Nhc14journal02

Page 1

วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

377


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

378

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การตรวจสอบลักษณะเชิงคุณภาพ และความแปรปรวนของยีนกากับเอนไซม์ ACC oxidase ใน มะละกอพันธุ์การค้ าชนิดลูกผสมเปิ ด 3 สายพันธุ์ Determination of agronomic characters and genetic variation in gene encoding ethylene biosynthesis protein in three commercial open pollinated cultivars โสรยา ปั ญจะธา1พิมพิไล แสงมณี2,3 ศันสนีย์ นาเจริญ4 เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ 5 และ ปาริชาติ เบิร์นส2,3,4 Soraya Panjatha1 Pimpilai Saengmanee2,3 Sansanee Nacharoen4 Kriengsak Thaipong5 and Parichart Burns2,3,4

บทคัดย่ อ มะละกอ (Carica papaya L.) เป็ นไม้ ผลเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทย ที่ใช้ ในอุตสาหกรรม และรับประทานผล สด และส่งออกไปยังต่างประเทศ อย่างไรก็ดีมะละกอขาดความสม่าเสมอของคุณภาพผล ทาให้ มลู ค่าและความนิยมลดลง ดังนันในการพั ้ ฒนาสายพันธุ์เพื่อใช้ ในทางการค้ าจาเป็ นจะต้ องตรวจสอบคุณภาพ และความสม่าเสมอในผล ในการศึกษานี ้ได้ เก็บตัวอย่างจากมะละกอ 3 สายพันธุ์ที่ปลูกในแปลงทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน คือ พันธุ์แขกดา เบอร์ 2 พันธุ์แก้ มแหม่มเบอร์ 4 และพันธุ์ปลักไม้ ลายที่ระยะผลสุก จานวน 3 ผลต่อสายพันธุ์ มาวัดลักษณะเชิงคุณภาพที่สาคัญ ได้ แก่ น ้าหนักผล ความยาวและความกว้ างผล ความหนาเนื ้อ ความแน่นเนื ้อ สีเนื ้อ สีเปลือกและปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ร่ วมกับการตรวจสอบความแปรปรวนของยีนที่ควบคุมการสร้ างโปรตีนที่ผลิตเอทิลีน (1 – aminocyclopropane – 1 carboxylate oxidase1 and 2; CP-ACO1 and CP-ACO2) โดยเพิ่มจานวนดีเอ็นเอเป้าหมายโดยวิธี Polymerase Chain Reaction (PCR) ด้ วยไพรเมอร์ จาเพาะและ การตรวจสอบการเคลื่อนที่ของดีเอ็นเอเป้าหมายบน denaturing polyacrylamide gel electrophoresis ผลการศึกษาพบว่าพันธุ์แขกดาเบอร์ 2 มีขนาดผล ความหนาเนื ้อ ความกว้ างโพรงและค่าความแน่นเนื ้อ เฉลี่ยมากที่สดุ ขณะที่คณ ุ ภาพผลอื่น ๆ เช่น ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ (TSS) สีเนื ้อ สีเปลือก ของทัง้ 3 พันธุ์มีค่าใกล้ เคียง กัน โดยที่ พัน ธุ์ แ ก้ ม แหม่ ม เบอร์ 4 และพัน ธุ์ ป ลัก ไม้ ล ายมี ค วามสม่ า เสมอของคุณ ภาพผลมากกว่ า ในพัน ธุ์ แ ขกด าเบอร์ 2 นอกจากนันยั ้ งพบว่ามะละกอพันธุ์ปลักไม้ ลายมีความแตกต่างทางพันธุกรรมในยีน CP-ACO2 จากมะละกอพันธุ์แขกดาเบอร์ 2 และพันธุ์แก้ มแหม่มเบอร์ 4 คาสาคัญ: มะละกอ คุณภาพผล ความแปรปรวนทางพันธุกรรม 1-aminocyclopropane-1-carboxylate oxidase 2

Abstract Papaya (Carica papaya L) is an important fruit crop for fresh consumption. It can also be manufactured into products such as canned fruit. Although in constant demand, the value of papaya fruit is largely influent by its quality and consistency. Therefore it is essential to evaluate papaya fruit quality and its consistency during papaya breeding program. Ripe fruit from 3 papaya cultivars including Khaek Dam#2, Kaem Maem#4 and Pluk Mai Lai were used in this study. Nine criteria for fruit quality consisting of fruit weight, fruit length, fruit width, flesh thickness, seed cavity, fruit firmness, flesh color, skin color and total soluble solid (TSS) were measured. Three fruits were randomly picked and the data were used for statistical analysis. The results indicated that Khaek Dam#2 was 1

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ.นครปฐม 73140 Program in Agriculture Biotechnology, Fac. of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Nakhon Pathom 73140 2 ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 2 Center for Agricultural Biotechnology (CAB), Kasetsart University, Kamphang Saen Campus, Nakon Pathom 73140 Thailand 3 ศูนย์ความเป็ นเลิศด้ านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สานักพัฒนาบัณฑิตศึกษาและวิจยั ด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร 10900 (AG-BIO/PERDO-CHE) 3 Center of Excellence on Agricultural Biotechnology: (Ag-BIO/PERDO-CHE), Bangkok 10900 Thailand 4 ห้ องปฏิบตั ิการวิจยั ด้ านพืช ศูนย์พนั ธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 4 Plant Research Laboratory, National Center for Genetic Engineering and Biotechnology, Kasetsart University, KamphangSaen Campus, Nakon Pathom 73140 Thailand 5 ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 5 Dept. of Horticulture, Fac. of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom 73140 1

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

379


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

prominent in the size, flesh thickness, seed cavity and the fruit firmness. Upon the consistency of fruit quality, however, the data showed that Pluk Mai Lai and Kaem Maem#4 were more uniform than Khaek Dam#2. In addition, DNA migration pattern indicated that CP-ACO2 sequence in Pluk Mai Lai was different from those of Khaek Dam#2, Kaem Maem#4. Keywords: Papaya, fruit quality, genetic variation, 1-aminocyclopropane-1-carboxylate oxidase 2

คานา

มะละกอ (Carica papaya L.) จัดอยู่ในวงศ์ Caricaceae ถิ่นกาเนิดดังเดิ ้ มอยู่แถบทวีปอเมริ กา เจริ ญเติบโตได้ ดีใน ทุกสภาพภูมิอากาศ แหล่งปลูกมะละกอที่สาคัญ 10 อันดับของโลก ได้ แก่ อินเดีย ไนจีเรี ย บราซิล บังกลาเทศ เม็กซิโก คองโก ไทย เปรู อินโดนีเซีย และโดมินิกนั ตามลาดับ (FAOSTAT, 2013) สาหรับในประเทศไทยพบว่า สามารถปลูกมะละกอได้ ในทุก ภาคของประเทศ แต่แหล่งปลูกสาหรับเป็ นการค้ าที่สาคัญ อยู่ในภาคตะวันออก (44%) และภาคใต้ (16%) ตามลาดับ มะละกอ เป็ นไม้ ผลที่สาคัญของประเทศไทยที่ใช้ บริ โภคในรู ปของผลไม้ สดที่มีคณ ุ ค่าทางโภชนาการสูงและนาไปแปรรู ปในอุตสาหกรรม ต่าง ๆ ได้ อีกมากมาย เช่น อุตสาหกรรมอาหาร เครื่ องดื่ม เครื่ องสาอาง อุตสาหกรรมฟอกหนัง เภสัชกรรม (อภิชาติ และ ทองพูล, 2556) มะละกอ เป็ นพืชผสมข้ าม อีกทังยั ้ งมี 3 เพศ ได้ แก่ เพศผู้ ซึ่งมีเฉพาะดอกตัวผู้ เพศเมียมีดอกเฉพาะเกสรตัวเมีย และ กะเทย คือ มีทงเกสรตั ั้ วผู้และเกสรตัวเมีย (อภิชาติ และ ทองพูล, 2556) เนื่องจากปั จจัยดังกล่าวทาให้ สามารถผสมตัวเองภายใน ดอกหรื อภายในต้ นเดียวกัน หรื อผสมกันระหว่างต้ นได้ จึงทาให้ เกิดปั ญหาในเรื่ องความแปรปรวนของพันธุ์ โดยผลมะละกอที่ ผลิตได้ นัน้ มีลกั ษณะประจาพันธุ์ ที่เปลี่ยนไป การเก็บรวบรวม และ การปรับปรุ งพันธุ์ จึงเป็ นวิธีหนึ่งที่ใช้ แก้ ไขปั ญหาเพื่อให้ มะละกอมีคณ ุ ภาพที่ดี มีความสม่าเสมอของพันธุ์และมีลกั ษณะที่ตรงตามความต้ องการของผู้บริ โภคมากขึ ้น เช่น มะละกอมีผล ที่ใหญ่ มีเนื ้อผลที่หนา ช่องว่างภายในผลแคบ เนื ้อแน่นและมีรสชาติที่หวานเมื่อสุก ดังนันปั ้ จจัยที่มีอิทธิพลต่อการสุกของผล ความแน่นของเนื อ้ และความหวาน อาทิ เอทิลีน จึงมีความสาคัญต่อการพัฒนาสายพันธุ์เพื่อให้ ตรงต่อความต้ องการของ ผู้บริโภค เอทิลีนเป็ นสารที่มีอิทธิพลในการควบคุมการสุกของผลไม้ นอกจากนี ้เอทิลีนยังเปลี่ยนรสชาติของผลไม้ บางชนิดให้ ดีขึ ้น โดยที่เอทิลีนจะช่วยกระตุ้นให้ มีการเปลี่ยนแป้งเป็ นน ้าตาล (จริ งแท้ , 2542) และกระตุ้นการทางานของเอนไซม์ เช่น pectinase และ cellulose ทาให้ เนื ้อภายในเกิดการอ่อนนุ่มลง (Nishiyamaetal., 2007) เอทิลีนถูกสังเคราะห์ โดยในลาดับแรก methionine ซึง่ เป็ นสารตังต้ ้ น ถูกเปลี่ยนไปเป็ น S – adenosyl methionine (SAM) ต่อมา SAM ถูกเปลี่ยนเป็ น 1 – aminocyclopropane – 1 – carboxylic acid โดย ACC synthase (ACS) และถูกเปลี่ยนเป็ นเอทิลีนในลาดับสุดท้ าย โดยเอนไซม์ ethylene forming enzyme (EFE) หรื อ ACC oxidase (ACO) (Bulens et al., 2011) การศึกษาครัง้ นี ้ใช้ ผลมะละกอระยะสุกจากพันธุ์การค้ าชนิดลูกผสมเปิ ดจานวน 3 พันธุ์ คือ พันธุ์แขกดา เบอร์ 2 พันธุ์ แก้ มแหม่ม เบอร์ 4 และพันธุ์ปลักไม้ ลาย มาวัดคุณภาพผล คือ ขนาดของผลมะละกอ (น ้าหนัก ความกว้ าง ความยาว) ความ หนาของเนื ้อ ช่องว่างภายในผล ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ (TSS) สีเนื ้อ สีเปลือก และ ค่าความแน่นเนื ้อของผล นอกจากนัน้ ยังศึกษาลักษณะความแปรปรวนของยีนที่เกี่ ยวข้ องกับกระบวนการสร้ างเอทิลีน (CP-ACO 1 และ 2) โดยเพิ่มจานวนดีเอ็นเอ เป้าหมายโดยวิธี Polymerase Chain Reaction (PCR) ด้ วยไพรเมอร์ จาเพาะและ การตรวจสอบการเคลื่อนที่ของดีเอ็นเอ เป้าหมายบน denaturing polyacrylamide gel electrophoresis

วิธีการทดลอง ศึกษาลักษณะเชิงคุณภาพโดยเก็บมะละกอพันธุ์แขกดาเบอร์ 2 พันธุ์แก้ มแหม่มเบอร์ 4 และพันธุ์ปลักไม้ ลายสายพันธุ์ ละ 5 ต้ นที่ ระยะผลสุกมาวัดนา้ หนักผล ความยาว ความกว้ างผล ความหนาเนือ้ ช่องว่างภายในผล ความแน่นเนือ้ สีเนือ้ สีเปลือกและ ปริ มาณของแข็งที่ละลายนา้ ได้ โดยจานวนซา้ ที่ใช้ ในการตรวจสอบคือ 3 ซา้ และนาไปคานวณค่าทางสถิติโดยใช้ โปรแกรม Microsoft excel ร่วมกับการตรวจสอบความแปรปรวนของยีนที่ควบคุมการสร้ างโปรตีนที่ผลิตเอทิลีนจานวน 2 ยีน ได้ แก่ ยีน (CP-ACO 1 และ 2) โดยเก็บตัวอย่างใบอ่อนมะละกอมาสกัดดีเอ็นเอด้ วยวิธี CTAB และตรวจวัดความเข้ มข้ นของดีเอ็นเอ จากนันท ้ าการเพิ่มปริ มาณดีเอ็นเอด้ วยด้ วยเทคนิค Polymerase chain reaction โดยการใช้ ไพรเมอร์ ที่จาเพาะในการเพิ่ม ปริ มาณ (Table 1) โดยใช้ รอบในการทาปฏิกิริยา คือ Pre denaturation 95 °C เป็ นเวลา 3 นาที Denaturation 95°C เป็ นเวลา 1 นาที Annealing 54 หรื อ 60°C เป็ นเวลา 1 นาที จานวน 35 รอบ Extension 72°C เป็ นเวลา 1 นาทีและ Final extension

380

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

72°C เป็ นเวลา 10 นาที ตรวจสอบการเคลื่อนที่ของ PCR product บน 1% agarose gel electrophoresis ที่ 100 โวลต์ เป็ น เวลา 25 นาที และตรวจสอบความแปรปรวนทางพันธุกรรมบน 5% Denaturing polyacrylamide gel electrophoresis Table 1 Gene specific primers and amplify conditions. Gene

Forward primer

Reverse primer

Tm (C)

Size (bp)

CP-ACO 1

5’- AGAGATTTAGCAGACAA-3’

5’- GATGGCGCAAGAAGAAGGTA-3’

54

451

CP-ACO 2

5’-GCAGCTGGTGAATCATGG-3’

5’- AAATACCCATTTGCGGACAG-3’

60

356

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. การศึกษาลักษณะที่สาคัญทางการเกษตรของผลมะละกอ ลักษณะที่สาคัญทางการเกษตรที่ศกึ ษาได้ แก่ ขนาดของผล (น ้าหนัก ความกว้ างและความยาวของผล) ความหนาของ เนื ้อและช่องว่างภายในผล พบว่ามะละกอพันธุ์ KD 2 มีน ้าหนัก ความกว้ างผล และ ความหนาเนื ้อมากที่สดุ คือ 1611± 307 กรัม 9.69± 0.83 ซม. และ 2.85± 0.20 ซม. ตามลาดับ มะละกอพันธุ์ PML มีน ้าหนักน้ อยที่สดุ คือ 778± 117 กรัม เมื่อ เปรี ยบเทียบข้ อมูลของทังสามสายพั ้ นธุ์พบว่ามะละกอพันธุ์ PML มีความสม่าเสมอมากที่สดุ (Table 2) Table 2 Fruit quality of three papaya cultivars; Khaek Dam No.2 (KD2), Kaem Maem No.4 (KM 4), Pluk Mai Lie (PML) Cultivars

Fruit weight (g)

Fruit width (cm)

Fruit length (cm)

Flesh thickness (cm)

Seed cavity (cm)

TSS (%Brix)

Fruit firmness

KD 2

1611± 307

9.69± 0.83

30.78 ± 2.50

2.85± 0.20

4.83± 0.79

11.62 ± 0.33

0.71 ± 0.20

KM 4

1292± 332

8.35± 0.76

34.92 ± 3.68

2.49± 0.22

4.06± 0.61

7.49 ± 0.87

0.93 ± 0.26

PML

778± 117

8.53± 0.44

17.95 ± 1.36

2.54± 0.13

4.07± 0.38

12.16 ± 1.32

1.05 ± 0.26

(kg/cm2)

สีเนื ้อและสีเนื ้อเปลือก ลักษณะสีเนื ้อและสีเปลือกของผลมะละกอทัง้ 3 พันธุ์ที่ระยะผลสุก ได้ ผลการศึกษา ดังนี ้ เมื่อพิจารณาจากค่า L* ใน ส่วนของเนื ้อผล พบว่า มะละกอทัง้ 3 พันธุ์มีค่า L* ที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนค่าความเป็ นสีแดง (a* ) ในมะละกอพันธุ์ KM4 มีค่า a* น้ อยสุดเมื่อเปรี ยบเทียบกับอีก 2 พันธุ์ คือ 34.15 ± 5.66 ค่าความเป็ นสีเหลือง (b* ) และค่าความเข้ มของสี (Chroma*) มีค่า มากที่สดุ ในมะละกอพันธุ์ PML คือ 43.01 ± 3.19 และ 57.73 ± 2.03 แสดงให้ เห็นว่าในมะละกอพันธุ์ PML มีความเข้ มของสี เหลืองมากกว่ามะละกออีก 2 พันธุ์ ขณะที่ค่า Hue มีค่าน้ อยสุดในมะละกอพันธุ์ KD2 เมื่อพิจารณาที่สีเปลือกมี พบว่า ค่า L* มี ค่ามากที่สดุ ในมะละกอพันธุ์ PML คือ 66.68± 5.30 ค่าความเป็ นสีแดง (a* ) ในมะละกอพันธุ์ KM4 มีค่า a* น้ อยสุด คือ 16.28± 6.28 สอดคล้ องกับค่าของ a* ในส่วนของเนื ้อผล แสดงให้ เห็นว่าในมะละกอ KM4 มีความเป็ นสีแดงในเนื ้อผลและสี เปลือกน้ อยกว่ามะละกออีก 2 พันธุ์ ค่าความเป็ นสีเหลือง (b* ) และค่าความเข้ มของสี (Chroma*) พบว่าในมะละกอพันธุ์ KD2 และ พันธุ์ PML มีคา่ ใกล้ เคียงกัน ส่วนค่า Hue มีคา่ มากสุดในมะละกอสายพันธุ์ PML (Table 3 and 4)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

381


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 L*, a*, b*, Chroma* and Hue values of flesh color of three commercial open pollinated cultivars ; Khaek Dam No.2 (KD2), Kaem Maem No.4 (KM 4), Pluk Mai Lie (PML) Cultivars

L*

a*

b*

KD 2

54.42 ± 1.62

37.45 ± 2.55

38.10 ± 3.48

53.46± 3.88

45.46 ± 2.02

KM 4

55.86 ± 7.64

34.15 ± 5.66

39.58 ± 5.32

52.54 ± 4.13

49.33± 7.13

PML

55.97 ± 4.26

38.47 ± 1.77

43.01 ± 3.19

57.73 ± 2.03

48.26± 2.89

Hue

Chroma*

Table 4 L*, a*, b*, Chroma* and Hue value of skin color from three commercial open pollinated cultivars; Khaek Dam No.2 (KD2), Kaem Maem No.4 (KM 4), Pluk Mai Lie (PML) Cultivars

L*

a*

b*

KD 2

63.71± 4.47

19.45± 3.33

61.27± 6.95

64.55± 5.84

72.31 ± 4.52

KM 4

61.61± 5.52

16.28± 6.28

56.33± 5.10

58.55± 5.85

74.42 ± 5.09

PML

66.68± 5.30

25.52± 6.19

59.27± 5.59

64.66± 4.20

66.82 ± 6.33

Chroma*

Hue

2. การศึกษาลักษณะความแปรปรวนทางพันธุกรรม ศึกษายีนที่ควบคุมการสร้ างโปรตีนที่ผลิตเอทิลีน (CP-ACO 1 และ 2) ได้ ผลการศึกษา ดังนี ้ เมื่อตรวจสอบลักษณะ การเคลื่อนที่ของดีเอ็นเอเป้าหมายแล้ ว พบว่า มีเพียงยีน CP-ACO 2 ที่เกิดความแตกต่าง คือ พันธุ์ปลักไม้ ลายมีรูปแบบการ เคลื่อนที่ของดีเอ็นเอที่แตกต่างจากพันธุ์แขกดา เบอร์ 2 และพันธุ์แก้ มแหม่ม เบอร์ 4 เมื่อเปรี ยบเทียบกับ positive control (Figure 1)

(A)

P 1

(B) p 1

2 3 4 5

2

3

4 5

6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

6

7

8 9

10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

Figure 1 DNA migration of 1-aminocyclopropane-1-carboxylate oxidase (ACO) 1 (A) and 2 (B) Genes in Positive control (p=PML), KM4(1-6), KD2 (7-11) and PML (12-20). การปรับปรุ งพันธุ์มะละกอเป็ นสิ่งจาเป็ นในการพัฒนาสายพันธุ์ให้ มีผลผลิตและคุณภาพที่สม่าเสมอ และตรงตาม ความต้ องการของผู้บริ โภค โดยเลือกลักษณะที่สาคัญทางการเกษตร ซึ่งใช้ กนั โดยทัว่ ไปทังในประเทศ ้ (สุพรพรรณ และคณะ, 2556), (กฤษณี และคณะ, 2556) และต่างประเทศ (Dantas et al., 2015), (Parmeshwar et al., 2015) เช่น การวัดขนาดผล น ้าหนัก ความแน่นเนื ้อ ความหวาน มาเป็ นเกณฑ์ในการคัดเลือกสายพันธุ์ จากการศึกษามะละกอผสมเปิ ด 3 สายพันธุ์ ได้ แก่ พันธุ์แขกดา เบอร์ 2 พันธุ์แก้ มแหม่ม เบอร์ 4 และพันธุ์ปลักไม้ ลาย พบว่าลักษณะความแน่นเนื ้อ ความยาวของผลหรื อน ้าหนัก 382

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผล มีความเหมาะสมในการใช้ ตรวจสอบ โดยผลการศึกษาพบว่าพันธุ์แขกดา เบอร์ 2 มีขนาดผลที่ใหญ่ เนื ้อหนาและแน่น มี ความหวานสูง แต่ขาดความสม่าเสมอ ซึง่ สอดคล้ องกับผลการศึกษาโดย Subhadrabandhu and Nontaswatsri (1997) และ กฤษณี และคณะ (2556) อย่างไรก็ดี หากจะให้ การศึกษามีความสมบูรณ์มากขึ ้นอาจจะศึกษาร่วมกับการเปรี ยบเทียบข้ อมูลการ เจริญเติบโตไปด้ วยพร้ อม ๆ กัน สาหรับลักษณะความแปรปรวนทางพันธุกรรม ซึง่ ศึกษาในยีนที่เกี่ยวข้ องกับ กระบวนการสร้ างเอทิลีนจานวน 2 ยีน คือ ยีน CP-ACO 1 และ 2 ซึง่ เป็ นกลุม่ ยีนที่มีการใช้ ศกึ ษาในผลไม้ ชนิดอื่นด้ วย การศึกษาในเมลอนแสดงความแปรผันในยีน ACC oxidase (ACO) ที่สมั พันธ์กบั การสร้ างเอทิลีน (Zheng and Wolff., 2005) ความแปรผันของยีน ACC oxidase (ACO) และ ACC synthase (ACS) ยังใช้ ในการในคัดเลือกสายพันธุ์แอปเปิ ล้ เพื่อการปรับปรุงพันธุ์ (Zhu and Barritt., 2008) ในมะละกอ พบว่ามีเพียงยีน ACC oxidase 2 (ACO 2) ที่สามารถแยกความต่างกันอย่างชัดเจนในสายพันธุ์ปลักไม้ ลายซึง่ สอดคล้ องกับ ข้ อมูลลักษณะเชิงคุณภาพที่สายพันธุ์ปลักไม้ ลายมีความสม่าเสมอในเรื่ องสีของเนื ้อและเปลือก ความหวานและความแน่นเนื ้อ และสอดคล้ องกับการศึกษาที่พบว่าเอทิลีนมีบทบาทต่อรสชาติ การอ่อนนุ่มของเนื ้อ (ความแน่นของเนื ้อ) รวมไปถึงสีของเนื ้อและ เปลือกของมะละกอด้ วย (Workneh et al., 2012), (Fabi et al., 2007), (Medina et al., 2003)

สรุ ป การศึกษาเปรี ยบเทียบลักษณะที่สาคัญทางการเกษตร ในมะละกอผสมเปิ ดจานวน 3 สายพันธุ์ได้ แก่ พันธุ์แขกดา เบอร์ 2 พันธุ์แก้ มแหม่ม เบอร์ 4 และพันธุ์ปลักไม้ ลาย พบว่ามะละกอพันธุ์ปลักไม้ ลายมีความสม่าเสมอของผลมากที่สุด นอกจากนันยั ้ งมีความเด่นโดยมีความหวาน (12.16% brix) และมีช่องว่างน้ อย ซึ่งเป็ นที่ต้องการของผู้บริ โภคผลสด อย่างไรก็ ตามมะละกอพันธุ์แขกดา เบอร์ 2 มีขนาดใหญ่ เนือ้ หนา เนือ้ แข็งมากที่สุด และ มีความเหมาะสมต่อการพัฒนาต่อสาหรั บ อุตสาหกรรมอาหารกระป๋ อง และการแปรรู ป ส่วนผลการศึกษาความแปรปรวนทางพันธุกรรมในยีนที่เกี่ย วข้ องกับกระบวนการ สร้ างเอทิลีน พบว่ามีเฉพาะยีน ACC oxidase 2 (ACO 2) ที่สามารถนามาใช้ ในการตรวจสอบความแตกต่างในสายพันธุ์ มะละกอ

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุ ณ ห้ อ งปฏิ บัติ ก ารวิ จั ย ด้ านพื ช ศู น ย์ เ ทคโนโลยี ชี ว ภาพเกษตร ห้ องปฏิ บัติ ก ารปรั บ ปรุ ง พัน ธุ์ พื ช และ เทคโนโลยีชีวภาพ และสานักงานโครงการบัณฑิตศึกษาและวิจยั เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวที่ สนับสนุนสถานที่และอุปกรณ์ ต่ า งๆ ในการท าการทดลองและขอขอบคุ ณ สาขาเทคโนโลยี ชี ว ภาพทางการเกษตร คณะเกษตร ก าแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ที่ให้ การสนับสนุนเงินทุนสาหรับการทางานวิจยั

เอกสารอ้ างอิง กฤษณี เอี่ยมจัด, สุพรพรรณ ศรี มาศ, สิริกลุ วะสี, พีรพงษ์ แสงวนางค์กลู และ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ . 2556. การเจริ ญเติบโตและคุณภาพผลของ มะละกอแขกดา 7 สายพันธุ์. วิทยาสาร เกษตรศาสตร์ . 44(2) (พิเศษ): 257-260. ทิพวรรณ ทองสุข. 2553. ปั จจัยที่สง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงเนื ้อสัมผัสและเทคนิคการปรับปรุงเนื ้อสัมผัสของผลิตภัณฑ์ผกั ผลไม้ แปรรูป. ว วิทย เทคโน มมส. 29(4): 456-469. จริ งแท้ ศิริพานิช. 2542. สรี รวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ . พิมพ์ครัง้ ที่ 3. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. 396 หน้ า. สุพรพรรณ ศรี มาศ, กฤษณี เอี่ยมจัด, สิริกลุ วะสี, พีรพงษ์ แสงวนางค์กลู และ เกรี ยงศักดิ์ ไทยพงษ์ . 2556. ลักษณะสัณฐานวิทยาของต้ นและคุณภาพ ผลของประชากรผสมเปิ ดในมะละกอพันธุ์ ‘แก้ มแหม่ม’. ว. วิทย์. กษ. 44(2) (พิเศษ): 541-544. อภิชาต ศรี สอาด และทองพูล วรรณโพธิ์. 2556. แนวทางและแบบอย่างการแปรรูปและการตลาดมะละกอยุคใหม่ให้ รวย. นาคา อินเตอร์ มีเดีย. กรุงเทพฯ. 136 หน้ า. Bulens, I., B.V.D. Poel, M.L. Hertog, M.P.D. Proft, A.H. Geeraerd and B.M. Nicolaï. 2011. Protocol: An updated integrated methodology for analysis of metabolites and enzyme activities of ethylene biosynthesis. Plant Methods. 7: 17. Burg, S.P. 1968. Ethylene, Plant Senescence and Abscission. Plant Physiol. 43: 1503-1511. Dantas, J.L.L., R.S. Lucena and S.A.V. Boas. 2015. Agronomic evaluation of lines and hybrids papaya. Journal of Fruit Growing, Jaboticabal. 37(1): 138-148. Fabi, J.P., B.R. Cordenunsi, G.D. Barreto, A.Z. Mercadante, F.M. Lajolo and J. R. Do Nascimento. 2007. Papaya fruit ripening: Response to ethylene and 1-methylcyclopropene (1-MCP). Journal of agricultural and food chemistry. 55(15): 6118–6123. FAOSTAT http://faostat3.fao.org/browse/rankings/countries_by_commodity/E. (3 July 2015) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

383


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Medina, J.C., G.V. Gutiérrez and H.S. García. 2003. Papaya: Post-harvest Operation. Instituto Tecnológico de Veracruz (ITV). Nishiyama, K., M. Guis, J.K.C. Rose, Y. Kubo, K.A. Bennett, L. Wangjin, K. Kato, K. Ushijima, R. Nakano, A. Inaba, M. Bouzayen, A. Latche, J.C. Pech and A.B. Bennett. 2007. Ethylene regulation of fruit softening and cell wall disassembly in Charentais melon. Journal of Experimental Botany. 58(6): 1281–1290. Parmeshwar, L.S., R. Choudhary, I.S. Solanki, P. Patil and S. Kumar. 2015. Genetic variability and relationship studies in new Indian papaya (Carica papaya L.) germplasm using morphological and molecular markers. Turkish Journal of Agriculture and Forestry. 39: 310-321. Subhadrabandhu, S. and C. Nontaswatsri. 1997. Combining ability analysis of some characters of introduced and local papaya cultivars. Scientia Horticulturae. 71: 203-212. Workneh, T.S., M. Azene and S. Z. Tesfay. 2012. A review on the integrated agro-technology of papaya fruit. African Journal of Biotechnology. 11(85): 15098-15110. Zheng X.Y. and D.W. Wolff. 2000. Ethylene production, shelf-life and evidence of RFLP polymorphisms linked to ethylene genes in melon (Cucumis melo L.). Theoretical and Applied Genetics. 101: 613–624. Zhu Y. and B. H. Barritt. 2008. Md-ACS1 and Md-ACO1 genotyping of apple (Malus x domestica Borkh.) breeding parents and suitability for marker-assisted selection. Tree Genetics & Genomes. 4: 555–562.

384

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การใช้ ถุงพอลิเอทิลีนเจาะรูเพื่อยืดอายุวางจาหน่ ายของผักเหลียงพร้ อมปรุง Application of Polyethylene Bags with Holes for Prolonging Shelf-Life of Ready-to-Cook Melinjo (Gnetum gnemon L.) Leaves 1

กนกพร บุญญะอติชาติ1 Kanokpon Bunya-atichart

บทคัดย่ อ ผักเหลียงเป็ นผักพื ้นบ้ านรับประทานใบของภาคใต้ และเป็ นที่นิยมบริ โภคเนื่องจากมีคุณค่าทางอาหารสูง โดยทัว่ ไป อาการใบเหี่ยวจะแสดงถึงการหมดอายุวางจาหน่ายของผักเหลียงแบบมัดกา แต่ยงั ไม่มีรายงานการเสื่อมสภาพของผักเ หลียง แบบพร้ อมปรุ ง งานวิจยั นี ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการเสื่อมสภาพของผักเหลียงและผลของการบรรจุผกั เหลียงพร้ อมปรุ งใน ถุงพลาสติกเจาะรูเพื่อยืดอายุการจาหน่าย ดาเนินการทดลองโดยบรรจุใบผักเหลียงทังระยะใบอ่ ้ อนและใบเพสลาดน ้าหนัก 100 กรัม ลงในถุงโพลีเอทิลีนขนาด 1015 นิ ้ว เจาะรู จานวน 4 8 12 และ 16 รู (รู มีขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร) วางที่ อุณหภูมิห้อง (292ซ และความชื ้นสัมพัทธ์ 852.2%) ผลการทดลองพบว่า การเสื่อมสภาพของผักเหลียงคือใบเหี่ยว ใบเน่า และใบเปลี่ยนสี การบรรจุผกั เหลียงในถุงโพลีเอทิลีนเจาะรู 4 และ 8 รู ทาให้ ผกั มีอายุการจาหน่ายนานที่สุด 16 และ 14 วัน ตามลาดับ ในขณะที่การบรรจุผกั เหลียงในถุงโพลีเอทิลีนเจาะรู 16 รู ทาให้ ผกั มีอายุการจาหน่ายสันที ้ ่สดุ 9 วัน ดังนัน้ การใช้ ถุงพลาสติกเจาะรูในการบรรจุใบผักเหลียงสามารถยืดอายุการวางจาหน่ายผักเหลียงแบบพร้ อมปรุงได้ คาสาคัญ: อาการเสื่อมสภาพ ผักรับประทานใบ บรรจุภณ ั ฑ์ ผักเหลียง

Abstract Melinjo (Gnetum gnemon L.) is a local leafy vegetable of Southern Thailand. Their leaves are favorably consumed due to their high nutritional value. Wilting symptom is commonly used to determine the shelf-life deterioration in the bunch of melinjo leaves. However, senescence of Ready-to-Cook melinjo leaves has not been studied. Therefore, this research aimed to study the senescence of Ready-to-Cook melinjo leaves and application of polyethylene bags with holes for prolonging their shelf-life. One hundred grams of young leaves and young fully expanded leaves were packed in 1015 inches polyethylene bags with 4, 8, 12 and 16 holes, each of 0.5 centimeter of diameter. The packages were placed at room temperature (292C and 852.2% of relative humidity). The senescent symptoms that occurred in melinjo leaves were wilting, decay and coloration. Moreover, melinjo leaves packed in polyethylene bags with 4 and 8 holes had the longest shelf-life, 16 and 14 days respectively. On the other hand, melinjo leaves packed in polyethylene bags with 16 holes had the shortest shelflife, 9 days. Therefore, the application of holed polyethylene bag packaging could extend the shelf-life of melinjo leaves. Keywords: senescent symptom, leaf vegetable, package, Melinjo

หลักสูตรพืชสวน ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร 86160 1

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

385


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ผักเหลียง (Gnetum gnemon L.) มีชื่อสามัญว่า melinjo จัดเป็ นผักรับประทานใบพื ้นบ้ านที่มีการผลิตแบบไม่ใช้ สารเคมีในการกาจัดโรคพืชและแมลงศัตรู จึงมีความปลอดภัยต่อการบริ โภค ใบมีสารอาหารที่เป็ นประโยชน์ ได้ แก่ แคโรทีนอย์ แคลเซียมและฟอสฟอรัสในปริ มาณสูง เมื่อเก็บเกี่ยวแล้ วพรมนา้ ให้ ใบพร้ อมกับคลุมด้ วยผ้ าที่มีความชืน้ และนาไปไว้ ที่ไม่ถูก แสงแดดโดยตรงสามารถเก็บได้ นาน 5-6 วัน ปั จจุบนั ผักเหลียงเป็ นผักที่ได้ รับความนิยมในการซื ้อเพื่อเป็ นของฝาก ลักษณะการ จาหน่ายยังคงอยู่ในรู ปแบบมัดกา วางเรี ยงเป็ นกอง ๆ การจาหน่ายผักเหลียงในลักษณะนี ้แม้ จะขายได้ แต่จะพบใบหัก ช ้า และ เหี่ยวในเวลารวดเร็ วเนื่องจากใบสัมผัสกับความร้ อนและลมโดยตรงโดยไม่มีสิ่งป้องกัน ดังนัน้ จึงมีแนวคิดพัฒนารู ปแบบการ บรรจุผกั เหลียงให้ สอดคล้ องกับแนวการบริ โภคยุคใหม่ การจัดเตรี ยมผักในรูปแบบพร้ อมปรุงเป็ นหนึ่งในการปฏิบตั ิที่ทาให้ ผกั มี มูลค่าเพิ่มขึ ้น และสอดคล้ องกับการบริโภคในปั จจุบนั ที่เน้ นความสะดวก ปริ มาณพอเหมาะต่อการบริ โภคสาหรับครอบครัวเดี่ยว (ณรงค์, 2552) แต่การจัดเตรี ยมผักเหลียงให้ อยูใ่ นลักษณะพร้ อมปรุง จาเป็ นต้ องมีการศึกษาการเสื่อมสภาพของผัก การสูญเสีย ที่อาจเกิดขึน้ ดังเช่น ดามร และคณะ (2555) รายงานการสูญเสียของผักคะน้ าในการจัดการสายโซ่อุปทานจังหวัดเชียงใหม่ พบว่าผักคะน้ าที่บรรจุในตระกร้ าพลาสติกและขนส่งด้ วยระบบอุณหภูมิปกติจากแปลงปลูกถึงโรงคัดบรรจุจากนันท ้ าการบรรจุ ใหม่ในถุงพลาสติกและขนส่งต่อไปถึงกรุงเทพด้ วยอุณหภูมิปกติ ใบมีการเหี่ยวเนื่องจากความร้ อนและลม แต่การใช้ อณ ุ หภูมิต่า ในขันตอนการขนส่ ้ ง ร่วมกับการบรรจุผกั คะน้ าลงถุงพลาสติกสาหรับขายปลีกจะช่วยลดการสูญเสียที่เกิดจากการเหี่ยว ข้ อมูลนี ้ แสดงให้ เห็นว่าแม้ ประเทศไทยมีการผลิตและจาหน่ายคะน้ ามานาน แต่การทาให้ คะน้ าหลังการเก็บเกี่ยวคงคุณภาพการจาหน่าย ได้ นัน้ ยังคงต้ องมีข้อมูลที่สนับสนุนด้ านการจัดการหลังการเก็บเกี่ ยว เช่น บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมสาหรับการขนส่ง การวาง จาหน่าย การใช้ ความเย็นในระบบการขนส่ง เป็ นต้ น การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักเหลียงในด้ านบรรจุภณ ั ฑ์สาหรับการขาย ปลีกนัน้ ถุงพลาสติกเป็ นบรรจุภณ ั ฑ์ประเภทหนึ่งที่เหมาะสมเนื่องจากถุงพลาสติกเป็ นภาชนะบรรจุที่สามารถปกป้องผักจากการ สูญเสียน ้า มีราคาถูกและเหมาะสมกับการบรรจุเพื่อขายปลีก ในขณะที่ตวั ผักเองสามารถทนต่อการกระทบกระเทือนต่อการขน ย้ ายได้ ดีแต่ต้องการความชื ้นสูง การบรรจุผกั ในถุงพลาสติกเป็ นวิธีดดั แปลงสภาพบรรยากาศรอบ ๆ ตัวผัก (จริ งแท้ 2538) การ ดัดแปลงบรรยากาศดังกล่าวอาจทาให้ ผักมีการเปลี่ยนแปลงทัง้ ในด้ านที่สนับสนุนการขาย เช่น ทาให้ ผักคงความสด หรื อ ก่อให้ เกิดการเสื่อมสภาพ เช่น การเน่า การเปลี่ยนเป็ นสีเหลืองของใบ ดังนันงานวิ ้ จยั ครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อยืดอายุการวาง จาหน่ายและศึกษาอาการเสื่อมสภาพของใบผักเหลียงแบบพร้ อมปรุงที่อาจเกิดขึ ้นในระหว่างการบรรจุในถุงพลาสติกเจาะรูขณะ วางจาหน่ายที่อณ ุ หภูมิห้อง

อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง การเตรี ยมใบผักเหลียงและถุงบรรจุ ใบผักเหลียงที่ใช้ ในการทดลองซือ้ จากสวนผู้ปลูกในอาเภอปะทิว จ.ชุมพร ผักเหลียงทัง้ กาถูกบรรจุในถุงพลาสติก ขนาด 20x26 นิ ้ว ที่มีรู ระยะเวลาขนส่งจากแปลงไปยังห้ องปฏิบตั ิการนาน 1.0 ชัว่ โมง จากนันคั ้ ดเลือกใบที่มีวยั ใกล้ เคียงกันใน แต่ละวัย แยกตัดใบอ่อน (สีม่วงแดงปนเขียว) และใบเพสลาด (สีเขียวอ่อน) ออกเป็ นใบ ๆ แบบพร้ อมปรุ ง พรมน ้าและผึ่งใบให้ หมาด โดยไม่มีการทาความสะอาดด้ วยน ้าหรื อน ้าที่ผสมคลอรี น นาถุงพลาสติกชนิด low density polyethylene (LDPE) ขนาด 10x15 นิ ้ว เจาะรูขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร โดย ตาแหน่งที่หนึ่งและสองเจาะรู ห่างจากปากถุงและด้ านข้ างถุง 4.75 และ 2 นิ ้ว ตามลาดับ (4 รู ) ตาแหน่งที่สามและสี่เจาะรู ห่าง จากปากถุงและด้ านข้ างถุง 7.5 และ 3.5 นิ ้ว (8 รู) ตาแหน่งที่ห้าและหกเจาะรูห่างจากปากถุงและด้ านข้ างถุง 10.5 และ 3.5 นิ ้ว (12 รู) ตาแหน่งที่เจ็ดและแปดเจาะรูหา่ งจากปากถุงและด้ านข้ างถุง 12.25 และ 2 นิ ้ว (16 รู) วิธีการทดลอง แบ่งการบรรจุใบผักลงถุงที่มีจานวนรู 4 8 12 และ 16 รู แต่ละถุงมีนา้ หนักใบของผักทัง้ สองระยะใบรวม 100 กรัม (อัตราส่วนใบอ่อนต่อใบเพสลาด 1:1) แล้ ววางไว้ ที่ห้องปฏิบตั ิการซึ่งมีอุณหภูมิ ห้อง วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD)แต่ละทรี ทเมนต์มี 3 ซ ้า ทาการทดลอง 2 ครัง้ บันทึกอายุการวางจาหน่าย การสูญเสียน ้าหนักสด และลักษณะการเสื่อมสภาพของใบผักทุก 3 วัน โดยบันทึกผลจาก ตัวอย่างเดิม 1. อายุการวางจาหน่าย (วัน) ให้ หมดอายุการวางจาหน่ายเมื่อผักมีเปอร์ เซ็นต์น ้าหนักสดที่เปลี่ยนแปลงไป อาการใบเหี่ยว เน่า เปลี่ยนสีใบที่เกิดขึ ้นรวมกัน 20 เปอร์ เซ็นต์เมื่อเทียบกับน ้าหนักผักเริ่มต้ นการทดลอง

386

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

2. การสูญเสียน ้าหนักสด (เปอร์ เซ็นต์) ชัง่ น ้าหนักสด แล้ วคานวณเป็ นเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสด การสูญเสียน ้าหนักสด = (น ้าหนักสดเริ่มต้ น – น ้าหนักสดวันที่บนั ทึกผล) x 100 น ้าหนักสดเริ่มต้ น 3. การเสื่อมสภาพ (เปอร์ เซ็นต์) ชัง่ น ้าหนักแยกแต่ละอาการ จากนันค ้ านวณเป็ นเปอร์ เซ็นต์ 3.1 การเน่า (เปอร์ เซ็นต์) ชัง่ น ้าหนักผักที่แสดงอาการใบเน่า โดยพบจุดช ้า เน่า ที่เห็นด้ วยตาเปล่าชัดเจน ตังแต่ ้ 1 ตาแหน่งบนใบเป็ นต้ นให้ ถือว่าใบนันเน่ ้ า ใบเน่า (เปอร์ เซ็นต์) = (น ้าหนักของใบที่แสดงอาการเน่า x 100) น ้าหนักสดของใบทังหมดในวั ้ นเริ่มต้ น 3.2 การเหี่ยว (เปอร์ เซ็นต์) ชัง่ น ้าหนักผักที่แสดงอาการใบเหี่ยว โดยพบปลายใบหรื อขอบใบมีรอยย่นหรื อและ แห้ งตังแต่ ้ 1 ตาแหน่งบนใบเป็ นต้ นไปให้ ถือว่าใบนันเหี ้ ่ยว ใบเหี่ยว (เปอร์ เซ็นต์) = (น ้าหนักของใบที่แสดงอาการเหี่ยว x 100) น ้าหนักสดของใบทังหมดในวั ้ นเริ่มต้ น 3.3 การเปลี่ยนสีใบ (เปอร์ เซ็นต์) ชัง่ น ้าหนักผักที่แสดงอาการใบเปลี่ยนสี ใบอ่อนที่มีการเปลี่ยนสีจากสีม่วง แดงปนเขี ยวเป็ น สีนา้ ตาลหรื อซี ด หรื อ ใบเพสลาดที่ สีใบเปลี่ยนจากสีเขี ยวอ่อนเป็ นสีซีด จางหรื อ เกิ ดสีเ หลืองประมาณ 5 เปอร์ เซ็นต์ของพื ้นที่ใบเป็ นต้ นไป ให้ ถือว่าใบเหล่านันมี ้ การเปลี่ยนสีใบ ใบเปลี่ยนสี (เปอร์ เซ็นต์) = (น ้าหนักของใบที่แสดงอาการเปลี่ยนสี x 100) น ้าหนักสดของใบทังหมดในวั ้ นเริ่มต้ น

ผลการทดลองและวิจารณ์ การบรรจุใบผักเหลียงแบบพร้ อมปรุ งในถุงพลาสติกเจาะรู 4 8 12 และ 16 รู วางไว้ ที่อุณหภูมิห้อง ใบผักมีอายุวาง จาหน่าย การเสื่อมสภาพและการเปลี่ยนแปลงน ้าหนักสด ดังนี ้ อายุการวางจาหน่ าย อายุวางจาหน่ายของใบผักเหลียงแบบพร้ อมปรุงที่บรรจุในถุงเจาะรู 4 8 12 และ 16 รู มีความแตกต่างทางสถิติ ใบผัก เหลียงที่บรรจุในถุงเจาะรู 4 รู มีอายุวางจาหน่ายนานที่สดุ 16 วัน ส่วนที่บรรจุในถุงเจาะรู 16 รู มีอายุการวางจาหน่ายน้ อยที่สดุ คือ 9 วัน (Table 1) สอดคล้ องกับอดิศกั ดิ์ (2549) รายงานการเก็บยอดผักหวานบ้ านในถุงพลาสติกที่ปิดปากถุงสนิทจะรักษา ความสดของใบได้ เป็ นอย่างดี แต่กรณีนี ้ต้ องเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 13 °ซ ร่วมกับความชื ้นสัมพัทธ์ที่ระดับร้ อยละ 90 ยอดผักหวาน หลังการเก็บเกี่ยวจะหมดสภาพการเก็บรักษาภายใน 1 วันที่อณ ุ หภูมิห้องเนื่องจากเกิดการเหี่ยวอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกับใบผัก เหลี ย งแบบมัด ก า ดัง นัน้ การบรรจุผัก ที่ มี ก ารเหี่ ย วอย่ า งรวดเร็ ว ในถุง พลาสติ ก ช่ ว ยคงคุณ ภาพของใบผัก คุณ สมบัติ ข อง ถุงพลาสติกชนิด LDPE คือ ยอมให้ อากาศและน ้าผ่านได้ น้อยมาก (จริ งแท้ , 2538) ทาให้ ช่วยลดปั ญหาการจัดการผักเหลียงที่ จาหน่ายในรูปแบบมัดกาในด้ านลดการพรมน ้าขณะวางจาหน่ายและลดอาการเหี่ยว การเจาะรูเป็ นการทาให้ อากาศถ่ายเท ลด การควบแน่นของอากาศเป็ นหยดน ้าภายในถุง แต่พื ้นที่ระบายอากาศหรื อการเจาะรู ที่มากเกินไปดังเช่นการเจาะรู จานวน 16 รู กับการบรรจุผกั เหลียง พบการเกิดหยดน ้าเฉพาะบริ เวณมุมถุงซึ่งอยู่ห่างจากรู ส่วนใบผักที่อยู่บริ เวณพี ้นที่ระบายอากาศเกิด อาการเหี่ยวจนนาไปสู่การสิ ้นสุดอายุการวางจาหน่าย วิธีปฏิบตั ิที่สาคัญสาหรับจัดการเตรี ยมผักแบบพร้ อมปรุ งคือการจัดการ ผักในสภาพบรรยากาศดัดแปลง ร่วมกับการเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิต่า (Cantwell and Suslow, 2002) อย่างไรก็ตามใบผักเหลียงที่ บรรจุในถุงพลาสติกเจาะรูสามารถวางจาหน่ายที่อณ ุ หภูมิห้อง อาการเสื่อมสภาพ ใบผักเหลียงแบบพร้ อมปรุ ง ที่บรรจุในถุงพลาสติกที่มีจานวนรู แตกต่างกันเกิดการเสื่อมสภาพที่เห็นได้ ด้ วยลักษณะ ภายนอกคือ เหี่ยว เน่า และใบเปลี่ยนสีหรื อซีด ภายหลังการวางจาหน่าย 3 วัน ส่วนการสูญเสีย นา้ หนักสด (Fig 1A) พบว่า เปอร์ เซ็นต์น ้าหนักสดที่เปลี่ยนแปลงของใบมีความสัมพันธ์กบั จานวนรูของถุงและเวลาในการวางจาหน่าย ใบที่บรรจุในถุงที่เจาะ รูมีการสูญเสียน ้าหนักอย่างต่อเนื่องและเพิ่มขึ ้นเมื่อวางจาหน่ายในเวลาที่นานขึ ้น เปอร์ เซ็นต์ ใบเหี่ยว (Fig 1B) ของใบผักที่บรรจุ ในถุงเจาะรู 16 รูแสดงอาการเหี่ยวมากที่สดุ 3.5 เปอร์ เซ็นต์ เนื่องจากมีพื ้นที่ของใบที่สมั ผัสกับอากาศภายนอกโดยตรงมาก ส่วน ใบผักที่บรรจุในถุงเจาะรู 4 8 และ 12 รู มีเปอร์ เซ็นต์ใบเหี่ยว 0.02 0.7 และ 1.6 ตามลาดับ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

387


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Shelf life of melinjo leaves packed in polyethylene bag with 4, 8, 12 and 16 holes and placed at room temperature (29±2℃, 85±2.2% RH). PE bag with holes

Shelf life (days)

4 holes 8 holes 12 holes 16 holes F-test cv

16.6 a 14.6 ab 12.0 bc 9.0 c ** 16.0

ใบที่อยู่ในถุงเจาะรู 4 8 12 และ 16 รู เกิดการเน่าของใบก่อนการหมดอายุวางจาหน่าย (Fig 1C) ซึง่ อาการใบเน่าเริ่ ม พบภายหลังการวางจาหน่าย 3 วันและพบมากในใบที่อยู่ในถุงเจาะรู จานวน 4 รู การเปลี่ยนสีใบในทุกการบรรจุพบอาการเมื่อ ผักมีอายุวางจาหน่าย 9 วัน (Fig 1D) และพบมากในใบที่บรรจุในถุงเจาะรู 8 4 และ 12 รู โดยมีเปอร์ เซ็นต์การเปลี่ยนสีใบ 2.6 1.8 1.7 ตามลาดับ ส่วนใบที่บรรจุในถุงเจาะรูจานวน 16 รู พบว่าผักหมดอายุวางจาหน่ายก่อนการเปลี่ยนสีของใบ 20

A

15 10 5

0 0

4 holes

time (days)

8 holes

9

12

12 holes

15

0 20

16 holes

C

10

5 0

4 holes

9 time (days)

8 holes

12

12 holes

15

16Dholes

15

coloration (%)

15

decay (%)

10

5

0

20

B

15

Wilting (%)

weight loss (%)

20

10 5

0 0

4 holes

9 time (days)

8 holes

12 holes

12

15

16 holes

0

4 holes

time (days)

8 holes

9

12 holes

12

Figure 1 Weight loss (A), wilting (B), decay (C), and coloration (D) of melinjo leaves packed in polyethylene

15

16 holes

bag with 4 (), 8 (), 12 ( ) and 16 () holes and placed at room temperature (29± 2℃, 85±2.2% RH). ลักษณะเสื่อมสภาพทังอาการใบเน่ ้ า เปลี่ยนสี ไม่พบกับการวางจาหน่ายผักเหลียงแบบมัดกา เนื่องจากการจาหน่าย แบบมัดกานันผั ้ กเหลียงอยู่ในสภาพอากาศปกติและวางจาหน่ายในระยะเวลาสัน้ การบรรจุใบผักในถุงแม้ ช่วยชะลอการคายน ้า ที่เกิดขึ ้นแต่ไม่ทาให้ การผ่านเข้ าออกของอากาศเหมาะสม ประกอบกับการวางจาหน่ายที่อณ ุ หภูมิห้องและความชื ้นสัมพัทธ์ของ อากาศค่อนข้ างสูงทาให้ ใบผักซึ่งเป็ นสิ่งมีชีวิตยังคงเกิดกระบวนการเมทอบอลึซึมต่างๆ โดยเฉพาะมีการหายใจและการคายน ้า 388

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ในอัตราสูง (Cantwell and Kasmire, 2002) นอกจากนี ้ที่อณ ุ หภูมิและความชื ้นดังกล่าวการเข้ าทาลายของเชื ้อจุลินทรี ย์ยงั คง เกิดได้ กบั ผัก (จริ งแท้ , 2538) ใบผักเหลียงแบบพร้ อมปรุ งจึงเกิดอาการใบเน่า ส่วนการเปลี่ยนสีใบอาจเกิดขึ ้นเนื่องจากการ ตอบสนองของเนื อ้ เยื่อใบต่อเอทิลีนที่ถูกสร้ างขึน้ เมื่อใบเกิดบาดแผลจากการตัดก้ านออก รวมทัง้ อุณหภูมิระหว่า งการวาง จาหน่ายก็มีผลต่อกาตอบสนองของใบต่อเอทิลีน ดังเช่นการบรรจุใบผักกาดฮ่องเต้ (Brassica chinensis L.) ในถุงพลาสติก PE และวางไว้ ที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส ใบแสดงอาการเหลืองทังหมดเมื ้ ่อเวลาผ่านไป 6 วัน ขณะที่การบรรจุผกั กาดฮ่องเต้ ในถุง แบบดัดแปลงบรรยากาศ (modified atmosphere packaging; MAP) ที่มีปริ มาณออกซิเจน 5 เปอร์ เซ็นต์ และ คาร์ บอนไดออกไซด์ 2 เปอร์ เซ็นต์นนไม่ ั ้ พบอาการใบเหลือง (Lu, 2007)

สรุ ป ใบผักเหลียงทังสองระยะใบที ้ ่บรรจุในถุงพลาสติกเจาะรูมีการเสื่อมสภาพประกอบด้ วย ใบเหี่ยว ใบเน่า ใบเปลี่ยนสีและ น ้าหนักสดเกิดการสูญเสียอย่างต่อเนื่อง อายุการวางจาหน่ายของใบแปรผกผันกับจานวนรูของถุง

กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั ชิ ้นนี ้ได้ รับการสนับสนุนงบประมาณจากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขต ชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร

เอกสารอ้ างอิง จริ งแท้ ศิริพานิช. 2538. สรี รวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ . โรงพิมพ์ศนู ย์สง่ เสริ มและฝึ กอบรมการเกษตรแห่งชาติ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน. นครปฐม. 396น. ณรงค์ รู้จา. 2552. อาหารพร้ อมปรุงโอกาสของผู้ผลิต ทางเลือกของผู้บริ โภคยุคใหม่. อุตสาหกรรมสาร. 52: 8-10. ดามร บันฑุรัตน์ วิบลู ย์ ช่างเรื อ พิชญา บุญประสม พูลลาภ และดนัย บูณยเกียรติ. 2555. การประเมินการสูญเสียการจัดการสายโซ่อปุ ทานคะน้ าใน จังหวัดเชียงใหม่. ว. วิทย. กษ. 43 (พิเศษ) : 296-299. อดิศกั ดิ์ ชันประเสริ ้ ฐ. 2549. ผลของอุณหภูมิ ความชื ้น เอทิลีนและสภาพบรรยากาศดัดแปลงต่อคุณภาพการเก็บรักษายอดผักหวานบ้ านพันธุ์ทองผา ภูมิ. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว) คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้ าธนบุรี. Cantwell, M.T. and R.F Kasmire. 2002. Postharvest handling systems: flower, leafy, and stem vegetables, pp. 423-434. In A. A. Kader, ed. Postharvest technology of horticultural crops. 3 rd Edition. Division of Agriculture and natural resources, University of California. USA. 535p. Cantwell, M.T. and T.V. Suslow. 2002. Postharvest handling systems: fresh-cut fruits and vegetables, pp. 445-463. In A. A. Kader, ed. Postharvest technology of horticultural crops. 3 rd Edition. Division of Agriculture and natural resources, University of California. USA. 535p. Lu Shengmin. 2007. Effect of packaging on shelf-life of minimally processed Bok Choy (Brassica chinensis L.). LWT-FOOD SCI TECHNOL. 40:460-464.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

389


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เครื่องดื่มสามผสานเพื่อสุขภาพจากเม่ า หม่ อน และมะขามป้ อม Triple of functional beverage product from Mao (Antidesma bunius), Mulberry (Morus nigra L) and Indian gooseberry (Phyllanthus embilica L.) ศุกฤชชญา เหมะธุลิน*

