกุลชล1 และอนุชา จุลกะเสวี1 Pramote Pornsuriya1 Pornthip Pornsuriya1 Sirima Teerasakukchol1 and Anucha Julakasewee1

บทคัดย่ อ วัตถุประสงค์ของการทดลองเพื่อศึกษาเสถียรภาพของสายพันธุ์แตงไทย 3 สายพันธุ์ (R, S และ W) ลูกผสมระหว่าง สายพันธุ์แตงไทย 2 คู่ผสม (S x L และ R x S) และสวีทเมล่อน 2 พันธุ์ (White Prince และ New Jade) โดยปลูกทดลองใน 5 สภาพแวดล้ อม ในแต่ละสภาพแวดล้ อมใช้ แผนการทดลองแบบสุม่ ในบล็อกสมบูรณ์ (RCBD) ทา 3 ซ ้า หลังจากการทดสอบ ความเป็ นเอกภาพของความแปรปรวนของค่าความคลาดเคลื่อนของการทดลอง แล้ วนามาวิเคราะห์ผลรวม (combined analysis) ของผลผลิต พบว่ามีนยั สาคัญของปฏิสมั พันธ์ระหว่างจีโนไทป์ กับสภาพแวดล้ อม (P < 0.01) วิเคราะห์เสถียรภาพ ของผลผลิตตามวิธีการ Eberhart and Russell model ผลการทดลองพบว่าแตงไทยสายพันธุ์ S ถูกพิจารณาว่ามีเสถียรภาพ ของผลผลิต เนื่องจากมีคา่ phenotypic index เป็ นบวก (Pi > 0) ค่าสัมประสิทธิ์รีเกรสชัน่ ไม่ตา่ งจาก 1 (bi = 1) และค่า เบี่ยงเบนจากรี เกรสชัน่ เท่ากับ 0 ( = 0) ในขณะที่ลกู ผสมแตงไทย S x L มีคา่ phenotypic index สูง แต่มีคา่ สัมประสิทธิ์รีเก รสชัน่ มากกว่า 1 (bi>1) และค่าเบี่ยงเบนจากรี เกรสชัน่ มากกว่า 0 ( > 0) ดังนันจึ ้ งเหมาะสมกับการปลูกในสภาพแวดล้ อมที่ มีความอุดมสมบูรณ์สงู คาสาคัญ: แตงไทย เสถียรภาพของผลผลิต ปฏิสมั พันธ์ของพันธุกรรมกับสภาพแวดล้ อม

Abstract The research aimed to evaluate the stability of 3 Thai melon lines (R, S and W), 2 Thai melon hybrids (S x L and R x S), and 2 sweet melon cultivars (White Prince and New Jade). They were planted in 5 diverse environments. In each environment, randomized complete block design (RCBD) with 3 replications was used. After having homogeneity test for error variances, combined analysis of variance was performed and showed that yield (ton/ha) was significant (P < 0.01) for the effect of genotype x environment interaction. Stability parameters were analyzed for yield using Eberhart and Russell model. The results revealed that a Thai melon line S which had positive phenotypic index (Pi > 0), regression coefficient around unity (bi = 1), and deviation from regression value around zero ( = 0) was considered highly stable. Whereas, a Thai melon hybrid S x L had high positive phenotypic index (Pi > 0) but its regression coefficient was more than 1 (bi > 1), and deviation from regression value was greater than zero ( > 0), thus it would be classified as suitable for rich environments. Keywords: Thai melon, yield stability, genotype-environment interaction

1

คณะเกษตรศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกชลบุรี 20110 48

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-15 การประเมินค่ าความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริก โดยเทคนิคเครื่องหมายโมเลกุล เอส เอส อาร์ Evaluation of Genetic Diversity in Chili Pepper by SSR Marker Technique อรพินธุ์ สฤษดิ์นา1

บทคัดย่ อ การประเมินค่าความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริ ก 12 สายพันธุ์ โดยอาศัยเทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล เอส เอส อาร์ พบว่า เครื่ องหมายโมเลกุล เอส เอส อาร์ 50 คู่ไพรเมอร์ มี 5 คู่ไพรเมอร์ สามารถจาแนกความแตกต่างทางพันธุกรรมของ สายพันธุ์พริ กทัง้ 12 สายพันธุ์ ได้ โดยมีจานวนแถบดีเอ็นเอที่เกิดขึ ้นทังหมด ้ 15 แถบ มีค่าสัมประสิทธิ์ ความคล้ ายคลึงทาง พันธุกรรมของพริ กอยู่ในช่วง 0.60-1.00 จากการวิเคราะห์ตามวิธีการของ Dice สาหรับคานวณค่าสัมประสิทธิ์ความคล้ ายคลึง กันทางพันธุกรรม และอาศัยหลักการวิเคราะห์จดั กลุม่ ด้ วยวิธี UPGMA สามารถแบ่งพริ กออกเป็ น 5 กลุม่ โดยกลุม่ ที่ 1 แบ่งได้ 2 กลุม่ ย่อย กลุม่ ย่อยที่ 1.1 ประกอบด้ วย พริกขี ้หนูซปุ เปอร์ ฮอท MC401 พริกเดือยไก่เหลือง และพริ กหนุ่มเขียว กลุม่ ย่อยที่ 1.2 ประกอบด้ วย พริ กหนุ่มเขียวจอมทอง พริ กเดือยไก่แดง พริ กขาวชัยบุรี Dolly Bhut-G และพริ กหวาน สาหรับกลุม่ ที่ 2, 3, 4 และ 5 ประกอบด้ วยพริ กบางสายพันธุ์ที่แตกต่างจากสายพันธุ์เดิม เช่น MC402 พริ กเดือยไก่เหลือง พริ กหนุ่มเขียว31 Dolly และ Bhut-G ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริ กโดยการใช้ เทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล เอส เอส อาร์ จึงเป็ นประโยชน์ในการ ปรับปรุงพันธุ์พริกต่อไปในอนาคต คาสาคัญ: พริก ดีเอ็นเอ เอส เอส อาร์ ความหลากหลายทางพันธุกรรม

Abstract Genetic diversity of chili pepper in 12 accessions was evaluated by SSR marker technique. A total of 50 SSR primer pairs were applied in this study, 5 SSR primer pairs detected polymorphisms which showed a total of 15 polymorphic bands with a genetic similarity coefficient in the range of 0.60-1.00 among all accessions. By Dice similarity coefficient method and UPGMA cluster analysis, the dendrogram could be used to separate chili pepper MC401, Prik_Duan_Kai_Reang and Prik_Num_Khaew. The sub-group 1.2 was Prik_Num_Khaew-Jomthong, Prik_Duan_Kai_Dang, Prik_Khao-Chaiburi, Dolly, Bhut-G and Prik_Wan. Group 2, 3, 4 and 5 were the rest of the accessions such as MC402, Prik_Duan_Kai_Reang, Prik_Num_Khaew31, Dolly and Bhut-G. Data of genetic diversity of chili pepper by SSR markers will be used further for chili pepper breeding program. Keywords: chili pepper, DNA, SSR, genetic diversity

1

สาขาวิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ 50290

18-20 พฤศจิกายน 2558

49


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-16 การเปรียบเทียบผลผลิตและองค์ ประกอบผลผลิตของถั่วฝั กยาวเขียวพันธุ์ ศฝก. 2 ในระบบเกษตรธรรมชาติ Comparison of Yield and Yield Component of Green Yard Long Bean ‘Sofogo 2’ in Natural Farming Culture System ทิพวรรณ สิทธิรังสรรค์ 1 Tippawan Sittirungsun1

บทคัดย่ อ การเปรี ยบเทียบผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของถัว่ ฝักยาวเขียวพันธุ์ ศฝก. 2 เป็ นงานวิจยั ที่ได้ ทา ณ ศูนย์ฝึก และพัฒนาอาชี พเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่ องมาจากพระราชดาริ โดยเริ่ มจากการปรั บปรุ งพันธุ์ ถัว่ ฝั กยาวเขียวภายใต้ ระบบเกษตรธรรมชาติเป็ นเวลา 16 ปี (ปี พ.ศ. 2541-2557) และได้ ถวั่ ฝั กยาวเขียวพันธุ์ใหม่ คือ พันธุ์ ศฝก. 2 จึงนามาปลูกทดสอบเปรี ยบเทียบกับพันธุ์การค้ าซึง่ ใช้ ปลูกในพื ้นที่ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 9 พันธุ์ วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์(CRD) ทา 10 ซ ้า โดยปลูกทดสอบระหว่างพฤษภาคม – กันยายน 2557ใน ระบบเกษตรธรรมชาติซึ่งไม่ใช้ ปยเคมี ุ๋ และสารเคมี และเก็บข้ อมูลเปรี ย บเทียบ 9 ลักษณะ คือ ความกว้ างใบ ความยาวใบ ตาแหน่งข้ อที่ ดอกแรกบาน ความยาวฝั ก ความกว้ า งฝั ก ความหนาเนื อ้ ฝั ก นา้ หนักฝั ก จานวนฝั กต่อต้ น และผลผลิตฝั ก รับประทานสด เก็บข้ อมูลด้ านเมล็ดพันธุ์ของพันธุ์ ศฝก. 2 คือ จานวนเมล็ดต่อฝัก น ้าหนัก 100 เมล็ด และอัตราความงอกของ เมล็ด จากการศึกษาพบว่าพันธุ์ ศฝก.2 มี ลักษณะบางอย่างที่ ดีกว่าพันธุ์ ที่น ามาเปรี ยบเทียบ ได้ แ ก่ มี ความยาวฝั ก 50.2 เซนติเมตร (ค่าเฉลี่ย 46.0 เซนติเมตร) มีความกว้ างฝัก 0.92 ซม. (ค่าเฉลี่ย 0.83 เซนติเมตร) มีความหนาเนื ้อมากที่สดุ คือ 2.6 เซนติเมตร (ค่าเฉลี่ย1.35 เซนติเมตร) มีน ้าหนักของฝั กสด 20.0 กรัมต่อฝั ก ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยของพันธุ์การค้ า 14.94 เปอร์ เซ็นต์ มีผลผลิตฝักสด 717.66 กิโลกรัมต่อไร่ ซึง่ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของพันธุ์การค้ า 130% มีจานวนฝักต่อต้ น 16.15 ฝักต่อต้ น ซึง่ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของ 82.89เปอร์ เซ็นต์ ดังนัน้ พันธุ์ ศฝก.2 จึงเป็ นพันธุ์ใหม่ที่ดี และยังเป็ นพันธุ์ที่ผลิตภายใต้ ระบบ เกษตรธรรมชาติตรงตามมาตรฐานเกษตรธรรมชาติและเกษตรอินทรี ย์อีกด้ วย คาสาคัญ: ระบบเกษตรธรรมชาติ เมล็ดพันธุ์ธรรมชาติ

Abstract ‘Sofogo 2’ is new green yard long bean cultivar which was improved under natural farming culture condition for 16 years from 1998 to 2014 at Wat Yansangvararam Voramahaviharn Agricultural Training and Development Centre under H.M. the King’s initiative, Chonburi province. ‘Sofogo 2’ was compared with 9 commercial green yard long bean cultivars. Nine characters were compared. From result, some characters of ‘Sofogo 2’ were better than the other. Ex. pod length of ‘Sofogo 2’ was 50.2 cm. from average 46.0 cm, pod width was 0.92 cm. from average 0.83 cm, pericarp thickness was the highest, 2.6 mm from average 1.35 mm, pod weight per pod was 20 g. It was higher than average of 9 commercial varieties 14.94%. Yield of ‘Sofogo 2’ was the highest, 717.66 kg/rai .It was higher than average of 9 commercial varieties 130%. No of pod /plant, ‘Sofogo 2’ was the highest, 16.15 pod/plant Conclusion, ‘Sofogo 2’ is good new green yard long bean cultivar . Not only that but also it is natural farming seed or organic seed. Keywords: natural farming, natural farming seed

1

ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ต.ห้ วยใหญ่ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20250 50

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-17 การประเมินสัณฐานวิทยาของผลแตงไทยเพื่อใช้ ประโยชน์ ในการเป็ นเชือ้ พันธุกรรม Evaluation of Thai Melon Morphology for Germplasm Utilization ภวัตร นาควิไล1 ปณาลี ภู่วรกุลชัย2 วชิรญา อิ่มสบาย2 และอัญมณี อาวุชานนท์ 2 Pawat Nakwilai Panalee Pooworakulchai Wachiraya Imsabai and Anyamanee Auvuchanon

บทคัดย่ อ การศึกษาแตงไทย 26 ตัวอย่าง ที่รวบรวมจากแปลงเกษตรกรในจังหวัด พิษณุโลก อุตรดิตถ์ สุพรรณบุรี สมุทรสาคร จานวน 15 ตัวอย่าง พันธุ์การค้ าของไทย 10 พันธุ์ และพันธุ์พื ้นเมืองจากประเทศพม่า 1 ตัวอย่าง ปลูกระหว่าง เดือนมกราคม เมษายน 2558 ในพื ้นที่อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม พบว่า ทุกตัวอย่างมีความแปรปรวนของลักษณะสัณฐานวิทยาของ ผล จากการบันทึกข้ อมูลแตงไทยจานวน 105 ต้ นที่ให้ ผลผลิตได้ สามารถแบ่งลักษณะทรงผล 5 ชนิด ได้ แก่ ผลกลมกึ่งแบน ผล กลม ผลกลมกึ่งยาว ผลยาว ผลยาวปลายผลแหลม ผิวผล 4 ชนิด ประกอบด้ วย ผิวเรี ยบ ผิวลายนูน ผิวลายร่องตื ้น ผิวร่องลึก ลักษณะลายผล 4 ชนิดคือ ผลไม่มีลาย ลายหินอ่อน (ลายข้ าวตอก) ลายยาวขนานตามผล ลายตาข่าย สีผิวได้ แก่ สีขาว สี เหลือง สีส้ม สีเขียว สีเนื ้อได้ แก่ สีขาว สีครี ม สีส้ม สีเขียว สีเหลืองเขียว สีส้มเขี ยว และสีไส้ คือ สีขาว สีเหลือง สีส้ม แตงไทยทุก ตัวอย่าง ทนทานต่อไวรัสและราน ้าค้ างได้ ดี พบความสัมพันธ์ ของลักษณะผิวผลและลายผล (r=0.835**) แตงไทยที่มีเนื ้อผล เป็ นเนื ้อทรายมีโอกาสผลแตกในแปลงก่อนสุกแก่สงู (r=0.860**) เมื่อวิเคราะห์ Principal component analysis และ Cluster analysis บนพื ้นฐาน correlation สามารถแยกกลุ่มแตงไทยได้ 5 กลุ่ม โดยแตงไทยจากประเทศพม่ามีความแตกต่างจาก แตงไทยของไทย เนื่องจากแตงไทยพันธุ์พื ้นเมือง และพันธุ์การค้ าทังพั ้ นธุ์ลกู ผสมและพันธุ์ผสมเปิ ด ยังคงมีความแปรปรวนสูง และขาดความสม่าเสมอในสายพันธุ์ จึงยังมีความต้ องการพัฒนาพันธุ์แตงไทยให้ มีคณ ุ ภาพดีเพื่อผลิตเป็ นพันธุ์การค้ าต่อไป คาสาคัญ: แตงไทย ทรงผลแตง สีเนื ้อผล

Abstract From twenty six Thai melon accessions, there were 15 accessions collected from farmer field at Phisanulok, Uttaradit, Suphanburi, Samut Sakhon, 10 commercial varieties and one accession from Myanmar. All accessions were grown from January to April, 2015 at Kamphaeng Saen, Nakhon Pathom. There was variation in morphology for all accessions. From 105 plants that can be produced, Thai melon morphologies were classified in fruit type (round-flat, round, round-semi long, long, and long-oval tip), skin (smooth, non-smooth, shallow depth of grooves, deep depth of grooves), skin pattern (absence pattern, marbled (koatok), striped, and net), skin color (white, yellow, orange, green), flesh color (white, cream, orange, green, yellow green, orange green) and placenta color (white, yellow, orange). All Thai melon accessions were tolerant to virus and Downy mildew. There were correlations between skin type and skin texture (r=0.835**). Most of Thai melons with soft fresh texture broke before maturity (r=0.860**). From principal component analysis and cluster analysis based on correlation, 105 Thai melon plants were clustered into 5 groups and Thai melons from Myanmar were separated from others. Because of the morphological variation within accessions both landrace and commercial cultivars (open pollinated and F1 hybrid cultivars), Thai melon is needed to be improved for new commercial cultivars. Keywords: Cucumis melo, fruit shape, flesh color

1 2

สาขาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

51


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-18 ผลกระทบของการผสมสลับพ่ อแม่ ต่อคุณภาพผลในลูกผสมฝรั่ง Reciprocal Crosses Affecting Fruit Qualities in Guava Progeny วรพล ลากุล1 และอุณารุ จ บุญประกอบ1 Worapol Lakul1and Unaroj Boonprakob1

บทคัดย่ อ การเลือกพ่อแม่เพื่อใช้ ในการผสมพันธุ์เป็ นเรื่ องสาคัญของการปรับ ปรุ งพันธุ์พืช ถ้ าการใช้ พนั ธุ์เป็ นพ่อหรื อแม่ให้ ผลที่ แตกต่างต่อลูกผสมก็ควรมีข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ ฝรั่งเป็ นผลไม้ ที่มีคณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง การเลือกใช้ พ่อแม่พนั ธุ์ใน การผสมพันธุ์เพื่อพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ให้ มีคณ ุ ภาพที่ดียิ่งขึ ้น จึงเป็ นเป้าหมายของการปรับปรุ งพันธุ์ การทดลองนี ้มีวตั ถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบผลของการทาการผสมสลับพ่อและแม่พนั ธุ์ต่อคุณภาพผลและคุณค่าทางโภชนาการ ทาการผสมสลับพ่อและแม่ พันธุ์จานวน 4 คู่ผสม ได้ แก่ “หวานพิรุณ” x D10, D10 x “หวานพิรุณ”, “แดงสยาม” x D23 และ D23 x “แดงสยาม” ประเมิน ต้ นลูกผสมฝรั่งในแปลงทดสอบลูกผสมระยะชิด ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เก็บและ วิเคราะห์คุณภาพผลช่วง ตุลาคม พ.ศ. 2557 ถึงมีนาคม พ.ศ. 2558 พบว่าลูกผสมสลับระหว่าง “หวานพิรุณ” และ D10 มี น ้าหนักผล ความหนาเนื ้อ ความแน่นเนื ้อ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ปริ มาณกรดที่ไตเตรทได้ ปริ มาณวิตามินซี สารต้ าน อนุมลู อิสระ ปริ มาณฟี นอลิกทังหมดและปริ ้ มาณเส้ นใยอาหารไม่แตกต่างกันทางสถิติ และลูกผสมสลับระหว่าง “แดงสยาม” และ D23 มี น ้าหนักผล ความแน่นเนื ้อ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ปริ มาณกรดที่ไตเตรทได้ ปริ มาณฟี นอลิกทังหมดและ ้ ปริ มาณเส้ นใยอาหารไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่พบว่าความหนาเนื อ้ ปริ มาณวิตามินซี และสารต้ านอนุมูลอิสระมีความ แตกต่างกันทางสถิติ สรุ ปได้ ว่าการผสมสลับพ่อแม่มีผลต่อความแตกต่างในด้ านคุณภาพผลของลูกผสมฝรั่งน้ อยมาก ดังนัน้ สามารถเลือกใช้ พนั ธุ์ฝรั่งเป็ นพ่อหรื อแม่พนั ธุ์ ได้ โดยพิจารณาจากปั จจัยอื่นๆ ประกอบ เช่น ความสามารถในการสร้ างตาดอก และติดผลของพันธุ์ฝรั่ง คาสาคัญ: การปรับปรุงพันธุ์, Psidium guajava, คุณค่าทางโภชนาการ, กิจกรรมสารต้ านอนุมลู อิสระ

Abstract The parent selection in a plant breeding is very an important for developing new cultivars. Using a cultivar either as male parent or female parent resulted in hybrids with different phenotypic performance would be useful information. Guava was a high nutritional fruit; thus, breeding for higher quantities was a goal. The objective was to determine an effect of the reciprocal crosses to fruit qualities and nutritional value. Four reciprocal crosses: “Wan Pirun” x D10, D10 x “Wan Pirun”, “Daeng Siam” x D23 and D23 x “Daeng Siam” were used. The hybrids were evaluated in a high density testing plot, Department of Horticulture; Faculty of Agriculture at KamphaengSaen, Kasetsart University, between October 2014 to March 2015. The results showed that the reciprocal crosses between “Wan Pirun” and D10 were not significant difference for all fruit quality traits. The reciprocal crosses between “Daeng Siam” and D23 were not significant difference in fresh weight, fresh firmness, total soluble solids (TSS), titratable acidity (TA), total phenolics and dietary fiber, except for fresh thickness, ascorbic acid content and antioxidant activity. In summary, the reciprocal crosses showed very little effects on fruit qualities in the guava progeny. It is proposed that using a guava cultivar as a male or female parent should be based on other factors such as the ability to form flower buds and to fruits set. Keywords: breeding, Psidium guajava, nutritional value, antioxidant activity

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 52

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Br-19 การประยุกต์ ใช้ เครื่องหมายโมเลกุลเพื่อประเมินลักษณะทางพันธุกรรมของมะปราง Application of Molecular Markers to Assess Genetic Characterization in Bouea macrophylla สมบัติ แก้ วผ่ องอาไพ1 สุพตั รา โพธิ์เอี่ยม1 และโองการ วณิชาชีวะ2 Sombhat Keawpongumpai1 Supattra Poeaim1 and Ongkarn Vanijajiva2

บทคัดย่ อ เครื่ องหมายทางพันธุกรรมนับว่าเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการวิจัยความหลากหลายทางพันธุกรรมและวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิตที่สาคัญ โดยเฉพาะการศึกษาลักษณะพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ งานวิจัยนีไ้ ด้ ประยุกต์ใช้ เทคนิคไอพีบีเ อส (inter primer binding site) และไอเอสเอสอาร์ (Inter simple sequence repeats) เพื่อตรวจสอบลักษณะทางพันธุกรรมของ มะปรางเบื ้องต้ น โดยนาดีเอ็นเอที่สกัดได้ จากใบมาใช้ ในการศึกษา พบว่าในการทาพีซีอาร์ ที่เหมาะสมมีความเข้ มข้ นของดีเอ็น เอมะปรางต้ นแบบ 100 ngและ MgCl2 5 mMจากการทดสอบโดยเทคนิคไอพีบีเอสใช้ ไพรเมอร์ 20 ไพรเมอร์ พบว่าสามารถ สังเคราะห์แถบดีเอ็นเอของมะปรางได้ ทงหมด ั้ 179 แถบโดยเฉลี่ยแถบดีเอ็นเอเท่ากับ 8.95 แถบ จากการทดสอบโดยเทคนิคไอ เอสเอสอาร์ 13 ไพรเมอร์ พบว่าสามารถสังเคราะห์แถบดีเอ็นเอของมะปรางได้ ทงหมด ั้ 83 แถบโดยเฉลี่ยแถบดีเอ็นเอเท่ากับ 6.38 แถบ สรุ ปได้ ว่าเทคนิคไอพีบีเอส และไอเอสเอสอาร์ เป็ นเทคนิคที่ทาการศึกษาง่ายและรวดเร็ วสามารถนามาใช้ ใน การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของพืชกลุม่ มะปรางได้ คาสาคัญ: เครื่ องหมายโมเลกุล มะปราง ไอพีบีเอส ไอเอสเอสอาร์

Abstract Molecular marker is an important tool in biological research, particularly of genetic diversity and evolution of organisms. In this study, iPBS (inter primer binding site) and ISSR (Inter simple sequence repeats) markers were preliminary applied to assess genetic characterization of Bouea macrophylla. Genomic DNA was extracted from fresh leaf samples. The result clearly showed that at 100 ng template DNA and MgCl2 5 mM concentration are suitable for further PCR analysis. Twenty primers of iPBS makers were primarily screened for analysis and all primers were chosen for further analysis. For iPBS technique, DNA band was 179 DNA fragments by 8.95 per DNA primers. Thirteen primers of ISSR makers were applied for further analysis which DNA band was 83 DNA fragments by 6.38 per DNA primer. Therefore, iPBS and ISSR are simply, rapid and suitable methods for analysis of genetic study for Bouea species. Keywords: molecular marker, Boueamacrophylla, iPBS, ISSR

1 2

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220

18-20 พฤศจิกายน 2558

53


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

54

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

18-20 พฤศจิกายน 2558

55


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

56

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-01 การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในช่ วงแตกใบอ่ อนของลองกอง Changes of Gibberellin-Like Substances during Leaf Flushing of Longkong (Aglaia dookkoo Griff.) ปฐม คงแก้ ว1 และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ 1 Patom Kongkaew1 and Ladawan Lerslerwong1

บทคัดย่ อ การแตกใบอ่อนเป็ นปั จจัยสาคัญที่มีปฏิสมั พันธ์ กบั การออกดอกของไม้ ผลยืนต้ นหลายชนิด โดยต้ นไม้ ผลจะไม่ออก ดอกหรื อออกดอกน้ อยเมื่อมีการแตกใบอ่อน และจิบเบอเรลลินเป็ นฮอร์ โมนที่มีบทบาทสาคัญในการส่งเสริ มการแตกใบอ่อนใน ไม้ ผล การวิจยั ครั ง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในช่วงแตกใบอ่อนของลองกอง ในปี พ.ศ. 2556 – 2557 การทดลองเริ่ มดาเนินการหลังตัดแต่งกิ่งเมื่อปลายเดือนมกราคม ผลการศึกษาพบว่า ต้ นลองกองมี การแตกใบอ่อนทังหมด ้ 3 ครัง้ คือ เดือนกุมภาพันธ์ เดือนมิถุนายน และเดือนตุลาคม โดยมีเปอร์ เซ็นต์การแตกใบอ่อนที่ตรวจ นับในระยะเพสลาด เท่ากับ 84.4 53.5 และ 50.9 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ นอกจากนี ้ยังพบว่า ลองกองมีการออกดอกปลายเดือน มีนาคมซึ่งเป็ นช่วงหลังแตกใบอ่อนครัง้ แรก การแตกใบอ่อนของลองกองมีความสัมพันธ์กบั การเปลี่ยนแปลงปริ มาณสารคล้ าย จิบเบอเรลลิน โดยจากการวัดปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินด้ วยวิธี Lettuce Hypocotyl Bioassay พบว่า ปริ มาณสารคล้ าย จิบเบอเรลลินทังในเปลื ้ อกไม้ และในใบจะเพิ่มขึ ้น ก่อนการแตกใบอ่อนครัง้ ที่สอง 1 เดือน 436.67 และ 401.77 นาโนกรัมต่อ กรัมน ้าหนักสด และก่อนการแตกใบอ่อนครัง้ ที่สาม 2 เดือน 497.56 และ 597.29 นาโนกรัมต่อกรัมน ้าหนักสด ตามลาดับ คาสาคัญ: จิบเบอเรลลิน แตกใบอ่อน ลองกอง

Abstract Leaf flushing is one of the factors that counteract flowering process in most perennial fruit trees. In generally, fruit trees do not flower or produces less flowering when they are in leaf flushing. Gibberellins play a major role to encourage leaf flushing. This study aimed to investigate changes of gibberellin-like substances during period of leaf flushing of Longkong tree in 2013 – 2014. The study was carried out after pruning in late January. The results showed that Longkong tree produced three flushes in February, June and October. The percentages of leaf flushing at stage young fully expanded leaf were 84.4%, 53.5% and 50.9%, respectively. Furthermore, Longkong tree had flowering in late March, which appeared after the 1st leaf flushing. Leaf flushing was related to changes of gibberellin-like substances. Lettuce Hypocotyl Bioassay was used for quantification of gibberellin-like substances. It was found that the level of gibberellin-like substances in bark and leaf increased one month before 2nd of leaf flushing at 4011.77 and 436.67 ng/gFW, respectively and two months before 3rd of leaf flushing at 597.29 and 497.56 ng/gFW, respectively. Keywords: gibberellins, leaf flushing, longkong

1

ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ สงขลา 90112

18-20 พฤศจิกายน 2558

57


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-02 ผลกระทบของปริมาณนา้ ฝนต่ อการออกดอกของลองกองที่ชักนา ด้ วยการราดสารพาโคลบิวทราโซลและการรัดลาต้ น Impacts of Rainfall on Floral Induction of Longkong (Aglaia dookkoo Griff.) Induced by Paclobutrazol Drench and Trunk Strangulation พิมาภรณ์ แก้ วสวัสดิ์1 และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ 1 Pimaporn Kaewsawad1 and Ladawan Lerslerwong1

บทคัดย่ อ ปริมาณน ้าฝนเป็ นปั จจัยสภาพแวดล้ อมที่กาหนดช่วงแล้ งก่อนการออกดอกของไม้ ผลยืนต้ นหลายชนิดรวมทังลองกอง ้ การศึกษาครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของน ้าฝนต่อการออกดอกของลองกองที่ถกู ชักนาด้ วยการราดสารพาโคลบิว ทราโซลและการรัดลาต้ นในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2556 ดาเนินการราดสารพาโคลบิวทราโซลและรัดลาต้ นกับต้ นลองกองอายุ 16 ปี ในระยะใบเพสลาดของใบอ่อนชุดที่ 2 วางแผนการทดลองแบบสุม่ ในบล็อกอย่างสมบูรณ์ (RCB) ทา 5 ซ ้า ประกอบด้ วย 3 วิธีการชักนาการออกดอก ได้ แก่ 1) ไม่ราดสารพาโคลบิวทราโซลและไม่รัดลาต้ น 2) ราดสารพาโคลบิวทราโซล 4 กรัมสาร ออกฤทธิ์ 10 %/น ้า 10 ลิตร/ต้ น + รัดลาต้ น และ 3) ราดสารพาโคลบิวทราโซล 4 กรัมสารออกฤทธิ์10 %/น ้า 10 ลิตร/ต้ น ผล การศึกษาพบว่า ปริ มาณน ้าฝน จานวนที่ฝนตก และการกระจายตัวของวันที่ฝนตกที่เกิดขึ ้นในช่วงการชักนาการออกดอกมีผล ทาให้ ลองกองใช้ เวลาในการออกดอกภายหลังการได้ รับกรรมวิธีชกั นาการออกดอกที่ยาวนานขึ ้น ในขณะที่การออกดอกเกิดขึ ้น ภายหลังจากการให้ กรรมวิธีชกั นาการออกดอกประมาณ 24 วัน การราดสารพาโคลบิวทราโซลและการรัดลาต้ นในทุกกรรมวิธี ทาให้ ลองกองออกดอกและมีความยาวตาดอกมากกว่าชุดควบคุม คาสาคัญ: ปริมาณน ้าฝน ลองกอง การออกดอก

Abstract Rainfall is an important factor that determine drought period before flowering required for many fruit trees including longkong (Aglaia dookkoo Griff.). The objective of this study was to investigate the impacts of rainfall on floral induction of longkong induced by paclobutrazol drench and trunk strangulation in August 2013. Longkong trees were drenched with paclobutrazol and trunk strangulated at young fully expanded leaf of 2nd flushing. Randomized Complete Block Design (RCB) was performed with 5 replications. The experiment comprised three treatments, including: 1) no paclobutrazol drench and no trunk strangulation, 2) paclobutrazol drench at concentration 4 gram (10 % a.i.)/10 L/tree + trunk strangulation and 3) paclobutrazol drench at concentration 4 gram (10 % a.i.)/10 L/tree. The results showed that rainfall, number of rainy days and distribution of rainy days during time of floral induction affected on longkong trees to require longer time for flowering. Furthermore, flower buds were appeared on 24 days after all treatments. Paclobutrazol drenched trees with and without trunk strangulation had more number of flowers and length of flower buds. Keywords: rainfall, longkong, flowering

1

ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ สงขลา 90110 58

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-03 ผลของตาข่ ายพรางแสงต่ อการเปลี่ยนแปลงสีใบ และการตอบสนองทางสรีรวิทยา บางประการของสับปะรดสีสกุล Neoregelia sp. Effect of Net Shading on the Changes of Leaf Color and Some Physiological Responses of Bromeliads (Neoregelia sp.) ภาณุพล หงษ์ ภกั ดี1 และกฤษฎา ภักดีลุน1 Panupon Hongpakdee1 and Kritsada Phakdeelun1

บทคัดย่ อ การผลิตสับปะรดสีในโรงเรื อน มักพบอาการผิดปกติของสี เมื่อพืชถูกขนย้ ายไปยังอีกสถานที่ ซึ่งมีความเข้ ม แสง เปลี่ยนแปลงไป การศึกษาผลของตาข่ายพรางแสงต่อการเปลี่ยนแปลงสีใบ และการตอบสนองทางสรี รวิทยาบางประการของ สับปะรดสี สกุล Neoregelia sp. ดาเนินการภายใต้ การทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ โดยคัดเลือกต้ นสับปะรดสี เพื่อรับกรรมวิธี ภายใต้ สภาพการพรางแสงด้ วยตาข่าย 5 ระดับ เป็ นเวลา 2 สัปดาห์ ได้ แก่ กรรมวิธีควบคุม (ได้ รับแสงโดยตรง) กรรมวิธีพราง แสงด้ วยตาข่ายสีเขียว 50 เปอร์ เซ็นต์ และ 70 เปอร์ เซ็นต์ กรรมวิธีพรางแสงด้ วยตาข่ายสีดา 50 เปอร์ เซ็นต์และ 70 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ผลการทดลอง พบว่า ทุกระดับของการพรางแสง ไม่ส่งผลต่อค่านา้ หนักสด และนา้ หนักแห้ งของรากพืช แต่ทุก กรรมวิธีที่ใช้ ตาข่ายพรางแสง ทาให้ พืช มีค่าน ้าหนักสดส่วนยอด มากกว่าการไม่พรางแสง ส่วนการลดค่าความเข้ มแสงลง โดย การเพิ่มระดับการพรางแสง ส่งผลให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงค่าสี ที่หลากหลาย โดยพบว่า ค่า a และ b มีค่ามากที่สดุ เมื่อพืช เติบโตภายใต้ การพรางแสงด้ วยตาข่ายสีดา 50% และที่การพรางแสงด้ วยตาข่ายสีดา ทังสองระดั ้ บ ขณะที่การให้ ต้นพืช ได้ รับ แสงโดยตรง จะให้ ค่า L สูงที่สดุ นอกจากนี ้การเพิ่มระดับการพรางแสงด้ วยตาข่ายมากขึ ้น ยังมีความสัมพันธ์อย่างมาก กับการ ลดลงของค่าปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ b ในใบพืข (r = 0.97) และ ยังพบความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ a และ ปริ มาณแคโรทีนอยด์ในใบพืชด้ วย (r = 0.79) ทังการเปลี ้ ่ยนแปลงค่าสี และปริ มาณเม็ดสี ในใบพืช จึงอาจเป็ นเหตุผลส่วนหนึ่ง ที่ทาให้ สบั ปะรดมีการพัฒนาสีแดงเข้ มขึ ้น เมื่อได้ รับสภาพความเข้ มแสงต่า คาสาคัญ: ความเข้ มแสง สับปะรดสี เม็ดสี การเจริญเติบโต

Abstract Bromeliad plant (Neoregelia sp.) in nursery production had usually occurred as unmarketable colorcharacters when plant was transferred to other different light intensity. Effect of net shading on the changes of leaf color and physiological responses of Neoregelia sp. was conducted in CRD experimental design. Uniform plants were selected and growing under 5 levels of net shading (control (direct sunlight), 50% and 70% shading with green net, and 50% and 70% shading with black net) for 2 weeks. The result exhibit that all shading levels did not affect root fresh and dry weight, but all net shading treatment cause the higher shoot fresh weight than non-shading treatment. Decrease light intensity by increase net shading levels seems to affect the various change of bromeliad leaf color. The highest a-value and b-value were found in 50% black net shading and both light levels of black net shading, while the direct sunlight treatment cause the highest L-value in plant leaf. Moreover, increase net shading level had correlated with reduces chlorophyll b (r = 0.97) and chlorophyll a content had positively correlated with carotenoids content in leaf (r = 0.79). Both of color value and pigment content changes might be partially concern with the development of deep reddish colors when plant expose to low light intensity. Keywords: light intensity, bromeliads, pigment, growth

1

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ. เมือง จ. ขอนแก่น 40002

18-20 พฤศจิกายน 2558

59


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-04 ผลของการฟอกฆ่ าเชือ้ และสารควบคุมการเจริญเติบโต NAA และ BA ที่มีผลต่ อการชักนาให้ เกิด แคลลัสของสตรอเบอรี่พนั ธุ์พระราชทาน 80 ในสภาพปลอดเชือ้ The Sterilization and Effect of NAA and BA on Callus Induction of Strawberry cv. Pharachatan 80 In Vitro มงคล ศิริจนั ทร์ 1,2 พุทธพงษ์ สร้ อยเพชรเกษม1,2 กวี สุจปิ ุลิ1,2 ณรงค์ ชัย พิพฒ ั น์ ธนวงศ์ 3 และพีระศักดิ์ ฉายประสาท1,2 Mongkon Sirijan1,2 Puttapong Sroypetkasem1,2 Kawee Sujipuli1,2 Narongchai Pipattanawong3 and Peerasak Chaiprasart1,2

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของการฟอกฆ่าเชื ้อและสารควบคุมการเจริ ญเติบโต NAA และ BA ที่มีผลต่อการชักนาให้ เกิดแคลลัส ของสตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 โดยนาชิ ้นส่วนปลายยอด(apical meristem) มาขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ ซึง่ ทาการฟอกฆ่าเชื ้อชิ ้นส่วนด้ วยสารละลายโซเดียมไฮโปรคลอไรท์ที่ระดับความเข้ มข้ น 0, 1, 2, 3, 4% โดยนามาเลี ้ยงบนสูตร อาหาร MS (Murashige and Skoog) หลังจากนันน ้ าชิน้ ส่วนที่มีอตั ราการอยู่รอดมากที่สดุ มาชักนาให้ เกิดแคลลัสโดยใช้ สตู ร อาหารดังนี ้ สูตรอาหาร A (สูตรควบคุม) สูตรอาหาร B (NAA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร + BA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร) สูตรอาหาร C (NAA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร + BA 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร) สูตรอาหาร D (NAA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร + BA 2 มิลลิกรัมต่อลิตร) สูตรอาหาร E (NAA 2 มิลลิกรัมต่อลิตร + BA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร) สูตรอาหาร F (NAA 2 มิลลิกรัมต่อลิตร + BA 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร) สูตร อาหาร G (NAA 2 มิลลิกรัมต่อลิตร + BA 2 มิลลิกรัมต่อลิตร) สูตรอาหาร H (NAA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร + BA 0 มิลลิกรัมต่อ ลิตร) สูตรอาหาร I(NAA 0 มิลลิกรัมต่อลิตร + BA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร) โดยวางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ [Completely Randomize Designed (CRD)] จานวน 15 ซ ้า ซ ้าละ 1 ขวด พบว่าผลของการฟอกฆ่าเชื ้อที่ระดับความเข้ มข้ น 3 เปอร์ เซ็นต์ ระยะเวลา 20 นาที มีความเหมาะสมมากที่สดุ โดยมีอตั ราการอยู่รอด 80 เปอร์ เซ็นต์ และพบว่าสูตรอาหาร F สามารถชักนาให้ เกิดแคลลัสมากที่สดุ โดยมีขนาดความกว้ างแคลลัส เท่ากับ 2.20 เซนติเมตร และความยาวแคลลัสเท่ากับ 2.90 เซนติเมตร คาสาคัญ: สตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 ไซโตไคนิน ออกซิน เนื่อเยื่อเจริญปลายยอด

Abstract

The study of sterilization and effect of NAA and BA on callus induction of Strawberry cv. Pharachatan 80 using apical meristem has been reported. The sterilized explant by sodium hypochlorite level 0, 1, 2, 3, 4% transfered on MS medium (Murashige and Skoog) were employed. The most of survival rates of explant on callus induction were grown on medium supplemented with different concentration of NAA and BA. All experimental design were done by using Completely Randomize Designed (CRD)(15 replications one explant each). The treatments consisted of Medium A (Control), Medium B(NAA 1 mg/l + BA 1 mg/l), Medium C (NAA 1 mg/l + BA 1.5 mg/l), Medium D (NAA 1 mg/l + BA 2 mg/l), Medium E (NAA 2 mg/l + BA 1 mg/l), Medium F (NAA 2 mg/l + BA 1.5 mg/l), Medium G (NAA 2 mg/l + BA 2 mg/l), Medium H (NAA 1 mg/l + BA 0 mg/l), Medium I (NAA 0 mg/l + BA 1 mg/l ). The results found that 3% sodium hypochlorite for 20 minutes had achieved 80% survival rate and medium F(NAA 2 mg/l + BA 1.5 mg/l) was the best medium (the maximum of width and length were callus 2.20 cm and 2.90 cm respectively) Keywords: strawberry cv. Pharachatan 80, cytokinin, axin, apical meristem.

1

ภาควิชาวิทยาศาสตร์ การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 65000 สถานวิจยั เพื่อความเป็ นเลิศทางวิชาการด้ านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัย นเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 65000 3 สถาบันค้ นคว้ าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900 2

60

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-05 ผลของสารสกัดจากไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra L.) ต่ อการเติบโตของต้ นกล้ าและการมีชีวิตของ เซลล์ (cell viability) ในต้ อยติ่ง (Ruellia tuberosa Linn.) Effect of Mimosa pigra L. Extract on Seedling Growth and Cell Viability in Ruellia tuberosa Linn. อินทิรา ขูดแก้ ว1 Intira koodkaew1

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของสารสกัดจากไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra L.) ต่อการเติบโตของต้ นกล้ าและการมีชีวิตของเซลล์ (cell viability) ในต้ อยติ่ง (Ruellia tuberosa Linn.) โดยสกัดสารจากส่วนใบของไมยราบยักษ์ ด้วยเมทานอล และใช้ ความ เข้ มข้ นของสารสกัด 0, 0.1, 1.0 และ 10.0 กรัมน ้าหนักแห้ งเซลล์ต่อลิตร จากผลการทดลองพบว่า สารสกัดส่งผลให้ ความยาว รากและความยาวยอดของต้ อยติ่งลดลงอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ เมื่อเพิ่มความเข้ มข้ นของสารสกัดส่งผลยับยังความยาวราก ้ และความยาวยอดมากยิ่งขึ ้น โดยที่ความเข้ มข้ น 1.0 และ 10.0 กรัมน ้าหนักแห้ งเซลล์ต่อลิตร มีผลยับยังความยาวราก ้ 53.45  2.0 และ 91.67  0.3 เปอร์ เซ็นต์ และมีผลยับยังความยาวยอด ้ 46.43  3.6 และ 100.00  0.0 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ผล ของสารสกัดต่อการมีชีวิตของเซลล์ในรากต้ อยติ่งโดยวิธี Evan blue uptake พบว่า เมื่อเพิ่มความเข้ มข้ นของสารสกัดมีแนวโน้ ม ทาให้ การมีชีวิตของเซลล์รากต้ อยติ่งลดลง โดยที่ความเข้ มข้ น 10 กรัมน ้าหนักแห้ งเซลล์ต่อลิตรส่งผลให้ การมีชีวิตของเซลล์ ลดลงอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ จากผลการทดลอง ผลของสารสกัดต่อ การสูญเสียความมีชีวิตของเซลล์ อาจเป็ นปั จจัยหนึ่งที่ ทาให้ การเติบโตของต้ นกล้ าต้ อยติ่งลดลง จากการศึกษาชี ใ้ ห้ เห็นว่าสารสกัดจากไมยราบยักษ์ มีสารออกฤทธิ์ ทางชี วภาพที่ สามารถยับยังการเติ ้ บโตของพืชได้ คาสาคัญ: สารสกัดไมยราบยักษ์ ต้ อยติ่ง การมีชีวิตของเซลล์

Abstract Effects of Mimosa pigra L. on seedling growth and cell viability in Ruellia tuberosa Linn. were investigated. Leave of M. pigra were extracted with methanol to prepare methanolic crude extract at concentrations 0, 0.1, 1.0 and 10.0 gDW/l). The results showed that the extract had significant effect to reduce root and shoot length of R. tuberosa. When increasing the extract concentration had result in increasing inhibition rate of root and shoot growth, 53.45  2.0 and 91.67  0.3 percent for root and 46.43  3.6 and 100.00  0.0 percent for shoot after treated with the extract at 1.0 and 10.0 g(DW)/L, respectively. Effect of the methanolic extract on cell viability in root of R. tuberosa was determined by using Evan blue uptake method. The result showed that cell viability tend to decrease after increasing the extract concentration, at 10.0 g(DW)/L had significantly induce loss of cell viability in root. From the results, effect of M. pigra extract to inhibit R. tuberosa seedling growth may result from loss of cell viability. This study indicated that M. pigra extract had bioactive compounds to inhibit growth of other plant. Keywords: M. pigra extract, R. tuberosa, cell viability

1

สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จังหวัด นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

61


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-06 ผลของระยะเวลาการเก็บรักษาหัวพันธุ์ท่ อี ุณหภูมติ ่าต่ อการชะลอการออกดอก ของว่ านอึ่งและว่ านหัวครู Effect of Cold Storage Period on Flower Delaying of Eulophia macrobulbon (Par. & Pchb. f.) and E. spectabilis (Dennst.) Suresh. พงษ์ นที ปิ นตาแจ่ ม1 และณัฐา โพธาภรณ์ 1 Pongnatee Pintajam1 and Nuttha Potapohn1

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของระยะเวลาในการเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิต่าต่อการชะลอการออกดอกของว่า นอึง่ และว่านหัวครู มีจดุ ประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บรักษาหัวพันธุ์ว่านอึง่ และว่านหัวครูที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส เพื่อ ชะลอการออกดอกให้ ช้ากว่าสภาพธรรมชาติ โดยทาการเก็บรักษาหัวพันธุ์ว่านอึ่งและว่านหัวครู ที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 30, 60, และ 90 วัน จากนันน ้ าหัวพันธุ์มาปลูกลงกระถางจนกระทัง่ ให้ ดอก พบว่า การเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 90 วัน สามารถชะลอการออกดอกของว่านหัวครู ได้ โดยมีความยาวของก้ านช่อดอกสันกว่ ้ าชุด ควบคุมอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ในขณะที่การเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส ไม่มีผลต่อการออกดอกของว่าน อึง่ คาสาคัญ: กล้ วยไม้ ดิน อุณหภูมิต่า การออกดอก

Abstract Effect of cold storage period on flower delaying of Eulophia macrobulbon (Par. & Pchb. f.) and E. spectabilis (Dennst.) Suresh. was conducted. Corms of both terrestrial orchids were stored at 15oC for 30, 60, and 90 days. After that, plants were grown in plastic pot until flowering. It was found that flowering of E. spectabilis which was stored at 15oC for 90 days could be delayed and peduncle length is shorter than normal plant where as low temperature had no effect on flowering of E. macrobulbon. Keywords: terrestrial orchid, low temperature, flowering

1

ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200 62

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-07 ผลของอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาหัวพันธุ์ต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกของ กล้ วยไม้ ดนิ นางกราย (Habenaria lindleyana Steud.) Effects of Temperature and Blubs Storage Duration on Growth and Flowering of Habenaria lindleyana Steud. นิพนธ์ กิติด1ี โสระยา ร่ วมรังษี1 และณัฐา โพธาภรณ์ 1 Nipon Kitidee1, Soraya Ruamrungsri1 and Nuttha Potapohn1/

บทคัดย่ อ กล้ วยไม้ ดินสกุล Habenaria เป็ นกล้ วยไม้ ดินที่มีหวั แน่น (tuber) มีลกั ษณะช่อดอกตังตรง ้ รูปทรงดอกสวยงาม เหมาะ สาหรับใช้ เป็ นไม้ กระถาง และสามารถพัฒนาเป็ นเชิงการค้ าได้ จึงได้ มีการศึกษาผลของระยะเวลาที่ใช้ เก็บรักษาหัวพันธุ์ต่อการ ยืดอายุการเก็บรักษาสาหรับการผลิตกล้ วยไม้ ดินนางกราย โดยคัดเลือกหัวพันธุ์ที่มีน ้าหนัก 0.1-3.0 กรัม วางแผนการทดลอง แบบ Factorial in CRD แบ่งการทดลองออกเป็ น 2 ปั จจัย คือ ปั จจัยที่ 1 อุณหภูมิการเก็บรักษาหัวพันธุ์ 3 ระดับ คือ 10 องศา เซลเซียส 15 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิห้อง (ประมาณ 25-30 องศาเซลเซียส) ปั จจัยที่ 2 ระยะเวลาในการเก็บรักษา 2 ระดับ คือ 90 วัน และ 180 วัน จากนันน ้ ามาปลูกในวัสดุปลูกที่ประกอบด้ วย ทรายหยาบ:เปลือกข้ าว: แกลบดา อัตราส่ วน 1: 1: 1 พบว่า การเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 10 และ 15 องศาเซลเซียส ทาให้ กล้ วยไม้ ดินนางกรายมีความสูงลาต้ นเทียมสูงที่สดุ คือ 2.80 และ 2.38 เซนติเมตร ตามลาดับ ซึง่ ไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติ ส่วนการเก็บรักษาหัวพันธุ์ระยะเวลา 90 วัน มีผลทา ให้ จานวนใบต่อต้ นมากที่สดุ คือ 4.13 ใบ ดังนันการเก็ ้ บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 10 และ 15 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 180 วัน มีแนวโน้ มที่จะชะลอการงอกและออกดอกได้ คาสาคัญ: กล้ วยไม้ ดิน นางกราย การเก็บรักษาหัวพันธุ์

Abstract Terrestrial orchids genus Habenaria, which have tuber underground, have great potential for commercial use as potted plants. It has upright inflorescences and beautiful flower shape. Thus, effects of storage temperature and bulbs storage duration were conducted. Bulbs with weight of 0.1 to 3.0 g were employed. Experimental design was factorial in completely randomized design. Two factors were studied, storage temperature at 10 °C, 15 °C and room temperature (approximately 25-30 °C) and storage duration i.e. 90 and 180 days. After that, bulbs were grown in sand: rice husk: rice husk charcoal ratio of 1:1:1. The results showed that plants of storage temperature at 10 and 15 °C increased pseudostem height 2.80 and 2.38 cm, respectively was no significant different. And the storage duration at 90 days increased number of leaf 4.13 leaves. It indicated that the storage temperature at 10 and 15 °C for 180 days tend to delay germination and flowering. Keywords: terrestrial orchid, Habenaria lindleyana Steud., bulb storage

1

ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200

18-20 พฤศจิกายน 2558

63


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-08 การควบคุมแรงดันออสโมติกในต้ นมันเทศที่ปลูกภายใต้ สภาวะการขาดนา้ จาก PEG ต่ อการสะสมนา้ ตาล การเปลี่ยนแปลงด้ านสรีรวิทยา และการเจริญเติบโต Osmotic Adjustment in Sweet Potato Grown Under PEG-Induced Water Deficit Stress on Total Soluble Sugar, Physiological Changes and Growth Performances สุณิสา เจตน์ ตะพุก1, สุริยันตร์ ฉะอุ่ม2, ฐาปนีย์ สามพุ่มพวง2, คัทรินทร์ ธีระวิทย์ 2 และสุรวุฒน์ อยู่ยงเวชช์ 1 Sunisa Jettapuk1, Suriyan Cha-um2, Thapanee Samphumphuang2, Cattarin Theerawitaya2and Suravoot Yooyongwech1

บทคัดย่ อ มันเทศเป็ นพืชที่ใช้ เป็ นอาหารหลักในบางประเทศและมีศกั ยภาพสูงในการผลิตไบโอเอธานอลเนื่องจากเป็ นพืชหนึ่งที่ มีค่า conversion จากแป้งเป็ นน ้าตาลสูงมาก อย่างไรก็ตามในปั จจุบนั สภาวะขาดน ้าหรื อสภาวะแล้ งถือเป็ นปั ญหาสาคัญด้ าน สภาวะแวดล้ อมที่ควบคุมยาก โดยกระทบต่อการเจริ ญเติบโตและคุณภาพของมันเทศ งานวิจยั นี ้ได้ เลือกมันเทศพันธุ์เหลือง ญี่ปนุ่ เพาะเลี ้ยงในสภาวะไฮโดรโพนิก (hydroponic culture) ที่มีเม็ดดินเผาเป็ นวัสดุค ้าจุน ร่วมกับการควบคุมค่าออสโมติกของ สารละลายเพาะเลี ้ยงในระดับปกติ [0% polyethylene glycol (PEG)] หรื อสภาวะออสโมติกต่า 5 เปอร์ เซ็นต์ PEG เพื่อจาลอง สภาวะขาดน ้าของต้ นพืช โดยทาการศึกษาเปรี ยบเทียบกับการเพาะปลูกในกระถางดินสภาพธรรมชาติ จากการศึกษาพบว่า ปริมาณน ้าตาลในมันเทศเหลืองญี่ปนุ่ ที่เพาะเลี ้ยงในสภาพออสโมติกต่า มีมากกว่าชุดควบคุม โดยมีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นที่รากสะสม อาหารและรากฝอยตังแต่ ้ ในเดือนที่ 2 จนถึงระยะเก็บเกี่ยว เมื่อพิจารณาปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ในใบมันเทศพบว่ามีการเพิ่มขึ ้น อย่างมีนยั สาคัญในเดือนที่ 4 อย่างไรก็ตามพื ้นที่ใบของต้ นมันเทศถือเป็ นดัชนีบ่งชี ้ด้ านการเจริ ญเติบโตที่ดี ซึง่ พบว่าพื ้นที่ใบมี ค่าลดลงอย่างมากในต้ นพืชที่เพาะปลูกในสภาวะขาดน ้า (5 เปอร์ เซ็นต์ PEG) ระบบการเพาะปลูกมันเทศในสภาวะไฮโดรโพนิก ถื อเป็ น เทคโนโลยี ก ารเพาะปลูก พื ช ในสภาวะควบคุมที่ ส ามารถพัฒนาโปรโตไทป์ หรื อ ต้ น แบบการศึกษาเชิ งลึกด้ านการ ตอบสนองของพืชต่อสภาวะเครี ยดที่ลดผลกระทบจากปั จจัยสภาวะแวดล้ อมที่ควบคุมได้ ยากในสภาพแปลงปลูกทดสอบ คาสาคัญ: มันเทศ ออสโมติกต่า การขาดน ้า น ้าตาล สรี รวิทยา

Abstract

Sweet potato (SP) has been selected to a main carbohydrate food in some countries. The SP is still offered for a high potential of a bio-ethanol production, because of the well conversion of starch to sugar. Up to date, water deficit stress or drought condition remains a hot environmental issue and this issue strongly damages on the growth performances and tuber productivity of SP. In present study, SP cv. Japanese Yellow was grown under hydroponic system, containing modified Hoagland solution using clay tablets as supporting material. Osmotic potential in hydroponic solution was adjusted by 0 or 5% polyethylene glycol (PEG) as well as the plant grown in the pot culture under natural condition was set as positive check. Total soluble sugar in plants grown under PEG-induced water deficit stress was enriched especially in the storage and fibrous roots for 2-4 months. Total chlorophyll content in the leaf tissues of plants grown under PEG-induced water deficit stress was increased. Leaf area was a good indicator for growth character. The leaf area in SP plant was continuously declined when subjected to PEG-induced water deficit stress in a long period. The hydroponic culture system of SP may play a role as prototype for stress responses with reducing the environmental factors in the multi-location of field trials. Keywords: sweet potato, low osmolality, water deficit stress, total soluble sugar, physiology 1 2

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ การเกษตร มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ห้ องปฏิบตั ิการสรี รวิทยาและชีวเคมีด้านพืช ศูนย์พนั ธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) 64

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-09 การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อตาจากก้ านช่ อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส Micropropagation from Buds of Flower Stalks of Phalaenopsis Orchids กาญจนา รุ่ งรัชกานนท์ 1 และ รัชนีกร ดีดวงพันธ์ 1 Karnchana Rungruchkanont1 and Ratchaneekorn Deeduangpan1

บทคัดย่ อ การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อตาจากก้ านช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส เป็ นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบหนึง่ ที่เพิ่มจานวนต้ นกล้ วยไม้ ให้ มีลกั ษณะเหมือนต้ นพันธุ์เดิม และลดการสูญเสียต้ นแม่พนั ธุ์ งานวิจยั ครัง้ นี ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตาแหน่ง ของตาบนก้ าน ช่อดอกและปั จจัยของสารควบคุมการเจริ ญเติบโตพืชและสารยับยังสารประกอบฟี ้ นอลลิกที่สง่ เสริ มการเพิ่มปริ มาณต้ นกล้ วยไม้ ทา การชักนาให้ เกิดยอดจากตาในตาแหน่งต่างๆ คือ ดอกอ่อน ตาข้ อที่ 1 ตาข้ อที่ 2 และตาข้ อที่ 3 บนก้ านช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส ในอาหารสูตร MS ที่เติมสาร BAP ความเข้ มข้ น 0 และ 5 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า ทุกตาแหน่งตาสามารถชักนาให้ เกิดการพัฒนาได้ โดยมีการพัฒนา 3 แบบ คือ 1) ตาพัฒนาเป็ นช่อดอก 2) ตาพัฒนาเป็ นโปรโตคอร์ มไลค์บอดี ้ และ 3) ตาพัฒนาเป็ นยอด โดยอาหารที่ เติม BAP ความเข้ มข้ น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ชักนาการพัฒนาได้ ดี ในส่วนการเพิ่มจานวนยอด นายอดไปเลี ้ยงในอาหารสูตร MS ที่เติม BAP ความเข้ มข้ น 0, 2.5, 5, 7.5 และ 10 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า BAP ความเข้ มข้ น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ชักนายอดได้ 4.0 ยอดต่อ ชิ ้นส่วน การศึกษาการลดสารประกอบฟี นอลลิกร่ วมกับการเพิ่มจานวนยอด ทาโดยนายอดกล้ วยไม้ มาเลี ้ยงในอาหารสูตร MS ที่เติม ผงถ่าน ความเข้ มข้ น 0.2 เปอร์ เซ็นต์ หรื อ citric acid ความเข้ มข้ น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BAP ความเข้ มข้ น 0, 2.5, 5, 7.5 และ มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า อาหารที่เติม citric acid ร่วมกับ BAP ความเข้ มข้ น 10 มิลลิกรัมต่อลิตร ชักนายอดได้ ดีที่สดุ คือ 6.5 ยอดต่อ ชิ ้นส่วน และมีความยาวยอด 2.4 เซนติเมตร ยอดที่ได้ สามารถออกรากได้ ในอาหาร MS ที่มี หรื อไม่มีสารควบคุมการเจริ ญเติบโต โดย มีอตั ราการรอดชีวิต 100 เปอร์ เซ็นต์ หลังการออกปลูกในโรงเรื อน คาสาคัญ: กล้ วยไม้ ตาแหน่งตา สารยับยังสารประกอบฟี ้ นอลลิก BAP

Abstract

Micropropagation from buds of flower stalks of Phalaenopsis is a clonal propagation method which increases proliferation and does not cause loss of mother plants. The objectives of this research were to study the bud position on flower stalks and the effect of plant growth regulators and phenolic compound inhibitors on enhancing multiplication. Shoot production in young flower bud, first nodal bud, second nodal bud and third nodal bud on flower stalks of Phalaenopsis was induced on MS media supplemented with and without BAP at 5 mg/l. The result showed that all bud positions underwent development and showed 3 patterns of growth: 1) buds develop into inflorescence 2) buds develop into protocorm-like bodies and 3) buds develop into shoot. Buds developed well in the medium with 5 mg/l BAP. For shoot multiplication, new shoots were cultured on MS media with BAP at 0, 2.5, 5, 7.5 and 10 mg/l. The best result was 5 mg/l BAP, inducing 4 shoots per explant. In order to reduce phenolic compounds and also increase shoots, shoots were cultured on MS media supplemented with 2% activated charcoal or 150 mg/l citric acid combined with BAP at 0, 2.5, 5, 7.5 and 10 mg/l. The best result occurred in medium with citric acid and 10 mg/l BAP, inducing 6.5 shoots per explant and 2.4 cm. in height. Roots were produced in medium with and without plant growth regulator. The survival rate after transplanting into green house was 100%. Keywords: orchid, bud position, phenolic compound inhibitor, BAP

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วาริ นชาราบ จ.อุบลราชธานี 34190

18-20 พฤศจิกายน 2558

65


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-10 อุณหภูมิท่ เี หมาะสมในการเก็บรักษาเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงพันธุ์ Nepenthes mirabilis Effects of different temperature on seed storage of Nepenthes mirabilis เอรียา เทพรินทร์ 1สมพงษ์ สุขขาวงษ์ 2สุรัตน์ วดี ชูโชติ2สรายุทธ อ่ อนสนิท1และสุรพล ฐิตธิ นากุล1 Areeya Thepparin1Sompong Sukhawong2SuratwadeeChuchote2Sarayut Onsanit1and Suraphon Thitithanakul1*

บทคัดย่ อ หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง เป็ นพืชกินแมลง ที่ได้ รับความสนใจในตลาดไม้ ประดับทังในและต่ ้ างประเทศ ปั จจุบนั ต้ นที่อยู่ใน ป่ าถูกนาออกมาจาหน่ายจานวนมากและพื ้นที่ที่หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงเจริ ญเติบโตตามธรรมชาติถกู นาไปใช้ เป็ นที่ดินเพื่อการ เกษตรกรรม ทาให้ พืชชนิดนี ้เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ในอนาคตการทดลองครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมใน การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ของหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงสายพันธุ์ Nepenthes mirabilisพบว่าเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงสามารถเก็บ รักษาที่อณ ุ หภูมิ 4 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิห้อง (31 องศาเซลเซียส) ได้ ดีที่สดุ และเก็บรักษาเมล็ดให้ มีความงอกมากกว่า 50 เปอร์ เซ็นต์ ได้ นาน 60 วัน และ 28 วัน ตามลาดับ ขณะที่การเก็บรักษาเมล็ดที่อณ ุ หภูมิ -20 องศาเซลเซียส และ -80 องศา เซลเซียส เพียง 7 วันทาให้ เมล็ดมีความงอกต่ากว่า 20 เปอร์ เซ็นต์ คาสาคัญ: อุณหภูมิ การงอกของเมล็ด หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง Nepenthes mirabilis

Abstract Nepenthes sp. is an insectivorous plant which has been interested for domestic and international ornamental market. A large number of wild nepenthes are sought for sale. At the sometime the natural areas of the plant are destroyed for agricultural purpose. As a result, there is high possibility for nepenthes to extinct in the near future. Therefore, protecting Nepenthes is in need. This experiment purposed to find out the optimal temperature for storage the seed of Nepenthes mirabilis. Results showed that the optimal temperature for storage the seeds was 4º C and at the room temperature (31º C). The seeds germinated over 50% after 60 and 28 days of storage date, respectively. However, the germination was decreased to be lower than 20% if stored the seeds at 20ºC and -80ºC. Keywords: temperature, germination of seeds, Nepenthes mirabilis

1 2

สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ ธานี ศูนย์ปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตร์ และเครื่ องมือกลาง มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ ธานี 66

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-11 ผลของการเก็บรักษาหัวพันธุ์ท่ อี ุณหภูมิต่าต่ อการเจริญเติบโตเอือ้ งตีนกบ Effects of Tuber Cold Storage on Growth and Development of Pecteilis susannae ชลเวทย์ ไทยรัตน์ 1 และ ณัฐา โพธาภรณ์ 1 Chonlawet Thairat 1and Nuttha Potapohn1

บทคัดย่ อ นางอัวตี ้ นกบ (Pectelis susannae (L.) Raf.) เป็ นกล้ วยไม้ ดินที่มีหวั แบบ ลาต้ นสะสมอาหาร ช่อดอกมีความสวยงาม และมีขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับกล้ วยไม้ ดินชนิดอื่น มีศกั ยภาพที่สามารถพัฒนาไปเป็ นไม้ ดอกเพื่อการค้ าได้ กล้ วยไม้ ชนิดนี ้พัก ตัวในช่วงฤดูแล้ งและออกดอกในช่วงฤดูฝน ได้ มีการศึกษาผลของการเก็บ รักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียสต่อการ เจริ ญเติบโตและออกดอก โดยวางแผนการทดลองแบบปั จจัยร่ วมในสุ่มสมบูรณ์ (Factorial in Complete Randomized Design) ทาการคัดแยกขนาดหัวพันธุ์ออกเป็ น 3 ขนาด แล้ วจึงเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 4 เดือน จากนันน ้ ามาปลูกในวัสดุปลูกที่ประกอบไปด้ วย ดิน:ทราย ในอัตราส่วน 1:1 เทียบกับการปลูกแบบปกติ พบว่า ขนาดของ หัวพันธุ์มีผลต่อ ความสูง ขนาดลาต้ นเทียมและ ความกว้ างของทรงพุ่ม ในขณะที่การเก็บหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส ไม่มีผลต่อระยะเวลาการออกดอกของนางอัวตี ้ นกบ คาสาคัญ: กล้ วยไม้ ดิน การพักตัว อุณหภูมิต่า

Abstract Pectelis susannae (L.) Raf. is a terrestrial orchid. It has great potential for improving as commercial potted plants. Underground stem of this orchid is tuberous stem. Inflorescence is beautiful and larger than other terrestrial orchids. Generally, this plant goes on dormant at dry season and grows on vegetative and flowering during rainy season. Thus, effects of cold storage on growth and development of Pectelis susannae (L.) Raf. was conducted. Factorial in complete randomized design was used in this experiment. Tubers were divided in-to 3 sizes. Then they were kept at 15 oC. After 4 months, the tubers were grown in medium using soil:sand ratio 1:1. It was found that, tubers size had effect on plant height. pseudo stem diameter and plant width. However, storage at 15 oC had no effect on flowering period of Pectelis susannae. Keywords: terrestrial orchid, dormancy, low temperature

1

ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 ประเทศไทย

18-20 พฤศจิกายน 2558

67


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-12 พัฒนาการของเมล็ดพันธุ์กระเจีย๊ บแดง (Hibiscus sabdariffa L.) Development of Roselle (Hibiscus sabdariffa L.) Seed ชนันดา ศรีบุญไทย1 ภาณุมาศ ฤทธิไชย1* และเยาวพา จิระเกียรติกุล1 Chanunda Sriboonthai1 Panumart Rithichai1* and Yaowapha Jirakaittikul1

บทคัดย่ อ ศึกษารู ปแบบการออกดอก การพัฒนาและการสุกแก่ของเมล็ดพั นธุ์กระเจี๊ยบแดง เพื่อกาหนดระยะเวลาที่เหมาะสม ในการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ โดยปลูกในเดือนสิงหาคมถึงเดือนธันวาคม 2557 ผูกดอกบานทุกวันและเก็บเกี่ยวผลทุก 3 วัน โดย เริ่ มจากอายุ 3 วันหลังดอกบาน จนถึงอายุ 45 วันหลังดอกบาน พบว่า กระเจี๊ยบแดง เริ่ มออกดอกเมื่ออายุ 75 วันหลังปลูก จานวนดอกบานสูงสุดเมื่ออายุ 84 วันหลังปลูก โดยมีจานวน 6.70 ดอกต่อต้ น เมล็ดมีน ้าหนักแห้ งเพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็วในช่วง อายุ 3 - 30 วันหลังดอกบาน และเมล็ดสุกแก่ทางสรี รวิทยา เมื่ออายุ 30 วันหลังดอกบาน ซึง่ เป็ นระยะที่มีน ้าหนักแห้ งสูงสุด (3.58 กรัมต่อ 100 เมล็ด) แต่ที่ระยะนี ้เมล็ดยังมีความงอกต่า (39.00 เปอร์ เซ็นต์) และมีความชื ้นสูงถึง 48.99 เปอร์ เซ็นต์ ที่อายุ 39 วันหลังดอกบาน เมล็ดมีความงอกสูงสุด 80.50 เปอร์ เซ็นต์ และมีความชื ้นลดลงเหลือ 20.60 เปอร์ เซ็นต์ หลังจากนันเมล็ ้ ดมี ความงอกและความชื ้นลดลง โดยที่อายุ 45 วันหลังดอกบาน เมล็ดมีความงอก 63.50 เปอร์ เซ็นต์ ความชื ้น 14.72 เปอร์ เซ็นต์ และพบเมล็ดแข็งสูงถึง 26.00 เปอร์ เซ็นต์ ดังนันระยะที ้ ่เหมาะสมในการเก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์กระเจี๊ยบแดง คือที่อายุ 39 วันหลัง ดอกบาน คาสาคัญ: กระเจี๊ยบแดง พัฒนาการของเมล็ด สุกแก่ทางสรี รวิทยา ระยะเก็บเกี่ยว

Abstract Flowering pattern, seed development and maturation of roselle were investigated to determine the optimum seed harvesting time. The plants were grown from August to December 2014. Flowers were tagged daily and fruits were harvested at three-day intervals, starting from 3 days after anthesis (DAA) to 45 DAA. The results indicated that flowering appeared at 75 days after planting (DAP) and the maximum number of flowers (6.70 flowers/plant) exhibited at 84 DAP. Seed dry weight dramatically enhanced during 3 to 30 DAA and seed reached its physiological maturity (PM) at 30 DAA which the maximum dry weight (3.58 g/100 seeds) occurred. However, low germination (39.00%) and high seed moisture content (48.99 %) obtained at PM. Seed germination percentage showed the highest value of 80.50 % and seed moisture content decreased to 20.60 % at 39 DAA. Thereafter, seed germination percentage and seed moisture content slightly decreased to 63.50 % and 14.72 %, respectively, while hard seed increased into 26.00 % at 45 DAA. Therefore, the optimum harvesting time of roselle seed was 39 DAA. Keywords: roselle, seed development, physiological maturity, harvesting time

1

ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปทุมธานี 12120 68

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-13 อัตราการสังเคราะห์ ด้วยแสงในรอบวันของเรือนพุ่มทุเรียนพันธุ์หมอนทอง Daily Canopy Photosynthesis of Durian (Durio zibethinus Murray) cv. ‘Monthong’ เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ 1 ศรปราชญ์ ธไนศวรรยางกูร2พูนพิภพ เกษมทรั พย์ 3 ดวงรัตน์ ศตคุณ4 เชฏฐ์ สาทรกิจ3 อรอุมา ด้ วงงาม4 และดอกแก้ ว จุระ4 1 Jessada Phattaralerphong Sornprach Thanisawanyangkura2 Poonpipope Kasemsap3 Duangrat Satakhun4 Jate Sathornkich3 Ornuma Duangngam4 and Dokkeaw Chura4

บทคัดย่ อ

การศึกษาอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงในรอบวันของเรื อนพุม่ ทุเรี ยน พันธุ์หมอนทอง ศึกษาในทุเรี ยนจานวน 4 ต้ น ซึง่ มีอายุ 2.5 ปี มีความสูงต้ น เส้ นผ่านศูนย์กลางทรงพุ่ม และพื ้นที่ใบทังหมดของทรงพุ ้ ่ม อยู่ในช่วง 0.94 – 1.64 เมตร 0.53 – 2.96 เมตร และ 0.97 - 4.22 ตารางเมตร ตามลาดับ วัดการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่มทุเรี ยนในรอบวันพร้ อมกับ การบันทึกข้ อมูลสภาพอากาศ ได้ แก่ ความเข้ มแสง อุณหภูมิและความชื ้นสัมพัทธ์ของอากาศ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิ ของเรื อนพุ่มคานวณจากอัตราการไหลของอากาศและความแตกต่างของความเข้ มข้ นของแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ในอากาศ ก่อนเข้ าและหลังออกจากห้ องวัดที่ครอบต้ นทุเรี ยน จากการทดลอง พบว่า อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่มทุเรี ยนมี การเปลี่ยนแปลงในรอบวันตามการเปลี่ยนแปลงของความเข้ มแสง โดยอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิของเรื อนพุ่มมีค่าเป็ น ลบในเวลากลางคืน เนื่องจากมีการคายแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์จากเรื อนพุ่ม ส่วนเวลาเช้ า พบว่า อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง สุทธิเพิ่มสูงขึ ้นอย่างรวดเร็วจนมีค่าสูงสุด (Pmax) ในช่วงเวลา 09 00.– 11.00 นาฬิกา และมีค่าลดลงอย่างต่อเนื่องในเวลาบ่าย อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิของเรื อนพุ่มสูงสุดมีค่าระหว่าง 10.32 - 18.40 ไมโครโมลคาร์ บอนไดออกไซด์ต่อตารางเมตร ต่อวินาที การดูดกลืนคาร์ บอนไดออกไซด์ของเรื อนพุ่มมีค่าอยู่ระหว่าง 9.25 - 37.62 กรัมของคาร์ บอนไดออกไซด์ต่อต้ นต่อวัน หรื อคิดเป็ นปริมาณคาร์ บอนมีคา่ อยูร่ ะหว่าง 2.52 - 10.26 กรัมคาร์ บอนต่อต้ นต่อวัน คาสาคัญ: การสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ ทุเรี ยน การดูดกลืนคาร์ บอนไดออกไซด์ การดูดกลืนคาร์ บอน

Abstract

A study of daily canopy photosynthesis of durian (Durio zibethinus Murray) cv. ‘Monthong’ was done by using 4 durian trees. Tree age was 2.5 years. The tree height, tree diameter and total canopy leaf area were about 0.94 -1.64 m, 0.53 - 2.96 m and 0.97 - 4.22 m2, respectively. Daily canopy photosynthesis was measured concurrent with weather data i.e. light intensity, air temperature and humidity. The canopy photosynthesis rate was calculated by using value of flow rate and the difference carbon dioxide concentration between inlet and outlet air to the chamber. The results found that daily canopy photosynthesis of durian changed during the day corresponded to light intensity. The canopy photosynthesis rate was negative at night due to CO2 emissions. In the morning, the canopy photosynthesis rate increased sharply to maximum between 09 00.– 11.00 am then decreased in the afternoon. The maximum canopy photosynthesis rate was about 10.32 - 18.40 µmol CO2/m2/s. The Canopy CO2 absorption and were about 9.25 - 37.62 g CO2/plant/day equivalent to carbon 2.52-10.26 g C/ plant/day. Keywords: canopy photosynthesis, durian, CO2 assimilation, carbon assimilation

1

สาขาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชาพฤกศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 4 ศูนย์ความร่ วมมือทางวิชาการไทย-ฝรั่งเศส (DORAS Center) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2

18-20 พฤศจิกายน 2558

69


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-14 การตอบสนองต่ อแสงในการสังเคราะห์ ด้วยแสงของใบทุเรียนพันธุ์หมอนทอง Single Leaf Photosynthetic Light Response of Durian (Durio zibethinus Murray) cv. ‘Monthong’ เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ 1 พูนพิภพ เกษมทรัพย์ 2 ดวงรัตน์ ศตคุณ3 ดอกแก้ ว จุระ3 และอรอุมา ด้ วงงาม3 Jessada Phattaralerphong1 Poonpipope Kasemsap2 Duangrat Satakhun3 Dokkeaw Chura3 and Ornuma Duangngam3

บทคัดย่ อ การศึกษาการตอบสนองต่อแสงของอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบทุเรี ยน พันธุ์หมอนทอง โดยศึกษาในใบทุเรี ยน ที่มีอายุต่างกัน 2 ชุด คือ ชุดใบที่อายุน้อย ซึง่ มีการขยายขนาดของใบเต็มที่ (youngest fully expanded leaf, F1) และอยู่ด้าน นอกของทรงพุ่ม ส่วนชุดใบที่สอง เป็ นใบที่มีอายุมากกว่าและอยู่ด้านในทรงพุ่ม (F2) จากการศึกษาเปรี ยบเทียบอัตราการ สังเคราะห์ด้วยแสงที่ความเข้ มแสงต่างๆ กัน ระหว่าง 0-2,000 µmolm-2s-1 พร้ อมทังวั ้ ดค่าความเขียวใบ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ เอ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ บี ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ และสัดส่วนพื ้นที่ใบต่อน ้าหนักแห้ ง (specific leaf area; SLA) พบว่า ลักษณะการตอบสนองต่อแสงของใบทังสองชุ ้ ดมีลกั ษณะเช่นเดียวกัน คือ มีคา่ เป็ นลบเมื่อไม่มีแสงและมีคา่ เพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อเพิ่มความเข้ ม แสง หลังจากนัน้ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงเริ่ มอิ่มตัวที่ความเข้ มแสงในช่วง 800-1,000 ไมโครโมลต่อ ตารางเมตรต่อวินาที ข้ อมูลดังกล่าวข้ างต้ น ถูกนามาใช้ ในการประเมินค่าตัวแปรในแบบจาลองการตอบสนองต่อแสงแบบ nonrectangular hyperbola อันประกอบด้ วย ค่าความชันเริ่ มต้ น (α) ความโค้ ง (θ) อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสูงสุด (Pmax) และ อัตราการหายใจในความมืด (Rd ) ซึง่ พบว่า ค่า α ไม่มีความแตกต่างระหว่างใบทังสองชุ ้ ด ส่วนค่า θ และ Rd พบว่า F1 มีค่า มากกว่า F2 (θ เท่ากับ 0.71 และ 0.51; Rd มีคา่ 0.99 และ 0.40 ไมโครโมลคาร์ บอนไดออกไซด์ต่อตารางเมตรต่อวินาที สาหรับ ใบ F1 และ F2 ตามลาดับ) ขณะที่ Pmax ของ F1 (7.89 ไมโครโมลคาร์ บอนไดออกไซด์ต่อตารางเมตรต่อวินาที ) มีค่าต่ากว่า F2 (9.75 ไมโครโมลคาร์ บอนไดออกไซด์ตอ่ ตารางเมตรต่อวินาที) นอกจากนี ้ยังพบว่า ความเข้ มแสงที่ทาให้ อตั ราการตรึง CO2 สุทธิ เท่ากับศูนย์ (light compensation point) ของใบ F1 (28.06 ไมโครโมลต่อตารางเมตรต่อวินาที ) มีค่าสูงกว่า F2 (10.11 ไมโคร โมลต่อตารางเมตรต่อวินาที) ส่วนค่าตัวแปรอื่นที่ศกึ ษาในการวิจยั นี ้ พบว่า ใบ F2 มีค่าความเขียวใบ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ เอ ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ บี และปริมาณคลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ สูงกว่า F1 ที่มีอายุน้อยกว่า แต่ไม่มีความแตกต่างกันของค่า SLA คาสาคัญ: การสังเคราะห์ด้วยแสง การตอบสนองต่อแสง ทุเรี ยน ความเขียวใบ คลอโรฟิ ลล์ จุดความเข้ มแสงพอดี

