Nhc14journal01

Page 1

วารสาร

เกษตรพระจอมเกล้า KING MONGKUT’S AGRICULTURAL JOURNAL พฤศจิกายน 2558 ปี ที 33 ฉบับพิเศษ 1

ISSN 0857-0108

November 2015 SPECIAL ISSUE NUMBER 1

¡ÒûÃЪØÁÇÔªÒ¡ÒÃ

¾×ªÊǹáË‹§ªÒμÔ

¤ÃÑ駷Õè 14

¾×ªÊǹä·Â äÃŒ¾ÃÁá´¹ 18-20 ¾ÄȨԡÒ¹ 2558 ³ Êǹ¹§¹Øª ¾Ñ·ÂÒ ¨Ñ´»ÃЪØÁâ´Â

ÀÒ¤ÇÔªÒà·¤â¹âÅÂÕ¡ÒüÅÔμ¾×ª

¤³Ðà·¤â¹âÅÂÕ¡ÒÃà¡Éμà ʶҺѹ෤â¹âÅÂÕ¾ÃШÍÁà¡ÅŒÒ਌Ҥس·ËÒÃÅÒ´¡Ãкѧ ËÇÁ¡Ñº ¡ÃÁÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒÃà¡Éμà ¡ÃзÃǧà¡ÉμÃáÅÐÊˡó





วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง รู้สกึ เป็ นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้ รับ ความไว้ วางใจให้ เป็ นเจ้ าภาพการจัดการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14 ในหัวข้ อ “พืชสวนไทย ไร้ พรมแดน” ร่วมกับ กรมส่งเสริ มการเกษตร ในระหว่างวันที่วนั ที่ 18-20 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงแรม นงนุช การ์ เด้ น รี สอร์ ท จังหวัดชลบุ รี ภายใต้ การสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ประกอบด้ วย สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) สานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจยั (สกว.) สานักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และสถาบันศึกษาทางด้ านการเกษตร ทัว่ ประเทศ คณะฯ ตะหนักดีว่าความก้ าวหน้ าของการศึกษาวิจัยด้ านพืชสวนมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อประเทศทังในด้ ้ าน เศรษฐกิจ สังคม โภชนาการและคุณภาพชีวิตของประชากร จึงพร้ อมที่จะให้ การสนับสนุนส่งเสริ มการดาเนิ นกิจกรรมใดๆที่ เกี่ยวข้ องในเรื่ องดังกล่าว การประชุมวิชาการครัง้ นี ้เป็ นกิจกรรมหนึ่งที่จะเป็ นเวทีให้ นกั วิจยั คณาจารย์ นิสิต นักศึกษาและผู้ที่ สนใจได้ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ และทราบความก้ าวหน้ าของการศึกษาวิจยั ทางด้ านพืชสวนของประเทศไทย ในนามของคณะกรรมการจัดการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14 คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง ขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้ องและผู้สนับสนุนทุกท่านที่ร่วมกันจัดงานนี ้จนเป็ น ผลสาเร็จ และหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าทุกท่านจะได้ รับประโยชน์จากการประชุมในครัง้ นี ้ตามวัตถุประสงค์ของการจัดงานทุกประการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มณฑล แก่นมณี คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

I


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

พืชสวนเป็ นกลุ่มพืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจและมีศกั ยภาพในการแข่งขันในตลาดต่างประเทศเป็ นอย่างมาก โดยในแต่ละปี มีมลู ค่าการผลิตและการส่งออกนับหมื่นล้ านบาท อย่างไรก็ตามการผลิตพืชสวนให้ มีปริ มาณและคุณภาพดีตรง ตามที่ผ้ บู ริโภคต้ องการนัน้ จาเป็ นต้ องมีปัจจัยต่างๆ เข้ ามาเกี่ยวข้ อง มากมาย ตังแต่ ้ พนั ธุ์ที่ใช้ ในการเพาะปลูก ระบบการผลิตที่ ดีและเหมาะสม การปลูกและการดูแลรักษา การป้องกันกาจัดโรคและแมลง การใช้ สารควบคุมการเจริ ญเติบโตเพื่อเพิ่มปริ มาณ ผลผลิตและคุณภาพ และการจัดการหลังเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม ดังนันงานวิ ้ จยั ทางด้ านพืชสวนจึงมีขอบข่ายครอบคลุมงานวิจยั ที่ สอดคล้ องกับปั จจัยต่างๆ ดังกล่าวข้ างต้ น นอกจากนี ้ พืชสวนไม่ได้ มีบทบาทเฉพาะให้ ประโยชน์เพียงเพื่อการบริ โภคเท่านัน้ แต่ ยังมีบทบาทสาคัญในการสร้ างสรรค์สิ่งจรรโลงใจให้ กบั สังคมมนุษย์ โดยเฉพาะเพื่อการตกแต่งที่อยู่อาศัย หรื อการสร้ างภูมิทศั น์ ชุมชนเมือง ในปี พ.ศ. 2558 ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณ ทหารลาดกระบัง ได้ รับเกียรติอีกครัง้ ในการเป็ นเจ้ าภาพจัดการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14 (The 14th National Horticultural Congress) ร่ วมกับกรมส่งเสริ มการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในระหว่างวันที่ 18-20 พฤศจิกายน 2558 ณ โรงแรมนงนุช การ์ เด้ น รี สอร์ ท จังหวัดชลบุรี ภายใต้ หวั ข้ อหลัก “พืชสวนไทย ไร้ พรมแดน” หลังจากที่เคยได้ รับเกียรติ เป็ นเจ้ าภาพในการจัดประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 5 มาแล้ วเมื่อปี พ.ศ. 2548 ณ จังหวัดชลบุรี เช่นกัน สาหรับ วัตถุประสงค์ของการประชุมครัง้ นี ้เพื่อที่จะเป็ นเวทีเผยแพร่ผลงานวิจยั ของนักวิจยั รุ่ นใหม่ และนักวิจยั อาวุโส ตลอดจนเป็ นเวที แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิจยั แหล่งทุน และผู้ใช้ ผลงานวิจยั ที่เกี่ยวกับกิจกรรมการวิจยั หรื อภารกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง อย่างไร้ ขอบเขต เพื่อให้ พืชสวนไทย เจริญรุดหน้ า อย่างเข้ มแข็งและยัง่ ยืนตลอดไป ขอขอบคุณสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร สานักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ (วช.) สานัก งานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และหน่วยงานอื่นๆ ทังภาครั ้ ฐและเอกชนที่ให้ การสนับสนุน อย่างดียิ่ง ทาให้ การจัดประชุมครัง้ นี ้ประสบความสาเร็จลุลว่ งด้ วยดี

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อามร อินทร์ สงั ข์ หัวหน้ าภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

II

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

หนังสือรวมบทคัดย่อประกอบการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14 เล่มนี ้ จัดทาขึ ้นเพื่อแสดงกาหนดการใน การจัดประชุมวิชาการฯ การเสวนาและบรรยายพิเศษจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ และรวมบทคัดย่องานวิจยั ที่นาเสนอในงาน ประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครัง้ ที่ 14 โดยมีภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าเจ้ าคุณ ทหารลาดกระบัง ร่ วมกับกรมส่งเสริ มการเกษตร ได้ รับเกียรติให้ เป็ นเจ้ าภาพจัดการประชุมฯ โดยได้ รับ การสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ ทังภาครั ้ ฐและเอกชน มีกาหนดจัดขึ ้นในระหว่างวันที่ 18-20 พฤศจิกายน 2558 ณ สวนนงนุช พัทยา จังหวัดชลบุรี โดยมีหวั ข้ อหลักและวาระพิเศษของการจัด งานประชุมวิชาการในครัง้ นี ้ คือ พืชสวนไทย ไร้ พรมแดน มี วัตถุประสงค์เพื่อให้ นกั วิจยั นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา บุคลากรทังจากภาครั ้ ฐและเอกชนได้ เผยแพร่ ผลงานวิจยั แลกเปลี่ยน ความรู้ และประสบการณ์ การทางานวิจยั ออกสู่สาธารณะ ซึ่งก่อให้ เกิดการสร้ างเครื อข่ายงานวิจยั รวมทังร่้ วมกันพัฒนาแล้ ว ทางการทางานวิจยั เพื่อพัฒนา และส่งเสริ มระบบการผลิตพืชสวนให้ มีปริ มาณและคุณภาพดีตรงตามที่ผ้ บู ริ โภคต้ องการ ซึง่ จะ ช่วยเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางการตลาดของผลิตผลทางพืชสวนไทยในตลาดโลก การจั ด ประชุ ม วิ ช าการฯ ในครั ง้ นี ้ ได้ รั บ ความสนใจและการตอบรั บ อย่ า งดี ยิ่ ง จากนั ก วิ จั ย บุ ค ลากรจาก สถาบัน อุด มศึ ก ษา รวมถึ ง หน่ ว ยงานภาคเอกชน ร่ ว มส่ ง ผลงานวิ จัย เข้ าร่ ว มน าเสนอซึ่ ง แบ่ ง การน าเสนอเป็ น 6 กลุ่ม ประกอบด้ วย ระบบการผลิต สรี รวิทยา ปรับปรุงพันธุ์ เทคโนโลยีชีวภาพ วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว และด้ านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง คณะกรรมการจัดงานประชุมฯ ในครัง้ นี ้หวังเป็ นอย่างยิ่งว่าบทคัดย่องานวิจยั ที่ตีพิมพ์ในหนังสือเล่มนี ้จะเป็ นประโยชน์ต่อวงการ วิชาการ รวมทังก่ ้ อให้ เกิดองค์ความรู้ และการขยายผลงานวิจยั ใหม่ๆ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประเทศที่ยงั่ ยืนต่อไป หากมี ข้ อผิดพลาดประการใดคณะกรรมการผู้จดั งานประชุมฯ ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี ้ ขอขอบคุณคณะกรรมการทุกท่านที่มีส่วนร่ วมในการจัดงานในครัง้ นี ้ ทาให้ การดาเนินงานจัดประชุมวิชาการพืชสวน แห่งชาติครัง้ ที่ 14 บรรลุวตั ถุประสงค์ และสาเร็จลุลว่ งไปได้ ด้วยดี จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี ้ด้ วย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลาแพน ขวัญพูล ประธานคณะกรรมการฝ่ ายดาเนินการ จัดประชุมวิชาการ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

III


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

หน้ า สารจากคณบดี.........................................................................................................................................

I

สารจากหัวหน้ าภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช...........................................................................................

II

คานา.......................................................................................................................................................

III

สารบัญ....................................................................................................................................................

IV

กาหนดการประชุม....................................................................................................................................

V

กาหนดการนาเสนอผลงานวิจยั ..................................................................................................................

VII

สารบัญบทความวิจยั ................................................................................................................................

XX

บทความวิจยั ทางด้ านเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ...........................................................

1

บทความวิจยั ทางด้ านปรับปรุงพันธุ์ (Breeding) ..........................................................................

121

บทความวิจยั ทางด้ านสรี รวิทยา (Physiology) .............................................................................

207

บทความวิจยั ทางด้ านวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest) ..................................................

377

บทความวิจยั ทางด้ านระบบการผลิต (Production system) ..........................................................

551

บทความวิจยั ด้ านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ อง (Other) ................................................................................

795

รายนามผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความฉบับเต็ม........................................................................................

947

โครงการจัดประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14..................................................................................

952

รายนามผู้สนับสนุนงบประมาณจัดประชุม..................................................................................................

958

IV

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 เวลา กาหนดการ 08.00-08.45 น. ลงทะเบียน 08.45-09.00 น. กล่าวต้ อนรับ

09.00-09.10 น. 09.10-09.30 น.

09.30-10.30 น.

10.30-10.45 น. 10.45-12.30 น.

12.30-13.45 น. 13.45-15.00 น.

กล่าวรายงาน กล่าวเปิ ดงาน พิธีมอบโล่รางวัลและ ประกาศนียบัตรแก่ผ้ ชู นะการ ประกวดผลิตผลทาง การเกษตร บรรยายพิเศษ เรื่ อง การพัฒนาพืชสวนไทยเพื่อ การท่ องเที่ยว เครื่ องดื่มและอาหารว่าง อภิปราย เรื่ อง ความร่ วมมือระหว่ างภาครั ฐ และภาคเอกชนเพื่อพัฒนา องค์ ความรู้ ส่ ูงานวิจัย

รับประทานอาหารกลางวัน บรรยายภาคนิทรรศการ (Oral Poster)

วิทยากร คณะกรรมการฝ่ ายลงทะเบียนและประมวลผล อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง และ อธิบดีกรมส่งเสริ มการเกษตร คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร

สถานที่ ห้ องนันทา ห้ องนันทา

นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง อธิบดีกรมส่งเสริ มการเกษตร คุณกัมพล ตันสัจจา ผู้อานวยการสวนนงนุชพัทยา

ห้ องนันทา

ห้ องนันทา

ห้ องนันทา

ห้ องนันทา คุณเปรม ณ สงขลา บรรณาธิการวารสารเคหการเกษตร รศ.ดร.โสระยา ร่ วมรั งษี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คุณณัฏฐะวุฒิ เครื อประดับ ผู้จดั การฝ่ ายจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ กต าซธรรมชาติ ดร.พิศิษฐ เกษี วิศวกรใหญ่วิจยั และพัฒนา เทคโนโลยี บริษัทเอสซีจี ผลิตภัณฑ์ ก่อสร้ าง จากัด รศ.ดร.อิทธิสุนทร นันทกิจ ข้ าราชการเกษี ยณอายุ สจล. ห้ องประชุมชัน้ 1 อาคารนันทา นักวิจยั ผู้ดาเนิน รายการ ผู้ร่วม อภิปราย

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

ห้ องนันทา

ริมบึง 1, 2, 3 V


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

15.00-15.15 น. 15.15-16.00 น. 16.00-18.00 น. 18.00-22.00 น.

เครื่ องดื่มและอาหารว่าง ชมผลงานภาคนิทรรศการ ชมงานประกวดผลิตผลทาง การเกษตร งานเลี ้ยงรับรอง

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2558 เวลา กาหนดการ 09.00-10.15 น. บรรยายพิเศษ เรื่ อง มาตรฐานสินค้ าเกษตรพืช สวน สาหรั บตลาด AEC 10.15-10.45 น. เครื่ องดื่มและอาหารว่าง 10.45-12.15 น. บรรยายภาคนิทรรศการ (Oral Poster) 12.15-13.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.30-15.00 น. บรรยายภาคนิทรรศการ (Oral Poster) 15.00-15.15 น. เครื่ องดื่มและอาหารว่าง 15.15-17.00 น. บรรยายภาคนิทรรศการ (Oral Poster) วันที่ 20 พฤศจิกายน 2558 08.30-09.00 น. ลงทะเบียน เข้ าร่วมการทัศนศึกษาภายใน สวนนงนุช 09.00-12.00 น. ดูงานแหล่งรวบรวมพันธุ์ไม้ ภายในสวนนงนุช 12.00-13.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.30-14.30 น. มอบรางวัลการประกวด ผลงานภาคนิทรรศการ 14.30-15.00 น. 15.00-15.15 น.

VI

สรุปผลการประชุม ส่งมอบ เจ้ าภาพ และพิธีปิดการประชุม เครื่ องดื่มและอาหารว่าง

นักวิจยั จัดโดยกรมส่งเสริมการเกษตร

หน้ าห้ อง สนามนันทา สนามนันทา

วิทยากร รศ.สมพร อิศวิลานนท์ นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ

สถานที่ ห้ องนันทา

นักวิจยั

ห้ องริมบิง 2 ริมบึง 1, 2, 3

นักวิจยั

ริมบึง 1, 2, 3

นักวิจยั

ริมบึง 1, 2, 3

คุณกาพล ตันสัจจา

อาคารนันทา

คุณกาพล ตันสัจจา และเจ้ าหน้ าที่สวนนงนุช

พื ้นที่โดยรอบ สวนนงนุช ห้ องนันทา ห้ องนันทา

นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย รองอธิการบดีฝ่ายวิจยั และนวัตกรรม สจล. คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย

ห้ องนันทา หน้ าห้ องนันทา

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

VII


ประธาน /รหัส Pr - 01

Pr - 02

Pr - 03

Pr - 04

Pr - 05

13.45 – 13.50

13.50 – 13.55

13.55 – 14.00

14.00 – 14.05

14.05 – 14.10

เวลา

18 พย .58

Bi - 03

Bi - 02

ประธาน /รหัส Bi - 01

ผลของการเด็ดยอดต่ อการเจริญเติบโตและ Bi - 04 การออกดอกพิทเู นีย สุมิตรา สุปินราช อิศร์ สุปินราช และอังคณพร วังคา ศึกษาวิธีการปั กชาของพิทเู นียในสภาพ Bi - 05 เหมาะสม สุมิตรา สุปินราช อิศร์ สุปินราช และศิโรจน์ ทิมภู่

อิทธิพลของสีม้ ุงตาข่ ายต่ อการเจริญเติบโต และคุณภาพผลเมล่ อน ปวีณา รุ่งรักษาธรรม และลาแพน ขวัญพูล

ผลของการงดนา้ ในช่ วงก่ อนการเก็บเกี่ยว ต่ อคุณภาพในผลเมล่ อน นรกมล ขาวารี และลาแพน ขวัญพูล

ผลของการใช้ ป๋ ยน ุ า้ ชีวภาพจากมูลสัตว์ ต่อ การเจริญเติบโตของผักสลัดที่ปลูกในระบบ ไฮโดรพอนิกส์ ชัยอาทิตย์ อิ่นคา และโสระยา ร่วมรังษี

ห้ องริมบึง 1 ระบบการผลิต (Production system) ดร.เบญญา มะโนชัย ประธาน /รหัส Po - 01

การขยายพันธุ์หน้ าวัวลูกผสมด้ วยระบบ เพาะเลีย้ งจมชั่วคราว ประภาพร ฉันทานุมตั ิ อรทัย ธนัญชัย ยุพิน กสินเกษมพงษ์ และสุเมธ อ่องเภา

Po - 05

ศึกษาผลของปริมาณอาหารเหลว และสภาพ Po - 02 เลีย้ งที่มีต่อการแตกยอดว่ านแสงอาทิตย์ ใน สภาพปลอดเชือ้ อิศร์ สุปินราช สุมิตรา สุปินราช และณัฐยา เทพสาร การประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรม Po - 03 ของแอปเปิ ้ ลที่ได้ จากการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อ ด้ วยเทคนิค SRAP ปั ทมา ศรี น ้าเงิน และ Titnarong Heng การผลิตต้ นดับเบิลแฮพพลอยด์ ของมะเขือ Po - 04 (Solanum melongena L.) โดยวิธีการ เพาะเลีย้ งละอองเกสร จรรยา เหล่ปอ้ ง ยืนหยัด ธีระวัฒน์สกุล และ ดารุส สตุส

อิทธิพลของ BA และ NAA ต่ อการเพิ่ม จานวนยอดรวมของฟั กข้ าว ไซนียตะ สะ มาลา พลวัต ภัทรกุลพิสทุ ธิ สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้ อน

ห้ องริมบึง 2 เทคโนโลยีชีวภาพ )Biotechnology) ผศ.ดร.อภิชาติ ชิดบุรี

การวิเคราะห์ คุณค่ าทางอาหารและคุณภาพ ทางประสาทสัมผัสของเมล็ดทานตะวันและถั่ว เหลืองงอกหลังผ่ านการลวก หทัยรัตน์ ยิ ้วเหี ้ยง และปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ

เครื่องดื่มสามผสานเพื่อสุขภาพจากเม่ า หม่ อน และมะขามป้ อม ศุกฤชชญา เหมะธุลิน

ความสามารถในการต้ านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ การต้ านออกซิเดชันของผลเม่ าหลวง ศุกฤชชญา เหมะธุลิน

การตรวจสอบลักษณะเชิงคุณภาพ และความ แปรปรวนของยีนกากับเอนไซม์ ACC oxidase ในมะละกอพันธุ์การค้ าชนิดลูกผสมเปิ ด 3 สายพันธุ์ โสรยา ปั ญจะธา พิมพิไล แสงมณี ศันสนีย์ นา เจริ ญ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และปาริ ชาติ เบิร์นส ดัชนีเสื่อมสภาพและการใช้ ถุงพอลิเอทิลีน เจาะรู เพื่อยืดอายุวางจาหน่ ายของผักเหลียง พร้ อมปรุ ง กนกพร บุญญะอติชาติ

ห้ องริมบึง 3 วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest) ผศ.ดร.วชิรญา อิ่มสบาย


Pr - 06

Pr - 07

Pr - 08

Pr - 09

Pr - 10

14.10 – 14.15

14.15 – 14.20

14.20 – 14.25

14.25 – 14.30

14.30 – 14.35

การใช้ แหนแดงเป็ นวัสดุดนิ ผสมเร่ งการ เติบโตของต้ นอ่ อนกล้ วยนา้ ว้ าปากช่ อง 50 จากการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อ ศิริลกั ษณ์ แก้ วสุรลิขิต ประไพ ทองระอา กัลยาณี สุวิทวัส กานดา ฉัตรไชยศิริ นิศารัตน์ ทวีนตุ ภาสันต์ ศารทูลทัต และพิมพ์นิภา เพ็งช่าง

ศึกษาปริมาณลิกนิน แคลเซียมและโบรอน ระหว่ างการพัฒนาผลมะพร้ าวอ่ อนนา้ หอม กัญญาณัฐ นิคนธา กฤษณา กฤษณพุกต์ และวชิรญา อิ่มสบาย

ประเมินความต้ องการธาตุอาหารของมัน ฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกและพันธุ์สปุนต้ า ทิวาพร ผดุง ภาณุมาศ โคตรพงศ์ ปั ญจพร เลิศ รัตน์ ศุภกาญจน์ หล่ายแปด และการิ ตา จงเจือกลาง

ศึกษาวิธีการปั กชาของบัวตองในสภาพที่ เหมาะสม สุมิตรา สุปินราช อิศร์ สุปินราช และนงนุช ปู่ หล้ า ผลของความถี่ในการให้ นา้ ต่ อการแตกของ ผลมะพร้ าวนา้ หอม พงษ์ นาถ นาถวรานันต์

Bi - 10

Bi - 09

Bi - 08

Bi - 07

Bi - 06

การศึกษาโครงสร้ างของดอกและลักษณะทาง สัณฐานวิทยาของละอองเรณู ของกล้ วยพันธุ์ ป่ าและพันธุ์ลูกผสม รสมนต์ จีนแส และ ราตรี บุญเรื องรอด

ผลของความเข้ มข้ น IAA จากนา้ หมักร่ วมกับ สภาพเลีย้ งที่แตกต่ างกันต่ อการเจริญและ พัฒนาเชียงดาในสภาพปลอดเชือ้ อภิชาติ ชิดบุรี พิทกั ษ์ พุทวรชัย และศิริพรรณ สริ นทร์

การชักนาให้ เกิดยอดและแคลลัสของลิลลี่ใน สภาพปลอดเชือ้ พิศวรรณ เพ็ชร์ ยิ่ง งามนิจ ชื่นบุญงาม ปวีณา ไตรเพิ่ม และกัญจนา แซ่เตียว ผลของความเข้ มข้ น IAA จากนา้ หมัก Methylobacterium radiotolerans กลุ่มแยก ED5-9 ต่ อการเพาะเลีย้ งแคลลัสเชียงดา เพียงพิมพ์ ชิดบุรี ศิริพรรณ สาริ นทร์ และอภิชาติ ชิดบุรี ผลของ NAA ต่ อการผลิตรากและการสะสม สารอัลคาลอยด์ ของหนอนตายหยากใน สภาพปลอดเชือ้ นาตยา มนตรี สุกญ ั ญา แสนภักดี และอัญจนา จันทร์ ปะทิว

Po - 10

Po - 09

Po - 08

Po - 07

Po - 06

ผลของระยะสุกแก่ ของผลสับปะรด รู ปแบบ การตัดแต่ ง และอุณหภูมใิ นการเก็บรั กษาที่มี ต่ อคุณภาพสับปะรดนางแลตัดแต่ งพร้ อม บริโภค นิอร โฉมศรี สุพจนี อินทรโมฬี และอัมฤทธิ์ สีกล่อม การศึกษาแบคทีเรียที่สามารถผลิตเอนไซม์ ย่ อยสลายเซลลูโลสในระหว่ างการบ่ มฝั กวา นิลลา ธิติมา วงษ์ ชีรี ผ่องเพ็ญ จิตอารี ย์รัตน์ เฉลิมชัย วงษ์ อารี กัลย์ธีรา สุนทราภิรักษ์ กลุ และพจนา แก้ วแจ่ม การหาปริมาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บกิ ในไวน์ เม่ า ด้ วยเครื่องโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง จารุวรรณ ดรเถื่อน

ผลของการให้ ความร้ อนในรู ปแบบต่ างๆ ต่ อ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลแคนตาลูป กัญญารัตน์ เหลืองประเสริ ฐ

คุณสมบัตแิ ละความต้ านทานปลวกของไม้ การบูร มานพ ธรสินธุ์ และ วิกนั ดา รัตนพันธ์


Pr - 11

Pr - 12

Pr - 13

Pr - 14

Pr - 15

14.35 – 14.40

14.40 – 14.45

14.45 – 14.50

14.50 – 14.55

14.55 - 15:00

ผลของนา้ ส้ มควันไม้ และสารสกัดแมงลักคา Bi - 15 ที่มีต่อการเจริญเติบโตและการงอกของ เมล็ดแตงกวาลูกผสม อัญชลี สวาสดิ์ธรรม ปรี ยานุช เพ็งอุดม และวิจิตรา รุ่งศรี

Bi - 14

Bi - 13

การให้ ผลผลิตและความงอกของข้ าวเย็นใต้ นิชาภา บุญบริ วารกุล ภาณุมาศ ฤทธิไชย และ เยาวพา จิระเกียรติกลุ

การจัดทรงพุ่มต้ นทุเรี ยนรู ปแบบต่ างๆ ใน ระยะปลูกชิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลิตทุเรียนคุณภาพ ศิริพร วรกุลดารงชัย อรวิมทินี ชูศรี ชมพู จันที และอุษา สิทธิฤทธิ์

Bi - 12

Bi - 11

การเพิ่มผลผลิตเห็ดนางรม โดยใช้ อุณหภูมิ ต่าและสารกระตุ้นการเจริญ วิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก และชัยพร จันคง

ผลกระทบของการปลูกหอมและกระเทียม ผสมผสานมะนาวในวงบ่ อซีเมนต์ สันติ ช่างเจรจา และธีรพล ดอนมูล

Po - 12

Po - 11

การส่ งถ่ ายยีน DFR (dihydroflavonol 4reductase) เข้ าสู่ปทุมมากระถางด้ วยเชือ้ แบคทีเรีย Agrobacterium tumefaciens รัฐพร จันทร์ เดช และวารุต อยู่คง

Po - 15

การเพิ่มชุดโครโมโซมของดาวเรืองอเมริกัน Po - 13 และดาวเรืองฝรั่งเศสโดยใช้ สารละลายโคลชิซนิ มรกต บูรณสุบรรณ รสมนต์ จีนแส รุ่งฟ้า จีนแส นงลักษณ์ คงศิริ และราตรี บุญเรื องรอด ผลของระยะเวลาเพาะเลีย้ งในสภาพปลอด Po - 14 เชือ้ ต่ อปริมาณสารทุตยิ ภูมิ ของยอดหัวข้ าว เย็น (Dioscorea birmanica Prain & Burkill) รัชนีวรรณ จิระพงศ์พฒ ั นา เยาวพา จิระเกียรติกลุ ภาณุมาศ ฤทธิไชย ศรี โสภา เรื องหนู และอรุณพร อิฐรัตน์

การพัฒนาวิธีการระบุเพศมะละกอในระยะ ต้ นกล้ าต้ นทุนต่า ภัทราภรณ์ ทรัพย์อดุ มมาก นงลักษณ์ คงศิริ อลิษา ภู่ประเสริ ฐ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และราตรี บุญเรื องรอด การศึกษาการกระจายตัวของละอองเกสร มะละกอจากดอกชนิด elongata ภายใต้ สภาวะธรรมชาติ ภานุวรรณ บัวทองจันทร์ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และปาริ ชาติ เบิร์นส

ผลของการลดอุณหภูมอิ ย่ างรวดเร็วต่ อ คุณภาพและอายุการเก็บรักษามะม่ วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ สมชาย กล้ าหาญ และรอสมี ยะสะแต

ผลของสารละลายพัลซิ่งและความยาวก้ าน ดอกต่ ออายุการปั กแจกันดอกบัวหลวงพันธุ์ สัตตบุตย์ ธนิตชยา พุทธมี แสงระวี พ่วงสมบัติ วนิตา ตุ้มมล และณัฐพล จันทร์ บาง

ผลของสาร 1-methylcyclopropene ต่ ออายุ การเก็บรักษาผักหวานป่ า (Melientha suavis) จิตตา สาตร์ เพ็ชร์ มยุรา ล้ านไชย เกศินี เสาวคนธ์ สายันต์ ตันพานิช โสรยา ใบเตต ะ อรอุมา พรมน้ อย และลาแพน ขวัญพูล การเปลี่ยนแปลงปริมาณกลูโคซิโนเลตใน ผักกาดฮ่ องเต้ อนิ ทรีย์ท่ ผี ่ านและไม่ ผ่านการลด อุณหภูมดิ ้ วยระบบสุญญากาศก่ อนการเก็บ รักษา เพชรดา อยู่สขุ ดนัย บุณยเกียรติ ศิวาพร ธรรมดี และพิชญา บุญประสม พูลลาภ ผลของภาชนะบรรจุต่ออายุการเก็บรักษาขิงสด สมชาย กล้ าหาญ อรทัย พูดงาม และเมธินี พร้ อมพวก


ประธาน Pr - 16

Pr - 17

Pr - 18

Pr - 19

Pr - 20

เวลา 10.50 – 10.55

10.55 – 11.00

11.00 – 11.05

11.05 – 11.10

11.10 – 11.15

19 พย .58

Bi - 19

Bi - 18

Bi - 17

ประธาน Bi - 16

ผลของจานวนข้ อและความเข้ มข้ นของ IBA Bi - 20 ต่ อการปั กชาผักเชียงดา ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ พิทกั ษ์ พุทธวรชัย นภา ขันสุภา และติยะดา ฝนบริ บรู ณ์

ห้ องริมบึง 1 ระบบการผลิต (Production system) ผศ.ดร.ลดาวัลย์ เลิศเลอวงค์ การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในดินบริเวณ ทรงพุ่มของ ต้ นกีวีฟรุ ตปลูกที่สถานีเกษตร หลวงอ่ างขาง จังหวัดเชียงใหม่ จุฑามาศ ทองอิ่ม วัชระ จินตโกวิท ศุภชัย อาคา และอุษณีษ์ พิชกรรม ผลของปุ๋ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดต่ อ อัตราการเติบโต ผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ปริมาณธาตุอาหารในใบและในดิน และ ฤทธิ์การต้ านอนุมูลอิสระในผักเชียงดา ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ และทิพย์วรรณ ทูเดอะ ผลของปุ๋ยมูลไก่ ต่ออัตราการเติบโต ผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ปริมาณธาตุอาหาร ในใบและในดินและฤทธิ์การต้ านอนุมูล อิสระในผักเชียงดา ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ และมยุรี โมงปั นแก้ ว ผลของการขาดนา้ ต่ อการเติบโตของตาย อด ส่ วนที่บริโภคได้ และกิจกรรมต้ าน อนุมูลอิสระในผักเชียงดา ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ และชิติ ศรี ตนทิพย์ Po - 17

ประธาน Po - 16

การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ ปริมาณสารต้ าน อนุมูลอิสระ และปฏิกริ ิยาต้ านอนุมูลอิสระ ของผลเม่ าหลวง 10 สายต้ น สุดารัตน์ สกุลคู และเมวิกา ไชยฤทธิ์

การหาความสัมพันธ์ กล้ วยไม้ ท้องถิ่น )สกุล แวนด้ า( โดยใช้ เทคนิค Randomly Amplified Polymorphic DNA (RAPD) ราตรี พระนคร

Po - 20

Po - 19

การคัดเลือกแคลลัสแอปเปิ ้ ลทนแล้ งในหลอด Po - 18 ทดลองและการทดสอบความแปรปรวนด้ วย เครื่องหมาย SRAP Titnarong Heng และปั ทมา ศรี น ้าเงิน

การชักนาให้ เกิดแคลลัสจากการเพาะเลีย้ ง ชิน้ ส่ วนลาต้ นในสภาพปลอดเชือ้ ของ ข้ าวเย็นเหนือ (Smilax corbularia Kunth.) ปพิชญา ขวานทอง เยาวพา จิระเกียรติกลุ และภาณุมาศ ฤทธิไชย

ห้ องริมบึง 2 เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ดร.สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ ง การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอเพื่อใช้ ในการ จาแนกเพศอินทผลัมไทย (แม่ โจ้ 36) นพรัตน์ อินถา กวี สุจิปลุ ิ ปิ ยรัษฎ์ ปริ ญญาพงษ์ เจริ ญทรัพย์ และพีระศักดิ์ ฉายประสาท

ผลของการเติมสารอาหารที่ต่างกันต่ อการเกิด สารอะเซทัลดีไฮด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และสาร ที่ให้ กลิ่นที่ดีในไวน์ ขาวที่สร้ างโดยยีสต์ Saccharomyces สองสายพันธุ์ ภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ และ Doris Rauhut เปรียบเทียบคุณภาพทางเคมีกายภาพ และ คุณสมบัตกิ ารต้ านอนุมูลอิสระของฟั กทองพันธุ์ พืน้ เมือง พันธุ์โอโตะ และพันธุ์ทางการค้ า ภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ และจานุลกั ษณ์ ขนบดี

ผลของก๊ าซคลอรีนไดออกไซด์ ต่อกิจกรรมของ เอนไซม์ ไคติเนสและกลูคาเนสของผลลาไย หลัง เก็บเกี่ยวที่ปลูกเชือ้ Cladosporium sp. นิติยา กันธิยะ บุญสม บุษบรรณ์ จานงค์ อุทยั บุตร และกอบเกียรติ แสงนิล

ความสัมพันธ์ ระหว่ างลักษณะทางกายภาพ และเคมีของกะลากับการแตกในมะพร้ าว นา้ หอมเจีย ธนาโชค ตติเจริ ญ อนรรฆ พรรคเจริ ญ และจริ งแท้ ศิริพานิช

ห้ องริมบึง 3 วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest) ผศ.ดร.เฉลิมชัย วงษ์ อารีย์ ผลของระยะเวลาในการแช่ นา้ ปูนใสต่ อการ เปลี่ยนแปลงคุณภาพของมะละกอ ‘พันธุ์ ฮอลแลนด์ ’ สมชาย กล้ าหาญ และรอสมี ยะสะแต


Pr - 21

Pr - 22

Pr - 23

Pr - 24

Pr - 25

Pr - 26

11.15 – 11.20

11.20 – 11.25

11.25 – 11.30

11.30 - 11:35

11.35 – 11.40

11.40-– 11.45

ประสิทธิภาพของปุ๋ยอินทรีย์ต่อการ เจริญเติบโตของต้ นสตรอเบอรี่พนั ธุ์ พระราชทาน 80 สุมิตร คุณเจตน์ นิสาชล เทศศรี และศุภาวณี รวดชัยภูมิ

ผลของสารเคมีต่อการยับยัง้ การแตกใบ อ่ อนของลาไย ชิติ ศรี ตนทิพย์ สันติ ช่างเจรจา ยุทธนา เขาสุเมรุ และรัตนชัย พรมเทพอานวย ผลของนา้ หมักชีวภาพต่ อการเจริญเติบโต และคุณภาพของผักสลัดพันธุ์บัตเตอร์ เฮด และเรดคอเรล เยาวรัตน์ วงศ์ศรี สกุลแก้ ว สรศักดิ์ ทวีสิน สุชาทัศน์ คงเจริ ญ และคณพศ ศรี รุวฒ ั น์ การใช้ ประโยชน์ ของปุ๋ยแคลเซียมซิลิเกต ต่ อการผลิตกล้ ามะเขือเทศ กมลวรรณ คงสุดรู้ ศุภชัย อาคา ธงชัย มาลา และพรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง ผลของการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับวิธีการ ให้ ป๋ ยด้ ุ วยแคลเซียมซิลิเกตต่ อการผลิตกล้ า ผักกาดหัว รังสินี ประเสริ ฐวัฒนะ ศุภชัย อาคา ธงชัย มาลา และพรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง

ผลของวัสดุปลูกต่ อการเจริญเติบโตของ พริกหนุ่ม ชิติ ศรี ตนทิพย์ สันติ ช่างเจรจา ยุทธนา เขาสุเมรุ และสัญชัย พันธโชติ

Bi - 26

Bi - 25

Bi - 24

Bi-23

Bi - 22

Bi - 21

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม ของพันธุ์มะพร้ าวโดยโมเลกุลเครื่องหมาย เอสเอสอาร์ อลิษา ภู่ประเสริ ฐ นงลักษณ์ คงศิริ และราตรี บุญเรื องรอด

การเสริมนา้ สับปะรดเพื่อเป็ นสับสเตรทร่ วม ในการหมักนา้ ส้ มสายชูแอปริคอต นิอร โฉมศรี ณัฐวุฒิ คาปต อก และสุพจนี อินทรโมฬี การศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่ างปริมาณเบต้ า แคโรทีนกับส่ วนประกอบจีโนมของกล้ วย อลิษา ภู่ประเสริ ฐ วารี รัตน์ ศรี ฉ่า วชิรญา อิ่มสบาย กัลยาณี สุวิทวัส และราตรี บุญเรื องรอด

ผลของ BA PBZ TDZ และ CPPU ต่ อการชัก นาการออกดอกของกล้ วยไม้ หวายแคระใน สภาพปลอดเชือ้ ศุภธิดา อับดุลลากาซิม ศุภกาญจน์ หล่ายแปด และเสริ มศิริ จันทร์ เปรม การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม ของดาวเรือง สุวรรณี ปาลี ปรี ชาวุฒิ พลัดทองศรี จิรานันท์ ไชยวรรณ์ ภมรพรรณ มงคลแช่มช้ อย และพรพันธ์ ภู่พร้ อมพันธุ์ ผลของสูตรอาหารเพาะเลีย้ งต่ อการงอกของ เมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงในสภาพปลอดเชือ้ จารุวรรณ อภัย และเยาวพรรณ สนธิกลุ

Ph - 01

Po - 25

Po - 24

Po - 23

Po - 22

Po - 21

การพัฒนาและใช้ ประโยชน์ ผลิตภัณฑ์ เทียน อบขนมกลิ่นดอกจาปี ในขนมไทย พงศ์ยทุ ธ นวลบุญเรื อง ธัญญลักษณ์ บัวผัน และรุ่งนภา ช่างเจรจา อิทธิพลของไคโตซานและฟิ ล์ มเคลือบผิวต่ อ คุณภาพส้ มโอพันธุ์ทองดีในระหว่ างการเก็บ รักษา ราไพ นามพิลา นันท์นลิน บัวจันทร์ สมยศ มีทา สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และสังคม เตชะวงค์เสถียร การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารคล้ ายจิบเบอ เรลลินในช่ วงแตกใบอ่ อนของต้ นลองกอง ปฐม คงแก้ ว และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์

บรรจุภณ ั ฑ์ และสารเคมีท่ เี หมาะสมต่ อการ เก็บรักษาเงาะสด ฐปกร ลิขิตนภาเวทย์ พรกรัณย์ ธนไพโรจน์ กาญจน แซ่จงั และวรภัทร ลัคนทินวงศ์

อายุการเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วในบรรจุภณ ั ฑ์ สุญญากาศร่ วมกับวัตถุดูดซับออกซิเจน ณชยุติ จันท์โชติกลุ ณัฐจรี ย์ จิรัคคกุล นิภาพร เส็งคาปาน ศักริ นทร์ นนทพจน์ และบังอร เหมัง ผลของสภาวะการเก็บรักษาต่ อคุณภาพการ สุกของกล้ วยไข่ เพื่อการส่ งออก สมคิด ใจตรง


Pr - 27

Pr - 28

Pr - 29

Pr - 30

11.45 – 11.50

11.50 – 11.55

11.55 – 12.00

12.00 - 12.05

Bi - 27

ผลของ BA ที่ระดับความเข้ มข้ นต่ างๆ ต่ อ การเจริญของตาที่ก้านช่ อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนนอปซิส สุเมธ ตรี ศกั ดิ์ศรี และดวงตา จวนเจริ ญ

อิทธิพลของการผสมข้ ามที่มีผลต่ อการติดผล Bi - 28 ของส้ มโอทองดี ประวิทย์ ธรรมทะ สมยศ มีทา ราไพ นามพิลา สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา สุชีลา เตชะวงค์ เสถียร และสังคม เตชะวงค์เสถียร การศึกษาผลของวัสดุรองรับต่ อการ Bi - 29 เปลี่ยนแปลงจานวนประชากร T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหาร หมุนเวียน คเณศ ใจเก่งกาจ ชิติพนั ธ์ ทองเจริ ญสุขชัย และพรหมมาศ คูหากาญจน์

อิทธิพลของการพรางแสงต่ อการเจริญเติบโต และผลผลิตของบัวบก (Centella asiatica (L.) Urb.) ในช่ วงปลายฤดูหนาว บุษบา บัวคา และรักเกียรติ แสนประเสริ ฐ

Ph - 05

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม Ph - 02 และโครงสร้ างประชากรของ Paphiopedilum spp โดยใช้ เครื่องหมาย EST-SSR อรอุมา รุ่งน้ อย ประกิจ สมท่า ชุตินธร หยุนแดง สิทธิโชค ตังภั ้ สสรเรื อง ทศพร ธนามี ธีรพันธ์ โตธิรกุล และพีระศักดิ์ ศรี นิเวศน์ การประเมินลักษณะความหลากหลายทาง Ph - 03 พันธุกรรมของเมล่ อนโดยเทคนิคเครื่องหมาย ดีเอ็นเอสนิปส์ วิภาดา เจริ ญชาติ เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี แสงทอง พงษ์ เจริ ญกิต และอรพินธุ์ สฤษดิ์นา การประเมินฟั กทองพันธุ์พนื ้ เมืองในสภาพฤดู Ph - 04 ร้ อนในเขตอาเภอกาแพงแสน นพวรรณ หนองใหญ่ ปณาลี ภู่วรกุลชัย ปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ และอัญมณี อาวุชานนท์ ผลการพรางแสงด้ วยตาข่ ายต่ อการ เปลี่ยนแปลงสีใบ และการตอบสนองทาง สรีรวิทยา บางประการของสับปะรดสีสกุล Neoregelia sp. ภาณุพล หงษ์ ภกั ดี และกฤษฎา ภักดีลนุ ผลของการฟอกฆ่ าเชือ้ และสารควบคุมการ เจริญเติบโต NAA และ BA ที่มีผลต่ อการชัก นาให้ เกิดแคลลัสของสตรอเบอรี่พนั ธุ์ พระราชทาน 80 ในสภาพปลอดเชือ้ มงคล ศิริจนั ทร์ พุทธพงษ์ สร้ อยเพชรเกษม กวี สุจิปลุ ิ ณรงค์ชยั พิพฒ ั น์ธนวงศ์ และพีระศักดิ์ ฉายประสาท ผลของสารสกัดจากไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra L.) ต่ อการเติบโตของต้ นกล้ าและการมี ชีวิตของเซลล์ (cell viability) ในต้ อยติ่ง (Ruellia tuberosa Linn.) อินทิรา ขูดแก้ ว

ผลกระทบของปริมาณนา้ ฝนต่ อการออกดอก ของลองกองที่ชักนาด้ วยการราดสารพาโคล บิวทราโซลและการรัดลาต้ น พิมาภรณ์ แก้ วสวัสดิ์ และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์


ประธาน /รหัส Pr -31

Pr -32

Pr -33

Pr -34

Pr -35

13.35 – 13.40

13.40 – 13.45

13.45 – 13.50

13.50 – 13.55

13.55 – 14.00

เวลา

19 พย .58

Br - 03

Br - 02

ประธาน /รหัส Br - 01

อิทธิพลของปุ๋ยฟอสฟอรัสต่ อคุณภาพและ ผลผลิตของหน่ อไม้ ฝรั่ง สุกญ ั ญา แย้ มประชา นุจรี บุญแปลง และนารี พันธุ์จินดาวรรณ

Br - 05

การเจริญเติบโตของปลีกล้ วยไข่ และผลของ Br - 04 สารเคมีป้องกันกาจัดแมลงต่ อการควบคุม เพลีย้ ไฟในกล้ วยไข่ ยศพล ผลาผล และเจตนา ทองแย้ ม

ผลของการห่ อผลต่ อคุณภาพผลผลิตส้ มโอ พันธุ์ทองดีและมณีอีสาน สมยศ มีทา สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และสังคม เตชะวงค์เสถียร

การให้ ป๋ ยพร้ ุ อมระบบนา้ ร่ วมกับการฉีดพ่ น ทางใบด้ วยนา้ หมักชีวภาพผสมสปอร์ สด แขวนลอยไตรโครเดอร์ มาในการเพิ่ม ผลผลิตและควบคุมโรคพริกขีห้ นู มนตรี อิสรไกรศีล วาริ น อินทนา และอรรถกร พรหมวี

การทดสอบความสามารถในการเป็ น ปฏิปักษ์ ของรา Trichoderma จากวัสดุ รองรับ ต่ อเชือ้ Pythium sp. ทักษพร ช้ างม่วง ปาณิศา ประสม และพรหมมาศ คูหากาญจน์

ห้ องริมบึง 1 ระบบการผลิต (Production system) ดร.ทินน์ พรหมโชติ

การทดสอบความต้ านทานของมะเขือเทศ ผสมกลับรุ่ นที่ 6 ชั่วรุ่ นที่ 2 (BC6F2) ต่ อเชือ้ ไวรัสใบหงิกเหลืองมะเขือเทศสายพันธุ์ นครปฐม เชียงใหม่ และหนองคาย อิสระยศ สินบุญยะมะ อุไรวรรณ พงษ์ พยัคเลิศ นริ ศา เจือจุล อรอุบล ชมเดช และจุลภาค คุ้นวงศ์ การศึกษาความหลากหลายอัลลีลของยีน Lin5 ที่เกี่ยวข้ องกับ Soluble Solid Content จุฬาลักษณ์ น้ อยแสง เกียรติสดุ า เหลืองวิไล และจุลภาค คุ้นวงศ์ การศึกษาตาแหน่ งยีนต้ านทานเชือ้ ไวรัส ChiVMV ในประชากรพริกดับเบิลแฮพลอยด์ จุลภาค คุ้นวงศ์ จิตรภานุ แย้ มจะบก กมลสิริ เพชรบูรณ์ ณัฏยา ศรี สวัสดิ์ สุจินต์ ภัทรภูวดล และสิริกลุ วะสี

ผลของความสูงจากระดับนา้ ทะเลต่ อการ เจริญเติบโต ผลผลิต และสารเผ็ดของพริก เผ็ด (Capsicum chinense) ภายใต้ สภาพ โรงเรือน นคริ นทร์ จี ้อาทิตย์ สุชีลา เตชะวงค์เสถียร พลัง สุริหาร และสังคม เตชะวงค์เสถียร การตรวจสอบความมีชีวิตของละอองเกสร เพศผู้ในผักกาดขาวปลี ศรสวรรค์ ศรี มา และจุฑามาส คุ้มชัย

ห้ องริมบึง 2 ปรับปรุ งพันธุ์ (Breeding) รศ.ดร.จุลภาค คุ้นวงศ์

Ph - 10

Ph - 09

Ph - 08

Ph - 07

ประธาน /รหัส Ph - 06

อุณหภูมทิ ่ เี หมาะสมในการเก็บรั กษาเมล็ด หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงพันธุ์ Nepenthes mirabilis เอรี ยา เทพริ นทร์ สมพงษ์ สุขขาวงษ์ สุรัตน์วดี ชู โชติ สรายุทธ อ่อนสนิท และสุรพล ฐิ ติธนากุล

ผลของอุณหภูมแิ ละระยะเวลาการเก็บรั กษาหัว พันธุ์ต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกของ กล้ วยไม้ ดนิ นางกราย (Habenaria lindleyana Steud.) นิพนธ์ กิติดี โสระยา ร่วมรังษี และณัฐา โพธาภรณ์ การควบคุมแรงดันออสโมติกในต้ นมันเทศที่ ปลูกภายใต้ สภาวะการขาดนา้ จาก PEG ด้ วย การสะสมนา้ ตาล การเปลี่ยนแปลงด้ าน สรีรวิทยา และการเจริญเติบโต สุณิสา เจตน์ตะพุก สุริยนั ตร์ ฉะอุ่ม ฐาปนีย์ สามพุ่มพวง คัทริ นทร์ ธีระวิทย์ และสุรวุฒน์ อยู่ยงเวชช์ การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อตาจากก้ านช่ อดอก กล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส กาญจนา รุ่งรัชกานนท์ และรัชนีกร ดีดวงพันธ์

ผลของระยะการเก็บรั กษาหัวพันธุ์ท่ อี ุณหภูมิ ต่าต่ อการชะลอการออกดอกของว่ านอึ่งและ ว่ านหัวครู พงษ์ นที ปิ นตาแจ่ม และณัฐา โพธาภรณ์

ห้ องริมบึง 3 สรีรวิทยา (Physiology) รศ.ดร.พงษ์ นาถ นาถวรานันต์


Pr -36

Pr -37

Pr -38

Pr -39

Pr -40

Pr -41

14.00 – 14.05

14.05 – 14.10

14.10 – 14.15

14.15 – 14.20

14.20 – 14.25

14.25 – 14.30

Br - 08

Br - 07

Br - 06

การศึกษาตัวทาละลายอินทรีย์ท่ เี หมาะสม Br - 09 ในการสกัดสารอัลลีโลพาทีจากใบเลี่ยน ภัทริ น วิจิตรตระการ มณทินี ธีรารักษ์ และจารูญ เล้ าสินวัฒนา การสารวจโรคใบจุดในแปลงกล้ วยหอม Br - 10 ทองอินทรีย์เพื่อการส่ งออก ความสามารถ ในการเกิดโรค และการควบคุมเชือ้ สาเหตุ โดยชีววิธี อทิตยา ปาลคะเชนทร์ สมศิริ แสงโชติ และวีระณีย์ ทองศรี อิทธิพลของนา้ คัน้ ชุมเห็ดเทศ (Cassia alata Br - 11 L.) ต่ อเชือ้ ราปฏิปักษ์ และเชือ้ ราสาเหตุโรค พืชผัก สุริยสิทธิ์ สมนึก ไพลิน เนินหาด ทิพประภา เมฆพัฒน์ และถนิมนันต์ เจนอักษร

ผลของปุ๋ยนา้ ต่ อการเจริญเติบโตและ ผลผลิตของผักกาดฮ่ องเต้ ชลธิชา วัดแป้น ศรสวรรค์ ศรี มา และจุฑามาส คุ้มชัย ผลของความเข้ มข้ นของปุ๋ยนา้ ต่ อการ เจริญเติบโตและผลผลิตคะน้ า พฤกษา วังแสง ศรสวรรค์ ศรี มา และจุฑามาส คุ้มชัย ประสิทธิภาพการเข้ าทาลายของไส้ เดือน ฝอยศัตรู แมลงต่ างชนิดในแมลงวันผลไม้ ศัตรูพริก ภานุพงศ์ แสนบุดดา นุชรี ย์ ศิริ และประกายจันทร์ นิ่มกิ่งรัตน์

การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมความ ต้ านทานโรครานา้ ค้ างของแตงกวา จานุลกั ษณ์ ขนบดี พัชรดา ทองลา และปิ ยะวดี เจริ ญวัฒนะ

คุณภาพการบริโภคของทุเรียนพืน้ บ้ านบาง สายต้ นในประเทศไทย อุษณีษ์ พิชกรรม ศศิวิมล โฉมเฉลา แสวงผล วิษุวตั สงนวล ปวีณา ไตรเพิ่ม สมบัติ ตงเตต า และ ปิ ยรัษฎ์ ปริ ญญาพงษ์ เจริ ญทรัพย์ การพัฒนาพันธุ์ลูกผสมของฟั กทองให้ มี ผลผลิตและคุณภาพสูง วันไณ เอา จานุลกั ษณ์ ขนบดี และ ภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ Screening Germplasm of Long Fruit Cucumber Lines for Resistance to Downy Mildew Cause by Pseudoperonospora cubensis Ahmad Hadi Chanulak Khanobdee Piyavadee Charoenwattana

การเปรียบเทียบพันธุ์ปาล์ มนา้ มันในพืน้ ที่ จันทบุรี อรวินทินี ชูศรี ศิริพร วรกุลดารงชัย ณิศชาญา บุญชนัง และศิริวรรณ ศรี มงคล การประเมินลักษณะพันธุ์ของข้ าวโพดข้ าว เหนียวสีม่วงโดยใช้ การวิเคราะห์ องค์ ประกอบ หลักและการจัดกลุ่ม ณัฐพร บุตรนุช และบุบผา คงสมัย

Ph - 16

Ph - 15

Ph - 14

Ph - 13

Ph - 12

Ph - 11

การเจริญเติบโต ปริมาณไนโตรเจนและ คาร์ โบไฮเดรตที่ไม่ อยู่ในรู ปโครงสร้ างของว่ าน แสงอาทิตย์ ท่ ไี ด้ รับการพรางแสงแตกต่ างกัน รุ่งนภา ช่างเจรจา พงศ์ยทุ ธ นวลบุญเรื อง และสันติ ช่างเจรจา

พัฒนาการของเมล็ดพันธุ์กระเจี๊ยบแดง (Hibiscus sabdariffa L.) ชนันดา ศรี บญ ุ ไทย ภาณุมาศ ฤทธิไชย และ เยาวพา จิระเกียรติกลุ อัตราการสังเคราะห์ ด้วยแสงในรอบวันของ เรือนพุ่มทุเรียนพันธุ์หมอนทอง เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ ศรปราชญ์ ธไนศวรรยางกูร พูนพิภพ เกษมทรัพย์ ดวงรัตน์ ศตคุณ เชฏฐ์ สาทรกิจ อรอุมา ด้ วงงาม และดอกแก้ ว จุระ การตอบสนองต่ อแสงในการสังเคราะห์ ด้วย แสงของใบทุเรียนพันธุ์หมอนทอง เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ พูนพิภพ เกษมทรัพย์ ดวงรัตน์ ศตคุณ ดอกแก้ ว จุระ และอรอุมา ด้ วงงาม การทดสอบสมการประเมินพืน้ ที่ใบแบบไม่ ทาลายของพีช้ และเนคทารีน ที่ปลูกบนพืน้ ที่ สูงของประเทศไทย พูนทรัพย์ สืบมา อุณารุจ บุญประกอบ และ สุภาวดี คงทับทิม

ผลของการเก็บรักษาหัวพันธุ์ท่ อี ุณหภูมติ ่าต่ อ การเจริญเติบโตเอือ้ งตีนกบ ชลเวทย์ ไทยรัตน์ และณัฐา โพธาภรณ์


Pr -42

Pr -43

Pr -44

Pr -45

14.30 – 14.35

14.35 – 14.40

14.40 – 14.45

14.45 – 14. 50

พฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรู พชื ของ เกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัด ราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี อุดมพร จอมพงษ์ จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และอามร อินทร์ สงั ข์ ผลของสารธรรมชาติกาจัดวัชพืชจากพลู เขียวต่ อการงอก การดูดนา้ และกิจกรรม เอนไซม์ อัลฟา-อะไมเลสของหญ้ าข้ าวนก ปริ ยาภรณ์ เนตรสว่าง ภัทริ น วิจิตรตระการ มณทินี ธีรารักษ์ และจารูญ เล้ าสินวัฒนา ศักยภาพทางอัลลีโลพาทีจากใบปอขีไ้ ก่ ต่อ การงอกและการเจริญเติบโตของพืช ทดสอบ ณัฐนันท์ บุญยะพันธ์ ภาวิณี คาแสน ภัทริ น วิจิตระการ จารูญ เล้ าสินวัฒนา และมณทินี ธีรารักษ์ ผลของนา้ มันหอมระเหยจากพืชต่ อตัวเต็ม วัยไรแดงแอฟริกนั (Eutetranychus africanus (Tucker )) สุชีรา ด่านอรุณ ภัทราภรณ์ หอมคง จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และอามร อินทร์ สงั ข์ Br - 15

Br - 14

Br - 13

Br - 12

การประเมินค่ าความหลากหลายทาง พันธุกรรมของพริกโดยเทคนิคเครื่องหมาย โมเลกุล เอส เอส อาร์ อรพินธุ์ สฤษดิ์นา

การวิเคราะห์ เสถียรภาพของสายพันธุ์และ ลูกผสมของแตงไทย ปราโมทย์ พรสุริยา พรทิพย์ พรสุริยา ศิริมา ธีรสกุลชล และอนุชา จุลกะเสวี

การสกัดและคัดเลือกสายพันธุ์อนิ เบรด ดาวเรืองฝรั่งเศสเพื่อพัฒนาเป็ นไม้ ดอก กระถาง นงลักษณ์ คงศิริ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และราตรี บุญเรื องรอด การพัฒนาสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ปนด้ ุ่ วยรังสี แกมมาเพื่อเพาะในเขตพืน้ ที่ราบ ธนภักษ์ อินยอด ตันติมา กาลัง วันทนา สะสมทรัพย์ และธนภัทร เติมอารมณ์

Ph - 20

Ph - 19

Ph - 18

Ph - 17

การประยุกต์ ใช้ GA3 เพื่อส่ งเสริมการงอกของ เมล็ดทานตะวันในระหว่ างการผลิตเป็ นผักไม โครกรีน ดนุพล เกษไธสง ประกาศิต ดวงพาเพ็ง และชบา ทาดาวงษา

การกระตุ้นความงอกด้ วยแคลเซียมซิลิเกตต่ อ คุณภาพและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ ผักกาดหอม สุวรัตน์ กรรมการ พรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง ศุภชัย อาคา และธงชัย มาลา การศึกษาโครโมโซมของตีนฮุ้งดอย (Paris polyphylla Smith) อัปสร วิทยประภารัตน์ และฉันทลักษณ์ ติยายน

ผลของอุณหภูมกิ ลางคืนต่ อการออกดอกและ ปริมาณธาตุอาหารในว่ านแสงอาทิตย์ รุ่งนภา ช่างเจรจา และวันเฉลิม รูปเขียน


ประธาน Pr -46

Pr -47

Pr -48

Ot - 01

Ot - 02

Ot - 03

เวลา 15.20 – 15.25

15.25 – 15.30

15.30 – 15.35

15.35 – 15.40

15.40 – 15.45

15.45 – 15.50

19 พย .58

ผลของไคโตซานนา้ หนักโมเลกุลต่า ปาน กลาง และสูง ต่ อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยว ผักงอกไควาเระ ณภัทร ขวัญช่วย และพรประพา คงตระกูล การสารวจและอนุรักษ์ พนั ธุ์ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่น ในเขตศูนย์ วิจัยและถ่ ายทอดเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหาร ลาดกระบัง อ.ด่ างช้ าง จ.สุพรรณบุรี สุดที่รัก สายปลื ้มจิตต์ ศุภร เหมินทร์ นิภาพร ยลสวัสดิ์ และจารูญ เล้ าสินวัฒนา การเข้ าทาลายแฝงของเชือ้ รา Phomopsis sp. สาเหตุโรคใบจุดของทุเรียน (Durio zibethinus Murr.) พันธุ์หมอนทอง วีระณีย์ ทองศรี และสมศิริ แสงโชติ ปริมาณประชากร พัฒนาการ และการ ทดสอบเบือ้ งต้ นในการใช้ เชือ้ ราสาเหตุโรค แมลงเพื่อควบคุมด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย แสงแข น้ าวานิช วิบลู ย์ จงรัตนเมธีกลุ วราภรณ์ บุญเกิด โสภณ อุไรชื่น และกัลยาณี สุวิทวัส

ผลของการใช้ เชือ้ รา Trichoderma sp. ต่ อ การส่ งเสริมการเจริญเติบโตของว่ านหาง จระเข้ ปวีณา บัญญัติ และศิริวรรณ แดงฉ่า

ห้ องริมบึง 1 สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง (Other) ดร.นงลักษณ์ เภรินทวงศ์ การสารวจประชากรแมลงวันผลไม้ และ แมลงเบียนในแปลงพริก อโนทัย วิงสระน้ อย ศรี สภุ า ลีทอง และปราณี แสนวงศ์

Ot - 15

Ot - 14

Br - 19

Br - 18

Br - 17

ประธาน Br - 16

Ph - 24

Ph - 23

Ph - 22

ประธาน Ph - 21

ประสิทธิภาพของนา้ มันหอมระเหยจากพืชในการ Ph - 25 ป้ องกันการลงทาลายของปลวกใต้ ดนิ Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) วิกนั ดา รัตนพันธ์ และมานพ ธรสินธุ์ การปรับปรุ งสายพันธุ์เห็ดสกุลเลนไทนัสให้ Ph - 26 ได้ ผลผลิตสูงด้ วยรั งสีแกมมา สาวิตรี ปราโมช ณ อยุธยา กัลยา รัตนถาวรกิติ และศิริชยั กีรติมณีกร

การประยุกต์ ใช้ เครื่องหมายทางพันธุกรรมใน การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรม ของมะปราง สมบัติ แก้ วผ่องอาไพ สุพตั รา โพธิ์เอี่ยม และ โองการ วณิชาชีวะ

ผลกระทบของการผสมสลับพ่ อแม่ ต่อ คุณภาพผลในลูกผสมฝรั่ ง วรพล ลากุล และอุณารุจ บุญประกอบ

การประเมินสัณฐานวิทยาของผลแตงไทย เพื่อใช้ ประโยชน์ ในการเป็ นเชือ้ พันธุกรรม ภวัตร นาควิไล ปณาลี ภู่วรกุลชัย วชิรญา อิ่ม สบาย และอัญมณี อาวุชานนท์

ห้ องริมบึง 2 สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง (Other) ผศ.ดร.นาตยา มนตรี การเปรียบเทียบผลผลิตและองค์ ประกอบ ผลผลิตของถั่วฝั กยาวเขียวพันธุ์ ศฝก. 2 ใน ระบบเกษตรธรรมชาติ ทิพวรรณ สิทธิรังสรรค์

ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตต่ อการเจริญเติบโต ของมะกอกโอลีฟพันธุ์อะบีควินา/อาเอสพีจี ชัยมงคล ใจหล้ า จิราพร บุตรศรี และบุญร่วม คิดค้ า ผลของปุ๋ยทางใบที่มีโพแทสเซียมสูงต่ อ ผลผลิต และอายุการเก็บรักษาหอมหัวใหญ่ กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง ภานุรักษ์ ประทับกอง อภิญญา ศรี อ่อนดี และรวี เศรฐภักดี

ห้ องริมบึง 3 สรีรวิทยา (Physiology) ผศ.ดร.ฉันทลักษณ์ ติยายน การฉีดพ่ น N-6-Benzyladenine เพื่อชักนาให้ เกิดตาดอกใน Dendrobium Sonia ‘Earsakul’ อายุ 4 ปี ศุภธิดา อับดุลลากาซิม ธนทัต อินทชิต และภาสันต์ ศารทูลทัต การขาดนา้ ของใบก่ อนการปั กชาไม่ ทาให้ ความสามารถในการเกิดรากและไรโซมจาก การปั กชาแผ่ นใบย่ อยของต้ นกวักมรกตลดลง สุรีพร นันท์ดี กฤษณา กฤษณพุกต์ และลพ ภวภูตานนท์ ผลของการพรางแสงต่ อการเกิดรากและไรโซม จากการปั กชาแผ่ นใบย่ อยของต้ นกวักมรกต สุภาพร สุกประเสริ ฐ กฤษณา กฤษณพุกต์ และลพ ภวภูตานนท์ ความเข้ มข้ นของโคลชิชินต่ อการเจริญเติบโต ของยอดและการเปลี่ยนแปลงสัณฐานวิทยา ของปากใบในผักเชียงดา พิทกั ษ์ พุทธวรชัย นภา ขันสุภา ชิติ ศรี ตนทิพย์ และปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์


Ot - 04

Ot - 05

Ot - 06

Ot - 07

Ot - 08

Ot - 09

Ot - 10

15.50 – 15.55

15.55 – 16.00

16:00 - 16:05

16.05 – 16.10

16.10 – 16.15

16.15 – 16.20

16.20 – 16.25

เปรียบเทียบลักษณะบางประการของฟั ก Ot - 21 ข้ าว 6 สายต้ น พิทกั ษ์ พุทธวรชัย นภา ขันสุภา วิรัติ อาพันธุ์ ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ และอุกฤษฎ เจริ ญใจ การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของกล้ วยไม้ Ot - 22 สกุลม้ าวิ่งในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่ าง ศรี ประไพ ธรรมแสง และกาญจนา รุ่งรัชกานนท์

ผลของเชือ้ ราอาบัสคูล่า ไมคอไรซ่ าในการ Ot - 18 เพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตของมะเขือ เทศสีดา สิริพร สิริชยั เวชกุล และนิจพร ณ พัทลุง การพัฒนาการของโรคและระดับความ Ot - 19 ต้ านทานต่ อสารเคมีคาร์ เบนดาซิมของเชือ้ รา สาเหตุโรคใบจุดของกล้ วยไข่ เพื่อการส่ งออก ในภาคตะวันออกของประเทศไทย สุมาพร แสงเงิน สมศิริ แสงโชติ และวีระณีย์ ทองศรี สหสัมพันธ์ ระหว่ างลักษณะทางกายภาพ Ot - 20 และสารพฤกษเคมีของผลหนามแดง สุนีรัตน์ อุดมภูมิ รักเกียรติ แสนประเสริ ฐ และทินน์ พรหมโชติ

ประสิทธิภาพการรมของสูตรนา้ มันหอม Ot - 16 ระเหยจากกานพลูและอบเชยต่ อไรกินเชือ้ รา (Tyrophagus communis Fan&Zhang) และไรฝุ่ น (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)) สาวิตรี ชื่นบาล จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และอามร อินทร์ สงั ข์ ลักษณะโครมาโตแกรมโดย HPLC และฤทธิ์ Ot - 17 ต้ านออกซิเดชันของกระชายและข่ า ศรัณย์ ฉวีรักษ์ และประธาน ฦๅชา

Ph - 31

Ph - 30

Ph - 29

Ph - 28

Ph - 27

การสร้ างคุณค่ าร่ วม และความร่ วมมือระหว่ าง Ph - 32 เกษตรกร นักวิชาการและภาคธุรกิจในการ ผลิตพริกแห้ งคุณภาพ: กรณีศึกษาในอาเภอ ม่ วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี ภาสกร นันทพานิช การพัฒนาแผนกลยุทธ์ หมากเม่ าในจังหวัด Ph - 33 สกลนคร กรรณิการ์ สมบุญ สุดารัตน์ สกุลคู พรประภา ชุน ถนอม ศิริพร สารคล่อง และเดือนรุ่ง อุบาลี

ฤทธิ์ทางชีวภาพของหัวมันแกวเพื่อพัฒนา เป็ นผลิตภัณฑ์ เพื่อสุขภาพ สุธิดา เรื อนเงิน ฉันทนา อารมย์ดี นาฎศจี นวล แก้ ว สุธาสินี ทัพพสารพงศ์ และรัชยาพร อโนราช

การจัดจาแนกเชือ้ Xanthomonas axonopodis pv. citri สาเหตุโรคแคงเกอร์ ในมะนาว สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง วราภรณ์ ศรี วิเศษ และคณิน ศรี ขจร การประเมินความต้ านทานต่ อไวรัสใบด่ าง แตงในพริกพันธุ์ลูกผสม สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง จตุพร ไกรถาวร และสรพงษ์ เบญจศรี ความเป็ นพิษและประสิทธิภาพการรมของ นา้ มันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตในการ กาจัดด้ วงงวงข้ าว Sitophilus oryzae (L.) อรรถสิทธิ์ คล้ ายสุบรรณ และฤชุอร วรรณะ

การดัดแปรแป้ งข้ าวทางกายภาพ และการ ประยุกต์ ใช้ อุตสาหกรรมการผลิตเส้ น ก๋ วยเตี๋ยว สุภาวดี แช่ม และสุกญ ั ญา สายธิ

ผลของอุณหภูมติ ่าในระยะต้ นกล้ าต่ อการ เจริญเติบโต และผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่ พันธุ์พระราชทาน 80 โดยใช้ วัสดุปลูกใน โรงเรือนควบคุมสภาพอากาศ สุมิตร คุณเจตน์ นิสาชล เทศศรี และธนภูมิ อ่อนพรมราช การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารเบต้ าแคโรทีน และคุณภาพที่สาคัญในระหว่ างการพัฒนา ของผลฟั กทอง ธรธ อาพล พจนา สีมนั ตร อัญมณี อาวุชานนท์ และอุษณีย์ เพ็ชรปุ่ น อิทธิพลของสารพาโคลบิวทราโซลต่ อการ เจริญเติบโตของต้ นมะพร้ าวนา้ หอม วนาลี ตรุดไทย กฤษณา กฤษณพุกต์ และลพ ภวภูตานนท์

ผลของการใช้ ป๋ ยแคลเซี ุ ยม โบรอนและปุ๋ย โพแทสเซียมสูงต่ อผลผลิต และคุณภาพของมันฝรั่ง กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง ภานุรักษ์ ประทับกอง อภิศกั ดิ์ เบ้ าลี และรวี เสรฐภักดี การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพผลชมพู่พนั ธุ์ ทับทิมจันท์ ด้ วยปุ๋ยทางใบที่มี NPK สัดส่ วน 3:1:2 กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง และรวี เสรฐภักดี อิทธิพลของจิบเบอเรลลิคแอซิดต่ อการหลุด ร่ วง และคุณภาพผลของมะพร้ าวนา้ หอม เมษา เกื ้อคลัง กฤษณา กฤษณพุกต์ และลพ ภวภู ตานนท์

ผลของการพ่ นปุ๋ย NPK ทางใบสัดส่ วน 3:1:2 ต่ อการขยายขนาดผลในมะม่ วงพันธุ์ นา้ ดอกไม้ สีทอง กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง อภิศกั ดิ์ เบ้ าลี และรวี เสรฐภักดี


Ph - 39

16.50 – 17.00

Ph - 36

Ph - 38

การประยุกต์ ใช้ รูปแบบสวนยุคอาณานิคม เพื่อสร้ างสวนสาธารณะแบบร่ วมสมัยในการ ออกแบบภูมสิ ถาปั ตยกรรมพืน้ ที่รอบ โบราณสถานของชาติโรงเรียนเบ็ญจะมะ มหาราชหลังเก่ า วรงศ์ นัยวินิจ ภาคภูมิ สืบนุการณ์ รักเกียรติ แสนประเสริ ฐ และทวีศกั ดิ์ วิยะชัย

Ph - 35

Ph - 34

16.45 – 16.50

Ot - 13

16.35 – 16.40

การเสริมสร้ างทักษะทางด้ านการเกษตร สาหรั บผู้พกิ ารทางสายตา วรวุฒิ ร่มฟ้าจรรกุล จันทรา ไชยแสน กรอง กาญจน์ สายมัน และสุรพล ใจวงศ์ษา

การสารวจกิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการของสถานที่ท่องเที่ยวเชิง เกษตร 3 แห่ ง ในจังหวัดราชบุรี ปาณิตา อ่อนแสง และศศิยา ศิริพานิช

Ph - 37

Ot - 12

16.30 – 16.35

การวิเคราะห์ ปริมาณโฮโลเซลลูโลสในไผ่ Ot - 23 หวานอ่ างขางโดยวิธีอนิ ฟราเรดย่ านใกล้ ทศพล อุมะมานิต ณัฐภรณ์ สุทธิวิจิตรภักดี ศุมาพร เกษมสาราญ สุธีรา วิทยากาญจน์ และมะลิวลั ย์ หฤทัยธนาสันติ์ การคัดแยกกระเจี๊ยบเขียวที่มีหนอนฝั งตัว Ot - 24 อยู่ภายในด้ วยการวิเคราะห์ หลายตัวแปร ในช่ วงคลื่นอินฟราเรดย่ านใกล้ ณัฐภรณ์ สุทธิวิจิตรภักดี ศุมาพร เกษมสาราญ ทศพล อุมะมานิต และวารุณี ธนะแพสย์ การผลิตไข่ นา้ ด้ วยนา้ ทิง้ จากบ่ อเลีย้ งปลาดุก Ot - 25 นิตยา เกตุแก้ ว ดวงรัตน์ ชูเกิด และสุรพล ฐิ ติธนากุล

16.40 – 16.45

Ot - 11

16.25 – 16.30

ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและปริมาณ สารประกอบฟี นอลิกรวมของผลทุเรียนพันธุ์ การค้ า กษิ ดิ์เดช อ่อนศรี เบญญา มะโนชัย และชินวัฒน์ ยัพวัฒนพันธ์ อัตราการคายนา้ ของส้ มโอพันธุ์มณีอีสานใน ระยะการเจริญเติบโตของผล สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา สมยศ มีทา ราไพ นามพิลา พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และ สังคม เตชะวงค์เสถียร การศึกษาประสิทธิภาพการสังเคราะห์ ด้วย แสงของเฟิ นพันธุ์การค้ า 5 พันธุ์เพื่อใช้ ประดับภายในอาคาร สหรัฐ คุมพล พัชรี ยา บุญกอแก้ ว และณัฏฐ พิชกรรม

ผลของสารแพกโคลบิวทราซอลต่ อการ เพาะเลีย้ งต้ นกล้ วยไม้ ดนิ นกคุ้มไฟในสภาพ ปลอดเชือ้ นิติพงศ์ หอวัฒนพาณิชย์ พรสุดา ศิริรักวงษา พัชรี ยา บุญกอแก้ ว และอารยา อาจเจริญ เทียนหอม

อิทธิพลของความแก่ ของผลและระดับความ เข้ มข้ นของไคโตซานที่มีต่อการเจริญเติบโต และ คุณภาพของผลองุ่นพันธุ์ Canadice Seedless กิตติพงศ์ กิตติวฒ ั น์โสภณ และทัศนารถ กระจ่างวุฒิ ผลของไคโตซานต่ อการควบคุมการเข้ าทาลาย ของแมลงวันพริกในผลพริกขีห้ นู วรรณิศา ปั ทมะภูษิต และพรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ชื่อเรื่ อง อิทธิพลของ BA และ NAA ต่ อการเพิ่มจานวนยอดรวมของฟั กข้ าว

หน้ า 3

ไซนียตะ สะมาลา พลวัต ภัทรกุลพิสทุ ธิ สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้ อน ศึกษาผลของปริมาณอาหารเหลว และสภาพเลีย้ งที่มีต่อการแตกยอดว่ านแสงอาทิตย์ ใน สภาพปลอดเชือ้

10

อิศร์ สุปินราช สุมิตรา สุปินราช และณัฐยา เทพสาร การประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแอปเปิ ้ ลที่ได้ จากการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อด้ วย เทคนิค SRAP ปั ทมา ศรี น ้าเงิน และ Titnarong Heng

18

การขยายพันธุ์หน้ าวัวลูกผสมด้ วยระบบเพาะเลีย้ งจมชั่วคราว

24

ประภาพร ฉันทานุมตั ิ อรทัย ธนัญชัย ยุพิน กสินเกษมพงษ์ และสุเมธ อ่องเภา การชักนาให้ เกิดยอดและแคลลัสของลิลลี่ในสภาพปลอดเชือ้ พิศวรรณ เพ็ชร์ ยิ่ง งามนิจ ชื่นบุญงาม ปวีณา ไตรเพิ่ม และกัญจนา แซ่เตียว

28

ผลของความเข้ มข้ น IAA จากนา้ หมัก Methylobacterium radiotolerans กลุ่มแยก ED5-9 ต่ อการเพาะเลีย้ งแคลลัสเชียงดา

37

เพียงพิมพ์ ชิดบุรี ศิริพรรณ สารินทร์ และอภิชาติ ชิดบุรี ผลของความเข้ มข้ น IAA จากนา้ หมักร่ วมกับสภาพเลีย้ งที่แตกต่ างกันต่ อการเจริญและ พัฒนาเชียงดาในสภาพปลอดเชือ้

42

อภิชาติ ชิดบุรี พิทกั ษ์ พุทวรชัย และศิริพรรณ สริ นทร์ การศึกษาการปลดปล่ อยเรณูมะละกอจากดอกชนิด elongatae ภายใต้ สภาวะธรรมชาติ ภานุวรรณ บัวทองจันทร์ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และปาริชาติ เบิร์นส

47

การเพิ่มชุดโครโมโซมของดาวเรื องอเมริกันและดาวเรื องฝรั่ งเศสโดยใช้ สารละลายโคลชิซนิ มรกต บูรณสุบรรณ รสมนต์ จีนแส รุ่งฟ้า จีนแส นงลักษณ์ คงศิริ และราตรี บุญเรื องรอด

54

การส่ งถ่ ายยีน DFR (dihydroflavonol 4-reductase) เข้ าสู่ปทุมมากระถางด้ วยเชือ้ แบคทีเรี ย Agrobacterium tumefaciens วารุต อยูค่ ง รัฐพร จันทร์ เดช และ ณิชมน ธรรมรักษ์

62

การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอเพื่อใช้ ในการจาแนกเพศอินทผลัมไทย (แม่ โจ้ 36) นพรัตน์ อินถา กวี สุจิปลุ ิ ปิ ยรัษฎ์ ปริญญาพงษ์ เจริญทรัพย์ และพีระศักดิ์ ฉายประสาท

68

การชักนาให้ เกิดแคลลัสจากการเพาะเลีย้ งชิน้ ส่ วนลาต้ นในสภาพปลอดเชือ้ ของ ข้ าวเย็นเหนือ (Smilax corbularia Kunth.)

74

ปพิชญา ขวานทอง เยาวพา จิระเกียรติกลุ และภาณุมาศ ฤทธิไชย

XX

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ชื่อเรื่ อง การคัดเลือกแคลลัสแอปเปิ ้ ลทนแล้ งในหลอดทดลองและการทดสอบความแปรปรวนด้ วย เครื่ องหมาย Sequence-related amplified polymorphism (SRAP) Titnarong Heng และ ปั ทมา ศรี น ้าเงิน

หน้ า

การศึกษาความสัมพันธ์ ของกล้ วยไม้ ท้องถิ่นสกุลกุหลาบด้ วยเทคนิคอาร์ เอพีดี ราตรี พระนคร

88

ผลของ BA PBZ TDZ และ CPPU ต่ อการชักนาการออกดอกของกล้ วยไม้ หวายแคระใน สภาพปลอดเชือ้ ศุภธิดา อับดุลลากาซิม ศุภกาญจน์ หล่ายแปด และเสริมศิริ จันทร์ เปรม

94

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของดาวเรื อง สุวรรณี ปาลี ปรี ชาวุฒิ พลัดทองศรี จิรานันท์ ไชยวรรณ์ ภมรพรรณ มงคลแช่มช้ อย และพรพันธ์ ภู่

100

79

พร้ อมพันธุ์ การเสริมนา้ สับปะรดเพื่อเป็ นสับสเตรทร่ วมในการหมักนา้ ส้ มสายชูแอปริคอต นิอร โฉมศรี ณัฐวุฒิ คาปต อก และสุพจนี อินทรโมฬี

105

การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของเมล่ อนโดยเทคนิคเครื่องหมายสนิปส์ วิภาดา เจริญชาติ เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี แสงทอง พงษ์ เจริญกิต และอรพินธุ์ สฤษดิ์นา

113

การประเมินฟั กทองพันธุ์พนื ้ เมืองในสภาพฤดูร้อนในเขตอาเภอกาแพงแสน นพวรรณ หนองใหญ่ ปณาลี ภู่วรกุลชัย ปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ และอัญมณี อาวุชานนท์

119

ผลของความสูงจากระดับนา้ ทะเลต่ อการเจริญเติบโต ผลผลิต และสารเผ็ดของพริกเผ็ด (Capsicum chinense) ภายใต้ สภาพโรงเรื อน นครินทร์ จี ้อาทิตย์ สุชีลา เตชะวงค์เสถียร พลัง สุริหาร และสังคม เตชะวงค์เสถียร

129

การตรวจสอบความมีชีวติ ของเรณูในผักกาดขาวปลี ศรสวรรค์ ศรี มา และจุฑามาส คุ้มชัย

137

การประเมินลักษณะพันธุ์ของข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วงโดยใช้ การวิเคราะห์ องค์ ประกอบหลัก และการจัดกลุ่ม ณัฐพร บุตรนุช และบุบผา คงสมัย

142

การพัฒนาพันธุ์ลูกผสมของฟั กทองให้ มีผลผลิตและคุณภาพสูง

150

วันไณ เอา จานุลกั ษณ์ ขนบดี และ ภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมความต้ านทานโรครานา้ ค้ างของแตงกวา

155

จานุลกั ษณ์ ขนบดี พัชรดา ทองลา และปิ ยะวดี เจริญวัฒนะ การพัฒนาสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ปุ่นด้ วยรั งสีแกมมาเพื่อเพาะในเขตพืน้ ที่ราบ ธนภักษ์ อินยอด ตันติมา กาลัง วันทนา สะสมทรัพย์ และธนภัทร เติมอารมย์

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

162

XXI


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ชื่อเรื่ อง การวิเคราะห์ เสถียรภาพของสายพันธุ์และลูกผสมของแตงไทย ปราโมทย์ พรสุริยา พรทิพย์ พรสุริยา ศิริมา ธีรสกุลชล และอนุชา จุลกะเสวี

หน้ า

การเปรี ยบเทียบผลผลิตและองค์ ประกอบผลผลิตของถั่วฝั กยาวเขียวพันธุ์ ศฝก .2 ในระบบ เกษตรธรรมชาติ

176

171

ทิพวรรณ สิทธิรังสรรค์ การประเมินสัณฐานวิทยาของผลแตงไทยเพื่อใช้ ประโยชน์ ในการเป็ นเชือ้ พันธุกรรม ภวัตร นาควิไล ปณาลี ภู่วรกุลชัย วชิรญา อิ่มสบาย และอัญมณี อาวุชานนท์

184

ผลกระทบของการผสมสลับพ่ อแม่ ต่อคุณภาพผลในลูกผสมฝรั่ ง วรพล ลากุล และอุณารุจ บุญประกอบ

190

การประยุกต์ ใช้ เครื่ องหมายโมเลกุลเพื่อประเมินลักษณะทางพันธุกรรมของมะปราง สมบัติ ผ่องอาไพ สุพตั รา โพธิ์เอี่ยม และโองการ วณิชาชีวะ

194

การประเมินค่ าความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริกโดยเทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล เอส เอส อาร์ อรพินธุ์ สฤษดิ์นา

201

การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในช่ วงแตกใบอ่ อนของลองกอง

209

ปฐม คงแก้ ว และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ ผลกระทบของปริมาณนา้ ฝนต่ อการออกดอกของลองกองที่ชักนาด้ วยการราดสารพาโคล บิวทราโซลและการรั ดลาต้ น พิมาภรณ์ แก้ วสวัสดิ์ และ ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์

215

ผลการพรางแสงด้ วยตาข่ ายต่ อการเปลี่ยนแปลงสีใบ และการตอบสนองทางสรี รวิทยา บาง ประการของสับปะรดสีสกุล Neoregelia sp.

222

ภาณุพล หงษ์ ภกั ดี และกฤษฎา ภักดีลนุ ผลของการฟอกฆ่ าเชือ้ และสารควบคุมการเจริญเติบโต NAA และ BA ที่มีผลต่ อการชักนาให้ เกิดแคลลัสของสตรอเบอรี่ พันธุ์พระราชทาน 80 ในสภาพปลอดเชือ้ มงคล ศิริจนั ทร์ พุทธพงษ์ สร้ อยเพชรเกษม กวี สุจิปลุ ิ ณรงค์ชยั พิพฒ ั น์ธนวงศ์ และพีระศักดิ์ ฉาย

229

ประสาท ผลของสารสกัดจากไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra L.) ต่ อการเติบโตของต้ นกล้ าและการมีชีวติ ของเซลล์ (cell viability) ในต้ อยติ่ง (Ruellia tuberosa Linn.) อินทิรา ขูดแก้ ว

237

ผลของระยะเวลาการเก็บรั กษาหัวพันธุ์ท่ อี ุณหภูมติ ่าต่ อการชะลอการออกดอกของว่ านอึ่ง และว่ านหัวครู พงษ์ นที ปิ นตาแจ่ม และณัฐา โพธาภรณ์

242

XXII

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ชื่อเรื่ อง ผลของอุณหภูมแิ ละระยะเวลาการเก็บรั กษาหัวพันธุ์ต่อการเจริญเติบโตและการออกดอก ของ กล้ วยไม้ ดนิ นางกราย (Habenaria lindleyana Steud.) นิพนธ์ กิติดี โสระยา ร่วมรังษี และณัฐา โพธาภรณ์

หน้ า

การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อตาจากก้ านช่ อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส

253

246

กาญจนา รุ่งรัชกานนท์ และรัชนีกร ดีดวงพันธ์ อุณหภูมทิ ่ เี หมาะสมในการเก็บรั กษาเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงพันธุ์ Nepenthes mirabilis (Lour.) Druce

260

เอรี ยา เทพรินทร์ สมพงษ์ สุขขาวงษ์ สุรัตน์วดี ชูโชติ สรายุทธ อ่อนสนิท และสุรพล ฐิ ติธนากุล อัตราการสังเคราะห์ ด้วยแสงในรอบวันของเรื อนพุ่มทุเรี ยนพันธุ์หมอนทอง

265

เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ ศรปราชญ์ ธไนศวรรยางกูร พูนพิภพ เกษมทรัพย์ ดวงรัตน์ ศตคุณ เชฏฐ์ สาทรกิจ อรอุมา ด้ วงงาม และดอกแก้ ว จุระ การตอบสนองต่ อแสงในการสังเคราะห์ ด้วยแสงของใบทุเรี ยนพันธุ์หมอนทอง เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ พูนพิภพ เกษมทรัพย์ ดวงรัตน์ ศตคุณ ดอกแก้ ว จุระ และอรอุมา ด้ วงงาม

274

การศึกษาเจริญเติบโต ปริมาณไนโตรเจนและคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่ อยู่ในรู ปโครงสร้ างของว่ าน แสงอาทิตย์ ท่ ีได้ รับการพรางแสงแตกต่ างกัน รุ่งนภา ช่างเจรจา พงศ์ยทุ ธ นวลบุญเรื อง และสันติ ช่างเจรจา

281

ผลของอุณหภูมกิ ลางคืนต่ อการออกดอกและปริมาณธาตุอาหารในว่ านแสงอาทิตย์ รุ่งนภา ช่างเจรจา และวันเฉลิม รูปเขียน

288

การกระตุ้นความงอกด้ วยแคลเซียมซิลิเกตต่ อคุณภาพและการเก็บรั กษาเมล็ดพันธุ์ ผักกาดหอม สุวรัตน์ กรรมการ พรไพรินทร์ รุ่งเจริญทอง ศุภชัย อาคา และธงชัย มาลา

297

สภาวะที่เหมาะสมสาหรั บการศึกษาโครโมโซมของตีนฮุ้งดอย (Paris polyphylla Smith) อัปสร วิทยประภารัตน์ และฉันทลักษณ์ ติยายน

303

การประยุกต์ ใช้ GA3 เพื่อส่ งเสริมการงอกของเมล็ดทานตะวันในระหว่ างการผลิตเป็ นผักไม โครกรี น ดนุพล เกษไธสง ประกาศิต ดวงพาเพ็ง และชบา ทาดาวงษา

310

ความเข้ มข้ นของโคลชิชนิ ต่ อการเจริญเติบโตของยอดและการเปลี่ยนแปลงสัณฐานวิทยา ของปากใบในผักเชียงดา พิทกั ษ์ พุทธวรชัย นภา ขันสุภา ชิติ ศรี ตนทิพย์ และปริญญาวดี ศรี ตนทิพย์

316

ผลของการใช้ ป๋ ุยสูตร 6-12-26+12.5 Zn ทางใบต่ อผลผลิตและอายุการเก็บรั กษาหอมหัวใหญ่ กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง ภานุรักษ์ ประทับกอง อภิญญา ศรี ออ่ นดี และรวี เศรฐภักดี

322

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

XXIII


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ชื่อเรื่ อง ผลของการใช้ ป๋ ุยแคลเซียม โบรอนและปุ๋ยโพแทสเซียมสูงต่ อผลผลิต และคุณภาพของมัน ฝรั่ ง กรรณิการ์ แก้ วส่องแสง ภานุรักษ์ ประทับกอง อภิศกั ดิ์ เบ้ าลี และรวี เสรฐภักดี

หน้ า

อิทธิพลของจิบเบอเรลลิคแอซิดต่ อการหลุดร่ วง และคุณภาพผลของมะพร้ าวนา้ หอม

332

327

เมษา เกื ้อคลัง กฤษณา กฤษณพุกต์ และลพ ภวภูตานนท์ ผลของอุณหภูมติ ่าในระยะต้ นกล้ าต่ อการเจริญเติบโต และผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่ พันธุ์ พระราชทาน 80 โดยใช้ วัสดุปลูกในโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ

338

สุมิตร คุณเจตน์ นิสาชล เทศศรี และธนภูมิ อ่อนพรมราช การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารเบต้ าแคโรทีนและคุณภาพที่สาคัญในระหว่ างการพัฒนาของผล ฟั กทอง

345

ธรธ อาพล พจนา สีมนั ตร อัญมณี อาวุชานนท์ และอุษณีย์ เพ็ชรปุ่ น อิทธิพลของความแก่ ของผลและระดับความเข้ มข้ นของไคโตซานที่มีต่อการเจริญเติบโตและ คุณภาพของผลองุ่นพันธุ์ Canadice Seedless กิตติพงศ์ กิตติวฒ ั น์โสภณ ณรงค์ชยั พิพฒ ั น์ธนวงศ์ และทัศนารถ กระจ่างวุฒิ

352

ผลของไคโตซานต่ อการควบคุมการเข้ าทาลายของแมลงวันพริกในผลพริกขีห้ นู

358

วรรณิศา ปั ทมะภูษิต และพรไพรินทร์ รุ่งเจริญทอง ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมของผลทุเรี ยนพันธุ์การค้ า กษิ ดิ์เดช อ่อนศรี เบญญา มะโนชัย และชินวัฒน์ ยัพวัฒนพันธ์

363

อัตราการคายนา้ ของส้ มโอพันธุ์มณีอีสานในระยะการเจริญเติบโตของผล สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา สมยศ มีทา ราไพ นามพิลา พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และ สังคม เตชะวงค์เสถียร

370

การตรวจสอบลักษณะเชิงคุณภาพ และความแปรปรวนของยีนกากับเอนไซม์ ACC oxidase ในมะละกอพันธุ์การค้ าชนิดลูกผสมเปิ ด 3 สายพันธุ์ โสรยา ปั ญจะธา พิมพิไล แสงมณี ศันสนีย์ นาเจริ ญ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ และปาริชาติ เบิร์นส

379

การใช้ ถุงพอลิเอทิลีนเจาะรู เพื่อยืดอายุวางจาหน่ ายของผักเหลียงพร้ อมปรุ ง กนกพร บุญญะอติชาติ

385

เครื่ องดื่มสามผสานเพื่อสุขภาพจากเม่ า หม่ อน และมะขามป้ อม

390

ศุกฤชชญา เหมะธุลิน การวิเคราะห์ คุณค่ าทางอาหารและคุณภาพทางประสาทสัมผัสของเมล็ดทานตะวันและถั่ว เหลืองงอกหลังผ่ านการลวก

396

หทัยรัตน์ ยิ ้วเหี ้ยง และปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ คุณสมบัตแิ ละความต้ านทานปลวกของไม้ การบูร

405

มานพ ธรสินธุ์ และ วิกนั ดา รัตนพันธ์

XXIV

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ชื่อเรื่ อง ผลของการให้ ความร้ อนในรู ปแบบต่ างๆ ต่ อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลแคนตาลูป กัญญารัตน์ เหลืองประเสริฐ

หน้ า

ผลของระยะสุกแก่ ของผลสับปะรด รู ปแบบการตัดแต่ ง และอุณหภูมใิ นการเก็บรั กษาที่มีต่อ คุณภาพสับปะรดนางแลตัดแต่ งพร้ อมบริโภค นิอร โฉมศรี สุพจนี อินทรโมฬี และอัมฤทธิ์ สีกล่อม

417

การใช้ เชือ้ แบคทีเรี ยที่สามารถผลิตเอนไซม์ ย่อยสลายเซลลูโลสเพื่อชักนาสารวานิลลินในฝั ก วานิลลาบ่ ม

425

409

ธิติมา วงษ์ ชีรี ผ่องเพ็ญ จิตอารี ย์รัตน์ เฉลิมชัย วงษ์ อารี กัลย์ธีรา สุนทราภิรักษ์ กลุ และพจนา แก้ วแจ่ม การหาปริมาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บกิ ในไวน์ เม่ า ด้ วยเครื่ องโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง

432

จารุวรรณ ดรเถื่อน ผลของสาร 1-methylcyclopropene ต่ ออายุการเก็บรั กษาผักหวานป่ า (Melientha suavis)

439

จิตตา สาตร์ เพ็ชร์ มยุรา ล้ านไชย เกศินี เสาวคนธ์ สายันต์ ตันพานิช โสรยา ใบเตต ะ อรอุมา พรมน้ อย และลาแพน ขวัญพูล การเปลี่ยนแปลงปริมาณกลูโคซิโนเลตในผักกาดฮ่ องเต้ อนิ ทรี ย์ท่ ผี ่ านและไม่ ผ่านการลด อุณหภูมดิ ้ วยระบบสุญญากาศก่ อนการเก็บรั กษา

443

เพชรดา อยู่สขุ ดนัย บุณยเกียรติ ศิวาพร ธรรมดี และพิชญา บุญประสม พูลลาภ ผลของภาชนะบรรจุต่ออายุการเก็บรั กษาขิงสด สมชาย กล้ าหาญ อรทัย พูดงาม และเมธินี พร้ อมพวก

448

ผลของสารละลายพัลซิ่งและความยาวก้ านดอกต่ ออายุการปั กแจกันดอกบัวหลวงพันธุ์สัตตบุตย์ ธนิตชยา พุทธมี แสงระวี พ่วงสมบัติ วนิตา ตุ้มมล และณัฐพล จันทร์ บาง

457

ผลของการลดอุณหภูมอิ ย่ างรวดเร็วต่ อคุณภาพและอายุการเก็บรั กษามะม่ วงพันธุ์ ‘มหาชนก’

463

สมชาย กล้ าหาญ และรอสมี ยะสะแต ผลของระยะเวลาในการแช่ นา้ ปูนใสต่ อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของมะละกอ ‘พันธุ์ฮอลแลนด์ ’ สมชาย กล้ าหาญ และรอสมี ยะสะแต

471

ความสัมพันธ์ ระหว่ างลักษณะทางกายภาพและเคมีของกะลากับการแตกในมะพร้ าวนา้ หอมเจีย

480

ธนาโชค ตติเจริ ญ อนรรฆ พรรคเจริญ และจริงแท้ ศิริพานิช ผลของก๊ าซคลอรี นไดออกไซด์ ต่อกิจกรรมของเอนไซม์ ไคติเนสและกลูคาเนสของผลลาไย หลังเก็บเกี่ยวที่ปลูกเชือ้ Cladosporium sp.

488

นิติยา กันธิยะ บุญสม บุษบรรณ์ จานงค์ อุทบั บุตร และกอบเกียรติ แสงนิล

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

XXV


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ชื่อเรื่ อง ผลของการเติมสารอาหารที่ต่างกันต่ อการเกิดสารอะเซทัลดีไฮด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และสาร ที่ให้ กลิ่นที่ดีในไวน์ ขาวที่สร้ างโดยยีสต์ Saccharomyces สองสายพันธุ์

หน้ า 494

ภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ และ Doris Rauhut เปรี ยบเทียบคุณภาพทางเคมีกายภาพ และคุณสมบัตกิ ารต้ านอนุมูลอิสระของฟั กทองพันธุ์ พืน้ เมือง พันธุ์โอโตะ และพันธุ์ทางการค้ า ภัทราภรณ์ ศรี สมรรถการ และจานุลกั ษณ์ ขนบดี

504

อายุการเก็บรั กษามะพร้ าวแก้ วในบรรจุภัณฑ์ สุญญากาศร่ วมกับวัตถุดูดซับออกซิเจน

513

ณชยุติ จันท์โชติกลุ ณัฐจรี ย์ จิรัคคกุล นิภาพร เส็งคาปาน ศักรินทร์ นนทพจน์ และบังอร เหมัง ผลของอุณหภูมติ ่ อการสุกและคุณภาพของกล้ วยไข่ สมคิด ใจตรง

523

การพัฒนาและใช้ ประโยชน์ ผลิตภัณฑ์ เทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี ในขนมไทย พงศ์ยทุ ธ นวลบุญเรื อง ธัญญลักษณ์ บัวผัน และรุ่งนภา ช่างเจรจา

529

อิทธิพลของไคโตซานและฟิ ล์ มเคลือบผิวต่ อคุณภาพส้ มโอพันธุ์ทองดีในระหว่ างการเก็บรั กษา ราไพ นามพิลา นันท์นลิน บัวจันทร์ สมยศ มีทา สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และ

545

สังคม เตชะวงค์เสถียร ผลของการใช้ ป๋ ุยนา้ ชีวภาพจากมูลสัตว์ ต่อการเจริญเติบโตของผักสลัดที่ปลูกในระบบไฮโดร พอนิกส์ ชัยอาทิตย์ อิ่นคา และโสระยา ร่วมรังษี

553

ผลของการงดนา้ ในช่ วงก่ อนการเก็บเกี่ยวต่ อคุณภาพในผลเมล่ อน

559

นรกมล ขาวารี และลาแพน ขวัญพูล อิทธิพลของสีม้ ุงตาข่ ายต่ อการเจริญเติบโตและคุณภาพผลเมล่ อน ปวีณา รุ่งรักษาธรรม และลาแพน ขวัญพูล

566

ศึกษาวิธีการปั กชาของพิทูเนียในสภาพเหมาะสม สุมิตรา สุปินราช อิศร์ สุปินราช และศิโรจน์ ทิมภู่

573

การประเมินความต้ องการธาตุอาหารของมันฝรั่ งพันธุ์แอตแลนติกและพันธุ์สปุนต้ า

581

ทิวาพร ผดุง ภาณุมาศ โคตรพงศ์ ปั ญจพร เลิศรัตน์ ศุภกาญจน์ หล่ายแปด และการิตา จงเจือกลาง การใช้ แหนแดงเป็ นวัสดุดนิ ผสมเร่ งการเติบโตของต้ นอ่ อนกล้ วยนา้ ว้ าปากช่ อง 50 จากการ เพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อ ศิริลกั ษณ์ แก้ วสุรลิขิต ประไพ ทองระอา กัลยาณี สุวิทวัส กานดา ฉัตรไชยศิริ

589

นิศารัตน์ ทวีนตุ ภาสันต์ ศารทูลทัต และพิมพ์นิภา เพ็งช่าง การเพิ่มผลผลิตเห็ดนางรม โดยใช้ อุณหภูมิต่าและสารกระตุ้นการเจริญ

596

วิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก และชัยพร จันคง

XXVI

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ชื่อเรื่ อง การให้ ผลผลิตและความงอกของเหง้ าข้ าวเย็นใต้ (Dioscorea membranacea Pierre ex Prain & Burkill)

หน้ า 600

นิชาภา บุญบริวารกุล ภาณุมาศ ฤทธิไชย และเยาวพา จิระเกียรติกลุ ผลของปุ๋ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดต่ ออัตราการเติบโต ผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ปริมาณ ธาตุอาหารในใบและในดิน และฤทธิ์การต้ านอนุมูลอิสระในผักเชียงดา ปริญญาวดี ศรี ตนทิพย์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ และทิพย์วรรณ ทูเดอะ

606

ผลของปุ๋ยมูลไก่ ต่ออัตราการเติบโต ผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ปริมาณธาตุอาหารในใบและใน ดินและฤทธิ์การต้ านอนุมูลอิสระในผักเชียงดา

614

ปริ ญญาวดี ศรี ตนทิพย์ ชิติ ศรี ตนทิพย์ และมยุรี โมงปั นแก้ ว ผลของการขาดนา้ ต่ อการเติบโตของตายอด ส่ วนที่บริโภคได้ และกิจกรรมต้ านอนุมูลอิสระ ในผักเชียงดา

623

ปริญญาวดี ศรี ตนทิพย์ และชิติ ศรี ตนทิพย์ ผลของสารเคมีต่อการยับยัง้ การแตกใบอ่ อนของลาไย ชิติ ศรี ตนทิพย์ สันติ ช่างเจรจา ยุทธนา เขาสุเมรุ และรัตนชัย พรมเทพอานวย ผลของนา้ หมักชีวภาพต่ อการเจริญเติบโตและคุณภาพของผักสลัดพันธุ์บัตเตอร์ เฮด และเรดคอเรล เยาวรัตน์ วงศ์ศรี สกุลแก้ ว สรศักดิ์ ทวีสนิ สุชาทัศน์ คงเจริ ญ และคณพศ ศรี รุวฒ ั น์ การใช้ ประโยชน์ ของปุ๋ยแคลเซียมซิลิเกตต่ อการผลิตกล้ ามะเขือเทศ กมลวรรณ คงสุดรู้ ศุภชัย อาคา ธงชัย มาลา และ พรไพรินทร์ รุ่งเจริญทอง

630

634

642

ผลของการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับวิธีการให้ ป๋ ุยด้ วยแคลเซียมซิลิเกตต่ อการผลิตกล้ า ผักกาดหัว รังสินี ประเสริฐวัฒนะ ศุภชัย อาคา ธงชัย มาลา และ พรไพรินทร์ รุ่งเจริญทอง

653

อิทธิพลของการพรางแสงต่ อการเจริญเติบโตและผลผลิตของบัวบก (Centella asiatica (L.) Urb.) ในช่ วงปลายฤดูหนาว บุษบา บัวคา และ รักเกียรติ แสนประเสริฐ

667

อิทธิพลของการผสมข้ ามที่มีผลต่ อการติดผลของส้ มโอทองดี ประวิทย์ ธรรมทะ สมยศ มีทา ราไพ นามพิลา สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา สุชีลา เตชะวงค์เสถียร และ

675

สังคม เตชะวงค์เสถียร

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

XXVII


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ชื่อเรื่ อง การศึกษาผลของวัสดุรองรั บต่ อการเปลี่ยนแปลงจานวนประชากร Trichoderma harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียน

หน้ า 679

คเณศ ใจเก่งกาจ ชิติพนั ธ์ ทองเจริญสุขชัย และ พรหมมาศ คูหากาญจน์ ผลของ 6-Benzyl-aminopurine (BAP) ต่ อการเจริญของตาที่ก้านช่ อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนนอป ซิสสายพันธุ์เวดดิง้ พรอมมะเนด สุเมธ ตรี ศกั ดิ์ศรี และดวงตา จวนเจริญ

687

ผลของการห่ อผลต่ อคุณภาพผลผลิตส้ มโอพันธุ์ทองดีและมณีอีสาน สมยศ มีทา สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน ราไพ นามพิลา และสังคม เตชะวงค์เสถียร

693

การเจริญเติบโตของปลีและประสิทธิภาพของสารฆ่ าแมลงในการควบคุมเพลีย้ ไฟ )Thrips hawaiiensis (Morgan)) ในกล้ วยไข่ )Musa accuminata, AA group) ยศพล ผลาผล ประสิทธิ์ ดีวฒ ั นวงศ์ และเจตนา ทองแย้ ม

697

ผลของปุ๋ยอินทรี ย์นา้ ต่ อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดฮ่ องเต้ จุฑามาส คุ้มชัย ศรสวรรค์ ศรี มา และชลธิชา วัดแป้น

704

ผลของปุ๋ยอินทรี ย์นา้ ต่ อการเจริญเติบโตและผลผลิตคะน้ า

708

พฤกษา วังแสง ศรสวรรค์ ศรี มา และจุฑามาส คุ้มชัย ประสิทธิภาพการเข้ าทาลายของไส้ เดือนฝอยศัตรู แมลงต่ างชนิดในแมลงวันผลไม้ ศัตรู พริก (Bactocera latifrons: Diptera;Tephitidae)

713

ภานุพงศ์ แสนบุดดา นุชรี ย์ ศิริ และประกายจันทร์ นิ่มกิ่งรัตน์ การศึกษาตัวทาละลายอินทรี ย์ท่ ีเหมาะสมในการสกัดสารอัลลีโลพาทีจากใบเลี่ยน ภัทริน วิจิตรตระการ มณทินี ธีรารักษ์ และจารูญ เล้ าสินวัฒนา

720

การสารวจโรคใบจุดในแปลงกล้ วยหอมทองอินทรี ย์เพื่อการส่ งออก ความสามารถในก่ อเกิด โรค และการควบคุมเชือ้ สาเหตุโดยชีววิธี อทิตยา ปาลคะเชนทร์ สมศิริ แสงโชติ และวีระณีย์ ทองศรี

727

อิทธิพลของนา้ คัน้ ชุมเห็ดเทศ (Cassia alata L.) ต่ อเชือ้ ราปฏิปักษ์ และเชือ้ ราสาเหตุโรคพืชผัก สุริยสิทธิ์ สมนึก ไพลิน เนินหาด ทิพประภา เมฆพัฒน์ และถนิมนันต์ เจนอักษร

735

พฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรู พืชของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี อุดมพร จอมพงษ์ จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และอามร อินทร์ สงั ข์

745

ศักยภาพทางอัลลีโลพาทีจากใบปอขีไ้ ก่ ต่อการงอกและการเจริญเติบโตของพืชทดสอบ

754

ณัฐนันท์ บุญยะพันธ์ ภาวิณี คาแสน ภัทริน วิจิตระการ จารูญ เล้ าสินวัฒนา และมณทินี ธีรารักษ์

XXVIII

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ชื่อเรื่ อง ผลของนา้ มันหอมระเหยจากพืชต่ อตัวเต็มวัยไรแดงแอฟริกัน (Eutetranychus africanus (Tucker )) สุชีรา ด่านอรุณ ภัทราภรณ์ หอมคง จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และอามร อินทร์ สงั ข์

หน้ า

การศึกษาประชากรแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนในแปลงพริก

767

760

อโนทัย วิงสระน้ อย และศรี สภุ า ลีทอง ผลของการใช้ เชือ้ รา Trichoderma sp. ต่ อการส่ งเสริมการเจริญเติบโตของว่ านหางจระเข้ ปวีณา บัญญัติ และศิริวรรณ แดงฉ่า

776

ผลของไคโตซานนา้ หนักโมเลกุล ต่า ปานกลาง และ สูง ต่ อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวผักงอก ไควาเระ ณภัทร ขวัญช่วย และพรประพา คงตระกูล

781

การทดสอบความสามารถในการเป็ นปฏิปักษ์ ของรา Trichoderma จากวัสดุรองรั บ ต่ อเชือ้ Pythium sp.

786

ทักษพร ช้ างม่วง ปาณิศา ประสม และพรหมมาศ คูหากาญจน์ การสารวจและอนุรักษ์ พันธุ์ไม้ ยืนต้ นท้ องถิ่นในเขตศูนย์ วจิ ัยและถ่ ายทอดเทคโนโลยี สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง อ.ด่ างช้ าง จ.สุพรรณบุรี สุดที่รัก สายปลื ้มจิตต์ ศุภร เหมินทร์ นิภาพร ยลสวัสดิ์ และจารูญ เล้ าสินวัฒนา

797

ปริมาณประชากร พัฒนาการ และการทดสอบเบือ้ งต้ นในการใช้ เชือ้ ราสาเหตุโรคแมลงเพื่อ ควบคุมด้ วงเจาะลาต้ นกล้ วย แสงแข น้ าวานิช วิบลู ย์ จงรัตนเมธีกลุ วราภรณ์ บุญเกิด โสภณ อุไรชื่น

803

และกัลยาณี สุวิทวัส ประสิทธิภาพการรมของสูตรนา้ มันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชยต่ อไรกินเชือ้ รา (Tyrophagus communis Fan&Zhang) และไรฝุ่ น (Dermatophagoides pteronyssinus (Trouessart)) สาวิตรี ชื่นบาล จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และอามร อินทร์ สงั ข์

808

ลักษณะโครมาโตแกรมโดย HPLC และฤทธิ์ต้านออกซิเดชันของกระชายและข่ า ศรัณย์ ฉวีรักษ์ และประธาน ฦๅชา

813

ผลของเชือ้ ราอาบัสคูล่า ไมคอไรซ่ าในการเพิ่มการเจริญเติบโต และผลผลิตของมะเขือเทศสีดา สิริพร สิริชยั เวชกุล และนิจพร ณ พัทลุง

823

การพัฒนาการของโรคและระดับความต้ านทานต่ อสารเคมีคาร์ เบนดาซิมของเชือ้ ราสาเหตุ โรคใบจุดของกล้ วยไข่ เพื่อการส่ งออกในภาคตะวันออกของประเทศไทย สุมาพร แสงเงิน สมศิริ แสงโชติ และวีระณีย์ ทองศรี

830

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

XXIX


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ชื่อเรื่ อง สหสัมพันธ์ ระหว่ างลักษณะทางกายภาพและสารพฤกษเคมีของผลหนามแดง สุนีรัตน์ อุดมภูมิ รักเกียรติ แสนประเสริฐ และทินน์ พรหมโชติ

หน้ า

เปรี ยบเทียบลักษณะบางประการของฟั กข้ าว 6 สายต้ น พิทกั ษ์ พุทธวรชัย นภา ขันสุภา วิรัติ อาพันธุ์ ปริญญาวดี ศรี ตนทิพย์ และอุกฤษฎ เจริญใจ

843

การศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของกล้ วยไม้ สกุลม้ าวิ่งในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่ าง ศรี ประไพ ธรรมแสง และกาญจนา รุ่งรัชกานนท์

849

การวิเคราะห์ ปริมาณโฮโลเซลลูโลสในไผ่ หวานอ่ างขางโดยวิธีอนิ ฟราเรดย่ านใกล้ ทศพล อุมะมานิต ณัฐภรณ์ สุทธิวิจิตรภักดี ศุมาพร เกษมสาราญ สุธีรา วิทยากาญจน์ และมะลิวลั ย์ หฤทัยธนาสันติ์

858

การคัดแยกกระเจี๊ยบเขียวที่มีแมลงเข้ าทาลายอยู่ภายในด้ วยการวิเคราะห์ หลายตัวแปรด้ วย เนียร์ อนิ ฟราเรดสเปกโทสโกปี ณัฐภรณ์ สุทธิวิจิตรภักดี ศุมาพร เกษมสาราญ ทศพล อุมะมานิต และวารุณี ธนะแพสย์

864

การผลิตไข่ นา้ ด้ วยนา้ ทิง้ จากบ่ อเลีย้ งปลาดุก

869

837

นิตยา เกตุแก้ ว ดวงรัตน์ ชูเกิด และสุรพล ฐิ ติธนากุล ประสิทธิภาพของนา้ มันหอมระเหยจากพืชในการป้ องกันการลงทาลายของปลวกใต้ ดนิ Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) วิกนั ดา รัตนพันธ์ และมานพ ธรสินธุ์

877

การปรั บปรุ งสายพันธุ์เห็ดสกุลเลนไทนัสให้ ได้ ผลผลิตสูงด้ วยรั งสีแกมมา

883

สาวิตรี ปราโมช ณ อยุธยา กัลยา รัตนถาวรกิติ และศิริชยั กีรติมณีกร การดัดแปรแป้ งข้ าวทางกายภาพ และการประยุกต์ ใช้ อุตสาหกรรมการผลิตเส้ นก๋ วยเตี๋ยว สุภาวดี แช่ม และสุกญ ั ญา สายธิ

887

การประเมินความต้ านทานต่ อไวรั สใบด่ างแตงในพริกพันธุ์ลูกผสม สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง จตุพร ไกรถาวร และสรพงษ์ เบญจศรี

894

ความเป็ นพิษและประสิทธิภาพการรมของนา้ มันหอมระเหยส้ มโอและเกรฟฟรุ ตในการกาจัด ด้ วงงวงข้ าว (Sitophilus oryzae L.) อรรถสิทธิ์ คล้ ายสุบรรณ และฤชุอร วรรณะ

900

ฤทธิ์ทางชีวภาพของหัวมันแกวเพื่อพัฒนาเป็ นผลิตภัณฑ์ เพื่อสุขภาพ สุธิดา เรื อนเงิน ฉันทนา อารมย์ดี นาฎศจี นวลแก้ ว สุธาสินี ทัพพสารพงศ์ และรัชยาพร อโนราช

905

การพัฒนาแผนกลยุทธ์ หมากเม่ าในจังหวัดสกลนคร

910

กรรณิการ์ สมบุญ สุดารัตน์ สกุลคู พรประภา ชุนถนอม ศิริพร สารคล่อง และเดือนรุ่ง อุบาลี

XXX

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ชื่อเรื่ อง การสารวจกิจกรรม สิ่งอานวยความสะดวก และการจัดการของสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร 3 แห่ ง ในจังหวัดราชบุรี

หน้ า 919

ปาณิตา อ่อนแสง และ ศศิยา ศิริพานิช การเสริมสร้ างทักษะทางด้ านการเกษตรสาหรั บผู้พกิ ารทางสายตา

927

วรวุฒิ ร่มฟ้าจรรกุล จันทรา ไชยแสน กรองกาญจน์ สายมัน และสุรพล ใจวงศ์ษา การประยุกต์ ใช้ รูปแบบสวนยุคอาณานิคมเพื่อสร้ างสวนสาธารณะแบบร่ วมสมัยในการออกแบบ ภูมสิ ถาปั ตยกรรมพืน้ ที่รอบโบราณสถานของชาติโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราชหลังเก่ า วรงศ์ นัยวินิจ ภาคภูมิ สืบนุการณ์ รักเกียรติ แสนประเสริ ฐ ทวีศกั ดิ์ วิยะชัย

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

935

XXXI


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

XXXII

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

1


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

2

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อิทธิพลของ BA และ NAA ต่ อการเพิ่มจานวนยอดรวมของฟั กข้ าว Effects of BA and NAA on multiple shoot induction in Gac fruit ไซนีย๊ะ สะมาลา1* พลวัต ภัทรกุลพิสุทธิ1 สมปอง เตชะโต2 และ สุรีรัตน์ เย็นช้ อน2 Sainiya Samala1* Ponlawat Pattarakulpisutti1 Sompong Te-chato2 and Sureerat Yenchon2

บทคัดย่ อ ฟั กข้ าว (Momordica cochinchinensis (Lour.) Spreng) จัดเป็ นพืชใบเลี ้ยงคู่ นิยมขยายพันธุ์โดยใช้ เมล็ด แต่ เนื่องจากฟั กข้ าวมีระยะการพักตัวของเมล็ดอีกทังมี ้ เปลือกหุ้มเมล็ดที่ห นามาก และเป็ นต้ นเพศผู้กบั ต้ นเพศเมีย ซึ่งไม่สามารถ แยกเพศในระยะเมล็ดหรื อต้ นอ่อนได้ ส่งผลให้ การขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มผลผลิตเป็ นปั ญหาต่อเกษตรกรเป็ นอย่างมาก การศึกษา ครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อขยายพันธุ์ฟักข้ าวแบบไม่อาศัยเพศ โดยศึกษาผลของสารควบคุมการเจริ ญเติบโต 2 ชนิด คือเบนซิลอา ดินีน (6-benzyladenine ; BA) และกรดแนปธาลีนอะซีติค (∂-naphthalene acetic acid ; NAA) ที่มีผลต่อการเพิ่มจานวน ยอดรวม ผลการทดลองพบว่าจากการเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนข้ อบนอาหารแข็งสูตร MS ที่ เติมน ้าตาลซูโครส 3 เปอร์ เซ็นต์ เติม BA ความเข้ มข้ นต่าง ๆ (0-2 มิลลิกรัมต่อลิตร) ร่ วมกับ NAA ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร นาไปเลี ้ยงในที่อุณหภูมิ 26±2 องศาเซลเซียส ให้ แสง 14 ชัว่ โมงต่อวัน หลังการเพาะเลี ้ยงเป็ นเวลา 6 สัปดาห์ พบว่าชิ ้นส่วนข้ อที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารที่เติม BA เข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA เข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ เปอร์ เซ็นต์การเกิดยอดรวมได้ 100 เปอร์ เซ็นต์ และให้ จานวนยอดสูงสุด 8.93 ยอด สูงกว่าชิ ้นส่วนข้ อที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารที่เติม NAA เพียงอย่างเดียว ดังนันการศึ ้ กษาครัง้ นี ้พบว่า ความเข้ มข้ นของ BA และ NAA มีปฏิกิริยาปฏิสมั พันธ์ระหว่างกันในการชักนาการเกิดยอด คาสาคัญ : การขยายพันธุ์ ฟั กข้ าว สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช

Abstract Gac fruit (Momordica cochinchinensis (Lour.) Spreng) is a dicotyledonous plant. This plant can be propagated from seeds. However, due to seed dormancy, thick seed coat, and the dioecious nature of the Gac fruit that sex cannot be identified from seeds or sprouts, propagation to increase crop production for farmers is limited. This study aimed to develop a protocol for asexual propagation of this species. In particular effect of 2 growth regulators, i.e. 6-benzyl adenine (BA) and ∂-naphthalene acetic acid (NAA) on multiple shoot induction were studied. Nodal explants were cultured on MS supplemented with 3 % sucrose with various concentration of BA ranging from 0-2 mg/l, and NAA 0.5 mg/l. The explants were kept at 26±2 oC under 14 hour’s photo period for 6 weeks. The result showed that the highest multiple shoot percentage (100%) and number of shoot per explant (8.93 shoots per explant) could be achieved from nodal explants cultured on 1 mg/l BA supplemented with 0.5 mg/l NAA, which was better than using NAA only. Therefore, this study indicated the interaction effect of BA and NAA on multiple shoot induction. Keywords : propagation, Momordica cochinchinensis (Lour.) Spreng, plant growth regulators

คานา ฟั กข้ าว Momordica cochinchinensis (Lour.) Spreng จัดเป็ นพืชตระกูลมะระ แตงกวา เดิมมีถิ่นกาเนิดแถบ ประเทศเอเชียเขตร้ อน สาหรับเมืองไทยปลูกมากในเขตภาคเหนือ และภาคกลาง จัดเป็ นพืชดิพลอยด์มีจานวนโครโมโซม 2n=2x=14 ฟั กข้ าวเป็ นพืชเศรษฐกิจและสมุนไพรที่สาคัญ หมอพื ้นบ้ านใช้ ภมู ิปัญญาในการนาฟั กข้ าวเป็ นยารักษาโรคและ อาหารมาตังแต่ ้ สมัยโบราณ ปั จจุบนั มีการนาเยื่อหุ้มเมล็ดมาสกัดน ้ามัน ทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระนามาแปรรูปเป็ น 1

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ ธานี จังหวัดสุราษฎร์ ธานี 84100 Biology Program, Faculty of Science and Technology, Suratthani Rajabhat University, Suratthani, 84100, Thailand. 2 ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จ. สงขลา 90112 2 Department of Plant Science, Faculty of Natural Resources, Prince of Songkla University, Hat Yai, Songkhla, 90112, Thailand. 1

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

3


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อาหาร เครื่ องดื่มและเครื่ องสาอาง การขยายพันธุ์ฟักข้ าวตามธรรมชาตินิยมใช้ สว่ นของเมล็ด แต่เนื่องจากต้ นฟั กข้ าวแยก เพศเป็ นต้ นเพศผู้กบั ต้ นเพศเมีย และไม่สามารถแยกเพศในระยะเมล็ดได้ ดังนันหลั ้ งจากปลูกแล้ วจะได้ ต้นทังสองเพศ ้ ทาให้ เกษตรกรประสบปั ญหาเรื่ องผลผลิตที่บางต้ นไม่ให้ ผลเลย อีกทังเมล็ ้ ดฟั กข้ าวมีเปลือกแข็งมาก เกษตรกรที่เพาะเมล็ดต้ องมี ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้ างของเมล็ดพอสมควร การเพาะเมล็ดพันธุ์นนต้ ั ้ องแช่น ้าทิ ้งเอาไว้ ทงคื ั ้ น แล้ วค่อยเอาเมล็ดมากะเทาะ เปลือกให้ เปิ ดออก โดยไม่ให้ เนื ้อข้ างในเปลือกหุ้มเมล็ดช ้าจากนันต้ ้ องเอาด้ านแหลมของเมล็ดปั กลงดิน รดน ้าให้ ช่มุ ในดิน เพาะกล้ าและคุมความชื ้นให้ อยู่ในระดับคงที่ ใช้ เวลาไม่น้อยกว่า 15 วัน ถึงจะรู้ว่าเมล็ดจะงอกหรื อไม่ ฟั กข้ าวนับว่าเป็ นพืชเศรษฐกิจที่ยงั คงมีแนวโน้ มความต้ องการเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามยังมีปัญหาเรื่ อง การขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดที่ไม่สามารถแยกเพศได้ ส่งผลทาให้ พื ้นที่ปลูกต่อต้ นให้ ผลผลิตไม่สม่าเสมอ จากปั ญหาการ ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดที่ไม่สามารถเลือกเพศของต้ นกล้ าได้ สง่ ผลต่อปริมาณผลผลิต จึงได้ มีการพัฒนาหาแนวทางเพื่อ แก้ ปัญหาดังกล่าวโดยการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ ซึง่ เป็ นการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ต้ นกล้ าที่ได้ จงึ มีลกั ษณะเหมือนพ่อแม่ ทุกประการ ช่วยให้ เกษตรกรขยายพันธุ์ต้นกล้ าที่ให้ ผลผลิตดี ปั จจุบนั ได้ มีรายงานการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืชสกุล Momordica ได้ สาเร็จ (Sultana and Rahman (2012) ; Ma et al., (2012); Tang (2011) ; Thakur et al., (2011)) ซึง่ ฟั ก ข้ าวจัดเป็ นพืชในสกุลดังกล่าว ดังนันจึ ้ งมีความเป็ นไปได้ สงู ที่จะสามารถขยายพันธุ์ฟักข้ าวโดยการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อได้ สาเร็จ อย่างไรก็ตามต้ องมีการศึกษาปั จจัยต่าง ๆ ได้ แก่ สูตรอาหาร ชิ ้นส่วนพืชเริ่มต้ น ชนิดและความเข้ มข้ นของสาร ควบคุมการเจริ ญเติบโตที่เหมาะสมต่อการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อฟั กข้ าว วัตถุประสงค์ของการศึกษาครัง้ นี ้ เพื่อศึกษาวิธีการ ขยายพันธุ์ฟักข้ าวให้ ได้ ปริมาณมากในระยะเวลาอันสันและประหยั ้ ดต้ นทุนแรงงาน รวมทังลดพื ้ ้นที่ในการขยายพันธุ์ โดย การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อภายใต้ สภาวะปลอดเชื ้อ ซึง่ จะศึกษาชนิดและความเข้ มข้ นของสารควบคุมการเจริญเติบโต คือเบนซิล อาดินีน (6-benzyladenine ; BA) และกรดแนปธาลีนอะซีติค (∂-naphthalene acetic acid ; NAA) ที่เหมาะสมต่อการชัก นาให้ เกิดยอดรวม ผลที่ได้ จากการศึกษาครัง้ นี ้ จะเป็ นแนวทางหนึง่ ในการขยายพันธุ์ และคาดว่าสามารถต่อยอดในการ ปรับปรุงพันธุ์ฟักข้ าวต่อไปในอนาคต

อุปกรณ์ และวิธีการ ฟั ก ข้ า วที่ ใ ช้ ใ นการทดลอง เป็ น ฟั ก ข้ า วที่ ใ ห้ ผ ลผลิ ต สูง จากเกษตรกรบ้ า นเขานาใน อ.พนม จ.สุร าษฎร์ ธ านี การศึกษาครัง้ นี ้นาชิ ้นส่วนข้ อเป็ นชิ ้นส่วนเริ่มต้ น โดยศึกษาผลของ BA และ NAA ต่อการชักนายอดของฟั กข้ าว ศึกษาอิทธิพลของ 2 ปั จจัย ที่มีต่อการชักนาให้ เกิดยอด เพื่อเพิ่มปริ มาณต้ นฟั กข้ าวในสภาพปลอดเชื ้อ โดยปั จ จัย A คือ BA ระดับความเข้ มข้ นต่างกัน 4 ระดับ และปั จจัย B คือ NAA ระดับความเข้ มข้ นต่างกัน 2 ระดับ โดยทาการเพาะเลี ้ยง ชิ ้นส่วนข้ อบนอาหาร 8 สูตร ได้ แก่ สูตรที่ 1 อาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) น ้าตาลซูโครส 3 เปอร์ เซ็นต์ ที่ปราศจากสารควบคุม การเจริ ญเติบโต ผงวุ้น 0.75 เปอร์ เซ็นต์ สูตรที่ 2 อาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) น ้าตาลซูโครส 3 เปอร์ เซ็นต์ เติม NAA ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ผงวุ้น 0.75 เปอร์ เซ็นต์ สูตรที่ 3 อาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) น ้าตาลซูโครส 3 เปอร์ เซ็นต์ เติม BA ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ผงวุ้น 0.75 เปอร์ เซ็นต์ สูตรที่ 4 อาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) น ้าตาลซูโครส 3 เปอร์ เซ็นต์ เติม BA ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ผงวุ้น 0.75 เปอร์ เซ็นต์ สูตรที่ 5 อาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) น ้าตาลซูโครส 3 เปอร์ เซ็นต์ เติม BA ความเข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ผงวุ้น 0.75 เปอร์ เซ็นต์ สูตรที่ 6 อาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) น ้าตาลซูโครส 3 เปอร์ เซ็นต์ เติม BA ความเข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ผงวุ้น 0.75 เปอร์ เซ็นต์ สูตรที่ 7 อาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) น ้าตาลซูโครส 3 เปอร์ เซ็นต์ เติม BA ความเข้ มข้ น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ผงวุ้น 0.75 เปอร์ เซ็นต์ สูตรที่ 8 อาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) น ้าตาลซูโครส 3 เปอร์ เซ็นต์ เติม BA ความเข้ มข้ น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ผงวุ้น 0.75 เปอร์ เซ็นต์ 4

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

นาชิ ้นส่วนข้ อไปเพาะเลี ้ยงบนอาหารทัง้ 8 สูตร และนาไปเลี ้ยงในสภาพห้ องเลี ้ยงอุณหภูมิ 26±2 องศาเซลเซียส ให้ แสง 14 ชัว่ โมงต่อวัน แต่ละความเข้ มข้ นทา 5 ซ ้า ซ ้าละ 5 ขวด หลังการเพาะเลี ้ยงเป็ นเวลา 6 สัปดาห์ ตรวจนับเปอร์ เซ็นต์การ สร้ างยอด จานวนยอดเฉลี่ยต่อชิ ้นส่วนเริ่ มต้ น เปรี ยบเทียบกันในแต่ละชุดการทดลอง โดยวางแผนการทดลองแบบ 4 x 2 factorial in CRD (ตารางที่ 1) และเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยเปอร์ เซ็นต์การงอกโดยวิธี DMRT Table 1 4x2 factorial experiment in CRD. factor A (BA, mg/l) 0 0.5 1 2

factor B (NAA, mg/l) 0 a1b1 a2b1 a3b1 a4b1

0.5 a1b2 a2b2 a3b2 a4b2

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. ผลของ BA และ NAA ต่ อการชักนายอดของฟั กข้ าว จากการศึกษาพบว่าชิ ้นส่วนข้ อที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารที่เติม BA ร่ วมกับ NAA ให้ เปอร์ เซ็นต์การเกิดยอดได้ 100 เปอร์ เซ็นต์ สูงกว่าชิ ้นส่วนที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารที่เติม NAA เพียงอย่างเดียว และอาหารที่ไม่มีการเติมสารควบคุมการ เจริ ญเติบโตให้ เปอร์ เซ็นต์การสร้ างยอด 61.11 เปอร์ เซ็นต์ แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ(p≤0.01) และพบว่าความ เข้ มข้ นของ BA และ NAA มีปฏิกิริยาปฏิสมั พันธ์ระหว่างกันในการชักนาการเกิดยอด (ตารางที่ 2) เมื่อพิจารณาจานวนยอดต่อ ชิ ้นส่วน พบว่าอาหารที่เติม BA ความเข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตรร่วมกับ NAA ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ จานวนยอด ต่อชิ ้นส่วนสูงสุด 8.93 ยอดต่อชิ ้นส่วนแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ (p≤0.01) กับชุดการทดลองอื่น ๆ (ตารางที่ 3) ซึ่ง ชิ ้นส่วนข้ อที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม BA เพียงอย่างเดียวจะให้ จานวนยอดต่อชิ ้นส่วนต่ากว่าอาหารที่มีการเติม BA ร่วมกับ NAA (ภาพที่ 1) จากการศึกษานี ้พบว่า ความเข้ มข้ นของ BA ที่ใช้ สง่ ผลต่อจานวนยอดต่อชิ ้นส่วน ซึง่ จานวนยอดต่อ ชิ ้นส่วนจะลดลงเมื่อเพาะเลี ้ยงบนอาหารที่เติม BA ความเข้ มข้ นต่าหรื อสูงเกินไป สอดคล้ องกับการศึกษาของ Selvaraj และ คณะ (2007) รายงานว่าการเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนยอดของแตงกวาบนอาหารที่เติม BA ความเข้ มข้ นต่าง ๆ (4.44-11.10 ไมโครโม ลาร์ ) ร่วมกับ NAA ความเข้ มข้ น 1.34 ไมโครโมลาร์ พบว่า BA ความเข้ มข้ น 8.88 ไมโครโมลาร์ ให้ เปอร์ เซ็นต์การเกิดยอดได้ สูงสุด 75.6 เปอร์ เซ็นต์ และให้ จานวนยอด 36.2 ยอดต่อชิ ้นส่วน เปอร์ เซ็นต์การสร้ างยอดและจานวนยอดต่อชิ ้นส่วนจะลดลง เมื่อความเข้ มข้ นของ BA ต่า หรื อสูงกว่า 8.88 ไมโครโมลาร์ การศึกษานี ้พบว่าเปอร์ เซ็นต์การเกิดยอดและจานวนยอดต่อชิ ้นส่วนเพิ่มขึ ้นเมื่อความเข้ มข้ นของ BA เพิ่มขึ ้นในความ เข้ มข้ นที่ไม่ต่าหรื อสูงเกินไป เนื่องจาก BA เป็ นสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุม่ ไซโตไคนิน โดยทัว่ ไปแล้ วไซโตไคนินที่เติมลง ในอาหารเพาะเลี ้ยงมีผลในการกระตุ้นให้ เกิดการแบ่งเซลล์ กระตุ้นให้ เกิดยอด (บุญยืน, 2547) หน้ าที่หลักของไซโตไคนิน คือ ช่วยให้ ไซโตพลาสซึมของเซลล์ในส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น ลาต้ น และราก เกิดการแบ่งตัว (นิตย์, 2541) และเร่งการขยายตัว ของเซลล์ ไซโตไคนินสามารถขยายขนาดของแวคิวโอลในเซลล์ ทาให้ เซลล์ขยายใหญ่ขึ ้นได้ สง่ เสริมการสร้ างและการเจริญของ ตา การเพิ่มไซโตไคนินให้ กบั ตาข้ าง (lateral buds) ทาให้ แตกออกมาเป็ นใบได้ ทังนี ้ ้เพราะตาข้ างจะดึงอาหารมาจากส่วนอื่น (ดนัย, 2540) และจากการศึกษานี ้ยังพบว่าการเติม BA ร่วมกับ NAA ให้ ผลดีกว่าการเติมสารดังกล่าวเพียงอย่างใดอย่างหนึง่ เนื่องจากการเติมออกซินและไซโตไคนินรวมกันจะมีผลทาให้ การเจริญเติบโตของเนื ้อเยื่อดีกว่าการใช้ ออกซินหรื อไซโตไคนิน อย่างใดอย่างหนึง่ แต่เพียงอย่างเดียว

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

5


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Effect of BA and NAA on shoot formation of Momordica cochinchinensis after 6 weeks of culture. concentration of BA (mg/L) 0 0.5 1 2 meanNAA BA NAA BA x NAA C.V. (%)

shoot formation (%) 0 mg/L NAA 0.5 mg/L NAA b 61.11 ± 19.24 88.88 ± 9.62 a 100.00 ± 0.00a 100.00 ± 0.00 a 100.00 ± 0.00 a 100.00 ± 0.00 a 100.00 ± 0.00 a 100.00 ± 0.00 a 90.28B 97.22A ** * ** 8.34

meanBA 74.99B 100.00A 100.00A 100.00A

Numbers followed by different lower-case letters are statistically different by DMRT. Numbers followed by different upper-case letters in the same column are statistically different among the means in each concentration of BA averaged form the two concentrations of NAA by DMRT. Numbers followed by different upper-case letters in the same row are statistically different among the means in each concentration of NAA averaged form the four concentrations of BA by DMRT. * p≤0.05 **p≤0.01 Table 3 Effect of BA and NAA, different concentrations on shoot number per explant after 6 weeks of culture. number of shoots/explant meanBA 0 mg/L NAA 0.5 mg/L NAA 0 1.27 ± 0.78d 2.17 ± 1.01d 1.72 C 0.5 4.89 ± 1.39c 5.72 ± 1.18bc 5.30B 1 6.55 ± 1.13bc 8.93 ± 1.36a 7.74A 2 7.72 ± 1.25ab 7.11 ± 0.84ab 7.41 A meanNAA 5.11 5.98 BA ** NAA ns BA x NAA ns C.V. (%) 20.85 Numbers followed by different lower-case letters are statistically different by DMRT. Numbers followed by different upper-case letters in the same column are statistically different among the means in each concentration of BA averaged form the two concentrations of NAA by DMRT. Numbers followed by different upper-case letters in the same row are statistically different among the means in each concentration of NAA averaged form the four concentrations of BA by DMRT. **p≤0.01 ns there is no significant difference concentration of BA (mg/L)

6

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Shoots formation of plants cultured on MS medium supplemented with 1 mg/l BA (a), supplemented with 1 mg/l and 0.5 mg/l NAA (b) after 6 weeks of culture (bar = 1 centimeter). 2. ผลความเข้ มข้ นของธาตุอาหารต่ อการยืดยาวของยอด จากการเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนยอดบนอาหารแข็งสูตร MS และสูตร MS ที่ลดองค์ประกอบของธาตุอาหารลงครึ่งหนึ่ง (1/2MS) ที่เติมน ้าตาลซูโครส 3 เปอร์ เซ็นต์ หลังจากเพาะเลี ้ยงเป็ นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าชิ ้นส่วนที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร MS ให้ เปอร์ เซ็นต์การสร้ างยอดใหม่ 74 เปอร์ เซ็นต์สงู กว่าอาหารสูตร 1/2MS (58 เปอร์ เซ็นต์) แต่อาหารสูตร 1/2MS ให้ เปอร์ เซ็นต์การเกิดรากได้ สงู กว่าอาหารสูตร MS แตกต่างทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ (ตารางที่ 4) เมื่อพิจารณาความสูงและ จานวนใบต่อต้ น พบว่า อาหารสูตร 1/2MS ให้ การยืดยาวของยอดได้ ดีกว่าอาหารสูตร MS โดยให้ ความสูง 5.2 เซนติเมตร และ ให้ จานวนใบต่อต้ น 7.76 ใบ สูงกว่าอาหารสูตร MS ซึง่ ให้ ความสูงต้ น 3.01 เซนติเมตร และจานวนใบต่อต้ น 4.04 ใบ แตกต่าง ทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ (ตารางที่ 5) และต้ นที่เพาะเลี ้ยงมีการสร้ างแคลลัสเกาะตัวกันแน่น บริ เวณโคนต้ น บนอาหารทังสอง ้ สูตร (ภาพที่ 2) จากการศึกษานี ้ สอดคล้ องกับการศึกษาของ Thakur et al., (2011) พบว่า การเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนยอดของ Momordica balsamina บนอาหารที่มีความเข้ มข้ นของธาตุอาหารต่างกัน (MS, 1/2MS และ 1/4MS) ส่งผลต่อการเกิดยอด และการยืดยาวของยอด ซึง่ พบว่าการเพาะเลี ้ยงบนอาหาร 1/2MS ให้ การยืดยาวของยอดได้ ดีกว่าอาหาร MS และ 1/4MS Table 4 Effect of nutrient media on shoot and root formation after 6 weeks of culture. media

shoot formation (%)

MS 74.00 ± 5.47a 1/2MS 58.00 ± 4.47b t ** C.V. (%) 7.57 Means with the same letter are not significantly different by T-test. * p≤0.05 ** p≤0.01

root formation (%) 16.00 ± 8.94b 28.00 ± 4.47a * 32.14

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

7


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 5 Effects of nutrient media on plant height and number of leaf after 4 weeks of culture. height (cm.) MS 3.01 ± 0.24 b 1/2MS 5.2 ± 0.08 a t ** C.V. (%) 4.38 Means with the same letter are not significantly different by T-test. ** (p≤0.01)

number of leave/explant 4.04 ± 0.29 b 7.76 ± 0.61 a ** 8.09

Figure 2 Effect of nutrient media on development of shoot in plants cultured on MS medium (a), 1/2MS medium (b) after 4 weeks of culture (bar = 1 centimeter).

สรุ ปผลการทดลอง ชิ ้นส่วนข้ อที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารที่เติม BA ร่วมกับ NAA ให้ เปอร์ เซ็นต์การเกิดยอดได้ 100 เปอร์ เ ซ็นต์ สูงกว่าชิ ้นส่วน ที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารที่เติม NAA เพียงอย่างเดียว อาหารที่เติม BA ความเข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตรร่วมกับ NAA ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้ จานวนยอดต่อชิ ้นส่วนสูงสุด 8.93 ยอดต่อชิ ้นส่วน อาหารสูตร 1/2MS ให้ การยืดยาวของยอดได้ ดีกว่า อาหารสูตร MS โดยให้ ความสูง 5.2 เซนติเมตร และให้ จานวนใบต่อต้ น 7.76 ใบ

กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยครั ง้ นี ไ้ ด้ รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณหมวดเงิ นแผ่นดิน มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุราษฎร์ ธ านี ประจาปี งบประมาณ พ.ศ.2558 ขอขอบคุณโครงการอนุรักษ์ พนั ธุกรรมพืชและขยายพันธุ์พื ชเศรษฐกิจ สาขาวิชาชีววิทยา คณะ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ ธานี ที่ให้ ความอนุเคราะห์ห้องปฏิบตั ิในการทาวิจยั ครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง บุญยืน กิจวิจารณ์. 2547. เทคโนโลยีเบื ้องต้ นการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืชเพื่อพัฒนาพันธุ์พืช. หจก. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.ขอนแก่น. ดนัย บุณยเกียรติ. 2540. สรี รวิทยาหลังเก็บเกี่ยวของพืชสวน. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่. นิตย์ ศกุนรักษ์ . 2541. สรี รวิทยาของพืช. ภาควิชาพืชไร่ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ .เชียงใหม่. Ma, C., Y. Tang., X. Li., J. Li., Li. Wang. and H. Li. 2012. In vitro induction of multiple buds from cotyledonary nodes of Balsam pear (Momordica charantia L.). Afr. J. Biotechnol. 11: 3106-3115. 8

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Murashige, T. and F. Skoog.1962. A revised medium for rapid growth and bioassays with tobacco tissue culture. J. Plant Physio. 15 : 473- 497. Selvaraj, N., A. Vasudevan., M. Manickavasagam., S. Kasthurirengan. and A. Ganapathi. 2007. High frequency shoot regeneration from cotyledon explants of cucumber via organogenesis. Sci. Hortic. 112 : 2-8. Sultana, S.R. and M.M. Rahman. 2012. Cells structure and morphogenesis of embryogenic aggregates in suspension culture of bitter melon (Momordica charantia L.). Int. J. Biosci. 2 : 97-105. Tang, Y. 2011. Additives Promote Adventitious Buds Induction from Stem Segments of Bitter Melon (Momordica charantia L.). J. Agricul. Sci., 3 : 1916-9760. Thakur, S.G., R. Sharma., S.B. Sanodiya., M. Pandey., R. Baghel., A. Gupta., G.B. Prasad., and S. P. Bisen. 2011. High frequency in vitro shoot regeneration of Momordica balsamina, an important medicinal and nutritional plant. Afr. J. Biotechnol. 10 : 15808-15812.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

9


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ศึกษาผลของปริมาณอาหารเหลวและสภาพเลีย้ งที่มีต่อการแตกยอดว่ านแสงอาทิตย์ ในสภาพปลอดเชือ้ Effect of Liquid Medium Quantity and Culture Condition for Axillary Shoot of Haemanthus multiflorus (Tratt.) อิศร์ สุปินราช1 สุมิตรา สุปินราช2 ณัฐยา เทพสาร3 Natthaya Thepsan3, Iss Supinrach1 and Sumidtra Supinrach2

บทคัดย่ อ ว่านแสงอาทิตย์ (Haemanthus multiflorus Tratt.) มีช่อดอกสีแดงรูปทรงแบบ umbel สามารถปลูกได้ ดีในกระถาง และมีศักยภาพในการใช้ เป็ นไม้ ตัดดอกได้ ดี พัฒนาเป็ นไม้ กระถางหรื อไม้ ดอกประดับแปลงได้ การทดลองนีจ้ ึงศึกษาสูตรที่ เหมาะสมต่อการชักนาให้ เกิดยอดว่านแสงอาทิตย์ในสภาพปลอดเชื ้อ โดยนาชิ ้นส่วนของหัวว่านแสงอาทิตย์นามาเพาะเลี ้ยงบน อาหารสูตร Murashige and Skoog (MS) ที่มีปริ มาณอาหารเหลว 10, 15, 20 และ 25 มิลลิกรัมต่อลิตรเลี ้ยงบนเครื่ องเขย่าและ เลี ้ยงบนที่เรี ยบ เป็ นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ภายใต้ สภาพอุณหภูมิ 25+3 องศาเซลเซียส ความชื ้นสัมพัทธ์ 80% และความเข้ ม แสง 3,000 ลักซ์ พบว่า อาหารสูตร MS ที่มีปริ มาณอาหารเหลว 10 มิลลิลิตร มีผลทาให้ น ้าหนักต้ นกล้ าว่านแสงอาทิตย์สงู ที่สดุ คือ 1197.210 มิลลิกรัม ส่วนการวางอาหารเหลวบนเครื่ องเขย่าและเลี ้ยงบนพื ้นเรี ยบไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติแต่การเลี ้ยง บนเครื่ องเขย่ามีแนวโน้ มทาให้ การเจริญเติบโตด้ านความสูงของหน่อ จานวนกลีบ และน ้าหนักสดสูงที่สดุ คาสาคัญ : ว่านแสงอาทิตย์ การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ อาหารเหลว shaker

Abstract Haemanthus multiflorus Tratt. has red inflorescence with umbel shape. It is well adapted in potting cultivation. It has high potential for being cutting flower plant, which can be further developed for ornamental potting plant and ornamental gardening plant. This research focused on finding the optimal liquid medium for shoot formation of Haemanthus multiflorus under sterile condition. Pieces of the bulb were cultured in 10, 15, 20 and 25 ml of Murashige and Skoog (ms) with and without shaking for 12 weeks (25 C0, 80% humidity and 3,000 lux). It was found that 10 ml of MS yielded the highest fresh weight, 1,197.210 mg. There was no significant different between shoot formations under shaking and non-shaking condition. However, there was slight trend that shaking condition resulted in better growth, plant height, petals number and fresh weight. Key words: Haemanthus multiflorus, tissue culture, liquid medium, shaker

1

อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีภมู ิทศั น์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง eedsara@gmail.com อาจารย์ประจาสาขาวิชาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง rungpop116@gmail.com 3 นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง natthaya0882331185@gmail.com 2

10

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ปั จจุบนั ไม้ ดอกประเภทหัวเป็ นไม้ ดอกที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจในประเทศทางตะวันตกของโลก โดยเฉพาะประเทศ เนเธอร์ แลนด์มีธุรกิจในการจาหน่ายไม้ ดอกหัวประมาณ 65 เปอร์ เซ็นต์ (%) ในตลาดโลกและมีบริษัทผู้ผลิตไม้ ดอกประเภทหัว ภายในประเทศ 3,090 บริษัท เป็ นบริษัทที่ทาการส่งออกหัวพันธุ์จานวน 540 บริษัทโดยมีชนิดของไม้ ดอกที่ทาการผลิตคือ tulip, lily, gladiolus, narcissus, hyacinth, iris, crocus และ dahlia เป็ นส่วนใหญ่ (พินิจดา, 2543) ว่านแสงอาทิตย์ (Haemanthus multiflorus) หรื อ Blood lily (นิรนาม ก., 2557) เป็ นพืชที่มีลกั ษณะเป็ นไม้ ล้มลุก ลาต้ นเป็ นหัว คล้ ายหอมหัวใหญ่ (นิรนาม ข. 2557) เจริญอยูใ่ ต้ ดิน ใบเลี ้ยงเดี่ยว ลักษณะเด่นที่ช่อดอกสีแดงรูปทรงแบบ Umbel ดอกติดกันแน่นบานฟูออกพร้ อมกันมี ประมาณ 200 ดอกต่อช่อ เส้ นผ่าศูนย์กลางดอกประมาณ 8-10 เซนติเมตร (ซม.) ลาตรงสีเขียวอ่อน (วิไลลักษณ์, 2538) อยูใ่ น ตระกูล Amaryllidaceae มีถิ่นกาเนิดอยูท่ ี่ south tropical Africa (เอกรัตน์, 2543) สามารถปลูกได้ ดีในกระถางมีศกั ยภาพในการใช้ เป็ นไม้ ตดั ดอกได้ ดี (วิชยั , 2532) ได้ รับความสนใจในการผลิตเพื่อธุรกิจการค้ ามากยิ่งขึ ้น โดยเฉพาะผู้ผลิตในญี่ปนุ่ มีการสัง่ หัว พันธุ์วา่ นแสงอาทิตย์ไปผลิตเป็ นไม้ กระถาง (สมเพียร, 2535) ฉะนันความต้ ้ องการต้ นพันธุ์เพื่อใช้ ในการผลิตหัวพันธุ์จาหน่ายและ ส่งออกจึงมีเพิ่มมากขึ ้นเรื่ อยๆ แต่การขยายพันธุ์วา่ นแสงอาทิตย์โดยการผ่าหัวหรือแยกหัวไปปลูกจะได้ จานวนต้ นใหม่น้อยมาก ได้ เท่ากับจานวนชิ ้นหัวที่ผ่าหรื อแยกปลูก (วิชยั , 2532) การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืชในสภาพปลอดเชื ้อเป็ นวิธีการขยายพันธุ์ที่ใช้ กนั มาก เพราะสามารถเพิ่มปริมาณต้ นพันธุ์จานวนมากในเวลาอันรวดเร็วได้ จึงน่าจะมีแนวโน้ มที่จะนาเอาเทคนิคนี ้มาขยายพันธุ์วา่ น แสงอาทิตย์ในสภาพปลอดเชื ้อได้ แต่ความสาเร็จของการขยายพันธุ์โดยวิธีนี ้ขึ ้นอยูก่ บั ปั จจัยหลายอย่าง เช่น ตาแหน่งชิ ้นส่วนของ พืชที่นามาเพาะเลี ้ยง อาหารสังเคราะห์ เป็ นต้ น (ทรงพล, 2537) ซึง่ รายงานการวิจยั การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อว่านแสงอาทิตย์ยงั มีน้อย มาก ด้ วยเหตุนี ้จึงได้ ศกึ ษาผลของปริมาณอาหารเหลว และสภาพเลี ้ยงที่มีตอ่ การแตกยอดว่านแสงอาทิตย์ในสภาพปลอดเชื ้อ วัตถุประสงค์ของการวิจยั นี ้เพื่อศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของอาหารเหลวและสภาพเลี ้ยงที่เหมาะสมต่อการแตกยอดของ ว่านแสงอาทิตย์

Figure 1 Flowers and bulbs of blood lily

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

11


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการ ว่านแสงอาทิตย์ที่ใช้ ในการศึกษานี ้มีขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 4.30 เซนติเมตร เตรี ยมการทดลองโดยนาหัวพันธุ์ ทา ความสะอาดโดยล้ างน ้าไหล 30 นาที ตัดกลีบนอกออก 2-3 ชัน้ แล้ วล้ างด้ วยน ้ายาซันไลท์ให้ สะอาด ฟอกฆ่าเชื ้อโดยนาชิ ้นส่วน ที่เตรี ยมไว้ ลงใน clorox 10 % นาน 10 นาที แล้ วนาเข้ าตู้ย้ายเนื ้อเยื่อ เมื่อครบ 10 นาที แล้ วแช่ในแอลกอฮอล์ 70 % นาน 3 นาที แล้ วนาเข้ าตู้ย้ายเนื ้อเยื่อ ทาซ ้าขันตอนเดิ ้ มอีกครัง้ หนึง่ จากนันแบ่ ้ งครึ่งตามขวาง นาส่วนที่ติด basal plate มาแบ่งเป็ น ส่วนๆ ตามแนวรัศมี ประมาณ 16 ส่วน โดยแต่ละส่วนติด basal plate ขนาด 1 x 2 ซม. ล้ างน ้ากลัน่ 1 นาที แล้ วแช่ด้วย clorox 5% นาน 5 นาที ล้ างน ้ากลัน่ 1 นาที แล้ วแช่ใน clorox 1% นาน 1 นาที ล้ างน ้ากลัน่ อีก 1 นาที จึงนาไปเพาะเลี ้ยงบนอาหาร เหลวสูตร murashige and skoog (MS, 1962) ที่เติมน ้าตาล 30 กรัมต่อลิตร ค่าความเป็ นกรด-ด่าง (pH) เป็ น 5.7 จานวน 1 ชิ ้นส่วนต่อ 1 ขวด วางแผนการทดลองแบบ 2x4 Factorial Completely Randomized Design; CRD มี 8 กรรมวิธี จานวน 25 ซ ้า ประกอบด้ วย 2 ปั จจัยคือ 1) เลี ้ยงบนเครื่ องเขย่าความเร็วรอบ 100-120 รอบต่อนาที และ เลี ้ยงบนพื ้นเรี ยบ 2) ปริมาณ อาหารเหลว 10, 15, 20 และ 25 มล. เพาะเลี ้ยงไว้ ในห้ องที่ควบคุมอุณหภูมิ 25+3 องศาเซลเซียส ให้ ความเข้ มแสง 3,000 ลักซ์ ความชื ้นสัมพัทธ์ 80% เพาะเลี ้ยงเป็ นเวลา 12 สัปดาห์ ทาการบันทึก จานวนยอดที่เกิดต่อชิ ้นส่วน ความสูงของยอด ความ กว้ างของยอด น ้าหนักสด จานวนราก จานวนกลีบ จานวนใบ และสีของต้ น ทาการทดลองตังแต่ ้ เดือนมิถนุ ายน 2557 ถึง เดือนสิงหาคม 2557 ใช้ ระยะเวลา 12 สัปดาห์ วิเคราะห์ความแปรปรวนของค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี Duncan’s new multiple range test (DMRT) 99%

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการทดลองศึกษาผลของว่านแสงอาทิตย์ โดย1) เลี ้ยงบนเครื่ องเขย่าความเร็วรอบ 100-120 รอบต่อนาที และ เลี ้ยงบนพื ้นเรี ยบ 2) ปริมาณอาหารเหลว 10, 15, 20 และ 25 มล. ใช้ ระยะเวลา 12 สัปดาห์ ได้ ผลการทดลอง (ตารางที่ 1 และ ตารางที่ 2) ดังนี ้ เมื่อพิจารณาสภาพเลี ้ยงได้ แก่ วางบนเครื่ องเขย่าและวางบนพื ้นเรี ยบ พบว่า การวางบนเครื่ องเขย่ามีแนวโน้ มทาให้ ความสูงของ หน่อ ความกว้ างของหน่อ จานวนใบ และน ้าหนักสดของต้ น มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ 49.17 มิลลิเมตร 10.00 มิลลิเมตร 2.68 ใบ และ 1098.965 มิลลิกรัมตามลาดับ ดีกว่าการวางบนชันวาง ้ แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ อาจเป็ นเพราะว่าเครื่ องเขย่าแบบโยกใช้ สาหรับเนื ้อเยื่อพืชที่เลี ้ยงในอาหารเหลว มีลกั ษณะการเคลื่อนที่ในแนวขนานกับพื ้นโลกอัตรา 100-150 รอบต่อนาทีเป็ นการเพิ่ม ออกซิเจนลงไปในอาหารเพื่อให้ เนื ้อเยื่อพืชได้ รับ ออกซิเจนอย่างเพียงพอต่อการเจริญเติบโต ของเนื ้อเยื่อ (ประศาสตร์ , 2538) เมื่อพิจารณาถึงปริ มาณอาหารเหลวที่ใช้ พบว่าการใช้ ปริ มาณ 20 มิลลิลิตรต่อขวดมีผลทาให้ จานวนหน่อ ความกว้ างหน่อ และ ความยาวรากมีคา่ เฉลี่ยดีที่สดุ คือ 1.75 หน่อ 13.49 มิลลิเมตร และ 49.65 มิลลิเมตร ตามลาดับแต่ไม่มีความแตกต่างกับการใช้ ปริ มาณอาหารเหลว 10, 15 และ 25 มิลลิลิตรสอดคล้ องกับ Wei-Ting (2008) กล่าวว่า การเลี ้ยงชิ ้นส่วนของ Dorilaenopsis ในอาหารเหลวปริมาณ 20 มิลลิลิตร มีผลทาให้ ต้นกล้ ามีขนาดใหญ่ที่สดุ ส่วนน ้าหนักของต้ นอ่อนที่เลี ้ยงบนเครื่ องเขย่ามีน ้าหนักเฉลี่ยเท่ากับ 1098.96 มิลลิกรัมดีกว่าการเลี ้ยงบนชันวางธรรมดา ้ แต่ เมื่อมาพิจารณาถึงปริมาณอาหารเหลวแล้ วพบว่าการเลี ้ยงในอาหารเหลวปริ มาณ 10 มิลลิลติ รให้ น ้าหนักต้ นอ่อนสูงที่สดุ คือ 1261.06 มิลลิกรัม รองลงมาคืออาหารเหลวปริมาณ 25, 15 และ 20 มิลลิลติ ร ให้ น ้าหนักต้ นอ่อนเท่ากับ 1197.21มิลลิกรัม 954.040 มิลลิกรัม และ 519.44 มิลลิกรัม ตามลาดับ มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่งสอดคล้ องกับ รุ่งนิ รันดร์ (2550) กล่าวว่า การเลี ้ยงหัวบอนพันธุ์พระยาเศวตในอาหารเหลวสภาพเขย่า ทาให้ ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางหัวบอนกว้ าง ที่สดุ และมีน ้าหนักต่อหัวสูงที่สดุ สาหรับปฏิกิริยาความสัมพันธ์ระหว่างสองปั จจัยคือสภาพเลี ้ยงและปริมาณอาหารเหลว พบว่า จานวนหน่อ ความสูงหน่อ ความกว้ างหน่อ จานวนใบ จานวนราก ความยาวราก และน ้าหนักต้ นอ่อน ไม่มีความแตกต่างกัน ทางสถิติ

12

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 effects of liquid medium quantity and culture conditions on the shoot of blood lily that number of Leaves, the shoot height and the diameter of sheath at 12 weeks treatment (A)

liquid medium (B) (ml)

shoot no. (shoots) 1.17 1.65

shoot height (mm) 49.17 36.73

shoot diameter (mm) 10.00 6.43

ms 10 ms 15 ms 20 ms 25

1.30 1.10 1.75 1.50 ns ns ns 1.20ab 0.40b 0.80ab 0.60ab 1.40 ab 1.20ab 2.00a 0.60ab ** 66.79

54.15 50.33 30.47 36.85 ns ns ns 38.37 27.04 31.68 10.21 44.34 33.06 17.07 12.33 ns 76.08

5.92 5.88 13.45 7.58 ns ns ns 3.81 2.16 17.22 2.69 5.47 6.37 4.36 3.37 ns 146.67

on shaker on shelf

F-test A F-test B F-test A*B T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 (%) cv

on shaker+ms 10 on shaker +ms 15 on shaker +ms 20 on shaker +ms 25 on shelf+ms 10 on shelf+ms 15 on shelf+ms 20 on shelf+ms 25

means in the column followed by the same letter are not significantly different at the 1 % level by DMRT ns = not significant at p<0.05 ** = p<0.01

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

13


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 effects of liquid medium quantity and culture conditions on the shoot of blood lily that the number of leaves the root length and shoot weight at 12 weeks treatment (A)

liquid medium (B) (ml)

on shaker on shelf ms 10 ms 15 ms 20 ms 25 F-test A F-test B F-test A*B T1 T2 T3 T4 T5 T6 T7 T8 F-test (%) cv

on shaker+ms 10 on shaker +ms 15 on shaker +ms 20 on shaker +ms 25 on shelf+ms 10 on shelf+ms 15 on shelf+ms 20 on shelf+ms 25

no. leave sheath (leaves) 2.68 2.00

no. root (root)

root length (mm)

shoot weight (mg)

1.50 2.00

36.41 39.64

1098.96 844.32

2.83 3.25 1.50 2.80 ns ns ns 1.60ab 2.60a 0.40b 2.80a 1.20ab 0 0.20b 0 ** 63.76

1.75 2.00 1.00 0 ns ns ns 0.60 0.80 0.20 0 0.80 0.80 0 0 ns 46.88

26.23 43.20 49.65 0 ns ns ns 9.10 14.73 9.93 0 11.88 19.83 0 0 ns 57.43

1261.06a 954.04ab 519.44b 1197.21a ns ** ns 1628.72a 1250.74ab 563.54bc 952.90abc 893.90abc 657.34bc 475.34c 1441.52a ** 38.71

means in the column followed by the same letter are not significantly different at the 1 % level by DMRT ns = not significant at p<0.05 ** = p<0.01

14

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ปผลการทดลอง จากการศึกษาการเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนว่านแสงอาทิตย์พบว่า ปริ มาณอาหารเหลว 10, 25, 20 มิลลิลิตรมีผลทาให้ น ้าหนักต้ นกล้ าว่านแสงอาทิตย์ดีที่สดุ คือ 1261.06, 1197.21 และ 954.04 มิลลิกรัมมีความแตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความ เชื่อมัน่ ที่ 99% ส่วนปริ มาณอาหารเหลว 20 มิลลิลิตรมีผลทาให้ จานวนหน่อ เส้ นผ่าศูนย์กลางหน่อ และความยาวรากดีที่สดุ คือ 1.750 หน่อ 13.495 มิลลิเมตรและ 49.650 มิลลิเมตร ตามลาดับ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ส่วนสภาพเลี ้ยงบนเครื่ องเขย่า และบนพื ้นเรี ยบพบว่าไม่มีความแตกต่างกัน แต่การเลี ้ยงบนเครื่ องเขย่ามีแนวโน้ มการเจริ ญเติบโตทางด้ านความสูงของหน่อ เส้ น ผ่านศูนย์กลางของหน่อ จานวนกลีบ และน ้าหนักสดดีกว่าวางบนพื ้นเรี ยบอาจเป็ นเพราะว่าการวางบนเครื่ องเขย่าทาให้ เกิดการ หมุนเวียนออกซิเจนจึงทาให้ ว่านแสงอาทิตย์มีการเจริญเติบโตดีกว่าบนพื ้นเรี ยบ

Figure 2 10 ml liquid medium on shaker

Figure 4 15 ml liquid medium on shaker

Figure 3 10 ml liquid medium on shelf

Figure 5 15 ml liquid medium on shelf

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

15


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 6 20 ml liquid medium on shaker

Figure 8 25 ml liquid medium on shaker

Figure 7 20 ml liquid medium on shelf

Figure 9 25 ml liquid medium on shelf

กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจยั ขอขอบคุณโครงการยกระดับปริญญานิพนธ์เป็ นงานวิจยั ตีพิมพ์ งานสร้ างสรรค์และงานบริการ วิชาการสูช่ มุ ชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ที่สนับสนุนงบประมาณ

เอกสารอ้ างอิง จริ นทร์ ศรี พรหมา. 2515. รายงานวิจยั เรื่ องสัณฐานวิทยาของว่านบางชนิดในวงศ์พลับพลึง. โครงงานวิจยั ที่ จ2.4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. 89 หน้ า ทรงพล พลบุตร. 2537. การขยายพันธุ์ว่านแสงอาทิตย์ (Haemanthus multiflorus) ในสภาพปลอดเชื ้อ. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. 78 หน้ า นิรนาม ก. 2557. ว่านแสงอาทิตย์-ว่านกุมารทอง. http://www.panmai.com/Warn/Warn_AMARYL_10.shtml 6 เมษายน 2557 นิรนาม ข. 2557. สมุนไพรไทย ว่านแสงอาทิตย์. http://www.herbs.in.th. 18 เมษายน 2557 ประศาสตร์ เกื ้อมณี. 2538. เทคนิคการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืช. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. สานักพิมพ์โอ. เอส. พริ น้ ติ ้ง เฮ้ าส์. กรุงเทพฯ. 158 หน้ า. พินิจดา สุระจิตร์ . 2543. การขยายพันธุ์ว่านแสงอาทิตย์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์ ) สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่. 99 หน้ า. รุ่งนิรันดร์ สุขอร่าม. 2550. การชักนาให้ เกิดหัวในหลอดทดลองของบอนพระยาช้ างเศวต. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม. 103 หน้ า. 16

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า วิไลลักษณ์ ชินะจิตร และ ฐิ ติมา สุคนธ์วิมลมาลย์. 2538. การขยายพันธุ์ว่านแสงอาทิตย์ในสภาพปลอดเชื ้อ. รายงานการประชุมวิชาการของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 33 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพฯ. หน้ า 345-351. วิชยั อภัยสุวรรณ. 2532. ดอกไม้ และประวัติดอกไม้ ในเมืองไทย. ห้ างหุ้นส่วนจากัดดีแอล เอส. กรุงเทพฯ. หน้ า 190-191. สมเพียร เกษมทรัพย์. 2535. ญี่ปนุ่ ตลาดดอกไม้ ประดับความหวังใหม่ของคนไทย. วารสารเคหการเกษตร. 14(6): หน้ า 166. อภิชาติ ชิดบุรี. 2545. เอกสารประกอบการสอนบทปฏิบตั ิการ วิชาเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ. สถาบันเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้ านนา ลาปาง. 241 หน้ า. เอกรัตน์ สามัตถิยะ. 2543. การเจริ ญเติบโตของว่านแสงอาทิตย์. แสงอาทิตย์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์ ) สาขาวิชาพืช สวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่. 77 หน้ า. Wei-Ting Tsai and Chien-Young Chu. 2008. Static Liquid Culture of Doritaenopsis Seedlings. HortScience 43 (1): 206-210

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

17


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแอปเปิ ้ ลด้ วยเทคนิค SRAP Assessment of Genetic Variability of Apple using SRAP Technique ปั ทมา ศรีนา้ เงิน 1และ Titnarong Heng1 Pattama Srinamngoen1 and Titnarong Heng1

บทคัดย่ อ การทดลองนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแอปเปิ ล้ ด้ วยเทคนิค Sequence-related Amplified Polymorphism (SRAP) ที่ได้ จากการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อด้ วยเมล็ด แอปเปิ ล้ 4 พันธุ์ (Gold, Red delicious, Fuji และ New Zealand Jazz) มีลกั ษณะภายนอกแตกต่างกันจานวน 14 สายต้ น พบว่า มีความแตกต่างกันทางพันธุกรรมและสามารถ จัดกลุ่มความสัมพันธ์ ทางพันธุกรรม ในรู ปแบบ Phylogenetic tree โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ ความคล้ ายคลึง (Similarity coefficient) และค่า Cophenetic correlation อยูท่ ี่ 0.69 - 0.93 และ 0.83 ตามลาดับ คาสาคัญ: แอปเปิ ล้ การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ ความแปรปรวนทางพันธุกรรม เครื่ องหมาย SRAP

Abstract The aim of this experiment was to detect the variation of an apple’s genome using the Sequence-related Amplified Polymorphism (SRAP) technique. The sample of apple genome was the 14 clones by tissue culture from seeds of 4 apple varieties (Gold, Red Delicious, Fuji and New Zealand Jazz). The result showed that every apple tree differents genetically from each other. For the clustering and phylogenetic tree analysis, the similarity coefficient and cophenetic correlation were 0.69-0.93 and 0.83, respectively. Key words : Apple, Tissue culture, Genetic Variability, SRAP marker

คานา แอปเปิ ล้ (Malus domestica) เป็ นพืชที่จดั อยู่ในวงศ์ Rosaceae (Rose) เช่นเดียวกับ Pear (Pyrus spp.) ควินซ์ (quince, Cydonia oblonga) ปี แป๋ (loquat, Eriobotrya japonica) และ medlar (Mespilus germanica) จากรายงาน พบว่า ทัว่ โลกมีแอปเปิ ล้ มากกว่า 10,000 ชนิด แต่ได้ สญ ู พันธุ์ไปเหลืออยู่ประมาณ 100 ชนิดที่ยงั ปลูกเป็ นการค้ า และมีเพียงประมาณ 10 ชนิดที่ได้ รับความนิยม โดยแอปเปิ ล้ พันธุ์ Red delicious เป็ นพันธุ์ที่ได้ รับความนิยมมากที่สดุ รองลงมาคือ Gala, Golden delicious และ Granny smith ตามลาดับ (Collett, 2011) จากการที่แอปเปิ ล้ เป็ นพืชที่มีความแปรปรวนทางพันธุกรรมสูงมาก และแอปเปิ ล้ เป็ นพืชที่ผสมตัวเองไม่ติด (selfincompatibility) ชนิด gametophytic ดังนัน้ การขยายพันธุ์แอปเปิ ล้ จึงสามารถทาได้ โดยการตอนกิ่ง ติดตา หรื อปั กชา ซึง่ หาก ขยายพันธุ์โดยใช้ เมล็ดมีโอกาสกลายพันธุ์สงู โดยแอปเปิ ล้ เกือบทุกสายพันธุ์เป็ นดิพพลอยด์ (diploid) 2n=34 มีพนั ธุ์การค้ าบาง พันธุ์เป็ นทริ ปพลอยด์ (triploid) 2n=3x=51 เช่น Boskoop, Graventeiner, Jonagold และพันธุ์กลายต่างๆ โดยที่ละอองเกสร ของต้ นทริปพลอยด์เหล่านันไม่ ้ สามารถใช้ ขยายพันธุ์ได้ นอกจากนี ้ยังพบแอปเปิ ล้ พันธุ์การค้ าที่เป็ นเตตตระพลอยด์ (tetraploid) ในแถบประเทศสเปน (Lespinasse, 1992) ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) หรื อลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่ได้ รับการถ่ายทอด จากรุ่นสูร่ ุ่น ซึง่ ความผันแปรหรื อความแปรปรวนทางพันธุกรรม (genetic variability) เป็ นตัวการสาคัญที่กาหนดความอยู่รอด ของชนิดพันธุ์นนๆ ั ้ ความแปรปรวนทางพันธุกรรมก่อให้ เกิดความแตกต่าง เช่น การทนต่อสภาวะทนแล้ ง ทนเค็ม หรื อทนต่อ สภาวะแวดล้ อมที่ไม่เหมาะสม รวมทังแสดงลั ้ กษณะการต้ านทานโรคและแมลงเพื่อการอยูร่ อด ปั จจุบนั มีเครื่ องมือทาง ชีว โมเลกุลหรื อเครื่ องหมายโมเลกุลมาช่วยให้ การศึกษาวิจยั ทางด้ านนี ้ก้ าวหน้ าไปได้ เร็ วยิ่งขึ ้น เครื่ องหมายโมเลกุล Sequencerelated Amplified Polymorphism (SRAP) ใช้ ในการศึกษาการทาแผนที่ยีนและ gene tagging ให้ สามารถตรวจสอบบริ เวณ 1

สาขาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตจันทบุรี จ.จันทบุรี 22170 18

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ที่เป็ น open reading frame (ORF) ของจีโนม และไม่ต้องการข้ อมูลพื ้นฐานทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตนันๆ ้ (Li and Quiros, 2001) ดังนัน้ SRAP จึงเป็ นเครื่ องหมายโมเลกุลที่มีประสิทธิภาพมาก นอกจากจะสามารถใช้ ทาแผนที่ยีนแล้ ว ยังสามารถ นามาใช้ ศกึ ษาทางด้ าน transcriptome เช่น gene expression ได้ เช่นเดียวกัน (Que et al., 2012) และได้ มีการนาเทคนิค SRAP มาประยุกต์ใช้ ในการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมมากมาย เช่น อ้ อย (Suman et al., 2008) ส้ ม (Uzun et al., 2009) และมะเขือ (Li et al., 2010) ด้ วยเหตุผลที่เทคนิค SRAP เป็ นเทคนิคที่ง่าย ไม่แพง ทาได้ รวดเร็ว เป็ น dominant marker ที่ปราศจากข้ อจากัดใดๆ (Robarts and Walfe, 2014) ดังนัน้ การวิจัยในครัง้ นีเ้ พื่อประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรม และหาสาเหตุการความแปรปรวน เพื่อใช้ เป็ น แนวทางในการคัดเลือกหรื อปรับปรุงสายพันธุ์แอปเปิ ล้ ในอนาคต

อุปกรณ์ และวิธีการ การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อแอปเปิ ้ ล นาเมล็ดแอปเปิ ล้ จานวน 4 สายพันธุ์ คือ Gold, New Zealand Jazz, Fuji และ Red delicious มาฟอกฆ่าเชื ้อ โดย ลอกเปลือกหุ้มเมล็ดออก แล้ วแช่ในแอลกอฮอล์เข้ มข้ น 95 เปอร์ เซ็นต์ เป็ นเวลา 15 วินาที ล้ างด้ วยนา้ สะอาด จากนัน้ แช่ใน สารละลาย Clorox ความเข้ มข้ น 15 เปอร์ เซ็นต์ ที่เติม Tween-20 จานวน 2-3 หยด เขย่าเป็ นเวลา15 นาที และล้ างด้ วยน ้า สะอาดที่นึ่งฆ่าเชื ้อแล้ วจานวน 3 ครัง้ จากนันน ้ าไปเพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) และเติม น ้าตาล 20 กรัม เป็ นระยะเวลา 2 เดือน เปลี่ยนอาหารทุกเดือนโดยใช้ อาหารสูตรเดิม การสกัดดีเอ็นเอของต้ นแอปเปิ ้ ล สกัดดีเอ็นเอจากต้ นแอปเปิ ล้ ที่มีลกั ษณะภายนอกที่แตกต่างกันทัง้ 4 สายพันธุ์ จานวน 14 สายต้ น โดยแบ่งเป็ น แอปเปิ ล้ สายพันธุ์ Gold จานวน 6 สายต้ น แอปเปิ ล้ สายพันธุ์ New Zealand Jazz จานวน 4 สายต้ น แอปเปิ ล้ สายพันธุ์ Fuji จานวน 3 สายต้ น และ แอปเปิ ล้ สายพันธุ์ Red delicious จานวน 1 สายต้ น ตามวิธีการของ Doyle and Doyle (1990) โดยการ บดชิ ้นส่วนของใบและยอดแอปเปิ ล้ 50-100 มิลลิกรัม ให้ ละเอียดในไนโตรเจนเหลว ตักตัวอย่างที่บดละเอียดแล้ วใส่ ไมโค รเซนติฟิวซ์ จากนันเติ ้ ม extraction buffer (200 mM Tris-HCl, 50 mM EDTA, 2.2 M NaCl, 2% CTAB, pH 8.0) ปริ มาตร 500 ไมโครลิตร และ ß-mercaptoethanol ปริ มาตร 5 ไมโครลิตร เขย่าให้ เข้ ากันอย่างแรง นาไปบ่มที่ 65 องศาเซล-เซียล เป็ น เวลา 30 นาที กลับ หลอดไป-มาเป็ น ระยะ เมื่ อ ครบก าหนดแล้ ว ตัง้ ทิ ง้ ไว้ ใ ห้ เ ย็ น ที่ อุณ หภูมิ ห้ อ ง จากนัน้ เติ ม 1 เท่ า ของ Chloroform:isoamyl (24:1) เขย่าให้ เข้ ากัน และนาไปปั่ นเหวี่ยงที่ 12,000 รอบต่อนาที เป็ นเวลา 10 นาที ดูดส่วนใสที่ได้ ใส่ หลอดใหม่ และตกตะกอนดีเอ็นเอที่ได้ ด้วย 5M NaCl ปริ มาตร 0.2 เท่า และ isopropanol ปริ มาตร 1 เท่าของส่วนใสที่ได้ ล้ าง ตะกอนดีเอ็นเอที่ได้ ด้วยแอลกอฮอล์เข้ มข้ น 70 เปอร์ เซ็นต์ จานวน 2 ครัง้ ผึง่ ตะกอนดีเอ็นเอให้ แห้ งและละลายตะกอนดีเอ็นเอที่ ได้ ด้วยนา้ สะอาดปราศจาก nuclease จากนัน้ ทาการตรวจสอบคุณภาพ และปริ มาณของดีเอ็นเอที่สกัดได้ ด้วยเครื่ อง UV spectrophotometer ที่ความยาวคลื่น 260/280 นาโนเมตร และอะกาโรสอิเลคโทรโฟริซีสความเข้ มข้ น 1 เปอร์ เซ็นต์ เก็บ ดี เอ็นเอที่สกัดได้ ไว้ ที่อณ ุ หภูมิ -20 องศาเซลเซียล เพื่อใช้ งานในขันตอนถั ้ ดไป การประเมินความแปรปรวนด้ วยเทคนิค SRAP ดัดแปลงจากวิธีการของ Li and Quiros. (2001) โดยปฏิกิริยาประกอบด้ วย ดีเอ็นเอต้ นแบบความเข้ มข้ น 25 นาโนกรัม 1x PCR buffer, 0.25 µM SRAP forward-reverse primer, 0.1 mM dNTPs, 2 mM MgCl2 และ 1 U Taq DNA polymerase (ThermoScientific, U.S.A) นาไปใส่เครื่ องเพิ่มปริ มาณสารพันธุกรรม (Themal cycle, C1000 Bio-Rad Laboratories. Inc) โดยตังโปรแกรมดั ้ งนี ้ ช่วงที่ 1 จานวน 4 รอบ ประกอบด้ วย อุณหภูมิ 94 องศาเซลเซียล เป็ นเวลา 45 วินาที ตามด้ วย อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียล เป็ นเวลา 45 วินาที และ อุณหภูมิ 72 องศาเซลเซียล เป็ นเวลา 1 นาที จากนันน ้ าผลผลิต พีซีอาร์ ที่ได้ เข้ าสู่ช่วงที่ 2 จานวน 34 รอบ ประกอบด้ วยอุณหภูมิ 94 องศาเซลเซียล เป็ นเวลา45 วินาที ตามด้ วย อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียล เป็ นเวลา 45 วินาที และ อุณหภูมิ 72 องศาเซลเซียล เป็ นเวลา 1 นาที โดยทาการทดสอบกับไพรเมอร์ ทงหมด ั้ 24 คู่ นาผลผลิตพีซีอาร์ ที่ได้ มาตรวจสอบความแตกต่างของแถบดีเอ็นเอที่เกิดขึน้ ด้ วยเจลโพลีอะคริ ลาไมด์ความเข้ มข้ น 5 เปอร์ เซ็นต์ เปรี ยบเทียบขนาดแถบดีเอ็นเอที่เกิดขึ ้นกับดีเอ็นเอมาตราฐาน 100 bp DNA ladder plus (ThemoScientific, U.S.A) และทาการจัดกลุม่ ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม Phylogenetic tree และ Principle Coordinate Analysis (PCoA) ด้ วย โปรแกรม NTSYS v2.21q (educational individual licence version) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

19


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การวิเคราะห์ ลาดับนิวคลีโอไทด์ ของ SRAP fragments ทาการวิเคราะห์ความแตกต่างของแถบดีเอ็นเอที่เกิดขึ ้น คัดเลือกแถบดีเอ็นเอที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนในแต่ละสาย พันธุ์ สกัดดีเอ็นเอออกจากเจล และเพิ่มปริ มาณชิน้ ดีเอ็นเอนัน้ ๆ อีกครัง้ โดยใช้ ค่ไู พรเมอร์ เดียวกับการทาพีซีอาร์ ครัง้ แรก ทา ความสะอาดผลผลิตพีซีอาร์ ด้วยชุด Nucleo®Spin Gel and PCR Clean-up kit (MACHEREY-NAGEL) นาดีเอ็นเอที่ได้ ไป วิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์ที่บริษัท 1st BASE Laboratories Sdn Bhd (ประเทศมาเลเซีย) เปรี ยบเทียบความเหมือนของลาดับ นิวคลีโอไทด์ที่ได้ กบั ลาดับนิวคลีโอไทด์ในฐานข้ อมูล GenBank ด้ วยโปรแกรม BLAST

ผลการทดลอง จากการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อแอปเปิ ล้ จากเมล็ด จานวน 4 สายพันธุ์ได้ แก่ Gold, New Zealand Jazz, Fuji และ Red delicious ในระบบการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ พบว่าได้ ต้นแอปเปิ ล้ มาทังหมด ้ 14 สายต้ น ที่แสดงลักษณะภายนอก (phenotype) ที่ แตกต่างกัน (Figure 1) สายต้ นแอปเปิ ล้ ที่มีลกั ษณะผิดปกติ คือ ต้ นเผือก ได้ แก่ Gold #1 สายต้ นที่มีสีน ้าตาล ใบเรี ยว แสดง ลักษณะผิดปกติ ได้ แก่ Gold #3 และ Fuji#3 สายต้ นดูปกติแต่มีสีเขียวซีด (Gold #4) สายต้ นแตกพุ่มแจ้ ได้ แก่ New Zealand #4 สายต้ นที่แตกกอมาก ใบเล็กและขาวซีด ได้ แก่ New Zealand #2 และ New Zealand #3 และบางส่วนแสดงลักษณะเป็ น ต้ นปกติ ได้ แก่ สายต้ น Gold #5, Gold #6, New Zealand #5, Fuji #1, Fuji #2 และ Red delicious #1 ในขณะที่บางส่วนไม่ สามารถพัฒนาเป็ นต้ นได้ ได้ แก่ สายต้ น Gold #8 และเมื่อทาการสกัดดีเอ็นเอจากสายต้ นทังหมดเพื ้ ่อใช้ เป็ นต้ นแบบในการ ์ ประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรม พบว่าดีเอ็นที่สกัดได้ มีคณ ุ ภาพดี โดยมีคา่ ความบริ สทุ ธิอยูร่ ะหว่าง 1.4 -1.8 สาหรับการประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรมของต้ นแอปเปิ ล้ ทัง้ 14 สายต้ น ด้ วยวิธีการ SRAP พบความแตกต่างเกิดขึ ้น ในทุกไพร์ เมอร์ โดยให้ แถบดีเอ็นเอมีขนาดเฉลี่ย 100 – 1500 คู่เบส และเมื่อนาผลความแตกต่างที่เกิดขึน้ มาจัดกลุ่มทาง พันธุกรรม phylogenetic tree สามารถแบ่งกลุ่มทางพันธุกรรมได้ เป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ประกอบด้ วยเอปเปิ ล้ สายพันธุ์ Gold, New Zealand Jazz และ Fuji และกลุม่ ที่ 2 ประกอบด้ วยแอปเปิ ล้ สายพันธุ์ Red delicious โดยมีค่า genetic similarity และ cophenetic correlation (r) อยู่ระหว่าง 0.69 – 0.93 และ 0.83 ตามลาดับ ซึง่ ถือว่าการจัดกลุม่ ทางพันธุกรรมอยู่ในระดับ ดีมาก (Figure 2) สอดคล้ องกับการวิเคราะห์คา่ Principle coordinate Analysis (PcoA) มีคา่ 5.34 (Figure 3)

Figure 1 Phenotypic variation of 4 varieties of apple tree (14 lines)

20

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Gold1 Gold4 Gold3 Gold8 NZ2 NZ3 NZ5 NZ4 Fuji1 Fuji2 Fuji3 Gold5 Gold6 RD1 0.60

0.66

0.72

0.79

0.85

Coefficient

Figure 2 Phylogenetic of 4 varieties of apple tree (14 lines) based on UPGMA

Figure 3 Principle Coordinate Analysis of 4 varieties of apple tree (14 lines) using NTSYS v2.21q จากการคัดเลือกแถบดีเอ็นเอหรื อ SRAP fragments จานวน 14 แถบ ที่แสดงความแตกต่างทางพันธุกรรมอย่างชัดเจนในแอป เปิ ล้ แต่ละสายพันธุ์เพื่อวิเคราะห์ ลาดับนิวคลีโอไทด์ พบว่า มี 7 แถบดีเอ็นเอ ที่มีลาดับนิวคลีโอไทด์และลาดับกรดอะมิโนที่ คล้ ายคลึงกับที่ปรากฏอยู่ในฐานข้ อมูลสาธารณะ GenBank (Table 1) โดยพบว่า แถบดีเอ็นเอ VA5.1 และ VA9.1 มีความ คล้ ายคลึงกับ retrotransposon ในแอปเปิ ล้ และข้ าวสาสี ตามลาดับ ยิ่งไปกว่านันชิ ้ ้นดีเอ็นเอ VA9.1 มีความคล้ ายคลึงกับ RT superfamily บริ เวณอนุรักษ์ ของ retrotransposon ด้ วย และแถบดีเอ็นเอ VA14 มีความคล้ ายคลึงกับ Co-gene ในแอปเปิ ล้ นอกจากนี ้ชิ ้นดีเอ็นเอ VA10.3 มีความคล้ ายคลึงกับ Ribulose-1,5- bisphosphate carboxylase หรื อ RuBisCo ในแอปเปิ ล้ ในขณะที่ชิ ้นดีเอ็นเอ VA10.4 มีความคล้ ายคลึงกับยีน O-methyltransferase (omt5) ในแอปเปิ ล้ เช่นเดียวกัน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

21


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Sequence homology of SRAP fragments SRAP Accession fragments VA5.1 CBL94172.1 VA9.1 JF946486.1

Size (bp) 174 289

VA9.2

XM_008342452.1

182

VA10.1

AB545981.1

421

VA10.3

XP_010088417.1

206

VA10.4

DQ886022.1

593

VA14

HF968765.1

477

Sequence homology

E value

putative retrotransposon protein [Malus domestica] Triticum aestivum transposon TREP 3040_Harbinger; pseudo-response regulator (Ppd-B1) gene, Ppd-B1a allele; and retrotransposon Gypsy TREP 3457_Danae Malus domestica glutamyl-tRNA(Gln) amidotransferase subunit B Pyrus pyrifolia genes for F-box proteins, S ribonuclease

7e-19 9e-08

Putative conserved domain detected RT_Superfamily

3e-04

-

4e-115

-

4e-17

-

5e-40

-

9e-80

-

Morus notabilis Ribulose-1,5- bisphosphate carboxylase large chain Malus domestica caffeic acid O-methyltransferase (omt5) gene Malus domestica metacontig of the Co-Gene region

วิจารณ์ ผลการทดลอง จากการจัดกลุ่มความหลายหลายทางพันธุกรรม แอปเปิ ล้ พันธุ์ Red delicious ถูกจัดกลุ่มแยกออกมาจากสายพันธุ์อื่น อาจ เนื่องจากว่าแอปเปิ ล้ พันธุ์ Red delicious เป็ นแอปเปิ ล้ ชนิด chance seedling เกิดจากการคัดเลือกโดยบังเอิญของชาวสวน แถบรัฐไอโอวา ประเทคสหรัฐอเมริ กา โดยปราศจากการผสมพันธุ์ใดๆ นับเป็ นพันธุ์ที่เก่าแก่ และได้ รับความนิยมมาอย่าง ยาวนานในประเทศสหรัฐอเมริกาและทัว่ โลก ในขณะที่แอปเปิ ล้ สายพันธุ์อื่นเป็ นลูกผสมที่เกิดจากการผสมข้ ามของ แอปเปิ ล้ สองสายพันธุ์ คือ แอปเปิ ล้ Gold เกิดจากการผสมข้ ามระหว่าง Grimes x Golden ที่ประเทศสหรัฐอเมริ กา แอปเปิ ล้ Fuji เกิด จากการผสมข้ ามระหว่าง Red delicious x Ralls Janet ที่ประเทศญี่ปนุ่ และ แอปเปิ ล้ New Zealand Jazz เกิดจากการผสม ข้ ามระหว่าง Royal gala x Braeburn ที่ประเทศนิวซีแลนด์ (http://www.orangepippin.com/apples/) จึงทาให้ แอปเปิ ล้ เหล่านี ้มีพนั ธุกรรมถูกจัดไว้ ในกลุม่ เดียวกัน และเมื่อพิจารณาลักษณะทางพันธุกรรมในแต่ละตัวอย่างของแต่ละสายพันธุ์แอป เปิ ล้ พบว่า แม้ ลกั ษณะภายนอก หรื อ phenotypic data ของแอปเปิ ล้ จะแตกต่างกันอย่างเด่นชัด แต่ลกั ษณะทางพันธุกรรม (genotypic data) ยังผันแปรไม่มาก เนื่องจากยังพบว่าส่วนใหญ่แอปเปิ ล้ สายพันธุ์เดียวกัน ถูกจัดให้ อยูก่ ลุม่ ย่อยเดียวกัน จากการวิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์ พบว่า แถบดีเอ็นเอ VA5.1 และ VA9.1 มีความเหมือนกับ retrotransposon ใน แอปเปิ ล้ (Accession No.CBL94172.1) และข้ าวสาลี (Accession No.JF946486.1) ตามลาดับ และเมื่อวิเคราะห์ความ เหมือนกับกรดอะมิโน พบว่า แถบดีเอ็นเอ VA9.1 มีความคล้ ายคลึงกับบริ เวณอนุรักษ์ RT Superfamily ซึ่งเป็ นโดเมนของ retrotransposon เช่นเดียวกัน สอดคล้ องกับการศึกษาของ Kristiina et al.(2006) ที่พบว่าความแปรปรวนทางพันธุกรรมที่ เกิดขึ ้นระหว่างสายพันธุ์แอปเปิ ล้ นันเป็ ้ น ผลมาจากการทางานของ TRIM retrotransposon นอกจากนี ้แถบดีเอ็นเอ VA14 มี ความคล้ ายคลึงกับ Co-gene จากการศึกษาของ Otto et al. (2014) พบว่า การที่แอปเปิ ล้ มีลกั ษณะต้ นแคระแกรน ระยะ ระหว่างข้ อสันลง ้ ลักษณะต้ น และใบเปลี่ยนแปลงไป เรี ยกว่า ลักษณะ columnar mutation เป็ นผลมาจากการกลายของ Co-gene ซึ่งเป็ นการกลายที่ สามารถเกิ ดได้ เองตามธรรมชาติ (spontaneous mutation) โดยอาจเกิด จากการที่ มี retrotransposon เข้ ามาแทรกบริเวณ Co-gene เช่น Gypsy-like retrotransposon นอกจากนี ้ยังพบลาดับนิวคลีโอไทด์ของแถบดีเอ็นเอ VA10.3 มีความคล้ ายคลึงกับ Ribulose-1,5- bisphosphate carboxylase หรื อ RuBisCo ในแอปเปิ ล้ ซึง่ เป็ นเอนไซม์ที่สาคัญในกระบวนการสังเคราะห์แสง โดยพบว่า เอนไซม์ RuBisCo ทาหน้ าที่เป็ นตัวเร่งปฏิกิริยาการตรึงคาร์ บอนไดออกไซด์เข้ าสูว่ ฏั จักรคาลวิล (Calvin’s cycle) เพื่อทาปฏิกิริยากับ RuBP (Soltis and Soltis, 1998) จากการศึกษา พบว่า ยีน rbcL (Ribulose-1,5- bisphosphate carboxylase/oxygenase large subunit) ซึง่ เป็ นยีนในคลอโรพลาสต์ มีหน้ าที่ในการกาหนดการสร้ างเอนไซม์ RuBisCo ในพืชมีขนาดผันแปรเล็กน้ อย โดยทัว่ ไปมีความ ยาวเฉลี่ย 1,400 คู่เบส ถูกนามาใช้ เป็ น DNA barcode ร่ วมกับยีน matK สามารถช่วยระบุชนิดพันธุ์พืชได้ ดี (Ford et al., 2009) ดังนันแถบดี ้ เอ็นเอ VA10.3 ที่ได้ รับมาจากแอปเปิ ล้ สายพันธุ์ Gold#3 สามารถนามาพัฒนาเป็ นเครื่ องหมายโมเลกุล เพื่อ 22

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม และบริ เวณอนุรักษ์ ในพืชตระกูล Malus ได้ และแถบดีเอ็นเอ VA10.4 มีความคล้ ายคลึง อย่างสูงกับยีน O-methyltransferase (omt5) ที่มีบทบาทสาคัญต่อกระบวนการสังเคราะห์ลิกนิน (lignin biosysthesis) (Lam et al., 2007) ดังนัน้ จึงสามารถนามาใช้ เป็ นแนวทางหรื อประยุกต์ใช้ ในการปรับปรุงพันธุ์พนั ธุ์พืชที่เกี่ยวข้ องลักษณะเนื ้อไม้ หรื อ ใช้ เป็ นตัวชี ้วัดคุณภาพของพืชอาหารสัตว์ได้

สรุ ปผลการทดลอง จากการศึกษาความแปรปรวนทางพันธุกรรมของต้ นแอปเปิ ล้ ด้ วยวิธี SRAP พบว่า แอปเปิ ล้ พันธุ์ Red delicious (RD#1) มีพันธุกรรมที่แตกต่างจากแอปเปิ ล้ พันธุ์อื่นๆ และสามารถตรวจพบความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแอปเปิ ล้ ซึ่ง ความแปรปรวนที่เกิดขึ ้นนี ้นอกจากจะเกิดขึ ้นเองจากการกลายของเมล็ดแล้ ว อาจมากจากการทางานของ retrotransposon ได้ นอกจากนี ย้ ังสามารถตรวจพบยีนที่กาหนดการสร้ างเอนเซม์ RuBisCo และยีน O-methyltransferase ที่สามารถนาไป ประยุกต์ใช้ ได้ ในอนาคต

เอกสารอ้ างอิง Collent, L. 2011. About the apple-Malus domestica. http://extension.oregonstate.edu/lincoln/sites/default/files/About_The_Apple_2_3_09.pdf เข้ าถึงเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2558 Doyle, J.J. and Doyle, J.L.1990. Isolation of plant DNA from fresh tissue. Focus. 12(1): 13-15. Ford, C.S., K.L. Ayres, N. Toomey, N.HaiderVan, J. Alphen Stahl, L.J. Kelly, N. Wikstrom, P.M. Hollingsworth, R.J. Duff, S.B. Hoot, R.S. Cowan, M.W. Chase and M.J. Wilkinson. 2009. Selection of candidate coding DNA barcoding regions for use on land plants. Bot. J. Linn. Soc. 159: 1-11. Kristiina, A.-K., R. Kalendar and A. H. Schulman.2006. TRIM retrotransposons occur in apple and are polymorphic between varieties but not sports. Theor Appl Genet. DOI 10.1007/s00122-005-0203-0. Lam, K.C., R.K.Lbrahim, B. Behdad and S. Dayanandan. 2007. Structure, function, and evolution of plant O-methyltransferases. Genome. 50(11):1001-13. Lespinasse, Y. 1992. Le Pommier In: A. Gallais and H. Bannerot (eds.), Ame´lioration des espe`ces ve´ge´tales cultive´es-objectifs et crite`res de se´lection. INRA, Paris, pp. 579–594. Li, G. and C. F. Quiros. 2001. Sequence-related amplified polymorphism (SRAP), a new marker system based on a simple PCR reaction: its application to mapping and gene tagging in Brassica. Theor Appl Genet. 103:455–461. Li, H., H. Chen, T. Zhuang and J. Chen. 2010. Analysis of genetic variation in eggplant and related Solanum species using sequencing-related amplified polymorphism markers. Sci Hort. 125(1): 19-24. Murashige, T. and F. Skoog. 1962. A revised medium for rapid growth and bioassays with tobacco cultures. Physiologia Plantarum 15: 473-497. Otto, D, R. Petersen, B. Brauksiepe, P. Braun and E. R. Schmid.2014. The columnar mutation (‘‘Co gene’’) of apple (Malus 3 domestica) is associated with an integration of a Gypsy-like retrotransposon. Mol Breeding. 33:863–880. Que, Y., L. Xu, J. Lin, J. Luo, J. Xu, J. Zheng and R. Chen. 2012. cDNA-SRAP and its application in differential gene expression analysis: a case study in Erianthus arundinaceum. J Biomed Biotechnol. ID: 390107. doi:10.1155/2012/390107. Robarts, D. W. H. and A. D. Wolfe. 2014. Sequence-related amplified polymorphism (SRAP) markers: A potential resource for studies in plant molecular biology. Appl. Plant Sci. 2(7).1400017. Soltis, D.E. and P.S. Soltis. 1998. Choosing an approach and an appropriate gene for phylogenetic analysis. In: Molecular Systematics of Plants II: DNA Sequencing. D.E., Soltis, P.S. Soltis ang J.J. Doyle (Eds.), pp.1-42. Kluwer Academic Publishers, Boston. Suman, A., C. A. Kimbeng, S. J. Edme and J. Veremis. 2008. Sequence-related amplified polymorphism (SRAP) markers for assessing genetic relationships and diversity in sugarcane germplasm collections. PLANT GENET RESOUR C. 6(3): 222231. Uzun, A., T. Yesiloglu, Y. Aka-Kacar, O. Tuzcu and O. Gulsen. 2009. Genetic diversity and relationships within Citrus and related genera based on sequence related amplified polymorphism markers (SRAPs). Sci Hort. 121(3): 306-312.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

23


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การขยายพันธุ์หน้ าวัวลูกผสมด้ วยระบบเพาะเลีย้ งจมชั่วคราว In Vitro Propagation of Anthurium Hybrids by Temporary Immersion Bioreactor System ประภาพร ฉันทานุมัติ1 อรทัย ธนัญชัย1 ยุพนิ กสินเกษมพงษ์ 2 และสุเมธ อ่ องเภา3 Prapaporn Chantanumat1 Orathai Tananchai1 Yupin Kasinkaseampong2and Sumate Ongpao3

บทคัดย่ อ ศึกษาการขยายพันธุ์ในสภาพปลอดเชื ้อ หน้ าวัวลูกผสมใหม่ จานวน 3 สายพันธุ์ ( พันธุ์ HC028 HC049 และ HC084 ) ด้ วยระบบเพาะเลี ้ยงจมชัว่ คราว (Temporary Immersion Bioreactor System, TIBs) เพื่อเพิ่มจานวนต้ นอ่อน เมื่อเลี ้ยงได้ 12 สัปดาห์ พบว่าหน้ าวัวลูกผสมทัง้ 3 สายพันธุ์สามารถเจริ ญและพัฒนาได้ เป็ นต้ นอ่อนขนาดเล็กและขนาดใหญ่ มีนาหนักรวมของ ชิ ้นส่วนเนื ้อเยื่อเพิ่มมากขึ ้นเป็ น 2 – 29 เท่าของน ้าหนักเริ่ มต้ น สาหรับน ้าหนักต่อต้ นของต้ นอ่อนขนาดเล็กพันธุ์ HC028 และ HC049 เพิ่มขึ ้น 3.3 และ 4.17 ส่วนจานวนต้ นทังหมด ้ เพิ่มหรื อลดเป็ น 1.16 และ 0.88 เท่า ขณะที่น ้าหนักต่อต้ น ของต้ นอ่อน ขนาดใหญ่ พันธุ์ HC028 และ HC049 ลดลงหรื อเพิ่มขึ ้น 0.83 และ 1.44 เท่าเมื่อจานวนต้ นทังหมดเพิ ้ ่มขึ ้นเป็ น 3.38 และ 1.40 เท่าของเมื่อเริ่มต้ น ตามลาดับ คาสาคัญ : หน้ าวัวลูกผสมกรมวิชาการเกษตร ระบบเพาะเลี ้ยงจมชัว่ คราว การขยายพันธุ์

Abstract The aim of in vitro propagation of 3 Anthurium hybrids using temporary immersion bioreactor system (TIBs) was increase the plantlet. After 12 weeks, the results indicated that the Anthurium plantlets could be propagated rapidly in the bioreactor. The total weight of plantlets increased 2-29 times, depended on variety. The weight per plantlet (small size) of HC028 and HC049 increased 3.33 and 4.17 folds when the total number of plantlets increased/decreased 1.16 and 0.88 folds. By contrast, the weight per plantlet (big size) of HC028 and HC049 decreased/increased 0.83 and 1.44 folds when the total number of plantlets increased 3.38 and 1.40 folds, respectively. Keywords : Anthurium hybrids, TIBs, In vitro propagation.

คานา หน้ าวัวเป็ นไม้ ตดั ดอกเมืองร้ อนที่ได้ รับความนิยมและมีบทบาททางเศรษฐกิจเพิ่มขึ ้น ประเทศไทยมีสภาพแวดล้ อม เหมาะสมในการผลิตหน้ าวัวตัดดอกและหน้ าวัวกระถาง ผลผลิตทัว่ ประเทศประมาณ 4,800,000 ดอกต่อปี ส่วนใหญ่ใช้ ใน ประเทศ และเริ่ มส่งออกมากขึ ้น ปั จจุบนั จึงมีการขยายพื ้นที่ปลูกมากขึ ้นแต่เทคโนโลยีในการผลิต ผสมพัน ธุ์ ขยายพันธุ์ยงั มี น้ อย ต้ นพันธุ์และความหลากหลายของสายพันธุ์มีไม่เพียงพอ (พิสมัย, 2543) จึงมีการนาเข้ าต้ นพันธุ์หน้ าวัวลูกผสมจาก ประเทศเนเธอร์ แลนด์ จีนและเวียดนาม ปี 2555 มูลค่ากว่า 3.1 ล้ านบาท ในการนาเข้ าพันธุ์หน้ าวัว นอกจากราคาแพงแล้ ว พบว่าปนเปื อ้ นและอ่อนแอต่อโรคใบแห้ ง โรคใบไหม้ และ โรคไวรัส จากปั ญหาดังกล่าวการจะส่งเสริ มให้ มีการปลูกเลี ้ยงหน้ าวัว โดยการนาเข้ าพันธุ์จากต่างประเทศแม้ เป็ นทางเลือกหนึ่งแต่สามารถทาได้ เฉพาะผู้ปลูกเลี ้ยงมีเงินลงทุนสูง การจะพัฒนาการ ปลูกเลี ้ยงหน้ าวัวสาหรับเกษตรกรโดยทัว่ ไปนันจ ้ าเป็ น ต้ องมีการวิจยั และพัฒนาการปรับปรุงพันธุ์เพื่อให้ ได้ หน้ าวัวพันธุ์ใหม่ กรม วิชาการเกษตร รับผิดชอบในการปรับปรุ งพันธุ์หน้ าวัวสายพันธุ์ใหม่ๆเพื่อตอบสนองความต้ องการของตลาดและผลิตต้ นอ่อน หน้ าวัวลูกผสมพันธุ์ตา่ งๆให้ แก่เกษตรกร โดยกรมวิชาการเกษตรได้ ปรับปรุงพันธุ์หน้ าวัวลูกผสมสายพันธุ์ต่างๆ เพื่อนาเสนอเป็ น พันธุ์แนะนา และกระจายสู่เกษตรกร หน้ าวัวลูกผสมสายพันธุ์ที่นามาใช้ ในการทดลองนี ้ จานวน 2 สายพันธุ์ที่เป็ นพันธุ์แนะนา 1

ศูนย์วิจยั พืชสวนชุมพร สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร กลุม่ วิชาการ สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร 3 ศูนย์วิจยั และพัฒนาการเกษตรลาปาง สานักวิจยั และพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 กรมวิชาการเกษตร 2

24

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ของกรมวิชาการเกษตรคือ สายพันธุ์ HC028 และ HC049 ส่วนสายพันธุ์ HC084 เป็ นสายพันธุ์ที่มีศกั ยภาพที่จะพัฒนาและ นาเสนอเป็ นสายพันธุ์แนะนาต่อไป (สถาบันวิจยั พืชสวน, 2556) เมื่อปรับปรุ งพันธุ์ใหม่ได้ แล้ ว การผลิตต้ นพันธุ์ให้ ได้ เพียงพอ ไม่กลายพันธุ์ และมีความแข็งแรง จาเป็ นต้ องมีการศึกษาวิจยั ในการทดลองนี ้ ได้ นาเอาเทคโนโลยีการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อใน ระบบ Temporary Immersion Bioreactor system (TIBs) มาใช้ เพื่อศึกษาถึงการตอบสนองของต้ นอ่อน ขนาดต่างกัน ต่อ ลักษณะและอัตราการเจริ ญเติบโต ของหน้ าวัวแต่ละสายพันธุ์ที่มีต่อระบบเพาะเลี ้ยงแบบจมชัว่ คราว เพื่อนาไปใช้ เป็ นข้ อมูล เบื ้อต้ นในการพัฒนาระบบการขยายพันธุ์หน้ าวัวลูกผสมใหม่

อุปกรณ์ และวิธีการ ต้ นอ่อนหน้ าวัวลูกผสมสายพันธุ์ใหม่ ดังนี ้ HC028 HC049 และ HC084 เพาะเลี ้ยงในอาหารกึ่งแข็ง ระบบ Temporary Immersion Bioreactor system (TIBs) แบบใช้ ปัม้ อากาศ (Ducos et. al., 2007, ประภาพรและยุพิน, 2551) อาหารเหลวสาหรับเพาะเลี ้ยงหน้ าวัวโดยใช้ อ าหาร Kio. 5 (macro MS, micro MS, vitamin Gamborg, Glycine 2 มิลลิลิตร BAP 0.5 มิลลิลิตร และน ้าตาล 30 กรัม pH 5.7) ใช้ อาหาร 1 ลิตรต่อ 1 ระบบ TIBs ประกอบขวดบรรจุอาหารและ ขวดบรรจุชิ ้นส่วนพืช เข้ าด้ วยกัน นาระบบ TIBs ฆ่าเชื ้อด้ วยเครื่ องนึ่งฆ่าเชื ้อด้ วยไอน ้าแรงดันสูง ที่อณ ุ หภูมิ 121 องศาเซลเซียส ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางนิว้ นาน 25 นาที จากนัน้ ทิ ้งไว้ ในห้ องเลี ้ยงเนือ้ เยื่อ โดยต่อกับระบบการอาหารและให้ อาหาร ทางานปกติ 2 สัปดาห์เพื่อสังเกตว่ามีการปนเปื อ้ นของเชื ้อจุลินทรี ย์หรื อไม่ ทาการตัดแต่งชิ ้นส่วนหน้ าวัวโดยการตัดแต่งให้ แต่ ละต้ นมีจานวนหนึง่ ข้ อและหนึง่ ใบ ขนาดไม่เกิน หนึง่ เซนติเมตร นาต้ นอ่อนหน้ าวัว สายพันธุ์ตา่ งๆ บรรจุลงในขวดบรรจุชิ ้นส่วน พืช โดยปฏิบตั ิในตู้เปลี่ยนถ่ายเนื ้อเยื่อ เพาะเลี ้ยงหน้ าวัวลูกผสมสายพันธุ์ต่างๆ ในอาหารเหลว ให้ อาหารครัง้ ละ 1 นาที ทุก 12 ชัว่ โมง เปลี่ยนอาหารเหลวทุก 4 สัปดาห์

ผลและวิจารณ์ การทดลอง สายพันธุ์ HC028 หน้ าวัวสายพันธุ์นี ้เป็ นหน้ าวัวที่มีฐานรองดอกสีขาว (Fig 1.) จากการเพาะเลี ้ยงต้ นหน้ าวัวที่ขนาดต่างกันในอาหาร เหลวด้ วยระบบ TIBs เป็ นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่าต้ นขนาดเล็กมีอตั ราการเพิ่มน ้าหนักรวมและน ้าหนักต่อต้ นมากกว่าต้ นขนาด ใหญ่ โดยมีการเพิ่มขึ ้น 2.8 และ3.1 เท่า สาหรับน ้าหนักรวมและน ้าหนักต่อต้ นตามลาดับ ส่วนการเพิ่มจานวนต้ นนันต้ ้ นขนาด ใหญ่มีการเพิ่มของจานวนต้ นมากกว่า เนื่องจากต้ นขนาดใหญ่เมื่อเลี ้ยงในอาหารเหลว ส่วนของข้ อมีการแตกหน่อเพิ่ม จานวน มาก ซึ่งสอดคล้ องกับการลดลงของน ้าหนักต่อต้ นของต้ นขนาดใหญ่ที่น ้าหนักต่อต้ นลดลง (Table 1) จากการสังเกตต้ นกล้ าที่ เก็บเกี่ยวได้ พบว่า ต้ นกล้ าหน้ าวัวสายพันธุ์นีม้ ีการสร้ างไหลและมีต้นกล้ าขนาดเล็กมากติดอยู่ตามไหลเหล่านัน้ จานวนมาก (Fig 1.) ดังนันถ้ ้ าต้ องการเพิ่มการขยายพันธุ์หน้ าวัวสายพันธุ์นี ้จานวนมาก การเพาะเลี ้ยงในอาหารเหลวรอบต่อไปควรเริ่ มจาก การตัดข้ อของไหลเหล่านี ้เพื่อเพิ่มจานวนต้ นให้ มากขึ ้นได้ Table 1. Total weight (g.), Number of plantlets and weight of each plantlets (g.) of Anthurium Hybrids verity HC028 which were propagated via temporary immersion bioreactor system (TIBs) for 12 weeks. Total weight (g.)

No. of plantlets

Weight of plantlets (g.)

Size of initiation shoots

0 week

12 weeks

0 week

12 weeks

0 week

12 weeks

small large

14.2 19.2

54.8 54.1

236 32

274 108

0.06 0.6

0.2 0.5

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

25


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Picture of Anthurium Hybrids verity HC028 which were propagated via temporary immersion bioreactor

system (TIBs) for 12 weeks (a, b) and picture of flower. สายพันธุ์ HC049 หน้ าวัวสายพันธุ์นี ้เป็ นหน้ าวัวที่มีฐานรองดอกสีเขียว (Fig 2.) จากการเพาะเลี ้ยงต้ นหน้ าวัวที่ขนาดต่างกันในอาหาร เหลวด้ วยระบบ TIBs เป็ นเวลา 12 สัปดาห์ พบว่าอัตราการเพิ่มขึ ้นของหน้ าวัวสายพันธุ์นี ้ค่อนข้ างต่า โดยเฉพาะจานวนต้ นที่ เพิ่มขึ ้น มีการเพิ่มขึ ้นของจานวนต้ นน้ อยมากโดยเฉพาะต้ นขนาดเล็ก จานวนต้ นลดลง (Table 2) ในขณะที่ต้นขนาดใหญ่ มีการ แตกหน่อเพิ่มขึ ้น แต่อตั ราการเพิ่มของจานวนต้ นก็ถือว่าน้ อย สอดคล้ องกับการขยายพันธุ์หน้ าวัวสายพันธุ์นี ้ด้ วยอาหารกึ่งแข็ง ที่ ศูนย์วิจยั และพัฒนาการเกษตรลาปาง พบว่า การขยายพันธุ์ของหน้ าวัวสายพันธุ์นี ้นันท ้ าได้ น้อย เนื่องจากหน้ าวัวสายพันธ์นี ้ ไม่แตกกอ (สถาบันวิจยั พืชสวน, 2556) ซึง่ ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนต้ นที่เพิ่มกับน ้าหนักต่อต้ นเมื่อเก็บเกี่ยวนัน้ พบว่าต้ น ขนาดเล็กแม้ ว่าจะมีการลดลงของจานวนต้ น แต่น ้าหนักต่อต้ นเพิ่มขึ ้น แสดงว่าต้ นขนาดเล็กสามารถเจริ ญเติบโตได้ ดีแต่ต้น ขนาดนี ้ไม่แตกหน่อ ในขณะที่ต้นขนาดใหญ่มีการเพิ่มขึ ้นของจานวนต้ น แต่น ้าหนักต่อต้ นลดลง แสดงว่าถ้ าเพาะเลี ้ยงต้ นขนาด ใหญ่ ต้ นจะมีการแตกหน่อเพิ่มขึ ้นมากกว่าต้ นขนาดเล็ก Table 2 Total weight (g.), Number of plantlets and weight of each plantlets (g.) of Anthurium Hybrids verity HC049 which were propagated via temporary immersion bioreactor system (TIBs) for 12 weeks. Total weight (g.) No. of plantlets Weight of plantlets (g.) Size of initiation shoots 0 week 12 weeks 0 week 12 weeks 0 week 12 weeks small large

16.3 20.6

59.7 41.5

271 89

239 125

0.06 0.23

0.25 0.33

Figure 2 Picture of Anthurium Hybrids verity HC049 which were propagated via temporary immersion bioreactor system (TIBs) for 12 weeks (a, b) and flower.

26

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สายพันธุ์ HC084 หน้ าวัวสายพันธุ์นี ้เป็ นหน้ าวัวที่มีฐานรองดอกชมพู (Fig 3.) จากการเพาะเลี ้ยงต้ นหน้ าวัวที่ขนาดต่างกันในอาหาร เหลวด้ วยระบบ TIBs เป็ นเวลา 12 สัปดาห์พบว่าน ้าหนักต้ นรวม จานวนต้ น และน ้าหนักต่อต้ น เพิ่มขึ ้นในทุกขนาดต้ น (Table 3)โดยต้ นขนาดเล็กมีการเพิ่มขึ ้นของน ้าหนักรวมมากกว่าต้ นขนาดใหญ่โดยมีการเพิ่มขึ ้น ถึง 28 เท่า ในส่วนของจานวนต้ นที่ เพิ่มขึ ้นนัน้ ต้ นขนาดเล็ก ให้ จานวนต้ นเมื่อเปรี ยบเทียบกับจานวนต้ นเริ่ มต้ นเพิ่มมากที่สดุ คือ 6.7 เท่า และต้ นขนาดใหญ่ 2.3 เท่ามีจานวนต้ นเพิ่มขึ ้นน้ อยที่สดุ สอดคล้ องกับ Viegas et. al. (2007) ที่พบว่าอัตราการเพิ่มขึ ้นของต้ นอ่อนหน้ าวัวที่เพาะเลี ้ยง ในอาหารกึ่งแข็ง ในเวลา 70 วันมีการเพิ่มขึ ้นของต้ นอ่อนสูงสุด 8 .6 เท่า ในอาหารที่เติม BAP 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร สาหรับ ขนาดของต้ น (ใช้ การชั่งน ้าหนักต่อต้ น) ต้ นขนาดเล็กมี การเพิ่มขึน้ ของนา้ หนักต่อต้ นมากที่สดุ คือ 2.6 เท่าของน ้าหนักต่อต้ น เริ่มต้ น ซึง่ อาจจะมีสาเหตุจากต้ นขนาดเล็กเซลยังสามารถพัฒนาได้ มากและรวดเร็วทาให้ มีเจริญของเนื ้อเยื่อต่างๆอย่างรวดเร็ว Table 3 Total weight (g.), Number of plantlets and weight of each plantlets (g.) of Anthurium Hybrids verity HC084 which were propagated via temporary immersion bioreactor system (TIBs) for 12 weeks. Total weight (g.) No. of plantlets Weight of plantlets (g.) Size of initiation shoots 0 week 12 weeks 0 week 12 weeks 0 week 12 weeks small large

10 12

290 119

1111 150

8700 575

0.009 0.08

0.03 0.2

Figure 3 Picture of Anthurium Hybrids verity HC084 which were propagated via temporary immersion bioreactor system (TIBs) for 12 weeks (a, b) and flower.