1

บทคัดย่ อ งานวิจยั ครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์ในการพัฒนาผลิ ตภัณฑ์เครื่ องดื่มสมุนไพรจากเม่า หม่อน และมะขามป้อมเพื่อสุขภาพ โดยไม่เติมนา้ และนา้ ตาล แปรระดับของนา้ เม่า หม่อน และมะขามป้อม ให้ อยู่ในช่วง ร้ อยละ 65-75, 25-35 และ 5-10 ตามลาดับ วางแผนการทดลองแบบ Mixture design พบว่าอัตราส่วนที่ มีผลต่อความชอบทางด้ านประสาทสัมผัส คือ นา้ มะขามป้อม โดยอัตราส่วนของเม่า หม่อน และมะขามป้อม ที่ได้ รับการยอมรับมากสุด คือ ร้ อยละ 70, 25 และ 5 ตามลาดับ มี ปริมาณของแข็งที่ละลายได้ ร้ อยละ 17.6 และความเป็ นกรด ร้ อยละ 1.56 โดยได้ รับคะแนนความชอบรวมระดับดี อีกทังที ้ ่ให้ สาร ์ ออกฤทธิ ทางชี วภาพสูงสุดและแตกต่างทางสถิติ (p<0.05) โดยให้ สารประกอบฟี นอลิกสูงถึง 116.02 mg GAE/L มี ความสามารถในการต้ านอนุมลู อิสระ DPPH เป็ น 461.14 mg ascorbic acid/L และฤทธิ์ในการต้ านออกซิเดชัน FRAB เท่ากับ 880.18 µM FeSO4/L คาสาคัญ : เม่า หม่อน มะขามป้อม เครื่ องดื่มเพื่อสุขภาพ สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ

Abstract The objective of this study was development on triple of functional beverage product from Mao (Antidesma bunius), Mulberry (Morus nigra L) and Indian gooseberry (Phyllanthus embilica L.) without water and sugar added. Mixed juice contained Mao juice of 65-75%, Mulberry juice of 25-35% and Indian gooseberry juice of 5-10%. Mixture design was used in the experiment. The result showed that the ratio between Mao, Mulberry and Indian gooseberry juice of 70%:25%:5%, respectively high overall acceptability. Total soluble solid and total acidity contents were 17.6 ºBrix and 1.56% respectively with well overall acceptability score and excellence bioactive compound (p<0.05). Furthermore, this treatment was high phenolic compound of 116.02 mg GAE/L. Antioxidant activity with DPPH and FRAP assay were 461.14 mg ascorbic acid equivalent/L and 880.18 µM FeSO4/L. Keywords : Mao, Mulberry, Indian gooseberry, functional beverage, bioactive compound

คานา ปั จจุบันผู้บริ โ ภคให้ ความสนใจกับ รู ปร่ างและผิวพรรณ โดยการเลือกบริ โ ภคอาหารเพื่อสุข ภาพมากขึน้ และเน้ น รับประทานอาหารฟั งชัน (functional food) ที่อดุ มด้ วยสารที่เป็ นประโยชน์ต่อสุขภาพ นอกเหนือจากสารอาหารที่คณ ุ ค่าทาง ์ โภชนาการพื ้นฐานทัว่ ไป โดยเฉพาะสารพฤกษเคมี (phytochemicals) สาคัญและฤทธิต้านออกซิเดชัน โดยเฉพาะอนุมลู อิสระที่ เป็ นสาเหตุหลักของการเสื่อมสภาพของเซลล์ การเกิดริ ว้ รอยเหี่ยวย่นบนใบหน้ า รอบดวงตา และผิวพรรณ รวมไปถึงโรคจาก ระบบภูมิค้ มุ กัน และโรคมะเร็ง โดยสารต้ านอนุมลู อิสระ (antioxidants) ที่มีประสิทธิภาพสูงในการกาจัดอนุมลู อิสระและเป็ นที่ ยอมรั บกันทั่วไป คือสารพฤกษาเคมี ได้ แก่ กรดฟี นอลิก (phenolic) ฟลาโวนอยด์ (flavonoids) และแอนโทไซยานิน (anthocyanin) เป็ นต้ น โดยพบงานวิจยั ในการศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระของเม่า หม่อน และมะขามป้อม ได้ แก่ งานวิจยั ของ วิ ภาวดี และคณะ (2556) ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระของลูกหม่อน 3 สายพันธุ์ ได้ แก่ พันธุ์บรุ ี รัมย์ 60 พันธุ์เชียงใหม่ และพันธุ์คณ ุ ไพ พบว่าลูกหม่อนพันธุ์บรุ ี รัมย์ 60 มีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิคสูงสุดคือ 43.60 มิลลิกรัม GAE/100 กรัมนา้ หนักเปี ยก อีกทังลู ้ กหม่อนทัง้ 3 สายพันธุ์ มีความสามารถในการต้ านอนุมูลอิสระ (DPPH Radical scavenging activity) และความเข้ มข้ นร้ อยละ 50 ที่ยบั ยังปฏิ ้ กิริยา (IC50) ที่ไม่แตกต่างกัน (p > 0.05) นอกจากนี ้พบว่า Jorjong et al. (2015) ได้ ทาการศึกษาสารพฤกษเคมีและฤทธิ์ ต้านออกซิเดชันในผลเม่า 15 สายพันธุ์ ที่ปลูกในภาค ตะวันออกเฉี ยงเหนือของประเทศไทย โดยพบสายพันธุ์คาไหลให้ ปริ มาณสารประกอบ ฟี นอลลิคสูงสุดคือ 683.28 mg/100 1

สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการอาหาร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตสกลนคร 47160 390

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

กรัมน ้าหนักแห้ ง ส่วนในสายพันธุ์ฟา้ ประทานพบเพียง 223.05 mg/100 กรัมน ้าหนักแห้ ง ตลอดจน จรัสรัตน์ และคณะ (2555) ได้ ศึกษาประสิทธิภาพในการเป็ นสารต้ านอนุมลู อิสระของสารสกัด จากมะขามป้อม โดยพบว่าสารสกัดจากมะขามป้อมแห้ ง มีฤทธิ์ ต้ านอนุมลู อิสระด้ วยวิธี 2,2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) และ 2,2’-azinobis(3-ethlbenzothaiazoline-6-sulfonic acid) (ABTS) สูงที่สดุ เท่ากับ 4,191.88 และ 1,744.7 mg/L BHT equivalent/g DW ตามลาดับ และให้ ปริ มาณสารฟี นอลิก ทังหมด ้ ด้ วยวิธี Folin-Ciocalteau Phenol Test เท่ากับ 260.20 mg GAE/g DW จากการสืบค้ นข้ อมูลเบื ้องต้ นไม่พบงานวิจยั ใน การศึกษาผลของการผสมน ้าเม่า หม่อน และมะขามป้อม ต่อสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพดังกล่าว นอกจากนี ้เพื่อแก้ ปัญหาและยืด อายุการเก็บน ้าผลไม้ 100% ที่ไม่สามารถเติมกรดเพื่อปรับให้ เป็ นอาหารที่มีความเป็ นกรดต่า (low acid food) มีความเป็ นกรดด่าง (pH) ต่ากว่า 4.6 ได้ โดยเฉพาะน ้าหม่อนจากผลดาล้ วน ที่มีความหวานสูงในขณะที่มีร้อยละความเป็ นกรดต่ามาก แม้ ผ่าน กระบวนการพาสเจอร์ ไรส์และบรรจุขวดสะอาดที่ผ่านการฆ่าเชื ้อตามกระบวนการแปรรูปอาหารที่ดี แต่ในระหว่างเก็บผลิตภัณฑ์ เพื่อรอจาหน่ายหรื อการกระจายสินค้ า จะเกิดฟิ ล์มยีสต์และกลิ่นหมักขึ ้น ทาให้ ผลิตภัณฑ์ไม่เป็ นที่ยอมรับของผู้บริ โภค ดังนันจึ ้ ง มีแนวคิดในการใช้ น ้าผลไม้ ที่มีปริ มาณกรดสูง เช่น เม่าและมะขามป้อม เป็ นส่วนผสมเพื่อช่วยยืดอายุการเก็บได้ อีกทาง ดังนัน้ เพื่อพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรในเขตพื ้นที่จงั หวัดสกลนครโดยเฉพาะแถบเทือกเขาภูพาน ที่กาลังได้ รับความนิยมใน การปลูกและผลิตเป็ นเครื่ องดื่มสมุนไพร จาหน่ายเป็ นผลิต ภัณฑ์ขึ ้นชื่อของจังหวัดสกลนคร ได้ แก่ เม่า หม่อน และมะขามป้อม ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของน ้าเม่า หม่อน และมะขามป้อม ต่อองค์ประกอบทางเคมี สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ และคุณภาพ ทางประสาทสัมผัส เพื่อพัฒนาเป็ นเครื่ องดื่มสามผสานเพื่อสุขภาพจากเม่า หม่อน และมะขามป้อม

อุปกรณ์ และวิธีการศึกษา ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตเครื่ องดื่มสมุนไพรจากเม่า (พันธุ์ฟ้าประทาน) หม่อน (พันธุ์เชียงใหม่) และ มะขามป้อม (พันธุ์พื ้นเมือง) ที่มีสว่ นผสมของน ้าผลไม้ ร้ อยละ 100 (ไม่เติมน ้าและน ้าตาล) วัตถุดิบจากฟาร์ ม ของห้ างหุ้นส่วนน ้า ผลไม้ ภพู านช้ างพลังสอง อาเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร โดยส่วนผสมที่ใช้ ในการผลิต คือ น ้าเม่า หม่อน และน ้ามะขามป้อม โดย แปรระดับของน ้าเม่า หม่อน และมะขามป้อม ให้ อยูใ่ นช่วง ร้ อยละ 65-75, 25-35 และ 5-10 ตามลาดับ วางแผนการทดลองแบบ Mixture design ให้ สิ่งทดลองทังหมด ้ 4 สิ่งทดลอง โดยแต่ละสิ่งทดลองมีส่วนผสมของนา้ เม่า หม่อน และมะขามป้อม ใน อัตราส่วน 70:25:5, 65:25:10, 65:30:5, 67:26:7 ตามลาดับ ศึกษาคุณภาพทางกายภาพและเคมี ได้ แก่ ปริ มาณกรดทังหมด ้ (%Titratable acidity) ปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ในน ้าทังหมด ้ วัดด้ วย Hand Refractometer, N.O.W. TOKYD, ATAGO, ๐ Japan) วัดค่าสี L*, a*, b*, C* และ h ด้ วยเครื่ อง Hunter Lab, Color flex, Color global Co., LTD, USA) ใยอาหาร วิเคราะห์ สารประกอบฟี นอลิคทังหมด ้ ด้ วยวิธี Folin–Ciocalteu method วิเคราะห์ความสามารถในการต้ านอนุมลู อิสระด้ วย วิธี 2,2diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) assay (Schmidt et al., 2005; Miliauskas et al., 2004) และฤทธิ์ต้านออกซิเดชันด้ วยวิธี Ferric reducing antioxidant power (FRAP) assay (สุพตั รา, 2553; Schmidt et al., 2005)

ผลการทดลองและวิจารณ์ ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิคและฤทธิ์ต้านออกซิเดชันในน ้าเม่า หม่อน และมะขามป้อม ให้ ผลดังแสดงใน Table 1 โดยพบว่านา้ เม่า นา้ หม่อน และนา้ มะขามป้อม มีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกและความสามารถในการต้ านอนุมูลอิสระ แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ (P<0.05) โดยมีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิก 195.25 162.93 และ 242.76 mg GAE/L น ้าหนัก เปี ยก ตามลาดับ พบว่าสารประกอบฟี นอลิกในน ้าหม่อนที่ได้ จากผลการทดลอง คือ 162.93 mg GAE/L ให้ ปริ มาณต่ากว่าน ้า หม่อนสายพันธุ์เดียวกันในการทดลองของ วิ ภาวดีและคณะ (2556) ซึง่ รายงานปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค 203.40 GAE/L น ้า หนักเปี ยก เช่นเดียวกับปริ มาณสารประกอบฟี นอลิคในน ้ามะขามป้อมให้ ผลต่ากว่าการทดลองของ จรัสรัตน์และคณะ (2555) ซึ่งรายงานค่าสูงถึง 260.20 mg GAE/g น ้าหนักแห้ ง อาจเนื่องจากความแตกต่างของสายพันธุ์และการรายงานค่าปริ มาณ สารประกอบฟี นอลิกเป็ นน ้าหนักแห้ ง

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

391


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1. P Table 1 Phenolic compound and antioxidant activities of Mao, Mulberry and Indian gooseberry juice. Phytochemical

Mao juice

Mulberry juice

Gooseberry juice

Phenolic compound (mg GAE/L)

195.25b±1.67

162.93c±1.04

242.76a±0.68

DPPH๐ (as mg ascorbic acid/L)

114.82a±1.25

36.88c±0.98

82.23b±1.03

FRAP (µmol of FeII/L)

949.60b±2.13

665.56c±2.04

1,125.21a±2.57

a-c

Means within the same attribute in column with different letters are significantly different (p<0.05)

Means value after ± are standard deviation

จากนัน้ เมื่อนาวัตถุดิบนา้ เม่า นา้ หม่อน และนา้ มะขามป้อมดังกล่าว เข้ าสู่กระบวนการผลิตเครื่ องดื่มสามผสาน จากเม่า หม่อน และมะขามป้อม พบว่าทัง้ 4 สิ่งทดลอง ให้ สีม่วงอมนา้ เงิน ของรงควัตถุสีชนิดเดียวกันจากเม่าและหม่อน คือ แอนโทไซยานิน (anthocyanin) ซึง่ ให้ สีในช่วง ส้ ม แดง ม่วง และน ้าเงิน (Eichhorn and Winterhalter, 2005) และไม่พบความ แตกต่างทางสถิติ (p>0.05) ของเฉดสี (Hue angle) ในผลิตภัณฑ์ทงั ้ 4 สิ่งทดลอง แสดงว่ารงควัตถุสีแอนโทไซยานินในน ้าเม่า และน ้ามะขามป้อมสามารถออกสีบดบังรงควัตถุสีเหลืองอ่อนของฟลาโวนส์ในน ้ามะขามป้อมได้ อีกทังใช้ ้ น ้ามะขามป้อมผสมใน ระดับต่าเพียง ร้ อยละ 5-10 เท่านัน้ ดังแสดงใน Table 2 Table 2 Color qualities on triple of functional beverage product from Mao (Ma), Mulberry (MU )and Indian gooseberry (IG). Color Value

Treatment

a-c

Ma (%)

MU(%)

IG(%)

Lightness (L*)

Redness

Chroma

Hue angle

*

Yellowness (b*)

(C*)

(๐h)

70

25

5

1.18±0.15c

7.79±0.17b

1.42±0.34c

2.21±0.54b

345.80±7.59

65

25

10

1.13±1.03c

8.43±0.24b

2.29±0.75b

2.29±0.28b

345.26±2.50

65

30

5

2.61±1.15a

18.41±1.00a

4.24±0.29a

2.26±0.34b

350.72±5.38

67

26

7

1.39±0.37b

8.18±0.53b

1.96±0.25bc

7.86±0.59a

345.69±3.47

(a )

ns

ns

Means within the same attribute in row with different letters are significantly different (p<0.05) not significantly different

Ma (%): % Mao Juice, MU(%): % Mulberry juice and IG(%): % Indian gooseberry juice

392

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3. Physicochemical qualities on triple of functional beverage product from Mao, Mulberry and Indian gooseberry. Water activity

Treatment

a-c

Total soluble solid (๐Brix)

Total titratable acidity (%)

Crude fiber

Ma (%)

MU (%)

IG (%)

(aw)ns

(%)ns

70

25

5

0.89±0.02

17.6±0.39b

1.56±0.18c

0.38±0.39

65

25

10

0.87±0.03

15.7±0.15c

2.15±0.13a

0.36±0.34

65

30

5

0.89±0.01

19.1±0.10a

1.58±0.15c

0.38±0.41

67

26

7

0.88±0.02

17.7±0.21b

1.86±0.18b

0.39±0.35

ns

Means within the same attribute in row with different letters are significantly different (p<0.05) not significantly different

Ma (%): % Mao Juice, MU(%): % Mulberry juice and IG(%): % Indian gooseberry juice

Table 4. Sensory scores on triple of functional beverage product from Mao, Mulberry and Indian gooseberry. Sensory parameters

Treatment Ma (%) MU(%) IG(%)

a-c

color

precipitate

flavor

taste

overall acceptability

70

25

5

7.89a + 2.11

6.96a + 0.61

6.82b + 0.61

7.64a + 2.11

7.39a + 2.11

65

25

10

7.14c + 1.32

6.84a + 1.91

7.24a + 1.91

6.53b + 2.11

6.93c + 2.11

65

30

5

7.25bc + 0.77

6.06b + 0.53

6.75.b + 0.53

6.75b + 2.15

7.04bc + 2.15

67

26

7

7.46b + 1.08

6.04b + 0.77

6.71b + 0.77

6.50b + 1.61

7.00bc + 1.61

ns

Means within the same attribute in row with different letters are significantly different (p<0.05) not significantly different

Ma (%): % Mao Juice, MU(%): % Mulberry juice and IG(%): % Indian gooseberry juice

เครื่ องดื่มสามผสานเพื่อสุขภาพจากเม่า หม่อน และมะขามป้อมทัง้ 4 สิ่งทดลอง มีค่า water activity และใยอาหารที่ ไม่แ ตกต่างกันทางสถิ ติ (p>0.05) นอกจากนี พ้ บว่าผู้ทดสอบชิ มให้ คะแนนความชอบเครื่ องดื่ มสามผสานเพื่ อสุข ภาพ ที่ มี อัตราส่วนของเม่า หม่อน และมะขามป้อม ร้ อยละ 70, 25 และ 5 ตามลาดับ ในด้ านค่าสี การตกตะกอน รสชาติ และการยอมรับ รวมสูงสุดและแตกต่างทางสถิติ (p<0.05) โดยให้ คะแนนความชอบในระดับปานกลางและดี เนื่องจากการใช้ ปริ มาณนา้ มะขามป้อมที่มีรสชาติเปรี ย้ วในระดับต่าเพียงร้ อยละ 5 ให้ รสชาติที่อร่ อยลงตัว คือมีปริ มาณของแข็งที่ ละลายได้ ร้ อยละ 17.6 และความเป็ นกรด ร้ อยละ 1.56 และพบว่าการใช้ น ้ามะขามป้อมในปริ มาณสูง ร้ อยละ 10 ช่วยเพิ่มคะแนนการยอมรับด้ านกลิ่น ให้ สงู ขึ ้นอย่างเห็นได้ ชดั และแตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) สารประกอบฟี นอลิคเป็ นสารที่ออกฤทธิ์ สาคัญในการต้ านอนุมลู อิสระในสารสกัดจากพืช โดยเฉพาะ ผลไม้ ผัก และ ธัญพืชเมล็ดแห้ ง ดังจะเห็นได้ ว่าเมื่อสารสกัดมีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค สูงก็จะให้ ความสามารถในการต้ านอนุมลู อิ สระสูง เช่นกัน (Arfan et al., 2012) โดยจากผลการทดลองดัง Table 5 พบว่า เครื่ องดื่มสามผสานเพื่อสุขภาพ ที่มีอตั ราส่วนของเม่า หม่อน และมะขามป้อม ร้ อยละ 70, 25 และ 5 ตามลาดับ ให้ สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพสูงสุดและแตกต่างทางสถิติ (p<0.05) โดย ให้ สารประกอบฟี นอลิกสูง 116.02 mg GAE/L มีความสามารถในการต้ านอนุมลู อิสระ DPPH สูงถึง 461.14 mg ascorbic acid/L นอกจากนี ้ยังพบว่าปริ มาณน ้าเม่า และน ้ามะขามป้อมมีผลมากสุดต่อการเพิ่มปริ มาณสารประกอบฟี นอลิก การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

393


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ความสามารถในการต้ านอนุมลู อิสระ และฤทธิ์ ต้านออกซิเดชัน ของเครื่ องดื่มสามผสานเพื่อสุขภาพ อีกทังให้ ้ ผลการทดลอง สอดคล้ องกับคะแนนความชอบทางประสาทสัมผัส Table 5 Phenolic compound and antioxidant activities on triple of functional beverage product from Mao, Mulberry and Indian gooseberry Treatment

a-c

Phenolic compound (mg GAE/L)

DPPH

FRAP

(mg ascorbic acid/L)

(µM FeSO4/L)

Ma (%)

MU(%)

IG(%)

70

25

5

116.02a ± 0.50

461.14a±3.85

880.18a±4.49

65

25

10

112.01b ± 0.35

416.85b±2.11

718.44b±2.91

65

30

5

99.00c ± 0.47

391.35b±2.79

731.5b±3.79

67

26

7

98.92c ± 0.33

417.73b±1.22

753.04b±2.01

ns

Means within the same attribute in row with different letters are significantly different (p<0.05) not significantly different

Ma (%): % Mao Juice, MU(%): % Mulberry juice and IG(%): % Indian gooseberry juice

สรุ ปผลการทดลอง งานวิจยั ครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่ องดื่มสามผสานเพื่อสุขภาพจากเม่า หม่อน และมะขามป้อม โดยศึกษาอัตราส่วนระหว่างน ้าผลไม้ ทงั ้ 3 ชนิด พบว่าอัตราส่วนที่มีผลต่อความชอบทางด้ านประสาทสัมผัสคือน ้ามะขามป้อม เนื่องจากมีรสเปรี ย้ ว โดยอัตราส่วนของเม่า หม่อน และมะขามป้อม ที่ได้ รับการยอมรับ คือ ร้ อยละ 70, 25 และ 5 ตามลาดับ มี ปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ร้ อยละ 17.6 และความเป็ นกรด ร้ อยละ 1.56 โดยได้ รับคะแนนความชอบในระดับปานกลางและ ระดับดี อีกทังที ้ ่ให้ สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพสูงสุดและแตกต่างทางสถิติ (p<0.05) โดยให้ สารประกอบฟี นอลิกสูงถึง 116.02 mg GAE/L มีความสามารถในการต้ านอนุมลู อิสระ DPPH เป็ น 461.14 mg ascorbic acid/L และฤทธิ์ในการต้ านออกซิเดชัน FRAB เท่ากับ 880.18 µM FeSO4/L นอกจากนี ้ประโยชน์ที่ได้ จากงานวิจยั คือการยืดอายุการเก็บน ้าผลไม้ 100% ที่ไม่สามารถ เติมกรดเพื่อปรับให้ เป็ นอาหารที่มีกรดต่า (low acid food) มีความเป็ นกรด-ด่าง (pH) ต่ากว่า 4.6 ได้ โดยเฉพาะน ้าหม่อน สามารถใช้ น ้าผลไม้ ที่มีปริมาณกรดสูง เช่น น ้าเม่าและน ้ามะขามป้อม เป็ นส่วนผสมเพื่อช่วยยืดอายุการเก็บได้ อีกทาง

กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั นี ้ได้ รับการสนับสนุนจาก โครงการอนุรักษ์ พนั ธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ประจาปี งบประมาณ 2558

394

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง จรัสรัตน์ ปานโคก อรพิน เกิดชูชื่น และ ณัฎฐา เลาหกุลจิตต์. 2555. ประสิทธิภาพในการเป็ นสารต้ านอนุมลู อิสระของสารสกัดพืชสมุนไพรไทยบาง ชนิด. ว. วิทย์. กษ. 43(2)(พิเศษ): 361-364. วิ ภาวดี พันธุ์หนองหว้า, ณัฐรดา จาปามี , กรุณรัตน์ สกุลนามรัตน์ , ประทีป ตุม้ ทอง, เกี ยรติ ชยั ดวงศรี , อนุชิตา มุ่งงาม. 2556. การเปรี ยบเทียบ องค์ประกอบทางเคมีที่สาคัญและการต้ านอนุมลู อิสระของ ลูกหม่อน 3 สายพันธุ์. วารสาร มทร. อีสาน. 6(2): 332-337. สุพตั รา ปรสุพฒ ั นา. 2553. สารต้ านอนุมลู อิสระ. น. 45-48. การประชุมฝึ กอบรมปฏิบตั ิการสารต้ านอนุมลู อิสระ ครัง้ ที่ 2. ขอนแก่น : ภาควิชาเภสัช วิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. Chan, E. W. C., Lim, Y. Y. and Mohammed, O. 2007. Antixidant and antibacterial activity of leaves of Etlingera species (Zingiberaceae) in Peninsular Malaysia. Food Chemistry 104(4): 1586-1593. Ebrahimzadeh, N. M. MA, Nabavi SF, Jafari M. 2008. Free radical scavenging activity and antioxidant capacity of Eryngium caucasicum trautv and Froripia subpinnata. Pharmacologyonline; 3: 19-25. Eichhorn, S. and P Winterhalter. 2005. “Antocyanins from pigment of potato (Solanum tuberosum L.) varieties.” Food research international. 38: 943-948. Jorjong, S., L. Butkhup and S. Samappito. 2015. Phytochemicals and antioxidant capacities of Mao-Luang (Antidesma bunius L.) cultivars from Northeastern Thailand. J. Food Chemistry. 181: 248–255. Kaur, C. and Kapoor, H. C. 2002. Antioxidant activity and total phenolic content of some Asian vegetables.International Journal of Food Science and Technology 37: 153-161. Miliauskas, G., P. R. Venskutonis and T. A. Van Beek. 2004. Screening of radical scavenging activity of some medicinal and aromatic plant extracts. Journal of Food Chem. 85(2):231-237. Schmidt, M. B., John W. E. JR., and Mary A. L. 2005. Effects of Food Processing on Blueberry Antiproliferation and Antioxidant Activity. Journal of Food Science. 70(6):S389-S394. Velioglu, Y. S., Mazza, G., Gao, L. and Oomah, B. D. 1998. Antioxidant Activity and Total Phenolics in SelectedFruits, Vegetables, and Grain Products. Journal of Agricultural Food Chemistry 46: 4113-4117. Arfan, M, R. Khan, A. Rybarczyk, and R. Amarowicz. 2012. Antioxidant Activity of Mulberry Fruit Extracts. International Journal of Molecular Sciences. 13(2): 2472–2480.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

395


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การวิเคราะห์ คุณค่ าทางอาหารและคุณภาพทางประสาทสัมผัสของเมล็ดทานตะวันและถั่วเหลืองงอก หลังผ่ านการลวก Evaluation of Nutritional Value and Sensory Testing of Sunflower and Soybean Sprouts after Blanching หทัยรัตน์ ยิว้ เหีย้ ง1 และปิ ยะณัฎฐ์ ผกามาศ1 Hathairat Yewheang1 and Piyanath Pagamas1

บทคัดย่ อ ปั จจุบนั เมล็ดงอกได้ รับความนิยมมากขึ ้น เนื่องจากมีคณ ุ ค่าทางอาหารสูงกว่าพืชผักหลายชนิดและมีมากกว่าในเมล็ด ที่ยงั ไม่งอก ต้ นอ่อนสามารถรับประทานได้ ทงแบบสดหรื ั้ อนามาประกอบอาหารโดยผ่านความร้ อนซึง่ มีผลให้ เมล็ดงอกสูญเสีย คุณค่าทางอาหารได้ จึงทาการทดลองนาเมล็ดทานตะวันและถัว่ เหลืองงอกที่อายุ 6 และ 5 วันหลังงอก (รวมการให้ แสง 24 ชัว่ โมง ก่อนเก็บตัวอย่าง)ตามลาดับ นามาลวกในน ้าที่อณ ุ หภูมิ 100 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 5 10 และ 15 วินาที แล้ ววิเคราะห์ หาปริมาณคลอโรฟิ ลล์ วิตามินซี เส้ นใยอาหาร และความพึงพอใจจากการประเมินโดยการชิมของผู้บริโภค จากการทดลอง พบว่า ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ ในเมล็ดถัว่ เหลืองงอกมีคา่ เพิ่มสูงขึ ้นเมื่อระยะเวลาในการลวกเพิ่มขึ ้นโดยที่ 10 และ 15 วินาที ให้ ปริมาณคลอโรฟิ ลล์สงู สุดแตกต่างจากไม่มีการลวก ส่วนในเมล็ดทานตะวันงอก ระยะเวลาในการลวกให้ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ไม่ แตกต่างกันทางสถิติ ปริมาณวิตามินซีและเส้ นใยอาหาร ในเมล็ดถัว่ เหลืองงอกมีคา่ ลดลงตามระยะเวลาในการลวกที่เพิ่มขึ ้น โดยที่การไม่ลวกให้ ปริมาณวิตามินซีสงู สุดไม่แตกต่างจากที่ 5 วินาที แต่สงู กว่าระยะเวลาอื่นๆ ส่วนปริมาณเส้ นใยอาหาร พบว่า การไม่ลวกให้ คา่ สูงสุดไม่แตกต่างจากที่ 5 และ10 วินาที แต่สงู กว่าที่ 15 วินาที ในเมล็ดทานตะวันงอก พบว่าปริมาณวิตามินซี และเส้ นใยอาหาร ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติในทุกระยะเวลาการลวก สาหรับผลการประเมินคุณภาพการชิม พบว่าความ กรอบ ความหอม และความชอบโดยรวมของทานตะวันและถัว่ เหลืองงอกมีคา่ ลดลงตามระยะเวลาการลวกที่เพิ่มขึ ้น คาสาคัญ: เมล็ดงอก, สารอาหาร, ความร้ อน

Abstract Nowadays, the sprouts have been increasing in popularity due to higher nutrient content than many kind of vegetables and dry seeds. Sprouts can be eaten either fresh or to cook over the heat as a result loss of nutrients. Sunflower and soybean sprouts age 6 and 5 days after germination (including to grow under the light for 24 hours before harvest) respectively, were blanched at 100°C for 5, 10 and 15 seconds. The chlorophyll, vitamin C dietary fiber contents and sensory evaluation were analyzed. The results showed that the chlorophyll contents of soybean sprouts increased by a longer blanching time, the blanching at 10 and 15 seconds gave the maximum chlorophyll content higher than non-blanching. In sunflower sprouts, the chlorophyll content in each blanching time did not significantly different. The vitamin C and dietary fiber contents of soybean sprouts decreased by a longer blanching time. Without blanching, it had the highest vitamin C content and did not significantly different with a 5 seconds blanching but higher than other blanching times. The dietary fiber contents from the non-blanching treatment showed the highest value without significantly different with 5 and 10 seconds blanching but higher than a 15 seconds. In blanching sunflower sprouts, the vitamin C and dietary fiber contents in each blanching time were not significantly different. The results of sensory evaluation testing showed that the crispness, aroma and overall preference of sunflower and soybean sprouts decreased by a longer blanching time. Keywords: sprout, nutrition, heat 1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 Department of Horticulture, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasersart University, Kamphaeng Saen, Nakorn Pathom, 73140 396

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา เมล็ดงอก หรื อ sprout คือการพัฒนาของต้ นอ่อนในระยะแรกของการงอก การงอกจะเกิดขึ ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ทางชีวภาพภายในเมล็ดและต้ องได้ รับปั จจัยที่เหมาะสมแก่การงอกอย่างครบถ้ วน (ISTA, 1999) เช่น ปริ มาณความชื ้น อุณหภูมิ และออกซิเจน เมื่อเมล็ดได้ รับน ้าหรื อความชื น้ มากพอ (ประมาณ 50-80 เปอร์ เซ็นต์ของน ้าหนักแห้ ง) ต้ นอ่อนเริ่ มนาออกซิเจนที่ ผ่านเข้ ามาภายในเมล็ด มาใช้ ในกระบวนการหายใจ เกิดปฏิกิริยาการย่อยสลายนา้ ตาลโมเลกุลใหญ่ๆ ให้ กลายเป็ นนา้ ตาล โมเลกุลเดี่ยว ย่อยสลายไขมันให้ เป็ นกรดไขมันมัน ย่อยสลายโปรตีนให้ กลายเป็ นกรดอะมิ โน ซึง่ กระบวนการเหล่านี ้ช่วยส่งเสริ ม กลไกทางชีวเคมีในเมล็ด ดังนันการงอกจึ ้ งเป็ นการย่อยสลายโมเลกุลขนาดใหญ่ให้ เหลือเป็ นสารโมเลกุลขนาดเล็ก (Marton et al., 2010 ) ในการรั บ ประทานเมล็ ด งอกจะทานทัง้ ต้ น อาจจะกล่ า วได้ ว่ า เมล็ ด งอกเป็ น หัว อาหารเข้ มข้ น ( concentrate essences) จากต้ นพ่อต้ นแม่ (Oswald and Oswald, 2002) การเพาะเมล็ดให้ งอกเป็ นการเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการของเมล็ดให้ สงู ขึ ้นโดยมีสารอาหารที่มีความสาคัญต่อร่างกาย เช่น วิตามิน เกลือแร่ เอนไซม์ กรดอะมิโน และสารต้ านอนุมลู อิสระสูงกว่าเมล็ดที่ยงั ไม่งอก(Balasaraswathi and Sadasivam, 1997) ในระหว่างการงอกของเมล็ดบัควีท (Kima et al., 2007) งา (Liua et al., 2011) และพืชตระกูลกะหล่า (Gill et al., 2004) พบว่าปริ มาณวิตามิน ธาตุอาหารต่างๆ และฮอร์ โมนเพิ่มสูงขึน้ มีรายงานว่าเมล็ดงอกในพืชตระกูลถั่ว มีสารที่มีคุณสมบัติ ทางด้ านพฤกษเคมี เช่น glucosinolates และสารต้ านอนุมลู อิสระธรรมชาติ ที่ช่วยในการป้องกันการเกิดมะเร็ ง ดังนันสามารถ ้ นาเมล็ดงอกมาใช้ เป็ นอาหารที่มีคณ ุ ประโยชน์สงู ช่วยส่งเสริ มสุขภาพของมนุษย์ได้ (Sangronis and Machado, 2007)เมล็ดถัว่ เหลืองงอก (Soybean Sprout) จัดเป็ นอาหารประเภทผักอย่างหนึ่งที่นบั เป็ นทางเลือกใหม่ของการบริ โภคถัว่ เหลือง ที่ก่อให้ เกิด ประโยชน์ในด้ านคุณค่าทางโภชนาการต่อผู้บริ โภคสูง โดยเฉพาะคนที่ไม่บริ โภคเนื ้อสัตว์ ถัว่ เหลืองงอกจึงอาจนามาเป็ นอาหาร หลักแทนการบริ โภคเนื ้อสัตว์ได้ ดี ซึง่ พบว่าในถัว่ เหลืองงอก มีสารอาหารประเภทวิตามินโดยเฉพาะ วิตามินซี (ascorbic acid) และวิตามินเอ (Bata-corotene) เพิ่มขึ ้นอย่างเห็นได้ ชดั เมื่อเทียบเมล็ดถัว่ เหลืองที่ยงั ไม่งอกโดยมีถึง 30 มิลิกรัม/100 กรัม และ 0.35 มิลิกรัม/100 กรัม ของวิตามินซี และวิตามินเอ ตามลาดับ (พีระศักดิ์ และอภิพรรณ, 2524) ส่วนเมล็ดทานตะวันงอก (Sunflower Sprout) เป็ นเมล็ดงอกตัวใหม่ที่ไม่ใช่ธัญพืช และเป็ นที่แพร่หลายในปั จจุบนั เมล็ดทานตะวันงอกมีโปรตีนสูงกว่าถัว่ เหลือง มีวิตามินเอ และวิตามินอีสงู บารุงสายตา ผิวพรรณและชะลอความชรา มีวิตามิน บี 1 บี 6 โอเมก้ า 3 โอเมก้ า 6 โอเมก้ า 9 ซึ่งช่วยบารุงเซลล์สมอง ป้องกันโรคสมองเสื่อม (อัลไซเมอร์ ) และธาตุเหล็กสูง นอกจากนี ้ ในเมล็ดทานตะวัน 100 กรัม จะให้ พลังงานแก่ร่างกาย 500 กิโลแคลอรี โปรตีน 23 กรัม ไขมัน 50 กรั ม แคลเซียม 14.3 กรั ม คาร์ โบไฮเดรต 19 กรัม สังกะสี 5 มิลลิกรัม และโพรแทสเซียม 690 มิลลิกรัม (องอาจ, 2543) เมล็ดงอกสามารถบริ โภคได้ ทงแบบสด ั้ หรื อนามาประกอบอาหาร ซึ่งการใช้ ความร้ อนเป็ นวิธีที่สาคัญที่สดุ วิธีหนึ่งใน กระบวนการแปรรู ปอาหาร ซึ่งการใช้ ความร้ อนในกระบวนการแปรรู ปเป็ นสาเหตุหลักของการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทาง โภชนาการของอาหาร เช่น การตกตะกอนของโปรตีน ซึง่ จะช่วยให้ ร่างกายสามารถย่อยอาหารเหล่านี ้ได้ ง่ายขึ ้นพร้ อมกับเป็ นการ ทาลายสารประกอบหลายชนิดที่ทาให้ คณ ุ ค่าทางโภชนาการของอาหารลดลง (anti-nutritional compound) เช่น ยับยังสารทริ ้ ปซินในถัว่ อย่างไรก็ตามความร้ อนจะทาลายกรดอะมิโน และยังเร่งการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันอีกด้ วย (วิไล, 2543) ความร้ อนที่ ใช้ ในการลวกอาหารมีผลต่อคุณสมบัติด้านโภชนาการและกลิ่นรสของอาหารอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยทัว่ ไปจะมีการควบคุม เวลาและอุณหภูมิในการลวกให้ สามารถยับยังการท ้ างานของเอนไซม์ได้ อย่างเพียงพอเพื่อให้ เกิดการสูญเสียกลิ่นรสหรื อลัก ษณะ เนื ้อสัมผัสน้ อยที่สดุ มีสารอาหารหลายชนิดเช่น วิตามิน เกลือแร่ และสารอาหารที่ละลายน ้าเกิดการสูญเสียระหว่างการลวก การ สูญเสียวิตามินส่วนใหญ่เกิดจากการถูกชะล้ าง การถูกทาลายโดยความร้ อน (วิไล, 2543) ทังนี ้ ้ยังไม่มีรายงานเกี่ยวกับระยะเวลา ในการลวกที่เหมาะสมสาหรั บเมล็ดทานตะวันและถัว่ เหลืองงอก การทดลองนี ้จึงศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมในการลวกที่เกิด การสูญเสียคุณค่าทางอาหารน้ อยที่สดุ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

397


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการ การศึกษาระยะเวลาในการลวกที่มีผลต่อปริ มาณวิตามินซี คลอโรฟิ ลล์ เส้ นใยและคุณภาพการบริ โภค ของเมล็ดถั่ว เหลืองและทานตะวันงอก โดยนาเมล็ดพันธุ์ถวั่ เหลืองและทานตะวันแช่ในน ้าสะอาดที่อณ ุ หภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 15 นาที เพื่อเป็ นการกระตุ้นการงอก จากนัน้ นาไปล้ างด้ วยนา้ สะอาดแล้ วนาเมล็ดไปเพาะบนกระดาษเพาะเมล็ดในตู้ควบคุม อุณหภูมิที่ 25 องศาเซลเซียสในที่มืด เมื่อเมล็ดพันธุ์ถวั่ เหลืองและทานตะวันงอกมีอายุ 5 วันหลังงอก นาไปให้ แสง 24 ชัว่ โมง ก่อนการเก็บเกี่ยว จากนันน ้ าเมล็ดถัว่ เหลืองและทานตะวันงอกไปทาความสะอาดและนามาลวกที่อณ ุ หภูมิ 100 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 0 5 10 และ15 วินาที แล้ วนาตัวอย่างเมล็ดถัว่ เหลืองและทานตะวันงอกมาวิเคราะห์หาปริ มาณวิตามินซี คลอโรฟิ ลล์ เส้ นใยอาหาร และคุณภาพทางประสาทสัมผัส ดังนี ้ การวิเคราะห์ หาปริมาณวิตามินซี นาเมล็ดถั่วเหลืองและทานตะวันงอกตัวอย่างละ 5 กรั ม มาใส่ในหลอดทดลองที่มี extracting solution ซึ่ง ประกอบด้ วยสารละลาย oxalic acid ความเข้ มข้ น 3 เปอร์ เซ็นต์ในสารละลาย acetic acid ความเข้ มข้ น 8 เปอร์ เซ็นต์ อยู่ 20 มิลลิลิตร นาไปปั่ นด้ วย homogenizer จนเป็ นเนื ้อเดียวกัน ดูดสารละลายออกมาจากหลอดทดลอง 14 มิลลิลิตร นาไปทาให้ ตกตะกอนด้ วยเครื่ อง Ultracentrifuge ที่อณ ุ หภูมิ 4 องศาเซลเซียส ที่ความเร็ว 15000 รอบ/นาที เป็ นเวลา 20 นาทีจากนันเก็ ้ บ ตัวอย่างสารละลายส่วนบนไปวิเคราะห์หาปริมาณวิตามินซีทนั ที การวิเคราะห์หาปริ มาณวิตามินซีโดยวิธี 2,6-dichlorophenolindophenol titrimetric (AOAC, 2000) โดยนา สารละลายตัวอย่างปริ มาตร 2 มิลลิลิตรผสมกับ extracting solution 3 มิลลิลิตร นาไปไตรเตรทด้ วยสารละลาย 2,6dichlorophenolindophenol (dry solution) จนถึงจุดยุติ (end point) คานวณหาปริมาณวิตามินซีโดยใช้ สมการดังนี ้ ปริมาณวิตามินซี (มิลลิกรัม/ 100 กรัมน ้าหนักสด) = เมื่อ

A 20+W B W

[

]×100

A คือ ปริมาตรของ Dye solution ที่ใช้ titrate กับสารละลายตัวอย่าง B คือ ปริมาตรของ Dye solution ที่ใช้ titrate กับ Standard ascorbic acid (1 มิลลิกรัม/ 1 มิลลิลติ ร) W คือ น ้าหนักตัวอย่างสดของเมล็ดทานตะวันและถัว่ เหลืองงอกที่นามาใช้

การวิเคราะห์ หาปริมาณคลอโรฟิ ลล์ ชัง่ เมล็ดถัว่ เหลืองและทานตะวันงอกตัวอย่างละ 1 กรัม ใส่ในหลอดทดลองที่มีสารละลาย acetone ความเข้ มข้ น 80 เปอร์ เซ็นต์ ปริ มาตร 20 มิลลิลิตร นาไปปั่ นด้ วยเครื่ อง homogenizer จนสารละลายเป็ นเนื ้อเดียวกัน จากนันน ้ าไปเก็บไว้ ในที่มืด เป็ น เวลา 2 ชั่ว โมง แล้ ว น ามาวัด หาค่า การดูด กลื น แสงที่ ค วามยาวคลื่ น 645 และ 663 นาโนเมตร ด้ ว ยเครื่ อ ง spectrophotometer แล้ ววิเคราะห์หาปริมาณคลอโรฟิ ลล์ตามวิธีของ Mackinney (1941) ดังสมการ ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ (มิลลิกรัมต่อกรัมน ้าหนักสด) = (0.999 × Abs645) – (0.0989 × Abs663) การวิเคราะห์ หาปริมาณเส้ นใยอาหาร ชั่งเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองและทานตะวันงอกตัวอย่างละ 5 กรั ม ต้ มในนา้ เดือดเป็ นเวลา 10 นาทีแล้ วนาไปต้ มต่อใน สารละลาย sodium hydroxide ความเข้ มข้ น 50 เปอร์ เซ็นต์เป็ นเวลา 5 นาทีจากนันน ้ าเมล็ดถัว่ เหลืองและทานตะวันงอกมาล้ าง ด้ วยน ้าสะอาด ทาการขยี ้บนตะแกรงนาส่วนที่เป็ นเนื ้อเยื่อออก ให้ เหลื อแต่เส้ นใยแล้ วนาเข้ าตู้อบความร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 100 องศา เซลเซียส เป็ นเวลา 2 ชัว่ โมง นาเส้ นใยที่ได้ มาชัง่ น ้าหนักแห้ ง เพื่อวิเคราะห์หาปริ มาณเส้ นใยอาหารตามวิธีของ Gould (1997) ดังนี ้ ปริมาณเส้ นใยอาหาร (เปอร์ เซ็นต์) = 398

น ้าหนักแห้ งของตัวอย่าง น ้าหนักสดของตัวอย่าง

× 100

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประเมินหาความกรอบ กลิ่น และความชอบโดยรวม ทาแบบประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสโดยใช้ หลักเกณฑ์การให้ คะแนนในแต่ละหัวข้ อคือ 1) ความกรอบ 2) กลิ่น และ 3) ความชอบโดยรวม มีผ้ ปู ระเมินทังหมด ้ 8 คน โดยให้ ประเมินโดยการชิมและให้ คะแนน เกณฑ์ การให้ คะแนนมีดงั นี ้ 1) ความกรอบ 1 คะแนน = ความกรอบน้ อยมาก 2 คะแนน = ความกรอบน้ อย 3 คะแนน = ความกรอบปานกลาง 4 คะแนน = ความกรอบมาก 5 คะแนน = ความกรอบมากที่สดุ 2) กลิ่น 1 คะแนน = ไม่มีกลิ่น / น้ อยมาก 2 คะแนน = มีกลิ่นน้ อย 3 คะแนน = มีกลิ่นปานกลาง 4 คะแนน = มีกลิ่นมาก 5 คะแนน = มีกลิ่นมากที่สดุ 3) ความชอบโดยรวม 1 คะแนน = ไม่ชอบ 2 คะแนน = ชอบน้ อย 3 คะแนน = ชอบปานกลาง 4 คะแนน = ชอบมาก 5 คะแนน = ชอบ มากที่สดุ การวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติ วางแผนการทดลองแบบ CRD ทา 4 ซ ้า วิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of variance) และเปรี ยบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) ที่ระดับความ เชื่อมัน่ 95 และ 99 เปอร์ เซ็นต์

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการวิเคราะห์หาปริ มาณวิตามินซี คลอโรฟิ ลล์ เส้ นใยอาหาร และคุณภาพทางประสาทสัม ผัสของเมล็ดทานตะวัน และถัว่ เหลืองงอกอายุ 5 วันหลังงอก ที่ผ่านการลวกเป็ นระยะเวลา 0 5 10 และ 15 วินาที ได้ ผลดังนี ้ ปริมาณวิตามินซี คลอโรฟิ ลล์ และเส้ นใยอาหาร ของเมล็ดทานตะวันและถั่วเหลืองงอก หลังผ่ านการลวก จากการวิเคราะห์ปริ มาณวิตามินซี คลอโรฟิ ลล์ และเส้ นใยอาหารในต้ นทานตะวันงอกที่ผ่านการลวกเป็ นระยะเวลา ต่างกัน พบว่า ต้ นทานตานตะวันงอก มีปริ มาณวิตามินซี คลอโรฟิ ลล์ และเส้ นใยอาหารไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยปริ มาณ วิตามินซีมีค่าอยู่ระหว่าง 35.07 – 38.69 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมน ้าหนักสด ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์มีค่าอยู่ระหว่าง 0.17 – 0.26 ไมโครกรัมต่อกรัมน ้าหนักสด และปริมาณเส้ นใยอาหารมีคา่ อยูร่ ะหว่าง 0.48 – 0.51 เปอร์ เซ็นต์ (Table 1) ส่วนปริ มาณวิตามินซี คลอโรฟิ ลล์ และเส้ นใยอาหารในเมล็ดถัว่ เหลืองงอกที่ผ่านการลวกเป็ นระยะเวลาต่างกันพบว่า ปริ มาณวิตามินซีลดลงตามระยะเวลาการลวกที่นานขึ น้ โดยที่ไม่ผ่านการลวกมีปริ มาณวิตามินซีสงู สุดคือ 43.57 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมน ้าหนักสด ไม่แตกต่างจากการลวก 5 วินาที ที่มีปริ มาณวิตามินซี 34.65 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมน ้าหนักสด แต่สงู กว่าที่ การลวก 10 และ15 วินาที (Table 2) ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ของเมล็ดถัว่ เหลืองงอก พบว่าที่ระยะเวลาการลวกที่ 10 และ15 วินาที มีปริมาณคลอโรฟิ ลล์สงู คือ 0.26 และ 0.28 ไมโครกรัมต่อกรัม ตามลาดับ ไม่แตกต่างจากที่การลวก 5 วินาที แต่สงู กว่าที่ไม่ผ่าน การลวก (Table 2) และปริ มาณเส้ นใยอาหารของต้ นถัว่ เหลืองงอก พบว่ามีค่าลดลงตามระยะเวลาการลวกที่เพิ่ม ขึ ้น โดยที่ไม่ ผ่านการลวกมีปริ มาณเส้ นใยอาหารมากที่สดุ มีค่า 0.2 เปอร์ เซ็นต์ ไม่แตกต่างจากการลวก 5 และ10 วินาที โดยที่การลวก 15 วินาที มีปริมาณเส้ นใยอาหารต่าสุดมีคา่ เท่ากับ 0.13 เปอร์ เซ็นต์ (Table 2) 1.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

399


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Vitamin C, chlorophyll and fiber contents of sunflower sprout after blanching for 0, 5, 10 and 15 seconds Blanching time

Vitamin C

Chlorophyll

Fiber

(second)

(mg/ 100 g fresh weight)

(g/g fresh weight)

(%)

0

38.69

0.17

0.51

5

37.26

0.20

0.49

10

35.96

0.26

0.48

15

35.07

0.18

0.48

F-test

ns

ns

ns

CV (%)

9.98

17.76

25.91

ns = non significant (P< 0.05) Table 2 Vitamin C, chlorophyll and fiber contents of soybean sprout after blanching for 0, 5, 10 and 15 seconds Blanching time

Vitamin C

Chlorophyll

Fiber

(second)

(mg/ 100 g fresh weight)

(g/g fresh weight)

(%)

0

43.57 a

0.21 b

0.20 a

5

34.65 ab

0.24 ab

0.15 ab

10

29.68 bc

0.26 a

0.12 ab

15

24.30 c

0.28 a

0.13 b

F-test

**

*

*

CV (เปอร์ เซ็นต์)

17.74

13.84

32.13

* = significant at P<0.05 by DMRT ** = significant at P<0.01 by DMRT จากผลการทดลองปริ มาณวิตามินซีมีค่าลดลงตามระยะเวลาการลวกที่เพิ่มขึ ้น เนื่องจากปริ มาณวิตามินซีที่มีอยู่ใน ช่วงแรกของการงอกนันเป็ ้ นวิตามินซีที่สงั เคราะห์ขึ ้นในเมล็ดเพื่อกระตุ้นการงอก (พจนา และบุญมี, 2551) รวมถึงเมื่อทานตะวัน และถั่วเหลืองงอกมีการสังเคราะห์แสง (การใช้ แสง 24 ชั่วโมงก่อนเก็บเกี่ยว) จึงมีการสร้ างวิตามินซีเพิ่มขึน้ เพื่อใช้ ในการ เจริ ญเติบโต ซึ่งช่วงแรกของการงอกเมล็ดทานตะวันและถัว่ เหลืองงอกมีปริ มาณวิตามินซีสงู ขึ ้น เกิดจากกระบวนการชีวเคมีใน เมล็ดที่ผลิตวิตามินซีเพื่อใช้ ในการงอก (วรายุทธ, 2556) หลังจากผ่านการลวกจะพบว่าปริ มาณวิตามินมีค่าลดลง อาจ เนื่องมาจากการลวกทาให้ เกิดการสูญเสียนา้ ออกจากเมล็ดทานตะวันและถั่วเหลืองงอกทาให้ มีการสูญเสียวิตามินซีมากขึน้ เนื่องจากวิตามินซีมีคณ ุ สมบัติในการละลายน ้า (จริ งแท้ , 2549) ซึง่ การสูญเสียวิตามินส่วนใหญ่เกิดจากการถูกชะล้ าง รวมถึง ความร้ อนจากการลวกยังมีสว่ นในการทาลายวิตามินซีในเมล็ดงอกด้ วย (วิไล, 2543) การเปลี่ยนแปลงของปริ มาณเส้ นใยอาหาร ให้ ผลการทดลองเช่นเดียวกับปริ มาณวิตามินซี เมล็ดทานตะวันและถัว่ เหลืองงอกที่ระยะเก็บเกี่ยวก่อนการลวกจะมีปริ มาณเส้ น 400

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ใยอาหารสูงสุด และเมื่อนาเมล็ดงอกไปผ่านการลวกที่เวลาต่างๆ ทาให้ ปริ มาณเส้ นใยอาหารลดลง ทังนี ้ ้เนื่องมาจากปริ มาณเส้ น ใยอาหารที่อยู่ในเมล็ดทานตะวันและถัว่ เหลืองงอกหลังจากเก็บเกี่ยวไม่สามารถสร้ างเพิ่มขึ ้น และเมื่อได้ รับความร้ อนจากการ ลวกเนื ้อเยื ้อต่างๆ รวมทังโครงสร้ ้ างผนังเซลล์จึงเกิดการอ่อนตัวลง เนื่องจากเส้ นใยอาหารเป็ นส่วนหนึ่งของโครงสร้ างผนังเซลล์ (อรพร, 2548) จึงทาให้ เกิดการสูญเสียเส้ นใยอาหารประเภทที่ละลายน ้า ทาให้ เมล็ดทานตะวันและถัว่ เหลืองงอกมีปริ มาณเส้ น ใยอาหารลดลงตามระยะเวลาการลวกที่เพิ่มขึ ้น ส่วนการเปลี่ยนแปลงของปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ซึ่งเป็ นโมเลกุลไม่ค่อยเสถียร และ สลายตัวได้ ง่าย (จริงแท้ , 2549) พบว่าในเมล็ดถัว่ เหลืองงอกที่ผ่านการลวกที่ระยะเวลา 15 วินาที ที่เป็ นระยะการลวกที่นานที่สดุ มีปริมาณคลอโรฟิ ลล์มากที่สดุ อาจเนื่องมาจากความร้ อนจากการลวกในระยะดังกล่าวเป็ นระยะเวลาสัน้ ยังไม่ทาลายโครงสร้ าง ของ chlorophyll แต่สามารถขัดขวางกลไกการเปลี่ยนแปลง chlorophyll ไปเป็ น pheophytin ทาให้ สีสดใสขึ ้น (พิมพ์เพ็ญ และ นิธิยา, 2549) จึงทาให้ ที่ผ่านการลวกจะมีปริ มาณคลอโรฟิ ลล์สงู กว่าที่ไม่ผ่านการลวก ทังนี ้ จ้ ากผลการทดลองดังกล่าวข้ างต้ น อาจกล่าวได้ ว่าเมล็ดทานตะวันงอกมีความทนทานต่อการลวกได้ ดีกว่าเมล็ดถัว่ เหลืองงอก เนื่องจากการลดลงของคุณค่าทาง อาหารมีต่ากว่าในเมล็ดทานตะวันงอก (Table 1 และ 2) การทดสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัสของเมล็ดทานตะวันและถั่วเหลืองงอก หลังผ่ านการลวก จากการทดสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัสของผู้ประเมินทัง้ 8 คน ให้ คะแนนความกรอบ กลิ่นหอม และความชอบ โดยรวมของเมล็ดทานตะวันงอกที่ผ่านการลวก พบว่ามีค่าลดลงตามระยะเวลาการลวกที่นานขึ ้น โดยที่ไม่ผ่านการลวกมีคะแนน ความกรอบสูงสุดคิดเป็ นคะแนนเฉลี่ยคือ 4.5 คะแนน ที่ไม่ผ่านการลวกและผ่านการลวก 5 วินาทีมีคะแนนความชอบโดยรวม สูงสุดเท่ากันคิดเป็ นคะแนนเฉลี่ยคือ 4 คะแนน ไม่แตกต่างจากการลวก 10 วินาที แต่สงู กว่าที่ 15 วินาที และผู้ประเมินให้ คะแนนกลิ่นหอมไม่แตกต่างกันทางสถิติ (Table 3)ส่วนในเมล็ดถัว่ เหลืองงอกที่ผ่านการลวกระยะเวลาต่ างๆ พบว่า คะแนน ความกรอบ กลิ่นหอม และความชอบโดยรวมมีค่าลดลงตามระยะเวลาการลวกที่นานขึ ้น โดยที่ไม่ผ่านการลวกมีคะแนนความ กรอบ กลิ่นหอม และความชอบโดยรวมสูงสุดคือ 4.75 4.75 และ 4.13 คะแนน ตามลาดับ ไม่แตกต่างจากการลวกที่ 5 วินาที มี คะแนนความกรอบ ความหอม และความชอบโดยรวม 4.20 4.25 และ 4.00 คะแนน ตามลาดับ แต่สงู กว่าการลวกที่ 10 และ 15 วินาที (Table 4) การทดสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัส คะแนนความกรอบ กลิ่นหอม และความชอบโดยรวมของเมล็ดทานตะวันและ ถั่วเหลืองงอก ที่พบว่ามี ค่าลดลงตามระยะเวลาการลวกที่นานขึน้ อาจเนื่ องมาจากความร้ อนจากการลวกอาหารมีผลต่อ คุณสมบัติด้านโภชนาการ และกลิ่นรสของเมล็ดทานตะวัน และถัว่ เหลืองงอกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยทัว่ ไปจะมีการควบคุม เวลา และอุณหภูมิในการลวกให้ สามารถยับยัง้ การทางานของเอนไซม์ ได้ อย่างเพียงพอเพื่อให้ เกิดการสูญเสียกลิ่นรสหรื อ ลักษณะเนื ้อสัมผัสน้ อยที่สดุ (วิไล, 2543) ซึ่งพืชแต่ละชนิดทนต่อการลวกต่างกัน จากการทดลองพบว่า ทานตะวันงอกสามรถ ลวกในน ้าอุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียสได้ นานถึง 10 วินาที โดยที่ไม่มีผลต่อความชอบโดยรวม และกลิ่นหอม จากผลการ ประเมิน ขณะที่ถวั่ เหลืองงอกสามารถลวกได้ เพียง 5 วินาที ซึ่งหากใช้ เวลาในการลวกนานขึ ้นจะส่งผลต่อคะแนนความกรอบ กลิ่นหอม และความชอบโดยรวมที่ลดลง 2.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