Abstract A study on the single leaf photosynthetic light response of durian cv. ‘Monthong’ was done on two different stages of leaf flushes, i.e. the youngest flush with fully expanded leaves (F1) which were on the outer of the canopy and the older flush of leaves which were on the inner of the canopy (F2). Photosynthetic response to the light intensity between 0-2,000 µmol m-2s-1 was studies. Leaf greenness, chlorophyll A, chlorophyll B, total chlorophyll and specific leaf area (SLA) were also studied. Both of F1 and F2 showed the same shape of the light response curve, i.e. photosynthesis rate was negative under no light applied then increased rapidly as the light intensity level increased then begin to saturat at 800-1,000 µmol m-2s-1. The photosynthetic light response data was used to estimate 4 parameters in the non-rectangular hyperbola model, i.e. initial slope (α), convexity parameter (θ), maximum photosynthesis rate (Pmax) and dark respiration rate (Rd). The result showed that α was not different between two flushes. While θ and Rd of F1 was higher than F2 (θ were 0.71 and 0.51; Rd were 0.99 and 0.40 µmol CO2 m-2s-1 for F1 and F2 respectively). Pmax of F1 (7.89 (µmol CO2 m-2s-1) was lower than F2 (9.75 µmol CO2 m-2s-1). Father more, light compensation point of F1 (28.06 µmol m-2s-1) was higher than F2 (10.11 µmol m-2s-1). The other parameters that were observed in this experiment found that leaf greenness, chlorophyll A, chlorophyll B and total chlorophyll of F2 were higher than younger flush F1 while SLA was not found different between F1 and F2. Keywords: photosynthesis, light response, durian, leaf greenness, chlorophyll, light compensation point 1

สาขาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3 ศูนย์ความร่วมมือทางวิชาการไทย-ฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2

70

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-15 การทดสอบสมการประเมินพืน้ ที่ใบแบบไม่ ทาลายของพีช้ และเนคทารีน ที่ปลูกบนพืน้ ที่สูงของประเทศไทย Validation of Regression Model for Non-Destructive Leaf Area Estimation of Peach and Nectarine in Highland of Thailand พูนทรั พย์ สืบมา1* อุณารุ จ บุญประกอบ1 และสุภาวดี คงทับทิม1 Phunsup Seubma1 Unaroj Boonprakob1 and Supawadee Kongthapthim1

บทคัดย่ อ วิธีการประเมินพื ้นที่ใบที่สามารถติดตามการเจริญเติบโตของใบอย่างต่อเนื่อง แม่นยา โดยไม่ทาลายใบ ไม่รบกวนการ สังเคราะห์ด้วยแสงนับว่ามีความสาคัญมากต่อการศึกษาด้ านสรี รวิทยาพืช วิธีการหนึ่งที่สะดวกและรวดเร็วคือการสร้ างสมการ ถดถอยที่เป็ นมาตรฐาน เพื่อสร้ างสมการถดถอยได้ ใช้ ใบพี ้ชและเนคทารี น ในแปลงรวบรวมพันธุ์ที่ดอยอ่างขาง (1,400 เมตร ระดับน ้าทะเลปานกลาง) และดอยอินทนนท์ (1,200 เมตร ระดับน ้าทะเลปานกลาง) จานวน 8 สายพันธุ์ พันธุ์ละ 100ใบ ตัวอย่างถูกวัดด้ วยเครื่ องวัดพื ้นที่ใบ LI-3100C (LI-COR, Inc) เพื่อบันทึกตัวแปรต่าง ๆ คือ พื ้นที่ใบ (LA) ความกว้ างใบ (W) และ ความยาวใบ (L) เมื่อตรวจสอบตัวแปรต่างๆ ทางสถิติ ไม่พบความแตกต่างระหว่างพันธุ์และพื น้ ที่ปลูก ไม่พบอิทธิพลร่วม ระหว่างพันธุ์และพื ้นที่ปลูกอย่างมีนยั สาคัญ จึงรวมข้ อมูลทังหมดเข้ ้ าด้ วยกันเพื่อนามาสร้ างสมการเชิงเส้ นตรงด้ วยวิธีวิเคราะห์ การถดถอย ระหว่างพื ้นที่ใบและตัวแปรอื่นๆ ได้ สมการกลางเพื่อประเมินพื ้นที่ใบ คือ LA = 0.65 (W x L) – 0.26 โดยมีค่า R2 = 0.99 และเมื่อทดสอบสมการดังกล่าวด้ วยตัวอย่างใบ ชุดใหม่ จานวน 100 ใบ พบว่ามีความแม่นยา 96.4 เปอร์ เซ็นต์ คาสาคัญ: ไม้ ผลเขตหนาว ท้ อ สมการทานาย ค่าสัมประสิทธิ์ของตัวกาหนด

Abstract Estimation method for leaf area during growth and development that was accurate and non-destructive for photosynthesis was very crucial for physiological study. One simple and quick method was to create a standard regression model. In order to build an estimation model, eight cultivars of peach and nectarine planted in a germplasm block at Doi Angkhag (1,400 masl.) and Doi Inthanon (1,200 masl.) were used and 100 leaves of each were collected. Each leaf was measured for leaf area (LA), leaf width (W) and leaf length (L) by a LI-3100C Leaf Area Meter, (Li-COR, Inc.). Statistical analysis found no significant difference in data between cultivars, locations and interaction of both; therefore, data was pooled. Pooled data was used to build an estimation model of leaf area using leaf width and length by regression analysis. It was found that the best model was LA = 0.65 (W x L) – 0.26 with R2 = 0.99. Validation of this model with another 100 leaf samples showed 96.4% accuracy. Keywords: Prunus persica, prediction equation, coefficient of determination

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

71


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-16 การศึกษาการเจริญเติบโต ปริมาณไนโตรเจนและคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่ อยู่ในรูปโครงสร้ างของว่ าน แสงอาทิตย์ ท่ ไี ด้ รับการพรางแสงแตกต่ างกัน The Study of Growth, Nitrogen and Total Non-Structural Carbohydrates Contents of Blood lily (Haemanthus multiflorus) in The Different of Shading รุ่ งนภา ช่ างเจรจา1 พงศ์ ยุทธ นวลบุญเรือง และสันติ ช่ างเจรจา1 Rungnapa changjeraja1 * Pongyuth nualboonreang1 and Sunti changjeraja1

บทคัดย่ อ การศึกษาการเจริ ญเติบโต ปริ มาณไนโตรเจนและคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรู ปโครงสร้ างของว่านแสงอาทิตย์ที่ได้ รั บ การพรางแสงแตกต่างกัน ศึกษา ณ สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้ านนา ระหว่างเดือน กุมภาพันธุ์ถึงเดือน กันยายน 2557 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ มี 4 กรรมวิธี (ไม่พรางแสง พรางแสง 25 เปอร์ เซ็นต์ พรางแสง 50 เปอร์ เซ็นต์ และพรางแสง 75 เปอร์ เซ็นต์) โดยใช้ ซาแลนสีดาที่มีความเข้ มแสงแตกต่างกันและวัดระดับความเข้ ม แสงด้ วย Lux meter แต่ละกรรมวิธีมีจานวน 10 ซ ้าต่อกรรมวิธี จากการทดลองพบว่า ต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสงไม่มีการออก ดอก ต้ นที่พรางแสงทุกระดับมีความกว้ างและความยาวใบมากกว่าต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสง ส่วนต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 เปอร์ เซ็นต์ มีความยาวก้ านดอก ความสูงและน ้าหนักสดใบมากที่สดุ คือ 29.83 เซนติเมตร 68.00 เซนติเมตร และ 12.57 กรัม ตามลาดับ ต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 และ 75 เปอร์ เซ็นต์ มีน ้าหนักสดรากมากที่สดุ คือ 12.74 และ 11.72 กรัม ในส่วนของใบ ต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสงมีปริมาณไนโตรเจนน้ อยที่สดุ ต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 เปอร์ เซ็นต์ มีปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ ในรูปโครงสร้ างมากที่สดุ มีค่า 249.10 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ในส่วนของหัว ต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 และ 50 เปอร์ เซ็นต์ มีคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรู ปโครงสร้ างมากที่สดุ มีค่า 368.61 และ 352.06 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ นอกจากนีย้ งั พบว่า การพรางแสงไม่มีผลต่อขนาดช่อดอก จานวนดอกต่อช่อ ความกว้ างก้ านช่อดอก จานวนใบ ความเข้ มสีใบ น ้าหนักสดของช่อดอก และก้ านช่อดอก น ้าหนักแห้ งของช่อดอก ก้ านช่อดอก หัว และราก ปริ มาณไนโตรเจนใน ส่วนของช่อดอก ก้ านช่อดอก หัวและราก ปริ มาณคาร์ โ บไฮเดรตที่ ไ ม่อยู่ในรู ปโครงสร้ างในส่วนของช่อดอก ใบ และราก คาสาคัญ: ว่านแสงอาทิตย์ การพรางแสง การออกดอก

Abstract

The effect of different shading on growth, nitrogen and total non-structural carbohydrates contents of Blood lily (Haemanthus multiflorus) was studied. The experiment was conducted at Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, during February to September 2014. The experiment design was a completely randomized design with 4 treatments; non-shading, 25% shading, 50% shading and 75% shading. In each treatment had 10 replications. The result showed that the non-shading did not flowering. Leaf length and leaf width in shading treatments were higher than the non-shading treatment. The 25% shading had the highest of stalk length, height and fresh weight of leaves (29.83 cm, 68.00 cm. and 12.57 g, respectively). The plants in 25 and 75% shading treatment had the highest of fresh weight of roots. The nonshading treatment was lowest in leaf nitrogen, while the 25% shading was highest in total non-structural carbohydrates contents (249.10 mg/g dry weight). In bulb, the 25 and 50% shading had highest of total nonstructural carbohydrates contents, 368.61 and 352.06 mg/g dry weight, respectively. However, shading did not affect on inflorescence size, number of floret to inflorescence, width of inflorescence stalk, number of leaves, leaf greenness (SPAD), fresh weight and nitrogen and total non-structural carbohydrates contents content of inflorescence and stalk and dry weight of inflorescence and stalk, bulb and fibrous root. Keywords: blood lily (Haemanthus multiflorus), shading, flowering

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000 72

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-17 ผลของอุณหภูมิกลางคืนต่ อการออกดอกและปริมาณธาตุอาหารในว่ านแสงอาทิตย์ Effect of Night Temperature on Flowering and Nutrient Content in the Bloodlily วันเฉลิม รูปเขียน1 และรุ่งนภา ช่ างเจรจา2* Wanchaleam rupkean1 and Rungnapa changjeraja2

บทคัดย่ อ ผลของอุณหภูมิกลางคืนต่อการเจริ ญเติบโต และการเปลี่ยนแปลงปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตในว่านแสงอาทิตย์ ทดลอง ณ สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ระหว่างเดือน เมษายน – สิงหาคม 2557 การ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design มี 3 กรรมวิธีๆ ละ 10 ซ ้า คือให้ ต้นได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 25 และ 30 องศาเซลเซียส พบว่า ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 องศาเซลเซียส มีจานวนวันตังแต่ ้ ปลูกจนเริ่ มออกดอกใช้ เวลานานที่สดุ คือ 62.50 วัน ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 30 องศาเซลเซียส มีความยาวก้ านช่อดอก น ้าหนักสดและน ้าหนัก แห้ ง ปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรู ปโครงสร้ างในส่วนของลาต้ นใต้ ดิน ปริ มาณนา้ ตาลรี ดิวซ์ในส่วนของลาต้ น ปริ มาณ ไนโตรเจนในส่วนของช่อดอกและก้ านช่อดอก ปริมาณฟอสฟอรัสในส่วนของก้ านช่อดอก มากกว่าต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิอื่นๆ ส่วน ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 25 องศาเซลเซียส มีปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ในส่วนของกาบใบมากที่สดุ ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 และ 25 องศาเซลเซียส มีปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ในส่วนของก้ านช่อดอกมากที่สดุ ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 องศา เซลเซียส มีปริ มาณฟอสฟอรัสในส่วนของลาต้ น กาบใบและ ช่อดอก ปริ มาณโพแทสเซียมและแมกนีเซียมในส่วนของกาบใบ มากที่สดุ ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 และ 30องศาเซลเซียส มีปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรูปโครงสร้ างและปริ มาณ น ้าตาลรี ดิวซ์ในส่วนของช่อดอกมากที่สดุ นอกจากนี ้ยังพบว่าอุณหภูมิกลางคืน ไม่มีผลต่อความกว้ างก้ านช่อดอก น ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ งก้ านช่อดอก ช่อดอก หัว กาบใบ และราก ปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ในส่วนของหัว ปริ มาณปริ มาณไนโตรเจนใน ส่วนของลาต้ นและ กาบใบ ปริมาณโพแทสเชียมและแมกนีเซียมในส่วนของหัว ช่อดอก และก้ านช่อดอก คาสาคัญ: อุณหภูมิกลางคืน ธาตุอาหาร ว่านแสงอาทิตย์

Abstract

Effect of night temperature on growth and changes in carbohydrate content in bloodlily was studied at Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, during April - September 2014. The experimental design was completely randomized design comprised of 3 treatments (20, 25 and 30๐C) and 10 replications per treatment. The result showed that the plants grown at 20 ๐C gave greater days to flowering. The plants grown at 30๐C gave greater stalk length, fresh weight and dry weight of leave, total non structural carbohydrate of stem, reducing sugars of stem nitrogen content in inflorescence and stalk than those of the other treatments. The plants grown at 25๐C contained higher of reducing sugars of scale than the other treatments. The plants grown at 25 ๐C gave the highest of reducing sugar of inflorescence and stalk. The plants grown at 20๐C had the highest phosphorus of stem, scale or inflorescence and potassium or magnesium of scale. The plants grown at 20 or 30๐C gave greater total non structural carbohydrate and reducing sugars of inflorescence, while night temperature did not affect on stalk width, fresh weight or dry weight of stalk, inflorescence, bulb, scale or roots, reducing sugar of bulb, nitrogen or phosphorus in bulb, scale, inflorescence and stalk, potassium or magnesium in inflorescence and stalk. Keywords: night temperature, nutrient, bloodlily

1 2

คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

18-20 พฤศจิกายน 2558

73


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-18 การกระตุ้นความงอกด้ วยแคลเซียมซิลิเกตต่ อคุณภาพและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ผักกาดหอม Seed Priming with Calcium Silicate on Seed Quality and Seed Storage of Lettuce สุวรัตน์ กรรมการ1, พรไพรินทร์ รุ่ งเจริญทอง1*,ศุภชัย อาคา2 และธงชัย มาลา2 SuwaratKammakarn1, Pornpairin Rungcharoenthong1*, Suphachai Amkha2 and Thongchai Mala2

บทคัดย่ อ การกระตุ้นความงอกด้ วยแคลเซียมซิลิเกตต่อคุณภาพและ การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอม โดยวางแผนการ ทดลองเป็ นแบบสุ่มตลอด (CRD) จานวน 6 ชุดการทดลอง 4 ช ้า ดังนี ้ ไม่มีการกระตุ้นความงอกและกระตุ้นความงอกด้ วย แคลเซียมซิลิเกตที่ 0, 1, 2, 4 และ 8 กรัม/ลิตร โดยนาเมล็ดผักกาดหอมปริ มาณ 5 กรัม แช่ในสารละลายแคลเซียมซิลิเกตและ ให้ อากาศ ที่อณ ุ หภูมิห้องเป็ นเวลา 5 ชัว่ โมง จากนันน ้ าเมล็ดมาบ่มที่ความชื ้นสัมพัทธ์ 100 % เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ผึง่ ให้ แห้ ง และ เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ในโหลดูดความชื ้นที่อณ ุ หภูมิห้องเป็ นเวลา 0 1 และ 3 เดือนและนาเมล็ดไปทดสอบคุณภาพโดยทาการ บันทึกข้ อมูล ระยะเวลาในการเกิดราก ดัชนีการงอก และค่าความงอกมาตรฐาน พบว่าเมล็ดพันธุ์ที่ถกู กระตุ้นความงอก โดยไม่ เก็บรักษา มีการงอกของรากเร็ วกว่าเมล็ดที่ไม่ได้ ผ่านการกระตุ้นความงอก รวมถึงมีค่าดัชนีการงอกและความงอกมาตราฐาน เพิ่มขึ ้น โดยที่ การกระตุ้นความงอกด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกตที่ 8 กรัม/ลิตร ให้ ค่าระยะเวลาในการเกิดรากเร็ว ค่าดัชนี การงอก และค่าความงอกมาตรฐานสูงกว่าชุดทดลองอื่น และเมื่อพิจารณาการเก็บรักษาเมล็ดไว้ เป็ นระยะเวลา 1 และ 3 เดือน พบว่าการกระตุ้นความงอกด้ วยแคลเซียมซิลิเกตในอัตรา 4 กรัม/ลิตร ช่วยส่งเสริ มให้ เมล็ดพันธุ์มีการเกิดรากเร็ ว ดัชนีการงอก และ ความงอกมาตราฐานสูงการใช้ ในแคลเซียมซิลิเกตในอัตราที่ต่าหรื อสูงกว่านี ้ ซึง่ มีแนวโน้ มทาให้ คณ ุ ภาพเมล็ดผักกาดหอม ลดลง คาสาคัญ: แคลเซียมซิลิเกต ผักกาดหอม การกระตุ้นความงอก

Abstract Seed priming with calcium silicate (Ca2SiO4) on seed quality and seed storage of lettuce was determined. Experimental design was CRD with 6 treatments 4 replication, non-priming, priming with Ca2SiO4 at 0,1,2,4 and 8 g/L. Seeds (5 grams) were priming into Ca2SiO4for 5 hr. at room temperature. Then, prime seeds were incubated in chamber 100 % RH for 1 hr. Prime seeds were dry. After that prime seeds were stored for 0, 1 and 3 months. Seeds quality was investigated such as day to emergence (DTE), germination index (GI) and germination percentage (GP). The results showed that primed seeds induced DTE earlier than non prime seed. Also prime seed promoted GI and GP was higher than non prime. Seeds primed with Ca2SiO4 at 8 g/L at 0 month had early DTE, and high GI and GP than the other treatment. After storage for 1 and 3 month the results showed that seeds primed with Ca2SiO4 at 4 g/L had DTE, GI and GP higher than the rate of Ca2SiO4. At the higher or lower rate of Ca2SiO4 seemed to be

decrease in the quality of lettuce. Keywords: calcium silicate, lettuce, seed priming 1 2

ภาควิชาวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาการพืช คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 74

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-19 การศึกษาโครโมโซมของตีนฮุ้งดอย (Paris polyphylla Smith) Investigation on Paris polyphylla Smith Chromosome อัปสร วิทยประภารัตน์ 1 และฉันทลักษณ์ ติยายน1 Absorn Wittayapraparat1 and Chantalak Tiyayon1

บทคัดย่ อ ตีนฮุ้งดอย เป็ นพืชสมุนไพรหายากที่พบบนพื ้นที่สงู ในประเทศไทย ปั จจุบนั มีการขุดเหง้ าจากป่ ามาจาหน่ายจนใกล้ สูญพันธุ์จากธรรมชาติ การศึกษาพืชชนิดนี ้ยังมีน้อยมาก การศึกษานี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อหาวิธีการศึกษาโครโมโซมที่เหมาะสม สาหรับตีนฮุ้งดอย โดยเก็บตัวอย่างเนื ้อเยื่อปลายรากทุกชัว่ โมงตังแต่ ้ 1.00 น. ถึง 24.00 น. เพื่อหาช่วงเวลาที่เซลล์กาลังอยู่ใน ระยะเมทาเฟส และหาระยะเวลาเตรี ยมเซลล์ที่เหมาะสมในการหยุดวงชีพเซลล์ 8 ช่วง ได้ แก่ 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42 และ 48 ชัว่ โมง สังเกตเซลล์ใต้ กล้ องจุลทรรศน์ นับจานวนและวัดขนาดโครโมโซมที่ได้ พบว่า ช่วงเวลาเก็บตัวอย่างที่เซลล์ตีนฮุ้งดอย กาลังอยู่ในระยะเมทาเฟสมีหลายช่วงเวลา ซึ่ง 7.00 นาฬิกา เป็ นช่วงเวลาที่เห็นโครโมโซมชัดเจนที่สดุ และระยะเวลาเตรี ยม เซลล์ 6 ถึง 48 ชัว่ โมง ทาให้ โครโมโซมชัดเจนไม่ต่างกันมากจากการสังเกตโครโมโซมเบื ้องต้ น พบโครโมโซมจานวน 5 คู่ (2n = 10) ซึง่ มีความยาว 4, 3, 2.6, 2.3 และ 2.1 ไมโครเมตร ตามลาดับ จากการศึกษานี ้พบว่า เซลล์เนื ้อเยื่อเจริ ญปลายรากของ ตีนฮุ้งดอยมีกิจกรรมการแบ่งเซลล์ตลอดเวลา การเก็บตัวอย่างเนื ้อเยื่อปลายรากเวลา 7.00 น. และเตรี ยมเซลล์เพื่อหยุดวงชีพ เซลล์นาน 6 ชัว่ โมง เป็ นวิธีการศึกษาโครโมโซมที่เหมาะสมสาหรับตีนฮุ้งดอย คาสาคัญ: ตีนฮุ้งดอย โครโมโซม การเตรี ยมเนื ้อเยื่อปลายราก

Abstract Paris polyphylla Smith is a rare medicinal plant found in the highland of Thailand. Its rhizome is dramatically dug up for selling; therefore, it has become extinct from the nature. Due to a few studies of this plant, the purpose of the research is to look for an optimal method to study the chromosomes of Paris polyphylla Smith. The tips of the root were collected every hour between 1 a.m. and 12 p.m. to investigate time periods when cells were in the state of metaphase. Next, the pre-treatment process to stop cell division was divided into 8 different time periods including 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, and 48 hours. At the last step, observed chromosomes were counted and measured by the light microscope. The results show that the metaphase chromosomes are obviously seen at 7 a.m. when it is considered the optimal time to collect root tips of Paris polyphylla Smith. Moreover, there are slightly different attributes of chromosomes in the pre-treatment process. Lastly, the five pairs of metaphase chromosomes (2n=10) are measured their length as 4, 3, 2.6, 2.3, and 2.1 µm, respectively. The experiment also found that the root tip cells divide themselves at all times. In conclusion, the optimal time to collect root tip of Paris polyphylla Smith and to observe its chromosomes is 7 a.m. and the appropriate time period of the pre-treatment process is 6 hours. Keywords: Paris polyphylla Smith, chromosome, the pre-treatment of the root tip

1

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200

18-20 พฤศจิกายน 2558

75


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-20 การประยุกต์ ใช้ GA3 เพื่อส่ งเสริมการงอกของเมล็ดทานตะวันในระหว่ างการผลิตเป็ นผักไมโครกรีน Seed Applications of GA3 Promotes Seed Germination during Sunflower Microgreen Production ดนุพล เกษไธสง1,2 ประกาศิต ดวงพาเพ็ง1 และชบา ทาดาวงษา1 Danupol Ketthaisong1,2 Prakasit Duongpapeng1 and Chaba Tadawongsa1

บทคัดย่ อ การทาลายการพักตัว และส่งเสริมการงอกของเมล็ดทานตะวันในระยะเก็บเกี่ยวด้ วย Gibberellic acid (GA3) เป็ นอีก หนึ่งแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตผักไมโครกรี น การทดลองนี ้ศึกษาระยะเวลาในการแช่เมล็ดร่ วมกับ GA3 ที่ ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ พบว่า ระยะเวลาในการแช่เมล็ด ความเข้ มข้ นของ GA3 และปฏิสมั พันธ์ร่วม มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ โดยการแช่เมล็ดทานตะวันเป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง ร่วมกับ GA3 ที่ระดับความเข้ มข้ น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร ทาให้ ความงอกของเมล็ดสูงที่สุด คือ 82.5 เปอร์ เซ็นต์ รวมทังมี ้ จานวนต้ นกล้ าผิดปกติ และเมล็ดพักตัวต่าที่สดุ ด้ วย ทังนี ้ ้เมื่อนาไป ทดสอบกับเมล็ดพันธุ์ตา่ งชุดกันในระหว่างการผลิตเป็ นผักไมโครกรี น พบว่า การแช่เมล็ดด้ วย GA3 มีผลทาให้ ความยาวต้ นอ่อน น ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ งเพิ่มขึ ้นในทุกชุดเมล็ดพันธุ์ ซึง่ การทาลายการพักตัวด้ วยวิธีดงั กล่าวนี ้ ช่วยส่งเสริ มการงอกของเมล็ด พันธุ์ทานตะวันที่พงึ่ เก็บเกี่ยวได้ คาสาคัญ: การพักตัวของเมล็ด การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ การทาลายการพักตัว ทานตะวันงอก

Abstract Seed applications of gibberellic acid (GA3) for breaking dormancy and promotes seed germination at harvesting stage are among the most aims to increase efficient production of sunflower microgreens. Soaking periods and GA3 concentrations were examined. Different soaking time, GA3 concentration and interactions significantly affected sunflower seed germination. Our findings reveal that the highest germination percentage up to 82.5% was obtained when applying 6 h of soaking with 150 mg/l of GA3 and also showed the lowest treatment for abnormal seedling and seed dormancy. In all seed lots, seed soaking with GA3 increased the seedling shoot length, seedling fresh weight and seedling dry weight during microgreen production. This novel dormancy breaking treatment was thus effective in promoting fresh seed germination. Keywords: seed dormancy, seed storage, breaking dormancy, sunflower sprouts.

1 2

สาขาพืชสวน ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40002 ศูนย์วิจยั ปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อการเกษตรที่ยงั่ ยืน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40002 76

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-21 การฉีดพ่ น N-6-Benzyladenine เพื่อชักนาให้ เกิดตาดอกใน Dendrobium Sonia ‘Earsakul’ อายุ 4 ปี Applications of N-6-Benzyladenine to Four-years-old Dendrobium Sonia ‘Earsakul’ to Increase Flower Buds and Improve Flower Qualities ศุภธิดา อับดุลลากาซิม1 ธนทัต อินทชิต1 และภาสันต์ ศารทูลทัต1 Supatida Abdullakasim1 Thanatat Intachit1 and Parson Sarahdutat1

บทคัดย่ อ กล้ วยไม้ Dendrobium Sonia ‘Earsakul’ เริ่มออกดอกหลังจากย้ ายปลูกได้ ประมาณแปดเดือนไปจนกระทัง่ อายุต้นได้ สี่ปีเกษตรกรจึงโละทิ ้งและปลูกต้ นใหม่ เพื่อเพิ่มผลผลิตในต้ นกล้ วยไม้ หวายที่มีอายุมาก การทดลองนี ้ใช้ N-6-Benzyladenine (BA) ฉีดพ่นเพื่อกระตุ้นการเกิดตาดอกด้ านข้ างในกล้ วยไม้ หวายอายุ 4 ปี โดยใช้ ที่ความเข้ มข้ น 250 500 หรื อ 1,000 มิลลิกรัม ต่อลิตร ปริ มาณ 30 มิลลิลิตรต่อต้ น โดยฉีดพ่นสารแก่ต้นกล้ วยไม้ สองกลุ่ม คือ กลุ่มที่มีความยาวลาลูกกล้ วยน้ อยกว่าหรื อ เท่ากับ 40 เซนติเมตร (ลาอ่อน) และกลุ่มที่มีความยาวลาลูกกล้ วยมากกว่า 40 เซนติเมตร (ลาแก่) ฉีดพ่นสารสัปดาห์ละครัง้ ติดต่อกันสี่ครัง้ ผลการทดลองพบว่าการใช้ BA ที่ความเข้ มข้ น 500 มิลลิกรัมต่อลิตรที่ระยะลาอ่อนและระยะลาแก่มี ผลดีต่อ คุณภาพช่อดอกกล้ วยไม้ หวาย โดยการฉีดพ่นในระยะลาอ่อน ทาให้ จานวนดอกต่อช่อเพิ่มขึ ้นอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดย เพิ่มจาก 9.29 ดอกต่อช่อ เป็ น 11.40 ดอกต่อช่อและมีแนวโน้ มทาให้ กล้ วยไม้ มีจานวนช่อต่อลาลูกกล้ วย ความยาวช่อดอก และ น ้าหนักสดช่อดอกเพิ่มมากขึ ้น ส่วนการฉีดพ่น BA ที่ 500 มิลลิกรัมต่อลิตรในระยะลาแก่ ทาให้ ความยาวช่อดอกและจานวน ดอกต่อช่อเพิ่มขึ ้นอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยความยาวช่อเพิ่มจาก 47.74 เซนติเมตรเป็ น 51.16 เซนติเมตร และจานวนดอก ต่อช่อเพิ่มจาก 11.49 ดอกเป็ น 12.73 ดอกและมีแนวโน้ มเพิ่มจานวนช่อต่อลาลูก กล้ วยและน ้าหนักสดช่อดอก อย่างไรก็ตามมี ข้ อควรระวังคือ การใช้ BA ที่ 500 มิลลิกรัมต่อลิตรทาให้ พบช่อดอกที่มีดอกผิดปกติ 3.13-5.41 เปอร์ เซ็นต์จากผลผลิตทังหมด ้ คาสาคัญ: กล้ วยไม้ หวาย BA ช่อดอก

Abstract

Dendrobium Sonia ‘Earsakul’ can initiate first flower at eight months after transplanting until four-years-old when grown in growing media. The old plants are eliminated before start new crop. In this study, applications of N-6-Benzyladenine (BA) concentrations of 250, 500 and 1,000 mg/l have been applied to increase number of axillary buds in the four-years-old orchid. The young current shoots (less than or equal to 40 cm in length) and mature current shoots (longer than 40 cm in length) were sprayed with 30 ml of BA concentrations once a week for four weeks continuously. The results showed that application of 500 mg/l BA on young current shoots and mature current shoots could improve flower qualities of the Dendrobium orchids. In the young current shoots stage, the 500 mg/l BA sprays have significantly increased number of flower per inflorescence from 9.29 to 11.40 flowers and prone to increase number of inflorescence per shoot, inflorescence length and inflorescence’s fresh weight. In the mature current shoots stage, the 500 mg/l BA sprays have significantly increased length of inflorescence and number of flower per inflorescence. The length of inflorescence increased from 47.74 cm to 51.16 cm and the number of flower per inflorescence increased from 11.49 to 12.73 flowers. The 500 mg/l BA sprays prone to increase number of inflorescence per shoot and inflorescence’s fresh weight. However an application of 500 mg/l BA altered shape of some flowers by 3.13-5.41% of whole inflorescence. Keywords: Dendrobium, BA, flower inflorescence

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรสาสตร์ กาแพงแสน นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

77


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-22 การขาดนา้ ของใบก่ อนการปั กชาไม่ ทาให้ ความสามารถในการเกิดรากและไรโซม จากการปั กชาแผ่ นใบย่ อยของต้ นกวักมรกตลดลง Leaf Water Deficit Prior to Cuttings Propagation Did Not Reduce Capability of Rooting and Rhizome Formation of ZZ Plant (Zamioculcus zamifolia) Leaflet Cuttings สุรีพร นันท์ ดี1 กฤษณา กฤษณพุกต์ 1 และลพ ภวภูตานนท์ 1 Sureeporn Nandee1 Krisana Krisanapook1 and Lop Phavaphutanon1

บทคัดย่ อ ต้ นกวักมรกตทนทานต่อความแห้ งแล้ งได้ ดี แต่การขาดน ้าของใบก่อนการปั กชาอาจมีผลต่อความสาเร็ จในการปั กชา จากการศึกษาการเกิดรากและไรโซมของแผ่นใบย่อยที่ปักชาทันทีหลังตัดใบจากต้ นแม่ (control) หรื อวางใบ (ใบย่อยที่ยงั ติดบน ก้ าน) ให้ ขาดน ้าเป็ นเวลา 3 วัน และ 8 วัน แล้ วจึงตัดแผ่นใบย่อยมาปั กชา พบว่า แผ่นใบย่อยที่ไม่ขาดน ้ามีค่าปริ มาณน ้า สัมพัทธ์ในเนื ้อเยื่อ (relative water content; RWC) 97.22 เปอร์ เซ็นต์ การขาดน ้า 3 และ 8 วัน ทาให้ ค่า RWC ลดลงเป็ น 95.03 และ 93.69 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ หลังปั กชา 65 วัน แผ่นใบย่อยทังหมดเกิ ้ ดรากใหม่ และไรโซม แผ่นใบย่อยที่ขาดน ้า 3 วันก่อนการปั กชา มีจานวนรากใหม่ และขนาดของไรโซมไม่แตกต่างจากแผ่นใบย่อยที่ปักชาทันที (10.2 ราก/แผ่นใบ และ 2.2 x 1.6 เซนติเมตร) ขณะที่การขาดน ้านาน 8 วัน ทาให้ มีจานวนรากใหม่ และขนาดของไรโซมลดลงเล็กน้ อย (7.3 ราก/แผ่น ใบ 2.0 x 1.5 เซนติเมตร) ดังนัน้ ความสามารถในการเกิดรากและไรโซมของแผ่นใบย่อยของต้ นกวักมรกต มีความยืดหยุ่นต่อ สภาพขาดน ้า 3-8 วัน เมื่อใบย่อยยังคงติดอยูก่ บั ก้ านใบ แต่การขาดน ้าส่งผลให้ จานวนรากและขนาดของไรโซมลดลงได้ คาสาคัญ: รากวิสามัญ

Abstract ZZ plant is drought tolerant but leaf water deficit before cuttings propagation may cause unsuccessful of leaflet cuttings. Rooting and rhizome formation of leaflet cuttings stuck into the media immediately (control) after separating from mother plants and those taken from the entire leaves that had been left dry for 3 and 8 days were compared. The non-water deficit control leaflets had high tissue relative water content (RWC) of 97.22 %. Subjected to water deficit for 3 and 8 days lowered RWC of leaflets to 95.03 and 93.69 %, respectively. After cuttings for 65 days, all cuttings formed new roots and rhizomes. Leaflets subjected to 3-day water deficit had similar root (10.2 roots/leaflet) and size of rhizome (2.2 x 1.6 cm) to those of control. Leaflets subjected to 8-day water deficit had less roots (7.3 roots/leaflet) and size of rhizome (2.0 x 1.5 cm). Therefore, root and rhizome formation of a leaflet cutting of ZZ plants was effected by water deficit. However, 8-day water deficit slightly decreased root numbers and size of rhizome. Keywords: adventitious roots

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นครปฐม 73140 78

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-23 ผลของการพรางแสงต่ อการเกิดรากและไรโซมจากการปั กชาแผ่ นใบย่ อย ของต้ นกวักมรกต Effect of Shading on Rooting and Rhizome Formation of ZZ Plant (Zamioculcus zamifolia) Leaflet Cuttings สุภาพร สุกประเสริฐ1 กฤษณา กฤษณพุกต์ 1 และลพ ภวภูตานนท์ 1 Supaporn Sukprasert1 Krisana Krisanapook1 and Lop Phavaphutanon1

บทคัดย่ อ ศึกษาผลของการพรางแสงด้ วยซาแรนต่อการเกิดรากและไรโซมจากการปั กชาแผ่นใบย่อยของต้ นกวักมรกตในสภาพ โรงเรื อนระแนง มีหลังคาพลาสติกใสกันฝน ที่มีระดับความเข้ มแสงเฉลี่ยตอนกลางวัน 846.04 ไมโครโมลต่อตารางเมตรต่อ วินาที การพรางแสงทาให้ ระดับความเข้ มแสงเฉลี่ยตอนกลางวันลดลงเหลือ 473.2 ไมโครโมลต่อตารางเมตรต่อวินาที หลังการ ปั กชาในพีทมอสเป็ นเวลา 60 วันพบว่า แผ่นใบย่อยทังหมดเกิ ้ ดรากใหม่ และไรโซม การพรางแสงทาให้ แผ่นใบย่อยมีสีเขียวเข้ ม กว่าเล็กน้ อย แต่มีจานวนรากใหม่น้อยกว่า (8 รากต่อแผ่นใบย่อย) เมื่อเปรี ยบเทียบกับการไม่พรางแสง (10 รากต่อแผ่นใบย่อย) ขณะที่ความยาวราก (3.81 เซนติเมตรต่อราก) และขนาดของไรโซมที่เกิดขึ ้น (2.1 x 1.6 เซนติเมตร) ไม่แตกต่างกันระหว่างการ ปั กชาในสภาพพรางและไม่พรางแสง ดังนันระดั ้ บความเข้ มข้ นของแสงระหว่างการปั กชามีผลต่อการการเกิดรากและไรโซมของ แผ่นใบย่อยของต้ นกวักมรกต คาสาคัญ: รากวิสามัญ ความเข้ มแสง

Abstract The effect of shading with saran on rooting and rhizome formation of leaflet cuttings of ZZ plants (Zamioculcus zamifolia) was studied under a lath-house condition with plastic roof for rain protection and average midday light intensity of 846.04mol.m-2.s-1. Saran shade reduced the average midday light intensity down to 473.2 mol.m-2.s-1. After sticking in peat moss medium for 60 days, it was found that all leaflet cuttings formed adventitious roots and rhizomes. Leaflet cuttings under shade were slightly greener but number of new roots (8 roots/leaflet) was less than those under non-shading condition (10 roots/leaflet). While, root length (3.8 cm/root) and rhizome size (2.1 x 1.6 cm) were not different between shaded and non-shaded leaflet cuttings. Therefore, root and rhizome formation of a leaflet cutting of ZZ plants was effected by light intensity during the propagation period. Keywords: adventitious roots, light intensity

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

79


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-24 ความเข้ มข้ นของโคลชิชินต่ อการเจริญเติบโตของยอด และการเปลี่ยนแปลงสัณฐานวิทยาของปากใบในผักเชียงดา Effects of Colchicine Concentration on Shoot Growth and Stomata Morphology Changes of Gymnema inodorum (Lour.) Decne พิทกั ษ์ พุทธวรชัย1 นภา ขันสุภา1ชิติ ศรีตนทิพย์ 1และปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 1* Pitak Puttawarachai1Napa khunsupa1, Chitisritontip and Parinyawadee Sritontip1*

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้ มข้ นของโคชิชินต่อการเจริ ญเติบโตของยอดและการเปลี่ยนแปลงลักษณะ ทางสัณฐานวิทยาของปากใบผักเชี ยงดาทาการทดลองที่ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้ านนา ต.พิชยั อ.เมือง จ.ลาปาง ระยะเวลาตังแต่ ้ เดือนมกราคม 2554 ถึง เดือนกันยายน 2555 วางแผนการทดลองแบบ 2x7 Factorial in CRD จานวน 3 ซ ้า ซ ้าละ 10 ต้ น โดยมีสองปั จจัย ได้ แก่ สายต้ นผักเชียงดาจานวน 2 สายต้ น คือ สายต้ นที่ 4 และ 6 ความเข้ มข้ นของโคลชิชิน 7 ระดับ คือ 0, 0.10, 0.25, 0.5, 1.0, 2.0 และ 4.0 เปอร์ เซ็นต์ หยดโคลชิชินโดยวางสาลีบน ยอดตาข้ างผักเชียงดาที่มีอายุ 2 วัน ติดต่อ กัน 7 วัน สังเกตการเปลี่ยนแปลงของยอดทุก ๆ 7 วัน เป็ นเวลา 6 สัปดาห์ จากการ ทดลองพบว่า ความเข้ มข้ นของสารโคลชิชิน 0.1– 1.0 เปอร์ เซ็นต์ ไม่ทาให้ ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปากใบเกิดการ เปลี่ยนแปลง โดยจานวนเซลล์ปากใบเฉลี่ยต่อพื ้นที่ (50 ไมโครตารางเมตร) ความกว้ างและความยาวของเซลล์ปากใบไม่มี ความแตกต่างทางสถิติกบั ไม่ใช้ สารโคชิชินการหยดโคลชิชินที่ระดับความเข้ มข้ นร้ อยละ 0.25 เปอร์ เซ็นต์ ทาให้ ผกั เชียงดาสาย ต้ นที่ 4 มีความยาวยอด ความกว้ างใบ ความยาวใบมากที่สดุ ส่วนการหยดโคลซิชินที่ระดับความเข้ มข้ น 2 และ 4 เปอร์ เซ็นต์ ทาให้ ยอดผักเชียงดาตายร้ อยละ 99 ส่วนยอดที่งอกออกมาชะงักการเจริญเติบโต คาสาคัญ: ผักเชียงดา โคลชิชิน การเจริญเติบโต สัณฐานวิทยา

Abstract The study on influence of colchicines on shoot growth and stomata morphology changes of Gymnema inodorum (Lour.) Decne. (GI) was conducted at Agricultural Technology Research Institute (ATRI), RMUTL, Lampang province. The experiment was laid out in a 2X7 Factorial in CRD design with three replications. Two clones were 1) clone 4 and 2) clone 6. Seven concentration of colchicine i.e., 0, 0.10, 0.25, 0.5, 1.0, 2.0 and 4.0%. The all concentrations of colchicine were continually dropped onto GI lateral bud for 7 days. The transform of shoot were evaluated every 7 days for 6 weeks. The result showed that the number of stomata per 50 µm2, width and length of stomata were not changed significantly by the treatment of 0-1.0% colchicine concentrations. After droplets colchicine 6 weeks, the concentration of 0.25% had the effect on the new shoot growth. Drip colchicine concentrations of 2 and 4% on the shoot of GI were no growth (dead), about 99%, but the shoot that grew was halt. Keywords: Gymnema inodorum (Lour.) Decne., colchicine, growth, stomata morphology

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000 80

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-25 ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตต่ อการเจริญเติบโตของมะกอกโอลีฟพันธุ์อะบีควินา/อาเอสพีจี Effect of Plant Growth Regulators on Growth of Olea europaea var. Arbequina/RSPG ชัยมงคล ใจหล้ า1 จิราพร บุตรศรี1 และบุญร่ วม คิดค้ า1

บทคัดย่ อ ติดตามการเจริ ญเติบโตและผลของฮอร์ โมนออกซินต่อมะกอกโอลีฟสายพันธุ์ Abequina/RSPG อายุ 5 ปี ที่ถกู ขุด ล้ อมแล้ วนาไปปลูกในพื ้นที่ใหม่ การทดลองที่ 1 ทาการขุดล้ อมแล้ วย้ ายต้ นมะกอกโอลีฟอายุ 5 ปี จานวน 80 ต้ น เมื่อนาไป อนุบาลไว้ ในเรื อนเพาะชา พบว่ามีต้นที่รอดตายจานวน 65 ต้ น มีบางต้ นที่แสดงอาการขาดธาตุอาหารพืช การทดลองที่ 2 การศึกษาผลของฮอร์ โมนออกซินต่อการเจริ ญเติบโตของมะกอกโอลีฟพันธุ์ Abequina/RSPG อายุ 5 ปี วางแผนการทดลอง แบบสุม่ สมบูรณ์ 4 กรรมวิธี ได้ แก่ การฉีดพ่นน ้ากลัน่ (กลุม่ ควบคุม) การฉีดพ่นออกซินความเข้ มข้ น 1 พีพีเอ็ม, 10 พีพีเอ็ม และ 100 พีพีเอ็ม ทาการทดลอง 3 ซ ้า ๆ ละ 4 ต้ น พบว่า การฉีดพ่นฮอร์ โมนออกซินทาให้ ต้นมะกอกโอลีฟมีดชั นีพื ้นที่ใบ และจานวนกิ่งต่อต้ น สูงกว่ากลุม่ ควบคุมอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยการฉีดพ่น IAA ที่ความเข้ มข้ น 10 พีพีเอ็ม ทาให้ มะกอกโอลีฟมีจานวนกิ่งต่อต้ น (18.2 กิ่ง) ธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมสูงที่สดุ (N=2.17 เปอร์ เซ็นต์ , P=0.19 เปอร์ เซ็นต์ and K= 2.69 เปอร์ เซ็นต์) ยิ่งไปกว่านันยั ้ งทาให้ มีปริมาณ total non-structural carbon (TNC) สูงที่สดุ ด้ วยเช่นกัน คาสาคัญ: มะกอกโอลีฟ การเจริญเติบโต สารควบคุมการเจริญเติบโต ดัชนีพื ้นที่ใบ

Abstract The aim of experiments are monitoring of growth and effect of plant growth regulator (PGR) on olive growth. The first experiment, 80 plants of Olea europaea var. Arbequina/RSPG does balled and transplanting to the nursery. The result showed that young olive trees left 65 plants. In addition, some plants did show nutritional deficiency. The second experiment was conducted using randomized complete block design (RCBD) with 4 treatments foliar application as control (distilled water), Indole-3-acetic acid (IAA) 1 ppm, IAA 10ppm and IAA 100ppm on 3 replications (4 plants/replication). The results showed that all IAA treatments had significant differences in leaf area index and branch number/plant more than control treatment. The results also clear that the highest number of branch (18.2 branch/plant) and leaf minerals content (N=2.17%, P=0.19% and K=2.69%) were improved by IAA 10ppm spraying. Furthermore, the highest total non-structural carbon (TNC) was improved by IAA 10ppm spraying too. Keywords: olive, growth, plant growth regulators, leaf area index

1

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา 56000

18-20 พฤศจิกายน 2558

81


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-26 ผลของปุ๋ยทางใบที่มีโพแทสเซียมสูงต่ อผลผลิตและอายุการเก็บรักษาหอมหัวใหญ่ Effect of High Potassium Foliar Fertilizer on Yield and Storage Life on Onion กรรณิการ์ แก้ วส่ องแสง1, ภานุรักษ์ ประทับกอง1, อภิญญา ศรีอ่อนดี1 และรวี เศรฐภักดี2 Kannikar Kaewsongsang1, Panurak Pratubgong1, Apinya Sriondee1 and Ravie Sethpakdee2

บทคัดย่ อ จากการพ่นปุ๋ ยทางใบที่มีโพแทสเซียมสูง (6-12-26+12.5 Zn; นูแทค® ซุปเปอร์ เค ผลิตด้ วยเทคโนโลยีระบบสเปรย์ด ราย) เพื่อศึกษาการเพิ่มน ้าหนักผลผลิตและการยืดอายุการเก็บรักษาในหอมหัวใหญ่พนั ธุ์ ซุปเปอร์ เอ็กซ์ โดยการเปรี ยบเทียบ ค่าเฉลี่ยของ 2 ทรี ทเมนต์ คือ การไม่พ่นปุ๋ ย (ชุดควบคุม ) และการพ่นปุ๋ ย อัตรา 3 กรัม/ลิตร จานวน 2 ครัง้ หลังย้ ายปลูก 9 และ 11 สัปดาห์ จานวน 4 ซ ้า ใช้ แปลงทดลองขนาด 12.5 ตารางเมตรต่อซ ้า ทาการทดลองระหว่างเดือนธันวาคม 2556-มีนาคม 2557 จากการทดลองพบว่า การพ่นปุ๋ ย 6-12-26+12.5 Zn มีน ้าหนักผลผลิตหอมหัวใหญ่มากกว่าชุดควบคุม เท่ากับ 9,467 และ 8,529 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ หรื อเพิ่มขึ ้น 11เปอร์ เซ็นต์ จากการคัดขนาดหัวโดยแบ่งขนาดเป็ นเบอร์ 0 1 และ 2 (เส้ น ผ่านศูนย์กลาง 7 5 และ 4 เซนติเมตร ตามลาดับ) พบว่า การพ่นปุ๋ ยนี ้ ให้ ผลผลิตเบอร์ 0 มากที่สดุ เท่ากับ 8,739 กก./ไร่ ซึง่ มากว่าชุดควบคุมที่มีน ้าหนัก 7,955 กิโลกรัมต่อไร่ ภายหลังการเก็บผลผลิตระยะเวลา 3 เดือน พบว่า หอมหัวใหญ่ที่พ่นปุ๋ ย 612-26+12.5 Zn มีเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักผลผลิตและจานวนหัวที่สญ ู เสียระหว่างเก็บรักษาน้ อยกว่าการไม่พ่นปุ๋ ย โดยที่การพ่นปุ๋ ยมี น ้าหนักสูญเสียและเน่า เมื่อคิดเป็ นเปอร์ เซ็นต์เท่ากับ 6.5 และ 7.0 ในขณะที่ชดุ ควบคุม เท่ากับ 12.7 และ 13.5 ตามลาดับ คาสาคัญ: นูแทค ซุปเปอร์ เค ปุ๋ ยสเปรย์ดราย ปุ๋ ยทางใบ น ้าหนักสูญเสีย

Abstract An experiment on the high potassium foliar fertilizer (6-12-26+12.5 Zn; NUTAC® Super K; fertilizer produced by spray-dried technology) on yield and shelf life of onion was established. Two treatments consisted of control (no spray) and 3 g/l of fertilizer were applied in 4 replications. The treatment was sprayed foliar fertilizer twice at 9 and 11 weeks after transplant in 12.5 m2 plot. The result showed that applied with 3 g/l fertilizer showed an 11% yield higher than the control with value 9,467 and 8,529 kg/rai, respectively. Onion size were graded by bulb diameter as 0 (Ø=7 cm), 1 (Ø=5 cm) and 2 (Ø=4 cm). A higher proportion of sizes 0 were found in plants applied with 6-12-26+12.5 Zn this high K fertilizer (8,739 kg/rai) than the control (7,955 kg/rai). Onion applied with 6-12-26+12.5 Zn fertilizer showed losses on weight and bulb number percentages after 3 months of storage were much lower than the control. The losses weight and bulb number of sprayed treatment were 6.5% and 7.0% while the control were obtained at 12.7% and 13.5%, respectively Keywords: NUTAC® Super K, foliar fertilizer, spray-dried fertilizer, weight loss

1 2

Business Research and Development Division, SOTUS International CO., LTD., Pak Kret, Nonthaburi, Thailand Associate Professor (Retired), Dept. of Horticulture Kasetsart University Nakhon Pathom, Thailand 82

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-27 ผลของการพ่ นปุ๋ย NPK ทางใบสัดส่ วน 3:1:2 ต่ อการขยายขนาดผลในมะม่ วงพันธุ์ นา้ ดอกไม้ สีทอง Effect of NPK Foliar Fertilizer at 3:1:2 Ratio to Increase Yield on Mango ‘Nam Dok Mai Sithong’ กรรณิการ์ แก้ วส่ องแสง1, อภิศักดิ์ เบ้ าลี1 และรวี เสรฐภักดี2 Kannikar Kaewsongsang1, Apisak Baolee1 and Ravie Sethpakdee2

บทคัดย่ อ การพ่นปุ๋ ยทางใบสูตร 18-6-12+CaO 4%+MgO 1.5%+Zn 3%+Fe 0.2%+Mn 0.3%+Cu 0.2%+B 0.2% (นูแทค® ไฮเอ็น) เพื่อศึกษาการขยายขนาดผลในมะม่วงพันธุ์น ้าดอกไม้ สีทองที่มีอายุต้น 6 ปี และคัดต้ นที่มีขนาดทรงพุ่มใกล้ เคียงกัน มากที่สดุ โดยแบ่งการทดลองเป็ น 3 กรรมวิธี คือ 1) ไม่พ่นปุ๋ ย 18-6-12 (ชุดควบคุม) 2) พ่นปุ๋ ย อัตรา 1 กรัม/ลิตร และ 3) พ่น ปุ๋ ย อัตรา 2 กรัม/ลิตร จานวน 5 ครัง้ ห่างกันครัง้ ละ 10 วัน ทดลองที่สวนมะม่วง อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา ระหว่างเดือน มีนาคม-พฤษภาคม 2558 วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ จานวน 4 ซ ้า จากการทดลองพบว่า การพ่นปุ๋ ย อัตรา 1 กรัม ต่อลิตร มีน ้าหนักเฉลี่ยต่อต้ น และน ้าหนักผลเฉลี่ยมากที่สดุ คือ 37.8 กิโลกรัม. และ 309.6 กรัม ตามลาดับ ซึง่ จานวนผลต่อต้ น ไม่พบความแตกต่างกันทางสถิติ ทัง้ 3 กรรมวิธี เมื่อทาการคัดขนาดโดยแบ่งเป็ นเบอร์ A (>350 กรัม) เบอร์ B (340-300 กรัม) และเบอร์ C (290-250 กรัม) แล้ วคิดเป็ นเปอร์ เซ็นต์แต่ละเบอร์ จากน ้าหนักทังต้ ้ น พบว่า การพ่นปุ๋ ย 18-6-12 นี ้ อัตรา 1 และ 2 กรัม/ลิตร มีน ้าหนักของเบอร์ A มากกว่าชุดควบคุม คือ 56.2 และ 50.3 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ และมีเปอร์ เซ็นต์ของเบอร์ C น้ อยกว่าชุดควบคุมเช่นกัน คือ 20.5 และ 21.7 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ผลการทดลองนี แ้ สดงให้ เห็นว่าการพ่นปุ๋ ย 18-6-12 สามารถเพิ่มขนาดและนา้ หนักผลได้ โดยที่อัตรา 1 กรัมต่อ ลิตร ให้ ผลผลิตเพิ่มขึน้ ถึง 40 เปอร์ เซ็นต์ และมะม่วงมีสัดส่วน น ้าหนักของเบอร์ A เพิ่มขึ ้น ในขณะที่มีเบอร์ C ลดน้ อยลง จึงทาให้ ผลตอบแทนที่ได้ เพิ่มขึ ้นด้ วย คาสาคัญ: นูแทค® ไฮเอ็น ปุ๋ ยทางใบ ปุ๋ ยสเปรย์ดราย

Abstract An experiment on the effect of 18-6-12+CaO 4%+MgO 1.5%+Zn 3%+Fe 0.2%+Mn 0.3%+Cu 0.2%+B 0.2% (NUTAC® Hi-N) foliar fertilizer on fruit size in mango ‘Nam Dok Mai Sithong’ was carried out. Three treatments consisted of no sprays (control), 1 and 2 g/l of their fertilizer were sprayed on the whole canopy of 6 years old trees for 5 times at 10 day interval. This experiment was conducted in CRD with 4 replication at Sung Noen district, Nakhon Rachasrima province, Thailand during March-May 2015. Trees applied with 1 g/l fertilizer showed the highest total fruit weight as well as fruit weights than the other treatment size of 37.8 kg and 309.6 g, respectively. No significant different between fruit number per plant. Mango fruit were graded by weight as A (>350 g), B (350-300 g) and C (300-250 g). Plant sprayed with 1 and 2 g/l fertilizer showed a higher A grade percentage than the control with 56.2 and 50.3, respectively a lower in C size than the control their 20.5 and 21.7 as well respectively. Mango tree sprayed with this fertilizer could increase their fruit size and weight as well. Yield could increase up to 40% in tree applied with 1 g/l due to the higher number of A size while the C size was lower. This would result in higher income. Keywords: NUTAC® Hi-N, foliar fertilizer, spray-dried fertilizer 1 2

Business Research and Development Division, SOTUS International CO., LTD., Pak Kret, Nonthaburi, Thailand Associate Professor (Retired), Dept. of Horticulture Kasetsart University Nakhon Pathom, Thailand

18-20 พฤศจิกายน 2558

83


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-28 ผลของการใช้ ป๋ ุยแคลเซียม โบรอนและปุ๋ยโพแทสเซียมสูงต่ อผลผลิตและคุณภาพของมันฝรั่ง Effect of CaB and High Potassium Fertilizers on the Yield and Quality on Irish Potato กรรณิการ์ แก้ วส่ องแสง1, ภานุรักษ์ ประทับกอง1, อภิศักดิ์ เบ้ าลี1 และรวี เสรฐภักดี2 Kannikar Kaewsongsang1, Panurak Pratubgong1, Apisak Baolee1 and Ravie Sethpakdee2

บทคัดย่ อ ศึกษาผลของการใช้ ปยทางใบ ุ๋ 2 ชนิด คือ ปุ๋ ยแคลเซียมโบรอน นูบา® สเปรย์ (CaB; CaO 7%, B 0.8%) และปุ๋ ยที่มี โพแทสเซียมสูง (นูแทค® ซุปเปอร์ เค (6-12-26+12.5 Zn) ซึง่ เป็ นปุ๋ ยที่ผลิตด้ วยระบบสเปรย์ดราย) ต่อคุณภาพและผลผลิตของ มันฝรั่งโดยการพ่นทางใบในระยะที่มนั ฝรั่งเริ่มออกดอก จานวน 3 ครัง้ ห่างกันทุก 7 วัน ทาการทดลองที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ วาง แผนการทดลองแบบ RCBD มี 3 ซ ้า คือ 1) ไม่พ่นปุ๋ ยทางใบ (ชุดควบคุม) 2) พ่น 6-12-26 อัตรา 2.5 กรัมต่อลิตร 3, 4 และ 5) พ่น CaB อัตรา 0.5, 1.0 และ 1.5 มิลลิลิตรต่อลิตร 6) พ่น CaB +6-12-26 อัตรา 0.5 มิลลิลิตร+2.5 กรัมต่อลิตร 7) พ่น CaB + 6-12-26 อัตรา 1.0 มล.+2.5 กรัมต่อลิตร และ 8) พ่น CaB + 6-12-26 อัตรา 1.5 มิลลิลิตร+2.5 กรัมต่อลิตร พบว่า ผลผลิตของมันฝรั่งที่พ่นด้ วยปุ๋ ย CaB+6-12-26 ที่อตั รา 1.5 มิลลิลิตร.+2.5 กรัมต่อลิตร, ปุ๋ ย CaB+6-12-6 ที่อตั รา 1.0 มิลลิลิตร+2.5 กรัมต่อลิตร, ปุ๋ ย CaB ที่อตั รา 1.0 มิลลิลิตรต่อลิตร และปุ๋ ย CaB ที่อตั รา 1.5 มิลลิลิตรต่อลิตร ได้ ผลผลิต 4,404, 4,138, 4,093 และ 4,087 กิโลกรัมต่อไร่ ซึง่ สูงกว่ากรรมวิธีเปรี ยบเทียบ 13.2, 6.4, 5.2 และ 5.1 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ส่วน เปอร์ เซ็นต์แป้ง ความกว้ าง ความยาว และจานวนหัวมันฝรั่งต่อไร่นนั ้ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติกบั กรรมวิธีเปรี ยบเทียบ คาสาคัญ: นูบา สเปรย์ นูแทค® ซุปเปอร์ เค ปุ๋ ยทางใบ ปุ๋ ยสเปรย์ดราย

Abstract Studied on the effect of two foliar fertilizers such as CaB (CaO 7%, B 0.8%; NUBA® Spray) and high potassium fertilizer (6-12-26+12.5 Zn; NUTAC® Super K; fertilizer produced by spray-dried technology) for yield and quality of Irish potato. The treated application was commenced at flowering stage with 3 times at 7 days inteval. The treatments were laid out in RCBD with 3 replications. This experiment was conducted at Fang district, Chiangmai province. Treatments were consisted of 1) no foliar fertilizer (control), 2) 6-12-26 at 2.5 g/L, 3, 4 and 5) CaB at 0.5, 1.0 and 1.5 ml/L, 6) CaB+6-12-26 at 0.5 ml+2.5 g/L, 7) CaB+6-12-26 at 1.0 ml+2.5 g/L and 8) CaB+612-26 at 1.5 ml+2.5 g/L. Yields of potato with CaB+6-12-26 at 1.5 ml+2.5 g/L, CaB+6-12-26 at 1.0 ml+2.5 g/L, CaB at 1.0 ml/L and CaB at 1.5 ml/L fertilizers received at 4,404 4,138, 4,093 and 4,087 kg/rai which higher than the control of 13.2, 6.4, 5.2 and 5.1%, respectively. However the percentage of starch, tuber size and the number of tubers were not significantly differ from the control treatment. Keywords: NUTAC® Super K, Nuba® spray CaB, foliar fertilizer, spray-dried fertilizer

1 2

Business Research and Development Division, SOTUS International CO., LTD., Pak Kret, Nonthaburi, Thailand Associate Professor (Retired), Dept. of Horticulture Kasetsart University Nakhon Pathom, Thailand 84

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-29 การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพผลชมพู่พนั ธุ์ ทับทิมจันท์ ด้ วยปุ๋ยทางใบที่มี NPK สัดส่ วน 3:1:2 Enhancement of Yield and Fruit Quality of ‘Tub Tim Chan’ Wax apple with at 3:1:2 NPK Foliar Fertilizer กรรณิการ์ แก้ วส่ องแสง1 และรวี เสรฐภักดี2 Kannikar Kaewsongsang1 and Ravie Sethpakdee2

บทคัดย่ อ ขนาด น ้าหนักและรสชาติเป็ นส่วนประกอบที่สาคัญของคุณภาพของผลชมพู่ การใช้ สดั ส่วนของปุ๋ ยที่ถกู ต้ องย่อมมีผล ต่อลักษณะโดยตรง จึงได้ ทาการทดลองพ่นปุ๋ ย NPK สูตร 18-6-12+CaO 4%+MgO 1.5%+Zn 3%+Fe 0.2%+Mn 0.3%+Cu 0.2%+B 0.2% (นูแทค® ไฮเอ็น) ซึง่ เป็ นปุ๋ ยที่มีสดั ส่วน N:P:K เท่ากับ 3:1:2 อัตรา 0 1 และ 1.5 กรัม/ลิตร ให้ กบั ต้ นชมพู่ทบั ทิม จันท์ที่มีอายุต้น 4 ปี และคัดต้ นที่มีขนาดทรงพุ่มใกล้ เคียงกัน โดยพ่นทางใบให้ ทวั่ ทรงพุ่มจานวน 4 ครัง้ ห่างกันครัง้ ละ 1 สัปดาห์ วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ ประกอบด้ วย 4 ซ ้า ประเมินลักษณะและคุณภาพที่เก็บเกี่ยวหลังพ่นปุ๋ ย 40 วัน ทดลองที่สวนชมพู่ อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม ในเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 2558 จากผลการทดลองพบว่า ต้ นชมพู่ที่ได้ รับปุ๋ ย อัตรา 1 และ 1.5 กรัม/ลิตร มีน ้าหนักผลเฉลี่ย 93.3 และ 103.9 กรัม ตามลาดับ มากกว่าต้ นที่ไม่ได้ รับปุ๋ ยที่มีเพียง 82.8 กรัม เมื่อคัดขนาดผลโดยแบ่งเป็ นเบอร์ A (110-100 กรัม) B (90-80 กรัม) และ C (<80 กรัม) แล้ วคิดเป็ นเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักของแต่ ละขนาด พบว่า ต้ นที่ได้ รับปุ๋ ยอัตรา 1.5 กรัม/ลิตร มีเบอร์ A มากที่สดุ 72.4% และต้ นที่ได้ รับปุ๋ ยมีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้า ได้ (TSS) มากกว่าต้ นที่ไม่รับปุ๋ ย ซึง่ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ จากการทดลองนี ้ชี ้ให้ เห็นว่า การพ่นปุ๋ ยชนิดนี ้ สามารถเพิ่มขนาดและคุณภาพของผลชมพูไ่ ด้ และยังทาให้ มีสดั ส่วนของผลขนาดใหญ่เพิ่มขึ ้นด้ วย คาสาคัญ: นูแทค® ไฮเอ็น ปุ๋ ยทางใบ ปุ๋ ยสเปรย์ดราย น ้าหนักผล

Abstract Size, weight and flavour are considered as important categories in wax apple fruit quality. Application of a right NPK proportion fertilizer could effect directly on this matter. This experiment was intended to study on foliar fertilizer of 18-6-12+CaO 4%+MgO 1.5%+Zn 3%+Fe 0.2%+Mn 0.3%+Cu 0.2%+B 0.2% (NUTAC® Hi-N) which had the 3:1:2 proportion on fruit size and quality in ‘Tub Tim Chan’ wax apple. The trial was conducted in CRD at an orchard in Nakhon Pathom province, Thailand during March-May 2015. Three treatments of this foliar fertilizer at the rate of 0, 1 and 1.5 g/l were sprayed on the whole canopy of 4 years old trees for 4 times at 1 week interval. Yield and quality were evaluated at the harvest of 40 days after sprayed. Fruit applied at the rate 1 and 1.5 g/l showed a higher weight than the control with value 93.3, 103.9 vs 82.8 g, respectively. Fruit were graded via size as A (110-100 g), B (90-80 g) and C (>80 g). Plants applied with 1.5 g/l fertilizer showed a higher percentage of A grade with 72.4. Fruit of sprayed plant (1 and 1.5 g/L) showed a higher total soluble solids (TSS) than fruit of no fertilizer (0 g/l). Therefore, plants applied with this foliar fertilizer would increase quality and yield due to increase the large fruit size proportion. Keywords: NUTAC® Hi-N, foliar fertilizer, spray dry fertilizer, fruit weight

1 2

Business Research and Development Division, SOTUS International CO., LTD., Pak Kret, Nonthaburi, Thailand Associate Professor (Retired), Dept. of Horticulture Kasetsart University Nakhon Pathom, Thailand

18-20 พฤศจิกายน 2558

85


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-30 อิทธิพลของจิบเบอเรลลิคแอซิดต่ อการหลุดร่ วงและคุณภาพผลของมะพร้ าวนา้ หอม Effect of Gibberellic Acid on Fruit Drop and Fruit Quality of Aromatic Coconut เมษา เกือ้ คลัง1 กฤษณา กฤษณพุกต์ 1,2 และลพ ภวภูตานนท์ 1,2 Mesa Kueklang1 Krisana Krisanapook1,2 and Lop Phavaphutanon1,2

บทคัดย่ อ การศึกษาอิทธิพลของจิบเบอเรลลิคแอซิด (Gibberellic acid: GA3) ต่อการหลุดร่ วงและคุณภาพผลของมะพร้ าว น ้าหอม วางแผนการทดลองแบบ completely randomized design (CRD) มี 3 ทรี ทเมนต์ ทรี ทเมนต์ละ 6 ซ ้า (จัน่ ) คือ 1) ชุด ควบคุม (น ้าเปล่า) 2) ฉีดพ่นสารละลาย GA3 ความเข้ มข้ น 450 พีพีเอ็ม จานวน 1 ครัง้ และ 3) ฉีดพ่นสารละลาย GA3 ความ เข้ มข้ น 450 พีพีเอ็ม จานวน 2 ครัง้ (ระยะเวลาห่างกัน 4 วัน) แก่จนั่ (ช่อดอก) ของมะพร้ าวหลังเกิดการผสมเกสร พบว่า มะพร้ าวน ้าหอมที่ไม่ได้ รับสารและได้ รับสาร GA3 มีเปอร์ เซ็นต์การหลุดร่วงของผลที่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยมะพร้ าวที่ไม่ได้ รับสารมีการหลุดร่วงมากที่สดุ คิดเป็ น 64 เปอร์ เซ็นต์ รองลงมาคือที่ได้ รับสาร 1 ครัง้ และ 2 ครัง้ มีการหลุดร่วงของผล คิดเป็ น 58 เปอร์ เซ็นต์ และ 37 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ และพบว่า GA3 ไม่มีอิทธิพลต่อคุณภาพผล ทังด้ ้ านขนาดผล ได้ แก่ เส้ นผ่าน ศูนย์กลางผล ความยาวผล เส้ นผ่านศูนย์กลางของกะลา ความหนาของเปลือก ความหนาของกะลา และความหนาของเนือ้ ด้ านนา้ หนัก ได้ แก่ นา้ หนักทัง้ ผล นา้ หนักของเปลือก นา้ หนักของกะลา นา้ หนักของเนือ้ และปริ มาตรนา้ มะพร้ าว ปริ มาณ ของแข็งที่ละลายน ้าได้ (TSS) และปริมาณกรดที่ไตเตรทได้ (TA) ในน ้ามะพร้ าว คาสาคัญ: สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช การติดผล การพัฒนาของผล

Abstract The objective of this study was to determine the effect of gibberellic acid (GA3) on fruit drop and fruit quality of aromatic coconut. Experimental design was completely randomized design (CRD) with three treatments, 6 replications (inflorescence) for one treatment. The treatments of this experiment comprised of 1) control (the inflorescences were sprayed with water). 2) sprayed with 450 ppm GA3 for 1 time and 3) sprayed with 450 ppm GA3 for 2 times (the second time was applied 4 days after the first time). All spraying were done after fertilization. The results showed that GA3 in treatment 2 and treatment 3 did not affect fruit drop in aromatic coconut. In control, fruit drop amount was 64%, followed by coconut fruit received 450 ppm GA3 for 1 time and 2 times, and their fruit drop were 58% and 37%, respectively. The results also showed that GA3 did not affect fruit qualities of aromatic coconut whether fruit diameter, fruit length, shell diameter, husk thickness, shell thickness, flesh thickness, total weight, husk weight, shell weight, flesh weight, coconut water, total soluble solid (TSS) and titratable acidity (TA) in coconut water. Keywords: plant growth regulator, fruit set, fruit development

1 2

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 ศูนย์วิจยั และพัฒนาไม้ ผลเขตร้ อน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 86

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-31 ผลของอุณหภูมิต่าในระยะต้ นกล้ าต่ อการเจริญเติบโตและผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่พันธุ์ พระราชทาน 80 โดยใช้ วัสดุปลูกในโรงเรือนควบคุมสภาพอากาศ Effect of Low Temperature in the Period of Seedling on Growth and Yield of Strawberry cv. Praratchatan 80 with Substrate Culture in Greenhouse สุมิตร คุณเจตน์ 1 นิสาชล เทศศรี1 และธนภูมิ อ่ อนพรมราช1 Sumit Kunjet1 Nisachon Tedsri1 and Thanapoom Onpromrat1

บทคัดย่ อ จากการศึกษาผลของอุณหภูมิต่ าในระยะต้ นกล้ าที่ มีผลต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่ พันธุ์ พระราชทาน 80 โดยการนาต้ นไหลมาวางในโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศที่มีอณ ุ หภูมิประมาณ 33±2 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 30 วัน (ชุดควบคุม) และในห้ องที่มีอณ ุ หภูมิต่าประมาณ 25±1 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 10, 20 และ 30 วัน ก่อนที่จะนาลงปลูก ในวัสดุปลูก ในสภาพโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ จากผลการทดลองพบว่า การได้ รับอุณหภูมิต่าในระยะต้ นกล้ าไม่มีผลต่อ การเจริ ญเติบโตและผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่ โดยทุกกรรมวิธีมีจานวนและความยาวของก้ านใบ ความกว้ างและความยาวใบ พื ้นที่ใบและปริมาณคลอโรฟิ ลล์ในใบ การออกดอกและการติดผลของต้ นสตรอเบอรี่ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ คาสาคัญ: วัสดุปลูก อุณหภูมิต่า สตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 โรงเรื อนควบคุมสภาพบรรยากาศ

Abstract The effect of low temperature in the period of seedling on growth and yield of strawberry cv. Praratchatan 80 were studied. The seedling was stored in the greenhouse at 33±2 ° C for 30 days (control) and low temperature at 25±1 ° C for 10, 20 and 30 days before planting with substrate culture in the greenhouse. The results showed that low temperature in the period of seedling was no affected growth and yield of strawberry. All treatments were no different in the number of petiole, length of petiole, width of the leaves, length of the leaves, leaf area, chlorophyll in the leaves, flowers and fruit set of strawberry. Keywords: substrate culture, low temperature, strawberry cv. Praratchatan 80, greenhouse

1

สาขาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี

18-20 พฤศจิกายน 2558

87


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-32 การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารเบต้ าแคโรทีนและคุณภาพที่สาคัญในระหว่ างการพัฒนาของผลฟั กทอง Change of Beta-Carotene and Quality Attributes of Pumpkin during Fruit Development ธรธ อาพล1 พจนา สีมันตร2 อัญมณี อาวุชานนท์ 1 และอุษณีย์ เพ็ชร์ ปนุ่ 1 Darod Ampoln1 Pojana Simantara2 Anyamanee Auvuchanon1 and Ausanee Pethpun1

บทคัดย่ อ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพฟั กทอง ได้ แก่ สารเบต้ าแคโรทีน สี (L* a* b* และ Hue angle) ของเปลือกและ เนื ้อ ความแน่นเนื ้อ และ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ในระหว่างการพัฒนาของผลฟั กทอง ผู้วิจยั ทาการปลูกฟั กทองพันธุ์ พื ้นเมือง 2 สายพันธุ์ ได้ แก่ กระโถน และ ศรี สะเกษ ทาเครื่ องหมายเมื่อดอกบาน เก็บผลผลิตฟั กทอง และทาการตรวจสอบ คุณภาพหลังวันดอกบาน 24 วัน โดยทาทุกๆ 3 วัน เป็ นเวลา 6 สัปดาห์ พบว่าฟั กทองทังสองสายพั ้ นธุ์ มีความแตกต่างกันอย่าง มีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ (P≤ 0.01) ในปั จจัยคุณภาพ ได้ แก่ ปริ มาณเบต้ าแคโรทีน สีของเปลือกและเนื ้อ ความแน่นเนื ้อของเนื ้อ ฟั กทอง และค่า Hue Angle ของสีเนื ้อ และ ความแน่นเนื ้อของเปลือกฟั กทอง และ Hue Angle ของ สีเปลือก มีความแตกต่าง กันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P ≤ 0.05) แต่ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติระหว่างฟั กทองทัง้ สองสายพันธุ์ สาหรั บการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพในระหว่างการพัฒนาผล หลังวันดอกบาน พบว่าทุกปั จจัยคุณภาพที่ ทาการศึกษา มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ (P≤0.01) คุณภาพส่วนใหญ่มีค่าสูงสุดหลังจากวันที่ 33 หลังดอก บาน ปริ มาณเบต้ าแคโรทีน ของพันธุ์ศรี สะเกษและกระโถน มีปริ มาณสูงสุดในวันที่ 33 และ 36 หลังดอกบาน โดยมีปริ มาณ เบต้ าแคโรทีนเป็ น 0.33 และ 0.14 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมของน ้าหนักสด ตามลาดับ โดยที่ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ของ ฟั กทองทังสองสายพั ้ นธุ์มีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงวันที่ 42 หลังวันดอกบาน ซึง่ มีคา่ มากที่สดุ คาสาคัญ: ฟั กทอง สารเบต้ าแคโรทีน คุณภาพ

Abstract

The research is to investigate change of beta-carotene content, colour (L* a* b* and Hue Angle) of peel and flesh, firmness and total soluble solids (sweetness) during fruit development. Two landrace cultivars of pumpkin: Kratone and Srisaket were grew and flowering date were tagged. Qualities were assessed after 24 days of flowering with every 3 days interval for 6 weeks. The results showed significantly differences (P ≤ 0.01) between two pumpkin cultivars in beta – carotene content, colour (L* a* b*) of peel and flesh, flesh firmness and hue angle of flesh. Peel firmness and hue angle of peel was found significant differences (P ≤ 0.05) between cultivars. However, total soluble solids were found non-significantly difference between cultivars. The quality change of pumpkins between fruit development after flowering were found significantly differences (P ≤ 0.01) in every quality characteristics. The highest qualities were showed after 33 day of flowering. The beta – carotene content in Srisaket and Kratone cultivars were highest on 33 and 36 after flowering which was 0.33 and 0.14 mg/ 100 g of fresh weight, respectively. Sweetness of pumpkins trend was indicated increasing up to day 42 after flowering. Keywords: pumpkin, beta – carotene, qualities

1 2

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม 88

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-33 อิทธิพลของสารพาโคลบิวทราโซลต่ อการเจริญเติบโตของต้ นมะพร้ าวนา้ หอม Effect of Paclobutrazol on Growth of Aromatic Coconut วนาลี ตรุ ดไทย1 กฤษณา กฤษณพุกต์ 1,2 และลพ ภวภูตานนท์ 1,2 Wanalee Trudthai1, Krisana Krisanapook 1,2 and Lop Phavaphutanon1,2

บทคัดย่ อ ศึกษาผลของการใช้ สารพาโคลบิวทราโซล (paclobutrazol; PBZ) เพื่อควบคุมความสูงและขนาดทรงพุ่มของมะพร้ าว นา้ หอม โดยทาการศึกษาในต้ นมะพร้ าวนา้ หอมอายุ 2 ปี ซึ่งปลูกในห่วงซีเมนต์ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) มี 3 ทรี ทเมนต์ ทรี ทเมนต์ละ 3 ซ ้า (ต้ น) คือ 1) ชุดควบคุม ไม่ให้ สารพาโคลบิวทราโซล 2) ให้ สารพาโคลบิวทราโซลทางดินความเข้ มข้ น 50 กรัมต่อต้ น และ 3) ให้ สารพาโคลบิวทราโซลทางดินความเข้ มข้ น 100 กรัมต่อต้ น หลังให้ สารเป็ นเวลา 7 เดือน พบว่าการให้ สารพาโคลบิวทราโซลที่ความเข้ มข้ น 50 และ 100 กรัมต่อต้ น ทาให้ ความยาวก้ านใบ ความยาวใบย่อย และช่องว่างระหว่างใบลดลง และยังทาให้ ความกว้ างของใบย่อยเพิ่มขึ ้น แต่สารพาโคลบิวทราโซลไม่มีผลต่อ จานวนใบ ความยาวใบ ความกว้ างโคนกาบใบ ขนาดเส้ นรอบวงของลาต้ น ในเดือนที่ 9 พบว่าต้ นมะพร้ าวกลับมาเจริ ญเติบโต เป็ นปกติ แสดงว่าสารพาโคลบิวทราโซลน่าจะหมดฤทธิ์แล้ ว คาสาคัญ: สารชะลอการเจริญเติบโตของพืช ขนาดทรงพุม่ ความยาวใบ

Abstract The objective of this study was to determine the effect of paclobutrazol (PBZ) on height and canopy control of aromatic coconut tree. Two-years-old aromatic coconut trees grown in cement loops were used in this study. Experimental design was Completely Randomized Design (CRD) with 3 treatments, each treatment had 3 replications (trees). Treatments were 1) Control (no paclobutrazol) 2) PBZ 50 g/tree 3) PBZ 100 g/tree. PBZ was applied as soil drench. The results showed that seven month after PBZ applications, both PBZ treatments decreased petiole length, leaflet length, gap between leaflet but increased leaflet width. PBZ did not affect on leaf number, leaf length, petiole base width, stem circumference. After nine months of PBZ application, the growth of aromatic coconut trees became normal and this may be due to no residue of this chemical in the soil. Keywords: plant growth retardants, canopy size, leaf length

1 2

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 ศูนย์วิจยั และพัฒนาไม้ ผลเขตร้ อน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

89


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-34 อิทธิพลของความแก่ ของผลและระดับความเข้ มข้ นของไคโตซานที่มีต่อการเจริญเติบโตและ คุณภาพของผลองุ่นพันธุ์ Canadice Seedless Influence of Maturity and Chitosan Concentration on Growth and Quality of ‘Canadice Seedless’ grape กิตติพงศ์ กิตติวัฒน์ โสภณ 1 ณรงค์ ชัย พิพฒ ั น์ ธนวงศ์ 1 และทัศนารถ กระจ่ างวุฒิ 2 Kittipong Kittiwatsopon 1, Narongchai Pipatanawong 1 and Tassanart Kajangwooti 2

บทคัดย่ อ จาการศึกษาผลของความแก่ของผลและระดับความเข้ มข้ นของไคโตซานที่มีต่อการเจริ ญเติบโตและคุณภาพของผล องุ่นพันธุ์ ‘Canadice Seedless’ ณ พระตาหนักสวนปทุม ระหว่างวันที่ 4-24 กุมภาพันธุ์ 2558 ผลปรากฏว่าความแก่ของผล องุ่นไม่มีผลต่อน ้าหนักช่อผล น ้าหนักผล ขนาดของผล และปริ มาณ Total soluble solids (TSS) แต่เปอร์ เซ็นต์กรด (TA) และ สัดส่วนระหว่าง TSS/TA ในน ้าคันองุ ้ ่นเมื่ออายุ 60 และ 67 วันหลังวันตัดแต่งกิ่งแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง ช่อผลที่ได้ รับ สารไคโตรซานที่ระดับความเข้ มข้ น 100 มิลลิกรัมต่อลิตร มีนา้ หนักผลและสัดส่วนระหว่างนา้ ตาลต่อกรดมากที่สุดเท่ากับ 64.76 กรัม และ 42.58 องศาบริ กซ์ และไม่ได้ รับสารมีค่าน้ อยที่สดุ เท่ากับ 53.72 กรัม และ 36.22 องศาบริ กซ์ ตามลาดับ ผล องุ่นที่ได้ รับสารไคโตรซานที่ระดับความเข้ มข้ น 200 มิลลิกรัมต่อลิตร มีน ้าหนักผล ความยาว ความกว้ างและค่าเฉลี่ยระหว่าง ความยาวและความกว้ างของผลมากที่สดุ เท่ากับ 1.77 กรัม, 1.46, 1.40 และ 1.43 เซนติเมตร และผลที่ไม่ได้ รับสารไคโตซานมี ค่าน้ อยที่สดุ เท่ากับ 1.54 กรัม, 1.36, 1.30 และ 1.34 เซนติเมตร ตามลาดับ และผลที่ไม่ได้ รับสารไคโตซานมีเปอร์ เซ็นต์กรด มากที่สดุ เท่ากับ 0.68 เปอร์ เซ็นต์ และผลที่ได้ รับสารไคโตรซานที่ระดับความเข้ มข้ น 100 มิลลิกรัมต่อลิตร มีค่าน้ อยที่สดุ เท่ากับ 0.60 เปอร์ เซ็นต์ ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ ยิ่งทางสถิติ รวมทังพบว่ ้ ามีปฏิสมั พันธ์ ร่วมกันระหว่างความแก่ของผลและ ระดับความเข้ มข้ นของสารไคโตซานมีต่อน ้าหนักช่อผล น ้าหนักผล ขนาดของผล เปอร์ เซ็นต์กรดและสัดส่วนระหว่างน ้าตาลต่อ กรดอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ คาสาคัญ: น ้าหนักช่อผล ขนาดผล Total soluble solids เปอร์ เซ็นต์กรด

Abstract Study on the effects of berry maturity and Chitosan (CTS) concentration on growth and quality of ‘Canadice Seedless’ in terms of cluster weight, berry weight and size, total soluble solids (TSS), titratable acidity (TA), and TSS/TA ratio were statistically investigated from February 4-24, 2015 at Saunpathum Villa, Thailand. The two stage berry maturity (60 and 67 days after pruning) had not different on cluster weight, berry weight, berry sizing (the length, width and average of the length and width) and TSS. But the berry for 67 days after pruning was highly significant different on TA (0.71 %) and less than 60 days after pruning on TSS/TA ratio (42.75 oBrix). The cluster sprayed with 100 mg CTS/l had highly significant different on cluster weight (64.76 g) and TSS/TA ratio (42.58 oBrix/%), and they sprayed with 200 mg CTS/l were the highest highly significant different on berry weight (1.77 g), and TSS/TA ratio (42.58 oBrix), berry length (1.46 cm), Berry width (1.40 cm) and average berry sizing (1.43 cm), respectively, And the cluster was not sprayed with CTS gave the highest on TA (0.68 %). And had highly significant difference on influence of interaction between stage of berry maturity and CTS concentration on cluster weight, berry length, berry width and average berry size, TA and TSS/TA ratio, and were not difference on berry weight and TSS. Keywords: number of berries, berry size, total soluble solids, total acidity. 1 2

คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 ฝ่ ายงานสวนเกษตร พระตาหนักสวนปทุม ตาบลบางขะแยง อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 1200 90

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ผลของไคโตซานต่ อการเข้ าทาลายของแมลงวันพริกในผลพริกขีห้ นู Effect of Chitosan on Solanum Fruit Flies Bactrocera latifrons (Hendel) Infestation in Fruit of Bird Pepper.