สรุ ปผลการทดลอง การตอบสนองของหน้ าวัวลูกผสมใหม่ที่เพาะเลี ้ยงในอาหารเหลวในระบบ TIBs นันในแต่ ้ ละสายพันธุ์มีการตอบสนอง แตกต่างกันทังการเพิ ้ ่มขึ ้นของน ้าหนักรวม จานวนต้ นและน ้าหนักต่อต้ น ในทุกสายพันธุ์ถ้าการขยายพันธุ์ต้องการเพิ่มจานวน ต้ นให้ มีปริ มาณมากขึน้ ให้ ใช้ ต้น ขนาดใหญ่เป็ นต้ นอ่อนเริ่ มต้ นเพาะเลี ้ยง แต่ถ้าต้ องการให้ ต้นอ่อนมีการพัฒนาเป็ นต้ นกล้ า ขนาดใหญ่สาหรับนาไปอนุบาลในโรงเรื อนต้ องใช้ ต้นอ่อนขนาดเล็กเป็ นต้ นอ่อนเริ่มต้ นเพาะเลี ้ยง

เอกสารอ้ างอิง ประภาพร ฉันทานุมตั ิและยุพิน กสินเกษมพงษ์ . 2551. การผลิตกล้ ากาแฟโรบัสต้ าจากวิธี Somatic Embryogenesis ใน ระบบ Temporary Immersion Bioreactor. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครัง้ ที่ 7 พฤษภาคม 2551. พิสมัย ชวลิตวงษ์ พร. 2543. หน้ าวัว ในเอกสารวิชาการที่ 24 ไม้ ตดั ดอกเศรษฐกิจและการปรับปรุงพันธุ์ สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร. หน้ า 43 – 46. สถาบันวิจยั พืชสวน. 2556. พืชสวนพันธุ์ดี กรมวิชาการเกษตร (เล่ม 3). สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร. พิมพ์ที่ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. หน้ า 77 – 85. Ducos, JP., C. Lambot, and V. Petiard. 2007. Bioreactor for Coffee Mass Propagation by Somatic Embryogenesis. International Journal of Plant Developmental Biology.1(1). pp.1 -12. Viegas, J., M. T. R. Rocha, I. Ferreira-Moura, D. L Rosa, J. A. Souza, M. G. S. Correa and J. A. T. Silva., 2007. Anthurium andraeanum (Linden ex Andre) Culture: In Vitro and Ex vitro. Floriculture and Ornamental Biotechnology 1(1), 61 – 65.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

27


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การชักนาให้ เกิดยอดและแคลลัสของลิลลี่ในสภาพปลอดเชือ้ In vitro callus and shoot induction of Lilium formolongo Hort. พิศวรรณ เพ็ชร์ ย่งิ 1 งามนิจ ชื่นบุญงาม2 ปวีณา ไตรเพิ่ม2 กัญจนา แซ่ เตียว1 Phitsawan Phetying1 Ngarmnij Chuenboonngarm2 Paweena Traiperm2 Kanjana Saetiew1

บทคัดย่ อ การเพาะเลี ้ยงใบลิลลี่ขนาด 0.5 เซนติเมตรบนอาหารสูตร Murashige and Skoog(1962,MS) ที่เติม α-Napthalene acetic acid (NAA) เข้ มข้ น 0, 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ 6-Benzylaminopurine (BA) เข้ มข้ น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร เลี ้ยงในที่มืดเป็ นเวลา 10 สัปดาห์ วางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) จานวน 15 ทรี ตเมนต์ ๆ ละ 3 ซ ้า ๆ ละ 8 ชิ ้น พบว่าใบที่เลี ้ยงในอาหารสูตร MS ที่เติม NAA เข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร มีการพัฒนาไปเป็ น friable callus ได้ ดีที่สดุ โดย callus มีเส้ นผ่านศูนย์กลาง 0.93 เซนติเมตร และ จานวนยอดเฉลี่ย 1.08 ยอดต่อชิ ้น และ บนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มี การเกิดยอดมากที่สดุ 1.25 ยอดต่อชิ ้น ส่วนชิ ้นส่วนใบบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่ วมกับ BA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่ามีการเกิด Compact callus ขนาดเฉลี่ยมากที่สดุ 0.83 เซนติเมตรและมีจานวนยอดเฉลี่ย 0.41 ยอดต่อ ชิ ้น ส่วนที่เลี ้ยงในอาหารสูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโตและอาหาร MS ที่เติม BA เข้ มข้ น 0, 0.25, 0.5, 0.75, และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าไม่สามารถทาให้ ชิ ้นส่วนพัฒนาไปเป็ นยอดหรื อแคลลัสได้ และตายในที่สดุ โดยพบว่ามีความ แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ คาสาคัญ : เอมบริโอ สารควบคุมการเจริญเติบโต การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ ลิลลี่

Abstract Callus induction of Lilium formolongo was studied. The leaf explants (size 0.5 cm) were cultured on Murashige and Skoog (1962) (MS) medium supplemented with 0, 0.5, 1 mg/l α-Napthalene acetic acid (NAA) combination with 0, 0.25, 0.5, 0.75, 1 mg/l 6- Benzylaminopurine (BA) and cultured in the dark condition for ten weeks. The experiment design was CRD (Completely randomized design) consist of fifteen treatments three replication and eight pieces in a replication. The leaf explant cultured on MS medium supplement with 1 mg l-1 NAA and 0.25 mg l-1 BA developed to creamy-white friable callus and callus size was 0.93 cm and shoot was amount 1.08 shoots. Explants cultured on MS medium supplement with 1 mg l-1 NAA and 0.5 mg l-1 BA developed 1.25 shoot. On MS medium supplemented with 1 mg l-1 NAA and 1 mg l-1 BA the explants developed to compact callus size was 0.83 cm and 0.41 shoot . The explants cultured on MS medium without growth regulators and explant cultured on MS medium with 0, 0.25, 0.75, 1 mg l-1 BA found that do not develop in to callus and explant turned brown and died. These results suggest that the difference were statistically significant.

Keywords : Embryo, Plant growth regulator, Tissue cultured, Lily

1 2

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ 28

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ลิลลี่ (Lilium formolongo Hort.) เป็ นดอกไม้ เมืองหนาว มีถิ่นกาเนิดในประเทศจีนและตอนเหนือของประเทศญี่ปนุ่ เป็ นไม้ ดอกที่มีความสวยงามมาก มีหลายสายพันธุ์และมีดอกหลากสี บางชนิดมีกลิ่นหอม นิยมปลูกเป็ นไม้ ตัดดอกและไม้ กระถางอย่างแพร่ หลายทั่ว โลก จึง ได้ รั บสมญานามว่า ดอกไม้ ข องเจ้ า หญิ ง ลิล ลี่ในกลุ่ม ถูกเรี ยกนี ว้ ่า อี สเตอร์ ลิลลี่ หรื อ ทรัมเปตลิลลี่ (Lilium sp.) (กรมวิชาการเกษตร , 2546) ลิลลี่(L. formolongo) เป็ นหนึ่งในสายพันธุ์ที่มีการพัฒนามาจาก L. longiflorum มีดอกสีขาวและเป็ นพันธุ์การค้ า (Nguyen et al., 2008) ลิลลี่เป็ นไม้ ดอกที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจใน อุตสาหกรรมไม้ ตดั ดอกประเภทหัวที่มีความสาคัญอันดับสามของโลก(Robinson and Firozabady, 1998)และมีมากกว่า 8000 สายพันธุ์ (Zhou et al., 2008) ลิลลี่จึงได้ รับการปลูกมานานเพื่อผลิตหัวพันธุ์และเป็ นไม้ ตดั ดอก (Godo et al., 1998) ใน การขยายพันธุ์โดยการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อของลิลลี่นนั ้ พบว่าสามารถใช้ อวัยวะต่าง ๆ เช่น หัว ใบ ลาต้ น ดอกอ่อน อับละออง เกสร นอกจากนี ้มีการนารังไข่ของ L. longiflorum ไปเพาะเลี ้ยงเพื่อเปรี ยบเทียบความแตกต่างของอาหารเพาะเลี ้ยงและความ เข้ มข้ นของน ้าตาลซูโครสในการชักนาให้ เกิดการพัฒนาไปเป็ นต้ นพืช (Ramsay et al., 2003) ผลจากการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อที่ได้ ส่วนมากเป็ นการเกิดต้ นโดยตรงจากชิ ้นพืชแต่มีการพบว่าชิ ้นส่วนพืชบางชนิดสามารถเกิดแคลลัส (Callus) เช่น ใบของลิลลี่ L. formolongo ซึง่ เกิดยอดได้ ภายหลังการเกิด callus (Saetiew and Umamanit., 2015) บางกรณีแคลลัสมีการพัฒนาเป็ นต้ น อ่อนโดยผ่านการเกิด somatic embryogenesis (Nhut et al., 2006) การเกิด somatic embryogenesis นี ้ แคลลัสจะถูกชักนา ให้ เกิดเป็ น embryogenic callus ก่อนที่จะพัฒนาเป็ นเอมบริ ออยด์ (embryoid) ก่อนจะเป็ นต้ นที่สมบูรณ์ต่อไปและแนวโน้ ม การปรับปรุ งพันธุ์พืชในปั จจุบนั มีการนาเทคนิคการถ่ายยีนเข้ าสู่เซลล์พืชมากขึ ้น ดังนันการศึ ้ กษาการพัฒนาให้ เกิดต้ นพืชผ่าน ระบบ somatic embryo จึงเป็ นพื ้นฐานสาคัญ ที่จะทาให้ การคัดเลือกต้ นในระบบถ่ายยีนง่ายขึ ้น (Luo., 1994) สาหรับลิลลี่ที่ ผ่านการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ เมื่อนาออกปลูกนันมี ้ รายงานว่าต้ นที่เกิดจาก embryogenesis เจริ ญเติบโตได้ ดีกว่าต้ นที่เกิดจาก organogenesis (Nhut et al., 2006)

อุปกรณ์ และวิธีการ การเตรียมชิน้ ส่ วนเริ่มต้ น

ทาการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อลิลลี่นาฝั กมาล้ างให้ สะอาดโดยใช้ น ้ายาล้ างจาน (detergent) จากนันมาผ่ ้ านน ้าไหลเป็ น เวลา 30 นาที ก่ อ นน าฝั ก มาฟอกฆ่ า เชื อ้ ด้ ว ยแอลกอฮอล์ 70 เปอร์ เ ซ็น ต์ เป็ น เวลา 1 นาที และตามด้ ว ย คลอร็ อ กซ์ 20 เปอร์ เซ็นต์ (Sodiumhypochloride 20%) ที่มี Tween 20 1-2 หยด นาน 10 นาที ล้ างด้ วยน ้ากลัน่ ฆ่าเชื ้อ 3 ครัง้ ๆ ละ 5 นาที

การชักนาให้ เกิดต้ นและแคลลัส

นาฝักลิลลี่ที่ผ่านการฟอกฆ่าเชื ้อแล้ ว มาผ่าเอาเมล็ดไปเลี ้ยงบนอาหารสูตร Murashige and Skoog (1962, MS) จนกระทัง่ ได้ ต้นในสภาพปลอดเชื ้อในเวลา 1 เดือน โดยใช้ ใบอ่อนจากต้ นที่มีอายุ 3 สัปดาห์ จากนันน ้ าใบในสภาพปลอดเชื ้อมา ตัดให้ มีขนาด 0.5x0.5 ซม. เลี ้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโตประเภทออกซินและไซโตไคนิน ได้ แก่ NAA (α-Napthalene acetic acid) ที่ระดับความเข้ มข้ น 0, 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับไซโทไคนิน เช่น BA (6Benzylaminopurine) ที่ระดับความ 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร นาไปเลี ้ยงในที่มืดเป็ นเวลา 10 สัปดาห์ ที่ อุณหภูมิ 25±2 องศาเซลเซียส เพื่อชักนาให้ เกิดแคลลัส วางแผนการทดลองแบบ completely randomized design 15 ทรี ต เมนต์ ทรี ตเมนต์ละ 3 ซ ้า ๆ ละ 8 ชิ ้น เพาะเลี ้ยงเป็ นเวลา 10 สัปดาห์ โดยทาการย้ ายชิ ้นส่วนลงในอาหารใหม่ทกุ 4 สัปดาห์ บันทึกข้ อมูลทุก 2 สัปดาห์ และนาข้ อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติโดยวิธีการ Duncan’s Multiple Range Test (DMRT)

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการศึกษาผลของสูตรอาหารและสารควบคุมการเจริ ญเติบโต ต่อการชักนาแคลลัสจากการเพาะเลี ้ยงใบลิลลี่ พบว่าหลังจากการเพาะเลี ้ยงใบลิลลี่บนสูตรอาหาร MS ที่เติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโต NAA ที่ระดับความเข้ มข้ น 0, 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร และ BA ที่ระดับความเข้ มข้ นต่าง ๆ เช่น 0, 0.25, 0.5, 0.75, 1 มิลลิกรัมต่อลิตร และนาไปเลี ้ยงในที่มืด นัน้ ในสัปดาห์ที่ 2-4 ใบเริ่ มขยายขนาดใหญ่ขึ ้นแต่ยงั ไม่เกิดแคลลัสในทุก ๆ ทรี ตเมนต์ ในสัปดาห์ที่ 6 พบว่าใบที่เพาะเลี ้ยงบน อาหารสูตร MS ที่เติม NAA เข้ มข้ น 0.5, 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA เข้ มข้ น 0.25, 0.5, 0.75, 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ขยาย การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

29


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ขนาดและเกิดแคลลัสในลักษณะที่เกาะกันอย่างหลวมๆ (friable callus) ซึ่งมีขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยมากที่สดุ เท่ากับ 0.39±0.95 เซนติเมตร (Fig. 1c, Table 2) สาหรับใบที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA เข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA เข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าเกิดแคลลัสและรากพร้ อมกัน (Fig. 1d) โดยแคลลัสมีลกั ษณะเกาะกันแน่น (compact callus) และมีจานวนมากขึ ้น เส้ นผ่านศูนย์กลางโดยเฉลี่ย 0.11±0.10 เซนติเมตร ในระยะเวลาดังกล่าวนี ้มียอด เกิดขึ ้นด้ วย โดยมียอดเฉลี่ย 0.33±0.71 ยอด นอกจากนี ้จากการทดลองพบว่าชิ ้นพืช เกิดยอดและแคลลัสที่มีลกั ษณะเกาะกัน อย่างหลวม ๆ (friable callus) ในอาหารสูตร MS ที่เติม NAA เข้ มข้ น 1มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA เข้ มข้ น 0.25, 0.75, 1 มิลลิกรัมต่อลิตร (Fig1e,1f) การเลี ้ยงในสภาพที่มืด มีสว่ นช่วยให้ ชิ ้นส่วนพืชเริ่มต้ นที่เลี ้ยงบนอาหารที่มีสารควบคุมการเจริญ เติบโตทุกสูตรมีการสร้ างแคลลัสได้ ซึง่ สอดคล้ องกับงานวิจยั ของ LingFei et al. (2009) ที่ได้ ศึกษาการชักนาให้ เกิดต้ นจาก ชิ ้นส่วนใบของลิลลี่พนั ธุ์ Lilium davidii var. unicolor ที่เลี ้ยงบนอาหารสูตร NN ซึ่งเติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโต TDZ ร่วมกับ NAA ในสภาพมืด 15 วัน จึงเกิดแคลลัสขึ ้น สารควบคุมการเจริ ญเติบโตทาหน้ าที่กระตุ้นและมีสว่ นร่วมในกระบวนการ ต่างๆ ที่นาไปสู่การพัฒนาของต้ นพืชที่เป็ นปกติ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ เนื ้อเยื่อ ซึ่งเป็ นผลมาจากฮอร์ โมนทังสิ ้ ้น ์ (รังสฤษดิ, 2541) หลังการเพาะเลี ้ยงนาน 8 สัปดาห์ พบว่าชิ ้นส่วนพืชที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร MS (ชุดควบคุม) และ MS ที่ เติม BA เข้ มข้ น 0, 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร แสดงอาการตาย โดยใบเปลี่ยนเป็ นสีน ้าตาล (Fig 1a, Table 1) เนื่องจากชิ ้นส่วนที่ไม่ได้ รับหรื อได้ รับสารควบคุมการเจริ ญเติบโต ออกซินหรื อไซโตไคนินในความเข้ มข้ นที่พอเหมาะตามความ เหมาะสมของสารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืชแต่ละชนิดมีความจาเพาะต่อพืช จึงทาให้ ไม่เกิดการสร้ างแคลลัสและชิ ้นส่วน ตายได้ (สมพร, 2552) ชิ ้นส่วนที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA เข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA เข้ มข้ น 0.25, 0.5, 0.75 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร และสูตร MS ที่เติม NAA เข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA เข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อ ลิตร เกิดแคลลัส ทัง้ friable callus และ complex callus โดยมีเส้ นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยมากที่สดุ 0.61±0.58 เซนติเมตร (Fig .2a,2b) จากการศึกษาพบว่าชิ ้นพืชเกิดแคลลัสที่มีลกั ษณะเกาะกันอย่างหลวมๆ (friable callus) เมื่อเพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA เข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA เข้ มข้ น 0.25, 0.5, 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยมีเส้ นผ่านศูนย์กลางมาก ที่สดุ เฉลี่ย 0.62±0.48 เซนติเมตร มีการเกิดยอดโดยเฉลี่ยมาก 0.49±0.75 ยอด (Fig. 2c,Table3) ทังนี ้ ้มีรายงานการศึกษาการ เพาะเลี ้ยงกลีบหัวย่อยและชิ ้นส่วนใบของลิลลี่พนั ธุ์ Lilium “Prato” ในสภาพปลอดเชื ้อว่า การใช้ BA ที่ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA เข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร นัน้ ส่งเสริ มและพัฒนาการเกิดยอดได้ มากถึง 96.67 เปอร์ เซ็นต์ และ 64.97 เปอร์ เซ็นต์ตามลาดับ (El-Naggar et al., 2012) ในการศึกษานี ้พบว่าชิ ้นส่วนพืชสามารถเกิดแคลลัสพร้ อมกับยอด และรากได้ เมื่อเพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA เข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA ในทุกความเข้ มข้ น (Fig. 2d) และเมื่อเลี ้ยงต่อจนครบ 10 สัปดาห์ พบว่าแคลลัสมีการขยายขนาดโดยมีปริ มาณเพิ่มมากขึ ้นและจานวนยอดมากขึ ้นอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ (Table 2, 3) ซึง่ สอดคล้ องกับงานวิจยั ของ (Kanchanaporn and Ponpiboon, 2011) ที่ได้ ชกั นาให้ เกิด แคลลัสได้ มากถึง 60 เปอร์ เซ็นต์ และต่อมาแคลลัสมีการพัฒนาเป็ นแบบออร์ แกโนเจเนซิสไปเป็ นยอดจากชิ ้นส่วนใบของลิลลี่ L. longiflorum ได้ ถึง 12 ยอด โดยเพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม NAA เข้ มข้ น 5.3 ไมโครโมลลาร์ Nhut et al. (2006) ได้ นา pseudo-bulblets ของลิลลี่มาศึกษาการเปลี่ยนแปลงของแคลลัส เพื่อชักนาให้ เกิดโซมาติกเอมบริ โอเจเนซิส พบว่าแคลลัสที่ เกิดขึ ้นจากการเลี ้ยงบนอาหารเหลวสูตรที่เติม NAA เข้ มข้ น 1 มิลลิกรัมต่อลิตร และ TDZ เข้ มข้ น 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร เกิด somatic embryogenesis มากที่สดุ ในขณะที่อาหารแข็งนันท ้ าให้ แคลลัสพัฒนาได้ ดี แต่ไม่มี somatic embryogenesis ดังนัน้ ในการสร้ าง somatic embryogenesis จะต้ องนาเลี ้ยงในอาหารอาหารเหลวที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อไป

30

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

a

b

d

e

c

f

Fig.1. Callus induction of Lilium formolongo. Plant regeneration from leaf explants on medium in 6 weeks.

(a) explant turned brown and died on MS medium (controls). (b) leaf expanded on MS medium supplemented with 0.5 mg/l NAA and 0.5 mg/l BA. (c) leaf explant and friable callus cultured on MS medium supplemented with 0.5 mg/l NAA and 0.75 mg/l BA. (d) compact callus, shoots and roots cultured on MS medium supplemented with 1 mg/l NAA and 0.5 mg/l BA. (e) friable callus and shoots cultured on MS medium supplemented with 1 mg/l NAA and 0.25 mg/l BA. (f) friable callus, shoots and roots cultured on MS medium supplemented with 1 mg/l NAA and 1 mg/l BA.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

31


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

a

b

c

d

Fig.2. Plant regeneration from leaf explants on medium in 8 weeks. (a) leaf expanded and friable callus on MS medium supplemented with 0.5 mg/l NAA and 0.75 mg/l BA. (b) compact callus on MS medium supplemented with 0.5 mg/l NAA and 1 mg/l BA. (c) friable callus and shoots on MS medium supplemented with 1 mg/l NAA and 0.5 mg/l BA. (d) compact callus, shoots and roots on MS medium supplemented with 1 mg/l NAA and 1 mg/l BA.

32

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Effect of NAA and BA concentration for explant servivals of lily cultured 2-10 weeks. Concentration (mg/l) NAA BA MS (control) 0 0.25 0 0.50 0

Survivals (%) weeks 2

4

6

8

10

100.00±0.00a 100.00±0.00a 100.00±0.00a

100.00±0.00a 71.00±0.47b 66.00±0.44b

100.00±0.00a 00.00±0.00d 00.00±0.00d

00.00±0.00e 00.00±0.00e 00.00±0.00e

00.00±0.00e 00.00±0.00e 00.00±0.00e

0.75

100.00±0.00a

74.00±0.47b

00.00±0.00d

00.00±0.00e

00.00±0.00e

0

1

100.00±0.00a

62.00±0.50b

00.00±0.00d

00.00±0.00e

00.00±0.00e

0.5

0

100.00±0.00a

100.00±0.00a

62.00±0.50c

62.00±0.50cd

62.00±0.50cd

0.5

0.25

100.00±0.00a

79.00±0.42b

62.00±0.50c

62.00±0.50cd

62.00±0.50cd

0.5

0.5

100.00±0.00a

100.00±0.00a

70.00±0.47bc

50.00±00.53d

50.00±0.53d

0.5

0.75

100.00±0.00a

100.00±0.00a

66.00±0.46c

66.00±0.46bcd 66.00±0.46bcd

0.5

1

100.00±0.00a

100.00±0.00a

100.00±0.00a

58.00±0.50cd

1 1

0 0.25

100.00±0.00a 100.00±0.00a

100.00±0.00a 100.00±0.00a

100.00±0.00a 83.00±0.38b

66.00±0.46bcd 66.00±0.46bcd 70.00±-.38ab 83.00±0.39ab

1

0.5

100.00±0.00a

70.00±0.44b

70.00±0.44bc

70.00±0.44bc

70.00±0.44bc

1

0.75

100.00±0.00a

100.00±0.00a

58.00±0.52c

58.00±0.51cd

58.00±0.52cd

1

1

100.00±0.00a

100.00±0.00a

100.00±0.00a

100.00±0.00a

100.00±0.00a

F-test

ns

**

**

**

**

CV (%)

0

8.20

11.34

15.35

17.63

58.00±0.50cd

Differrent letters within a column indicate significant difference at α=0.05 by Duncant’s Multiple Range Test.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

33


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Effect of NAA and BA concentration for explant callus size of lily cultured 6-10 weeks Concentration (mg/l) NAA BA MS (control) 0 0.25 0 0.50

6 0.00±0.00d 0.00±0.00d 0.00±0.00d

Callus size (centimeter)(±SE)1/ Weeks 8 0.00±0.00f 0.00±0.00f 0.00±0.00f

10 0.00±0.00e 0.00±0.00e 0.00±0.00e

0

0.75

0.00±0.00d

0.00±0.00f

0.00±0.00e

0

1

0.00±0.00d

0.00±0.00f

0.00±0.00e

0.5

0

0.00±0.00d

0.07±0.07ef

0.28±0.26d

0.5

0.25

0.23±0.45ab

0.40±0.62bc

0.59±0.84b

0.5

0.5

0.02±0.05cd

0.14±0.25de

0.24±0.43d

0.5

0.75

0.22±0.48a

0.47±0.64b

0.63±0.84b

0.5

1

0.27±0.35a

0.44±0.48b

0.58±0.61b

1 1

0 0.25

0.09±0.12cd 0.13±0.10bc

0.22±0.28d 0.62±0.42a

0.38±0.45c 0.93±0.60a

1

0.5

0.11±0.10cd

0.40±0.36bc

0.57±0.48b

1

0.75

0.11±0.10cd

0.32±0.31c

0.52±0.49b

1

1

0.39±0.95a

0.61±0.58a

0.83±0.79a

F-test

**

**

**

CV (%)

4.48

3.31

1.27

Differrent letters within a column indicate significant difference at α=0.05 by Duncant’s Multiple Range Test.

34

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Effect of NAA and BA concentration for explant shoots of lily cultured 6-10 weeks Concentration (mg/l) NAA BA MS (control) 0 0.25 0 0.50

6 0.00±0.00c 0.00±0.00c 0.00±0.00c

Shoot of number(shoots)(±SE)1/ Weeks 8 0.00±0.00c 0.00±0.00c 0.00±0.00c

10 0.00±0.00c 0.00±0.00c 0.00±0.00c

0

0.75

0.00±0.00c

0.00±0.00c

0.00±0.00c

0

1

0.00±0.00c

0.00±0.00c

0.00±0.00c

0.5

0

0.38±0.86a

0.62±0.92a

0.70±1.05ab

0.5

0.25

0.00±0.00c

0.00±0.00c

0.00±0.00c

0.5

0.5

0.00±0.00c

0.00±0.00c

0.00±0.00c

0.5

0.75

0.04±0.11c

0.04±0.11c

0.04±0.11c

0.5

1

0.00±0.00c

0.37±0.73abc

0.37±0.73bc

1 1

0 0.25

0.04±0.11c 0.37±0.50a

0.04±0.11c 0.49±0.75abc

0.04±0.11c 1.08±1.52a

1

0.5

0.33±0.71b

0.58±1.00ab

1.25±1.17a

1

0.75

0.12±0.35bc

0.12±0.35bc

0.12±0.35bc

1

1

0.08±0.23bc

0.20±0.50abc

0.41±0.75bc

F-test

**

**

**

CV (%)

7.92

15.02

16.24

Differrent letters within a column indicate significant difference at α=0.05 by Duncant’s Multiple Range Test.

สรุ ปผลการทดลอง จากการศึกษาการชักนาแคลลัสจากชิ ้นส่วนใบของลิลลี่พนั ธุ์ Lilium formolongo โดยการนาชิ ้นส่วนใบลิลลี่ขนาด 0.5 เซนติเมตร เลี ้ยงในสูตรอาหาร MS ที่เติม NAA 0, 0.5,1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA เช่น 0, 0.25, 0.5, 0.75, 1 มิลลิกรัมต่อ พบว่า ชิ ้นส่วนใบที่เลี ้ยงในอาหารสูตร MS ที่เติม NAA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร มีอตั ราการรอดชีวิต ของชิ ้นส่วนใบเริ่ มต้ นคิดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ 100 เปอร์ เซ็นต์ ในชิ ้นส่วนใบที่เลี ้ยงในอาหารสูตร MS ที่เติม NAA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ BA 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า มีขนาดของ Friable callus ใหญ่ที่สดุ โดยมีขนาด 0.93 เซนติเมตร และในชิ ้นส่วนใบ ที่เลี ้ยงในอาหารสูตร MS ที่เติม NAA 1 มิลลิกรัมต่อลิตรร่วมกับ BA 1 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่ามีขนาดของ Compact callus ขนาดใหญ่ที่สดุ โดยมีขนาด 0.83 เซนติเมตร และมีการเกิดยอดมากที่สดุ 1.25 ยอด ในอาหารสูตร MS ที่เติม NAA 1 มิลลิกรัม ต่อลิตร ร่วมกับ BA 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

35


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยครัง้ นีไ้ ด้ รับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหาร ลาดกระบัง

เอกสารอ้ างอิง กรมวิชาการเกษตร. 2546. เอกสารวิชาการเรื่ องเทคโนโลยีการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืชสวน. สถาบันวิจยั พืชสวน กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพ๚ รังสฤษฏ์ กาวีต๊ะ. 2541. การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืช:หลักการและเทคนิค. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . พิมพ์ครัง้ ที่ 2. สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพ๚. 219 น. สมพร ประเสริ ฐส่งสกุล.2552. การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อกับการปรับปรุงพันธุ์พืช. คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยา เขตปั ตตานี. พิมพ์ครัง้ ที่ 2 . สานักพิมพ์โพร์ เพช. กรุงเทพ๚. 127น. EL-Naggar .H. 2012. In vitro propagation and organogenesis of Lilium “Prato’. African Journal of Biotechnology. 82, 1477-14776. Godo. T., Kobayashi, K., Tagami, T., Matsui, K., Kida, T., 1998. In vitro propagation utilizing suspension cultures of Meristematic nodular cell clumps amd chromosome stability of Lilium x formolongi hort. Scientia Horticulturae. 72, 193-202 Kanchanaporn,K. and Ponpiboon,T. 2011. Regeneration of Lily (Lilium longiflorum “Easter lily”) by callus Derived from leaf explants cultured in vitro. ScienceAsia.37, 373-376. LingFei, X., Feng-Wang, M., Dong L.2009. Plant regeneration from in vitro cultured leaves of Lanzhou lily (Lilium davidii var. unicolour) Scientia Horticulturae. 119, 131-138. Luo, J.P., Jia, J., Gu, Y., Liu,J., 1999. High frequency somatic embryogenesis and plant regeneration in callus cultures of Asstagalusadsurgens Pall. Plant Science. 143, 93-99 Murashige, T. and Skoog, F. 1962. A revised medium for rapid growth and bioassays with tobacco tissue culture. Physiologia Plantarum. 15:473-497 Nguyen. T.P.T., Nguyen, T.T., and Nguyen, Q.T. 2008. Developing an agrobacterium-mediated transformation system for Lilium formolongo using thin layer of bulb scales. Journal of Science and Development. 123-128 Nhut, D.T., Hanh, N.T., Tuan, P.Q., Nguyet, L.T., Tram, N.T., Chinh, N.C., Nguyen, N.H., Vinh, D.N., 2006. Liquid culture as a positive condition to induce and enchance quality and quantity of somatic embryogenesis of lilium longiflorum. Scientia Horticulturae.110, 93-97 Ramsay. J.L., Galiz, D.S., and Lee, C.L. 2003. Basal medium and sucrose concentration influence regeneration of easter lily in overy culture. Horticultural Science. 38(3):404-406 Robinson, K.E.P., Firozabady, E., 1993. Transformation of floriculture crops. Scientia Horticulturae. 55, 83-99 Saetiew, K., and Umamanit, T., 2015. Micropropagation of Lilium formolongo vai leaf explanta. Journal of Agricultul Technology. 11(4):855-862. Zhou, S., Ramanna M.S., Visser, R.G.F., Tuyl, J.M., 2008. Analysis of the meiosis in the F1 hrbrids of Longiflorum x Asiatic (LA) of lilies (Lilium) using genomic in hybridization. Journal of Genetic and Genomics 35, 687-695.

36

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของความเข้ มข้ น IAA จากนา้ หมัก Methylobacterium radiotolerans กลุ่มแยก ED5-9 ต่ อการเพาะเลีย้ งแคลลัสเชียงดา Effect of IAA concentration from Methylobacterium radiotolerans isolate ED5-9 fermentation broth on callus culture of Chiang-da (Gymnema inodorum (Lour.) Decne.) เพียงพิมพ์ ชิดบุรี1 ศิริพรรณ สารินทร์ 2 และอภิชาติ ชิดบุรี3 Piengpim Chidburee1 Siripun Sarin2 and Aphichat Chidburee3

บทคัดย่ อ การศึกษาครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อเปรี ยบเทียบความเข้ มข้ นที่แตกต่างกันของ IAA จากน ้าหมัก Methylobacterium radiotolerans กลุม่ แยก ED5-9 กับการใช้ IAA สังเคราะห์ ต่อการเพาะเลี ้ยงแคลลัสเชียงดา โดยเพาะเลี ้ยงแคลลัสเชียงดาใน อาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA จากน ้าหมักความเข้ มข้ นต่างๆ (0.0049, 0.0098, 0.0196, 0.0293 และ 0.0390 มก./ล.) เปรี ยบเทียบกับอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA สังเคราะห์ความเข้ มข้ น 0.5 มก./ล. (ชุดตรวจสอบ), อาหารแข็งที่เติม IAA จาก น ้าหมักความเข้ มข้ น 0.0098 มก./ล. และอาหารแข็งสูตร MS (ชุดควบคุม) เลี ้ยงนาน 4 สัปดาห์ พบว่า น ้าหนักสดของแคลลัส เชียงดาที่เลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA สังเคราะห์ (0.5 มก./ล.) มีมากที่สดุ คือ 0.79 ก. ส่วนอาหารแข็งที่เติม IAA จากน ้าหมักมีน ้าหนักสดที่ไม่แตกต่างกัน อยู่ในช่วง 0.35 – 0.55 ก. สาหรับน ้าหนักแห้ งของแคลลัสมีมากที่สดุ เมื่อเลี ้ยงบน อาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA สังเคราะห์ กับอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA จากน ้าหมักความเข้ มข้ น 0.0098 มก./ล. คือ 0.0626 และ 0.04860 ก. ตามลาดับ ส่วนคะแนนความเขียวของแคลลัสไม่แตกต่างกันในทุกกรรมวิธี คาสาคัญ: น ้าหมัก, เชียงดา

Abstract This study aimed to compare different concentrations of IAA from Methylobacterium radiotolerans isolate ED5-9 fermentation broth with the synthetic IAA on callus culture of the Chiang-da (Gymnema inodorum (Lour.) Decne.). The callus cultures of the Chiang-da grown on the MS solid medium added IAA from the fermentation broth with different concentrations (0.0049, 0.0098, 0.0196, 0.0293 and 0.0390 mg/L) were compared to the MS solid medium + 0.5 mg/ L IAA synthesis (check), solid medium + 0.0098 mg/L IAA from fermentation broth and the MS solid medium (control) after culturing for 4 weeks. The result showed that the highest fresh weight of the Chiang-da callus culture found on the MS solid medium + 0.05 mg/L synthetic IAA (0.79 g) and the MS solid medium added IAA from fermentation broth. However the culture in these added IAA from fermentation broth medium were not significant differences in the fresh weight (0.35 – 0.55 g). The highest dry weight of Chiang-da callus culture was on the MS solid medium + 0.5 mg/L synthetic IAA (0.0626 g) and the MS solid medium + 0.0098 mg/L IAA from fermentation broth concentration (0.04860 g). The green point of callus was similar in all treatments. Keywords: fermentation broth, Chiang-da

1

สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 65000 3 สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 2

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

37


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ผักเชียงดา [Gymnema inodorum (Lour.) Decne.] อยู่ในวงศ์ Apocynaceae เป็ นผักพื ้นบ้ านที่มีการใช้ ประโยชน์ทางยารักษาหวัดและรักษาไข้ มีสรรพคุณ ที่สาคัญ คือ การลดน ้าตาลในเลือด (เพ็ญนภา, 2548) ได้ มีการศึกษา เพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืชผักพื ้นบ้ านเพื่อการขยายพัน ธุ์ หรื อการผลิตสารทุติยภูมิ โดยทัว่ ไปของการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืชชิ ้นส่วนที่ ใช้ เป็ นส่วนของเนื ้อเยื่อเจริ ญนาไปเลี ้ยงบนสูตรอาหารที่เหมาะสม จากนันจึ ้ งหาวิธีที่เหมาะสมที่ทาให้ เนื ้อเยื่อเพาะเลี ้ยงนัน้ สามารถผลิตสารทุติยภูมิตามที่ต้องการได้ โดยทัว่ ไปเนื ้อเยื่อ เจริ ญที่นามาเพาะเลี ้ยงมักถูกเหนี่ยวนาให้ เกิดเป็ นแคลลัส (ศุภวร รณ, 2549) อาหารที่ใช้ ในการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อมีการเติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโต (growth regulators) หรื อ ฮอร์ โมนพืช (plant hormones) ที่เป็ นสารเคมีสงั เคราะห์เพื่อเพิ่มอัตราการเจริ ญเติบโตและการกาเนิดอวัยวะ (organogenesis) (รังสฤษดิ์, 2545) ในธรรมชาตินอกจากพืชที่สามารถสร้ างสารควบคุมการเจริ ญเติบโตได้ แล้ ว ยังมีจลุ ินทรี ย์ที่อาศัยอยู่ร่วมกับพืชบางชนิด เช่น แบคทีเรี ยกลุ่ม Pink-Pigmented Facultative Methylotrophs (PPFMs) สามารถสร้ างสารประกอบช่วยส่งเสริ มการ เจริ ญเติบโตของพืช (plant growth promoting substances) ที่ มีฤทธิ์ คล้ ายกับฮอร์ โมนพื ช และเอนไซม์ 1-aminocyclopropane-1-carboxylate (ACC) deaminase ในการลดระดับเอทิลีน (Lvanova et al., 2001) โดยแบคทีเรี ย กลุ่มนี ้ได้ มีการศึกษาแยกเชื ้อได้ ที่สามารถสร้ าง IAA พบว่า ได้ เชื ้อ Methylobacterium radiotolerans กลุ่มแยก ED5-9 (ศิริพรรณ และคณะ, 2013) จึงได้ มีความสนใจในการใช้ IAA จากน ้าหมักของ Methylobacterium radiotolerans กลุม่ แยก ED5-9 ต่อการเพาะเลี ้ยงแคลลัสเชียงดาเพื่อพัฒนาวิธีนาไปใช้ การผลิตสารทุติยภูมิที่มีคณ ุ ภาพ

วิธีการ การเตรี ยมนา้ หมักจากแบคทีเรี ย M. radiotolerans กลุ่มแยก ED5-9 ทาการเพาะกล้ าเชื ้อแบคทีเรี ยอายุ 3 วัน ที่มีระดับความขุ่นของเชื ้อในอาหารเหลวประมาณ 0.5 ที่ความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ลงในอาหารเหลว low nutrient medium (LNM) ที่มีส่วนประกอบต่อปริ มาตร 1 ลิตรคือ KH2PO4 2 กรัม KNO3 3.03 กรัม Mg2SO4.7H2O 0.125 กรัม NaCl 0.5 กรัม FeSO4.7H2O 0.002 กรัม Yeast extract 0.1 กรัม และ เมทานอล 1 เปอร์ เซ็นต์ (v/v) โดยใช้ ปริมาณกล้ าเชื ้อ 10% นาไปบ่มบนเครื่ องเขย่าแบบควบคุมอุณหภูมิที่อตั ราการเขย่า 180 รอบต่อนาที ที่อณ ุ หภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 5 วัน เมื่อครบกาหนดเวลาทาการแยกเซลล์แบคทีเรี ยออกด้ วยด้ วยเครื่ องปั่ นเหวี่ยงที่ ความเร็ว 10,000 รอบต่อนาที อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 15 นาที เก็บน ้าหมักส่วนใส (supernatant) ไปทาการระเหย น ้าออกเพื่อเพิ่มความเข้ มข้ นด้ วยเครื่ องระเหยระบบสูญญากาศที่อณ ุ หภูมิ 40 องศาเซลเซียส จากนันน ้ าน ้าหมักเข้ มข้ นที่ได้ ไป ทาให้ ปราศจากเชื ้อด้ วยการกรองจากชุดกรองแบคทีเรี ยขนาด 0.1 ไมครอน และเก็บรักษาคุณภาพในขวดสีชาที่อณ ุ หภูมิ 4 องศาเซลเซียสเพื่อใช้ ในการทดลอง และวัดปริมาณของ IAA (ศิริพรรณ และคณะ, 2013) ศึกษาผลของ IAA จากนา้ หมักของ M. radiotolerans กลุ่มแยก ED5-9 ต่ อการเพาะเลีย้ งแคลลัสเชียงดา ทาการทดลองอาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog) ที่เติม IAA จากน ้าหมัก ความเข้ มข้ น 0.0049, 0.0098, 0.0196, 0.0293 และ 0.0390 มิลลิกรัม/ลิตร เปรี ยบเทียบกับอาหารแข็งที่เติม IAA จากน ้าหมักความเข้ มข้ น 0.0098 มก./ล., อาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA สังเคราะห์ความเข้ มข้ น 0.5 มก./ล. (ชุดตรวจสอบ), และอาหารแข็งสูตร MS (ชุดควบคุม) วาง แผนการทดลองแบบ CRD (complete randomize design) มี 8 กรรมวิธี (treatment) กรรมวิธีละ 10 ซ ้า (replication) โดย ใช้ แคลลัสเชียงดาที่เลี ้ยงในอาหารสูตร MS เป็ นเวลา 4 สัปดาห์ หลังจากนันน ้ ามาตัดให้ มีน ้าหนักสดเฉลี่ย 0.2 กรัม แล้ วนาไป เลี ้ยงบนอาหารในแต่ละกรรมวิธี โดยให้ ความเข้ มแสง 2,500 ลักซ์ นาน 16 ชัว่ โมงต่อวัน ในห้ องเลี ้ยงที่มีอณ ุ หภูมิ 25  2 องศาเซลเซียส บันทึกข้ อมูลหลังจากเลี ้ยงได้ นาน 6 สัปดาห์ ได้ แก่ น ้าหนักสดและ นา้ หนักแห้ งของแคลลัส (กรัม) และ การให้ คะแนนระดับความเขียวของแคลลัส (1 = เขียวเล็กน้ อย, 2 = เขียวปานกลาง และ 3 = เขียวมาก) หลังจากนันท ้ าการ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยโปรแกรม Minitab 17 และเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี LSD (Lest Significant Difference)

38

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการศึกษา (Fig. 1) พบว่า นา้ หนักสด และนา้ หนักแห้ งมีความแตกต่างกัน โดยแคลลัสเชียงดาที่เลี ้ยงบน อาหารแข็งสูตร MS ที่เติม 0.5 มก./ล. IAA สังเคราะห์ มีนา้ หนักสดมากที่สดุ คือ 0.79  0.13 ก. ส่วนที่เลีย้ งบน อาหารแข็งสูตร MS เติม IAA จากน ้าหมัก ทุกความเข้ มข้ นให้ น ้าหนักสดที่ไม่แตกต่างกัน อยู่ในช่วงระหว่าง 0.42  0.02 – 0.55  0.07 ก. ยกเว้ นที่บนอาหารแข็งสูตร MS และอาหารที่เติม IAA จากน ้าหมัก ความเข้ มข้ น 0.0098 มก./ล. เพียงอย่าง เดียว ที่ให้ น ้าหนักสดน้ อยที่สดุ คือ 0.35  0.04 และ 0.32  0.03 ก. ตามลาดับ เช่นเดียวกับน ้าหนักแห้ ง แคลลัสเชียงดาที่ เลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม 0.5 มก./ล. IAA สังเคราะห์ และอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม 0.0098 มก./ล. IAA จากน ้าหมัก มีน ้าหนักแห้ งมากที่สดุ คือ 0.0626  0.0131 และ 0.0486  0.0096 ก. ตามลาดับ ส่วนกรรมวิธีอื่นไม่มีความแตกต่างกัน โดยอยู่ในช่วง 0.0284  0.0043 – 0.0331  0.0078 ก. ยกเว้ นที่บนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA จากน ้าหมัก ความ เข้ มข้ น 0.0098 มก./ล. เพียงอย่างเดียว ที่ให้ น ้าหนักแห้ งน้ อยที่สดุ คือ 0.0124  0.0011 ก. การชักนาให้ เกิดแคลลัสและการ เจริ ญของแคลลัสต้ องมีฮอร์ โมนพืช หรื อสารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืช ในกลุ่มของออกซิน (auxin) และไซโตไคนิน (cytokinin) เป็ นตัวช่วยให้ เกิดขึน้ ทังนี ้ ข้ ึน้ อยู่กับระดับความเข้ มข้ นของฮอร์ โมนพืช หรื อสารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืช (Lkeuchi et al., 2013) ความเขียวของชิ ้นส่วนแคลลัสเชียงดาไม่มีความแตกต่างอยู่ในช่วงเขียวเล็กน้ อยถึงปานกลาง (Fig.2) โดยเฉพาะ แคลลัสที่เพาะเลี ้ยงบนอาหารที่เติม IAA จากน ้าหมักของ Methylobacterium radiotolerans กลุม่ แยก ED5-9 ทังนี ้ ้ในน ้าหมัก ไม่ได้ มีเพียงแต่ IAA แต่ยงั มีแร่ธาตุ และสารอาหารต่างๆ ที่คงเหลือจากการใช้ ในการหมักของเชื ้อ และมีสารที่เชื ้อแบคทีเรี ยได้ สร้ างขึ ้นนอกจาก IAA ด้ วย ได้ แก่ กลุม่ ฮอร์ โมนพืช เช่น ไซโตไคนิน (zeatin, kinetin) และวิตามิน เป็ นต้ น (Koenig et al., 2002)

สรุ ป จากการศึกษา IAA จากน ้าหมักของ Methylobacterium radiotolerans กลุม่ แยก ED5-9 ที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ สามารถส่งเสริ มการเจริ ญของแคลลัสเชียงดา มีน ้าหนักแห้ งที่ให้ ผลไม่แตกต่างกับการใช้ IAA สังเคราะห์ ดังนันการใช้ ้ IAA นา้ หมักของของ Methylobacterium radiotolerans กลุ่มแยก ED5-9 ที่เติมในอาหาหารที่เพาะเลี ้ยงแคลลัสเชียงดา จึงสามารถใช้ ทดแทนสารเคมีสงั เคราะห์ได้ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืชอื่นๆ

กิตติกรรมประกาศ งานวิ จัย นี ไ้ ด้ รั บ ทุน สนับ สนุน การวิ จัย จากมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนาภายใต้ โ ครงการส่ง เสริ ม การผลิตผลงานวิจยั มทร.ล้ านนา (โครงการ HR: R2El) และขอขอบคุณภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในการสนับสนุนเครื่ องมือและห้ องปฏิบตั ิการในการดาเนินงานวิจยั

เอกสารอ้ างอิง เพ็ญนภา ทรัพย์เจริ ญ. 2548. ผักพื ้นบ้ านภาคเหนือ. ศูนย์พฒ ั นาตาราการแพทย์แผนไทย. นนทบุรี. 80 น. ศิริพรรณ สาริ นทร์ , ธนวุฒิ พรมบัญชาชัย, นารี ลกั ษณ์ นาแก้ ว และอภิชาติ ชิดบุรี. 2513. การคัดแยกแบคทีเรี ยกลุ่ม Pink-Pigmented Facultative Methylotrophs (PPFMs) ที่สามารถผลิต Indole Acetic acid จากหญ้ าปั กกิ่ง. Naresuan University J. 21(2): 14-24. ศุภวรรณ บุญระเทพ. 2549. การผลิตสารทุติยภูมิโดยวิธีการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืชและเทคโนโลยีชีวภาพ.วารสารวิจยั วิทยาศาสตร์ การแพทย์ . 20(2): 185-196. Lkeuchi, M., K. Sugimoto and A. Lwase. 2013. Plant callus: mechanisms of induction and repression. The Plant Cell. 25: 3159-3173 Lvanova, E. G., N.V. Doronina and Y.A. Trotsenko. 2001. Aerobic methylobacteria are capable of synthesizing Auxins. Microbiology. 70(4): 452-458. Koenig, R.L., R.O. Morris and J.C. Polacco. 2002. tRNA is the source of low-level trans-zeatin production in Methlobacterium spp. J. Bacteriol. 184. 1832-1842.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

39


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Fresh weight and dry weight of Chiang-da callus grown on different media, after 6 weeks of culture. (The alphabet with a different are different at the 5% level cording of LSD.)

40

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 2 Green colour of friable callus generated in Chiang-da observed during growth on different media, after 6 weeks of culture.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

41


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของความเข้ มข้ น IAA จากนา้ หมักร่ วมกับสภาพเลีย้ งที่แตกต่ างกันต่ อการเจริญ และพัฒนาเชียงดาในสภาพปลอดเชือ้ Effect of IAA concentration from fermentation broth with culture condition on growth and development of Chiang-da in vitro อภิชาติ ชิดบุรี1 พิทกั ษ์ พุทธวรชัย1 และศิริพรรณ สรินทร์ 2 Aphichat Chidburee1 Pitak Putawanchai1 and Siripun Sarin2

บทคัดย่ อ การศึกษาครัง้ นีม้ ีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลร่ วมกันของความเข้ มข้ นของ IAA จากนา้ หมัก Methylobacterium radiotolerans กลุ่ม แยก ED5-9 กับ สภาพเลี ย้ งเนื อ้ เยื่ อ ที่ แ ตกต่ า งกัน ต่ อ การเจริ ญ และพัฒ นาของเนื อ้ เยื่ อ เชี ย งดา ในสภาพปลอดเชื ้อ โดยเลี ้ยงส่วนปลายยอดเชียงดาในอาหารสูตร MS ที่เติมความเข้ มข้ นต่างๆ ของ IAA (Indole-3-acetic acid) จากน ้าหมัก (1, 2 และ 4 มก./ล.) ร่ วมกับสภาพเลี ้ยงที่แตกต่างกัน (อาหารแข็ง และอาหารเหลว) เปรี ยบเทียบกับ ชุดควบคุม (อาหารแข็งและเหลวสูตร MS ที่เติม IAA สังเคราะห์ ความเข้ มข้ น 1 มก./ล.) เมื่อเลี ้ยงได้ 5 สัปดาห์ พบว่า ค่าดรรชีความเขียว (SPAD index) ชิ ้นส่วนปลายยอดเชียงดาที่เลี ย้ งในอาหารแข็งสูตร MS(1962) ที่เติม 1 มก./ล. IAA สังเคราะห์ กับอาหารแข็งที่เติม 2 มก./ล. IAA จากน ้าหมัก มีคา่ มากที่สดุ คือ 35.29  2.61 และ 30.09  1.77 ตามลาดับ นอกจากนี ้ชิ ้นส่วนปลายยอดเชียงดาที่เลี ้ยงบนอาหารเหลวมีการเจริ ญได้ ดีกว่าอาหารแข็ง (จานวนยอดใหม่, ความยาวของยอ, จานวนใบ, จานวนราก, น ้าหนักแห้ ง) ส่วนความเข้ มข้ นที่แตกต่างกันของ IAA จากน ้าหมัก กับ IAA สังเคราะห์ มีการเจริ ญและ พัฒนาที่ไม่แตกต่างกัน คาสาคัญ : น ้าหมัก, เชียงดา, สภาพปลอดเชื ้อ

Abstract The aim of this research was to study the effect of the IAA concentration in fermentation broth produced by Methylobacterium radiotolerans isolate ED5-9 cooperated with different culture conditions on the growth and development of Chiang-da [Gymnema inodorum (Lour.) Decne]. The Chiang-da shoot tips were planted on both solid and liquid MS medium supplemented with different concentrations of the IAA (Indole-3-acetic acid) (1, 2 and 4 mg/l) and were compared with the control (solid medium and liquid medium of MS + 1 mg/l of synthetic IAA). After culturing for 5 weeks, the results showed that the highest leaf SPAD index were the Chiang-da explant cultured on the MS solid medium supplemented with 1 mg/l of synthetic IAA and the MS solid medium with 2 mg/l IAA from fermentation broth (35.29  2.61 and 30.09  1.77, respectively). The Chiang-da shoot tip cultured on liquid medium were grown and developed better than the solid medium, including number of new shoots, length of shoot, number of leaves, number of roots and dry weight. The concentrations of different types of IAA showed no different in the growth and development. Keywords : fermentation broth, Chiang-da, In vitro

1 2

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 65000 42

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ผักเชียงดา [Gymnema inodorum (Lour.) Decne.] จัดอยู่ในวงศ์ Apocynaceae มีการใช้ ประโยชน์ ทางยา รักษาหวัดและรักษาไข้ สรรพคุณ ที่สาคัญ คือ การลดน ้าตาลในเลือด (เพ็ญนภา, 2548) ทาให้ มีความต้ องการต้ นพันธุ์เป็ น จานวนมากในการปลูกเพื่อการผลิตจาหน่ายยอดสาหรับการบริ โภคและการแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ด้ วยเหตุนีจ้ ึงได้ ใช้ วิธีการเพาะเลีย้ งเนื อ้ เยื่อ พืชมาช่วยในการขยายพันธุ์ สาหรั บ การเพาะเลีย้ งเนื อ้ เยื่อ พืชต้ องมีการเพิ่ม เติมสารควบคุมการ เจริ ญเติบโต (growth regulators) หรื อ ฮอร์ โมนพืช (plant hormones) ที่เป็ นสารเคมีสงั เคราะห์เพื่อเพิ่มอัตราการเจริ ญเติบโต และการกาเนิดอวัยวะ (organogenesis) (รังสฤษดิ์, 2545) ในอาหารของการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ ให้ มีการเจริ ญและพัฒนาเป็ น เนื ้อเยื่อส่วนต่างๆ เช่น เกิดยอด หรื อเกิดราก เป็ นต้ น เนื่องด้ วยสารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืชส่วนใหญ่เป็ นสารสังเคราะห์ โดยปั จจุบนั มีราคาที่สงู ขึ ้น ด้ วยเหตุนี ้จึงได้ สนใจสารประกอบช่วยส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตของพืช (Plant growth promoting substance) ที่ได้ จากการสร้ างของเชื ้อจุลินทรี ย์ โดยในธรรมชาตินอกจากพืชที่สามารถสร้ างสารควบคุมการเจริ ญเติบโตได้ แล้ ว ยังมีจลุ ินทรี ย์ที่อาศัยอยู่ร่วมกับพืชบางชนิด เช่น แบคทีเรี ยกลุม่ Pink-Pigmented Facultative Methylotrophs (PPFMs) สามารถสร้ างสารประกอบช่วยส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตของพืช (plant growth promoting substances) ที่มีฤทธิ์ คล้ ายกับฮอร์ โมนพืช และเอนไซม์ 1-aminocyclopropane-1-carboxylate (ACC) deaminase ในการลดระดับเอทิลีน (Lvanova et al., 2001) โดยแบคทีเรี ยกลุม่ นี ้ได้ มีการศึกษาแยกเชื ้อได้ ที่สามารถสร้ าง IAA (indole-3- acetic acid) พบว่า ได้ เชื ้อ Methylobacterium radiotolerans กลุ่มแยก ED5-9 (ศิริพรรณ และคณะ, 2013) โดยารใช้ IAA จากจุลินทรี ย์ มีศกั ยภาพในการช่วยส่งเสริ มการชักนาให้ เกิดยอด และรากจากชิ ้นส่วนข้ อ (Ali and Hasnain, 2007; Hussain and Hasnain, 2012) จึงได้ มีความสนใจในการใช้ IAA จากน ้าหมักของ M. radiotolerans กลุม่ แยก ED5-9 ต่อการเพาะเลี ้ยงผักเชียงดา เพื่อพัฒนาวิธีนาไปใช้ การขยายพันธุ์ที่มีคณ ุ ภาพ

วิธีการ การเตรี ยมนา้ หมักจากแบคทีเรี ย M. radiotolerans กลุ่มแยก ED5-9 ท าการเพาะกล้ า เชื อ้ แบคที เ รี ย อายุ 3 วัน ที่ มี ร ะดับ ความขุ่น ของเชื อ้ ในอาหารเหลวประมาณ 0.5 ที่ ค วามยาวคลื่ น 600 นาโนเมตร ลงในอาหารเหลว low nutrient medium (LNM) ที่มีส่วนประกอบต่อปริ มาตร 1 ลิตรคือ KH2PO4 2 กรัม KNO3 3.03 กรัม Mg2SO4.7H2O 0.125 กรัม NaCl 0.5 กรัม FeSO4.7H2O 0.002 กรัม Yeast extract 0.1 กรัม และ เมทานอล 1 เปอร์ เซ็นต์ (v/v) โดยใช้ ปริมาณกล้ าเชื ้อ 10% นาไปบ่มบนเครื่ องเขย่าแบบควบคุมอุณหภูมิที่อตั ราการเขย่า 180 รอบต่อนาที ที่อณ ุ หภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 5 วัน เมื่อครบกาหนดเวลาทาการแยกเซลล์แบคทีเรี ยออกด้ วยด้ วยเครื่ องปั่ นเหวี่ยงที่ ความเร็ว 10,000 รอบต่อนาที อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 15 นาที เก็บน ้าหมักส่วนใส (supernatant) ไปทาการระเหย น ้าออกเพื่อเพิ่มความเข้ มข้ นด้ วยเครื่ องระเหยระบบสูญญากาศที่อณ ุ หภูมิ 40 องศาเซลเซียส จากนันน ้ าน ้าหมักเข้ มข้ นที่ได้ ไป ทาให้ ปราศจากเชื ้อด้ วยการกรองจากชุดกรองแบคทีเรี ยขนาด 0.1 ไมครอน และเก็บรักษาคุณภาพในขวดสีชาที่อณ ุ หภูมิ 4 องศาเซลเซียสเพื่อใช้ ในการทดลอง และวัดปริมาณของ IAA (ศิริพรรณ และคณะ, 2013) ศึกษาผลของ IAA จากนา้ หมักของ M. radiotolerans กลุ่มแยก ED5-9 ต่ อการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อผักเชียงดา ทาการศึกษาเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนปลายยอดเชียงดาบนอาหารสูตร MS (Murashige and Skoog) ที่เติม IAA จากน ้าหมัก ความ เข้ มข้ น 1, 2 และ 4 มก./ล.ร่วมกับสภาพอาหารที่เพาะเลี ้ยงที่แตกต่างกัน (อาหารแข็ง และอาหารเหลว) เปรี ยบเทียบกับอาหาร สูตร MS ที่เติม IAA สังเคราะห์ความเข้ มข้ น 1 มก./ล. ในสภาพเลี ้ยงบนอาหารแข็งและในอาหารเหลว (ชุดควบคุม) วาง แผนการทดลองแบบ CRD (complete randomize design) มี 8 กรรมวิธี (treatment) กรรมวิธีละ 10 ซ ้า (replication) โดย ใช้ ชิ ้นส่วนปลายยอดผักเชียงดาที่เลี ้ยงขยายเพิ่มจานวนบนอาหารสูตร MS เป็ นเวลา 5 สัปดาห์ หลังจากนันน ้ ามาตัดให้ มีขนาด 0.5x0.5 ซม. แล้ วนาไปเลี ้ยงบนอาหารในแต่ละกรรมวิธี โดยให้ ความเข้ มแสง 2,500 ลักซ์ นาน 16 ชัว่ โมงต่อวัน ในห้ องเลี ้ยง เนื ้อเยื่อที่อณ ุ หภูมิ 25  2 องศาเซลเซียส บันทึกข้ อมูลหลังจากเพาะเลี ้ยงเป็ นเวลา 4 สัปดาห์ ได้ แก่ จานวนยอดใหม่, ความยาวของยอด (ซม.), จานวนราก, ความยาวของราก (ซม.), จานวนใบ, น ้าหนักสดและแห้ ง, ดรรชนีความเขียว (SPAD index, โดยใช้ ด้วยเครื่ อง chlorophyll meter รุ่น SPAD-502 บริษัท Mionolta Camera, ประเทศญี่ปนุ่ วัดใบที่ตาแหน่งคูแ่ รกของปลายยอดผักเชียงดาที่เลี ้ยง) หลังจากนันท ้ าการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย โปรแกรม Minitab 17 และเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี LSD (Lest Significant Difference) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

43


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการศึกษา (Table 1) พบว่า จานวนยอดใหม่ในทุกกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยอยู่ในช่วง 1.000.10 – 1.500.37 ยอดต่อชิ ้นส่วน ยกเว้ นที่เลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA จากน ้าหมัก 1 และ 2 มก./ล. ซึ่งไม่มีการเกิดยอดใหม่ ส่วนความยาวของยอดที่เลี ้ยงในอาหารเหลวสูตร MS ที่เติม IAA จากน ้าหมัก 2 และ 4 มก./ล. มีความยาวยอดมากที่สดุ คือ 4.300.17 และ 4.790.18 เซนติเมตร ตามลาดับ สาหรับจานวนราก ชิ ้นส่วนที่เลี ้ยงทุกกรรมวิธี ของอาหารสูตร MS ที่เติม IAA ทังจากน ้ ้าหมัก และสารสังเคราะห์ที่เลี ้ยงในอาหารเหลวมีจานวนรากมากกว่าที่เลี ้ยงบนอาหาร แข็ง และความยาวราก ชิ ้นส่วนที่เลี ้ยงของทุกกรรมวิธีมีความยาวรากที่ไม่แตกต่างกัน ยกเว้ นที่เลี ้ยบบนอาหารแข็งสูตร MS ที่ IAA จากน ้าหมัก 1 มก./ล. นอกจากนี ้จานวนใบในทุกกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างกัน สาหรับ น ้าหนักสดและแห้ ง ชิ ้นส่วนที่ เลี ้ยงในอาหารเหลวสูตร MS ที่เติม IAA จากน ้าหมัก 4 มก./ล. และที่เติม IAA จากน ้าหมัก 1 มก./ล. เช่นเดียวกับที่เลี ้ยงบน อาหารแข็งและในอาหารเหลวสูตร MS ที่เติม IAA จากน ้าหมัก 2 มก./ล. มีน ้าหนักสดมากที่สดุ คือ 0.350.03, 0.310.03, 0.290.02 และ 0.260.83 กรัม ตามลาดับ ค่าดรรชี ความความเขี ยว ชิ น้ ส่วนปลายยอดเชี ยงดามีความแตกต่างกัน (Fig.1 and 2) โดยชิ น้ ส่วนที่ เลีย้ งบน อาหารแข็งสูตร MS ที่เติม 1 มก./ล. IAA สังเคราะห์ และสูตร MS ที่เติม 2 มก./ล. IAA จากน ้าหมัก มีค่าดรรชีความเขียว มากที่สดุ คือ 35.29  2.61 และ 30.09  1.77 ตามลาดับ ทังนี ้ ้การเจริญและพัฒนาของผักเชียงดาที่เลี ้ยงทังบนและในอาหาร ้ ที่เติม IAA จากน ้าหมัก มีการเจริ ญได้ มากกว่า ที่เติม IAA สังเคราะห์ เนื่องด้ วยในน ้าหมักไม่ได้ มีเพียงแต่ IAA แต่ยงั มีแร่ธาตุ และสารอาหารต่างๆ ที่คงเหลือจากการใช้ ในการหมักของเชื ้อและมีสารที่เชื ้อแบคทีเรี ยได้ สร้ างขึ ้นนอกจาก IAA ด้ วย ได้ แก่ กลุ่มฮอร์ โมนพืช เช่น ไซโตไคนิน (zeatin, kinetin) และวิตามิน เป็ นต้ น เช่นเดียวกับที่รายงานของ Koenig et al. (2002) นอกจากนี ้สภาพการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืช มีสว่ นสาคัญต่อการเจริ ญและพัฒนาของเนื ้อเยื่ อพืช โดยบนอาหารแข็งเนื ้อเยื่อด้ วย การดูดลาเลียงธาตุอาหารในพัฒนาและเจริญได้ ช้ากว่าในอาหารเหลว (Hussien et al., 2014)

สรุ ป จากการศึกษา IAA จากน ้าหมักของ Methylobacterium radiotolerans กลุม่ แยก ED5-9 ที่ระดับความเข้ มเข้ นต่างๆ ในสภาพที่เลี ้ยงบนอาหารแข็ง และในอาหารเหลว สามารถช่วยส่งเสริ มการเจริ ญและพัฒนายอดและรากในการเพาะเลี ้ยง เนื ้อเยื่อผักเชียงดาได้ โดยชิ ้นส่วนผักเชียงดาที่เลี ้ยงในอาหารเหลวสูตร MS ที่เติม IAA จากน ้าหมัก 2 มก./ล. มีการเจริ ญและ พัฒนาที่ไม่แตกต่างกับอาหารแข็ง หรื ออาหารเหลวที่เติม IAA สังเคราะห์ 1 มก./ล. เช่น จานวนยอด, ความยาวราก, น ้าหนักสด และค่าดรรชีความเขียว เป็ นต้ น ดังนันการใช้ ้ IAA น ้าหมักของของ Methylobacterium radiotolerans กลุม่ แยก ED5-9 ที่เติม ในอาหาหารที่เพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อผักเชียงดา จึงสามารถใช้ ทดแทนสารเคมีสงั เคราะห์ได้ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในการ เพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืชอื่นๆ

กิตติกรรมประกาศ งานวิ จัย นี ไ้ ด้ รั บ ทุน สนับ สนุน การวิ จัย จากมหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนา ปี ง บประมาณ 2558 และ ขอขอบคุณภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในการสนับสนุนเครื่ องมื อ และห้ องปฏิบตั ิการในการดาเนินงานวิจยั

เอกสารอ้ างอิง เพ็ญนภา ทรัพย์เจริ ญ. 2548. ผักพื ้นบ้ านภาคเหนือ. ศูนย์พฒ ั นาตาราการแพทย์แผนไทย. นนทบุรี. 80 น. ศิริพรรณ สาริ นทร์ , ธนวุฒิ พรมบัญชาชัย, นารี ลกั ษณ์ นาแก้ ว และอภิชาติ ชิดบุรี. 2513. การคัดแยกแบคทีเรี ยกลุ่ม Pink-Pigmented Facultative Methylotrophs (PPFMs) ที่สามารถผลิต Indole Acetic acid จากหญ้ าปั กกิ่ง. Naresuan University J. 21(2): 14-24. Ali, B. and S. Hasnain. 2007. Potential of bacterial indoleacetic acid to induce adventitious shoots in plant tissue culture. Lett Appl Microbiol. 45(2): 128-133. Hussain, A. and S. Hasnain. 2012. Comparative assessment of the efficacy of bacterial and cyanobacterial phytohormones in plant tissue culture. World J. Microbiol Biotechnol. 28: 1459-1466. Hussien, F.A., M.A. Osman and T.I.M. Idris. 2014. The influence of liquid media support, gelling agents and liquid overlays on performance on in vitro cultures of ginger (Zingiber officinale). International J. of Sci. and Rrsearch. 4(10): 1- 5. Lkeuchi, M., K. Sugimoto and A. Lwase. 2013. Plant callus: mechanisms of induction and repression. The Plant Cell. 25: 3159-3173 44

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Lvanova, E. G., N.V. Doronina and Y.A. Trotsenko. 2001. Aerobic methylobacteria are capable of synthesizing Auxins. Microbiology. 70(4): 452-458. Koenig, R.L., R.O. Morris and J.C. Polacco. 2002. tRNA is the source of low-level trans-zeatin production in Methylobacterium spp. J. Bacteriol. 184. 1832-1842.

Figure 1 SPAD index of leave in Chiang-da explants grown on different medium, after 5 weeks of culture. (The alphabet with a different are different at the 5% level cording of LSD., Mean  SE)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

45


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 2 Morphological characteristics of Chiang-da explant observed during growth on different medium, after 5 weeks of culture. Table 1 Effect of different concentrations of IAA (FB) and culture condition on explant growth the explant after 5 weeks culture. Treatment

Culture condition

MS + 1 mg/l IAA(FB)

Solid medium

MS + 2 mg/l IAA(FB) MS + 4 mg/l IAA(FB) MS + 1 mg/l IAA (control)

Num. of new shoot -

Length of shoot (cm)1/

Num. of root1/

Length of root (cm)1/

Num. of leave

Explant (g) Fresh weight1/ Dry weight1/

1.820.09c

1.600.45b 2.310.71b

5.700.21

0.090.16e

0.0120.002a

3.960.26b

6.700.55a

6.700.34

0.310.03ab

0.0270.002b

Solid medium

1.500.37 -

1.870.15c

2.700.61b 5.431.45a

5.900.23

0.260.83abc

0.0110.001a

Liquid medium

1.000.22

4.300.17ab

7.201.05a

4.040.70ab

7.200.37

0.290.02ab

0.0310.003b

Solid medium

1.000.10

1.720.07c

2.700.57b 3.221.10ab

6.200.35

0.150.03cde

0.0100.001a

Liquid medium

1.100.31

4.790.18a

7.700.80a

7.700.53

0.350.03a

0.0330.001b

Solid medium

1.000.10

1.580.08c

3.000.61b 5.451.22a

5.800.46

0.130.02de

0.0110.001a

Liquid medium

1.200.32

3.830.27b

7.900.88a

7.900.64

0.240.02bcd

0.0290.004b

Liquid medium

3.020.44ab

2.950.35ab 2.970.59ab

- : no new shoot 1/

Data represents the mean  standard error. Mean values followed by the same letter within a column are not significantly different according to LSD at 5% level.

46

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การศึกษาการปลดปล่ อยเรณูมะละกอจากดอกชนิด elongate ภายใต้ สภาวะธรรมชาติ Investigation of papaya pollen release from elongate flowers under natural condition ภานุวรรณ บัวทองจันทร์ 1 เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ 2 และปาริชาติ เบิร์นส1,2,3 Panuwan Buathongjan1 Kriengsak Thaipong 2 and Parichart Burns1,2,3

บทคัดย่ อ มะละกอ (Carica papaya L.) เป็ นไม้ ผลที่เติบโตเร็ว และให้ ผลปริมาณมากอย่างต่อเนื่องอย่างน้ อย 2 ปี หากไม่มีโรค และมีการดูแลต้ นอย่างดี ผลมะละกอสามารถนาไปรับประทานสด ปรุ งอาหาร และแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ชนิดต่ างๆ มะละกอ แบ่งออกเป็ น 3 เพศได้ แก่ เพศผู้ เพศเมีย และเพศกระเทย มะละกอเพศผู้มีดอกชนิด staminate ซึ่งผลิตเรณู และผลิตผล มะละกอเพศเมียมีดอกชนิด pistilate ผลิตไข่ มะละกอต้ นกระเทยมีดอกชนิด reduced elongate และ elongata ซึ่งผลิตทัง้ เรณูและไข่ จึงสามารถผสมตัวเอง และผสมข้ าม ความสามารถและช่วงเวลาในการผลิตและปลดปล่อยเรณูจึงมีความสาคัญต่อ ระบบสืบพันธุ์ และการผลิตเมล็ดของมะละกอ โดยเฉพาะมะละกอที่ปลูกเพื่อการค้ า การศึกษาครัง้ นี ้ใช้ มะละกออยู่ในระหว่าง การพัฒนาเพื่อการค้ าจานวน 3 สายพันธุ์คือ พันธุ์แขกดาเบอร์ 25-99-22, พันธุ์แขกดาเบอร์ 25-99-23 และพันธุ์แขกดาเบอร์ 24-41-16 โดยใช้ ระยะเวลาจานวนทังหมด ้ 3 วัน ระหว่างวันที่ 23-25 มกราคม พศ. 2557 โดยการนา pollen trap ไปวางไว้ ใต้ ดอกของมะละกอทัง้ 3 สายพันธุ์ และเก็บ pollen trap ทุกๆ 1 ชัว่ โมง จนครบ 12 ชัว่ โมง ตังแต่ ้ เวลา 07.00-19.00 น. แล้ วนา pollen trap ไปย้ อมสีด้วยสารละลาย Safranin O และนับจานวนของเรณูโดยใช้ กล้ องจุลทรรศน์ ผลการศึกษาแสดงว่าเรณู ได้ รับการปลดปล่อยมากที่สดุ ระหว่าง 10.00-12.00 น. และพบการปลดปล่อยมากที่สดุ ในวันแรก และลดลงอย่างรวดเร็ วใน วันที่ 2 และ 3 คาสาคัญ: มะละกอ เรณู ดอกสมบรูณ์เพศ

Abstract Papaya (Carica papaya L.) is a fast growing fruit crop with high yield over 2 years under disease-free and good farm management. Papaya fruit can be consumed fresh, used in cooking, and making into many manufactured produce. Papaya plant can be divided into male, female, and hermaphrodite. Male plants with staminate flowers produce pollen do not bear fruits. Female plants with pistilate flowers only produce ovules. Hermaphrodite plants have elongata and reduced elongata flowers hence producing both pollen and ovules. Therefore, fertilization can be results of either self- or cross-pollination. Ability to produce and release pollen, therefore, is important for papaya reproduction and seed production. In this study, pollen release from elongata flowers of three cultivars under breeding program including Khaekdum No. 25-99-22, Khaekdum No. 25-99-23 and Khaekdum No. 24-41-16 was investigated over 3 days (23-25 January 2014). Pollen traps were placed under the flowers and changed every hour from 7:00 – 19:00 hr. Viable pollen were red stained with Safranin O solution 1

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ.นครปฐม 73140 Program in Agriculture Biotechnology, Fac. of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Nakhon Pathom 73140 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 Dept. of Horticulture, Fac. of Agriculture at KamphaengSaen, Kasetsart University, KamphaengSaen Campus, NakhonPathom73140 ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 Center for Agricultural Biotechnology(CAB), Kasetsart University, KamphangSaen Campus, Nakon Pathom 73140, Thailandศูนย์ ความเป็ นเลิศด้ านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจัยด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร 10900 (AG-BIO/PERDO-CHE) Center of Excellence on Agricultural Biotechnology: (Ag-BIO/PERDO-CHE), Bangkok 10900, Thailand ห้ องปฏิบตั ิการวิจยั ด้ านพืช หน่วยวิจยั เทคโนโลยีจีโนม ศูนย์พนั ธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา เขต กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 BIOTEC Central Research Unit, National Center for Genetic Engineering and Biotechnology, Kasetsart University Kamphangsaen Nakhorn Pathom 7314 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

47


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

and observed under light microscope. The results indicated that pollen release reached its peak between 10:00 a.m.-12:00 p.m. with coincide with flower blooming time. The first day had the highest rate of pollen release and dramatically dropped on day 2 and 3. Keywords: Carica papaya, pollen, elongate

คานา มะละกอเป็ นผลไม้ เมืองร้ อนที่คนไทยรู้ จกั กันมาช้ านาน แม้ มะละกอจะเป็ นไม้ ผลที่มีถิ่นกาเนิดในทวีปอเมริ กา ความ นิยมในการบริ โภคมะละกอของคนไทยนัน้ มี มากทัง้ ในรู ปของผลสุกและผลดิบ นอกจากนี ย้ ังได้ มีการส่งออกมะละกอไป จาหน่ายยังต่างประเทศทังในทวี ้ ปเอเชีย ยุโรป และตะวันออกกลาง สร้ างรายได้ ให้ กบั ประเทศชาติและเกษตรกรไทยเป็ นอย่าง มากและมีแนวโน้ มในการต้ องการมะละกอสูงขึน้ เนื่องจากมะละกอเป็ นพืชที่ปลู กง่าย เจริ ญเติบโตเร็ ว ได้ ผลผลิตเร็ วและ สามารถเก็บผลผลิตได้ เป็ นระยะเวลานาน นอกจากมะละกอจะใช้ ในการบริ โภคแล้ วนันยั ้ งสามารถนาไปใช้ ในด้ านอุตสาหกรรม ต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมเครื่ องสาอาง อุตสาหกรรมยา เป็ นต้ น การผสมของเรณูมะละกอนันสามารถผสม ้ กันได้ 3 แบบด้ วยกันคือ 1) การผสมตัวเอง 2) การผสมข้ ามดอกในต้ นเดียวกัน และ 3) การผสมข้ ามต้ น ความมีชีวิต (viability) อัตราการงอกเรณู (germination rate) ความสมบูรณ์ของเรณู และจานวนของเรณูที่สามารถเคลื่อนที่จากอับเรณูไปยังยอด เกสรเพศเมีย งอกลงไปและเกิดการผสม ส่งผลต่อการผลิตเมล็ด จานวนเมล็ด และความสมบูรณ์ของเมล็ด ดังนันการศึ ้ กษาใน ครัง้ นี ้มีจดุ ประสงค์เพื่อศึกษาเปรี ยบเทียบการปล่อยเรณูของมะละกอในช่วงวัน จากดอกมะละกอชนิด elongata ภายใต้ สภาวะ ธรรมชาติในมะละกออยู่ในระหว่างการพัฒนาเพื่อการค้ าจานวน 3 สายพันธุ์คือ พันธุ์แขกดาเบอร์ 25-99-22, พันธุ์แขกดาเบอร์ 25-99-23 และพันธุ์แขกดาเบอร์ 24-41-16

วิธีการทดลอง มะละกอที่ใช้ ในการศึกษามีทงหมด ั้ 3 สายพันธุ์ได้ แก่ พันธุ์แขกดาเบอร์ 25-99-22, พันธุ์แขกดาเบอร์ 25-99-23 และ พันธุ์แขกดาเบอร์ 24-41-16 ปลูกที่แปลงมะละกอของภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรกาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ระยะห่างของต้ น 2 เมตร × 2 เมตร ปลูกแบบยกร่องให้ น ้าโดยระบบสปริ งเกอร์ จากนันท ้ าการติดตังที ้ ่ดกั เรณูมะละกอ โดยบันทึกการปล่อยเรณูตามธรรมชาติจากดอกมะละกอแบบดอกกระเทยซึ่งเป็ นดอกสมบูรณ์ เพศ (elongata) จาก 3 ต้ น ต้ นละ 1 ดอก โดยวางที่ดกั เรณู (pollen trap) ที่ประกอบด้ วยแผ่นพลาสติกลูกฟูก (PP board) ขนาด 18.5×25.5 ซม. ตอกอยู่บนเสาไม้ ไผ่สงู 2 เมตร (ความสูงของไม้ ไผ่น้อยกว่าความสูงของดอกมะละกอที่ใช้ ในการศึกษาเล็กน้ อย) เพื่อเป็ น ฐาน วางแผ่นพลาสติกชนิดเดียวกันขนาด 15 ซม. X 21 ซม. ที่มีสติกเกอร์ ใสติดอยู่ทงแผ่ ั ้ นติดตังที ้ ่ดกั เรณูไว้ ที่ใต้ ดอกมะละกอที่ มีความสมบูรณ์พร้ อมปลดปล่อยเรณูแล้ วยึดกับดินให้ มีความแข็งแรง วางที่ดกั เรณูไว้ ใต้ ดอกมะละกอโดยห่างประมาณ 2 ซม. และวางที่ดกั เรณูเป็ นเวลา 3 วัน โดยวางเฉพาะช่วงกลางวันระหว่างเวลา 07.00 – 19.00 น. ซึง่ เป็ นช่วงเวลาที่ปริ มาณเรณูที่ ปลดปล่อยไม่ถกู รบกวนโดยผีเสื ้อกลางคืนที่มีรายงานว่าเป็ นแมลงผสมเกสรในมะละกอที่ประเทศออสเตรเลีย (Office of the gene technology regulator, 2008) เปลี่ยนที่ดกั เรณูทกุ ๆ 1 ชัว่ โมง นับจานวนเรณูมะละกอ โดยการตัดสติกเกอร์ และติดลง บนกระจกสไลด์ ย้ อมสีเรณูด้วยสารละลาย Safranin-O (ละลาย 2.5 g safranin ใน 10 มิลลิลิตร 95% เอทธานอล ปรับ ปริ มาตรให้ เป็ น100 มิลิลิตร ด้ วยน ้าที่นึ่งฆ่าเชื ้อแล้ ว) โดยนาสไลด์แช่ในสารละลาย Safranin O เวลา 15 นาที เมื่อแช่ครบเวลา นาขึ ้นมาวางบนถาด ล้ างด้ วยน ้าประปา ตากสไลด์ให้ แห้ ง นับจานวนเรณูมะละกอภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์ (Nikon YS 100, JAPAN) บันทึกจานวนตรวจสอบความสมบูรณ์ของเรณูและถ่ายภาพเรณู

48

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการศึกษา สัณฐานของเรณูมะละกอ เรณูมะละกอที่มีชีวิตจะติดสีแดงเมื่อย้ อมด้ วย สารละลาย Safranin-O และเรณูที่ไม่มีชีวิตจะไม่ติดสี เมื่อส่องดูด้วย กล้ องจุลทรรศน์กาลังขยาย 200 เท่า พบว่ามีรูปร่างกลม (spherical) (Figure 1A) นอกจากนันยั ้ งพบเรณูที่มีลกั ษณะรี คล้ ายลูก รักบี ้ (colpate) ซึ่งเป็ นเรณูที่เสียสภาพ (Figure 1B) แม้ ว่ารูปร่ างจะแตกต่างกัน แต่เมื่อนามาวัดขนาดแล้ วพบว่าเรณูทงสอง ั้ แบบมีขนาดที่ใกล้ เคียงกัน A

B

10.0 µm

Figure 1 papaya pollen; A) spherical shape and B) colpate (elongated boat shape structure) การปล่ อยเรณูของมะละกอ การปล่ อยเรณูมะละกอในวันที่ 1 (23 มกราคม 2557) มะละกอพันธุ์แขกดาเบอร์ 24-41-16 ปล่อยเรณูตงแต่ ั ้ ชวั่ โมงแรก (7.00-8.00 น.) จานวน 158 เรณู และเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ จนถึงช่วงที่มีการปล่อยเรณูสงู สุดในชัว่ โมงที่ 5 (11.00-12.00 น.) จานวน 930 เรณู และหลังจากชัว่ โมงที่ 5 แล้ วนันจ ้ านวนเรณู ที่ปล่อยจะค่อยๆ ลดลงไปเรื่ อยๆ จนถึงชัว่ โมงสุดท้ ายคือชัว่ โมงที่ 12 (18.00-19.00 น.) จานวน 10 เรณู สาหรับ มะละกอพันธุ์ แขกดาเบอร์ 24-99-22 พบว่าปล่อยเรณูตงแต่ ั ้ ชวั่ โมงแรก (7.00-8.00 น.) จานวน 354 เรณู และเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆจนถึงช่วงที่มีการ ปล่อยเรณูสงู สุดในชัว่ โมงที่ 4 (10.00-11.00 น.) จานวน 1212 เรณู และหลังจากชัว่ โมงที่ 4 แล้ วนันจ ้ านวนเรณูที่ปล่อยจะลดลง ไปเรื่ อย (Figure 2) ลักษณะของเรณูในวันที่ 1 จะเป็ นเรณูเดี่ยวๆ และไม่พบกลุม่ เรณู

Figure 2. The distribution of papaya pollen shed of Khaek Dam No. 24-41-16 (KD 16) and Khaek Dam No. 25-99-22 (KD 22) on January 23, 2014. (Day 1) The data on KD23 is missing. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

49


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การปล่ อยเรณูมะละกอในวันที่ 2 (24 มกราคม 2557) มะละกอพันธุ์แขกดาเบอร์ 24-41-16 ปล่อยเรณูมากที่สดุ ในชัว่ โมงที่ 5 (11.00-12.00 น.) มีจานวน 720 เรณู พบว่า รูปแบบการปล่อยเรณู ไม่สม่าเสมอ โดยชัว่ โมงแรก (7.00-8.00 น.) และชัว่ โมงที่ 2 (8.00-9.00 น.) ปล่อย 2 และ 8 เรณู ตามลาดับ ในขณะที่ชวั่ โมงที่ 3 (9.00-10.00 น.) ปล่อย 251 เรณู หลังจากชัว่ โมงที่ 5 แล้ วนันจ ้ านวนเรณูลดลง จนถึงไม่พบใน ชัว่ โมงที่ 11 (17.00-18.00 น.) และ ชัว่ โมงที่ 12 (18.00-19.00 น.) มะละกอพันธุ์แขกดาเบอร์ 25-99-22 มีการปล่อยเรณู มะละกอมากที่สดุ ในชัว่ โมงที่ 2 (08.00-09.00 น.) มีจานวน 87 เรณู และในชัว่ โมงอื่นๆ นันจะพบว่ ้ าจานวนจะไม่มีความ แตกต่างกันมากนัก สังเกตว่าจานวนเรณูมะละกอในวันที่ 2 ของทัง้ 2 พันธุ์ นันลดลงจากวั ้ นที่ 1 มาก มะละกอพันธุ์แขกดาเบอร์ 25-99-23 มีการปล่อยเรณูมะละกอมากที่สุดในชัว่ โมงที่ 7 (13.00-14.00 น.) มีจานวน 223 เรณู และชัว่ โมงที่ 4 (10.00-11.00 น.) มีจานวน 219 เรณู ปล่อยน้ อยที่สดุ ในชัว่ โมงที่ 1 จานวน 49 เรณู ในชัว่ โมงอื่นๆมี การปล่อยเรณูใกล้ เคียงกันระหว่าง 112-187 เรณู (Figure 3) โดยลักษณะของเรณูในวันที่ 2 ส่วนใหญ่เป็ นเรณูเดี่ยว

Figure 3. The distribution of papaya pollen shed of Khaek Dam No. 24-41-16 (KD 16), Khaek Dam No. 25-99-22 (KD 22) and Khaek Dam No. 25-99-23 (KD 23) on January 24, 2014 (Day 2). การปล่ อยเรณูมะละกอในวันที่ 3 (25 มกราคม 2557) มะละกอพันธุ์แขกดาเบอร์ 24-41-16 มีการปล่อยเรณูเริ่ มที่ชวั่ โมงที่ 3 (9.00-10.00 น.) จานวน 27 เรณู และสูงที่สดุ ในชัว่ โมงที่ 4 (10.00-11.00 น.) มีจานวน 137 เรณู หลังจากนันการปล่ ้ อยเรณูลดลง จนถึงน้ อยที่สดุ (0-2 เรณู)ตังแต่ ้ ชวั่ โมงที่ 9 (15.00-16.00 น.) มะละกอพันธุ์แขกดาเบอร์ 25-99-22 มีการปล่อยเรณูมากที่สดุ ในชัว่ โมงที่ 5 (11.00-12.00 น.) มีจานวน 2100 เรณู หลังชัว่ โมงที่ 5 การปล่อยเรณูลดจานวนลง สาหรับมะละกอพันธุ์แขกดาเบอร์ 25-99-23 มีการปล่อยเรณูมะละกอ มากที่สดุ ในชัว่ โมงที่ 7 (13.00-14.00 น.) มีจานวน 1821 เรณู หลังนันการปล่ ้ อยเรณูลดจานวนลง (Figure 4) ลักษณะของเรณู ในวันที่ 3 ส่วนใหญ่เป็ นอยู่รวมกันเป็ นกระจุกตังแต่ ้ 20 เรณู ไปจนถึงมากกว่า 100 เรณู ซึง่ แตกต่างจากในวันแรกและวันที่สอง ที่พบเรณูกระจายอยูเ่ ดี่ยวๆ

50

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 4. The distribution of papaya pollen shed of Khaek Dam No. 24-41-16 (KD 16), Khaek Dam No. 25-99-22 (KD 22) and Khaek Dam No. 25-99-23 (KD 23) on January 25, 2014 (Day 3). จากการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของการปลดปล่อยเรณูมะละกอระหว่างสาย พันธุ์ในแต่ละชัว่ โมงทัง้ 3 วัน ด้ วยวิธีทางสถิติโดยการใช้ ANOVA และ Duncan's multiple range test (DMRT) ในการจัดกลุม่ พบว่าในชั่วโมงที่ 5 ของมะละกอทัง้ 3 สายพันธุ์ ของทัง้ 3 วัน มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่ง ที่ความเชื่อมั่น 95% (p<0.05) (Table 1)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

51


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Mean values of papaya pollen shed of Khaek Dam No. 24-41-16, Khaek Dam No. 25-99-22 and Khaek Dam No. 25-99-23 was analyzed using analysis of variance (ANOVA) and Duncan's multiple range test (DMRT). Data within the same column followed by different letters are significantly different at p<0.05 Time

January 23, 2014

January 24, 2014

January 25, 2014

07.00-08.00

256.00 bc

36.30 b

64.00 b

08.00-09.00

560.00 abc

76.30 b

156.00 b

09.00-10.00

393.00 bc

153.30 ab

76.30 b

10.00-11.00

973.00 a

89.70 ab

129.70 b

11.00-12.00

1059.00 a

293.00 a

940.00 a

12.00-13.00

745.00 ab

121.30 ab

96.70 b

13.00-14.00

336.50 bc

108.30 ab

659.00 ab

14.00-15.00

158.00 c

51.30 b

157.00 b

15.00-16.00

220.00 c

37.00 b

78.00 b

16.00-17.00

75.00 c

74.00 ab

205.00 ab

17.00-18.00

282.00 bc

49.30 b

183.00 ab

18.00-19.00

117.00 c

32.30 b

43.30 b

วิจารณ์ ผลการทดลอง การปล่อยเรณูของดอกมะละกอมีความสาคัญอย่างมากสาหรับการผสมข้ าม โดยเรณูที่ได้ รับการปลดปล่อยจะมา จากการแตกของอับเรณูมกั จะเป็ นเรณูที่พฒ ั นาเต็มที่เหมาะสมต่อการผสมพันธุ์ Phuangrat et al (2013) รายงานว่าเรณู มะละกอมีรูปร่ างกลมขนาดประมาณ 25.44±1.13 ไมครอน และมีช่องเปิ ด 3 ช่อง ซึ่งเป็ นบริ เวณที่หลอดเรณูจะงอกออกมา ดังนันหากเรณู ้ เกิดการเสียสภาพและมีรูปร่ างที่เปลี่ยนไป หลอดเรณูจะไม่สามารถงอกออกมาได้ จากการศึกษาพบว่า ในวัน แรกจะมีจานวนการปลดปล่อยเรณูเป็ นจานวนมาก แต่หลังจากนัน้ ในวันที่ 2 และ 3 การปลดปล่อยเรณูจะลดลงอย่างเห็นได้ ชัดเจน นอกจากนันในวั ้ นที่ 3 ยังพบการจับตัวเป็ นกลุม่ ของเรณู (จากดอกมะละกอชนิด elongata จานวน 3 ดอก ในระยะเวลา 3 วัน พบว่ามีเรณูจบั กลุม่ กันตังแต่ ้ 15 เรณู ไปจนถึง 119 เรณู Phuangrat et al (2011) รายงานว่าเรณูมะละกอมีอตั ราการงอก สูงสุดที่ 4-5 ชัว่ โมง และเสียความสามารถในการงอกภายในเวลา 24 ชัว่ โมง หลังจากถูกปลดปล่อยจากอับเรณู ดังนันอาจคาด ้ ได้ วา่ การผสมข้ ามต้ นส่วนใหญ่น่าจะเกิดภายใน 24 ชัว่ โมงหลังการปลดปล่อยจากอับเรณู อุณหภูมิเป็ นอีกปั จจัยที่สง่ ผลกระทบ ต่ออัตราการงอกของเรณู วิชยั และคณะ(2553) รายงานว่าเมื่ออุณหภูมิสงู ขึ ้นการงอกของเรณูจะลดลงโดยเฉพาะที่อุณหภูมิ ประมาณ 30 ºC ขึ ้นไป ที่ 40 ºC การงอกจะสูญเสียไปภายในเวลา 20 นาที ซึง่ น่าจะไปเหตุผลที่ช่วงหน้ าร้ อนซึง่ อุณหภูมิที่สงู ทา ให้ ผลมะละกอนันไม่ ้ มีเมล็ด นอกจากนันหากเรณู ้ มีความผิดปรกติอาจส่งผลต่อคุณภาพของเมล็ดซึง่ ในที่สดุ จะส่งผลกระทบต่อ ระบบการผลิตมะละกอในภาพรวม อาทิรายงานโดย Bajpai and Singh (2006) ที่พบว่าความผิดปกติของเรณูจาก chromosome instability ส่งผลต่อความสมบูรณ์และคุณภาพของเมล็ดในมะละกอสายพันธุ์การค้ าของอินเดีย

สรุ ป การศึกษาการปล่อยเรณูของมะละกอโดยใช้ มะละกอสายพันธุ์แขกดาเบอร์ 24-41-16 แขกดาเบอร์ 25-99-22 และ แขกดาเบอร์ 25-99-23 พบว่ามีการปล่อยเรณูทงั ้ 3 วันโดยในวันแรกมีการปลดปล่อยเรณูเดี่ยวๆจานวนมาก ในวันที่ 2 การ ปลดปล่อยเรณูเริ่ มลดลงจากวันที่ 1 และในวันที่ 3 เรณูที่พบมักจะเป็ นกลุ่ม โดยพบว่าช่วงเวลาระหว่าง 11.00-12.00 น. มะละกอมีการปล่อยเรณูมากที่สดุ 52

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ ห้ องปฏิบตั ิการวิจยั ด้ านพืช (A-608) ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน และ แปลงทดลอง ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ที่ ให้ การอนุเคราะห์สถานที่ในการปฏิบตั ิงาน และอุปกรณ์ เครื่ องมือในการวิจยั และขอขอบคุณ สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทาง การเกษตร คณะเกษตร กาแพงแสน ที่ให้ ทนุ สนับสนุนในการปฏิบตั ิงาน

เอกสารอ้ างอิง วิชยั โฆสิตรัตน และ คณะ. 2553. การตรวจสอบความปลอดภัยทางชีวภาพของมะละกอดัดแปลงพันธุกรรมระดับ โรงเรื อน.ปทุ ม ธานี . ศู น ย์ พั น ธุ วิศวะกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. Bajpai, A., and K. Singh. 2006. Meiotic Behavior of Carica papaya L.: Spontaneous Chromosome Instability and Elimination in Important cvsin North Indian Conditions. Cytologia 71(2): 131–136. Office of the gene technology regulator. Department of health and aging, Australian government. The Biology of Carica papaya L. (papaya, papaw, paw paw). http://www.ogtr.gov.au/internet/ogtr/publishing.nsf/content/papaya4/$FILE/biologypapaya08.rtf. Phuangrat, B. 2011. Plant Fitness Comparison Between Transgenic Papaya Ringspot Virus (PRSV) Resistant and Non-transgenic Papaya Under Screenhouse Condition. [Master’s Thesis]. Thailand: Kasetsart University. Phuangrat, B., W. Kositratana, P. Burns, N. Phironrit, A. Son-ong, P. Puangchon, A. Meechai, and S. Wasee. 2013. Histological and Morphological Studies of Pollen Grains from Elongata, Reduced Elongata and Staminate Flowers in Carica papaya L. Tropical Plant Biol. 6: 210–216.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

53


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเพิ่มชุดโครโมโซมของดาวเรืองอเมริกันและดาวเรืองฝรั่งเศสโดยใช้ สารละลายโคลชิซิน Chromosome Doubling in American Marigold and French Marigold using Colchicine Treatment มรกต บูรณสุบรรณ1 รสมนต์ จีนแส1 รุ่ งฟ้ า จีนแส1 นงลักษณ์ คงศิริ1 และราตรี บุญเรืองรอด1 Morrakot Booranasubun1 Rossamon Jeensae1 Rungfa Jeensae1 Nongluck Kongsiri1 and Ratri Boonruangrod1

บทคัดย่ อ การเพิ่มชุดโครโมโซม เป็ นอีกวิธีหนึ่งที่ช่วยเพิ่มความหลากหลายทางพันธุกรรม ในงานปรับปรุ งพันธุ์ งานทดลองนี ้มี วัตถุประสงค์เพื่อ หาวิธีที่เหมาะสมในการเพิ่ มชุดโครโมโซมของดาวเรื อง เพื่อใช้ เป็ นเชื ้อพันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์ แบ่งการ ทดลองออกเป็ น 2 ส่วน ในส่วนที่ 1 เพื่อหาความเข้ มข้ นของสารละลายโคลชิซินที่เหมาะสมต่อการชักนาให้ เกิดการเพิ่มชุด โครโมโซม ในดาวเรื องอเมริ กนั พันธุ์การค้ า (ดิพลอยด์) ใช้ ความเข้ มข้ น 6 ระดับ คือ 0, 200 , 400, 600, 800 และ 1,000 ppm แช่เมล็ดเป็ นเวลา 4 ชัว่ โมง ก่อนนาไปเพาะ ส่วนที่ 2 ทดสอบการเพิ่มชุดโครโมโซมของดาวเรื องฝรั่งเศส (เตตร ะพลอยด์) สาย พันธุ์ IM57031 โดยใช้ สารละลายโคลชิซินความเข้ มข้ นที่เหมาะสมจากผลการทดลองส่วนที่ 1 ทาการตรวจสอบ ploidy โดย การวัดขนาดของปากใบและวัดปริ มาณดีเอ็นเอด้ วย Flow cytometry จากการทดลองในส่วนที่ 1 พบว่า เมล็ดที่ได้ รับ สารละลายโคลชิซินความเข้ มข้ นสูง มีการงอก การรอดชีวิต และให้ จานวนต้ นที่เจริ ญเติบโตจนสร้ างตาดอกได้ น้ อยกว่าเมล็ดที่ ได้ รับสารละลายความเข้ มข้ นต่า ความเข้ มข้ นที่เหมาะสมที่สดุ คือ 400 ppm ซึง่ ให้ ต้นเตตระพลอยด์ที่สร้ างตาดอกได้ มากที่สดุ คิดเป็ น 24 เปอร์ เซ็นต์ จากจานวนเมล็ดเริ่ มต้ น ในส่วนที่ 2 พบว่าจากการแช่เมล็ดดาวเรื องฝรั่งเศส 30 เมล็ด ในสารละลายโคล ชิซินที่ความเข้ มข้ น 400 ppm เป็ นเวลา 4 ชัว่ โมง ก่อนนาไปเพาะ เมื่ อตรวจสอบระดับploidy พบต้ นออคตะพลอยด์ จานวน 1 ต้ น ซึง่ มีขนาดปากใบใหญ่ ใบอวบหนา กลีบดอกหนา เจริญเติบโตช้ า คาสาคัญ: ระดับploidy ขนาดของปากใบ ปริมาณดีเอ็นเอ เตตระพลอยด์ ออคตะพลอยด์

Abstract

Chromosome doubling is a tool used to create variation of genetic materials for cultivar improvement. In this experiment, we looked for an optimized chromosome doubling condition for Marigolds. Two parts of the experiment were conducted. Part 1—Optimization of colchicine concentration for seed treatment: six concentrations of colchicine, i.e., 0, 200, 400, 600, 800, and 1000 ppm, were applied on an American marigold F1 commercial variety (diploid). Part 2—Chromosome doubling in French marigold: the optimized condition found in Part 1 was applied on French marigold line IM57031 (tetraploid). Ploidy level was determined based on the size of stomatal guard cells and DNA content measured by flow cytometry. Results from Part 1 show that the higher the colchicine concentration applied, the lower seed germination, seedling survival, and number of mature plant forming flower buds found. Soaking seeds with 400 ppm colchicine for four hours gave the highest percentage of tetraploid plants, 24 percent. In Part 2, one mature plant (octaploid) with larger stomatal guard cells, thicker leaves, thicker petals and more compact growth habit was obtained from 30 seeds of the IM57031 French marigold treated with the optimized treatment condition. Keywords: Ploidy level, Stomatal guard cells, DNA content, Tetraploidy, Octaploidy

1 1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 Department of Horticulture, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom 73140 54

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ดาวเรื องเป็ นไม้ ดอกเมืองร้ อน มีถิ่นกาเนิดแถบประเทศเม็กซิโก สามารถจาแนกได้ 3 กลุม่ ใหญ่ คือ American หรื อ African Marigold, French Marigold และ ลูกผสมระหว่าง African Marigold และ French Marigold มีการนาเข้ ามาใน ประเทศไทยเมื่อราวปี พ.ศ. 2510 ดาวเรื องเป็ นไม้ ดอกที่มีมลู ค่าการตลาดสูงชนิดหนึง่ ของประเทศไทย ซึง่ มีพื ้นที่ปลูกดาวเรื อง ตัดดอกประมาณ 9,500 ไร่ ปริมาณเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ ประมาณ 100 ล้ านเมล็ด (ใช้ เมล็ดประมาณ 5,000 เมล็ด/ไร่) ราคาประมาณ 1 บาท/เมล็ด คิดเป็ นธุรกิจเมล็ดพันธุ์ประมาณ 100 ล้ านบาท นอกจากการใช้ ประโยชน์ในการปลูกประดับ และตัดดอกแล้ ว ใน กลีบดอกดาวเรื องยังมีสารสีในกลุม่ คาร์ โรทีนอยด์ คือ xanthophylls ที่มีคณ ุ ค่าทางเศรษฐกิจด้ านอุตสาหกรรมอาหารและยา และอาหารสัตว์ อีกด้ วย ปั จจุบนั ผู้บริโภคให้ ความสาคัญกับอาหารเพื่อสุขภาพมากขึ ้น การปรับปรุงพันธุ์ ไม้ ผล ผัก หรื อไม้ ดอก นอกจากการปรับปรุงพันธุ์ให้ มีผลผลิตสูง ต้ านทานโรคแล้ ว ยังมีแนวโน้ มการพัฒนาพันธุ์เพื่อสุขภาพและสาระสาคัญต่างๆ ใน พืชมากขึ ้น การปรับปรุงพันธุ์โดยวิธีเพิ่มจานวนโครโมโซม เป็ นอีกวิธีหนึง่ ที่ช่วยเพิ่มความหลากหลายทางพันธุกรรม โดยการเพิ่ม จานวนชุดของยีนหรื อโครโมโซม ซึง่ อาจมีผลให้ ลกั ษณะทางสัณฐานของสิง่ มีชีวิตนันๆ ้ เปลี่ยนแปลงไป ลักษณะที่ดี เช่น ขนาด ดอกใหญ่ขึ ้น ปริมาณสารสาคัญต่างๆ เพิ่มขึ ้น หรื ออาจมีความบกพร่องเกิดขึ ้นได้ เช่นกัน เช่น ความสมบูรณ์พนั ธุ์ต่าลง เจริญเติบโตช้ า เป็ นต้ น การศึกษาครัง้ นี ้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ หาวิธีที่เหมาะสมในการเพิ่มจานวนชุดโครโมโซม ของดาวเรื อง เพื่อ ใช้ เป็ นเชื ้อพันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์เพื่อปริ มาณสาร xanthophylls ในอนาคต

อุปกรณ์ และวิธีการ ตัวอย่ างเมล็ดดาวเรื องที่ใช้ ในการศึกษา ดาวเรื องอเมริกนั พันธุ์ทองเฉลิม ของ บริษัท ทองเฉลิมโกลด์ จากัด ดาวเรื องฝรั่งเศส สายพันธุ์อินเบรด ซึง่ มีปริมาณ xanthophylls ในกลีบดอกสูง รหัส IM57031 (ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน) การทดลองที่ 1 เพื่อหาความเข้ มข้ นของสารละลายโคลชิซนิ ที่เหมาะสมต่ อการชักนาให้ เกิดการเพิ่มชุดโครโมโซม ใช้ สารละลายโคลชิซินที่ความเข้ มข้ น 6 ระดับ คือ 0, 200 , 400 , 600 , 800 และ 1,000 ppm แช่เมล็ดเป็ นเวลา 4 ชัว่ โมง โดย แต่ละทรี ทเมนต์จะใช้ เมล็ดดาวเรื องอเมริกนั 25 เมล็ด เพาะลงในกระดาษทิชชูเป็ นระยะเวลา 4 วัน หลังจากนันย้ ้ ายปลูกลงถาด หลุม คัดเลือกต้ นกล้ าที่มีความสมบูรณ์ โดยต้ นกล้ าจะต้ องมีใบเลี ้ยง 1 คู่ ลาต้ นไม่คดงอ มีรากแก้ วยาวตรง และมีรากฝอย บันทึกจานวนต้ นกล้ าที่งอก มีใบและรากสมบูรณ์ (seedling emerged plants) เมื่อต้ นกล้ ามีอายุ 21 วัน จะทาการคัดเลือกต้ น กล้ าที่สมบูรณ์อีกครัง้ โดยต้ นกล้ าจะต้ องมีใบจริง 3-4 คู่ ลาต้ นไม่คดงอ รวมถึงต้ นกล้ าที่ไม่มีสว่ นของลาต้ นหรื อรากเกิดการเน่า จึงจะทาการย้ ายลงกระถางพลาสติก ขนาด 6 นิ ้ว พร้ อมกับการเด็ดยอด เมื่อต้ นกล้ ามีอายุได้ 35 วัน จะทาการการคัดเลือกต้ น กล้ าอีกครัง้ โดยเลือกต้ นกล้ าที่สมบูรณ์ มีการเจริญเติบโต ไม่แคระแกร็นเพื่อย้ ายปลูกลงกระถางพลาสติก ขนาด 12 นิ ้ว ที่บรรจุ วัสดุปลูกที่มีสว่ นผสมของ ขี ้เถ้ าแกลบ : แกลบดิบ : ขุยมะพร้ าว : ดิน ในอัตราส่วน 1 : 1 : 1 : 1 เมื่อต้ นอายุ 45- 50 วันจะเริ่มมี การแตกตาดอก จดบันทึกจานวนต้ นกล้ าที่สามารถเจริญเติบโตจนถึงระยะออกดอกได้ (Mature plants) หลังจากนัน้ ตรวจสอบระดับ ploidy โดยการดูขนาดของปากใบและวัดปริมาณดีเอ็นเอ ด้ วยเครื่ องโฟลไซโตมิเตอร์ รุ่น PAII (บริษัท Partec: Germany) เพื่อยืนยันการเพิ่มจานวนชุดโครโมโซมอย่างง่าย บันทึกจานวนต้ นดาวเรื องที่มีปากใบขนาดใหญ่ ปริมาณดีเอ็นเอ มากกว่าต้ นดาวเรื องชุดควบคุม ( Mature tetraploid obtained plants) การทดลองที่ 2 เลือกใช้ สารละลายโคลชิซินที่ระดับความเข้ มข้ นที่เหมาะสมจากการทดลองที่ 1 กับดาวเรื องฝรั่ งเศส สายพันธุ์ IM57031 แช่เมล็ดดาวเรื องฝรั่งเศส สายพันธุ์ IM57031 ในสารละลายโคลชิซินที่ระดับความเข้ มข้ น 400 ppm ระยะเวลา 4 ชัว่ โมง ปฏิบตั ิ ดูแลเช่นเดียวกับการทดลองที่ 1 บันทึกผล การเจริญเติบโตของต้ นดาวเรื องฝรั่งเศส ขนาดปากใบดาวเรื องฝรั่งเศส วัดปริ มาณดี เอ็นเอด้ วยโฟลไซโตมิเตอร์ ทดสอบความมีชีวิตของละอองเรณู ทดสอบความมีชีวิตของละอองเรณู โดยการย้ อมด้ วยสี 2% Aceto-orcein ส่องดูความมีชีวิตภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์ ละอองเรณูที่มีชีวิตจะติดสีแดง ส่วนละอองเรณูที่ไม่มีชีวิตจะไม่ติดสี บันทึกผลความมีชีวิตโดยคิดเป็ นเปอร์ เซ็นต์จากจานวน ละอองเรณูทงหมด ั้

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

55


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง ผลการทดลองที่ 1 ความเข้ มข้ นของสารละลายโคลชิซินที่เหมาะสมต่อการชักนาให้ เกิดการเพิ่มชุดโครโมโซม ในดาวเรื อง อเมริกนั พันธุ์การค้ า (diploid) จากสังเกตการเจริญเติบโตของต้ นกล้ าดาวเรื อง (Table 1) พบว่า ที่ระดับความเข้ มข้ น 0 ppm (ชุดควบคุม) จะให้ ต้นกล้ า ดาวเรื องที่แข็งแรงและเจริญเติบโตจนถึงระยะออกดอกได้ 100 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อใช้ โคลชิซินความเข้ มข้ นสูงขึ ้น มีผลให้ จานวน เมล็ดงอกลดลง และจานวนต้ นกล้ าปกติที่เจริ ญเติบโตจนถึงระยะออกดอกได้ น้อยลงด้ วยเช่นกัน สอดคล้ องกับผลการทดลอง ในเมล็ดมิ ้นท์โดย Maziar et.al., (2011) เมื่อพิจารณาในส่วนของต้ นดาวเรื องที่เป็ นเตตระพลอยด์ ตรวจสอบระดับ ploidy โดย เลือกต้ นที่มีลกั ษณะเหมือนต้ นปกติ และต้ นที่มีลกั ษณะเปลี่ยนไปจากลักษณะประจาพันธุ์ เช่น ลาต้ นอวบ ใบหนา มา ตรวจสอบปริ มาณดีเอ็นเอด้ วยโฟลไซโตมิเตอร์ เปรี ยบเทียบกับต้ นควบคุม ควบคู่ไปกับรูปร่างและขนาดของปากใบ พบว่า ต้ นที่ มีปริมาณดีเอ็นเอสูงกว่าต้ นจากชุดควบคุม จะมีขนาดของปากใบใหญ่กว่า และความหนาแน่นของปากใบน้ อยกว่า (Figure 1) Table 1 Average effect of different colchicine concentrations on American marigold seed Colchicine concentration (ppm) 0 200 400 600 800 1000

Seedling emerged (plant (%)) 25 (100%) 24 (96%) 23 (92%) 21 (84%) 19 (76%) 18 (72%)

Mature plant (plant (%)) 25 (100%) 18 (72%) 16 (64%) 16 (64%) 4 (16%) 2 (8%)

Mature tetraploid obtained (plant (%)) 0 (0%) 3 (12%) 6 (24%) 2 (8%) 2 (8%) 0 (0%)

ในการทดลองนี ้จึงใช้ วิธีการตรวจสอบขนาดของปากใบ ตรวจสอบต้ นกล้ าทังหมด ้ เพราะเป็ นวิธีที่สะดวก รวดเร็ว ต้ นทุนต่า และ เชื่อถือได้ พบว่าระดับความเข้ มข้ น 400 ppm ให้ จานวนต้ นที่เป็ น tetraploid มากที่สดุ คือ 6 ต้ น หรื อ 24 เปอร์ เซ็นต์ ส่วนของ ความเข้ มข้ นที่ระดับสูงกว่า 400 ppm ให้ จานวนต้ นดาวเรื อง tetraploid มากกว่าตามความเข้ มข้ นที่เพิ่มสูงขึ ้น แต่บางต้ นนัน้ เกิดแคระแกร็ นไม่สามารถเจริ ญให้ ใบจริ ง 2-3 คู่ ขึ ้นไป และไม่สามารถออกดอกได้ รวมไปถึงอัตราการงอกของเมล็ดก็จะลด ต่าลงด้ วยตามความเข้ มข้ นของสารละลายโคลชิซินที่เพิ่มขึ ้นซึ่งให้ ผลสอดคล้ องกับ ปฐมาภรณ์ และ สาโรจน์ (2557) ที่พบว่า ความเข้ มข้ นของโคลชิซินที่เพิ่มขึ น้ ส่งผลให้ โปรโตคอร์ มกล้ วยไม้ มีอตั ราการรอดชีวิตลดลง จึงทาให้ เหลือจานวนต้ นที่สมบูรณ์ เหมือนต้ นดาวเรื องปกติที่อาจมีแนวโน้ มเป็ นดาวเรื องเตตระพลอยด์และสามารถออกดอกได้ ลดน้ อยลงหรื อบางต้ นสามารถให้ ดอกได้ แต่ลกั ษณะของดอกที่ผิดปกติ บิดเบี ้ยว และดอกไม่สามารถบานออกได้ เหมื อนดอกปกติเพิ่มมากขึ ้น ตามความเข้ มข้ น ของโคลชิซินที่เพิ่มขึ ้น แต่ต้นที่ไม่แคระแกร็นที่สามารถออกดอกและบานได้ ตามปกติก็จะมีเพียงบางส่วนเท่านันที ้ ่จะสามารถถูก ชักนาให้ เกิดการเพิ่มชุดโครโมโซมขึ ้นมาได้ โดยต้ นที่ลกั ษณะปกติที่มีแนวโน้ มเกิดการเพิ่มชุดโครโมโซมสามารถสัง เกตุลกั ษณะ บางอย่างภายนอกที่แตกต่างจากต้ นควบคุม คือ จะมีใบ ลาต้ น ที่อวบน ้ามากกว่าต้ นปกติ บางต้ นจะมีขนาดทรงพุ่มที่เล็กกว่า และสามารถออกดอกช้ ากว่าต้ นปกติแต่บางต้ นจะให้ ดอกที่มีขนาดที่ใหญ่กว่าดอกจากชุดควบคุม ทังนี ้ ้เนื่องจากสารโคลซิซินที่ มากเกินไปจะเป็ นพิษกับพืชซึง่ สอดคล้ องกับ Takamura และ Miyajima (1996) ที่พบว่าการนาสารโคลซิซินมาใช้ ประโยชน์ใน ด้ านต่าง ๆ นัน้ จาเป็ นต้ องหาระดับความเหมาะสม เนื่องจากเป็ นสารที่มีความเป็ นพิษสูงมากกับพืช ดังนันที ้ ่ระดับความเข้ มข้ น ที่ 400 ppm จึงเป็ นระดับความเข้ มข้ นที่เหมาะสมต่อการชักนาให้ เกิดการเพิ่มชุดโครโมโซมและต้ นดาวเรื องยังสามารถ เจริญเติบโตได้ เป็ นต้ นปกติที่สามารถออกดอกให้ ดอกที่มีลกั ษณะสมบูรณ์ และให้ จานวนต้ นที่ดอกมีขนาดใหญ่กว่าดอกจากต้ น ชุดควบคุมมากที่สดุ

56

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Stomatal size (magnification of 200X) and DNA content by flow cytometry (model PAII, Partec: Germany) of American marigold. A and B: shape and size and DNA content of normal plant; C and D: stomatal shape and size and DNA content of obtained tetraploid ผลการทดลองที่ 2 เลือกใช้ สารละลายโคลชิซินที่ระดับความเข้ มข้ นที่เหมาะสมจากการทดลองที่ 1 กับดาวเรื องฝรั่งเศสสาย พันธุ์ IM57031 เมื่อได้ ความเข้ มข้ นที่เหมาะสมจากการทดลองที่ 1 คือ 400 ppm แล้ ว จึงนามาใช้ ทดสอบกับเมล็ดพันธุ์ดาวเรื องฝรั่งเศส สาย พันธุ์ IM57031 ซึง่ เป็ นสายพันธุ์ที่ต้องการเพิ่มชุดโครโมโซม เพื่อใช้ เป็ นเชื ้อพันธุกรรมในโครงการการปรับปรุงพันธุ์เพื่อปริ มาณ สารแซนโทฟิ ลล์ในกลีบดอกสูงต่อไป จากผลการทดลองพบว่าจากการแช่เมล็ดดาวเรื องฝรั่งเศส 30 เมล็ด ในสารละลายโคล ชิซินที่ความเข้ มข้ น 400 ppm เป็ นเวลา 4 ชัว่ โมง ก่อนนาไปเพาะ เมื่อตรวจสอบระดับ ploidy พบต้ น octaploid จานวน 1 ต้ น คือ IM57031-C9 ที่สามารถเจริ ญเติบโตสร้ างตาดอกได้ ซึ่งมีขนาดปากใบใหญ่ ใบอวบหนา ทรงพุ่มกะทัดรัด เมื่อทาการ ตรวจสอบลักษณะของปากใบ พบว่า ลักษณะปากใบของต้ นดาวเรื องฝรั่งเศส octaploid ดังกล่าว มีขนาดของปากที่ใหญ่กว่า ดาวเรื องฝรั่งเศสปกติ ส่วนปริมาณดีเอ็นเอ พบว่าดาวเรื องฝรั่งเศสที่เป็ น octaploid จะมีปริ มาณเป็ น 2 เท่าของปริ มาณดีเอ็นเอ ของดาวเรื องปกติ (Figure 2)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

57


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 2 Stomatal size (magnification of 400X) and DNA content by flow cytometry (model PAII, Partec: Germany) of French marigold IM57031. A and B: stomatal shape and size and DNA content of normal plant; C and D: stomatal shape and size and DNA content of obtained octaploid.

นอกจากนี ้ยังพบดาวเรื องฝรั่งเศสที่ มีกิ่งที่มีชดุ โครโมโซมเป็ น octaploid และกิ่งที่มีชดุ โครโมโซมเป็ น tetraploid (IM57031C11) ในต้ นเดียวกัน เมื่อตรวจสอบขนาดปากใบจากกิ่งที่เป็ น tetraploid จะมีขนาดเท่ากันกับต้ นปกติ และปากใบจากกิ่งที่เป็ น octaploid ก็จะมีขนาดของปากใบใหญ่เท่ากันกับต้ นที่เป็ น octaploid อีกด้ วย เมื่อนาไปตรวจสอบปริ มาณ DNA ด้ วย Flow cytometry จากเนื ้อเยื่อใบ พบเซลล์ที่เป็ นทัง้ 4x และ 8x (Figure3C)

58

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 3 DNA content by flow cytometry (model PAII, Partec: Germany) of A: American marigold; B: Octaploid French marigold ‘IM57031-C9’ induced by 400 ppm colchicine; C: Octaploid French marigold ‘IM57031-C11’ induced by 400 ppm colchicine showing mixed ploidy

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

59


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

จากการทดสอบความมีชีวิตของละอองเรณูของดาวเรื องฝรั่งเศสทัง้ 18 ต้ น พบว่าต้ นดาวเรื องที่มาจากเมล็ดที่ไม่ผ่านการแช่ สารละลายโคลชิซิน และดาวเรื องที่มาจากเมล็ดที่ผ่านการแช่โคลชิซินแต่ไม่มีการเพิ่มชุดโครโมโซม ละอองเรณูจะมีความมีชีวิต อยู่ที่ประมาณ 78±2.6 % - 95±2.5 % ส่วนต้ น IM57031-C11 ที่มีทงกิ ั ้ ่งที่มีการเพิ่มชุดโครโมโซมเป็ น octaploid และกิ่งที่มีชดุ โครโมโซมเป็ น tetraploid ปกติในต้ นเดียวกัน พบว่าความมีชีวิตของกิ่งที่ปกติ ละอองเรณูมีความมีชีวิตประมาณ 80±1.8% ส่วนกิ่งที่มีชดุ โครโมโซมเป็ น octaploid ละอองเรณูมีความมีชีวิตประมาณ 65+1.1% และในต้ น IM57031-C9 ทีมาจากเมล็ดที่ แช่สารละลายโคลชิซินแล้ วมีการเพิ่มชุดโครโมโซมเป็ น octaploid นันพบว่ ้ าละอองเรณูมีชีวิตเพียง 3±0.6 % เท่านัน้ โดยละออง เรณูของต้ นที่เป็ น octaploid ส่วนใหญ่จะมีลกั ษณะผิดปกติ (Figure 4) เมื่อเปรี ยบเทียบระหว่างต้ นที่มีชดุ โครโมโซมปกติ กับ ต้ นที่มีการเพิ่มชุดโครโมโซมพบว่าต้ นที่ปกติ ภายใน 1 อับเรณูจะสร้ างละอองเรณูจานวนมากกว่าต้ นที่มีการเพิ่มชุดโครโมโซม

Figure 4 Pollen viability test (magnification of 200X). A-B: pollen from control plants (0 ppm colchicines treated); C-D: pollen from treated plant but unsuccessful induction; E-F: pollen from the mixed ploidy plant ‘IM57031-C11’ tetraploid branch; G-H: pollen from the mixed ploidy plant ‘IM57031-C11’ octaploid branch; I: pollen from octaploid plant IM57031-C9

60

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สังเกตลักษณะกลีบดอกของต้ นที่มาจากเมล็ดที่ไม่ผ่านการแช่สารละลายโคลชิซิน ต้ นที่มาจากเมล็ดที่ผ่านการแช่สารละลาย โคลชิซินแต่เจริ ญเป็ นต้ นปกติที่ไม่มีการเพิ่มชุดโครโมโซม และต้ นที่มีการเพิ่มชุดโครโมโซมเป็ น octaploid พบว่า กลีบดอกจาก ต้ นที่เป็ น octaploid จะมีกลีบดอกหนากว่ากลีบดอกจากต้ นที่มีชดุ โครโมโซมปกติ กลีบดอกของกิ่งที่เป็ นoctaploid ในต้ นที่มีทงั ้ ที่มีชดุ โครโมโซมเป็ น tetraploid ปกติ และมีการเพิ่มชุดโครโมโซมเป็ น octaploid ในต้ นเดียวกันก็หนากว่ากลีบดอกจากกิ่งปกติ ด้ วยเช่นกัน (Figure 5)

Figure 5 Phenotype of flowers of colchicines treated IM57031 A-C: Flower of control plants (0 ppm colchicine treated); D-F: Flower of colchicine treated plants with no change of ploidy level ; G: Flower of ‘IM57031-C11’ tetraploid branch; H: Flower of ‘IM57031-C11’ octaploid branch; I: Flower of octaploid plant ‘IM57031-C9’

สรุ ปผลการทดลอง สารละลายโคลชิซินทีระดับความเข้ มข้ น 400 ppm เหมาะสมต่อการชักนาให้ เกิดการเพิ่มจานวนชุดโครโมโซมในต้ น ดาวเรื องอเมริ กนั และสามารถทาให้ ต้นดาวเรื องฝรั่งเศสเกิดการเพิ่มชุดโครโมโซมได้ 1 ต้ นจากทังหมด ้ 30 เมล็ด ซึง่ ตรวจสอบ ขนาดปากใบของดาวเรื องที่มีการเพิ่ มชุดโครโมโซมแล้ วพบว่ามีขนาดใหญ่กว่าดาวเรื องที่มีชุดโครโมโซมปกติ และมีความ สมบูรณ์พนั ธุ์ต่าลง สังเกตุได้ จากละอองเรณูจากต้ นที่มีการเพิ่มชุดโครโมโซมจะมีความมีชีวิตต่ากว่าละอองเรณูของต้ นที่มีชุด โครโมโซมปกติ และละอองเรณูของต้ นที่มีชดุ โครโมโซมเป็ น octaploid ส่วนใหญ่จะมีลกั ษณะผิดปกติ จากการทดลองครัง้ นี ้ ได้ ต้นดาวเรื องสายพันธุ์ IM57031 ที่มีระดับ ploidy เป็ น octaploid จานวน 1 ต้ น คือ IM57031-C9 ซึง่ มี pollen ที่มีความมีชีวิตต่ามาก จึงทาการรักษาพันธุกรรมและเพิ่มจานวนด้ วยการปั กชา เพื่อใช้ ไปต้ นแม่ ในโครงการปรับปรุ ง พันธุ์ตอ่ ไป

กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจัยขอขอบคุณสานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ภายใต้ โครงการพัฒนาศักยภาพของนิสิต/นักศึกษาเพื่อเสริ มสร้ างทักษะด้ านการปรับปรุ งพันธุ์พืช ที่สนับสนุนทุนวิจยั และ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่เอื ้อเฟื อ้ สถานที่ทาการทดลอง แปลงทดลองและ อุปกรณ์ในการศึกษาวิจยั ครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง

ปฐมาภรณ์ ทิลารักษ์ และ สาโรจน์ ประเสริ ฐศิริวฒ ั น์. 2557. ผลของโคลชิซินต่อการชักนาให้ เกิดโพลีพลอยด์ในกล้ วยไม้ เหลืองจันทบูรดาเต็มคอ. วารสารวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี ที 16 ฉบับที 1: น.63 Maziar Habibi Pirkoohi, Mojtaba Keyvanloo and Maryam hasanpoor. 2011. Colchicine- induced ploidy in mint by seed treatment. Intl. J. Agri. Crop Sci. Vol. 3(4) 102-104. Takamura T, Miyajima I. Colchicine induced tetraploidsin yellow-flowered Cyclamens and their characteristics. Sci.Hortic : 1996; 65 : 305-312. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

61


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การส่ งถ่ ายยีน DFR (dihydroflavonol 4-reductase) เข้ าสู่ปทุมมากระถางด้ วยเชือ้ แบคทีเรีย Agrobacterium tumefaciens Agrobacterium tumefaciens-mediated transformation of DFR (dihydroflavonol 4-reductase) gene into potted Curcuma วารุ ต อยู่คง1 รัฐพร จันทร์ เดช1* และ ณิชมน ธรรมรักษ์ 1 Warut U-kong1, Ruttaporn Chundet1* and Nitchamon Thamaragsa1

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้ศึกษาการส่งถ่ายยีน DFR จากอัญชันเข้ าสูป่ ทุมมากระถาง โดยใช้ เชื ้อ Agrobacterium tumefaciens ทา การชักนาให้ เกิด retarded shoots โดยนาชิ ้นส่วนช่อดอกปทุมมากระถาง มาเพาะเลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ดัดแปลงที่เติม BA 10 มก./ล. และ IAA 0.1 มก./ล. เป็ นเวลา 1 เดือน หลังจากนันจึ ้ งย้ ายไปเพาะเลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม IAA 0.1 มก./ล. ร่วมกับ TDZ 0.5 มก./ล. และ IMA 4 มก./ล. ในการส่งถ่ายยีนเข้ าสู่ retarded shoots ของปทุมมากระถาง ใช้ A. tumefaciens สายพันธุ์ LBA4404 ที่บรรจุ binary vector pStart DFR ซึง่ มียีน neomycin phosphotransferase (nptII) เป็ น ยีนคัดเลือก และยีน DFR เป็ นยีนที่สนใจ พบว่า ยอดที่ต้านทานต่อกานามัยซินจะเกิดภายใน 4 สัปดาห์ หลังจากการเพาะเลี ้ยง ร่วมกันระหว่างชิ ้นส่วนพืชกับ A. tumefaciens โดยมีเปอร์ เซ็นต์การรอดชีวิตบนอาหารคัดเลือก 55 เปอร์ เซ็นต์ และการส่งถ่าย ยีนยืนยันด้ วย PCR และ RT-PCR พบว่ามีการสอดแทรกของยีน DFR ใน retarded shoots ของปทุมมากระถาง คาสาคัญ : ปทุมมากระถาง ยีน DRF การส่งถ่ายยีน Agrobacterium tumefaciens

Abstract The research is Studied on transformation of DFR gene form Clitoria ternatea Linn. into potted Curcuma via A. tumefaciens. Retarded shoots were initiated by culturing the inflorescence explants of potted Curcuma cultivar on modified MS solid medium containing 10 mg/l BA and 0.1 mg/l IAA for 1 month. After that, the tissues were transferred to MS medium containing 0.1 mg/l IAA, 0.5 mg/l TDZ and 4mg/L IMA for induction of retarded shoots. Retarded shoots of potted Curcuma were transformed using A. tumefaciens strain LBA4404 with the binary vector pStart DFR containing the neomycin phosphotransferase gene (nptII) as a selectable marker and the DFR as the gene of interest. Results showed that, kanamycin resistant shoots were regenerated 4 weeks after cocultivation of explants with A. tumefaciens. The survival percentage on selective medium was 55%. Transformation was confirmed by PCR and RT-PCR indicated the integration of DFR gene in transgenic retarded shoots of potted Curcuma. Keywords : potted Curcuma, DFR gene, gene transformation, Agrobacterium tumefaciens

1

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ 50290 * auanmolec@gmail.com 62

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ในปั จจุบนั มีรายงานผลการวิจยั มากมายที่พฒ ั นาพันธุ์ไม้ ดอกให้ มีสีสนั ที่สวยงามกันอย่างแพร่หลาย โดยสีของดอกไม้ ส่วนใหญ่นนเกิ ั ้ ดจากการที่พืชชนิดนันสะสมสารแอนโทไซยานิ ้ น (anthocyanins) ไว้ ในแวคคิวโอลของเซลล์และก่อให้ เกิดสีแดง ม่วง และน ้าเงิน (Martin, 1993) ซึง่ เป็ นสารที่จดั อยู่ในกลุม่ ฟลาโวนอยด์ (flavonoids) และสารกลุม่ นี ้ยังมีประโยชน์ต่อพืช เช่น เพิ่มสีสนั ให้ กับดอก ผล และใบของพืช โดยมีส่วนช่วยในการแพร่ พันธุ์โดยอาศัยแมลงและสัตว์ และยังมีคุณสมบัติในการ ป้องกันรังสีอลั ตราไวโอเลต (ultraviolet)ให้ แก่เชลล์พืช และจุลลินทรี ย์ก่อให้ เกิดโรคบ้ างชนิด นอกจากนี ้ยังมีบทบาทสาคัญทาง โภชนาการและสุขภาพของมนุษย์เพราะมีคณ ุ สมบัติในการต้ านสารอนุมลู อิสระและมะเร็ งบางชนิด (antioxidant and anticancer) (Koes et al., 1994; Rice-Evans et al., 1997; Harborne and Williams, 2000; Klanrit, 2010) สาหรับการดัดแปลง สีของดอกไม้ ที่เกี่ยวข้ องกับการสังเคราะห์แอนโทไซยานิน โดยการส่งถ่ายยีนเข้ าไปเพื่อยับยังหรื ้ อไปเพิ่มการแสดงออกของ เอนไซม์ที่เกี่ยวข้ องกับการสร้ างสารในกลุ่มของรงควัตถุแอนโทไซยานิน ซึ่งจะไปมีผลต่อการแสดงออกของสีดอกไม้ เช่น การ ดัดแปลงกุหลาบสีน ้าเงินโดยการส่งถ่ายยีน F3'5'H (Flavonoid 3',5'-hydroxylase) เพื่อให้ สามารถสังเคราะห์ delphinidinbased anthocyanins ซึง่ มีสีโทนม่วงน ้าเงิน กับยีน DFR (Dihydroflavonol 4-reductase) ทาหน้ าที่การรี ดิวซ์ dihydroflavonol ทาให้ ได้ สาร leucoanthocyanidin (Kristiansen and Rohde, 1991) สาร leucoanthocyanidin นี ้ จะเป็ นสารตังต้ ้ นในการ สังเคราะห์ delphinidin-based anthocyanins และคาร์ แนชัน่ ทิวลิป และแววมยุรา เป็ นต้ น วัตถุประสงค์การศึกษาการส่งถ่ายยีน DFR เข้ าสูป่ ทุมมากระถาง โดยใช้ Agrobacterium tumefaciens เพื่อเป็ นการ ปรับปรุ งพันธุ์ปทุมมากระถางให้ มีความหลากหลายของสีดอกเพิ่มมากขึ ้น เพราะในปั จจุบนั ความหลากหลายของสีดอกปทุม มายังมีสีสนั ค่อนข้ องน้ อย โดยมีสีแดง ขาว ชมพู เป็ นต้ น และปั จจุบนั ปทุมมาจัดเป็ นพืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจของไทย อีกชนิดหนึ่ง โดยมีมลู ค่าการส่องออกสูงเป็ นอันดับสองรองจากกล้ วยไม้ โดยมีมลู ค่าการส่งออกปี ละประมาณ 30-40 ล้ านบาท และจากความนิยมที่เพิ่มมากขึน้ ทาให้ มีความจาเป็ นในการปรับปรุ งหรื อดัดแปลงสีดอกของปทุมมาให้ มีความหลากหลาย เพิ่มขึ ้นเพื่อเป็ นการเพิ่มมูลค่าให้ กบั ปทุมมาและเพื่อเน้ นการตอบสนองต่อความต้ องการของตลาดที่มีมากขึ ้น

อุปกรณ์ และวิธีการ การเตรี ยมตัวอย่ าง retarded shoots เพื่อใช้ เป็ นเป้ าหมายในการส่ งถ่ ายยีน DFR เริ่ มจากการนาช่อดอกย่อยของปทุมมากระถางพันธุ์ ‘ดอยตุงมินิรูบี ้’ มาชักนาให้ เกิดยอด บนอาหารแข็งสูตร MS แข็ง ที่เติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืช benzylaminopurin (BA) ความเข้ มข้ น 10 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ indole-3-acetic acid (IAA) ความเข้ มข้ น 0.1 มก./ล. เป็ นเวลา 2 เดือน หลังจากนันน ้ ามาเพาะเลี ้ยงบนสูตรอาหาร MS แข็งที่เติม Thidiazuron (TDZ) ความเข้ มข้ น 0.5 มก./ล. ร่วมกับ IAA ความเข้ มข้ น 0.1 มก./ล. และ imazalil (IMA) ความเข้ มข้ น 4.0 มก./ล. เพื่อชักนา ให้ เกิด retarded shoots (Toppoonyanont et al., 2005) เพื่อใช้ เป็ นเนื ้อเยื่อเป้าหมายสาหรับการส่งถ่ายยีน การส่ งถ่ ายยีน DFR เข้ าสู่ retarded shoots ปทุมมากระถางด้ วยเชือ้ แบคทีเรี ย A. tumefaciens เตรี ยม A. tumefaciens สายพันธุ์ LBA4404 ที่บรรจุพาสมิด binary vector pStart DFR ซึ่งมียีน neomycin phosphotransferase (nptII) เป็ นยีนเครื่ องหมายเพื่อการคัดเลือก และยีน DFR จากดอกอัญชัน (Figure 1) โดยการนาเชื ้อ แบคทีเรี ยมาเพาะเลี ้ยงบนอาหาร Luria Bertani (LB) ที่เติม kanamycin ความเข้ มข้ น 50 มก./ล. และ rifampicin ความเข้ มข้ น 50 มก./ล. เพาะเลี ้ยงที่อณ ุ หภูมิ 28 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 1 วัน แล้ วนามาวัดค่า OD600 ให้ ได้ 0.3-0.5 และเติม acetosyringone (AS) ความเข้ มข้ น 100 µM หลังจากนันน ้ า retarded shoots มาเพาะเลี ้ยงร่วมกับเชื ้อแบคทีเรี ยเป็ นเวลา 30 นาที แล้ วย้ ายไปบนอาหาร co-cultivation เลี ้ยงในที่มืดเป็ นเวลา 2 วัน (Mahadtanapuk et al., 2006) หลังจากนันย้ ้ ายไป เพาะเลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตรคัดเลือก MS ที่เติม TDZ ความเข้ มข้ น 0.5 มก./ล. IAA ความเข้ มข้ น 0.1 มก./ล. IMA ความเข้ มข้ น 4.0 มก./ล. kanamycin ความเข้ มข้ น 100 มก./ล. และ cefotaxime ความเข้ มข้ น 250 มก./ล. (U-Kong et al., 2013 ) ย้ าย เนื ้อเยื่อทุกๆ 2 สัปดาห์ หลังจาก 1 เดือนของการเพาะเลี ้ยง ย้ ายเนื ้อเยื่อลงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม BA ความเข้ มข้ น 0.3 มก./ล. และ kanamycin ความเข้ มข้ น 100 มก./ล. เพื่อให้ ยอดยืดยาว และชักนาให้ เกิดราก โดยเพาะเลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS แข็งที่เติม IAA ความเข้ มข้ น 0.1 มก./ล. และ kanamycin ความเข้ มข้ น 100 มก./ล. จากนันคั ้ ดเลือกยอดของปทุมมา กระถางพันธุ์ที่เจริญได้ บนอาหารคัดเลือก ไปตรวจสอบการส่งถ่ายยีนด้ วยเทคนิค PCR และ RT-PCR

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

63


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การตรวจสอบการส่ งถ่ ายยีน DFR ดัวยเทคนิค polymerase chain reaction (PCR) นาใบของปทุมมากระถางที่เจริ ญเติบโตได้ บนอาหารคัดเลือก มาสกัด DNA ด้ วยวิธี acetyl trimethyl-ammonium bromide (CTAB, Doyle and Doyle, 1990) และเพิ่มปริ มาณชิ ้นส่วนของยีน DFR ด้ วยเครื่ อง PCR โดยใช้ ไพรเมอร์ ที่มี ความจาเพาะเจาะจงกับยีน DFR คือ CTDFR96-R (5'CCG GCC CGG GTT ATT CGT TGG TGC CAT3')และ CTDFR96F (5'CCG GTC TAG AAT GGC TTC AGC AGC TGA AGT3') กาหนดเงื่อนไขของปฏิกิริยา PCR เริ่ มจาก initial denaturation อุณหภูมิ 94 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 2 นาที ต่อด้ วย denaturation อุณหภูมิ 95 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 30 วินาที annealing อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 30 วินาที extension อุณหภูมิ 68 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 1 นาที ทาซ ้าจานวน 35 รอบ และ final extension อุณหภูมิ 68 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 10 นาที ตรวจสอบผลด้ วย agarose gel electrophoresis และนาไปส่องดูขนาดแบนของ DNA ด้ วยเครื่ องกาเนิดยูวี การตรวจสอบการแสดงออกของยีน DFR ในระดับ Transcription ด้ วยเทคนิค reverse transcription polymerase chain reaction (RT-PCR) สกัด RNA จากใบของปทุมมากระถางที่ได้ รับการยืนยันการส่งถ่ายยีนด้ วยเทคนิค PCR ด้ วย Total RNA Extraction kit (easy-REDTM) และสังเคราะห์ cDNA ด้ วย RevertAidTM First Strand cDNA Synthesis kit จากนันเพิ ้ ่มปริ มาณชิ ้นส่วนของ ยีน DFR โดยใช้ ไพรเมอร์ ที่มีความจาเพาะเจาะจงกับยีน DFR คือ CTDFR96-R และ CDDFR96-F ด้ วยเทคนิค PCR และ กาหนดเงื่อนไขของปฏิกิริยา PCR เริ่ มจาก initial denaturation อุณหภูมิ 94 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 2 นาที denaturation อุณหภูมิ 95 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 30 วินาที annealing อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 30 วินาที extension อุณหภูมิ 68 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 1 นาที ทาซ ้าจานวน 35 รอบ และ final extension อุณหภูมิ 68 องศาเซลเซียส เป็ น เวลา 10 นาที ตรวจสอบผลด้ วย agarose gel electrophoresis และนาไปส่องดูขนาดแถบของ DNA ด้ วยเครื่ องกาเนิดยูวี

Figure 1 Schematic liner map of the T-DNA region of the pStart DFR. RB, right border; LB, left border; NOS pro, nopaline synthase gene promoter; NOS ter, nopaline synthase gene terminator; CaMV 35S, 35S promoter from cauliflower mosaic virus; npt II, neomycin phosphotransferase gene; DFR, Dihydroflavonol 4-reductase.

ผลการวิจัยและวิจารณ์ ผล การเตรี ยมตัวอย่ าง retarded shoots เพื่อใช้ เป็ นเป้ าหมายในการส่ งถ่ ายยีน DFR การเพาะเลี ้ยงช่อดอกย่อยปทุมมากระถาง (Figure 2 a) บนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม BA ความเข้ มข้ น 10 มก./ล. ร่วมกับ IAA ความเข้ มข้ น 0.1 มก./ล. พบว่า หลังจากการเพาะเลี ้ยงเป็ นเวลา 2 เดือน สามารถชักนาให้ เกิดยอดบริ เวณฐานของ ช่อดอกปทุมมากระถาง จานวน 2 ยอดต่อชิ ้นส่วน (Figure 2 b) หลังจากนันน ้ ายอดของปทุมมากระถางที่ได้ ไปเพาะเลี ้ยงบน อาหารแข็งสูตร MS ที่เติม TDZ ความเข้ มข้ น 0.5 มก./ล. ร่วมกับ IAA ความเข้ มข้ น 0.1 มก./ล. และ IMA ความเข้ มข้ น 4.0 มก./ ล. สามารถชักนาให้ เกิด retarded shoots ได้ จานวนมาก ภายในเวลา 3 สัปดาห์ ซึง่ retarded shoots มีลกั ษณะเป็ นกลุม่ ยอด ขนาดเล็กๆ จานวนมาก มีลาต้ นและใบขนาดเล็ก (Figure 2 c) โดยงานวิจยั นี ้จะใช้ retarded shoots ในการส่งถ่ายยีนต่อไป ในการชักนาให้ เกิด retarded shoots ของประทุมมากระถางนันจะใช้ ้ เวลานานกว่าการชักนาให้ เกิด retarded shoots จากประ ทุมมาพันธุ์เชียงใหม่พิงค์ (Curcuma alismatifolia Gagnep.) ซึ่งงานวิจยั ของ Toppoonyanont et al. (2005) จะใช้ เวลา ประมาณ 1 เดือน ในการชักนาให้ เกิด retarded shoots ทังนี ้ ้เพราะสูตรอาหารแต่ละสูตรจะมีความเหมาะสมกับพืชชนิดที่ ศึกษา ในขณะที่พืชชนิดเดียวกันแต่คนละชิ ้นส่วนก็ใช้ สตู รอาหารที่แตกต่างกัน เช่น การชักนาให้ เกิดยอดของพิทเู นีย (Petunia hybrida) ถ้ าใช้ ชิ ้นส่วนใบอ่อนจะใช้ อาหารแข็งสูตร MS ที่เติม BA ความเข้ มข้ น 1 มก./ล. ร่ วมกับ naphthaleneacetic acid

64

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

(NAA) ความเข้ มข้ น 0.1 มก./ล. ในขณะที่สว่ นปลายยอดใช้ อาหารแข็งสูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโตพืชก็สามา รกชักนาให้ เกิดยอดได้ แล้ ว (Abu-Qaoud et al., 2010)

a

c

b

Figure 2 In vitro culture of potted Curcuma. potted Curcuma inflorescences (a), shoot proliferated from bracteoles (b) and retarded shoots (c). การส่ งถ่ ายยีน DFR เข้ าสู่ retarded shoots ปทุมมากระถางพันธุ์ ด้ วยเชือ้ แบคทีเรี ย A. tumefaciens ผลการส่งถ่ายยีน DFR เข้ าสู่ retarded shoots ของปทุมมากระถาง ด้ วยเชื ้อแบคทีเรี ย A. tumefaciens โดยใช้ เนื ้อเยื่อ retarded shoots จานวนทังหมด ้ 100 ชิ ้นส่วน และคัดเลือกเนื ้อเยื่อ retarded shoots ที่ได้ รับการส่งถ่ายยีน DFR ที่ เพาะเลี ้ยงบนอาหารคัดเลือกสูตร MS แข็งที่เติม TDZ ความเข้ มข้ น 0.5 มก./ล. ร่วมกับ IAA ความเข้ มข้ น 0.1 มก./ล. และ IMA ความเข้ มข้ น 4.0 มก./ล. สารปฏิชีวนะ kanamycin ความเข้ มข้ น 100 มก./ล. และ cefotaxime ความเข้ มข้ น 250 มก./ล. พบว่า เนื ้อเยื่อ retarded shoots สามารถเจริ ญบนอาหารที่เติมสารปฏิชีวนะ kanamycin ความเข้ มข้ น 100 มก./ล. จานวน 55 ยอด คิดเป็ นอัตราการรอดชีวิต 55 เปอร์ เซ็นต์ (Figure 3 a, b, c) โดยมีเปอร์ เซ็นต์การส่งถ่ายยีนสูงกว่างานวิจยั ของ Mahadtanapuk et al., (2006) ที่ศึกษาการส่งถ่ายยีน antisense 1 aminocyclopropane-1-carboxylic acid (ACC) synthase เข้ าสู่ retarded shoots ของปทุมมาพันธุ์เชียงใหม่พิงค์ โดยใช้ เชื ้อแบคทีเรี ย A. tumefaciens พบว่ามีเปอร์ เซ็นต์การส่งถ่ายยีน 14 เปอร์ เ ซ็ น ต์ ส่ว นงานวิ จัย ของกัญ จนา และสุเ ม (2551) ได้ ศึ ก ษาการส่ง ถ่ า ยยี น เข้ า ปทุม มาโดยอาศัย เชื่ อ แบคที เ รี ย A. tumefaciens สายพันธุ์ EHA105 โดยส่งถ่ายยีน gus เข้ าสูห่ น่อปทุมมา ขนาด 0.5 เซนติเมตร พบว่า มีการแสดงออกของยีน gus ในส่วนของใบ และราก อย่างไรก็ตามการส่งถ่ายยีนจะประสบความสาเร็ จได้ นนั ้ ต้ องใช้ สายพันธุ์แบคทีเรี ยที่มีความ เหมาะสมกับพืชที่ทาการส่งถ่ายยีน นอกจากนี ้การเลือกใช้ vector ชนิดของชิ ้นส่วนพืช จะต้ องเลือกให้ เหมาะสมด้ วย

a

b

c

Figure 3 Shoot regeneration from the retarded shoots of potted Curcuma transformed by Agrobacterium tumefaciens. Retarded shoots 1 week after transformation (a), Elongated shoots after transformation (b) and Rooted shoots after transformation (c). การตรวจสอบการส่ งถ่ ายยีน DFR ดัวยเทคนิค PCR ยอดปทุมมากระถางที่เจริ ญเติบโตได้ บนอาหารคัดเลือกที่เติมสารปฏิชีวนะ kanamycin ความเข้ มข้ น 100 มก./ล. ทาการสุ่ม ตัวอย่างยอดปทุมมากระถางที่ได้ รับการส่งถ่ายยีน DFR มาทังหมด ้ 10 ตัวอย่าง นามาตรวจสอบการส่งถ่ายยีน DFR ด้ วย การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

65


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เทคนิค PCR เทียบกับชุดควบคุม โดยการสกัด DNA จากใบ และนามาเพิ่มปริ มาณยีน DFR โดยใช้ ไพรเมอร์ ที่มีความจาเพาะ เจาะจงกับยีน พบว่า มีการตรวจพบยีน DFR จานวน 7 ตัวอย่าง (Figure 4) โดยมีขนาดชิ ้นยีนประมาณ 1,000 pb โดยเทคนิค PCR เป็ นเทคนิคที่นิยมใช้ กนั อย่างแพร่หลายในการตรวจสอบการส่งถ่ายยีน โดยการใช้ ไพรเมอร์ ที่มีความจาเพาะกับยีนที่จะทา การตรวจสอบ โดยเทคนิค PCR มีการใช้ ในการตรวจสอบการส่งถ่ายยีนในพืชกันเป็ นจานวนมาก เช่น ตรวจสอบการส่งถ่ายยีน ในปทุมมา แววมยุรา พิทเู นีย (Mahadtanapuk et al., 2006; Michalczuk and Wawrzynczak, 2004; Ono et al., 2006) เป็ น ต้ น

Figure 4 PCR amplification. Lane M, lamda /PstI molecular size marker; Lane P, positive control (pStart DFR); Lane N, negative control (non-transformed plant) and Lane 1-10, transformed lines with pStart DFR. Arrow indicates the PCR products of expected size after DFR gene amplified (1000 bp) การตรวจสอบการแสดงออกของยีน DFR ในระดับ Transcription ด้ วยเทคนิค RT-PCR ยอดปทุมมากระถางที่ได้ รับการยืนยันการส่งถ่ายยีน DFR ด้ วยเทคนิค PCR ได้ ถกู นามาตรวจสอบการแสดงของยีน DFR ที่ควบคุมการด้ วย promoter CaMV 35s ในระดับการ transcription ด้ วยเทคนิค reverse transcription polymerase chain reaction โดยนาตัวอย่างใบของปทุมมากระถางที่ยืนยันจากเทคนิค PCR ทังหมด ้ 7 ตัวอย่าง มาทาการสกัด RNA และ เปลี่ยนจาก RNA ให้ เป็ น cDNA แล้ วตรวจสอบการแสดงออกของยีน DFR ด้ วยปฏิกิริยา PCR โดยใช้ ไพรเมอร์ ที่มี ความจาเพาะเจาะจงกับยีน DFR พบว่า มีการแสดงออกของยีน DFR ทัง้ 7 ตัวอย่าง (Figure 5) เมื่อเทียบกับชุดควบคุมซึง่ เป็ น ปทุมมากระถางที่ไม่ได้ รับการส่งถ่ายยีนจะไม่ปรากฏแถบ DNA ของยีน DFR โดย promoter CaMV 35s เป็ นโปรโมเตอร์ ที่ทา ให้ ยีนแสดงออกในทุกชิ ้นส่วนของพืช ดังจึงสามารถตรวสอบการแสดงออกของพืชได้ ทกุ ชิ ้นส่วน และ promoter CaMV 35s ยัง ที่นิยมใช้ ในการส่งถ่ายยีนในพืชอีกหลายชนิด เช่น ถัว่ เหลือง (Christou et al.,1988) มะเขือเทศ (Sheehy et al., 1988) มันฝรั่ง (Sheerman and Bevan, 1988) ข้ าว (Shimamoto et at., 1989) ข้ าวโพด (Rhodes et al., 1988) และ ข้ าวสาลี (Vasil et al., 1992)

Figure 5 RT-PCR amplification. Lane M, lamda /PstI molecular size marker; Lane P, positive control (pStart DFR); Lane N, negative control (non-transformed plant) and Lane 1 2 3 6 7 9 and 10, transformed lines with pStart DFR.Arrow indicates the PCR products of expected size after DFR gene amplified(1000 bp)

66

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ปผลการทดลอง งานวิจยั นี ้ประสบความสาเร็จในการส่งถ่ายยีน DFR เข้ าสู่ retarded shoots ของปทุมมากระถางด้ วยเชื ้อแบคทีเรี ย A. tumefaciens สายพันธุ์ LBA4404 ที่มีเปอร์ เซ็นต์การรอดชีวิตบนอาหารคัดเลือกสูงถึง 55 เปอร์ เซ็นต์ และสามารถตรวจพบ การแสดงออกของยีน DFR ในปทุมมากระถาง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในการส่งถ่ายยีนอื่นที่สนใจเข้ าสู่ปทุมมากระถาง หรื อปทุมมาสายพันธุ์อื่นๆ ได้

เอกสารอ้ างอิง กัญจนา แซ่เตียว และ สุเม อรัญนารถ. 2551. การส่งถ่ายยีนเข้ าสูป่ ทุมมาโดยใช้ อะโกรแบคทีเรี ยม. วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร. 39(3): 211-214. Abu-Qaoud, H., A. Abu-Rayya and S. Yaish 2010. In vitro regeneration and somaclonal variation of Petunia hybrida. Journal of fruit and ornamental plant research. 18(1): 71-81. Christou, P., D.E. McCabe and W.F. Swain. 1988. Stable transformation of soybean callus by DNA-coated gold particles. Plant Physiology 87:1-74. Doyle, J.J. and J.L. Doyle. 1990. Isolation of plant DNA from fresh tissue. Focus. 12: 13-15. Harborne, J.B. and C.A. Williams. 2000. Advances in flavonoid research since. Phytochemistry. 55: 481-504. Klanrit, P. 2010. The development of “blue rose” and “purple tomato” by genetic engineering techniques. Naresuan University Journal. 18(2): 97-105. Koes, R.E., F. Quattrocchio and J.N.M. Mol. 1994. The flavonoid biosynthetic pathway in plants: function and evolution. BioEssays. 16: 123-132. Kristiansen, K.N. and W. Rohde.1991. Structure of the Hordeum vulgare gene encoding dihydroflavonol-4-reductase and molecular analysis of ant18 mutants blocked in flavonoid synthesis. Mol. Gen. Genet. 230: 49-59. Mahadtanapuk, S., N. Topoonyanont and T. Handa. 2006. Genetic transformation of Curcuma alismatifolia Gagnep. Using retarded shoots. Plant Biotechnology. 23: 233-237. Martin, C.R. 1993. Structure, function, and regulation of the chalcone synthase. Int Rev Cytol.147: 233-284. Michalczuk, B. and D. Wawrzynczak. 2004. Effect of medium composition and date of explants drawing on effectivess of Agrobacterium-mediated transformation in the petunia (petunia hybrid pendula). Journal of fruit and ornamental plant research. 12: 5-16. Ono E., M. Fukuchi-Mizutani, N. Nakamura, Y. Fukui, K. Yonekura-Sakakibara, M. Yamaguchi, T. Nakayama, T. Tanaka, T. Kusumi and Y. Tanaka. 2006. Yellow flowers generated by expression of the aurone biosynthetic pathway. PNAS. 103(29): 110751108. Rice-Evans, C.A., N.J. Miller and G. Paganga. 1997. Antioxidant properties of phenolic compounds. Trends in Plant Science. 2: 21522159. Rhodes, C.A., D.A. Pierce, I.J. Mettler, D. Mascarenhas and J.J. Detmer. 1988. Genetically transformed maize plants from protoplasts. Science. 240: 20-47. Shimamoto, K., R. Terada, T. Izawa and H. Fujimoto. 1989. Fertile transgenic rice plants regenerated from transformed protoplasts. Nature 338: 274-6. Sheehy RE, Kramer M, Hiatt WR. 1988. Reduction of polygalacturonase activity in tomato fruit by antisense RNA. Proceedings of the National Academy of Sciences of the USA. 85, 8805-9. Sheerman S, Bevan MW. 1988. A rapid transformation method for Solatium tuberosum using binary Agrobacterium tumefaciens vectors. Plant Cell Reports 7, 13-16. Toppoonyanont, N., Chongsang, S., Chujan, S., Somsueb S. and Nuamjaroen P. 2005. Micropropagation Scheme of Curcuma alismatifolia Gagnep. Acta Hort. 673: 705-713. Vasil V, Castillo AM, Fromm ME, Vasil IK. 1992. Herbicide resistant fertile transgenic wheat plants obtained by microprojectile bombardment of regenerable embryogenic callus. Bio/ Technology 10, 667-74. U-kong, W., R.W.Cutler and R. Chunde. 2013. Agrobacterium tumefaciens-transient genetic transformation of Patumma “Blue Moon” (Curcuma sp.) retarded shoots explants. The journal of interdisciplinary networks. 2(2): 284-289.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

67


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอเพื่อใช้ ในการจาแนกเพศอินทผลัมไทย (แม่ โจ้ 36) Development of DNA markers for sex identification in Thai date palm (Phoenix dactylifera L.) cv. Maejo#36 นพรัตน์ อินถา1 กวี สุจปิ ุล1ิ ปิ ยรัษฎ์ ปริญญาพงษ์ เจริญทรัพย์ 2 และ พีระศักดิ์ ฉายประสาท1,3 Noppharat Intha1 Kawee Sujipuli1Piyarat Parinyapong Chareonsap2 and Peerasak Chaiprasart1,3

บทคัดย่ อ อินทผลัม (Phoenix dactylifera L.) เป็ นไม้ ผลชนิดหนึ่งที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจโดยนิยมปลูกในหลายพื ้นที่ของ ประเทศไทย แต่ปัญหาหนึ่งที่ พบคือต้ นอินทผลัมเพศผู้แ ละเพศเมี ยสามารถจาแนกได้ ชัดเจนเมื่ อถึงระยะออกดอก ซึ่งใช้ เวลานาน 5-8 ปี ดังนัน้ การวิจยั ครัง้ นี ้จึงมีจดุ ประสงค์เพื่อจาแนกเพศของอินทผลัมในระยะต้ นกล้ า โดยใช้ เทคนิคเครื่ องหมายดี เอ็นเอ ผลการทดลองพบว่า จากการใช้ ไ พรเมอร์ จานวน 18 ชนิด มี ไพรเมอร์ PH02F-PH03R ให้ ผลิตภัณฑ์ พีซีอาร์ (PCRproduct) ขนาดประมาณ 320 คู่เบส เฉพาะในอินทผลัมเพศผู้เท่านัน้ ผลการทดลองบ่งชี ้ว่าไพรเมอร์ มีศกั ยภาพในจาแนกเพศ ในอินทผลัมไทย (แม่โ จ้ 36) ดังนัน้ จึงนามาพัฒนาใช้ ร่วมกับคู่ไพรเมอร์ PH01 ทาหน้ าที่เป็ นตัวควบคุมความถูกต้ องของ ปฏิกิริยาพีซีอาร์ ให้ ผลิตภัณฑ์พีซีอาร์ ขนาดประมาณ 430 คู่เบส ในทังเพศผู ้ ้ และเพศเมียทาให้ สามารถจาแนกเพศอินทผลัมได้ ตังแต่ ้ ในระยะต้ นกล้ า ตลอดจนเทคนิคที่ได้ จากการวิจยั ครัง้ นี ้ยังสามารถประหยัดเวลา และใช้ จ่ายได้ มากกว่าวิ ธีที่ใช้ ในปั จจุบนั ที่ปลูกโดยไม่ทราบเพศแน่ชดั คาสาคัญ : อินทผลัมไทย (แม่โจ้ 36), ไพรเมอร์ , เครื่ องหมายดีเอ็นเอ

Abstract Date palm (Phoenix dactylifera L.) is one of the most economically important fruit crops, cultivated in many regions of Thailand. However, date palms take 5–8 years after planting to flowering, the earliest stage at which male and female trees can be clearly distinguished. Therefore, in this research, we have attempted to identify sex (male and female) of the Thai date palm cultivar Maejo 36 during the seedling stage by using a DNA marker technique. Among 18 primers (random and specific primers) used to identify sex of Maejo#36 based on the PCR technique, one pairs of primers, PH02F-PH03R, could generate PCR-products with the length approximately 320 bp in male (but not female) date palm trees. Therefore, develop combined with primer PH01, is an accurate control of the reaction PCR, could generate PCR-products with the length approximately 430 bp respective in both male and female. This result indicated that these primers could be potentially used for rapidly distinguishing date-palm sex from both male and female plant in seedling stage. Therefore, this technique would be helpful for saving time and cost more than present conventional plantation. Keywords : Thai Date palm (Phoenix dactylifera L.) cv. Maejo 36, Primers, DNA marker

1

ภาควิชาวิทยาศาสตร์ การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 65000 สานักงานโครงการอนุรักษ์ พนั ธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี สวนจิตรลดา ถ.ราชวิถี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10303 3 สถานวิจยั เพื่อความเป็ นเลิศทางวิชาการด้ านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวคณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก 65000 2

68

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา อินทผลัม (Phoenix dactylifera L.) เป็ นไม้ ผลที่มีความสาคัญในเขตภูมิอากาศแบบแห้ งแล้ งถูกนามาใช้ เป็ นอาหาร ก่อสร้ างที่อยู่อาศัย เครื่ องมือเครื่ องใช้ และใช้ ในพิธี กรรมทางศาสนา (Al-Mahmoud et al., 2012) อินทผลัมเป็ นไม้ ยืนต้ นที่มี อายุหลายปี จัดอยู่ในกลุม่ พืชที่มีดอกแบบไม่สมบูรณ์เพศแบบ dioecious มีโครโมโซมแบบดิพลอยด์ (2n=36) มีการเพาะปลูก จานวนมากในทวีปแอฟริ กาเหนือ เอเชียใต้ อเมริ กา และออสเตรเลีย (Dhawan et al., 2013) ในประเทศไทยมีการพัฒนาสาย พันธุ์อินทผลัมลูกผสมพันธุ์แม้ โจ้ 36 หรื อ KL1 โดยนายศักดิ์ ลาจวน พัฒนาสายพันธุ์มาจากพันธุ์ Deglet Nour (Israel) และ Barhi (Jordan) ปรับตัวเข้ ากับสภาพแวดล้ อมของประเทศไทยได้ เป็ นอย่างดี ให้ ผลผลิตเมื่ออายุ 2-3 ปี ในขณะที่พันธุ์ ต่างประเทศใช้ เวลาประมาณ 7 ปี เมื่อผลแก่ 80-85% สามารถรับประทานสดได้ มีรสหวาน กรอบ มัน ติดฝาดเล็กน้ อย มีเนื ้อ หนา เมล็ดเล็ก หากผลสุกมากกว่า 90% จะมีรสหวานชุ่มคอ (คมชัดลึกออนไลน์ , 24 พฤศจิกายน 2552) การขยายพันธุ์ด้วย เมล็ดที่ได้ จากการผสมข้ ามระหว่างเพศผู้และเพศเมียที่แยกกั นอยู่คนละต้ น (Ainsworth et al., 1998) ข้ อดีคือง่ายและได้ ต้น จานวนมาก แต่มีปัญหาที่สาคัญคือ ประชากรรุ่ นลูกที่ได้ มีทงต้ ั ้ นเพศผู้และเพศเมียอย่างละ 50 เปอร์ เซ็นต์ (Bonga, 1982; Venkataramaiah et al., 1980; Chand and Singh, 2004; Masmoudi-Allouche et al., 2011) ซึง่ ไม่สามารถจาแนกต้ นเพศผู้ และเพศเมียได้ โดยพิจารณาจากลักษณะทางสัณฐานวิทยาในระยะต้ นกล้ า แต่สามารถจาแนกเพศได้ ในระยะที่มีการออกดอก ต้ องใช้ ระยะเวลานาน (5-10 ปี ขึ ้นอยู่กบั สายพันธุ์) (Elmeer and Mattat, 2012) จากการสืบค้ นข้ อมูลพบว่า เครื่ องหมาย โมเลกุลสามารถใช้ จาแนกความแตกต่างระหว่างอินทผลัมเพศผู้และเพศเมียได้ ตัง้ แต่ระยะต้ นกล้ า แต่พบว่าเครื่ องหมาย โมเลกุลไม่สามารถใช้ งานให้ ครอบคลุมอินทผลัมทุกสายพันธุ์ได้ (Al-Mahmoud et al., 2012) เช่น RAPD marker (ชนิด A10, A12 และ D10) สามารถใช้ จาแนกเพศในอินทผลัมสายพันธุ์ Bertamoda, Malakabi และ Dajna (Younis et al., 2008) หรื อ Microsatellite primers (P06) สามารถจาแนกเพศอินทผลัมสายพันธุ์ Deglet Nour (Masmoudi-Allouche et al., 2011) นอกจากนี ้ยังพบว่า RAPD marker (ชนิด OPA-02) และ SCAR marker (dpF) สามารถจาแนกเพศอินทผลัมสายพันธุ์ Hillawi, Zaidi, Khadrawy, Zaglool, Shamran , Egypt และ Medjool ได้ (Dhawan et al., 2013) การกาหนดเพศในอินทผลัมเกิดจาก โครโมโซม XX/XY โดยเพศผู้มีลกั ษณะเป็ น heterogametic sex ส่งผลให้ เกิดความแตกต่างระหว่างอัลลีล (allele) เพศผู้กบั เพศ เมีย ความแตกต่างนี ้สามารถใช้ พฒ ั นาเป็ นเครื่ องหมายดีเอ็นเอ เพื่อตรวจสอบและจาแนกเพศอินทผลัมได้ ทงเพศผู ั้ ้ และเพศเมีย ตังแต่ ้ ในระยะต้ นกล้ าได้ (Al-Mahmoud et al., 2012) ดังนันผู ้ ้ วิจยั จึงได้ ทาการศึกษาวิจยั และพัฒนาเทคนิคเครื่ องหมายดีเอ็น เอ โดยใช้ พืน้ ฐานของเทคนิคพีซีอาร์ (PCR) ออกแบบไพรเมอร์ (primer) ที่ทาให้ เกิดโพลีมอร์ ฟิซึม (polymorphisms) เพื่อ จาแนกเพศอินทผลัมไทยสายพันธุ์แม่โจ้ 36 ซึง่ ได้ รับความนิยมปลูกกันมากในปั จจุบนั

อุปกรณ์ และวิธีการ ตัวอย่ างพืช เก็บตัวอย่างใบอ่อนอินทผลัมเพศผู้และเพศเมียจากต้ นที่ทราบเพศแน่ชดั แล้ ว เพื่อใช้ เป็ นตัวอย่างชุดควบคุมความ ถูกต้ องแม่นยาของปฏิกิริยาพีซีอาร์ จากสวนบ้ านไร่อินทผลัม ตาบลลิ่นถิ่น อาเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี การสกัดจี โนมิ กดีเอ็นเอ และ การทาปฏิ กิริยาพีซีอาร์ (PCR amplification) สกัดจีโนมิกดีเอ็นเอ (genomic DNA) จากใบอ่อนอินทผลัมด้ วยชุดสกัดดีเอ็นจากพืช NucleoSpin® Plant II DNA form Plant (Macherey-Nagel GebH& Co. KG) จากนัน้ ตรวจสอบปริ มาณและคุณภาพดีเอ็นเอโดยวิธี gel electrophoresis ใน agarose gel 0.8% ให้ กระแสไฟฟ้า 100 โวลต์ ผ่านสารละลาย 1X TBE buffer (89 mM Tris base, 89 mM Boric acid, 2 mM EDTA, pH 8.0) เปรี ยบเทียบแถบจีโนมิกดีเอ็นเอตัวอย่างพืชกับ standard uncut lambda DNA (Fermentas, USA) จากนันปรั ้ บความเข้ มข้ นประมาณ 50 ng/μL ด้ วย TE buffer และเก็บที่อณ ุ หภูมิ –20°C ระหว่างรอการดาเนินการทดลองใน ขันตอนต่ ้ อไป ปฏิกิริยาพีซีอาร์ ใช้ ไพรเมอร์ ทงหมด ั้ 18 ไพรเมอร์ (ไม่ได้ แสดง) ในการจาแนกเพศอินทผลัม เตรี ยมปฏิกิริยาพีซี อาร์ ปริ มาตรทังหมด ้ 25μL ประกอบด้ วย (1) จีโนมิกดีเอ็นเอจากพืชปริ มาตร 1 μL (2) ไพรเมอร์ ความเข้ มข้ น 5 pmol ปริ มาตร ™ 1 μL (3) One PCR Plus (GeneDirex, Las Vegas, Nevada, USA) ปริ มาตร 22 μL และ (4) น ้ากลัน่ ที่นึ่งฆ่าเชื่อแล้ วให้ ครบ ปริ มาตร 25 μL จากนันตั ้ งสภาวะปฏิ ้ กิริยา (PCR condition) ดังนี ้ 94°C เวลา 2 นาที, ตังค่ ้ าจานวน 35 รอบ; 94°C เวลา 30 วินาที, Tm - 5°C เวลา 30 วินาที, 72°C เวลา 1 นาที และสุดท้ าย 72°C เวลา 5 นาที จานวน 1 รอบ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

69


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การพัฒนาเครื่ องหมายดีเอ็นเอ คัดเลือกเครื่ องหมายดีเอ็นที่มีประสิทธิภาพ ดังนี ้ (1) ไพรเมอร์ ที่สามารถสร้ างผลผลิตพีซีอาร์ (PCR product) ที่ให้ แถบดีเอ็นเอปรากฏทังในเพศผู ้ ้ และเพศเมีย (monomorphic band) อย่างชัดเจน ไพรเมอร์ ค่นู ี ้ จะถูกใช้ เป็ นตัวควบคุมความ ถูกต้ องและประเมินความสมบูรณ์ ของปฏิ กิริยาพีซีอาร์ หรื อใช้ เป็ น positive control แถบดีเอ็นเอจะต้ องมีขนาดใหญ่กว่า polymorphic band ประมาณ 100-200 คูเ่ บส (2) ไพรเมอร์ คทู่ ี่ 2 จะต้ องสามารถสร้ างผลผลิตพีซีอาร์ ที่ทาให้ เกิดความแตกต่าง ระหว่างเพศผู้และเพศเมีย (polymorphic band) หรื อ สามารถสร้ างผลผลิตพีซีอาร์ เฉพาะในเพศผู้หรื อเพศเมียเท่านัน้ นาไพร เมอร์ ที่คดั เลือกมาใช้ รวมกันใน 1 ปฏิกิริยาพีซีอาร์ (1 reaction : tetra-primers) ความแตกต่างระหว่างเพศผู้และเพศเมียที่ เกิดขึ ้น จะสังเกตได้ จากจานวนแถบดีเอ็นเอที่เกิดขึ ้น โดยจะพบว่า เพศใดเพศหนึ่งจะปรากฏแถบดีเอ็น 2 แถบ และอีกเพศที่ เหลือจะปรากฏแถบดีเอ็นเอ 1 แถบ (เช่น เพศผู้ปรากฏแถบดีเอ็นเอ 2 แถบ และเพศเมียปรากฏแถบดีเอ็นเอ 1 แถบ) การวิเคราะห์ ข้อมูล ตรวจสอบผลปฏิกิริยาพีซีอาร์ ทงหมด ั้ โดยวิธี gel electrophoresis ใน agarose gels (1.5% w/v) ที่เติม RedSafe™ (iNtRONBioteechnology, Gyeonggi-do, Korea) 1µL/100 mL วิเคราะห์และบันทึกรูปภาพด้ วยเครื่ อง SmartView Pro 1200 Image System (Major Science Co., Ltd. Wugu Dist., New Taipei, Taiwan) สังเกตลักษณะความแตกต่างของแถบดีเอ็นเอ ระหว่างเพศผู้และเพศเมีย (ปรากฏแถบดีเอ็นเอ / ไม่ปรากฏแถบดี เอ็นเอ) คัดเลือกไพรเมอร์ ที่น่าสนใจ น าไปพัฒนาให้ มี ประสิทธิภาพสูงขึ ้นต่อไป

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการทดลองจาแนกเพศอินทผลัมด้ วยไพรเมอร์ ทงหมด ั้ 18 ไพรเมอร์ พบว่าทาให้ เกิดรูปแบบแถบดีเอ็นเอที่แตกต่าง ออกไป ไพรเมอร์ สว่ นใหญ่ไม่ทาให้ เกิดแตกต่างกันระหว่างเพศ มีเพียงไพรเมอร์ PH02F และ PH03R ที่ให้ ผลผลิตพีซีอาร์ ที่มี ความจาเพาะกับเพศผู้ (male-specific fragment) มีขนาดประมาณ 320 คู่เบส แต่ไม่ปรากฏในเพศเมีย (Figure 1) ในขณะที่ ไพรเมอร์ อื่น ๆ ให้ ผลผลิตพีซีอาร์ ที่ไม่มีความแตกต่างกันระหว่างเพศผู้และเพศเมียดังนัน้ จึงคัดเลือกไพรเมอร์ PH02F และ PH03R และคัดเลือกไพรเมอร์ คู่ PH01 ที่ให้ ผลผลิตพีซีอาร์ เพื่อใช้ เป็ นแบบ monomorphic band ใช้ เป็ น positive control ใน เครื่ องหมายดีเอ็นเอแบบ co-dominant markers ที่สามารถตรวจสอบจาแนกเพศอินทผลัมได้ ทงเพศผู ั้ ้ และเพศเมีย

Figure 1 PCR profiles of male and female date palm genotypes generated using primer PH02F and PH03R. Lanes Male (1–5) individual male genotypes, Lanes Female (1–5) individual female genotypes and Lanes M represents 1Kp DNA ladder, used as a marker.

70

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การพัฒนาเครื่ องหมายดีเอ็นเอ คัดเลือกไพรเมอร์ มีความสามารถในการตรวจสอบจาแนกเพศอินทผลัม จานวน 2 คู่ ได้ แก่ (1) PH01F+PH01R และ (2) PH02F+PH03R (Table 1) ใช้ ไพรเมอร์ ที่ถกู คัดเลือกร่วมกันในหนึ่งปฏิกิริยาพีซีอาร์ (tetra primers) ไพรเมอร์ ค่ทู ี่ 1 จะสร้ าง ผลผลิตพีซีอาร์ ที่มีขนาดประมาณ 430 คู่เบส ทังเพศผู ้ ้ และเพศเมีย ในขณะที่ไพรเมอร์ ค่ทู ี่ 2 จะสร้ างผลผลิตพีซีอาร์ ที่มีขนาด ประมาณ 320 คู่เบส ในเฉพาะเพศผู้เท่านัน้ เมื่อตรวจสอบโดยวิธี gel electrophoresis จะพบว่า ในตัวอย่างเพศผู้จะปรากฏ แถบดีเอ็นเอจานวน 2 แถบ (320 คู่เบส และ 430 คู่เบส) และในตัวอย่างเพศเมียจะปรากฏแถบดีเอ็นเอเพียง 1 แถบ (430 คู่ เบส) (Figure 2) Table 1 Name, sequences and References of primers. Name Sequences PH01F GCATTAGCACCATAGTAAATTGT PH01R GTCCCAATCAGAGTGCACTCAA PH02F GCAATAGCACCATAGTAAATTGCCT PH03R CTAACTTGGTGCACGGATCTCA

References Al-Mahmoud et al., (2012) -

Figure 2 PCR results on seven males and seven females, female samples show the expected single-band pattern with the male samples showing the expected two-band pattern. Lanes Male (1–7); individual male genotypes, Lanes Female (8–14); individual female genotypes, Lane M; represents 100bp DNA ladder used as a marker and Lane N; N negative control without genomic DNA. ปั จจุบนั ยังไม่มีวิธีการที่น่าเชื่อถือในจาแนกเพศอินทผลัมจากลักษณะภายนอกในระยะต้ นกล้ า อีกทังยั ้ งไม่มีข้อมูล ของโครโมโซม และข้ อมูลพื ้นฐานทางพันธุกรรมที่ใช้ ระบุเพศอินทผลัมอย่างชัดเจน เทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุลได้ ถกู นามาใช้ ใน การจาแนกลักษณะทางจีโนไทป์ ของอินทผลัมเพศผู้และเพศเมีย ซึง่ นับว่าเป็ นวิธีการที่รวดเร็วและเชื่อถือได้ โดยไม่ต้องรอให้ ถึง ระยะออกดอก มีเครื่ องหมายโมเลกุลจานวนไม่มากที่ใช้ จาแนกเพศพืชในกลุม่ dioecious (Dhawan et al., 2013) เช่นเดียวกับ Actinidia deliciosa (Shirkot et al., 2002), Calamus simplicifolius (Yang et al., 2005), Carica papaya (Gangopadhyay et al., 2007). ในอินทผลัมมีเครื่ องหมายโมเลกุลที่มีความสัมพันธ์กบั การกาหนดเพศ Al-Mahmoud et al. (2012) มีรายงานว่า เครื่ องหมายโมเลกุลสามารถใช้ กบั อินทผลัมได้ บางสายพันธุ์ และจากการทดลองพบว่า RAPD primers; OPA-02 (Dhawan et al., 2013) D10 และ A12 (Younis et al.,2008) ISSR primers; NB10 (Younis et al.,2008) SCAR primers (Dhawan et al., 2013) ไม่สามารถใช้ จาแนกเพศอินทผลัมสายพันธุ์ไทย (แม่โจ้ 36) รายงานนี ้ได้ นาเสนอเครื่ องหมาย การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

71


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

โมเลกุลที่สามารถจาแนกเพศอินทผลัมไทย ที่เ กิดจากลูกผสมระหว่างพันธุ์ Deglet Nour (Israel) กับ Barhi (Jordan) ซึง่ ทาให้ เกิดลักษณะของลูกผสมที่มีลักษณะทัง้ ลูกทรงกลม และรี ยาวคล้ ายพันธุ์พ่อและแม่ เครื่ องหมายโมเลกุลที่ได้ ก็ยังสามารถ จาแนกเพศอินทผลัมลูกผสมที่มีความแปรปรวนในสายพันธุ์ได้ ตงแต่ ั ้ ระยะต้ นกล้ า ข้ อดีของอินทผลัมสายพันธุ์ไทยที่ถกู พัฒนา สายพันธุ์ขึ ้นในประเทศไทย คือ สามารถปรับตัวเข้ ากับสภาพแวดล้ อมได้ เป็ นอย่างดี เจริญเติบโตไว และเป็ นพันธุ์ที่ให้ ผลผลิตได้ เร็ว (early cultivar) ประมาณ 2-3 ปี (คมชัดลึกออนไลน์ , 24 พฤศจิกายน 2552) ผลการทดลอง แสดงให้ เห็นว่าเครื่ องหมายดี เอ็นเอสามารถแยกความแตกต่างระหว่างเพศได้ อย่างชัดเจน ผลการทดลองให้ ผลที่สอดคล้ องกับงานวิจยั ของ Al-Mahmoud et al (2012) ซึง่ เป็ นการใช้ เทคนิคชนิดเดียวกันในการจาแนกเพศอินทผลัม โดยได้ ในงานวิจยั นี ้ได้ นาไพรเมอร์ มาพัฒนาเพิ่มเติมให้ มีความเหมาะสมสามารถใช้ ได้ กับอินทผลัมไทย (ซึ่งแต่เดิมไม่สามารถใช้ จาแนกเพศได้ ) นับเป็ นความสาเร็จในก้ าวแรกในการ จาแนกเพศอินทผลัมโดยใช้ เครื่ องหมายดีเอ็นเอในประเทศไทย การปลูกอินทผลัมในประเทศไทยปั จจุบนั ยังใช้ ต้นกล้ าจากการเพาะเมล็ดที่ไม่ทราบเพศ จึงไม่สามารถจัดอัตราส่วน ระหว่างเพศผู้ต่อเพศเมียอย่างเป็ นระบบ ในอนาคตอันใกล้ นี ้ควรมีการวางแผนการปลูกอย่างเป็ นระบบ โดยปลูกต้ นกล้ าเพศ เมียเป็ นหลักเพื่อให้ ได้ ผลิตผลจานวนมาก และปลูกต้ นเพศผู้ไว้ บางส่วนเพื่อใช้ ผสมเกสร หากมีการจัดอัตราส่วนที่เหมาะสมจะ ทาให้ เกษตรกรสามารถลดต้ นทุนการผลิต เช่น ค่าจ้ างแรงงาน สารป้ องกันกาจัดแมลง สารกาจัดวัชพืช สารป้องกันกาจัดโรค และสารปรับปรุงสภาพดิน เป็ นต้ น ค่าใช้ จ่ายจะเพิ่มขึ ้นอย่างมหาศาลหากขาดการวางแผนที่ดี ดังนัน้ การเลือกต้ นพันธุ์ที่ทราบ เพศที่ชดั เจนจะทาให้ เกษตรกรสามารถจัดอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างอินทผลัมเพศผู้จานวน 1 แถว ต่อ เพศเมียจานวน 10 แถว (1:10) หรื อให้ ปลูกต้ นเพศผู้ประมาณ 8 – 10% ของทังหมด ้ (Dhawan et al., 2013) เนื่องจากอินทผลัมเพศเมียเท่านันที ้ ่ ติดลูกได้ ต้ นตัวผู้ที่มากเกินความจาเป็ นจะทาให้ สิ ้นเปลืองค่าใช้ จ่าย

สรุ ปผลการทดลอง จากการศึกษาวิจยั และพัฒนาเทคนิคเครื่ องหมายดี เอ็นเอเพื่อใช้ ในการจาแนกเพศอินทผลัมไทย เครื่ องหมายดีเอ็นเอ ที่นามาใช้ ได้ ดี คือ PH01 (F: GCATTAGCACCATAGTAAATTGT, R: GTCCCAATCAGAGTGCACTCAA) ใช้ เป็ นตัว ควบคุมความถูกต้ องของปฏิกิริยาพีซีอาร์ ให้ ผลผลิตพีซีอาร์ ขนาดประมาณ 430 คู่เบส ในเพศผู้และเพศเมีย และ PH02 (F: GCAATAGCACCATAGTAAATTGCCT) PH03 (R: CTAACTTGGTGCACGGATCTCA) ให้ ผลิตผลิตพีซีอาร์ ขนาดประมาณ 320 คู่เบส เฉพาะเพศผู้เท่านัน้ จึงสามารถจาแนกความแตกต่างระหว่างแถบดีเอ็นเอที่เกิดขึ ้นได้ อย่างชัดเจน คือ ในเพศผู้ ปรากฏแถบดีเอ็นเอจานวน 2 แถบ แต่ในเพศเมียปรากฏแถบดีเอ็นเอจานวน 1 แถบ เท่านัน้

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณโครงการพัฒนานักวิจยั และงานวิจยั เพื่ออุตสาหกรรม สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั ที่ให้ การ สนับสนุนโครงการ การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อและการจาแนกเพศอินทผลัมไทย (แม่โจ้ 36) โดยใช้ เครื่ องหมายดีเอ็นเอ และ คุณสุรภา ชิตไธสง บริษัท สาม ส.อิมปอร์ ต เอ็กซ์ปอร์ ต อินเตอร์ เนชัน่ แนล จากัด ที่ให้ ทนุ สนับสนุนการวิจยั

เอกสารอ้ างอิง คมชัดลึกออนไลน์. 24 พฤศจิกายน 2552. เกษตร: เกษตรยุคใหม่. แหล่งที่มา (Available Source) : http://www.komchadluek. net/detail/20091124/38474/แม่โจ้ 36มหัศจรรย์อินทผลัมไทยขึ ้นทุกที่2ปี ออกผลเน้ นกินผลสด.html,13 มีนาคม 2558. Al-Mahmoud M.E., E.K. Al-Dous., E.K. Al-Azwani and J.A. Malek. 2012. DNA-based assays to distinguish date palm (Arecaceae) gender. American Journal of Botany 99(1): e7–e10. Bonga J.M. (1982). Clonal propagation of mature trees: problems and possible solutions. in Bonga J.M. and D.J. Durzan, Editors, Tissue culture in forestry. Dordrecht, Martinus Nijhoff Publishers, Boston, Massachusetts 1: 249-271. Chand S. and A.J. Singh (2004). In vitro shoot regeneration from cotyledonary node explants of a multipurpose leguminous tree, Pterocarpus marsupium roxb. In Vitro Cellular & Developmental Biology. Plant 40: 167-170. Dhawan C., P. Kharb., R. Sharma., S. Uppal and R.K. Aggarwal. 2013. Development of male-specific SCAR marker in date palm (Phoenix dactylifera L.). Tree Genetic and Genome 9:1143-1150. Elmeer K and Mattat I. (2012). Marker-assisted sex differentiation in date palm using simple sequence repeats. 3 Biotech: DOI 10.1007/s13205-012-0052-x.

72

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Gangopadhyay G., S.K. Roy., G. Kaushik., R. Poddar ., T. Bandyopadhyay., D. Basu and K.K. Mukherjee. 2007. Sex detection of Carica papaya and Cycus circinalis in pre-flowering stage by ISSR and RAPD.CurrSci 92:524–526. Masmoudi-Allouche F., R. Gargouri-Bouzid., W. Kriaâ., M.N. Saïdi., H. Jamoussi., Y. Abdelkefi and N. Drira. (2011). Investigation of genetic variability related to the in vitro floral hermaphrodism induction in Date palm (Phoenix dactylifera L.). African Journal of Biotechnology 10(52):10567-10574. Shirkot P., D.R. Sharma and T. Mohapatra. 2002. Molecular identification of sex in Actinidia deliciosa var. deliciosa by RAPD markers. SciHortic 94:33–39. Venkataramaiah V., S.V. Prasad., R.G. Rajeswara., P.M. Swamy. (1980). Levels of phenolic acids in Pterocarpus santalinus L. INDIAN J. EXP. BIOL 18: 887-889. Yang H., G. Si-Ming ., Y. Huang-Tian and X. Huang-Can. 2005. Identification of random amplified polymorphic DNA markers linked to sex determination in Calamus simplicifolius. J Integr Plant Biol47:1249–1253. Younis R.A.A., O.M. Ismail and S.S. Soliman. 2008. Identification of sex-specific DNA markers for date palm (Phoenix dactylifera L.) using RAPD and ISSR techniques. Research Journal of Agriculture and Biological Sciences 4(4): 278-284.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

73


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การชักนาให้ เกิดแคลลัสจากการเพาะเลีย้ งชิน้ ส่ วนลาต้ นในสภาพปลอดเชือ้ ของข้ าวเย็นเหนือ (Smilax corbularia Kunth.) Callus Induction from In Vitro Culture tem Segment of Khao-Yen-Nuea (Smilax corbularia Kunth.) ปพิชญา ขวานทอง1 เยาวพา จิระเกียรติกุล1* และภาณุมาศ ฤทธิไชย1 Papichaya Kwanthong1 Yaowapha Jirakiattikul1* and Panumart Rithichai1

บทคัดย่ อ ข้ าวเย็นเหนือ (Smilax corbularia Kunth.) เป็ นพืชสมุนไพรที่ใช้ รักษาโรคมะเร็ง และเอดส์ การเพิ่มสาร ทุติยภูมิใน การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อนิยมใช้ แคลลัส เป็ นชิ ้นส่วนที่นามาศึกษา แต่ยงั ไม่มีรายงานถึงการชักนาให้ เกิดแคลลัส ในข้ าวเย็นเหนือ การทดลองนี จ้ ึ ง มี วัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ ศึก ษาผลของออกซิ น ร่ ว มหรื อ ไม่ ร่ ว มกับ น า้ มะพร้ าวต่ อ การชัก น าให้ เ กิ ด แคลลัส ใน ข้ าวเย็นเหนือ โดยทาการเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนลาต้ นบนอาหารสูตร MS ที่เติม 2,4-D ความเข้ มข้ น 0 – 4 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่ วม หรื อไม่ร่วมกับน ้ามะพร้ าว 15% เป็ นเวลา 8 สัปดาห์ วางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design มี 12 สิ่ง ทดลอง จากการทดลองพบว่า อาหารสูตร MS ที่เติม 2,4-D ความเข้ มข้ น 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่ วมกับน ้ามะพร้ าว 15% สามารถชักนาให้ การเกิดแคลลัสได้ สงู สุด 70% แต่ขนาด น ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ งของแคลลัสไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ คาสาคัญ : ข้ าวเย็นเหนือ, Smilax corbularia, แคลลัส, 2,4-D, น ้ามะพร้ าว

Abstract Khao-Yen-Nuea (Smilax corbularia Kunth.) is a medicinal plant which is used for the treatment of cancer and AIDS. Callus has been reported to use as an explant for secondary metabolite production in many plant species. However, callus induction has not yet been studied in Khao-Yen-Nuea. Therefore, the objective of this experiment was to investigate the effects of auxin with or without coconut water on callus induction of Khao-YenNuea. Stem segments of Khao-Yen-Nuea were cultured on MS medium supplemented with 0 – 4 mg/l 2,4-D with or without 15% coconut water for 8 weeks. The experiment arranged in completely randomized design with 12 treatments. It was found that the highest percentage (70%) of callus formation was obtained on MS medium supplemented with 2 mg/l 2,4-D and 15% coconut water. However, size, fresh weight and dry weight of callus were not significantly different among the treatments. Keywords : Khao-Yen-Nuea, Smilax corbularia, callus, 2,4-D, coconut water

1

ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ปทุมธานี 12120 Department of Agricultural Technology, Faculty of Science and Technology, Thammasat University, Pathumthani 12120 * Corresponding author: yjirakia@tu.ac.th 74

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ข้ าวเย็นเหนือ (Smilax corbularia Kunth.) เป็ นไม้ เถาเลื ้อย มีเหง้ าหรื อหัวใต้ ดิน มีสรรพคุณในการรักษาอาการ น ้าเหลืองเสีย กามโรค โรคผิวหนัง โรคมะเร็ง ใช้ ลดอาการไข้ แก้ อกั เสบ รวมถึงช่วยเพิ่มภูมิค้ มุ กันในผู้ป่วยเอชไอวี (เพ็ญนภา และคณะ, 2545; สุรางค์ และคณะ, 2553; Ruangnoo et al., 2012) จากสรรพคุณข้ างต้ น ทาให้ ความต้ องการพืช ดังกล่าวเพิ่มสูงขึ ้น มีการรายงานแล้ วว่าพืชสมุนไพรชนิดนี ้สามารถเพิ่มจานวนต้ นได้ ด้วยการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ (เยาวพา และ อรุณพร, 2555) ในปั จจุบนั มีการศึกษาการผลิตสารทุติยภูมิ (secondary metabolites) จากพืชสมุนไพรในสภาพควบคุมของ ห้ อ งปฏิ บัติ ก ารเพิ่ ม มากขึน้ เนื่ อ งจากสามารถผลิ ต ได้ อ ย่า งต่อ เนื่ อ งและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ง รู ป แบบในการเพาะเลี ย้ งใน ห้ องปฏิบตั ิการนันแตกต่ ้ างกันไป โดยการเพาะเลี ้ยงแคลลัสเป็ นหนึ่งในหลายรูปแบบของการเพาะเลี ้ยงที่นิย มนามาศึกษาเพื่อ เพิ่มปริ มาณสารทุติยภูมิ (วราภรณ์ , 2551) การชักนาแคลลัสจากชิ ้นส่วนพืชนันต้ ้ องอาศัยสูตรอาหารเพาะเลี ้ยงที่เหมาะสม ซึ่ง ส่วนใหญ่ขึ ้นอยูก่ บั สมดุลของออกซินและไซโตไคนิน ทังภายในเนื ้ ้อเยื่อพืช และที่เติมในอาหารเพาะเลี ้ยง (รังสฤษดิ์, 2540) โดย ออกซินที่นิยมใช้ ในอาหารเพาะเลี ้ยงได้ แก่ IAA (indole-3-acetic acid), IBA (indole-3-butyric acid), NAA (α-naphthalene acetic acid) และ 2,4-D (2,4-dichlorophenoxy acetic acid) ส่วนไซโตไคนินได้ แก่ BAP (6-benzylamino purine), kinetin (6-furfurylamino purine) หรื อสารจาพวกไซโตไคนินที่ได้ จากธรรมชาติ เช่น น ้ามะพร้ าว (บุญยืน , 2547) โดยมีรายงานการใช้ นา้ มะพร้ าวในการชักนาแคลลัสร่ วมกับสารควบคุมการเจริ ญเติบโตอื่นๆ แล้ วในพืชลายชนิด เช่น ในการชักนาแคลลัสจาก ชิ ้นส่วน meristem tip ของมันเทศ (Ipomoea batatas L.) พบว่า การเติมน ้ามะพร้ าว 100 มิลลิลิตรต่อลิตร ลงในอาหาร เพาะเลี ้ยงชักนาให้ เกิดแคลลัสสูงที่สดุ (Michael, 2011) และ Baskaran et al. (2005) รายงานว่าอาหารสูตร MS เติม 2,4-D ร่วมกับน ้ามะพร้ าว 10% (v/v) สามารถชักนาแคลลัสจากชิ ้นส่วนลาต้ นของข้ าวฟ่ าง (Sorghum bicolor) พันธุ์ NSH27 ได้ ดี ที่สดุ เมื่อเปรี ยบเทียบกับสูตรอาหารที่เติม NAA IAA และ IBA ร่วมกับน ้ามะพร้ าว พืชในสกุล Smilax ได้ มีรายงานการชักนา แคลลัสบ้ างแล้ ว เช่น Jha et al. (1987) รายงานว่าแคลลัสของ S. zeylanica L. มีการพัฒนาที่ดี และแคลลัสพัฒนาเป็ นยอดได้ ภายใน 8 สัปดาห์ เมื่อเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนลาต้ นบนอาหารสูตร MS เติม kinetin ความเข้ มข้ น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ความเข้ มข้ น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร 2,4-D ความเข้ มข้ น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร และ IBA ความเข้ มข้ น 2.5 มิลลิกรัมต่อลิตร นอกจากนี ้ ใน S. glabra Roxb. พบว่า ชิ ้นส่วนลาต้ นพัฒนาเป็ นแคลลัสได้ ดีบนอาหารสูตร MS เติม 2,4-D ความเข้ มข้ น 1.0 มิลลิกรัมต่อ ลิตร ในขณะที่ชิ ้นส่วนใบไม่พฒ ั นาไปเป็ นแคลลัส (อณุชิดา, 2555) อย่างไรก็ตามยังไม่มีการศึกษาการชักนาให้ เกิดแคลลัสใน ข้ าวเย็นเหนือ ดังนันในการทดลองครั ้ ง้ นี ้จึงได้ ศกึ ษาผลของ 2,4-D ความเข้ มข้ นต่างๆ ร่วมหรื อไม่ร่วมกับน ้ามะพร้ าวต่อการเกิด แคลลัสของข้ าวเย็นเหนือในสภาพปลอดเชื ้อ

อุปกรณ์ และวิธีการ นายอดข้ าวเย็นเหนือที่พฒ ั นาในสภาพปลอดเชื ้อ (Figure 1 A) มาตัดใบออกใช้ เฉพาะส่วนของลาต้ น ตัดให้ มีความ ยาว 0.5 เซนติเมตร จากนันน ้ าชิ ้นส่วนดังกล่าวมาเพาะเลี ้ยงบนอาหารโดยวางแนวนอน อาหารที่ใช้ ในการเพาะเลี ้ยงคือ อาหาร สูตร MS (Murashige and Skoog, 1962) ที่เติม 2,4-D ความเข้ มข้ น 0, 0.5, 1.0, 2.0, 3.0 และ 4.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วม หรื อไม่ร่วมกับน ้ามะพร้ าว 15 % รวม 12 สูตรอาหาร แต่ละสูตรมี 10 ซ ้า แต่ละซ ้ามี 2 ขวด และแต่ละขวดมี 1 ชิ ้น วางแผนการ ทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ทาการเพาะเลี ้ยงที่ห้องควบคุมอุณหภูมิ 25 ± 2 องศาเซลเซียส ในที่ มืด เป็ นเวลา 8 สัปดาห์ บันทึกการเกิดแคลลัส (%) ขนาดของแคลลัส (มิลลิเมตร) โดยวัดจากส่วนที่กว้ างที่สดุ น ้าหนักสด และ น ้าหนักแห้ งของแคลลัส (มิลลิกรัม) และระยะเวลาในการเกิดแคลลัส (สัปดาห์)

ผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง จากการชักนาให้ ชิ ้นส่วนลาต้ นพัฒนาไปเป็ นแคลลัสของข้ าวเย็นเหนือบนอาหารสูตร MS ที่เติม 2,4-D ความเข้ มข้ น 0-4 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมหรื อไม่ร่วมกับน ้ามะพร้ าว 15% พบว่าเปอร์ เซ็นต์การเกิดแคลลัสมีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง ทางสถิติระหว่างสูตรอาหาร (Table 1) โดยอาหารสูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโต หรื อเติมเพียงน ้ามะพร้ าว 15% ไม่สามารถชักนาให้ ชิ ้นส่วนลาต้ นของข้ าวเย็นเหนือพัฒนาไปเป็ นแคลลัสได้ แต่หากเติม 2,4-D เพียงอย่างเดียว หรื อร่วมกับน ้า มะพร้ าว พบว่าสามารถชักนาให้ ชิ ้นส่วนลาต้ นของข้ าวเย็นเหนือเกิดแคลลัสได้ แสดงให้ เห็นว่า 2,4-D ซึ่งเป็ นสารควบคุมการ เจริญเติบโตในกลุม่ ออกซินมีความจาเป็ นต่อการเกิดแคลลัสจากชิ ้นส่วนลาต้ นของข้ าวเย็นเหนือ สารควบคุมการเจริ ญเติบโตใน กลุ่มออกซินนีม้ ีบทบาทในการเร่ งการเจริ ญเติบโตกระตุ้นการแบ่งเซลล์ และการขยายตัวของเซลล์ (George et al., 2008) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

75


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อย่างไรก็ตาม เมื่อเติมน ้ามะพร้ าว 15% ร่วมกับ 2,4-D ความเข้ มข้ น 1-4 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่าสามารถชักนาเกิดแคลลัสได้ ดีกว่าอาหารเพาะเลี ้ยงที่เติม 2,4-D เพียงอย่างเดียว (Table 1) โดยอาหารสูตร MS ที่เติม 2,4-D ความเข้ มข้ น 2 มิลลิกรัมต่อ ลิตร ร่ วมกับน ้ามะพร้ าว 15% ให้ แคลลัสสูงสุด 70.00 % ทังนี ้ ้เนื่องจากน ้ามะพร้ าวประกอบด้ วยแร่ ธาตุ และสารประกอบ อินทรี ย์หลายชนิดที่จาเป็ นต่อการพัฒนาของพืช เช่น แมกนีเซียม ซัลเฟต และกรดอะมิโน นอกจากนี ้ยังมีองค์ ประกอบของสาร จาพวกไซโตไคนินจากธรรมชาติชนิดหนึ่งที่มีคณ ุ สมบัติในการส่งเสริ มการแบ่ง และการขยายตัวของเซลล์ (บุญยืน, 2547; วรา ภรณ์, 2553; Souza et al., 2013) อย่างไรก็ตามอาหารเพาะเลี ้ยงที่มีความเข้ มข้ นของ 2,4-D สูงเกินไป (3 และ 4 มิลลิกรัม ต่อลิตร) มีผลทาให้ การตอบสนองของชิ ้นส่วนในการเกิดแคลลัสลดลง โดย Baker and Wetzstein (2004) รายงานว่าความ เข้ มข้ นของออกซินที่สงู เกินไป จะทาให้ ประสิทธิภาพการทางานของกระบวนการเมทาบอลิซึมในเนือ้ เยื่อลดลงอย่างมาก จึง ส่งผลต่อกระบวนการเพิ่มจานวนของเซลล์ นอกจากนี ้ความเข้ มข้ นที่มากเกิน ไปยังกระตุ้นการสังเคราะห์เอทิลีน (ethylene) ซึง่ มีผลยับยังการเจริ ้ ญเติบโต เร่งการเสื่อมสภาพของเซลล์ และทาให้ เซลล์พืชตายในที่สดุ (Eliasson et al., 1989; Gaspar et al., 1996) จากการทดลองนี ้พบว่า แคลลัสที่พฒ ั นาบนอาหารเพาะเลี ้ยงมีลกั ษณะเป็ น friable มีสีขาวอมเหลือง และมีการพัฒนา ของแคลลัสบริ เวณข้ างใดข้ างหนึ่ง หรื อปลายทัง้ 2 ข้ าง หรื อตรงกลางของชิ ้นส่วน (Figure 1 B-D) ส่วนขนาด น ้าหนักสด และ น ้าหนักแห้ งของแคลลัส และระยะเวลาในการเกิดแคลลัส พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติระหว่างสูตรอาหาร โดยแคลลัส ที่พฒ ั นามีขนาดตังแต่ ้ 2.81 – 4.41 มิลลิเมตร มีน ้าหนักสดของแคลลัส 9.17 - 21.71 มิลลิกรัม น ้าหนักแห้ งของแคลลัส 1.61 – 4.84 มิลลิกรัม และมีการพัฒนาของแคลลัสในช่วงสัปดาห์ที่ 6 – 8 (Table 1) อย่างไรก็ตาม ชิ ้นส่วนลาต้ นของข้ าวเย็นเหนือมี เปอร์ เซ็นต์การเกิดแคลลัสค่อนข้ างต่า และแคลลัสที่ พฒ ั นามีขนาดเล็ก ทังนี ้ ้เนื่องจากชิน้ ส่วนพืช และสูตรอาหารที่ใช้ ในการ เพาะเลี ้ยงอาจจะยังไม่เหมาะสม ดังนันจึ ้ งควรศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนอื่นของพืช เช่น ใบ ราก และ /หรื อ เติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโตในกลุ่มออกซินชนิดอื่นๆ ในอาหารเพาะเลี ้ยงด้ วย เช่น IAA, IBA หรื อ NAA ดังเช่นที่ได้ มี รายงานการชักนาให้ เกิดแคลลัสในพืชสกุล Smilax บางชนิด เช่น Padmavathy (2014) ศึกษาการชักนาให้ เกิดแคลลัสจาก ชิ ้นส่วนใบของ S. wightii พบว่าแคลลัสมีการพัฒนามากที่สดุ 84% เมื่อเพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร MS ที่เติม 2,4-D ความ เข้ มข้ น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ NAA ความเข้ มข้ น 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ในขณะที่ Soon and Ju (2008) รายงานว่าการ พัฒนาของแคลลัสจากชิ ้นส่วนใบของ S. china L. พบมากที่สดุ 57.8% บนอาหารสูตร MS ที่เติม kinetin ความเข้ มข้ น 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร และ NAA ความเข้ มข้ น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร Table1 Callus development after stem segments of Khao-Yen-Nuea (Smilax corbularia Kunth.) were cultured on MS medium supplemented with 0–4 mg/l 2,4-D and 0 or 15% coconut water for 8 weeks. 2,4-D Coconut water Callus induction Callus size Callus fresh Callus dry Callus induction (mg/l) (%) (%) (mm) weight (mg) weight (mg) time (weeks) 0 0 bc1/ 0.5 0 40.00 3.35 14.70 2.18 6.83 cde 1 0 20.00 3.30 11.07 2.30 6.86 de 2 0 15.00 3.67 15.07 2.50 6.76 de 3 0 15.00 3.47 16.20 2.80 6.29 e 4 0 5.00 3.00 15.40 2.40 7.71 0 15 e 0.5 15 5.00 4.00 17.80 3.40 6.43 b 1 15 45.00 4.41 20.09 3.24 6.43 a 2 15 70.00 2.81 9.17 1.62 6.53 bcd 3 15 35.00 3.25 21.75 4.84 6.54 bcd 4 15 30.00 3.42 9.80 2.13 6.72 F-test ** ns ns ns ns 1/ ** significantly different at P ≤ 0.01; ns : non- significantly different Mean values in the column followed by the same letter are not significantly different according to DMRT. 76

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

A

B

C

D

Figure 1 A: Khao-Yen-Nuea shoots devoloped in vtro, B, C and D: callus formation at one side, both sides and the middle of stem segment, respectively.

สรุ ปผลการทดลอง อาหารเพาะเลี ้ยงสูตร MS ที่เติม 2,4-D ความเข้ มข้ น 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับน ้ามะพร้ าว 15% สามารถส่งเสริ มการ เกิดแคลลัสจากชิ ้นส่วนลาต้ นของข้ าวเย็นเหนือ (Smilax corbularia Kunth.) ได้ ดีที่สดุ

กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั นี ้ได้ รับการสนับสนุนจากโครงการมหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

เอกสารอ้ างอิง บุญยืน กิจวิจารณ์. 2547. เทคโนโลยีการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืชเพื่อพัฒนาพันธุ์พืช. โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา, ขอนแก่น.168 หน้ า. เพ็ญนภา ทรัพย์เจริ ญ นิจศิริ เรื องรังสี และ กัจนา ดีวิเศษ. 2545. สมุนไพรในอุทยานแห่งชาติภาคกลาง. องค์การรับส่งสินค้ าและพัสดุภณ ั ฑ์, กรุงเทพ. 164 หน้ า. เยาวพา จิระเกียรติกลุ และ อรุณพร อิฐรัตน์. 2555. การขยายพันธุ์หวั ข้ าวเย็นในสภาพปลอดเชื ้อและปริ มาณสารสาคัญในเนื ้อเยื่อ. รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์. สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติประจาปี 2553. รังสฤษดิ์ กาวีต๊ะ. 2540. การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืช หลักการและเทคนิค. ภาควิชาพืชไร่นา. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. 219 หน้ า. วราภรณ์ ฉุยฉาย. 2553. สารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืช. คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์,นครสวรรค์. 147 หน้ า. วราภรณ์ ภูตะลุน. 2551. การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืชสมุนไพร แนวทางการศึกษาเพื่อผลิตสารทุติยภูมิที่มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา. ขอนแก่นพิมพ์พฒ ั นา, ขอนแก่น. 120 หน้ า. สุรางค์ เธียรหิรัญ ธานี พันแสง นพพร ตังจิ ้ ตต์งาม วีรณา สมพีร์วงศ์ สุทธิลกั ษณ์ โรจนานุกลู สิริกานต์ พันธุ์สาย และ กรรณิการ์ เอียดรา. 2553. คูม่ ือ การเรี ยนรู้ด้วยตนเองของชุมชนด้ านความหลากหลายทางชีวภาพด้ านพืช. ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย,กรุงเทพฯ. 37 หน้ า. อณุชิดา ทศพร. 2555. การชักนาให้ เกิดแคลลัสและฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระของหัวข้ าวเย็น (Smilax glabra Roxb.). ปั ญหาพิเศษปริ ญญาตรี . ภาควิชา เทคโนโลยีการเกษตร. คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , ปทุมธานี.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

77


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Baker, C. M. and H. Y. Wetzstein. 2004. Influence of auxin type and concentration on peanut somatic embryogenesis. Plant Cell Tiss. Org. Cult. 36: 361-368. Baskaran, P., B. Raja Rajeswari and N. Jayabalan. 2005. A simple approach to improve plant regeneration from callus culture of Sorghum bicolor for crop improvement. Journal of Agricultural Technology 1 (1): 179-192. Eliasson, L., G. Bertell and E. Bolander. 1989. Inhibitory action of auxin on root elongation not mediated by ethylene. Plant Physiol. 91: 310-314. Gaspar, T., C. Kevers, C. Penel, H. Greppin, D. M. Reid and T. A. Thorpe. 1996. Plant growth hormones and plant growth regulators in plant tissue culture. In Vitro Cell Dev. Pl. 32: 272-289. George, E. F., M. A. Hall and G. D. Klerk. 2008. Plant Propagation by Tissue Culture. Springer, Dordrecht. 502 p. Jha, S., J. S. Gupta and S. Sen. 1987. Tissue culture of smilax zeylanica L. Acta Hortic. 208: 273-297. Murashige, T. and F. Skoog. 1962. A revised medium for rapid growth and bioassays with tobacco tissue cultures. Physiol. Plant. 15: 473-497. Michael, P. S. 2011. Effects of coconut water on callus initiation and plant regeneration potentials of sweet potato. Journal and Proceedings of the Royal Society of New South Wales. 144: 91-101. Padmavathy, S. 2014. Callus production studies in Strobianthus foliosus and Smilax wightii. International Journal of Innovative Drug Discovery. 4: 41-45. Ruangnoo S., N. Jaiaree, S. Makchuchit, S. Panthong, P.Thongdeeying and A. Itharat. 2012. An in vitro inhibitory effect on RAW 264.7 cells by anti-inflammatory compounds from Smilax corbularia Kunth. Asian Pac. J. Allergy Immuno.30: 268-274. Soon, T. K. and L. A. Ju. 2008. Adventitious root culture and in vitro production of dioscin from Smilax china L. Korean J. Plant Res. 21: 444-448. SouzaI, R. A. V., F. T. Braga, T. A. Setotaw, J. V. Neto, P. H. Azevedo, V. H. Azevedo and G. M. A. Cançado. 2013. Effect of coconut water on growth of olive embryos cultured in vitro. Cienc. Rural. 43: 290-296.