401


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Sensory evaluation testing of sunflower sprout after blanching for 0, 5, 10 and 15 seconds Blanching time

Crispness

Aroma

Overall preference

(second)

(score)

(score)

(score)

0

4.50 a

3.75

4.00 a

5

3.63 b

3.75

4.00 a

10

3.13 c

3.63

3.75 a

15

2.38 d

3.13

2.75 b

F-test

**

ns

**

CV (%)

14.28

18.18

17.29

ns = non significant (P<0.05) ** = significant at P<0.01 by DMRT Table 4 Sensory evaluation testing of soybean sprout after blanching for 0, 5, 10 and 15 seconds ระยะเวลาการลวก

ความกรอบ

กลิ่นหอม

ความชอบโดยรวม (คะแนน)

(วินาที)

(คะแนน)

(คะแนน)

0

4.75 a

4.75 a

4.13 a

5

4.20 a

4.25 ab

4.00 ab

10

3.50 b

4.00 b

3.50 bc

15

2.88 c

3.13 b

3.13 c

F-test

**

**

**

CV (%)

15.45

14.99

14.27

** = significant at P<0.01 by DMRT

สรุ ปผลการทดลอง จากการวิเคราะห์คณ ุ ค่าทางอาหารบางประการ และคุณภาพทางประสาทสัมผัสหลังผ่านการลวกของเมล็ดทานตะวัน และถัว่ เหลืองงอกที่ระยะเวลา 0 5 10 และ15 วินาที สรุปได้ ว่าระยะเวลาที่เหมาะสมในการลวกเมล็ดทานตะวันและถัว่ เหลือง งอกคือ 5 วินาที เนื่องจากคุณค่าทางอาหารคือ ปริ มาณวิตามินและเส้ นใยอาหารลดลงน้ อยที่สดุ และยังคงคุณภาพประสาท สัมผัสไว้ ได้ ไม่แตกต่างจากการไม่ผ่านการลวก

402

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง จริ งแท้ ศิริพานิช. 2549. สรี รวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ .พิมพ์ครัง้ ที่ 6. สานักพิมพ์หาวิทยาลเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. 396 หน้ า. นิธิยา รัตนาปานนท์. 2549. เคมีอาหาร. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. เคมีอาหาร. โอเดียนสโตร์ . กรุงเทพฯ. 504 หน้ า. นุชนาฎ กิจเจริ ญ. 2549. อาหารสมุนไพรยาระบาย: ใยอาหาร. Herbal Food Laxative: Dietary Fiber.Thai Pharmaceutical and Health Science Journal. 1: 153-158. บัญชา ธนบุญสมบัติ, นาชัย ชีววิวรรธน์, เสรี พิพฒ ั นชัยภูมิ, พิชิต อิทธิศานต์, เจน วราหะ, สาโรจน์ เกษม ์ สุขโชติกลุ , สุธิดา อัญญะโพธิ และจิราพร จูปัน้ . 2555. คอโรฟิ ลล์คณ ุ ค่าแห่งสีเขียว. อัพเดท. 27:27-31. ประนอม ศรัยสวัสด์. 2550. การงอกของเมล็ด. แหล่งที่มา:http://higreenfarm.com/hydrowork/index.php?option =com_content&task=vieW&id= 131 [22 เมษายน 2558]. พจนา สีขาว และ บุญมี ศิริ. 2551. ผลของการทา seed priming ด้ วยสารเคมีชนิดต่างๆต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพเมล็ดพันธุ์พริกหวาน. วิทยาสาร เกษตรศาสตร์ . 39:213-217. พิมพ์เพ็ญ พรเฉลิมพงศ์ และ นิธิยา รัตนาปานนท์. 2549.การลวก (blanching). แหล่งที่มา: http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/0797/blanching [26 พฤษภาคม 2558]. พีระศักดิ์ ศรี นิเวศน์ และ อภิพรรณ พุกภักดี. 2524. การปลูกถัว่ เหลือง. โอเดียนสโตร์ . กรุงเทพฯ. 152 หน้ า. ภาคภูมิ พระประเสริ ฐ. 2550. สรี รวิทยาของพืช. โอเดียนสโตร์ . กรุงเทพฯ. 192 หน้ า. ระเบียบ วาจานนท์. 2524. กากหรื อเส้ นใยอาหาร. โภชนาการสาร. จันทรกา. กรุงเทพฯ. 192 หน้ า. วงศ์จนั ทร์ วงษ์ แก้ ว. 2535. หลักสรี รวิทยาของพืช. ฟั นนี่พบั บลิชชิ่ง. กรุงเทพฯ. 157 หน้ า. วรายุทธ ขาพลอย. 2556. ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ วิตามินซี และเส้ นใยอาหารของเมล็ดแมงลักงอกที่อายุต่างๆ. ปั ญหาพิเศษปริ ญญาตรี ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . นครปฐม. 26 หน้ า. วิไล รังสาดทอง. 2543. เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. เท็กซ์ แอนด์ เจอร์ นลั พับบลิชชิ่ง. กรุงเทพฯ. 500 หน้ า. สรจักร ศิริบริ รักษ์ . 2546. วิตามินสู้หวัด ภูมิแพ้ –วิตามินซี. พลังมหัศจรรย์ในอาหาร. ซีเอ็ดยูเคชัน่ . กรุงเทพฯ. 368 หน้ า. องอาจ ตัณฑวณิช. 2543. เมล็ดทานตะวันงอก คุณค่าอาหารสูง. มติชนบท เทคโนโลยีชาวบ้ าน. ปี ที่ 23 ฉบับที่ 489. แหล่งที่มา:http://info.matichon.co.th/techno/techno.php?srctag=05022151053 &srcday=&search=no อรพร ชัยรัตน์. 2548. ใยอาหาร. ฝ่ ายโภชนาการ กองส่งเสริ มสาธารณสุข สานักอนามัย. แหล่งที่มา: http://203.135.220.217 /hpd/ Data/ nutrition/NUwbMarchFiberOR48.htm [22 เมษายน 2558]. เอมอัชฌา. 2541. เส้ ยใย อาหารเพื่อคุณภาพชีวิต. วิทยาจารย์, ปี ที่ 97 ฉบับที่ 6-8 มิ.ย – ส.ค. 2541 แหล่งที่มา: http://web.ku.ac.th/schoolnet/snet4/anatomy/food2.htm [22 เมษายน 2558]. Arrigoni, O. and M.C. De Tullio. 2002. Ascorbic acid: much more than just an antioxidant. Biochimica et Biophysica Acta. 1569: 1-9. Association of Official Chemists (AOAC). 2000. Official methods of analysis of Association of Official Analytical Chemists. 17th ed., Association of Official Analytical Chemists International. Gaitherburg. 2200 p. Balasaraswathi R., and S. Sadasivam. 1997. Changes in oil, sugars and nitrogenous components during germination of sunflower seeds, Helianthus annuus. Plant Foods Human.Nutritional Sciences. 51: 71-77. Candy, J.B. and W.S. Morgan. 1948. Treatment chronic ulcers with chlorophyll: review of a Series of fifty cases, American Association Surgery of Trauma. 34: 562-569. Carpenter, E.B. 1949. Clinical experiences with chlorophyll preparations: with particular reference to chronic osteomyelistis and chronic ulcers, The American Joumal of Surgery. 77: 167-171. Davey, M.W., M. Van, M. Inze, D. Sanmartin, M. Kanellis, A. Smirnoff, N. Benzie, J. J. Strain, D. Favell and J. Fletcher. 2000. Plant Lascorbic acid: chemistry, function, metabolism, bioavailability and effects of processing. Jourmal of the Science of Food and Agriculture. 80: 825-860. Eitenmillar, R.R. and W.O. Landen. 2000. Vitamin Analysis for the Health and Food Sciences, CRD Press, Boca Raton, FL. Gill C., S. Haldar, S. Porter, S. Matthews, S. Sullivan, J. Coulter, H. McGlynn and I. Rowland. 2004. The Effect of cruciferous and leguminous sprouts on genotoxicity, in virto and in vivo. Cancer Epidemiology, Biomarkers and Prevention. 13: 1199-1205. Giovannucci, E, E.B. Rimm, M.J. Stampfer, G.A. Coiditz, A. Ascherio and W.C. Willett. 1994. Intake of fat, meat, and fiber in relation to risk of colon cancer in men. Cancer Research. 54: 2390-2397. Gould, W.A. 1997. Food Quality Assurance. The AVI publishing company. Inc. New York. 664 p. Guo, R., Y. Gaofeng and W. Qiaomei. 2011. Effect of sucrose and mannitol on the accumulation of health-promoting compounds and the activity of metabolic enzymes in broccoli sprouts. Science Horticultural. 128: 159-165. Herrera, A., S. Boussiba, V. Napoleone and A. Hohlberg. 1989. Recovery of c-phycococyanin from cyanobacteriumSpirulina maxima. Journal of Applied Phycology. 1: 325-331. Horwitz, B. 1951. Role of chlorophyll in proctology, The American Journal of Surgery. 81: 81- 84. International Seed Testing Association (ISTA). 1999. International Rules for Seed Testing. Seed Science and Tachnology. 27: 1- 340. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

403


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Khaw, K.T., S. Bingham, A. Welch, R. Luben, N. Wareham and N. Day. 2011. Relation between plasma ascorbic acid and mortality in men women in EPIC-Norfolk prospective study: a prospective population study. European Prospective Investigation into Cancer and Nutrition. 35: 657-663. Kima, S, I.S.M. Zaidul, T. Suzuki, Y. Mukasa, N. Hashimoto, S. Takigawa, T. Noda, M.E. Chie and H. Yamauchi. 2007. Comparison of phenolic compositions between common and Tartary buckwheat (Fagopyrum) sprouts. Food Chemistry. 110: 814-820. Klein, B. P. and A.C. Kurilich. 2000. Processing effects on dietary antioxidants from plant foods. HortScience. 35: 580-584. Liua, B. G. Xiaona, Z. Kexue and L. Yang. 2011. Nutritional evaluation and antioxidant activity Of sesame sprouts. Food Chemistry. 129: 799-803. Mackinney, G. 1941. Absorption of light by chlorophyll solutions.The Division of Fruit products, University of California. Berkeley. 64 p. Marton, M., Zs. Nandoki and J. Csapo. 2010. Evaluation of biological value of sprouts l. Fat content, fatty acid composition. Acta University SapientiaeAlimentaria. 3: 53-65. Morishita, T., H. Yamaguchi and K. Degi. 2007. The contribution of polyphenols to antioxidative activityin common buckwheat and tartary buckwheat grain. Plant Prodution Science. 10: 99-104. Oswald, J. and D. Oswald. 2000. Sprout for survival. Plant base nutrition. 5: 1-16. Sangronis, E. and C. J. Machado. 2007. Influenced of germination on the nutritional quality of Phaseolus vulgaris and Cajanuscajan. LWT-Food Science and Technology. 40: 116-120. Sauberlich, H.E. 1991. Vitamin C and antioxidants.Annual Review Nutrition. 14: 371-391. Segasothy, M. and P. A. Philips. 1999. Vegetarian diet: panacea for modern lifestyle Diseases. QJM: An International Journal of Medicine. 92: 531-544. Simonich, M.T., P. A. Egner and B.D. Roebuck. 2007. Natural chlorophyll inhibits aflatoxin B1-Induced multi-organ carcinogenesisin the rat. Carcinogenesis. 28: 1294-1302. Smith, L.W. and A.E. Livingston. 1945. Wound healing: an experimental study of water soluble chlorophyll derivatives in conjunction with various antibacterial agents. American Association Surgery of Trauma. 67: 30-39. West, S.K., M.W. Loftin, C.D.Batich and C.L. Beatty. 1985. Polymer as moisture barriers to Maintain seed quality. Crop science. 25: 941-944. Yuan, G., W. Xiaoping, G. Rongfang and W. Qiaomei. 2010. Effect of salt stress on phenolic compounds, glucosinolates, myrosinase and antioxidant activity in radish sprouts. Food and Chemical. 121: 1014-1019.

404

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คุณสมบัตแิ ละความต้ านทานปลวกของไม้ การบูร Properties and Termite Resistance of Camphor Wood (Cinnamomum camphora) มานพ ธรสินธุ์1 และ วิกนั ดา รัตนพันธ์2 Manop Tarasin1 and Wigunda Rattanapun2

บทคัดย่ อ การศึกษาคุณสมบัติเชิงกลและความต้ านทานปลวก Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) ของไม้ การบูรในส่วนแก่นและกระพี ้ กระทาในห้ องปฏิบตั ิการ โดยทาการทดสอบกับปลวกใต้ ดิน C. gestroi ตามมาตรฐานการทดสอบ ของ American Society for Testing and Materials (ASTM D 3345-74) และการทดสอบสมบัติเชิงกลตามมาตรฐาน BS 373:1957 ผลการศึกษาพบว่า ไม้ ยางพาราชิ ้นไม้ ควบคุม ไม้ การบูรส่วนแก่นและกระพี ้มีการสูญเสียน ้าหนักจากการทาลายของ ปลวกเท่ากับ 30.47 ±8.68 , 36.58 ±5.38 และ 18.69 ±7.26 % ตามลาดับ จากการทดสอบ เห็นได้ ชัดว่าส่วนแก่นสูญเสีย นา้ หนักจากการทาลายของปลวกมากกว่าส่วนกระพีอ้ ย่างมีนัยสาคัญ ผลการทดสอบคุณสมบัติเชิงกลของไม้ การบูร พบว่า แรงอัดขนานเสี ้ยนชิ ้นไม้ สว่ นแก่นและกระพี ้ มีค่าเท่ากับ 34.74 ±2.51 และ 35.44 ±2.49 MPa ตามลาดับ ค่าความเค้ นเฉือน ขนานเสี ้ยนชิ ้นไม้ สว่ นแก่นและกระพี ้ เท่ากับ 9.52 ±1.43 และ 11.39 ±0.73 MPa ตามลาดับ การทดสอบโมดูลสั แตกหัก (MOR) ชิ ้นไม้ สว่ นแก่นและกระพี ้ พบว่า มีค่าเท่ากับ 79.82 ±6.76 MPa และ 80.95 ±3.83 MPa ตามลาดับ การทดสอบโมดูลสั ยืดหยุ่น (MOE) ชิ ้นไม้ สว่ นแก่นและกระพี ้ พบว่ามีค่าเท่ากับ 9,408.33 ±879.93 และ 10,330 ±730.50 MPa ตามลาดับ ผลการทดสอบ การฉีกชิ ้นไม้ สว่ นแก่นและกระพี ้ พบว่ามีคา่ เท่ากับ 0.65 ±0.12 และ 0.58 ±0.09 MPa ตามลาดับ คาสาคัญ: กระพี ้ แก่น น ้าหนัก สมบัติเชิงกล ปลวกใต้ ดิน การบูร

Abstract This research project aimed to study the resistance of camphor wood on termite infestation and the mechanical properties of sapwood and heartwood of camphor wood compare to rubberwood. The resistance of subterranean termites Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) was carried out in the laboratory relied on the American Society for Testing and Materials (ASTM D 3345-74) standard and BS 373:1957 standard for mechanical properties testing. Results showed that weight loss of rubberwood, heartwood and sapwood of camphor wood from termite destroy were 30.47 ±8.68, 36.58 ±5.38 and 18.69 ±7.26 %, respectively. Results presented that weight loss of heartwood was higher than that of sapwood significantly. Results of mechanical properties study of heartwood and sapwood showed that the compression parallel to grain, the shear stress parallel to grain, the modulus (MOR), the elastic modulus (MOE) and the torn between heartwood and sapwood were 34.74 ± 2.51 and 35.44 ± 2.49 MPa, 9.52 ± 1.43 and 11.39 ± 0.73 MPa, 79.82 ± 6.76 and 80.95 ± 3.83 MPa, 9,408.33 ± 879.93 and 10,330 ± 730.50 MPa, and 0.65 ± 0.12 and 0.58 ± 0.09 MPa, respectively. Keywords: sapwood, heartwood, weight, mechanical properties, Coptotermes gestroi, camphor

1

หน่วยวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมไม้ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ ธานี สุราษฎร์ ธานี 84000 2 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขต สุราษฎร์ ธานี สุราษฎร์ ธานี 84000 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

405


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ไม้ การบูร หรื ออบเชยญวน พรมเส็ง (Cinnamomum camphora) เป็ นพรรณไม้ ในวงค์อบเชย (Lauraceae) พบใน เขตกึ่งร้ อน และพบขึ ้นอยู่ตามธรรมชาติในประเทศญี่ปนุ่ หมู่เกาะริ วกิว ตอนใต้ ของแม่น ้าแยงซีในจีน เกาะไหหลา ไต้ หวัน และ เวียดนาม ทุกส่วนมีกลิ่นการบูรโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่รากและโคนต้ นมีกลิ่นหอมมากกว่าส่วนอื่น ๆ น ้ามันหอมจากไม้ สกุลอบเชย จะประกอบ ด้ วยสาระสาคัญ คือ Cinnamic aldehyde ซึ่งช่วยยับยังการรวมตั ้ วของเกล็ดเลือด และช่วยป้องกันการภาวะลิ่ม เลือดอุดตันก่อนและหลังการผ่าตัด ใช้ ในงานศัลยกรรมตกแต่ง ตลอดจนการผ่าตัดหัวใจ และยังพบว่าในเปลือกอบเชยมี Omethoxy cinnamaldehyde ซึง่ มีฤทธิ์ต้านเชื ้อราได้ เป็ นอย่างดี ส่วนในใบสดของไม้ สกุลอบเชยจะประกอบด้ วย euganol ใช้ ใน อุตสาหกรรมเครื่ องหอม แต่งกลิ่นสบู่ การบูรธรรมชาติใช้ ผสมเป็ นยาเพื่อป้องกันแมลงบางชนิด ซึ่งฤทธิ์ ทางเภสัชวิทยา ต้ าน แบคทีเรี ย ต้ านเชื ้อรา และฆ่าแมลง จากคุณสมบัติในการป้องกันกาจัดแมลงของไม้ การบูร จึงมีความน่าสนใจในการนาน ้ามัน หอมมาใช้ ในการป้องกันรักษาเนื ้อไม้ จากการทาลายของปลวก ทดแทนสารเคมีที่ใช้ ในการป้องกันรักษาเนื ้อไม้ เช่น chromated copper arsenate (CCA) และ chromated copper borate (CCB) ซึ่งเป็ นสารเคมีที่ปัจจุบนั ถูกจากัดการใช้ ในโรงงาน อุตสาหกรรมไม้ เนื่องจากมีอนั ตรายและตกค้ างในสิง่ แวดล้ อม ปลวกใต้ ดิน Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae) เป็ นแมลงที่กินจุ สามารถลงทาลายไม้ บอร์ ด กระดาษ และผ้ า โดยพบว่าปลวกชนิ ดนี ส้ ามารถเจาะผ่านพลาสติก ยาง และโฟม เพื่อหาอาหาร จากการศึกษาพบว่า C. gestroi สามารถทาโพรงหาอาหารบนผิวดินเป็ นระยะทางยาวหลายเมตรจากรังเข้ าไปสู่โครงสร้ างบ้ านเพื่อลงทาลายเนื ้อไม้ ของ ตัวอาคารและเฟอร์ นิเจอร์ ภายในบ้ าน ในประเทศสิงคโปร์ และมาเลเซีย พบความเสียหายในเฟอร์ นิเจอร์ และตัวโครงสร้ างอาคาร ที่ทาจากไม้ จากการทาลายของ C. gestroi สูงถึง 80 – 90% และพบว่าเป็ นปลวกชนิดที่พบมากที่สดุ จากการศึกษาสารจาก ธรรมชาติเพื่อป้องกันกาจัดปลวก พบว่า การใช้ น ้าส้ มควันไม้ จากไม้ ยคู าลิปตัส และการใช้ สารโบรอนในการป้องกันรักษาเนื ้อไม้ จากการทาลายของปลวกใต้ ดิน ยังไม่สามารถยับยังการลงท ้ าลายของปลวกชนิดนี ้ได้ (Tarasin, 2013; Tarasin et al., 2013) ในขณะที่ Alavijeh et al. (2014) พบว่า น ้ามันหอมระเหยที่สกัดได้ จากต้ น Eucalyptus camaldulensis Dehneh. (Myrtaceae) ที่ระดับความเข้ มข้ น 0.7% มีประสิทธิภาพในการขับไล่ปลวก Microcerotermes diversus (Isoptera: Termitidae) และที่ระดับ ความเข้ มข้ น 1.6% สามารถทาให้ ปลวกตายได้ 100% สอดคล้ องกับผลการศึกษาของ Siramon et al. (2009) ซึง่ พบว่าน ้ามัน หอมระเหยจาก E. camaldulensis สามารถฆ่าปลวก Coptotermes formosanus Shiraki (Isoptera: Termitidae) โดยทาให้ เกิดการตาย 50%

อุปกรณ์ และวิธีการ ดาเนินการทดลองที่ศนู ย์ทดสอบไม้ ยางพาราและผลิตภัณฑ์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ ธานี วางแผนการทดลองแบบ CRD (Completely Randomized Design) วิธีการทดสอบความต้ านทานต่ อการเข้ าทาลายของปลวก นาไม้ การบูร อายุ 5 ปี จากสวนป่ าสถานีวิจยั เกษตรหลวงอ่างขาง อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยทาการตัดชิน้ ทดสอบขนาด 25 x 25 × 6.4 มิลลิเมตร แบ่งเป็ นส่วนแก่นและกระพี ้ อบแห้ งที่อณ ุ หภูมิ 103±2 องศาเซลเซียส จนน ้าหนักคงที่ ก่อนนาไปทดสอบกับปลวกในห้ องปฏิบตั ิการ การทดสอบแบบไม่ มีตัวเลือก นาชิ ้นไม้ มาทดสอบกับปลวกใต้ ดิน C. gestroi โดยดาเนินตามมาตรฐานการทดสอบของ American Society for Testing and Materials (ASTM D 3345-74) นาไม้ ตวั อย่างที่เตรี ยมไว้ ชัง่ น ้าหนักก่อนวางในกล่องพลาสติกทรงกระบอก ขนาด เส้ นผ่าศูนย์กลาง 10.5 เชนติเมตร สูง 5.5 เชนติเมตร รองพื ้นด้ วยทรายที่ผ่านการฆ่าเชื ้อและมีความชื ้น กล่องละ 1 ท่อน ปล่อย ปลวกจานวน 1 กรัม ซึง่ ประกอบด้ วยปลวกงาน 90% และปลวกทหาร 10% ต่อกล่องทดลอง ใช้ กลุม่ ละ 10 ซ ้า ทิ ้งไว้ เป็ นเวลา 4 สัปดาห์ ภายใต้ ระดับอุณหภูมิ 24 ± 0.5 ในห้ องปฏิบตั ิการ โดยมีชุดควบคุมคือไม้ ยางพาราที่ไม่ผ่านกระบวนการรักษาเนื ้อไม้ จากนันน ้ าไปอบด้ วยตู้อบที่อณ ุ หภูมิ 103±2°C องศาเซลเซียส จนน ้าหนักคงที่ก่อนนามาชัง่ เพื่อหาน ้าหนักไม้ ที่หายไป การประเมินความเสียหายบนไม้ ทดลอง โดยใช้ น ้าหนักของไม้ ที่สญ ู หาย (weight loss) จากน ้าหนักไม้ ก่อนและหลัง การทดสอบ เป็ นร้ อยละของความเสียหายที่เกิดจากการเข้ าทาลายของปลวก 406

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Weight loss (%) = (W1-W2) x100/W1 Weight loss (%) = ค่าร้ อยละน ้าหนักที่สญ ู หาย W1 = น ้าหนักไม้ ก่อนการทดลอง W2 = น ้าหนักไม้ หลังการทดลอง วิธีการทดสอบสมบัตเิ ชิงกล นาไม้ ทาการแปรรูปตามมาตรฐาน ISO 3129 : 1975 (E) และทาการตัดไม้ ทดลองให้ ได้ ขนาดตาม ตามมาตรฐาน BS 373 : 1957 เพื่อทดสอบแรงอัดขนานเสี ้ยน ทดสอบความเค้ นเฉือนขนานเสี ้ยน ทดสอบโมดูลสั แตกหัก ทดสอบโมดูลสั ยืดหยุ่น และทดสอบการฉีกของชิ ้นไม้ การบูรส่วนแก่นและกระพี ้ ทิ ้งไว้ ภายใต้ ระดับอุณหภูมิ 24 ± 0.5 ในห้ องปฏิบตั ิการ จนน ้าหนักคงที่ ก่อนนาไปทดสอบกับ เครื่ องทดสอบสมบัติเชิงกล (universal testing machine) การใช้ สถิตวิ เิ คราะห์ การวิเคราะห์ความแตกต่างของน ้าหนักไม้ ที่หายไปโดยเปรี ยบเทียบระหว่างไม้ ส่วนแก่นและกระพี ้ ของไม้ ตวั อย่างกับ ชุดควบคุม ใช้ การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (one-way ANOVA) และแบบสองทาง (two-way ANOVA)

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากผลการศึกษาการทดสอบความต้ านทานปลวก พบว่า ไม้ ยางพารา แก่นและกระพี ข้ องไม้ การบูร มีการสูญเสีย น ้าหนักจากการทาลายของปลวก เท่ากับ 30.47 ±8.68, 36.58 ±5.38 และ 18.69 ±7.26 % ตามลาดับ ซึง่ กระพี ้ของไม้ การบูร แตกต่างจากไม้ ยางพาราอย่างไม่มีนยั สาคัญ ในขณะที่น ้าหนักที่สญ ู เสียไปจากการทาลายของปลวกระหว่างส่วนแก่นและกระพี ้ ของไม้ การบูรมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญเช่นเดียวกัน (P<0.05) ซึ่งเห็นได้ ชดั ว่าปลวกมีการเข้ าทาลายส่วนแก่นของไม้ การบูรมากกว่าส่วนกระพี ้ (Figure 1) ซึ่งอาจเป็ นเพราะส่วนแก่นของไม้ เป็ นส่วนเนื ้อไม้ ที่หยุดการพัฒนาและไม่มีการทางานใน ส่วนของท่อลาเลียงน ้าและอาหาร ในขณะที่ส่วนกระพี ้เป็ นส่วนที่มีท่อลาเลียงน ้าและอาหารทางานอยู่ ดังนันบริ ้ เวณกระพี ้จึงมี น ้ามันหอมระเหยอยู่มากกว่าส่วนแก่น ซึ่งทาให้ ปลวกลงทาลายน้ อยกว่า จากรายงาน พบว่า น ้ามันหอมระเหยจาก cinnamon (Cinnamomum osmophloeum) มีผลในการยับยัง้ การเจริ ญเติบโตของเชื อ้ ราและแบคที เรี ย โดยมี Cinnamaldehyde สารประกอบสาคัญในน ้ามันหอมระเหยของการบูร ซึง่ มีฤทธิ์ต้านเชื ้อราที่ดีกว่าเมื่อเทียบกับส่วนประกอบอื่น ๆ (Chang et al., 2001; Wang et al., 2005) และจากการทดสอบปลวก C. gestroi ของไม้ ยางพาราที่ไม่มีการใช้ น ้ามันหอมระเหยในการรักษา เนื ้อไม้ ไม้ ยางพารามีการสูญเสียน ้าหนักสูงถึง 45% เมื่อเทียบกับไม้ ยางพาราที่ใช้ น ้ามันหอมระเหยในการรักษาเนื ้อไม้ จะมีการ สูญเสียน ้าหนักน้ อยกว่า (Matan et al., 2009)

Figure 1 Percent of weight loss of wood sample infested by C. gestroi จากผลการศึกษาคุณสมบัติเชิงกลของไม้ การบูรอายุ 5 ปี เมื่อเปรี ยบเทียบกับไม้ ยางพารา จะเห็นได้ ว่าไม้ การบูรมี คุณสมบัติเชิงกลที่ใกล้ เคียงกับไม้ ยางพารา (Table 1) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

407


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Properties of camphor and rubber wood Camphor wood Properties 1. Moisture content (%) 2. Specific gravity 3. Compressive Stress Parallel to Grain (MPa) 4. Shearing Stress Parallel to Grain (MPa) 5. Strength and Stiffness in Static Bending (MPa) 5.1 Modulus of Rupture (MOR) 5.2 Modulus of Elasticity (MOE) 6. Cleavage (MPa) * กรมป่ าไม้ (2540)

Heartwood n=6 9.74 0.48 34.74±2.51 9.52±1.43

Sapwood n=6 9.40 0.49 35.44±2.49 11.39±0.73

Rubber wood*

79.82±6.76 9,408.33±879.93 0.65±0.12

80.95±3.83 10,330±730.50 0.58±0.09

95 9,414 0.78

12 0.80 46 15.80

สรุ ป ส่วนกระพี ้ของไม้ การบูรสามารถต้ านทานต่อการเข้ าทาลายของปลวก C. gestroi ได้ ดีที่สดุ รองลงมาคือส่วนแก่น ของไม้ การบูรและไม้ ยางพารา ตามลาดับ

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสถานีวิจยั เกษตรหลวงอ่างขาง อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ที่อนุเคราะห์ไม้ การบูรเพื่อใช้ ในการทดลอง

เอกสารอ้ างอิง กรมป่ าไม้ . 2540. ผลงานวิจยั การใช้ ประโยชน์ไม้ สะเดาเทียม. ส่วนวิจยั และพัฒนาผลิตผลป่ าไม้ สานักวิชาการป่ าไม้ กรมป่ าไม้ , กรุงเทพฯ Alavijeh, E.H., B. Habibpour, S. Moharrabipour and A. Rasekh. 2014. Bioactivity of Eucalyptus camaldulensis essential oil against Microcerotermes diversus (Isoptera: Termitidae). Journal of Crop Protection 3: 1-11. Chang,S.T, P.F.Chen and S.C. Chang. 2001. Antibacterial activity of leaf essential oils and their constituents from Cinnamomum osmophloeum J. Ethnopharmacol. 77: 123–127. Matan, N., W. Woraprayote, W. Saengkrajang, N. Sirisombat and N. Matan. 2009. Durability of rubberwood (Hevea brasiliensis) treated with peppermint oil, eucalyptus oil, and their main components. Biodegradation 63: 621–625. Siramon, P., Y. Ohtani and H. Ichiura. 2009. Biological performance of Eucalyptus camaldulensis leaf oils from Thailand against the subterranean termite Coptotermes formosanus Shiraki. Japan Wood Research 55: 41-46. Tarasin, M. 2013. Effect of eucalyptus wood vinegar on rubberwood infestation by Asian subterranean termite, Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae). Comm. Agri. App. Biol. Sci. 78: 317-322. Tarasin, M., A. Petharwut and W. Rattanapun. 2013. Potential of boron rubberwood preservatives against Asian subterranean termite Coptotermes gestroi (Isoptera: Rhinotermitidae). The 5th International Symposium of IWoRS, November 7-8, Novotel Hotel, Balikpapan, Indonesia. Wang,S.Y.,P.F.Chen and S.T.Chang. 2005. Antifungal activities of essential oils and their constituents from indigenous cinnamon (Cinnamomum osmophloeum) leaves against wood decay fungi bioresource technology. 96: 813–818.

408

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการให้ ความร้ อนในรูปแบบต่ างๆ ต่ อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลแคนตาลูป Effect of Heat Treatment in Various Patterns on Quality Change of Cantaloupe Melon Fruit กัญญารัตน์ เหลืองประเสริฐ1 Kanyarat Lueangprasert1

บทคัดย่ อ แคนตาลูปเป็ นผลไม้ ที่นิยมบริโภคและนิยมปลูกอย่างมากในแถบภาคตะวันออกของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน จังหวัดสระแก้ ว แต่ยงั พบปั ญหาในเรื่ องของรสชาติของผลิตผลหลังเก็บเกี่ยวมีความหวานน้ อย ดังนันในการศึ ้ กษาครัง้ นี ้สนใจ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของแคนตาลูปด้ วยวิธีการให้ ความร้ อนรูปแบบต่างๆ โดยนาผลแคนตาลูปให้ ความร้ อนที่แตกต่าง กัน 2 รูปแบบได้ แก่ การให้ ความร้ อนแบบแห้ งโดยอบลมร้ อน (Oven heat treatment; OHT) และการให้ ความร้ อนแบบเปี ยกโดย น ้าร้ อน (Hot water treatment; HWT) ที่อณ ุ หภูมิ 45, 50, 55, 60 และ 65°ซ โดยให้ ความร้ อนแบบ OHT ทุกอุณหภูมิเป็ นเวลา 60, 120 และ 180 นาที และให้ ความร้ อนแบบ HWT ทุกอุณหภูมิเป็ นเวลา 30, 60, 90 และ 120 นาที เปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม (ไม่ได้ ให้ ความร้ อน) ทาการวิเคราะห์ผลทางด้ านกายภาพ เคมี และการยอมรับของผู้บริโภค พบว่าการให้ ความร้ อนแบบ OHT และ HWT ที่เหมาะสมที่สดุ ต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลแคนตาลูป ได้ แก่ 60°ซ เป็ นเวลา 120 นาที และ 60°ซ เป็ นเวลา 60 นาที ตามลาดับ โดยเนื ้อผลของแคนตาลูปที่ให้ ความร้ อนแบบ OHT และ HWT มีปริมาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายน ้าได้ เพิ่ม สูง ซึง่ มีคา่ เท่ากับ 13.17 และ 14 % ตามลาดับ เมื่อเปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม (10.10%) ค่าความแน่นเนื ้อของผล ค่าความ สว่าง ความเข้ มสีและค่าสีของเปลือกผลมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้ อย รวมทังการประเมิ ้ นคุณภาพในการบริโภคอยูใ่ นเกณฑ์ดีทงั ้ รสชาติ เนื ้อสัมผัส และการยอมรับโดยรวม และการได้ รับความร้ อนในรูปแบบต่างๆ ไม่สง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าสีของเนื ้อผล คาสาคัญ : การให้ ความร้ อนแบบแห้ ง, การให้ ความร้ อนแบบเปี ยก, แคนตาลูป, ปริมาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายน ้าได้

Abstract Cantaloupe melon is a popular fruit consumed and grown dramatically in the East region of Thailand, especially in Sakaeo province. However, the problem in the taste of harvested fruit is less sweetness. Therefore, this research was investigated to change the quality of cantaloupe melon with the heat treatments in various patterns. Cantaloupe melon fruits were treated for 2 different heat treatments, such as oven heat treatment (OHT) and hot water treatment (HWT) at 45, 50, 55, 60 and 65°C. All temperatures of OHT were heated for 60, 120 and 180 min and all temperatures of HWT were heated for 30, 60, 120 and 180 min compared with the control (treated without heat). Fruits were analysed by physiological, chemical and sensory evaluations. The results showed that, the OHT and HWT for the best appropriate treatments on quality change of cantaloupe melon fruit were heated for 60°C for 120 min and 60°C for 60 min, respectively. The pulp of cantaloupe melon fruit were heated via OHT and HWT to increased the total soluble solids (TSS) content which were 13.17 and 14%, respectively compared with the control (10.10%). Firmness of pulp, L*, C* and Hue values of peel were changed slightly. Sensory evaluations were the best quality for flavor, texture and acceptability. The heat-treated various patterns had no effect on pulp color quality. Keywords : oven heat treatment, hot water treatment, cantaloupe melon, total soluble solids content

1

กลุม่ วิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ ว

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

409


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา แคนตาลูป (Cucumis melo L var. cantaloupensis) เป็ นผลไม้ มีความสาคัญทางเศรษฐกิจในจังหวัดสระแก้ ว โดย เป็ นผลไม้ ที่นิยมปลูกและจาหน่ายกันเป็ นจานวนมาก ซึง่ พันธุ์ที่นิยมปลูกในปั จจุบนั ได้ แก่ พันธุ์ซนั สวีท เนื่องจากเปลือกนอกแข็ง ทนต่อโรคและแมลง มีเนื ้อหนาสีส้ม กรอบ แต่ผลผลิตมีรสชาติหวานน้ อยภายหลังการเก็บเกี่ยว ทาให้ มีรายงานการศึกษาในเรื่ อง การใช้ ความร้ อนในรูปแบบของน ้าร้ อนต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพภายหลังการเก็บเกี่ยว ซึง่ เกี่ยวข้ องกับการเพิ่มของรสชาติให้ มี ความหวานเพิ่มขึ ้นในผลิตผล โดยการให้ ความร้ อนแบบ HWT ในผลเมลอนพันธุ์ Sun Sweet ที่อณ ุ หภูมิ 60°ซ เป็ นเวลา 45 นาที เหมาะสมที่สดุ ในการเพิ่มปริ มาณ TSS ซึง่ มีค่าเพิ่มขึ ้น 11.41% จากชุดควบคุม (12.3%) และเนื ้อสัมผัสไม่แตกต่างจากชุด ควบคุม การนาผลิตผลไปเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิต่า 5±2°ซ เป็ นเวลา 15 วัน สามารถรักษาคุณภาพของผลิตผลได้ ดี (กัญญารัตน์ และคณะ, 2557; กัญญารัตน์ และ สมคิด, 2557) และการใช้ HWT ในผลเมลอนตัดแต่งพร้ อมบริโภคพันธุ์ Amarillo ที่อณ ุ หภูมิ 60°ซ เป็ นเวลา 1 นาที และเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 5±2°ซ สามารถรักษารสชาติและเนื ้อสัมผัสของเมลอนอยูใ่ นเกณฑ์ยอมรับได้ เมื่อเก็บรักษาเป็ นเวลา 8 วัน (Aguayo et al., 2008) โดยการใช้ ความร้ อนในรูปแบบของน ้าร้ อนยังมีความยุ่งยากในการจัดการ จึงมีแนวคิดในการหาวิธีการให้ ความร้ อนแบบใหม่ซงึ่ สะดวกต่อการจัดการและยังคงเพิ่มความหวานให้ เนื ้อผลแคนตาลูปใน ระหว่างการเก็บรักษา การให้ ความร้ อนแก่ผลิตผลมีหลากหลายวิธี ซึง่ ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลิตผลในด้ าน ต่างๆ ทังกายภาพ ้ เคมี และสรี รวิทยา การแช่ผลไม้ ในน ้าร้ อน (HWT) ที่อณ ุ หภูมิสงู เป็ นวิธีการหนึง่ ที่นิยมใช้ ในผลิตผลหลายชนิด ได้ แก่ เมลอน กีวี อะโวคาโด เป็ นต้ น รวมทังในผลแคนตาลู ้ ป แต่ยงั คงมีวิธีการให้ ความร้ อนอีกหลายวิธีซงึ่ เหมาะสมกับผลผลิต แตกต่างกันไป ได้ แก่ วิธีการใช้ ไอน ้าร้ อน (Vapor heat treatment) และวิธีการใช้ ลมร้ อน (Hot air treatment) เป็ นต้ น ซึง่ การใช้ ลมร้ อนเป็ นอีกวิธีการหนึง่ ที่สะดวกและง่ายต่อการจัดการ โดยการให้ ความร้ อนในอุณหภูมิและระยะเวลาที่เหมาะสม มีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลิตผลด้ านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มความหวาน และลดการเสื่อมสภาพของผล (Musto and Satriano, 2010) ดัง นัน้ ในการวิ จัย ครั ง้ นี ท้ าการศึ ก ษาวิ ธี ก ารให้ ค วามร้ อนโดยการให้ ค วามร้ อนแบบแห้ ง ซึ่ง ใช้ เ ตาอบความร้ อน เปรี ยบเทียบวิธีการให้ ความร้ อนแบบเปี ยกซึ่งใช้ นา้ ร้ อนในอุณหภูมิและระยะเวลาที่แตกต่างกันในผลแคนตาลูป โดยผลการ ทดลองที่ได้ น่าจะเป็ นประโยชน์ในการเพิ่มความหวานของผลิตผล ลดการเสื่อมสภาพของผลให้ คงคุณภาพเป็ นที่ยอมรับของ ผู้บริโภค เพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์ตอ่ ไป

อุปกรณ์ และวิธีการ การเตรี ยมตัวอย่ างพืช นาผลแคนตาลูปพันธุ์ Sun Sweet ในระยะแก่ทางการค้ า (commercial maturity) ในจังหวัดสระแก้ ว อายุประมาณ 60 - 65 วันหลังดอกบาน โดยคัดเลือกผลจากขนาด สีภายนอกของเปลือกผล ไม่มีรอยช ้าและตาหนิจากโรคและแมลง วิธีการทดลอง นาผลแคนตาลูปจานวน 120 ผล นามาให้ ความร้ อนที่แตกต่างกัน 2 รูปแบบได้ แก่ การให้ ความร้ อนแบบแห้ งโดยอบลม ร้ อน (OHT) และการให้ ความร้ อนแบบเปี ยกโดยน ้าร้ อน (HWT) ที่อณ ุ หภูมิ 45, 50, 55, 60 และ 65°ซ โดยให้ ความร้ อนแบบ OHT ทุกอุณหภูมิเป็ นเวลา 60, 120 และ 180 นาที และให้ ความร้ อนแบบ HWT ทุกอุณหภูมิเป็ นเวลา 30, 60, 90 และ 120 นาที เปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม (ไม่ได้ รับความร้ อน) ทาการวิเคราะห์ผลการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางด้ านกายภาพ เคมี และการ ยอมรับของผู้บริ โภค ดังนี ้ 1) ทางกายภาพ ได้ แก่ ความแน่นเนื ้อใช้ fruit hardness tester ค่าสีของเปลือกและเนื ้อผล (L*, C* และ Hue value) 2) ทางเคมี ได้ แก่ ปริ มาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายน ้าได้ (TSS) ใช้ digital refractometer 3) ทดสอบทาง ประสาทสัมผัสและการยอมรับของผู้บริ โภค (9-scale hedonic rating test) โดยให้ คะแนนทางด้ านการยอมรับโดยรวม เนื ้อ สัมผัส รสชาติ กลิ่น และสีเนือ้ ผล โดยมีเกณฑ์คะแนนดังนี ้ 9=ชอบมากที่สดุ , 7=ชอบปานกลาง, 5=เฉยๆ (ยอมรับได้ ทาง การค้ า), 3=ไม่ชอบปานกลาง และ 1=ไม่ชอบมากที่สดุ (Aguayo et al., 2008) วิเคราะห์ ผลทางสถิติ นาข้ อมูลที่มีการวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) มาทาการวิเคราะห์ผลทางสถิติ โดยวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance; ANOVA) ด้ วยโปรแกรม SPSS statistics 22 และเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ย ด้ วยวิธี Least Significant Difference (LSD) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% (P<0.05) 410

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ ปริมาณของแข็งทัง้ หมดที่ละลายนา้ ได้ เนื ้อผลในทุกชุดการทดลองที่ได้ รับความร้ อ นแบบ OHT ที่อณ ุ หภูมิ 45-65°ซ เป็ นเวลา 60, 120 และ 180 นาที มีค่า TSS เพิ่มขึ ้นเมื่อเทียบจากชุดควบคุม (10.10%) และมีค่าแตกต่างกันทางสถิติในทุกชุดการทดลอง (Table 1) โดยผลที่ได้ รับ ความร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 65°ซ เป็ นเวลา 180 นาที มีค่า TSS เพิ่มสูงสุดคือ 13.17% รองลงมาได้ แก่ 65°ซ เป็ นเวลา 120 นาที, 60 และ 45°ซ เป็ นเวลา 180 นาที, 60°ซ เป็ นเวลา 120 นาที, 50 และ 55°ซ เป็ นเวลา 180 นาที มีค่าเท่ากับ 12.93, 12.43, 12.13, 12.10, 11.68 และ 11.57% ตามลาดับ เนื ้อผลในชุดการทดลองที่ได้ รับความร้ อนแบบ HWT ที่อณ ุ หภูมิ 45-65°ซ เป็ นเวลา 30-90 นาที มีค่า TSS เพิ่มขึ ้นเมื่อ เทียบจากชุดควบคุม (10.10%) และมีค่าแตกต่างกันทางสถิติในทุกชุดการทดลอง ซึง่ หากใช้ เวลาในการให้ ความร้ อนมากกว่า 90 นาที TSS จะมีค่าลดลง (Table 1) โดยผลที่ได้ รับความร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 65°ซ เป็ นเวลา 60 นาที มีค่า TSS เพิ่มสูงสุดคือ 14% รองลงมาได้ แก่ 60°ซ เป็ นเวลา 60 นาที, 55°ซ เป็ นเวลา 90 นาที, 65°ซ เป็ นเวลา 30 นาที, 55°ซ เป็ นเวลา 60 นาที, 65°ซ เป็ น เวลา 90 นาที, 45°ซ เป็ นเวลา 120 นาที และ 50°ซ เป็ นเวลา 60 นาที มีค่าเท่ากับ 13.97, 12.53, 12.40, 12.33, 11.93, 11.93 และ 11.73% ตามลาดับ เนื ้อผลที่ได้ รับความร้ อนทังสองแบบมี ้ ค่า TSS เพิ่มสูงจากชุดควบคุมทังนี ้ ้เนื่องจากความร้ อนส่งผลให้ มีการสูญเสียน ้า จากเซลล์ โดยเมื่อตรวจวัดปริ มาณ TSS ในเนื ้อผลจึงพบว่ามีปริ มาณเพิ่มมากขึ ้น (สมโภชน์ และคณะ, 2554) และความร้ อนจะ ช่วยลดการหายใจให้ ต่าลงส่งผลให้ ปริ มาณน ้าตาลซูโครสไม่ถกู เปลี่ยนไปเป็ นน ้าตาลโมเลกุลเดี่ยวมากขึ ้นทาให้ ปริ มาณน ้าตาล รี ดิวส์มีปริมาณลดลงตามไปด้ วย ดังนันจึ ้ งพบค่า TSS ยังคงมีปริ มาณสูงมากกว่าชุดควบคุมซึง่ ผลิตผลมีการหายใจสูง (Aguayo et al., 2008; Lu et al., 2010; กัญญารัตน์ และคณะ, 2557) และเนื ้อผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ HWT มีค่า TSS มากกว่า OHT เนื่องจากความร้ อนจาก HWT ลดอัตราการหายใจของผลิตผลได้ มากกว่าการให้ ความร้ อนแบบ OHT จึงลดการย่อยสลาย น ้าตาลทาให้ ปริ มาณ TSS ยังคงมีปริ มาณสูงกว่าการได้ รับความร้ อนแบบ OHT (Polenta et al., 2006; Aguayo et al., 2008) เนื ้อผลที่ได้ รับความร้ อนที่อณ ุ หภูมิสงู เวลาสันและอุ ้ ณหภูมิต่าเวลานานจะมีผลเพิ่ม TSS ได้ ดี โดยหากใช้ อณ ุ หภูมิสงู เวลานาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ ความร้ อนแบบ HWT จะส่งผลทาลายคุณภาพของผลิตผล ทาให้ เนื ้อผล TSS ลดลง (Lu et al., 2010) และอุณหภูมิต่าเวลาสันจะส่ ้ งผลต่อการเปลี่ยนแปลงน้ อยมาก ความแน่ นเนือ้ แคนตาลูปในทุกชุดการทดลองที่ได้ รับความร้ อนแบบ OHT ที่อณ ุ หภูมิ 45-65°ซ เป็ นเวลา 60, 120 และ 180 นาที เนื ้อ ผลมีคา่ ความแน่นเนื ้อลดลงตามลาดับเมื่อเปรี ยบเทียบจากชุดควบคุม (19.37N) และมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) (Table 1) โดยผลที่ได้ รับความร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 60°ซ เป็ นเวลา 60 นาที มีค่าความแน่นเนื ้อลดลงจากชุดควบคุมน้ อย ที่สดุ คือ 19.04N รองลงมาได้ แก่ 60°ซ เป็ นเวลา 120 นาที, 65, 45, 50 และ 55°ซ เป็ นเวลา 60 นาที, 50, 65 และ 55°ซ เป็ น เวลา 120 นาที และความร้ อนทุกอุณหภูมิ เป็ นเวลา 180 นาที ตามลาดับ แคนตาลูปในทุกชุดการทดลองที่ได้ รับความร้ อนแบบ HWT ที่อณ ุ หภูมิ 45-65°ซ เป็ นเวลา 30, 60, 90 และ 120 นาที เนื ้อผลมีค่าความแน่นเนื ้อลดลงตามลาดับเมื่อเปรี ยบเทียบจากชุดควบคุม (19.37N) และมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทาง สถิติ (P<0.05) (Table 1) โดยผลที่ได้ รับความร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 45°ซ เป็ นเวลา 30 นาที มีค่าความแน่นเนื ้อลดลงจากชุดควบคุม น้ อยที่สดุ คือ 17.90N รองลงมาได้ แก่ 55, 60 และ 50°ซ เป็ นเวลา 30 นาที, 60, 45 และ 55°ซ เป็ นเวลา 60 นาที, 65°ซ เป็ นเวลา 30 นาที, 50°ซ เป็ นเวลา 60 นาที และความร้ อนทุกอุณหภูมิ เป็ นเวลา 90 และ 120 นาที ตามลาดับ ผลที่ได้ รับความร้ อนทัง้ สองรู ปแบบมีค่าความแน่นเนือ้ ลดลงเนื่องจากความร้ อนเร่ งการทางานของเอนไซม์ที่ทาให้ ผลิตผลเกิดความอ่อนนุ่ม ได้ แก่ polygalacturonase, galactosidases, pectin methylesterase และ ß-1,4-glucanases (Yousef et al., 2012) โดยผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ HWT มีค่าความแน่นเนื ้อลดลงมาก เนื่องจากความร้ อนทาลายสารเคลือบ ผิวธรรมชาติของผลิตผล และค่าความแน่นเนื ้อของผลลดลงระหว่างได้ รับความร้ อนสัมพันธ์ กบั การสูญเสียน ้าหนักที่เพิ่มขึ ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ ้นของอัตราการหายใจซึ่งเร่ งการเสื่อมสภาพของผนังเซลล์ (Polenta et al., 2006) การได้ รับความร้ อนที่ อุณหภูมิสูงและเวลาที่ ไ ม่เหมาะสมทาให้ ผลิต ผลเสื่อ มสภาพได้ เร็ วยิ่ งขึน้ โดยหากได้ รับความร้ อนที่ อุณหภูมิสูงเวลานาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ ความร้ อนแบบ HWT จะส่งผลทาลายผลิตผล ทาให้ ความแน่นเนื ้อของเนื ้อผลลดลงอย่างรวดเร็ ว แต่ หากให้ ความร้ อนแบบ OHT ที่อณ ุ หภูมิต่าเวลานานจะส่งผลดีกว่าการใช้ HWT ที่อณ ุ หภูมิสงู เวลาสันซึ ้ ง่ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ความแน่นเนื ้อให้ ต่าลงเพียงเล็กน้ อย สอดคล้ องในผลมะเขือเทศพันธุ์ Colt45 (Polenta et al., 2006) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

411


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Total soluble solids content (%) and firmness (N) of ‘Sun Sweet’ cantaloupe melon pulp after treated OHT and HWT at 45-65ºC for 60-180 min of OHT and 30-120 min of HWT. Treatments Total soluble solids content (%) Temperature Time OHT1 HWT1 (ºC) (min) control 10.10a 10.10bcde 45 30 11.23defgh 60 10.50abc 11.47efgh 90 11.57efgh 120 10.93abcd 11.93gh 180 12.13efg 50 30 11.60efgh 60 10.80abcd 11.73fgh 90 10.13bcde 120 11.17cd 8.53a 180 11.68def 55 30 9.80abcd 60 10.20ab 12.33h 90 12.53h 120 11.30bcd 11.13defgh 180 11.57def 60 30 10.27bcdef 60 11.60def 13.97i 90 10.50cdefg 120 12.10efg 9.00ab 180 12.43fgh 65 30 12.40h 60 11.50de 14.00i 90 11.93gh 120 12.93gh 9.57abc 180 13.17h F-test * * * Significantly different at P<0.05. 1 means followed by the different letters are significantly different at P<0.05.