Ph-35

วรรณิศา ปั ทมะภูษิต1 และพรไพรินทร์ รุ่งเจริญทอง1,* Wannisa Pattamapusit1 and Pornpairin Rungcharoenthong1,*

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของไคโตซานต่อการเข้ าทาลายของแมลงวันพริก Bactrocera latifrons (Hendel) ในผลพริกขี ้หนู โดย วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (CRD) จานวน 4 กรรมวิธี กรรมวิธีที่ใช้ คือ ไคโตซานความเข้ มข้ น 0, 5, 10 และ 20 มิลลิลติ รต่อลิตร ใช้ พริกขี ้หนูกรรมวิธีละ 12 ต้ น ให้ ไคโตซานทุกสัปดาห์หลังย้ ายปลูก และทาการบันทึกข้ อมูลอัตราส่วนการเข้ า ทาลาย เปอร์ เซ็นต์การเข้ าทาลาย และการประเมินระดับความรุนแรงในการเข้ าทาลายของแมลงวันพริก ผลการทดลองพบว่า การให้ สารไคโตซานสามารถลดอัตราส่วนการเข้ าทาลายของแมลงวันพริกได้ มากกว่าเมื่อเทียบกับกรรมวิธีควบคุม และมีความ แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ โดยไคโตซานที่ความเข้ มข้ น 10 และ 20 มิลลิลติ รต่อลิตร สามารถลดอัตราส่วนการเข้ า ทาลายเปอร์ เซ็นต์การเข้ าทาลายและระดับความรุนแรงในการเข้ าทาลายผลพริกขี ้หนูของแมลงวันพริก คาสาคัญ: พริกขี ้หนู ไคโตซาน แมลงวันพริก

Abstract Study on the effect of chitosan on solanum fruit flies Bactrocera latifrons (Hendel) infected in fruit of bird pepper was investigated. The experiment was completely randomized design (CRD) composing of 4 replications. The treatments were chitosan at the concentrations of 0, 5, 10 and 20 ml/L. Twelve plants were grown for each treatment. Chitosan was applied to the plant every week. The ratio of infestation, damage percentage and the severity of solanum fruit fly infestation were recorded. The results showed that chitosan was decreased the ratio of infestation of solanum fruit fly compared with control by significant different. The concentrations of chitosan at 10 and 20 ml/L reduced of ratio of infestation, damage percentage and the severity of solanum fruit fly infestation. Keywords: bird pepper, chitosan, solanum fruit fly

1

หลักสูตรวิทยาการพืช ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

91


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-36 ผลของสารแพกโคลบิวทราซอลต่ อการเพาะเลีย้ งต้ นกล้ วยไม้ ดนิ นกคุ้มไฟในสภาพปลอดเชือ้ Effect of Paclobutrazol on Anoectochilus burmanicus Rolfe. In Vitro นิตพ ิ งศ์ หอวัฒนพาณิชย์ 1 พรสุดา ศิริรักวงษา1 พัชรียา บุญกอแก้ ว1 และอารยา อาจเจริญ เทียนหอม1 Nitipong Howattanapanit1 Pornsuda Sirirukwongsa1 Patchareeya Boonkorkaew1 and Araya Arjcharoen Thenahom1

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของสารแพกโคลบิวทราซอลต่อการเพาะเลี ้ยงต้ นกล้ วยไม้ ดินนกคุ้มไฟ (Anoectochilus burmanicus Rolfe.) โดยใช้ สว่ นข้ อที่มีตา 1ตาเลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตร VW ดัดแปลงที่มีน ้ามะพร้ าว 100 มิลลิลิตรต่อลิตร กล้ วยหอม 100 กรัมต่อลิตร ผงมันฝรั่ง 4 กรัมต่อลิตร และน ้าตาล 10 กรัมต่อลิตร ที่เติมสารแพกโคลบิว-ทราซอลความเข้ มข้ น 0, 0.5, 1 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร หลังจากเลี ้ยงเป็ นเวลา 14 สัปดาห์ พบว่าต้ นอ่อนที่เกิดจากตามีการเจริ ญเติบโตแตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับ ความเชื่อมัน่ 99 เปอร์ เซ็นต์ โดยความเข้ มข้ นของสารแพก-โคลบิวทราซอลที่มากขึ ้นส่งผลให้ กล้ วยไม้ ดินนกคุ้มไฟมีความยาว ยอด ความยาวปล้ อง และความยาวรากมีค่าลดลง ในขณะที่จานวนข้ อ เส้ นผ่านศูนย์กลางต้ น เส้ นผ่านศูนย์กลางราก ความ หนาของใบ และความเขียวใบมีค่าเพิ่มขึ ้น แต่สารแพกโคลบิวทราซอลไม่มีผลต่อจานวนใบ ความกว้ างใบ จานวนราก ปริ มาณ คลอโรฟิ ลล์เอ คลอโรฟิ ลล์บี คลอโรฟิ ลล์รวม และแคโรทีนอยด์ ทังนี ้ ้สารแพกโคลบิวทราซอลที่ความเข้ มข้ น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร มี ผลต่อการชะลอการเจริ ญเติบโตมากที่สดุ ซึง่ เป็ นความเข้ มข้ นที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี ้ยงกล้ วยไม้ ดินนกคุ้มไฟในด้ านการยืด อายุการวางจาหน่ายในรู ปของขวดเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อได้ มากกว่าอาหารที่ไม่ได้ เติมสารแพกโคลบิวทราซอลโดยสามารถอยู่ใน ขวดขนาด 10 ออนซ์ได้ เป็ นเวลาอย่างน้ อย 14 สัปดาห์ คาสาคัญ: การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ กล้ วยไม้ สารชะลอการเจริญเติบโตของพืช

Abstract This study represents about the effect of paclobutrazol on growth of Anoectochilus burmanicus Rolfe. explants were cultured on solid modified Vacin and Went medium (VW) which contained 100 mlL-1 coconut water, 100 gL-1 banana, 4 gL-1 potato powder, 10 gL-1 sucrose and supplemented with 0, 0.5, 1 and 2 mg L-1 paclobutrazol (PBZ). After 14 weeks of culture, the results showed that growth of plantlets was significantly different at 99%. Increasing in PBZ concentration affected decreasing in shoot length, internode length and root length. On the other hand, node number, stem diameter, root diameter, leaf thickness and leaf greenness increased. However, PBZ did not effect on the leaf number, leaf width, root number, chlorophyll a, chlorophyll b, total chlorophyll and carotenoid. The medium was added with 2 mgL-1 PBZ, proved that induced the plant growth more slowly compared with others and suitable for the cultivation of Anoectochilus burmanicus Rolfe. in vitro to prolong the life shelf. Keywords: tissue culture, orchid, plant growth retardant

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 92

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-37 ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารประกอบฟี นอลิกรวมของผลทุเรียนพันธุ์การค้ า Antioxidant Activity and Total Phenolic Compounds of Durio zibethinus Murray Fruit กษิด์ เิ ดช อ่ อนศรี1 เบญญา มะโนชัย2 และ ชินวัฒน์ ยัพวัฒนพันธ์ 2 Kasideth Onsri1 Benya Manochai2 and Chinawat Yapwattanaphun2

บทคัดย่ อ ทุเรี ยนพันธุ์การค้ าที่นิยมบริ โภคโดยทัว่ ไปได้ แก่ พันธุ์ก้านยาว พันธุ์หมอนทอง พันธุ์ชะนี และ พันธุ์พวงมณี ซึ่งการ บริโภคทุเรี ยนมักรับประทานเนื ้อทุเรี ยนเป็ นหลักทาให้ สว่ นเปลือกผลและเมล็ดกลายเป็ นเศษวัสดุที่เหลือเป็ นจานวนมาก ดังนั น้ ในการทดลองนี จ้ ึงศึกษาฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระและปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมของผลทุเรี ยนเพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลพื ้นฐาน สาหรับการพัฒนาการใช้ ประโยชน์จากส่วนอื่นๆ ของทุเรี ยน โดยเก็บตัวอย่างจากส่วนทุเรี ยนแหล่งเดียวกันที่มีการปลูกครบทุก 4 พันธุ์ ในจังหวัดจันทบุรี วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แบ่งออกเป็ น 4 ทรี ทเมนต์ จานวน 3 ซ ้า นามาสกัดสารและ วิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระ และหาปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวม จากส่วนของเปลือกผล ส่วนที่บริ โภค เปลือกหุ้มเมล็ด และเนื ้อเมล็ด ผลการทดลองพบว่าส่วนของเปลือกหุ้มเมล็ดแสดงฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระและมีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวม สูงกว่าส่วน เปลือกผล ส่วนที่บริ โภค และเนื ้อเมล็ด และเมื่อเปรี ยบเทียบในแต่ละพันธุ์พบว่า พันธุ์ชะนี แสดงฤทธิ์ ต้านอนุมลู อิสระสูงในแต่ละส่วนสูงกว่าพันธุ์อื่นๆ ส่วนพันธุ์ก้านยาว มีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมในแต่ละส่วนสูงกว่าพันธุ์อื่ น ดังนัน้ ส่วนของเปลือกหุ้มเมล็ดในส่วนของพันธุ์ชะนีและพันธุ์ก้านยาว มีศกั ยภาพในการนามาใช้ ประโยชน์ตอ่ ไป คาสาคัญ: EC50 สารต้ านอนุมลู อิสระ กรดแกลลิก ทุเรี ยนพันธุ์การค้ า สารประกอบฟี นอลิก

Abstract Durians, the commercial cultivars that popular among consumers are ‘Kan-yao’, ‘Mon-thong’, ‘Cha-ni’, and ‘Puang-ma-nee’. Mostly people prefer pulp which is tasty part of durians but rind and seeds are discard as waste product. This study was conducted to examine antioxidant activity (AOA) and total phenolic compounds (TP) from of durian fruit (Durio zibethinus Murray), to serve basis information for developed new functional product from other part of durian. CRD with 4 treatments and 3 replications was used as experimental design. AOA and TP from peel, flesh, seed coat, and endosperm were measured. The results revealed that seed coat carried the highest amount AOA and TP. The highest AOA was found in ‘Cha-ni’ and the highest TP was found in ‘Kan-yao’. The results indicated that seed coat from ‘Cha-ni’ and ‘Kan-yao’ has potential for further exploitation. Keywords: EC50, antioxidant, gallic acid, commercial cultivars of durian, phenolic compounds

1 2

หลักสูตรวิทยาศาสตร์ เกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

18-20 พฤศจิกายน 2558

93


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-38 อัตราการคายนา้ ของส้ มโอพันธุ์มณีอีสานในระยะการเจริญเติบโตของผล Transpiration Rate of Pummelo ‘Manee-Isan’ in Fruit Growth Stage สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา1 สมยศ มีทา1 ราไพ นามพิลา1 พงษ์ ศักดิ์ ยั่งยืน1 และ สังคม เตชะวงค์ เสถียร1 Supat Isarangkool Na Ayutthaya1 Somyot Meetha1 Rampai Nampila1 Pongsak Yangyuen1 and Sungcom Techawongstien1

บทคัดย่ อ การศึกษานี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อประเมินอัตราการคายน ้าของของส้ มโอพันธุ์มณีอีสานในช่วงที่ดินมีความชื ้นสูง เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการจัดการน ้าที่เหมะสมของส้ มโอพันธุ์มณีอีส านตามความต้ องการของพืช โดยศึกษาอัตราการคายน ้าในส้ มโอ พันธุ์มณีอีสาน อายุ 5 ปี (เส้ นรอบวงลาต้ นมีขนาด 41.5- 60.5 เซนติเมตร) จานวน 4 ต้ น ซึ่งปลูกในแปลงเกษตรกร อาเภอ เกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ติดตังหั ้ วตรวจวัดการเคลื่อนที่ของนา้ ในลาต้ นที่ลาต้ นระดับความสูงจากพื น้ ดินประมาณ 30 เซนติเมตร เก็บข้ อมูลอัตราการคายน ้าทุก 30 นาที ดาเนินการทดลองในเดือนมิถนุ ายน 2558 พบว่าต้ นส้ มโอพันธุ์มณีอีสานมี อัตราการคายน ้า 49.7-77.1 ลิตรต่อวัน ส่วนความสัมพันธ์ของสภาพอากาศต่ออัตราการคายน ้าพบว่าอัตราการคายน ้าของส้ ม โอเพิ่มขึ ้นเมื่ออุณหภูมิและค่าการขาดความดันไอน ้า (vapor pressure deficit; VPD) เพิ่มขึ ้น แต่การเพิ่มของความชื ้นสัมพัทธ์ ทาให้ อตั ราการคายน ้าของต้ นส้ มโอลดลง คาสาคัญ: การคายน ้า สภาพอากาศ ส้ มโอ

Abstract The objective of this study was to evaluate the transpiration rate of pummelo ‘Manee-Isan’ in the wellwatered condition. The benefit of this work would be the guideline for optimum water management according to the requirement of plant. The study was done in 4 trees of 5 years old pummelo ‘Manee-Isan’ (girth ranged from 41.5 to 60.5 cm) planted in Kasetsomboon district, Chaiyaphum province. The sap flow probes were inserted in the trunk at 30 centimeter from soil and collected the transpiration rate data every 30 minutes. This experiment was conducted in June 2015. The result showed that the tree transpiration rate of pummelo ‘Manee-Isan’ was around 49.7-77.1 liters per day. Moreover, the relationship between climate and transpiration exhibited that the transpiration rate increased according to the increasing of temperature and vapor pressure deficit (VPD), but the increase of relative humidity results in the decrease of tree transpiration. Keywords: transpiration, climate, pummelo

1

สาขาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ. เมือง จ. ขอนแก่น 40002 94

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ph-39 การศึกษาประสิทธิภาพการสังเคราะห์ ด้วยแสงของเฟิ นพันธุ์การค้ า 5 พันธุ์ เพื่อใช้ ประดับภายในอาคาร Study on Photosynthetic Efficiency of Five Commercial Fern Cultivars for Indoor Display สหรัฐ คุมพล1พัชรียา บุญกอแก้ ว1และณัฏฐ พิชกรรม1 SaharathKumpol1Patchareeya Boonkorkaew1and Nath Pichakum1

บทคัดย่ อ ศึกษาประสิทธิภาพในการสังเคราะห์ด้วยแสงของเฟิ นพันธุ์การค้ า 5 พันธุ์ที่นิยมใช้ ประดับภายในอาคาร ได้ แก่เฟิ น ข้ า หลวงหลัง ลาย(Aspleniumnidus)เฟิ นคริ ส ซี่ ( Aspleniumantiquum‘Crissie’) เฟิ นข้ า หลวงฮาวาย(Aspleniumantiquum ‘Hawaii’) เฟิ นเขากวางหนวดมังกร (Microsorumpunctatum ‘Dragon Whiskers’) และเฟิ นฮาวาย (Phymatosorusgrossus) ณ โรงเรื อนปลูกพืชทดลองภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตงแต่ ั ้ เดือนตุลาคม 2557 ถึง กุมภาพันธ์ 2558 พบว่าเฟิ นทัง้ 5 พันธุ์มีอตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิ (net photosynthetic rate, Pn) เพิ่มขึ ้นเมื่อมีความเข้ มแสง เพิ่มขึ ้นจนกระทัง่ ถึง light saturation point ที่ความเข้ มแสง 400 ไมโครโมลต่อตารางเมตรต่อวินาที Pn มีค่าค่อนข้ างคงที่ โดย เฟิ นข้ าหลวงฮาวายมีค่าPnสูงสุด (maximum net photosynthetic rate, Pmax) เฉลี่ย 2.96 ไมโครโมลต่อตารางเมตรต่อวินาที ขณะที่ความเข้ มแสงที่ทาให้ การสังเคราะห์ด้วยแสงเท่ากับการหายใจ (light compensation point) ของเฟิ นทัง้ 5 พันธุ์อยู่ที่ 1521 ไมโครโมลต่อตารางเมตรต่อวินาที ความเข้ มข้ นของคาร์ บอนไดออกไซด์ที่ทาให้ การสังเคราะห์ด้วยแสงเท่ากับการหายใจ (CO2 compensation point, CCP) คือ 220-260 พีพีเอ็ม และเมื่อพิจารณาความเข้ มข้ นของ CO2 ที่ 700 พีพีเอ็ม พบว่า เฟิ น ฮาวายมีค่า Pmaxเฉลี่ย 6.15 ไมโครโมลต่อตารางเมตรต่อวินาที เมื่อนาเฟิ นทัง้ 5 พันธุ์มาวางประดับในห้ องทางานสวนกล้ วยไม้ ระพี สาคริ กที่มีความเข้ มแสง 4-6 ไมโครโมลต่อตารางเมตรต่อวินาที ความชื ้นสัมพันธ์ 45-55 เปอร์ เซ็นต์ อุณหภูมิ 24-26 องศาเซลเซียส พบว่า เฟิ นทัง้ 5 พันธุ์มีค่า CCP ประมาณ 1,000-1,150 พีพีเอ็ม และเฟิ นเขากวางหนวดมังกรมีประสิทธิภาพใน การทนร่มสูงสุด หลังจากนาใบมาวัดค่าความเขี ยวใบและปริ มาณคลอโรฟิ ลล์เอ บี รวม และแคโรทีนอยด์ พบว่า เฟิ นเขากวาง หนวดมังกรมีปริมาณรงควัตถุมากที่สดุ ในขณะที่เฟิ นฮาวายมีปริมาณรงควัตถุน้อยที่สดุ คาสาคัญ: ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ความเข้ มแสง ไม้ ประดับอาคาร

Abstract Photosynthetic efficiency of five commercial fern cultivars namely, Asplenuimnidus, Aspleniumantiquum ‘Crissie’, Aspleniumantiquum ‘Hawaii’,Microsorumpunctatum ‘Dragon Whiskers’, and Phymatosorusgrossuswas studied. The experiment had been done in experimental greenhouse, Department of Horticulture, Faculty of Agriculture during October 2014 to February 2015.The resultsshowed that in all cultivars, the rate of net photosynthesis (Pn) increasedwithlight intensity increased until a saturation point was reached at 400 µmol m-2s-1. A. antiquum‘Hawaii’ had the maximumPnat2.96 µmolm-2s-1. Light compensation point of five cultivars was approximately 15-21 µmolm-2s-1 and220-260 ppm of CO2 compensation point (CCP). At 700 ppmCO2 concentration, A. antique ‘Hawaii’ had the maximumPnat 6.15µmolm-2s-1. When the plantswere moved insidethe room with condition of 4-6 µmolm-2s-1PPFD, 45-55% relative humidity, and 24-26 ºC, it was found that all cultivars had CCParound 1,000-1,150 ppm. Moreover, the results showed thatM. punctatum ‘Dragon Whiskers’obtained the most shade-tolerant cultivar. Leaf greenness, chlorophyll a, chlorophyll b, total chlorophyll and carotenoids contentwere also measured.M. punctatum ‘Dragon Whiskers’had the highest leaf greenness and pigment contents, while the lowest of both values was found inP. grossus. Keywords: carbon-dioxide, light intensity, ornamental plant 1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

18-20 พฤศจิกายน 2558

95


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

96

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

18-20 พฤศจิกายน 2558

97


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

98

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-01 การตรวจสอบลักษณะเชิงคุณภาพ และความแปรปรวนของยีนกากับเอนไซม์ ACC oxidase ใน มะละกอพันธุ์การค้ าชนิดลูกผสมเปิ ด 3 สายพันธุ์ Determination of Agronomic Characters and Genetic Variation in Gene Encoding Ethylene Biosynthesis Protein in Three Commercial Open Pollinated Cultivars โสรยา ปั ญจะธา1พิมพิไล แสงมณี2,3 ศันสนีย์ นาเจริญ4 เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ 5 และ ปาริชาติ เบิร์นส2,3,4 Soraya Panjatha1 Pimpilai Saengmanee2,3 Sansanee Nacharoen4 Kriengsak Thaipong5 and Parichart Burns2,3,4

บทคัดย่ อ มะละกอ (Carica papaya L.) เป็ นไม้ ผลเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทย ที่ใช้ ในอุตสาหกรรม และรับประทานผลสด และส่งออกไปยังต่างประเทศ อย่างไรก็ดีมะละกอขาดความสม่าเสมอของคุณภาพผล ทาให้ มลู ค่าและความนิยมลดลง ดังนันใน ้ การพัฒนาสายพันธุ์เพื่อใช้ ในทางการค้ าจาเป็ นจะต้ องตรวจสอบคุณภาพ และความสม่าเสมอในผล ในการศึกษานี ้ได้ เก็บตัวอย่าง จากมะละกอ 3 สายพันธุ์ที่ปลูกในแปลงทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน คือ พันธุ์แขกดาเบอร์ 2 พันธุ์ แก้ มแหม่มเบอร์ 4 และพันธุ์ปลักไม้ ลายที่ระยะผลสุก จานวน 3 ผลต่อสายพันธุ์ มาวัดลักษณะเชิงคุณภาพที่สาคัญ ได้ แก่ น ้าหนัก ผล ความยาวและความกว้ างผล ความหนาเนือ้ ความแน่นเนือ้ สีเนือ้ สีเปลือกและปริ มาณของแข็งที่ละลายนา้ ได้ ร่ วมกับการ ตรวจสอบความแปรปรวนของยีนที่ควบคุมการสร้ างโปรตีนที่ผลิตเอทิลีน (1- aminocyclopropane -1 - carboxylate oxidase1 and 2; CP-ACO1 and CP-ACO2) โดยเพิ่มจานวนดีเอ็นเอเป้าหมายโดยวิธี Polymerase Chain Reaction (PCR) ด้ วยไพรเมอร์ จาเพาะและ การตรวจสอบการเคลื่อนที่ของดีเอ็นเอเป้าหมายบน denaturing polyacrylamide gel electrophoresis ผลการศึกษา พบว่าพันธุ์แขกดาเบอร์ 2 มีขนาดผล ความหนาเนื ้อ ความกว้ างโพรงและค่าความแน่นเนื ้อเฉลี่ยมากที่สดุ ขณะที่คณ ุ ภาพผลอื่น ๆ เช่น ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ (TSS) สีเนื ้อ สีเปลือก ของทัง้ 3 พันธุ์มีค่าใกล้ เคียงกัน โดยที่พนั ธุ์แก้ มแหม่มเบอร์ 4 และพันธุ์ ปลักไม้ ลายมีความสม่าเสมอของคุณภาพผลมากกว่าในพันธุ์แขกดาเบอร์ 2 นอกจากนันยั ้ งพบว่ามะละกอพันธุ์ปลักไม้ ลายมีความ แตกต่างทางพันธุกรรมในยีน CP-ACO2 จากมะละกอพันธุ์แขกดาเบอร์ 2 และพันธุ์แก้ มแหม่มเบอร์ 4 คาสาคัญ: มะละกอ คุณภาพผล ความแปรปรวนทางพันธุกรรม 1-aminocyclopropane-1-carboxylate oxidase 2

Abstract Papaya (Carica papaya L) is an important fruit crop for fresh consumption. It can also be manufactured into products such as canned fruit. Although in constant demand, the value of papaya fruit is largely influent by its quality and consistency. Therefore it is essential to evaluate papaya fruit quality and its consistency during papaya breeding program. Ripe fruit from 3 papaya cultivars including Khaek Dam#2, Kaem Maem#4 and Pluk Mai Lai were used in this study. Nine criteria for fruit quality consisting of fruit weight, fruit length, fruit width, flesh thickness, seed cavity, fruit firmness, flesh color, skin color and total soluble solid (TSS) were measured. Three fruits were randomly picked and the data were used for statistical analysis. The results indicated that Khaek Dam#2 was prominent in the size, flesh thickness, seed cavity and the fruit firmness. Upon the consistency of fruit quality, however, the data showed that Pluk Mai Lai and Kaem Maem#4 were more uniform than Khaek Dam#2. In addition, DNA migration pattern indicated that CP-ACO2 sequence in Pluk Mai Lai was different from those of Khaek Dam#2, Kaem Maem#4. Keywords: papaya, fruit quality, genetic variation, 1-aminocyclopropane-1-carboxylate oxidase 2 1

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นครปฐม 73140 ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 3 ศูนย์ความเป็ นเลิศด้ านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจยั ด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร 10900 (AG-BIO/PERDO-CHE) 4 ห้ องปฏิบตั ิการวิจยั ด้ านพืช ศูนย์พนั ธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 5 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 2

18-20 พฤศจิกายน 2558

99


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-02 การใช้ ถุงพอลิเอทิลีนเจาะรูเพื่อยืดอายุวางจาหน่ ายของผักเหลียงพร้ อมปรุง Application of Polyethylene Bags with Holes for Prolonging Shelf-Life of Ready-to-Cook Melinjo (Gnetum gnemon L.) Leaves กนกพร บุญญะอติชาติ1 Kanokpon Bunya-atichart1

บทคัดย่ อ ผักเหลียงเป็ นผักพื ้นบ้ านรับประทานใบของภาคใต้ และเป็ นที่นิยมบริ โภคเนื่องจากมีคณ ุ ค่าทางอาหารสูง โดยทัว่ ไป อาการใบเหี่ยวจะแสดงถึงการหมดอายุวางจาหน่ายของผักเหลียงแบบมัดกา แต่ยงั ไม่มีรายงานการเสื่อมสภาพของผักเหลียง แบบพร้ อมปรุง งานวิจยั นี ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการเสื่ อมสภาพของผักเหลียงและผลของการบรรจุผกั เหลียงพร้ อมปรุงใน ถุงพลาสติกเจาะรู เพื่อยืดอายุการจาหน่าย ดาเนินการทดลองโดยบรรจุใบผักเหลียงทังระยะใบอ่ ้ อนและใบเพสลาดนา้ หนัก 100 กรัม ลงในถุงโพลีเอทิลีนขนาด 10 15 นิ ้ว เจาะรู จานวน 4 8 12 และ 16 รู (รู มีขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร) วางที่อณ ุ หภูมิห้อง (292 องศาเซลเซียส และความชื ้นสัมพัทธ์ 852.2 เปอร์ เซ็นต์) ผลการทดลองพบว่า การเสื่อมสภาพของ ผักเหลียงคือใบเหี่ยว ใบเน่า และใบเปลี่ยนสี การบรรจุผกั เหลียงในถุงโพลีเอทิลีนเจาะรู 4 และ 8 รู ทาให้ ผกั มีอายุการจาหน่าย นานที่สดุ 16 และ 14 วัน ตามลาดับ ในขณะที่การบรรจุผกั เหลียงในถุงโพลีเอทิลีนเจาะรู 16 รู ทาให้ ผกั มีอายุการจาหน่ายสัน้ ที่สดุ 9 วัน ดังนันการใช้ ้ ถงุ พลาสติกเจาะรูในการบรรจุใบผักเหลียงสามารถยืดอายุการวางจาหน่ายผักเหลียงแบบพร้ อมปรุงได้ คาสาคัญ: อาการเสื่อมสภาพ ผักรับประทานใบ บรรจุภณ ั ฑ์ ผักเหลียง

Abstract Melinjo (Gnetum gnemon L.) is a local leafy vegetable of Southern Thailand. Their leaves are favorably consumed due to their high nutritional value. Wilting symptom is commonly used to determine the shelf-life deterioration in the bunch of melinjo leaves. However, senescence of Ready-to-Cook melinjo leaves has not been studied. Therefore, this research aimed to study the senescence of Ready-to-Cook melinjo leaves and application of polyethylene bags with holes for prolonging their shelf-life. One hundred grams of young leaves and young fully expanded leaves were packed in 1015 inches polyethylene bags with 4, 8, 12 and 16 holes, each of 0.5 centimeter of diameter. The packages were placed at room temperature (292C and 852.2% of relative humidity). The senescent symptoms that occurred in melinjo leaves were wilting, decay and coloration. Moreover, melinjo leaves packed in polyethylene bags with 4 and 8 holes had the longest shelf-life, 16 and 14 days respectively. On the other hand, melinjo leaves packed in polyethylene bags with 16 holes had the shortest shelf-life, 9 days. Therefore, the application of holed polyethylene bag packaging could extend the shelf-life of melinjo leaves. Keywords: senescent symptom, leaf vegetable, package, Melinjo

หลักสูตรพืชสวน ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร 86160

1

100

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-03 ความสามารถในการต้ านอนุมูลอิสระและฤทธิ์การต้ านออกซิเดชันของผลเม่ าหลวง Radical Scavenging and Antioxidant Activity of Maoluang (Antidesma bunius) ศุกฤชชญา เหมะธุลิน1 Sukrichaya Hemathulin1

บทคัดย่ อ งานวิจยั ครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์ในการศึกษาความสามารถในการต้ านอนุมลู อิสระและฤทธิ์ต้านออกซิเดชันในส่วนต่างๆ ของผลเม่า ที่ได้ จากกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากเม่าคละสายพันธุ์ งานฟาร์ มสาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร ทังหมด ้ 10 สิ่งทดลอง ได้ แก่ ผลเม่าดา ผลเม่าแดง เปลือก เนื ้อ และน ้าเม่าดา เปลื อก เนื ้อ และน ้าเม่าแดง เมล็ดเม่าดา เมล็ด เม่าแดง นา้ เม่าดา น ้าเม่าแดง กากเม่าดา และกากเม่าแดง พบว่าผลเม่าดามีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกสูงสุดถึง 121.99 มิลลิกรัม GAE ต่อ 100 กรัม ในขณะที่น ้าเม่าดา เปลือกเนื ้อและน ้าเม่าดา และเปลือกเนื ้อและน ้าเม่าแดง ให้ ความสามารถใน การต้ านอนุมลู อิสระ DPPH เทียบกับความสามารถของวิตามินซีสงู ที่สดุ และไม่แตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) เท่ากับ 277.78, 277.81 และ 275.68 มิลลิกรัม ascorbic acid ต่อกิโลกรัม ตามลาดับ ในขณะที่พบว่าเมล็ดเม่าแดงและน ้าเม่าดา ให้ ฤทธิ์ใน การต้ านออกซิเดชันด้ วยวิธีการ FRAP สูง 781.09 ไมโครโมล FeSO4 ต่อกิโลกรัม และ 737.52 ไมโครโมล FeSO4 ต่อกิโลกรัม ตามลาดับ ดังนัน้ นา้ เม่าดาให้ สารออกฤทธิ์ ทางชีวภาพสูงสุด อีกทังพบกรดอะมิ ้ โนมากถึง 18 ชนิด ในช่วง 22.87-556.43 มิลลิกรัมต่อ100 กรัม โดยมีกรดกลูตามิกสูงสุด 618.68 มิลลิกรัมต่อ100 กรัม นอกจากนี ้พบว่าน ้าเม่าดา 100 กรัม ให้ พลังงาน 80.00 กิโลแคลอรี มีความชื ้น ไขมัน คาร์ โบไฮเดรตทังหมดรวมใยอาหาร ้ ใยอาหาร โปรตีน เท่ากับ 80.30, 0.00, 20.00, 0.53, <01.2 กรัม ตามลาดับ คาสาคัญ: เม่าหลวง ผลิตภัณฑ์เม่า สารอาหาร สารต้ านอนุมลู อิสระ

Abstract The purposed of this research is to study of radical scavenging and antioxidant activity on Mao products. 10 treatments (black Mao, red Mao, flesh and black Mao juice, flesh and red Mao juice, black Mao seed, Red Mao seed, black Mao juice, red Mao juice, black Mao garbage and red Mao garbage) apart of Mao processing plant from Food science and technology was to studies. The results showed that black Mao juice was high phenolic compound with 121.99 mg GAE/100g. Furthermore, high radical scavenging ascorbic acid equivalent with DPPH assay of Black Mao, flesh and black Mao juice, flesh and red Mao juice were 277.78, 277.81 and 275.68 mg ascorbic acid/kg not significantly different (P>0.05). Furthermore, red Mao seed and black Mao juice showed the highest of antioxidant activity of FRAP assay were 781.09 µM FeSO4/kg and 737.52 µM FeSO4/kg respectively. Thus, black Mao juice showed highest biochemical compound. And found that amount of 18 amino acids in the range of 22.87-556.43 mg/100g from black Mao juice. Furthermore, glutamic acid was highest amino acid (618.68 mg/100g) in lack Mao juice. The results showed that energy intake of 100 g Black Mao juice was 80 Kcal. And the nutritional composition on moisture, fat, carbohydrate, crude fiber and protein of black Mao juice were 80.30, 0.00, 20.00, 0.53 and <01.2 g, respectively. Keywords: mao, mao product, nutrition, antioxidant

1

สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร 47160

18-20 พฤศจิกายน 2558

101


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-04 เครื่องดื่มสามผสานเพื่อสุขภาพจากเม่ า หม่ อน และมะขามป้ อม Triple of Functional Beverage Product from Mao (Antidesma bunius), Mulberry (Morus nigra L) and Indian Gooseberry (Phyllanthus embilica L.) ศุกฤชชญา เหมะธุลิน1

บทคัดย่ อ งานวิจยั ครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่ องดื่มสมุนไพรจากเม่า หม่อน และมะขามป้อมเพื่อสุขภาพ โดยไม่เติมนา้ และนา้ ตาล แปรระดับของนา้ เม่า หม่อน และมะขามป้อม ให้ อยู่ในช่วง ร้ อยละ 65-75, 25-35 และ 5-10 ตามลาดับ วางแผนการทดลองแบบ Mixture design พบว่าอัตราส่วนที่มีผลต่อความชอบทางด้ านประสาทสัมผัส คือ นา้ มะขามป้อม โดยอัตราส่วนของเม่า หม่อน และมะขามป้อม ที่ได้ รับการยอมรับมากสุด คือ ร้ อยละ 70, 25 และ 5 ตามลาดับ มี ปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ร้ อยละ 17.6 และความเป็ นกรด ร้ อยละ 1.56 โดยได้ รับคะแนนความชอบรวมระดับดี อีกทังที ้ ่ให้ สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพสูงสุดและแตกต่างทางสถิติ (p<0.05) โดยให้ สารประกอบฟี นอลิกสูงถึง 116.02 มิลลิกรัม GAE ต่อ ลิตร มีความสามารถในการต้ านอนุมลู อิสระ DPPH เป็ น 461.14 มิลลิกรัม ascorbic acid ต่อลิตร และฤทธิ์ในการต้ าน ออกซิเดชัน FRAB เท่ากับ 880.18 ไมโครโมล FeSO4 ต่อลิตร คาสาคัญ: เม่า หม่อน มะขามป้อม เครื่ องดื่มเพื่อสุขภาพ สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ

Abstract The objective of this study was development on triple of functional beverage product from Mao (Antidesma bunius), Mulberry (Morus nigra L) and Indian gooseberry (Phyllanthus embilica L.) without water and sugar added. Mixed juice contained Mao juice of 65-75%, Mulberry juice of 25-35% and Indian gooseberry juice of 5-10%. Mixture design was used in the experiment. The result showed that the ratio between Mao, Mulberry and Indian gooseberry juice of 70%:25%:5%, respectively high overall acceptability. Total soluble solid and total acidity contents were 17.6 ºBrix and 1.56% respectively with well overall acceptability score and excellence bioactive compound (p<0.05). Furthermore, this treatment was high phenolic compound of 116.02 mg GAE/L. Antioxidant activity with DPPH and FRAP assay were 461.14 mg ascorbic acid equivalent/L and 880.18 µM FeSO4/L. Keywords: mao, mulberry, indian gooseberry, functional beverage, bioactive compound

1

สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตสกลนคร 47160 102

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-05 การวิเคราะห์ คุณค่ าทางอาหารและคุณภาพทางประสาทสัมผัสของเมล็ดทานตะวันและ ถั่วเหลืองงอกหลังผ่ านการลวก Evaluation of Nutritional Value and Sensory Testing of Sunflower and Soybean Sprouts after Blanching หทัยรัตน์ ยิว้ เหีย้ ง1 และปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ1 Hathairat Yewheang1 and Piyanath Pagamas1

บทคัดย่ อ ปั จจุบนั เมล็ดงอกได้ รับความนิยมมากขึ ้น เนื่องจากมีคณ ุ ค่าทางอาหารสูงกว่าพืชผักหลายชนิดและมีมากกว่าในเมล็ดที่ ยังไม่งอก ต้ นอ่อนสามารถรับประทานได้ ทงแบบสดหรื ั้ อนามาประกอบอาหารโดยผ่านความร้ อนซึง่ มีผลให้ เมล็ดงอกสูญเสีย คุณค่าทางอาหารได้ จึงทาการทดลองนาเมล็ดทานตะวันและถัว่ เหลืองงอกที่อายุ 6 และ 5 วันหลังงอก (รวมการให้ แสง 24 ชัว่ โมง ก่อนเก็บตัวอย่าง) ตามลาดับ นามาลวกในน ้าที่อณ ุ หภูมิ 100 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 5, 10 และ 15 วินาที แล้ ววิเคราะห์หา ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ วิตามินซี เส้ นใยอาหาร และความพึงพอใจจากการประเมินโดยการชิมของผู้บริโภค จากการทดลองพบว่า ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ ในเมล็ดถัว่ เหลืองงอกมีค่าเพิ่มสูงขึ ้นเมื่อระยะเวลาในการลวกเพิ่มขึ ้นโดยที่ 10 และ 15 วินาที ให้ ปริมาณ คลอโรฟิ ลล์สงู สุดแตกต่างจากไม่มีการลวก ส่วนในเมล็ดทานตะวันงอก ระยะเวลาในการลวกให้ ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ไม่แตกต่าง กันทางสถิติ ปริ มาณวิตามินซีและเส้ นใยอาหาร ในเมล็ดถัว่ เหลืองงอกมีค่าลดลงตามระยะเวลาในการลวกที่เพิ่มขึ ้น โดยที่การไม่ ลวกให้ ปริมาณวิตามินซีสงู สุดไม่แตกต่างจากที่ 5 วินาที แต่สงู กว่าระยะเวลาอื่นๆ ส่วนปริ มาณเส้ นใยอาหาร พบว่าการไม่ลวกให้ ค่าสูงสุดไม่แตกต่างจากที่ 5 และ10 วินาที แต่สงู กว่าที่ 15 วินาที ในเมล็ดทานตะวันงอก พบว่าปริ มาณวิตามินซี และเส้ นใย อาหาร ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติในทุกระยะเวลาการลวก สาหรับผลการประเมินคุณภาพการชิม พบว่าความกรอบ ความ หอม และความชอบโดยรวมของทานตะวันและถัว่ เหลืองงอกมีคา่ ลดลงตามระยะเวลาการลวกที่เพิ่มขึ ้น คาสาคัญ: เมล็ดงอก สารอาหาร ความร้ อน

Abstract Nowadays, the sprouts have been increasing in popularity due to higher nutrient content than many kind of vegetables and dry seeds. Sprouts can be eaten either fresh or to cook over the heat as a result loss of nutrients. Sunflower and soybean sprouts age 6 and 5 days after germination (including to grow under the light for 24 hours before harvest), respectively, were blanched at 100°C for 5, 10 and 15 seconds. The chlorophyll, vitamin C dietary fiber contents and sensory evaluation were analyzed. The results showed that the chlorophyll contents of soybean sprouts increased by a longer blanching time, the blanching at 10 and 15 seconds gave the maximum chlorophyll content higher than non-blanching. In sunflower sprouts, the chlorophyll content in each blanching time did not significantly different. The vitamin C and dietary fiber contents of soybean sprouts had decreased by a longer blanching time. Without blanching, it had the highest vitamin C content and did not significantly different with a 5 seconds blanching but higher than other blanching times. The dietary fiber contents from the nonblanching treatment showed the highest value without significantly different with 5 and 10 seconds blanching but higher than 15 seconds. In blanching sunflower sprouts, the vitamin C and dietary fiber contents in each blanching time were not significantly different. The results of sensory evaluation testing showed that the crispness, aroma and overall preference of sunflower and soybean sprouts decreased by a longer blanching time. Keywords: sprout, nutrition, heat

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

103


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-06 คุณสมบัตแิ ละความต้ านทานปลวกของไม้ การบูร Properties and Termite Resistance of Camphor Wood (Cinnamomum camphora) มานพ ธรสินธุ์1 และ วิกันดา รัตนพันธ์ 2 Manop Tarasin1 and Wigunda Rattanapun2

บทคัดย่ อ การศึกษาคุณสมบัติเชิงกลและความต้ านทานปลวก Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) ของไม้ การบูรในส่วนแก่นและกระพี ้ กระทาในห้ องปฏิบตั ิการ โดยทาการทดสอบกับปลวกใต้ ดิน C. gestroi ตามมาตรฐานการ ทดสอบของ American Society for Testing and Materials (ASTM D 3345-74) และการทดสอบสมบัติเชิงกลตามมาตรฐาน BS 373:1957 ผลการศึกษาพบว่า ไม้ ยางพาราชิ ้นไม้ ควบคุม ไม้ การบูรส่วนแก่นและกระพี ้มีการสูญเสียน ้าหนักจากการทาลาย ของปลวกเท่ากับ 30.47 ±8.68 , 36.58 ±5.38 และ 18.69 ±7.26 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ จากการทดสอบ เห็นได้ ชดั ว่าส่วนแก่น สูญเสียน ้าหนักจากการทาลายของปลวกมากกว่าส่วนกระพี ้อย่ างมีนยั สาคัญ ผลการทดสอบคุณสมบัติเชิงกลของไม้ การบูร พบว่าแรงอัดขนานเสี ้ยนชิ ้นไม้ สว่ นแก่นและกระพี ้ มีค่าเท่ากับ 34.74 ±2.51 และ 35.44 ±2.49 เมกะปาสคาล ตามลาดับ ค่า ความเค้ นเฉือนขนานเสี ้ยนชิ ้นไม้ สว่ นแก่นและกระพี ้ เท่ากับ 9.52 ±1.43 และ 11.39 ±0.73 เมกะปาสคาล ตามลาดับ การ ทดสอบโมดูลสั แตกหัก (MOR) ชิ ้นไม้ ส่วนแก่นและกระพี ้ พบว่า มีค่าเท่ากับ 79.82 ±6.76 เมกะปาสคาล และ 80.95 ±3.83 เมกะปาสคาล ตามลาดับ การทดสอบโมดูลสั ยืดหยุ่น (MOE) ชิ ้นไม้ สว่ นแก่นและกระพี ้ พบว่ามีค่าเท่ากับ 9,408.33 ±879.93 และ 10,330 ±730.50 เมกะปาสคาล ตามลาดับ ผลการทดสอบการฉีกชิ ้นไม้ สว่ นแก่นและกระพี ้ พบว่ามีค่าเท่ากับ 0.65 ±0.12 และ 0.58 ±0.09 เมกะปาสคาล ตามลาดับ คาสาคัญ: กระพี ้ แก่น น ้าหนัก สมบัติเชิงกล ปลวกใต้ ดิน การบูร

Abstract This research project aimed to study the resistance of camphor wood on termite infestation and the mechanical properties of sapwood and heartwood of camphor wood compare to rubberwood. The resistance of subterranean termites Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) was carried out in the laboratory relied on the American Society for Testing and Materials (ASTM D 3345-74) standard and BS 373:1957 standard for mechanical properties testing. Results showed that weight loss of rubberwood, heartwood and sapwood of camphor wood from termite destroy were 30.47 ±8.68, 36.58 ±5.38 and 18.69 ±7.26 %, respectively. Results presented that weight loss of heartwood was higher than that of sapwood significantly. Results of mechanical properties study of heartwood and sapwood showed that the compression parallel to grain, the shear stress parallel to grain, the modulus (MOR), the elastic modulus (MOE) and the torn between heartwood and sapwood were 34.74 ± 2.51 and 35.44 ± 2.49 MPa, 9.52 ± 1.43 and 11.39 ± 0.73 MPa, 79.82 ± 6.76 and 80.95 ± 3.83 MPa, 9,408.33 ± 879.93 and 10,330 ± 730.50 MPa, and 0.65 ± 0.12 and 0.58 ± 0.09 MPa, respectively. Keywords: sapwood, heartwood, weight, mechanical properties, Coptotermes gestroi, camphor

1

หน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมไม้ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ ธานี สุราษฎร์ ธานี 84000 2 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ ธานี สุราษฎร์ ธานี 84000 104

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-07 ผลของการให้ ความร้ อนในรูปแบบต่ างๆ ต่ อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลแคนตาลูป Effect of Heat Treatment in Various Patterns on Quality Change of Cantaloupe Melon Fruit กัญญารัตน์ เหลืองประเสริฐ1 Kanyarat Lueangprasert1

บทคัดย่ อ แคนตาลูปเป็ นผลไม้ ที่นิยมบริโภค และนิยมปลูกอย่างมากในแถบภาคตะวันออกของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน จังหวัดสระแก้ ว แต่ยงั พบปั ญหาในเรื่ องของรสชาติของผลิตผลหลังเก็บเกี่ยวมีความหวานน้ อย ดังนันในการศึ ้ กษาครัง้ นี ้สนใจ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของแคนตาลูปด้ วยวิธีการให้ ความร้ อนรูปแบบต่างๆ โดยนาผลแคนตาลูปให้ ความร้ อนที่ระดับ แตกต่าง กัน 2 รูปแบบได้ แก่ การให้ ความร้ อนแบบแห้ งโดยอบลมร้ อน (oven heat treatment; OHT) และการให้ ความร้ อนแบบ เปี ยกโดยน ้าร้ อน (hot water treatment; HWT) ที่อณ ุ หภูมิ 45, 50, 55, 60 และ 65 องศาเซลเซียส โดยให้ ความร้ อนแบบ OHT ทุกอุณหภูมิเป็ นเวลา 60, 120 และ 180 นาที และให้ ความร้ อนแบบ HWT ทุกอุณหภูมิเป็ นเวลา 30, 60, 90 และ 120 นาที เปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม (ไม่ได้ ให้ ความร้ อน) ทาการวิเคราะห์ผลทางด้ านกายภาพ เคมี และการยอมรับของผู้บริโภค พบว่า การให้ ความร้ อนแบบ OHT และ HWT ที่เหมาะสมที่สดุ ต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลแคนตาลูป ได้ แก่ 60 องศา เซลเซียส เป็ นเวลา 120 นาที และ 60 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 60 นาที ตามลาดับ โดยเนื ้อผลของแคนตาลูปที่ให้ ความร้ อน แบบ OHT และ HWT มีปริมาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายน ้าได้ เพิ่มสูง ซึง่ มีคา่ เท่ากับ 13.17 และ 14 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ เมื่อ เปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม (10.10 เปอร์ เซ็นต์) ค่าความแน่นเนื ้อของผล ค่าความสว่าง ความเข้ มสีและค่าสีของเปลือกผลมีการ เปลี่ยนแปลงเล็กน้ อย รวมทังการประเมิ ้ นคุณภาพในการบริโภคอยูใ่ นเกณฑ์ดีทงรสชาติ ั้ เนื ้อสัมผัส และการยอมรับโดยรวม และการได้ รับความร้ อนในรูปแบบต่างๆ ไม่สง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าสีของเนื ้อผล คาสาคัญ: การให้ ความร้ อนแบบแห้ ง การให้ ความร้ อนแบบเปี ยก แคนตาลูป ปริ มาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายน ้าได้

Abstract Cantaloupe melon is a popular fruit consumed and grown dramatically in the East region of Thailand, especially in Sakaeo province. However, the problem in the taste of harvested fruit is less sweetness. Therefore, this research was investigated to change the quality of cantaloupe melon with the heat treatments in various patterns. Cantaloupe melon fruits were treated for 2 different heat treatments, such as oven heat treatment (OHT) and hot water treatment (HWT) at 45, 50, 55, 60 and 65°C. All temperatures of OHT were heated for 60, 120 and 180 min and all temperatures of HWT were heated for 30, 60, 120 and 180 min compared with the control (treated without heat). Fruits were analysed by physiological, chemical and sensory evaluations. The results showed that, the OHT and HWT for the best appropriate treatments on quality change of cantaloupe melon fruit were heated for 60°C for 120 min and 60°C for 60 min, respectively. The pulp of cantaloupe melon fruit were heated via OHT and HWT to increased the total soluble solids (TSS) content which were 13.17 and 14%, respectively compared with the control (10.10%). Firmness of pulp, L*, C* and Hue values of peel were changed slightly. Sensory evaluations were the best quality for flavor, texture and acceptability. The heat-treated various patterns had no effect on pulp color quality. Keywords: oven heat treatment, hot water treatment, cantaloupe melon, total soluble solids content

1

กลุม่ วิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ ว

18-20 พฤศจิกายน 2558

105


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-08 ผลของระยะสุกแก่ ของผลสับปะรด รูปแบบการตัดแต่ ง และอุณหภูมิในการเก็บรักษาที่มีต่อ คุณภาพสับปะรดนางแลตัดแต่ งพร้ อมบริโภค Effect of Maturity Level, Cutting Shape and Storage Temperature on Quality of Fresh-Cut Pineapple cv.Nanglae นิอร โฉมศรี1 สุพจนี อินทรโมฬี และอัมฤทธิ์ สีกล่ อม Ni-orn Chomsri1 Supojjanee Intaramoree1 and Ammarit Seeklom1

บทคัดย่ อ สับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภค เป็ นผลไม้ ที่ผ่านกระบวนการแปรรู ปขันต ้ ่า สามารถตอบสนองต่อชีวิตประจาวันของ ผู้บริ โภคยุคใหม่ที่ต้องการอาหารเพื่อสุขภาพ อร่ อย สะดวกสบาย และสด งานวิจัยนีจ้ ึงศึกษาถึงปั จจัยที่มีผลต่อการผลิต สับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภคพันธุ์นางแล ซึ่งเป็ นพันธุ์ที่นิยมบริ โภคในท้ องถิ่นและมีการส่งออก จากผลการทดลอง พบว่า ระดับความสุกแก่ CS 3 และ CS 4 รูปแบบการตัดแต่ง (แบบแว่นตามขวาง แบบหัน่ เป็ นชิ ้นตามยาว และแบบทังผล) ้ และ อุณหภูมิการเก็บรักษาที่ 10 และ 15 องศาเซลเซียส ส่งผลต่อคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และจุลินทรี ย์ที่แตกต่างกันของ ผลิตภัณฑ์สบั ปะรดตัดแต่งระหว่างการเก็บรักษานาน 8 วัน โดยพบว่า ค่าสี L* a* และ b* ของผลิตภัณฑ์สบั ปะรดทุกชุดการ ทดลองมีค่าลดลงตามระยะเวลาการเก็บ รักษาที่เพิ่มขึ ้น ปริ มาณการสูญเสียของเหลวจากเนื ้อสับปะรดนางแลตัดแต่งพร้ อม บริ โภคที่ทาจากสับปะรดที่ระดับความสุกแก่ CS 4 มีค่าสูงกว่าที่ระดับความสุกแก่ CS 3 เมื่อเปรี ยบเทียบรูปแบบการตัดแต่ง พบว่า การตัดแต่งแบบแว่น และหัน่ เป็ นชิ ้นตามยาวทาให้ เกิดการสูญเสียของเหลวจากเนื ้อสับปะรดสูงกว่าแบบทังผล ้ (p<0.05) อุณหภูมิการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์ไม่ส่งผลต่อการสูญเสียของเหลวที่แตกต่างกัน (p>0.05) ในขณะที่ระยะเวลาการเก็บ รักษาที่เพิ่มขึ ้นส่งผลให้ เกิดการสูญเสียของเหลวเพิ่มขึ ้น ส่วนค่าพีเอช ปริ มาณกรดทังหมด ้ และปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทังหมดของสั ้ บปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่ ได้ จากการศึกษานี ้มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.26-3.40 ร้ อยละ 0.73-0.85 และ 12.43-14.05 องศาบริ กซ์ ตามลาดับ เมื่อพิจารณาปริ มาณจุลินทรี ย์ทงหมด ั้ พบว่า สับปะรดนางแลตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่เก็บ รักษาไว้ ที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส มีปริมาณจุลินทรี ย์สงู กว่าผลิตภัณฑ์ที่เก็บไว้ ที่อณ ุ หภูมิ10 องศาเซลเซียส คาสาคัญ: สับปะรด สับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริโภค ระยะสุกแก่

Abstract Fresh-cut pineapple is one of desirable minimally processed fruits because in the modern lifestyles of consumers, it is perceived as healthy, tasty, convenient and fresh. The objectives of this work were to investigate factors affecting fresh-cut pineapple production from Nanglae cultivar which is widely consumed in domestic level and export. Results revealed that maturity levels at CS3 and CS4, cutting shapes of horizontal slice, longitudinal slice and peeled whole fruit, storage temperatures of 10 and 15 oC and storage times of 0, 4 and 8 days diversely influenced physical, chemical and microbiological quality of products. Increasing storage time resulted in decreasing color values (L*, a* and b*) of all fresh-cut. Juice leakage from the flesh of fresh-cut pineapple cv. Nanglae with the maturity level CS 4 was higher than the maturity level CS3. Slice and longitudinal shapes produced higher volume of juice leakage compared with the peeled whole fruit shape (p<0.05). Juice leakage was not affected by storage temperatures (p>0.05) while volume of juice leakage was increased when the storage time was extended. Fresh-cut pineapple products in this study contained average values of pH, total acidity and total soluble solid content between 3.26-3.40, 0.73-0.85 and 12.43-14.05 oBrix, respectively. The microbiological analysis indicated that total microorganisms in fresh-cut pineapple cv. Nanglae stored at 15 oC were present at higher level than stored at 15 oC. Keywords: pineapple, fresh-cut pineapple, maturity level

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 202 หมู่ 17 ต.พิชยั อ.เมือง จ.ลาปาง 52000 106

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-09 การใช้ เชือ้ แบคทีเรียที่สามารถผลิตเอนไซม์ ย่อยสลายเซลลูโลสเพื่อชักนาสารวานิลลินในฝั กวานิลลาบ่ ม Induction of Vanillin Accumulation in Cured Vanilla Beans by Cellulolytic Bacteria ธิตมิ า วงษ์ ชีรี1 ผ่ องเพ็ญ จิตอารีย์รัตน์ 2 เฉลิมชัย วงษ์ อารี 2 กัลย์ ธีรา สุนทราภิรักษ์ กุล3 และพจนา แก้ วแจ่ ม1 Thitima Wongsheree1 Pongphen Jitareerat2 Chalermchai Wong-Aree2 Kanteera Soontharapirakkul3 and Photchanar Kaewchaem1

บทคัดย่ อ การแยกเชื ้อแบคทีเรี ยที่สามารถผลิตเอนไซม์เซลลูเลสและเบต้ ากลูโคซิเดส ในขันตอนการบ่ ้ มฝั กวานิลลา พบว่า เชื ้อ แบคทีเรี ยที่แยกได้ จากฝักในขันตอน ้ slow drying และ conditioning สามารถผลิตเอนไซม์ได้ ในปริ มาณสูงกว่าเชื ้อแบคทีเรี ยที่ แยกได้ จากฝักในขันตอน ้ sweating โดยพบเชื ้อแบคทีเรี ย 14 ใน 16 ไอโซเลท (SW-A1, SW-B1, SW-G1, SW-G2, SW-G3, SW-M, Slow-A1, Slow-A2, Slow-A3, Slow-A4, Slow-D1, Slow-M, Cond-A1,Cond-A2, Cond-F1 และ Cond-M) ที่มี เส้ นผ่าศูนย์กลางของวงใสรอบโคโลนี (clear zone) มากกว่า 0.5 เซนติเมตร บนอาหารคัดเลือก เมื่อวิเคราะห์กิจกรรมเอนไซม์ เซลลูเลสและเบต้ ากลูโคซิเดสของเชื ้อแต่ละไอโซเลท ด้ วยเครื่ องสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ พบว่าไอโซเลท SW-M และ Slow-A3 มี กิจกรรมเอนไซม์ทงสองในระดั ั้ บสูง (โดยเฉลี่ย 10.7 และ 123.0 หน่วยต่อมิลลิกรัมโปรตีน ตามลาดับ) สอดคล้ องกับขนาด เส้ นผ่าศูนย์กลาง clear zone โดยทังสองไอโซเลทเป็ ้ นเชื ้อแบคทีเรี ย Bacillus subtilis/amyloliquefaciens นอกจากนี ้การ ปลูกเชื ้อดังกล่าวลงบนฝั กวานิลลาที่ผ่านขันตอนการ ้ Killing แล้ ว ก่อนนาไปบ่มฝั กในสภาพปิ ดด้ วยตู้อบลมร้ อน ที่อณ ุ หภูมิ 38±1 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 3 และ 5 วัน ไม่สามารถชักนาให้ ฝักวานิลลามีการสร้ างหรื อสะสมสารวานิลลินเพิ่มขึ ้น เมื่อ เปรี ยบเทียบกับฝั กวานิลลาที่ ไม่ได้ ปลูกเชื ้อ (ชุดควบคุม) แต่อย่างไรก็ตาม ฝั กวานิลลาที่ทาการปลูกเชื ้อแบคทีเรี ยมีการสะสม สาร 4-ไฮดรอกซีเบนซัลดีไฮด์ เพิ่มขึ ้นเมื่อเปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม หลังจากบ่มในตู้อบเป็ นเวลา 3 วัน คาสาคัญ: การบ่มฝักวานิลลา แบคทีเรี ยเซลลูโลไลติก วานิลลิน

Abstract Bacteria producing cellulolytic enzymes (cellulase and betaglucosidase) were isolated and screened from vanilla beans during the curing steps including sweating, slow drying and conditioning. The results showed that 14 of 16 isolated bacteria (SW-A1, SW-B1, SW-G1, SW-G2, SW-G3, SW-M, Slow-A1, Slow-A2, Slow-A3, SlowA4, Slow-D1, Slow-M, Cond-A1, Cond-A2, Cond-F1 and Cond-M isolates) were able to produce cellulase showing > 0.5 cm width of colonical clear zone on the selective media . The cells suspension of screened isolates were then assayed for the activities of cellulase and betaglucosidase. Two isolates of those, SW-M and Slow-A3, performed high levels of both enzyme activities with 10.7 and 123.0 U/mg protein, respectively. The both bacteria were classified as Bacillus subtilis/amyloliquefaciens. In addition, killed beans were dipped in the cell bacteria suspensions before cured in a hot oven at 38±1oC for 3 and 5 days compared with dipped in distilled water as a control. There was no significant difference in the vanillin contents between inoculated beans and non-inoculated beans. However, infected vanilla beans accumulated higher level of 4-hydroxybenzaldehyde (an intermediate in vanillin biosynthesis) content than control treatment on day 3 of the oven curing. Keywords: vanilla bean curing, cellulolytic bacteria, vanillin

1

สานักวิจยั และบริ การวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี (มจธ.) เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ 10140 คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ 10140 3 ศูนย์บริ การทางการศึกษา มจธ. ราชบุรี ตาบลรางบัว อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี 70150 2

18-20 พฤศจิกายน 2558

107


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-10 การหาปริมาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บกิ ในไวน์ เม่ า ด้ วยเครื่องโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง Determination of Benzoic Acid and Sorbic Acid in Mao Wine by High Performance Liquid Chromatography จารุ วรรณ ดรเถื่อน1 Jaruwan Donthuan1

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้มีจดุ ประสงค์เพื่อทาการวิเคราะห์ปริ มาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิกในไวน์เม่าด้ วยเครื่ องโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง (HPLC) ซึง่ ใช้ คอลัมน์ชนิด Inertsil ODS-3 C18 ใช้ เฟสเคลื่อนที่คือ ฟอสเฟตบัฟเฟอร์ pH 6.9 ความ เข้ มข้ น 10 มิลลิโมลาร์ และอะซิโตไนไตร์ ในอัตราส่วน 20 : 1 ด้ วยอัตราการไหลเท่ากับ 1.5 มิลลิลิตรต่อนาที และตรวจวัดการ ดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 225 นาโนเมตร พบว่าสามารถแยกกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิกได้ อย่างสมบูรณ์ภายในเวลา 8 นาที ช่วงความเป็ นเส้ นตรงในการวิเคราะห์ดีคือ ทังกรดแบนโซอิ ้ กและกรดซอร์ บิกมีค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ เชิงเส้ น (R2) เท่ากับ 0.9997 การวิเคราะห์ไวน์ เม่า 6 เครื่ องหมายการค้ า พบว่ามีกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิก ความเข้ มข้ นอยู่ในช่วง 1.36 – 5.84 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 1.00 – 9.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลาดับ และเปอร์ เซ็นต์การสกัดกลับคืนอยู่ในช่วง 86.4-104.1% (กรดเบนโซอิก) และ 86.8-101.9 เปอร์ เซ็นต์ (กรดซอร์ บิก) คาสาคัญ: ไวน์เม่า กรดเบนโซอิก กรดซอร์ บิก HPLC

Abstract The aim of this research was to analyze benzoic acid and sorbic acid in Mao wine by HPLC. The separation of benzoic acid and sorbic acid was successfully achieved within 8 minutes on Inertsil ODS-3 C18 column using 10 mM phosphate buffer (pH 6.9) and acetonitrile (20:1) as mobile phase at flow rate of 1.5 mL/min and UV detection at 225 nm. Under the condition, calibration curves were linear for two acids in the concentration range tested with correlation coefficient (r2) of benzoic acid and sorbic acid were 0.9997. This method gave good recoveries in the range of 86.4-104.1% (benzoic acid) and 86.8-101.9% (sorbic acid). The analysis of 6 trade mark of Mao wine. Benzoic acid and sorbic acid were found in 6 trade mark at the level 1.36-5.84 mg/l and 1.089.51 mg/l, respectively. Keywords: mao wine, benzoic acid, sorbic acid, HPLC

1

สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร 108

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-11 ผลของสาร 1-methylcyclopropene ต่ ออายุการเก็บรักษาผักหวานป่ า (Melientha suavis) Effec of 1-methylcyclopropene on Shelf Life of Melientha suavis จิตตา สาตร์ เพ็ชร์ 1 มยุรา ล้ านไชย1 เกศินี เสาวคนธ์ 1 สายันต์ ตันพานิช1 โสรยา ใบเต๊ ะ2 อรอุมา พรมน้ อย2 และลาแพน ขวัญพูล2 Chitta Sartpetch1 Mayura Lanchai1 Kasinee Saowakon1 Sayan Tanpanich1Soraya Baiteh2 Ornuma Promnoi2 and Lampan Khurnpoon2

บทคัดย่ อ การศึกษาวิธีการลดอุณหภูมิที่เหมาะสมในการยืดอายุการเก็บรักษาผักหวานป่ าระหว่างวิธี hydro-cooling และวิธี forced air cooling พบว่าวิธีที่ดีที่สดุ ในการลดอุณหภูมิคือวิธี hydro-cooling โดยมีค่า half cooling time (T1/2) เท่ากับ 7.14 นาที และเมื่อนาวิธีการลดอุณหภูมิแบบ hydro-cooling มาใช้ ร่วมกับการรมสาร 1-MCP ที่ระดับความเข้ มข้ น 100, 250 และ 500 พีพีบี นาน 6 ชัว่ โมง พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงสีของใบ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ ความแน่นเนื ้อของก้ านผักหวานป่ า ปริ มาณ กรดที่ไตเตรทได้ และการเปลี่ยนแปลงน ้าหนักสดช้ ากว่าผักหวานป่ าที่ไม่ได้ รมสาร 1-MCP (ชุดควบคุม) โดยผักหวานป่ าที่รม สาร 1-MCP ความเข้ มข้ น 100 พีพีบี นาน 6 ชัว่ โมง สามารถชะลอความแน่นเนื ้อของก้ านผักหวานป่ าได้ ดีกว่าผักหวานป่ าที่ รมสาร 1-MCP ความเข้ มข้ น 250 และ 500 พีพีบี โดยมีความแน่นเนื ้อในวันสุดท้ ายของการเก็บรักษามากกว่าผักหวานป่ าที่รม สาร 1-MCP ความเข้ มข้ น 250 และ 500 พีพีบี นาน 6 ชัว่ โมง ประมาณ 4.98 นิวตัน สาหรับการสูญเสียน ้าหนักสดในผักหวาน ป่ าที่ไม่ได้ รมสาร 1-MCP อายุการเก็บรักษา 5 วัน มีค่าเท่ากับ 3.87 เปอร์ เซ็นต์ ส่วนผักหวานป่ าที่รมสาร 1-MCP ความเข้ มข้ น 100, 250 และ 500 พีพีบี นาน 6 ชัว่ โมง มีการสูญเสียน ้าหนักสดเท่ากับ 0.08, 0.18 และ 2.32 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ดังนัน้ การลดอุณหภูมิแบบ hydro-cooling ร่วมกับการรมสาร 1-MCP ความเข้ มข้ น 100 พีพีบี นาน 6 ชัว่ โมง จึงเป็ นวิธีการที่ดีที่สดุ ซึง่ สามารถยืดอายุการเก็บรักษาผักหวานป่ าได้ นาน 15 วัน คาสาคัญ: ผักหวานป่ า การลดอุณหภูมิ สาร 1-MCP

Abstract The proper precooling methods to reduce the produce temperature for extending the shelf life of Melaintha suavis were studied. The temperature carrier (water, air) was set at 8 and 5 ºC for hydro- and forced air cooling, respectively. Hydro-cooling was the good method for reduction produce temperature, using 7.14 minute for half cooling time (T1/2). After the samples were cooled by water, fumigated with 1-MCP at the concentration of 100, 250 and 500 ppb for 6 hours were setup. These methods could delay the leaf color changed, chlorophyll contents, shoot firmness, TA content and fresh weight loss. However, the reduction of shoot firmness was delayed by 100 ppb better than a concentration of 250 and 500 ppb 1- MCP of about 4.98 N. The percentage of fresh weight loss in control showed 3.87%, it were showed only 0.08, 0.18 and 2.32% when fumigated with 100, 250 and 500 ppb 1-MCP, respectively on days 5 (end of storage for control treatments). Hydro-cooling together with 1MCP fumigation at 100 ppb for 6 h was the best treatments for prolong Pak-wan Tree for 15 days. Keywords: pak-wan tree (Melaintha suavis), precooling, 1-Methylcyclopropene (1-MCP)

1 2

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย(วว.) ฝ่ ายเทคโนโลยีการเกษตร ปทุมธานี 12120 สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

18-20 พฤศจิกายน 2558

109


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-12 การเปลี่ยนแปลงปริมาณกลูโคซิโนเลตในผักกาดฮ่ องเต้ อนิ ทรีย์ท่ ผี ่ านและไม่ ผ่าน การลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศก่ อนการเก็บรักษา The Change of Glucosinolate Contents in Organic Pakchoi via Vacuum and Non-vacuum Cooling before Storage เพชรดา อยู่สุข1 ดนัย บุณยเกียรติ1 ศิวาพร ธรรมดี1 และพิชญา บุญประสม พูลลาภ2 Pedcharada Yusuk1 Danai Boonyakiat1 Siwaporn Thamdee1 and Pichaya Boonprasom Pollap2

บทคัดย่ อ การศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริ มาณกลูโคซิโนเลตในผักกาดฮ่องเต้ อินทรี ย์ที่ผ่านและไม่ผ่านการลดอุณ หภูมิด้วยระบบ สุญญากาศก่อนการเก็บรักษา ในฤดูร้อน (มี.ค.-พ.ค.) ฤดูฝน (ก.ค.-ก.ย.) และฤดูหนาว (ธ.ค.-ก.พ.) ผลการทดลองแสดงว่า ในฤดู ร้ อน ผักกาดฮ่องเต้ ที่นาไปเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 8 องศาเซลเซียส โดยไม่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศมีปริ มาณ กลูโคซิโนเลต 3.06 ไมโครโมลต่อกรัมน ้าหนักสด สูงกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศ 1.87 ไมโคร โมลต่อกรัมน ้าหนักสด ในวันที่ 6 ของการเก็บรักษา สาหรับในฤดูฝน ในวันที่ 7 และ 8 ของการเก็บรักษาผักกาดฮ่องเต้ ที่นาไป เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 8 องศาเซลเซียส โดยไม่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศมีปริ มาณกลูโคซิโนเลต 9.76 และ 10.83 ไมโครโมลต่อกรัมน ้าหนักสด ตามลาดับ ซึง่ สูงกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศ 5.66 และ 8.07 ไมโครโมลต่อกรัมน ้าหนักสด ตามลาดับ ส่วนในฤดูหนาว ปริ มาณกลูโคซิโนเลตมีความแตกต่างในวันแรกของการเก็บ เกี่ยว โดยผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศมีปริ มาณกลูโคซิโนเลต 7.27 ไมโครโมลต่อกรัมน ้าหนักสด สูงกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ไม่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศถึง 2 เท่า คาสาคัญ: กลูโคซิโนเลต ผักกาดฮ่องเต้ ฤดูร้อน ฤดูหนาว และฤดูฝน

Abstract The study on glucosinolate changing in organic pak-choi via vacuum and non-vacuum cooling before storage in summer (March-May), rainy (July-September) and winter (December-February) season was conducted. The results showed that in summer, content of glucosinolate in non-vacuum pak-choi stored at 8 oC was 3.06 µmol/g FW, higher than the content in vacuum cooled pak-choi which was 1.87 µmol/g FW at 6 days of storage. In rainy season, on day 7 and 8 of storage, the content of glucosinolate in non-vacuum cooled pak-choi were 9.76 and 10.83 µmol/g FW, higher than the content in vacuum cooled pak-choi which were 5.66 and 8.07 µmol/g FW, respectively. In winter, glucosinolate content in pak-choi was different at the harvesting on the first day only. The glucosinolate content in vacuum cooled pak-choi was 7.27 µmol/g FW, twice as much higher than the nonvacuum cooled pak-choi. Keywords: glucosinolate, pak-choi, summer, winter, rainy season

1 2

ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 110

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-13 ผลของภาชนะบรรจุต่ออายุการเก็บรักษาขิงสด Effect of Packaging Materials on Shelf Life of Fresh Ginger สมชาย กล้ าหาญ1 อรทัย พูดงาม1และเมธินี พร้ อมพวก1 Somchai Grahan1 Oratai Pudngam1 and Metinee Prompok1

บทคัดย่ อ ผลของภาชนะบรรจุต่ออายุการเก็บรักษาขิง สดที่อณ ุ หภูมิต่า วางแผนการทดลองแบบ completely randomized design (CRD) ประกอบด้ วย 5 treatment ผลการทดลอง พบว่า เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักเพิ่มขึ ้นโดยขิงที่ไม่ได้ บรรจุถงุ (control) มีเปอร์ เซ็นต์สูญเสียนา้ หนักมากที่สุดคือ 40.00 เปอร์ เซ็นต์ และรองลงมาคือ ขิงที่ บรรจุถุง Low Density Polyethylene (LDPE) 9.53 เปอร์ เซ็นต์ ปริ มาณของแข็งที่ละลายนา้ ได้ ขิงที่บรรจุถงุ National Metal and Materials Technology Center (MTEC) มีปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ มากที่สดุ คือ 4.2 องศาบริ กซ์ ลักษณะสีเปลือกและสีเนื ้อของขิง พบว่า ทังสี ้ เปลือกและสีเนือ้ มีการเปลี่ยนแปลงจากสีเหลืองไปเป็ นสีนา้ ตาล ความแน่นเนือ้ ทุกวิธีการลดลง ตลอดการเก็บ รักษาที่เพิ่มขึ ้น โดยขิงที่บรรจุถงุ MTEC เมื่อสิ ้นสุดการทดลองมีความแน่นเนื ้อมากที่สดุ คือ 136.48 นิวตัน ขิงสดที่เก็บรักษาใน ถุง MTEC และ Polyethylene (PE) มีอายุการเก็บรักษานานที่สดุ คือ 60 วัน คาสาคัญ: ขิง ภาชนะบรรจุ

Abstract Effect of packaging materials on shelf life of fresh ginger under low temperature storage, the statistical model was completely randomized design composed of 5 treatments. The result showed that all fresh ginger those stored in various packaging materials increased in fresh weight loss according to storage time increased while those control (no packaging) gave the most fresh weight of 40.00 percent and the first runner up was Low Density Polyethylene (LDPE) of 9.53 percent. Fresh ginger stored in National Metal and Materials Technology Center (MTEC) bag gave the highest total soluble solids (TSS) content of 4.2 brix. Physical appearance of fresh ginger such as peel and pulp color slightly changes from light yellow to deep yellowish. Firmness of fresh ginger of all treatment slightly decreased according to storage time increased fresh ginger those stored in MTEC bag showed the highest firmness of 136.48 N. Fresh ginger those stored in MTEC and PE bag gave the longest storage life of 60 days Keywords: ginger, packaging

1

สาขาวิชาพืชสวน คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบังกรุงเทพฯ 10520

18-20 พฤศจิกายน 2558

111


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-14 ผลของสารละลายพัลซิ่งและความยาวก้ านดอกต่ ออายุการปั กแจกันดอกบัวหลวงพันธุ์สัตตบุตย์ Effects of Pulsing Solutions and Stalk Length on Vase Life of ‘Sattabhud’ Lotus ธนิตชยา พุทธมี1 แสงระวี พ่ วงสมบัต1ิ วนิตา ตุ้มมล1 และณัฐพล จันทร์ บาง1 Thanidchaya Puthmee1 Sangravee Pougsombat1 Wannita Tummol1 and Nattapon Janbang1