78

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การคัดเลือกแคลลัสแอบเปิ ้ ลทนแล้ งในหลอดทดลองและการทดสอบความแปรปรวน ด้ วยเครื่องหมาย Sequence-related amplified polymorphism (SRAP) In Vitro Selection of Apple Callus for Drought Tolerance and Detection of Variation by Sequence-related amplified polymorphism marker (SRAP) Titnarong Heng1และ ปั ทมา ศรีนา้ เงิน1 Titnarong Heng1 and Pattama Srinamngoen1

บทคัดย่ อ แอปเปิ ล้ (Malus domestica) เป็ นไม้ ผลเมืองหนาว และไม่นานนี ้เริ่ มการปลูกแอปเปิ ล้ เป็ นการค้ าในประเทศไทย โดย มีการปลูกกันมากบริ เวณที่ราบสูงดอยอ่าง จึงได้ ทดลองชักนาแคลลัสจากใบของแอบเปิ ล้ สายพันธุ์ Granny Smith ในอาหาร แข็งสูตร MS ที่เติม 2,4-D เข้ มข้ น 2.5mg/L ร่วมกับ BAP เข้ มข้ น 0.5mg/L และคัดเลือกแคลลัสทนแล้ งด้ วยการนาไปเลี ้ยงใน อาหารเหลวสูตรเดิมที่เติม Polyethylene glycol (PEG) 6000 ความเข้ มข้ น 6 ระดับคือ 0 2 4 8 12 และ 20% เป็ นระยะเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าที่ระดับความเข้ มข้ น 0 2 4 และ 8% ให้ น ้าหนักสดแคลลัสเพิ่มขึ ้น ในขณะที่ระดับความเข้ มข้ น 12 และ 20% แคลลัสไม่มีการเจริ ญเติบโต เมื่อทาการย้ อมสีแคลลัสด้ วยสาร Trypan blue พบว่า เซลล์ของแคลลัสที่ได้ รับ PEG ความเข้ มข้ น 0% มีชีวิตรอดมากที่สดุ และที่ระดับความเข้ มข้ น PEG 6000 ที่ 20% มีอตั ราการรอดชีวิตต่าที่สดุ เมื่อทาศึกษาความแปรปรวน ทางพันธุกรรมของแคลลัสทนแล้ งด้ วยเทคนิค Sequence-related Amplified Polymorphism (SRAP) พบว่าแถบดีเอ็นเอที่ เกิดขึน้ ของแต่ละความเข้ มข้ น ของ PEG มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน ดังนัน้ การคัดเลือกแอปเปิ ล้ ทนแล้ งโดยใช้ การ เพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อจึงเป็ นเทคนิคหนึ่งที่ประสิทธิภาพ และเพิ่มโอกาสในการพัฒนาสายพันธุ์แอปเปิ ล้ ทนแล้ งเพื่อปลูกในประเทศ ไทยได้ คาสาคัญ: แอปเปิ ล้ การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ การคัดเลือกทนแล้ ง เครื่ องหมาย SRAP โพลีเอทธิลีนไกลโคล

Abstract Apple (Malus domestica) is a temperate fruit crop. Recently, the apple has been planted in Thailand as a commercial in flat area of high land at Doi Ang Khang. In this experiment, callus of apple, var. Granny Smith was induced culturing its leaf on solidifid MS medium containing 2.5mg/L 2, 4-D and 0.5mg/L BAP. For selection of drought tolerance, the callus were cultured on liquidfied medium with the same ingredient supplemented with PEG 6000 at different concentrations of 0 2 4 8 12 and 20% for 4 weeks. The result showed that callus fresh weight obtained from 0 2 4 and 8% of PEG600 containing medium increased while the other concentrations didn’t grow. The trypan blue dying was investigated to detect the cell viability. The result revealed that callus in 0% PEG 6000 had the highest survival rate and the lowest survival rate was 20%. Genetic variability of the putative callus tolerated to drought was detected using Sequence-related Amplified Polymorphism (SRAP) marker. As a result, different concentrations of PEG gave different profiles of DNA pattern. Thus, screening drought tolerance of apple through tissue culture is an effective technique for improving the apple’s varieties that could grow in Thailand widely. Keywords: Apple, in vitro culture, drought tolerance, SRAP marker, PEG

1

สาขาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตจันทบุรี จ.จันทบุรี 22170

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

79


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

บทนา แอปเปิ ล้ (Malus domestica) เป็ นพืชที่อยู่ในสกุล Rosaceae เป็ นไม้ ผลชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกในเขตหนาว เป็ นไม้ ผล ประเภทผลัดใบ มีแหล่งกาเนิดในทวีปยุโรป แหล่งปลูกที่สาคัญของโลก คือ ทวีปอเมริ กา จีน ญี่ ปนและนิ ุ่ วซีแลนด์ แอปเปิ ล้ เป็ น ผลไม้ ที่คนไทยทัว่ ไปนิยมบริโภคมานาน ในปั จจุปัน ประเทศไทยมีการสัง่ นาเข้ าแอปเปิ ล้ เข้ ามาขายจานวนมาก ทาให้ มีสายพันธุ์ ของแอปเปิ ล้ จานวนมากเข้ าสู่ตลาดการค้ าของไทย ด้ วยเหตุนี ้ ทาให้ เริ่ มมีการปลูกแอปเปิ ล้ เป็ นการค้ า ในประเทศไทยขึ ้นโดย พืน้ ที่ปลูกส่วนใหญ่ อยู่ในภาคเหนือของประเทศแถบดอยอ่างขาง เนื่องจากประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีภูมิอากาศร้ อนชื น้ ในขณะที่แอปเปิ ล้ เป็ นพืชที่ต้องการอุณหภูมิเย็นประมาณ 16-25 °C อย่างต่อเนื่อง ดังนันพื ้ ้นที่ส่วนใหญ่ในประเทศไทยจึงไม่ เหมาะกับการปลูก จึงทาให้ การขยายพื ้นที่ ปลูกแอปเปิ ล้ เป็ นไปได้ ช้า กอร์ ปกับ การขาดแคลนน ้าในช่วงฤดูร้อน จึงเป็ นปั ญหา หลักต่อการปลูกและออกดอกของแอปเปิ ล้ ด้ วย การปรับปรุ งพันธุ์พืชทนแล้ งมีบทบาทสาคัญต่อการปลูกพืชในประเทศไทยมา ช้ านาน และพืชที่ผา่ นการปรับปรุงและนามาใช้ เป็ นพันธุ์ทนแล้ งมีมากมาย เช่น ข้ าว และมันสาปะหลัง เป็ นต้ น ลักษณะการทนแล้ งในพืช เป็ นลักษณะที่มีคณ ุ ค่าทางเศรษฐกิจ แต่เป็ นลักษณะที่ปรับปรุงยาก เนื่องจากเป็ นลักษณะ ที่มีความซับซ้ อน และควบคุมด้ วยกลุม่ ยีนหลายตาแหน่ง David et al. (1988) ได้ ทาการศึกษาสูตรอาหารที่ชกั นาให้ เกิด ยอดจากการนาใบ และเส้ นกลางใบของต้ นแอปเปิ ล้ จากผลเห็นว่าอาหาร MS (Murashige and Skoog, 1962) ที่มีสว่ นของ ฮอร์ โมน BA ความเข้ มข้ น 2mg/L และ NAA ความเข้ มข้ น 0.5mg/L สามารถชักนาให้ เกิดยอดได้ ดีที่สดุ นอกจากนี ้ Ji-Hong et al. (2006) ประสบความสาเร็จในการชักนาผลอ่อนของแอปเปิ ล้ ให้ เกิดแคลลัสบนอาหาร MS ร่วมกับ 2,4-D ความเข้ มข้ น 4.5 µM และ BAP ความเข้ มข้ น 1µM ในการชักนาให้ พืชทนแล้ ง รงรอง และคณะ (2553) ได้ นาแคลลัสของอ้ อย 5 พันธุ์ ได้ แก่ พันธุ์กพส.00 -105, กพส.01-1-25, กพส.00 -148, กพส.94-13 และกพส.98-005 มาเลี ้ยงในอาหารที่ใส่ PEG 6000 จานวน 4 ระดับคือ ความเข้ มข้ น 0 10 15 และ 20% พบว่า แคลลัสของอ้ อยสามารถทนทานได้ ใน PEG 6000 ความเข้ มข้ น15% ในขณะ ที่ PEG 6000 ความเข้ มข้ น 20% แคลลัสตายในอ้ อยทุกพันธุ์ Danial et al.(2014) ได้ ทาการศึกษาการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อเพื่อ การทนแล้ งในแอปเปิ ล้ พบว่า ต้ นแอปเปิ ล้ มีการเจริ ญเติบโตลดลงอย่างมีนยั สาคัญเมื่อมีการเติมสาร PEG 6000 ความเข้ มข้ น 2% ขึน้ ไปลงในอาหารเพาะเลี ้ยงเมื่อเปรี ยบเทียบกับอัตราการเจริ ญของต้ นแอปเปิ ล้ ที่เพาะเลี ้ยงในอาหารที่ไม่เติมสาร PEG 6000 เครื่ องหมายโมเลกุลทางพันธุกรรม หมายถึง ลักษณะหรื อตัวบ่งชี ้ที่มีความเฉพาะเจาะจง สามารถนามาใช้ แยกความ แตกต่างทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตได้ และมีการนามาประยุกต์ใช้ ในงานปรับปรุงพันธุ์พืชกันอย่างต่อเนื่อง (สุรีพร, 2546) เช่น เครื่ องหมายโมเลกุล Amplified Fragment Length Polymorphism (AFLP) (Vos et al., 1995); Simple Sequence Repeats (SSR) (Akkaya et al., 1992) และ Sequence-related amplified polymorphism marker (SRAP) (Li and Quiros, 2001) โดย SRAP เป็ นเทคนิคที่พฒ ั นามาเพื่อใช้ ในการศึกษาการทาแผนที่ยีนและ gene tagging ใน Brassica นอกจากนี ้ SRAP สามารถนามาประยุกต์ใช้ ในการศึกษาอื่น ๆ เช่น ความหลากหลายทางพันธุกรรม เช่น การวิเคราะห์ความหลากหลายของ ประชากรเห็ด Ganoderma (Shu-Jing et al., 2005) การหาตาแหน่งยีนที่สนใจ เช่น การทาแผนที่ยีน Gene tagging รวมไป ถึงการศึกษาทางด้ าน transcriptome และจากการที่ไพรเมอร์ ของ SRAP ทางด้ าน forward/reverse มีตาแหน่งเข้ าจับบริ เวณ CCGG /AATT ที่อยู่ระหว่าง coding และ non coding ดังนันจึ ้ งมีโอกาสหรื อความเป็ นได้ ที่จะสามารถตรวจพบยีนที่กาลัง แสดงออกได้ (Que et al., 2012) ดังนัน้ ในการศึกษาครัง้ นี ้ จึงมีวตั ถุประสงค์คดั เลือกแคลลัสแอปเปิ ล้ ที่ทนแล้ ง โดยเพาะเลี ้ยงชิ ้นส่วนใบอ่อนในอาหาร คัดเลือกเติม PEG 6000 ความเข้ มข้ นต่างกัน และทาการตรวจสอบอัตราการรอดชีวิตของเซลล์ ในแคลลัสหลังเพาะเลี ้ยงใน อาหารคัดเลือก รวมทังศึ ้ กษาความแปรปรวนระดับพันธุกรรมของแคลลัสที่ทนทานต่อ PEG ความเข้ มข้ นต่างๆ โดยการใช้ เครื่ องหมาย SRAP เนื่องจากเครื่ องหมาย SRAP เป็ นการตรวจสอบบริ เวณ CCGG ในจีโนม ดังนันจึ ้ งมีแนวโน้ มที่จะสามารถ ตรวจพบการแสดงออกของยีนบางชนิดที่แสดงออกในระยะเวลานัน้ ๆ (Li and Quiros, 2001)

80

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการ 1. การชักนา และคัดเลือกแคลลัสแอปเปิ ้ ลทนแล้ ง นาใบอ่อนของแอปเปิ ล้ สายพันธุ์ Granny Smith ที่ได้ จากต้ นเพาะเมล็ดอายุ 2 เดือนที่ปลูกในเรื อนเพาะชา มาฟอก ฆ่าเชื ้อ โดยจุ่มในแอลกอฮอล์ ความเข้ มข้ น 75% เป็ นเวลา 45 วินาที และสาร Clorox ความเข้ มข้ น 15% เป็ นเวลา 15 นาที ล้ างด้ วยนา้ สะอาดที่นึ่งฆ่าเชือ้ แล้ วจานวน 3 ครัง้ ทาการตัดแผ่นใบแอปเปิ ล้ โดยไม่ให้ ติดเส้ นกลางใบให้ มีขนาด 1 x 1 เซนติเมตร และชักนาให้ เกิดแคลลัสในอาหารMS เติม 2,4-Dichlorophenoxyacetic acid (2,4-D) ความเข้ มข้ น 2.5 mg/L 6Benzylaminopurine (BAP) ความเข้ มข้ น 0.5 mg/L และน ้าตาลซูโครสความเข้ มข้ น 3% ปรับ pH ของอาหารเป็ น 5.7 เพาะเลี ้ยงในห้ องที่ควบคุมอุณหภูมิ 25 ºC โดยให้ แสง 16 ชัว่ โมงสลับกับมืด 8 ชัว่ โมง มีความเข้ มแสง1,000 ลักซ์ (Ji et al., 2014) เป็ นเวลานาน 4 สัปดาห์ หลังจากทาการชักนาให้ เกิดแคลลัสได้ แล้ ว นาแคลลัสที่มีอายุ 4 เดือน ทาการคัดเลือกแคลลัสที่มีรูปร่างเป็ นก้ อน ซึง่ เป็ น compact callus และมีน ้าหนักประมาณ 200 มิลลิกรัมต่อก้ อน ย้ ายลงในอาหารคัดเลือกที่เป็ นอาหารเหลวสูตรเดิมที่ใช้ ชกั นาแคลลัส และเติมสาร PEG 6000ความเข้ มข้ นแตกต่างกัน 6 ระดับ คือ 0 2 4 8 12 และ 20% โดยมีทงหมด ั้ 6 กรรมวิธี และ วางเลี ้ยงบนเครื่ องเขย่าแบบหมุนวนที่ความเร็ว 150 รอบต่อนาที เป็ นระยะเวลา 4 สัปดาห์ บันทึกผลการทดลอง โดยการสังเกต การเปลี่ยนแปลงของแคลลัส และชัง่ น ้าหนักสดของแคสสัสเมื่อสิ ้นสุดการทดลอง ทาการเปรี ยบเทียบความแตกต่างของข้ อมูล ทางสถิติด้วยโปรแกรม IBM SPSS Statistics 22 2. การตรวจสอบการรอดชีวติ ของเซลล์ แคลลัส เมื่อทาการเลีย้ งในอาหารคัดเลือกครบ 4 สัปดาห์ ทาการตรวจสอบการรอดชีวิตของเซลล์ โดยการย้ อมสีด้วยสาร Trypan blue ทาการสุม่ ตัดแบ่งแคลลัสที่เพาะเลี ้ยงในอาหารเติม PEG แต่ละความเข้ มข้ น เป็ นชิ ้นเล็กและบาง นาไปบ่มใน สารละลาย Trypan blue ความเข้ มข้ น 0.5% นาน 2-5 นาที แล้ วนามาตรวจสอบความมีชีวิตของเซลล์ภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์ ที่ กาลังขยาย 400 เท่า 3. การตรวจสอบความแปรปรวนของแคลลัสแอปเปิ ้ ลภายหลังการคัดเลือก ทาการสกัดดีเอ็นเอของแคลลัสแอปเปิ ล้ โดยดัดแปลงจากวิธีการของ Doyle and Doyle (1990) โดยการบดให้ ละเอียดใน Extraction buffer (3%CTAB, 50mM Tris HCl, 25mM EDTA, 1.4mM NaCl, 2%PVP) ผสมให้ เข้ ากัน นาไปบ่มที่ อุณหภูมิ 65 ºC เป็ นเวลา 30 นาที แยกโปรตีนที่เสียสภาพโดยใช้ Chloroform: Isoamyl 24:1 นาส่วนใสที่ได้ มาตกตะกอนดีเอ็น เอด้ วย NaCl ความเข้ มข้ น 5M ปริ มาตร 0.2 เท่าและ Isopropanol ปริ มาตร 0.6 เท่า ของส่วนใส ละลายตะกอนดีเอ็นเอด้ วย dH2O ปริ มาตร 20 µL ตรวจสอบคุณภาพและปริ มาณของดีเอ็นเอที่สกัดได้ ด้วยเครื่ อง UV spectrophotometer และ agarose electrophoresis ที่ความเข้ มข้ น 1% เทียบกับความเข้ มข้ นของดีเอ็นเอมาตรฐาน λDNA marker (ThermoFisher Scientific) และเก็บที่ -20 ºC จนกว่าจะใช้ งานในขันตอนถั ้ ดไป นาดีเอ็นเอต้ นแบบที่สกัดได้ ความเข้ มข้ น 25 ng/µL ปริ มาตร 1 µL มาทา PCR-SRAP ในสารละลายรวม ปริ มาตร 10 µL ประกอบด้ วย 10x buffer ปริ มาตร 1 µL Primer Forward และ Primer Reverse ความเข้ มข้ น 5 µM ปริ มาตร 0.5 µL MgCl2 ความเข้ มข้ น 25 µM ปริ มาตร 0.8 µL dNTP ความเข้ มข้ น 1 mM ปริ มาตร 1 µL เอนไซม์ Taq DNA Polymerase (5 U/µL) ปริ มาตร 0.2 µL (ThermoFisher Scientific) และ dH2O ปริ มาตร 5 µL (Li and Quiros, 2001) และทาการแยกขนาด ของแถบดีเอ็นเอด้ วย nature polyacrylamide gel electrophoresis ความเข้ มข้ น 5% โดยใช้ ไพรเมอร์ SRAP ทังหมด ้ 16 คู่ (Table 1) แถบดีเอ็นเอที่สนใจโดยให้ ความแตกต่างในแต่ละระดับความเข้ มข้ นของอาหารคัดเลือก จะถูกตัดออกมาจากเจลและ เพิ่มปริ มาณอีกครัง้ ด้ วยเทคนิค PCR และทาให้ บริ สทุ ธิ์ด้วย Nucleo®Spin Gel and PCR Clean-up kit (MACHEREYNAGEL) จากนันน ้ าดีเอ็นเอที่ได้ ไปวิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์ที่บริ ษัท 1 st BASE Laboratories Sdn Bhd (ประเทศมาเลเซีย) เปรี ยบเทียบความเหมือนของลาดับนิวคลีโอไทด์ที่ได้ กบั ฐานข้ อมูลใน GenBank ด้ วยโปรแกรม BLASTX

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

81


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Primer sequences used for SRAP analysis No. 1

Primer pair em2/me2

2

em12/me2

3

em1/me2

4

em15/me2

5

em3/me2

6

em4/me4

7

em12/me4

8

em5/me3

Forward/Reverse primer GACTGCGTACGAATTTGC/ TGAGTCCAAACCGGAGC GACACCGTACGAATTTGC/ TGAGTCCAAACCGGAGC GACTGCGTACGAATTAAT/ TGAGTCCAAACCGGAGC CGCACGTCCGTAATTAAC/ TGAGTCCAAACCGGAGC GACTGCGTACGAATTGAC/ TGAGTCCAAACCGGAGC GACTGCGTACGAATTTGA/ TGAGTCCAAACCGGACC GACACCGTACGAATTTGC/ TGAGTCCAAACCGGACC GACTGCGTACGAATTAAC/ TGAGTCCAAACCGGAAT

No. 9

Primer pair em7/me3

10

em13/me5

11

em13/me2

12

em13/me1

13

em6/me5

14

em6/me2

15

em6/me1

16

em7/me2

Forward/Reverse Primer GACTGCGTACGAATTCAA/ TGAGTCCAAACCGGAAT GACACCGTACGAATTGAC/ TGAGTCCAAACCGGAAG GACACCGTACGAATTGAC/ TGAGTCCAAACCGGAGC GACACCGTACGAATTGAC/ TGAGTCCAAACCGGATA GACTGCGTACGAATTGCA/ TGAGTCCAAACCGGAAG GACTGCGTACGAATTGCA/ TGAGTCCAAACCGGAAG GACTGCGTACGAATTGCA/ TGAGTCCAAACCGGATA GACTGCGTACGAATTCAA/ TGAGTCCAAACCGGAGC

ผลการทดลอง 1. การชักนา และคัดเลือกแคลลัสแอปเปิ ้ ลทนแล้ ง เมื่อทาการเพาะเลี ้ยงแคลลัสแอปเปิ ล้ ในอาหารคัดเลือกที่เติม PEG 6000 ครบ 4 สัปดาห์แล้ ว จากการชัง่ น ้าหนักสด ของก้ อนแคลลัสในแต่ละระดับความเข้ มข้ นของสาร PEG 6000 และหาค่าเฉลี่ยพบว่า ความเข้ มข้ นของ PEG 6000 2 4 และ 8% ให้ น ้าหนักสดแคลลัส 190.00 152.50 และ 163.33 มิลลิกรัม ตามลาดับ ลดลงแต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (p<0.01) เมื่อเปรี ยบเทียบกับชุดควบคุมที่ไม่เติมสาร PEG ซึง่ ให้ น ้าหนักสดของแคลลัส 240.00 มิลลิกรัม แต่แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญ กับน ้าหนักสดของแคลลัสในอาหารเติม PEG 6000 เข้ มข้ น 12 และ 20% (Table 2) หลังจากย้ ายแคลลัสไปเลี ้ยงในอาหารเหลวคัดเลือกที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ เป็ นระยะเวลา 4 สัปดาห์ พบว่า ที่ PEG 6000 ที่ 0% แคลลัสมีลกั ษณะเป็ นสีขาวครี ม มีการขยายตัวใหญ่ขึ ้น และเซลล์มีการเกาะกันอย่างแน่นหนา (compact callus) ส่วนที่ระดับความเข้ มข้ น PEG 6000 ที่ 2 4 และ 8% แคลลัสมีโครงสร้ างเหมือนกันแต่มีสีเหลืองถึงเหลืองเข้ มในอาหาร เติม PEG 6000 ที่ 8% ส่วนแคลลัสในอาหารเติม PEG 6000 ที่ 12 และ 20% เริ่ มมีสีน ้าตาลปะปน และมีลกั ษณะการหดตัว และนิ่ม นอกจากนี ้เซลล์บางส่วนมีการหลุดออกจากกลุม่ ก้ อนแคลลัส 2.การตรวจสอบการมีชีวติ ของเซลล์ แคลลัส เมื่อทาการย้ อมสีเซลล์ด้วยสาร Trypan blue และส่องด้ วยกล้ องจุลทรรศน์ที่กาลังขยาย 400 เท่า พบว่า ที่ระดับความ เข้ มข้ น PEG 6000 ที่ 0% ซึ่งเป็ นระดับควบคุม องค์ประกอบของเซลล์ในแคลลัสมีขนาดใหญ่ขึ ้นและเซลล์ส่วนใหญ่ มีชีวิต สังเกตได้ จากมีเซลล์ที่ย้อมแล้ วไม่ติดสีฟ้าของสาร Trypan blue เป็ นจานวนมาก รองมาคือที่ระดับความเข้ มข้ นของ PEG 6000 ที่ 2% เริ่ มมีการตายของเซลล์ให้ เห็น สังเกตได้ จากที่เริ่ มมีการติดสีฟ้าของสาร Trypan blue ในขณะที่ระดับความเข้ มข้ นของ สาร PEG 6000 ที่ 4 8 12 และ 20% เซลล์มีขนาดเล็กลงและพบการตายเซลล์มากขึ ้นและมีจานวนเซลล์มีชีวิตลดลง โดย สังเกตจะพบเซลล์ย้อมติดสีฟ้าของสาร Trypan blue จานวนมาก (Figure 1) 82

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Effect of PEG 6000 containing liquidified MS medium supplemented with 2.5 mg/L 2,4-D and 0.5 mg/L BAP for 4 weeks on fresh weight and cell viability of callus of apple cv. Granny Smith PEG 6000 (%) Fresh weight (mg)* 0

24000.a

2

190.00a

4

152.50a

8

163.33a

12

90b

20 F-test

25c 6.841

* Different letters indicate statistically significant differences by DMRT at P = 0.01 3. การตรวจสอบความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแคลลัสแอปเปิ ้ ลภายหลังการคัดเลือก จากการทดลอบความแปรปรวนทางพันธุกรรมของแคลลัสแอปเปิ ล้ ที่ผ่านเพาะเลี ้ยงในอาหารเติม PEG 6000 ที่ระดับ 0 2 4 8 12 และ 20% เป็ นระยะเวลา 4 สัปดาห์ ด้ วยเทคนิค SRAP โดยใช้ ไพรเมอร์ ทงหมด ั้ 16 คู่ พบว่า แคลลัสที่ผ่านการ เพาะเลี ้ยงในอาหารคัดเลือกทัง้ 6 ระดับ ให้ แถบดีเอ็นเอที่แตกต่างกันในหลายตาแหน่ง แสดงว่ามีความแปรปรวนทางพันธุกรรม เกิดขึ ้น (Figure2) และได้ ทาการตัดแถบดีเอ็นเอที่สนใจเพื่อวิเคราะห์ลาดับนิวคลีโอไทด์ด้วยโปรแกรม BLASTX โดยพบว่า ชิ ้น ดีเอ็นเอ AP3_1 ซึง่ มีขนาด 331 คู่เบส ได้ มาจากแคลลัสที่ระดับความเข้ มข้ น PEG 6000 ที่ 12% มีความคล้ ายคลึงอย่างมาก กับยีน zeaxanthin epoxidase มีค่า E value และ identity เท่ากับ 7e-62 และ 97% ตามลาดับ โดยจะพบแถบของชิ ้นดีเอ็นเอ AP3_1 ในทุกระดับความเข้ มข้ นของ PEG 6000 ยกเว้ นที่ระดับควบคุม นอกจากนี ้ยังตรวจพบ NADB_Rossman superfamily ซึง่ เป็ นบริเวณโดเมนอนุรักษ์ (putative conserved domain) อีกด้ วย (Table 3)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

83


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Cell viability in callus of apple cultured in various concentrations of PEG 6000 containing liquidified MS medium supplemented with 2.5mg/L 2,4-D and 0.5mg/L BAP for 4weeks as revealed by staining with 0.5% trypan blue. a. 0% PEG6000 b. 2% PEG6000 c. 4% PEG6000 d. 8% PEG6000 e. 12% PEG6000 f. 20% PEG6000

Figure2 SRAPs amplification of cDNA from various concentrations of PEG 6000 in callus apple for 4 weeks as generated by a) em7/me3 b) em13/me3 c) em13/me2. M= 100 bp plus DNA ladder 1=0% PEG6000 2= 2% PEG6000 3=4% PEG6000 4= 8% PEG6000 5=12% PEG6000 6=20% PEG6000

84

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Homologies of sequences of SRAP fragments of putative tolerant calli of apple cultured in various concentrations of PEG 6000 containing liquidified MS medium supplemented with 2.5 mg/L 2,4-D and 0.5 mg/L BAP for 4 weeks to sequence in database. SRAP Treatment fragments

Accession

Size (bp)

Sequence homology

E value

Identity

Putative conserved domain detected -

AP1

20% PEG XP_008359272.1 158 Malus domestica 6e-08 uncharacterized protein

57%

AP2_2 AP3_1

2%PEG No similarity 149 12%PEG XP_008394040.1 331 Malus domestica 7e-62 zeaxanthin epoxidase, chloroplastic 12%PEG XP_009333752.1 270 Malus domestica 0.001 uncharacterized serinerich protein C215.13like 4%PEG XP_008383112.1 465 Malus domestica 2e-04 uncharacterized protein

97%

NADB_Rossman superfamily

61%

-

66%

-

AP5_2

4%PEG

81%

-

AP5_1

2%PEG

81%

-

AP3_2

AP3_3

XP_008339280.1 172 Malus domestica 1e-19 uncharacterized protein CBL94172.1

173 Malus domestica Putative retrotransposon protein

7e-19

วิจารณ์ ผลการทดลอง จากผลของการคัดเลือกแคลลัส แอปเปิ ล้ ทนแล้ งพบว่า นา้ หนักของแคลลัสมีการลดลงตามลาดับเมื่อนามาเลี ้ยงใน อาหารคัดเลือกที่มีระดับความเข้ มข้ นของสาร PEG 6000 สูงขึ ้น สอดคล้ องกับผลการทดลองของ Danial et al. (2014) ที่ รายงานว่า เมื่อความเข้ มข้ นของสาร PEG 6000 สูงขึ ้น การเจริ ญเติบโตของแคลลัสแอบเปิ ล้ มีการลดลง และ Lawlor (1970) รายงานว่า สาร PEG 6000 มีอิทธิพลในการยับยังการเจริญเติบโตของเซลล์พืช โดยเกี่ยวข้ องกับการลดลงของค่าศักย์ของน ้าซึง่ ส่งผลให้ เซลล์พืชมีการขาดน ้า และจากการตรวจสอบความมีชีวิตรอดของเซลล์ในแคลลัสด้ วยสาร Trypan blue สามารถยืนยัน ได้ ว่า ที่ระดับความเข้ มข้ นของสาร PEG 6000 สูง อัตราการรอดชีวิตของเซลล์ลดลงเป็ นอย่างมาก และเมื่อตรวจสอบความ แปรปรวนทางพันธุกรรมของแคลลัสที่ผ่านการคัดเลือกทนแล้ งด้ วยเทคนิค SRAP พบว่าแถบดีเอ็นเอที่ได้ มีความแตกต่าง (polymorphism) จากระดับควบคุม หรื อระดับความเข้ มข้ นของสาร PEG 6000 ที่ 0% อย่างชัดเจน (Figure 1 และ 2) ซึง่ การ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

85


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เกิดความแตกต่างที่เกิดขึ ้นในแต่ละตัวอย่างเป็ นผลมาจากเซลล์มีการปรับตัวเมื่อได้ รับสภาวะเครี ยดที่เกิดจากการเติมสาร PEG 6000 โดยการการปรับตัวนันก่ ้ อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับโมเลกุล และสามารถตรวจสอบได้ ด้วยเครื่ องหมาย SRAP จากการวิเคราะห์ลาดับนิวคลีไทด์ชองชิ ้นดีเอ็นเอเหล่านันพบว่ ้ า ชิ ้นดีเอ็นเอ AP3_1 ซึง่ ได้ รับมาจากแคลลัสที่ผ่านการ เลี ้ยงในอาหารคัดเลือกที่เติม PEG 6000 ที่ระดับ 12% มีความคล้ ายคลึงกับยีนที่กาหนดการสร้ างเอนไซม์ zeaxanthin epoxidase ในพืชตระกูล Malus domestica จากงานวิจยั ของ Schwarz et al. (2015) พบว่าเอนไซม์ zeaxanthin epoxidase เป็ นเอนไซม์ที่ช่วยกระตุ้นการสร้ างฮอร์ โมน abscisic acid และ xanthophyll ขึ ้น เพื่อตอบสนองต่อสภาวะเครี ยดที่ได้ รับ ซึ่ง สภาวะเครี ยดนีเ้ กิดจากการที่พืชได้ รับสาร PEG 6000 ที่ใส่ลงไปในอาหารคัดเลือก (Jiang and Zhang, 2002) Christoph et al (2015) รายงานว่า เอนไซม์ zeaxanthin epoxidase เป็ นสารตังต้ ้ นที่พบในวงจรของการสังเคราะห์ abscisic acid และยังมีการพบเอนไซม์ตัวนีใ้ นพืชตระกู ล Solanaceae (Thompson et al., 2000) และ Arabidopsis (Iuchi et al., 2001) อีกด้ วย การใช้ สาร PEG 6000 เพื่อชักนาให้ เซลล์พืชเกิดสภาวะแล้ งนัน้ PEG 6000 จะทาการไล่น ้าออก จากเซลล์พืช จากนันจะท ้ าให้ เซลล์มี water potential ต่าลง เซลล์จะแสดงสภาวะขาดน ้าและตายในที่สดุ สอดคล้ องกับ Milborrow (2001) ได้ ค้นพบว่า การที่เซลล์เสียน ้า ทาให้ เซลล์พืชมีการกระตุ้นให้ เซลล์สงั เคราะห์ฮอร์ โมน abscisic acid มาก ขึ ้นจากการทางานของเอนไซม์ zeaxanthin epoxidase โดย abscisic acid ที่ถกู สร้ างขึ ้นนี ้จะไปกระตุ้นให้ เกิดการสังเคราะห์ xanthophyll ซึง่ จะมีผลไปยับยังการสั ้ งเคราะห์แสงในช่วงของ PSII (Ivanov et al., 1995) ทาให้ เซลล์สามารถมีรอดชีวิตใน สภาวะขาดน ้าได้ และในบางครัง้ มีการนาใช้ ฮอร์ โมน abscisic acid มาใช้ ในการคัดเลือกพืชทนแล้ งแทนสาร PEG 6000 ด้ วย (Lu et al., 2009)

สรุ ป ในการทดลองนี ้ ได้ ทาการคัดเลือกแคลลัสแอปเปิ ล้ สายพันธุ์ Granny smith ทนแล้ งในอาหารคัดเลือกที่มีการใส่สาร PEG 6000 พบว่า แคลลัสแอปเปิ ล้ สามารถเจริ ญและทนต่อสารได้ ถึงระดับความเข้ มข้ น 12% แต่มีปริ มาณเซลล์รอดชีวิตลดลง อย่างชัดเจน และสามารถตรวจพบบางส่วนของยีนที่กาหนดการสร้ างเอนไซม์ zeaxanthin epoxidase ขนาด 331 คู่เบส ซึ่ง เอนไซม์ตวั นี ้เป็ นกลไกสาคัญของเซลล์โดยการกระตุ้นให้ สงั เคราะห์ สาร abscisic acid และ xanthophylls ที่ทาให้ เซลล์พืช สามารถอยูร่ อดได้ ในสภาวะเครี ยด เช่น การขาดน ้า เป็ นต้ น

เอกสารอ้ างอิง รงรอง หอมหวล เรวัติ เลิศฤทัยโยธิน รัตนา เอการัมย์ และชัยณรงค์ รัตนกรี ฑากุล. 2553. การคัดเลือกแคลลัสอ้ อยทนแล้ งโดยใช้ สาร polyethyleneglycol ในสภาพปลอดเชื ้อ. การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ครัง้ ที่ 7. หน้ า 1681-1688. สุรีพร เกตุงาม. 2546. เครื่ องหมายดีเอ็นเอในงานปรับปรุงพันธุ์พืช. วารสารวิชาการ ม.อบ. 5(2): 37-58. Akkaya, M.S., A.A. Bhagwat and P.B. Cregan. 1992. Length polymorphisms of simple sequence repeat DNA in soybean. Genetics 132: 1131-1139. Christoph T. K., L. Maletzki, C. Kurowsky and R. Horn. 2015. Network candidate genes in breeding for drought tolerant crops. Int. J. Mol. Sci. 16: 16378-16400. Danial, G.H., D. A. Ibrahim, B.M. Khalil and M.M. Vyan. 2014. In vitro drought tolerant of rootstock apple (Malus domestica Borkh.) and Pear (Pyrus calleryana). Zankoy Sulaimani-Part A.J. 16:109-116. David, J. J., A.J. Passey and E. Rugini. 1988. Factors affecting high frequency plant regeneration from apple leaf tissues cultured in vitro. J Plant Physiol. 69: 148-154. Doyle, J.J. and J.L. Doyle.1990. Isolation of plant DNA from fresh tissue. Focus. 12: 13-15. Iuchi, S., M. Kobayashi, T.Taji, M.Naramoto, M.Seki, T.Kato, S.Tabata, Y.Kakubari, K.S. Yamaguchi and K Shinozaki. 2001. Regulation of drought tolerance by gene manipulation of 9-cis-epoxycarotenoid dioxygenase, a key enzyme in abscisic acid biosynthesis in Arabidopsis. Plant J. 27: 325–333. Ivanov, A.G., M. Krol, D. Maxwell and N.P.A. Huner. 1995. Abscisic acid induced protection against photoinhibition of PSII correlates with enhanced activity of the xanthophyll cycle. FEBS Letters. 371:61-64. Ji, X.H., Y.T. Wang, R. Zhang, S.J. Wu, M.M. An. M. Li, C.Z. Wang, X.L. Chen, Y.M. Zhang and X.S. Chen. 2014. Effect of auxin, cytokines and nitrogen on anthocyanin biosynthesis in callus cultures of red-fleshed apple (Malus sieversii f.niedzwetzkyana). Plant Cell, Tiss. Org. Cult. 120:325-337. Jiang, M., and J. Zhang. 2002. Water stress-induced abscisic acid accumulation triggers the increased generation of reactive oxygen species and up-regulates the activities of antioxidant enzymes in maize leaves. J. Exp. Bot. 53:2401-2410. 86

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Ji-Hong, L., K. Nada., C. Honda., H. Kitashiba, X.P. Wen, X.M. Pang and T. Moriguchi. 2006. Polyamine biosynthesis of apple callus under salt stress: importance of the arginine decarboxylase pathway in stress response. J Exp. Bot. 11: 2589-2599. Lawlor, D.W. 1970. Absorption of polyethylene glycol by plants and their effects on plant growth. New Phytol. 69:501-5013. Li, G., and C. F. Quiros. 2001. Sequence-related amplified polymorphism (SRAP), a new marker system based on a simple PCR reaction: its application to mapping and gene tagging in Brassica. Theor. Appl. Genet. 103:455–461. Lin, Z., Z. Xianlong., N. Yichun., H. Daohua and W. Maoqing. 2003. Construction of a genetic linkage map for cotton based on SRAP. Chinese Science Bulletin. 19: 2064-2068. Lu, S., W. Su, H. Li and Z. Guo. 2009. Abscisic acid improves drought tolerance of triploid bermudagrass and involves H2O2- and NO-induced antioxidant enzyme activities. Plant Physiol Biochem. 49:132-138. Milborrow, B.V. 2001. The pathway of biosynthesis of abscisic acid in vascular plants: a review of the present state of knowledge of ABA biosynthesis. J. Exp. Bot. 359:1145-1164. Murashige, T. and F. Skoog. 1962. A revised medium for rapid growth and bioassays with tobacco cultures. Physiologia Plantarum 15: 473-497. Que, Y., L. Xu, J. Lin, J. Luo, J. Xu, J. Zheng and R. Chen. 2012. cDNA-SRAP and its application in differential gene expression analysis: a case study in Erianthus arundinaceum. J Biomed Biotechnol. ID: 390107. doi:10.1155/2012/390107. Schwarz, N., U. Armbruster, T. Iven, L. Brückle, M. Melzer, I. Feussner and P.Jahns. 2015. Tissue-specific accumulation and Regulation of Zeaxanthin Epoxidase in Arabidopsis Reflect the Multiple Functions of the Enzyme in Plastids. Plant Cell Physiol. 56: 346-357. Shu-Jing, S., W. Gao, S.Q. Lin, J. Zhu, B.G. Xie and Z.B. Lin. 2006. Analysis of genetic diversity in Ganoderma population with a novel molecular marker SRAP. Appl Microbiol Biotechnol. 72: 537–543. Thompson, A.J., A.C. Jackson, R.A. Parker, D.R. Morpeth, A. Burbidge and I.B. Taylor. 2000. Abscisic acid biosynthesis in tomato: Regulation of zeaxanthin epoxidase and 9-cis-epoxycarotenoid dioxygenase mRNAs by light/dark cycles, water stress and abscisic acid. Plant Mol. Biol. 42: 833–845. Vos, P., R. Hogers, M. Bleeker, M. Reijans, T. Van De Lee, M. Hornes, A. Frijters, J. Pot, J. Peleman and M. Kuiper. 1995. AFLP: a new technique for DNA fingerprinting. Nucl. Acids Res. 23 (21): 4407–4414.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

87


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การศึกษาความสัมพันธ์ ของกล้ วยไม้ ท้องถิ่นสกุลกุหลาบด้ วยเทคนิคอาร์ เอพีดี Genetic Relationship of Native Orchid (Aerides sp.) based on Randomly Amplified Polymorphic DNA ราตรี พระนคร1* Ratree Pranakhon1*

บทคัดย่ อ การศึกษานี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของกล้ วยไม้ ท้องถิ่นสกุลกุหลาบ (Aerides sp.) ด้ วยเทคนิคอาร์ เอพีดี (Randomly Amplifiled Polymorphic DNA; RAPD) โดยการสารวจและรวบรวมกล้ วยไม้ ในสกุลกุหลาบในจังหวัด สกลนคร นครพนม มุกดาหารและหนองคายได้ จานวน 7 ตัวอย่าง พบว่าลักษณะภายนอกของกล้ วยไม้ ท้องถิ่นสกุลกุหลาบที่ รวบรวมได้ นี ้มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกัน ยกเว้ นลักษณะดอก ดังนันจึ ้ งใช้ เทคนิคอาร์ เอพีดีในการหาความสัมพันธ์ของกล้ วยไม้ สกุล กุหลาบท้ องถิ่น 7 ตัวอย่างนี ้ เมื่อนาแถบดีเอนเอจานวน 506 แถบที่ได้ จาก 11 ไพรเมอร์ ประกอบด้ วย S7 S8 S18 S36 S38 S39 S60 S61 S82 S83 และ S154 ไปวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม N-TSYSpc2.1 และสร้ างแผนภูมิต้นไม้ เพื่อหาความสัมพันธ์ ของ ตัวอย่างผลการศึกษา พบว่าเทคนิคอาร์ เอพีดีสามารถแยกชนิดและหาความสัมพันธ์ ระหว่างกล้ วยไม้ ท้องถิ่นสกุลกุหลาบทัง้ 7 ตัวอย่างได้ คาสาคัญ : กล้ วยไม้ ท้องถิ่นสกุลกุหลาบ, ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม และเทคนิคอาร์ เอพีดี

Abstract The objective of this study was to investigate the genetic relationship of native orchid (Aerides sp.) based on Randomly Amplifiled Polymorphic DNA (RAPD) analysis. Seven of native Aerides sp. were collected from Sakon Nakhon, Nakhon Phanom, Mukdahan and Nongkhai provinces, Thailand. Morphology of these collected were similar excepted flowers, so the RAPD technique was used to investigate the genetic relationship of them. Total of 506 bands from 11 primers as follows: S7, S8, S18, S36, S38, S39, S60, S61, S82, S83, and S154 were analyzed by N-TSYSpc2.1 and constructed of the phylogenetic tree. The results showed that RAPD technique can be used to identify all of native samples, and phylogenetic tree showed the genetic relationship of all samples. Keywords : Native Aerides sp. orchid, genetic relationship, Randomly Amplified Polymorphic DNA

คานา กล้ วยไม้ เป็ นพืชดอกในวงศ์ Orchidaceae อายุหลายฤดูจาพวกไม่มีเนื ้อไม้ (อบฉันท์, 2545) จัดเป็ นวงศ์ที่ใหญ่ที่สดุ ในกลุ่มของพืช ด้ วยจานวนชนิดที่มากมาย ทาให้ พบความหลากหลายของรู ปร่างลักษณะของราก ต้ น ใบ ดอก ของกล้ วยไม้ ที่ แตกต่างกันออกไป และยังพบว่ากล้ วยไม้ สามารถเจริ ญเติบโตได้ แทบทุกพื ้นที่ ทังบนพื ้ ้นดิน เกาะอยู่ตามโขดหิน หรื อต้ นไม้ ทัว่ โลกมีการสารวจพบกล้ วยไม้ ถึง 19,000 ชนิด แบ่งออกได้ ประมาณ 650 สกุล (สมพงษ์ และไพบูลย์, 2521) ทังในเขตร้ ้ อน อบอุ่น และหนาวเย็น มี 13 สกุล ที่ได้ รับความนิยมปลูกเป็ นไม้ ประดับ คือสกุลกุหลาบ (Aerides) สกุลแมลงปอ (Arachnis) สกุลเข็ม (Ascocentrum) สกุลคัทลียา (Cattleya) สกุลซิมบิเดียม (Cymbidium) สกุลหวาย(Dendrobium) สกุลม้ าวิ่ง (Doritis) สกุลออนซิเดียม (Oncidium) สกุลรองเท้ านารี (Paphiopedilum) สกุลเรแนนเธอรา (Renanthera) สกุลช้ าง (Rhynchostylis) สกุลแวนด้ า (Vanda) และสกุลแวนดอปซิส (Vandopsis) ในประเทศไทยมีรายงานถึงความหลากหลายของกล้ วยไม้ สงู เช่นกัน ดังจากการสารวจนักวิทยาศาสตร์ ชาวไทยร่ วมกับชาวเดนมาร์ ค รายงานว่ามีการตรวจสอบรายชื่อกล้ วยไม้ ป่าที่พบในประเทศ ไทยที่ถกู ต้ องแล้ วจากอดีตถึงปี พ.ศ. 2543 ถึง 177 สกุล โดยจาแนกเป็ น 1,125 ชนิด (ปิ ยะ, 2543) และจากการสารวจกล้ วยไม้ พื ้นเมืองในเขตจังหวัดสกลนคร และจังหวัดใกล้ เคียง พบว่ามีมากถึง 23 สกุล จาแนกเป็ น 47 ชนิด (ราตรี และคณะ, 2542) ใน สภาพธรรมชาติแมลงเป็ นพาหะสาคัญช่วยการผสมเกสรกล้ วยไม้ ข้ามสกุล จึงมีการพัฒนาพันธุ์ใหม่ในธรรมชาติตลอดเวลา 1

Faculty, Natural Resource.University.Rajamangala University of Technology Isan“SakonNakhon Campus” province. SakonNakhon E-mail: ratree.rp@hotmail.com 88

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ดังนันการจั ้ ดกลุ่มความสัมพันธ์ ทางเครื อญาติของกล้ วยไม้ ท้องถิ่น ที่ใช้ เฉพาะลักษณะทางพฤกษศาสตร์ จึงไม่เพียงพอ ต้ องถึง ระดับดีเอนเอ เพื่อให้ สามารถจาแนกความสัมพันธ์ สิ่งมีชีวิต ทัง้ พืชและสัตว์รวมทังกล้ ้ วยไม้ ได้ ชัดเจนขึน้ เทคนิค อาร์ เอพีดี (RAPD) เป็ นวิธีการหาความหลากหลายทางพันธุกรรม โดยอาศัยเทคนิคพีซีอาร์ (PCR: Polymerase chain Reaction) โดย การใช้ ไพเมอร์ ที่เป็ นโอลิโกนิวคลีโอไทด์ (Oligonucleotides) ที่มีลาดับเบสสันๆ ้ เพียง 8-10 คู่เบส (base pair) โดยให้ การจับ สายดีเอ็นเอแบบสุ่ม จะได้ ดีเอ็นเอ (DNA: Deoxyribonucleic acid) ที่เป็ นผลผลิตจากพีซีอาร์ (PCR product) สามารถ นาไปใช้ หาความหลากหลายทางพันธุ ก รรมได้ เทคนิ คนี ท้ าได้ สะดวก รวดเร็ ว จึง เหมาะที่ จะน ามาใช้ ช่ว ยในการจาแนก ความสัมพันธ์ของกล้ วยไม้ ให้ ชดั เจนขึ ้นได้ และใช้ เป็ นข้ อมูลพื ้นฐานที่สาคัญเพื่อการปรับปรุงพันธุ์กล้ วยไม้ และการจดสิทธิบตั ร พันธุ์กล้ วยไม้ ทงลู ั ้ กผสมที่เกิดจากกล้ วยไม้ ป่า รวมถึงการอนุรักษ์ กล้ วยไม้ ป่าของไทยต่อไปในอนาคต

อุปกรณ์ และวิธีการ สารเคมีสาหรับการสกัดดีเอนเอประกอบด้ วย CTAB-Lysis buffer, polyvinylpyrolidone [K90 (Appli Chem)], citric acid monohydrate (MERCK), phenol: chloroform Kit (Thermo Sciencetific), chloroform (BDH), Isoamyl alcohol (Ajax Finechem Pty Ltd.), 2-mercapto ethanol (Sigma-Aldrich), 2-propanol (Schalau) สารเคมีที่ใช้ ทา PCR ประกอบด้ วย 10x buffer, MgCl2, Taq10 mM,dNTP(Vivantis), Primer (Biodesign), bromophenolblue, Xylene, glycerol(Ajax Finechem Pty Ltd.), trisHydrocloride, ethidium bromide, agarose powder(Vivantis), boric acid(MERCK), EDTA disodium salt(BDH), 1kb Molecular ruler(BIO-RAD) วิธีดาเนินการวิจัย การสารวจและรวบรวมตัวอย่ าง สารวจและรวบรวมพันธุ์กล้ วยไม้ ท้องถิ่น ในพืน้ ที่จังหวัดสกลนคร จังหวัดนครพนม จัง หวัดมุกดาหาร และจังหวัด หนองคาย แล้ วนามาปลูก ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การสกัดดีเอนเอ การสกัดดี เอนเอจากใบอ่อนของตัวอย่างที่รวบรวมได้ โดยใช้ ใบอ่อนที่อยู่ชัน้ ในที่สุดที่มีความสมบูรณ์ ไม่ถูกแมลง ทาลายล้ างใบให้ สะอาด แล้ วตัดใบอ่อน25mgใส่ในโกร่งเย็นจัด แล้ วเติมไนโตรเจนเหลวให้ ท่วมตัวอย่าง จากนันเติ ้ ม Extraction buffer (Tris-HCl100mM ที่ pH 8, EDTA 20 mM ที่ pH 8, NaCl 1.42 M, PVP 0.2% (w/v), CTAB 2 %,Citric acid 5 mM ปริ มาตร 600 µl และ 2-mercatoethanol 3 µl.) บดตัวอย่างให้ ละเอียดนาตัวอย่างที่บดละเอียดใส่ใน microtube ขนาด 1,500 µl ที่เย็นจัดแล้ วเติม chloroform: Isoamylalchohol 500 µl ผสมตัวอย่างให้ เข้ ากับสารละลายจากนันน ้ าไปปั่ นเหวี่ยงที่ 12,000rpm ที่อณ ุ หภูมิ22-25 °C นาน 5 นาที ดูดเอาส่วนใส(supernatant) ใส่หลอดใหม่แล้ วเติม isopropanol (เย็น) ปริ มาตร 0.7 เท่า ของ supernatant พลิกหลอดกลับไปมา 5 นาที (หล่อด้ วยน ้าแข็ง)แล้ วนาไปปั่ นเหวี่ยงที่14,000 rpm ที่อณ ุ หภูมิ 2225°C นาน20 นาที จากนัน้ สังเกตที่ก้นหลอดจะพบตะกอนดี เอนเอเกาะอยู่ที่ก้นหลอด แล้ วเทของเหลวทิง้ ล้ างตะกอนด้ วย แอลกอฮอล์ 70%แล้ วคว่าหลอดรอจนหลอดแห้ งเติม TE buffer (Tris-base 108 กรัม, Boric acid 55 กรัมและ 0.5 M EDTA (pH 8) 40มิลลิลิตร) ปริ มาตร 50 µl. ทิ ้งไว้ ที่ 4 °C อย่างน้ อย 12 ชัว่ โมงเพื่อให้ ดีเอนเอละลายต่อจากนันเติ ้ มเอนไซม์ RNase ความเข้ มข้ น 10 ml/l ปริ มาณ 1 ต่อ10 โดยปริ มาตรของสารละลายดีเอนเอแล้ วบ่มที่อณ ุ หภูมิ 37 °C นาน 30 นาที แล้ วเก็บ ตัวอย่างดีเอนเอที่อณ ุ หภูมิ –20°C รอการใช้ งาน การเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมโดยวิธี Polymerase Chain Reaction (PCR) นาดีเอนเอ ที่เตรี ยมไว้ มาละลายในสารละลายดี เอนเอ (PCR buffer2.5X, MgCl2 2.5mM,dNTP mix 0.2 mM, Primer 0.5 mM, DNA Template 50ngและTaq DNA Polymerase1 unit)แล้ วเติมน ้ากลัน่ ให้ ครบ 25ไมโครลิตรจากนันน ้ าเข้ า o เครื่ องควบคุมอุณหภูมิ (Thermocycler) แล้ วตังรอบอุ ้ ณหภูมิ3 ขันดั ้ งนี ้ ขันที ้ ่ 1 อุณหภูมิ 95 C เวลา 3 นาที (Initial o denaturation) ขันที ้ ่ 2 เริ่ มจากอุณหภูมิ 94 C เวลา 30 วินาที (Denaturation) อุณหภูมิ 36oC เวลา 1 นาที (Annealing) และ อุณหภูมิ 72oC เวลา 1 นาที (Extension) ขันที ้ ่ 2 ทาจนครบ 35 รอบและ ขันที ้ ่ 3 อุณหภูมิ 72oC เวลา 5 นาที (Final extension) จากนันน ้ าดีเอนเอที่ผ่านการเพิ่มปริ มาณเก็บที่อณ ุ หภูมิ 4oC แล้ วตรวจสอบคุณภาพดีเอนเอด้ วย gel electrophoresis โดยใช้ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

89


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

agarose เข้ มข้ น 1.5 % ใช้ กระแสไฟ 50 โวลต์ นาแผ่นเจลไปย้ อมด้ วย ethidiumbromide 5 µg/l เป็ นเวลา 30 นาที จากนันแช่ ้ แผ่นเจลในน ้ากลัน่ 30 นาที แล้ วตรวจสอบและบันทึกภาพแถบดี เอนเอด้ วยเครื่ อง Gel Document นาแถบดีเอนเอที่ได้ ไป วิเคราะห์ข้อมูลด้ วยโปรแกรม Quality one (โปรแกรมสาเร็จรูป)

ผลการทดลอง สารวจและรวบรวมพันธุ์กล้ วยไม้ สกุลกุหลาบจากจังหวัดสกลนคร นครพนม มุกดาหาร และหนองคาย ได้ 7 ชนิด ซึง่ พบว่าทังหมดมี ้ ลกั ษณะต้ นใบคล้ ายคลึงกัน แต่มีลกั ษณะดอกแตกต่างกัน (Figure 1) นาใบอ่อนในสุดของกล้ วยไม้ ทงั ้ 7 ชนิด มาสกัดดีเอนเอ โดยดัดแปลงวิธี CTAB method ของDoyle and Doyle (1987) โดย Padmalatha and Prasad (2006) พบว่า วิธีการดังกล่าวสามารถสกัดดีเอนเอได้ แต่ดีเอนเอที่ได้ ยงั ไม่สะอาดเพียงพอที่จะใช้ ในการเพิ่มปริ มาณด้ วยเทคนิคพีซีอาร์ จึง ทดลองเติมกรดซิตริก ลงใน extraction buffer แล้ วล้ างด้ วย phenol: iso amyl alcohol: chloroform อัตราส่วน 24: 1: 24 ซึง่ ช่วยให้ ได้ ดีเอนเอที่มีคณ ุ ภาพและปริมาณมากขึ ้น และสะอาดพอที่จะนาไปใช้ ในการเพิ่มปริ มาณดีเอนเอ ทังนี ้ ้ในขณะสกัดดีเอ็น เอต้ องควบคุมให้ ตวั อย่างอยูใ่ นสภาพเย็นตลอดเวลา การเพิ่มปริมาณดีเอนเอด้ วยเทคนิคพีซีอาร์ ใช้ ไพรเมอร์ ที่ซื ้อจากบริษัท Biodesign จานวน 120 ไพรเมอร์ เมื่อตรวจสอบลักษณะของแถบดีเอนเอที่ปรากฏ พบว่าไพรเมอร์ ที่ให้ แถบดีเอนเอที่ชดั เจนมี ทังหมด ้ 11 ไพรเมอร์ คือ S7, S8, S18, S36, S38, S39, S60, S61, S82, S83 และ S145 ไพรเมอร์ แต่ละตัวมีลาดับเบสดังแสดง ใน Table 1

A2 กุหลาบแดง (Aerides crassifolia)

A3 กุหลาบกระเป๋ าเปิ ด (Aerides falcate)

A4 กุหลาบน่าน (Aerides rosea)

A7 กุหลาบพวงมาลัย (Aerides multiflora)

A8 กุหลาบเหลืองโคราช (Aerides houlletiana)

A9 กุหลาบอินทจักร (Aerides flabellate)

A5 กุหลาบกระเป๋ าปิ ด (Aerides odorata)

Figure 1 Flowers morphology of 7 native Aerides sp. in this study

90

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table1 Primers and its base sequences that gave a clear DNA fingerprints in 7 Aerides sp. Type of primer S7 S8 S18 S36 S38 S39 S60 S61 S82 S83 S145

GGT GTC CCA AGC AGG CAA ACC CCT GGC GAG TCA

Base sequences GAC GCA CAC ACG CAG CAG CAG CGA TGA CCG CGT TCG CGG TCA GAG CCA ACT GAG CCC TCC GGG AGG

G G T A T G C G G A T

ผลจากการใช้ เทคนิคอาร์ เอพีดีด้วย 11 ไพรเมอร์ ในกล้ วยไม้ ทงั ้ 7 ชนิด (A2=กุหลาบแดง, A3=กุหลาบกระเป๋ า เปิ ด, A4=กุหลาบน่าน, A5=กุหลาบกระเป๋ าเปิ ด, A7=กุหลาบพวงมาลัย, A8=กุหลาบเหลืองโคราช และ A9=กุหลาบ อินทรจักร)พบความแตกต่างของลายพิมพ์ดีเอนเอ ของกล้ วยไม้ ทงั ้ 7 ตัวอย่าง อย่างชัดเจน (Figure2) และเมื่อนาแถบ ดีเอนเอที่ได้ จานวน 506 แถบไปวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Quantity One (BioRad, USA) แล้ วไปวิเคราะห์หา ความสัมพันธ์ด้วยโปรแกรม N-TSYSpc2.1 ซึง่ ความสัมพันธ์ของกล้ วยไม้ ทงั ้ 7 ชนิดแสดงเป็ นแผนภูมิต้นไม้ (Figure 3) พบว่ากล้ วยไม้ สกุลกุหลาบที่รวบรวมได้ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 กลุม่ คือ กลุม่ ที่ 1 ประกอบด้ วยA2 (กุหลาบแดง) A3( กุหลาบกระเป๋ าเปิ ด) A4(กุหลาบน่าน) A5 (กุหลาบกระเป๋ าปิ ด) A7 (กุหลาบมาลัยแดง) และ A8 (กุหลาบเหลืองโคราช) ซึง่ กลุม่ ที่ 1นี ้มีลกั ษณะร่ วมกันคือกลีบปากไม่เป็ นจักร และกลุ่มที่ 2 มีเพียงชนิดเดียว คือ A9 (กุหลาบอินทรจักร) ซึ่งมี ลักษณะที่แตกต่างจากกลุ่มแรกคือ กลีบปากมีขอบจักร และในกลุม่ ที่ 1 ยังสามารถแยกได้ เป็ น 2 กลุ่มย่อย คือ กลุ่ม ย่อยที่ 1 ประกอบด้ วย A2 (กุหลาบแดง) A3 (กุหลาบกระเป๋ าเปิ ด) A4 (กุหลาบน่าน) และ A7 (กุหลาบมาลัยแดง) ซึ่ง จะมีลกั ษณะปากเปิ ดออกเช่นเดียวกัน ส่วนกลุ่มย่อยที่ 2 ประกอบด้ วย A8 (กุหลาบเหลืองโคราช) จะมีลกั ษณะดอก คล้ ายกับกลุม่ แรกแต่มีช่อดอกสันป้ ้ อมและสีสนั ของดอกสดใสกว่ากลุม่ แรก และ A5 (กุหลาบกระเป๋ าปิ ด) จะมีลกั ษณะ ของกลีบปากที่ห่อไม่เปิ ดออกส่วน A9 (กุหลาบอินทรจักร) จากในภาพจะเห็นว่าถูกแยกออกมาเดี่ยวๆ ซึ่งสัมพันธ์ กับ ลักษณะภายนอกคือ เป็ นต้ นเดียวที่มีกลีบปากเป็ นจักร (Figure1 and 3)

สรุ ป จากผลการวิจยั พบว่าเทคนิคอาร์ เอพีดีสามารถใช้ จาแนกและแสดงความสัมพันธ์ ทางเครื อญาติของกล้ วยไม้ ท้ องถิ่น สกุลกุหลาบทัง้ 7 ชนิดได้ โดยไม่จากัดช่วงเวลาในการศึกษา จากผลการวิจยั แสดงให้ เห็นว่ากล้ วยไม้ สกุลกุหลาบที่รวบรวม

ได้ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ประกอบด้ วย A2 (กุหลาบแดง) A3 (กุหลาบกระเป๋ าเปิ ด) A4 (กุหลาบ น่าน) A5 (กุหลาบกระเป๋ าปิ ด) A7 (กุหลาบมาลัยแดง) และ A8 (กุหลาบเหลืองโคราช) ซึง่ กลุม่ ที่ 1 นี ้มีลกั ษณะร่ วมกัน คือกลีบปากไม่เป็ นจักร และกลุ่มที่ 2 คือ A9 (กุหลาบอินทรจักร) ซึ่งมี ลักษณะกลีบปากมี ขอบจักร ซึ่งสัมพันธ์ กับ แผนภูมิต้นไม้ ที่สร้ างจากลายพิมพ์ดีเอนเอที่ได้ จากเทคนิคอาร์ เอพีดี

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

91


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 2 RAPD fingerprints of Aerides sp. using 11 primers; S7, S8, S18, S36, S38, S39, S60, S61, S82, S83 and S154, DNA aliquots from 7 Aerides sp.(M= marker, A2=Aerides crassifolia, A3=Aerides falcate, A4=Aerides rosea, A5=Aerides odorata, A7=Aerides multiflora, A8=Aerides houlletiana, and A9=Aerides flabellate)

Figure 3 Dendrogram from RAPD profile, showed the genetic relationships among 7 Aerides sp. (A2=Aerides crassifolia, A3 = Aerides falcate, A4 =Aerides rosea, A5 =Aerides odorata, A7 = Aerides multiflora, A8 = Aerides houlletiana, A9 = Aerides flabellate)

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ที่สนับสุนนงบประมาณในการดาเนินโครงการ วิจยั จนแล้ วเสร็จ ขอขอบคุณ ผศ.ดร. ปรี ยา หวังสมนึก ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ รศ.ดร. เพชรรัตน์ ธรรมเบญจพล ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่สนับสนุน ให้ ความรู้ แนะนาเทคนิคการสกัดดีเอนเอ และความรู้ที่เกี่ยวข้ องนามาใช้ ประโยชน์ในการดาเนินโครงการจนแล้ วเสร็จ ขอขอบคุณเจ้ าหน้ าที่ที่เกี่ยวข้ องทุกท่านที่อานวยความสะดวกในการดาเนินงานมาด้ วยดีตลอดจนเสร็จสิ ้นโครงการ

92

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

บรรณานุกรม ปิ ยะ เฉลิมกลิ่น. 2543. ไม้ ดอกหอม. บ้ านและสวน. วารสารสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ฉบับพิเศษ โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้ าว, กรุงเทพฯ. สมพงษ์ ทันจิตต์และ ไพบูลย์ ไพรี พ่ายฤทธิ์. 2521. ตารา กล้ วยไม้ สาหรับผู้เริ่ มต้ น. สามัญนิติบคุ คล อาทรการพิมพ์ : กรุงเทพฯ. ราตรี พระนคร สุดารัตน์ สกุลคู และ อุบลรัตน์ สังฆมณี . 2542. การรวบรวมกล้ วยไม้ ท้องถิ่นในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อการอนุรักษ์ และ ปรับปรุงพันธุ์. หน้ า.236.ใน รวมบทคัดย่อการประชุมสัมมนาทางวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ครัง้ ที่ 16 ระหว่างวันที่ 22-24 มกราคม 2542 ณ โรงแรมโซฟิ เทล ราชาออคิด. อบฉันท์ ทองไทย. 2545. กล้ วยไม้ เมืองไทย. พิมพ์ครัง้ ที่ 3 โรงพิมพ์อมั ริ นรทร์ พริ น้ ตริ ง้ แอนด์ พลับลิชชิง, กรุงเทพฯ. Padmalatha K. and Prasad M.N.V. 2005.Optimization of DNA isolation and PCR protocol for RAPD analysis of selected medicinal and aromatic plants of conservation concern from Peninsular India. Afr. J. Biotechnol. 5 (3):230-264.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

93


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของ BA PBZ TDZ และ CPPU ต่ อการชักนาการออกดอกของกล้ วยไม้ หวายแคระ ในสภาพปลอดเชือ้ Effects of BA PBZ TDZ or CPPU on In Vitro Flower Induction of Dwarf type Dendrobium ศุภธิดา อับดุลลากาซิม1 ศุภกาญจน์ หล่ ายแปด1 และเสริมศิริ จันทร์ เปรม1 Supatida Abdullakasim1 Suphakarn Laipad1 and Sermsiri Chanprame1

บทคัดย่ อ การชักนาให้ เกิดดอกในกล้ วยไม้ หวายแคระในสภาพปลอดเชื ้อโดยนากล้ วยไม้ ที่มีอายุประมาณ 1 ปี มาตัดรากแล้ ว ย้ ายลงอาหารแข็งสูตร MS ที่ดดั แปลงโดยเพิ่มฟอสฟอรัสในรูปของ KH2PO4ขึ ้น 5 เท่าและลดไนโตรเจนในรูปของ KNO3ลง 20 เท่าร่วมกับการเติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโต 4 ชนิดที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆคือ N-6-benzyladenine (BA) ความเข้ มข้ น 0.5 1 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตรpaclobutrazol (PBZ) ความเข้ มข้ น 0.25 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตร thidiazuron (TDZ) ความ เข้ มข้ น 0.05 0.1 และ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตรและ forchlorfenuron (CPPU) ความเข้ มข้ น 1 และ 5 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยใช้ อาหารแข็งสูตร MS ดัดแปลงที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโตเป็ นชุดควบคุม วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ทรี ทเมนต์ละ 6 ซ ้า ซ ้าละ 1 ต้ น ผลการทดลองพบว่าอาหารสูตร MS ดัดแปลงจานวน 3 สูตร คือ 1) เติม CPPU 5 มิลลิกรัมต่อลิตร 2) เติม TDZ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 3) เติม CPPU 1 มิลลิกรัมต่อลิตรสามารถชักนาให้ เกิดช่อดอกได้ 100 เปอร์ เซ็นต์แต่ใช้ เวลาเฉลี่ยในการชักนาช่อดอกแตกต่างกัน คือ 66 96 และ 126 วันตามลาดับอย่างไรก็ตาม ช่อดอกที่พบมีลกั ษณะเป็ นดอกตูมที่พฒ ั นาได้ ไม่เต็มที่และเกิดการฝ่ อก่อนดอกบานแต่สามารถสังเกตเห็นสีของกลีบดอกได้ ใน กล้ วยไม้ ที่เพาะเลี ้ยงในอาหารแข็งสูตร MS ดัดแปลงที่เติม CPPU 5 มิลลิกรัมต่อลิตร คาสาคัญ : กล้ วยไม้ สภาพปลอดเชื ้อ การออกดอก สารควบคุมการเจริญเติบโต

Abstract The in vitro flower induction has been conducted in a dwarf type Dendrobium. The one-year-old in vitro seedlings were pruned roots and cultured on modified solid MS medium with high phosphorus (5-fold KH2PO4) and low nitrogen (1/20-fold NH4NO3) and supplemented with four different plant growth regulators at various concentrations i.e. N-6-benzyladenine (BA) at 0.5, 1, 2 mgl-1, paclobutrazol (PBZ) at 0.25, 0.5, 1 mgl-1, thidiazuron (TDZ) at 0.05, 0.1, 0.5 mgl-1 and forchlorfenuron (CPPU) at 1, 5 mgl-1. The control treatment was growth regulatorfree modified MS solid medium. The experimental design was completely randomized design (CRD) with six replications per treatment and one plant per replication. The results showed that seedlings produced 100 % flower inflorescence on the modified MS medium containing 3 different plant growth regulators, 1) 5 mgl-1 CPPU 2) 0.5 mgl-1 TDZ and 3) 1 mgl-1 CPPU, but at the different duration by the average of 66, 96 and 126 days of culturing respectively. However, the flower buds were immature and aborted before blooming. The medium that flower buds could develop until coloration observed was the modified MS containing 5 mgl-1CPPU. Keywords : orchid, in vitro, flowering, plant growth regulators

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรสาสตร์ กาแพงแสน นครปฐม 73140 94

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา กล้ วยไม้ เป็ นพืชที่มีระยะเยาว์วยั (juvenile phase) ที่ยาวนาน หลายชนิดต้ องใช้ เวลาอย่างน้ อย 3ปี นับจากระยะต้ น กล้ าจนถึงระยะออกดอก และบางชนิดอาจยาวนานกว่านัน้ ความล่าช้ าในการออกดอกจึงเป็ นปั ญหาหนึ่งสาหรับการศึกษาทาง สรี รวิทยาและการปรับปรุงพันธุ์ของกล้ วยไม้ สกุลหวายไซโตไคนินเป็ นกลุ่มของสารควบคุมการเจริ ญเติบโตที่นิยมใช้ สาหรับชัก นาการออกดอกของกล้ วยไม้ ในสภาพปลอดเชื ้อ โดยไซโตไคนินที่นิยมใช้ คือ N-6-benzyladenine (BA)จากการวิจยั ในกล้ วยไม้ Dendrobium‘Chao Praya Smile’ที่เพาะเลี ้ยงด้ วยอาหารสูตร Knudson C (KC) ร่ วมกับการเติม BA11.1 ไมโคลโมลาร์ สามารถชักนาการออกดอกได้ 45 เปอร์ เซ็นต์ ภายในเวลา 6 เดือนและพัฒนาเป็ นเมล็ดได้ ภายในเวลา 11 เดือน (Hee et al., 2007) ในปี เดียวกัน Sim et al. (2007) ประสบความสาเร็จในการพัฒนาวิธีชกั นาการออกดอกในสภาพปลอดเชื ้อของกล้ วยไม้ Dendrobium Madame Thong-In โดยใช้ โพรโทคอร์ มเพาะเลี ้ยงบนอาหารสูตร KC ดัดแปลงร่วมกับการเติม BA 4.4 ไมโครโม ลาร์ นอกจากนี ้ Tee et al. (2008) ศึกษาการออกดอกในสภาพปลอดเชื ้อของกล้ วยไม้ Dendrobium Sonia17 โดยเพาะเลี ้ยง บนอาหารสูตร 1/2MS (Murashige and Skoog) ร่วมกับการเติม BA 20 ไมโครโมลาร์ และมีการดัดแปลงสูตรอาหาร MS โดย ลดไนโตรเจนลง 20 เท่าและเพิ่มฟอสฟอรัสให้ มากขึ ้น 5 เท่า พบว่ามีประสิทธิภาพในการชักนาให้ เกิดช่อดอกได้ สารควบคุม การเจริ ญเติบโตอีกชนิดหนึ่งซึ่งนิยมใช้ ในงานเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อคือ thididiazuron (TDZ) ซึ่งเป็ นสารสังเคราะห์ที่ออกฤทธิ์ต่อ การเจริ ญเติบโตของพืชใกล้ เคียงกับสารในกลุม่ ไซโตไคนิน สามารถกระตุ้นให้ พืชเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรี รวิทยาได้ แม้ ใช้ ใน ปริ มาณที่ต่า (วราภรณ์ , 2552) ในกล้ วยไม้ Dendrobium nobile ที่เพาะเลี ้ยงในอาหารสูตร 1/2MS ร่วมกับการเติม TDZ 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตรหรื อ paclobutrazol (PBZ) 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตรสามารถชักนาให้ เกิดตาดอกในสภาพปลอดเชื ้อได้ 33.3-34.8 เปอร์ เซ็นต์ (Wang et al., 2009) สาหรับ Forchlorfenuronหรื อ N-(2-chloro-4-pyridinyl)-N’-phenylurea (CPPU) เป็ นสาร สังเคราะห์ที่ออกฤทธิ์ ต่อการเจริ ญเติบโตของพืชใกล้ เคียงกับสารในกลุ่มไซโตไคนินเช่นกัน มีคณ ุ สมบัติส่งเสริ มการแบ่งเซลล์ เพิ่มจานวนเซลล์ เพิ่มขนาดและปรับปรุ ง คุณภาพของผลไม้ (Antognozziet al., 1993; Zabadal and Bukovac, 2006; Sugiyama and Yamaki, 1995) Harada and Murai (1998) ได้ ชกั นาการออกดอกของแพร์ (Pyruscommunis L.) ภายใต้ สภาพปลอดเชื ้อโดยใช้ สว่ นยอดที่เพาะเลี ้ยงเป็ นเวลา 6 ปี ในอาหารสูตร woody plant (WP) ร่วมกับการเติม BA 1มิลลิกรัมต่อ ลิตร ต่อมาชักนาให้ เกิดดอกในอาหารสูตร MS ที่เติม CPPU 1 หรื อ 5 มิลลิกรัมต่อลิตรที่ 15oC เป็ นเวลา 15 หรื อ 30 วัน แล้ ว ย้ ายลงอาหารสูตร MS ที่เติม BA 1 มิลลิกรัมต่อลิตรที่ 26oC เป็ นเวลา 30 วัน สามารถชักนาให้ เกิดดอกได้ 4-12 เปอร์ เซ็นต์ Paclobutrazol (PBZ) เป็ นสารชะลอการเจริ ญเติบโตในกลุ่ม triazole ยับยังการสั ้ งเคราะห์จิบเบอริ ลลิน และทาให้ สะสมคาร์ โบไฮเดรทในพืชมากขึ ้น (Jiao et al., 1986) ในกล้ วยไม้ Friederick’s Dendrobium เมื่อเพาะเลี ้ยงในอาหารสูตร MS ร่วมกับ การเติม PBZ ที่ 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตรในสภาพปลอดเชื ้อสามารถชักนาให้ เกิดตาดอกได้ 29 เปอร์ เซ็นต์ (Te-chatoet al., 2009) การวิจยั ครัง้ นี ้เลือกใช้ กล้ วยไม้ หวายแคระโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อชักนาการออกในสภาพปลอดเชื ้อ (in vitro) ร่วมกับการ ใช้ สารควบคุมการเจริ ญเติบโตชนิดต่างๆ ที่เคยมีรายงานว่าสามารถชักนาการออกดอกในกล้ วยไม้ สกุลต่างๆได้ ได้ แก่ BA PBZ TDZ หรื อ CPPU เพื่อลดระยะเวลาระยะเยาว์วยั ให้ สนลง ั ้ และเพื่อให้ กล้ วยไม้ สกุลหวายออกดอกได้ เร็วขึ ้น ซึ่งจะเป็ นข้ อมูล พื ้นฐานสาหรับการขยายพันธุ์และลดระยะเวลาในการปรับปรุงพันธุ์กล้ วยไม้ โดยอาศัยเทคนิคการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืช

อุปกรณ์ และวิธีการ นากล้ วยไม้ หวายแคระ (Dwarf type Dendrobium) ที่ได้ จากการเพาะเมล็ดในสภาพปลอดเชื ้อ ในอาหารสูตร VW เป็ นเวลา 1 ปี มาตัดรากออกแล้ วย้ ายลงเลี ้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS (Murashige and Skoog)ที่ดดั แปลงโดยเพิ่มฟอสฟอรัส (P)ในรูปของ KH2PO4ขึ ้น 5 เท่า และลดไนโตรเจน(N)ในรูปของ KNO3ลง 20 เท่า ร่วมกับการเติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโต 4 ชนิดที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆคือ N-6-benzyladenine (BA) ความเข้ มข้ น 0.5 1 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร PBZความเข้ มข้ น 0.25 0.5 และ 1 มิลลิกรัมต่อลิตรTDZความเข้ มข้ น 0.05 0.1 และ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตรและ CPPUความเข้ มข้ น 1 และ 5 มิลลิกรัมต่อลิตรอาหารในแต่ละสูตรเติมน ้าตาลซูโครส 30 กรัมต่อลิตร ผงวุ้น 8.5 กรัมต่อลิตร ปรับค่า pH เท่ากับ 5.7 ตวงใส่ ขวดทดลองขนาด 8 ออนซ์ ขวดละ 40 มิลลิลิตร เพาะเลี ้ยงที่อณ ุ หภูมิ 25±2 oC ความเข้ มแสง 55 ไมโครโมล/ตารางเมตร/วินาที 24 ชัว่ โมงต่อวัน เปลี่ยนย้ ายอาหารทุก 1 เดือน สังเกตการเปลี่ยนแปลงและบันทึก ผล ได้ แก่ ความสูงและขนาดลาลูกกล้ วย จานวนใบทังหมดต่ ้ อกอและจานวนลาลูกกล้ วยทังหมดต่ ้ อกอ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD)ทาการทดลอง ทรี ทเมนต์ละ 6 ซ ้า ซ ้าละ 1 ต้ น วิเคราะห์ทางสถิติด้วยวิธี Analysis of variance (ANOVA)และ เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

95


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ หลังเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อกล้ วยไม้ หวายแคระเป็ นเวลา 6 เดือนพบว่ากล้ วยไม้ ที่เพาะเลี ้ยงด้ วยสูตรอาหาร MS ดัดแปลง ร่วมกับ TDZ หรื อ CPPU ทุกความเข้ มข้ นมีการเจริ ญเติบโตด้ านความสูงเพิ่มขึ ้นน้ อยที่สดุ โดยมีความสูงเฉลี่ยเพียง 2.25-3.50 เซนติเมตรในขณะที่ชดุ ควบคุมมีความสูงเพิม่ ขึ ้นเป็ น 10.50 เซนติเมตร (Table1) ทังนี ้ ้เนื่องมาจากกล้ วยไม้ ที่เลี ้ยงในสูตรอาหาร ที่ชกั นาด้ วย TDZ (0.05 0.1 หรื อ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร) หรื อ CPPU (1.0 หรื อ 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร) มีการสร้ างช่อดอกพืชจึง อาจชะลอการเจริ ญเติบโตทางลาต้ นและใบ เมื่อพิจารณาขนาดลาลูกกล้ วยพบว่ากล้ วยไม้ ที่เลี ้ยงในสูตรอาหารที่ เติม PBZ ทัง้ สามความเข้ มข้ น คือ 0.25 0.5 หรื อ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร มีขนาดลาลูกกล้ วยเพิ่มมากขึ ้นและแตกต่างจากทุกทรี ทเมนต์อย่างมี นัยสาคัญ (Table 1) เนื่องจากคุณสมบัติของ PBZ ที่สง่ เสริ มให้ พืชมีการสะสมคาร์ โบไฮเดรตเพิ่มมากขึ ้น (Jiao et al., 1986) และส่วนที่มีหน้ าที่สะสมคาร์ โบไฮเดรตในกล้ วยไม้ คือลาลูกกล้ วย (Hew and Yong, 2004) เมื่อพิจารณาผลของสารควบคุมการเจริ ญเติบโตต่อการชักนาการออกดอกพบว่ากล้ วยไม้ หวายแคระที่เพาะเลี ้ยงในอาหาร MS ดัดแปลงร่วมกับ CPPU 1.0 หรื อ 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร หรื อ TDZ 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถชักนาให้ พืชสร้ างช่อดอกได้ มาก สุดโดยทุกต้ นที่ทดลองสามารถพัฒนาเป็ นช่อดอกได้ โดยใช้ ระยะเวลาในการพัฒนาเป็ นช่อดอก 126 วัน 66 วันและ 96 วันโดย เฉลี่ยตามลาดับ (Table 2) สอดคล้ องกับใน Dendrobium Madame Thong-In ที่สามารถชักนาให้ เกิดช่อดอกในสภาพปลอด เชื ้อด้ วย BA 4.4 ไมโคลโมลาร์ ได้ ภายในระยะเวลา5 เดือนนับตังแต่ ้ เพาะเมล็ดจนออกดอก (Sim et al.,2007) ช่อดอกของ กล้ วยไม้ หวายแคระที่ถกู ชักนาด้ วยสารควบคุมการเจริ ญเติบโตชนิดต่างๆ จากการทดลองนี ม้ ีลกั ษณะช่อดอกที่ไม่สมบูรณ์ โดย ดอกมีลกั ษณะเป็ นดอกตูม กลีบดอกมีสีเขียวลักษณะคล้ ายใบอ่อน (Figure 1) มีเพียงกล้ วยไม้ ที่เลี ้ยงในอาหาร MS ดัดแปลง ร่วมกับ CPPU 5 มิลลิกรัมที่สามารถสังเกตเห็นสีม่วงอ่อน บริ เวณโคนของกลีบดอก และเมื่อเวลาผ่านไปช่อดอกที่เกิดขึ ้นมีสี นา้ ตาลและฝ่ อ ก่อนดอกจะบาน ซึ่งจากรายงานการชักนาการออกดอกของกล้ วยไม้ หลายชนิดในสภาพปลอดเชือ้ พบว่า ลักษณะดอกที่พบมีทงที ั ้ ่สมบูรณ์ มีสีเหมือนดอกที่ ปลูกเลี ้ยงตามธรรมชาติแต่มกั มีขนาดเล็กกว่า เช่น ใน Dendrobium nobile (Wang et al., 2009) และ Dendrobium Madame Thong-In (Sim et al., 2007) เป็ นต้ น และในการทดลองเดียวกันยังพบ ดอกที่มีลกั ษณะไม่สมบูรณ์จานวนมาก เช่น ใน D. nobile ที่ดอกมีเพียงวงกลีบดอกรวมไม่สามารถจาแนกเป็ นกลีบเลี ้ยงหรื อ กลีบดอกได้ และไม่มีการพัฒนาของอวัยวะสืบพันธุ์ภายในดอก (Wang et al., 2009) คล้ ายคลึงกับลักษณะดอกที่พบในการ ทดลองนี ้ ส่วนกล้ วยไม้ ที่เลี ้ยงในอาหาร MS ดัดแปลงร่วมกับ BA 2 มิลลิกรัม พบว่าสามารถสร้ างช่อดอกได้ แต่ลกั ษณะช่อ คล้ ายกับยอดที่กาลังพัฒนาใบอ่อน (Figure 1) แตกต่างจากผลการทดลองใน D. Madame Thong-In (Sim et al., 2007) ซึง่ คาดว่าอาจจะเกี่ยวข้ องกับชนิดและอายุของเนือ้ เยื่อกล้ วยไม้ ความเข้ มข้ นของ BA ที่ใช้ ตลอดจนเทคนิคในการทาวิจัยที่ แตกต่างกัน

96

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table1 The growth of dwarf type Dendrobium after cultivated on MS media supplemented with four different plant growth regulators for six months Treatments (mg/l) Modified MS (Control) Modified MS+BA 0.5 Modified MS+BA 1.0 Modified MS+BA 2.0 Modified MS+PBZ 0.25 Modified MS+PBZ 0.5 Modified MS+PBZ 1.0 Modified MS+TDZ 0.05 Modified MS+TDZ 0.1 Modified MS+TDZ 0.5 Modified MS+CPPU 1.0 Modified MS+CPPU 5.0 F-Test

Height (cm)1/ 10.50a 5.67c 5.25c 6.08c 10.33a 8.08b 8.75b 3.50d 3.08d 2.25d 3.33d 2.25d **

Pseudo-stem Diameter (mm)1/ Number of leaves (whole plant)1/ 45.67bc 52.67a 42.33bc 34.83bcd 33.50bc 28.17de 32.50c 26.50de 74.33a 39.83b 77.17a 31.00cde 68.67a 29.00cde 47.50b 27.83de 41.50bc 25.33e 34.33bc 31.67bcde 41.50bc 15.67f 42.00bc 37.00bc ** **

Number of pseudo-stem1/ 10.17a 8.33abc 6.17cde 5.50de 9.17ab 6.50cde 7.00bcde 7.67abcd 5.50de 7.83abcd 4.50e 8.33abc **

Modified MS medium is the modified solid MS medium with high phosphorus (5-fold KH2PO4) and low nitrogen (1/20-fold NH4NO3) 1/ In each column, mean values followed by the same alphabet are not significantly different at p < 0.01

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

97


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Effects of plant growth regulators on the transition to flowering stage of dwarf type Dendrobium Treatments (mg/l) Modified MS (Control) Modified MS+BA 0.5 Modified MS+BA 1.0 Modified MS+BA 2.0 Modified MS+PBZ 0.25 Modified MS+PBZ 0.5 Modified MS+PBZ 1.0 Modified MS+TDZ 0.05 Modified MS+TDZ 0.1 Modified MS+TDZ 0.5 Modified MS+CPPU 1.0 Modified MS+CPPU 5.0

% Plantlet with inflorescence 0 0 0 16.67 16.67 0 0 50 66.67 100 100 100

Days to flowering 0 0 0 117 144 0 0 118 116 96 126 66

Figure 1 In vitro flowering of dwarf type Dendrobium cultured on modified MS media and supplemented with 2 mg/l BA (A), 0.25 mg/l PBZ (B), 0.1 mg/l TDZ (C), 0.5 mg/l TDZ (D), 1 mg/l CPPU (E) and 5 mg/l CPPU (F).

98

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ปผลการทดลอง การใช้ สาร CPPU ที่ 1 หรื อ 5 มิลลิกรัมต่อลิตรหรื อ TDZ 0.5 ในอาหารสูตร MS ดัดแปลงที่เพิ่มฟอสฟอรัส(P)ในรูป ของ KH2PO4ขึ ้น 5 เท่า และลดไนโตรเจน(N)ในรู ปของ KNO3ลง 20 เท่าสามารถชักนาให้ กล้ วยไม้ หวายแคระออกดอกได้ ซึ่ง เป็ นดอกที่ไม่สมบูรณ์ โดยสามารถสังเกตเห็นช่อดอกแรกได้ เมื่อเพาะเลี ้ยงเป็ นเวลา 126 66 และ 96 วันตามลาดับ โดยในสูตร อาหารที่เติม CPPU 5 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถสังเกตเห็นสีมว่ งบริเวณโคนกลีบดอกได้ ก่อนที่ดอกจะฝ่ อไป

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสวนกล้ วยไม้ นครปฐมออร์ คิดที่สนับสนุนกล้ วยไม้ หวายแคระสาหรับงานวิจยั ครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง วราภรณ์ ฉุยฉาย.2552. บทบาทของไทเดียซูรอนกับการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืช.วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. 4(2): 123-135. Antognozzi, E., F. Famiani, A. Palliotti and A. Tombesi.1993. Effects of CPPU (cytokinin) on kiwifruit productivity. Acta Hort. 329:150152. Harada, H. and Y. Murai. 1998. In Vitro flowering on long-term subcultured pear shoots. J. Hortic. Sci. Biotech. 73(2):225-228. Hee, K.H., C.S. Loh and H.H. Yeoh. 2007. Early in vitro flowering and seed production in culture in DendrobiumChao Praya Smile (Orchidaceae). Plant Cell Rep. 26: 2055-2062. Hew, C.S. and W.H. Yong. 2004. The Physiology of Tropical Orchids in Relation to the Industry.World Scientific Publishing. Singapore. 388p. Jiao,J., M.J. Tsujita and D.P. Murr. 1986. Effects of paclobutrazol and a-rest on growth, flowering, leaf carbohydrate and leaf senescence in ‘Nellie White’Easter Lily (LiliumlongiflorumThunb.). Scientia Hort. 30: 135-141. Sim, G.E., C.S. Loh and C.J. Goh. 2007. High frequency early in vitro flowering of DendrobiumMadame Thong –In(Orchidaceae). Plant Cell Rep. 26: 383-393. Sugiyama, N. and Y.T. Yamaki. 1995. Effects of CPPU on fruit set and fruit growth inJapanese persimmon. Scientia Hort. 60: 337-343. Te-chato, S., P. Nujeenand S.Muangsorn. 2009. Paclobutrazolenhancebudbreak and flowering of Friederick'sDendrobium orchid In Vitro.J.Agr. Tech. 5(1): 157-165. Tee, C.S., M. Maziah and C.S. Tan. 2008. Induction of in vitro flowering in the orchid Dendrobium Sonia 17. Biol. Plant. 52(4): 723726. Wang, Z.H., L. Wang and Q.S. Ye. 2009. High frequency early flowering from in vitro seedlings of Dendrobium nobile. Scientia Hort. 122: 328-331. Zabadal, T.J. and M.J. Bukovac. 2006. Effect of CPPU on fruit development of selected seedless and seeded grape cultivars. Hort.Sci.41: 154-157.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

99


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของดาวเรือง Genetic Diversity Study of Marigold (Tagetes erecta) สุวรรณี ปาลี1 ปรีชาวุฒิ พลัดทองศรี 1 จิรานันท์ ไชยวรรณ์ 1 ภมรพรรณ มงคลแช่ มช้ อย2 และพรพันธ์ ภู่พร้ อมพันธุ์2 Suwannee Palee1 Preechavut Pludtongsri1 Jiranan Chaiwan1 Phanormphan Mongkonchamchoi 2 and Pornpan Pooprompan2

บทคัดย่ อ การศึกษาความหลากหลายของเชื ้อพันธุกรรมดาวเรื องอเมริ กนั ของห้ างหุ้นส่วนจากัดโฮมซีดส์ โดยจาแนกลายพิมพ์ดี เอ็นเอ ด้ วยเทคนิค Random Amplified Polymorphic DNA (RAPD) วัตถุประสงค์เพื่อจาแนกความแตกต่างทางพันธุกรรมของ สายพันธุ์พ่อแม่ และลูกผสม และบ่งชี ้ลายพิมพ์ดีเอ็นเอสาหรับจาแนกสายพันธุ์ และสร้ างฐานข้ อมูล ใช้ เครื่ องหมายดีเอ็นเอที่ แสดงความแตกต่างจานวน 16 เครื่ องหมายที่ให้ อลั ลีลที่แตกต่างกัน 46 อัลลีล นามาใช้ ในการจาแนกดาวเรื องอเมริ กนั 45 สายพันธุ์ จานวนอัลลีลที่พบอยู่ระหว่าง 1 ถึง 5 อัลลีล การสร้ างเดนโดรแกรม (dendrogram) ด้ วยวิธี UPGMA โดยใช้ ค่า สัมประสิทธิ์ Jaccard’s coefficient สามารถแบ่งกลุ่มดาวเรื องออกเป็ นกลุ่มหลักได้ 2 กลุ่ม ตามระระห่างทางพันธุกรรมซึ่ง สอดคล้ องกับกลุ่มที่เป็ นพันธุ์ออกดอกช้ า และกลุ่มที่ออกดอกเร็ ว ค่าสัมประสิทธิ์ ความห่างทางพันธุกรรมอยู่ระหว่าง 0.46 ถึง 0.91 ความแตกต่างทางพันธุกรรมที่มากที่สุดระหว่าง 2 กลุ่ม ได้ แก่หมายเลข 057700 มี ค่าสัมประสิทธิ์ ความเหมื อนทาง พันธุกรรมเท่ากับ 0.46 ผลการทดลองชี ้ให้ เห็นว่าสามารถจาแนกสายพันธุ์พ่อแม่ และลูกผสมได้ และสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ ในโปรแกรมปรับปรุงพันธุ์ตอ่ ไป คาสาคัญ: ดาวเรื อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม เทคนิคอาร์ เอพีดี

Abstract Genetic diversity of Homeseeds Limited Partnership germplasm of American Marigold (Tagetes erecta) was identified using Random Amplified Polymorphic DNA (RAPD). The objectives of this study were to identify genetic distance between parental lines and their progenies as well as to determine DNA fingerprinting for varietal identity and database establishment. A total of 16 polymorphic markers with 46 observed alleles were identified in 45 American Marigold varieties. The number of alleles ranged from 1 to 5. The dendrogram constructed based on the UPGMA cluster using Jaccard’s coefficient. The genetic distance separated the 45 American Marigold varieties into 2 main groups according late varieties and early variety. The genetic distance was ranged from 0.46 to 0.91. The highest genetic distance observed between the 2 groups was No.057700 with 0.46 similarity coefficient. The results suggested that the parental lines and their progenies can be identified and useful for breeding program. Keywords: marigold, genetic diversity, Random Amplified Polymorphic DNA (RAPD)

คานา ดาวเรื อง (Tagetes sp.) เป็ นไม้ ดอกที่ร้ ู จกั กันมานาน ปลูกง่าย เจริ ญเติบโตได้ ดีในทุกสภาพแวดล้ อม และมีความ หลากหลายทังชนิ ้ ดและขนาดดอก (วัลลภ, 2541) ดาวเรื องมีประมาณ 50 สายพันธุ์ สายพันธุ์ที่ใช้ เป็ นการค้ าได้ แก่ ดาวเรื อง อเมริ กนั (T. erecta L.) มีลกั ษณะเด่นคือมีดอกขนาดใหญ่ และดาวเรื องฝรั่งเศส (T. patula L.) มีลกั ษณะดอกที่มีขนาดเล็ก กว่า (The Plant List, 2010; Taylor, 2011) ดาวเรื องที่นิยมปลูกเพื่อใช้ ตดั ดอก เป็ นดาวเรื องในกลุม่ อเมริ กนั โดยนาเข้ าเมล็ด พันธุ์มาจากต่างประเทศ (สายชล, 2531) พันธุ์ที่นิยม เป็ นพันธุ์ที่มี การปรับปรุ งพันธุ์และผสมพันธุ์ในต่างประเทศ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในอเมริ กาที่ให้ ความสาคัญต่อการศึกษาในเรื่ องนี ้ (สมเพียร, 2524) พันธุ์ที่นาเข้ าและนิยมใช้ เป็ นไม้ ตดั ดอกในประเทศ ไทย คือ ดาวเรื องพันธุ์ Gold Coin จากบริษัท Bodger หรื อที่ร้ ูจกั กันดีในชื่อ Sovereign โดยทัว่ ไป จะมีสีเหลือง สีส้ม และสีทอง 1 2

ห้ างหุ้นส่วนจากัด โฮมซีดส์ 233/2 หมู่ 4 ต.บ้ านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ 50160 สาขาวิชาพืชสวนประดับ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ 50290 100

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

(นันทิยา, 2535) การปลูกดาวเรื องในประเทศไทย จากข้ อมูลการสารวจตลาดของงานการตลาด ห้ างหุ้นส่วนจากัดโฮมซีดส์ พบว่า พื ้นที่การผลิตดอกดาวเรื องในประเทศไทยเพิ่มขึ ้นทุกปี โดยคาดว่า มูลค่าโดยรวมในการลงทุนปลูกดาวเรื องเพื่อตัดดอก จาหน่ายในปั จจุบนั อยูท่ ี่ประมาณ 1,500 ล้ านบาทต่อปี และมูลค่าตลาดดอกสดอยู่ที่ประมาณ 2,500-3,000 ล้ านบาทต่อปี ซึง่ ในปั จจุบนั หลายบริ ษัทในประเทศไทยมีการพัฒนาสายพันธุ์ดาวเรื องหลากหลายสายพันธุ์ ไม่ว่าจะเป็ นดาวเรื องตัดดอก และ ดาวเรื องประดับแปลง และยังมีโปรแกรมในการพัฒนาสายพันธุ์อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ ได้ ลกั ษณะที่ตลาดต้ องการ เช่น สีดอก ขนาดดอก ผลผลิตสูง และลักษณะการโรคเป็ นต้ น รวมไปถึงการปรับปรุงพันธุ์ให้ เหมาะสมกับฤดูกาลในประเทศไทย ในปั จจุบนั เทคโนโลยีเครื่ องหมายดีเอ็นเอได้ กลายมาเป็ นเครื่ องมือที่มีประโยชน์สาหรับการสร้ างสายพันธุ์ใหม่ นอกจากนี ้ยังมี ความส าคัญ ในเชิ ง พาณิ ช ย์ เพื่ อ ที่ จ ะระบุตัว ตน และใช้ ท ดสอบความบริ สุท ธิ์ ข องสายพัน ธุ์ พัน ธุ์ ลูก ผสม การศึกษาความ หลากหลายของเชื ้อพันธุกรรม และการอธิบายลักษณะประจาพันธุ์ของเชื ้อพันธุกรรมที่แตกต่างกันในแต่ละพันธุ์เพื่อใช้ สาหรับ การจัดการเชื ้อพันธุกรรม และใช้ สาหรับการคัดเลือกสายพันธุ์พ่อแม่ ได้ เป็ นอย่างดี (Winter and Kahl, 1995; de Vicente et al., 2005) และตามที่ได้ กล่าวไปในเบื ้องต้ น ดาวเรื องที่จาหน่ายในประเทศไทยในปั จจุบนั มีหลากหลายสายพันธุ์ และมีหลาย บริ ษัทในประเทศไทยที่มีการปรับปรุงพันธุ์ดาวเรื องลูกผสมเพื่อจาหน่ายให้ แก่ลกู ค้ าทังใน ้ และต่างประเทศ ทังนี ้ ้ได้ มีปัญหาการ ขโมยสายพันธุ์พ่อแม่ไปใช้ ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ลกู ผสมอีกด้ วย ซึ่งในการจาแนกโดยอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยาบ่งชี ้ทาง สรี รวิทยาที่ปรากฏบางครัง้ ไม่สามารถแยกกลุ่มได้ ชดั เจนและแม่นยา ดังนัน้ การศึกษาการจาแนกพันธุกรรมดาวเรื องโดยใช้ เครื่ องหมายดีเอ็นเอ สามารถจัดกลุ่มดาวเรื องได้ อย่างแม่นยา ตลอดจนลายพิมพ์ดีเอ็นเอยังบ่งชี ้ความเป็ นเอกลักษณ์ในแต่ละ พันธุ์ และยังสามารถใช้ ช่วยในด้ านงานปรับปรุงพันธุ์ได้ อีกด้ วย

อุปกรณ์ และวิธีการ การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมและการวิเคราะห์ ลายพิมพ์ ดีเอ็นเอดาวเรื อง สายพันธุ์ดาวเรื อง 45 สายพันธุ์ โดยเก็บตัวอย่างใบอ่อนเพื่อนามาสกัดดีเอ็นเอด้ วยวิธีของ Doyle and Doyle (Doyle and Doyle, 1987) และปรับความเข้ มข้ นของดีเอ็นเอเป็ น 5 นาโนกรัมต่อไมโครลิตร ทาปฏิกิริยาพีซีอาร์ ปริ มาตร 20 ไมโครลิตร โดยเครื่ องทาปฏิกิริยาพีซีอาร์ รุ่น T-Gradient (Biometra) ประกอบด้ วย ดีเอ็นเอต้ นแบบ 20 นาโนกรัม ไพรเมอร์ (OPE, OPJ, OPG, OPD และ OPO จานวน 16 ไพรเมอร์ ) 0.4 ไมโครโมล 1x PCR buffer dNTPs 200 ไมโครโมล MgCl2 1.5 ไมโครโมล Taq DNA polymerase (Promega) 0.8 ยูนิต และน ้ากลัน่ ปฏิกิริยาพีซีอาร์ ระยะ pre-denaturation อุณหภูมิ 95 องศา เซลเซียส เวลา 2 นาที จานวน 1 รอบ ในระยะ denaturation ใช้ อุณหภูมิ 95 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 60 วินาที ระยะ annealing ใช้ อณ ุ หภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 60 วินาที จานวน 45 รอบ ระยะ extension ใช้ อณ ุ หภูมิ 72 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 120 วินาที และ ระยะสิ ้นสุด ใช้ อณ ุ หภูมิ 72 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 5 นาที จานวน 1 รอบ นาผลผลิตพีซีอาร์ มาแยก ในอะกาโรสเจล ความเข้ มข้ น 1.5 % บันทึกภาพแถบดีเอ็นเอด้ วยเครื่ องบันทึกภาพ Gel Documentation การวิเคราะห์ ข้อมูล บันทึกการปรากฏแถบดีเอ็นเอและไม่ปรากฏแถบดีเอ็นเอ ในลายพิมพ์ดีเอ็นเอ โดยพิจารณาแถบหลักที่มีความชัดเจน (major band) เท่านัน้ ซึ่งจะใช้ ระบบตัวเลข คือ ปรากฏแถบดีเอ็นเอให้ สญ ั ลักษณ์เป็ นเลข 1 และถ้ าไม่ปรากฏแถบดีเอ็นเอให้ เป็ นเลข 0 โดยทาการบันทึกทุกตาแหน่งของแถบดีเอ็นเอในแต่ละไพรเมอร์ ที่ใช้ จากนัน้ นาข้ อมูลที่ได้ ไปวิเคราะห์ข้อมูลหา ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม ด้ วยโปรแกรม NTSYSpc version 2.01d โดยใช้ Jaccard’s coefficient คานวณหาค่าความห่าง ทางพันธุกรรม แล้ วสร้ างเดนโดรแกรมโดย UPGMA เพื่อจัดกลุม่ ดาวเรื อง

ผลการทดลองและวิจารณ์ การตรวจลายพิมพ์ ดีเอ็นเอ จากการเพิ่มปริ มาณสารพันธุกรรมดาวเรื องด้ วยปฎิกิริยาพีซีอาร์ โดยใช้ ไพรเมอร์ ทงหมด ั้ 211 ไพรเมอร์ พบว่ามีไพร เมอร์ ที่แสดงความแตกต่างจานวน 16 ไพรเมอร์ ได้ แก่ OPE03, OPE09, OPE12, OPJ04, OPJ12, OPJ14, OPJ15, OPJ17, OPG01, OPG05, OPG09, OPD02, OPO06, OPO12, OPO15 และ OPO16 ที่ให้ อลั ลีลที่แตกต่างกัน 46 อัลลีล จานวน อัลลีลที่พบอยูร่ ะหว่าง 1 ถึง 5 อัลลีล ดังแสดงใน Table 1 และ Figure 1

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

101


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 List of primers and number of polymorphic DNA band in 45 varieties of marigold. Item Primer No. of polymorphic bands 1 OPE03 3 2 OPE09 5 3 OPE12 3 4 OPJ04 1 5 OPJ12 4 6 OPJ14 2 7 OPJ15 2 8 OPJ17 2 9 OPG01 5 10 OPG05 3 11 OPG09 2 12 OPD02 1 13 OPO06 3 14 OPO12 4 15 OPO15 4 16 OPO16 2 Total 46

Figure 1 RAPD profile of 45 varieties of marigold for OPJ 17 primer. The numbers represent the Marigold variety 1 = 058800, 2 = 050700, 3 = 052700, 4 = 055700, 5 = 066700, 6 = 065700, 7 = 063700, 8 = 073700, 9 = 003900, 10 = 007900, 11 = 036900, 12 = 034900, 13 = 035900, 14 = 009900, 15 = 028900, 16 = 047800, 17 = 051700, 18 = 075700, 19 = 005900, 20 = 011900, 21 = 012900, 22 = 070800, 23 = 057700, 24 = 056700, 25 = 004900, 26 = 008900, 27 = 016900, 28 = 030900, 29 = 062800, 30 = 048700, 31 = 068700, 32 = 014900, 33 = 017900, 34 = 018900, 35 = 019900, 36 = 071800, 37 = 900020, 38 = 023900, 39 = 060800, 40 = 021900, 41 = 024900, 42 = 072800, 43 = 027900, 44 = 029900 and 45 = 026900 102

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การจัดกลุ่มดาวเรื อง การวิเคราะห์แถบดีเอ็นเอในแต่ละตาแหน่งของไพรเมอร์ และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ทางพันธุกรรมของพันธุ์ ดาวเรื อง สามารถแบ่งพันธุ์ดาวเรื องที่มีความสัมพันธ์ กนั ให้ ค่าสัมประสิทธิ์ความห่างทางพันธุกรรมอยู่ระหว่าง 0.46-0.91 โดย สามารถแบ่งออกเป็ น 2 กลุม่ หลัก และอีก 1 สายพันธุ์ที่อยู่นอกกลุม่ (out group) ได้ แก่สายพันธุ์ หมายเลข 057700 กลุม่ ที่ 1 มี จานวนสมาชิก 13 สายพันธุ์ กลุม่ ที่ 2 มีจานวนสมาชิก 31 สายพันธุ์ ดังแสดงใน Figure 2

Figure 2 Dendrogram showing the relationship between 45 marigold samples based on RAPD analysis with 16 polymorphic markers.

สรุ ปผลการทดลอง จากการใช้ ไพรเมอร์ ทงั ้ หมด 211 ไพรเมอร์ จาแนกลายพิมพ์ดีเอ็นเอแบบอาร์ เอพีดีในเชือ้ พันธุกรรมของดาวเรื อง จานวน 45 พันธุ์ พบว่าไพรเมอร์ ที่สามารถแสดงความแตกต่างระหว่างทางพันธุกรรมดาวเรื อง มีจานวน 16 ไพรเมอร์ ที่ให้ อลั ลีล ที่แตกต่างกัน 46 อัลลีล การจัดกลุ่มทางพันธุกรรมของพันธุ์ดาวเรื อง โดยใช้ วิธี UPGMA สามารถแบ่งพันธุ์ดาวเรื องที่มี ความสัมพันธ์ กนั ให้ ค่าสัมประสิทธิ์ความเหมือนทางพันธุกรรมอยู่ระหว่าง 0.46 – 0.91 และจัดกลุม่ เป็ น 2 กลุม่ หลัก และอีก 1 สายพันธุ์ที่อยูน่ อกกลุม่ (out group) กลุม่ ที่ 1 มีจานวนสมาชิก 13 สายพันธุ์ซงึ่ เป็ นกลุม่ พันธุ์ที่มีลกั ษณะออกดอกเร็ว กลุม่ ที่ 2 มีจานวนสมาชิก 31 สายพันธุ์เป็ นกลุม่ พันธุ์ที่ออกดอกช้ า

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณสาขาพืชสวนประดับ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ที่ให้ ความกรุ ณาใช้ ห้องปฏิบตั ิการดีเอ็นเอ ขอขอบคุณนัก ปฏิบตั ิการในห้ องปฏิบตั ิการดีเอ็นเอ ที่คอยช่วยเหลือ และให้ คาแนะนาในการทางานวิจยั ครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง นันทิยา สมานนท์. 2535. คูม่ ือการปลูกไม้ ตดั ดอก. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ . กรุงเทพฯ. 206 น. พรพันธ์ ภู่พร้ อมพันธุ์. 2538. เทคนิคการจาแนกพันธุ์พืชด้ วยวิธี Random Amplified Polymorphic DNA (RAPD). น. 39–60. เอกสารประกอบการ ฝึ กอบรมทางวิชาการ เรื่ องการตรวจแยกสายพันธุ์พืชด้ วย การใช้ Isozyme pattern และ RAPD ครัง้ ที่ 1 ณ ฝ่ ายปฏิบตั ิการวิจยั และเรื อน ปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน. นครปฐม. วัลลภ พรหมทอง. 2541. ไม้ ดอกยอดฮิต. สานักพิมพ์มติชน. กรุงเทพฯ. 115 น. สมเพียร เกษมทรัพย์. 2524. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ภาควิชาพืชสวน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี . การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

103


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Taylor JM. 2011. The marigold: history and horticulture. Chronica Horticulture 51: 24–28. The plant list. 2010. Version 1; published on the Internet. Available at: http://www.theplantlist.org/ (accessed 11July 2013). Winter P and Kahl G. 1995. Molecular marker technologies for plant improvement. World Journal of Microbiological Biotechnology 11: 438–448. doi:10.1007/bf00364619

104

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเสริมนา้ สับปะรดเพื่อเป็ นสับสเตรทร่ วมในการหมักนา้ ส้ มสายชูแอปริคอต Supplementation of pineapple juice as co-substrate for apricot vinegar fermentation นิอร โฉมศรี1 ณัฐวุฒิ คาป๊ อก1 และสุพจนี อินทรโมฬี1 Ni-orn Chomsri1 Nattawut Kampok1 and Supojjanee Intaramoree1

บทคัดย่ อ แอปริ คอต Prunus armeniaca L. เป็ นผลไม้ ที่มีพฤกษเคมีที่สาคัญอยู่มากมาย ซึง่ ช่วยให้ คณ ุ ลักษณะที่เฉพาะของ กลิ่น รสชาติ สี และคุณค่าทางสารอาหาร การทดลองนี ้ศึกษา ผลของน ้าสับปะรดที่เสริ มเป็ นรูปแบบสับสเตรทร่วม เพื่อใช้ ใน การผลิตน ้าส้ มสายชูแอปริ คอตด้ วยกระบวนการหมักให้ เกิดกรดอะซิติกแบบผิวหน้ าคงที่ ระดับของการเสริ มน ้าสับปะรดทาที่ ร้ อยละ 0 5 10 20 และ 30 ของสับสเตรทหลัก ผลการศึกษาพบว่า ระดับของการใช้ น ้าสับปะรดร้ อยละ 10 เป็ นสับสเตรท ร่ วมให้ ร้อยละของผลผลิตปริ มาณกรดทังหมดสู ้ งที่สดุ ในผลิตภัณฑ์ คือมีค่าเท่ากับร้ อยละ 5.92 เมื่อใช้ นา้ สับปะรดเสริ มใน รูปแบบสับสเตรทร่วม ทาให้ ผลิตภัณฑ์น ้าส้ มสายชูหมักที่ได้ มีค่าสี L* a* และ b* มีค่าเพิ่มสูงขึ ้น การเพิ่มขึ ้นของปริ มาณ สับเตรทร่วมทาให้ คา่ การนาไฟฟ้าและค่าความขุ่นของผลิตภัณฑ์มีคา่ เพิ่มสูงขึน้ ทังนี ้ ้ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค และค่าฤทธิ์ การต้ านอนุมลู อิสระในน ้าส้ มสายชูที่ได้ จากการหมัก มีค่าอยู่ในช่วง 211.67-273.67 มิลลิกรัมต่อลิตร และร้ อยละ 23.0832.96 ตามลาดับ โดยพบว่าการใช้ สบั สเตรทร่วมในระดับที่สงู ขึ ้น ทาให้ ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิคทังหมดของน ้ ้าส้ มสายชู หมักมีคา่ เพิ่มสูงขึ ้น แต่ไม่สง่ ผลต่อความแตกต่างกันของฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระในผลิตภัณฑ์น ้าส้ มสายชูแอปริ คอต คาสาคัญ : แอปริคอต สับปะรด น ้าส้ มสายชู

Abstract The apricot (Prunus armeniaca L.) contains significant levels of various phytochemicals which contribute significantly to their specific aroma, taste, color and nutritive values. The effect of pineapple juice supplementation as co-substrate for production of apricot vinegar via static surface acetic acid fermentation was carried out. The supplementation levels were 0, 10, 20 and 30 % of the main substrate. Results revealed that 10% pineapple juice level as co-substrate gave the highest yield of total acidity in products (5.92%). When increase levels of pineapple juice was supplemented as co-substrate, higher L* a* and b* values were obtained. Increasing co-substrate levels produced higher values of conductivity and turbidity in the products. The vinegar products contained total phenolic content and antioxidant activity in the range of 211.67-273.67 mg/L and 23.08-32.96 %, respectively. The fermented vinegar product from higher levels of pineapple juice levels exhibited higher levels of total phenolic contents while ABTS radical scavenging capacity of the apricot vinegar products was not affected by different cosubstrate levels. Keywords : apricot, pineapple, vinegar

คานา แอปริ คอต Prunus armeniaca L. เป็ นผลไม้ ที่มีพฤกษเคมีที่สาคัญอยู่มากมาย ซึง่ ช่วยให้ คณ ุ ลักษณะที่เฉพาะของ กลิ่น รสชาติ สี และเป็ นแหล่งคุณค่าทางสารอาหารที่สาคัญของเยื่อใย วิ ตามิน นา้ ตาล และกรดอินทรี ย์ โดยมีความ แตกต่างกันไปขึ ้นกับสายพันธุ์ และระดับความสุกแก่ของผลแอปริ คอต (Roussos et al., 2011; Campbell et al., 2013; Melgarejo et al., 2014) แหล่งปลูกแอปริคอตอยูท่ ี่จีน ออสเตรเลีย สหรัฐ นิวซีแลนด์ แอฟริกา ปากีสถาน บริ โภคทังรู้ ปผลไม้ สด และนาไปแปรรู ปเป็ นผลิตภัณฑ์ เช่น แอปริ คอตในน ้าเชื่อม เนคต้ า พิวเร่ แยมผลไม้ ไวน์แอปริ คอต และแอปริ คอตตากแห้ ง (Considine and Considine, 2012; Hui and Evranuz, 2012) องค์ประกอบทางเคมีในผลแอปริ คอต ได้ แก่ ปริ มาณน ้าตาล ทังหมด ้ ไขมัน โปรตีน เยื่อใย และเถ้ า มีค่าอยู่ในช่วงร้ อยละ 56.8–64.9, 2.1–3, 6.18–8.7, 11.85–13.6 และ9.45–12.1 1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 202 หมู่ 17 ต.พิชยั อ.เมือง จ.ลาปาง 52000

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

105


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ตามลาดับ จากฐานน ้าหนักแห้ ง สารประกอบฟี นอลิคในแอปริ คอคซึ่งมีคณ ุ สมบัติต้านอนุมลู อิสระ ได้ แก่ ปริ มาณวิตามินซี ปริ มาณทังหมด ้ และปริ มาณแคโรทีนอยด์ทงหมดอยู ั้ ่ระหว่าง 67.39–90.94, 4590–7310, 10.09–18.13 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม ตามลาดับ สารประกอบฟี นอลิค และมีคณ ุ สมบัติ ได้ แก่ neo-chlorogenic acid, hlorogenic acid, rutin, catechin, epicatechin, ferulic acid, p-coumaric acid และ caffeic acid ทังนี ้ ้โปตัสเซียมเป็ นแร่ธาตุที่พบมากในแอปริ คอต พบอยู่ ระหว่าง 2040–3000มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม รองลงมาคือ ฟอสฟอรัส แมกนีเซียม แคลเซียม โซเดียม และเหล็ก (Roussos et al., 2011; Ali et al., 2011) นาส้ มสายชูเป็ นเครื่ องปรุ งรสและถนอมอาหารที่สาคัญในทวีปเอเชีย ยุโรป และตะวันตก มีมาตังแต่ ้ 3,000 ปี ก่อนคริ สตศักราช ประกอบด้ วยคาร์ โบไฮเดรต กรดอินทรี ย์ แอลกอฮอล์ โพลีออล กรดอะมิโน เพบไทด์ และสารระเหยอื่นๆ (Li et al., 2014; Galletto and Rossetto, 2015) น ้าส้ มสายชู ได้ จากการหมักแอลกอฮอล์ให้ เกิดกรดอะซิติก โดยมีวตั ถุดิบที่ ใช้ หมักหลากหลายได้ แก่ มอลต์ ข้ าว นา้ ตาล กากนา้ ตาล ผลไม้ กระบวนการหมัก ให้ เกิดกรดอะซิติก เป็ นการหมัก 2 ขันตอน ้ คือการหมักให้ เป็ นไวน์โดยใช้ เชื ้อยีสต์ และการหมักให้ เกิดกรดอะซิติกด้ วยเชื ้อแบคทีเรี ย วัตถุดิบที่มีสว่ นประกอบของ แป้งอยู่ต้องหมักด้ วยจุลินทรี ย์สร้ างเอนไซม์ย่อยแป้งให้ เป็ นน ้าตาลก่อน ทังนี ้ ้อาจทาโดยการเติมอะไมเลสเพื่อช่วยย่อยแป้งให้ เป็ นน ้าตาลก่อนนาไปหมักให้ เกิดแอลกอฮอล์ และกรดอะซิติกต่อไป (วราวุฒิ และรุ่งนภา, 2532; นิอร, 2555) แบคทีเรี ยสร้ าง กรดอะซิติกที่ใช้ ในการหมักน ้าส้ มสายชูได้ แก่ Acetobacter, Gluconobacter และ Gluconacetobacter (Gullo and Giudici, 2008; Yuan et al., 2013) น ้าส้ มสายชูหมักเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ได้ รับการพัฒนาและเป็ นที่ต้องการมากในตลาดปั จจุบนั (Ubeda et al., 2013) กอปรกับข้ อมูลจากคณะวิจยั สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร (2015) รายงานว่าทุกๆ ปี ที่ถึงฤดูกาลเก็บเกี่ ยวแอปริ คอต พบว่ามี แอปริ คอตที่ถูกคัดทิง้ ด้ วยสาเหตุหลายประการ เช่น ขนาดและรู ปร่ างที่ไม่สม่าเสมอ และมีปริ มาณผลผลิตที่มากเกินไป ดังนันการใช้ ้ แอปริ คอตซึ่งมีคณ ุ ภาพรองลงมา ไปผลิตน ้าส้ มสายชูเพื่อใช้ ประโยขน์ในเชิงสุขภาพ จึงถือว่าเป็ นการสร้ างความ แตกต่างของคุณภาพทางประสาทสัมผัสที่เป็ นพิเศษด้ วยวิธีการที่เหมาะสมในการผลิต อันเป็ นการลดการสูญเสียของผลไม้ และยังสอดคล้ องกับสภาวะในปั จจุบนั ที่ผ้ คู นให้ ความสนใจต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่มีคณ ุ ภาพในการแปรรูปอาหาร

อุปกรณ์ และวิธีการ 1. การตรวจวิเคราะห์ คุณภาพสับสเตรท นาสับสเตรท 2 ชนิด ได้ แก่ ไวน์แอปริ คอต ซึง่ เป็ นไวน์ผลไม้ ที่ได้ จากการหมักในระดับห้ องปฏิบตั ิการของสถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา และน ้าสับปะรด ที่เตรี ยมได้ จากการเก็บเกี่ยวผลสับปะรด ต.บ้ าน เสด็จ อ. เมือง จ. ลาปาง ไปตรวจวิเคราะห์คณ ุ สมบัติการนาไฟฟ้า คุณภาพทางกายภาพ และคุณสมบัติทางเคมี ดังนี ้ ค่า การนาไฟฟ้า โดยใช้ เครื่ องวัดค่าการนาไฟฟ้า (conductivity meter) ค่าความขุ่น โดยใช้ เครื่ องวัดความขุ่น (turbidometer) การ ตรวจวิเคราะห์ค่าพีเอช โดยใช้ เครื่ องวัดพีเอช (Consourt, Model C831, Belgium) ปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทงหมด ั้ (TSS) โดยใช้ hand refractometer ปริมาณกรดทังหมด ้ (เทียบกับกรดซิตริกหรื อกรดอะซิติก) โดยวิธีการไตเตรทตามวิธีดดั แปลงจาก Iland et al. (2000) ปริมาณแอลกอฮอล์โดยใช้ Ebulliometer ปริ มาณสารประกอบฟิ นอลิคทังหมด ้ ในรูปของกรดแกลลิค ตาม วิธีดดั แปลงจาก Zoecklein et al. (1995) และฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระด้ วยวิธี scavenging activity (Wongputtisin, 2007) 2. การหมักให้ เกิดกรดอะซิตกิ วางแผนการทดลองแบบ CRD (Completely Randomized Design) กาหนดสิ่งทดลองจานวน 5 สิ่งทดลอง ทาการ ทดลอง 3 ซ ้า ในการศึกษาการหมักให้ เกิดกรดอะซิติก ใช้ แบคทีเรี ยสร้ างกรดอะซิติกสายพันธุ์ TK ในการเตรี ยมกล้ าเชื ้อและ หมักให้ เกิดกรดอะซิติกตามวิธีดดั แปลงจาก Chomsri et al. (2010) ทากล้ าเชื ้อโดยใช้ แบคทีเรี ยสร้ างกรดอะซิติกสายพันธุ์ TK ที่เตรี ยมบนอาหารเลี ้ยงเชื ้อ GY เติมในสับสเตรทจานวน 100 มิลลิลิตร ที่อยูใ่ นฟลาสก์ขนาด 250 มิลลิลิตร ปิ ดจุกด้ วยสาลี บ่ม ในตู้บ่มที่อณ ุ หภูมิ 30 องศาเซลเซียส นาน 5 วัน จึงนาไปใช้ สาหรับเป็ นกล้ าเชื ้อในการหมักให้ เกิดกรดอะซิติก การเตรี ยมการ หมักให้ เกิดกรดอะซิติกทาโดยเตรี ยมสับสเตรทไวน์แอปริ คอตที่มีการเสริ มน ้าสับปะรดร้ อยละ 0, 5, 10 20 และ 30 จานวน 80 มิลลิลิตร ใส่ลงในฟลาสก์ขนาด 250 มิลลิลิตร เติมกล้ าเชื ้อ 20 มิลลิลิตร ใช้ สาลีปิดฟลาสก์ ก่อนนาไปหมักที่อณ ุ หภูมิ 30 องศาเซลเซียส นาน 7 วัน และทาการตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพของผลิตภัณฑ์น ้าส้ มสายชูแอปริคอตที่ได้ 3. การตรวจวิเคราะห์ คุณภาพผลิตภัณฑ์ นา้ ส้ มสายชูแอปริคอต ตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพผลิตภัณฑ์น ้าส้ มสายชูแอปริ คอตจานวน 4 สิ่งทดลอง ในด้ านคุณสมบัติการนาไฟฟ้าด้ วย เครื่ องวัดค่าการนาไฟฟ้า ตรวจวิเคราะห์ คุณภาพทางกายภาพ คือ วัดค่าความขุ่น และค่าสีด้วยเครื่ องวัดสี (Colorimeter, 106

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ColorQuest® XE, Hunter Associates Laboratory, Inc.) และตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพทางเคมี ดังนี ้คือ วิเคราะห์ค่าพีเอช ปริมาณของแข็งที่ละลายได้ ทงหมด ั้ ปริมาณกรดทังหมด ้ ปริมาณสารประกอบฟี นอลิคทังหมด ้ และฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ 4. การวิเคราะห์ ทางสถิติ รวบรวมข้ อมูลที่ได้ จากการศึกษา แล้ วนาไปวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ ANOVA (Analysis of Variance) จากนัน้ เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยด้ วยการวิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติแบบ Duncan’s New Multiple’s Range Test (DMRT)

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. คุณภาพสับสเตรท ผลการตรวจวิเคราะห์คณ ุ ภาพทางเคมีของไวน์แอปริ คอตและน ้าสับปะรดที่ใช้ เป็ นสับสเตรทในการศึกษาการหมักให้ เกิดกรดอะซิติกพบว่า ไวน์แอปริคอตมีคา่ พีเอช ปริมาณกรดทังหมด ้ ปริมาณของแข็งที่ละลายได้ ทงหมด ั้ ปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ และปริ มาณแอลกอฮอล์เฉลี่ยเท่ากับ 2.89, ร้ อยละ 1.02, 5.30 องศาบริ กซ์, ร้ อยละ 1.43 และร้ อยละ 11.00 ตามลาดับ (Table 1) ซึง่ องค์ประกอบพื ้นฐานของสับสเตรทไวน์แอปริ คอตนี ้มีค่าเฉลี่ยใกล้ เคียงกับไวน์ผลไม้ ชนิดอื่นๆ ที่ได้ มีการศึกษาวิจยั ไว้ ก่อนหน้ านี ้ (Panjai et al., 2009; Chomsri et al., 2013; Hui and Evranuz, 2012) ส่วนปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค ทังหมดในไวน์ ้ แอปริ คอตมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 220.56 มิลลิกรัมต่อลิตร ทังนี ้ ้ขึ ้นอยู่กบั ชนิดของผลไม้ สายพันธุ์ วิธีการหมักไวน์ ซึง่ มีรายงานปริ มาณฟี นอลิคทังหมดที ้ ่พบในไวน์องุ่นขาวอยู่ในช่วง 140-845 มิลลิกรัมต่อลิตร (Woraratphoka et al., 2007; Hernanz et al., 2007; Nardini et al., 2009; Gullo and Giudici, 2008; Sengun and Karabiyikli, 2011) ทังนี ้ ้ ์ สารประกอบฟี นอลิคจัดเป็ นสารออกฤทธิทางชีวภาพที่มีคณ ุ สมบัติในการต้ านอนุมลู อิสระ (Roussis et al., 2008) ดังผลการ ์ ตรวจวิเคราะห์ ค่าฤทธิ การต้ านอนุมูลอิสระที่พบในไวน์ แอปริ คอตที่ใช้ เป็ นสับสเตรทในการศึกษานี ้ ส่วนผลการวิเคราะห์ คุณภาพของน ้าสับปะรดพบว่า มีพีเอช ปริ มาณกรดทังหมด ้ ปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทงหมด ั้ ปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ และ ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิคทังหมดเฉลี ้ ่ยเท่ากับ 3.81 ร้ อยละ 0.51, 11.0 องศาบริ กซ์, ร้ อยละ 6.43 และ 415 มิลลิกรัมต่อ ลิตร ตามลาดับ ซึง่ เป็ นค่าที่ใกล้ เคียงกับผลการวิจยั ที่ได้ มีการรายงานไว้ ส่วนความปรวนแปรขององค์ประกอบทางเคมีอาจ ขึ ้นกับปั จจัยหลายประการ เช่น สายพันธุ์ พื ้นที่ปลูก และฤดูกาล (นิอร และคณะ, 2554; Kongsuwan et al., 2009; Pongjunta et al., 2011; Chomsri et al., 2013; Thepkaew and Chomsri, 2013; Shamsudin et al., 2014) จากผลการ วิเคราะห์องค์ประกอบของสับสเตรท แอลกอฮอล์และนา้ ตาลเป็ นสับสเตรทหลักที่แบคทีเรี ยใช้ ในการสร้ างกรดอะซิติกใน ผลิตภัณฑ์น ้าส้ มสายชู (Qi et al., 2013; Yuan et al., 2013) Table 1 Property of pineapple juice Property pH Total acidity (%) Total soluble solid (°Brix) Reducing sugar content (%) Alcohol content (% v/v) Total phenolic content (mg/l) Antioxidant activity (%)* Conductivity (mS/m) Turbidity (NTU) * % ABTS scavenging effect

Apricot wine 2.89±0.04 1.02±0.00 5.30±0.14 1.43±0.12 11.00+0.00 220.56±5.50 14.87±1.00 1.41±0.16 33.95±0.92

Pineapple juice 3.81±0.08 0.51±0.08 11.00±0.04 6.43±0.70 415.56±3.14 28.33±0.40 11.00±0.04 661.00±43.84

2. การหมักให้ เกิดกรดอะซิตกิ และคุณภาพผลิตภัณฑ์ นา้ ส้ มสายชูแอปริคอต การศึกษาการหมักน ้าส้ มสายชูแอปริคอตด้ วยการใช้ ไวน์แอปริคอต ที่ได้ จากกระบวนการหมักให้ เกิดเป็ นแอลกอฮอล์เป็ นสับสต รทหลัก แล้ วทาการเสริ มน ้าสับปะรดเพื่อเป็ นสับสเตรทร่ วมในกระบวนการหมักให้ เกิดกรดอะซิติกแบบผิวหน้ าคงที่ครัง้ นี ้ ใช้ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

107


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

กล้ าเชื ้อน ้าส้ มสายชูที่ปริ มาณร้ อยละ 20 ของสับสเตรทเริ่ มต้ น มีการควบคุมอุณหภูมิไว้ ที่ 30 องศาเซลเซียส ตลอดระยะเวลา การหมักนาน 7 วัน เมื่อพิจารณาปริ มาณกล้ าเชื ้อที่ใช้ กระบวนการหมักน ้าส้ มสายชูในลักษณะใกล้ เคียงกันของอุมาพร และ คณะ (2556) ที่คณะวิจยั รายงานว่า การใช้ กล้ าเชื ้อในระดับที่สงู ขึ ้น ทาให้ น ้าส้ มสายชูหมักจากผลหนามแดงมีปริ มาณที่สงู กว่า การใช้ กล้ าเชื ้อในระดับต่า ซึง่ น ้าส้ มสายชูหมักจากหนามแดงใช้ กล้ าเชื ้อที่ระดับสูงสุดคือร้ อยละ 25 น ้าสับสับปะรดที่เติมลงไปในการหมักนา้ ส้ ม สายชูจากแอปริ คอตครัง้ นี ้ เพื่อเป็ นแหล่งของสารอาหารต่างๆ ที่จาเป็ นต่อการ เจริญเติบโตของแบคทีเรี ยสร้ างกรดอะซิติก (acetic acid bacteria) เนื่องจากแบคทีเรี ยนี ้มีหน้ าที่สาคัญในการผลิตกรดอินทรี ย์ ชนิดต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรดอะซิติก ซึง่ เป็ นกรดอินทรี ย์สว่ นใหญ่ที่ พบในกระบวนการหมักน ้าส้ มสายชู (Li et al., 2014) อย่างไรก็ตามกระบวนการหมักให้ เกิดกรดอะซิติกของแบคทีเรี ยสร้ างกรดอะซิติก ยังขึน้ อยู่กับปั จจัยสาคัญต่างๆ อีกหลาย ประการ เช่น คุณสมบัติข องสายพันธุ์ ของแบคที เรี ย ปริ มาณออกซิเจนที่เพี ยงพอต่อกระบวนการออกซิเดชั่น ปริ มาณ สารอาหารที่เหมาะสมต่อการเจริ ญเติบโต และอุณหภูมิในการหมักเป็ นต้ น (Gullo and Giudici, 2008; Solieri and Giudici, 2009; Guerrero et al., 2011) ผลของระดับของการเสริ มน ้าสับปะรดทาที่ร้อยละ 0 5 10 20 และ 30 ของสับสเตรทหลัก พบว่า สับสเตรทเริ่ มต้ นจานวน 5 สิ่งทดลองมีค่าความขุ่น (Figure 1) และค่าการนาไฟฟ้า (Figure 2) ที่วดั ได้ อยู่ระหว่าง 33.33-80.10 NTU และ 1.29-1.87 mS/m ตามลาดับ โดยมีข้อสังเกตคือการเติมน ้าสับปะรดเพื่อใช้ เป็ นสับสเตรทร่วมส่งผลให้ สับสเตรทเริ่มต้ นที่ใช้ ในการหมักน ้าส้ มสายชูจากแอปริคอตมีค่าความขุ่น และค่าการนาไฟฟ้าเพิ่มสูงขึ ้นด้ วย ซึง่ น่าจะอธิบายได้ จากองค์ประกอบต่างๆ ที่พบอยู่ในนา้ สับปะรดที่เป็ นสารแขวนลอย และสารประกอบต่างๆ เช่น กรดอะมิโน กรดอินทรี ย์ อนุภาคไอออน ที่มีคณ ุ สมบัติก่อให้ เกิดความขุ่นและมีสมบัติของการนาไฟฟ้า (Council of Europe, 2005; Eryuruk et al., 2015) และเมื่อหมักสับสเตรทที่มีการเสริ มน ้าสับปะรดที่ระดับแตกต่างกัน พบว่าค่าความขุ่นของผลิตภัณฑ์หลังการหมักมีค่า เพิ่มสูงเพิ่มขึ ้นจากสับสเตรทเริ่ มต้ น ซึ่งน่าจะอธิบายได้ จากเซลล์แบคทีเรี ยที่เจริ ญเพิ่มจานวนขึ ้นในระหว่างการหมัก โดย การเสริ มน ้าสับปะรดในระดับที่สงู เพิ่มขึ ้นส่งผลให้ ได้ ผลิตภัณฑ์ที่มีค่าความขุ่นสูงเพิ่มขึ ้น (p<0.05) ซึง่ การเสริ มน ้าสับปะรดที่ ร้ อยละ 30 ทาให้ ค่าความขุ่นของผลิตภัณฑ์ที่ได้ หลังจากการหมักมีค่าสุงสุดเท่ากับ 737.67 NTU และค่าการนาไฟฟ้าที่ได้ ใน ผลิตภัณฑ์ก็มีค่าเพิ่มสูงขึ ้นจากสับสเตรทเริ่ มต้ นประมาณ 2-3 เท่า โดยค่าการนาไฟฟ้าในผลิตภัณฑ์ทงั ้ 5 สิ่งทดลองมีค่าอยู่ ระหว่าง 3.84-4.39 mS/m 0%

5%

10%

20%

30%

31.96+1.98d 135.67+10.50d 243.00+13.00c 629.00+52.33b 737.67+40.12a Figure 1 Apricot vinegar products fermented with different supplementation levels of pineapple juice (%) and their turbidity values

108

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 2 Conductivity values of apricot vinegar products fermented with different supplementation levels of pineapple juice (%) ผลของระดับของการเสริ มน ้าสับปะรดทาที่ร้อยละ 0 5 10 20 และ 30 ของสับสเตรทหลัก ที่มีต่อค่าสีพบว่า เมื่อใช้ น ้า สับปะรดเสริ มในรูปแบบสับสเตรทร่วมในระดับที่สงู ขึ ้นทาให้ ผลิตภัณฑ์น ้าส้ มสายชูหมักมีแนวโน้ มของค่าสี L* a* และ b ที่มีค่า เพิ่มสูงขึ ้นอย่างค่อนข้ างชัดเจน (Table 2) โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้ จากการหมักสับสเตรทที่มีการเสริ มน ้าสับปะรดร้ อยละ 5 และ 10 ให้ ค่าความสว่าง (L*) สูงกว่าการใช้ สบั สเตรทที่ไม่เสริ มน ้าสับปะรด (p<0.05) ในขณะที่การเสริ มน ้าสับปะรดในสับสเตรทห ลักร้ อยละ 30 ทาให้ ได้ ผลิตภัณฑ์หลังการหมักที่มีค่าความเป็ นสีแดง (a*) และค่าความเป็ นสีเหลือง (b*) สูงสุด คือมีค่าเท่ากับ 1.23 และ 16.60 ตามลาดับ (p<0.05) Table 2 L*, a* and b* color values of apricot vinegar fermented with different supplementation levels of pineapple juice Pineapple juice levels (%) L* a* c 0 59.76+0.05 -3.48+0.05e 5 86.37+0.55a -3.05+0.17d 10 88.3+0.46a -1.35+0.13c 20 82.80+2.81b 0.87+0.30b 30 79.78+236b 1.23+0.14a Results as mean + SD of triplicate measurements * Within a column different letters denote significant differences (p<0.05)

b* -5.75+0.03e 3.48+0.79d 9.97+0.36c 15.33+0.70b 16.60+0.37a

ผลของการวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของผลิตภัณฑ์น ้าส้ มสายชูหมักจากไวน์แอปริ คอตที่มีการเสริ มน ้าสับปะรด ที่ระดับต่างๆ แสดงใน Table 3 ค่าพีเอช ปริ มาณกรดทังหมด ้ ค่าของแข็งที่ละลายได้ ทงหมด ั้ และปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ของ ผลิตภัณฑ์น ้าส้ มสายชูหมักมีค่าอยู่ระหว่าง 2.76-3.06, ร้ อยละ 1.05-5.41, 5.73-7.73 และ 14.93-22.13 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลาดับ โดยทัว่ ไปปริ มาณกรดทังหมดที ้ ่พบในผลิตภัณฑ์น ้าส้ มสายชูหลังการหมักมีค่าที่แตกต่างกันไป ขึ ้นกับชนิด และ กรรมวิธีในการผลิต ซึง่ พบว่ามีการรายงานอยู่ในช่วงร้ อยละ 2.27-10.63 (อุมาพร และคณะ, 2556; Palacios et al. 2002; Chomsri et al., 2010; Wang et al., 2013; Li et al., 2014) ในการศึกษาครัง้ นี ้พบว่า การเสริ มน ้าสับปะรดร้ อยละ 10 ของ ปริมาณสับสเตรทหลัก ทาให้ ได้ ผลิตภัณฑ์ที่มีปริ มาณกรดทังหมดสู ้ งสุด (p<0.05) แสดงให้ เห็นได้ ว่าน ้าสับปะรดมีอิทธิพลต่อ การสร้ างกรดของแบคที เรี ยสร้ างกรดอะซิติกในกระบวนการหมักนา้ สัมสายชูจากไวน์ แ อปริ คอต ซึ่งน่าจะอธิ บายได้ จาก องค์ประกอบต่างๆ ที่พบในน ้าสับปะรด เช่น น ้าตาล กรดอะมิโน และแร่ธาตุ (USDA, 2015) ที่แบคทีเรี ยใช้ เป็ นสารอาหารใน การเจริ ญเติบโตและสร้ างกรดอินทรี ย์ในกระบวนการหมัก ซึง่ มีข้อควรพิจารณาที่แสดงให้ เห็นว่า การเติมน ้าสับปะรดเพื่อเป็ น การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

109


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สับสเตรทร่วมในระดับสูงกว่าร้ อยละ 10 สาหรับการหมักน ้าส้ มสายชูในการศึกษานี ้ไม่สง่ ผลให้ ปริ มาณการสร้ างกรดแบคทีเรี ย เพิ่มสูงขึ ้น ทังนี ้ ้อาจมีเหตุผลจากสายพันธุ์ของแบคทีเรี ยที่ใ ช้ ในการศึกษานี ้สามารถใช้ สารอาหารในสับสเตรทในระดับที่จากัด ในการสร้ างกรดอินทรี ย์ในสภาวะการหมักที่ทาการทดลองครัง้ นี ้ และจากคุณสมบัติของฤทธิ์ การต้ านอนุมลู อิสระใน น ้าส้ มสายชู เป็ นตัวบ่งชี ้ถึงศักยภาพการมีประโยชน์ต่อสุขภาพ ทาให้ ผลิตภัณฑ์สามารถแข่งขันได้ ในท้ องตลาด การศึกษานี ้ จึงตรวจวิเคราะห์ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค และค่าฤทธิ์ การต้ านอนุมูลอิสระในนา้ ส้ มสายชูที่ได้ จากการหมักด้ วย ผล การศึกษาที่ได้ พบว่า มีค่าอยู่ในช่วง 211.67-273.67 มิลลิกรัมต่อลิตร และร้ อยละ 23.08-32.96 ตามลาดับ โดยพบว่าการ เสริมน ้าสับปะรดในระดับที่เพิ่มสูงขึ ้นในการหมักน ้าส้ มสายชูจากสับสเตรทผสม ทาให้ ได้ ผลิตภัณฑ์หลังจากการหมักมีปริ มาณ สารประกอบฟี นอลิคเพิ่มสูงขึ ้นด้ วย (p<0.05) ซึง่ รายงานวิจยั ของ Ubeda et al. (2013) พบว่าน ้าส้ มสายชูหมักจากสตรอเบอรี่ ในรู ปแบบต่างๆ ส่งผลให้ ผลิตภัณฑ์ ที่ได้ มีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิคทัง้ หมดแตกต่างกัน โดยมีค่าอยู่ในช่วง 683-1605 มิลลิกรัมต่อลิตร ปริ มาณการเพิ่มขึ ้นของสารประกอบฟี นอลิคซึ่งเป็ นสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่มีคณ ุ สมบัติในการต้ านอนุมลู ์ อิสระในผลิตภัณฑ์ที่ได้ จากการทดลองนี ้ ไม่ส่งผลต่อการความแตกต่างกันของค่าฤทธิ การต้ านอนุมลู อิสระในนา้ ส้ มสายชู (p>0.05) ทังนี ้ ้ อาจมีสาเหตุจากวิธีการตรวจวิเคราะห์ที่มีผลกระทบต่อค่าที่วดั ได้ ด้วย เนื่องจากชนิดของสารประกอบที่ แตกต่างกันมีฤทธิ์ในการยับยังอนุ ้ มลู อิสระที่แตกต่างกัน (Ubeda et al., 2013) Table 3 Chemical properties of apricot vinegar fermented with different supplementation levels of pineapple juice Pineapple pH Total acidity TSS Reducing o juice levels (%) ( Brix) sugars (%) (g/L) a d d 0 3.06+0.01 1.05+0.09 5.73+0.11 14.93+0.15e 5 2.74+0.02d 5.67+0.25b 6.60+0.00c 16.50+0.30d 10 2.76+0.02d 5.92+0.06a 7.00+0.00b 17.63+051c 20 2.83+0.02c 5.57+.06c 7.13+0.11b 20.16+0.20b 30 2.89+0.00b 5.41+0.03c 7.73+011a 22.13+0.55a † % ABTS scavenging effect Results as mean + SD of triplicate measurements * Within a column different letters denote significant differences (p<0.05)

Total phenolic compounds (mg/L) 211.67+12.42c 216.67+5.50c 225.67+9.07c 254.67+11.01b 274.67+7.02a

Antioxidant activity (%)† 25.08+6.58ns 24.24+0.35ns 32.96+9.77ns 24.33+2.78ns 23.08+0.24ns

สรุ ป การใช้ น ้าสับปะรดที่ระดับแตกต่างกัน เสริ มในไวน์แอปริ คอตเพื่อเป็ นสับสเตรทร่ วมในการหมักน ้าส้ มสายชู ส่งผล กระทบต่อ คุณ สมบัติ ก ารน าไฟฟ้า คุณ ภาพทางกายภาพ และทางเคมี ข องผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ ไ ด้ จ ากการหมัก โดยการหมัก นา้ ส้ มสายชูที่ได้ จากการเสริ มนา้ สับปะรดร้ อยละ 10 ให้ ผลิตภัณฑ์ที่มีปริ มาณกรดทังหมดสู ้ งสุดเท่ากับร้ อยละ 5.92 ผล การศึกษาที่ได้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในการผลิตน ้าส้ มสายชูหมักในขนาดกาลังการผลิตในระดับที่สงู ขึ ้น

กิตติกรรมประกาศ

คณะวิจยั ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ที่สนับสนุนการศึกษาวิจยั ในทุกมิติ

เอกสารอ้ างอิง นิอร โฉมศรี . 2555. จุลชีววิทยาอาหาร. บริ ษัทเชียงใหม่ปริ นท์ติ ้ง จากัด. เชียงใหม่. 170 น. วราวุฒิ ครูสง่ และรุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต. 2532. เทคโนโลยีการหมักในอุตสาหกรรม. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ . กรุงเทพมหานคร. 209 น. นิอร โฉมศรี ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน พงศ์ยทุ ธ นวลบุญเรื อง อัณญ์กาญจน์ นวลบุญเรื อง และเข็มทอง อ๋องทิพย์. 2554. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากสับปะรดเพื่อใช้ ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์. รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์. สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลล้ านนา, ลาปาง. 642 น. อุมาพร ทาไธสง เสาวภา ทรัพย์ประสาท และ วิชมณี ยืนยงพุทธกาล. 2556. การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่ องดื่มน ้าส้ มสายชูหมักจากผลหนามแดง. ว. วิทย์. กษ. 44(2) (พิเศษ): 417-420. 110

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Ali, S., Masud, T., and Abbsasi, K.S. 2011. Physico-chemical characteristics of apricot (Prunus armeniaca L.) grown in Northern Areas of Pakistan. Sci. Hortic. 130: 386–392. Campbell, O.E., Merwin, I.A. and Padilla-Zakour, O.I. 2013. Characterization and the effect of maturity at harvest on the phenolic and carotenoid content of northeast USA apricot (Prunus armeniaca) varieties. J. Agric. Food Chem. 61: 12700-12710. Chomsri, N., Chanrittisen, T. and Thepkaew, N. 2013. Application of selected non-Saccharomyces wine yeasts mixed with Saccharomyces cerevisiae in pineapple juice fermentation to pineapple wine. Food Innovation Asia Conference 2013: Empowering SMEs through Science and Technology, 13-14 June 2013, BITEC, Bangkok, THAILAND. Chomsri, N. Chanrittisen, T. and Thepkaew, N. 2010. Fermentation of pineapple juice to vinegar with different inoculation protocols and its use for beverage production. The 2nd RMUTIC on Science and Technology Development in Creative Economy. Bangkok, Thailand. 24-26 November 2010. Chomsri, N., Chanrittisen, T., Sruamsiri, P. and Jarupanthu, C. 2013. Microbiological and physicochemical parameters for the production of fresh-cut pineapple cv. Nanglae. Proceedings: international Symposium on Agri-Foods for Health & Wealth. Auguts 5-8, 2013, Thailand. pp. 109-115. Considine, M.D. and Considine, G.D. 2012. Foods and food production encyclopedia . Van Nostrand Reinhold Company Inc. New York. 2301 p. Council of Europe. 2005. Physical and physicochemical methods. European Pharmacopoeia. 23-24. Eryuruk, K., Yang, S., Suzuki, D., Sakaguchi, I. and Katayam, A. 2015. Effects of bentonite and yeast extract as nutrient on decrease in hydraulic conductivity of porous media due to CaCO3 precipitation induced by Sporosarcina pasteurii. J. Biosci. Bioeng., doi:10.1016/j.jbiosc.2015.01.020. Galletto, L. and Rossetto, L. 2015. A hedonic analysis of retail Italian vinegars. Wine Economics and Policy 4: 60–68. Gullo, M., and Giudici, P. 2008. Acetic acid bacteria in traditional balsamic vinegar: phenotypic traits relevant for starter cultures selection. Int. J. Food Microbiol., 125: 46-53. Guerrero, E.D., Mejías, R.C., Marín, R.N., Bejarano, M.J.R., Dodero, M.C.R. and Barroso, C.G. 2011. Accelerated aging of a sherry wine vinegar on an industrial scale employing microoxygenation and oak chips. Eur. Food Res. Technol. 232(2): 41-254. Hernanz, D., Recamales, A.F., Gonzalez-Miret, M.L., Gomez-Mıguez, M.J., Vicario, I.M., and Heredia, F.J. 2007. Phenolic composition of white wines with a prefermentative maceration at experimental and industrial scale. J. Food Eng. 80: 327– 335. Hui, Y.H. and Evranuz, Ö. 2012.Hand book of plant-based fermented food and beverage technology. CRC Press, Boca Raton. 821 p. Kongsuwan, A., Suthiluk, P., Theppakorn, T., Srilaong, V. and Setha, S. 2009. Bioactive compounds and antioxidant capacities of phulae and nanglae pineapple. Asian Journal of Food and Agro-Industry. Special Issue: 44-50. Iland, P., Ewart, A., and Sitters, J., Markides, A., Bruer, N. 2000. Techniques for chemical analysis and quality monitoring during winemaking. Tony Kitchener Printing Pty. Ltd., Adelaide. 111 p. Li, T., Lo, Y.M. and Moon, B. 2014. Feasibility of using Hericium erinaceus as the substrate for vinegar fermentation. LWT – Food Sci. Techno. 55: 323–328. Melgarejo, P., Calin-Sanchez, A., Carbonell-Barrachina, A.A., Martinez-Nicolas, J.J., Legua, P, Matinez, R and Hernandez, F. 2014. Antioxidant activity, volatile compostion and sensory profile of four new very-early apricots (Prunus armeniaca L.). J. Sci. Food Agric. 85-94 Nardini, M., Forte, M., Vrhovsek, U., Mattivi, F., Viola, R. and Scaccini, C. 2009. White wine phenolics are absorbed and extensivelymetabolized in humans. J. Agric. Food Chem. 57: 2711–2718. Qi, Z., Yang, H., Xia, X., Xin, Y., Zhang, L., Wang, W, I. and Yu, X. 2013. A protocol for optimization vinegar fermentation according to the ratio of oxygen consumption versus acid yield. J. Food Eng.116: 304–309. Palacios, V., Valcaarcel, M., Caro, I. and Pearez, L. 2002. Chemical and biochemical transformations during the industrial process of sherry vinegar aging. J. Agric. Food Chem. 50: 4221-4225. Panjai, L., Ongthip, K. and Chomsri, N. 2009. Complex fruit wine produced from dual culture fermentation of pineapple juice with Torulaspora delbrueckii and Saccharomyces cerevisiae. Asian Journal of Food and Agro-Industry. 2(2):135-139. Pongjanta, J., Nualbunruang, A. and Panchai, L. 2011. Effect of location and storage time on physicochemical properties of pineapple fruit. Asian Journal of Food and Agro-Industry 4(03): 153-160. Roussis, I.G., ambropoulos, I., Tzimas, P., Gkoulioti, A., Marinos, V., Tsoupeis, D. and Boutaris, I. 2008. Antioxidant activities of some Greek wines and wine phenolic extracts. Journal of Food Composition and Analysis 21: 614– 621. Roussos, P.A., Sefferou, V., Denaxa, N., Tsantili, E. and Stathis, V. 2011. Apricot (Prunus armeniaca L.) fruit quality attributes and phytochemicals under different crop load. Sci. Hortic. 129: 472–478. Sengun, I.Y. and Karabiyikli, S. 2011. Importance of acetic acid bacteria in food industry. Food Control 22: 647 – 656. Shamsudin, R., Adzahan, N.M., Yee, Y.P. and Mansor, A. 2014. Effect of repetitive ultraviolet irradiation on the physico-chemical properties and microbial stability of pineapple juice. Innov. Food Sci. Emerg. 23: 114–120. Solieri, L. and Giudici, P. 2009. Vinegars of the World. Springer. Milan. 300 p. Thepkaew, N. and Chomsri, N. 2013. Fermentation of pineapple juice using wine yeasts: kinetics and characteristics. Asian Journal of Food and Agro-Industry. 6(1): 1-10. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

111


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Ubeda, C., Callejón, R.M., Hidalgo, C., Torija, M.J., Troncoso, A.M. and Morales, M.L. 2013. Employment of different processes for the production of strawberry vinegars: effects on antioxidant activity, total phenols and monomeric anthocyanins. LWT - LWT – Food Sci. Techno. 52: 139-145. USDA. 2015. National Nutrient Database for Standard Reference Release 27, Basic Report 09266, Pineapple, raw, all varieties. United States Department of Agriculture. Wang, Z., Yan, M., Chan, X., Li, D., Qin, L. and Li , Z. 2013. Mixed culture of Saccharomyces cerevesiae for acetic acid production. Biochem. Eng. J. 79: 41–45. Woraratphoka, J., Intarapichet, K., Indrapichate, K. 2007. Phenolic compounds and antioxidative properties of selected wines from the northeast of Thailand. Food Chem. 104: 1485–1490. Yuan, Y., Fang, F., Chen, L., Yao, Q. and Chen, K. 2013. Directional isolation of ethanol-tolerant acetic acid bacteria from industrial fermented vinegar. Eur. Food Res. Technol. 236: 573–578. Zoecklein, B.W., Fugelsang, K.C., Gump, B.H. and Nury, F.S. 1995. Wine analysis and production. Chapman &Hall. New York. 621 p.

112

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของเมล่ อนโดยเทคนิคเครื่องหมายสนิปส์ Evaluation of Genetic Diversity in Melon (Cucumis melo L.) by SNP Markers Technique วิภาดา เจริญชาติ1 เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี 1 แสงทอง พงษ์ เจริญกิต2 และอรพินธุ์ สฤษดิ์นา1 Wipada Charoenchad1 Chalermsri Nontaswatsri1 Saengtong Pongjaroenkit2 and Orapin Saritnum1

บทคัดย่ อ เมล่อน (Cucumis melo L.) เป็ นพืชที่สาคัญในสกุลแตงทังในด้ ้ านเศรษฐกิจและคุณค่าทางโภชนาการ เมล่อนมีความ หลากหลายทางด้ านพันธุกรรมและลักษณะทางสัณฐานวิทยา เช่น ลักษณะผิวผล สีผล สีเนื ้อผล ขนาดผล กลิ่น ความหวาน และความต้ านทานโรค เป็ นต้ น จากการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของเมล่อนจานวน 15 ตัวอย่าง โดยการเก็บ บันทึกลักษณะทางสัณฐานวิทยาจานวน 7 ลักษณะ และเครื่ องหมายดีเอ็นเอสนิปส์ (SNP) พบว่า เครื่ องหมายดีเอ็นเอสนิปส์ จานวน 232 เครื่ องหมาย จาก 350 เครื่ องหมาย แสดงความแตกต่างระหว่างแต่ละตัวอย่างเมล่อน มีค่าสัมประสิทธิ์ ความ เหมือนทางพันธุกรรมอยู่ระหว่าง 0.63-0.97 การจัดกลุม่ โดยวิธี UPGMA สามารถแบ่งได้ 4 กลุม่ โดยเมล่อนที่มีลกั ษณะผิวผล แบบตาข่ ายสามารถจัดอยู่ในกลุ่มที่ 1 และ 2 ซึ่งในสองกลุ่มนี แ้ ตกต่างกันที่ลักษณะสีผิวผลและสีเนื อ้ ผล ส่วนเมล่อนที่ มี ลักษณะผิวผลแบบเรี ยบสามารถจัดได้ ในกลุ่มที่ 3 และ 4 ซึง่ การจัดกลุ่มดังกล่าวมีความสัมพันธ์กบั ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ข้ อมูลที่ได้ นี ้จะเป็ นประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์เมล่อนต่อไป คาสาคัญ : เมล่อน สัณฐานวิทยา สนิปส์ ความหลากหลายทางพันธุกรรม

Abstract Melon (Cucumis melo L.) is one of the most important cultivated cucurbits in both of economic and nutrient value. They are grown primarily for their fruit, which show variation of genotype and phenotype such as fruit surface, fruit color, flesh color, fruit size, aromatic, total soluble solid and disease resistance. Genetic diversity among 15 melon samples was studied by analyzing seven morphological traits and SNP molecular markers. The genetic diversity based on 232 of 350 SNP markers was showed similarity coefficient by Simple-matching method range between 0.63-0.97. A cluster analysis by UPGMA method was revealed to 4 clusters. Netted melon was grouped in cluster I and II which differentiated in fruit and flesh color. Smooth melon was grouped in cluster III and IV. The cluster analysis was related to morphology and the data will be useful for melon breeding program further. Keywords : Cucumis melo L., morphology, SNP marker, Genetic diversity

คานา เมล่อนหรื อแตงเทศ (Cucumis melo L.) เป็ นพืชในตระกูล Cucurbitaceae อีกชนิดหนึ่งที่มีความสาคัญทาง เศรษฐกิจทังในเขตร้ ้ อนและเขตอบอุ่น มีการปลูกในหลายประเทศ รวมทังในประเทศไทยเนื ้ ่องจากมีรสชาติดี หวานและมีกลิ่น หอม และเมล่อนยังอุดมไปด้ วยโปรตีน แร่ ธาตุและวิตามิ น เช่น วิตามินเอ (500-4200 ไอยู/100 กรัม) วิตามินเค (130-330 มิลลิกรัม/100 กรัม)เป็ นต้ น (Maynard et al.,2007) ในปั จจุบนั มีการนาเมล่อนมาใช้ เป็ นอาหารและแปรรูปเป็ นน ้าเมล่อนมาก ยิ่งขึ ้น นอกจากนันยั ้ งมีการนา เมล่อนมาใช้ เป็ นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอาหารด้ วย เช่น ขนม แยม ไอศกรี มรวมทังโยเกิ ้ ร์ต เป็ น ต้ น ในตะวันออกไกลผลอ่อน ของเมล่อนยังสามารถนามาดองและทาซุปได้ อีกด้ วย นอกจากจะใช้ เป็ นอาหารและวัตถุดิบใน อุตสาหกรรมอาหารแล้ วเมล่อนยังถูกนาไปใช้ ในอุตสาหกรรมน ้าหอมและเครื่ องสาอางอีกด้ วย (Wien, 1997) เมล่อนเป็ นพืชที่มี ความสาคัญทางเศรษฐกิจของโลกทังในด้ ้ านคุณค่าทางอาหารและการผลิต โดยในปี 2553 ทัว่ โลกมีการผลิตเมล่อนประมาณ 26 ล้ านตัน โดย 70 เปอร์ เซ็นต์ผลิตในทวีปเอเชียและมีพื ้นที่ปลูกประมาณ 1.1 ล้ านเฮกแตร์ (FAO, 2012) โดยสายพันธุ์ที่ใช้ 1 2

Program in Horticulture, Faculty of Agricultural Production, Maejo University, Chiang Mai 50290, Thailand Faculty of Science, Maejo University, Chiang Mai 50290, Thailand Corresponding author: orapins343@hotmail.com

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

113


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เพาะปลูกมีความหลากหลายและแตกต่างกันในแต่พื ้นที่ขึ ้นอยูก่ บั ความต้ องการของผู้บริโภค ซึง่ ลักษณะที่มีความสาคัญต่อการ บริ โภค เช่น ลักษณะผล ผิวผล สี กลิ่น ความหวาน เป็ นต้ น โดยลักษณะผลเป็ นลักษณะคุณภาพที่สาคัญเพราะเป็ นลักษณะ เบื ้องต้ นที่ผ้ บู ริ โภคสามารถเห็นได้ ลักษณะ ทางสัณฐานวิทยาของผลเมล่อนมีความแตกต่างกันในแต่ ละสายพันธุ์ เช่น ขนาด รูปร่าง สี ผิว เป็ นต้ น (Stepansky et al., 1999) ขนาดผล เมล่อนมีความแตกต่างกันตังแต่ ้ ประมาณ 10 กรัม ถึงหลาย กิโลกรัม ลักษณะรูปร่างแตกต่างกัน เช่น ผลกลมจนถึงผลรี (Stepansky et al., 1999; José et al., 2005) สีผล เป็ นลักษณะ หนึ่งที่มีความแตกต่างกัน เช่น เขียว เหลือง ขาว เป็ นต้ น สีผลสุก เช่น ขาวหรื อส้ ม เป็ นต้ น (Gómez-Guillamon et al., 1985; Nuez et al., 1986) ในการศึกษาถึงความหลากหลายทางพันธุกรรมเพื่อการจัดจาแนกกลุม่ เมล่อนนัน้ ลักษณะเบื ้องต้ นเหล่านี ้ สามารถนาไปใช้ ในการจัดกลุ่มและใช้ ในการจัดการเชื ้อพันธุกรรมเพื่องานปรับปรุงพันธุ์ต่อไปได้ นอกจากลักษณะทางสัณฐาน วิทยาแล้ วการใช้ เทคนิคเครื่ องหมายดีเอ็นเอเป็ นอีกวิธีการหนึ่งที่มีการใช้ อย่างแพร่หลาย เช่น เครื่ องหมายดีเอ็นเอสนิปส์ (SNP: Single Nucleotide Polymorphism) เป็ นเครื่ องหมายดีเอ็นเออีกชนิดหนึ่ งที่เริ่ มมีการใช้ มากขึ ้นเพราะสามารถใช้ แยกความ แตกต่างของสิง่ มีชีวิตเพียงหนึง่ นิวคลีโอไทด์และมีการนามาใช้ ในการศึกษาทางด้ านพันธุกรรมของ เมล่อนทังการศึ ้ กษาเกี่ยวกับ ยีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆ การสร้ างแผนที่ยีน เป็ นต้ น จากการศึกษาของ Moreno et al. (2008) ที่ใช้ เครื่ องหมายดีเอ็นเอ ชนิดสนิปส์ อินเดลและไมโครแซทเทลไลท์ในการศึกษาเกี่ยวกับยีนและลักษณะทางคุณภาพที่เกี่ยวข้ องกับการสุกแก่และความ นิ่มของผลเมล่อน นอกจากนัน้ Deleu et al. (2009) ได้ สร้ างแผนที่ยีนโดยการใช้ เครื่ องหมายดีเอ็นเอชนิดอาร์ เอฟแอลพี เอส เอสอาร์ และอีเอสที-สนิปส์ ในประชากรดับเบิ ้ลแฮพลอยด์ของ PI161375 x ‘Piel de sapo’ รวมทัง้ Esteras et al. (2012) ได้ สร้ างแผนที่ยีนโดยใช้ เครื่ องหมายดีเอ็นเอชนิดสนิปส์และเอสเอสอาร์ ในประชากร F2 ของ Cucurbit pepo ระหว่าง Zucchini (subsp. pepo) × Scallop (subsp. ovifera) ซึง่ มีลกั ษณะฟี โนไทป์ ที่แตกต่างกัน เป็ นต้ น ดังนันการจั ้ ดจาแนกกลุม่ เมล่อนทัง้ จากข้ อมูลทางด้ านสัณฐานวิทยาและข้ อมูลทางด้ านพันธุกรรมจึงมีความสาคัญในการจัดการเชื ้อพันธุกรรมสาหรับงานปรับปรุง พันธุ์ซึ่งจะทาให้ สามารถคัดเลือกสายพันธุ์และการคัดเลือกคู่ผสมในการผลิตลูกผสมได้ อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ ได้ สายพันธุ์ เมล่อนที่มีลกั ษณะที่ดีตรงตามความต้ องการของผู้บริโภคต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ ตัวอย่างเมล่อน (Cucumis melo L.) ที่ได้ จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และบริ ษัทฮอทิเจนเนติคส์ รี เสิร์ช เอส.อี. (เอเชีย) จากัด โดยตัวอย่างเมล่อนที่ใช้ ในการวิจยั นี ้ มีความแตกต่างกันในระดับสายพันธุ์ จานวน 15 ตัวอย่าง จานวนตัวอย่างละ 5 ซ ้า ทาการเพาะเมล็ดในสภาพโรงเรื อน จากนันเก็ ้ บตัวอย่างใบอ่อนเมล่อนอายุประมาณ 7-15 วันหลังเพาะเมล็ด จานวน 1-2 ใบ เพื่อนามาสกัดดีเอ็นเอโดยใช้ ชดุ สกัดดีเอ็นเอสาเร็จ (NucleoSpin Plant II®, Pacific Science Co.,Ltd., Thailand) ดีเอ็นเอที่ได้ เก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ -20 องศาเซลเซียส การตรวจสอบปริ มาณดีเอ็นเอที่สกัดได้ ด้วยการเปรี ยบเทียบกับดีเอ็นเอมาตรฐานโดย การทาอิเล็กโตรโฟรี ซีสและการวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 260 และ 280 นาโนเมตร ต้ นกล้ าเมล่อนจานวน 15 ตัวอย่างที่เก็บตัวอย่างใบแล้ ว ย้ ายปลูกในสภาพโรงเรื อนที่บริ ษัทฮอทิเจนเนติคส์ รี เสิร์ช เอส.อี. (เอเชีย) จากัด อ.สันทราย จ. เชียงใหม่ โดยวางแผนการทดลองแบบสุม่ อย่างสมบูรณ์ (CRD: Completely Randomized Design) เก็บบันทึกข้ อมูลลักษณะ ทางสัณฐานวิทยาที่สาคัญ 7 ลักษณะ คือ ลักษณะผิวผล สีผล สีเนื ้อผล ขนาดผล กลิ่น ความหวานและความต้ านทานโรค การ ตรวจสอบความหลากหลายทางพันธุกรรมโดยใช้ เครื่ องหมายดีเอ็นเอชนิดสนิปส์ (SNP) ใช้ เทคนิคโพลีเมอเรสเชนรี แอคชั่น (PCR) ในการเพิ่มปริ มาณของดีเอ็นเอ (Harel-Beja et al., 2010) โดยใช้ ไพรเมอร์ ทงหมด ั้ 350 คู่ไพรเมอร์ ซึง่ มีขนตอนของ ั้ ปฏิกิริยาโพลีเมอเรสเชนรี แอคชัน่ ดังนี ้ ที่ 94 องศาเซลเซียส 15 นาที (hot start), 94 องศาเซลเซียส 20 วินาที จากนันค่ ้ อยๆ ลด อุณหภูมิลงรอบละ 0.8 องศาเซลเซียส ที่ 65-57 องศาเซลเซียส 60 วินาที จานวน 10 รอบ และที่ 94 องศาเซลเซียส 20 วินาที, 57 องศาเซลเซียส 60 วินาที จานวน 31 รอบ จากนันน ้ าผลิตภัณฑ์ PCR ที่ได้ ไปวิเคราะห์ผล เลือกไพร์ เมอร์ ที่แสดงความ แตกต่างระหว่างแต่ละตัวอย่างเมล่อน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมโดยใช้ โปรแกรม NTSYS-pc Ver.2.2e วิเคราะห์ค่า สัมประสิท ธิ์ ความสัมพันธ์ ท างพันธุ กรรมตามวิธี Simple-matching สร้ างแผนผังความสัม พันธ์ ทางพันธุ กรรมด้ วยวิ ธี Unweighted Pair Group Method with Arithmetic average (UPGMA)

114

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการปลูกทดสอบเพื่อเก็บบันทึกข้ อมูลทางด้ านสัณฐานวิทยาของเมล่อนจานวน 15 ตัวอย่าง โดยทาการเก็บ บันทึกข้ อมูลลักษณะต่างๆ คือ ลักษณะผิวผล สีผล สีเนื ้อผล ขนาดผล กลิ่น ความหวานและความต้ านทานโรค ซึง่ สามารถสรุป ผลได้ ดงั แสดงในตารางที่ 1 ลักษณะผิวผล แบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ ผิวเรี ยบและผิวแบบตาข่าย ลักษณะสีผล แบ่งได้ 4 กลุม่ คือ สี เหลือง สีขาว สีเทา และสีเขียว, ลักษณะสีเนื ้อผล แบ่งได้ 3 กลุม่ คือ เนื ้อสีส้ม สีขาวและสีเขียว ขนาดผล แบ่งได้ 3 กลุม่ คือผล ขนาดเล็กและขนาดกลาง จะเห็นได้ ว่าไม่พบผลขนาดใหญ่ที่มีน ้าหนักผลมากกว่า 3 กิโลกรัม ซึง่ อาจเป็ นผลเนื่องมาจากปั จจัย ของสายพันธุ์ สิง่ แวดล้ อมในการผลิต รวมถึงการจัดการในการผลิตซึง่ เป็ นปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพของขนาดของผล รวมทัง้ ความหวานอีกด้ วย นิพนธ์ (2555) อุณหภูมิที่เหมาะสมสาหรับการเจริ ญเติบโตคือ 15.6 – 32.2 องศาเซลเซียส ในระยะการ เจริ ญทางผลเมื่อมีความเข้ มแสงต่าหรื อมีฝนตกจะส่งผลในปริ มาณน ้าตาลที่สะสมในผลลดลง แต่ในกรณี ที่มีช่วงแสงยาวจะ ช่วยให้ ปริ มาณน ้าตาลสะสมในผลสูงขึ ้น นอกจากนี ย้ งั ช่วยลดการระบาดของโรคได้ การมีกลิ่นสามารถแบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ มี กลิ่นและไม่มีกลิ่น ซึ่งตัวอย่างเมล่อนที่ศึกษาส่วนมากเป็ นกลุ่มที่ไม่มีกลิ่น ความหวานเป็ นลักษณะที่มีความแปรปรวนสูง ซึ่ง เป็ นอีกคุณภาพหนึ่งที่เป็ นผลมาจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้ อมและสายพันธุ์ จากรายงานของ Bos (1986) พบว่าความหวานของ แตงหอมนันจะขึ ้ ้นอยู่กบั สายพันธุ์ ซึง่ จากการทดลองปลูกเมล่อนสองสายพันธุ์ในสารละลาย ที่มีค่า EC 4-8 mS/cm ตังแต่ ้ วนั ที่ 2 เมษายน และเก็บเกี่ยวในวันที่ 10 มิถนุ ายน ถึง 12 สิงหาคม พบว่าพันธุ์ Hoan ให้ จานวนผลต่อต้ นสูงกว่าพันธุ์ Galia (5.7:3.0) ปริ มาณน ้าตาลในผลสูงกว่า (11.7:10.6%) แต่ขนาดผลเล็กกว่า (549 กรัม:1118 กรัม) เมื่อค่า EC สูงกว่า 6 mS/cm จานวนผลต่อต้ นของพันธุ์ Galia จะลดลง ลักษณะทางสัณฐานวิทยาลักษณะสุดท้ ายที่ทาการเก็บบันทึกข้ อมูล คือ ความ ต้ านทานโรค ซึง่ สามารถแบ่งได้ 2 กลุม่ คือ กลุม่ ที่มีความต้ านทานโรคมาก พบการเกิดโรคน้ อยกว่า 20 เปอร์ เซ็นต์ และกลุม่ ที่มี ความต้ านทานโรคปานกลางพบการเกิดโรคในช่วงมากกว่า 20-60 เปอร์ เซ็นต์ ซึ่งลักษณะความต้ านทานโรคนัน้ จะมีความ แตกต่างกันในแต่ละสายพันธุ์ Table1 Plant morphology of 15 melon samples. Acc.

Surface

Skin color

Flesh color

ME01 ME02 ME03 ME04 ME05 ME06 ME07 ME08 ME09 ME10 ME11 ME12 ME13

Smooth Smooth Smooth Netted Smooth Netted Netted Smooth Netted Smooth Netted Netted Netted

Yellow White White Gray Yellow Yellow Yellow Yellow White Yellow Green Green Green

Orange White Orange Green Orange Orange Green Green Orange White Green Green Green

Weight* (kg) 0.43f 1.29ab 1.23abc 0.73def 1.05bcd 1.16abc 0.71def 1.21abc 1.24abc 1.52a 0.57f 1.21abc 0.68ef

Aroma Yes No No No No No No No Yes No No No No

TSS** (° Brix) 12.4a 12.1ab 11.8ab 8.5d 12.0ab 5.0g 11.2b 11.9ab 7.1ef 6.3ef 10.2c 6.0fg 7.5e

Disease infection*** 2 1 1 1 1 1 1 2 2 1 2 2 2

ME14 Netted Green Green 0.95cde No 9.6c 2 ME15 Netted Green Green 1.20abc No 10.0c 1 *Statistics analysis at * P≥ 0.05, df=40, EMS=0.04; ** P≥ 0.05, df=40, EMS=0.4597. *** Scoring: 1= <20% of disease infection, 2= >20-60% of disease infection and 3= >60% of disease infection. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

115


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

จากการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของเมล่อน 15 ตัวอย่าง โดยเทคนิคเครื่ องหมายดีเอ็นเอสนิปส์ (SNP) จานวน 350 คู่ไพรเมอร์ พบว่าไพรเมอร์ จานวน 232 คู่ไพรเมอร์ ให้ แถบดีเอ็นเอแตกต่างกัน (66.29%) และค่าสัมประสิทธิ์ความ เหมือนทางพันธุกรรม (similarity coefficient) อยู่ระหว่าง 0.63-0.97 (Table 2) จากข้ อมูลค่าสัมประสิทธิ์ความเหมือนทาง พันธุกรรมที่ได้ นามาจัดกลุม่ โดยวิธี UPGMA ที่วิเคราะห์ด้วยโปรแกรม NTSYSpc Ver.2.2e สามารถแบ่งได้ 4 กลุม่ (Figure 1) โดยเมล่อนที่มีลกั ษณะผิวผลแบบตาข่ายสามารถจัดอยู่ในกลุม่ ที่ 1 และ 2 ซึ่งในสองกลุ่มนี ้แตกต่างกันที่ลกั ษณะสีผิวผลและสี เนื ้อผล โดยในกลุม่ ที่ 1 มีสีผิวผลสีขาวและสีเนื ้อผลสีส้ม ส่วนเมล่อนในกลุม่ ที่ 2 ซึง่ มีจานวนตัวอย่างเมล่อนมากที่สดุ ตัวอย่าง เมล่อนส่วนใหญ่มีลกั ษณะสีผิวผลและสีเนื ้อผลเป็ นสีเขียว นอกจากนันเมล่ ้ อนตัวอย่างที่ ME12 และ ME14 ซึง่ อยู่ในกลุม่ ที่ 2 นี ้ ์ ยังมีความคล้ ายคลึงกันมากที่สดุ โดยมีค่าสัมประสิทธิความเหมือนทางพันธุกรรมที่ 0.97 ในกลุม่ ที่ 3 ซึง่ มีความเหมือนกันใน ลักษณะของสีผลคือสีเหลือง แต่พบความแตกต่างกันของลักษณะผิวผลที่เป็ นแบบตาข่ายและแบบเรี ยบ สีเนื ้อผลสีเขียวและสี ขาวในเมล่อนตัวอย่างที่ ME07 และ ME10 ตามลาดับ และกลุ่มที่ 4 เป็ นกลุ่มที่มีความแปรปรวนของลักษณะทางสัณฐาน วิทยามากที่สดุ ซึ่งตัวอย่างเมล่อนในกลุ่มนี ้ส่วนใหญ่มีลกั ษณะเป็ นผิวผลแบบเรี ยบ โดย ME01 และ ME05 มีความคล้ ายคลึง กันมากที่สดุ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความเหมือนทางพันธุกรรมที่ 0.86 รวมถึงลักษณะทางสัณฐานวิทยา คือ ผิวผลแบบเรี ยบ สี ผลสีเหลืองและสีเนือ้ ผลสีส้ม เหมือนกัน การใช้ เทคนิคเครื่ องหมายดีเอ็นเอสนิปส์สามารถใช้ ในการศึกษาความสัมพันธ์ หรื อ ความแปรปรวนทางพันธุกรรมของเมล่อนได้ เช่นเดียวกับการใช้ เครื่ องหมายดีเอ็นเอไมโครแซทเทลไลท์ (Deleu W. et al., 2009) Table 2 Similarity coefficient of 15 melon samples by Simple-matching method using NTSYSpc Ver.2.2e program. ME0 1 ME0 2 ME0 3 ME0 4 ME0 5 ME0 6 ME0 7 ME0 8 ME0 9 ME1 0 ME1 1 ME1 2 ME1 3 ME1 4 ME1 5

116

ME0 1

ME0 2

ME0 3

ME0 4

ME0 5

ME0 6

ME0 7

ME0 8

ME0 9

ME1 0

ME1 1

ME1 2

ME1 3

ME1 4

ME1 5

1.00 0.78

1.00

0.78

0.77

1.00

0.72

0.71

0.73

1.00

0.86

0.80

0.77

0.72

1.00

0.74

0.75

0.77

0.74

0.72

1.00

0.75

0.73

0.76

0.72

0.74

0.72

1.00

0.80

0.80

0.73

0.72

0.79

0.71

0.71

1.00

0.69

0.63

0.69

0.72

0.65

0.75

0.71

0.66

1.00

0.75

0.79

0.74

0.70

0.72

0.74

0.76

0.73

0.71

1.00

0.72

0.73

0.74

0.86

0.70

0.78

0.72

0.73

0.74

0.71

1.00

0.71

0.72

0.72

0.87

0.70

0.78

0.71

0.73

0.76

0.70

0.92

1.00

0.69

0.67

0.70

0.83

0.68

0.76

0.70

0.72

0.76

0.67

0.86

0.90

1.00

0.71

0.71

0.72

0.86

0.70

0.78

0.71

0.73

0.77

0.69

0.92

0.97

0.90

1.00

0.69

0.71

0.72

0.87

0.68

0.77

0.72

0.72

0.75

0.70

0.91

0.95

0.90

0.96

1.00

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ป จากการปลูกทดสอบเมล่อนจานวน 15 ตัวอย่าง เพื่อเก็บบันทึกลักษณะทางสัณฐานวิทยา 7 ลักษณะ สามารถ แบ่งกลุม่ เมล่อนตามลักษณะทางสัณฐานวิทยาได้ ดังนี ้ ลักษณะผิวผล แบ่งได้ 2 กลุม่ คือ ผิวเรี ยบและผิวแบบตาข่าย ลักษณะ สีผล แบ่งได้ 4 กลุม่ คือ สีเหลือง สีขาว สีเทา และสีเขียว ลักษณะสีเนื ้อผล แบ่งได้ 3 กลุม่ คือ เนื ้อสีส้ม สีขาวและสีเขียว ขนาด ผล แบ่งได้ 3 กลุม่ ซึ่งมีความแปรปรวนของน ้าหนักผลอันเนื่องมาจากปั จจัยสภาพแวดล้ อม ความมีกลิ่น แบ่งได้ 2 กลุ่ม คือ มี กลิ่นและไม่มีกลิ่น และ ความต้ านทานโรค ซึ่งสามารถแบ่งได้ 2 กลุ่ม ตามเปอร์ เซ็นต์การเกิดโรค นอกจากนันจากการศึ ้ กษา ความหลากหลายทางพันธุกรรมของเมล่อนโดยเทคนิคเครื่ องหมายดีเอ็นเอสนิปส์จานวน 350 คูไ่ พรเมอร์ พบว่า 232 คู่ไพรเมอร์ แสดงแถบดีเอ็นเอที่แตกต่างกัน และสามารถจัดกลุ่มเมล่อนได้ 4 กลุ่ม ซึ่งมีความสอดคล้ องกับลักษณะทางสัณฐา นวิทยา ข้ อมูลที่ได้ จากการศึกษานี ้สามารถนาไปใช้ เป็ นข้ อมูลสาหรับงานปรับปรุงพันธุ์ตอ่ ไปได้ ME01 ME05 ME02 ME08

4

ME03 ME06 ME07 ME01MW

ME10

3

ME04 ME11 ME12 ME14

2

ME15 ME13 ME09 0.71

0.78

0.84

0.91

0.97

Similarity Coefficient

Figure1 Molecular dendrogram of 15 melon samples

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณบริ ษัทฮอทิเจนเนติคส์ รี เสิร์ช เอส.อี. (เอเชีย) จากัด และทุนวิจยั ร่ วมระดับบัณฑิตศึกษา คณะผลิต กรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ขอขอบคุณ ดร. ดารุส สตรุส ผศ. ดร. เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี และ ผศ. ดร. แสงทอง พงษ์ เจริญกิต ที่ให้ คาแนะนาและช่วยเหลือตลอดระยะเวลาการทาวิจยั

เอกสารอ้ างอิง นิพนธ์ ไชยมงคล. แตงหอม: http://www.vegetweb.com/wp-content/download/melon.pdf. 22 มีนาคม 2555 Bos, A.L.V.D. 1986. Nutrition and sugar content of melon. Hort. Abst. 1986:56(11). 941. Deleu. W., C. Esteras, C. Roig, M. González-To, I. Fernández-Silva, D. Gonzalez-Ibeas, J. Blanca, M. A. Aranda, P. Arús, F. Nuez, A.J. Monforte, M.B. Picó and J. Garcia-Mas. 2009. A set of EST-SNPs for map saturation and cultivar identification in Melon. BMC Plant Biology. 2009: 9:90. Eduard, M., J.M. Obando, N. Dos-Santos, J.P. Fernández-Trujillo, A.J. Monforte and J.Garcia-Mas. 2008. Candidate genes and QTLs for fruit ripening and softening in melon. Theor Appl Genet. 2007. 116: 589–602. Esteras C., P. Gómez, A.J. Monforte, J. Blanca, N. Vicente-Dólera, C. Roig, F. Nuez and B. Picó. 2012. High-throughput SNP genotyping in Cucurbita pepo for map construction and quantitative trait loci mapping. BMC Genomics. 2012: 13:80. FAO. 2012. Other melon (inc.cantaloupes). http://faostat3.fao.org/home/index.html#DOWNLOAD_STANDARD. Accessed on 14 /9/2012. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

117

1


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Gómez-Guillamón M.L., J. Abadía, J. Cuartero, C. Cortés and F. Nuez. 1985. Characterization of melon cultivars. Cucurbit Genetics Cooperative Report 8. 1985: 39–40. Harel-Beja R., G. Tzuri, V. Portnoy, M. Lotan-Pompan, S. Lev, S. Cohen, N. Dai, L. Yeselson, A. Meir, S. E. Libhaber, E. Avisar, T. Melame, P. van Koert, H. Verbakel, R. Hofstede, H. Volpin, M. Oliver, A. Fougedoire, C. Stalh, J. Fauve, B. Copes, Z. Fei, J. Giovannoni, N. Ori, E. Lewinsohn, A. Sherman, J. Burger, Y. Tadmor, A. A. SchaVer and N. Katzir. 2010. A genetic map of melon highly enriched with fruit quality QTLs and EST markers, including sugar and carotenoid metabolism genes. Theor Appl Genet. 2010 Aug: 121(3):511–533. José, M. Antonio., E. Iban, A. Silvia and A. Pere. 2005. Inheritance mode of fruit traits in melon: Heterosis for fruit shape and itscorrelation with genetic distance. Euphytica. 2005. 144: 31–38. Maynard, D.N. and G.J. Hochmuth. 2007. Knott’s handbook for vegetable growths. Fifth Edition. John Wiley & Sons, Inc. New York. USA. 621. Nuez, F., G. Anastasio, C. Cortés, J. Cuartero, M.L. Gómez-Guillamón and J. Costa. 1986. Germplasm resources of Cucumis melo L. from Spain. Cucurbit Genetics Cooperative Report 9: 60–63 Stepansky A., I.Kovalski and R. Perl-Treves. 1999. Intraspecific classification of melons (Cucumis melo L.) in view of their phenotypic and molecular variation. Plant Systematics & Evolution. 1999. Vol.217: 313–332. Wien. H.C. 1997. The cucurbits: cucumber, melon, squash and pumpkin. The Physiology of Vegetable Crop. Vol. 9: 345-386.

118

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประเมินฟั กทองพันธุ์พนื ้ เมืองในสภาพฤดูร้อนในเขตอาเภอกาแพงแสน Evaluation of Landrace Pumpkin Cultivars During Summer Season in Kamphaeng Saen District นพวรรณ หนองใหญ่ 1 ปณาลี ภู่วรกุลชัย1 ปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ1 และ อัญมณี อาวุชานนท์ 1 Nopawan Nongyai Panalee Pooworakulchai Piyanath Pagamas and Anyamanee Auvuchanon

บทคัดย่ อ ปั ญหาของการผลิตฟั กทองอย่างหนึ่งคือ การไม่ติดผลในช่วงฤดูร้อน จึงทาการศึกษาฟั กทองพันธุ์พื ้นเมือง 18 พันธุ์ ที่ รวบรวมจากจังหวัด น่าน เชียงราย ชัยภูมิ สกลนคร ชุมพร นครปฐม และกาญจนบุรี เพื่อประเมินความสามารถในการให้ ผล ผลิตในเขตอาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยปลูกฟั กทองทุกพันธุ์ ให้ มี การติดผลในสัปดาห์ที่ 1 และ 2 ของเดือนเมษายน และมีการพัฒนาผลฟั กทองจนสิ ้นสุดในสัปดาห์สดุ ท้ ายของเดือนพฤษภาคม ซึ่งอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดของเดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 เป็ น 37.3 และ 36.8 องศาเซลเซียส ตามลาดับ ฟั กทองที่สามารถให้ ผลผลิตได้ ดีในช่วงดังกล่าวมี 7 พันธุ์ คือ ดอนตูม -1 KPS-1 กาญจนบุรี-1 กาญจนบุรี-3 กระโถน สังขละ บุรี-2 และสวี โดยมีน ้าหนักผลเฉลี่ย 1,066.2 1,133.2 749.2 1,299.3 830.8 951.4 และ 401.3 กรัม ตามลาดับ โดยพบ ความสัมพันธ์ ของนา้ หนักผลกับความหนาเนือ้ (r=0.822**) และเปอร์ เซ็นต์นา้ หนักแห้ งกับความแน่นเนือ้ (r=0.841**) พบ ความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติของลักษณะเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ ง และค่าความแน่นเนื อ้ แต่ไม่พบความแตกต่าง ของปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองที่มีแหล่งปลูกในเขตอุณหภูมิต่าของประเทศไทยส่วนใหญ่ไม่ทนทาน ต่อโรคไวรั ส แต่ฟักทองที่ให้ ผลผลิตได้ ทัง้ 7 พันธุ์ทนทานต่อโรครานา้ ค้ างและไวรั สได้ ดี จึงทาการคัดเลือกเพื่อใช้ เป็ นเชื อ้ พันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์ฟักทองที่ทนต่อสภาพร้ อนของไทยต่อไป คาสาคัญ: ฟั กทอง, อุณหภูมิสงู , การติดผล

Abstract A problem of pumpkin in the summer is the fruit setting. In this study, 18 landrace pumpkin cultivars were evaluated their ability to produce in Kamphaeng Saen, Nakhon Pathom during February to May 2014 by planting for pumpkin fruit set in the first and second week of April and the development of the pumpkin fruit until the last week of May. In April and May 2014, an average maximum temperature was 37.3 and 36.8 C, respectively. Seven pumpkin cultivars can be harvested that were Dontum-1 KPS-1 Kanchanaburi-1 Kanchanaburi-3 Katone Sagklaburi-2 and Savee with average fruit weight are 1,066.2 1,133.2 749.2 1,299.3 830.8 951.4 and 401.3 g, respectively. There are correlation between fruit weight and fresh thickness (r=0.822**), and percent of dry weight and fresh firmness (r=0.841**). There are significant different of dry weight and fresh firmness but no different of total soluble solid. Most pumpkin cultivars from cold area of Thailand were susceptible to virus. However, all seven cultivars that can produce fruit were moderately virus resistance and resistance to downy mildew disease. We selected seven landrace pumpkin cultivars as germplasm for pumpkin breeding program to grow in the summer of Thailand. Keywords: Pumpkin, High temperature, Fruit setting

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

119


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ฟั กทองเป็ นพืชที่คนไทยรู้ จกั และปลูกได้ ทกุ ภูมิภาคของประเทศ ปลูกได้ ในดินแทบทุกชนิดแต่เจริ ญเติบโตได้ ดีในดิน ร่ วนทราย อากาศแห้ งมีความชื น้ ในดินพอสมควร ดินไม่ชืน้ แฉะ ดินมีความเป็ นกรดเล็กน้ อย (รุ่ งรั ตน์ , 2535) ฟั กทอง เจริ ญเติบโตได้ ดีที่อุณหภูมิระหว่าง 18–27 องศาเซลเซียส ไม่ทนต่อความหนาวเย็นจัด สาหรับประเทศไทยมีพืน้ ที่การปลูก ฟั กทองทัว่ ประเทศในปี 2555 ประมาณ 120,000 ไร่ และมีผลผลิตภายในประเทศโดยรวมประมาณ 205,000 ตัน (FAOSTAT, 2012) ฟั กทองในประเทศไทยมี การปลูกมากในหลายจังหวัด เช่น เชี ยงใหม่ หนองคาย สกลนคร ศรี สะเกษ ขอนแก่น ฉะเชิงเทรา กาญจนบุรี และชุมพร (นิพนธ์ , 2546) การแสดงเพศของดอกฟั กทองเกี่ยวข้ องกับพันธุกรรมและสภาพแวดล้ อม สภาพแวดล้ อมที่มีอิทธิพลต่อการแสดงเพศของดอก คือ อุณหภูมิและช่วงแสง พบว่าอุณหภูมิต่าและช่วงแสงวันสันที ้ ่มีช่วงแสง น้ อยกว่า 12 ชั่วโมงต่อวัน มีอิทธิ พลทาให้ มีดอกเพศเมียจานวนมาก ส่วนสภาพอุณหภูมิสงู และช่วงแสงวันยาวซึ่งมีช่วงแสง มากกว่า 12 ชัว่ โมงต่อวัน มีอิทธิพลทาให้ มีดอกเพศผู้จานวนมาก และแสดงดอกเพศเมียน้ อย ซึง่ ทาให้ ติดผลและผลผลิตต่า (จา นุรักษ์ , 2549) ฟั กทองส่วนใหญ่ มักพบปั ญหาโรครานา้ ค้ าง และโรคใบด่างที่ เกิดจากไวรั ส โรครานา้ ค้ างมักระบาดในพื น้ ที่ ที่มี ความชื ้นสูงและอุณหภูมิต่า อาการส่วนใหญ่จะเกิดบนใบ โดยจะเริ่ มจากจุดแผลสีเขียวซีดขึ ้นก่อน ต่อมาจะค่อยๆ ขยายโตขึ ้น เป็ นสีเหลืองและมีขอบเขตเป็ นเหลี่ยมตามเส้ น vein กรณีที่เกิดโรครุนแรง ต้ นที่เป็ นโรคอาจส่งผลต่อการเจริ ญเติบโตไม่เต็มที่ แคระแกร็น คุณภาพและรสชาติผลเสียไป โรคใบด่างลายที่เกิดจากเชื ้อไวรัส อาการที่เกิดจะเห็นได้ ชดั ที่ใบ คือ ใบจะมีขนาดเล็ก ลง ด่าง ลายหดย่น ขอบใบม้ วนลงด้ านล่าง ต้ นแคระแกร็ น (ศักดิ์, 2537) จากปั ญหาด้ านสภาพแวดล้ อมที่ไม่เหมาะสมต่อการ ติดผลฟั กทองทังอุ ้ ณหภูมิ ช่วงแสง และโรคระบาด ในช่วงฤดูร้อน จึงได้ สารวจราคาผลผลิตฟั กทองในปี พ.ศ.2556 ที่มีลกั ษณะ ผิวผลแบบคางคกและผิวผลแบบลายข้ าวตอกซึง่ เป็ นที่ต้ องการของตลาด พบว่าในเดือนเมษายน ถึง เดือนสิงหาคม เป็ นช่วงที่ ผลผลิตฟั กทองมีราคาสูง (ดอนเมืองพัฒนา จากัด , 2556) จากที่กล่าวมาข้ างต้ น ส่งผลให้ ฟักทองไม่สามารถให้ ผลผลิตได้ ดี ในช่วงฤดูร้อน ดังนันวั ้ ตถุประสงค์ของการศึกษาครัง้ นี ้ คือ ประเมินพันธุ์ฟักทองพื ้นเมืองที่ สามารถให้ ผลผลิตได้ ในฤดูร้อนในเขต อาเภอกาแพงแสน เพื่อใช้ เป็ นเชื ้อพันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์ฟักทองที่ให้ ผลผลิตในฤดูร้อนได้

อุปกรณ์ และวิธีการ การศึกษานี ้ได้ ทาการปลูกฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองทังหมด ้ 18 พันธุ์ ได้ แก่ น่าน-3 น่าน-4 น่าน-5 น่าน 2-56-Ft1 เชียงราย มูเซอร์ สวี สกลนคร ชัยภูมิ กาญจนบุรี-1 กาญจนบุรี-3 F4–กระโถน ด่านเจดีย์ สังขละบุรี-1 สังขละบุรี-2 F4-KPS-1 KPS-2 ดอนตูม-1 โดยปลูกพันธุ์ละ 7 ต้ น มีระยะปลูก 2×1.25 เมตร ปล่อยฟั กทองให้ มีการผสมเกสรแบบเปิ ด โดยจะผูกไหมพรมและ บันทึกข้ อมูล วันที่ผสม (วันที่ดอกตัวเมี ยที่บาน) เก็บเกี่ยวผลฟั กทองเมื่อผลมีอายุ 5 สัปดาห์หลังดอกบาน หรื อดูจากขัว้ ผล เปลี่ยนเป็ นสีน ้าตาล ขนที่ขวหายไป ั้ และผลขึ ้นแป้งนวล หลังจากนันน ้ าผลฟั กทองที่ได้ มาเก็บข้ อมูล 1. การประเมินโรคไวรัสและราน ้าค้ าง ทาการประเมินการเกิดโรคในช่วงการออกดอก (1 สัปดาห์หลังดอกแรกบาน) โดยมีเกณฑ์การให้ คะแนน ดังนี ้ 0–1 คะแนน คือ ทนทาน 2–3 คะแนน คือ ทนทานปานกลาง 4–5 คะแนน คือ อ่อนแอ พิจารณาจาก 0 คะแนน คือ ไม่พบอาการเป็ นโรคในฟั กทองทังต้ ้ น 1 คะแนน คือ ฟั กทองแสดงอาการเป็ นโรค 10–20 เปอร์ เซ็นต์ 2 คะแนน คือ ฟั กทองแสดง อาการเป็ นโรค 21–40 เปอร์ เซ็นต์ 3 คะแนน คือ ฟั กทองแสดงอาการเป็ นโรค 41–60 เปอร์ เซ็นต์ 4 คะแนน คือ ฟั กทองแสดง อาการเป็ นโรค 61-80 เปอร์ เซ็นต์ 5 คะแนน คือ ฟั กทองแสดงอาการเป็ นโรค 81–100 เปอร์ เซ็นต์ 2. การวิเคราะห์คณ ุ ภาพผลผลิต ทาการชัง่ น ้าหนักผล ของแต่ละลูกแต่ละพันธุ์ จากนันวั ้ ดความหนาเนื ้อโดยผ่าผลฟั กทองออกเป็ น 2 ซีกเท่า ๆ กันและ วัดความหนาเนื ้อจากส่วนที่กว้ างที่สดุ ด้ วยเวอร์ เนียคาลิปเปอร์ วัดความแน่นเนื ้อด้ วยเครื่ องวัดความแน่นเนื ้อของผลไม้ (Fruit Tester) กดบริ เวณตรงกลางของเนื ้อผลแต่ละซีกๆละ 2 ตาแหน่ง การวิเคราะห์ค่าเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ ง นาตัวอย่างฟั กทอง น ้าหนักประมาณ 50 กรัม ไปอบในตู้อบลมร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 70 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 1 อาทิตย์หรื อ อบจนกว่าเนื ้อฟั กทองจะ แห้ งสนิท จากนัน้ นาไปชั่งนา้ หนัก ด้ วยเครื่ องชั่งทศนิยม 2 ตาแหน่ง แล้ วคานวณหาเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ ง โดยใช้ สมการ (เปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ ง = [น ้าหนักแห้ ง (กรัม) / น ้าหนักสด (กรัม) ] × 100) และการวัดปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ (Total Soluble Solid) นาตัวอย่างฟั กทองมาสับให้ ละเอียด ใช้ ผ้าขาวบางคันน ้ ้าฟั กทองแล้ วนามาวัดค่า TSS ด้ วย เครื่ อง Digital handheld refractometer ชัง่ น ้าหนักน ้าหนักต่อ 100 เมล็ด 120

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

3. การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ วิเคราะห์ข้อมูลความแตกต่างระหว่างพันธุ์ด้วย Analysis of variance จากตัวอย่างฟั กทองพื ้นเมืองที่สามารถให้ ผลผลิตได้ ในฤดูร้อนที่ระดับความเชื่อมัน่ 99 เปอร์ เซ็นต์ และวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ (Pearson correlation) ของลักษณะ องค์ประกอบผลผลิต

ผลการทดลองและวิจารณ์ การติดผลและการให้ ผลผลิต จากการปลูกฟั กทองพันธุ์พื ้นเมือง 18 พันธุ์ ซึ่งเก็บรวบรวมจากหลายพื ้นที่ของประเทศไทย พบว่ามีพนั ธุ์พื ้นเมืองที่ สามารถติดผลในฤดูร้อนได้ จานวน 7 พันธุ์ คือ พันธุ์กาญจนบุรี-1 F4-กระโถน F4-KPS-1 สังขละบุรี-2 ดอนตูม-1 กาญจนบุรี3 และสวี สามารถให้ ผลผลิตเท่ากับ 3 2 2 1 1 1 และ 1 ผลต่อต้ น ตามลาดับ พันธุ์ที่ไม่ให้ ผลผลิต คือ พันธุ์น่าน-3 น่าน-256-ft1 สกลนคร น่าน-5 สังขละบุรี-1 ด่านเจดีย์ KPS-2 น่าน-4 มูเซอร์ ชัยภูมิ และเชียงราย (ตารางที่ 2) พันธุ์ที่ไม่สามารถ ให้ ผลผลิตได้ เป็ นพันธุ์พื ้นเมืองที่ส่วนใหญ่มาจากแหล่งปลูกทางภาคเหนือหรื อจากพื ้นที่สงู เมื่อนามาปลูกในฤดูร้อนของเขต อาเภอกาแพงแสนจึงไม่สามารถให้ ผลผลิตได้ เนื่องจากสภาพแวดล้ อมที่ไม่เหมาะสมต่อการออกดอก ซึ่งในช่วงฤดูร้อนจะมี อุณหภูมิสงู เป็ นอิทธิพลทาให้ ดอกฟั กทองเพศเมียออกน้ อยทาให้ ได้ ผลผลิตน้ อย อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริ ญเติบโตของ ฟั กทอง คือ 18.3-24 องศาเซลเซียส (รุ่ งรัตน์ , 2535) ในระหว่างทาการทดลองอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด คือ 36.8-37.3 องศา เซลเซียส (ข้ อมูลอุณหภูมิจากกรมอุตนุ ิยมวิทยา ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน) ซึง่ เป็ นช่วงที่ฟักทองออก ดอกมากที่สดุ ซึง่ ผลของอุณหภูมิสงู ในระยะเวลาดังกล่าวเป็ นปั จจัยหนึง่ ที่ฟักทองออกดอกเพศเมียน้ อย ฟั กทองที่ทาการปลูกในช่วงฤดูร้อนมีการระบาดของโรคค่อนข้ างมาก จึงทาการประเมินความทนทานต่อโรคโดยการ ให้ คะแนน สามารถจัดกลุม่ ฟั กทองที่มีการเกิดโรคไวรัส แต่ยงั สามารถให้ ผลผลิตได้ กลุ่มฟั กทองที่ทนทานต่อโรคไวรัส ได้ แก่ พันธุ์กาญจนบุรี-1 กาญจนบุรี-3 สวี สังขละบุรี-2 F4-KPS-1 ดอนตูม-1 และ F4-กระโถน ส่วนฟั กทองที่ทนทานต่อโรคราน ้าค้ างและยังสามารถให้ ผลผลิตได้ ได้ แก่ พันธุ์กาญจนบุรี-1 กาญจนบุรี-3 สวี สังข ละบุรี-2 F4-KPS-1 ดอนตูม-1 และ F4-กระโถน จากการประเมินพันธุ์ฟักทองพื ้นเมืองจะเห็นได้ ว่า พันธุ์กาญจนบุรี -1 กาญจนบุรี-3 สวี สังขละบุรี-2 F4-KPS-1 ดอนตูม-1 และ F4-กระโถน มีความทนทานต่อโรคไวรัสและโรคราน ้าค้ าง โดย สามารถควบคุมการเกิดโรคได้ เมื่อเริ่ มเห็นอาการ ทาให้ มีผลกระทบต่อผลผลิตน้ อยมาก หรื อหากฟั กทองมีการแสดงออกของ โรค แต่ยงั ให้ ผลผลิตอยู่ เนื่องจากอาการของโรคปรากฎขึ ้นหลังจากฟั กทองออกดอกและติดผลไปแล้ ว ลักษณะรู ปทรงผล ลักษณะผิวผล ขนาดผล จากการศึกษาลักษณะรูปทรงผลของฟั กทองพันธุ์พื ้นเมือง สามารถจัดกลุม่ ฟั กทองตามรูปทรงของผลดังนี ้ ฟั กทองที่มี ลักษณะรูปทรงแบบ round blocky ได้ แก่ พันธุ์ F4-KPS-1 และดอนตูม-1 ฟั กทองที่มีลกั ษณะรูปทรงผลแบบ global ได้ แก่ พันธุ์ กาญจนบุรี-1 ฟั กทองที่มีลกั ษณะรู ปทรงผลแบบ Flatted ได้ แก่ พันธุ์กาญจนบุรี-3 ฟั กทองที่มีลกั ษณะรู ปทรงผลแบบ long blocky ได้ แก่ พันธุ์สงั ขละบุรี-2 และ F4-กระโถน และฟั กทองที่มีลกั ษณะรูปทรงผลแบบ pyriform ได้ แก่ พันธุ์สวี ฟั กทองพันธุ์พืน้ เมืองแต่ละพันธุ์สามารถจัดลักษณะผิวผลได้ ดังนี ้ ฟั กทองผิวผลขรุ ข ระ ได้ แ ก่ พันธุ์กาญจนบุรี -3 ฟั กทองผิวผลลายข้ าวตอก ได้ แก่ พันธุ์สงั ขละบุรี-2 ดอนตูม-1 และ F4-กระโถน ฟั กทองผิวผลเรี ยบ ได้ แก่ พันธุ์สวี กาญจนบุรี 1 และ F4-KPS-1 ลักษณะผลของฟั กทองที่ตลาดต้ องการส่วนใหญ่มีรูปทรงผลแป้นแสดงว่าทรงผลแป้นเป็ นที่นิยมในผู้บริโภคฟั กทองใน ประเทศไทย (สราวุฒิ, 2555) พันธุ์พื ้นเมืองมีความหลากหลายของลักษณะผล ทังลั ้ กษณะรูปทรงผลและลักษณะผิวผล จาก การทดลองแม้ พนั ธุ์ฟักทองมาจากแหล่งที่ปลูกในจังหวัดเดียวกัน แต่มีรูปทรงผลและผิวผลที่แตกต่างกัน ฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองที่ ให้ ผลผลิตตังแต่ ้ 6 ผลขึ ้นไป เป็ นฟั กทองที่รวบรวมได้ จากจังหวัดนครปฐมและจังหวัดกาญจนบุรีซงึ่ ทังสองจั ้ งหวัดมี สภาพแวดล้ อมคล้ ายกัน ดังนัน้ ฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองยังมีความหลากหลายทางพันธุกรรมอยูม่ าก ซึง่ มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการ นามาใช้ ในการปรับปรุงพันธุ์ตอ่ ไป ฟั กทองที่นามาประเมินถูกจัดกลุม่ ตามขนาดของผลฟั กทองโดยใช้ น ้าหนักเป็ นเกณฑ์ (ดัดแปลงมาจาก สานักงาน มาตรฐานสินค้ าเกษตรและอาหารแห่งประเทศไทยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์) ได้ ดงั นี ้ กลุม่ ฟั กทองที่มีผลขนาดเล็ก (น ้าหนัก การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

121


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

น้ อยกว่า 1250 กรัม) ได้ แก่ พันธุ์กาญจนบุรี-1 สวี สังขละบุรี-2 F4-KPS-1 ดอนตูม-1 และ F4-กระโถน กลุม่ ฟั กทองที่มีผล ขนาดกลาง (น ้าหนัก 1250-2500 กรัม)ได้ แก่ พันธุ์กาญจนบุรี-3 (ตารางที่ 1) ขนาดของผักหรื อผลไม้ ก็ไม่สามารถบอกได้ ว่าขนาดไหนมีคณ ุ ภาพดีกว่า ทังนี ้ ้ขึ ้นอยู่กบั ความต้ องการของผู้บริ โภค ผลผลิตที่มีขนาดใหญ่เหมาะสาหรับภัตตาคารหรื อโรงอาหารต่างๆ ซึง่ ต้ องเตรี ยมอาหารปริ มาณมากๆ แต่สาหรับผู้บริ โภคทัว่ ไป แล้ วผลผลิตขนาดเล็กน่าจะดีกว่า เพราะขนาดใหญ่ไม่สามารถบริ โภคให้ หมดได้ ในวันเดียว (จริ งแท้ , 2549) จากการจัดกลุ่ม ขนาดจะเห็นได้ ว่าขนาดของฟั กทองพืน้ เมืองส่วนใหญ่ จะมีขนาดเล็ก ซึ่งขนาดผลเล็กเป็ นขนาดที่ผ้ ูบริ โภคต้ องการ และใน สังคมไทยปั จจุบนั ขนาดครอบครัวมีขนาดเล็กลง ดังนันฟั ้ กทองขนาดเล็กจึงน่าจะเป็ นที่ต้องการของผู้บริ โภคและตลาด เพราะ สามารถนาไปประกอบอาหารได้ ครัง้ เดียวหมด ความหนาเนือ้ ผล และนา้ หนักเมล็ดต่ อผล ค่าความหนาเนื ้อผลบ่งบอกความกว้ างของเนื ้อผลส่วนที่บริ โภคได้ รวมกับเปลือก ค่าความหนาเนื ้อผลมากแสดงว่ามี ส่วนเนื ้อผลที่สามารถบริ โภคได้ มาก จากตารางที่ 3 พบว่า พันธุ์กาญจนบุรี-3 มีความหนาเนื ้อผลมากที่สดุ คือ 35 มิลลิเมตร รองลงมา คือพันธุ์ดอนตูม-1 กาญจนบุรี-1 F4-KPS-1 F4-กระโถน และสังขละบุรี-2 มีค่าความหนาเนื ้อผลเท่ากับ 28.64 24.98 23.93 23.93 16.99 และ15.66 มิลลิเมตร ตามลาดับ และพันธุ์ที่มีความหนาเนื ้อผลน้ อยที่สดุ คือ พันธุ์สวี มีค่าเท่ากับ 15.66 มิลลิเมตร จะเห็นได้ วา่ ขนาดของเนื ้อผลของแต่ละพันธุ์มีความแตกต่างกัน ทังนี ้ ้ความหนาเนื ้อขึ ้นอยู่กบั พันธุกรรมของแต่ ละสายพันธุ์ สิ่งแวดล้ อม และการดูแลรักษา ซึ่ งความหนาเนื ้อก็เป็ นอีกปั จจัยหนึ่งในการตัดสินใจซื ้อผลผลิตฟั กทอง โดยทัว่ ไป คนส่วนใหญ่จะชอบซื ้อฟั กทองที่มีเนื ้อหนาและเมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างขนาดผลและความหนาเนือ้ ผลพบว่ามีค่า สหสัมพันธ์ r = 0.822 * ซึง่ อธิบายได้ วา่ หากฟั กทองมีผลขนาดเล็กมักพบว่าฟั กทองมีลกั ษณะความหนาเนื ้อน้ อยด้ วย น ้าหนักเมล็ด เป็ นค่าที่บ่งบอกความสมบูรณ์ของเมล็ดและขนาดของเมล็ด จากการทดลองพบว่าพันธุ์ F4-กระโถน มี ค่าน ้าหนัก 100 เมล็ดมากที่สดุ คือ 11.73 กรัม รองลงมา กาญจนบุรี-3 ดอนตูม-1 F4-KPS-1 สังขละบุรี-2 และกาญจนบุรี-1 มีค่าน ้าหนัก 100 เมล็ด เท่ากับ 8.24 7.51 7.38 7.12 และ 6.78 กรัม ตามลาดับ พันธุ์สวี มีค่าน ้าหนัก 100 เมล็ดน้ อยที่สดุ คือ 2.78 กรัม จะเห็นได้ ว่าในการพัฒนาของเมล็ด ถ้ าอยู่ในสภาพที่มีอณ ุ หภูมิสงู เกินไปมากพบว่าเมล็ดจะมีลกั ษณะลีบ (จานุ ลักษณ์ , 2535) จากสมสติฐานที่ว่าเมล็ดลีบส่งผลต่อน ้าหนักของเมล็ดในผลน้ อยลง และการดูแลรักษา ใส่ปยให้ ุ๋ น ้าที่เพียงพอก็ เป็ นอีกปั จจัยหนึง่ ในการพัฒนาเมล็ด อย่างไรก็ตามปริมาณการติดเมล็ดไม่มีผลต่อขนาดผลฟั กทอง (ตารางที่ 1)

122

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 morphology characteristic of landrace pumpkins Fruit numbers Varieties NAN-5 Sungkraburi-1 Danjaedee NAN-3 Kanchanaburi-1 KPS-2 Chaiyapum Kanchanaburi-3 Savee NAN-4 Muser NAN-2-56Ft1 Sakonnakorn-1 Sungkraburi-2 F4-KPS-1 Dontum-1 Cheing Rai F4-Katone

per plant – – – – 3 – – 1 1 – – – – 1 2 1 – 2

น ้ำหนัก Fresh

Fruit weight (g) Size – – – – – – 1415 – 702 small – – 1156 – 1375 medium 485 small – – – – 2168 – 967 – 853 small 977 small 1065 small – – 835 small

Skin type – – – Koatok smooth – rough rough smooth – – Koatok smooth Koatok smooth Koatok – Koatok

100 seed

Fruit type Thickness (mm) weight (g) – – – – – – – – – Round blocky – – Global 24.98 6.78 – – – Flatted – – Flatted 35.71 8.24 Pyriform 15.66 2.78 – – – – – – Flatted – – Global – – Long blocky 15.95 7.12 Round blocky 23.93 7.38 Round blocky 28.64 7.51 – – – Long blocky 16.99 11.73

เมล็ดรวม (กรั ม) – – – – 6.78 – – 12.41 5.75 – – – – 8.89 14.48 13.62 – 13.66

Note: The symbol (-) = cannot correct data ปริมาณของแข็งที่ละลายนา้ ได้ (Total soluble solid: TSS) นา้ หนักแห้ งเนือ้ ผล และความแน่ นเนือ้ ผล ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ เป็ นค่าที่บง่ บอกถึงความหวานของเนื ้อผลฟั กทอง ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นน ้าตาลซูโครส พันธุ์ ที่มีค่า TSS มากแสดงว่าพันธุ์นี ้มีรสชาติหวานมาก จากตารางที่ 2 พบว่าพันธุ์พื ้นเมืองที่มีค่า TSS สูง คือ พันธุ์สวี มีค่าเท่ากับ 11.24 %Brix ไม่แตกต่างทางสถิติกบั ฟั กทองพันธุ์ F4-KPS-1 กาญจนบุรี-1 กาญจนบุรี-3 และสังขละบุรี-2 ซึง่ มีค่าเท่ากับ 10.07 9.67 9.52 และ 9.17 %Brix ตามลาดับ ส่วนพันธุ์พื ้นเมืองที่มีค่า TSS ต่าสุด คือ พันธุ์ F4-กระโถน มีค่าเท่ากับ 8.03 %Brix ไม่แตกต่างทางสถิติกบั ฟั กทองพันธุ์ดอนตูม-1 ที่มีคา่ เท่ากับ 8.71 %Brix จากการศึกษาความหวานในฟั กทองที่ผ้ บู ริ โภคยอมรับได้ ต้ องมีค่าไม่น้อยกว่า 11 %Brix (Loy, 2006) ซึง่ พบว่ามี ฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองที่มีค่า TSS มากว่า 11 %Brix นันก็ ้ คือพันธุ์สวี และมีฟักทองพันธุ์พื ้นเมืองอีก 4 พันธุ์ ที่มีค่า TSS ไม่ แตกต่างทางสถิติกบั พันธุ์สวี คือ พันธุ์ F4-KPS-1 กาญจนบุรี-1 กาญจนบุรี-3 และสังขละบุรี-2 ดังนันฟั ้ กทองทัง้ 5 พันธุ์ มีความ หวานของเนื ้อผลฟั กทองที่เป็ นที่ยอมรับของผู้บริ โภค และสามารถนา 5 พันธุ์ มาปรับปรุงพันธุ์ให้ มีความหวานเนื ้อผลเพิ่มขึ ้นได้ อีกในอนาคต ค่าเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ งของเนื ้อฟั กทองแสดงถึงปริ มาณแป้ง ฟั กทองมีปริ มาณแป้งและน ้าหนักแห้ งที่สมั พันธ์กนั ซึง่ คุณสมบัติดงั กล่าวมีผลต่อคุณภาพผลผลิตฟั กทอง นา้ หนักแห้ งเป็ นค่าที่สามารถนามาทานายปริ มาณแป้งในเนือ้ ฟั กทองได้ (Corrigan et al., 2006) เป็ นผลให้ ฟักทองมีเนื ้อแน่น เนื ้อเหนียวเป็ นที่ต้องการของผู้บริ โภคชาวไทย ค่าน ้าหนักแห้ งเป็ นค่าที่ผนั แปรโดยตรงกับปริมาณแป้งที่มีอยูใ่ นเนื ้อผล ค่าน ้าหนักแห้ งมากแสดงว่ามีความมันของเนื ้อผลมากซึง่ เป็ นคุณภาพผลอย่างหนึ่ง ที่เป็ นปั จจัยในการเลือกซื ้อของผู้บริ โภค จากการศึกษาครัง้ นีพ้ บว่าฟั กทองพันธุ์ดอนตูม -1 มีเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ งเนือ้ ผล เท่ากับ 23.44 เปอร์ เซ็นต์ เป็ นพันธุ์ที่มีเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ งเนื ้อผลสูงสุด รองลงมา คือ พัน ธุ์สงั ขละบุรี-2 กาญจนบุรี-1 สวี F4-KPS-1 และ F4-กระโถน มีค่าเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ งเนื ้อผลเท่ากับ 17.05 16.53 14.93 14.14 และ 13.06 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองที่มีเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ งเนื ้อผลน้ อยที่สดุ คือ พันธุ์กาญจนบุรี -3 มีค่าเท่ากับ 11.6 เปอร์ เซ็นต์ (ตารางที่ 2) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

123


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ความแน่นเนื ้อ (Firmness) เป็ นค่าที่บ่งบอกถึงเนื ้อสัมผัสของผลผลิตภายหลังการเก็บเกี่ยว มีลกั ษณะเนื ้อผลที่ นุ่มนวลหรื อกรอบ ซึง่ ลักษณะที่ดีของความแน่นเนื ้อผลขึ ้นอยู่กบั ความนิยมของผู้บริ โภค (จริ งแท้ , 2549) ค่าความแน่นเนื ้อผล มากแสดงว่าเนื ้อผลมีความกรอบมาก ค่าความแน่นเนื ้อน้ อยแสดงว่าเนื ้อผลมีความอ่อนนุ่มมาก จากการทดลอง (ตารางที่ 2) จะเห็นว่าพันธุ์กาญจนบุรี-3 มีความแน่นเนื ้อผลมากที่สดุ มีคา่ เท่ากับ 35.71 รองลงมา ดอนตูม-1 กาญจนบุรี-1 F4-KPS-1 F4กระโถน สังขละบุรี-2 และสวี มีค่าความแน่นเนื ้อผลเท่ากับ 28.65 24.98 23.94 16.99 15.95 และ 15.66 ตามลาดับ จาก การวิเคราะห์ หาความสัมพันธ์ของทัง้ 3 ลักษณะพบว่าค่าความแน่นเนื ้อมีความสัมพันธ์กบั เปอร์ เซ็นต์น ้าหนักแห้ ง (r = 0.84 *) แสดงว่าฟั กทองที่มีความแน่นเนื ้อมาก มักพบว่ามีค่าน ้าหนักแห้ งสูงตามไปด้ วย ดังรายงานของ อัญมณี และคณะ (2556) ซึ่ง พบว่าค่าน ้าหนักแห้ งมีความสัมพันธ์กบั ปริมาณแป้งในเนื ้อผล อย่างไรก็ตาม ฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองที่นามาทดสอบส่วนใหญ่มีค่า TSS ไม่สงู นักและไม่พบความสัมพันธ์ของค่า TSS กับค่าน ้าหนักแห้ งและความแน่นเนื ้อ Table 2 Total soluble solid (TSS) percent of dry weight (DW) and Firmness of producible pumpkin cultivars พันธุ์

TSS (% Brix)

DW (เปอร์ เซ็นต์)

Firmness

กาญจนบุรี-1

9.67ab

16.53bc

24.98c

กาญจนบุรี-3

9.52ab

11.6e

35.71a

สวี

11.24a

14.93bcd

15.66d

สังขละบุรี-2

9.17ab

17.05b

15.95d

F4- KPS-1

10.07ab

14.14cde

23.94c

ดอนตูม-1

8.71b

23.44a

28.65b

F4-กระโถน

8.03b

13.06de

16.99d

ns

**

**

14.89

12.42

11.04

F-test CV (เปอร์ เซ็นต์)

จากการศึกษาครัง้ นี ้พบว่าน ้าหนักผลกับความหนาเนื ้อ มีความสัมพันธ์ กนั เห็นได้ จากฟั กทองพันธุ์สวีที่มีน ้าหนักผล น้ อย (ขนาดผลเล็ก) มีความหนาเนื ้อน้ อย ส่วนฟั กทองพันธุ์กาญจนบุรี-3 มีน ้าหนักผลมาก (ขนาดผลใหญ่) มีความหนาเนื ้อมาก แสดงให้ เห็นว่า น ้าหนักของผลมีความสัมพันธ์กบั ความหนาเนื ้อในทิศทางเดียวกัน นอกจากนี ้ยังพบอีกว่าน ้าหนักแห้ งกับความแน่นเนื อ้ มีความสัมพันธ์ เห็นได้ จากฟั กทองพันธุ์สวีที่มีน ้าหนักแห้ งน้ อย มี ความแน่นเนือ้ น้ อย ส่วนฟั กทองพันธุ์ดอนตูม -1 มีนา้ หนักแห้ งมาก มีความแน่นเนือ้ ผลมาก แสดงว่า นา้ หนักแห้ งมีความ สอดคล้ องกับ ความแน่ น เนื อ้ ซึ่ง นา้ หนัก แห้ ง เป็ น ค่าที่ ส ามารถน ามาท านายปริ ม าณแป้ง ในเนื อ้ ฟั ก ทองได้ สอดคล้ อ งกับ ความสัมพันธ์ของปริ มาณแป้งและน ้าหนักแห้ งใน Cucurbita maxima (Corrigan et al., 2006) และหากฟั กทองมีแป้งมาก มักจะมีคณ ุ สมบัติการบริโภคที่ดี เช่น เนื ้อเหนียว เป็ นที่ต้องการของผู้บริโภค

124

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Correlation coefficient of six pumpkin variables

Weight Fresh Thickness TSS DW

Weight –

Fresh Thickness 0.822 * –

TSS -0.416 ns -0.105 ns –

DW 0.439 ns 0.34 ns -0.603 ns –

Firmness

Firmness 0.109 ns 0.102 ns -0.708 ns 0.841 * –

Weigh of seed 0.496 ns 0.168 ns -0.905 ** 0.373 ns 0.454 ns

Note ns = non-significant; * = significance; ** = highly sinificance

สรุ ปผลการทดลอง

ฟั กทองที่สามารถให้ ผลผลิตได้ ดีในช่วงฤดูร้อนของเขตอาเภอกาแพงแสนและมีความทนทานต่อการเกิดโรค มี 7 พันธุ์ คือ พันธุ์ดอนตูม-1 F4-KPS-1 กาญจนบุรี-1 กาญจนบุรี-3 F4-กระโถน สังขละบุรี-2 และสวี จึงเหมาะสาหรับนาไปใช้ เป็ นเชื ้อ พันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์ฟักทองที่สามารถให้ ผลผลิตในฤดูร้อนได้

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณสถาบันวิจยั และพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ให้ ทนุ สนับสนุนงานวิจยั ครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง

จริ งแท้ ศิริพานิช. 2549. สรี รวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ . พิมพ์ครัง้ ที่ 6 สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. 396 น. จานุลกั ษณ์ ขนบดี. 2549. การผลิตเมล็ดพันธุ์และการใช้ ประโยชน์. สถาบันวิจยั และฝึ กอบรมการเกษตรลาปาง, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ. 120 น. ดอนเมืองพัฒนา จากัด. 2556. ราคาสินค้ าเกษตร ผัก ผลไม้ พืชไร่. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.taladsimummuang.com/dmma/Portals/PriceList.aspx?id=01 (12 ตุลาคม 2557) นิพนธ์ ไชยมงคล. 2546. ฐานข้ อมูลพืชผัก: ฟั กทอง/ฟั กเทศ. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.agric-prod.mju.ac.th/vegetable/File_link/pumpkin.pdf (21 มีนาคม 2558) รุ่งรัตน์ เหลืองนทีเทพ. 2535. พืชเครื่ องเทศและสมุนไพร. ภาคพัฒนาตาราและเอกสารวิชาการ, กรมการฝึ กหัดครู, กรุงเทพฯ. 161 น. ศักดิ์ สุนทรสิงห์. 2537. โรคของผักและการป้องกันกาจัด. ภาควิชาโรคพืช, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. 198 น. สราวุ ฒิ เกตุ แ ก้ ว. 2555. การศึ ก ษาลัก ษณะสัณ ฐานวิ ท ยาของฟั กทองพั น ธุ์ ก ารค้ าของไทยบางพั น ธุ์ . ปั ญ หาพิ เ ศษปริ ญ ญาตรี , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน, นครปฐม. 21 น อัญมณี อาวุชานนท์ , พจนา สีมนั ตร, บุบผา คงสมัย และ ธนัฐฐา พันธ์เปรม. 2556. คุณภาพที่สาคัญบางประการของผลฟั กทองสด 12 สายพันธุ์. วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร. 44: 117-120. Corrigan V.K, D. I. Hedderley and P. L. Hurst. 2006 Assessment of objective texture measurements for characterising and predicting the sensory quality of squash (Cucurbita maxima). New Zealand Journal of Crop and Horticultural Science. 34: 369-379.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

125


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า FAOSTAT. 2013. Food and Agriculture Organization of the United Nations Statistics Division. [Online]. Available: http://faostat3.fao.org/home/index.html#DOWNLOAD (สิงหาคม 2556) Loy, J.B. 2006. Harvest period and storage affect biomass partitioning and attributes of eating quality in acorn squash (Cucurbita pepo), pp. 568-557. ln G.J. Holmes (ed.), Cucurbitaceae Proceedings 2006. Universal Press, Raleigh, North Carolina.