Firmness (N) OHT1

HWT1

19.37d 16.83c 14.00ab 12.27a 16.65c 16.45c 13.17ab 16.45c 14.37b 13.62ab 19.04d 17.68cd 13.67ab 17.49cd 16.25c 14.07ab *

19.37j 17.90i 15.83fgh 14.50def 12.27bc 16.65hi 14.95efg 14.55def 13.27cd 17.83i 15.68fgh 13.52cde 12.92bc 16.78hi 16.15gh 13.30cd 11.55b 15.53fgh 14.83defg 11.97bc 9.37a *

ค่ าสีของเปลือกผล (L*, C* และ Hue value) ค่าความสว่าง (L* value) ของเปลือกผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ OHT ที่อณ ุ หภูมิ 45-65°ซ เป็ นเวลา 60 และ 120 นาที เปลือกผลมีค่าความสว่างเพิ่มขึน้ เมื่อเปรี ยบเทียบจากชุดควบคุม (89.95) และมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) หากใช้ เวลานานมากกว่า 120 นาที ความสว่างจะลดลง (Table 2) โดยผลที่ได้ รับความร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 55°ซ เป็ นเวลา 60 นาที มีค่าความสว่างเพิ่มขึ ้นจากชุดควบคุมมากที่สดุ คือ 91.71 รองลงมาได้ แก่ 50 และ 45°ซ เป็ นเวลา 60 นาที, 55°ซ เป็ น เวลา 120 นาที, 65 และ 60°ซ เป็ นเวลา 60 นาที, 45, 60 และ 65°ซ เป็ นเวลา 120 นาที และความร้ อนทุกอุณหภูมิที่เวลา 180 นาที ตามลาดับ ส่วนเปลือกผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ HWT ที่อณ ุ หภูมิ 45-65°ซ เป็ นเวลา 30 นาที เปลือกผลมีค่าความสว่าง 412

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เพิ่มขึ ้นเมื่อเปรี ยบเทียบจากชุดควบคุมและมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) หากใช้ เวลามากกว่า 60 นาที ความสว่างจะลดลงมากขึ ้นจากชุดควบคุม (Table 3) โดยผลที่ได้ รับความร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 55°ซ เป็ นเวลา 30 นาที มีค่าความ สว่างเพิ่มขึ ้นจากชุดควบคุมมากที่สดุ คือ 91.41 รองลงมาคือ 45, 50, 60 และ 65°ซ เป็ นเวลา 30 นาที, 55, 45, 50 และ 60°ซ เป็ นเวลา 60 นาที ตามลาดับ ค่าความเข้ มสี (C* value) ของเปลือกผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ OHT ที่อณ ุ หภูมิ 45-65°ซ เป็ นเวลา 60, 120 และ 180 นาที เปลือกผลมีค่าความเข้ มสีเพิ่มขึ ้นเมื่อเปรี ยบเทียบจากชุดควบคุม (23.52) และมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) (Table 2) โดยผลที่ได้ รับความร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 55°ซ เป็ นเวลา 60 นาที และ 65°ซ เป็ นเวลา 120 นาที มีค่าความเข้ มสี เพิ่มขึ ้นจากชุดควบคุมน้ อยที่สดุ คือ 23.71 และ 23.74 ตามลาดับ รองลงมาได้ แก่ 65, 60, 45 และ 50°ซ เป็ นเวลา 60 นาที, 55, 60, 45 และ 50°ซ เป็ นเวลา 120 นาที และความร้ อนทุกอุณหภูมิที่เวลา 180 นาที ตามลาดับ ส่วนเปลือกผลที่ได้ รับความร้ อน แบบ HWT ที่อณ ุ หภูมิ 45-65°ซ เป็ นเวลา 30, 60, 90 และ 120 นาที เปลือกผลมีค่าความเข้ มสีเพิ่มขึ ้นเมื่อเปรี ยบเทียบจากชุด ควบคุมและมีค่าแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P<0.05) (Table 3) โดยผลที่ได้ รับความร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 55°ซ เป็ นเวลา 30 นาที มีคา่ ความเข้ มสีเพิ่มขึ ้นจากชุดควบคุมน้ อยที่สดุ คือ 23.71 รองลงมาคือ 55°ซ เป็ นเวลา 60 นาที, 60, 50 และ 65°ซ เป็ น เวลา 30 นาที, 50 และ 60°ซ เป็ นเวลา 60 นาที ตามลาดับ ค่าสี (Hue value) ของเปลือกผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ OHT ที่อณ ุ หภูมิ 45-65°ซ เป็ นเวลา 60, 120 และ 180 นาที (Table 2) และเปลือกผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ HWT ที่อณ ุ หภูมิ 45-65°ซ เป็ นเวลา 30, 60, 90 และ 120 นาที (Table 3) ค่าสี ลดลงโดยเปลือกผลมีค่าสีเป็ นสีเหลืองเพิ่มขึ ้นตามลาดับเมื่อเปรี ยบเทียบจากชุดควบคุม (101.11) และมีค่าแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ OHT ที่อณ ุ หภูมิ 45°ซ เป็ นเวลา 60 นาที และแบบ HWT ที่อณ ุ หภูมิ 45°ซ เป็ นเวลา 30 นาที มีคา่ ความเข้ มสีเปลี่ยนแปลงจากชุดควบคุมน้ อยที่สดุ ได้ แก่ 100.35 และ 100.48 ตามลาดับ การให้ ความร้ อนโดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ ความร้ อนแบบ OHT ในสภาวะที่เหมาะสมส่งผลให้ ชะลอการเปลี่ยนแปลงสี ของเปลือกผลได้ เนื่องจากความร้ อนช่วยกระตุ้นความเข้ มข้ นของ acetaldehyde ให้ เพิ่มขึ ้น ซึง่ acetaldehyde ทาหน้ าที่เป็ นตัว ยับยังการผลิ ้ ตเอทิลีนและชะลอการสลายตัวของคลอโรฟิ ลล์ (Polenta et al., 2006) การให้ ความร้ อนแบบ OHT ลดการทางาน ของเอนไซม์ POD ซึ่งลดการทาลายผลิตผลลง (Vicente et al., 2006) แต่หากให้ ความร้ อนแบบ HWT ที่อณ ุ หภูมิสงู และ เวลานานเกินไปจะส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเปลือกผลโดยเปลี่ยนเป็ นสีน ้าตาลอย่างรวดเร็ วทังนี ้ ้เนื่ องจากการได้ รับ HWT ทาให้ ผลขาดแคลเซียมเกิดเมมเบรนเสื่อมสภาพซึง่ ส่งผลเร่งการทางานของเอนไซม์ POD จึงเกิดสีน ้าตาลขึ ้นทันทีหลังได้ รับความ ร้ อน (Lamikanra and Watson, 2007) แต่ความร้ อนไม่สง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงสีของเนื ้อผล (ไม่ได้ แสดงผล) การทดสอบการยอมรั บของผู้บริโภค การประเมินคุณภาพในการบริ โภคด้ านรสชาติ (flavor) เนื ้อสัมผัส (texture) และการยอมรับโดยรวม (acceptability) (Table 2 and 3) พบว่าเนื ้อผลในทุกชุดการทดลองที่ได้ รับความร้ อนให้ ผลการยอมรับในเกณฑ์ยอมรับได้ ทางการค้ า (คะแนน >5) โดยผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ OHT ที่อณ ุ หภูมิ 65°ซ เป็ นเวลา 120 นาที ได้ คะแนนการยอมรับด้ านรสชาติดีที่สดุ ซึง่ อยู่ ในเกณฑ์ดีมาก (8.8 คะแนน) (Table 2) รองลงมาได้ แก่ 60°ซ เป็ นเวลา 120 นาที, 65 และ 60°ซ เป็ นเวลา 180 นาที, 55 และ 50°ซ เป็ นเวลา 180 นาที ตามลาดับซึง่ อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (>8.0 คะแนน) ส่วนผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ HWT ที่อณ ุ หภูมิ 60°ซ เป็ นเวลา 60 นาที ได้ คะแนนการยอมรับด้ านรสชาติดีที่สดุ โดยอยู่ในเกณฑ์ดีมาก (8.4 คะแนน) (Table 3) รองลงมาได้ แก่ 65°ซ เป็ นเวลา 30 นาที, 55, 50 และ 65°ซ เป็ นเวลา 60 นาที ตามลาดับ ซึง่ อยูใ่ นเกณฑ์ดีมาก (>8.0 คะแนน) ในด้ านเนื ้อสัมผัสของเนื ้อผลพบว่าผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ OHT ที่อณ ุ หภูมิ 60°ซ เป็ นเวลา 120 นาที ได้ คะแนนการ ยอมรับด้ านเนื ้อสัมผัสดีที่สดุ ซึง่ อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (8.6 คะแนน) (Table 2) รองลงมาได้ แก่ 65°ซ เป็ นเวลา 120 นาที, 55 และ 50°ซ เป็ นเวลา 180 นาที ตามลาดับซึง่ อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (>8.0 คะแนน) ส่วนผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ HWT ที่อณ ุ หภูมิ 60 และ 65°ซ เป็ นเวลา 30 นาที ได้ คะแนนการยอมรับด้ านเนื ้อสัมผัสดีที่สดุ ซึง่ อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (8.4 คะแนน) (Table 3) รองลงมา ได้ แก่ 60, 55 และ 50°ซ เป็ นเวลา 60 นาที, 60°ซ เป็ นเวลา 30 นาที ตามลาดับ ซึง่ อยูใ่ นเกณฑ์ดีมาก (>8.0 คะแนน) ในด้ านการยอมรับโดยรวมของผลพบว่าผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ OHT ที่อณ ุ หภูมิ 60°ซ เป็ นเวลา 120 นาที ได้ คะแนนการยอมรับโดยรวมดีที่สดุ ซึง่ อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (8.8 คะแนน) (Table 2) รองลงมาได้ แก่ 65°ซ เป็ นเวลา 120 นาที, 55 และ 50°ซ เป็ นเวลา 180 นาที ตามลาดับซึง่ อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (>8.0 คะแนน) ส่วนผลที่ได้ รับความร้ อนแบบ HWT ที่อณ ุ หภูมิ 60°ซ เป็ นเวลา 60 นาที ได้ คะแนนการยอมรับโดยรวมดีที่สดุ ซึง่ อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (8.8 คะแนน) (Table 3) รองลงมาได้ แก่ 65°ซ เป็ นเวลา 30 นาที, 55 และ 50°ซ เป็ นเวลา 60 นาที, ตามลาดับ ซึง่ อยูใ่ นเกณฑ์ดีมาก (>8.0 คะแนน) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

413


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การทดสอบทางประสาทสัมผัสได้ คะแนนสอดคล้ องกับการวิเคราะห์ผลทางกายภาพและเคมี ซึง่ ผลการให้ ความร้ อนทัง้ แบบ OHT และ HWT มีผลคะแนนในการยอมรับของผู้บริ โภค ด้ านรสชาติและเนื ้อสัมผัสมีค่าสูงกว่าชุดควบคุม โดยผลที่ผ่าน OHT 4 ชุดทดลองที่ให้ ผลคะแนนในเกณฑ์ดีได้ แก่ ที่อณ ุ หภูมิ 60 และ 65°ซ เป็ นเวลา 120 นาที, 55 และ 50°ซ เป็ นเวลา 180 นาที และผลที่ผ่าน HWT 4 ชุดทดลองที่ให้ ผลคะแนนในเกณฑ์ดีได้ แก่ ที่อณ ุ หภูมิ 60°ซ เป็ นเวลา 60 นาที, 65°ซ เป็ นเวลา 30 นาที, 55 และ 50°ซ เป็ นเวลา 60 นาที ซึง่ ได้ รสชาติหวานมาก เนื ้อสัมผัสนิ่มเล็กน้ อย สีเปลือกเปลี่ยนแปลงเล็กน้ อย สีเนื ้อผลไม่ แตกต่างจากชุดควบคุม และกลิน่ ปกติ (ไม่ได้ แสดงผล) Table 2 L*, C* and Hº values of ‘Sun Sweet’ cantaloupe melon peel and sensory evaluation score of fruit pulp after treated OHT at 45-65ºC for 60-180 min. Treatments Temperature Time L* value1 C* value1 Hº value1 Flavor1 (ºC) (min) control 89.95cd 23.52a 101.11d 6.0a 45 60 90.81de 24.87abcde 100.35bc 7.4b 120 90.63cde 25.11bcde 100.18abc 7.8bcd 180 90.11cd 25.63de 100.06abc 8.0bcd 50 60 90.86de 24.96abcde 100.31bc 7.6bc 120 89.57cd 25.40cde 99.92abc 8.0bcd 180 89.28bc 25.57cde 99.64abc 8.4bcd 55 60 91.71e 23.71ab 100.22abc 7.8bc 120 90.77de 24.10abcd 99.53abc 8.2bcd 180 88.23ab 25.64de 98.45abc 8.6cd 60 60 90.47cde 24.09abcd 100.16abc 7.8bcd 120 90.36cde 24.36abcde 99.43abc 8.8d 180 89.91cd 25.91e 98.37ab 8.6cd 65 60 90.68cde 23.99abc 100.06abc 8.0bcd 120 90.27cd 23.74ab 99.10abc 8.8d 180 87.39a 25.63de 98.02a 8.6cd F-test * * * * * Significantly different at P<0.05. 1 means followed by the different letters are significantly different at P<0.05.

414

Texture1

Acceptability1

6.6a 7.6b 7.6b 7.8bc 7.6b 7.8bc 8.2bc 7.8bc 8.0bc 8.4bc 8.0bc 8.6c 7.8bc 8.0bc 8.4bc 7.8bc *

6.0a 7.8b 8.0bc 8.0bc 8.0bc 8.0bc 8.4bc 8.2bc 8.2bc 8.6bc 8.2bc 8.8c 8.0bc 8.2bc 8.6bc 8.0bc *

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 L*, C* and Hº values of ‘Sun Sweet’ cantaloupe melon peel and sensory evaluation score of fruit pulp after treated HWT at 45-65ºC for 30-120 min. Treatments Temperature (ºC) control 45

Time (min) 30 60 90 120 30 60 90 120 30 60 90 120 30 60 90 120 30 60 90 120

L* value1

C* value1

Hº value1

Flavor1

89.95fghi 23.52a 101.11j 6.0ab 90.96ij 25.02cd 100.48ij 7.0bc 89.63efgh 25.83e 99.93hij 7.0bc 88.49de 27.05f 97.75efg 6.0ab 87.84d 27.94ghi 96.90cdef 5.6a 50 90.43ghij 24.54c 99.00ghi 7.2ab 89.28efg 24.66c 98.85ghi 8.0cde 87.62cd 27.86ghi 97.32defg 6.0ab 86.63bc 28.35i 96.42bcde 5.6a 55 91.41j 23.71ab 98.78fghi 7.4cde 90.70hij 24.38bc 98.50fghi 8.2de 88.58de 27.32fg 97.53efg 5.8a 86.16b 28.12hi 96.27abcde 5.4a 60 90.21ghij 24.42bc 98.53fghi 7.6cde 88.71def 24.96cd 98.39fgh 8.4e 88.48de 27.41fgh 95.56abcd 5.6a 85.76b 28.13hi 94.63ab 5.2a 65 89.96fghi 24.58c 98.38fgh 8.2de 88.58de 25.42de 97.66efg 8.0cde 85.51b 28.51i 95.18abc 5.4a 83.80a 29.52j 94.27a 5.2a F-test * * * * * Significantly different at P<0.05. 1 means followed by the different letters are significantly different at P<0.05.

Texture1

Acceptability1

6.6bc 7.4cde 6.8bcd 6.6bc 6.4abc 7.4cde 8.0e 6.4abc 6.2ab 7.6bc 8.2e 6.2ab 6.0ab 8.0e 8.4e 6.0ab 5.8ab 8.4e 7.8de 6.8ab 5.4a *

6.0ab 7.0cdef 7.2defg 6.8bcdef 6.6abcde 7.0cdef 8.0ghi 6.8bcdef 6.4abcd 7.4efgh 8.2hi 6.6abcdef 6.2abc 7.6fgh 8.8i 6.2abc 5.8a 8.2hi 6.8bcdef 6.2abc 5.8a *

สรุ ปผลการทดลอง ผลแคนตาลูปที่ผ่านการให้ ความร้ อนแบบแห้ งในรู ปแบบที่เหมาะสมที่สดุ ต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลแคนตา ลูปคือ 60°ซ เป็ นเวลา 120 นาที รองลงมาได้ แก่ 65°ซ เป็ นเวลา 120 นาที, 55 และ 50°ซ เป็ นเวลา 180 นาที ตามลาดับ และ การให้ ความร้ อนแบบเปี ยกที่เหมาะสมคือ 60°ซ เป็ นเวลา 60 นาที รองลงมาได้ แก่ 65°ซ เป็ นเวลา 30 นาที, 55 และ 50°ซ เป็ น เวลา 60 นาที ตามลาดับ โดยเนื ้อผลของแคนตาลูปที่ให้ OHT และ HWT มีปริ มาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายน ้าได้ เพิ่ม สูง ค่า ความแน่นเนื อ้ ของผล ค่าความสว่าง ความเข้ มและค่าสีของเปลือกผลมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้ อยเมื่อเปรี ยบเทียบจากชุด ควบคุม รวมทังการประเมิ ้ นคุณภาพในการบริโภคอยูใ่ นเกณฑ์ดีทงรสชาติ ั้ เนื ้อสัมผัส และการยอมรับโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ดี และ การได้ รับความร้ อนในรูปแบบต่างๆ ไม่สง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าสีของเนื ้อผล

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

415


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั ครัง้ นี ้ได้ รับทุนอุดหนุนการวิจยั จากสานักงานบริ หารโครงการส่งเสริ มการวิจยั ในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ประจาปี งบประมาณ 2558; HERP58) และขอขอบคุณคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ ว ที่อานวยความสะดวกในการใช้ เครื่ องมือและอุปกรณ์ในการทาวิจยั ครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง กัญญารัตน์ เหลืองประเสริ ฐ และ สมคิด ใจตรง. 2557. ผลของการให้ ความร้ อนร่วมกับการแช่ในสารละลายเกลือแคลเซียมต่อการเปลี่ยนแปลง คุณภาพของผลเมลอนพันธุ์ซนั สวีทระหว่างการเก็บรักษา. ว. วิทย. กษ. 45 : 3/1 (พิเศษ) : 225-228. กัญญารัตน์ เหลืองประเสริ ฐ สมคิด ใจตรง และ สุรภี สังวรณ์. 2557. ผลของการให้ ความร้ อนต่อคุณภาพของผลเมลอนพันธุ์ซนั สวีทในจังหวัด สระแก้ วระหว่างการเก็บรักษา. แก่นเกษตร 42 (3), 39-44. สมโภชน์ โกมล ประณต สมเกตุ และ พฤกษ์ ชูสงั ข์. 2554. ผลของอุณหภูมิ วัสดุบรรจุภณ ั ฑ์ต่ออายุการเก็บรักษาเห็ดเข็มทอง. ว.วิทย์.กษ.42: 3 (พิเศษ): 693-696. Aguayo, E., V.H. Escalona and F. Art´es. 2008. Effect of hot water treatment and various calcium salts on quality of fresh-cut ‘Amarillo’ melon. Postharvest Biol. Technol. 47: 397-406. Lamikanra, O. and M.A. Watson. 2007. Mild heat and calcium treatment effects on fresh-cut cantaloupe melon during storage. Food Chem. 102: 1383-1388. Lu, J., M.T. Charles, C. Vigneault, B. Goyette and G.S.V. Raghavan. 2010. Effect of heat treatment uniformity on tomato ripening and chilling injury. Postharvest Biol. Technol. 56: 155-162. Musto, M. and M.L. Satriano. 2010. Fruit responses to postharvest heat treatment time: characterization of heat-treated strawberry (Fragaria x ananassa) cv. ‘Candonga’ fruits. Agron. Res. 8(1): 815-826. Polenta, G., C. Lucangeli, C. Budde, C.B. González and R. Murray. 2006. Heat and anaerobic treatments affected physiological and biochemical parameters in tomato fruits. LWT 39: 27-34. Vicente, A.R., G.A. Martínez, A.R. Chaves, and P.M. Civello. 2006. Effect of heat treatment on strawberry fruit damage and oxidative metabolism during storage. Postharvest Biol. Technol. 40: 116-122. Yousef, A.R.M., H.S. Emam and D.M.M. Ahmed. 2012. Storage and hot water treatments on poststorage quality of mango fruit (Mangifera indica L.) variety copania. Aust. J. Basic & Appl. Sci. 6(13): 490-496.

416

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของระยะสุกแก่ ของผลสับปะรด รูปแบบการตัดแต่ ง และอุณหภูมิในการเก็บรักษา ที่มีต่อคุณภาพสับปะรดนางแลตัดแต่ งพร้ อมบริโภค Effect of Maturity Level, Cutting Shape and Storage Temperature on Quality of Fresh-Cut Pineapple cv.Nanglae นิอร โฉมศรี1 สุพจนี อินทรโมฬี และอัมฤทธิ์ สีกล่ อม Ni-orn Chomsri1 Supojjanee Intaramoree1 and Ammarit Seeklom1

บทคัดย่ อ สับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภค เป็ นผลไม้ ที่ผ่านกระบวนการแปรรู ปขัน้ ต่า สามารถตอบสนองต่อชีวิตประจาวันของ ผู้บริ โภคยุคใหม่ที่ต้องการอาหารเพื่อสุขภาพ อร่ อย สะดวกสบาย และสด งานวิจัยนีจ้ ึงศึกษาถึงปั จจัยที่มีผลต่อการผลิต สับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริโภคพันธุ์นางแล ซึง่ เป็ นพันธุ์ที่นิยมบริโภคในท้ องถิ่นและมีการส่งออก จากผลการทดลองพบว่า ระดับ ความสุกแก่ CS 3 และ CS 4 รูปแบบการตัดแต่ง (แบบแว่นตามขวาง แบบหัน่ เป็ นชิ ้นตามยาว และแบบทังผล) ้ และอุณหภูมิ การเก็บรักษาที่ 10 และ 15 องศาเซลเซียส ส่งผลต่อคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และจุลินทรี ย์ที่แตกต่างกันของผลิ ตภัณฑ์ สับปะรดตัดแต่งระหว่างการเก็บรักษานาน 8 วัน โดยพบว่า ค่าสี L* a* และ b* ของผลิตภัณฑ์สบั ปะรดทุกชุดการทดลองมีค่า ลดลงตามระยะเวลาการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้น ปริ มาณการสูญเสียของเหลวจากเนื ้อสับปะรดนางแลตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่ทาจาก สับปะรดที่ระดับความสุกแก่ CS 4 มีค่าสูงกว่าที่ระดับความสุกแก่ CS 3 เมื่อเปรี ยบเทียบรูปแบบการตัดแต่งพบว่า การตัดแต่ง แบบแว่น และหัน่ เป็ นชิ ้นตามยาวทาให้ เกิดการสูญเสียของเหลวจากเนื ้อสับปะรดสูงกว่าแบบทังผล ้ (p<0.05) อุณหภูมิการเก็บ รักษาของผลิตภัณฑ์ไม่สง่ ผลต่อการสูญเสียของเหลวที่แตกต่างกัน (p>0.05) ในขณะที่ระยะเวลาการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้นส่งผล ให้ เกิดการสูญเสียของเหลวเพิ่มขึ ้น ส่วนค่าพีเอช ปริ มาณกรดทังหมด ้ และปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดของสั ั้ บปะรด ตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่ได้ จากการศึกษานี ้มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 3.26-3.40 ร้ อยละ 0.73-0.85 และ 12.43-14.05 องศาบริ กซ์ ตามลาดับ เมื่อพิจารณาปริ มาณจุลินทรี ย์ทงั ้ หมด พบว่า สับปะรดนางแลตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่เก็บรักษาไว้ ที่อุณหภูมิ 15 องศาเซลเซียส มีปริมาณจุลินทรี ย์สงู กว่าผลิตภัณฑ์ที่เก็บไว้ ที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส คาสาคัญ : สับปะรด สับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริโภค ระยะสุกแก่

Abstract Fresh-cut pineapple is one of desirable minimally processed fruits because in the modern lifestyles of consumers, it is perceived as healthy, tasty, convenient and fresh. The objectives of this work were to investigate factors affecting fresh-cut pineapple production from Nanglae cultivar which is widely consumed in domestic level and export. Results revealed that maturity levels at CS3 and CS4, cutting shapes of horizontal slice, longitudinal slice and peeled whole fruit, storage temperatures of 10 and 15 oC and storage times of 0, 4 and 8 days diversely influenced physical, chemical and microbiological quality of products. Increasing storage time resulted in decreasing color values (L*, a* and b*) of all fresh-cut. Juice leakage from the flesh of fresh-cut pineapple cv. Nanglae with the maturity level CS 4 was higher than the maturity level CS3. Slice and longitudinal shapes produced higher volume of juice leakage compared with the peeled whole fruit shape (p<0.05). Juice leakage was not affected by storage temperatures (p>0.05) while volume of juice leakage was increased when the storage time was extended. Fresh-cut pineapple products in this study contained average values of pH, total acidity and total soluble solid content between 3.26-3.40, 0.73-0.85, and 12.43-14.05 oBrix, respectively. The microbiological analysis indicated that total microorganisms in fresh-cut pineapple cv. Nanglae stored at 15 oC were present at higher level than stored at 15 oC. Keywords : pineapple, fresh-cut pineapple, maturity level

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 202 หมู่ 17 ต.พิชยั อ.เมือง จ.ลาปาง 52000

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

417


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา สับปะรดเป็ นผลไม้ ที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจทังในด้ ้ านอาหาร สุขภาพ การเกษตร และอุตสาหกรรม ประเทศ ไทยเป็ นผู้นาในการผลิตและส่งออกสับปะรดรายใหญ่ (Kengkhetkit and Amornsakchai, 2012) ที่สง่ ออกสับปะรดกระป๋ อง เป็ นอันดับ 1 ของโลก มีมลู ค่าการส่งออกมากกว่า 20,000 ล้ านบาทต่อปี (Eapsirimetee et al., 2013) ผลผลิตสับปะรดใน ประเทศส่วนใหญ่ร้อยละ 80 ของผลผลิตทังหมดจะถู ้ กส่งเข้ าโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สับปะรดกระป๋ อง และน ้าสับปะรดเข้ มข้ น ซึง่ สามารถสร้ างมูลค่าเพิ่มให้ แก่ประเทศได้ อย่างมากอุตสาหกรรมหนึง่ ทังนี ้ ้การบริโภคสับปะรดแปรรูป จาพวกสับปะรดกระป๋ องและน ้าสับปะรดในประเทศไทยมีการบริ โภคเพียงร้ อยละ 3-5 ของปริมาณการผลิตทังหมดเท่ ้ านัน้ (สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, 2557) หากมีการส่งเสริ มให้ มีการบริโภคผลสดมากเพิ่มมากขึ ้น จะเป็ นแนวทางผลักดันให้ ราคาสับปะรดสาหรับรับประทานสดมีแนวโน้ มราคาเพิ่มขึ ้น เป็ นการสร้ างความมัน่ ใจให้ กบั เกษตรกรและเพิ่มทางเลือกนอกจาก การส่งสับปะรดเข้ าสูโ่ รงงานแปรรูปเพียงอย่างเดียว สับปะรดนางแลหรื อเรี ยกว่าพันธุ์น ้าผึ ้ง เป็ นสายพันธุ์ยอ่ ยของพันธุ์ปัตตาเวีย นิยมบริโภคในท้ องถิ่นและมีการส่งออกด้ วย ผลมีลกั ษณะค่อนอ้ วนป้อม เปลือกบาง เปลือกสีเขียวปนดาหรื อเหลืองถึงส้ มเข้ ม ตาผลโป่ งนูน เนื ้อละเอียดมีเส้ นใยน้ อย สีเหลืองเหมือนน ้าผึ ้ง รสชาติหวานฉ่า (Kongsuwan et al., 2009) ปั จจุบนั การบริโภค ผักและผลไม้ มีความสาคัญมากต่อสุขภาพ โดยมีหลักฐานปรากฏว่าการบริโภคผักและบริโภคผักและผลไม้ ในปริมาณมากๆ จะ ช่วยป้องกันโรคภัยไข้ เจ็บต่างๆ ได้ สิ่งหนึง่ ที่มนุษย์ได้ รับจากการบริโภคผักและผลไม้ คือ สารต้ านอนุมลู อิสระจากธรรมชาติ เช่น โพลีฟีนอล แคโรทีนอยด์ และคลอโรฟิ ลล์ ซึง่ ทาหน้ าที่เป็ นสารป้องกันการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันที่มีประโยชน์ตอ่ สุขภาพของ มนุษย์ด้วย จากคุณสมบัติของสารต้ านอนุมลู อิสระที่มีประโยชน์ตอ่ ร่างกายมนุษย์นี ้ ทาให้ แนวโน้ มความต้ องการผู้บริโภคใน ปั จจุบนั หันมานิยมบริโภคผักและผลไม้ สดมากขึ ้น นอกจากผู้บริ โภคจะให้ ความสาคัญต่อคุณภาพและคุณค่าทางโภชนาการแล้ ว ยังต้ องการความสะดวกในการบริโภค หรื อมีความต้ องการอาหารพร้ อมบริโภค (ready-to-eat-food) มากขึ ้น ผักและผลไม้ ตดั แต่งพร้ อมบริโภค (fresh-cut fruit and vegetable products) จึงจัดเป็ นอาหารพร้ อมรับประทานที่มีลกั ษณะของผลิตภัณฑ์ที่มี คุณภาพ ด้ านสี กลิ่น รส เนื ้อสัมผัส และคุณค่าทางโภชนาการที่ใกล้ เคียงผักและผลไม้ สดมากที่สดุ การใช้ สบั ปะรดนางแลซึง่ เป็ นที่ชื่นชอบของผู้บริโภคผลิตสับปะรดสดตัดแต่งพร้ อมบริโภค จึงสามารถตอบสนองความต้ องการของผู้บริโภคได้ เป็ นอย่างดี ทังในแง่ ้ สขุ ภาพ ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ลักษณะทางประสาทสัมผัส และความสะดวกในการบริโภค ทังนี ้ ้การผลิตสับปะรด สดตัดแต่งพร้ อมบริโภคมีปัจจัยหลายประการที่อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพผลิตภัณฑ์ เช่น สายพันธุ์ ระดับความสุกแก่ของผล สับปะรด รูปแบบการตัดแต่ง อุณหภูมิในการเก็บรักษา และสภาวะดัดแปรบรรยากาศ (James and Ngarmsak, 2010) ดังนัน้ งานวิจยั นี ้จึงศึกษาถึงผลของระดับความสุกแก่ของผลสับปะรด รูปแบบการตัดแต่ง และอุณหภูมิในการเก็บรักษา ที่มี ผลต่อคุณภาพของสับปะรดนางแลตัดแต่งพร้ อมบริโภค

อุปกรณ์ และวิธีการ 1. สับปะรดที่ใช้ เป็ นวัตถุดบิ ใช้ สบั ปะรดพันธุ์นางแลที่มีขนาดน ้าหนักผลอยู่ระหว่าง 500-600 กรัม ได้ รับการสนับสนุนจากโครงการ การพัฒนา คุณภาพด้ านการผลิตและการตลาดเพื่อการส่งออกสับประรดผลสดไทย ภายใต้ สิทธิ ประโยชน์ทางการค้ าตามข้ อตกลงเขต การค้ าเสรี ไทย-ญี่ปนุ่ (JTEPA) โดยคัดเลือกสับปะรดที่มีระยะความสุกแก่ที่ระดับ CS 3 มีสีเหลืองของตาร้ อยละ 25-40 และ CS 4 มีสีเหลืองของตามากกว่าร้ อยละ 40 (Chomsri et al., 2013) เพื่อใช้ ในการทดลอง 2. การผลิตสับปะรดตัดแต่ งพร้ อมบริโภค นาสับปะรดนางแลที่มีระยะความสุกแก่ที่ระดับ CS 3 และ CS 4 ไปล้ างด้ วยน ้าสะอาด และล้ างในน ้าที่มีสารละลาย คลอรี นเข้ มข้ น 100 พีพีเอ็ม นาน 2 นาที ปอกเปลือกสับปะรด แล้ วนาผลสับปะรดไปตัดแต่งรู ปร่ าง 3 แบบคือ แบบแว่น ตามขวาง (horizontal slice) ความหนาประมาณ 1 เซนติเมตร แบบหัน่ เป็ นชิ ้นตามยาว (longitudinal slice) ความหนา ประมาณ 2 เซนติเมตร และแบบทังผล ้ (peel whole fruit) จุ่มสับปะรดในสารละลายแอสคอร์ บิกเข้ มข้ น 0.1 โมลาร์ สะเด็ดน ้า บนตะแกรง บรรจุใส่ในถุงพลาสติก PP ชนิดหนา (ตราต้ นไผ่คู่ ของบริ ษัท ไทยพาโก้ อินเตอร์ พลาส จากัด) ขนาด 8x12 นิ ้ว น ้าหนักบรรจุตอ่ ถุงประมาณ 350 กรัม ปิ ดผนึก แล้ วนาไปเก็บที่อณ ุ หภูมิ 10 และ 15 องศาเซลเซียส ทาการทดลอง 3 ซ ้า

418

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

3. การตรวจวิเคราะห์ คุณภาพผลิตภัณฑ์ สุม่ ตัวอย่างสับปะรดพร้ อมบริ โภคที่เก็บนาน 0, 4 และ 8 วัน ไปทาการตรวจวิเคราะห์ทางกายภาพ คือ ค่าสี โดยใช้ เครื่ องวัดค่าสี (JS555, Juki, Japan) วัดการสูญเสียน ้าของสับปะรด (juice leakage) โดยวัดร้ อยละของของเหลวที่แยกจาก เนื ้อสับปะรด (Wu et al., 2012) วิเคราะห์คณ ุ ภาพทางเคมี คือ ค่าพีเอชโดยใช้ เครื่ องวัดพีเอช (Consourt, Model C831, Belgium) ปริมาณกรดทังหมด ้ (total acidity, TA) โดยการไตรเตรท (Iland et al., 2000) และทาการคานวณในรูปกรด ซิตริ ก ปริ มาณของแข็งที่ละลายได้ ทงหมด ั้ (total soluble solids, TSS) ด้ วยรี แฟรกโตรมิเตอร์ วิเคราะห์คณ ุ ภาพทาง จุลินทรี ย์ คือ ปริ มาณจุลินทรี ย์ทงหมดโดยใช้ ั้ อาหารเลี ้ยงเชื ้อ PCA (aerobic plate count) ตามวิธีของ American Public Health Association. (2001) และวิเคราะห์คณ ุ ภาพทางประสาทสัมผัสเชิงพรรณนา (descriptive test) ด้ วยการวิเคราะห์ ความเข้ มของลักษณะคุณภาพ (intensity of quality characteristic analysis) โดยการใช้ สเกลเชิงเส้ นตรง (linear scaling) แบบ 15-point universal scale และทดสอบความชอบโดยรวมของผลิตภัณฑ์โดยใช้ วิธีการให้ คะแนนความชอบแบบ 9-point hedonic scale (Meilgaard et al., 1991) 4. การวิเคราะห์ ทางสถิติ การวิเคราะห์ทางสถิติ วางแผนการทดลองแบบ factorial in CRD (completely randomized design) ในการ วิเคราะห์ทางกายภาพและเคมี และวางแผนการทดลองแบบ factorial in RCBD (randomized completely block design) ใน การวิเคราะห์ทางประสาทสัมผัส ทาการทดลอง 2 ซ ้า วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ ANOVA (analysis of variance) และ เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยด้ วยการวิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติแบบ Duncan’ s New Multiple- Range Test (DMRT)

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. คุณภาพทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ สับปะรดสดตัดแต่ งพร้ อมบริโภค การใช้ สบั ปะรดนางแลที่มีระดับความสุกแก่ CS 3 และ CS 4 ในการทาสับปะรดสดตัดแต่งพร้ อมบริ โภค โดยทาการ ตัดแต่งเป็ นรูปแบบแว่น แบบหัน่ เป็ นชิ ้นตามยาว และแบบทังผล ้ และเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 10 และ 15 องศาเซลเซียส นาน 0 4 และ 8 วัน พบว่าค่าสี L*, a* และ b* มีค่าอยู่ระหว่าง 64.64 ถึง 72.42, -0.70 ถึง -.1.11 และ 19.85 ถึง 29.32 1.76-5.03 (Table 1) โดยพบว่าระดับของความสุกแก่ของสับปะรด รูปแบบการตัดแต่ง และอุณหภูมิในการเก็บรักษาไม่สง่ ผลให้ สบั ปะรด รดตัดแต่งพร้ อมบริ โภคมีความแตกต่างกันของค่าสี L*, a* และ b* ในขณะที่ระยะเวลาการเก็บรักษาสับปะรดตัดแต่งพร้ อม บริ โภคที่นานเพิ่มขึ ้น มีอิทธิ พลต่อการลดลงของค่าความสว่าง (L*) ค่าสีแดง (a*) และค่าสีเหลือง (b*) ของผลิตภัณฑ์ (p<0.05) ซึง่ Wu et al. (2012) ก็ได้ รายงานการลดลงของค่าสีในลักษณะดังกล่าวเช่นกัน ทังนี ้ ้ อาจเนื่องจากการเปลี่ยนแปลง ทางเคมีที่เกิดขึ ้นในสับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนนี ้ เช่น การเกิดปฏิกิริยาสีน ้าตาลจากโพลีฟีนอลออกซิ เดสที่ทาปฏิกิริยากับสารประกอบกลุ่มฟี นอลที่พบในเนือ้ เยื่อสับประรดในสภาวะที่ สัมผัสกับอากาศ ก่อให้ เกิดสีนา้ ตาลขึน้ (Gonzalez-Aguilar et al., 2005; Toivonen and Brummell, 2008) และผลต่อการลดลงของค่าความสว่างของสับปะรดตัดแต่ง พร้ อมบริ โภค เมื่อพิจารณาปริ มาณการสูญเสียของเหลวจากเนื ้อสับปะรด (juice leakage) พบว่า อุณหภูมิ 10 และ 15 องศา เซลเซียส ไม่ทาให้ การสูญเสียของเหลวของผลิตภัณฑ์มีความแตกต่างกัน (p>0.05) ในขณะที่ปัจจัยที่ศกึ ษาด้ านผลของระยะสุก แก่ของสับปะรด รู ปแบบการตัดแต่ง และระยะเวลาในการเก็บรักษา ส่งผลกระทบต่อการสูญเสียของเหลวในผลิตภัณฑ์ สับปะรดนางแลตัดแต่งพร้ อมบริ โภค (p<0.05) กล่าวคือ สับปะรดนางแลตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่ทาจากสับปะรดที่ระดับความ สุกแก่ CS 4 มีแนวโน้ มของปริมาณการสูญเสียของเหลวสูงกว่าที่ระดับความสุกแก่ CS 3 และการตัดแต่งสับปะรดสับปะรดให้ มีขนาดเล็กลง ซึ่งไปส่งผลกระทบต่อการฉีกขาดของเนือ้ เยื่อของสับปะรดเพิ่มขึน้ จึงทาให้ สับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภคใน รู ปแบบแว่น และแบบหัน่ เป็ นชิ ้นตามยาวเกิดการสูญเสียของเหลวมากกว่ารู ปแบบทังผล ้ (Soliva-Fortuny and MartıinBelloso, 2003; Oms-Oliu et al., 2010) นอกจากนัน้ ในการศึกษานี ้ยังแสดงให้ เห็นว่า การเก็บสับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภค นานเพิ่มขึ ้น ส่งผลให้ เกิดการสูญเสียของเหลวในผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ ้น ซึ่งพบลักษณะเช่นเดียวกันนี ้ในงานวิจัยของ (Marrero and Kader, 2006)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

419


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Influence of pineapple maturity level, cutting shape and storage temperature an time on L*, a* and b* color values and juice leakage of fresh-cut pineapple Factor colour Juice leakage (%) L a b Maturity level CS 3 67.49+5.49ns -0.85+1.05ns 23.40+5.47ns 3.23+2.56a CS 4 67.45+5.02ns -0.87+0.84ns 23.19+5.16ns 3.97+2.90b Shape Horizontal slice 66.15+4.91ns -1.11+1.01ns 23.34+5.73ns 5.00+3.18a Longitudinal slice 68.00+5.61ns -0.70+0.90ns 23.10+5.34ns 4.03+2.52a Peeled whole fruit 68.28+5.07ns -0.77+0.93ns 23.45+4.96ns 1.76+1.17b Temperature 10 ๐C 67.21+4.96ns -0.73+0.81ns 23.24+4.76ns 3.27+2.56ns 15 ๐C 67.74+5.53ns -0.99+1.06ns 23.35+5.82ns 3.23+3.10ns Time 0 day 72.42+3.56a -0.19+0.71a 29.32+3.48a 1.93+1.61b 4 days 64.64+4.45b -1.18+0.38b 19.85+2.24 b 3.83+2.26a 8 days 65.36+3.55b -1.59+0.63c 20.70+3.28b 5.03+3.29a Results as mean + SD of duplicate measurements * Within a column different letters denote significant differences (p<0.05) 2. คุณภาพทางเคมีของผลิตภัณฑ์ สับปะรดสดตัดแต่ งพร้ อมบริโภค ผลการวิเคราะห์ค่าพีเอช ปริ มาณกรดทังหมด ้ และค่าของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดของสั ั้ บปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภค แสดงใน Table 2 จากข้ อมูลพบว่า ปั จจัยศึกษาในด้ านระดับความสุกแก่ ข องสับปะรด รู ปแบบการตัดแต่งของสับปะรด อุณหภูมิการเก็บรักษา และระยะเวลาการเก็บรักษาที่ศกึ ษาในการทดลองนี ้ ไม่สง่ ผลให้ ผลิตภัณฑ์สบั ปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภค มี ปริ มาณกรดทังหมดมี ้ ค่าแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p>0.05) ในขณะที่ผลิตภัณฑ์สบั ปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่ เก็บรักษานานเพิ่มขึ ้น มีแนวโน้ มการเพิ่มขึน้ ของค่าพีเอช เมื่อพิจารณาปั จจัยศึกษาต่อค่า ของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดของ ั้ สับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริโภคพบว่า ระดับความสุกแก่ของสับปะรด และอุณหภูมิการเก็บรักษาไม่ได้ สง่ ผลกระทบต่อค่าของแข็ง ที่ละลายได้ ทงหมดของผลิ ั้ ตภัณฑ์สบั ปะรดตัดแต่งพร้ อมบริโภค จากการทดลองตามสภาวะกาหนดในการศึกษานี ้ (p>0.05) แต่ รู ปแบบการตัดแต่งที่มีการทาลายเนื ้อเยื่อและเซลล์ข องผลไม้ เป็ นปั จจัยที่ทาให้ ค่า ของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดของสั ั้ บปะรดตัด แต่งพร้ อมบริ โภคมีความแตกต่างกัน โดยรู ปแบบการตัดแต่งแบบหั่นเป็ นชิน้ ทาให้ ค่าของแข็งที่ละลายได้ มีค่าลดลงมากกว่า รู ปแบบการตัดแต่งเป็ นชิน้ และแบบทังผล ้ (p<0.05) และระยะเวลาการเก็บรักษาเป็ นปั จจัยที่ทาให้ ค่าของแข็งที่ละลายได้ ทังหมดของสั ้ บปะรดตัดแต่งพร้ อมบริโภคมีคา่ เฉลี่ยลดลงจาก 13.53 เป็ น 12.66 องศาบริ กซ์ เมื่อเก็บรักษาผลิตภัณฑ์นาน 8 วัน ทังนี ้ ป้ ริ มาณน ้าตาลที่มีอยู่ในผลิตภัณฑ์อาหาร (Hui, 2006) จากการวัดค่าของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดโดยใช้ ั้ รีแฟรคโตมิเตอร์ ตามหลักการหักเหของแสงผ่านปริ ซมึ (The University of York Science Education Group, 2000) อาจถูกจุลินทรี ย์ที่พบอยู่ใน ผลิตภัณฑ์ สบั ปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภคนาไปใช้ ในการเจริ ญเติบโตเพิ่มจานวน จึงทาให้ ผลการวิเคราะห์ปริ มาณของแข็งที่ ละลายได้ ทงั ้ หมดมีค่าลดลงดังกล่าว โดยการตัดแต่งที่ก่อให้ เกิดบาดเจ็บจากการทาลายเนือ้ เยื่อและเซลล์ของสับปะรดมาก ย่อมส่งผลให้ ของเหลวที่อดุ มไปด้ วยสารอาหารต่างๆ ที่ส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตของจุลินทรี ย์ไหลออกจากเนื ้อเยื่อและเซลล์ของ สับปะรดเพิ่มขึ ้น (Antoniolli et al., 2006; James and Ngarmsak, 2010) และจากการสังเกตลักษณะของบรรจุภณ ั ฑ์พบว่า บรรจุภณ ั ฑ์มีลกั ษณะพองขึ ้นหลังการเก็บรักษานาน 8 วัน เมื่อเปรี ยบเทียบกับลักษณะบรรจุภณ ั ฑ์ก่อนการเก็บรักษา และผล 420

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

จากการนาส่วนของเหลวที่ไหลเยิ ้มแยกออกมาจากเนื ้อสับปะรดไปตรวจวิเคราะห์ภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์สงั เกตพบเซลล์ยีสต์ ซึง่ น่าจะเป็ นสาเหตุของการพองของบรรจุภัณฑ์ดังกล่าว เนื่องจากยีสต์เป็ นจุลินทรี ย์ที่มีความสามารถในการใช้ นา้ ตาลในการ เจริญเติบโต และสร้ างแมแทบอไลต์ตา่ งๆ รวมถึงแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ด้วย (Guilliermond, 2003) Table 2 Influence of pineapple maturity level, cutting shape and storage temperature an time on chemical properties of fresh-cut pineapple Factor pH Total acidity (%) Maturity level CS 3 3.36+0.46ns 0.75+0.2 ns CS 4 3.30+0.11ns 0.81+0.09ns Shape ns ns Horizontal slice 3.36+0.16 0.73+0.14ns Longitudinal slice 3.33+0.11ns 0.77+0.17ns Peeled whole fruit 3.31+0.14ns 0.85+0.18ns Temperature 10 ๐C 3.32+0.14ns 0.79+0.21ns 15 ๐C 3.35+0.12ns 0.78+0.20ns Time 0 day 3.26+0.12b 0.80+0.16ns 4 days 3.40+0.10a 0.80+0.15ns 8 days 3.34+0.12a 0.75+0.16ns Results as mean + SD of duplicate measurements * Within a column different letters denote significant differences (p<0.05)

TSS (๐Brix) 13.11+2.11ns 13.65+1.33ns 12.43+1.92b 13.67+1.44a 14.05+1.60a 13.26+1.90ns 13.50+1.33ns 13.53+1.85ab 13.94+1.51a 12.66+1.60b

3. คุณภาพทางจุลินทรี ย์ของผลิตภัณฑ์ สับปะรดสดตัดแต่ งพร้ อมบริโภค การเก็บรักษาสับปะรดนางแลตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่ทาจากสับปะรดที่ระดับความสุกแก่ CS 3 และ CS 4 ในลักษณะ การตัดแต่งเป็ นแบบแว่น แบบหัน่ เป็ นชิ ้นตามยาว และแบบทังผล ้ ที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส จะทาให้ ผลิตภัณฑ์สบั ปะรด พร้ อมบริ โภคมีปริ มาณจุลินทรี ย์เพิ่มสูงขึ ้นกว่าการเก็บที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส โดยพบว่า การเก็บสับปะรดที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส ผลิตภัณฑ์สบั ปะรดพร้ อมบริ โภคมีปริ มาณจุลินทรี ย์เพิ่มขึ ้นจาก 4.00 เป็ น 8.09 log cfu/g ในขณะที่การ เก็บสับปะรดที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส ผลิตภัณฑ์สบั ปะรดพร้ อมบริ โภคมีปริ มาณจุลินทรี ย์เพิ่มขึ ้นจาก 4.18 เป็ น 8.44 log cfu/g ทังนี ้ ้ปริมาณจุลินทรี ย์ที่ระยะเวลาการเก็บนาน 8 วัน มีจานวนจุลินทรี ย์สงู กว่า 7 log cfu/g ซึง่ เป็ นค่ากาหนดตาม สุขลักษณะที่ดีของอาหารที่เตรี ยมและวางจาหน่าย (Montero-Caldoron et al., 2008) และจากการวิเคราะห์ปริ มาณจุลินทรี ย์ พบว่า สับปะรดนางแลตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่ทาจากสับปะรดที่ระดับความสุกแก่ CS 4 มีปริ มาณจุลินทรี ย์เริ่ มต้ นค่อนข้ างสูง กว่าที่ระดับความสุกแก่ CS 3 (Figure 1 และ 2)

CS3 horizontal slice

CS3 longitudinal slice

CS3 peeled whole fruit

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

421


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

CS4 horizontal slice

CS4 longitudinal slice

CS3 peeled whole fruit

Figure 1 Changes of the numbers of microorganisms in fresh-cut pineapple stored at 10 oC CS3 horizontal slice

CS3 longitudinal slice

CS3 peeled whole fruit

CS4 horizontal slice

CS4 longitudinal slice

CS3 peeled whole fruit

Figure 2 Changes of the numbers of microorganisms in fresh-cut pineapple stored at 15 oC

422

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

4. คุณภาพทางประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑ์ สับปะรดสดตัดแต่ งพร้ อมบริโภค ผู้ทดสอบชิมให้ คะแนนความเข้ มของกลิ่นหมักของสับปะรดนางแลตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่เก็บอุณหภูมิ 15 oC สูงกว่าที่ อุณหภูมิ 10 oC (p<0.05) ดังแสดงใน Table 3 แสดงว่าการเก็บสับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่อณ ุ หภูมิ 15 องศาเซลเซียส เกิดปฏิกิริยาการเน่าเสียได้ รวดเร็วกว่าการเก็บที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส (Torri et al., 2010) ด้ านรูปร่างของสับปะรด พบว่า ชนิดหัน่ เป็ นแว่นสูงมีกลิ่นหมักสูงกว่าชนิดหัน่ ตามยาวและทังผล ้ (p<0.05) ซึง่ น่าจะเนื่องมาจากสับปะรดที่หนั่ เป็ นแว่น มีพื ้นที่ผิวสัมผัสกับจุลินทรี ย์มากกว่าสับปะรดที่หนั่ ตามยาวและแบบทังผล ้ และความเข้ มของกลิ่นหมักจะเพิ่มขึ ้นตามระยะเวลา การเก็บสับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภคที่นานขึ ้น คุณลักษณะทางประสาทสัมผัสด้ านลักษณะเนื ้อสัมผัส พบว่า ผู้ทดสอบชิมให้ คะแนนความเข้ มลักษณะเนื ้อสัมผัสของสับปะรดนางแลที่เตรี ยมจากสับปะรดที่มีความสุกแก่ระดับ CS 3 สูงกว่าที่ระดับความ สุกแก่ CS4 (p<0.05) ซึง่ สอดคล้ องกับการเปลี่ยนแปลงลักษณะเนื ้อสัมผัสของผลไม้ โดยทัว่ ไปที่เมื่อระดับความสุกแก่เพิ่มขึ ้น โครงสร้ างของเนื ้อเยื่อก็จะอ่อนตัวลงจากการเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาทางชีวเคมี (James and Ngarmsak, 2010) เมื่อพิจารณา ความชอบรวม พบว่า คะแนนความชอบโดยรวมของสับปะรดนางแลตัดแต่งพร้ อมบริ โภคมีค่าค่อนข้ างต่า ซึ่งน่าจะมีอิทธิพล จากปริมาณกรดทังหมดที ้ ่มีอยูส่ งู (ร้ อยละ 0.73-0.85) ในผลสับปะรดที่ใช้ ในการศึกษาครัง้ นี ้ ในขณะที่ปริ มาณของแข็งที่ละลาย ได้ ที่พบมีค่าค่อนข้ างต่าอยู่ระหว่าง 12.43-14.05 องศาบริ กซ์ จึงทาให้ ขาดความสมดุลของสัดส่วนน ้าตาลต่อกรด (sugar: acid ratio) ในสับปะรด Table 3 Influence of pineapple maturity level, cutting shape and storage temperature and time on organoleptic quality scores of fresh-cut pineapple Factor Color Odor Taste Maturity level CS 3 7.40+2.77ns 5.90+3.71ns 7.70+2.69ns CS 4 7.80+2.97ns 5.80+3.97ns 7.10+2.70ns Shape Horizontal slice 8.10+2.84a 6.90+4.17a 7. 60+2.81ns Longitudinal slice 6.40+2.80b 5.20+3.56b 7.30+2.58ns Peeled whole fruit 8.20+3.56a 5.50+3.63b 7.30+2.67ns Temperature 10 ๐C 7.40+2.85ns 4.70+3.36b 7.40+2.62ns 15 ๐C 7.80+2.89ns 7.00+4.15a 7.30+2.76ns Time 0 day 7.10+2.51ns 4.00+3.25c 7.70+2.42ns 4 days 7.70+2.62ns 6.00+3.43b 7.40+2.44ns 8 days 8.10+2.87ns 7.70+4.22a 7.10+3.15ns Results as mean + SD of duplicate measurements * Within a column different letters denote significant differences (p<0.05)

Texture

Overall acceptance

7.00+2.37a 6.60+2.31b

4.90+2.25a 5.20+2.34b

6.40+2.31b 6.90+2.30b 7.10+2.40a

4.10+2.33b 4.50+2.26a 4.40+2.27a

6.90+2.33a 6.70+2.36b

5.10+2.27a 4.90+2.31b

6.40+2.28ab 6.70+1.97a 5.70+2.65c

4.20+2.55b 4.30+2.06b 4.60+2.23a

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

423


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ป ผลการศึกษาการผลิตสับปะรดตัดแต่งพร้ อมบริ โภคจากพันธุ์นางแลครัง้ นี ้ ให้ ข้อมูลถึงผลกระทบจากปั จจัยด้ านระดับ ความสุกแก่ รู ปแบบการตัดแต่ง อุณหภูมิการเก็บรักษา และระยะเวลาการเก็บรักษา ที่ส่งผลต่อคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี จุลินทรี ย์ และประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างกัน โดยการใช้ สบั ปะรดที่ระดับความสุก CS 3 ด้ วยรูปแบบการตัดแต่งที่มี การทาลายเนื ้อเยื่อและเซลล์ของสับปะรดน้ อยที่สดุ เก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส นาน 8 วัน ในการผลิตสับปะรด นางแลตัดแต่งพร้ อมบริโภค ทาให้ ได้ ผลิตภัณฑ์ที่ยงั คงอยูใ่ นเกณฑ์การยอมรับของการประเมินคุณภาพทางอาหาร

กิตติกรรมประกาศ คณะวิจยั ขอขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร. พิทยา สรวมศิริ และดร. ฉันทรี จารุปาณฑุ ที่สนับทุนศึกษาวิจยั ภายใต้ โครงการพัฒนาคุณภาพด้ านการผลิตและการตลาดเพื่อการส่งออกสับประรดผลสดไทย ภายใต้ สิทธิประโยชน์ทางการค้ าตาม ข้ อตกลงเขตการค้ าเสรี ไทย-ญี่ปนุ่ (JTEPA) และขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ที่สนับสนุนการศึกษาวิจยั ในทุกมิติ

เอกสารอ้ างอิง สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. 2014. Pineapple value creation. [On-line]. Available: http://www.nfi.or.th/vc-pineapple, 1 สิงหาคม 2557. American Public Health Association. 2001. Compendium of Methods for the Microbiological Examination of Foods. Washington, DC. 676 p. Antoniolli, L.R., Benedetti, B.C., Sigrist, J.M.M., Filho, M. and Alves, R.E. 2006. Metabolic activity of fresh-cut Perola pineapple as affected by cut shape and temperature. Braz. J. Plant Physiol. 18(3): 413-417. Chomsri, N., Chanrittisen, T., Sruamsiri, P. and Jarupanthu, C. 2013. Microbiological and physicochemical parameters for the production of fresh-cut pineapple cv. Nanglae. Proceedings: international Symposium on Agri-Foods for Health & Wealth. Auguts 5-8, 2013, Thailand. pp. 109-115. Eapsirimetee, P., Suthikarnnarunai, N. and Harnhiran, S. 2013. Balancing canned pineapple supply chain in Thailand. European Journal of Business and Management 5(4): 32-39. Gonzalez-Aguilar, G.A., Ruiz-Cruz, S., Soto-Valdez, H., Vazquez-Ortiz, F., Pacheco-Aguilar, R. and Wang, C.Y. 2005. Biochemical changes of fresh-cut pineapple slices treated with antibrowning agents. Int. J. Food. Sci. Tech. 40: 377–383. Guilliermond, A. 2003. Yeasts: culture, identification, and microbiology. Wexford College Press. 448 p. Hui, Y. 2006. Handbook of food science, technology, and engineering, Volume 3. CRC Press. Boca Raton. 712 p. Iland, P., Ewart, A., and Sitters, J., Markides, A., Bruer, N. 2000. Techniques for chemical analysis and quality monitoring during winemaking. Tony Kitchener Printing Pty. Ltd., Adelaide. 111 p. James, J. B. and Ngarmsak, T. 2010. Processing of fresh-cut tropical fruits and vegetables: A technical guide. Food and Agriculture Organization of the United Nations. RAP PUBLICATION 2010/16. Kongsuwan, A., Suthiluk, P., Theppakorn, T., Srilaong, V. and Setha, S. 2009. Bioactive compounds and antioxidant capacities of phulae and nanglae pineapple. Asian Journal of Food and Agro-Industry. Special Issue, 44-50. Kengkhetkit, N. and Amornsakchai, T. 2012. Utilisation of pineapple leaf waste for plastic reinforcement: 1. A novel extraction method for short pineapple leaf fiber. Ind. Crops Prod. 40: 55-61. Marrero, A. and Kader, A.A. 2006. Optimal temperature and modified atmosphere for keeping quality of fresh-cut pineapple. Postharvest Biol. Technol. 39: 163-168. Meilgaard, H., Civille, G.V. and Carr, B.T. 1991. Sensory evaluation techniques. CRC Press. Boca Raton. 354 p. Montero-Calderon, M., Rojas-Grau, M. and Martın-Belloso, O. 2008. Effect of packaging conditions on quality and shelf-life of fresh-cut pineapple (Ananas comosus). Postharvest Biol. Technol. 50: 182–189. Oms-Oliu, G. Rojas-Graü, M., González, L.A., Varela, P., Soliva-Fortuny, R., Hernandob, M., Munuera, I.P., Fiszman, S. and MartínBelloso, O. 2010. Recent approaches using chemical treatments to preserve qualityof fresh-cut fruit: a review. Postharvest Biol. Technol. 57: 139–148. Soliva-Fortuny, R.C. and Martıin-Belloso, O. 2003. New advances in extending the shelf-life of fresh-cut fruits: a review. Trends Food Sci. Tech. 14: 341–353. The University of York Science Education Group. 2000. Salters Horners Advanced Physics: Student Book AS Level. Heinemann Educational Publishers. Oxford. 364 p. Toivonen, P.M.A. and Brummell, D.A. 2008. Biochemical bases of appearance and texture changes in fresh-cut fruit and vegetables. Postharvest Biology and Technology 48: 1–14. Wu, Z., Zhang, M. and Wang, S. 2012. Effects of high-pressure argon and nitrogen treatments on respiration, browning and antioxidant potential of minimally processed pineapples during shelf life. J. Sci. Food Agric. 92: 2250–2259.