บทคัดย่ อ ดอกบัวหลวงภายหลังการเก็บเกี่ยวมักมีอายุการปั กแจกันสัน้ เนื่องจากอาการกลีบดาที่กลีบนอกสุดและการอุดตัน ของท่อลาเลียง การพัลซิ่งด้ วยสารละลายต่างๆ และความยาวก้ านดอก น่าจะช่วยยืดอายุการปั กแจกัน ของดอกบัวหลวง จาก การศึกษาการพัลซิ่งโดยนาดอกบัวมาพัลซิ่งด้ วยสารละลาย 9 ชนิด ได้ แก่ sucrose 5 เปอร์ เซ็นต์, sucrose 5เปอร์ เซ็นต์ +8HQS 400 พีพีเอ็ม +aspirin 300 พีพีเอ็ม, sucrose5 เปอร์ เซ็นต์+8-HQS 400 พีพีเอ็ม +AgNO3 50 พีพีเอ็ม, sucrose 5% +8HQS 400 พีพีเอ็ม +CoCl26H2O 50 พีพีเอ็ม, sucrose 5 เปอร์ เซ็นต์ +8-HQS 400 พีพีเอ็ม +Citric acid 150 พีพีเอ็ม, sucrose 5 เปอร์ เซ็นต์+AgNO3 50 พีพีเอ็ม, sucrose 5 เปอร์ เซ็นต์ +CoCl26H2O 50 พีพีเอ็ม, sucrose 5 เปอร์ เซ็นต์ + Citric acid 150 พีพีเอ็ม และ sucrose 5 เปอร์ เซ็นต์ +aspirin 300 พีพีเอ็ม เปรี ยบเทียบกับน ้ากลัน่ (ชุดควบคุม) พบว่าการพัลซิ่ง ดอกบัวหลวงด้ วย sucrose 5 เปอร์ เซ็นต์ + CoCl26H2O 50 พีพีเอ็ม เป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง มีแนวโน้ มให้ ผลดีที่สดุ และสามารถปั ก แจกันได้ นาน 4 วัน จากผลการทดลองข้ างต้ นได้ ทาการทดลองซ ้าอีกครัง้ โดยเปรี ยบเทียบความยาวก้ านดอกที่ 15, 25 และ 35 เซนติเมตร พบว่าดอกบัวหลวง ที่ความยาวก้ านดอก 35 เซนติเมตร พัลซิ่งด้ วย sucrose 5 เปอร์ เซ็นต์ + CoCl26H2O 50 พีพี เอ็ม เป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง สามารถยืดอายุการปั กแจกันของดอกบัวหลวงได้ นาน 5 วัน โดยสามารถชะลออาการดาของกลีบ ดอก ได้ ดีกว่าสิง่ ทดลองอื่นๆ คาสาคัญ: ดอกบัวหลวง อายุการปั กแจกัน สารละลายพัลซิ่ง ความยาวก้ านดอก

Abstract After harvested, lotus flowers have a short vase life caused by blackening of the outer petals and stem end blockage. Pulsing solutions and stalk length may prolong the vase life of lotus. In this experiment, lotus flowers were pulsing with 9 solutions; sucrose 5%, sucrose 5%+8-HQS 400 ppm +aspirin 300 ppm, sucrose5%+8-HQS 400 ppm+AgNO3 50 ppm, sucrose 5%+8-HQS 400 ppm +CoCl26H2O 50 ppm, sucrose 5%+8-HQS 400 ppm+Citric acid 150 ppm, sucrose 5%+AgNO3 50 ppm, sucrose 5%+CoCl26H2O 50 ppm, sucrose 5%+Citric acid 150 ppm and sucrose 5%+aspirin 300 ppm compared with distilled water (control). The results reveal that lotus was pulsing with sucrose 5% + CoCl26H2O 50 ppm for 6 hours tended to be the best solution and had vase life of 4 days. The above results were tested again by compared the stalk length at 15, 25 and 35 centimeters. The stalk length 35 cm of lotus flowers pulsed with sucrose 5% + CoCl26H2O 50 ppm for 6 hours prolonged vase life of lotus for 5 days which delayed petal blackening greater than other treatments. Keywords: lotus, vase life, pulsing solution, stalk length 1

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเกษตรศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ชลบุรี 20110 112

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-15 ผลของการลดอุณหภูมิอย่ างรวดเร็วต่ อคุณภาพและอายุการเก็บรักษามะม่ วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ Effect of Deep Precooling Temperature on Quality and Storage Life of Mango cv ‘Mahajanaka’ สมชาย กล้ าหาญ1 และรอสมี ยะสะแต1 Somchai Grahan1 and Rosmee Yasatae1

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษามะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ วางแผนการ ทดลองแบบ factorial in completely randomized design ประกอบด้ วย 2 ปั จจัย คือ ระดับที่อณ ุ หภูมิที่ใช้ ในการลดอุณหภูมิ อย่างรวดเร็ว 4 ระดับ คือ 10, 5, 0,- 20 องศาเซลเซียส และระยะเวลาที่ใช้ 4 ระดับ คือ 10, 20, 30, 40 นาที ภายหลังการเก็บ รักษา 32 วัน พบว่า มะม่วง ‘มหาชนก’ จะมีเปอร์ เซ็นต์ การสูญเสียน ้าหนักสดเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ ตามอายุการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้น โดยมะม่วง‘มหาชนก’ ที่ทาการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ วที่ระดับอุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส 20 นาที มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสีย น ้าหนักสดน้ อยที่สดุ คือ 2.45 เปอร์ เซ็นต์ ความแน่นเนื ้อของมะม่วง ‘มหาชนก’ ที่ทาการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ วที่ระดับ อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส 10 นาที มีความแน่นเนื ้อน้ อยที่สดุ คือ 13.70 นิวตัน ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ เพิ่มขึ ้นตาม ระยะเวลาโดยที่ระดับอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส 30 นาที มีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้ามากที่สดุ คือ 14.0 องศาบริ กซ์ และ ปริ มาณกรดที่วิเคราะห์ได้ ลดลงโดยที่ระดับอุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส 20 นาที มีปริ มาณกรดที่วิเคราะห์น้อยที่สดุ คือ 0.871 เปอร์ เซ็นต์ ซึ่งมีความแตกต่างกันทางสถิติทกุ วิธีการ มะม่วง‘มหาชนก’ ที่ทาการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วที่ระดับอุณหภูมิ 10, 5 และ 0 องศาเซลเซียส เป็ นระยะเวลา 10 นาที มีอายุการเก็บรักษาและคุณภาพดีที่สดุ คือ 28 วัน โดยลักษณะภายนอกและ รสชาติเป็ นที่ยอมรับ ส่วนที่เก็บรักษา 0 องศาเซลเซียส เป็ นระยะเวลา 40 นาที มีอายุการเก็บรักษาสันที ้ ่สดุ คือ 20 วัน คาสาคัญ: มะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ อุณหภูมิ ระยะเวลา

Abstract Effect of deep precooling temperature on quality and storage life of mango cv. ‘Mahajanaka’. The statistical model was factorial in completely randomized design comprised of 2 factors; 4 level of precooled temperature 10, 5, 0 and -20 ◦c and 4 level of precooled time 10, 20, 30 and 40 minutes. It was found that fresh weight loss of mango ‘Mahajanaka’ increased according to storage time increased. Mango ‘Mahajanaka’ precooled at 10 C 20 minutes had the least fresh weight loss of 2.45 percent. It was found that firmness of Mango ‘Mahajanaka’ precooled at 10 C 10 minutes had the firmness of 13.70 N. It was found that TSS content of mango ‘Mahajanaka’ increased according to storage time increased. Mango ‘Mahajanaka’ precooled at 0 C 30 minutes had the most TSS of 14.0 brix. Mango ‘Mahajanaka’ precooled at -20 C 20 minutes had the TA of 0.87% and showed significantly difference all treatment. Mango ‘Mahajanaka’ precooled at 10,5 and 0 C for 10 minutes had the longest storage life of 28 days which good physical appearance, peel color and palatability be accepted and mango ‘Mahajanaka’ precooled at 0 ◦c for 40 minutes had the shortest of storage life of 20 days. Keywords: mango cv. ‘Mahajanaka’ temperature time

1

ภาควิชาเทคโนโลโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

18-20 พฤศจิกายน 2558

113


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-16 ผลของระยะเวลาในการแช่ นา้ ปูนใสต่ อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของมะละกอ ‘พันธุ์ฮอลแลนด์ ’ Effect of Soaking Period by Calcium Hydroxide on Changing of Quality ‘Holland’ Papaya (Carica papaya) สมชาย กล้ าหาญ1 และรอสมี ยะสะแต1 Somchai Grahan1 and Rosmee Yasatae1

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของระยะเวลาในการแช่นา้ ปูนใสต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์ โดยวาง แผนการทดลองแบบ completely randomized design(CRD) มี 5 วิธีการ วิธีการละ 3 ซ ้า ระยะเวลาของการแช่มะละกอในน ้า ปูน ใส ได้ แ ก่ 0, 1, 2, 3 และ 4 ชั่ว โมง แล้ ว น าผลมะละกอสดเก็ บ ไว้ ใ นถุง PE (polyethylene) ภายในบรรจุก๊ า ซ คาร์ บอนไดออกไซด์ ต่อออกซิเจน ในสัดส่วน 10:5 PSI เก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 14±2 องศาเซลเซียส ผลปรากฏว่ามะละกอมี เปอร์ เซ็นต์การสูญเสี ยนา้ หนักสดเพิ่มขึน้ เรื่ อยๆ ตามระยะเวลาการเก็บรักษา ซึ่งภายหลังการเก็บรั กษา 21 วัน มะละกอมี เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียนา้ หนักสดระหว่าง 0.28-0.95 เปอร์ เซ็นต์ และจากการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่าเปอร์ เซ็นต์การสูญเสีย น ้าหนักสดมีความแตกต่างทางสถิติ และพบว่ามะละกอหลังการเก็บรักษามีปริ มาณ TSS และ TA อยู่ในช่วง 11.33-13.53 brix และ 0.07- 0.21 เปอร์ เซ็นต์ตามลาดับ และมะละกอที่แช่น ้าปูนใสนาน 3 ชัว่ โมง มีอายุการเก็บรักษายาวนานที่สด ุ คือ 21 วัน มีกายภาพและคุณภาพทางประสาทสัมผัสเป็ นที่ยอมรับส่วนมะละกอที่แช่น ้าปูนใส 0 ชัว่ โมง มีอายุการเก็บรักษาสันที ้ ่สดุ คือ 15 วัน คาสาคัญ: มะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์ น ้าปูนใส ระยะเวลาในการแช่

Abstract Effect of soaking period by calcium hydroxide on changing of quality ‘Holland’ papaya was studied. The statistical model was completely randomized design consist of 5 treatments 3 replications , soaking period as 0 , 1 , 2 , 3 , and 4 hrs. The Holland papaya fresh fruits were stored in polyethylene bag (PE bag) contain of CO2 and O2 10:5 PSI stored at 14 ± 2 degree celsius. The results showed that papaya fresh fruit had percent fresh weight loss increased according to storage time increased. On 21 days storage fresh weight loss had a value of 0.28-0.95 percent and showed TSS and TA content of 11.33-13.53 brix and 0.07-0.21%, respectively. Holland papaya fresh fruits those soaked in calcium hydroxide 3 hrs had the longest storage life of 21 days with accepted physical appearance and palatability while those fresh fruits no soaked (0 hrs.) showed the shortest storage life of 15 days. Keywords: Holland papaya, calcium hydroxide, soaking period

1

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 114

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-17 ความสัมพันธ์ ระหว่ างลักษณะทางกายภาพและเคมีของกะลากับการแตกในมะพร้ าวอ่ อนเจีย Relation between Physical and Chemical Properties of the Shell and Cracking in Polished Young Coconuts ธนาโชค ตติเจริญ1 อนรรฆ พรรคเจริญ1 และจริงแท้ ศิริพานิช1 Thanachok Taticharoen1 Anark Pakcharoen1 and Jingtair Siriphanich1

บทคัดย่ อ มะพร้ าวน ้าหอมมีมลู ค่าการส่งออกสูงกว่า 1,000 ล้ านบาท ในปี 2557 การส่งออกมะพร้ าวในรูปแบบเจียสามารถลด น ้าหนักได้ ถึง 2 ใน 3 ของน ้าหนักผลสด ทาให้ สามารถเพิ่มมูลค่าการส่งออก และลดต้ นทุนในการส่งออกได้ มากขึ ้น แต่ปัญหา หลักของการผลิตมะพร้ าวเจียคือ ปั ญหาการแตกระหว่างและหลังการปอกเจีย การศึกษาปั จจัยลักษณะทางกายภาพของ มะพร้ าวเจีย พบว่าบริเวณกึง่ กลางระหว่างเส้ นผ่านศูนย์กลางกับปลายผลฝั่งคาร์ เพลใหญ่พบการแตกมากที่สดุ และเป็ น ตาแหน่งที่กะลาบางที่สดุ โดยเฉพาะในฤดูฝน ความสัมพันธ์ระหว่างความหนากะลา และเปอร์ เซ็นต์การแตกมีคา่ สัมประสิทธิ์ แสดงการตัดสินใจ (R2) เท่ากับ 0.70 จากการเปรี ยบเทียบผลแตกกับผลปกติ พบว่าผลที่แตกมีกะลาและชันเนื ้ ้อที่บางกว่า แต่ ปริมาณน ้าในกะลาสูงกว่าอย่างมีนยั สาคัญ การวิเคราะห์ปริมาณแคลเซียมภายในกะลาไม่พบความสัมพันธ์กบั อัตราการแตก คาสาคัญ: แคลเซียม ผลแตก มะพร้ าวน ้าหอม

Abstract Export value of young coconut is higher than 1,000 million Baht in 2014. Polished form of young coconut reduces weight by 2/3 as compared to the intact fruit, reducing production cost and increasing exportation value. Shell cracking during and after polishing is the main problem for polished young coconut. A study on physical properties of the shell showed that the biggest carpel at midway between the fruit equator and the stylar end had thinnest shell and highest cracking rate, especially in the rainy season, having a correlation of determination (R2) between cracked rate and shell thickness of 0.70. Cracked fruit had thinner shell, higher water content and thinner kernel than non-cracked fruit. Correlation between calcium content in the shell and the cracked rate was not found. Keywords: calcium, young coconut, fruit cracking

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

18-20 พฤศจิกายน 2558

115


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-18 ผลของก๊ าซคลอรีนไดออกไซด์ ต่อกิจกรรมของเอนไซม์ ไคติเนสและกลูคาเนสของ ผลลาไยหลังเก็บเกี่ยวที่ปลูกเชือ้ Cladosporium sp. Effect of Gaseous Chlorine Dioxide on Chitinase and Glucanase Activities in Harvested Longan Fruits Inoculated with Cladosporium sp. นิตยิ า กันธิยะ1 บุญสม บุษบรรณ์ 1 จานงค์ อุทยั บุตร1,2 และกอบเกียรติ แสงนิล1,2 Nitiya Guntiya1 Boonsom Bussaban1 Jamnong Uthaibutra1,2 and Kobkiat Saengnil1,2

บทคัดย่ อ การผลิตเอนไซม์ไคติเนสและกลูคาเนสเป็ นส่วนหนึ่งของกลไกป้องกันตนเองของพืช ต่อการเข้ ารุ กรานของเชื อ้ โรค การศึกษาครั ง้ นี เ้ พื่อแสดงถึงกลไกการลดการเกิดโรคผลเน่าของลาไยโดยก๊ าซคลอรี นไดออกไซด์ ( ClO2) โดยศึกษา ผลของการรมผลด้ วยก๊ าซ ClO2 ต่อการเกิดโรคและกิจกรรมของไคติเนสและกลูคาเนสของผลลาไยหลังเก็บเกี่ยวระหว่าง เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 25±3ºซ เป็ นเวลา 7 วัน พบว่าผลลาไยที่ปลูกเชื อ้ Cladosporium sp. ซึ่งเป็ นเชื อ้ ราก่อโรคผลเน่ามี กิจ กรรมของไคติเ นสและ กลูค าเนสสูงกว่า ชุด ควบคุม ที่ไ ม่ป ลูก เชื อ้ โดยเพิ่ม ขึน้ สูง สุด ในวัน ที่ 4 และ 5 หลังปลูก เชื อ้ ตามลาดับ จากนัน้ ค่อยๆ ลดต่าลง การรมผลลาไยที่ปลูกเชื อ้ ด้ วยก๊ าซ ClO2 10 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็ นเวลา 10 นาที กระตุ้นให้ ผลมีกิจกรรมของไคติเนสและกลูคาเนสเพิ่มสูงขึน้ กว่าชุดควบคุมที่ปลูกเชื อ้ โด ยเพิ่มขึน้ ตัง้ แต่วันที่ 2 และ1 ของ การทดลอง และเพิ่มสูงสุดในวันที่ 4 และ 5 ตามลาดับเช่นกัน ซึ่งกิจกรรมของเอนไซม์ทัง้ สองเพิ่มสูงกว่าประมาณ 54 และ 78% ตามลาดับ ทัง้ นี ้ ClO2 มีประสิทธิ ภาพในการกระตุ้นกิจกรรมของกลูคาเนสดีกว่าไคติเนส และการเพิ่มขึน้ ของ กิจ กรรมของเอนไซม์ทัง้ สองในผลที่ร มด้ ว ย ClO2 ยัง สอดคล้ อ งกับ การลดต่า ลงของการเกิด โรคผลเน่า ด้ ว ย จากผลการ ทดลองดัง กล่า วสัน นิษ ฐานว่า กิจ กรรมของไคติเ นสและกลูค าเนสที ่เ พิ ่ม สูง ขึ น้ ในผลที ่ร มด้ ว ย ClO2 เป็ น กลไกการ ตอบสนองของลาไยเพื่อลดการเกิดโรคผลเน่าจากเชือ้ ราก่อโรคนี ้ คาสาคัญ: ไคติเนส กลูคาเนส โรคผลเน่า คลอรี นไดออกไซด์ ลาไย

Abstract Chitinase and glucanase are produced as part of the active plant defense mechanism against pathogen invasion. This study was to demonstrate the mechanism of reduction of fruit rot disease in longan by gaseous chlorine dioxide (ClO2). The effect of ClO2 fumigation on the onset of disease and the activities of two plant defense enzymes, chitinase and glucanase in the harvested longan fruits during storage at 25±3ºC for 7 days were then investigated. Inoculation of longan fruits with fungal pathogen Cladosporium sp. resulted in a marked increase in chitinase and glucanase activities. The maximum increase was observed on Days 4 and 5 after inoculation, respectively, when compared with the uninoculated control fruits and gradually decreased thereafter. Fumigation of inoculated fruits with 10 mg/l ClO2 stimulated the increase in chitinase and glucanase from Days 2 and 1 and reaching maximum on Days 4 and 5, respectively. The increase in enzyme activities was approximately 54 and 78% respectively higher than those in the inoculated control fruits. ClO2 was more efficient in stimulating the activity of glucanase than that of chitinase. The increase in the activities of both enzymes was in accordance with the reduction of fruit rot disease. Suggesting that, the increase in the activities of chitinase and glucanase activated by ClO2 fumigation is the response mechanism of longan fruits to reduce fungal rot disease caused by the pathogen. Keywords: chitinase, glucanase, fruit rot disease, chlorine dioxide, longan 1 2

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200 ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200 116

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-19 ผลของการเติมสารอาหารที่ต่างกันต่ อการเกิดสารอะเซทัลดีไฮด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และสารที่ให้ กลิ่นที่ดใี นไวน์ ขาวที่สร้ างโดยยีสต์ Saccharomyces สองสายพันธุ์ Effect of Different Nutrient Addition on the Formation of Acetaldehyde, Hydrogen sulphide and Desirable Aromatic Compounds by Two Saccharomyces Yeast Strains in White Wine ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ1 และ Doris Rauhut2 Srisamatthakarn, P.1 and Rauhut, D.2

บทคัดย่ อ งานวิจัยนี ้ ศึกษาการหมักไวน์ขาวจากองุ่นพันธุ์ชอยเรเบ่ (Scheurebe) ด้ วยยีสต์ Saccharomyces ต่างสายพันธุ์ (S. bayanus; Lalvin-EC1118 และ S. cerevisiae; Zymaflore-X5) ร่ วมกับการเติมสารอาหารที่ต่างกัน [ไดแอมโมเนียม ฟอสเฟต/DAP; เซลล์ยีสต์ที่ไม่เกิดการหมัก/IY; IY ผสมผนังเซลล์ยีสต์/ IYYW และ DAP ผสมไทอะมีน ผนังเซลล์ยีสต์ และ แอมโมเนียมซัลเฟต/DAPTYA] ปริ มาณ 0.3 กรัมต่อลิตร ที่มีผลต่อการเกิดสารอะเซทัลดีไฮด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และสาร ที่ให้ กลิ่นที่ดีในไวน์ ผลการศึกษาพบว่า การเกิดสารประกอบเหล่านี ้ในไวน์ขาว ขึ ้นอยู่สายพันธุ์ยีสต์ที่ใช้ ในการหมัก และแหล่ง อาหารที่เติมลงไปในการหมัก โดยการหมักด้ วยยีสต์พนั ธุ์ X5 ทังที ้ ่ไม่เติมสารอาหาร และเติมสารอาหาร IYYW ส่งผลให้ ไวน์ขาว ที่ได้ มี H2S ในระดับสูง แต่ปริ มาณที่พบมีระดับต่ากว่าความเข้ มข้ นที่ทาให้ เกิดกลิ่นไข่เน่า (50-80 ไมโครกรั มต่อลิตร) ผล การศึกษาที่น่าใจคือ ยีสต์สายพันธุ์ EC1118 ไม่ผลิต H2S ในผลิตภัณฑ์ไวน์ขาวเลย แต่ผลิตสารเอสเทอร์ ของกรดอะซีติก (เฟ นิล-เอทิลอะซีเตท เมทิลบิวทิล-อะซีเตท) และเอทิลเอสเทอร์ ของกรดไขมันที่มีโมเลกุลยาวปานกลาง (ให้ กลิ่นดอกไม้ และกลิ่น ผลไม้ ต่างๆ) ในไวน์ขาวทังหมดในระดั ้ บสูง ส่วนยีสต์พนั ธุ์ X5 จะผลิตสารเอสเทอร์ เหล่านี ้ระดับสูงในน ้าหมักที่เติม DAPTYA ถึงแม้ ว่า สายพันธุ์ยีสต์และแหล่งของสารอาหารต่างๆ จะมีผลต่อปริ มาณ H2S และเอสเทอร์ ต่างๆ ในไวน์ขาว แต่ ปริ มาณอะ เซทัลดีไฮด์ และเฟนิลเอทานอล (ให้ กลิ่นดอกไม้ และกลิ่นคล้ ายดอกกุหลาบ) ในไวน์ขาวทังหมดไม่ ้ แตกต่างกันเลย คาสาคัญ: สายพันธุ์ยีสต์ แหล่งอาหาร อะเซทัลดีไฮด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ สารที่ให้ กลิ่นในไวน์

Abstract The effects of Saccharomyces bayanus (Lalvin-EC1118) and S. cerevisiae (Zymaflore-X5) in the combination with four nutrient sources [diammonium hydrogen phosphate/DAP; inactivated yeast/IY; IY plus yeast cell walls/IYYW and DAP plus thiamine, yeast cell walls and ammonium sulphate/DAPTYA] at 0.3 g/L in and control (without nutrient) on the production of acetaldehyde, H2S and positive aroma compounds were examined in the fermentation of Scheurebe grape juice. The result clearly showed that depending on certain yeast strain utilized, the formation of these compounds in final white wine presented different responses with different nutrient source addition. The X5 strain produced high amounts in the control and IYYW wines. However, H2S levels were below the threshold value (50-80 µg/L), which excluded the occurrence of an “rotten egg flavor”. Interestingly, the EC1118 strain did not only reveal H2S in final wine under all nutrient conditions, but also was the greatest producer of most acetic acid esters (2-phenyl ethyl acetate, 3-methylbutyl acetate) and ethyl esters of medium-chain fatty acids, which play a major role in the fruity and floral aroma of wine. While, these volatile esters produced by strain X5 were most evident in the DAPTYA treatment. Although, yeast strain and nutrient source had various effects on the formation of H2S and volatile esters in white wine, they had no significant effects on the formation of 2-phenyl ethanol (floral and rose-like aromas) and acetaldehyde in white wine. Keywords: yeast strain, nutrient source, acetaldehyde, hydrogen sulphide, wine aromatic compounds1 1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จังหวัดลาปาง 52000

18-20 พฤศจิกายน 2558

117


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-20 เปรียบเทียบคุณภาพทางเคมีกายภาพ และคุณสมบัตกิ ารต้ านอนุมูลอิสระ ของฟั กทองพันธุ์พนื ้ เมือง พันธุ์โอโตะ และพันธุ์ทางการค้ า Comparison of Physico-chemical Quality and Antioxidant Properties in Pumpkin Cultivars from Local, Ohto and Commercial Varieties ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ1 และจานุลักษณ์ ขนบดี2 Srisamatthakarn, P.1 and Kanobdee, J.2

บทคัดย่ อ คุณภาพทางกายภาพ-เคมี คุณค่าทางโภชนาการ และสารต้ านอนุมลู อิสระของฟั กทองมีความแปรปรวนขึ ้นอยู่กับ สภาพแวดล้ อมในการปลูก ชนิด และสายพันธุ์ งานวิจยั นี ้ ได้ ทาการประเมินองค์ประกอบทางกายภาพ-เคมีทวั่ ไป และสารต้ าน อนุมลู อิสระ เช่น แคโรทีนอยด์ สารประกอบฟี นอลิค และฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระในฟั กทองพื ้นเมือง 5 พันธุ์ และพันธุ์โอโตะ 12 พันธุ์ เปรี ยบเทียบกับพันธุ์ทางการค้ า 3 พันธุ์ ผลการศึกษาพบว่า เนือ้ ฟั กทองพื ้นเมืองทุกพันธุ์มีค่าความสว่างของสี (L*) และสีเหลือง (b*) มากกว่าพันธุ์โอโตะและพันธุ์ ทางการค้ า แต่เนื อ้ ฟั กทองมีสีแดง (a*) ต่ากว่าอย่างมีนัยสาคัญทางสถิ ติ (p<0.05) ฟั กทองพันธุ์โอโตะ #16, #19, #23 และพันธุ์ทางการค้ า #OE มีปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดซึ ั้ ่งเป็ นค่าที่ชี ้ถึง ความหวานของเนื ้อฟั กทองมากกว่าพันธุ์อื่นๆ ด้ านคุณสมบัติการต้ านอนุมลู อิสระพบว่า สารประกอบฟี นอลิค และแคโรทีนอยด์ ที่มีอยูส่ งู สุดในฟั กทองพันธุ์โอโตะ #24 มีบทบาทสาคัญในการต้ านอนุมลู อิสระชนิด DPPH ที่พบในระดับสูงสุดด้ วย แต่ปริ มาณ สารต้ านอนุมลู อิสระที่พบมากในฟั กทองพันธุ์โอโตะ #20 และพันธุ์พื ้นเมือง #37 นัน้ แปรผกผันกับค่าฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ ของฟั กทอง ดังนันงานวิ ้ จยั นี ้ จึงแสดงให้ เห็นว่าฟั กทองพันธุ์โอโตะส่วนใหญ่ประกอบไปด้ วยสารต้ านอนุมลู อิสระที่มีศกั ยภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารประกอบฟี นอลิค และแคโรทีนอยด์ แต่มีความแปรปรวนแตกต่างกันขึ ้นอยูก่ บั สายพันธุ์ของฟั กทอง คาสาคัญ: ฟั กทอง สารต้ านอนุมลู อิสระ พันธุ์พื ้นเมือง พันธุ์โอโตะ พันธุ์ทางการค้ า

Abstract It has been known that pumpkins have considerable variation in physico-chemical and nutritional quality as well as antioxidant components depending on the cultivation environment, species, or varieties. In this study, the general physico-chemical compositions and some antioxidants, such as carotenoids, phenolic compounds and antioxidant activity, were evaluated in five local and 12 Ohto varieties in comparison to three commercial cultivar. The results demonstrated that flesh all local varieties had significantly more brightness value (L*) and yellow color (b*) than most of Ohto and commercial cultivars (p<0.05), but had lower red color (a*). The Ohto pumpkin from #16, #19, #23 varieties as well as the #OE (commercial cultivar) had higher total soluble solid, which indicated sweetness of pumpkin flesh, than the others. As regards to antioxidant properties, the highest amounts of phenolic compound and carotenoids were found in the Ohto #24 and these components may play significant role on the highest scavenging activity against DPPH radical found. While, high antioxidant compounds in both Ohto #20 and Native #37 had inverse effect on the antioxidant activity. This finding indicated that most pumpkins of Ohto varieties contained high potential natural antioxidants, particularly phenolic compounds and carotenoids, however they were considerably different variations depending on their varieties. Keywords: pumpkin, antioxidants, native variety, Ohto, commercial variety

2 1

Department of Microbiology and Biochemistry Hochschule GEISENHEIM University, Geisenheim, Germany D-65366 สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จังหวัดลาปาง 52000 118

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-21 อายุการเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วในบรรจุภณ ั ฑ์ สุญญากาศร่ วมกับวัตถุดดู ซับออกซิเจน Shelf-life of Maprow Keow in Vacuum Packaging with Oxygen Absorber ณชยุติ จันท์ โชติกุล1 ณัฐจรีย์ จิรัคคกุล1 นิภาพร เส็งคาปาน1 ศักรินทร์ นนทพจน์ 2 และบังอร เหมัง1 Nachayut Chanshotigul1, Natcharee Jirukkakul1, Nipaporn Sengkhampan1, Sakkarin Nontapot2 and Bung-Orn Hemung1

บทคัดย่ อ มะพร้ าวแก้ วเป็ นอาหารแปรรูปกึง่ แห้ งที่ผลิตจากเนื ้อมะพร้ าวอ่อนที่เคี่ยวกับน ้าตาลแล้ วนาไปเป่ าลมให้ เย็น โดยทัว่ ไป มะพร้ าวแก้ วมีอายุการเก็บรักษาสันประมาณ ้ 1 สัปดาห์ เนื่องจากไม่มีการเติมสารกันบูดลงในบรรจุภณ ั ฑ์ ดังนัน้ การทดลองนี ้ จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อยืดอายุการเก็บมะพร้ าวแก้ วโดยการบรรจุแบบสุญญากาศร่วมกับการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจน มะพร้ าว แก้ ว 300 กรัมบรรจุในถุงพลาสติกโพลีไนลอน โดยที่มีการใส่วตั ถุดดู ซับออกซิเจนเชิงการค้ า จานวน 0, 1, 2 และ 3 ซอง เก็บ รักษาที่อณ ุ หภูมิห้องเป็ นเวลา 5 สัปดาห์ ติดตามการเปลี่ยนแปลงคุณภาพระหว่างเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วทุกสัปดาห์ พบว่า ความชื ้นลดลงเล็กน้ อย ในขณะที่กิจกรรมของน ้าไม่ได้ รับผลกระทบ ทังนี ้ ้ไม่ขึ ้นกับจานวนวัตถุดดู ซับออกซิเจน เมื่อไม่มีวตั ถุดดู ซับออกซิเจนพบว่าจุลินทรี ย์ทงหมดมี ั้ คา่ เกินมาตรฐานการยอมรับในสัปดาห์ที่ 3 การเพิ่มขึ ้นของยีสต์และรามีแนวโน้ มเป็ นไปใน ทิศทางเดียวกับจุลินทรี ย์ทงหมด ั้ การใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจน 1 ซอง ทาให้ จลุ ินทรี ย์เกินมาตรฐานการยอมรับในสัปดาห์ที่ 4 แสดงถึงความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษา แต่การเพิ่มวัตถุดดู ซับออกซิเจนมากกว่า 1 ซองไม่สง่ ผลดีเพิ่มขึ ้น การ ยอมรับของผู้บริ โภคต่อมะพร้ าวแก้ วทังก่ ้ อนและหลังการเก็บรักษาเป็ นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ ผลจากการศึกษาพบว่า สภาวะที่เหมาะสมต่อการบรรจุมะพร้ าวแก้ วคือการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนเชิง การค้ า 1 ซองต่อหน่วยบรรจุภายใต้ บรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศ เมื่อเก็บรักษา ณ อุณหภูมิห้อง ควรบริโภคผลิตภัณฑ์ภายใน 4 สัปดาห์ภายหลังการผลิตและบรรจุ คาสาคัญ: มะพร้ าวแก้ ว สารดูดซับออกซิเจน อายุการเก็บ การบรรจุสญ ุ ญากาศ

Abstract Maprow Keow is a kind of snack made from coconut pulp, which is saturated with sugar prior drying with air flow to obtain the semi-dried product. It normally has a short shelf-life (1 week) since antimicrobial agent is not added. Therefore, vacuum packaging with oxygen absorber (OA) was studied to extend the shelf-life. Maprow keow (commercial one) was packed under vacuum condition in plastic bag with the OA ranging from 0, 1, 2, and 3 packs per each and kept at room temperature before evaluating the qualities. During storage, moisture content decreased slightly, while water activity of sample was not different regardless the addition of OA. Total plate count of sample without OA was over the standard after storage for 3 weeks. This period could be extended to 4 weeks when a bag of OA was used. This suggested the shelf life was extended by OA addition but it could not be extended more by adding more OA. The consumer preference scores toward the product up to 4 weeks were not different significantly. Based on the study, the suitable condition for packing Maprow Keow under vacuum is using a bag of OA and the best before date should be within 4 weeks after manufacturing and packing. Keywords: maprow keow, oxygen absorber, shelf-life, vacuum packing

1 2

สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย หนองคาย 43000 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ บรู ณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย หนองคาย 43000

18-20 พฤศจิกายน 2558

119


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-22 ผลของอุณหภูมิต่อการสุกและคุณภาพของกล้ วยไข่ Effect of Temperature on Ripening and Quality of ‘Khai’ Banana (Musa AA group) สมคิด ใจตรง1

บทคัดย่ อ ศึกษาผลของอุณหภูมิตอ่ อัตราการสุก และคุณทางเคมี-กายภาพของกล้ วยไข่ ซึง่ กล้ วยไข่ที่ใช้ ในการวิจยั เป็ นกล้ วยที่ ปลูกในพื ้นที่จงั หวัดสระแก้ ว ระยะบริบรู ณ์ทางการค้ า (ระยะบริบรู ณ์ 80 เปอร์ เซ็นต์) นามาเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิห้อง (30±2 องศาเซลเซียส) เปรี ยบเทียบกับการเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิเย็น คือ อุณหภูมิ 13 องศาเซลเซียส นาน 1 สัปดาห์ และปรับอุณหภูมิ เป็ น 17±2 องศาเซลเซียส นาน 2 สัปดาห์ สุม่ วิเคราะห์ผลกล้ วยทุก 2 วัน จนกระทัง่ สุกงอม โดยวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง คุณภาพทางเคมี-กายภาพ การเกิดโรคขัวหวี ้ เน่าและอัตราการหายใจ พบว่าอุณหภูมิมีผลต่อความเร็วในการสุก ซึง่ ผลกล้ วยที่ สุกที่อณ ุ หภูมิห้อง มีกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเข้ าสูก่ ระบวนการสุกเกิดขึ ้นเร็วว่าการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ส่วน กล้ วยที่เก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิเย็นสุกได้ ปกติ และมีความแน่นเนื ้ออยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้ เริ่มพบการเกิดโรคขัวหวี ้ เน่าในวันที่ 4 และ 10 ที่อณ ุ หภูมิห้อง และอุณหภูมิเย็น ตามลาดับ และอัตราความรุนแรงของโรคเกิดขึ ้นอย่างรวดเร็วเมื่อเข้ าสูร่ ะยะการสุก และการเสื่อมสภาพ ผลกล้ วยที่เก็บรักษาทังสองระดั ้ บอุณหภูมิ มีการหายใจแบบไคลแมกเทอริกสูงที่สดุ และมีปริมาณของแข็ง ทังหมดที ้ ่ละลายน ้าได้ เพิ่มสูงขึ ้น เมื่อผลกล้ วยอยู่ในระยะสุกพร้ อมบริโภค และลดลงเมื่อเข้ าสูร่ ะยะสุกงอม คาสาคัญ: กล้ วยไข่ การสุก คุณภาพทางกายภาพ-เคมี โรคขัวหวี ้ เน่า

Abstract This study was conducted to find out of the effect of temperature on speed of ripening process and quality of ‘Khai’ banana. The orchards used in this study were located in Sakaeo province. Commercial maturity banana (80% mature) were stored at room temperature (30±2C) compared with cool temperature at 13C for one week and at 17 C for two weeks. Fruits were randomly analysed every two days until over-ripe. The physicochemical changes, crown rot and respiration rate were analysed. The results showed that the room temperature had faster effect on ripening than at cool temperature, especially on chemical processes. Banana ripened at room temperature had good eating quality in terms of total soluble solids (TSS), firmness and color development. The fruit ripened at cool temperature had acceptable eating quality with firmer pulp. The incidence of crown rot showed at four and ten days after storage at room temperature and cool temperature, respectively. Severity index of crown rot were increased rapidly at ripening and senescence. At ripening stage, the fruits of both treatments reached the peak of climacteric respiration and the high TSS then decreased rapidly with over-ripe. Keywords: khai banana, ripening, physico-chemical quality, crown rot

1

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ ว สระแก้ ว 27160 120

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-23 บรรจุภัณฑ์ และสารเคมีท่ ีเหมาะสมต่ อการเก็บรั กษาเงาะสด Packagings and Chemicals on Shelf life of Rambutan Fruit ฐปกร ลิขิตนภาเวทย์ 1 พรกรัณย์ ธนไพโรจน์ 1 กาญจน แซ่ จัง1 และวรภัทร ลัคนทินวงศ์ 2 Thapakorn Likitnaphawet1 Pornkaran Thanapairoje1 Karnchana Sae-Jung1 and Voraphat Luckanatinvong2

บทคัดย่ อ เงาะมักเสื่อมสภาพอย่างรวดเร็วหลังการเก็บเกี่ยว ทาให้ มีอายุการเก็บรักษาสัน้ จึงศึกษาผลกระทบของลักษณะบรรจุ ภัณฑ์ 2 ชนิด คือ กล่องไข่และกล่องทรงสี่เหลี่ยม ร่ วมกับการใช้ สารเคมี 5 ชนิด ประกอบด้ วย โซเดียมเมแทไบซัลไฟต์ โซเดียมไฮโพคลอไรต์ วิตามินซีผสมแคลเซียมโพรพิโอเนต โพแทสเซียมเพอร์ แมงกาเนต(ด่างทับทิม) และกรดซิตริ ก (นา้ ส้ มสายชู) โดยการแช่สารละลายแล้ วนามาบรรจุลงในบรรจุภัณฑ์จากนัน้ นามาหุ้มด้ วยฟิ ล์มยืด PVC แล้ วเก็บรักษาที่ อุณหภูมิ 12 องศาเซลเซียส นาน 21 วัน ตรวจวัดแก๊ สออกซิเจนและคาร์ บอนไดออกไซด์ในบรรจุภณ ั ฑ์ การเปลี่ยนแปลงสีของ เปลือก ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ และทดสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัส พบว่าหลังเก็บรักษาเป็ นเวลา 7 วัน ผลเงาะที่ เก็บรักษาในบรรจุภณ ั ฑ์ทกุ ชุดการทดลองอยู่ในสภาพสดต่างจากผลเงาะที่ไม่ได้ เก็บรักษาในบรรจุภณ ั ฑ์ซงึ่ เปลือกเปลี่ยนเป็ นสี ดา ที่ 14 วัน เงาะในกล่องทรงสี่เหลี่ยม สีเปลือกเริ่ มเปลี่ยนเป็ นสีดา และ เริ่ มพบการเน่าเสีย ในขณะที่กล่องไข่และชุดควบคุม ยังคงมีสภาพสด และการใช้ วิตามินซีผสมแคลเซียมโพรพิโอเนตทาให้ ผลเงาะมีคณ ุ ภาพดีก ว่าสิ่งทดลองอื่นๆ และเมื่อเก็บรักษา นาน 21 วัน พบว่าเงาะในทุกภาชนะบรรจุมีการเน่าเสียและเปลือกเปลี่ยนสีดา มีเพียงกล่องที่แช่ด่างทับทิม แช่น ้าส้ มสายชู และ กล่องที่แช่ โซเดียมไฮโพคลอไรต์ ที่สีผิวพึ่งเริ่ มเปลี่ยนสีบางส่วน และเริ่ มมีจดุ ดาปะปนกัน จากผลการทดลองสรุ ป ได้ ว่า การใช้ บรรจุภัณฑ์ที่เป็ นกล่องไข่ ร่ วมกับใช้ ด่างทับทิม นา้ ส้ มสายชู โซเดียมไฮโพคลอไรต์ มีแนวโน้ มในการเก็บรักษาเงาะสดพันธุ์ โรงเรี ยนได้ คาสาคัญ: เงาะพันธุ์โรงเรี ยน วิตามินซี โพแทสเซียมเพอร์ แมงกาเนต กรดซิตริก โซเดียมไฮโพคลอไรต์

Abstract Rambutan is a tropical fruit was rotten easily due to it has a short shelf-life. The experiment was conducted 2 different packages including egg-box and rectangle box combined with 5 difference chemicals including Na2S2O5, NaClO, vitaminC+C6H10CaO4, KMnO4 and citric acid. Rambutan fruit was dipped in 5 different chemicals then obtained it into packaging and wrapped with PVC film, stored at 12C for 21 days. The O2 and CO2 concentration, peeled color change, soluble solid and sensory were investigated every 7 days. Result found that at 7 days all of the treatments were still fresh and differ from unpacked fruit while peel color change was appeared and rotten. At 14 days rambutan fruit that stored in the rectangle box began rot while this fruit that stored in egg-box was still fresh. At 21 days rambutan fruit in all packages were rotten except that stored combine with KMnO4, citric acid and NaClO. Base on this result, it can conclude that egg-box packaging combine with KMnO4, citric acid and NaClO can prolong shelf life of rambiutan fruit. Keywords: rongrien rambutan, Vitaminc, KMnO4, citric acid, NaClO

1 2

โรงเรี ยนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี ต.บ่อเงิน อ.ลาดหลุมแก้ ว ปทุมธานี 12140 ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศนู ย์รังสิต ปทุมธานี 12121

18-20 พฤศจิกายน 2558

121


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-24 การพัฒนาและใช้ ประโยชน์ ผลิตภัณฑ์ เทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี ในขนมไทย Development and Utilization of Fragrant Candle with White Champaca (Michelia alba DC.) Aroma in Thai Dessert พงศ์ ยุทธ นวลบุญเรือง1 ธัญญลักษณ์ บัวผัน2 และรุ่ งนภา ช่ างเจรจา1 Phongyuth Nualbunruang1 Thanyalak Buaphan2 and Rungnapa Changjeraja1

บทคัดย่ อ การพัฒนาและใช้ ประโยชน์ผลิตภัณฑ์เทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี ในขนมไทย มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มความหลากหลายของ กลิ่นขนมไทย จากการสารวจความต้ องการของผู้บริ โภคในการคัดเลือกชนิดของผลิตภัณฑ์ขนมอบเทียน พบว่า ผู้บริ โภคต้ องการ ให้ ใช้ เทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี กบั ขนมไทย 5 ชนิด คือ ขนมกลีบลาดวน ขนมผิง คุกกี ้สิงคโปร์ ลูกชุบ และขนมต้ ม จากการ พัฒนาสูตรเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี พบว่า สูตรที่เหมาะสมประกอบด้ วย ขี ้ผึ ้งแท้ ร้ อยละ 69.67 กายานป่ น ร้ อยละ 1.90 พิมเสน ป่ น ร้ อยละ 0.50 แก่นจันทน์เทศป่ น ร้ อยละ 15.18 ผิวมะกรูดป่ น ร้ อยละ 1.67 ชะลูดป่ น ร้ อยละ 7.70 และน ้ามันหอมระเหยกลิ่น ดอกจาปี ร้ อยละ 3.50 เทียนอบขนม มีค่าคุณภาพ คือ มีค่าสี L* a* และ b* เท่ากับ 57.83 10.90 และ 26.84 ตามลาดับ มี ปริ มาณน ้าอิสระ (Aw) เท่ากับ 0.65 และมีสี กลิ่น การติดแน่นของไส้ เทียน และการใช้ งานตรงตาม มผช. เทียนอบ 988/2548 การ ทดสอบการยอมรับของผู้บริ โภคแบบ Central Location Test (CLT) จานวน 100 คน กับขนมทัง้ 5 ชนิดคือ ขนมกลีบลาดวน ขนม ผิง คุกกี ้สิงคโปร์ ลูกชุบ และขนมต้ ม พบว่า คุณลักษณะทังหมด ้ คือ กลิ่นดอกจาปี กลิ่นควันเทียนอบ กลิ่นรสดอกจาปี กลิ่นรส ควันเทียนอบ และความชอบโดยรวม มีคะแนนความชอบเฉลี่ยอยู่ในระดับชอบเล็กน้ อยถึงชอบปานกลาง (6 -7 จาก 9 คะแนน) โดยให้ การยอมรับและตัดสินใจซื ้อขนมทัง้ 5 ชนิด อยู่ในช่วงร้ อยละ 59.0 – 93.0 ซึง่ ขนมที่ได้ รับการยอมรับและจะซื ้อมากที่สดุ คือ ขนมกลีบลาดวน และเหตุผลที่ต้องการซื ้อขนมทัง้ 5 ชนิด คือ มีรสชาติดี และมีกลิ่นหอมจากดอกจาปี คาสาคัญ: จาปี เทียนอบขนม

Abstract The development and utilization of fragrant candle product with White Champaca aroma in Kanom Gleeb Lam Duan, a Thai shortbread cookie was investigated in order to produce variety of Thai dessert aroma. The consumer survey on choice of dessert product with fragrant candle provided consumer demand of using fragrant candle with White Champaca aroma for five types of Thai dessert, i.e. Kanom Gleeb Lam Duan, Kanom Ping, Cookie Singapore, Look Chup and Kanom Tom. A formula development of fragrant candle product with White Champaca aroma revealed appropriate ingredients as follows: 69.67% of genuine beeswax; 1.90 % of benzoin resin powder; 0.50 % of borneol powder; 15.18 % of nutmeg powder; 1.67 % of kaffir lime peel powder; 7.70% virgate powder and 3.50 % of White Champaca volatile oil. The fragrant candle product showed L*, a* and b* color values of 57.83, 10.90 and 26.84, respectively. The product gave water activity value (Aw) of 0.65 and possessed the quality of color, aroma, candlewick mounting and usability according to TCPS 9882548 (2005) (Thai): FRAGRANT CANDLE. Central Location Test (CLT), 100 panelists was used for consumer test. The testing of five desserts, i.e. Kanom Gleeb Lam Duan, Kanom Ping, Cookie Singapore, Look Chup and Kanom Tom was carried out. Sensory attributes of White Champaca aroma, scent of fragrant candle, White Champaca flavor, fragrant candle flavor and overall preference were rated for average scores in the range of 6-7 scores. Consumer of 59.0-93.0 % accepted and decided to buy the five desserts. Kanom Gleeb Lam Duan gained the highest numbers of acceptance and buying decision. Moreover, the results indicated the reason of buying was good flavor and White Champaca fragrance. Keywords: white champaca, fragrant candle 1 2

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จ.ลาปาง 52000 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง จ.ลาปาง 52000 122

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Po-25 อิทธิพลของไคโตซานและฟิ ล์ มพลาสติกต่ อคุณภาพส้ มโอพันธุ์ทองดีในระหว่ างการเก็บรักษา Effect of Chitosan and Plastic Film on Quality of ‘Thong Dee‘ Pummelo during Storage ราไพ นามพิลา1 นันท์ นลิน บัวจันทร์ 1 สมยศ มีทา1 สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา1 พงษ์ ศักดิ์ ยั่งยืน1 และสังคม เตชะวงค์ เสถียร1 Rumpai Nampila1 Nammalin Buajan1 Somyot Meetha1 Supat Isarangkool Na Ayuttaya1 Pongsak Yangyuen1 and Sungcom Techawongstien1

บทคัดย่ อ ส้ มโอพันธุ์ ‘ทองดี‘ เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 7 เดือนหลังจากดอกบานซึ่งเคลือบด้ วยไคโตซานความเข้ มข้ น 2%และฟิ ล์ม พลาสติกเปรี ยบเทียบกับที่ไม่เคลือบผิว ส้ มโอทุกกรรมวิธีเก็บไว้ ที่ 10 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิห้อง (25 องศาเซลเซียส) ผล การศึกษาพบว่าส้ มโอที่เคลือบด้ วยฟิ ล์มพลาสติกและเก็บไว้ ที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส ให้ ผลดีที่สดุ คือมีการสูญเสียน ้าหนัก น้ อยกว่าส้ มโอที่ไม่เคลือบผิว นอกจากนี ้ยังพบว่าส้ มโอที่ เคลือบผิวด้ วยไคโตซานและฟิ ล์มพลาสติกมีอายุการเก็บรักษานาน 50 วัน อย่างไรก็ตามส้ มโอที่เคลือบผิวด้ วยไคโตซานและฟิ ล์มพลาสติกไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญกับผลที่ไม่ได้ เคลือบ ต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายน ้าได้ และปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ คาสาคัญ : ส้ มโอ ไคโตซาน ฟิ ล์มพลาสติก

Abstract The ‘Thong Dee‘pummelo fruits, harvested at 7 months after full bloom were coated with 2% chitosan and plastic film compared with uncoated fruits (control). The pummelo in all treatments were stored at 10 ºC and room temperature (25 ºC). The results showed that pummelo coated with plastic film and stored at 10 ºC had lower weight loss than control. The pummelo fruits coated with chitosan and plastic film had storage time of 50 days. However, pummelo coated with 2% chitosan and plastic film were not significantly different in total soluble solid and titratable acidity. Keywords: pummel

1

สาขาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น 40002

18-20 พฤศจิกายน 2558

123


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

124

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

18-20 พฤศจิกายน 2558

125


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

126

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-01 ผลของการใช้ ป๋ ุยนา้ ชีวภาพจากมูลสัตว์ ต่อการเจริญเติบโตของผักสลัดที่ปลูกในระบบไฮโดรพอนิกส์ Effects of Using Liquid Bio-fertilizer Derived from Manure on Growth of Lettuce Grown in Hydroponics ชัยอาทิตย์ อิ่นคา1 และโสระยา ร่ วมรังษี2 Chaiartid Inkham1 and Soraya Ruamrungsri2

บทคัดย่ อ การใช้ ปยน ุ๋ ้าชีวภาพจากมูลสัตว์เป็ นแหล่งของธาตุอาหารพืชทดแทนการใช้ ปยเคมี ุ๋ ในกระบวนการผลิตผักแบบไฮโดรพอนิกส์ได้ มีการศึกษาขึน้ เพื่อให้ ได้ แนวทางในการผลิตผักอินทรี ย์ในระบบไฮโดรพอนิกส์ โดยผักสลัดกรี นโอ๊ คจะถูกปลูกใน ระบบ Dynamics Root Floating system (DRF) เป็ นระยะเวลา 45 วัน วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ประกอบด้ วย 5 กรรมวิธีทดลอง กรรมวิธีละ 3 ซ ้า ซึง่ กรรมวิธีทดลอง ได้ แก่ กรรมวิธีที่ 1 ให้ พืชได้ รับสารละลายธาตุอาหารสูตร CMU#2 (ชุด ควบคุม) กรรมวิธีที่ 2 ให้ พืชได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลค้ างคาว (LB-bat) กรรมวิธีที่ 3 ให้ พืชได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลไส้ เดือน ดิน (LB-earthworm) กรรมวิธีที่ 4 ให้ พืชได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลหนอนไหมที่เลี ้ยงด้ วยใบละหุ่ง (LB-silk worm#1) และ กรรมวิธีที่ 5 ให้ พืชได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลหนอนไหมที่เลี ้ยงด้ วยใบมันสาปะหลัง (LB-silk worm#2) ควบคุมค่าการนาไฟฟ้า ให้ อยูใ่ นช่วง 0.5-1.0 มิลลิซีเมนต์ตอ่ เซ็นติเมตร และ pH ให้ อยู่ในช่วง 5.5-6.5 กาหนดอัตราส่วนของปุ๋ ยน ้าชีวภาพต่อน ้าเท่ากับ 1:250 (ปริมาตรต่อปริมาตร) จากผลการทดลองพบว่าที่ระยะเก็บเกี่ยว กรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลไส้ เดือนดินให้ ความ สูงต้ นที่น้อยที่สดุ ในขณะที่กรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลหนอนไหมที่เลี ้ยงด้ วยใบละหุ่งให้ จานวนใบต่อต้ น และน ้าหนัก แห้ งที่มากกว่ากรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลค้ างคาว อย่างไรก็ตามพบว่าน ้าหนักสดของทุกกรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ นอกจากนันยั ้ งพบว่าทุกกรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพให้ การเจริ ญเติบโตและผลผลิตที่ต่ากว่าชุด ควบคุม (CMU#2) คาสาคัญ: ปุ๋ ยน ้าชีวภาพ มูลสัตว์ ไฮโดรพอนิกส์ อินทรี ย์ ผักสลัด

Abstract Using of liquid bio-fertilizer (LB) derived from manure (animal excrement) as nutrient source for lettuce growing was studied to provide guideline for organics hydroponics production. Green oak lettuces were grown in Dynamics Root Floating system (DRF) for 45 days. The experimental design was completely randomized design with 5 treatments, 3 replications The 5 different nutrient solution treatments were T1) CMU #2 formula (as control treatment), T2) LB derived from bat excrement (LB-bat), T3) LB derived from earthworm excrement (LB-earthworm), T4) LB derived from silk worm excrement feeding by castor leaf (LB-silk worm#1) and T5) LB derived from silk worm excrement feeding by cassava leaf (LB - silk worm#2) LB treatments were supplied at 1:250 ratio of liquid bio-extract: water (v/v) with E.C. 0.5-1.0 mS/cm and pH 5.5-6.5. At harvest stage, the results showed that plant grown in DRF by using LB-earthworm as nutrient solution showed the lowest in plant height while plant supplied with LB-silk worm#1 was higher in number of leaves per plant and total plant dried weight than supplied with LB-bat. Nevertheless, there were no significantly different among LB treatments on total plant fresh weight. In addition, plant supplied with LB derived from manure showed lower results in plant growth and yield than the control (CMU#2). Keywords: liquid bio-fertilizer, manure, hydroponics, organics, lettuce 1 2

หน่วยวิจยั ธาตุอาหารพืชและการปลูกพืชแบบไม่ใช้ ดิน สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200

18-20 พฤศจิกายน 2558

127


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-02 ผลของการงดนา้ ในช่ วงก่ อนการเก็บเกี่ยวต่ อคุณภาพในผลเมล่ อน Effect of Stop Watering During Pre-Harvest on Fruit Quality of Melon นรกมล ขาวารี1 และลาแพน ขวัญพูล1 Narakamon Khamwaree1 and Lampan Khurnpoon1

บทคัดย่ อ การงดนา้ ก่อนการเก็บเกี่ยวผลผลิตเป็ นปั จจัยสาคั ญที่ส่งผลต่อคุณภาพของผลผลิตในพืชหลายชนิด สาหรับการ ทดลองครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการงดการให้ น ้าก่อนการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพของผลเมล่อนหลังเก็บเกี่ยว โดยทา การปลูกต้ นเมล่อนพันธุ์ Crystal 705 ลงในดินที่ผสมขุยมะพร้ าวอัตราส่วน 3:1 บรรจุลงในถุงปลูกต้ นไม้ หนัก 7 กิโลกรัม ปลูกถุง ละ 1 ต้ น จานวน 12 ต้ นต่อชุดการทดลอง ให้ น ้าด้ วยระบบน ้าหยด 1 ครัง้ ต่อวันเป็ นเวลา 30 นาที ทาการบันทึกผลการทดลอง ทางด้ านการเจริญเติบโตหลังจากการย้ ายปลูกต้ นเมล่อน 40 วัน จากนันท ้ าการงดการให้ น ้าแก่ต้น เมล่อนเป็ นเวลา 5 และ 10 วัน ก่อนการเก็บเกี่ยวเปรี ยบเทียบกับชุดการทดลองที่ให้ น ้าตามปกติ (ไม่งดน ้า) เมื่อต้ นอายุ 95 วัน หลังย้ ายปลูกจึงเก็บเกี่ยว ผลผลิตแล้ วนามาวิเคราะห์ข้อมูลทางด้ านคุณภาพของผล ได้ แก่ ความหนาของเนื ้อผล ความแน่นเนื ้อของผล จานวนเมล็ดต่อ ผล ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ที่เนื ้อผล น ้าหนักผลสด เส้ นรอบวงของผล และค่าสีของเนื ้อผลเมล่อน (L*, a*, b*) จากผล การทดลองพบว่า การให้ น ้าตามปกติหรื อการงดน ้า 5 วันก่อนการเก็บเกี่ยวส่งผลให้ ความหนาของเนื ้อผลไม่แตกต่างกันและ พบว่ามีความหนาของเนื ้อผลมากกว่าการงดน ้า 10 วันก่อนการเก็บเกี่ยวอย่างมีนยั สาคัญทางสถิ ติ ในขณะที่การงดน ้า 10 วัน ก่อนการเก็บเกี่ยวส่งผลให้ ค่าความแน่นเนื ้อของผล จานวนเมล็ดต่อผลและค่า L* ของเนื ้อผลมีค่ามากกว่าชุดการทดลองอื่นๆ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ นอกจากนี ้ยังพบว่า การงดน ้า 5 หรื อ 10 วันก่อนการเก็บเกี่ยวไม่ส่งผลต่อปริ มาณของแข็งที่ละลาย น ้าได้ น ้าหนักผลสด เส้ นรอบวงของผล ค่า a* และค่า b* เมื่อเปรี ยบเทียบกับผลเมล่อนที่ให้ น ้าตามปกติ คาสาคัญ: เมล่อน การงดน ้า คุณภาพของผล

Abstract Plants stop watering before harvest was important factor that effect on fruit quality in many plants. The objective of this study was to determine the effect of stop watering during pre-harvest on fruit quality of melon (Cucumis melo L.) cv. Crystal 705. Seeds of melon were planted in grow bag contained 7 kilograms of soil mixed with coconut fiber at 3:1 ratio. Plants were irrigated by drip method once per day about 30 minute. Plants growth and development at 40 days after transplantwere recorded. After that the treatments were set up by stop watering at 0 (non-stop watering), 5 and 10 days during pre-harvest. Fruit quality; pulp thickness, pulp firmness, number of seed per fruit, total soluble solid contents, fruit weight, circumference, L*, a* and b* values were record. Plants after stop watering 5 days before harvest or non-stop watering had the higher pulp thickness and significant different from fruit that stop watering 10 days before harvest. Plants after stop watering 10 days before harvest had highest in pulp firmness, number of seed and L* value with significantly difference from plants that stop watering 5 days before harvest. In addition, total soluble solid contents, fruit weight, circumference, a* and b* values were not affect by stop watering before harvest when compare to non-stop watering. Keywords: melon, stop watering, fruit quality

1

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 128

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-03 อิทธิพลของสีม้ ุงตาข่ ายต่ อการเจริญเติบโตและคุณภาพผลเมล่ อน Influence of Nylon Net-house Color on Growth and Quality for Melon Fruit ปวีณา รุ่ งรักษาธรรม1 และลาแพน ขวัญพูล1 Paweena Rungruksatham1 and Lampan Khurnpoon1

บทคัดย่ อ การเจริ ญเติบโตของต้ นพืชแต่ละชนิดมีความต้ องการความเข้ มแสงแตกต่างกัน การทดลองครัง้ นี ้ใช้ ต้นเมล่อนพันธุ์ Crystal 705 ปลูกภายใต้ สีม้ งุ แตกต่างกันได้ แก่ สีน ้าเงิน สีแดง และสีขาว โดยปลูกด้ วยดินผสมขุยมะพร้ าวอัตราส่วน 3:1 หนัก 7 กิโลกรัม ในถุงกระสอบ จานวน 20 ต้ นต่อสีม้ งุ โดยปลูกเมล่อน 1 ต้ นต่อถุงกระสอบ และให้ น ้าด้ วยระบบมินิสปริ งเกลอร์ วนั ละ 1 ครัง้ นาน 10 นาที หลังย้ ายปลูกเป็ นเวลา 40 วัน จึงทาการบันทึกอัตราการเจริ ญเติบโตทางลาต้ นได้ แก่ ความสูง พื ้นที่ใบ (ความกว้ างและความยาวของใบ) และคลอโรฟิ ลล์ จนกระทัง่ ต้ นเมล่อนอายุ 60 วันหลังย้ ายปลูก (ผลเมล่อนมีขนาดเส้ นรอบวง ประมาณ 20 เซนติเมตร) จึงหยุดวัดอัตราการเจริ ญเติบโต จากการทดลองพบว่าความเข้ มแสงภายในมุ้งสีขาวมีค่ามากกว่ามุ้ง สีแดงและมุ้งสีน ้าเงิน อีกทังยั ้ งพบว่าการปลูกเมล่อนในมุ้งตาข่ายทังสามสี ้ มีความสูงไม่มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทาง สถิติ อย่างไรก็ตามการปลูกเมล่อนภายในมุ้งสี ขาวทาให้ ความยาวปล้ อง ความยาวของใบ และความกว้ างของใบ มากที่สดุ และมีความแตกต่างกับการปลูกเมล่อนภายในมุ้งสีน ้าเงินอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ เมื่อวัดคุณภาพของผลเมล่อนพบว่า การ ปลูกเมล่อนภายในมุ้งสีขาวและสีแดงมีน ้าหนักของผล เส้ นรอบวงผล ปริ มาตรของผล จานวนเมล็ดต่ อผล และปริ มาณของแข็ง ที่ละลายน ้าได้ ในส่วนของรกแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติจากการปลูกเมล่อนภายในมุ้งสีน ้าเงิน คาสาคัญ: ความเข้ มแสง คุณภาพของผล เมล่อน สีม้ งุ ตาข่าย

Abstract Plants require different light intensity for growth and development. Melon (Cucumis melo L.) cv. Crystal 705 was planted under different color of nylon-net house included blue, red and white. Plant were grown in 7 kilogram of soil mixed with coconut fiber at 3:1 ratio in sack of about twenty plant per nylon-net house. Plants were irrigated by mini sprinkler, every day once per day for 10 minutes. Plant height, leaf area (leaf length and leaf width) and total chlorophyll, during 40-60 days after transplant (20 cm of fruit circumference) were recorded. The results showed that light intensity inside white net-house showed higher than in red or blue net-house. Melon grown in these three nylon net house showed no significantly different in development. However, melon grown in white net-house showed high internode length, leaf length and leaf width, significantly different from plant grown under blue net-house. The results in fruit qualities showed that melon grown in white or red net-house had significantly different in fruit weight, circumference, volume, number of seed per fruit and total soluble solids content of placenta from melon grown in blue net-house. Keywords: light intensity, fruit quality, melon, nylon net-house

1

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

18-20 พฤศจิกายน 2558

129


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-04 ผลของการเด็ดยอดต่ อการเจริญเติบโตและการออกดอกพิทเู นีย The Effect of Pinching on Growth and Flowering of Petunia (Petunia spp.) สุมิตรา สุปินราช1 อิศร์ สุปินราช1 และอังคณพร วังคา1 Sumidtra Supinrach1 Iss Supinrach1 and Angkhanaphron wangka1

บทคัดย่ อ พิทเู นีย (Petunia spp.) เป็ นไม้ ดอกที่อยู่ในวงศ์ Solanaceae มีกลีบดอกบางสีสนั สดใส ออกดอกตลอดปี มีความ สวยงามเหมาะสาหรับเป็ นไม้ กระถางและปลูกประดับแปลง การทดลองครัง้ นี ้จึงศึกษาการเด็ดยอดต่อการเจริ ญเติบโตและการ ออกดอกพิทเู นีย โดยการเพาะเมล็ดพิทเู นียในวัสดุเพาะ จนกระทัง่ ต้ นสูง 5 เซนติเมตร จากนันย้ ้ ายลงกระถาง 8 นิ ้วที่มีวสั ดุปลูก คือ แกลบดิบ 1 ส่วน แกลบดา 2 ส่วน ดิน 1 ส่วน ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน และปุ๋ ยสูตร 16-16-16 0.5 ส่วน โดยเด็ดยอด 1 ครัง้ 2 ครัง้ 3 ครัง้ 4 ครัง้ และ ไม่เด็ดยอด เป็ นระยะเวลา 5 สัปดาห์ พบว่า การเด็ดยอด 1 ครัง้ และการไม่เด็ดยอด ให้ ความสูงของต้ นสูงที่สดุ คือ 26.50 และ 25.30 เซนติเมตร ตามลาดับ การเด็ดยอด 4 ครัง้ และการไม่เด็ดยอด ให้ ขนาดทรงพุ่มกว้ างที่สุดคือ 61.50 เซนติเมตร และ 59.30 เซนติเมตรตามลาดับ สาหรับการไม่เด็ดยอด ให้ ความยาวดอก ความยาวก้ านดอกมากที่สดุ คือ 4.73 และ 3.44 เซนติเมตร และการเด็ดยอด 2 ครัง้ ให้ จานวนดอกมากที่สดุ คือ 31.40 ดอก คาสาคัญ: พิทเู นีย เด็ดยอด วัสดุปลูก ไม้ กระถาง

Abstract Petunia spp. belongs to the Solanaceae genus. Its flowers have delegate and colorful petals. Flowering all year round and its beauty make it suitable for pot plants and garden decoration. In this study, the effect of shoot cutting of petunia was investigated. Petunia seeds were sown in planting media. When their heights reached 5 cm., they were moved into 8 inch pots containing growing media consisting of rice husk, carbonized rick husk, soil, manure and fertilizer (16-16-16) in 1:2:1:1:0.5 ratio. The shoots were removed 1, 2, 3 and 4 times during 5 weeks period and no shoot removal was the control. It was found that 1 time-shoot cutting and no cutting yielded the highest heights, which were 26.50 and 25.30 cm accordingly, and 4 times-shoot cutting and no cutting gave the widest plant, which were 61.50 and 59.30 cm accordingly. For flowering, no cutting had resulted the longest flower and flower stalk, which were 4.73 and 3.44 cm accordingly, and 2 time-shoot cutting gave the most flower spike, which were 31.40 flowers. Keywords: Petunia spp., pinching, media, potted plant

1

สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง จ. ลาปาง 52000 130

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-05 ศึกษาวิธีการปั กชาของพิทเู นียในสภาพเหมาะสม The Study of Appropriate Method for Cutting and Rooting of Petunia (Petunia spp.) สุมิตรา สุปินราช1 อิศร์ สุปินราช2 และศิโรจน์ ทิมภู่3 Sumidtra Supinrach1 Iss Supinrach2 and Siroj Thimphoo3

บทคัดย่ อ พิทเู นีย (Petunia spp.) เป็ นไม้ ดอกเมืองหนาวที่นิยมปลูกเป็ นไม้ กระถางและตกแต่งบริ เวณ เป็ นพันธุ์ไม้ ที่มีการใช้ งานเป็ นปริ มาณมากในแต่ละปี โดยทัว่ ไปพิทเู นียขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด ส่วนการปั กชามีการใช้ น้อย ดังนันงานวิ ้ จยั นี ้จึง สนใจศึกษาการปั กชาพิทเู นียโดยศึกษาการใช้ ส่วนต่ างๆ ของกิ่ง 2 ส่วน ได้ แก่ ส่วนปลาย (terminal) และโคนกิ่ง (basal) ร่วมกับ วัสดุชา 3 ชนิดคือ ตารับที่ 1 (ดินดา 2 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 2 ส่วน: ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน) ตารับที่ 2 (แกลบดา) และตารับที่ 3 (ทราย 1 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 1 ส่วน) โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) จัดสิ่งทดลองแบบ factorial กรรมวิธีละ 20 ซ ้าๆ (กิ่ง) วิเคราะห์ผลการทดลองโดยวิธี Analysis of variance และเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s new multiple range (DMRT) หลังจากทดลองเป็ นเวลา 35 วัน พบว่าการปั กชาพิทเู นียในวัสดุปักชาตารับที่ 3 ทา ให้ มีจานวนราก ความยาวราก ความสูงต้ นมากที่สดุ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ แต่การปั กชาพิทเู นียด้ วย ส่วนปลายยอดและส่วนโคน ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ส่วนการปั กชาส่วนโคนในตารับที่ 1 ทาให้ อตั ราการรอดตายมาก ที่สดุ คือ 100 เปอร์ เซ็นต์ คาสาคัญ: การปั กชา ไม้ กระถาง พิทเู นีย วัสดุชา

Abstract Petunia spp. is a temperate flowering plant that normally planted in pots for decoration. There is high demand for Petunia in each year. The popular propagation method for Petunia is seeding. There are few reports about cutting and rooting of Petunia. Therefore, this research focused on finding the appropriate technique for cutting and rooting of Petunia. Two parts of plant, which are terminal and basal parts, were used. The different potting media, media mixture 1 (top soil 2: coconut coir 2: manure 1), media mixture 2 (rice husk charcoal) and media mixture 3 (sand 1: coconut coir 1) were also investigated. Completely randomized design (CRD) was used with factorial treatments (20 replicates for each treatment). The analysis of variance was performed and compared by Duncan’s new multiple range (DMRT). After 35 days of cutting, it was found that the media mixture 3 yield the best results in root numbers, root length and plant height. The part of plant showed no significant different. However, the rate of survival was the highest with the terminal part (100%). Keywords: cutting, potted plant, petunia, media

1

อาจารย์ประจาสาขาวิชาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จ. ลาปาง อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีภมู ิทศั น์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จ. ลาปาง 3 นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จ. ลาปาง 2

18-20 พฤศจิกายน 2558

131


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-06 ศึกษาวิธีการปั กชาของบัวตองในสภาพที่เหมาะสม The Study of Tithoni adiversiforial Cutting Methods under Suitable Environment สุมิตรา สุปินราช1 อิศร์ สุปินราช1 และนงนุช ปู่ หล้ า1 Sumidtra Supinrach1 Iss Supinrach1 and Nongnoot Phula1

บทคัดย่ อ บัวตอง (Tithonia diversiforial, Hemsley) A.Gray เป็ นไม้ ดอกสกุล Compositae ดอกบานช่วงเดือนพฤศจิกายนถึง เดือนธันวาคม มีความสวยงาม นิยมปลูกเป็ นไม้ ดอกประดับตามสถานที่ต่างๆ โดยเฉพาะทางภาคเหนือที่ดอยแม่อคู อ จังหวัด แม่ฮ่องสอน เป็ นแหล่งชมความงามของดอกบัวตองที่สาคัญ การทดลองนี จ้ ึงศึกษาวิธีการปั กชาที่เหมาะสมต่อการเจริ ญเติบโต ของบัวตอง โดยนากิ่งกึ่งอ่อนกึ่งแก่ของบัวตอง ความยาว 60 เซนติเมตร ตัด 3 ส่วนคือ ส่วนปลายกิ่ง กลางกิ่ง และ โคนกิ่ง ยาว ท่อนละ 20 เซนติเมตรตัดปลายเฉียง 45 องศา มีใบติด 1-3 ใบ ตัดใบออกครึ่งหนึ่งแล้ วจุ่มลงในสารควบคุมการเจริ ญเติบโต NAA 5 วินาที ปั กชาลงในวัสดุปักชาที่มีอตั ราส่วนของปุ๋ ยคอก 1 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 4 ส่วน: ดิน 4 ส่วน ปั กชาลงกระถางขนาด 8 นิ ้ว กระถางละ 1 กิ่ง ครอบด้ วยถุงพลาสติก รวบปากถุงพลาสติกด้ วยยางรัด 15 วันไว้ ในที่ร่มราไร เมื่อครบเวลาจึงเปิ ดปากถุงไว้ อีก 5 วัน รดน ้าทุกวัน จากนันน ้ ากระถางที่ปักชากิ่งออกจากถุงรดน ้าต่อจนครบ 8 สัปดาห์ ผลการทดลองพบว่า การปั กชา ส่วนกลางกิ่ง ทาให้ จานวนกิ่งและจานวนใบดีที่สดุ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.60 กิ่ง และ 19.58 ใบ ไม่แตกต่างจากการใช้ สว่ นโคนกิ่งปั ก ชา ในด้ านความสูงของกิ่งปั กชา ความกว้ างทรงพุ่ม ความยาวใบ ความกว้ างใบ ความยาวราก และจานวนราก ไม่มีความ แตกต่างกันทางสถิติ

Abstract Tithoni adiversiforial, Hemsley belongs to the family Compositae. The beautiful flowers bloom from November to December. It is popular as a flowering decorator in many places. Doi Mae Ou Kor, Mae Hong Son province is an important place for the attractive scenery of Tithoni adiversiforial. In this study, the appropriate cutting methods for Tithoni adiversiforial were investigated. The 60 cm. long semi-mature branch was divided into 3 parts; top, middle and bottom, in 20 cm. long with 45 degree angle cutting, and each part contained about 1 – 3 leaves. After cutting leaves in half, each part was treated with NAA for 5 sec. and transfer into cutting bed composing of coconut coir dust and soil in 1:1 ratio in individual 8” pot. The planted branches were covered with plastic bags fasten with rubber band and kept in shading area. After 15 days, the plastic bags were opened for 5 days with daily watering, and then the plastic bags were removed. After 8 weeks, the results showed that the middle part gave the highest branch and leaf number in average of 1.60 and 19.58 accordingly. However, there were no statistically different in the branch height, canopy width, leaf length and width, root length and root number.