126

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

127


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

128

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของความสูงจากระดับนา้ ทะเลต่ อการเจริญเติบโต ผลผลิต และสารเผ็ดของพริกเผ็ด (Capsicum chinense) ภายใต้ สภาพโรงเรือน Impact of Elevations on Growth Fruit Yield and Capsaicinoid Accumulations of Hot Pepper (Capsicum chinense Jacq.) under control-house นครินทร์ จีอ้ าทิตย์ 1* สุชีลา เตชะวงค์ เสถียร1 พลัง สุริหาร1 และสังคม เตชะวงค์ เสถียร1 Nakarin Jeeatid1 Suchila Techawongstien1 Bhalang Suriharn1 and Sungcom Techawongstien1

บทคัดย่ อ การศึกษาการตอบสนองของพันธุ์พริ กเผ็ดลูกผสม (C. chinense Jacq.) จานวน 7 พันธุ์ ร่วมกับพันธุ์เปรี ยบเทียบ 2 พันธุ์ ซึ่งมีความเผ็ดแตกต่างกัน ภายใต้ สภาพโรงเรื อนใน 2 พื ้นที่ที่มีความสูงจากระดับน ้าทะเลแตกต่างกัน ( 200 เมตร ณ หมวดพืชผัก คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ 20 เมตร ณ บริ ษัท บางกอกแลป แอนด์ คอสเมติค จากัด จังหวัด ราชบุรี) พบว่า อิทธิพลของปฏิสมั พันธ์ระหว่างพันธุ์และพื ้นที่ปลูกมีผลต่อการเจริ ญเติบโต ผลผลิต และสารเผ็ด โดยพริ กที่ปลูก ณ ขอนแก่น มีการเจริ ญเติบโต จานวนผลต่อต้ น และผลผลิตแห้ งต่อต้ นสูงกว่าพริ กที่ปลูกที่จังหวัดราชบุ รี อีกทัง้ พันธุ์ Phet Mordindang และ Tubtim Mordindang มีผลผลิตสูงทังสองพื ้ ้นที่ ในลักษณะสาร Capsaicinoid พบว่า พันธุ์ Bhut Jolokia และ HB3 มีความเผ็ดที่สงู ทัง้ 2 พื ้นที่ อย่างไรก็ตามพันธุ์ที่มีผลผลิตสารเผ็ดสูงทังสองพื ้ ้นที่ คือ พันธุ์ลกู ผสม Phet Mordindang และ Tubtim Mordindang อีกทังในการศึ ้ กษานี ้ยังพบอีกว่า พริ กที่มีสารเผ็ดสูงมากกว่า 300,000 SHU (Bhut Jolokia และ HB3) มีความเผ็ดสูงขึ ้นตามระดับความสูงของพื ้นที่ปลูก ส่วนพันธุ์ที่มีความเผ็ดต่ากว่า 300,000 SHU จะมีตอบสนองต่อสภาพ พื ้นที่ปลูกแตกต่างกัน งานทดลองนี ้สรุปได้ ว่า พริ กพันธุ์ลกู ผสม Phet Mordindang และ Tubtim Mordindang ให้ ผลผลิตสาร เผ็ดสูงทัง้ 2 พื ้นที่ ซึง่ เหมาะสาหรับการผลิตพริกเพื่อนาสารเผ็ดไปใช้ ในอุสาหกรรม คาสาคัญ: แคปไซซิน ไดไฮโดรแคปไซซิน เภสัชกรรม อุตสาหกรรมสารเผ็ด

Abstract Seven cultivars of hot pepper hybrid and two control cultivars of hot pepper based on pungency level were grown during a dry season, at elevations of 200 m (Khon Kaen University, Khon Kaen) and 20 m (Bangkok Lab & Cosmetic Co., Ltd., Ratchaburi) in Thailand. The interactions between varieties and locations were observed in most characteristics studied. Growth, fruit number and dry fruit yield, for most varieties were higher at Khon Kaen than at Ratchaburi. Phet Mordindang and Tubtim Mordindang gave high yield in both locations. Although, Bhut Jolokia and HB3 gave high capsaicinoid contents at both locations but Phet Mordindang, Tubtim Mordindang and HB1 showed the highest capsaicinoids yield at both locations. Moreover, Bhut Jolokia and HB3 (300,000 SHU) gave higher pungency at higher elevation though it fluctuated for lower pungent varieties. Our results suggest that Phet Mordindang and Tubtim Mordindang cultivars showed high capsaicinoids yield at both location that good for capsaicinoids extraction industries. Keywords: Capsaicin, dihydrocapsaicin, pharmaceutical, capsaicinoids extraction industries

1

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น 40002

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

129


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา พริ กมีลกั ษณะที่เป็ นเอกลักษณ์ คือ มีรสเผ็ด ซึ่งเกิดจากสารที่ชื่อว่า Capsaicinoid โดยปั จจุบันมีการนาสาร Capsaicinoid เหล่านี ้ไปใช้ ประโยชน์ในหลายด้ าน เช่น ใช้ เป็ นอาหารเสริ มช่วยลดการสะสมของไขมันในร่างกาย (Ohnuki et al., 2001) ใช้ บรรเทาอาการอักเสบของกล้ ามเนื อ้ (Sancho et al., 2002) ใช้ ผลิตสเปรย์เพื่อป้องกันตัว หรื อใช้ ในอุตสาหกรรม ผลิ ต สัต ว์ เพื่ อ ใช้ แ ทนยาปฏิ ชี ว นะ อี ก ทัง้ ยัง มี คุณ สมบัติ ต้ า นอนุมูล อิ ส ระและสามารถยับ ยัง้ การเจริ ญ ของเซลล์ ม ะเร็ ง (Sanatombi and Sharma, 2008) ดังนัน้ ความต้ องการใช้ ประโยชน์จากสาร Capsaicinoid จึงมีแนวโน้ มสูงขึ ้น พริ กที่นิยมปลูกในประเทศไทยส่วนใหญ่คือ พริ กชนิด Capsicum annuum L. เช่น ยอดสน จินดา หัวเรื อ ห้ วยสีทน ซุปเปอร์ ฮอท เป็ นต้ น มีความเผ็ดอยู่ในช่วง 40,000-60,000 SHU โดยพริ กจินดาประมาณ 600 กิโลกรัมสามารถผลิตสาร Capsaicinoids 1 กิโลกรัม จึงจาเป็ นต้ องใช้ พริ กจานวนมากในการผลิตสารเผ็ดให้ เพียงพอต่อความต้ องการของอุตสาหกรรม ต่างๆ อย่างไรก็ตามพริ กที่มีความเผ็ดสูง เป็ นพริ กชนิด Capsicum chinense Jacq. อาทิ Naga Jolokia ความเผ็ด 1,041,427 SHU (Bosland et al., 2007) โดยพริ กแห้ ง 16 กิโลกรัม สามารถผลิต Capsaicinoids ได้ 1 กิโลกรัม ซึง่ เหมาะสาหรับการผลิต ในระดับอุตสาหกรรม แต่พริ กชนิด C. chinense มีแหล่งกาเนิดในต่างประเทศ เมื่อนามาปลูกในประเทศไทย ส่งผลให้ มีการ เจริ ญเติบโตไม่ดี และผลผลิตต่า ซึง่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้ สร้ างลูกผสมระหว่างพันธุ์ที่มีความเผ็ดสูงกับ พันธุ์ที่มีการปรับตัวที่ดีในประเทศไทย ซึง่ ช่วยให้ สามารถปลูกพริกนี ้ในไทยได้ ดี อย่างไรก็ตามปริ มาณสาร Capsaicinoid ขึน้ อยู่กับสภาพพืน้ ที่ปลูกและปฏิสัมพันธ์ ระหว่างพันธุ์แ ละพืน้ ที่ปลูก Tewksbury et al. (2006) พบว่า พริ ก Capsicum chacoense มี Capsaicinoids เพิ่มสูงขึ ้น เมื่อปลูกในพื ้นที่ที่มีความสูงจาก ระดับน ้าทะเลเพิ่มขึ ้น แต่การเพิ่มขึ ้นของสาร Capsaicinoids ขึ ้นอยู่กบั พันธุ์ Gurung et al. (2011)ได้ ทาการศึกษาในพริ ก C. annuum พบว่า พริ กพันธุ์ที่เผ็ดสูงกว่า 50,000 SHU มีสารเผ็ดสูงขึ ้นเมื่อปลูกในพื ้นที่ที่มีความสูงจากระดับน ้าทะเลมาก ส่วน เผ็ดที่เผ็ดต่ากว่า 50,000 SHU มีการตอบสนองของของสาร Capsaicinoids ต่อระดับของพื ้นที่ปลูกแตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม ยังขาดการศึกษาปฏิสมั พันธ์ ระหว่างพันธุกรรมและสภาพแวดล้ อมในพริ ก C. chinense ซึ่งข้ อมูล ดังกล่าวนี ้ สามารถนาไปใช้ ในการเลือกพริ กพันธุ์ดี และสถานที่ที่เหมาะสม ในการผลิตสาร Capsaicinoids ตลอดจนข้ อมูลการ ตอบสนองของพันธุ์ตอ่ สภาพแวดล้ อม สามารถนาไปวางแผนการผลิตพริก สาหรับอุตสาหกรรมจากสาร Capsaicinoids ได้

อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง ดาเนินการทดลองระหว่างเดือนธันวาคม 2556 ถึงเดือนเมษายน 2557 โดยใช้ พริ กทังหมด ้ 10 พันธุ์ แบ่งเป็ นพันธุ์ ลูกผสมจานวน 8 พันธุ์ ได้ แก่ อัคนีพิโรธ, เพชรมอดินแดง, ทับทิมมอดินแดง, HB1, HB2, HB3 และ HB4 และพันธุ์เปรี ยบเทียบ 3 พันธุ์ คือ พันธุ์ Bhut Jolokia เป็ นพันธุ์พริ กเผ็ดสูงเปรี ยบเทียบ และพันธุ์ Super hot เป็ นพริ ก C. annuum พันธุ์การค้ า เปรี ย บเที ย บ ทดสอบเปรี ย บเที ย บพั น ธุ์ 2 สถานที่ ได้ แก่ 1) หมวดพื ช ผั ก สาขาพื ช สวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึง่ มีความสูงจากระดับน ้าทะเล 200 เมตร และ 2) บริษัท บางกอกแล็ป แอนด์ คอสเมติค จากัด อ.เมือง ราชบุรี จ.ราชบุรี ซึง่ มีความสูงจากระดับน ้าทะเล 20 เมตร วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) จานวน 3 ซ ้าๆ ละ 10 ต้ น ทาการบันทึกข้ อมูลอุณหภูมิ และความชื ้นในอากาศทุกๆชัว่ โมงด้ วย Data Logger (LogTag HAXO-8, LogTag Recorders Limited, New Zealand) ในระยะเก็บเกี่ยวผลผลิตครัง้ ที่ 2 ทาการบันทึกลักษณะการเจริ ญเติบโต ได้ แก่ ความสูง ต้ นและความกว้ างทรงพุ่ม เมื่อพริ กเริ่ มสุกทาการเก็บเกี่ยวจานวน 3 ครัง้ และนับจานวนผลต่อต้ น หลังจากนันน ้ าผลผลิตไปอบ ด้ วยอุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส จนกระทัง่ ผลแห้ ง แล้ วน ้ามาชัง่ เพื่อหาน ้าหนักแห้ งต่อต้ น และทาการวิเคราะห์สารเผ็ดด้ วย เทคนิค HPLC (High Performance Lipuid Chromatography) ตามวิธีการของ Collin et al. (1995) วิเคราะห์ความแปรปรวนรวม (Combined analysis) ของการเจริญเติบโต ผลผลิตและสารเผ็ด ตามแผนการทดลอง แบบRandomized Complete Block Design (RCRD) ด้ วยโปรแกรม Statistic 8 เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี Least Significant Difference (LSD)

130

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลการทดลอง จากข้ อมูลสภาพอากาศ (Fig. 1) พบว่า อุณหภูมิเฉลี่ย อุณหภูมิต่าสุด และอุณหภูมิสงู สุดของทัง้ สองพื ้นที่มีความ ใกล้ เคียงกัน อย่างไรก็ตามในช่วงเดือนธันวาคม, มกราคม และกุมภาพันธ์พบว่า อุณหภูมิสงู ที่สดุ ที่ราชบุรี (42.2, 44.78 และ 43.74 องศาเซลเซียส ตามลาดับ) มีค่าสูงกว่าขอนแก่น (34.1, 35.7 และ 39.5 องศาเซลเซียส ตามลาดับ) อีกทังในช่ ้ วงเดือน ธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ ความชื ้นสัมพัทธ์สงู สุด ต่าสุด และเฉลี่ยที่ขอนแก่น สูงกว่า ราชบุรี จากการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Table 2) พบว่า สถานที่ปลูกมีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญยิ่งในทุกลักษณะ ยกเว้ น Capsaicinoids ส่วนพันธุ์และปฏิสมั พันธ์ระหว่างพันธุ์และพื ้นที่ปลูกมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติใน ทุกลักษณะ โดยพันธุ์มีความแตกต่างสูงในลักษณะสาร Capsaicinoids (87.9 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ) และมีความแตกต่าง ระดับปานกลางในลักษณะความสูงต้ น, จานวนผล, ผลผลิตแห้ ง และผลผลิตสารเผ็ด (63.4, 70.4, 71.3 และ 68.7 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ) แสดงว่า มีความแตกต่างของพันธุ์ในลักษณะที่ศกึ ษามาก ดังนันจ ้ าเป็ นต้ องเลือกพันธุ์ดี ที่ให้ ผลผลิตและความเผ็ด สูงเพื่อนามาใช้ ในการผลิตสาร Capsaicinoids อีกทังยั ้ งพบว่าปฏิสมั พันธ์ ระหว่างพันธุ์และสถานที่ปลูก มีความแตกต่างของ เปอร์ เซ็นต์ sum square ระดับปานกลางในลักษณะผลผลิตสารเผ็ด (18.8 เปอร์ เซ็นต์) แสดงว่า พันธุ์มีการตอบสนองต่อ สถานที่ปลูกแตกต่างกันออกไป ดังนัน้ จึงควรเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมกับสถานที่ปลูกนันๆ ้ ที่ให้ ผลผลิตสารเผ็ดสูงที่สดุ จากการเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยในลักษณะการเจริ ญเติบโต (Table 3) พบว่า พริ กที่ปลูกที่ขอนแก่น มีการเจริ ญเติบโต ดีกว่าที่ราชบุรีทงสองลั ั้ กษณะ ยกเว้ นลักษณะความสูงต้ นในพันธุ์ Akanee Pirot และ Phet Mordindang อีกทังที ้ ่ขอนแก่น มี ค่าเฉลี่ยของจานวนผลสูงกว่าที่ราชบุรีทกุ พันธุ์ ยกเว้ น Bhut Jolokia และ Akanee Piroth พันธุ์ Phet Mordindang ที่มีผลผลิต แห้ งสูงที่สดุ ณ ขอนแก่น (242.4 กรัมต่อต้ น) รองลงมาคือ Super hot, HB1 และ Tubtim Mordindang ส่วนราชบุรีพบว่า พันธุ์ Tubtim Mordindang มีผลผลิตแห้ งสูงที่สดุ (140.3 กรัมต่อต้ น) แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติกบั พันธุ์ HB1, Super hot และ Phet Mordindang ส่วนพันธุ์ Bhut Jolokia มีจานวนผลและผลผลิตแห้ งต่าที่สดุ ทัง้ 2 พื ้นที่ จังหวัดขอนแก่น มีอณ ุ หภูมิต่ากว่า และความชื ้นสัมพัทธ์ สงู กว่าจังหวัดราชบุรี ซึง่ ทังสองปั ้ จจัยมีผลต่อการเจริ ญเติบโต จานวนผลและผลผลิตแห้ งของพริ ก โดยใน สภาพที่อณ ุ หภูมิสงู ทาให้ ดอกร่วงและลดการติดผลในพริ ก (Rylski and Spigelman, 1982) โดยเฉพาะพริ กที่ปลูกในสภาพที่มี อุณหภูมิกลางวันสูงกว่า 34 องศาเซลเซียส เป็ นระยะเวลานาน (Cochran, 1936) อีกทังในสภาพที ้ ่ความชื ้นสัมพัทธ์ต่ายังลด อัตราการบานของดอกและการติดผลในพริ ก (Bakker, 1989) อีกทัง้ Bosland และ Votava (2000) รายงานว่า พริ กพันธุ์ ลูกผสมจะมีความสม่าเสมอของพันธุ์และมีผลผลิตสูงกว่าพันธุ์แท้ Pure line ส่วนปริ มาณสารเผ็ดในพริ ก (Table 3) พบว่า พันธุ์ Bhut Jolokia มีความเผ็ดสูงที่สดุ ทังสองพื ้ ้นที่ (500,000 SHU) รองลงมาได้ แก่ HB3, Phet Mordindang และ Tubtim Mordindang มีค่าประมาณ 300,000; 250,000 และ 200,000 SHU ตามลาดับ โดยพันธุ์ Phet Mordindang, Tubtim Mordindang และ HB1 มีผลผลิตสารเผ็ดสูงทังสองพื ้ ้นที่ และพันธุ์ Bhut Jolokia มีผลผลิตสารเผ็ดต่าที่สดุ ทังสองพื ้ ้นที่เช่นกัน แม้ ว่าพันธุ์ Bhut Jolokia จะมีความเผ็ดสูงที่สดุ แต่มีผลผลิตที่ต่า ทาให้ ได้ ผลผลิตสารเผ็ดน้ อย เช่นเดียวกับพันธุ์ Super hot ซึง่ เป็ นพริ กพันธุ์ C. annuum ที่มีการปรับตัวที่ดีและนิยมปลูก เพื่อตลาด สดในประเทศไทย แต่มีความเผ็ดต่า ดังนัน้ การใช้ พนั ธุ์ลกู ผสมของ C. chinense สามารถเพิ่มปริ มาณผลผลิตสารเผ็ดได้ โดย พันธุ์ Phet Mordindang, Tubtim Mordindang และ HB1 มีผลผลิตสารเผ็ดสูงกว่าพันธุ์ Bhut Jolokia 1037, 727 และ 419 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ การตอบสนองของสาร Capsaicinoids ต่อสถานที่ปลูก พบว่า พันธุ์ Bhut Jolokia และ HB3 (ความเผ็ดมากกว่า 300,000 SHU) มีปริ มาณสาร Capsaicinoids เพิ่มขึ ้นตามความสูงของพื ้นที่ปลูก (Fig. 2) ส่วนพันธุ์ที่มีความเผ็ดต่ากว่า 300,000 SHU พบว่า พันธุ์มีการตอบสนองต่อสถานที่ปลูกแตกต่างกันออกไป การตอบสนองของพันธุ์ต่อพื ้นที่การปลูกมีความ แตกต่างกัน แสดงให้ เห็นว่า ความเผ็ดในพริ กควบคุมด้ วยยีนหลายคู่หรื อเป็ นลักษณะเชิงปริ มาณ (Quantitative Trait) และ พันธุกรรมมีผลต่อปริมาณสารเผ็ดในพริ ก โดย Gurung et al. (2011) รายงานว่า ความเผ็ดของพริ ก C. annuum ที่มีความเผ็ด สูง (มากกว่า 100,000 SHU) และปานกลาง (50,000-100,000 SHU) มีความเผ็ดสูงขึ ้นเมื่อปลูกในพื ้นที่ที่มีความสูงเพิ่มขึ ้น ส่วนพันธุ์ที่เผ็ดต่ามีการตอบสนองที่ แตกต่างกัน เนื่องจากพันธุ์ที่เผ็ดสูงและปานกลางควบคุมด้ วยยีนที่มีความเสถียรมากกว่า ยีนในพันธุ์ที่เผ็ดต่า อย่างไรก็ตามในการทดลองนี ้พบว่าพันธุ์ที่มีความเผ็ดสูงกว่า 100,000 SHU มีการตอบสนองต่อสภาพพื ้นที่ ปลูกแตกต่างกัน และพันธุ์ที่เผ็ดมากกว่า 300,000 SHU มีความเผ็ดสูงขึ ้นเมื่อปลูกในพื ้นที่ที่มีความสูงเพิ่มขึ ้น เนื่องจากยีนที่ ควบคุมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมความเผ็ดในพริ กชนิด C. chinense มีความแตกต่างกันกับ C. annuum (GarcésClaver et al., 2007; Zewdie and Bosland, 2000) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

131


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Descriptors for the nine hot pepper genotypes used in the experiments. Genotype

Species

Source

Generation Leaf characteristics

Fruit characteristics

Bhut Jolokia

C. chinense

India

OP

big, ovate shape

medium, Campanulate, Pointed end

Phet Mordindang

C. chinense

KKU, Thailand

F1

big, ovate shape

large, Triangular, Blunt end

Akanee Pirot

C. chinense

KKU, Thailand

F1

big, ovate shape

medium, Campanulate, Pointed end

Tubtim Mordindang

C. chinense

KKU, Thailand

F1

big, ovate shape

medium, Triangular, Blunt end

HB1

C. chinense

KKU, Thailand

F1

small, ovate shape

small, blocky, Sunken end

HB2

C. chinense

KKU, Thailand

F1

big, ovate shape

medium, round to oblong

HB3

C. chinense

KKU, Thailand

F1

small, ovate shape

small, elongated, Pointed end

HB4 Orange Habanero

C. chinense C. chinense

KKU, Thailand AVRDC, Taiwan

F1 OP

big ovate shape big, ovate shape

large, blocky, Sunken end large, blocky, Blunt end

Super hot

C. annuum

seed company

F1

small, lanceolate shape

small, elongated, Pointed end

Figure 1 Weather conditions in experimental area at Khon Kaen (KK) and Ratchaburi (RB), Thailand, during the dry season (December to April 2013).

132

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Combined analysis of variance for growth and capsaicinoid traits of ten hot pepper genotypes evaluated in two locations during dry season 2013 SOV Location (L) Error L*Replication Cultivar (C) L*C Error CV % CV % (a) (b) (a) (b) (R) L*R*C PH 1463.9** 19.8 556.6** 75.4** 18.57 6.5 6.3 (18.5) (1.0) (63.4) (8.6) (8.5) CW 6200.3** 73.68 224.67** 58.0** 18.58 12.76 6.41 (63.9) (3.0) (20.8) (5.4) (6.9) FN 89359.5** 133.3 35964.4** 4491.0** 152.0 9.73 10.39 (19.4) (0.1) (70.4) (8.8) (1.2) DY 31787.9** 407.4 22636.3** 4716.7** 174.0 18.22 11.91 (11.1) (0.6) (71.3) (14.8) (2.2) 9ns 9 10 9 CAPs 4.99x10 1.33x10 7.78x10 ** 6.33x10 ** 8.02x108 15.16 11.75 (0.6) (0.7) (87.9) (7.1) (3.6) CY 5.90x106** 1.48x104 4.79x106** 1.31x106** 5.31x104 8.6 16.3 (9.4) (0.1) (68.7) (18.8) (3.0) Numbers in parentheses are % sum of squares which shows the percent of variation a and b shows coefficient of variation due to error (L x Rep) and error (L x Rep x C), respectively ns : non-significant, ** Significant at P ≤ 0.01 probability level

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

133


59.27fgh

65.76cdef

70.59cd

59.94fgh

59.97fgh

59.12fgh

64.06defg

56.27h

81.70b

63.50B

71.94c

70.42cd

70.00cd

68.75cd

71.25c

72.37c

72.5c

67.78cde

107.22a

73.376A

Bhut Jolokia

Phet Mordindang

Akanee pirot

Tubtim Mordindang

HB1

HB2

HB3

HB4

Super hot

Mean

77.41A

86.53a

71.25def

82.64ab

73.69cde

76.25bcd

74.58cd

77.64bcd

81.25abc

78.47bcd

KKU

57.08B

61.38gh

42.76k

66.89efg

43.89jk

57.86hi

50.80ij

62.02gh

63.57fgh

60.26gh

RB

Canopy width (cm.)

157.27A

387.97a

135.92e

125.79ef

166.83d

216.39b

185.27cd

51.67 hi

174.10d

17.31jk

KKU

80.08B

204.03bc

58.67h

63.58h

25.91jk

119.78ef

115.13f

33.64ij

86.75g

8.39k

RB

Fruit no. per plant

41.78gh

122.81e

8.02j

RB

133.77A

205.09b

190.56b

54.99g

147.39cd

122.90e

87.73B

124.29e

79.26f

39.10gh

30.08hi

130.13de

186.29b 142.31cde

31.90h

242.41a

9.63ij

KKU

250,091

68,644i

134,397h

368,751c

241,769ef

176,112gh

254,176de

194,685fg

293,876d

566,741a

KKU

231,851

82,125i

206,574fg

270,277de

181,905g

198,738fg

198,518fg

259,966de

267,979de

448,136b

RB

Capsaicinoid (SHU)

225.7k

RB

682.2hij

660.1hij

339.9jk

1729.5A

884.3hi

1102.0B

637.8ij

1594.3ef 1028.1gh

1279.4fg

2232.5c

1342.4fg 1614.2ef

2959.4b 1755.2de

389.1jk

4441.5a 2035.1cd

343.9jk

KKU

Capsaicinoid yield (mg/plant)

** Significant at P ≤0.01 probability level. Mean in the same column followed by a common letter are significantly different at P ≤0.05 by LSD. Different capital letter(s) indicates significant difference between locations and between cultivars at P ≤ 0.05

RB

KKU

Cultivar

Plant height (cm.)

Fruit dry weight (g/plant)

Table 3 Plant heights and canopy width of ten hot pepper genotypes grown at Khon Kaen University, Khonkaen (KKU) and Bankok Lab & Cosmetic Co.,Ltd., Ratchaburi (BLC) in dry season 2013.


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 2 Responses of Capsaicinoids to different elevation of in 10 hot pepper genotypes.

สรุ ปผลการทดลอง จากการทดสอบพริ กเผ็ด (C. chinense Jacq.) ในเขตพื ้นที่ที่มีความสูงจากระดับน ้าทะเลแตกต่างกันของประเทศไทย จานวน 2 แห่ง สรุปได้ ว่า ปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างพันธุ์และสภาพพื ้นที่ ปลูกมีผลต่อการเจริ ญเติบโต, ผลผลิต, สาร Capsaicinoid และผลผลิตสารเผ็ดของพริ ก จึงจาเป็ นต้ องเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมในแต่ละสถานที่ โดยพันธุ์ Phet Mordindang และ Tubtim Mordindang มีผลผลิตสารเผ็ดสูงทังสองพื ้ ้นที่ จึงเหมาะสาหรับนาไปใช้ ในอุสาหกรรมสกัดสารเผ็ด อย่า งไรก็ตามการศึกษานี ้อยู่ ในช่วงฤดูแล้ ง ซึ่งเป็ นการปลูกพริ กนอกฤดู ดังนัน้ ควรมีการปลูกทดสอบเพิ่มในฤดูฝน ซึ่งเป็ นฤดูกาลที่เหมาะสมสาหรับการผลิต พริก

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจยั นี ้ ได้ รับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการปริ ญญาเอกกาญจนาภิเษก สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีแห่งชาติ ศูนย์พนั ธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพ และศูนย์ปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อการเกษตรที่ยงั่ ยืน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เอกสารอ้ างอิง

Bakker, J.C. 1989. The effects of air humidity on flowering, fruit set, seed set and fruit growth of glasshouse sweet pepper (Capsicum annuum L.). Sci. Hort. 40:1-8. Bosland, P.W. and E. J. Votava. 2000. Peppers: vegetable and spice capsicums. 2nd edition. CAB International, United Kingdom 230 pp. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

135


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Bosland, P.W. and J.B. Baral. 2007. ‘Bhut Jolokia’ The world’s hottest known chile pepper is a putative naturally occurring interspecific hybrid. HortScience 42:222-224. Cochran H. 1936. Some factors influencing growth and fruit-setting in the pepper (Capsicum frutenscens L.). NY. (Cornell). Agricultural Experiment Station Memoir 190:1-39. Collins, M.D., L.M. Wasmund and P.W. Bosland (1995). Improved method for quantifying capsaicinoids in Capsicum using highperformance liquid chromatography. HortScience 30: 137-139. Garcés-Claver, A., R. Gil-Ortega., A. Ivarez-Fernndez, and M.S. Arnedo-Andrs. 2007. Inheritance of capsaicin and dihydrocapsaicin, determined by HPLC-ESI/MS, in an intraspecific cross of Capsicum annuum L. Journal of Agricultural and Food Chemistry 55(17): 6951-6957. Gurung, T., S. Techawongstien, B. Suriharn and S. Techawongstien. 2011. Growth, yield and capsaicinoid contents of hot pepper (Capsicum SPP.) at two elevation of Thailand. SABRAO Journal of Breeding and Genetics 43(2): 130-143 Ohnuki, K., Niwa, S., Maeda, S., Inoue, N., Yazawa, S. and Fushiki, T. 2001. CH-19 sweet, a non-pungent cultivar of red pepper, increased body temperature and oxygen consumption in humans. Biosci. Biotechnol. Biochem. 65, 2033-2036. Rylski, I., and M. Spigelman. 1982. Effects of different diurnal temperature combinations on fruit set of sweet pepper. Sci. Hort.17:101106. Sanatombi, K. and Sharma, G. J. 2008. Capsaicin content and pungency of different Capsicum spp. Cultivars. Notulac Botanicae Horti Agrobotanici Cluj-Napoca. 36(2) : 89-90. Sancho, R., Lucena, C., Macho, A., Calzado, M.A., Blanco-Molina, M., Minassi, A., Appendino, G. and Muñoz, E. 2002. Immunosuppressive activity of capsaicinoids: capsiate derived from sweet peppers inhibits NF-κB activation and is a potent antiinflammatory compound in vivo. Eur. J. Immunol. 32, 1753-1763. Tewksbury, J.J., C. Manchengo, D.C. Haak and D.J. Levey (2006). Where did the chili get its spice? Biogeography of capsaicinoid production in ancestral wild chili species. Chemical Eco. 32: 547-564. Zewdie, Y. and P.W. Bosland. 2000. Capsaicinoid inheritance in an interspecific hybridization of Capsicum annuum x C. chinense. Journal of the American Society for Horticultural Science 125: 448-453.

136

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การตรวจสอบความมีชีวิตของเรณูในผักกาดขาวปลี The Investigation of Pollen Viability in Chinese Cabbage ศรสวรรค์ ศรีมา1, จุฑามาส คุ้มชัย1 Sornsawan Srima1, Jutamas Kumchai1

บทคัดย่ อ การศึกษาความมีชีวิตของเรณูในผักกาดขาวปลีพนั ธุ์จานวน 7 พันธุ์ ได้ แก่พนั ธุ์ 23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5, 142-7-12 และ พันธุ์จากประเทศจีน เป็ นการศึกษาเบื ้องต้ นของการปรับปรุ งและการผลิตลูกผสมผักกาดขาวปลีที่เหมาะกับ ประเทศไทย ระยะเวลาทาการทดลองระหว่างเดือนสิงหาคม 2557 ถึงกรกฎาคม 2558 ณ สถานีวิจยั แม่เหียะคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตรวจสอบลักษณะสัณฐานวิทยาของดอกและเก็บอับเรณูจากดอกที่บานของแต่ละพันธุ์นามาย้ อมสีละออง เกสรเพศผู้ด้วย I2-KI แล้ วนามาส่องภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์แบบใช้ แสง พบว่าลักษณะเกสรพันธุ์ 23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5, 142-7-12 มีลกั ษณะดอกที่ปกติและสามารถย้ อมสีติดในส่วนของเรณูและอับเรณู ในขณะที่ พันธุ์จากประเทศจีนปรากฏ การติดสีเฉพาะอับเรณูแต่ไม่พบเรณู และลักษณะของดอกก็มีความแตกต่างจากพันธุ์อื่นๆ โดยบางต้ นดอกจะมีกลีบดอกยาวปลาย แหลม ส่วนของเกสรเพศเมียยื่นเลยกลีบดอกที่ไม่บาน จากการทดลองนี ้สรุปได้ ว่า ในการผลิต เมล็ดพันธุ์ลกู ผสมนันสามารถเลื ้ อก พันธุ์ 23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5 และ 142-7-12 เป็ นพ่อและแม่พนั ธุ์ได้ เนื่องจากมีเกสรเพศผู้ปกติทงหมด ั้ สาหรับ พันธุ์จากประเทศจีนนันเป็ ้ นพันธุ์ที่มีเกสรเพศผู้เป็ นหมันนามาใช้ แม่พนั ธุ์ ซึ่งเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งในการลดต้ นทุนและแรงงานใน การผลิตเมล็ดพันธุ์ลกู ผสม นอกจากนี ้ยังมีความน่าเชื่อถือและแม่นยากว่าระบบการผลิตลูกผสมโดยการอาศัยลักษณะการผสม ตัวเองไม่ติด คาสาคัญ : ผักกาดขาวปลี เกสรเพศผู้เป็ นหมัน ความมีชีวิตของละอองเกสรเพศผู้ สีย้อมโพแทสเซียม ไอโอไดด์

Abstract The study on pollen viability in seven varieties of Chinese cabbage, 23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5, 142-7-12 and a variety from China were basic study of Chinese cabbage improvement and seed production that suitable for Thailand. This research was done during August 2016 to July 2017 at Mae-Hia Agricultural Research, Demonstrative, and Training Center. Morphology of the flower was determined and fresh pollen from opened flower of seven varieties were collected and stained with I2-KI. The samples were observed under a light microscope. The results found that pollens of 23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5, and 142-7-12 varieties were round shape, uniform and normal size. While, a variety from China had anther, without pollen grain. Moreover, flowers of some plant were different with other varieties such as long and sharp petals. The stigma extruded petal and flower did not open. This study indicated that the possible male and female lines of Chinese cabbage seed production were 23-6, 23-8-7, 239-3, 27-8-7, 142-6-5, 142-7-12 because there were normal pollen grains. A variety from China was male-sterile that used to be a female line. It is an optional way for hybrid seed production because it decreases the cost and labors. Moreover, it is also reliability and validity for hybrid seed production than the self-incompatibility system. Keywords: Chinese cabbage, Cytoplasmic male sterility, Pollen viability, I2-KI stain

1

สาขาวิชาพืชสวน ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

137


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

บทนา ผักกาดขาวปลีมีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Brassica rapa ssp. pekinensis อยู่ในวงศ์กะหล่า มีถิ่นกาเนิดในประเทศจีน (Li, 1981) มีลกั ษณะทางสัณฐานวิทยาเบื ้องต้ นคือ ใบย่น กาบใบกว้ างมีสีขาว มีการห่อหัวแบบหลวมที่เกิดจากใบซ้ อนทับเข้ าหากัน และหุ้มส่วนลาต้ น ช่อดอกแบบกระจะ (Raceme) เป็ นดอกแบบสมบูรณ์เพศ มีกลีบเลี ้ยง 4 กลีบ กลีบดอกสีเหลือง 4 กลีบ มีเกสร เพศผู้ 6 อัน เกสรเพศเมีย 1 อัน และมีต่อมน ้าหวานอยู่บริ เวณฐานรองดอก (มณีฉตั ร, 2545; Opena et al., 1988) ผักกาดขาวปลี นิยมบริ โภคกันมากทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ พื ้นที่เพาะปลูกส่วนใหญ่ของไทยอยู่ทางภาคเหนือและเขตภูเขาสูงที่มีอากาศ เย็น เมล็ดพันธุ์ส่วนใหญ่นาเข้ ามาจากต่างประเทศ เมล็ดพันธุ์ที่ให้ ผลผลิต สูงและมีคุณภาพเป็ นเมล็ดพันธุ์ลกู ผสมชัว่ ที่ 1 (F1 hybrid) ซึ่ง ก็มีราคาสูง ตามไปด้ วย จากการรายงานของตระกูลและคณะ (2546) พบว่า การผลิตเมล็ดพัน ธุ์ผักกาดขาวปลีใน ประเทศไทยสามารถผลิตได้ ในเขตภูเขาสูงและอากาศเย็น ซึง่ การผลิตและปรับปรุ งพันธุ์ทาโดยอาศัยลักษณะของการผสมตัวเอง ไม่ติด (Self-incompatibility) เนื่องจาก S ยีน และจากการประเมินพันธุ์พบว่าเมล็ดพันธุ์ที่ผลิตได้ ให้ ผลผลิตไม่แตกต่างกับพันธุ์ การค้ า นอกจากนีก้ ารปรับปรุ งและการผลิตเมล็ดพันธุ์ พืชในวงศ์กะหล่าก็สามารถทาได้ โดยการใช้ ลกั ษณะเกสรเพศผู้เป็ นหมัน (Male sterility) ซึ่งถูกค้ นพบในผักกาดหัวญี่ปนโดย ุ่ Ogura (1968) โดยลักษณะของเกสรเพศผู้เป็ นหมัน นี ้เกิดจากยีนในไซ โทพลาสซึม (Cytoplasmic male sterility: CMS) ดอกผักกาดหัวที่เป็ นหมันมีขนาดเล็กกว่าดอกปกติ ดังนันจึ ้ งเรี ยกลักษณะความ เป็ นหมันแบบนี ้ว่า Ogura CMS จากนันได้ ้ ถกู นามาพัฒนาสูพ่ ืชในวงศ์กะหล่า อื่นๆ รวมทังผั ้ กกาดขาวปลีด้วย (Yamagishi and Bhat, 2014) ความเป็ นหมันของเกสรเพศผู้ (Male Sterile) คือสภาวะที่เกิดจากการพัฒนาของเรณูผิดปกติ จนไม่สามารถทางาน ได้ ซึง่ สามารถพบได้ ทวั่ ไปในธรรมชาติ (Ivanov and Dymshits, 2007) ลักษณะเกสรเพศผู้เป็ นหมันที่พบมีหลายรูปแบบ เช่น พวก ที่ไม่สร้ างเรณู (Pollen sterility) พวกที่เกสรเพศผู้ไม่พฒ ั นาหรื อไม่สร้ างเกสรเพศผู้เลย (Staminal sterility) และพวกที่เรณูปกติแต่ อับเรณูไม่เปิ ด (Structural sterility) (Lasa and Bosemark, 1993) ลักษณะเกสรเพศผู้เป็ นหมันถูกนามาใช้ ในการผลิตลูกผสม ของพืชผักหลายชนิด ในพืชวงศ์กะหล่านัน้ ลักษณะของเกสรเพศผู้เป็ นหมันสามารถดูจากลักษณะสัณฐานของดอก อย่างเช่น Rapeseed ในพันธุ์ที่มีลกั ษณะเกสรเพศผู้เป็ นหมัน จะมีดอกที่มีองค์ประกอบของดอกเหมือนกับดอกปกติทกุ อย่าง แต่ไม่ปรากฏ เรณูและมีอบั เรณูมีขนาดเล็ก (Menczel et al., 1987) ในผักกาดขาวปลีสณ ั ฐานวิทยาของดอกที่เป็ นหมันมีลกั ษณะดังนี ้ ดอกมี ขนาดจะเล็กกว่าปกติเล็กน้ อย ไม่ปรากฏต่อมน ้าหวาน ก้ านชูเกสรเพศผู้สนั ้ และอับเรณูมีขนาดเล็กหรื อฝ่ อ เมื่อตรวจสอบความ สมบูรณ์ของละอองเรณู (Pollen fertility) พบว่าเรณูมีลกั ษณะที่ผิดปกติ (Dong et al., 2013) ในการตรวจสอบลักษณะของเกสร เพศผู้เป็ นหมันนอกจากสามารถตรวจสอบได้ จากการดูลกั ษณะสัณฐานวิทยาของดอกแล้ วยังสามารถตรวจสอบจากความสมบูรณ์ ของละอองเรณูได้ ขนิษฐา และคณะ (2011) ได้ ใช้ วิธีการย้ อมอับเรณูด้วยโพแทสเซียม ไอโอไดด์ (I2-KI) ตรวจสอบพันธุ์ข้าวที่มีเรณู เป็ นหมัน พบว่าพันธุ์ข้าวปกติ ละอองเรณูจะติดสีดาเข้ มและพันธุ์ข้าวที่มีเรณูเป็ นหมันจะไม่ติดสีหรื อติดสีน้อยมากเนื่องจากไม่มี ละอองเรณู Yan et al. (2012) พบว่าการตรวจสอบความสมบูรณ์ของละอองเรณูของ Rapeseed โดยการย้ อมด้ วยโพแทสเซียม ไอโอไดด์ และอะซีโตคาร์ มีน (Aceto-carmine) ให้ ผลที่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ การศึกษาครัง้ นี ้มีจดุ ประสงค์เพื่อเปรี ยบเทียบลักษณะสัณฐานของดอกผักกาดขาวปลีพนั ธุ์จากจีนซึง่ มีลกั ษณะของเกสร เพศผู้เป็ นหมัน (Ogura CMS) และพันธุ์แท้ จากสาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึง่ เป็ นพันธุ์ที่มีเกสร เพศผู้ปกติ แต่มีลกั ษณะของการผสมตัวเองไม่ติด (Self-incompatibility) และมีลกั ษณะทางพืชสวนที่ดี ซึง่ สามารถใช้ เป็ นพ่อพันธุ์ หรื อแม่พนั ธุ์ได้ โดยสามารถนามาใช้ เป็ นข้ อมูลพื ้นฐานในการปรับปรุ งพันธุ์สายพันธุ์แม่ให้ มีลกั ษณะของเกสรเพศผู้เป็ นหมัน เพื่อ ลดต้ นทุนและแรงงานในการผลิตเมล็ดพันธุ์ลกู ผสม นอกจากนี ้ยังมีความน่าเชื่อถือและแม่นยากว่าระบบการการผลิตลูกผสมโดย การอาศัยลักษณะการผสมตัวเองไม่ติด

วิธีการทดลอง

ปลูกผักกาดขาวปลีพนั ธุ์แท้ จากสาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จานวน 7 พันธุ์ คือ 23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5, 142-7-12 และพันธุ์จากประเทศจีน (Ogura CMS) โดยเก็บดอกจากต้ นที่ปลูกโดยวิธีปลูกพืช โตเร็ว (rapid cycling technique) ในห้ องควบคุมความเย็น 22 องศาเซลเซียส ให้ แสงจากหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ ความเข้ มแสง ประมาณ 3,000-6,000 ลักซ์ ตลอด 24 ชัว่ โมง โดยสุม่ เก็บดอกผักกาดขาวปลีทงดอกตู ั้ มและดอกบานมาจานวน 3 ดอกต่อต้ น และพันธุ์ละ 3 ต้ น แล้ วนาดอกผักกาดขาวปลีม าตรวจสอบลักษณะสัณฐานวิทยาโดยส่องภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์ ทาการ เปรี ยบเทียบลักษณะดอกผักกาดขาวปลีพนั ธุ์พนั ธุ์ตา่ งๆ และตรวจสอบความสมบูรณ์ของเรณู (Pollen Viability) โดยการย้ อมสีอบั เรณูของผักกาดขาวปลีพนั ธุ์ต่างๆ ด้ วยโพแทสเซียม ไอโอไดด์ (I2-KI) (Singh, 2003) แล้ วนาไปตรวจสอบภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์ แบบใช้ แสง 138

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง การตรวจสอบลักษณะสัณฐานของดอกผักกาดขาวปลี การตรวจสอบลักษณะดอกของผักกาดขาวปลีพนั ธุ์แท้ และพันธุ์จากจีน (Ogura CMS) พบว่า ผักกาดขาวปลีพนั ธุ์แท้ ทงั ้ 6 สายพันธุ์ (23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5 และ 142-7-12) มีลกั ษณะดอกที่ปกติ โดยมีกลีบเลี ้ยงสีเขียวอ่อน 4 กลีบ กลีบดอกสีเหลือง 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 6 อัน เกสรเพศเมีย 1 อัน (Figure 1 A1 and A2) เมื่อแกะกลีบดอกออกจะพบต่อมน ้าหวาน (Nectar) อยู่บริ เวณฐานรองดอก (Figure 1 A3) ตามลักษณะของดอกผักกาดขาวปลีปกติ โดยทัง้ 6 สายพันธุ์มีลกั ษณะที่ เหมือนกันจึงแสดงรูปสายพันธุ์ 23-8-7 เพื่อเป็ นตัวอย่างเพียงสายพันธุ์เดียว (Figure 1 A) (Opena et al., 1988) ส่วนลักษณะ ดอกของผักกาดขาวปลีพนั ธุ์จากจีนซึง่ มีลกั ษณะของ Ogura CMS พบว่าดอกมีขนาดเล็กกว่าดอกปกติเล็กน้ อย เมื่อเทียบกับพันธุ์ อื่นๆ มีองค์ประกอบของดอกเช่นเดียวกับดอกผักกาดขาวปลีปกติ แต่ลกั ษณะของเกสรเพศผู้จะต่างกัน คืออับเรณูมีขนาดเล็กและ ลีบ ไม่มีการแตกของแนวอับเรณูเมื่อดอกบาน ก้ านชูอบั เรณูสนั ้ (Figure 1 B1 and B2) และเมื่อแกะกลีบดอกออดไม่มีต่อม น ้าหวานปรากฏบริ เวณฐานรองดอก (Figure 1 B3) เมื่อเปรี ยบเทียบลักษณะของดอกผักกาดขาวปลีพนั ธุ์ปกติและพันธุ์จากจีนจะ เห็นได้ วา่ มีความแตกต่างของเกสรเพศผู้อย่างชัดเจน โดยเกสรเพศผู้ของพันธุ์จากจีนจะมีขนาดเล็กกว่าพันธุ์ปกติและมีอบั เรณูที่ลีบ เล็ก (Figure 1 E) ซึง่ สอดคล้ องกับการทดลองของ Dong et al. (2013) ได้ เปรี ยบเทียบลักษณะของผักกาดขาวปลีที่มีลกั ษณะของ Ogura CMS และ พันธุ์รักษาสายพันธุ์เกสรเพศผู้เป็ นหมัน (Maintainer line) ซึ่งมีลกั ษณะปกติ ในขณะที่ผกั กาดขาวปลีที่มี ลักษณะของ Ogura CMS มีกลีบดอกที่เล็กกว่าพันธุ์รักษาสายพันธุ์เกสรเพศผู้เป็ นหมัน และมีอบั เรณูที่เล็กมาก นริ นทร์ (2542) ได้ รายงานลักษณะของเกสรเพศผู้เป็ นหมันในผักกาดเขียวปลี ไว้ ดงั นี ้เกสรเพศผู้เป็ นหมัน ดอกมีขนาดเล็กและไม่พบต่อมน ้าหวาน ดังนันสรุ ้ ปได้ ว่าลักษณะของ Ogura CMS สามารถสังเกตเห็นได้ ชดั เจนจากลักษณะของเรณูที่มีขนาดเล็กและลีบ ไม่มีต่อม น ้าหวาน และบางชนิดดอกจะมีขนาดเล็กปกติเมื่อเทียบกับพันธุ์ปกติ เช่น ผักกาดขาวปลี และผักกาดหัว เป็ นต้ น (Opena et al., 1988; Yamagishi and Bhat, 2014) นอกจากนี ้พบว่าลักษณะดอกของผักกาดขาวปลีจากจีนบางต้ นมีลกั ษณะดอกต่างจากดอก ปกติคือ มีกลีบดอกยาวปลายแหลม ส่วนของเกสรเพศเมียยื่นเลยกลีบดอกที่ไม่บาน (Figure 1 C and D)

A1

A2

A3

B1

B2

B3

C

D

E

Figure 1 Flower structures of Chinese cabbages, A 23-8-7 variety, B variety from china (Ogura CMS), C Floral bud of some Chinese cabbage from china had stigma that extruded from the petals and flower did not open, D Floral bud of some Chinese cabbage from china has long and sharp of petals, E Stamens and pistils of Chinese cabbage from china (left) and 23-8-7 variety (right) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

139


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การตรวจสอบความสมบูรณ์ ของเรณู (Pollen Viability) การตรวจสอบเรณูด้วยการย้ อมสีอบั เรณูของผักกาดขาวปลีด้วยโพแทสเซียมไอโอไดด์ พบว่า ละอองเรณูของผักกาดขาว ปลีพนั ธุ์แท้ ทงั ้ 6 สายพันธุ์ (23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5 และ 142-7-12) ย้ อมติดสีน ้าตาลเข้ ม รูปร่างของเรณูลกั ษณะ กลม (Figure 2 A and B) ในขณะที่เรณูของผักกาดขาวปลีจากจีน ย้ อมไม่ติดสีของโพแทสเซียม ไอโอไดด์และไม่พบละอองเรณู ภายในอับเรณู (Figure 2 C) ซึง่ ลักษณะดอกแบบนี ้จะพบได้ ในพืชผักที่มีลกั ษณะเกสรเพศผู้เป็ นหมัน (Lasa and Bosemark, 1993)

A

B

C

Figure 2 Pollen viability, A pollens of 23-9-3 variety, which were squashed with I2-KI solution, B a mature anther and pollens of 23-9-3 variety, which were squashed with I2-KI solution, C a mature anther of Chinese cabbage from china, which was squashed I2-KI solution but no pollen stain that indicated empty pollen.

สรุ ป

จากการศึกษาลักษณะสัณฐานวิทยาของดอก และความมีชีวิตของละอองเรณูในผักกาดขาวปลีทงั ้ 7 สายพันธุ์ สรุปได้ ว่า ผักกาดขาวปลี 6 พันธุ์ (23-6, 23-8-7, 23-9-3, 27-8-7, 142-6-5 และ 142-7-12) มีลกั ษณะของดอกและเรณูปกติ ส่วน ผักกาดขาวปลีพนั ธุ์จากจีนมีลกั ษณะของเกสรเพศผู้เป็ นหมันจากการตรวจสอบความมีชีวิตของละอองเรณูร่วมกับลักษณะทาง สัณฐานวิทยาของดอก สามารถใช้ เป็ นข้ อมูลพื ้นฐานในการดูลกั ษณะของผักกาดขาวปลีที่มีลกั ษณะของเกสรเพศผู้เป็ นหมันและ ปกติได้ สาหรับการนามาพัฒนาและปรับปรุงพันธุ์ ในการสร้ างพันธุ์ลกู ผสมต่อไป เพื่อใช้ ตรวจสอบลักษณะของลูกผสมจากการใช้ ลักษณะเกสรเพศผู้เป็ นหมันเป็ นแม่พนั ธุ์ได้

กิตติกรรมประกาศ ทุนริ เริ่ มแบบมุ่งเป้า (Targeted Research Initiatives) ประเภททุนพัฒนานักวิจัยรุ่ นใหม่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการสนับสนุนทุ นวิจยั และภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพี -ศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่สนับสนุนเครื่ องมือและอุปกรณ์ในการทาวิจยั ในครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง ขนิษฐา แสงสว่าง สุรินทร์ ปิ ยะโชคณากุล จรี รัตน์ มงคลศิริวฒ ั นา และ อมรทิพย์ เมืองพรหม. 2012. การหาเครื่ องหมายดีเอ็นเอที่ใกล้ ชิดกับยีนที่ มี อิทธิพลต่อการเป็ นหมันของเรณูเนื่องจากอุณหภูมิสงู ในข้ าว (Oryza sativa L.). Thai J. Genet. 5(1): 50-56. ตระกูล ตันสุวรรณ โชคชัย ไชยมงคล และ มณีฉตั ร นิกรพันธุ์. 2546. โครงการผลิตเมล็ดพันธุ์ผกั กาดขาวปลีลกู ผสม. ว. เทคโนโลยีสรุ นารี . 10 (1): 4756. นริ นทร์ เสนาป่ า. 2542. การปรับปรุงพันธุ์ผกั กาดเขียวปลีโดยใช้ เกสรตัวผู้เป็ นหมันจากไซโทพลาสซึม. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์ ) สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 84 น. มณีฉตั ร นิกรพันธุ์. 2545. กะหล่า. โอเดียนสโตร์ , กรุงเทพฯ. 224 น. Dong, X., W.K. Kim,Y.P. Lim,Y.K. Kim and Y. Hur. 2013. Ogura-CMS in Chinese cabbage (Brassica rapa ssp. pekinensis) causes delayed expression of many nuclear genes. Plant Sci. 199-200: 7-17. Ivanov, M.K. and G.M. Dymshits. 2007. Cytoplasmic male sterility and restoration of pollen fertility in higher plants. Russ. J. Genet. 43: 354-368.

140

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Li, C.W. 1981. The origin, evolution, taxonomy and hybridization of Chinese cabbage. pp. 3-10. In T.S. Talekar and T.D. Griggs, eds. Chinese cabbage. AVRDC, Shanhua. 489p. Lasa, J.M. and N.O. Bosemark. 1993. Male sterility. pp. 213-228. In M.D. Hayward, N.O. Bosemark and T. Romagosa, eds. Plant Breeding. Springer Netherlands. 550p. Menczel, L., A. Morgan, S. Brown and P. Maliga. 1987. Fusion-mediated combination of Ogura-type cytoplasmic male sterility with Brassica napus plastids using X-irradiated CMS protoplasts. Plant Cell Rep.6: 98-101. Ogura, H. 1968. Studies on the new male sterility in Japanese radish with special reference to the utilization of this sterility towards the practical raising of hybrid seed. Mem. Fac. Agric. Kagoshima Univ. 6: 39-78. Opena, R.T., G.G. Kuo and J.Y. Yoon. 1988. Breeding and seed production of Chinese cabbage in the tropics and subtropics. Tech. Bul. 17. AVRDC, Shanhua. 92p. Singh, R.J. 2003. Plant Cytogenetics. 2nd edition. CRC Press, Boca Raton, Florida. 488p. Yamagishi, H. and S.R. Bhat. 2014. Cytoplasmic male sterility in Brassicaceae crops. Breeding Sci. 64: 38-47. Yan, X., L. Zhang, B. Chen, Z. Xiong, C. Chen, L. Wang, J. Yu, C. Lu and W. Wei. 2012. Functional identification and characterization of the Brassica Napus transcription factor gene BnAP2, the ortholog of Arabidopsis Thaliana APETALA2. PLoS one. 7(3): e33890

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

141


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประเมินลักษณะพันธุ์ของข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วง โดยใช้ การวิเคราะห์ องค์ ประกอบหลักและการจัดกลุ่ม Characterization and Evaluation of Purple-waxy Corn Varieties Using Principal Component and Cluster Analysis ณัฐพร บุตรนุช1 และบุบผา คงสมัย2 Nattaporn Butnut1 และ Buppa Kongsamai2

บทคัดย่ อ ประเทศไทยข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วงหรื อสีแดงได้ รับความนิยมบริ โภคสดมากขึน้ เนื่องจากมีสารต้ านอนุมลู อิสระที่ สาคัญคือแอนโทไซยานิน การวิจัยนีจ้ ึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมในลักษณะผลผลิตและการ เจริ ญเติบโตของข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วงพันธุ์ลกู ผสม สายพันธุ์ปรับปรุงของประเทศไทยและจีน จานวน 13 พันธุ์ พบว่า ลักษณะ น ้าหนักฝั กสดปอกเหลือกและน ้าหนักฝั กไม่ปอกเปลือก มีสหสัมพันธ์ ทางสถิติในทางบวกกับลักษณะขนาดฝั ก ผลการวิเคราะห์ องค์ประกอบหลัก พบว่า มี 5 องค์ประกอบที่มีค่า eigenvalues มากกว่า 1.0 คิดเป็ น 91.3% ของความแปรปรวนทังหมดโดยที ้ ่ ์ น ้าหนักฝักทังปอกเปลื ้ อกและไม่ปอกเปลือก ความกว้ างและความยาวฝัก และอายุออกดอก มีค่าสัมประสิทธิของความแปรปรวน หลักสูงกว่าลักษณะอื่น ๆ แสดงว่า เป็ นลักษณะที่สาคัญต่อการคัดเลือกเพื่อเพิ่มผลผลิตในข้ าวโพดข้ า วเหนียว โดยสามารถจัด กลุ่มข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วงโดยใช้ Euclidean distance ได้ เป็ น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ประกอบด้ วย 4 พันธุ์ กลุ่มที่ 2 ประกอบด้ วย 3 พันธุ์ และกลุม่ ที่ 3 ประกอบด้ วย 6 พันธุ์ โดยกลุม่ พันธุ์ที่มีอายุออกดอกเร็วและขนาดฝักเล็ก จัดอยู่ในกลุม่ ที่ 1 ส่วนกลุม่ พันธุ์ที่ให้ ผลผลิตฝักสูง และขนาดฝักใหญ่ รวมทังพั ้ นธุ์ที่มาจากประเทศจีนจัดอยูใ่ นกลุม่ ที่ 3 คาสาคัญ: ข้ าวโพดข้ าวเหนียว, สหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางฟี โนไทป์ , การวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก, การจัดกลุม่

Abstract Red or purple waxy corn is gradually consumed In Thailand because of availability of an antioxidant substance, especially anthocyanin. The objective of this research was to evaluate yield and growth performance of 13 varieties of the commercial hybrids and breeding lines of purple waxy corn of Thailand and China. The phenotypic correlation between ear weight was significantly and positively associated with ear size. From the principal component analysis, five components, which their eigenvalues higher than 1.0, were accounted for 91.3% of the total variation. A large variability was observed for the un-husked and husked ear weight, ear width and ear length, and days to flowering relative to the other traits, indicating that these are the important traits that should be considered for selection to increase yield in these purple waxy corns. Cluster analysis, based on Euclidean distance, grouped 13 varieties into 3 district clusters. Cluster I, included 4 varieties, which had early-flowering and small ear width. Cluster II, included 3 varieties, and cluster III included 6 varieties. The varieties that gave high ear weight, and large ear size, including the varieties from China, were grouped into the third group. Keywords: waxy corn, phenotypic correlation, principal component analysis, cluster analysis

1 2

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม 142

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ข้ าวโพดข้ าวเหนียว (Zea may spp. sceratina) นิยมปลูกเพื่อรับประทานฝักสด รสชาติไม่หวานมาก เมล็ดเหนียวนุ่ม เมล็ดอาจมีสี เหลือง ขาว ส้ ม ม่วง หรื อมีหลายสีในฝักเดียวกัน (จินตน์กานต์, 2554) โดยเฉพาะข้ าวโพดสีม่วงปั จจุบนั ได้ รับความ สนใจจากผู้บริโภคและนักปรับปรุงพันธุ์ เนื่องจากมีรงควัตถุแอนโทไซยานินในเมล็ดสูงระหว่าง 30.7-106.2 มก.ของ cyanidine-3glucoside ต่อตัวอย่างสด 100 กรัม ขึ ้นอยู่กบั พันธุ์ (อรุณทิพย์และคณะ, 2556) แอนโทไซยานินมีความสามารถในการต้ านอนุมลู อิสระได้ ดี ช่วยเสริ มสร้ างภูมิค้ มุ กันของร่ างกาย สมานบาดแผล ลดโอกาสเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและมะเร็ ง (de PascualTeresa and Sanchez-Ballesta, 2008; Tsuda, 2012 ) การเลือกเชื ้อพันธุกรรมเพื่อใช้ ในการปรับปรุ งลักษณะที่ต้องการจะพิจารณาจากความหลากหลายทางพันธุกรรม ในการ เลือกใช้ พอ่ แม่ที่มีแตกต่างทางพันธุกรรมสาหรับพัฒนาประชากรเพื่อขยายฐานพันธุกรรมให้ กว้ างขึ ้น การวิเคราะห์ตวั แปรหลายตัว (Multivariate data analyses) โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก (principal component analysis, PC) และการวิเคราะห์จดั กลุม่ (cluster analyses) เป็ นเทคนิคที่นิยมใช้ ในการจัดจาแนกกลุม่ ตามระดับความคล้ ายคลึงทางพันธุกรรมระหว่างจีโนไทป์ และ เลือกพ่อแม่ที่มีความแตกต่างทางพันธุกรรมสาหรับผสมพันธุ์เพื่อเพิ่มการกระจายตัวของลักษณะที่ต้องการในประชากรรุ่ นลูกใน พืชหลายชนิด (Cui et al., 2001; Lingaiah et al., 2013; Janmohammadi et al., 2014; Ulaganathan and Nirmalakumari, 2015) Badu-Apraku et al. (2005) จัดกลุ่มของข้ าวโพดพันธุ์แท้ ออกดอกเร็ว 65 พันธุ์ โดยใช้ ความคล้ ายคลึงของลักษณะ ผลผลิต ความสูงต้ น ความทนทานต่อวัชพืช อายุการออกดอก เป็ นต้ น ซึง่ สามารถเลือกพันธุ์แท้ 5 พันธุ์ที่ให้ ผลผลิตสูงและทนทาน ต่อวัชพืชดี จานวน 5 พันธุ์ สาหรับพัฒนาพันธุ์สงั เคราะห์และการปรับปรุงประชากรสาหรับคัดเลือกของข้ าวโพดอายุสนได้ ั ้ จากการ วิเคราะห์องค์ประกอบหลัก การศึกษานีม้ ีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมในลักษณะผลผลิตและการ เจริญเติบโตของข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วงพันธุ์ลกู ผสม สายพันธุ์ปรับปรุงของประเทศไทยและจีน จานวน 13 พันธุ์

อุปกรณ์ และวิธีการ ปลูกเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วง จานวน 13 พันธุ์ ประกอบด้ วยพันธุ์การค้ า 4 พันธุ์ คือ hybrid I-IV เชื ้อพันธุกรรม จากศูนย์วิจยั ข้ าวโพดข้ าวฟ่ าง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 7 พันธุ์ คือ 204-4, 204-5, 7009, 12003, 17015, 17016 และ 17017 พันธุ์การค้ าจากประเทศจีน 2 พันธุ์ คือ red waxy corn และ black waxy corn วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) จานวน 2 ซ ้า ณ แปลงทดลองหน่วยเมล็ดพันธุ์พืช ศูนย์ปฏิบตั ิการวิจยั และเรื อนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ระหว่างเดือนธันวาคม 2557-มีนาคม 2558 โดยปลูก 1 แถวต่อซ ้าความยาวแถว 4 เมตร ระยะระหว่างต้ น 30 เซนติเมตร และระหว่างแถว 60 เซนติเมตร หยอดหลุมละ 2 เมล็ด หลังปลูก 15 วัน ใส่ปยสู ุ๋ ตร 15-1515 อัตรา 40 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อข้ าวโพดอายุ 4 สัปดาห์หลังปลูก ใส่ปยสู ุ๋ ตร 46-0-0 อัตรา 12 กิโลกรัมต่อไร่ จานวน 2 ครัง้ ให้ น ้า แบบปล่อยตามร่ องทุก 1-2 สัปดาห์ เก็บข้ อมูลในลักษณะทางการเกษตร เช่น ความสูงต้ นและความสูงฝั ก (เซนติเมตร) อายุการ ออกดอกตัวผู้และอายุออกไหม 50 และ 100% (วันหลังปลูก) น ้าหนักฝักก่อนปอกเปลือก น ้าหนัก(กิโลกรัม ) และขนาดฝักสดปอก (เซนติเมตร) คานวณสัดส่วนน ้าหนักฝั กปอกเปลือกต่อน ้าหนักฝักก่อนปอกเปลือก เปอร์ เซ็นต์การฝานเนื ้อเมล็ด ลักษณะทรงต้ น พิจารณาจากความแข็งแรงของลาต้ นและราก ความต้ านทานโรค และความสม่าเสมอภายในพันธุ์ ส่วนลักษณะฝั กสดพิจารณา จากเปลือกหุ้มปลายฝักมิดชิด และการเข้ าทาลายของหนอนหรื อแมลงบริ เวณปลายฝัก คะแนนการเกิด โรค และคะแนนการชิมฝัก ต้ มสุก ข้ อมูลที่ได้ จากการทดลองนามาวิเคราะห์สถิติพื ้นฐาน แล้ วนาค่าเฉลี่ยนามาวิเคราะห์ข้อมูลตัวแปรหลายตัว ด้ วย โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลสาเร็จรู ป STAR 2.0.1 (2014) โดยวิเคราะห์องค์ประกอบหลักเพื่อตรวจสอบรูปแบบการกระจายตัวและ ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะและพันธุ์ที่ใช้ ในการทดลอง และวิเคราะห์การจัดกลุม่ (cluster analysis) เพื่อสร้ าง phylogenetic tree ด้ วยวิธี Agglomerative with Ward’s method โดยใช้ ค่า Euclidean distance coefficient ซึง่ วิธี Ward’s minimum variance method นี ้จะให้ คา่ ความแปรปรวนระหว่างกลุม่ และภายในกลุม่ สูงสุด (Ward, 1963)

ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ ระหว่างผลผลิตฝั กสดไม่ปอกเปลือกและผลผลิตฝั กสดปอกเปลือกร่ วมกับ ลักษณะทางการ เกษตรอื่น ๆ เช่น ความยาวฝัก ความกว้ างฝัก ความสูงต้ นและฝัก อายุออกดอก ลักษณะทรงต้ นและฝัก และคะแนนการชิม พบว่า การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

143


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

น ้าหนักฝักปอกเปลือกและไม่ปอกเปลือกมี ค่าสหสัมพันธ์ ทางบวกกับความยาวฝัก ความกว้ างฝัก และสัดส่วนระหว่างน ้าหนักฝั ก ปอกเปลือกต่อฝักไม่ปอกเปลือกอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.01) (Table 1) ดังนันหากต้ ้ องการปรับปรุงพันธุ์เพื่อเพิ่มผลผลิต ฝักสดควรพิจารณาขนาดฝักประกอบ อย่างไรก็ตามความกว้ างฝักยังขึ ้นอยู่กบั ความกว้ างของซังข้ าวโพด ความลึกของเมล็ด และ จานวนแถวเมล็ดด้ วย ความสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะองค์ประกอบผลผลิตเหล่านี ้ และลักษณะทางเกษตร อาจมีส่วนชดเชยกัน เพื่อให้ ได้ ผลผลิตข้ าวโพดฝั กสดตามความต้ องการของผู้บริ โภคและผู้ปลูก นอกจากนี ้ยังพบว่าอายุออกดอกตัวผู้มีสหสัมพันธ์ กบั อายุออกไหมสูง (r=0.93) เนื่องจากช่วงออกดอกของดอกตัวเมียและดอกตัวผู้ใกล้ เคียงกันหรื ออยู่ในช่วงเดียวกัน ซึง่ เป็ นลักษณะ ที่ต้องการในการการผลิตและปรั บปรุ งพันธุ์ข้าวโพด ซึ่งความสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะดังกล่าวนี ส้ อดคล้ องกับ PC biplot (Figure1) ซึง่ เวคเตอร์ ระหว่างลักษณะน ้าหนักและขนาดฝัก และระหว่างอายุออกดอกตัวผู้และอายุออกไหมมีขนาดใกล้ เคียงกัน และมีมมุ แคบ (r=cos0+1) ระหว่างเวคเตอร์ (Janmohammadi et al., 2014)

การวิเคราะห์ องค์ ประกอบหลัก(Principal component analysis) การวิเคราะห์องค์ประกอบหลักเป็ นเทคนิคที่ใช้ จาแนกลักษณะทางฟี โนไทป์ ที่ส่งผลต่อความแปรปรวนภายในกลุ่มพันธุ์ พืชหรื อจีโนไทป์ ซึ่งมักใช้ ในการคัดเลือกจีโนไทป์ ที่ดีเด่นสาหรับใช้ ในโครงการปรับปรุ งพันธุ์พืช (Mus ta fa et al., 2015; Ulaganathn and Nirmalakumari, 2015) ซึ่งผลการวิเคราะห์องค์ประกอบหลักจานวน 13 องค์ประกอบโดยใช้ Euclidean distance value พบว่า มีเพียง 5 องค์ประกอบหลักที่มีค่า Eigenvalue มากกว่า 1.0 ซึง่ สามารถอธิบายความแปรปรวนรวมได้ 91.3 เปอร์ เซ็นต์ของความแปรปรวนทังหมดของข้ ้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วงทัง้ 13 พันธุ์ (Table 2) โดยองค์ประกอบหลักแรก (PC1) อธิบายความแปรปรวนได้ 30.51 เปอร์ เซ็นต์ ซึง่ ส่วนใหญ่มีผลมาจากความแปรปรวนของลักษณะน ้าหนักฝักปอกเปลือก (-0.40) และน ้าหนักฝักไม่ปอกเปลือก (0.41) ความสูงต้ น (0.44) และฝัก (0.42) ส่วนองค์ประกอบหลักที่ 2 (PC2) และองค์ประกอบหลัก ที่ 3 (PC3) อธิบายความแปรปรวนได้ 26.3 และ 14.5 เปอร์ เซ็นต์ตามลาดับ ซึง่ เกิดจากความแปรปรวนในลักษณะอายุออกดอก ตัวผู้ (0.47-0.48) และอายุออกไหม (0.38-0.48) เปอร์ เซ็นต์เนื ้อเมล็ด (0.59) และความกว้ างฝั ก (0.53) เป็ นหลัก ขณะที่ องค์ประกอบหลักที่ 4 และ 5 ความแปรปรวนหลักเกิดจากงลักษณะทรงต้ น (0.59) และฝัก (0.48 และ -0.46) คะแนนการชิม (0.38) และความยาวฝัก (0.68) โดย PC4 และ PC5 อธิบายความแปรปรวนรวมได้ 9.2-10.7 เปอร์ เซ็นต์ (Table 2) เมื่อพิจารณา PC biplot ประกอบจะเห็นได้ ว่า อายุออกดอกตัวผู้และอายุออกไหม น ้าหนักและขนาดฝัก มีผลต่อความแปรปรวนของข้ าวโพด ข้ าวเหนียวที่ศกึ ษาสูงกว่าลักษณะอื่น ๆ (figure 1)

การวิเคราะห์ จัดกลุ่ม (cluster analysis) จากการวิเคราะห์จดั กลุ่มโดยวิธี ด้ วยวิธี Agglomerative with Ward’s method สร้ าง phylogenetic tree พบว่า สามารถจัดกลุ่มข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วง 13 พันธุ์ได้ 3 กลุ่มใหญ่ตามลักษณะผลผลิต ลักษณะทางการเกษตร และคุณภาพ (Figure 2) ซึง่ สอดคล้ องกับ PC biplot (figure 1) ดังนี ้ กลุม่ ที่ 1 ประกอบด้ วยข้ าวโพดข้ าวเหนียว 4 พันธุ์ คือ 204-4, 204-5, 7009 และ Hybrid III กลุม่ ที่ 2 ประกอบด้ วย 3 พันธุ์ คือ 12003, 17015 และ Hybrid I และกลุม่ ที่ 3 ประกอบด้ วยพันธุ์ 17016,17017, red waxy corn, Hybrid II และ Hybrid IV และ black waxy corn ซึง่ พันธุ์ในกลุม่ ที่ 1 เป็ นข้ าวโพดข้ าวเหนียวที่มี น ้าหนักฝักสดปานกลาง อายุออกดอกช้ า (late flowering) และทรงต้ นสูง กลุม่ ที่ 2 มีขนาดฝักเล็ก ออกดอกเร็ว และมีคณ ุ ภาพใน การบริ โภคปานกลาง ส่วนกลุ่มที่ 3 จัดเป็ นกลุม่ พันธุ์ที่ให้ ผลผลิตฝักสดสูง ขนาดฝั กใหญ่ ความสูงต้ นและฝั กปานกลาง คุณภาพ ในการบริ โภคดี และมีลกั ษณะทรงต้ นและฝั กดี ซึ่งพันธุ์ที่นาเข้ ามาจากประเทศจีน 2 พันธุ์จดั ในกลุม่ นี ้ด้ วย ดังนันหากต้ ้ องการ คัดเลือกเพื่อปรับปรุงลักษณะผลผลิตและขนาดฝักใหญ่ ควรเลือกพันธุ์จากกลุม่ ที่ 3 (Figure 2, Table 3)

144

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table1. Simple correlation coefficients of some agronomic traits of 13 purple waxy corn genotypes. Traits UEWT EWT EWT/UEWT EL EW PCUT EH PLH 50TASSEL 50SILK

EWT 0.97

EWT/UEWT

EL

EW

PCUT

EH

PLH

50TASSEL 50SILK PLTPERM SSCORE

0.77

0.80

0.76

-0.03

0.15

0.19

0.09

-0.11

-0.33

0.21

-0.10

0.85

0.71

0.71

0.02

-0.01

0.03

0.08

-0.13

-0.28

0.29

0.01

0.51

0.63

0.13

-0.21

-0.26

-0.07

-0.22

-0.08

0.17

0.04

0.59

0.01

0.21

0.23

-0.12

-0.25

-0.48

0.16

-0.47

0.16

0.29

0.17

0.45

0.34

-0.39

0.07

-0.31

-0.01

-0.28

0.11

0.02

0.13

-0.23

-0.08

0.89

0.25

0.35

-0.01

-0.27

-0.07

0.12

0.22

-0.05

-0.28

-0.13

0.93

-0.17

0.23

0.04

-0.16

0.26

-0.02

-0.38

0.67

PLTPERM SSCORE

ESCORE

0.10

UEWT= unhusked ear weight, EWT=husked ear weight, EL=ear length, EW=ear width, PCUT=percentage of cutting, EH=ear height, PLH =plant height, 50TASSEL=50% of tasseling, 50SILK=50% of silking, PLTPERM=plant performance and SSCORE=sensory score. The bold and underline numbers show significance of correlation coefficient from r=0 at P =0.01 and the italic numbers are p-value of the correlation coefficient.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

145


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table2 Eigenvectors of the first five principal components (PC) axis as observed in 13 purple waxy corn genotypes. Traits unhusked ear weight (kg) husked ear weight (kg) husked : unhusked ear weight ratio ear length (cm) ear width (cm) percentage of cutting ear height (cm) plant height (cm) 50% tassel (DAP) 100% tassel (DAP) 50% silking (DAP) 100% silking (DAP) plant performance score sensory score ear performance score

146

PC1 -0.40 0.41 0.36 -0.01 0.02 0.03 0.44 0.42 0.01 -0.02 -0.07 -0.23 -0.27 0.14 -0.17

PC2 0.02 -0.05 0.24 0.06 0.25 0.17 0.05 0.03 0.48 0.47 0.48 0.38 -0.05 0.09 0.03

PC3 0.24 0.18 0.03 -0.12 0.53 0.59 0.02 -0.11 -0.14 -0.16 -0.06 -0.05 -0.04 -0.38 -0.25

PC4 PC5 -0.19 -0.05 -0.02 0.05 0.11 0.18 0.27 0.68 0.14 -0.10 0.06 -0.25 0.22 -0.12 0.25 -0.12 -0.06 0.04 -0.01 -0.09 -0.17 0.00 0.17 0.16 -0.09 0.59 -0.33 -0.38 0.48

-0.46

Proportion of Variance accounted by PC

30.51%

26.36%

14.56%

10.69%

9.18%

Cumulative Proportion Eigen value

30.51%

56.87%

71.43%

82.11%

91.29%

4.58

3.95

2.18

1.60

1.38

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Mean and standard deviation of 15 agronomic traits of the three clusters of purple waxy corn genotypes Variable unhusked ear weight (kg) husked ear weight (kg) husked : unhusked ear weight ratio ear length (cm) ear width (cm) percentage of cutting ear height (cm) plant height (cm) 50% tassel (DAP) 100% tassel (DAP) 50% silking (DAP) 100% silking (DAP) plant performance score sensory score ear performance score

Cluster1 Mean Std Dev 4.20 2.21 2.90 1.68 1.53 0.15 15.67 4.54 21.43 4.10 1.67 0.12 105.73 17.59 196.6 29.3 57.67 1.53 59.67 1.53 57.67 1.53 61.33 1.15 2.00 0.50 3.83 0.29 2.83 0.58

Cluster 2 Mean Std Dev 3.80 0.85 2.62 0.81 1.50 0.16 15.57 0.99 18.95 3.06 1.70 0.08 89.05 14.86 167.93 20.92 52.5 0.58 55.5 0.58 51.25 0.96 57.75 1.50 2.50 0.41 3.38 0.25 3.12 0.75

Cluster 3 Mean Std Dev 4.85 1.38 3.72 1.54 1.37 0.14 17.43 1.10 21.15 2.35 1.72 0.23 85.08 6.43 160.37 17.94 54.33 1.75 56.83 1.47 53.33 1.63 57.33 2.07 1.50 0.45 4.08 0.38 2.17 1.21

UEWT= unhusked ear weight, EWT=husked ear weight, EL=ear length, EW=ear width, PCUT=percentage of cutting, EH=ear height, PLH =plant height, 50TASSEL=50% of tasseling, 50SILK=50% of silking, PLTPERM=plant performance and SSCORE=sensory score

Figure 1 Distribution pattern or biplot between PC1 and PC2 showing contribution of various traits in variability of 13 purple waxycorn genotypes. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

147


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 2 Phylogenic tree diagram of 13 genotypes of purple waxy corns based on Eucliean distance coefficient identified by agronomic, yield and yield-component traits, cophenetic correlation coefficient = 0.62.

สรุ ปผลการทดลอง จากการตรวจสอบการกระจายตัวของข้ า วโพดข้ าวเหนี ยวสีม่ว งเพื่ อจัดกลุ่มข้ าวโพดข้ าวเหนี ยวด้ ว ยการวิ เคราะห์ องค์ประกอบหลักและการจัดกลุ่มตามความหลากหลายของลักษณะ พบว่า ลักษณะน ้าหนักฝัก ความสูงต้ นและฝั ก อายุการออก ดอก ขนาดฝัก และลักษณะทรงต้ น มีผลอย่างมากต่อความแปรปรวนระหว่างพันธุ์ข้าวโพดข้ าวเหนียว 13 พันธุ์ และจากวิเคราะห์ การจัดกลุม่ ด้ วยวิธี Agglomerative with Ward’s method สามารถจัดกลุ่มข้ าวโพดข้ าวสีม่วงได้ 3 กลุม่ ใหญ่ ซึ่งกลุม่ ที่ 1 ประกอบด้ วย 4 พันธุ์มีอายุออกดอกช้ า ขนาดฝักปานกลาง และทรงต้ นสูง กลุม่ ที่ 2 ประกอบด้ วย 3 พันธุ์ มีอายุออกดอกเร็ว ขนาด ฝักเล็ก และคุณภาพการบริโภคดี และกลุม่ ที่ 3 ประกอบด้ วย 6 พันธุ์ที่ให้ ผลผลิตสูง ฝักใหญ่ และลักษณะทรงต้ นดี

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ ทุน สนับ สนุน การท าวิ จัย บางส่ ว นจากส านัก งานคณะกรรมการวิ ท ยาศาสตร์ แ ละนวัต กรรมแห่ ง ชาติ (สวทน.) นอกจากนี ข้ อขอบคุณภาควิชาพืชไร่ นา และศูนย์ ปฏิบัติการวิจัยและเรื อนปลูกพืชทดลอง คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม ที่เอื ้อเฟื อ้ สถานที่และห้ องปฎิบตั ิการเพื่องานวิจยั นี ้

เอกสารอ้ างอิง จินตน์กานต์ งามสุทธา. 2554. ธัญพืชมากประโยชน์ ข้ าวโพดข้ าวเหนียวสีม่วง. จดหมายข่าวผลิใบ.14(11): 13-15. อรุณทิพย์ เหมะธุลนิ , สกุลกานต์ สิมลา, สุรศักดิ์ บุญแต่ง และสุดาทิพย์ อินทร์ ชื่น. 2556. ปริ มาณแอนโทไซยานินในเชื ้อพันธุกรรมข้ าวโพดข้ าวเหนียวสี ม่วงที่เก็บเกี่ยวในระยะรับประทานฝักสด. วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 32:801-806. Bhanupriya, B. Das., N.H. Satyanarayana, S. Mukherjee and K.K. Sarkar. 2014. Genetic diversity of wheat genotypes based on principal component analysis in Gangetic alluvial soil of West Bengal. J. Crop Weed. 10:104-107. Cui, Z. T.E. Carter, J.W. Burton, and R. Wells. 2001. Phenotypic diversity of modern Chinese and North American soybean cultivars. Crop Sci. 41:1954-1967. Janmohammadi, M. Z. Movahedi and N. Sabaghnia. 2014. Multivariate statistical analysis of some traits of bread wheat for breeding under rainfed conditions. J. Agric. Sci. 59:1-14. 148

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Lingaiah, N., M. Bharathi and V. Venkanna. 2013. Studies on genetic diversity for grain yield and physiological pameters in maize (Zea may L.). Int. J. Appl. Bio. Pharm. Tech. 4: 27-30. de Pascual-Teresa,S. and M. Teresa Sanchez-Ballesta. 2008. Anthocyanins: from plant to health. Phytochem Rev. 7:281-299. STAR, version 2.0.1 2014. Biometrics and Breeding Informatics, PBGB Division, International Rice Research Institute, Los Baños, Laguna. Tsuda, T. 2012. Dietary anthocyanin-rich plants: Biochemical basis and recent progress in health benfits studies. Mol. Nutr. Food Res. 56:159–170. Ulaganathan, V. and A. Nirmalakumari. 2015. Finger millet germplasm characterization and evaluation using principal component analysis. SABRAO Breed. Genetic. 47: 79-88. Ward, J.H. 1963. Hierarchical grouping to optimize an objective function. J. Amer. Stat. Association. 58:236-244.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

149


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การพัฒนาพันธุ์ลูกผสมของฟั กทองให้ มีผลผลิตและคุณภาพสูง The Development of Hybrid Varieties of Pumpkin (CucurbitamoschataDuch. ex Poir) for High Yield and Quality วันไณ เอา1 จานุลักษณ์ ขนบดี1 และ ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ1 Vannai Or1, Chanulak Khanobdee1, and Pattharaporn Srisamatthakarn1

บทคัดย่ อ การประเมินผลผลิตองค์ประกอบของผลผลิต และคุณภาพของฟั กทองสายพันธุ์แม่และพ่อ 20 สายพันธุ์ เพื่อคัดเลือก และสร้ างพันธุ์ลกู ผสมที่ให้ ผลผลิตและคุณภาพสูง ดาเนินการระหว่างกันยายน 2557 ถึง มกราคม 2558 ณ สถาบันวิจยั เทคโนโลยี เกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จังหวัดลาปาง พบว่า สายพันธุ์แม่และพ่อมีผลผลิตต่อไร่ เฉลี่ย 2.0 ตัน และ น ้าหนักผลเฉลี่ย 1.8 กิโลกรัม สายพันธุ์ฟักทองสายพันธุ์ PK20 ให้ ผลผลิตต่อไร่สงู สุด เท่ากับ2.6 ตัน น ้าหนักผล 2.3 กิโลกรัม ด้ าน ลักษณะคุณภาพการบริ โภค พบว่า สายพันธุ์ PK 12 มีปริ มาณของแข็งทังหมดสู ้ งสุด ร้ อยละ 23.7 และปริ มาณของแข็งที่ละลาย ได้ ทงหมดในเนื ั้ ้อดิบและเนื ้อสุกสูงสุด เท่ากับ 13.0 และ 11.2 องศาบริ กซ์ การสร้ างพันธุ์ลกู ผสมได้ จานวน 48พันธุ์ ดาเนินการ ทดสอบพันธุ์ลกู ผสม ร่วมกับพันธุ์มาตรฐาน 2 พันธุ์ วางแผนการทดลองแบบสุม่ บล็อกสมบูรณ์ จานวน 2 บล็อก ระหว่างมกราคม ถึง พฤษภาคม 2558 พบว่าสามารถคัดเลือกได้ 13 พันธุ์ ที่ให้ ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 2.2 ตัน และน ้าหนักผลเฉลี่ย 1.9 กิโลกรัม พันธุ์ ลูกผสม PK 3 /PK 1 ให้ ผลผลิตและน ้าหนักผลสูงสุด พันธุ์ลกู ผสม PK 8 /PK 3 มีปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดของเนื ั้ ้อดิบ และเนื ้อสุกสูงสุด พันธุ์ลกู ผสมที่มีแนวโน้ มผลผลิตต่อไร่และลักษณะทางคุณภาพการบริโภคสูง คือ PK 1 /PK 14 คาสาคัญ: ฟั กทอง พันธุ์ลกู ผสม ผลผลิต คุณภาพ

Abstract The evaluation for yield, yield components and quality was conducted 20 pumpkin parental lines for selected high yield and quality hybrids during September 2014 to January 2015 at Agricultural Technology Research Institute, Rajamagala University of Technology Lanna, Lampang province. The average yield and fruit weight of parental lines were 2.0 ton/rai and 1.8 kg while the PK12 line had the highest total solid and total soluble solid of fresh and cooked flesh; 23.7 %, 13.0 and 11.2 o brix, respectively. The 48 hybrids were trailed with 2 commercial checks by 2 blocks of RCB duringJanuary to May 2015. The 13 elited hybrids were selected which averaged yield and fruit weight at 2.2 ton/rai and 1.9 kg. PK 3 /PK 1 had the highest yield and fruit weight and PK 8 /PK 3 expressed the highest total soluble solid on fresh and cooked flesh. The elited PK1 / PK14 was trended the highest yield and total solid content. Keywords: pumpkin, hybrid, yield, quality

คานา ฟั กทอง (Cucurbita spp.)เป็ นพืชอาหารที่นิยมบริ โภคในรู ปอาหารเพื่อสุขภาพ อาหารเสริ มหรื อเป็ นยา (Cailietal., 2006) เนื่องจากฟั กทองมีคณ ุ ค่าทางอาหารสูงและมีประโยชน์ต่อร่างกายทังในส่ ้ วนเนื ้อและเมล็ดฟั กทองเป็ นแหล่งของเบต้ าแคโร ์ ทีน สารต้ านอนุมลู อิสระ และสารออกฤทธิ ที่สาคัญที่ช่วยลดความเสี่ยงของโรคต่างๆ ได้ เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือด หัวใจอุดตัน ท้ องผูก ริ ดสีดวงทวาร และโรคมะเร็ งลาไส้ (Murkovic et al., 2004) เมล็ดฟั กทองมีคณ ุ ค่า ทางอาหารที่มี ์ ประโยชน์ ต่อร่ างกายและมีฤทธิ ทางเภสัชวิทยาสูง เนื่ องจากประกอบด้ วยกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัวชนิดโอเมก้ า -3 และ โอเมก้ า -6 (Murkovic et al., 2004; Ardabili et al., 2011) ฟั กทองเป็ นพืชเขตร้ อนหรื อกึ่งเขตร้ อน มีถิ่นกาเนิดอยู่ในตอนใต้ ของประเทศ

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 202 หมู่ 17 ต. พิชยั อ. เมือง จ. ลาปาง 52000 150

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เม็กซิโก และเป็ นพืชพื ้นเมืองของทวีปอเมริ กาในพื ้นที่ตะวันตกเฉียงใต้ ของประเทศสหรัฐอเมริ กาจนถึ งทวีปอเมริ กากลาง (กฤษฎา, 2547) โดยทัว่ โลกและทวีปเอเชียมีพื ้นที่ผลิตฟั กทอง น ้าเต้ าและสควอชจานวน 11.2 และ 7.3 ล้ านไร่ ประเทศที่ มีพื ้นที่ผลิตมากที่สดุ ได้ แก่ประเทศอินเดียจานวน 3.2 ล้ านไร่ คิดเป็ นร้ อยละ 29.0 รองลงมาคือประเทศจีนจานวน 2.4 ล้ านไร่ คิด เป็ นร้ อยละ 21.0 ส่วนประเทศไทยมีจานวน 0.1 ล้ านไร่ คิดเป็ นร้ อยละ1.0 (FAOSTAT, 2012) ประเทศไทยมีการส่งออกเมล็ดพันธุ์ ควบคุมเพื่อการค้ า ในปี พ.ศ. 2553 เป็ นจานวน 36.7 ตันคิดเป็ น 61.5 ล้ านบาท และมีปริ มาณและมูลค่าเพิ่มขึ ้น โดยในปี พ.ศ. 2556 มีปริมาณการส่งออก 57.0 ตัน คิดเป็ น 92.2 ล้ านบาท (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2557) การพัฒนาพันธุ์ลกู ผสมของฟั กทองให้ มีผลผลิตและคุณภาพสูง และประเมินลักษณะของสายพันธุ์ ที่พฒ ั นาได้ โดยการบันทึก ลักษณะต่างๆ ของแต่ละสายพันธุ์ คือ ผลผลิตต่อไร่ น ้าหนักผลและลักษณะทางคุณภาพ คือ ปริ มาณของแข็งทังหมด ้ ปริ มาณ ของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดของเนื ั้ ้อดิบและเนื ้อนึ่งสุก เป็ นสิ่งที่สาคัญและจาเป็ นเพื่อให้ ได้ ข้อมูล ลักษณะที่สามารถนาไปใช้ ในการ คัดเลือกสายพันธุ์ที่มีคณ ุ สมบัติที่ดี และนาไปปรับปรุงพันธุ์ให้ ได้ สายพันธุ์ใหม่ที่มีลกั ษณะตามการใช้ ประโยชน์ได้ ซึง่ จะเป็ นปั จจัยที่ สาคัญในการเพิ่มมูลค่าของการผลิตฟั กทองในประเทศไทยได้ ดังนัน้ งานวิจัยนีจ้ ึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาพันธุ์ลูกผสมของ ฟั กทองให้ มีผลผลิต และคุณภาพสูง

อุปกรณ์ และวิธีการ อุปกรณ์ สายพันธุ์ฟักทอง ชัว่ ที่ 4-7 จานวน 20 สายพันธุ์ (Table 1) และพันธุ์มาตรฐาน 2 พันธุ์ วิธีการ 1.การประเมินผลผลิต องค์ ประกอบของผลผลิต และคุณภาพของฟั กทองสายพันธุ์แม่ และพ่ อ 1.1 นาสายพันธุ์ฟักทองแม่และพ่อ20 สายพันธุ์ ปลูกทดสอบเพื่อประเมินผลผลิต องค์ประกอบของผลผลิต และคุณภาพ ดาเนินการเพาะเมล็ดและย้ ายปลูกเมื่อต้ นกล้ าอายุ7-10 วัน ปุ๋ ยรองพื ้นใส่ปยหมั ุ๋ กอัตรา 1 ตันต่อไร่ระยะปลูกระหว่างต้ นและแถว 0.8 x 3.5 เมตร ปลูกจานวน 2 แถวต่อแปลง จานวน1 ต้ นต่อหลุม จานวน 24 ต้ นต่อสายพันธุ์โดยไม่มีการวางแผนการทดลองใส่ ปุ๋ ยแต่งหน้ าครัง้ ที่ 1และ 3 ใส่ปยมู ุ๋ ลไก่อตั รา 1กิโลกรัมต่อน ้า 20 ลิตร หลังย้ ายปลูก7และ 17 วัน ครัง้ ที่ 2 และ 4 ใส่ปยหมั ุ๋ กอัตรา 200 กิโลกรัมต่อไร่ หลังย้ ายปลูก 15 และ 22 วัน พื ้นที่ปลูก 0.5 ไร่ดาเนินการระหว่าง กันยายน 2557 ถึง มกราคม 2558 1.2 การบันทึกข้ อมูล ได้ แก่ ผลผลิตต่อไร่ น ้าหนักผลและคุณภาพการบริ โภค ได้ แก่ ปริ มาณของแข็งทังหมด ้ ปริ มาณ ของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดในเนื ั้ ้อดิบและเนื ้อสุกวางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (Completely randomized design, CRD) จานวน3ซ ้าและเปรี ยบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย โดย Duncan’s New Multiple Rang tests (DMRT) 2. การทดสอบพันธุ์ลูกผสมชั่วที่ 1 นาพันธุ์ลูกผสม 48 พันธุ์ เปรี ยบเที ยบกับพันธุ์ มาตรฐาน 2 พันธุ์ วางแผนการทดลองแบบสุ่ม ในบล็อกสมบูรณ์ (Randomized completeblock design; RCBD) จานวน2 บล็อกปลูกพันธุ์ละ 10 ต้ นต่อแปลงย่อย พื ้นที่ปลูก 1.8 ไร่ ดาเนินการ ระหว่างมกราคม ถึง พฤษภาคม 2558 การเขตกรรมและการบันทึกข้ อมูลเช่นเดียวกับ การประเมินผลผลิต องค์ประกอบของ ผลผลิต และคุณภาพของฟั กทองสายพันธุ์แม่และพ่อ

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. การประเมินผลผลิต องค์ ประกอบของผลผลิต และคุณภาพของฟั กทองสายพันธุ์แม่ และพ่ อ พบว่าสายพันธุ์ที่มีผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 2.0 ตัน และน ้าหนักผลต่อไร่เฉลี่ย 1.8 กิโลกรัม สายพันธุ์ฟักทองที่ให้ ผลผลิตต่อไร่ สูงสุดและรองลงมามากกว่าหรื อเท่ากับ 2.3 ตัน คือ สายพันธุ์ PK20 PK 17 PK 1 PK 10 PK 12 และ PK 16 ตามลาดับ และ น ้าหนักผลสูงสุดและรองลงมามากกว่าหรื อเท่ากับ 1.9 กิโลกรัม คือ PK 17 PK20 PK 1 PK 10 PK 16 และ PK 12 ตามลาดับ ด้ านลักษณะคุณภาพการบริ โภค พบว่า ลักษณะที่ศกึ ษามีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง (p< 0.01)โดยสายพันธุ์ที่มี ปริ มาณของแข็งทังหมดสู ้ งสุดและรองลองมา คือ PK 12 และ PK 1 เท่ากับ ร้ อยละ 23.7 และ 23.6 ตามลาดับสายพันธุ์ที่มี ปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดในเนื ั้ ้อดิบและเนื อ้ สุดสูงสุดและรองลองมา คือ PK 12 PK 13 และ PK 14 เท่ากับ 13.0 และ 11.0 องศาบริกซ์ ตามลาดับ (Table 1)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

151


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Yield and yield components of 20 parental linesevaluated during September 2014 to January 2015 Code

Yield per Fruit rai weight (ton) (kg) 2.4 2.2 2.0 1.6 1.6 1.5 1.7 1.6 1.8 1.4 1.5 2.3 1.9 1.5 2.1 1.7 1.9 1.6 2.3 2.0 2.2 1.8 2.3 1.9 2.2 1.9 1.4 1.4 2.0 1.7 2.3 2.0 2.5 2.9 2.0 1.8 2.2 1.9 2.6 2.3 2.0 1.8

Parents

Total Solid (%) 23.6 a2/ 16.8 gh 21.2 bc 17.0 gh 16.5 h 20.9 bc 14.5 j 12.9 k 16.8 h 19.2 e 21.0 bc 23.7 a 19.6 de 17.7 fg 20.3 cd 13.2 k 17.9 f 15.6 i 18.8 e 14.3 j 16.5 ** 2.0

Total soluble solid Fresh Cooked o ( brix) (o brix) 9.5 f-h 8.8 e-g 8.8 hi 8.5 fg 10.8 cd 10.7 a-c 9.2 g-i 8.2 g 11.1 c 10.3 bc 10.1 d-g 9.9 cd 9.3 f-i 9.1 ef 9.9 e-g 9.0 e-g 10.2 d-f 9.4 de 10.1 d-g 9.2 d-f 10.5 c-e 9.4 de 13.0 a 11.2 a 12.1 b 11.0 ab 11.3 c 11.0 ab 10.6 c-e 9.9 cd 9.9 e-g 9.9 cd 9.4 f-h 8.9 e-g 10.8 cd 10.4 a-c 8.5 i 7.2 h 9.5 f-h 9.0 e-g 9.0 8.1 ** ** 3.5 3.5

PK1 CM160-1-#-5#-3 PK 2 CM021 - 15 - 1 (S) - 14 # **-4-1-1-2 PK 3 CM021 - 15 - 1 (S) - 9#-1-#-1#-1 PK 4 CM021 - 15 - 1 (S) - 9#-1-#-1#-2 PK 5 CM021 - 15 - 1 (S) - 9#-1-#-3#-3 PK 6 CM021 - 15 - 1 (S) - 14 #**-4-1-1-1 PK 7 CM021 - 15 - 1 (S) - 14 #**-4-1-1-5 PK 8 CM021 - 15 - 1 (S) - 9#-1-#-1#-3 PK 9 CM021 - 15 - 1 (S) - 9#-1-#-2#-1 PK 10 CM021 - 15 - 1 (S) - 9#-1-#-3#-3 PK 11 CM021 - 15 - 1 (S) - 9#-2-1-2#-1 PK 12 CM021 - 15 - 8 (L) - 1 PK 13 CM102-2-1-9-2 PK 14 CM102-2-2-4-1 PK 15 CM102-2-2-8-1 PK 16 Thonghomphai426-7-1-5-3 PK 17 CM160-1-#-5#-6 PK 18 CM160-1-#-16-3 PK 19 CM160-1-#-1#-3 PK 20 CM160-1-#-5#-9 Average F-test1/ C.V. (%) Notes 1/ ** = Significant at 0.01level of probability. 2/ Means followed by the same letterin the same column were notsignificantly different at the level 5% probability. 2. การทดสอบพันธุ์ลูกผสมชั่วที่ 1 จากการประเมินผลผลิต น ้าหนักผล และคุณภาพการบริ โภค ได้ แก่ ปริ มาณของแข็งทังหมด ้ ปริ มาณของแข็ง ที่ละลายได้ ทงหมดในเนื ั้ ้อดิบและเนื ้อสุก พบว่า สามารถคัดเลือกพันธุ์ลกู ผสมที่มีศกั ยภาพได้ 13 พันธุ์ โดยพันธุ์ลกู ผสม และพันธุ์มาตรฐานให้ ผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 2.2 และ 2.5 ตัน และน ้าหนักผลเฉลี่ย 1.9 และ 2.0 กิโลกรัม มีความแตกต่าง ทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ (p<0.05) พันธุ์ลกู ผสมที่ให้ ผลผลิตต่อไร่สงู สุดมากกว่าหรื อเท่ากับ 2.4 ตัน จานวน 5 พันธุ์ คือ PK 3 /PK 1 PK 17 /PK 11 PK 19 /PK 1 PK 1 /PK 14 PK 5 /PK 3 ตามลาดับ พันธุ์ PK 3 /PK 1 PK 1 / PK 14 มี น ้าหนักผลสูงสุดและรองลงมา 2.6 และ 2.5 กิโลกรัม ด้ านลักษณะคุณภาพการบริ โภค พบว่า ปริ มาณของแข็งทังหมด ้ และปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทัง้ หมดในเนื ้อดิบและเนื ้อสุกมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง (p< 0.01) ปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดในเนื ั้ ้อสุก มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ (p< 0.05) พันธุ์ลกู ผสมที่มี ปริ มาณของแข็งทังหมดสู ้ งสุดและรองลงมา คือ PK 1 /PK 14 และ PK 15 /PK 20 เท่ากับ ร้ อยละ 22.2 และ 20.9 152

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ตามลาดับ ปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดในเนื ั้ ้อดิบและเนื ้อสุก สูงสุด คือ PK 8/PK3 เท่ากับ 10.5 และ 10.3 องศาบริ กซ์ ตามลาดับ (Table2) Table 2 Yield and yield components of 13 F1 hybrids evaluated during January to May 2015. Number

Hybrid varieties

Yield per rai (ton) 2.7 ab2/ 2.6 a-c 2.5 a-c 2.4 a-d 2.4 a-d 2.3 a-d 2.3 a-d 2.3 a-d 2.2 a-d 2.1 a-d 1.9 b-d 1.7 cd 1.5 d 2.2 1.9 b-d 3.2 a 2.5 * 8.1

Fruit weight (kg) 2.6 a 1.9 ab 1.3 b 2.5 a 1.5 ab 2.0 ab 2.1 ab 2.2 ab 1.9 ab 1.6 ab 1.8 ab 1.8 ab 1.4 ab 1.9 1.6 ab 2.4 a 2.0 * 10.0

Total solid (%) 19.7 cd 18.4 e 18.2 ef 22.2 a 16.0 h 13.7 i 20.9 b 19.3 d 18.3 e 20.0 c 17.9 f 20.6 b 17.3 g 18.6 20.7 b 18.5 e 19.6 ** 0.7

Total soluble solid Fresh Cooked o ( brix) (o brix) 8.5 cd 8.8 a-d 7.5 de 8.1 b-d 8.0 c-e 7.0 cd 9.0 bc 9.0 a-c 10.0 ab 9.5 ab 7.5 de 8.5 a-d 7.3 de 8.0 b-d 7.5 de 7.8 b-d 7.0 e 6.9 d 10.0 ab 8.8 a-d 8.0 c-e 7.9 b-d 9.0 bc 10.3 a 10.5 a 10.3 a 8.4 8.5 9.0 bc 8.9 a-d 6.8 e 7.3 cd 7.9 8.1 ** * 5.1 10.1

1 PK 3 / PK 1 2 PK 17 / PK 11 3 PK 19 / PK 1 4 PK 1 / PK 14 5 PK 5 / PK 3 6 PK 2 / PK 16 7 PK 15 / PK 20 8 PK 8 / PK 17 9 PK 15 / PK 17 10 PK 8 / PK 4 11 PK 4 / PK 17 12 PK 14 / PK 17 13 PK 8 / PK 3 Average 14 Check 1 15 Check 2 Average F-test1/ C.V. (%) Notes 1/ * and ** = Significant at 0.05 and 0.01level of probability 2/ Means followed by the same letter in the same column were not significantly different at the level 5% probability.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

153


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ป จากการประเมินผลผลิต องค์ประกอบของผลผลิต และคุณภาพของฟั กทองสายพันธุ์แม่และพ่อทัง้ 20 สายพันธุ์ สายพันธุ์ฟักทองที่ให้ ผลผลิตต่อไร่สงู สุด ได้ แก่ สายพันธุ์ PK 20 สายพันธุ์ PK 12 มีปริ มาณของแข็งทังหมดสู ้ งสุด และปริ มาณ ของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดในเนื ั้ ้อดิบและเนื ้อสุกสูงสุด การทดสอบพันธุ์ลกู ผสมทัง้ 13 พันธุ์ พันธุ์ลกู ผสม PK 3 /PK 1 ให้ ผลผลิตและน ้าหนักผลสูงสุด พันธุ์ลกู ผสม PK 8 /PK 3 มีปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดของเนื ั้ ้อดิบ และเนื ้อสุกสูงสุด พันธุ์ลกู ผสมที่มีแนวโน้ มผลผลิตต่อไร่และลักษณะทางคุณภาพการบริโภคสูง คือ PK 1 /PK 14

เอกสารอ้ างอิง กฤษฎา สัมพันธารักษ์ . 2547. ปรับปรุงพันธุ์ผกั . ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. 278 น. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2557. ปริ มาณและมูลค่าการส่งออกเมล็ดพันธุ์ควบคุมเพื่อการค้ าปี พ .ศ. 2553 - 2556. [On-line]. Available: http/www.oae.go.th/download/FactorOfProduct /ValueExportSeed47-52.html, 7 เมษายน 2558. Ardabili, A.G.,Farhoosh, R.andH. M. Khodaparast.2011. Chemical composition and physic chemical properties of pumpkin seeds (Cucurbita pepo sub sp. pepo var. styriaka) grown in Iran.J. of Agricultural Science and Technology, 13:1053-1063. Caili, F.,Huan, S., and L., Quanhong. 2006. A Review on pharmacological activities and utilization technologies of pumpkin. Plant Foods for Human Nutrition 61: 73–80. FAOSTAT. 2012. Value of Agricultural Production. [On-line]. Available: http:// www.faostat3.fao.org/home/index.html#DOWNLOAD, April 4, 2015. Murkovic,M., Piironen, V., Lampi, M.A., Kraushofer, T. and G., Sontag. 2004. Changes in chemical composition of pumpkin seeds during the roasting process for production of pumpkin seed oil (Part 1: Non-volatile compounds), Food Chemistry, 84: 359–365.

154

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การถ่ ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมความต้ านทานโรครานา้ ค้ างของแตงกวา Inheritance of Resistance to Downy Mildew in Cucumber (Cucumis sativus L.) จานุลักษณ์ ขนบดี 1 พัชรดา ทองลา1 ปิ ยะวดี เจริญวัฒนะ2 Chanulak Khanobdee, Patcharada Thongla, and Piyavadee Charoenwattana2

บทคัดย่ อ การศึกษาการถ่ายทอดพันธุกรรมควบคุมลักษณะต้ านทานต่อ โรครานา้ ค้ างของแตงกวา นาสายพันธุ์ที่มีลกั ษณะ ต้ านทานและอ่อนแอต่อโรคราน ้าค้ าง 2 สายพันธุ์ คือ CSL 0067 และ CSL 0139 ซึง่ ได้ รับการคัดเลือกแบบสกัดสายพันธุ์แท้ 17 และ 5 ชัว่ ตามลาดับ จากนันน ้ ามาสร้ างประชากรลูกผสมชัว่ ที่ 2 แล้ วปลูกประเมินและวิเคราะห์การกระจายตัวของยีน ควบคุมความต้ านทานโรคราน ้าค้ างในสภาพแปลงและโรงเรื อน ระหว่างพฤศจิกายน 2556 ถึง ธันวาคม 2557 พบว่าประชากร ลูกผสมชัว่ ที่ 2 ในสภาพโรงเรื อนมีอิทธิพลของยี นควบคุมมากกว่า 2 คู่ แต่ ในสภาพแปลงเป็ น อิท ธิ พ ลของยี น 2 คู่ ซึ่ง เป็ น ยี น ข่ม ควบคุม ลักษณะอ่อนแอ ยีนแฝงควบคุมลักษณะต้ านทาน และเป็ นปฏิกิริยาสัมพันธ์ ระหว่างยีนต่างคู่กัน อัตราส่วนของ ลักษณะต้ านทาน : อ่อนแอ เท่ากับ 7 : 9 ซึง่ เป็ นปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างยีนต่างคู่กนั แบบอัลลีลแฝงเข้ าคู่กนั จะสามารถข่มอัลลี ลข่มได้ (duplicate recessive epistasis) และการศึกษาค่าเฉลี่ยของรุ่นจานวน 6 รุ่น คือ สายพันธุ์แม่พ่อ พันธุ์ลกู ผสม พันธุ์ ลูกผสมชัว่ ที่ 2 และพันธุ์ลกู ผสมกลับไปหาสายพันธุ์แม่และพ่อ พบว่าความต้ านทานต่อโรคราน ้าค้ างของแตงกวาในสภาพ โรงเรื อนและสภาพแปลงเป็ นอิทธิพลของยีนแบบข่มและปฏิสมั พันธ์ของยีนต่างตาแหน่งแบบบวก x แบบข่ม ส่วนปฏิสมั พันธ์ ของยีนแบบข่ม x แบบข่ม พบเฉพาะในสภาพแปลง คำสำคัญ: แตงกวา โรคราน้ าค้าง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

Abstract A study of the inheritance of downy mildew in cucumber was carried out using progenies of the CSL 0067 S17 and CSL 0139 S5, a selected lines with highly resistance and susceptible to downy mildew as female and male parents, respectively. The F2 population were evaluated and analyzed the segregated of gene control ratios in field and greenhouse conditions during November 2013 to December 2014. The gene controlled resistance in F2 population was the influence of 2 genes in field condition, accept the resistance to susceptibility ratio was 7:9, the dominant gene controlled the susceptible trait and recessive gene controlled the resistant trait, and duplicate recessive epistasis (presence the recessive allele in the homozygous in the genotype could suppress the expression of a dominant allele of the other) but in greenhouse condition was the influence of more than 2 genes. The general mean analysis for 6 generations as follow P1, P2, F1, F2 and BC 1 with reciprocal both in field and greenhouse conditions. The results indicated that dominant gene action and non-allelic interaction or epistasis controlled the resistance to downy mildew. Epistasis was additive gene x dominant gene. The epistasis of dominant gene x dominant gene was found only in the field condition. Keywords: Cucumber, Cucumis sativus L. , downy mildew, genetic inheritance

1 2

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 202 หมู่ 17 ต. พิชยั อ. เมือง จ. ลาปาง 52000 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อ. ธัญบุรี จ. ปทุมธานี 12110.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

155


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา แตงกวา (Cucumis sativus L.) เป็ นพืชผักที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ และนิยมบริ โภคกันอย่างแพร่หลายทัว่ โลก แหล่งที่มี การปลูกแตงกวาที่สาคัญ 3 อันดับแรกของโลก คือ จีน แคเมอรูน และอิหร่าน ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 12 ของโลก ร้ อยละ 1.2 พื ้นที่ ปลูก 1.6 แสนไร่ (FAOSTAT, 2013) แม้ ว่าแตงกวาจะสามารถปลูกในประเทศไทยได้ ตลอดทังปี ้ แต่ในฤดู ฝนถึงฤดูหนาว มักพบ ปั ญหาการเข้ าทาลายของโรคราน ้าค้ าง (downy mildew) ซึ่งเกิดจากเชื ้อรา Pseudoperonospora cubensis ระบาดและ เสียหายมากที่สดุ ในเขตร้ อนและกึ่ ง ร้ อน โดยความเสียหายรุนแรงให้ กบั แตงกวา แตงเทศ และพืชอื่นๆ ในวงศ์แตง (AVRDC, 2001) และพบการระบาดใน 80 ประเทศทัว่ โลก (Lebeda and Urban, 2004) หากพบการระบาดอย่างรุ นแรงจะทาให้ ใบแห้ งและร่วง ก่อนกาหนด ต้ นโทรมส่งผลทาให้ คุณภาพและปริ มาณผลผลิตลดลงถึงร้ อยละ 40 โรครานา้ ค้ างพบการระบาดในพืน้ ที่ปลูก แตงกวาในภาคกลางของทวีปยุโรปตะวันออก ในประเทศสหรัฐอเมริ กาพบการระบาดอย่างรุ นแรงตังแต่ ้ พ.ศ. 2547 (Colucci et al., 2006) ในปั จจุบนั โรคราน ้าค้ างเป็ นปั ญหาสาคัญและจาเป็ นต้ องใช้ สารเคมีกาจัดเชื ้อราร่วมกับพันธุ์ต้านทาน (Call et al., 2012) การศึกษาการถ่ายทอดความต้ านทานโรคราน ้าค้ างของแตงกวาพบว่ามีความแตกต่างกันตามประชากรที่ศกึ ษา เช่น Shimizu et al. (1963) รายงานว่าพันธุ์ ‘Aojihai’ ต้ านทานต่อโรคราน ้าค้ างและควบคุมด้ วยยีนแฝง 3 คู่ ในขณะที่ Van Vliet and Meysing (1974) พบว่าเป็ นยีนควบคุมโรคราน ้าค้ างเป็ นยีนแฝง 1 คู่ และมีอิทธิพลร่วมกับยีนข่ม 1 คู่ ที่ควบคุมลักษณะ เปลือกสีเขียวหม่น และยีนที่ต้านทานต่อโรคราแป้งและลาต้ นแบบทรงพุ่ม (compact plant) และต่อมาได้ รายงานว่ายีนที่ ต้ านทานโรคราแป้งในส่วนของลาต้ นในระยะต้ นกล้ าของแตงกวามีความเกี่ยวข้ องกับยีนที่ต้านทานโรคราน ้าค้ าง (Van Vliet and Meysing, 1977) การศึกษาของ Fanourakis and Simon (1987) พบว่ายีนแฝง 1 คู่ ควบคุมความต้ านทานโรคราน ้าค้ าง แต่ไม่สมั พันธ์กบั ยีนที่ต้านทานโรคราแป้งและลาต้ นแบบทรงพุ่ม El-Hafaz et al. (1990) รายงานว่าความต้ านทานต่อโรครา น ้าค้ างเป็ นผลจากปฏิกิริยาร่วมระหว่างยีนที่อยู่คนละตาแหน่ง (locus) ซึง่ มีผลให้ ยีนจากตาแหน่งหนึ่งไปเปลี่ยนแปลงอิทธิพล ของยีนอีกตาแหน่งหนึ่งได้ และเป็ นยีนแฝง 1 คู่ El-Hafez et al. (1998) พบว่า ยีนที่ควบคุมลักษณะความต้ านทานโรครา น ้าค้ างมีอิทธิจากปฏิกิริยาของยีนข่มและยีนแฝง Badr and Mohamed (2011) พบว่ายีนที่ต้านทานโรคราน ้าค้ างเป็ นยีนเด่น และแฝงต่างคู่กนั Angelov (1994) พบว่าพันธุ์ PI 197088 และ พันธุ์ 'Poinsett' ต้ านทานโรคราน ้าค้ างและลักษณะต้ านทาน ควบคุมด้ วยยีนแฝง 2 และ 1 คู่ Doruchowski and Lakowska-Ryk (1992) พบว่าความต้ านทานโรคราน ้าค้ างถูกควบคุมด้ วย ยีนแฝง 3 คู่ และหากพัน ธุ์ ที่ มี ยี น dm 3 และมี ยี น dm 1 หรื อ dm 2 เข้ า คู่กัน จะทาให้ พัน ธุ์ มี ค วามต้ า นทานโรคสูง สุด Petrov et al. (2000) พบว่า พัน ธุก รรมที่ ต้ า นทานโรคราน ้าค้ า งถ่า ยทอดโดยยี น 1 หรื อ 2 คู่ แบบข่ม ไม่ส มบูร ณ์ (incompletely dominant genes) Criswell (2008) และ Call (2010) ได้ รายงานว่า พันธุ์ PI 197088 ได้ รับการประเมิน และเป็ น พัน ธุ์ ที่ ต้ า นทานโรคราน ้าค้ า งมากที่ สุด ตลอดจนมี ยี น ต้ า นทานโรคคู่ใ ดคู่ห นึ่ง ในสามคู่ อย่างไรก็ตาม เนื่องจาก รายงานการการวิจัยในระยะต่อมาศึกษาพันธุกรรมของเชือ้ โรครานา้ ค้ าง ความหลากหลายและระดับการเกิดโรค จึงทาให้ รายงานยีนที่ควบคุมโรคราน ้าค้ างได้ รับการยืนยันว่าควบคุมด้ วยยีนแฝง 1 คู่ (dm) (Criswell et al., 2011) การทดสอบการกระจายตัวของยีนโดยใช้ ค่าสถิติการทดสอบไคสแควร์ (Chi-Square Test) พิจารณาจานวนยีนและลักษณะ การข่มของยีนลักษณะข่มสมบูรณ์ ข่มไม่สมบูรณ์ ข่มเกิน หรื อไม่มีการข่มกันระหว่างยีน เป็ นวิธีที่ได้ รับความนิยม ซึ่งมีวตั ถุประสงค์ เพื่อทดสอบค่าคาดหวัง การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยประชากรรุ่นต่างๆ จานวน 6 ค่า ได้ แก่ ค่าเฉลี่ย (m) additive (d) dominance (h) additive x additive (i) additive x dominance (j) และ dominance x dominance (l) (วีรพันธ์ และสุทศั น์, 2554) การใช้ ค่าเฉลี่ยจะมี ความผิดพลาดน้ อยกว่าการประเมินจากการใช้ ค่าความแปรปรวน (ปราโมทย์, 2557) การวิจยั ครัง้ นี ้เป็ นการศึกษาการถ่ายทอด พันธุกรรมของลักษณะความต้ านทานโรคราน ้าค้ างของแตงกวาเพื่อเป็ นประโยชน์ในการทราบข้ อมูลพื ้นฐาน ซึง่ สามารถใช้ ในการ คัดเลือกพันธุ์ในโปรแกรมการปรับปรุงพันธุ์แตงกวาต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ สายพันธุ์ที่มีลกั ษณะต้ านทานและอ่อนแอต่อโรคราน ้าค้ าง 2 สายพันธุ์ คือ CSL 0067 และ CSL 0139 ซึง่ ได้ รับการ คัดเลือกแบบสกัดสายพันธุ์แท้ 17 และ 5 ชั่ว ตามลาดับ ดาเนินการสร้ างพันธุ์ลกู ผสม ระหว่าง ธันวาคม 2555 ถึง มีนาคม 2556 จากนันสร้ ้ างประชากรลูกผสมชัว่ ที่ 2 (F2) ระหว่าง พฤษภาคม ถึง กันยายน 2556 จากนันด ้ าเนินการ 2 ขันตอน ้ ดังนี ้

156

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

1. การกระจายตัวของยีนต้ านทานโรครานา้ ค้ าง การประเมินการกระจายตัวของยีนต้ านทานโรคราน ้าค้ างโดยใช้ ประชากรลูกผสมชัว่ ที่ 2 จานวน 4 บล็อก ปลูกจานวน 36 ต้ นต่อบล็อก แบ่งออกเป็ น 2 สภาพการประเมิน คือ สภาพแปลงดาเนินการระหว่าง ตุลาคม ถึง ธันวาคม 2557 พื ้นที่ศกึ ษา 0.1 ไร่ การบันทึกข้ อมูลร้ อยละความเสียหายของพื ้นที่ใบทังต้ ้ นประเมินจานวน 3 ครัง้ คือ ที่อายุ 20 30 และ 45 วัน หลังย้ ายปลูก ตามลาดับ และสภาพโรงเรื อนใช้ วิธีการปลูกเชื ้อโดยใช้ ความหนาแน่นของสปอร์ 10,000 สปอร์ แรงเจียมต่อมิลลิลิตร ดาเนินการ ระหว่างสิงหาคม ถึง กันยายน 2557 การบันทึกข้ อมูลร้ อยละความเสียหายของพื ้นที่ใบเลี ้ยง ประเมิน ระดับโรครานา้ ค้ าง จานวน 5 ครัง้ ที่อายุ 3 5 7 10 และ 14 วัน หลังปลูกเชื ้อ จากนันจั ้ ดกลุม่ ตามวิธีการของ Jenkins and Wehner (1983) แบ่งเป็ น 10 ระดับ คือ 0 ไม่พบการเข้ าทาลาย 1 เป็ นโรคร้ อยละ 1 - 3 2 เป็ นโรคร้ อยละ  3 - 6 3 เป็ นโรคร้ อยละ  6 - 12 4 เป็ นโรค ร้ อยละ  12 - 25 5 เป็ นโรคร้ อยละ  25 - 50 6 เป็ นโรคร้ อยละ  50 - 75 7 เป็ นโรคร้ อยละ  75 - 87 8 เป็ นโรคร้ อยละ  87 - 99 9 เป็ นโรคร้ อยละ 100 ตามลาดับ ดาเนินการวิเคราะห์หาค่าสหสัมพันธ์ (correlation) ของระดับโรคราน ้าค้ างระหว่างสภาพแปลงและ โรงเรื อน และหาค่าอัตราส่วนโดยวิธีไคสแควร์ การกระจายตัวของยีนต้ านทานโรคราน ้าค้ างเป็ นไปตามค่าคาดหวังหรื อไม่ 2. การวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ยของประชากร 6 รุ่ น วางแผนการทดลองแบบRCB ที่มีตวั อย่างย่อยไม่เท่ากัน จานวน 4 บล็อก ประชากรสายพันธุ์แม่และพ่อ พันธุ์ ลูกผสม ปลูกจานวน 6 ต้ นต่อบล็อก และพันธุ์ลกู ผสมไปหาสายพันธุ์แม่และพ่อ ปลูกจานวน 12 ต้ นต่อบล็อก พื ้นที่ศกึ ษา 0.3 ไร่ ซึง่ สายพันธุ์ลกู ผสมชัว่ ที่ 2 การบันทึกข้ อมูลและใช้ ผลของ F2 ข้ อมูลเดียวกันกับการศึกษาการกระจายตัวของยีนความต้ านทาน โรคราน ้าค้ าง การวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยของรุ่น (general mean analysis)จานวน 6 รุ่น ได้ แก่ สายพันธุ์แม่และพ่อ พันธุ์ลกู ผสม ลูกผสมชัว่ ที่ 2 และลูกผสมกลับไปหาสายพันธุ์แม่และพ่อ 2วิธีการคือHayman (1958) และMather and Jinks (1982)

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. การกระจายตัวของยีนต้ านทานโรครานา้ ค้ าง พบว่าทัง้ 2 สภาพการประเมินมีความสัมพันธ์กนั โดยในสภาพโรงเรื อนที่อายุ 10 วัน หลังปลูกเชื ้อ กับสภาพแปลงที่อายุ 20 30 และ 45 วัน หลังย้ ายปลูก อย่างมีนยั สาคัญยิ่ง เท่ากับ 0.6 0.5 และ 0.9 ตามลาดับ (Table 1) ดังนันจึ ้ งคัดเลือกข้ อมูลของสภาพโรงเรื อนที่อายุ 10 วัน หลังปลูกเชื ้อ และสภาพแปลงที่อายุ 45 วัน หลังย้ ายปลูก วิเคราะห์การ กระจายตัวของยีนและวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ยประชากรลูกผสม ชัว่ ที่ 2 การวิเคราะห์ค่าไคสแควร์ แบ่งความต้ านทานโรคราน ้าค้ าง ออกเป็ น 2 กลุม่ คือ 1) กลุม่ ที่ต้านทานมีความเสียหายร้ อยละ 0 - 25 (ระดับ 0 - 4) และ 2) กลุม่ ที่อ่อนแอต่อโรคราน ้าค้ าง คือ มี ความเสียหายมากกว่า ร้ อยละ 25 (ระดับ 4 ขึ ้นไป) พบว่า ในสภาพโรงเรื อนปฏิเสธยีนจานวน 2 คู่ ควบคุมความต้ านทานโรคราน ้าค้ าง แต่ ในสภาพแปลงยอมรับและค่าคาดหวังของความต้ านทาน : อ่อนแอ ที่อตั รา 7 : 9 แสดงว่า เป็ นลักษณะปฏิกิริยาสัมพันธ์ของยีน ต่างคูอ่ ลั ลีลแฝงของยีนทังสองต ้ าแหน่งข่มข้ ามคู่ (duplicate recessive epistasis) อัลลีลแฝงของยีนทัง้ 2 ตาแหน่ง สามารถข่ม การแสดงออกของอัลลีลยีนต่างตาแหน่งเหมือน (Table 2) สอดคล้ องกับ Badr and Mohamed (2011) พบว่ายีนที่ต้านทานโรค ราน ้าค้ างมีลกั ษณะปฏิกิริยาสัมพันธ์ของยีนต่างคู่กนั El-Hafez et al. (1998) พบว่า ยีนที่ควบคุมลักษณะความต้ านทานโรค ราน้ าค้ างมีอิทธิจากปฏิกิริยาของยีนข่มและยีนแฝง ส่วน Doruchowski and Lakowska-Ryk (1992) พบว่าความต้ านทานโรค ราน้ าค้ างถูกควบคุมด้ วยยีนแฝง ปฏิ กิ ริ ย าของยี น สองคู่ ใช้ พื ้นฐานกฎการแยกตัวและการรวมตัว ของยีนเป็ น สาคัญ ทาให้ มี รู ป แบบของจี โ นไทป์ จานวน 16 แบบ ผลทางพัน ธุก รรมมี 2 แบบ คื อ 1) จากอิท ธิ พ ลของยี น แบบบวกและแบบข่ม เท่านัน้ และ 2) จากอิทธิ พลของยีนแบบบวก แบบข่ม และปฏิกิริยาสัมพันธ์ ของยีนต่างตาแหน่ง ซึ่ ง ทาให้ สัด ส่ ว นหรื อ อั ต ราส่ ว นของลัก ษณะฟี โนไทป์ ในลูกผสมชัว่ ที่ 2 นันมิ ้ ได้ เป็ น 9 : 3 : 3 : 1 ทาให้ เกิดสัดส่วนหลายลักษณะอัลลีลข่ม สมมุติ ให้ อลั ลีลข่ม D1 และ D2 ควบคุมลักษณะอ่อนแอโรคราน ้าค้ าง ส่วนอัลลีลแฝง d1 และ d2 ควบคุมลักษณะต้ านทานโรคราน ้าค้ าง ซึง่ จีโนไทป์ ที่แสดงลักษณะ ฟี โนไทป์ ที่ต้านทานต่อโรคราน ้าค้ าง คือ D1D1d2d2 D1d1d2d2 d1d1D2D2 d1d1D2d2 d1D1d2d2 d1d1d2d2 และ d1d1d2D2 อัตราส่วนต้ านทาน : อ่อนแอ เท่ากับ 7 : 9

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

157


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

2. การวิเคราะห์ ค่าเฉลี่ยของประชากร 6 รุ่ น พบว่า ความต้ านทานโรคราน ้าค้ างทังในสภาพโรงเรื ้ อนและแปลง เป็ นอิทธิพลจากยีนแบบข่ม เท่ากับ 2.2 ± 1.0 และ 0.7 ± 0.3 ตามลาดับ ไม่พบปฏิกิริยาสัมพันธ์ ของยีนต่างคู่กนั เนื่องจากแบบบวก x แบบบวก แต่พบปฏิกิริยาสัมพันธ์ ของยีนต่าง ตาแหน่งกัน เนื่องจากแบบบวก x แบบข่ม เท่ากับ 1.5 ± 0.4 และ 1.4 ± 0.1 ตามลาดับ และแตกต่างกันที่ในสภาพแปลง พบ อิทธิพลเนื่องจากแบบข่ม x แบบข่ม แต่ในสภาพโรงเรื อนไม่พบ (Table 3) Table 1 Pearson product-moment correlation coefficients of downy mildew ratings of cucumber studied in the greenhouse during September - October 2014 and field conditions during October - December 2014.

Conditions

Greenhouse

Greenhouse

Field

(after inoculation)

(after transplantation)

Days

7 days 10 days

20 days

30 days

45 days

5

0.2 ** - 0.1

- 0.0

- 0.1

- 0.1

(after inoculation) 7

0.0 10

Field

20

(after transplantation)

30

0.0

0.1 0.6 **

- 0.1 0.5 **

0.9 **

0.6 **

0.4 ** 0.2 **

** Significant at 0.01 level of probability.

158

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Segregation for resistant to downy mildew in F 2 generation for crosses of resistant (R) CSL 0067 and susceptible (S) CSL 0139. Condition

Number of

Observations

Plants

Resistance Susceptible of expect test

<4

Ratio

≥4

Greenhouse

1:3 144

76

68

Field 144

59

Chi – square Gene action

85

57.8 ** complete dominance

1:15

524.1 ** duplicate dominant epitasis

3:13

107.2 ** dominant and recessive epitasis

7:9

4.7 * duplicate recessive epitasis

13

18.8 ** complete dominance

1:15

290.4 ** duplicate dominant epitasis

3:13

45.2 ** dominant and recessive epitasis

7:9

0.4 ns duplicate recessive epitasis

ns non significant. *, ** Significant at 0.05 and 0.01 levels of probability, respectively.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

159


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Mean and standard error of six generations of a cucumber cross screened to downy mildew in the greenhouse and field conditions. Gene effects

Rating of downy mildew Parameters Greenhouse condition*

Field condition*

m1

3.7 ± 0.2 **2/

4.1 ± 0.1 **

d

0.2 ± 0.3

-0.1 ± 0.1

h

2.2 ± 1.0 *

-0.7 ± 0.3 *

i

1.6 ± 0.9

-0.2 ± 0.3

j

1.5 ± 0.4 **

1.4 ± 0.1 **

l

0.1 ± 1.4

2.1 ± 0.6 **

*

10 days after inoculation in greenhouse condition and 45 days after transplant in field condition. d, h, I, j and l = additive gene, dominant gene, additive x additive, additive x dominant and dominant x dominant, respectively. 2/ *, ** Significant at 0.05 and 0.01 levels of probability, respectively 1/

สรุ ป ยีนควบคุมลักษณะความต้ านทานโรคราน ้าค้ างเป็ นยีนแฝง จานวน 2 คู่ ในอัตราส่วนต้ านทาน : อ่อนแอ เท่ากับ 7 : 9 เป็ นปฏิกิริยาสัมพันธ์ของยีนต่างคู่ โดยอัลลีลแฝงของยีนทังสองต ้ าแหน่งข่มข้ ามคู่ สามารถข่มการแสดงออกของอัลลีลข่มของ ยีนต่างตาแหน่งได้ การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของประชากร จานวน 6 รุ่น ในสภาพโรงเรื อนที่อายุ 10 วัน หลังปลูกเชื ้อ และในสภาพแปลงที่ อายุ 45 วัน หลังย้ ายปลูก ไม่พบอิทธิพลของยีนแบบบวก และปฏิกิริยาสัมพันธ์ ของยีนต่างคู่กนั เนื่องจากอิทธิพลแบบบวก x แบบบวก แต่พบอิทธิของยีนแบบข่ม และปฏิกิริยาสัมพันธ์ของยีนต่างคู่กนั แบบบวก x แบบข่ม และพบปฏิกิริยาสัมพันธ์ของยีน ต่างคู่กนั แบบข่ม x แบบข่ม เฉพาะในสภาพแปลง การปรับปรุงพันธุ์แตงกวาให้ ต้านทานราน ้าค้ างควรเลือกวิธีการผสมกลับกับ การสกัดสายพันธุ์เพื่อสร้ างเป็ นพันธุ์ลกู ผสมต่อไป

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ที่ให้ ทนุ สนับสนุนในการดาเนินงานวิจยั

160

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง ปราโมทย์ พรสุริยา. 2557. การวิเคราะห์ทางไบโอเมตริ กในการปรับปรุงพันธุ์พืช. คณะเกษตรศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ, ชลบุรี. 222 น. วีรพันธ์ กันแก้ ว และสุทศั น์ จุลศรี ไกวัล. 2554. การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยประชากร. เชียงใหม่พริ น้ ติ ้ง, เชียงใหม่. 47 น. Angelov, D. 1994. Inheritance of resistance to downy mildew, Pseudoperonospora cubensis (Berk. & Curt.) Rostow. Rep. 2nd Natl. Symp. Plant Immunity (Plovdiv) 3:99-105. AVRDC. 2001. Downy mildew. [On-line]. Available: http:// www.avrdc.org/2c/cucurbit/Downy/ mildew.pdf, February 7, 2013. Badr, L.A.A. and F.G. Mohamed. 2011. Inheritance and nature of resistance to downy mildew desease in cucumber (Cucumis sativas L.). Annals Agri. Sci. 36(4): 2517-2544. Call, A.D. 2010. Studies on resistance to downy mildew in cucumber (Cucumis sativus L.) Caused by Pseudoperonospora cubensis. M.S. Thesis, North Carolina State Univ., Raleigh. Call, A.D., A.D. Criswell, T.C. Wehner, A. Kaori and R. Grumet. 2012. Resistance of cucumber cultivars to a new strain of Cucurbit downy mildew. Hort. Sci. 47: 171–178. Criswell, A.D. 2008. Screening for downy mildew resistance in cucumber. M. S. Thesis, North Carolina State Univ., Raleigh. Criswell A.D., Call A. D. and T.C. Wehner. 2011. Genetic Control of Downy Mildew Resistance in Cucumber –A Review. Cucurbit Genetics Cooperative Report 33-34: 13-16 (2010-2011): 13 – 16. Colucci SJ, Wehner TC, Holmes GJ. 2006. The downy mildew epidemic of 2004 and 2005 in the Eastern United States. In: Holmes GJ, editor.Proceedings of Cucurbitaceae 2006. Raleigh, NC: Universal Press : 403–410. Doruchowski, R.W. and E. Lakowska-Ryk. 1992. Inheritance of resistance to downy mildew (Pseudoperonospora cubensis Berk & Curt) in Cucumis sativus. Proc. 5th EUCARPIA Symp. (R. W. Doruchowski, E. Kozik, and K. NiemirowiczSzczytt, eds.), p. 132-138, 27-31 July, Warsaw, Poland. Published by Res. Inst. Veg. Crops, and Warsaw Univ. Agric., Warsaw, Poland. El-Hafaz, A., B. El-Din, H.H. El-Doweny, and M.M.W. Awad. 1990. Inheritance of downy mildew resistance and its nature of resistance in cucumber. Annals of Agricultural Science, Moshtohor. 28(3):1681-1697. El-Hafez, A.A., S.F. El-Sayed and A.A. Gharib. 1998. Studies on genetic analysis of cucumber. Horticulture 25 (2) : 209 - 222. FAOSTAT. 2013. Value of Agricultural Production. [On-line]. Available: http://www. faostat.fao.org/site/567/Desktop Default.aspx?PageID=567#ancor.htm, February 19, 2013. Fanourakis, N.E. and P.W. Simon. 1987. Analysis of genetic linkage in the cucumber. J. Heredity 78 : 238-242. Hayman, B.I. 1958. The separation of epistatic from additive and dominance variation in generation means. Heredity 12: 371-390. Jenkins, S.F.Jr. and T.C. Wehner. 1983. A system for the measurement of foliar diseases in cucumbers. Cucurbit Genetics Coop. 6: 10–12. Lebeda A, Urban J. 2004. Distribution, harmfulness and pathogenic variability of cucurbit downy mildew in the Czech Republic. Acta Fytotech Zootech.7 :170–173. Mather, K. and J.L.Jinks. 1982. Biometrical genetics. Cornell University Press, New York. 382 p. Peterson, C.E., J.E. Staub, M. Palmer, and L. Crubaugh. 1985. Wisconsin 2843, a multiple disease resistant cucumber population. HortScience 20(2):309-310. Petrov, L., K. Boodert, L. Sheck, A. Baider, E. Rubin, Y. Cohen, N. Katzir, and H.S. Paris. 2000. Resistance to downy mildew, Pseudoperonospora cubensis, in cucumbers. Acta Horticulturae 510:203-209 Shimizu, S., Kanazawa, K., Kato, A., Yokota, Y., and Koyama, T. 1963. Studies on the breeding of cucumber for the resistance to downy mildew and other fruit characters. Engei Shikenjo hokoku. (in Japanese) 2:65-81. Van Vliet GJA, Meysing WD. 1974. Inheritance of resistance to Pseudoperonospora cubensis Rost. in cucumber (Cucumis sativus L.) Euphytica. 23 : 251–255. Van Vliet, G.J.A. and W.D. Meysing. 1977. Relation in the inheritance of resistance to Pseudoperonospora cubensis Rost and Sphaerotheca fuliginea Poll. in cucumber (Cucumis sativus L.). Euphytica 26:793-796.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

161


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การพัฒนาสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ปุ่นด้ วยรังสีแกมมาเพื่อเพาะในเขตพืน้ ที่ราบ Development of Yanagi Mutsutake Strain with Gamma Radiation for Cultivation in Lowland ธนภักษ์ อินยอด1 ตันติมา กาลัง1 วันทนา สะสมทรัพย์ 1 และธนภัทร เติมอารมย์ 1 Tanapak Inyod1 Tantima Kumlung1 Vanthana Sasomsaupand Thanapat Toemarrom1

บทคัดย่ อ การวิจยั และพัฒนาสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ปนด้ ุ่ วยรังสีแกมมาเพื่อเพาะในเขตพื ้นที่ราบ รวบรวมสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ปนุ่ 10 สายพันธุ์ และคัดเลือกสายพันธุ์เห็ดที่ให้ ผลผลิตสูงได้ 5 สายพันธุ์ (ย1, ย2, ยอ, ยผและ ยข) นาไปฉายรังสีและบ่มที่ 40 C คัดเลือกได้ 186 ตัวอย่าง (isolate) สาหรับใช้ ทดสอบอัตราการเจริ ญเติบโตในก้ อนเชื ้อเห็ด ผลผลิต คุณค่าทางโภชนาการและ แร่ ธ าตุอ าหารที่ เ ป็ น องค์ ป ระกอบของเห็ ด และลัก ษณะทางสัณ ฐานวิ ท ยาเบื อ้ งต้ น ต่อ ไปผลการศึก ษาพบว่ า อัต ราการ เจริ ญเติบโตในก้ อนเชื ้อเห็ดของเส้ นใยเฉลี่ย 2.4 เซนติเมตรต่อสัปดาห์ ซึง่ สูงกว่าของสายพันธุ์แม่ (2.1 เซนติเมตรต่อสัปดาห์) ตัวอย่างเห็ดที่ผ่านการฉายรั งสีให้ ผลผลิตโดยเฉลี่ย 14-30 กรัมต่อก้ อนเห็ดต่อรอบ ซึง่ สูงกว่าเห็ดสายพันธุ์แม่ซงึ่ ให้ ผลผลิต 1216 กรัมต่อก้ อนเห็ดต่อรอบ นอกจากนี ้ยังพบว่า ตัวอย่างเห็ดที่ผ่านการฉายรั งสีให้ คณ ุ ค่าทางโภชนาการสูงกว่าเห็ดสายพันธุ์แม่ ขนาดดอกและก้ านดอก ของเห็ดจากสายพันธุ์ที่ผ่านการฉายรั งสี มีขนาดใหญ่ กว่าสายพันธุ์แม่ ผลการทดลอง พบว่า เป็ น เห็ดโคนญี่ปนสายพั ุ่ นธุ์ใหม่จานวน 2 สายพันธุ์ (จากการการฉายรังสี 10 กิโลแรด)ได้ แก่ สายพันธุ์ยานางิเข้ ม C3 และ C12 ซึง่ เป็ นสายพันธุ์ที่ทนร้ อนและให้ ผลผลิตสูง คาสาคัญ:เห็ดโคนญี่ปนุ่ รังสีแกมมา การกลายพันธุ์ผลผลิต

Abstract From the collection ofYanagi Mutsutakemushroomvarieties in total of 10varieties.Selected 5 mushroom strainswithhigh yieldpotential including Y1, Y2, YL, YA and YS. Mushroom mycelia of parents were irradiated by irradiationat 0, 10, 25 and50 Kradandincubatedat40 °C. Suspectedmutants were selected in total of186 isolates. Theinitial testof growth rate of myceliumon mushroom spawnwas studied. The result showed that suspectedmutants, the growth rateis faster thanparent strains with mycelial growthrate of2.32 to 2.48cmper week whilethe growth rateof parent strains,only2.06cm perweek.For comparative productivity, some nutritional valuesandmineral nutrientcontents of mushroom cultivation, it was found that irradiatedisolates gave highly significant differences from parent strains. Furthermore, the suspected mutants have a large pileus and stalk which significant differences from parent strains.We obtained a new speciesofmushroomfrom development of Yanagi Mutsutake strain by gamma radiationincluding irradiated twoisolatesYSC3 andYSC12whichis a strainthat isheatresistant and gives high production yield. Keywords: Yanagi Mutsutake, Gamma Radiation, Mutation

คานา

เห็ดโคนญี่ปนุ่ หรื อเห็ดยานางิ (Yanagi Matsutake) เป็ นเห็ดที่คนไทยเริ่ มนิยมบริโภค เห็ดชนิดนี ้เมื่อเพาะในที่ อุณหภูมิต่า ดอกเห็ดมีสีน ้าตาลอ่อนจนถึงน ้าตาลอมส้ ม ก้ านดอกมีสีขาว เนื ้อแน่น เวลาเคี ้ยวได้ รสชาติดี แต่การเพาะเห็ดโคน ญี่ปนุ่ มักประสบปั ญหาเนื่องจาก เห็ดชนิดนี ้เมื่อนามาเพาะในที่อณ ุ หภูมิสงู เช่น บริเวณพื ้นที่ราบภาคกลาง ได้ แก่ จังหวัด กาญจนบุรี ราชบุรี ปทุมธานี หมวกดอกจะหลุดออกจากก้ าน และก้ านดอกเปราะ ส่งผลให้ คณ ุ ภาพของดอกเห็ดลดลง การ พัฒนาสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ปนุ่ ที่มีสายพันธุ์ที่แข็งแรง และสามารถเจริญเติบโตในสภาพอากาศที่มีอณ ุ หภูมิสงู ทังสามารถให้ ้ คุณภาพ และผลผลิตที่สงู ก็จะเป็ นประโยชน์ในการผลิตเพื่อการค้ า และลดการนาเข้ าเห็ดจากต่างประเทศต่อไป 1

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) เทคโนธานี คลอง 5 คลองหลวง ปทุมธานี 12120 162

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การปรับปรุงสายพันธุ์โดยทัว่ ไป มุ่งเน้ นเพื่อให้ ได้ ผลผลิตที่สงู ขึ ้น คุณภาพทางโภชนาการที่ดีกว่าเดิม รวมถึงสีผลิตผล ด้ วย โดยใช้ เทคนิคที่แตกต่างกัน เช่น การรวมโปรโตพลาสต์ (Das and Mukheerjee, 1995), การผสม dikaryon (Larraya et al., 2001) และ การผสมพันธุ์ข้าม (Jaswal et al., 2013)ในอดีตการปรับปรุงพันธุ์เห็ด ได้ จากการคัดเลือกสายพันธุ์ดีและการ ผสมพันธุ์ ในการปรับปรุงพันธุ์โดยการผสมพันธุ์นนปั ั ้ จจัยสาคัญที่ควรทราบคือ incompatibility factor (สุทธพรรณ และคณะ ,2530)Eger (1978) ได้ ทาการปรับปรุงสายพันธุ์Pleurotus ostreatus ซึง่ เป็ นเห็ดชนิดหนึง่ ที่มีการตอบสนองต่ออุณหภูมิต่างกัน ในการศึกษาโดยการผสมพันธุ์เห็ดที่มีถิ่นกาเนิดต่างกันคือจากประเทศเยอรมนีและประเทศสหรัฐอเมริ กาหทัยกาญจน์และ วิเชียร (2544) ได้ ทาการปรับปรุงพันธุ์เห็ดหอมให้ สามารถทนร้ อนได้ เห็ดพันธุ์ลกู ผสมที่สามารถออกดอกได้ เมื่ ออุณหภูมิสงู ขึ ้น กว่าปกติ ปั จจุบันการปรับปรุ งพันธุ์สามารถได้ จากการชักนาให้ เกิดการกลายพันธุ์ และการใช้ เทคนิคการนาพันธุกรรมมา รวมกัน โดยอาศัยความรู้ด้านการควบคุมวงจรชีวิตและรูปแบบของการแสดงเพศของเชื ้อรา (Chang, 1982)ดังนันในการศึ ้ กษา ในครัง้ นี ้ก็เพื่อปรับปรุ งพันธุ์เห็ดโคนญี่ปนให้ ุ่ ได้ สายพันธุ์ใหม่ที่สามารถเพาะและให้ ผลิตได้ ในเขตพื ้นที่ราบที่มีอณ ุ หภูมิสงู และ ให้ ผลผลิตสูงกว่าสายพันธุ์แม่ และใช้ เป็ นสายพันธุ์ส่งเสริ มถ่ายทอดให้ เกษตรกรนาไปเพาะได้ ในเขตพื ้นที่ราบ เป็ นการสร้ าง โอกาสในการประกอบอาชีพการเพาะเห็ดโคนญี่ปนุ่ ต่อไปอีกด้ วย

อุปกรณ์ และวิธีการ รวบรวมสายพันธุ์การค้ า และจากสภาพธรรมชาติศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเส้ นใย คัดแยกสปอร์ เดี่ยว แยกใส่หลอดทดลองหลอดละ 1 สปอร์ บ่มเชื ้อเพื่อให้ เส้ นใยเจริ ญเติบโตเต็มที่แล้ วคัดเชื ้อเห็ดที่มีเส้ นใยหนาแน่นบนอาหารวุ้น เจริ ญเร็ว หลังจากนันน ้ ามาศึกษาอัตราการเจริ ญของโคโลนีต่อวัน ลักษณะทางสรี รวิทยา ทาการปรับปรุงพันธุ์เห็ดโดยการฉาย รังสี และคัดเลือกเชือ้ เห็ดโคนญี่ ปนที ุ่ ่มีลกั ษณะตรงตามความต้ องการ โดยการขูดเส้ นใยของเห็ดใส่ในสารละลายที่มี NaCl 0.85% ในนา้ กลั่น ปั่ นตัดเส้ นใย แบ่งเป็ นตัวอย่างที่ เตรี ยมฉายรั งสี และตัวควบคุม นาไปฉายรั งสีด้วยเครื่ องฉายรั งสี Gammacell 220 ซึง่ มี Co-60 เป็ นต้ นกาเนิดรังสี อัตราปริ มาณรังสีที่ใช้ ในการทดลองนี ้คือ 0, 10, 25 และ 50 กิโลแรดโดยใช้ ปิ เปตต์ดดู 0.1 มล. ของเส้ นใยเห็ดในแต่ละความเจือจางของแต่ละปริ มาณรังสี ใส่ลงผิวหน้ าอาหาร PDA รอจนผิวหน้ าแห้ ง นาไปบ่มที่อณ ุ หภูมิ 35 องศาเซลเซียส ประมาณ 7 วัน จากนันเก็ ้ บโคโลนีที่คาดว่ากลายพันธุ์และทนร้ อนนาไปศึกษาอัตราการ เจริ ญเติบโตของเส้ นใยเห็ดนาเห็ดโคนญี่ ปนสายพั ุ่ นธุ์กลายและสายพันธุ์แม่มาทาการผลิตดอกเห็ด ศึกษาสัณฐานวิทยาของ ดอกเห็ด วิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีบางชนิดของเห็ดและแร่ธาตุจากเห็ด ได้ แก่ ปริ มาณโปรตีนตามวิธีของ Kjeldahl (1883) การวิเคราะห์ธาตุอาหาร ตามวิธีของ Willard et al. (2001) หลังจากนันน ้ าเส้ นใยเห็ดมาการวิเคราะห์ความแตกต่างทาง พันธุกรรมด้ วยเทคนิคชีวโมเลกุล โดยสกัดดีเอ็นเอตามวิธีการที่ดดั แปลงจาก Rogers และ Bendich (1994) ทาการเพิ่มปริ มาณ ดีเอ็นเอด้ วยเทคนิค ITS-PCR โดยใช้ primer ITS1 (5’TCCGTAGGTGAACCTGCGG-3’) กับ ITS4 (5’TCCTCCGCTTATTGATATGC-3’) ตามวิธีการดัดแปลงจาก William et al. (1990) ทา PCR product ให้ บริ สทุ ธิ์โดยใช้ ชดุ Thermo ScientificGeneJET PCR Purification Kit และส่งตรวจรหัสพันธุกรรมที่บริ ษัทห้ างหุ้นส่วน จากัด วอร์ ดเมดิก ประเทศ ไทย เมื่อได้ ลาดับเบสแล้ วนาไปเทียบความคล้ ายกับฐานข้ อมูลใน GenBank (White et al., 1990)

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการคัดเลือกสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ ปุ่นที่มีศักยภาพจากสายพันธุ์ทางการค้ าและจากสภาพธรรมชาติ สามารถ รวบรวมและจาแนกกลุม่ ได้ 5 สายพันธุ์ ได้ แก่ สายพันธุ์ยานางิ 1, ยานางิ 2, ยานางิ สีอ่อน, ยานางิเผือก และยานางิสีเข้ มจาก การนาเส้ นใยของเห็ดโคนญี่ปนทั ุ่ ง้ 5 สายพันธุ์มาฉายรังสีที่ปริ มาณความเข้ มข้ นต่างๆ คือ 0, 10, 25 และ 50 กิโลแรดและบ่มที่ 35 Cเพื่อคัดเลือกเห็ดโคนญี่ปนแต่ ุ่ ละสายพันธุ์ที่รอดชีวิตหลังการฉายรังสี โดยคาดว่าจะเป็ นพันธุ์กลายและทนร้ อนจากการ ทดลองพบว่าได้ เห็ดโคนญี่ปนที ุ่ ่คาดว่าจะกลายพันธุ์ด้วยรังสี ทังหมด ้ 186 isolates โดยได้ 87, 96 และ 1 isolate จากการฉาย รังสีที่ 10, 25 และ 50 กิโลแรดตามลาดับ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

163


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การศึกษาอัตราการเจริญเติบโตของเส้ นใยเห็ดบนอาหารเลีย้ งเชือ้ PDA จากการศึกษาอัตราการเจริ ญเติบโตของเส้ นใยเห็ดโคนญี่ปนสายพั ุ่ นธุ์แม่ทงั ้ 5 สายพันธุ์และสายพันธุ์กลายที่ได้ จาก การฉายรังสีแกมมา 10, 25 และ 50 กิโลแรดบนอาหารเลี ้ยงเชื ้อ PDA ที่อณ ุ หภูมิ 35 องศาเซลเซียส เป็ นระยะเวลา 12 วัน พบว่า เห็ดสายพันธุ์แม่ ซึ่งได้ แก่ ยานางิ 1, ยานางิ 2, ยานางิอ่อน, ยานางิเผือกและยานางิเข้ ม มี อตั ราการเจริ ญของเส้ นใย เฉลี่ยต่อวัน เท่ากับ 0.67, 0.72, 0.66, 0.69 และ 0.73 เซนติเมตร ตามลาดับ และในกลุม่ ของสายพันธุ์กลายที่ได้ จากการฉาย รังสีแกมมา 10 กิโลแรดพบว่า เห็ดโคนญี่ปนสายพั ุ่ นธุ์ยานางิเข้ มที่ผ่านการฉายรังสีที่ 10 กิโลแรดมีอตั ราการเจริ ญของเส้ นใย เฉลี่ยต่อวันสูงที่สดุ คือ 0.72-0.80 เซนติเมตร รองลงมาคือ สายพันธุ์ยานางิอ่อนที่ผ่านการฉายรังสีที่ 10กิโลแรดมีอตั ราการ เจริ ญของเส้ นใยเฉลี่ยต่อวันเท่ากับ 0.70-0.76 เซนติเมตรเช่นเดียวกันกับในกลุ่มของสายพันธุ์กลายที่ได้ จากการฉายรั งสี แกมมา 25 กิโลแรดพบว่า เห็ดโคนญี่ปนสายพั ุ่ นธุ์ยานางิเข้ มที่ผ่านการฉายรังสีที่ 25 กิโลแรดมีอตั ราการเจริ ญของเส้ นใยเฉลี่ย ต่อวันสูงที่สดุ คือ 0.74-0.81 เซนติเมตร รองลงมาคือ สายพันธุ์ยานางิอ่อนที่ผ่านการฉายรังสีที่ 25 กิโลแรดมีอตั ราการเจริ ญ ของเส้ นใยเฉลี่ยต่อวันเท่ากับ 0.74-0.79 เซนติเมตรอย่างไรก็ตามอัตราการเจริ ญของเส้ นใยทัง้ 2 สายพันธุ์ ไม่มีความแตกต่าง กันทางสถิติ จากการทดลอง จะเห็นว่า สายพันธุ์กลายที่ได้ จากการฉายรังสีแกมมา 10, 25 และ 50 กิโลแรดบนอาหารเลี ้ยงเชื ้อ PDA ที่อณ ุ หภูมิ 35 องศาเซลเซียส เป็ นระยะเวลา 12 วัน มีอตั ราการเจริญของเส้ นใยที่เร็วสายพันธุ์แม่ ที่ไม่ได้ ผ่านการฉายรังสี การศึกษาอัตราการเจริญเติบโตของเส้ นใยเห็ดในก้ อนเชือ้ เห็ดสูตรมาตรฐาน จากการศึกษาอัตราการเจริ ญเติบโตของเส้ นใยเห็ดโคนญี่ปนสายพั ุ่ นธุ์แม่ทงั ้ 5 สายพันธุ์และสายพันธุ์กลายที่ได้ จาก การฉายรังสีแกมมา 10 และ 25กิโลแรดในก้ อนเชื ้อเห็ดสูตรมาตรฐานที่อณ ุ หภูมิห้อง เป็ นระยะเวลา 2 เดือน โดยวัดการเจริ ญ ของเส้ นใยทุกสัปดาห์ พบว่า ในกลุม่ ของสายพันธุ์ยานางิ 1, ยานางิ 2, ยานางิอ่อน, ยานางิเผือก (Figure 1) และ ยานางิเข้ ม ที่ ผ่านการฉายรังสีที่ 10 กิโลแรดมีอตั ราการเจริ ญของเส้ นใยในก้ อนเชื ้อเห็ดเฉลี่ยต่อสัปดาห์ เท่ากับ 2.49, 2.43,2.48, 2.58 และ 2.46 เซนติเมตร ตามลาดับสาหรับในกลุม่ ของสายพันธุ์กลายที่ได้ จากการฉายรังสีแกมมา 25 กิโลแรดพบว่าในกลุม่ สายพันธุ์ ยานางิ 1 ยานางิ 2, ยานางิอ่อน, ยานางิเผือก (Figure 2) และ ยานางิเข้ ม (Figure 2) มีอตั ราการเจริ ญของเส้ นใยในก้ อนเชื ้อ เห็ดเฉลี่ยต่อสัปดาห์ เท่ากับ 2.24, 2.24,2.43, 2.39 และ 2.30 เซนติเมตร ตามลาดับในขณะที่อตั ราการเจริ ญเติบโตของเส้ นใย เห็ดสายพันธุ์แม่ มีอตั ราการเจริญของเส้ นใยเฉลี่ยต่อสัปดาห์ เท่ากับ2.05, 2.05, 2.08, 2.13 และ 1.99 เซนติเมตร ตามลาดับ สาหรับการทดลองในครัง้ นี ้ พบว่า สายพันธุ์เห็ดที่ผ่านการฉายรังสีปริ มาณ 10กิโลแรดมีอตั ราการเจริ ญของเส้ นใยต่อ สัปดาห์เร็วกว่า สายพันธุ์เห็ดที่ผ่านการฉายรังสีปริ มาณ 25กิโลแรด อย่างไรก็ตาม สายพันธุ์เห็ดที่ผ่านการฉายรังสีปริ มาณ 10 และ 25 กิโลแรดทาให้ ได้ สายพันธุ์เห็ดที่มีอตั ราการเจริ ญเติบโตของเส้ นใยในก้ อนเชื ้อเห็ดสูตรมาตรฐานเร็วกว่าสายพันธุ์เห็ดใน กลุ่มควบคุมที่ไม่ได้ ฉายรังสีซึ่งแตกต่างจากรายงานของSharma andSharma (2014) ที่พบว่า เห็ดนางรม (Pleurotus ostreatus ) หลังจากปรับปรุงพันธุ์โดยใช้ แสง UV ทาให้ การเจริญของเส้ นใยในก้ อนเชื ้อต่ากว่าสายพันธุ์แม่

164

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure1Mycelial growth rates of irradiated isolates(YA) by gamma rays at 10 Krad.

Figure2Mycelial growth rates of irradiated isolates (YA, YS) by gamma rays at 25Krad. การเปิ ดดอกเพื่อทดสอบสายพันธุ์เห็ดเทียบกับสายพันธุ์ควบคุม โดยการศึกษาการให้ ผลผลิตลักษณะและคุณภาพ ดอกเห็ด จากการศึกษาผลผลิตของเห็ดโคนญี่ปนสายพั ุ่ นธุ์แม่ทงั ้ 5 สายพันธุ์และสายพันธุ์กลายที่เกิดจากการฉายรังสีแกมมา ในวัสดุเพาะสูตรมาตรฐานพบว่า สายพันธุ์แม่ให้ ผลผลิตของดอกเห็ด เท่ากับ 14.00, 13.91, 11.89, 15.75 และ 14.67 กรัมต่อ ถุงต่อรอบ ตามลาดับ ในขณะที่เห็ดโคนญี่ ปนสายพั ุ่ นธุ์กลายที่ได้ จากการฉายรังสีปริ มาณ 10 และ 25กิโลแรดส่วนใหญ่ให้ ผลผลิตและคุณภาพของดอกเห็ด ได้ แก่ ขนาดของดอกเห็ด ความยาวและความกว้ างของก้ านดอกเห็ดดีกว่าสายพันธุ์แม่ซงึ่ เป็ น สายพันธุ์ควบคุม (Table 1) สอดคล้ องกับงานวิจยั ของ Djajanegara andHarsoyo (2009) ที่พบว่าเห็ดนางรมสีขาวที่กลาย พันธุ์ด้วยรังสีปริมาณ 0.75 กิโลเกรย์ ให้ ผลผลิตดอกเห็ดที่สงู กว่าสายพันธุ์แม่ และงามนิจ และเสาวพงศ์ (2555) ที่ได้ รายงานว่า เห็ดฟางพันธุ์กลายที่ได้ จากการฉายรังสีแกมมา ให้ ผลผลิตดอกเห็ดสูงแตกต่างจากสายพันธุ์แม่อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ จาก การปรับปรุงพันธุ์โดยการฉายรังสีในการทดลองครัง้ นี ้ ยังพบว่าสีของหมวกดอกรวมถึงสีของก้ านดอกเห็ดยังมีการเปลี่ยนแปลง ไป โดยที่สีของหมวกดอกเห็ดและก้ านจะมีลกั ษณะที่ซีดจางลง หรื อพันธุ์กลายบางสายพันธุ์ หมวกดอกยังมีลกั ษณะเป็ น 2 สี โดยตรงกลางดอกมีลกั ษะเป็ นสีน ้าตาลเข้ มและค่อยๆจางลงจนถึงขอบหมวกดอก (Figure 3) หรื อผิวของหมวกดอก อาจจะมี ลักษณะเป็ นจีบ (Figure 4)เช่นเดียวกับการชักนาให้ เกิดการกลายพันธุ์ในเห็ดนางรมโดยการฉายแสงยูวี พบว่า สีของหมวกดอก เห็ดมีลกั ษณะสีขาวออกครี ม ในขณะที่สายพันธุ์แม่ สีหมวกดอกเห็ดยังคงมีสีน ้าตาลออกครี ม (Sharma andSharma, 2014)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

165


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Evaluation of production and quality of Yanagi Mutsutakeisolates in suitable substrate. Isolates Y1 Y2 YL YA YS irradiated isolates by gamma rays (10 Krad) irradiated isolates by gamma rays (25 Krad)

(Y1) (Y2)(YL) (YA) (YS) (Y1) (Y2)(YL) (YA) (YS)

fruit bodies /bag (g)/crop 14.00 13.91 11.89 15.75 14.67 14.19-30.00 14.43-20.38 14.91-30.00 16.00-24.26 15.00-21.48 14.14-20.20 14.00-27.50 14.36-21.08 14.44-23.07 15.71-22.50

pileus dia. (cm) 2.26 2.41 2.14 2.40 2.24 2.23-2.75 2.29-2.64 2.09-3.40 2.26-2.46 2.18-2.44 2.54-2.80 2.12-2.49 2.15-2.49 2.29-2.50 2.13-2.78

stipe lengths (cm)

Stipe dia.(cm)

5.41 4.55 5.32 5.59 6.68 3.90-7.00 4.00-7.11 5.01-7.83 4.00-6.06 5.33-7.75 4.08-10.14 5.18-8.60 5.10-6.51 5.51-7.77 5.73-9.17

0.59 0.63 0.55 0.51 0.75 0.58-1.20 0.58-0.81 0.60-1.20 0.63-0.68 0.59-0.90 0.63-0.90 0.63-1.03 0.61-0.85 0.61-0.80 0.63-0.97

Figure 3 Characteristic fruiting bodies of YSC12 which were irradiated by Gamma rays at 10 Krad (right)compare with parent strain(left) that cultivated on suitable substrate.

Figure 4 Characteristic fruiting bodies of Y2C1 which were irradiated by Gamma rays at 25 Krad(right)compare with parent strain(left) that cultivated on suitable substrate. การวิเคราะห์ หาปริมาณโปรตีน และแร่ ธาตุในเห็ดโคนญี่ปุ่น วิเคราะห์หาคุณค่าทางโภชนาการบางชนิด ได้ แก่ โปรตีนของดอกเห็ดโคนญี่ปนุ่ ที่เกิดจากการเพาะจากสายพันธุ์แม่ทงั ้ 5 สายพันธุ์ และเห็ดโคนญี่ปนสายพั ุ่ นธุ์กลายที่ให้ ผลผลิตสูง ทัง้ 24 สายพันธุ์ (ได้ จากการฉายรังสีปริ มาณ 10 กิโลแรดจานวน 14 สายพันธุ์ และจากการฉายรังสีปริ มาณ 25 กิโลแรดจานวน 10 สายพันธุ์) โดยวิเคราะห์ค่าโปรตีน, แร่ธาตุอาหารหลัก ได้ แก่ phosphorus (P), potassium (K), calcium (Ca), magnesium (Mg), sodium (Na) แร่ธาตุอาหารรอง ได้ แก่ iron (Fe), zinc (Zn), copper (Cu) และ manganese (Mn) ตามมาตรฐานของห้ องปฏิบัติการดินและพืช สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย 166

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

จากการวิเคราะห์ปริ มาณโปรตีนในดอกเห็ดโคนญี่ปนุ่ พบว่า โปรตีนที่ได้ จากเห็ดสายพันธุ์แม่ซงึ่ ได้ แก่ ยานางิ 1, ยา นางิ 2, ยานางิอ่อน, ยานางิเผือก และยานางิเข้ ม มีปริ มาณเท่ากับ 32.00, 36.50, 34.56, 25.13 และ 26.81% ตามลาดับ ในขณะที่เห็ดโคนญี่ปนสายพั ุ่ นธุ์กลายที่ได้ จากการฉายรังสีปริ มาณ 10 และ25 กิโลแรดให้ โปรตีนในระหว่าง 29.30-47.50%, 38.00-40.50% ตามลาดับ โดยพบว่าเห็ดสายพันธุ์กลาย สายพันธุ์ ยอ/2 C48 ที่ได้ จากการฉายรังสี 10 กิโลแรดให้ ปริ มาณ โปรตีนที่มากที่สดุ คือ 47.50% รองลงมาคือ เห็ดสายพันธุ์กลาย สายพันธุ์ ย2/2 C77 ที่ได้ จากการฉายรังสี 25 กิโลแรดให้ ปริ มาณโปรตีน 40.50% (Table 2, 3) อย่างไรก็ตามจากการทดลองนี ้ พบว่าเห็ดโคนญี่ปนสายพั ุ่ นธุ์กลายส่วนใหญ่ ให้ ปริ มาณ โปรตีนที่มากกว่าเห็ดโคนญี่ปนุ่ สายพันธุ์แม่ จากการวิเคราะห์ปริ มาณแร่ธาตุในเห็ดโคนญี่ปนุ่ ได้ แก่ แร่ธาตุอาหารหลักและแร่ธาตุอาหารรองในดอกเห็ดสายพันธุ์ แม่และสายพันธุ์กลายที่ให้ ผลผลิตสูง พบแร่ธาตุอาหารในปริมาณสูง ซึง่ สอดคล้ องกับรายงานของ สุนนั ท์ (2526) ได้ รายงานว่า พบแร่ ธาตุดงั กล่าวในปริ มาณที่สงู ในเห็ดโคนญี่ ปนุ่ มากกว่าเห็ดกินได้ หลายชนิด เช่น เห็ดเผาะ เห็ดนางรม เห็นเป๋ าฮื ้อ เป็ นต้ น จากการทดลองพบว่า เห็ดสายพันธุ์กลายเกือบทุกสายพันธุ์ที่ได้ จากการฉายรังสีแกมมาปริ มาณ 10 และ 25 กิโลแรด ให้ ค่า ฟอสฟอรัส (P) แมกนีเซียม (Mg) โซเดียม (Na) เหล็ก (Fe) ในปริ มาณที่สงู กว่าเห็ดสายพันธุ์แม่ทงั ้ 5 สายพันธุ์ ดังแสดงใน Table 2 และ Table 3นอกจากนี ้ยังพบว่าแร่ธาตุอาหารหลักซึง่ ได้ แก่ แคลเซียม (Ca) ซึง่ เดิมตรวจพบในปริ มาณ 35.67-142.81 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมจากเห็ดโคนญี่ปนสายพั ุ่ นธุ์แม่ทงั ้ 5 สายพันธุ์ เมื่อสายพันธุ์เห็ดที่ได้ มีกลายพันธุ์ เกิดขึ ้นจากการฉายรังสีที่ 10 กิโลแรดปริมาณแร่ธาตุดงั กล่าว ตรวจไม่พบ และจากการวิเคราะห์หาปริมาณแคลเซียมในกลุม่ สายพันธุ์ที่ผ่านการฉายรังสีที่ 25กิโลแรดส่วนใหญ่ ตรวจไม่พบ ดังนัน้ จากการทดลองในครัง้ นีอ้ าจสรุ ปได้ ว่ารังสีแกมมามีผลทาให้ สายพันธุ์เห็ดมีการผลิต องค์ประกอบทางเคมีและแร่ ธาตุเปลี่ยนแปลงไป โดยอาจจะเป็ นไปได้ ว่ามีการกลายพันธุ์เกิดขึ ้นที่บริ เวณยีนหรื อโครโมโซมที่ เกี่ยวข้ องกับการผลิตสารอาหารและแร่ธาตุในดอกเห็ด การวิเคราะห์ ความแตกต่ างทางพันธุกรรมด้ วยเทคนิคชีวโมเลกุล (Molecular genetic) จากการเปรี ยบเทียบลาดับนิวคลีโอไทด์ของเห็ดโคนญี่ปนุ่ สายพันธุ์กลายที่ได้ จากการฉายรังสีแกมมา 10 และ 25 กิโล แรดบางสายพัน ธุ์ กับลาดับนิ วคลีโ อไทด์ จากฐานข้ อมูลใน GenBank พบว่ามี เปอร์ เ ซ็นต์ ความเหมื อนกับ Agrocybe cylindracea isolate NK2 หรื อ Yanagi Matsutake mushroom เท่ากับ 83-89% เปอร์ เซ็นต์ ดังนันจึ ้ งสรุปได้ ว่าสายพันธุ์กลาย ดัง กล่ า ว เป็ น เห็ ด โคนญี่ ปุ่ นสายพัน ธุ์ ใ หม่ เนื่ อ งจากมี ล าดับ นิ ว คลี โ อไทด์ แ ตกต่ า งจากล าดับ นิ ว คลี โ อไทด์ ข อง Yanagi Matsutake mushroom จากฐานข้ อมูลใน GenBank มาก และเมื่อนามาหาความสัมพันธ์เชิงวิวฒ ั นาการทางสายพันธุ์ พบว่า เห็ดโคนญี่ปนที ุ่ ่ผ่านการฉายรังสีแกมมา 10 กิโลแรดที่คาดว่าจะเป็ นพันธุ์กลายที่ให้ ผลผลิตสูง ทัง้ 14 สายพันธุ์ สามารถแยกได้ ออกเป็ น 2 กลุม่ ใหญ่ๆ คือ บางสายพันธุ์จดั อยู่ในกลุม่ เดียวกับสายพันธุ์แม่ ด้ วย bootstrap 99% และอีกกลุม่ ที่แยกออกไปจาก สายพันธุ์แม่ (กลุม่ ควบคุม) ได้ แก่ สายพันธุ์ ยานางิเข้ ม C3 และ C12 ที่ผ่านการฉายรังสีที่ 10 กิโลแรด(Figure 5) ดังนันจึ ้ ง สามารถสรุ ปได้ ว่า การชักนาให้ เกิดการกลายพันธุ์ในสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ ปนโดยใช้ ุ่ รังสีแกมมาปริ มาณ 10 กิโลแรดทาให้ ได้ เห็ดโคนญี่ปนุ่ สายพันธุ์กลายจานวน 2 สายพันธุ์ ได้ แก่ สายพันธุ์ ยานางิเข้ ม C3 และ C12

Figure 5 Phylogenetic tree of 5 parent strains and suspected mutant strains (high productivity) by gamma irradiation at 10 Krad. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

167


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Crude protein,macronutrient and micronutrient values of parent strainsand suspected mutant strains by gammairradiation at 10 Krad grown on suitable substrate. Isolates Y1 Y2 YL YA YS Y1/2C19 Y1/1C42 Y2/1C4 Y2/1C21 Y2/1C30 Y2/2C25 YL/1C15 YL/1C46 YL/2C48 YA/C18 YA/2C11 YA/2C27 YS/1C3

168

Protein (%) 32.00 36.50 34.56 25.13 26.81 42.50 41.38 35.94 33.19 36.50 38.19 29.38 38.56 47.50 39.50 38.00 36.00 29.50

Macronutrients (mg/kg dry wt) P 1000 1080 980 930 970 1160 1100 1140 1110 1170 1140 1160 1160 1130 1150 1140 1080 940

K 24700 26900 28900 27100 28400 24800 20100 24000 27000 24500 25700 25600 27000 26300 25000 27800 24900 26200

Ca 95.96 79.56 141.15 35.67 142.81 ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND

Mg 1029.10 1105.33 1119.94 1127.28 1076.05 1187.26 1263.58 1306.45 1301.87 1415.61 1573.88 1358.04 1274.67 1193.17 1389.74 1340.31 1366.06 1348.63

Na 223.02 265.77 206.78 245.46 175.49 260.04 263.27 323.53 352.51 244.10 389.89 315.56 436.34 473.98 293.80 272.25 324.32 338.61

Micronutrients(mg/kg dry wt) Fe 24.24 28.19 23.24 28.68 23.04 35.88 38.61 60.88 37.24 31.08 56.96 26.73 30.61 50.18 34.30 30.07 28.79 47.86

Zn 88.97 99.35 108.19 94.03 83.87 78.80 71.69 99.54 69.64 106.08 56.05 53.28 60.21 66.00 103.42 112.85 94.09 67.43

Cu ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND ND

Mn 7.90 9.85 13.05 5.68 8.23 ND ND ND ND ND 39.52 25.91 26.49 29.94 ND ND ND ND

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Crude protein,macronutrients, micronutrients and heavy metal values of suspected mutant strains (high productivity) by gammairradiation at 25 Krad grown on suitable substrate. Isolates

Protein (%)

Y2/1C1 Y2/2C3 Y2/2C39 Y2/2C77 YL/1C8 YL/1C18 YL/2C16 YA/1C4 YA/2C5 YS/1C12

40.06 38.00 34.88 40.50 40.31 38.06 36.50 39.75 38.56 30.44

P 1130 990 1130 1029 1100 1200 1120 1170 1110 1060

Macronutrients (mg/kg dry wt) K Ca Mg 30100 98.69 1076.46 31300 78.77 1112.76 29500 150.06 1034.31 28100 ND 1285.42 29200 ND 1059.87 30200 135.93 1051.54 30500 ND 1042.88 29300 ND 1110.14 28500 ND 1072.35 30300 180.57 1035.48

Na 282.78 467.15 265.36 304.08 297.03 292.84 250.19 311.75 276.91 251.11

Micronutrients(mg/kg dry wt) Fe Zn Cu Mn 24.76 128.04 ND ND 35.57 96.07 ND ND 25.51 113.69 ND ND 27.64 118.14 ND ND 45.23 117.92 ND ND 28.71 129.40 ND ND 24.12 109.45 ND ND 28.46 126.66 ND ND 23.23 116.36 ND ND 31.85 113.68 ND ND

สรุ ปผลการทดลอง การศึกษาการพัฒนาสายพันธุ์เห็ดโคนญี่ปนด้ ุ่ วยรังสีแกมมาเพื่อเพาะในเขตพื ้นที่ราบ โดยคัดเลือกสายพันธุ์เห็ดโคน ญี่ปนที ุ่ ให้ ผลผลิตสูงจานวน 5 สายพันธุ์ ได้ แก่ ย1, ย2, ยอ, ยผและ ยข แล้ วนาไปปรับปรุ งพันธุ์โดยการฉายรังสีในอัตรา ปริ มาณรังสีต่างๆและบ่มไว้ ที่อณ ุ หภูมิ 40 องศาเซลเซียส พบว่า ได้ สายพันธุ์เห็ดซึง่ คาดว่าจะกลายพันธุ์และทนร้ อนได้ จานวน ทังหมด ้ 186 isolates เห็ดสายพันธุ์กลายที่ได้ จากการฉายรังสีแกมมา 10 และ 25 กิโลแรดเมื่อนามาเลี ้ยงบนอาหารเลี ้ยงเชื ้อ PDA ที่อณ ุ หภูมิ 35 องศาเซลเซียส เป็ นระยะเวลา 12 วัน พบว่ามีอตั ราการเจริ ญของเส้ นใยที่เร็วสายพันธุ์แม่ และเมื่อศึกษา อัตราการเจริ ญเติบโตของเส้ นใยในก้ อนเชื ้อเห็ดสูตรมาตรฐานที่ เป็ นระยะเวลา 2 เดือน พบว่า โดยสายพันธุ์เห็ดในกลุ่มที่ผ่าน การฉายรังสี 10 และ 25 กิโลแรดมีอตั ราการเจริ ญของเส้ นใยในก้ อนเชื ้อเห็ดเฉลี่ยเท่ากับ 2.48 และ 2.32 เซนติเมตรต่อสัปดาห์ ตามลาดับ ซึ่งมีอัตราการเจริ ญเติบโตของเส้ นใยในก้ อนเชื อ้ เห็ดสูตรมาตรฐานเร็ วกว่าสายพันธุ์เห็ดในกลุ่มควบคุม (2.06 เซนติเมตรต่อสัปดาห์)สาหรับการเปรี ยบเทียบผลผลิตและคุณค่าทางโภชนาการบางชนิด และแร่ธาตุอาหารที่เป็ นองค์ประกอบ ของเห็ดโคนญี่ ปนุ่ พบว่า เห็ดโคนญี่ ปนสายพั ุ่ นธุ์กลายที่ได้ จากการฉายรังสีส่วนใหญ่ให้ ผลผลิตและปริ มาณโปรตีนมากกว่า เห็ดโคนญี่ปนุ่ สายพันธุ์แม่อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติรวมถึงคุณภาพของดอกเห็ด ได้ แก่ ขนาดของดอกเห็ด ความยาวและความ กว้ างของก้ านดอกเห็ดที่ดีกว่าสายพันธุ์แม่และยังพบว่าในกลุม่ สายพันธุ์กลาย สีของหมวกดอกและสีของก้ านดอกเห็ดยังมีการ เปลี่ยนแปลงไป และเมื่อนามาตรวจสอบความแตกต่างทางพันธุกรรมด้ วยเทคนิค ชีวโมเลกุล พบว่าลาดับนิวคลีโอไทด์ของ เห็ดโคนญี่ปนุ่ 2 สายพันธุ์ ได้ แก่ สายพันธุ์ ยานางิเข้ ม C3 และ C12 ที่ได้ จากการฉายรังสีแกมมาปริ มาณ 10 กิโลแรดแตกต่าง จากลาดับนิวคลีโอไทด์ของ Yanagi Matsutake mushroom จากฐานข้ อมูลใน GenBank มากดังนันจึ ้ งสามารถสรุปได้ ว่า รังสี แกมมาสามารถนามาใช้ ในการปรับปรุงพันธุ์เห็ดโคนญี่ปนให้ ุ่ ทนร้ อน เพาะได้ ในเขตพื ้นที่ราบ และให้ ผลผลิตสูงและมีคณ ุ ภาพ นอกจากนี ้ยังทาให้ เกิดรูปร่างลักษณะใหม่ของดอกเห็ดด้ วย

เอกสารอ้ างอิง งามนิจ เสริ มเกียรติพงศ์ และ เสาวพงศ์ เจริ ญ. 2555. การปรับปรุงพันธุ์สายพันธุ์เห็ดฟางให้ มีผลผลิตสูงด้ วยรังสีแกมมา. วารสารเห็ดไทย. 43-53. สุทธพรรณ ตรี รัตน์ฐิติมา ตันติกาญจน์และ มุกดา คูหิรัญ. 2530.การทาสายพันธุ์ ตรวจสอบเพื่อศึกษา incompatibility factors ของเห็ดหอมบาง สายพันธุ์. รายงานการประชุมทางวิชาการครัง้ ที่ 25 สาขาพืช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3-6 กุมภาพันธ์ 2530. กรุงเทพฯ. หน้ า 104116. สุนนั ท์ พงษ์ สามารถ สุรางค์ อัศวมัน่ คง ปิ ยะวรรณ์ สุรินทร์ รัฐ ลาดวน เศวตมาลย์ ธิติรัฐ ปานม่วง จงดี ว่องพินยั รัตน์ นรานินทร์ มารคแมน พันธุ์ ทวี ภักดีดินแดนและ ประเสริ ฐ วุฒิคมั ภีร์. 2526. การสารวจคุณค่าอาหารของเห็ด. รายงานการวิจยั . จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. 55น. หทัยกาญจน์นาภานนท์และ วิเชียร ภู่สว่าง.2544. การปรับปรุงพันธุ์เห็ดหอมโดยการผสมพันธุ์แบบสปอร์ เดี่ยว. วารสารเกษตร. 17(3): 185-195. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

169


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Chang, S.T. 1982. Sexuality and strain improvement in edible mushroom. Mushroom Newsletter for the Tropics. 6(1): 2-6. Das, N. and M. Mukheerjee. 1995. Conditions for isolation of regenerating protoplasts from Pleurotus sajor caju. J. Basic Microbiol. 35:157-161. Djajanegara, I. and Harsoyo. 2009. Mutation study on white oyster mushroom (Pleurotus floridae) using gamma (60 Co) irradiation. JCNRE.4(1): 12-21. Eger, G. 1978. Biology and breeding of Pleurotus, pp. 497-519. In S.T Chang, ed. The Biology and Cultivation of Edible Mushrooms. Academic Press, New York. 819 p. Jaswal, R.K., H.S. Sodhi, S. Kapoor and P.K. Khanna. 2013. Development of high yielding morphologically improved strains of Pleurotus through interspecific hybridization. Indian J. Agric. Sci. 83: 374-379. Kjeldahl, J. 1883. Neue Methode zur Bestimmung des Stickstoffs in organischen. Körpern, Z. Anal. Chem. 22: 366 -382. Larraya, L., G. Rez, A. Iribarren, J.A. Blanco, M. Alfonso, A.G. Pisabarro and L. Rez. 2001. Relationship between monokaryotic growth rate and mating type in the edible basidiomycete Pleurotus ostreatus. Appl. Environ. Microbiol. 67: 3385-3390. Rogers, S.O. and A.J. Bendich. 1994. Extraction of total celluar DNA from plants, algae and fungi, D1: 1-8. In S.B. Gelvin, R.A. Schilperoort and D.P.S. Verma, eds. Plant Molecular Biology Manual, 2nd ed. Kluwer Academic, Dordrecht. Sharma, R. and B. M. Sharma. 2014. Strain improvement in Pleurotus Ostreatus using UV light and ethyl methyl sulfonate as mutagens. Afr. J. Microbiol. Res. 432-436. White, T.J., T. Bruns, S. Lee and J. Taylor. 1990. Amplification and direct sequencing of fungal ribosomal RNA genes for phylogenetics, pp. 315-322.In M.A. Innis, ed. PCR Protocols: A Guide to Methods and Applications. Academic Press, New York. 482 p. Willard, H.H, L.L.Merrill and J.A. Dean. 2001. Laboratory Work Instrumental Methods of Analysis, New York. 105-106. Williams, J.G.K., A.R. Kubelik, K.J. Livak, J.A. Rafalski and S.V. Tingey. 1990. DNA polymorphisms amplified by arbitrary primers are useful as genetic markers. Nucleic Acids Res. 18: 6531–6535.

170

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การวิเคราะห์ เสถียรภาพของสายพันธุ์และลูกผสมของแตงไทย Stability Analysis of Thai Melon Lines and Hybrids ปราโมทย์ พรสุริยา1 พรทิพย์ พรสุริยา1 ศิริมา ธีรสกุลชล1 และอนุชา จุลกะเสวี1 Pramote Pornsuriya1 Pornthip Pornsuriya1 Sirima Teerasakukchol1 and Anucha Julakasewee1

บทคัดย่ อ

วัตถุประสงค์ของการทดลองเพื่อศึกษาเสถียรภาพของสายพันธุ์แตงไทย 3 สายพันธุ์ (R, S และ W) ลูกผสมระหว่าง สายพันธุ์แตงไทย 2 คูผ่ สม (S x L และ R x S) และสวีทเมล่อน 2 พันธุ์ (White Prince และ New Jade) โดยปลูกทดลองใน 5 สภาพแวดล้ อม ในแต่ละสภาพแวดล้ อมใช้ แผนการทดลองแบบสุม่ ในบล็อกสมบูรณ์ (RCBD) ทา 3 ซ ้า หลังจากการทดสอบ ความเป็ นเอกภาพของความแปรปรวนของค่าความคลาดเคลื่อนของการทดลอง แล้ วนามาวิเคราะห์ผลรวม (combined analysis) ของผลผลิต พบว่ามีนยั สาคัญของปฏิสมั พันธ์ระหว่างจีโนไทป์ กับสภาพแวดล้ อม (P < 0.01) วิเคราะห์เสถียรภาพ ของผลผลิตตามวิธีการ Eberhart and Russell model ผลการทดลองพบว่าแตงไทยสายพันธุ์ S ถูกพิจารณาว่ามีเสถียรภาพ ของผลผลิต เนื่องจากมีคา่ phenotypic index เป็ นบวก (Pi > 0) ค่าสัมประสิทธิ์รีเกรสชัน่ ไม่ตา่ งจาก 1 (bi = 1) และค่า เบี่ยงเบนจากรี เกรสชัน่ เท่ากับ 0 ( = 0) ในขณะที่ลกู ผสมแตงไทย S x L มีคา่ phenotypic index สูง แต่มีคา่ สัมประสิทธิ์รี เกรสชัน่ มากกว่า 1 (bi > 1) และค่าเบี่ยงเบนจากรี เกรสชัน่ มากกว่า 0 ( > 0) ดังนันจึ ้ งเหมาะสมกับการปลูกใน สภาพแวดล้ อมที่มีความอุดมสมบูรณ์สงู คาสาคัญ: แตงไทย เสถียรภาพของผลผลิต ปฏิสมั พันธ์ของพันธุกรรมกับสภาพแวดล้ อม

Abstract

The research aimed to evaluate the stability of 3 Thai melon lines (R, S and W), 2 Thai melon hybrids (S x L and R x S), and 2 sweet melon cultivars (White Prince and New Jade). They were planted in 5 diverse environments. In each environment, randomized complete block design (RCBD) with 3 replications was used. After having homogeneity test for error variances, combined analysis of variance was performed and showed that yield (ton/ha) was significant (P < 0.01) for the effect of genotype x environment interaction. Stability parameters were analyzed for yield using Eberhart and Russell model. The results revealed that a Thai melon line S which had positive phenotypic index (Pi > 0), regression coefficient around unity (bi = 1), and deviation from regression value around zero ( = 0) was considered highly stable. Whereas, a Thai melon hybrid S x L had high positive phenotypic index (Pi > 0) but its regression coefficient was more than 1 (bi > 1), and deviation from regression value was greater than zero ( > 0), thus it would be classified as suitable for rich environments. Keywords : Thai melon, yield stability, genotype-environment interaction

คานา

แตงเมล่อนในกลุม่ oriental melon เป็ นพืชผักที่นิยมปลูกและบริ โภคกันในแถบเอเซียและเอเซียตะวันออกกันมานาน นับพันปี (Goldman, 2002) โดยแตงในกลุม่ นี ้แบ่งออกเป็ น 2 กลุม่ ย่อย คือ กลุ่มแรกเป็ นกลุม่ ที่ผลมีรสหวาน และกลุม่ ที่ 2 ผล ไม่มีรสหวานและมักนิยมใช้ เอาไปทาแตงดอง (Schultheis et al., 2002) กลุม่ ผลที่มีรสหวานมีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Cucumis melo L. var. makuwa Makino นิยมปลูกมากในแถบประเทศเกาหลี จีน และประเทศในแถบเอเซียตะวันออก (Chen and Kang, 2013) เนื ้อผลกรอบและหวาน 12-13 องศาบริ กซ์ และบางพันธุ์ (Sprite melon) มีรสหวานถึง 16-18 องศาบริ กซ์ มีชื่อ 1

คณะเกษตรศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกชลบุรี 20110 Faculty of Agriculture and Natural Resources, Rajamangala University of Technology Tawan-Ok, Chonburi, Thailand 20110 *Corresponding author: pornsuriya@hotmail.com 1

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

171


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สามัญว่า oriental sweet melon เป็ นเมล่อนที่อยู่ในโปรแกรมการคัดเลือกพันธุ์พืชที่ถกู ให้ ความสนใจเป็ นพิเศษ (specialty crop program) (Schultheis et al., 2002) ส่วนในกลุม่ ที่สองมีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Cucumis melo L. var. conomon Makino เป็ นแตงที่ผลสุกไม่มีรสหวานหรื อมีรสหวานน้ อย ผลอ่อนรับประทานเป็ นผักหรื อนาไปทาเป็ นแตงดอง จึงมีชื่อเรี ยกอีกชื่อว่า oriental pickling melon (Paje and Vossen, 1993) หรื อแตงไทย ซึง่ มีปลูกกันโดยทัว่ ไปในประเทศไทย การพัฒนาพันธุ์หรื อสายพันธุ์ที่สามารถปรับตัวได้ กว้ างในสภาพแวดล้ อมที่หลากหลาย จัดเป็ นเป้าหมายที่สาคัญ อย่างหนึ่งในโปรแกรมปรับปรุ งพันธุ์ของนักปรับปรุ งพันธุ์พืช การมี เสถียรภาพในการแสดงออกของพันธุ์หรื อสายพันธุ์เป็ น คุณสมบัติที่สาคัญของจีโนไทป์ หรื อพันธุ์ในการปรับปรุงพันธุ์และการแนะนาพันธุ์สเู่ กษตรกรเพื่อการเพาะปลูกในพื ้นที่ต่างๆ ซึง่ มีสภาพแวดล้ อมที่อาจจะแตกต่างกันไป โดยพันธุ์ควรได้ รับการทดสอบในหลายพื ้นที่หรื อหลายสภาพแวดล้ อม หรื อในบางครัง้ อาจมีการทดสอบในพื ้นที่เดียวแต่จดั การทดลองให้ มีหลายสภาพแวดล้ อมได้ เช่น การใช้ วนั ปลูกหรื อฤดูปลูก ระยะปลูก หรื อ อัตราปุ๋ ยที่แตกต่างกัน (Ottai et al. (2006) เป็ นต้ น แล้ วนาข้ อมูลจากการทดสอบพันธุ์ในหลายสภาพแวดล้ อมดังกล่าวไป วิเคราะห์เพื่อหาความเสถียรภาพของพันธุ์ โดยทาการวิเคราะห์ผลรวมของทุกสภาพแวดล้ อม (combined analysis) หากพบว่า ความแปรปรวนของปฏิสมั พันธ์ระหว่างพันธุ์กบั สภาพแวดล้ อม (variety x environmental interaction) มีนยั สาคัญ จึงทาการ วิเคราะห์เพื่อหาเสถียรภาพของพันธุ์ โดยโมเดลของ Eberhart and Russell (1966) เป็ นโมเดลหนึ่งที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ ความเสถียรภาพของพันธุ์ มีวิธีการและเทคนิคหลายรู ปแบบที่ได้ ถกู พัฒนาเพื่อนามาอธิบายและแสดงให้ เห็นถึงการตอบสนองของจีโนไทป์ ต่อ ความแปรปรวนของสภาพแวดล้ อม แต่ละวิธีการเหล่านีไ้ ด้ ใช้ วิธีการทางสถิติในการวัดความเสถียรภาพของจีโนไทป์ โดยที่ แนวความคิดของ stability มีทงที ั ้ ่เป็ นแบบทางด้ านชีววิทยา (biological concept) และทางด้ านการเกษตร (agronomic concept) โดยในทางชีววิทยา Hanson (1970) กล่าวว่า จีโนไทป์ ที่มีความแปรปรวนโดยรวมต่าภายใต้ สภาพแวดล้ อมที่ แตกต่างกันจัดว่าเป็ นจีโนไทป์ ที่เสถียร ในขณะที่พนั ธุ์ที่ถกู พิจารณาว่ามีความเสถียรทางการเกษตร จะมีปฏิสมั พันธ์ น้อยกับ สภาพแวดล้ อมและให้ ผลผลิตได้ สงู ในสภาพแวดล้ อมที่เหมาะสม (Eberhart and Russell, 1966) โดยมีวิธีการทางสถิติและ พารามิเตอร์ หลายรูปแบบที่ใช้ ในการวิเคราะห์ความเสถียรภาพของจีโนไทป์ (Lin et al., 1986; Becker and Leon, 1988; Crossa, 1990) การจาลองสภาพแวดล้ อมที่แตกต่างกันในการทดสอบเสถียรภาพของจีโนไทป์ ทาให้ นกั ปรับปรุง พันธุ์สามารถ ทดสอบจีโนไทป์ ได้ ตงแต่ ั ้ ในระดับสภาพแวดล้ อมที่ไม่เหมาะสมที่สดุ (extremely poor or adverse condition) จนถึง สภาพแวดล้ อมที่เหมาะสม (optimal condition) การทดสอบในสภาพแวดล้ อมที่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินน้ อยจนถึงมาก จากการให้ ปยในระดั ุ๋ บต่างๆ (Ottai et al. (2006) จึงเป็ นการจาลองสภาพแวดล้ อมดังกล่าวเพื่อการทดสอบเสถียรภาพของจีโน ไทป์ พืช ดังนันการทดลองนี ้ ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อทดสอบความเสถียรภาพของผลผลิตของสายพันธุ์และลูกผสมของแตงไทย และพันธุ์สวีทเมล่อนในสภาพแวดล้ อมการให้ ปยที ุ๋ ่แตกต่างกัน เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ในโปรแกรมปรับปรุ งพันธุ์ของแตงไทย และสวีทเมล่อนต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ

จีโนไทป์ ที่ใช้ ในการทดสอบจานวน 7 จีโนไทป์ ได้ แก่สายพันธุ์แตงไทย 3 สายพันธุ์ ได้ แก่สายพันธุ์ R, S และ W ซึง่ เป็ น สายพันธุ์ที่ได้ จากการผสมตัวเองและปลูกแบบต้ นต่อแถวจานวน 4 ชัว่ รุ่น และลูกผสมระหว่างสายพันธุ์ S x L และ R x S และสวีทเมล่อน 2 พันธุ์ ได้ แก่ พันธุ์ White Prince และ New Jade (หมายเหตุ แตงไทยสายพันธุ์ L มีข้อมูลเพียง 3 สภาพแวดล้ อม จึงไม่นามาวิเคราะห์) ปลูกทดสอบผลผลิตใน 5 สภาพแวดล้ อม (พื ้นที่ปลูก) ซึง่ มีความแตกต่างหลากหลายกัน ทางด้ านการให้ ปยุ๋ (Table 1) การทดลองในแต่ละสภาพแวดล้ อมวางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ (RCBD) จานวน 3 ซ ้า แปลงหน่วยการทดลองขนาด 1 x 3 ตารางเมตร ปลูก 1 แถวต่อแปลง โดยให้ เถาเลื ้อยบนแปลงที่คลุมด้ วย พลาสติกคลุมแปลง ปลูกโดยหยอดเมล็ดและถอนแยกให้ เหลือ 1 ต้ นต่อหลุม ระยะต้ น 0.50 เมตร จานวน 6 ต้ นต่อแปลง ระยะ ระหว่างแปลง 0.50 เมตร และระยะระหว่างบล็อก 0.75 เมตร บันทึกข้ อมูลผลผลิตโดยชั่งนา้ หนักผลทัง้ หมดต่อแปลงย่อย (พื ้นที่ 4.5 ตารางเมตร รวมระยะระหว่างแปลง) แล้ วคานวณน ้าหนักผลผลิต (กิโลกรัม/4.5 ตารางเมตร) เทียบเป็ นผลผลิตตัน ต่อเฮกตาร์ นามาวิเคราะห์ความแปรปรวนตามแผนการทดลอง RCBD ของแต่ละสภาพแวดล้ อม และนามาทดสอบความเป็ น เอกภาพของความแปรปรวนของทัง้ 5 สภาพแวดล้ อม โดยใช้ วิธี Bartlett’s test (ประวิตร, 2548; Little and Hills, 1978) วิเคราะห์ผลรวม (pooled analysis) ของทัง้ 5 สภาพแวดล้ อม และวิเคราะห์หาค่าพารามิเตอร์ ของความเสถียรภาพ (stability

172

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

parameters) ของผลผลิต โดยใช้ วิธีการของ Eberhart and Russell (1966) ซึง่ อธิบายไว้ โดย Sharma (2008) และ Singh and Chaudhary (2012) Table 1 Various modified environments (applied fertilizers) of the experiments conducted for stability study. Environments Fertilizers application Period of time 1 Non fertilizer applied June – August 2015 2 12 kg/rai of 46-0-0 (75 kg/ha) July – September 2015 3 1,000 kg/rai of cow manure (6,250 kg/ha) May – July 2015 4 2,000 kg/rai of cow manure (12,500 kg/ha) May – July 2015 5 40 kg/rai of 46-0-0 (250 kg/ha), 100 kg/rai of 15-15-15 (625 kg/ha) August – October 2015

ผลการทดลองและวิจารณ์

ผลผลิต: การตอบสนองของผลผลิตในแต่ละสภาพแวดล้ อมมีความแตกต่างกัน (P < 0.01) โดยมีผลผลิตเฉลี่ยตังแต่ ้ 8.98 – 100.37 ตันต่อเฮกตาร์ โดยที่สภาพแวดล้ อมที่ 5 ให้ ผลผลิตมากที่สดุ (100.37 ตันต่อเฮกตาร์ ) ในขณะที่ผลผลิตของแต่ ละจีโนไทป์ ที่เฉลี่ยจากทุกสภาพแวดล้ อมมีความแตกต่างกัน (P < 0.01) โดยมีผลผลิตตังแต่ ้ 33.69 – 50.45 ตันต่อเฮกตาร์ โดยที่จีโนไทป์ S x L ให้ ผลิตมากที่สดุ (50.45 ตันต่อเฮกตาร์ ) และมีค่าเฉลี่ยของทุกจีโนไทป์ ในทุกสภาพแวดล้ อมเท่ากับ 40.02 ตันต่อเฮกตาร์ (Table 2) ดัชนีสภาพแวดล้ อม (environmental index): เป็ นค่าที่บ่งบอกถึงความเหมาะสมของสภาพแวดล้ อมที่จะส่งผลให้ จี โนไทป์ พืชให้ ผลผลิตต่าหรื อสูง โดยแสดงในรู ปของค่าลบและค่าบวกตามลาดับเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยของทุกสภาพแวดล้ อม โดยสภาพแวดล้ อมที่ 1 – 3 มีคา่ เป็ นลบ ส่วนสภาพแวดล้ อมที่ 4 – 5 มีคา่ เป็ นบวก (Table 2) Table 2 Yield response of Thai melon lines/hybrids and sweet melon cultivars to five growing environments. Genotypes Envi. 1 Envi. 2 Envi. 3 Envi. 4 Envi. 5 Genotype mean R 8.60 6.06 29.42 31.69 95.53 34.26 c S 12.02 10.29 39.37 49.85 102.11 42.73 b W 8.21 5.65 39.70 54.67 98.59 41.36 b SxL 12.22 4.58 35.37 63.82 136.28 50.45 a RxS 12.86 3.77 43.51 62.77 88.45 42.27 b White Prince 3.04 17.52 20.65 34.45 101.39 35.41 c New Jade 5.90 7.42 40.99 33.88 80.24 33.69 c Environmental mean 8.98 d 7.90 d 35.57 c 47.30 b 100.37 a 40.02 Environmental index -31.04 -32.12 -4.45 7.28 60.35 Means followed by the same letter are not significantly different (P = 0.05) by DMRT test. การวิเคราะห์ ความแปรปรวนรวม (pooled analysis): พบว่าผลผลิตมีความแตกต่างกันระหว่างจีโนไทป์ (P < 0.05) และระหว่างสภาพแวดล้ อม (P < 0.01) (Table 3) แสดงว่าความแปรปรวนระหว่างพันธุกรรมของจีโนไทป์ และมีความ แปรปรวนระหว่างสภาพแวดล้ อมที่ทดลอง การมีนยั สาคัญของ Env. (linear) แสดงว่าความแปรปรวนของผลผลิตต่อ สภาพแวดล้ อมเป็ นการตอบสนองแบบเส้ นตรง ปฏิสมั พันธ์ระหว่างจีโนไทป์ กับสภาพแวดล้ อม (G x E interaction) แบ่ง ออกเป็ น 2 ส่วนคือ ส่วนที่เป็ น linear และ non-linear (pooled deviation) ซึง่ ทัง้ 2 ส่วนมีนยั สาคัญที่ P < 0.01 และ P < 0.01 ตามลาดับ แสดงว่าปฏิสมั พันธ์ระหว่างจีโนไทป์ กับสภาพแวดล้ อมมีทงส่ ั ้ วนที่ทานายได้ และทานายไม่ได้ (predictable and unpredictable components) โดยที่ Eberhart and Russell (1966) กล่าวว่าทังส่ ้ วนที่เป็ น linear (bi) และ non-linear ( ) ของ ปฏิสมั พันธ์ระหว่างจีโนไทป์ กับสภาพแวดล้ อมนันควรถู ้ กนามาพิจารณาในการวัดความมีเสถียรภาพของจีโนไทป์ ใดจีโนไทป์ หนึง่ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

173


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Pooled analysis of variance of data for the response of Thai melon lines/hybrids and sweet melon cultivars exposed to five growing environments. Source of variation D.F. Total 34 Genotypes (G) 6 Env. + (G x E) 28 Env. (linear) 1 G x E (linear) 6 Pooled deviation 21 R 3 S 3 W 3 SxL 3 RxS 3 White Prince 3 New Jade 3 Pooled error 60 ns Non significant *, ** Significant at P = 0.05 and 0.01, respectively.