424

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การใช้ เชือ้ แบคทีเรียที่สามารถผลิตเอนไซม์ ย่อยสลายเซลลูโลส เพื่อชักนาสารวานิลลินในฝั กวานิลลาบ่ ม Induction of vanillin accumulation in cured vanilla beans by cellulolytic bacteria ธิตมิ า วงษ์ ชีรี1 ผ่ องเพ็ญ จิตอารีย์รัตน์ 2 เฉลิมชัย วงษ์ อารี 2 กัลย์ ธีรา สุนทราภิรักษ์ กุล3 และพจนา แก้ วแจ่ ม1 Thitima Wongsheree1 Pongphen Jitareerat2 Chalermchai Wong-Aree2 Kanteera Soontharapirakkul3 and Photchanar Kaewchaem1

บทคัดย่ อ การแยกเชื ้อแบคทีเรี ยที่สามารถผลิตเอนไซม์เซลลูเลสและเบต้ ากลูโคซิเดส ในขันตอนการบ่ ้ มฝั กวานิลลา พบว่า เชื ้อ แบคทีเรี ยที่แยกได้ จากฝักในขันตอน ้ slow drying และ conditioning สามารถผลิตเอนไซม์ได้ ในปริ มาณสูงกว่าเชื ้อแบคทีเรี ยที่ แยกได้ จากฝักในขันตอน ้ sweating โดยพบเชื ้อแบคทีเรี ย 14 ใน 16 ไอโซเลท (SW-A1, SW-B1, SW-G1, SW-G2, SW-G3, SW-M, Slow-A1, Slow-A2, Slow-A3, Slow-A4, Slow-D1, Slow-M, Cond-A1,Cond-A2, Cond-F1 และ Cond-M) ที่มี เส้ นผ่าศูนย์กลางของวงใสรอบโคโลนี (clear zone) มากกว่า 0.5 เซนติเมตร บนอาหารคัดเลือก เมื่อวิเคราะห์กิจกรรมเอนไซม์ เซลลูเลสและเบต้ ากลูโคซิเดสของเชื ้อแต่ละไอโซเลท ด้ วยเครื่ องสเปกโตรโฟโตมิเตอร์ พบว่าไอโซเลท SW-M และ Slow-A3 มี กิ จ กรรมเอนไซม์ ทัง้ สองในระดับ สูง (โดยเฉลี่ ย 10.7 และ 123.0 U.mg protein-1 ตามลาดับ ) สอดคล้ อ งกับ ขนาด เส้ นผ่าศูนย์กลาง clear zone โดยทังสองไอโซเลทเป็ ้ นเชื ้อแบคทีเรี ย Bacillus subtilis/amyloliquefaciens นอกจากนี ้การ ปลูกเชือ้ ดังกล่าวลงบนฝั กวานิลลาที่ผ่านขันตอนการ ้ Killing แล้ ว ก่อนนาไปบ่มฝั กในสภาพปิ ดด้ วยตู้อบลมร้ อน ที่อณ ุ หภูมิ 8±1 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 3 และ 5 วัน ไม่สามารถชักนาให้ ฝักวานิลลามีการสร้ างหรื อสะสมสารวานิลลินเพิ่มขึ ้น เมื่อ เปรี ยบเทียบกับฝักวานิลลาที่ไม่ได้ ปลูกเชื ้อ (ชุดควบคุม) แต่อย่างไรก็ตาม ฝักวานิลลาที่ทาการปลูกเชื ้อแบคทีเรี ยมีการสะสมสาร 4-ไฮดรอกซีเบนซัลดีไฮด์ เพิ่มขึ ้นเมื่อเปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม หลังจากบ่มในตู้อบเป็ นเวลา 3 วัน คาสาคัญ: การบ่มฝักวานิลลา แบคทีเรี ยเซลลูโลไลติก วานิลลิน

Abstract Bacteria producing cellulolytic enzymes (cellulase and betaglucosidase) were isolated and screened from vanilla beans during the curing steps including sweating, slow drying and conditioning. The results showed that 14 of 16 isolated bacteria (SW-A1, SW-B1, SW-G1, SW-G2, SW-G3, SW-M, Slow-A1, Slow-A2, Slow-A3, Slow-A4, SlowD1, Slow-M, Cond-A1, Cond-A2, Cond-F1 and Cond-M isolates) were able to produce cellulase showing > 0.5 cm width of colonical clear zone on the selective media . The cells suspension of screened isolates were then assayed for the activities of cellulase and betaglucosidase. Two isolates of those, SW-M and Slow-A3, performed high levels of both enzyme activities with 10.7 and 123.0 U.mg protein-1, respectively. The both bacteria were classified as Bacillus subtilis/amyloliquefaciens. In addition, killed beans were dipped in the cell bacteria suspensions before cured in a hot oven at 38±1oC for 3 and 5 days compared with dipped in distilled water as a control. There was no significant difference in the vanillin contents between inoculated beans and non-inoculated beans. However, infected vanilla beans accumulated higher level of 4-hydroxybenzaldehyde (an intermediate in vanillin biosynthesis) content than control treatment on day 3 of the oven curing. Keywords: vanilla bean curing, cellulolytic bacteria, vanillin

1

สานักวิจยั และบริ การวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี (มจธ.) เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ 10140 คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี เขตทุ่งครุ กรุงเทพฯ 10140 3 ศูนย์บริ การทางการศึกษา มจธ. ราชบุรี ตาบลรางบัว อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี 70150 2

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

425


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา

วานิลลา มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ คือ Vanilla fragans (Salish) Ames. เป็ นพืชเลื ้อยในวงศ์กล้ วยไม้ ฝักวานิลลาบ่มเป็ น เครื่ องเทศที่มีมลู ค่าทางเศรษฐกิจสูง การบ่ม (curing) ฝักวานิลลาสด เพื่อให้ มีพฒ ั นาสารที่ให้ กลิ่นหอม มีปัจจัยที่สง่ ต่อกลิ่นหอม และปริ มาณสารวานิลลิน (vanillin) เป็ นองค์ประกอบสารให้ กลิ่นหลักในฝั กวานิลลาบ่ม ได้ แก่ วิธีการบ่มฝั กวานิลลา ความชื ้น ฝัก รวมทังชนิ ้ ดและปริ มาณเชื ้อจุลินทรี ย์ที่พบในระหว่างการบ่มฝักวานิลลา (Havkin-Frenkel and Belanger, 2007) จากการ สารวจประชากรจุลินทรี ย์ในระหว่างกระบวนการบ่มฝั กวานิลลาที่ศนู ย์พฒ ั นาโครงการหลวงขุนวาง จ. เชียงใหม่ ในฤดูการผลิต ปี 2552/2553 พบว่าจุลินทรี ย์ที่น่าจะมีบทบาทในระหว่างการบ่มฝักวานิลลามากที่สดุ คือ แบคทีเรี ยในสกุล Bacillus โดยพบว่า การเปลี่ยนแปลงประชากรของเชื ้อมีความสัมพันธ์เชิงเส้ นตรงกับกิจกรรมของเอนไซม์เบต้ ากลูโคซิเดสในระหว่างการบ่มฝัก (ธิติ มาและคณะ, 2554) แต่การศึกษาของ Röling et al. (2001) พบว่าแบคทีเรี ยบาซิลสั บางชนิดเท่านั ้นที่มีการผลิตเอนไซม์ที่ เกี่ยวข้ องกับการย่อยสลายผนังเซลล์ ได้ แก่ protease, cellulase, hemicellulase หรื อ pectinase เอนไซม์เหล่านี ้จัด เป็ น เอนไซม์ในกลุ่ม hydrolases การทรี ตต์ฝักวานิลลาด้ วยเอนไซม์หลายชนิดร่วมกัน (enzymatic system) ในสภาพที่มีอณ ุ หภูมิ และระดับ pH ที่เหมาะสม ช่วยเพิ่มความสามารถในการย่อยสลายระบบ cell membrane ของฝั กวานิลลา ทาให้ มีการ ปลดปล่อยสารให้ กลิ่นจากฝักวานิลลา (Labuda, 2011) นอกจากนั ้นเชื ้อแบคทีเรี ยที่เก็บตัวอย่างจากส่วนต่างๆ ของต้ นวานิล ลา ในช่วงระยะเวลาหรื อพื ้นที่แตกต่างกัน มีคณ ุ สมบัติหรื อกิจกรรมเอนไซม์ที่แตกต่างกันด้ วย (General et al., 2009) ดังนั ้นการศึกษาการใช้ ประโยชน์จากเอนไซม์หรื อจุลินทรี ย์ในการกระตุ้นการสร้ างสาร vanillin ของฝั กวานิลลามีความ เป็ นไปได้ สงู ในเชิงการค้ า (Sreedhar et al., 2009) ในการศึกษาครัง้ นี ้จึงมีเป้าหมายเพื่อหาแนวทางกระตุ้นหรื อชักนาการ สร้ างสารวานิลลินในฝักวานิลาในระหว่างการบ่ม โดยการใช้ แบคทีเรี ยที่สามารถผลิต cellulolytic enzymes ที่คดั แยกได้ จากฝัก วานิลาในระหว่างกระบวนการบ่ม

อุปกรณ์ และวิธีการ

ทาการเก็บตัวอย่างฝักวานิลลาสดและฝักในระหว่างการบ่ม 3 ขันตอน ้ ได้ แก่ การทาให้ เกิดเหงื่อ (sweating) การทาให้ แห้ งอย่างช้ า (slow drying) และการปรับสภาพ (conditioning) จากแหล่งผลิตฝักวานิลลา ศูนย์พฒ ั นาโครงการหลวงขุนวาง อาเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ ในปี การผลิต 2555/56 จากนันสุ ้ ม่ เก็บตัวอย่างฝัก 300 กรัมต่อตัวอย่าง บรรจุในถุงพลาสติกปิ ด ผนึก แช่เย็นที่อณ ุ หภูมิ 4°C จนกว่าจะทาการแยกเชื ้อ (ไม่เกิน 2 วัน) ขนส่งตัวอย่างมาทดสอบที่ ห้ องปฏิบตั ิการโรคพืช สายวิชา เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี (บางขุนเทียน) 1. การจาแนกเชือ้ แบคทีเรี ยและทดสอบความสามารถในการย่ อยสลายเซลลูโลส สุ่มตัวอย่างฝั กวานิลลา 50 กรัม (นา้ หนักสด) หัน่ ฝั กตามขวางเป็ นชิน้ เล็กๆ ยาวประมาณ 1 ซม. ใส่ในขวดที่บรรจุ สารละลายโซเดียมคลอไรด์ ความเข้ มข้ น 0.85% ปริมาตร 200 มล. เติม glass beads (เส้ นผ่าศูนย์กลาง 3 มม.) นาขวดไปเขย่า ที่ความเร็วรอบ 200 รอบต่อนาที (rpm) เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ที่อณ ุ หภูมิ 37°C จากนันน ้ าไปทา serial dilution ก่อนนาไปแยกเชื ้อ ด้ วยวิธี culture technique บนอาหาร Nutrient agar (NA) ทาการบ่มไว้ ที่อณ ุ หภูมิ 27°C นาน 48 ชัว่ โมง จากนันท ้ าการเก็บ เชื ้อแบคทีเรี ยที่เป็ นโคโลนีเดี่ยวๆ (single colony) มาเลี ้ยงในหลอดบรรจุอาหาร Nutrient Broth (NB) เพื่อหาระยะเวลาที่ เหมาะสมในการเลื ้ยงเชื ้อแบคทีเรี ย (Yong et al., 2014) เลือกระยะเวลาการเลี ้ยงเชื ้อแบคทีเรี ยที่ให้ จานวนประชากรสูงสุดและมี ปริมาณคงที่ (stationary phase) ในการนาไปสกัดเอนไซม์ เพื่อใช้ ในการทดสอบคุณสมบัติการย่อยสลายเซลลูโลสและกิจกรรม เอนไซม์ โดยนาเชื ้อแขวนลอยที่ได้ ไปปั่ นเหวี่ยง และกรองด้ วยหัวกรองละเอียด 0.45 ไมครอน ซึ่งเป็ นส่วนสารกรองเซลล์เชื อ้ แบคทีเรี ย (culture filtrate) ไปทดสอบความสามารถในการย่อยสลายเซลลูโลส ด้ วยอาหาร Carboxymethylcellulose agar (CMC agar) โดยมีค่าความเป็ นกรด-ด่าง (pH) เท่ากับ 5.0 โดยวัดเส้ นผ่าศูนย์กลางบริ เวณส่วนใสรอบๆ โคโลนี (clear zone) บนอาหารเลี ้ยงเชื ้อ 2. การวิเคราะห์ กจิ กรรมเซลลูเลสและเอนไซม์ เบต้ ากลูโคซิเดสที่ผลิตโดยเชือ้ แบคทีเรี ย 2.1 กิจกรรมเอนไซม์ เซลลูเลส (ปรับปรุงจากวิธีการของ Sreedhar et al., 2007) เตรี ยมสารตังต้ ้ นคือสารละลายคาร์ บอกซีเมททิล เซลลูโลส (carboxymethyl cellulose) ความเข้ มข้ น 1% ปริ มาณ 1.0 มล. (substrate) ใส่ลงในหลอดทดลอง (test tube) จากนันใส่ ้ สารสกัดเอนไซม์ปริ มาตร 1.0 มล. นาไปบ่มที่อณ ุ หภูมิ 50 °C นาน 30 นาที เติมสารละลายไดไนโตซาลิซิลิก ความเข้ มข้ น 1% (1% DNS) จานวน 3 มล. นาหลอดทดลองไปต้ มในน ้าเดือด นาน 5 นาที แล้ วจึงนาหลอดขึ ้นมาวางในอ่างที่บรรจุน ้าแข็ง นาน 5 นาที และวางให้ เย็นที่อณ ุ หภูมิห้อง ก่อนนาสารละลายที่ได้ ไปวัดค่า 426

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 632 นาโนเมตร (nm) ด้ วยเครื่ อง spectrophotometer (Shimazu UV-1601, Japan) นาค่าที่ ได้ มาเปรี ยบเทียบปริ มาณน ้าตาลที่เกิดขึ ้นกับกราฟมาตราฐาน D-glucose ความเข้ มข้ น 0-140 มิลลิโมลาร์ (mM) ค่าที่วดั ได้ 1 unit/min.mg protein มีคา่ เท่ากับมิลลิโมลาร์ ของกลูโคสต่อนาทีต่อมิลลิกรัมโปรตีน (mM D-glucose/min.mg protein) โดยสาร สกัดเอนไซม์วิเคราะห์ปริมาณโปรตีนตามวิธีการของ Bradford (1970) 2.2 กิจกรรมเอนไซม์ เบต้ ากลูโคซิเดส (ปรับปรุงจากวิธีการของ Röling et al. 1996) เตรี ยมสารตังต้ ้ นคือ สารละลาย pNPG (2.5 mM p-nitrophenol--glycopyranoside) ใน 0.1 M phosphate (pH 6.3) ปริ มาตร 1.0 มล. เติมสารสกัดเอนไซม์ 2.0 มล. จากนัน้ บ่มที่ 37 °C เป็ นเวลา 4-6 ชั่วโมง และทาการตรวจวัดค่าการ ดูดกลื นแสงที่ ค วามยาวคลื่น 400 nm ของสารละลายที่ เปลี่ยนเป็ นสี เหลื อง และวิเคราะห์ ปริ มาณโปรตี นตามวิ ธี การของ Bradford (1970) และรายงานค่ากิจกรรมของเอนไซม์เอนไซม์เบต้ ากลูโคซิเดส 1 unit/min.mg protein มีค่าเท่ากับไมโครโมลาร์ ของ 4-nitrophenol ต่อนาทีต่อมิลลิกรัมโปรตีน (µM 4-nitrophenol/min.mg protein) การจาแนกเชื ้อแบคทีเรี ย ทาการจาแนก เชื ้อแบคทีเรี ยที่มีความสามารถในการผลิตเอนไซม์เซลลูเลสและเบต้ ากลูโคซิเดสในปริ มาณที่สงู ที่แยกได้ ด้ วยการบันทึกลักษณะ ปรากฏของโคโลนี 3. การทดสอบปลูกเชือ้ แบคทีเรี ยบนฝั กวานิลลา นาฝั กวานิ ลลาที่ ผ่านการ Killing (จุ่มฝั กในนา้ ร้ อน 65 °C นาน 3 นาที แล้ ว ห่อด้ วยผ้ า บ่มไว้ ในสภาพปิ ดที่ อุณหภูมิห้อง เป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง) ปลูกเซลล์แขวนลอยของเชื ้อแบคทีเรี ยที่คดั แยกได้ จากการทดลอง ที่ความเข้ มข้ นของเชื ้อ 104 cells/ml เปรี ยบเทียบกับฝักที่จ่มุ ด้ วยน ้ากลัน่ เป็ นชุดควบคุม บ่มฝัก ในตู้อบลมร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 8±1°C เป็ นเวลา 3 วัน นาฝักวา นิลลา ตรวจวัดปริ มาณวานิลลิน กรดวานิลลิก 4-ไฮดรอกซีเบนซัลดีไฮด์ และ กรด 4-ไฮดรอกซิเบนโซอิก ในฝักวานิลลาบ่มด้ วย เครื่ อง HPLC (Shimazu LC-20AT, Japan) เปรี ยบเทียบกับกราฟมาตรฐาน ความเข้ มข้ น 1-100 mg/L ตามกรรมวิธีของ Sreedhar et al. (2007) การวิเคราะห์ ข้อมูล หาค่าเฉลี่ย เปรี ยบเทียบความแปรปรวน และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% ด้ วยโปรแกรมสาเร็จรูป SPSS version 16

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. ผลการจาแนกเชือ้ แบคทีเรี ยและทดสอบความสามารถในการย่ อยสลายเซลลูโลส ผลการทดลองพบว่าการแยกเชื ้อจากฝักวานิลลา โดยใช้ อาหาร NA ได้ เชื ้อแบคทีเรี ย 8 ลักษณะ และจากอาหาร PDA ได้ เชื ้อแบคทีเรี ย 6 ลักษณะ เชื ้อรา 3 ลักษณะ ระยะเวลาที่เหมาะสม ในการเตรี ยมเชื ้อแบคทีเรี ยเพื่อทดสอบความสามารถของ เชื ้อที่มีคุณสมบัติย่อยสลายเซลลูโลส โดยเลือกใช้ เชื ้อในระยะที่มีประชากรสูงสุดหรื อมีค่า OD คงที่ ด้ วยการตรวจวัดความ เข้ มข้ นเชื ้อที่ 600 นาโนเมตร ซึง่ แบคทีเรี ยในแต่ละรหัส มีค่า OD คงที่หรื อสูงสุด ใช้ ระยะเวลาในการเลี ้ยงเชื ้อ ประมาณ 14-16 ชัว่ โมง โดยพบว่าแบคทีเรี ยที่แยกจากฝั กวานิลลาในระหว่างการทาให้ เกิดเหงื่อ มีการมีอตั ราการเจริ ญเติบโตของเชื ้อแบคทีเรี ย ค่อนข้ างช้ ากว่าแบคทีเรี ยที่แยกจากฝักในระหว่างการทาให้ แห้ งและการปรับสภาพ เชื ้อแบคทีเรี ยจากฝักวานิลลาบ่ม ในขันตอน ้ การทาให้ แห้ งอย่างช้ า (slow drying) มีจานวนลักษณะแตกต่างกันมากที่สดุ จากนันท ้ าการดูดส่วนกรองของเชื ้อแบคทีเรี ย (culture filtrate) ปริ มาตร 10 มล. หยดลงตรงกลางบนอาหาร (Carboxy methylcellulose Agar: CMC agar) ที่เตรี ยมไว้ หลังจากหยดเชื ้อแล้ วบ่มที่อณ ุ หภูมิ 28-30 °C นาน 48 ชัว่ โมง ย้ อมด้ วยสารละลายไอโอดีน ความเข้ มข้ น 1% ทาให้ สีของ ไอโอดีนติดอย่างสม่าเสมอทัว่ ทังจานเลี ้ ้ยงเชื ้อ และสามารถมองเห็น clear zone อย่างชัดเจน การเลือกใช้ สารละลายไอโอดีน เป็ นสีย้อม เนื่องจากใช้ ง่ายราคาถูกและมีประสิทธิภาพสูง ช่วยให้ ผลของ clear zone เห็นได้ ชดั เจนและรวดเร็ว (Kasana et al., 2008) เปรี ยบเทียบเส้ นผ่าศูนย์กลางของ clear zone แบคทีเรี ยที่แยกจากฝักวานิลลา ในระหว่างการบ่ม พบว่า เชื ้อแบคทีเรี ยที่ แยกจากฝักที่อยูร่ ะหว่างการปรับสภาพ (Conditioning: Cond) รหัส M มีเส้ นผ่าศูนย์กลาง clear zone มากที่สดุ รองลงมาได้ แก่ รหัส A2 และ A3-slowdry ตามลาดับ โดยเชื ้อแบคทีเรี ยที่แยกจากฝักวานิลลาในระหว่างการทาให้ แห้ ง (slow drying: Slow) ส่วนใหญ่มีเส้ นผ่าศูนย์กลาง clear zone ค่อนข้ างสูง โดยเฉพาะ รหัส A3 และ M (Figure 1) แต่อย่างไรก็ตาม การศึกษาใน อดีตระบุว่าขนาด clear zone ไม่ได้ บ่งบอกถึง กิจกรรมเอนไซม์เซลลูเลสโดยตรงหรื อมีความสัมพันธ์ ต่า ดังตัวอย่างเช่น เชื ้อ แบคทีเรี ยสกุล Cytophaga spp. ที่สามารถผลิตเอนไซม์เซลลูเลส แต่ไม่เกิด clear zone บนอาหาร (Sadha and Maiti, 2013)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

427


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Control

Cond-A1

Control

Slow-A1

Cond-A2

Control

Slow-A2

Cond-E1

Slow-A3

stain

Control

Cond-F1

Control

Slow-A4

Cond-M

Control

Slow-D Cond-M

Slow-D

Figure 1 Clear zone of cellolytic bacteria, isolated from vanilla beans at different curing steps (conditioning: Cond and slow drying : Slow), grown on CMC agar stained with iodine solution and isolated (capital letter).

2. ผลการวิเคราะห์ กจิ กรรมเซลลูเลสและเอนไซม์ เบต้ ากลูโคซิเดสที่ผลิตโดยเชือ้ แบคทีเรี ย 2.1 กิจกรรมเอนไซม์ เซลลูโลส นาเชื ้อแบคทีเรี ยย่อยเซลลูโลสและไม่ย่อยเซลลูโลสมาเลี ้ยงในอาหารเหลวและสกัดเอนไซม์จากสารแขวนลอยที่ผลิต เอนไซม์โดยจุลินทรี ย์ มาทดสอบหากิจกรรมของเอนไซม์ พบว่าเอนไซม์ที่สกัดจากเชื ้อแบคทีเรี ยที่แยกจากฝักวานิลลาในระหว่าง การทาให้ เกิดเหงื่อ (sweating) ทุกรหัส มีกิจกรรมเอนไซม์เซลลูโลสต่ากว่า เอนไซม์ที่สกัดจากเชื ้อแบคทีเรี ยที่แยกจากฝักวานิล ลาในระหว่างการปรับสภาพ (conditioning: Cond) และเอนไซม์ที่สกัดจากเชื ้อแบคทีเรี ยที่แยกจากฝักวานิลลาในระหว่างการ ทาให้ แห้ ง (slow drying: Slow) ตามลาดับ ซึง่ สอดคล้ องกับผลค่าเฉลี่ยของ clear zone ที่ทาการทดสอบพบว่าเชื ้อแบคทีเรี ย รหัส sweating ไม่เกิด clear zone หรื อมีค่าเฉลี่ยเส้ นผ่าศูนย์กลางต่ากว่า รหัสอื่นๆ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (Table 1) อย่างไรก็ตามผลของกิจกรรมเอนไซม์บางการ ทดลองไม่สอดคล้ องกับเส้ นผ่าศู นย์กลาง clear zone ดังจะเป็ นได้ ว่า เอนไซม์ที่ สกัดจากเชือ้ แบคทีเรี ยที่แยกจากฝั กวานิลลาในระหว่างการปรั บสภาพ (conditioning: Cond) ในรหัส M ซึ่งมีขนาด เส้ นผ่าศูนย์กลาง clear zone สูงที่สดุ แต่กลับมีกิจกรรมเอนไซม์เซลลูโลสน้ อยกว่า เอนไซม์ที่สกัดจากเชื ้อแบคทีเรี ยที่แยกจากฝัก วานิลลาในระหว่างการทาให้ แห้ ง (slow drying: Slow) ในรหัส M (Figure 2) 2.2 กิจกรรมเอนไซม์ เบต้ ากลูโคซิเดส สาหรับกิจกรรมของเอนไซม์เบต้ ากลูโคซิเดส พบว่า เอนไซม์ที่สกัดจากเชื ้อแบคทีเรี ยที่แยกจากฝักวานิลลาในระหว่าง การทาให้ เกิดเหงื่อ (sweating) รหัส M และ A3 มีกิจกรรมเอนไซม์สงู กว่ารหัสอื่นๆอย่างชัดเจน สาหรับเอนไซม์ที่สกัดจากเชื ้อ แบคทีเรี ยที่แยกจากฝักวานิลลาในระหว่างการปรับสภาพ (conditioning: Cond) และในระหว่างการทาให้ แห้ ง (slow drying: Slow) โดยรวมมีกิจกรรมเอนไซม์เบต้ ากลูโคซิเดสต่ากว่า โดยพบว่า กิจกรรมเอนไซม์เบต้ ากลูโคซิเดสที่แยกจากเชื ้อแบคทีเรี ย รหัส G1, G2 และ G3 sweating มีค่าต่ากว่ารหัสอื่นๆ อย่างมีนัยสาคัญ โดยกิจกรรมของเอนไซม์เบต้ ากลูโคซิเดสไม่มี 428

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ความสัมพันธ์ กบั ค่าเฉลี่ยเส้ นผ่าศูนย์กลางของ clear zone ที่ทาการทดสอบในการทดลองที่ 1 ดังจะเห็นได้ ว่าบางรหัสที่ไม่มี clear zone ยังพบกิจกรรมของเอนไซม์เบต้ ากลูโคซิเดส แต่บางรหัส เช่น M-slow และ M-conditioning ที่มีเส้ นผ่าศูนย์กลาง clear zone สูง กลับไม่มีกิจกรรมของเอนไซม์เบต้ ากลูโคซิเดสหรื อกิจกรรมค่อนข้ างต่า (Figure 2)

Figure 2 Cellulase (upper) and -glucosidase (lower) activities of isolated bacteria cultured in NB media at room temperature (2 ± 2oC) for 13 hours. The bacterial isolated from vanilla beans in different curing steps (conditioning: Cond and slow drying: Slow) and isolated (capital letter). Different Roman letters on the top of bars indicate a significant difference (P<0.05) by DMRT test.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

429


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

3. การทดสอบการชักนาการสังเคราะห์ วานิลลินบนผักวานิลลาบ่ มของเชือ้ แบคทีเรี ยที่ผลิตเอนไซม์ เซลลูเลส ฝักวานิลลาที่ทรี ตต์ด้วยเซลล์แขวนลอยจุลินทรี ย์ Bacillus subtilis แล้ วไปบ่มในตู้อบลมร้ อนที่อณ ุ หภูมิ 8±1 องศา เซลเซียส เป็ นเวลา 3 วัน มีปริ มาณสาร vanillin เฉลี่ย 23.85 mg/g DW ไม่แตกต่างทางสถิติกบั ฝักชุดควบคุมที่จ่มุ ในน ้ากลัน่ ซึง่ มีปริมาณเฉลี่ย 24.00 mg/g DW อย่างไรก็ตาม ฝักวานิลลาที่ทรี ตต์ด้วยเซลล์แขวนลอยของเชื ้อแบคทีเรี ย Bacillus subtilis มีปริ มาณสาร 4 -hydroxybenzaldehyde เฉลี่ย 0.69 mg/g DW สูงกว่าฝักวานิลลาชุดควบคุมซึง่ มีปริ มาณ 0.45 mg/g DW อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ แต่ปริ มาณสาร vanillic acid กลับมีน้อยกว่าวิธีควบคุม ส่วนสาร 4-hydroxybenzoic acid มี ปริ มาณเฉลี่ยไม่แตกต่างกันในระหว่างชุดทดลองทังสอง ้ (Table 1) ผลการทดลองนี ้แตกต่างจากรายงานของ Sreedhar et al. (2009) ที่พบว่าไม่มีความแตกต่างของปริ มาณสาร 4-hydroxybenzaldehyde และ 4-hydroxybenzoic acid ในฝั กวานิลลาที่ มีการให้ จลุ ินทรี ย์ในรูปผงแห้ ง (dry cell powder) และชุดควบคุม ความแตกต่างของผลการทดลองอาจเกี่ยวข้ องกับรูปแบบ จุลินทรี ย์ที่ทรี ตต์ให้ กบั ฝักวานิลลา เนื่องจากการทดลองครัง้ นี ้ให้ ในรูปของสปอร์ หรื อเซลล์แขวนลอยของเชื ้อแบคทีเรี ย ซึง่ น่าจะมี ความไวมากกว่า แต่การใช้ สารในรูปแบบนี ้ อาจไม่ค่อยเหมาะสมกับการปฏิบตั ิ เนื่องจากหลังจากบ่มฝั ก เชื ้อมีการเจริ ญสร้ าง สปอรฟุง้ กระจาย จึงเป็ นวิธีการที่ไม่เหมาะสมต่อสุขลักษณะในการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร Table 1 Contents of Vanillin and the intermediates of the biosynthesis analyzed from infected and non-infected vanilla beans with cellulolytic bacteria. Total substance content Treatment

Vanillin (mg/g DW)

4-Hydroxybenzaldehyde (µg/g DW)

Vanillic acid (µg/g DW)

4-Hydroxybenzoic acid (µg/g DW)

De-water (Control)

23.85

0.54B

0.87a

0.11

Bacillus subtilis F-test

24.00 ns

0.69A *

0.47b *

0.10 ns

CV (%)

23.50

17.25

42.22

6.73

Different Roman letters in the same column indicate a significant difference (P<0.05) by DMRT test. ns = not significant

สรุ ป

1. จากการคัดแยกสายพันธุ์ของเชื ้อแบคทีเรี ยจากฝั กวานิลลาบ่ม มีเชื ้อแบคทีเรี ยที่ผลิตสร้ างเอนไซม์เซลลูเลส 14 รหัส ส่วน ใหญ่เป็ นเชื ้อแบคทีเรี ยที่แยกได้ จากฝักในขันตอน ้ slow drying และ conditioning 2. กิจกรรมเอนไซม์เซลลูโลสที่สกัดจากเชื ้อแบคทีเรี ยที่แยกจากฝักวานิลลา มีความสอดคล้ องกับผลการเกิด clear zone โดย แบคทีเรี ยในรหัสที่มี clear zone ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางใหญ่ มีกิจกรรมของเอนไซม์เซลลูโลสค่อนข้ างสูง สายพันธุ์ของเชื ้อ แบคทีเรี ยที่มีกิจกรรมของเอนไซม์เบต้ ากลูโคซิเดสในระดับสูงคือ แบคทีเรี ย รหัส M-sweating3 และ A3-slow3 ซึง่ กิจกรรม เอนไซม์มากกว่า 100 unit/mg protein.min รหัส M-Slow3, A4-slow3 และ M-cond3 มีกิจกรรมเอนไซม์เซลลูเลส สูงสุด เฉลี่ย 10-12 unit/mg protein.min ผลการจาแนก สกุลของเชื ้อแบคทีเรี ย A3 และ M คือแบคทีเรี ย Bacillus subtilis /amyloliquefaciens 3. การปลูกเชื ้อแบคทีเรี ย Bacillus subtilis ลงบนฝักวานิลลา ไม่สามารถชักนาการผลิตสารวานิลลิน (vanillin) ในฝักวานิลลา ในระหว่างการบ่มฝั กวานิลลาในสภาพปิ ด แต่สามารถชักนาให้ มีการผลิตสาร 4-hydroxybenzaldehyde เพิ่มขึน้ เมื่อ เปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม

กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั ชิ ้นนี ้ได้ รับการสนับสนุนทุนจาก สานักงานกรรมการวิจยั แห่งชาติ ประจาปี งบประมาณ 2556 ขอขอบคุณ คุณ วัชระ พันธ์ ทอง หัวหน้ าศูนย์พฒ ั นาโครงการหลวงขุนวาง จ.เชียงใหม่ อนุเคราะห์ตวั อย่างวานิลลาสาหรับการทดลองและ อานวยความสะดวกในระหว่างการเข้ าพื ้นที่ และสถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ในการจาแนก เชื ้อแบคทีเรี ยด้ วยวิธี Biochemical Test 430

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง ธิติมา วงษ์ ชีรี ผ่องเพ็ญ จิตอารี ย์รัตน์ เฉลิมชัย วงษ์ อารี วาริ ช ศรี ละออง วัชระ พันธ์ทอง และ วาสนา มานิช. 2554. ความสัมพันธ์ระหว่างจุลินทรี ย์ และเอนไซม์ที่เกี่ยวข้ องกับการสร้ างวานิลลินในระหว่างการบ่มฝักวานิลลา. รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ ประจาปี งบประมาณ 2553. 56 น. General, T., V. Mamatha, V. Divya, and A.K.A. Appaiah. 2009. Diversity of yeast with -Glucosidase activity in vanilla (Vanilla planifolia) plant. Curr. Sci. 96: 1501-1505. Havkin-Frenkel, D., and F.C. Belanger. 2007. Application of Metabolic Engineering to Vanillin Biosynthetic Pathways in Vanilla Planifolia. pp.175-196. In R. Verpoorte eds. Applications of Plant Metabolic Engineering. Springer Science & Business Media. Leiden, The Netherlands. 332p. Kasana R.C., R. Salawan, H. Dhar, S. Dutt and A. Gulati. 2008. A rapid and easy method for the detection of microbial celluloses on agar plates using gram’s iodine. Curr. Sci. 57: 53-507. Labuda, I. 2011. Biotechnology of Vanillin: Vanillin from microbial sources, pp. 301-331. In D. Havkin-Frenkel and F. C. Belanger eds. Handbook of vanilla science and technology, Blackwell Publishing Ltd., United Kingdom. 339p. Röling, W.F.M., J. Kerler, M. Braster, A. Apriyantono, H. Stam and H. W. V. Verseveld. 2001. Microorganism with taste for vanilla: microbial ecology of traditional Indonesian vanilla curing. Appl. Environ. Microbiol. 67: 1995-2003. Sadhu, S. ,T. Kanti and T. K. Maiti. 2013. Cellulase Production by Bacteria: A Review. Br. Microbiol. Res. J. 3: 235-258. Samiullah, T.R., A. Bakhsh, , A.Q. Roa, , M. Naz and M. Saleem. 2009. Isolation, Purification and characterization of extracellular Bacillus sp. Adv. Environ. Biol. 3: 269-277. Sreedhar, R.V., K. Roohie, P. Maya, L. Venkatachalam, M.S. Narayan and N. Bhagyashmi. 2007. Specific pretreatments reduce curing period of vanilla (Vanilla planifolia) beans. J. Agric. Food Chem. 55: 2947-2955. Sreedhar, R.V., K. Roohie, P. Maya, L. Venkatachalam and N. Bhagyashmi. 2009. Biotic elicitors enhance flavour compounds during accelerated curing of vanilla beans. Food Chem. 112: 461-468. Yang, W., F. Meng, J. Peng, P. Han, F. Fang, L. Ma and B. Cao. 2014. Isolation and identification of a cellulolytic bacterium from the Tibetanpig's intestine and investigation of its cellulase production. Electron. J. Biotechnol. 17: 262–267.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

431


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การหาปริมาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บกิ ในไวน์ เม่ า ด้ วยเครื่องโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง Determination of Benzoic Acid and Sorbic Acid in Mao Wine by High Performance Liquid Chromatography จารุวรรณ ดรเถื่อน1 Jaruwan Donthuan1

บทคัดย่ อ

งานวิจยั นี ้มีจดุ ประสงค์เพื่อทาการวิเคราะห์ ปริ มาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิกในไวน์เม่าด้ วยเครื่ องโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง (HPLC) ซึง่ ใช้ คอลัมน์ชนิด Inertsil ODS-3 C18 เฟสเคลื่อนที่ที่ใช้ คือ ฟอสเฟตบัฟเฟอร์ pH 6.9 ความ เข้ มข้ น 10 มิลลิโมลาร์ และอะซิโตไนไตร์ ในอัตราส่วน 20 : 1 ด้ วยอัตราการไหลเท่ากับ 1.5 มิลลิลิตรต่อนาที และตรวจวัดการ ดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 225 นาโนเมตร พบว่าสามารถแยกกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิกได้ อย่างสมบูรณ์ ภายในเวลา 8 นาที ช่วงความเป็ นเส้ นตรงในการวิเคราะห์ ดีคือ ทัง้ กรดแบนโซอิกและกรดซอร์ บิกมี ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ เชิ งเส้ น (r2) เท่ากับ 0.9997 การวิเคราะห์ไวน์เม่า 6 เครื่ องหมายการค้ า พบว่ามีกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิก ความเข้ มข้ นอยู่ในช่วง 1.36 – 5.84 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 1.00 – 9.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลาดับ และเปอร์ เซ็นต์การสกัดกลับคืนอยู่ในช่วง 86.4-104.1% (กรด เบนโซอิก) และ 86.8-101.9% (กรดซอร์ บิก) คาสาคัญ: ไวน์เม่า, กรดเบนโซอิก, กรดซอร์ บิก, HPLC

Abstract

The aim of this research was to analyze benzoic acid and sorbic acid in Mao wine by HPLC. The separation of benzoic acid and sorbic acid was successfully achieved within 8 minutes on Inertsil ODS-3 C18 column using 10 mM phosphate buffer (pH 6.9) and acetonitrile (20:1) as mobile phase at flow rate of 1.5 mL/min and UV detection at 225 nm. Under the condition, calibration curves were linear for two acids in the concentration range tested with correlation coefficient (r2) of benzoic acid and sorbic acid were 0.9997. This method gave good recoveries in the range of 86.4-104.1% (benzoic acid) and 86.8-101.9% (sorbic acid). The analysis of 6 trade mark of Mao wine. Benzoic acid and sorbic acid were found in 6 trade mark at the level 1.36-5.84 mg/L and 1.08-9.51 mg/L, respectively. Keywords: Mao wine, benzoic acid, sorbic acid, HPLC

1

สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร 432

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

บทนา ไวน์เป็ นเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งซึง่ ได้ จากการหมักน ้าองุ่นกับยีสต์ การดื่มไวน์ก็คล้ ายกลับการดื่มน ้าผลไม้ ที่เจือ ปนแอลกอฮอล์ ย่อมมีประโยชน์ต่อร่างกายมากกว่าสุราประเภทอื่น ๆ เพราะไวน์ให้ ทงแคลอรี ั้ และวิตามิน นอกจากนี ้ไวน์จะเป็ น สิ่งที่ช่วยเจริ ญอาหาร ปริ มาณแอลกอฮอล์ในไวน์นนั ้ เพียงพอที่จะยับยังการเติ ้ บโตของแบคทีเรี ยที่เป็ นโทษต่อร่ างกาย ไวน์จึง นับว่าเป็ นเครื่ องดื่มที่ปลอดภัยอย่างหนึ่ง (ศราวุธ, 2546) นอกจากนี ้ไวน์ยงั สามารถผลิตจากผลไม้ อื่น ๆ ที่มีสารอาหารประเภท คาร์ โบไฮเดรตที่เพียงพอต่อการหมักได้ แต่จะมีชื่อเรี ยกต่างๆกันไป โดยทัว่ ไปจะเรี ยกชื่อตามผลไม้ ที่นามาหมัก เช่น ไวน์มะขาม ไวน์มะเฟื อง ไวน์มะเกี๋ยง ไวน์หม่อน ไวน์สตรอเบอรี่ ไวน์มะยม ไวน์สบั ปะรด และ ไวน์เม่า เป็ นต้ น จังหวัดสกลนครเป็ นจังหวัดที่ มีการผลิตไวน์อย่างกว้ างขวางโดยเฉพาะไวน์เม่า เม่า หรื อหมากเม่า เป็ นไม้ ผลยืนต้ นท้ องถิ่น สามารถเจริ ญเติบโตได้ ดีในเขตร้ อนของทวีปแอฟริ กา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะต่างๆ สาหรับประเทศไทยพบในจังหวัดสกลนครและจังหวัด ใกล้ เคียง โดยพบพืชสกุลเม่าจานวน 3 ชนิด คือ เม่า หลวง (Antidesma thwaitesianum Muell. Arg.) เม่าไข่ปลา (Antidesma ghaesembilla Gaertn.) และเม่าหินหรื อมะเม่า ควาย (Antidesma velutinosum Bl.) เม่าที่นิยมนามาบริ โภคคือเม่าหลวง เนื่องจากเม่าหลวงมีรสชาติดี ผลและช่อผลมีขนาด ใหญ่ ปริ มาณน ้าคันมากกว่ ้ าเม่าไข่ปลา และเม่าหิน (สุจิตรา และคณะ, 2545) และพบว่าเม่าหลวงเป็ นผลไม้ ชนิดหนึ่งที่มี รายงานว่ามีคณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง มีองค์ประกอบของสารอาหารที่เป็ นประโยชน์ต่อร่ างกาย คาร์ โบไฮเดรตและกรดอะมิโน มากถึง 18 ชนิด (อร่าม และวินยั , 2540) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็ นแหล่งของสารต้ านอนุมลู อิสระ และสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพอื่น ๆ (พิเชษฐ และสุกญ ั ญา, 2544; สารี , 2545; ลือชัย, 2551) จึงมีการนาผลไม้ ชนิดนี ้ไปผลิตไวน์ และน ้าผลไม้ เป็ นต้ น สาหรับไวน์เม่าที่มีจาหน่ายในจังหวัดสกลนครนันมั ้ กจะผลิตกันภายในชุมชน และเป็ นหนึ่งในสินค้ า “หนึ่งตาบล หนึ่ง ผลิตภัณฑ์” ไวน์นนไม่ ั ้ สามารถเก็บไว้ ได้ นานเพราะจะทาให้ เสียรสชาติ จึงอาจมีการเติม วัตถุกนั เสีย หรื อสารกันบูด สารกลุ่มนี ้ ส่วนใหญ่จะให้ ผลยับยังรา ้ และยีสต์มากกว่าแบคทีเรี ย ข้ อดีของสารกลุ่มนี ้คือมีความเป็ นพิษต่า เบนโซอิกและซอร์ บิกเป็ นสาร กันบูดที่นิยมใช้ ในเครื่ องดื่มประเภทสุราแช่ เพราะมีความสามารถในการทาลายเชือ้ จุลินทรี ย์ (ศราวุธ, 2546; สานักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม, 2545) เพื่อสุขภาพความปลอดภัยของผู้บริ โภค จึงเป็ นแนวทางในการตรวจหาปริ มาณกรด เบนโซอิกและกรดซอร์ บิก ที่เติมลงไปให้ เป็ นไปตามมาตรฐานของสารกันบูดในไวน์ ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (กระทรวงอุตสาหกรรม, 2546; มาริ นี โตะแม, 2545; สถาบันวิจยั เคมี สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, 2547) จึงใช้ เครื่ องโครมาโท กราฟี ของเหลวสมรรถนะสูงในการวิเคราะห์หาปริมาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิก วิธีที่นิยมใช้ ในการวิเคราะห์กรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิกคือวิธีทางโครมาโทกราฟี เช่น ทินเลเยอร์ โครมาโทกราฟี (TLC) (Thomassin et al., 1997), แก๊ สโครมาโทกราฟี (GC) (Pan et al., 2005), แคพพิลลารี อิเล็กโตรโฟเรซิส (CE) (Zhang et al., 2011) และ โครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง (HPLC) (Guarino et al., 2011; Ding et al., 2015) วิธีวิเคราะห์ที่ได้ รับ ความนิยมที่สดุ คือ โครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง (HPLC) เนื่องจากเป็ นเทคนิคที่มีประสิทธิภาพสูง ใช้ งานง่าย มี ความจาเพาะ (selectivity) และความไวสูง (sensitivity) วิเคราะห์สารได้ รวดเร็ว และสามารถวิเคราะห์สารหลายชนิดพร้ อมกัน HPLCมีกลไกการแยกหลายแบบ กลไกการแยกที่ใช้ แยกกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิกคือรี เวิร์สเฟส (reverse phase) ซึ่งเป็ น เทคนิคที่ใช้ เฟสเคลื่อนที่ที่มีขวั ้ (polar) ดังนันงานวิ ้ จยั ชิ ้นนี ้มีจดุ มุ่งหมายเพื่อศึกษาปริ มาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิกใน ตัวอย่างไวน์เม่าที่ผลิตในจังหวัดสกลนคร จานวน 6 เครื่ องหมายการค้ า โดยใช้ เทคนิคโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง

อุปกรณ์ และวิธีการศึกษา 1. การเตรี ยมสารเคมี 1.1 การเตรี ยม 10 มิลลิโมลาร์ ฟอสเฟตบัฟเฟอร์ (pH 6.9) โดยทาการชัง่ sodium dihydrogen phosphate dihydrate 0.780 กรัม และ dibasic sodium phosphate anhydrous 0.709 กรัม ใส่ในขวดวัดปริ มาตรขนาด 1000 มิลลิลิตร แล้ วปรับปริมาตรด้ วยน ้าที่กาจัดไอออน 1.2 การเตรี ยม 15 % carrez I : 15 % potassiumhexacyanoferate (II) trihydrate โดยละลาย 15 กรัม ของ potassiumhexacyanoferate (II) trihydrate ในขวดวัดปริมาตรขนาด 100 มิลลิลิตร ปรับปริมาตรด้ วยน ้ากลัน่ 1.3 การเตรี ยม 25 % carrez II: 23 % zinc acetate dehydrate โดยละลาย 23 กรัม ของ zinc acetate dihydrate ในขวดวัดปริมาตรขนาด 100 มิลลิลติ ร ปรับปริมาตรด้ วยน ้ากลัน่ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

433


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

1.4 Stock standard benzoic acid และ sorbic acid (100 มิลลิกรัมต่อลิตร ) โดยละลาย 0.01 กรัม ของกรดเบนโซ อิกและกรดซอร์ บิกใน 20 มิลลิลิตร เมทานอล ปรับปริมาตรให้ เป็ น 100 มิลลิลิตร ด้ วยน ้ากลัน่ 1.5 Working standard benzoic acid และ sorbic acid (5, 10, 15, 20, 25 มิลลิกรัมต่อลิตร ) โดยปิ เปต 0.5, 1.0, 1.5, 2.0 และ 2.5 มิลลิลิตร ของ stock standard benzoic acid และ sorbic acid (100 มิลลิกรัมต่อลิตร) ลงในขวดวัดปริ มาตร ขนาด 10 มิลลิลิตร เติม carrez I 0.1 มิลลิลิตร และ carrez II 0.1 มิลลิลิตร ปรับปริ มาตรให้ เป็ น 10 มิลลิลิตร ด้ วยน ้ากลัน่ ตังทิ ้ ้ง ไว้ 15 นาที กรองด้ วยกระดาษกรองหมายเลข 2 แล้ วนาไปกรองต่อด้ วย membrane filter ขนาด 0.45 ไมโครเมตร เตรี ยมฉีดเข้ า เครื่ อง HPLC เพื่อทากราฟมาตรฐาน 2. การเตรี ยมตัวอย่ างไวน์ เม่ า สุม่ เก็บตัวอย่างไวน์เม่าจากจังหวัดสกลนคร จานวน 6 เครื่ องหมายการค้ า คือ ไวน์เม่า1 ไวน์เม่า 2 ไวน์เม่า 3 ไวน์เม่า 4 ไวน์เม่า 5 และ ไวน์เม่า 6 โดยแต่ละเครื่ องหมายการค้ ามีปริมาตรบรรจุ 750 มิลลิลิตร มีปริมาณแอลกอฮอล์ 12ถึง13 เปอร์ เซ็นต์ โดยปริ มาตร เทตัวอย่างไวน์เม่าประมาณ 50 มิลลิลิตร ใส่ในขวดวัดปริ มาตรขนาด 100 มิลลิลิตร เติม carrez I 1 มิลลิลิตร และ carrez II 1 มิลลิลิตร ปรับปริ มาตรให้ เป็ น 100 มิลลิลิตร ด้ วยตัวอย่างไวน์เม่า ตังทิ ้ ้งไว้ 15 นาที กรองด้ วยกระดาษกรอง หมายเลข 2 แล้ วนาไปกรองต่อด้ วย membrane filter ขนาด 0.45 ไมโครเมตร เตรี ยมฉีดเข้ าเครื่ อง HPLC 3. การวิเคราะห์ กรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บกิ วิเคราะห์โดยใช้ เครื่ อง HPLC (CLASS – VP, Shimadzu, Japan) โดยเปรี ยบเทียบเวลาการคงไว้ (retention time) ของกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิกในไวน์เม่ากับเวลาการคงไว้ ของสารละลายมาตรฐาน หาปริมาณโดยเปรี ยบเทียบกับกราฟ มาตรฐาน 3.1 สภาวะในการวิเคราะห์ ใช้ คอลัมน์ Inertsil ODS – 3 ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางภายใน 4.6 มิลลิเมตร ความยาว 250 มิลลิเมตร ที่มีสารละลาย ฟอสเฟตบัฟเฟอร์ pH 6.9 ความเข้ มข้ น 10 มิลลิโมลาร์ และอะซิโตไนไตร์ อัตราส่วน 20 : 1 เป็ นเฟสเคลื่อนที่ อัตราการไหล เท่ากับ 1.5 มิลลิลติ รต่อนาที อุณหภูมิของคอลัมน์ 40 องศาเซลเซียส วัดการดูดกลืนแสงยูวีที่ความยาวคลื่น 225 นาโนเมตร 3.2 การสร้ างกราฟมาตรฐาน สร้ างความสัมพันธ์ระหว่างพื ้นที่ใต้ กราฟ (peak area) กับความเข้ มข้ นของสารละลายมาตรฐาน ในการเตรี ยมกราฟ มาตรฐานจะเตรี ยม 5 จุด โดยกาหนดความเข้ มข้ นของสารมาตรฐานกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิกให้ มีความเข้ มข้ นที่เหมาะสม กับการวิเคราะห์ที่มีอยูใ่ นตัวอย่างไวน์เม่า ความเข้ มข้ นที่ใช้ สร้ างกราฟมาตรฐาน คือ 5, 10, 15, 20, 25 มิลลิกรัมต่อลิตร 4. การวิเคราะห์ ข้อมูลทางสถิติ ข้ อมูลทังหมดแสดงเป็ ้ นค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการตรวจวิเคราะห์แ ต่ละเครื่ องหมายการค้ า 3 ครัง้ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ (Analysis of variance, ANOVA) และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้ วยวิธีทางสถิติ แบบ Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT) พิจารณาค่าความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% โดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ

ผลการทดลองและวิจารณ์ เมื่อนาไวน์เม่า จานวน 6 เครื่ องหมายการค้ า มาทาการวิเคราะห์หาปริ มาณกรดเบนโซอิก และกรดซอร์ บิก ตัวอย่างละ 3 ครัง้ ด้ วยเครื่ องโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง ผลแสดงเป็ นโครมาโทแกรมดังFigure 1 และผลการตรวจวัดแสดงดัง Table 1 ซึง่ หาได้ จากนาพื ้นที่ใต้ พีคที่ได้ ไปเปรี ยบเทียบกับพื ้นที่ใต้ พีคของสารละลายมาตรฐานกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิก ดัง แสดงใน Figure 2 และ Figure 3 พบว่าในตัวอย่างไวน์เม่า 6 เครื่ องหมายการค้ า ตรวจพบกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิก อยู่ ในช่วง 1.36 ถึง 5.84 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 1.00 ถึง 9.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลาดับ ซึง่ มีค่าน้ อยกว่าค่ามาตรฐานที่สานักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมกาหนด (กระทรวงอุตสาหกรรม, 2546) คือ ปริ มาณกรดเบนโซอิกเท่ากับ 250 มิลลิกรัมต่อลิตร (ppm) กรดซอร์ บิกเท่ากับ 200 มิลลิกรัมต่อลิตร (ppm) โดยผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่าปริ มาณกรด เบนโซอิกและกรด ซอร์ บิกในไวน์เม่าสกลนคร จานวน 6 เครื่ องหมายการค้ ามีปริ มาณแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ (p  0.05) เนื่องจากตัวอย่าง 434

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ไวน์ มาจากผู้ผลิตแตกต่างกัน ผู้ผลิตอาจเติมสารกันบูดในปริ มาณที่ต่างกัน เพื่อช่วยถนอมรั กษาคุณภาพของไวน์ พ บว่าใน ตัวอย่างไวน์เม่า 1 ไวน์เม่า 2 ไวน์เม่า 3 ไวน์เม่า 4 ไวน์เม่า 5 และ ไวน์เม่า 6 ตรวจพบกรดเบนโซอิกเท่ากับ 5.19 มิลลิกรัมต่อ ลิตร, 1.36 มิลลิกรัมต่อลิตร, 1.46 มิลลิกรัมต่อลิตร, 2.33 มิลลิกรัมต่อลิตร, 2.02 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 5.84 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลาดับ และตรวจพบกรดซอร์ บิกเท่ากับ 2.85 มิลลิกรัมต่อลิตร, 9.25 มิลลิกรัมต่อลิตร, 2.97 มิลลิกรัมต่อลิตร, 1.63 มิลลิกรัม ต่อลิตร, 1.89 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลาดับ ซึง่ พบว่าตัวอย่างไวน์เม่า 2 มีกรดเบนโซอิกต่าที่สดุ (p  0.05) ขณะที่ตวั อย่างไวน์เม่า 1 มีปริ มาณกรดเบนโซอิกสูงที่สดุ (p  0.05) ไวน์เม่า 6 มีกรดซอร์ บิกต่าที่สดุ (p  0.05) ขณะที่ ไวน์เม่า 2 มีปริ มาณกรดซอร์ บิกสูงที่สดุ (p  0.05) ปริ มาณกรดเบนโซอิก (1.36 ถึง 5.84 มิลลิกรัมต่อลิตร) และกรดซอร์ บิก (1.00 ถึง 9.25 มิลลิกรัมต่อลิตร) ที่พบในไวน์เม่าจานวน 6 เครื่ องหมายการค้ า มีปริ มาณต่ากว่าที่พบในไวน์ที่ผลิตจากข้ าวไทย (Techakriengkrai and Surakarnkul, 2007) โดยไวน์ข้าวจานวน 10 ตัวอย่างมีปริ มาณกรดเบนโซอิก 2.82 ถึง 25 มิลลิกรัมต่อ ลิตร และกรดซอร์ บิก พบในปริ มาณ 0.12 ถึง 63.39 มิลลิกรัมต่อลิตร และเมื่อเปรี ยบเทียบกับปริ มาณที่พบในเครื่ องดื่ม แอลกอฮอล์ในประเทศโปรตุเกส จานวน 38 ตัวอย่าง พบว่าไวน์เม่ามีปริ มาณต่ากว่าเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศโปรตุเกส (Lino and Pena, 2010) โดยเครื่ องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศโปรตุเกสมีปริ มาณกรดเบนโซอิก 91 ถึง 172 มิลลิกรัมต่อลิตร และกรดซอร์ บิก พบในปริ มาณ 78 ถึง 350 มิลลิกรัมต่อลิตร การทดสอบความแม่นยาของวิธีการวิเคราะห์โดยคานวณหา เปอร์ เซ็นต์การสกัดกลับคืนของกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิก (%recovery) ดังแสดงในTable 1 พบว่าวิธีการวิเคราะห์นี ้เป็ นวิธีที่ มีความแม่นยาสูง โดยเปอร์ เซ็นต์การสกัดกลับคืนอยูใ่ นช่วง 86.4-104.1% (กรดเบนโซอิก) และ 86.8-101.9% (กรดซอร์ บิก)

Figure 1 Typical chromatogram of standard mixture of benzoic acid and sorbic acid.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

435


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Amount of benzoic acid and sorbic acid and recoveries in Mao wine. Benzoic acid

Sorbic acid

Sample Found (mg/L)

Recovery (%)

Found (mg/L)

Recovery (%)

Mao wine 1

5.19  0.3c

94.5

2.85  0.11d

101.9

Mao wine 2

1.36  0.14a

100.5

9.25  0.35e

86.8

Mao wine 3

1.46  0.19a

104.1

2.97  0.25d

91.6

Mao wine 4

2.33  0.14b

91.7

1.63  0.06b

95.4

Mao wine 5

2.02  0.14b

102.2

1.89  0.06c

100.6

Mao wine 6

5.84  0.24d

86.4

1.00  0.07a

101.0

Peak area

a, b, c, d, e

Different superscripts in the same column indicate the significant differences (p  0.05).

1600000 1400000 1200000 1000000 800000 600000 400000 200000 0

y = 57326x R² = 0.9997

0

5

10

15

20

25

30

Concentration (mg/L) Figure 2 Standard curve of benzoic acid.

436

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


Peak area

วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

1800000 1600000 1400000 1200000 1000000 800000 600000 400000 200000 0

y = 66095x R² = 0.9997

0

5

10

15

20

25

30

Concentration (mg/L) Figure 3 Standard curve of sorbic acid.

สรุ ปผลการทดลอง จากการวิเคราะห์หาปริมาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิกในไวน์เม่า จานวน 6 เครื่ องหมายการค้ า ด้ วยเครื่ อง โคร มาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง พบว่าในตัวอย่างไวน์เม่า 1 ไวน์เม่า 2 ไวน์เม่า 3 ไวน์เม่า 4 ไวน์เม่า 5 และ ไวน์เม่า 6 ตรวจ พบกรดเบนโซอิกเท่ากับ 5.19, 1.36, 1.46, 2.33, 2.02 และ 5.84 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลาดับ และตรวจพบกรดซอร์ บิกเท่ากับ 2.85, 9.25, 2.97, 1.63, 1.89 และ 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลาดับ การศึกษาครัง้ นี ้พบว่าในไวน์เม่ามีปริ มาณกรดเบนโซอิกและกรดซอร์ บิกน้ อยกว่าค่ามาตรฐานที่สานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมกาหนด คือ ปริ มาณกรดเบนโซอิกเท่ากับ 250 มิลลิกรัมต่อลิตร (ppm) กรดซอร์ บิกเท่ากับ 200 มิลลิกรัม ต่อลิตร (ppm) และเมื่อศึกษาประสิทธิภาพของวิธีการวิเคราะห์ พบว่ามี เปอร์ เซ็นต์การสกัดกลับคืนสูง โดยกรด เบนโซอิกอยู่ ในช่วง 86.4-104.1% และ กรดซอร์ บิกอยูใ่ นช่วง 86.8-101.9%

กิตติกรรมประกาศ

การศึกษาวิจยั นี ้ได้ รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ขอขอบคุณสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีการอาหาร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิ ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนครที่เอื ้อเฟื อ้ สถานที่ใน การทาวิจัย อานวยความสะดวกในการใช้ เครื่ องมือ และอุปกรณ์ ในการทางานวิจยั ให้ สาเร็ จลุล่วงได้ ด้วยดี และขอขอบคุณ บุคลากรทุกท่านที่อานวยความสะดวก

เอกสารอ้ างอิง กระทรวงอุตสาหกรรม. 2546. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชนไวน์ผลไม้ , สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม, กรุงเทพมหานคร, 7 หน้ า. สุกญ ั ญา สายธิ. 2544. การสกัดแอนโธไซยานินส์จากมะเม่า. เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาทางวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ครัง้ ที่ 17, 14-16 มกราคม 2543; ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิต, กรุงเทพมหานคร. มาริ นี โตะแม. 2545. การประกันคุณภาพสาโท. โปรแกรมวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา. ลือชัย บุตคุป. 2551. การศึกษาสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในเม่าหลวงสายพันธ์ทางการค้ าจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เพื่อการผลิต เครื่ องดื่มและไวน์แดง. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ศราวุธ มนีวงษ์ . 2546. การหาปริ มาณเบนโซอิกและซอร์ บิกในไวน์สรุ าแช่ด้วยเครื่ องโครมาโทกราฟี ของเหลวสมรรถนะสูง. โปรแกรมวิชาเคมี คณะ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏนครปฐม. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

437


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า สถาบันวิจยั เคมี สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 2547. โครงการวิเคราะห์คณ ุ ภาพสุราชุมชนตามมาตรการเฝ้าระวัง. กรุงเทพมหานคร. 50 หน้ า. สารี มัน่ เขตต์กรน์. 2545. การแยกบริ สทุ ธิ์สารในกลุม่ polyphenols จากมะเม่าและศึกษาความสามารถในการต้ านออกซิเดชัน่ และการต้ านมะเร็ง. งบประมาณแผ่นดิน 2543. หน่วยวิจยั Physical Chemistry Molecular and Cellular Biologyคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม. 2545. มาตรฐานยกระดับคุณภาพสุราแช่ (ไวน์) ไทย. สมอ สาร 28 (327): 3-8. สุจิตรา ไชยฤกษ์ อานวย คาตื ้อ สัมฤทธิ์ เฟื่ องจันทร์ สังคม เตชะวงค์เสถียร และ อร่ าม คุ้มกลาง. 2545. ปริ มาณคาร์ โบไฮเดรต และไนโตรเจนที่สะสม ในใบและกิ่งในหนึง่ ปี ของเม่าหลวง (Antidesma thwaitesianum Muell. Arg.). วารสารวิจยั มข. (บศ.) 2 (1) : ม.ค.-มิ.ย. 2545: 1-6. อร่าม คุ้มกลาง และวินยั แสงแก้ ว. 2540. มะเม่าไม้ ผลท้ องถิ่นที่ต้องพัฒนา. วารสารเทคโนโลยีชาวบ้ าน 9 (168): 40-42. Ding, M., Peng, J., Ma, S. and Zhang, Y. 2015. An environment-friendly procedure for the high performance liquid chromatography determination of benzoic acid and sorbic acid in soy sauce. Food Chem. 183: 26–29. Guarino, C., Fuselli, F., Mantia, A.L. and Longo, L. 2011. Development of an RP-HPLC method for the simultaneous determination of benzoic acid, sorbic acid, natamycin and lysozyme in hard and pasta filata cheeses. Food Chem. 127: 1294–1299. Lino, C.M. and Pena , A. 2010. Occurrence of caffeine, saccharin, benzoic acid and sorbic acid in soft drinks and nectars in Portugal and subsequent exposure assessment. Food Chem. 121: 503–508. Pan, Z., Wang, L., Mo, W., Wang, C., Hu, W., Zhang, J. 2005. Determination of benzoic acid in soft drinks by gas chromatography with on-line pyrolytic methylation technique. Anal. Chim. Acta 545: 218–223. Techakriengkrai, I. and Surakarnkul, R. 2007. Analysis of benzoic acid and sorbic acid in Thai rice wines and distillates by solid-phase sorbent extraction and high-performance liquid chromatography. J. Food Comp. Anal. 20: 220–225. Thomassin, M., Cavalli, E., Guillaume, Y. and Guinchard, C. 1997. J. Pharm. Biomed. Anal. 15: 831-838. Zhang, X.F., Xu, S.X., Sun, Y.H., Wang, Y.Y., Wang, C. 2011. Simultaneous determination of benzoic acid and sorbic acid in food products by CE after on-line preconcentration by dynamic pH junction, Chromatographia 73: 1217–2122.