1

สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง จ. ลาปาง 52000 132

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-07 ผลของความถี่ในการให้ นา้ ต่ อการแตกของผลมะพร้ าวนา้ หอม Effect of Watering Frequency on Fruit Cracking in ‘Nam Hom’ Coconut พงษ์ นาถ นาถวรานันต์ 1 Pongnart Nartvaranant1

บทคัดย่ อ การแตกของผลมะพร้ าวน ้าหอมเป็ นอาการผิดปกติที่สร้ างความเสียหายให้ กบั ผลมะพร้ าวน ้าหอมเป็ นจานวนมาก ซึง่ สาเหตุ ของการเกิดการแตกของผลมะพร้ าวน ้าหอมยังไม่ทราบแน่ชดั แต่จากข้ อมูลการศึกษาการแตกของผลมะพร้ าวพบว่า ช่วงเดือนที่พบ การแตกของผลมะพร้ าวจะมีความแตกต่างของอุณหภูมิและความชื ้นสัมพัทธ์ ระหว่างกลางวันและกลางคืนที่กว้ างกว่าช่วงเดือนที่ไม่ พบการแตกของผลมะพร้ าว นอกจากนัน้ ยังพบความแปรปรวนของความชืน้ สัมพัทธ์ มากกว่าในช่วงเดือนที่ไม่พบการแตกของผล มะพร้ าว ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศจึงอาจจะมีผลต่อการแตกของผล การศึกษาครัง้ นี ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของ ความถี่ในการให้ น ้าต่อการลดอาการผลแตกในมะพร้ าวน ้าหอม โดยทาการศึกษาในสวนของเกษตรกรอาเภอดาเนินสะดวก จังหวัด ราชบุรี ตังแต่ ้ เดือนพฤศจิกายน 2556 ถึง มีนาคม 2557 จากผลการศึกษาพบว่า การให้ น ้าที่มีความถี่มากขึ ้นได้ แก่ การให้ น ้า 2 วัน และ 3 วันต่อครัง้ สามารถลดการแตกของผลมะพร้ าวน ้าหอมได้ โดยมีความแตกต่างกันทางสถิติกบั control (ให้ น ้า 7 วันต่อครัง้ ) ใน เดือนธันวาคม 2556 มกราคม 2557 และมีนาคม 2557 และแม้ ว่าในบางเดือนจะไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่การให้ น ้าที่มี ความถี่มากขึ ้นนันก็ ้ มีแนวโน้ มที่มีผลแตกน้ อยกว่า control ขณะที่การวิเคราะห์เปอร์ เซ็นต์การแตกของผลเฉลี่ยจากทุกเดือนของเก็บ ตัวอย่างพบว่า การให้ น ้า 2 วัน และ 3 วันต่อครัง้ มีเปอร์ เซ็นต์การแตกของผล 38.70 % และ 29.34 เปอร์ เซ็นต์ ซึง่ ต่ากว่า control (60.40 เปอร์ เซ็นต์) อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P < 0.05) ทังนี ้ ้การเพิ่มความถี่ของการให้ น ้าไม่มีผลต่อคุณภาพภายนอกและภายใน ของผลมะพร้ าวน ้าหอม ดังนันการให้ ้ น ้าที่มีความถี่มากขึ ้น จึงน่าจะสามารถช่วยลดการแตกของผลมะพร้ าวน ้าหอมได้ คาสาคัญ: การให้ น ้า การแตกของผล มะพร้ าวน ้าหอม

Abstract Fruit cracking in young coconut has been the physiological disorder that makes the grower in Thailand losing both production and income. Although, causes of this disorder have not been known obviously but we found that the difference between day-night temperature and day-night relative humidity in the duration of fruit cracking were wider than those in the duration of non-fruit cracking. Besides, the fluctuation of relative humidity in the duration of fruit cracking was more than those in the duration of non-fruit cracking. Thus, the fluctuation of climate may effect on the coconut fruit cracking. The objective of this research was to investigate effect of watering frequency on fruit cracking reduction in ‘Nam Hom’ coconut. The experiment was conducted in coconut orchard in Amphoe Damnoen Saduak, Changwat Ratchaburi during November 2013 – March 2014. The results showed that the watering frequency at 2 and 3 day per time significantly reduced the percentage of fruit cracking compared to control (7 day per time) in December 2013, January 2014 and March 2014. However, in some sampling date, there was no significant difference in the percentage of fruit cracking but more watering frequency trended to give the less percentage of fruit cracking than control. Moreover, the data analysis of percentage of fruit cracking averaged from all of sampling date showed that the watering frequency at 2 and 3 day per time significantly reduced the percentage of fruit cracking (38.70 and 29.34 %, respectively) compared to control (7 day per time) (60.40 %). However, the watering frequency did not have any effect on external and internal coconut fruit quality. Therefore, more watering frequency might reduce the fruit cracking in ‘Nam Hom’ coconut. Keywords: watering, fruit cracking, ‘Nam Hom’ coconut 1

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

18-20 พฤศจิกายน 2558

133


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-08 ประเมินความต้ องการธาตุอาหารของมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกและพันธุ์สปุนต้ า Estimate Nutrient Requirements of ‘Atlantic’ and ‘Spunta’ Potato ทิวาพร ผดุง1 ภาณุมาศ โคตรพงศ์ 2 ปั ญจพร เลิศรัตน์ 1 ศุภกาญจน์ หล่ ายแปด1 และการิตา จงเจือกลาง2 Thiwaporn Phadung1 Panumas Kotepong2 Panjaporn Lertrat1 Suphakarn Laipad1 and Karita Chongchuaklang2

บทคัดย่ อ มันฝรั่งมีปริมาณและลักษณะทางคุณภาพของผลผลิตสัมพันธ์กบั ปริ มาณธาตุอาหารที่ได้ รับ การวิเคราะห์ธาตุอาหาร แต่ละระยะการเจริ ญเติบโตและปริ มาณธาตุอาหารที่สญ ู เสียไปกับผลผลิตสามารถประเมินความต้ องการธาตุอาหารแล ะวาง แผนการจัดการปุ๋ ยที่มีประสิทธิภาพได้ จากการวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารของมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกและพันธุ์สปุนต้ า พบว่า ในส่วนของลาต้ น รากและหัวของมันฝรั่งมีปริ มาณโพแทสเซียม (K) สูงสุด รองลงมาคือ ไนโตรเจน (N) แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และฟอสฟอรัส (P) ในระหว่างการเจริ ญเติบโตของต้ นและระยะการขยายขนาดของหัว มันฝรั่งพันธุ์ แอตแลนติกมีความต้ องการ N P K Ca และ Mg เท่ากับ 0.86, 0.07, 1.36, 0.28 และ 0.15 กรัมต่อต้ น ตามลาดับ ส่วนมันฝรั่ง พันธุ์สปุนต้ ามีความต้ องการ N, P, K, Ca และ Mg เท่ากับ 0.79, 0.06, 1.13, 0.15 และ 0.08 กรัมต่อต้ น ตามลาดับ มันฝรั่งมี ความต้ องการปริ มาณธาตุอาหารสูงสุดในช่วงการเจริ ญของหัว หลัง จากนันอั ้ ตราการดูดใช้ ธาตุอาหารลดลงอย่างช้ า ผลผลิต หัวมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติก 1,000 กิโลกรัม มี N, P และ K เท่ากับ 2.19, 0.32 และ 3.26 กิโลกรัม ตามลาดับ ส่วนผลผลิต หัวมันฝรั่งพันธุ์ สปุนต้ า มี N, P และ K เท่ากับ 1.65, 0.30 และ 2.30 กิโลกรัม ตามลาดับ คาสาคัญ: ความต้ องการธาตุอาหาร มันฝรั่ง แอตแลนติก สปุนต้ า

Abstract Potato nutrient management has influence on yield and quality characteristics. Plant nutrient analysis through the growth stages and nutrient removal can determine to assess nutrient requirements and provide for efficient nutrient management. The results showed that, the stem root and tuber had the large amounts of potassium (K) throughout the growing season followed by nitrogen (N) calcium (Ca) magnesium (Mg) and phosphorus (P). The average nutrient requirements per plant in ‘Atlantic’ potato during vegetative growth and tuber bulking were 0.86 g N, 0.07 g P, 1.36 g K, 0.28 g Ca and 0.15 g Mg, respectively as well as nutrient requirements per plant of ‘Spunta’ potato were 0.79 g N, 0.06 g P, 1.13 g K, 0.15 g Ca and 0.08 g Mg, respectively. The highest nutrient uptake was required during tuber bulking stage and then slightly decreased. Nutrient losses of potato yield 1,000 kg of Atlantic’ potato was 2.19 kg N, 0.32 kg P and 3.26 kg K, respectively while ‘Spunta’ potato was 1.65 kg N, 0.30 kg P and 2.30 kg K, respectively. Keywords: nutrient requirements, potato, Atlantic, spunta

1 2

กองวิจยั พัฒนาปั จจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 กองวิจยั และพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 134

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-09 ศึกษาปริมาณลิกนิน แคลเซียมและโบรอนระหว่ างการพัฒนาผลมะพร้ าวอ่ อนนา้ หอม Study on Lignin, Calcium, and Boron Contents in during Fruit Development of Young Aromatic Coconut กัญญาณัฐ นิคนธา1 กฤษณา กฤษณพุกต์ 1 และวชิรญา อิ่มสบาย1 Kanyanat Nikhontha1 Krisana Krisanapook1 and Wachiraya Imsabai1

บทคัดย่ อ การผลิ ต มะพร้ าวอ่อ นน า้ หอมเพื่ อ การส่ง ออกในปั จ จุบัน ยัง พบปั ญ หาหลายด้ า นและงานวิ จัย ที่ ศึก ษาทางด้ า น สรี รวิทยาของมะพร้ าวน ้าหอมยังมีน้อยมาก จึงทาการศึกษาการสะสมลิกนิน แคลเซียมและโบรอน ในส่วนของกะลาและเปลือก ระหว่างการพัฒนาผลมะพร้ าวอ่อนน ้าหอม โดยใช้ มะพร้ าวน ้าหอมพันธุ์ก้นจีบจาก จ.สมุทรสาคร ศึกษาตังแต่ ้ พฤษภาคม พ.ศ.2557 ถึงมกราคม พ.ศ.2558 โดยเก็บเกี่ยวผลมะพร้ าวอายุ 1-8 เดือน ทุกเดือน เพื่อเก็บข้ อมูลการเจริ ญเติบโตและการ พัฒนาของผล ปริมาณลิกนินตรวจวิเคราะห์เฉพาะส่วนกะลา ส่วนแคลเซียมและโบรอนตรวจวิเคราะห์ทงส่ ั ้ วนเปลือกและกะลา พบว่าปริ มาณลิกนินในกะลาช่วงแรก (อายุผล 2-3 เดือน) มีปริ มาณต่าแล้ วเพิ่มสูงขึ ้นเมื่ออายุผลมากขึ ้น และเมื่อเปรี ยบเทียบ ระหว่างด้ านขัวผลกั ้ บก้ นผลมีปริ มาณลิกนินไม่แตกต่างกัน ส่วนปริ มาณแคลเซียมพบว่าเปลือกผลมีปริ มาณมากกว่ากะลา โดยส่วนเปลือกมีปริ มาณแคลเซียมค่อนข้ างคงที่ระหว่างการพัฒนาผล โดยปริ มาณแคลเซียมในกะลามีการสะสมเพิ่มขึ ้นแล้ ว กลับลดลงเมื่ออายุผลมากขึ ้น (6-8 เดือน) ขณะที่พบว่าปริ มาณโบรอนในเปลือกมีแนวโน้ มที่ลดลงหลังอายุผล 2 เดือน ส่วนใน กะลามีแนวโน้ มที่ลดลงหลังอายุผล 4 เดือน และปริ มาณโบรอนเฉลี่ยในเปลือกมากกว่าในกะลา สรุ ปได้ ว่ากะลามีการสะสม ลิกนินเพิ่มขึน้ ระหว่างการพัฒนาผล และมีปริ มาณแคลเซียมและโบรอนในส่วนเปลือกมากกว่าส่วนกะลา เมื่อผลมีความ บริบรู ณ์มากขึ ้นทังแคลเซี ้ ยมและโบรอนมีปริมาณลดลง คาสาคัญ: มะพร้ าวอ่อนน ้าหอม ลิกนิน แคลเซียม โบรอน

Abstract The production of young aromatic coconut for exporting in the present has the several problems. The previous study of physiological young aromatic coconut is a limited. Therefore, lignin, calcium, and boron contents in the shell and the mesocarp during fruit development of young aromatic coconut were studied. ‘Konjeeb’ young aromatic coconut fruits from Samut Sakhon province were used in the experiment. Study in May 2014 to January 2015, fruit age 1 to 8 months was harvested every month for studying the growth and fruit development. Lignin content analyzed only the shell, Calcium and boron content analyzed of both the mesocarp and shell. The results found that lignin content in the shell during the first of 2-3 months of fruit age was low content while the mature fruit age was high content slightly increased. The comparison between the stem and the bottom end of the lignin content was not significantly different. The calcium content in the mesocarp was greater than that in the shell. The calcium content in the mesocarp did not change during fruit development. While the calcium content in the shell was high accumulated and then declined in mature fruit age (6-8 months). The trends of boron content in the mesocarp declined after the fruit age was two months. Whereas boron content in the shell declined after the fruit age was 4 months and found that the average of boron content in the mesocarp was higher than in the shell. It concluded that the accumulation of lignin increased during fruit development while calcium and boron contents in the mesocarp were greater than in the shell. The increasing of maturity of fruit age found the calcium and boron contents decreased. Keywords: young aromatic coconut, lignin, calcium, boron 1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน ม.เกษตรศาสตร์ นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

135


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-10 การใช้ แหนแดงเป็ นวัสดุดนิ ผสมเร่ งการเติบโตของต้ นอ่ อนกล้ วยนา้ ว้ าปากช่ อง 50 จากการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อ Azolla in Soil-mix Accelerates Growth of Banana ‘Namwa Pakchong 50’ Micro-propagated Plantlets ศิริลักษณ์ แก้ วสุรลิขิต1 ประไพ ทองระอา1 กัลยาณี สุวิทวัส3 กานดา ฉัตรไชยศิริ2 นิศารัตน์ ทวีนุต1 ภาสันต์ ศารทูลทัต4 และพิมพ์ นิภา เพ็งช่ าง3 1 Sirilak Kaewsuralikhit Praphai Thongra-ar1 Kunlayanee Suvittawat2 Kanda Chatchaisiri3 Nisarat Thaweenut1 Parson Saradhuldhat4 and Pimnipa Phengchang2

บทคัดย่ อ ศึกษาการใช้ แหนแดงเป็ นวัสดุปลูกเพื่อผลิตต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าพันธุ์ปากช่อง 50 ที่ได้ จากต้ นเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืช โดยทดลองใส่แหนแดงแห้ งร่วมกับวัสดุดินผสม (ดิน:ขุยมะพร้ าว:ถ่านแกลบ 2:1:1 โดยปริมาตร) อัตรา 0, 8, 16 และ 24 กรัมต่อ กิโลกรัมวัสดุดินผสม พบว่าต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าที่ใส่แหนแดงแห้ งอัตรา 16 และ 24 กรัม มีการเจริญเติบโตสูงที่สดุ แตกต่างทาง สถิติจากที่ใส่แหนแดงแห้ ง 0 และ 8 กรัม คือมีความสูง เท่ากับ 24.12, 25.62, 6.90 และ 15.76 เซนติเมตร และ เส้ นผ่าศูนย์กลางต้ น 16.51, 16.44, 13.23 และ 10.13 มิลลิเมตร ตามลาดับ และเพื่อเป็ นการเพิ่มการเจริ ญเติบโตและลด ระยะเวลาการผลิตต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ า จึงเลือกผลการทดลองที่ใส่แหนแดงแห้ ง 16 กรัม มาทาการทดลองร่วมกับการใช้ ปยเคมี ุ๋ เปรี ยบเทียบกับวิธีทวั่ ไปที่ใช้ ปยเคมี ุ๋ เพียงอย่างเดียว โดยใช้ ปยเคมี ุ๋ สตู ร 15-15-15 ใส่สปั ดาห์ละครัง้ ๆ ละ 0.4 กรัมต่อกิโลกรัม วัสดุดินผสม หลังปรับสภาพต้ นแล้ วหนึง่ เดือน พบว่าที่ระยะเวลา 45 วันหลังจากนาต้ นกล้ าออกจากขวด การใส่แหนแดง ร่วมกับปุ๋ ยเคมีทาให้ ต้นกล้ ามีการเจริญเติบโตแตกต่างจากที่ไม่ใส่แหนแดงทังด้ ้ านความสูงต้ น เส้ นผ่าศูนย์กลางต้ น และน ้าหนัก อย่างชัดเจน ซึง่ วิธีนี ้สามารถลดระยะเวลาการชาต้ นกล้ ากล้ วยให้ ได้ ขนาดพร้ อมปลูกได้ เร็วขึ ้นกว่าวิธีทวั่ ไป 15 วัน คาสาคัญ: วัสดุปลูก วัสดุดินผสม แหนแดง

Abstract Azolla enriched with plant nutrients is probably used as plant growing media. To investigate how azolla in soil-mixes accelerate plant growth during acclimatization, micro-propagated plantlets of banana ‘Namwa Pakchong 50’ were grown in soil-mix (topsoil: coco-coir: rice husk charcoal = 2:1:1 by volume) supplemented with dry azolla at 0, 8, 16 or 24 g/kg-soil mix. The plantlets in the media mixed with 16 and 24 g azolla/kg-soil mix were remarkably grown as 24.12 and 25.62 cm in height and 16.51 and 16.44 mm in stem diameter over those in 0 and 8 g azolla/kg-soil mix (6.90, 15.76 cm in height and 13.23 and 10.13 mm in diameter), respectively. To speed up the plantlets with fertilizer after a month of acclimatization, 16 g azolla/kg-soil mixed and soil mix alone were compared for plant growth. The media were applied weekly with 15-15-15 fertilizer at 0.4g/kg-soil mixed. At 45 days after transferring and planting, the plantlets in the azolla-mix were significantly grown by means of stem height, diameter and weight over those in media without azolla. This indicated that azolla in soil mix can expedite the banana plantlets in nursery period at least 15 days shorter. Keywords: plant growing media, soil mix, azolla

1

กลุม่ งานวิจยั จุลินทรี ย์ดิน กลุม่ วิจยั ปฐพีวิทยา กองวิจยั พัฒนาปั จจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร 10900 สานักวิจยั และพัฒนาหม่อนไหม กรมหม่อนไหม แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 3 สถานีวิจยั ปากช่อง คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 30130 4 ศูนย์วิจยั และพัฒนาไม้ ผลเขตร้ อน ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 2

136

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-11 ผลกระทบของการปลูกหอมและกระเทียมผสมผสานมะนาวในวงบ่ อซีเมนต์ Effect of Intercrop Shallot and Garlic Plant on Lime in Cement Pot สันติ ช่ างเจรจา1 และธีรพล ดอนมูล1 Sunti changjeraja1 and Teerapon Donmoon 1

บทคัดย่ อ ผลการศึกษาการปลูกหอมและกระเทียมเป็ นพืชผสมผสานกับต้ นมะนาวพันธุ์ตาฮิติในวงบ่อซีเมนต์ ทาการศึกษาในช่วง 6 เดือน หลังปลูกในวงบ่อซีเมนต์ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 80 เซนติเมตร ณ สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้ านนา ลาปาง วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) มี 4 กรรมวิธีๆละ 6 ซ ้า หลังปลูกมะนาว 1 เดือน กาหนดการปลูกพืชผสมผสาน 4 กรรมวิธี ได้ แก่ กรรมวิธีที่ 1 ไม่มีการจัดการ (control) กรรมวิธีที่ 2 คลุมด้ วยฟางข้ าว กรรมวิธีที่ 3 ปลูกหอม และกรรมวิธีที่ 4 ปลูกกระเทียม พบว่ากรรมวิธีที่มีการปลูกกระเทียมมีค่า pH ของดิน น้ อยที่สดุ 5.49 มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญกับกรรมวิธีไม่มีการจัดการมีค่า pH ของดินมากที่สดุ 6.60 กรรมวิธีการ จัดการคลุมแปลงด้ วยฟางและการจัดการปลูกหอมและกระเทียมผสมผสานมีค่าโพแทสเซียมในดินสูงคือ 29.18, 22.15 และ 21.29 พีพีเอ็ม มีความแตกต่างทางสถิติกับกรรมวิธีไม่มีการจัดการมีค่าโพแทสเซียมต่าสุดคือ 18.21 พีพีเอ็ม. ส่วนการ เจริญเติบโตของมะนาวในทุกกรรมวิธีไม่มีความไม่ความแตกต่างทางสถิติ คาสาคัญ: การปลูกพืชผสมผสาน มะนาว หอม กระเทียม

Abstract Effect of intercrop shallot and garlic planting on lime in cement pond (6 mouth after grow, 80 centimeter of diameter) at Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna. The experimental design was completely randomized design with 4 treatments; not management (control), cover with rice straw, shallot planting and garlic planting one month after planting and 6 replications per treatment. The resulted showed that plants were intercrop garlic planting gave the lower of soil pH (i.e. 5.49) different not management gave the highest of soil pH (i.e. 6.60). Cover with rice straw and intercrop plants treatment were highest potassium in soil (29.18, 22.15 and 21.29 ppm) different not management gave the least (i.e. 18.21 ppm), while the plant management did not affect on the growth and development of lime in all treatment. Keywords: intercrop plant, development, lime

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา

18-20 พฤศจิกายน 2558

137


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-12 การเพิ่มผลผลิตเห็ดนางรม โดยใช้ อุณหภูมิต่าและสารกระตุ้นการเจริญ Increase Oyster Mushrooms by Using Low Temperature and Growth Hormone วิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก1 และชัยพร จันคง1 Wipornpan Nuangmek1 and Chaiyaporn Junkong1

บทคัดย่ อ การทดสอบผลของอุณหภูมิต่าต่อการเพิ่มผลผลิตของเห็ดนางรม โดยแช่น ้าเย็นที่อณ ุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส นาน 2 ชัว่ โมงก่อนเปิ ดดอก พบว่าให้ ผลผลิตมากที่สดุ เฉลี่ยเท่ากับ 109.64 กรัมต่อ ถุง และมากกว่าชุดควบคุมอย่างมีนยั สาคัญทาง สถิติ ในขณะที่การใช้ สารกระตุ้นการออกดอกต่อผลผลิตของเห็ดนางรม โดยใช้ สารทดสอบต่างๆ ได้ แก่ ฮอร์ โมนทางการค้ า ฮอร์ โมนชีวภาพ (ฮอร์ โมนน ้าขาว) น ้าส้ มควันไม้ ยูเรี ย และน ้าเปล่า พบว่าการใช้ ฮอร์ โมนชีวภาพ (ฮอร์ โมนน ้าขาว) อัตรา 1 มิลลิลิตรต่อน ้า 1 ลิตร ให้ ผลผลิตมากที่สดุ โดยมีน ้าหนักสดเฉลี่ยเท่ากับ 107.71 กรัมต่อถุง สรุปได้ ว่าเมื่อกระตุ้นการออกดอกที่ อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และการใช้ ฮอร์ โมนชีวภาพ (ฮอร์ โมนน ้าขาว) สามารถเพิ่มผลผลิตให้ กบั เห็ดนางรมได้ คาสาคัญ: เห็ดนางรม อุณหภูมิต่า สารกระตุ้นการเจริญ น ้าส้ มควันไม้ ยูเรี ย

Abstract The effect of low temperature for increasing oyster mushroom production was tested. Mushroom spawn were dipped in cool water (20°C) for two hours before open. It was found that, oyster mushroom yield that treated with cool water had higher significantly fresh weight (109.64 gram/spawn) than control. Growth promoting agents including trade hormone, biological hormone, wood vinegar, urea and water were also tested for increasing oyster mushroom. The results showed that, biological hormone treatment (1 ml/l) had highest fresh weight (107.71 g/spawn) than other promoting agents. It can conclude that, dipping in cool water and using biological hormone could increase oyster mushroom yield. Keywords: oyster mushroom, low temperature, growth hormone, wood vinegar, urea

1

คณะเกษตรศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา ต.แม่กา อ.เมือง จ.พะเยา 56000 138

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr–13 การให้ ผลผลิตและความงอกของข้ าวเย็นใต้ Yield Performance and Sprouting of Khoa-Yen-Tai (Dioscorea membranacea Pierre ex Prain & Burkill) นิชาภา บุญบริวารกุล1 ภาณุมาศ ฤทธิไชย1 และเยาวพา จิระเกียรติกุล1 Nichapa Bonborriwankul1 Panumart Rithichai1* and Yaowapha Jirakiattikul1

บทคัดย่ อ ข้ าวเย็นใต้ (Dioscorea membranacea Pierre ex Prain & Burkill) เป็ นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่งที่ใช้ สว่ นของเหง้ านาไป ผลิตเป็ นยารักษาโรคได้ หลายชนิด เช่น โรคมะเร็ง โรคเอดส์ และโรคน ้าเหลืองเสีย เป็ นต้ น แต่การปลูกเพื่อผลิตเหง้ ายังมีข้อมูล ค่อนข้ างจากัด ดังนันในการทดลองนี ้ ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการให้ ผลผลิตและการงอกของเหง้ าของข้ าวเย็นใต้ โดยปลู ก เหง้ าในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 และเก็บเกี่ยวในเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ และมีนาคม พ.ศ. 2558 พบว่า ผลผลิตเหง้ าที่ เก็บเกี่ยวในเดือนต่างๆ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยการเก็บเกี่ยวเหง้ าในเดือนกุมภาพันธ์ มีน ้าหนักแห้ ง เหง้ าสูงสุด 113.59 ± 41.78 กรัมต่อต้ น รองลงมาคือเดือนมีนาคม และมกราคม มีน ้าหนักแห้ งเหง้ า 100.29 ± 16.70 และ 85.94 ± 25.63 กรัมต่อต้ น ตามลาดับ หลังจากนันเก็ ้ บรักษาเหง้ าที่อณ ุ หภูมิห้อง (30 องศาเซลเซียส) บันทึกความงอกหลังการ เก็บเกี่ยวทุกเดือนจนถึงเดือนพฤษภาคม พบว่า เหง้ าที่เก็บรักษาเริ่ มงอกหลังเก็บเกี่ยวแล้ ว 2 เดือน เหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือน มีนาคม มีความงอกสูงสุด 66.77 ± 0.24 เปอร์ เซ็นต์ ส่วนเหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนมกราคม มีความงอกต่าที่สดุ 33.33 ± 0.24 เปอร์ เซ็นต์ คาสาคัญ: Dioscorea membranacea Pierre ex Prain & Burk การงอก การให้ ผลผลิต

Abstract Khao-Yen-Tai (Dioscorea membranacea Pierre ex Prain & Burkill) is one of the medicinal plant which its rhizomes are used for the treatment of various diseases such as cancer, AIDS, and lymphopathy etc. However, information of rhizome production was quite limited, therefore, the objective of this study was to determine yield performance and sprouting of Khao-Yen-Tai. The rhizomes were planted on November 2012 and harvested at January, February and March 2015. Results showed that rhizome yield was not significantly different among the harvesting times. Rhizomes harvested at February exhibited the highest yield as 113.59 ± 41.78 g DW plant-1, followed by those at March and January as 100.29 ± 16.70 and 85.94 ± 25.63 g DW plant-1, respectively. Then, the rhizomes were kept at room temperature (30°C). Sprouting was examined monthly after harvesting until May. Results indicated that the rhizomes started to sprout at 2 months after harvest. Rhizome harvested at March showed the highest sprouting percentage as 66.77 ± 0.24% while those at January revealed the lowest sprouting percentage as 33.33 ± 0.24%. Keywords: Dioscorea membranacea Pierre ex Prain & Burkill, sprouting, yield performance

1

ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปทุมธานี 12120

18-20 พฤศจิกายน 2558

139


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-14 การจัดทรงพุ่มทุเรียนรูปแบบต่ างๆ ในระยะปลูกชิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทุเรียนคุณภาพ Canopy Modification for High Density Planting Durian Orchard ศิริพร วรกุลดารงชัย1 อรวิมทินี ชูศรี 1 ชมพู จันที1 และอุษา สิทธิฤทธิ์1 Siriporn Vorakuldumrongchai1 Orawintinee Chusri1 Chompu Chantee1 and Usa Sitthilit1

บทคัดย่ อ ศูนย์วิจยั พืชสวนจันทบุรี ได้ ดาเนินการวิจยั และพัฒนาการออกแบบสวนทุเรี ยนเพื่อเสริ มประสิทธิภาพการผลิตทุเรี ยน คุณภาพอย่างต่อเนื่ อง ตัง้ แต่ปี 2549-2558 เพื่ อพัฒนารู ปแบบสวนทุเ รี ยนและทรงพุ่มต้ นทุเรี ยนที่ เหมาะสมสาหรั บใช้ เครื่ องจักรกลการเกษตร ง่ายต่อการปฏิบตั ิงานภายในสวนเพื่อทดแทนการขาดแคลนแรงงาน ให้ ผลตอบแทนสูงต่อพื ้นที่ และ ต้ นทุนการผลิตต่าลง ไม่มีการวางแผนการทดลอง เป็ นการศึกษาการควบคุมความสูง และทรงพุ่มต้ นทุเรี ยนด้ วยการใช้ วิธีการจัดการต่างๆ ร่วมกันในระยะปลูกชิด ได้ แก่ การใช้ ต้นกล้ าทุเรี ยนพันธุ์หมอนทองที่มาจากการขยายพันธุ์โดยวิธีการเสียบ ยอดพันธุ์ที่มาจากกิ่งยอดและกิ่งข้ าง การตัดแต่งทรงพุ่มเป็ นรูปทรงครึ่งวงกลม และสี่เหลี่ยม ความสูง 5 เมตร และความกว้ าง 10 เมตร และจัดทรงต้ นเป็ นรู ปแบบ Oblique Palmette จานวนกิ่ง 10-12 กิ่งต่อต้ น ระยะปลูก 3 x 13 เมตร ปลูกเป็ น แถวๆ ละ 30 ต้ น หรื อคิดเป็ น 42 ต้ นต่อไร่ ผลการศึกษาพบว่า ต้ นทุเรี ยนมีการตอบสนองที่ดีต่อการตัดแต่งทรงพุ่ม และการ จัดทรงต้ น จึงควรเริ่ มทาการจัดทรงต้ นตังแต่ ้ ต้นอายุ 6 เดือน และตัดแต่งกิ่ งทุก 3 เดือน จะทาให้ ต้นทุเรี ยนมีการเจริ ญด้ าน กิ่งก้ านสาขาอย่างรวดเร็ ว โดยมีความสูงที่ 5 เมตรเมื่อต้ นมีอายุ 4 ปี และมีการเจริ ญด้ านการเจริ ญพันธุ์เร็ วขึ ้น ต้ นทุเรี ยน จึงสามารถออกดอกได้ ในกิ่งที่มีขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางตังแต่ ้ 1 นิ ้วขึ ้นไปเมื่อต้ นมีอายุเพียง 2.5 ปี เท่านัน้ แต่ควรให้ ต้นทุเรี ยน เริ่ มไว้ ผลผลิตเป็ นปี แรกเมื่อต้ นอายุ 4 ปี ขึ ้นไป ทรงพุ่มต้ นทัง้ 2 แบบ ให้ ผลผลิตที่ไม่แตกต่างกัน โดยสามารถให้ ผลผลิตได้ เต็มศักยภาพของทรงต้ น 30-40 ผลต่อต้ น ทาให้ มีต้นทุนการผลิตลดลง หรื อคิดเป็ น 1/3 ของต้ นทุนต้ นทุ เรี ยนที่ปลูกระยะ ปกติ 8  8 เมตร คาสาคัญ: ทุเรี ยน โครงสร้ างทรงพุม่ การจัดทรงต้ น การตัดแต่ง

Abstract The Chanthaburi Horticultural Research Center had continuously conducted the projects to improve cultural practices and increase high quality durian production during 2006-2015. The purpose of this research was to develop appropriate canopy modification that suitable for agricultural machinery usage to substitute labor and reduce production cost. Focusing on durian size control and canopy structure, several managements were collaborated. Seedlings scions from vertical and lateral branch, branch pruning in semi-circle or square shapes to control durian size at 5 m height and 10 m width were conducted. Meanwhile, tree training was emphasized on oblique Palmette with tree spacing of 3x13 m and 10-12 branches/tree. Under this approach, it could produce 42 trees/rai. The result showed that durian trees responded well to canopy modification by pruning and training durian trees every 3 month, starting from 6-month-old trees. The trees showed rapid reproductive growth and could reach 5 m height within 4 years although they started to have some flowers at 2.5 years old. 7-year- old trees, either semi-circle or square shape, bear 30-40 fruits per tree with nearly the same yield as the regularpruning trees. The planting density of 3x13 m could reduce the cost/tree to 25% of the regular density 8x8 m. Keywords: Durio zibethinus Murr., canopy structure, training, pruning

1

ศูนย์วิจยั พืชสวนจันทบุรี ต.ตะปอน อ.ขลุง จ.จันทบุรี 22110 140

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-15 ผลของนา้ ส้ มควันไม้ และสารสกัดแมงลักคาที่มีต่อการเจริญเติบโต และการงอกของเมล็ดแตงกวาลูกผสม Effects of Wood Vinegar and Wild spikenard Extract on Growth and Seed Germination of F1 Hybrid Cucumber อัญชลี สวาสดิ์ธรรม1 ปรียานุช เพ็งอุดม1 และวิจติ รา รุ่ งศรี 1 Anchalee Sawatthum1 Preeyanuch Pengudom1 and Wijittra Rungsri1

บทคัดย่ อ การทดลองผลของน ้าส้ มควันไม้ และสารสกัดแมงลักคาที่มีต่อการเจริ ญเติบโตและการงอกของเมล็ดแตงกวาลูกผสม ณ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีระหว่างเดือนมกราคม ถึง มีนาคม พ.ศ. 2557 ใช้ แผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ทาการทดลองทังหมด ้ 9 สิ่งทดลองดังนี ้ น ้าเปล่า (Control) น ้าส้ มควันไม้ และสารสกัดแมงลักคาที่ความเข้ มข้ น 0.25 0.33 0.5 และ 1 เปอร์ เซ็นต์ แบ่งเป็ น 2 การทดลองย่อยคือ การ ทดสอบผลของนา้ ส้ มควันไม้ และสารสกัดแมงลักคาต่อการเจริ ญเติบโตและอัตราความงอกของเมล็ดแตงกวาลูกผสม การ ทดสอบผลของน ้าส้ มควันไม้ และสารสกัดแมงลักคาต่อการเจริ ญเติบโตของแตงกวาลูกผสม พบว่าแตงกวาที่ฉีดพ่นด้ วยน ้าส้ ม ควันไม้ ความเข้ มข้ น 0.33 เปอร์ เซ็นต์ มีการเจริญทางลาต้ นดีที่สดุ และมีความแตกต่างทางสถิติกบั สิ่งทดลองอื่นๆ น ้าส้ มควันไม้ ความเข้ มข้ น 0.5 เปอร์ เซ็นต์ และสารสกัดแมงลักคาความเข้ มข้ น 0.33 เปอร์ เซ็นต์ ส่งผลให้ เมล็ดมีอตั ราความงอกมากที่สดุ แต่ การแช่ด้วยสารสกัดแมงลักคาความเข้ มข้ น 0.25 เปอร์ เซ็นต์ ทาให้ เปอร์ เซ็นต์การงอกของเมล็ดแตงกวาลดลง คาสาคัญ: น ้าส้ มควันไม้ แมงลักคา การเจริญเติบโต แตงกวาลูกผสม

Abstract This study was undertaken to observe the effects of wood vinegar and wild spikenard (Hyptis suaveolens (Linn.) Poit) extract on growth and seed germination of F1 Hybrid cucumber. The research was done during January – March, 2014 in Agricultural Faculty Rajamangala University of Technology. Experimental design was Complete Randomized Design (CRD) with 9 treatments as follows: water (as control), wood vinegar and wild spikenard extract at concentration 0.25, 0.33, 0.5 and 1 % respectively. Plant growth and seed germination were measured after treatments. Wood vinegar at concentration 0.33% showed the highest stimulant on growth of cucumber plants with significant different from others. Wood vinegar at 0.5% and wild spikenard extract at 0.33% were enhanced germination of cucumber seeds but wild spikenard extract at 0.25% was inhibited the seed germination. Keywords: wood vinegar, wild spikenard, growth, F1 hybrid cucumber

1

สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืชและภูมิทศั น์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปทุมธานี 12130

18-20 พฤศจิกายน 2558

141


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-16 การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในดินบริเวณทรงพุ่มของ ต้ นกีวีฟรุ ตปลูกที่สถานีเกษตรหลวงอ่ างขาง จังหวัดเชียงใหม่ Change of Soil Content on Nitrogen, Phosphorus and Potassium under Canopy Kiwifruit Grown at Angkhang Royal Agriculture Station, Chiangmai จุฑามาศ ทองอิ่ม1, วัชระ จินตโกวิท2, ศุภชัย อาคา 3 และอุษณีษ์ พิชกรรม1 Juthamach Tongeim1, Watcharra Chintakovid2, Supachai Amkha3 and Aussanee Pichakum1*

บทคัดย่ อ กีวีฟรุ ตมีศกั ยภาพเพื่อการส่งเสริ มบนพื ้นที่สงู ของประเทศไทย แต่มีประสิทธิภาพการผลิตต่า จึงควรพัฒนาวิธีการใช้ ปุ๋ ยที่เหมาะสม การศึกษานีม้ ีวตั ถุประสงค์เพื่อสารวจสภาวะธาตุอาหารหลัก 3 ชนิด คือ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และ โพแทสเซียม (K) ในดินภายใต้ ทรงพุม่ ของต้ นกีวีฟรุตเนื ้อเขียว (Actinidia deliciosa) พันธุ์ Bruno และต้ นกีวีฟรุตเนื ้อเหลือง (A. chinensis) พันธุ์ Tall Green ปลูกที่สถานีเกษตรหลวงอ่างขาง จ.เชียงใหม่ โดยทาการวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารจากตัวอย่าง ดินใต้ ทรงพุ่มที่ 2 ระดับความลึก คือ 0-30 และ 30-60 เซ็นติเมตร ทุกช่วง 2 เดือนตลอดปี 2555 และบันทึกข้ อมูลการให้ ปยใน ุ๋ รอบปี พบว่า N และ P ในทังสองระดั ้ บความลึกของดินมีปริ มาณไม่แตกต่างกันในแปลงปลูกทังสองพั ้ นธุ์ และไม่พบความ แตกต่างในรอบปี ส่วนปริมาณ K เพิ่มสูงในช่วงเก็บเกี่ยวและก่อนระยะพักตัวในแปลงกีวีฟรุต ทังสองพั ้ นธุ์ ซึง่ การเปลี่ยนแปลงนี ้ สัมพันธ์กบั การให้ ปยในรอบปี ุ๋ แต่อย่างไรก็ตามธาตุอาหาร 3 ชนิดในดินที่พบมีปริมาณต่ากว่าข้ อแนะนาในต่างประเทศ คาสาคัญ: ธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารในดิน การเจริญเติบโตในรอบปี

Abstract Although kiwifruit express high potential to extend in highland area of Thailand, its productivity is still low. Thus the proper fertilizer formula should be developed. This study aimed to survey nutrient status of 3 macronutrients; nitrogen (N), phosphorus (P) and potassium (K) in soil under vine canopy. Green kiwifruit (Actinidia deliciosa ‘Bruno’ and yellow kiwifruit (A. chinensis ‘Tall Green’) grown at Angkhang Royal Agriculture Station was done during 2012. Soil sample at 0-30 and 30-60 cm depth were collected every 2 month interval, and nutrient content was analyzed. Field fertilization information was recorded. The result showed that both soil N and P contents in 2 levels were similarly pattern on both studied cultivars and no seasonal change exhibited. K content increased on harvest time and prior dormancy in both cultivars relating to annual fertilization. However, soil content of these nutrients occurred lower than the recommended information in other country. Keywords: macronutrient, soil nutrient, annual growth

1

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร สาขาวิทยาศาสตร์ การเกษตร สานักวิชาสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยมหิลดล วิทยาเขตกาญจนบุรี อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี 3 ภาควิชาปฐพี คณะเกษตรกาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม 2

142

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-17 ผลของปุ๋ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดต่ ออัตราการเติบโต ผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ปริมาณธาตุอาหาร ในใบและในดิน และฤทธิ์การต้ านอนุมูลอิสระในผักเชียงดา Effects of Pellets Vermicompost on Growth Rate, Consumable Parts, Nutrient Concentration and Antioxidant Activities in Gymnema inodorum (Lour.) Decne. ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 1 ชิติ ศรีตนทิพย์ 1 และทิพย์ วรรณ ทูเดอะ2 Parinyawadee Sritontip1, Chiti Sritontip1 and Thippawan Tudue2

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อหาอัตราที่เหมาะสมของปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดในการผลิตผักเชียงดาให้ มีคณ ุ ภาพ ทาการทดลองที่สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จั งหวัดลาปาง ระยะเวลาตังแต่ ้ เดือน พฤศจิกายน 2556 ถึง เดือนพฤษภาคม 2557 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) จานวน 3 ซา้ ได้ แก่ ปุ๋ ยหมักมูล ไส้ เดือนดินอัดเม็ด (แม่โจ้ ®) จานวน 5 อัตรา คือ 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 ตันต่อไร่ ใส่เพียงครัง้ เดียวในขันตอนการเตรี ้ ยม ดินก่อนปลูก พืชทดลองใช้ ผกั เชียงดาสายต้ นที่ 6 ที่มีอายุ 1 ปี จากการทดลองพบว่าการใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดทุก อัตราไม่มีผลต่ออัตราการเติบโตด้ านเส้ นผ่าศูนย์กลางลาต้ น ความกว้ างของทรงพุ่ม ค่าดัชนีความเขียวของใบ และน ้าหนักยอด รวมต่อต้ นต่อเดือน การใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนอัดเม็ดอัตรา 2.0 ตันต่อไร่ มีผลต่อการเติบโตความสูงของต้ น การใส่ปยหมั ุ๋ กมูล ไส้ เดือนชนิดเม็ดอัตรา 1.5 - 2.0 ตันต่อไร่ มีปริ มาณฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ในดินและปริ มาณฟอสฟอรัสในใบสูงที่สดุ ส่วน ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ สารประกอบฟี นอลิก ฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ และค่า IC50 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ คาสาคัญ: ผักเชียงดา ปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดิน ผลผลิตส่วนที่บริ โภคได้ ฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ

Abstract The research aimed to study on optimum rate of compost pellets vermicompost to develop yield and the quality of Gymnema inodorum (Lour.) Decne. was conducted at Agricultural Technology Research Institute (ATRI), RMUTL, Lampang province. The experimental design used was a CRD consisted of 5 treatments and each with 3 replications. The treatments were 5 rates of pellets vermicompost (Maejo®) i.e., 0, 0.5, 1.0, 1.5 and 2.0 ton/rai were applied to soil before planting. The clone numbers 6 was employed for this study and were approximately 1 year after transplanting. The result showed that all of the treatments had no effect on stem diameter, canopy width, leaf chlorophyll content and shoot weight per plant per month. The vermicompost application at the rate of 2.0 ton/rai greatly improved plant height. The appropriate treatments were the 1.5 – 2.0 ton/rai which showed the highest nutrient content in leaf and soil (P). Application compost of vermicompost with different rate did not affect total chlorophyll, total phenolic content, antioxidant activities and IC50. Keywords: Gymnema inodorum (Lour.) Decne., vermicompost, consumable parts, antioxidant activities

1 2

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000

18-20 พฤศจิกายน 2558

143


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-18 ผลของปุ๋ยมูลไก่ ต่ออัตราการเติบโต ผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ปริมาณธาตุอาหารในใบและในดิน และฤทธิ์การต้ านอนุมูลอิสระในผักเชียงดา Effects of Chicken Manure on Growth Rate, Consumable Parts, Nutrient Concentration and Antioxidant Activities in Gymnema inodorum (Lour.) Decne. ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 1* ชิติ ศรีตนทิพย์ 1 และมยุรี โมงปั นแก้ ว2 Parinyawadee Sritontip, Chiti Sritontip and Mayuree Mongpunkaew

บทคัดย่ อ งานวิจยั นีม้ ีวตั ถุประสงค์เพื่อหาอัตราที่เหมาะสมของปุ๋ ยมูลไก่ในการผลิตผักเชียงดาให้ มีคณ ุ ภาพ ทาการทดลองที่ สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จ.ลาปาง ระยะเวลาตังแต่ ้ เดือนพฤศจิกายน 2556 ถึง เดือน พฤษภาคม 2557 วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (CRD) จานวน 3 ซ ้า ได้ แก่ ปุ๋ ยมูลไก่ 5 อัตรา คือ 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 ตันต่อไร่ ปุ๋ ยที่ใช้ เป็ นปุ๋ ยมูลไก่เก่า ใส่เพียงครัง้ เดียวในขันตอนการเตรี ้ ยมดินโดยผสมให้ เข้ ากันกับดินก่อนปลูก พืช ทดลองใช้ ผกั เชียงดาสายต้ นที่ 6 ที่มีอายุ 1 ปี จากการทดลองพบว่าการใส่ปยมู ุ๋ ลไก่ทกุ อัตราไม่มีผลต่ออัตราการเติบโตด้ าน เส้ นผ่าศูนย์กลางลาต้ น ความสูงของต้ น และความกว้ างของทรงพุ่ม การใส่ปยมู ุ๋ ลไก่อตั รา 2.0 ตันต่อไร่ มีผลต่อค่าดัชนีความ เขียวของใบหลังจากใส่ปยไปจนถึ ุ๋ งระยะเวลา 45 วันหลังจากใส่ปยุ๋ แต่หลังจากนันไม่ ้ มีความแตกต่างกันทางสถิติ และมีผลทา ให้ นา้ หนักยอดรวมต่อต้ นต่อเดื อน ปริ มาณฟอสฟอรั ส ที่ เป็ น ประโยชน์ ใ นดิน และอิ นทรี ย วัตถุใ นดินสูงที่ สุด ส่วนปริ มาณ คลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ สารประกอบฟี นอลิก ฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ และค่า IC50 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ คาสาคัญ: ผักเชียงดา ปุ๋ ยมูลไก่ ผลผลิตส่วนที่บริ โภคได้ ฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ

Abstract This research aimed to investigate the optimum rate of chicken manure for increase yield and quality of Gymnema inodorum (Lour.) Decne. It was conducted at Agricultural Technology Research Institute (ATRI), RMUTL, Lampang province. The experimental design of CRD 5 treatments with 3 replications was used in the study. The treatments were the rate of chicken manure i.e., 0, 0.5, 1.0, 1.5 and 2.0 ton/rai. Soil was mixed with those manure rates before planting. The no. 6 of G. inodorum clone, 1 year after transplantation, was employed in this study. The results showed that the stem diameter, plant height and canopy width of G. inodorum were not affected by the different rate of manure. The application of manure at the rate of 2.0 ton/rai greatly improved leaf chlorophyll content during 45 days after applying manure. After that, there was no significant difference in all treatments. Furthermore, the highest shoot weight gain per plant per month, soil available phosphorus content and soil organic matter content were influenced by the rate of 2.0 ton/rai manure application. It should be noted that total chlorophyll content, total phenolic content, antioxidant activities and IC50 of G. inodorum were not affected by the different rate of manure. Keywords: Gymnema inodorum (Lour.) Decne., chicken manure, consumable parts, antioxidant activities

1 2

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 144

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-19 ผลของการขาดนา้ ต่ อการเติบโตของตายอด ส่ วนที่บริโภคได้ และกิจกรรมต้ านอนุมูลอิสระในผักเชียงดา Effects of Water-deficit Stress on Terminal Buds Growth, Edible Parts and Antioxidant Activities in Gymnema inodorum (Lour.) Decne. ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 1 และชิติ ศรีตนทิพย์ 1 Parinyawadee Sritontip1* and Chiti Sritontip1

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการขาดน ้าและอายุของต้ นที่มีต่อการเติบโตของตายอด ส่วนที่บริ โภคได้ และกิจกรรมต้ านอนุมลู อิสระในผักเชียงดา ทาการทดลองที่สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้ านนา จ.ลาปาง ระยะเวลาตังแต่ ้ เดือนมกราคม 2554 ถึง เดือนพฤศจิกายน 2554 วางแผนการทดลองแบบ 2x12Factorial in CRD จานวน 3 ซ ้า โดยมีสองปั จจัย ได้ แก่ สายต้ นผักเชียงดาจานวน 2 สายต้ น คือ สายต้ นที่ 4 และ 6 และอายุของต้ น คือ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12 เดือน หลังย้ ายปลูก โดยให้ น ้า15 วันสลับกับงดให้ น ้า 15 วัน พบว่าสายต้ นที่ 6 มี จานวนและน ้าหนักยอดทังหมดที ้ ่เก็บได้ ต่อต้ นต่อเดือนมากกว่าสายต้ นที่ 4 แต่สายต้ นที่ 4 มีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกและ ์ ฤทธิต้านอนุมลู อิสระสูงกว่าสายต้ นที่ 6 การเจริ ญเติบโตของยอดในต้ นที่มีอายุ 1-4 เดือน ตายอดจะแห้ งและตายในช่วงที่งดให้ น ้า ต้ นที่มีอายุ 5 -12 เดือน ตายอดจะหยุดการเจริ ญเติบโตแต่ไม่ตายและให้ ผลผลิตสูงกว่าต้ นที่มีอายุน้อยกว่า ในต้ นที่มีอายุ ตังแต่ ้ 7 เดือนขึ ้นไปมีปริมาณคลอโรฟิ ลล์ทงหมดและสารประกอบฟี ั้ นอลิกสูงกว่าต้ นที่มีอายุน้อยกว่าแต่ผกั เชียงดาจะมีกิจกรรม ต้ านอนุมลู อิสระสูงที่สดุ ในต้ นที่มีอายุ 11-12 เดือน คาสาคัญ: ผักเชียงดา การขาดน ้า การเติบโต ส่วนที่บริโภคได้ กิจกรรมต้ านอนุมลู อิสระ

Abstract This research aimed to investigate the effect of water stress at short period of each age range on terminal buds growth, edible parts and antioxidant activities of Gymnema inodorum (Lour.) Decne. (GI) was conducted at Agricultural Technology Research Institute (ATRI), RMUTL, Lampang province from January to November 2011. The experimental design of 2X12 factorial in CRD with 3 replications were investigated by 2 GI clones ( no.4 and 6) at the age of 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 and 12 months after transplanting. The GI was fed with water for 15 days and then unfed every other 15 days intervals at all the experimental period. The result showed that the amount of harvested shoot per month and shoot weight per plant of no.6 clone were higher than no. 4 clone however the clone no. 4 had greater amount of phenolic compound and antioxidant activities than those of the no. 4. The terminal buds of 1-4 months age plants were dried and broken down during water cessation, while the plant of 5 - 12 months of age were just stopped growing and gave higher yields than 4 months age. More ever, the GI plants of over 7 month’s age contained more total chlorophyll than younger plants. Furthermore, the treatments with 11-12 month had the highest on antioxidant activities. Keywords: Gymnema inodorum (Lour.) Decne., water-deficit stress, terminal buds growth, edible parts, antioxidant activities

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000

18-20 พฤศจิกายน 2558

145


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-20 ผลของจานวนข้ อและความเข้ มข้ นของ IBA ต่ อการปั กชาผักเชียงดา Effects of Number of Node and IBA Concentration on Cuttings in Gymnema inodorum Decne. ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 1* ชิติ ศรีตนทิพย์ 1 พิทกั ษ์ พุทธวรชัย1 นภา ขันสุภา1 และติยะดา ฝนบริบรู ณ์ 2 Parinyawadee Sritontip1 Chiti Sritontip1 Pitak Puttawarachai1 Napa khunsupa1 and Tiyada Fonboriboon2

บทคัดย่ อ งานวิจยั นีม้ ีวตั ถุประสงค์เพื่อ หาวิธีการปั กชาที่เหมาะสมสาหรับผักเชียงดา ทาการทดลองที่ สถาบันวิจัยเทคโนโลยี เกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จ.ลาปาง ระยะเวลาตังแต่ ้ เดือนพฤษภาคม ถึง เดือนธันวาค ม 2557 วาง แผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (CRD) ประกอบด้ วย 8 กรรมวิธี จานวน 4 ซ ้า ใช้ กิ่งพันธุ์ผกั เชียงดามีจานวน 1 และ 2 ข้ อ และ IBA ความเข้ มข้ น 0 500 1000 และ 1500 พีพีเอ็ม กิ่งพันธุ์ที่ใช้ ในการทดลองเป็ นคู่ที่ 4 – 6 นับจากปลายยอด สีของกิ่งเป็ นสี เขียว จากการทดลองพบว่ากิ่งปั กชาผักเชียงดาที่มีจานวน 1 หรื อ 2 ข้ อ ความเข้ มข้ น IBA 0 และ 500 พีพีเอ็ม มีอตั ราการรอด ตายหลังปั กชาที่ 45 วัน สูงที่สดุ มีค่าเฉลี่ยร้ อยละ 72.50 – 83.50 ส่วนจานวนรากต่อกิ่ง (8.14 – 14.76 ราก) ความยาวราก (8.13 – 14.63 เซนติเมตร) และเส้ นผ่าศูนย์กลางราก (5.65 – 6.65 มิลลิเมตร) จานวนยอดต่อต้ น (1.12 – 1.37 ยอด) ความ ยาวยอด (1.86 – 3.28 เซนติเมตร) และความกว้ างใบ (2.64 – 3.60 เซนติเมตร) ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ หลังจากย้ าย ปลูกลงในถุงเพาะชาเป็ นเวลา 30 วัน กิ่งพันธุ์ผกั เชียงดามีอตั ราการรอดตายหลังการย้ ายปลูกไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ มี ค่าเฉลี่ย ร้ อยละ 75.62 – 93.81 ผลจากการทดลองแนะนาให้ ใช้ กิ่งพันธุ์ที่มี 1 หรื อ 2 ข้ อ ความเข้ มข้ นของ IBA 0 – 500 พีพีเอ็ม คาสาคัญ: ผักเชียงดา การปั กชา

Abstract The research aimed to find methods out to propagate in Gymnema inodorum Decne. (GI) was conducted at Agricultural Technology Research Institute (ATRI), RMUTL, Lampang province. The experimental design used was a CRD with 8 treatments and four replications. Treatments were consisted of two numbers of nodes: 1 node and 2 node with four levels of hormone (IBA) i.e., 0, 500.1000 and 1500 ppm. Select green stem between the 4th – 6th pair of leaves (nodes) from the shoot tip downward. Result showed that highest survival percentage were for IBA concentration 0 – 500 ppm and cutting 1 or 2 node was equal to 72.50 – 83.50% after let the cuttings in mist bed for about 45 days. Nevertheless, number of roots (8.14 – 14.75 roots), root length (8.13 – 14.63 cm), root diameter (5.65 – 6.65 mm), number of axillary shoots (1.12 – 1.37 shoots), shoot length (1.86 – 3.28 cm) and leaf width (2.64 – 3.60 cm) were not significantly. More ever, all treatments had no effect on survival percentage after transplanted about 30 days (75.62 – 93.81%). The application IBA 0 – 500 ppm had 1 or 2 node were suitable for the growth of GI propagate by stem cutting. Keywords: Gymnema inodorum Decne., cuttings

1 2

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 146

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-21 ผลของวัสดุปลูกต่ อการเจริญเติบโตของพริกหนุ่ม Effect of Substrate Culture on Growth and Development of Chili ชิติ ศรีตนทิพย์ 1 สันติ ช่ างเจรจา1 ยุทธนา เขาสุเมรุ 1และสัญชัย พันธโชติ1 Chiti Sritontip1 Sunti Changjeraja1 Yuttana Khaosumain1 Sanchai Panthachod1

บทคัดย่ อ ผลของวัสดุปลูกต่อการเจริ ญเติบโตของพริ กหนุ่ม วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ มี 4 กรรมวิธี 5 ซ ้า ได้ แก่ 1) กาบมะพร้ าวสับ 2) ชานอ้ อยผสมเถ้ าชานอ้ อยอัตราส่วน 1:1 3) ทรายผสมเถ้ าชานอ้ อยอัตราส่วน 1:1 และ 4) ชานอ้ อยผสม แกลบผสมเถ้ าชานอ้ อย อัตราส่วน 1:1:1 ผลการทดลองพบว่าพริ กหนุ่มที่ ปลูกในชานอ้ อยมี ก ารเจริ ญเติบโตในด้ า น เส้ นผ่าศูนย์กลางของต้ นมากที่สดุ ส่วนในด้ านชานอ้ อยผสมเถ้ าชานอ้ อยมีการเจริ ญในด้ านความสูงของต้ น ความกว้ างของทรง พุ่ม และน ้าหนักสดมากที่สดุ ในด้ านกรรมวิธีทรายผสมเถ้ าชานอ้ อย มีความยาวใบ ความกว้ างใบจานวนใบ และน ้าหนักแห้ ง มากที่สดุ อย่างไรก็ตามชานอ้ อยผสมแกลบและเถ้ าชานอ้ อยส่งผลให้ ความเขียวของใบลดลง ส่วนในด้ านความยาวผล น ้าหนัก ผลและผลผลิตให้ ผลไม่แตกต่างกัน คาสาคัญ: พริกหนุ่ม ชานอ้ อย การเจริญ ผลผลิต

Abstract Effect of substrate culture on chili growth and development was investigated. The experiment was carried out in a completely randomized design (CRD). There were 4 treatments and each with 5 replications, i.e. 1) chopped coconut brake (mesocarp) 2) bagasse mix with bagasse ash at a ratio of 1:1, 3) sand mix with bagasse ash at a ratio of 1:1 and 4) bagasse mix with paddy husks and bagasse ash at the ratio of 1:1:1. The result showed that the chili grown in bagasse treatment produced the highest diameter of stem. The bagasse mix with bagasse ash treatment gave the greatest chili stem height, canopy width and fresh weight. The sand mix with bagasse ash treatment produced the highest leaf length, leaf width, number of leaves and dry weight of chili. However, the bagasse mix with rice husk and bagasse ash treatment decreased leaf green color of chili. There was no significance different on fruit length, fruit weight or yield of chili among treatments. Keywords: chili, bagasse, growth, yield

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา อ.เมือง จ.ลาปาง 52000

18-20 พฤศจิกายน 2558

147


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-22 ผลของสารเคมีต่อการยับยัง้ การแตกใบอ่ อนของลาไย Effect of Some Chemicals on Leaf Flushing Inhibition in Longan (Dimocarpus longan Lour) ชิติ ศรีตนทิพย์ 1 สันติ ช่ างเจรจา1 ยุทธนา เขาสุเมรุ 1 และรัตนชัย พรมเทพอานวย2 Chiti Sritontip1 Sunti Changjeraja1 Yuttana Khaosumain1 and Rattanachai Phomthephamnoy2

บทคัดย่ อ การศึกษาการใช้ สารเคมีตอ่ การยับยังการแตกใบอ่ ้ อน ทดลองกับต้ นลาไยพันธุ์ดออายุ 17 ปี วางแผนการทดลองแบบ สุม่ สมบูรณ์ (CRD) มี 5 กรรมวิธี 4 ซ ้า ๆ ละ 1 ต้ น ได้ แก่ 1.) ไม่พ่นสารเคมี 2) การพ่นปุ๋ ย 0-52-34 ความเข้ มข้ น 2.5 เปอร์ เซ็นต์ จานวน 2 ครัง้ 3) การพ่นสารเอทีฟอน 200 มิลลิกรัมต่อลิตร จานวน 1 ครัง้ 4) การพ่นสารแพคโคบิวทราโซล 200 มิลลิกรัมต่อ ลิตร จานวน 1 ครัง้ และ 5) การพ่นสารโพแทสเซียมครอเรต 2,000 มิลลิกรัมต่อลิตร จานวน 1 ครัง้ หลังพ่นสาร 1 สัปดาห์ ราด โพแทสเซียมคลอเรตทางดินอัตรา 10 กรัมต่อตารางเมตร ผลการทดลองพบว่าการพ่นสารแพคโคบิวทราโซลมีระยะเวลาการ แตกช่อช้ าที่สดุ แต่การไม่พ่นสารเคมีมีการแตกช่อใบมากที่สดุ และมีการแตกช่อดอกน้ อยที่สดุ การพ่นสารเอทธี ฟอนและสาร แพคโคบิวทราโซลมีจานวนใบประกอบต่อช่อมากที่สดุ ในขณะที่การให้ สารเคมีไม่มีผลต่อความยาวของช่อใบ เส้ นผ่าศูนย์กลาง ของช่อใบ ความกว้ างของใบ ความยาวของใบ ความยาวช่อดอกและเส้ นผ่าศูนย์กลางของช่อดอก คาสาคัญ: ลาไย การแตกช่อใบ การออกดอก

Abstract Effect of some chemicals leaf flushing inhibition was investigated in the 17 year old of “Daw” longan trees The experiment was designed base on CRD including 5 treatments, 4 replications (1 longan tree/replication) i.e. 1) Control 2) 0-52-34 (2.5 %, 2 times) 3) ethephon (200 mg./l., 1 time) 4) placlobutrazol (200 mg./l., 1 time) and 5) potassium chlorate (KClO3). (2,000 mg./l., 1 time). After 7 day chemical, longan trees were treated by 10 g./m2 KClO3. The result showed that placlobutrazol treatment was able to delay terminal budbreak. The control had leaf flushing the highest while lower flowering. The chemicals had no effect on shoot length and diameter, leaf length and width, panicle length and diameter. Keywords: longan, leaf flushing, flowering

1 2

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา อ.เมือง จ. ลาปาง 52000 สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง อ.เมือง จ. ลาปาง 5200 148

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-23 ผลของนา้ หมักชีวภาพต่ อการเจริญเติบโตและคุณภาพของผักสลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮดและเรดคอเรล Effect of Bio-extracts on the Growth and Quality of Butter Head and Red Coral Lettuces เยาวรัตน์ วงศ์ ศรีสกุลแก้ ว1 สรศักดิ์ ทวีสิน1 สุชาทัศน์ คงเจริญ1 และคณพศ ศรีรุวัฒน์ 1 Yaowarat Wongsrisakulkaew1 Sorasak Taweesin1 Suchatath Kongcharoen1 and Kanapot Sriruwat1

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของนา้ หมักชีวภาพต่อการเจริ ญเติบโตของผักสลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮดและพันธุ์เรดคอเรล วางแผนการ ทดลองแบบ RCBD (Randomized Complete Block Design) มี 3 สิ่งทดลอง จานวน 4 ซ ้า ได้ แก่ ปุ๋ ยเคมีสตู ร 16-16-16 น ้า หมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ น และน ้าหมักชีวภาพสูตรกากถัว่ เหลือง ในผักสลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮดพบว่าน ้าหมักชีวภาพสูตรกาก ปลาป่ นและนา้ หมักชี วภาพสูตรกากถั่วเหลือง ให้ ผลการเจริ ญเติบโตใกล้ เคี ยงกันกับ ปุ๋ ยเคมี สูตร 16-16-16 โดยมี ความ แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ส่วนผักสลัดพันธุ์เรดคอเรลพบว่าน ้าหมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ น และน ้าหมักชีวภาพสูตร กากถัว่ เหลือง ให้ ผลการเจริญเติบโตใกล้ เคียงกันกับปุ๋ ยเคมีสตู ร 16-16-16 โดยไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ น ้าหมักชีวภาพ สูตรกากปลาป่ นมีผลทาให้ สีใบของผักสลัดพันธุ์เรดคอเรลและพันธุ์บตั เตอร์ เฮดมีสีที่เข้ มกว่าน ้าหมักชีวภาพสูตรกากถัว่ เหลือง และปุ๋ ยเคมีสตู ร 16-16-16 ตามลาดับ คาสาคัญ: น ้าหมักชีวภาพ ผักสลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮด ผักสลัดพันธุ์เรดคอเรล

Abstract Study on effect of bio-extracts on growth and quality of butter head and red coral lettuces was determined. The experimental design was RCBD (Randomized Complete Block Design) with 3 treatments and 4 replications include chemical fertilizer (16-16-16), bio-extract of fish meal and bio-extract of soybean meal. The result of this study showed that the vegetative yield of butter head lettuces was similar to chemical fertilizer with difference statistically significant when treated with bio-extract of fish meal and soybean meal. There were no statistically differences on the vegetative yield of red coral lettuces. Bio-extract of fish meal could increase the color of leaves in red coral and butter head lettuces than bio-extract of soybean meal and chemical fertilizer, respectively. Keywords: bio-extract, red coral lettuces, butter head lettuces

1

สาขาการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปทุมธานี 12130

18-20 พฤศจิกายน 2558

149


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-24 การใช้ ประโยชน์ ของปุ๋ยแคลเซียมซิลิเกตต่ อการผลิตกล้ ามะเขือเทศ Utilization of Calcium Silicate Fertilizer on Tomato Seedling Production กมลวรรณ คงสุดรู้ 1, ศุภชัย อาคา1 ธงชัย มาลา1 และพรไพรินทร์ รุ่ งเจริญทอง2 Kamolwan Kongsudru1, Suphachai Amkha1,* Thongchai Mala1and Pornpairin Rungcharoenthong2

บทคัดย่ อ ศึกษาการใช้ ประโยชน์ของการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางใบและทางดินต่อการผลิตกล้ ามะเขือเทศ มี 2 การทดลอง ได้ แก่ 1) ผลของการใช้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์และการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางใบ วางแผนการทดลอง แบบ 2x6 factorials in Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้ วย ปั จจัยที่ 1 การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ คือ การเคลือบ เมล็ดพันธุ์และไม่เคลือบเมล็ดด้ วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต และปั จจัยที่ 2 ระยะการให้ แคลเซียมซิลิเกตที่เข้ มข้ น 6 กรัม/ลิตร คือ ทุก วัน วันเว้ นวัน ทุก 2, 5 และ 7 วัน ผลการทดลองพบว่า การเคลือบเมล็ดพันธุ์ด้วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต หรื อการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิ เกตทุกวัน และการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทุกวันส่งเสริ มให้ กล้ ามะเขือเทศมีการเจริ ญเติบโตดีทงด้ ั ้ าน ความสูง น ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งต้ นและราก และความยาวราก 2) ผลของการใช้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์ และการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางดิน วางแผนการทดลองแบบ 2x6 factorials in Completely CRD ประกอบด้ วย ปั จจัยที่ 1 การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ คือ การเคลือบเมล็ดพันธุ์และไม่เคลือบเมล็ดด้ วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต และปั จจัยที่ 2 อัตราการใส่ปยุ๋ แคลเซียมซิลิเกตทางดิน คือ 0, 5, 10, 15, 20 และ 25 กิโลกรัมต่อไร่ พบว่า การเคลือบเมล็ดพันธุ์ด้วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต หรื อ การให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตอัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ และการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตอัตรา 10 กิโลกรัม ต่อไร่ ส่งเสริ มให้ กล้ ามะเขือเทศมีการเจริ ญเติบโตดีทงด้ ั ้ านความสูง นา้ หนักสดและน ้าหนักแห้ งต้ นและราก และความยาวราก ดังนันปุ๋ ้ ยแคลเซียมซิลิเกตสามารถประยุกต์ใช้ ร่วมกับการผลิตกล้ ามะเขือเทศทังการให้ ้ ทางใบและทางดิน คาสาคัญ: เคลือบเมล็ดพันธุ์ แคลเซียมซิลิเกต มะเขือเทศ

Abstract To studies effects of calcium silicate fertilizer utilization by foliar and soil drench method on tomato seedling production two experiments were conducted. The 1st experiment was effects of seed coating by calcium silicate and foliar application of calcium silicate. The experiment was using 2x6 factorials in CRD, as consists of factor A (seed coating and non-seed coating by calcium silicate) and factor B (time application of calcium silicate at 0 day, every day, every other day, every 2, 5 and 7 days). The results showed that seed coating by calcium silicate fertilizer or every day of calcium silicate application and seed coating with every day of calcium silicate application enhanced the good of plant growth seedling such as seedling plant height, seedling fresh and dry weight and root length. The 2nd experiment was conducted to study the effects of seed coating by calcium silicate and soil drench application of calcium silicate. The experiment was using 2x6 factorials in CRD, as consists of factor A (seed coating and non-seed coating by calcium silicate) and factor B (calcium silicate application at 0, 5, 10, 15, 20 and 25 kg/rai). The results showed that seed coating by calcium silicate fertilizer or calcium silicate application at 10 kg/rai and seed coating with calcium silicate application at 10 kg/rai enhanced the good of plant growth seedling such as seedling plant height, seedling fresh and dry weight and root length. Then, calcium silicate fertilizer can use for tomato seedling production both of foliar and soil drench application methods. Keywords: seed coating, calcium silicate, tomato 1 2

ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 สายวิชาวิทยาศาสตร์ สาขาพฤกษศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 150

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-25 ผลของการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับวิธีการให้ ป๋ ุยด้ วยแคลเซียมซิลิเกตต่ อการผลิตกล้ าผักกาดหัว Effects of Seed Coating with Fertilizer Application Methods by Calcium Silicate on Radish Seedling Production รังสินี ประเสริฐวัฒนะ1 ศุภชัย อาคา1 ธงชัย มาลา1 และพรไพรินทร์ รุ่งเจริญทอง2 Rungsinee Prasertwattana1 Suphachai Amkha1,* Thongchai Mala1and Pornpairin Rungcharoenthong2

บทคัดย่ อ ศึกษาผลของการเคลือบเมล็ดพันธุ์กบั วิธีการให้ ปยด้ ุ๋ วยแคลเซียมซิลิเกตต่อการผลิตกล้ าผักกาดหัว มี 2 การทดลอง ได้ แก่ 1) ผลของการใช้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์และการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางใบ วางแผนการทดลอง แบบ 2x6 factorials in Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้ วย ปั จจัยที่ 1 การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ คือ การ เคลือบเมล็ดพันธุ์และไม่เคลือบเมล็ดด้ วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต และปั จจัยที่ 2 ระยะการให้ แคลเซียมซิลิเกตที่ความเข้ มข้ น 2 กรัม/ลิตร คือ ทุกวัน วันเว้ นวัน ทุก 2, 5 และ 7 วัน ผลการทดลองพบว่า การเคลือบเมล็ดพันธุ์ด้วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต หรื อการ ให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทุกวัน และการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทุกวันส่งเสริ มให้ กล้ าผักกาดหัวมีการ เจริ ญเติบโตดี และ 2) ผลของการใช้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์และการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางดิน วาง แผนการทดลองแบบ 2x6 factorials in Completely CRD ประกอบด้ วย ปั จจัยที่ 1 การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ คือ การเคลือบเมล็ด พันธุ์และไม่เคลือบเมล็ดด้ วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต และปั จจัยที่ 2 อัตราการใส่ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางดิน คือ 0, 5, 10, 15, 20 และ 25 กิโลกรัมต่อไร่ ผลการทดลองพบว่า การเคลือบเมล็ดพันธุ์ด้วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต หรื อการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตอัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ และการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตอัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ ส่งเสริ มให้ กล้ าผักกาดหัว มีการเจริญเติบโตดี ดังนันปุ๋ ้ ยแคลเซียมซิลิเกตสามารถประยุกต์ใช้ ร่วมกับการผลิตกล้ าผักกาดหัวทังการให้ ้ ทางใบและทางดิน คาสาคัญ: เคลือบเมล็ดพันธุ์ แคลเซียมซิลิเกต ผักกาดหัว

Abstract Two experiments were conducted to studies utilization of calcium silicate fertilizer by foliar and soil drench method in radish seedling production. The 1st experiment was studied the effects of seed coating by calcium silicate and foliar application of calcium silicate. The experiment was using 2x6 factorials in CRD, as consists of factor A (seed coating and non-seed coating by calcium silicate) and factor B (time application of calcium silicate at 0 day, every day, every other day, every 2, 5 and 7 days). The results indicated that seed coating by calcium silicate fertilizer or every day of calcium silicate application and seed coating with every day of calcium silicate application enhanced the good of plant growth seedling. The 2nd experiment was effects of seed coating by calcium silicate and soil drench application of calcium silicate. The experiment was using 2x6 factorials in CRD, as consists of factor A (seed coating and non-seed coating by calcium silicate) and factor B (calcium silicate application at 0, 5, 10, 15, 20 and 25 kg/rai). The results showed that seed coating by calcium silicate fertilizer or calcium silicate application at 10 kg/rai and seed coating with calcium silicate application at 10 kg/rai enhanced the good of plant growth. Then, calcium silicate fertilizer can use for radish seedling production both of foliar and soil drench application methods. Keywords: seed coating, calcium silicate, radish 1 2

ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 สายวิชาวิทยาศาสตร์ สาขาพฤกษศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

151


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-26 ประสิทธิภาพของปุ๋ยอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโตของต้ นสตรอเบอรี่พันธุ์พระราชทาน 80 Efficiency of Organic Fertilizers on the Growth of Strawberry cv. Praratchatan 80 สุมิตร คุณเจตน์ 1 นิสาชล เทศศรี1 และธนภูมิ อ่ อนพรมราช1 Sumit Kunjet1 Nisachon Tedsri1 and Thanapoom Onpromrat1

บทคัดย่ อ จากการศึกษาผลของอุณหภูมิต่ าในระยะต้ นกล้ าที่ มีผลต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่ พันธุ์ พระราชทาน 80 โดยการนาต้ นไหลมาวางในโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศที่มีอณ ุ หภูมิประมาณ 33±2 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 30 วัน (ชุดควบคุม) และในห้ องที่มีอณ ุ หภูมิต่าประมาณ 25±1 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 10, 20 และ 30 วัน ก่อนที่จะนาลงปลูก ในวัสดุปลูก ในสภาพโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ จากผลการทดลองพบว่า การได้ รับอุณหภูมิต่าในระยะต้ นกล้ าไม่มีผลต่อ การเจริ ญเติบโตและผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่ โดยทุกกรรมวิธีมีจานวนและความยาวของก้ านใบ ความกว้ างและความยาวใบ พื ้นที่ใบและปริมาณคลอโรฟิ ลล์ในใบ การออกดอกและการติดผลของต้ นสตรอเบอรี่ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ คาสาคัญ: วัสดุปลูก อุณหภูมิต่า สตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 โรงเรื อนควบคุมสภาพบรรยากาศ

Abstract The effect of low temperature in the period of seedling on growth and yield of strawberry cv. Praratchatan 80 were studied. The seedling was stored in the greenhouse at 33±2 C for 30 days (control) and low temperature at 25±1 C for 10, 20 and 30 days before planting with substrate culture in the greenhouse. The results showed that low temperature in the period of seedling was no affected growth and yield of strawberry. All treatments were no different in the number of petiole, length of petiole, width of the leaves, length of the leaves, leaf area, chlorophyll in the leaves, flowers and fruit set of strawberry. Keywords: substrate culture, low temperature, strawberry cv. Praratchatan 80, greenhouse

1

สาขาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี 152

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-27 อิทธิพลของการพรางแสงต่ อการเจริญเติบโตและผลผลิตของบัวบก (Centella asiatica (L.) Urb.) ในช่ วงปลายฤดูหนาว Effect of Shading on Growth and Yield of Asiatic Pennywort (Centella asiatica (L.) Urb.) in Late Winter บุษบา บัวคา1 และรักเกียรติ แสนประเสริฐ2 Budsaba Buakum1 and Rugkeart Sanprasert 2

บทคัดย่ อ บัวบกมักมีราคาตกต่าในช่วงฤดูหนาว การเลื่อนเวลาปลูกไปในปลายฤดูหนาวอาจช่วยแก้ ปัญหานี ้ได้ แต่การศึกษา เกี่ยวกับการเขตกรรมของการปลูกบัวบกในช่วงนี ้ยังไม่มีการศึกษามากนัก โดยเฉพาะเกี่ยวกับการพรางแสง ดังนันการศึ ้ กษานี ้ จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการพรางแสงที่มีต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของบัวบกที่ปลูกในช่วงปลายฤดูหนาว โดยทาการทดลองในช่วง กุมภาพันธ์ -เมษายน 2558 ซึ่งช่วงนี เ้ ป็ นช่วงฤดูหนาวเข้ าสู่ฤดูร้อน โดยวางแผนการทดลองแบบ RCBD มี 5 กรรมวิธี ๆ ละ 4 ซ ้า โดยกรรมวิธีการทดลอง ได้ แก่ ไม่มีการพรางแสง พรางแสง 80 และ 50 % เป็ นเวลาหนึ่งเดือน และพรางแสง 80 และ 50 % ตลอดฤดูปลูกหรื อเป็ นเวลาสามเดือน จากผลการทดลองพบว่า การพรางแสงที่แตกต่างกันไม่ทา ให้ การเจริ ญเติบโตของบัวบกมีความแตกต่างกันมากนัก และปริ มาณ Asiaticoside ที่เป็ นสารสาคัญในบัวบกยังไม่มีความ แตกต่างทางสถิติอีกด้ วย ดังนันในการปลู ้ กบัวบกในช่วงฤดูหนาวเข้ าสูฤ่ ดูร้อนของเกษตรกรจึงไม่จาเป็ นต้ องมีการพรางแสง คาสาคัญ: บัวบก ความเข้ มแสง การเจริญเติบโต ผลผลิต ปลายฤดูหนาว

Abstract Asiatic pennywort can yield more than the market needs during winter and then the price is depressed from oversupply. One approach to solve the problem is to delay the planting date to late winter. But, suitable cultural practice for Asiatic pennywort planted in this period has not been studied much, especially about the effects of shading. Thus, this study aimed to determine the effects of shading on growth and yield of Asiatic pennywort planted in late winter. The experiment was conducted in late winter during February to April 2015. The experimental design was RCBD with 5 treatments and 4 replications. The treatments included no shading, shading 80 and 50 % for 1 month and shading 80 and 50 % for 3 month. The results showed that growth and yield of Asiatic pennywort under different shading conditions did not differ consistently. The amount of Asiaticoside in Asiatic pennywort under different shading conditions was also not significantly different. So, farmers do not need to shade Asiatic pennywort grown in late winter and this will help farmers to reduce costs. Keywords: gotu kola, light intensity, late winter, growth, yield

1 2

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34190 สานักงานไร่ฝึกทดลองและห้ องปฏิบตั ิการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34190

18-20 พฤศจิกายน 2558

153


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-28 อิทธิพลของการผสมข้ ามที่มีผลต่ อการติดผลของส้ มโอทองดี Influence of Cross Pollination on Fruit setting of Pummelo cv. Thong Dee ประวิทย์ ธรรมทะ1 สมยศ มีทา¹ ราไพ นามพิลา¹ สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา¹ สุชีลา เตชะวงค์ เสถียร¹ และสังคม เตชะวงค์ เสถียร¹ 1 Prawit Thumta Somyot Meetha1 Rampai Nampila1 Supat Isarangkool Na Ayuttaya1 Suchila Techawongstien1 and Sungcom Techawongstien1

บทคัดย่ อ ส้ ม โอเป็ น พื ช ผสมข้ า มที่ มี ค วามส าคัญ ในพื น้ ที่ เ ขตร้ อนและกึ่ ง ร้ อน มี ก ารปลูก เป็ น ระบบเชิ ง เดี่ ย วจึง ไม่ มี ค วาม หลากหลายทางสายพันธุกรรมภายในสวน เนื่องจากความหลากหลายทางพันธุกรรมในสวนต่าจึงทาให้ อตั ราการติดผลลดลง ดังนันเพื ้ ่อให้ การติดผลที่เพิ่มขึ ้นจะต้ องมีการผสมข้ ามระหว่างสายพันธุ์ที่แตกต่างกัน จึงได้ มีการวางแผนการผสมข้ ามในส้ มโอ 3 สายพันธุ์ คือ พันธุ์ทองดี (ผสมภายในต้ น), พันธุ์ทองดีผสมข้ ามกับพันธุ์ทองดีต่างต้ นกัน , พันธุ์ทองดีผสมข้ ามกับพันธุ์ทบั ทิม สยาม และพันธุ์ทองดีผสมข้ ามกับพันธุ์มณีอีสาน วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ภายในบล็อค (Randomized complete block design: RCBD) จานวน 4 ซ ้าๆ ละ 10 ดอก ทาการเก็บผลเปอร์ เซ็นต์การติดผล 8 สัปดาห์หลังการผสมเกสร พบว่า พันธุ์ทองดีผสมข้ ามกับพันธุ์มณีอีสาน มีการติดผลที่สงู ที่สดุ และการผสมภายในต้ นของพันธุ์ทองดี การติดผลที่น้อยที่สดุ ซึ่ง แสดงให้ เห็นว่าส้ มโอพันธุ์ทองดีต้องได้ รับการผสมข้ ามพันธุ์จึงจะเพิ่มการติดผล โดยพันธุ์มณีอีสานเป็ นพันธุ์ที่ถ่ายละอองเกสร แล้ วทาให้ มีอตั ราการติดผลเพิ่มขึ ้น คาสาคัญ: ส้ มโอพันธุ์มณีอีสาน ปฏิสนธิ พัฒนาผล

Abstract Pummelo is an important cross pollination fruit in tropical and subtropical areas. The monoculture system, of pummelo cv. Thong Dee, which is not diverse cultivar in the grower orchard. Due to low genetic diverse, resulted the rate in fruit setting low. Thus, to facilitate fruit setting, cross pollination of 3 pummelo cultivars were designed, ie. cv. Thong Dee (selfing), cv. Thong Dee x cv. Thong Dee(cross-pollination), cv. Thong Dee x cv. Ruby of Siam and cv. thong Dee x cv. Manee Esaan. The experiment was conducted in Randomized Complete Block Design (RCBD) with four replications, 10 flowers per replication. Percentage of fruit setting were observe at 4 and 8 week after pollination. The results showed that the cv.Thong Deex cv. Manee Esaan exhibited highest fruit setting while self pollination gave lowest. This finding indicated that cv. Thong Dee need to cross pollination for enhance fruit setting and cv. Manee Ee-saan showed the good pollinator cultivar for Thong Dee. Keywords: pummelo cv. Manee Ee-saan, fertilization, fruit development

1

สาขาพืชสวน ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40002 154

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-29 การศึกษาผลของวัสดุรองรั บต่ อการเปลี่ยนแปลงจานวนประชากร T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียน Effects of Supporting Material on Trichoderma Population in the Re-Circulating Nutrient Solution คเณศ ใจเก่ งกาจ1 ชิตพ ิ นั ธ์ ทองเจริญสุขชัย1 และ พรหมมาศ คูหากาญจน์ 1 Kanet Jaikengkaj1 Chitipan Thongcharoensukchai1 and Prommart Koohakan1*