Sum of square 43,600.4063 1,088.1390 42,512.2656 39,971.3516 1,273.0195 1,267.8975 125.8652 1.6307 71.0719 118.3349 381.6266 408.7927 160.5754 655.2654

Mean square 181.3565 1518.2952 39971.3516 212.1699 60.3761 41.9551 0.5436 23.6906 39.4450 127.2089 136.2642 53.5251 3.6404

* ** ** * ** ** ns

** ** ** ** **

Table 4 Mean yield (ton/ha), phenotypic index (Pi), regression coefficient (b), standard error (SE) of b, t-value tested for b = 0, t-value tested for b = 1 and deviation from regression ( ) of Thai melon lines/hybrids and sweet melon cultivars exposed to five growing environments. Yield Phenotypic Regression Standard error t t Genotypes (ton/ha) index (Pi) coefficient (b) (SE) of b (b = 0) (b = 1) R 34.26 -5.7657 0.9461 0.0857 11.04** -0.63 ns 38.41** S 42.73 2.7050 0.9887 0.0098 101.33** -1.16 ns -3.00 ns W 41.36 1.3383 1.0043 0.0644 15.69** 0.07 ns 20.15** SxL 50.45 10.4283 1.4018 0.0831 16.87** 4.83 * 35.90** RxS 42.27 2.2476 0.8896 0.1493 5.96** -0.74 ns 123.67** White Prince 35.41 -4.6150 0.9841 0.1545 6.37** -0.10 ns 132.72** New Jade 33.69 -6.3384 0.7854 0.0968 8.11** -2.22 ns 49.98** Average 40.02 ns Non significant *, ** Significant at P = 0.05 and 0.01, respectively. ค่ าพารามิเตอร์ ของความเสถียรภาพ (stability parameters): จีโนไทป์ ที่ถกู จัดว่ามีเสถียรภาพคือจีโนไทป์ ที่มีคา่ สัมประสิทธิ์ของรี เกรสชัน่ (b) มีคา่ เท่ากับ 1 มีค่าเบี่ยงเบนจากรี เกรสชัน่ ( ) เท่ากับ 0 และมีคา่ phenotypic index เป็ นบวก หรื อมีผลผลิตสูงกว่าค่าเฉลี่ยของจีโนไทป์ ทังหมด ้ (Sharma, 2008) ในขณะที่ Zubair et al. (2002) เสนอว่าถ้ าสัมประสิทธิ์ รี เกรสชัน่ ของแต่ละพันธุ์มีคา่ ไม่ต่างจาก 1 ดังนันการวั ้ ดเสถียรภาพของจีโนไทป์ เหล่านันควรพิ ้ จารณาจาก 2 พารามิเตอร์ ที่เหลือ คือ ค่าเฉลี่ยของผลผลิต และค่าเบี่ยงเบนจากรี เกรสชั่น ( ) จากการทดลองนี ้พบว่าค่าสัมประสิทธิ์รีเกรสชัน่ ของทุกจีโนไทป์ ไม่ แตกต่างจาก 1 ยกเว้ นจีโนไทป์ S x L (Table 4) ดังนันสายพั ้ นธุ์ S ที่มีผลผลิตเฉลี่ย 42.73 ตันต่อเฮกตาร์ ซึง่ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของ จีโนไทป์ ทังหมด ้ (ค่า phenotypic index เป็ นบวก) และมีคา่ เบี่ยงเบนจากรี เกรสชัน่ ( ) ไม่แตกต่างจาก 0 จึงจัดเป็ นจีโนไทป์ ที่ 174

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

มีเสถียรภาพของผลผลิต ในขณะที่จีโนไทป์ S x L, R x S และ W มีผลผลิตเฉลี่ย 50.45, 42.27 และ 41.36 ตันต่อเฮกตาร์ ตามลาดับ และมีคา่ phenotypic index เป็ นบวก แต่มีคา่ เบี่ยงเบนจากรี เกรสชัน่ ( ) สูงและแตกต่างจาก 0 ดังนันจี ้ โนไทป์ เหล่านี ้จึงถูกคาดว่าจะให้ ผลผลิตได้ ดีภายใต้ สภาพแวดล้ อมที่อดุ มสมบูรณ์ ส่วนจีโนไทป์ R, White Prince และ New Jade มี ค่า phenotypic index เป็ นลบ นัน่ คือมีผลผลิตต่ากว่าค่าเฉลี่ยของทุกพันธุ์ และมีคา่ เบี่ยงเบนจากรี เกรสชัน่ ( ) สูง ดังนันจี ้ โน ไทป์ เหล่านี ้จึงไม่แนะนาสาหรับการปลูกในทุกสภาพแวดล้ อม

สรุ ป

จากการทดสอบเสถียรภาพของผลผลิตของแตงไทย 3 สายพันธุ์, ลูกผสมระหว่างสายพันธุ์ของแตงไทย 2 คูผ่ สม และสวีทเมล่อน 2 พันธุ์ พบว่าแตงไทยสายพันธุ์ S มีคา่ phenotypic index เป็ นบวก โดยให้ ผลผลิตเฉลี่ย 42.73 ตันต่อเฮกตาร์ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของจีโนไทป์ ทังหมด ้ มีคา่ สัมประสิทธิ์ของรี เกรสชัน่ (b) มีคา่ เท่ากับ 1 และมีคา่ เบี่ยงเบนจากรี เกรสชัน่ ( ) ไม่ แตกต่างจาก 0 จึงจัดเป็ นจีโนไทป์ ที่มีเสถียรภาพของผลผลิต

เอกสารอ้ างอิง

ประวิตร พุทธานนท์. 2548. ไบโอเมตริ กเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชไร่ คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ , เชียงใหม่. Becker, H.C. and J. Leon, 1988, Stability analysis in Plant Breeding. Plant Breeding, 101: 1- 23. Chen, L. and Y.H. Kang. 2013. In vitro inhibitory effect of oriental melon (Cucumis melo var. maduwa Makino). Seed on key enzyme linked to type 2 diabetes. Journal of Functional Foods 5: 981-986. Crossa, H.M., 1990, Statistical analyses of multilocation trials. Advan. Agron., 44: 55-85. Eberhart, S.A. and W.A. Russell. 1966. Stability parameters for comparing varieties. Crop Sci. 6: 36-40. Goldman, A. 2002. Melons for the Passionate Grower. Artisan Pub., New York. Hanson, G.R., 1970, Genotypic stability, Theo. Appl. Genet., 40: 226-231. Lin, C.S., Binns, M.R. and Lafkovitch, L.P., 1986, Stability analysis: where do we stand? Crop Sci., 26: 894-900. Little, T.M. and F.J. Hills. 1978. Agricultural Experimentation Design and Analysis. John Wiley & Sons, Inc. Canada. Ottai, M.E.S., K.A. Aboud, I.M. Mahmoud and D.M. El-Hariri. 2006. Stability analysis of cultivars (Hibiscus sabdariffa L.) under different nitrogen fertilizer environments. World Journal of Agricultural Sciences 2(3): 333-339. Paje M.M. and H.A.M. van der Vossen. 1993. Cucumis melo L., pp. 153-157. In Siemonsma J.S. and K. Piluek (eds.). Plant Resources of South-East Asia No.8: Vegetables. Prosea Foundation, Bogor, Indonesia. Schultheis, J.R., W.R. Jester, and N.J. Augostini. 2002. Screening melons for adaptability in North Carolina. p. 439–444. In: J. Janick and A. Whipkey (eds.), Trends in new crops and new uses. ASHS Press, Alexandria, VA. Sharma, J.R. 2008. Statistical and Biometrical Techniques in Plant Breeding. New age international publishers, New Delhi. Singh, R.K. and B.D. Chaudhary. 2012. Biometrical Methods in Quantitative Genetic Analysis. 3rd Edition, reprinted 2012. Kalyani Publishers, New Delhi. Zubair, M., M. Anwar, A.M. Haqqani and M.A. Zahid. 2002. Genotype-Environment interaction for grain yield in mash (Vigna mungo L. Happer). Asian J. Pl. Sci. 1(2): 128-129.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

175


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเปรียบเทียบผลผลิตและองค์ ประกอบผลผลิตของถั่วฝั กยาวเขียวพันธุ์ ศฝก. 2 ในระบบเกษตรธรรมชาติ Comparison of Yield and Yield Component of Green Yard Long Bean ‘Sofogo 2’ in Natural Farming Culture System ทิพวรรณ สิทธิรังสรรค์ 1 Tippawan Sittirungsun1

บทคัดย่ อ การเปรี ยบเทียบผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของถัว่ ฝั กยาวเขียวพันธุ์ ศฝก. 2 เป็ นงานวิจยั ที่ได้ ทา ณ ศูนย์ฝึก และพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ โดยเริ่ มจากการปรับปรุ งพันธุ์ ถัว่ ฝั กยาวเขียวภายใต้ ระบบเกษตรธรรมชาติ เป็ นเวลา 16 ปี (ปี พ.ศ. 2541-2557) และได้ ถวั่ ฝั กยาวเขียวพันธุ์ใหม่ คือ พันธุ์ ศฝก. 2 จึงนามาปลูกทดสอบเปรี ยบเทียบกับพันธุ์การค้ าซึง่ ใช้ ปลูกในพื ้นที่ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จานวน 9 พันธุ์ วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์(CRD) ทา 10 ซ ้า โดยปลูกทดสอบระหว่างพฤษภาคม – กันยายน 2557ใน ระบบเกษตรธรรมชาติซึ่งไม่ใช้ ปยเคมี ุ๋ และสารเคมี และเก็บข้ อมูลเปรี ยบเทียบ 9 ลักษณะ คือ ความกว้ างใบ ความยาวใบ ตาแหน่งข้ อที่ ดอกแรกบาน ความยาวฝั ก ความกว้ างฝั ก ความหนาเนื อ้ ฝั ก นา้ หนักฝั ก จานวนฝั กต่อต้ น และผลผลิตฝั ก รับประทานสด เก็บข้ อมูลด้ านเมล็ดพันธุ์ของพันธุ์ ศฝก. 2 คือ จานวนเมล็ดต่อฝัก น ้าหนัก 100 เมล็ด และอัตราความงอกของ เมล็ด จากการศึกษาพบว่าพันธุ์ ศฝก.2 มีลกั ษณะบางอย่างที่ดีกว่าพันธุ์ที่นามาเปรี ยบเทียบ ได้ แก่ มีความยาวฝั ก 50.2 ซม. (ค่าเฉลี่ย 46.0 ซม.) มีความกว้ างฝัก 0.92 ซม. (ค่าเฉลี่ย 0.83 ซม.) มีความหนาเนื ้อมากที่สดุ คือ 2.6 ซม. (ค่าเฉลี่ย1.35 ซม.) มีน ้าหนักของฝั กสด 20.0 กรัม/ฝั ก ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยของพันธุ์การค้ า 14.94% มีผลผลิตฝั กสด 717.66 กก./ไร่ ซึ่งสูงกว่า ค่าเฉลี่ยของพันธุ์การค้ า 130% มีจานวนฝัก/ต้ น 16.15 ฝัก/ต้ น ซึง่ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของ 82.89% ดังนัน้ พันธุ์ ศฝก.2 จึงเป็ นพันธุ์ ใหม่ที่ดี และยังเป็ นพันธุ์ที่ผลิตภายใต้ ระบบเกษตรธรรมชาติตรงตามมาตรฐานเกษตรธรรมชาติและเกษตรอินทรี ย์อีกด้ วย

ABSTRACT ‘Sofogo 2’ is new green yard long bean cultivar which was improved under natural farming culture condition for 16 years from 1998 to 2014 at Wat Yansangvararam Voramahaviharn Agricultural Training and Development Centre under H.M. the King’s initiative, Chonburi province. ‘Sofogo 2’ was compared with 9 commercial green yard long bean cultivars. Nine characters were compared . From result, some characters of ‘Sofogo 2’ were better than the other. Ex. pod length of ‘Sofogo 2’ was 50.2 cm. from average 46.0 cm., pod width was 0.92 cm. from average 0.83 cm., pericarp thickness was the highest, 2.6 mm. from average 1.35 mm., pod weight per pod was 20 g. It was higher than average of 9 commercial varieties 14.94%. Yield of ‘Sofogo 2’ was the highest, 717.66 kg/rai .It was higher than average of 9 commercial varieties 130%. No of pod /plant, ‘Sofogo 2’ was the highest, 16.15 pod/plant Conclusion, ‘Sofogo 2’ is good new green yard long bean cultivar . Not only that but also it is natural farming seed or organic seed. Keywords: natural farming, natural farming seed

1

ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ต.ห้ วยใหญ่ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี 20250 176

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา อันเนื่องมาจาก พระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั ครัง้ เสด็จพระราชดาเนิน ณ ศูนย์ฝึกอบรมเยาวชน เกษตรวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ เมื่อวันที่ 28 มิถนุ ายน 2531 ได้ มีพระราชกระแสรับสัง่ ข้ อ หนึ่งว่า “การนาพันธุ์ใหม่หรื อพันธุ์ต่างประเทศต้ องระวังเรื่ องโรค ถ้ าเกิดโรคแล้ วจะเกิดเสียหายมากและขาดทุน การนาพันธุ์ ต่างประเทศมาราคาสูงไม่ควรพึง่ พา”(ศูนย์ฝึกอบรมเยาวชนเกษตรวัดญาณสังวราราม อันเนื่องมาจากพระราชดาริ , 2531) และ ปกติเกษตรกรต้ องซื ้อเมล็ดพันธุ์ปลูกทุกครัง้ เนื่องจากเก็บเมล็ดพันธุ์ปลูกต่อไม่ได้ หากเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ ใช้ เองได้ จะช่วยลดต้ นทุน การผลิตและพึ่งตนเองได้ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และปั จจุบนั ความต้ องการผลผลิตเกษตรธรรมชาติ/เกษตรอินทรี ย์มี มากขึ ้น ซึง่ ตามมาตรฐานนี ้ต้ องใช้ เมล็ดพันธุ์ที่ผลิตภายใต้ ระบบเกษตรธรรมชาติ/เกษตรอินทรี ย์ด้วย และ ถัว่ ฝักยาวเขียวก็เป็ น พืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง กล่าวคือ ถัว่ ฝักยาว (Vigna unguiculata subsp. sesquipedalis) เป็ นถัว่ ชนิดหนึ่ง ที่เป็ นไม้ เลื ้อย เถาเลื ้อยทิศทางพันทวนเข็มนาฬิกา ลาต้ นเลื ้อยพันค้ างโดยไม่มีมือจับ มีใบประกอบ 3 ใบย่อย แต่ใบจริ งคู่แรก เป็ นใบเดี่ยว รูปใบเป็ นแบบ ovate ถึง lanceolate ใบทัว่ ไปจะเรี ยบแต่บางครัง้ พบเป็ น lope ปลายใบแหลม โคนก้ านใบมีหู ใบ ขนาดใหญ่ ดอกของถัว่ ฝักยาวมีช่อเป็ นแบบ raeme ในหนึ่งช่อดอกจะมี 2-4 ดอก ก้ านดอกสัน้ ทาให้ ดอกซ้ อนกันแน่นบริ เวณ ปลายช่อดอก ดอกมีขนาด 2.0-2.5 เซนติเมตร ก้ านช่อดอกเกิดที่ข้อของลาต้ นเกือบทุกข้ อ สีดอกมีสีม่วง เหลือง ม่วงอมเหลือง ขึ ้นอยู่กบั พันธุ์ เกสรเพศผู้มี 10 อัน เกสรเพศเมียมี 1 รังไข่ ฝั กมีสีเขียวอ่อน สีเขียวเข้ ม สีม่วงเข้ ม เมื่อฝั กแก่จะพองเหี่ยวย่น เมล็ดเป็ นรู ปไตมีขนาด 8-12 มิลลิเมตร เมล็ดมีสีต่างกัน เช่น สีน ้าตาล สีดา สีขาว สีด่าง เป็ นต้ น เมล็ดงอกภายใน 2-3 วัน ถัว่ ฝักยาวเป็ นพืชที่ทนต่อความร้ อนและแห้ งแล้ งได้ ดี แต่ออ่ นแอต่อความหนาวเย็น (รัตนา, 2530) การแบ่งพันธุ์ของถัว่ ฝักยาวอาจอาศัยสีของเมล็ด ได้ แก่ 1) เมล็ดสีแดง ดอกสีม่วงอ่อน หรื อสีม่วง ฝักสีเขียว หรื อเขียว เข้ ม 2) เมล็ดสีแดงเข้ ม ดอกสีม่วง ฝักสีม่วงเข้ ม 3) เมล็ดสีขาว ดอกสีครี ม ฝักสีเขียวอ่อน 4) เมล็ดสีดา ดอกสีม่วง ฝักสีเขียวเข้ ม 5) เมล็ดสีแดงด่างขาว ดอกสีม่วง ฝักสีเขียว (วันชัย, 2543) ถัว่ ฝักยาวเป็ นพืชผักที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจที่ผ้ บู ริ โภคทังในและต่ ้ างประเทศต้ องการ เป็ นพืชผักที่มีการส่งออก ทังในรู ้ ปผักสดและเมล็ดพันธุ์ มี ตลาดทัง้ ทางเอเชีย ยุโรป และทางตะวันออกกลาง ตลาดในประเทศต้ องการฝั กยาว 50-70 เซนติเมตร สีเปลือกเขียว ฝักไม่พอง ตลาดต่างประเทศต้ องการฝักยาว36-40 เซนติเมตร ฝักเสมอ ไม่ช ้า เก็บอ่อนกว่าปกติ 12 วัน (ศูนย์สารสนเทศชุมชน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี http://202.28.48.140/isaninfo/?p=203) ถัว่ ฝั กยาวเป็ นพืชที่ใช้ สารเคมีมากเป็ นอันตรายต่อผู้บริ โภค และสิ่งแวดล้ อม ทาให้ เกษตรกรเสียค่าใช้ จ่ายสูงเกินความจาเป็ น สานักวิจยั และพัฒนาการเกษตรเขตที่ 3 ได้ ตรวจสอบสารพิษตกค้ างในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จากผลผลิตพืช 85 ชนิด จานวน 4,338 ตัวอย่าง ระหว่างปี 2551 - 2554 พบว่ามีสารพิษตกค้ างในปริ มาณที่ปลอดภัย 878 ตัวอย่าง คิดเป็ น 20% ของตัวอย่างทังหมด ้ และพบสารพิษตกค้ างเกินค่าความปลอดภัย 157 ตัวอย่าง คิดเป็ น 4% ของตัวอย่างทังหมด ้ ซึง่ มี ถัว่ ฝักยาวรวมอยูด่ ้ วย (กรมวิชาการเกษตร ,http://it.doa.go.th/pibai/pibai/n15/v_5-june/korkui.html) เครื อข่ายเตือนภัยสารเคมีกาจัดศัตรูพืชได้ รายงานผลจากประชุมเชิงวิชาการเพื่อเตือนภัยสารเคมีกาจัดศัตรู พืช ประจาปี 2558 ว่าจากการสุม่ ตรวจสารเคมีตกค้ างในผัก 10 ชนิดที่คนไทยนิยมบริ โภค พบว่ากะเพราเป็ นผักที่มีสารเคมีตกค้ างมากสุด คือ มี สารเคมี ต กค้ างเกิ น มาตรฐานถึ ง 62.5% รองลงมาคื อ ถั่ ว ฝั ก ยาว และคะน้ า มี ส ารเคมี เ กิ น มาตรฐาน 37.5% (http://thaipublica.org/2015/03/veget-chemical/) นัฐวุฒิ และคณะ (2557) ได้ ศกึ ษาผลจากการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรู พืช ของเกษตรกรผู้ปลูกข้ าวต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้ อม อาเภอร่ องคา จังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่า พืชผักในแปลงนามีระดับสารเคมี ตกค้ างในพืชผักอยู่ในระดับไม่ปลอดภัยร้ อยละ 28 และระดับเป็ นพิษ ร้ อยละ 4 ผลของการเจาะเลือดเพื่อหาระดับสารเคมี ตกค้ างในเลือดเกษตรกรอยูใ่ นระดับไม่ปลอดภัย ร้ อยละ 58 และระดับความเสี่ยง ร้ อยละ 28 กมล (2556) ได้ กล่าวว่าการสร้ าง ความมัน่ คงด้ านอาหารด้ วยนวัตกรรมด้ านการเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพนันในส่ ้ วนของการผลิตต้ องประกอบด้ วยการเลือก ปั จจัยการผลิตที่เหมาะสมเริ่ มตังแต่ ้ ใช้ พนั ธุ์ดีที่ได้ รับการปรับปรุ งให้ สามารถปรับตัวได้ ดี ได้ ผลผลิตสูง คุณภาพดี รสชาติดี และ ต้ องผลิตด้ วยวิธีที่เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม เลิกใช้ สารเคมีที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและสิง่ แวดล้ อม นอกจากนี ้ถัว่ ฝักยาวเขียวยังมี การผลิตเมล็ดพันธุ์เพื่อใช้ ภายในประเทศและส่งออกไปต่างประเทศอีกด้ วย เช่น ในปี 2553 ปริ มาณการส่งออกเมล็ดพันธุ์ ถัว่ ฝั กยาว 134.04 ตัน คิดเป็ นมูลค่า 34.14 ล้ านบาท และในปี 2557 ปริ มาณการส่งออกเมล็ดพันธุ์ถวั่ ฝักยาว 168.61 ตัน คิดเป็ นมูลค่า 50.24 ล้ านบาท (ฝ่ ายพันธุ์พืช สานักควบคุมพืชและวัสดุเกษตร กรมวิชาการเกษตร, http://www.oae.go.th/ download/FactorOfProduct/ValueExportSeed47-52.html) ในด้ า นระบบการเตรี ย มเมล็ด พัน ธุ์ ส าหรั บ เกษตรอิ น ทรี ย์ ใ น ประเทศไทย ฝ่ ายปฏิบตั ิการวิจยั และเรื อนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจยั และพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ภาณี ทอง พานัก, 2551) ได้ รายงานว่า ปั ญหาในปั จจุบนั คือไม่มีเมล็ดพันธุ์ที่ขายในท้ องตลาดระบุว่าใช้ ได้ สาหรับเกษตรอินทรี ย์ เนื่องจาก การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

177


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เมล็ดพันธุ์ที่จาหน่ายล้ วนคลุกด้ วยสารเคมีแทบทังสิ ้ ้น แต่ในข้ อกาหนดเกษตรอินทรี ย์มาตรฐานสากลกาหนดว่า ตังแต่ ้ ปี ค.ศ. 2005 ต้ องใช้ เมล็ดพันธุ์พืชที่ผลิตแบบเกษตรอินทรี ย์เท่านัน้ ดังนันจึ ้ งมีความจาเป็ นอย่างยิ่งที่หน่วยงานภาครัฐต้ องมีการเตรี ยม ความพร้ อมด้ านเมล็ดพันธุ์อินทรี ย์ ให้ ได้ เมล็ดพันธุ์ที่ปราศจากสารเคมี และเป็ นเมล็ดพันธุ์ที่มีคณ ุ ภาพการงอกสูง มีความตรง ตามพันธุ์ออกสู่ตลาดเมล็ดพันธุ์ จากแนวพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั (ศูนย์ฝึกอบรมเยาวชนเกษตรวัด ญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ , 2531) ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวราราม วรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ โดยนางทิพวรรณ สิทธิรังสรรค์ หัวหน้ ากลุม่ งานพัฒนาวิชาการ จึงได้ เริ่ มงานวิจยั และ พัฒนาพันธุ์ถวั่ ฝักยาวเขียวภายใต้ ระบบเกษตรธรรมชาติ ขึ ้นในปี พ.ศ. 2541 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ ได้ เมล็ดพันธุ์ถวั่ ฝักยาว เขียวเกษตรธรรมชาติที่ปลูกคัดเลือกในสภาพการเพาะปลูกแบบเกษตรธรรมชาติซงึ่ ไม่มีการใช้ ปยเคมี ุ๋ และสารเคมีเลย และเป็ น เมล็ดพันธุ์ดีที่เกษตรกรสามารถนาไปปลูกและเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ ใช้ ได้ เอง งานวิจยั นี ้ใช้ เ วลา 16 ปี (ปี พ.ศ. 2541-2557)จนได้ พันธุ์ใหม่ คือ ถัว่ ฝักยาวเขียว ศฝก. 2 และเนื่องจากองค์ประกอบของผลผลิตจะมีความสัมพันธ์กบั ผลผลิต ทังผลผลิ ้ ตฝักสดและ ผลผลิตเมล็ดพันธุ์ ดังนันเพื ้ ่อให้ มนั่ ใจได้ ว่าเมล็ดพันธุ์เกษตรธรรมชาติ ถัว่ ฝั กยาวเขียว ศฝก. 2 เป็ นพันธุ์ดีสามารถให้ ผลผลิตดี ทัง้ ผลผลิตฝั กสดและผลผลิตเมล็ดพันธุ์ จึง ได้ ศึกษาองค์ประกอบของผลผลิต โดยเปรี ยบเทียบกับพันธุ์มาตรฐานหรื อพันธุ์ การค้ า

วิธีการศึกษา

ระยะเวลาการศึกษาตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2541 - 2557 โดยรวบรวมพันธุ์ถวั่ ฝักยาวเขียวจากเกษตรกรที่ปลูกในท้ องถิ่น และ นามาปลูกโดยวิ ธี เกษตรธรรมชาติ ณ แปลงสาธิ ต -ทดลองเกษตรธรรมชาติข องศูนย์ ฝึกและพัฒนาอาชี พเกษตรกรรมวัด ญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ต.ห้ วยใหญ่ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี แล้ วสังเกตการเจริ ญเติบโต และ คัดเลือกต้ นที่มีลกั ษณะดังนี ้ คือ ต้ นแข็งแรง มีโรคแมลงน้ อย ฝักดก ฝักยาว สีเขียวสวย รสชาติดี โดยคัดเลือกพันธุ์แบบเก็บรวม (Bulk method) ปลูกคัดเลือกทุกๆ ปี โดยปลูกปี ละ 1-2 ครัง้ เป็ นเวลา 16 ปี และได้ พนั ธุ์ ศฝก. 2 ที่มีความคงตัวทางพันธุกรรมดี และสม่าเสมอ ต้ นมีความแข็งแรงต้ านทานโรคและแมลงดี ฝั กดก ฝั กสวย รสชาติดี จึงนาพันธุ์ดงั กล่าวปลูกทดสอบพันธุ์โดย เปรี ยบเทียบผลผลิตและลักษณะต่างๆกับพันธุ์การค้ า จานวน 9 พันธุ์ การปลูกทดสอบพันธุ์วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (CRD) จานวน 10 ซ ้า ปลูกทดสอบในระบบเกษตรธรรมชาติไม่ใช้ ปยุ๋ และไม่ใช้ สารเคมี ระหว่าง พฤษภาคม – สิงหาคม 2557 และเก็บข้ อมูลเปรี ยบเทียบ 9 ลักษณะ คือ 1) ความกว้ างใบ(ใบย่อย ส่วนปลาย) 2) ความยาว(ใบย่อยส่วนปลาย) 3) ตาแหน่งข้ อที่ดอกแรกบาน 4) ความยาวฝัก 5) ความกว้ างฝัก 6) ความหนา เนื ้อฝั ก 7) น ้าหนักฝั ก 8) จานวนฝั กต่อต้ น และ 9) ผลผลิตฝั กรับประทานสด วิเคราะห์หาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยลักษณะ ดังกล่าวของแต่ละพันธุ์โดยวิธี Duncan’s new multiple- range test สาหรับ 6 ลักษณะแรก แต่อีก 3 ลักษณะคือ น ้าหนักฝัก จานวนฝั กต่อต้ น และผลผลิตฝั กรับประทานสด วิเคราะห์ความแตกต่างโดยใช้ ค่าร้ อยละเปรี ยบเทียบกับค่าเฉลี่ยของพันธุ์ การค้ าจานวน 9 พันธุ์ สาหรับพันธุ์ ศฝก. 2 ยังได้ เก็บข้ อมูลด้ านเมล็ดพันธุ์ด้วย ได้ แก่ จานวนเมล็ดต่อฝั ก น ้าหนัก 100 เมล็ด (แห้ ง) และอัตราความงอกของเมล็ด

178

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ ผล จากการปลูกทดสอบพันธุ์ถวั่ ฝักยาวเขียว ศฝก.2 เปรี ยบเทียบกับพันธุ์การค้ าจานวน 9 พันธุ์ พบว่าแต่ละลักษณะมี ผลการศึกษา ดังTable1 และ Table 2 ซึง่ อธิบายได้ ดงั นี ้

Table 1 Average of leaf characters(terminal leaflet) and flower characters of 9 commercial cultivars compared with a new selected cultivar of green yard long bean ‘Sofogo2’ Varieties

Leaf width

Leaf length

No of node up to

(cm)

(cm)

first flowering

No. 1

11.8 b-e

17.9 a-c

4.9 ab

No. 2

11.1 de

18.7 a

7.6 a

No. 3

11.2 de

17.8 a-c

7.1 ab

No. 4

10.8 e

17.2 c

4.9 ab

No. 5

11.4 c-e

18.4 a-c

7.2 ab

No. 6

12.2 a-d

18.6 ab

6.9 ab

No. 7

12.8 ab

18.9 a

4.9 ab

No. 8

13.3 a

17.3 bc

7.2 ab

No. 9

12.8 ab

18.4 a-c

4.5 b

Sofogo 2

12.5 a-c

18.5 a-c

4.9 ab

Average

12.0

18.2

6.0

F-test

**

**

*

C.V.(%)

8.5

7.4

21.9

จากตารางที่ 1 พบว่า ความกว้ างใบ(ใบย่อยส่วนปลาย) : พันธุ์ ศฝก. 2 มีความกว้ างใบ(ใบย่อยส่วนปลาย) 12.5 ซม. ขณะที่ ค่าเฉลี่ยของทุกพันธุ์ คือ 12.0 ซม. ความยาวใบ(ใบย่อยส่วนปลาย) : พันธุ์ ศฝก. 2 มีความยาวใบ(ใบย่อยส่วนปลาย) 18.5 ซม. ขณะที่ค่าเฉลี่ยของทุกพันธุ์ คือ 18.2 ซม. ตาแหน่งที่ข้อดอกแรกบาน : พันธุ์ ศฝก. 2 มีตาแหน่งที่ข้อดอกแรกบานที่ข้อ 4.9. ขณะที่คา่ เฉลี่ยของทุกพันธุ์ คือ 6.0

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

179


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Average of pod characters of 9 commercial cultivars compared with a new selected cultivar of green yard long bean ‘Sofogo2’ Varieties

Pod length (cm)

pod width (cm)

Pericarp thickness (cm)

No. 1

42.2 c

0.84 a-d

1.4 b

No. 2

43.7 c

0.76 cd

1.4 b

No. 3

46.7 bc

0.75 d

1.1 b

No. 4

49.4 ab

0.82 a-d

1.0 b

No. 5

45.2 bc

0.80 b-d

1.0 b

No. 6

52.4 a

0.81 b-d

1.1 b

No. 7

42.7 c

0.90 ab

1.3 b

No. 8

45.8 bc

0.86 a-c

1.2 b

No. 9

41.8 c

0.83 a-d

1.4 b

Sofogo 2

50.2 ab

0.92 a

2.6 a

Average

46.0

0.83

1.35

F-test

**

**

*

C.V.(%)

9.5

9.6

21.9

จากตารางที่ 2 พบว่า ความยาวฝัก : พันธุ์ ศฝก. 2 มีความยาวฝัก 50.2 ซม. ขณะที่ค่าเฉลี่ยของทุกพันธุ์ คือ 46.0 ซม. และ ความยาวฝักของพันธุ์ ศฝก. 2 ยาวกว่าพันธุ์การค้ า No. 1, No. 2, No. 7 และ No. 9 อย่างมีนยั สาคัญยิ่ง ความกว้ างฝัก : พันธุ์ ศฝก. 2 มี ความกว้ างฝั ก 0.92 ซม. ขณะที่ค่าเฉลี่ยของทุกพันธุ์ คือ 0.83 ซม. และ ความกว้ างฝักของ พันธุ์ ศฝก. 2 กว้ างกว่าพันธุ์การค้ า No. 2, No. 3, No. 5 และ No. 6 อย่างมีนยั สาคัญยิ่ง ความหนาเนื ้อฝัก : พันธุ์ ศฝก. 2 มีความหนาเนื ้อ 2.6 ซม. ขณะที่ค่าเฉลี่ยของทุกพันธุ์ คือ 1.35 ซม. และ ความหนาเนื ้อของ พันธุ์ ศฝก. 2 หนากว่าพันธุ์การค้ าทุกพันธุ์อย่างมีนยั สาคัญยิ่ง

180

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Average of pod weight per pod, yield and no of pod per plant characters of 9 commercial cultivars compare with a new selected cultivar of green yard long bean ‘Sofogo2’ Varieties

pod weight

Yield per rai

no of pod per plant

per pod (g)

(kg)

No. 1

17

419.50

11.1

No. 2

17.5

184.40

4.75

No. 3

15

206.44

6.2

No. 4

18

293.77

7.3

No. 5

14

319.20

10.25

No. 6

20

412.77

9.3

No. 7

18.5

457.66

11.15

No. 8

19

373.80

8.85

No. 9

18

424.88

10.6

Sofogo 2

20

717.66

16.15

Average of 10 varieties

17.7

381.01

9.56

Average of 9 commercial varieties

17.4

343.60

8.83

14.94%

108.86%

82.89%

‘Sofogo2’ is higher than average of 9 commercial varieties

_____________________________________________________________________________________________________ จากตารางที่ 3 พบว่า น ้าหนักของฝักสดขนาดรับประทาน : พันธุ์ ศฝก. 2 มีน ้าหนักของฝักสดขนาดรับประทาน สูง คือ 20.0 กรัม/ฝัก ซึง่ สูงกว่าค่าเฉลี่ยของ 9 พันธุ์การค้ าที่นามาเปรี ยบเทียบถึง 14.94% สาหรับน ้าหนักของฝักสดขนาดรับประทานของ พันธุ์ ศฝก. 2 นัน้ ในปี 2550 ได้ ศกึ ษาค่าเฉลี่ยของน ้าหนักต่อฝักจากการเก็บตัวอย่าง 4 ซ ้า รวมทังสิ ้ ้น 2199 ฝักพบว่าค่าเฉลี่ย น ้าหนัก/ฝักของ ศฝก. 2 คือ 16.03 กรัม/ฝัก เมื่อเปรี ยบเทียบกับ ปี 2557 มีน ้าหนัก/ฝักเพิ่มขึ ้น คือ 20.0 กรัม/ฝัก ซึง่ แสดงว่า พันธุ์ ศฝก. 2 ได้ มีการพัฒนาที่ดีขึ ้น สาหรับผลผลิตฝักขนาดรับประทานสด : พันธุ์ ศฝก.2 สูงกว่าพันธุ์การค้ าทุกพันธุ์ คือ 717.66 กก./ไร่ ซึง่ สูงกว่าค่าเฉลี่ยพันธุ์การค้ า 130% ด้ านจานวนฝัก/ต้ น(ขนาดรับประทานสด) : พันธุ์ ศฝก.2 มี 16.15 ฝัก/ ต้ น ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยของพันธุ์การค้ า 82.89% และยังได้ เก็บข้ อมูลด้ านเมล็ดพันธุ์ของพันธุ์ ศฝก. 2 ด้ วย ได้ แก่ ศฝก.2 มี จานวนเมล็ดต่อฝักเฉลี่ย 14.18 เมล็ด/ฝัก น ้าหนัก 100 เมล็ด(แห้ ง)เฉลี่ย 20 กรัม และมีอตั ราความงอกของเมล็ด 95.5 % และ จากการสังเกตพบว่าในการปลูกแต่ละปี ที่ผ่านมา พันธุ์ ศฝก.2 มีความต้ านทานโรคและแมลงได้ ดี ดังนัน้ ถัว่ ฝั กยาวเขียวพันธุ์ ศฝก.2 จึงเป็ นพันธุ์ใหม่ที่ดี ที่ผ่านการปรับปรุ งพันธุ์ภายใต้ ระบบเกษตรธรรมชาติมายาวนานกว่า 10 ปี สอดคล้ องกับการ แก้ ปัญหาเรื่ องเมล็ดพันธุ์ตามมาตรฐานเกษตรอินทรี ย์ ซึ่งจากรายงานของ ภาณี ทองพานัก (2551) ได้ รายงานว่า ข้ อกาหนด เกษตรอินทรี ย์มาตรฐานสากลกาหนดว่า ปี ค.ศ.2005 ต้ องใช้ เมล็ดพันธุ์พืชที่ผลิตแบบเกษตรอินทรี ย์เท่านัน้ ดังนัน้ พันธุ์ ศฝก. 2 จึงเป็ นที่ใช้ เพาะปลูกตามมาตรฐานของเกษตรอินทรี ย์ และเกษตรธรรมชาติได้

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

181


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Character of plant new selected cultivar of green yard long bean ‘Sofogo2’

Figure 2 Character of plant new selected cultivar of green yard long bean ‘Sofogo2’

สรุ ปผลการทดลอง ถัว่ ฝักยาวเขียวพันธุ์ ศฝก.2 มีลกั ษณะบางอย่างดีกว่าพันธุ์การค้ าที่นามาเปรี ยบเทียบ จึงเป็ นถัว่ ฝักยาวเขียวพันธุ์ใหม่ ที่น่าสนใจสาหรับการเพาะปลูก จากการศึกษาวิจยั ในครัง้ นี ้ได้ เมล็ดพันธุ์ถวั่ ฝักยาวเขียวเกษตรธรรมชาติที่เป็ นพันธุ์ดี และเป็ น เมล็ดพันธุ์ที่เกษตรกรสามารถนาไปปลูกและเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ ใช้ ได้ เอง ขณะนีก้ าลังอยู่ระหว่างการเตรี ยมข้ อมูลเพื่อขอจด ทะเบียนพันธุ์ตอ่ ไป

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณคณะผู้บริ หารของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก พระราชดาริทกุ ท่านที่มอบภารกิจที่สาคัญให้ ปฏิบตั ิและสนับสนุนในการปฏิบตั ิงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ดร.กล้ า สมตระกูล ดร. มาริสา โกเศยะโยธิน และ ผู้อานวยการกิ่งทอง ชุ้นสามพราน ขอขอบคุณ ผศ.ดร.จานุลกั ษณ์ ขนบดี มหาวิทยาลัยราชมงคลล้ านนาที่ได้ เป็ นที่ปรึกษาและให้ คาแนะนาในการวิจยั ขอขอบคุณเจ้ าหน้ าที่ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ และผู้เกี่ยวข้ องทุกฝ่ าย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นางทิพย์ สว่า งทุกข์ และนายสมบูรณ์ สว่างทุกข์ เจ้ าหน้ าที่แปลงเกษตร ที่ได้ ช่วยงานในด้ านแปลงและการเพาะปลูก

เอกสารอ้ างอิง กรมวิชาการเกษตร. 2558 ,http://it.doa.go.th/pibai/pibai/n15/v_5-june/korkui.html สิงหาคม 2558 กมล เลิศรัตน์. 2556. การสร้ างความมัน่ คงด้ านอาหารด้ วยนวัตกรรมด้ านการเกษตรและอาหารเพื่อสุขภาพ: เส้ นทางสู่การเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันและความอยู่เย็นเป็ นสุขของสังคมไทยอย่างยัง่ ยืน. วารสารแก่นเกษตร ปี ที่ 41: หน้ า 1- 6 นัฐวุฒิ ไผ่ผาด สมจิตต์ สุพรรณทัสน์ และ ธีรพัฒน์ สุทธิประภา. 2557. ผลจากการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ ปลูกข้ าวต่อสุขภาพและ สิ่งแวดล้ อม อาเภอร่องคา จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารแก่นเกษตร ปี ที่ 42(3): หน้ า 301-310.

182

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า ภาณี ทองพานัก. 2551. ระบบการเตรียมเมล็ดพันธุ์สาหรับเกษตรอินทรีย์. ฝ่ ายปฏิบตั ิการวิจยั และเรื อนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจยั และพัฒนา แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . http://www.rdi.ku.ac.th/bk/13/index13.htm , 20 เมษายน 2551. ประชุมเชิงวิชาการเพื่อเตือนภัยสารเคมีกาจัดศัตรู พืช ประจาปี 2558 ของเครื อข่ายเตือนภัยสารเคมีกาจัดศัตรู พืช (Thai-PAN)มูลนิธิชีววิถีและ สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริ มสุขภาพ(สสส.) http://thaipublica.org/2015/03/veget-chemical/) ค้ นเมื่อ สิงหาคม 2558. ฝ่ ายพันธุ์พืช. 2558, สานักควบคุมพืชและวัสดุเกษตร กรมวิชาการเกษตร อัพเดทข้ อมูล 7 พฤษภาคม 2558 รัตนา สันทัดพานิชใ 2530. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมบางลักษณะในถั่วฝั กยาว วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ วันชัย จันทร์ ประเสริ ฐ. 2543. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. ศูนย์ฝึกอบรมเยาวชนเกษตรวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ . 2531. แนวทางการปฏิบตั ิงานตามพระราชกระแสรับสัง่ พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั . เมื่อวันที่ 28 มิถนุ ายน 2531 ณ ศูนย์ฝึกอบรมเยาวชนเกษตร วัดญาณสังวราราม วรมหาวิหาร อัน เนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 4 หน้ า. (โรเนียว) ศูนย์สารสนเทศชุมชน มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี http://202.28.48.140/isaninfo/?p=203 สิงหาคม 2558

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

183


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประเมินสัณฐานวิทยาของผลแตงไทยเพื่อใช้ ประโยชน์ ในการเป็ นเชือ้ พันธุกรรม Evaluation of Thai Melon Morphology for Germplasm Utilization ภวัตร นาควิไล1 ปณาลี ภู่วรกุลชัย2 วชิรญา อิ่มสบาย2 และอัญมณี อาวุชานนท์ 2 Pawat Nakwilai Panalee Pooworakulchai Wachiraya Imsabai and Anyamanee Auvuchanon

บทคัดย่ อ การศึกษาแตงไทย 26 ตัวอย่าง ที่รวบรวมจากแปลงเกษตรกรในจังหวัด พิษณุโลก อุตรดิตถ์ สุพรรณบุรี สมุทรสาคร จานวน 15 ตัวอย่าง พันธุ์การค้ าของไทย 10 พันธุ์ และพันธุ์พื ้นเมืองจากประเทศพม่า 1 ตัวอย่าง ปลูกระหว่าง เดือนมกราคม เมษายน 2558 ในพื ้นที่อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม พบว่า ทุกตัวอย่างมีความแปรปรวนของลักษณะสัณฐานวิทยาของ ผล จากการบันทึกข้ อมูลแตงไทยจานวน 105 ต้ นที่ให้ ผลผลิตได้ สามารถแบ่งลักษณะทรงผล 5 ชนิด ได้ แก่ ผลกลมกึ่งแบน ผล กลม ผลกลมกึ่งยาว ผลยาว ผลยาวปลายผลแหลม ผิวผล 4 ชนิด ประกอบด้ วย ผิวเรี ยบ ผิวลายนูน ผิวลายร่องตื ้น ผิวร่องลึก ลักษณะลายผล 4 ชนิดคือ ผลไม่มีลาย ลายหินอ่อน (ลายข้ าวตอก) ลายยาวขนานตามผล ลายตาข่าย สีผิวได้ แก่ สีขาว สี เหลือง สีส้ม สีเขียว สีเนื ้อได้ แก่ สีขาว สีครี ม สีส้ม สีเขียว สีเหลืองเขียว สีส้มเขียว และสีไส้ คือ สีขาว สีเหลือง สีส้ม แตงไทยทุก ตัวอย่าง ทนทานต่อไวรัสและราน ้าค้ างได้ ดี พบความสัมพันธ์ ของลักษณะผิวผลและลายผล (r=0.835**) แตงไทยที่มีเนื ้อผล เป็ นเนื ้อทรายมีโอกาสผลแตกในแปลงก่อนสุกแก่สงู (r=0.860**) เมื่อวิเคราะห์ Principal component analysis และ Cluster analysis บนพื ้นฐาน correlation สามารถแยกกลุ่มแตงไทยได้ 5 กลุ่ม โดยแตงไทยจากประเทศพม่ามีความแตกต่างจาก แตงไทยของไทย เนื่องจากแตงไทยพันธุ์พื ้นเมือง และพันธุ์การค้ าทั ง้ พันธุ์ลกู ผสมและพันธุ์ผสมเปิ ด ยังคงมีความแปรปรวนสูง และขาดความสม่าเสมอในสายพันธุ์ จึงยังมีความต้ องการพัฒนาพันธุ์แตงไทยให้ มีคณ ุ ภาพดีเพื่อผลิตเป็ นพันธุ์การค้ าต่อไป คาสาคัญ: แตงไทย, ทรงผลแตง, สีเนื ้อผล

Abstract From twenty six Thai melon accessions, there were 15 accessions collected from farmer field at Phisanulok, Uttaradit, Suphanburi, Samut Sakhon, 10 commercial varieties and one accession from Myanmar. All accessions were grown from January to April, 2015 at Kamphaeng Saen, Nakhon Pathom. There was variation in morphology for all accessions. From 105 plants that can be produced, Thai melon morphologies were classified in fruit type (round-flat, round, round-semi long, long, and long-oval tip), skin (smooth, non-smooth, shallow depth of grooves, deep depth of grooves), skin pattern (absence pattern, marbled (koatok), striped, and net), skin color (white, yellow, orange, green), flesh color (white, cream, orange, green, yellow green, orange green) and placenta color (white, yellow, orange). All Thai melon accessions were tolerant to virus and Downy mildew. There were correlations between skin type and skin texture (r=0.835**). Most of Thai melons with soft fresh texture broke before maturity (r=0.860**). From principal component analysis and cluster analysis based on correlation, 105 Thai melon plants were clustered into 5 groups and Thai melons from Myanmar were separated from others. Because of the morphological variation within accessions both landrace and commercial cultivars (open pollinated and F1 hybrid cultivars), Thai melon is needed to be improved for new commercial cultivars. Keywords: Cucumis melo, fruit shape, flesh color

1 2

สาขาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 184

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา แตงไทย (Thai melon) มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Cucumis melo L. var. conomon เป็ นพืชในวงศ์ Cucurbitaceae (Nath, 1976) มีจานวนโครมโมโซม 2n=2x=24 เป็ นพืชผสมข้ าม(จานุลกั ษณ์ , 2541) C. melo L. เป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญ ชนิดหนึง่ โดยมีถิ่นกาเนิดจากแอฟริ กาและมีการกระจายตัวไปทัว่ โลก (Pitrat et al., 2000) ความหลากหลายทางพันธุกรรมของ สายพันธุ์เป็ นอย่างมาก ทังในด้ ้ านทรงผล ผิวผล ลายผล สีผล สีเนื ้อ สีไส้ เป็ นต้ น การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของ แตงกลุม่ C. melo ดังรายงานของ Antonio Jos´et al (2005) พบว่าเครื่ องหมาย microsatellite สามารถจัดกลุม่ C. melo แต่ ละ subspecies ได้ คือ C. melo ssp. melo และ C. melo ssp. agrestis และพบว่า C. trigonus, C. callosus และ C. pubescens ถูกจัดอยู่ในกลุม่ ของ C. melo ssp. agrestis นอกจากนี ้ยังพบความสัมพันธ์ของค่า heterosis ระหว่างรูปทรงผล และความยาวผล (r=0.81*) แตงไทยเป็ นพืชเมืองร้ อนปลูกในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงทาให้ แตงไทยปรับตัวเข้ ากับ สภาพร้ อนชื ้นในประเทศไทยได้ ดี แล้ วยังมีความทนทานต่อการเข้ าทาลายของโรคและแมลงโดยเฉพาะความทนทานต่อโรครา น ้าค้ างและไวรัสค่อนข้ างสูงเมื่อเทียบกับพืชในกลุม่ แตงเศรษฐกิจอื่นๆ (Suthivanish, 1961). แตงไทยสามารถให้ ผลผลิตได้ 1-4 ผลต่อต้ น ขึ ้นกับสายพันธุ์ แต่ปัญหาหลักของคุณภาพผลแตงไทยคือผลแตกง่าย และรสชาติจืด ไม่เป็ นที่นิยม แม้ ว่าคนไทยจะ รู้ จกั แตงไทยมานาน แต่มีแตงไทยพันธุ์การค้ าน้ อยมาก อีกทังผลผลิ ้ ตที่ได้ ยังมีคณ ุ ภาพด้ านการบริ โภคที่ยงั ไม่เป็ นที่ยอมรับที่ ชัดเจนนัก การปรับปรุ งพันธุ์แตงไทยจึงเป็ นแนวทางหนึ่งในการแก้ ปัญหาการผลิตแตงไทยเพื่อให้ ได้ แตงไทยที่มีรสชาติเป็ นที่ นิยมของผู้บริ โภค ดังนัน้ จึงทาการรวบรวมพันธุ์และทดสอบพันธุ์แตงไทย ให้ ออกดอกและเก็บเกี่ยวผลผลิตในช่วงฤดูร้อนเพื่อ เป็ นข้ อมูลเบื ้องต้ นที่นาไปประยุกต์ใช้ ในการปรับปรุงพันธุ์แตงไทยต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ ศึกษาแตงไทย 26 ตัวอย่าง (accession) ประกอบด้ วยแตงไทยที่รวบรวมจากแปลงเกษตรกร จานวน 15 พันธุ์ จาก จังหวัด พิษณุโลก (TM1 TM2 TM3 TM4 TM5 TM6) อุตรดิตถ์ (TM7 TM8) สุพรรณบุรี (TM9) สมุทรสาคร (TM11 TM12 TM13 TM14 TM15 TM16) แตงไทยพันธุ์การค้ าของไทย 10 พันธุ์ (TM17 TM18 TM19 TM20 TM21 TM22 TM23 TM24 TM25 TM26) และพันธุ์พื ้นเมืองจากประเทศพม่า 1 พันธุ์ (TM10) ทาการปลูก ระหว่าง เดือนมกราคม – เดือน เมษายน 2558 ในพื ้นที่อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม โดยปลูกพันธุ์ละ 5 ต้ น ระยะระหว่างแถว 2 เมตร ระยะห่างระหว่างต้ น 1 เมตร สุม่ เก็บตัวอย่างต้ นละ 3 ผล ดัชนีการเก็บเกี่ยวผลผลิตคือขัวผลแยกหรื ้ อหลุดออกจากผล สีผิวผลเปลี่ยนสี ผิวผลขึ ้นลาย จากนัน้ บันทึกข้ อมูลในลักษณะทรงผล ผิวผล ลายผล สีผล สีเนือ้ สีไส้ ลักษณะเนื ้อทราย การแตกของผล แล้ วนาข้ อมูลมาวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ ของคุณภาพแตงไทยด้ วยการหา Simple Correlation Coefficient จากนันจั ้ ดกลุ่มพันธุ์ของแตงไทย และหา ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของแตงไทยโดยวิธี Principal component analysis และจัดกลุม่ แตงไทยตามลักษณะสัณฐาน วิทยาด้ วยการวิเคราะห์ Cluster analysis บนพื ้นฐานของ correlation matrix ด้ วยโปรแกรมสาเร็จรูป PAST PAleontological STatistics version 3.08 http://folk.uio.no/ohammer/past/ (Hammer, 1999)

ผลการทดลองและวิจารณ์ เมื่อปลูกแตงไทยทังหมด ้ 26 ตัวอย่าง พบว่า แตงไทยมีระยะเวลาการออกดอกเฉลี่ย 6 สัปดาห์หลังย้ ายกล้ า และ แตงไทยส่ ว นใหญ่ มี อ อกดอกและติ ด ผลที่ ดี ม ากในช่ ว งเดื อ นมี น าคม ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากช่ ว งแสงกลางวัน ที่ ย าวนานขึ น้ นอกจากนัน้ ยังพบว่า แตงไทยทุกตัวอย่างมีความแปรปรวนของลักษณะสัณฐานวิทยาของผล กล่าวคือ ทังพั ้ นธุ์พืน้ เมืองที่ รวบรวมและพันธุ์การค้ าแต่ละพันธุ์มีการกระจายตัวของทุกลักษณะสัณฐานวิทยาที่ ทาการประเมิน ดังนัน้ จึงบันทึกข้ อมูล แตงไทยจานวน 105 ต้ นที่ให้ ผลผลิตได้ เนื่องจากความหลากหลายภายในสายพันธุ์ทาให้ แตงไทยที่วางจาหน่ายโดยทัว่ ไป มี ความแปรปรวนของทัง้ ทรงผล สีผิว ลายผิว สีเนื ้อ อย่างไรก็ตาม ในการศึกษาครัง้ นี ้ ได้ ศกึ ษาลักษณะสัณฐานวิทยาเบื ้องต้ นใน ส่วนของ ทรงผล ผิวผล ลายผล สีเนื ้อ สีไส้ โดยสามารถแบ่งลักษณะทรงผลได้ 5 ชนิด ได้ แก่ ผลกลมกึ่งแบน ผลกลม ผลกลมกึ่ง ยาว ผลยาว ผลยาวปลายผลแหลม ผิวผล 4 ชนิด ประกอบด้ วย ผิวเรี ยบ ผิวลายนูน ผิวลายร่ องตื ้น ผิวร่ องลึก (Figure 1) ลักษณะลายผล 4 ชนิดคือ ผลไม่มีลาย ลายหินอ่อน (ลายข้ าวตอก) ลายยาวขนานตามผล ลายตาข่าย สีผิวได้ แก่ สีขาว สี เหลือง สีส้ม สีเขียว (Figure 2) สีเนื ้อได้ แก่ สีขาว สีครี ม สีส้ม สีเขียว สีเหลืองเขียว สีส้มเขียว และสีไส้ คือ สีขาว สีเหลือง สีส้ม แตงไทยทัง้ 26 ตัวอย่างสามารถทนทานต่อไวรั สและรานา้ ค้ างได้ ดี พบความสัมพันธ์ ของลักษณะผิวผลและลายผล (r=0.835**) แตงไทยที่มีเนื ้อผลเป็ นเนื ้อทรายมีโอกาสผลแตกในแปลงก่อนสุกแก่สงู (r=0.860**) แตงไทยที่มาจากสมุทรสาคร การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

185


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เป็ นแตงไทยเนื ้อทรายและผลแตกก่อนระยะเก็บเกี่ยว อันส่งผลเนื่องมาจากสภาพอากาศที่ร้อนจัด สลับกับฝนตกในช่วงการเก็บ เกี่ยว โดยการแตกของผลแตงไทยเกิดขึ ้นเมื่อแตงไทยเริ่ มเปลี่ยนสีผิวจากผิวสีเขียวไปเป็ นเหลืองเข้ มจนเกือบน ้าตาล ในขณะที่ แตงไทยมีสีผิวผลในระยะบริ โภคเป็ นสีเหลือง

Long

Long-oval tip

Smooth

Non-smooth

Round

Round-flat

Shallow depth of groove

Round-semi long

deep depth of groove

Figure 1 Fruit type and skin type of Thai melon

186

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Absence pattern

White

Marbled (koatok)

Yellow

Striped

Net

Orange

Green

Figure 2 Skin pattern and skin color of Thai melon เมื่อวิเคราะห์ Principal component analysis (PCA) และ Cluster analysis บนพื ้นฐาน correlation นัน้ พบว่า การ วิเคราะห์ PCA จากข้ อมูลลักษณะที่ทาการประเมินเป็ นตัวแปรที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ทงหมด ั้ (total variability) คือ 58.82 โดย Principal component 1 (PC1) อธิบายได้ 32.96 เปอร์ เซ็นต์ โดยได้ รับอิทธิพลจากลักษณะสีเนื ้อ ลักษณะเนื ้อ ทรายและผลแตก เป็ นหลัก และ PC2 อธิบายได้ 25.86 เปอร์ เซ็นต์ ด้ วยลักษณะผิวผลและลายผล จากการประมวลผลการ ประเมินด้ วยการวิเคราะห์ ทัง้ PCA และ cluster analysis สามารถแยกกลุม่ แตงไทยได้ 5 กลุม่ กลุม่ ที่ 1 ประกอบด้ วยแตงไทย จานวน 29 ตัวอย่าง แตงไทยในกลุ่มนี ้ ส่วนใหญ่เป็ นผลยาวเป็ นตัวอย่างที่เก็บรวบรวมมาจากจังหวัดสมุ ทรสงครามและพันธุ์ การค้ า นอกจากนี ้ ยังเป็ นกลุม่ แตงไทยที่เป็ นเนื ้อทรายและผลแตกง่าย กลุม่ ที่ 2 ประกอบด้ วยแตงไทยจานวน 7 ตัวอย่าง เป็ น กลุม่ แตงไทยผลกลม กลุม่ ที่ 3 มีแตงไทยจานวน 24 ตัวอย่าง ซึง่ เป็ นแตงไทยผลรี ทงพั ั ้ นธุ์พื ้นเมืองและพันธุ์การค้ า แต่ผลไม่แตก ก่อนการเก็บเกี่ยว กลุม่ ที่ 4 เป็ นกลุ่มที่ใหญ่ที่สดุ ประกอบด้ วยแตงไทย 32 ตัวอย่าง ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นแตงไทยพื ้นเมือง ยกเว้ น แตงไทยจากจังหวัดสมุทรสาคร ส่วนกลุม่ ที่ 5 พบว่ามีแตงไทยจากพม่าถูกจัดกลุม่ อยูใ่ นกลุม่ นี ้ แตงไทยจากประเทศพม่ามีความ แตกต่างจากแตงไทยของไทยอย่างชัดเจน เนื่องจากมีทรงผลกลม เปลือกลายตาข่าย สีผลเขียวเข้ ม แต่ไม่มีกลิ่น การศึกษาครัง้ นี ้พบว่า แตงไทยที่มีอยู่ในไทย ยังมีต้องการการปรับปรุงพันธุ์อย่างมาก เนื่องจากแตงไทยในท้ องตลาดส่วนใหญ่เป็ นแตงไทยที่ เกษตรกรเก็บเมล็ดไว้ ใช้ เอง ความสม่าเสมอของพันธุ์ยงั มีน้อย รวมถึงแตงไทยพันธุ์การค้ าบางสายพันธุ์ที่ขายอยู่ในปั จจุบนั ยัง ไม่ความสม่าเสมอนัก และยังมีการติดผลน้ อยกว่าพันธุ์พื ้นเมือง แต่คณ ุ สมบัติดีเด่นอย่างหนึ่งของแตงไทย คือความสามารถใน การทนทานต่อโรคได้ ดีกว่าเมลอนพันธุ์การค้ าที่ปลูกในประเทศไทย ดังนัน้ หากนักปรับปรุงพันธุ์ต้องการปรับปรุงพันธุ์แตงไทย เพื่อพัฒนาเป็ นพันธุ์การค้ า จากประเมินพันธุ์แตงไทยครัง้ นี ้ได้ สามารถคัดเลือกแตงไทยเพื่อใช้ ในการปรับปรุงพันธุ์ได้ 2 แนวทาง คือ (1) แตงไทยพื ้นเมืองที่สามารถนามาเป็ นเชื ้อพันธุกรรมในการปรับปรุงพันธุ์แตงไทย และ (2) แตงไทยเพื่อใช้ ผสมข้ ามกับเม ลอน เพื่อถ่ายทอดลักษณะต้ านทานโรค ซึง่ แตงไทยที่ถกู คัดเลือกไว้ คือ cluster group ที่ 4 เนื่องจากมีทรงผล สีเนื ้อ สีเปลือกที่ หลากหลาย อีกทังยั ้ งไม่ปัญหาเรื่ องผลแตกและติดผลได้ ดีในช่วงฤดูร้อน ส่วนอีกกลุม่ คือแตงไทยที่รวบรวมมาจากประเทศพม่า เนื่องจากแตงไทยตัวอย่างนี ม้ ีรูปทรงที่คล้ ายคลึงเมลอน แม้ ลกั ษณะใบและต้ น คล้ ายแตงไทยของไทย มีความทนทานต่อโรค และแมลงสูง มีอายุการออกดอกสัน้ ติดผลได้ ดีในช่วงฤดูร้อนของไทยเช่นกัน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

187


PC1 (32.96 %)

วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

PC2 (25.86 %)

Figure 3 Principal component analysis based on correlation matrix with eight variables Group 1

Group 2

Group 3

Group 4

Group 5

Figure 4 Cluster analysis of 105 Thai melon plants based on correlation matrix of eight variables

188

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ป จากการศึกษาครัง้ นี ้ แตงไทยพันธุ์พื ้นเมือง และพันธุ์การค้ าทังพั ้ นธุ์ลกู ผสมและพันธุ์ผสมเปิ ด ยังคงมีความแปรปรวน สูงและขาดความสม่าเสมอในสายพันธุ์ ซึ่งต้ องการพัฒนาพันธุ์แตงไทยให้ มีคุณภาพดีเพื่อผลิตเป็ นพันธุ์การค้ า และคัดเลือก แตงไทยพื ้นเมืองจากจังหวัดอุตรดิตถ์ พิษณุโลก และแตงไทยที่รวบรวมจากประเทศพม่า มาใช้ ในการเป็ นเชื ้อพันธุกรรมในการ ปรับปรุงพันธุ์แตงไทยและเมลอนต่อไป

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ ส านัก งานคณะกรรมการนโยบายวิ ท ยาศาสตร์ เ ทคโนโลยี แ ละนวัต กรรมแห่ ง ชาติ (สวทน) กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ภายใต้ โครงการโครงการพัฒนาศักยภาพของนิสติ /นักศึกษาเพื่อเสริ มสร้ างทักษะด้ านการ ปรับปรุงพันธุ์พืช ที่ให้ ทนุ สนับสนุนการวิจยั ครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง Antonio Jos´e,M. Eduardo Iban, Abad Silvia & Ar´us Pere. 2005. Inheritance mode of fruit traits in melon: Heterosis for fruit shape and its correlation with genetic distance. Euphytica. 144: 31–38 Hammer, Ø. 1999. PAST PAleontological STatistics Version 3.08 Reference manual Natural History Museum University of Oslo. Pitrat, M., P. Hanelt and K. Hammer, 2000. Some comments on intraspecific classification of cultivars of melon. Acta Hortic 510: 29– 36. Sulhivanish, J. 1961. Growing muskmelon at Kasetsan University. Agricultural News, 3: 27-29.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

189


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลกระทบของการผสมสลับพ่ อแม่ ต่อคุณภาพผลในลูกผสมฝรั่ง Reciprocal Crosses Affecting Fruit Qualities in Guava Progeny วรพล ลากุล1 และอุณารุ จ บุญประกอบ1 Worapol Lakul1and Unaroj Boonprakob1

บทคัดย่ อ การเลือกพ่อแม่เพื่อใช้ ในการผสมพันธุ์เป็ นเรื่ องสาคัญของการปรั บปรุงพันธุ์พืช ถ้ าการใช้ พนั ธุ์เป็ นพ่อหรื อแม่ให้ ผลที่ แตกต่างต่อลูกผสมก็ควรมีข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจ ฝรั่งเป็ นผลไม้ ที่มีคณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง การเลือกใช้ พ่อแม่พนั ธุ์ใน การผสมพันธุ์เพื่อพัฒนาสายพันธุ์ใหม่ให้ มีคณ ุ ภาพที่ดียิ่งขึ ้น จึงเป็ นเป้าหมายของการปรับปรุ งพันธุ์ การทดลองนี ้มีวตั ถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบผลของการทาการผสมสลับพ่อและแม่พนั ธุ์ต่อคุณภาพผลและคุณค่าทางโภชนาการ ทาการผสมสลับพ่อและแม่ พันธุ์จานวน 4 คู่ผสม ได้ แก่ “หวานพิรุณ” x D10, D10 x “หวานพิรุณ”, “แดงสยาม” x D23 และ D23 x “แดงสยาม” ประเมิน ต้ นลูกผสมฝรั่งในแปลงทดสอบลูกผสมระยะชิด ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เก็บและ วิเคราะห์คุณภาพผลช่วง ตุลาคม พ.ศ. 2557 ถึงมีนาคม พ.ศ. 2558 พบว่าลูกผสมสลับระหว่าง “หวานพิรุณ” และ D10 มี น ้าหนักผล ความหนาเนื ้อ ความแน่นเนื ้อ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ปริ มาณกรดที่ไตเตรทได้ ปริ มาณวิตามินซี สารต้ าน อนุมลู อิสระ ปริ มาณฟี นอลิกทังหมดและปริ ้ มาณเส้ นใยอาหารไม่แตกต่างกันทางสถิติ และลูกผสมสลับระหว่าง “แดงสยาม” และ D23 มี น ้าหนักผล ความแน่นเนื ้อ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ปริ มาณกรดที่ไตเตรทได้ ปริ มาณฟี นอลิกทังหมดและ ้ ปริ มาณเส้ นใยอาหารไม่แตกต่างกันทางสถิติ แต่พบว่าความหนาเนื อ้ ปริ มาณวิตามินซี และสารต้ านอนุมูลอิสระมีความ แตกต่างกันทางสถิติ สรุ ปได้ ว่าการผสมสลับพ่อแม่มีผลต่อความแตกต่างในด้ านคุณภาพผลของลูกผสมฝรั่งน้ อยมาก ดังนัน้ สามารถเลือกใช้ พนั ธุ์ฝรั่งเป็ นพ่อหรื อแม่พนั ธุ์ ได้ โดยพิจารณาจากปั จจัยอื่นๆ ประกอบ เช่น ความสามารถในการสร้ างตาดอก และติดผลของพันธุ์ฝรั่ง คาสาคัญ: การปรับปรุงพันธุ์, Psidium guajava, คุณค่าทางโภชนาการ, กิจกรรมสารต้ านอนุมลู อิสระ Abstract The parent selection in a plant breeding is very an important for developing new cultivars. Using a cultivar either as male parent or female parent resulted in hybrids with different phenotypic performance would be useful information. Guava was a high nutritional fruit; thus, breeding for higher quantities was a goal. The objective was to determine an effect of the reciprocal crosses to fruit qualities and nutritional value. Four reciprocal crosses: “Wan Pirun” x D10, D10 x “Wan Pirun”, “Daeng Siam” x D23 and D23 x “Daeng Siam” were used. The hybrids were evaluated in a high density testing plot, Department of Horticulture; Faculty of Agriculture at KamphaengSaen, Kasetsart University, between October 2014 to March 2015. The results showed that the reciprocal crosses between “Wan Pirun” and D10 were not significant difference for all fruit quality traits. The reciprocal crosses between “Daeng Siam” and D23 were not significant difference in fresh weight, fresh firmness, total soluble solids (TSS), titratable acidity (TA), total phenolics and dietary fiber, except for fresh thickness, ascorbic acid content and antioxidant activity. In summary, the reciprocal crosses showed very little effects on fruit qualities in the guava progeny. It is proposed that using a guava cultivar as a male or female parent should be based on other factors such as the ability to form flower buds and to fruits set. Keywords: breeding, Psidium guajava, nutritional value, antioxidant activity 1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 Dept. of Horticulture, Fac. of Agriculture at KamphaengSaen, Kasetsart University, KamphaengSaen Campus, NakhonPathom 73140, Thailand

1

190

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา การผสมพันธุ์เพื่อสร้ างลูกผสมพันธุ์ใหม่ เป็ นขันตอนที ้ ่สาคัญของการปรับปรุงพันธุ์พืชที่ควรพิจารณาอย่างรอบคอบ เนื่องจากความสามารถในการถ่ายทอดลักษณะไปยังลูกผสม อาจมีอิทธิพลจากพ่อหรื อแม่พนั ธุ์เป็ นการเฉพาะ (Maternal or paternal inheritance) ซึง่ ทาให้ เกิดความแตกต่างขึ ้นได้ ในลูกผสมที่เกิดจากการผสมสลับพ่อและแม่พนั ธุ์ ฝรั่ง (Psidium guajava) เป็ นผลไม้ ที่อดุ มไปด้ วยวิตามินและแร่ธาตุหลายชนิด โดยจัดเป็ นผลไม้ ที่มีวิตามินซีและเส้ นใยอาหารสูงชนิดหนึง่ โดย วิตามินซีเป็ นสารที่มีฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระ ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งและช่วยทาให้ ผิวพรรณดีขึ ้นได้ (Anonymous, 2015) การพัฒนาสายพันธุ์ฝรั่งให้ มีคณ ุ ภาพผลและคุณค่าทางโภชนาการสูง จะสามารถลดโอกาสในการเกิดโรคต่างๆ ให้ แก่ ผู้บริโภคได้ ดังนันเพื ้ ่อเป็ นแนวทางในการปรับปรุงพันธุ์ฝรั่ง จึงทาการศึกษาผลของการผสมสลับพ่อและแม่พนั ธุ์ (Reciprocal crosses) ว่ามีผลทาให้ คณ ุ ภาพผลและคุณค่าทางโภชนาการในลูกผสมมีความแตกต่างกันหรื อไม่ เพื่อเป็ นข้ อมูลในการ ตัดสินใจเลือกใช้ พอ่ และแม่พนั ธุ์ในการผสมพันธุ์เพื่อพัฒนาพันธุ์ฝรั่งต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ การเก็บตัวอย่างผลฝรั่ง ใช้ ตวั อย่างผลฝรั่งในระยะแก่บริ บรู ณ์หรื อเมื่อผลฝรั่งมีอายุประมาณ 14-15 สัปดาห์หลังดอกบาน (สุพรรณิกา และ คณะ, 2554) จานวน 4 คู่ผสม ได้ แก่ “หวานพิรุณ” x D10, D10 x “หวานพิรุณ”, “แดงสยาม” x D23 และ D23 x “แดงสยาม” จานวน 10 ต้ นต่อคูผ่ สม ต้ นละ 3-5 ผล และนามาวิเคราะห์คณ ุ ภาพผลและคุณค่าทางโภชนาการทาการเก็บตัวอย่าง และ วิเคราะห์ตวั อย่าง ระหว่างเดือนตุลาคม 2557 ถึง มีนาคม 2558 ณ แปลงทดสอบลูกผสมระยะชิด (0.5 x 4.0 ม.) และ ห้ องปฏิบตั ิการปรับปรุงพันธุ์พืชและเทคโนโลยีชีวภาพ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ. นครปฐม การประเมินคุณภาพ ชัง่ น ้าหนักผล (fruit weight: FRW) ด้ วยเครื่ อง SK-5001 (A and D Weighting, Japan) วัดความหนาเนื ้อ (fresh thickness: FRT) ด้ วยเครื่ อง vernier caliper (รุ่น Digital caliper 150 mm (6”), Oudi, Japan) วัดความแน่นเนื ้อ (fresh firmness; FRF) ด้ วยเครื่ องวัดความแน่นเนื ้อรุ่น FHR-1 (Takemura, Japan) โดยใช้ หวั วัดขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร วัดปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ (total soluble solid: TSS) ด้ วยเครื่ อง Pocket Refractometer รุ่น PAL-1 (Atago, Japan) วัดปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ (titratable acidity: TA) โดยการไทเทรตด้ วยสารละลายมาตรฐาน NaOH ความ เข้ มข้ น 0.1 N มี 1% phenolphthalein เป็ น indicator การวิเคราะห์คณ ุ ค่าทางโภชนาการ วิเคราะห์กิจกรรมสารต้ านอนุมลู อิสระ (antioxidant activity: AOA) ด้ วยวิธี Ferric-reducing antioxidant power (FRAP) assay (Berzie and Strain, 1996) ดัดแปลงโดย Thaipong et al. (2006) เตรี ยมกราฟมาตรฐานโดยใช้ ascorbic acid วิเคราะห์ปริมาณฟี นอลิกทังหมด ้ (total phenolics content: TPH) ด้ วยวิธี Folin – Ciocalteu method (Swain and Hillis, 1959) ดัดแปลงโดย Thaipong et al. (2006) ปริมาณฟี นอลิกทังหมดถู ้ กเทียบกับกราฟมาตรฐานของ gallic acid วิเคราะห์ปริมาณวิตามินซี (ascorbic acid content: AA) ด้ วยวิธี 2,6 dichlorophenolindophenol titration method (A.O.A.C, 1990) โดยนาเนื ้อฝรั่ง 3 กรัม ปั่ นรวมกับสารละลายที่มี 3% oxalic acid (v/v) และ 8% gracial acetic acid (v/v) ปริมาณ 20 มิลลิลติ ร ด้ วยเครื่ อง Ultra Turrax homogenizer จากนันน ้ าไปเหวี่ยงด้ วย Refrigerated Centrifuge รุ่น J2-HS (Beckman, USA) ความเร็ว 15,000 rpm เป็ นเวลา 20 นาที นาสารละลายส่วนใสไปคานวณปริมาณ ascorbic acid โดยเทียบกับ L-ascorbic acid ซึง่ ใช้ เป็ นสารละลายมาตรฐาน วิเคราะห์ปริมาณเส้ นใยอาหาร (fiber content) ด้ วยวิธีของ A.O.A.C (1992) นาเนื ้อฝรั่ง 10 กรัม ต้ มด้ วยน ้าเดือด 10 นาที แล้ วนาไปต้ มใน 0.275N NaOH 5 นาที จากนันล้ ้ างด้ วยน ้าไหล แล้ วนาไปอบที่อณ ุ หภูมิ 100 องศาเซลเซียส เวลา 24 ชัว่ โมง แล้ วนาไปชัง่ น ้าหนักแห้ ง วิเคราะห์ผลทางสถิติ วิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติของคุณภาพผล และคุณค่าทางโภชนาการระหว่างคูผ่ สมสลับด้ วยวิธี t-test การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

191


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง การเก็บผลฝรั่งเพื่อวิเคราะห์คณ ุ ภาพผลจากต้ นลูกผสมสลับ พบว่า คูผ่ สม “หวานพิรุณ” x D10 เก็บได้ 8 ต้ น คูผ่ สม D10 X “หวานพิรุณ” เก็บได้ 10 ต้ น คูผ่ สม “แดงสยาม” X D23 เก็บได้ 10 ต้ น และคูผ่ สม D23 X “แดงสยาม” เก็บได้ 6 ต้ น ผล การวิเคราะห์คณ ุ ภาพผลและคุณค่าทางโภชนาการถูกแสดงใน Table ที่ 1 และ 2 ผลการวิเคราะห์สถิติของคูผ่ สมสลับพบว่า คูผ่ สมระหว่างพันธุ์ “หวานพิรุณ” และ D10 ไม่พบอิทธิพลของการผสมสลับพ่อและแม่พนั ธุ์ (Table 1) (P > 0.05) ในทุก ลักษณะที่ทาการศึกษา ฝรั่งพันธุ์คผู่ สมสลับระหว่างพันธุ์ “แดงสยาม” และ D23 ไม่พบความแตกต่างกันทางสถิติ (P > 0.05) (Table 2) ในบางลักษณะ ได้ แก่ น ้าหนักผล ความแน่นเนื ้อ ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ ปริมาณ ฟี นอลิกทังหมด ้ และปริมาณเส้ นใยอาหาร ยกเว้ นลักษณะความหนาเนื ้อ ปริมาณวิตามินซี และกิจกรรมสารต้ านอนุมลู อิสระที่ พบความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P < 0.05) Table 1 Fruit qualities and nutritional value of progeny resulted from reciprocal crosses between “Wan Pirun” and D10. Cultivars “Wan Pirun” x D10 D10 x “Wan Pirun” P value

AA* AOA* TPH* Fiber* (mg/100 g FW) (µMol AAE/ g FW) (mg GAE/100 g FW) (%) 440.62 ± 28.79 38.47 ± 1.94 18.93 ± 0.25 9.86 ± 0.25 0.41 ± 0.03 75.64 ± 5.31 12.56 ± 0.06 125.87 ± 7.76 1.22 ± 0.08 398.27 ± 24.47 37.78 ± 1.49 20.09 ± 1.11 10.34 ± 0.24 0.51 ± 0.02 77.27 ± 3.62 13.53 ± 0.45 137.02 ± 6.45 1.34 ± 0.07 0.47 0.85 0.62 0.98 0.09 0.87 0.41 0.48 0.49 FRW* (g.)

FRT* (mm.)

FRF* (N)

TSS* (°brix)

TA* (%)

Table 2 Fruit qualities and nutritional value of progeny resulted from reciprocal crosses between “Daeng Siam” and D23. Cultivars

FRW* (g.)

FRT* (mm.)

FRF* (N)

TSS* (°brix)

TA* (%)

AA*

AOA*

TPH*

Fiber*

(mg/100 g FW) (µMol AAE/ g FW) (mg GAE/100 g FW) (%) "Daeng Siam" x D23 453.42 ± 18.61 44.78 ± 0.68 16.44 ± 0.77 9.35 ± 0.23 0.32 ± 0.02 133.34 ± 1.64 15.69 ± 0.42 155.75 ± 2.98 1.17 ± 0.05 D23 x "Daeng Siam" 363.22 ± 38.64 36.08 ± 1.53 15.32 ± 0.95 9.29 ± 0.19 0.4 ± 0.04 109.95 ± 4.39 18.15 ± 0.55 162.61 ± 2.69 1.18 ± 0.15 0.16 0.001 0.56 0.94 0.2 0.001 0.03 0.46 0.98 P value

* FRW=fruit weight, FRT=fresh thickness, FRF=fresh firmness, TSS=total soluble solid, TA=titratable acidity, AA=ascorbic acid content, AOA=antioxidant activity, TPH= total phenolics content and Fiber= fiber content จากข้ อมูลดังกล่าวจะพบว่าการผสมสลับพ่อและแม่พนั ธุ์ ส่งผลต่อคุณภาพผลและคุณค่าทางโภชนาการในลูกผสมเพียง เล็กน้ อย เนื่องจากการผสมสลับพ่อแม่ (reciprocal crosses) เป็ นการผสมพันธุ์เพื่อใช้ ทดสอบความสามารถในการถ่ายทอด ทางพันธุกรรมของยีนที่ควบคุมลักษณะที่ทาการศึกษานันอยู ้ บ่ นโครโมโซมเพศหรื อไม่ (ประดิษฐ์ , 2554) แสดงว่ายีนที่ควบคุม ลักษณะที่ทาการศึกษานันอาจอยู ้ บ่ นโอโตโซม ไม่ได้ อยูบ่ นโครโมโซมเพศ ทาให้ มีอิทธิพลของพ่อและแม่พนั ธุ์น้อยมากที่จะ ส่งผลให้ ลกู ผสมเกิดความแตกต่างกันได้ ดังนันการปรั ้ บปรุงพันธุ์ฝรั่งเพื่อให้ มีคณ ุ ภาพผลและคุณค่าทางโภชนาการที่สงู ขึ ้นนัน้ สามารถเลือกใช้ ต้นพันธุ์ใดเป็ นพ่อหรื อเป็ นแม่พนั ธุ์ก็ได้ เนื่องจากมีผลทาให้ ลกู ผสมมีความแตกต่างกันเพียงเล็กน้ อยเท่านัน้

192

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ปผล การผสมสลับพ่อและแม่พนั ธุ์มีผลต่อความแตกต่างทางคุณภาพผลและคุณค่าทางโภชนาการของฝรั่งลูกผสมทัง้ 4 คูผ่ สม ได้ แก่ “หวานพิรุณ” x D10, D10 x “หวานพิรุณ”, “แดงสยาม” x D23 และ D23 x “แดงสยาม” น้ อยมาก เพราะฉะนันใน ้ การเลือกพ่อและแม่พนั ธุ์สาหรับการผสมพันธุ์ จึงควรพิจารณาปั จจัยอื่น ๆ เช่น ความสามารถในการสร้ างตาดอกและติดผลของ พันธุ์ฝรั่ง ประกอบการตัดสินใจในการเลือกใช้ ผสมพันธุ์เพื่อสร้ างลูกผสมพันธุ์ใหม่

คาขอบคุณ งานวิจยั นี ้ได้ รับการสนับสนุนภายใต้ ข้อตกลงความร่ วมมือการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีเพื่ออนาคตสาขาปรับปรุ ง พันธุ์พืช ระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งชาติ (สวทน.)

เอกสารอ้ างอิง ประดิษฐ์ พงศ์ทองคา, 2554, พันธุศาสตร์ , สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. สุพรรณิกา สงวนศิลป์ , อุณารุจ บุญประกอบ และเกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ , 2554, กิจกรรมของสารอนุมลู อิสระ ฟี นอลิกฟลาโวนอยด์ และคุณภาพผล ของฝรั่งชนิดรับประทานสด, วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร 42 3/1 (พิเศษ), 579-582 น. Anonymous, 2015, Psidium guajava [Online], Available: https://www.en.wikipedia.org/wiki/Psidium_guajava. [August 15, 2015]. A.O.A.C., 1990, Vitamin C (Ascorbic Acid) in Vitamin Preparations and Juices, Official Methods of Analysis, 15thed. .Association of Office Analytical Chemists, Arlington, VA, p. 1058-1059. , 1992, Insoluble dietary fiber in foods and food products. Enzymatic-gravimetric method, phosphate buffer. Official methods of Analysis of the Association of official Analytical Chemists, Arlington, VA, 1992. Benzie, J. F. F. and Strain, J.J., 1996, The Ferric Reducing Ability of Plasma (FRAP) as a Measure of “Antioxidant Power”: the FRAP Assay, Analytical Biochemistry, 239: 70-76. Swain, T. and Hillis, W. E., 1959, The Phenolic Constituents of Prunus domestica I-the Quantitative Analysis of Phenolic Constituents, Journal of Science of Food and Agriculture, 10: 63-68. Thaipong, K., Boonprakob, U., Crosby, K., Cisneros-Zevallos, L. and Byrne, D. H., 2006, Comparison of ABTS, DPPH, FRAP and ORAC Assays for Estimating Antioxidant Activity from Guava Fruit Extract, Journal of Food Composition and Analysis, 19: 669-675.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

193


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประยุกต์ ใช้ เครื่องหมายโมเลกุลเพื่อประเมินลักษณะทางพันธุกรรมของมะปราง Application of molecular markers to assess genetic characterization in Bouea macrophylla สมบัติ แก้ วผ่ องอาไพ1 สุพตั รา โพธิ์เอี่ยม1 และโองการ วณิชาชีวะ2* Sombhat Keawpongumpai1 Supattra Poeaim1 and Ongkarn Vanijajiva2*

บทคัดย่ อ เครื่ องหมายทางพันธุกรรมนับว่าเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการวิจยั ความหลากหลายทางพันธุกรรมและวิวฒ ั นาการของ สิ่งมีชีวิตที่สาคัญ โดยเฉพาะการศึกษาลักษณะพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ งานวิจยั นี ้ได้ ประยุกต์ใช้ เทคนิคไอพี บีเอส (inter primer binding site) และไอเอสเอสอาร์ (Inter simple sequence repeats) เพื่อตรวจสอบลักษณะทางพันธุกรรมของ มะปรางเบื ้องต้ น โดยนาดีเอ็นเอที่สกัดได้ จากใบมาใช้ ในการศึกษา พบว่าในการทาพีซีอาร์ ที่เหมาะสมมีความเข้ มข้ นของดีเอ็น เอมะปรางต้ นแบบ 100 ngและ MgCl2 5 mMจากการทดสอบโดยเทคนิคไอพีบีเอสใช้ ไพรเมอร์ 20 ไพรเมอร์ พบว่าสามารถ สังเคราะห์แถบดีเอ็นเอของมะปรางได้ ทงหมด ั้ 179 แถบโดยเฉลี่ยแถบดีเอ็นเอเท่ากับ 8.95 แถบ จากการทดสอบโดยเทคนิคไอ เอสเอสอาร์ 13 ไพรเมอร์ พบว่าสามารถสังเคราะห์แถบดีเอ็นเอของมะปรางได้ ทงหมด ั้ 83 แถบโดยเฉลี่ยแถบดีเอ็นเอเท่ากับ 6.38 แถบ สรุ ปได้ ว่าเทคนิคไอพีบีเอส และไอเอสเอสอาร์ เป็ นเทคนิคที่ทาการศึกษาง่ายและรวดเร็ วสามารถนามาใช้ ใน การศึกษาลักษณะพันธุกรรมของพืชกลุม่ มะปรางได้ คาสาคัญ: เครื่ องหมายโมเลกุล มะปราง ไอพีบีเอส ไอเอสเอสอาร์

Abstract Molecular marker is an important tool in biological research, particularly of genetic diversity and evolution of organisms. In this study, iPBS (inter primer binding site) and ISSR (Inter simple sequence repeats) markers were preliminary applied to assess genetic characterization of Bouea macrophylla. Genomic DNA was extracted from fresh leaf samples. The result clearly showed that at 100 ng template DNA and MgCl2 5 mM concentration are suitable for further PCR analysis. Twenty primers of iPBS makers were primarily screened for analysis and all primers were chosen for further analysis. For iPBS technique, DNA band was 179 DNA fragments by 8.95 per DNA primers. Thirteen primers of ISSR makers were applied for further analysis which DNA band was 83 DNA fragments by 6.38 per DNA primer. Therefore, iPBS and ISSR are simply, rapid and suitable methods for analysis of genetic study for Bouea species. Keywords: Molecular marker, Boueamacrophylla, iPBS, ISSR

คานา มะปราง (Bouea macrophylla Griffith) เป็ นพืชที่อยู่จอั อยู่ในวงศ์มะม่วงหิมพานต์ (Anacardiaceae) มีถิ่นกาเนิด แถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เจริ ญเติบโตได้ ดีในแถบภูมิอากาศเขตร้ อนชื ้น มะปรางเป็ นไม้ ผลยืนต้ นขนาดใหญ่ ลักษณะเป็ น พุ่มทรงแหลม ใบเรี ยวยาว ผลมีทงั ้ รสชาติ หวานและเปรี ย้ วหรื อเปรี ย้ วอมหวาน มะปรางมีสรรพคุณ ทางยา พบว่าเมล็ดของ มะปรางมีสารสาคัญที่มีฤทธิ์ยบั ยังการเจริ ้ ญของเซลล์มะเร็ งหลายชนิดได้ (วิภพ และคณะ, 2556) รวมทังมี ้ รสชาติอร่อยและมี คุณค่าทางอาหารสาคัญ ปั จจุบนั นับเป็ นเป็ นผลไม้ เศรษฐกิจของประเทศไทย นิยมปลูกกันในแถบภาคกลาง โดยเฉพาะจังหวัด นครนายก และจังหวัดนนทบุรี รวมทังมี ้ การส่งเสริมเพื่อส่งออกไปยังต่างประเทศ (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2553) ปั จจุบนั เครื่ องหมายโมเลกุล (molecular marker) เข้ ามามีบทบาทในศึกษาความหลากหลายและวิวฒ ั นาการรวมทัง้ ในการปรับปรุงพันธุ์พืชและสัตว์เศรษฐกิจ โดยการจัดกลุม่ หรื อการจาแนกสิ่งมีชีวิตเดิมใช้ ลกั ษณะทางสัณฐานวิทยาเพียงอย่าง เดียว ส่งผลให้ เกิดข้ อจากัดหลายประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพืชซึง่ เป็ นสิ่งมีชีวิตที่มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกัน (สรพงศ์, 2554) อาจ 1 2

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 194

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ทาให้ เกิดความผิดพลาดในการแยกความแตกต่างของสายพันธุ์ โดยเฉพาะสายพันธุ์ ที่มีความใกล้ ชิดทางพันธุกรรม ดังนัน้ เครื่ องหมายโมเลกุลสามารถจึงเป็ นเครื่ องมือในการช่วยบ่งชี ้ความแตกต่างของของสายพันธุ์สิ่งมีชีวิตให้ มีความถูกต้ องแม่นยา มากยิ่งขึ ้น (สุรีพร, 2546; Paterson et al., 1991) เทคนิคไอพีบีเอส (iPBS, inter primer binding sites) เป็ นเทคนิคทางชีวโมเลกุลรูปแบบใหม่พฒ ั นาขึ ้นโดย Kalendar et al. (2010) อาศัยหลัการสร้ างลายพิมพ์ดีเอ็นเอด้ วยเทคนิคพีซีอาร์ จากการใช้ รูปแบบของไพรเมอร์ ที่มีขนาด 12-18 นิวคลีโอ ไทด์บริ เวณ tRNA เข้ าไปสุม่ จับกับดีเอ็นเอเป้าหมายของ long terminal repeat (LTR) บริ เวณ retrotransposon ซึง่ เป็ นบริ เวณ ที่ลาดับเบสของดีเอ็นเอมักเกิดการผันแปรทางพันธุกรรมได้ ง่ายพบในสิ่งมีชีวิตในกลุ่มยูคาดิโอตทุกชนิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งพืช แทบทุกชนิด ดังนันข้ ้ อดีของเทคนิคนี ้คือผู้วิจยั ไม่จาเป็ นต้ องทราบข้ อมูลเกี่ยวกับลาดับเบสของดีเอ็นเอเป้าหมายมาก่อนทาได้ ง่ายไม่ซบั ซ้ อนให้ ข้อมูลมาก ค่าใช้ จ่ายไม่สงู ใช้ ปริ มาณดีเอ็นเอน้ อย 25–100 นาโนกรัมต่อปฏิกิริยา และให้ รูปแบบดีเอ็นเอที่ ความคงตัวสูง เทคนิคไอเอสเอสอาร์ (ISSR: Inter Simple Sequence Repeat) เป็ นการเพิ่มปริ มาณชิ ้นดีเอ็นเอที่อยู่ระหว่าง ตาแหน่งไมโครแซทเทลไลท์ (microsatellite) 2 ตาแหน่ง ไมโครแซทเทลไลท์คือชิ ้นดีเอ็นเอบริ เวณที่มีลาดับนิวคลีโอไทด์ซ ้า (repetitive DNA) เรี ยงต่อเนื่องกันในจีโนม แต่ละชุดซ ้าประกอบด้ วย 1–6 นิวคลีโอไทด์พบได้ ในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ไมโครแซท เทลไลท์พบกระจายแบบไม่สม่า เสมอทัว่ ทังจี ้ โนม พบมากในจีโนมของสิ่งมีชีวิตชัน้ สูง และส่วนใหญ่พบในบริ เวณที่ไม่ใช่ยีน (non-coding region) ซึ่งความผันแปรจานวนซ ้าของไมโครแซทเทลไลท์ในจีโนมสามารถประยุกต์ใช้ เป็ นเครื่ องหมายโมเลกุล เพื่อจาแนกความแตกต่างของสิ่งมีชีวิตได้ (สุรินทร์ , 2540) เทคนิคไอเอสเอสอาร์ ไ ม่จาเป็ นต้ องทราบข้ อมูลลาดับเบส เช่นเดียวกับเทคนิคอาร์ เอพีดีมีหลักการคือใช้ ไพรเมอร์ ที่มีลาดับนิวคลีโอไทด์ เป็ นไมโครแซทเทลไลท์ และเติมนิวคลีโอไทด์ คัดเลือก โดยไพรเมอร์ จะเข้ าจับกับไมโครแซทเทลไลท์ 2 ตาแหน่ง ใกล้ ๆ กันแล้ วเพิ่มปริ มาณชิ ้นดีเอ็นเอระหว่างไมโครแซทเทล ไลท์ทงั ้ 2 ตาแหน่งนัน้ งานวิจยั นี ้ได้ ประยุกต์ใช้ เครื่ องมือทางโมเลกุล โดยเทคนิคไอพีบีเอส และเทคนิคไอเอสเอสอาร์ เพื่อ ศึกษาเป็ นข้ อมูล เบื ้องต้ นของลักษณะทางพันธุกรรมของมะปราง เพื่อนามาใช้ เป็ นข้ อมูลพื ้นฐานในการพัฒนาและประยุกต์ใช้ เ เทคนิคไอพีบีเอส และเทคนิคไอเอสเอสอาร์ ในการสารวจความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชสกุลมะปรางต่อไป

อุปกรณ์ วิธีการ นาส่วนของใบอ่อนมะปราง จานวน 100–150 กรัม มาทาความสะอาดด้ วยน ้ากลัน่ บดด้ วยไนโตรเจนเหลว จากนันท ้ า การสกัดดีเอ็นเอจากใบโดยใช้ สารละลาย CTAB ดัดแปลงตามวิธีของโองการ (2555) ตรวจสอบคุณภาพดีเอเอ็นที่สกัดได้ โดย ใช้ เทคนิคอิเล็กโทรโฟรี ซีสบนแผ่นอะกาโรสเจล (agarose gel electrophoresis) เข้ มข้ น 0.8 % การตรวจสอบโดยเทคนิคเทคนิคไอพีบีเอสนาดีเอ็นเอมะปรางที่สกัดได้ มาทดสอบเพื่อคัดเลือกไพรเมอร์ เบื ้องต้ นตาม Table 1 โดยปริ มาณสารทังหมดที ้ ่ใช้ ในการเพิ่มปริ มาณดีเอ็นเอเท่ากับ 25 µl ซึง่ ประกอบด้ วย 10x Promega reaction buffer (100mM Tris-HCl pH 9, 500 m MKCl, 1% Triton X-100) 2.5 µl, 25 mM MgCl2 5 µl, 2.5 mM dNTP4 µl, 100 µM primer 2 µl, 500 unit (5 unit / 1 µl) Taq DNA polymerase (Promega), 50 ng, ดีเอ็นเอมะปราง 2 µl จากนันปรั ้ บปริ มาณให้ ได้ 25 µl ด้ วยการ เติมนา้ กลัน่ แล้ วนาใส่เครื่ องเพิ่มปริ มาณดีเอ็นเอ Thermohybaid PX2 ที่มีอุณหภูมิในขัน้ ตอนต่างๆ ดังนี ้ initiation denaturation อุณหภูมิ 94 °C นาน3นาทีจานวน 1 รอบตามด้ วยอุณหภูมิ 94 °C นาน 30 วินาทีอณ ุ หภูมิ45– 50 °C นาน 30 วินาทีและอุณหภูมิ 72 °C นาน 30วินาที จานวน 40 รอบ และตามด้ วย final extension ที่อณ ุ หภูมิ 72 °C นาน5นาที จานวน 1 รอบ การตรวจสอบโดยเทคนิคเทคนิคไอเอสเอสอาร์ ทาการวิเคราะห์เช่นเดียวกับเทคนิคไอพีบีเอสเพื่อคัดเลือก ไพรเมอร์ เบื ้องต้ นในตารางที่ 2 แต่ปรับอุณหภูมิและรอบในการทาพีซีอาร์ ดงั นี ้เริ่มด้ วยอุณหภูมิ 94°C นาน 5 นาทีจานวน 1 รอบตามด้ วย อุณหภูมิ 94 °Cนาน 1 นาที 30 วินาทีอณ ุ หภูมิ52°C นาน1 นาทีและอุณหภูมิ 72 °C นาน2นาทีจานวน30 รอบและอุณหภูมิ 72 °C นาน 8 นาที จานวน 1 รอบ ทาการตรวจโดยใช้ เทคนิควิธีการอิเล็กโตรโฟรี ซีสบนแผ่นอะกาโรสเจลเข้ มข้ น 1.8 % ย้ อมด้ วย เอธิเดียมโบรไมด์เทียบกับดีเอ็นเอขนาด 100 bp โดยตรวจสอบแถบดีเอ็นเอภายใต้ แสงอัลตราไวโอเลตด้ วยเครื่ อง Gene Genius Bio Imaging System (Syngene, Cambridge, UK))

Table 1 Code, sequence and nucleotide length of primers used in the iPBS analysis การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

195


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

primer

sequence (5'-3')

primer

sequence (5'-3')

2081

GCA ACG GCG CCA

2380

CAA CCT GAT CCA

2272

GGC TCA GAT GCC A

2392

TAG ATG GTG CCA

2076

GCT CCG ATG CCA

2393

TAC GGT ACG CCA

2077

CTC ACG ATG CCA

2394

GAG CCT AGG CCA

2079

AGG TGG GCG CCA

2273

GCT CAT CAT GCC A

2080

CAG ACG GCG CCA

2277

GGC GAT GAT ACC A

2083

CCT CTA GCG CCA

2279

AAT GAA AGC ACC A

2085

ATG CCG ATA CCA

2382

TGT TGG CTT CCA

2374

CCC AGC AAA CCA

2389

ACA TCC TTC CCA

2378

GGT CCT CAT CCA

2391

ATC TGT CAG CCA

Table 2 Code, sequence and nucleotide length of primers used in the ISSR analysis primer sequence (5'-3') primer sequence (5'-3') UBC801

ATA TAT ATA TAT ATA TT

UBC824

CTC TCT CTC TCT CTC CG

UBC807

AGA GAG AGA GAG AGA GT

UBC825

ACA CAC ACA CAC ACA CT

UBC810

GAG AGA GAG AGA GAG AT

UBC826

ACA CAC ACA CAC ACA CC

UBC811

GAG AGA GAGAGA GAG AC

UBC827

ACA CAC ACA CAC ACA CA

UBC813

CTC TCT CTC TCT CTC TT

UBC861

ACC ACC ACC ACC ACC ACC

UBC815

CTC TCT CTC TCT CTC TG

UBC863

AGT AGT AGT AGT AGT AGT

UBC817

CAC ACA CAC ACA CAC AA

UBC868

GAA GAA GAA GAA GAA GAA

UBC819

GTG TGT GTG TGT GTG TA

UBC870

TGC TGC TGC TGC TC TGC

UBC820 UBC822

GTG TGT GTG TGT GTG TC TCT CTC TCT CTC TCT CA

UBC873 UBC881

GAC AGA CAG ACA GAC A GGG TGG GGT GGG GTG

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการศึกษาการสกัดดีเอ็นเอของมะปรางด้ วยวิธี CTAB โดยการสกัดตามวิธีประยุกต์ของโองการ (2555) พบว่าดี เอ็นเอที่มีคณ ุ ภาพค่อนข้ างดีใช้ เวลาในการสกัดน้ อยสามารถทาได้ หลายตัวอย่างต่อวันและควรสกัดดีเอ็นเอจากใบอ่อนจะได้ ปริ มาณและคุณภาพของดีเอ็นเอที่ดีกว่าใบแก่สามารถน าไปใช้ ในการทดลองได้ ต่อไป นอกจากนี ย้ ังสามารถปรั บเปลี่ยน ปริมาณสารในขันต่ ้ าง ๆ ให้ เหมาะสมกับพืชชนิดอื่นได้ ง่ายและราคาไม่สงู มากเมื่อเทียบกับน ้ายาสาเร็จในการสกัดดีเอ็นเอ โดย จากการสกัดดีเอ็นเอในครัง้ นี ้พบว่าดีเอ็นเอที่สกัดได้ มีความบริ สทุ ธิ์และความเข้ มข้ นแตกต่างกันโดยเมื่อนาดีเอ็นเอมาตรวจสอบ ความบริ สทุ ธิ์โดยเทียบอัตราส่วนของค่าดูดกลืนแสงด้ วยสเปคโตรโฟโตมิเตอร์ ที่ความยาวคลื่น 260 และ 280 นาโนเมตร ผล การวัดค่าความบริ สุทธิ์ และค่าความเข้ มข้ นนัน้ พบว่าค่าความบริ สุทธิ์ ของดีเอ็นเอสามารถหาได้ จากอัตราส่วนของค่าการ 196

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ดูดกลืนแสงด้ วยสเปคโตรโฟโตมิเตอร์ ที่ความยาวคลื่น 260 และ 280นาโนเมตรแล้ วเปรี ยบเทียบผลพบว่าค่าที่ได้ อยู่ในช่วง ระหว่าง 1.62 ถึง 1.93 แสดงว่าสารละลายดีเอ็นเอที่ได้ มีความบริ สทุ ธิ์เหมาะแก่การนาไปศึกษาถ้ าค่าดีเอ็นเอที่ได้ เท่ากับ 1.5 หรื อต่ากว่าแสดงว่ามีการปนเปื อ้ นของโปรตีนอยู่มากและถ้ าค่าที่ได้ เท่ากับ 2.0 หรื อมากว่าแสดงว่ามีอาร์ เอ็นเอปนเปื อ้ นอยู่มาก อาจต้ องนากลับไปกาจัดด้ วย Rnase (โองการ และเฟื่ องฟ้า , 2557) จากนันน ้ ามาตรวจสอบคุณภาพดีเอ็นเอที่ได้ โดยวิธี อิเล็กโตรโฟรี ซีสบนแผ่นอะกาโรสเจลเข้ มข้ น 0.8% พบว่าดีเอ็นเอที่สกัดได้ ของตัวอย่างทังหมดอยู ้ ่ในสภาพที่สมบูรณ์มีลกั ษณะ เป็ นแถบชัดเจนเพียงแถบเดียว จากการทดสอบไพร์ เมอร์ ที่ใช้ ในการสังเคราะห์ดีเอ็นเอของมะปราง ด้ วยเทคนิคไอพีบีเอส โดยใช้ ไพรเมอร์ ทงั ้ 20 ชนิด ที่มีปริ มาณ G+C ตังแต่ ้ 60 เปอร์ เซ็นขึ ้นไป เพื่อใช้ ในการคัดเลือกไพร์ เมอร์ ที่จะทาให้ เกิ ดการสังเคราะห์ดีเอ็นเอของมะปราง พบว่าการสังเคราะห์ดีเอ็นเอด้ วยเทคนิคไอพีบีเอส โดยใช้ ไพรเมอร์ ทงหมด ั้ 20 ไพรเมอร์ และเทียบกับดีเอ็นเอมาตรฐานด้ วยวิธี อากาโรสเจลอิเล็กโทรโฟไรซิส นาไปย้ อมด้ วยเอธิเดียมโบรไมด์ แล้ วส่องด้ วยแสงอัลตร้ าไวโอเลตที่ความเข้ มข้ นของดีเอ็นเ อ ต้ นแบบของมะปราง 50 ng/ µl ให้ ลกั ษณะแถบของดีเอ็นเอที่ชดั เจน ไพร์ เมอร์ ที่ใช้ ทงั ้ 20 ไพเมอร์ สามารถสังเคราะห์แถบดีเอ็น เอของมะปรางได้ ทงหมด ั้ 179 แถบ เฉลี่ย 8.95 แถบดีเอ็นเอต่อไพรเมอร์ และพบว่าขนาดของแถบดีเอ็นเอจะอยู่ในช่วง 180 – 2,000bp (Figure 1–2)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

197


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

A

F

B

G

C

D

E

H

I

J

Figure 2 DNA profiles of iPBS primers: A 2380, B 2392, C 2393, D 2394, E 2273, F 2277, G 2279, H 2382, I 2389, J 2391.

198

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 3 DNA profiles of ISSR primers: A

(UBC807), B (UBS810), C (UBC811), D (UBC815) E (UBC817), F (UBS819), G (UBC822), H (UBC824), I (UBC825), J (UBC826), K (UBC827), L (UBC873). จากการทดสอบไพร์ เมอร์ ที่ใช้ ในการสังเคราะห์ดีเอ็นเอของมะปราง โดยใช้ เทคนิคไอเอสเอสอาร์ ไพรเมอร์ ทงั ้ 20 ชนิด ที่มีปริ มาณ G+C ตังแต่ ้ 60 เปอร์ เซ็นขึ ้นไป เพื่อใช้ ในการคัดเลือกไพร์ เมอร์ ที่จะทาให้ เกิดการสังเคราะห์ ดีเอ็นเอของมะปราง พบว่าการสังเคราะห์ดีเอ็นเอด้ วยเทคนิคไอเอสเอสอาร์ โดยใช้ ไพรเมอร์ ทงหมด ั้ 20 ไพรเมอร์ และเทียบกับดีเอ็นเอมาตรฐานด้ วย วิธีอากาโรสเจลอิเล็กโทรโฟไรซิส นาไปย้ อมด้ วยเอธิเดียมโบรไมด์ แล้ วส่องด้ วยแสงอัลตร้ าไวโอเลตที่ความเข้ มข้ นของดีเอ็นเอ มะปรางต้ นแบบ50 ng/ µl ให้ ลกั ษณะแถบของดีเอ็นเอที่ชดั เจน ไพร์ เมอร์ ที่ใช้ สามารถสังเคราะห์แถบดีเอ็นเอได้ ทงหมด ั้ 12 ไพร์ เมอร์ จาก 20 ไพรเมอร์ และสามารถสังเคราะห์แถบดีเอ็นเอของมะปรางได้ ทงหมด ั้ 83 แถบ เฉลี่ย 6.91 แถบดีเอ็นเอต่อไพรเมอร์ และพบว่ามีความแตกต่างกันของแถบดีเอ็นเอ โดยจะอยู่ในช่วง 170–1,500 bp จากการวิจยั ในครัง้ นี ้สอดคล้ องกับการทดลอง ของ Luo et al., (2011) ที่สามารถประยุกต์ใช้ เทคนิคไอเอสเอสอาร์ ในการศึกษามะม่วงของประเทศจีน อย่างไรก็ตามพบว่า เทคนิคไอเอสเอสอาร์ ยงั ไม่เคยมีการประยุกต์ใช้ กบั มะปรางมาก่อนเช่นเดียวกับเทคนิคไอพีบีเอส โดยทังสองเทคนิ ้ คเป็ นเทคนิค ที่ทาการศึกษาง่ายและรวดเร็วสามารถนามาใช้ ในการศึกษาลักษณะพันธุกรรมของพืชกลุม่ มะปรางได้ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

199


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ปผลการทดลอง การสกัดดีเอ็นเอทาโดยใช้ CTAB ซึง่ ดัดแปลงวิธีการมาจากวิธีการของโองการ (2555) เป็ นวิธีการที่มีประสิทธิภาพใน การสกัดดีเอ็นเอจากพืชหลายชนิดเนื่องจากได้ ดีเอ็นเอที่มีคุณภาพค่อนข้ างดี ใช้ เวลาในการสกัดน้ อยสามารถทาได้ หลาย ตัวอย่างต่อวันและควรสกัดดีเอ็นเอจากใบอ่อนจะได้ ปริ มาณและคุณภาพของดีเอ็นเอที่ดีกว่าใบแก่ การตรวจหาเครื่ องหมาย โมเลกุลของมะปรางโดยเทคนิคไอพีบีเอสจานวน 20 ไพรเมอร์ พบว่าให้ แถบ ดีเอ็นเอทังหมด179 ้ แถบเฉลี่ย 8.95 แถบต่อไพร เมอร์ สาหรับเทคนิคไอเอสเอสอาร์ ใช้ ไพรเมอร์ ทงหมด13 ั้ ไพรเมอร์ พบว่าสามารถสังเคราะห์แถบดีเอ็นเอของมะปรางได้ ทงหมด ั้ 83 แถบโดยเฉลี่ยแถบดีเอ็นเอเท่ากับ 6.38 แถบดีเอ็นเอต่อไพรเมอร์ สว่ นใหญ่ที่ให้ ความแตกต่างกันจะอยู่ในช่วง 100–2,000 คู่ ดังนัน้ สรุ ปได้ ว่าเทคนิคไอพีบีเอสและเทคนิคไอเอสเอสอาร์ สามารถนามาประยุกต์ใช้ ในพืชวงศ์มะปรางได้ ดีและเหมาะที่จะ นาไปศึกษาพืชกลุม่ นี ้ต่อไปในอนาคตเนื่องจากทาการทดลองได้ ง่ายให้ รูปแบบแถบของดีเอ็นเอที่มีความคงตัวสูงและราคาไม่สงู มากเมื่อเทียบกับเทคนิคอื่นๆ

กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจยั ขอขอบคุณคณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง และคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร สาหรับการสนับสนุนในทุกด้ าน

เอกสารอ้ างอิง วิภพ สุทธนะณฐุ ปกรน์ เดชสุภา และสารี มั่นเขตต์กรน์ . 2556. การเตรี ยมสารสกัดจากเมล็ดมะปรางและประเมินฤทธิ์ ยับยัง้ การเจริ ญของ เซลล์มะเร็งเม็ดเลือดขาวและมะเร็งปอดชนิดที่ไวและดื ้อต่อยา. ศรี นคริ นทร์ เวชสาร. 28:100-109. สุรีพร เกตุงาม. 2546. เครื่ องหมายดีเอ็นเอในงานปรับปรุงพันธุ์พืช. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 5:37-59. สุรินทร์ ปิ ยโชคณากุล. 2540. การจาแนกพืชโดยใช้ เครื่ องหมายทางโมเลกุล, การจาแนกพืชโดยเทคนิคทางชีวโมเลกุล. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต, ปทุมธานี หน้ า 57-58. สรพงศ์ เบญจศรี . 2554. เครื่ องหมายโมเลกุลสาหรับการปรับปรุงพันธุ์พืช. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. 39:350-363. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2553. การผลิตการตลาดมะปรางจังหวัดนครนายก ปี การผลิต 2553. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. โองการวณิชาชีวะ. 2555. ความแปรปรวนทางพันธุกรรมในระดับต่าของกระชายกระบี่พืชเฉพาะถิ่นที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ของประเทศไทยโดยใช้ เครื่ องหมายอาร์ เอพีดี. Thai J. Genet. 5(1): 63-75. โองการ วณิชาชีวะ และ เฟื่ องฟ้า สีสร้ อย. 2557. การประยุกต์ใช้ เครื่ องหมายเอสอาร์ เอพีและไอพี บีเอสเพื่อศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของไผ่ รวกสยาม. Thai J. Sci. Tech. 3: 45 – 56. Luo, C., He, X. H., Chen, H., Ou, S. J., Gao, M. P., Brown, J. S. and Schnell, R. J. 2011. Genetic diversity of mango cultivars estimated using SCoT and ISSR markers. Biochem. Syst. Ecol. 39: 676-684. Kalendar, R., Antonius, K., Smykal, P. and Schulman, A.H., 2010, iPBS: a universal method for DNA fingerprinting and retrotransposon isolation. Theor. Appl. Genet. 121: 1419–1430. Paterson, AH, Tanksley, SD, Sorrells, ME. 1991. DNA markers in plant improvenment. Adv. Agr. 46: 39–90.

200

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประเมินค่ าความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริก โดยเทคนิคเครื่องหมายโมเลกุล เอส เอส อาร์ Evaluation of Genetic Diversity in Chili Pepper by SSR Marker Technique อรพินธุ์ สฤษดิ์นา1

บทคัดย่ อ การประเมินค่าความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริ ก 12 สายพันธุ์ โดยอาศัยเทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล เอส เอส อาร์ พบว่า เครื่ องหมายโมเลกุล เอส เอส อาร์ 50 คู่ไพรเมอร์ มี 5 คู่ไพรเมอร์ สามารถจาแนกความแตกต่างทางพันธุกรรมของ สายพันธุ์พริ กทัง้ 12 สายพันธุ์ ได้ โดยมีจานวนแถบดีเอ็นเอที่เกิดขึ ้นทังหมด ้ 15 แถบ มีค่าสัมประสิทธิ์ความคล้ ายคลึงทาง พันธุกรรมของพริ กอยู่ในช่วง 0.60-1.00 จากการวิเคราะห์ตามวิธีการของ Dice สาหรับคานวณค่าสัมประสิทธิ์ความคล้ ายคลึง กันทางพันธุกรรม และอาศัยหลักการวิเคราะห์จดั กลุม่ ด้ วยวิธี UPGMA สามารถแบ่งพริกออกเป็ น 5 กลุม่ โดยกลุม่ ที่ 1 แบ่งได้ 2 กลุม่ ย่อย กลุ่มย่อยที่ 1.1 ประกอบด้ วย พริ กขี ้หนูซุปเปอร์ ฮอท MC401 พริ กเดือยไก่เหลือง และพริ กหนุ่มเขียว กลุ่มย่อยที่ 1.2 ประกอบด้ วย พริ กหนุ่มเขียวจอมทอง พริ กเดือยไก่แดง พริ กขาวชัยบุรี Dolly Bhut-G และพริ กหวาน สาหรับกลุม่ ที่ 2, 3, 4 และ 5 ประกอบด้ วยพริ กบางสายพันธุ์ที่แตกต่างจากสายพันธุ์เดิม เช่น MC402 พริ กเดือยไก่เหลือง พริ กหนุ่มเขียว31 Dolly และ Bhut-G ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริ กโดยการใช้ เทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล เอส เอส อาร์ จึงเป็ นประโยชน์ในการ ปรับปรุงพันธุ์พริกต่อไปในอนาคต คาสาคัญ: พริก ดีเอ็นเอ เอส เอส อาร์ ความหลากหลายทางพันธุกรรม

Abstract Genetic diversity of chili pepper in 12 accessions was evaluated by SSR marker technique. A total of 50 SSR primer pairs were applied in this study, 5 SSR primer pairs detected polymorphisms which showed a total of 15 polymorphic bands with a genetic similarity coefficient in the range of 0.60-1.00 among all accessions. By Dice similarity coefficient method and UPGMA cluster analysis, the dendrogram could be used to separate chili pepper into 5 groups. Group 1 was separated more into 2 sub-groups. The sub-group 1.1 was Prik_Kee_Nu-Superhot, MC401, Prik_Duan_Kai_Reang and Prik_Num_Khaew. The sub-group 1.2 was Prik_Num_Khaew-Jomthong, Prik_Duan_Kai_Dang, Prik_Khao-Chaiburi, Dolly, Bhut-G and Prik_Wan. Group 2, 3, 4 and 5 were the rest of the accessions such as MC402, Prik_Duan_Kai_Reang, Prik_Num_Khaew31, Dolly and Bhut-G. Data of genetic diversity of chili pepper by SSR markers will be used further for chili pepper breeding program. Keywords: chili pepper, DNA, SSR, Genetic diversity

คานา พริ กจัดอยู่ในวงศ์ Solanaceae ซึ่งเป็ นวงศ์เดียวกับมะเขือต่างๆ และมะเขือเทศ เป็ นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่มี ความสาคัญในชีวิตประจาวันของคนไทย ปั จจุบนั มีผ้ นู ิยมปลูก และบริ โภคพริ กมากขึ ้น เพราะมีคณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง ใช้ ใน การปรุงแต่งอาหาร ทาให้ อาหารมีรสชาติที่อร่อยเพิ่มมากขึ ้น นอกจากประโยชน์ในด้ านปรุงแต่งรสชาติของอาหารแล้ ว พริ กยังมี ประโยชน์ทางยาอีกด้ วย สารสาคัญที่ทาให้ พริ กมีรสเผ็ดร้ อน คือ capsaicin โดยพบสารนีไ้ ด้ ในพริ กแทบทุกชนิด รวมทังใน ้ พริ กไทยและขิง พริ กที่พบมากในประเทศไทย ได้ แก่ พริ กชี ้ฟ้า (Capsicum annuum Linn.) และพริ กขี ้หนู (Capsicum frutescens Linn.) ซึง่ แต่ละชนิดก็แบ่งย่อยเป็ นหลายพันธุ์ เนื่องจากพริ กมีความหลากหลายทางพันธุกรรมทังในด้ ้ านรูปร่างผล สี รสชาติ ความเผ็ด ตลอดจนความต้ านทานโรค (Brown, 1989) การใช้ เทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล เอส เอส อาร์ (simple sequence repeat: SSR) เป็ นอีกวิธีหนึ่งที่ใช้ ในการจัดจาแนกพืชได้ ดี มีความแม่นยาสูง Hanacek et al. (2009) ได้ ศกึ ษา 1

สาขาวิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ 50290 ประเทศไทย

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

201


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ความแตกต่างทางพันธุกรรมของพริ กแดงโดยใช้ เครื่ องหมายโมเลกุล SSR นอกจากนี ้ Patel et al. (2011) ทาการประเมินค่า ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของ Capsicum annuum โดยใช้ เครื่ องหมายโมเลกุล ISSR และ SSR ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถนามาใช้ ในการคัดเลือกพืช ย่นระยะเวลาการดาเนินการต่างๆ ได้ ดี งานวิจยั นี ้จึงใช้ เทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล เอส เอส อาร์ (SSR) ในการจัดจาแนกและศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมพริ ก ซึ่งข้ อมูลที่ได้ จะเป็ นประโยชน์ต่องานด้ านการ ปรับปรุงพันธุ์พืชต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ พันธุ์พริ กที่สามารถรวบรวมพันธุ์ได้ ทงหมด ั้ 12 สายพันธุ์ ได้ แก่ พริ กขี ้หนูซุปเปอร์ ฮอท พริ กหนุ่มเขียวจอมทอง พริ ก หนุ่มเขียว พริกขาวชัยบุรี พริ กเดือยไก่แดง พริ กเดือยไก่เหลือง MC401 MC402 Dolly Bhut-G พริ กหวาน และพริ กหนุ่มเขียว31 (ตารางที่ 1) การวิเคราะห์ความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริกด้ วยเทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล SSR ทาโดยการเก็บตัวอย่างใบ พริ กสายพันธุ์ต่างๆ ที่รวบรวมและปลูกในพื ้นที่เดียวกันจานวน 12 สายพันธุ์ มาวิเคราะห์พนั ธุกรรมด้ วยเทคนิค เครื่ องหมาย โมเลกุล SSR จานวน 50 คูไ่ พรเมอร์ ซึง่ คัดเลือกไพรเมอร์ โดยสุม่ มาจากแต่ละ Linkage groups (Julia et al., 2012; Gibum et al., 2006; Hanacek et al., 2009; Lee et al., 2004; Yutaka et al., 2012; Yasuhiro et al., 2006) การสกัดดีเอ็นเอจากใบพริ กทาได้ โดยใช้ ชดุ สกัดดีเอ็นเอ NucleoSpin Plant II (PACIFIC SCIENCE CO., LTD., Thailand) ตรวจสอบคุณภาพ และปริ มาณของดีเอ็นเอโดยเทคนิคอีเล็กโตรโฟริ ซิสด้ วยอะกาโรสเจลความเข้ มข้ น 1 เปอร์ เซ็นต์ ย้ อมด้ วยเอธิเดียมโบรไมด์ ส่องดูภายใต้ แสงอัลตร้ าไวโอเลต ด้ วยเครื่ อง UV Transilumination เปรี ยบเทียบกับขนาดของแถบ ดีเอ็นเอมาตรฐาน 100 bp DNA Ladder (Bioscience, Thailand) บันทึกภาพแถบดีเอ็นเอด้ วยเครื่ องถ่ายภาพเจล การศึกษาความหลากหลากทางพันธุกรรมของพริ ก 12 สายพันธุ์ (45 ตัวอย่าง) ด้ วยเครื่ องหมายโมเลกุลเอส เอส อาร์ ทาปฏิกิริยาพีซีอาร์ ด้วยเครื่ อง PCR ตรวจสอบแถบดีเอ็นเอโดยเทคนิคอีเล็กโตรโฟริ ซิสด้ วยอะกาโรสเจลที่ความเข้ มข้ น 3 เปอร์ เซ็นต์ ย้ อมด้ วยเอธิเดียมโบรไมด์ ส่องดูภายใต้ แสงอัลตร้ าไวโอเลต ด้ วยเครื่ อง UV Transilumination เปรี ยบเทียบกับขนาด ของแถบดีเอ็นเอมาตรฐาน 100 bp DNA Ladder (Bioscience, Thailand) บันทึกภาพแถบดีเอ็นเอด้ วยเครื่ องถ่ายภาพเจล การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ทางพันธุกรรมของพันธุ์พริ ก ดาเนินการโดยนาแถบดีเอ็นเอที่สงั เคราะห์ได้ มาวิเคราะห์ ขนาดด้ วยการเปรี ยบเทียบกับแถบดีเอ็นเอมาตรฐาน โดยบันทึกและวิเคราะห์ข้อมูลจากการปรากฏและไม่ปรากฏแถบดีเอ็นเอ ของสายพันธุ์พริ กทัง้ 12 สายพันธุ์ ด้ วยไพรเมอร์ ที่ให้ ความแตกต่างของแถบดีเอ็นเอ ใช้ โปรแกรมสาเร็ จรู ป NTSYS เพื่อหา สัมประสิทธิ์ ความคล้ ายคลึงทางพันธุกรรม (similarity coefficient) สร้ างแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ ทางพันธุกรรมโดยใช้ Unweighted Pair Group Method Arithmetic Average (UPGMA) เพื่อจัดแบ่งกลุม่ พริกที่แตกต่างทางพันธุกรรม

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริ ก ด้ วยเทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล SSR จานวน 50 คู่ไพรเมอร์ พบว่า SSR จานวน 5 คู่ไพรเมอร์ ทาให้ เกิดแถบดีเอ็นเอที่มีความแตกต่างกัน (polymorphism) ในสายพันธุ์พริ กที่ใช้ ทดสอบ ความหลากหลายทางพันธุกรรม (ภาพที่ 1) เมื่อนาไพรเมอร์ ที่ทาให้ เกิดแถบดีเอ็นเอที่แตกต่างกันทัง้ 5 คู่ไพรเมอร์ มาทาการ วิเคราะห์พนั ธุกรรมพริ กทัง้ 12 สายพันธุ์ จานวน 45 ตัวอย่าง พบว่า สามารถแสดงแถบดีเอ็นเอที่เกิดขึ ้นได้ ทงหมด ั้ 15 แถบ จานวนแถบดีเอ็นเอที่เกิดขึ ้นต่อไพรเมอร์ มีตงแต่ ั ้ 2 – 4 แถบ คิดเป็ นค่าเฉลี่ย 3 แถบต่อไพรเมอร์ ไพรเมอร์ ที่ทาให้ เกิดแถบ ดีเอ็นเอที่แตกต่างกันทัง้ 5 คูไ่ พรเมอร์ นี ้ ได้ แก่ HpmsE014 (F=CTTTGGAACATTTCTTTGGGGG; R=GCGGACGTAGCAGTAGGTTTGG) HpmsE017 (F=CTCGGAAATCAGATGCAGCAAA; R=GCATTGCATTGTTGGCAGTAGG) HpmsE031 (F=CCCTAAATCAACCCCAAATTCAA; R=CCCCCATTACCTGACTGCAAAA) HpmsE047 (F=AACCCGTGTTCAATCCCCAAAT; R=TGGCCATACCACCAGCAFTAGA) HpmsE054 (F=GCCACCCCTCACCTCTCTCTCT; R=GTTGTTCGCTGGCTCTTTCTC)

202

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 The list of chili pepper to analysis by SSRs No.

Code

Name

No.

Code

Name

a

1-2

Prik_Kee_Nu-Superhot

x

6-1

Prik_Duan_Kai_Reang

b

1-3

Prik_Kee_Nu-Superhot

Y

6-2

Prik_Duan_Kai_Reang

c

1-4

Prik_Kee_Nu-Superhot

z

6-4

Prik_Duan_Kai_Reang

d

1-5

Prik_Kee_Nu-Superhot

aa

6-6

Prik_Duan_Kai_Reang

e

1-7

Prik_Kee_Nu-Superhot

ab

6-8

Prik_Duan_Kai_Reang

f

2-1

Prik_Num_Khaew-Jomthong

ac

7-7

MC401

g

2-2

Prik_Num_Khaew-Jomthong

ad

7-8

MC401

h

2-3

Prik_Num_Khaew-Jomthong

ae

8-2

MC402

i

3-2

Prik_Num_Khaew

af

8-3

MC402

j

3-3

Prik_Num_Khaew

ag

8-4

MC402

k

3-7

Prik_Num_Khaew

ah

8-5

MC402

l

4-1

Prik_Khao-Chaiburi

ai

9-1

Dolly

m

4-3

Prik_Khao-Chaiburi

aj

9-2

Dolly

n

4-4

Prik_Khao-Chaiburi

ak

9-3

Dolly

o

4-5

Prik_Khao-Chaiburi

al

9-4

Dolly

p

4-6

Prik_Khao-Chaiburi

am

9-5

Dolly

q

4-7

Prik_Khao-Chaiburi

an

9-7

Dolly

r

4-8

Prik_Khao-Chaiburi

ao

10-1

Bhut-G

s

4-9

Prik_Khao-Chaiburi

ap

10-2

Bhut-G

t

4-10

Prik_Khao-Chaiburi

aq

11-1

Prik_Wan

u

5-1

Prik_Duan_Kai_Dang

ar

31-1

Prik_Num_Khaew31

v

5-6

Prik_Duan_Kai_Dang

as

31-2

Prik_Num_Khaew31

w

5-7

Prik_Duan_Kai_Dang

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

203


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

M 1 2

3 4 5 6

7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

Figure 1 The simple sequence repeat (SSR) profile of chili pepper genotypes using HpmsE047 primer pair, Lane M: Molecular weight marker (100 bp DNA Ladder), Lane 1-24: chili pepper samples การใช้ เครื่ องหมายโมเลกุล SSR ต่างชนิดกัน ทาให้ เกิดแถบดีเอ็นเอที่ต่างกันในสายพันธุ์พริ กทัง้ 12 สายพันธุ์ โดยบาง ตัวอย่างอาจมีความเหมือนกันหรื อคล้ ายคลึงกันของแถบดีเอ็นเอที่ปรากฏ ค่าความคล้ ายคลึงกันทางพันธุกรรมของพริ กทัง้ 12 สายพันธุ์ (45 ตัวอย่าง) มีค่า Similarity coefficient อยู่ระหว่าง 0.60 ถึง 1.00 แสดงให้ เห็นว่า การใช้ เครื่ องหมายโมเลกุล SSR สามารถบ่งบอกความคล้ ายคลึงกันมากทางพันธุกรรมของพริ กทัง้ 12 สายพันธุ์นี ้ พริ กที่มีความคล้ ายคลึงกันมาก ได้ แก่ สาย พันธุ์พริ กขี ้หนูซุปเปอร์ ฮอท พริ กเดื อยไก่เหลือง และ MC401 นอกจากนี ้ ยังมีสายพันธุ์พริ กหนุ่มเขียว และ MC402 สายพันธุ์ พริกขาวชัยบุรี และ พริกเดือยไก่แดง ที่มีความคล้ ายคลึงกัน สาหรับสายพันธุ์ที่มีความคล้ ายคลึงกันทางพันธุกรรมค่อนข้ างน้ อย ได้ แก่ พริ กขี ้หนูซุปเปอร์ ฮอท กับ Bhut-G พริ กขี ้หนูซุปเปอร์ ฮอท กับ Dolly ซึง่ มีความคล้ ายคลึงกันทางพันธุกรรมน้ อยมาก เมื่อ นาค่าสัมประสิทธิ์ความเหมือน หรื อความคล้ ายคลึงทางพันธุกรรม มาจัดกลุม่ (cluster analysis) ทาให้ สามารถแบ่งกลุ่มพริ ก ได้ เป็ น 5 กลุม่ โดยกลุ่มที่ 1 แบ่งได้ 2 กลุ่มย่อย กลุม่ ย่อยที่ 1.1 ประกอบด้ วย สายพันธุ์พริ กขี ้หนูซุปเปอร์ ฮอท MC401 พริ ก เดือยไก่เหลือง และ พริกหนุ่มเขียว กลุม่ ย่อยที่ 1.2 ประกอบด้ วย พริกหนุ่มเขียวจอมทอง พริ กเดือยไก่แดง พริ กขาวชัยบุรี Dolly Bhut-G และ พริ กหวาน สาหรับกลุม่ ที่ 2, 3, 4 และ 5 ประกอบด้ วย พริ กบางสายพันธุ์ที่มีความแตกต่างจากสายพันธุ์เดิม เช่น MC402 พริกเดือยไก่เหลือง พริกหนุ่มเขียว Dolly และ Bhut-G (ภาพที่ 2) พริ กแต่ละสายพันธุ์มีความแตกต่างกันในลักษณะทางการเกษตร ลักษณะสัณฐานวิทยา เช่น ขนาดผล สีผล รวมทัง้ ความเผ็ด (Brown, 1989) ตลอดจนลักษณะทางพันธุกรรมโดยเทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล SSR จากการใช้ เครื่ องหมายโมเลกุล SSR 5 คู่ไพรเมอร์ ทาให้ ทราบถึงความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริ ก 12 สายพันธุ์ โดยจัดเป็ น 5 กลุม่ กลุม่ ที่ 1 เป็ นกลุม่ หลัก แบ่งได้ อีก 2 กลุ่มย่อย สายพันธุ์ที่จดั กลุม่ ได้ สามารถนามาใช้ ในการปรับปรุ งพันธุ์ต่อไปได้ เครื่ องหมายโมเลกุล SSR จึง เป็ นวิธีที่ได้ รับการยอมรับว่ามีความสามารถในการจัดจาแนกได้ อย่างรวดเร็ว และบ่งชี ้ถึงความแม่นยาของการจัดจาแนกความ หลากหลายทางพันธุกรรมของพืชและสิ่งมีชีวิต (Gibum et al., 2006) ผลการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพริ กทัง้ 12 สายพันธุ์ ด้ วยเครื่ องหมายโมเลกุล SSR นี ้ สามารถนามาใช้ จดั จาแนกพริ กได้ เช่นเดียวกับ การศึกษาความแตกต่างทาง พันธุกรรมของพริ กแดงโดยใช้ เครื่ องหมายโมเลกุล SSR (Hanacek et al., 2009) Patel et al. (2011) ได้ ทาการประเมินค่า ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของ Capsicum annuum โดยใช้ เครื่ องหมายโมเลกุล ISSR และ SSR โดยพบว่า เครื่ องหมาย โมเลกุลสามารถใช้ จาแนกความแตกต่างทางพันธุกรรมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ นามาใช้ ในการคัดเลือกพืชได้ ดี ย่นระยะเวลาใน การดาเนินงาน ซึง่ ข้ อมูลที่ได้ จะเป็ นประโยชน์ต่องานด้ านการปรับปรุงพันธุ์พืชต่อไป อย่างไรก็ตาม การศึกษาความหลากหลาย ทางพันธุกรรมพริ กด้ วยเทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล SSR ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมโดยใช้ เครื่ องหมายโมเลกุลอื่นร่วมด้ วย เพื่อให้ ได้ ข้อมูลความหลากหลายทางพันธุกรรมที่ชดั เจนมากยิ่งขึ ้น 204

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

C a ae c b ab e ac k af ah d ak i j f g ai aj h l y n p s t u v z al ao am an aq o w q r x as ag ad m ap ar aa

aaMW

0.61

0.71

0.80

0.90

1.00

Coefficient

Figure 2 The dendrogram (UPGMA) in 45 chili pepper genetic materials analyzed by SSRs

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

205

1

2 3 4 5


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ป การศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมพริ กทัง้ 12 สายพันธุ์ โดยเทคนิคเครื่ องหมายโมเลกุล SSR พบว่า มี 5 คู่ ไพรเมอร์ จากทังหมด ้ 50 คูไ่ พรเมอร์ ที่สามารถทาให้ เกิดแถบดีเอ็นเอที่แตกต่างกัน 15 แถบ มีคา่ สัมประสิทธิ์ความคล้ ายคลึงกัน ทางพันธุกรรมที่ใกล้ เคียงถึง 0.60 - 1.00 และเมื่อจัดกลุม่ ด้ วยวิธี UPGMA ทาให้ แบ่งกลุ่มพริ กออกเป็ น 5 กลุม่ โดยที่กลุม่ 1 สามารถแบ่งเป็ นกลุ่มย่อยได้ อีก 2 กลุ่มย่อย ผลการศึกษาทาให้ เกิดประโยชน์สาหรับงานด้ านการปรับปรุ งพันธุ์พริ กต่อไปใน อนาคต

กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั นี ้ได้ รับการสนับสนุน ทุนวิจยั จากคณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ขอขอบคุณ รศ. ดร. นิพนธ์ ไชยมงคล และบุคคลที่เกี่ยวข้ องทุกท่านที่ให้ ความช่วยเหลือตลอดระยะเวลาการทาวิจยั

เอกสารอ้ างอิง Brown A.H.D. 1989. Cove collections: A practical approach to genetic resources management. Genome, 31: 818-824. Gibum Y., J.M. Lee, S. Lee, D. Choi and B. Kim. 2006. Exploitation of pepper EST-SSRs and an SSR-based linkage map. Theor Appl Genet, 114: 113-130. Hanacek P., T. Vyhnanek, M. Rohrer, J. Cieslorova and H. Stavelikova. 2009. DNA polymorphism in genetic resources of red pepper using microsatellite markers. Hort. Sci. (Prague), 36(4): 127-132. Julia S.Y., W. Tyagi, A. Pandey, N.T. Meetei and M. Rai. 2012. Evaluation of genetic diversity of chili landraces from North Eastern India based on morphology, SSR markers and the Pun1 Locus. Plant Mol Biol Rep, 30: 1470-1479. Lee J.M., S.H. Nahm, Y.M. Kim and B.D. Kim. 2004. Characterization and molecular genetic mapping of microsatellite loci in pepper. Theor Appl Genet, 108: 619-627. Patel A.S., N. Sasidharan, A.G. Vala and V. Kumar. 2011. Genetic relation in Capsicum annuum L. cultivars through microsatellite markers: SSR and ISSR. J Plant Breed, 2: 67-76. Yasuhiro M., M. Tsuro and M. Hirai. 2006. An SSR-based linkage map of Capsicum annuum. Mol Breeding,18: 157-169. Yutaka M., T. Inoue, Y. Minamiyama and N. Kubo. 2012. An SSR-based genetic map of pepper (Capsicum annuum L.) serves as an anchor for the alignment of major pepper maps. Breeding Science, 62: 93-98.

206

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

207


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

208

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในช่ วงแตกใบอ่ อนของลองกอง Changes of Gibberellin-Like Substances during Leaf Flushing of Longkong (Aglaia dookkoo Griff.) ปฐม คงแก้ ว1 และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ 1 Patom Kongkaew1 and Ladawan Lerslerwong1

บทคัดย่ อ การแตกใบอ่อนเป็ นปั จจัยสาคัญที่มีปฏิสมั พันธ์ กบั การออกดอกของไม้ ผลยืนต้ นหลายชนิด โดยต้ นไม้ ผลจะไม่ออก ดอกหรื อออกดอกน้ อยเมื่อมีการแตกใบอ่อน และจิบเบอเรลลินเป็ นฮอร์ โมนที่มีบทบาทสาคัญในการส่งเสริ มการแตกใบอ่อนใน ไม้ ผล การวิจยั ครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในช่วงแตกใบอ่อนของลองกองใน ปี พ.ศ. 2556 – 2557 การทดลองเริ่ มดาเนินการหลังตัดแต่งกิ่งเมื่อปลายเดือนมกราคม ผลการศึกษาพบว่า ต้ นลองกองมีการ แตกใบอ่อนทังหมด ้ 3 ครัง้ คือ เดือนกุมภาพันธ์ เดือนมิถนุ ายน และเดื อนตุลาคม โดยมีเปอร์ เซ็นต์การแตกใบอ่อนที่ตรวจนับใน ระยะเพสลาด เท่ากับ 84.4 53.5 และ 50.9 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ นอกจากนี ้ยังพบว่า ลองกองมีการออกดอกปลายเดือน มีนาคมซึ่งเป็ นช่วงหลังแตกใบอ่อนครัง้ แรก การแตกใบอ่อนของลองกองมีความสัมพันธ์ กบั การเปลี่ยนแปลงปริ มาณสารคล้ าย จิบเบอเรลลิน โดยจากการวัดปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินด้ วยวิธี Lettuce Hypocotyl Bioassay พบว่า ปริ มาณสารคล้ าย จิบเบอเรลลินทังในเปลื ้ อกไม้ และในใบจะเพิ่มขึ ้น ก่อนการแตกใบอ่อนครัง้ ที่สอง 1 เดือน 436.67 และ 401.77 นาโนกรัมต่อกรัม น ้าหนักสด และก่อนการแตกใบอ่อนครัง้ ที่สาม 2 เดือน 497.56 และ 597.29 นาโนกรัมต่อกรัมน ้าหนักสด ตามลาดับ คาสาคัญ: จิบเบอเรลลิน แตกใบอ่อน ลองกอง

Abstract Leaf flushing is one of the factors that counteract flowering process in most perennial fruit trees. In generally, fruit trees do not flower or produces less flowering when they are in leaf flushing. Gibberellins play a major role to encourage leaf flushing. This study aimed to investigate changes of gibberellin-like substances during period of leaf flushing of Longkong tree in 2013 – 2014. The study was carried out after pruning in late January. The results showed that Longkong tree produced three flushes in February, June and October. The percentages of leaf flushing at stage young fully expanded leaf were 84.4%, 53.5% and 50.9%, respectively. Furthermore, Longkong tree had flowering in late March, which appeared after the 1st leaf flushing. Leaf flushing was related to changes of gibberellin-like substances. Lettuce Hypocotyl Bioassay was used for quantification of gibberellin-like substances. It was found that the level of gibberellin-like substances in bark and leaf increased one month before 2nd of leaf flushing at 4011.77 and 436.67 ng.g-1.f.wt-1., respectively and two months before 3rd of leaf flushing at 597.29 and 497.56 ng.g-1.f.wt-1., respectively. Keywords: gibberellins, leaf flushing, longkong

คานา ลองกอง (Aglaia dookkoo Griff.) เป็ นไม้ ผลเศรษฐกิจสาคัญชนิดหนึ่งที่ปลูกมากในพื ้นที่ภาคใต้ และภาคตะวันออก ของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม การผลิตลองกองยังอาศัยสภาพแวดล้ อมธรรมชาติเป็ นหลัก การออกดอกและการให้ ผลผลิตจึง ขึ ้นอยู่กบั ปั จจัยภายนอก เช่น ช่วงแล้ งก่อนการออกดอก ปริ มาณน ้าฝนในรอบปี เป็ นต้ น ซึง่ ไม่สามารถควบคุมได้ (ลดาวัลย์, 2556) การแตกใบอ่อนและพัฒนาการของใบอ่อนมีความสาคัญต่อการออกดอกของไม้ ผลยืนต้ น เนื่องจากการออกดอกจะ สามารถเกิดขึ ้นได้ เมื่อต้ นไม้ ผลมีใบแก่สมบูรณ์ (Nunez-Elisea and Davenport, 1995) โดยทัว่ ไป ลองกองที่ให้ ผลผลิตแล้ วจะ มีการแตกใบอ่อน 2 ครัง้ ในรอบปี ก่อนออกดอก โดยจะใช้ ระยะเวลาในการพัฒนาเป็ นใบแก่ที่สมบูรณ์ประมาณ 30-50 วัน 1

ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ สงขลา 90112

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

209


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

(เปรมปรี , 2541) การออกดอกของไม้ ผลยืนต้ นส่วนใหญ่ได้ รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของเวลาที่เกิด การแตกใบอ่อน (Olesen, 2005) ซึง่ สอดคล้ องกับสมดุลระหว่างการเจริ ญเติบโตทางกิ่งใบ (vegetative growth) และการเจริ ญเติบโตช่วงออก ดอกติดผล (reproductive growth) ของฤดูการผลิตก่อนหน้ าที่จะมีผลกระทบต่อการออกดอกในฤดูการผลิตปี ต่อมา (Wilkie et al., 2008) ดังนัน้ การจัดการให้ ต้นลองกองมีการแตกใบอ่อนและพัฒนาไปเป็ นใบแก่ที่พร้ อ มสาหรับการออกดอกได้ อย่าง เหมาะสม เช่น การตัดแต่งกิ่ง การจัดการน ้า การให้ ปยุ๋ การใช้ สารควบคุมการเจริ ญเติบโตพืช เป็ นต้ น อาจช่วยให้ ต้นลองกอง ได้ รับช่วงแล้ งก่อนการออกดอกพอดีและช่วยทาให้ ประสิทธิภาพของวิธีการที่ใช้ ชกั นาการออกดอกให้ ผลสาเร็จมากขึ ้น การออกดอกของไม้ ผลยืนต้ นหลายชนิดถูกควบคุมโดยปริ มาณจิบเบอเรลลิน (gibberellins) ที่พืชสร้ างขึ ้น ซึ่งเป็ น ฮอร์ โมนที่สง่ เสริ มการเจริ ญเติบโตทางด้ านกิ่งใบ (Chailakhyan, 1968) โดยจิบเบอเรลลินมีบทบาทกระตุ้นให้ เกิดกระบวนการ แบ่งเซลล์และการยืดยาวของเซลล์ (Tindall, 1994) นอกจากนี ้ จิบเบอเรลลินยังอาจไปยับยังการออกดอกโดยตรงหรื ้ ออาจมีผล ทางอ้ อมโดยมีผลต่อเวลาของการแตกตาดอกที่อาจช้ าหรื อเร็วขึ ้นด้ วย (Wilkie et al., 2008) จากการศึกษาการบังคับการออก ดอกและทาให้ ลองกองที่ถกู ชักนาสามารถออกดอกได้ ด้วยการใช้ สารพาโคลบิวทราโซลซึ่งเป็ นสารยับยังการสั ้ งเคราะห์จิบเบอเรลลินภายในพืช (โนรี และสายัณห์, 2548 ; Lerslerwong et al., 2013) จึงคาดว่า จิบเบอเรลลินอาจเป็ นฮอร์ โมนสาคัญที่ ควบคุมการออกดอกของลองกอง (ลดาวัลย์, 2556) จากรายงานที่ผ่านมา พบความสัมพันธ์ของการแตกใบอ่อนและระดับของ จิบเบอเรลลินภายในของไม้ ผลยืนต้ นหลายชนิด ได้ แก่ ลาไยพันธุ์ดอ (จงรักษ์ และ ธนะชัย, 2543) มะปรางพันธุ์ทลู เกล้ า (สุธาสินี และธนะชัย, 2544) และมะม่วง (อุษณีษ์ และสุรนันต์, 2547) ซึง่ สามารถสรุปได้ ว่า ในช่วงการแตกใบอ่อนของไม้ ผลจะ มีปริมาณจิบเบอเรลลินเพิ่มขึ ้น อย่างไรก็ตาม ยังไม่เคยมีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริมาณจิบเบอเรลลินในลองกอง ดังนัน้ การวิจัยในครัง้ นีจ้ ึง มีวตั ถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในช่วงแตกใบ อ่อนของลองกอง เพื่อให้ ได้ ข้อมูลรู ปแบบการเจริ ญเติบโตของลองกองเพื่อใช้ ในการจัดการสวน และสามารถนาไปปรับเพื่อ จัดการให้ ลองกองมีการออกดอกนอกฤดูตอ่ ไป

อุปกรณ์ วิธีการ ดาเนินการวิจยั กับต้ นลองกอง อายุ 18 ปี ณ แปลงภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา วางแผนการทดลองแบบสุม่ ในบล็อคสมบูรณ์ (Randomized Complete Block Design ; RCBD) จานวน 10 ซ ้า ( 1 ต้ น คือ 1 ซ ้า) บันทึกเปอร์ เซ็นต์การแตกใบอ่อน (leaf flushing) โดยสุ่มผูกป้ายกิ่งลองกอง จานวน 3 กิ่งต่อต้ น (เส้ นรอบวงกิ่ง ประมาณ 15±2 เซนติเมตร) นับจานวนยอดผลิใหม่ที่อยู่ในระยะใบเพสลาด (ประมาณ 2 สัปดาห์หลังแตกใบอ่อน) โดยคิดเป็ น ร้ อยละของการแตกใบใหม่ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริมาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินโดยเริ่มเก็บตัวอย่างเมื่อมีการแตกใบอ่อนชุดแรกหลังตัดแต่งกิ่ง (ประมาณ 1 สัปดาห์หลังแตกใบอ่อน) ประมาณเดือนมีนาคม เก็บทุกเดือน เป็ นเวลา 1 ปี เก็บตัวอย่างใบแก่จากใบย่อยคู่กลาง ของใบประกอบตาแหน่งที่ 2 นับจากยอด สุ่มเก็บใบรอบนอกทรงพุ่ม จานวน 10 ใบต่อ/ต้ น และเก็บตัวอย่างเปลือกไม้ ที่ระดับ ความสูงที่สามารถออกดอกได้ ประมาณ 50 เซนติเมตรเหนือพื ้นดิน ต้ นละ 25 จุด (5 กรัม/ต้ น/ครัง้ ) โดยใช้ คอร์ กบอเรอร์ ขนาด เส้ นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร นาตัวอย่างมาแช่แข็งด้ วยไนโตรเจนเหลว แล้ วเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ -20 องศาเซลเซียส เพื่อ รอการสกัดตัวอย่าง สาหรับวิเคราะห์ปริมาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินมีขนตอนดั ั้ งต่อไปนี ้ 1. การสกัดตัวอย่าง นาตัวอย่างใบและเปลือกที่ทาให้ แห้ งด้ วยความเย็นภายใต้ สญ ุ ญากาศมาชัง่ น ้าหนักตัวอย่างละ 1 กรัม บดตัวอย่างพืชให้ ละเอียดด้ วยโกร่ง โดยเติมไนโตรเจนเหลวขณะบด และเติมเมทานอลเย็นที่เก็บไว้ ที่อณ ุ หภูมิ -20 องศาเซลเซียส ความเข้ มข้ น 80 เปอร์ เซ็นต์ จานวน 25 มิลลิลิตร เก็บสารสกัดใส่ขวดปิ ดฝาแล้ วเก็บไว้ ในที่มืด อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 16 ชัว่ โมง จากนันกรองสารสกั ้ ดตัวอย่างกระดาษกรอง Whatman เบอร์ 1 ลงในขวดก้ นกลม นาสารละลาย ไประเหยแห้ งด้ วยเครื่ องกลัน่ ระเหยสารแบบหมุน (rotary evaporater) ที่อณ ุ หภูมิ 40 องศาเซลเซียส แล้ วล้ างสารสกัดในขวด ก้ นกลมด้ วยแอมโมเนียมอะซิเตท 0.01 โมล่าร์ จานวน 3 ครัง้ ๆ ละ 4 มิลลิลิตร โดยใช้ อ่างน ้าควบคุมอุณหภูมิที่อณ ุ หภูมิ 60 องศาเซลเซียส จากนันเก็ ้ บสารละลายแอมโมเนียมอะซิเตทที่ได้ ทงั ้ 12 มิลลิลิตรรวมกัน เก็บไว้ ที่อณ ุ หภูมิ -20 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 16 ชัว่ โมง 2. การแยกสารด้ วยเทคนิคเปเปอร์ โครมาโตกราฟฟี ทาโดยเตรี ยมแผ่นโครมาโตแกรมจากกระดาษกรอง Whatman เบอร์ 1 ขนาด 9×28 เซนติเมตร ขีดเส้ นกาหนดจุดเริ่ มต้ นที่จะหยด (strip) สารละลายด้ วยดินสอดาห่างจากขอบล่างด้ านกว้ าง ของกระดาษ 2 เซนติเมตร และจุดสุดท้ ายที่สารละลายเคลื่อนไปถึง (16.5 เซนติเมตร วัดจากจุดที่หยดสาร) แล้ วใช้ ไมโครปิ เปต 210

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ดูดสารสกัดจากข้ อ 1 ปริ มาตร 100 ไมโครลิตร มาหยดเป็ นแนวยาวลงบนแนวเส้ นดินสอของแผ่นโครมาโตแกรม แล้ วทิ ้งไว้ ให้ แถบสารแห้ ง นาแผ่นโครมาโตแกรมด้ านที่มีแถบหยดสารมาวางจุ่มในตัวสารละลายที่มีสว่ นผสมของ ไอโซโพรพา-นอล 99.7% (AR grade) : แอมโมเนียมไฮดรอกไซด์ 25% (AR grade) : น ้ากลัน่ (10:1:1 โดยปริ มาตร) ในตู้ขนาด 20×60×40 เซนติเมตร โดยให้ แถบที่หยดสารอยูเ่ หนือสารละลาย ทิ ้งไว้ จนกระทัง่ สารละลายเคลื่อนที่ไปจนถึงระยะ 20 เซนติเมตร (ใช้ เวลาประมาณ 67 ชัว่ โมง) นาออกจากตู้แล้ วผึง่ ให้ แห้ ง จากนันแบ่ ้ งแผ่นโครมาโตแกรม เป็ น 10 ส่วนคือ Rf 0.1-1.0 ตามลาดับ โดยส่วนที่อยู่ใต้ แถบสารเป็ น Rf 0.0 (control) ส่วน Rf 0.1-1.0 คือส่วนที่อยู่เหนือแถบสารจนถึงแนวสุดท้ ายที่สารละลายเคลื่อนที่ไปถึง โดย แบ่งเป็ น 10 ส่วนเท่าๆ กัน แล้ วนาแผ่น Rf ที่แบ่งส่วนเรี ยบร้ อยแล้ วมาตัดแยก Rf 0.0 - 1.0 นาแต่ละ Rf มาตัดเป็ นชิ ้นเล็กๆ ใส่ จานเพาะเลี ้ยงที่มีอะซิโตน 50% (v/v) ปริมาตร 10 มิลลิลิตร เพื่อละลายสารสกัดออกจากแผ่นโครมาโตแกรม 3. การวัดปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินด้ วยชีววิธี (bioassay) ทาการวัดปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินของสาร สกัดภายหลังการแยกสารด้ วยเทคนิคโครมาโตกราฟฟี โดยใช้ วิธี Lettuce Hypocotyl Bioassay (LHB) มีขนตอนการท ั้ ากราฟ มาตรฐานจิบเบอเรลลินและวัดปริมาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินดังนี ้ 3.1. ทากราฟมาตรฐานจิบเบอเรลลิน โดยเตรี ยมสารละลายจิบเบอเรลลิน (GA3 สารออกฤทธิ์ 90%) 8 ความ เข้ มข้ น ได้ แก่ 0, 1, 2.5, 5, 10, 25, 50 และ 100 นาโนกรัมต่อลิตร ที่เตรี ยมจากสารละลายเข้ มข้ น (stock solotion) 1 มิลลิลิตร ต่อลิตร เพาะเมล็ดผักกาดหอม (Lectuca sativa L.) ลงบนกระดาษเพาะในจานเพาะที่มีสารละลายจิบเบอเรลลิน แต่ละความ เข้ มข้ น ทา 5 ซ ้า ซ ้าละ 10 เมล็ด จากนันน ้ าไปเก็บไว้ ในตู้กระจกขนาด 20×60×40 เซนติเมตร วางที่อณ ุ หภูมิ 28 ±2 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 4 วัน โดยให้ แสง 400 ลักซ์ ตลอดการเพาะ จากนันวั ้ ดความยาวไฮโพคอทิลที่งอกออกมา นาค่าที่ได้ ไป พล็อทกราฟมาตรฐาน โดยแกน x คือ ความเข้ มข้ นของจิบเบอเรลลิน และแกน y คือความยาวของไฮโพคอทิล 3.2. การหาปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินโดยนาเมล็ดผักกาดหอมมาเพาะในจานเพาะที่มีสารสกัดแต่ละ Rf ปริ มาตร 1000 ไมโครลิตรทา Rf ละ 20 เมล็ด วางเลี ้ยงในสภาพเดียวกับข้ อ 3.2 วัดความยาวไฮโพคอทิล ที่งอกออกมา ของ เมล็ดผักกาดหอมฝรั่งจานวน 10 เมล็ด จากนันน ้ าไปหาปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลิน โดยเปรี ยบเทียบกับกราฟมาตรฐาน ใน ข้ อ 3.1

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. เปอร์ เซ็นต์ การแตกใบอ่ อน ในฤดูกาลผลิตปี พ.ศ. 2556 - 2557 พบว่า เปอร์ เซ็นต์การแตกใบอ่อนในระยะเพสลาดของลองกอง 10 ต้ น มีการแตก ใบ 3 ครัง้ โดยในครัง้ แรกในเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมีนาคม ซึง่ มีเปอร์ เซ็นต์ การแตกใบอ่อนมากที่สดุ 84.4 เปอร์ เซ็นต์ลองกอง มีการแตกใบอ่อนครัง้ ที่สองในเดือนมิถนุ ายน 53.5 เปอร์ เซ็นต์ การแตกใบอ่อนครัง้ ที่สาม เกิดขึ ้น 50.9 เปอร์ เซ็นต์ (Figure 1) ทังนี ้ ้การที่ต้นลองกองมีเปอร์ เซ็นต์การแตกใบอ่อนครัง้ แรกมากที่สดุ อาจเป็ นผลมาจากการตัดแต่งกิ่ง ในช่วงปลายเดือนมกราคม ก่อนเริ่ มดาเนินการ ซึ่งจะไปกระตุ้นให้ เกิดการแตกตาใหม่ และทาให้ ต้นมีการแตกยอดอ่อนพร้ อมกัน (Davenport, 2006) อย่างไรก็ตาม ปริมาณการแตกใบอ่อนของการทดลองในครัง้ นี ้ไม่ตรงกับรายงานที่ผ่านมา ที่พบว่าในรอบปี ลองกองจะมีการแตก ใบอ่อน 2 ครัง้ ในรอบปี ก่อนออกดอก และการแตกใบอ่อนชุดที่ 2 จะมีปริ มาณมากกว่าชุดแรกประมาณ 10 - 15 เปอร์ เซ็นต์ (Lim and Yong, 1996) ทังนี ้ ้อาจเป็ นเพราะจานวนครัง้ และปริ มาณของการแตกใบอ่อนขึ ้นอยู่กบั เวลาในการตัดแต่งกิ่ง โดยใน การทดลองนี ้ได้ ทาการตัดแต่งกิ่งในช่วงปลายเดือนมกราคมซึ่งเร็ วกว่าปกติ จึงอาจทาให้ ต้นลองกองมีการแตกใบอ่อนที่เร็ วขึ ้น ส่งผลให้ มีการแตกใบอ่อนถึง 3 ครัง้ ในรอบปี

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

211


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Percentage of leaf flushing (%)

100 80

1st 2nd

60

3rd

40 20

0 pruning Mar.

Apr.

May

Jun.

Jul.

Aug. Sep.

Oct.

Nov. Dec.

Jan.

Month(2013-2014) Figure 1 Percentage of leaf flushing of longkong (Aglaia dookkoo Griff.) at monthly intervals from 2013-2014 (error bar = standard error of mean) 2. การเปลี่ยนแปลงปริมาณจิบเบอเรลลินในช่ วงการแตกใบอ่ อนของลองกอง จากการศึกษาปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในเปลือกและใบลองกองพบว่า การเปลี่ยนแปลงปริ มาณสารคล้ าย จิบเบอเรลลินในใบและเปลือกเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน โดยในเดือนสิงหาคม 2556 มีปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินสูงสุดที่ 497.56 และ 597.29 นาโนกรัมต่อกรัมน ้าหนักสด ในเปลือกและใบตามลาดับ และมีปริ มาณต่าสุดในเดือนเมษายนและ มิถนุ ายน 2556 ที่ 96.62 และ 176.09 นาโนกรัมต่อกรัมน ้าหนักสด ในเปลือกและใบตามลาดับ และจากการศึกษาพบว่า พัฒนาการในรอบปี ของลองกองมีความสัมพันธ์กบั การเปลี่ยนแปลงของปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในลองกองคือ ปริ มาณ สารคล้ ายจิบเบอเรลลินในเปลือกและใบลองกองจะมีปริ มาณเพิ่มขึ ้นในช่วงก่อนแตกใบอ่อนของลองกอง โดยพบว่า ปริ มาณ สารคล้ ายจิบเบอเรลลินทังในเปลื ้ อกและใบจะเพิ่มขึ ้น 1 และ 2 เดือน ก่อนการแตกใบอ่อนครัง้ ที่สองและสาม ตามลาดับ Figure 2) ซึง่ สอดคล้ องกับการเปลี่ยนแปลงปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลิน ที่เพิ่มขึ ้นในช่วงก่อนแตกใบอ่อนในลิ น้ จี่พนั ธุ์ฮงฮวย (ดรุณี และคณะ, 2542) ลาไยพันธุ์ดอ (จงรักษ์ และ ธนะชัย, 2543) มะปรางพันธุ์ทลู เกล้ า (สุธาสินี และ ธนะชัย, 2544) และมะม่วง (อุษณีษ์ และ สุรนันต์, 2547) อย่างไรก็ตาม การแตกใบอ่อนครัง้ แรกซึง่ มีเปอร์ เซ็นต์สงู สุด แต่เนื่องจากการเก็บตัวอย่างไม่ได้ มี การเก็บในช่วงก่อนหน้ าการแตกใบอ่อน จึงไม่มีข้อมูลการเปลี่ยนแปลงปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในช่วงก่อนการแตกใบ อ่อนครัง้ แรก แต่เมื่อพิจารณาถึงข้ อมูลในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2557 ก็จะเห็นแนวโน้ มของการเพิ่มขึน้ ของ ปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินก่อนการแตกใบอ่อน แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงการเพิ่มขึน้ ของปริ มาณสารคล้ ายจิบ เบอ-เรลลิน พบว่า อาจไม่สัมพันธ์ กับเปอร์ เซ็นต์ การแตกใบอ่อน โดยสังเกตจากปริ มาณสารคล้ ายจิ บเบ อเรลลินในเดื อน พฤษภาคม พ.ศ. 2556 (การแตกใบอ่อนครัง้ ที่2) ในเปลือกและใบอยู่ที่ระดับ 436.67 และ 401.77 นาโนกรัมต่อกรัมน ้าหนักสด ตามลาดับ และปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2556 (การแตกใบอ่อนครัง้ ที่ 3) ในเปลือกและใบอยู่ที่ ระดับ 497.56 และ 597.29 นาโนกรัมต่อกรัมน ้าหนักสด ตามลาดับ แต่การแตกใบอ่อนทังสองครั ้ ง้ มีเปอร์ เซ็นต์การแตกใบอ่อน ใกล้ เคียงกัน ทังนี ้ ้อาจเป็ นเพราะการใช้ ชีววิธีในการหาปริ มาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลิน ยังไม่สามารถจาแนกชนิดของจิบเบอ เรลลินได้ แต่ทาได้ เพียงแยกจิบเบอเรลลินต่างชนิดออกจากกัน โดยวิธีนี ้จะไวต่อ GA1 และ GA3 มากกว่าจิบเบอเรลลินชนิดอื่นๆ (พูนพิภพ, 2549)

212

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

600

Leaf flushing

st

1

leaf bark

500 400

2nd

3rd

300

100 80 60 40

200 20

100 0

Percentage of leaf flushing (%)

Content of Gibberellin-like substance (ng/g f wt.)

700

0 Mar. Apr. May Jun. Jul. Aug. Sep. Oct. Nov. Dec. Jan. Feb.

Month (2013-2014) Figure 2 Content of gibberellin-like substances in leaf and bark in relation to leaf flushing of longkong (Aglaia dookkoo Griff.) at monthly interval from 2013-2014 (error bar = standard error of mean)

สรุ ปผลการทดลอง จากการศึกษาพัฒนาการของลองกองในรอบปี พ.ศ. 2556 - 2557 ที่ปลูกในพื ้นที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา พบว่า ลองกองมีการ แตกใบอ่อน 3 ครัง้ ในรอบปี โดยพบว่าในครัง้ แรก (กุมภาพันธ์ ) ลองกองมีการแตกใบอ่อนมากที่สดุ การเปลี่ยนแปลงปริ มาณ สารคล้ ายจิบเบอเรลลินทังในเปลื ้ อกและในใบจะเพิ่มสูงขึ ้นก่อนการแตกใบอ่อน

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณทุนสนับสนุนในการวิจัยจากสถานวิจัยความเป็ นเลิศเทคโนโลยีชีวภาพเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ คณะทรัพยากรธรรมชาติ และทุนอุดหนุนการวิจยั เพื่อวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เอกสารอ้ างอิง จงรักษ์ มูลเฟย และ ธนะชัย พันธ์เกษมสุข. 2543. การเปลี่ยนแปลงปริ มาณของสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในช่วงก่อนการแตกใบอ่อนและออกดอกใน ยอดลาใยพันธุ์ดอ. วารสารเกษตร 16: 242 – 251. ดรุณี นาพรหม, ชัยวัฒน์ พจนาพิมล, วรรณวรางค์ พัฒนโพธิ์ และ ธนัท ธันญาภา. 2542. การเปลี่ยนแปลงปริ มาณสารคล้ ายไซโตไคนินและ จิบเบอเรลลินในยอดลิ ้นจี่พนั ธุ์ฮงฮวยก่อนการออกดอก. วารสารเกษตร 15 : 211 – 220. โนรี อิสมาแอ และสายัณห์ สดุดี. 2548. ผลของการใช้ สารพาโคลบิวทราโซลต่อการตอบสนองทางสรี รวิทยา การออกดอก และคุณภาพของลองกอง. ว. สงขลานคริ นทร์ วทท. 27: 691 – 700. เปรมปรี ณ สงขลา. 2541. รวมกลยุทธ์ ลองกอง. กรุงเทพฯ : เจริ ญรัฐการพิมพ์. พูนพิภพ เกษมทรัพย์. 2549. ชีววิทยา 2. บริ ษัทด่านสุทธาการพิมพ์จากัด. ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2556. ปั จจัยควบคุมและแนวทางชักนาการออกดอกของลองกอง. วารสารเกษตรพระจอมเกล้ า 31: 102 – 111. สุธาสินี มณีทอน และ ธนะชัย พันธ์เกษมสุข. 2544. การเปลี่ยนแปลงปรมาณสารคล้ ายจิบเบอเรลลินในช่วงก่อนการออกดอกในยอดมะปรางพันธุ์ ทูลเกล้ า. วารสารเกษตร 17: 106 – 112. อุษณีษ์ พิชกรรม และ สุรนันต์ สุภทั รพันธุ์. 2547. การศึกษาความสัมพันธ์ของระดับปริ มาณสารควบคุมการเจริ ญเติบโตภายในพืชกับลักษณะนิสยั การออกดอกของพันธุ์มะม่วงไทย. รายงานการวิจยั ภาควิชาพฤกษาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. Chailakhyan, M.K. 1968. Internal factors of plant flowering. Annual Review of Plant Physiology 19 : 1 -37. Davenport, T.L. 2006. Pruning strategies to maximize tropical mango production from the of planting to restoration of old orchards. HortScience 41: 544-548. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

213


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Lerslerwong, L., S. Tipparn and S. Chanaweerawan. 2013. Preliminary study to control flowering by trunk girdling and paclobutrazol treatment in longkong. Acta Horticulturae 1024: 2011 – 2016. Lim, M. and S. Yong. 1996. The phenology of Longkong (Aglaia dookkoo Griff.) in Southern Thailand. Proceeding : Internationnal Conference on Tropical Fruits, Kuala Lumpur, Malaysia, 23 - 26 July 1996, pp. 297 – 304. Nunez-Elisa, R. and T. L. Davenport. 1995. Effect of leaf age, duration of cool temperature treatment, and photoperiod on bud dormancy release and floral initiation in mango. Scientia Horticulturae 62: 63-73. Olesen, T. 2005. The timing of flush development affects the flowering of avocado (Persea americana) and macadamia (Macadamia integrifolia x tetraphylla). Australian Journal of Agricultural Research 56 : 723 – 729. Tindall, H.D. 1994. Rambutan Cultuvation. FAO Plant Production and Protection Paper. FAO. Wilkie, J.D., Sedgley, M. and T. Olesen. 2008. Regulation of floral initiation in horticultural trees. Journal of Experimental of botany 59: 3215 - 3228.

214

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลกระทบของปริมาณนา้ ฝนต่ อการออกดอกของลองกอง ที่ชักนาด้ วยการราดสารพาโคลบิวทราโซลและการรัดลาต้ น Impacts of Rainfall on Floral Induction of Longkong (Aglaia dookkoo Griff.) Induced by Paclobutrazol Drench and Trunk Strangulation พิมาภรณ์ แก้ วสวัสดิ์1 และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ 1 Pimaporn Kaewsawad1 and Ladawan Lerslerwong1

บทคัดย่ อ ปริมาณน ้าฝนเป็ นปั จจัยสภาพแวดล้ อมที่กาหนดช่วงแล้ งก่อนการออกดอกของไม้ ผลยืนต้ นหลายชนิดรวมทังลองกอง ้ การศึกษาครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของน ้าฝนต่อการออกดอกของลองกองที่ถกู ชักนาด้ วยการราดสารพาโคลบิว ทราโซลและการรัดลาต้ นในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2556 ดาเนินการราดสารพาโคลบิวทราโซลและรัดลาต้ นกับต้ นลองกองอายุ 16 ปี ในระยะใบเพสลาดของใบอ่อนชุดที่ 2 วางแผนการทดลองแบบสุม่ ในบล็อกอย่างสมบูรณ์ (RCB) ทา 5 ซ ้า ประกอบด้ วย 3 วิธีการชักนาการออกดอก ได้ แก่ 1) ไม่ราดสารพาโคลบิวทราโซลและไม่รัดลาต้ น 2) ราดสารพาโคลบิวทราโซล 4 กรัมสารออก ฤทธิ์ 10 %/น ้า 10 ลิตร/ต้ น + รัดลาต้ น และ 3) ราดสารพาโคลบิวทราโซล 4 กรัมสารออกฤทธิ์10 %/น ้า 10 ลิตร/ต้ น ผล การศึกษาพบว่า ปริ มาณน ้าฝน จานวนที่ฝนตก และการกระจายตัวของวันที่ฝนตกที่เกิดขึ ้นในช่วงการชักนาการออกดอกมีผล ทาให้ ลองกองใช้ เวลาในการออกดอกภายหลังการได้ รับกรรมวิธีชกั นาการออกดอกที่ยาวนานขึ ้น ในขณะที่การออกดอกเกิดขึ ้น ภายหลังจากการให้ กรรมวิธีชกั นาการออกดอกประมาณ 24 วัน การราดสารพาโคลบิวทราโซลและการรัดลาต้ นในทุกกรรมวิธี ทาให้ ลองกองออกดอกและมีความยาวตาดอกมากกว่าชุดควบคุม คาสาคัญ: ปริมาณน ้าฝน ลองกอง การออกดอก

Abstract Rainfall is an important factor that determine drought period before flowering required for many fruit trees including longkong (Aglaia dookkoo Griff.). The objective of this study was to investigate the impacts of rainfall on floral induction of longkong induced by paclobutrazol drench and trunk strangulation in August 2013. Longkong trees were drenched with paclobutrazol and trunk strangulated at young fully expanded leaf of 2nd flushing. Randomized Complete Block Design (RCB) was performed with 5 replications. The experiment comprised three treatments, including : 1) no paclobutrazol drench and no trunk strangulation, 2) paclobutrazol drench at concentration 4 gram (10 % a.i.)/10 L/tree + trunk strangulation and 3) paclobutrazol drench at concentration 4 gram (10 % a.i.)/10 L/tree. The results showed that rainfall, number of rainy days and distribution of rainy days during time of floral induction affected on longkong trees to require longer time for flowering. Furthermore, flower buds were appeared on 24 days after all treatments. Paclobutrazol drenched trees with and without trunk strangulation. had more number of flowers and length of flower buds. Keywords : Rainfall Longkong Flowering

คานา สภาพภูมิอากาศของโลกในปั จจุบนั มีความแปรปรวนค่อนข้ างสูงโดยมีสาเหตุเกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติโดย เฉพาะภาวะโลกร้ อนส่งผลกระทบต่อการออกดอกให้ ผลผลิตของไม้ ผลรวมทังลองกองซึ ้ ง่ เป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของทางภาคใต้ (มงคล และคณะ, 2550) สภาพอากาศที่แปรปรวนทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาลซึง่ ทาให้ ลองกองให้ ผลผลิตไม่ตรง ตามฤดูกาลหรื ออาจมีการออกดอก 2-3 ครัง้ ต่อปี และหากมีฝนตกในช่วงฤดูแล้ งก็จะส่งผลต่อการออกดอกที่ลา่ ช้ าหรื ออาจทา ให้ ลองกองไม่ออกดอก (มงคล, 2548) และหากมีฝนตกเพิ่มขึ ้นในช่วงที่ลองกองกาลังแตกตาดอกจะส่งผลให้ ลองกองมีอาการ อาการ 1

ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ สงขลา 90110

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

215


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ดอกร่ วง ผลผลิตลดลงและมีคุณภาพไม่ดี อนินท์ และคณะ (2556) การเปลี่ยนแปลงปริ มาณนา้ ฝนในช่วงระยะเวลา 10 ปี ตังแต่ ้ พ.ศ. 2545-2554 ส่งผลต่อการออกดอกติดผลของลองกองในจังหวัดสงขลาโดยทาให้ ลองกองเริ่ มออกดอกในช่วงเดือน มีนาคมและเก็บผลผลิตได้ ในช่วง เดือนกรกฎาคม-สิงหาคมซึ่งจากเดิมจะออกดอกในช่วงฤดูร้อนหรื อหลังจากที่ฝนทิ ้งช่วงไป แล้ วส่วนในปี พ.ศ.2554 พบว่าดอกลองกองเริ่ มบานในช่วงเดือนสิงหาคมและสามารถเก็บผลผลิตได้ ในเดือนธันวาคม ซึ่งเป็ น ช่วงที่มีฝนตกชุกจึงทาให้ เกิดความเสียหายแก่ผลผลิต (สายัณห์, 2555) จานวนวันที่ฝนตกยังส่งผลต่อการติดผลในไม้ ผลชนิด อื่น เช่นในมังคุดพบว่า จานวนวันที่ฝนตกมีแนวโน้ มลดลงเนื่องจากความแปรปรวนของสภาพอากาศส่งผลให้ ในปี พ.ศ. 2553 มังคุดไม่มีการออกดอกเกิดขึ ้น (Apiratikorn et al., 2012) ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อการผลิตไม้ ผล นอกจากนี ้ยังส่งผล กระทบต่อพัฒนาการในรอบปี ของมังคุดในรอบปี ผิดปกติไปจากเดิมเนื่องจากการกระจายตัวของฝนมีความแปรปรวนและเกิ ด การเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนส่งผลให้ มงั คุดมีการออกดอกล่าช้ าออกไป (สายัณห์ , 2555) โดยช่วงแล้ งจะเป็ นตัวกระตุ้นและชัก นาให้ มงั คุดมีการออกดอกจึงสามารถพบการออกดอกของมังคุดได้ ทงในและนอกฤดู ั้ (Apiratikorn et al., 2012) นอกจากนี ้ ปริ มาณฝนที่เพิ่มขึ ้นในขณะวันที่ฝนแล้ งลดลงเนื่องจากการตกของฝนและฤดูกาลมีการเปลี่ยนแปลงและมีฝนทิ ้งช่วง 2 ครัง้ ส่งผลให้ ชาวสวนไม่สามารถผลิตมังคุดและเงาะนอกฤดูได้ เนื่องจากไม่สามารถเตรี ยมความพร้ อมของต้ นให้ เข้ ากับฤดูกาล ร่ วมกับฤดูกาลปกติซึ่งมีการเคลื่อนออกไปหรื อร่ นเข้ ามาไม่อยู่ในรู ปแบบเดิมเช่นในอดีต (ณรงค์ , 2555) วิธีการชักนาการออก ดอกของลองกอง เช่น การควัน่ กิ่ง การรัดกิ่งหรื อลาต้ น การใช้ สารพาโคลบิวทราโซล การงดน ้า เป็ นต้ น ยังไม่สามารถนามาใช้ บังคับการออกดอกของลองกองในทางปฏิบตั ิเพราะการออกดอกของลองกองยังขึ ้นอยู่กบั สภาพภูมิอากาศเป็ นหลักโดยเฉพาะ ปริมาณน ้าฝนซึง่ เป็ นตัว กาหนดช่วงแล้ ง (ลดาวัลย์, 2556) ดังนัน้ การศึกษาอิทธิพลของปริ มาณน ้าฝนในรอบฤดูกาลผลิตควบคู่ไปกับการชักนาการออกดอกจะทาให้ ทราบถึง การตอบสนองของต้ นลองกองต่อวิธีการชักนาการออกดอกที่ได้ รับผลกระทบจากนา้ ฝนซึ่งข้ อมูลที่ได้ จะเป็ นประโยชน์ต่อการ วางแผนเพื่อใช้ ปรับปรุงประสิทธิภาพของวิธีการชักนาการออกดอกนอกฤดูให้ ประสบผลสาเร็จต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ ดาเนินการทดลองกับต้ นลองกอง อายุ 16 ปี ที่มีความสมบูรณ์ และขนาดทรงพุ่มใกล้ เคียงกัน ณ ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา จานวน 15 ต้ น วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกอย่างสมบูรณ์ (Randomized Complete Block Design ; RCB) ทา 5 ซ ้า ประกอบด้ วย 3 กรรมวิธีดงั นี ้ กรรมวิธีที่ 1 ชุดควบคุม คือไม่ราดสาร พาโคลบิวทราโซลและไม่รัดลาต้ น (T1) กรรมวิธีที่ 2 การราดสารพาโคลบิวทราโซล (T2) และกรรมวิธีที่ 3 การราดสารพาโคลบิวทราโซลร่วมกับการรัดลาต้ น (T3) ก่อนการราดสารสารพาโคลบิวทราโซลรดน ้าทัว่ รัศมีทรงพุ่มจนชุ่ม ผสมสารพาโคลบิวทราโซลความเข้ มข้ น 10 % WP 4 กรัมต่อน ้า 10 ลิตร ต่อต้ น แล้ วราดสารดินห่างจากโคนต้ นประมาณ 20 เซนติเมตร ในรัศมีทรงพุ่ม การรัดลาต้ นรัดบริ เวณตาแหน่งสูงจากพื ้นดิน ประมาณ 30 เซนติเมตร ใช้ เลื่อยมือควัน่ ลาต้ นเป็ นแนวกว้ างและลึกประมาณ 2 มิลลิเมตร ใช้ ลวดขนาด 1.6 มิลลิเมตร รัดรอบรอยควัน่ แกะลวดออกเมื่อสังเกตเห็นตาดอกเริ่ มแตกออกมาจากกิ่งลาต้ น การให้ สิ่งทดลองทาในระยะใบเพสลาดของใบอ่อนชุดที่ 2 ในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายน (นอกฤดู) พ.ศ. 2556 ขอความอนุเคราะห์ ข้ อมูลสภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดอากาศเกษตรคอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ได้ แก่ปริ มาณน ้าฝนและความชื ้นสัมพัทธ์ใน แต่ละวัน บันทึกข้ อมูลการออกดอก ได้ แก่ จานวนตาดอกเดี่ยวและกลุ่มตาดอก จานวนตาดอกทังหมด ้ และความยาวตาดอก เฉลี่ย วิเคราะห์ความแปรปรวนของข้ อมูลการออกดอกโดยใช้ ANOVA และเปรี ยบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยข้ อมูลการ ออกดอกโดยวิธี Least Significant Difference (LSD)ที่ระดับ α = 0.05 ด้ วยโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโปรแกรม R เวอร์ ชนั่ 2.14.0

ผลการทดลองและการวิจารณ์ น ้าฝนมีผลกระทบต่อการชักนาการออกดอกของลองกองด้ วยวิธีการราดสารพาโคลบิวทราโซลและการรัดลาต้ น ดังนี ้ 1. ปริมาณนา้ ฝน จานวนวันที่ฝนตกและ การกระจายตัวของฝน จากข้ อมูลปริมาณน ้าฝนและความชื ้นสัมพัทธ์ในช่วงทาการทดลองชักนาการออกดอก พบว่าปริ มาณน ้าฝนในระหว่าง ช่ ว งวั น ที่ ใ ห้ กรรมวิ ธี จ นกระทั่ ง ถึ ง วั น ที่ อ อกดอกมี ก ารกระจายตั ว ของฝนและจานวนวั น ที่ ฝ นตกมากที่ สุ ด อยู่ ในช่ ว งเดื อ นตุ ล าคมโดย มีจานวนวันที่ฝนตกเท่ากับ 12 วัน นับตังแต่ ้ วนั ที่ให้ กรรมวิธีจนกระทัง่ ถึงวัน ที่ออกดอก มีปริ มาณ น ้าฝนรวมเท่ากับ 109.8 มิลลิเมตร และการออกดอกใช้ เวลาตังแต่ ้ ให้ กรรมวิธีจนกระทัง่ ถึงออกดอกเฉลี่ย 24 วัน จานวนวันที่ฝน 216

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ตก และการกระจายตัวของฝน พบว่า การให้ กรรมวิธีในช่วงปลายเดือนกันยายนเป็ นช่วงที่มีความถี่ของฝนตกบ่อยแต่ยงั ทาให้ ลองกองสามารถออกดอกได้ (Figure 1) อาจเนื่องจากลองกองได้ รับช่วงแล้ งตังแต่ ้ กลางเดือน-ปลายเดือนสิงหาคมจึงมีช่วงแล้ ง ที่เพียงพอต่อการชักนาให้ ลองกองออกดอกได้ และปริ มาณน ้าฝนรวมยังไม่ถึงปริ มาณที่มีผลกระทบต่อการออกดอก อย่างไรก็ ตามเมื่อมีฝนตกในช่วงเดือนตุลาคม ซึ่งเป็ นระยะเวลาหลังจากการให้ กรรมวิธีไปแล้ วมีผลทาให้ ลองกองออกดอกล่าช้ า เมื่อ เปรี ยบเทียบกับการทดลองก่อนหน้ าที่ผ่านมาในลองกองพบว่าจะมีการออกดอกเกิดขึ ้นภายหลังจากการให้ กรรมวิ ธี ไปแล้ ว เฉลี่ย 21 วัน (ลดาวัลย์ และ สุภาณี , 2556 ; สายทิพย์ และ ลดาวัลย์, 2557) นอกจากนี ้การใช้ สารพาโคลบิวทราโซลและการรัด ลาต้ นสามารถทดแทนความต้ องการช่วงแล้ งหรื อความเครี ยดที่เกิดจากการขาดนา้ ของลองกองได้ (ลดาวัลย์ และ สุภาณี , 2556) จึงกระตุ้นการออกดอกของลองกองซึ่งพบว่าทาให้ ออกดอกได้ ดีกว่าชุดควบคุมแม้ ว่าจะมีฝนเกิดขึ ้นในช่วงแล้ งก่อนการ ออกดอก

date of treatment T1R1,T2R1,T3R1

40

150

date of treatment date of treatment T1R2,T2R2,T3R2 T1R4,T2R4,T3R4 T1R3,T2R3,T3R3 T1R5,T2R5,T3R5

flowering

100

20

50

0

0 1

5

9 11 1 15 1 19 21 2 25 2 29 1

5

Relative humidity (%)

Rainfall (mm.)

60

9 11 1 15 1 19 20

September

October

date/month 2013 rainfall

relative humidity

Figure 1 Daily rainfall, relative humidity and treatment date during flower induction by paclobutrazol drenching and trunk strangulation in Longkong (Aglaia dookkoo Griff.). T1 = control ; T2 = paclobutrazol drench at concentration 4 gram (10 % a.i.)/10 L/tree. ; T3 = paclobutrazol drench at concentration 4 gram (10 % a.i.)/10 L/tree + trunk trangulation. 2. การออกดอก การชักนาการออกดอกของลองกองด้ วยวิธีราดสารพาโคลบิวทราโซลและรัดลาต้ น พบว่า ในสัปดาห์ที่ 3 ภายหลังการ ให้ กรรมวิธีการราดสารพาโคลบิวทราโซลเพียงอย่างเดียวและการราดสารพาโคลบิวทราโซลร่วมกับการรัดลาต้ น สามารถชักนา ให้ ต้นลองกองออกดอกมากกว่าต้ นลองกองในชุดควบคุ ม โดยสัปดาห์ที่ตรวจนับครัง้ สุดท้ ายคือสัปดาห์ที่ 14 พบว่า การให้ กรรมวิธีชกั นาการออกดอก มีผลทาให้ ต้นลองกองออกดอกมากกว่าต้ นที่ไม่ได้ รับการชักนาประมาณ 2 เท่า (Figure 2) โดยตา ดอกที่แตกออกมาเป็ นกลุม่ ตาดอกมากกว่าตาดอกเดี่ยว (Figure 3 and 4) เมื่อพิจารณาในช่วงออกดอกพบว่ามีจานวนวันที่ ฝนตก การกระจายตัวของน ้าฝนและปริ มาณน ้าฝนสูงสุดในช่วงสัปดาห์ที่ 6 หลังจากออกดอกซึ่งส่งผลต่อจานวนตาดอกของ ลองกองที่ลดลงรวมไปถึงปริ มาณน ้าฝน มีผลทาให้ ตาดอกลองกองร่วงหล่นเป็ นจานวนมากแต่หลังจากสัปดาห์ที่ 6 มีช่วงแล้ ง เกิดขึ ้นส่งผลให้ มีการแตกตาดอกเพิ่มขึ ้นในสัปดาห์ที่ 8

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

217


0 15

22

29

5

12

19

2

วารสารเกษตรพระจอมเกล้า October

60

date m

50 control

paclobu

20

40

15

30

10

20

5

0 15

22

29

5

October

12

19

2

November

date month control

paclobutrazol

22 20 18 10 1 24 16 1 14 14 December 12 January 10 8 2013 6 4 paclobutrazol+trunk strangulation 2 0

Rainfall (mm.)

rainfall

25

Number of cluster flower buds

Total number of flower buds

30

November

10

0

6

60

rainfall

5

50 control

4

40

3

30

2

20

1

10

0

0

15

22

29

October

5

12

19

2

10

November

1

December

24

1

Rainfall (mm.)

Number of single flower buds

Figure 2 Total daily rainfall recorded at meteorological station located in Kho Hong District,15Songkla 22 Province 29 and5 12 19 total number of flower buds (mean ± S.E., n=5) of Longkong (Aglaia dookkoo Griff.) after paclobutrazol October November drench and trunk strangulation (error bar= standard error of mean). dat

14 January

date month 2013 control

paclobutrazol

paclobutrazol+trunk strangulation

Figure 3 Total daily rainfall recorded at meteorological station located in Kho Hong District, Songkla Province and number of single flower buds (mean ± S.E., n=5) of Longkong (Aglaia dookkoo Griff.) after paclobutrazol drench and trunk strangulation (error bar= standard error of mean).

218

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

pac


0 15

22

29

5

12

1

วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

22 20 18 16 14 12 10 8 6 4 2 0

Novemb

60

rainfall

50 40 30 20

control

Rainfall (mm.)

Number of cluster flower buds

October

10 0 15

22 October

29

5

12

19

2

10

November

1

24

1

December

14 January

date month 2013 control

paclobutrazol

paclobutrazol+trunk strangulation

Figure 4 Total daily rainfall recorded at meteorological station located in Kho Hong District, Songkla Province and number of cluster of flower buds (mean ± S.E., n=5) of Longkong (Aglaia dookkoo Griff.) after paclobutrazol drench and trunk strangulation (error bar= standard error of mean). การศึกษาความยาวตาดอกของลองกองภายหลังออกดอก พบว่า ต้ นลองกองที่ได้ รับการชักนาด้ วยการราดสาร พาโคลบิวทราโซลเพี ยงอย่างเดียว และร่ วมกับการรัดลาต้ นมีความยาวตาดอกมากกว่าลองกองชุดควบคุมอย่างเห็นได้ ชดั ใน ช่วง 3 สัปดาห์แรก อย่างไรก็ตามในสัปดาห์สดุ ท้ ายของการวัดความยาวตาดอก สัปดาห์ที่ 14 พบว่า ต้ นลองกองที่ได้ รับสาร พาโคลบิวทราโซลเพียงอย่างเดียวมีความยาวมากที่สดุ ในขณะที่ลองกองที่ได้ รับสารพาโคลบิวทราโซลร่ วมกับการรัดลาต้ นมี ความยาวตาดอกไม่แตกต่างจากชุดควบคุม (Figure 5) ผลการทดลองที่ได้ มีความแตกต่างจากรายงานที่ผ่านมา โดยต้ น ลองกองที่ได้ รับสารพาโคลบิวทราโซลจะมีความยาวตาดอกเฉลี่ยต่ากว่าต้ นที่ไม่ได้ รับสารหรื อรัดลาต้ น (ลดาวัลย์ และสุภาณี , 2556 ; Lerslerwong et al., 2011) เป็ นที่น่าสังเกตว่าตาดอกที่แตกออกมามีการเจริ ญเติบโตที่ค่อนข้ างช้ า ใช้ เวลาในการ พัฒนาตาดอกเป็ นระยะเวลายาวนาน ซึ่งปกติภายหลังการแตกตาดอกจนกระทั่งดอกพัฒนาเป็ นดอกที่ มีขนาดความยาว มากกว่าหรื อเท่ากับ 1 เซนติเมตร ใช้ เวลาประมาณ 1 เดือน (มงคล และคณะ, 2522) อาจเป็ นเพราะตาดอกลองกองชะงักการ เจริ ญเติบโต อันมีสาเหตุมาจากการได้ รับน ้าไม่เพียงพอ ถึงแม้ ในช่วงเดือนตุลาคมจะมีฝนตกแต่ปริ มาณฝนที่ตกลงมานันมี ้ ต่า กว่า 50 มิลลิลิตร จึงอาจไม่เพียงพอต่อการพัฒนาตาดอกไปเป็ นช่อดอกลองกอง ซึง่ สอดคล้ องกั บการมีฝนตกน้ อยหรื อรับน ้าไม่ เพียงพอส่งผลต่อความชื ้นในดินที่มีต่าลงจึงทาให้ ตาดอกแห้ งและไม่เจริญ (รวี, 2543)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

219


Lenght of flower buds (mm.)

วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

6.00 5.00

4.00 3.00 2.00 1.00 0.00

15

22 October

29

5

12

19

2

10

November

1 December

24

1

14 January

date month 2013 control

paclobutrazol

paclobutrazol+trunk strangulation

Figure 5 Effects of paclobutrazol drench at concentration 4 gram (10 % a.i.)/10 L/tree and trunk strangulation on length of flower buds of longkong (Aglaia dookkoo Griff.) (error bar= standard error of mean). เมื่อพิจารณาลักษณะของตาดอกลองกองที่แตกออกมาหลังจากการใช้ สารพาโคลบิวทราโซลและการรัดลาต้ น พ บ ว่ า การใช้ สารพาโคลบิวทราโซลทาให้ ตาดอกลองกองที่เกิดขึ ้นมีลกั ษณะสันเกิ ้ ดเป็ นตุ่มเล็กๆ เป็ นกระจุกและเป็ นกลุ่ มตาดอกมาก กว่าตาดอกเดี่ยว ส่วนการใช้ สารพาโคลบิวทราโซลร่ วมกับการรัดลาต้ นตาดอกที่เกิดขึ ้นมีลกั ษณะเกิดเป็ นกระจุกและมีกลุม่ ตา ดอกมากกว่าตาดอกเดี่ยวเช่นเดียวกับการใช้ สารพาโคลบิวทราโซลเพียงอย่างเดียว (Figure 6) สอดคล้ องกับรายงานก่อนหน้ านี ้ ที่พบว่า การให้ สารพาโคลบิวทราโซลมีผลทาให้ ตาดอกลองกองที่ได้ มีลกั ษณะเป็ นกระจุก (ลดาวัลย์ และสุภาณี , 2556) เพราะ สารพาโคลบิวทราโซลเป็ นสารชะลอการเจริ ญเติบโตของพืชที่มีผลในการยับยัง้ การสร้ างจิบเบอเรลลินที่ช่วยส่งเสริ มการ เจริญเติบโตของพืช (Fletcher et al., 2000)

control

paclobutrazol

paclobutrazol + trunk strangulation

Figure 6 Characteristic of longkong (Aglaia dookkoo Griff.) flower buds after paclobutrazol drench and trunk strangulation.

220

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ป ปริมาณน ้าฝน จานวนวันที่ฝนตก และการกระจายตัวของฝนส่งผลให้ ลองกองที่ถกู ชักนาการออกดอกด้ วยการราดสาร พาโคลบิวทราโซลและการรัดลาต้ นมีการออกดอกที่ลา่ ช้ า การให้ กรรมวิธีชกั นาการออกดอกดังกล่าวสามารถทาให้ ลองกองออก ดอกได้ โดยการให้ สารพาโคลบิวทราโซลเพียงอย่างเดียวและร่ วมกับการรัดลาต้ นมีการออกดอกมากกว่าชุดควบคุม และต้ น ลองกองที่ ถูกชักนามีจานวนกลุ่มตาดอกมากกว่าตาดอกเดี่ยว แต่การให้ กรรมวิธีชักนาตาดอกไม่มีผลต่อความยาวตาดอก เนื่องจากมีปริมาณน ้าไม่เพียงพอต่อการพัฒนาตาดอก

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ พืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติที่เอื ้อเฟื อ้ สถานที่ทาการวิจยั ให้ งานวิจยั ในครัง้ นี ้สาเร็จลุลว่ งไปได้ ด้วยดี

และภาควิชา

เอกสารอ้ างอิง ณรงค์ คงมาก. 2555. เกษตรกรชาวสวนผลไม้ ชาวนาในจังหวัดนครศรี ธรรมราชต่อการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ. ชุดโครงการพัฒนา ความรู้และยุทธศาสตร์ ความตกลงพยุหภาคีด้านสิ่งแวดล้ อมและยุทธศาสตร์ ลดโลกร้ อนสานักงานกองทุนสนับสนุนการทาวิจยั (สกว.) มีนาคม 2555. มงคล แซ่หลิม. 2548. การผลิตลองกองในภาคใต้ . ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ . มงคล ศรี วฒ ั นวรชัย, พิมพรรณ ตันสกุล และไพรัตน์ นาควิโรจน์. 2522. การศึกษาสภาวะการออกดอกติดผลและคุณภาพผลของลองกองบางพันธุ์ ในภาคใต้ . รายงานวิจยั ประจาปี 2520-2522 ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ . มงคล แซ่หลิม, สายัณห์ สดุดี และ สุภาณี ชนะวีรวรรณ. 2550. การพัฒนาระบบการปลูกลองกอง. รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ . สายทิพย์ ทิพย์ปาน และ ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2557. ผลของการรัดกิ่งและสารพาโคลบิวทราโซลต่อการออกดอกและปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที ไม่ใช่โครงสร้ างของลองกอง (Aglaia dookkoo Griff.). ว. พืชศาสตร์ สงขลานคริ นทร์ . 1 : 28-33. สายัณห์ สดุดี. 2555. การปรับตัวทางภาคการเกษตรต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ. ชุดโครงการพัฒนาความรู้และยุทธศาสตร์ ความตกลง พยุหภาคีด้านสิ่งแวดล้ อมและยุทธศาสตร์ ลดโลกร้ อน สานักงานกองทุนสนับสนุนการทาวิจยั (สกว.) มีนาคม 2555. รวี เศรษฐภักดี. 2543. การออกดอก การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของลองกอง. ใน : เทคโนโลยีการผลิตลองกอง. เอกสารประกอบคาบรรยายการ อบรมเทคโนโลยีการผลิตลองกอง. ภาควิชาเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี. หน้ า 27-32. ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2556. ปั จจัยควบคุมและแนวทางการออกดอกของลองกอง. ว. เกษตรพระจอมเกล้ า. 31: 102-111. ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ และ สุภาณี ชนะวีรวรรณ. 2556. การศึกษาอิทธิพลของเขตกรรมและสารควบคุมการเจริ ญเติบโตต่อสรี รวิทยาการออกดอก เพื่อเป็ นแนวทางในการผลิตลองกองนอกฤดู. รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์ ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ . อนินท์ จิรพัทธ์พงศกร, วลีรัตน์ สุพรรณชาติ และ สุวรรณา ประณีตวตกุล . 2556. ปั จจัยด้ านสภาพภูมิอากาศที่มีต่อผลิตภาพการผลิตโดยรวมภาค การเกษตรในภาคตะวันออกของไทย. ว. เกษตรศาสตร์ . 34 : 399-412. Apiratikorn, S., S. Sdoodee., L. Lerslerwong and S. Rongsawad . 2012. The Impact of Climatic Variability on Phenological Change, Yield and Fruit Quality of Mangosteen in Patthalung Province, Southern Thailand. Kasetsart J.. (Nat. Sci.) 46 : 1-9. Fletcher, R. A., C.R. Sopher and N.N. Vettakkorumakankav. 2000. Regulation of Gibberellins is crucial for plant stress protection . In : Basra, A.S. (ed) Plant Growth Regulators in Agriculture and Horticulture : Their Role and Commercial Uses. Food Products Press, Binghamton. Lerslerwong, L., S. Tipparn and S. Chanaweerawan. 2011. Preliminary study to control flowering by trunk girdling and paclobutrazol treatment in longkong Acta Hortic. J. 1024: 211-216.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

221


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการพรางแสงด้ วยตาข่ ายต่ อการเปลี่ยนแปลงสีใบ และการตอบสนองทางสรีรวิทยา บางประการของสับปะรดสีสกุล Neoregelia sp. Effect of Net Shading on the Changes of Leaf Color and Some Physiological Responses of Bromeliads (Neoregelia sp.) ภาณุพล หงษ์ ภักดี1 และกฤษฎา ภักดีลุน1 Panupon Hongpakdee1 and Kritsada Phakdeelun1

บทคัดย่ อ การผลิตสับปะรดสีในโรงเรื อน มักพบอาการผิดปกติของสี เมื่อพืชถูกขนย้ ายไปยังอีกสถานที่ ซึ่งมีความเข้ มแสง เปลี่ยนแปลงไป การศึกษาผลการพรางแสงด้ วยตาข่ายต่อการเปลี่ยนแปลงสีใบ และการตอบสนองทางสรี รวิทยาบางประการ ของสับปะรดสี สกุล Neoregelia sp. ดาเนินการภายใต้ การทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ โดยคัดเลือกต้ นสับปะรดสี เพื่อรับกรรมวิธี ภายใต้ สภาพการพรางแสงด้ วยตาข่าย 5 ระดับ เป็ นเวลา 2 สัปดาห์ ได้ แก่ กรรมวิธีควบคุม (ได้ รับแสงโดยตรง) กรรมวิธีพราง แสงด้ วยตาข่ายสีเขียว 50% และ 70% กรรมวิธีพรางแสงด้ วยตาข่ายสีดา 50% และ 70% ตามลาดับ ผลการทดลอง พบว่า ทุก ระดับของการพรางแสง ไม่สง่ ผลต่อค่าน ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ งของรากพืช แต่ทกุ กรรมวิธีที่ใช้ ตาข่ายพรางแสง ทาให้ พืช มี ค่าน ้าหนักสดส่วนยอด มากกว่าการไม่พรางแสง ส่วนการลดค่ าความเข้ มแสงลง โดยการเพิ่มระดับการพรางแสง ส่งผลให้ เกิด การเปลี่ยนแปลงค่าสี ที่หลากหลาย โดยพบว่า ค่า a และ b มีค่ามากที่สดุ เมื่อพืชเติบโตภายใต้ การพรางแสงด้ วยตาข่ายสีดา 50% และที่การพรางแสงด้ วยตาข่ายสีดา ทังสองระดั ้ บ ขณะที่การให้ ต้นพืช ได้ รับแสงโดยตรง จะให้ ค่า L สูงที่สดุ นอกจากนี ้ การเพิ่มระดับการพรางแสงด้ วยตาข่ายมากขึ ้น ยังมีความสัมพันธ์อย่างมาก กับการลดลงของค่าปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ b ในใบพืช (r = 0.97) และ ยังพบความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างปริมาณคลอโรฟิ ลล์ a และปริมาณแคโรทีนอยด์ในใบพืชด้ วย (r = 0.79) ทัง้ การเปลี่ยนแปลงค่าสี และปริ มาณเม็ดสี ในใบพืช จึงอาจเป็ นเหตุผลส่วนหนึ่ง ที่ทาให้ สบั ปะรดมีการพัฒนาสีแดงเข้ มขึ ้น เมื่อ ได้ รับสภาพความเข้ มแสงต่า คาสาคัญ: ความเข้ มแสง สับปะรดสี สารสี การเจริญเติบโต

Abstract Bromeliad plant (Neoregelia sp.) in nursery production had usually occurred as unmarketable color characters when plant was transferred to other different light intensity. Effect of net shading on the changes of leaf color and physiological responses of Neoregelia sp. was conducted in CRD experiment. Plants were selected to grow under 5 levels of net shading for 2 weeks i.e. control (direct sunlight), 50% and 70% shading with green net, and 50% and 70% shading with black net, respectively. The result was exhibited that all shading levels did not affect root fresh and dry weight, % water content in shoot and root, but all net shading treatment gave the higher shoot fresh weight than non-shading treatment. Decrease light intensity by increase net shading levels seems to affect the various change of bromeliad leaf color. The highest a-value and b-value were found in 50% black net shading and both light levels of black net shading, while the direct sunlight treatment gave the highest L-value in plant leaf. Moreover, increase net shading level had correlated with reduces chlorophyll b (r = 0.97) and chlorophyll a content had positively correlated with carotenoids content in leaf (r = 0.79). Both of color value and pigment content changes might be partially concern with the development of deep reddish colors when plant expose to low light intensity. Keywords: light intensity, bromeliads, pigment, growth

1

ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ. เมือง จ. ขอนแก่น 40002 222

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา สับปะรดสี (Bromeliad) จัดเป็ นไม้ ประดับที่มีสีสันสวยงาม มีลกั ษณะทรงต้ น ดอก ใบ ที่หลากหลายและเป็ น เอกลักษณ์ ของแต่ละสายพันธุ์ ที่สาคัญคือ มีการดูแลรักษาง่าย และสามารถเจริ ญเติบโต ปรับตัวเข้ ากับสภาพแวดล้ อมของ ประเทศไทยได้ ดี จึงทาให้ การปลูกเลี ้ยงเป็ นที่นิยมมากขึ ้น (ศูนย์สง่ เสริ มและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดนครราชสีมา, 2556) สาหรับการผลิตสับปะรดสีเพื่อการค้ าในประเทศไทย ซึ่งมักมีปัจจัยทางสภาพแวดล้ อม โดยเฉพาะปริ มาณและความเข้ มแสง (light quantum and light intensity) ของแสงแดดมากเกินไป จึงต้ องมีการพรางแสงให้ เหลือเพี ยง 40-60 % เพื่อให้ เหมาะสม กับสภาพการผลิต ทังนี ้ ้ปริมาณและความเข้ มแสงที่เหมาะสม ยังขึ ้นอยู่กบั ชนิดและสกุลด้ วย โดยสับปะรดสีที่มีใบแข็งหนา ขอบ ใบมีหนาม เช่น สกุล Aechmea, Dyckia และ Neoregelia มักต้ องการความเข้ มแสงน้ อย ส่วนสกุล Tillandsia ที่มีใบสีเทาเงิน มักต้ องการแสงมากกว่าชนิดที่มีใบอ่อนและไม่มีหนาม (จารุพนั ธ์ , 2543) การงดอาหารและการได้ รับสภาพความเข้ มแสงต่ายัง ช่วยให้ ใบของสับปะรดสีเหล่านี ้ มีสีสนั เพิ่มมากขึน้ (Tucker, 2000) นอกจากนีค้ วามเข้ มแสงยังส่งผลต่อการออกดอกใน สับปะรดสีด้วย โดยในสายพันธุ์ที่ต้องการความเข้ มแสงน้ อย จะออกดอกได้ ง่ายกว่าชนิดที่ต้องการความเข้ มแสงมาก (จารุพนั ธุ์, 2543) โดยทัว่ ไปแล้ ว ใบพืชที่เจริ ญเติบโตภายใต้ สภาพแสงที่จากัด มักมีการปรับตัวโดยสร้ างใบขนาดใหญ่ และเพิ่มปริ มาณ รงควัตถุ เพื่อประสิทธิภาพการดูดซับแสงได้ ดีขึ ้น (Evans and Poorter, 2001) ส่วนในสับปะรดสี สกุล Billbergia elegans และ สกุล Neoregelia พบการเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานวิทยาเมื่อได้ รับแสงแดดจัด โดยมีพื ้นที่ใบ ความหนาใบ จานวนเซลล์พาเรน ไคมาที่สะสมน ้า (water storage parenchyma cell) จานวนเซลล์คลอเรนไคมา (chlorenchyma) และความหนาแน่นของปาก ใบ จะเพิ่มขึ ้น นอกจากนี ้ยังพบสีแดงเข้ ม (Deep radish red colors) บริ เวณใบเพิ่มมากขึ ้น (Pereira et al., 2013) โดยเชื่อว่า เป็ นผลเกี่ยวข้ องกับเพิ่มกลไกการป้องกันอันตรายจากแสง และเพิ่มปริมาณสารสีที่ใช้ เพื่อการสังเคราะห์แสงในพืช เช่น กลุม่ ของ แอนโธไซยานิน ด้ วย (Steyn et al., 2002) ขณะที่ต้นปลูกเลี ้ยงในสภาพร่มเงา ใบจะมีสีเขียวเข้ มชัดเจนกว่า ซึง่ อาจเป็ นเพราะ พืชมีการปรับตัว โดยเพิ่มปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ เพื่อเพิ่มการสังเคราะห์แสงให้ มากขึ ้นกว่าต้ นที่เติบโตกลางแจ้ ง (Pereira et al., 2013) ซึง่ ทาให้ เห็นได้ ว่า สาหรับสับปะรดสีแล้ ว ปั จจัยเรื่ องความเข้ มแสง มีผลโดยตรงต่อการเจริ ญเติบโต และคุณภาพของต้ น โดยเฉพาะการสร้ างสี หรื อการขึน้ สีของใบ การผลิตสับปะรดสีเชิงการค้ า จึงจาเป็ นต้ องมีการจัดการเรื่ องแสงที่ถูกต้ อง และ เหมาะสม ทังการเลื ้ อกใช้ ชนิด สี และระดับค่าการพรางแสง ของตาข่ายพรางแสงในโรงเรื อน การวัดค่าสี (color value)ในระบบ L*, a* และ b* เป็ นระบบการบรรยายสีในแบบ 3 มิติ โดยที่ค่าแกน L* จะบรรยาย ถึงความสว่าง (lightness) จากค่า +L* แสดงถึงสีขาว จนไปถึง –L* แสดงถึงสีดา ส่วนค่าแกน a* จะบรรยายถึงแกนสีจากเขียว (-a*) ไปจนถึงแดง (+a*) และแกน b* จะบรรยายถึงแกนสีจากน ้าเงิน (-b*) ไปเหลือง (+b*) ระบบการวัดค่าสีนี ้ เป็ นที่นิยมใช้ และได้ รับการยอมรับกันอย่างแพร่ หลายในวงการเกษตร และอุตสาหกรรมอาหารต่างๆ ซึ่งช่วยให้ การอธิบายค่าสีในผลผลิต เป็ นมาตรฐานกลางมากขึ ้น อย่างไรก็ตาม แม้ วา่ เกษตรกรมีความรู้ ในการจัดการเรื่ องระดับการพรางแสงที่เหมาะสมสาหรับการผลิตสับปะรดสีใน แต่ละสกุลแล้ ว หากแต่ระหว่างการขนย้ าย รอการจาหน่าย เมื่อไปออกร้ านนอกสถานที่ มักประสบปั ญหา โดยพบ อาการ ผิดปกติของสีใบ เมื่อพืชถูกขนย้ ายไปยังบริ เวณที่มีความเข้ มแสงเปลี่ยนแปลงไปจากสภาพการผลิตเดิม ภายใต้ โรงเรื อน ส่งผล ให้ คณ ุ ภาพของผลผลิตลดลง และจาหน่ายไม่ได้ ราคาดี เพื่อการพยายามแก้ ไขปั ญหา และเข้ าใจในการตอบสนองเรื่ องแสงต่อ คุณภาพของสีใบสับปะรดสีมากขึ ้น จึงเป็ นที่มาของการศึกษาเรื่ อง ผลการพรางแสงด้ วยตาข่ายต่อการเปลี่ยนแปลงสีใบ และ การตอบสนองทางสรี รวิทยาบางประการของสับปะรดสีสกุล Neoregelia sp. cv. ‘Zoe’ ในครัง้ นี ้

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

223


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการ คัดเลือกต้ นสับปะรดสีสกุล Neoregelia sp. cv. ‘Zoe’ อายุ 3 เดือน ที่ปลูกในกระถางขนาด 4 นิ ้ว ใช้ กาบมะพร้ าวสับ เป็ นวัสดุปลูก มี การให้ นา้ ทุกเช้ า และให้ ปุ๋ยเม็ดละลายช้ า สูตร 15-15-15 อัตรา 1 กรั มต่อกระถาง คัดเลือกต้ นที่ มีความ สม่าเสมอกัน โดยให้ มีความกว้ างทรงพุ่มประมาณ 13-18 เซนติเมตร มีใบเฉลี่ย 15-20 ใบ จานวน 75 กระถาง มาปลูกใน โรงเรื อน ที่มีการพรางแสงด้ วยตาข่ายพรางแสงแตกต่างกัน 5 ระดับ ตามกรรมวิธี เป็ นระยะเวลา 2 สัปดาห์ วางแผนการทดลอง แบบสุม่ สมบูรณ์ (Completely Randomized Designs: CRD) จานวน 5 กรรมวิธีๆ ละ 3 ซ ้า (5 ต้ นต่อซ ้า) คือ 1.ได้ รับแสงเต็มที่ (ไม่พรางแสง), 2.ตาข่ายสีเขียวพรางแสง 50%, 3.ตาข่ายสีเขียวพรางแสง 70%, 4.ตาข่ายสีดาพรางแสง 50% และ 5. ตาข่ายสี ดาพรางแสง 70% ตามลาดับ ทาการวัดค่าความเข้ มแสงที่ร ะดับยอดพืชในแต่ละกรรมวิธีด้วยเครื่ อง Luminance meter (Model T-10, Minolta, JP) บันทึกผลการเจริ ญเติบโต ได้ แก่ น ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ งของส่วนยอด และราก แล้ วทาการวัดค่าสีใบลาดับที่3 จากปลายยอด ในระบบ L*, a* และ b* ด้ วยเครื่ องวัดสี (Hunter Lab) และวัดค่าความเขียวใบ (SPAD unit) ด้ วยเครื่ อง chlorophyll meter (Model 502, Minalta, JP) ก่อนตัดใบ นาไปวิเคราะห์หาปริมาณคลอโรฟิ ลด์ และแคโรทีนอยด์ ตามกรรมวิธี ของ Bajracharya (1999) วิเคราะห์ผลทางสถิติ และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความเข้ มแสง และปริ มาณสารสี ชนิดต่างๆ ด้ วยโปรแกรมสถิติสาเร็จรูป Statistic 8 (SXW Tallahassee, FL, USA)

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากผลการศึกษา พบว่า ทุกระดับของการพรางแสง มีค่าความเข้ มแสงที่ระดับยอดพืชที่แตกต่างกัน โดยกรรมวิธี ควบคุมที่ได้ รับแสงธรรมชาติ มีคา่ ความเข้ มแสงมากที่สดุ ประมาณ 1,700 mol m-2s-1 และลดลงตามลาดับกรรมวิธีการพราง แสงที่ให้ กบั พืช ส่วนการใช้ ตาข่ายดาพรางแสง 70% ให้ คา่ ความเข้ มแสงน้ อยที่สดุ ประมาณ 280 mol m-2s-1 (Table 1) Table 1. Light intensity (mol m-2s-1) of the different shading treatment on 23 February 2015 at 12.00-12.30 at Flower and Ornamental Plants Experimental Fields, Faculty of Agriculture, Khon Kaen University Light intensity Lighting Shading Shading Treatment -2 -1 (mol m s ) (%) (%) Control (direct sunlight) 1,715.63 a 100.00 0.00 Green net 50% shading 1,119.83 b 65.27 34.73 Green net 70% shading 832.73 c 48.54 51.46 Black net 50% shading 756.68 d 44.10 55.90 Black net 70% shading 278.51 e 16.23 83.77 LSD at p<0.05 * CV% 6.23 Data are means (n=8), measure by Lux meter model: Testo-545, Germany and convert from K lux to mol m-2s-1 by multiply with day light factor (X18) (McCree, 1981) นอกจากนี ้ยังพบการตอบสนองด้ านการเจริ ญเติบโตของสับปะรดสี โดยการพรางแสงทุกระดับ ทาให้ พืชมีค่าน ้าหนัก สดส่วนยอดเพิ่มมากขึ ้น เมื่อเปรี ยบเทียบกับการไม่พรางแสง (Table 2) ส่วนกรรมวิธีการใช้ ตาข่ายสีดาพรางแสง 50% ให้ ค่า น ้าหนักสดส่วนยอดมากที่สดุ อย่างไรก็ตาม เมื่อนามาคานวณหาค่าปริ มาณน ้าสะสม กลับไม่พบความแตกต่างในทุกระดับการ พรางแสง (Table 2) ซึ่งโดยทัว่ ไปแล้ ว ใบพืชที่เจริ ญเติบโตภายใต้ สภาพแสงที่จากัด มักมีการปรับตัวโดยสร้ า งใบขนาดใหญ่ และเพิ่มปริมาณรงควัตถุ เพื่อประสิทธิภาพการดูดซับแสงได้ ดีขึ ้น (Evans and Poorter, 2001) ขณะที่พืชเติบโตภายใต้ แสงแดด เต็มที่ มักมีแนวโน้ ม ลดขนาด และเพิ่มความหนาของใบ โดยเพิ่มค่าน ้าหนักใบต่อพื ้นที่ และมีปริ มาณคลอโรฟิ ลล์สงู กว่าพืชที่ ปลูกในร่ม (Markesteijn et al., 2007; Sarijeva et al., 2007) ในกรณีของสับปะรดสีสกุล Neoregelia sp. cv. ‘Zoe’ นี ้ พบว่า กรรมวิธีควบคุมที่ไม่พรางแสง ให้ ผลไปในทางเดียวกัน คือ มีปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ a และคลอโรฟิ ลล์ b สูงที่สดุ เมื่อเปรี ยบเทียบ กับการพรางแสงที่ระดับอื่นๆ (Table 3) ขณะที่ปริ มาณแคโรทีนอยด์ จะลดลงเมื่อเพิ่มระดับการพรางแสงมากขึ ้น (Table 3) 224

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

นอกจากนี ้ เมื่อพิจารณาค่าความเขียวใบ (SPAD unit) กลับพบว่า การลดความเข้ มแสงลง มีผลทาให้ ค่าความเขียวใบเพิ่มขึ ้น ซึง่ อาจเป็ นผลเนื่องมาจากการปรับตัวในพืช เพื่อดูดซับพลังงานแสง แล้ วนาไปใช้ ในกระบวนการสังเคราะห์ (Hale and Orcutt, 1987) เช่นเดียวกับผลการพรางแสงในต้ นเล็บครุฑผักชี แล้ วพบค่าความเขียวใบเพิ่มขึ ้น (ภาณุพล, 2546) Table 2. Plant growth (fresh weight, dry weight and %water content) of Neoregelia plant which grown under different shading treatment for 2 weeks FW (mg) DW (mg) %Water content Shading Treatment Shoot Root Shoot Root Shoot Root Control (sunlight) 10.82 b 3.09 0.99 c 0.40 100.00 100.00 G net 50% shading 15.42 a 4.47 1.32 bc 0.67 143.45 141.54 G net 70% shading 15.43 a 4.84 1.05 b 0.50 146.32 161.35 B net 50% shading 18.00 a 6.56 1.34 a 0.62 169.51 220.78 B net 70% shading 16.02 a 4.71 1.52 bc 0.75 147.50 147.14 LSD at p<0.05 * ns * ns ns ns CV% 16.21 26.39 19.42 33.34 15.22 23.26 ns = non-significant, * = significant, means with the same letter within column are not significant at p<0.05, G = Green, B = Black, FW = Fresh weight, DW = Dry weight Table 3. Pigment content (Chlorophyll a, chlorophyll b and carotenoids) and SPAD Unit from 3rd leaf of Neoregelia plant which grown under different shading treatment for 2 weeks Pigment Content (mg/gFW) Shading Treatment SPAD Unit Chlorophyll a Chlorophyll b Carotenoids Control (sunlight) 65.33 a 55.80 a 104.12 a 6.05 b G net 50% shading 55.75 bc 45.70 b 93.86 a 6.14 b G net 70% shading 62.46 ab 35.19 c 97.68 a 7.86 a B net 50% shading 42.46 d 33.18 c 67.88 b 6.76 b B net 70% shading 48.92 cd 28.02 c 72.69 b 7.88 a LSD at p<0.05 * * * * CV% 8.08 13.7 7.46 16.33 * = significant, means with the same letter within column are not significant at p<0.05, G = Green, B = Black, FW = Fresh weight สับปะรดสีสกุล Neoregelia ที่เติบโตภายใต้ ตาข่ายสีดาพรางแสง 50% ให้ ใบ มีค่า a (สีแดง) มากที่สดุ (Table 4 and Figure 1) ซึ่งแสดงให้ เห็นว่า พืชมีการพัฒนาสีแดงที่ใบเพิ่มขึน้ นั่นคือ น่าจะมีการสะสมปริ มาณสารสีแอนโธไซยานิน (anthocyanin pigment) เพิ่มขึ ้นด้ วย อย่างไรก็ตามที่เป็ นเช่นนี ้ อาจเกิดจากการที่ความเข้ มแสงที่ลดลง (เพิ่มระดับการพราง แสงมากขึ ้น) ไปมีผลทาให้ ทาให้ เกิดการยับยังการพั ้ ฒนาของคลอโรฟิ ลล์ เช่นเดียวกับการห่อผลของมะม่วงพันธุ์มหาชนก (รัฐ พล และพีระศักดิ์, 2557) จึงทาให้ สีเขียวของคลอโรฟิ ลล์ บดบังสีแดงของแอนโธไซยานินได้ น้อยลง อีกทังมี ้ รายงานว่าสับปะรด สีสกุล Neoregelia เป็ นสับปะรดสีที่ต้องการความเข้ มแสงต่า ในการปลูกเลี ้ยง จึงจาเป็ นต้ องมีการใช้ ตาข่ายพรางแสงช่วยใน การลดความเข้ มของแสงด้ วย (จารุพนั ธุ์, 2543) ดังจะเห็นได้ จาก ต้ นสับปะรดสีที่ได้ รับแสงเต็มที่ (กรรมวิธีควบคุม) นัน้ มีสีใบที่ ค่อนข้ างเหลืองซีด (มีคา่ a ที่ต่าและค่า L ที่สงู ) (Table 4 and Figure 1) อย่างไรก็ตาม ผลการทดลองที่ได้ นี ้ แตกต่างจาก วารุณี (2543) ซึ่งรายงานว่า แสงมีผลส่งเสริ มการสร้ างแอนโทไซยา นิน และกิจกรรมของเอนไซม์ PAL ในเปลือกสีแดงของผลมะม่วงพันธุ์เคน โดยพบการพัฒนาของผลมะม่วง บนต้ นในกรรมวิธีที่ ได้ รับแสงจากดวงอาทิตย์ (ควบคุม) จะมีปริ มาณแอนโทไซยานินเพิ่มสูงขึ ้น และสูงกว่าในกรรมวิธีที่ไม่ได้ รับแสง (ชุดห่อผล) และการคลุมทรงพุ่ม ในสัปปะรดสี สกุล Werauhia เพื่อป้องกันแสง UV มีผลให้ ปริ มาณแอนโธไซยานินในพืชลดลง เพราะพืช ได้ รับสภาพเครี ยด (stress) เนื่องจากปริมาณแสงที่ลดลง (Sloss, 2011) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

225


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 4. Color value (L*, a*, b*) from 3rd leaf of Neoregelia plant which grown under different shading treatment for 2 weeks Pre- shading Post- shading Shading Treatment L* a* b* L* a* b* Control (sunlight) 23.64 21.67 3.16 32.83 a 15.82 d 2.12 G net 50% shading 23.90 22.73 4.23 27.90 b 21.31 c 2.38 G net 70% shading 23.41 22.95 4.00 26.00 c 24.26 b 4.21 B net 50% shading 23.58 22.06 4.04 27.25 bc 27.02 a 5.61 B net 70% shading 25.62 22.01 6.87 26.00 c 23.92 bc 5.42 LSD at p<0.05 ns ns ns * * * CV% 6.59 14.5 79.3 5.24 15.82 18.9 ns = non-significant, * = significant, means with the same letter within column are not significant at p<0.05, G = Green, B = Black

T1

T2

T3

T4

c c b a a

T5

Figure1. Plant characteristic and leaf color of Neoregelia sp. cv. ‘Zoe’ ’which grown under different shading treatment T1: Control (direct sunlight), T2: Green net 50% shading, T3: Green net 70% shading, T4: Black net 50% shading and T5: Black net 70% shading, respectively after 2 weeks of shading. ในกรณีที่การพรางแสงมากขึ ้น แล้ วมีผลทาให้ สีแดงของใบสับปะรดสีเพิ่มมากขึ ้นนี ้ สันนิษฐานว่า เป็ นเพราะช่วงความ เข้ มแสงที่รุนแรงของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ อาจไปทาลายสารสี (pigment) หลักที่เกี่ ยวข้ องกับการสังเคราะห์แสง เช่น คลอโรฟิ ลล์ จนพืชไม่สามารถเติบโตได้ อย่างเป็ นปกติ ทาให้ การสะสมสารสีแอนโธไซยานิน เปลี่ยนแปลงไป มากกว่าที่จะเกิดขึ ้น จากสาเหตุของการที่แสง ช่วยกระตุ้นการสังเคราะห์แอนโธไซยานินให้ เพิ่มมากขึ ้น หรื ออาจเกิดจาก การที่สภาพเครี ยดเนื่องจาก แสง (light stress) กระตุ้นการสะสมแอนโธไซยานิน (Sullivan, 1998) ก็เป็ นได้ ดังนัน้ การวิเคราะห์ปริ มาณแอนโธไซยานินใน พืชทดลองเมื่อพรางแสงแล้ วใบมีสีแดงเพิ่มขึ ้นในอนาคต อาจช่วยยืนยันผลดังกล่าวได้ ชดั เจนมากขึ ้น จากผลการทดลอง ยังพบว่า การลดความเข้ มแสงลง โดยการเพิ่มระดับการพรางแสงมากขึ ้น มีความสัมพันธ์ อย่าง มาก กับการลดลงของค่าปริมาณคลอโรฟิ ลล์ b ในใบพืช (r = 0.97) และ ยังพบความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ a และปริมาณแคโรทีนอยด์ในใบพืชด้ วย (r = 0.79) (Table 6)

226

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 6. Correlation between light intensity and some pigment content in leaf. The linear regression equation and correlation coefficient R are presented at P<0.05. Data were calculated from the means of light intensity and pigment content in leaf (n = 15). Parameter Regression equation R Correlation test at p<0.05 Light intensity vs. Chlorophyll a y = 0.0109x + 44.75 0.61 ns Chlorophyll b y = 0.0204x + 20.35 0.97 * Carotenoids y = 0.0216x + 44.75 0.71 ns SPAD unit y = 0.0109x + 66.97 0.85 ns Chlorophyll a vs. Carotenoids y = 1.6477x – 3.35 0.79 * ทังการเปลี ้ ่ยนแปลงค่าสีในระบบ L*, a* และ b* และปริ มาณเม็ดสี (คลอโรฟิ ลล์ a, คลอโรฟิ ลล์ b และ แคโรทีนอยด์) ในใบพืช เมื่อได้ รับการพรางแสงที่เพิ่มมากขึ ้น เชื่อว่าอาจเป็ นเหตุผลหนึ่ง ที่ทาให้ สบั ปะรดสี มีการพัฒนาสีแดงเข้ มขึ ้น เมื่อได้ รับ สภาพความเข้ มแสงลดต่าลง

สรุ ป การพรางแสงต้ นสับปะรดสีสกุล Neoregelia cv. ‘Zoe’ ที่ปลูกในกระถางขนาด 4 นิ ้ว ด้ วยตาข่ายสีดา 50% ขึ ้นไป ส่งผลให้ พืชมีน ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ งส่วนยอดเพิ่มขึ ้น ใบมีสีแดงเข้ มมากขึ ้น และอาจนาไปประยุกต์ใช้ เป็ นแนวทางในการ แก้ ปัญหา หรื อป้องกันการเกิด อาการสีใบผิดเพี ้ยน ระหว่างการข้ นย้ ายรอการจาหน่ายได้

กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจยั ขอขอบคุณอาจารย์วารินทร์ ทองเจริ ญ ที่ให้ ความอนุเคราะห์ต้นพันธุ์ และคาแนะนาในการปลูกเลี ้ยง สับปะรดสี Neoregelia cv. ‘Zoe’ ตลอดการดาเนินการทดลอง

เอกสารอ้ างอิง จารุพนั ธุ์ ทองแถม. 2543. บรอมีเลียด ไม้ ประดับสาหรับคนรุ่นใหม่. อมริ นทร์ พริ น้ ติ ้ง กรุ๊ป, กรุงเทพฯ. 239 น. ภาณุพล หงษ์ ภกั ดี. 2546. ผลของการพรางแสงต่อการเจริ ญเติบโตของต้ นเล็บครุฑผักชี. ปั ญหาพิเศษปริ ญญาตรี ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. รัฐพล เมืองแก้ ว และพีระศักดิ์ ฉายประสาท. 2557. ผลของการห่อผลที่มีต่อคุณภาพของมะม่วงพันธุ์มหาชนก. แก่นเกษตร 42(พิเศษ3): 45-50. วารุณี วงศ์ชมพู. 2543. ผลของแสงและสารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืชบางชนิดต่อแอคติวิตีของเอนไซม์ฟินิลอลานีน แอมโมเนีย ไลเอส และการ พัฒนาสีแดงในเปลือกผลมะม่วงพันธุ์เคนท์. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 154 หน้ า. ศูนย์สง่ เสริ มและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดนครราชสีมา. 2556. สับปะรดสี. แหล่งที่มา: http://www.aopdh06.doae.go.th/, 11 ธันวาคม 2557. Bajracharya, D. 1999. Experiments in Plant Physiology: A Labolatory Manual. Norasa Publishing House, New Delhi. Evans, J.R., and Poorter, H. 2001. Photosynthetic acclimation of plants to growth irradiance: the relative importance of specific leaf area and nitrogen partitioning in maximizing carbon gain. Plant Cell Environ. 24: 755–767. Hale, M.G. and D.M. Orcutt. 1987. The Physiology of Plants under Stress. Wiley, New York. 207 p. Markesteijn, L., L. Poorter, and , F. Bongers. 2007. Light-dependent leaf trait variation in 43 tropical dry forest tree species. Am. J. Bot. 94: 515-525. McCree, K.J. 1981. Photosynthetically active radiation, pp. 41-55. In: O.L. Lange, P.S. Nobel, C.B. Osmond, H. Zeigler (eds.). Physiological Plant Ecology. Vol. 12A, Encyclopedia of Plant Physiology (New Series), Springer-Verlag, Berlin. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

227


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Pereira, T.A.R., L.C. da Silva, A.A. Azevedo, D.M.T. Francino, T. dos Santos Coser, and J.D. Pereira. 2013. Leaf morpho-anatomical variations in Billbergia elegans and Neoregelia mucugensis (Bromeliaceae) exposed to low and high solar radiation. Botany 91: 327-334. Sarijeva, G., M. Knapp, and H.K. Lichtenthaler. 2007. Differences in photosynthetic activity, chlorophyll and carotenoid levels, and in chlorophyll fluorescence parameters in green sun and shade leaves of Ginkgo and Fagus. J. Plant Physiol. 164: 950-955. Sloss, R. 2011. Incidence of pigment change in Werauhia (Bromeliaceae) uncorrelated with canopy cover level. University of South Florida, USA. Available Source: http://usf.sobek.ufl.edu/content/SF/S0/00/14/98/00001/M39-00329.pdf, 9 August, 2015. Steyn, W.J., S.J.E. Wand, D.M. Holcroft, and G. Jacobs. 2002 . Anthocyanins in vegetative tissues: a proposed unified function in photoprotection. New Phytol.155: 349-361. Sullivan, J. 1998. Anthocyanin. CP Newsletter. 27: 26-28. Tucker, R. 2000. Notes on foliage color. J. Brom. Soc. 50(3): 106-108.

228

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการฟอกฆ่ าเชือ้ และสารควบคุมการเจริญเติบโต NAA และ BA ที่มีผลต่ อการชักนาให้ เกิด แคลลัสของสตรอเบอรี่พนั ธุ์พระราชทาน 80 ในสภาพปลอดเชือ้ The sterilization and effect of NAA and BA on callus induction of Strawberry cv. Pharachatan 80 in vitro. มงคล ศิริจนั ทร์ 1,2 พุทธพงษ์ สร้ อยเพชรเกษม1,2 กวี สุจปิ ุลิ1,2 ณรงค์ ชัย พิพฒ ั น์ ธนวงศ์ 3 และ พีระศักดิ์ ฉายประสาท1,2 1,2 1,2 1,2 Mongkon Sirijan Puttapong Sroypetkasem Kawee Sujipuli Narongchai Pipattanawong3 and Peerasak Chaiprasart1,2

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของการฟอกฆ่าเชื ้อและสารควบคุมการเจริ ญเติบโต NAA และ BA ที่มีผลต่อการชักนาให้ เกิดแคลลัส ของสตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 โดยนาชิ ้นส่วนปลายยอด(apical meristem) มาขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ ซึง่ ทาการฟอกฆ่าเชื ้อชิ ้นส่วนด้ วยสารละลายโซเดียมไฮโปรคลอไรท์ที่ระดับความเข้ มข้ น 0, 1, 2, 3, 4% โดยนามาเลี ้ยงบนสูตร อาหาร MS (Murashige and Skoog) หลังจากนันน ้ าชิ ้นส่วนที่มีอตั ราการอยู่รอดมากที่สดุ มาชักนาให้ เกิดแคลลัสโดยใช้ สตู ร อาหารดังนี ้ สูตรอาหาร A (สูตรควบคุม) สูตรอาหาร B (NAA 1 mg/l + BA 1 mg/l) สูตรอาหาร C (NAA 1 mg/l + BA 1.5 mg/l) สูตรอาหาร D (NAA 1 mg/l + BA 2 mg/l) สูตรอาหาร E (NAA 2 mg/l + BA 1 mg/l) สูตรอาหาร F (NAA 2 mg/l + BA 1.5 mg/l) สูตรอาหาร G (NAA 2 mg/l + BA 2 mg/l) สูตรอาหาร H (NAA 1 mg/l + BA 0 mg/l) สูตรอาหาร I(NAA 0 mg/l + BA 1 mg/l ) โดยวางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ [Completely Randomize Designed (CRD)] จานวน 15 ซ ้า ซ ้าละ 1 ขวด พบว่าผลของการฟอกฆ่าเชื ้อที่ระดับความเข้ มข้ น 3% ระยะเวลา 20 นาที มีความเหมาะสมมากที่สดุ โดยมีอตั ราการอยู่ รอด 80% และพบว่าสูตรอาหาร F สามารถชักนาให้ เกิดแคลลัสมากที่สดุ โดยมีขนาดความกว้ างแคลลัส เท่ากับ 2.20 เซนติเมตร และความยาวแคลลัสเท่ากับ 2.90 เซนติเมตร คาสาคัญ: สตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80, ไซโตไคนิน, ออกซิน, เนื่อเยื่อเจริญปลายยอด

Abstract The study of sterilization and effect of NAA and BA on callus induction of Strawberry cv. Pharachatan 80 using apical meristem has been reported. The sterilized explant by sodium hypochlorite level 0, 1, 2, 3, 4% transfered on MS medium (Murashige and Skoog) were employed. The most of survival rates of explant on callus induction were grown on medium supplemented with different concentration of NAA and BA. All experimental design were done by using Completely Randomize Designed (CRD)(15 replications one explant each). The treatments consisted of Medium A (Control), Medium B(NAA 1 mg/l + BA 1 mg/l), Medium C (NAA 1 mg/l + BA 1.5 mg/l), Medium D (NAA 1 mg/l + BA 2 mg/l), Medium E (NAA 2 mg/l + BA 1 mg/l), Medium F (NAA 2 mg/l + BA 1.5 mg/l), Medium G (NAA 2 mg/l + BA 2 mg/l), Medium H (NAA 1 mg/l + BA 0 mg/l), Medium I (NAA 0 mg/l + BA 1 mg/l ). The results found that 3% sodium hypochlorite for 20 minutes had achieved 80% survival rate and medium F(NAA 2 mg/l + BA 1.5 mg/l) was the best medium (the maximum of width and length were callus 2.20 cm and 2.90 cm respectively) Keywords : Strawberry cv. Pharachatan 80, Cytokinin, Axin, Apical meristem.