438

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของสาร 1-methylcyclopropene ต่ ออายุการเก็บรักษาผักหวานป่ า (Melientha suavis) Effec of 1-methylcyclopropene on shelf life of Melientha suavis จิตตา สาตร์ เพ็ชร์ 1 มยุรา ล้ านไชย1 เกศินี เสาวคนธ์ 1 สายันต์ ตันพานิช1 โสรยา ใบเต๊ ะ2 อรอุมา พรมน้ อย2 ลาแพน ขวัญพูล2 1 Chitta Sartpetch , Mayura Lanchai1, Kasinee Saowakon1, Sayan Tanpanich1 Soraya Baiteh2, Ornuma Promnoi2, Lampan Khurnpoon2

บทคัดย่ อ การศึกษาวิธีการลดอุณหภูมิที่เหมาะสมในการยืดอายุการเก็บรักษาผักหวานป่ าระหว่างวิธี hydro-cooling และวิธี forced air cooling พบว่าวิธีที่ดีที่สดุ ในการลดอุณหภูมิคือวิธี hydro-cooling โดยมีค่า half cooling time (T1/2) เท่ากับ 7.14 นาที และเมื่อนาวิธีการลดอุณหภูมิแบบ hydro-cooling มาใช้ ร่วมกับการรมสาร 1-MCP ที่ระดับความเข้ มข้ น 100, 250 และ 500 พีพีบี นาน 6 ชัว่ โมง พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงสีของใบ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ ความแน่นเนื ้อของก้ านผักหวานป่ า ปริ มาณกรด ที่ไตเตรทได้ และการเปลี่ยนแปลงน ้าหนักสดช้ ากว่าผักหวานป่ าที่ไม่ได้ รมสาร 1-MCP (ชุดควบคุม) โดยผักหวานป่ าที่รมสาร 1MCP ความเข้ มข้ น 100 พีพีบี นาน 6 ชัว่ โมง สามารถชะลอความแน่นเนื ้อของก้ านผักหวานป่ าได้ ดีกว่าผักหวานป่ าที่ รมสาร 1MCP ความเข้ มข้ น 250 และ 500 พีพีบี โดยมีความแน่นเนื ้อในวันสุดท้ ายของการเก็บรักษามากกว่าผักหวานป่ าที่รมสาร 1MCP ความเข้ มข้ น 250 และ 500 พีพีบี นาน 6 ชัว่ โมง ประมาณ 4.98 นิวตัน สาหรับการสูญเสียน ้าหนักสดในผักหวานป่ าที่ ไม่ได้ รมสาร 1-MCP อายุการเก็บรักษา 5 วัน มีค่าเท่ากับ 3.87 เปอร์ เซ็นต์ ส่วนผักหวานป่ าที่รมสาร 1-MCP ความเข้ มข้ น 100, 250 และ 500 พีพีบี นาน 6 ชัว่ โมง มีการสูญเสียน ้าหนักสดเท่ากับ 0.08, 0.18 และ 2.32 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ดังนันการลด ้ อุณหภูมิแบบ hydro-cooling ร่ วมกับการรมสาร 1-MCP ความเข้ มข้ น 100 พีพีบี นาน 6 ชั่วโมง จึงเป็ นวิธีการที่ดีที่สดุ ซึ่ง สามารถยืดอายุการเก็บรักษาผักหวานป่ าได้ นาน 15 วัน คาสาคัญ : ผักหวานป่ า การลดอุณหภูมิ สาร 1-MCP

Abstract The proper precooling method to reduce the produce temperature for extending the shelf life of Melaintha suavis were studied. The temperature carrier (water, air) was set at 8 and 5 ºC for hydro- and forced air cooling, respectively. Hydro-cooling was the good method for reduction produce temperature, using 7.14 minute for half cooling time (T1/2). After the samples were cooled by water, fumigated with 1-MCP at the concentration of 100, 250 and 500 ppb for 6 hours were setup. These method could delay the leaf color changed, chlorophyll content, shoot firmness, TA content and fresh weight loss. However, the reduction of shoot firmness was delayed by 100 ppb better than a concentration of 250 and 500 ppb 1- MCP of about 4.98 newton. The percentage of fresh weight loss in control showed 3.87%, it were showed only 0.08, 0.18 and 2.32% when fumigated with 100, 250 and 500 ppb 1MCP, respectively on days 5 (end of storage for control treatments). Hydro-cooling treatment together with 1-MCP fumigation at 100 ppb for 6 hours is the best for prolong Pak-wan Tree for 15 days. Keywords : Pak-wan Tree (Melaintha suavis), Precooling, 1-Methylcyclopropene (1-MCP)

1 2

สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย(วว.) ฝ่ ายเทคโนโลยีการเกษตร ปทุมธานี 12120 สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

439


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ผักหวานป่ าเป็ นผักพื ้นบ้ านที่จดั อยู่ในประเภทสมุนไพร เป็ นไม้ ยืนต้ นขนาดเล็กถึงปานกลาง เกิดขึ ้นทัว่ ไปในประเทศ ไทย เนื่ องด้ วยผักหวานป่ ามีคุณค่าทางโภชนาการที่สูง เป็ น ผักปลอดสารพิษและหายาก ปั จจุบันคนในสังคมเมืองจึงนิยม รับประทาน (พิพาภรณ์ , 2552) แต่พบว่าภายหลังการเก็บเกี่ยวมีปัญหาใบเหี่ยวและเหลืองอย่างรวดเร็ วจากการคายน ้าและ สูญเสียคลอโรฟิ ลล์ ซึง่ เป็ นผลมาจากการตอบสนองต่อเอทิลีนในระหว่างการสุก เนื่องจากเอทิลีนเป็ นก๊ าซที่มีคุณสมบัติในการเร่ง กระบวนการเสื่อมสภาพของผักหวานป่ าภายหลังการเก็บเกี่ยว ดังนันจึ ้ งจาเป็ นต้ องหาวิธีการลดปริ มาณเอทิลีนเพื่อชะลอการ เสื่อมสภาพของผักหวานป่ า ในปั จจุบนั สาร 1-methylcyclopropene (1-MCP) เป็ นสารอินทรี ย์ที่มีประสิทธิภาพในการยับยังการ ้ ทางานของเอทิลีน โดยมีความสามารถในการแย่งพื ้นที่จบั กับตัวรับเอทิลีน ทาให้ เอทิลีนไม่สามารถทางานได้ จึงสามารถชะลอ กระบวนการเสื่อมสภาพ ทาให้ ผกั และผลไม้ มีอายุการเก็บรักษาที่ยาวนานขึ ้น และมีรายงานว่าสาร 1-MCP เป็ นสารที่ไม่เป็ นพิษ ต่อสิ่งแวดล้ อม และมีความเป็ นพิษในระดับที่ต่ามาก โดยมีค่า LD50 น้ อยกว่า 165 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จึงได้ รับอนุญาตให้ สามารถใช้ กับผลิตผลทางการเกษตรได้ (จริ งแท้ , 2550) จากประสิทธิ ภาพในการยับยัง้ การทางานของเอทิลีนและความ ปลอดภัยต่อผู้บริ โภค งานทดลองนี ้จึงได้ ทาการศึกษาผลของการรมสาร 1-MCP ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสรี รวิทยาและอายุการ เก็บรักษาผักหวานป่ า เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาและชะลอการสูญเสียของผักหวานป่ าหลังการเก็บเกี่ยวทังด้ ้ านปริ มาณและ คุณภาพให้ เหมาะสมต่อการบริโภค

อุปกรณ์ และวิธีการ การทดลองนี ้แบ่งเป็ น 2 การทดลอง ดังนี ้ การทดลองที่ 1 ศึกษาวิธีการลดอุณหภูมิที่เหมาะสมในการยืดอายุการเก็บ รักษาผักหวานป่ า โดยวิธี Hydro-cooling แช่น ้าเย็นอุณหภูมิ 8 องศาเซลเซียส และวิธี Forced air cooling เก็บไว้ ในตู้ควบคุม อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส ที่มีพดั ลมระบายอากาศ บันทึกอุณหภูมิทกุ 10 นาที ทัง้ 2 วิธีการ จนกระทัง่ อุณหภูมิลดลงถึงระดับที่ จะเก็บรักษา คือ 10 องศาเซลเซียส และนาค่าอุณหภูมิที่วดั ได้ สร้ างกราฟเพื่อหาค่า Half cooling time (T1/2) จากนันเข้ ้ าสู่การ ทดลองที่ 2 ศึกษาการลดอุณหภูมิร่วมกับการรมสาร 1-MCP ต่ออายุการเก็บรักษาผักหวานป่ า โดยวางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) แบ่งออกเป็ น 4 สิ่งทดลอง แต่ละสิ่งทดลองมี 5 ซ ้า นาผักหวานป่ าจากการลด อุณหภูมิวิธีที่ดีที่สดุ ของการทดลองที่ 1 เพื่อเปรี ยบเทียบกับผักหวานป่ าที่ผ่านการลดอุณหภูมิร่วมกับการรมสาร 1-MCP ที่ระดับ ความเข้ มข้ น 0 (ชุดควบคุม), 100, 250 และ 500 พีพีบี ใช้ เวลารม 6 ชัว่ โมง บันทึกผลทุก ๆ 5 วัน ทาการวิเคราะห์และตรวจสอบ คุณภาพ ได้ แก่ การเปลี่ยนแปลงสีของใบ การสูญเสียน ้าหนักสด การเปลี่ยนแปลงความแน่นเนื ้อของก้ านใบ ปริ มาณกรดที่ไตเต รทได้ ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์เอ บี และคลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ เป็ นเวลา 15 วัน จากนันน ้ าข้ อมูลมาวิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิ ติ โดยวิธี Analysis of Variance (ANOVA) และเปรี ยบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT) ที่ความเชื่อมัน่ 95 เปอร์ เซ็นต์

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการลดอุณหภูมิผกั หวานป่ าระหว่างวิธี Hydro-cooling และ Forced air cooling โดยอุณหภูมิเริ่ มต้ นของผลิตผล เท่ากับ 29.4 องศาเซลเซียส ซึง่ มีค่า Half cooling time เท่ากับ 14.7 องศาเซลเซียส พบว่า วิธี Hydro-cooling ใช้ เวลาสันกว่ ้ า การลดอุณหภูมิด้วยวิธี Forced air cooling ซึง่ มีค่าเท่ากับ 7.14 และ 15.74 นาที ตามลาดับ (Fig.1) จะเห็นได้ ว่าการใช้ น ้าเย็น สามารถลดอุณหภูมิได้ ดีกว่าการใช้ ลมเย็น เนื่องจากน ้าสามารถแทรกซึมผ่านช่องว่างระหว่างผักหวานป่ าได้ ดีกว่า อย่างไรก็ตาม การใช้ น ้าเย็นมักมีข้อจากัด คือใช้ ได้ กบั ผลิตผลที่ทนต่อการเปี ยกน ้าเท่านัน้ อีกทังโรคพื ้ ชหลายชนิดสามารถเจริ ญเติบโตได้ เมื่อ ผลิตผลเปี ยกน ้า (นิพนธ์, ม.ป.ป.) จากนันท ้ าการลดอุณหภูมิผกั หวานป่ าด้ วยวิธี Hydro-cooling ร่วมกับการรมสาร 1-MCP ที่ระดับความเข้ มข้ น 0 (ชุด ควบคุม), 100, 250 และ 500 พีพีบี เป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง ที่อณ ุ หภูมิห้อง จากนันน ้ าไปเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส เป็ น เวลา 15 วัน พบว่า ผักหวานป่ าที่รมสาร 1-MCP ที่ระดับความเข้ มข้ น 100, 250 และ 500 พีพีบี มีการเปลี่ยนแปลงสีของใบ การ สูญเสียน ้าหนักสด การเปลี่ยนแปลงความแน่นเนื ้อของก้ านใบ ปริ มาณกรดที่ไตเตรทได้ และปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ เกิดขึ ้นช้ ากว่า ผักหวานป่ าในชุดควบคุมซึง่ มีอายุการเก็บรักษาเพียง 5 วันเท่านัน้ เมื่อเปรี ยบเทียบความเข้ มข้ นการรมสาร 1-MCP พบว่า การ เปลี่ยนแปลงสีใบและปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ การเปลี่ยนแปลงสีใบระหว่างการเก็บรักษาผลิตผล พบว่า 1-MCP สามารถชะลอการ 440

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เปลี่ยนแปลงสีได้ เนื่องจาก 1-MCP ช่วยยับยังการท ้ างานของเอทิลีน ซึ่งเป็ นตัวเร่ งปฏิกิ ริยาของเอนไซม์ คลอโรฟิ ลล์สลายตัว อย่างรวดเร็ ว จึงทาให้ กิจกรรมของเอนไซม์ลดลงและช่วยชะลอการเปลี่ยนแปลงสีได้ (มาระตรี และอุษณา, 2550) การ สูญเสียน ้าหนักสด ทังนี ้ ้การสูญเสียน ้าหนักเกี่ยวข้ องกับปฏิกิริยาทางเคมีและชีวเคมีภายในผลิตผล โดยเฉพาะอัตราการหายใจ เนื่องจากพืชเกิดการหายใจจะได้ พลังงานและความร้ อน (จริ งแท้ , 2542) ปริ มาณกรดที่ไตเตรทได้ ในระดับความเข้ มข้ นที่ต่างกัน เมื่อนามาวิเคราะห์ทางสถิติพบว่ามีความแตกต่างกัน ส่วนการเปลี่ยนแปลงความแน่นเนื ้อของก้ านใบไม่มีความแตกต่างกัน โดย ผักหวานป่ าที่รมสาร 1- MCP ทุกระดับความเข้ มข้ นมีอายุการเก็บรักษา 15 วัน และพบว่าผักหวานป่ าที่รมสาร 1-MCP ที่ระดับ ความเข้ มข้ น 100 พีพีบี มีคณ ุ ภาพดีที่สดุ เมื่อเปรี ยบเทียบกับความเข้ มข้ นอื่นๆ (Table 1) ซึง่ มีรายงานว่าความเข้ มข้ นของการใช้ 1-MCP ที่ให้ ผลดีที่สดุ จะอยู่ในช่วง 0.5-100 พีพีบี โดยความเข้ มข้ นที่ใช้ ขึ ้นอยู่กบั ระยะเวลาการรม ชนิดของผลิตผลที่นามาใช้ และอุณหภูมิ ซึ่งโดยทั่วไปอยู่ประมาณ 20-25 องศาเซลเซียส และระยะเวลาที่มีการตอบสนองดีที่สุดตัง้ แต่ 12-24 ชั่วโมง นอกจากนี ้ยังมีปัจจัยอื่นๆอีก เช่นระยะการพัฒนาและความสุกแก่ของผลิตผล และระยะเวลาตั ง้ แต่เก็บเกี่ยวจนกระทัง่ รมสาร (Blankenship and Dole, 2003) 35

Hydro-cooling อุณหภูมิเริ่ มต้ น = 29.4 นาที

30

Force air cooling

Temperature (°C)

25 L

20

X1, 14.7

15 10

10, 18.04

อุณหภูมิครึ่งหนึ่ง = 14.7

X2, 14.7

H 20, 12.22 10, 8.8

5 T1/2= 7.14

0 0

10

T1/2= 15.74

20

30

40

Time (minute) Figure1 Effect of temperature and pre-cooling time to Melientha suavis treated with hydro-cooling and forced air cooling methods

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

441


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Changes in peel color, Weight loss, Firmness, TA and Chlorophyll content of Melientha suavis stored at 10°C for 15 days Treatments Control 100 ppb 250 ppb 500 ppb F-test CV. (%)

L* 43.25 43.12 43.11 ns 5.24

Peel color a* -7.35 -7.21 -6.78 ns -11.86

b* 30.45b 35.27a 36.97a ** 4.71

Weight loss (%) 6.83b 9.63a 9.92a ** 3.13

Firmness (N) 5.77 5.32 4.98 ns 24.52

TA (%) 0.06a 0.04b 0.04b * 24.30

Chlorophyll content (mg /gFW) a b Total a a 11.58 10.67 21.93a 10.06b 5.97b 16.03b 8.84b 5.44b 14.28b * * ** 8.05 30.32 11.77

Means in the same column followed by a common letter are not significantly different at the 5% level by DMRT

สรุ ปผลการทดลอง การศึกษาวิธีการลดอุณหภูมิที่เหมาะสมในการยื ดอายุการเก็บรั กษาผักหวานป่ า พบว่า การลดอุณหภูมิด้วยวิธี Hydro-cooling ใช้ ระยะเวลาที่สนกว่ ั ้ าการลดอุณหภูมิด้วยวิธี Forced air cooling และการศึกษาการลดอุณหภูมิด้วยวิธี Hydro-cooling ร่วมกับการรมสาร 1-MCP ที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ พบว่า สามารถรักษาคุณภาพของผักหวานป่ าได้ ดีกว่าชุด ควบคุม โดยผักหวานป่ าที่ไม่รมสาร 1-MCP (ชุดควบคุม) มีอายุการเก็บรักษาเพียง 5 วัน ส่ว นผักหวานป่ าที่รมสาร 1-MCP ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ สามารถยืดอายุการเก็บรักษาได้ 15 วัน โดยมีคณ ุ ภาพทางด้ านกายภาพและเคมีแตกต่างกัน ส่วนความ เข้ มข้ นที่เหมาะสมจากการศึกษาครัง้ นี ้คือ ที่ระดับความเข้ มข้ น 100 พีพีบี มีการสูญเสียน ้าหนักสด ปริ มาณกรดที่ไตเตรทได้ และ ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ ได้ ดีกว่าสิง่ ทดลองต่างๆ ในการเก็บรักษา

อ้ างอิง จริ งแท้ ศิริพาณิช. 2542. สรี รวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ . นครปฐม. โรงพิมพ์ศนู ย์สง่ เสริมและฝึ กอบรมการเกษตรแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . 396 น. จริ งแท้ ศิริพาณิช. 2550. ชีววิทยาหลังการเก็บเกี่ยวและการวายของพืช. โรงพิมพ์ศนู ย์สง่ เสริ มและฝึ กอบรมการเกษตรแห่งชาติ, นครปฐม. 453 หน้ า. นิพนธ์ ไชยมงคล. (ม.ป.ป.). การลดอุณหภูมิแบบเฉียบพลัน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.vegetweb. com/wpcontent/download/precooling.pdf. (13 กรกฎาคม 2555). พิพาภรณ์ รวิพลศาตนันท์. 2552. การจัดการองค์ความรู้เกี่ยวกับผักหวานป่ า เพื่อพัฒนาการอนุรักษ์ และส่งเสริ มเศรษฐกิจ ชุมชน. วิทยานิพนธ์, ปริ ญญาดุษฎีบณ ั ฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มาระตรี เปลี่ยนศิริชยั และ อุษณา ไตรนอก. 2550. ผลของ 1-MCP ที่มีต่อผักและผลไม้ . (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.journal.msu.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=116&ltemid=38. (28 กันยายน 2552). Blankenship, S. and J.M. Dole. 2003. 1-Methylcyclopropene: a review. Postharvest Biology and Technology 28: 1-25

442

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเปลี่ยนแปลงปริมาณกลูโคซิโนเลตในผักกาดฮ่ องเต้ อนิ ทรีย์ ที่ผ่านและไม่ ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศก่ อนการเก็บรักษา The Change of Glucosinolate Contents in Organic Pakchoi via Vacuum and Non-vacuum Cooling before Storage เพชรดา อยู่สุข1 ดนัย บุณยเกียรติ1 ศิวาพร ธรรมดี1 พิชญา บุญประสม พูลลาภ2 Pedcharada Yusuk1 Danai Boonyakiat1 Siwaporn Thamdee1 and Pichaya Boonprasom Pollap2

บทคัดย่ อ

การศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริ มาณกลูโคซิโนเลตในผักกาดฮ่องเต้ อินทรี ย์ที่ผ่านและไม่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบ สุญญากาศก่อนการเก็บรักษา ในฤดูร้อน (มี.ค.-พ.ค.) ฤดูฝน (ก.ค.-ก.ย.) และฤดูหนาว (ธ.ค.-ก.พ.) ผลการทดลองแสดงว่า ในฤดู ร้ อน ผักกาดฮ่องเต้ ที่นาไปเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 8 oC โดยไม่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศมีปริ มาณกลูโคซิโนเลต 3.06 µmol/g FW สูงกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศ 1.87 µmol/g FW ในวันที่ 6 ของการเก็บ รักษา สาหรับในฤดูฝน ในวันที่ 7 และ 8 ของการเก็บรักษาผักกาดฮ่องเต้ ที่นาไปเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 8 oC โดยไม่ผ่านการลด อุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศมีปริ มาณกลูโคซิโนเลต 9.76 และ 10.83 µmol/g FW ตามลาดับ ซึง่ สูงกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่าน การลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศ 5.66 และ 8.07 µmol/g FW ตามลาดับ ส่วนในฤดูหนาว ปริ มาณกลูโคซิโนเลตมีความ แตกต่างในวันแรกของการเก็บเกี่ยว โดยผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศมีปริ มาณกลูโคซิโนเลต 7.27 µmol/g FW สูงกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ไม่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศถึง 2 เท่า คาสาคัญ : กลูโคซิโนเลต ผักกาดฮ่องเต้ ฤดูร้อน ฤดูหนาว และฤดูฝน

Abstract

The study on glucosinolate changing in organic pak-choi via vacuum and non-vacuum cooling before storage in summer (March-May), rainy (July-September) and winter (December-February) season was conducted. The results showed that in summer, content of glucosinolate in non-vacuum pak-choi stored at 8 oC was 3.06 µmol/g FW, higher than the content in vacuum cooled pak-choi which was 1.87 µmol/g FW at 6 days of storage. In rainy season, on day 7 and 8 of storage, the content of glucosinolate in non-vacuum cooled pak-choi were 9.76 and 10.83 µmol/g FW, higher than the content in vacuum cooled pak-choi which were 5.66 and 8.07 µmol/g FW, respectively. In winter, glucosinolate content in pak-choi was different at the harvesting on the first day only. The glucosinolate content in vacuum cooled pak-choi was 7.27 µmol/g FW, twice as much higher than the non-vacuum cooled pak-choi. Keywords : glucosinolate, pak-choi, summer, winter, rainy season คานา งานวิจยั นี ้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาปั จจัยที่มีผลต่อการเสื่อมสลายของผักกาดฮ่องเต้ อินทรี ย์และการชะลอการเสื่อม สลายโดยการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศ ผักกาดฮ่องเต้ (Pak-choi) มีชื่อวิทยาศาสตร์ Brassica chinensis var. chinensis จัดเป็ นพืชตระกูล Brassicaceae (Crucifereae – Mustard family) มีถิ่นกาเนิดในประเทศจีน ญี่ปนุ่ และเอเชียกลาง (สานัก พัฒนาเกษตรที่สงู , 2546) ถือเป็ นหนึ่งใน 5 ชนิดพืชหลักที่ปลูกในระบบเกษตรอินทรี ย์โดยเกษตรกรในพื ้นที่มลู นิธิโครงการหลวง โดยในปี พ.ศ. 2557 (1 มกราคม – 31 ธันวาคม 2557) เกษตรกรสามารถปลูกผักกาดฮ่องเต้ ปริ มาณ 188,821.10 กิโลกรัม มูลค่า6,064,800 บาท คิดเป็ นร้ อยละ 14 ของผลิตผลผักอินทรี ย์ทัง้ หมด (มูลนิธิโครงการหลวง, 2558) กลูโ คซิโนเลตเป็ น สารชีวภาพสาคัญชนิดหนึ่งที่พบในพืชผักตระกูลกะหล่าและมีประโยชน์ต่อสุขภาพ ซึ่งกลไกที่ช่วยป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง คือ ช่วยหยุด (breakdown) ผลผลิตที่เกิดจากการสลายตัวของกลูโคซิโนเลต โดยองค์ประกอบหลักของกลูโคซิโนเลตมีซลั เฟอร์ เป็ น 1 2

ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

443


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ส่วนใหญ่ (Yang et al., 2010 และ Mithen et al., 2000) ผักกาดฮ่องเต้ ยงั เป็ นพืชที่มีระยะเวลาการปลูกสัน้ ประมาณ 40-45 วัน (รวมระยะเวลาตังแต่ ้ เพาะเมล็ดถึงเก็บเกี่ยว) และให้ ผลผลิต 250-300 กิโลกรัม ในพื ้นที่ 1 โรงเรื อน (180 ตารางเมตร) ทังนี ้ ้ ผักกาดฮ่องเต้ เกิดการเสื่อมสลาย (senescence) อย่างรวดเร็วหลังจากเก็บเกี่ยวจากแปลง โดยใบด้ านนอกจะเปลี่ยนจากสีเขียว เป็ นสีเหลืองภายใน 2-3 วัน ส่งผลให้ อายุการวางจาหน่ายสัน้ ทาให้ สญ ู เสียโอกาสทางการตลาด โดยทัว่ ไปผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยวจะมีอณ ุ หภูมิสงู เท่ากับอุณหภูมิของอากาศหรื อสภาพแวดล้ อมขณะเก็บเกี่ยว และ เมื่อตัดออกจากต้ น ผลิตผลยังคงมีชีวิต มีกระบวนการเมแทบอลิซึมต่างๆ ในเซลล์เกิดขึน้ และมีการคายความร้ อนออกมา อุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ ้นมีผลทาให้ คณ ุ ภาพของผลิตผลลดลงและมีอายุการเก็บรักษาหรื อการวางจาหน่ายสันลงด้ ้ วย ดังนันเมื ้ ่อเก็บ เกี่ยวแล้ วจึงควรลดความร้ อนทันที ซึ่งการลดความร้ อนของผลิตผลโดยการใช้ สญ ุ ญากาศ (vacuum cooling) เป็ นวิธีการลด ความร้ อนที่รวดเร็วและสม่าเสมอที่สดุ ผลิตผลจะเย็นลงอย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับการลดความร้ อนโดยวิธีการอื่นๆ นิยมใช้ กบั ผัก ใบต่างๆ (นิธิยาและดนัย, 2548) ดังนันการน ้ าผลิตผลผักกาดฮ่องเต้ ไปผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศจะสามารถ ชะลอการเสื่อมสลาย และยืดอายุการวางจาหน่าย รวมทังสามารถรั ้ กษาระดับของกลูโคซิโนเลตในระหว่างการเก็บรักษาได้ อุปกรณ์ และวิธีการ ผักกาดฮ่องเต้ ปลูกในระบบเกษตรอินทรี ย์ (ภายใต้ มาตรฐานของกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ มาตรฐานของสานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย์) โดยเกษตรกรในอาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ มีระยะเวลาเพาะเมล็ดถึง ย้ ายกล้ า 14 วัน และระยะเวลาตังแต่ ้ ปลูกถึงเก็บเกี่ยว 27 วัน เก็บเกี่ยวตัวอย่างผักกาดฮ่องเต้ จากแปลงเกษตรกรและขนส่งไป ยังโรงคัดบรรจุ ศูนย์ผลิตผลโครงการหลวง อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จากนันคั ้ ด ตัดแต่ง และบรรจุใส่ถงุ พลาสติกโพลีเอทธิ ลีน ขนาด 25 x 40 เซนติเมตร เจาะรู 18 รู เส้ นผ่านศูนย์กลาง 0.8 เซนติเมตร โดยบรรจุผกั กาดฮ่องเต้ 300 กรัม/ถุง จากนันท ้ า การลดอุณหภูมิผกั กาดฮ่องเต้ โดยระบบสุญญากาศ ตามวิธีการของ วีนิล (2552) โดยเปรี ยบเทียบผลิตผลที่ผ่านการลดอุณหภูมิ ด้ วยระบบ Vacuum cooling และผลิตผลที่ไม่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบ Vacuum cooling วางแผนการทดลองแบบ t-test เก็บตัวอย่างจานวน 4 ซา้ ในการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศ กาหนดความดันสุดท้ ายของห้ องลดอุณหภูมิ ( bleed pressure) ที่ 6 มิลลิบาร์ และกาหนดเวลาที่วางผลิตผลไว้ ในห้ องลดอุณหภูมิหลังจากความดันภายในห้ องลดลงถึงระดับที่ กาหนด (soak time) เท่ากับ 5 นาที จากนันน ้ าผลิตผลไปเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 8 oC (ซึ่งเป็ นอุณหภูมิใกล้ เคียงกับตู้แช่สาหรับ จาหน่ายผลิตผล) สาหรับผลิตผลอีกส่วนหนึง่ นาไปเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 8 oC ทันที วัดปริมาณกลูโคซิโนเลตทุกวัน ฤดูกาลและระยะเวลาที่เก็บเกี่ยวผลผลิต ฤดูกาล แบ่งเป็ น 3 ฤดู ได้ แก่ ฤดูร้อน (มีนาคม – พฤษภาคม) ฤดูหนาว (ธันวาคม – กุมภาพันธ์ ) และฤดูฝน (กรกฎาคม – กันยายน) ในทุกฤดูเก็บเกี่ ยวผลผลิตในช่วงเช้ า เวลา 05.00 – 08.00 น. หลังจากเก็บเกี่ยวขนส่งผลิตผลจากแปลงเกษตรกรไปยังโรงคัดบรรจุ ศูนย์ผลิตผลโครงการหลวง อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ การวิเคราะห์ปริ มาณกลูโคซิโนเลต ประยุกต์ใช้ เทคนิคของ Krumbein et al. (2005) โดยนาตัวอย่างผักกาดฮ่องเต้ บด ให้ เป็ นผง ชัง่ ตัวอย่าง 0.25 g ใส่ในหลอดทดลอง จากนันเติ ้ ม internal std คือ 200 µl ของ 5 mM sinigrin นาไปแช่ในอ่างความ o ร้ อนที่ 75 C นาน 5 นาที เติม 70 % เมทานอล ที่เดือด ทิ ้งไว้ ที่อณ ุ หภูมิ 75 oC นาน 10 นาที แล้ วเติม 1 ml 0.4 M barium acetate ทันที เขย่าให้ เข้ ากัน นาไปปั่ นเหวี่ยงที่ 4,000 rpm 10 นาที ที่อณ ุ หภูมิห้อง เก็บส่วนใสไว้ จากนันท ้ าการสกัดตะกอนอีก สองครัง้ ด้ วย 3 ml 70 % เมทานอลเดือด นาส่วนใสที่ได้ รวมกัน จากนันปรั ้ บปริ มาตรให้ เป็ น 10 ml ด้ วย 70 % เมทานอล นา สารละลายที่ได้ มา 5 ml ไปผ่าน activated DEAE Sephadex A25 แล้ วชะด้ วยน ้า 2.5 ml เก็บไว้ ที่อณ ุ หภูมิ -20 oC จากนัน้ นาไปวิเคราะห์ด้วย HPLC โดยเครื่ อง Shimadzu HPLC system (LC-10AT pump, CTO-10A column oven, SCL-10A VP system controller, Shimadzu), UV-Vis detector (SPD-10A) ตรวจวัดที่ 229 nm ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลการทดลองในฤดูร้อน แสดงให้ เห็นว่า เมื่อเก็บรักษาผักกาดฮ่องเต้ ไว้ 6 วัน ที่อณ ุ หภูมิ 8 oC ผักกาดฮ่องเต้ ที่ไม่ผ่าน การลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศมีปริ มาณกลูโคซิโนเลต 3.06 µmol/g FW มากกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบ สุญญากาศ ซึ่งมีปริ มาณกลูโคซิโนเลต 1.87 µmol/g FW (ตารางที่ 1) สาหรับในฤดูฝน ในวันที่ 7 และ 8 ของการเก็บรักษา ผักกาดฮ่องเต้ ที่นาไปเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 8 oC โดยไม่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศมีปริ มาณกลูโคซิโนเลต 9.76 และ 10.83 µmol/g FW ตามลาดับ ซึ่งสูงกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศ 5.66 และ 8.07 µmol/g FW ตามลาดับ (ตารางที่ 2) ส่วนในฤดูหนาว ปริ มาณกลูโคซิโนเลตแตกต่างกันเฉพาะในวันแรกของการเก็บเกี่ยว โดย

444

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ปริ มาณกลูโคซิโนเลตในผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศ 7.27 µmol/g FW ซึ่งมีปริ มาณกลูโคซิโนเลต มากกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ไม่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศถึง 2 เท่า (ตารางที่ 3) Table 1 Glucosinolate contents (µmol/g FW) in vacuum and non-vacuum pakchoi harvesting in summer before storage at 8OC. Contents of glucosinolate (µmol/g FW) Treatment D0 D1 D2 D3 D4 D5 D6 D7 D8 Vacuum 5.92 4.49 6.65 2.25 4.30 3.20 1.87 3.71 2.57 Non-vacuum 4.71 5.73 4.98 2.72 3.91 2.41 3.06 2.96 2.30 C.V. (%) 37.92 27.56 19.66 30.92 24.49 26.19 24.12 24.16 16.86 T-test ns ns ns ns ns ns * ns ns Table 2 Glucosinolate contents (µmol/g FW) in vacuum and non-vacuum pakchoi harvesting in rainy season before storage at 8OC. Contents of glucosinolate (µmol/g FW) Treatment D0 D1 D2 D3 D4 D5 D6 D7 D8 Vacuum 9.13 6.70 5.98 4.35 6.11 6.93 6.84 5.66 8.07 Non-vacuum 9.79 7.66 5.96 5.17 7.58 6.95 6.95 9.76 10.83 C.V. (%) 8.64 7.94 17.22 36.28 13.87 22.61 16.46 16.62 12.96 T-test ns ns ns ns ns ns ns * * Table 3 Glucosinolate contents (µmol/g FW) in vacuum and non-vacuum pakchoi harvesting in winter before storage at 8OC. Contents of glucosinolate (µmol/g FW) Treatment D0 D1 D2 D3 D4 D5 D6 D7 D8 Vacuum 7.27 7.98 8.58 9.63 7.85 9.54 9.88 11.14 10.09 Non-vacuum 3.23 9.55 10.23 10.29 6.46 9.20 11.54 9.28 9.75 C.V. (%) 17.44 26.30 16.49 20.82 21.25 14.80 18.72 18.70 21.36 T-test * ns ns ns ns ns ns ns ns จากผลการทดลองจะสังเกตได้ วา่ การเปลี่ยนแปลงปริ มาณกลูโคซิโนเลตค่อนข้ างผันแปร ซึง่ สอดคล้ องกับรายงานของ Rangkadilok et al. (2002) ที่แสดงว่า การเก็บบร๊ อคโคลีในสภาพอากาศและสภาพควบคุมบรรยากาศ (1.5% O2 + 6% CO2) และเก็บรั กษาที่อุณหภูมิ 4 oC พบว่า ปริ มาณกลูโคซิโนเลตชนิดกลูโคราฟานิน จะผันแปรในช่วง 25 วันของการเก็บรั กษา อย่างไรก็ตาม Yang et al. (2010) รายงานว่า การเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิต่า (4 oC) สามารถรักษาคุณภาพทางกายภาพและ ปริ มาณกลูโคซิโนเลตของผักกาดฮ่องเต้ ได้ โดยการเปลี่ยนแปลงปริ มาณกลูโคซิโนเลตรวม (total glucosinolate content) ไม่ แตกต่างกันในระหว่าง 3 วันแรกของการเก็บรักษา และจะมีปริ มาณเพิ่มขึน้ ในวันที่ 5 และ 7 โดยจะกลับสู่ระดับเท่า กับตอน เริ่ มต้ นในวันที่ 9 ของการเก็บรักษา Hansen et al. (1995) และ Hodges et al. (2006) รายงานว่า การเก็บรักษาบร๊ อคโคลี่และ กะหล่าดอกภายในสภาพควบคุมบรรยากาศ มีแนวโน้ มว่าปริมาณกลูโคซิโนเลตจะเพิ่มขึ ้นในช่วงแรกของการเก็บรักษา อย่างไรก็ ตามจากการศึกษาของ วีนิล (2552) พบว่า ผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศ มีอายุการเก็บรักษานาน กว่าผลิตผลที่ไม่ได้ ผ่านการลดอุณหภูมิ โดยมีอายุการวางจาหน่าย 8 วัน ซึง่ นานกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ไม่ได้ ผ่านการลดอุณหภูมิที่ มีอายุการวางจาหน่าย 4 วัน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

445


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สาหรับผลของฤดูกาลที่มีต่อปริ มาณกลูโคซิโนเลตจาเป็ นต้ องมีการศึกษาเพิ่มเติม จากผลการทดลองนี ้ปริ มาณกลูโคซิ โนเลตในผักกาดฮ่องเต้ ที่ปลูกในฤดูฝนและฤดูหนาวมีแนวโน้ มสูงกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ปลูกในฤดูร้อน ทังนี ้ ้รายงานการศึกษาของ Certea (2008) พบว่า กะหล่าปลีที่ปลูกในสเปนมีปริ มาณกลูโคซิโนเลตรวม (total glucosinolate) ในฤดูใบไม้ ผลิ (spring sowing) 22 µmol/g น ้าหนักแห้ ง สูงกว่าฤดูใบไม้ ร่วง (fall sowing) 13 µmol/g น ้าหนักแห้ ง แม้ ว่าจะมีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริ มาณกลูโคซิโนเลตในพืชกลุ่มผักกาด โดยการเก็บรักษาในสภาพต่างๆ แต่ กลไกทางสรี รวิทยายังไม่เป็ นที่ชดั เจนนัก ซึง่ อาจเป็ นเพราะมีความเกี่ยวข้ องกับระบบแคตาโบลิสและการสังเคราะห์ทางชีววิทยา ในพืชก็เป็ นได้ (Verkerk et al., 2001) สรุ ปผลการทดลอง ปริ มาณกลูโคซิโนเลตในผักกาดฮ่องเต้ อินทรี ย์ ที่ปลูกในฤดูร้อน (มี.ค.-พ.ค.) ฤดูฝน (ก.ค.-ก.ย.) และฤดูหนาว (ธ.ค.-ก.พ.) โดยผ่านและไม่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศก่อนการเก็บรักษา มีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้ างผันแปร ซึ่ง ในฤดูร้อน ผักกาดฮ่องเต้ ที่นาไปเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 8 oC โดยไม่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศมีปริ มาณกลูโคซิโนเลต 3.06 µmol/g FW สูงกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศ 1.87 µmol/g FW ในวันที่ 6 ของการเก็บรักษา สาหรับในฤดูฝน ในวันที่ 7 และ 8 ของการเก็บรักษาผักกาดฮ่องเต้ ที่นาไปเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 8 oC โดยไม่ผ่านการลดอุณหภูมิ ด้ วยระบบสุญญากาศมีปริ มาณกลูโคซิโนเลต 9.76 และ 10.83 µmol/g FW ตามลาดับ ซึ่งสูงกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่านการลด อุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศ 5.66 และ 8.07 µmol/g FW ตามลาดับ ส่วนในฤดูหนาว ปริ มาณกลูโคซิโนเลตมีความแตกต่าง ในวันแรกของการเก็บเกี่ยว โดยผักกาดฮ่องเต้ ที่ผ่านการลดอุณหภูมิด้วยระบบสุญญากาศมีปริ มาณกลูโคซิโนเลต 7.27 µmol/g FW สูงกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ไม่ผ่านการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศถึง 2 เท่า

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสถาบันวิจัยและพัฒนาพื ้นที่สงู (องค์การมหาชน) ที่สนับสนุนทุนในการวิจัย ขอขอบคุณมูลนิธิโครงการ หลวงที่สนับสนุนในการดาเนินงาน เครื่ องมือ และบุคลากรในการดาเนินงาน และท้ ายที่ สดุ ขอขอบคุณเกษตรกรที่ช่วยดูแลรักษา ผักกาดฮ่องเต้ และให้ ความช่วยเหลือเป็ นอย่างดี

เอกสารอ้ างอิง

นิธิยา รัตนาปนนท์ และดนัย บุณยเกียรติ. 2548. การปฏิบตั ิภายหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ . พิมพ์ครัง้ ที่ 5. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ , กรุงเทพฯ. 236 น. สานักพัฒนาเกษตรที่สงู . 2546. คูม่ ือการปลูกผักบนพื ้นที่สงู . สานักพัฒนาเกษตรที่สงู สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 257 หน้ า. มูลนิธิโครงการหลวง. 2558. รายงานสรุปคืนเงิน กลุม่ ผัก ข้ อมูล ณ วันที่ 16 กรกฎาคม 2558. วีนิล ชินนาพันธ์. 2552. กระบวนการที่เหมาะสมในการลดอุณหภูมิผกั กาดฮ่องเต้ โดยใช้ ระบบสุญญากาศ. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท สาขาวิชา วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่. Certae M. E., P. Velasco, S. Obregon, G. Padilla, and A. Haro. 2008. Seasonal variation in glucosinolate content in Brassica oleracea crops grown in northwestern Spain. ScienceDirect. 69: 403-410. Krumbein, A., I. Schonhof, and M. Schreiner. 2005. Composition and contents of phytochemicals (glucosinolates, carotenoids and chlorophylls) and ascorbic acid in selected Brassica species (B. juncea, B. rapa subsp. Nipposinica var. chinoleifera, B. rapa subsp. Chinensis and B. rapa subsp. rapa). J. App. Bot. Food Qual.79:168-174. Hansen M., P. Moller and H. Sorensen. 1995. Glucosinolates in Broccoli Stored under Controlled Atmosphere. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 120(6):1069-1074. Hodges D. M., K. D. Munro, C. F. Forney and K. B. McRae. 2006. Glucosinolate and free sugar content in cauliflower (Brassica oleracea var. botrytis cv. Freemont) during controlled-atmosphere storage. Postharvest Biol. and Technol. 40(2):123-132. Mithen, R. F., M. Dekker, R. Verkerk, S. Rabot and I. T. Johnson. 2000. The nutritional significance, biosynthesis and bioavailability of glucosinolates in human foods. J Sci Food Agric 80: 967-984. Rangkadilok, N., B. Tomkins, M. E. Nicolas, R. R. Premier, R. N. Bennett, D. R. Eagling and P. W. J. Taylor. 2002. The effect of postharvest and packaging treatments on glucoraphanin concentration in Broccoli (Brassica oleracea var. italica). J. Agri. Food Chem. 50: 7386-7391. 446

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Verkerk, R., M. Dekker and W. M. F. Jongen. 2001. Post-harvest increase of indolyl glucosinolates in response to chopping and storage of Brassica vegetables. J. Sci Food Agric 81: 953-958. Yang, J., Z. Zhu, Z. Wang and B. Zhu. 2010. Effect of storage temperature on the contents of carotenoids and glucosinolates in pakchoi (Brassica rapa L. ssp. chinensis var. communis). J. Food Biochem. 34: 1186-1204.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

447


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของภาชนะบรรจุต่ออายุการเก็บรักษาขิงสด Effect of Packaging Materials on Shelf Life of Fresh Ginger สมชาย กล้ าหาญ1 อรทัย พูดงาม1และเมธินี พร้ อมพวก1 Somchai grahan1Oratai pudngam1 and Metinee prompok1

บทคัดย่ อ

ผลของภาชนะบรรจุต่ออายุการเก็บรักษาขิง สดที่อณ ุ หภูมิต่า วางแผนการทดลองแบบ completely randomized design (CRD) ประกอบด้ วย 5 treatment ผลการทดลอง พบว่า เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักเพิ่มขึ ้นโดยขิงที่ไม่ได้ บรรจุถงุ (control) มีเปอร์ เซ็นต์สญ ู เสียน ้าหนักมากที่สดุ คือ 40.00 เปอร์ เซ็นต์ และรองลงมาคือ ขิงที่บรรจุถงุ Low Density Polyethylene (LDPE) 9.53 เปอร์ เซ็นต์ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ขิงที่บรรจุถงุ National Metal and Materials Technology Center (MTEC) มีปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ มากที่สดุ คือ 4.2 º brix ลักษณะสีเปลือกและสีเนื ้อของขิง พบว่า ทังสี ้ เปลือกและสีเนื ้อ มีการเปลี่ยนแปลงจากสีเหลืองไปเป็ นสีน ้าตาล ความแน่นเนื ้อ ทุกวิธีการลดลง ตลอดการเก็ บรักษาที่เพิ่มขึ ้น โดยขิงที่บรรจุถงุ MTEC เมื่อสิ ้นสุดการทดลองมีความแน่นเนื ้อมากที่สดุ คือ 136.48 นิวตัน ขิงสดที่เก็บรักษาในถุง MTEC และ Polyethylene (PE) มีอายุการเก็บรักษานานที่สดุ คือ 60 วัน คาสาคัญ: ขิง ภาชนะบรรจุ

Abstract

Effect of packaging materials on shelf life of fresh ginger under low temperature storage, the statistical model was completely randomized design composed of 5 treatments. The result showed that all fresh ginger those stored in various packaging materials increased in fresh weight loss according to storage time increased while those control (no packaging) gave the most fresh weight of 40.00 percent and the first runner up was Low Density Polyethylene (LDPE) of 9.53 percent. Fresh ginger stored in National Metal and Materials Technology Center (MTEC) bag gave the highest Total soluble solids (TSS) content of 4.2 brix. Physical appearance of fresh ginger such as peel and pulp color slightly changes from light yellow to deep yellowish. Firmness of fresh ginger of all treatment slightly decreased according to storage time increased fresh ginger those stored in MTEC bag showed the highest firmness of 136.48 newton, Fresh ginger those stored in MTEC and PE bag gave the longest storage life of 60 days Keywords: ginger, packaging

คานา ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา ปั จจุบนั นี ้ผลกระทบจากภาวะโลกร้ อนทาให้ เกิดภัยธรรมชาติในประเทศต่างๆ ทัว่ ทุกมุมโลกรวมถึงประเทศไทยก็อยู่ใน สภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศวิกฤติอย่างรุ นแรง ซึ่งผลกระทบต่อผลผลิตการเกษตรและเสถียรภาพด้ านอาหารของ ประเทศไทย มหันตภัยแห่งอนาคตโรคอุบตั ิใหม่ โรคอุบตั ิซ ้าและโรคระบาดจากแมลง (ธนวัฒน์ , 2550) ที่สาเหตุมาจากจานวน ประชากรเพิ่มสูงขึน้ ปั จจุบนั นี ้พบว่าจานวนประชากรโลกมีถึง 7,000 ล้ านคน ในปี พ.ศ.2554 มีอตั ราการเกิดลดลง แต่ยงั มี แนวโน้ มในอนาคตประชากรโลกจะเพิ่มขึ ้นกว่า 80 ล้ านคนต่อปี และไม่กี่สิบปี โลกมีผ้ คู นที่เพิ่มขึ ้น 2,000 ล้ านคน แต่ทกุ วันนี ้ พบว่ามีผ้ คู นประมาณ 1,000 ล้ านคน ต้ องอดอยากหิวโหยจากการขาดแคลนอาหาร (โรเบิร์ต, 2554) ซึ่งอาหารที่ปริ โภคส่วน ใหญ่มาจากผลผลิตทางการเกษตร และมนุษย์ ทาการเกษตรบนพื ้นดินที่ปราศจากน ้าแข็งราวร้ อยละ 38 ของโลกได้ กลายเป็ น พื ้นที่เกษตรกรรม (เอลิซาเบท, 2554) ซึง่ ประเทศต่างๆ ทัว่ โลกจึงได้ ให้ ความสาคัญด้ านการเกษตร เพื่อจะผลิตอาหารตามความ ต้ องการของจานวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ ้น จึงได้ ค้นคว้ าวิจัยและการพัฒนาทางด้ านการเกษตร เช่น การปรับปรุ ง สายพันธุ์พืช การใช้ พื น้ ที่ อย่างจากัดในการปลูกพื ช การอนุรัก ษ์ ดินและนา้ การจัดการใช้ ปุ๋ย สารเคมี ป้องกันและกาจัดศัตรู พืช การใช้ เทคโนโลยีการจัดการ การทาการเกษตรแบบยั่งยืน การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวและอื่นๆ เพื่อให้ ผลผลิตที่มาเป็ นอาหารที่มี 1 1

สาขาวิชาพืชสวน คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบังกรุงเทพฯ 10520 Horticulture program, Faculty of Agricultural Technology, King Mongkut’s Institute of Ladkrabang, Bongkok, 10520 448

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คุณภาพดีและมีปริมาณเพียงพอกับความต้ องการ แต่ข้อเสียของผลผลิตทางด้ านการเกษตรนันมี ้ ความเสียหายง่าย ดังนันจึ ้ งได้ นาหลักการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ ยวมาใช้ เพื่อลดการสูญเสีย เพิ่มประสิทธิ ภาพในการจัดการ ปรั บปรุ งคุณภาพ และสร้ าง มูลค่าเพิ่มและอื่น ๆ ของผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว ในการทาการทดลองครัง้ นี ้ ขิง (Zingiber officiginale Roscae.) เป็ นพืชเศรษฐกิจที่มีคณ ุ ค่าหลากหลายทางด้ านอาหาร วัตถุดิบในการผลิต เวชภัณฑ์ ยาสมุนไพร เครื่ องสาอาง และเครื่ องเทศที่สาคัญของโลก การปลูกขิงของประเทศไทยแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ ขิง ใหญ่ หรื อขิงหยวก และขิงเล็กหรื อขิงเผ็ดแหล่งปลูกขิงที่ สาคัญอยู่ในเขตภาคภาคเหนือและเริ่ มเพาะปลูกในเดือน มีนาคม– มิถนุ ายน ผลผลิตขิงอ่อนเก็บเกี่ยวช่วงเดือนกรกฎาคม–กันยายนของทุกปี ขิงแก่เก็บเกี่ยวผลผลิตช่วงเดือนตุลาคม–กุมภาพันธ์ (กรมวิชาการเกษตร, 2553) และขิงเป็ นวัตถุดิบที่สาคัญในอุตสาหกรรมเครื่ องเทศ (ศูนย์อจั ฉริ ยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร, 2551) และประเทศที่ส่งออกขิงมาที่สดุ คือ อินเดีย จีน ประเทศไทยไทยเริ่ มส่งออกขิงปี พ .ศ. 2518 โดยส่งออกไปต่างประเทศ เช่น สหรัฐอาหรับอามิเรทส์ อัลบาเนีย บาห์เรน แคนาดา เยอรมัน ฝรั่งเศส อังกฤษ ฮ่องกง ญี่ปนุ่ คูเว็ต มาเลย์เซีย เนเธอแลนด์ ปากีสถาน ซาอุดิอาระเบีย สิงคโปร์ และสหรัฐอเมริ กา (วินยั , 2535) และประเทศอื่น ๆ จนถึงปั จจุบนั มีสถิติการส่งออก (Export) ขิงแห้ งและขิงสด ปริ มาณและมูลค่าการส่งออกรายเดือนของปี พ.ศ.2553ปริ มาณ 31,383 ตัน มูลค่า 907.9 ล้ านบาท (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2554) ซึง่ มีแนวโน้ มการใช้ ขิงเพิ่มขึ ้นในอนาคต จึงเป็ นโอกาสที่จะขยายตลาดขิงสดของไทยโดย การผลิตเพื่อการส่งมอบโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารและเครื่ องเทศ ซึง่ มีการใช้ ขิงปริ มาณมากคาดว่าผู้นาเข้ าเยอรมันคงจะ ให้ ความสนใจขิงสดจากประเทศไทยมากขึ ้น ดังนันประเทศไทยควรเพิ ้ ่มศักยภาพในการผลิ ตขิงเพื่อการส่งออกต่างประเทศให้ มี ประสิทธิภาพสูงขึ ้น (กรมส่งเสริ มการส่งออก, 2554)จากปั ญหาที่พบในการส่งออกขิงสดของประเทศไทย คือ อายุการเก็บรักษา สัน้ (ศศิธรและคณะ, 2529) และปั ญหาสารตกค้ างจากยาปราบศัตรู พืชและจุลินทรี ย์เกินมาตรฐานที่เข้ มงวด จึงทาให้ เพิ่ม ค่าใช้ จ่ายในการตรวจสอบสินค้ า ดังนัน้ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับขิง จึงมีการรวบรวมและการเก็บสารองขิงสดเป็ นจานวนมาก เพื่อ การผลิตให้ ได้ ตลอดปี จึงทาให้ ขิงสดที่เก็บสารองเป็ นระยะเวลาที่นานมีคณ ุ ภาพลดลง และมีการสูญเสียจากคัดทิ ้งเป็ นจานวน มากจากการเน่าเสีย ซึง่ เป็ นสาเหตุการเพิ่มต้ นทุนการผลิตขิงให้ สงู ขึ ้น การศึกษาวิจยั ในครัง้ นี ้ เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาคุณภาพของขิงสดในบรรจุภณ ั ฑ์พลาสติกที่เหมาะสมกับอุณหภูมิต่าที่ 4±2ºC ควบคู่กบั การดัดแปลงสภาพบรรยากาศ (Modified Atmosphere Packaging; MAP) ซึง่ ข้ อมูลเหล่านี ้น่าจะเป็ นแนวทาง ในการศึกษาแก้ ไขปั ญหาผลผลิตขิงสด พัฒนาคุณภาพและลดต้ นทุนการผลิต เพื่อเพิ่มปริ มาณการส่งออกให้ มีประสิทธิ ภาพ ต่อไป วัตถุประสงค์ ของการศึกษา - เพื่อศึกษาผลของภาชนะบรรจุตอ่ อายุการเก็บรักษาขิง ตรวจเอกสาร ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ขิง (Zingiber officiginale Roscae.) อยูใ่ นวงศ์ Zingiberaceaeจัดเป็ นพืชล้ มลุกพวกถาวร (Perennial) ซึง่ มีชีวิตอยู่ได้ มากกว่า 1 ฤดู มีเหง้ า แง่ง หัวใต้ ดินมีเปลือกนอกสีน ้าตาลแกมเหลือง เนื ้อในสีนวลมีกลิ่นหอมเฉพาะ ลาต้ นเหนือดินแทงหน่อ หรื อลาต้ นเทียมขึ ้นเป็ นกอ ประกอบด้ วยกาบหรื อโคนใบสองกาบหุ้มซ้ อนกันเป็ นชันๆ ้ เรี ยกว่า “Clump” ใบเป็ นชนิดใบเดี่ยวออก เรี ยงสลับกันเป็ นสองแถว ใบรูปหอกเกลี ้ยงๆ กว้ าง 1.80-4 ซม. ยาว 15-20 ซม. ใบห่อเป็ นรู ปหอก ตรงช่วงระหว่างกาบกับตัวใบ จะหักโค้ ง ดอก สีขาว ออกรวมกันเป็ นช่อรูปเห็ดหรื อกระบองโบราณ แทงขึ ้นมาจากเหง้ า ชูก้านสูงขึ ้นมา 15-25 ซม. ทุกๆ ดอกที่ กาบสีเขียวปนแดงรูปโค้ งๆ ห่อรองรับ กาบจะปิ ดแน่นเมื่อดอกยังอ่อน และจะขยายอ้ าให้ เห็นดอกในภายหลัง กลีบดอกและกลีบ รองกลีบดอก มีอย่างละ 3 กลีบ โคนกลีบดอกม้ วนห่อ ส่วนปลายกลีบผายกว้ างออกเกสรผู้มี 6 อัน ผล กลม แข็ง วัดผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 1 ซม.(วิทย์, 2542) การเก็บรั กษาที่อุณหภูมติ ่า การเก็บรักษาในสภาพดัดแปลงบรรยากาศ (Modified Atmosphere Packaging; MAP) การเก็บรักษาผลิตผลสภาพ ดัดแปลงบรรยากาศเป็ นควบคุมบรรยากาศภายในผลิตภัณฑ์ให้ มีก๊าซต่างๆ เช่น ออกซิเจน คาร์ บอนไดออกไซด์ และไนโตรเจน ที่แตกต่างไปจากบรรยากาศปกติ (ไนโตรเจน 78 เปอร์ เซ็นต์ ออกซิเจน 21 เปอร์ เซ็นต์ คาร์ บอนไดออกไซด์ 0.03 เปอร์ เซ็นต์ และ ก๊ าซอื่นๆ) โดยการเพิ่มและลดสัดส่วนก๊ าซให้ ตรงตามความต้ องการ สาหรับวิธีการสร้ างสภาพดัดแปลงบรรยากาศภายในภาชนะ บรรจุให้ มีสดั ส่วนก๊ าซตามที่ต้องการนันมี ้ 2 วิธีด้วยกัน ได้ แก่