บทคัดย่ อ ทาการทดสอบในระบบสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียน ที่มีขวด PET (Polyethylene terephthalate) บรรจุวสั ดุรองรับ ได้ แก่ เพอร์ ไลท์ และเวอร์ มิคไู ลท์ 1 ลิตร ผสมกับชีวผลิตภัณฑ์ T. harzianum ในอัตรา 50 กรัม สาหรับกรรมวิธีควบคุมมีเฉพาะ สารละลายธาตุอาหารผสมกับชีวผลิตภัณฑ์ในอัตราส่วนเดียวกัน ให้ สารละลายธาตุอาหารไหลผ่านวัสดุรองรับลงสูก่ ระบะสารละลาย และหมุนเวียนอย่างต่อเนื่อง การทดลองแบ่งออกเป็ น 3 ระยะคือ ระยะแรกตรวจสอบความมีชีวิตรอดของจานวนประชากร T. harzianum เป็ นเวลา 7 สัปดาห์ ระยะที่สองผลของพืชต่อจานวนประชากร T. harzianum โดยใส่ผกั สลัดกรี นโอ๊ คลงไปในระบบเป็ น เวลา 4 สัปดาห์ ระยะสุดท้ ายตรวจสอบความมีชีวิตรอดของ T. harzianum หลังจากทาการเก็บผลผลิตแล้ ว จากการตรวจนับจานวน ประชากร T. harzianum ในวัสดุรองรับและสารละลายในกระบะทุกสัปดาห์ พบว่าจานวนประชากร T. harzianum ในภาชนะที่มีวสั ดุ รองรับมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก โดยพบในช่วง 5.3-5.2 log cfu ต่อมิลลิลิตร ทังกรรมวิ ้ ธีที่ใช้ เพอร์ ไลท์และเวอร์ มิคไู ลท์เป็ นวัสดุรองรับ ส่วนในกรรมวิธีควบคุมมีอตั ราลดลงอย่างรวดเร็วจาก 5.3 log cfu ต่อมิลลิลิตร เป็ น 2.7 log cfu ต่อมิลลิลิตร ระยะที่สองในวัสดุรองรับ ทังสองลดลงเล็ ้ กน้ อยในช่วง 4.9-5.0 log cfu ต่อมิลลิลติ ร ส่วนในกรรมวิธีควบคุมลดลงเหลือ 2.6 log cfu ต่อมิลลิลิตร ระยะสุดท้ ายใน วัสดุรองรับทังสองลดลงเล็ ้ กน้ อย 4.7-4.8 log cfu ต่อมิลลิลิตร ส่วนในกรรมวิธีควบคุมลดลงเหลือ 2 log cfu ต่อมิลลิลิตร สาหรับ จานวนประชากร T. harzianum ในกระบะสารละลายของวัสดุรองรับทังสองชนิ ้ ดพบจานวนประชากร T. harzianum อยู่ในช่วง 3.53.0 log cfu ต่อมิลลิลิตร ซึง่ มากกว่าในกรรมวิธีควบคุมที่พบอยู่ในช่วง 2.5-2.0 log cfu/ml ผลการทดลองดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่า ใน ระบบหมุนเวียนสารละลายธาตุอาหารที่มีวสั ดุรองรับสามารถรักษาระดับจานวนประชากรของ T. harzianum ให้ มากกว่ากรรมวิธี ควบคุมได้ คาสาคัญ: เชื ้อรา Trichoderma sp. Hydroponics เพอร์ ไลท์ เวอร์ มิคไู ลท์

Abstract

This experiment was done in the re-circulating nutrient solution (NS). Installed with PET bottle (Polyethylene terephthalate) containing supporting material (perlite or vermiculite) at the volume of 1 L mixed with 50 g of Trichoderma biocontrol product. For control, it was PET accessory with 1 L of NS and biocontrol product without supporting material. NS was passed through the accessory and ran off into the NS tank in re-circulation. Population of T. harzianum in supporting material and NS tank were weekly detected throughout 3 periods. At the 1st period, the survival of T. harzianum in the system was detected for 7 weeks. In the 2nd period, effect of green oak lettuce on T. harzianum population was evaluated for 4 weeks. Then it was continuously detected for 3 weeks in the last period without plant. The result showed that, T. harzianum population in perlite and vermiculite of the 1st period was rather stable. It found in range of 5.3-5.2 log cfu/ml, while in control it reduced rapidly from 5.3 to 2.7 log cfu/ml. The 2nd period, T. harzianum population in perlite and vermiculite slightly decreased to 4.9-5.0 log cfu/ml, but in control it was decreased to 2.6 log cfu/ml. In the last period T. harzianum population in supporting materials stilled higher than control, it was by 4.7-4.8 log cfu/ml. while in control was 2.0 log cfu/ml. For the population in the NS tank, system with supporting material was detected in the range 3.5-3.0 log cfu/ml, which higher than control that was detected at 2.5-2.0 log cfu/ml. These results dedicated effect of supporting material to maintain T. harzianum in higher population than control. Keywords: Trichoderma sp., hydroponics, vermiculite, perlite 1

สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

18-20 พฤศจิกายน 2558

155


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-30

ผลของ 6- Benzylaminopurine (BA) ต่ อการเจริญของตาที่ก้านช่ อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนนอปซิส Effect of 6- Benzylaminopurine (BA) on Growth of Phalaenopsis spp. Inflorescence Bud

สุเมธ ตรี ศักดิ์ศรี1*และดวงตา จวนเจริญ1 Sumet treesaksri 1*and Doungtha juanchareon1

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของ BA ที่ระดับความเข้ มข้ นต่าง ๆ ต่อการเจริ ญของตาที่ก้านช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนนอปซิส ทา การทดลอง โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้ วย 4 วิธีการทดลอง ๆ ละ 3 ซ ้า ๆ ละ 4 ตา โดยนากล้ วยไม้ สกุลฟาแลนนอปซิสสายพันธุ์เวดดิ ้ง พรอมมะเนด มาทาการป้ายตาที่ก้านช่อดอก ด้ วย BA ในรูปครี มที่ระดับความเข้ มข้ น 1 2.5 5 และ 10 กรัมต่อกิโลกรัม หลังจากป้ายตาเป็ นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่า BA ในรูป ครี มความเข้ มข้ น 2.5, 5 และ 10 กรัมต่อกิโลกรัมทาให้ กล้ วยไม้ ฟาแลนอปซีสมีเปอร์ เซ็นต์การแตกตาดีที่สดุ 100 เปอร์ เซ็นต์ และ BA ในรูปครี มความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัม ทาให้ ตาที่ก้านช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซีสมีความยาว ตามากที่สดุ คือ 8.09 เซนติเมตร คาสาคัญ: ไซโตไคนิน ตาดอก

Abstract Effect of different concentrations of BA on the growth of inflorescence bud of Phalaenopsis Wedding Promenade were studies. The experiment was a completely randomized design (CRD) with four treatments and three replications with 4 inflorescence buds per replications. The mixture of BA in lanoline paste at 1, 2.5, 5 and 10 g/kg were treated on inflorescence bud of Phalaenopsis Wedding Promenade. After 8 week applications, the result showed that 2.5, 5 and 10 g/kg BA in lanoline paste treatments induced 100% of inflorescence budding. The longest inflorescence buds at 8.09 cm were found in 5 g/kg BA in lanoline paste treatment. Keywords: cytokinins, inflorescence bud

1

ภาควิชาครุศาสตร์ เกษตร คณะครุศาสตร์ อตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 156

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-31 การทดสอบความสามารถในการเป็ นปฏิปักษ์ ของเชือ้ รา Trichoderma จากวัสดุรองรับ ต่ อเชือ้ Pythium sp. Evaluation of Antagonistic Activity of Trichoderma from Supporting Materials against Pythium sp. ทักษพร ช้ างม่ วง1 ปาณิศา ประสม1 และพรหมมาศ คูหากาญจน์ 1 Taksaporn Changmuang1 Panisa Prasom1 and Prommart Koohakan1*

บทคัดย่ อ การรักษาระดับประชากรของจุลินทรี ย์ปฏิปั กษ์ ให้ อยู่ในระดับที่เหมาะสม เป็ นปั จจัยหนึ่งที่ทาให้ การควบคุมโดยชีววิธี ประสบผลสาเร็ จ เราได้ ทดลองพบว่าวัสดุรองรับสามารถที่จะรักษาระดับประชากรของ Trichoderma harzianum ให้ อยู่ใน สารละลายธาตุอาหารหมุนเวียนได้ มากกว่าระบบที่ปราศจากวัสดุรองรับ ในการทดลองนี ้ได้ ขยายขอบเขตของการทดลองไปยัง วัสดุรองรับประเภทอินทรี ย์สารชนิดอื่นๆ ได้ แก่ แกลบ ขุยมะพร้ าว รา เปลือกไม้ สบั เวอร์ มิคไู ลท์ (vermiculite) พีทมอส (peat moss) และ สแฟกนัม่ มอส (sphagnum moss) โดยเน้ นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของ T. harzianum จากวัสดุ รองรับดังกล่าวข้ างต้ น ในด้ านการเจริ ญของเส้ นใย การสร้ างส่วนขยายพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา รวมถึงประสิทธิภาพใน การยับยังการเจริ ้ ญเติบโตของเชื ้อ Pythium sp. ที่เป็ นสาเหตุสาคัญของการเกิดโรครากเน่าในระบบปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดิน ซึง่ จะ รายงานผลให้ ทราบจากการทดลองในครัง้ นี ้ คาสาคัญ: Trichoderma sp. วัสดุรองรับ การปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดิน

Abstract One key for biological control achievement is maintaining population of antagonistic microorganism in a suitable level. Our study revealed that supporting material could maintain the population of Trichoderma harzianum in the re-circulated nutrient solution system at the higher level than that without supporting material. In this experiment we expanded the study to other organic supporting materials namely; rice hulls, coconut-husk dust, rice bran, chopped bark, vermiculite, peat moss and sphagnum moss, and focused on the properties of T. harzianum re-isolated from those supporting materials. The biological properties including hyphal growth, sporulation, morphological characteristics and antagonistic activity against Pythium sp. known as major causal agent of root rot disease in hydroponics will be reported in this article. Keywords: Trichoderma sp., supporting materials, hydroponics

1

สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

18-20 พฤศจิกายน 2558

157


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-32 การให้ ป๋ ุยพร้ อมระบบนา้ ร่ วมกับการฉีดพ่ นทางใบด้ วยนา้ หมักชีวภาพผสมสปอร์ สดแขวนลอยไตรโคร เดอร์ มาในการเพิ่มผลผลิตและควบคุมโรคพริกขีห้ นู The Combination of Fertigation and Foliar Spray of Bio-fermented Extract Mixed with Trichoderma Spores Solution Increased Yields and Controlled Diseases of Hot Chili มนตรี อิสรไกรศีล1 วาริน อินทนา1 และอรรถกร พรหมวี1 Montree Issarakraisila1, Warin Intana1 and Auttakorn Promwee1

บทคัดย่ อ การให้ ปยและควบคุ ุ๋ มโรคที่ไม่เหมาะสมพบว่าเป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้ พริ กขี ้หนูในประเทศไทยซึ่งปลูกในเขตร้ อนมี ผลผลิตต่า ทาการทดลองโดยปลูกต้ นกล้ าพริ กขี ห้ นูเป็ นแถว คลุมด้ วยพลาสติกและมีระบบการให้ ปยพร้ ุ๋ อมน ้า สูตรการให้ ปยุ๋ พร้ อมน ้า (ให้ สตู ร 15-15-15 ช่วงต้ นกล้ าอายุ 45-90 วัน และสูตร 13-13-21 ช่วงต้ นกล้ าอายุ 91-180 วัน) มี 2 อัตรา คือ 30 และ 60 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับการฉีดพ่นทางใบด้ วยน ้าหมักชีวภาพ หรื อสปอร์ ส ดแขวนลอยไตรโคเดอร์ มา หรื อน ้าหมักชีวภาพ ผสมสปอร์ สดแขวนลอยไตรโคเดอร์ มา ทุกสองสัปดาห์ รวมเป็ น 8 กรรมวิธี ผลการทดลองพบว่า น ้าหนักสดของพริ กเพิ่มขึน้ 21.8 เปอร์ เซ็นต์ เมื่ออัตราของปุ๋ ยเพิ่มขึ ้นจาก 30 เป็ น 60 กิโลกรัมต่อไร่ ขณะที่การให้ ปยร่ ุ๋ วมกับการฉีดพ่นทางใบด้ วยน ้าหมัก ชีวภาพ หรื อสปอร์ สดแขวนลอยไตรโคเดอร์ มา หรื อนา้ หมักชีวภาพผสมสปอร์ สดแขวนลอยไตรโคเดอร์ มา ทาให้ นา้ หนักสด เพิ่มขึ ้นเฉลี่ย 9.3, 6.5 และ 15.0 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ดังนันพบว่ ้ าการให้ ปยอั ุ๋ ตรา 60 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับการฉีดพ่นด้ วยน ้า หมักชีวภาพผสมสปอร์ สดแขวนลอยไตรโคเดอร์ มา ทาให้ น ้าหนักสดของพริ กขี ้หนูเพิ่มขึ ้น 35.7 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อเทียบกับการให้ ปุ๋ ยในอัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ เพียงอย่างเดียว การเพิ่มขึ ้นของน ้าหนักสดพริ กดังกล่าวเกี่ยวข้ องสอดคล้ องกับ การเพิ่มขึ ้นของ ความกว้ างทรงพุม่ จานวนฝักต่อต้ น และน ้าหนักสดต่อฝั ก รวมถึงการเป็ นโรคใบจุดและโรคแอนแทรคโนสของพริกที่ลดลง

Abstract Improper fertilizer and disease control were found to be important causes of low yields of hot chili in tropical environments such as Thailand. Hot chili seedlings were planted as a row with plastic mulching and a simplified low cost model of fertigation was established. Two amount levels of fertilizer sets in combination with foliar spraying of bio-fermented extract or fresh trichoderma spores solution or both solution extracts in total of 8 treatments were investigated. Fertigation and foliar spraying were applied every two weeks during 45-180 days after seed emergence. Results showed that yields of hot chili measured by fresh weight significantly increased by 21.8 % when the amount of fertilizer set was increased from 30 to 60 kgs/ rai. While the foliar spraying of biofermented extract or fresh trichoderma spores solution or both solution extracts increased yields by average of 9.3, 6.5 and 15.0 %, respectively. As a result, the yields highly rose by 35.7% when the amount of fertilizer set was 60 kgs per rai and in combination with foliar spraying of bio-fermented extract and fresh trichoderma spores solution as compared with the set of 30 kgs per rai alone. Those yields were associated with an increase of the width of plants, number of chili pods per plant and weight of chili pod, also the reduction of leaf spot and anthracnose diseases. Keywords: fertigation, foliar spray, bio-fermented extract, trichoderma, plant disease, hot chili

1

สานักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อาเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรี ธรรมราช 158

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-33 ผลของการห่ อผลต่ อคุณภาพผลผลิตส้ มโอพันธุ์ทองดีและมณีอสี าน Effect of Fruit Bagging on Qualities of Pummelo cvs. Thong Dee and Manee-Esan สมยศ มีทา1 สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา1 พงษ์ ศักดิ์ ยั่งยืน1 และสังคม เตชะวงค์ เสถียร1 Somyot Meetha1 Supat Isarangkool Na Ayutaya1 Pongsak Yangyuen1 and Sungcom Techawongstein1

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของการห่อผลต่อคุณภาพบางประการของผลผลิตส้ มโอ (Citrus grandis (L.) Osbeck) พันธุ์ทองดีและ พันธุ์มณีอีสาน การศึกษาในครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ ทราบผลของการห่อผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสีผิวและคุณภาพภายใน ของผลผลิตส้ มโอ ทาการศึกษาในสวนของเกษตรกร อาเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ มีการห่อผลส้ มโอโดยใช้ ถงุ ห่อผลทาง การค้ า ห่อผลที่อายุ 3 เดือน เปรี ยบเทียบกับการไม่ได้ รับการห่อผล พบว่าการห่อผลมีผลทาให้ สีผิวมีความสม่าเสมอมากขึ ้น น ้าหนักผล เส้ นรอบวงผล และปริ มาตรผล ไม่มีความแตกต่างกันเมื่อระยะเก็บเกี่ยว ปริ มาณของแข็งที่ละลายในน ้าได้ ปริ มาณ กรดที่ไทเทรตได้ และวิตามินซี ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบระหว่างการห่อผลและการไม่หอ่ ผล คาสาคัญ: ส้ มโอ การห่อผล คุณภาพผลผลิต

Abstract The effect of fruit bagging on qualities of pummelo (Citrus grandis (L.) Osbeck) cvs. Thong Dee and Manee-Esan was studied. The aim of this work was to study the peel colorsation and internal qualities of fruit. The experiment was conducted in farmer's orchard at Kasetsombon, Chaiyaphum province. Pummelo fruits were bagged by commercial bags compared with non- bagging treatment. The results showed that the bagging improved the peel color. The bagging had no effect on fruit weight, circumference and volume at harvesting stage. Also, there were not differences were on the total soluble solid, total acidity and vitamin c content in both treatments. Keywords: pummelo, bagging treatment, fruit quality

1

สาขาพืชสวน ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40002

18-20 พฤศจิกายน 2558

159


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-34 การเจริญเติบโตของปลีกล้ วยไข่ และผลของสารเคมีป้องกันกาจัดแมลงต่ อ การควบคุมเพลีย้ ไฟในกล้ วยไข่ Flower Development and Effectiveness of Insecticides in Controlling Thrips of Khai Banana ยศพล ผลาผล1 และ เจตนา ทองแย้ ม1 Yossapol Palapol1 and Jettana Thongyam1

บทคัดย่ อ การศึกษาการเจริ ญเติบโตของปลีกล้ วยไข่และการทดสอบประสิ ทธิภาพของสารเคมีกาจัดเพลี ้ยไฟในปลีกล้ วยไข่ 4 วิธี ได้ แก่ Imidacloprid ความเข้ มข้ น 0.025 กรัมต่อลิตร Fipronil ความเข้ มข้ น 1 มิลลิลิตรต่อลิตร, Thiamethoxam ผสมกับ Lambda-cyhalothrin ความเข้ มข้ น 0.4 มิลลิลิตรต่อลิตร และน ้าเป็ นตัวควบคุม (Control) ทาการพ่นสารวันเว้ นวัน จากผลการ ทดลองพบว่า การพัฒนาของดอกตังแต่ ้ ระยะใบสุดท้ ายจนถึงระยะหวีสดุ ท้ ายใช้ ระยะเวลาเฉลี่ย 17 วัน สาหรับการทดสอบ ประสิทธิภาพของสารเคมีกาจัดเพลี ้ยไฟพบว่า Fipronil สามารถกาจัดเพลี ้ยไฟได้ ดีที่สดุ โดยพบจานวนเพลี ้ยไฟในปลีกล้ วยต่า ที่สดุ (P<0.001) และพบจุดบนผลกล้ วยไข่ต่าที่สดุ (P<0.001) ซึง่ ส่งผลทาให้ ผลกล้ วยไข่มีคณ ุ ภาพภายนอกดีที่สดุ คาสาคัญ: การพัฒนาของดอก เพลี ้ยไฟ สารเคมีปอ้ งกันกาจัดแมลง

Abstract Flower development and effectiveness of insecticides for controlling thrips in khai banana were studied. Applications of 0.025 g/l Imidacloprid, 1 ml/l Fipronil and 0.4 mL/L of a mixture of Thiamethoxam and Lambdacyhalothrin were compared with water (control). Treatments were sprayed every other day until the emergence of the last hand in the banana bunch. The result showed that average time of flower development from the emergence of the last leaf to the last hand of the banana bunch was 17 days. For insecticide applications, Fipronil was the best in controlling thrips compared with other treatments as shown by the lowest numbers of thrips in banana flowers (P<0.001) and spot on fruit peel (P<0.001), resulting in the best external appearance. Keywords: flower development, thrips, insecticide

1

สาขาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี 22170 160

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-35 อิทธิพลของปุ๋ยฟอสฟอรัสต่ อคุณภาพและผลผลิตของหน่ อไม้ ฝรั่ง Effect of Phosphorus Fertilizer Rate on Quality and Yield of Asparagus สุกัญญา แย้ มประชา1 นุจรี บุญแปลง1 และนารี พันธุ์จนิ ดาวรรณ1 Sukunya Yampracha1 Nucharee Boonplang1 and Naree Phanchindawan1

บทคัดย่ อ ศึกษาอิทธิพลของปุ๋ ยฟอสฟอรัสต่อคุณภาพและผลผลิตหน่อไม้ ฝรั่ง โดยทาการทดลองในแปลงเกษตรกร 2 แห่ง ใน ชุดดินกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม และชุดดินทับกวาง จังหวัดกาญจนบุรี วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อคสมบูรณ์ (randomized completely blocks design; RCBD) 4 ซ ้า ใส่ปยเคมี ุ๋ ฟอสฟอรัส 5 อัตรา ได้ แก่ 0, 2, 4, 8 และ 16 กิโลกรัม P2O5 ต่อไร่ เก็บข้ อมูลนาหนักหน่อทังหมด ้ และคัดชันคุ ้ ณภาพของหน่อ เป็ นจานวน 3 รอบการผลิต พบว่า น ้าหนักหน่อทังหมด ้ ของหน่อไม้ ฝรั่งทัง้ 2 แห่ง เพิ่มขึ ้นเมื่อมีการใส่ปยฟอสฟอรั ุ๋ สอัตราสูงขึ ้นอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ และการใส่ปยฟอสฟอรั ุ๋ สใน อัตรา 8 และ 16 กิโลกรัม P2O5 ต่อไร่ ทาให้ ได้ ผลผลิตหน่อทังหมดสู ้ งสุด อย่างไรก็ตามการใส่ปยทั ุ๋ งสองอั ้ ตราไม่ทาให้ น ้าหนัก หน่อทังหมดแตกต่ ้ างทางสถิติ สัดส่วนผลผลิตเกรดเอและซีตอ่ ผลผลิตทังหมดไม่ ้ แตกต่างทางสถิติ ในขณะที่สดั ส่วนของผลผลิต เกรดบีมีแนวโน้ มเพิ่มมากขึ ้นตามอัตราปุ๋ ยที่เพิ่มขึ ้น ความเข้ มข้ นของฟอสฟอรัสในใบต้ นแม่ หน่อ และการดูดใช้ ฟอสฟอรัสไม่ แตกต่างทางสถิติ จะเห็นได้ ว่าการใส่ปยฟอสฟอรั ุ๋ สสามารถเพิ่มปริ มาณหน่อทังหมด ้ แต่ในขณะเดียวกันการใส่ปยฟอสฟอรั ุ๋ ส อัตราสูงส่งผลให้ หน่อที่มีมลู ค่าทางการตลาดมีสดั ส่วนลดลง คาสาคัญ: หน่อไม้ ฝรั่ง ปุ๋ ยฟอสฟอรัส ชุดดินกาแพงแสน ชุดดินทับกวาง

Abstract The effect of phosphorus (P) fertilizer on quality and yield of asparagus conducted in plot experiments at Nakhonpathom and Kanchanaburi province on Kamphangsan and Thap Kwang soil series, respectively. The experimental design was randomized completely blocks design with 4 replications. Five different rates of P chemical fertilizer applied at the rate 0, 2, 4, 8 and 16 kg P2O5 /rai. Total spear and marketable spear ratio of three harvesting periods were recorded. The result showed that total spear weight of both sites significantly increased with increasing phosphorus fertilizer rates (p0.01). The highest total spear found with P application at the rate 8 and 16 kg P2O5 /rai and both application rate not significantly different. The ratio of grade A and C spear per total spear not significant different while grade B ratio significantly increased with increasing P fertilizer rates (p0.05). However, P concentration in fern leaf and spear and P uptake were not different. The results indicate that P fertilizer can improve total spear weight but high P fertilizer rate may decrease marketable spear ratio. Keywords: asparagus, phosphorus fertilizer, kamphangsan soil, thap kwang soil

1

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

18-20 พฤศจิกายน 2558

161


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-36 ผลของปุ๋ยนา้ ต่ อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดฮ่ องเต้ The Effects of Liquid Fertilizer on Growth and Yield of Pak Choi ชลธิชา วัดแป้ น1 ศรสวรรค์ ศรีมา1 และจุฑามาส คุ้มชัย1 Chonticha Watpan1 Sornsawan Srima1 and Jutamas Kumchai1

บทคัดย่ อ จุดประสงค์ของงานทดลองนี ้เพื่อศึกษาผลของปุ๋ ยน ้าที่ขายอยู่ทั่ วไปในท้ องตลาด อาจจะไปช่วยเพิ่มการเจริ ญเติบโต และผลผลิตของผักกาดฮ่องเต้ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ในบล็อค 3 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 3 ซ ้า ได้ แก่ชดุ ควบคุมคือ ปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0) อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ ยน ้าชนิดที่ 1 ร่วมกับ 21-0-0 และปุ๋ ยน ้าชนิดที่ 2 ร่วมกับ 21-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ จากการทดลองพบว่า การให้ ปยน ุ๋ า้ ทังสองชนิ ้ ดร่ วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต ไม่มีผลต่อการเจริ ญเติบโต ทางด้ านความสูงของลาต้ น ความกว้ างทรงพุ่ม ความยาวและความกว้ างของใบผักกาดฮ่องเต้ ในขณะที่จานวนใบของปุ๋ ยน ้า ชนิดที่สองและชุดควบคุมไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่ปยน ุ๋ ้าชนิดที่สองมีจานวนใบมากกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ได้ รับปุ๋ ยน ้า ชนิดที่หนึ่ง นอกจากนี ย้ ังพบว่า นา้ หนักผลผลิตของผักกาดฮ่องเต้ ในทุกๆกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ จากการ ทดลองนี ้สามารถสรุปได้ ว่า ผักใบที่มีอายุการเก็บเกี่ยวสันได้ ้ รับปุ๋ ยมีสว่ นเสริ มทางด้ านไนโตรเจน เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต หรื อ ยูเรี ย ก็เพียงพอต่อการเจริ ญเติบโต การให้ ปยน ุ๋ า้ ที่มีขายกันทัว่ ไปในท้ องตลาดเสริ มเข้ าไปไม่ได้ มีส่วนช่วยเพิ่มผลผลิตและ ลักษณะทางพืชสวนอื่นๆ คาสาคัญ: ผักกาดฮ่องเต้ ปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต ลูกผสม

Abstract The purpose of this research to study the effects of liquid fertilizers that sell in the market. They would increase growth and yield of Pak Choi. The experimental design was randomized complete block design (RCBD) with three treatments and three replications. There were control (ammonium sulfate fertilizer, 21-0-0), liquid fertilizer type one combined with 21-0-0 at rate 20 kilograms per rai and liquid fertilizer type two combined with 21-0-0 at rate 20 kilograms per rai. The result found that both liquid fertilizers combined with 21-0-0 did not affect growth, plant height, canopy width, leaf length and leaf width of Pak Choi. While, the number of leaves per plant for the treatment of liquid fertilizer type two combined with 21-0-0 and control were not significantly different. However, the number of leaves per plant of Pak Choi, which treated liquid fertilizer type two was higher than the treatment of liquid fertilizer type one. Moreover, yield weight of Pak Choi of all treatments were not significantly different. It concluded that leafy vegetables, which were short harvesting and treated with nitrogen fertilizer from ammonium sulfate or urea that enough for them growth. The liquid fertilizers, which applied on leaves of vegetables (Pak Choi) did not promote productivity and other horticultural characteristics. Keywords: pak choi, ammonium sulfate fertilizer, liquid fertilizer

1

สาขาวิชาพืชสวน ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 162

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-37 ผลของความเข้ มข้ นของปุ๋ยนา้ ต่ อการเจริญเติบโตและผลผลิตคะน้ า Effects of Liquid Fertilizer Concentration on Growth and Yield of Chinese kale พฤกษา วังแสง1 ศรสวรรค์ ศรีมา1 และจุฑามาส คุ้มชัย1 Prueksa Wangsang 1 Sornsawan Srima1 and Jutamas Kumchai1

บทคัดย่ อ การให้ ปุ๋ ยน า้ ในพื ช ผัก โดยการฉี ด พ่ น ทางใบ จะช่ ว ยให้ พื ช น าไปใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ ร วดเร็ ว ในการทดลองครั ง้ นี ม้ ี จุดประสงค์เพื่อศึกษาความเข้ มข้ นที่เหมาะสมของปุ๋ ยน ้าที่จะช่วยเพิ่มการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของคะน้ า โดยวางแผนการ ทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ในบล็อค 6 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 4 ซ ้า ดังนี ้ ชุดควบคุม (แอมโมเนียมซัลเฟต, 21-0-0) อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ ยน ้าชนิดที่ 2 อัตราส่วน 1:100, 1:250, 1:500 และ1:750 และ ปุ๋ ยน ้าชนิดที่ 3 อัตรา 1:500 ร่ วมกับปุ๋ ย แอมโมเนียมซัลเฟต อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ จากการทดลองพบว่า การให้ ปยน ุ๋ ้าทังสองชนิ ้ ดร่ วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟตทุก ความเข้ มข้ น ไม่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตในสัปดาห์สดุ ท้ ายก่อนการเก็บเกี่ยว และไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติกบั ชุดควบคุม ทางด้ านความสูงของลาต้ น ความกว้ างทรงพุ่ม ความกว้ างใบ จานวนใบต่อต้ นและเส้ นผ่าศูนย์กลางลาต้ นของคะน้ า ในขณะที่ น ้าหนักผลผลิตของคะน้ า มีค่าอยู่ในช่วง 128.27-190.55 กรัมต่อต้ น ปุ๋ ย แอมโมเนียมซัลเฟต ร่วมกับปุ๋ ยน ้าชนิดที่ 2 ทุกความ เข้ มข้ น ให้ น ้าหนักผลผลิตไม่แตกต่างจากชุดควบคุม และที่ ทดลองนี ้ชี ้ให้ เห็นว่า ปุ๋ ยน ้าชนิดที่ 2 และ ปุ๋ ยน ้าชนิดที่ 3 ไม่มีผลต่อ การเจริ ญ เติ บ โตและน า้ หนัก ผลผลิ ต ของคะน้ า การใช้ ปุ๋ ยแอมโมเนี ย มซัล เฟตเพี ย งอย่ า งเดี ย วมี ค วามเพี ย งพอต่ อ การ เจริ ญเติบโตทางลาต้ น จานวนใบ และน ้าหนักผลผลิตของคะน้ าเนื่องจาก มีธาตุอาหารที่จาเป็ นคือไนโตรเจนซึง่ มีความสาคัญ ในระยะแรกของการเจริญเติบโต โดยเฉพาะในผักใบที่มีอายุการเก็บเกี่ยวสัน้ คาสาคัญ: ผักคะน้ า แอมโมเนียมซัลเฟต ไนโตรเจน

Abstract The liquid fertilizers are applied on leaves of vegetables. Foliar application on nutrient uptake is easily absorbed and quickly translocate in plants. The purpose of this research was to study the suitable concentration of liquid fertilizers, which would increase growth and yield weight of Chinese kale. The experimental design was randomized complete block design (RCBD) with six treatments and four replications. There were control (ammonium sulfate fertilizer, 21-0-0), 21-0-0 at rate 20 kg/rai combined with liquid fertilizer type 2, 1:100, 1:250, 1:500 and 1:750 and liquid fertilizer type 3, 1:500. The result found that all concentration of two liquid fertilizers combined with 21-0-0 did not affect growth, plant height, canopy width, leaf width, the number of leaves per plant and stem width. While, yield weight of Chinese kale ranged from 128.27 – 190.55 g/plant, which all concentration of liquid fertilizers type 2 combined with 21-0-0 were not significantly different with a control treatment. It indicated all concentration of two liquid fertilizers were not effect on growth and yield. The using only ammonium sulfate was enough of vegetative growth and yield of Chinese kale. It contains 21% nitrogen, which an essential for the first stage of leafy vegetables growth and short harvested leaf vegetables. Keywords: chinese kale, ammonium sulfate fertilizer, nitrogen

1

สาขาวิชาพืชสวน ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200

18-20 พฤศจิกายน 2558

163


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-38 ประสิทธิภาพการเข้ าทาลายของไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงต่ างชนิดในแมลงวันผลไม้ ศัตรูพริก (Bactocera latifrons: Diptera;Tephitidae) Efficacy of Different Speies of Entomopathogenic Nematode for Controlling Chilli Fruit Fly(Bactrocera latifrons : Diptera: Tephritidae) ภานุพงศ์ แสนบุดดา1 นุชรีย์ ศิริ1,2และประกายจันทร์ นิ่มกิ่งรัตน์ 1,2 Panupong Seanbudda1 Nutcharee Siri1,2 and Prakaijan Nimkingrat1,2

บทคัดย่ อ การศึกษาประสิทธิภาพการเข้ าทาลายแมลงวันผลไม้ ศตั รู พริ ก Bactrocera latifrons ของไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงมี วัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ ทดสอบวัย ของแมลงวัน ผลไม้ ศัต รู พ ริ ก ที่ อ่ อ นแอต่ อ การเข้ า ท าลายของไส้ เ ดื อ นฝอยและเปรี ย บเที ย บ ประสิทธิภาพของไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง 4 ชนิด ได้ แก่ Steinernema carpocapsae, Steinernema siamkayai, Steinernema feltiae และ Heterorhabditis bacteriophora ต่อเปอร์ เซ็นต์การตายของหนอนแมลงวันผลไม้ ศตั รู พริ กวัยสุดท้ าย จากผลการ ทดลองพบเปอร์ เซ็นต์การตายในระยะหนอนวัยสุดท้ ายสูงกว่าระยะดักแด้ อย่างมีนยั สาคัญ (P≤0.05) เมื่อพ่นที่ระดับความ เข้ มข้ นของไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง1,000 ตัวต่อแมลงอาศัย ไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงสายพันธุ์ไทย S. siamkayai สามารถทาให้ หนอนตายได้ สงู ถึงร้ อยละ 94.44 รองลงมาคือ S. carpocapsae, S. feltiae และ H. bacteriophora โดยมีร้อยละการตาย 85.55, 67.77 และ 67.77 ตามลาดับ นอกจากนี ้ S. siamkayai ยังแสดงค่า LD50 และ LD90 ต่าสุดที่ 1,246 และ 2,327 ตัวต่อ หนอนหนึ่งตัว ตามลาดับ เมื่อเปรี ยบเทียบกับไส้ เดือนฝอยศัตรู แมลงชนิดอื่น ๆ การทดลองนี ้แสดงให้ เห็นว่าไส้ เดือนฝอยศัตรู แมลง S. siamkayai มีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อเทียบกับไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงชนิดอื่น ๆ และมีความเหมาะสมที่จะนามาใช้ ควบคุมประชากรแมลงวันผลไม้ ศตั รูพริกเพื่อลดการใช้ สารเคมีในแปลงปลูกต่อไป คาสาคัญ: พริก แมลงวันผลไม้ ศตั รูพริก ไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง

Abstract The study on efficacy of entomopathogenic nematodes (EPNs) for the control of chili fruit fly, Bactrocera latifrons, was carried out with the following objectives: 1) to test which developmental stage of chili fruit fly is the most sensitive to EPNs and 2) to compare the susceptibilities of four different EPNs species (Steinernema carpocapsae, Steinernema siamkayai, Steinernema feltiae and Heterorhabditis bacteriophora) on last instar larvae. The first result showed that the last larval stage of chili fruit fly is more sensitive to EPNs than pupal stage (P≤ 0.05) when treated with 1,000 IJ/larva. The results from using four different species of EPNs revealed that S. siamkayai was greatly superior for control last larval instar to others with the mortality rate of 94.44 followed by S. carpocapsae, S. feltiae and H. bacteriophora with the mortality rates at 85.55, 67.77 and 67.77%, respectively. The LD50 and LD90 values of S. siamkayai exhibited the lowest value at 1,246 and 2,327 IJ/larva, respectively. Therefore, we concluded that S. siamkayai is suitable species to control the final instar larvae of chili fruit fly. Keywords: chili, Bactrocera latifrons, entomopathogenic nematode

1 2

สาขาวิชากีฏวิทยา ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40002 ศูนย์วิจยั ควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรี ย์แห่งชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40002 164

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-39 การศึกษาตัวทาละลายอินทรีย์ท่ เี หมาะสมในการสกัดสารอัลลีโลพาทีจากใบเลี่ยน Studies on Optimal Organic Solvents for the Extraction of Allelochemicals from Melia azedarach L. Leaves ภัทริน วิจติ รตระการ1 มณทินี ธีรารักษ์ 1 และจารู ญ เล้ าสินวัฒนา1 Pattharin Wichittrakarn1 Montinee Teerarak1 and Chamroon Laosinwattana1

บทคัดย่ อ การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบเลี่ยน (Melia azedarach L.) ที่สกัดด้ วยตัวทาละลายเอทานอลต่อน ้าที่ อัตราส่วน 0:100, 25:75, 50:50, 75:25 และ 100:0 (ปริ มาตรต่อปริ มาตร) ที่ระดับความเข้ มข้ น 1,250, 2,500, 5,000 และ 10,000 พีพีเอ็ม ต่อการการงอกและการเจริ ญเติบโตของถัว่ ผี (Phaseolus lathyroides L.) โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นกรรมวิธีควบคุม พบว่า ที่อตั ราส่วน 0:100 (เอทานอลต่อน ้า) ที่ระดับความเข้ มข้ น 10,000 พีพีเอ็ม มีผลในการยับยังการงอกสู ้ งสุด และสามารถ ยับยังการเจริ ้ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ โดยสมบูรณ์ รองลงมาคือ 25:75, 75:25, 50:50 และ 100:0 ตามลาดับ โดยการเพิ่มระดับ ความเข้ มข้ นของสารสกัดให้ ผลในการยับยังเพิ ้ ่มขึ ้น และปริมาณของสารสกัดขึ ้นอยูก่ บั สัดส่วนของตัวทาละลาย เมื่อทาการสกัด แยกกลุม่ สารออกฤทธิ์จากใบเลี่ยนตามลาดับความมีขวของตั ั้ วทาละลาย (Sequential solvent extraction) เรี ยงลาดับจากสาร ที่มีขวน้ ั ้ อยไปหามาก คือ เฮกเซน (Hexane) ไดคลอโรมีเทน (CH2Cl2) และ เอทิลอะซิเตท (EtOAc) ตามลาดับ จากผลการ ทดลองพบว่า สารสกัดหยาบจากไดคลอโรมีเทน ที่ระดับความเข้ มข้ น 10,000 พีพีเอ็ม มีผลต่อการยับยังการงอกถั ้ ว่ ผีได้ โดย สมบูรณ์ และที่ระดับความเข้ มข้ น 5,000 พีพีเอ็ม ขึ ้นไป สามารถยับยังการเจริ ้ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ โดยสมบูรณ์ รองลงมาคือ สารสกัดหยาบจากเอทิลอะซิเตท และเฮกเซน เมื่อเปรี ยบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม ผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่า ใบเลี่ยนมีสาร อัลลีโลพาที ซึง่ ใช้ เป็ นข้ อมูลเบื ้องต้ นในการใช้ ประโยชน์ตอ่ ไปในอนาคต คาสาคัญ: เลี่ยน สารสกัดหยาบ การงอกและการเจริญเติบโต

Abstract To study the efficacy of extract from Melia azedarach L. leaf by using ethanol:water extraction at the ratio 0:100 25:75 50:50 75:25 and 100:0 were tested at the concentrations of 1,250, 2,500, 5,000 and 10,000 ppm on seed germination and seedling growth of Phaseolus lathyroides L. The distilled water was used as the control. The result showed that at the concentration of 10,000 ppm of crude extract at ratio of 0:100 had the highest inhibitory effects on seed germination and completely inhibited seedling growth of P. lathyroides, followed by the ratio at 25:75, 75:25, 50:50 and 100:0, respectively. The effect was increased when the higher concentrations were applied. Partially separation of active compounds was done by sequential solvent extraction using hexane dichloromethane and ethylacetate, respectively. Results revealed that dichloromethane fraction at concentrations of 10,000 ppm completely inhibited seed germination and the concentrations of 5,000 ppm completely inhibited seedling growth of P. lathyroides, followed by ethylacetate and hexane fraction when compared with the control. These results indicated that M. azedarach has allelochemicals and are the primary basis of data on developing in the future. Keywords: Melia azedarach L., crude extract, germination and seedling growth

1

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

18-20 พฤศจิกายน 2558

165


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-40 การสารวจโรคใบจุดในแปลงกล้ วยหอมทองอินทรีย์เพื่อการส่ งออก ความสามารถในการเกิดโรค และการควบคุมเชือ้ สาเหตุโดยชีววิธี Survey of Hom Thong Banana Leaf Spot Disease under Organic Agriculture for Export, Pathogenicity and Biocontrol of Its Causal Agents อทิตยา ปาลคะเชนทร์ 1 สมศิริ แสงโชติ1* และวีระณีย์ ทองศรี1 Atittaya Palakachain1 Somsiri Sangchote1* and Veeranee Tongsri1*

บทคัดย่ อ โรคใบจุดเป็ นโรคหนึ่งที่มีความสาคัญในการผลิตกล้ วยหอมทองในระบบเกษตรอินทรี ย์เพื่อการส่งออก ซึ่งถ้ าหาก เกิด การระบาดแล้ ว จะทาให้ เ กิด ความเสีย ต่อ ผลิต ผลเป็ น จานวนมาก เนื่อ งจาก ไม่ส ามารถใช้ ส ารเคมีกาจัด โรคได้ ใน งานวิจยั นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อทดสอบความสามารถในการเกิดโรคของเชื ้อสาเหตุ ศึกษาลักษณะการเกิดโรค และทดสอบ การควบคุมเชื ้อสาเหตุโ รคโดยชีว วิธี โดยทาการเก็บ ตัว อย่า งใบกล้ วยที่เ ป็ น โรคจากสวนกล้ ว ยหอมทองอิน ทรี ย์ อาเภอ หนองแค จังหวัดสระบุรี และแยกเชื ้อด้ วยวิธี tissue transplanting technique พบว่าสามารถแยกได้ เชื ้อรา 13 ไอโซเลท แต่มี 6 ไอโซเลทเท่านั ้นที่ก่อให้ เกิดโรคโดยวิธีทาแผล ได้ แก่ เชื ้อรา Curvularia sp. 2 ไอโซเลท (HC011 และ HC022) เชื ้อ รา Alternaria sp. 3 ไอโซเลท (HR023-1, HR023-3 และ HY022) และ เชื ้อรา Nigrospora sp. 1 ไอโซเลท (HB023) โดย ลักษณะแผลที่ปรากฏมีทั ้งลักษณะจุดกระสีน ้าตาลเข้ มและจุดตายสีดา ซึ่งเชื ้อรา Alternaria sp. HR023-1 ทาให้ เกิดแผล จุดดาขนาดใหญ่ที่สดุ (เส้ นผ่าศูนย์กลาง 2.4 เซนติเมตร) รองลงมา คือ Curvularia sp. HC022 ทาให้ เกิดแผลจุดดา (เส้ นผ่าศูนย์กลาง 1.5 เซนติเมตร) ส่วนการควบคุมเชื ้อสาเหตุโรคด้ วยเชื ้อราปฏิปักษ์ Trichoderma sp. (แยกได้ จากใบ กล้ วยหอมทอง) โดยวิธี dual culture พบว่าสามารถยับยั ้งการเจริ ญ ของเส้ นใยเชื ้อรา Alternaria sp. HR023-3 และ Nigrospora sp. HB023 ได้ มากที่สุด (95.5 และ 93.3 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ) แต่ยบั ยั ้งเชื ้อ Alternaria sp. HR023-1 ได้ น้ อยที่สดุ เพียง 47.2 เปอร์ เซ็นต์ ซึ่งจากผลการทดลองนี ้แสดงให้ เห็นว่าอาการใบจุดของกล้ วยหอมทองอินทรี ย์มีสาเหตุจาก เชื ้อราหลายชนิด และเชื ้อรา Trichoderma sp. สามารถยับยั ้งเชื ้อก่อ โรคได้ แตกต่างกันในสภาพห้ องปฏิบตั ิการ จึงควรมี การทดสอบให้ มีการใช้ เชือ้ จุลินทรี ย์ปฏิปักษ์ ดงั กล่าวในสภาพแปลงต่อไป คาสาคัญ: ใบจุดกล้ วย Curvularia sp. Alternaria sp. Nigrospora sp. Trichoderma sp.

Abstract

Leaf spot is the one of important diseases in organic banana production for exporting. Since organic plantation is not allowed to chemical use, disease outbreak in the field can causes a huge loss of banana yield. Objectives of this study were to determine pathogenicity test, symptom characteristics and in vitro biocontrol of its causal agents by Trichoderma sp. which obtained from banana leaf. Disease samples were collected from organic Hom Thong banana orchard located at Nongkhae district, Saraburi province and isolated by tissue transplanting technique. The result showed that 13 isolates of fungi were obtained, but 6 isolates could cause disease on banana leaf by wounded technique. These causal agents were 2 isolates of Curvularia sp. (HC011 and HC022), 3 isolates of Alternaria sp. (HR023-1, HR023-3 and HY022) and 1 isolate of Nigrospora sp. (HB023). They cause symptom characteristics as dark brown freckle and black necrotic spots on the leaf. Alternaria sp. HR023-1 presented the largest area of necrotic spots (2.4 cm in diameter), followed by Curvularia sp. HC022 (1.5 cm in diameter of necrotic spots). Additionally, biocontrol using Trichoderma sp. was conducted by dual culture technique. The result revealed that mycelial growth of Alternaria sp. HR023-3 and Nigrospora sp. HB023 were the most inhibited by 95.5 and 93.3%, respectively, while Alternaria sp. HR023-1 was less inhibited (47.2% inhibition). This study indicated that leaf spot disease of organic banana is caused by various pathogenic fungi. Trichoderma sp. displayed pathogen growth inhibition by different levels in vitro. Disease inhibition by this antagonist should be conducted in the field. Keywords: banana leaf spot, Curvularia sp., Alternaria sp., Nigrospora sp., Trichoderma sp. 1

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 166

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-41 อิทธิพลของนา้ คัน้ ชุมเห็ดเทศ (Cassia alata L.) ต่ อเชือ้ ราปฏิปักษ์ และเชือ้ ราสาเหตุโรคพืชผัก Effect of Pressed Juice of Ringworm Bush (Cassia alata L.) on Antagonistic Fungi and Plant Pathogenic Fungi Causing Vegetable Diseases สุริยสิทธิ์ สมนึก1 ไพลิน เนินหาด1 ทิพประภา เมฆพัฒน์ 1 และถนิมนันต์ เจนอักษร1 Suriyasit Somnuek1 Pailin Noenhat1 Thippapha Mekkaphat1 and Tanimnun Jaenaksorn1

บทคัดย่ อ ในการควบคุมโรคพืชโดยใช้ วิธีบรู ณาการร่ วมระหว่างสารสกัดจากพืชและเชื ้อราปฏิปักษ์ (biocontrol agents; BCAs) ควรทาการประเมินอิทธิพลของสารสกัดว่ามีพิษต่อการเจริ ญของเชื ้อราปฏิปักษ์ หรื อไม่ รวมทังมี ้ ผลในการยับยังต่ ้ อการเจริ ญของ เชื อ้ ราสาเหตุโ รคพื ช เพี ย งใด ดัง นัน้ วัต ถุป ระสงค์ ข องการศึ ก ษานี เ้ พื่ อ ประเมิ น อิ ท ธิ พ ลของน า้ คัน้ ใบและน า้ คัน้ ดอกของ ชุมเห็ดเทศ (Cassia alata L.) ที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ (5,000, 10,000 และ 20,000 พีพีเอ็ม) ต่อการเจริ ญทางเส้ นใยและ การงอกของสปอร์ ของเชื ้อรา Trichoderma spp. จานวน 5 ไอโซเลท และเชื ้อรา5 ชนิด ที่เป็ นสาเหตุโรคพืชผัก จากนันน ้ า เชื ้อรา Trichoderma spp. ที่สามารถทนทานต่อความเข้ มข้ นของน ้าคันดั ้ งกล่าว และเชื ้อรา Fusarium oxysporum (F221-B) ที่ ได้ รับการยอมรับว่าช่วยส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตของพืช (plant growth promoting fungus; PGPF) มาทาการทดสอบ ความทนทานต่อความเข้ มข้ นของน ้าคันที ้ ่ระดับสูงขึ ้น (40,000 พีพีเอ็ม) ซึง่ ผลการทดลอง พบว่า เป็ นที่น่าสนใจ คือ น ้าคันใบและ ้ น ้าคันดอกทุ ้ กความเข้ มข้ นไม่มีผลต่อการเจริ ญของเชื ้อรา Trichoderma spp. ทุกไอโซเลท ในขณะที่ น ้าคันดั ้ งกล่าวมีผลยับยังการ ้ เจริ ญทางเส้ นใย (1.44-20.88 เปอร์ เซ็นต์) และการงอกของสปอร์ (64-94 เปอร์ เซ็นต์) ของเชื ้อราทดสอบได้ ซึง่ ประสิทธิภาพของน ้า คันใบให้ ้ ผลดีกว่าน ้าคันดอก ้ และยิ่งไปกว่านันความเข้ ้ มข้ นของน ้าคัน้ มีผลต่อการเจริ ญของเชื ้อราดังกล่าวด้ วยเช่นกัน กล่าวคือ ยิ่ง ความเข้ มข้ นมาก เปอร์ เซ็นต์การยับยังยิ ้ ่งสูงขึ ้นด้ วย และเมื่อพิจารณาถึงความทนทานของ BCA และ PGPF ต่อน ้าคันชุ ้ มเห็ดเทศ พบว่า เชื ้อรา Trichoderma spp. สามารถทนทานต่อความเข้ มข้ นของน ้าคัน้ ถึงระดับความเข้ มข้ น 40,000 พีพีเอ็ม ได้ ในขณะที่ เชื ้อรา F. oxysporum (F221-B) สามารถทนทานได้ ที่ ระดับความเข้ มข้ น 10,000 พีพีเอ็ม เท่านัน้ คาสาคัญ: Cassia alata L. ชุมเห็ดเทศ เชื ้อราสาเหตุโรคพืช Trichoderma spp.

Abstract Before using plant extracts integrated with biological control agents (BCAs) to control plant diseases, it is necessary to determine whether such plant extracts are toxic to BCAs or not as well as to assess their efficacy against plant pathogens. Therefore, aim of our study was to investigate the in vitro effect of freshly pressed juice of ringworm bush at different concentrations (5,000, 10,000 and 20,000 ppm) on mycelial growth and spore germination of antagonistic Trichoderma spp. and 5 genera of fungi, the causative of vegetable diseases. Furthermore, the selected tolerant isolates of Trichoderma spp. to the pressed juice at the above-mentioned concentrations together with Fusarium oxysporum (F221B), the promising plant growth promoting fungus (PGPF), were further determined in order to obtain the promising tolerant isolates to the pressed juice with increasing concentrations to 40000 ppm. The results are of interest since leaf and flower pressed juice at the test concentrations were less or not toxic to either mycelial growth or spore germination of all 5 isolates of test Trichoderma spp. while its pressed juice was shown to have antifungal activities against fungal pathogen mycelium (in the range of 1.44-20.88 percent) and spore germination (in the range of 64-94 percent). Besides, the effect of ringworm bush pressed juice on plant pathogenic fungi was more pronounced on leaf pressed juice at higher concentration: the higher the pressed juice concentration the less the fungal growth. Regard to the further investigation on BCA and PGPF tolerance to the pressed juice, it revealed that all 3 test isolates of Trichoderma spp. were tolerant to the pressed juice at 40000 ppm while F221-B could tolerate only at 10000 ppm of the leaf pressed juice. Keywords: cassia alata L., plant pathogenic fungi, Trichoderma spp., ringworm bush 1

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520

18-20 พฤศจิกายน 2558

167


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-42 พฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี. Mushroom trower’s Behaviors for Pesticide Application at Chom Bueng District, Ratchaburi Province and Wihan Daeng District, Saraburi Province. อุดมพร จอมพงษ์ 1 จรงค์ ศักดิ์ พุมนวน2 และอามร อินทร์ สังข์ 2 Udomporn Jompong1 Jarongsak Pumnuan2 and Ammorn Insung2

บทคัดย่ อ การศึกษาพฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี ภายในเดือนมกราคม - มีนาคม 2558 โดยการคัดเลือกกลุม่ ตัวอย่างแบบเจาะจง รวม 60 หลังคาเรื อน เครื่ องมือ ที่ใช้ เป็ นแบบสัมภาษณ์ ซึง่ แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็ นการสัมภาษณ์ข้อมูลพื ้นฐาน ส่วนที่ 2 เป็ นการสัมภาษณ์ข้อมูล การเพาะเห็ด และส่วนที่ 3 เป็ นแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการใช้ สารเคมีของเกษตรกร นาข้ อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์ทางสถิติพบว่า เกษตรกรผู้เพาะเห็ดส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา มีรายได้ เฉลี่ย 5,000-10,000 บาทต่อเดือน มีอาชีพเพาะเห็ด มาไม่น้อยกว่า 5 ปี มีโรงเรื อนประมาณ 5-10 โรงเรื อน ร้ อยละ 93.3 เห็ดที่เกษตรกรนิยมปลูกได้ แก่ เห็ดนางฟ้า และเห็ดหูหนูดา ร้ อยละ 58.9 และ 43.3 ตามลาดับ ปั ญหาที่พบในการเพาะเห็ดคือ แมลง และไรศัตรูเห็ด สภาพดินฟ้าอากาศ และเห็ดไม่ออกดอก ซึง่ เกษตรกรมีวิธีจดั การศัตรู เห็ดโดยการใช้ สารเคมี ร้ อยละ 75.6 สารเคมีที่ใช้ ได้ แก่ carbaryl, carbosulfan, cypermethrin, abamectin, malathion, amitraz และ acetamiprid โดยหาซื ้อจากร้ านค้ าใกล้ บ้าน เนื่องจาก เป็ นวิธีที่สะดวกรวดเร็ว เห็นผลทันที มี อัตราการใช้ 3 ครัง้ ต่อเดือน เกษตรกรร้ อยละ 63.3 จะเว้ นระยะหลังการฉีดพ่นครัง้ สุดท้ ายก่อนที่จะเก็บผลผลิต 3 วัน เกษตรกร ร้ อยละ 83.5 จะมีการเปลี่ยนสารเคมีที่ใช้ ทนั ทีเมื่อสังเกตว่าแมลงมีความต้ านทาน และเกษตรกรที่ใช้ สารเคมีส่วนใหญ่ไม่มี อาการเกิดพิษจากการใช้ มีเพียง ร้ อยละ 14.2 เท่านันที ้ ่แสดงอาการเล็กน้ อย คือ คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ ปวดกล้ ามเนื ้อ และอ่อนเพลีย เป็ นต้ น ผลการศึกษาครัง้ นี ้ สามารถนามาใช้ ในการบริหารจัดการแมลง และไรศัตรูเห็ด คาสาคัญ: สารกาจัดศัตรูพืช แบบสัมภาษณ์ แมลงและไรศัตรูเห็ด เห็ดนางฟ้า เห็ดหูหนูดา

Abstract Study on mushroom grower’s behaviors for pesticide application was investigated at Chom Bueng district, Ratchaburi province and Wihan Daeng, district Saraburi province, during January to March, 2015, by questionnaire and interview from 60 selected households. The questionnaire was divided into three parts, the first part was personal data, the second part was mushroom cultivation and the last one was the pesticide application. Statistic analysis was used to analyze the data. The results revealed that all grower mostly graduated in primary school, and income per month ranged from 5,000 to 10,000 TH Baht. The most of them were more than 5 years experience mushroom grower and had 5 to 10 green houses for mushroom cultivation. The most mushroom cultivations grown were oyster and jew’s ear mushrooms, showing 58.9 and 43.3%, respectively. Insect and mite pests, weather and low mushroom product were important problems. All grower preferred to control insect and mite pests by using chemical pesticides because of convenience and quick knockdown. Besides, 75.6% chemical pesticide was used in mushroom cultivation such as carbaryl, carbosulfan, cypermethrin, abamectin, malathion, amitraz and acetamiprid and most of chemical pesticides were purchased from local store. The grower used chemical pesticides for insect and mite pests control 3 times per month. 63.3% grower stopped chemical application 3 days before mushroom harvesting. When insect and mite resistance appeared, 83.5% grower, changed the group of chemical pesticides for good option to pest control. 14.2% grower showed side effect of pesticide application such as nausea, vomiting, dizziness, fatigue, and muscle aches. Our data showed new knowledge for pest control in mushroom cultivation. Keywords: pesticide, structure interview, insect and mite pests, oyster mushrooms, jew's ear mushrooms 1

นักศึกษาปริ ญญาโท คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 168

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-43 ผลของสารธรรมชาติกาจัดวัชพืชจากพลูเขียวต่ อการงอก การดูดนา้ และกิจกรรมเอนไซม์ อัลฟา-อะไมเลสของหญ้ าข้ าวนก Effects of Natural Herbicide from Piper betle Linn. on Seed Germination, Imbibition and α-Amylase Activity of Echinochloa crus-galli (L.) Beauv. ปริยาภรณ์ เนตรสว่ าง1 ภัทริน วิจติ รตระการ1 มณทินี ธีรารักษ์ 1 และจารู ญ เล้ าสินวัฒนา1 Pariyaporn netsawang1 Pattharin Wichittrakarn1 Montinee Teerarak1 and Chamroon Laosinwattana1

บทคัดย่ อ การศึกษาสารธรรมชาติกาจัดวัชพืชจากพลูเขียวในรูปของสารละลายเข้ มข้ น (SL) ต่อการงอก การดูดน ้า และกิจกรรม เอนไซม์อลั ฟา-อะไมเลส ของเมล็ดหญ้ าข้ าวนกโดยทดสอบที่ระดับความเข้ มข้ น 312, 625, 1,250, 2,500 และ 5,000 พีพีเอ็ม พบว่าสารธรรมชาติกาจัดศัตรูพืชจากพลูเขียวที่ความเข้ มข้ น 5,000 พีพีเอ็ม สามารถยับยังการงอกของหญ้ ้ าข้ าวนกได้ สมบูรณ์ เมื่อทาการทดสอบผลของสารต่อการดูดน ้าและกิจกรรมเอนไซม์อลั ฟา-อะไมเลสของเมล็ดหญ้ าข้ าวนก หลังจากทาการแช่สาร ในระดับความเข้ มข้ นต่างๆ เป็ นเวลา 24, 36 และ 48 ชัว่ โมง พบว่า การดูดน ้าของเมล็ดและกิจกรรมเอนไซม์อลั ฟา-อะไมเลส เพิ่มขึ ้น ตามระยะเวลาแช่สารที่นานขึ ้น และที่ระยะเวลาเดียวกัน การดูดน ้าของเมล็ด และกิจกรรมเอนไซม์อลั ฟา-อะไมเลสลด ลง เมื่อความเข้ มข้ นของสารเพิ่มขึ ้น จากผลการทดลองนี ้แสดงให้ เห็นว่าการยับยังการงอกของเมล็ ้ ดหญ้ าข้ าวนกของสาร ธรรมชาติกาจัดวัชพืชจากพลูเขียวอาจเป็ นผลจากการที่สารมีฤทธิ์ ในการยับยังการดู ้ ดน ้าและการลดลงของกิจกรรมเอนไซม์ อัลฟา-อะไมเลสของหญ้ าข้ าวนก คาสาคัญ: พลูเขียว การดูดน ้า กิจกรรมเอนไซม์อลั ฟา-อะไมเลส สารธรรมชาติกาจัดวัชพืช

Abstract The study on natural product herbicide from Piper betle L. in soluble liquid (SL) formulation at concentrations of 312, 625, 1,250 and 2,500 ppm on germination, imbibition and α-amylase activities of Echinochloa crus-galli seed were evaluated. Distilled water used as the control. The results showed that at 5,000 ppm completely inhibited seed germination of E. crus-galli. Then futher experiments were conducted to determine mechanism of natural herbicide on seed imbibition and α-amylase activities of E. crus-galli seed at 24, 36 and 48 hr. The results showed that seed imbibition and α-amylase activities increased with increasing soaking period but decreased with increasing concentrations of natural herbicide. These results indicated that natural herbicide has potential to inhibit seed germination and its inhibitory effects on seed germination of E. crus-galli seed by decreased seed imbibition and α-amylase activities E. crus-galli seed. Keywords: natural herbicide, Piper betle Linn., α-amylase, imbibition

1

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

18-20 พฤศจิกายน 2558

169


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-44 ศักยภาพทางอัลลีโลพาทีจากใบปอขีไ้ ก่ ต่อการงอกและการเจริญเติบโตของพืชทดสอบ Allelopathic Potential from Marachra capitata L. on Seed Germination and Seedling Growth of Bioassay Plants Test ณัฐนันท์ บุญยะพันธ์ 1 ภาวิณี คาแสน1 ภัทริน วิจติ ระการ1 จารู ญ เล้ าสินวัฒนา1 และมณทินี ธีรารักษ์ 1 Nuttanun Boonyapant1 Phawinee Kamsan1 Pattharin Wichittrakarn1 Chamroon Laosinwattana1 and Montinee Teerarak1

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของคุณสมบัติการเลือกทาลายของสารสกัดน ้าของใบปอขีไ้ ก่ที่มีต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของ เมล็ดวัชพืช (หญ้ าข้ าวนก ถัว่ ผี และผักโขม) และพืชปลูก (ข้ าวโพด ข้ าว แตงกวา กะหล่าปลี และกวางตุ้ง ) ที่ระดับความเข้ มข้ น 1.25, 2.5, 5 และ 10 เปอร์ เซ็นต์ โดยน ้าหนัก พบว่า ฤทธิ์ของสารสกัดในการยับยังการงอกและการเจริ ้ ญเติบโตต่อพืชทดสอบ ของพืชแต่ละชนิดแตกต่างกัน ที่ระดับความเข้ มข้ น 5 เปอร์ เซ็นต์ สารสกัดน ้าจากใบปอขี ้ไก่มีผลในการยับยังการงอกสู ้ งสุด โดย สามารถยับยังการรอดชี ้ วิตและการเจริญเติบโตของ แตงกวา กวางตุ้ง ผักโขม และถัว่ ผี ได้ อย่างสมบูรณ์ รองลงมาคือ กะหล่าปี หญ้ าข้ าวนก ข้ าว และข้ าวโพด ตามลาดับ โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นวิธีการควบคุม จากนันศึ ้ กษาผลของผลิตภัณฑ์กาจัดวัชพืชจากปอ ขี ้ไก่แห้ ง ที่มีผลต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของหญ้ าข้ าวนกและถัว่ ผี ที่อตั รา 25, 50, 100 และ 200 มิลลิกรัมต่อจานเพาะ พบว่า ผลิตภัณฑ์กาจัดวัชพืชจากปอขี ้ไก่แห้ งที่อตั รา 200 มิลลิกรัมต่อจานเพาะ ให้ ผลยับยังการงอกของหญ้ ้ าข้ าวนกและถัว่ ผี ได้ ดีที่สดุ โดยสามารถยับยังการงอกและการเจริ ้ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ โดยสมบูรณ์ คาสาคัญ: ปอขี ้ไก่ การงอกและการเจริญเติบโต สารสกัด ผลิตภัณฑ์จากปอขี ้ไก่

Abstract Effects of aqueous extracts from Marachra capitata on germination and seedling growth of weed (Echinochloa crus-galli, Phaseolus lathyroides, Amaranthus gracilis) and crop (Zea mays, Oryza sativa, Cucumis sativus, Brassica oleracea, Brassica chinensis Jusl var parachinensis) were evaluated at the concentration of 1.25, 2.5, 5 and 10%. The distilled water was used as control. The result showed that aqueous extract at the concentration of 5% completely inhibited seed survival and seedling growth of C. sativus, B. chinensis A. gracilis, and P. lathyroides and highly inhibition effect on B. oleracea, E. crus-galli, O. sativa and Z. mays, respectively. In addition, efficacy of the natural herbicide product from M. capitata dried leaf on germination and seedling growth of E. crus-galli and P. lathyroides at the rates of 25, 50, 100 and 200 mg/petri-dish were tested. The result found that natural herbicide product at 200 mg/plate had completely inhibited on seed germination of wild pea. Keywords: Marachra capitata L, germination and seedling growth, product from Marachra capitata L.

1

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 170

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-45 ผลของนา้ มันหอมระเหยจากพืชต่ อตัวเต็มวัยไรแดงแอฟริกัน (Eutetranychus africanus (Tucker) Effect of Plant Essential Oils on Adult of African Red Mite (Eutetranychus africanus (Tucker) สุชีรา ด่ านอรุ ณ1 ภัทราภรณ์ หอมคง1จรงค์ ศักดิ์ พุมนวน2 และอามร อินทร์ สังข์ 2 Sucheera Danarun1 Phattaraporn Homkong1 JarongsakPumnuan2 and Ammorn Insung2

บทคัดย่ อ การทดสอบผลของน ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร 14 ชนิด โดยวิธีการจุ่มใบ (leaf dipping method) ต่อตัวเต็มวัย ของไรแดงแอฟริ กนั (Eutetranychus africanus (Tucker)) ที่ความเข้ มข้ น 2 เปอร์ เซ็นต์ ตรวจนับอัตราการตายที่ 24 ชัว่ โมง พบว่าน ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร 5 ชนิด ได้ แก่ ขมิ ้นชัน (Curcuma longa Linn.) ตะไคร้ บ้าน (Cymbopogon citratus (DC. exNees)) ตะไคร้ หอม (Cymbopogon nardus (L.) Rendle) อบเชย (Cinnamomum verum JS. Presl) และกานพลู (Syzygium aromaticum Merr.&L.M. Perry) มีประสิทธิภาพในการฆ่าตัวเต็มวัยไรแดงแอฟริ กนั ค่อนข้ างสูง สามารถฆ่าได้ มากกว่า 35 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อนาน ้ามันหอมระเหยสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพสูงมาทดสอบต่อที่ความเข้ มข้ น 0 (5 เปอร์ เซ็นต์ Tween-20 ในน ้า), 1, 2, 3, 4 และ 5 เปอร์ เซ็นต์ ผลการทดลองพบว่าน ้ามันหอมระเหยจากขมิ ้นชันมีประสิทธิภาพในการฆ่าตัว เต็มวัยของไรแดงแอฟริกนั ได้ ดีที่สดุ ที่ความเข้ มข้ น 5% สามารถฆ่าตัวเต็มวัยของไรได้ เท่ากับ 100% โดยมีค่า LC50เท่ากับ 1.66 เปอร์ เซ็นต์ ขณะที่น ้ามันหอมระเหยจากตะไคร้ หอม ตะไคร้ บ้าน อบเชย และกานพลู สามารถฆ่าตัวเต็มวัยของไรได้ เท่ากับ 91.6, 90.7, 86.4 และ 87.4 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ โดยมีคา่ LC50เท่ากับ 2.37, 2.43, 2.89 และ 3.05 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ คาสาคัญ: น ้ามันหอมระเหยจากพืช ขมิ ้นชัน ไรแดงแอฟริกนั พืชสมุนไพร วิธีการจุ่มใบ

Abstract Plant essential oils obtained from 14 medicinal plants at 2% concentrations were tested against adult of African red mite (Eutetranychus africanus (Tucker)) by leaf dipping method. The mortality was recorded at 24 hours. The result showed that essential oils from turmeric (Curcuma longa Linn.), lemon grass (Cymbopogon citratus (DC. ex Nees)), citronella grass (Cymbopogon nardus (L.) Rendle), cinnamon (Cinnamom umverum JS.Presl) and clove (Syzygium aromaticum Merr.& L.M. Perry) were relatively highly effective to adult of African red mite, with more than 35% mortality. Then, the highly effective essential oils at concentrations of 0 (5% Tween-20 in water), 1, 2, 3, 4 and 5% were tested against E. africanus. The results showed that 5% C. longa essential oil was the most effective acaricide with 100%mortality and LC50 value of 1.66%, followed by essential oils from C. nardus, C. citratus, C. verum and S. aronation with 91.6, 90.7, 86.4 and 87.4% mortality and LC50 value of 2.37, 2.43, 2.89 and 3.05%, respectively. Keywords: plant essential oils, Curcuma longa, African red mite, medicinal plants, leaf dipping method

1 2

นักศึกษาปริ ญญาโท คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

18-20 พฤศจิกายน 2558

171


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-46 การศึกษาประชากรแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนในแปลงพริก Study on Fruit Fly Populations and Their Insect Parasitoids on Chill Pepper Crops อโนทัย วิงสระน้ อย1*ศรีสุภา ลีทอง1 และปราณี แสนวงศ์ 1 Anothai Wingsanoi1* Srisupha Leethong1 and Pranee sanwong1

บทคัดย่ อ แมลงวันผลไม้ เป็ นศัตรูสาคัญในแปลงปลูกพริ ก การทาลายส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพผลผลิต ผลผลิตต่อพื ้นที่ และการส่งออกผลผลิตพริ ก เนื่องจากแมลงวันผลไม้ ทาลายพริ กในระยะติดผล การสารวจชนิดของแมลงวันผลไม้ และแมลง เบียนในแปลงปลูกพริ ก 2 จังหวัด คือ จังหวัดสกลนคร (จานวน 4 แห่ง 2 อาเภอ: อาเภอเมือง และอาเภอพังโคน) และจังหวัด ชัยภูมิ (3 อาเภอ ได้ แก่ อาเภอเกษตรสมบูรณ์ อาเภอจัตรุ ัส และอาเภอบาเหน็จณรงค์ ) ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือน เมษายน 2557 จังหวัดสกลนครพบผลพริ กทุกแห่งถูกแมลงวันผลไม้ เข้ าทาลาย โดยผลพริ กสายพันธุ์แชมป์ เปี ย้ นฮอทถูกทาลาย สูงสุด โดยพบสูงถึง 174 ตัวต่อ 20 ต้ น ในเดือนเมษายน และพบแมลงเบียนเข้ าทาลายแมลงวันผลไม้ จานวน 10 ตัวต่อ 20 ต้ น ที่อาเภอพังโคน ส่วนจังหวัดชัยภูมิเกษตรกรปลูกพริ กพันธุ์แชมป์ เปี ย้ นฮอทเท่านัน้ อาเภอบาเหน็จณรงค์พบผลพริ กถูกทาลาย สูงสุดและมีดกั แด้ แมลงวันผลไม้ จานวน 310 ดักแด้ ตอ่ 20 ต้ น ส่วนแมลงเบียนพบที่อาเภอบาเหน็จณรงค์ที่เดียวเท่านันจ ้ านวน ถึง 65 ตัวต่อ20 ต้ น การจาแนกชนิดแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียน พบแมลงวันผลไม้ 1 ชนิดคือ แมลงวันผลไม้ ชนิด Bactrocera latifrons (Hendel) และแมลงเบียน 2 ชนิด คือ แมลงเบียน Diachasmimorpha longicaudata (Ashmead) โดย มีการเบียนแมลงวันผลไม้ 1.15 และ 20.97 เปอร์ เซ็นต์ ในจังหวัดสกลนครและชัยภูมิ ตามลาดับ และแมลงเบียน Psyttalia fletcheri (Silvestri) มีการเบียน 4.60 เปอร์ เซ็นต์ ในจังหวัดสกลนคร คาสาคัญ: แมลงเบียน การเบียน ความหลากหลายชนิด แมลงวันผลไม้ พริก

Abstract Tephritid fruit fly is the most important pest of chili pepper crops. The fly infested chili pepper in fruiting stage and caused the quality, yield loss and impact of chili pepper export. Fruit fly species and their parasitoids were investigated on chili pepper crops in 2 provinces including Sakon Nakhon province (4 sites, 2 districts as Mueang and Phang Khon) and Chaiyaphum province (3 sites of 3 districts as Kaset Sombun, Chatturat, and Bamnet Narong), during February to April 2014. In Sakon Nakhon province, the chili pepper fruits were infested by fruit flies in all sites. The fruit of Champion Hot cultivar was the highest damage. However, the fruit flies were found only in Phang Khon district that the highest fly was 174 adults/ 20 plants on April and the fruit fly parasitoid was found 10 adults/ 20 plants. For Chaiyaphum province, the famers cultivated only Champion Hot cultivar. The highest number of chili pepper fruit fly infestation was found in Bamnet Narong and the number of fruit fly pupa was 310 pupae per 20 plants. The fruit fly parasitoids were found only in Bamnet Narong, 65 adults/ 20 plants. Identification of fruit flies and their parasitoids demonstrated one fruit fly species as Bactrocera latifrons Hendel and two parasitoids as Diachasmimorpha longicaudata (Ashmead), with 1.15 and 20.97% parasitization in Sakon Nakhon and Chaiyaphum, respectively. Moreover, Psyttalia fletcheri (Silvestri) was found on Sakon Nakhon with 4.60% parasitization. Keywords: insect parasitoids, parasitization, species diversity, fruit flies, chili pepper

1

สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร อ.พังโคน จ.สกลนคร 47160 172

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-47 ผลของการใช้ เชือ้ รา Trichoderma sp. ต่ อการส่ งเสริมการเจริญเติบโตของว่ านหางจระเข้ Effect of Trichoderma sp. Application for the Growth Promotion of Aloe ปวีณา บัญญัติ และศิริวรรณ แดงฉ่า1 PaweenaBanyat and Siriwan Dangcham1

บทคัดย่ อ ว่านหางจระเข้ มีการปลูกมากในพื ้นที่จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์เพื่อส่งเข้ าโรงงานแปรรูป และส่งออกใบสด แต่เกษตรกร ประสบปั ญหาผลผลิตลดลงเนื่องจากโรคเน่า งานวิจยั นี ้จึงได้ ศกึ ษาผลของการใช้ เชื ้อราไตรโคเดอร์ มาต่อการส่งเสริ มการเจริ ญเติบโต ของว่านหางจระเข้ ณ แปลงทดลองสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี โดยทา การปลูกว่านหางจระเข้ ในกระถางพลาสติกสีดาขนาด 15 นิ ้ว และใช้ เชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดที่เลี ้ยงในข้ าวเปลือก อัตรา 100 กรัมผสมน ้า 20 ลิตร วางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) ประกอบด้ วย 4 กรรมวิธี ได้ แก่ 1) ปลูกแบบปกติ (ชุดควบคุม) 2) ปลูกแบบปกติ และฉีดพ่นด้ วยเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด ทุก 2 สัปดาห์ 3) แช่หน่อว่านหาง จระเข้ ในเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมงก่อนการปลูก และ 4) แช่หน่อว่านหางจระเข้ ในเชื ้อราไตรโคเดอร์ มา ชนิดสด เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ก่อนการปลูก และฉีดพ่นด้ วยเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด ทุก 2 สัปดาห์ ผลการวิจยั พบว่า การใช้ เชื ้อราไตรโคเดอร์ มาในทุก กรรมวิธีมีการเจริ ญเติบโตในด้ านความยาว ความหนา และความกว้ างของใบไม่แตกต่างกัน แต่มี แนวโน้ มว่า การแช่หน่อว่านหางจระเข้ ในเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาก่อนปลูกเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง และฉีดพ่นทุก 2 สัปดาห์ ทาให้ มี ขนาดของใบ จานวนใบและจานวนหน่อที่เพิ่มขึ ้นมากกว่ากรรมวิธีอื่นๆ รวมทังพบอาการโรคเน่ ้ าน้ อยกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ คาสาคัญ: ว่านหางจระเข้ เชื ้อราไตรโคเดอร์ มา การส่งเสริมเจริญเติบโต

Abstract Aloe plants were grown in Prachuap Khirikhan area for processing and fresh leaves export. But the growers found the decreased products caused from rot disease. This study, the effect of Trichoderma sp. application for the growth promotion of Aloe was conducted at Agriculture experimental field, Faculty of Agricultural Technology, Phetchaburi Rajabhat University. Aloes were planted in 15 inch black plastic pot, and used the fresh Trichoderma sp. that cultured on paddy rice in the ratio of 100 gram per 20 liters of water. The experimental design was completely randomized design (CRD) with 4 treatments including 1) normal planting (control) 2) normal planting and sprayed with Trichoderma sp. every 2 weeks 3) soaked the sucker for 1 hr before planting and 4) soaked the sucker for 1 hr before planting and sprayed with Trichoderma sp. every 2 weeks. The vegetative growth of Aloe was subsequently measured. The results showed that length, thickness and width of leaves in all treatments were similar. Fortunately, in the last treatment, it was capable of increasing the size and number of new leaves, as well as new shoots of the plants. This treatment also gave the reduction of rot symptom more than that of other treatments. Keywords: aloe, Trichoderma sp., growth promotion

1

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000

18-20 พฤศจิกายน 2558

173


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Pr-48 ผลของไคโตซานนา้ หนักโมเลกุล ต่า ปานกลาง และ สูง ต่ อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยว ผักงอกไควาเระ Effect of Low, Medium and High Molecular Weight Chitosan on Postharvest Quality of Kaiwere Sprout ณภัทร ขวัญช่ วย1 และพรประพา คงตระกูล1 Napat Khwanchuay1 and Pornprapa Kongtragoul1

บทคัดย่ อ ศึกษาผลของไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลต่า (40,000 Da), กลาง (48,000 Da) และสูง (850,000 Da) ต่อคุณภาพหลัง การเก็บเกี่ยวผักงอกไควาเระ โดยแช่เมล็ดหัวไชเท้ าสาหรับการผลิตผักงอกไควาเระในสารละลายไคโตซานแต่ละชนิดที่ระดับ ความเข้ มข้ น 0 (ชุดควบคุม), 200, 400 และ 800 พีพีเอ็ม เป็ นเวลา 12 ชัว่ โมง หลังจากนันน ้ าเมล็ดเพาะบนฟองน ้าบ่มที่ อุณหภูมิห้อง ผลปรากฏว่าหลังทาการเก็บเกี่ ยวผักงอกไควาเระ ชนิ ด ไคโตซานนา้ หนักโมเลกุลต่างๆ และความเข้ มข้ นมี ปฏิสมั พันธ์ ทางสถิติต่อ น ้าหนักสด และค่าของแข็งที่ละลายน ้าได้ (TSS) โดยพบว่าไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลสูง ที่ความเข้ มข้ น 400 พีพีเอ็ม มีค่า TSS มากที่สดุ คือ 3.86 เปอร์ เซ็นต์บริ กซ์ หลังจากนันบรรจุ ้ ผกั งอกไควาเระในกล่องพลาสติกใส (85*135*50 มิลลิเมตร) เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียสเป็ นเวลา 8 วัน พบว่า ไคโตซานนา้ หนักโมเลกุลต่า และไคโตซานนา้ หนัก โมเลกุลสูง ที่ความเข้ มข้ น 800 และ 400 พีพีเอ็ม ผักงอกมีค่า TSS เพิ่มขึ ้น แต่อย่างไรก็ตาม ไคโตซานไม่มีผลแตกต่างทางสถิติ ต่อการสูญเสียน ้าหนักของผักงอกไคเวระ คาสาคัญ: ของแข็งที่ละลายน ้าได้ น ้าหนักโมเลกุลไคโตซาน ผักงอก