1

ภาควิชาวิทยาศาสตร์ การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 65000 สถานวิจยั เพื่อความเป็ นเลิศทางวิชาการด้ านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัย นเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 65000 3 สถาบันค้ นคว้ าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900 2

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

229


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา สตรอเบอรี่ [Fragaria × ananassa (Duchesne ex Weston) Duchesne ex Rozier] เกิดจากการผสมพันธุ์ใน ธรรมชาติระหว่าง F. chiloensis (L.) Mill. กับ F. virginiana Mill. (Sakila et al., 2007; Staudt and Dickore, 2001) สตรอเบอรี่ เป็ นพืชหลายฤดู (herbaceous perennial) กระจายพันธุ์ในแถบอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ มีโครโมโซมเป็ นแบบ octaploid (2n = 56) (Darrow, 1966) ซึง่ สตรอเบอรี่ จดั อยู่ในวงศ์ Rosaceae (Staudt 1962, 1989, 1999; Naruhashi and Iwata, 1988; Sakila et al., 2007; Ara et al., 2013) สตรอเบอรี่ เป็ นไม้ ผลเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่นิยมปลูกกันมากทัว่ โลก (Biswas et al., 2007) โดยสามารถพบได้ แทบทุกประเทศตังแต่ ้ แถบขัวโลกลงมาถึ ้ งพื น้ ที่ในเขตร้ อน สาหรับประเทศไทยมีการ เพาะปลูกสตรอเบอรี่ มากในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย และเพชรบูรณ์ เนื่องจากพื ้นที่ดงั กล่าวมีอากาศหนาวเย็นเหมาะสมต่อ การเจริญเติบโตและติดดอกออกผล โดยเกษตรกรจะเริ่ มปลูกสตรอเบอร์ รี่ในช่วงเดือนกันยายนถึงตุลาคม และเก็บเกี่ยวผลผลิต ในช่วงเดือนธันวาคมถึงเมษายนของปี ถดั ไป ซึง่ ได้ ผลผลิตรวมกันประมาณ 10,000 ตันต่อปี (กองพัฒนาเกษตรที่สงู , 2543) ซึ่ง พื ้นที่ผลิตส่วนใหญ่อยู่ทางภาคเหนือได้ แก่ อาเภอสะเมิง จ.เชียงใหม่ โดยมีพื ้นที่ผลิตประมาณ 2,250 ไร่ (โสระยา และคณะ, 2556) นอกจากนี ้ประเทศไทยมีการส่งออกสตรอเบอรี่ ไปยังต่างประเทศเป็ นจานวนมาก ได้ แก่ ญี่ ปนุ่ นอกจากนี ้ยังส่งไปยัง ประเทศอื่นๆ เช่น ออสเตรเลีย ในปริ มาณที่ลดลง เป็ นต้ น (กฐิ น และคณะ, 2547) ส่วนที่เหลือถูกนามาใช้ เพื่อการแปรรูปเป็ น แยมและบริ โภคสดในประเทศ นอกจากนันประเทศไทยยั ้ งได้ นาเข้ า สตรอเบอรี่ ห ลายสายพันธุ์จากต่างประเทศมาปลูกเพื่อเป็ น การค้ าเช่นกัน และต่อมามีการปรับปรุ งพันธุ์จนได้ สายพันธุ์ที่ดีและสามารถปรับตัวเข้ ากับสภาพแวดล้ อมของประเทศไทย เช่น พันธุ์พระราชทาน 80 (Royal queen) โดยสตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 มีลกั ษณะผลรูปทรงกรวย (conic) ถึงทรงกลมปลาย แหลม (globose-conic) และเนื ้อผลสีแดงรูปร่างสวย (berry shape) มีน ้าหนักผลเฉลี่ย 12-15 กรัมต่อผล มีความแน่นเนื ้อผล สูงถึง 1.213 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร มีความหวานเฉลี่ย 12.85 องศาบริ กซ์ (ณรงค์ชยั และคณะ, 2554) เมื่อเริ่ มสุกผลมี กลิ่นหอม รสชาติหวาน เนือ้ ผลแน่น ผลสุกมีสีแดงสดถึงแดงจัด รู ปร่ างของผลสวยงาม เหมาะสาหรับการรับประทานผลสด ส่งผลให้ เกษตรกรมีความต้ องการสูงที่จะทาการขยายพันธุ์สตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 เพื่อตอบสนองความต้ องการของ ผู้บริ โภค แต่ปัญหาหนึ่งที่พบ คือ การขาดแคลนไหลคุณภาพดี เนื่องจากต้ นพันธุ์ที่ ได้ จากการขยายพันธุ์โดยใช้ ส่วนของไหล (runner tip) มีการติดเชื ้อไวรัส ส่งผลทาให้ ต้นสตรอเบอรี่ มีลกั ษณะใบหงิกงอ ลาต้ นไม่แข็งแรง อัตราการเจริ ญเติบโตช้ า อ่อนแอ ต่อโรคและแมลงศัตรู ดังนัน้ เกษตรกรจึงต้ องเพิ่มการดูแลรักษาที่สูงขึน้ ทัง้ การให้ นา้ สารเคมี และปุ๋ ย ทาให้ เสียเวลา และ ค่าใช้ จ่ายจานวนมากในการดูแลรักษาต้ นพันธุ์ นอกจากนี ้ ยังส่งผลทาให้ ผลสตรอเบอรี่ มีคุณภาพต่าไม่เป็ นที่ต้องการของ ผู้บริ โภค ดังนันหากมี ้ การขยายพันธุ์สตรอเบอรี่ ด้วยการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อจากเนื ้อเยื่อเจริ ญปลายยอด(runner tip) ซึง่ เป็ นต้ น พันธุ์ที่ปราศจากไวรัส และทาการขยายพันธุ์ให้ ได้ จานวนมากซึ่งเพียงพอต่อความต้ องการแล้ วทาการเพาะปลูก พบว่าต้ นพันธุ์ สตรอเบอรี่ จะมีอตั ราการเจริ ญเติบโตที่ดี ปลอดจากไวรัส ทาให้ ได้ ผลผลิตในปริ มาณที่สงู และมีคณ ุ ภาพซึง่ เป็ นการสร้ างรายได้ ให้ กบั เกษตรกรจากการจาหน่ายผลสตรอเบอรี่ ให้ แก่ผ้ บู ริโภคทัว่ ไป อันจะส่งผลดีตอ่ เศรษฐกิจของประเทศโดยส่วนรวม

230

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการ เตรี ยมตัวอย่างพืชโดยนาตัวอย่างสตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 จากแปลงปลูกศูนย์วิจยั และพัฒนาการเกษตรที่สงู เพชรบูร ณ์ (เขาค้ อ) ตัง้ อยู่เลขที่ 51 หมู่ 3 บ้ า นเสลียงแห้ ง ต าบลสะเดาะพง อาเภอเขาค้ อ จังหวัดเพชรบูรณ์ น ามาปลูก เพาะเลี ้ยงในโรงเรื อนปลูกพืชทดลอง คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยทาการ คัดเลือกต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 ที่มีลกั ษณะลาต้ นสมบูรณ์ แข็งแรง ให้ ผลผลิตปริ มาณมาก และ ปราศจากการ ทาลายของโรคและแมลง จากนันท ้ าการตัดบริ เวณปลายยอดของไหลขนาด 2 เซนติเมตร พร้ อมกับตัดแต่งใบขนาดเล็กบริ เวณ ปลายยอดออก แล้ วนามาล้ างด้ วยน ้าประปาแบบไหลผ่านเป็ นเวลา 45 นาที จากนันน ้ าปลายยอดไปแช่ลงในสารละลายฆ่าเชื ้อ ® โซเดียม ไฮโปคลอไรท์ (Clorox ) ที่ความเข้ มข้ น 0, 1, 2, 3 และ 4% เป็ นเวลา 5, 10, 15, 20 และ 25 นาที และสารเปี ยกใบ 0.2 มิลลิลิตร แล้ วนาไปล้ างด้ วยน ้ากลัน่ ทังหมด ้ 4 ครัง้ ครัง้ ละ 5 นาที ซึง่ ทาภายในตู้ปลอดเชื ้อ จากนันท ้ าการตัดแต่งปลายยอด อีกครัง้ พร้ อมกับตัดส่วนเนื ้อเยื่อเจริ ญปลายยอดภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์แบบสเตอริ โอ(stereo microscope) นาชิ ้นส่วนปลาย ยอดขนาด 0.2 เซนติเมตร ที่ได้ จากการตัดภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์ วางลงบนสูตรอาหาร MS (Murashige and Skoog, 1962) ซึ่งประกอบไปด้ วยสารควบคุมการเจริ ญเติบโต 2 ชนิด คือ ไซโตไคนิน (BA) และ ออกซิน (NAA) น ้าตาล 30 g/l และ ผงวุ้น (agar) 8 g/l จากนันท ้ าการปรับสูตรอาหารให้ มีค่า pH เท่ากับ 5.8 แล้ วนาไปฆ่าเชื ้อด้ วยหม้ อนึ่งความดันไอที่อณ ุ หภูมิ 121 องศาเซลเซียส ความดัน 15 ปอนด์/ตารางนิ ้ว เป็ นเวลา 15 นาที จากนันน ้ าชิ ้นส่วนพืชไปเพาะเลี ้ยงที่อณ ุ หภูมิ 25-27 องศา เซลเซียส ความเข้ มแสงที่ 2,500 ลักซ์ (lux.) ในสภาพที่มีแสงสว่าง 16 ชัว่ โมง และสภาพมืด 8 ชัว่ โมง โดยจะทาการเปลี่ยน อาหารทุกๆ 21 วัน เป็ นระยะเวลาทังหมด ้ 42 วัน การศึกษาผลของสารควบคุมการเจริ ญเติบโต NAA และ BA ที่มีผลต่อการ ชักนาให้ เกิดแคลลัสของสตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD (Complete Randomized Design) ทังหมด ้ 9 กรรมวิธี ได้ แก่ กรรมวิธีที่ 1 Medium A: Control (MS), กรรมวิธีที่ 2 Medium B: NAA 1 mg/l + BA 1 mg/l, กรรมวิธีที่ 3 Medium C: NAA 1 mg/l + BA 1.5 mg/l, กรรมวิธีที่ 4 Medium D: NAA 1 mg/l + BA 2 mg/l, กรรมวิธีที่ 5 Medium E: NAA 2 mg/l + BA 1 mg/l, กรรมวิธีที่ 6 Medium F: NAA 2 mg/l + BA 1.5 mg/l, กรรมวิธีที่ 7 Medium G: NAA 2 mg/l + BA 2 mg/l, กรรมวิธีที่ 8 Medium H: NAA 1 mg/l + BA 0 mg/l และกรรมวิธีที่ 9 Medium I: NAA 0 mg/l + BA 1 mg/l กรรมวิธีละ 15 ซ ้า ซ ้าละ 1 ขวด และเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s New Multiple Range Test ที่ระดับความ เชื่อมัน่ ร้ อยละ 95 โดยใช้ โปรแกรมวิเคราะห์สถิติ SPSS 17.0

ผลการทดลองและวิจารณ์ การทดลองที่ 1 ผลของการฟอกฆ่าเชือ้ เนือ้ เยื่อเจริ ญปลายยอดด้ วยสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ที่ระดับความ เข้ มข้ นต่างๆ จากการศึกษาผลของการฟอกฆ่าเชื ้อเนื ้อเยื่อเจริ ญปลายยอดสตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 ผลการทดลองสารฟอก ฆ่าเชื ้อด้ วยสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ที่ระดับความเข้ มข้ น 0, 1, 2, 3 และ 4% พบว่า การฟอกฆ่าเชื ้อด้ วยสารละลาย โซเดียมไฮโปคลอไรท์ที่ความเข้ มข้ น 3% เป็ นเวลา 20 นาที มีอตั ราการรอดชีวิต 80% และที่ความเข้ มข้ น 2% ที่ระยะเวลา เดียวกันมีอตั ราการรอดชีวิต 40% และที่ระยะเวลา 25 นาที มีอตั ราการรอดชีวิตลดลง ดังภาพที่ 1 ซึง่ สอดคล้ องกับงานวิจยั ของ ณรงค์ชยั (2543) ซึง่ รายงานว่า เมื่อนาส่วนของเนื ้อเยื่อเจริญปลายยอด มาทาการฟอกฆ่าเชื ้อด้ วยสารละลายโซเดียม ไฮโปคลอ ไรท์ที่ระดับความเข้ มข้ น 1.2% (stock solution 20% v/v) เป็ นเวลา 20 นาที พบว่าชิ ้นส่วนเนื ้อเยื่อเจริ ญมีอตั ราการอยู่รอดสูง และสามารถเจริญเติบโตเป็ นต้ นใหม่ได้

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

231


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Survival % rate 100

NaOCl 0 % NaOCl 1 %

80

NaOCl 2 %

60

NaOCl 3 % NaOCl 4 %

40 20 0 5 minutes

10 minutes

15 minutes

20 minutes

25 minutes

Time in minutes

Fig 1 Average survival rate (%) of apical meristem of strawberry effected by NaClO at different time intervals. การทดลองที่ 2 ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโต NAA และ BA ที่มีผลต่อการชักนาให้ เกิดแคลลัส จากการศึกษาผลของสูตรอาหารสูตร MS ที่มีสารควบคุมการเจริ ญเติบโต NAA และ BA ที่ความเข้ มข้ นแตกต่างดังนี ้ สูตรอาหาร A (ชุดควบคุม), สูตรอาหาร B (NAA 1 mg/l + BA 1 mg/l), สูตรอาหาร C (NAA 1 mg/l + BA 1.5 mg/l), สูตร อาหาร D (NAA 1 mg/l + BA 2 mg/l), สูตรอาหาร E (NAA 2 mg/l + BA 1 mg/l), สูตรอาหาร F (NAA 2 mg/l + BA 1.5 mg/l), สูตรอาหาร G (NAA 2 mg/l + BA 2 mg/l), สูตรอาหาร H (NAA 1 mg/l + BA 0 mg/l) และสูตรอาหาร I (NAA 0 mg/l + BA 1 mg/l) ผลการทดลองพบว่า สูตรอาหาร F ที่ระยะเวลา 42 วัน มีความกว้ างและความยาวของแคลลัสสูงที่สดุ เมื่อ เปรี ยบเทียบกับสูตรอาหารอื่นๆ และพบว่าสีของแคลลัสมีลักษณะเป็ นสีครี ม โดยแคลลัสในสูตรอาหาร F นีม้ ีอัตราการ เจริ ญเติบโตสูงสุด ดังตารางที่ 1 (ภาพที่ 2) และ ตารางที่ 2 (ภาพที่ 3) ซึง่ สอดคล้ องกับงานวิจยั ของ Biswas et al., (2007) รายงานว่า เมื่อนาชิ ้นส่วนของ Runner มาฟอกฆ่าเชื ้อและนาไปเลี ้ยงบนสูตรอาหารที่ระดับความเข้ มข้ นของ NAA และ BA ที่ ต่างกันพบว่า ที่ระดับความเข้ มข้ นของ NAA 2.0 mg/l + BA 1.5 mg/l สามารถชักนาให้ เกิดแคลลัสได้ ในปริ มาณมาก และยัง พบว่าสารควบคุมการเจริญเติบ NAA และ BA สามารถชักนาให้ เกิดแคลลัสในสตรอเบอรี่ ได้ ดีที่สดุ นอกจากนี ้ ปั จจัยต่างๆ เช่น ปริ มาณสารอาหาร ฮอร์ โมน แสง และความชื ้น มีผลต่ อการเกิดแคลลัสอย่างมาก (Pierik, 1987) นอกจากนี ้แล้ วยังพบว่า ชิ ้นส่วนต่างๆของสตรอเบอรี่ ที่นามาชักนาให้ เกิดแคลลัสโดยร่ วมกับสารควบคุมการเจริ ญเติบโตที่แตกต่างกัน พบว่า ชิ ้นส่วนที่ นามาชักนาให้ เกิดแคลลัสนันมี ้ ผลต่อการเกิดแคลลัสของสตรอเบอรี่ ด้วยเช่นกัน (Kim and Kim, 2002) แต่จากผลการทดลองที่ 2 พบว่า สูตรอาหาร H และ สูตรอาหาร I ซึง่ มีความเข้ มข้ นของฮอร์ โมนใดฮอร์ โมนหนึ่ง พบว่าไม่สามารถชักนาให้ เกิดแคลลัสได้ เนื่องจาก ฮอร์ โมนออกซินและไซโตไคนิน ซึง่ ได้ แก่ NAA และ BA โดยเฉพาะฮอร์ โมน NAA จะมีผลต่อการยืดยาวของเซลล์ราก การแบ่งตัวของเซลล์ราก และเซลล์ที่เปลี่ยนแปลงไปทาหน้ าที่เฉพาะอย่างของราก (Dietz, 1990) ส่วนฮอร์ โมน BA มีผลต่อการ ยืดยาวของเนื ้อเยื่อพืช (Rayle et al., 1982; Ross and Rayle, 1982) ดังนัน้ ถ้ ามีระดับฮอร์ โมนใดฮอร์ โมนหนึ่งเพียงอย่างเดียว จะไม่สามารถเกิดการชักนาให้ เป็ นแคลลัสได้ แต่ถ้ามีระดับฮอร์ โมนที่สมดุลกันทังออกซิ ้ นและไซโตไคนินจะสามารถชักนาให้ เกิด แคลลัสได้ (Popescu et al., 1997; Letham, 1974; Akiyoshi et al., 1983)

232

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Effect of growth regulators NAA and BA of width callus strawberry cv. Pharachatan 80. Treatment

14 days

21 days

28 days

35 days

42 days

Degree of callus

Callus colour

development Medium A Medium B Medium C Medium D Medium E Medium F Medium G

0.62±0.18bcd1/ 0.49±0.16d 0.92±0.20a 0.66±0.27bc 0.48±0.25d 0.73±0.19b 0.54±0.33cd

0.74±0.30de1/ 0.64±0.17e 1.14±0.28a 1.04±0.31abc 0.88±0.14cd 1.08±0.25ab 0.90±0.32bcd

1.00±0.35cd1/ 1.06±0.18bcd 1.41±0.42a 1.22±0.37abc 0.98±0.28d 1.24±0.36ab 0.94±0.24d

1.20±0.53b1/ 1.30±0.30b 1.79±0.53a 1.70±0.76a 1.33±0.32b 1.70±0.49a 1.22±0.52b

1.21±0.53c1/ 1.54±0.61bc 2.10±0.77a 1.96±1.01ab 1.54±0.45bc 2.20±0.64a 1.44±0.76c

Medium H Medium I

0±0e 0±0e

0±0f 0±0f

0±0e 0±0e

0±0c 0±0c

0±0d 0±0d

1/

++ ++ +++ ++ ++ +++ ++

B CR CR CR CR CR B

-

-

Mean with different letters within a column are significantly different (p ˂ 0.05) of probability using Duncan’s test.

- = No response, + = Little callusing (0-1cm), ++ = Moderate callusing (1.1-2cm), +++ = Highly callusing (2.1-3 cm) - = No response CR = Creamy B= Brown

Width of callus (cm) 3 2.5

Medium A

Medium B

Medium C

Medium E

Medium F

Medium G

Medium D

2 1.5 1 0.5 0 14 days

21 days

28 days

35 days

42 days

Period of days

Figure 2 Effect of growth regulators NAA and BA of width callus strawberry cv. Pharachatan 80. Medium A= Control (MS) , Medium B= NAA 1 mg/l + BA 1 mg/l, Medium C= NAA 1 mg/l + BA 1.5 mg/l, Medium D= NAA 1 mg/l + BA 2 mg/l, Medium E= NAA 2 mg/l + BA 1 mg/l, Medium F= NAA 2 mg/l + BA 1.5 mg/l, Medium G= NAA 2 mg/l + BA 2 mg/l, Medium H= NAA 1 mg/l + BA 0 mg/l, Medium I= NAA 0 mg/l + BA 1 mg/l

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

233


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Effect of growth regulators NAA and BA of length callus strawberry cv. Pharachatan 80. Treatment

14 days

21 days

28 days

35 days

42 days

Degree of callus

Callus colour

development Medium A Medium B Medium C Medium D Medium E Medium F Medium G Medium H Medium I 1/

1.12±0.25bc1/ 1.32±0.37abc1/ 1.18±0.23abc 1.30±0.25bc 1.20±0.22abc 1.58±0.43a 1.29±0.29ab 1.52±0.42ab 1.02±0.13c 1.26±0.26c 1.32±0.28a 1.54±0.39ab 1.08±0.35c 1.24±0.43c 0±0d 0±0d 0±0d

0±0d

1.42±0.49b1/ 1.42±0.33b 1.82±0.53a 1.77±0.62a 1.40±0.27b 1.86±0.39a 1.38±0.50b 0±0c

1.55±0.66b1/ 1.70±0.42b 2.40±0.72a 2.23±1.00a 1.77±0.56b 2.27±0.59a 1.68±0.79b 0±0c

1.60±0.68d1/ 2.16±0.86bcd 2.74±0.94ab 2.54±1.28abc 2.08±0.67bcd 2.90±0.89a 2.01±1.14dc 0±0e

++ +++ +++ +++ ++ +++ ++ -

B CR CR CR CR CR B -

0±0c

0±0c

0±0e

-

-

Mean with different letters within a column are significantly different (p ˂ 0.05) of probability using Duncan’s test.

- = No response, + = Little callusing (0-1cm), ++ = Moderate callusing (1.1-2cm), +++ = Highly callusing (2.1-3 cm) - = No response CR = Creamy B= Brown Length of callus (cm) 4

3.5 3

Medium A

Medium B

Medium C

Medium E

Medium F

Medium G

Medium D

2.5 2 1.5 1 0.5 0

Period of days 14 days

21 days

28 days

35 days

42 days

Figure 3 Effect of growth regulators NAA and BA of Length callus strawberry cv. Pharachatan 80. Medium A= Control (MS), Medium B= NAA 1 mg/l + BA 1 mg/l, Medium C= NAA 1 mg/l + BA 1.5 mg/l, Medium D= NAA 1 mg/l + BA 2 mg/l, Medium E= NAA 2 mg/l + BA 1 mg/l, Medium F= NAA 2 mg/l + BA 1.5 mg/l, Medium G= NAA 2 mg/l + BA 2 mg/l, Medium H= NAA 1 mg/l + BA 0 mg/l, Medium I= NAA 0 mg/l + BA 1 mg/l

234

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

A

B

C

D

E

F

G

Figure 4 (A) Control (MS) (B) NAA 1 mg/l + BA 1 mg/l (C) NAA 1 mg/l + BA 1.5 mg/l (D) NAA 1 mg/l + BA 2 mg/l (E) NAA 2 mg/l + BA 1 mg/l (F) NAA 2 mg/l + BA 1.5 mg/l (G) NAA 2 mg/l + BA 2 mg/l

สรุ ปผลการทดลอง จากผลการฟอกฆ่าเชื ้อและสารควบคุมการเจริ ญเติบโต NAA และ BA ที่มีผลต่อการชักนาให้ เกิดแคลลัส พบว่าการฟอกฆ่าเชื ้อเนื ้อเยื่อเจริ ญส่วนปลายด้ วยสารละลายโซเดียมไฮโปรคลอไรท์ ที่ระดับความเข้ มข้ น 3 เปอร์ เซ็นต์ เป็ น ระยะเวลา 20 นาที มีอตั ราการอยู่รอด 80% และเมื่อมีการเติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโต NAA และ BA ที่ระดับความเข้ มข้ น แตกต่างกัน เป็ นระยะเวลา 42 วัน โดยชิ ้นส่วนพืชที่เลี ้ยงในสูตรอาหาร F (NAA 2 mg/l + BA 1.5 mg/l) มีขนาดความกว้ างและ ความยาวของแคลลัสสูงที่สดุ โดยขนาดความกว้ างและความยาวเฉลี่ยของแคลลัสเท่ากับ 2.2 และ 2.90 เซนติเมตร ตามลาดับ และพบว่าสูตรอาหารที่มีการเติมสารควบคุมการเจริ ญเติบโต NAA หรื อ BA เพียงชนิดเดียวไม่สามารถชักนาให้ เกิดเป็ นแคลลัส ได้

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ แหล่ ง ทุน สนับ สนุน การวิ จัย จากส านัก บริ ห ารโครงการส่ ง เสริ ม การวิ จัย ในอุด มศึ ก ษาและพัฒ นา มหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา และขอขอบคุณคณาจารย์ และเจ้ าหน้ าที่ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ การเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยนเรศวร และศูนย์วิจยั และพัฒนาการเกษตรที่ สูงเพชรบูรณ์ (เขาค้ อ) จังหวัดเพชรบูรณ์

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

235


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง กฐิ น ศรี มงคล, ณรงค์ชยั พิพฒ ั น์ธนวงศ์, อุดม พรหมตัน, วิสิฐ กิจสมพร, เวช เต๋จ๊ะ และสมพล วงศ์กิติ. 2547. รายงานโครงการวิจยั ปั จจัยที่มีผลต่อ การปฏิบตั ิในการปลูกสตรอเบอรี่ ของเกษตรกรบนพื ้นที่สงู ของมูลนิธิโครงการหลวง, เชียงใหม่. 114 น. กองพัฒนาเกษตรที่สงู . 2543. กองพัฒนาเกษตรที่สงู . 2543. การปลูกสตรอเบอรี่ . สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ . 91 น. ณรงค์ชยั พิพฒ ั น์ธนวงศ์. 2543. สตรอเบอรี่ :พืชเศรษฐกิจใหม่.สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. 158 น. ณรงค์ชยั พิพฒ ั น์ธนวงศ์, เบ็ญจารัชด ทองยืน, เวช เต๋จ๊ะ, สาวิตรี ทิวงศ์ และ Hiroshi Akagi. 2554. สตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน80. ข่าวสาร เกษตรศาสตร์ . ปี ที่ 56(1):22-28. โสระยา ร่วมรังสี, จานง อุทยั บุตร และ ชัยอาทิตย์ อิ่นคา. 2556. รายงานโครงการวิจยั การปลูกสตรอเบอรี่ ในระบบไฮโดรโพนิกส์. 61 น. Akiyoshi, D.E., Morris, R.O., Hinz, R., Mischke B.S., Kosuge, T., Garfinkel, D.J.,Gordon M. P. and Nester, E. W. 1983. Cytokinin/auxin balance in crown gall tumors is regulated by specific loci in the T-DNA. Proc. Natl. Acad. Sci. USA 80: 407-411. Ara, T., M.R. Karim., M.A. Aziz., R. Karim., R. Slam and M. Hossain. 2013. Micropropagation and field evaluation of seven strawberry genotypes suitable for agro-climatic condition of Bangladesh. Afr. J. Agric. Res. 8(13): 1194-1199. Biswas, M.K., R. Islam and M. Hossain. 2007. Somatic embryogenesis in strawberry (Fragaria sp.) through callus culture. Plant Cell Tiss Org Cult 90: 49-54. Darrow, G.M. 1966. The strawberry. New York: Holt, Rinehart and Winston. Dietz, A., U. Kutsehera and P.M. Ray. 1990. Auxin enhancement of mRNAs in epidermis and internal tissue of the pea stem and its significance for control of elongation. Plant Physiol 93: 432-438. Kim, S.H and S.K. Kim. 2002. Effects of auxins and cytokines on callus induction from leaf blade, petiole and stem segments of in vitro grown Sheridan grape shoots. J Plant Biotech 4(1): 17-21. Letham, D.S. 1974. Regulators of cell division in plant tissues. XX. The cytokinins of coconut milk. Physiol Plant 32: 66-70. Murashige, T and F. Skoog. 1962. A revised medium for rapid growth and bioassays with tobacco cultures. Physiol. Plant 15, 473- 497. Naruhashi, N and T. Iwata. 1988. Taxonomic re-evaluation of Fragaria nipponica Makino and allied species. J. Phytogeogr. Taxon 36, 59- 64. Pierik, R.L.M. 1987. In vitro culture of higher plants. Martinus Nijhoff. Dordrecht, Boston, Lancaster. pp. 364-370. Popescu, A.N., V.S. Isac., M.S. Coman and M.S. Radulescu. 1997. Somaclonal variation in plants regenerated by organogenesis from callus culture of strawberry (Fragaria × Ananassa). Acta Hort. 439:89-96. Rayle, D.L., C.W. Ross and N. Robinson. 1982. Estimation of osmotic parameters accompanying zeatin-induced growth of detached cucumber cotyledons. Plant Physiol 70: 1634-1636. Ross, C.W and D.L. Rayle. 1982. Evaluation of H+ secretion relative to zeatin-indiced growth of detached cucumber cotyledons. Plant Physiol 70: 1470-1474. Sakila, S., M.B. Ahmed., U.K. Roy., M.K. Biswas., R. Karim., M.A. Razvy., M. Hossain., R. Islam and A. Hoque. 2007. Micropropagation of strawberry (Fragaria × ananassa Duch.) a newly Introduced crop in Bangladesh. Am-Euras. J. Sci. Res. 2 (2): 151-154. Staudt, G. 1962. Taxonomic studies in the genus Fragaria. Typification of Fragaria species known at the time of Linnaeus. Can. J. Bot. 40, 869- 886. Staudt, G. 1989. The species of Fragaria, their taxonomy and geographical distribution. Acta Hort. Cult. 265, 23- 33. Staudt, G. 1999. Systematics and geographic distribution of the American strawberry species. Taxonomic studies in the genus Fragaria (Rosaceae: Potentilleae). Univ. Calif. Publ. Bot. 81. Staudt, G., Dickore, W.B. 2001. Notes on Asiatic Fragaria species: Fragaria pentaphylla Losinsk. and Fagaria tebetica spec. nov. Bot. Jahrb. Syst. 123, 341- 355.

236

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของสารสกัดจากไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra L.) ต่ อการเติบโตของต้ นกล้ า และการมีชีวิตของเซลล์ (cell viability) ในต้ อยติ่ง (Ruellia tuberosa Linn.) Effect of Mimosa pigra L. Extract on Seedling Growth and Cell Viability in Ruellia tuberosa Linn. อินทิรา ขูดแก้ ว1 Intira koodkaew1

บทคัดย่ อ

การศึกษาผลของสารสกัดจากไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra L.) ต่อการเติบโตของต้ นกล้ าและการมีชีวิตของเซลล์ (cell viability) ในต้ อยติ่ง (Ruellia tuberosa Linn.) โดยสกัดสารจากส่วนใบของไมยราบยักษ์ ด้วยเมทานอล และใช้ ความ เข้ มข้ นของสารสกัด 0, 0.1, 1 และ 10 กรัมน ้าหนักแห้ งต่อลิตร จากผลการทดลองพบว่า สารสกัดส่งผลให้ ความยาวรากและ ความยาวยอดของต้ อยติ่งลดลงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ เมื่อเพิ่มความเข้ มข้ นของสารสกัดส่งผลยับยังความยาวรากและ ้ ความยาวยอดมากยิ่งขึ ้น โดยที่ความเข้ มข้ น 1 และ 10 กรัมน ้าหนักแห้ งต่อลิตร มีผลยับยังความยาวราก ้ 53.45 และ 91.67 เปอร์ เซ็นต์ และมีผลยับยังความยาวยอด ้ 46.43 และ 100.00 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ผลของสารสกัดต่อ การมีชีวิตของเซลล์ใน รากต้ อยติ่งโดยวิธี Evan blue uptake พบว่า เมื่อเพิ่มความเข้ มข้ นของสารสกัดมีแนวโน้ ม ทาให้ การมีชีวิตของเซลล์รากต้ อยติ่ง ลดลง โดยที่ความเข้ มข้ น 10 กรัมน ้าหนักแห้ งต่อลิตรส่งผลให้ การมีชีวิตของเซลล์ลดลงอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ จากผลการ ทดลอง สารสกัดจากไมยราบยักษ์ ส่งผลยับยังการเติ ้ บโตของต้ อยติ่ง โดยผลของสารสกัดต่อการสูญเสียความมีชีวิตของเซลล์ อาจเป็ นปั จจัยหนึ่งที่ทาให้ การเติบโตของต้ นกล้ าต้ อยติ่งลดลง จากการศึกษาชี ใ้ ห้ เห็นว่าสารสกัดจากไมยราบยักษ์ มีสารออก ฤทธิ์ทางชีวภาพที่สามารถยับยังการเติ ้ บโตของพืชได้ คาสาคัญ : สารสกัดไมยราบยักษ์ ต้ อยติ่ง การมีชีวิตของเซลล์

Abstract Effects of Mimosa pigra L. on seedling growth and cell viability in Ruellia tuberosa Linn. were investigated. Leave of M. pigra were extracted with methanol to prepare methanolic crude extract at concentrations 0, 0.1, 1 and 10 gram dry weight per liter (g(DW)/L). The results showed that the extract had significant effect to reduce root and shoot length of R. tuberosa. When increasing the extract concentration had result in increasing inhibition rate of root and shoot growth, 53.45 and 91.67 percent for root and 46.43 and 100.00 percent for shoot after treated with the extract at 1 and 10 g(DW)/L, respectively. Effect of the methanolic extract on cell viability in root of R. tuberosa was determined by using Evan blue uptake method. The result showed that cell viability tend to decrease after increasing the extract concentration, at 10.0 g(DW)/L had significantly induce loss of cell viability in root. From the results, effect of M. pigra extract to inhibit R. tuberosa seedling growth may result from loss of cell viability. This study indicated that M. pigra extract had bioactive compounds to inhibit growth of other plant. Keywords : M. pigra extract, R. tuberosa, cell viability

คานา ประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรม จึงมีการใช้ สารเคมีในการกาจัดศัตรู พืชอย่างแพร่ หลาย โดยเฉพาะการใช้ สารเคมีสงั เคราะห์ในการควบคุมและกาจัดวัชพืช เนื่องจากเป็ นวิธีการที่สะดวก ใช้ แรงงานคนน้ อย และให้ ผลรวดเร็ ว จึงเป็ น วิธีการที่นิยมในกลุ่มเกษตรกร แต่เป็ นวิธีการที่นามาซึ่งผลเสียต่อตัวเกษตรกรเอง รวมถึงสิ่งมีชีวิตอื่นๆ และสิ่งแวดล้ อมทังใน ้ ระยะสันและระยะยาว ้ อาทิ การตกค้ างของสารเคมีในร่ างกายผู้ใช้ การปนเปื อ้ นของสารเคมีในพืชผัก รวมถึงการตกค้ างใน 1

สาขาวิชาพฤกษศาสตร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จังหวัด นครปฐม 73140 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

237


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สิ่งแวดล้ อมเป็ นระยะเวลานาน ซึง่ จะส่งผลให้ ระบบนิเวศที่มีอยู่สญ ู เสียไป ดังนันการลดการใช้ ้ สารเคมีสงั เคราะห์ในการควบคุม และกาจัดวัชพืช จะช่วยลดปั ญหามลพิษ และอนุรักษ์ สิ่งแวดล้ อม ซึง่ การใช้ ประโยชน์จากสารธรรมชาติจดั เป็ นทางเลือกหนึ่งใน การกาจัดวัชพืชโดยการหลีกเลี่ยงการใช้ สารเคมีสงั เคราะห์ ซึ่งมีผลดีคือสลายตัวง่าย และไม่ตกค้ างในสิ่งแวดล้ อม (ดวงพร, 2543) จากการศึกษาผลของสารสกัดจากธรรมชาติที่มีต่อการงอกของเมล็ด และการเจริ ญเติบโตของต้ นกล้ าตลอดจนผลต่อ กระบวนการทางสรี รวิทยา ทาให้ สามารถประเมินถึงศักยภาพของสารจากธรรมชาตินนๆ ั ้ ว่าสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในการ ควบคุมวัชพืชได้ (Inderjit and Dakshini, 1995; Haugland and Brandsaeter, 1996; Chiapusio et al., 1997) ซึง่ การศึกษา นี ้สนใจสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากวัชพืช เนื่องจากวัชพืชหลายชนิดมีการผลิตสารในกลุ่ม allelochemical ซึ่งเป็ นสารออก ฤทธิ์ทางชีวภาพที่สามารถยับยังการเติ ้ บโตของพืชข้ างเคียงได้ (Fujii, 2009) โดยวัชพืชที่สนใจศึกษาคือไมยราบยักษ์ ไมยราบยักษ์ มีชื่อสามัญว่า giant mimosa หรื อ giant sensitive plant มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ คือ Mimosa pigra L. อยู่ในวงศ์ Leguminoceae จัดเป็ นวัชพืชที่เป็ นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน (invasive alien species) ที่สหพันธ์เพื่อการอนุรักษ์ แห่งโลก (IUCN) ได้ ทาบัญชีรายชื่อไว้ ว่าเป็ นหนึ่งในร้ อยชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ร้ ายแรงของโลก สาหรับประเทศไทยนันวั ้ ชพืช ไมยราบยักษ์ ได้ ถกู จัดอยู่ในบัญชีรายชื่อชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานไว้ ด้วยเช่นกัน (บัญจรัตน์ และคณะ, 2554) เนื่องจากไมยราบ มีการกระจายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ปั จจุบนั จึงมีการศึกษาวิจยั ถึงแนวทางในการควบคุมและกาจัดอย่างหลากหลาย นอกจากการ หาวิธีการควบคุมการแพร่ กระจายแล้ ว ยังมีการศึกษาเพื่อนาไมยราบยักษ์ มาใช้ ประโยชน์ เช่น การทาเป็ นเชื ้อเพลิงแข็งอัดแท่ง (บัญจรัตน์ และคณะ, 2554) และมีรายงานว่าสารสกัดจากไมยราบยักษ์ สามารถยับยังการเจริ ้ ญเติบโตของเชื ้อแบคทีเรี ย และ ยีสต์บางชนิดได้ โดยเป็ นการออกฤทธิ์ของสารในกลุม่ flavonoid, quinone, sterol, saponin และ tannin (Rosado-Vallado et al., 2000) นอกจากนี ้ไมยราบยักษ์ ยงั มีการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในกลุม่ allelochemical ซึง่ มีความสามารถยับยังการ ้ เจริ ญเติบโตของพืชข้ างเคียงได้ (Fujii, 2009) อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีรายงานการศึกษาสารสกัดจากไมยราบยักษ์ ต่อการยับยัง้ การเจริ ญเติบโตของพืช แต่มีรายงานของ Umi et al. (2003) ว่าไมยราบยักษ์ มีการผลิตสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่อยู่ในกลุม่ flavonoid หลายชนิด ซึง่ สารในกลุม่ flavonoid นี ้จัดเป็ นสาร allelochemical ที่สาคัญชนิดหนึ่ง ดังนัน้ แนวทางหนึ่งในการใช้ ประโยชน์จากต้ นไมยราบยักษ์ คือ การพัฒนาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากไมยราบยักษ์ เป็ นสารควบคุมวัชพืช งานวิจยั นี ้จึงเป็ น การศึกษาเพื่อทดสอบสารสกัดจากไมยราบยักษ์ ที่มีผลต่อการเติบโตของต้ นกล้ าและการมีชีวิตของเซลล์รากต้ อยติ่ง ซึ่งจัดเป็ น วัชพืชใบกว้ าง พบได้ ทวั่ ไปในภูมิภาคเขตร้ อน (Ascencio and Lazo, 1997) และในประเทศไทย จึงนามาเป็ นตัวแทนวัชพืชใน งานวิจัยนี ้ โดยผลจากการวิจัยนีจ้ ะเป็ นความรู้ พื ้นฐานนาไปสู่การพัฒนาสารสกัดจากธรรมชาติ เพื่อนาไปใช้ ในการควบคุม วัชพืชด้ วยวิธีทางชีวภาพทดแทนการใช้ สารเคมีสงั เคราะห์

อุปกรณ์ และวิธีการ การเตรี ยมตัวอย่ างพืชและสารสกัด เก็บตัวอย่างใบไมยราบยักษ์ จากบริ เวณริ มคลองส่งน ้า อาเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี นาตัวอย่างใบนามาผึ่งลมให้ แห้ งเป็ นเวลา 7 วัน นามาบดให้ ละเอียด และแช่ในตัวทาละลายเมทานอล โดยนาไปวางบนเครื่ องเขย่าเป็ นเวลา 48 ชั่วโมง จากนันน ้ ามากรองด้ วยกระดาษกรองเบอร์ 1 จะได้ สารสกัดหยาบด้ วยเมทานอลของไมยราบยักษ์ เก็บ ไว้ ในอุณหภูมิ 4 องศา เซลเซียส เพื่อไว้ ใช้ ในการทดลองต่อไป การทดสอบผลของสารสกัดไมยราบยักษ์ ต่อการเติบโตของต้ นกล้ าต้ อยติ่ง ทดสอบผลของสารสกัดไมยราบยักษ์ ความเข้ มข้ น 0, 0.1, 1 และ 10 กรัมน ้าหนักแห้ งต่อลิตรต่อการเติบโตของต้ นกล้ า ต้ อยติ่งและการมีชีวิตของเซลล์ราก โดยวางแผนการทดลองแบบสุม่ ตลอด (completely randomized design: CRD) จานวน 3 ซ ้า นาสารสกัดไมยราบยักษ์ ปริมาตร 2 มิลลิลิตร ใส่ลงใน petri dish ที่บรรจุกระดาษกรองเบอร์ 1 นาไประเหยเมทานอลออกใน ตู้ดดู ควันเป็ นเวลา 20 นาที จากนันน ้ ามาเติมน ้ากลัน่ ปริ มาตร 2 มิลลิลิตร และวางเมล็ดต้ อยติ่ง ที่แช่น ้าไว้ แล้ ว 24 ชัว่ โมง จานวน 5 เมล็ด ทิ ้งไว้ เป็ นเวลา 3 วันที่อณ ุ หภูมิห้อง จากนันวั ้ ดความยาวรากและความยาวยอด และนามาคานวณ inhibition rate จากสมการของ Gao-feng et al. (2010) Inhibition rate (%) = (

238

1 − 𝑇𝑟𝑒𝑎𝑡𝑚𝑒𝑛𝑡 ) × 100% 𝐶𝑜𝑛𝑡𝑟𝑜𝑙

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การทดสอบผลของสารสกัดไมยราบยักษ์ ต่อการมีชีวติ เซลล์ การมีชีวิตของเซลล์วดั โดยวิธี Evans blue uptake (Sunohara and Matsumoto, 2008) นาต้ นกล้ าต้ อยติ่งที่ทดสอบ ด้ วยสารสกัดไมยราบยักษ์ ความเข้ มข้ น 0, 0.1, 1 และ 10 กรัมน ้าหนักแห้ งต่อลิตร เป็ นเวลา 3 วัน มาตัดรากให้ มีความยาว 0.5 เซนติเมตร ล้ างด้ วยน ้ากลัน่ และนาไปแช่ในสารละลายสี Evans blue ความเข้ มข้ น 0.25 เปอร์ เซ็นต์โดยน ้าหนักต่อปริ มาตร เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ที่อณ ุ หภูมิห้อง และนามาล้ างด้ วยน ้ากลัน่ เป็ นเวลา 30 นาที จากนันน ้ ามาแช่ใน N,N-dimethylformamide (DMF) ปริ มาตร 500 ไมโครลิตร เก็บไว้ ที่อณ ุ หภูมิห้อง ในที่มืด เป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง เมื่อครบกาหนดนาสารละลายมาวัดค่าการ ดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 600 นาโนเมตรด้ วยเครื่ อง spectrophotometer รุ่น S20 การวิเคราะห์ ผลการทดลอง นาผลการทดลองที่ได้ มาวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป SPSS for window โดยตรวจสอบค่าความ แปรปรวนของชุดทดลองด้ วย F-test และความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี tukey ที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้ อยละ 95

ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลของสารสกัดไมยราบยักษ์ ต่อการเติบโตของต้ นกล้ าต้ อยติ่ง การศึกษาผลของสารสกัดจากไมยราบยักษ์ ต่อการเติบโตของต้ นกล้ าต้ อยติ่งพบว่า สารสกัดมีผลยับยังความยาวราก ้ และความยาวยอดของต้ อยติ่ง โดยเมื่อเพิ่มความเข้ มข้ นของสารสกัด มีผลทาให้ ความยาวรากและความยาวยอดของต้ อยติ่ง ลดลงอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ความเข้ มข้ นของสารสกัดในอัตราที่สงู ส่งผลยับยังความยาวยอดและความยาวรากอย่ ้ างเห็นได้ ชัด โดยมีเปอร์ เซ็นต์ยบั ยังความยาวราก ้ 53.45 และ 91.67 เปอร์ เซ็นต์ และเปอร์ เซ็นต์ยบั ยังความยาวยอด ้ 46.63 และ 100.00 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อได้ รับสารสกัดความเข้ มข้ น 1 และ 10 กรัมน ้าหนักแห้ งต่อลิตร ตามลาดับ (Table 1 และ Figure 1) ซึ่ง สอดคล้ องกับ Uddin et al. (2007) รายงานว่าสารสกัดน ้าจากใบของต้ นพฤกษ์ (Albizia lebbeck) ที่ระดับความเข้ มข้ นสูง (50100 เปอร์ เซ็นต์) มีประสิทธิภาพในการยับยังการเติ ้ บโตของพืชปลูกได้ ดี สารสกัดจากแห้ วไทย (Cyperus esculentus) ส่งผล ยับยังการเติ ้ บโตของข้ าวโพดและถัว่ เหลืองมากขึ ้นเมื่อความเข้ มข้ น ของสารสกัดสูงขึ ้น (Drost and Doll, 1980) และสารสกัด ด้ วยน ้าจากบอระเพ็ด (Tinospora tuberculata) มีผลยับยังการงอก ้ ความยาวรากและความยาวยอดของหญ้ าข้ าวนกได้ มาก ขึ ้น เมื่อความเข้ มข้ นสูงขึ ้น (Aslani et al., 2015)

Table 1 Root and shoot growth of R. tuberosa after treated with M. pigra methanolic extract 3 days after treatment (DAT). Concentration Root length Inhibition rate of Shoot length (g(DW)/L) (cm) root length (%) (cm) 1 0 2.89  0.12d 0.00d 0.71  0.03c 0.1 2.39  0.08c 17.53c 0.60  0.05b 1 1.35  0.06b 53.45b 0.38  0.03a 10 0.24  0.01a 91.67a 0.00  0.00a 1 The same letter in the same column are not significantly different, P ≥ 0.05.

Inhibition rate of shoot length (%) 0.00c 14.29c 46.63b 100.00a

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

239


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 R. tuberosa seedling treated with M. pigra methanolic extract 3 DAT.

Relative Evan blue uptake (%)

ผลของสารสกัดไมยราบยักษ์ ต่อการมีชีวติ ของเซลล์ การมีชีวิตของเซลล์เป็ นค่าที่บอกถึงการตายของเซลล์หรื อการเสื่อมสภาพของเยื่อหุ้มเซลล์อนั เนื่องมาจากการรุ กราน ของโรคและแมลง หรื อสารพิษต่างๆ (Baker and Mock, 1994; Tamás et al., 2004) โดยปกติสี Evans blue ไม่สามารถผ่าน เยื่อหุ้มเซลล์ของพืชได้ แต่จะผ่านไปได้ เมื่อเยื่อหุ้มเซลล์ของพืชเสียหาย ซึง่ ทาให้ สมบัติความเป็ นเยื่อเลือกผ่านเสียสภาพ (Baker and Mock, 1994) จากผลการทดลอง รากของต้ อยติ่งที่ได้ รับสารสกัดจะมีปริ มาณสีที่เข้ าไปในเซลล์เพิ่มขึ ้น (Figure 2) แสดง ว่าสารสกัดไมยราบยักษ์ ทาให้ ความมีชีวิตของเซลล์รากลดลง กล่าวคือมีผลทาให้ เซลล์ตาย (cell death) และเยื่อหุ้มเซลล์ เสื่อมสภาพ จึงทาให้ สี Evans blue ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้ าไปได้ มากขึ ้น และเมื่อเพิ่มความเข้ มข้ นของสารสกัด มีแนวโน้ มทาให้ เซลล์รากสูญเสียความมีชีวิตมากขึ ้น (Figure 2) โดยที่ความเข้ มข้ นของสารสกัด 1 และ 10 กรัมน ้าหนักแห้ งต่อลิตร ส่งผลให้ ความมีชีวิตของเซลล์ลดลงอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ คือมีปริ มาณสี Evans blue เข้ าไปในเซลล์ได้ 160.14  5.37 และ 297.51  17.27 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ 350 c 300 250 200 150 100 50 0

b a

0

ab

0.1

1

Concentration (g(DW)/L)

10

Figure 2 Effect of M. pigra methanolic extract on cell viability in R. tuberosa root by Evans blue uptake method 3 DAT, bars with the same letter are not significantly different, P ≥ 0.05. สารสกัดไมยราบยักษ์ ส่งผลยับยังการเติ ้ บโตของต้ นกล้ าต้ อยติ่ง ซึง่ ผลที่ได้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกับการสูญเสียการมี ชีวิตของเซลล์ (Table 1 และ Figure 2) นัน่ คือ เมื่อเพิ่มความเข้ มข้ นของสารสกัด ทาให้ การเติบโตของต้ นกล้ าลดลง และ สูญเสียความมีชีวิตของเซลล์เพิ่มขึ ้น จึงอาจกล่าวได้ ว่าการสูญเสียการมีชีวิตของเซลล์เป็ นปั จจัยหนึ่งที่ทาให้ การเติบโตของพืช ลดลง เนื่องจากเยื่อหุ้มเซลล์สญ ู เสียคุณสมบัติเยื่อเลือกผ่าน เช่นเดียวกับสารกาจัดวัชพืช quinclorac ซึ่งมีผลทาให้ เกิดการ สูญเสียความมีชีวิตของเซลล์รากข้ าวโพด และส่งผลให้ ความยาวของรากลดลง (Sunohara and Matsumoto, 2008) และสาร ambiguine D isonitrile และ hapalocyclamide ซึ่งเป็ นสารที่เป็ นพิษกับพืช ที่พบในสารสกัดจากไซยาโนแบคทีเรี ย Hapalosiphon sp. มีผลยับยังการเติ ้ บโตของผักกาดหอม (Lactuca sativa) โดยปั จจัยหนึ่งเป็ นผลมาจากการสูญเสียความมี ชีวิตของเซลล์ (Koodkaew et al., 2012a; Koodkaew et al., 2012b) 240

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

จากผลการทดลอง จะเห็นว่าสารสกัดจากไมยราบยักษ์ มีสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพซึง่ มีผลยับยังการเติ ้ บโตของวัชพืชได้ ดังนันจึ ้ งมีความเป็ นไปได้ ที่จะพัฒนาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากไมยราบยักษ์ เป็ นสารควบคุมวัชพืช สรุ ปผลการทดลอง สารสกัดจากไมยราบยักษ์ มีผลยับยังการเติ ้ บโตของต้ นกล้ าต้ อยติ่ง และมีผลส่งเสริมการสูญเสียความมีชีวิตของเซลล์ รากของต้ อยติ่ง

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสถาบันวิจยั และพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (KURDI) ที่มอบทุนสนับสนุนในการทาวิจยั นี ้

เอกสารอ้ างอิง ดวงพร สุวรรณกุล. 2543. ชีววิทยาพืช พื ้นฐานการกาจัดวัชพืช. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. บัญจรัตน์ โจลานันท์, อาทิตย์ พุทธรักชาติ และ จันสุดา คาตุ้ย. 2554. พลังงานทดแทนชุมชนจากเชื ้อเพลิงแข็งอัดแท่งไมยราบยักษ์ . วารสารวิจยั มข. 16(1): 20-31. Ascencio, J. and J. V. Lazo. 1997. Growth evaluation during the vegetative phase of dicotyledonous weeds and under phosphorus deficiency. J. Plant Nutr. 20(1): 27-45. Aslani, F., A. S. Juraimi, M. S. Ahmed-Hamdani, M. A. Alam, F. S. G. Hashemi, D. Omar and M. A. Hakim. 2015. Phytotoxic interference of volatile organic compounds and water extracts of Tinospora tuberculata Beumee on growth of weeds in rice fields. S. Afr. J. Bot. 100: 132-140. Baker, C. J. and N. M. Mock. 1994. An improved method for monitoring cell death in cell suspension and leaf disc assays using Evans blue. Plant Cell Tissue and Organ. Cult. 39: 7-12. Chiapusio, G., A. M. Sanchez, M.J. Reigosa, L. Gonzalez and F. Pellissier. 1997. Do germination indicates adequately reflect allelochemical effects on the germination process. J. Chem. Ecol. 23(11): 2445-2453. Drost, D. C. and J. D. Doll. 1980. The allelopathic effect of yellow nutsedge (Cyperus esculentus) on corn (Zea may) and soybean (Glycine max). Weed Sci. 28: 229-233. Fujii, Y. 2009. Overview of research on allelochemicals. Macro Symposium: Challenges for Agro-Environmental Research in Moonsoon Asia. Gao-feng, X., Z. Fu-dou, L. Tian-lin, W. Di and Z. Yu-hua. 2010. Induced effects of exogenous phenolic acids on allelopathy of a wild rice accession (Oryza longistaminata, S37). J. Rice Sci. 24: 62-66. Haugland, E. and L. O. Brandsaeter. 1996. Experiments on bioassay sensitivity in the study of allelopathy. J. Chem. Ecol. 22: 18451859. Inderjit and K. M. M. Dakshini. 1995. On laboratory bioassays in allelopathy. Bot. Rev. 61: 29-44. Koodkaew, I., Y. Sunohara, S. Matsuyama and H. Matsumoto. 2012a. Isolation of ambiguine D isonitrile from Hapalosiphon sp. and characterization of its phytotoxic activity. Plant Growth Regul. 68: 141-150. Koodkaew, I., Y. Sunohara, S. Matsuyama and H. Matsumoto. 2012b. Phytotoxic action mechanism of hapalocyclamide in lettuce seedling. Plant Physiol. Bioch. 58: 23-28. Rosado-Vallado, M., W. Brito-Loeza, G. J. Mena-Rejón, E. Quintero-Marmol and J. S. Flores-Guido. 2000. Antimicrobial activity of Fabaceae species used in Yucatan traditional medicine. Fitoterapia 71: 570-573. Sunohara, Y. and H. Matsumoto. 2008. Quinclorac-induced cell death is accompanied by generation of reactive oxygen species in maize root tissue. Phytochemistry 69: 2312-2319. Tamás, L., M. Šimonovičová, J. Huttová and I. Mistrík. 2004. Aluminium stimulated hydrogen peroxide production of germinating barley seeds. Environ. Exp. Bot. 51: 281-288. Uddin, M. B., R. Ahmed, S. A. Mukul and M. K. Hossain. 2007. Inhibitory effects of Albizia lebbeck leaf extracts on germination and growth behavoior of some popular agricultural crops. J. Forestry Res. 18: 128-132. Umi, K. Y., I., Khairruddin, A. Faridah, M. S. Aspollah, A. Noriha and B. B. Baki. 2003. Chemotaxonomic survey of Malaysian Mimosa Species. Sains Malays. 32: 121-129.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

241


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของระยะเวลาการเก็บรักษาหัวพันธุ์ท่ อี ุณหภูมติ ่าต่ อการชะลอการออกดอก ของว่ านอึ่งและว่ านหัวครู Effect of Cold Storage Period on Flower Delaying of Eulophia macrobulbon (Par. & Pchb. f.) Hook. f. and E. spectabilis (Dennst.) Suresh. พงษ์ นที ปิ นตาแจ่ ม1 และณัฐา โพธาภรณ์ 1 Pongnatee Pintajam1 and Nuttha Potapohn1

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของระยะเวลาในการเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิต่าต่อการชะลอการออกดอกของว่านอึง่ และว่านหัวครู มีจดุ ประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการเก็บรักษาหัวพันธุ์ว่านอึง่ และว่านหัวครูที่อณ ุ หภูมิ 15oC เพื่อชะลอการออก ดอกให้ ช้ากว่าสภาพธรรมชาติ โดยทาการเก็บรักษาหัวพันธุ์ว่านอึง่ และว่านหัวครูที่อณ ุ หภูมิ 15oC เป็ นเวลา 30, 60, และ 90 วัน จากนันน ้ าหัวพันธุ์มาปลูกลงกระถางจนกระทัง่ ให้ ดอก พบว่า การเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 15oC เป็ นเวลา 90 วัน สามารถ ชะลอการออกดอกของว่านหัวครูได้ โดยมีความยาวของก้ านช่อดอกสันกว่ ้ าชุดควบคุมอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ในขณะที่การ o เก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 15 C ทุกระยะเวลาไม่มีผลต่อการออกดอกของว่านอึง่ เมื่อเปรี ยบเทียบกับชุดควบคุมที่ปลูกเลี ้ยงไว้ ที่อณ ุ หภูมิห้อง คาสาคัญ: กล้ วยไม้ ดิน อุณหภูมิต่า การออกดอก

Abstract Effect of cold storage period on delay flowering of Eulophia macrobulbon (Par. & Pchb. f.) Hook. f. and E. spectabilis (Dennst.) Suresh. was conducted. Corms of both terrestrial orchids were stored at 15oC for 30, 60, and 90 days. After that, plants were grown in plastic pot until flowering. It was found that flowering of E. spectabilis which was stored at 15oC for 90 days could be delayed and peduncle length is shorter than normal plant whereas low temperature for all duration had no effect on flowering of E. macrobulbon Keywords: terrestrial orchid, low temperature, flowering

คานา กล้ วยไม้ เป็ นไม้ ดอกไม้ ประดับที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย สามารถสร้ างรายได้ เข้ าสูป่ ระเทศได้ ปีละ มากกว่า 3,000 ล้ านบาท (สานักวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร, 2555) ทังในรู ้ ปแบบของไม้ ตดั ดอกและไม้ กระถาง ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ น กล้ วยไม้ ในกลุม่ อิงอาศัย (epiphytic orchid) เช่น กล้ วยไม้ สกุล Cattleya, Dendrobium, Phalaenopsis เป็ นต้ น ส่วนกล้ วยไม้ ดิน (terrestrial orchid) ยังคงเป็ นที่ร้ ู จกั และนาไปใช้ ประโยชน์ทางการค้ าไม่มากนัก แม้ ว่าในประเทศไทยจะมีกล้ วยไม้ ดินที่มี ลักษณะเป็ นเอกลักษณ์ และมีศกั ยภาพที่จะพัฒนาไปเป็ นไม้ ดอกเชิงการค้ าหลายชนิด (อบฉันท์ , 2545) เช่น Calanthe, Cymbidium, Paphiopedilum, และ Spathoglottis เป็ นต้ น กล้ วยไม้ ดินสกุล Eulophia ซึง่ เป็ นกล้ วยไม้ ดินที่มีก้านช่อดอกตัง้ ตรง มีความยาวประมาณ 30-50 เซนติเมตร มีกลีบเลี ้ยงและกลีบดอกที่มีสีสนั หลากหลายและสามารถปลูกเลี ้ยงได้ ง่ าย ทาให้ กล้ วยไม้ ดินหลายชนิดในสกุลนี ้มีศกั ยภาพที่จะพัฒนาไปเป็ นไม้ ตดั ดอกและไม้ ประดับแปลงได้ ในอนาคต เช่น ว่านอึง่ [Eulophia macrobulbon (Par. & Pchb. f.) Hook. f.] และว่านหัวครู [E. spectabilis (Dennst.) Suresh.] แต่เนื่องจากกล้ วยไม้ สกุลนี ้มี การออกดอกเพียงหนึ่งครัง้ ต่อปี และมักออกดอกในช่วงฤดูร้อน ในขณะที่ตลาดต้ องการกล้ วยไม้ ที่มีระยะเวลาในการออกดอก ค่อนข้ างนานและสามารถออกดอกได้ ตลอดทังปี ้ จึงทาให้ เกิดแนวคิดในการเก็บรักษาหัวพันธุ์ในอุณหภูมิต่า แล้ วนามาทะยอย ออกปลูก เพื่อยืดระยะเวลาการออกดอกของกล้ วยไม้ สกุลนี ้

1

ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200 242

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง คัดขนาดหัวพันธุ์ว่านอึ่งและว่านหัวครู ให้ มีขนาดและน ้าหนักใกล้ เคียงกัน ชนิดละ 16 หัว จากนันน ้ าไปเก็บรักษาที่ o อุณหภูมิ 15 C เป็ นเวลา 0 (อุณหภูมิห้อง), 30, 60, และ 90 วัน และทยอยนาหัวพันธุ์ออกปลูกเมื่อครบกาหนดเวลา โดยนาหัว พันธุ์ลงปลูกในกระถางขนาด 8 นิ ้ว ที่รองก้ นกระถางด้ วยโฟมและวัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของทรายและขุ่ยมะพร้ าวในอัตราส่วน 1:1 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (completely randomized design) จานวน 4 ซ ้า (กระถาง) ต่อกรรมวิธี ดูแล จนกระทัง่ ให้ ดอก สังเกตและบันทึกการเจริญเติบโตทางต้ นและการเจริญเติบโตทางดอก

ผลการทดลองและวิจารณ์ จานวนวันที่ใช้ ในการงอก ผลของการเก็บรักษาหัวพันธุ์วา่ นอึง่ และว่านหัวครูที่อณ ุ หภูมิ 15oC ที่ระยะเวลาต่างๆ กัน พบว่า การเก็บรักษาหัวพันธุ์ ว่านอึง่ ที่อณ ุ หภูมิ 15oC เป็ นเวลา 60 และ 90 วัน สามารถยืดระยะเวลาที่ใช้ ในการงอกได้ โดยทาให้ หวั พันธุ์งอกช้ ากว่าการเก็บ รักษาที่อณ ุ หภูมิ 15oC เป็ นเวลา 0 วันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ คือ 148 และ 149.25 วัน ตามลาดับ ในขณะที่การเก็บรักษาที่ 15oC เป็ นเวลา 0 และ 30 วัน ใช้ เวลาในการงอก 134.25 และ 132.0 วัน ตามลาดับ (Table 1) ในขณะที่การเก็บรักษาหัวพันธุ์ ว่านหัวครูที่ 15oC เป็ นเวลา 90 วัน ใช้ เวลาในการงอกมากกว่าการเก็บรักษาที่ระยะเวลาอื่นอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ คือ 174 วัน ในขณะที่การเก็บรักษาหัวพันธุ์ว่านหัวครูที่ 15oC เป็ นเวลา 0, 30, และ 60 วัน ใช้ เวลาในการงอก 136, 162, และ 163 วัน ตามลาดับ (Table 2) ทังนี ้ ้เนื่องจากอุณหภูมิมีบทบาทสาคัญต่อกระบวนการเมแทบอริ ซมึ และปฏิกิริยาชีวเคมีภายในเซลล์ ซึง่ มี ผลให้ พืชเกิดการชะงักหรื อหยุดการเจริญเติบโตเพียงชัว่ คราว (ลิลลี่, 2546) Table 1. Growth of E. macrobulbon affected by cold storage at different storage period. Treatment Day of germination Plant height Flower percentage (days) (cm) (%) o Stored at 15 C 0 days 134.25a 46.67a 0 o Stored at 15 C 30 days 132.00a 61.23b 0 o Stored at 15 C 60 days 148.00b 50.36a 0 o Stored at 15 C 90 days 149.25b 29.20c 0 LSD0.05 10.71 13.29 Mean within column followed by different letter are significantly at P<0.05.

Table 2. Growth of E. spectabilis affected by cold storage at different storage period. Treatment Day of germination Plant height Flower Peducle length (days) (cm) percentage (%) (cm) o Stored at 15 C 0 136.00a 87.70a 50 23.16a days Stored at 15oC 30 162.00b 43.77b 0 -1/ days Stored at 15oC 60 163.00b 40.67b 25 10.76b days Stored at 15oC 90 174.00c 18.22c 50 13.00b days LSD0.05 14.65 25.69 6.03 Mean within column followed by different letter are significantly at P<0.05. 1/ no flowering, and 2/not significantly different

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

Flower size (cm) 1.86 -1/ 1.83 1.80 NS.2/

243


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

C

T1

T3

T2

Figure 1 Effect of cold storage on growth and development of Eulophia macrobulbon (Par. & Pchb. f.) Hook. f. on March 2015 C = Stored at 15oC 0 day T1 = Stored at 15oC 30 days T2 = Stored at 15oC 60 days T3 = Stored at 15oC 90 days A) group I

C

T1

T2

B) group II

T3

C

T1

T2

T3

Figure 2 Effect of cold storage on growth and development of Eulophia spectabilis (Dennst.) Suresh. A) Growth and development on April 2015, B) Growth and development on May 2015 C = Stored at 15oC 0 day T1 = Stored at 15oC 30 days T2 = Stored at 15oC 60 days T3 = Stored at 15oC 90 days 244

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเจริญเติบโตทางต้ น ความสูงของต้ นว่านอึง่ ที่ได้ รับอุณหภูมิ 15oC เป็ นเวลา 90 วัน มีค่าน้ อยกว่าต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิ 15oC เป็ นเวลา 0 วัน อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ คือ มีความสูง 29.20 เซนติเมตร ในขณะต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิ 15oC เป็ นเวลา 0, 30, และ 60 วัน มี ความสูง 46.67, 61.23, และ 50.36 เซนติเมตร ตามลาดับ (Table 1, Figure 1) ในขณะที่ความสูงของว่านหัวครูมีแนวโน้ ม ลดลงเมื่อได้ รับอุณหภูมิ 15oC นานขึ ้น โดยต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิ 15oC เป็ นเวลา 90 วัน มีความสูงน้ อยที่สดุ คือ 18.22 เซนติเมตร ซึง่ มีคา่ แตกต่างกับต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิ 15oC เป็ นเวลา 0 วันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยมีความสูง 87.70 เซนติเมตร ในขณะ ที่ต้นที่ได้ รับอุณหภูมิ 15oC เป็ นเวลา 30 และ 60 วัน มีความสูง 43.77 และ 40.67 เซนติเมตร ตามลาดับ (Table 2, Figure 2B) การเจริญเติบโตทางดอก ผลของการเก็บรักษาหัวพันธุ์ว่านอึ่งและว่านหัวครู ที่อณ ุ หภูมิ 15oC ที่ระยะเวลาต่าง ๆ พบว่า ว่านอึ่งสามารถพัฒนา เป็ นต้ นได้ หลังจากเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อุณหภูมิ 15oC ที่ระยะเวลาต่างๆ แต่ไม่สามารถออกดอกได้ ทังนี ้ ้อาจเนื่องมากจากหัว พันธุ์วา่ นอึง่ ที่นามาใช้ ในการศึกษาครัง้ นี ้เป็ นหัวพันธุ์ที่เคยออกดอกมาแล้ ว จึงอาจเป็ นไปได้ ว่าความสมบูรณ์ของหัวพันธุ์ไม่เพียง พอที่จะพัฒนาไปเป็ นดอกได้ ต้ องทาการสะสมอาหารภายในหัวพันธุ์ก่อนจึงจะให้ ดอกได้ ในปี ถดั ไป ในขณะที่หวั พันธุ์ว่านหัวครู ที่ทาการเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 15oC เป็ นเวลา 0, 60, และ 90 วัน ออกดอก 50, 25, และ 50 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ เมื่อพิจารณาด้ านคุณภาพดอก พบว่า การให้ อณ ุ หภูมิ 15oC แก่ว่านหัวครู เป็ นเวลา 60 และ 90 วัน ทาให้ ความยาว ก้ านช่อดอกลดลง คือ มีความยาวก้ านช่อดอก 10.76 และ 13.00 เซนติเมตร ตามลาดับ (Table 2) ในขณะที่ต้นที่เก็บรักษาที่ อุณหภูมิ 15oC เป็ นเวลา 0 วัน มีความยาวก้ านช่อดอกเท่ากับ 23.16 เซนติเมตร ส่วนขนาดดอกไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ คือ ต้ นที่ให้ อณ ุ หภูมิ 15oC เป็ นเวลา 0, 60, และ 90 วัน มีขนาดดอก 1.86, 1.83, และ 1.80 เซนติเมตร ตามลาดับ (Table 2) ซึง่ ผลของการทดลองสอดคล้ องกับงานทดลองของสุรวิช (2539) ซึง่ ได้ ทาการเก็บรักษาหัวพันธุ์ปทุมมาที่อณ ุ หภูมิ 5, 10, 15, และอุณหภูมิห้อง เป็ นเวลา 1, 2, 3, และ 4 เดือน พบว่า ระยะเวลาในการเก็บรักษาหัวพันธุ์มีผลต่อความสูงของต้ นปทุม มา โดยการเก็บรักษาหัวพันธุ์ปทุมมาที่ 15oC นาน 4 เดือน ทาให้ ต้นปทุมมามีขนาดเล็กที่สดุ และส่งผลกระทบต่อคุณภาพดอก ทัง้ นี เ้ นื่ องจากระหว่างการเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อุณหภูมิต่า หัวพันธุ์ยังคงมีการใช้ อาหารที่เก็บสะสมไว้ ภายในหัวพันธุ์อย่าง ต่อเนื่อง เมื่อนาหัวพันธุ์มาปลูกและกระตุ้นให้ พ้นการพักตัวหลังจากเก็บรักษาเป็ นระยะเวลานาน อาจทาให้ อาหารที่เก็บสะสม ไว้ ไม่เพียงพอที่จะทาให้ ต้นและดอกมีการพัฒนาได้ อย่างเต็มที่ ทาให้ ความสูงและคุณภาพดอกลดลง อย่างไรก็ตาม ผลที่ได้ จาก การศึกษาในครัง้ นี ้อาจเป็ นประโยชน์ในการพัฒนาว่านหัวครู ให้ เป็ นกล้ วยไม้ กระถางและสามารถทาให้ ออกดอกในระยะเวลาที่ ต่างกับช่วงออกดอกปกติได้ ในอนาคต

สรุ ปผลการทดลอง การเก็บรักษาหัวพันธุ์วา่ นหัวครูและว่านอึง่ ที่อณ ุ หภูมิ 15oC เป็ นเวลา 0, 30, 60, และ 90 วัน พบว่า การเก็บรักษาหัว พันธุ์ว่านหัวครู ที่อณ ุ หภูมิ 15oC เป็ นเวลา 60 และ 90 วัน สามารถชะลอการออกดอกว่านหัวครูได้ แต่มีผลทาให้ ความยาวก้ าน ช่อดอกลดลง ในขณะที่การเก็บรั กษาหัวพันธุ์ว่านอึ่งที่อณ ุ หภูมิดงั กล่าว พบว่า ว่านอึ่งไม่มีการพัฒนาของดอกเมื่อนาหัวพันธุ์ ออกปลูกและกระตุ้นให้ พ้นการพักตัว

เอกสารอ้ างอิง ลิลลี่ กาวีต๊ะ. 2546. การเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานและพัฒนาการของพืช. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. 319 น. สานักวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร. 2555. สถานการณ์สินค้ าเกษตรที่สาคัญและแนวโน้ ม ปี 2555. แหล่งที่มา (Available Source) : http://www. oae.go.th/download/journal/trends2555.pdf, 18 กันยายน 2555. สุรวิช วรรณไกรโรจน์. 2539. ผลของคุณภาพและการเก็บรักษาหัวพันธุ์ต่อการผลิตปทุมมา. รายงานการประชุมวิชาการไม้ ดอกไม้ ประดับแห่งชาติ ครัง้ ที่ 2 ระหว่างวันที่ 14-17 กุมภาพันธุ์ 2539 กองโครงการและประสานงานวิจยั สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ. โรงแรมดวง ตะวัน เชียงใหม่. หน้ า 66-77. อบฉันท์ ไทยทอง. 2545. กล้ วยไม้ เมืองไทย. อัมริ นทร์ พริ น้ ติ ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง. กรุงเทพฯ. 461 น.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

245


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาหัวพันธุ์ต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกของ กล้ วยไม้ ดนิ นางกราย (Habenaria lindleyana Steud.) Effects of temperature and blubs storage duration on growth and flowering of Habenaria lindleyana Steud. นิพนธ์ กิตดิ ี1 โสระยา ร่ วมรังษี1/ และณัฐา โพธาภรณ์ 1/ Nipon Kitidee1/, Soraya Ruamrungsri1/and Nuttha Potapohn1/

บทคัดย่ อ กล้ วยไม้ ดินสกุล Habenaria เป็ นกล้ วยไม้ ดินที่มีหวั แน่น (tuber) มีลกั ษณะช่อดอกตังตรง ้ รูปทรงดอกสวยงาม เหมาะ สาหรับใช้ เป็ นไม้ กระถาง และสามารถพัฒนาเป็ นเชิงการค้ าได้ จึงได้ มีการศึกษาผลของระยะเวลาที่ใช้ เก็บรักษาหัวพันธุ์ต่อการ ยืดอายุการเก็บรักษาสาหรับการผลิตกล้ วยไม้ ดินนางกราย โดยคัดเลือกหัวพันธุ์ที่มีน ้าหนัก 0.1-3.0 กรัม วางแผนการทดลอง แบบ Factorial in CRD แบ่งการทดลองออกเป็ น 2 ปั จจัย คือ ปั จจัยที่ 1 อุณหภูมิการเก็บรักษาหัวพันธุ์ 3 ระดับ คือ 10 องศา เซลเซียส 15 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิห้อง (ประมาณ 25-30 องศาเซลเซียส) ปั จจัยที่ 2 ระยะเวลาในการเก็บรักษา 2 ระดับ คือ 90 วัน และ 180 วัน จากนันน ้ ามาปลูกในวัสดุปลูกที่ประกอบด้ วย ทรายหยาบ:เปลือกข้ าว: แกลบดา อัตราส่วน 1: 1: 1 พบว่า การเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 10 และ 15 องศาเซลเซียส ทาให้ กล้ วยไม้ ดินนางกรายมีความสูงลาต้ นเทียมสูงที่สดุ คือ 2.80 และ 2.38 เซนติเมตร ตามลาดับ ซึง่ ไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติ ส่วนการเก็บรักษาหัวพันธุ์ระยะเวลา 90 วัน มีผลทา ให้ จานวนใบต่อต้ นมากที่สดุ คือ 4.13 ใบ ดังนันการเก็ ้ บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 10 และ 15 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 180 วัน มีแนวโน้ มที่จะชะลอการงอกและออกดอกได้ คาสาคัญ : กล้ วยไม้ ดิน นางกราย การเก็บรักษาหัวพันธุ์

Abstract Terrestrial orchids genus Habenaria, which have tuber underground, have great potential for commercial use as potted plants. It has upright inflorescences and beautiful flower shape. Thus, effects of storage temperature and bulbs storage duration were conducted. Bulbs with weight of 0.1 to 3.0 g were employed. Experimental design was factorial in completely randomized design. Two factors were studied, storage temperature at 10 °C, 15 °C and room temperature (approximately 25-30 °C) and storage duration i.e. 90 and 180 days. After that, bulbs were grown in sand: rice husk: rice husk charcoal ratio of 1:1:1. The results showed that plants of storage temperature at 10 and 15 °C increased pseudostem height 2.80 and 2.38 cm, respectively was no significant different. And the storage duration at 90 days increased number of leaf 4.13 leaves. It indicated that the storage temperature at 10 and 15 °C for 180 days tend to delay germination and flowering. Keywords : terrestrial orchid, Habenaria lindleyana Steud., bulb storage

คานา กล้ วยไม้ เป็ นพืชใบเลี ้ยงเดี่ยว อยู่ในวงศ์ Orchidaceae ประกอบด้ วยกล้ วยไม้ ประมาณ 25,000 ชนิด รู ปแบบการ เจริญเติบโตมีหลายแบบเช่น เจริญเติบโตบนกิ่งไม้ พื ้นหิน ซึง่ ความแตกต่างของชนิดกล้ วยไม้ พบมากในเขตร้ อน (tropical) ส่วน ใหญ่เป็ นกล้ วยไม้ อิงอาศัย (epiphyte) ในขณะที่กล้ วยไม้ ที่อยู่ในเขตอบอุ่น (temperate) เป็ นกล้ วยไม้ ดิน (terrestrial) (ครรชิต, 2550) ซึง่ ประเทศไทยเป็ นแหล่งกาเนิดของกล้ วยไม้ อยูป่ ระมาณ 176 สกุล 1,157 ชนิด (วีระชัยและสันติ, 2551) ในจานวนหนึ่ง นัน้ เป็ นกล้ วยไม้ ดินที่ได้ รับความสนใจ กล้ วยไม้ ดิน ที่พบในประเทศไทยมีมากกว่า 200 ชนิด ใน 60 สกุล (จิตราพรรณ, 2539) กล้ วยไม้ ดินกลุม่ หนึง่ ที่นิยมนามาพัฒนา คือ กลุม่ นางอัว้ ประกอบด้ วย สกุลฮาเบนาเรี ย (Habenaria) และเพคเทลิส (Pecteilis) 1 1

ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ. เชียงใหม่ 50200 Department of Plant Science and Soil Science, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200, Thailand 246

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เป็ นอีกกลุ่มหนึ่งที่สามารถพบเห็นได้ ง่ายในป่ าของประเทศไทยซึ่งในสกุลฮาเบนาเรี ยพบอยู่ในประเทศไทยมีอยู่ประมาณ 36 ชนิด และมีสกุลเพคเทลิสอีก 3 ชนิด แต่ละชนิดมีจดุ เด่นที่แตกต่างกันออกไป โดยเฉพาะในสกุล Habenaria ที่มีลกั ษณะของสี ที่โดดเด่น เป็ นที่ต้องการของตลาด ปั จจุบนั มีการวางขายตามฤดูกาลคือในช่วงฤดูฝน จึงควรมีการศึกษาปั จจัยบางประการ ได้ แก่ อุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาหัวพันธุ์ ซึง่ มีผลต่อการสร้ างส่วนต่างๆ ของดอกและระยะเวลาการออกดอกในพืชหัว (Hartsema, 1961) ซึ่งอุณหภูมินอกจากจะเป็ นปั จจัยสาคัญที่มีผลต่อกระบวนการออกดอกแล้ วยังมีผลต่อการพัฒนาของหัว พันธุ์อีกด้ วย (Roh and Hong, 2007) Habenaria lindleyana Steud. มีชื่อสามัญว่า นางกราย นางตายน้ อย และนางตายตัว ผู้ (สลิล, 2550) ลักษณะทัว่ ไปมีต้นเตี ้ย ใบปกคลุมอยู่เหนือดิน 3-5 ใบ มีสีเขียวเข้ ม (ณัฐา, 2548) ใบเป็ นใบเดี่ยว ใบรู ปรี (Elliptic) ขอบใบเรี ยบ ปลายใบแหลม โคนใบสอบเรี ยวโอบล้ อมลาต้ น (ชิดชนก, 2555) ดอกสีขาว กลีบดอกชันนอกด้ ้ านบนและ กลีบดอกชันในซ้ ้ อนอยูเ่ กยกันมีขนาดค่อนข้ างเล็ก กลีบดอกชันนอกด้ ้ านข้ างเป็ นรูปไข่ กางออก ปากมีสีขาว มีแต้ มสีเหลืองจางๆ ตรงกลาง ด้ านข้ างของปากตรงส่วนโคนมีติ่งเล็กๆ ยื่นออกมาทัง้ 2 ข้ าง (ณัฐา, 2548) ในไม้ ดอกประเภทหัวอุณหภูมิมี ความสาคัญต่อการเจริ ญเติบโต โดยขึ ้นอยู่กบั ระยะเวลาที่ได้ รับอุณหภูมิที่แตกต่างกันในแต่ละฤดูกาล ซึ่งนาไปสูเ่ ทคนิคในการ บังคับการออกดอกโดยผลของอุณหภูมิและระยะการเก็บรักษาที่ต่างกัน (De Hertogh and Le Nard, 1993) ในการเก็บรักษา หัวพันธุ์กล้ วยไม้ ดินนางกรายเพื่อการค้ า ยังไม่พบการรายงาน แต่มีการรายงานข้ อมูลเบื ้องต้ นที่ได้ มีการศึกษากับกล้ วยไม้ สกุล ฮาเบนาเรี ย เพื่อใช้ เป็ นแนวทางสาหรับการเก็บรักษาหัวพันธุ์ โดยมีรายงานของโสระยา และคณะ (2555) ได้ ศึกษาผลของ อุณหภูมิในการเก็บรักษาหัวพันธุ์ของนางอัวลิ ้ ้นมังกร (Habenaria rhodocheila Hance.) เพื่อให้ ออกดอกนอกฤดู จากการ ทดลองพบว่า หัวพันธุ์ที่เก็บไว้ ในอุณหภูมิห้องเริ่ มงอกเมื่อมีการเก็บรักษาไว้ ได้ 4 เดือน (เดือนพฤษภาคม) และมีการสูญเสีย น ้าหนักสดมากกว่าหัวพันธุ์ที่มีการเก็บในอุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส หัวพันธุ์ที่เก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส มีการ เจริ ญเติบโตดีกว่าและมีจานวนดอกต่อช่อมากกว่าหัวพันธุ์ที่เก็บที่อณ ุ หภูมิห้องอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ นอกจากนี ้ยังพบว่า การเก็บรักษาที่ 15 องศาเซลเซียส สามารถชะลอการงอกและการออกดอกได้ ซึง่ ทาให้ สามารถเลื่อนการออกดอกออกไปได้ ใน เดือนพฤศจิกายน เช่น เดียวกับไม้ หัวประเภท เหง้ า มีการศึกษาของนิศาชล (2549) ศึกษาผลของวิธีการเก็บรักษาและการ กระตุ้นการงอกต่อการเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเกี่ยวของหัวพันธุ์ปทุมมาเชียงใหม่สีชมพู พบว่า การเก็บรักษาหัวพันธุ์ปทุมมาที่ อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิห้อง (26.4 องศาเซลเซียส) แบบไม่ใช้ บรรจุภณ ั ฑ์ สามารถเก็บรักษาได้ นาน 12 เดือน และ 8 เดือน ตามลาดับ โดยมีเปอร์ เซ็นต์การงอกเท่ากับ 100 และ 53.33 เปอร์ เซ็นต์ นอกจากนี ้มีการศึกษาในไม้ หวั ประเภท หัวหลวม ของว่านสี่ทิศ โดยศึกษาผลของอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาต่อการเติบโตและการออกดอกของว่านสี่ทิศ พันธุ์ซูซาน พบว่า การเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 10 และ 15 องศาเซลเซียส นาน 4-12 สัปดาห์ มีผลในการเพิ่มความยาวใบ ความ กว้ างใบ เส้ นรอบวงก้ านดอก ความยาวก้ านดอก เส้ นผ่าศูนย์กลางดอก และคุณภาพหัวพันธุ์ (วรายุทธ, 2553) ดังนันในการ ้ ทดลองนี ้จึงมุ่งศึกษาอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาหัวพันธุ์ต่อการเจริ ญเติบโตและการออกดอก เพื่อให้ ได้ ข้อมูลพื ้นฐาน สาหรับการวางแผนการออกดอกของกล้ วยไม้ ดินนางกราย ให้ มีช่วงเวลาการออกดอกได้ อย่างต่อเนื่องในรอบปี ตอ่ ไป

อุปกรณ์ และวิธีการ นาหัวพันธุ์กล้ วยไม้ ดินนางกราย (H. lindleyana) โดยใช้ หวั พันธุ์ที่มีน ้าหนักหัวอยู่ระหว่าง (0.1-3.0 กรัม) มาเก็บรักษา ไว้ ที่ห้องเย็นอุณหภูมิและระยะเวลาต่างกันตามกรรมวิธีที่กาหนด วางแผนการทดลองแบบ Factorial in CRD จานวน (3×2)+1 กรรมวิธีๆ ละ 5 ซ ้า จานวน 2 ปั จจัย คือ ปั จจัยที่ 1 อุณหภูมิการเก็บรักษาหัวพันธุ์ 3 ระดับ คือ 10 องศาเซลเซียส 15 องศา เซลเซียส และอุณหภูมิห้อง (ประมาณ 25-30 องศาเซลเซียส) ปั จจัยที่ 2 ระยะเวลาในการเก็บรักษา 2 ระดับ คือ 90 วัน และ 180 วัน เปรี ยบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม คือ ปลูกหัวพันธุ์โดยไม่เก็บรักษา เมื่อครบกาหนดตามกรรมวิธีต่างๆ นามาปลูกลงใน กระถางเส้ นผ่าศูนย์กลาง 3 นิ ้ว ซึง่ ใช้ วสั ดุปลูกประกอบด้ วย ทรายหยาบ: ดินดา: แกลบดา อัตราส่ วน 1: 1: 1 (โดยปริ มาตร) ทา การบันทึกการเจริญเติบโตทางลาต้ น ได้ แก่ ความสูงต้ น (วัดจากโคนต้ นที่อยู่ระดับผิวใบที่สงู ที่สดุ ) เส้ นผ่าศูนย์กลางต้ น จานวน ใบต่อต้ น ความกว้ างใบ ความยาวใบ ความหนาใบ และเปอร์ เซ็นต์การแทงช่อดอก

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

247


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการศึกษาผลของความสูงลาต้ นเทียม เส้ นผ่าศูนย์กลางลาต้ นเทียม ความกว้ างใบ ความยาวใบ ความหนาใบ และจานวนใบต่อการเจริญเติบโตของกล้ วยไม้ ดินนางกราย เมื่ออายุ 45 วัน หลังย้ ายปลูก พบว่า อุณหภูมิในการเก็บรักษามีผล ทาให้ ความสูงลาต้ นเทียมมีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยพบว่า การเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 10 และ15 องศา เซลเซียสมีผลทาให้ ความสูงลาต้ นเทียมสูงที่สดุ คือ 2.80 และ 2.38 เซนติเมตร สูงกว่าการเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิห้อง คือ 1.40 เซนติเมตร อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (ตารางที่ 1) ส่วนการเก็บรักษาหัวพันธุ์ระยะเวลา 90 วัน มีผลทาให้ จานวนใบต่อต้ นดีที่สดุ คือ มีจานวนใบ 4.13 ใบ ซึ่งมีค่า มากกว่าเก็บรักษาหัวพันธุ์ระยะเวลา 180 วัน คือ 3.20 ใบ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (ตารางที่ 2) ผลของปฏิสมั พันธ์ ระหว่าง 2 ปั จจัย เปรี ยบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม คือ การปลูกโดยไม่เก็บรักษา พบว่า การเก็บ รักษาที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 90 วัน มีผลทาให้ คณ ุ ภาพต้ นดีที่สดุ คือมีความสูงลาต้ นเทียม 3.86 เซนติเมตร เส้ นผ่าศูนย์กลางลาต้ นเทียม 0.60 เซนติเมตร ความกว้ างใบ 3.24 เซนติเมตร ความยาวใบ 5.08 เซนติเมตร และความหนาใบ 0.07 เซนติเมตร ซึง่ มีคา่ แตกต่างอย่างเห็นได้ ชดั เจนในกรรมวิธีควบคุม อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (ตารางที่ 3) จากการทดลองนี ้ เห็นได้ ว่าการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 10 และ 15 องศาเซลเซียส ในระยะเวลา 180 วัน สามารถช่วยชะลอการออกดอกของ กล้ วยไม้ ดินนางกรายได้ (ภาพที่ 2) ซึง่ จากการศึกษาของโสระยา และคณะ (2555) พบว่า อุณหภูมิในการเก็บรักษามีผลต่อการ ออกดอกนอกฤดูของนางอัวลิ ้ ้นมังกร (Habenaria rhodocheila Hance.) หัวพันธุ์ที่เก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส มี การเจริ ญเติบโตดีกว่าและมีจานวนดอกต่อช่อมากกว่าหัวพันธุ์ที่เก็บที่อณ ุ หภูมิห้องอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ นอกจากนั น้ ยัง พบว่าการเก็บรั กษาที่ 15 องศาเซลเซี ยส สามารถชะลอการงอกและการออกดอกได้ เช่นเดี ยวกับไม้ หัวประเภท เหง้ า มี การศึกษาของนิศาชล (2549) ศึกษาผลของวิธีการเก็บรักษาและการกระตุ้นการงอกต่อการเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเกี่ยวของ หัวพันธุ์ปทุมมาเชียงใหม่สีชมพู พบว่า หัวพันธุ์ปทุมมาในชุดควบคุมและชุดที่เก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส สามารถ เก็บรักษาได้ นานเป็ นระยะเวลา 12 เดือน นอกจากนี ้มีรายงานในไม้ หวั ประเภท หัวหลวม ของว่านสี่ทิศ พบว่า อุณหภูมิและ ระยะเวลาในการเก็บรักษาหัวพันธุ์มีผลต่อการออกดอกของว่านสี่ทิศ โดยการเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส นาน 1-3 เดือน สามารถชะลอการผลิตว่านสี่ทิศออกไปได้ (วรายุทธ, 2553) ส่วนเปอร์ เซ็นต์การแทงช่อดอก พบว่า การเก็บ รักษาการที่อณ ุ หภูมิ 10 และ 15 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 90 วัน มีเปอร์ เซ็นต์การแทงช่อดอก 100 เปอร์ เซ็นต์ มีค่าสูงกว่า กรรมวิธีอื่นๆ ส่วนการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 180 วัน และการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 15 องศา เซลเซียส ระยะเวลา 180 วัน เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2558 ยังไม่ปรากฏการแทงช่อดอก (ภาพที่ 1 และภาพที่ 2) ซึง่ แสดงให้ เห็นความเป็ นไปได้ ที่การเก็บรักษาที่ 10 และ 15 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 180 วัน มีแนวโน้ มชะลอการออกดอกได้ Table 1 Effect of storage temperature on pseudostem height, pseudostem diameter, leaf width, leaf length, leaf thickness and number of leaf. Pseudostem Pseudostem storage temperature Leaf width Leaf length Leaf thickness Number height diameter (°C) (cm.) (cm.) (cm.) of leaf (cm.) (cm.) 10 2.80a 0.55 2.59 4.09 0.06 3.80 15 2.38a 0.52 2.97 4.09 0.06 3.80 room temperature 1.40b 0.50 2.46 3.25 0.06 3.40 LSD (0.05) 0.87 ns ns ns ns ns 1/ Means within same column in each factor followed by different characters showed significantly differences between treatments by LSD test at P≤0.05, ns = not significantly different.

248

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Effect of storage temperature on pseudostem height and diameter, leaf width, length and thickness and number of leaves. Pseudostem Pseudostem storage duration Leaf width Leaf length Leaf thickness Number of height diameter (day) (cm.) (cm.) (cm.) leaf (cm.) (cm.) 90 2.53 0.55 2.80 4.24 0.06 4.13a 180 1.89 0.50 2.54 3.37 0.06 3.20b LSD (0.05) ns ns ns ns ns 0.92 1/ Means within same column in each factor followed by different characters showed significantly differences between treatments by LSD test at P≤0.05, ns = not significantly different. Table 3 Effect of storage temperature and duration on pseudostem height and diameter, leaf width, length and thickness and number of leaves. storage storage temperature Treatment duration (°C) (day) 1 2 3 4 5 6

10 10 15 15 room temperature room temperature control LSD (0.05)

90 180 90 180 90 180

Pseudostem height (cm.)

Pseudostem diameter (cm.)

Leaf width (cm.)

Leaf length (cm.)

Leaf thickness (cm.)

Num ber of leaf

3.86a 1.86bc 2.12bc 2.64b 1.62bcd 1.18cd 0.66d 1.15

0.60a 0.50ab 0.46ab 0.58a 0.58a 0.42ab 0.25b 0.26

3.24a 1.94ab 2.72a 3.22a 2.44a 2.48a 0.62b 1.39

5.08a 3.10b 3.84ab 4.34ab 3.82ab 2.68b 0.50c 1.86

0.07a 0.06a 0.06a 0.06a 0.05a 0.06a 0.02b 0.02

4.80 2.80 4.00 3.60 3.60 3.20 1.60 1.60

Main Effect Storage temperature * ns ns ns ns ns Storage duration ns ns ns ns ns * Interaction Storage temperature × Storage duration * * * * * ns 1/ Means within same column in each factor followed by different characters showed significantly differences between treatments by LSD test at P≤0.05, ns = not significantly different.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

249


100 %

60 %

40 %

Control

room temperature 180 day

room temperature 90 day

0% 15 °C 90 day

0%

80 %

15 °C 180 day

100 %

10 °C 180 day

120 100 80 60 40 20 0

10 °C 90 day

Flower bud percentage (%)

วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Flower bud percentage of Habenaria lindleyana Steud. stored at different temperature and duration.

250

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

T1

T2

T3

T4

T5

T6

T7 Figure 2 Plants of Habenaria lindleyana Steud that stored at different temperature and duration. (T1: 10 °C 90 day, T2: 10 °C 180 day, T3: 15 °C 90 day, T4: 15 °C 180 day, T5: room temperature 90 day, T6: room temperature 180 day, T7: Control)

สรุ ป อุณหภูมิในการเก็บรักษามีผลต่อความสูงลาต้ นเทียม ส่วนระยะเวลาการเก็บรักษามีผลต่อจานวนใบ สาหรับการเก็บ รักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 10 และ 15 องศาเซลเซียส เป็ นระยะเวลา 180 วัน สามารถชะลอระยะเวลาออกดอกของกล้ วยไม้ ดิน นางกรายได้ ซึ่งมีเปอร์ เซ็นต์การแทงช่อดอก 0 เปอร์ เซ็นต์ (ยังไม่ปรากฏช่อดอก) เทียบกับการเก็บรักษาหัวพันธุ์ที่อณ ุ หภูมิ 10 และ 15 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 90 วัน การเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิห้อง ระยะเวลา 90 และ 180 วัน และกรรมวิธีควบคุม มี เปอร์ เซ็นต์การแทงช่อดอก 100 80 60 และ 40 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ (ภาพที่ 1 และ ภาพที่ 2)

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณโครงการนาร่องการเสริมสร้ างศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันด้ านการผลิตและการตลาด สินค้ าไม้ ดอกไทยในกลุม่ ปทุมมากระเจียวและกล้ วยไม้ สกุลนางอัวในเขตภาคเหนื ้ อตอนบน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สนับสนุนโดยกรมการค้ าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ในการสนับสนุนงานวิจยั ในครัง้ นี ้

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

251


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง จิตราพรรณ พิลกึ . 2539. กล้ วยไม้ ดิน, น. 81-85. ในวันต้ นไม้ ประจาปี แห่งชาติ 2539. กองสวนสาธารณะ สานักสวัสดิการสังคม, กรุงเทพฯ. ครรชิต ธรรมศิริ. 2550. เทคโนโลยีการผลิตกล้ วยไม้ . อัมริ นทร์ พริ น้ ติ ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ. 283 น. ชิดชนก ก่อเจดีย์. 2555. สัณฐานวิทยาและความสามารถในการผสมข้ ามของกล้ วยไม้ ดินสกุลฮาเบนาเรี ยและสกุลเพคเทลิสบางชนิด. วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาโท สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 99 น. ณัฐา ควรประเสริ ฐ. 2548. กล้ วยไม้ วิทยา I. เอกสารคาสอนวิชา 359405. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 215 น. นิศาชล ธารงเลาหะพันธุ์. 2549. ผลของวิธีการเก็บรักษาและการกระตุ้นการงอกต่อการเปลี่ยนแปลงหลังการเก็บเกี่ยวของ หัวพันธุ์ปทุมมาพันธุ์ เชียงใหม่สีชมพู. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 135 น. วรายุทธ วงค์อิ่น. 2553. ผลของอุณหภูมิและระยะเวลาเก็บรักษาหัวพันธุ์ต่อการเติบโตและการออกดอกของว่านสี่ทิศลูกผสมพันธุ์ซูซาน. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่. 139 น. วรายุทธ วงค์อิ่น และโสระยา ร่วมรังษี . 2553. ผลของอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาต่อคุณภาพดอกของว่านสี่ทิศพันธุ์ซูซาน. วารสารเกษตร 26(1): 1-6. วีระชัย ณ นคร และสันติ วัฒฐานะ. 2551. กล้ วยไม้ ไทย 1. วนิดาการพิมพ์, เชียงใหม่. 312 น. สลิล สิทธิสจั ธรรม และ นฤมล กฤษณชาญดี. 2550. คูม่ ือกล้ วยไม้ . สานักพิมพ์สารคดี, กรุงเทพฯ. 248 น. โสระยา ร่วมรังษี ตฤณ สมานิตย์ วรนุช คงแก้ ว และ ณัฐา โพธาภรณ์. 2555. ผลของอุณหภูมิในการเก็บรักษาต่อการออกดอกนอกฤดูของนางอัว้ ลิ ้นมังกร. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครัง้ ที่ 11. โรงแรมดิเอ็นเพรส. เชียงใหม่. 1-3 กุมภาพันธ์ 2555. DeHertogh, A. A. and LeNard, M. 1993. Bulb growth and development and flowering. pp. 29 – 43. In: A. A. DeHertogh and M. LeNard (eds.). The Physiology of Flower Bulbs. Elsevier Science Publishers, Amsterdam. Hartsema, A.M. 1961. Influence of temperatures on flower formation and flowering of bulbous and tuberous plants. Encycl. Plant Physiol. 16:123-161. Roh, M.S. and D. Hong. 2007. Inflorescence development and flowering of Ornithogalum thyrsoides hybrid as affected by temperature manipulation during bulb storage. Scientia Hort. 112:60-69.

252

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อตาจากก้ านช่ อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส Micropropagation from Buds of Flower Stalks of Phalaenopsis Orchids กาญจนา รุ่ งรัชกานนท์ 1 และรัชนีกร ดีดวงพันธ์ 1 Karnchana Rungruchkanont1 and Ratchaneekorn Deeduangpan1

บทคัดย่ อ การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อตาจากก้ านช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส เป็ นวิธีการขยายพันธุ์พืชแบบหนึ่งที่เพิ่มจานวนต้ น กล้ วยไม้ ให้ มีลกั ษณะเหมือนต้ นพันธุ์เดิม และลดการสูญเสียต้ นแม่พนั ธุ์ งานวิจยั ครัง้ นี ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตาแหน่ง ของตาบนก้ านช่อดอกและปั จจัยของสารควบคุมการเจริ ญ เติบโตพืชและสารยับยังสารประกอบฟี ้ นอลลิกที่ส่งเสริ มการเพิ่ม ปริ มาณต้ นกล้ วยไม้ ทาการชักนาให้ เกิดยอดจากตาในตาแหน่งต่างๆ คือ ดอกอ่อน ตาข้ อที่ 1 ตาข้ อที่ 2 และตาข้ อที่ 3 บนก้ าน ช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส ในอาหารสูตร MS ที่เติมสาร BAP ความเข้ มข้ น 0 และ 5 มก./ล. พบว่า ทุกตาแหน่งตาสามารถ ชักนาให้ เกิดการพัฒนาได้ โดยมีการพัฒนา 3 แบบ คือ 1. ตาพัฒนาเป็ นช่อดอก 2. ตาพัฒนาเป็ นโปรโตคอร์ มไลค์บอดี ้ 3. ตา พัฒนาเป็ นยอด โดยอาหารที่เติม BAP ความเข้ มข้ น 5 มก./ล ชักนาการพัฒนาได้ ดี ในส่วนการเพิ่มจานวนยอด นายอดไปเลี ้ยง ในอาหารสูตร MS ที่เติม BAP ความเข้ มข้ น 0 2.5 5 7.5 และ 10 มก./ล. พบว่า BAP ความเข้ มข้ น 5 มก./ล. ชักนายอดได้ 4.0 ยอดต่อชิ ้นส่วน การศึกษาการลดสารประกอบฟี นอลลิกร่ วมกับการเพิ่มจานวนยอด ทาโดยนายอดกล้ วยไม้ มาเลี ้ยงในอาหาร สูตร MS ที่เติม ผงถ่าน ความเข้ มข้ น 0.2 % หรื อ citric acid ความเข้ มข้ น 150 มก./ล. ร่วมกับ BAP ความเข้ มข้ น 0 2.5 5 7.5 และ 10 มก./ล. พบว่า อาหารที่เติม citric acid ร่วมกับ BAP ความเข้ มข้ น 10 มก./ล. ชักนายอดได้ ดีที่สดุ คือ 6.5 ยอดต่อ ชิ ้นส่วน และมีความยาวยอด 2.4 ซม. ยอดที่ได้ สามารถออกรากได้ ในอาหาร MS ที่มี หรื อไม่มีสารควบคุมการเจริ ญเติบโต โดย มีอตั ราการรอดชีวิต 100 % หลังการออกปลูกในโรงเรื อน คาสาคัญ : กล้ วยไม้ ตาแหน่งตา สารยับยังสารประกอบฟี ้ นอลลิก BAP

Abstract Micropropagation from buds of flower stalks of Phalaenopsis is a clonal propagation method which increases proliferation and does not cause loss of mother plants. The objectives of this research were to study the bud position on flower stalks and the effect of plant growth regulators and phenolic compound inhibitors on enhancing multiplication. Shoot production in young flower bud, first nodal bud, second nodal bud and third nodal bud on flower stalks of Phalaenopsis was induced on MS media supplemented with and without BAP at 5 mg/l. The result showed that all bud positions underwent development and showed 3 patterns of growth: 1) buds develop into inflorescence 2) buds develop into protocorm-like bodies and 3) buds develop into shoot. Buds developed well in the medium with 5 mg/l BAP. For shoot multiplication, new shoots were cultured on MS media with BAP at 0, 2.5, 5, 7.5 and 10 mg/l. The best result was 5 mg/l BAP, inducing 4 shoots per explant. In order to reduce phenolic compounds and also increase shoots, shoots were cultured on MS media supplemented with 2% activated charcoal or 150 mg/l citric acid combined with BAP at 0, 2.5, 5, 7.5 and 10 mg/l. The best result occurred in medium with citric acid and 10 mg/l BAP, inducing 6.5 shoots per explant and 2.4 cm. in height. Roots were produced in medium with and without plant growth regulator. The survival rate after transplanting into green house was 100%. Keywords : orchid, bud position, phenolic compound inhibitor, BAP

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วาริ นชาราบ จ.อุบลราชธานี 34190

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

253


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ฟาแลนอปซิสเป็ นกล้ วยไม้ กระถางที่นิยมปลูกกันมากที่สดุ ในปั จจุบนั แต่ละปี มีการซื ้อขายทัว่ โลกประมาณ 200-300 ล้ านต้ น คิดเป็ นมูลค่าประมาณ 1,000 ล้ านบาท เนื่องจากเป็ นกล้ วยไม้ ที่ดแู ลรักษาง่ายและเหมาะที่สดุ สาหรับปลูกเลี ้ยงในบ้ าน ซึง่ มีเพียงแสงสว่างผ่านหน้ าต่างและอุณหภูมิไม่สงู มาก กล้ วยไม้ สกุลฟาแลนอปซิสได้ ถกู พัฒนาจนเกิดพันธุ์ลกู ผสมมากมาย ซึง่ ดอกมีลกั ษณะและสีสนั ที่หลากหลาย (ทวีพงศ์, 2558) กล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิสเป็ นกล้ วยไม้ ที่มีการเจริ ญเติบโตทางยอด มีลาต้ น เดี่ยวและลาต้ นสัน้ การขยายพันธุ์โดยทัว่ ไปจึงทาได้ ยาก ต้ องอาศัยเทคนิคการเพาะเลี ้ยงเนือ้ เยื่อพืชมาช่วยเพิ่มปริ มาณให้ เพียงพอกับความต้ องการของผู้บริ โภค การขยายพันธุ์ กล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิสเพื่อเพิ่มจานวนให้ ได้ มากและยังคงมีลกั ษณะ พันธุกรรมเหมือนเดิม สามารถทาได้ หลายวิธี เช่น การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อปลายยอด การเพาะเลี ้ยงใบอ่อน การเพาะเลี ้ยงตาบน ก้ านช่อดอก (Intuwong et al., 1972; Intuwong and Sakawa, 1974; Tanaka and Sakanishi, 1977; Lin, 1986; Ichihashi, 1992; Park et al., 2000; Park et al., 2002) แต่วิธีเหล่านี ้ยังมีข้อจากัด เช่น การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ ปลายยอด อาจเสี่ยงต่อการสูญเสียต้ นพันธุ์ เนื่องจากต้ นกล้ วยไม้ ฟาแลนนอปซิสมีลาต้ นสัน้ (Roxana and Bala, 2012) การเลี ้ยงใบอ่อนและการเลี ้ยงตาบนก้ านช่อดอกในกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิสบางพันธุ์ยงั เพิ่มปริ มาณได้ น้อย และมีการปลดปล่อย สารประกอบฟี นอลลิกปริ มาณมาก ซึ่งสารนี ้มีความเป็ นพิษต่อเนื ้อเยื่อพืช ดังนั น้ ในการทดลองครัง้ นี ้จึงมุ่งเน้ นการเพาะเลี ้ยง เนื ้อเยื่อจากตาบนก้ านช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส โดยต้ องการศึกษาอิทธิพลของตาแหน่งต่างๆ ของตาบนก้ านช่อดอกและ ปั จจัยของสารควบคุมการเจริ ญเติบโตพืชและสารยับยังสารประกอบฟี ้ นอลลิกที่ส่งเสริ มการเพิ่มปริ มาณต้ นกล้ วยไม้ โดยผล จากการทดลองนี ้สามารถนาไปผลิตต้ นกล้ วยไม้ เข้ าสูต่ ลาดได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

อุปกรณ์ และวิธีการ การเพาะเลีย้ งตาบนก้ านช่ อดอกในสภาพปลอดเชือ้ นาก้ านช่อดอกอ่อนกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิสลูกผสมที่ปลูกเลี ้ยงในโรงเรื อน มาล้ างด้ วยน ้ายาล้ างจานนาน 5 นาที และ เปิ ดน ้าล้ างนาน 5 นาที ใช้ มีดผ่าตัดกรี ดกาบหุ้มตาออกแล้ วเช็ดด้ วยแอลกอฮอล์ 70% แล้ วตัดก้ านช่อดอกเป็ นท่อนยาว 2 ซม. ให้ ตาแหน่งตาอยูต่ รงกลาง แยกเป็ น ดอกอ่อน ตาข้ อที่ 1 (นับจากดอก) ตาข้ อที่ 2 และตาข้ อที่ 3 ฟอกฆ่าเชื ้อด้ วย NaOCl ความ เข้ มข้ น 10% นาน 15 นาที ล้ างด้ วยน ้าที่นึ่งฆ่าเชื ้อแล้ ว 3 ครัง้ ๆ ละ 5 นาที นาชิ ้นส่วนทัง้ 4 ตาแหน่งไปเลี ้ยงบนอาหาร MS ที่ เติมสาร BAP ความเข้ มข้ น 0 และ 5 มก./ล. วางแผนการทดลองแบบปั จจัยร่ วมในสุ่มสมบูรณ์ (Factorial in CRD; Completely Randomized Design) จานวน 22 ซ ้า นาไปวางในห้ องเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อที่ควบคุ มอุณหภูมิ 25±2 องศา เซลเซียส และสภาพมืด บันทึกการปนเปื อ้ นของเชื ้อโรค ในช่วง 2 สัปดาห์แรก และการพัฒนาของตาหลังจากเลี ้ยงเป็ นเวลา 2 เดือน การชักนาให้ เกิดยอดหลายยอดในสภาพปลอดเชือ้ นายอดที่ได้ จากการทดลองแรกและผ่านการเลี ้ยงในอาหารที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริ ญเติ บโตเป็ นเวลา 1 เดือน มา เลี ้ยงในอาหารสูตร MS ที่เติมสาร BAP ความเข้ มข้ น 0, 2.5, 5, 7.5 และ 10 มก./ล. วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (CRD) มีทงหมด ั้ 5 กรรมวิธีๆ ละ 22 ซ ้า จากนันน ้ าไปวางในห้ องเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อที่ควบคุมอุณหภูมิ 25±2 องศาเซลเซียส สภาพแสง 2000 ลักซ์ เป็ นเวลา 12 ชัว่ โมง/วัน หลังจากเพาะเลี ้ยงเป็ นเวลา 3 เดือน (เปลี่ยนอาหารทุกๆ 1 เดือน) ทาการบันทึก จานวนยอด และความยาวยอด การลดสารประกอบฟี นอลลิกร่ วมกับการชักนายอดหลายยอด เนื่องจากการเพาะเลี ้ยงกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิสมีการปล่อยสารประกอบฟี นอลลิกปริ มาณมากซึง่ สารนี ้จะเป็ นอันตราย ต่อเนื ้อเยื่อพืช จึงนายอดกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิสมาเพาะเลี ้ยงในอาหารสูตร MS ที่เติมผงถ่าน ความเข้ มข้ น 0.2% หรื อ Citric acid ความเข้ มข้ น 150 มก./ล. ร่วมกับสาร BAP ความเข้ มข้ น 0, 2.5, 5, 7.5 และ 10 มก./ล. วางแผนการทดลองแบบปั จจัย ร่วมในสุม่ สมบูรณ์ (Factorial in CRD; Completely Randomized Design) มี 10 กรรมวิธีๆ ละ 11 ซ ้า จากนันน ้ าไปวางใน ห้ องเพาะเลี ้ยงเนือ้ เยื่อที่ควบคุมอุณหภูมิ 25±2 องศาเซลเซียส สภาพแสง 2000 ลักซ์ เป็ นเวลา 12 ชั่วโมง/วัน หลังจาก เพาะเลี ้ยงเป็ นเวลา 2 เดือน บันทึกจานวนยอด และความยาวยอด

254

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การชักนาให้ เกิดรากในสภาพปลอดเชือ้ นายอดมาเลี ้ยงในอาหารสูตร MS ที่เติมสาร IBA ความเข้ มข้ น 0, 0.05, 0.1, 0.5 และ 1 มก./ล. ร่วมกับ ผงถ่าน ความเข้ มข้ น 0.2 % วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) มีทงหมด ั้ 5 กรรมวิธีๆ ละ 35 ซ ้า จากนันน ้ าไปวางในห้ อง เพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อที่ควบคุมอุณหภูมิ 25±2 องศาเซลเซียส สภาพแสง 2000 ลักซ์ เป็ นเวลา 12 ชัว่ โมง/วัน หลังจากเพาะเลี ้ยง เป็ นเวลา 2 เดือน บันทึกจานวนราก และความยาวราก การย้ ายออกปลูกในโรงเรื อน ย้ ายต้ นกล้ ากล้ วยไม้ ออกปลูกในโรงเรื อน ซึ่งวัสดุที่ใช้ ปลูกคือ สแฟกนัมมอส โดยนาสแฟกนัมมอสไปแช่น ้าจนอิ่มตัว นามาหุ้มรากกล้ วยไม้ แล้ วนาไปปลูกลงในตะกร้ าหมู่ นาไปปลูกเลี ้ยงไว้ ในโรงเรื อนหลังคาพรางแสง 70% บันทึกเปอร์ เซ็นต์การ รอดชีวิตของต้ นกล้ วยไม้ การวิเคราะห์ ทางสถิติ วิเคราะห์ความแตกต่างของข้ อมูลโดยวิธี ANOVA และเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี Least Significant Difference (LSD) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95%

ผลการทดลองและวิจารณ์ การเพาะเลีย้ งตาบนก้ านช่ อดอกในสภาพปลอดเชือ้ จากการศึกษาผลของตาแหน่งตาบนก้ านช่อดอกและสาร BAP ต่อการชักนาให้ เกิดยอดจากตาบนก้ านช่อดอกที่เลี ้ยง บนอาหารสูตร MS ที่เติม BAP ความเข้ มข้ น 0 และ 5 มก./ล. เป็ นเวลา 2 เดือน พบว่า ตาแหน่งของดอกอ่อน มีเปอร์ เซ็นต์การ ปนเปื อ้ นมากที่สดุ คือ 42.9 - 74.2% ส่วนตาแหน่งของตาบนข้ อที่ 1, 2, 3 (นับจากดอก) มีเปอร์ เซ็นต์การปนเปื อ้ น 8 – 24% (Table 1) สาเหตุที่ตาแหน่งของดอกอ่อนจะมีการปนเปื อ้ นมากที่สดุ เนื่ องจากตาแหน่งดอกมีซอกมากซึ่งการทาความสะอาด อาจไม่ทวั่ ถึงจึงปนเปื อ้ นมากกว่าตาแหน่งอื่นๆ ในส่วนการพัฒนาของตา พบว่า ตาแหน่งของตาบนข้ อที่ 1 ที่เลี ้ยงบนอาหารที่เติม BAP ความเข้ มข้ น 5 มก./ล. มี เปอร์ เซ็นต์ตาที่พฒ ั นามากที่สดุ คือ 85% แต่ไม่แตกต่างทางสถิติจากตาแหน่งของดอกอ่อนที่เลี ้ยงบนอาหารที่เติม BAP ความ เข้ มข้ น 5 มก./ล. และ ตาแหน่งตาบนข้ อที่ 2 ที่เลี ้ยงบนอาหารที่ไม่เติม BAP ซึง่ มีเปอร์ เซ็นต์ตาที่พฒ ั นา คือ 62.5 และ 57.9% ตามลาดับ ส่วนตาแหน่งดอกอ่อนที่เลี ้ยงในอาหารที่ไม่เติม BAP ตาแหน่งตาบนข้ อที่ 1 ที่ไม่เติม BAP ตาแหน่งตาบนข้ อที่ 2 ที่ เติม BAP ความเข้ มข้ น 5 มก./ล. และตาแหน่งตาบนข้ อที่ 3 ในอาหารที่เติม BAP ความเข้ มข้ น 5 มก./ล. มีเปอร์ เซ็นต์ตาที่ พัฒนารองลงมา ซึง่ มีค่าเท่ากับ 37.5 52.6 40 และ 52.1% ตามลาดับ โดยตาแหน่งตาบนข้ อที่ 3 ที่ไม่ได้ เติม BAP มี เปอร์ เซ็นต์ตาที่พฒ ั นาน้ อยที่สดุ คือ 10.5% ซึ่งแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติจากทรี ทเม้ นต์อื่นๆ ยกเว้ นจากตาแหน่งดอก อ่อนที่ไม่เติม BAP จะเห็นได้ วา่ ตาแหน่งตาบนข้ อที่ 3 ต้ องใช้ BAP ในการชักนาให้ เกิดการพัฒนา เนื่องจากตาแหน่งตาบนข้ อที่ 3 ตามีการพักตัวจึงต้ องใช้ สาร BAP ช่วยกระตุ้นให้ ตาพ้ นระยะพักตัว (Table 1) ซึ่งสอดคล้ องกับตวงพร (2549) ที่พบว่า ตาแหน่งตาด้ านล่างของช่อดอก ส่วนใหญ่จะพักตัวหรื อไม่เจริ ญ BAP เป็ นสารควบคุมการเจริ ญเติบโตพืชในกลุม่ ไซโตไคนินมี ผลต่อการทาลายการพักตัวของตาโดยไปลดระดับกรดแอบไซซิค ซึ่งเป็ นสารที่กระตุ้นให้ เกิดการพักตัวในพืช (พีรเดช, 2537) ดังนันเมื ้ ่อพิจารณาปั จจัยด้ านตาแหน่งตา ความเข้ มข้ นของสาร BAP และปั จจัยร่วมระหว่างตาแหน่งตาและความเข้ มข้ นของ สาร พบว่ามีผลต่อเปอร์ เซ็นต์การพัฒนาของตา ในการพัฒนาของตาบนก้ านช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส พบว่า มีการเจริ ญ พัฒนา 3 แบบ คือ 1. ตาพัฒนาเป็ นช่อดอก (Fig. 1a) 2.ตาที่พฒ ั นาเป็ นโปรโตคอร์ มไลค์บอดี ้ (Fig. 1b) 3.ตาพัฒนาเป็ นยอด (Fig. 1c) โดยตาที่พฒ ั นาเป็ นช่อดอกจะพัฒนาเป็ นยอดขึ ้นมาภายหลัง (Fig. 1d) ซึง่ สอดคล้ องกับ อรดี (2518) ในด้ านรูปแบบ การเจริ ญพัฒนาของตา และการที่ตาพัฒนาเป็ นช่อดอกจะสามารถพัฒนาเป็ นยอดขึ ้นมาภายหลัง เนื่องจากระดับ flowering hormone ที่มีอยู่ก่อนในก้ านช่อดอกขณะที่ตดั มาปลูกนันอาจหมดไป ้ และสภาพในห้ องทดลองก็ไม่เหมาะสมกับการออกดอก จึงทาให้ ช่อดอกเปลี่ยนกลับมาสร้ างต้ นขึ ้นมาใหม่ จากการวิเคราะห์ทางสถิติ พบว่า การพัฒนาของตาทั ง้ 3 รูปแบบ ไม่ขึ ้นกับ ตาแหน่งตาและการให้ สาร BAP (Table 1)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

255


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Effects of BAP concentrations and bud positions of Phalaenopsis flower stalks on growth and development after 2 months of culture. Bud position

% Bud development

% Inflorescence developed

% PLBs developed

42.9 74.2 24 4.8 13.6 16.7 24 8

37.5bc 62.5ab 52.6b 85a 57.9ab 40b 10.5c 52.1b

16.7 0 30 11.8 9.1 0 0 0

0 0 0 5.9 36.4 10 0 41.7

83.3 100 70 82.4 54.5 90 100 58.3

Bud position BAP concentration Bud position * BAP concentration C.V. (%)

** ** * 24.74

ns ns ns 19.79

ns ns ns 25.22

ns ns ns 25.08

Young flower bud 1st nodal bud 2nd nodal bud 3th nodal bud

BAP % explant (mg/l) Contamination 0 5 0 5 0 5 0 5 F-test

% Shoot developed

* Different at 95% confidence level ** Different at 99% confidence level ns No statistical difference Means followed by same letters in a column are not significantly different at P = 0.05 by LSD

a

b

c

d

Figure 1 Growth and development of buds on Phalaenopsis flower stalks: (a) bud develop into inflorescence, (b) bud develop into protocorm-like bodies, (c) bud develop into shoot, (d) inflorescence develop into inflorescence and then turn to be shoot later. 256

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การชักนาให้ เกิดยอดหลายยอดในสภาพปลอดเชือ้ การชักนาให้ เกิดยอดหลายยอดในอาหารสูตร MS ที่เติม BAP ความเข้ มข้ น 5 มก./ล. สามารถชักนายอดได้ สงู สุดคือ 4.0 ยอดต่อชิ ้นส่วน แต่ไม่แตกต่างทางสถิติจาก BAP ความเข้ มข้ น 7.5 และ 10 มก./ล. ที่มีจานวนยอดคือ 3.1 และ 3.3 ยอด ตามลาดับ และในอาหารที่ไม่เติม BAP มีจานวนยอดน้ อยที่สดุ เพียง 1.0 ยอด ซึ่งแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติจาก BAP ในระดับความเข้ มข้ นอื่นๆ (Table 2) ในส่วนของความยาวยอด ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติโดยมีความยาวยอดอยู่ ในช่วง 2.2-2.4 ซม. ดังนันในการชั ้ กนาให้ เกิดยอดหลายยอดของกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส ระดับความเข้ มข้ นที่เหมาะสมคือ BAP ความเข้ มข้ น 5 มก./ล.เนื่องจากมีจานวนยอดมากและใช้ สารปริ มาณน้ อย ซึง่ สอดคล้ องกับอรดี (2521) ที่ใช้ สาร BAP ความ เข้ มข้ นเดียวกัน โดยสารควบคุมการเจริ ญเติบโตพืชกลุม่ ไชโตไคนินมีอิทธิพลต่อการเกิดยอด คือ ส่งเสริ มการแบ่งเซลล์ เร่ งการ ขยายตัวของเซลล์ ส่งเสริมการสร้ างและการเจริญของตา (สมบุญ, 2544) Table 2 Effect of BAP concentration on multiple shoot production of shoot induced bud from Phalaenopsis flower stalk after 3 months of culture. BAP (mg l) 0 2.5 5 7.5 10 F-test C.V. (%)

No. Shoot (shoot explant) 1.0c 2.1b 4.0a 3.1ab 3.3a ** 65.20

Shoot length (cm) 2.2 2.3 2.4 2.3 2.3 ns 21.74

** Different at 99% confidence level ns No statistical difference Means followed by same letters in a column are not significantly different at P = 0.05 by LSD

การลดสารประกอบฟี นอลลิกร่ วมกับการชักนายอดหลายยอด จากการทดลองพบว่า การใส่สารยับยังสารประกอบฟี ้ นอลลิกทัง้ 2 ชนิด ทาให้ พืชผลิตสารฟี นอลลิกลดลง อาหารที่ เติม BAP ความเข้ มข้ น 10 มก./ล. ร่วมกับ citric acid สามารถชักนายอดได้ สงู สุด 6.5 ยอดต่อชิ ้นส่วน แต่ไม่แตกต่างทางสถิติ จาก BAP ความเข้ มข้ น 7.5 มก./ล.ร่วมกับ citric acid ที่มีจานวนยอดคือ 5.4 ยอดต่อชิ ้นส่วน ในอาหารที่ไม่เติม BAP ร่วมกับ ผงถ่าน และ citric acid มีจานวนยอดน้ อยที่สดุ เพียง 1.0 และ 1.0 ยอดต่อชิ ้นส่วน ตามลาดับ ซึง่ แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทาง สถิติจาก BAP ที่ระดับความเข้ มข้ นอื่น โดยเมื่อพิจารณาปั จจัยด้ านความเข้ มข้ นของ BAP พบว่ามีผลทาให้ จานวนยอดแตกต่าง กันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ (Table 3) โดยระดับความเข้ มข้ นของสาร BAP ที่เพิ่มขึ ้นมีผลต่อจานวนยอดที่เพิ่มขึ ้น ส่วน ปั จจัยด้ านสารที่เติมลงในอาหาร ทังผงถ่ ้ าน และ citric acid ก็มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ โดยที่ citric acid จะชักนาให้ เกิดยอดเพิ่มขึ ้น และมีปัจจัยร่วมระหว่างความเข้ มข้ นของ BAP กับ สารที่เติมลงในอาหาร โดยการเติม BAP ที่ความเข้ มข้ น 7.5 และ 10 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ citric acid ทาให้ การเกิดยอดเพิ่มมากขึ ้น การที่สาร citric acid ให้ ผลที่ ดีกว่าการใช้ ผงถ่านสอดคล้ องการกับการทดลองของ Corduk and Aki (2011) ที่ทาการขยายพันธุ์ Sideritis trojana ในส่วนของความยาวยอดในทุกทรี ทเมนต์มีค่าระหว่าง 2.1-2.7 ซม. เมื่อพิจารณาปั จจัยด้ านความเข้ มข้ นของสาร BAP และ ปั จจัยด้ านสารที่เติมลงในอาหาร พบว่าไม่มีผลต่อความยาวยอด ส่วนปั จจัยร่วมระหว่างความเข้ มข้ นของสารร่ วมกับสารที่เติม ลงในอาหารก็มีผลทาให้ ความยาวยอดแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ดังนัน้ ถ้ าต้ องการจานวนยอดหลายยอดควรใช้ BAP ที่ระดับความเข้ มข้ น 10 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ citric acid เนื่องจากชักนาให้ เกิดยอดได้ หลายยอดและมีความยาวยอด เป็ นปกติ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

257


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Effects of BAP concentrations and Phenolic compound inhibitors on multiple shoot proliferation of Phalaenopsis shoot after 2 months of culture. BAP (mg l) 0 0 2.5 0 5 7.5 10

Phenolic compound inhibitors Activated charcoal Citric acid Activated charcoal Citric acid Activated charcoal Citric acid Activated charcoal Citric acid Activated charcoal Citric acid

F-test BAP concentration Phenolic compound inhibitors BAP Con.× Phenolic compound inhibitors C.V. (%)

No. Shoot (shoot explant) 1.0e 1.0e 2.1de 2.6d 4.4bc 5.0bc 3.9c 5.4ab 4.0c 6.5a

Shoot length (cm) 2.7a 2.1c 2.7a 2.7a 2.2bc 2.6ab 2.4abc 2.3abc 2.4abc 2.4abc

** ** * 40.17

ns ns * 21.30

* Different at 95% confidence level ** Different at 99% confidence level ns No statistical difference Means followed by same letters in a column are not significantly different at P = 0.05 by LSD

การชักนาให้ เกิดรากในสภาพปลอดเชือ้ และการย้ ายออกปลูก ในการชักนารากกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส ไม่จาเป็ นต้ องใช้ สาร IBA ชักนาราก เนื่องจากการไม่ใส่สาร สามารถเกิดราก ได้ ดี มีจานวนรากและความยาวรากไม่แตกต่างจากที่ใช้ สาร (Table 4) เมื่อทาการย้ ายปลูก ไปเลี ้ยงภายใต้ สภาพโรงเรื อนนาน 3 เดือน พบว่า ต้ นกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิสที่ได้ รับ IBA ทุกระดับความเข้ มข้ นและไม่ได้ รับ IBA มีอตั ราการรอดชีวิต 100 % Table 4 Effect of IBA concentrations on root induction of Phalaenopsis shoot after 2 months in culture. IBA (mg l) No. of Root Root length (cm) a 0 3.0 1.6 a 0.05 3.1 1.4 ab 0.1 2.6 1.4 b 0.5 2.4 1.6 ab 1 2.5 1.5 F-test * ns C.V. (%) 38.72 55.35 * Different at 95% confidence level ns No statistical difference Means followed by same letters in a column are not significantly different at P = 0.05 by LSD

สรุ ปผลการทดลอง 258

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การชักนาให้ เกิดยอดจากตาในตาแหน่งต่างๆ บนก้ านช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส ทุกตาแหน่งตาสามารถชักนาให้ เกิดการพัฒนาได้ โดยมีการพัฒนา 3 แบบ คือ 1. ตาพัฒนาเป็ นช่อดอก 2. ตาพัฒนาเป็ นโปรโตคอร์ มไลด์บอดี ้ 3. ตาพัฒนา เป็ นยอด และอาหารที่เหมาะสมในการชักนาให้ เกิดยอดจากตาบนก้ านช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิส หรื ออาหารที่เหมาะสมใน การเพิ่มจานวนยอด คือ อาหารที่เติม BAP ความเข้ มข้ น 5 มก./ล. ชักนายอดได้ 4.0 ยอดต่อชิ ้นส่วน การลดสารประกอบฟี นอลลิกร่ วมกับการชักนายอดหลายยอด พบว่า อาหารที่เติม BAP ความเข้ มข้ น 10 มก./ล. ร่วมกับ Citric acid ความเข้ มข้ น 150 มก./ล. ชักนายอดได้ ดีที่สดุ คือ 6.5 ยอดต่อชิ ้นส่วน และมีความยาวยอด 2.4 ซม. เมื่อนา ยอดมาชักนาราก สามารถเกิดรากได้ ดีในอาหารที่ มี หรื อไม่มีสารควบคุมการเจริ ญเติบโต โดยมี อตั ราการรอดชีวิต 100 % หลัง การออกปลูกในโรงเรื อน

เอกสารอ้ างอิง ตวงพร โรจนวงศ์. 2549. การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อและการชักนาให้ ออกดอกในหลอดทดลองของกล้ วยไม้ ลกู ผสมฟาแลนอปซิส. ปริ ญญาวิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร. ทวีพงศ์ สุวรรณโร. 2558. การปลูกเลี ้ยงกล้ วยไม้ สกุลฟาแลนอปซิส. กรมส่งเสริ มการเกษตร. แหล่งที่มา http://www.agriman.doae.go.th/home/news3/news3.../0012(Phalaenopsis).doc [21มกราคม 2558] พีรเดช ทองอาไพ. 2537. ฮอร์ โมนพืชและสารสังเคราะห์แนวทางการใช้ ประโยชน์ในประเทศไทย. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. วิชยั การพิมพ์,นครปฐม. 196 น. สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์. 2544. สรี รวิทยาของพืช. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. 237 น. อรดี สหวัชริ นทร์ . 2518. การขยายพันธุ์กล้ วยไม้ ฟาแลนอปซิสจากก้ านช่อดอก. รายงานการประชุมวิชาการเกษตรศาสตร์ และชีววิทยาแห่งชาติ ครัง้ ที่ 14 สาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . หน้ า 260-268. อรดี สหวัชริ นทร์ . 2521. การขยายพันธุ์กล้ วยไม้ ฟาแลนนอปซิสจากก้ านช่อดอก. วิทยาสารสโมสรกล้ วยไม้ บางเขน 6: 69-80. Corduk, N and C. Aki. 2011. Inhibition of browning problem during micropropagation of Sideritis trojana bronm., an endemic medicinal herb of Turkey. Romanian Biotechnological Letters 16 (6): 6760-6765. Ichihashi, S. 1992. Micropropagation of Phalaenopsis through the culture of lateral buds from young flower stalks. Lindleyana 7: 208-215. Intuwong, O., J.T. Kunisaki and Y. Sagawa. 1972. Vegetative propagation of Phalaenopsis by flower stalk cutting. Na Okika Hawaii (Hawaii Orchid J.) 1: 13-18. Intuwong, O and Y. Sagawa. 1974. Clonal propagation of Phalaenopsis by shoot tip culture. Am. Orchid Soc. Bull. 43: 893-895. Lin, C.C. 1986. In vitro culture of flower stalk internodes of Phalaenopsis and Doritaenopsis. Lindleyana 1(3): 158-163. Park, S. Y., H. N. Murthy and K. Y. Paek. 2000. Mass multiplication of protocorm-like bodies using bioreactor system and subsequent plant regeneration in Phalanenopsis. Plant cell, Tissue and organ culture 63(1): 67-72. Park, S. Y., H. N. Murthy and K. Y. Paek. 2002. Rapid propagation of Phalaenopsis from floral stalk-derived leaves. In vitro cell. Dev. Biol.–Plant 38: 168-172. Roxana, D. and M. Bala. 2012. Preliminary results on the influence of growth hormones on the in vitro regeneration of Phalaenopsis flower stalks. Journal of Horticulture Forestry and Biotechnology 16(4): 24-27. Tanaka, M. and Y. Sakanishi. 1977. Clonal Propagation of Phalaenopsis by leaf tissue culture. Amer. Orch. Soc. Bull. 46: 733-734.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

259


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุณหภูมิท่ เี หมาะสมในการเก็บรักษาเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง พันธุ์ Nepenthes mirabilis (Lour.) Druce Effects of different temperature on seed storage of Nepenthes mirabilis (Lour.) Druce เอรียา เทพรินทร์ 1 สมพงษ์ สุขขาวงษ์ 2 สุรัตน์ วดี ชูโชติ2 สรายุทธ อ่ อนสนิท1 และสุรพล ฐิตธิ นากุล1* Areeya Thepparin1 Sompong Sukhawong2 Suratwadee Chuchote2 Sarayut Onsanit1 and Suraphon Thitithanakul1*

บทคัดย่ อ หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง เป็ นพืชกินแมลง ที่ได้ รับความสนใจในตลาดไม้ ประดับทังในและต่ ้ างประเทศ ปั จจุบนั ต้ นที่อยู่ใน ป่ าถูกนาออกมาจาหน่ายจานวนมาก และพื ้นที่ที่หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงเจริ ญเติบโตตามธรรมชาติถกู นาไปใช้ เป็ นที่ดินเพื่อการ เกษตรกรรม ทาให้ พืชชนิดนี ้เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ในอนาคต การทดลองครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมใน การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ของหม้ อข้ าวหม้ อ แกงลิงสายพันธุ์ Nepenthes mirabilis พบว่าเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงสามารถเก็บ รักษาที่อณ ุ หภูมิ 4 ºC และอุณหภูมิห้อง (31 ºC) ได้ ดีที่สดุ และเก็บรักษาเมล็ดให้ มีความงอกมากกว่า 50% ได้ นาน 60 วัน และ 28 วัน ตามลาดับ ขณะที่การเก็บรักษาเมล็ดที่อณ ุ หภูมิ -20 ºC และ -80 ºC เพียง 7 วัน ทาให้ เมล็ดมีความงอกต่ากว่า 20% คาสาคัญ : อุณหภูมิ, การงอกของเมล็ด, หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง, Nepenthes mirabilis

Abstract Nepenthes sp. is an insectivorous plant which has been interested for domestic and international ornamental market. A large number of wild Nepenthes are sought for sale. At the sometime the natural areas of the plant are destroyed for agricultural purpose. As a result, there is high possibility for Nepenthes to extinct in the near future. Therefore, protecting Nepenthes is in need. This experiment purposed to find out the optimal temperature for storage the seed of Nepenthes mirabilis. Results showed that the optimal temperature for storage the seeds was 4 ºC and at the room temperature (31 ºC). The seeds germinated over 50% after 60 and 28 days of storage date, respectively. However, the germination was decreased to be lower than 20% if stored the seeds at -20ºC and -80 ºC. Keywords : Temperature, Germination of seeds, Nepenthes mirabilis

บทนา หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง Nepenthes mirabilis (Lour.) Druce มีการกระจายพันธุ์อยู่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกาะ นิวกินี ฟิ ลิปปิ นส์ ออสเตรเลีย จีน ฮ่องกง มาเก๊ า ในเมืองไทยพบทังภาคตะวั ้ นออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ โดยเฉพาะในจังหวัดสุราษฏร์ ธานี N. mirabilis มีลกั ษณะใบบาง ขอบใบจักรฟั นเลื่อย หม้ อรูปทรงกระบอก มีทงสี ั ้ เขียว สีแดง สี เขียวเหลือบแดง หรื อ สีชมพู ออกดอกง่าย (พัชญ์สิตา และคณะ, 2554) ปั จจุบนั เป็ นชนิดที่มีลกู ผสมแพร่หลายในตลาดไม้ ประดับมากที่สดุ เพราะมีราคาไม่แพง (Figure 1) แต่ในสภาพธรรมชาติ พื ้นที่ที่หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงเจริ ญเติบโตถูกนาไปใช้ เป็ น ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรม ทาให้ N. mirabilis พันธุ์แท้ เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ เช่นเดียวกับหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงพันธุ์อื่นๆ (สุดใจ และคณะ, 2555) ดังนันการศึ ้ กษาเรื่ องการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง เพื่อชะลอความเสื่อมของเมล็ดให้ ช้าลงเป็ น การเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ ใช้ ปลูกหรื อสารองไว้ จึงเป็ นเรื่ องที่สาคัญอย่างยิ่ง ปั จจุบนั ยังไม่มีวิธีการใดที่จะป้องกันหรื อหยุดไม่ให้ เมล็ด พันธุ์เสื่อมสภาพ มีเพียงแต่การทาให้ เมล็ดพันธุ์เสื่อมสภาพช้ าลงเท่านัน้ โดยทัว่ ไปยิ่งเมล็ดพันธุ์ถกู เก็บรักษาไว้ เป็ นเวลานาน เท่าใดอัตราการเสื่อมสภาพยิ่งมีมากขึ ้น (Mubvuma et al., 2013; Mahjabin et al., 2015)

1

สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ ธานี ศูนย์ปฏิบตั ิการทางวิทยาศาสตร์ และเครื่ องมือกลาง มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ ธานี *Corresponding author: suraphon.t@psu.ac.th 2

260

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเสื่อมสภาพของเมล็ดพันธุ์เป็ นการเปลี่ยนแปลงทางสรี รวิทยาที่เกิดขึ ้นภายในเมล็ดในเชิงลบซึ่งจะส่งผลเสียต่อ เมล็ดพันธุ์ โดยปรากฏให้ เห็นเมื่อนาเมล็ดไปเพาะ เมล็ดไม่งอก หรื ออาจจะงอกแต่เป็ นต้ นกล้ า ที่ผิดปกติ ในช่วงระยะการ เสื่อมสภาพของเมล็ด มีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้ าง ทางสรี รวิทยา และทางชีวเคมี ซึ่งเกิดขึน้ ภายในเซลล์และในอวัยวะ ต่า งๆ ภายในเมล็ด การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึน้ เช่ น การเสื่ อ มสภาพของผนัง เมมเบรน การเปลี่ ย นแปลงของไขมัน การ เปลี่ยนแปลงของโปรตีน การเปลี่ยนแปลงของเอนไซม์ การเปลี่ยนแปลงของขบวนการหายใจ ความผิดปกติของโครโมโซมและ การเสื่อมสภาพของดีเอ็นเอ การเสื่อมสภาพของเมล็ดจะเกิดขึน้ ช้ าหรื อเร็ วขึน้ อยู่กับชนิดพืช อุณหภูมิในการเก็บรักษาและ ความชื ้นของการเก็บรักษา (Sukesh and Chandrashekar, 2011; Mubvuma et al., 2013; Mahjabin et al., 2015) ดังนันใน ้ การทดลองนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาอุณหภูมิที่เหมาะสมในการเก็บรักษาเมล็ดของหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงพันธุ์ N. mirabilis

อุปกรณ์ และวิธีการ เก็บเมล็ดพันธุ์หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงในพื ้นที่ ต. ขุนทะเล อ. เมือง จังหวัด สุราษฏร์ ธานี ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2556 ช่วงเวลาประมาณ 08.00 น.-10.00 น.โดยเลือกเก็บฝักหม้ อข้ าวหม้ อแกงที่มีสีน ้าตาลแก่ เก็บเฉพาะฝักที่ยงั ไม่แตกจากช่อที่เริ่ ม มีฝักแตกแล้ ว นาฝั กที่เก็บได้ มาแกะเมล็ด ความชื ้นของเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงก่อนเข้ าทาการเก็บรักษา ณ ระดับอุ ณหภูมิ ต่างๆ มีความชื ้นเท่ากับ 18-19% (ISTA, 2008) เก็บเมล็ดใส่ในถุงซิปพลาสติกนาไปเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 4 ระดับ ได้ แก่ อุณหภูมิห้อง (31 ºC), 4, -20 และ -80 ºC และนาเมล็ดออกมาตรวจสอบความงอกตามระยะเวลาการเก็บรักษาที่ 0, 7, 14, 21, 28, 60 และ 90 วัน ตามลาดับ โดยทาการเพาะเมล็ดในจานเพาะเชื ้อที่มีกระดาษเพาะเมล็ดชุ่มน ้ากลัน่ เรี ยงเมล็ดลงบน กระดาษเพาะจานวน 50 เมล็ดต่อจานเพาะ ปิ ดฝาจานเพาะเพื่อควบคุมความชื ้นและให้ น ้ากลัน่ ทุกๆ 2 วัน ทาจานวน 10 ซ ้า ต่ออุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษา นับจานวนเมล็ดที่งอก (Figure 2) ทุกวันเป็ นเวลา 40 วัน วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (Completely randomized design, CRD) คานวณเปอร์ เซ็นต์ความงอกของเมล็ด (Germination percentage; GP) คานวณได้ จากสูตร (ISTA, 2008) GP =

1980)

จานวนเมล็ดที่งอก จานวนเมล็ดทังหมด ้

x 100

จานวนวันโดยเฉลี่ยที่ใช้ ในการงอก (Mean germination time; MGT) โดยคานวณได้ จากสูตร(Ellis and Roberts, MGT =

∑ ni Ti ∑ ni

n คือ จานวนเมล็ดที่งอกที่เวลา T วัน และT คือเวลาจากเริ่มทดลองจนถึงวันที่เมล็ดงอก

ผลการทดลองและวิจารณ์ การศึกษาการเก็บรักษาเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงที่อณ ุ หภูมิ 31, 4, -20 และ -80 ºC และนาเมล็ดออกมาตรวจสอบ ความงอกตามระยะเวลาการเก็บรักษาที่ 0, 7, 14, 21, 28, 60 และ 90 วัน (Figure 2) พบว่าอุณหภูมิในการเก็บรักษาเมล็ดมี ผลทาให้ เปอร์ เซ็นการงอกมีความแตกต่างกันทางสถิติ (P<0.01) (Figure 3) อุณหภูมิ 4 และ 31 ºC สามารถเก็บรักษาเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงได้ ดีที่สดุ โดยสามารถเก็บรักษาเมล็ดให้ มีความ งอกมากกว่า 50% ได้ นาน 60 วัน และ 28 วัน ตามลาดับ อย่างไรก็ตามอุณหภูมิทงสองระดั ั้ บข้ างต้ นสามารถเก็บรักษาเมล็ด หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงให้ คงความงอกได้ ไม่เกิ น 90 วัน ทังนี ้ ้หากเก็บรักษาเมล็ดที่อณ ุ หภูมิ -80 และ -20 ºC เพียง 7 วัน จะทาให้ เมล็ดมีความงอกต่ากว่า 20% และเก็บรักษาเมล็ดให้ คงความงอกได้ ไม่เกิน 28 และ 60 วัน ตามลาดับ เมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงที่เก็บไว้ ที่อณ ุ หภูมิต่างๆ มีจานวนวันเฉลี่ยในการงอกแตกต่างกันทางสถิติ (P<0.05) การเก็บรักษาที่ อุณหภูมิห้อง (31 ºC ) และ 4 ºC มีจานวนวันเฉลี่ยในการงอกในช่วง 13-15 วัน เช่นเดียวกับจานวนวันเฉลี่ยในการงอกของ เมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงก่อนทาการเก็บรักษา ในขณะที่การเก็บรักษาเมล็ดที่อณ ุ หภูมิ -20 ºC และ -80 ºC เมล็ดมีการงอกที่ ช้ ากว่าที่อณ ุ หภูมิห้อง (31 ºC ) และ 4 ºC มีจานวนวันเฉลี่ยในการงอกเพิ่มขึ ้นเป็ น 19-24 วัน (Figure 4) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

261


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

จากผลการทดลองการเก็บรักษาเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง แสดงให้ เห็นว่าการเก็บรักษาเมล็ดที่อุณหภูมิ 4 ºC สามารถชะลอการเสื่อมของเมล็ดได้ ดีที่สดุ เช่นเดียวกับมล็ด Swertia chirayita (Pradhan and Badola, 2012) แต่การเก็บ เมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงในอุณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็ง -20 และ -80 ºC กลับทาให้ เมล็ดเสื่อมสภาพเร็วกว่าการเก็บเมล็ดไว้ ที่ อุณหภูมิห้อง เนื่องจากในการทดลองครัง้ นี ้ไม่ได้ มีการลดความชื ้นก่อนการเก็บรักษาทาให้ เมล็ดมีค วามชื ้น 18-19% อาจทาให้ เมล็ดเกิดการบาดเจ็บและตายจากการก่อตัวของผลึกน ้าแข็งเมื่อเก็บรักษาในอุณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็ง (Onyekwelua and Fayose, 2007) เช่นเดียวกับการศึกษาของ Zhang et al. (2014) พบว่าในการเก็บเมล็ด Citrus paradisi Macfad. ที่อณ ุ หภูมิ -20 ºC เมล็ดที่มีความชื ้น 7.4 % สามารถเก็บรักษาได้ นานกว่าเมล็ดที่มีความชื ้น 9.6% ซึง่ แสดงให้ เห็นว่าอุณหภูมิในการเก็บ รักษาและความชื ้นของเมล็ดมีความสัมพันธ์ กนั อย่างใกล้ ชิดที่จะส่งผลกระทบต่ออายุการเก็บรักษาของเมล็ดพันธุ์ (Sukesh and Chandrashekar, 2013) ดังนันงานวิ ้ จยั ในอนาคตคณะผู้วิจยั จะได้ ทาการทดลองเรื่ องความชื ้นในการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงต่อไป เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาเมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงให้ ยาวนานยิ่งขึ ้น

Figure 1 Pitcher of N. mirabilis

Figure 2 N. mirabilis seed germination

262

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 3 Germination percentage of N .mirabilis seed after storage period at room temperatures (31 ºC), 4, -20 and -80 ºC

Figure 4 Mean germination time of N .mirabilis seed after storage period at room temperature (31 ºC), 4, -20 and -80 ºC

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

263


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ป เมล็ดหม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงสามารถเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 4 ºCได้ ดีที่สดุ และเก็บรักษาเมล็ดให้ คงความงอกได้ ไม่เกิน 90 วัน

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณแหล่งทุนวิจยั มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี

เอกสารอ้ างอิง พัชญ์สิตา ฐิ ตะเลิศวงศ์ สิริภรณ์ ครวญหา รักษา สุนินท และ อูฐ เชาวน์ทวี. 2554. รายงานการศึกษาชนิดพันธุ์ไม้ “หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิง” (Nepenthes) กิจกรรมพัฒนาระบบวนเกษตร กิจกรรมพัฒนาวนศาสตร์ ชมุ ชน ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2554. ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาวนศาสตร์ ชุมชนที่ 9, สานักจัดการทรัพยากรป่ าไม้ ที่ 9 (ชลบุรี) กรมป่ าไม้ . สุดใจ ชุนเชาวฤทธิ์ มานพ ผู้พฒ ั น์ นิรันดร์ รัตน์ ป้อมอิ่ม วิโรจน์ พวงภาคีศิริ และ นิรัตน์ จินตนา. 2555. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ์ของ หม้ อข้ าวหม้ อแกงลิงในประเทศไทย.กลุม่ งานวิจยั พันธุ์พืชป่ ามีค่า หายาก และใกล้ สญ ู พันธุ์ กองคุ้มครองพันธุ์สตั ว์ป่าและพืชป่ าตาม อนุสญ ั ญา กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช Ellis, R. H. and E. H. Roberts. 1980. Towards a rational basis for testing seed quality. In Seed Production, (ed. P.D. Hebblethwaite), Butterworths, London pp. 605-635. ISTA. 2008. International Rules for Seed Testing. International Seed Testing Association, Bassersdorf. Mahjabin, S. Bilal and A. B. Abidi. 2015. Physiological and biochemical changes during seed deterioration. International Journal of Recent Scientific Research, 6(4):.3416-3422. Mubvuma, M. T., S. Mapanda and E. Mashonjowa. 2013. Effect of storage temperature and duration on germination of moringa seeds (Moringa oleifera). Greener Journal of Agricultural Sciences, 3 (5): 427-432. Onyekwelua, J. C. and O. J. Fayose. 2007. Effect of storage methods on the germination and proximate composition of Treculia africana seeds. In Proceedings of the International Conference on Agricultural Research for Development, University of Kassel-Witzenhausen and University of G¨ottingen, Tropentag, October. Pradhan, B. K. and H. K. Badola. 2012. Effect of storage conditions and storage periods on seed germination in eleven populations of Swertia chirayita: a critically endangered medicinal herb in Himalayas. The Scientific World Journal. 2012:9 pages. Sukesh and K. R. Chandrashekar. 2011. Biochemical changes during the storage of seeds of Hopea ponga (Dennst.) Mabberly: An endemic species of Western Ghats. Research Journal of Seed Science, 4: 106-116. Sukesh and K. R. Chandrashekar. 2013. Effect of temperature on viability and biochemical changes during storage of recalcitrant seeds of Vatica chinensis L.. International Journal of Botany, 9: 73-79. Zhang, N., B. Wen, M. Ji and Q. Yan. 2014. Low-temperature storage and cryopreservation of grapefruit (Citrus Paradisi Macfad.) seeds. Cryoletters, 35(5):418-426.

264

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อัตราการสังเคราะห์ ด้วยแสงในรอบวันของเรือนพุ่มทุเรียนพันธุ์หมอนทอง Daily Canopy Photosynthesis of Durian (Durio zibethinus Murray) cv. ‘Monthong’ เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ 1 ศรปราชญ์ ธไนศวรรยางกูร2 พูนพิภพ เกษมทรั พย์ 3 ดวงรัตน์ ศตคุณ4 เชฏฐ์ สาทรกิจ3 อรอุมา ด้ วงงาม4 และ ดอกแก้ ว จุระ4 1 2 3 Jessada Phattaralerphong Sornprach Thanisawanyangkura Poonpipope Kasemsap Duangrat Satakhun4 Jate Sathornkich3 Ornuma Duangngam4 and Dokkeaw Chura4

บทคัดย่ อ

การศึกษาอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงในรอบวันของเรื อนพุม่ ทุเรี ยน พันธุ์หมอนทอง ศึกษาในทุเรี ยนจานวน 4 ต้ น ซึง่ มีอายุ 2.5 ปี มีความสูงต้ น เส้ นผ่านศูนย์กลางทรงพุ่ม และพื ้นที่ใบทังหมดของทรงพุ ้ ่ม อยู่ในช่วง 0.94 – 1.64 เมตร 0.53 – 2.96 เมตร และ 0.97 - 4.22 ตารางเมตร ตามลาดับ วัดการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่มทุเรี ยนในรอบวันพร้ อมกับ การบันทึกข้ อมูลสภาพอากาศ ได้ แก่ ความเข้ มแสง อุณหภูมิและความชื ้นสัมพัทธ์ของอากาศ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิ ของเรื อนพุ่มคานวณจากอัตราการไหลของอากาศและความแตกต่างของความเข้ มข้ นของแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ในอากาศ ก่อนเข้ าและหลังออกจากห้ องวัดที่ครอบต้ นทุเรี ยน จากการทดลอง พบว่า อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่มทุเรี ยนมี การเปลี่ยนแปลงในรอบวันตามการเปลี่ยนแปลงของความเข้ มแสง โดยอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิของเรื อนพุ่มมีค่าเป็ น ลบในเวลากลางคืน เนื่องจากมีการคายแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์จากเรื อนพุ่ม ส่วนเวลาเช้ า พบว่า อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง สุทธิเพิ่มสูงขึ ้นอย่างรวดเร็วจนมีคา่ สูงสุด (Pmax) ในช่วงเวลา 09 00.– 11.00 น. และมีค่าลดลงอย่างต่อเนื่องในเวลาบ่าย อัตรา การสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิของเรื อนพุ่มสูงสุดมีค่าระหว่าง 10.32 - 18.40 µmol CO2 m-2 s-1 การดูดกลืนคาร์ บอนไดออกไซด์ ของเรื อนพุ่มมีค่าอยู่ระหว่าง 9.25 - 37.62 กรัมของคาร์ บอนไดออกไซด์ต่อต้ นต่อวัน หรื อคิดเป็ นปริ มาณคาร์ บอนมีค่าอยู่ ระหว่าง 2.52 - 10.26 กรัมคาร์ บอนต่อต้ นต่อวัน คาสาคัญ : การสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ ทุเรี ยน การดูดกลืนคาร์ บอนไดออกไซด์ การดูดกลืนคาร์ บอน

Abstract

A study of daily canopy photosynthesis of durian (Durio zibethinus Murray) cv. ‘Monthong’ was done by using 4 durian trees. Tree age was 2.5 years. The tree height, tree diameter and total canopy leaf area were about 0.94 - 1.64 m, 0.53 - 2.96 m and 0.97 - 4.22 m2, respectively. Daily canopy photosynthesis was measured concurrent with weather data i.e. light intensity, air temperature and humidity. The canopy photosynthesis rate was calculated by using value of flow rate and the difference carbon dioxide concentration between inlet and outlet air to the chamber. The results found that daily canopy photosynthesis of durian changed during the day corresponded to light intensity. The canopy photosynthesis rate was negative at night due to CO2 emissions. In the morning, the canopy photosynthesis rate increased sharply to maximum between 09 00.– 11.00 am then decreased in the afternoon. The maximum canopy photosynthesis rate was about 10.32 - 18.40 µmol CO2 m-2 s1. The Canopy CO2 absorption and were about 9.25 - 37.62 g CO2 plant-1day-1 equivalent to carbon 2.52-10.26 g C plant-1 day-1. Keywords : canopy photosynthesis, durian, CO2 assimilation, carbon assimilation

คานา

1

สาขาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชาพฤกศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 4 ศูนย์ความร่ วมมือทางวิชาการไทย-ฝรั่งเศส (DORAS Center) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

265


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ทุเรี ยนนับเป็ นไม้ ผลเศรษฐกิจสาคัญของประเทศไทย โดยในปี พ.ศ. 2557 มีการส่งออกทุเรี ยนมากถึง 387,553 ตัน คิดเป็ นมูลค่าถึง 13,842 ล้ านบาท โดยร้ อยละ 90 นัน้ ส่งออกเป็ นแบบทุเรี ยนสด (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2557) จึงถือ ได้ ว่าทุเรี ยนเป็ นพืชที่ทารายได้ ให้ แก่ เกษตรกรผู้ปลูกค่อนข้ างสูง แหล่งผลิตสาคัญของทุเรี ยนในประเทศไทยนัน้ อยู่ในภาค ตะวันออกและภาคใต้ พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้ แก่ หมอนทอง กระดุมทอง ชะนี และ ก้ านยาว ตลาดการส่งออกส่วนใหญ่อยู่ใน ภูมิภาคเอเซีย ได้ แก่ ไต้ หวัน จีน ฮ่องกง มาเลเซีย และสิงคโปร์ นอกจากนีย้ ังพบว่าผลผลิตทุเรี ยนนัน้ ไม่เพียงพอต่อความ ต้ องการของตลาด เนื่ องมาจากปริ มาณและคุณภาพของผลผลิต น้ อยลง เกิดปั ญหาแก่เกษตรกรผู้ผลิตเป็ นอย่างมาก (สานักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร องค์การมหาชน, 2558) การจัดการทรงพุ่มที่เหมาะสมเป็ นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยเพิ่ม ผลผลิตและคุณภาพของทุเรี ยนได้ เนื่องจากจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสร้ างอาหารและชีวมวลรวม รูปทรงของเรื อนพุ่ม การ เรี ยงตัวของใบ อายุใบ สัดส่วนปริ มาณของใบ และการบดบังของใบ มีผลกระทบโดยตรงต่อความสามารถที่พืชจะได้ รับแสง (Loomis and Connor, 1996) เมื่อทรงพุ่มได้ รับการจัดการได้ อย่างเหมาะสมแล้ ว จะส่งผลให้ ทเุ รี ยนมีการไว้ ผลเพิ่มขึ ้น ทาให้ เกษตรกรสามารถผลิตทุเรี ยนได้ ในปริ มาณที่เพิ่มขึ ้นและจากการที่พืชได้ รับแสงเพิ่มมากขึ ้นนัน้ อาจทาให้ อตั ราการสังเคราะห์ ด้ วยแสง ซึ่งเกี่ยวข้ องกับการสร้ างชีวมวลของผลเพิ่มขึน้ ไปด้ วย ทาให้ ได้ ผลผลิตที่มีคุณภาพดี ขึน้ แต่ปัจจุบันยังขาดข้ อมูล พื ้นฐานเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ ทุเรี ยน ถึงแม้ จะมีรายงานการวัดการสังเคราะห์ด้วยแสงของทุเรี ยนในระดับ ใบ (Ismail et al., 1994) และในระดับกิ่ง (Ogawa et al., 2003) แต่ยงั ไม่มีการรายงานการวัดการสังเคราะห์ด้วยแสงในระดับ เรื อนพุ่มมาก่อน นักวิจยั จึงมีวตั ถุประสงค์ที่จะศึกษาอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่มทุเรี ยนเพื่อเป็ นข้ อมูลพื ้นฐาน นาไปสูก่ ารพัฒนาระบบการจัดการที่เพิ่มทังประสิ ้ ทธิภาพในการผลิต ทังปริ ้ มาณและคุณภาพผลผลิตต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ คัดเลือกต้ นทุเรี ยนพันธ์ หมอนทองที่สมบูรณ์ จากสวนเกษตรกร ตาบลท่าหลวง อาเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี อายุ 2.5 ปี ที่มีขนาดเรื อนพุ่มแตกต่างกัน จานวน 4 ต้ น วัดองค์ประกอบทางเรขาคณิตของเรื อนพุ่ม ได้ แก่ ความสูงต้ น เส้ นผ่าน ศูนย์กลางของเรื อนพุ่มและพื ้นที่ใบ โดยการดิจิไทซ์ในระดับใบด้ วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Sinoquet and Rivet, 1997) ตาม วิธีการของศรปราชญ์ และคณะ (2540) ประเมินพื ้นที่ใบจากความยาวใบ โดยการใช้ สมการใบ (เจษฎาและคณะ, 2557) และ ซอฟต์แวร์ Tree Box for Windows version 1.08 (Phattaralerphong et al., 2006) อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิของเรื อนพุ่มทุเรี ยนวัดด้ วยระบบเปิ ด ในช่วงเวลาในรอบวันตลอด 24 ชัว่ โมง สร้ างห้ องวัด (chamber) ครอบต้ นทุเรี ยน ด้ วยโครงเหล็กขนาด 1.6 x 1.6 x 2.0 เมตร ปิ ดด้ วยแผ่นพลาสติก PE (polyethylene sheet) ความหนา มิลลิเมตร 1ดูดอากาศเข้ าสูห่ ้ องวัดโดยใช้ พดั ลมดูดอากาศที่ปรั บความเร็ วได้ ดูดอากาศจากความสูง 3 เมตรจาก พื ้นดินผ่านห้ องบัพเฟอร์ ขนาด 1.5 ลูกบาศก์เมตร เพื่อลดความผันผวนของคาร์ บอนไดออกไซด์ในอากาศก่อนเข้ าสูห่ ้ องวัด วัด อัตราการไหลของอากาศเข้ าห้ องวัด โดยใช้ เครื่ องวัดความเร็วลมแบบ air velocity transducer รุ่น 8455 0 -(TSI, Inc,) การ คานวณอัตราการไหลของอากาศ (Ue) ตามสมการ (Raymond, 2002) 22 𝑉 × 7 × 𝑟 2 × 109 𝑈𝑒 = 22.4

โดย Ue คือ อัตราการไหลของอากาศ (µmol s-1) V คือ ความเร็วลมภายในท่อนาอากาศเข้ า Chamber (m s-1) r คือ รัศมีของท่อนาอากาศเข้ า Chamber (m) สุ่มตัวอย่างอากาศขาเข้ า เป็ นเวลา นาที และอากาศขาออก เป็ นเวลา 7 นาที สลับกันไปตลอด 24 ชัว่ โมง เพื่อวัดปริ มาณ แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ และน ้า ด้ วยเครื่ องวัดปริมาณแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์และน ้าในอากาศ รุ่น LI-840 (LI-COR, Inc) บันทึกข้ อมูลจุลภูมิอากาศบริ เวณรอบเรื อนพุ่ม ได้ แก่ ความเข้ มแสง โดยใช้ หวั วัดแสง รุ่น Li-189 )LI-COR, Inc (อุณหภูมิและ ความชื ้นสัมพัทธ์ โดยใช้ หวั วัด รุ่ น Humitter 50Y (Vaisala, Inc.) นาข้ อมูลที่ได้ จากการวัดทังหมดไปค ้ านวณหาอัตราการ สังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ ตามสมการ (นฤนาท, 2546)

266

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

𝑃𝑐𝑎𝑛𝑜𝑝𝑦 =

โดย Pcanopy Ue Cc Ce S

𝑈𝑒 × (𝐶𝑒 − 𝐶𝑐 ) 100S

คือ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ (µmol CO2 m-2 s-1) คือ อัตราการเคลื่อนที่ของอากาศที่ไหลเข้ าสู่chamber (µmol s-1) คือ ปริมาณแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ที่ไหลเข้ า Chamber (µmol CO2 per mole air) คือ ปริมาณแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ที่ไหลออก Chamber (µmol CO2 per mole air) คือ พื ้นที่ใบ (m2)

ผลการทดลอง ทุเรี ยนทัง้ 4 ต้ น มีความสูง 0.94, 1.34, 1.48 และ 1.64 เมตร ตามลาดับ มีเส้ นผ่านศูนย์กลางทรงพุม่ เท่ากับ 0.53, 1.19, 2.95 และ 1.6 เมตร ตามลาดับ พื ้นที่ใบทังหมดของทรงพุ ้ ม่ 0.97, 2.36, 3.85 และ 4.22 ตารางเมตร ตามลาดับ (Table 1) อุณหภูมิและความชื ้นสัมพัทธ์ของอากาศในรอบวันขณะทาการทดลองในทุเรี ยนทัง้ 4 ต้ น พบว่า อุณหภูมิอากาศ อยูใ่ นช่วง 30-40 องศาเซลเซียส ความชื ้นสัมพัทธ์ ของอากาศอยูใ่ นช่วง 40-70 เปอร์ เซ็นต์ อุณหภูมิและความชื ้นของอากาศมีการ เปลี่ยนแปลงผกผันกัน โดยอุณหภูมิอากาศสูงขึ ้นในเวลากลางวัน ขณะที่ความชื ้นสัมพัทธ์ลดลงในเวลากลางวันและเพิ่มขึ ้น สูงสุดในเวลากลางคืน (Figure 1) การเปลี่ยนแปลงความเข้ มแสงในรอบวัน มีลกั ษณะแบบโค้ งระฆังคว่า ความเข้ มแสงสูงสุด ที่พบในแต่ละวันมีคา่ ระหว่าง 1945 – 2007 µmol m-2 s-1 ในระหว่างเวลา 11:35-12:05 น. (Figure 2) การสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ มีการเปลี่ยนแปลงในรอบวันตามการเปลี่ยนแปลงความเข้ มแสง โดยในเวลาเช้ า อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิของเรื อนพุม่ เพิ่มสูงขึ ้น และลดลงในเวลาเย็น ในเวลากลางคืนอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง สุทธิของเรื อนพุม่ มีคา่ เป็ นลบเนื่องจากมีการคายแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์จากเรื อนพุม่ สามารถแบ่งช่วงเวลาได้ เป็ น 5 ช่วงเวลา คือ ช่วงที่ 1 เวลาเช้ า 06:00-09:00 น. อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ เพิ่มสูงขึ ้นอย่างรวดเร็ว ช่วงเวลาที่ 2 ก่อนเที่ยง ระหว่าง 9:00-12:00 น. เป็ นช่วงที่อตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ ทุเรี ยนมีคา่ สูงสุด ค่าสูงสุดที่พบ 18.39, 13.71, 10.35 และ 13.65 µmol CO2 m-2 s-1 เมื่อเวลา 9:55, 9:55, 10:35 และ 8:25 น. ตามลาดับ ช่วงเวลาที่ 3 ช่วงบ่าย ระหว่าง 12:00-16:30 น. อัตราค่อยๆลดลงซึง่ สอดคล้ องกับการเปลี่ยนแปลงของความเข้ มแสง ช่วงเวลาที่ 4 ช่วงเวลาเย็น ระหว่าง 16:30-19:00 น. เป็ นช่วงเวลาที่อตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ ทุเรี ยนลดลงอย่างรวดเร็วจนมีคา่ เป็ นลบ ซึง่ หมายถึง เรื อนพุม่ มีการคาย CO2 ออกมา เวลาที่เรื อนพุ่มเริ่มมีอตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็ นลบ อยูร่ ะหว่าง 17:55-18:15 น. ซึง่ มี ความเข้ มแสง (PPF) อยูร่ ะหว่าง 7.84-19.63 µmol m-2 s-1 ช่วงเวลาที่ 5 ช่วงกลางคืน ระหว่างเวลา 19:00-6:00 น. ซึง่ ไม่มีแสง เรื อนพุม่ มีการคาย CO2 ออกมา อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ มีคา่ เฉลี่ย -7.27, -2.83, -1.54 และ -3.47 µmol CO2 m-2 s-1 ตามลาดับ (Figure 2) การดูดกลืนคาร์ บอนไดออกไซด์ของเรื อนพุม่ มีคา่ 9.2, 11.75, 37.62, 21.59 กรัมของ คาร์ บอนไดออกไซด์ตอ่ ต้ นต่อวัน หรื อคิดเป็ นปริ มาณคาร์ บอนที่ต้นทุเรี ยนเก็บไว้ 2.52, 3.21, 10.26 และ 5.89 กรัมคาร์ บอนต่อ ต้ นต่อวัน ตามลาดับ (Table 1)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

267


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Geometrical structure, PPF, CO2 assimilation and carbon assimilation of durian canopy (Durio zibethinus Murray) cv. ‘Monthong’ Tree

Tree

Leaf

PPF

CO2

Carbon

Number of

height

Diameter

Area

(µmol

assimilation

assimilation

leaf

(m)

(m)

(m2)

m-2 s-1)

(gCO2/Day)

(gC/Day)

1

338

0.94

0.53

0.97

43.52

9.20

2.52

2

909

1.34

1.19

2.36

40.48

11.75

3.21

3

1156

1.48

2.95

3.85

44.26

37.62

10.26

4

1615

1.64

1.6

4.22

40.30

21.59

5.89

Tree No.

268

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Air temperature(๐C) and relative humidity (%) during canopy photosynthetic measurement of durian trees.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

269


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 2 Daily canopy photosynthesis and photosynthetically active photon flux (PPF) during canopy photosynthesis observation of durian trees (Durio zibethinus Murray) cv. ‘Monthong’.

270

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

วิจารณ์ การสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่ม พืชที่แตกต่างกัน เกิดจากปั จจัยหลายประการ ทังจากตั ้ วพืชเอง เช่น สถาปั ตย ลักษณ์ของเรื อนพุ่มที่แตกต่างกัน ซึง่ องค์ประกอบของสถาปั ตยลักษณ์ อาทิเช่น ขนาดและรูปทรงของเรื อนพุ่ม ปริ มาณพื ้นที่ใบ และมุมเอียงของใบ การจัดเรี ยงตัวของใบ เป็ นต้ น ล้ วนเกี่ยวข้ องกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่มพืชและทาให้ พืชมี ประสิทธิภาพการรับแสงแตกต่างกัน (Valet-Grancher et al., 1993) นอกจากนี ้สภาพแวดล้ อมที่แตกตางกัน โดยเฉพาะ สภาพแวดล้ อมแสง อุณหภูมิ และความชื ้น มีผลต่อการสัง เคราะห์ด้วยแสงของพืชด้ วยเช่นกัน (Taiz and Zeiger, 2010) สาหรับการทดลองนี ้นักวิจยั วัดการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ ทุเรี ยนพันธุ์หมอนทองจานวน 4 ต้ น ซึง่ พบความแตกต่างของ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง (Figure 2) และความสามารถในการดูดกลืนคาร์ บอนไดออกไซด์ของเรื อนพุ่ ม (Table 1) แม้ การ ทดลองนีจ้ ะไม่ได้ ดาเนินการวัดอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงในวันเดียวกัน แต่ดาเนินการในวันที่ต่อเนื่องกันและจากข้ อมูล อุณหภูมิ ความชื ้นสัมพัทธ์ของอากาศ และความเข้ มแสง (Figure 1 และ Figure 2) มีค่าใกล้ เคียงกัน จึงไม่ใช่ปัจจัยหลักที่ทา ให้ การสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ ทุเรี ยนแตกต่างกัน แต่เมื่อพิจารณาขนาดของเรื อนพุม่ และพื ้นที่ใบ พบว่า มีความสัมพันธ์ กับการดูดกลืนคาร์ บอนไดออกไซด์ในรอบวัน โดยทุเรี ยนต้ นที่มีขนาดใหญ่ และพืน้ ที่ใบมากมีความสามารถในการดูดกลืน คาร์ บอนไดออกไซด์ต่อวันได้ สูงกว่าต้ นที่มีขนาดเล็ กและพืน้ ที่ใบน้ อยกว่า แต่เมื่อพิจารณาเปรี ยบเทียบทุเรี ยนต้ นที่ 3 ซึ่งมี ความสามารถในการดูดกลืนคาร์ บอนไดออกไซด์สงู สุดแต่มีพื ้นที่ใบน้ อยกว่าต้ นที่ 4 เนื่องจากทุเรี ยนต้ นที่ 3 มีทรงพุ่มกว้ างกว่า ทาให้ สามารถรับแสงได้ มากกว่าส่งผลให้ มีค่าการดูดกลืนสูงกว่า ส่วนทุเรี ยนต้ นที่ 4 นันมี ้ พื ้นที่ใบมากกว่า แต่เรื อนพุ่มแคบกว่า ทาให้ มีความหนาแน่นของใบในเรื อนพุ่มแน่นทึบกว่าและส่งผลให้ ใบที่อยู่ด้านล่างจะถูกบังแสงจากใบที่อยู่ด้านบน จึงมีการ สังเคราะห์ ด้วยแสงสุทธิ ข องเรื อนพุ่มน้ อยลงได้ (Salisbury and Ross, 1985) และความสามารถในการดูดกลืน คาร์ บอนไดออกไซด์ในรอบวันน้ อยลง พืชที่มีประสิทธิภาพการรับแสงสูงย่อมมีโอกาสที่จะมีอตั ราการสังเคราะห์ ด้วยแสงสูงตาม ไปด้ วยเพราะพืชที่มีทรงพุ่มใบมากไม่ได้ หมายความว่าทรงพุ่มมีประสิทธิภาพการรับแสงสูงด้ วย (Sands, 1996) ข้ อมูลนี ้แสดง ให้ เห็นว่าการจัดการทรงพุ่มที่จะทาให้ มีการกระจายแสงที่ดีในเรื อนพุ่มและรู ปทรงของเรื อนพุ่มที่เหมาะสมดังกล่าวจะสามารถ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุม่ ได้ เมื่อพิจารณาค่าอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่มต่อหน่วยพื ้นที่ใบจาก Figure 2 พบว่า ค่าอัตราการ สัง เคราะห์ ด้ ว ยแสงของเรื อ นพุ่ม สูง สุด ที่ พ บในทุเ รี ย นแต่ ล ะต้ น นัน้ ไม่ มี ค วามสัม พัน ธ์ กับ ความสามารถในการดูด กลื น คาร์ บอนไดออกไซด์ในรอบวัน จึงไม่สามารถใช้ บอกประสิทธิภาพหรื อศักยภาพการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่มในรอบวันได้ ทังนี ้ ้เนื่องจากความสามารถในการดูดกลืนคาร์ บอนไดออกไซด์ในรอบวันนันคิ ้ ดจากผลรวมของการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อน พุ่ ม ทั ง้ วั น ซึ่ ง นอกจากปั จ จั ย ด้ านสถาปั ต ยลั ก ษณ์ ข องเรื อ นพุ่ ม ดั ง กล่ า วไปแล้ ว ยั ง รวมเวลากลางคื น ซึ่ ง มี ก ารคาย คาร์ บอนไดออกไซด์ออกมาจากการหายใจ ซึ่งยังมีปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับการหายใจอีก เช่น อายุของใบ (Ogawa et al., 2003) สถานะของต้ นพืช และสภาพแวดล้ อม เป็ นต้ น การศึกษาเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของทุเรี ยนนันยั ้ งมีอยู่น้อย มีรายงานการศึกษาในระดับใบ โดย Ismail et al. (1994) ศึกษาการสังเคราะห์ ด้วยแสงของต้ นทุเรี ยนอายุ 4-5 เดือน ที่ปลูกในกระถางในสภาพที่ได้ รั บนา้ แตกต่างกัน การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงในระดับเรื อนพุ่มของทุเรี ยนพันธุ์หมอนทองในครัง้ นีเ้ ป็ นการศึกษาครัง้ แรกในประเทศไทย นอกจากนี ้ยังเป็ นการวัดในสภาพแปลงปลูกจริ ง ซึ่งยังไม่พบรายงานการศึกษาในระดับเรื อนพุ่มเช่นนี ้ในต่างประเทศเช่นกัน ที่ พบเพียงมีรายงานการศึกษาอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของทุเรี ยนในระดับกิ่ง โดย Ogawa et al. (2003) ใช้ ยอดทุเรี ยนที่มี ใบ 10-12 ใบ ในการศึกษา ซึ่งพบว่าใบทุเรี ยนที่มีอายุมากมีอตั ราการสังเคราะห์แสงสูงกว่าใบที่อายุน้อย และพบรูปแบบการ เปลี่ยนแปลงในรอบวันที่คล้ ายคลึงกับการทดลองนี ้ แต่ Ogawa et al. (2003) ไม่ได้ รายงานเน้ นถึงรู ปแบบของการ เปลี่ยนแปลงการสังเคราะห์ด้วยแสงในรอบวัน แต่ในการทดลองนี ้ได้ นาเสนอการแบ่งช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงอัตราการ สังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่มเป็ น 5 ช่วงเวลาตามแนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงในภาพใหญ่ แต่หากพิจารณาในรายละเอี ยดแต่ ละช่วงเวลาก็ยงั พบความผันแปรที่เกิดขึ ้นได้ ทังนี ้ ้ความผันแปรในช่วงเวลากลางวันเกิดเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงความเข้ มแสง ซึ่ ง เกิ ด จากการบดบั ง ของเมฆเป็ น หลัก ส่ ว นในเวลากลางคื น นั น้ น่ า จะเกิ ด จากความผั น แปรของความเข้ มข้ นของ คาร์ บอนไดออกไซด์ในอากาศเป็ นหลัก เนื่องจากในเวลากลางคืนจะมีการสะสมของคาร์ บอนไดออกไซด์บริ เวณใกล้ พื ้นดิน มากกว่าเมื่อมีลมกรรโชกทาให้ คาร์ บอนไดออกซ์ในอากาศที่ดดู เข้ าสู่ห้องวัดมีการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน จึงรบกวนการวัด เนื่องจากระบบที่ใช้ เป็ นระบบเปิ ดต้ องนาอากาศจากภายนอกเข้ าสูห่ ้ องวัดอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ การทดลองนี ้จะใช้ ท่อดูดอากาศ จากความสูง 3 เมตรเหนือพื ้นดิน และผ่านห้ องบับเฟอร์ ขนาด 1.5 ลูกบาศ์กเมตร ซึ่งผลการทดลองนี ้แสดงให้ เห็นว่าควรเพิ่ม การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

271


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ขนาดของห้ องบับเฟอร์ ขึ ้นอีก นอกจากนี ้การแบ่งช่วงเวลาดังกล่าวนี ้อาจเปลี่ยนแปลงระยะเวลาไปตามฤดูกาลได้ เนื่องจากใน ประเทศไทยมีความแตกต่างระหว่างช่วงเวลาที่มีแสงระหว่างฤดูกาล 2-3 ชัว่ โมง

สรุ ป การศึกษาอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงในรอบวันของเรื อนพุ่มทุเรี ยน พันธุ์หมอนทอง อายุ 2.5 ปี จานวน 4ต้ น มี ความสูงต้ น 0.94 – 1.64 เมตร เส้ นผ่านศูนย์กลางทรงพุ่ม 0.53 – 2.96 เมตร และ พื ้นที่ใบทังหมดของเรื ้ อนพุ่ม 0.97 - 4.22 ตารางเมตร การสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่มมีการเปลี่ยนแปลงในรอบวัน ตามการเปลี่ยนแปลงของความเข้ มแสง โดยใน เวลาเช้ าอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิของเรื อนพุ่มเพิ่มสูงขึ ้น และลดลงในเวลาเย็น ในเวลากลางคืนอัตราการสังเคราะห์ ด้ วยแสงสุทธิของเรื อนพุม่ มีคา่ เป็ นลบเนื่องจากมีการคายแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์จากเรื อนพุ่ม การสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อน พุม่ ในรอบวัน สามารถแบ่งช่วงเวลาได้ เป็ น 5 ช่วงเวลา คือ ช่วงเวลาเช้ า ก่อนเที่ยง บ่าย เย็น และกลางคืน อัตราการสังเคราะห์ ด้ วยแสงสูงสุดพบในช่วงเวลาก่อนเที่ยง มีค่า 18. 9 – 10. 5 µmol CO2 m-2 s-1 การดูดกลืนคาร์ บอนไดออกไซด์ของเรื อนพุ่มมี ค่า 9.2-37.62 กรัมของคาร์ บอนไดออกไซด์ต่อต้ นต่อวัน หรื อคิดเป็ นปริ มาณคาร์ บอนที่ต้นทุเรี ยนเก็บไว้ 2.52-10.26 กรัม คาร์ บอนต่อต้ นต่อวัน การดูดกลืนคาร์ บอนไดออกไซด์ของเรื อนพุม่ มีความสัมพันธ์กบั พื ้นที่ใบ ขนาด และรูปทรงของเรื อนพุม่

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสถาบันวิจยั และพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่สนับสนุนทุนวิจยั ในโครงการสภาพแวดล้ อมแสง และแบบจาลองการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่มไม้ ผล ขอบคุณ พ่ออวยชัย อัถคง และดร.สุมิตร คุณเจตน์ ที่ให้ ความ อนุเคราะห์ต้นทุเรี ยนในการทาวิจยั ในครัง้ นี ้ ขอบคุณศูนย์ความร่ วมมือทางวิชาการไทย-ฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน และคณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ สกลนคร ที่อนุเคราะห์เครื่ องมือและผู้ช่วยนักวิจยั ในการเก็บข้ อมูล

เอกสารอ้ างอิง เจษฎา ภัทรเลอพงศ์, พูนพิภพ เกษมทรัพย์, ศรปราชญ์ ธไนศวรรยางกูร, เชฏฐ์ สาทรกิจและดวงรัตน์ ศตคุณ. 2557. สมการพื ้นที่ใบอย่างง่ายของไม้ ผลเขตร้ อนบางชนิด. แก่นเกษตร 42 ฉบับพิเศษ 3: 63-68. นฤนาท ชัยรังษี . 2546. การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงของเรื อนพุ่มอ้ อย. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ศรปราชญ์ ธไนศวรรยางกูร, พูนพิภพ เกษมทรัพย์, สมใจ โควสุรัตน์, พีระศักดิ์ ศรี นิเวศน์ และ Herve Sinoquet. 2540. การศึกษา ลักษณะเรื อนพุ่ม และการรับแสงของถัว่ เขียว .น. 100-113 ใน รายงานการประชุมทางวิชาการถัว่ เขียวแห่งชาติ ครัง้ ที่ 7. พิษณุโลก. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2557. ระบบแสดงข้ อมูลด้ านสถิติ. แหล่งที่มา: http://www.oae.go.th/oae report/export import/export.php, 8 สิงหาคม 2558. สานักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (องค์การมหาชน). 2558. คลังข้ อมูลสารสนเทศระดับภูมิภาค (ภาคใต้ ) แหล่งที่มา:http://www.arda.or.th/kasetinfo/south/durian/history/01-03.php, 4 สิงหาคม 2558. Ismail, M.R., M. A. Aziz and T. Hashim. 1994. Growth, water relations and physiological changes of young durian (Durio zibethinus Murray) as influenced by water availability. Pertanika J. Trop. Agric. Sci. 17(3): 149-156. Loomis, R.S. and D.J. Connor. 1996. Crop Ecology : Productivity and Management in Agricultural System. Cambridge University Press, Great Britain. 538p. Ogawa, K., A. Furukawa, A. M. Abdullah and M. Awang. 2003. Diurnal CO2 exchange variation in evergreen leaves of the tropical tree, durian (Durio zibethinus Murray). TROPICS. 13(1): 17-24. Phattaralerphong, J., J. Sathornkich and H. Sinoquet. 2006. A photographic gap fraction method for estimating leaf area of isolated trees: assessment with 3D digitized plants isolated trees: assessment with 3D digitized plants. Tree Physiology 26:11231136. 272

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Raymond, J. and A. Raymond. 2002. Continuity Equation Formulas Calculator. Available Soure: http://www.ajdesigner.com/phpcontinuity/fluid_mechanics_continuity_equation_flow_velocity.php, 4 August 2015. Salisbury, F.B. and C.W. Ross. 1985. Plant Physiology. 3nd ed. Wadsworth Publishing Co. Inc., Belmont. California. 540p. Sands, P. J. 1996. Modeling canopy production. III. Canopy light-utilisation efficiency and its sensitivity of physiological and environmental variables. Aust. J. Plant Physio. 23(1):103-114. Sinoquet, H. and P. Rivet. 1997. Measurement and visualization of the architecture of and adult tree based on a three-dimension digitizing device. Trees. 11: 265-270. Taiz, L. and E. Zeiger. 2010. Plant Physiology Fifth Edition. Sinauer Associates, Inc., Sunderland. 782p. Valet-Grancher, C., R. Bonhomme and H. Sinoquet. 1993. Crop Structure and Light Microclimate: Characterization and Application. INRA, Paris. 518p.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

273


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การตอบสนองต่ อแสงในการสังเคราะห์ ด้วยแสงของใบทุเรียนพันธุ์หมอนทอง Single Leaf Photosynthetic Light Response of Durian (Durio zibethinus Murray) cv. ‘Monthong’ เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ 1 พูนพิภพ เกษมทรั พย์ 2 ดวงรัตน์ ศตคุณ3 ดอกแก้ ว จุระ3 และอรอุมา ด้ วงงาม3 Jessada Phattaralerphong1 Poonpipope Kasemsap2 Duangrat Satakhun3 Dokkeaw Chura3 and Ornuma Duangngam3

บทคัดย่ อ การศึกษาการตอบสนองต่อแสงของอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบทุเรี ยน พันธุ์หมอนทอง โดยศึกษาในใบ ทุเรี ยนที่มีอายุต่างกัน 2 ชุด คือ ชุดใบที่อายุน้อย ซึง่ มีการขยายขนาดของใบเต็มที่ (youngest fully expanded leaf, F1) และ อยู่ด้านนอกของทรงพุ่ม ส่วนชุดใบที่สอง เป็ นใบที่มีอายุมากกว่าและอยู่ด้านในทรงพุ่ม (F2) จากการศึกษาเปรี ยบเทียบอัตรา การสังเคราะห์ด้วยแสงที่ความเข้ มแสงต่างๆ กัน ระหว่าง 0-2,000 µmolm-2s-1 พร้ อมทังวั ้ ดค่าความเขียวใบ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ เอ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ บี ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ และสัดส่วนพื ้นที่ใบต่อน ้าหนักแห้ ง (specific leaf area; SLA) พบว่า ลักษณะการตอบสนองต่อแสงของใบทังสองชุ ้ ดมีลกั ษณะเช่นเดียวกัน คือ มีคา่ เป็ นลบเมื่อไม่มีแสงและมีคา่ เพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ว เมื่อเพิ่มความเข้ มแสง หลังจากนันอั ้ ตราการสังเคราะห์ด้วยแสงเริ่ มอิ่มตัวที่ความเข้ มแสงในช่วง 800-1,000 µmol m-2s-1 ข้ อมูล ดังกล่าวข้ างต้ น ถูกนามาใช้ ในการประเมินค่าตัวแปรในแบบจาลองการตอบสนองต่อแสงแบบ non-rectangular hyperbola อันประกอบด้ วย ค่าความชันเริ่ มต้ น (α) ความโค้ ง (θ) อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสูงสุด (Pmax) และอัตราการหายใจในความ มืด (Rd ) ซึ่งพบว่า ค่า α ไม่มีความแตกต่างระหว่างใบทังสองชุ ้ ด ส่วนค่า θ และ Rd พบว่า F1 มีค่ามากกว่า F2 (θ เท่ากับ -2 -1 0.71 และ 0.51; Rd มีคา่ 0.99 และ 0.40 µmol CO2 m s สาหรับใบ F1 และ F2 ตามลาดับ) ขณะที่ Pmax ของ F1 (7.89 µmol CO2 m-2s-1 ) มีค่าต่ากว่า F2 (9.75 µmol CO2 m-2s-1) นอกจากนี ้ยังพบว่า ความเข้ มแสงที่ทาให้ อตั ราการตรึง CO2 สุทธิ เท่ากับศูนย์ (light compensation point) ของใบ F1 (28.06 µmol m-2s-1) มีค่าสูงกว่า F2 (10.11 µmol m-2s-1) ส่วนค่าตัวแปร อื่นที่ศึกษาในการวิจยั นี ้ พบว่า ใบ F2 มีค่าความเขียวใบ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ เอ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ บี และปริ มาณ คลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ สูงกว่า F1 ที่มีอายุน้อยกว่า แต่ไม่มีความแตกต่างกันของค่า SLA คาสาคัญ : การสังเคราะห์ด้วยแสง การตอบสนองต่อแสง ทุเรี ยน ความเขียวใบ คลอโรฟิ ลล์ จุดความเข้ มแสงพอดี

Abstract A study on the single leaf photosynthetic light response of durian cv. ‘Monthong’ was done on two different stages of leaf flushes, i.e. the youngest flush with fully expanded leaves (F1) which were on the outer of the canopy and the older flush of leaves which were on the inner of the canopy (F2). Photosynthetic response to the light intensity between 0-2,000 µmol m-2s-1 was studies. Leaf greenness, chlorophyll A, chlorophyll B, total chlorophyll and specific leaf area (SLA) were also studied. Both of F1 and F2 showed the same shape of the light response curve, i.e. photosynthesis rate was negative under no light applied then increased rapidly as the light intensity level increased then begin to saturat at 800-1,000 µmol m-2s-1. The photosynthetic light response data was used to estimate 4 parameters in the non-rectangular hyperbola model, i.e. initial slope (α), convexity parameter (θ), maximum photosynthesis rate (Pmax) and dark respiration rate (Rd). The result showed that α was not different between two flushes. While θ and Rd of F1 was higher than F2 (θ were 0.71 and 0.51; Rd were 0.99 and 0.40 µmol CO2 m-2s-1 for F1 and F2 respectively). Pmax of F1 (7.89 (µmol CO2 m-2s-1) was lower than F2 (9.75 µmol CO2 m-2s-1). Father more, light compensation point of F1 (28.06 µmol m-2s-1) was higher than F2 (10.11 µmol m-2s-1). The other parameters that were observed in this experiment found that leaf greenness, chlorophyll A, chlorophyll B and total chlorophyll of F2 were higher than younger flush F1 while SLA was not found different between F1 and F2. Keywords : photosynthesis, light response, durian, leaf greenness, chlorophyll, light compensation point

1

สาขาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3 ศูนย์ความร่วมมือทางวิชาการไทย-ฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2

274

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ทุเรี ยน จัดว่าเป็ นไม้ ผลเศรษฐกิจของไทยอีกชนิดหนึ่งที่ได้ รับความนิยมบริ โภคสูงทังในและต่ ้ างประเทศ และมีมลู ค่า การส่งออกผลไม้ เป็ นอันดับ 2 รองจากลาไย ประเทศไทยเป็ นประเทศที่สง่ ออกทุเรี ยนและผลิตภัณฑ์แปรรูปเป็ นอันดับหนึ่งของ โลก นอกจากนี ้ยังเป็ นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์แปรรู ปและผลิตภัณฑ์แช่แข็งทุเรี ยนรายเดียวของโลก โดยในปี พ.ศ. 2557 ประเทศ ไทยมีพื ้นที่ปลูกทุเรี ยน 651,926 ไร่ ผลผลิต 631,631 ตัน โดยมีปริ มาณส่งออก 387,553 ตัน และมีมลู ค่าการส่งออก 13,842 ล้ านบาท โดยร้ อยละ 90 เป็ นการส่งออกแบบผลสด (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2557) ประเทศไทยได้ มีการกาหนด มาตรฐานของทุเรี ยน ได้ แก่ ทรงผล ขนาดผล น ้าหนักผล ความหนาเปลือก สีเนื ้อ ความหนาเนื ้อ กลิ่น รสชาติ ความละเอียด ของเนื ้อ น ้าหนักเปลือก จานวนเมล็ด จานวนเมล็ดลีบต่อเมล็ดทังหมด ้ สภาพความสมบูรณ์ทงภายนอกและภายใน ั้ (สานักงาน มาตรฐานของสินค้ าเกษตรและอาหารแห่งชาติ, 2557) เพื่อเป็ นแนวทางสาหรับเกษตรกรและผู้ประกอบการในการผลิตทุเรี ยน คุณภาพได้ มาตรฐาน แต่ทเุ รี ยนเป็ นไม้ ผลที่ต้องการการดูแลอย่างใกล้ ชิดจึงจะได้ ผลผลิตที่มีคณ ุ ภาพ การรักษาระดับคุณภาพ ให้ สม่าเสมอคงที่ได้ จึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง การผลิตทุเรี ยนให้ ได้ คณ ุ ภาพดีนนั ้ ปั จจัยด้ านความพร้ อมของต้ น โดยเฉพาะ ปริมาณอาหารสะสมภายในต้ นจัดเป็ นปั จจัยที่สาคัญที่สดุ อาหารที่ต้นไม้ จะได้ มาในสภาพตามธรรมชาติมีเพียงแหล่งเดียว คือ จากการสังเคราะห์ด้วยแสง นา้ ตาลที่ได้ จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงจะถูกนามาใช้ เป็ นสารตัง้ ต้ นเพื่อสร้ างผลผลิต (Taiz and Zeiger, 2010) การทราบข้ อมูลพื ้นฐานเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบทุเรี ยนเป็ นต้ นทางสูก่ ารเพิ่มศักยภาพ ในการผลิตทุเรี ยน แต่ในปั จจุบนั ยังขาดข้ อมูลพื ้นฐานทางด้ านนี ้ แม้ จะมีการวัดการสังเคราะห์ด้วยแสงของทุเรี ยนในระดับใบ (Ismail et al., 1994) และระดับกิ่ง (Ogawa et al., 2003) แต่ยงั ขาดข้ อมูลพื ้นฐานการตอบสนองต่อแสงของใบทุเรี ยนที่ สมบูรณ์ โดยเฉพาะการทดลองกับทุเรี ยนสายพันธุ์ของประเทศไทย ดังนันการทดลองครั ้ ง้ นี ้จึงมุ่งเน้ นที่จะศึกษาการตอบสนอง ต่อแสงของการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบทุเรี ยน 2 ชุดที่แตกต่างกัน ซึง่ พบในต้ นทุเรี ยน เพื่อทราบข้ อมูลพื ้นฐานที่เกี่ยวข้ องกับ การสังเคราะห์ด้วยแสงของใบ ได้ แก่ ค่าความชันเริ่ มต้ น (α) ความโค้ ง (θ) อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสูงสุด (Pmax) อัตราการ หายใจในความมืด (Rd ) และ light compensation ซึ่งผลการศึกษาสามารถนาไปใช้ เป็ นข้ อมูลเพื่อพัฒนาแบบจาลองการ สังเคราะห์ด้วยแสงของทุเรี ยนในระดับทรงพุ่ม เพื่อนาไปสู่การพัฒนาระบบการจัดการที่เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ทุเรี ยน ต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ คัดเลือกต้ นทุเรี ยนพันธุ์หมอนทองที่มีความสมบูรณ์ ในสวนเกษตรกร ตาบลท่าหลวง อาเภอมะขาม จั งหวัดจันทบุรี จานวน 6 ต้ น อายุ 2.5 ปี ตัวอย่างใบที่ใช้ ในการศึกษาสามารถจาแนกตามอายุใบเป็ น 2 ชุด คือ ใบที่มีอายุน้อยที่ใบมีการ ขยายขนาดเต็มที่แล้ ว และอยู่ด้านนอกของทรงพุ่ม อายุประมาณ 35 - 45 วัน (younger flush, F1) ส่วนใบชุดที่สอง เป็ นใบที่มี อายุมากกว่าและอยู่ด้านในทรงพุ่ม อายุประมาณ 55 - 60 วัน (older flush, F2) สุม่ เลือกใบที่สมบูรณ์ ทงั ้ 2 ชุด ซึง่ อยู่ในกิ่ง เดี ยวกัน จานวน 1 ใบต่อชุดใบต่อต้ น ทาการวัดอัตราการสังเคราะห์ ด้วยแสงด้ วยเครื่ องวัดอัตราการสังเคราะห์ ด้วยแสง (Portable Photosynthetic System) รุ่น Li 6400 (LI-COR) ระบบเปิ ด โดยกาหนดความเข้ มแสงของอัตราการสังเคราห์ด้วย แสงของใบเป็ น 14 ระดับ ตัง้ แต่ความเข้ มแสง 0-2,000 µmol m-2 s-1 ระหว่างการวัดอัตราการสังเคราห์ด้วยแสงนัน้ สภาพแวดล้ อมระหว่ า งการวิ จั ย ถู ก ก าหนดให้ อยู่ ใ นสภาพที่ ใ กล้ เคี ย งกั น คื อ ก าหนดให้ ค่ า ความเข้ มข้ นของก๊ าซ คาร์ บอนไดออกไซด์ 400 ppm ความชื ้นสัมพัทธ์ 60 – 75 เปอร์ เซ็นต์ อุณหภูมิใบในขณะวัด 30±2 องศาเซลเซียส ดาเนินการ เก็บข้ อมูลในช่วงเวลา 9.00-14.00 น. ข้ อมูลที่ได้ นามาวิเคราะห์ หาค่าตัวแปรที่เกี่ ยวข้ องกับการตอบสนองต่อแสง ด้ วย แบบจาลอง non-rectangular hyperbola (Johnson et al.,1989) โดยวิธี non-linear least square (ดวงรัตน์, 2541) โดยมี รูปแบบสมการดังนี ้

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

275


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

[( I + Pmax ) – (( I + Pmax )2- 4 I Pmax ))1/2]/2 - Rd

Pn

=

เมื่อ

Pn คือ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิ (net photosynthetic rate, µmol CO2 m-2s-1) I คือ ความเข้ มแสง (photosynthetic photo flux, µmol m-2s-1) Pmax คือ อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิสงู สุด (maximum photosynthetic rate, µmol CO2 m-2s-1) α คือ ความชันเริ่ มต้ นของการตอบสนองต่อแสง (initial slope of the curve or quantum efficiency, µmol CO2/µmolPPF) θ คือ ค่าควบคุมความโค้ งของเส้ นกราฟ (convexity parameter) 0 ≤ θ ≤1 Rd คือ อัตราการหายใจในความมืด (dark respiration rate, µmol CO2 m-2s-1)

วัดค่าดัชนีความเขียวของใบหลังจากวัดอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง ด้ วยเครื่ อง Chlorophyll meter รุ่น SPAD-502 (Minolta Camera) หลังจากนัน้ นาตัวอย่างใบไปวิเคราะห์ หาปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ ตามวิธีของ พูนพิภพ และคณะ (2537) คานวณหา สัดส่วนของพื ้นที่ใบต่อน ้าหนักแห้ งของใบ (Specific Leaf Area) ตามวิธีของ Gardner et al., (1985) และเปรี ยบเทียบความ แตกต่างค่าเฉลี่ยของค่าตัวแปรที่วดั ในการทดลองนี ้ระหว่างใบทัง้ 2 ชุด ด้ วยวิธี t-test

ผลการทดลอง การตอบสนองต่อแสงในการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบทุเรี ยนพันธุ์หมอนทองทังสองชุ ้ ด คือ ชุดใบที่มีอายุน้อย ซึ่งมี การขยายขนาดของใบเต็มที่แล้ ว (F1) และชุดใบที่มีอายุมากกว่า (F2) มีลกั ษณะเช่นเดียวกัน คือเป็ นแบบโค้ งอิ่มตัว โดยมีค่า เป็ นลบเมื่อไม่มีแสง และเมื่อความเข้ มแสงเพิ่มขึ ้นอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิมีค่าเพิ่ม ขึ ้น ซึ่งการเพิ่มขึ ้นของอัตราการ สังเคราะห์ด้วยแสงในช่วงความเข้ มแสงที่ต่ากว่า 200 µmol m-2s-1 มีลกั ษณะใกล้ เคียงเส้ นตรง และมีค่าความชันมากที่สดุ เมื่อ ความเข้ มแสงเพิ่มขึ ้นอีกอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิ เพิ่มขึ ้นในสัดส่วนที่น้อยลงจนเข้ าสู่ระยะอิ่มตัว (light saturation point) คือ มีแนวโน้ มคงที่ หรื อเพิ่มขึ ้นเล็กน้ อย ซึง่ พบว่าใบทุเรี ยนพันธุ์หมอนทองมีอตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงอิ่มตัวด้ วยแสง ในช่วง 800-1,000 µmol m-2s-1 เมื่อประเมินค่าตัวแปรในแบบจาลองการตอบสนองต่อแสง non-rectangular hyperbola พบว่า α ไม่มีความแตกต่าง ระหว่างใบทังสองชุ ้ ด โดยมีค่า α อยู่ระหว่าง 0.03658 – 0.03996 mol CO2 mol-1 PPF แต่พบว่าอายุใบมีอิทธิพลต่อ θ โดย ใบ F1 มีคา่ θ สูงกว่าใบ F2 โดยมีคา่ เท่ากับ 0.71 และ 0.51 ตามลาดับ ส่วนค่า Rd พบว่า ใบ F1 มีค่า Rd มากกว่าใบ F2 โดยมี ค่าเท่ากับ 0.99 และ 0.40 µmol CO2 m-2s-1 ตามลาดับ ส่วนค่า Pmax นันพบว่ ้ า ใบ F1 มีค่า ต่ากว่าใบ F2 คือมีค่าเท่ากับ 7.89 -2 -1 และ 9.75 µmol CO2 m s ตามลาดับ นอกจากนี ้ยังพบว่า ความเข้ มแสงที่ทาให้ อตั ราการตรึง CO2 สุทธิเท่ากับศูนย์ (light compensation point) ของใบ F1 มีค่าสูงกว่าใบ F2 โดยมีค่าเท่ากับ 28.06 และ 10.11 µmol m-2s-1 ตามลาดับ (Table 1) สาหรับค่าตัวแปรอื่นๆ ที่ศึกษา พบว่า มีค่าดัชนีความเขียวของใบ และปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ของใบ F1 มีค่าน้ อยกว่า ใบ F2 อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ แต่ใบทุเรี ยนทังสองชุ ้ ดไม่มีความแตกต่างกันของสัดส่วนของพื ้นที่ใบต่อน ้าหนักแห้ งของใบ (SLA) โดยใบ F1 และ F2 มีคา่ SLA เท่ากับ 8.16 และ 6.81 ตารางเซนติเมตรต่อกรัม ตามลาดับ (Table 1)

276

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


Leaf photosynthetic rate (µmol m-2s-1)

วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

12

Older flush (F2)

Younger flush (F1)

10 8

6 4 2 0 -2 0 -4

200 400 600 800 1000 1200 1400 1600 1800 2000 PPF (µmol m-2s-1)

Figure1 Photosynthetic light-response curves of two leaf stages found in Durian (Durio zibethinus Murray) cv. ‘Monthong’, Each points represent mean of measure values, the vertical bars represent ± standard error of mean.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

277


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Parameters of light response curve estimated by fitting the data to a non-rectangular hyperbola model and leaf greenness, chlorophyll content and specific leave area of the two leaf stages found in durian (Durio zibethinus Murray) cv. ‘Monthong’. Data are showed in mean values ± standard error of mean. Parameters

Leaf Stage Younger Flush (F1) Older Flush (F2)

P-value

Parameters of light response curve

α (mol CO2 mol-1 PPF ) θ (0≤ θ ≤1)

Pmax (µmol CO2 m-2s-1) Rd (µmol CO2 m-2s-1) LCP (µmol m-2s-1) Measured Leaf Parameters SPAD (SPAD Unit) Chlorophyll a (mg /dm2) Chlorophyll b (mg /dm2) Chlorophyll Total (mg/dm2) Specific Leaf Area (cm2/g)

36.58 ± 1.65 x10-3 0.71 ± 0.06 7.89 ± 0.49 0.99 ± 0.14 28.06 ± 3.27

39.96 ± 1.47x10-3 0.51 ± 0.06 9.75 ± 0.78 0.40 ± 0.09 10.11 ± 2.07

0.184 0.048 0.039 0.008 0.002

44.12 ± 1.80 2.17 ± 0.15 0.71 ± 0.04 2.88 ± 0.19 8.16 ± 1.04

61.72 ± 3.66 3.58 ± 0.30 1.75 ± 0.23 5.32 ± 0.51 6.81 ± 0.73

0.003 0.003 0.002 0.002 0.322

วิจารณ์ ต้ นทุเรี ยนที่พร้ อมก่อนการออกดอก คือ ต้ นทุเรี ยนที่ผ่านการเจริ ญเติบโตทางกิ่งก้ านสาขาโดยมีการแตกใบอ่อน มาแล้ วอย่างน้ อย 1 ชุด มีการสังเคราะห์ด้วยแสงและสะสมอาหาร ในรูปของสารประกอบคาร์ โบไฮเดรตเพียงพอ มีปริ มาณใบ มากเพียงพอ ใบส่วนมากหรื อทังหมดเป็ ้ นใบแก่ กิ่งของแต่ละยอดเริ่ มแก่ตามมา (สานักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (องค์การ มหาชน), 2558) การทดลองนี ้ได้ ทาการวัดการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบทุเรี ยนพันธุ์หมอนทอง ซึง่ ขณะทาการทดลองสามารถ จาแนกใบบนต้ นได้ สองชุด คือ ชุดใบที่มีอายุน้อยที่มีการขยายขนาดของใบเต็มที่และอยู่ด้านนอกของทรงพุ่ม อายุประมาณ 35 - 45 วัน (F1) ส่วนใบชุดที่สอง เป็ นใบที่มีอายุมากกว่าและอยู่ด้านในทรงพุ่ม อายุประมาณ 55 - 60 วัน (F2) ซึง่ ใบทังสองชุ ้ ดนี ้ เป็ นใบหลักสาคัญที่สร้ างอาหารให้ แก่ต้นทุเรี ยนเพื่อเตรี ยมพร้ อมสาหรับการให้ ผลผลิตต่อไป การตอบสนองต่อแสงในการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบทุเรี ยนพันธุ์หมอนทองทัง้ 2 ชุด เป็ นลักษณะโค้ งอิ่มตัว เช่น เดียวกับที่พบในใบมะม่วง (เจษฎา, 2540) หรื อ ส้ มเขียวหวาน (อรอุมา, 2548) คือ ในตอนเริ่ มต้ นเมื่อเพิ่มความเข้ มแสงมากขึ ้น อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสุทธิก็เพิ่มตามไปด้ วย แต่เมื่อถึงจุดหนึ่ง การเพิ่มความเข้ มของแสงขึ ้นไปอีกอัตราการสังเคราะห์ ด้ วยแสงสุทธิไม่ได้ เพิ่มขึ ้นแต่อย่างใด ณ จุดดังกล่าวแสงไม่ใช่ปัจจัยจากัดสาหรับการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบ แต่เป็ นปั จจัย อื่นแทน (Taiz and Zeiger, 2010) การอิ่มตัวด้ วยแสงของใบทุเรี ยนอยู่ในความเข้ มแสงประมาณ 800-1,000 µmol m-2 s-1 ซึง่ สอดคล้ องกับการศึกษาอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของทุเรี ยนในระดับกิ่ง โดย Ogawa et al. (2003) ใช้ ยอดทุเรี ยนที่มีใบ 10-12 ใบ ในการศึกษาพบว่ามีรูปแบบการตอบสนองต่อแสงลักษณะเป็ นโค้ งอิ่มตัว มีค่า light saturation point ไม่เกิน 1,000 µmol m-2 s-1 และพบว่าใบทุเรี ยนที่มีอายุน้อยกว่ามี light saturation point สูงกว่าใบที่อายุมาก และมีอตั ราการหายใจที่สงู กว่า อัตราการหายใจของใบพืชนันจะเปลี ้ ่ยนแปลงไปเมื่ออายุใบเพิ่มขึ ้น โดยใบที่มีขนาดเล็กหรื ออายุน้อยจะมีอัตราการหายใจสูง อัตราการหายใจจะลดลงเมื่อใบขยายขนาดขึ ้นหรื อมีอายุใบมากขึ ้น เช่นเดียวกับ ใบของต้ นยางพารา 4 พันธุ์ ซึ่งมีอตั ราการ หายใจลดลงจนกระทัง่ เข้ าสูร่ ะดับคงที่เมื่อใบขยายขนาดเต็มที่แล้ ว (Sangsing et al., 2004) ค่าอัตราการหายใจที่สงู นี ้ใช้ เพื่อ การเจริ ญเติบโตหรื อสร้ างเนื ้อเยื่อใหม่และการหายใจเพื่อการบารุงรักษาเนื ้อเยื่อที่มีอยู่เดิม (Thornley, 1970; Yokoi et al., 278

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

1978; Kimura et al., 1978) Ogawa et al. 2003 พบว่า ใบทุเรี ยนที่มีอายุใบน้ อยกว่า มีอตั ราการหายใจในความมืด (Rd) ในช่วงเวลากลางวันสูงกว่าใบที่อายุมากกว่า การสังเคราะห์ ด้วยแสงของใบพืชแตกต่างกัน เกิดจากปั จจัยหลายอย่าง ทัง้ จากตัวพื ชเอง เช่น อายุใบ ปริ มาณ คลอโรฟิ ลล์ ปริ มาณพื ้นที่ใบ การจัดเรี ยงตัวของใบ (Valet-Grancher et al., 1993) ซึ่งการทดลองนี ้แสดงให้ เห็นถึงความ แตกต่างของใบทุเรี ยนสองชุดที่พบในต้ นเดียวกัน ซึง่ มีปริ มาณคลอโรฟิ ลล์แตกต่างกัน ทาให้ การสังเคราะห์ด้วยแสงแตกต่างกัน โดยใบที่อายุมากกว่า (F2) มีอตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงที่สงู กว่า นอกจากนี ้สภาพแวดล้ อมที่แตกต่างกัน เช่น แสง ปริ มาณ คาร์ บอนไดออกไซด์ อุณหภูมิ และความชื ้น มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (Taiz and Zeiger, 2010) แต่ในการทดลอง นีไ้ ด้ กาหนดความเข้ มแสง ปริ มาณคาร์ บอนไดออกไซด์ อุณหภูมิและความชืน้ ให้ เท่ากันในใบทังสองชุ ้ ดระหว่างการทดลอง ดังนันปั ้ จจัยแวดล้ อมเหล่านี ้จึงไม่ใช่สิ่งที่ทาให้ ใบทังสองชุ ้ ดมีอตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงที่แตกต่างกัน ใบทุเรี ยน F2 มีค่า Pmax สูงกว่าใบ F1 ในพืชโดยทัว่ ไปเมื่อใบแรกผลิค่าอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงมีค่าต่ามากหรื อเป็ นศูนย์แต่เมื่อใบมีอายุมากขึ ้น อัตราการสังเคราะห์ ด้วยแสงจะเพิ่มสูงขึน้ จนถึงใบขยายขนาดเต็มที่ และจะสูงขึน้ อีกจนถึงใบมี การเจริ ญเติบโตเต็มที่ (leaf maturation) (Taiz and Zeiger, 2010) และหลังจากนันใบจะมี ้ อตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบลดลงเรื่ อยๆ อีกสาเหตุที่ ทาให้ อตั ราการสังเคราะห์ด้วยแสงของ F1 น้ อยกว่า F2 นันอาจเนื ้ ่องมาจาก ใบที่มีอายุน้อยกว่าจะมีความเขียวใบ และ ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ต่ากว่าใบที่มีอายุมากกว่า ซึง่ คลอโรฟิ ลล์เป็ นสิ่งที่จาเป็ นสาหรับการสังเคราะห์ด้วยแสง ข้ อมูลการสังเคราะห์ด้วยแสงของทุเรี ยนในปั จจุบันยังมีอยู่จากัด แม้ จะมี การวัดอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของ ทุเรี ยนในระดับใบ (Ismail et al., 1994) และระดับกิ่ง (Ogawa et al., 2003) แต่ยงั ขาดข้ อมูลพื ้นฐานการตอบสนองต่อแสง ของใบทุเรี ยนที่สมบูรณ์ โดยเฉพาะการทดลองกับทุเรี ยนสายพันธุ์ของประเทศไทย การทดลองครัง้ นี ้ได้ วดั การตอบสนองต่อแสง ของการสังเคราะห์ด้วยแสงของใบทุเรี ยน 2 ชุดที่พบบนต้ นทุเรี ยน และได้ ประเมินค่าตัวแปรในแบบจาลองการตอบสนองต่อแสง non-rectangular hyperbola ซึง่ ผลการศึกษานี ้สามารถนาไปใช้ เป็ นข้ อมูลเพื่อพัฒนาแบบจาลองการสังเคราะห์ด้วยแสงของ ทุเรี ยนในระดับทรงพุ่ม อันนาไปสู่การจัดการทรงพุ่มให้ ต้นทุเรี ยนที่พร้ อมก่อนการออกดอกคือ มีการสังเคราะห์ด้วยแสงและ สะสมอาหาร ในรูปของสารประกอบคาร์ โบไฮเดรตเพียงพอ มีปริ มาณใบมากเพียงพอ เพื่อ นาไปสูก่ ารพัฒนาระบบการจัดการที่ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตทุเรี ยนต่อไป

สรุ ปผลการทดลอง การตอบสนองต่อแสงของใบทุเรี ยนพันธุ์หมอนทองสองชุด คือ ชุดใบที่มีอายุน้อยซึ่งมีการขยายขนาดของใบเต็มที่ แล้ ว (F1) และชุดใบที่มีอายุมากว่า (F2) มีลกั ษณะเหมือนกัน คือเป็ นแบบโค้ งอิ่มตัวที่ความเข้ มแสงในช่วง 800-1,000 µmol m-2s-1 การประเมินค่าตัวแปรในแบบจาลองการตอบสนองต่อแสงแบบ non-rectangular hyperbola อันประกอบด้ วย ค่าความ ชันเริ่มต้ น (α) ความโค้ ง (θ) อัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงสูงสุด (Pmax) และอัตราการหายใจในความมืด (Rd ) พบว่า ค่า α ไม่ มีความแตกต่างระหว่างใบทังสองชุ ้ ด ใบชุด F1 มีคา่ θ มากกว่า F2 ขณะที่ Pmax ของ F1 มีคา่ ต่ากว่า F2 ความเข้ มแสงที่ทา ให้ อตั ราการตรึง CO2 สุทธิเท่ากับศูนย์ (light compensation point) ของใบชุด F1 สูงกว่า F2 โดยมีคา่ เท่ากับ 28.06 และ 10.11 µmol m-2s-1 ตามลาดับ ใบชุด F1 มีคา่ ความเขียวใบ ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ เอ ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ บี และปริมาณ คลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ น้ อยกว่า F2 ที่มีอายุมากกว่า แต่ไม่มีความแตกต่างกันของค่า SLA ระหว่างใบทังสองชุ ้ ด

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสถาบันวิจยั และพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ส นับสนุนทุนวิจยั ในโครงการสรี รวิทยาการสร้ าง ชีวมวลของไม้ ผล ขอบคุณ คุณอวยชัย อัถคง และ ดร.สุมิตร คุณเจตน์ ที่ให้ ความอนุเคราะห์ต้นทุเรี ยนและสถานที่ และขอบคุณ ศูนย์ความร่วมมือทางวิชาการไทย-ฝรั่งเศส และคณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ให้ ความอนุเคราะห์เครื่ องมือและผู้ช่วยนักวิจยั ในการเก็บข้ อมูล

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

279


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง เจษฎา ภัทรเลอพงศ์. 2540. การตอบสนองต่อแสงในการสังเคราะห์แสงที่อายุใบต่างๆ ของมะม่วง 2 พันธุ์. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ดวงรัตน์ ศตคุณ. 2541. อิทธิพลของแสง อายุใบ และตาแหน่งใบต่อการสังเคราะห์แสงของใบฝ้าย. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . พูนพิภพ เกษมทรัพย์, รวี เสรฐภักดี, เพ็น สายขุนทด, เจษฎา ภัทรเลอพงศ์ และ พัชรี ยา บุญกอแก้ ว. 2537. การประเมินปริ มาณคลอโรฟิ ลล์จาก ความเขียวของใบพืชบางชนิดในประเทศไทย. น. 114-129 ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ ครัง้ ที่ 32 กรุงเทพฯ. สานักงานมาตรฐานของสินค้ าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. 2557. มาตรฐานสินค้ าเกษตร มกษ. 3-2556 ทุเรี ยน. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับ ประกาศและงานทัว่ ไป เล่ม 131 ตอนพิเศษ 31 ง วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2557. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2557. ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2557 และแนวโน้ มปี 2558. ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด สาขา 4. นนทบุรี. 54 หน้ า สานักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (องค์การมหาชน). 2558. คลังข้ อมูลสารสนเทศระดับภูมิภาค (ภาคใต้ ) แหล่งที่มา: http://www.arda.or.th/kasetinfo/south/durian/controller/01-09.php, 4 สิงหาคม 2558. อรอุมา ด้ วงงาม. 2548. อิทธิพลของมลพิษทางอากาศจากครื่ องยนต์ดีเซล และก๊ าซโอโซนต่อลักษณะทางสรี รวิทยาในการแลกเปลี่ยนก๊ าซของใบ ส้ มเขียวหวาน มะเขือเทศ และคะน้ า. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . Gardner, F. P., R. B. Pearce and R.L. Mitchell. 1985. Physiology of Crop Plants. The Iowa State University Press, Ames, 327p. Ismail, M.R, M. A.Aziz and T.Hashim. 1994. Growth,Water relations and physiological changes of young durian (Durio zibethinus Murray) as Influenced by Water Availability. Pertanika J. Trop. Agric. Sci. 17(3):149-156 Johnson, I. R., A. J. Parsons and M. M. Ludlow. 1989. Modeling photosynthesis in monocultures and mixtures. Aust. J. Plant Physiol. 16:501-516. Kimura, M., Y. Yokoi and K. Hogetsu. 1978. Quantitative relationships between growth and respiration II. Evaluation of constructive and maintenance respiration in growing Helianthus tuberosus leaves. Bot.Mag.Tokyo. 91:43-56. Ogawa, K., A. Furukawa, A. M. Abdullah and M. Awang. 2003. Diurnal CO2 exchange variation in evergreen leaves of the tropical tree, durian (Durio zibethinus Murray). TROPICS. 13(1): 17-24. Sangsing, K., P. Kasemsap, S. Thanisawanyangkura, E. Gohet and P. Thaler. 2004. Respiration Rate and a Two-component Model of Growth and Maintenance Respiration in Leaves of Rubber (Hevea brasiliensis Muell. Arg.). Kasetsart J. (Nat. Sci.) 38(3):311-119. Taiz, L. and E. Zeiger. 2010. Plant Physiology. 5th ed. Sinauer Associates. Inc., Publishers, Sunderland. 782 p. Thornley, J.H.M. 1970. Respiration, Growth and Maintenance in Plants. Nature 227:304-305. Valet-Grancher, C., R. Bonhomme and H. Sinoquet. 1993. Crop Structure and Light Microclimate: Characterization and Application. INRA, Paris. 518p. Yokoi, Y., Kimura, M. and K. Hogetsu. 1978. Quantitative relationships between growth and respiration. I. Components of respiratory loss and growth efficiencies of etiolated red bean seedlings. Bot.Mag.Tokyo. 91:31-41.