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

449


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การแทนที่อากาศภายในภาชนะบรรจุด้วยแก๊ สผสมที่มีสัดส่วนขององค์ ประกอบของแก๊ สแต่ละชนิดตามต้ องการ เรี ยกว่า Active modification การใช้ ฟิล์มพลาสติกเป็ นตัวกาหนดสัดส่วนของก๊ าซชนิดต่างๆ ที่อยู่ภายในภาชนะบรรจุ การเลือกฟิ ล์มพลาสติกที่ เหมาะสม เป็ นตัวกาหนดระดับออกซิเจนและระดับคาร์ บอนไดออกไซด์ภายในภาชนะบรรจุ ซึง่ ระดับออกซิเจนจะลดลงเนื่องจาก ผลิตผลนาไปใช้ ในกระบวนการหายใจ แล้ วปลดปล่อยเป็ นคาร์ บอนไดออกไซด์ วิธีการดังกล่าวนี ้เรี ยกว่า Passive modification การเก็บรักษาผลิตผลสภาพดัดแปลงบรรยากาศ เพื่อลดชะลอการเสื่อมเสียและการสุก ลดการผลิตเอทิลีน ลดการ ปฏิกิริยา oxidation ของสารตังต้ ้ น ลดการสูญเสียนา้ หนัก รักษาความสดใหม่ รวมถึงลดการเจริ ญเติบโตของจุลินทรี ย์ของ ผลิตภัณฑ์ ในระหว่างการขนส่ง เก็บรักษาและจัดจาหน่าย ส่วนผสมของก๊ าซที่ใช้ ในการบรรจุแบบปรับบรรยากาศจะแตกต่างกัน ไปขึน้ อยู่กับชนิดของอาหาร ภาชนะบรรจุและสภาวะการเก็บรักษา และ(อมรรัตน์และคณะ,2550) พบว่า การบรรจุในสภาพ บรรยากาศที่มีสดั ส่วนความเข้ มข้ นของก๊ าซ CO2:O2 เท่ากับ ร้ อยละ 0: 5-10 สามารถเก็บรักษาผลิตผลได้ นานกว่าการเก็บรักษา ในสภาพบรรยากาศปกติ และชะลอการเกิดสีน ้าตาลได้ (สมชายและ ธารี รัตน์,2556) พบว่า การเก็บรักษาขิงที่ความเข้ มข้ นก๊ าซ CO2:O2 5:5 และอุณหภูมิ 4 ºC มีอายุการเก็บรักษานาน 63 วัน การเปลี่ยนแปลงคุณภาพระหว่ างการเก็บรั กษาภายใต้ การดัดแปลงสภาพบรรยากาศในถุงบรรจุ การเปลี่ยนแปลงสี การเกิดสีน ้าตาลเป็ นสิ่งสาคัญสาหรับระยะเวลาการเก็บรักษา นันเป็ ้ นเหตุผลหนึ่ง ที่ทาให้ เซลล์พืชเกิดความเสียหาย ทาให้ เกิดการผิดปกติของสี และอาจเกิดการสูญเสียน ้าที่ผิวชันนอก ้ หรื อเกิดจากการทางานของเอนไซม์ ที่ทาให้ สารประกอบฟี นอล ถูกปลดปล่อยออกมาออกซิไดซ์กบั ออกซิเจนซึง่ มีเอนไซด์ในกลุม่ Phenolase เป็ นตัวเร่งในการเกิดปฏิกิริยาสีน ้าตาล ซึง่ การ เกิดสีน ้าตาลขึ ้นอยู่กบั ออกซิเจน Oxidizing enzyme Copper และสารตังต้ ้ น จากงานวิจยั ของ(อุมาพร และคณะ, 2010) ที่ ศึกษาผลของกรดและเกลือต่อการยับยังปฏิ ้ กิริยาสีน ้าตาลในผักสลัด โดยการแช่ผกั สลัดในกรดซิตริ กเข้ มข้ น 5เปอร์ เซ็นต์ เวลา 5 นาทีช่วยยืดอายุผกั สลัดได้ นาน และเป็ นที่ยอมรับทางประสาทสัมผัสดีที่สดุ การสูญเสียน ้าและการเปลี่ยนแปลงเนื ้อสัมผัส การสูญเสียน ้าออกจากเนื ้อเยื่อของผลผลิต เป็ นกระบวนการที่น ้าเคลื่อนที่ออกจากตัวผลิตผลไปสู่อากาศทางปากใบ เลนติเซล ลักษณะของผลิตผล คิวติเคล ขนาดของผลิตผลและบาดแผล จะทาให้ เนื ้อเยื่อพืชเกิดการสูญเสียโครงสร้ างเซลล์ การสูญเสีย ความแน่นเนื ้อ ผลการศึกษา (เสาวนีย์, 2553) พบว่าการลดความร้ องด้ วยน ้าที่อณ ุ หภูมิ 10 ºC นาน 15 นาที สามารถชะลอการ สูญเสียน ้าหนัก การเกิดสีน ้าตาลได้ ดีกว่าชุดควบคุมทัง้ ในระดับห้ องปฏิบตั ิการและที่จดุ รับซื ้อข้ าวฝักโพดอ่อน ลดการสูญเสียความแน่นเนื ้อ การดัดแปลงสภาพบรรยากาศสามารถลดการอ่อนตัวของผลไม้ ได้ ผลสตรอเบอร์ รี่ที่เก็บรักษาในสภาพบรรยากาศที่มี ก๊ าซออกซิเจนความ เข้ มข้ นสูงร้ อยละ 80 จะมีความแน่นเนือ้ สูงกว่าผล สตรอเบอร์ รี่ที่เก็บรั กษาในสภาพบรรยากาศปกติที่ อุณหภูมิ เก็บรักษา 5ºC นาน 14 วัน (WazelakiและMitcham, 2000) เนื่องจากสภาพบรรยากาศที่มีก๊าซออกซิเจนความเข้ มข้ น สูงสามารถชะลอกิจกรรมของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้ องกับการเสื่อมสลายของผนังเซลล์พืช เช่น polygalacturonase cellulase เป็ นต้ น (AbalesและTakeda, 1989) เช่นเดียวกับงานทดลองของ (Basiouny,1998) พบว่า สภาพบรรยากาศที่มีก๊าซออกซิเจนความ เข้ มข้ นต่า ร้ อยละ 3 และสภาพบรรยากาศที่มีก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ความเข้ มข้ นสูงร้ อยละ 20 ความชื ้นสัมพัทธ์ร้อยละ 90-95 อุณหภูมิ 1-2ºC สามารถลดการสูญเสียความแน่นเนื ้อของ ‘Muscadine Grapes’ ได้ และจากการใช้ โอโซนรมมะม่วงพันธุ์ น ้าดอกไม้ สีทอง เพื่อควบคุมปริ มาณเอทิลีน พบว่า การรมโอโซนชะลอการหายใจได้ มีความแน่นเนื ้อเพิ่มขึ ้น การเกิดโรคต่า กว่าชุดควบคุม(พรพรรณ, 2554) ลดอัตราการหายใจ สภาพบรรยากาศที่มีความเข้ มข้ นของก๊ าซออกซิเจนต่าหรื อ ความเข้ มข้ น ของก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์สงู ทาให้ ผลผลิต มี อั ต ราการหายใจที่ ต่ า ลง ส่ ง ผลให้ กระบวนการเสื่ อ มสภาพของผลผลิ ต เกิ ด ขึ น้ ช้ า แต่ ถ้ าความเข้ มข้ นของก๊ าซ คาร์ บอนไดออกไซด์สูงกว่าปกติ ทาให้ ปริ มาณ fructose-1,6-bisphosphate เพิ่มขึน้ และเป็ นสารตัวกลางในกระบวนการ glycolysis แสดงว่าสภาพบรรยากาศที่มีความเข้ มข้ นของก๊ าซออกซิเจนต่ามีผลทาให้ ชะลอการเปลี่ยนแปลงของสารตัวกลางใน กระบวนการ glycolysis (Chervin และคณะ, 1996) ในระหว่างการเก็บรักษา (Noguchi และคณะ, 1998) จากสภาพ บรรยากาศที่มีความเข้ มข้ นของก๊ าซออกซิเจนต่า สามารถลดอัตราการหายใจของ แอปเปิ ล้ , ท้ อ, กล้ วย, ผลกีวี, มะม่วง, และอะ โวกาโด (Prangeและคณะ, 2002) ซึ่งการหายใจแบบไม่ใช้ ออกซิเจน จะมีเกิดการสร้ างเอททานอลคีโตน และอะดีไฮล์ซึ่งเป็ น กลิ่นไม่พึ่งประสงค์ขึน้ (Ahvenainen, 1996) (Watadaและคณะ, 1996) ผลิตผลจะเกิดกระบวนการหมัก (fermentation) 450

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สารประกอบคาร์ บอนในกระบวนการ glycolysis จะเปลี่ยนเป็ น acetaldehyde, ethanol และ lactate (Yearsleyและคณะ, 1996) ลดการเจริญเติบโตของเชื ้อจุลินทรี ย์ การดัดแปลงสภาพบรรยากาศที่มีความเข้ มข้ นของก๊ าซออกซิเจนต่าสามารถลดการเจริ ญเติบโตจุลินทรี ย์ได้ และ ผลผลิตนันทนทานต่ ้ อค่าก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์สงู ๆได้ (ร้ อยละ 10-15) สามารถยับยังการเจริ ้ ญเติบโตของเชื ้อราได้ (ดนัย และ คณะ, 2548) ซึ่งผลผลิตทัว่ ไปที่บรรจุภายใต้ สภาวะดัดแปลงบรรยากาศมีการลด การเน่าเสียจากจุลินทรี ย์น้อยลงได้ แต่พบว่า การเพิ่ ม ของระดับ คาร์ บ อนไดออกไซด์ ไ ม่ ส ามารถยับ ยั ง้ การเจริ ญ เติ บ โตของแบคที เ รี ย ไม่ ใ ช้ อ อกซิ เ จนในการด ารงชี พ (Facultative anaerobic bacteria) และบางครัง้ ยังเร่งการเจริญเติบโตของแบคทีเรี ยด้ วย ชนิดของถุงพลาสติกบรรจุผลผลิต ชนิดของถุงพลาสติกหลายแบบ ซึง่ นามาใช้ บรรจุผลผลิตนัน้ ควรเลือกชนิดวัสดุที่ใช้ ผลิตพลาสติกและคุณสมบัติที่ของ ผลผลิตให้ เหมาะสม เช่น ลักษณะเฉพาะ รูปทรง ขนาด น ้าหนัก และการเปลี่ยนแปลงทางสรี รวิทยาต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ของ การใช้ งาน และชนิดของถุงพลาสติกที่ใช้ กนั ได้ แก่ พอลิเอทิลีน (Polyethylene, PE) แบ่งเป็ น 3 ประเภท พอลิเอทิลีนความหนาแน่นต่า (Low Density Polyethylene, LDPE) พอลิเอทิลีนความหนาแน่นปานกลาง (Medium Density Polyethylene, MDPE) พอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง (High Density Polyethylene, HDPE) พอลิพรอพิลีน (Polypropylene, PP) พอลิสไตรี น (Polystyrene, PS) พอลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl Chloride, PVC) พอลิเอทิลีนเทเรฟทาเลต (Polyethylene Terephthalate, PET) (งามทิพย์, 2550; มยุรี, 2552) ปั จจุบนั ถุงพลาสติก จัดเป็ นภาชนะบรรจุผลผลิตระหว่างหลังการเก็บเกี่ยวมากที่สดุ และใช้ บรรจุผลผลิตในสภาวะดัดแปลงสภาพบรรยากาศ (จริ งแท้ , 2549)

อุปกรณ์ และวิธีการ นาขิงสดคุณภาพดีตัดแต่งเหง้ าให้ สวยงามมีน ้าหนักเหง้ าประมาณ 100 g ล้ างน ้าเปล่า ตามด้ วยน ้ากลัน่ ผึ่งให้ แห้ ง ภาชนะบรรจุถงุ พลาสติกแบบต่างๆ พร้ อมกับแผ่นสารดูดซับความชื ้นจากนันผนึ ้ กปากด้ วยเครื่ องผนึกสุญญากาศแล้ วเติมก๊ าซ คาร์ บอนไดออกไซด์และก๊ าซออกซิเจน 5:5 PSI แล้ วเก็บไว้ ที่อณ ุ หภูมิ 4±2 ºC วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้ วย 5 Treatment วิธีละ 3 ซ ้า ซ ้าละ 5 เหง้ า วิธีที่ 1 ไม่บรรจุในถุงพลาสติกชุดควบคุม วิธีที่ 2 ภาชนะบรรจุถงุ พลาสติก PE (Polyethylene) วิธีที่ 3 ภาชนะบรรจุถงุ พลาสติก LDPE (Low Density Polyethylene) วิธีที่ 4 ภาชนะบรรจุถงุ พลาสติก PP (Polypropylene) วิธีที่ 5 ภาชนะบรรจุถงุ พลาสติก MTEC (National Metal and Materials Technology Center)

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1.เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนัก เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ ตามอายุการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้น โดยเฉพาะ Control มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักมากที่สดุ ตังแต่ ้ อายุการเก็บรักษา 3 วัน จนสิ ้นสุดอายุการเก็บรักษา 33 วัน ส่วนขิงที่บรรจุในถุงต่างชนิดกันมีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักที่ตา่ งกัน เมื่อสิ ้นสุดการทดลองที่ระยะเวลา 60 วัน พบว่า ขิงสดที่ บรรจุถงุ LDPE มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักมากที่สดุ คือ 9.53 เปอร์ เซ็นต์ อาจเกิดจากการสูญเสียน ้าบริเวณบาดแผลรอย ตัด (Palmer,1971) และถุง MTEC มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักน้ อยที่สดุ คือ 3.74 เปอร์ เซ็นต์ (Fig.1) 2.เปอร์ เซ็นต์กรดที่วิเคราะห์ได้ (TA) ( Fig 2 )ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ (Fig. 3) มีการเปลี่ยนแปลง ในลักษณะที่ ไม่คงที่ มีการเพิ่มขึ ้นและลดลงเล็กน้ อยตลอดเวลาการเก็บรักษา (สอดคล้ องกับการทดลองของ จิราพรและคณะ 2554 ที่ศกึ ษา ผลของบรรจุภณ ั ฑ์ตอ่ คุณภาพสับปะรดตัดแต่งพันธุ์ภแู ล) โดยเมื่อสิ ้นสุดการทดลอง พบว่า ขิงสดที่บรรจุถงุ MTEC มีเปอร์ เซ็นต์ กรดที่วิเคราะห์ได้ มากกว่า ถุง PE คือ 0.15 และ 0.10 เปอร์ เซ็นต์ตามลาดับ ส่วน control เมื่อสิ ้นสุดอายุการเก็บรักษา 33 วัน มี การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

451


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เปอร์ เซ็นต์กรดที่วิเคราะห์ได้ 0.13 เปอร์ เซ็นต์ ส่วนปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ พบว่าขิงที่บรรจุถงุ MTEC มีปริมาณของแข็งที่ ละลายน ้าได้ มากที่สดุ คือ 3.8 องศาบริกซ์ น้ อยกว่าก่อนเก็บรักษา 0.3 องศาบริกซ์ ส่วน ขิงที่บรรจุถงุ PP ก่อนเก็บรักษามี ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ มาก คือ 4.6 องศาบริกซ์ แต่เมื่อสิ ้นสุดการเก็บรักษามีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ 3.4 เปอร์ เซ็นต์ น้ อยกว่าก่อนเก็บรักษา 0.8 องศาบริ กซ์

Fig 1 Fresh weight loss during storage under different types of packaging and temperature at 4±2 º C

Fig 2 Titratable acidity during storage under different types of packaging and temperature at 4±2 º C

452

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Fig 3 Total Soluble Solids during storage under different types of packaging and temperature at 4±2 º C 3.ค่าสีในระบบ L*a*b* ค่าสีเนื ้อและสีเปลือก L* คือ ค่าความสว่าง a* คือ ค่าสีแดง b*คือ ค่าสีเหลือง ในระหว่างเก็บ รักษาจะพบว่า ค่า L ลดลงทังเปลื ้ อกและเนื ้อ ค่า a ของเนื ้อเพิ่มขึ ้นส่วนของเปลือกแนวโน้ มลดลง ค่า b ของเนื ้อและเปลือก เพิ่มขึ ้น เปลี่ยนจากสีเหลืองเป็ นสีเหลืองน ้าตาล เกิดจากการปฏิกิริยาสีน ้าตาลที่เกี่ยวกับเอนไซม์ เป็ นปฏิกิริยาออกซิเดชัน (oxidation) จะเกิดขึ ้นเมื่อเซลล์ของสิง่ มีชีวิตเกิดการช ้า ฉีก ขาด เมื่อถูกกระแทก ทาให้ เอนไซม์ สารที่ทาปฏิกิริยา (substrate) และออกซิเจนเข้ ามาสัมผัสกัน(สุวิมล,2549)(Fig.4)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

453


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

A

D

B

E

C

F

Fig 4 Luminance(A),red(B),yellow(C) of peel and luminance(D).red(E),yellow(F) of peel ginger during storage under different types of packaging and temperature at 4±2 º C

454

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

4.ค่าความแน่นเนื ้อ ขิงสดที่อายุการเก็บรักษามากขึ ้น มีค่าความแน่นเนื ้อลดลง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงโมเลกุล ของ pectin ที่ไม่ละลายน ้าให้ เป็ น pectin ที่ละลายน ้า ทาให้ เซลล์ซึ่งเคยยึดเกาะ กันแน่น มาอยู่ในสภาพที่เกาะกัน อย่าง หลวมๆ จึงอ่อนตัว (สายชล, 2528) โดยเมื่อสิ ้นสุดอายุการเก็บรักษา 60 วัน จะพบว่า ขิงสดที่บรรจุถงุ LDPE มีค่าความแน่น เนื ้อน้ อยที่สดุ ส่วนขิงสดที่บรรจุถงุ MTEC มีค่าความแน่นเนื ้อมากที่สดุ คือ 136.78 นิวตัน โดยอายุการเก็บรักษา 3 วัน มีความ แน่นเนื ้อ 262.66 นิวตัน (Fig. 5)

Fig 5 Firmness during storage under different types of packaging and temperature at 4±2 º C

สรุ ป

1.เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนัก พบว่าเพิ่มขึ ้นตามอายุการเก็บรักษาที่เพิ่ มขึ ้น ขิงมีลกั ษณะแห้ ง เหี่ยว โดยขิงที่ไม่ได้ บรรจุถงุ (control) มีเปอร์ เซ็นต์สญ ู เสียน ้าหนักมากที่สดุ และรองลงมาคือ ขิงที่บรรจุถงุ LDPE 2.ปริมาณกรดที่วิเคราะห์ได้ มีแนวโน้ มลดลงเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้ อย ทุกวิธีการ 3.ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ control มี ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ มากที่สดุ คือ 6.2ºbrix แต่เมื่อสิ ้นสุดการ เก็บรักษา ขิงที่บรรจุถงุ MTEC มี ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ มากที่สดุ คือ 4.2ºbrix 4.ลักษณะสีเปลือกและสีเนื ้อของขิง พบว่า ทังสี ้ เปลือกและสีเนื ้อ มีการเปลี่ยนแปลงจากสีเหลืองไปเป็ นสีน ้าตาล เมื่อ อายุการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้นทุกวิธีการ 5.ความแน่นเนื ้อ จะลดลงตลอดการเก็บรักษา 6.อายุการเก็บรักษา ขิงที่บรรจุถงุ MTEC และ PE มีอายุการเก็บรักษานานที่สดุ คือ 60 วัน โดยที่ขิงที่บรรจุถงุ MTEC มีลกั ษณะภายนอกที่ดีกว่าขิงที่บรรจุถงุ PE

กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจยั นี ้ประสบความสาเร็จได้ โดยการได้ รับทุนจากจากสานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2556ในส่วนของคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง คณะ นักวิจยั ใคร่ขอขอบคุณนักศึกษา เจ้ าหน้ าที่ ตลอดจนเกษตรกร ที่ให้ คาปรึกษา อนุเคราะห์ข้อมูล ตลอดจนให้ ความร่วมมือ ต่างๆที่เกิดขึ ้นในการดาเนินการศึกษาวิจยั ในครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง กรมส่งเสริ มการส่งออก. 2554. ตลาดขิงโดยเยอรมนีการนาเข้ าขิงสดปี 2550-2553 (ม.ค.-ก.ย.).สานักงานส่งเสริ มสินค้ าระหว่างประเทศฯ กรุง เบอร์ ลิน [Online]. Available:http://www.depthai.go.th งามทิพย์ ภู่วโรดม.2550. การบรรจุอาหาร บริ ษัท เอส.พี.เอ็ม. การพิมพ์ จากัดกรุงเทพมหานคร. จริ งแท้ ศิริพานิช.2549. สรี รวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ .สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ,กรุงเทพมหานคร. หน้ า 7. จิราพรและคณะ.2554.ผลของของบรรจุภณ ั ฑ์ต่อคุณภาพสับปะรดตัดแต่งพันธุ์ภแู ล.วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร.42(3พิเศษ):673-676 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

455


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า ดนัย บุณยเกียรติ และนิธิยา รัตนาปนนท์.2548. การปฏิบตั ิหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ . พิมพ์ครัง้ ที่5. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ , กรุงเทพมหานคร. หน้ า 236. ธนวัฒน์ จารุพงษ์ สกุล และคณะ 2550. โลกร้ อนสุดขัว้ วิกฤติอนาคตประเทศไทย. บริ ษัท ฐานการพิมพ์ จากัด. วิทย์เที่ยง บรูณธรรม, 2542. พจนานุกรมสมุนไพรไทย. พิมพ์ครัง้ ที่ 5 จัดพิมพ์โดยรวมสาสิน (1977) จากัด ISBN 974-246-5,11,น.126-134 . ผักและการปลูกผัก, 2553.การปลูกขิง:การคัดเลือกท่อนพันธุ์ปลูกขิง, อ้ างโดย กรมวิชาการเกษตร และncsupply.blogspot.com) [Online]. Available: http://www.farmkaset.org/contents/default.aspx?content=00263. มยุรี ภาคลาเจียก, 2552.พลาสติกกับการบรรจุหีบห่อ. [Online]. Available:http://mew6.com/composer/package/package_31.php. โรเบิร์ต คุนซิก, 2554.สารคดีเจ็ดพันล้ านคน. นิตยสาร เนชัน่ แนล จีโอกราฟฟิ ก ฉบับภาษาไทย. [Online].Available: http://www.ngthai.com/ngm/1101/eature.asp?featureno=1 วินยั ต่ายใหญ่เทียง, 2553.ข่าวเศรษฐกิจการเกษตร, สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ถนนราชดาเนินนอก กรุงเทพฯ 10200. ศศิธร จันทรโอทาน, ศักดิ์สนุ ทร สิงค์และ สุดฤดี ประเทืองวงศ์, 2529, สารวจโรคต่างๆของขิงในประเทศไทย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ สมชาย กล้ าหาญ และ ธารี รัตน์ จันทร์ เทียบ. 2556. ผลของบรรยากาศดัดแปลงต่ออายุการเก็บรักษาขิงสด.สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ สายชล เกตุษา. 2528. สรี รวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ .มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .กรุงเทพฯ สุวิมล วัฒนะพันธ์ศกั ดิ์. 2549. ผลการลดการเกิดสีน ้าตาลและการดัดแปลงบรรยากาศต่ออายุการเก็บรักษาของผักกาดแก้ วตัดแต่ง.สารนิพนธ์ มหาบัณฑิต.บัณฑิตวิทยาลัย.มหาวิทยาลัยศิลปากร.นครปฐม สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2554. [Online]. Available: www.oae.go.th. ศูนย์สารสนเทศการเกษตร กระทรวงกระเกษตรและสหกรณ์. เสาวนีย์ จอมสว่าง, วาสนา พิทกั ษ์ พล,สงกรานต์ วงค์เณร และวิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก, 2553. ผลของการคายความร้ อนด้ วยน ้าต่อคุณภาพหลักการ เก็บเกี่ยวข้ าวโพดฝั กอ่อน, บทคัดย่อการสัมมนาวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครัง้ ที่ 8: น. 88. อมรรัตน์ วัฒนล ้าเลิศ, พรรณจิรา วงศ์สวัสดิ์ และพัชทรา มณีสินธุ์, 2550. ผลของช่องว่างเหนืออาหารและสภาพบรรยากาศดัดแปลงต่อคุณภาพ และอายุการเก็บรักษาของข้ าวโพดฝักอ่อนอินทรี ย์, วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร, 36(6)(พิเศษ): 164-168. อุตสาหกรรมเครื่ องเทศเครื่ องปรุงรส, 2551. ศูนย์อจั ฉริ ยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร. [Online].Available: http://fic.nfi.or.th infocenter /th/ member/register.asp. อุมาพร อาลัย, แสงดาว นาคปาน, ปราโมทย์ เอมมาและ สุนทรี ย์ พรมดีมิต, 2553. ผลของกรดและเกลือต่อการยับยังการเกิ ้ ดปฏิกิริยาสีตาลที่เร่ง ด้ วยเอนไซม์ในผักสลัดอินทรี ย์,บทคัดย่อการสัมมนาวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครัง้ ที่ 8: น. 50. เอลิซาเบท โคลเบิร์ต, 2554. สารคดี สมัยแอนโทรโปซีน. นิตยสาร เนชัน่ แนล จีโอกราฟฟิ ก ฉบับภาษาไทย. [Online].Available:http://www.ngthai.com/ngm1103/feature.asp?featureno=1 Abeles, F. B. and Takeda, F., 1998.Increase Cellulose Activity During Blackberry Fruit Ripening, HortScience, 24: 851-856. Ahvenainen, R., 2000. Minimal Processing of Fresh Produce, In Minimally Processed Fruits and Vegetables: Fundamental Aspets and Applications, Alzamora, S.M., Tapia, M.S. and Lopez-Malo, A. (Eds.), Aspen Pub.Co., Inc., Maryland, US, 376p. Basiouny, F. M., 1998. Quality of Muscadine Grapes as Influenced by Elevated CO2and Reduced O2 Atmosphere, Acta Horticulturae, 464: 375-379. Chervin, C., Brady, C. J., Patterson, B. D. and Faragher, J. D., 1996. Could Studies on Cell Responses to Low Oxygen Levels Provide Improved Options for Fruit Storage and Disinfection, Postharvest Biol. Noguchi, H. K., Watada, A. E. and Qi.L., 1998.Glycolysis of Carrot Shreds Increased under Low O2 Atmosphere, Acta Horticulturae, 464: 243-247. Technol. 7: 289-299. Palmer,J.K.1971.”The banana” The Biochemistry of Fruit and their Products Vol 2. Academic Press. London Wazelaki, A. L. and Mitcham, E. J., 2000. Effects of Superatmospheric Oxygen on Strawberry Fruit Quality and Decay, Postharvest Biology and Technology, Vol. 20, pp. 125-133.

456

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของสารละลายพัลซิ่งและความยาวก้ านดอกต่ ออายุการปั กแจกันดอกบัวหลวงพันธุ์สัตตบุตย์ Effects of Pulsing Solutions and Stalk Length on Vase Life of ‘Sattabhud’ Lotus 1

ธนิตชยา พุทธมี แสงระวี พ่ วงสมบัต1ิ วนิตา ตุ้มมล1 และณัฐพล จันทร์ บาง1 Thanidchaya Puthmee1 Sangravee Pougsombat1 Wannita Tummol1 and Nattapon Janbang1

บทคัดย่ อ ดอกบัวหลวงภายหลังการเก็บเกี่ยวมักมีอายุการปั กแจกันสัน้ เนื่องจากอาการกลีบดาที่กลีบนอกสุดและการอุดตัน ของท่อลาเลียง การพัลซิ่งด้ วยสารละลายต่างๆ และความยาวก้ านดอก น่าจะช่วยยืดอายุการปั กแจกันของดอกบัวหลวง จาก การศึกษาการพัลซิ่งโดยนาดอกบัวมาพัลซิ่งด้ วยสารละลาย 9 ชนิด ได้ แก่ sucrose 5%, sucrose 5% +8-HQS 400 ppm +aspirin 300 ppm, sucrose5%+8-HQS 400 ppm +AgNO3 50 ppm, sucrose 5% +8-HQS 400 ppm +CoCl26H2O 50 ppm, sucrose 5% +8-HQS 400 ppm +Citric acid 150 ppm, sucrose 5%+AgNO3 50 ppm, sucrose 5% +CoCl26H2O 50 ppm, sucrose 5% + Citric acid 150 ppm และ sucrose 5% +aspirin 300 ppm เปรี ยบเทียบกับน ้ากลัน่ (ชุดควบคุม) พบว่าการพัลซิ่งดอกบัวหลวงด้ วย sucrose 5% + CoCl26H2O 50 ppm เป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง มีแนวโน้ มให้ ผลดีที่สดุ และสามารถ ปั กแจกันได้ นาน 4 วัน จากผลการทดลองข้ างต้ นได้ ทาการทดลองซ ้าอีกครัง้ โดยเปรี ยบเทียบความยาวก้ านดอกที่ 15, 25 และ 35 เซนติเมตร พบว่าดอกบัวหลวง ที่ความยาวก้ านดอก 35 เซนติเมตร พัลซิ่งด้ วย sucrose 5% + CoCl26H2O 50 ppm เป็ น เวลา 6 ชัว่ โมง สามารถยืดอายุการปั กแจกันของดอกบัวหลวงได้ นาน 5 วัน โดยสามารถชะลออาการดาของกลีบดอกได้ ดีกว่า สิ่งทดลองอื่นๆ คาสาคัญ : ดอกบัวหลวง อายุการปั กแจกัน สารละลายพัลซิ่ง ความยาวก้ านดอก

Abstract After harvested, lotus flowers have a short vase life caused by blackening of the outer petals and stem end blockage. Pulsing solutions and stalk length may prolong the vase life of lotus. In this experiment, lotus flowers were pulsing with 9 solutions; sucrose 5%, sucrose 5%+8-HQS 400 ppm +aspirin 300 ppm, sucrose5%+8-HQS 400 ppm+AgNO3 50 ppm, sucrose 5%+8-HQS 400 ppm +CoCl26H2O 50 ppm, sucrose 5%+8-HQS 400 ppm+Citric acid 150 ppm, sucrose 5%+AgNO3 50 ppm, sucrose 5%+CoCl26H2O 50 ppm, sucrose 5%+Citric acid 150 ppm and sucrose 5%+aspirin 300 ppm compared with distilled water (control). The results reveal that lotus was pulsing with sucrose 5% + CoCl26H2O 50 ppm for 6 hours tended to be the best solution and had vase life of 4 days. The above results were tested again by compared the stalk length at 15, 25 and 35 centimeters. The stalk length 35 cm of lotus flowers pulsed with sucrose 5% + CoCl26H2O 50 ppm for 6 hours prolonged vase life of lotus for 5 days which delayed petal blackening greater than other treatments. Keywords: lotus, vase life, pulsing solution, stalk length

1

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเกษตรศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ชลบุรี 20110

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

457


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ดอกบัวหลวง เป็ นไม้ ตดั ดอกชนิดหนึ่งที่สาคัญแม้ จะมีราคาไม่สงู นัก แต่เมื่อเทียบกับอายุการใช้ ประโยชน์ที่สนแล้ ั ้ วก็ จัดว่ามีราคาแพง เนื่องจากดอกบัวหลวงเกิดการเสื่อมสภาพอย่างรวดเร็ว โดยเกิดอาการกลีบดาที่กลีบรอบนอกสุด สีจะซีดและ ร่วงโรยทาให้ อายุการปั กแจกันสันซึ ้ ่งเป็ นข้ อจากัดในการขยายโอกาสสาหรับการส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศ ซึ่งอาจเกิด จากเมื่ อ ดอกบัว หลวงถูก ตัด จากต้ น แม่แ ล้ ว จะถูก ตัด แหล่ง น า้ และอาหารแต่ด อกไม้ ยัง คงมี ชี วิ ต และมี ก ารเปลี่ ย นแปล ง เช่นเดียวกับที่ยงั อยูบ่ นต้ น เช่น การหายใจ การสร้ างเอทิลีน การคายน ้า และการเปลี่ยนสีของกลีบดอก (สายชล, 2531) การทา ให้ ดอกบัวมีคณ ุ ภาพดี และยืดอายุการปั กแจกันได้ นานมีความสวยงาม และเป็ นที่นิยมของตลาด ส่วนมากจะนิยมใช้ สารเคมี บางชนิดเข้ ามาใช้ ในการทดลองเพื่อยืดอายุ การปั กแจกัน เช่น การพัลซิ่งด้ วยสารละลายชนิดต่างๆ อาทิ 8-HQS, AgNO3, CoCl26H2O, Citric acid และ aspirin ซึง่ มีคณ ุ สมบัติในการยืดอายุการปั กแจกันของดอกไม้ หลายชนิด นอกจากนี ้ความยาว ก้ านของดอกบัวอาจจะมีผลต่ออาการดาของกลีบและอายุการปั กแจกันของดอกบัวหลวง จากรายงานการปรับปรุ งคุณภาพ และยืดอายุการปั กแจกันของดอกบัวหลวงพันธุ์สตั ตบงกช โดยใช้ สารเคมีต่างๆ พบว่าสารส่งเสริ มการปั กแจกันสูตร HQS 200 ppm + น ้าตาล 2 เปอร์ เซ็นต์ ปรับ pH = 3 สามารถยืดอายุการปั กแจกันของดอกบัวได้ ดีที่สดุ นาน7 วัน และมากกว่า control 2.34 วัน (ช.ณิฎฐ์ ศิริ และรุ่งทิวา, 2544) ในขณะที่ดอกบัวมงคลอุบลที่ทาการพัลซิ่งด้ วยสารละลายซูโครสความเข้ มข้ นร้ อยละ 0, 2 และ 4 มีอายุการปั กแจกันไม่เกิน 3 วัน แต่ที่สารละลายซูโครสความเข้ มข้ นร้ อยละ 8 จะมีอายุการปั กแจกันเพียง 1 วัน (มานะบุตร และคณะ, 2552) การปั กแจกันดอกบัวหลวงพันธุ์สตั ตบุษย์ระยะดอกตูมในสารละลาย gibberellin acid (GA3) 50 mg/L ชะลออาการดาและสีซีดจางได้ เพิ่มอัตราการดูดนา้ และชะลอการลดลงของการเปลี่ยนแปลงนา้ หนักสด โดย GA3 สามารถยืดอายุการปั กแจกันดอกบัวหลวงได้ นานกว่าการปั กแจกันในน ้ากลัน่ 0.8-1.4 วัน (เพชรรัตน์ และวชิรญา, 2556) จาก รายงานของ วลัยภรณ์ และคณะ (2538) รายงานว่า อายุปักแจกันของเบญจมาศที่ความยาวก้ านต่างกันมีความแตกต่างกัน ทางสถิติ ยกเว้ นพันธุ์ TW1 และ Glamour โดยที่ความยาวก้ านดอก 50 ซม. มีอายุปักแจกันสูงสุด และต่าสุดที่ความยาวก้ าน ดอก 80 ซม. ดังนัน้ การศึกษาเรื่ อ งผลของสารละลายพัลซิ่งและความยาวก้ านดอกต่ออายุการปั กแจกันดอกบัวหลวงพันธุ์ สัตตบุตย์น่าจะเป็ นข้ อมูลพื ้นฐานในการหาวิธีการยืดอายุการใช้ ประโยชน์ของดอกบัวหลวงและเพิ่มศักยภาพในการจาหน่าย ดอกบัวหลวงต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ การศึกษาครัง้ นีเ้ ก็บดอกบัวหลวงจากแปลงเกษตรกรที่บ้านอาเภอ ตาบลนาจอมเทียน อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ระยะ S1 (Figure 3) นามาตัดให้ เหลือก้ านดอกยาว 35 ซม. นามาพัลซิ่งด้ วยสารละลายต่างๆ ดังนี ้ sucrose 5%, sucrose 5% +8-HQS 400 ppm +aspirin 300 ppm, sucrose5%+8-HQS 400 ppm +AgNO3 50 ppm, sucrose 5% +8-HQS 400 ppm +CoCl26H2O 50 ppm, sucrose 5% +8-HQS 400 ppm +Citric acid 150 ppm, sucrose 5%+AgNO3 50 ppm, sucrose 5% +CoCl26H2O 50 ppm, sucrose 5% + Citric acid 150 ppm และ sucrose 5% +aspirin 300 ppm ปริ มาตร 800 มิลลิลติ ร เปรี ยบเทียบกับน ้ากลัน่ (ชุดควบคุม) เป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง แล้ วย้ ายไปปั กแจกันในน ้ากลัน่ ปริ มาตร 120 มิลลิลิตร ที่ อุณหภูมิ 28องศาเซลเซียส ความชื ้นสัมพัทธ์ 80% แต่ละชุดการทดลองประกอบด้ วย 4 ซ ้าๆ ละ 1 ดอก วางแผนการทดลอง Completely randomized design (CRD) และทาการบันทึกอัตราการดูดน ้า โดยวัดปริ มาณน ้าในกระบอกตวงที่ลดลงในแต่ละ วันแล้ วนาไปคานวณ การดูดน ้าในแต่ละวันจากผลต่างของปริ มาณน ้ามีหน่วยเป็ นมิลลิลิตร/ดอก/วัน อาการดาของกลีบดอก บันทึกโดยให้ เป็ นคะแนนการเกิดอาการกลีบดา ตังแต่ ้ 0-5คะแนน โดย 0 คือไม่มีอาการกลีบดา, 1 คือมีอาการกลีบ ดาประมาณ 10%, 2 คือมีอาการกลีบดา 20-30%, 3 คือมีอาการกลีบดา 30-40%, 4 คือมีอาการกลีบดา 40-50% และ 5 คือมีอาการดา มากกว่า 50% ความสดของดอก ความสดของดอก (คะแนน) โดยให้ เป็ นคะแนน (1:ไม่สด, 2:สดน้ อย, 3:สดปานกลาง, 4:สด มาก และ 5:สดมากที่สดุ ) และอายุการปั กแจกันโดยกาหนดให้ สิ ้นสุดอายุการปั กแจกันเมื่อดอกบัวมีอาการดาของกลีบเกิน 50% หลังจากนันน ้ าผลการทดลองที่ดีที่สดุ มาทาซ ้าด้ วยการเปรี ยบเทียบความยาวก้ านดอกที่ 15, 25 และ 35 เซนติเมตร และพัลซิ่งในสารละลายที่ดีที่สดุ ทาการบันทึกผลทุกวันเช่นเดียวกับการทดลองแรก

458

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ ดอกบัวหลวงภายหลังจาการทาพัลซิ่งด้ วยสารละลายชนิดต่าง ๆ และปั กแจกันที่อณ ุ หภูมิ 28องศาเซลเซียส ความชื ้น สัมพัทธ์ 80% พบว่า ในวันที่ 1 ของการปั กแจกัน ดอกบัวที่พลั ซิ่งในน ้ากลัน่ , sucrose 5%, sucrose 5% +aspirin 300 ppm, sucrose5%+8-HQS 400 ppm +AgNO3 50 ppm, sucrose 5% +8-HQS 400 ppm +CoCl26H2O 50 ppm และ sucrose 5% + Citric acid 150 ppm ยังไม่มีอาการดาของกลีบ ซึง่ แตกต่างจาก sucrose 5% +8-HQS 400 ppm +Citric acid 150 ppm, sucrose 5%+AgNO3 50 ppm และ sucrose 5% +CoCl26H2O 50 ppm ที่เริ่ มเกิดอาการดาของกลีบ จนในวันสุดท้ าย ของการทดลอง sucrose 5% +CoCl26H2O 50 ppm เกิดอาการดาของกลีบน้ อยที่สดุ คือ 1.75 คะแนน และ sucrose 5% +8-HQS 400 ppm +Citric acid 150 ppm เกิดอาการดาของกลีบมากที่สดุ คือ 4.00 คะแนน (Figure 1A) ซึง่ มีความแตกต่าง กันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P≤0.05) อัตราการดูดน ้าของดอกบัวหลวงในวันที่ 1, 2 และ 3 ของการปั กแจกัน มีค่าลดลงอย่าง ต่อเนื่อง โดยในวันที่ 2 และ 3 ของการปั กแจกัน ดอกบัวที่พลั ซิ่งใน sucrose 5% +aspirin 300 ppm และ sucrose 5% + 8-HQS 400 ppm +aspirin 300 ppm มีอตั ราการดูดน ้าคงที่ แต่ sucrose 5% +aspirin 300 ppm มีอตั ราการดูดน ้าที่ มากกว่า คือ 1.75 มิลลิลิตร ในขณะที่ sucrose 5%+AgNO3 50 ppm มีอตั ราการดูดน ้าสูงที่สดุ คือ 2.00 มิลลิลิตร ในวันที่ 4 ของการปั กแจกัน (Figure 1B) การที่ดอกบัวหลวงมีอตั ราการดูดน ้าลดลง เนื่องจากการทาลายก้ านดอกโดยจุลินทรี ย์ในน ้าที่แ ช่ ก้ านดอก ทาให้ เกิดการอุดตันที่ปลายตัดของก้ านดอก การใส่สาร AgNO3, CoCl26H2O และ aspirin สามารถฆ่าเชื ้อจุลินทรี ย์ แล้ ว ยังมีคณ ุ สมบัติยบั ยังกลไกการท ้ างานของเอทีลีนด้ วย (Serek and Rieid, 1997 ) คะแนนความสดของดอกบัวลดลงตาม ระยะเวลาการปั กแจกัน โดยดอกบัวที่พลั ซิ่ งด้ วย sucrose 5% +CoCl26H2O 50 ppm มีความสดของดอกมากที่สดุ คือ 4.50 คะแนน รองลงมา คือ sucrose 5% + Citric acid 150 ppm มีความสดของดอกเท่ากับ 4.25 คะแนน ส่วนสิ่งทดลองที่ไม่ได้ กล่าวถึงมีคะแนนความสดของดอก เท่ากับ 4 คะแนน (Figure 1C) และในวันสุดท้ ายของการทดลอง sucrose 5% +CoCl26H2O 50 ppm ยังคงมีความสดของดอกมากที่สดุ คือ 4.00 คะแนน ในขณะที่ sucrose 5% +8-HQS 400 ppm +Citric acid 150 ppm มีความสดน้ อยที่สดุ คือ 1.00 คะแนน ซึง่ มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (P≤0.05) จาก การพัลซิ่งด้ วยสารละลายชนิดต่างๆ พบว่าการพัลซิ่งด้ วย sucrose 5% +CoCl26H2O 50 ppm ให้ ผลดีในการชะลอการเกิด อาการกลีบดาของดอกบัวและคงความสดของดอกบัวได้ นาน 4 วัน (Figure 1) แม้ ว่าจะมีอตั ราการดูดน ้าน้ อยกว่าดอกบัว ที่พลั ซิ่งด้ วย sucrose 5% +8-HQS 400 ppm +AgNO3 50 ppm และ sucrose 5% + AgNO3 50 ppm ในวันที่ 4 ของการปั ก แจกัน (Figure 1B) เมื่อนาดอกบัวหลวงที่ความยาวก้ านดอกแตกต่างกันมาพัลซิ่งด้ วย sucrose 5% +CoCl26H2O 50 ppm พบว่าก้ านดอกที่ยาว 15 เซนติเมตร มีการดูดน ้าได้ สงู ที่สดุ ในวันที่ 3 และการดูดน ้าจะลดลงในวันที่ 4 และ 5 ของการปั กแจกัน ส่วนก้ านดอกที่ยาว 35 เซนติเมตร มีการดูดน ้าได้ น้อยกว่าก้ านดอกที่ยาว 15 เซนติเมตร ในวันที่ 3 ของการปั กแจกัน มีการดูด น ้าคงที่ในวันที่ 4 และดูดน ้าได้ ลดลงในวันที่ 5 ของการปั กแจกัน ความยาวของก้ านดอกอาจมีผลต่ออัตราการดูดน ้าของ ดอกบัว การที่ก้านดอกบัวมีความยาวสันลงนั ้ น่ แสดงถึ งระยะทางการลาเลียงน ้าของดอกบัวก็จะสันลงไปด้ ้ วย นอกจากนี ้ความ ยาวก้ านดอกอาจมีผลต่อความดันภายในก้ านดอกที่มีผลต่อการดูดน ้า ก้ านดอกที่ยาวขึ ้นอาจส่งผลให้ ความดันภายในก้ านดอก สูงด้ วยทาให้ มีอตั ราการดูดน ้าสูง ดังจะเห็นจากความยาวก้ านดอก 35 เซนติเมตร มีอตั ราการดูดน ้าเพิ่มสูงขึ ้นในวันที่ 3 และ 4 ของการปั กแจกัน (Figure 2B) เช่นเดียวการเปรี ยบเทียบความยาวก้ านดอกของเยอบีร่าที่ความยาวก้ านดอก 30, 40, 50 และ 60 เซนติเมตร พบว่าก้ านดอกยาว 60 เซนติเมตร สามารถชักนาให้ มีการดูดน ้ามากที่สดุ (Meman and Dabhi, 2006) ส่วน อาการดาของกลีบดอกบัวหลวงเริ่ มปรากฏให้ เห็นหลังจากการปั กแจกันเป็ นเวลา 3 วัน โดยในวันที่ 4 ของการปั กแจกัน โดย ดอกบัวที่พลั ซิ่งด้ วย sucrose 5% +CoCl26H2O 50 ppm ความยาวก้ านดอก 35 เซนติเมตร สามารถชะลออาการดาของกลีบ ดอกบัว (Figure 2A) อาการดาของกลีบดอกส่วนหนึ่งแสดงให้ เห็นว่า การปฏิบตั ิภายหลังการเก็บเกี่ยวมีผลต่อคุณภาพและการ ยืดอายุของดอกบัว (ดนัย และชัยพิชิต, 2550) อัตราการดูดน ้าและคะแนนความสดของดอกบัวสูงกว่าทรี ตเมนต์อื่นๆ (Figure 2C) แม้ ว่าอัตราการดูดน ้าของดอกบัวที่พลั ซิ่งด้ วย sucrose 5% +CoCl26H2O 50 ppm จะมีอตั ราการดูดน ้าลดลงในวันที่ 5 ของการปั กแจกัน แต่คะแนนความสดยังคงสูงกว่าทรี ตเม้ นต์อื่นๆ จากคะแนนความสดที่ยงั คงสูงในวันสุดท้ ายของการปั กแจกัน แม้ วา่ คะแนนกลีบดาจะสูงเท่ากับ 5 คะแนน หรื อ 50% แต่ก็ดาเฉพาะช่วงขอบของกลีบดอกเท่านัน้ ทาให้ คะแนนความสดยังคง สูงอยู่ ทังนี ้ อ้ าจเป็ นเพราะส่วนของ sucrose ที่ดอกบัวจะใช้ นา้ ตาลเป็ นแหล่งคาร์ โบไฮเดรต และแหล่งอาหารที่สาคัญใน กระบวนการเมแทบอลิซมึ ต่างๆ แทนที่ดอกบัวจะใช้ อาหารสะสมที่มีอยู่ในดอก ซึง่ น ้าตาลเป็ นคาร์ โบไฮเดรตที่ดีที่สดุ และถูกดูด ซึมเข้ าก้ านดอกได้ ง่ายที่สดุ (นิธิยา และดนัย, 2537) ทาให้ ดอกบัวยังมีคะแนนความสดค่อนข้ างสูงจนวันที่ 4 ของการปั กแจกัน ร่ วมกับสาร CoCl26H2O ที่มีคุณสมบัติในการฆ่าเชื อ้ จุลินทรี ย์ซึ่งเจริ ญเติบโตอยู่ในนา้ ที่แช่ก้านดอกไม้ อาทิแ บคทีเรี ยโดย การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

459


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อนุภาคของ cobalt chloride (Co2+ ions) มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริ มาณ polyribosomes ซึง่ เป็ นการลดกลไกการทางาน ของแบคทีเรี ย ทาให้ ไม่เกิดการอุดตันของท่อลาเลียงนา้ ในก้ านดอกทาให้ ดอกไม้ มีอายุการใช้ งานยาวนานขึน้ และสามารถ ยับยังการท ้ างานของเอทิลีน (ช.ณิฏฐ์ ศิริ, 2545) โดยอนุภาคของ cobalt chloride (Co2+ ions) จะยับยัง้ ACC oxidase ใน กระบวนการสังเคราะห์เอทิลีน (Lau and Yang, 1976)

Blackening (scores)

5

Distilled water (Control) Sucrose Sucrose+8-HQS+Aspirin Sucrose+8-HQS+AgNO3 Sucrose+8-HQS+CoCl26H2O Sucrose+8-HQS+Citric acid Sucrose+AgNO3 Sucrose+CoCl26H2O Sucrose+Citric acid Sucrose+Aspirin

A

4 3 2 1 0 1

2

3

4

Days 5

6

B Freshness (scores)

Water uptake (ml/flower/day)

0

4 3 2 1 0 0

1

2

Days

3

4

Distilled water (Control) 5 Sucrose Sucrose+8-HQS+Aspirin 4 Sucrose+8-HQS+AgNO3 3 Sucrose+8-HQS+CoCl 26H2O Sucrose+8-HQS+Citric acid 2 Sucrose+AgNO3 1 Sucrose+CoCl26H2O Sucrose+Citric acid 0 0 1 2 3 Sucrose+Aspirin

C

4

Days

Figure 1 Blacking scores (A), water uptake (B) and freshness scores (C) of ‘Sattabhud’ lotus flowers that were pulsed in the different solutions and distilled water.

460

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

Distilled Sucrose Sucrose Sucrose Sucrose Sucrose Sucrose Sucrose Sucrose Sucrose


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Blackening (scores)

6

A

Distilled water, 15 cm. sucrose+CoCl26H2O, 15 cm. Distilled water, 25 cm. sucrose+CoCl26H2O, 25 cm. Distilled water, 35 cm. sucrose+CoCl26H2O, 35 cm.

5 4 3 2 1 0 1

2

3

4

5

Days

6

6

B

Distilled water 15 cm. 5 sucrose+CoCl 26H2O 15 cm. Distilled water 25 cm. 4 sucrose+CoCl26H2O 25 cm. 3 Distilled water 35 cm. sucrose+CoCl 2 26H2O 35 cm.

Freshness (scores)

Water uptake (ml/flower/day)

0

5 4 3 2 1

Distilled wa sucrose+C Distilled wa sucrose+C Distilled wa sucrose+C

C

1 0

0 0

1

2

3

4

5

0

1

2

3

4

5

Days

Days

Figure 2 Blacking scores (A), water uptake (B) and freshness scores (C) of ‘Sattabhud’ lotus flowers that were pulsed in sucrose 5%+CoCl26H2O or distilled water with different the stalk length at 15, 25 and 35 cm.

Figure 3 The commercial stages (S1-S4) of the lotus flower (เพชรรัตน์ และวชิรญา, 2556) สรุ ปผลการทดลอง การพัลซิ่งดอกบัวความยาวก้ านดอก 35 เซนติเมตร ด้ วยสารละลาย sucrose 5% +CoCl26H2O 50 ppm เป็ นเวลา 6 ชัว่ โมง สามารถชะลออาการดาของกลีบดอกบัวและคงความสดของดอกบัวได้ นาน 5 วันและมีแนวโน้ มในการอัตราการดูดน ้า ของดอกบัวในระหว่างการปั กแจกัน

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

461


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง ช.ณิฎฐ์ ศิริ สุยสุวรรณ และ รุ่งทิวา ธนาธาตุ. 2544. ผลของการดูดสารละลายเคมีต่างๆ ของดอกบัวหลวงพันธุ์สตั ตบงกช (Nelumbo nucifera Gaertn) ที่มีต่ออายุการปั กแจกัน. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 1: กาหนดการประชุมและบทคัดย่อ. กรมวิชาการเกษตร สถาบันวิจยั พืชสวน กรุงเทพฯ. 11-13 ก.ค. 2544. หน้ า 166. ช.ณิฏฐ์ ศิริ สุยสุวรรณ. 2545. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวไม้ ตดั ดอก. แมสพับลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ. 194 น. ดนัย บุณยเกียรติ และ ชัยพิชิต เชื ้อเมืองพาน. 2550. อายุการปั กแจกันของดอกไม้ และใบไม้ ในพื ้นที่โครงการหลวง. รายงานการประชุมวิชาการ ผลงานวิจยั ของมูลนิธิโครงการหลวง ประจาปี 2549. มูลนิธิโครงการหลวง. ฝ่ ายวิจยั จัดพิมพ์. หน้ า 295-302. นิธิยา รัตนาปนนท์ และ ดนัย บุญยเกียรติ. 2537. การปฏิบตั ิการภายหลังการเก็บเกี่ยวดอกไม้ . พิมพ์ครัง้ ที่ 1. โอ เอสพริ นติ ้งเฮ้ าส์. กรุงเทพฯ. 176 น. เพชรรัตน์ เนตรลักษณ์ และ วชิรญา อิ่มสบาย. 2556. ผลของกรดจิบเบอเรลลิก (GA3) ต่อคุณภาพและการเปลี่ยนแปลงน ้าตาลของดอกบัวหลวง พันธุ์สตั ตบุษย์. แหล่งที่มา: www.http://web.agri.cmu.ac.th/agjournal/pdf/J00118_C00880.pdf 29 พฤษภาคม 2558. มานะบุตร ศรี ยงค์ มัณฑนา บัวหนอง ทรงศิลป์ พจน์ชนะชัย อภิรดี อุทยั รัตนกิจ ณ นพชัย ชาญศิลป์ และเฉลิมชัย วงษ์ อารี . 2552. การคงสภาพ สีกลีบดอกและอายุการปั กแจกันของบัวมงคลอุบที่ทาการพัลซิ่งในสารละลายซูโครส. ว.วิทย.กษ. 40:1 (พิเศษ): 241-244. วลัยภรณ์ ภัสสรศิริ ธนวัฒน์ รัตนถาวร และ อัญชัญ มัน่ แก้ ว. 2538. ผลของความยาวก้ านดอก และปริ มาณเส้ นใยต่ออายุปักแจกันดอกเบญจมาศ. รายงานการประชุมวิชาการไม้ ดอกไม้ ประดับแห่งชาติ ครัง้ ที่ 1. สานักงานคณะกรรมการการวิจยั แห่งชาติ. สมาคมพืชสวนแห่งประเทศ ไทย. การประชุมวิชาการไม้ ดอกไม้ ประดับแห่งชาติ ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ. 17-19 พ.ค.2538. 160-231 น. สายชล เกตุษา. 2531. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของดอกไม้ . บริ ษัทสารมวลชน จากัด. กรุงเทพฯ. 291 หน้ า. Lau, O.L. and S.F. Yang, 1976. Inhibition of ethylene production by cobaltous ion. Plant Physiology. 58: 114-117. Meman, M.A. and K.M. Dabhi. 2006. Effect of different stalk lengths and certain chemical substances on vase life of gerbera (Gerbera jamesonii Hook.) cv. ‘Savana Red’. Journal of Applied Horticulture. 8(2): 147-150. Serek, Mand. And M.S. Ried. 1997. Use of growth regulators for improving the postharvest quality of ornamentals. Perishables Handing Quarterly lssue No. 92. p. 7-9.