Abstract The effect of low (40,000 Da), medium (48,000 Da) and high (850,000 Da) molecular weight chitosan was studied on postharvest quality of kaiware sprout. Radish seed for kaiware production were soaked in chitosan solution at 0 (control), 200, 400 and 800 ppm for 12 hours then germinated on sponge at room temperature. The result showed that after harvesting the kaiware spout, there was interaction between difference molecular weight chitosan and concentration on fresh weight and total soluble solid (TSS). It revealed that the soaked seed in the high molecular weight of chitosan solution at 400 ppm was the most effective of TSS at 3.86 Brix. Afterward, kaiware sprout were packed in transparent plastic box (85*135*50 mm) then stored at 5 C for 8 days. The low and high molecular weight chitosan at 800 and 400 ppm were shown the increasing for TSS of the sprout. However, chitosan treatments were no significant on the loss weight of kaiware sprout. Keywords: total soluble solid, chitosan molecular weight, sprout

1

หลักสูตรพืชสวน ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตรชุมพรเขตอุดมศักดิ์ จังหวัด ชุมพร 86160 174

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

18-20 พฤศจิกายน 2558

175


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

176

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-01 การสารวจและอนุรักษ์ พนั ธุ์ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่นในเขตศูนย์ วิจัยและถ่ ายทอดเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง อ.ด่ านช้ าง จ.สุพรรณบุรี The Exploration and Conservation of Native Trees at Research and Technology Transfer Center of King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Dan Chang, Suphan Buri. สุดที่รัก สายปลืม้ จิตต์ 1 ศุภร เหมินทร์ 1 นิภาพร ยลสวัสดิ์1 และจารู ญ เล้ าสินวัฒนา1 Sudteerak Saipluemchit1 Suporn Hemindra 1 Nipaporn Yonsawad1 and Chamroon Laosinwattana1

บทคัดย่ อ การสารวจและอนุรักษ์ พนั ธุ์ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่นในเขตศูนย์วิจยั และถ่ายทอดเทคโนโลยีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง อ.ด่านช้ าง จ.สุพรรณบุรี มีวตั ถุประสงค์เพื่อกาหนดพันธุ์ไม้ ยืนต้ นในท้ องถิ่นที่ควรอนุรั กษ์ และเพื่อ จัดทาฐานข้ อมูลพันธุ์ไม้ ยืนต้ นในท้ องถิ่น พื ้นที่ศกึ ษามีเนื ้อที่ประมาณ 3.5 ไร่ แบ่งด้ วยระบบกริ ดออกเป็ น 3 ส่วน เนื ้อที่สว่ นละ 500 ตารางเมตร ได้ แก่ ส่วน A1-4, B1-4 และ C1-3 เก็บข้ อมูลโดยการถ่ายภาพประกอบ และวิเคราะห์ข้อมูลแบบสถิติร้อยละ ผลการศึกษาพบพันธุ์ไม้ ยืนต้ นที่ควรอนุรักษ์ จานวน 20 ชนิด 15 วงศ์ กระจายอยู่เกือบทุกส่วนของพื ้นที่ ไม้ ยืนต้ นที่พบมากที่สดุ ในส่วน A1-4 ได้ แก่ แดง ซาก ประดู่ป่า มะค่าแต้ และรัง ตามลาดับ ในส่วน B1-4 ได้ แก่ แดง แคทราย ประดู่ป่า รัง และ แสมสาร ตามลาดับ และส่วน C1-3 ได้ แก่ ประดูป่ ่ า มะค่าแต้ แดง แคทราย และรัง ตามลาดับ คาสาคัญ: การสารวจ การอนุรักษ์ ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่น

Abstract The exploration and conservation of native trees at Research and Technology transfer Center of King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Dan Chang, Suphan Buri Province. The objective were determined some native trees for conservation and collected in database. The study area was separated in to 3 zones (A1-4, B1-4 and C1-3) in certain areas about 3.5 Rai. The data collections were gathered by photographing and percentage statistic was used as data analysis. Twenty species in 15 familys of native trees were found in the study area. The most native trees in zone A were Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var.kerrii (Craib & Hutch.) Nielsen, Erythrophloeum succirubrum Gagnep, Pterocarpus macrocarpus, Sindora siamensis var. siamensis and Shorea siamensis Miq., zone B were Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var.Kerrii (Craib & Hutch.) Nielsen, Stereospermum neuranthum Kurz , Pterocarpus macrocarpus, Shorea siamensis Miq. and Cassia garrettiana, zone C were Pterocarpus macrocarpus, Sindora siamensis var. siamensis, Xylia xylocarpa (Roxb.) Taub. var.Kerrii (Craib & Hutch.) Nielsen, Stereospermum neuranthum Kurz and Shorea siamensis Miq., respectively. Keywords: exploration, conservation, native trees

1

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

18-20 พฤศจิกายน 2558

177


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-02 การเข้ าทาลายแฝงของเชือ้ รา Phomopsis sp. สาเหตุโรคใบจุดของทุเรียน (Durio zibethinus Murr.) พันธุ์หมอนทอง Latent Infection of Phomopsis sp., the Causal Agent of Leaf Spot on Durian (Durio zibethinus Murr.) Cultivar Monthong วีระณีย์ ทองศรี1 และสมศิริ แสงโชติ1 Veeranee Tongsri1 and Somsiri Sangchote1

บทคัดย่ อ โรคใบจุดของทุเรี ยน มีสาเหตุจากเชื ้อรา Phomopsis sp. เป็ นโรคที่ไม่ได้ ก่อความเสียหายต่อทุเรี ยนโดยตรง แต่การสะสม ของโรคที่ใบจะเป็ นแหล่งของเชื ้อและก่อให้ เกิดโรคผลเน่าภายหลังการเก็บเกี่ยวได้ ในงานวิจยั นี ้มุ่งเน้ นศึกษาระยะเข้ าทาลายแฝง และปั จจัยภายในพืชที่ก่อให้ เกิดการเข้ าทาลายแฝงของเชือ้ สาเหตุโรค โดยเมื่อปลูกเชื ้อรา Phomopsis sp. ด้ วยวิธีพ่นสปอร์ แขวนลอย (เข้ มข้ น 106 สปอร์ /มิลลิลิตร) ลงบนต้ นกล้ าทุเรี ยนที่หลังหรื อท้ องใบ พบว่า บริ เวณท้ องใบเกิดการติดเชื ้อมากกว่า และ เมื่อปลูกเชือ้ โดยวิธีวางชิน้ วุ้นลงบนแผลจะพบลักษณะจุดตายสีนา้ ตาลบนเนือ้ เยื่อใบ และมี การสร้ างส่วนขยายพันธุ์ของเชือ้ รา เรี ยกว่า pycnidium ที่ 20 วันหลังจากปลูกเชื ้อ และยังพบลักษณะเข้ าทาลายแฝงของเชื ้อก่อโรค โดยมีการปรากฏแผลใหม่ซึ่งมี ลักษณะอาการแผลจุดสีน ้าตาลเข้ มขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 1 มม. และมีวงแหวนสีเหลืองล้ อมรอบหลังจากปลูกเชื ้อที่ 32 วัน รวมทังยั ้ งพบการเข้ าทาลายแฝงในสภาพธรรมชาติ โดยสามารถตรวจพบการติดเชื ้อของเชื ้อรา Phomopsis spp. ทังบนใบและดอก ้ ที่ปราศจากอาการโรคสูงถึง 95 และ 70 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ยิ่งไปกว่านันการที ้ ่สารสกัดหยาบจากใบทุเรี ยนสามารถลดการงอก และความยาวของ germ tube ของสปอร์ เชื ้อรา และการปรากฏของสารที่มีคณ ุ สมบัติยบั ยังการเจริ ้ ญของเชื ้อราสาเหตุโรคบนแผ่น TLC ที่ retention factor 0.29-0.88 แสดงถึงเนื ้อเยื่อใบทุเรี ยนมีสารบางชนิดที่ยบั ยังไม่ ้ ให้ เชื ้อก่อโรคเจริ ญเติบโตได้ ในช่วงหนึ่ง ดังนันการป้ ้ องกันกาจัดโรคบนใบในระยะที่มีการเข้ าทาลายแฝงน่าจะเป็ นวิธีที่จะช่วยลดประชากรของเชื ้อก่อโรคลงได้ อีกทางหนึง่ คาสาคัญ: ใบจุดทุเรี ยน ระยะเข้ าทาลายแฝง การติดเชื ้อ การพัฒนาโรค สารที่มีอยูแ่ ล้ วในพืช

Abstract Durian leaf spot caused by Phomopsis sp., is a minor disease which indirectly decreases quality of durian yield. Disease symptoms on the leaves acted as source of inoculum further affecting fruit rot after harvest. The objectives of this study were to investigate latent infection and factors affecting latent period of plant pathogenic fungus Phomopsis sp. on durian leaf. Pathogen inoculation by spraying spore suspension (106 spore/ml) on abaxial or adaxial surface of the leaf was conducted on seedlings. The results showed that the most infection area was on the lower side of leaf. The inoculated seedling by an agar plug on the wound site was also investigated. It was shown that browning necrotic spots appeared on the leaf and pycnidial formation was expressed at 20 days after inoculation. Consequently, numerous new browning spots with 1 mm in diameter surrounded by yellow halo were visible at 32 days after inoculation. In addition, natural latent infection by Phomopsis spp. was also established on durian leaves and flowers by 95 and 70% infection, respectively. Moreover, crude extract of durian leaf could reduce pathogen spore germination and germ tube elongation. It also showed inhibition zone of pathogen growth on TLC plate by retention factor of 0.290.88. This indicated that durian leaf tissues presented preformed substances which acted as antifungal compounds while the pathogen was in a latent period. This investigation benefits durian growers to control this disease by reduction of pathogen population at symptomless period. Keywords: phomopsis leaf spot, latent period, pathogen infection, disease development, preformed substance 1

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ 10900 178

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-03 ปริมาณประชากร พัฒนาการ และการทดสอบเบือ้ งต้ นในการใช้ เชือ้ ราสาเหตุโรคแมลงเพื่อควบคุม ด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย Population Abundance, Development and Preliminary Test of Using Entomopathogenic Fungi for Banana Stem Weevil Control, Odoiporus longicollis Olivier (Coleoptera: Curculionidae) แสงแข น้ าวานิช1 วิบลู ย์ จงรัตนเมธีกุล2 วราภรณ์ บุญเกิด1 โสภณ อุไรชื่น3 และกัลยาณี สุวิทวัส4 Sangkhae Nawanich Wiboon Chongrattanameteekul2 Warapon Bunkoed1 Sopon Uraichuen3 and Kunlayanee Suvittawat4 1

บทคัดย่ อ ด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย Odoiporus longicollis Olivier (Coleoptera: Curculionidae) เป็ นแมลงศัตรูกล้ วยที่สาคัญชนิดหนึ่ง การทดลองนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาปริ มาณประชากร และพัฒนาการของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย รวมทังการทดสอบเบื ้ ้องต้ นในการ ใช้ เชื ้อราสาเหตุโรคแมลงเพื่อควบคุมแมลงชนิดนี ้ ดาเนินการทดลองที่สถานีวิจยั ปากช่อง และห้ องปฏิบตั ิการศูนย์วิจยั ข้ าวโพดและ ข้ าวฟ่ างแห่งชาติ อ. ปากช่อง จ. นครราชสีมา ระหว่างเดือนกันยายน 2556 – พฤษภาคม 2558 ทาการศึกษาปริ มาณประชากรด้ วง เจาะลาต้ นกล้ วยโดยการวางกับดักต้ นกล้ วย พบว่าด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยมี 4 ชัว่ อายุขยั โดยมี 4 peaks คือ ช่วงเดือนกันยายน – ตุลาคม ช่วงเดือนธันวาคม ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ และช่วงเดือนเมษายน – พฤษภาคม การศึกษาพัฒนาการของด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย พบว่ามีระยะไข่เฉลี่ย 3.08±0.40 วัน ระยะหนอนมี 5 วัยเฉลี่ย 23.52±3.99 วัน ระยะดักแด้ 12.40±2.08 วัน ระยะตัวเต็มวัยมีอายุยืน เฉลี่ยถึง 206±147.77 วัน สาหรับการทดสอบเบื ้องต้ นในการใช้ เชือ้ ราสาเหตุโรคแมลง Beauveria bassiana และ Metarhizium anisopliae เพื่อควบคุมระยะตัวหนอนโดยการฉีดสารแขวนลอยสปอร์ เข้ าท่อนกล้ วยทดสอบ ที่ระดับความเข้ มข้ น 4.0×107 สปอร์ ต่อ มิลลิลติ ร อัตรา 50 มิลลิลิตร/ท่อน พบว่า B. bassiana และ M. anisopliae ทาให้ ตวั หนอนด้ วงมีอตั ราการตาย 20 และ 70 เปอรเซ็นต์ ตามลาดับ ที่ 7 วันหลังการทดสอบ จึงควรทาการศึกษาการใช้ เชื ้อ M. anisopliae เพื่อควบคุมหนอนด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วยในสภาพ แปลงต่อไป คาสาคัญ: ด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย Odoiporus longicollis Olivier ปริ มาณประชากร, Beauveria bassiana Metarhizium anisopliae

Abstract

Banana stem weevil (BSW), Odoiporus longicollis Olivier (Coleoptera: Curculionidae) is one of the most important pests of banana. The objectives of this study were to investigate the population abundance and development of BSW and also to perform a preliminary test of using entomopathogenic fungi for BSW control. The experiment was conducted at Pakchong Research Station and National Corn and Sorghum Research Center, Pakchong, Nakhon Ratchasima province during September 2013 – May 2015. Population abundance of BSW was studied at Pakchong Research Station by monthly monitoring number of adult weevil from traps. Traps were made of cuts of banana pseudostem. The result revealed that BSW in the studied area had 4 generations per year with 4 population peaks in September-October, December, February and April-May. Study on development of BSW was conducted under laboratory conditions at National Corn and Sorghum Research Center. It was found that the egg period was 3.06 ± 0.40 days while the larval stage consisted of 5 instars with the total period of 23.52 ± 3.99 days. Pupal stage took 12.40 ± 2.08 days. Adult BSW had an average longevity of 206±147.77 days. For preliminary test of using entomopathogenic fungi for BSW control, each cut of pseudostem with BSW larvae was injected with 50 ml of either Beauveria bassiana or Metarhizium anisopliae at the concentration of 4.0×107 spores/ml. The result showed that B. bassiana and M. anisopliae could cause 20 and 70% mortality to BSW larvae, respectively at 7 days after application. Further investigation is needed in order to verify the efficacy of M. anisopliae against BSW under field conditions. Keywords: banana stem weevil, Odoiporus longicollis Olivier, population dynamic, Beauveria bassiana, Metarhizium anisopliae 1 2 3 4

ศูนย์วิจยั ข้ าวโพดและข้ าวฟ่ างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถานีวิจยั ปากช่อง คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

18-20 พฤศจิกายน 2558

179


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-04 ประสิทธิภาพการรมของสูตรนา้ มันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชยต่ อไรกินเชือ้ รา (Tyrophagus communis Fan&Zhang) และไรฝุ่ น (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)) Fumigant Properties of Clove and Cinnamon Essential Oil Formulas against the Mold Mite (Tyrophagus communis Fan&Zhang) and House Dust Mite (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)) สาวิตรี ชื่นบาล1 จรงค์ ศักดิ์ พุมนวน2 และอามร อินทร์ สังข์ 2 Sawitri Cheanban1 Jarongsak Pumnuan2 and Ammorn Insung2

บทคัดย่ อ การทดสอบประสิทธิภาพการรมของสูตรน ้ามันหอมระเหยจากกานพลู (Syzygium aromaticum Merr.&L.M. Perry) และ อบเชย (Cinnamomum verum JS. Presl) ซึง่ ประกอบด้ วยอัตราส่วนของน ้ามันหอมระเหยจากกานพลูต่ออบเชยเท่ากับ 4:0, 3:1, 2:2, 1:3 และ 0:4 (Cl4Ci0 ,Cl3Ci1, Cl2Ci2, CI1Ci3 และ Cl0Ci4 ตามลาดับ) ต่อไรกินเชื ้อรา (Tyrophagus communis Fan&Zhang) และไรฝุ่ น (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)) โดยวิธีการรมในตู้ ขนาด 25 ลิตร ทาการทดสอบ ประสิทธิภาพการรมต่อไรในโรงเก็บที่ความเข้ มข้ น 0 (95 เปอร์ เซ็นต์ ethanol), 0.12, 0.18, 0.24, 0.30, 0.36 และ 0.42 ไมโครลิตร ต่อลิตร และทดสอบประสิทธิภาพการรมต่อไรฝุ่ นที่ความเข้ มข้ น 0 (95 เปอร์ เซ็นต์ ethanol), 0.24, 0.36, 0.48, 0.60, 0.72 และ 0.84 ไมโครลิตรต่อลิตร รมนาน 1 ชัว่ โมง ตรวจนับการตายที่ 24 ชัว่ โมง พบว่าสูตรน ้ามันหอมระเหย Cl3Ci1 ที่ระดับความเข้ มข้ น 0.42 ไมโครลิตรต่อลิตร มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรกินเชื ้อราได้ ดีที่สดุ 100 เปอร์ เซ็นต์ โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.215 ไมโครลิตรต่อลิตร อากาศ รองลงมาคือสูตรน ้ามันหอมระเหย Cl4Ci0 โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 0.241 ไมโครลิตรต่อลิตรอากาศ ส่วนสูตรน ้ามันหอม ระเหย Cl3Ci1ที่ระดับความเข้ มข้ น 0.84 ไมโครลิตรต่อลิตร air มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรฝุ่ นได้ ดีที่สดุ 100% โดยมีคา่ LC50 เท่ากับ 0.424 ไมโครลิตรต่อลิตรอากาศ รองลงมาคือสูตรน ้ามันหอมระเหย Cl2Ci2 โดยมีคา่ LC50 เท่ากับ 0.446 ไมโครลิตรต่อลิตรอากาศ คาสาคัญ: สูตรน ้ามันหอมระเหย ตู้รม สารฆ่าไร ไรในโรงเก็บ

Abstract Fumigant toxicity of essential oil (EO) formulas with different mixtures between ratios clove (Syzygium aromaticum Merr.&L.M. Perry) and cinnamon (Cinnamomum verum JS. Presl) EO ratios (4:0, 3:1, 2:2, 1:3 and 0:4 represented by Cl4Ci0, Cl3Ci1, Cl2Ci2, Cl1Ci3 and Cl0Ci4, respectively) against adult of mold mite (Tyrophagus communis Fan&Zhang) and house dust mite (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)) were investigated.The fumigation bioassay was performed for mold mite with 0 (95% ethanol), 0.12, 0.18, 0.24, 0.30, 0.36 and 0.42 µl/l air and house dust mite with 0 (95% ethanol), 0.24, 0.36, 0.48, 0.60, 0.72 and 0.84 µl/l air EO formulas in 25 l fumigation chamber for 1 hr. The mortalities of both mites were observed at 24 h after the treatments. The results showed that Cl3Ci1 EO formula was highly effective in controlling mold mite, at 0.42 µl/l air resulted in complete mortality with LC50 value of 0.215 µl/l air, followed by Cl4Ci0 which presented LC50 value of 0.241 µl/l air. Besides, Cl3Ci1 EO formula was highly effective in controlling house dust mite, at 0.84 µl/l air resulted in complete mortality with LC50 value of 0.424 µl/l air, followed by Cl2Ci2 which presented LC50 value of 0.446 µl/l air. Keywords: essential oil formulas, fumigation chamber, acaicide, stored product mite 1 2

นักศึกษาปริ ญญาโท คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 180

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-05 ลักษณะโครมาโตแกรมโดย HPLC และฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของกระชายและข่ า HPLC Chromatographic Profile and Antioxidant Activity of Fingerrootand Galangal ศรัณย์ ฉวีรักษ์ 1 และประธาน ฦๅชา2 Saran Chaweerak1 and Prathan Luecha2

บทคัดย่ อ กระชาย [fingerroot; Boesenbergia rotunda (L.) Mansf] และข่า [galangal; Alpinia galangal (L) Wild] เป็ นพืช สวนครัวที่เป็ นที่ร้ ู จกั ในประเทศไทยและใช้ ในการประกอบอาหารหลายตารับ นอกเหนือจากประโยชน์ทางอาหารแล้ วยังมีการนา หัวกระชายและเหง้ าข่ามาใช้ โดยหมอพืน้ บ้ านไทยเพื่อแก้ ลมวิงเวียนขับลม ช่วยให้ เจริ ญอาหาร แก้ ท้องอืดท้ องเฟ้อและเสริ ม สมรรถภาพทางเพศ การศึกษาครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาปั จจัยด้ าน รู ปแบบการเตรี ยมตัวอย่าง สด-แห้ ง, แหล่งปลูก และ ฤดูกาลที่เก็บเกี่ยว ต่อลักษณะโครมาโตแกรมที่ได้ จากเครื่ อง HPLC และเปรี ยบเทียบฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระรวมถึงปริ มาณสารฟี นอลิกรวมของสารสกัดเอธานอลของหัวกระชายและเหง้ าข่า ผลการศึกษาพบว่า หัวกระชายและเหง้ าข่าที่สกัดจากตัวอย่างสด และแห้ งมีลกั ษณะของโครมาโตแกรมที่ใกล้ เคียงกัน และยังพบว่ากระชายและข่า ที่เก็บเกี่ยวในช่วงฤดูร้อนให้ ปริ มาณสารมาก ที่สดุ ส่วนตัวอย่างที่เก็บในฤดูฝนจะมีจานวนชนิดของสารมากที่สดุ ผลการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระ ด้ วยวิธี DPPH และ FRAP assay พบว่า สารสกัดหัวกระชายมีฤทธิ์ต้านออกซิเดชันได้ ดีกว่าสารสกัดเหง้ าข่า โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 177.89±0. 27 และ 198.09±0.49 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และ มีค่าTEAC เท่ากับ 4.596±0.15 และ 3.612±0.13 มิลลิกรัมต่อกรัมของสารสกัด ตามลาดับ คาสาคัญ: โคมาโตแกรม โดย HPLC ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของกระชายและข่า

Abstract Fingerroot [Boesenbergia rotunda (L.) Mansf] and galangal [Alpinia galangal (L) Wild] are the famous home-grown vegetables used for cooking of various food recipes in Thailand. In addition to their consumption benefits, these plants had been used by Thai folklore healers to treat many illnesses such as vertigo, flatulence and also used as appetite stimulant and aphrodisiac. This study focuses on the various factors (sample preparation, collecting location and harvesting season) affected on HPLC chromatograms of fingerroot and galangal ethanolic extract as well as their antioxidants activity and total phenolic evaluation.The results showed that ethanolic extracts of fresh or dry fingerroot and galangal exhibited somewhat similar HPLC chromatogram. The extract of herb which collected in summer season showed higher area under the curve of HPLC peak whereas the extract from rainy season presented more variation of chemical constituents. The antioxidant activity using DPPH assay revealed that fingerroot extract gave higher antioxidant activity than galangal extract with IC50 of about 177.89±0.27 and 198.09±0.49 µg/ml, and TEAC of about 4.596±0.15, 3.612±0.13 mg/g crude extract respectively. Keywords: HPLC chromatogram, antioxidant activity, fingerroot, galangal

1 2

วท.ม. เภสัชเคมีและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ภาควิชาเภสัชเวทและพิษวิทยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

18-20 พฤศจิกายน 2558

181


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-06 ผลของเชือ้ ราอาบัสคูล่า ไมคอไรซ่ าในการเพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตของมะเขือเทศสีดา Arbuscular Mycorrhizal Fungi Promote Growth and Yield of Seeda Tomato (Solanum lycopersicum L.) สิริพร สิริชัยเวชกุล1 และนิจพร ณ พัทลุง2 Siriporn Sirichaiwetchakul1 and Nidchaporn Nabhadalung2

บทคัดย่ อ ทาการศึกษาผลของเชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่าจานวน 4 ชนิด คือ Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2, Glomus sp. no 3 และ Acaulospora sp. ต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของมะเขือเทศสีดา เปรี ยบเทียบกับการไม่ใส่เชื ้อรา วางแผนการ ทดลองแบบ CRD จานวน 5 วิธีการทดลอง 3 ซ ้า ได้ แก่ 1) ไม่ใส่เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่า 2) ใส่เชื ้อรา Glomus sp. no. 1 3) ใส่เชื ้อรา Glomus sp. no 2 4) ใส่เชื ้อรา Glomus sp. no 3 และ 5) ใส่เชื ้อรา Acaulospora sp. พบว่าการใช้ เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่า ชนิดต่างๆ มีผลต่อการเจริ ญเติบโตอย่างมีนัยสาคัญ (p<0.05) และมีผลต่อผลผลิตของมะเขื อเทศสีดาอย่างมี นัยสาคัญยิ่ง (p<0.01) โดยการใส่ Glomus sp. no 3 จะทาให้ มะเขือเทศสีดามีความสูงมากที่สดุ (p<0.05) และการใส่ Glomus sp. no 1 จะทาให้ จานวนผลต่อต้ นมากที่สดุ (p<0.01) ขณะที่ Glomus sp. no 2 จะทาให้ มะเขือเทศมีจานวนผลผลิต ต่อต้ นมากที่สดุ (p<0.01) อย่างไรก็ตามการใส่เชื ้อรา Acaulospora sp. นัน้ ไม่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของมะเขือ เทศสีดา (p>0.05) เมื่อเปรี ยบเทียบกับการไม่ใส่เชื ้อรา ซึ่งเชื ้อราที่มีความสามารถในการเข้ าอยู่อาศัยในรากมะเขือเทศสีดา และผลิตสปอร์ ได้ มากที่สดุ คือ Glomus sp. no 3, Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2 และ Acaulospora sp. ตามลาดับ จากผลการศึกษาสรุปได้ ว่า Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2 และ Glomus sp. no 3 เป็ นเชื ้อราที่สง่ ผลดีต่อมะเขือเทศสี ดาในด้ านการเจริญเติบโตและการให้ ผลผลิตซึง่ อาจพัฒนาสาหรับการนาไปใช้ เพื่อเป็ นหัวเชื ้อปุ๋ ยชีวภาพสาหรับมะเขือเทศสีดา ต่อไป คาสาคัญ: เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่า มะเขือเทศสีดา ปุ๋ ยชีวภาพ Solanum lycopersicum L.

Abstract Study on four species of arbuscular mycorrhizal fungi, Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2, Glomus sp. no 3 and Acaulospora sp., to promote growth and yield of Seeda tomato comparing with no inoculation of arbuscular mycorrhizal fungi was conducted. The experiment design was CRD with five treatments and three replications namely 1) non inoculated 2) inoculated with Glomus sp. no 1 3) inoculated Glomus sp. no 2 4) inoculated Glomus sp. no 3 and 5) inoculated Acaulospora sp. The result showed that arbuscular mycorrhizal fungi promoted growth (p<0.05) and yield (p<0.01) of Seeda tomata. Inoculation with Glomus sp. no. 3 showed highest for height of Seeda tomato (p<0.05) and inoculation with Glomus sp. no 1 showed highest for number of fruit per plant (p<0.05). The highest total yield of Seeda tomato (p<0.01) was shown when inoculation with Glomus sp. no 2. However inoculation with Acaulospora sp. showed no promotion on growth and yield of Seeda tomato (p>0.05) comparing with no inoculation of arbuscular mycorrhizal fungi. The AM colonization in Seeda tomato root and number of AM fungal spore in soil was highest when inoculation with Glomus sp. no 3 following by Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2 and Acaulospora sp., respectively. In conclusion, Glomus sp. no 1, Glomus sp. no 2 and Glomus sp. no 3 could promote the growth and yield of Seeda tomato, indicated that they might be used as biofertilizer for Seeda tomato. Keywords: arbuscular mycorrhizal fungi, seeda tomato, biofertilizer, Solanum lycopersicum L 1 2

โปรแกรมวิชาเกษตรศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 182

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-07 การพัฒนาการของโรคและระดับความต้ านทานต่ อสารเคมีคาร์ เบนดาซิมของเชือ้ ราสาเหตุโรคใบจุด ของกล้ วยไข่ เพื่อการส่ งออกในภาคตะวันออกของประเทศไทย Disease Development and Carbendazim Resistance in Plant Pathogenic Fungi of Leaf Spot on KluaiKhai Banana for Export in Eastern Thailand สุมาพร แสงเงิน1 สมศิริ แสงโชติ1 และวีระณีย์ ทองศรี1* Sumaphorn Sangngern1 Somsiri Sangchote1 and Veeranee Tongsri1*

บทคัดย่ อ ใบจุดของกล้ วยเป็ นโรคที่มีความสาคัญในการผลิตกล้ วยไข่ในภาคตะวันออกเพื่อการส่งออกของประเทศไทย โดย ก่อให้ เกิดการลดลงทังปริ ้ มาณและคุณภาพของผลผลิตเป็ นจานวนมาก ในงานวิจยั นี ้จึงได้ ทาการศึกษาเชื ้อราที่ก่อให้ เกิดโรค จากพื ้นที่ปลูก 3 แหล่ง ได้ แก่ จังหวัดตราด จันทบุรี และระยอง เพื่อศึกษาการเพิ่มขึ ้นของโรค การงอกของสปอร์ และระดับ ความต้ านทานต่อสารเคมีปอ้ งกันกาจัดเชื ้อราคาร์ เบนดาซิมของเชื ้อ โดยพบว่าเชื ้อราที่ก่อให้ เกิดการเพิ่มขึ ้นของโรคมากที่สดุ จากการปลูกเชื ้อบนใบกล้ วยไข่มี 2 ไอโซเลท คือ เชื ้อรา Curvularia sp. ไอโซเลท T2K และ Corynespora sp. ไอโซเลท SJ1 และพบว่าสปอร์ ของเชื ้อราทัง้ 2 genus เริ่มงอกที่เวลา 1 ชัว่ โมงบนอาหาร potato dextrose agar สาหรับการทดสอบความ ต้ านทานต่อสารเคมีปอ้ งกันกาจัดเชื ้อราคาร์ เบนดาซิมที่ระดับความเข้ มข้ น 1, 10, 50, 100, 500, 1,000, 2,000 และ 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตรพบว่าเชื ้อรา Curvularia sp. ไอโซเลท T2K มีความต้ านทานต่อสารเคมีในระดับสูง (HR; ≥ 500 มิลลิกรัมต่อ ลิตร) ส่วนเชื ้อรา Corynespora sp. ไอโซเลท SJ1 มีความอ่อนแอต่อสารเคมี (S; ≤ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร) ซึง่ สามารถบ่งชี ้ได้ วา่ ถึงแม้ ในบางพื ้นที่ปลูกจะมีการใช้ สารเคมีดงั กล่าวในอัตราแนะนา (1,000 มิลลิกรัมต่อลิตร) อย่างต่อเนื่องก็ไม่สามารถลดการ เกิดโรคลงได้ จึงควรหาวิธีการอื่นๆ ที่เหมาะสมในการจัดการโรคให้ มีประสิทธิภาพต่อไป คาสาคัญ: โรคใบจุดกล้ วย การเพิ่มขึ ้นของโรค ความต้ านทานสารเคมี การงอกของสปอร์ Curvularia sp. Corynespora sp. 1

Abstract

Banana leaf spot is an important disease of KluaiKhai banana production for export in eastern region of Thailand. It causes a vast reduction in both quantity and quality of banana yields. This study aims to determine the causal agents of disease obtained from 3 locations of banana orchard, Trat, Chanthaburi and Rayong provinces. Increased disease on banana leaf, spore germination and carbendazim resistance of pathogens were investigated. The result revealed that two isolates of causal agents, Curvularia sp. isolate T2K and Corynespora sp. isolate SJ1 were the most increasing disease by artificial inoculation on banana leaf. Spore germination of both fungi started to germinate at 1 hour after incubation on potato dextrose agar. Pathogen resistance to carbendazim was conducted at concentrations of 1, 10, 50, 100, 500, 1,000, 2,000 and 3,000 mg/l. It was shown that Curvularia sp. isolate T2K was classified to highly resistant level (HR; ≥ 500mg/l), whereas Corynespora sp. isolate SJ1 was classified as sensitive level (S; ≤ 1 mg/l). This indicated that regular use of carbendazim at recommended dose (1,000 mg/l) could not decrease the disease. Thus, appropriate strategies to control banana leaf spot disease should be advised. Keywords: banana leaf spot, increased disease, fungicide resistance, spore germination, Curvularia sp. Corynespora sp. 1

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

18-20 พฤศจิกายน 2558

183


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-8 สหสัมพันธ์ ระหว่ างลักษณะทางกายภาพและสารพฤกษเคมีของผลหนามแดง Correlation Coefficient of Physical and Phytochemical Properties of Karandas สุนีรัตน์ อุดมภูม1ิ รักเกียรติ แสนประเสริฐ1 และทินน์ พรหมโชติ1 Sunerat Udomphoom1 Rugkeart Sanprasert1 and Thin Promchot1

บทคัดย่ อ หนามแดง หรื อมะม่วงหาวมะนาวโห่ มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Carissa carandas L. เป็ นผลไม้ ที่อดุ มด้ วยสารพฤกษเคมี ที่สาคัญหลายชนิด เช่น สารประกอบฟี นอลิค และสารแอนโทไซยานิน เป็ นต้ น สารเหล่านี ้เป็ นสารต้ านอนุมลู อิสระที่สาคัญ ผล หนามแดงสามารถบริ โภคได้ ทงในระยะผลแดงและผลม่ ั้ วงดา ซึง่ ทังสองระยะอาจมี ้ ปริ มาณสารพฤกษเคมีที่แตกต่างกัน ดังนัน้ จึงได้ ทาการศึกษาเปรี ยบเทียบอายุผล (65 และ 85 วันหลังดอกบาน) และประเมินค่าสหสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพและ ปริ มาณสารพฤกษเคมีของหนามแดง โดยทาการบันทึกลักษณะทางกายภาพ ได้ แก่ น ้าหนักผล (FW) ความกว้ างผล (FDI) ความยาวผล (FL) ความแน่นเนื ้อ (FF) และค่าสี a* และลักษณะทางพฤกษเคมี ได้ แก่ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ทงหมด ั้ (TSS) ปริ มาณฟี นอลิกทังหมด ้ (TPH) และปริ มาณแอนโทไซยานินทังหมด ้ (TAN) พบว่า อายุผลมีผลต่อทุกลักษณะที่ ทาการศึกษา ยกเว้ นค่า FL โดยผลที่อายุ 65 วันหลังดอกบานมีค่า FW, FDI, FF และ TPH สูง ขณะที่ผลอายุ 85 วันหลังดอก บานมีค่า TSS และ TAN สูง และจากการประเมินค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสารพฤกษเคมี ของผลหนามแดงอายุ 65 และ 85 วันหลังดอกบาน พบว่า FW, FDI, FF, TPH และค่า a* มีสหสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน ในขณะที่ปริ มาณ TAN มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ ามกับ FW และ FD สาหรับปริ มาณ TSS มีความสัมพันธ์ในทิศทาง ตรงกันข้ ามกับ FF และปริมาณ TPH และค่า a* คาสาคัญ: คุณภาพผล สหสัมพันธ์ อายุผล

Abstract Karandas (Carissa carandas L.) is a fruit tree that is rich in phytochemical contents such as total phenolic compounds and anthocyanin contents which are an important antioxidants. The unripe red fruits and ripe purple fruits of karandas can be consumed. Both of them could have difference phytochemical compounds. Therefore, the objective of this study was to compare the physical (fruit weight, FW; fruit diameter, FD; fruit length, FL; flesh firmness, FF and a* value) and phytochemical (total soluble solids, TSS; total phenolic compound, TPH and total antocyanin compound,TAN) properties of the unripe red fruits (65 days after full bloom) and the ripe purple fruits (85 days after full bloom) and correlation coefficient between physical and phytochemical properties of karandas fruits was also estimated. The results revealed that 65 days after full bloom fruits had the highest FW, FD, FF, TSS, TPH and TAN. However, the high value of TSS and TAN were found from the 85 days after full bloom fruits. The FW, FDI, FF, TPH and a* values had positive correlation, while the TAN showed negative correlation with FW and FD. Moreover, negative correlation of TSS with FF, TPH and a* values was performed. Keywords: fruit quality, correlation, fruit age

1

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 ถนนสถลมาร์ ค ตาบลเมืองศรี ไค อาเภอวาริ นชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190 184

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-09 เปรียบเทียบลักษณะบางประการของฟั กข้ าว 6 สายต้ น A Comparison on Some Characters of 6 Clones Cocchincion Gourd (Momordica cochinchinensis (Lour.) spreng พิทกั ษ์ พุทธวรชัย1 นภา ขันสุภา1 วิรัติ อาพันธุ์1 ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 1 และอุกฤษฎ เจริญใจ1 Pitak Puttawarachai1 Napa khunsupa1* Wirat Amphan1 Parinyawadee Sritontip1and Uookrit Chareanjai1

บทคัดย่ อ การเปรี ยบเทียบลักษณะทางพืชสวนประการของฟั กข้ าว 6 สายต้ น ทาการทดลอง ณ แปลงพืชผัก สถาบันวิจัย เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ต.พิชยั อ.เมือง จ.ลาปาง ระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2555มกราคม 2556 วางแผนการทดลองแบบ RCBD มี 4 ซ ้าจานวน 6 สายต้ น ได้ แก่สายต้ นเบอร์ 3 เบอร์ 15 เบอร์ 16 เบอร์ 41-2 เบอร์ 44-1 และเบอร์ 53 พบว่า สายต้ นที่ 41-2 มีน ้าหนักยอดสด ความยาวยอด และเส้ นผ่าศูนย์กลางโคนยอดมีค่าเฉลี่ย สูงสุด มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ โดยค่าเฉลี่ยนา้ หนักยอดสด นา้ หนักแห้ ง และความยาวของยอด เท่ากับ 6.48 กรัมต่อยอด 0.3 กรัมต่อยอดและ 37.42 เซนติเมตร ตามลาดับ มีค่าเฉลี่ยน ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งของส่วนที่ บริ โภคได้ เท่ากับ 4.35 และ 0.60 กรัมต่อยอด ตามลาดับ สาหรับน ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งของส่วนที่บริ โภคไม่ได้ ไม่มีความ ทางสถิติ ของทัง้ 6 สายต้ น คาสาคัญ: ฟั กข้ าว ลักษณะทางพืชสวน สายต้ น

Abstract A comparison on some horticultural characters of 6 clones cochincion gourd was carried out at the Vegetable Section, Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, Tumbol Pichai, Amphur Muang, Lampang province, during Nouvember 2012-January 2013. The experimental design employed was a randomized complete block design (RCBD) consisted of 6 clones cocchincion gourd (teeatments) and each with 4 replications. The clones were no.3, no.15, no.16, no.41-2, no.44-1 and no.53. The results revealed that clone no. 41-2 produced significantly the greatest of shoot fresh weight, shoot length and diameter or shoot stem base as compared with the others. In that, the averages of shoot fresh weight, dry weight and length were 6.48 g/shoot, 0.83 g/shoot and 37.42 cm, respectively. The fresh and dry weights of the edible portion of shoots were 4.35 and 06.0 g/shoot, respectively. The fresh and dry weights of the inedible portion of shoots were similar for all 6 clones under study. Keywords: sweet gourd, cochinchin gourd, Momordica cochinchinensis (Lour.) spreng) horticultural characters, clones.

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000

18-20 พฤศจิกายน 2558

185


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-10 การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของกล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่ าง Morphological Study of Local Thai Doritis in Lower Region of North - Eastern Thailand ศรีประไพ ธรรมแสง1 และกาญจนา รุ่ งรัชกานนท์ 1 Sriprapai Thummasaeng1 and Karnchana Rungruchakanont1

บทคัดย่ อ การศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา ของกล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง เพื่อเป็ นข้ อมูล เบื ้องต้ นในการนาไปใช้ ในการปรับปรุ งพันธุ์ต่อไป ผลการศึกษาพบว่า กล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งที่เก็บรวบรวมได้ มี 2 สายพันธุ์คือ กล้ วยไม้ แดงอุบล และ กล้ วยไม้ ม้าวิ่ง ซึง่ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา แต่ละสายพันธุ์มีความหลากหลาย ดังนี ้ ลักษณะดอกของ กล้ วยไม้ แดงอุบล มีความหลากหลายทังหมด ้ 8 รูปแบบ ส่วนสีของกลีบดอกมีตงแต่ ั ้ สีม่วงอ่อนจนถึงสีชมพูเข้ ม สีของปากดอก มีสีขาว ชมพูอ่อน ม่วงอ่อน ม่วงเข้ ม และชมพูเข้ ม มีลาย สีของหูกลีบดอก มีสีเหลืองส้ ม ชมพูอ่อน ชมพูเข้ ม ม่วงอ่อน ม่วงเข้ ม ใบกล้ วยไม้ แดงอุบล มีลกั ษณะแตกต่างกัน 5 รู ปแบบ ลักษณะดอกของกล้ วยไม้ ม้าวิ่ง มีความหลากหลายทังหมด ้ 7 รูปแบบ สี ของกลีบดอกมีตงแต่ ั ้ สีขาว ชมพูอ่อน ชมพูเข้ ม ม่วงอ่อน และม่วงเข้ ม สีของปากดอก มีสีขาว เหลือง เหลืองอมส้ ม ม่วงอ่ อน ม่วงเข้ ม สีของหูกลีบดอก มีสีเหลืองส้ ม ชมพู ม่วงอ่อน ม่วงเข้ ม ส่วนใบกล้ วยไม้ ม้าวิ่ง มีลกั ษณะแตกต่างกัน 3 รูปแบบ คาสาคัญ: กล้ วยไม้ แดงอุบล กล้ วยไม้ ม้าวิ่ง สัณฐานวิทยา

Abstract A study on morphology of Doritis in the lower region of North Eastern Thailand was conducted to examine morphology of Doritis to obtain fundamental data to be used for breeding program. Results showed that two species of Doritis were Doritis pulcherrima var. buyssoniana (Daeng - ubon) and Doritis pulcherrima (Ma - wing). Daeng - ubon had different shape and color of leaf and flowers as follows: There were 8 forms of Daeng - ubon flowers. Color of petals range from light purple to dark pink. Lip colors were white, light pink, light purple, dark purple and dark pink with stripe. Colors of side lobe were yellowish orange, light pink, dark pink, light purple and dark purple. Leaves of Daeng - ubon consisted of 5 different forms. There were 7 forms of Ma - wing flowers. Petals colors were white, light pink, dark pink, light purple and dark purple. Lip colors were white, yellow, yellowish orange, light purple and dark purple. Colors of side lobe were yellow, orange, pink, light purple and dark purple. Leaves of Ma - wing consisted of 3 different forms. Keywords: Doritis pulcherrima var. buyssoniana (Daeng - ubon), Doritis pulcherrima (Ma - wing), morphology

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 34190 186

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-11 การวิเคราะห์ ปริมาณโฮโลเซลลูโลสในไผ่ หวานอ่ างขางโดยวิธีอนิ ฟราเรดย่ านใกล้ Analysis of Holocellulose Content in Bamboo (Dendrocalamus latiflorus) Using Near Infrared Spectroscopy ทศพล อุมะมานิต1 ณัฐภรณ์ สุทธิวิจิตรภักดี ศุมาพร เกษมสาราญ,สุธีรา วิทยากาญจน์ และมะลิวัลย์ หฤทัยธนาสันติ์ Thotsaphon Umamanit1 Nattaporn Suttiwijitpukdee Sumaporn Kasemsumran Suteera Witayakran and Maliwan Haruthaithanasan

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้เป็ นการพัฒนาวิธีการวิเคราะห์ปริมาณโฮโลเซลลูโลสของไผ่หวานอ่างขางในลาไผ่ที่มีช่วงอายุต่างกันโดยใช้ วิธีอินฟราเรดย่านใกล้ โดยใช้ ตวั อย่างไผ่หวานอ่างขาง (Dendrocalamus latiflorus) จานวน 30 ต้ น จากจังหวัดเชียงใหม่ มี อายุลาไผ่ในช่วง 1-3 ปี โดยในแต่ละต้ นจะแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนปลาย ส่วนกลาง และส่วนโคน รวมเป็ น 90 ตัวอย่าง นา ตัวอย่างผงไม้ ไผ่บดแห้ งทังหมดมาวั ้ ดค่าการดูดกลืนแสงในช่วงความยาวคลื่น 680-2500 นาโนเมตร จากนันน ้ าผงไผ่ที่ผ่านการ วัดแสงแล้ วมาวิเคราะห์ค่าปริ มาณโฮโลเซลลูโลสโดยวิธีทางเคมีเพื่อคานวณสร้ างสมการ เมื่อเปรี ยบเที ยบอายุของลาไผ่พบว่า ปริ มาณโฮโลเซลลูโลสจะมีปริ มาณเพิ่มขึ ้นตามช่วงอายุ แต่เมื่อนาไผ่แต่ละส่วนของลาไผ่ มาคานวณเปรี ยบเทียบกันพบว่า ค่า องค์ประกอบโฮโลเซลลูโลสบริ เวณส่วนต่างๆ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ จากนันเมื ้ ่อนาปริ มาณโฮโลเซลลูโลสที่ วิเคราะห์ ได้ ทัง้ หมดมาคานวณสร้ างสมการหาความสัมพันธ์ ของการดูดกลืนแสงกับปริ มาณโฮโลเซลลูโลส พบว่า เมื่อนา สเปกตรัมการดูดกลืนแสงของผงไผ่มาคานวณปรับแต่งด้ วยวิธี multiplicative scattering correction (MSC) ร่ วมกับการ ปรับแต่งด้ วยวิธีอนุพนั ธ์อนั ดับสอง (second derivative) จะให้ สมการที่มีความคลาดเคลื่อนในการทานายต่าที่สดุ โดยสมการมี ค่า coefficient of correlation (r) เป็ น 0.947 เปอร์ เซ็นต์ และเมื่อนาสมการมาทดสอบทานายปริ มาณโฮโลเซลลูโลส พบว่ามี ความคลาดเคลื่อน (root mean square of standard error of prediction , RMSEP) เป็ น 1.438 เปอร์ เซ็นต์ แสดงให้ เห็นว่า มี ความเป็ นไปได้ ในการนาวิธีอินฟราเรดย่านใกล้ มาใช้ ในการทานายปริมาณองค์ประกอบโฮโลเซลลูโลสในไม้ ไผ่ คาสาคัญ: ไผ่หวานอ่างขาง โฮโลเซลลูโลส อินฟราเรดย่านใกล้

Abstract This research aims to develop the analytical method for holocellulose determination in bamboo clums (Dendrocalamus latiflorus) using near-infrared spectroscopy at different bamboo ages and different culm height. Thirty bamboo trees of 1-3 year old culms were used for measurement. Each culm was divided into three parts with different height: the top, the middle, and the bottom. The spectral data of ninety samples were collected in the region of 680-2500 nm, and then the bamboo powders were further analyzed by standard methodology. From the chemical analysis, the amount of holocellulose increased with increasing bamboo culm age, while the content was not significantly different in comparison of each part with different height. Partial least square equation model that was performed with the combinative spectra of multiplicative scattering correction (MSC) and second derivative showed the relationship between the spectral values and holocellulose content. The correlation coefficient of calibration (R) and the root mean square of standard error of prediction (RMSEP) equal to 0.947 and 1.438%, respectively. Thus, this work is to demonstrate a possibility of using near infrared spectroscopy for determining the amount of holocellulose content in bamboo. Keywords: bamboo (Dendrocalamus latiflorus), holocellulose, near-infrared spectroscopy

1

สถาบันค้ นคว้ าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

18-20 พฤศจิกายน 2558

187


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-12 การคัดแยกกระเจีย๊ บเขียวที่มีหนอนฝั งตัวอยู่ภายในด้ วยการวิเคราะห์ หลายตัวแปรในช่ วงคลื่น อินฟราเรดย่ านใกล้ Selection of Green Okra Infested by Insect Pests Using Multivariate Analysis of Near Infrared Spectroscopy ณัฐภรณ์ สุทธิวิจติ รภักดี1 ศุมาพร เกษมสาราญ1 ทศพล อุมะมานิต1 และวารุ ณี ธนะแพสย์ 1 Nattapron Suttiwijitpukdee1 Sumapron Kasemsumran1 Thotsaphon Umamanit1 and Warunee Thanapase1

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้เป็ นการพัฒนาการคัดแยกกระเจี๊ยบเขียว okra (Abelmoschus esculentus (L.) Moench) ที่มีแมลงฝังตัว อยู่ภายในโดยใช้ เทคนิคเนี ยร์ อินฟราเรดในการวิเคราะห์ และคัดแยก ในการทดลองนี ใ้ ช้ ตัวอย่างกระเจี๊ ยบเขี ยว 508 ตัวอย่าง ทาการวัดแสง ในช่วงความยาวคลื่น 665-955 นาโนเมตร วัดในระบบ transmittance mode นาค่าการดูดกลืนแสง ที่วดั ได้ มาคานวณการคัดแยกด้ วยวิธี principle component analysis (PCA) และวิธี partial least square discriminant analysis (PLS-DA) ผลการศึกษาพบว่าการคัดแยกโดยวัดแสงในระบบ transmittance คานวณการคัดแยกเปรี ยบเทียบ ระหว่างวิธี component analysis (PCA) สามารถคัดแยกได้ ถกู ต้ องมากกว่า 65 เปอร์ เซ็นต์ และวิธี partial least square discriminant analysis (PLS-DA) สามารถคัดแยกได้ ถกู ต้ องมากกว่า 87.5 เปอร์ เซ็นต์ ดังนันจะเห็ ้ นได้ ว่าวิธีการคานวณแบบ PLS-DA มีประสิทธิภาพมากกว่าการคานวณด้ วยวิธี PCA ในการคัดแยกกระเจี๊ยบเขียว คาสาคัญ: เนียร์ อินฟราเรด กระเจี๊ยบเขียว การวิเคราะห์หลายตัวแปร

Abstract This research attempted to develop the selection tool for separating the green okra (Abelmoschus esculentus (L.) Moench) by infested by internal insect pests by near-infrared spectroscopy. A sample of 508 samples was collected and spectrum was made in the region of in the region of 665-955 nm as transmittance mode. Principal component analysis (PCA) was applied for spectral calculation. The accuracy of this result presented higher than 65%. A comparative result calculated from partial least square discriminate analysis (PLSDA) method showed higher than 87.5% accuracy. Therefore, it indicated that the PLS-DA calculated method was more efficient than PCA calculation for the selection of green okra infested by internal insects. Keywords: NIRS, okra, multivariate analysis

1

สถาบันค้ นคว้ าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900 188

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-13 การผลิตไข่ นา้ ด้ วยนา้ ทิง้ จากบ่ อเลีย้ งปลาดุก Wolffia spp. Production from Catfish Pond Waste Water นิตยา เกตุแก้ ว1 ดวงรั ตน์ ชูเกิด2 และสุรพล ฐิตธิ นากุล1 Nittaya Ketkaew1 Duangrat Chookird2 and Suraphon Thitithanakul1

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้มีจดุ ประสงค์เพื่อผลิตไข่น ้า (Wolffia spp.) โดยใช้ น ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุก ซึง่ มีธาตุอาหารสาหรับพืช ให้ เกิดประโยชน์ ควบคู่กับการปรับปรุ งคุณภาพนา้ และนาผลผลิตที่ได้ มาใช้ เป็ นอาหารสัตว์ นา้ การศึกษามีทงั ้ หมด 5 ชุดการ ทดลอง โดยใช้ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ นต่างกัน 5 ระดับ คือ 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 และ 2.5 กรัมต่อลิตร ใช้ น ้าทิ ้งปริ มาตร 10 ลิตร/หน่วยทดลอง เลี ้ยงในภาชนะพลาสติก สภาพโรงเรื อนกลางแจ้ ง เป็ นระยะเวลา 30 วัน ผลการศึกษาพบว่าปริ มาณไข่น ้า เริ่ มต้ นที่ 1.5 กรัมต่อลิตร ให้ ผลผลิตเพิ่มขึ ้นเฉลี่ยสูงสุด (P<0.05) ในด้ านคุณภาพของไข่น ้า ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 2.5 กรัมต่อลิตร จะมีระดับโปรตีนเฉลี่ยสูงสุด (P<0.05) และที่ใช้ ปริ มาณหัวเชื ้อไข่น ้าเริ่ มต้ น 1.0 กรัม/ลิตร มีระดับแคโรทีนอยด์รวม เฉลี่ยสูงสุด (P<0.05) และเมื่อศึกษาระหว่างการเลี ้ยงพบว่าการใช้ ปริ มาณหัวเชื อ้ ไข่นา้ เริ่ มต้ น 1.5-2.5 กรัมต่อ ลิตร ใช้ ระยะเวลาเลี ้ยง 10-20 วัน เป็ นระดับที่เหมาะสมในการนามาใช้ ผลิตไข่นา้ ด้ านการปรับปรุ งคุณภาพนา้ ทิง้ พบว่าใช้ ไข่นา้ ปริ มาณหัวเชื ้อเริ่ มต้ น 0.5-2.5 กรัมต่อลิตร ระยะเวลาการเลี ้ยง 30 วัน สามารถใช้ บาบัดน ้าทิ ้งจากบ่อเลี ้ยงปลาดุกได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ คาสาคัญ: ไข่น ้า น ้าทิ ้ง อาหารสัตว์น ้า

Abstract The aim of this study was to produce Wolffia spp. using catfish pond waste water in order to take advantage of high nutrient concentration coupling with the improvement of water quality. The obtaining Wolffia spp. product will be used as aquatic feed ingredient. The experiment was conducted outdoor with plastic cover for 30 days to evaluate the effects of Wolffia spp. concentration on production and water quality. Wolffia spp. was added to 10 liters the waste water in 5 different levels: 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 and 2.5 g/l. The result showed that 1.5 g/l. Wolffia spp. treatment had highest production of Wolffia spp. (P<0.05). The treatment of 2.5 g/l had highest in protein content basis (P<0.05). For carotenoid content 1.0 g/l. Wolffia spp. treatment had more total carotenoid content (P<0.05). This study also found that from 10 to 20 days was appropriated to produce Wolffia spp. with the initial amount of Wolffia spp. 1.5-2.5 g/l. In order to improve in waste water quality, it was found that the initial amount of Wolffia spp. 0.5-2.5 g/l with culture period of 30 days can be used to treat waste water from the catfish pond effectively Keywords: water meal (Wolffia spp.), waste water, aquatic feed. 1 2

สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี สาขาวิชาทรัพยากรประมงและชายฝั่ง คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี

18-20 พฤศจิกายน 2558

189


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-14 ประสิทธิภาพของนา้ มันหอมระเหยจากพืชในการป้ องกันการลงทาลายของปลวกใต้ ดนิ Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) Efficacy of Plant Essential Oils on Asian Subterranean Termite Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) วิกันดา รัตนพันธ์ 1 และมานพ ธรสินธุ์2 Wigunda Rattanapun1 and Manop Tarasin2

บทคัดย่ อ การศึกษาประสิทธิภาพน ้ามันหอมระเหยในการป้องกันการลงทาลายของปลวกใต้ ดิน Coptotermes gestroi โดย ทาการศึกษาในน ้ามันหอมระเหย 6 ชนิด คือ การบูร หญ้ าแฝก เสม็ด ยูคาลิปตัส ตะไคร้ ต้น และ ตะไคร้ หอม โดยใช้ วิธีการจุ่ม ชิ ้นไม้ ยางพาราสดและชิ ้นไม้ ที่ผ่านการอบแล้ วในน ้ามันหอมระเหยความเข้ มข้ น 100, 50 และ 25 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ จากนัน้ นาไปทดสอบการลงทาลายของปลวกใต้ ดิน C. gestroi แบบไม่มีตวั เลือก ผลการศึกษาพบว่า ชิ ้นไม้ สดที่จ่มุ น ้ามันหอมระเหย ทุกชนิดมีเปอร์ เซ็นน ้าหนักไม้ ที่สญ ู เสียไปจากการทาลายของปลวกไม่แตกต่างกัน แต่ชดุ ควบคุมมีเปอร์ เซ็นน ้าหนักไม้ ที่สญ ู เสีย ไปจากการทาลายของปลวกสูงกว่าทรี ทเมนต์อื่นอย่างมีนยั สาคัญ ในขณะที่ชิ ้นไม้ แห้ งที่จ่มุ น ้ามันยูคาลิปตัสสูญเสียน ้าหนักจาก การทาลายของปลวกน้ อยกว่านา้ มันชนิดอื่นอย่างมีนัยสาคัญ รองลงมาคือนา้ มันตะไคร้ หอม และนา้ มันการบูร ซึ่งให้ ผลไม่ แตกต่างกันกับน ้ามันเสม็ด น ้ามันตะไคร้ ต้น ชุดควบคุม และน ้ามันหญ้ าแฝก ตามลาดับ เมื่อเปรี ยบเทียบในระหว่างความ เข้ มข้ นในน ้ามันชนิดเดียวกัน พบว่า ทังชิ ้ ้นไม้ แห้ งและชิ ้นไม้ สดมีเปอร์ เซ็นน ้าหนักไม้ ที่สญ ู เสียไปจากการทาลายของปลวกไม่มี ความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญในระหว่างความเข้ มข้ นของน ้ามันหอมระเหยแต่ละชนิด คาสาคัญ: น ้ามันหอมระเหย ปลวก เสม็ด หญ้ าแฝก ตะไคร้

Abstract The study on efficacy of essential oil from six plant species, camphor, vetiver grass, cajeput, eucalyptus, Cymbopogon citratus and Cymbopogon nardus on Asian subterranean termite Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) resistance was carried out by dipping fresh rubberwood sample and dried rubberwood sample in 100, 50 and 25 % of each essential oils before tested with C. gestroi. Result of fresh rubberwood presented that there was no significant difference in the percent of mass loss between six essential oils. However, percent of mass loss of control sample was highest. Result of dried sample presented that rubberwood dipped in eucalyptus essential oil had lowest percent of mass loss, followed in rank by C. nardus, camphor, cajeput, C. citratus, control and vetiver grass, respectively. Percentage of mass loss of fresh and dried rubberwood did not differ between levels of essential oil concentration in each plant species. Keywords: essential oil, Coptotermes gestroi, cajeput, vetiver grass, Cymbopogon spp.

1

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี สุราษฎร์ ธานี 84000 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมไม้ หน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมไม้ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี สุราษฎร์ ธานี 84000 190

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-15 การปรับปรุ งสายพันธุ์เห็ดสกุลเลนไทนัสให้ ได้ ผลผลิตสูงด้ วยรังสีแกมมา Strain Improvement of Mushroom in Lentinus for High Yield by Gamma Radiation สาวิตรี ปราโมช ณ อยุธยา1 กัลยา รัตนถาวรกิต1ิ และศิริชัย กีรติมณีกร1 Sawithree Pramoj Na Ayudhya1 Kanlaya Ratanathawornkiti1 and Sirichai Kiratimanekorn1

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของการฉายรังสีแกมมา 5 ระดับ คือ 0, 0.10, 0.25, 0.50 และ 0.75 กิโลเกรย์ เพื่อการกลายพันธุ์ของ เส้ นใยเห็ดสกุลเลนไทนัส เพื่อพัฒนาสายพันธุ์ให้ มีผลผลิตสูงขึ ้นกว่าสายพันธุ์เดิม เมื่อเพาะเส้ นใยเห็ดที่ได้ รับการฉายรังสีระดับ ต่าง ๆ พบว่า ได้ โคโลนีใหม่ที่คาดว่ากลายพันธุ์จานวน 715 isolates และเมื่อนาสายพันธุ์เห็ดที่ได้ จากการฉายรังสีจานวน 193 ไอโซเลท มาเพาะเพื่อเปรี ยบเทียบผลผลิตกับสายพันธุ์เดิมที่คดั เลือกแล้ วจานวน 7 สายพันธุ์พบว่า มีเพียง 34 ไอโซเลท ที่ให้ ผล ผลิตสูงกว่าสายพันธุ์เดิม เมื่อวิเคราะห์ผลทางสถิติพบว่าเห็ดที่ได้ รับการฉายรังสีที่ 0.10, 0.25 และ 0.50 กิโลเกรย์ มีผลผลิตสูง กว่าสายพันธุ์เดิมอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ คาสาคัญ: เห็ดสกุลเลนไทนัส รังสีแกมมา การกลายพันธุ์

Abstract Study on effects of gamma radiation at 5 levels including 0, 0.10, 0.25, 0.50 and 0.75 KGrey on Lentinus spp. mutation was done for higher yield mutant strains. Suspected mutant colonies were selected totally 715 isolates. Cultivation of mushroom for confirmation the ability of 193 screened mutant isolates if they showed higher yield than 7 parent strains, it was apparent that 34 isolates still showed higher yield than parent strain. Statistical analysis indicated that the selected isolates that had radiated at 0.10, 0.25 and 0.50 KGrey had significant higher yield than the parent strains. Keywords: Lentinus spp., gamma radiation, mutation

1

ฝ่ ายเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ปทุมธานี 12120

18-20 พฤศจิกายน 2558

191


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-16 การดัดแปรแป้ งข้ าวทางกายภาพและการประยุกต์ ใช้ อุตสาหกรรมการผลิตเส้ นก๋ วยเตี๋ยว Physical Modification of Rice Flour and Application in Noodle Industry สุภาวดี แช่ ม1 และ สุกัญญา สายธิ2 Supawadee cham1 and Sukaya Saithi2

บทคัดย่ อ การดัดแปรแป้งข้ าวทางกายภาพด้ วยวิธี Heat moisture treatment (HMT) และวิธี Annealing (ANN) เพื่อปรับปรุง สมบัติทางกายภาพของแป้งข้ าวมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการดัดแปรแป้งข้ าวทางกายภาพนาไปพัฒนาคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์จากข้ าวให้ ดีขึน้ โดยใช้ ข้าวที่มีปริ มาณแอมิโลสสูง คือ ข้ าวพันธุ์ตะเคียน (Takandtong ;TK) ใช้ เทคนิคพืน้ ผิว ตอบสนอง (RSM) โดยวางแผนการทดลองแบบ Face-centered Central Composite Design (FCCD) เพื่อหาสภาวะที่ เหมาะสมในการดัดแปรแป้งข้ าว ซึ่งผลของสภาวะดัดแปรที่ใช้ คือ ปริ มาณความชื ้น อุณหภูมิ และระยะเวลาการดัดแปร ต่อ คุณสมบัติด้านความหนืด และคุณลักษณะเนื ้อสัมผัสของเจลแป้งข้ าว พบว่าการดัดแปรวิธี ANN มีผลต่อคุณภาพของแป้งข้ าว น้ อยกว่า วิธี HMT ทุกคุณลักษณะ จากการศึกษาค่าตอบสนองของสมการถดถอยที่ใช้ ในการทานาย มีค่า R2 > 0.85 ด้ านค่า ความหนืดสุดท้ าย เซตแบค และความแข็งของเจล (Hardness) สมการของสภาวะที่เหมาะสมจากการดัดแปรด้ วยวิธี HMT และ ANN ใช้ กบั การกาหนดคุณภาพด้ านเนื ้อสัมผัส และคุณภาพการต้ มสุก ได้ จดุ เหมาะสมของสภาวะดัดแปร พื ้นที่ที่ดีแต่ละ ชนิดของผลิตภัณฑ์ก๋วยเตี๋ยวได้ รับการคัดเลือก และทาการทดสอบสามซ ้าเพื่อยืนยันการตรวจสอบ พบว่า ก๋วยเตี๋ยวเส้ นสด ใช้ แป้งข้ าวดัดแปรวิธี ANN ที่ความชื ้น 60 เปอร์ เซ็นต์ อุณหภูมิ 65 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง ก๋วยเตี๋ยวเส้ นเล็กกึ่งแห้ ง ใช้ แป้งข้ าวดัดแปรวิธี HMT ที่อณ ุ หภูมิ 105 องศาเซลเซียส ความชื ้น 22.5 เปอร์ เซ็นต์ เป็ นเวลา 2 ชัว่ โมง และเส้ นเล็กแห้ ง ใช้ แป้งข้ าวดัดแปรที่อณ ุ หภูมิ 105 องศาเซลเซียส ความชื ้น 27 เปอร์ เซ็นต์ เป็ นเวลา 2 ชัว่ โมง คาสาคัญ: การดัดแปรทางกายภาพ แป้งข้ าว เส้ นก๋วยเตี๋ยว

Abstract The hydrothermal treatments which are commonly used in modifying the physicochemical properties of starch are heat–moisture treatment (HMT) and annealing (ANN). This research aims to study the effects of hydrothermally modified rice flour on improving rice products quality. High-amylose rice flour (Takandtong variety; TK) was modified using heat–moisture treatment (HMT) and annealing (ANN). Response surface methodology (RSM) with face-centered central composite design (FCCD) was applied to optimize the hydrothermal treatment condition. The effects of treatment conditions– moisture content; heating temperature and heating time on pasting and textural properties of rice flour gel were observed. ANN showed a lower response than HMT for all parameters. The responses studied were better explained by a second-order model. Responses equation with high fitting (R2> 0.85); final viscosity, setback, gel hardness were selected for a further predictive model. The optimization equation of HMT and ANN treatment conditions for various rice noodles was determined using their texture and cooking quality. Data points (Fresh Noodle used ANN flour modified at 60%moisture content, 65oC and 24 hour: Semi dry used HMT flour modified at 105 oC, 22.5% moisture content, 2 hour and dry noodle used HMT flour modified at 105 oC, 27% moisture content, 2 hour) within the optimized area of each noodle product were selected and run in triplicate for validation purposes. Keywords: physical modification, rice flour, noodle 1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 2คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลอีสาน สกลนคร 47160 192

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-17 การจัดจาแนกเชือ้ Xanthomonas axonopodis pv. citri สาเหตุโรคแคงเกอร์ ในมะนาว Identification of Xanthomonas axonopodis pv. citri Causing of Canker Disease in Lime สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ ง1 วราภรณ์ ศรีวิเศษ1 และคณิน ศรีขจร1 Supaporn Ieamkheng1 Waraporn Sriwisate1 and Kanin Srikajorn1

บทคัดย่ อ สารวจและเก็บตัวอย่างมะนาวที่แสดงอาการของโรคแคงเกอร์ จากแหล่งปลูกมะนาวในจังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา และ กาญจนบุรี นามาแยกเชื ้อสาเหตุให้ บริ สทุ ธิ์โดยวิธี Tissue transplanting สามารถแยกเชื ้อแบคทีเรี ยที่ได้ จากการเก็บตัวอย่าง ทังหมด ้ 22 ไอโซเลท เมื่อนาไปทดสอบลักษณะทางสัณฐานวิทยาจากการเจริ ญของแบคทีเรี ยบนอาหารทดสอบ NA และ YDC พบว่า ลักษณะของโคโลนีของแบคทีเรี ยทุกไอโซเลทที่เจริ ญบนอาหารแข็ง NA มีลกั ษณะสีขาวขุ่น โค้ ง กลมนูนจากผิวหน้ า อาหาร ผิวหน้ าเรี ยบ ทึบแสง มีเมือกเหนียว การเจริ ญบนอาหารแข็ง YDC พบว่า โคโลนีของแบคทีเรี ยทุกไอโซเลทมีลกั ษณะสี เหลืองขุ่น รู ปร่ างไม่ชัดเจน โคโลนีเหลวคล้ ายเนยเหลว ลักษณะโคโลนีโค้ งจากผิวหน้ าอาหาร ผิวหน้ าเรี ยบ และทึบแสง การ ทดสอบทางชีวเคมี โดยการทดสอบการติดสีแกรม พบว่า เซลล์ของแบคทีเรี ยทุกไอโซเลทมีการติดสีแดงของ Safranin O และ การทดสอบการใช้ ดา่ ง 3% KOH พบว่า เซลล์แบคทีเรี ยทุกไอโซเลทมีลกั ษณะหนืดและเป็ นเมือกเหนียว ซึง่ แสดงคุณสมบัติของ แบคทีเรี ยแกรมลบ การทดสอบการเกิดโรคโดยการปลูกเชื ้อด้ วยวิธี detached leaf ลงบนใบมะนาว ใบมะกรู ด และใบส้ มจี๊ด พบว่า เชื ้อแบคทีเรี ยทุกไอโซเลทสามารถทาให้ เกิดลักษณะอาการของโรคแคงเกอร์ บนพืชทดสอบทัง้ 3 ชนิด จากการทดลอง สรุปได้ วา่ เชื ้อสาเหตุโรคแคงเกอร์ ทกุ ไอโซเลทคาดว่าจะเป็ นเชื ้อ Xanthomonas axonopodis pv. citri. คาสาคัญ: การจัดจาแนก แคงเกอร์ มะนาว

Abstract In this study, survey and sample collecting from limes infected with canker disease from Chonburi, Chachoengsao and Kanchanaburi provinces. All of samples were isolated bacteria by Tissue transplant method. The twenty-two isolated bacteria were further identified by Morphological characterization test on NA and YDC agar plate. The results showed that surface colonies plate cultures on NA plate from all of isolates were white color circular with smooth, entire, pulvinate, opaque and viscid colonies. While, surface colonies plate cultures on YDC plate from all of isolates were white to yellow color with irregular colonies. Colonies showed butyrous, smooth, entri, pulvinate, opaque. The Biochemical characterization was tested by Gram’s stain and 3% KOH. The results showed that all of isolates showed red color cells from Safranin O staining and colonies were viscid when tested with 3% KOH, the gram negative bacteria character. Disease assay was tested by detached leaf method on lime leaf, kaffir lime leaf and kumquat leaf. The results showed that, all of isolated bacteria showed canker symptom when inoculated on three species of citrus. In conclusion, all of 22 isolated bacteria were the relative bacteria Xanthomonas axonopodis pv. Citri. Keywords: identification, Xanthomonas axonopodis pv. citri, canker, lime

1

คณะเกษตรศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ต. บางพระ อ. ศรี ราชา จ. ชลบุรี 20110

18-20 พฤศจิกายน 2558

193


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-18 การประเมินแนวโน้ มความต้ านทานต่ อไวรัสใบด่ างแตงในพริกพันธุ์ลูกผสม Evaluation of Cucumber mosaic virus (CMV) Resistant Tendency in Chilli Hybrid สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ ง1 จตุพร ไกรถาวร2 และสรพงษ์ เบญจศรี 2 Supaporn Ieamkheng1 Jathuporn Kritavorn2 and Sorapong Benchasri2

บทคัดย่ อ โรคไวรัสใบด่างแตง เป็ นโรคที่สาคัญชนิดหนึ่งที่ทาให้ เกิดความเสียหายต่อการปลูกพริ กในประเทศไทย การคัดเลือก พันธุ์พริ กที่ต้านทานต่อโรคจึงมีความจาเป็ นต่อการปรับปรุงพันธุ์พริ กอย่างมาก การศึกษาครัง้ นี ้มีจดุ ประสงค์การประเมินความ ต้ านทานต่อไวรัสใบด่างแตง (Cucumber mosaic virus, CMV) ของพริ กลูกผสมจานวน 22 พันธุ์ โดยการปลูกเชื ้อไวรัสลงพริ ก อายุ 8 สัปดาห์ หลังการปลูกเชื ้อไวรัสเป็ นเวลา 2 สัปดาห์ ประเมินระดับความรุนแรงของโรค และตรวจหาเชื ้อไวรัส ด้ วยเทคนิค ELISA ผลการทดลองพบว่า สามารถแบ่งกลุ่มของพริ กได้ 3 กลุ่ม ตามลักษณะอาการที่ปรากฏ และผลการตรวจหาเชื ้อไวรัส ด้ วยเทคนิค ELISA ได้ แก่ กลุ่มที่ 1 ต้ านทานโรค ไม่พบอาการของโรค และตรวจไม่พบเชื ้อไวรัส พบพริ กที่มีแนวโน้ มต้ านทาน โรค 1 พันธุ์ กลุม่ ที่ 2 ทนทานต่อโรค ไม่พบอาการของโรค แต่สามารถตรวจพบเชื ้อไวรัส พบพริ กที่ทนทานต่อโรคจานวน 6 พันธุ์ และกลุม่ ที่ 3 อ่อนแอต่อโรค พบอาการของโรคอย่างชัดเจน และสามารถตรวจพบเชื ้อไวรัสได้ ในปริ มาณมาก พบพริ กที่อ่อนแอ ต่อโรคจานวน 15 พันธุ์ ตามลาดับ คาสาคัญ: ไวรัสใบด่างแตง พริก ความต้ านทาน การประเมิน

Abstract Cucumber mosaic virus (CMV) is one of the important diseases for chilli plantation in Thailand. The selection for chilli CMV resistant is necessary for chilli breeding. The aim in this study was to evaluate CMV resistance in chilli hybrid. Twenty-two varieties of chilli hybrid at 8 weeks after plantation were used to evaluate of CMV resistance by inoculation with CMV. The detection of CMV was conducted by Enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) technique before and 2 weeks after the inoculation. The results showed that there were three groups divided by symptoms occurred on chilli plants and chilli CMV detected by ELISA technique. The first group was resistance, no symptom was shown on chilli plants and CMV was not detected by ELISA. Only one variety was found in this group. The second group was tolerance, no symptom was shown on chilli plants but CMV was detected by ELISA. There were six varieties of chilli were found in this group. The last group was susceptibility, severe symptom was found on chilli plants and CMV was detected by ELISA. There were fifteen varieties of chilli in this group. Keywords: Cucumber mosaic vrus (CMV), chilli, resistance, evaluation

1 2

คณะเกษตรศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ต. บางพระ อ. ศรี ราชา จ. ชลบุรี 20110 หน่วยวิจยั พืชเขตร้ อน คณะเทคโนโลยีและพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ ต. บ้ านพร้ าว อ.ป่ าพะยอม จ. พัทลุง 93110 194

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-19 ความเป็ นพิษและประสิทธิภาพการรมของนา้ มันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตในการกาจัดด้ วงงวงข้ าว Sitophilus oryzae (L.)(Curculionidae) Fumigant Toxicity and Efficacy of Essential Oils from Pomelo and Grapefruit against Rice Weevil Sitophilus oryzae (L.)(Curculionidae) อรรถสิทธิ์ คล้ ายสุบรรณ1 และฤชุอร วรรณะ1 Atthasit Klaysuban1 and Ruchuon Wanna1

บทคัดย่ อ การศึกษาความเป็ นพิษและประสิทธิภาพการรมของน ้ามันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตในการกาจัดด้ วงงวงข้ าว (Sitophilus oryzae (L.); Curculionidae) ในสภาพห้ องปฏิบตั ิการ โดยวางแผนการทดลองแบบ Factorial in Completely Randomized Design (CRD) จานวน 4 ซ ้า ด้ วยวิธี vapor-phase test ทาการบันทึกผลความเป็ นพิษทางการรมและ ประสิทธิภาพการรมฆ่า ที่ 24, 48, 72 และ 96 ชัว่ โมง พบว่าน ้ามันหอมระเหยเกรฟฟรุตมีความเป็ นพิษทางการรม (LC50 เท่ากับ 192.32 ไมโครลิตรต่อลิตรอากาศ) สูงกว่าน ้ามันหอมระเหยส้ มโอ (LC50 เท่ากับ 237.81 ไมโครลิตรต่อลิตรอากาศ) ที่ 48 ชัว่ โมง และยังพบว่าน ้ามันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุตที่ระดับความเข้ มข้ น 300 µl/L air มีประสิทธิภาพการรมฆ่าด้ วงงวงข้ าวสูงสุด (ค่าเฉลี่ยการตาย 100%) และไม่พบความแตกต่างทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบกับน ้ามันหอมระเหยเกรฟฟรุต ที่ระดับความเข้ มข้ น 200 ไมโครลิตรต่อลิตรอากาศ (ค่าเฉลี่ยการตาย 95 เปอร์ เซ็นต์) ที่เวลา 48 ชัว่ โมง คาสาคัญ: น ้ามันหอมระเหย ความเป็ นพิษ การรม แมลงศัตรูในโรงเก็บ ด้ วงงวงข้ าว

Abstract Fumigant toxicity and efficacy of pomelo and grapefruit essential oils against the rice weevil (Sitophilus oryzae (L.); Curculionidae) were studied in laboratory condition. The experiments were conducted as a factorial in completely randomized design (CRD) with 4 replications by vapor-phase tests method. Data of fumigant toxicity and killing efficiency were recorded at 24, 48, 72 and 96 hours. The results showed that grapefruit essential oil was higher fumigant toxicity (LC50 = 192.32 µl/L air) than pomelo essential oil (LC50 = 237.81 µl/L air) at 48 hours. And it found that pomelo and grapefruit essential oils at concentration of 300 µl/L air (average of adult mortalities 100%) was the highest killing efficiency with grapefruit essential oil at concentration of 200 µl/L air (average of adult mortalities 95%) at 48 hours. Keywords: essential oil, toxicity, fumigation, stored insect pest, rice weevil

1

ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาสารคาม 44150

18-20 พฤศจิกายน 2558

195


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-20 ฤทธิ์ทางชีวภาพของหัวมันแกวเพื่อพัฒนาเป็ นผลิตภัณฑ์ เพื่อสุขภาพ Screening of Biological Activities of Pachyrhizus erosus L. Root for Developing Health Products สุธิดา เรือนเงิน1ฉันทนา อารมย์ ดี1* สุธาสินี ทัพพสารพงศ์ 1และรัชยาพร อโนราช1 Suthida Rueanngoen1Chantana Aromdee1* Suthasinee Thapphasaraphong1and Rutchayaporn Anorach 1