280

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การศึกษาการเจริญเติบโต ปริมาณไนโตรเจนและคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่ อยู่ในรูปโครงสร้ างของว่ าน แสงอาทิตย์ ท่ ไี ด้ รับการพรางแสงแตกต่ างกัน The study of growth, nitrogen and total non-structural carbohydrates contents of Blood lily (Haemanthus multiflorus) in the different of shading รุ่ งนภา ช่ างเจรจา1 * พงศ์ ยุทธ นวลบุญเรือง และสันติ ช่ างเจรจา1 Rungnapa changjeraja1 * Pongyuth nualboonreang1 and Sunti changjeraja1

บทคัดย่ อ การศึกษาการเจริ ญเติบโต ปริ มาณไนโตรเจนและคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรู ปโครงสร้ างของว่านแสงอาทิตย์ที่ได้ รับ การพรางแสงแตกต่างกัน ศึกษา ณ สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้ านนา ระหว่างเดือน กุมภาพันธุ์ถึงเดือน กันยายน 2557 วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ มี 4 กรรมวิธี (ไม่พรางแสง พรางแสง 25 เปอร์ เซ็นต์ พรางแสง 50 เปอร์ เซ็นต์ และพรางแสง 75 เปอร์ เซ็นต์) โดยใช้ ซาแลนสีดาที่มีความเข้ มแสงแตกต่างกันและวัดระดับความเข้ ม แสงด้ วย Lux meter แต่ละกรรมวิธีมีจานวน 10 ซ ้าต่อกรรมวิธี จากการทดลองพบว่า ต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสงไม่มีการออก ดอก ต้ นที่พรางแสงทุกระดับมีความกว้ างและความยาวใบมากกว่าต้ น ที่ไม่ได้ รับการพรางแสง ส่วนต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 เปอร์ เซ็นต์ มีความยาวก้ านดอก ความสูงและน ้าหนักสดใบมากที่สดุ คือ 29.83 เซนติเมตร 68.00 เซนติเมตร และ 12.57 กรัม ตามลาดับ ต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 และ 75 เปอร์ เซ็นต์ มีน ้าหนักสดรากมากที่สดุ คือ 12.74 และ 11.72 กรัม ในส่วนของใบ ต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสงมีปริมาณไนโตรเจนน้ อยที่สดุ ต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 เปอร์ เซ็นต์ มีปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ ในรู ปโครงสร้ างมากที่สดุ มีค่า 249.10 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ในส่วนของหัว ต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 และ 50 เปอร์ เซ็นต์ มีคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรู ปโครงสร้ างมากที่สดุ มีค่า 368.61 และ 352.06 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ นอกจากนีย้ งั พบว่า การพรางแสงไม่มีผลต่อขนาดช่อดอก จานวนดอกต่อช่อ ความกว้ างก้ านช่อดอก จานวนใบ ความเข้ มสีใบ น ้าหนักสดของช่อดอก และก้ านช่อดอก น ้าหนักแห้ งของช่อดอก ก้ านช่อดอก หัว และราก ปริ มาณไนโตรเจนใน ส่วนของช่อดอก ก้ านช่อดอก หัวและราก ปริ มาณคาร์ โ บไฮเดรตที่ ไม่อยู่ในรู ปโครงสร้ างในส่วนของช่อดอก ใบ และราก คาสาคัญ : ว่านแสงอาทิตย์ การพรางแสง การออกดอก

Abstract The effect of different shading on growth, nitrogen and total non-structural carbohydrates contents of Blood lily (Haemanthus multiflorus) was studied. The experiment was conducted at Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, during February to September 2014. The experiment design was a completely randomized design with 4 treatments:non-shading, 25% shading, 50% shading and 75% shading. In each treatment had 10 replications. The result showed that the non-shading did not flowering. Leaf length and leaf width in shading treatments were higher than the non-shading treatment. The 25% shading had the highest of stalk length, height and fresh weight of leaves ( 29.83 cm., 68.00 cm. and 12.57 g., respectively). The plants in 25 and 75% shading treatment had the highest of fresh weight of roots. The nonshading treatment was lowest in leaf nitrogen, while the 25% shading was highest in total non-structural carbohydrates contents (249.10 mg/g dry weight). In bulb, the 25 and 50% shading had highest of total nonstructural carbohydrates contents,368.61 and 352.06 mg/g dry weight, respectively. However, shading did not affect on inflorescence size, number of floret to inflorescence, width of inflorescence stalk, number of leaves, leaf greenness (SPAD), fresh weight and nitrogen and total non-structural carbohydrates contents content of inflorescence and stalk and dry weight of inflorescence and stalk, bulb and fibrous root. 1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000 Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, , Lampang 52000 *Corresponding author: changjeraja@hotmail.com 1

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

281


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Keywords : Blood lily (Haemanthus multiflorus), shading, flowering

บทนา ว่านแสงอาทิตย์ เป็ นพืชใบเลี ้ยงเดี่ยว มีหวั ค่อนข้ างกลม มีช่อดอกสีแดงรูปทรงแบบ umbel มีประมาณ 200 ดอกต่อ ช่อ (Feijo et al., 1995) ใบมีขนาดใหญ่ โดยธรรมชาติพบการเจริ ญเติบโตในบริ เวณเชิงเขาหรื อตามชันหิ ้ น หรื อตามชายป่ าที่มี แสงแดดตลอดวันและมีแสงตลอดช่วง 6 เดือนต้ นมีการเจริ ญเติบโตสมบูรณ์แข็งแรง โดยปกติต้นว่านแสงอาทิตย์เข้ าสูร่ ะยะพัก ตัวในช่วงฤดูหนาวหรื อช่วงที่มีอากาศแห้ งแล้ ง ในต่างประเทศนิยมใช้ ว่านแสงอาทิตย์เป็ นไม้ จดั สวน ไม้ กระถาง และมีศกั ยภาพ ในการใช้ เป็ นไม้ ตดั ดอกได้ ดี (Vendrame et al., 2004) การออกดอกของพืชเป็ นกระบวนการทางสรี รวิทยา โดยมีปัจจัยภายใน พืช ได้ แก่ ปริ มาณอาหารในพืช อายุ ความพร้ อมของพืช พันธุกรรม และฮอร์ โมนภายในพืช รวมทังปั ้ จจัยทางสภาพแวดล้ อม โดยเฉพาะแสงซึ่งเป็ นแหล่งพลังงานที่สาคัญในการสร้ างอาหารและการสะสมอาหารในพืช (สมบุญ, 2544) โดยเฉพาะความ เข้ มแสงซึ่งมีผลต่อขบวนการสังเคราะห์ แสง ความเข้ มแสงที่มากเกินไปมีผลโดยตรงต่อพืช โดยทาให้ พืชเกิดความเสียหาย เนื่องจาก Photooxidation ของสารต่างๆ เช่น เอ็นไซม์ คลอโรพลาส ไฟโตโครมและสารอื่นๆที่ไวต่อแสง เช่น ออกซิน และกรด แอสคอบิก การเกิด Photooxidation ของคลอโรฟิ ลล์ ทาให้ เกิดใบซีดขาว เอนไซม์ หลายตัว เช่น Malic enzymes Catalase Nitrate reductase ลดประสิทธิภาพลงเมื่อได้ รับแสงหรื อแสงมากเกินไป โดยเฉพาะพืชที่จาเป็ นต้ องอยู่ในสภาพร่ มเงา มักมี ความไวต่อสภาพแสงที่มากเกินไป ส่วนผลทาง อ้ อม ในสภาพความเข้ มแสงสูงมีปริ มาณรังสีอินฟาเรดสูง ทาให้ เกิดความร้ อน สูง ทาให้ เนื ้อเยื่อตายหรื อชักนาให้ เกิดสภาวะ Drought injury เนื่องจากเกิดการระเหยของน ้ามาก เกินไป โดยปกติแล้ วถ้ าความ เข้ มแสงมากขึ ้น ทาให้ พืชมีการสังเคราะห์แสงเพิ่มขึ ้นด้ วย โดยความเข้ มแสงมีผลต่อ Hill reaction ในกระบวนการสังเคราะห์ แสง (สมเพียร, 2528) พืชบางชนิดต้ องการความเข้ มของแสงสูง บางชนิดไม่สามารถ เจริ ญได้ ในสภาพความเข้ มแสงสูง พืชบาง ชนิดมีนิสยั กึ่งกลางระหว่างพืชที่ชอบแดดจัดและพืชที่ไม่ ชอบแดด โดยทัว่ ไป ในบริ เวณที่มีความเข้ มแสงต่า พืชจะมีใบยาวและ ใหญ่ กว่าใบพืชที่ได้ รับความเข้ มแสงสูง แต่พืชที่เจริญในความเข้ มแสงสูงมักมีความหนาของใบมากกว่า เนื่องจากมีชนของพาริ ั้ เสด พาเรนไคมามากกว่า (จินดา, 2524) นอกจากนี ้การ เพิ่มความเข้ มของแสงมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้ างคือลาต้ น หนามีการ เจริ ญของเนื ้อเยื่อลาเลียงและพยุงดีขึ ้น มีพื ้นที่ใบลดลงแต่ หนาขึ ้น มีปล้ องสันลง ้ แตกแขนงมากขึ ้น มีช่องว่างเซลล์ ลดลง มีCuticle และ Cell wall หนาขึ ้น มีปากใบเล็กลง จานวนคลอโรพลาสต์ ลดลงและมีขนาดเล็กลง ถ้ าความเข้ มของแสง มากเกินไปเกินจุด อิ่มตัวแสง อาจทาให้ ใบไหม้ เกรี ยม (สมเพียร, 2528) ในไม้ ดอกประเภทหัวบาง ชนิด พบว่าแสงไม่มีผลต่อ การเริ่ มสร้ างดอกแต่มีผลในระยะที่มีการเจริ ญของดอก โดยในระยะที่มีการเจริ ญของดอก ถ้ าต้ นได้ รับความเข้ มแสงต่า ทาให้ เกิดการฝ่ อ ของดอก ซึง่ ความรุนแรง แตกต่างกันไปตามชนิดพืช พืชที่มีดอกเป็ นแบบช่อความรุนแรงเกิดขึ ้นน้ อยกว่า เนื่องจาก ไปมีผลทาให้ เกิดการฝ่ อของดอกย่อยบางดอก แต่ถ้าความเข้ มแสงมีความรุนแรงมากก็อาจมีผลทาให้ เกิดการฝ่ อของช่อดอกทัง้ ช่อ นอกจากนี ้ความเข้ มแสงต่ายังมีผลทาให้ ก่าน ดอกหรื อก้ านช่อดอกยืดตัวยาวกว่ปกติ แต่มีความแข็งแรงลดลง (โสระยา, 2544) ซึง่ Shillo and Halevy (1975) พบว่า ในแกลดิโอลัส แสงไม่มีผลต่อการชักนาให้ เกิดดอก แต่มีผลต่อการเจริ ญเติบโต ของดอก โดยถ้ าต้ นแกลดิโอลัสได้ รับความเข้ มแสงต่าในช่วงแรกของการ เจริ ญเติบโตทางดอก จะทาให้ กิดการฝ่ อของดอก และ ถ้ าผลนันรุ ้ นแรงมากอาจทาให้ เกิดการฝ่ อ ของดอกได้ ทงช่ ั ้ อ ดังนันถ้ ้ าแสงมีความเข้ มเกินไปควรลดความเข้ มแสงลงด้ วยการ พรางแสง ใช้ สีพื ้นหลังคาโรงเรื อนประเภทที่ล้างออกง่าย หรื อใช้ ตาข่ายไน ล่อน และซาแรน (saran) ซึง่ พรางแสงได้ มาก น้ อย ต่างกัน ตามความถี่ห่างของตาข่าย (สมเพียร, 2528) ปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่ใช่โครงสร้ าง (total nonstructural carbohydrate) เป็ นแหล่งของพลังงานที่พืชเก็บไว้ ในส่วนของ vegetative organ และนาไปใช้ ประโยชน์ในการเจริ ญเติบโต ประกอบด้ วยน ้าตาล แป้ง dextrin fructosans เป็ นต้ น โดยไม่รวมคาร์ โบไฮเดรตในรูปโครงสร้ าง (structural carbohydrate) (Salisbury and Ross, 1992) ความต้ องการคาร์ โบไฮเดรตของพืชมีการเพิ่มขึ ้นตามอายุ ทาให้ ผลต่างระหว่างการสังเคราะห์ แสงหรื อการสังเคราะห์คาร์ โบไฮเดรตกับการหายใจ เป็ นตัวกาหนดปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ถกู สะสมไว้ (สุรนันต์, 2526) แสงอาทิตย์เป็ นพืชที่ออกดอกในช่วงฤดูร้อน เดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม การพรางแสงเป็ นวิธีที่ใช้ ต้นทุนต่าในการพัฒนา แต่รายงานการวิจยั ในเรื่ องดังกล่าวในว่านแสงอาทิตย์ยงั มีไม่มากนัก ดังนันงานวิ ้ จยั นี ้จึงได้ ม่งุ เน้ นเพื่อศึกษาผลของการพราง แสงที่มีตอ่ การออกดอกของว่านแสงอาทิตย์ เพื่อเป็ นข้ อมูลพื ้นฐานในการผลิตเป็ นการค้ าต่อไป

282

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการ 1. พืชทดลอง หัวพันธุ์ว่านแสงอาทิตย์ ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 7.0-8.0 เซนติเมตร ปลูกในกระถางขนาด 8 นิ ้ว วัสดุปลูกประกอบด้ วย ดิน ทราย ถ่านแกลบ เปลือกข้ าว อัตราส่วน 1:1:1:1 ให้ ได้ รับสภาพการพรางแสงที่แตกต่างกัน โดยใช้ ซาแรนสี ด าเป็ น วัส ดุพ รางแสงโดยคลุม ให้ ร อบทัง้ ด้ า นบนและด้ า นข้ า งทัง้ สี่ ด้ า น วางแผนการ ทดลองแบบสุ่ม สมบูร ณ์ (Completely Randomized Design) จานวน 4 กรรมวิธีๆ ละ 10 ซ ้า คือ ไม่พรางแสง พรางแสง 25 50 และ 75 เปอร์ เซ็นต์ วัด ค่าความเข้ มแสงโดยใช้ เครื่ องวัดค่าความเข้ มแสง (Lux meter) ทดลอง ณ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จังหวัดลาปาง ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึง เดือนกันยายน 2557 2. การบันทึกผล โดยบันทึกคุณภาพดอก ได้ แก่ ขนาดดอก จานวนดอกต่อช่อ ความยาวก้ านช่อดอก ความกว้ างก้ านช่อดอก จานวนใบ ความเข้ มของสีใบ ความกว้ างและความยาวใบ นา้ หนักสดและนา้ หนักแห้ งก้ านช่อดอก ช่อดอก ใบ หัวแล ะ ราก ปริ มาณไนโตรเจนรวม (ดัดแปลงตามวิธีการของ Ohyama et al., 1985) ปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรู ปโครงสร้ าง (ดัดแปลงตามวิธีการของ Smith et al., 1964) ในส่วนของหัว ก้ านช่อดอก ช่อดอก วิเคราะห์ความแตกต่างโดยใช้ คา่ LSD

ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลของการพรางแสงต่อการเจริ ญเติบโตและการออกดอกของว่านแสงอาทิตย์ พบว่า ต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสง ไม่มี การออกดอก อาจเนื่องมาจากหัวที่ปลูกได้ รับความเข้ มแสงที่มากเกินไปทาให้ เกิดการฝ่ อของช่อดอกทังช่ ้ อ ส่วนต้ นที่ได้ รับการ พรางแสง 25 เปอร์ เซ็นต์ มีความยาวก้ านดอกมากที่สดุ คือ 29.83 เซนติเมตร นอกจากนี ้ยังพบว่า การพรางแสงระดับต่างๆ ไม่มี ผลต่อขนาดช่อดอก จานวนดอกต่อช่อ และความกว้ างก้ านช่อดอก โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 16.65-16.85 147.20-161.20 และ 0.99-1.15 เซนติเมตร ตามลาดับ (Table 1) Table 1 Flower quality of Haemanthus multiflorus under different growing shade Shading (%)

inflorescence size (cm) 0 NF 25 16.65 50 16.85 75 16.75 LSD ns CV (%) 6.79 NF=no flowering ns= non significant

Number of floret/ inflorescence NF 161.20 147.80 147.20 ns 18.95

inflorescence stalk length (cm) NF 29.83a 24.50b 24.90b ** 9.01

inflorescence stalk width (cm) NF 1.15 0.99 1.08 ns 9.53

** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

283


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการพรางแสงต่อการเจริ ญเติบโตและการออกดอกของว่านแสงอาทิตย์ พบว่า ต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 เปอร์ เซ็นต์ มี ความสูงมากที่สดุ คือ 68.00 เซนติเมตร ต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสงมีความสูงน้ อยที่สดุ อาจเป็ นเพราะว่าความเข้ มแสงที่มาก เกินไป มีผลต่อการคายน ้าของพืชเนื่องมาจากอุณหภูมิที่สงู พืชมีการปรับตัวให้ ข้อปล้ องสันลงพื ้ ้นที่ของใบลดลงแต่ใบมีความ หนาขึ ้น เพื่อลดอุณหภูมิภายในต้ นและลดการรับแสงลง (จินดา 2524) เช่นเดียวกับ การเจริ ญเติบโตของออนิโธกาลัม อะรา บิคมั ต้ นที่ปลูกภายใต้ สภาพการพรางแสงด้ วยตาข่าย 50 % 2 ชัน้ มีความสูงของต้ นมากที่สดุ ส่วนการปลูกในสภาพไม่พราง แสง ให้ ต้นมีความสูงน้ อยที่สดุ (จารุ ฉัตร, 2547) ส่วนขนาดใบพบว่า ต้ นที่พรางแสงทุกระดับมีความกว้ างและความยาวใบ มากกว่าต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสงอาจเนื่องมาจาก การเพิ่มความเข้ มแสงมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้ างคือลาต้ นหนา มีการเจริ ญของเนือ้ เยื่อลาเลียงและพยุงดีขึน้ มีพืน้ ที่ใบลดลงแต่ หนาขึน้ มีปล้ องสันลง ้ มีการแตกแขนงมากขึน้ นอกจากนี ้ นอกจากนี ้ยังพบว่า การพรางแสงระดับต่างๆ ไม่มีผลต่อจานวนใบ และความเข้ มสีใบ (SPAD) โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 6.80-7.75 ใบต่อต้ น และ 33.77-41.10 SPAD ตามลาดับ (Table 2) Table 2 Growth of Haemanthus multiflorus under different growing shade Shading (%) Height (cm.) Leaf width Leaf length (cm.) (cm.) 0 42.30c 9.77b 22.330 b 25 68.00a 13.16a 32.67a 50 60.70ab 12.33a 31.22a 75 58.80b 12.42a 27.99a LSD ** ** ** CV (%) 9.72 6.95 13.26 ns= no significantly difference

Number of leaves 7.75 7.20 6.80 6.80 ns 9.72

Leaf greenness (SPAD) 33.77 41.10 36.60 34.94 ns 12.41

** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01 ผลของการพรางแสงต่อการเจริ ญเติบโตและการออกดอกของว่านแสงอาทิตย์ พบว่า ต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 เปอร์ เซ็นต์ มีน ้าหนักสดใบมากที่สดุ คือ 12.57 กรัม ต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 และ 75เปอร์ เซ็นต์ มีน ้าหนักสดรากมากที่สดุ คือ 12.74 และ 11.72 กรัม ส่วนน ้าหนักสดหัวพบว่าต้ นที่พรางแสงทุกระดับมีน ้าหนักสดหัวมากกว่าต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสง นอกจากนี ้ยังพบว่า การพรางแสงไม่มีผลต่อน ้าหนักสดของช่อดอก และก้ านช่อดอก โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 27.78-32.25 และ 27.39-32.62 กรัม ตามลาดับ (Table 3) Table 3 Fresh weight of Haemanthus multiflorus under different growing shade Shading (%)

Fresh weight (g) Inflorescence Inflorescence leave bulb stalk 0 NF NF 10.75ab 74.84b 25 30.46 32.62 12.57a 121.19a 50 27.78 27.39 6.96b 111.79a 75 32.25 29.23 7.92b 112.02a LSD ns ns ** ** CV (%) 16.09 15.63 34.66 19.84 NF=no flowering ns= no significantly difference

Fibrous root 5.13b 12.74a 8.84ab 11.72a ** 34.78

** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01

284

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการพรางแสงต่อการเจริ ญเติบโตและการออกดอกของว่านแสงอาทิตย์ พบว่า ต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสง มีน ้าหนักแห้ ง ใบมากที่สดุ คือ 1.86 กรัม สอดคล้ องกับ Mastalerz, (1983) รายงานว่า ความเข้ มแสงที่ต่าจะทาให้ น ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ ง ของต้ นลดลง นอกจากนี ้ยังพบว่าการพรางแสงไม่มีผลต่อน ้าหนักแห้ งของช่อดอก ก้ านช่อดอก หัว และรากในว่านแสงอาทิตย์ โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 2.27-2.64 1.13-1.85 17.07-22.83 และ 0.33-0.63 กรัม ตามลาดับ (Table 4) นอกจากนี ้ยังพบว่าการ พรางแสงไม่มีผลต่อน ้าหนักแห้ งของช่อดอก ก้ านช่อดอก หัว และรากในว่านแสงอาทิตย์ เช่นเดียวกับในต้ นมหาลาภ ที่พบว่า การพรางแสงไม่มีผลต่อ น ้าหนักแห้ งของก้ านช่อดอก หัวเก่า หัวใหม่และราก (สุทธิพร และคณะ, 2556) Table 4 Dry weight of Haemanthus multiflorus under different growing shade Shading (%) Inflorescence

Inflorescence stalk 0 NF NF 25 2.75 1.85 50 2.27 1.13 75 2.64 1.20 LSD ns ns CV (%) 20.28 33.14 NF=no flowering ns= no significantly difference

Dry weight (g) leave bulb

Fibrous root

1.86a 1.15b 0.65b 0.71b ** 42.76

0.33 0.63 0.43 0.59 ns 37.70

17.35 22.83 18.29 17.07 ns 33.83

** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01 ปริมาณไนโตรเจนของต้ นหลังจากได้ รับการพรางแสงแตกต่างกันในระยะออกดอก พบว่า ในส่วนของใบ ต้ นที่ไม่ได้ รับการพราง แสงมีปริ มาณไนโตรเจนน้ อยที่สดุ มีค่า 44.88 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ส่วนที่ได้ รับการพรางแสงทุกระดับมีปริ มาณ ไนโตรเจนในใบสูงกว่าต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสง อาจเนื่องมาจากเมื่อความเข้ มแสงลดลง พืชมีการปรับตัวโดยการสร้ างคลอ โรพลาลต์เพิ่มขึ ้นเพื่อใช้ ในการสังเคราะห์แสง ทาให้ พืชต้ องใช้ ไนโตรเจนมากขึ ้นเพื่อเป็ นองค์ประกอบของคลอโรพลาลต์และ โปรตีน (สมบุญ, 2544) และไนโตรเจนมีความสามารถในการเคลื่อนย้ ายได้ ดี มีการดูดไนโตรเจนไปที่ใบมากขึ ้น นอกจากนี ้ยัง พบว่า ระดับการพรางแสงไม่มีผลต่อปริ มาณไนโตรเจนในส่วนของช่อดอก ก้ านช่อดอก หัวและราก แต่ต้นที่ไม่พรางแสงไม่ออก ดอก (Table 5) Table 5 Nitrogen content of Haemanthus multiflorus under different growing shade Shading (%)

Nitrogen content (mg/g dry weight) Inflorescence Inflorescence leave bulb stalk 0 NF NF 44.88b 14.90 25 41.59 43.83 54.24a 16.24 50 49.63 37.76 53.59a 14.54 75 43.26 43.49 56.21a 19.50 LSD ns ns ** ns CV (%) 11.95 16.74 8.70 28.73 NF=no flowering ns= no significantly difference

Fibrous root 47.65 42.92 45.52 37.59 ns 13.74

** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

285


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรู ปโครงสร้ างของต้ นหลังจากได้ รับการพรางแสงแตกต่างกันในระยะออกดอก พบว่า ในส่วน ของก้ านช่อดอก ต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 เปอร์ เซ็นต์ มีปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรูปโครงสร้ างมากที่สดุ มีค่า 249.10 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ในส่วนของหัว ต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25 และ 50 เปอร์ เซ็นต์ มีคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรู ป โครงสร้ างมากที่สดุ มีค่า 368.61 และ 352.06 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ นอกจากนี ้ยังพบว่า ระดับการ พรางแสงไม่มีผลต่อปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรู ปโครงสร้ า งในส่วนของช่อดอก ใบ และราก แต่ต้นที่ไม่พรางแสงไม่ออก ดอก (Table 6) Table 6 Total non structural carbohydrate of Haemanthus multiflorus under different growing shade Shading (%)

TNC (mg/g dry weight) Inflorescence Inflorescence leave bulb stalk 0 NF NF 167.86 274.72ab 25 248.55 249.10 a 177.17 368.61a 50 213.82 159.53 b 157.77 352.06a 75 229.59 148.92b 168.70 202.55b LSD ns ** ns ** CV (%) 21.15 14.08 15.49 27.63 NF=no flowering ns= no significantly difference

Fibrous root 162.58 162.50 136.77 172.31 ns 27.08

** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01

สรุ ปผล ต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสงไม่มีการออกดอก การพรางแสงทาให้ ต้นมีการเจริ ญเติบโตทางด้ านความสูง ความกว้ าง และความยาวใบมากกว่าต้ นที่ไม่ได้ รับการพรางแสง ต้ นที่ได้ รับการพรางแสง 25-50 เปอร์ เซ็นต์ มีคณ ุ ภาพดอกและการสะสม ปริมาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยูใ่ นรูปโครงสร้ างมากกว่าต้ นที่ไม่พรางแสงและต้ นที่พรางแสง 75 เปอร์ เซ็นต์

กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจยั ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ที่ให้ ทนุ สนับสนุนงานวิจยั

เอกสารอ้ างอิง จินดา ศรศรี วิจยั . 2524. สรี รวิทยาพืชภาคการเจริ ญเติบโตและการควบคุม. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 280 น. จารุฉตั ร เขนยทิพย์ . 2547. ผลของความเข้ มแสงและขนาดของหัวพันธุ์ต่อการเจริ ญเติบโตของออนิโธกาลัม . วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 103 น. สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์. 2544. สรี รวิทยาของพืช. ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพ; 237 น. สมเพียร เกษมทรัพย์. 2528. การปลูกไม้ ดอก. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ; 455 น. โสระยา ร่วมรังษี . 2544. สรี รวิทยาไม้ ดอก. โอเดียนสโตร์ , กรุงเทพฯ; 100 น. สุทธิพร มานะบารมีกลุ พัชรี คาปาต๋า และรุ่งนภา ช่างเจรจา. 2556. ผลของการพรางแสงต่อการเจริ ญเติบโต การออกดอก ปริ มาณไนโตรเจนและ คาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรูปโครงสร้ างของว่านมหาลาภ. วารสารวิจยั และส่งเสริ มวิชาการเกษตร. 30(2) 1-8 Feijo, J.A., R. Malho and G. Obermeyer. 1995. Ion Ddynamics and Its Possible Role During in vitro Pollen Germination and Tube Growth. Protoplasma; 187: 155-167. Mastalerz, J., 1983. Supplementary irradiation or dusk to dawn lighting for cropping carnation at several population densities. Acta Hort., 141:157–163 Ohyama, T., T. Ikarashi, and A. Baba. 1985. Nitrogen accumulation in the roots of tulip plants (Tulipa gesneriana) . Soil Sci. Plant Nutr. 31: 581-586. 286

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Salisbury, F.B. and C.W. Ross. 1992. Plant physiology. Wadsworth Publ, Belmont, Calif. 254-256. Shillo, R. and A. H. Halevy. 1975. Winter blindness of gladiolus : interaction of light and temperature. Proceedings of Second International Symposium on Flower Bulbs Little Hamton. P. 285-297. Smith, D. G.,M. Paulsan and C.A. Raguse. 1964. Extraction of total available carbohydrate from grass and legume tissues. Plant Physiol. 39: 960-962. Vendrame, W.A., J.F. 2004. Garofalo and A.W. Meerow. Effects of Light Duration on Flower Development in Blood lily. Proc.Fla.State.Hort.Soc. 117 : 341-345.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

287


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของอุณหภูมิกลางคืนต่ อการออกดอกและปริมาณธาตุอาหารในว่ านแสงอาทิตย์ Effect of night temperature on flowering and nutrient content in the bloodlily วันเฉลิม รู ปเขียน1 และ รุ่งนภา ช่ างเจรจา2* Wanchaleam rupkean1 and Rungnapa changjeraja2 *corresponding:changjeraja@hotmail.com

บทคัดย่ อ ผลของอุณหภูมิกลางคืนต่อการเจริ ญเติบโต และการเปลี่ยนแปลงปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตในว่านแสงอาทิตย์ ทดลอง ณ สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ระหว่างเดือน เมษายน – สิงหาคม 2557 การ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design มี 3 กรรมวิธีๆ ละ 10 ซ ้า คือให้ ต้นได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 25 และ 30 องศาเซลเซียส พบว่า ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 องศาเซลเซียส มีจานวนวันตังแต่ ้ ปลูกจนเริ่ มออกดอกใช้ เวลานานที่สดุ คือ 62.50 วัน ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 30 องศาเซลเซียส มีความยาวก้ านช่อดอก น ้าหนักสดและน ้าหนัก แห้ ง ปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรู ปโครงสร้ างในส่วนของลาต้ นใต้ ดิน ปริ มาณนา้ ตาลรี ดิวซ์ในส่วนของลาต้ น ปริ มาณ ไนโตรเจนในส่วนของช่อดอกและก้ านช่อดอก ปริมาณฟอสฟอรัสในส่วนของก้ านช่อดอก มากกว่าต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิอื่น ๆ ส่วน ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 25 องศาเซลเซียส มีปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ในส่วนของกาบใบมากที่สดุ ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 และ 25 องศาเซลเซียส มีปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ในส่วนของก้ านช่อดอกมากที่สดุ ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 องศา เซลเซียส มีปริ มาณฟอสฟอรัสในส่วนของลาต้ น กาบใบและ ช่อดอก ปริ มาณโพแทสเซียมและแมกนีเซียมในส่วนของกาบใบ มากที่สดุ ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 และ 30องศาเซลเซียส มีปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรูปโครงสร้ างและปริ มาณ น ้าตาลรี ดิวซ์ในส่วนของช่อดอกมากที่สดุ นอกจากนี ้ยังพบว่าอุณหภูมิ กลางคืน ไม่มีผลต่อความกว้ างก้ านช่อดอก น ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ งก้ านช่อดอก ช่อดอก หัว กาบใบ และราก ปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ในส่วนของหัว ปริ มาณปริ มาณไนโตรเจนใน ส่วนของลาต้ นและ กาบใบ ปริมาณโพแทสเชียมและแมกนีเซียมในส่วนของหัว ช่อดอก และก้ านช่อดอก คาสาคัญ : อุณหภูมิกลางคืน ธาตุอาหาร ว่านแสงอาทิตย์

Abstract Effect of night temperature on growth and changes in carbohydrate content in bloodlily was studied at Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, during April - September 2014. The experimental design was completely randomized design comprised of 3 treatments (20 25 and 30 ๐C) and 10 replications per treatment. The result showed that the plants grown at 20 ๐C gave greater days to flowering. The plants grown at 30 ๐C gave greater stalk length, fresh weight and dry weight of leave, total non structural carbohydrate of stem, reducing sugars of stem nitrogen content in inflorescence and stalk than those of the other treatments. The plants grown at 25 ๐C contained higher of reducing sugars of scale than the other treatments. The plants grown at 25 ๐C gave the highest of reducing sugar of inflorescence and stalk. The plants grown at 20 ๐C had the highest phosphorus of stem, scale or inflorescence and potassium or magnesium of scale. The plants grown at 20 or 30 ๐C gave greater total non structural carbohydrate and reducing sugars of inflorescence, while night temperature did not affect on stalk width, fresh weight or dry weight of stalk, inflorescence, bulb, scale or roots, reducing sugar of bulb, nitrogen or phosphorus in bulb, scale, inflorescence and stalk, potassium or magnesium in inflorescence and stalk. Keywords : night temperature, nutrient, bloodlily

บทนา 1

คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง Faculty of Agricultural Science and Technology, Rajamangala University of Technology Lanna 2 สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 2 Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna 1

288

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ว่านแสงอาทิตย์ เป็ นพันธุ์ไม้ ล้มลุกที่มีลาต้ นใต้ ดิน ลักษณะหัวว่านคล้ ายหอมหัวใหญ่ เปลือกที่ห้ มุ หัวมีสีน ้าตาลไหม้ และมีจดุ สีแดงคล ้าประทัว่ หัว ส่วนล่างของหัวมีรากออกเป็ นกระจุกหนาแน่นดูเหมือนแท่นหรื อฐานรองหัว ทาให้ ดคู ล้ ายเด็กนัง่ อยู่บนแท่นไว้ ผมจุก จึงถูกเรี ยกชื่อว่า "ว่านกุมารทอง" ลาต้ นส่วนที่โผล่ขึ ้นมาเหนือผิวดินจะมีลกั ษณะกลม สีเขียว มีจุดสีแดง คล ้าตลอดทังก้ ้ าน ใบเป็ นใบเลี ้ยงเดี่ยว ลักษณะใบรี แกมรู ปขอบขนาน ปลายใบมน โคนใบสอบเรี ยว ขอบใบเรี ยบเป็ นคลื่น เล็กน้ อย พื ้นใบเป็ นสี เขียวสด บิดตัวเป็ นคลื่นเล็กน้ อย ก้ านใบเป็ นรู ปครึ่งวงกลม หรื อหวายผ่าซีก แตกใบตรงส่วนยอดของต้ น หรื อก้ านใบ ดอกจะออกก่อนใบ เมื่อดอกโรยแล้ วใบจึงจะแทงขึ ้นจากหัวใต้ ดิน ดอกเป็ นช่อแบบช่อซี่ร่ม ลักษณะของช่อดอกกลม ช่อหนึ่งๆ ประกอบด้ วยดอกเล็กๆ หลายดอก ซึ่งแต่ละดอกมีกลีบดอกเป็ นเส้ นฝอยสีแดง ตรงปลายเป็ นสีเหลืองเล็กน้ อย ก้ าน ดอกยาวมีสีเขียว ดอกดูสวยงามมาก โดยส่วนใหญ่แล้ วดอกจะออกประมาณเดือนเมษายนถึงพฤษภาคมของทุกปี (เอกรัตน์ , 2543) อุณหภูมิมีผลต่อการเจริ ญเติบโต เนื่องจากมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาเคมีภายในและการเปลี่ยนแปลงของ อุณหภูมิอย่างกะทันหัน ส่งผลให้ พืชชะงักหรื อหยุดการเจริ ญเติบโต (ชวนพิศ, 2544) นอกจากนี ้ อุณหภูมิเป็ นปั จจัยสาคัญที่ เกี่ยวข้ องกับการเจริ ญเติบโตแล้ ว ยังเป็ นปั จจัยสาคัญต่อการออกดอก พืชหลายชนิดต้ องการอุณหภูมิต่าเพื่อการออกดอก หรื อ การกระตุ้นให้ พืชออกดอกโดยการใช้ อณ ุ หภูมิต่าประมาณ 1–7 องศาเซลเซียส เรี ยกว่า vernalization (ดนัย, 2544) และ สามารถแบ่งการตอบสนองของพืชต่ออุณหภูมิได้ เป็ นพืชที่ไม่ตอบสนองต่ออุณหภูมิในการออกดอก พืชที่ไม่ต้องการอุณหภูมิที่ เฉพาะเจาะจง แต่อณ ุ หภูมิต่าช่วยส่งเสริ มการออกดอกในหลายลักษณะ มีทงชนิ ั ้ ดที่ต้องการอุณหภูมิต่าหรื อสูงเพื่อส่งเสริ มการ ออกดอกและพืชที่ต้องการอุณหภูมิแบบสลับเพื่อส่งเสริ มการออกดอก และพืชที่ต้องการอุณหภูมิเฉพาะเจาะจงเพื่อกระตุ้นการ ออกดอก หากไม่ได้ รับอุณหภูมิดงั กล่าวจะไม่สามารถออกดอกได้ (โสระยา, 2544) ซึง่ วิทยา (2547) ได้ ทาการศึกษาการชักนา ให้ กล้ วยไม้ สกุลช้ างออกดอก ภายใต้ อณ ุ หภูมิกลางคืน 18 องศาเซลเซียส พบว่าสามารถช่วยส่งเสริ มการชักนาให้ เกิดตาดอกได้ เร็วกว่าอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ส่วนกล้ วยไม้ สกุลช้ าง พบว่าการพัฒนาของตาดอกและช่อดอก ได้ ที่อณ ุ หภูมิกลางวันและ กลางคืนแตกต่างกัน 5-8 องศาเซลเซียส ทาให้ การพัฒนาของตาดอกเกิดขึ ้นได้ อย่างสมบูรณ์ (Christensen, 2001) พืชสะสมคาร์ โบไฮเดรตในรูปของแป้ง และเคลื่อนย้ ายไปยังส่วนต่างๆ ของพืชในรูปของน ้าตาล โดยเคลื่อนจากส่วนที่สร้ างและ สะสมไปไปยังส่วนของพืชที่กาลังเจริ ญเติบโต ในช่วงการเจริ ญเติบโตทางกิ่งใบหรื อลาต้ น ส่วนของปลายยอดและรากทาหน้ าที่ รับอาหารเพื่อนาไปใช้ ในการเจริญเติบโต แต่เมื่อเข้ าสูใ่ นระยะออกดอก ใบเป็ นส่วนที่ทาหน้ าที่รับอาหารเพื่อนาไปเลี ้ยงส่วนของ ดอกซึ่งในระยะดอกบานน ้าตาลส่วนใหญ่ที่พบในกลีบดอกเป็ นน ้าตาล reducing sugar คือน ้าตาลที่สามารถทาปฏิกิริยาได้ เมื่อดอกเข้ าระยะเสื่อมสภาพปริ มาณนา้ ตาลจะลดลง ในสภาพอุณหภูมิต่า ช่วยลดอัตราการหายใจ และลดอัตราการใช้ คาร์ โบไฮเดรต รวมทังชั ้ กนาให้ เกิดการสะสมของ soluble carbohydrate ในลิลลี่ พบว่าอุณหภูมิกลางคืนที่สงู กว่า จะทาให้ พืช มีการหายใจเพิ่มขึ ้น และอาจนาไปสูก่ ารลดการสะสมอาหารในพืช และทาให้ น ้าหนักแห้ งลดลง (Zieslin and Tsujita, 1988) ใน poinsettia การเพิ่มอุณหภูมิกลางคืน ทาให้ ปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตในใบลดลง (Senecal et al., 1989) ในว่านแสงอาทิตย์ ยังขาดข้ อมูลพื ้นฐานทางด้ านนี ้ ดังนัน้ งานวิจยั นี ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิกลางคืนต่อการเจริ ญเติบโตและ การเปลี่ยนแปลงปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตในว่านแสงอาทิตย์เพื่อเป็ นงานวิจัยพื น้ ฐานในการพัฒนาพันธุ์ว่านแสงอาทิตย์เป็ น การค้ าต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ

ทดลอง ณ สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ระหว่างเดือน เมษายน – สิงหาคม 2557 โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่ม สมบูรณ์ มี ทัง้ หมด 3 กรรมวิธี ๆ ละ 10 ซ า้ (ซา้ ละ 1 หัว) คัดเลือกหัวพันธุ์ ว่า น แสงอาทิตย์หนัก 100-120 กรัม นามาปลูกในกระถางขนาด 6 นิ ้ว โดยใช้ วสั ดุปลูกประกอบด้ วย แกลบดิบ ทรายและ ขุย มะพร้ าว อัตราส่วน 1:1:1 นามาเลี ้ยงในตู้ควบคุมอุณหภูมิ (growth chamber; Conther phytotron climate simulator) ให้ ได้ รับความยาววัน 12 ชั่วโมง ความเข้ มแสง 270 µmol/m-2/s-1 ความชืน้ 70 เปอร์ เซ็นต์ โดยให้ อุณหภูมิกลางวัน 35 องศา เซลเซียสเท่ากันทุกกรรมวิธี โดยมีกรรมวิธีคือ อุณหภูมิกลางคืน 20 25 และ 30 องศาเซลเซียส บันทึกคุณภาพดอก ได้ แก่ จานวนดอกต่อช่อ ขนาดดอก ความยาวก้ านดอก เส้ นผ่านศูนย์ ก ลางก้ านดอก นา้ หนักสดและนา้ หนักแห้ งดอก ก้ านดอก คุณภาพของหัว ได้ แก่ ขนาดหัว นา้ หนักสดและนา้ หนักแห้ งหัว วิเคราะห์ปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรู ปโครงสร้ าง (ดัดแปลงตามวิธีการของ Smith et al., 1964) ปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ โดยวิธี DNS Method (Miller, 1959) ปริ มาณไนโตรเจน รวม โดยวิธี Modified Kjeldahl method (ดัดแปลงตามวิธีการของ Ohyama et al., 1985) และวิเคราะห ฟอสฟอรัส โดยวิธี Colorimetry (Ohyama et al., 1991) โพแทสเซียม และแมกนีเซียม โดยวิธี Atomic absorption spectrophotometry (Mizukoshi et al., 1994) ของดอก ก้ านช่อดอกและหัว การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

289


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง จากการศึกษาผลของอุณหภูมิต่อการเจริ ญเติบโตและการออกดอกของว่านแสงอาทิตย์ ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 องศาเซลเซียส มีจานวนวันตังแต่ ้ ปลูกจนเริ่ มออกดอกใช้ เวลานานที่สดุ คือ 62.50 วัน เช่นเดียวกับในแกลดิโอลัส ที่พบว่า อุณหภูมิที่ต่าจะชะลอการออกดอกของพืช (Cohat, 1993) ในช่วงที่พืชออกดอก พบว่า ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ทาให้ ต้นมีความยาวก้ านช่อดอก สูงกว่าต้ นที่เจริ ญเติบโตในกรรมวิธีอื่น (45.75 เซนติเมตร) อาจเนื่องมาจากอุณหภูมิมีผลต่อ การเคลื่อนย้ ายไซโตไคนิน เมื่ออุณหภูมิสงู ขึ ้นส่งผลให้ อณ ุ หภูมิรากสูงขึ ้นด้ วยการเคลื่อนย้ ายไซโตไคนินขึ ้นสูส่ ว่ นบนของยอดได้ เร็วกว่าที่อณ ุ หภูมิต่า ไซโตไคนินเป็ นฮอร์ โมนที่มีหน้ าที่กระตุ้นการแบ่งเซล เมื่อไซโตไคนินขึ ้นสูส่ ว่ นบนของยอดได้ เร็วขึ ้นจึงมีการ กระตุ้นให้ เนื ้อเยื่อบริ เวณปลายยอดทาให้ ส่วนของยอดหรื อช่อดอกมีการขยายตัวยืดยาวได้ ดีขึ ้น ทาให้ มีความยาวก้ านช่อดอก มากขึ ้นด้ วย รวมทังมี ้ การะกระตุ้นให้ เกิดการสร้ างใบมากขึ ้น จึงทาให้ มีน ้าหนักใบสูงกว่าต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิต่า (Skene and Kerridge, 1967) เช่นเดียวกับใน Cosmos atrosanguineus, เมื่อต้ นได้ รับอุณหภูมิที่สงู ขึ ้น ทาให้ ต้นมีความสูงและขนาดดอก ใหญ่ขึ ้น (Kanellos and Pearson, 2000). นอกจากนี ้ยังพบว่า อุณหภูมิไม่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตทางด้ านความกว้ างก้ านช่อ ดอก น ้าหนักสดช่อดอกและก้ านช่อดอก (Table 1) Table 1 Flower qualities of Haemanthus multiflorus under different growing night temperature at flowering Night temperature Days to Inflorescence Inflorescence Fresh weight of Fresh weight of ๐ ( C) flowering stalk length stalk width (cm) Inflorescence (g) Inflorescence (cm) stalk (g) 62.50a 20 30.80 b 2.41 28.21 39.05 52.60b 25 28.55 b 2.42 43.41 42.29 56.60ab 30 45.75 a 2.38 34.17 71.18 F-test ** ** ns ns ns CV (%) 8.96 23.55 0.83 28.34 42.10 no significantly difference ** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01 ในช่วงที่พืชออกดอก พบว่า ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ทาให้ ต้นมีน ้าหนักสดใบสูงกว่าต้ นที่เจริ ญเติบโตใน กรรมวิธีอื่น (42.26 กรัม ตามลาดับ) ซึง่ Atkin, (2006) พบว่า อุณหภูมิกลางคืนที่สงู จะเพิ่มการพัฒนาของใบ ทาให้ มีปริ มาณ น ้าหนักของใบที่มากกว่าต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิต่า อาจเนื่องมาจากอุณหภูมิกลางคืนที่สงู กระตุ้นการแบ่งเซลของใบทาให้ ใบมีการ ขยายขนาดได้ เพิ่มขึ ้น อุณหภูมิไม่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตทางด้ านน ้าหนักสดลาต้ นใต้ ดินและกาบใบ น ้าหนักสดลาต้ นใต้ ดิน น ้าหนักสดกาบใบ และน ้าหนักสดรากโดยมีค่าอยู่ในช่วง 200.44-215.09 113.45-118.72 และ 3.57-9.19 กรัม ตามลาดับ (Table 2)

290

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Fresh weight of Haemanthus multiflorus under different growing night temperature at flowering Night Fresh weight of Fresh weight of Fresh weight of Fresh weight Fresh weight of ๐ temperature ( C) leave (g) stem and scale stem (g) of scale (g) roots (g) (g) 20 5.41 b 215.09 118.72 96.36 3.57 25 7.21 b 202.04 113.45 88.59 6.39 30 42.26 a 200.44 113.47 86.96 9.16 F-test ** ns ns ns ns CV (%) 101.20 18.40 14.76 31.10 67.73 no significantly difference ** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01 ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ทาให้ ต้นมีน ้าหนักแห้ งใบสูงกว่าต้ นที่เจริ ญเติบโตในกรรมวิธีอื่น โดยมีค่า 2.30 กรัม อาจเนื่องมาจากอุณหภูมิที่ต่าจากัดการทางานทางชีวเคมีของพืชทาให้ พืชมีการเจริ ญเติบโตที่ช้าลง (Barbour et al., 1987) ซึง่ Ferraris (1986) พบว่า อุณหภูมิที่สงู ขึ ้น ทาให้ อตั ราการเกิดใบมีมากกว่าที่อณ ุ หภูมิต่า ใน Pennisetum purpureum Schum นอกจากนี ้ยังพบว่า อุณหภูมิไม่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตทางด้ าน นา้ หนักแห้ งช่อดอกและก้ านช่อดอก โดยมีค่าอยู่ ในช่วง 3.03-3.88 และ 2.25-2.88 กรัม ตามลาดับ (Table 3) Table 3 Dry weight inflorescence and leave of Haemanthus multiflorus under different growing night temperature at flowering Night temperature Dry weight of Dry weight of Inflorescence Dry weight of leave (g) ๐ ( C) Inflorescence (g) stalk (g) 20 3.03 2.25 0.62 b 25 3.88 2.37 0.85 b 30 3.83 2.88 2.30 a F-test ns ns ** CV (%) 20.49 29.96 43.58 no significantly difference ** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01 อุณหภูมิไม่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตทางด้ านน ้าหนักแห้ งลาต้ นใต้ ดินและกาบใบ น ้าหนักแห้ งลาต้ นใต้ ดิน น ้าหนักแห้ ง กาบใบ และน ้าหนักสดราก โดยมีค่าอยู่ในช่วง 49.91-64.63 22.26-28.35 และ 0.17-0.48 กรัม ตามลาดับ แต่ต้นที่ได้ รับ อุณหภูมิต่า มีแนวโน้ มให้ ปริ มาณน ้าหนักแห้ งในส่วนสะสมอาหารหรื อส่วนที่ อยู่ใต้ ดินสูงกว่าต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิสงู สอดคล้ อง กับงานวิจยั ของ Hongpakdee และ Ruamrungsri, (2014) อุณหภูมิกลางคืนที่ต่ากว่าจะเพิ่มปริ มาณน ้าหนักแห้ งในส่วนของ หัวของปทุมมา (Table 4)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

291


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 4 Dry weight bulb of Haemanthus multiflorus under different growing night temperature at flowering Night temperature Dry weight of stem Dry weight of Dry weight of Dry weight of roots (g) (๐C) and scale (g) stem (g) scale (g) 20 64.63 28.35 2.25 0.17 25 61.30 26.66 2.88 0.32 30 49.91 22.26 2.37 0.48 F-test ns ns ns ns CV (%) 23.89 22.08 42.60 65.15 no significantly difference ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 30 องศาเซลเซียส มีปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรูปโครงสร้ างในส่วนของลาต้ นใต้ ดิน มากที่สดุ โดยมีค่า 316.62 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ซึง่ Ueno and Smith, (1970) พบว่า ปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ ไม่อยู่ในรู ปโครงสร้ างในรากของต้ น alfalfa มีการสะสมเมื่อเจริ ญเติบโตในสภาพอุณหภูมิสูงมากกว่าเมื่อเจริ ญในสภาพ อุณหภูมิต่า ส่วนต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 องศาเซลเซียส มีปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรูปโครงสร้ างในส่วนของ กาบใบ และ ก้ านช่อดอกมากที่สดุ โดยมีค่า 236.93 และ 211.75 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ นอกจากนี ้ยัง พบว่า ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 และ 30 องศาเซลเซียส มีปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรูปโครงสร้ างในส่วนของช่อ ดอกมากที่สดุ โดยมีคา่ 137.44 และ 270.53 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ (Table 5) Table 5 Total non structural carbohydrate of Haemanthus multiflorus under different growing night temperature at flowering Night temperature (๐C) Total non structural carbohydrate (mg/g dry weight) stem Scale Inflorescence Inflorescence stalk 165.21b 236.93a 137.44a 211.75a 20 145.35c 135.58c 161.69b 147.16b 25 316.62a 169.94b 270.53a 154.39b 30 F-test ** ** ** ** CV (%) 3.81 11.99 7.42 11.47 no significantly difference ** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01 ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 30 องศาเซลเซียส มีปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ในส่วนของลาต้ นมากที่สดุ มีค่าเท่ากับ 33.191 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 25 องศาเซลเซียส มีปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ในส่วนของ กาบใบมากที่สดุ มีคา่ เท่ากับ 33.534 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 และ 30 องศาเซลเซียส มีปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ในส่วนของช่อดอก มากที่สดุ โดยมีค่า 166.130 และ 179.060 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ ในส่วนก้ านช่อดอก ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 และ 25 องศาเซลเซียส มีปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์มากที่สดุ โดยมี ค่า 141.430 และ 141.790 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ (Table 6) ซึง่ Khayat and Zieslin, (1989) รายงานว่า อุณหภูมิกลางคืนที่ต่า จะส่งเสริ มการเคลื่อนย้ ายของคาร์ บอนไปยังส่วนฐานหรื อส่วนของลาต้ น จึ ง ทาให้ ปริมาณน ้าตาลรี ดิวซ์ในส่วนของกลีบดอกหรื อช่อดอกลดลง

292

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 6 Reducing sugar of Haemanthus multiflorus under different growing night temperature at flowering Night temperature (๐C) stem 26.065b 27.676ab 33.191a ns 16.35

Reducing sugar (mg/g dry weight) Scale Inflorescence Inflorescence stalk 27.608b 166.130a 141.430a 33.534a 121.360b 141.790a 18.238c 179.060a 73.680b ** ** ** 7.07 8.78 5.91

20 25 30 F-test CV (%) no significantly difference ** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01

ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 30 องศาเซลเซียส มีปริมาณไนโตรเจนในส่วนของช่อดอกและก้ านช่อดอกมากที่สดุ โดย มีค่า 30.698 และ 73.750 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืนแตกต่างกัน ไม่มีผลต่อ ปริ มาณไนโตรเจนในส่วนของลาต้ นและ กาบใบ โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 17.254-18.583 และ 17.959-20.098 มิลลิกรัมต่อกรัม ของน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ (Table 7) Table 7 Nitrogen of Haemanthus multiflorus under different growing night temperature at flowering Night temperature (๐C) stem 18.397 17.254 18.583 ns 7.91

Nitrogen (mg/g dry weight) Scale Inflorescence 20.098 28.901ab 17.959 26.931b 19.265 30.698a ns ** 6.51 5.78

Inflorescence stalk 36.639b 42.251b 73.750a ** 15.69

20 25 30 F-test CV (%) no significantly difference ** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01

ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 องศาเซลเซียส มีปริ มาณฟอสฟอรัสในส่วนของลาต้ น กาบใบและ ช่อดอกมากที่สดุ มีค่าเท่ากับ 23.179 22.899 และ 74.395 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ ส่วนต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 30 องศาเซลเซียส มีปริ มาณฟอสฟอรัสในส่วนของก้ านช่อดอกมากที่สดุ มีค่าเท่ากับ 50.977 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง (Table 6)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

293


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 8 Phosphorus of Haemanthus multiflorus under different growing night temperature at flowering Night temperature (๐C) stem 23.179a 18.699b 20.232ab ** 8.97

Phosphorus (mg/g dry weight) Scale Inflorescence Inflorescence stalk 22.899a 74.395a 42.872b 18.342b 58.286b 33.177c 18.388b 60.763b 50.977a ** ** ** 11.05 7.52 5.71

20 25 30 F-test CV (%) no significantly difference ** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01

ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 องศาเซลเซียส มีปริ มาณโพแทสเซียมในส่วนของกาบใบมากที่สดุ มีค่าเท่ากับ 34.409 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืนแตกต่างกัน ไม่มีผลต่อปริมาณโพแทสเชียมในส่วนของหัว ช่อดอก และก้ านช่อดอก โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 27.446 - 34.955 39.289 - 45.169 และ 29.911 - 44.716 มิลลิกรัมต่อกรัมของ น ้าหนักแห้ ง (Table 9) Table 9 Potassium of Haemanthus multiflorus under different growing night temperature at flowering Night temperature (๐C) stem 28.198 27.446 34.955 ns 15.89

Potassium (mg/g dry weight) Scale Inflorescence 34.409a 40.385 26.012b 39.289 23.264b 45.169 * ns 15.79 14.55

Inflorescence stalk 44.716 33.300 29.911 ns 26.09

20 25 30 F-test CV (%) no significantly difference ** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01

ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 20 องศาเซลเซียส มีปริ มาณแมกนีเซียมในส่วนของกาบใบมากที่สดุ มีค่าเท่ากับ 1.7368 มิลลิกรัมต่อกรัมของน ้าหนักแห้ ง ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืนแตกต่างกัน ไม่มีผลต่อปริ มาณแมกนีเชียมในส่วนของหัว ช่อดอก และก้ านช่อดอก โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 1.1984 - 1.4790 2.4831 - 2.8726 และ 2.1740 - 3.0016 มิลลิกรัมต่อกรัมของ น ้าหนักแห้ ง (Table 10)

294

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 10 Magnesium of Haemanthus multiflorus under different growing night temperature at flowering Night temperature (๐C) stem 1.4790 1.1984 1.3756 ns 22.03

Scale 1.7368a 1.3419b 1.3300b * 15.04

Mg (mg/g dry weight) Inflorescence 2.8726 2.5800 2.4831 ns 19.08

Inflorescence stalk 3.0016 2.1740 2.4598 ns 15.16

20 25 30 F-test CV (%) no significantly difference ** Values within the same columns followed by different letters were significantly difference at P<0.01

สรุ ปผล

ต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิกลางคืน 30 องศาเซลเซียส ทาให้ พืชออกดอกเร็วกว่าต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิต่า และมีความยาวก้ าน ช่อดอก น ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ ง ปริ มาณคาร์ โบไฮเดรตที่ไม่อยู่ในรูปโครงสร้ างในส่วนของลาต้ นใต้ ดิน ปริ มาณน ้าตาลรี ดิวซ์ ในส่วนของลาต้ น ปริ มาณไนโตรเจนในส่วนของช่อดอกและก้ านช่อดอก ปริ มาณฟอสฟอรัสในส่วนของก้ านช่อดอกมากที่สดุ ส่วนต้ นที่ได้ รับอุณหภูมิต่ามีแนวโน้ มในการพัฒนาทางด้ านส่วนหัวของดอกเพิ่มขึ ้น

กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจยั ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ที่ให้ ทนุ สนับสนุนงานวิจยั

เอกสารอ้ างอิง ชวนพิศ แดงสวัสดิ์. 2544. สรี รวิทยาของพืช. ธนธัชการพิมพ์. กรุงเทพฯ. 380 น. ดนัย บุณยเกียรติ. 2544. สรี รวิทยาของพืช. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 230 น. วิทยา ทีโสดา. 2547. ผลของความยาววันและอุณหภูมิกลางคืนที่มีผลต่อการเกิดดอกของกล้ วยไม้ ช้าง. ปั ญหาพิเศษวิทยาศาสตรบัณฑิต, ภาควิชา พืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ , เชียงใหม่. 27 น. โสระยา ร่วมรังษี . 2544. สรี รวิทยาไม้ ดอก. โอเดียนสโตร์ , กรุงเทพฯ; 100 น. เอกรัตน์ สามัตถยะ. 2543. การเจริ ญเติบโตว่านแสงอาทิตย์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์ ) สาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 77 หน้ า. Atkin, O. K., I. Scheurwater, and T. Pons. 2006. High thermal acclimation potential of both photosynthesis and respiration in two lowland Plantago species in contrast to an alpine congeneric. Global Change Biology. 12 (3), pp. 500–515. Chohat. J. 1993. Gladiolus, pp. 297-320, In: A.A. DeHerteger and M. LeNard (eds.). The physiology og flower bulbs. Elsevier Science Oublishers, Amsterdam. Christensen, E. A. 2001. Phalaenopsis : a Monograph. Timber Press, Oregon. 330 p. Hongpakdee, P. S. Ruamrungsri. 2014. Carbohydrate content and some growth of Curcuma alismatifolia in response to low night temperature treatment. ISHS Acta Horticulturae 1025: International Symposium on Orchids and Ornamental Plants. Ferraris, R., M. J. Mathony and J. T. Wood.1986. Effect of temperature and solar radiation on the development of dry matter and attributes of elephant grass (Pennisetum purpureum Schum.). Aust. J.Agric. Res. 37, 621-632. Kanellos, E. A. G. and S. Pearson. 2000. Environmental regulation of flowering and growth of Cosmos atrosanguineus (Hook.) Voss. Sci. Hort. 83: 265-274. Khayat, E. and N. Zieslin. 1989. Translocation of 14C, carbohydrate content and activity of the enzymes of sucrose metabolism in rose petals at different night temperatures. Physiol. Plant. 76:581–585. Miller, G., 1959. Use of dinitrisalicylic acid reagent for determination of reducing sugars. Analytical Chemistry 31, 426-429. Mizukoshi, K., T. Nishiwaki, N. Otake, R. Minagawa, K. Kobayashi, T. Ikarashi and T. Oyahama. 1994. Determination of tungstate concentration in plant materials by HNO3-HCLO4 digestion and colorimetric method using thiocyanate. Bull.Fac.Agric., Niigata Univ., 46 : 51-56. Ohyama, T., T. Ikarashi, and A. Baba. 1985. Nitrogen accumulation in the roots of tulip plants (Tulipa gesneriana) . Soil Sci. Plant Nutr. 31: 581-586. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

295


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Ohyama, T., M. Ito, K. Kobayashi, S. Araki, S. Yasuyoshi, O. Sasaki, T. Yamazaki, K. Sayoma, R. Tamemura, Y. Izuno and T. Ikarashi. 1991. Analytical procedures of N, P, K content in plant and manure materials using H2SO4 - H2O2 Kjeldahl digestion Method. Bull. Fac. Agri., Niigata Univ. 43 : 111 - 120. Smith, D. G.,M. Paulsan and C.A. Raguse. 1964. Extraction of total available carbohydrate from grass and legume tissues. Plant Physiol. 39: 960-962. Senecal, M.B. Dansereau, and R. Paquin. 1989. Fertilization and night temperature effects on growth and carbohydrate status of poinsettia. Can. J. Plant Sci. 69:347-349. Skene, K.G.M. and G.H. Kerridge 1967. Effect of root temperature on cytokinin activity in root exudate of Vitis vinifera L. P1. Physiol. 42, 1131–9. Ueno, M. and D. Smith. 1970. Influence of temperature on seedling growth and carbohydrate composition of three alfalfa cultivars. Crop Sci. 62:764-767. Zieslin, N. and M.J. Tsujita. 1988. Regulation of stem elongation of lilies by temperature and the effect of gibberellin.

296

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การกระตุ้นความงอกด้ วยแคลเซียมซิลิเกตต่ อคุณภาพและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ผักกาดหอม (Lettuca sativa) Seed priming with calcium silicates on seed quality and seed storage of lettuce (Lettuca sativa) สุวรัตน์ กรรมการ1, พรไพรินทร์ รุ่ งเจริญทอง1*, ศุภชัย อาคา2 และธงชัย มาลา2 Suwarat Kammakarn1, Pornpairin Rungcharoenthong1 ,Suphachai Amkha2 and Thongchai Mala2

บทคัดย่ อ กระตุ้นความงอกด้ วยแคลเซียมซิลิเกตต่อคุณภาพและการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอม วางแผนการทดลองแบบ สุม่ ตลอด (CRD) จานวน 6 ชุดการทดลอง 4 ซ ้า ดังนี ้ ไม่มีการกระตุ้นความงอกและกระตุ้นความงอกด้ วยแคลเซียมซิลิเกตที่ ความเข้ มข้ น 0, 1, 2, 4 และ 8 กรัม/ลิตร โดยนาเมล็ดผักกาดหอมปริ มาณ 5 กรัม แช่ในสารละลายแคลเซียมซิลิเกต และให้ อากาศ ที่อณ ุ หภูมิห้องเป็ นเวลา 5 ชัว่ โมง จากนันน ้ าเมล็ดมาบ่มที่ความชื ้นสัมพัทธ์ 100 % เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ผึง่ ให้ แห้ ง และ เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ในโหลดูดความชื ้นที่อณ ุ หภูมิห้องเป็ นเวลา 0, 1 และ 3 เดือน แล้ วนาเมล็ดไปทดสอบคุณภาพโดยทาการ บันทึกข้ อมูล ระยะเวลาในการเกิดราก ดัชนีการงอก และค่าความงอกมาตรฐาน พบว่าเมล็ดพันธุ์ที่ถกู กระตุ้นความงอกโดยไม่ เก็บรักษา มีการงอกรากเร็ วกว่าเมล็ดที่ไม่ได้ ผ่านการกระตุ้นความงอก รวมถึงมีค่าดัชนีการงอก และค่าความงอกมาตรฐาน เพิ่มขึ ้นโดยที่การกระตุ้นความงอกด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกตที่ 8 กรัม/ลิตร ให้ ค่าระยะเวลาในการเกิดรากเร็ว ค่าดัชนีการ งอก และค่าความงอกมาตรฐานสูงกว่าชุดทดลองอื่น เมื่อพิจารณาการเก็บรักษาไว้ เป็ นระยะเวลา 1 และ 3 เดือน พบว่าการ กระตุ้นความงอกด้ วยแคลเซียมซิลิเกตในอัตรา 4 กรัม/ลิตร ช่วยส่งเสริ มให้ เมล็ดพันธุ์มีการเกิดรากเร็ว ดัชนีการงอก และความ งอกมาตรฐานสูงกว่าการใช้ แคลเซียมซิลิเกตในอัตราที่สงู หรื อต่ากว่านี ้ ซึง่ มีแนวโน้ มทาให้ คุณภาพเมล็ดผักกาดหอมลดลง คาสาคัญ : แคลเซียมซิลิเกต ผักกาดหอม การกระตุ้นความงอก

Abstract Seed priming with calcium silicate (Ca2SiO4) on seed quality and seed storage of lettuce. Experimental design was CRD with 6 treatments 4 replication, non-priming, priming with Ca2SiO4 at 0,1,2,4 and 8 g/l. Seeds (5 g) were priming into Ca2SiO4 for 5 hr. at room temperature. Then, prime seed were incubated in chamber 100% RH for 1 hr. Prime seeds were dry. After that prime seeds were storage for 0, 1 and 3 months. Seeds quality was investigated replace with for day to emergence (DTE), germination index (GI) and germination percentage (GP). The results showed that primed seeds induced DTE earlier than that non-prime seed. Also, prime seed promoted GI and GP was higher than non-prime. Seeds primed with Ca2SiO4 8 g/l at 0 month had early DTE, and high GI and GP than the other treatment. After storage for 1 and 3 month the results showed that seeds primed with Ca2SiO4 at 4 g/l had DTE, GI and GP higher than the other rate of Ca2SiO4. At the higher or lower rate of Ca2SiO4 seem tobe decreases in the quality of lettuce. Keywords : calcium silicate, lettuce, seed priming

1

หลักสูตรวิทยาการพืช ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 1 Plant Science, Department of Science, Faculty of Liberal Arts and Science, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus Nakorn pathom 73140 2 ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 2 Department of Soil Science, Faculty of Agricuiture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus Nakorn pathom 73140 * Corresponding authors: faasprr@ku.ac.th การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

297


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

บทนา ผักกาดหอมเป็ นผักที่มีการบริ โภคอย่างแพร่ หลาย ใช้ ระยะเวลาในการปลูกประมาณ 35-45 วันก็สามารถเก็บเกี่ยว ผลผลิตได้ แต่มีปัญหาเกี่ยวกับความสม่าเสมอของต้ นกล้ า เนื่องจากผักกาดหอมเป็ นเมล็ดที่มีขนาดเล็ก มีการเสื่อมคุณภาพ ของเมล็ดง่าย มีผลทาให้ การงอกและการเจริ ญเติบโตไม่สม่าเสมอ นอกจากนันปั ้ จจัยแวดล้ อมภายนอกอาจมีผลต่อปริ มาณ การงอกของเมล็ดเช่นกัน ดังนันจึ ้ งต้ องการเพิ่มคุณภาพของเมล็ดด้ วยวิธี seed priming ซึ่งมีการศึกษาก่อนหน้ านี ้ โดยการ priming เมล็ดข้ าวโพดด้ วยธาตุสงั กะสี มีผลทาให้ ต้นกล้ ามีความสูงมากกว่า non priming และการ priming ด้ วยสังกะสี 1% มีผลให้ น ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งส่วนเหนือดินสูงที่สดุ อีกทังการ ้ priming ด้ วยสังกะสี 0.3 % เป็ นเวลา 10 ชัว่ โมง และ 0.1 % ในข้ าวสาลีพบว่าสามารถเพิ่มผลผลิตได้ 17.05 และ 34.87 % เมื่อเปรี ยบเทียบกับ non priming และยังพบว่าการ priming ด้ วยสังกะสี 0.05 % เป็ นเวลา 10 ชัว่ โมง สามารถเพิ่มผลผลิต 36 % เมื่อเปรี ยบเทียบกับ non priming (Harris et al., 2007 and Harris et al., 2008) นอกจากนีย้ งั มีการศึกษาการ priming เมล็ดแตงโมโดยใช้ สารเคมีที่แตกต่างกัน ดังนี ้ KNO3, Ca(NO3)2, KH4 NO3 และ K3 PO4 ที่ระดับความเข้ มข้ น 100, 200 และ 300 mM พบว่าการ priming ของเมล็ดแตงโมโดยใช้ KNO3 200 mM ทาให้ เมล็ดแตงโมมีอตั ราการงอกและเปอร์ เซ็นต์ความงอกสูงที่สดุ (Kang et al.,1996) นอกจากนันการ ้ priming ด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกต ที่ความเข้ มข้ น 2 กรัมต่อลิตร ส่งผลต่อความงอกและคุณภาพของเมล็ดพันธุ์พริ ก หวานสูงที่สดุ (กุลินดา, 2558) ซึง่ แคลเซียมซิลิเกตมีองค์ประกอบทัง้ ซิลิคอน และแคลเซียม และยังพบว่าแคลเซียมเป็ นธาตุที่ มีความสาคัญต่อการเสื่อมสภาพของเซลล์ (cell integrity) เนื ้อเยื่อพืชเมื่อขาดธาตุแคลเซียมรุนแรง โครงสร้ างของเยื่อจะเสื่อม สลาย มีสารต่างๆ ที่มีขนาดโมเลกุลเล็กรั่วไหลออกมาจากเซลล์ และเซลล์ก็ไม่อาจจัดแบ่งสารต่างๆ ไว้ เป็ นสัดส่วนได้ อย่าง เหมาะสม (Hirschi, 2004; Pilbeam and Morley, 2006) จึงอาจส่งผลให้ คณ ุ ภาพเมล็ดพันธุ์ลดลง รวมทังแคลเซี ้ ยมมีบทบาท สาคัญในการเคลื่อนย้ ายแป้งจากแหล่งสะสมไปยังส่วนอื่นของพืช นอกจากนี ้ยังช่วยย่อยแป้งในเอนโดสเปิ ร์ม และใบเลี ้ยงของ เมล็ดให้ มีโมเลกุลเล็กลงสาหรับใช้ ในกระบวนการงอกของเมล็ด (Hanson, 1984) ซิลิคอน เป็ น beneficent element พบอยู่ใน แหล่งน ้าและดิน แต่สว่ นใหญ่อยูใ่ นรูปที่ไม่เป็ นประโยชน์ รวมทังในการปลู ้ กพืชมีปริ มาณซิลิคอนสูญเสียไปกับพืชในทุกๆ ครัง้ ที่ มีการเก็บเกี่ยว ทาให้ ปริมาณซิลคิ อนที่เป็ นประโยชน์ลดลง ซึง่ อาจมีผลต่อการผลิตพืช นอกจากนันยั ้ งพบว่าซิลิคอนมีประโยชน์ ต่อพืชหลายประการ เช่น ส่งเสริ มการเจริ ญเติบโต ปกป้องพืชจากสภาพแวดล้ อมที่ไม่เหมาะสม (Synder et al., 2007) ป้องกันความเป็ นพิษจากอะลูมิเนียม แมงกานีส เหล็กและแคดเมียม (ยงยุทธ, 2552) และยังสามารถช่วยให้ พืชดูดซึมธาตุ อาหารพืชเพื่อใช้ ในการเจริ ญเติบโต จากเหตุผลดังกล่าวจึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการทา priming ด้ วยแคลเซียมซิลิ เกตต่อการเก็บรักษา และคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอม

อุปกรณ์ และวิธีการ 1. ศึกษาอัตราแคลเซียมซิลิเกตที่เหมาะสมในการ priming ของเมล็ดพันธุ์ผักกาดหอม เมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอมพันธุ์ แกรนด์ แรพปิ ดส์ มาทา priming ด้ วย สารละลายแคลเซียมซิลิเกต โดยวางแผนการ ทดลองแบบสุม่ ตลอด (completely randomized design, CRD) จานวน 6 ชุดการทดลอง จานวน 4 ซ ้า โดยกาหนดให้ การ priming แต่ละตารับการทดลองมีความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิเกต ดังนี ้ 0, 1, 2, 4, 8 กรัม/ลิตร และ non-priming โดยนาเมล็ดผักกาดหอม 5 กรัม แช่ในสารละลายแคลเซียมซิลิเกตที่ความเข้ มข้ นต่างๆ เป็ นเวลา 5 ชัว่ โมง แล้ วบ่มที่ความชื ้น สัมพัทธ์ 100 % เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง หลังจากนันน ้ าเมล็ดที่ผ่านการ priming แล้ ว มาลดความชื ้นโดยนาไปผึง่ ให้ แห้ งเป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง แล้ วนาไปทดสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ โดยบันทึกข้ อมูล ค่าระยะเวลาในการเกิดราก ค่าดัชนีการงอก เปอร์ เซ็นต์ ความงอก และค่าความงอกมาตรฐาน โดยการตรวจสอบความงอกของเมล็ดผักกาดหอมด้ วยวิธี top of paper ด้ วยวิธีการของ ISTA (2013) ในสภาพห้ องปฏิบตั ิการ 2. คุณภาพเมล็ดพันธุ์ผักกาดหอมที่ผ่านการ priming ในการเก็บรั กษา นาเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอมที่ผ่านการ priming และที่ลดความชื ้นเรี ยบร้ อยแล้ ว เก็บเมล็ดใส่ถงุ พลาสติกที่ปิดสนิทแล้ ว นาไปเก็บรักษาไว้ ในโถดูดความชื ้น ที่อณ ุ หภูมิห้อง เพื่อทดสอบคุณภาพของเมล็ดผักกาดหอมที่อายุ 1 และ 3 เดือนหลังการ เก็บรั กษา โดยทาการบันทึกข้ อมูล ค่าระยะเวลาในการเกิดราก ค่าดัชนี การงอก เปอร์ เซ็น ต์ ความงอก และค่าความงอก มาตรฐานด้ วยวิธี top of paper ในสภาพห้ องปฏิบตั ิการ 3. การบันทึกผลการทดลอง ทาการบันทึกผลการทดลองทุกวัน เป็ นเวลา 7 วัน เมื่อเมล็ดมีการเกิดรากและมีการงอกเป็ นต้ นกล้ าปกติ 298

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

1. คานวณหาค่าระยะเวลาในการเกิดราก (Day to emergence, DTE; Dhillon, 1995) โดยทาการนับเมล็ดที่ สามารถเห็นรากในแต่ละวัน ที่ความยาวรากประมาณ 2-3 มิลลิเมตร. แล้ วนามาคานวณจากสูตร DTE = Σ (NxD) T เมื่อ T = จานวนเมล็ดทังหมดที ้ ่มีการแทง radical ออกมา N = จานวนเมล็ดทังหมดที ้ ่มีการแทง radical ในวันที่ D D = จานวนวันหลังเพาะเมล็ด 2. คานวณหาค่าเปอร์ เซ็นต์การเกิดราก (emergence percentage, EP) โดยทาการนับเมล็ดที่สามารถเห็นรากทุกๆ วัน แล้ วนามาคานวณจากสูตร เปอร์ เซ็นต์การเกิดราก (%) = จานวนเมล็ดทังหมดที ้ ่มีการแทง radical ออกมา x 100 จานวนเมล็ดทังหมด ้ 3. คานวณหาค่าดัชนีการงอก (Germination Index, GI; ISTA, 2013) โดยนับต้ นกล้ าปกติทกุ วันจนครบ 7 วัน โดยที่ ต้ นกล้ าปกติที่เราทาการประเมินนันจะต้ ้ องเป็ นต้ นกล้ าที่มีระบบยอดและรากสมบูรณ์ แล้ วนามาคานวณจากสูตร ดัชนีการงอก (GI) = Σ จานวนต้ นกล้ าปกติที่งอก จานวนวันหลังการเพาะ 4. คานวณหาค่าความงอกมาตรฐาน (Germination percentage, GP; ISTA, 2013) โดยนับต้ นกล้ าปกติประเมิน ความงอกครัง้ แรก (first count) เมื่ออายุ 4 วัน และประเมินความงอกครัง้ สุดท้ าย (final count) เมื่ออายุ 7 วัน แล้ วนามา คานวณจากสูตร ความงอกมาตรฐาน (%) = จานวนต้ นกล้ าปกติ x 100 จานวนเมล็ดทังหมด ้ 4. การวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ และเปรี ยบเทียบความแตกต่างของข้ อมูลตามวิธีการของ Duncan’s new multiple range tests โดยโปรแกรม R

ผลและวิจารณ์ 1. ศึกษาอัตราแคลเซียมซิลิเกตที่เหมาะสมในการ priming ของเมล็ดพันธุ์ผักกาดหอม จากการศึกษาคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอมที่ผ่านการ priming ด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกต โดยการแช่ เมล็ดเป็ นเวลา 5 ชัว่ โมง มีผลให้ ค่าระยะเวลาในการเกิดราก มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ (Table 1) เมื่อ เปรี ยบเทียบกับตารับ non priming กล่าวคือ เมล็ดพันธุ์ที่ผ่านการ priming สามารถงอกรากได้ เร็วกว่าเมล็ด non priming โดยที่ความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิเกต 4 กรัม/ลิตร มีค่าระยะเวลาในการเกิดรากเร็วที่สดุ มีค่าเท่ากับ 1.10 วัน แต่ อย่างไรก็ตามพบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบกับทุกตารับการทดลองที่มีการ priming ในขณะที่ตารับ non priming ใช้ เวลาในการเกิดรากมากที่สดุ โดยมีค่าเท่ากับ 1.60 วัน สาหรับค่าดัชนีการงอกนันพบว่ ้ าการ priming เมล็ด พันธุ์ด้วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกต มีผลให้ ค่าดัชนีการงอกมีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ (Table 1) เมื่อ เปรี ยบเทียบกับตารับ non priming กล่าวคือ non priming มีค่าดัชนีการงอกน้ อยที่สดุ คือ 11.28 และที่ระดับความเข้ มข้ น ของสารละลายแคลเซียมซิลิเกต 8 กรัม/ลิตร ให้ ค่าดัชนีการงอกของเมล็ดพันธุ์สงู ที่สดุ คือ 15.58 ส่วนค่าความงอกมาตรฐาน พบว่าการ priming ของเมล็ดพันธุ์ด้วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกต มีผลให้ ค่าความงอกมาตรฐานมีความแตกต่างอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ (Table 1) กล่าวคือ ที่ความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิเกต 4 และ 8 กรัม/ลิตร มีค่าความงอก มาตรฐานสูงที่สดุ โดยมีคา่ เท่ากับ 96.5% และ non priming มีคา่ ความงอกมาตรฐานน้ อยที่สดุ คือ 90.5% จากผลการทดลอง การ priming ของเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอมด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกต จึงเลือกใช้ ความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิ เกตที่ระดับความเข้ มข้ น 4 กรัม/ลิตร เนื่องจากส่งเสริมให้ เมล็ดมีคา่ ระยะเวลาในการเกิดรากเร็วที่สดุ และค่าดัชนีการงอกกับค่า ความงอกมาตรฐานของเมล็ดพันธุ์สูง เมื่อเปรี ยบเทียบกับ ความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิเกตที่ 8 กรัม/ลิตร แต่ สามารถลดต้ นทุนในการเตรี ยมต้ นกล้ าผักกาดหอมได้

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

299


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Seed primed with Ca2SiO4 on seed quality of lettuce. Treatments Non priming Priming with water Priming with Ca2SiO4 1 g/l Priming with Ca2SiO4 2 g/l Priming with Ca2SiO4 4 g/l Priming with Ca2SiO4 8 g/l F-test CV (%)

DTE (day) 1.60b 1.23a 1.19a 1.19a 1.10a 1.23a ** 12.37

EP (%) 96.50 97.00 99.00 98.00 99.00 99.50 ns 1.93

GI 11.28c 12.80b 13.41b 13.09b 15.17a 15.58a ** 5.82

GP (%) 90.50b 92.00ab 94.00ab 93.00ab 96.50a 96.50a * 3.53

Mean followed by the same letter are not statistically different from each other according to DMRT. ns = non significant, * = Significant at 0.05 probability, ** = Significant at 0.01 probability 2. ศึกษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์ท่ ีผ่านการ priming ในการเก็บรั กษา จากการศึกษาคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอมที่ผ่านการ priming ด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกต แล้ วนาเมล็ด พันธุ์มาเก็บรักษาเป็ นระยะเวลา 1 และ 3 เดือน ที่อณ ุ หภูมิห้อง พบว่าค่าระยะเวลาในการเกิดรากของเมล็ดพันธุ์ ผกั กาดหอม มี ค่าสูงขึ ้นในเดือนที่ 1 และลดลงในเดือนที่ 3 ในทุกตารับการทดลอง โดยพบว่าเมล็ดที่ทา priming มีค่าระยะเวลาในการเกิด ราก มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบกับตารับ non priming (Table 2) กล่าวคือ การ priming ด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกต 4 กรัม/ลิตร มีค่าระยะเวลาในการเกิดรากเร็วที่สดุ โดยมีค่าเท่ากับ 1.15 วัน (เดือนที่ 1) และ 1.06 วัน (เดือนที่ 3) แต่อย่างไรก็ตามเมื่อเปรี ยบเทียบกับตารับที่มีการ priming ด้ วยกัน พบว่าไม่มีความแตกต่างทางสถิติ และเมล็ด non priming มีค่าระยะเวลาการเกิดรากช้ าที่สดุ คือ 1.98 และ 3.04 วัน ตามลาดับ และเมื่อพิจารณาถึงเปอร์ เซ็นต์ การเกิดราก พบว่าการทา priming และ non priming ไม่มีความแตกต่างทางสถิติเมื่อเก็บรักษาเมล็ดไว้ เป็ นระยะเวลา 1 และ 3 เดือน ส่วนค่าดัชนีการงอก ที่ใช้ ในการประเมินความแข็งแรงของเมล็ด พบว่าเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอมที่ผ่านการ priming ด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกต แล้ วนาเมล็ดพันธุ์มาเก็บรักษาเป็ นระยะเวลา 1 และ 3 เดือน มีผลให้ ค่าดัชนีการงอก มีความ แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ (Table 2) โดยใช้ สารละลายแคลเซียมซิลิเกต 4 กรัม/ลิตร มีค่าดัชนีการงอกสูงที่สดุ ใน เดือนที่ 1 และ 3 เท่ากับ 15.11 และ 15.20 ตามลาดับ และเมล็ด non priming มีค่าดัชนีการงอกต่าที่สดุ ในเดือนที่ 1 และ 3 คือ 13.26 และ 7.46 ตามลาดับ ค่าความงอกมาตรฐาน พบว่าเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอมที่ผ่านการ priming ด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกต แล้ วนา เมล็ดพันธุ์มาเก็บรักษาเป็ นระยะเวลา 1 และ 3 เดือน พบว่าการทา priming ไม่มีผลต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์ที่เก็บรักษาไว้ เป็ นระยะเวลา 1 เดือน (Table 2) แต่เมื่อเก็บรักษาไว้ เป็ นระยะเวลา 3 เดือน พบว่าเมล็ดที่ผ่านการ priming จะมีค่าความงอก มาตรฐานสูงกว่า non priming โดยความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิเกต 4 กรัม/ลิตร มีค่าความงอกมาตรฐานสูงที่สดุ คือ 93.5% แต่ไม่แตกต่างกันเมื่อเปรี ยบเทียบกับตารับการทดลองอื่นๆ ที่ทา priming ส่วนตารับที่ non priming มีค่าความงอก มาตรฐานต่าสุด โดยมีค่าเท่ากับ 57.0% ซึ่งมีแนวโน้ มว่าเมื่อเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ไว้ เป็ นระยะเวลา 3 เดือน ค่าความงอก มาตรฐานจะลดลง เมื่อเปรี ยบเทียบกับเมล็ดพันธุ์ที่เก็บรักษาไว้ เป็ นระยะเวลา 1 เดือน ขณะที่เมล็ด non priming ก็มีคณ ุ ภาพ ลดลงมากกว่าเมล็ดที่ทา priming แสดงให้ เห็นว่าการทา priming ด้ วยแคลเซียมซิลิเกตน่าจะมีผลทาให้ การเสื่อ มสภาพของ เมล็ดเกิดได้ ช้าลง อย่างไรก็ตาม เมื่อเปรี ยบเทียบเมล็ดพันธุ์ที่ผ่านการ priming ด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกตกับตารับ non priming พบว่าคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ในตารับ non priming มีคณ ุ ภาพของเมล็ดพันธุ์ต่ากว่า เนื่องจากเมล็ดที่ผ่านการ priming ด้ วย สารละลายแคลเซียมซิลิเกตมีการดูดสารละลายแคลเซียมซิลิเกต และนา้ สู่เมล็ด ทาให้ เกิดกระบวนการทางชีวเคมี และ 300

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ซ่อมแซมเมล็ดให้ พร้ อมสาหรับการงอก ทาให้ รากโผล่พ้นเปลือกหุ้มเมล็ดได้ เร็ ว มีค่าระยะเวลาในการเกิดรากเร็ ว รวมทังค่ ้ า ดัชนีการงอก กับค่าความงอกมาตรฐานของเมล็ดพันธุ์สงู กว่า เมล็ด non priming ซึง่ สอดคล้ องกับงานวิจยั ที่มีการศึกษาการ priming ในข้ าว และพริ กหวาน พบว่า จากการศึกษาอัตราแคลเซียมซิลิเกตที่เหมาะสมในการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ข้าวด้ วยวิธี seed priming สารละลายแคลเซียมซิลิเกต 5 กรัม/ลิตร ส่งเสริ มให้ มีค่าระยะเวลาในการเกิดรากเร็ว และค่าดัชนีการงอก กับ ค่าความงอกมาตรฐานของเมล็ดพันธุ์ข้าวสูง และเมื่อนาเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ผ่านกระบวนการ priming มาเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เป็ น ระยะเวลา 1 และ 2 เดือน พบว่าค่าระยะเวลาในการเกิดราก, ค่าดัชนีการงอก และค่าความงอกมาตรฐาน ของเมล็ด ข้ าว มี แนวโน้ มลดลง เมื่อเปรี ยบเทียบกับเมล็ดพันธุ์หลังการกระตุ้นการงอกที่อายุ 0 เดือน อย่างไรก็ตามค่าความงอกมาตรฐานของ เมล็ดพันธุ์ยงั สูงกว่า 80% (พรทิพย์, 2558) และการศึกษาอัตราแคลเซียมซิลิเกตที่เหมาะสมในการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์พริ กหวาน ด้ วยวิธี seed priming สารละลายแคลเซียมซิลิเกตที่ความเข้ มข้ น 2 กรัมต่อลิตร ส่งผลต่อความงอกและคุณภาพของเมล็ด พันธุ์พริ กหวานสูงที่สดุ (กุลินดา, 2558) จากผลดังกล่าวอาจเนื่องมาจากแคลเซียมซิลิเกตมีผลต่อการส่งเสริ มคุณภาพเมล็ด พันธุ์ โดยแคลเซียมซิลิเกตจะเข้ าสูเ่ มล็ดช่วยในการซ่อมแซมส่วนที่สกึ หรอ โดยกรดซิลิซิกที่เมล็ดดูดเข้ าไปจะตกตะกอนเป็ นซิลิ กาอสัญฐานตามช่องว่างระหว่างเซลล์ และผนังเซลล์ ช่วยป้องกันการเสื่อมสภาพของเนื ้อเยื่อ ทาให้ สารต่างๆที่มีโมเลกุลขนาด เล็กไม่รั่วไหลออกจากเซลล์ (Hirschi, 2004; Pilbeam and Morley, 2006 และ Epstein, 2005) นอกจากนี ้อาจเนื่องมาจาก แคลเซียมซิลิเกตยังมีผลต่อการงอกของเมล็ดในสภาพแวดล้ อมที่ไม่เหมาะสมได้ ดี จากการศึกษาการใส่โพแทสเซียมซิลิเกต อัตรา 120 มิลลิกรัมซิลิคอนต่อดิน 1 กิโลกรัม ในแตงกวาซึง่ อยูใ่ นดินที่ขาดน ้าเล็กน้ อย (ความชื ้นดิน 55-70 % FC) และขาดน ้า รุนแรง (ความชื ้นดิน 35-50 % FC) สามารถช่วยบรรเทาอาการขาดน ้าได้ และซิลิคอนยังส่งผลให้ มวลชีวภาพไม่ลดลง (Ma et al., 2002) นอกจากนันซิ ้ ลิคอน มีผลกับข้ าวโพด สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ น ้าของพืช โดยการลดการคายน ้าของใบ (Gharineh and Karmollachaab, 2013) Table 2 Seed primed with Ca2SiO4 on seed quality and storage at room temperature for 1 and 3 months of lettuce. Treatments Non priming priming with water priming with Ca2SiO4 1 g/l priming with Ca2SiO4 2 g/l priming with Ca2SiO4 4 g/l priming with Ca2SiO4 8 g/l F-test CV (%)

DTE (day) 1 mo 3 mo 1.98b 3.04b 1.31a 1.17a 1.28a 1.15a 1.29a 1.09a 1.15a 1.06a 1.32a 1.15a ** ** 18.56 18.57

EP (%) 1 mo 3 mo 97.50 95.00 99.00 99.00 98.50 99.00 98.00 99.00 99.50 99.50 98.00 98.50 ns ns 1.49 2.11

GI 1 mo 13.26c 14.61ab 14.00bc 14.42ab 15.11a 14.87ab * 4.65

3 mo 7.46d 13.93bc 13.33c 14.88ab 15.20a 14.31abc ** 15.07

GP (%) 1 mo 3 mo 93.00 57.00c 95.00 88.50ab 90.00 83.50b 91.50 90.50ab 96.50 93.50a 94.50 87.50ab ns ** 4.44 12.12

Mean followed by the same letter are not statistically different from each other according to DMRT. ns = non significant, * = Significant at 0.05 probability, ** = Significant at 0.01 probability

สรุ ปผลการวิจัย จากการศึกษาอัตราแคลเซียมซิลิเกตที่เหมาะสมในการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหอมด้ วยวิธี seed priming พบว่า สารละลายแคลเซียมซิลิเกต 4 กรัม/ลิตร ส่งเสริ มให้ มีค่าระยะเวลาในการเกิดรากเร็ ว และค่าดัชนีการงอก กับค่าความงอก มาตรฐานของเมล็ดพันธุ์สงู และเมื่อนาเมล็ดพันธุ์ที่ผ่านกระบวนการ priming มาเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เป็ นระยะเวลา 1 และ 3 เดือน พบว่าค่าระยะเวลาในการเกิดราก, ค่าดัชนีการงอก และค่าความงอกมาตรฐาน ของเมล็ดพันธุ์ มีแนวโน้ มลดลง เมื่อ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

301


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เปรี ยบเทียบกับเมล็ดพันธุ์หลังการกระตุ้นความงอกที่อายุ 0 เดือน อย่างไรก็ตามค่าความงอกมาตรฐานของเมล็ดพันธุ์ยงั สูง กว่า 80%

อ้ างอิง กุลินดา แท่นจันทร์ . 2558. การใช้ ประโยชน์ของแคลเซียมซิลิเกตร่วมกับสภาวะการขาดธาตุเหล็กและสังกะสีในระบบการปลูกพืชไม่ใช้ ดิน ต่อการเจริ ญเติบโตและคุณภาพผลผลิตของพริ กหวาน. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ยงยุทธ โอสถสภา. 2552. ธาตุอาหารพืช. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. พรทิพย์ จันทร์ บตุ ร์ . 2558. การใช้ ประโยชน์ของปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกตเพื่อส่งเสริ มการเติบโต และผลผลิตของข้ าวในระบบสารละลายธาตุ อาหารพืช. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . Dhillon, N.P.S. 1995. Seed priming of male sterile muskmelon (Cucumis melo L.) for low temperature germination. Seed Sci. and technol. 23: 881-884. Epstein, E. and A.J. Bloom. 2005. Mineral nutrition of plants: principles and perspectives. 2nd ed. Sunderland (MA): Sinauer Associates, Sunderland, MA. Gharineh, M. H. and A. Karmollachaab. 2013. Effect of silicon on physiological characteristics wheat growth under waterdeficit stress induced by PEG. Int. J. Agron Plant Pro. 4(7):1543–1548. Hanson, J.B. 1984. The function of calcium in plant nutrition. In P.B. Tinker and A. Louchli, eds. Advances in Plant Nutrition. Praeger publishers. New York. Harris, D., A. Rashid, G. Miraj, M. Arif and H. Shah. 2007. On-farm seed priming with zinc sulphate solution — A costeffective way to increase the maize yields of resource-poor farmers. Field Crops Research. 102: 119–127. Harris, D., A. Rashid, G. Miraj, M. Arif and M. Yunas. 2008. On-farm seed priming with zinc in chickpea and wheat in pakistan. Plant soil. 306: 3-10. Hirschi, K.D. 2004. The calcium conundrum. Both versatile nutrient and specific signal. Plant Physiology. 136: 2438-2442. International Seed Testing Association (ISTA). 2013. International rules for seed testing rules. International Seed Testing Association. Zurich. Switzerland Kang, J. and J. Cho. 1996. Effect of germinability of watermelon (Citrullus vulgaris shrad) seed and seedling growth. J. of Korean Society for Horticultural Science. 37: 1, 12-18; 34. Ma, J. F. and E. Takahashi. 2002. Soil, fertilizer and plant silicon research in Japan, Elsevier Science, Amsterdam, The Netherlands. Pilbeam, D.J.,Morley,P.S., 2006. Calcium. In: Barker, A.V., Pilbeam, D.J. (Eds.), Handbook of plant nutrition. CRC Tayior & Francis, Boca Raton, pp. 121-144. Snyder,G.H., V.V.Matichenkov and L.E.Datnoff. 2007. Silicon, pp.551-568. In. A.V.Barker and D.J. Pilbleam, eds. Handbook of plant nutrition. CRC Press. New York.

302

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สภาวะที่เหมาะสมสาหรับการศึกษาโครโมโซมของตีนฮุ้งดอย (Paris polyphylla Smith) Appropriate Conditions for Investigation Paris polyphylla Smith Chromosome อัปสร วิทยประภารัตน์ 1 และฉันทลักษณ์ ติยายน1 Absorn Wittayapraparat1 and Chantalak Tiyayon1

บทคัดย่ อ ตีนฮุ้งดอยเป็ นพืชสมุนไพรหายากที่พบบนพื ้นที่สงู ในประเทศไทย ปั จจุบนั มีการขุดเหง้ าจากป่ ามาจาหน่ายจนใกล้ สูญพันธุ์จากธรรมชาติ ข้ อมูลของพืชชนิดนีย้ งั มีอยู่น้อยมาก การศึกษานีม้ ีวตั ถุประสงค์เพื่อหาวิธีการศึกษาโครโมโซมที่ เหมาะสมสาหรับตีนฮุ้งดอย ได้ แก่ เวลาเก็บ ตัวอย่างและเวลาหยุดวงชีพเซลล์ โดยเก็บตัวอย่างเนื ้อเยื่อปลายรากทุกชัว่ โมง ตังแต่ ้ 1.00 น. ถึง 24.00 น. เพื่อหาช่วงเวลาที่เซลล์กาลังอยู่ในระยะเมทาเฟส และหาระยะเวลาในการหยุดวงชีพเซลล์ที่ เหมาะสมจาก 8 ช่วงเวลา ได้ แก่ 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42 และ 48 ชัว่ โมง สังเกตเซลล์ใต้ กล้ องจุลทรรศน์ นับจานวนและวัด ขนาดโครโมโซม พบว่า ช่วงเวลาเก็บตัวอย่างที่เซลล์ตีนฮุ้งดอยกาลังอยู่ในระยะเมทาเฟสมีหลายช่วงเวลา อย่างไรก็ตาม 7.00 น. เป็ นช่วงเวลาที่มีเซลล์ในระยะเมทาเฟสต่อสไลด์สงู ที่สดุ และระยะเวลาในการหยุดวงชีพเซลล์ 6 ชัว่ โมง เป็ นระยะเวลา ที่โครโมโซมหดสันเต็ ้ มที่ จากการศึกษาโครโมโซม พบโครโมโซมของตีนฮุ้งดอยจานวน 5 คู่ (2n = 10) ซึง่ มีความยาว 10.00, 7.50, 6.50, 5.75 และ 5.25 ไมโครเมตร ตามลาดับ ประกอบด้ วยโครโมโซม 2 ชนิด คือ คู่ที่ 1, 2 และ 4 เป็ น submetacentric คู่ที่ 3 และ 5 เป็ น metacentric จากการศึกษานี ้พบว่า เซลล์เนื ้อเยื่อเจริ ญปลายรากของตีนฮุ้งดอยมีกิจกรรมการแบ่งเซลล์ ตลอดเวลา การเก็บตัวอย่างเนื ้อเยื่อปลายรากเวลา 7.00 น. และการหยุดวงชีพเซลล์นาน 6 ชัว่ โมง นันเหมาะสมต่ ้ อการศึกษา โครโมโซมตีนฮุ้งดอย คาสาคัญ : ตีนฮุ้งดอย โครโมโซม แคริ โอไทป์ การหยุดวงชีพเซลล์

Abstract Paris polyphylla Smith is a rare medicinal plant found on the highland of Thailand. Its rhizome is drastically dug up for selling. Therefore, it is at risk of extinction. There has been very little information of this plant. The purposes of this research were to look for an optimal time of sample collection and pretreat duration for P. polyphylla Smith chromosome study. The root tips were collected hourly from 1 a.m. to 12 a.m. to investigate when cells were in the metaphase stage. Eight pretreatment duration were applied to the root tips, including 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, and 48 hrs. P. polyphylla Smith chromosomes were observed, counted, and measured under a light microscope. The results showed that there were many times when metaphase stage could be seen. However, 7 a.m. considered the optimal time to collect root tips of P. polyphylla Smith because there were cells in metaphase stage per slide more than other collection times. The pretreatment period of 6 hrs resulted in the most shortened chromosomes structure. There are five pairs of chromosomes (2n=10), which the length were 10.00, 7.50, 6.50, 5.75, and 5.25 µm, including 2 types, submetacentric (the 1st, 2nd, and 4th pair) and metacentric (the 3rd and 5th pair). In this experiment, root tips of P. polyphylla Smith had cell division activity all 24 hrs. The optimal time to collect root tip of P. polyphylla Smith is 7 a.m. and the appropriate pretreatment duration for chromosome study is 6 hrs. Keywords : Paris polyphylla Smith, chromosome, karyotype, pretreatment

1 1

ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200 Department of Plant and Soil Science, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

303


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ตีนฮุ้งดอย (Paris polyphylla Smith) เป็ นพืชล้ มลุกในวงศ์ TRILLIACEAE มีเหง้ าอยู่ใต้ ดิน เป็ นพืชสมุนไพรหายาก ในประเทศไทยพบบนพื ้นที่สงู ทางภาคเหนือ ที่ยงั คงความอุดมสมบูรณ์ มีอินทรี ยวัตถุสงู มีอากาศเย็น และมีความชื ้นสูง ์ เป็ นส่วนใหญ่ เหง้ ามีสารสาคัญกลุม่ Steroid มีฤทธิยบั ยังการพั ้ ฒนาของเนื ้องอกและอาจต้ านการเกิดมะเร็ ง มีสรรพคุณเป็ นยา บรรเทาปวด แก้ อกั เสบ ลดไข้ ถอนพิษงู รักษาแผลน ้าร้ อนลวก แก้ ปวดท้ องและต้ านเชื ้อแบคทีเรี ย (National Exports Private Limited, 2013) ปั จจุบนั มีการขุดเหง้ าจากป่ ามาจาหน่ายจนใกล้ สูญพันธุ์จากธรรมชาติ International Union for Conservation of Nature and Natural Resources (IUCN) จัดว่า ตีนฮุ้งดอยเป็ นหนึ่งในพืชสมุนไพรที่มีความเสี่ยงภายใต้ ภยั การคุกคาม (Madhu et al., 2010) CNC-DIVERSITAS (2012) ได้ รายงานไว้ ว่าพบ P. polyphylla Sm. 12 สายพันธุ์ทวั่ โลก โดยมี 2 สายพันธุ์ที่สาคัญ คือ P. polyphylla var. chinensis และ P. polyphylla var. yunnanensis (Qin et al., 2013) ในไทยพบ เฉพาะสายพันธุ์ chinensis ทางภาคเหนือแถบจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แพร่ น่าน ในป่ าดิบเขา ระดับความสูง 900-1,900 เมตร (สานักงานหอพรรณไม้ , 2550) สานักงานสวนสาธารณะ (2552) จัด ตีนฮุ้งดอยเป็ นพืชพื ้นเมืองของไทยที่ควรค่าแก่การ อนุรักษ์ พันธุกรรม และพิจารณาเป็ นพื ชถิ่ นเดียวและพืชหายากของประเทศไทย แต่ข้ อมูลของตี นฮุ้งดอยยังมี อยู่น้อยมาก การศึกษานี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อหาเวลาเก็บตัวอย่างและช่วงการหยุดวงชีพเซลล์ที่เหมาะสม และศึกษาโครโมโซมของตีนฮุ้งดอย สาหรับใช้ เป็ นข้ อมูลในการศึกษาความหลากหลายหรื อความแปรปรวนทางพันธุกรรมของตีนฮุ้งดอยจากแหล่งอื่นด้ วยวิธีการทาง เซลล์พนั ธุศาสตร์

อุปกรณ์ และวิธีการ ต้ นตีนฮุ้งดอยที่ใช้ ในการทดลอง เหง้ าขนาดยาวไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร นาจากโครงการขยายผลโครงการหลวงแม่ มะลอ อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ มาปลูกที่อาเภอสันป่ าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ในถุงเพาะชาขนาด 4 นิ ้ว โดยใช้ ขี ้เถ้ าแกลบ เป็ นวัสดุปลูก ในโรงเรื อนเพาะชาที่พรางแสง 70 เปอร์ เซ็นต์ เลือกรากที่มีลกั ษณะอวบขาวที่ เกิดใหม่จากเหง้ า ตัดเนื ้อเยื่อส่วน ปลายรากยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ล้ างด้ วยน ้ากลัน่ แล้ วนาไปศึกษาโดยมี 3 การทดลองย่อย ดังนี ้ 1. การหาช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่างเพื่อศึกษาโครโมโซม เก็บตัวอย่างเนื ้อเยื่อปลายรากตีนฮุ้งดอยทุกชัว่ โมงตังแต่ ้ 1.00 น. ถึง 24.00 น. เวลาละ 5 ราก นามาหยุดวงชีพเซลล์ (pretreat) นาน 6 ชัว่ โมง แล้ วรักษาสภาพเซลล์ใน acetic-alcohol fixative (glacial acetic acid:absolute ethanol, 1:3) นาน 5 นาที ย่อยเซลล์ด้วย HCl เข้ มข้ น 1 N ที่อณ ุ หภูมิ 60 oC นาน 5 นาที จากนันน ้ าเนื ้อเยื่อปลายรากวางบนสไลด์ สไลด์ละหนึ่ง ราก ย้ อมสีด้วย lacto-propionic orcein ปิ ดด้ วยกระจกปิ ดสไลด์ แล้ วนาไปตรวจสอบและบันทึกภาพภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์ 2. การหาระยะเวลาหยุดวงชีพเซลล์ที่เหมาะสม เก็บตัวอย่างเนือ้ เยื่อปลายรากตีนฮุ้งดอยในช่วงเวลาที่ดีที่สุด จากการทดลองที่ 1 นามาหยุดวงชีพเซลล์ ใน 8hydroxyquinoline 8 ช่วงเวลา ได้ แก่ 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42 และ 48 ชัว่ โมง ช่วงเวลาละ 5 ราก ที่อณ ุ หภูมิ 15 oC จากนัน้ รักษาสภาพเซลล์ใน acetic-alcohol fixative นาน 5 นาที แล้ วย่อยเนื ้อเยื่อใน HCl เข้ มข้ น 1 N ที่อณ ุ หภูมิ 60 oC นาน 5 นาที ย้ อมสีด้วย lacto-propionic orcein ปิ ดด้ วยกระจกปิ ดสไลด์ แล้ วนาไปตรวจสอบและบันทึกภาพภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์ 3. การนับจานวนโครโมโซมและการจัดลาดับโครโมโซม (karyotype) สังเกตเซลล์จากเนื ้อเยื่อเจริญที่ปลายรากของตีนฮุ้งดอยใต้ กล้ องจุลทรรศน์ โดยนับโครโมโซมอย่างน้ อย 10 เซลล์ นา ภาพของเซลล์ที่เห็นโครโมโซมในระยะเมทาเฟสชัดเจนมาจัดเรี ยงโครโมโซมเป็ นคู่ๆ ตามหลักแคริโอไทป์ วัดขนาดและจาแนก ชนิดโครโมโซมตามสัดส่วนของความยาวแขนยาวต่อแขนสัน้ (Levan et al., 1964)

304

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. การหาช่วงเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอย่างเพื่อศึกษาโครโมโซม เนื ้อเยื่อเจริ ญปลายรากของตีนฮุ้งดอยมีกิจกรรมการแบ่งเซลล์ตลอด 24 ชัว่ โมงที่เก็บตัวอย่าง โดยพบ โครโมโซมระยะ เมทาเฟสได้ ในหลายช่วงเวลา ได้ แก่ 3.00 น. 7.00 น. 9.00 น. 12.00 น. 16.00 น. และ 24.00 น. (Fig. 1a และ Fig. 1b) โดยมีเซลล์ในระยะเมทาเฟสเฉลี่ยต่อสไลด์ จานวน 12, 19, 9, 9, 7, 9 เซลล์ ตามลาดับ ดังนันช่ ้ วงเวลาในการเก็บตัวอย่างปลาย รากที่เหมาะสมคือ 7.00 น. ซึง่ มีเซลล์ในระยะเมทาเฟสเฉลี่ยต่อรากสูงที่สดุ 2. การหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการหยุดวงชีพเซลล์ เก็บตัวอย่างเนื ้อเยื่อปลายรากตีนฮุ้งดอยในช่วงเวลาที่ดีที่สดุ จากผลการทดลองที่ 1 คือ ช่วงเวลา 7.00 น. มาทดลอง หยุดวงชีพเซลล์ที่ช่วงเวลาต่างกัน Fig. 2 แสดงให้ เห็นว่าการหยุดวงชีพเซลล์ 6 ชัว่ โมง เป็ นระยะเวลาที่โครโมโซมหดสันเต็ ้ มที่ และโครโมโซมมีรูปร่างปกติ ในขณะที่โครโมโซมในเซลล์ที่ผ่านระยะการหยุดวงชีพเซลล์นานกว่า 6 ชัว่ โมง โดยเฉพาะ 30 ชัว่ โมง ขึ ้นไป ไม่สามารถมองเห็นบริเวณเซนโทรเมียร์ ได้ ชดั เจน ระยะเวลา 6 ชัว่ โมงจึงเพียงพอสาหรับการหยุดวงชีพเซลล์ 3. การนับจานวนและวัดขนาดโครโมโซม จากการสังเกตเซลล์ใต้ กล้ องจุลทรรศน์ สามารถนับจานวนโครโมโซมตีนฮุ้งดอยที่ อยู่ในระยะเมทาเฟส ได้ 10 แท่ง ซึ่ง จับคู่กนั ได้ 5 คู่ หรื อ 2n = 10 จัดเรี ยงโครโมโซมเป็ นคู่ๆ ตามความยาวของแขนโครโมโซม วัดความยาวได้ 10.00, 7.50, 6.50, 5.75 และ 5.25 ไมโครเมตร ตามลาดับ (Fig. 3) จานวนโครโมโซมของ ตีนฮุ้งดอยในการทดลองนี ้สอดคล้ องกับรายงาน ของ Cheng et al. (2014) และ Hai-xia et al. (2011) ที่รายงานว่า เซลล์ร่างกายของ P. polyphylla Smith มีโครโมโซมระยะ diploid จานวน 10 แท่ง (2n = 2x = 10) และเป็ นโครโมโซมสมมาตรกัน โดยประกอบด้ วยโครโมโซม 2 ชนิด คือ คู่ที่ 1 เป็ น submetacentric แขนยาว 2.50 และ 7.50 ไมโครเมตร คู่ที่ 2 เป็ น submetacentric แขนยาว 2.50 และ 5.00 ไมโครเมตร คู่ที่ 3 เป็ น metacentric แขนยาว 3.00 และ 3.50 ไมโครเมตร คูท่ ี่ 4 เป็ น submetacentric แขนยาว 2.00 และ 3.75 ไมโครเมตร และคู่ ที่ 5 เป็ น metacentric แขนยาว 2.00 และ 3.25 ไมโครเมตร (Table 1) แต่กระนัน้ karyotypes ยังสามารถผันแปรได้ ซึง่ คาดว่า อาจเกี่ยวข้ องกับสภาพแวดล้ อมที่ตีนฮุ้งดอยเจริญเติบโต

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

305


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

1 a.m.

2 a.m.

3 a.m.

4 a.m.

5 a.m.

6 a.m.

7 a.m.

8 a.m.

9 a.m. 10 a.m. 11 a.m. Fig. 1a Root tip cells at metaphase stage of Paris polyphylla Smith collected from 1 a.m. to 12 p.m. (scale bar = 10 µm)

306

12 p.m.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

1 p.m.

2 p.m.

3 p.m.

4 p.m.

5 p.m.

6 p.m.

7 p.m.

8 p.m.

9 p.m.

10 p.m.

11 p.m.

12 a.m.

Fig. 1b Root tip cells of Paris polyphylla Smith at metaphase stage collected from 1 p.m. to 12 a.m. (scale bar = 10 µm)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

307


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

6 hours

12 hours

18 hours

24 hours

30 hours

36 hours

42 hours

48 hours

Fig. 2 Root tip cells of Paris polyphylla Smith at metaphase stage at 7 a.m. sample collection time and pretreated at eight different duration (scale bar = 10 µm) A

B

C

Fig. 3 Size measurement of Paris polyphylla Smith chromosome; A) chromosomes in a cell at metaphase stage (scale bar = 2.5 µm), B) paired sequence of chromosomes (scale bar = 2.5 µm), and C) the idiograms of Paris polyphylla Smith chromosomes

308

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 The lengths and types of Paris polyphylla Smith chromosome Chromosome pair

arm length (µm) s l 2.50 7.50 2.50 5.00 3.00 3.50 2.00 3.75 2.00 3.25

LT (µm)

R

RL

CI

chromosome types

1 10.00 3.00 0.286 0.750 submetacentric 2 7.50 2.00 0.214 0.667 submetacentric 3 6.50 1.17 0.186 0.538 metacentric 4 5.75 1.88 0.164 0.652 submetacentric 5 5.25 1.62 0.150 0.619 metacentric Total 35.00 Abbreviations: s, short arm; l, long arm; LT, the total arm length; R, the arm ratio (l/s); RL, the relative length; CI, the centromeric index

สรุ ปผลการทดลอง จากการศึกษานี ้ พบว่าเซลล์เนื ้อเยื่อเจริญปลายรากของตีนฮุ้งดอยมีการแบ่งเซลล์ตลอดเวลา การเก็บตัวอย่างเนื ้อเยื่อ ปลายรากเวลา 7.00 น. และช่วงการหยุดวงชีพเซลล์นาน 6 ชัว่ โมง เป็ นวิธีการศึกษาโครโมโซมที่เหมาะสมสาหรับตีนฮุ้งดอย วิธี การศึก ษาโครโมโซมของตี นฮุ้ง ดอยนี ้ สามารถใช้ เ พื่ อ การศึก ษาลัก ษณะโครโมโซมของตี น ฮุ้ง ดอยจากแหล่ง ต่างๆ ต่อ ไป นอกจากนี ้ ตีนฮุ้งดอยมีจานวนโครโมโซม 2n = 10

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ นายพะแลมื อ บ้ านแม่มะลอ ตาบลแม่นาจร อาเภอแม่แ จ่ม จังหวัดเชี ยงใหม่ และโครงการขยายผล โครงการหลวงแม่มะลอ พื ้นที่ทางานของ สถาบันวิจยั และพัฒนาพื ้นที่สงู (องค์การมหาชน) สาหรับการอุปการะตัวอย่างพืช

เอกสารอ้ างอิง สานักงานสวนสาธารณะ. 2552. หลักเกณฑ์การพิจารณาพืชควรค่าแก่การอนุรักษ์ พนั ธุกรรมของกรุงเทพมหานคร. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://chm-thai.onep.go.th/chm/city/ document/แนวทางปฏิบตั ิตอ่ พืชอันควรอนุรักษ์ ใน%20กทม.pdf (14 สิงหาคม 2556). สานักงานหอพรรณไม้ สานักวิจยั การอนุรักษ์ ป่าไม้ และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. 2550. ตีนฮุ้งดอย สารานุกรมพืชใน ประเทศไทย. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://web3.dnp.go.th/botany/detail.aspx?wordsnamesci=Paris0 polyphylla0Smith0var.0chinensis0(Franchet)0H.0Hara (13 สิงหาคม 2556). CNC-DIVERSITAS. 2012. Catalogue of Life China 2012 Annual Checklist. [online]. Available http://data.sp2000.cn/2012_cnnode_e/show_species_details.php? name_code=e21cc83d-5c35-4ba5-afe269a3830c74c9 (21 August 2013). Cheng, H., Q. Zhou, X. Li, Y. Zhou, R. Yang, R. Yang, L. Zhang, and C. Ding. 2014. C-banding patterns in six taxa of Paris (Melanthiaceae). CARYOLOGIA 67: 106-109. Hai-Xia, Y., C. Ding, R. Yang, L. Zhang, Y. Zhou, and Y. Li. 2011. Karyomorphology of some taxa of Paris (Malanthiaceae) from Sichuan province, China. CARYOLOGIA 64: 288-296. Levan A., K. Fredga, and A. A. Sandberg. 1964. Nomenclature For Centromeric Position On Chromosomes. Hereditas 52: 201-220. Madhu, K.C., S. Phoboo, and P. K. Jha. 2010. Ecological study of Paris polyphylla Sm. ECOS 17: 87-93. National Exports Private Limited. 2013. Herb Paris - Satuwa (सतुवा) [online]. Available http://www.nepl.com.np/productdetails.php?productID=15& productCode=NE606 (13 August 2013). Qin, X., C. Chen, W. Ni, H. Yan, and H. Liu. 2013. C22-steroidal lactone glycosides from stems and leaves of Paris polyphylla var. yunnanensis. Fitoterapia 84: 248–251.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

309


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประยุกต์ ใช้ GA3 เพื่อส่ งเสริมการงอกของเมล็ดทานตะวันในระหว่ างการผลิตเป็ นผักไมโครกรีน Seed Applications of GA3 Promotes Seed Germination during Sunflower Microgreen Production ดนุพล เกษไธสง1,2 ประกาศิต ดวงพาเพ็ง1 และชบา ทาดาวงษา1 Danupol Ketthaisong1,2 Prakasit Duongpapeng1 and Chaba Tadawongsa1

บทคัดย่ อ

การทาลายการพักตัวและส่งเสริ มการงอกของเมล็ดทานตะวันในระยะเก็บเกี่ยวด้ วย Gibberellic acid (GA3) เป็ นอีก หนึ่งแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตผักไมโครกรี น การทดลองนี ้ศึกษาระยะเวลาในการแช่เมล็ดร่ วมกับ GA3 ที่ ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ พบว่า ระยะเวลาในการแช่เมล็ด ความเข้ มข้ นของ GA3 และปฏิสมั พันธ์ร่วม มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ โดยการแช่เมล็ดทานตะวันเป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง ร่วมกับ GA3 ที่ระดับความเข้ มข้ น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร ทาให้ ความงอกของเมล็ดสูงที่สดุ คือ 82.5 เปอร์ เซ็นต์ รวมทังมี ้ จานวนต้ นกล้ าผิดปกติ และเมล็ดพักตัวต่าที่ สุดด้ วย ทังนี ้ เ้ มื่อนาไป ทดสอบกับเมล็ดพันธุ์ต่างชุดกันในระหว่างการผลิตเป็ นผักไมโครกรี น พบว่า การแช่เมล็ดด้ วย GA3 มีผลทาให้ ความยาวต้ นอ่อน น ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ งสูงขึ ้นในทุกชุดเมล็ดพันธุ์ ซึ่งการทาลายการพักตัวด้ วยวิธีดงั กล่าวนี ้ ช่วยส่งเสริ มการงอกของเมล็ด พันธุ์ทานตะวันที่พงึ่ เก็บเกี่ยวได้ คาสาคัญ : การพักตัวของเมล็ด การเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ การทาลายการพักตัว ทานตะวันงอก

Abstract

Seed applications of gibberellic acid (GA3) for breaking dormancy and promotes seed germination at harvesting stage is among the most aims to increase efficient production of sunflower microgreens. Soaking periods and GA3 concentrations were examined. Different soaking time, GA3 concentration and interactions significantly affected sunflower seed germination. Our findings reveal that the highest germination percentage up to 82.5% was obtained when applying 6 h of soaking with 150 mg/L of GA3 and also showed the lowest treatment for abnormal seedling and seed dormancy. In all seed lots, seed soaking with GA3 increased the seedling shoot length, seedling fresh weight and seedling dry weight during microgreen production. This novel dormancy breaking treatment was thus effective in promoting fresh seed germination. Keywords : seed dormancy, seed storage, break dormancy, sunflower sprouts.

คานา

ทานตะวัน (Helianthus annuus L.) เป็ นพืชน ้ามันที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง พื ้นที่การผลิตแหล่งใหญ่ ของโลก คือ ประเทศรัสเซีย ยุโรป ยูเครน และอาเจนตินา สาหรับประเทศไทยมีการผลิต บ้ างสาหรับบริ โภคและอุตสาหกรรม แต่ มีปริ มาณไม่เพียงพอกับความต้ องการ อีกทังมี ้ ต้นทุนการผลิตสูงจึงต้ องนาเข้ าจากต่างประเทศ ในเมล็ดทานตะวันมีน ้ามันและ กรดไขมันที่เป็ นประโยชน์ต่อร่ างกายหลายชนิด รวมทังมี ้ วิตามินและสารต้ านอนุมลู อิสระต่างๆ มากมาย (Karamac et al., 2012) เมล็ดทานตะวันนอกจากใช้ ในอุตสาหกรรมอาหารและการเลี ้ยงสัตว์ แล้ ว ปั จจุบันมี การนามาผลิตผักไมโครกรี น (microgreens) สาหรับการบริ โภคในระยะต้ นอ่อน เนื่องจากในระหว่างการงอกของเมล็ดและพัฒนาการในช่วงต้ นอ่อนของพืช เป็ นช่วงที่มีการสังเคราะห์โปรตีน ฮอร์ โมน และเอนไซม์สาหรับใช้ ในการเจริ ญเติบโตสูงที่สดุ มีสารพฤกษเคมีและฤทธิ์การต้ าน อนุมลู อิสระ รวมทังวิ ้ ตามินต่างๆ สูงกว่าผักที่เจริญเติบโตเต็ม (Sun et al., 2013; Xiao et al., 2012) ผักไมโครกรี นจากเมล็ดทานตะวันได้ รับความนิยมเพิ่มมากขึ ้น เนื่องจากสามารถเพาะปลูกง่ายและมีอายุการเก็บเกี่ยว เร็ว คือ ประมาณ 7 วันหลังการเพาะ ผักไมโครกรี นแตกต่างจากผักงอก (sprouts) คือ ผักไมโครกรี นต้ องปลูกในดินหรื อวัสดุปลูก เจริ ญเติบโตได้ ดีในที่ร่มหรื อแสงราไร ต้ องการความชื ้นต่าในระหว่างการปลูก และสภาพอากาศถ่ายเทได้ ดี มีระยะเวลาในการ 1

สาขาพืชสวน ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40002 Horticulture section, Department of Plant Science and Agricultural Resources, Faculty of Agriculture, Khon Kaen University 40002 2 ศูนย์วิจยั ปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อการเกษตรที่ยงั่ ยืน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40002 2 Plant Breeding Research Center for Sustainable Agriculture, Faculty of Agriculture, Khon Kaen University 40002 1

310

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ปลูกประมาณ 7-14 วัน ขึน้ กับชนิดของพืช ต้ นอ่อนที่นามาบริ โภคอยู่บริ เวณเหนือดินในระยะใบเลี ้ยง หรื อมีใบจริ ง 1-2 ใบ ประกอบด้ วย ต้ นอ่อน (hypocotyl) ใบเลี ้ยง (cotyledon) และหรื อใบอ่อน (young leaf) โดยปกติมีความยาวประมาณ 2.5-7.6 เซนติเมตร ส่วนผักงอกนัน้ กระบวนการผลิตทังหมดต้ ้ องอาศัยนา้ และความชืน้ ที่ไหลเวียนตลอดเวลา เมล็ดเพาะในอุปกรณ์ จาเพาะและไม่ต้องการวัสดุปลูก รวมทังสภาพแวดล้ ้ อมควบคุม และไม่ต้องการแสงหรื อต้ องการปริ มาณที่ต่าในระหว่างการงอก เมล็ด น ามารั บ ประทานได้ ภ ายหลัง กระบวนการงอกประมาณ 48-72 ชั่ว โมง ส่ว นที่ รั บ ประทาน คื อ ทุก ส่ว นของผัก งอก ประกอบด้ วย ราก (radicle) ต้ นอ่อน (hypocotyl) และใบเลี ้ยง (cotyledon) (Xiao et. al., 2012) อีกทังในกระบวนการผลิ ้ ตผัก ไมโครกรี นไม่ต้องใช้ สารเคมี และดูแลรักษาง่ายจึงเป็ นการผลิตผักแนวใหม่ที่เหมาะสมกับสภาพสังคมในปั จจุบนั ถึงแม้ ผกั ไมโครกรี นสามารถเพาะปลูกง่ายและรวดเร็ว แต่ปัญหาสาคัญอย่างหนึง่ คือ เมล็ดพันธุ์ไม่มีคณ ุ ภาพและมีการ พักตัว (dormancy) เนื่องจากปั จจัยทางด้ านพันธุกรรมและสภาพแวดล้ อม รวมทังลั ้ กษณะทางกายภาพต่างๆ ของเมล็ด เช่น เปลือก และเยื่อหุ้มเมล็ด เป็ นต้ น (Marchetti, 2012) จึงส่งผลกระทบต่อคุณภาพของผักไมโครกรี นด้ วย ทานตะวันเป็ นพืชชนิด หนึ่งที่นิยมนามาผลิตเป็ นผักไมโครกรี นในปั จจุ บนั โดยปกตินนั ้ เมล็ดทานตะวันมีการพักตัวในระยะเก็บเกี่ยวและหลังการเก็บ เกี่ยวประมาณ 3 ถึง 6 เดือน การแก้ ไขปั ญหาดังกล่าวด้ วยการทาลายการพักตัวของเมล็ดจึงเป็ นแนวทางสาคัญในการช่วยแก้ ไข ปั ญหา รวมทัง้ ลดระยะเวลาการผลิตผักไมโครกรี นลงได้ การทาลายการพักตัวของเมล็ดทานต ะวันและพืชสกุลทานตะวัน สามารถทาได้ โดยใช้ อณ ุ หภูมิต่าร่วมกับการใช้ สารเคมีต่างๆ เช่น GA3 KNO3 และ NaCl เป็ นต้ น (Pallavi et al., 2010; Puttha et al., 2015; Seiler, 2010) ทังนี ้ ้การใช้ สารแต่ละชนิดยังสัมพันธ์กบั ระยะเวลาในการแช่และความเข้ มข้ นด้ วย อีกทังยั ้ งไม่มี การศึกษาถึงความเข้ มข้ นและระยะเวลาที่เหมาะสม ต่อการทาลายการพักตัวของเมล็ดทานตะวันที่เก็บรักษาในระยะเวลา แตกต่างกัน ดังนัน้ การทดลองนี ้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาระยะเวลาในการแช่เมล็ดร่วมกับ GA3 ที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ ต่อ การทาลายการพักตัวของเมล็ดทานตะวัน และศึกษาผลของ GA3 ต่อการเจริ ญเติบโตของต้ นอ่อนทานตะวันที่ผ่านการเก็บรักษา เพื่อผลิตเป็ นผักไมโครกรี น

อุปกรณ์ และวิธีการ การศึกษาระยะเวลาในการแช่ เมล็ดและความเข้ มข้ นของ GA3 ต่ อการทาลายการพักตัวของเมล็ดทานตะวัน เก็บเกี่ยวเมล็ดพันธุ์ทานตะวันพันธุ์ผสมเปิ ดที่ระยะบริ บรู ณ์ทางสรี รวิทยา (physiological maturity stage) ผึง่ เมล็ดในที่ ร่ มให้ แห้ งจากนันกะเทาะเมล็ ้ ดออกจากดอกและทาความสะอาดเมล็ดพันธุ์เบื ้องต้ น นาเมล็ดไปอบที่อณ ุ หภูมิ 35 องศาเซลเซียส จนกระทัง่ เมล็ดมีความชื ้นประมาณ 12 เปอร์ เซ็นต์ จัดสิ่งทดลองแบบ 3x4 factorial in Randomized Complete Block Design จานวน 4 ซ ้าๆ ละ 50 เมล็ด โดยปั จจัย A คือ ระยะเวลาในการแช่เมล็ด 3 ระดับ คือ 3 6 และ 9 ชัว่ โมง ปั จจัย B คือ ความเข้ มข้ น ของ GA3 4 ระดับ คือ 0 50 100 และ 150 มิลลิกรัมต่อลิตร ประเมินความมีชีวิตของเมล็ดทานตะวันจากการทดสอบความงอกด้ วย วิธี Between paper ในตู้ควบคุมอุณหภูมิที่ 25 องศาเซลเซียส ความชื ้นสัมพัทธ์ 95±2 เปอร์ เซ็นต์ จากนันตรวจนั ้ บและจาแนก ประเภทของต้ นกล้ าภายหลังการเพาะเมล็ด 10 วัน จากนันตรวจสอบความแข็ ้ งแรงของเมล็ดพันธุ์จากการวัดการเจริ ญเติบโตของ ต้ นกล้ า (seedling growth test) และอัตราการเจริญของต้ นกล้ า (seedling growth rate) (ISTA, 2007) การใช้ GA3 ในระหว่ างการผลิตผักไมโครกรี นจากเมล็ดทานตะวันที่อายุเก็บรั กษาแตกต่ างกัน นาเมล็ดทานตะวันพันธุ์ผสมเปิ ดบรรจุลงถุงพลาสติกจากนันเก็ ้ บรักษาในห้ องควบคุมอุณหภูมิที่ 15 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 0 3 และ 6 เดือน คัดเลือกเมล็ดพันธุ์ที่สมบูรณ์ ที่สุดและสุ่มเมล็ดทานตะวันจากแต่ละตัวอย่างๆ 25 กรัม ทดสอบ ร่วมกับ GA3 (ระดับความเข้ มข้ นและระยะเวลาในการแช่ได้ จากการทดลองที่ 1 คือ 150 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง) จัด สิ่งทดลองแบบ 2x3 factorial in Randomized Complete Block Design จานวน 4 ซ ้า โดยปั จจัย A คือ ความเข้ มข้ นของ GA3 2 ระดับ คือ 0 และ 150 มิลลิกรัมต่อลิตร และปั จจัย B คือ เมล็ดทานตะวันที่อายุเก็บรักษาแตกต่างกัน 3 ระดับ คือ 0 3 และ 6 เดือน ตามลาดับ นาเมล็ดทานตะวันจากแต่ละหน่วยทดลองโรยบนวัสดุปลูกทีมีส่ วนผสมระหว่างขุยมะพร้ าวและพีชมอส อัตรา 1:1 ความชื ้นประมาณ 50 เปอร์ เซ็นต์ บรรจุในตะกร้ าพลาสติกขนาด 18x25 เซนติเมตร วางตะกร้ าเพาะเมล็ดบนชันวางที ้ ่มี อากาศถ่ายเทสะดวกในโรงเรื อนพลางแสงด้ วยตาข่ายสีดาประมาณ 75 เปอร์ เซ็นต์ รดนา้ ให้ ความชืน้ พอเหมาะวันละ2 ครัง้ จากนัน้ ประเมินการเจริ ญเติบโตของผักไมโครกรี นที่ได้ จากเมล็ดทานตะวันภายหลังการปลูก 7 วัน โดยในระยะดังกล่าวต้ นกล้ า จะกางใบเลี ้ยงออกเต็มที่และเริ่ มสังเกตเห็นยอดอ่อนเล็กน้ อย (ภาพที่ 1) วัดการเจริ ญเติบโตของต้ นกล้ า น ้าหนักสดและน ้าหนัก แห้ ง อัตราการเจริญเติบโตของต้ นกล้ า และวัดปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ในใบเลี ้ยง โดยใช้ เครื่ อง SPAD-502 meter (Konica-Minolta, Japan) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

311


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การวิเคราะห์ ข้อมูล วิเคราะห์ความแปรปรวนของข้ อมูล (Analysis of variance) ตามแผนการทดลอง และเปรี ยบเทียบความแตกต่างของ ค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี Last Significant Difference (LSD) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 เปอร์ เซ็นต์

ผลการทดลองและวิจารณ์

การวิเคราะห์ความแปรปรวนของลักษณะการเจริ ญของต้ นกล้ าจากเมล็ดทานตะวันกับความเข้ มข้ นของ GA3 ที่ระดับ ต่างๆ พบว่า ระยะเวลาในการแช่เมล็ด ระดับความเข้ มข้ นของ GA3 และปฏิสมั พันธ์ ระหว่างระยะเวลาในการแช่เมล็ดและความ เข้ มข้ นของสาร มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติในเกือบทุกลักษณะ (ตารางที่ 1) เช่นเดียวกันกับความแปรปรวนของ ลักษณะต้ นกล้ าในระหว่างการผลิตเป็ นผักไมโครกรี น พบว่า มีปฏิสมั พันธ์ ร่วมระหว่างการใช้ GA3 กับเมล็ดพันธุ์ที่อายุการเก็บ รักษาต่างๆ นัน่ คือ การใช้ GA3 ส่งผลให้ ผกั ไมโครกรี นที่ผลิตจากเมล็ดพันธุ์ในแต่ละอายุการเก็บรักษา มีลกั ษณะของต้ นกล้ า แตกต่างกัน การพักตัวของเมล็ดทานตะวันภายหลังการเก็บเกี่ยว เป็ นปั ญหาสาคัญประการหนึ่งต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์ใน ระหว่างการผลิตเป็ นผักไมโครกรี น การทาลายการพักตัวของเมล็ดทานตะวั นภายหลังการเก็บเกี่ยวด้ วยการใช้ GA3 ร่วมกับการ แช่เมล็ดในระยะเวลา 3 6 และ 9 ชัว่ โมง พบว่า การแช่เมล็ดเป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง ร่วมกับ GA3 ที่ระดับความเข้ มข้ น 150 มิลลิกรัม ต่อลิตร ให้ จานวนต้ นกล้ าปกติสงู ที่สดุ คือ 82.5 เปอร์ เซ็นต์ และมีจานวนเมล็ดพักตัวต่าที่สดุ คื อ 6.5 เปอร์ เซ็นต์ รองลงมา คือ การแช่ GA3 ที่ระดับความเข้ มข้ น 100 และ 50 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง ตามลาดับ (ตารางที่ 2) ส่วนในการศึกษากับ เมล็ดทานตะวันพันธุ์ป่าที่มีการพักตัวหลังการเก็บเกี่ยว พบว่า เมื่อแช่เมล็ดด้ วย GA3 ที่ความเข้ มข้ น 100 มิลลิกรั มต่อลิตร เป็ น เวลา 1 ชัว่ โมง สามารถเพิ่มอัตราการการงอกของเมล็ดจาก 13 เป็ น 88 เปอร์ เซ็นต์ (Seiler, 2010) การใช้ GA3 ในทุกความ เข้ มข้ นสามารถลดการพักตัวของเมล็ดทานตะวันที่พึ่งเก็บเกี่ยวลงได้ เนื่องจาก GA3 ช่วยเพิ่มความสามารถในการยืดขยายของ ผนังเซลล์และส่งเสริ มกระบวนการย่อยอาหารในเมล็ดจาพวกแป้งไปเป็ นน ้าตาล ซึง่ ช่วยลดค่าศักย์ของน ้าภายในเซลล์ ส่งผลให้ เกิดการแพร่ของน ้าภายในเซลล์ได้ อย่างรวดเร็ว และมีผลต่อการยืดขยายขนาดของเซลล์ มีรายงานพบว่า ในสภาพธรรมชาติสาร ตัง้ ต้ นของในการสร้ างจิ บเบอเรลลิน (gibberellins-link substance) ปรากฏสูงขึน้ ภายหลังเมล็ดสุกแก่แ ละในระหว่าง กระบวนการงอก (Sarihan et al., 2005) ส่วนการเจริ ญของต้ นกล้ าในลักษณะความยาวต้ นอ่อน พบว่า ระยะเวลาในการแช่ผนั แปรตามความเข้ มข้ นของ GA3 นัน่ คือ ระยะเวลาในการแช่เมล็ดนานร่วมกับ GA3 ความเข้ มข้ นสูงช่วยส่งเสริ มการยืดยาวของต้ น อ่อนทานตะวัน รวมทังช่ ้ วยให้ นา้ หนักสด น ้าหนักแห้ งของส่วนต้ นอ่อนและส่วนรากมีแนวโน้ มสูงขึ ้นด้ วย การดูดนา้ ของเมล็ด พันธุ์ในระหว่างกระบวนการงอก นอกจากช่วยเร่ งปฏิกิริยาทางชีวเคมีต่างๆ ภายในเมล็ดแล้ ว ยังช่วยลดระดับการพักตัวของ เมล็ดอันเป็ นผลจาก Abscisic acid (ABA) รวมทังส่ ้ งเสริ มการทางานของจิบเบอเรลลิน การประยุกต์ใช้ GA3 เพื่อส่งเสริ มการ งอกของเมล็ดพันธุ์จึงเป็ นอีกแนวทางหนึ่งในการช่วยลดระดับของ ABA ในเมล็ดลง ทาให้ กระบวนการงอกเกิดได้ อย่างเป็ นปกติ (Meyer et al., 1995) โดยปกติ เ มล็ ด ทานตะวัน เมื่ อ เก็ บ เกี่ ย วจากต้ นจะมี ก ารพัก ตัว ประมาณ 3 ถึ ง 6 เดื อ น ขึ น้ กั บ พัน ธุ ก รรมและ สภาพแวดล้ อมในการเก็บรักษา ปั ญหาการพักตัวของเมล็ดทานตะวันส่งผลกระทบต่อโดยตรงต่อการผลิตผักไมโครกรี น ซึง่ ทาให้ เมล็ดพันธุ์ขาดตลาดและเมล็มีราคาดสูงขึ ้น การประยุกต์ใช้ GA3 ที่ระดับความเข้ มข้ น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร แช่เมล็ดเป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง เพื่อส่งเสริ มการงอกและพัฒนาการของผักไมโครกรี นจากเมล็ดทานตะวันที่มีอายุการเก็บรักษาแตกต่างกัน พบว่า ช่วย เพิ่มการยืดยาวของต้ นอ่อนในส่วนของ hypocotyle ได้ ทงเมล็ ั ้ ดใหม่และเมล็ดที่ผ่านการเก็บรักษา โดยมีความยาวระหว่าง 12.6 ถึง 13.19 เซนติเมตร (ตารางที่ 3) รวมทังการใช้ ้ GA3 ทาให้ น ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งของผักไมโครกรี นเพิ่มขึ ้นทังในเมล็ ้ ดเก่า และเมล็ดที่เก็บรักษา ซึ่งเมล็ดที่เก็บรักษาเป็ นเวลา 6 เดือน เมื่อแช่ด้วย GA3 ที่ความเข้ มข้ น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า มี น ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งสูงที่ สดุ คือ 554.56 และ 36.95 กรัม ตามลาดับ รวมทังมี ้ อตั ราการเจริ ญเติบโตของต้ นอ่อนสูงที่สดุ คือ 1.9 เซนติเมตรต่อวัน แต่เมื่อวิเคราะห์ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ในส่วนของใบเลี ้ยงด้ วยเครื่ อง SPAD-502 meter พบว่า การใช้ GA3 มีผลทาให้ ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ในใบเลี ้ยงลดลง ทังในเมล็ ้ ดที่พงึ่ เก็บเกี่ยวและเมล็ดที่ผ่านการเก็บรักษา เนื่องจาก เมื่อเซลล์มี การขยายขยาดและยืดยาวขึ ้นทาให้ ความเข้ มข้ นของสารภายในเซลล์ลดลง ในขณะที่ค่าศักย์ของน ้าในเซลล์เพิ่มขึ ้น จึงส่งผลให้ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ต่อพื ้นที่มีแนวโน้ มลดลงด้ วย (Kutschera and Köhler, 1994) การใช้ GA3 นอกจากช่วยทาลายการพักตัว ของเมล็ดได้ แล้ ว (Marchetti and Smith, 2012) ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตผักไมโครกรี น ทาให้ สว่ นของต้ น กล้ ายืดยาว มีน ้าหนักผลผลิตสูงขึ ้น และช่วยลดระยะเวลาในการปลูกและสามารถเพิ่มรอบการปลูกจากเดิมประมาณ 7 วัน ลง มาเหลือประมาณ 5 วัน แนวทางดังกล่าวนี ้ จึงเป็ นอีกหนึ่งทางเลือกในการทาลายการพักตัวของเมล็ดทานตะวันลงได้ อีกทังช่ ้ วย ส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้ นกล้ าที่ใช้ เป็ นผักไมโครกรี น 312

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ปผลการทดลอง

การทาลายการพักตัวของเมล็ดทานตะวันในระยะเก็บเกี่ยวด้ วยการแช่เมล็ดทานตะวันเป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง ร่วมกับ GA3 ที่ระดับความเข้ มข้ น 150 มิลลิกรัมต่อลิตร ทาให้ ความงอกของเมล็ดสูงที่สดุ คือ 82.5 เปอร์ เซ็นต์ รวมทังมี ้ จานวนเมล็ดพักตัวต่า ที่สดุ ด้ วย เมื่อนาความเข้ มข้ นดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ ในการผลิตผักไมโครกรี นกับเมล็ดพันธุ์ที่เก็บรักษาแตกต่างกัน พบว่า การใช้ GA3 ทาให้ ความยาวต้ นอ่อน น ้าหนักสด น ้าหนักแห้ ง และอัตราการเจริญเติบโตของผักไมโครกรี นเพิ่มขึ ้น

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบคุณสาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตและคุณค่า ทางโภชนาการในผักไมโครกรี น และศูนย์วิจยั ปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อการเกษตรที่ยงั่ ยืน มหาวิทยาลัยขอนแก่ น ที่เอื ้อเฟื อ้ สถานที่ใน การศึกษาวิจยั

เอกสารอ้ างอิง

International Seed Testing Association (ISTA). 2007. International rules for seed testing. In A. Bülow-Olsen, ed. Seed Science and Technology. Karamac, M., A. Kosinska, I. Estrella, T. Hernandez and M. Duenas. 2012. Antioxidant activity of phenolic compounds identified in sunflower seeds. Eur. Food Res. Technol. 235: 221–230. Kutschera, K. and U. Köhler. 1994. Cell elongation, turgor and osmotic pressure in developing sunflower hypocotyls. J. Exp. Bot. 45: 591-595. Marchetti, M. and D.L. Smith. 2012. Plant hormones and seed germination. Env. Exp. Bot. 99: 110– 121. Meyer, SESGK and S.L. Carlson. 1995. Seed germination timing patterns in Intermountain Penstemon (Scrophulariaceae). Amer. J. Bot. 82: 377-389. Pallavi, H. M., R.Gowda, Y. G. Shadakshari and K. Vishwanath. 2010. Study on Occurrence and Safe Removal of Dormancy in Sunflower (Helianthus annuus L.). Res. J. Agric. Sci. 1: 341-344. Puttha, R., S. Jogloy, B. Suriharn, P.P. Wangsomnuk, T. Kesmala and A. Patanothai. 2013. Variations in morphological and agronomic traits among Jerusalem artichoke (Helianthus tuberosus L.) accessions. Genet. Resour. Crop Evol. 60: 731-746. Sarihan, E.O., A. Ipek, M.K. Khawar, M. Atak and B. Gurbuz. 2005. Role of GA3 and KNO3 in improving the frequency of seed germination in Plantago lanceolata L. Pak. J. Bot. 37: 883-887. Seiler, G.J. 2010. Germination and viability of wild sunflower species achenes stored at room temperature for 20 years. Seed Sci. Technol. 38: 786-791. Sun, J., Z. Xiao, L. Lin, G. E. Lester, Q. Wang, M. J. Harnly and P. Chen. 2013. Profiling polyphenols in five brassica species microgreens by UHPLC-PDA-ESI/HRMSn. J. Agric. Food Chem. 61: 10960-10970. Xiao, Z., G. E. Lester, Y. Luo and Q. Wang. 2012. Assessment of vitamin and carotenoid concentrations of emerging food products: edible microgreens. J. Agri. Food Chem. 60: 7644-7651.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

313


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

B

A

Figure 1 Sunflower microgreen production (A) and harvesting stage or edible stage of microgreens (B)

Table 1 Mean squares of analysis of variance for seed germination and seedling growth rate in the production of sunflower microgreen after seed applications of gibberellic acid. Source of variation Normal seedling Abnormal seedling Dormant seed Dead seed Shoot length Shoot fresh weight Root fresh weight Shoot dry weight Root dry weight Source of variation Seedling shoot length Seedling fresh weight Seedling dry weight Seeding growth rate Chlorophyll content

314

df 3 Replications (R) 5.00 21.64 22.08 20.53 3.23 71.14 6.76 0.16 0.01 df 3 Replications (R) 0.38 1216.00 3.05 0.01 1.58

2 Soaking time (T) 565.75 ** 20.25 392.58 ** 33.25 * 20.65 ** 175.00 ** 5.16 * 0.23 0.02 **

3 Concentration (C) 4675.89 ** 56.08 ** 3946.97 ** 16.97 24.79 ** 110.93 * 2.20 1.75 ** 0.06 **

6 TxC 132.31 ** 18.25 55.14 * 20.14 * 3.94 ** 9.46 3.54 * 0.26 0.00

33 Error 4.27 10.73 19.23 8.22 0.92 26.37 1.33 0.11 0.00

CV (%) 3.71 28.80 15.55 48.82 9.55 11.88 20.74 11.50 14.78

1 Treatment (T) 34.22 ** 62828.00 ** 167.96 ** 0.68 ** 205.57 **

2 Seed lot (L) 0.45 243642.00 ** 997.86 ** 0.02 18.54 **

2 TxL 0.04 3418.00 ** 39.43 ** 0.01 6.74

15 Error 0.40 307.00 2.43 0.01 28.60

CV (%) 5.44 4.21 5.62 5.16 2.27

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Mean performance of germination percentage, percentage of dormant and dead seeds, and seedling growth rate of sunflower seed during treatments with different soaking times and gibberellic acid concentrations at 10 days after sowing.

Treatment 3 h + 0 ppm GA3 3 h + 50 ppm GA3 3 h + 100 ppm GA3 3 h + 150 ppm GA3 6 h + 0 ppm GA3 6 h + 50 ppm GA3 6 h + 100 ppm GA3 6 h + 150 ppm GA3 9 h + 0 ppm GA3 9 h + 50 ppm GA3 9 h + 100 ppm GA3 9 h + 150 ppm GA3

Normal seedling (%)

Abnormal seedling (%)

Dormant seed (%)

27.0 f 63.5 d 62.5 d 71.5 c 26.5 f 62.0 d 75.0 b 82.5 a 27.5 f 55.5 e 54.5 e 61.0 d

14.0 ab 10.0 bc 9.5 bc 7.5 c 14.0 ab 11.5 abc 13.0 ab 7.0 c 11.0 bc 12.5 ab 16.0 a 10.5 bc

53.5 a 31.0 b 20.5 cd 18.0 d 53.5 a 19.5 cd 10.5 e 6.5 e 57.0 a 24.5 c 24.0 cd 20.0 cd

Dead seed (%)

Shoot length (cm)

Shoot fresh weight (g)

5.5 b-e 5.5 b-e 7.5 abc 3.0 de 6.5 a-d 7.0 a-d 1.5 e 4.0 cde 6.0 a-d 10.0 a 5.5 b-e 8.5 ab

7.38 e 9.04 d 10.32 cd 12.22 a 7.37 e 10.63 bc 8.94 d 9.37 cd 9.11 d 12.27 a 11.72 ab 12.06 a

37.37 d 41.07 cd 44.97 abc 42.23 bcd 36.93 d 44.88 abc 41.76 cd 41.44 cd 42.15 bcd 49.91 a 48.95 ab 47.25 abc

Root fresh weight (g) 4.77 cde 5.49 a-e 6.30 abc 4.31 de 5.94 a-d 6.19 abc 6.44 ab 6.29 abc 6.88 a 3.9 e 5.24 a-e 4.97 b-e

Shoot dry weight (g)

Root dry weight (g)

2.72 cd 2.88 bcd 3.14 abc 3.09 abc 2.02 e 3.09 abc 2.82 bcd 3.29 ab 2.47 de 3.37 a 2.85 bcd 3.47 a

0.18 d 0.36 ab 0.34 bc 0.36 bc 0.23 d 0.35 bc 0.34 bc 0.40 ab 0.31 c 0.40 ab 0.38 ab 0.43 a

Table 3 Seedling growth and chlorophyll content of sunflower microgreens after seed applications of gibberellic acid with different seed storage periods at 7 days after sowing. GA3 (ppm)

stored seed lot (month)

0 0 0 150 150 150

fresh seed, 0 stored seed, 3 stored seed, 6 fresh seed, 0 stored seed, 3 stored seed, 6

Seedling shoot length (cm) 10.38 b 10.4 b 10.72 b 12.6 a 12.88 a 13.19 a

Seedling fresh weight (g) 174.8 f 514.55 c 405.57 d 262.55 e 584.8 a 554.56 b

Seedling dry weight (g) 11.98 d 35.66 a 27.67 b 18.06 c 36.17 a 36.95 a

Seeding growth rate (cm/day) 1.49 c 1.48 c 1.53 c 1.76 b 1.84 ab 1.9 a

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

Chlorophyll content (nmol/m2) 64.87 a 63.16 a 63.34 a 59.55 b 55.26 c 58.99 b

315


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ความเข้ มข้ นของโคลชิซนิ ต่ อการเจริญเติบโตของยอด และการเปลี่ยนแปลงสัณฐานวิทยาของปากใบในผักเชียงดา Effects of Colchicine Concentration on Shoot Growth and Stomata Morphology Changes of Gymnema inodorum (Lour.) Decne. พิทกั ษ์ พุทธวรชัย1 นภา ขันสุภา1 ชิติ ศรีตนทิพย์ 1 และปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 1* Pitak Puttawarachai1 Napa khunsupa1, Chiti sritontip and Parinyawadee Sritontip1*

Sritontip1*

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้ มข้ นของโคชิซินต่อการเจริ ญเติบโตของยอดและการเปลี่ยนแปลงลักษณะ ทางสัณฐานวิทยาของปากใบผักเชียงดา ทาการทดลองที่สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ต.พิชยั อ.เมือง จ.ลาปาง ระยะเวลาตังแต่ ้ เดือนมกราคม 2554 ถึงเดือนกันยายน 2555 วางแผนการทดลองแบบ 2x7 Factorial in CRD จานวน ซ ้า โดยมีสองปั จจัย ได้ แก่ สายต้ นผักเชียงดาจานวน 2 สายต้ น คือ สายต้ น 004 และ 006 ความเข้ มข้ นของ โคลชิซิน 7 ระดับ คือ 0, 0.1, 0.25, 0.5, 1.0, 2.0 และ 4.0% หยดโคลชิซินโดยวางสาลีบนยอดตาข้ างผักเชียงดาที่มีอายุ 2 วัน ติดต่อกัน 7 วัน สังเกตการเปลี่ยนแปลงของยอดทุก ๆ 7 วัน เป็ นเวลา 6 สัปดาห์ จากการทดลองพบว่าความเข้ มข้ นของสารโคลชิ ซิน 0.1– 1.0% ไม่ทาให้ ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของปากใบเกิดการเปลี่ยนแปลง โดยจานวนเซลล์ปากใบเฉลี่ยต่อพืน้ ที่ (0.036 mm2) ความกว้ างและความยาวของเซลล์ปากใบไม่มีความแตกต่างทางสถิติกบั ไม่ใช้ สารโคชิซินส่วนการหยดโคลชิซินที่ ระดับความเข้ มข้ น 2 และ 4% ทาให้ ยอดผักเชียงดาตาย 99% ส่วนยอดที่งอกออกมาชะงักการเจริญเติบโต คาสาคัญ : ผักเชียงดา โคลชิซิน การเจริญเติบโต สัณฐานวิทยาปากใบ Abstract The influence of colchicine concentration on shoot growth and stomata morphology changes of Gymnema inodorum (Lour.) Decne. (GI) was investigated at Agricultural Technology Research Institute (ATRI), RMUTL, Lampang province during January 2011 - September 2012. The 2X7 Factorial in CRD with three replications was used in the experiment. The factors were GI clone (no.004 and 006) and concentration of colchicine (0, 0.1, 0.25, 0.5, 1, 2.0 and 4.0%). Colchicine at different concentrations was continually dripped onto 2 days age of GI lateral bud for 7 days. The transform of shoots were evaluated every 7 days for 6 weeks. The results showed that the number of stomata per 0.036 mm2, width and length of stomata were not changed significantly by the treatment of 0 - 1.0% colchicine concentrations. After droplets colchicine application for 6 weeks, the new shoot grew up due to the effect of 0.25% colchicine concentration. Dripping of 2 and 4% colchicines concentrations onto the shoot of GI did not influence to the shoot growth. Ninety nine percent of the shoots were died and the rests were dwarfed. Keywords :Gymnema inodorum (Lour.) Decne.,colchicine, growth, stomata morphology คานา ผักเชียงดาเป็ นผักพื ้นบ้ านชนิดหนึ่งที่คนไทยภาคเหนือนิยมรับประทานมีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Gymnema inodorum (Lour.) Decne. อยู่ในวงศ์ ASCLEPIADACEAE พืชที่อยู่ในวงศ์เดียวกันได้ แก่ ขจร (Telosma minor Craib) ผักฮ้ วนหมู (Dregea volubilis (L.f.) Hook.f.) เป็ นต้ น (เต็ม, 2544) เป็ นไม้ เถาเลื ้อยมีประโยชน์ทางยามากมายซึง่ ได้ รายงานไว้ ในตารายา ไทย ส่วนใหญ่ผกั เชียงดาพบมากทางภาคเหนือ เช่น บริเวณจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง พะเยา แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอน บางท้ องถิ่นมีการใช้ ประโยชน์จากผักเชียงดาหลายอย่าง เช่น ใบผักเชียงดาตาละเอียดแล้ วนามาพอกกระหม่อม รักษาไข้ อาการ 1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000 Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, Thailand 52000 * Corresponding author: parinyawadee@rmutl.ac.th 316

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

หวัดหรื อนาไปประกอบในตารายาแก้ ไข้ และในปี พ.ศ.2535 จุลสารข้ อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (อ้ าง ใน, สานักงานคณะกรรมการการสาธารณสุขมูลฐาน, 2540) ได้ รายงานว่า มีชาวญี่ปนได้ ุ่ เข้ ามาสารวจรวบรวมพันธุ์ผกั เชียงดา ในพื ้นที่ จังหวัดเชียงใหม่ เพราะมีพืชชนิดหนึ่งซึ่งอยู่ในสกุลเดียวกันกับผักเชียงดามีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Gymnema sylvestre R.Br. เป็ นพืชพื ้นเมืองของประเทศอินเดียโดยใช้ เป็ นยาสมุนไพรดังเดิ ้ มของชาวอินเดีย และมีงานวิจยั หลายเรื่ องแสดงว่าพืชชนิด นี ้มีสรรพคุณลดน ้าตาลในเลือด และมีศกั ยภาพในการพัฒนาเป็ นยารักษาโรคเบาหวาน แต่อย่างไรก็ตามพืชชนิดนี ้มีรสขมทาให้ รับประทานยาก ปั จจุบนั บริษัทยาของประเทศญี่ปนจึ ุ่ งได้ สนใจผักเชียงดาเพื่อผลิตผักเชียงดาเป็ นยาชงสมุ นไพรแทน ดังนัน้ ชาวญี่ ปุ่ นจึง น าผัก เชี ย งดาของไทยเพื่ อ วิ เ คราะห์ ห าสารประกอบต่า ง ๆ และสร้ างสายพัน ธุ์ ใ หม่ใ ห้ ดี ก ว่ า เดิ ม (ส านัก งาน คณะกรรมการการสาธารณสุขมูลฐาน, 2540) การคัดเลือกสายพันธุ์เพื่อให้ ได้ ข้อมูลเกี่ยวกับผักเชียงดา และการใช้ ประโยชน์จึง จาเป็ นต้ องศึกษาให้ มากที่สดุ เพื่อเป็ นการอนุรักษ์ และเป็ นฐานข้ อมูลเพื่อพัฒนาสายพันธุ์ให้ สามารถปลูกเป็ นการค้ า เนื่องจากใน ภาคเหนือของประเทศไทยเป็ นแหล่งพันธุกรรมของผักเชียงดาและวัฒนธรรมในการบริ โภคผักเชียงดา จากการศึกษาของ Nair and Keshavachandran (2006) ในความหลากหลายของ Gymnema sylvestre R.Br. เป็ นพืชที่อยู่ในวงศ์เดียวกับผักเชียงดา โดยการใช้ ลัก ษณะทางด้ า นสัณ ฐานวิ ท ยาและทางด้ า นเคมี พ บว่ า มี ค วามแตกต่ า งกัน ทัง้ ทางด้ า นสัณ ฐานวิ ท ยา และ องค์ประกอบของซาโปนินชี ้ให้ เห็นถึงผลความแตกต่างของสายต้ น กฤษฎา (2519) กล่าวว่า การจะปรับปรุ งพืชลักษณะใด เรา จาเป็ นต้ องมีลักษณะของพืชนัน้ ๆ อยู่แ ละลักษณะเหล่านัน้ ส่วนใหญ่ ไ ด้ มาจากพันธุ์ ป่าและงานที่สาคัญอันดับแรกในการ ปรับปรุ งพันธุ์ก็คือการรวบรวมพันธุ์ จากการรวบรวมพันธุ์และได้ มีการคัดเลือกสายพันธุ์ไว้ แล้ วจานวน 2 สายต้ นได้ แก่สายต้ น 004 และ 006 ซึง่ มีลกั ษณะทางด้ านพืชสวนที่ดี ดังนันจึ ้ งเกิดแนวคิดในการปรับปรุงพันธุ์ผกั เชียงดาต่อโดยเพิ่มจานวนโครโมโซม จึงศึกษาผลของโคลชิซินต่อปริมาณสารต้ านอนุมลู อิสระในผักเชียงดา เพื่อเป็ นแนวทางในการปรับปรุงพันธุ์ตอ่ ไป อุปกรณ์ และวิธีการ ทาการทดลอง ณ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จังหวัดลาปาง ระหว่าง มกราคม 2554 ถึง เดือนกันยายน 2555 วางแผนการทดลองแบบ 2x7 Factorial in CRD จานวน ซ ้า ซ ้าละ 10 ต้ น โดยมีสอง ปั จจัย ได้ แก่ สายต้ นผักเชียงดาจานวน 2 สายต้ น คือ สายต้ น 004 และ 006 ความเข้ มข้ นของโคลชิซิน 7 ระดับ คือ 0, 0.1, 0.25, 0.5, 1.0, 2.0 และ 4.0% เตรี ยมต้ นพืชใช้ ผกั เชียงดาสายต้ น 004 และ 006 เป็ นสายต้ นที่ทาการรวบรวมและคัดเลือกจาก งานวิจยั ของสถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร อายุต้น 1 ปี ขยายพันธุ์โดยการปั กชา มีลกั ษณะกิ่งและต้ นที่สมบูรณ์ มีลกั ษณะทรง พุ่มใกล้ เคียงกัน มีความสูงของต้ นประมาณ 40 เซนติเมตร ทาการตัดแต่งต้ นเพื่อกระตุ้นให้ เกิดยอดอ่อน เมื่อยอดที่เกิดจากตา ข้ างงอกออกมา โดยมีอายุประมาณ 2 วัน หยดด้ วยสารโคลชิซินตามกรรมวิธีการทดลอง ลงบนยอดอ่อนที่ครอบด้ วยสาลี ทาซ ้า เป็ นเวลา 7 วัน (Figure 1) ข้ อมูลที่บนั ทึกได้ แก่การศึกษาเซลล์ ปากใบ นายอดอ่อนที่เกิดขึ ้นภายหลังการชักนาด้ วยสารโคลชิซิน นามาศึกษาลักษณะของ stomata โดยศึกษาจาก epidermal cell ที่ได้ จาก epidermis ชันล่ ้ าง นาตัวอย่างของผิวใบที่ลอก ออกมา วางบนสไลด์ ศึกษาขนาดและความหนาแน่นของ stomata guard cell วัดการเจริ ญเติบโตของยอดหลังจากหยดสาร เป็ นเวลา 6 สัปดาห์

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

317


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Continually dripped cochicine onto 2 days age of Gymnema inodorum (Lour.) Decne.

ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลการศึกษาพบว่าเซลปากใบของผักเชียงดามีลกั ษณะปากใบค่อนข้ างกลมเป็ นแบบ Paracytic Stomata ซึง่ มี subsidiary cell แนบขนานกับเซลปากใบทังสองข้ ้ าง (Figure 2) ส่วนจานวนเซลปากใบเฉลี่ยต่อพื ้นที่ ความกว้ างและความยาว ของเซลปากใบไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (Table 1) เนื่องจากความเข้ มข้ นของโคลชิซินที่ทาการทดลอง (0 – 1.0%) ไม่ทา ให้ ลกั ษณะทางสัณฐานวิทยาของปากใบเปลี่ยนแปลง แต่การหยดโคลชิซินที่ระดับความเข้ มข้ น 2 และ 4% ยอดของผักเชียงดา ไม่มีการเจริญเติบโต (ยอดตาย) แสดงในภาพที่ 3 จึงเห็นได้ วา่ การใช้ สารโคลชิซิน 0 – 1% ที่ยอดอ่อนของผักเชียงดาไม่สามารถ ชักนาให้ เกิดพอลีพลอยด์ในต้ นผักเชียงดาได้ เมื่อพิจารณาจากจานวนปากใบต่อพื ้นที่ ความกว้ างและความยาวของเซลล์ปากใบ ซึง่ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (Table 1) Table 1 Number of stomata cell per area (0.036 mm 2), stomata width (µm) and stomata length (µm). Colchicine (%) 0% 004 0.10% 004 0.25% 004 0.50% 004 1.0% 004 0% 006 0.10% 006 0.25% 006 0.50% 006 1.0% 006 F-test ns indicate non – significant

318

Number of stomata cell per area (0.036 mm 2) 19.56 22.87 22.03 23.61 21.80 24.50 24.73 24.07 24.51 24.10 ns

Stomata width (µm) 15.41 15.00 15.28 13.72 14.60 15.04 15.36 14.36 14.88 13.98 ns

Stomata length (µm) 22.74 22.47 23.35 21.48 21.59 22.45 23.12 21.92 22.03 21.81 ns

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า No. 004, 0%

No. 006, 0%

No. 004, 0.10%

No. 006, 0.10%

No. 004, 0.25%

No. 006, 0.25%

No. 004, 0.50%

No. 006, 0.50%

No. 004, 0.10%

No. 006, 0.10%

Figure 2 Morphological comparison between different colchicine concentration on number of stomata and chloroplast numbers.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

319


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

จากรูปภาพที่ 2 แสดงปริมาณคลอโรพลาสต์ใน guard cell ซึง่ สามารถใช้ ประเมินความเป็ นพอลีพลอยด์ ก็จะเห็นได้ ว่า ปริ มาณคลอโรพลาสต์ไม่มีความแตกต่างกันเช่นกัน (Figure 2) การหยดสารโคลชิซิน ที่มีความเข้ มข้ น 2 – 4% มีผลทาให้ ยอด อ่อนของต้ นผักเชียงดาตาย (Figure 3) แสดงว่าสารโคลชิซินที่ใช้ มีความเข้ มข้ นสูงเกินไป อย่างไรก็ตามหากมีการทดลองเพื่อทา ให้ ผกั เชียงดาเกิดการกลายพันธุ์โดยใช้ สารโคลชิซิน ความเข้ มข้ นที่ใช้ ควรอยู่ระหว่าง 1 – 2% แสดงว่าพืชแต่ละชนิดมีความ เฉพาะของความเข้ มข้ นที่ใช้ ในพืชอื่น เช่น บัวบก พบว่าการใช้ สารละลายโคลชิซินที่มีความเข้ มข้ น 2% โดยใช้ สาลีชบุ สารลาย โคลชิซิน วางบนยอดอ่อนครอบด้ วยอลูมินมั่ ฟอยด์สามารถชักนาให้ เกิดต้ นพอลีพลอยด์ ดีที่สดุ (วรวุฒิ, 2544)

0%

2%

4%

2%

Figure 3 Effects of colchicine concentration on shoot growth of Gymnema inodorum (Lour.) Decne. สรุ ปผลการทดลอง ความเข้ มข้ นของสารโคลชิชิน 0 –1.0% ไม่ทาให้ จานวนเซลล์ปากใบเฉลี่ยต่อพื ้นที่ ความกว้ างและความยาวของเซลล์ ปากใบเปลี่ยนแปลงไปจากการไม่ใช้ สาร แต่การหยดโคลชิชินที่ระดับความเข้ มข้ น 2 และ 4% ยอดของผักเชียงดาไม่มีการ เจริญเติบโต (ยอดตาย) ประมาณ 99% แต่ยอดที่งอกออกมาจะชะงักการเจริญเติบโตและแห้ งตายในที่สดุ กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจยั นี ้ได้ รับทุนอุดหนุนการวิจยั จากงบประมาณของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ประจาปี 2554 – 2555 เอกสารอ้ างอิง กฤษฎา สัมพันธารักษ์ . 2519. หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. 418 น. เต็ม สมิตินนั ทน์. 2544. ชื่อพรรณไม้ แห่ประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ ป่าไม้ สานักวิชาการป่ าไม้ กรมป่ าไม้ . กรุงเทพฯ. 810 น. วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกลุ . 2544. การชักนาให้ เกิดพอลีพลอยด์ในบัวบกโดยใช้ สารโคลชีซีน. รายงานผลการวิจยั . จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ. 65 น. 320

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า สานักงานคณะกรรมการการสาธารณสุขมูลฐาน. 2540. ผักพืน้ บ้ าน: ความหมายและภูมิปัญญาของสามัญชนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. 261 น. Nair, S. and R. Keshavachandran. 2006. Genetic variability of chakkarakolli (Gymnena sylvestre R. Br.) in Kerala assessed using morphological and biochemical markers. Journal of Tropical Agriculture. 44. 64 – 67.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

321


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการใช้ ป๋ ุยสูตร 6-12-26+12.5 Zn ทางใบต่ อผลผลิตและอายุการเก็บรักษาหอมหัวใหญ่ Effect of 6-12-26+12.5 Zn Foliar Fertilizer on Onion Yield and Shelf Life กรรณิการ์ แก้ วส่ องแสง1, ภานุรักษ์ ประทับกอง1, อภิญญา ศรีอ่อนดี1 และ รวี เสรฐภักดี2 Kannikar Kaewsongsang1, Panurak Pratubgong1, Apinya Sriondee1 and Ravie Sethpakdee2

บทคัดย่ อ การพ่นปุ๋ ยทางใบที่มีโพแทสเซียมสูง (6-12-26+12.5 Zn; นูแทค® ซุปเปอร์ -เค ผลิตด้ วยเทคโนโลยีระบบสเปรย์ดราย) เพื่อศึกษาการเพิ่มน ้าหนักผลผลิตและการยืดอายุการเก็บรักษาในหอมหัวใหญ่พนั ธุ์ ‘ซุปเปอร์ เร็กซ์’ โดยเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยของ 2 ทรี ทเมนต์ คือ การไม่พ่นปุ๋ ย (ชุดควบคุม) และการพ่นปุ๋ ย อัตรา 3 กรัม/ลิตร จานวน 2 ครัง้ หลังย้ ายปลูก 9 และ 11 สัปดาห์ จานวน 4 ซ ้า ใช้ แปลงทดลองขนาด 12.5 ตร.ม.ต่อซ ้า ทาการทดลองระหว่างเดือนธันวาคม 2556-มีนาคม 2557 พบว่า หอมหัวใหญ่ชดุ ที่พ่นด้ วยปุ๋ ย 6-12-26+12.5 Zn มีน ้าหนักผลผลิตหอมมากกว่าชุดควบคุมมีค่าเท่ากับ 9,467 และ 8,529 กก./ไร่ ตามลาดับ หรื อเพิ่มขึ ้น 11% แต่เมื่อเปรี ยบเทียบปริ มาณผลผลิตจากการคัดขนาดหัวโดยแบ่งขนาดเป็ นเบอร์ 0 1 และ 2 (เส้ น ผ่านศูนย์กลาง 7 5 และ 4 ซม. ตามลาดับ) พบว่า หอมหัวใหญ่ชดุ ที่พ่นปุ๋ ยให้ ผลผลิตเบอร์ 0 มากที่สดุ เท่ากับ 8,739 กก./ไร่ ซึง่ มากว่าชุดควบคุมที่มีน ้าหนัก 7,955 กก./ไร่ ภายหลังการเก็บผลผลิตระยะเวลา 3 เดือน พบว่า หอมหัวใหญ่ชดุ ที่พ่นด้ วยปุ๋ ย 612-26+12.5 Zn มีเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักผลผลิตและจานวนหัวที่สญ ู เสียระหว่างเก็บรักษาน้ อยกว่าชุดควบคุม โดยที่การพ่นปุ๋ ยมี น ้าหนักสูญเสียและเน่า เมื่อคิดเป็ นเปอร์ เซ็นต์เท่ากับ 6.5 และ 7.0 ในขณะที่ชดุ ควบคุม เท่ากับ 12.7 และ 13.5 ตามลาดับ คาสาคัญ: นูแทค ซุปเปอร์ -เค, ปุ๋ ยสเปรย์ดราย, ปุ๋ ยทางใบ, น ้าหนักสูญเสีย

ABSTRACT An experiment on the high potassium foliar fertilizer (6-12-26+12.5 Zn; NUTAC® Super-K; fertilizer produced by spray-dried technology) on yield and shelf life of ‘Superex’ onion was established. Two treatments consisted of control (no spray) and spray with 3 g/L of 6-12-26+12.5 Zn foliar fertilizer 2 time, 9 and 11 week after transplant, were comparing. The treatments were conduct during December 2013 until March 2014 in 4 replications which each replication is in 12.5 m2 plot. The result showed that applied with 3 g/L of fertilizer showed an 11% yield higher than the control with value 9,467 and 8,529 kg/rai, respectively. The onions were graded by bulk diameter as 0 (Ø=7 cm), 1 (Ø=5 cm) and 2 (Ø=4 cm). A higher proportion of size 0 was found in onion sprayed with 6-12-26+12.5 Zn (8,739 kg/rai) than the control (7,955 kg/rai). Three month after storage, onion applied with 6-12-26+12.5 Zn fertilizer showed a number and weight loss lower than the control. The number and weight loss of onion sprayed with 6-12-26+12.5 Zn fertilizer were 6.5% and 7.0% while the control were obtained at 12.7% and 13.5%, respectively Keywords: NUTAC® Super-K, foliar fertilizer, spray-dried fertilizer, weight loss

คานา หอมหัวใหญ่ (Allium cepa L. cv. Group Common onion) เป็ นพืชประเภทหัวอยู่ในวงศ์และสกุลเดียวกับหอมแดง และกระเทียม แหล่งปลูกที่สาคัญในประเทศไทย คือ จังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย การปลูกพืชตระกูลนี ้มีการปลูกเฉพาะแหล่ง และปริ มาณการปลูกขึ ้นกับสภาพภูมิอากาศ สาหรับการปลูกบางพื ้นที่การเขตกรรมจึงมีผลอย่างมาก โดยเฉพาะการใส่ปยให้ ุ๋ เพียงพอต่อการเจริ ญเติบโตและพัฒนาผลผลิตจะทาให้ ได้ หอมหัวใหญ่ที่มีคณ ุ ภาพ น ้าหนักดี ซึ่งการปลูกหอมหัวใหญ่ให้ ได้ ผล ผลิตมีคณ ุ ภาพการจัดการธาตุอาหารเป็ นสิ่งสาคัญโดยเฉพาะการใส่ปยที ุ๋ ่ถกู ต้ องและเหมาะสมในแต่ละช่วงการเจริ ญเติบโต ซึ่ง การให้ ไนโตรเจนมากเกินไปเพื่อเร่ งการขยายขนาดหัวและเพิ่มน ้าหนักหัวทาให้ หอมหัวใหญ่เน่า เสียได้ ง่าย อายุการเก็บรักษาจึง 1 2

Business Research and Development Division, SOTUS International CO., LTD., Pak Kret, Nonthaburi, Thailand Associate Professor (Retired), Dept. of Horticulture Kasetsart University Nakhon Pathom, Thailand 322

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สันลง ้ ปั จจุบนั ทังนั ้ กวิจยั และเกษตรกรจึงได้ ศึกษาผลของการใช้ ปยโพแทสเซี ุ๋ ยมต่อการเพิ่มขนาดและผลผลิตในพืชหลายชนิด จากการทดลองปุ๋ ยโพแทสเซียมในสับปะรดและเลมอนพบว่าทาให้ ขนาดผลเพิ่มขึ ้น (Quaggio et al., 2002; Spironello et al., 2004) เนื่องจากโพแทสเซียมเป็ นธาตุอาหารที่ละลายน ้าและเคลื่อนที่ได้ ดี มีบทบาทสาคัญเกี่ยวกับ กระบวนการ metabolism ของพืช เช่น การสังเคราะห์แสง การเคลื่อนย้ ายนา้ ตาล การสังเคราะห์โปรตีนและแบ่งเซลล์พืช นอกจากนีโ้ พแทสเซียมเป็ น ส่วนประกอบของผนังเซลล์พืชทาให้ ผนังเซลล์มีค วามแข็งแรง เนือ้ เยื่อพืชเสถียร เก็บรักษาได้ นาน (ยงยุทธ, 2540) โดยปุ๋ ย โพแทสเซียมมีหลายชนิด เช่น โพแทสเซียมซัลเฟต (0-0-50) หรื อโพแทสเซียมคลอไรด์ (0-0-60) หรื อการผสมปุ๋ ย N-P-K ที่เพิ่ม สัดส่วนของโพแทสเซียมให้ สงู ขึ ้น เช่น 13-13-21 หรื อ 8-24-24 เป็ นต้ น ส่วนปั จจัยที่มีผลต่อการเก็บรักษาหอมหัวใหญ่ขึ ้นกับ พันธุ์ สภาพภูมิอากาศของฤดูที่ปลูก สารเร่ งการเจริ ญเติบโตที่ใช้ และวิธีการเก็บรักษาหลังการเก็บเกี่ยว (Adamicki, 2005) ใน การเก็บรักษาเพื่อการค้ าจะมีการเช่าห้ องเย็นเพื่อลดการเน่าเสียทาให้ ต้องมีต้นทุนเพิ่มมากขึ ้น งานวิจยั นี ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อ ทดลองผลของปุ๋ ย 6-12-26+12.5Zn (นูแทค® ซุปเปอร์ -เค) ซึ่งเป็ นปุ๋ ยที่มีสดั ส่วนของโพแทสเซียมสูง ต่อการเพิ่มปริ มาณผลผลิต และการเก็บรักษาหอมหัวใหญ่พนั ธุ์ ‘ซุปเปอร์ เร็กซ์’ เพื่อใช้ เป็ นปุ๋ ยทางเลือกและใช้ เป็ นข้ อมูลที่สามารถนาไปประยุกต์ให้ เหมาะสม กับพืชชนิดอื่นต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ ใช้ หอมหัวใหญ่พนั ธุ์ ‘ซุปเปอร์ เร็ กซ์’ อายุต้นกล้ า 48 วัน หลังจากเพาะเมล็ด ย้ ายลงแปลงปลูกพื ้นที่ 12.5 ตารางเมตร แยกการทดลองออกเป็ น 2 ทรี ทเมนต์ คือ การไม่พ่นปุ๋ ย (ชุดควบคุม ) และการพ่นปุ๋ ยโพแทสเซียมสูง 6-12-26+12.5 Zn อัตรา 3 กรัม/ลิตร ปริ มาณ 650 มิลลิลิตรต่อแปลง จานวน 2 ครัง้ หลังย้ ายปลูก 9 และ 11 สัปดาห์ โดยมีการใส่ปยรองพื ุ๋ ้นทางดินก่อน ปลูก สูตร 16-16-16 อัตรา 350 กรัม/แปลง หลังจากย้ ายกล้ า 10 วัน ใส่ปยสู ุ๋ ตร 46-0-0 อัตรา 100 กรัม ร่วมกับ 25-7-7 อัตรา 100 กรัม/แปลง และ 40 วัน หลังย้ ายกล้ า ใส่ปยสู ุ๋ ตร 16-16-16 อัตรา 350 กรัม ร่วมกับ 13-21-21 อัตรา 200 กรัม/แปลง (ตาม กรรมวิธีการของเกษตรกร) เก็บเกี่ยวหอมหัวใหญ่เมื่ออายุ 120 วัน วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block Design (RCBD) ประกอบด้ วย 4 ซ ้า วิเคราะห์ความแปรปรวนของข้ อมูลโดย T-Test Statistic การทดลองได้ ดาเนินการระหว่าง เดือนธันวาคม 2556 - มีนาคม 2557 ที่อาเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี บันทึกน ้าหนักผลผลิตทั ้งหมด น ้าหนักผลผลิตแยก ตามขนาด เบอร์ 0 1 และ 2 (เส้ นผ่านศูนย์กลาง 7 5 และ 4 ซม. ตามลาดับ; ภาพที่ 1) จากนันศึ ้ กษาอายุการเก็บรักษา โดย บันทึกน ้าหนักผลผลิต เปอร์ เซ็นต์น ้าหนักที่ไม่เน่าเสีย น ้าหนักและจานวนผลผลิตที่สญ ู เสียระหว่างเก็บรักษาระยะเวลา 3 เดือน

Figure 1 Equipment for size grading of onions.

ผลและวิจารณ์ เมื่อเปรี ยบเทียบการพ่นปุ๋ ยในหอมหัวใหญ่ พบว่า หอมหัวใหญ่ ที่ไม่ได้ พ่นปุ๋ ย มีน ้าหนักผลผลิตน้ อยกว่าการพ่นปุ๋ ย คือ 8,529 และ 9,467 กก./ไร่ ตามลาดับ ซึง่ แตกต่างกัน 938 กก./ไร่ เมื่อทาการคัดแยกหอมหัวใหญ่ออกเป็ น 3 ขนาด คือ เบอร์ 0 1 และ 2 พบว่า การพ่นปุ๋ ยมีแนวโน้ มทาให้ น ้าหนักผลผลิตเบอร์ 0 เท่ากับ 8,739 กก./ไร่ ซึง่ มากกว่าการไม่พ่นปุ๋ ยที่มีน ้าหนัก7,955 กก./ไร่ แตกต่างกัน 784 กก./ไร่ สาหรับเบอร์ 1 และ 2 พบว่า การไม่พ่นปุ๋ ยมีแนวโน้ มทาให้ มีน ้าหนักผลผลิตมากกว่าการพ่นปุ๋ ย คือ เบอร์ 1 มีน ้าหนักผลผลิตเท่ากับ 544 และ 473.6 กก./ไร่ เบอร์ 2 เท่ากับ 38.4 และ 32 กก./ไร่ ตามลาดับ (Table 1 and Figure 3) ซึ่งน ้าหนักที่เพิ่มขึ ้นอาจเป็ นเพราะได้ รับ ปริ มาณปุ๋ ยที่เพียงพอในช่วงที่มีการพัฒนาหัว โดยเฉพาะโพแทสเซียม การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

323


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เนื่องจากโพแทสเซียมมีบทบาทในการเคลื่อนย้ ายน ้าตาลช่วยกระตุ้นการทางานของเอ็นไซม์เกี่ยวข้ องกับการปิ ดและเปิ ดปากใบ พืช ช่วยเร่ง metabolism ของโปรตีนและคาร์ โบไฮเดรต มีความสาคัญต่อการพัฒนาของผลรวมทังคุ ้ ณภาพของผลผลิต (ยงยุทธ, 2540; ชวนพิศ, 2544; Spironello et al., 2004) นอกจากนี ้ในปุ๋ ย 6-12-26+12.5 Zn ยังมีฟอสฟอรัสช่วยให้ พืชทนต่อสภาวะ เครี ยดเกี่ยวข้ องกับการดูดดึงและเคลื่อนย้ ายธาตุอาหารและการสั งเคราะห์คาร์ โบไฮเดรตมีความสาคัญต่อการแบ่งเซลล์ และ สังกะสีที่เกี่ยวข้ องกับการสร้ างออกซินซึง่ เป็ นฮอร์ โมนพืชที่มีผลต่อการขยายขนาดของเซลล์ (ยงยุทธ, 2540; ชวนพิศ, 2544) จากผลการทดลอง พบว่า การพ่นปุ๋ ย 6-12-26+12.5Zn มีแนวโน้ มทาให้ น ้าหนักผลผลิตเพิ่มขึ ้นมากกว่าการไม่พ่นปุ๋ ย 11% ซึง่ การพ่นปุ๋ ย เพียง 2 ครัง้ ก่อนเก็บเกี่ยวทาให้ เกษตรกรมีรายได้ เพิ่มขึ ้นประมาณ 9,380 บาท/ไร่ (Table 1) ซึง่ ต้ นทุนการ ผลิตเพิ่มขึ ้นเพียง 250 บาท/ไร่ (ปุ๋ ยราคากิโลกรัมละ 200 บาท) โดยผลตอบแทนที่ได้ ขึ ้นอยูก่ บั ราคาตามตลาด Table 1 Effect of high potassium foliar fertilizer on yield of onion and income increasing Size(kg/rai) Increasing Total yield Increasing Treatments yield (kg/rai) percentage 0 1 2 (kg/rai) Untreated 7,955 544.0 38.4 8,529 6-12-26+12.5 Zn 8,739 473.6 32.0 9,467 938 11.0 Prob. 0.2326 0.5466 0.4094 0.1759 CV (%) 9.81 14.57 38.57 9.49

Income increasing (x10 Baht) 9,380

(a) Figure 2 Experimental plots of control (no spayed) (a) and sprayed with fertilizer 6-12-26+12.5 Zn (b)

(a)

(b)

(b)

Figure 3 Comparison of onion yield between no spayed (control) (a) and sprayed with 6-12-26+12.5 Zn foliar fertilizer (b). เมื่อศึกษาอายุการเก็บรักษาของหอมหัวใหญ่ที่ระยะเวลา 3 เดือน หลังจากการเก็บเกี่ยว พบว่า การพ่นปุ๋ ย มีจานวนหัว ที่เน่าเสียและน ้าหนักที่สญ ู เสียน้ อยกว่าการไม่พ่นปุ๋ ยโดยจานวนหัวที่เน่าเสียของการพ่นและไม่พ่นปุ๋ ยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 10.7 324

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

และ 16.7 หัว น ้าหนักที่สญ ู เสีย เท่ากับ 15.2 และ 20% ตามลาดับ (Figure 4) การพ่นปุ๋ ยที่มีโพแทสเซียมและสังกะสีมีผลช่วย เพิ่มผลผลิต ขนาดผล คุณภาพผล เช่น สีผิว ปริ มาณกรดที่ไทเทรตได้ (Total Soluble Solids; TSS) และการเก็บรักษาที่ยาวนาน ขึ ้นเพื่อรักษาคุณภาพของการขนส่ง (Lester et al., 2005; Lester et al., 2006; Kanai et al., 2007) สอดคล้ องกับการทดลอง ให้ โพแทสเซียมกับมะเขือเทศพบว่า สามารถเพิ่มผลผลิตและยืดอายุการเก็บรักษาได้ นานขึ ้น (Sadaf et al., 2012) และการพ่น Zn2SO 1% ในมะม่วงยังช่วยในการยืดอายุการเก็บรักษาได้ เช่นกัน (Kumar and Kumar, 1988)

ns ns 1.8 1.4

ns

ns Untreate d, 90, 12.7 5.3

ns Untreated 6-12, 90, 13.5 26+12.5 Zn, 90, 7

Untreated 6-12-26+12.5 Zn 6.6

Number

Weight Loss (%)

Untreated 6-12-26+12.5 Zn

3.4

ns

2 2

ns ns 0.5 0.5 0.8 0.3

Days

Days

2

3

Figure 4 Number and weight loss of onion at 15, 30, 45 and 90 days after harvested

สรุ ปผล 1. การพ่นปุ๋ ย 6-12-2+12.5 Zn อัตรา 60 กรัม จานวน 2 ครัง้ ช่วงก่อนเก็บเกี่ยว (9 และ 11 สัปดาห์ หลังย้ ายปลูก) มี แนวโน้ มทาให้ สามารเพิ่มน ้าหนักผลผลิตได้ 11% โดยการพ่นปุ๋ ยมีผลทาให้ หอมหัวใหญ่มีขนาดเบอร์ 0 มากขึ ้น เบอร์ 1 และ 2 ลดลง เมื่อเปรี ยบเทียบกับการไม่พน่ ปุ๋ ย 2. ภายหลังการเก็บรักษาเป็ นเวลา 3 เดือน หอมหัวใหญ่ที่ได้ รับการพ่นปุ๋ ย 6-12-26+12.5 Zn มีแนวโน้ มทาให้ เก็บ รักษาได้ นานกว่าการไม่พน่ ปุ๋ ย 6-12-26+12.5 Zn เนื่องจากมีเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักของหัวที่เน่าน้ อยกว่าการไม่พน่ ปุ๋ ย 3. ภายหลังการเก็บรักษาเป็ นเวลา 3 เดือน หอมหัวใหญ่ที่ได้ รับการพ่นปุ๋ ย 6-12-26+12.5 Zn มีแนวโน้ มทาให้ เปอร์ เซ็นต์น ้าหนักและจานวนหัวและที่สญ ู เสียน้ อยกว่าการไม่พน่ ปุ๋ ย

เอกสารอ้ างอิง ชวนพิศ แดงสวัสดิ์. 2544. สรี รวิทยาของพืช. สานักพิมพ์พฒ ั นาศึกษา, กรุงเทพฯ. 380น. ยงยุทธ โอสถสภา. 2540. ธาตุอาหารพืช. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , นครปฐม. 529น. Adamicki, F. 2005. Effects of Pre-Harvest Treatments and Storage Conditions on Quality and Shelf-Life of Onions. Proc. IVth IS on Edible Alliaceae. Acta Hort. 688: 229-238. Kanai, S., K. Ohkura, J.J. .Adu-Gyamfi, P.K. Mohapatra, N.T. Nguyen, H. Saneoka and K. Fujita. 2007. Depression of sink activity precedes the inhibition of biomass production in tomato plants subjected to p[potassium deficiency stress. J. Exp. Bot. 58: 2917–2928. Kumar, O. V. and G. Kumar. 1988. Effect of pre-harvest foliar spray of Zinc on post-harvest changes in the quality of mango cv. Dashehari. Acta Hort. 231: 763-770. Lester, G.E., J.L. Jifon and D.J. Makus. 2006. Supplemental foliar potassium applications with or without a surfactant can enhance netted muskmelon quality. Hort Science. 41: 741-744. Lester, G.E., J.L. Jifon and G. Rogers. 2005. Supplemental foliar potassium applications during muskmelon fruit development can improve fruit quality, ascorbic acid, and betacarotene contents. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 130: 649-653. Quaggio, J.A., J.R. Mattos, H. Cantarella, E. Almeida and S. Cardoso. 2002. Lemon yield and fruit quality affected by NPK fertilization. Sci Hortic-Amsterdam. 96:151-162, การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

325


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Sadaf, J. M., Q. Khan, H.U. Rahman and I. Bakshs. 2012. Response of tomato yield and post harvest life to potash levels. Sarhad. J. Agric. 28: 227-235. Spironello, A., J. A. Quaggio, L..A.J. Teixeira, P.R. Furlani and J.M.M. Sigrist. 2004. Pineapple yield and fruit quality effected by NPK fertilization in a tropical soil. Rev. Bras. Frutic. 26: 155-159.

326

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการใช้ ป๋ ุยแคลเซียม โบรอนและปุ๋ยโพแทสเซียมต่ อผลผลิตและคุณภาพของมันฝรั่ง Effects of Calcium Boron (Ca-B) and Potassium Fertilizers on the Yield and Quality on Potato กรรณิการ์ แก้ วส่ องแสง1, ภานุรักษ์ ประทับกอง1, อภิศักดิ์ เบ้ าลี1 และรวี เสรฐภักดี2 Kannikar Kaewsongsang1, Panurak Pratubgong1, Apisak Baolee1 and Ravie Sethpakdee

บทคัดย่ อ ศึกษาผลของการใช้ ปยทางใบ ุ๋ 2 ชนิด คือ ปุ๋ ยแคลเซียมโบรอน (CaB) นูบา®สเปรย์ (CaB; CaO 7%, B 0.8%) และปุ๋ ย ที่มีโพแทสเซียมสูง นูแทค®ซุปเปอร์ -เค (6-12-26+12.5 Zn) ซึง่ เป็ นปุ๋ ยที่ผลิตด้ วยระบบสเปรย์ดราย ต่อคุณภาพและผลผลิตของ มันฝรั่งโดยการพ่นทางใบในระยะที่มนั ฝรั่งเริ่ มออกดอก จานวน 3 ครัง้ ห่างกันทุก 7 วัน ทาการทดลองที่ อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ วาง แผนการทดลองแบบ RCBD มี 3 ซ ้า 8 ตารับการทดลอง คือ 1) ไม่พ่นปุ๋ ยทางใบ (ชุดควบคุม) 2) พ่น 6-12-26+12.5 Znอัตรา 2.5 กรัม/ลิตร 3, 4 และ 5) พ่น CaB อัตรา 0.5, 1.0 และ 1.5 มิลลิลิตร/ลิตร 6) พ่น CaB +(6-12-6+12.5 Zn) อัตรา 0.5 มิลลิลิตร+2.5 กรัม/ลิตร 7) พ่น CaB+(6-12-6+12.5 Zn) อัตรา 1.0 มิลลิลิตร+2.5 กรัม/ลิตร และ 8) พ่น CaB+(6-12-6+12.5 Zn)อัตรา 1.5 มิลลิลิตร+2.5 กรัม/ลิตร พบว่าผลผลิตของมันฝรั่งที่พ่นด้ วยปุ๋ ย CaB+(6-12-6+12.5 Zn) ที่อตั รา 1.5 มิลลิลิตร+2.5 กรัม/ลิตร,ปุ๋ ย CaB+(6-12-6+12.5 Zn)ที่อตั ราที่อตั รา 1.0 มิลลิลิตร+2.5 กรัม/ลิตร, ปุ๋ ย CaB ที่อตั รา 1.0 มิลลิลิตร/ลิตร และปุ๋ ย CaB ที่อตั รา 1.5 มิลลิลิตร/ลิตร ได้ ผลผลิต 4,404, 4,138, 4,093 และ 4,087 กก/ไร่ ซึง่ สูงกว่าตารับ ควบคุม13.2, 6.4, 5.2 และ 5.1% ตามลาดับ ส่วนเปอร์ เซ็นต์แป้งความกว้ าง ความยาวและจานวนหัวมันฝรั่งต่อไร่ ไม่มีความ แตกต่างกันทางสถิติกบั ตารับควบคุม คาสาคัญ: นูบา สเปรย์, นูแทค®ซุปเปอร์ -เค, ปุ๋ ยทางใบ, ปุ๋ ยสเปรย์ดราย

ABSTRACT Studied on the effect of two foliar fertilizers such as CaB (CaO 7%, B 0.8%; NUBA® Spray) and high potassium fertilizer (6-12-26+12.5 Zn; NUTAC® Super-K; fertilizer produced by spray-dried technology) for yield and quality of Irish potato. The treated application was commenced at flowering stage with 3 times at 7 days interval. The treatments were laid out in RCBD with 3 replications. This experiment was conducted at Fang District, Chiangmai Province. Treatments were consisted of 1) no foliar fertilizer (control), 2) 6-12-26+12.5 Zn at 2.5 g/L, 3, 4 and 5) of CaB at 0.5, 1.0 and 1.5 ml/L, 6) CaB+(6-12-6+12.5 Zn) at 0.5 ml+2.5 g/L, 7) CaB+(6-12-6+12.5 Zn) at 1.0 ml+2.5 g/L and 8) CaB+(6-12-6+12.5 Zn) at 1.5 ml+2.5 g/L. Yields of potato with CaB+(6-12-6+12.5 Zn) at 1.5 ml+2.5 g/L, CaB+(6-12-6+12.5 Zn) at 1.0 ml+2.5 g/L, CaB at 1.0 ml/L and CaB at 1.5 ml/L fertilizers gave 4,404 4,138, 4,093, and 4,087 kg/rai which higher than control at 13.2, 6.4, 5.2 and 5.1%, respectively. However the percentage of starch, tuber size and the number of tubers were not significantly different as compared with control. Keywords: NUTAC® Super-K, NUBA® spray, foliar fertilizer, spray-dried fertilizer

คานา มันฝรั่ง (Solanum tuberosum L.) เป็ นพืชหัวที่สามารถปลูกได้ ดีในพื ้นที่ที่มีอากาศหนาว แหล่งปลูกมันฝรั่งในประเทศ ไทยที่ได้ ผลดี คือ จังหวัดทางภาคเหนือซึง่ มีอากาศหนาวเย็น เช่น เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ส่วนทางภาคกลาง ภาคอีสาน และภาคใต้ ก็มีปลูกกันบ้ างแต่มีผลผลิตน้ อยเมื่อเทียบกับจังหวัดทางภาคเหนือ (พนม, มปป) โดยคุณภาพมันฝรั่งที่ตลาดโรงงาน แปรรูปต้ องการ คือ มีปริ มาณแป้งสูงและปริ มาณน ้าตาลในหัวต่า โดยปริ มาณแป้งต้ องมีค่า specific gravity ไม่ต่ากว่า 1.065 หรื อ เท่าค่า gross solid 17.06 ถือเป็ นมาตรฐานต่าสุดที่ยอมรับการซื ้อขายหรื อเป็ นไปตามพันธสัญญา (อภิรักษ์ , 2557) และหัว ต้ องมีขนาดใหญ่ตงแต่ ั ้ 4.5 เซนติเมตร ขึ ้นไป มีสภาพสมบูรณ์ไม่มีแผล ไม่เน่าเสีย ไม่มีหวั เขียว (พนม, มปป) การปลูกมันฝรั่งให้ 1 2

Business Research and Development Division, SOTUS International CO., LTD., Pak Kret, Nonthaburi, Thailand Associate Professor (Retired), Dept. of Horticulture Kasetsart University Nakhon Pathom, Thailand

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

327


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ได้ คณ ุ ภาพต้ องมีการเขตกรรมที่ดีเหมาะสมในแต่ละช่วงเวลาการเจริ ญเติบโต ซึง่ การให้ ปยทางดิ ุ๋ นเพียงอย่างเดียวอาจทาให้ การ ดูดซึมธาตุอาหารของพืชเป็ นไปได้ ช้า เนื่องจากการแลกเปลี่ยนประจุของธาตุอาหารระหว่างดินกับต้ นพืชยังขึ ้นกับค่า pH ในดิน อีกด้ วย ค่า pH ที่เหมาะสมต่อการดูดซึมธาตุอาหารของพืชอยู่ที่ 5.5-6.5 ดังนันหากมี ้ การใส่ปยทางดิ ุ๋ นเพียงอย่า งเดียวการ เคลื่อนย้ ายของธาตุอาหารอาจไม่เพียงพอต่อความต้ องการของพืช โดยเฉพาะฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม (Panaullah et al., 2006) หรื อการให้ ธาตุสงั กะสีซงึ่ เป็ นธาตุที่เกี่ยวข้ องกับการสร้ างฮอร์ โมนออกซินที่ช่วยในการขยายขนาดของเซลล์พืช นอกจากนี ้ การให้ จลุ ธาตุบางชนิดอย่างแคลเซียมและโบรอนมีความสาคัญต่อการเจริ ญเติบโต เนื่องจากแคลเซียมและโบรอนช่วยส่งเสริ ม ประสิทธิ ภาพการเคลื่อนย้ ายธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมได้ ดี สร้ างความแข็งแรงของรากใหม่ ผนังเซลล์ใหม่ ป้องกันผลแตก (ยงยุทธ, 2552) การพ่นปุ๋ ยให้ เหมาะสมและตรงตามความต้ องการของมันฝรั่งในแต่ละช่วงการเจริ ญเติบโต สามารถช่วยเพิ่มผลผลิตและเพิ่มรายได้ ให้ กับเกษตรได้ โดยระยะที่ มีการเจริ ญเติบโตทางด้ านลาต้ นควรใส่ปุ๋ยที่มีสัดส่วน ไนโตรเจนสูงและในระยะที่มนั ฝรั่งมีการสร้ างหัวและสะสมอาหารใส่ปยที ุ๋ ่มีสดั ส่วนฟอสฟอรัส โพแทสเซียมที่สงู ขึ ้น หรื อการให้ สังกะสีและจุลธาตุร่วมด้ วยก็อาจเพิ่มปริ มาณผลผลิตได้ งานวิจยั นี ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของการใช้ ปยทางใบ ุ๋ 2 ชนิด ® ® คือ ปุ๋ ยแคลเซียมโบรอนนูบา สเปรย์ (CaB; CaO 7%, B 0.8%) และปุ๋ ยที่มีโพแทสเซียมสูง นูแทค ซุปเปอร์ -เค (6-12-26+12.5 Zn) ซึง่ เป็ นปุ๋ ยที่ผลิตด้ วยเทคโนโลยีด้วยระบบสเปรย์ดราย ต่อคุณภาพและผลผลิตของมันฝรั่ง

อุปกรณ์ วิธีการ ทาการทดลองในแปลงมันฝรั่งของเกษตรกรอาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ช่วงฤดูหนาว (เดือนธันวาคม 2557-เดือน กุมภาพันธ์ 2558) วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ภายในบล็อก (Randomized Complete Block Design; RCBD) ขนาด แปลงย่อย 5 x 6 เมตร จานวน 3 ซ ้า 8 ตารับทดลองตารับทดลองคือ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

ปุ๋ ย 6-12-6+12.5 Zn อัตรา 2.5 กรัม/ลิตร ปุ๋ ย CaB อัตรา 0.5 มิลลิลิตร/ลิตร ปุ๋ ย CaB อัตรา 1.0 มิลลิลิตร/ลิตร ปุ๋ ย CaB อัตรา 1.5 มิลลิลิตร/ลิตร ปุ๋ ย CaB+(6-12-26+12.5 Zn) อัตรา 0.5 มิลลิลิตร+2.5 กรัม/ลิตร ปุ๋ ย CaB+(6-12-26+12. Zn) อัตรา 1.0 มิลลิลิตร +2.5 กรัม/ลิตร ปุ๋ ย CaB+(6-12-26+12.5 Zn) อัตรา 1.5 มิลลิลิตร +2.5 กรัม/ลิตร ไม่พน่ ปุ๋ ย (Control)

โดยเริ่ มพ่นปุ๋ ยทางใบเมื่อมันฝรั่งเริ่ มออกดอก จานวน 3 ครัง้ ห่างกันครัง้ ละ7 วัน อัตรา 80 ลิตร/ไร่ ใช้ เครื่ องพ่นแบบสูบ โยกสะพายหลัง (Knapsack sprayer) โดยมีการใส่ปยรองพื ุ๋ ้นทางดินก่อนปลูกสูตร 12-12-17 อัตรา 2.81 กิโลกรัม/แปลง และ ใส่ปยสู ุ๋ ตร 20-10-10 ร่ วมกับ MgSO4.7H2O อัตราอย่างละ 0.47 กิโลกรัม/แปลง ในช่วงพร้ อมกับกลบหัวพันธุ์มนั ฝรั่ง หลังจาก นัน้ 30 วัน ใส่ปยสู ุ๋ ตร 20-10-10 ร่ วมกับ MgSO4.7H2O อัตราอย่างละ 0.47 กิโลกรัม/แปลง อีกครัง้ (ตามกรรมวิธี การของ เกษตรกร) บันทึกข้ อมูลในระยะเก็บเกี่ยว ได้ แก่ น ้าหนักผลผลิตของมันฝรั่ง น ้าหนักหัวมันฝรั่งเฉลี่ย ขนาดของหัวมันฝรั่ง โดยวัด ความกว้ าง และความยาวจานวนหัวต่อพื ้นที่ และปริ มาณเปอร์ เซ็นต์แป้ง โดยวิธีวิเคราะห์หาปริ มาณเปอร์ เซ็นต์แป้ง ทาโดยสุ่ม ตัวอย่างมันฝรั่งจานวน 5 กิโลกรัม จากนันน ้ าไปชัง่ ในน ้าให้ เครื่ องชัง่ แขวนอยู่เหนือน ้า จดน ้าหนักที่ชงั่ ได้ คานวณหาค่าความ ถ่วงจาเพาะจากสูตร ค่าความถ่วงจาเพาะ = น ้าหนักที่ชงั่ ในอากาศ /(น ้าหนักที่ชงั่ ในอากาศ - น ้าหนักที่ชงั่ ในน ้า) จากนันน ้ าค่าความถ่วงจาเพาะเปรี ยบเทียบค่ามาตรฐานในตารางเพื่อหาปริมาณแป้งในหัวมันฝรั่ง (อภิรักษ์ , 2557)

328

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลและวิจารณ์ ผลผลิตมันฝรั่ง เมื่อเก็บผลผลิตมันฝรั่ง 90 วันหลังปลูก พบว่าการพ่นปุ๋ ย CaB+(6-12-26+12.5 Zn) อัตรา 1.5 มิลลิลิตร/ลิตร+2.5 กรัม/ลิตร ให้ ผลผลิตมากที่สดุ 4,404 กิโลกรัม/ไร่ ซึง่ มากกว่าและแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติกบั การไม่พ่นปุ๋ ยทางใบ โดย เพิ่มขึ ้น 13.2% รองลงมาคือ พ่นปุ๋ ย CaB+(6-12-6+12.5 Zn) อัตรา 1.0 มิลลิลิตร/ลิตร +2.5 กรัม/ลิตร การพ่นปุ๋ ย CaB อัตรา 1.5 และ 1.0 มิลลิลิตร/ลิตร ให้ ผลผลิต 4,138 4,087 และ 4,093 กิโลกรัม/ไร่ คิดเป็ น 6.4, 5.1และ 5.2% ตามลาดับ เมื่อ เปรี ยบเทียบกับการไม่พ่นปุ๋ ยทางใบ (Table 1) ส่วนตารับทดลองอื่นๆ คือ ตารับที่พ่นปุ๋ ยเพียงชนิดเดียวคือ ปุ๋ ยสูตร 6-1226+12.5 Zn อัตรา 2.5 กรัม/ลิตร หรื อปุ๋ ย CaB อัตรา 0.5 1.0 และ 1.5 มิลลิลิตร/ลิตร และตารับที่มีการพ่นปุ๋ ย 2 ชนิดร่วมกัน คือ พ่นปุ๋ ย CaB+(6-12-6+12.5 Zn) อัตรา 0.5 มิลลิลิตร/ลิตร +2.5 กรัม/ลิตร และ 1.0 มิลลิลิตร/ลิตร +2.5 กรัม/ลิตร นันให้ ้ ผลผลิต เพิ่มขึ ้น 0.5-6.4% เมื่อเปรี ยบเทียบกับการไม่พ่นปุ๋ ยทางใบ ซึง่ การพ่นปุ๋ ย 6-12-26+12.5 Zn และปุ๋ ย CaB ร่วมกันให้ กบั มันฝรั่งมี ผลทาให้ ผลผลิตของมันฝรั่งเพิ่มขึ ้นมากที่สดุ (Table 1) หรื อการพ่น CaB หรื อ 6-12-6+12.5 Zn เพียงชนิดเดียว ผลผลิตที่ได้ ยังคงน้ อยกว่าการพ่นปุ๋ ยทางใบทัง้ สองชนิดร่ วมกัน เนื่ องจากการพ่น ปุ๋ ย 6-12-26+12.5 Zn มีทัง้ ไนโตรเจน ฟอสฟอรั ส โพแทสเซียม และสังกะสี ที่ช่วยการเจริ ญเติบโต ขยายขนาดเซลล์ และกระตุ้นเอนไซม์ที่เกี่ยวข้ องกับการสังเคราะห์แสงเพื่อ สะสมอาหาร ส่งเสริม metabolism และการเปลี่ยนแปลงของเนื ้อเยื่อในเซลล์พืช (Haeder et al., 1973) และการพ่นปุ๋ ย CaB ยัง ช่วยส่งเสริ มประสิทธิ ภาพการเคลื่อนย้ ายธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม และทาให้ petiole, medulla และ periderm เพิ่มขึ ้นเมื่อทาการตรวจสอบเซลล์ (ยงยุทธ,2552; Singh and Lal, 2012; Locascio et al., 1992) และจากผลการ ทดลองนี ้สังเกตว่ามันฝรั่งที่ได้ รับปุ๋ ย CaB เพิ่มขึ ้นทังที ้ ่พ่นชนิดเดียวและพ่นร่ วมกับ 6-12-6+12.5 Zn ทาให้ ผลผลิตเพิ่มขึ ้น อาจ เป็ นไปได้ ว่าดินบริ เวณนันมี ้ ธาตุแคลเซียมและโบรอนไม่เพียงพอ หรื อค่า pH ของดินไม่เหมาะสมต่อการเคลื่อนย้ ายธาตุทงสอง ั้ ชนิดนี ้ Table 1 Yield and number of potato at harvested time (90 days after sowing: DAS) on Fang District, Chiang Mai Province. Number of tuber Total tuber yield % Treatments Rate 1 (No./rai) (kg/rai) increasing 1.6-12-26+12.5 Zn 2.5 g/ L 35,667 3,967 b 2.0 2.CaB 0.5 ml/ L 36,233 3,987 b 2.5 3.CaB 1.0 ml/ L 37,267 4,093 ab 5.2 4.CaB 1.5 ml/ L 37,200 4,087 ab 5.1 5.CaB+(6-12-26+12.5 Zn) 0.5 ml/ L +2.5 g/ L 33,700 3,910 b 0.5 6.CaB+(6-12-26+12.5 Zn) 1.0 ml/ L +2.5 g/ L 38,267 4,138 ab 6.4 7.CaB+(6-12-26+12.5 Zn) 1.5 ml/ L +2.5 g/ L 38,444 4,404 a 13.2 8.Untreated(Control) 36,533 3,890 b F-test ns ** CV. (%) 7.00 4.24 1/ means within column with different letters differ significant at P≤ 0.05 จากการนับจานวนหัวมันฝรั่ง พบว่าทุกตารับที่พ่นปุ๋ ยทางใบมีจานวนหัวมันฝรั่งเฉลี่ย 33,700-38,444 หัวต่อไร่ ซึ่งไม่ แตกต่างทางสถิติกบั ตารับที่ไม่พ่นปุ๋ ยที่มีจานวนหัวมันฝรั่งเฉลี่ย 36,533 หัวต่อไร่ (Table 1) สอดคล้ องกับน ้าหนักหัวมันฝรั่ง เฉลี่ยพบว่าทุกตารับที่พ่นปุ๋ ยมันฝรั่งมีน ้าหนักหัวเฉลี่ย 108.87-116.89 กรัม ขณะที่การไม่พ่นปุ๋ ยมีน ้าหนักหัวเฉลี่ย 106.58 กรัม (Table 2)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

329


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Tuber size and weight of potato at harvested time (90 DAS) on Fang District, Chiang Mai Province. Average Tuber size Rate Treatments tuber weight (g, ml/ L) Width(cm) Length(cm) (g) 1.6-12-26+12.5 Zn 2.5 g/ L 111.09 5.90 6.85 2.CaB 0.5 ml/ L 110.62 5.94 6.99 3.CaB 1.0 ml/ L 111.50 5.89 6.93 4.CaB 1.5 ml/ L 110.01 5.92 7.02 5.CaB+(6-12-26+12.5 Zn) 0.5 ml/ L +2.5 g/ L 116.89 5.71 6.83 6.CaB+(6-12-26+12.5 Zn) 1.0 ml/ L +2.5 g/ L 108.87 6.08 6.93 7.CaB+(6-12-26+12.5 Zn) 1.5 ml/ L +2.5 g/ L 113.38 5.96 7.12 8.Untreated(Control) 106.58 5.90 7.07 F-test ns ns ns CV. (%) 7.27 2.59 4.16 ลักษณะคุณภาพผลผลิต เมื่อวัดขนาดหัวมันฝรั่ง พบว่า ทุกตารับที่พ่นปุ๋ ยมีความกว้ างของหัวมันฝรั่ง 5.71-6.08 เซนติเมตร มีความยาว 6.837.12 เซนติเมตร ซึ่งไม่แตกต่างทางสถิติกบั การไม่พ่นปุ๋ ยที่มีความกว้ างและความยาวเฉลี่ย 5.90 และ 7.07 เซนติเมตร ตามลาดับ (Table 2) และเมื่อวิเคราะห์เปอร์ เซ็นต์แป้ง พบว่าทุกตารับที่พ่นปุ๋ ยมีเปอร์ เซ็นต์แป้งระหว่าง 21.5-22.3% ไม่แตกต่าง ทางสถิติกบั การไม่พน่ ปุ๋ ยที่มีเปอร์ เซ็นต์แป้ง 22.2% (Table 3) Table 3 Percentage of starch content in potato at harvested time (90 DAS) on Fang District, Chiang Mai Province. Treatments Rate Gross solid (%) 1.6-12-26+12.5 Zn 2.5 g/ L 22.33 2.CaB 0.5 ml/ L 21.76 3.CaB 1.0 ml/ L 21.49 4.CaB 1.5 ml/ L 21.96 5.CaB+(6-12-26+12.5 Zn) 0.5 ml/ L +2.5 g/ L 21.97 6.CaB+(6-12-26+12.5 Zn) 1.0 ml/ L +2.5 g/ L 22.12 7.CaB+(6-12-26+12.5 Zn) 1.5 ml/ L +2.5 g/ L 21.44 8.Untreated(Control) 22.23 F-test ns CV. (%) 3.0 จากการวัดความกว้ างและความยาวหัวและวิเคราะห์เปอร์ เซ็นต์แป้งไม่พบความแตกต่างกันระหว่างการพ่นและไม่พ่น ปุ๋ ย แต่พบว่าน ้าหนักหัวมันฝรั่งเฉลี่ยมีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นเมื่อเทียบกับการไม่พน่ ปุ๋ ย ทังนี ้ ้การเพิ่มขึ ้นของน ้าหนักหัวเฉลี่ยนัน้ อาจเกิด จากหัวมันฝรั่งที่ได้ รับปุ๋ ยมีโครงสร้ างของผนังเซลล์ที่แข็งแรงทาให้ อตั ราการสูญเสียน ้ามีน้อยขณะเก็บเกี่ยว ซึ่ง พืชมีกลไกการ ควบคุมระดับธาตุอาหารเพื่อสร้ างความสมดุลในเซลล์ให้ อยู่ในระดับที่เหมาะสม โดยการพ่นปุ๋ ยในอัตราและปริ มาณนี ้อาจไม่ มากจนมีผลต่อเปอร์ เซ็นต์แป้งในหัวมันฝรั่ง ทังนี ้ ้หากมี การศึกษาถึงอายุการเก็บรักษาอาจเป็ นไปได้ ว่าการพ่นปุ๋ ยให้ มนั ฝรั่งทาง ใบน่าจะมีผลต่ออายุการเก็บรักษา เพราะการให้ แคลเซียมหรื อโบรอนมีสว่ นช่วยเพิ่มความแข็งแรงของผนังเซลล์ (ยงยุทธ, 2552)

330

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ป จากการศึกษาผลของการใช้ ปยทางใบ ุ๋ 2 ชนิด คือ CaB นูบา สเปรย์(CaB; CaO 7%, B 0.8%) และ ปุ๋ ยที่มี ® โพแทสเซียมสูง นูแทค ซุปเปอร์ -เค (6-12-26+12.5 Zn) ต่อคุณภาพและผลผลิตของมันฝรั่ง โดยการพ่นทางใบในระยะมันฝรั่ง เริ่ มออกดอก จานวน 3 ครัง้ ห่างกันทุก 7 วัน มีผลทาให้ ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ ้น โดยการพ่นปุ๋ ย CaB+(6-12-26+12.5 Zn) ที่อตั รา 1.5 มิลลิลิตร+2.5 กรัม/ลิตร ให้ ผลผลิตมันฝรั่งสูงสุด คือ 4,404 กิโลกรัม/ไร่ ซึง่ สูงกว่าการไม่พ่นปุ๋ ย 13.2% รองลงมาคือ พ่นปุ๋ ย CaB+(6-12-26+12.5 Zn)อัตรา 1.0 มิลลิลิตร+2.5 กรัม/ลิตร ปุ๋ ย CaB อัตรา 1.0 มิลลิลิตร/ลิตร และปุ๋ ย CaB อัตรา 1.5 มิลลิลิตร/ลิตร ให้ ผลผลิตมันฝรั่ง 4,138 4,093 และ 4,087 กิโลกรัม/ไร่ สูงกว่าการไม่พ่นปุ๋ ย 6.4 5.2 และ 5.1% ตามลาดับ ในขณะที่การพ่นปุ๋ ยทางใบทุกตารับทดลองไม่มีผลทาให้ เปอร์ เซ็นต์แป้ง ความกว้ างและความยาวของหัวมันฝรั่ง จานวนหัวมัน ฝรั่งต่อไร่ และน ้าหนักหัวมันฝรั่งเฉลี่ยแตกต่างกันทางสถิติ แต่ทงนี ั ้ ้หัวมันฝรั่งที่ได้ รับการพ่นปุ๋ ยทุกตารับทดลองมีน ้าหนักหัวเฉลี่ย มากกว่าการไม่พน่ ปุ๋ ย ซึง่ ในปริมาณพื ้นที่ที่เพิ่มขึ ้นน ้าหนักที่ได้ ก็เพิ่มขึ ้นตามไปด้ วยดังจะเห็นได้ จากผลผลิตต่อไร่ที่เพิ่มขึ ้น

เอกสารอ้ างอิง พนม เกิดแสง. มปป. การปลูกมันฝรั่งและการแปรรูป. สานักส่งเสริ มและฝึ กอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . แหล่งที่มา: http://www.eto.ku.ac.th/neweto/e-book/panom/potato.pdf. 27 สิงหาคม 2558. ยงยุทธ โอสถสภา. 2552. ธาตุอาหารพืช.พิมพ์ครัง้ ที่ 3. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. 529 น. อภิรักษ์ หลักชัยกุล. 2557. การปลูกมันฝรั่ง. ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. กรุงเทพฯ. 252 น. Haeder, H.E., K. Mengel and H. Forster. 1973. The effect of potassium on translocation of photosynthates and yield pattern of potato plant. J. Sci. Fd. Agric. 24: 1479-1487. Locascio, S.J., J.A. Bartz and D.P. Weingartner. Calcium and potassium fertilization of potatoes grown in North Florida I. Effects on potato yield and tissue Ca and K concentrations. Am. Potato. J. 69 (2): 95-104. Panaullah, G.M., J. Timsina, M.A. Saleque, M. Ishaque, A.B.M.B.U. Pathan, D.J. Connor, P.K. Saha, M.A. Quayyum, E. Humphreys and C.A. Meisner. 2006. Nutrient uptake and apparent balances for rice-wheat sequences. III. Potassium. J. Plant.Nutr. 29: 17387. Singh, S.K. and S.S. Lal. 2102. Effect of potassium nutrition on potato yield, quality and nutrient use efficiency under varied levels of nitrogen application. Am. Potato. J. 39 (2): 155-165.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

331


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อิทธิพลของจิบเบอเรลลิคแอซิดต่ อการหลุดร่ วงและคุณภาพผลของมะพร้ าวนา้ หอม Effect of Gibberellic Acid on Fruit Drop and Fruit Quality of Aromatic Coconut เมษา เกือ้ คลัง1 กฤษณา กฤษณพุกต์ 1,2 และลพ ภวภูตานนท์ 1,2 Mesa Kueklang1 Krisana Krisanapook1,2 and Lop Phavaphutanon1,2

บทคัดย่ อ

การศึกษาอิทธิพลของจิบเบอเรลลิคแอซิด (Gibberellic acid: GA3) ต่อการหลุดร่ วงและคุณภาพผลของมะพร้ าว น ้าหอม วางแผนการทดลองแบบ completely randomized design (CRD) มี 3 ทรี ทเมนต์ ทรี ทเมนต์ละ 6 ซ ้า (จัน่ ) คือ 1) ชุด ควบคุม (น ้าเปล่า) 2) ฉีดพ่นสารละลาย GA3 ความเข้ มข้ น 450 ppm จานวน 1 ครัง้ และ 3) ฉีดพ่นสารละลาย GA3 ความ เข้ มข้ น 450 ppm จานวน 2 ครัง้ (ระยะเวลาห่างกัน 4 วัน) แก่จนั่ (ช่อดอก) ของมะพร้ าวหลังเกิดการผสมเกสร พบว่ามะพร้ าว น ้าหอมที่ไม่ได้ รับสารและได้ รับสาร GA3 มีเปอร์ เซ็นต์การหลุดร่ วงของผลที่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยมะพร้ าวที่ไม่ ได้ รับสารมี การหลุดร่วงมากที่สดุ คิดเป็ น 64% รองลงมาคือที่ได้ รับสาร 1 ครัง้ และ 2 ครัง้ มีการหลุดร่วงของผล คิดเป็ น 58 % และ 37 % ตามลาดับ และพบว่า GA3 ไม่มีอิทธิ พลต่อคุณภาพผล ทังด้ ้ านขนาดผล ได้ แก่ เส้ นผ่านศูนย์กลางผล ความยาวผล เส้ นผ่าน ศูนย์ กลางของกะลา ความหนาของเปลือก ความหนาของกะลา และความหนาของเนื อ้ ด้ านนา้ หนัก ได้ แก่ นา้ หนักทัง้ ผล นา้ หนักของเปลือก นา้ หนักของกะลา นา้ หนักของเนือ้ และปริ มาตรนา้ มะพร้ าว ปริ มาณของแข็งที่ละลายนา้ ได้ ( TSS) และ ปริมาณกรดที่ไตเตรทได้ (TA) ในน ้ามะพร้ าว คาสาคัญ: สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช, การติดผล, การพัฒนาของผล

Abstract

The objective of this study was to determine the effect of gibberellic acid (GA3) on fruit drop and fruit quality of aromatic coconut. Experimental design was completely randomized design (CRD) with three treatments, 6 replications (inflorescence) for one treatment. The treatments of this experiment comprised of 1) control (the inflorescences were sprayed with water). 2) sprayed with 450 ppm GA3 for 1 time and 3) sprayed with 450 ppm GA3 for 2 times (the second time was applied 4 days after the first time). All spraying were done after fertilization. The results showed that GA3 in treatment 2 and treatment 3 did not affect fruit drop in aromatic coconut. In control, fruit drop amount was 64%, followed by coconut fruit received 450 ppm GA3 for 1 time and 2 times, and their fruit drop were 58% and 37%, respectively. The results also showed that GA3 did not affect fruit qualities of aromatic coconut whether fruit diameter, fruit length, shell diameter, husk thickness, shell thickness, flesh thickness, total weight, husk weight, shell weight, flesh weight, coconut water, total soluble solid (TSS) and titratable acidity (TA) in coconut water. Keywords : plant growth regulator, fruit set, fruit development

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 Department of Horticulture, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, KampaengSaen Campus, Nakhon Pathom, 73140 2 ศูนย์วิจยั และพัฒนาไม้ ผลเขตร้ อน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม 73140 2 Tropical fruit Research and Development Center, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Kampaeng Saen Campus, Nakhon Pathom, 73140 1

332

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา

ปั จจุบันมะพร้ าวนา้ หอมกาลังเป็ นที่นิยมทัง้ ภายในและต่างประเทศ จากข้ อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2557) รายงานว่า ตลาดการส่งออกมะพร้ าวน ้าหอมของประเทศไทยเริ่มมีการขยายตัวมากขึ ้น โดยมีผลผลิตส่งออกไปยังทัว่ โลก ทังสหรั ้ ฐอเมริ กา แคนาดา ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุ่ น อย่างไรก็ตามแม้ ว่าความต้ องการน ้าหอมจะมีมากขึ ้น แต่กลับพบว่ากาลังการ ผลิตมีแนวโน้ มลดลง ส่งผลให้ ราคาผลผลิตมีแนวโน้ มที่จะเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะช่วงฤดูร้อน สาเหตุหนึ่งอาจมาจาก การหลุดร่วงของผลที่เกิดขึ ้นหลังจากที่ดอกตัวเมียได้ รับ การผสมเกสรแล้ ว ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก พันธุกรรม ความสมบูรณ์ของ ต้ น สภาพแวดล้ อม การดูแลจัดการสวน (เปรม, 2558) จากการศึกษามะพร้ าวน ้าหอมพบว่า หลังจากดอกบานและได้ รับการ ผสมเกสรแล้ ว 3 เดือน ดอกตัวเมียจะเจริ ญไปเป็ นผลได้ ประมาณ 70% แต่หลังจากนี ้จนถึงระยะเก็บเกี่ยวอาจมีผลหลุดร่วงได้ อีก ประมาณ 5-10% (ณรงค์, 2536) ซึง่ เป็ นลักษณะเดียวกับไม้ ผลอีกหลายชนิดที่พบว่ามีการหลุดร่วงของผลหลังจากที่ดอกได้ รับ การผสมแล้ วหรื อขณะที่ผลกาลังเจริญเติบโต เช่น ส้ ม มะม่วง มะนาว ฝรั่ง (สัมฤทธิ์, 2554) ปั จจุบนั มีการนาสารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืชมาใช้ เพื่อช่วยลดการหลุดร่ วงและเพื่อเพิ่มคุณภาพผล เช่น การใช้ สารจิบเบอเรลลิคแอซิด (Gibberellic acid; GA3) ซึง่ อยู่ในกลุม่ ของฮอร์ โมนพืชจิบเบอเรลลิน (Gibberellin; GA) เพราะมีผลต่อ การยืดตัวของเซลล์ การเกิดดอก การติดผล เร่งการเจริ ญเติบโตของต้ นพืช (พีรเดช, 2537) GA3 สามารถลดการหลุดร่วงของผล และเพิ่มผลผลิตของส้ มเขียวหวานในสภาพแวดล้ อมที่มีอณ ุ หภูมิสงู ซึง่ เป็ นสภาพแวดล้ อมที่ส้มเขียวหวานมีการติดผลต่า (รวี , 2537) และสาร GA3 สามารถช่วยเพิ่มเปอร์ เซ็นต์การติดผลและเพิ่มคุณภาพผลผลิตทังด้ ้ านขนาดและน ้าหนักของฝรั่งพันธุ์ บางกอกแอปเปิ ลได้ (อาทิตย์, 2541) นอกจากนี ้ยังมีการทดลองใช้ GA3 กับมะพร้ าวในประเทศฟิ ลิปปิ นส์ โดยการฉีดพ่น GA3 ให้ แก่จั่นในระยะ 2 สัปดาห์ หลังจากดอกได้ รับการผสมเกสร พบว่าสามารถช่วยลดการหลุดร่ วงและเพิ่มการติดผลได้ โดย เปอร์ เซ็นต์การติดผลจะเพิ่มขึ ้นตามระดับความเข้ มข้ นของ GA3 ที่ใช้ ซึง่ ที่ความเข้ มข้ น 450 ppm ให้ ผลดีที่สดุ คือทาให้ มีการติด ผลประมาณ 80% (Carlos et al., 1976) ดังนันการทดลองนี ้ ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของ GA3 ต่อการหลุดร่ วงของผลและต่อคุณภาพผลของมะพร้ าว น ้าหอมในด้ านต่างๆ เพื่อจะได้ สามารถนา GA3 ไปใช้ ประโยชน์ในการลดการหลุดร่วงของมะพร้ าว ซึง่ จะนาไปสูก่ ารผลิตมะพร้ าว น ้าหอมให้ ได้ เพียงพอต่อความต้ องการของผู้บริโภคและลดปั ญหาการขาดตลาดของมะพร้ าวน ้าหอมด้ วย

อุปกรณ์ และวิธีการ

เลือกจัน่ (ช่อดอก) มะพร้ าวน ้าหอมที่มีอายุการบาน 14-21 วัน จากต้ นมะพร้ าวน ้าหอมที่มีอายุ 27 ปี ในแปลงทดลอง 2 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม ทังหมด ้ 18 จัน่ วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) แบ่งการทดลองเป็ น 3 ทรี ทเมนต์ ทรี ทเมนต์ละ 6 ซ ้า (จัน่ ) และกาหนดการทดลองดังนี ้ ทรี ทเมนต์ที่ 1 ชุดควบคุม ฉีดพ่นด้ วยน ้าเปล่า ทรี ทเมนต์ที่ 2 ฉีดพ่นด้ วยสารละลาย GA3 ความเข้ มข้ น 450 ppm จานวน 1 ครัง้ และทรี ทเมนต์ที่ 3 ฉีดพ่นด้ วยสารละลาย GA3 ความเข้ มข้ น 450 ppm จานวน 2 ครัง้ โดยใช้ สารจิบเบอเรลลิค แอซิด (Gibberellic acid: GA3) จากผลิตภัณฑ์การค้ าชื่อ จิพ® มีสารออกฤทธิ์ 0.5 % w/v (5,000 ppm) และปรับความเข้ มข้ นที่ต้องการใช้ จากนันฉี ้ ดพ่นสารด้ วย hand sprayer ไปยังดอกตัวเมียที่ได้ รับการผสมแล้ วจนชุ่ม แล้ ว ใช้ ถงุ ตาข่ายไนล่อน ขนาด 60 X 120 เซนติเมตร คลุมจัน่ ไว้ เพื่อป้องกันผลร่วงลงสูพ่ ื ้นดินและเพื่อป้องกันแมลงและสัตว์ ฟั นแทะ ทาการการบันทึกข้ อมูล โดยการนับจานวนผลเริ่ มต้ นก่อนการฉีดพ่นสาร จากนัน้ นับจานวนผลที่ร่วงหลังฉีดพ่นสารทุกสัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ครัง้ ติดต่อกันนาน 8 สัปดาห์ แล้ วนามาคานวณเป็ นเปอร์ เซ็นต์การหลุดร่วงของผลแต่ละสัปดาห์ เมื่อถึงระยะเก็บ เกี่ยวทางการค้ า ซึ่งผลมะพร้ าวมีอายุ 6 เดือนครึ่ง ถึง 7 เดือน นับจานวนผลที่เหลืออยู่ นามาคานวณเป็ นเปอร์ เซ็นต์ผลที่ร่วง ทังหมด ้ ทาการบันทึกข้ อมูลคุณภาพของผลมะพร้ าวน ้าหอมในแต่ละทรี ทเมนต์ ดังนี ้ 1) วัดขนาดผล ได้ แก่ เส้ นผ่านศูนย์กลางผล เส้ นผ่านศูนย์กลางกะลา ความยาวผล มีหน่วยเป็ นเซนติเมตร วัดความหนาของเปลือก (mesocarp หรื อ husk หรื อ coir) กะลา (endocarp หรื อ shell) และ เนื ้อมะพร้ าว (solid endosperm หรื อ flesh) โดยใช้ เวอร์ เนียร์ วดั ขนาดของแต่ละส่วนบริ เวณ ส่วนกลางผล มีหน่วยเป็ นเซนติเมตร 2) ชัง่ น ้าหนักผลสดแต่ละผล น ้าหนักเปลือก น ้าหนักกะลา และน ้าหนักเนื ้อมะพร้ าว โดยใช้ เครื่ องชัง่ สองตาแหน่ง มีหน่วยเป็ นกรัม 3) วัดปริ มาตรของน ้ามะพร้ าว โดยใช้ กระบอกตวง มีหน่วยเป็ นมิลลิลิตร 4) วัดปริ มาณ ของแข็งที่ละลายน ้าได้ (Total soluble solids: TSS) โดยวัดค่า TSS ด้ วยเครื่ อง hand refractometer ยี่ห้อ ATAGO® ค่าที่วดั ได้ มีหน่วยเป็ น องศาบริ กซ์ ( °Brix) และ 5) หาปริ มาณกรดที่ไทเทรตได้ จากน ้ามะพร้ าว (Titratable acidity: TA) โดยการไตเตรท และคานวณหาเปอร์ เซ็นต์กรดซิตริก

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

333


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ 20 18

control

FRUIT DROP (%)

16 14

GA₃ 450 ppm 1 time

12 10

GA₃ 450 ppm 2 times

8 6 4 2 0 1

2

3

4

5

6

7

8

WEEKS AFTER SPRAYING WITH GA3

Figure1 Fruit drop of aromatic coconut during 1-8 weeks after spraying with GA3 100

80

FRUIT DROP (%)

64 58

60

37

40

20

0

control

GA₃ 450 ppm 1 time

GA₃ 450 ppm 2 times

TREATMENT Figure 2 Fruit drop of aromatic coconut at harvest stage จากผลการทดลองพบว่าทัง้ 3 ทรี ทเมนต์ มีการหลุดร่วงของผลไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยในสัปดาห์ที่ 1 พบว่า ทรี ท เมนต์ที่ 1, 2 และ 3 มีผลหลุดร่วง 9% 15% และ 1% ตามลาดับ จากนันในสั ้ ปดาห์ที่ 2 พบว่าทัง้ 3 ทรี ทเมนต์ มีผลหลุดร่วง เพิ่มขึ ้นมากที่สดุ ในระยะเวลาการเก็บข้ อมูลทัง้ 8 สัปดาห์ คิดเป็ น 15%, 19% และ 15% ตามลาดับ จากนันในสั ้ ปดาห์ที่ 3-7 พบว่าผลหลุดร่ วงค่อยๆ ลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้ า จนถึงสัปดาห์ที่ 8 ไม่มีผลหลุดร่ วงแต่อย่างใด (Fig. 1.) ส่วนการหลุดร่ วง ของผลมะพร้ าวน ้าหอมเมื่อถึงการเก็บเกี่ยวในระยะการค้ านัน้ พบว่าทัง้ 3 ทรี ทเมนต์ มีการหลุดร่วงของผลที่ไม่แตกต่างทางสถิติ โดยมะพร้ าวน ้าหอมในทรี ทเมนต์ ควบคุมซึ่งไม่ได้ รับการฉีดพ่นสาร GA3 มีการหลุดร่วงของผลมากที่สดุ คิดเป็ น 64% รองลงมา คือ ทรี ทเมนต์ที่ 2 ฉีดพ่น GA3 450 ppm จานวน 1 ครัง้ มีผลหลุดร่วงคิดเป็ น 58% และทรี ทเมนต์ที่มีผลหลุดร่วงน้ อยที่สดุ คือ ทรี ทเมนต์ที่ 3 ฉีดพ่น GA3 450 ppm จานวน 2 ครัง้ ซึง่ มีผลหลุดร่วง 37% (Fig. 2.) จะเห็นว่ามะพร้ าวน ้าหอมในทรี ทเมนต์ ควบคุมที่ไม่ได้ รับการฉีดพ่นสาร GA3 มีเปอร์ เซ็นต์การหลุดร่วงของผลมากกว่าให้ สาร GA3 ทัง้ 2 ทรี ทเมนต์ เพราะโดยปกติแล้ ว 334

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การหลุดร่วงของผลในมะพร้ าวสามารถเกิดขึ ้นได้ หลังจากการผสมเกสรแล้ ว ประมาณ 50-70 % (ณรงค์, 2530) จากการศึกษา ครัง้ นี ้พบว่าช่วงเวลาที่ผลหลุดร่วงมากที่สดุ คือช่วงสัปดาห์ที่ 1-2 หลังจากที่มีการติดผลแล้ ว และหลังจากสัปดาห์ที่ 2 ไปแล้ วจะ พบว่าผลมีการหลุดร่วงลดลง อาจเนื่องมาจาก ผลที่หลุดร่วงไปมากในช่วงแรกนันอาจเกิ ้ ดมาจากการผสมเกสรที่ไม่สมบูรณ์หรื อ อาหารสะสมที่จะใช้ ในการเจริญเติบโตของผลอ่อนไม่เพียงพอ (จินดา, 2524) หรื ออาจมีฮอร์ โมนพืชที่เกี่ยวข้ องกับการติดผล การ เจริ ญเติบโตของผล เช่น ออกซิน และจิบเบอเรลลินในปริ มาณที่ไม่เหมาะสม จึงทาให้ เกิดการหลุดร่ วงขึน้ ได้ ตามธรรมชาติ (นพดล, 2537) ส่วนมะพร้ าวนา้ หอมที่ได้ รับการฉี ดพ่นสาร GA3 มีแนวโน้ มการหลุดร่ วงของผลลดลง ทัง้ นี อ้ าจเป็ นผล เนื่องมาจากสาร GA3 ไปช่วยในการย่อยและเคลื่อนย้ ายอาหารสะสม อีกทัง้ ยังทาให้ เกิดกระบวนการเมแทบอลิซึมต่างๆ ที่ จาเป็ นต่อการพัฒนาของรังไข่ในปริมาณที่มากขึ ้น (Powell and Krezdom, 1977) Table 1 Effects of GA3 on fruit size of aromatic coconut at harvest stage Treatment

diameter (cm) fruit

shell

control

15.8

10.5

spraying of 450 ppm GA3 1 time

16.4

spraying of 450 ppm GA3 2 times

fruit length (cm)

thickness (cm) husk

shell

flesh

17.3

2.49

0.37

0.57

10.6

17.9

2.60

0.42

0.57

15.4

11.2

18.4

2.21

0.35

0.49

F-Test

ns

ns

ns

ns

ns

ns

% C.V.

5.4

11.2

9.6

16.5

1.87

1.78

ns = non significance at α =0.05 Table 2 Effects of GA3 on fruit weight of the aromatic coconut at harvest stage ns = non significance Treatment at α =0.05

total

husk

Shell

flesh

(g)

(g)

(g)

(g)

control

2,060

1,315.6

159.5

164.8

spraying of 450 ppm GA3 1 time

1,990

1,241.4

133.2

117.0

spraying of 450 ppm GA3 2 times

1,910

1,288.9

135.6

108.2

F-Test

ns

ns

ns

ns

% C.V.

37.3

15.8

31.7

44

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

335


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Effects of GA3 on coconut water, total soluble solid (TSS) and titratable acidity (TA) in coconut water at harvest stage Treatment

Coconut water (ml)

TSS (°Brix)

TA (% )

control

331.4

7.1

0.01

spraying of 450 ppm GA3 1 time

329.1

6.8

0.01

spraying of 450 ppm GA3 2 times

341.1

6.7

0.01

F-Test

ns

ns

ns

% C.V.

27.2

11.1

42.9

ns = non significance at α =0.05 จากการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่า ขนาดของมะพร้ าวนา้ หอม ทังเส้ ้ นผ่านศูนย์กลางผลและเส้ นผ่านศูนย์กลางกะลา ความหนาของเปลือก กะลา และเนื ้อ น ้าหนักของทังผล ้ เปลือก กะลา และเนื ้อ รวมถึงปริ มาตรน ้ามะพร้ าว ของมะพร้ าวน ้าหอม ในระยะเก็บเกี่ยวของทัง้ 3 ทรี ทเมนต์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (Table 1, 2, 3) อาจเนื่องมาจากมะพร้ าวน ้าหอมมีการ ตอบสนองต่อสาร GA3 ต่า หรื อเป็ นผลมาจากการที่ปริ มาณสารที่ให้ ยงั ไม่เหมาะสม ซึง่ การที่พืชจะตอบสนองต่อสารควบคุมการ เจริ ญเติบโตของพืชที่ได้ จากภายนอกได้ นนจะเกี ั้ ่ยวข้ องกับความเข้ มข้ นของสารที่ใช้ ระยะเวลาที่ ใช้ สาร และปริ มาณสารที่พืช ได้ รับ การให้ สาร GA3 กับมะพร้ าวน ้าหอมตามความเข้ มข้ นที่ใช้ จานวนครัง้ ที่ให้ สาร หรื อระยะของพืชที่ได้ รับสาร (พีรเดช, 2537) ปริ มาณ TSS หรื อปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ในน ้ามะพร้ าวของมะพร้ าวน ้าหอมที่ได้ รับสาร GA3 และไม่ได้ รับสาร ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ อีกทังยั ้ งมีคา่ ที่ใกล้ เคียงกันมาก (Table 3) สอดคล้ องกับการทดลองของศิริพร (2549) ซึง่ ได้ ทดลอง ใช้ สาร GA3 ในชมพู่พนั ธุ์เพชรสายรุ้ง พบว่า ปริ มาณ TSS ในน ้าคันจากเนื ้ ้อชมพู่พนั ธุ์เพชรสายรุ้งในระยะเก็บเกี่ยวนันไม่ ้ มีความ แตกต่างทางสถิติ ส่วน TA หรื อปริ มาณกรดที่ไตเตรทได้ ซึง่ ในน ้ามะพร้ าวส่วนใหญ่เป็ นกรดซิตริ ก ในน ้ามะพร้ าวน ้าหอมที่ได้ รับ การฉีดพ่นสาร GA3 และไม่ได้ รับการฉีดพ่น GA3 มีปริมาณกรดซิตริกอยูน่ ้ อยมาก เพียง 0.01 % เท่านัน้ ปริมาณกรด ซิตริ กจึงไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (Table 3) สอดคล้ องกับการทดลองของเยาวรัตน์ (2545) รายงานว่าสาร GA3 ไม่มีผลต่อ ปริมาณกรดซิตริกในน ้าคันของมะนาวพั ้ นธุ์แป้น และการทดลองของศิริพร (2549) ซึง่ พบว่าสาร GA3 ไม่มีผลต่อปริมาณกรด ซิตริกในชมพูพ่ นั ธุ์เพชรสายรุ้ง จากการฉีดพ่น GA3 ความเข้ มข้ น 450 ppm 2 ครัง้ มีแนวโน้ มที่จะทาให้ มีผลหลุดร่ วงน้ อยลงกว่าการที่ฉีดพ่นสาร GA3 ความเข้ มข้ น 450 ppm เพียง 1 ครัง้ และไม่ฉีดพ่นสารเลย แม้ ว่าการให้ สาร GA3 จะมีแนวโน้ มที่จะทาให้ ผลมะพร้ าว น ้าหอมมีการหลุดร่ วงลดลง แต่หากมีการทดลองครัง้ ต่อไป ควรจะมีการเพิ่มระดับความเข้ มข้ นของสาร GA3 ให้ มีหลายระดับ ความเข้ มข้ นที่แตกต่างกันไป เพื่อให้ สามารถหาระดับความเข้ มข้ นที่เหมาะสมที่มะพร้ าวน ้าหอมจะสามารถตอบสนองได้ ดี และเหมาะสมต่อการใช้ กบั มะพร้ าวน ้าหอมมากที่สดุ รวมไปถึงควรเพิ่มจานวนครัง้ ในการฉีดพ่นสาร ซึ่งการฉีดพ่นสาร GA3 อาจต้ องมีการฉีดพ่นซ ้า 3-4 ครัง้ เพราะในครัง้ หนึ่งๆ หากพืชได้ รับ GA3 ในปริ มาณมากเกินไป พืชจะมีกระบวนการทาลายส่วน GA3 ที่มากเกินไปนี ้อย่างรวดเร็ ว จึงต้ องมีการฉีดพ่นซ ้าเพื่อให้ ได้ ผลดีขึ น้ (พีรเดช, 2537) และควรมีการศึกษาระยะเวลาหรื อ ช่วงเวลาที่เหมาะสมต่อการฉีดพ่นสารให้ แก่มะพร้ าวน ้าหอม เช่น ฉีดพ่นในช่วง 1-2 สัปดาห์แรกหลังจากที่มะพร้ าวน ้าหอม ได้ รับการผสมเกสรและมีการติดผลแล้ ว ซึ่งจากการทดลองพบว่าช่วงเวลานี ้เป็ นช่วงเวลาที่ผลมีการหลุดร่ วงมากที่สดุ ดังเช่น การทดลองของ Carlos และคณะ (1976) ที่ฉีดพ่นสาร GA3 ให้ กบั มะพร้ าวในประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ในช่วง 2 สัปดาห์หลังจากที่ ดอกมีการผสมเกสรแล้ ว สามารถลดการหลุดร่ วงของผลในช่วงเวลานี ้ได้ ก็จะเป็ นการลดการหลุดร่ วงของผลได้ มากกว่าการให้ สารในช่ว งเวลาอื่น อีก ทั ้งยัง เป็ น การเพิ่ม ผลผลิต มะพร้ า วนา้ หอมในฤดูก าลที่มีผ ลผลิต ไม่เ พีย งพอต่อ ความต้ อ งการของ ผู้บริ โภคได้ อีกด้ วย อย่างไรก็ตาม ต้ องมีการตรวจสอบควบคู่กนั ไปว่า การใช้ สาร GA3 ที่ลดการหลุดร่ วงของผลได้ ดีขึ ้นนันจะไม่ ้ ส่งผลให้ คณ ุ ภาพของมะพร้ าวน ้าหอมด้ อยลง

336

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ป

จากการทดลองฉีดพ่นด้ วยสาร GA3 ความเข้ มข้ น 450 ppm จานวน 1 ครัง้ และ 2 ครัง้ ให้ แก่จนั่ (ช่อดอก) ของ มะพร้ าวน ้าหอมหลังเกิดการผสมเกสร พบว่าสาร GA3 ไม่มีอิทธิพลต่อการหลุดร่วงของมะพร้ าวน ้าหอม แต่การฉีดพ่นสาร GA3 มี แนวโน้ มที่จะลดการหลุดร่ วงของผลนา้ หอมได้ และสาร GA3 ไม่มีอิทธิ พลต่อคุณภาพของมะพร้ าวนา้ หอม คือ ด้ านขนาดผล ได้ แก่ เส้ นผ่านศูนย์กลางผล ความยาวผล เส้ นผ่านศูนย์กลางของกะลา ความหนาของเปลือก ความหนาของกะลา และความ หนาของเนื ้อมะพร้ าว ด้ านน ้าหนัก ได้ แก่ น ้าหนักทังผล ้ น ้าหนักของเปลือก น ้าหนักของกะลา น ้าหนักของเนื ้อ และปริ มาตรน ้า มะพร้ าว รวมทังไม่ ้ มีอิทธิพลต่อปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ (TSS) และปริมาณกรดที่ไตเตรทได้ (TA) ในน ้ามะพร้ าว เช่นกัน

เอกสารอ้ างอิง จินดา ศรศรี วิชยั . 2524. สรี รวิทยาพืช ภาคเจริ ญเติบโตและการควบคุม. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 280 น. ณรงค์ โฉมเฉลา. 2530. เชื ้อพันธุ์มะพร้ าว. ผู้แต่งจัดพิมพ์เอง, กรุงเทพฯ 106 น. นพดล จรัสสัมฤทธิ์. 2537. ฮอร์ โมนพืชและสารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืช. สานักพิมพ์รัว้ เขียว, กรุงเทพฯ. 124 น. เปรม ณ สงขลา. 2558. การจัดการการผลิตมะพร้ าวน ้าหอมอย่างมืออาชีพ. บริ ษัทฐานการพิมพ์จากัด,กรุงเทพฯ. 116 น. เยาวรัตน์ วงศ์ศรี สกุลแก้ ว. 2545. ผลของ GA3 ต่อการติดผลและการเจริ ญเติบโตของมะนาวพันธุ์แป้น. ปั ญหาพิเศษปริ ญญาโท. ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน, นครปฐม. รวี เสรฐภักดี. 2537. Fruit Growth and Fruit Development, น. 119-139. ใน เอกสารประกอบการฝึ กอบรมเรื่ อง การใช้ สารควบคุมการ เจริ ญเติบโตของพืชทางการเกษตร. 14-18 มีนาคม 2537. ณ ห้ องประชุมบุญนาค ชัน้ 1 สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ บางเขน , กรุงเทพฯ. ศิริพร คล้ ายอุนาทร. 2549. ผลของ GA3 ต่อการเติบโตและคุณภาพผลชมพู่พนั ธุ์เพชรสายรุ้ง. ปั ญหาพิเศษปริ ญญาตรี . ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน, นครปฐม. พีรเดช ทองอาไพ. 2537. ฮอร์ โมนพืชและสารสังเคราะห์ แนวทางการใช้ ประโยชน์ในประเทศไทย. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. หจก.ไดนามิกส์การพิมพ์, กรุงเทพฯ. 196 น. สัมฤทธิ์ เศรษฐวงศ์. 2552. ฮอร์ โมนและการใช้ ฮอร์ โมนกับไม้ ผล. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. บริ ษัท ธนธัชการพิมพ์จากัด, กรุงเทพฯ. 144 น. อาทิตย์ ศรี โสมะสัจจะกุล. 2541. ผลของ GA3 ต่อการติดผลและการเจริ ญเติบโตของฝรั่งพันธุ์บางกอกแอปเปิ ล. ปั ญหาพิเศษปริ ญญาตรี . ภาควิชา พืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน, นครปฐม. Carlos, J.T., Fesalbon, V. G. and Mendosa A. C. 1976. Fruit set in coconut following gibberellic acid treatment. Philippines Journal of Crop Science Vol.1 No.2: 68-73. Powell, A.A. and A.H. Krezdorn. 1977. Influence of fruit-setting treatment on translocation of 14C-metabolites in citrus during flowering and fruiting. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 102.: 709-714.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

337


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของอุณหภูมิต่าในระยะต้ นกล้ าต่ อการเจริญเติบโตและผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่ พันธุ์พระราชทาน 80 โดยใช้ วัสดุปลูกในโรงเรือนควบคุมสภาพอากาศ Effect of Low Temperature in the Period of Seedling on Growth and Yield of Strawberry cv. Praratchatan 80 with Substrate Culture in Greenhouse สุมิตร คุณเจตน์ 1 นิสาชล เทศศรี1 และธนภูมิ อ่ อนพรมราช1 Sumit Kunjet1 Nisachon Tedsri1 and Thanapoom Onpromrat1

บทคัดย่ อ จากการศึกษาผลของอุณ หภูมิ ต่ า ในระยะต้ น กล้ า ที่ มี ผลต่อการเจริ ญเติ บโตและผลผลิ ตของต้ นสตรอเบอรี่ พัน ธุ์ พระราชทาน 80 โดยการนาต้ นไหลมาวางในโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศที่มีอณ ุ หภูมิประมาณ 33±2 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 30 วัน (ชุดควบคุม) และในห้ องที่มีอณ ุ หภูมิต่าประมาณ 25±1 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 10, 20 และ 30 วัน ก่อนที่จะนาลงปลูก ในวัสดุปลูก ในสภาพโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ จากผลการทดลองพบว่ า การได้ รับอุณหภูมิต่าในระยะต้ นกล้ าไม่มีผลต่อ การเจริ ญเติบโตและผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่ โดยทุกกรรมวิธีมีจานวนและความยาวของก้ านใบ ความกว้ างและความยาวใบ พื ้นที่ใบและปริมาณคลอโรฟิ ลล์ในใบ การออกดอกและการติดผลของต้ นสตรอเบอรี่ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ คาสาคัญ: วัสดุปลูก อุณหภูมิต่า สตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 โรงเรื อนควบคุมสภาพบรรยากาศ

Abstract The effect of low temperature in the period of seedling on growth and yield of strawberry cv. Praratchatan 80 were studied. The seedling was stored in the greenhouse at 33±2 ° C for 30 days (control) and low temperature at 25±1 ° C for 10, 20 and 30 days before planting with substrate culture in the greenhouse. The results showed that low temperature in the period of seedling was no affected growth and yield of strawberry. All treatments were no different in the number of petiole, length of petiole, width of the leaves, length of the leaves, leaf area, chlorophyll in the leaves, flowers and fruit set of strawberry. Keywords : Substrate culture, Low temperature, Strawberry cv. Praratchatan 80 Greenhouse

คานา สตรอเบอรี่ เป็ นผลไม้ ที่มีรสชาติอร่อยและเป็ นที่ร้ ูจกั กันโดยทัว่ ไป ในช่วงที่ผ่านมานี ้พบว่าผลผลิตที่ใช้ สาหรับบริ โภคเป็ น ผลสด และใช้ ในเชิงอุตสาหกรรมแปรรู ปได้ เพิ่มปริ มาณมากขึ ้นอย่างรวดเร็ ว ในประเทศไทยแม้ ว่ามีพื ้นที่ปลูกสตร อเบอรี่ ส่วน ใหญ่อยูท่ างภาคเหนือ บนภูเขาสูงของจังหวัดกาญจนบุรี แต่ในปั จจุบนั ได้ มีการนาสตรอเบอรี่ ไปปลูกในเขตพื ้นที่ราบที่มีอณ ุ หภูมิ ไม่หนาวเย็นมากนัก โดยใช้ ต้นไหลสตรอเบอรี่ ที่ผลิตจากพื ้นที่สงู และได้ รับอุณหภูมิต่าเพื่อชักนาการสร้ างตาดอก เมื่อนามาปลูก ในพื ้นที่ราบจะสามารถออกดอกได้ แต่ต้องเสียค่าใช้ จ่ายสาหรับค่าขนส่งต้ นพันธุ์ จึงมีการศึกษาเพื่อหาวิธีการผลิตต้ นไหลสตรอ เบอรี่ ในเขตพื ้นที่ราบโดยสามารถออกดอกและติดผลได้ ตามปกติ เพื่อสะดวกและประหยัดค่าขนส่งต้ นพันธุ์ได้ ในสหรัฐอเมริ กา จะใช้ อณ ุ หภูมิต่าในช่วงต้ นกล้ า โดยใช้ อณ ุ หภูมิ -0 ถึง -2 องศาเซลเซียส ในประเทศญี่ปนพบว่ ุ่ าการใช้ อณ ุ หภูมิ 6 องศาเซลเซียส จะให้ ผลแตกต่างจากการใช้ อุณหภูมิ 0 และ 3 องศาเซลเซียส ส่วน 10 องศาเซลเซียส มีผลต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิต หลังจากผ่านอุณหภูมิต่า จะนาไปปลูกในโรงเรื อนพลาสติก ที่มีอณ ุ หภูมิสงู และช่ วงแสงยาว 14 ชัว่ โมงต่อวัน (นิพนธ์ , มปป.) อุณหภูมิและชัว่ โมงแสงต่างมีผลร่ วมกันต่อการชักนาตาดอกของสตรอเบอรี่ ถ้ ากลางวันมีอณ ุ หภูมิไม่สงู มากนัก และกลางคืนมี อุณหภูมิต่า การชักนาตาดอกก็จะเกิดได้ เร็ว แต่ถ้าสภาพของอากาศหนาวเย็นไม่เพียงพอแล้ ว การชักนาตาดอกโดยสภาพวันสัน้ ต้ องใช้ ระยะเวลาที่นานมากหรื ออาจไม่เกิดการชักนาตาดอก เช่น ที่ระดับอุณหภูมิสงู กว่า 25 องศาเซลเซียส สตรอเบอรี่ จะไม่ 1 1

สาขาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี Division of Agricultural Technology, Faculty of Science and arts, Burapha University Chanthaburi Campus, Chanthaburi 22170 338

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ก่อกาเนิดตาดอกเนื่องจากอุณหภูมิสงู เกินไป สตรอเบอรี่ เป็ น absolute shortday plant ที่อณ ุ หภูมิต่าระหว่าง 20±5 องศา เซลเซียส เมื่อได้ รับการชักนาด้ วยสภาพวันสัน้ สตรอเบอรี่ จะก่อกาเนิดตาดอกได้ ทนั ที ถ้ าอุณหภูมิสงู กว่า 15 องศาเซลเซียส ความยาวของชัว่ โมงแสงสันเท่ ้ ากับ 10 ชัว่ โมงหรื อต่ากว่า สามารถชักนาการก่อกาเนิดดอก แต่ถ้าอุณหภูมิต่ากว่า 15 องศา เซลเซียส การเกิดตาดอกสามารถเกิดขึน้ ในสภาพวันยาว อุ ณหภูมิที่เหมาะสมต่อการชักนาการสร้ างตาดอกคือ 15 องศา เซลเซียส เมื่อได้ รับชัว่ โมงแสงสัน้ 8 ชัว่ โมง นาน 24 วัน (สังคม, 2532) การควบคุมการออกดอกและสร้ างตาดอกของสตรอเบอรี่ นัน้ สามารถทาได้ ด้วยการนาต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ ไปไว้ ในห้ องที่มีสภาพของอุณหภูมิต่า ประมาณ 13-25 องศาเซลเซียส และอยู่ ในห้ องมืด ประกอบกับสามารถควบคุมแสงได้ (ใช้ หลอดไฟ) ให้ ต้นสตรอเบอรี่ สามารถรับแสงได้ ประมาณเป็ นเวลา 8-10 ชัว่ โมง ต่อวัน (ณรงค์ชยั , 2543) การศึกษาครัง้ นีม้ ีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิต่าในระยะต้ นกล้ าที่มีต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิต ของต้ น สตรอเบอรี่ โดยทาการศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิของต้ นพันธุ์ของสตรอเบอรี่ ในห้ องที่มีสภาพอุณหภูมิต่าประมาณ 25±1 องศา เป็ นเวลา 10-30 วัน ก่อนนามาปลูกในโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ โดยใช้ วัสดุปลูก ซึ่งสามารถหมุนเวี ยน สารอาหารในระบบได้ อย่างต่อเนื่อง

อุปกรณ์ และวิธีการ จากการศึ ก ษาผลของอุณ หภู มิ ต่ า ในระยะต้ น กล้ า ที่ มี ต่ อ การเจริ ญ เติ บ โตและผลผลิ ต ของต้ น สตรอเบอรี่ พัน ธุ์ พระราชทาน 80 วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) มี 4 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 4 ซ ้า ซ ้าละ 3 ต้ น ดังนี ้ กรรมวิธีที่ 1 นาต้ นไหลสตรอเบอรี่ มาวางในสภาพโรงเรื อน เป็ นเวลา 30 วัน (ชุดควบคุม) กรรมวิธีที่ 2 นาต้ นไหลสตรอเบอรี่ มาวางในห้ องที่มีอณ ุ หภูมิต่า เป็ นเวลา 10 วัน กรรมวิธีที่ 3 นาต้ นไหลสตรอเบอรี่ มาวางในห้ องที่มีอณ ุ หภูมิต่า เป็ นเวลา 20 วัน กรรมวิธีที่ 4 นาต้ นไหลสตรอเบอรี่ มาวางในห้ องที่มีอณ ุ หภูมิต่า เป็ นเวลา 30 วัน สภาพห้ องที่มีอณ ุ หภูมิต่าประมาณ 25±1 องศาเซลเซียส และในสภาพโรงเรื อนมีอณ ุ หภูมิประมาณ ±2 องศาเซลเซียส 1. วิธีเตรี ยมต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ นาต้ นไหลของต้ นสตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 ที่มีจานวนก้ านใบ 3 ก้ าน มีความ ยาวของก้ านใบสตรอเบอรี่ ประมาณ ±1 เซนติเมตร มาปลูกลงในฟองน ้าปลูกผักไฮโดรโพนิกส์ขนาด 1x1 นิ ้ว หลังจากนันน ้ า ต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ วางลงในกระถางพลาสติกขนาดเล็ก 2. หลังจากเตรี ยมต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ เป็ นเวลา 1 สัปดาห์ ทาการทดลองตามกรรมวิธีที่กาหนด โดยกรรมวิธีที่ 1 นาต้ น พันธุ์มาวางในสภาพโรงเรื อน เป็ นระยะเวลา 30 วัน โดยมีอณ ุ หภูมิปกติอยู่ที่ ±2 องศาเซลเซียส กรรมวิธีที่ 2, 3 และ 4 นาต้ น ไหลสตรอเบอรี่ มาวางในห้ องที่มีอณ ุ หภูมิต่าประมาณ 25±1 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 10, 20 และ 30 วัน โดยมีการควบคุมแสง การปิ ดเปิ ดแสงไฟโดยเปิ ดที่เวลา 9.00 น. และปิ ดไฟที่เวลา 18.00 น. เป็ นเวลาประมาณ 9±1 ชัว่ โมงต่อวัน 3. การปลูกสตรอเบอรี่ ในโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ เมื่อต้ นไหลสตรอเบอรี่ อยู่ในห้ องที่มีอุณหภูมิต่าครบตาม กาหนดระยะเวลาแล้ ว นาต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ ปลูกลงในกระถางโดยใช้ วสั ดุดินผสมและนาไปไว้ ในโรงเรื อนเป็ นเวลา 1 สัปดาห์ หลังจากนันน ้ าต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ ลงปลูกโดยใช้ วสั ดุปลูกเม็ดดินเผาเป็ นตัวช่วยในการพยุงและยึดเกาะของราก และวางกระถาง ปลูกในโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ มีระบบการให้ น ้าแบบน ้าหยด และมีการหมุนเวียนธาตุอาหารอย่างต่อเนื่อง โดยให้ น ้าทุก วัน วันละ 15 นาที 4. การบันทึกผลการทดลอง เมื่อนาต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ ลงปลูกในโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ เป็ นเวลา 8, 9, 11 และ 12 สัปดาห์ ทาการบันทึกข้ อมูลดังนี ้ 4.1 การวัดการเจริ ญเติบโตของต้ นสตรอเบอรี่ เมื่อต้ นสตรอเบอรี่ มีการแตกใบใหม่ และใบอยู่ในระยะใบ เพสลาด ทาการบันทึกผล การทดลองดังนี ้ - ความกว้ าง และความยาวของใบสตรอเบอรี่ - ความยาวก้ านใบของต้ นสตรอเบอรี่ - จานวนและความยาวของก้ านใบของต้ นสตรอเบอรี่ - ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ในใบของต้ นสตรอเบอรี่ ด้ วยเครื่ องวัดปริมาณคลอโรฟิ ลล์ (รุ่น SPAD 502DL PLUS) - พื ้นที่ใบของต้ นสตรอเบอรี่ ด้ วยเครื่ อง Area meter (รุ่น LI-3100 C) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

339


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

4.2 การวัดผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่ - จานวนดอกและผลของต้ นสตรอเบอรี่

ผลการทดลอง 1. การเจริญเติบโตของต้ นสตรอเบอรี่ พนั ธุ์พระราชทาน 80 จากการศึกษาความกว้ างและความยาวของใบต้ นสตรอเบอรี่ เมื่อพิจารณาในสัปดาห์ที่ 8, 9, 10 และ 11 ทุกกรรมวิธีมี ความกว้ างและความยาวของใบไม่แตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% โดยความยาวของใบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.154.63, 4.03-4.56, 4.01-4.51 และ 4.96-5.40 เซนติเมตร ตามลาดับ และความยาวของใบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.67-5.28, 4.925.75, 4.93-5.42, 6.00-6.24 เซนติเมตร ตามลาดับ (ตารางที่ 1 และ 2) Table 1 Effects of low temperature in the period of seedling on the width of the leaves. Treatment

8 week Control 4.15 ± 0.27 10 4.56 ± 0.18 20 4.57 ± 0.17 30 4.63 ± 0.26 F-Test ns CV (%) 8.98 ns : non significant at α = 0.05

Width of the leaves 9 week 4.03 ± 0.14 4.48 ± 0.27 4.34 ± 0.27 4.56 ± 0.28 ns 11.25

(centimeter) 11 week 4.01 ± 0.33 4.50 ± 0.30 4.51 ± 0.13 4.29 ± 0.15 ns 11.26

12 week 4.96 ± 0.21 5.40 ± 0.27 5.39 ± 0.41 5.22 ± 0.20 ns 10.36

Table 2 Effects of low temperature in the period of seedling on the length of the leaves. Treatment Control 10 20 30 F-Test CV (%) ns : non significant at α = 0.05

8 week 4.67 ± 0.19 5.20 ± 0.21 5.24 ± 0.23 5.28 ± 0.23 ns 8.98

Length of the leaves 9 week 4.92 ± 0.15 5.29 ± 0.30 5.38 ± 0.25 5.75 ± 0.30 ns 10.32

(centimeter) 11 week 4.93 ± 0.23 5.42 ± 0.33 5.40 ± 0.15 5.15 ± 0.14 ns 8.72

12 week 6.00 ± 0.28 6.22 ± 0.16 6.24 ± 0.44 6.12 ± 0.17 ns 8.44

จากการศึกษาจานวนก้ านใบของต้ นสตรอเบอรี่ พบว่าทุกกรรมวิธีมีจานวนก้ านใบของต้ นสตรอเบอรี่ ไม่แตกต่างทาง สถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% โดยจานวนก้ านใบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 6.17-7.34, 6.25-7.67, 6.58-9.08 และ 7.89-10.23 ก้ าน ตามลาดับ (ตารางที่ 3) จากการศึกษาความยาวของก้ านใบสตรอเบอรี่ ในสัปดาห์ที่ 8 ทุกกรรมวิธีมีความยาวของก้ านใบสตรอเบอรี่ มีความ แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 99% โดยต้ นสตรอเบอรี่ ที่ได้ รับอุณหภูมิต่า เป็ นเวลา 30 วัน มี ความยาวของก้ านใบสตรอเบอรี่ มากที่สดุ เท่ากับ 12.51 เซนติเมตร เมื่อพิจารณาในสัปดาห์ที่ 9, 11 และ 12 ทุกกรรมวิธีมีความ ยาวของก้ านใบสตรอเบอรี่ ไม่แตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 % (ตารางที่ 4)

340

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Effects of low temperature in the period of seedling on number of petioles.

Treatment

8 week Control 6.17 ± 0.35 10 6.92 ± 0.25 20 6.75 ± 0.25 30 7.34 ± 0.78 F-Test ns CV (%) 13.75 ns : non significant at α = 0.05

Number of petioles 9 week 11 week 6.25 ± 0.34 6.58 ± 0.44 7.00 ± 0.30 7.50 ± 0.32 7.09 ± 0.25 7.42 ± 0.21 7.67 ± 0.91 9.08 ± 1.14 ns ns 15.36 19.33

12 week 7.50 ± 0.65 8.17 ± 0.52 8.00 ± 0.41 9.83 ± 1.37 ns 20.70

Table 4 Effects of low temperature in the period of seedling on the length of the petioles. Length of the petioles (centimeter) 8 week 9 week 11 week 12 week b Control 8.74 ± 0.26 8.38 ± 0.43 8.01 ± 0.26 7.89 ± 0.07 b 10 10.01 ± 0.64 9.51 ± 0.16 8.59 ± 0.45 8.53 ± 0.39 b 20 9.94 ± 0.72 9.10 ± 0.32 8.68 ± 0.46 9.23 ± 0.70 a 30 12.51 ± 0.63 9.54 ± 0.47 8.75 ± 0.82 10.23 ± 0.75 F-Test ** ns ns ns CV (%) 17.13 8.91 11.84 14.76 1 Different superscripts in the same column indicate the significant difference (p≤ 0.05) ns : non significant at α = 0.05 ** : significant at α = 0.01 Treatment

1

จากการศึกษาพื ้นที่ใบและปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ในใบของต้ นสตรอเบอรี่ เมื่อพิจารณาในสัปดาห์ที่ 8, 9, 11 และ 12 ทุก กรรมวิธีมีพื ้นที่ใบและปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ในใบไม่แตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยพื ้นที่ใบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 46.08-56.83, 45.29-56.94, 43.20-54.93 และ 65.93-75.06 ตารางเซนติเมตร ตามลาดับ ส่วนปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ในใบ มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 35.23-38.14, 35.43-36.97, 36.99-39.34 และ 36.82-37.28 ตามลาดับ (ตารางที่ 5 และ 6)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

341


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 5 Effects of low temperature in the period of seedling on leaf area Treatment

8 week Control 46.08 ± 4.56 10 56.16 ± 2.81 20 55.98 ± 3.40 30 56.83 ± 5.49 F-Test ns CV (%) 16.36 ns : non significant at α = 0.05

Leaf areas (centimeter square) 9 week 11 week 45.29 ± 2.58 43.20 ± 6.06 54.85 ± 5.94 54.93 ± 6.59 52.84 ± 6.40 53.33 ± 2.37 56.94 ± 6.25 49.61 ± 3.25 ns ns 20.72 19.76

12 week 65.93 ± 4.87 72.78 ± 5.69 75.06 ± 10.37 69.35 ± 4.16 ns 17.73

Table 6 Effects of low temperature in the period of seedling on chlorophyll in the leaves Treatment

8 week Control 35.23 ± 1.14 10 36.44 ± 1.12 20 36.32 ± 0.64 30 38.14 ± 0.16 F-Test ns CV (%) 5.16 ns : non significant at α = 0.05

Chlorophyll in the leaves 9 week 11 week 35.43 ± 0.34 36.99 ± 0.86 36.50 ± 1.12 37.95 ± 1.33 36.97 ± 0.33 37.48 ± 1.60 36.47 ± 0.61 39.34 ± 0.19 ns ns 3.70 5.84

12 week 37.28 ± 0.67 38.14 ± 1.43 38.72 ± 1.02 36.82 ± 1.46 ns 6.00

2. ผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่ พันธุ์พระราชทาน 80 จากการศึกษาจานวนดอกของต้ นสตรอเบอรี่ เมื่อพิจารณาในสัปดาห์ที่ 8, 9, และ 12 ทุกกรรมวิธีมีจานวนดอกไม่ แตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% โดยจานวนดอก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.75-1.33, 0.58-1.33และ 4.08-6.42 ดอก ตามลาดับ ส่วนจานวนดอกในสัปดาห์ที่ 11 มีความแตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% โดยต้ นสตรอเบอรี่ ที่อยู่ในสภาพ โรงเรื อนมีจานวนดอกมากที่สดุ มีค่าเท่ากับ 1.25 ดอก สาหรับจานวนผล ในสัปดาห์ที่ 8, 9, 11 และ 12 ทุกกรรมวิธีมีจานวนผล ไม่แตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% โดยจานวนผล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.50-0.83, 0.58-0.92, 0.58-1.42 และ 2.092.75 ผล ตามลาดับ (ตารางที่ 7และ 8)

342

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 7 Effects of low temperature in the period of seedling on number of the flowers Number of the flowers 8 week 9 week 11 week1 12 week a Control 1.33 ± 0.17 1.33 ± 0.22 1.25 ± 0.25 4.08 ± 0.28 b 10 1.09 ± 0.39 0.58 ± 0.08 0.58 ± 0.08 4.75 ± 0.32 b 20 1.33 ± 0.55 1.09 ± 0.39 0.58 ± 0.08 5.25 ± 0.72 b 30 0.75 ± 0.25 0.75 ± 0.25 0.67 ± 0.17 6.42 ± 1.07 F-Test ns ns * ns CV (%) 62.97 59.10 52.89 29.27 1 Different superscripts in the same column indicate the significant difference (p≤ 0.05) ns : non significant at α = 0.05 * : significant at α = 0.01 Treatment

Table 8 Effects of low temperature in the period of seedling on number of the fruits Treatment

8 week Control 0.83 ± 0.24 10 0.58 ± 0.08 20 0.67 ± 0.10 30 0.50 ± 0.00 F-Test ns CV (%) 42.01 ns : non significant at α = 0.05

Number of the fruits 9 week 11 week 0.92 ± 0.25 0.84 ± 0.19 0.83 ± 0.24 0.67 ± 0.17 0.92 ± 0.25 1.42 ± 0.57 0.58 ± 0.08 0.58 ± 0.08 ns ns 50.73 74.75

12 week 2.09 ± 0.41 2.34 ± 0.44 2.50 ± 0.55 2.75 ± 0.08 ns 32.05

วิจารณ์ ผลการทดลอง จากการศึ ก ษาผลของอุณ หภู มิ ต่ า ในระยะต้ น กล้ า ที่ มี ต่ อ การเจริ ญ เติ บ โตและผลผลิ ต ของต้ น สตรอเบอรี่ พัน ธุ์ พระราชทาน 80 โดยการนาต้ นไหลไปวางในโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศที่มีอณ ุ หภูมิประมาณ ±2 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 30 วัน (ชุดควบคุม) และในห้ องที่มีอณ ุ หภูมิต่าประมาณ 25±1 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 10, 20 และ 30 วัน ก่อนนาลงปลูกใน วัสดุปลูก และวางในโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ 1. การเจริญเติบโตของต้ นสตรอเบอรี่ เมื่อพิจารณาสัปดาห์ที่ 8, 9,11 และ 12 ต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ ในระยะต้ นกล้ าทังที ้ ่ได้ รับและไม่ได้ รับอุณหภูมิต่า ก่อนนา ลงปลูกในโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ มีความกว้ างและความยาวของใบ จานวนและความยาวของก้ านใบ พืน้ ที่ใบและ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ในใบไม่แตกต่างทางสถิติ เนื่องมาจากต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ ในระยะต้ นกล้ าได้ รับอุณหภูมิต่าไม่เพียงพอที่จะมี ผลส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตของต้ นสตรอเบอรี่ จึงทาให้ ต้นพันธุ์ที่ได้ รับอุณหภูมิต่ามีการเจริ ญเติบโตไม่แตกต่างจากต้ นพันธุ์ที่อยู่ ในสภาพโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ โดยอุณหภูมิที่เหมาะสมสาหรับการเจริ ญเติบโตของต้ นสตรอเบอรี่ คือ อุณหภูมิกลางวัน 24 องศาเซลเซียส กลางคืน 18 องศาเซลเซียส หรื ออุณหภูมิเฉลี่ยอยูร่ ะหว่าง 18.5±1.5 องศาเซลเซียส (นิพนธ์ , มปป.)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

343


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

2. ผลผลิตของต้ นสตรอเบอรี่ เมื่อพิจารณาสัปดาห์ที่ 8-12 ต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ ในระยะต้ นกล้ าที่อยู่ในสภาพโรงเรื อนและห้ องที่มีอณ ุ หภูมิต่า ก่อน นาไปปลูกในโรงเรื อนควบคุมสภาพอากาศ โดยมีจานวนดอกและผลไม่แตกต่างทางสถิติ เนื่องจากต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ ในระยะ ต้ นกล้ าได้ รับอุณหภูมิต่าไม่เพียงพอที่จะชักนาการออกดอกได้ จึงทาให้ ต้นสตรอเบอรี่ ที่ได้ รับอุณหภูมิต่า มีการออกดอกและติด ผลน้ อย โดยต้ นสตรอเบอรี่ ที่ได้ รับอุณหภูมิต่าเพียงพอและมีช่วงแสงสันในระยะต้ ้ นกล้ า จะสามารถชักนาการออกดอกได้ และมี การพัฒนาของดอกและช่อดอกในสภาพที่มีอณ ุ หภูมิสงู และมีช่วงแสงยาว (พาวิน, มปป.) ซึง่ สอดคล้ องกับการทดลองของโอฬาร (2540) ทาการศึกษาการเกิดตาดอกของสตรอเบอรี่ ในพืน้ ราบโดยการควบคุมอุณหภูมิแ ละแสง โดยปลูกสตรอเบอรี่ พันธุ์ Toyonoka และพันธุ์ Tioga ในกระบะในโรงเรื อนพลาสติกซึ่งควบคุมอุณหภูมิโดยใช้ ระบบน ้าเย็นใต้ ดินตลอด 24 ชัว่ โมงและ ควบคุมแสงให้ เป็ นวันสัน้ โดยใช้ ผ้าพลาสติกสีดาคลุมแปลงปลูกในช่วง 04.00-08.00 น. (ช่วงมืด 16 ชัว่ โมง) พบว่าการใช้ ระบบ นา้ เย็นควบคุมอุณหภูมิใต้ และเหนือผิวดิน 5 เซนติเมตร ให้ มีอุณหภูมิระหว่า ง 18±1 องศาเซลเซียส และ 19.5-22.0 องศา เซลเซียส ตามลาดับ ในช่วงกลางคืน 16 ชัว่ โมง สามารถชักนาการสร้ างตาดอกของสตรอเบอรี่ ให้ เกิดได้ เร็ วกว่าสภาพธรรมชาติ พันธุ์ Toyonoka ใช้ เวลาชักนา 35 วัน และพันธุ์ Tioga ใช้ เวลาในการชักนา 50 วัน เพื่อให้ เกิดตาดอก 100% แต่ถ้า ในสภาพ ธรรมชาติในเวลาเดียวกันจะมีตาดอกเกิดขึ ้นเพียง 50.00 และ 38.8% ตามลาดับ

สรุ ป การนาต้ นพันธุ์สตรอเบอรี่ ในระยะต้ นกล้ ามาวางในห้ องที่มีอณ ุ หภูมิต่าประมาณ 25±1 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 10, 20 และ 30 วัน มีจานวนก้ านใบ ความยาวของก้ าน ความกว้ างและความยาวใบ พื ้นที่ ใบ และปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ในใบ การออก ดอกและและการติดผลของต้ นสตรอเบอรี่ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติกบั ต้ นพันธุ์ สตรอเบอรี่ ที่ไม่ได้ รับอุณหภูมิต่า

เอกสารอ้ างอิง ณรงค์ชยั พิพฒ ั น์ธนวงศ์. 2543. สตรอเบอรี่ : พืชเศรษฐกิจใหม่. สถาบันค้ นคว้ าและพัฒนาระบบ เกษตรในเขตวิกฤต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. นิพนธ์ ไชยมงคล. มปป.. สตรอเบอรี่ . สาขาพืชผัก ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ , เชียงใหม่. พาวิน มะโนชัย. มปป.. การบานของช่อดอก. ภาควิชาพืชสวน คณะผลิตกรรมการเกษตร. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ , เชียงใหม่ สังคม เตชะวงศ์เสถียร. 2532. เอกสารประกอบการสอนวิชา การผลิตไม้ ผลกึ่งร้ อน. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. โอฬาร ตัณฑวิรุฬห์. 2540. การพัฒนาระบบการผลิตสตรอเบอรี่ ปลอดโรคแบบครบวงจร. การวิจยั ประยุกต์. สาขาเกษตรศาสตร์ และชีววิทยา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ.

344

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารเบต้ าแคโรทีนและคุณภาพที่สาคัญในระหว่ างการพัฒนาของผลฟั กทอง Change of Beta-Carotene and Quality Attributes of Pumpkin during Fruit Development ธรธ อาพล1 พจนา สีมันตร2 อัญมณี อาวุชานนท์ 1 และ อุษณีย์ เพ็ชร์ ปนุ่ 1 Darod Ampoln1 Pojana Simantara2 Anyamanee Auvuchanon1 and Ausanee Pethpun1

บทคัดย่ อ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพฟั กทอง ได้ แก่ สารเบต้ าแคโรทีน สี (L* a* b* และ Hue angle) ของเปลือกและเนื ้อ ความแน่นเนื ้อ และ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ในระหว่างการพัฒนาของผลฟั กทอง ผู้วิจยั ทาการปลูกฟั กทองพันธุ์พื ้นเมือง 2 สายพันธุ์ ได้ แก่ กระโถน และ ศรี สะเกษ ทาเครื่ องหมายเมื่อดอกบาน เก็บผลผลิตฟั กทอง และทาการตรวจสอบคุณภาพหลัง วันดอกบาน 24 วัน โดยทาทุกๆ 3 วัน เป็ นเวลา 6 สัปดาห์ พบว่าฟั กทองทังสองสายพั ้ นธุ์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง ทางสถิติ (P≤ 0.01) ในปั จจัยคุณภาพ ได้ แก่ ปริมาณเบต้ าแคโรทีน สีของเปลือกและเนื ้อ ความแน่นเนื ้อของเนื ้อฟั กทอง และค่า Hue Angle ของสีเนื ้อ และ ความแน่นเนื ้อของเปลือกฟั กทอง และHue Angle ของ สีเปลือก มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ (P ≤ 0.05) แต่ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติระหว่างฟั กทองทังสองสายพั ้ นธุ์ สาหรับการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพในระหว่างการพัฒนาผล หลังวันดอกบาน พบว่าทุกปั จจัยคุณภาพที่ทาการศึกษา มีความ แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ (P≤0.01) คุณภาพส่วนใหญ่มีค่าสูงสุดหลังจากวันที่ 33 หลังดอกบาน ปริ มาณเบต้ าแค โรทีนของพันธุ์ศรี สะเกษและกระโถน มีปริ มาณสูงสุดในวันที่ 33 และ 36 หลังดอกบาน โดยมีปริ มาณเบต้ าแคโรทีนเป็ น 0.33 และ 0.14 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมของน ้าหนักสด ตามลาดับ โดยที่ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ของฟั กทองทังสองสายพั ้ นธุ์มี แนวโน้ มเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องจนถึงวันที่ 42 หลังวันดอกบาน ซึง่ มีคา่ มากที่สดุ คาสาคัญ : ฟั กทอง สารเบต้ าแคโรทีน คุณภาพ

Abstract The research is to investigate change of beta-carotene content, colour (L* a* b* and Hue Angle) of peel and flesh, firmness and total soluble solids (sweetness) during fruit development. Two landrace cultivars of pumpkin: Kratone and Srisaket were grew and flowering date were tagged. Qualities were assessed after 24 days of flowering with every 3 days interval for 6 weeks. The results showed significantly differences (P ≤ 0.01) between two pumpkin cultivars in beta – carotene content, colour (L* a* b*) of peel and flesh, flesh firmness and hue angle of flesh. Peel firmness and hue angle of peel was found significant differences (P ≤ 0.05) between cultivars. However, total soluble solids was found non-significantly difference between cultivars. The quality change of pumpkins between fruit development after flowering were found significantly differences (P ≤ 0.01) in every quality characteristics. The highest qualities were showed after 33 day of flowering. The beta – carotene content in Srisaket and Kratone cultivars were highest on 33 and 36 after flowering which were 0.33 and 0.14 mg/ 100 g of fresh weight, respectively. Sweetness of pumpkins trend was indicated increasing up to day 42 after flowering. Keywords : Pumpkin, Beta – Carotene, Qualities

1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม Dept. of Horticulture, Fac. of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Nakhon Pathom 2 ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม 2 Dept. of Farm mechanics, Fac. of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Nakhon Pathom 1

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

345


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ฟั กทอง (Cucurbita moschata) เป็ นพืชผักที่มีคณ ุ ประโยชน์ รับประทานได้ ทกุ ส่วนทังยอด ้ และผล สามารถหาซื ้อได้ ในราคาไม่แพงคนไทยจึงบริ โภคฟั กทองทังในอาหารคาว ้ และอาหารหวาน รวมไปถึงขนมขบเคี ้ยว ซึง่ มีคณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สารเบต้ าแคโรทีน ที่ สามารถต่อต้ านอนุมลู อิสระ ป้องกันโรคหลอดเลือดแข็งตัว และโรคจอประสาทตาเสื่อม ได้ (Muntean, 2005) ผู้บริ โภคจะยอมรับฟั กทองที่มีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ มากกว่าหรื อเท่ากับ 11 ºBrix (Loy, 2006) ฟั กทองเป็ นพืชผักที่มีอายุสนั ้ สามารถปลูกได้ ตลอดทังปี ้ มีระยะเวลาการพัฒ นาผลประมาณ 30 – 45 วันหลังดอกบาน สีเนื ้อ ของฟั กทอง C. moschata มีสีขาวจากวันที่ 0 - 12 ภายหลังดอกบาน และเปลี่ยนเป็ นสีเขียวอ่อนในระหว่างวันที่ 24 - 36 ภายหลังจากดอกบาน (Nakkanong et al., 2012) การสะสมสารเบต้ าแคโรทีนจะเกิดขึ ้นในระหว่างการพัฒนาผล โดยจะเกิด การสะสมในเนื ้อสีส้ม – สีเหลืองมากกว่าสีเขียว (Obrero et al., 2013) แม้ ว่าการพัฒนาสารเบต้ าแคโรทีนในเนื ้อผลจะมีความ แตกต่างกันระหว่างพันธุ์และอายุของการพัฒนาผลแต่พบว่า ฟั กทองทุกพันธุ์มีการพัฒนาของสีเหลืองในเนื ้อผล ตังแต่ ้ ฟักทองมี อายุ 3 สัปดาห์หลังดอกบาน (กมลภัทร และคณะ, 2555) การเก็บเกี่ยวผลผลิตฟั กทองสามารถเก็บได้ เมื่อสังเกตเห็นว่าผล ฟั กทองเริ่ มเปลี่ยนเป็ นสีเหลืองจัด และมีนวลสีขาวที่ผล หลังจากการย้ ายปลูก 80 -100 วัน หรื อหลังดอกบาน 40 – 60 วัน (จานุ ลักษณ์ , 2549) หรื อเมื่อสีเปลือกกลมกลืนเป็ นสีเดียวกัน และมีนวลขึ ้นเต็ มผล เป็ นดัชนีการเก็บเกี่ยว (สมภูมิ , 2557) แต่ไม่ สามารถระบุวนั ที่ชดั เจนในการบ่งบอกถึงระยะเวลาที่ทาให้ ฟักทองมีคณ ุ ภาพสูงสุดได้ เนื่องจากมีปัจจัยที่ ต้องพิจารณาหลาย ประการ ดังนันงานวิ ้ จยั ชิ ้นนี ้ จึงมีจดุ ประสงค์ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพที่สาคัญ ได้ แก่ สารเบต้ าแคโรทีน สี ความแน่น เนื ้อ และ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ (ความหวาน) ในระหว่างการพัฒนาของผลฟั กทองภายหลังวันดอกบาน เพื่อใช้ เป็ น ดัชนีชี ้วัดในการเก็บเกี่ยวผลฟั กทอง รวมทังเป็ ้ นข้ อมูลพื ้นฐาน ในการปรับปรุงสายพันธุ์ฟักทองในอนาคต

อุปกรณ์ และวิธีการ ทาการปลูกฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองที่มีความทนทานต่อโรคและมีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ สงู 2 สายพันธุ์ ซึ่งจาก การศึกษาในเบื ้องต้ น พบว่ามีความแตกต่างกันของปริมาณสารเบต้ าแคโรทีนอยู่สงู ได้ แก่ พันธุ์กระโถน เป็ นพันธุ์ที่มีสารเบต้ าแค โรที น ต่ า และ พัน ธุ์ ศ รี ส ะเกษ เป็ น พัน ธุ์ ที่ มี ป ริ ม าณสารเบต้ า แคโรที น สูง ณ แปลงทดลอง ภาควิ ช าพื ช สวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม ทาเครื่ องหมายเมื่อดอกบาน โดยเขียนวัน เดือน ปี ที่ดอกบานกากับให้ ชดั เจน เริ่ มทาการเก็บเกี่ยวเมื่อวันที่ 24 หลังดอกบาน โดยการสุม่ วันละ 3 ผล ในทุกๆ 3 วัน ไปจนถึงวันที่ 42 หลังดอกบาน นามาวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงคุณภาพ ได้ แก่ สีเนื ้อ โดยนาเนื ้อฟั กทองบริ เวณกลางผล มาวัดสีด้วยเครื่ อง color meter (ยี่ห้อ Minolta รุ่น CR-10) ด้ วยวิธี Hunter system (L* a* b*) และนาไปคานวณหาค่าสีแท้ จริ งที่ปรากฏให้ เห็น (hue angle, Ho) โดยใช้ สมการ Ho = arctan (b*/a*) โดยที่ a* และb* > 0 หรื อ Ho = 180o+ arctan (b*/a*) โดยที่ a* < 0 และ b* > 0 (McGuiere, 1992; HunterLab, 2008) วัดความแน่นเนื ้อด้ วยเครื่ อง penetrometer รุ่น FT, 327 ด้ วยหัวกดขนาดเส้ น ผ่านศูนย์กลาง 10 มิลลิเมตร วัดปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ซึง่ ใช้ เป็ นตัวบ่งชี ้ความหวานอย่างหนึ่ง โดยการนาเนื ้อฟั กทองมา สับให้ ละเอียด คันน ้ ้าแล้ วนาไปวัดด้ วยเครื่ อง pocket refractometer (ATAGO รุ่น PAL-1) วิเคราะห์ปริ มาณเบต้ าแคโรทีน โดย วิธีของ Nagata and Yamashita (1992) นาข้ อมูลมาวิเคราะห์สถิติตามแผนการทดลองแบบ Random completely randomized design (RCRD) โดยกาหนดให้ พนั ธุ์เป็ นบล็อก และวันหลังดอกบานเป็ นทรี ทเมนท์ โดยมีปัจจัยคุณภาพที่ทดสอบ เป็ นตัวชี ้วัด โดยทาการทดลอง 3 ซ ้า (3 ผล) และแต่ละซ ้าใช้ ตวั อย่างฟั กทอง 3 ชิ ้น ทาการเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี least significant differences (LSDs)

ผลการทดลองและวิจารณ์ ในระหว่างการพัฒนาของผลฟั กทอง พบว่า คุณภาพที่สาคัญของผลฟั กทองได้ แก่ ปริ มาณสารเบต้ าแคโรทีน สีของ เปลือกและเนื ้อฟั กทอง ความแน่นเนื ้อ และ ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ เกิดการเปลี่ยนแปลง แต่ อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตว่า ตัวอย่างต้ นฟั กทองในวันที่ 39 ของพันธุ์กระโถน พบว่าต้ นเกิดอาการเหี่ยวตาย ทาให้ ตวั อย่างผลฟั กทองที่เก็บมาวิเคราะห์ปัจจัย คุณภาพต่างๆ ได้ แก่ ปริ มาณสารเบต้ าแคโรทีน ค่า b* หรื อค่าความเป็ นสีเหลืองของเนื ้อฟั กทอง ค่าความแน่นเนื ้อ พบว่ามีค่า ลง อย่างผิดปกติ เช่นเดียวกับค่าปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ที่มีค่าที่ลดลงอย่างผิดปกติเช่นเดียวกัน โดยมีรายละเอียดของผลการ วิเคราะห์ ดังนี ้

346

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ปริมาณสารเบต้ าแคโรทีน ปริ มาณสารเบต้ าแคโรทีนของฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองทัง้ 2 สายพันธุ์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P≤ 0.01) ระหว่างระยะเวลาหลังวันดอกบาน โดยพบว่าพันธุ์กระโถน มีแนวโน้ มปริ มาณสารเบต้ าแคโรทีนเพิ่มขึ ้นภายหลังวันดอก บาน เมื่อผลฟั กทองพัฒนาปริ มาณสารเบต้ าแคโรทีนมีค่าเพิ่มสูงขึน้ สูงสุดในวันที่ 36 เป็ น 0.14 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมของ น ้าหนักสด แต่ในพันธุ์ศรี สะเกษมีแนวโน้ มปริ มาณสารเบต้ าแคโรทีนลดลง เมื่อผลฟั กทองพัฒนา ปริ มาณสารเบต้ าแคโรทีนมีค่า เพิ่มสูงขึน้ สูงสุดในวันที่ 33 เป็ น 0.33 มิลลิกรั มต่อ 100 กรั มของนา้ หนักสด จากนัน้ จะลดลง ซึ่งในฟั กทองพันธุ์กระโถนจะ สอดคล้ องกับการศึกษาของ Lester และ Dunlap (1985) ทาการศึกษาพัฒนาการของปริ มาณสารเบต้ าแคโรทีน ใน muskmelon หลังการผสม หรื อหลังวันดอกบาน พบว่า ผล muskmelon จะเริ่ มสร้ างเบต้ าแคโรทีนภายหลังดอกบานแล้ ว 10 วัน แต่จะไม่สร้ างเพิ่มจนหลังจาก 20 วัน และจะพบว่ามีปริ มาณเพิ่มขึ ้น 2-3 เท่าจากเดิม ภายหลังดอกบาน 30 วัน และเพิ่มขึ ้น เรื่ อยๆจนถึงวันที่ 50 นอกจากนี ้ Lester and Eischen (1996) ซึง่ ทาการศึกษาใน muskmelon และ Obrero และคณะ (2013) ซึง่ ทาการศึกษาใน Cucurbita pepo ยังพบว่าปริ มาณสารเบต้ าแคโรทีนจะสะสมเพิ่มขึ ้นเมื่อมีการพัฒนาของผล และเมื่อผลมี ขนาดใหญ่ขึ ้น (Figure 1) 0.4

Beta Carotene Content (mg/ 100 g of FW)

Kratone

Srisaket

0.3

0.2

0.1

0.0 24

27

30

33

36

Fruit Development (Days)

39

42

Figure 1 Change of beta carotene content at 24 to 42 day after antesis in 2 cultivars. Each point is mean of 9 sample data. The error bars indicate LSDs (P-value < 0.05). สี (L*, a*, b* และ Hue Angle) ของเปลือกและเนื ้อฟั กทอง ค่าสีของเปลือกฟั กทองทัง้ 2 สายพันธุ์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P≤ 0.01) ระหว่างระยะเวลา หลังวันดอกบาน โดยพบว่าค่าเฉลี่ย L*, a* และ b* ของเปลือกฟั กทองมีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้น แต่ค่า Hue Angle ของเปลือกฟั กทองมี แนวโน้ มลดลงจากวันที่ดอกบาน เมื่อผลฟั กทองพัฒนา ค่า L* ของฟั กทองพันธุ์ศรี สะเกษและกระโถน มีค่าสูงสุดในวันที่ 39 เป็ น 52.61 และ 54.38 ตามลาดับ แสดงให้ เห็นว่าในระยะการพัฒนาของผลฟั กทอง เปลือกของฟั กทองมีความสว่างเพิ่มขึน้ เนื่องจากนวลของฟั กทองที่เพิ่มขึ ้น ซึง่ สอดคล้ องกับการศึกษาของ Nakkanong และคณะ (2012) พบว่าฟั กทองมีระยะเวลาการ พัฒนาผลประมาณ 30 – 45 วันหลังดอกบาน การเก็บเกี่ยวผลผลิตฟั กทองจะใช้ การสังเกตนวลที่เกิดขึ ้นเต็มผิวผล ค่า a* ใน พันธุ์กระโถนมีค่าสูงสุดในวันที่ 30 เป็ น 2.82 และพันธุ์ศรี สะเกษมีค่าสูงสุดในวันที่ 39 เป็ น 9.66 แสดงให้ เห็นว่าเปลือกของ ฟั กทองในระยะพัฒนาผล มีความเป็ นสีเขียวลดลง ความเป็ นสีแดงเพิ่มขึ ้น ค่า b* ของฟั กทองพันธุ์กระโถนมีค่าสูงสุดในวัน 18.00 และพันธุ์ศรี สะเกษ มีคา่ สูงสุดในวันที่ 36 เป็ น 20.18 แสดงให้ เห็นว่าในระยะการพัฒนาของผลฟั กทอง เปลือกของฟั กทอง มีความเป็ นสีเหลืองลดลง ค่า Hue Angle ของฟั กทองทัง้ 2 สายพันธุ์ มีแนวโน้ มลดลง ซึง่ ค่า Hue Angle ที่อยู่ในช่วง 45 - 90° จะแสดงความเป็ นสีส้มแดงถึงสีเหลือง ซึง่ ในพันธุ์กระโถนมีคา่ ลดลงต่าสุดในวันที่ 30 เป็ น 77.42 º และพันธุ์ศรี สะเกษมี

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

347


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ค่าลดลงต่าสุดในวันที่ 39 เป็ น 61.83 º จากนันจะมี ้ ค่าเพิ่มขึ ้นเล็กน้ อย แสดงให้ เห็นว่าในระยะการพัฒนาของผลฟั กทอง เปลือก ของฟั กทองทัง้ 2 สายพันธุ์มีแนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงสีของเปลือกจากสีเหลืองเป็ นสีเหลืองส้ ม 100

Kratone

Srisaket

L* Values of Flesh

L* Values of Skin

80

100

60 40 20 24

27

30

33

36

Fruit Development (Days)

20

39

60 40 20

Kratone

24

42

Srisaket

10

27

30

33

36

Fruit Development (Days)

39

42

20

a* Values of Flesh

a* Values of Skin

Srisaket

0

0

10

0

0

Kratone

-10

-10 24

27

30

33

36

Fruit Development (Days)

39

24

42

27

30

33

36

Fruit Development (Days)

Srisaket 39

42

80

40

Srisaket

b* Values of Skin

b* Values of Flesh

Kratone

20

0

60 40 20

Kratone

0 24

27

30

33

36

Fruit Development (Days)

39

42

24 120

100

100

Hue Angle of Flesh

120

Hue Angle of Skin

Kratone

80

80 60 40 20

Kratone

0 24

27

30

33

36

Fruit Development (Days)

Srisaket 39

42

27

30

33

36

Fruit Development (Days)

Srisaket 39

42

80

60 40 20

Kratone

0 24

27

30

33

36

Fruit Development (Days)

Srisaket 39

42

Figure 2 Change of colour (L*, a*, b* and Hue Angle) of peel and flesh at 24 to 42 day after antesis in 2 cultivars. Each point is mean of 9 sample data. The error bars indicate LSDs (P-value < 0.05). ค่าสีของเนื ้อฟั กทองทัง้ 2 สายพันธุ์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ (P≤ 0.01) ระหว่างระยะเวลาหลัง วันดอกบานโดยพบว่า ค่า L* ในพันธุ์กระโถนและพันธุ์ศรี สะเกษ มีค่าต่าสุดในวันที่ 36 เป็ น 70.38 และ 62.21 ตามลาดับ แสดง ให้ เห็นว่าเนื ้อของฟั กทองพันธุ์กระโถนมีความสว่างมากกว่าพันธุ์ศรี สะเกษ ค่า a* ในพันธุ์กระโถนและพันธุ์ศรี สะเกษ มีค่าสูงสุด 348

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ในวันที่ 36 เป็ น 2.03 และ 17.41 ตามลาดับ แสดงให้ เห็นว่าเนื ้อของฟั กทองพันธุ์ศรี สะเกษมีความเป็ นสีแดงมากกว่าพันธุ์ กระโถน ค่า b* ของพันธุ์กระโถนมีค่าสูงสุดในวันที่ 33 เป็ น 62.67 และพันธุ์ศรี สะเกษ มีค่าสูงสุดในวันที่ 24 เป็ น 73.36 แสดงให้ เห็นว่าในระยะการพัฒนาของผลฟั กทอง เนื ้อของฟั กทองมีความเป็ นสีน ้าเงินลดลง ความเป็ นสีเหลืองเพิ่มขึ ้น ค่า Hue Angle ของพันธุ์กระโถนและพันธุ์ศรี สะเกษ มีค่า Hue Angle ต่าสุดในวันที่ 36 เป็ น 88.11 º และ 76.12 º ตามลาดับ ซึง่ ทาให้ เห็นว่า เนื ้อฟั กทองของพันธุ์กระโถน มีความเป็ นสีเหลืองมากกว่าพันธุ์ศรี สะเกษ ที่มีความเป็ นสีส้มมากกว่า ซึ่งสอดคล้ องกับการศึกษา ของ Nakkanong และคณะ (2012) พบว่า สีเนื ้อของฟั กทอง C. moschata มีสีขาวจากวันที่ 0 - 12 ภายหลังดอกบาน และ เปลี่ยนเป็ นสีเขียวอ่อนในระหว่างวันที่ 24 - 36 ภายหลังจากดอกบาน และเมื่อพิจารณาค่า Hue Angle พบว่า สีเปลือกและเนื ้อ ของฟั กทอง มีแนวโน้ มความเป็ นสีส้มมากขึ ้น เมื่อฟั กทองอยู่ในระยะพัฒนาผล จาก Figure 2 จะพบว่าสีของเนื ้อฟั กทองทัง้ 2 สายพันธุ์ มีแนวโน้ มการเปลี่ยนแปลงภายหลังวันดอกบานเพียงเล็กน้ อย แต่จากการทดสอบทางสถิติพบว่ามีความแตกต่างอย่าง มีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ (P≤ 0.01) ความแน่ นเนือ้ ความแน่นเนื ้อของเปลือกและเนื ้อฟั กทองทัง้ 2 สายพันธุ์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ (P≤ 0.05) และสาคัญ ยิ่งทางสถิติ (P≤ 0.01) ตามลาดับ ระหว่างฟั กทองทัง้ 2 สายพันธุ์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ (P≤ 0.01) ของระยะเวลาหลังวันดอกบาน โดยพบว่า ค่าความแน่นเนื ้อของเปลือกและเนื ้อฟั กทองในแต่ละสายพันธุ์มีความสอดคล้ องกัน เมื่อผลฟั กทองพัฒนาค่าความแน่นเนื ้อของเปลือกและเนื ้อของฟั กทองพันธุ์ศรี สะเกษมีแนวโน้ มเพิ่มสูงขึ ้น จนมีค่าสูงสุดในวันที่ 39 เป็ น โดยมีคา่ ความแน่นเนื ้อของเปลือกเป็ น 1. 17 นิวตันต่อตารางมิลลิเมตร และมีค่าความแน่นเนื ้อของเนื ้อเป็ น 0.65 นิวตัน ต่อตารางมิลลิเมตร ความแน่นเนื ้อของเปลือกและเนื ้อของฟั กทองพันธุ์กระโถน มีค่าสูงสุดในวันที่ 33 มีค่าความแน่นเนื ้อของ เปลือกเป็ น 1. 16 นิวตันต่อตารางมิลลิเมตร และมีค่าความแน่นเนื ้อของเนื ้อเป็ น 0.70 นิวตันต่อตารางมิลลิเมตร ซึง่ พบว่ามีค่า ต่ากว่าจากการศึกษาของ Gonçalves และคณะ (2005) ซึง่ พบว่าในฟั กทอง (C. moschata) ที่ระยะบริ บรู ณ์ มีค่าความแน่นเนื ้อ อยูป่ ระมาณ 1.4 – 1.5 นิวตัน/ ตารางมิลลิเมตร ทังนี ้ ้อาจเนื่องจากความแตกต่างของวิธีการและเครื่ องที่ใช้ วดั (Figure 3) 1.4 1.2

Firmness (N/ mm2)

1.0 0.8 0.6 0.4 0.2 0.0 24

27

30

33

36

39

42

Fruit Development (Days) Flesh Firmness

Flesh Firmness

Skin Firmness

Skin Firmness

Figure 3 Change of firmness of skin and flesh at 24 to 42 day after antesis in 2 cultivars. Each point is mean of 9 sample data. The error bars indicate LSDs (P-value < 0.05). ปริมาณของแข็งที่ละลายนา้ ได้ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ของฟั กทองทัง้ 2 สายพันธุ์ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P≤ 0.05) ระหว่างฟั กทองทัง้ 2 สายพันธุ์ (Figure 4) แต่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ (P≤ 0.01) ระหว่างระยะเวลา หลังวันดอกบาน โดยพบว่ามีปริ มาณเพิ่มขึน้ อย่างต่อเนื่อง ภายหลังวันดอกบาน โดยมีค่าสูงสุด ในวันที่ 42 สอดคล้ องกับ การศึกษาของ Loy (2006, b) พบว่า ฟั กทอง C. pepo ภายหลังวันดอกบาน 25 35 และ 45 วัน มีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้า การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

349


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ได้ 5.9 – 7.2, 8.1 – 10.9 และ 9.7 – 13.4 ºBrix ตามลาดับ จากการทดลองนี ้ พันธุ์ศรี สะเกษและกระโถน พบว่า มีปริ มาณ ของแข็งที่ละลายน ้าได้ เป็ น 10.61 และ 12.08 ºBrix ตามลาดับ เห็นได้ ว่าพันธุ์กระโถนมีมีแนวโน้ มที่จะมีความหวานมากกว่า พันธุ์ศรี สะเกษ นอกจากนี ้ Loy (2006, a) ยังพบว่าผู้บริ โภคจะยอมรับฟั กทองที่มีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ มากกว่าหรื อ เท่ากับ 11 ºBrix ซึ่งหากใช้ เงื่อนไขดังกล่าว จะพบว่าตัวอย่างฟั กทองพันธุ์กระโถน และศรี สะเกษเหมาะสมกับการบริ โภค เมื่อมี อายุมากกว่า 42 วันหลังดอกบาน 14 12

Total Soluble Solids (° Brix)

10 8 6 4 2

Kratone

0 24

27

30

33

36

39

Srisaket 42

Fruit Development (Days)

Figure 4 Change of total soluble solids at 24 to 42 day after antesis in 2 cultivars. Each point is mean of 9 sample data. The error bars indicate LSDs (P-value < 0.05).

สรุ ป จากการศึกษาพบว่าฟั กทองทังสองสายพั ้ นธุ์ มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ (P≤ 0.05) ทางสถิติระหว่างสาย พันธุ์ ในปั จจัยคุณภาพที่สาคัญ ยกเว้ นปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ การพัฒนาคุณภาพที่สาคัญ ได้ แก่ สารเบต้ าแคโรทีน สี ของเปลือกและเนือ้ ความแน่นเนือ้ ของเปลือกและเนือ้ และ ปริ มาณของแข็งที่ละลายนา้ ได้ ภายหลังดอกบานพบว่ามีความ แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง (P≤ 0.01) ทางสถิติ คุณภาพที่สาคัญของฟั กทองส่วนใหญ่มีการพัฒนาจนมีค่าสูงสุดในช่วง วันที่ 33 – 39 หลังวันดอกบาน หากพิจารณาในภาพรวม จะพบว่า ฟั กทองจะมีการพัฒนาสารเบต้ าแคโรทีน และความแน่นเนื ้อ ของเปลือกและเนื ้อสูง ในวันที่ 33 หลังวันดอกบาน ฟั กทองจะมีการพัฒนาสีที่มีที่เนื ้อจนมีสีเหลืองเข้ มถึงส้ มในวันที่ 36 หลังวัน ดอกบาน ในวันที่ 39 หลังวันดอกบาน จะพบว่าฟั กทองจะมีการสร้ างนวลขึ ้นที่ผิวผล และสีของเปลือกเปลี่ยนเป็ นสีส้ม และ ฟั กทองจะมีการพัฒนาปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ (ความหวาน) จนสูงที่สดุ เมื่อฟั กทองมีอายุ 42 หลังวันดอกบาน

เอกสารอ้ างอิง จานุลกั ษณ์ ขนบดี, มุกดา สุขสวัสดิ์, จินนั ทนา จอมดวง, อัญชลี สงวนพงษ์ , พรนิภา เลิศศิลป์ มงคล, ทิพวรรณ มานนท์ และ จิรภา พงษ์ จนั ตา. 2549. ฟั กทอง: การผลิตเมล็ดพันธุ์และการใช้ ประโยชน์. โอเดียนสโตร์ , กรุงเทพฯ. 120 น. สมภู มิ พรรณอภัย พงศ์ . 2557. การผลิ ต การตลาดฟั ก ทอง. แหล่ ง ที่ ม า: http://www.agriman.doae.go.th/home/t.n/t.n4/ 5getable_Marketing/03010-pumking.pdf, ธันวาคม 2557 Gonçalves, E., R. Brazão, J. Pinheiro, M. Abreu, C. Silva and M. Moldão-Martins. 2005. Influence of maturity stage on texture, pectin composition and microstructure of pumpkin. MERCOSUR CONGRESS ON PROCESS SYSTEMS ENGINEERING. Vol. 4. Hunterlab. 2008. Hunter L, a, b color scale. Applications Note Insight on Color, vol. 8(9): 1-4. Lester, G. E. and J. R. Dunlap. 1985. Physiological changes during development and ripening of ‘Perlita’ muskmelon fruits. Scientia Horticulturae 26(4): 323-331. Lester, G. E. and F. Eischen. 1996. Beta-carotene content of postharvest orange-fleshed muskmelon fruit: effect of cultivar, growing location and fruit size. Plant foods for human nutrition 49(3): 191-197. Loy, J. B. 2006(a). Harvest period and storage affect biomass partitioning and attributes of eating quality in acorn squash (Cucurbita pepo). Cucurbitaceae 2006: 568-577. 350

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Loy, J. B. 2006(b). Interaction of harvest time and storage on attributes of eating quality in acorn squash. HortScience 41(3): 496-496. McGuire, R. G. 1992. Reporting of objective color measurements. HortScience 27(12): 1254-1255. Muntean, E. 2005. Quantification of carotenoids from pumpkin juice by HPLC-DAD. Journal of Agroalimentary Processes and Technologies. 1: 123-128 Nagata, M. and I. Yamashita. 1992. Simple method for simultaneous determination of chlorophyll and carotenoids in tomato fruit. Journal-Japanese Society of Food Science and Technology 39: 925-925. Nakkanong, K., J. H. Yang, and M. F. Zhang. 2012. Carotenoid Accumulation and Carotenogenic Gene Expression during Fruit Development in Novel Interspecific Inbred Squash Lines and Their Parents. Journal of agricultural and food chemistry. 60: 5936-5944. Obrero, Á., C. I. González-Verdejo, J. V. Die, P. Gómez, M. Del Río-Celestino and B. Román. 2013. Carotenogenic gene expression and carotenoid accumulation in three varieties of Cucurbita pepo during fruit development. Journal of agricultural and food chemistry 61(26): 6393-6403.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

351


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อิทธิพลของความแก่ ของผลและระดับความเข้ มข้ นของไคโตซานที่มีต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพ ของผลองุ่นพันธุ์ Canadice Seedless Influence of Maturity and Chitosan Concentration on Growth and Quality of ‘Canadice Seedless’ grape กิตติพงศ์ กิตติวัฒน์ โสภณ 1 ณรงค์ ชัย พิพฒ ั น์ ธนวงศ์ 1 และทัศนารถ กระจ่ างวุฒิ 2 1 Kittipong Kittiwatsopon , Narongchai Pipatanawong 1 and Tassanart Kajangwooti 2

บทคัดย่ อ

จาการศึกษาผลของความแก่ของผลและระดับความเข้ มข้ นของไคโตซานที่มีต่อการเจริ ญเติบโตและคุณภาพของผล องุ่นพันธุ์ ‘Canadice Seedless’ ณ พระตาหนักสวนปทุม ระหว่างวันที่ 4-24 กุมภาพันธุ์ 2558 ผลปรากฏว่าความแก่ของผล องุ่นไม่มีผลต่อน ้าหนักช่อผล น ้าหนักผล ขนาดของผล และปริ มาณ Total soluble solids (TSS) แต่เปอร์ เซ็นต์กรด (TA) และ สัดส่วนระหว่าง TSS/TA ในน ้าคันองุ ้ ่นเมื่ออายุ 60 และ 67 วันหลังวันตัดแต่งกิ่งแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง ช่อผลที่ได้ รับ สารไคโตรซานที่ระดับความเข้ มข้ น 100 มิลลิกรัมต่อลิตร มีน ้าหนักผลและสัดส่วนระหว่างน ้าตาลต่อกรดมากที่สดุ เท่ากับ 64.76 กรัม และ 42.58 oBrix/% และไม่ได้ รับสารมีค่าน้ อยที่สดุ เท่ากับ 53.72 กรัม และ 36.22 oBrix/% ตามลาดับ ผลองุ่นที่ได้ รับสาร ไคโตรซานที่ระดับความเข้ มข้ น 200 มิลลิกรัมต่อลิตรมีน ้าหนักผล ความยาว ความกว้ างและค่าเฉลี่ยระหว่างความยาวและ ความกว้ างของผลมากที่สดุ เท่ากับ 1.77 กรัม, 1.46, 1.40 และ 1.43 เซนติเมตร และผลที่ไม่ได้ รับสารไคโตซานมีค่าน้ อยที่สดุ เท่ากับ 1.54 กรัม, 1.36, 1.30 และ 1.34 เซนติเมตร ตามลาดับ และผลที่ไม่ได้ รับสารไคโตซานมีเปอร์ เซ็นต์กรดมากที่สดุ เท่ากับ 0.68 เปอร์ เซ็นต์ และผลที่ได้ รับสารไคโตรซานที่ระดับความเข้ มข้ น 100 มิลลิกรัมต่อลิตรมีค่าน้ อยที่สดุ เท่ากับ 0.60 เปอร์ เซ็นต์ ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ รวมทังพบว่ ้ ามีปฏิสมั พันธ์ ร่วมกันระหว่างความแก่ของผลและระดับความเข้ มข้ น ของสารไคโตซานมี ต่อน า้ หนักช่ อผล น า้ หนักผล ขนาดของผล เปอร์ เ ซ็น ต์ กรดและสัดส่ว นระหว่างน า้ ตาลต่อกรด อย่างมี นัยสาคัญยิ่งทางสถิติ คาสาคัญ : น ้าหนักช่อผล ขนาดผล Total soluble solids เปอร์ เซ็นต์กรด

Abstract

Study on the effects of berry maturity and Chitosan (CTS) concentration on growth and quality of ‘Canadice Seedless’ in terms of cluster weight, berry weight and size, total soluble solids (TSS), titratable acidity (TA), and TSS/TA ratio were statistically investigated from February 4-24, 2015 at Saunpathum Villa, Thailand. The two stage berry maturity (60 and 67 days after pruning) had not different on cluster weight, berry weight, berry sizing (the length, width and average of the length and width) and TSS. But the berry for 67 days after pruning was highly significant different on TA (0.71 %) and less than 60 days after pruning on TSS/TA ratio (42.75 oBrix/%). The cluster sprayed with 100 mg CTS/l had highly significant different on cluster weight (64.76 g) and TSS/TA ratio (42.58 oBrix/%), and they sprayed with 200 mg CTS/l were the highest highly significant different on berry weight (1.77 g), and TSS/TA ratio (42.58 oBrix/%), berry length (1.46 cm), Berry width (1.40 cm) and average berry sizing (1.43 cm), respectively, And the cluster was not sprayed with CTS gave the highest on TA (0.68 %). And had highly significant difference on influence of interaction between stage of berry maturity and CTS concentration on cluster weight, berry length, berry width and average berry size, TA and TSS/TA ratio, and were not difference on berry weight and TSS. Keywords: Number of berries, Berry size, Total soluble solids, Total acidity. 1 2

คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 ฝ่ ายงานสวนเกษตร พระตาหนักสวนปทุม ตาบลบางขะแยง อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 1200

352

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา การผลิตองุ่นเป็ นการค้ าในประเทศไทย มีการใช้ สารเคมีทางการเกษตรอย่างรุ นแรงทาให้ มี สารพิษตกค้ างในผลองุ่น อย่างมาก (กองวัตถุมีพิษ , กรมวิชาการเกษตร, 2557 และสานักงานมาตรฐานสินค้ าเกษตร, 2557) ในปั จจุบันแนวทาง การผลิตทางการเกษตร จึงมุ่งทาการผลิตตามระบบการผลิตเกษตรอินทรี ย์ (Organic Agriculture) และระบบการผลิตแบบ เกษตรปลอดภัย (Good agricultural practice, GAP) เพื่อให้ ผลิตผลทางการเกษตรมีความปลอดภัยต่อผู้บริ โภคและปั จจุบนั มี กระแสการรณรงค์ตามแนวนี ้อย่างมาก การผลิตองุ่นไม่มีเมล็ดพันธุ์ ‘Canadice Seedless’ ภายใต้ สภาพโรงเรื อนหลังคาพลาสติกและมีตาข่ายป้องกันแมลง ตามระบบเกษตรอินทรี ย์ หรื อระบบเกษตรปลอดภัยในโครงการผลิตผลทางการเกษตร พระตาหนักสวนปทุม จังหวัดปทุมธานี มักจะประสบปั ญหาเกี่ ยวกับการออกดอกและติดผลเว้ นฤดู ผลผลิตต่ าและมี คุณภาพของผลไม่ดี ซึ่งมีนักวิจัยรายงานว่า สารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืชสามารถตอบสนองต่อการเจริ ญเติบโต ผลผลิตและคุณภาพของผลองุ่นแตกต่างกันไปขึ ้นอยู่ กับความแก่ของผล ชนิดสารและระดับความเข้ มข้ นของสาร (Winkler, et al., 1978) สาหรับฮิวมิค แอซิค (Humic acid) ประกอบด้ วยธาตุอาหารที่สาคัญของพืชช่วยปรับสภาพดินปลูกให้ มีความอุดมสมบู รณ์ของดินและปรับสมดุลย์ของธาตุอาหาร พืชและความเป็ นกรด-ด่างของดิน (Stevenson, 1994) สารไคโตซาน (Chitosan) เป็ นสารชีวภัณฑ์ชนิดหนึ่งที่มีความปลอดภัย (Baldrick, 2010) สามารถสกัดจากสัตว์ที่มี กระดองแข็งและขาเป็ นปล้ อง เช่น กุ้ง หอย ปู และกัง้ ส่วนที่เป็ นกระดองแข็ งสามารถนามาสกัด และได้ สารสกัดไคโตซาน (Tajik et al., 2008; Kleinner, 2014) สารไคโตซานเป็ นสารที่มีประจุบวก ทาให้ สามารถจับกับสารชนิดที่เป็ นไขมันต่างๆ ได้ ดี และสาร ไคโตซาน (Chitosan) เป็ นสารประกอบโมเลกุลของลินเนียร์ โพลีแซคคาไรด์ (linear polysaccharide) มีสตู รโครงสร้ างทางเคมี เป็ น β-(1-4)-linked D-glucosamine (deacetylated unit) and N-acetyl-D-glucosamine (Kean et al., 2005, (Peilong et al., 2013)) และสลายตัวออกเป็ นสารประกอบหลายรูปแบบ (Fernandez and Ingber, 2012) รวมทังสาร ้ ไคโตซาน (Chitosan) ยังประกอบด้ วยธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองที่สาคัญของพืช และมีคณ ุ สมบัติเป็ นสารควบคุมการเจริ ญเติ บโต ของพืชสามารถเพิ่มการเจริ ญเติบโตและขนาดของผลองุ่นได้ ด้วย (Hadwiger et al., 2013) และลดการเข้ าทาลายของจุลินทรี ย์ โรคและแมลงศัตรูองุ่น (Linden et al., 2000; Escudero et al., 2004) ทาให้ ผลผลิตและคุณภาพของผลองุ่นเพิ่มขึ ้น (Linden and Stoner, 2005) นอกจากนี ้สารไคโตซานยังสามารถยืดอายุการเก็บรักษาของผลไม้ เช่น มะเฟื อง (Zulferiyenni et al., 2015) กีวี แอปเปิ ล มะม่วง และ พีช (Peilong et al., 2013) และพริกยักษ์ (Raymond et al., 2012. จากปั ญหาและความสาคัญดังกล่าวข้ างต้ นนี ้ จึงได้ ทาการศึกษาผลของความแก่และระดับความเข้ มข้ นของสาร ไคโตซานที่มีต่อการเจริ ญเติบโต และคุณภาพขององุ่นไม่มีเมล็ดพันธุ์ ‘Canadice Seedless’ ที่ปลูกภายใต้ สภาพโรงเรื อน พลาสติกและตาข่ายป้องกันแมลง ตามระบบการผลิตเกษตรอินทรี ย์ เพื่อนาองค์ความรู้ ที่ได้ ไปส่งเสริ ม เผยแพร่ และถ่ายทอด ให้ แก่ เกษตรกร ผู้ปลูกองุ่น ผู้ประกอบการธุรกิจองุ่นและผู้เกี่ยวข้ องต่างๆ ได้ พฒ ั นาระบบการผลิตองุ่นให้ ดีขึน้ ทาให้ ผ้ ผู ลิตมี รายได้ มากขึน้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึน้ รวมทังลดการขาดดุ ้ ล ทางการค้ ากับต่างประเทศ โดยสามารถปลูกผลิตทดแทนได้ ภายในประเทศและสามารถลดการนาเข้ าองุ่นจากต่า งประเทศได้ มากกว่าร้ อยละ 5 ต่อปี ซึ่งประเทศไทยนาเข้ าองุ่นสดและ ผลิตภัณ ฑ์ จากองุ่นจากต่างประเทศคิ ดเป็ นมูลค่ามากกว่าหนึ่งพัน ล้ านบาทต่อปี (สานัก งารเศรษฐกิ จ การเกษตร, 2555) นอกจากนี ้ยังทาให้ ผ้ บู ริโภคองุ่นมีความปลอดภัยมากขึ ้นและมีสขุ ภาพที่ดีขึ ้น

อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง วางแผนการทดลองแบบ 2x5 Factorial in Randomized completely block design (RCRD) ประกอบด้ วย 10 ตารับทดลอง (Treatment combinations) ประกอบด้ วย 2 ปั จจัย คือ ปั จจัยที่ 1 เป็ นอายุความแก่ของผลองุ่น 2 ระดับ คือ เมื่อ อายุ 60 วันหลังวันตัดแต่งกิ่ง (ก่อนผลเริ่ มเปลี่ยนสี หรื อผลเริ่ มนิ่ม 7 วัน) และอายุ 67 วันหลังการตัดแต่งกิ่ง (ขณะผลเริ่ มเปลี่ยน สี หรื อผลเริ่มนิ่ม) และปั จจัยที่ 2 เป็ นระดับความเข้ มข้ นของสารไคโตซานที่มีความเข้ มข้ น 0, 100, 200, 400 และ 800 มิลลิกรัม ต่อลิตร โดยฉีดพ่นสารไคโตซานบนช่อผลจนทัว่ ทังช่ ้ อผล จานวน 1 ครัง้ เท่านัน้ และประกอบด้ วย 10 ตารับทดลอง (Treatment combinations) ๆ ละ 3 ซ ้า ๆ ละ 8 ช่อผล เมื่อผลแก่เต็มที่ (อายุผล 110 วัน หลังวันตัดแต่งกิ่ง) เก็บเกี่ยวผลผลิตองุ่นและบันทึก ผลการทดลองเกี่ยวกับน ้าหนักช่อผล น ้าหนักผล ขนาดผล (ความกว้ าง ความยาว ค่าเฉลี่ยระหว่างความกว้ างและความยาวของ ผล) Total soluble solids (TSS) เปอร์ เซ็นต์กรด (TA) และสัดส่วนระหว่าง TSS/TA โดยทาการทดลองกับองุ่นไม่มีเมล็ดพันธุ์ ‘Canadice Seedless’ ณ พระตาหนักสวนปทุม อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ที่ตงอยู ั ้ ่ในพื ้นที่ที่อ่านค่าด้ วยเครื่ องบอกพิ กดั รุ่ น การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

353


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Garmin GPS 60 CSx ในระบบ UTM เท่ากับ 1542687, 1542711, 1542709 และ 1542687 โดยใช้ ต้นองุ่นที่มีอายุประมาณ 3 ปี (ปลูกเมื่อวันที่ 17-18 มกราคม 2555) ด้ วยระยะปลูกเท่ากับ 1×2 เมตร (ระยะต้ น×ระยะแถว) ในแปลงปลูกองุ่นขนาดของ ความกว้ าง×ยาว×สูง เท่ากับ 1×40×0.6 เมตร ทาขอบแปลงด้ วยอิฐซีเมนต์บล็อคและผสมวัสดุปลูกด้ วย ดิน : ทราย : ปุ๋ ยมูลไก่ หมักเก่าในสัดส่วน 2: 1 : 2 ส่วน ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์ของดินอยู่ในเกณพ์ดีถึงดีมาก ประกอบด้ วยไนโตรเจน (4.7-5.6 เปอร์ เซ็นต์) ฟอสฟอรัส (491-765 มก./ก.ก.) โปแตสเซียม (300-630 มก./ก.ก.) แคลเซียม (1,360-2,520 มก./ก.ก.) แมกนีเซียม (220-300 มก./ก.ก.) และความเป็ นกรดด่างของดิน (7.2-7.5) รวมทังเปรี ้ ยบเทียบค่าเฉลี่ยตามวิธีของ Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 เปอร์ เซ็นต์

ผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง 1. นา้ หนักช่ อผล ผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานเมื่อผลมีอายุ 60 และ 67 วันหลังวันตัดแต่งกิ่งมีน ้าหนักข่อผลไม่แตกต่างกัน (ตารางที่ 1) และผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานที่ระดับความเข้ มข้ น 100 มิลลิกรัมต่อลิตร มีน ้าหนักช่อผลมากที่สดุ เท่ากับ 64.76 กรัม (ตาราง ที่ 1) รองลงมาเป็ นผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานที่ระดับความเข้ มข้ น 200, 800 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร และผลที่ไม่ได่รับสาร ไคโตซานมีน ้าหนักช่อผลน้ อยที่สดุ เท่ากับ 64.61, 56.27. 55.53 และ 53.72 กรัม ตามลาดับ และแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง ทางสถิติ ทังนี ้ ้เนื่องจากสารไคโตซานทาหน้ าที่ คล้ ายสารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืชสามารถเพิ่มขนาดช่อผลและผลมากขึ ้น (Hadwiger et al., 2013) และสามารถลดการเกิดโรคได้ โดยคาดว่ากลไกของสารไคโตซานจะไปกระตุ้นการสร้ าง สารลิกนิน (lignin) บริเวณผนังเซล (cell wall) ของพืช (Linden et al., 2000) จึงมีผลทาให้ น ้าหนักช่อผลเพิ่มขึ ้น 2. นา้ หนักผล ผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานเมื่อผลมีอายุ 60 และ 67 วันหลังวันตัดแต่งกิ่งมีน ้าหนักผลไม่แตกต่างกัน (ตารางที่ 1) และ ผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานที่ระดับความเข้ มข้ น 200 มิลลิกรัมต่อลิตร มีนา้ หนักผลมากที่สดุ เท่ากับ 1.77 กรัม (ตารางที่ 1) รองลงมาเป็ นผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานที่ระดับความเข้ มข้ น 100, 800 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร และผลที่ไม่ได่รับสารไคโต ซานมีน ้าหนักผลน้ อยที่สดุ เท่ากับ 1.71, 1.63. 1.62 และ 1.54 กรัม ตามลาดับ และแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ ทังนี ้ เ้ นื่ องจากสารไคโตซานทาหน้ าที่คล้ ายสารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืชสามารถเพิ่มขนาดของเซลบริ เวณผลมากขึน้ (Hadwiger et al., 2013) ทาให้ น ้าหนักผลเพิ่มขึ ้น 3. ขนาดผล ผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานเมื่อผลมีอายุ 60 และ 67 วันหลังวันตัดแต่งกิ่งมีขนาดผลไม่แตกต่างกัน (ตารางที่ 1) และ ผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานที่ระดับความเข้ มข้ น 200 มิลลิกรัมต่อลิตรมีขนาดผลทังความยาว ้ ความกว้ างและค่าเฉลี่ยระหว่าง ความยาวและกว้ างของผลใหญ่ที่สดุ เท่ากับ 1.46, 1.40 และ 1.43 เซนติเมตร ตามลาดับ (ตารางที่ 1) รองลงมาเป็ นผลองุ่นที่ ได้ รับสารไคโตซานที่ระดับความเข้ มข้ น 100 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตร ผลที่ไม่ได่รับสารไคโตซาน และได้ รับสารไคโตซานที่ ระดับความเข้ มข้ น 800 มิลลิกรัมต่อลิตรมีขนาดผลเฉลี่ยเล็กที่สดุ เท่ากับ 1.40, 1.37, 1.34 และ 1.29 เซนติเมตร ตามลาดับ และแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ ทังนี ้ เ้ นื่ องจากสารไคโตซานทาหน้ าที่คล้ ายสารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืช สามารถเพิ่มขนาดของเซลบริ เวณผลมากขึ ้น (Hadwiger et al., 2013) ในทานองเดียวกันกับข้ อ 2 (น ้าหนักผล) ทาให้ มี ขนาดผลใหญ่ขึ ้น 4. ปริมาณ Total soluble solids (TSS) ผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานเมื่ อผลมีอายุ 60 และ 67 วันหลังวันตัดแต่งกิ่งและความเข้ มข้ นของสารไคโตซานที่ระดับ ต่างๆ ไม่มีผลต่อปริ มาณ Total soluble solids ในน ้าคันองุ ้ ่น (ตารางที่ 1) ทังนี ้ ้อาจจะเป็ นเพราะว่าการเก็บเกี่ยวผลองุ่นพันธุ์ Canadice Seedless เมื่อผลมีอายุ 110 วัน หลังวันตัดแต่งกิ่ ง ผลองุ่นทุกตารับทดลองมีอายุของผลแก่เต็มที่แล้ ว ทาให้ มี TSS ไม่แตกต่างกัน (Winkler et al., 1978) 5. เปอรเซ็นต์ กรด (Titratable acidity, TA) ผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานเมื่อผลมีอายุ 67 วันหลังวันตัดแต่งกิ่งมีเปอร์ เซ็นต์กรด (0.71 เปอร์ เซ็นต์) มากกว่าผลที่มี อายุ 60 วันหลังวันตัดแต่งกิ่ง (0.58 เปอร์ เซ็นต์) (ตารางที่ 1) และแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ และผลองุ่นที่ไม่ได้ รับ สารไคโตซานมีเปอร์ เซ็นต์กรดมากที่สดุ เท่ากับ 0.68 เปอร์ เซ็นต์ (ตารางที่ 1) รองลงมาเป็ นผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานที่ระดั บ ความเข้ มข้ น 200, 400, 800 และ 100 มิลลิกรั มต่อลิตรมีเปอร์ เซ็นต์ กรดเท่ากับ 0.67, 0.65, 0.62 และ 0.60 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ และแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ ทังนี ้ ้เนื่องจากองุ่นพันธุ์ Canadice Seedless ที่ได้ รับสารไคโตซานที่ 354

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ระดับความเข้ มข้ น 100 และ 800 มิลลิกรัมต่อลิตรอาจจะเป็ นความเข้ มข้ นที่ไม่เหมาะสมทาให้ มีเปอร์ เซ็นต์กรดลดลง โดยอาจจะ มีระดับความเข้ มข้ นที่ต่า หรื อสุงเกินไป แต่ที่ระดับความเข้ มข้ น 200 และ 400 มิลลิกรัมต่อลิตรเป็ นความเข้ มข้ นที่ เหมาะสมที่จะ ทาให้ เปอร์ เซ็นต์กรดมากขึ ้น (Winkler et al., 1978) 6. สัดส่ วนระหว่ างนา้ ตาลต่ อกรด (TSS/TA) ผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานเมื่อผลมีอายุ 60 วันหลังวันตัดแต่ง กิ่งมีสดั ส่วนระหว่าง TSS/TA (42.72 ◦Brix/%) มากกว่า ผลที่มีอายุ 67 วันหลังวันตัดแต่ง กิ่ง (34.73 ◦Brix/%) (ตารางที่ 1) และแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิ ติ และ ผลองุ่นที่ ได้ รับสารไคโตซานที่ระดับความเข้ มข้ น 200 มิลลิกรัมต่อลิตรมีสดั ส่วนระหว่าง TSS/TA มากที่สดุ เท่ากับ 42.58 ◦Brix/% (ตาราง ที่ 1) รองลงมาเป็ นผลองุ่นที่ได้ รับสารไคโตซานที่ระดับความเข้ มข้ น 800, 400 และ 200 มิลลิกรัมต่อลิตร และผลองุ่นที่ไม่ได้ รับ สารไคโตซานมีสดั ส่วนระหว่าง TSS/TA น้ อยที่สดุ เท่ากับ 39.37, 38.32, 37.20 และ 36.22 ◦Brix/% ตามลาดับ ทังนี ้ ้เนื่องจาก องุ่นพันธุ์ Canadice Seedless ที่ได้ รับสารไคโตซานจะมีเปอร์ เซ็นต์กรดเพิ่มขึ ้น ทาให้ มีมีสดั ส่วนระหว่าง TSS/TA มากขึ ้นด้ วย (Winkler et al., 1978) 7. ปฏิสัมพันธ์ ร่วมกันระหว่ างความแก่ ของผลและระดับความเข้ มข้ นของสารไคโตซาน พบว่ามีปฏิสมั พันธ์ ร่วมกันระหว่างความแก่ของผลและระดับความเข้ มข้ นของสารไคโตซานต่อต่อการเพิ่มน ้าหนัก ช่อ ผล ขนาดผล เปอร์ เซ็นต์กรดและสัดส่วนระหว่าง TSS/TA ในผลองุ่นอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

355


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ตารางที่ 1 น ้าหนักช่อผล น ้าหนักผล ขนาดผล (ความกว้ าง ความยาวและค่าเฉลี่ยระหว่างความกว้ างและความยาวของผล) Total soluble solids (TSS) เปอร์ เซ็นต์กรด (TA) และสัดส่วนระหว่างTSS/TA ขององุน่ พันธุ์ Canadice Seedless หลังการพ่นสารไคโตซานที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ หลังการตัดแต่งกิ่ง 60 วัน และ 67 วัน ณ พระตาหนักสวนปทุม จังหวัดปทุมธานี น ้าหนักช่อผล 1 (กรัม)

ตารับทดลอง

น ้าหนักผล 1 (กรัม)

ขนาดผล 1 (ซม) ความยาว ความกว้ าง

ค่าเฉลี่ย

TSS 1 (oBrix)

TA 1 (%)

TSS/TA 1 (oBrix/%)

อายุของผล พ่นสารไคโตซานเมือ่ ผลมีอายุ 60 วัน พ่นสารไคโตซานเมือ่ ผลมีอายุ 67 วัน

57.62 60.33

1.64 1.66

1.39 1.41

1.33 1.35

1.36 1.38

24.64 24.39

0.58 b 0.71 a

42.75 a 34.73 b

53.72 b 64.76 a 64.61 a 55.53 b 56.27 b 50.00 ed 65.06 ab 58.16 bcde 62.39 abc 52.48 cde 57.44 bcde 64.46 ab 71.06 a 48.67 e 60.06 bcd

1.54 b 1.71 a 1.77 a 1.62 b 1.63 ab 1.59 bc 1.63 bc 1.68 bc 1.68 bc 1.65 bc 1.48 c 1.80 ab 1.91 a 1.57 c 1.61 bc

1.36 cd 1.43 ab 1.46 a 1.39 ab 1.34 d 1.35 cd 1.40 bc 1.41 bc 1.41 bc 1.37 c 1.38 c 1.46 ab 1.52 a 1.37 c 1.31 d

1.30 cd 1.36 ab 1.40 a 1.36 bc 1.29 d 1.28 de 1.34 bcd 1.36 bc 1.34 bcd 1.32 cde 1.33 bcde 1.39 ab 1.44 a 1.35 bc 1.27 e

1.34 cd 1.40 ab 1.43 a 1.37 bc 1.32 d 1.31 de 1.37 bcd 1.39 bc 1.38 cde 1.34 cde 1.36 cd 1.43 b 1.48 a 1.36 cd 1.29 e

24.37 24.78 24.50 24.73 24.18 24.07 25.17 24.47 25.00 24.50 24.67 24.40 24.53 24.47 23.87

0.68 a 0.60 c 0.67 a 0.65 ab 0.62 bc 0.60 c 0.50 d 0.60 c 0.60 c 0.60 c 0.79 a 0.70 b 0.78 ab 0.70 b 0.63 c

36.22 c 42.58 a 37.20 bc 38.32 bc 39.37 b 40.10 bc 50.33 a 40.80 bc 41.67 b 40.83 bc 32.33 e 34.83 de 33.60 e 34.97 ed 37.9 cd

ระดับความเข้ มข้ นสารไคโตซาน พ่นด้ วยน ้ากรองสะอาด พ่นสารไคโตซาน 100 มิลลิกรัม/ ลิตร พ่นสารไคโตซาน 200 มิลลิกรัม/ ลิตร พ่นสารไคโตซาน 400 มิลลิกรัม/ ลิตร พ่นสารไคโตซาน 800 มิลลิกรัม/ ลิตร ไคโตซาน 0 มิลลิกรัม/ ลิตร เมื่อผลอายุ 60 วัน ไคโตซาน 100 มิลลิกรัม/ ลิตร เมื่อผลอายุ 60 วัน ไคโตซาน 200 มิลลิกรัม/ ลิตร เมื่อผลอายุ 60 วัน ไคโตซาน 400 มิลลิกรัม/ ลิตร เมื่อผลอายุ 60 วัน ไคโตซาน 800 มิลลิกรัม/ ลิตร เมื่อผลอายุ 60 วัน ไคโตซาน 0 มิลลิกรัม/ ลิตร เมื่อผลอายุ 67 วัน ไคโตซาน 100 มิลลิกรัม/ ลิตร เมื่อผลอายุ 67 วัน ไคโตซาน 200 มิลลิกรัม/ ลิตร เมื่อผลอายุ 67 วัน ไคโตซาน 400 มิลลิกรัม/ ลิตร เมื่อผลอายุ 67 วัน ไคโตซาน 800 มิลลิกรัม/ ลิตร เมื่อผลอายุ 67 วัน

ความแตกต่ างทางสถิติ ความแก่ของผลองุ่น ระดับความเข้ มข้ นสารไคโตซาน ความแก่ของผลองุ่นและความเข้ มข้ นสารไคโตซาน

NS NS NS NS NS NS ** ** ** ** ** ** ** NS ** ** ** Ns ** ** ** NS ** ** 9.49 7.09 2.60 2.63 2.47 1.88 5.05 4.54 ความเชื่อมั่น (C.V.%) 1 ตัวเลขที่ตามหลังด้ วยอักษรดหมือนกันในคอลัมเดียวไม่แตกต่างกันทางสถิติ Ns ไม่แตกต่างกันทางสถิติ * แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ และ** แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญยิง่ ทางสถิติ

สรุ ปผลการทดลอง 1. ความแก่ของผลองุ่นมีผลต่อการเพิ่มเปอร์ เซ็นต์กรดและสัดส่วนระหว่าง TSS/TA ในผลองุ่นพันธุ์ ‘Canadice Seedless’ แต่ไม่มีผลต่อน ้าหนักช่อผล น ้าหนักผล ขนาดผลและปริมาณ TSS 2. การพ่นสารไคโตซานที่ระดับความเข้ ม 100 และ 200 มิลลิกรัมต่อลิตร ทาให้ น ้าหนักช่อผล น ้าหนักผลและ ขนาดผลองุ่นเพิ่มขึ ้น 3. มีปฏิสมั พันธ์ร่วมกันระหว่างความแก่ของผลและระดับความเข้ มข้ นของสารไคโตซานที่ใช้ ตอ่ การเพิ่มน ้าหนัก ช่อผล ขนาดผล เปอร์ เซ็นต์กรดและสัดส่วนระหว่าง TSS/TA ในผลองุ่น

356

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุ ณ ศู น ย์ น านาชาติ สิ ริ น ธรเพื่ อ การวิ จั ย พัฒ นาและถ่ า ยทอดเทคโนโลยี มหาวิ ท ยาลัย เกษตรศาสตร์ ที่ให้ การสนับสนุนงบประมาณและฝ่ ายสวนเกษตร พระตาหนักสวนปทุมที่สนับสนุนสถานที่ในการวิจั ยของโครงการวิจัยนี ้ จนสาเร็จสมบูรณ์ตามแผนและวัตถุประสงค์ของการวิจยั ที่กาหนดไว้

เอกสารอ้ างอิง สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2555. สถิติการนาเข้ าองุ่นสดและผลิตภัณฑ์จากองุ่นของประเทศไทย. กรุงเทพฯ. 12 หน้ า. Baldrick, P. 2010. The safety of chitosan as a pharmaceutical excipient. Reg.Toxic. Pharm. 56(3): 290–9. Escudero, A., i. Blanca, A. Escudero., M. Guadalupe, A. Uscanga, M. Patricia, H. P. Jones, M. Mendoza and L. Ramírez. 2004. Selective antimicrobial action of chitosan against spoilage yeasts in mixed culture fermentations. J. Ind. Micro. Biotec. 31(1): 16–22. Fernandez, J. G. and D. E. Ingber. 2012. Unexpected strength and toughness in chitosan-fibroin laminates inspired by insect cuticle. Adv.Mat. 24 (4): 480–4. Hadwiger, A. and A. Lee. 2013. Multiple effects of chitosan on plant systems: Solid science or hype. Pl. Sci. 208: 42–9. Kean, T., S. Roth and M. Thanou. 2005. Trimethylated chitosans as non-viral gene delivery vectors: Cytotoxicity and transfection efficiency. J. Controlled Release. 103 (3): 643–53. Kleiner, K. 2014. Crab chemical could give cars a self-healing 'shell. New Scientist-Tech. Retrieved. 24 May 2014. Linden, J.C. and R.J. Stoner. 2005. Proprietary Elicitor Affects Seed Germination and Delays Fruit Senescence. J. Food, Agric. Env. Linden, J. C., R. J. Stoner, K.W. Knutson, G. Hughes and A. Cecilie. 2000. Organic disease control elicitors. Agro Food Ind. Hi-Tech. 11(5): 32–4. Peilong, X. and S. Yipeng. 2013. Study on Fresh keeping effect of chitosan antistaling agent for several kinds of fruits. Ad. J. Food Sci. Tech. 5(12): 1577-1579. Pongphen, J., P. Sudkanueng, K. Sirichai and S. Somsiri. 2007. Effect of chitosan on ripening, enzymatic activity, and disease development in mango (Mangifera indica) fruit. New Zeal. J. Crop Hort. Sci. 35(2): 211-218. Ramond, L.V., M. Zhang and S.M. Roknul Azam. Effect of chitosan coating on physical and microbial characteristics of fresh-cut green peppers (Capsicum annuum L.). Pak. J. Nutrition. 11(10): 904-909. Rayee, A.H., A.M. Maqsoo, A.A.T. Shaeel and A.H. Muneer. 2013. Chitosan as a novel edible coating for fresh fruits. Food Sci. Res. 19(2): 139-155. Stevenson, F.J. 1994. Humus Chemistry: Genesis, Composition, Reactions. John Wiley & Sons, New York. Tajik, H, M. Moradi, S.M. Rohani, A.M. Erfani and F.S. Jalali. 2008. Preparation of chitosan from brine shrimp (Artemia urmiana) cyst shells and effects of different chemical processing sequences on the physicochemical and functional properties of the product. Mol. (Basel, Switzerland). 13 (6): 1263–74. Winkler, A.J., J.A. Cook, W.M. Kliewer and L.A. Lider. 1974. General Viticulture. University of California Press. Berkeley, U.S.A. 710 pp. Zulferiyenni, A.P., H.Rahmann and S.E. Widodo. 2015. Effects of chitosan on fruit shelf-life and quality of starfruit under passive and active packaging. Acta Hort. 1088: 149-154.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

357


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของไคโตซานต่ อการเข้ าทาลายของแมลงวันพริกในผลพริกขีห้ นู Effect of Chitosan on Solanum Fruit Flies Bactrocera latifrons (Hendel) Infestation in Fruit of Bird Pepper. วรรณิศา ปั ทมะภูษิต1 และ พรไพรินทร์ รุ่งเจริญทอง1,* Wannisa Pattamapusit1 and Pornpairin Rungcharoenthong1,*

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของไคโตซานต่อการเข้ าทาลายของแมลงวันพริ ก Bactrocera latifrons (Hendel) ในผลพริ กขี ้หนู โดย วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) จานวน 4 กรรมวิธี กรรมวิธีที่ใช้ คือ ไคโตซานความเข้ มข้ น 0, 5, 10 และ 20 มิลลิลิตรต่อลิตร ใช้ พริ กขี ้หนูกรรมวิธีละ 12 ต้ น ให้ ไคโตซานทุกสัปดาห์หลังย้ ายปลูก และทาการบันทึกข้ อมูลอัตราส่วนการเข้ า ทาลาย เปอร์ เซ็นต์การเข้ าทาลาย และการประเมินระดับความรุ นแรงในการเข้ าทาลายของแมลงวันพริ ก ผลการทดลองพบว่า การให้ ไคโตซานสามารถลดอัตราส่วนการเข้ าทาลายของแมลงวันพริ กได้ มากกว่าเมื่อเทียบกับ กรรมวิธีควบคุมและมีความ แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ โดยไคโตซานที่ความเข้ มข้ น 10 และ 20 มิลลิลิตรต่อลิตร สามารถลดอัตราส่วนการเข้ า ท าลาย เปอร์ เซ็ น ต์ ก ารเข้ าท าลาย และระดั บ ความรุ นแรงในการเข้ าท าลาย ผลพริ กขี ห้ นู ข องแมลงวั น พริ ก คาสาคัญ : พริกขี ้หนู ไคโตซาน แมลงวันพริก

Abstract Study on the effect of chitosan on solanum fruit flies Bactrocera latifrons (Hendel) infected in fruit of bird pepper was investigated. The experiment was completely randomized design (CRD) composing of 4 replications. The treatments were chitosan at the concentrations of 0, 5, 10 and 20 ml/L. Twelve plants were grown for each treatment. Chitosan was applied to the plant every week. The ratio of infestation, damage percentage and the severity of solanum fruit fly infestation were recorded. The results showed that chitosan was decreased the ratio of infestation of solanum fruit fly compared with control by significant different. The concentrations of chitosan at 10 and 20 ml/L reduced of ratio of infestation, damage percentage and the severity of solanum fruit fly infestation. Keywords : bird pepper, chitosan, solanum fruit fly

คานา พริ กมีความสาคัญทางเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยพืน้ ที่เพาะปลูกพริ กในประเทศไทยประมาณ 474,717 ไร่ /ปี (กรมส่งเสริ มการเกษตร, 2554) สามารถบริ โภคพริ กได้ ทงในรู ั ้ ปผักสดและแปรรู ป เนื่องจากพริ กมีวิตามินซี วิตามินอี สารเบต้ า แคโรทีนในปริ มาณสูง และมีสาร capsaicin และ oleoresin ซึ่งมีสรรพคุณในทางเภสัชวิทยา (ฉันทนา และคณะ, 2553) พริ ก สามารถปลูกได้ ทวั่ ทุกภาคของประเทศไทย แต่ในสภาพอากาศที่ร้อนชืน้ นีส้ ่งผลทาให้ เกิดปั ญหาเกี่ยวกับการเข้ าทาลายของ แมลงศั ต รู พริ ก โดยแมลงศั ต รู ของพริ กที่ นั บ วั น ยิ่ ง มี ค วามรุ นแรงมากขึ น้ คื อ แมลงวั น พริ กหรื อแมลงวั น ผลไม้ (Bactrocera latifrons (Hendel)) ในประเทศไทยพบแพร่ กระจายโดยเฉพาะภาคกลางและภาคเหนือ (วนิดา และคณะ, 2552) ซึ่งการเข้ าทาลายของแมลงวันพริ กจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อปริ มาณและคุณภาพผลผลิตพริ ก เนื่ องจากแมลงเข้ า ทาลายพริ กในระยะติดผล โดยจะวางไข่ที่ผลอ่อน หนอนฟั กเป็ นตัวเมื่อผลเริ่ มสุก แล้ วกัดกินรก (placenta) ภายในทาให้ เปลี่ยนเป็ นสีดาและเห็นรอยเป็ นทางในผล บางครัง้ พบหนอนในผล ผลเป็ นแผลสีน ้าตาล ฉ่าน ้า และร่ วงหล่น ผลพริ กเน่าเสีย 1

หลักสูตรวิทยาการพืช ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 1 Plant Science, Department of Science, Faculty of Liberal Arts and Science, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Kamphaeng Saen, Nakhon Pathom 73140 Corresponding author : faasprr@ku.ac.th 358

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

หลังจากนันจะมี ้ โรคหรื อแมลงชนิดอื่นเข้ าทาลายซ ้า ทาให้ ไม่สามารถเก็บผลผลิตได้ (นุชรี ย์ , 2550; Stonehouse et al., 2004) การสูญเสียของผลผลิตพริ กนี ้ยังส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และอุตสาหกรรมการส่งออกพริ กสดของประเทศไทย จึงมีการนา สารเคมีมาใช้ เพื่อป้องกันและกาจัดแมลงวันพริ กอย่างแพร่ หลาย แต่วิธีดงั กล่าวเป็ นการเพิ่มต้ นทุนในการผลิต และอาจมี สารเคมีตกค้ างที่ผลผลิตเป็ นจานวนมาก ซึ่งก่อให้ เกิ ดผลเสียต่อสภาพแวดล้ อมและสุขภาพของผู้บริ โ ภค (กฤษฎา, 2550) ปั จจุบนั จึงมีการศึกษาแนวทางในการใช้ สารสกัดชีวภาพ เช่น ไคโตซาน ซึง่ เป็ นวิธีการแก้ ปัญหาที่ดีวิธีหนึ่ง เพราะนอกจากจะลด การสูญเสียของผลผลิตแล้ วยังช่วยลดการใช้ สารเคมีและต้ นทุนในการผลิตอีกด้ วย ไคโตซานเป็ นไบโอพอลิเมอร์ ธรรมชาติ สามารถย่อยสลายง่าย มีความปลอดภัยในการนามาใช้ กบั มนุษย์ ไม่เกิดผลเสีย และปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้ อม (พรรณี และ เกษม, 2555) เกิดจากกระบวนการดีอะซิติลเลชัน่ (deacetylation) ของไคติน (chitin) ที่สกัดได้ จากเปลือกแข็งของสัตว์ จาพวกกุ้งและปู (ภาวดี, 2544) ในด้ านการเกษตรกรรมนันมี ้ การนามาใช้ เป็ นอาหารเสริ มให้ แก่ พืช เนื่องจากไคโตซานมีองค์ประกอบของไนโตรเจนอยูจ่ งึ มีบทบาทสาคัญในด้ านปุ๋ ยชีวภาพ และสารกระตุ้นการเจริ ญเติบโตของ พืช (สุวลี, 2544) นอกจากนี ้ยังนาไปใช้ ในการป้องกันโรคที่เกิดจากจุลินทรี ย์ เชื ้อราบางชนิด และแมลงศัตรูพืชอีกด้ วย (ภาส กร และ หทัยชนก, 2557; เยาวพา, 2555; Shadihi et al., 1999; Chang et al., 2003) เนื่องจากมีรายงานว่า สามารถกระตุ้น การแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้ องกับกลไกการป้องกันตัวของพืช เช่น ยีนสร้ างสาร phenylalanine ammonialyase (PAL) (Young and Kauss, 1983; Notsu et al., 1994; El Hadrami et al., 2010) เป็ นเอนไซม์ชกั นาการสังเคราะห์สารประกอบ phenol เช่น phytoalexin มีฤทธิ์ยบั ยังการเจริ ้ ญเติบโตของจุลนิ ทรี ย์ (Lin et al., 2005) รวมถึงสารลิกนินและแทนนิน ซึง่ เป็ น องค์ประกอบของผนังเซลล์ ทาให้ พืชสามารถป้องกันตัวเองจากการกัด ดูด ทาลายของแมลงศัตรูพืช นอกจากนี ้ไคโตซานยังช่วย กระตุ้นการสร้ าง cystatin ในมะเขือเทศซึง่ สามารถยับยังการท ้ างานของ proteinase ที่แมลงสร้ างขึ ้น และมีผลให้ ปากใบมะเขือ เทศ และ Commelina communi หรี่ ลงโดยการควบคุมของ Ca2+ และ H2O การใช้ ไคโตซานจึงลดการสูญเสียน ้าและเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้ น ้าในการผลิตพืชได้ อย่างมีประสิทธิภาพ (Lee et al., 1999) ดังนัน้ งานวิจยั นี ้จึงศึกษาผลของไคโตซานต่อ การเข้ าทาลายของแมลงวันพริก เพื่อนาไปสูแ่ นวทางในการนาสารไบโอพอลิเมอร์ มาพัฒนาในการควบคุมแมลงวันพริก

อุปกรณ์ และวิธีการ เพาะเมล็ดพริ กในกระบะเพาะ หลังจากนันย้ ้ ายปลูกในกระถาง 12 นิ ้ว ที่อายุ 30 วันหลังเพาะเมล็ด จานวน 48 กระถาง ระยะปลูกระหว่างแถว 90 เซนติเมตร ระยะระหว่างต้ น 60 เซนติเมตร วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จานวน 4 กรรมวิธี คือ ไคโตซานที่ความเข้ มข้ น 0, 5, 10 และ 20 มิลลิลิตรต่อลิตร และปลูกต้ น พริกกรรมวิธีละ 12 ต้ น มีการให้ ปยเคมี ุ๋ สตู ร 15-15-15 อัตรา 40 กิโลกรัม/ไร่ ทุก 2 สัปดาห์หลังย้ ายปลูก ให้ ไคโตซานโดยการพ่น ทุกสัปดาห์ และตรวจดูผลพริกที่เกิดโรคจากแมลงวันพริก ที่อายุ 84 วันหลังย้ ายปลูก (รุ่นที่ 3) โดยสุม่ เก็บผลพริ กที่ถกู เข้ าทาลาย จากแมลงวันพริ กมาจานวน 60 ผล และนามาวัดอัตราส่วนการเข้ าทาลายของแมลงวันพริ ก วิธีดดั แปลงจาก สุดา (2548), เปอร์ เซ็นต์การเข้ าทาลาย ดัดแปลงจาก ธี ระวัฒน์ (2553) แล้ วนามาประเมินเทียบกับระดับความรุ นแรงของการเข้ าทาลาย (Table 1) และลักษณะการเข้ าทาลาย และนาข้ อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of variance : ANOVA) และตรวจสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s multiple range test (DMRT) โดยใช้ โปรแกรม สาเร็จรูปทางสถิติ R Program (R-language and environment for statistical computing and graphics) การวัดอัตราส่ วนและเปอร์ เซ็นต์ การเข้ าทาลายของแมลงวันพริก อัตราส่วนการเข้ าทาลาย = เปอร์ เซ็นต์การเข้ าทาลาย =

ความยาวแผล ความยาวผล จานวนผลที่แมลงวันเข้ าทาลาย จานวนผลทังหมด ้

× 100

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

359


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Severity of solanum fruit flies Level 1 2 3 4 ที่มา : บุญญวดี (2540)

Damage of solanum fruit flies (%) 1-25 26-50 51-75 76-100

ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลของไคโตซานต่อการเข้ าทาลายของแมลงวันพริ ก พบว่าพริ กที่มีการพ่นไคโตซานทุกสัปดาห์ มีอตั ราส่วนการเข้ า ทาลายของแมลงวันพริ กแตกต่างทางสถิติ โดยการให้ ไคโตซานมีการเข้ าทาลายของแมลงวันพริ กลดลง ซึ่งพบว่า พริ กที่มีการพ่น ไคโตซานความเข้ มข้ น 20 มิลลิลิตรต่อลิตร มีอตั ราการเข้ าทาลายต่าที่สดุ รองลงมาคือ 10, 5 มิลลิลิตรต่อลิตร และควบคุม ตามลาดับ (Table 2) และสัมพันธ์ กบั เปอร์ เซ็นต์การเข้ าทาลายของแมลงวันพริ กต่อผลผลิต โดยที่อตั ราส่วนการเข้ าทาลายของ แมลงวันพริกสูงจะมีเปอร์ เซ็นต์การเข้ าทาลายสูงตามไปด้ วย เช่นเดียวกับระดับความรุนแรงของการเข้ าทาลายในชุดควบคุม และ การให้ ไคโตซานที่ความเข้ มข้ น 5 มิลลิลิตรต่อลิตร มีความรุนแรงของการเข้ าทาลายมากกว่าการให้ ไคโตซานที่ความเข้ มข้ น 10 และ 20 มิลลิลิตรต่อลิตร ดังภาพการเข้ าทาลายของแมลงวันพริ ก (Figure 1) ซึ่งแสดงให้ เห็นว่าไคโตซานสามารถลดการเข้ า ทาลายจากแมลงวันพริ กได้ และสามารถเพิ่มผลผลิตพริ กได้ มากขึ ้นเมื่อเปรี ยบเทียบกับควบคุม พบว่าทุกผลมีการเข้ าทาลาย จากแมลงวันพริกและมีแผลขนาดใหญ่เมื่อเทียบกับ 5, 10 และ 20 มิลลิลิตรต่อลิตร โดยพบว่าเมื่อมีการให้ ไคโตซานขนาดแผลที่ ถูกทาลายมีขนาดเล็กลง แสดงว่าการใช้ ไคโตซานสามารถควบคุมการเข้ าทาลายของแมลงวันพริ ก ในการผลิตพริ กขี ้หนู ซึง่ น่าจะ เป็ นแนวทางการใช้ สารสกัดชีวภาพเพื่อลดการใช้ สารเคมี จะเป็ นผลดีต่อเกษตรกรและผู้บริ โภค ซึ่ง สอดคล้ องกับ พงศ์สิริ และ คณะ (2556) รายงานในคะน้ า พบว่า การพ่นสารไคโตซานในอัตราที่สงู ขึ ้น สามารถช่วยป้องกันกาจัดด้ วงหมัดผัก หนอนกระทู้ ผัก และหนอนใยผัก เช่นเดียวกับการศึกษากับหนอนเจาะสมอฝ้าย โดยให้ สารที่สงั เคราะห์จากอนุพนั ธ์ไคโตซาน N-(2-chloro-6fluorobenzyl) พบว่าหลังจากผสมกับอาหาร 2-3 วัน ทาให้ ตวั อ่อนหนอนเจาะสมอฝ้ายตายทังหมด ้ (Rabea et al., 2005) และ Badawy et al. (2005) ยังพบว่า สารอนุพนั ธ์ OAC (O-Acetyl Chitosan) มีฤทธิ์ทาให้ หนอนเจาะสมอฝ้ายแคระแกร็ นเมื่อได้ รับ สาร เนื่องจากสารอนุพนั ธ์ไคโตซานเข้ าไปรบกวนระบบทางเดินอาหาร หรื อสารอาจเป็ นพิษต่อตัวหนอนจึงทาให้ การเจริ ญเติบโต ลดลง Table 2 Effects of chitosan on ratio of infestation, percentage of damage and severity of solanum fruit flies in fruit of bird pepper.

Treatments Control Chitosan 5 ml/L Chitosan 10 ml/L Chitosan 20 ml/L F-test C.V. (%)

Ratio of infestation 0.741 0.707 0.642 0.565

a ab bc c

* 27.52

% Damage 71.497 58.904 42.756 32.033 -

Severity of solanum fruit flies 3 3 2 2 -

1/

Means followed by the same letter in a column are not significantly different by DMRT at P ≤ 0.05. 360

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

นอกจากนี ้ El-Tantawy (2009) รายงานว่าการพ่นไคโตซานช่วยเพิ่มผลผลิตและกระตุ้นภูมิค้ มุ กัน ให้ กบั พืช โดยกระตุ้น การผลิตเอนไซม์และสารเคมีป้องกันตนเองจากโรค และแมลงศัตรู พืช เนื่องจากไคโตซานชักนาการแสดงออกของยีนที่สร้ าง phenylalanine ammonialyase (PAL) (Notsu et al., 1994) เป็ นเอนไซม์กระตุ้นการสร้ างไคติเนส ซึง่ จะย่อยผนังเปลือกหุ้มตัว แมลงศัตรูพืช (Collinge et al., 1993; Grenier and Asselin, 1990) เช่น หนอนใย หนอนคืบ ซึง่ สอดคล้ องกับผลการศึกษาว่า การให้ ไคโตซานแก่พืชช่วยลดการเข้ าทาลายของแมลงวันพริ ก อาจเนื่องจากปริ มาณลิกนินและแทนนินเพิ่มขึ ้น ทาให้ ผนังเซลล์ พืชแข็งแรงทนต่อการเข้ าทาลายของโรคและแมลงได้ ดี ส่งผลให้ พืชมีการเจริ ญเติบโตดีขึ ้น (Khan et al., 2003) รวมถึงเพิ่ม ประสิทธิภาพการสังเคราะห์แสง โดยมีปริมาณคลอโรฟิ ลล์เพิ่มขึ ้น (รัฐ, 2543)

A

B

C

D

Figure 1 Infestation of solanum fruit flies in fruit of bird pepper (A) control (B) chitosan 5 ml/L (C) chitosan 10 ml/L and (D) chitosan 20 ml/L.

สรุ ป การทดสอบประสิทธิภาพของไคโตซานในการควบคุมการเข้ าทาลายของแมลงวันพริ ก พบว่า ที่ความเข้ มข้ น 10 และ 20 มิลลิลิตร/ลิตร ลดอัตราส่วนการเข้ าทาลายของแมลงวันพริกได้ ดีที่สดุ คือ 0.642 และ 0.565 ตามลาดับ และลดเปอร์ เซ็นต์การ เข้ าทาลายของแมลงวันได้ ดีที่สดุ คือ 42.756 และ 32.033 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ สามารถลดระดับความรุนแรงในการเข้ าทาลาย ของแมลงวันพริ ก ทาให้ มีเปอร์ เซ็นต์การเข้ าทาลายของแมลงวันพริ กน้ อยกว่า 50 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อเปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม แต่ ถ้ าใช้ ที่ความเข้ มข้ น 10 มิลลิลติ ร/ลิตร สามารถลดต้ นทุนการผลิตได้ มากกว่าที่ความเข้ มข้ น 20 มิลลิลิตร/ลิตร

เอกสารอ้ างอิง กรมส่งเสริ มการเกษตร. 2554. พริ กขี ้หนู. โรงพิมพ์สานักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริ มการเกษตร, กรุงเทพฯ. กฤษฎา จาตุรัส. 2550. ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางสัณฐานวิทยาของผลพริ กกับการเข้ าทาลายของแมลงวันผลไม้ [Bactrocera latifrons (Hendel)]. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. ฉันทนา วิชรัตน์ วรวรรณ ชาลีพรหม เฉลิมศรี นนทสวัสดิ์ศรี สุรีย์วลั ย์ เมฆกมล วิลาวรรณ ศิริพนู วิวฒ ั น์ และ เกศิณี แก้ วมาลา. 2553. การปรับปรุง พันธุ์พริ กเพื่อต้ านทานต่อโรคเหี่ยวเนื่องจากเชื ้อ Phytophthora. รายงานผลการวิจยั . มหาวิทยาลัยแม่โจ้ , เชียงใหม่. ธีระวัฒน์ สนธิหา. 2553. การควบคุมโรคแอนแทรคโนสของพริ กโดยการใช้ สารสกัดจากพืช. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. นุชรี ย์ ศิริ. 2550. แมลงวันพริ ก (Bactrocera latifrons). ศักยภาพการผลิตพริ กเพื่ออุตสาหกรรมการส่งออกของไทยในปั จจุบนั และอนาคต. คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. บุญญวดี จิระวุฒิ. 2540. การทาให้ เกิดโรคของเชื ้อรา Colletotrichum capsici บนผลพริ กและการถ่ายทอดเชื ้อจากผลที่เป็ นโรคสูเ่ มล็ดและต้ น กล้ า. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. พงศ์สิริ สิริวรรัชว์ กฤษณา รุ่งโรจน์วณิชย์ และ พงศ์พนั ธุ์ เธียรหิรัญ. 2556. การศึกษาผลของการใช้ สารไคโตซานในการผลิตผักคะน้ า. หน้ า 1-5. ใน เอกสารประกอบการประชุมเสนอผลงานวิจยั ระดับบัณฑิตศึกษา มสธ. ครัง้ ที่ 3, กรุงเทพฯ. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

361


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า พรรณี อัศวตรี รัตนกุล และ เกษม อัศวตรี รัตนกุล. 2555. ผลของไคโตซานต่อการชักนาความต้ านทานเชื ้อราในต้ นมะละกอ. ว. มหาวิทยาลัยทักษิณ. 15 (3): 1-6. ภาวดี เมธะคานนท์. 2544. ไคโตซานจากแกนหมึก. ศูนย์เทคโนโลยีและวัสดุแห่งชาติ (MTEC), กรุงเทพฯ. ภาสกร นันทพานิช และ หทัยชนก นันทพานิช. 2557. ไคโตซาน. แหล่งที่มา: http://www.clinictech.most.go.th/online/techlist/attachFile/20141028910151.pdf, 17 มิถนุ ายน 2558. เยาวพา สุวตั ิถิ. 2555. ไคโตซานกับการยับยังเชื ้ ้อจุลินทรี ย์. ว. เพื่อการวิจยั และพัฒนา องค์การเภสัชกรรม. 19(4): 4-5. รัฐ พิชญางภรู. 2543. คุณสมบัติและกลไกการทางานของสารไคติน–ไคโตซานที่สามารถช่วยเพิ่มผลผลิต ทางการเกษตร. ภาควิชาชีวเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. วนิดา เพ็ชร์ ลมุล, อรัญ งามผ่องใส และ จิราพร เพชรรัตน์. 2552. ความชอบในการวางไข่ของแมลงวันผลไม้ Bactrocera papayae Drew and Hancock (Diptera: Tephritidae) ในพริ กบางสายพันธุ์. ว. มหาวิทยาลัยทักษิณ. 12(2): 69-75. สุดา บุญสร้ อย. 2548. การประเมินความรุนแรงของโรคแอนแทรคโนสที่เกิดจากเชื ้อ Colletotrichum spp. 32 isolate บนผลพริ กขี ้หนู (Capsicum annuum L.) พันธุ์ ’83-168’. ปั ญหาพิเศษสาขาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. สุวลี จันทร์ กระจ่าง. 2544. การประยุกต์ใช้ ไคติน-ไคโตซาน. หน้ า 52 - 58. ใน เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฏิบตั ิการไคตินและไค โตซานจากวัตถุดิบธรรมชาติสกู่ ารประยุกต์ใช้ . จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. Badawy, M.E.I., E.I. Rabea, W. Steurbaut, T.M. Rogge, C.V. Stevens and G. Smagghe. 2005. Insecticidal and growth inhibitory effects of new O-acyl chitosan derivatives on the cotton leafworm Spodoptera littoralis. Comm. Appl. Biol. Sci. 70(4): 817821. Chang, K.L.B., Y.S. Lin and R.H. Chen. 2003. The effect of chitosan on the gel properties of tofu (soybean curd). J. Food Eng. 57: 315-319. Collinge, D.B., K.M. Kragh, J.D. Mikkelsen, K.K. Nielsen, U. Rasmussen and K. Vad. 1993. Plant chitinases. Plant J. 3(1): 31-40. El Hadrami, A., L.R. Adam, I. El Hadrami and F. Daayf. 2010. Chitosan in plant protection. Mar. Drugs 8: 968-987. El-Tantawy, E.M. 2009. Behavior of tomato plants as affected by sparying with chitosan and aminofort as natural stimulator substances under application of soil organic amendments. Pakistan J. Biol. Sci. 12: 1164-1173. Grenier, J. and A. Asselin. 1990. Some pathogenesis-related proteins are chitosanases with lytic activity against fungal spores. Molecular Plant-Microbe Interact. 3(6): 401–407. Khan, W., B. Prithiviraj and D.L. Smith. 2003. Chitosan and chitin oligomers increase phenylalanine ammonia-lyase and tyrosine ammonia-lyase activities in soybean leaves. Plant Physiol. 160: 859-863. Lee, D.S., R.D. Kingdon, J.M. Pacyna, A.F. Bouwman and I. Tegen. 1999. Modelling base cations in Europe-sources, transport and deposition of calcium. Atmospheric Environment 33: 2241-2256. Lin W., W. Hu, W. Zhang, W.J. Rogers and W. Cai. 2005. Hydrogen peroxide mediates defence responses induced by chitosans of different molecular weights in rice. Plant Physiol. 162: 937-944. Notsu, S., N. Saito, H. Kosaki, H. Inui and S. Hirano. 1994. Stimulation of phenylalanine ammonia-lyase activity and lignification in rice callus treated with chitin, chitosan, and their derivatives. Biosci. Biotechnol. Biochem. 58(3): 522-533. Rabea, E.I., M.E. Badawy, T.M. Rogge, C.V. Stevens, M. Höfte, W. Steurbaut and G. Smagghe. 2005. Insecticidal and fungicidal activity of new synthesized chitosan derivatives. Pest Management Sci. 61(10): 951-960. Shadihi, F., J.K.V. Arachchi and Y-J. Jeon. 1999. Food applications of chitin and chitosans. Trends in Food Sciences & Technology. 10: 37-51. Stonehouse, J., J. Mumford, A. Poswell, R. Mahmood, A. H. Makhdum, Z. M.Chaudhary, K. N. Baloch, G. Mustafa and M. McAllister. 2004. The accuracy and bias of visual assessments of fruit infestation by fruit flies (Diptera: Tephritidae). Crop Protection. 23: 293-296. Young, D.H. and H. Kauss. 1983. Release of calcium from suspension cultured Glycine max cells by chitosan, other polycations and polyamines in relation to effects on membrane permeability. Plant Physiol. 73: 698-702.

362

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารประกอบฟี นอลิกรวมของผลทุเรียนพันธุ์การค้ า Antioxidant Activity and Total Phenolic Compounds of Durio zibethinus Murray Fruit กษิด์ เิ ดช อ่ อนศรี1 เบญญา มะโนชัย2 และ ชินวัฒน์ ยัพวัฒนพันธ์ 2 Kasideth Onsri1 Benya Manochai2 Chinawat Yapwattanaphun2

บทคัดย่ อ ทุเรี ยนพันธุ์การค้ าที่นิยมบริ โภคโดยทัว่ ไปได้ แก่ พันธุ์ก้านยาว พันธุ์หมอนทอง พันธุ์ชะนี และ พันธุ์พวงมณี ซึ่งการ บริ โภคทุเรี ยนมักรับประทานเนื ้อทุเรี ยนเป็ นหลักทาให้ ส่วนเปลือกผลและเมล็ดกลายเป็ นเศษวัสดุที่เหลือเป็ นจานวนมาก ดังนัน้ ในการทดลองนี จ้ ึงศึกษาฤทธิ์ ต้านอนุมูลอิสระและปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมของผลทุเรี ยนเพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลพืน้ ฐาน สาหรับการพัฒนาการใช้ ประโยชน์จากส่วนอื่นๆ ของทุเรี ยน โดยเก็บตัวอย่างจากส่วนทุเรี ยนแหล่งเดียวกันที่มีการปลูกครบทุก 4 พันธุ์ ในจังหวัดจันทบุรี วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ แบ่งออกเป็ น 4 ทรี ทเมนต์ จานวน 3 ซ ้า นามาสกัดสารและวิเคราะห์ ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระ และหาปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวม จากส่วนของเปลือกผล ส่วนที่บริ โภค เปลือกหุ้มเมล็ด และเนื ้อ เมล็ด ผลการทดลองพบว่าส่วนของเปลือกหุ้มเมล็ดแสดงฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระและมีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมสูงกว่าส่วน เปลือกผล ส่วนที่บริโภค และเนื ้อเมล็ด และเมื่อเปรี ยบเทียบในแต่ละพันธุ์พบว่า พันธุ์ชะนี แสดงฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระสูงในแต่ละ ส่วนสูงกว่าพันธุ์อื่นๆ ส่วนพันธุ์ก้านยาว มีปริมาณสารประกอบฟี นอลิกรวมในแต่ละส่วนสูงกว่าพันธุ์อื่น ดังนันส่ ้ วนของเปลือกหุ้ม เมล็ดในส่วนของพันธุ์ชะนีและพันธุ์ก้านยาว มีศกั ยภาพในการนามาใช้ ประโยชน์ตอ่ ไป คาสาคัญ : EC50 สารต้ านอนุมลู อิสระ กรดแกลลิก ทุเรี ยนพันธุ์การค้ า สารประกอบฟี นอลิก

Abstract Durians, the commercial cultivars that popular among consumers are ‘Kan-yao’, ‘Mon-thong’, ‘Cha-ni’, and ‘Puang-ma-nee’. Mostly people prefer pulp which is tasty part of durians but rind and seed are discard as waste product. This study was conducted to examine antioxidant activity (AOA) and total phenolic compounds (TP) from of durian fruit (Durio zibethinus Murray), to serve basis information for developed new functional product from other part of durian. CRD with 4 treatments and 3 replications was used as experimental design. AOA and TP from peel, flesh, seed coat, and endosperm were measured. The results revealed that seed coat carried the highest amount AOA and TP. The highest AOA was found in ‘Cha-ni’ and the highest TP was found in ‘Kan-yao’. The results indicated that seed coat from ‘Cha-ni’ and ‘Kan-yao’ has potential for further exploitation. Keywords : EC50, Antioxidant, Gallic acid, commercial cultivars of durian, phenolic compounds

คานา ทุเรี ยนจัดเป็ นพืชในวงค์ Malvaceae สกุล Durio ซึ่งมีสมาชิกราว 28 ชนิด (APG II, 2003) มีถิ่นกาเนิดในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย (Aqeel Ashraf, 2011) ศูนย์กลางความหลากหลายอยู่ในบริ เวณเกาะ บอร์ เนียว มี 19 ชนิด และมาเลเซีย มี 16 ชนิด (Subhadrabandhu and Ketsa, 2001) สาหรับประเทศไทย พบ 8 ชนิด ทุเรี ยนที่ เรารับประทานกันอยู่ทกุ วันนี ้คือ Durio zibethinus Murr.ปลูกได้ ทวั่ ทุกภาคของประเทศ ปั จจุบนั พบว่ามีมากกว่า 227 ชื่อพันธุ์ (หิรัญ และคณะ, 2542) ทุเรี ยนเป็ นผลไม้ เศรษฐกิจเขตร้ อน ถูกขนานนามว่าเป็ น ราชาแห่งผลไม้ (King of fruit) เนื่องจากมี รสชาติอร่อย ได้ รับความนิยมเป็ นอย่างมากในแถบเขตร้ อนของโลก (Wang and Li, 2011) โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ปั จจุบนั ทุเรี ยนเป็ นผลไม้ ที่ได้ รับการส่งเสริ มจากภาครัฐให้ เป็ นหนึ่งในผลไม้ เศรษฐกิจที่สาคัญของประเท ศ ช่วยเพิ่มรายได้ ให้ กบั เกษตรกร และทารายได้ เข้ าประเทศจากการส่งออกเป็ นจานวนมาก (Somsri, 2007) ประเทศไทยมีการผลิตและส่งออก ทุเรี ยนมากที่สดุ ของโลก รองลงมาคือประเทศมาเลเซียและประเทศอินโดนีเซียตามลาดับ (Somsri, 2008) ในปี 2557 ประเทศ ไทยมีพื ้นที่การผลิต 652,000 ไร่ ปริ มาณผลผลิต 632,000 ตัน ราคา 34.29 บาทต่อกิโลกรัม (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2557) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

363


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เนื ้อและเมล็ดของทุเรี ยนมีคุณค่าทางอาหารสูงอุดมไปด้ วย โปรตีน ไขมัน คาร์ โบไฮเดรตซึ่งให้ พลังงานสูงประมาณ 124 กิโลแคลอรี /100 กิโลกรัม แร่ธาตุหลายชนิด เช่น โพแทสเซียม ฟอสฟอรั ส แคลเซียม เป็ นต้ น นอกจากนี ้ในเนื ้อของทุเรี ยนยัง มีสารประกอบซัลเฟอร์ หรื อกามะถัน เช่น thiols, thioethers, ester และ sulphides ซึง่ ทาให้ ทเุ รี ยนมีกลิ่นเฉพาะตัวที่รุนแรง และ สารสาคัญที่พบในทุเรี ยนคือสารในกลุ่ม คาโรทีนอยด์ ฟลาโวนอยด์ และโพลีฟีนอล (จริ งแท้ , 2557) การศึกษาฤทธิ์ ทางเภสัช วิ ท ยาพบว่ า เนื อ้ ทุเ รี ย นมี ฤ ทธิ์ ต้ า นอนุมูล อิ ส ระและฤทธิ์ ล ดไขมัน ในเลื อ ด แต่ ยัง เป็ น เพี ย งการศึก ษาในหลอดทดลองและ สัตว์ทดลอง นอกจากนี ้ยังมีการศึกษาพบว่าสาร polysaccharide gel ที่ได้ จากเปลือกทุเรี ยนมีฤทธิ์ต้านเชื ้อแบคทีเรี ยหลายชนิด และเมื่อนาไปผสมในอาหารสัตว์ก็พบว่าสามารถช่วยกระตุ้นการเจริ ญเติบโตและภูมิค้ มุ กันให้ กบั กุ้งได้ และมีการนาสารดังกล่าว ไปพัฒนาเป็ นแผ่นฟิ ล์มปิ ดแผล ซึ่งพบว่าช่วยสมานแผลและลดการอักเสบได้ เป็ นอย่างดี (กฤติยา, 2557) และพบว่า ทุเรี ยน สามารถช่วยต้ านการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง รวมถึงมีฤทธิ์ยบั ยังเอนไซม์ ้ aldehyde dehydrogenase (ALDH) ได้ (ภัควดี, 2556) จริงแท้ (2557) อ้ างอิงจากผลงานการวิจยั ของรัชนี คงคาฉุยฉาย พบว่าเนื ้อทุเรี ยนมีโพลีฟีนอลสูงที่สดุ โดยทุเรี ยนพันธุ์ก้านยาวมี ปริ มาณโพลีฟีนอลสูงที่สดุ ใน 5 ชนิดพันธุ์ที่มีการศึกษาและสูงถึง 10.9 มิลลิกรัม/100 กิโลกรัม พันธุ์หมอนทองมี 9.6 มิลลิกรัม/ 100 กิโลกรัม พันธุ์ชะนีมี 8.7 มิลลิกรัม/100 กิโลกรัม พันธุ์กระดุมมี 5 มิลลิกรัม/100 กิโลกรัม พันธุ์พวงมณีมี 1.5 มิลลิกรัม/100 กิโลกรัม สารฟลาโวนอยด์ พบ 2.1 - 4.6 มิลลิกรัม/100 กิโลกรัม มีสงู ในพันธุ์หมอนทอง ก้ านยาวและกระดุม ส่วนสารคาโรที นอยด์มีปริ มาณต่ากว่าโพลีฟีนอลและฟลาโวนอยด์ มีสงู ในพันธุ์กระดุมและพวงมณี จากการวิจยั ของ Arancibia-Avila et al. (2008) ได้ ศกึ ษาฤทธิ์ทางชีวภาพในทุเรี ยน ‘หมอนทอง’ ส่วนของส่วนที่บริ โภคที่ระยะการเก็บเกี่ยวต่างๆ ได้ แก่ ระยะผลสุก ระยะ ผลสุกมาก และระยะสุกงอม พบว่าการเก็บเกี่ยวในระยะสุก ให้ ค่าสารต่างๆมีค่าสูงที่สดุ โดย total polyphenols มีค่าเท่ากับ 374.4 mgGAE (mgGAE= มิลลิกรัมสมมูลของ gallic acid), free polyphenols มีค่าเท่ากับ 45.4 mgGAE, total flavonoids มี ค่าเท่ากับ 97.9 mgCE (mgCE= มิลลิกรัมสมมูลของ catechin ), free flavonoids มีค่าเท่ากับ 23.9 mgCE, anthocyanins มี ค่าเท่ากับ 442.7 µgCGE (mgCGE= มิลลิกรัมสมมูลของ cyaniding 3-glucoside) และ flavonoids มีค่าเท่ากับ 177.1 µgCE ดังนันจึ ้ งได้ ทาการทดลองในระยะการเก็บเกี่ยวในระยะผลสุก นอกจากนี ้ การวิจยั ของ Toledo et al. (2008) ศึกษาฤทธิ์ต้าน อนุมลู อิสระของทุเรี ยน 3 พันธุ์ได้ แก่ ‘หมอนทอง’ ‘ก้ านยาว’ ‘กระดุม’ ในส่วนของส่วนที่บริ โภคระยะผลสุก พบว่า ‘กระดุม’ ให้ ฤทธิ์ ต้ านอนุมลู อิสระสูงที่สดุ มีคา่ เท่ากับ 197.4 µg/l ปั จจุบันประเทศไทยมีทุเรี ยนที่ได้ รับความนิยมในการบริ โภคได้ แก่ ‘หมอนทอง’ และ‘ชะนี ’ มีพืน้ ที่การผลิตมาก’ นอกจากนี ้ยังมีทเุ รี ยนที่มีรสชาติดีเป็ นที่นิยมของผู้บริ โภคแต่มีราคาสูงได้ แก่ ‘ก้ านยาว’ และทุเรี ยนที่ปรับปรุ งพันธุ์ขึ ้นมาใหม่ มี รสชาติดีและราคายังค่อนข้ างสูงอยู่ คือ ‘พวงมณี’ เมื่อถึงฤดูกาลที่ผลผลิตออกมาจะมีส่วนที่ไม่ได้ นาไปบริ โภค ได้ แก่ เปลือกผล เปลือกหุ้มเมล็ด และเนื ้อเมล็ด การศึกษาครัง้ นี ้ มีแนวคิดที่จะหาสารต้ านอนุมลู อิสระและปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมจาก ส่วนต่าง ๆ ของทุเรี ยนพันธุ์การค้ าในประเทศไทย ซึ่งข้ อมูลที่ได้ เป็ นข้ อมูลเบื ้องต้ น สาหรับการเพิ่มมูลค่าจากส่วนเหลือใช้ ของ ทุเรี ยนไทย โดยพิจารณาจากสารสาคัญที่มีศกั ยภาพนามาใช้ เป็ นเครื่ องสาอางหลายรูปแบบ เช่น ครี มพอกหน้ า และสบู่บารุงผิว เป็ นต้ น โดยทุเรี ยนมีประโยชน์ช่วยลดสิวเสี ้ยนได้ อย่างดี เนื่องจากในทุเรี ยนอุดมไปด้ วยธาตุกามะถันที่ช่วยให้ เม็ดสิวแห้ ง เร็ว และ ความนุ่มละเอียดของเนือ้ ทุเรี ยนยังเหมือนครี มมอยเจอไรเซอร์ บารุ งผิวให้ ชุ่มชื่นไปพร้ อมๆ กับการกระตุ้นให้ รูขุมขนผลักสิ่ง สกปรกที่มีอยูใ่ ห้ ออกมาด้ วย (สมสุข, 2534) การทดลองนี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อประเมินฤทธิ์ ต้านอนุมลู อิสระและปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมในทุเรี ยน 4 พันธุ์ เพื่อสามารถนาไปเป็ นข้ อมูลในการวิจยั เกี่ยวกับการนาส่วนต่าง ๆ ของผลทุเรี ยน ได้ แก่ เปลือกผล ส่วนที่บริ โภค เปลือกหุ้มเมล็ด และเนื ้อเมล็ด มาทาการวิเคราะห์สาระสาคัญเพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ด้านผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ ทาการเลือกทุเรี ยนที่มาจากแหล่งเดียวกัน จากสวนคุณยศพล ผลาผล จังหวัดจันทบุรี จานวน 4 พันธุ์ ในระยะเก็บ เกี่ยวได้ แก่ ทุเรี ยนพันธุ์ก้านยาว พันธุ์หมอนทอง พันธุ์พวงมณี และพันธุ์ชะนี (ภาพที่ 1) แยกส่วนประกอบของผลทุเรี ยนออกเป็ น 4 ส่วน คือ เปลือกผล ส่วนที่บริโภค เปลือกหุ้มเมล็ด และเนื ้อเมล็ด บันทึกน ้าหนักสด และเก็บในถุงซิปปิ ดสนิทและบรรจุในกล่อง พลาสติก ติดรายละเอียดบนถุง เก็บรักษาตัวอย่างโดยแช่ในตู้เย็นที่อณ ุ หภูมิ -5 องศาเซลเซียส เพื่อนาไปวิเคราะห์ต่อไป วาง แผนการทดลองแบบสุ่มสมบรู ณ์ (Completely randomized design; CRD) ประกอบด้ วย 4 ทรี ทเมนต์ คือ ผลทุเรี ยน 4 ตัวอย่าง จานวน 3 ซ ้า ซ ้าละ 1 ผล นาส่วนต่างๆ ของทุเรี ยนมาสกัดด้ วยเอทธานอลและนาไปประเมินฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระตาม วิธีการของ Predner et al. (2008) โดยรายงานผลเป็ นค่า EC50หน่วยเป็ นมิลลิกรัมต่อลิตรและการวิเคราะห์สารประกอบ ฟี นอลิกทังหมด ้ ตามวิธีการของ Gao et al. (2000) หน่วยเป็ นมิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิกต่อกรัมน ้าหนัก 364

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและสรุ ปผลการทดลอง นา้ หนักสดขององค์ ประกอบผลทุเรี ยน วิเคราะห์น ้าหนักของส่วนประกอบต่างๆ ของผลทุเรี ยนพบว่า ในแต่ละพันธุ์ มีน ้าหนักผลรวม (P<0.01) น ้าหนักเปลือก (P<0.01) น ้าหนักส่วนที่บริ โภค (P<0.01) และน ้าหนักเมล็ด (P<0.05) แตกต่างกัน เมื่อพิจารณาน ้าหนักผลรวม พบว่า ทุเรี ยน พันธุ์หมอนทอง มีน ้าหนักผลรวมสูงที่สดุ คือ 2,553.33 กรัม/ผล แตกต่างจากพันธุ์อื่นๆ พันธุ์ก้านยาว พันธุ์ชะนี และพันธุ์พวง มณี มีน ้าหนักผลรวมไม่แตกต่างกัน โดยมีน ้าหนักผลรวม คือ 1,743.33 กรัม/ผล 1,620.00 กรัม/ผล และ 1,206.67 กรัม/ผล ตามลาดับ น ้าหนักเปลือกทุเรี ยน พบว่า พันธุ์หมอนทองมีน ้าหนักเปลือกสูงที่สดุ คือ 1,614.67 กรัม/ผล แตกต่างจากพันธุ์อื่นๆ โดยพันธุ์ชะนี พันธุ์ก้านยาว และพันธุ์พวงมณี มีน ้าหนักเปลือกไม่แตกต่างกันทางสถิติ มีค่าน ้าหนักเท่ากับ 1,063.33 กรัม/ผล 1,061.00 กรัม/ผล และ 860.33 กรัม/ผล ตามลาดับ น ้าหนักส่วนที่บริ โภค พบว่า พันธุ์หมอนทองมีสว่ นที่บริ โภคได้ สงู ที่สดุ คือ 847.00 กรัม/ผล แตกต่างจากพันธุ์อื่น ส่วนพันธุ์ก้านยาว พันธุ์ชะนี และพันธุ์พวงมณี มีส่วนทีบริ โภคไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดย มีน ้าหนักเท่ากับ 465.00 กรัม/ผล 375.57 กรัม/ผล และ 224.33 กรัม/ผล ตามลาดับ ส่วนน ้าหนักเมล็ด พบว่า พันธุ์ก้านยาวมี น ้าหนักเมล็ดสูงที่สดุ คือ 217.33 กรัม/ผล รองลงมาได้ แก่พนั ธุ์ชะนี และ พันธุ์พวงมณี มีน ้าหนักเท่ากับ 181.00 กรัม/ผล และ 122.00 กรัม/ผล ตามลาดับ ส่วนพันธุ์หมอนทองมีน ้าหนักเมล็ดน้ อยที่สดุ แตกต่างจากพันธุ์ชะนีและก้ านยาว โดยมีน ้าหนักเมล็ด เท่ากับ 91.67 กรัม/ผล (Table 1) ผลการบันทึกข้ อมูลแสดงให้ เห็นว่า ทุเรี ยนพันธุ์หมอนทองมีน ้าหนักผลและสัดส่วนเปลือกและ ส่ว นที่ ใ ช้ ใ นการบริ โ ภคมากที่ สุด และมี น า้ หนัก เมล็ด น้ อ ยที่ สุด รองลงมาคื อ พัน ธุ์ ก้ า นยาว ชะนี และพวงมณี ตามล าดับ (Figure 2) ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในผลทุเรี ยน ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระรายงานเป็ นค่า EC50 หน่วย µg/L ในส่วนต่างๆ ของผลทุเรี ยน โดยค่า EC50 น้ อยแสดงให้ เห็นถึง ความสามารถในการกวาดล้ างอนุมลู อิสระได้ ดีกว่าค่า EC50 มาก ผลการทดลองพบว่าทุกพันธุ์มีฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระแตกต่าง ทางสถิติ (p<0.05) โดยส่วนของเปลือกผลพันธุ์ก้านยาวมีค่า EC50 เท่ากับ 11.17 µg/L มีฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระสูงกว่าพันธุ์ชะนี หมอนทอง และพวงมณีซึ่งมีค่า EC50 เท่ากับ 15.03 22.68 และ 23.65 µg/L ตามลาดับ ส่วนของส่วนที่บริ โภคพันธุ์ชะนีมีค่า EC50 เท่ากับ 272.99 µg/L มีฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระสูงกว่าพันธุ์ก้านยาว หมอนทอง และพวงมณีซึ่งมีค่า EC50 เท่ากับ 370.18 402.21 และ 477.05 µg/L ตามลาดับ ส่วนของเปลือกหุ้มเมล็ดพันธุ์ชะนีมีค่า EC50 เท่ากับ 0.87 µg/L มีฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระสูง กว่าพันธุ์ก้านยาว พวงมณี และหมอนทองซึง่ มีคา่ EC50 เท่ากับ 1.08 1.46 และ1.52 µg/L ตามลาดับ และส่วนของเนื ้อเมล็ดพันธุ์ ชะนีมีค่า EC50 เท่ากับ 24.82 µg/L มีฤทธิ์ ต้านอนุมลู อิสระสูงกว่าพันธุ์ก้านยาว พวงมณี และหมอนทองซึ่งมีค่า EC50 เท่ากับ 31.23 39.62 และ48.12 µg/L ตามลาดับ (Table 2) ปริมาณสารประกอบฟี นอลิกทัง้ หมดในผลทุเรี ยน จากการวิเคราะห์ปริ มาณ total phenolic compound โดยพิจารณาจากการเทียบกับ กราฟมาตรฐานกรดแกลลิก พบว่าทุเรี ยนทัง้ 4 พันธุ์ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติในส่วนของส่วนที่บริ โภค โดยให้ ค่าในระหว่าง 0.65 – 0.73 mgGAE/g แต่มี ความแตกต่างกันทางสถิติในส่วนของเปลือกผล เปลือกหุ้มเมล็ด และเนื ้อเมล็ด (p<0.05) โดยส่วนของเปลือกผลพันธุ์ก้านยาวมี ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมเท่ากับ 4.43 mgGAE/g สูงกว่าพันธุ์ชะนี หมอนทอง และพวงมณีซึ่งมีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมเท่ากับ 4.33 2.79 และ 2.56 mgGAE/g ตามลาดับ ส่วนของเปลือกหุ้มเมล็ดพันธุ์ก้านยาวมีปริ มาณสารประกอบฟี นอ ลิกรวมเท่ากับ 11.31 mgGAE/g สูงกว่าพันธุ์พวงมณี หมอนทอง และชะนีซงึ่ มีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมเท่ากับ 8.16 7.4 และ 7.19 mgGAE/g ตามลาดับ และส่วนของเนื ้อเมล็ดพันธุ์ก้านยาวมีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมเท่ากับ 2.87 mgGAE/g สูง กว่ า พัน ธุ์ ช ะนี หมอนทอง และพวงมณี ซึ่ ง มี ป ริ ม าณสารประกอบฟี นอลิ ก รวมเท่ า กับ 0.99 0.96 และ 0.88 mgGAE/g ตามลาดับ (Table 3)

วิจารณ์ ผล การทดลองในครัง้ นี ้เป็ นการเก็บเกี่ ยวผลทุเรี ยนในระยะที่สกุ พร้ อมรับประทาน เนื่องจากการตรวจสอบเอกสารพบว่า การเก็บเกี่ยวในระยะสุกจะทาให้ สารต่าง ๆ มีค่าสูงสุด โดยเฉพาะสารประกอบฟี นอลิกรวม และสารในกลุ่มฟลาโวนอยด์สูง (Arancibia-Avila et al., 2008) ดังนันการเก็ ้ บเกี่ยวในระยะสุก เป็ นช่วงที่เราสามารถใช้ เมล็ดในการขยายพันธุ์ต่อไปได้ จากการ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

365


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ทดลองที่แสดงให้ เห็นว่า ค่า EC50 และปริมาณสารประกอบฟี นอลิกรวม ในผลทุเรี ยน 4 พันธุ์ พบมากในส่วนของเปลือกหุ้มเมล็ด ที่ทาหน้ าที่ป้องกันอันตรายต่าง ๆ ให้ แก่เอ็มบริ โอที่อยู่ภายในเมล็ด ซึ่งเป็ นส่วนที่เจริ ญเติบโตไปเป็ นต้ นใหม่ ดังนัน้ เปลือกหุ้ม เมล็ดจึงมีการสะสมสาระสาคัญเอาไว้ เพื่อป้องกันอันตราย โดยเฉพาะเชื ้อจุลินทรี ย์เข้ าไปในเมล็ด สารฟี นอลิก (phenolics) ซึง่ มี หน้ าที่เป็ นสารต้ านอนุมูลอิสระและมีสรรพคุณทางยามาก และมี ฤทธิ์ ในการฆ่าเชื อ้ จุลินทรี ย์ได้ โดยสารประกอบฟี นอลิกมี ความสามารถในการตกตะกอนโปรตีน ซึ่งสารสาคัญที่พบในทุเรี ยนคือสารในกลุ่ม คาโรทีนอยด์ ฟลาโวนอยด์ และโพลีฟีนอล (จริ งแท้ , 2557) จึงทาให้ เราสามารถพบสารในกลุ่มสารประกอบฟี นอลิกมากในเปลือกหุ้มเมล็ดและสารฟี นอลิก เป็ นสารต้ าน อนุมลู อิสระ จึงทาให้ ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระมีค่าสูงด้ วย ซึ่งความแตกต่างของชนิดและพันธุ์มีผลต่อสีของไม้ ผล เนื่องมาจากการ แสดงออกของยีนมีผลต่อการสะสมสารเคมีที่แตกต่างกัน (Tulipani et al., 2008) จึงทาให้ ทเุ รี ยนแต่ละให้ ค่า EC50 และปริ มาณ สารประกอบฟี นอลิกรวมที่แตกต่างกัน ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระและปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมมีความสัมพันธ์ กนั โดยพันธุ์ที่มีปริ มาณฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระ มากจะมีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมสูงไปด้ วยในทุกส่วนของผลทุเรี ยนยกเว้ นในเปลือกหุ้มเมล็ดกลับพบว่าพันธุ์ชะนีมีฤทธิ์ ต้ านอนุมลู อิสระสูงที่สดุ แต่ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกรวมที่สงู ที่สดุ กลับพบที่พนั ธุ์ก้านยาว อาจเป็ นเพราะพันธุ์ชะนีมีสารอื่น นอกจากสารประกอบฟี นอลิกรวมที่ทาหน้ าที่เป็ นสารต้ านอนุมลู อิสระ เช่น จากการรายงานการวิจยั ของรัชนี (2552) พบสารใน กลุม่ ของ carotenoid ของพันธุ์ชะนี 0.22 มิลลิกรัม/100 กรัม ซึง่ มากกว่าพันธุ์ก้านยาวที่มีค่าเพียง 0.09 มิลลิกรัม/100 กรัม และ จากการรายงานสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) 2554 ในทุเรี ยนพบว่าสารของกลุม่ zeaxanthin ของพันธุ์ชะนี 21.73 ไมโครกรัม/หนึ่งหน่วยผู้บริ โภค ซึ่งมากกว่าพันธุ์ก้านยาวที่มีค่าเพียง 5.69 ไมโครกรัม/หนึ่งหน่วยผู้บริ โภค รวมทังสารของกลุ ้ ่ม lutein ของพันธุ์ชะนี 13.07 ไมโครกรัม/หนึ่งหน่วยผู้บริ โภค ซึ่งมากกว่าพันธุ์ก้านยาวที่มีค่าเพียง 0.69 ไมโครกรัม/หนึ่งหน่วย ผู้บริ โภคเท่านันเอง ้ ทาให้ สาร carotenoid zeaxanthin และ lutein ที่พบมากในเปลือกหุ้มเมล็ดของพันธุ์ชะนีทาหน้ าที่เป็ นสาร ต้ านอนุมลู อิสระ และทาให้ ไม่สมั พันธ์กบั ปริมาณสารประกอบฟี นอลิกรวม ฤทธิ์ ต้านอนุมลู อิสระและสารประกอบฟี นอลิกรวมในผลทุเรี ยนแต่ละพันธุ์ที่แตกต่างกัน อาจเป็ นเพราะสาเหตุต่างๆ เช่น สภาพพื ้นที่ในการปลูก การดูแลรักษา ปริ มาณแสงที่ได้ รับที่แตกต่างกัน ความแตกต่างทางพันธุกรรม (กฤติยา, 2557) ลักษณะของผล โรคแมลงที่เข้ าทาลาย และบริ เวณของผลที่ถกู สุ่มมาใช้ ในการทดลอง ดังนันการประเมิ ้ นสารสาคัญที่พบในพืช ์ เบื อ้ งต้ นจะเป็ นวิธีที่ทาให้ ทราบถึงประสิทธิ ภาพและศักยภาพของพืชต่อคุณสมบัติการออกฤทธิ ของสารทางชี วภาพในการ ทดลองขันสู ้ งต่อไป

366

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 The weight of durians composition in 'Kan-yao', 'Mon-thong', 'Puang-ma-nee', 'Cha-ni' (Mean  SD). 1. 2. 3. 4.

Cultivars 'Kan-yao' 'Mon-thong' 'Puang-ma-nee' 'Cha-ni' F-test C.V. (%)

Total of fruit (g) 1,743.33 b1/ ± 226 2,553.33 a ± 190 1,206.67 b ± 267 1,620.00 b ± 85 ** 11.33

Peel (g) 1,061.00 b ± 145 1,614.67 a ± 95 860.33 b ± 196 1,063.33 b ± 78 ** 11.89

Flesh (g) 465.00 b ± 92 847.00 a ± 98 224.33 c ± 64 375.67 bc ± 40 ** 16.11

Seed (g) 217.33 a ± 62 91.67 c ± 19 122.00 bc ± 12 181.00 ab ± 30 * 23.6

*, ** Mean within each column followed by the same letter is not significantly different at 95% and 99% level of confidence based on Duncan’ New Multiple Range Test.

Table 2 DPPH scavenging activity of durians composition in 'Kan-yao', 'Mon-thong', 'Puang-ma-nee', 'Cha-ni' (Mean  SD). Cultivars 1. 2. 3. 4.

'Kan-yao' 'Mon-thong' 'Puang-ma-nee' 'Cha-ni' F-test C.V. (%)

Peel 11.17 a1/± 1.57 22.68 b ± 3.63 23.65 b ± 2.09 15.03 a ± 2.51 ** 14.14

DPPH scavenging activity (EC50 µg/L) Flesh Seed coat 370.18 b ± 30.77 1.08 ab ± 0.27 402.21 b ± 17.2 1.52 b ± 0.12 477.05 c ± 26.94 1.46 b ± 0.03 272.99 a ± 29.51 0.87 a ± 0.15 ** ** 7 13.58

Endosprem 31.23 ab ± 12.09 48.12 c ± 3.30 39.62 bc ± 3.33 24.82 a ± 4.43 * 19.05

*, ** Mean within each column followed by the same letter is not significantly different at 95% and 99% level of confidence based on Duncan’ New Multiple Range Test.

Table 3 Phenolic compounds of durians composition in 'Kan-yao', 'Mon-thong', 'Puang-ma-nee', 'Cha-ni' (Mean  SD). Cultivars 1. 2. 3. 4.

'Kan-yao' 'Mon-thong' 'Puang-ma-nee' 'Cha-ni' F-test C.V. (%)

Peel 4.43 a1/± 0.51 2.79 b ± 0.39 2.56 b ± 0.12 4.33 a ± 0.71 ** 13.63

Total Phenolic Compound (mgGAE/g) Flesh Seed coat 0.65 ± 0.05 11.31 a ± 0.97 0.73 ± 0.05 7.40 b ± 1.29 0.69 ± 0.05 8.16 ab ± 1.61 0.72 ± 0.09 7.19 b ± 0.74 ns ** 9.17 14.08

Endosprem 2.87 a ± 0.29 0.96b ± 0.12 0.88 b ± 0.15 0.99 b ± 0.09 ** 12.51

*, ** Mean within each column followed by the same letter is not significantly different at 95% and 99% level of confidence based on Duncan’ New Multiple Range Test

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

367


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Characteristics of Durians (Durio zibethinus Murray), ‘Kan-yao’, ‘Mon-thong’, ‘Cha-ni’ and ‘Puang-ma-nee’.

Seed(g) 12%

Flesh(g) 27%

'Kan-yao'

Seed(g) 4%

Flesh(g) 33%

Peel(g) 63%

Peel(g) 61%

Seed(g) 10%

'Mon-thong'

'Puang-ma-nee'

Seed(g) 11%

'Cha-ni'

Flesh(g) 19% Flesh(g) 23% Peel (g) 71%

Peel(g) 66%

Figure 2 The compositions of 'Kan-yao', 'Mon-thong', 'Puang-ma-nee', 'Cha-ni.

368

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง กฤติยา ไชยนอก. 2557. จุลสารข้ อมูลสมุนไพร. สานักงานข้ อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ. จริ งแท้ ศิริพานิช. 2557. ทุเรี ยนไทย: ความเสี่ยงบนคุณภาพที่บิดเบือน. สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.). กรุงเทพฯ. ภัควดี เสริ มสรรพสุข. 2556. ทุเรี ยน: ข้ อเท็จจริ งทางโภชนาการและเภสัชวิทยา. สงขลานคริ นทร์ เวชสาร 31 (2): 83-90. รัชนี คงคาฉุยฉาย, ริ ญ เจริ ญศิริ และ พงศธร สังข์เผือก. 2553. คุณค่าโภชนาการของผลไม้ ไทยเพื่อสุขภาพและมูลค่าเพิ่ม. โครงการวิจยั . สถาบัน โภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล. นครปฐม. สมสุข มัจฉาชีพ. 2534. พืชสมุนไพร. สานักพิมพ์แพร่พิทยา. กรุงเทพฯ. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2557. สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2557. โรงพิมพ์สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. กรุงเทพฯ. 215 น. หิรัญ หิรัญประดิษฐิ์ , สุขวัฒน์ จันทรปรณิก และ เสริ มสุข สลักเพ็ชร. 2542. เทคโนโลยีการผลิตทุเรี ยน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. APG II. 2003. An update of the angiosperm phylogeny group classification for the orders and families of flowering plants: APG II. Botanical Journal of The Linnean Society 141: 399-436. Arancibia-Avila, P., T. Fernando, P. Yong-Seo, J. Soon-Teck, K. Seong-Gook, H. G. Buk, L. Sang-Hyun, S. Mietek, K. Teresa and G. Shela. 2008. Antioxidant properties of durian fruit as influenced by ripening. LWT-Food Science and Technology 41: 2118-2125. Gao, X., M. Ohlander, N. Jeppsson, L. Björk and V. Trajkovski. 2000. Changes in Antioxidant Effects and Their Relationship to Phytonutrients in Fruits of Sea Buckthorn (Hippophae rhamnoides L.) during Maturation. Food Chemistry 48: 148-1490. Predner, D., P.Y. Lai and A.L. Charles. 2008. Evaluation of drying methods on antioxidant activity, Total phenolic and total carotenoid contents of sweet potato (Ipomoea batatas L.) Lam. var. Tai nong 73. J. Internation Cooperation. 3(2): 73-86. Toledo, F. 2008. Screening of The Antioxidant and Nutritional Properties, Phenolic Contents and Proteins of Five Durian Cultivars. Department of Basic Sciences, Universidad del Bio-Bio, Chillan, Chile. Tulipani, S., B. Mezzetti, F. Capocasa, S. Bompadre, J. Beekwilder, C.H. Ric de Vos, E. Capanoglu, A. Bovy, and M. Battino. 2008. Antioxidants, phenolic compounds, and nutritional quality of different strawberry genotypes. Journal of Agriculture andFood Chemistry 56: 696-704.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

369


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อัตราการคายนา้ ของส้ มโอพันธุ์มณีอีสานในระยะการเจริญเติบโตของผล Transpiration Rate of Pummelo ‘Manee-Isan’ in fruit growth stage สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา1 สมยศ มีทา1 ราไพ นามพิลา1 พงษ์ ศักดิ์ ยั่งยืน1 และสังคม เตชะวงค์ เสถียร1 Supat Isarangkool Na Ayutthaya1 Somyot Meetha1 Rampai Nampila1 Pongsak Yangyuen1 and Sungcom Techawongstien1

บทคัดย่ อ การศึกษานี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อประเมินอัตราการคายน ้าของของส้ มโอพันธุ์มณีอีสานในช่วงที่ดินมีความชื ้นสูง เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการจัดการน ้าที่เหมะสมของส้ มโอพันธุ์มณีอีสานตามความต้ องการของพืช โดยศึกษาอัตราการคายน ้าในส้ มโอ พันธุ์มณีอีสาน อายุ 5 ปี (เส้ นรอบวงลาต้ นมีขนาด 41.5 – 60.5 เซนติเมตร) จานวน 4 ต้ น ซึง่ ปลูกในแปลงเกษตรกร อาเภอ เกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ติดตัง้ หัวตรวจวัดการเคลื่อนที่ของนา้ ในลาต้ นที่ลาต้ นระดับความสูงจากพืน้ ดินประมาณ 30 เซนติเมตร เก็บข้ อมูลอัตราการคายน ้าทุก 30 นาที ดาเนินการทดลองในเดือนมิถนุ ายน 2558 พบว่าต้ นส้ มโอพันธุ์มณีอีสานมี อัตราการคายน ้า 49.7-77.1 ลิตรต่อวัน ส่วนความสัมพันธ์ของสภาพอากาศต่ออัตราการคายน ้าพบว่าอัตราการคายน ้าของส้ มโอ เพิ่มขึ ้นเมื่ออุณหภูมิและค่าการขาดความดันไอน ้า (vapor pressure deficit; VPD) เพิ่มขึ ้น แต่การเพิ่มของความชื ้นสัมพัทธ์ทา ให้ อตั ราการคายน ้าของต้ นส้ มโอลดลง คาสาคัญ : การคายน ้า สภาพอากาศ ส้ มโอ

Abstract The objective of this study was to evaluate the transpiration rate of pummelo ‘Manee-Isan’ in the wellwatered condition. The benefit of this work would be the guideline for optimum water management according to the requirement of plant. The study was done in 4 trees of 5 years old pummelo ‘Manee-Isan’ (girth ranged from 41.5 to 60.5 centimeters) planted in Kasetsomboon district, Chaiyaphum province. The sap flow probes were inserted in the trunk at 30 centimeter from soil and collected the transpiration rate data every 30 minutes. This experiment was conducted in June 2015. The result showed that the tree transpiration rate of pummelo ‘Manee-Isan’ was around 49.7-77.1 liters per day. Moreover, the relationship between climate and transpiration exhibited that the transpiration rate increased according to the increasing of temperature and vapor pressure deficit (VPD), but the increase of relative humidity results in the decrease of tree transpiration. Keywords : transpiration, climate, pummelo

คานา ความต้ องการน ้าของพืชมีความสาคัญต่อการจัดการน ้าให้ แก่พืชได้ ในปริ มาณที่เหมาะสม เพราะการให้ น ้ามากหรื อ น้ อยเกินไปมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่น การให้ น ้ามากเกินไปในส้ มโอพันธุ์ทองดีมีผลทาให้ โพแทสเซียมและแคลเซียมใน ดินถูกชะล้ าง (ไชยรัตน์ และคณะ, 2551) ซึง่ ส่งผลต่อปริ มาณและคุณภาพของส้ มโอ วิธีการหนึ่งที่ทาให้ ทราบความต้ องการน ้า ของพืช คือ การหาอัตราการคายนา้ ต่อวันของต้ นพืช การศึกษาอัตราการคายนา้ ในรอบวันในกลุ่มไม้ ผลและไม้ ยืนต้ น เช่น ยางพาราอายุ 9-10 ปี มีอตั ราการคายน ้าประมาณ 40-50 ลิตร/ต้ น/วัน (Isarangkool Na Ayutthaya et al., 2011) ส่วนในส้ มโอ พันธุ์ทองดีอายุ 6 ปี มีอตั ราการคายน ้าต่อวันประมาณ 25 ลิตร/ต้ น/วัน (สุภทั ร์ และคณะ, 2554) สาหรับวิธีการตรวจวัดอัตราการ คายน ้าสามารถทาได้ หลายวิธี เช่น การชัง่ น ้าหนักของน ้าที่หายไป (weighting) ถังวัดการใช้ น ้าของพืช (lysimeter) และการใช้ หัวตรวจวัดติดลาต้ น (sap flow probe) เป็ นต้ น (สุภทั ร์ , 2555) ซึง่ วิธีตรวจวัดที่ได้ รับความนิยมในปั จจุบนั ซึง่ สามารถทาการวัด อัตราการคายน ้าในระดับแปลงปลูกของเกษตรกร คือ การใช้ หวั ตรวจวัดติดกับลาต้ นแบบ Granier (1985, 1987) ทังนี ้ ้ Do and Rocheteau (2002) และ Isarangkool Na Ayutthaya et al. (2010) ได้ พฒ ั นาวิธีการตรวจวัดแบบ transient thermal 1 1

สาขาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ. เมือง จ. ขอนแก่น 40002 Horticultural Section, Faculty of Agriculture, Khon Kean University, Khon Kean 40002. 370

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

dissipation method (TTD) กับหัวตรวจวัดดังกล่าว ทาให้ การตรวจวัดอัตราการคายน ้าของไม้ ยืนต้ นได้ ค่าที่มีความแม่นยามาก ยิ่งขึ ้น โดยวิธีการดังกล่าวช่วยลดผลกระทบของความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืนที่มีผลต่ออุณหภูมิของ ลาต้ นพืช (Do and Rocheteau, 2002) อย่างไรก็ตามอัตราการคายน ้าของพืชนอกจากขึ ้นกับสภาพแวดล้ อมแล้ ว ยังขึ ้นกับ ปั จจัยภายในของต้ นพืชด้ วย เช่น ชนิดพืช ค่าการชักน ้าของปากใบ (stomata conductance) หรื อการปิ ดเปิ ดปากใบ ค่าการชัก นาน ้าภายในต้ น (whole tree hydraulic conductance) อายุต้น ขนาดใบ จานวนใบบนต้ น และขนาดต้ น เป็ นต้ น ส้ มโอพันธุ์มณีอีสานเป็ นส้ มโอพันธุ์ใหม่ซึ่งเนื ้อผลในส่วนที่รับประทานมีสีแดง มีรสชาติหวานอมเปรี ย้ ว อายุผลตังแต่ ้ ออกดอกถึงระยะเก็บเกี่ยวผลผลิตประมาณ 200 วัน ซึง่ ส้ มโอพันธุ์นี ้อยูร่ ะหว่างการวิจยั เพื่อเป็ นส้ มโออัตลักษณ์ของจังหวัดชัยภูมิ (สังคม และคณะ, 2554) ส้ มโอพันธุ์มณีอีสานมีถิ่นกาเนิด ณ บ้ านบุ่งสิบสี่ ตาบลโนนทอง อาเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งในการพัฒนาวิธี ก ารผลิตส้ มโอพันธุ์ นี ใ้ ห้ ไ ด้ คุณภาพดี นา้ เป็ นปั จจัย หนึ่ง ที่ มีความส าคัญ และจ าเป็ นต้ อ งมี การจัด การที่ เหมาะสมตามความต้ องการของพืช เพื่อให้ ผลผลิตส้ มโอมีคณ ุ ภาพตรงตามความต้ องการของตลาดต่อไป ซึง่ โดยทัว่ ไปการคาย น ้าของพืชมีผลต่อการสะสมธาตุอาหารบางชนิด เช่น แคลเซียม (Montanaro et al., 2006) ส่งผลให้ คณ ุ ภาพของผลผลิตดีขึ ้น ดังนันการวิ ้ จยั ครัง้ นี ้จึงต้ องการศึกษาอัตราการคายน ้าในรอบวันของส้ มโอพันธุ์มณีอีสาน โดยใช้ หวั ตรวจวัดติดกับลาต้ นตามวิธี TTD เพื่อใช้ เป็ นแนวทางในการจัดการน ้าที่เหมาะสมตามความต้ องการของส้ มโอพันธุ์มณีอีสานต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ คัดเลือกต้ นส้ มโอพันธุ์มณีอีสานอายุ 5 ปี ซึง่ มีเส้ นรอบวงลาต้ นประมาณ 50.5 เซนติเมตร จานวน 4 ต้ น จากสวนของ คุณเสมียน นราพล ตาบลโนนทอง อาเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ โดยติดตังหั ้ ววัดการเคลื่อนที่ของน ้าที่โคนต้ นของส้ มโอ สูงจากพื ้นดินประมาณ 30 เซนติเมตร ต้ นละ 2 หัวตรวจวัดในทิศเหนือ-ใต้ โดยใช้ หวั ตรวจวัดแบบ Granier (1985, 1987) บันทึก ข้ อมูลทุก 30 นาที ตามวิธี transient thermal dissipation method (Do and Rocheteau, 2002; Isarangkool Na Ayutthaya et al., 2010) การศึกษาวิจยั ครัง้ นี ้ดาเนินการในเดือนมิถนุ ายน 2558 ซึง่ เป็ นช่วงที่ดินมีความชื ้นสูง และต้ นส้ มโออยู่ช่วงที่มีการ ติดผล ส่วนการเก็บข้ อมูลอุณหภูมิและความชื ้นสัมพัทธ์ใช้ เครื่ องตรวจอากาศขนาดเล็ก (U23 Pro v2 Temperature/Relative Humidity Data Logger-U23-001, Bourne, MA) บันทึกข้ อมูลทุก 30 นาที ทาการคานวนค่าการขาดความดันไอน ้า (vapor pressure deficit; VPD) ตามวิธีของ Allen et al. (1998) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสภาพอากาศและอัตราการไหลของน ้าใน ท่อน ้าด้ วยโปรแกรม SPSS 17.0 (SPSS Inc., New York, NY, USA) และโปรแกรม Sigmaplot 10.0 (Systat Software, Inc., Chicago, IL, USA)

ผลการทดลองและวิจารณ์ ลักษณะของสภาพอากาศ การเก็บข้ อมูลสภาพอากาศในช่วงก่อนการดาเนินการวิจยั และช่วงดาเนินงานวิจยั พบว่าในช่วงเดือนพฤษภาคม 2558 มีความแห้ งแล้ งมากไม่มีปริ มาณน ้าฝนในช่วงดังกล่าว ประกอบกับอุณหภูมิสู งสุดในรอบวัน (Max_Temp) มีค่าสูงมากและ ความชื ้นสัมพันธ์ต่าสุดในรอบวัน (Min_RH) มีค่าต่ามาก ซึง่ แสดงให้ เห็นว่าช่วงดังกล่าวเป็ นช่วงที่แล้ งมาก ส่วนในช่วงต้ นเดือน มิถนุ ายนมีฝนตกสะสมเท่ากับ 147 มิลลิเมตร (Figure 1) ดังนันในการทดลองนี ้ ้จึงได้ เลือกเก็บและวิเคราะห์ ข้อมูลในช่วงวันที่ 14-23 มิถนุ ายน 2558 ซึง่ น่าจะเป็ นช่วงที่ถือได้ ว่าดินมีความชื ้นสูง ทาให้ อตั ราการคายน ้าที่ทาการศึกษาไม่ถกู จากัดด้ วยความ แห้ งแล้ งของดิน ซึ่งในหลายรายงานยืนยันว่าในช่วงที่เกิดภาวะแล้ งของดินทาให้ อตั ราการคายน ้าของพืชลดลง (Wullschleger et al., 1998; O’Grady et al., 2008; Isarangkool Na Ayutthaya et al., 2011) ดังนันการศึ ้ กษาอัตราการคายน ้าของพืชตาม ศักยภาพของพืชนันๆ ้ ควรดาเนินการศึกษาในช่วงที่ดินมีความชื ้นสูง

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

371


70

50

60

40

50 30

40 30

20 Rainfall

20

10

Min_RH

10

23-Jun-15

21-Jun-15

19-Jun-15

17-Jun-15

15-Jun-15

13-Jun-15

11-Jun-15

9-Jun-15

7-Jun-15

5-Jun-15

3-Jun-15

1-Jun-15

30-May-15

28-May-15

0 26-May-15

24-May-15

20-May-15

18-May-15

16-May-15

22-May-15

Max_temp

0

Max_temp (oC)

Rainfall (mm) / Min_RH (%)

วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Change of climates: rainfall, maximum temperature (Max_temp) and minimum relative humidity (Min_RH), during mid-May 2015 to mid-June 2015 ลักษณะการคายนา้ ของต้ นส้ มโอในรอบวัน จากการศึกษาลักษณะการคายน ้าในรอบวันของส้ มโอพันธุ์มณีอีสาน พบว่าการคายน ้า (sap flux density, Js) ของต้ น ส้ มโอเพิ่มขึ ้นในช่วงเช้ า และมีค่าสูงสุดในช่วงเที่ยงวัน หลังจากนันอั ้ ตราการคายน ้าของต้ นส้ มโอลดลงในช่วงบ่าย และมีค่าเข้ า ใกล้ ศนู ย์ในตอนกลางคืน ซึ่งสอดคล้ องกับการเปลี่ยนแปลงของการเปลี่ยนแปลงค่า VPD (Figure 2) โดยลักษณะการคายน ้า แบบนี ้เป็ นลักษณะของการคายน ้าของพืชโดยทัว่ ไปที่มีการเปิ ดปากใบในตอนกลางวันและปิ ดปากใบในตอนกลางคืน เช่น กล้ วย (Lu et al., 2002) ยูคาลิปตัส (O’Grady et al., 2008) ทุเรี ยน ลองกอง มังคุด เงาะ (สายัณห์ และชูศกั ดิ์, 2551) ยางพารา (Isarangkool Na Ayutthaya et al., 2011) และส้ มโอพันธุ์ทองดี (สุภทั ร์ และคณะ, 2554)

VPD (kPa) / Js (L dm-2 h-1)

4.0 3.5 3.0 2.5 VPD

2.0

Js

1.5

1.0 0.5 0.0

0:00

6:00

12:00

18:00

0:00

Figure 2 Pattern of diurnal vapor pressure deficit (VPD) and sap flux density (Js) of Pummelo ‘Manee-Isan’

372

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ปริมาณการคายนา้ ต่ อวันของต้ นส้ มโอพันธุ์มณีอีสาน การศึกษาปริ มาณการคายน ้าของต้ นส้ มโอพันธุ์มณีอีสานอายุ 5 ปี ซึง่ มีขนาดเส้ นรอบวงลาต้ น 41.5-60.5 เซนติเมตร (เส้ นรอบวงเฉลี่ย 50.5 เซนติเมตร) พบว่ามีอตั ราการคายน ้าต่อวันเท่ากับ 49.7-77.1 ลิตร/วัน (Figure 3) ซึง่ มีอตั ราการคายน ้า สูงกว่าอัตราการคายน ้าของยางพาราสายพันธุ์ RRIM600 อายุ 9 ปี (ขนาดเส้ นรอบวงลาต้ น 52.5 เซนติเมตร) มีอตั ราการคายน ้า ประมาณ 40-45 ลิตร/วัน (Isarangkool Na Ayutthaya et al., 2011) ส่วนรายงานอัตราการคายน ้าของส้ มโอพันธุ์ทองดีอายุ 6 ปี ซึง่ มีเส้ นรอบวงประมาณ 48.5 เซนติเมตร พบว่ามีอตั ราการคายน ้าประมาณ 25 ลิตรต่อวัน ซึง่ น้ อยกว่าการศึกษาวิจยั ครัง้ นี ้ใน ส้ มโอพันธุ์มณีอีสานเกือบเท่าตัว อย่างไรก็ตามพบว่าส้ มโอพันธุ์มณีอีสานมีอตั ราการคายน ้าใกล้ เคียงกับส้ ม mandarin (Citrus reticulata Blanco) ซึง่ มีปริ มาณการคายน ้า 2.1 มิลลิเมตรต่อวันหรื อ 63 ลิตร/วัน (Villalobos et al., 2009) ทังนี ้ ้อัตราการคาย น ้าของพืชมีความผันแปรตามลักษณะทางสรี รวิทยาของพืชหลายประการ เช่น ลักษณะการเปิ ดปิ ดปากใบ ค่าการชักนาน ้าในลา ต้ น จานวนใบ และขนาดใบ รวมทังชนิ ้ ด (specie) และพันธุ์พืชด้ วย (Oren and Pataki, 2001; Motzer et al., 2005; สุภทั ร์ , 2555) นอกจากนี ้พบว่าอัตราการคายน ้าของส้ มโอพันธุ์มณีอีสานในช่วงที่ดินมีความชื ้นสูงมีการเปลี่ยนแปลงตามค่าการขาด ความดันไอน ้าของอากาศ (VPD) (Figure 3) คือ ในวันที่มี VPD สูง การคายน ้าของส้ มโอพันธุ์มณีอีสานจะมีปริ มาณเพิ่มขึ ้น ซึง่ ในกรณี นี ช้ ี ใ้ ห้ เ ห็ น ว่ า ในช่ ว งที่ ดิ น มี ค วามชื น้ สูง สภาพอากาศจะเป็ น ปั จ จัย หลัก ในการควบคุม อัต ราการคายน า้ ของพื ช (Isarangkool Na Ayutthaya et al., 2011)

80

4.0

23-Jun-15

22-Jun-15

21-Jun-15

0

20-Jun-15

1.0

19-Jun-15

20

18-Jun-15

2.0

17-Jun-15

40

16-Jun-15

3.0

15-Jun-15

60

14-Jun-15

ETree (L day-1)

5.0

ETree VPD

VPD (kPa)

100

-

Figure 3 Daily tree transpiration of pummelo ‘Manee-Isan’ during 14-23 June 2015. The error bar on vertical bar indicates the standard error. การหาความสัมพันธ์ ระหว่ างสภาพอากาศกับอัตราการไหลของนา้ ในท่ อนา้ การหาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการคายน ้าโดยใช้ อตั ราการไหลของน ้าในท่อน ้าสูงสุด (maximum sap flux density, Max_Js) ซึง่ เป็ นข้ อมูลการคายน ้าในช่วงเที่ยงวันถึงบ่ายโมงเป็ นตัวแทนในการศึกษากับสภาพอากาศในช่วงเวลาดังกล่าว พบว่า ค่าการขาดความดันไอน ้า (vapor pressure deficit; VPD) และอุณหภูมิมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ Max_Js (Figure 4A และ 4B) ส่วนความชื ้นสัมพันธ์ในอากาศที่เพิ่มขึ ้นทาให้ Max_Js ลดลง (Figure 4C) สอดคล้ องกับรายงานใน Quercus glauca (Huang et al., 2009) ยูคาลิปตัส (O’Grady et al., 2008) และยางพารา (Isarangkool Na Ayutthaya et al., 2011) ซึง่ VPD มี ค่าเพิ่มขึ ้นเมื่ออุณหภูมิสงู และความชื ้นสัมพันธ์ในอากาศต่า ดังนันเมื ้ ่อสภาพอากาศร้ อนแห้ ง (VPD สูง) ทาให้ ส้มโอพันธุ์มณี อีสานมีอตั ราการคายน ้าเพิ่มมากขึ ้น (Figure 4A) ดังนันการให้ ้ น ้าแก่พืชเพื่อชดเชยการสูญเสียน ้าของพืชผ่านกระบวนการคาย น ้าจะมีความผันแปรกับสภาพอากาศ คือ ถ้ าอากาศร้ อนและแห้ งส่งผลให้ พืชมีอตั ราการคายน ้าสูง เกษตรกรจาเป็ นต้ องมีการให้ น ้าแก่พืชในปริมาณมากขึ ้น

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

373


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

5.0

Max_Js (L dm-2 h-1)

4.0 3.0

2.0 y = 4.8519((1-exp(-0.5129x)) R² = 0.68**

1.0 A 0.0 0.0

1.0

2.0

3.0 4.0 VPD (kPa)

5.0

6.0

5.0

Max_Js (L dm-2 h-1)

4.0 3.0 2.0 y = 0.1891x - 3.2529 R² = 0.80**

1.0 B 0.0 28

30

32 34 36 38 o Temperature ( C)

40

42

5.0

Max_Js (L dm-2 h-1)

4.0 3.0 2.0 y = -0.0614x + 6.9234 R² = 0.43*

1.0 C 0.0 30

40

50 RH (%)

60

70

Figure 4 Relationship between A) maximum sap flux density (Max_Js) and vapor pressure deficit (VPD), B) Max_Js and temperature and C) Max_Js and Relative humidity (RH). *and ** indicted the regression at probability at 95% and 99%, respectively.

374

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ป ส้ มโอพันธุ์มณีอีสานอายุ 5 ปี ซึง่ มีเส้ นรอบวงลาต้ น 50.5 เซนติเมตร มีอตั ราการคายน ้า 49.7-77.1 ลิตรต่อวัน และจาก ความสัมพันธ์ ของสภาพอากาศต่ออัตราการคายน ้า พบว่าอุณหภูมิและค่าการขาดความดันไอน ้า (vapor pressure deficit; VPD) มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับอัตราการคายน ้าของส้ มโอ ส่วนความชื ้นสัมพัทธ์ในอากาศที่เพิ่มขึ ้นทาให้ อตั ราการคายน ้าของ ต้ นส้ มโอลดลง

กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจยั นี ้ได้ ทนุ สนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว) และกลุ่มวิจยั ไม้ ผลในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และใคร่ขอขอบคุณ คุณเสมียน นราพล เกษตรกรผู้ปลูกส้ มโอ อาเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัด ชัยภูมิ ในความอนุเคราะห์พื ้นที่ปลูกส้ มโอพันธุ์มณีอีสานสาหรับการศึกษาวิจยั ครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง ไชยรัตน์ ทศคร, สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, สังคม เตชะวงค์เสถียร, พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และเกษสุดา เดชภิมล. 2551. วิธีการให้ น ้าต่อคุณลักษณะของ ดิน ธาตุอาหาร และการเจริ ญเติบโตของส้ มโอ. ว. วิทย์. กษ. 39(3) (พิเศษ): 134-137. สังคม เตชะวงค์เสถียร, สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน, พัชริ น ส่งศรี และทัศนีย์ แจ่มจรรยา. 2554. การศึกษาต้ นแบบการผลิตส้ มโอใน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยใช้ ส้มโอพันธุ์ทองดี อาเภอบ้ านแท่นเป็ นกรณีศกึ ษาและการพัฒนาศักยภาพส้ มโอเนื ้อสีแดงเพื่อเป็ นส้ มโออัต ลักษณ์ของ จังหวัดชัยภูมิ. รายงานฉบับสมบูรณ์, สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั , กรุงเทพฯ. 87น. สายัณห์ สดุดี และ ชูศกั ดิ์ ลิ่มสกุล. 2551. ปั จจัยที่จากัดการวัดการไหลของน ้าโดยวิธีพลั ส์ความร้ อนในต้ นไม้ ผลเขตร้ อน.ว. วิทย์. กษ. 39(3) (พิเศษ): 187-190. สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา. 2555. การประมาณความต้ องการน ้าของไม้ ยืนต้ นเศรษฐกิจเพื่อการให้ น ้าที่เหมาะสม. แก่นเกษตร. 40: 279-290. สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, สมยศ มีทา, พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน, พัชริ น ส่งศรี และสังคม เตชะวงค์เสถียร. 2554. อัตราการคายน ้าในรอบวันและต่อวันของ ต้ นส้ มโอพันธุ์ทองดี. ว. วิทย์. กษ. 42 (พิเศษ): 495-498. Allen, R.G., L.S. Pereir, D. Raes and M. Smith. 1998. Crop evapotranspiration: guidelines for computing crop water requirements. FAO Irrigation and drainage paper 56. Rome. 290p. Do, F. and A. Rocheteau. 2002. Influence of natural temperature gradients on measurements of xylem sap flow with thermal dissipation probes. 2. Advantages and calibration of a non-continuous heating system. Tree Physiol. 22: 649-654. Granier, A. 1985. Une nouvelle méthode pour la mesure des flux de sève dans le tronc des arbres. Ann. For. Sci. 42: 193-200. Granier, A. 1987. Evaluation of transpiration in a Douglas-fir stand by means of sap flow measurement. Tree Physiol. 3: 309-320. Huang, Y., P. Zhao, Z. Zhang, X. Li, C. He, and R. Zhang. 2009. Transpiration of Cyclobalanopsis glauca (syn. Quercus glauca) stand measured by sap-flow method in a karst rocky terrain during dry season. Ecol. Res. 24: 791-801. Isarangkool Na Ayutthaya, S., F.C. Do, K. Pannengpetch, J. Junjittakarn, J.-L. Maeght, A. Rocheteau, and H. Cochard. 2010. Transient thermal dissipation method of xylem sap flow measurement: multi-species calibration and field evaluation. Tree Physiol. 30: 139-148. Isarangkool Na Ayuuthaya S., F.C. Do, K. Pannengpetch, J. Junjittakarn, J.-L. Maeght, A. Rocheteau, and H. Cochard. 2011. Water loss regulation in mature Hevea brasiliensis: effects of intermittent drought in the rainy season and hydraulic regulation. Tree Physiol. 31: 751-762. Lu, P., K. Woo and Z. Liu. 2002. Estimation of whole-plant transpiration of bananas using sap flow measurement. J. Exp. Bot. 53: 17711779. Montanaro G., B. Dichio, C. Xiloyannis and G. Celano. 2006. Light influences transpiration and calcium accumulation in fruit of kiwifruit plants (Actinidia deliciosa var. deliciosa). Plant Sci. 170: 520–527. Motzer, T., N. Munz, M. Kuppers, D. Schmitt and D. Anhuf. 2005. Stomatal conductance, transpiration and sap flow of tropical montane rain forest trees in the southern Ecuadorian Andes. Tree Physiol. 25: 1283-1293. O’Grady, A.P., D. Worledge and M. Battaglia. 2008. Constrains on transpiration of Eucalyptus globulus in southern Tasmania, Australia. Agric. For. Meteorol. 148: 453-465. Oren, R. and D.E. Pataki. 2001. Transpiration in response to variation in microclimate and soil moisture in southeastern deciduous forests. Oecologia. 127: 549–559.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

375


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Wullschleger, S.T., P.J. Hanson and T.J. Tschaplinski. 1998. Whole-plant water flux in understory red maple exposed to altered precipitation regimes. Tree Physiol. 18: 71-79. llalobos, F.J, L. Testi and M.F. Moreno-Perez. 2009. Evaporation and canopy conductance of citrus orchards. Agri. Water Manag. 96: 565-573.

376

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.