บทคัดย่ อ หัวมันแกว (Pachyrhizus erosus L., Fabaceae) มีคาร์ โบไฮเดรตประเภท fructan ที่ไม่ถกู ย่อยและดูดซึมที่กระเพาะ อาหารแต่จะถูกย่อยโดยแบคทีเรี ยในลาไส้ ใหญ่ ในการศึกษาครั ง้ นี ม้ ีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาฤทธิ์ ทางชี วภาพของสารสกัด 95 เปอร์ เซ็นต์ เอทานอลของมันแกวและจากน ้าคันสด ้ ได้ แก่ ฤทธิ์ยบั ยังเอนไซม์ ้ ไทโรซิเนสและแอลฟากลูโคซิเดส ฤทธิ์ ต้าน อนุมลู อิสระและฤทธิ์ ยบั ยังการเกิ ้ ดออตโตออกซิเดชัน ผลการทดสอบได้ ค่า IC50 ของสารสกัดเอทานอลเรี ยงตามลาดับดังนี ้ 39.38, 68.35, 22.14 และ 100 มิลลิกรัมต่อลิตร น ้าคันสดไม่ ้ มีฤทธิ์ยบั ยังเอนไซม์ ้ แอลฟากลูโคซิเดสและออตโตออกซิเดชัน ส่วนฤทธิ์ต้านเอนไซม์ไทโรซิเนสและอนุมลู อิสระมีค่า IC50 เท่ากับ 177.79 และ 30.08 มิลลิกรัมต่อลิตร จากการทดลองสรุปได้ ว่าสารสกัด 95เปอร์ เซ็นต์ เอทานอลของมันแกวมีฤทธิ์ทงสี ั ้ ่ดีกว่าน ้าคันสด ้ จากผลการทดลองจึงได้ เลือกสารสกัด 95 เปอร์ เซ็นต์ เอทานอลมาใช้ เป็ นสารสาคัญในการผลิตเครื่ องสาอาง คาสาคัญ: มันแกว ฤทธิ์ยบั ยังเอนไซม์ ้ ไทโรซิเนส ฤทธิ์ยบั ยังเอนไซม์ ้ แอลฟากลูโคซิเดส ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระ ฤทธิ์ยบั ยัง้ การเกิดออตโตออกซิเดชัน

Abstract Pachyrhizuserosus L. root (Fabaceae) is a source of dietary fibers, fructan, which is not digested in the stomach but digested by bacteria in colon. In this work, biological activities of juice squeezed from the tuberous root and the 95% ethanolic extract were determined for the tyrosinase and-glucosidase inhibitions, DPPH radical scavenging and auto-oxidation activities. The activities of the ethanolic extract IC50 (mg/ml) are 39.38, 68.35, 22.14 and 100, respectively. Whereas, no activities of the squeezed juice on the -glucosidase and autooxidation were detected, but the 50% inhibition concentrations (IC50) for anti-tyrosinase and radical scavenging were 177.79 and 30.08 mg/ml, respectively. The ethanolic extract was employed as an active ingredient in a cosmetic product. Keywords: Pachyrhizus erosus, tyrosinase inhibition, -glucosidase inhibition, radical scavenging, auto-oxidation activities

1

Faculty of Pharmaceutical Sciences, KhonKaen University, KhonKaen, Thailand 40002 196

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-21 การสร้ างคุณค่ าร่ วม และความร่ วมมือระหว่ างเกษตรกร นักวิชาการและภาคธุรกิจในการผลิตพริก แห้ งคุณภาพ: กรณีศึกษาในอาเภอม่ วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี Share Value Creation and Collaboration among Farmers, Business Sectors and Academicians for Dried Chili Production: A Case Study in Muangsamsib District, Ubonratchathani Province ภาสกร นันทพานิช 1 Phassakon Nuntapanich

บทคัดย่ อ การวิจยั นี ้เป็ นการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีสว่ นร่ วมโดยมีวตั ถุประสงค์ 1) เพื่อหารู ปแบบในการสร้ างความร่ วมมือ ระหว่ า งเกษตรกร นัก วิ ช าการ และภาคธุ ร กิ จ ผ่ า นโครงการผลิ ต พริ ก แห้ ง คุณ ภาพของเกษตรกรในอ าเภอม่ ว งสามสิ บ จังหวัดอุบลราชธานี และ 2) เพื่อสร้ างรายได้ และอาชีพที่ยงั่ ยืนสาหรับเกษตรกรในพื ้นที่ กระบวนการวิจยั มี 4 ระยะ ประกอบด้ วย 1) การคัดเลือกพื ้นที่และศึกษาความเป็ นไปได้ ในการผลิตพริ กแห้ งคุณภาพในพื ้นที่เป้าหมาย 2) ทาความเข้ าใจ และสร้ างกระบวนการเรี ยนรู้แบบมีสว่ นร่วมระหว่างกลุม่ เกษตรกร บริ ษัทเป้าหมาย และนักวิชาการเพื่อสร้ าง ข้ อตกลงร่วมกัน 3) ส่งเสริ มความรู้ และพัฒนาเทคโนโลยีแบบมีส่วนร่ วมเพื่อสร้ างความเชื่อมัน่ และ 4) การปฏิบตั ิการในการผลิตพริ กแห้ ง คุณภาพ และการประเมินผลเพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิต วิธีการหลักที่ใช้ ในกระบวนการวิ จยั ได้ แก่ การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ แบบมีสว่ นร่วม การสนทนากลุม่ การจัดการความรู้ และการเรี ยนรู้หลังปฏิบตั ิ (after action review, AAR) จากผลการวิจยั พบว่า เกิดความร่วมมือและการสร้ างคุณค่าร่วมกัน (share value) ระหว่างเกษตรกร บริษัท และนักวิชาการ ในการผลิตสินค้ า ที่มีคณ ุ ภาพเพื่อส่งมอบสินค้ าที่มีคณ ุ ภาพให้ กบั ผู้บริโภค เกิดอาชีพและรายได้ ที่มนั่ คงและยัง่ ยืนสาหรับกลุม่ เกษตรกรเป้าหมาย บริ ษั ท ที่ เ ข้ า ร่ ว มโครงการได้ รั บ สิ น ค้ า ที่ มี คุณ ภาพเข้ า สู่ก ระบวนการผลิ ต ในขณะที่ นัก วิ ช าการได้ ด าเนิ น โครงการอย่า งมี ความหมาย ส่งเสริ มให้ เกิดอุปทาน ภายใต้ ขอบเขตของอุปสงค์ที่สามารถรองรับได้ ในราคาที่เป็ นธรรม สร้ างอาชีพ รายได้ และ ความพึงพอใจให้ กบั กลุ่มเกษตรกร และบริ ษัทเป้าหมาย การสร้ างคุณค่าร่ วมดังกล่าวจะนาไปสูก่ ารยกระดับกลุ่มเกษตรกรให้ เป็ นส่วนหนึง่ ในห่วงโซ่อปุ ทานในการกระบวนการผลิตของบริษัทเป้าหมายอันจะนาไปสูก่ ารพัฒนาที่ยงั่ ยืนต่อไปในอนาคต คาสาคัญ: การสร้ างคุณค่าร่วม การวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีสว่ นร่วม การผลิตพริกแห้ ง

Abstract This participatory action research (PAR) had the objectives 1) to find out the pattern for creating the collaboration among the farmers, academicians and business sectors through “Quality of Dried Chili Production Project” of the farmers in Muang Samsib district, Ubonratchthani province and 2) to create sustainable occupations and incomes for the local farmers. The research process composed of 4 phases namely 1) area selection and feasibility study of good quality dried chili production of the farmers in target area, 2) making a good understanding and creating participatory learning process among the farmers, target business sectors and academicians for making the agreements, 3) promoting the knowledge and developing technology based on the participatory actions for making confidence of participants and 4) operation for good quality dried chili production and evaluation for improving production process. The main approaches of research process were participatory workshop, group discussion, knowledge management and after action review (AAR). The results found the collaboration and share value creation among the farmers, business sectors and academicians for good quality products production for supplying the consumers, occupation creation and sustainable secure incomes for the target farmer groups. The participatory companies obtained good quality products for their production process and the academicians could conduct the projects meaningfully. This PAR found the enhancement of consumer demand compared with the fair price of the supply which could create the occupation, incomes and satisfaction of target farmer group and companies. This share value creation would elevate the target farmer group for being one sector of supply chain of the target companies that would lead to the sustainable development in future. Keywords: share value creation, participatory action research, dried chili production 1

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000

18-20 พฤศจิกายน 2558

197


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-22 การพัฒนาแผนกลยุทธ์ หมากเม่ าในจังหวัดสกลนคร Devlopment of Strategic Plan for Mak Mao in Sakon Nakhon Province กรรณิการ์ สมบุญ1 สุดารัตน์ สกุลคู2 พรประภา ชุนถนอม3 ศิริพร สารคล่ อง4 และเดือนรุ่ ง สุวรรณโสภา5

บทคัดย่ อ การพัฒนาแผนกลยุทธ์หมากเม่าในจังหวัดสกลนครดาเนินการโดยการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการแบบมีสว่ นร่วม (Participatory Action Research : PAR ) มีวตั ถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์จดุ แข็ง จุดอ่อน โอกาส และข้ อจากัด เพื่อการจัดทาแผนกลยุทธ์หมาก เม่าในจังหวัดสกลนคร ดาเนินการระหว่าง ตุลาคม 2555- กันยายน 2556 รวบรวมข้ อมูลโดยการใช้ ข้อมูลทุติยภูมิ การประชุม เชิงปฏิบตั ิการระหว่างผู้เชี่ยวชาญ และผู้มีส่วนร่ วมในธุรกิจหมากเม่าสกลนครทังภาครั ้ ฐและชุมชน การประชุมกลุ่มย่อย การ สังเกตแบบมีส่วนร่ วม และการใช้ แบบสอบถามความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูลโดยจาแนกข้ อมู ล และสรุ ปแต่ละประเด็นย่อย โดยเรี ยบเรี ยงเชิงพรรณนา จากการดาเนินการวิจยั ได้ แผนกลยุทธ์ประกอบด้ วย 7 พันธกิจ 6 เป้าหมาย 4 วัตถุประสงค์ 20 ยุทธศาสตร์ ได้ รับการยอมรับทุกภาคส่วน และเหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมของจังหวัดสกลนคร และเป็ นที่พอใจของผู้มีส่วน เกี่ยวข้ องในระดับที่มากถึงมากที่สดุ คาสาคัญ: ผู้มีสว่ นได้ สว่ นเสีย หมากเม่า การมีสว่ นร่วม

Abstract This strategic plan of Mak Mao Sakon Nakhon was develop by Participatory Action Research (PAR). The project objective was to analysis strengths weaknesses opportunities and threats of Mao Sakon Nakhon for strategic plan of Mak Mao Sakon Nakhon set up. The project duration was October 2012-September 2013. Data collections by participatory observation, focus group discussion, questionnaires and workshop of all stakeholders in both communities and local government agent operated by the expert. Data were classified and conclude into issue and description. The strategic plan consist of 7 mission 6 target. 4 objectives and 20 strategic. The data from the questionnaires reveal that all stakeholder satisfied that strategic plan found that the plan suitable to Sakon Nakhon environment. Keywords: stakeholder, mak mao, participatory

1,4 2 3 5

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร สาขาวิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร

198

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-23 การสารวจกิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการของสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร 3 แห่ ง ในจังหวัดราชบุรี Survey of Activities, Landscape Components, and Management of 3 Agro-Tourism Attractions in Ratchaburi Province ปาณิตา อ่ อนแสง1 และศศิยา ศิริพานิช2 Panita Onsaeng1 and Sasiya Siriphanich2

บทคัดย่ อ การสารวจกิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการของสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์ มี วัตถุประสงค์ หลักเพื่ อหาข้ อมูลพื น้ ฐานในการออกแบบสถานที่ท่องเที่ ยวเชิงเกษตรอินทรี ย์ และสามารถนาข้ อมูลที่ไ ด้ มา ประยุกต์ ใช้ เป็ นแนวทางสาหรับผู้ที่สนใจจะสร้ างสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์ โดยทาการสารว จสถานที่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเกษตรอินทรี ย์ที่มีชื่อเสียง 3 แห่ง ในจังหวัดราชบุรี ได้ แก่ ไร่ปลูกรัก The Blooms Orchid Park และไร่ เบญจวรรณ รี สอร์ ท พบว่าเมื่อนาข้ อมูลที่ได้ มาพิจารณาเปรี ยบเทียบกับสถานที่ท่องเที่ยวทัว่ ไปแล้ วสิ่งที่สถานที่ท่องเที่ยวเชิง เกษตรและเกษตรอินทรี ย์มีความแตกต่างออกไป ด้ านกิจกรรมพบความแตกต่างคือ การถ่ายทอดความรู้ทางการเกษตร การชม แปลงปลูกพื ชทางการเกษตร การทาปุ๋ ยหมัก การพูดคุยแลกเปลี่ ยนความรู้ ทางการเกษตร การเลีย้ งสัต ว์ การสาธิ ตทาง การเกษตร และการฝึ กปฏิบตั ิทางการเกษตร ด้ านสิ่งอานวยความสะดวก ไม่พบความแตกต่างจากสถานที่ท่องเที่ยวทัว่ ไป และ ด้ านการจัดการพบความแตกต่างคือ การจัดการขยะทางการเกษตร และสาหรับสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรในรู ปแบบเกษตร อินทรี ย์มีสิ่งที่ต้องคานึงถึงเพิ่มเติมคือ ต้ องมีการสร้ างแนวกันชนให้ กบั พืชที่ปลูกในระบบอินทรี ย์ คาสาคัญ: สวนเกษตร เกษตรอินทรี ย์

Abstract Survey from 3 famous agro-tourism and organic agriculture attractions in Ratchaburi province on the activities, landscape components, and management was conducted in Rai Pluk-Rak, The Blooms Orchid Park, and Rai Benjawan Resort. The study was aimed to find basic information for designing of agro-tourism organic agriculture location. The data could be used as guidelines for those who were interested in establishing agro-tourism and organic agriculture location. The data showed that when compared to the agro-tourism and organic agriculture location are different from any other tourism locations. The dissimilar activities were agricultural knowledge transfer, visiting agricultural field, composting of agricultural waste, exchanging agricultural ideas, animal husbandry, agricultural demonstration, and agricultural practice. The landscape components found were not different from any other tourism locations. The important management was agricultural waste management. In addition, the organic agriculture system needed a buffer zone to prevent chemicals and insects from surrounding areas. Keywords: agricultural garden, organic agriculture

1 2

หลักสูตรวิทยาการพืชสวน คณะบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 ภาควิขาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ.นครปฐม 73140

18-20 พฤศจิกายน 2558

199


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-24 การเสริมสร้ างทักษะทางด้ านการเกษตรสาหรับผู้พกิ ารทางสายตา Agricultural Skill Development for the Blinds วรวุฒิ ร่ มฟ้ าจรรกุล1 จันทรา ไชยแสน1 กรองกาญจน์ สายมัน1 และสุรพล ใจวงศ์ ษา1 Worawut Romfahkhachonkun1 Chantra Chaisaen1 Krongkan Saimun1 and Suraphon Chaiwongsar1

บทคัดย่ อ ทางเลือกอาชีพของผู้พิการทางสายตานันมี ้ ไม่มากนัก โดยเฉพาะอาชีพทางการเกษตร งานวิจยั นี ้จึงต้ องการที่จะ เสริมสร้ างทักษะทางด้ านการเกษตรให้ แก่ผ้ พู ิการทางสายตา ด้ วยการออกแบบกิจกรรมการปลูกพืชผักที่เหมาะสมกับผู้พิการทาง สายตาได้ ฝึกปฏิบตั ิ โดยได้ ดาเนินกิจกรรมร่วมกับผู้พิการทางสายตาจานวน 12 คนและคุณครูผ้ ดู แู ลจานวน 2 คนจากศูนย์ พัฒนาสมรรถภาพคนตาบอดลาปาง (มูลนิธิพิทกั ษ์ ดวงตาลาปาง) ในการทดลองปลูกผักกวางตุ้ง โหระพา สะระแหน่ ผักสลัด ผักไผ่ เรดโอ๊ ค กรี นโอ๊ ค และ มะนาว จนกระทัง่ มีความมัน่ ใจว่าผู้พิการทางสายตาสามารถปฏิบตั ิได้ จริงและสามารถนามาพัฒนา เป็ นอาชีพได้ ในอนาคต จากการทดลองปฏิบตั ิได้ ร่วมถอดองค์ความรู้ ร่วมกันและพัฒนาเป็ นข้ อเสนอแนะและแนวทางในการ ปฏิบตั ิอย่างง่ายสาหรับการปลูกพืชผักให้ แก่ผ้ พู ิการทางสายตาคนอื่น ประกอบด้ วย หัวข้ อพิจารณาเกี่ยวกับการเตรี ยมความ พร้ อมผู้พิการทางสายตา และ การออกแบบกิจกรรมภายในสวนปลูกผัก ครอบคลุมถึง การออกแบบพื ้นที่เพาะปลูก การคัดเลือก วัสดุ อุปกรณ์ในการทาสวน การเลือกพืชที่จะปลูก การเพาะปลูกและการดูแลรักษา และ การเก็บเกี่ยว และจากการประเมินความ พึงพอใจต่อกระบวนการผลิตพืชทังหมด ้ พบว่าผู้พิการทางสายตามีความพึงพอใจโดยรวมในการปลูกมะนาวในวงล้ อยางเก่า และ การปลูกผักสลัด เรดโอ๊ ค กรี นโอ๊ ค และ ผักกวางตุ้งในไม้ พาเลทมากที่สดุ ซึง่ ได้ 4.12 คะแนน จาก 5 คะแนนเต็ม คาสาคัญ: การฝึ กทักษะทางด้ านการเกษตร สวนครัว ผู้พิการทางสายตา

Abstract There has been limited choice of career for the blinds, especially in agricultural field. This work wanted to develop agricultural skills for the blinds by creating kitchen garden and activities for vegetable production that appropriated for the blinds. The authors had been worked closely with 12 blind persons and 2 coaching teachers from Skill Development Center, Lampang (Eye Care Foundation, Lampang) to design and practice vegetables production (Chinese cabbage, sweet basil, peppermint, lettuce, Vietnamese coriander, red oak lettuce, green oak lettuce and lime). From the lesson learned, we developed practicable protocols for easy vegetable production for the blinds consisting of the concerned issues for the preparation and the vegetable production guidelines including garden design, choice of garden tools, equipments and supplies, choice of vegetables, planting and maintenance and harvesting. Moreover, from the assessment for the suitability of the activities, the blinds gave the highest score for lime cultivated in used tires and lettuce, red oak, green oak and Chinese cabbage cultivated in used wooden palette, which was 4.12 out of 5. Keywords: agricultural skills training, kitchen garden, the blinds

1

สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 200

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

Ot-25 การประยุกต์ ใช้ รูปแบบสวนยุคอาณานิคมเพื่อสร้ างสวนสาธารณะแบบร่ วมสมัย ในการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมพืน้ ที่รอบโบราณสถานของชาติโรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่ า Applying Colonial Garden Style to Design Contemporary Public Park of the National Historic Site, Ancient BenchamaMaharat Building วรงศ์ นัยวินิจ1 ภาคภูมิ สืบนุการณ์ 1 รักเกียรติ แสนประเสริฐ1 และทวีศักดิ์ วิยะชัย1 Warong Naivinit1 Parkpoom Suebnukarn1 Rukkeit Sanprasert1and Taweesak Wiyachai1

บทคัดย่ อ โรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า เป็ นอาคารสองชันทรงมะนิ ้ ลา สร้ างด้ วยไม้ เนื ้อแข็งทังหมด ้ ตังบนฐานที ้ ่ก่อด้ วย ซีเมนต์ ด้ านหน้ ามีมขุ สามมุขเรี ยงกัน หลังคามุงด้ วยกระเบื ้องเนื่องจากอาคารโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า นี ้เป็ นอาคารที่ มี เ อกลัก ษณ์ แ ละยัง คงอยู่ในสภาพที่ ดี กรมศิ ล ปากรจึง พิจ ารณาขึน้ ทะเบี ย นอาคารหลัง นี เ้ ป็ นโบราณสถาน แห่ง ชาติแ ละ ดาเนินการบูรณะอาคารตามหลักการซ่อมแซมบูรณะในแนวทางอนุรักษ์ สถาปั ตยกรรมด้ วยที่ตงของอาคารอยู ั้ ่ในใจกลางของตัว เมื อ งอุบ ลราชธานี การเดิ น ทางสะดวก ท าให้ พื น้ ที่ นี เ้ หมาะส าหรั บ สร้ างเป็ น จุด ท่ อ งเที่ ย วของจัง หวัด อุบ ลราชธานี แต่ สภาพแวดล้ อมของอาคารที่ทรุ ดโทรมส่งผลให้ อาคารหลังนี ้ขาดความน่าสนใจ ในขณะที่ งานภูมิสถาปั ตยกรรมยุคอาณานิคม ของประเทศไทยนันไม่ ้ มีรูปแบบที่ชดั เจน แต่การออกแบบงานภูมิสถาปั ตยกรรมของยุคอาณานิคมในทวีปยุโรปนันมี ้ การพัฒนา ชัดเจนโดยมีพื ้นฐานมาจากการจัดสวนยุคทิวดอร์ และสวนยุค กลาง สาหรับโครงการออกแบบผังแม่บทของพื ้นที่ นีไ้ ด้ นาเอา วัฒนธรรมที่เป็ นอัตลักษณ์ ของจังหวัดอุบลราชธานีมาใช้ ร่วมกับการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมยุคอาณานิคม และประยุกต์ สร้ างสวนสาธารณะร่ วมสมัยที่สามารถตอบสนองกับความต้ องการของผู้ใช้ สวน พบว่าแนวคิดในการทาผังแม่บทนีม้ ีความ เหมาะสมกับตัวอาคารเนื่องจากสวนแบบประดิษฐ์ ด้านหน้ าอาคารจะทาหน้ าที่คล้ ายกับกรอบภาพขับให้ ตวั อาคารโดดเด่นขึ ้น อีกทังยั ้ งจะได้ เห็นความแตกต่างของสถานที่จากการเปลี่ยนแปลงของต้ นไม้ ตามช่วงเวลาต่างๆ และการปรับเปลี่ยนรูปแบบของ แปลงไม้ ดอกตรงกลางพื ้นที่ให้ สอดคล้ องกับกิจกรรมที่สามารถจัดได้ บริเวณหน้ าอาคาร คาสาคัญ: ภูมิสถาปั ตยกรรมของยุคอาณานิคม โรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่า สวนสาธารณะ

Abstract A two-story Manila architectural style building of the Ancient BenchamaMaharat School which was built entirely of hard wood on a cement base with 3 facades and roof tiles is still remained in good condition. The Fine Arts Department had registered national historic site for this building and restored this building under architectural conservation principles. Because of the reason that the building was situated at the heart of the city, it provided traveling convenient of Ubon Rachathani province to create a tourist attraction. The present deteriorated condition of the building and its surrounding caused a negative impact to attract visitors. The development of related colonial landscape architectural style in Thailand was not well defined. In contrary, the colonial landscape design in Europe was clearly developed from Tudor and Medieval garden styles. The key challenge of this design project was to integrate the unique cultures and features of Ubon Ratchathani into the colonial landscape architectural style and integrated into modern public park which served urban citizen needs. The design showed that a frontyard formal garden was appropriated with the building facades and helped to enhance appearance of through different seasons. The redesigned plant bed in the middle of the garden responded the need for activities. Keywords: colonial garden style, ancient benchamamaharat building, public park 1

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อาเภอวาริ ชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190

18-20 พฤศจิกายน 2558

201


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

202

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

18-20 พฤศจิกายน 2558

203


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

หมวดอักษร A C D P T ก

204

ผู้แต่ ง Ahmad Hadi Chanulak Khanobdee Doris Rauhut Piyavadee Charoenwattana Titnarong Heng กนกพร บุญญะอติชาติ กษิ ด์เิ ดช อ่อนศรี กมลสิริ เพชรบูรณ์ กมลวรรณ คงสุดรู้ กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง กรรณิการ์ สมบุญ กรองกาญจน์ สายมัน กฤษฎา ภักดีลนุ กฤษณา กฤษณพุกต์ กวี สุจิปลุ ิ กอบเกียรติ แสงนิล กัญญาณัฐ นิคนธา กัญญารัตน์ เหลืองประเสริฐ กัลยา รัตนถาวรกิติ กัลยาณี สุวิทวัส กัลย์ธีรา สุนทราภิรักษ์ กลุ กาญจน แซ่จงั กัญจนา แซ่เตียว กาญจนา รุ่งรัชกานนท์ กานดา ฉัตรไชยศิริ การิตา จงเจือกลาง กิตติพงศ์ กิตติวฒ ั น์โสภณ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ เกียรติสดุ า เหลืองวิไล เกศินี เสาวคนธ์ คณพศ ศรี รุวฒ ั น์ คณิน ศรี ขจร คเณศ ใจเก่งกาจ คัทรินทร์ ธีระวิทย์

หน้ า 44 43,44,45 117 44 5,20 100 93 39 150 82,83,84,85 198 200 59 78,79,86,89,135 60 116 135 105 191 27,179 107 121 8 186 136 134 90 13,14 38 109 149 193 155 64 18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ง จ

งามนิจ ชื่นบุญงาม จตุพร ไกรถาวร จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน จรรยา เหล่ปอ้ ง จันทรา ไชยเสน จานุลกั ษณ์ ขนบดี จารุวรรณ ดรเถื่อน จารุวรรณ อภัย จิตตา สาตร์ เพ็ชร์ จิตรภานุ แย้ มจะบก จริงแท้ ศิริพานิช จิรานันท์ ไชยวรรณ์ จิราพร บุตรศรี จุฑามาศ ทองอิ่ม จุฑามาส คุ้มชัย จุลภาค คุ้นวงศ์ จุฬาลักษณ์ น้ อยแสง จานงค์ อุทยั บุตร จารูญ เล้ าสินวัฒนา เจตนา ทองแย้ ม เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ ฉันทนา อารมย์ดี ฉันทลักษณ์ ติยายน เฉลิมชัย วงษ์ อารี เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี ชลเวทย์ ไทยรัตน์ ชลธิชา วัดแป้น ชมพู จันที ชนันดา ศรี บญ ุ ไทย ชบา ทาดาวงษา ชัยมงคล ใจหล้ า ชัยพร จันคง ชัยอาทิตย์ อิ่นคา ชินวัฒน์ ยัพวัฒนพันธ์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ ชิติพนั ธ์ ทองเจริ ญสุขชัย

18-20 พฤศจิกายน 2558

8 194 168,171,180 6 200 43,118 108 25 109 39 115 24 81 142 36,162,163 37,38,39 38 116 165,169,170,177 160 69,70 196 75 107 30 67 162 140 68 76 81 138 127 93 80,143,144,145,146,147 148 205


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ซ ฐ ณ

ต ด

ถ ท

206

ชุตินธร หยุนแดง เชฏฐ์ สาทรกิจ ไซนีย๊ะ สะมาลา ฐปกร ลิขิตนภาเวทย์ ฐาปนีย์ สามพุม่ พวง ณชยุติ จันท์โชติกลุ ณภัทร ขวัญช่วย ณรงค์ชยั พิพฒ ั น์ธนวงศ์ ณิชมน ธรรมรักษ์ ณิศชาญา บุญชนัง ณัฐจรี ย์ จิรัคคกุล ณัฐา โพธากรณ์ ณัฐภรณ์ สุทธิวิจิตรภักดี ณัฐนันท์ บุญยะพันธ์ ณัฐพร บุตรนุช ณัฐพล จันทร์ บาง ณัฐยา เทพสาร ณัฐยา ศรี สวัสดิ์ ณัฐวุฒิ คาป๊ อก ณัฏฐ์ พิชกรรม ตันติมา กาลัง ติยะดา ฝนบริบรู ณ์ ดนัย บุณยเกียรติ ดนุพล เกษไธสง ดวงตา จวนเจริ ญ ดวงรัตน์ ชูเกิด ดวงรัตน์ ศตคุณ ดอกแก้ ว จุระ ดารุส สตุส เดือนรุ่ง สุวรรณโสภา ถนิมนันต์ เจนอักษร ทวีศกั ดิ์ วิยะชัย ทศพร ธนามี ทศพล อุมะมานิต ทักษพร ช้ างม่วง ทัศนารถ กระจ่างวุฒิ

29 69 3 121 64 119 174 90 17 40 119 67 187 170 41 112 4 39 26 95 47 146 110 76 156 189 69, 70 69, 70 6 198 167 201 29 187,188 157 90 18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ทินน์ พรหมโชติ ทิพประภา เมฆพัฒน์ ทิพวรรณ สิทธิรังสรรค์ ทิพย์วรรณ ทูเดอะ ทิวาพร ผดุง ธงชัย มาลา ธนทัต อินทชิต ธนภักษ์ อินยอด ธนภัทร เติมอารมณ์ ธนภูมิ อ่อนพรมราช ธนาโชค ตติเจริ ญ ธนิตชยา พุทธมี ธรธ อาพล ธัญญลักษณ์ บัวผัน ธิติมา วงษ์ ชีรี ธีรพล ดอนมูล ธีรพันธ์ โตธิรกุล นครินทร์ จี ้อาทิตย์ นงนุช ปู่ หล้ า นงลักษณ์ คงศิริ นภา ขันสุภา นพรัตน์ อินถา นพวรรณ หนองใหญ่ นรกมล ขาวารี นริศา เจือจุล นันท์นลิน บัวจันทร์ นาตยา มนตรี นารี พันธุ์จินดาวรรณ นิจพร ณ พัทลุง นิชาภา บุญบริวารกุล นิตยา เกตุแก้ ว นิติพงศ์ หอวัฒนพาณิชย์ นิติยา กันธิยะ นิภาพร ยลสวัสดิ์ นิภาพร เส็งคาปาน นิพนธ์ กิติดี

18-20 พฤศจิกายน 2558

184 167 50 143 134 74,150,151 77 47 47 87,152 115 112 88 122 107 137 29 35 132 13,15,28,46 80,146,185 18 31 128 37 123 10 161 182 139 189 92 116 177 119 63 207


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

208

นิศาชล เทศศรี นิศารัตน์ ทวีนตุ นิอร โฉมศรี นุจรี บุญแปลง นุชรี ย์ ศิริ บังอร เหมัง บุญร่วม คิดค้ า บุญสม บุษบรรณ์ บุษบา บัวคา บุบผา คงสมัย เบญญา มะโนชัย ปฐม คงแก้ ว ปณาลี ภู่วรกุลชัย ปริญญาวดี ศรี ตนทิพย์ ปริยาภรณ์ เนตรสว่าง ปพิชญา ขวานทอง ปรี ชาวุฒิ พลัดทองศรี ปวีณา บัญญัติ ปวีณา ไตรเพิ่ม ปวีณา รุ่งรักษาธรรม ประกิจ สมท่า ประกายจันท์ นิ่มกิ่งรัตน์ ประกาศิต ดวงพาเพ็ง ประธาน ฦาชา ประไพ ทองระอา ประภาพร ฉันทานุมตั ิ ประวิทย์ ธรรมทะ ปราณี แสนวงศ์ ปราโมทย์ พรสุริยา ปาณิตา อ่อนแสง ปาณิศา ประสม ปาริชาติ เบิร์นส์ ปิ ยรัษฏ์ ปริญญาพงษ์ เจริญทรัพย์ ปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ ปิ ยะวดี เจริญวัฒนะ ปรี ยานุช เพ็งอุดม

87,152 136 26,106 161 164 119 81 116 153 41 93 57 31,51 80,143,144,145,146,185 169 19 24 173 8,42 129 29 164 76 181 136 7 154 172 48 199 157 14,99 18,42 31,103 45 141 18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ปั ญจพร เลิศรัตน์ ปั ทมา ศรี น ้าเงิน พงศ์ยทุ ธ นวลบุญเรื อง พงษ์ นที ปิ นตาแจ่ม พงษ์ นาถ นาถวรานันต์ พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน พจนา แก้ วแจ่ม พจนา สีมนั ตร พลวัต ภัทรกุลพิสทุ ธิ พรกรัณย์ ธนไพโรจน์ พรทิพย์ พรสุริยา พรประพา คงตระกูล พรประภา ชุนถนอม พรพันธ์ ภู่พร้ อมพันธุ์ พรไพรินทร์ รุ่งเจริญทอง พรสุดา ศิริรักวงษา พรหมมาศ คูหากาญจน์ พฤกษา วังแสง พลัง สุริหาร พัชรดา ทองลา พัชรี ยา บุญกอแก้ ว พิชญา บุญประสม พูลลาภ พิทกั ษ์ พุทธวรชัย พิมาภรณ์ แก้ วสวัสดิ์ พิมพิไล แสงมณี พิมพ์นิภา เพ็งช่าง พิศวรรณ เพ็ชร์ ยิ่ง พีระศักดิ์ ฉายประสาท พีระศักดิ์ ศรี นิเวศน์ พุทธพงษ์ สร้ อยเพชรเกษม พูนพิภพ เกษมทรัพย์ พูนทรัพย์ สืบมา เพชรดา อยู่สขุ เพียงพิมพ์ ชิดบุรี ไพลิน เนินหาด ผ่องเพ็ญ จิตอารี ย์รัตน์

18-20 พฤศจิกายน 2558

134 5,20 72,122 62 133 94,123,159 107 88 3 121 48 174 198 24 74,91,150,151 92 155,157 163 35 45 92,95 110 11,80,146,185 58 99 136 8 18,60 29 60 69,70 71 110 9 167 107 209


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

210

ภมรพรรณ มงคลแช่มช้ อย ภวัตร นาควิไล ภัทราภรณ์ ทรัพย์อดุ มมาก ภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ ภัทราภรณ์ หอมคง ภัทริน วิจิตรตระการ ภาคภูมิ สืบนุการณ์ ภาณุพล หงส์ภกั ดี ภานุพงศ์ แสนบุดดา ภาณุมาศ โคตรพงศ์ ภาณุมาศ ฤทธิไชย ภานุรักษ์ ประทับกอง ภานุวรรณ บัวทองจันทร์ ภาวิณี คาแสน ภาสกร นันทพานิช ภาสันต์ ศารทูลทัต มงคล ศิริจนั ทร์ มณทินี ธีรารักษ์ มนตรี อิสรไกรศีล มยุรี โมงปั นแก้ ว มยุรา ล้ านไชย มรกต บูรณสุบรรณ มะลิวลั ย์ หฤทัยธนาสันติ์ มานพ ธรสินธุ์ เมธินี พร้ อมพวก เมวิกา ไชยฤทธิ์ เมษา เกื ้อคลัง ยศพล ผลาผล ยืนหยัด ธีระวัฒน์สกุล ยุทธนา เขาสุเมรุ ยุพิน กสินเกษมพงษ์ เยาวพรรณ สนธิกลุ เยาวพา จิระเกียรติกลุ เยาวรัตน์ วงศ์ศรี สกุลแก้ ว รวี เสรฐภักดี รสมนต์ จีนแส

24 51 13 43,117,118 171 165,169 201 59 164 134 16,19,68,139 82,84 14 170 197 77,136 60 165,169,170 158 144 109 15 187 104,190 111 22 86 160 6 147,148 7 25 16,19,68,139 149 83,84,85 12,15 18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ฤ ล

รอสมี ยะสะแต รักเกียรติ แสนประเสริฐ รังสินี ประเสริฐวัฒนะ รัชนีกร ดีดวงพันธ์ รัชนีวรรณ จีระพงศ์พฒ ั นา รัชยาพร อโนราช รัฐพร จันทร์ เดช รัตนชัย พรมเทพอานวย ราตรี บุญเรื องรอด ราตรี พระนคร ราไพ นามพิลา รุ่งนภา ช่างเจรจา รุ่งฟ้า จีนแส ฤชุอร วรรณะ ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ ลพ ภวภูตานนท์ ลาแพน ขวัญพูล วชิรญา อิ่มสบาย วนิตา ตุ้มมล วนาลี ตรุดไทย วรงศ์ นัยวินิจ วรภัทร ลัคนทินวงศ์ วรพล ลากุล วรวุฒิ ร่มฟ้าจรรกุล วรรณิศา ปั ทมะภูษิต วราภรณ์ บุญเกิด วราภรณ์ ศรี วิเศษ วัชระ จินตโกวิท วันเฉลิม รูปเขียน วันทนา สะสมทรัพย์ วันไณ เอา วาริน อินทนา วารี รัตน์ ศรี ฉ่า วารุณี ธนะแพสย์ วารุต อยูค่ ง วิกนั ดา รัตนพันธ์

18-20 พฤศจิกายน 2558

113,114 153,184,201 151 65 16 196 17 148 12,13,15,27,28,46 21 94,123,154 72,73,122 15 195 57,58 78,79,86,89 109,128,129 27,51,135 112 89 201 121 52 200 91 179 193 142 73 47 43 158 27 18 17 104,190 211


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

212

วิจิตรา รุ่งศรี วิษุวตั สงนวล วิบลู ย์ จงรัตนเมธีกลุ วิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก วิภาดา เจริญชาติ วีระณีย์ ทองศรี วิรัติ อาพันธุ์ ศรปราชญ์ ธไนศวรรยางกูร ศรสวรรค์ ศรี มา ศรี ประไพ ธรรมแสง ศรี สภุ า ลีทอง ศรี โสภา เรื องหนู ศรัณย์ ฉวีรักษ์ ศิริมา ธีรสกุลชล ศศิยา ศิริพานิช ศศิวิมล โฉมเฉลา แสวงผล ศักรินทร์ นนทพจน์ ศันสนีย์ นาเจริ ญ ศิริชยั กีรติมณีกร ศิริพร สารคล่อง ศิริพร วรกุลดารงชัย ศิริพรรณ สรินทร์ ศิวาพร ธรรมดี ศิริลกั ษณ์ แก้ วสุรลิขิต ศิริวรรณ ศรี มงคล ศิริวรรณ แดงฉ่า ศิโรจน์ ทิมภู่ ศุกฤชชญา เหมะธุลิน ศุภกาญจน์ หล่ายแปด ศุภชัย อาคา ศุภธิดา อับดุลลากาซิม ศุภร เหมินทร์ ศุมาพร เกษมสาราญ สมคิด ใจตรง สมชาย กล้ าหาญ สมบัติ แก้ วผ่องอาไพ

141 42 179 138 30 166,178,183 185 69 36,162,163 186 172 16 181 48 199 42 119 99 191 198 40,140 11 110 136 40 173 131 101,102 23,134 74,142,150,151 23,77 177 187,188 120 111,113,114 53 18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

สมบัติ ตงเต๊ า สมปอง เตชะโต สมพงษ์ สุขขาวงษ์ สมยศ มีทา สรพงษ์ เบญจศรี สมศิริ แสงโชติ สรศักดิ์ ทวีสนิ สรายุทธ อ่อนสนิท สหรัฐ คุมพล สิทธิโชค ตังภั ้ สสรเรื อง สิริกลุ วะสี สิริพร สิริชยั เวชกุล สังคม เตชะวงค์เสถียร สันติ ช่างเจรจา สัญชัย พันธโชติ สาวิตรี ชื่นบาล สาวิตรี ปราโมช ณ อยุธยา สายันต์ ตันพานิช สุกญ ั ญา แย้ มประชา สุกญ ั ญา สายธิ สุกญ ั ญา แสนภักดี สุจินต์ ภัทรภูวดล สุชีรา เตชะวงค์เสถียร สุชีรา ด่านอรุณ สุชาทัศน์ คงเจริ ญ สุณิสา เจตน์ตะพุก สุดที่รัก สายปลื ้มจิตต์ สุดารัตน์ สกุลคู สุธิดา เรื อนเงิน สุธีรา วิทยากาญจน์ สุธาสินี ทัพพสารพงศ์ สุนีรัตน์ อุดมภูมิ สุพจนี อินทรโมฬี สุพตั รา โพธิ์เอี่ยม สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง 18-20 พฤศจิกายน 2558

42 3 66 94,123,154,159 194 166,178,183 149 66 95 29 39 182 35,94,123,154,159 72,137,147,148 147 180 191 109 161 192 10 39 35,154 171 149 64 177 22,198 196 187 196 184 26,106 53 94,123,154,159 193,194 213


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ห อ

214

สุภาพร สุกประเสริฐ สุภาวดี คงทับทิม สุภาวดี แช่ม สุมิตร คุณเจตน์ สุมิตรา สุปินราช สุมาพร แสงเงิน สุเมธ ตรี ศกั ดิ์ศรี สุเมธ อ่องเภา สุรวุฒน์ อยูย่ งเวชช์ สุรพล ใจวงศ์ษา สุรพล ฐิ ติธนากุล สุรัตน์วดี ชูโชติ สุริยสิทธิ์ สมนึก สุรีรัตน์ เย็นช้ อน สุริยนั ตร์ ฉะอุม่ สุวรรณี ปาลี สุวรัตน์ กรรมการ สุรีพร นันท์ดี เสริมศิริ จันทร์ เปรม แสงแข น้ าวานิช แสงทอง พงษ์ เจริญกิต แสงระวี พ่วงสมบัติ โสภณ อุไรชื่น โสรยา ใบเต๊ ะ โสรยา ปั ญจะธา โสระยา ร่วมรังษี หทัยรัตน์ ยิ ้วเหี ้ยง อนรรฆ พรรคเจริญ อรทัย ธนัญชัย อรทัย พูดงาม อรพินธุ์ สฤษดิ์นา อรรถกร พรหมวี อรรถสิทธิ์ คล้ ายสุบรรณ อรวินทินี ชูศรี อรอุบล ชมเดช อรอุมา ด้ วงงาม

79 71 192 87,152 4,130,131,132 183 156 7 64 200 66,189 66 167 3 64 24 74 78 23 179 30 112 179 109 99 63,127 103 115 7 111 30,49 158 195 40 37 69,70 18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

อรอุมา พรมน้ อย อรอุมา รุ่งน้ อย อนุชา จุลกะเสวี อรุณพร อิฐรัตน์ อทิตยา ปาลคะเชนทร์ อภิชาติ ชิดบุรี อภิญญา ศรี ออ่ นดี อภิศกั ดิ์ เบ้ าลี อลิษา ภู่ประเสริ ฐ อโนทัย วิงสระน้ อย อังคณพร วังคา อัญจนา จันทร์ ปะทิว อัญชลี สวาสดิ์ธรรม อัญมณี อาวุชานนท์ อัมฤทธิ์ สีกล่อม อัปสร วิทยประภารัตน์ อารยา อาจเจริ ญ เทียนหอม อิศร์ สุปินราช อิสระยศ สินบุญยะมะ อินทิรา ขูดแก้ ว อุกฤษฏ เจริญใจ อุณารุจ บุญประกอบ อุดมพร จอมพงษ์ อุษา สิทธิฤทธิ์ อุษณีย์ พิชกรรม อุษณีย์ เพ็ชร์ ปนุ่ อุไรวรรณ พงษ์ พยัคเลิศ เอรี ยา เทพริ นทร์ อามร อินทร์ สงั ข์ โองการ วณิชาชีวะ

18-20 พฤศจิกายน 2558

109 29 48 16 166 9,11 82 83,84 13,27,28 172 130 10 141 31,51,88 106 75 92 4,130,131,132 37 61 185 52,71 168 140 42,142 88 37 66 168,171,180 53

215


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

216

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

18-20 พฤศจิกายน 2558

217


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

หมวดอักษร A B C D M N

R T ก

218

คาสาคัญ Agr obacterium tumefaciens BA CPPU Centella asiatica (L.) Urb. Dendrobium Sonia ‘Earsakul’ Dihydroflavonol-4-reductase Mimosa pigra L. N-6-Benzyladenine NAA Nepenthes mirabilis Randomly Amplified Polymorphic DNA (RAPD) Ruellia tuberosa Linn. T. harzianum TDZ กรดซอร์ บิก กรดเบนโซอิก กระชาย กล้ วย กล้ วยไข่ กล้ วยไม้ ดินนางกราย กล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส กล้ วยหอมทองอินทรี ย์ กลูคาเนส กลูโคซิโนเลต เกสรเพศผู้เป็ นหมัน ข่า ข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วง ข้ าวเย็นใต้ ข้ าวเย็นเหนือ ขิง

หน้ า 17 17,20,23,60,77,158 23 153 77 17 61 23,77 3,8,10,11,60,132 66 21,24, 61 154,155,157 17,23 108 108 181 183 12,27,120,160,183 63 65 166 116 110 36 181 41 139 19 111

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ง ช

ความเข้ มข้ นของ IAA คาร์ โบไฮเดรต แคนตาลูป แคลเซียมซิลเิ กต แคลลัส แคลลัสแอปเปิ ล้ ไคโตซาน เงาะ ชมพูพ่ นั ธุ์ทบั ทิมจันท์ เชียงดา เชื ้อ Cladosporium sp เชื ้อ Pythium sp. เชื ้อ Xanthomonas axonopodis pv. เชื ้อรา Phomopsis sp. เชื ้อราอาบัสคูลา่ ไมคอไรซ่า เชื ้อไวรัสใบหงิกเหลือง ด้ วงงวงข้ าว ด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย ดอกบัวหลวงพันธุ์สตั ตบุตย์ ดาวเรื อง ดาวเรื องฝรั่งเศส เด็ดยอด ต้ นกวักมรกต ต้ นกีวีฟรุต ต้ นอ่อนกล้ วยน ้าว้ าปากช่อง 50 ต้ อยติ่ง ต้ านอนุมลู อิสระ ตีนฮุ้งดอย แตงกวา แตงไทย ถุงโพลีเอทิลีนเจาะรู

18-20 พฤศจิกายน 2558

11 72,73,101,196 105 74,150,151 8,19,20,60 20 90,91,123,174 121 85 9,11,80,143,144,145,146 116 157 193 178 182 37 195 179 112 15,24,46 15,46 130 78,79 142 136 61 22,26,41,52,93,101,102,118, 143,144,145,181,184,196 75 45,141,170 48,51 100

219


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

220

ทุเรี ยนพันธุ์หมอนทอง ทุเรี ยนพื ้นบ้ าน เทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี น ้าคันชุ ้ มเห็ดเทศ น ้าปูนใส น ้ามันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชย น ้ามันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุต น ้าส้ มควันไม้ น ้าส้ มสายชูแอปริคอต น ้าหมัก Methylobacterium radiotolerans ไนโตรเจน บัวตอง บัวบก เบต้ าแคโรทีน ใบปอขี ้ไก่ ใบเลี่ยน ปทุมมา ปลวก ปั กชา ปุ๋ ยน ้าชีวภาพ ปุ๋ ยมูลไก่ แป้งข้ าว ผลเม่าหลวง ผลหนามแดง ผลองุ่นพันธุ์ Canadice Seedless ผักกาดหอม ผักกาดหัว ผักกาดฮ่องเต้ ผักกาดฮ่องเต้ อินทรี ย์ ผักงอกไควาเระ ผักเชียงดา ผักไมโครกรี น

69,70,140 42 122 167 114 180 195 138,141 26 9,11 23,72,73,81,134,142,162,163 132 153 27,88 170 165 17 104,190 78,79,131,132,146 127 144 192 22,101 184 90 74 151 110,162 110 174 80,143,144,145,146 76

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ฝ พ

ผักสลัด ผักสลัดบัตเตอร์ เฮด ผักหวานป่ า ผักเหลียงพร้ อมปรุง ผัดสลัดเรดคอเรล ฝรั่ง ฝักวานิลลา พรางแสง พริกขี ้หนู พริกหนุ่ม พลูเขียว พาโคลบิวทราโซล พิทเู นีย เพลี ้ยไฟ เพศมะละกอ เพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ ฟอกฆ่าเชื ้อ ฟั กข้ าว ฟั กทอง ฟั กทองพันธุ์พื ้นเมือง ฟั กทองพันธุ์โอโตะ มะกอกโอลีฟพันธุ์อะบีควินา มะกอกโอลีฟพันธุ์อาเอสพีจี มะขามป้อม มะเขือ มะเขือเทศ มะนาว มะพร้ าวแก้ ว มะพร้ าวน ้าหอม มะพร้ าวน ้าหอมเจีย มะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’

18-20 พฤศจิกายน 2558

127,149,155,200 149 109 100 149 52 107 59,72,79,153 49,158,91 48,147 169 58,89 130,131 160 13 5,10,16,19,25,50,92,136 25,60 3,185 31,42,88,118 31,88,118 118 81 81 102 6 37,38,150,182 137,193,200 119 28,86,89,115,133,135 115 113

221


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ย ร

222

มะม่วงพันธุ์น ้าดอกไม้ สีทอง มะละกอ มะละกอพันธุ์แก้ มแหม่ม มะละกอพันธุ์แขกดา มะละกอพันธุ์ปลักไม้ ลาย มะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์ มันแกว มันเทศ มันฝรั่ง มันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ า มันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติก เมล็ดพันธุ์กระเจี๊ยบแดง เมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอม เมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง เมล่อน เม่า แมลงเบียน แมลงวันผลไม้ แมลงวันพริก ไม้ การบูร ไมยราบยักษ์ ยอดหัวข้ าวเย็น ยีน DFR ระบบไฮโดรโพนิกส์ ราชบุรี ไรแดงแอฟริกนั ลองกอง ลาไย ลิลลี่ ว่านแสงอาทิตย์ ว่านหัวครู ว่านหางจระเข้

83 13,14,99,114 99 99 99 114 196 64 84,92,134 134 134 68 74 25,66 30,48,128,129 102,108 172 164,172 91 104 61 16 17 127 168,199 171 57,58 116,148 8 4,72,73 52 173

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ว่านอึง่ วานิลลา ไวน์เม่า ไวรัสใบด่างแตง สตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 สภาวะการขาดน ้า ส้ มโอพันธุ์ทองดี ส้ มโอพันธุ์มณีอีสาน สวนยุคอาณานิคม สับปะรดนางแล สับปะรดสีสกุล Neoregelia sp. สารเคมีคาร์ เบนดาซิม สารละลายโคลชิซิน สารสกัดแมงลักคา สุพรรณบุรี หญ้ าข้ าวนก หนอนตายหยาก หน้ าวัว หม่อน หอมหัวใหญ่ หัวมันแกว เห็ดโคนญี่ปนุ่ แหนแดง องุ่นพันธุ์ Canadice Seedless ออกซิเจน อินทผลัมไทย (แม่โจ้ 36) เอนไซม์ไคติเนส เอื ้องตีนกบ

18-20 พฤศจิกายน 2558

62 107 108 194 60,87,152 64 123,154,159 94 201 106 59 183 15 141 51,177 169,170 10 7 102 82 196 47 136 90 114,119,121 18 116 67

223


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

รศ.ดร.จารู ญ เล้ าสินวัฒนา

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

รศ.ดร.มยุรา สุนย์ วีระ

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

รศ.ดร.สมชาย กล้ าหาญ

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

รศ ดร.สุเม อรั ญนารถ

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

รศ.ดร.พรหมมาศ คูหากาญ

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

รศ.ดร.ถนิมนันต์ เจนอักษร

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

รศ.ดร.อิทธิสุนทร นันทกิจ

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

ผศ.ดร.กัญจนา แซ่ เตียว

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

ผศ.ดร.ศรายุทธ ผลโพธิ์

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

ผศ.ดร.ลาแพน ขวัญพูล

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

ผศ.ดร.มณทินี ธีรารั กษ์

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

ผศ.ดร.ธีรวัฒน์ ศรุ ตโยภาส

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

ผศ.ดร.อามร อินทร์ สังข์

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

ผศ.ดร.นุกูล ถวิลถึง

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

ดร. อรอุมา รุ่ งน้ อย

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

224

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ดร. นงลักษณ์ เภรินทวงศ์

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

ดร.สุกัญญา แย้ มประชา

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

อ. วนิดา ดวงก้ งแสน

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

รศ.ดร.นงนุช เลาหะวิสุทธิ์

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์และประมง คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

ดร.พรประภา คงตระกูล

คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร

ผศ.ดร.นาตยา มนตรี

คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร

รศ.ดร.พงษ์ นาถ นาถวรานันต์

สายวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน

ผศ.ดร.เฉลิมชัย วงษ์ อารี

สายวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน

ดร.ธิตมิ า วงษ์ ชีรี

กลุม่ วิจยั การจัดการทรัพยากรชีวภาพฐานชุมชน คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี หลักสูตรการจัดการทรัพยากรชีวภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี วิทยาเขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ

ดร.ภาณุมาศ โคตรพงศ์

กองวิจยั และพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร กรมวิชาการเกษตร เลขที่ 50 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจกั ร กรุงเทพ

รศ.ดร. ณัฐา โพธาภรณ์

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รศ.ดร.โสระยา ร่ วมรั งษี

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผศ.ดร. ศิวพร ธรรมดี

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผศ.ดร. วีณัน บัณฑิตย์

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

18-20 พฤศจิกายน 2558

225


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ผศ.ดร. ฉันทลักษณ์ ติยายน

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ดร.ธนะชัย พันธ์ เกษมสุข

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ดร. จุฑามาส คุ้มชัย

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ สาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รศ.ดร.ไสว บูรณพาณิชพันธุ์

ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช สาขาวิชาโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผศ.ดร.อังสนา อัครพิศาล

ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช สาขาวิชาโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ดร.เยาวลักษณ์ จันทร์ บาง

ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช สาขาวิชาโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผศ.ดร.กานดา หวังชัย

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยชียงใหม่

ผศ.ดร. จารุ ณี จูงกลาง

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยชียงใหม่

รศ.ดร.จุลภาค คุ้นวงศ์

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

รศ.ดร.อรรั ตน์ มงคลพร

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

รศ.ศศิยา ศิริพานิช

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

ผศ.ดร.เสริมศิริ จันทร์ เปรม

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

ผศ.ดร. ณัฏฐ พิชกรรม

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

ผศ.ดร.วชิรญา อิ่มสบาย

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

ดร.ธีร์ หะวานนท์

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

ดร.ภาสันต์ ศารทูลทัต

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

226

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ดร.ราตรี บุญเรื องรอด

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

ดร.อัญมณี อาวุชานนท์

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

ดร.เกียรติสุดา เหลืองวิลัย

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

ผศ.ดร. ชัยสิทธิ์ ทองจู

ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

ดร. ศุภชัย อาคา

ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม

ดร.เบญญา มะโนชัย

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

ดร.ทัศไนย จารุ วัฒนพันธ์

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

ดร.อารยา อาจเจริญ เทียนหอม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน ดร.ปริยานุช จุลกะ

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

ดร.วีรณีย์ ศรี พรมสุข

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน

รศ.ดร.นพมณี โทปุญญานนท์

สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ. เชียงใหม่

ผศ.ดร.เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี

คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ. เชียงใหม่

ดร.เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์

คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ. เชียงใหม่

ดร. วีณา นิลวงศ์

คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ. เชียงใหม่

ศ.ดร.สมปอง เตชะโต

ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

ผศ.ดร.ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์

ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

รศ.ดร. จาเป็ น อ่ อนทอง

ภาควิชาธรณีศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

ผศ.ดร.สุภัทร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร สาขาพืชสวน

ผศ.ดร.กิริยา สังข์ ทองวิเศษ

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร สาขาพืชไร่

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผศ. ศรี ประไพ ธรรมแสง

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี

ดร.ทินน์ พรหมโชติ

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี

ดร. วรงศ์ นัยวินิจ

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วารินชาราบ จ.อุบลราชธานี

18-20 พฤศจิกายน 2558

227


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

ผศ.ดร.สุรัสวดี พรหมอยู่

สาขาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสกลนคร

ผศ ดร.งามนิจ ชื่นบุญงาม

ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพ

ผศ.ดร.ภาคภูมิ พระประเสริฐ

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

ดร.กรกช ชัน้ จิรกุล

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง สนามจันทร์ อาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม

ดร. ณมนรั ก คาฉัตร

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี อ.เมือง จ.จันทบุรี

ผศ.ดร.วรั ญญู แก้ วดวงตา

ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อ.กันทรวิชยั จ.มหาสารคาม

ดร.บุษราคัม ป้ อมทอง

คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา อ.เมือง จ.นครราชสีมา

อ. ศุภวัจน์ แก้ วขาว

คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ต. คลองหนึง่ อ. คลองหลวง จ. ปทุมธานี

ผศ.ดร.วิทยา แก้ วศรี

โครงการจัดตังวิ ้ ทยาเขตอานาจเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดล อ.เมือง จ.อานาจเจริ ญ

ดร.สุทนิ กันยะมี

โครงการจัดตังวิ ้ ทยาเขตอานาจเจริญ มหาวิทยาลัยมหิดล อ.เมือง จ.อานาจเจริ ญ

คุณจรั ญญา ปิ่ นสุภา

งานกลุม่ วิจยั วัชพืช สานักวิจยั พัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร

ผศ ดร.อภิชาติ ชิดบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง อ.เมือง จ.ลาปาง

ดร.สุมติ ร คุณเจตน์

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี 57 หมู่ 1 ต.โขมง อ. ท่าใหม่ จ. จันทบุรี

ดร.ยศพล ผลาผล

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี 57 หมู่ 1 ต.โขมง อ. ท่าใหม่ จ. จันทบุรี

ดร. สมคิด ใจตรง

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ ว อ.วัฒนานคร จ.สระแก้ ว

ดร.ศิริวรรณ แดงฉ่า

มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี อ. เมือง จ. เพชรบุรี

คุณกิตติมา รั กโสภา

ศูนย์วิจยั ข้ าวราชบุรี 106 ตาบลอ่างทอง อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี

ดร.รุ จริ า สุขโหตุ

ศูนย์วิจยั ปาล์มน ้ามันกระบี่ 68 ม. 1 ต. ห้ วยน ้าขาว อ.คลองท่อม จ.กระบี่

คุณกฤษณา พินิจ

สถาบันวิจยั จุฬาภรณ์ 54 ถ.กาแพงเพชร 6 แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ

ผศ.ดร.สมัคร แก้ วสุกแสง

สาขาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ อ.ป่ าพะยอม จ.พัทลุง

ดร. นิจพร ณ พัทลุง

สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ อ.เมือง จ. บุรีรัมย์

ดร.กาญจนา เชียงทอง

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี อ. เมือง จ. กาญจนบุรี

228

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

1. หลักการและเหตุผล พืชสวนเป็ นกลุม่ พืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ โดยในแต่ละปี ผลิตผลทางพืชสวนมีมลู ค่าการผลิตและการส่งออก มากกว่าหมื่นล้ านบาท และพืชสวนหลายชนิดเป็ นพืชที่มีศกั ยภาพในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศ อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนั การผลิตพื ชสวนให้ มีปริ มาณและคุณ ภาพดี ตรงตามที่ ผ้ ูบริ โ ภคต้ องการ มักมี ปัจจัยต่างๆ เกี่ ยวข้ อง เช่น พันธุ์ ที่ใช้ ในการ เพาะปลูก ระบบการผลิตที่ดีและเหมาะสม การปลูกและการดูแลรักษา การป้องกันกาจัดโรคและแมลงที่ถกู ต้ องและเหมาะสม การใช้ สารควบคุมการเจริญเติบโตเพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตและคุณภาพ และการจัดการหลังเก็บเกี่ยวที่เหมาะสมดังนันงานวิ ้ จยั ทางด้ านพืชสวนจึงมีขอบข่ายที่ครอบคลุมงานวิจยั ที่สอดคล้ องกับปั จจัยต่างๆ ที่กล่าวมาข้ างต้ น ปั จจุบนั งานวิจยั ทางด้ านพืช สวนไม่เพียงแต่ผลิตเพื่อการบริ โภคเท่านัน้ ยังสามารถเป็ นอาหารทางใจให้ กบั สังคมเมืองในปั จจุบนั ที่มีพื ้นที่จากัด แต่ต้องการ พื ้นที่ทาสวนครัวหรื อสวนขนาดเล็กเพื่อตกแต่งที่อยูอ่ าศัย ดังนันหั ้ วข้ อหลักและวาระพิเศษของการจัดงานประชุมวิชาการในครัง้ นี ้ คือ พืชสวนไทย ไร้ พรมแดน การจัดประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ เริ่ มจัดครัง้ แรกเมื่อปี พ.ศ. 2544 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ กรุงเทพมหานคร เมื่อวัน ที่ 11-13 กรกฎาคม 2544 โดยสถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร เป็ นเจ้ าภาพ และได้ รับการสนับสนุนจากแหล่ง ต่าง ๆ เช่น สานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจยั (สกว.) สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) และสมาคมพืชสวนแห่ง ประเทศไทย เป็ นต้ นที่ผ่านมา ภาควิชาพืชสวน คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหาร ลาดกระบัง ได้ รับเกียรติเป็ นเจ้ าภาพหลักในการจัดประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 5 ระหว่างวันที่ 26-29 เมษายน 2548 ณ โรงแรมเวลคัม จอมเทียน บีช พัทยา จังหวัดชลบุรี หลังจากนันได้ ้ มีการจัดประชุมติดต่อกันมาเป็ นประจาทุกปี โดยเจ้ าภาพ ในการดาเนินการจัดจะเวียนกันไปตามสถาบันอุดมศึกษา ทังส่ ้ วนกลางและภูมิภาค ในปี พ.ศ. 2558 ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณ ทหารลาดกระบัง ได้ รับเกี ยรติอีกครัง้ จากที่ประชุมคณะกรรมการร่ วมระหว่างมหาวิทยาลัย ให้ เป็ นเจ้ าภาพจัดการประชุม วิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14 ร่วมกับกรมส่งเสริ มการเกษตร และได้ รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ เช่น สมาคมพืช สวนแห่งประเทศไทย สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) สานักงานกองทุน สนับสนุนงานวิจยั (สกว.) สานักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครัง้ ที่ 14 กาหนดจัดขึ ้นในระหว่างวันที่ 18-20 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงแรม นง นุช การ์ เด้ น รี สอร์ ท จังหวัดชลบุรี โดยจะจัดให้ มีการบรรยายพิเศษจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ การแสดงผลงานการวิจัยของ นักวิชาการสาขาพืชสวน และสาขาที่เกี่ยวข้ อง และการแสดงนิทรรศการของภาคเอกชน 2. วัตถุประสงค์ เพื่อเป็ นเวทีเผยแพร่ ผลงานวิจยั และแลกเปลี่ยนความคิดระหว่างนักวิจยั รุ่ นใหม่กบั นักวิจยั อาวุโส แหล่งทุน และผู้ใช้ ผลงานวิจยั 3. ผู้เข้ าร่ วมสัมมนา นักวิ ชาการจากกรมวิ ชาการเกษตร กรมส่ งเสริ มการเกษตร สถาบันการศึ กษาต่ างๆ เจ้ าหน้ าที่ ข องภาคเอกชน ผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานภาครัฐเอกชนเกษตรกร ผู้ประกอบการทางด้ านพืชสวน และสาขาที่เกี่ยวข้ องประมาณ 300 คน 18-20 พฤศจิกายน 2558

229


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

4. หน่ วยงานรั บผิดชอบ 1) ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหาร ลาดกระบัง 2) กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 5. สถานที่และระยะเวลาในการจัดประชุม โรงแรมนงนุช การ์ เด้ น รี สอร์ ท จังหวัดชลบุรี ระหว่างวันที่ 18-20 พฤศจิกายน 2558 เป็ นเวลา 3 วัน 6. รู ปแบบการจัดการประชุมวิชาการ 1) การบรรยายพิเศษจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิจากภาครัฐและเอกชน 2) การนาเสนอผลงานวิจยั บรรยายภาคโปสเตอร์ (Oral Poster Presentation) - ปรับปรุงพันธุ์ (Breeding) เช่น การปรับปรุงพันธุ์ไม้ ผล ไม้ ดอกไม้ ประดับ และผัก - ระบบการผลิต (Production) เช่น การให้ น ้า ให้ ปยุ๋ การป้องกันกาจัดศัตรูพืชสวน - สรี รวิทยา (Physiology) เช่น สรี รวิทยาของไม้ ผล ไม้ ดอกไม้ ประดับ ผัก และสรี รวิทยาของเมล็ดพันธุ์พืชสวน - วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest) เช่น การยืดอายุหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลสดทางพืชสวน การ ควบคุมโรคและแมลงหลังเก็บเกี่ยว และการแปรรูป - เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เช่น การใช้ เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุ งพันธุ์ เพื่อการศึก ษาการ เปลี่ยนแปลงทางสรี รวิทยาและเพื่อการยืดอายุผลิตผลหลังเก็บเกี่ยว - อื่นๆ (Other) เช่น ระบบการตลาด โลจิสติกส์ เศรษฐศาตร์ ธุรกิจพืชสวน ภูมิทศั น์ทางพืชสวน ส่งเสริ ม การเกษตร 3) การจัดนิทรรศการของภาครัฐและเอกชน 4) การจัดประกวดผลิตผลทางการเกษตร 7. งบประมาณรายจ่ าย 1) งบประมาณรายจ่ายในการดาเนินการจัดประชุมประมาณ 1,200,000 บาท (หนึง่ ล้ านสองแสนบาทถ้ วน) 2) งบสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย หน่วยงานราชการ องค์กร สมาคมและรายได้ จากการลงทะเบียนของผู้เข้ าร่วม ประชุม อัตราค่ าลงทะเบียน ประเภทบุคคล นิสิต/นักศึกษา บุคคลทัว่ ไป

ลงทะเบียนและชาระเงิน อัตราพิเศษ (ภายใน 30 ก.ค. 2558) อัตราปกติ (หลัง 30 ก.ค. 2558) 2,000 2,500 2,500 3,000

8. ประโยชน์ ท่ ีคาดว่ าจะได้ รับ 1) นักวิจยั ได้ นาเสนอและเผยแพร่ผลงานวิจยั เพื่อผู้เกี่ยวข้ องได้ นาไปใช้ ประโยชน์ 2) ผู้เข้ าร่วมประชุมได้ พบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความรู้ใหม่ๆ เป็ นการสร้ างเครื อข่ายระหว่างนักวิจยั และ ผู้เกี่ยวข้ องหลายภาคส่วน เพื่อประโยชน์ในการวิจยั และพัฒนาพืชสวน 3) เป็ นการพัฒนานักวิจยั และบุคลากรอื่นๆ ตลอดจนองค์ความรู้ด้านพืชสวน 230

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

9. การประเมินผล ประเมินผลการประชุมฯ จากผู้เข้ าร่วมประชุมโดยใช้ แบบสอบถาม 10. กาหนดการสาคัญของการประชุม ช่ วงเวลา กาหนดการ 15 เมษายน 2558 ผู้เข้ าร่วมประชุมและผู้นาเสนอผลงานลงทะเบียนล่วงหน้ า 15 มิถนุ ายน 2558 วันสุดท้ ายของการส่งบทคัดย่อผลงานที่ต้องการนาเสนอ 16-30 มิถนุ ายน 2558 แจ้ งผลการพิจารณาเรื่ องที่นาเสนอ 30 กรกฎาคม 2558 วันสุดท้ ายของการส่งเรื่ องเต็ม และชาระเงินค่าลงทะเบียนในอัตราล่วงหน้ า 1-31 สิงหาคม 2558 ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจอ่าน และส่งคืนผู้นาเสนอผลงานเพื่อปรับปรุงแก้ ไข 15 ตุลาคม 2558 วันสุดท้ ายของการส่งกลับเรื่ องเต็มที่ปรับปรุงแก้ ไขแล้ ว 15-31 ตุลาคม 2558 ตีพิมพ์เรื่ องที่ผา่ นการแก้ ไข และชาระค่าลงทะเบียนล่วงหน้ าแล้ ว ในวารสารเกษตรพระจอมเกล้ า (ฉบับพิเศษ) 18-20 พฤศจิกายน 2558 นาเสนอบรรยายผลงานภาคโปสเตอร์ (Oral Poster Presentation) และรับวารสารเกษตรพระจอมเกล้ า (ฉบับพิเศษ) ที่ตีพิมพ์เรื่ องเต็มที่นาเสนอ 11. รายนามคณะกรรมการฝ่ ายต่ างๆ ของงานประชุม 1) คณะที่ปรึกษา - นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย - อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร - รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร - อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง - รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิจยั 2) คณะกรรมการฝ่ ายอานวยการ - คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร - รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจยั - ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจยั - ผู้อานวยการสานักส่งเสริมและจัดการสินค้ าเกษตร - หัวหน้ าภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช หน้ าที่ กากับดูแลการดาเนินการจัดประชุม 3) คณะกรรมการฝ่ ายดาเนินการ - ผศ.ดร.ลาแพน ขวัญพูล ประธานกรรมการ - รศ.ดร.สมชาย กล้ าหาญ กรรมการ - รศ.ดร.จารูญ เล้ าสินวัฒนา กรรมการ - รศ.หัตชัย กสิโอฬาร กรรมการ - ผศ.ดร.อามร อินทร์ สงั ข์ กรรมการ - ผศ.ดร.ศรายุทธ ผลโพธิ์ กรรมการ - ผศ.ดร.กัญจนา แซ่เตียว กรรมการ 18-20 พฤศจิกายน 2558

231


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

หน้ าที่

ผศ.ดร.มณทินี ธีรารักษ์ กรรมการ อาจารย์บญ ุ ลือ กล้ าหาญ กรรมการ ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม กรรมการ อาจารย์วนิดา ดวงก้ งแสน กรรมการ นายจรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน กรรมการและเลขานุการ กาหนดแนวทางการดาเนินงานและกิจกรรมในการจัดประชุม และประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 4) คณะกรรมการฝ่ ายพิธีการ และต้ อนรับ - ผศ.ดร.ศรายุทธ ผลโพธิ์ ประธานกรรมการ - อาจารย์บญ ุ ลือ กล้ าหาญ กรรมการ - อาจารย์วนิดา ดวงก้ งแสน กรรมการ - ดร.อรอุมา รุ่งน้ อย กรรมการ - ดร.ดวงกมล ปานรศทิพ ธรรมาธิวฒ ั น์ กรรมการ - นางสาวมณฑา สุวรรณรัตน์ กรรมการ - นางสาววทัญญา วิสาระโท กรรมการ - นายจรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน กรรมการ - นายวสันต์ แสงอินทร์ กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ ต้ อนรับผู้เข้ าร่ วมประชุมวิชาการร่ างคากล่าวในพิธีเปิ ด -ปิ ดการประชุม จัดทาบัตรเชิญ เตรี ยมของที่ระลึก เตรี ยมผู้ดาเนินการในแต่ละช่วงของการประชุม ผู้ดาเนินการในและประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 5) คณะกรรมการฝ่ ายวิชาการ - ผศ.ดร.กัญจนา แซ่เตียว ประธานกรรมการ - รศ.ดร.ถนิมนันต์ เจนอักษร กรรมการ - รศ.ดร.จารูญ เล้ าสินวัฒนา กรรมการ - ผศ.ดร.อามร อินทร์ สงั ข์ กรรมการ - ผศ.ดร.ลาแพน ขวัญพูล กรรมการ - ดร.สุกญ ั ญา แย้ มประชา กรรมการ - รศ.ดร.มยุรา สุนย์วีระ กรรมการ - รศ.ดร.พรหมมาศ คูหากาญจน์ กรรมการ - ผศ.ดร.ธีรวัฒน์ ศรุตโยภาส กรรมการ - ดร.อรอุมา รุ่งน้ อย กรรมการ - ผศ.ดร.นุกลู ถวิลถึง กรรมการ - อาจารย์วนิดา ดวงก้ งแสน กรรมการ - นางนุจรี ย์ อินอุดม กรรมการ - ผศ.ดร.มณทินี ธีรารักษ์ กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ กาหนดแนวทางการดาเนินงานและกิจกรรมในการจัดประชุมวิชาการ แจ้ งกาหนดการ จัดวาระการประชุม และจัดรูปแบบการนาเสนอผลงานวิชาการ กาหนดแบบฟอร์ มการนาเสนอผลงานวิจยั บรรยายภาคโปสเตอร์ พิจารณาตอบรับผลงานทางวิชาการที่จะนาเสนอในงานประชุมวิชาการและติดต่อวิทยากรบรรยาย พิเศษ กาหนดรู ปแบบเอกสารบทคัดย่อ เรื่ องเต็มและจัดทาเอกสารเพื่อแจกให้ ผ้ เู ข้ าร่ วมประชุม และประสานงาน กับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 232

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

6) คณะกรรมการฝ่ ายประชาสัมพันธ์ - ผศ.ดร.ณัฐกร สงคราม ประธานคณะกรรมการ - รศ.หัตถ์ชยั กสิโอฬาร กรรมการ - นายอภิสทิ ธิ์ แสนหล้ า กรรมการ - นางสาววิไล ปั น้ ปิ ตานุสรณ์ กรรมการ - นายประพัฒน์ อธิปัญจพงษ์ กรรมการ - อาจารย์วนิดา ดวงก้ งแสน กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ เตรี ย มข้ อ มูล เพื่ อ จัด ท าเวปไซต์ ข องการประชุม แผ่ น พับ หรื อ โปสเตอร์ ป ระชาสัม พัน ธ์ จัด ท าแผนการ ประชาสัมพันธ์การประชุมวิชาการและประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 7) คณะกรรมการฝ่ ายอาคารสถานที่ สวัสดิการ ยานพาหนะ และทัศนศึกษา - รศ.หัตถ์ชยั กสิโอฬาร ประธานกรรมการ - นายวสันต์ แสงอินทร์ กรรมการ - นายอภิสทิ ธิ์ แสนหล้ า กรรมการ - นายธนสิน ทับทิมโต กรรมการ - นางสาวนิภาพร ยลสวัสดิ์ กรรมการ - อาจารย์วนิดา ดวงก้ งแสน กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ ดาเนินการอานวยความสะดวกเรื่ องสถานที่และที่พกั ของผู้เข้ าร่วมประชุม วิทยากร และแขกรับเชิญ อานวย ความสะดวกเรื่ องอาหาร เครื่ องดื่มระหว่างการประชุ มและงานเลี ้ยงรับรอง อานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ ู น าเสนอผลงานในการใช้ โ สตทัศ นูป กรณ์ ด าเนิ น การจัด ทัศ นศึ ก ษาและจัด เตรี ย มยานพาหนะ และ ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 8) คณะกรรมการฝ่ ายลงทะเบียนและประเมินผล - ผศ.ดร.มณทินี ธีรารักษ์ ประธานกรรมการ - ผศ.ดร.นิตยา ผกามาศ กรรมการ - ดร.พจนา สีขาว กรรมการ - นางณัฐธิดา เปรมเพ็ชร กรรมการ - นางสาวพัชรี ชูอาไพ กรรมการ - นายอภิสทิ ธิ์ แสนหล้ า กรรมการ - นายชิษณุพงศ์ ป้อมงาม กรรมการ - นายทศพล เปลี่ยนประเสริฐ กรรมการ - ดร.ภัทรารัตน์ เทียมเก่า กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ จัดเตรี ยมแบบฟอร์ มการลงทะเบียนเข้ าร่ วมประชุม กาหนดรู ปแบบอัตราค่าลงทะเบียน ช่วงเวลาของการ ลงทะเบียน และช่องทางการชาระเงินค่าลงทะเบียนอานวยความสะดวกในการลงทะเบียนหน้ างาน การแจก เอกสารวิชาการจัดทาแบบประเมินผลการจัดประชุมวิชา การประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่ เกี่ยวข้ อง 9) คณะกรรมการฝ่ ายการเงิน - อาจารย์บญ ุ ลือ กล้ าหาญ ประธานคณะกรรมการ 18-20 พฤศจิกายน 2558

233


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

หน้ าที่

ผศ.ดร.อามร อินทร์ สงั ข์ กรรมการ นางสาวพัชรี ชูอาไพ กรรมการ นางสาววทัญญา วิสาระโท กรรมการ นางสาวสุกญ ั ญา สมหมาย กรรมการ นางพัชรี เกิดชุ่ม กรรมการและเลขานุการ จัดเตรี ยมเอกสารใบเสร็ จค่าลงทะเบียนและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการเงินให้ แก่ผ้ เู ข้ าร่ วมประชุมวิชาการ สรุ ป รายรับ รายจ่ายในการจัดประชุมวิชาการ และประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง 10) คณะกรรมการจัดหาทุนและจัดนิทรรศการของผู้สนับสนุน - รศ.ดร.สมชาย กล้ าหาญ ประธานคณะกรรมการ - ผศ.ดร.อามร อินทร์ สงั ข์ กรรมการ - ผศ.ดร.กัญจนา แซ่เตียว กรรมการ - ผศ.ดร.ลาแพน ขวัญพูล กรรมการ - นางสาวพัชรี ชูอาไพ กรรมการ - นางณัฐธิดา เปรมเพ็ชร กรรมการและเลขานุการ หน้ าที่ จัดหาทุนสนับสนุนทัง้ จากภาครั ฐและภาคเอกชน เสนอแผนการจัดประชุมวิ ชาการเพื่อของบประมาณ สนับสนุนจากสถาบันฯ และกรมส่งเสริ มการเกษตร จัดเตรี ยมรู ปแบบและอานวยความสะดวกในการจัด นิทรรศการของผู้ให้ งบประมาณสนับสนุน และประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้ อง

234

18-20 พฤศจิกายน 2558


การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน”

สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั สานักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (องค์การมหาชน) บริษัท โซตัส อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด บริษัท ป.เคมีเทค จากัด บริษัท เวิลด์เทค เอ็นเตอร์ ไพรส์ จากัด บริษัท ฮอริบา (ประเทศไทย) จากัด บริษัท ไบเออร์ ไทย จากัด บริษัท วงแหวน แพลนนิ่ง จากัด บริษัท คอร์ เดีย จากัด Dr. Knoell Consult Co.Ltd. บริษัท ที เจ อินสทรูเม้ นท์ จากัด บริษัท จาปาเงินการโยธา ชัยนาท จากัด บริษัท ซีดเทค มาร์ เก็ตติ ้ง จากัด บริษัท ดี.ที.ซี. เอ็นเตอร์ ไพรส์ จากัด ร้ านกมล ถ่ายเอกสาร บริษัท ห้ องปฏิบตั ิการกลาง (ประเทศไทย) จากัด บริ ษัท ไอดีไอ (ประเทศไทย) จากัด คุณสมพงษ์ อินสว่าง บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) ร้ านลาดกระบังการเกษตร ร้ านเกรี ยง เทพสุธา บริษัท อินเตอร์ โซล เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ เทคโนโลยีจากัด บริษัท ไทยเฮิร์บ มาเก็ตติ ้ง จากัด บริษัท คนดี กรุ๊ป จากัด สมาคมศิษย์เก่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

18-20 พฤศจิกายน 2558

235







สมาคมศิษย์ เก่ า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง เลขที่ 1 อาคารสมาคมศิษย์เก่าสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง ถนนฉลองกรุงแขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 โทร.081-869-2071 หรื อ 089-811-5240 E-Mail: prsas168_k@yahoo.com / jaruneekmitl@yahoo.co.th





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.