462

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการลดอุณหภูมิอย่ างรวดเร็วต่ อคุณภาพและอายุการเก็บรักษามะม่ วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ Effect of Deep Precooling Temperature on Quality and Storage Life of Mango cv ‘Mahajanaka’ สมชาย กล้ าหาญ1 และรอสมี ยะสะแต1 Somchai grahan1 and Rosmee yasatae1

บทคัดย่ อ

การศึกษาผลของการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษามะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ วางแผนการ ทดลองแบบ factorial in completely randomized design ประกอบด้ วย 2 ปั จจัย คือ ระดับที่อณ ุ หภูมิที่ใช้ ในการลดอุณหภูมิ อย่างรวดเร็ว 4 ระดับ คือ 10, 5, 0,- 20 องศาเซลเซียส และระยะเวลาที่ใช้ 4 ระดับ คือ 10, 20, 30, 40 นาที ภายหลังการเก็บ รักษา 32 วัน พบว่า มะม่วง ‘มหาชนก’ จะมีเปอร์ เซ็นต์ การสูญเสียน ้าหนักสดเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ ตามอายุการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้น โดยมะม่วง‘มหาชนก’ ที่ทาการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วที่ระดับอุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส 20 นาที มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสีย น ้าหนักสดน้ อยที่สดุ คื อ 2.45 เปอร์ เซ็นต์ ความแน่นเนื ้อของมะม่วง ‘มหาชนก’ ที่ทาการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ วที่ระดับ อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส 10 นาที มีความแน่นเนื ้อน้ อยที่สดุ คือ 13.70 นิวตัน ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ เพิ่มขึ ้นตาม ระยะเวลาโดยที่ระดับอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส 30 นาที มีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้ามากที่สดุ คือ 14.0 องศาบริ กซ์ และ ปริ มาณกรดที่วิเคราะห์ได้ ลดลงโดยที่ระดับอุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส 20 นาที มีปริ มาณกรดที่วิเคราะห์น้อยที่สดุ คือ 0.871 เปอร์ เซ็นต์ ซึง่ มีความแตกต่างกันทางสถิติทกุ วิธีการ มะม่วง‘มหาชนก’ ที่ทาการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วที่ระดับอุณหภูมิ 10, 5 และ 0 องศาเซลเซียส เป็ นระยะเวลา 10 นาที มีอายุการเก็บรักษาและคุณภาพดีที่สดุ คือ 28 วัน โดยลักษณะภายนอกและ รสชาติเป็ นที่ยอมรับ ส่วนที่เก็บรักษา 0 องศาเซลเซียส เป็ นระยะเวลา 40 นาที มีอายุการเก็บรักษาสันที ้ ่สดุ คือ 20 วัน คาสาคัญ : มะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ อุณหภูมิ ระยะเวลา

Abstract

Effect of deep precooling temperature on quality and storage life of mango cv ‘Mahajanaka’. The statistical model was factorial in completely randomized design comprised of 2 factor; 4 level of precooled temperature 10, 5, 0 and -20 ◦c and 4 level of precooled time 10, 20, 30 and 40 minutes. It was found that fresh weight loss of mango ‘Mahajanaka’ increased according to storage time increased. Mango ‘Mahajanaka’ precooled at 10 ◦c 20 minutes had the least fresh weight loss of 2.45 percent. It was found that firmness of Mango ‘Mahajanaka’ precooled at 10 ◦c 10 minutes had the firmness of 13.70 newton. It was found that TSS content of mango ‘Mahajanaka’ increased according to storage time increased. Mango ‘Mahajanaka’ precooled at 0 ◦c 30 minutes had the most TSS of 14.0 ºbrix. Mango ‘Mahajanaka’ precooled at -20 ◦c 20 minutes had the TA of 0.87 percent and showed significantly difference all treatment. Mango ‘Mahajanaka’ precooled at 10,5 and 0 ◦c for 10 minutes had the longest storage life of 28 days which good physical appearance, peel color and palatability be accepted and mango ‘Mahajanaka’ precooled at 0 ◦c for 40 minutes had the shortest of storage life of 20 days. Keywords : mango cv ‘Mahajanaka’ temperature time

คานา

ด้ วยเหตุที่จานวนประชากรของโลกเพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็ ว ทาให้ การผลิตอาหารไม่เพียงพอกับความต้ องการของ ประชากรโลก ดังนันจึ ้ งได้ มีการพัฒนาการผลิตขึ ้นทังในด้ ้ านการขยายพื ้นที่ ในการเพาะปลูก การปรับปรุ งงพันธุ์พืช การใช้ ปยุ๋ และการใช้ สารเคมี ป้องกันและกาจัดศัตรู พืชเพื่ อเพิ่มผลผลิตทาให้ บรรเทาการขาดแคลนอาหารลงไปได้ แต่พืน้ ที่ ในการ เพาะปลูกมีอยู่เท่าเดิมไม่สามารถขยายออกไปได้ อีก เพราะจะทาให้ สภาพนิเวศวิทยาของโลกเสียไป เทคนิคในการผลิตเริ่ มถึง จุดอิ่มตัว แต่ในขณะเดียวกันยังมีอาหารอีกส่วนหนึ่งสูญเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ เพราะขาดวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว การ รณรงค์ให้ เห็นถึงความสาคัญของการปฏิบตั ิภายหลังการเก็บเกี่ยวจึงเกิดขึ ้นในปี ค.ศ.1975 โดยการชี ้นาขององค์การอาหาร และเกษตรแห่งสหประชาชาติ ซึ่งมี เป้าหมายเพื่อลดการสูญเสียผลิตผลภายหลังการเก็บเกี่ยวลงให้ ได้ ครึ่งหนึ่งภายใน 10 ปี (จริงแท้ , 2541) 1 1

สาขาวิชาพืชสวน คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 Horticulture program, Faculty of Agricultural Technology, King Mongkul’s Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok, 10520

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

463


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

โดยปั ญหาที่พบของมะม่วงที่สง่ ออกคือคุณภาพของผลไม้ ไม่ได้ มาตรฐาน และอายุการเก็บรักษาสัน้ เนื่องจากการเก็บ เกี่ยวในระยะบริ บรู ณ์ไม่เหมาะสม โดยมีรายงานว่าความบริ บรู ณ์ของผลเมื่อเก็บเกี่ยวและอุณหภูมิในการเก็บรักษาเป็ นปั จจัย สาคัญที่เป็ นตัวกาหนดอายุการเก็บรักษาและคุณภาพ โดย (จานงและคณะ,2545) รายงานว่าผลมะม่วงมหาชนกพร้ อมจะเก็บ เกี่ยวได้ ควรมีอายุระหว่าง 98-119 วันหลังดอกบาน ทังนี ้ ้ขึ ้นอยูก่ บั วัตถุประสงค์การใช้ ประโยชน์ และระยะเวลาที่ใช้ ในการขนส่ง โดยการส่งออกมะม่วงในปั จจุบนั สามารถส่งออกทางเรื อได้ ซึ่งใช้ เวลาขนส่งนาน ถ้ ามะม่วงมีระยะบริ บรู ณ์มากอาจทาให้ อายุ การเก็บรักษาสัน้ หรื อ ถ้ าระยะบริบรู ณ์น้อยอาจทาให้ คณ ุ ภาพไม่เป็ นที่ยอมรับ ซึง่ โดยทัว่ ไปวิธีที่ใช้ ยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิต ได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากอีกวิธีหนึ่ง คือ การเก็บรักษาในสภาพบรรยากาศดัดแปลง โดยจะมีผลชะลอการหายใจของผลไม้ และชะลอการสุกได้ (นิภา, 2540)

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาหาวิธีการยืดอายุการเก็บรักษา มะม่วงพันธุ์มหาชนกที่เหมาะสม 2. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสรี รวิทยาบางประการของมะม่วงพันธุ์มหาชนก

ตรวจเอกสาร

มะม่วงมหาชนกได้ จากการผสมพันธุ์ระหว่างมะม่วงพันธุ์ซนั เซท(sunset) เป็ นมะม่วงกลุ่มสายพันธุ์อินเดีย (Indian type) และมะม่วงพันธุ์หนังกลางวัน เป็ นมะม่วงสายพันธุ์อินโดจีน (Indochinese type) ต้ นแม่พนั ธุ์เกิดจากการเพาะเมล็ด ที่ สวนทิ ว ทองจั ง หวั ด ล าพู น ลั ก ษณะของผลคล้ ายพั น ธุ์ หนั ง กลางวั น แต่ เ มื่ อ สุ ก ผิ ว ผลจะสวยเหมื อ นพั น ธุ์ ซั น เซท (ธวัชชัยและศิวาพร,2542) มะม่วงพันธุ์มหาชนกเป็ นไม้ ยืนต้ นที่ลาต้ นแข็งแรง เจริ ญเติบโตเร็ ว พุ่มใหญ่ กิ่งอวบใหญ่ ข้ อนูน ใบ ขนาดยาวและใหญ่ หนา ใบอ่อนมีสีแดง ปลาบใบแหลมใบแก่มีสีเขียวเข้ มแต่ไม่ดา ออกดอกตามฤดูกาล ช่อดอกใหญ่ ติดผล ง่าย ดอกมีช่อสีแดง ดอกสมบูรณ์เพศสูง สามารถให้ ผลหลังจากทาบกิ่งประมาณ 2 ปี หลังปลูก นับจากดอกบานถึงเก็บเกี่ยวผล ใช้ เวลาประมาณ 120 วันลักษณะผลรู ปทรงกลมยาวคล้ ายพันธุ์หนังกลางวัน แต่สนกว่ ั ้ าและปลายผลงอนเล็กน้ อย ขนาดผล ปานกลาง มีเปลือกหนา ผิวผลเนียนละเอียด เมื่อผลยังดิบมีสีเขียวอ่อนจะเปลี่ยนเป็ นสีแดงได้ เมื่อถูกแสงแดด เมื่อสุกจะเป็ นสี ทอง ส้ ม จัด ปนแดง สี ส ด เนื อ้ ละเอี ย ด มี เ ส้ น ใยน้ อ ย เมื่ อ ดิ บ รสเปรี ย้ วมาก และมี ก ลิ่ น ยาง เมื่ อ สุก วัด ความหวานไ ด้ 18 องศาบริ กซ์ มีกลิ่นหอม เฉพาะตัวและหอมฉุนเมื่อสุกงอม เมล็ดเล็กและแบนมาก ทาให้ มีส่วนที่บริ โภคได้ สงู ถึง 79 เปอร์ เซ็นต์ (รวีและเปรมปรี ย์,2542) จุดเด่นคือ ผลและเนื ้อมีสีสวย เปลือกหนาทนทานต่อการขนส่ง ผลสุกมีอายุการวางจาหน่ายนาน อายุการเก็บเกี่ยว (ความสุก) การเจริ ญเติบโตของผลเริ่ มขึน้ หลังจากช่อดอกบานเต็มที่แล้ วดอกสมบูรณ์ เพศที่ได้ รับการผสมเกสรจะเริ่ มเปลี่ยนสี เป็ นสีเขียวขนาดเท่าหัวไม้ ขีดไฟ ซึง่ ผลขนาดนี ้ในช่อหนึง่ ๆจะมีเป็ นจานวน 10 ผลขึ ้นไปแต่การผสมเกิดขึ ้นนันอาจแตกต่ ้ างกันไป ฉะนันผลที ้ ่ได้ รับการผสมที่ไม่สมบูรณ์ก็จะมีการเจริ ญเติบโตช้ าไม่สามารถที่จะแย่งอาหารและสารที่จาเป็ นต่อการเจริ ญของผล ไว้ ได้ เพียงพอจนในที่สดุ ผลอาจจะร่วงหล่นจนหมดส่วนผลใดที่ได้ รับการผสมที่สมบูรณ์ก็จะมีการเจริญเติบโตต่อไป(สนัน่ ,2527) ผลมะม่วงมีการเจริ ญเติบโตเป็ นแบบซิกมอยด์ (sigmoid shape, S-shape) ในลักษณะเดียวกับการเจริ ญเติบโตของเซลล์ เนื ้อเยื่อ หรื อสิง่ มีชีวิตทัว่ ไป โดยอัตราการเจริญเติบโตของผลไม่วา่ จะเป็ น น ้าหนัก ปริ มาณ ความยาว และความกว้ างของผลจะ มีการเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ ตามอายุของผล และจะลดลง เมื่อผลเริ่ มแก่จนกระทั่ งผลอยู่ในระยะเก็บเกี่ยวซึง่ จะมีอตั ราการเจริ ญเติบโต ที่คงที่ จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ ้นในผลมะม่วงที่กาลังพัฒนาและการพัฒนาของผลตังแต่ ้ ติดผลจนกระทัง่ ผล แก่เต็มที่แบ่งการเจริญเติบโตของผลเป็ น 4 ระยะ (วิจิตร,2529)

464

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การลดความร้ อนจากผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว เนื่องจากผลผลิตที่เก็บเกี่ยวมาแล้ วยังคงมีความร้ อนสะสมอยู่ในตัวผลผลิต ซึ่งเรี ยกว่าความร้ อนแฝง ซึ่งจะทาให้ ผลผลิตมีอตั ราการหายใจสูง ทาให้ เร่งการแก่ การสุก มีการเสื่อมสลาย เกิดการสูญเสียน ้า มีการสร้ างเอทีลีนเพิ่มสูงขึ ้น ดังนัน้ หากมีการลดอุณหภูมิของผลผลิตภายหลังการเก็บเกี่ยวน่าจะเป็ นการยืดอายุการเก็บรักษาผลผลิตได้ (จริ งแท้ ,2541) วิธีการลดความร้ อนของผลิตผลทางการเกษตรที่นิยมใช้ ได้ แก่ 1.การทาให้ เย็นโดยใช้ อากาศเป็ นตัวกลาง(air cooling) วิธีนี ้มีใช้ ทวั่ ไปในชีวิตประจาวัน ได้ แก่ ตู้เย็นหรื อห้ องเย็น สิ่งของที่เก็บในตู้เย็นถูกทาให้ เย็นลงโดยการถ่ายเทความร้ อนผ่านตัวกลางคือ อากาศ สาหรับการทาให้ เย็นโดยตู้เย็นนันต่ ้ าง จากห้ อ งเย็น เพราะในตู้เย็น ส่ว นใหญ่ จ ะมี ก ารหมุน เวี ย นของอากาศค่อนข้ างต่ า แต่ในห้ องเย็น จะมี พัด ลมเป่ าให้ อ ากาศ หมุนเวียน ทาให้ มีความสามารถในการทาให้ เย็นสูงกว่ามาก เนื่องจากการถ่ายเทความร้ อนเกิดได้ ทงการน ั้ าและการพา 2.การทาให้ เย็นโดยใช้ น ้าเป็ นตัวกลาง(hydro cooling) เนื่องจากน ้ามีความจุความร้ อนสูงและเป็ นตัวนาความร้ อนที่ดี จึงสามารถใช้ เป็ นตัวกลางในการทาให้ ผลิตผลเย็นลงได้ ดีกว่าการใช้ อากาศ(ดนัยและนิธิยา,2535) 3.การทาให้ เย็นโดยใช้ นา้ แข็ ง(ice cooling) การใช้ นา้ แข็งบดเป็ นก้ อนเล็กๆเพื่ อทาให้ ผลิตผลเย็นลงโดยตรง แต่ใ นทางปฏิ บัติ แ ล้ ว ประสิ ท ธิ ภ าพในการท าให้ ผ ลิ ต ผลเย็น ลงค่อ นข้ า งต่ า เนื่ อ งจากน า้ แข็ ง ไม่ ส ามารถเข้ า ไปสัม ผัส กับ ผลผลิตได้ อย่างทัว่ ถึงเพราะไม่ใช่ของไหล(fluid) นอกจากนันเมื ้ ่อน ้าแข็งเริ่ มละลายไปมักจะเกิดช่องว่างขึ ้นระหว่างผลิตผลกับ นา้ แข็ งที่ ยังเหลืออยู่ ช่อ งว่า งนี ก้ ลายเป็ นสิ่ งขัด ขวางการถ่ายเทความร้ อนระหว่างผลิ ตผลกับน า้ แข็ งอุณหภูมิล ดลงได้ ช้ า (จริงแท้ และธีรนุต,2543) 4.การทาให้ เย็นโดยอาศัยการระเหยของน ้า(evaporation cooling) ผักและผลไม้ จะถูกนาไปไว้ ในห้ อง ภาชนะที่สร้ าง ขึ ้น โดยจัดให้ มีน ้าไหลผ่านทังทางด้ ้ านบนและด้ านข้ าง เมื่อน ้าระเหยออกไป เกิดการถ่ายเทความร้ อนจากผลิตผลมายังผนังห้ อง และน ้าทาให้ ผลิตผลมีอณ ุ หภูมิลดลงได้ พอสมควร (จริงแท้ ,2546) 5.การทาให้ เย็นโดยใช้ สญ ุ ญากาศ(vacuum cooling) ทาในสภาพที่มีความดันต่า โดยการดูดเอาอากาศออกไปจาก ห้ องลดอุณหภูมิซึ่งต้ องมีความแข็งแรงมาก ในสภาพเช่นนีจ้ ุดเดือดของนา้ จะลดต่าลงใกล้ 0 องศาเซลเซียส ตามความดัน บรรยากาศที่ลดลง น ้าจะเปลี่ยนแปลงสถานะกลายเป็ นไอออกไปได้ ง่ายโดยใช้ ความร้ อนจากผลิตผลทาให้ อณ ุ หภูมิของผลิตผล ลดต่าลง (จริงแท้ ,2546) การเก็บรั กษาในสภาพบรรยากาศดัดแปลง(modified atmosphere) การเก็บรักษาในสภาพบรรยากาศดัดแปลง(modified atmosphere หรื อ MA) การเก็บรักษาในสภาพที่มีออกซิเจนต่า และ/หรื อคาร์ บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศปกติ ในระดับเข้ มข้ นที่เหมาะสม ทาให้ ชะลออัตราการหายใจและการสังเคราะห์ เอทีลีน ตลอดจนยับยังการเปลี ้ ่ยนแปลงทางชีวเคมีในขบวนการสุกและการเสื่อมคุณภาพ นอกจากนี ้ยังสามารถลดความรุนแรง ของการเกิดอาการสะท้ านหนาวตลอดจนความผิดปกติทางสรี ระวิทยา และการเน่าเสียหายของผลผลิตบางชนิด ในบรรยากาศ ที่ ไ ม่มี คาร์ บอนไดออกไซด์ ผ ลผลิ ตจะสูญเสียคาร์ โ บไฮเดรตเร็ ว กว่า ในบรรยากาศที่ มีค าร์ บ อนไดออกไซด์ 10 เปอร์ เซ็น ต์ (Lee,1996) ซึง่ การเก็บรักษาในสภาพบรรยากาศดัดแปลง(modified atmosphere) สามารถใช้ ได้ ผลกับผักและผลไม้ ได้ หลาย ชนิด ทาให้ ผลผลิตมีอายุการเก็บรักษาที่นานขึ ้น เพราะ ออกซิเจนมีความเข้ มข้ นต่าทาให้ อตั ราการหายใจและการใช้ อาหารที่ สะสมสาหรับกระบวนการหายใจลดลง และการผลิตเอทีลีนต่าลงด้ วย จึงทาให้ ผกั และผลไม้ สญ ู เสียคุณภาพช้ าลง นอกจากนี ้ การเจริญเติบโตของจุลินทรี ย์จะถูกยับยังโดยสั ้ ดส่วนของแก๊ สในบรรยากาศของ modified atmosphere นี ้ด้ วยซึง่ การเก็บรักษา ในสภาพบรรยากาศดัดแปลงนี ้ จะเป็ นวิธีการควบคุมการเปลี่ยนแปลงส่วนประกอบของบรรยากาศที่จดุ เริ่ มต้ นเท่านัน้ หลังจาก นันส่ ้ วนประกอบของบรรยากาศจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมได้ เนื่องจากการหายใจและกระบวนการต่างๆของผลิตผล และจะไม่ มีการควบคุมส่วนประกอบของบรรยากาศในภายหลัง(นิภา,2540) การเก็บรักษาผลิตผลภายในถุงพลาสติกปิ ดสนิทเป็ นการเก็บรักษาภายใต้ สภาพบรรยากาศดัดแปลงโดยทาให้ ก๊ าซ ออกซิเจนต่าลงมากๆและปริมาณก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซต์ เพิ่มสูงขึ ้นมากจนทาให้ เกิดการหายใจแบบไม่ใช้ ก๊าซออกซิเจน ดังนัน้ การบรรจุหีบห่อจึงเป็ นการดัดแปลงบรรยากาศรอบๆผลผลิตด้ วย โดยถุงพลาสติกจะเป็ นตัวจากัดการแลกเปลี่ยนก๊ าซออกซิเจน และ ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซต์ ระหว่างบรรยากาศนอกถุงพลาสติก ทาให้ บรรยากาศภายในถุงพลาสติกมี ก๊ าซออกซิเจน น้ อย และมี ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซต์ มาก ในสภาพดังกล่าวจะทาให้ สามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตได้ (จริงแท้ ,2541) งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

465


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สมชาย และยุพตั สา(2544) ได้ ศกึ ษาอิทธิพลของสัดส่วน ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซต์ : ก๊ าซออกซิเจน และอายุฝักต่อ คุณภาพและอายุการเก็บรักษาข้ าวโพดหวาน เก็บรักษาในถุงพลาสติก Polyethylene ที่อณ ุ หภูมิ 9±1องศาเซลเซียส ผลปรากฏ ว่าข้ าวโพดหวานอายุ 18 วันหลังออกไหม มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสด ปริ มาณกรดที่วิเคราะห์ได้ และ เอทีลีน น้ อยที่สดุ มีปริ มาณ ของแข็งที่ละลายน ้าได้ ความแน่นเนื ้อมากขึ ้น มีอายุการเก็บรักษานานที่สดุ คือ 39 วัน และมีการเปลี่ยนแปลงสี เปลือกช้ ากว่า ข้ าวโพดหวานอายุ 20 และ 22 วัน หลังออกไหม ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ และปริ มาณกรดที่วิเคราะห์ได้ ของข้ าวโพดหวานลดลงตามอายุการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้น ปริ มาณเอทีลีนจะเพิ่มขึน้ เล็กน้ อยในระหว่าง 0-21 วัน หลังการเก็บ รักษา และภายหลัง 21 วัน พบว่าปริ มาณเอทธิ ลีนจะเพิ่มมากขึ ้น ในขณะที่คะแนนการยอมรับในการยอมรับประทานลดลง อย่างมากภายหลังการเก็บรักษา 14 วัน สมชาย และ ชิตชนก(2547) ศึกษาอิทธิพลของสารดูดซับเอทธิลีนและก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซต์ : ก๊ าซออกซิเจนต่อ คุณภาพและอายุการเก็บรักษาลิ ้นจี่พบว่าลิ ้นจี่มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสดเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆตามอายุการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้น ซึง่ มีคา่ เฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.22-4.54 เปอร์ เซ็นต์ ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ และเปอร์ เซ็นต์ ปริมาณกรดที่วิเคราะห์ได้ ลดลง เล็กน้ อยตามอายุการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้น ซึง่ มีค่าเฉลี่ยระหว่าง 15.66-18.66 องศาบริกซ์ และ0.19-0.26เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ลิ ้นจี่ที่เก็บรักษาในถุงพลาสติก Polyethylene ร่วมกับ ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซต์ : ก๊ าซออกซิเจน 0.0:5.0 ปอนด์ตอ่ ตารางนิ ้ว มี อายุการเก็บรักษายาวนานที่สดุ คือ 18 วัน และมีคณ ุ ภาพภายนอกและรสชาติเป็ นที่ยอมรับ สมชาย และ จันทนา (2544) พบว่า กล้ วยไข่ที่เก็บรักษาใน ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซต์ 0 เปอร์ เซ็นต์ ร่วมกับ ก๊ าซออกซิเจน 20 เปอร์ เซ็นต์ ที่อณ ุ หภูมิ 16 องศาเซลเซียส มีอายุการเก็บรักษานานที่สดุ คือ 42.67 วัน โดยที่สีเปลือกของ กล้ วยไข่ยงั คงมีสีเขียว การสูญเสียน ้าหนักสด ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ และเอธิลีน จะเพิ่มขึ ้นตามอายุการเก็บรักษาที่ เพิ่มขึ ้น เมื่อนามาบ่มที่อณ ุ หภูมิห้อง กล้ วยไข่ยงั คงคุณภาพการรับประทานเป็ นที่ยอมรับของผู้บริ โภคในเกณฑ์ที่ดี Glahan and Puchangtong (2001) ศึกษาอิทธิพลของสัดส่วน ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซต์ : ก๊ าซออกซิเจน ต่อคุณภาพ ภายหลังการเก็บรักษาหน่อไม้ ฝรั่ง พบว่า หน่อไม้ ฝรั่งจะมีปริ มาณเส้ นใยและเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสด เพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆตามระยะเวลาการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้น ภายหลังการเก็บรักษา 28 วัน พบว่า หน่อไม้ ฝรั่งที่เก็บรักษา ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซต์ 12 : ก๊ าซออกซิเจน 8 เปอร์ เซ็นต์ มีปริมาณเส้ นใยมากที่สดุ 2.5 เปอร์ เซ็นต์ ในขณะเก็บรักษา หน่อไม้ ฝรั่งมีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักอยูร่ ะหว่าง 0.16 - 0.81 เปอร์ เซ็นต์ และที่ 28 วัน หน่อไม้ ฝรั่งที่เก็บรักษาใน ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซต์ 0 : ก๊ าซออกซิเจน 0 เปอร์ เซ็นต์ มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสดมากที่สดุ 0.81 เปอร์ เซ็นต์ ปริมาณ TSS ของหน่อไม้ ฝรั่งทุกการทดลองจะลดลงเล็กน้ อย ซึง่ จะมีค่าอยูร่ ะหว่าง 3.53 - 6.10 องศาบริกซ์ เมื่อสิ ้นสุดการทดลองพบว่า หน่อไม้ ฝรั่งจะมีลกั ษณะที่ดีและมีรสชาติเป็ นที่ยอมรับ Glahan and Wichitrattananon (2001) รายงานว่ามังคุดทุกวัยมี ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ปริมาณกรดที่ วิเคราะห์ได้ ลดลงเล็กน้ อยตามอายุการเก็บรักษาที่เพิ่มปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ปริมาณกรดที่วิเคราะห์ได้ ก่อนการเก็บ รักษามีคา่ เฉลี่ย 18.13-19.83 องศาบริกซ์ และ0.71 - 0.79 เปอร์ เซ็นต์ และพบว่าสามารถเก็บรักษามังคุดผลสดให้ มีคณ ุ ภาพ การบริโภคได้ ดีจนถึงอายุ 42 วัน หลังการเก็บรักษา Glahan and Kerdsiri (2000) รายงานว่าการเก็บรักษากล้ วยหอมทองร่วมกับ ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซต์ : ก๊ าซ ออกซิเจน ที่อณ ุ หภูมิ 1 ±2 องศาเซลเซียส พบว่ากล้ วยหอมทองที่บม่ ให้ สกุ ที่อณ ุ หภูมิห้องก่อนการเก็บรักษามีปริมาณ ของแข็ง ที่ละลายน ้าได้ ระหว่าง 19.40-22.60 องศาบริกซ์ก่อนการเก็บรักษากล้ วยหอมทองมีเปอร์ เซ็นต์ ปริมาณกรดที่วิเคราะห์ได้ ระหว่าง 0.0034-0.0010 เปอร์ เซ็นต์ กล้ วยหอมทองที่บม่ ให้ สกุ ที่อณ ุ หภูมิห้องภายหลังการเก็บรักษา35 วัน มีเปอร์ เซ็นต์ ปริมาณกรดที่วิเคราะห์ได้ ระหว่าง0.0034-0.0254เปอร์ เซ็นต์ มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสดเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆและ ยังมีลกั ษณะดี มีรสชาติเป็ นที่ยอมรับ Glahan และ Youryon(2000) พบว่า กล้ วยไข่ที่มีอายุการเก็บเกี่ยว 35 วัน + ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซต์ 0 และ3 เปอร์ เซ็นต์ ใช้ เวลาในการสุกนานที่สดุ คือ 6 วัน ภายหลังการเก็บรักษา 30 วัน และกล้ วยไข่ที่มีอายุการเก็บเกี่ยว 35 วัน + ก๊ าซ คาร์ บอนไดออกไซต์ 0 เปอร์ เซ็นต์ เก็บรักษาที่ 16 องศาเซลเซียส มีอายุการเก็บรักษาสูงสุดคือ 60.55 อุปกรณ์และวิธีการ นาผลมะม่วงพันธุ์ มหาชนก ระยะ adolescent เป็ นระยะที่เปลือกผลสีเขียวแก่ มาล้ างทาความสะอาด แล้ วผึง่ ให้ แห้ ง โดยจะต้ องไม่ให้ ผลมะม่วงช ้า และนามะม่วงมาลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ว ตามวิธีการที่กาหนดหลังจากนันบรรจุ ้ ในถุงพลาสติก Polyethylene (PE) ใส่สารดูดซับเอทีลีน 3 เปอร์ เซ็นต์ต่อน ้าหนักผล และสารดูดซับความชื ้นจากนันเติ ้ มก๊ าซคาร์ บอนไดออก

466

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ไซต์ และ ก๊ าซออกซิเจน (5:5 PSI) แล้ วผนึกปากถุงด้ วยเครื่ องผนึกสุญญากาศ เก็ บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 14±2 องศาเซลเซียส เก็บ ผลการทดลองทุกๆ 4 วัน และบันทึกผลดังนี ้ - การสูญเสียน ้าหนักสด เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสด=นน.ก่อนเก็บรักษา-นน.หลังเก็บรักษาx100 นน.ก่อนเก็บรักษา -

ปริมาณ total soluble solid นาน ้าคันจากเนื ้ ้อมะม่วงหยดลงบน Hand refractometerแล้ วอ่านค่ามีหน่วยเป็ น Brix - ปริมาณtitratable acidity นาน ้าคันจากเนื ้ ้อมะม่วงไปไตเตรทด้ วยด่าง มาตรฐาน(0.1NaOH) โดยใช้ phenolphthalein 1% เป็ น indicator จนถึง end point นาค่าของสารละลายที่ได้ มาคานวณเปอร์ เซ็นต์กรด - ความแน่นเนื ้อ ใช้ เครื่ อง penetrometer ซึ่งมีหวั เจาะขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 1.11 เซนติเมตร กดลงบนผิวเปลือก มะม่วงลึก0.5 เซนติเมตร จานวน 2 ครัง้ ต่อผล โดยความแน่นเนื ้อมีหน่วยเป็ นนิวตัน - อายุการเก็บรักษา โดยดูจากคุณภาพที่ดี การรับประทานและสภาพภายนอกซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ จนถึงสิ ้นสุด การยอมรับได้ นับอายุเป็ นวัน - การวิเคราะห์ผลทางสถิติ นาข้ อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์ผลทางสถิติโดยใช้ ตารางAnalysis of Variance (ANOVA) เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยโดยใช้ วิธี Duncan‘s New Multiple Range Test(DNMRT) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95เปอร์ เซ็นต์ วางแผนการทดลองแบบ 4 X 4 factorial in completely randomized design ประกอบด้ วย 16 treatment combinations วิธีการละ 3 ซ ้า ซ ้าละ10 ผล และมี 2 ปั จจัยคือปั จจัย A ระดับของอุณหภูมิในการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ ว (องศาเซลเซียส) มี 4 ระดับและปั จจัย Bระยะเวลาในการลดอุณหภูมิ (นาที) มี 4 ระดับ a1= 10 องศาเซลเซียส b1= 10 นาที a2= 5 องศาเซลเซียส

b2= 20 นาที

a2= 0 องศาเซลเซียส

b3= 30 นาที

a4= -20 องศาเซลเซียส

b4= 40 นาที

ผลการทดลอง จากการศึกษาผลของการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษามะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ หลังจาก การเก็บรักษานาน 28 วัน พบว่า น ้าหนักสดของมะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ที่ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วที่อณ ุ หภูมิ 5 องศาเซลเซียส นาน 40 นาที มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสดน้ อยที่สดุ คือ 3.767 เปอร์ เซ็นต์ และมะม่วงที่ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ วที่ อุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียสนาน 10 นาที มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสดมากที่สดุ คือ 3.767 เปอร์ เซ็นต์ (table1) ปริ มาณ ความแน่นเนื ้อของมะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ที่ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วที่อณ ุ หภูมิ 0 องศาเซลเซียสนาน 30 นาที มีความแน่นเนื ้อ มากที่สดุ คือ 35.89 นิวตัน และมะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ที่ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียสนาน 10 นาที มี ความแน่นเนื ้อน้ อยที่สดุ คือ 13.70 นิวตัน (table1) ปริ มาณกรดที่วิเคราะห์ได้ ของมะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ที่ลดอุณหภูมิอย่าง รวดเร็วที่อณ ุ หภูมิ 0 องศาเซลเซียสนาน 0 นาที มีปริ มาณกรดที่วิเคราะห์ได้ มากที่สดุ คือ 1.741 เปอร์ เซ็นต์ และปริ มาณกรดที่ วิเคราะห์ได้ ของมะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ที่ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วที่อณ ุ หภูมิ -20 องศาเซลเซียสนาน 20 นาที มีปริ มาณกรดที่ วิเคราะห์ได้ น้ อยที่สดุ คือ 0.871 เปอร์ เซ็นต์ (table2) ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ของมะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ ระยะเวลาใน การใช้ ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ วที่อณ ุ หภูมิ 0 องศาเซลเซียสนาน 30 นาที มีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ น้ อยที่สดุ คือ 14 องศาบริ กซ์ และปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ของมะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ ระยะเวลาในการใช้ ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ วที่ อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียสนาน 30 นาที มีปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ มากที่สดุ คือ17.6 องศาบริกซ์ (table2)

วิจารณ์ ผลการทดลอง

จากการศึกษาผลของการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษามะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ หลังจาก การเก็บรักษานาน 28 วัน พบว่า น ้าหนักสดของมะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ที่ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส นาน 20 นาที มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสดมากที่สดุ คือ 2.45 เปอร์ เซ็นต์ ในขณะที่ผลผลิตอยูร่ ะหว่างทาการเก็บรักษา การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

467


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสดจะเพิ่มขึ ้นตามอายุการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้นเนื่องจากการสูญเสียน ้าทางปากใบที่บริเวณผิวของ เปลือก (สายชล .2528) ปริมาณความแน่นเนื ้อของมะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ที่ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วที่อณ ุ หภูมิ 0 องศาเซลเซียสนาน 30 นาที มีความแน่นเนื ้อมากที่สดุ คือ 35.89 นิวตัน ปริ มาณกรดที่วิเคราะห์ได้ ของมะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ที่ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วที่ อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียสนาน 20 นาที มีปริมาณกรดที่วิเคราะห์ได้ น้ อยที่สดุ คือ 0.871 เปอร์ เซ็นต์ ปริ มาณของแข็งที่ ละลายน ้าได้ ของมะม่วงพันธุ์ ‘มหาชนก’ ระยะเวลาในการใช้ ลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วที่อณ ุ หภูมิ -20 องศาเซลเซียสนาน 30 นาที มีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ มากที่สดุ คือ 17.6 องศาบริกซ์ มะม่วงมีกระบวนการสุกความหวานเพิ่มขึ ้นและปริมาณ กรดลดน้ อยลง แต่เมื่ออายุการเก็บรักษาเพิ่มขึ ้น ความหวานเริ่ มลดลงเนื่องจากเกิดการหมักที่เกิดจาก (ศรบุปผา .2533) Table1 the fresh weight, Firmness (Newton) of mango ‘Mahajanaka’ Treatment fresh weight loss (%) Combination 4 days 12 days 20 days 28 days 4 days

Firmness (Newton) 12 days 20 days 28 days

a1b1

1.072 j1/ 2.016 e1/

1.735 d1/

2.509 m1/ 98.26 g1/

68.23 c1/

38.26 h1/

35.23 d1/

a1b2

1.091 i

2.208 bc

2.954 b

104.94 e

52.02 h

58.86 a

30.98 e

a1b3

0.944 m 1.367 l

2.511 a

2.588 k

103.56 f

80.64 b

45.49 e

36.58 b

a1b4

1.440 b 1.800 j

2.050 cd

2.685 g

125.80 a

82.16 a

45.55 d

24.14 j

a2b1

1.203 f

2.343 bc

2.697 f

93.56 j

44.98 k

26.47 n

30.51 g

a2b2

1.964 a 2.017 e

2.155 bcb

2.678 h

80.87 n

63.11 d

39.29 g

22.46 l

a2b3

1.188 g 2.086 b

2.224 bc

2.493 n

97.65 h

55.44 f

47.48 b

22.33 m

a2b4

1.242 e 1.989 g

2.265 bc

3.230 a

91.35 k

36.04 o

26.21 o

14.29 p

a3b1

1.143 h 1.491 k

2.286 bc

2.555 l

74.55 o

41.87 n

37.31 j

17.27 o

a3b2

1.056 k 1.836 i

1.909 cd

2.839 c

88.13 m

49.97 i

41.88 f

21.53 n

a3b3

0.904 n 2.076 c

1.247 e

2.760 e

91.09 l

53.83 g

47.21 c

26.82 h

a3b4

1.024 l

2.075 bcd

2.636 i

121.10 b 44.72 l

36.78 k

37.13 a

a4b1

1.186 g 2.006 f

1.973 cd

2.627 j

66.90 p

27.08 m

25.95 i

a4b2

1.251 d 1.877 h

2.121 bcd

2.196 p

112.13 d 55.65 e

38.16 i

35.45 c

a4b3

1.051 k 1.841 i

2.150 bcd

2.769 d

113.07 c

48.15 j

33.23 l

23.18 k

a4b4

1.341 c 2.190 a

2.487 b

2.369 o

96.70 l

30.66 p

24.46 p

30.66 f

1.993 g

2.033 d

2.072 c

42.89 m

1/ Mean followed by different letters within columns are significantly different by Duncan’s multiple range test, P<0.05

468

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table2 Titrable Acidity (%), Total Soluble Solid (brix) of mango ‘Mahajanaka’ Treatment Titrable Acidity (%) Total Soluble Solid (brix) Combination 4 days 12 days 20 days 28 days 4 days 12 days 20 days 28 days a1b1

1.273 m1/ 1.440g1/ 1.206j1/

0.753n1/

17.0 a1/

17.0 ab1/

15.5 bc1/ 15.1 fg1/

a1b2

1.943 f

1.842b 1.239i

0.837m

14.0 e

16.6 bc

15.0 c

15.7 def

a1b3

2.706 a

1.507e 1.139l

1.166g

14.2 e

16.0 cd

15.5 bc

16.2 cd

a1b4

1.876 h

1.507e 1.155k

0.954l

13.2 f

15.6 de

14.0 d

15.5 ef

a2b1

2.311 c

1.742c 1.239i

1.407c

13.2 f

17.0 ab

15.0 c

15.3 ef

a2b2

1.775 j

1.407h 1.675d

1.356e

15.2 c

17.6 a

15.5 bc

15.1 fg

a2b3

1.365 l

1.909a 1.139l

1.256f

11.6 g

16.0 cd

16.5 a

15.7 def

a2b4

2.010 e

1.306j 1.474g

1.607a

14.4 de 17.6 a

15.0 c

15.4 ef

a3b1

1.876 h

1.742c 1.105m

1.356e

16.8 a

15.0 e

16.5 a

14.5 g

a3b2

1.775 j

1.440g 1.591f

1.574b

15.2 c

17.0 ad

15.0 c

15.1 fg

a3b3

2.412 b

1.373i 1.725c

1.038j

15.0 cd 17.6 a

15.0 c

15.8 de

a3b4

1.809 i

1.842b 1.926a

15.6 de

15.0 c

15.2 ef

a4b1

1.507 k

1.641d 1.256h

1.005k

16.2 b

16.0 cd

16.5 a

16.5 bc

a4b2

2.245 d

1.474f 1.605e

1.150h

12.2 g

16.0cd

16.0 ab

15.7 def

a4b3

1.909 g

1.373i 1.775b

1.038j

15.0 cd 16.0 cd

15.5 bc

16.9 ab

a4b4

1.173n

1.474f 0.974n

1.116i

11.8 e

16.0 ab

17.3 a

1.39d0 13.0 f

16.0 cd

1/ Mean followed by different letters within columns are significantly different by Duncan’s multiple range test, P<0.05

สรุ ปผลการทดลอง จากการทดลอง พบว่า มะม่วงที่ทาการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ วที่ระดับอุณหภูมิ 10, 5 และ 0 องศาเซลเซียส เป็ น ระยะเวลา 10 นาที มีอายุการเก็บรักษาและคุณภาพดีที่สดุ คือ 28 วัน โดยลักษณะภายนอกยังอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ ปั จจัย อุณหภูมิเป็ นปั จจัยที่สาคัญ ปริ มาณของแข็งที่ละลายนา้ ได้ ของมะม่วงเพิ่มขึน้ เรื่ อยๆจนสูงสุดแล้ วลดลง ส่วนปริ มาณกรดที่ วิเคราะห์ได้ มีแนวโน้ มลดลง เมื่ออายุการเก็บรักษาเพิ่มขึ น้ การลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ วมีผลทาให้ มะม่วงมหาชนก มีอายุการ เก็บรักษานานกว่าการไม่ทาการลดอุณหภูมิ (Precooling)

เอกสารอ้ างอิง จริ งแท้ ศิริพานิช. 2541. สรี รวิทยาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ . พิมพ์ครัง้ ที่2. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . 396 หน้ า. จริ งแท้ ศิริพานิช. 2546. สรี รวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ . กรุงเทพฯ : ภาควิชาพืชสวนคณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . จริ งแท้ ศิริพานิช. 2549. ชีววิทยาหลังการเก็บเกี่ยวและการวายของพืช. โรงพิมพ์ศนู ย์สง่ เสริ มและฝึ กอบรมการเกษตรแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน, นครปฐม. 453หน้ า การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

469


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า จริ งแท้ ศิริพานิช และ ธีรนุต ร่มโพธิ์ภกั ดิ์. 2543. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ . นครปฐม : ศูนย์สง่ เสริ มและฝึ กอบรมการเกษตร แห่งชาติ. จานง อุทยั บุตร, กอบเกียรติ แสงนิลและกานดา หวังชัย. 2545. การเปลี่ยนแปลงทางสรี รวิทยาและชีวเคมี ของผลมะม่วงพันธุ์มหาชน กระหว่างการเจริ ญเติบโตและการเก็บรักษา(ระยะที่1).รายงานโครงการวิจยั สถานวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 113 หน้ า. ดวงตรา กสานติกลุ . 2526. การศึกษาการเจริ ญเติบโต การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและดัชนีการเก็บเกี่ยวของมะม่วงพันธุ์น ้าดอกไม้ . วิทยานิ พนธ์ ปริ ญญาโท บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ,กรุงเทพฯ. 56 หน้ า ธวัชชัย รัตน์ชเลศ และ ศิวาพร ธรรมดี. 2542. พันธุ์ไม้ ผลการค้ าในประเทศไทย: คูม่ ือเลือกพันธุ์สาหรับผู้ปลูก.ลินคอร์ นโปรโมชัน่ . กรุงเทพฯ. 292 หน้ า. นิภา คุณทรงเกียรติ. 2540. “การเก็บรักษาผลผลิตพืชสวน”. วารสารเกษตรก้ าวหน้ า. 2(2): 38-44. รวี เสรฐภักดี และ เปรมปรี ณ สงขลา. 2542. พันธุ์พืชที่นา่ สนใจ. ว.เคหการเกษตร.23(3):64.68. วัฒนา วิริวฒ ุ ิการ. 2540. “เทคนิค CAP/MAPเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาอาหาร” วารสารอาหาร. 27(4):278-281 วิจิตร วังใน. 2529. มะม่วง. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 301 หน้ า. ศรบุปผา วงศกรวุฒิ. 2533. “การสุกของผลมะม่วง(Mangiferaindica L.) พันธุ์หนังกลางวันและการเก็บรักษาในบรรยากาศดัดแปลง.” วิทยานิพนธ์ (วท.ม.(เกษตรศาสตร์ ) สาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สนัน่ ขาเลิศ. 2527. มะม่วงในระบบปลูกชิด. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 293 หน้ า. สมชาย กล้ าหาญ และจันทนา โชคพาชื่น. 2544. “อิทธิพลของสัดส่วน CO2 : O2 ต่อพัฒนาการสุกและ คุณภาพหลังการเก็บรักษากล้ วยไข่.” หน้ า 9 . ในการประชุมวิชาการ มมส ครัง้ ที่1. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยสารคาม สมชาย กล้ าหาญ และชิตชนก สุวรรณนิมิต. 2547. “ยืดอายุการเก็บรักษาผลลิ ้นจี่ด้วยสัดส่วนของก๊ าซ CO2 : O2และสารดูดซับเอทิลีนใน ถุงพลาสติก.” สานักงานคณะกรรมการแห่งชาติ. สมชายกล้ าหาญและยุพตั สา คาดี. 2544. “อิทธิพลของสัดส่วน CO2 : O2และอายุของฝักต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาข้ าวโพดหวาน”. เอกสาร การประชุมวิชาการ มมส. ครัง้ ที่1. มหาสารคาม. สายชล เกตุษา. 2528. สรี รวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ . มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ สายชล เกตุษา. 2533. การเก็บเกี่ยวการปฏิบตั ิตอ่ ผลมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว. รวมกลยุทธ์มะม่วง. 65-68. เสาวลักษณ์ กังวานตระกูล. 2530. การเติบโตและดัชนีการเก็บเกี่ยวของมะม่วงพันธุ์เขียวเสวย. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท สาขาวิชาการสอนชีววิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 72 หน้ า. หนังสือพิมพ์คม ชัด ลึก. 2552. ทิศทางตลาดมะม่วงในต่างแดน.[Online]. Available http://www.komchadluek.net/detail/20090309/4389/ทิศทางตลาดมะม่วงในต่างแดนชูมหาชนกสู้เม็กซิโกฟิ ลิปปิ นส์.html Glahan, S. and Puchangtong, S. 2001. “Influence of CO2 Proportion on the QaalityAfter Storage of Asparagus ( Asparagus officinalisLinn.)”. in Abstract. The International Conference Tropical Technology for Better Health and Environment.NaKhonpathom: KasertsartUniversity ,KamphaengSaen campus.______.and Youryon, P. 2000. “Influence of Maturation and CO2 Concentration on Ripening Development, Quality and Storage Life of Banana ‘Kluai Kai’ (Musa AA Group).” 53p. Abstracts The International Conference Tropical Agriculture Technology for Better Health and Environment. NakhonPathom :Kasertsart University. Thailand. ______.and wichitrattananon, W. 2001. “Influence of CO2: O2 Proportion on Quality and Storage Life of Mangosteen (GarciniamangostanaLinn.).” Quality Management and Market Access Proceedings of the 20th ASEAN/2nd APEC Seminar on postharvest Technology. Chiang Mai. Thailand. Lee, B.H. 1996. Fundamentals of Food Biotechnology. VCH. New York.

470

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของระยะเวลาในการแช่ นา้ ปูนใสต่ อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของมะละกอ ‘พันธุ์ฮอลแลนด์ ’ Effect of Soaking Period by Calcium Hydroxide on Changing Quality of ‘Holland’ Papaya (Carica papaya) สมชาย กล้ าหาญ1 และรอสมี ยะสะแต1 Somchai grahan1 and Rosmee yasatae1

บทคัดย่ อ

การศึกษาผลของระยะเวลาในการแช่น ้าปูนใสต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์ โดยวาง แผนการทดลองแบบ completely randomized design(CRD) มี 5 วิธีการ วิธีการละ 3 ซ ้า ระยะเวลาของการแช่ผลมะละกอ สดในน ้าปูนใส ได้ แก่ 0 , 1 , 2 , 3 และ 4 ชั่วโมง แล้ ว นาผลมะละกอสดเก็บไว้ ในถุง PE (polyethylene) ภายในบรรจุก๊าซ คาร์ บอนไดออกไซด์ ต่อออกซิเจน ในสัดส่วน 10:5 PSI เก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 14±2 องศาเซลเซียส ภายหลังการเก็บรักษา 21 วัน พบว่าผลมะละกอที่แช่น ้าปูนใส 3 ชัว่ โมง มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสดน้ อยที่สดุ คือ 0.33 เปอร์ เซ็นต์ และมีความแตกต่าง กันทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบกับวิธีการอื่นๆ ในขณะที่ผลมะละกอที่แช่น ้าปูนใส 4 ชัว่ โมง มีปริ มาณ Total soluble solid มาก ที่สดุ คือ 11.60 brix และปริ มาณ Titratable Acidity น้ อยที่สดุ คือ 0.07 เปอร์ เซ็นต์ และไม่มีความแตกต่างทางสถิติ และผล มะละกอที่แช่น ้าปูนใส 3 ชัว่ โมงมีอายุการเก็บรักษานานที่สดุ คือ 21 วัน มีลกั ษณะทางกายภาพและคุณภาพทางประสาทสัมผัส เป็ นที่ยอมรับ เมื่อเปรี ยบเทียบกับผลมะละกอที่ไม่ได้ แช่น ้าปูนในมีอายุการเก็บรักษาสันที ้ ่สดุ คือ 15 วัน คาสาคัญ : มะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์, น ้าปูนใส, ระยะเวลาในการแช่

Abstract Effect of soaking period by calcium hydroxide on changing of quality “Holland papaya”. The statistical model was completely randomized design consist of 5 treatments 3 replications , soaking period as 0 , 1 , 2 , 3 , and 4 hrs. The Holland papaya fresh fruits were stored in polyethylene bag (PE bag) stored at 14 ± 2 degree celsius. The results showed that papaya are soaked in lime water 3 hours fresh fruit had percent fresh weight loss percentage is 0.33 percent and a statistically significant difference when compared to other treatment. While the fruits are soaked in lime water 4 hours Total soluble solid content is 11.60 brix most and least amount Titratable Acidity is 0.07 percent and did not differ statistically. And fruits are soaked in lime water for 3 hours, shelf life is 21 days with physical and sensory quality is acceptable. Compared with fruits that are not soaked in lime water shortest shelf life is 15 days. Keywords : Holland papaya ,calcium hydroxide ,soaking period

คานา มะละกอ (Carica papaya) เป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทย มีการปลูกทัว่ ไปในทุกภูมิภาคของประเทศ จากสถิติการเพาะปลูกในปี 2550 พบว่าพื ้นที่ปลูกมะละกอรวมทังประเทศ ้ 102,845 ไร่ โดยมีพื ้นที่ให้ ผลผลิตแล้ วทังสิ ้ ้น 30,668 ไร่ และผลผลิตรวมทังประเทศ ้ 116,068.04 ตันขณะที่ตลาดมีความต้ องการประมาณ 150,000 ตันต่อปี ทาให้ ผลผลิตไม่ เพียงพอต่อความต้ องการของตลาด (ลาแพน และคณะ,2552 )ปั จจุบนั มะละกอที่นิยมปลูกเป็ นการค้ าภายในประเทศ ได้ แก่ พันธุ์แขกดา และแขกนวล ซึง่ มีขนาดผลปานกลาง ส่วนมะละกอผลเล็กที่นิยมปลูก ได้ แก่ พันธุ์ฮอลแลนด์หรื อปลักไม้ ลาย พันธุ์ฮาวาย และพันธุ์ซนั ไรส์ เป็ นต้ น (วรรณภา,2551) ขณะนี ้ชาวสวนส่วนใหญ่เน้ นปลูกพันธุ์ปลักไม้ ลายกันมาก เนื่องจากมีผ้ ู ส่งเสริ มให้ ปลูกและรับซื ้อในราคาที่ดีกว่า มะละกอพันธุ์แขกดา แล้ วมะละกอกลุม่ สายพันธุ์ฮอลแลนด์ ค่อนข้ างทนโรคไวรัสจุ ดวงแหวนได้ ดีกว่ามะละกอพันธุ์แขกดา (เปรม,2552)และขณะนี ้ผู้บริโภคก็นิยมรับประทานมะละกอพันธุ์ปลักไม้ ลายกันมากขึ ้น 1 1

สาขาวิชาพืชสวน คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 Horticulture program, Faculty of Agricultural Technology, King Mongkul’s Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok, 10520

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

471


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เพราะมะละกอพันธุ์นี ้มีเนื ้อหนา รสชาติดี รู ปผลได้ สดั ส่วน เนื ้อสีแดงส้ ม ไม่เละ (ปั ทมา,2551) แต่ปัจจุบนั การช ้าของมะละกอ เป็ นปั ญหาสาคัญ โดยมักเกิดขึ ้นได้ ตงแต่ ั ้ ในขันตอนการเก็ ้ บเกี่ยว การบรรจุ การขนส่ง ผลที่ความสุกมากมักจะเกิดความช ้าได้ ง่ายกว่าผลที่ยงั ดิบ เนื่องจากผลสุกจะมีผนังเซลล์ที่บอบบาง เนื ้อภายในนิ่ม ทนแรงกระแทกได้ น้อย (กรมส่งเสริ มอุตสาหกรรม ,2544) ทาให้ อายุในการวางขายสัน้ เชื ้อโรคเข้ าทาลายได้ ง่าย จึงมีการศึกษาการยืดอายุการเก็บรักษาผลไม้ โดยสามารถทาได้ หลายวิธี ได้ แก่ การเคลือบผิว การใช้ สารต้ านจุลินทรี ย์ การฉายรังสี การห่อด้ วยฟิ ล์ม การดัดแปลงสภาพบรรยากาศ และการ จุ่มสารเคมี เป็ นต้ น (อศิศร,2547) ดังนัน้ การทดลองครัง้ นี ้จึงสนใจศึกษาการใช้ น ้าปูนใส เพื่อศึกษาการเปลี่ ยนแปลงคุณภาพ ของมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์ และเพื่อเป็ นแนวทางชะลอการเสื่อมสภาพของผลมะละกอต่อการเก็บรักษาในมะละกอพันธุ์ ฮอลแลนด์และพันธุ์อื่นๆต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลของระยะเวลาที่ดีที่สดุ ในการแช่มะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์ในน ้าปูนใส 2. เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์หลังการเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม ตรวจเอกสาร มะละกอ(Carica papaya L.) เป็ นพืชที่มีถิ่นกาเนิดในอเมริ กากลาง และได้ แพร่กระจายไปยังประเทศต่างๆ ของโลก ตังแต่ ้ ศตวรรษที่ 16 เป็ นต้ นมามะละกอเป็ นพืชที่สามารถใช้ ประโยชน์ได้ ทกุ ส่วน ไม่ว่าจะเป็ นราก ลาต้ น ใบ ผล เมล็ด รวมทัง้ ส่วนที่เป็ นน ้ายางในส่วนของการนามาใช้ เป็ นอาหาร พบว่ามะละกอสามารถบริ โภคได้ ทงรู ั ้ ปแบบของผักและผลไม้ แต่รูปแบบที่ นิยม คือ การนาผลสุกมาบริ โภคแบบผลไม้ ขณะที่การบริ โภคแบบผักมีสดั ส่วนไม่มากนัก การนาผลดิบมาบริ โภคเป็ นที่นิยม เฉพาะในบางท้ องถิ่นเท่านั น้ นอกจากนี ้ ในส่วนของใบ ลาต้ น หรื อแม้ แต่ช่อดอกตัวผู้ ก็มีการนามาปรุ งเป็ นอาหารเช่นกัน (สุวรรณา,2539) นอกจากสารอาหารสาคัญเช่น วิตามินซี วิตามินบี และเบต้ าแคโรทีน ยังมีสารประกอบ คือ “ปาเปน” ซึ่งเป็ น เอ็นไซม์ย่อยโปรตีนพบได้ ในน ้ายางมะละกอ มะละกอเป็ นพืชที่ชอบน ้า แสงแดดและทนแล้ งได้ ดี จึงเป็ นพืชที่ปลูกกันทัว่ ไปใน เขตร้ อนและเขตกึ่งร้ อนกว่า 50 ประเทศทัว่ โลก มะละกอในแต่ละท้ องถิ่นแต่ละภูมิภาคจะมีลกั ษณะเฉพาะตัวสูงไม่ว่าจะเป็ น ลักษณะของลาต้ น การเจริญเติบโตระยะเวลาออกดอกติดผล รูปทรง ขนาดของผล ตลอดจนสีของเนื ้อเมื่อสุก ลักษณะเด่นของ มะละกอ คือการมีเพศแยกกันในแต่ละต้ น ต้ นมะละกอต้ นหนึ่งอาจเป็ นต้ นตัวเมีย ต้ นตัวผู้ หรื อต้ นกะเทยก็ได้ การผสมข้ ามของ มะละกอจึงมีโอกาสเกิดขึ ้นง่ายในสภาพธรรมชาติ ดังนันมะละกอจึ ้ งเป็ นพืชที่พร้ อมจะกลายพันธุ์ตลอดเวลาและหาพันธุ์แท้ ได้ ยาก สาหรับโรคและแมลงศัตรูของมะละกอมีหลายชนิด แต่ที่จดั เป็ นอุปสรรคสาคัญในการผลิตมะละกอเป็ นการค้ าทัว่ ไป ได้ แก่ โรคจากเชื ้อราบางชนิด และโรคจากไวรัสจุดวงแหวน (สุวรรณา,2539) ปั จจุบนั ตลาดมะละกอกระจายอยู่ในแหล่งผลิตมะละกอแหล่งใหญ่ เช่น จันทบุรี สระแก้ ว นครปฐมราชบุรี ลพบุรี สระบุรี ฯลฯ หลังจากนันมะละกอส่ ้ วนหนึง่ จะถูกส่งเข้ าโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร โรงงานแปรรูปผลไม้ และผลผลิต ส่วนหนึ่งจะ ส่งไปจานวนหน่วยที่ตลาดกลางค้ าส่งสินค้ าเกษตรแหล่งใหญ่ เช่น ตลาดไทตลาดสี่มมุ เมือง ตลาดศรี เมือง ตลาดหัวอิฐ ตลาดสุ รนคร เป็ นต้ น ส่วนมะละกอที่คดั คุณภาพพิเศษก็จะถูกนาส่งที่ตลาดบน เช่น ซูปเปอร์ มาร์ เก็ต ภัตตาคาร ร้ านอาหารรวมทังครั ้ ว การบินต่างๆ ขณะที่ตลาดต่างประเทศใหญ่อยูท่ ี่ฮ่องกงและจีน (วรรณภา,2551) มะละกอฮอลแลนด์ หรื อมะละกอปลักไม้ ลาย ลาต้ นใหญ่สีเขียว ใบมี 11 แฉกใหญ่ กลางใบมีกระโดงใบ 1 ใบ ก้ านใบ มีสีเขียวตัง้ ขึน้ ดอกออกเป็ นช่อ ติดผลดก รู ปทรงกระบอกคล้ ายลูกฟั กอ่อน ไม่มีกลิ่นยาง เนือ้ หนา รสชาติหวาน นา้ หนักดี เปลือกหนา ทนทานต่อโรค ทนทานต่อการขนส่งให้ ผลดก มีตลาดรองรับ มะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์นี ้สามารถปลูกได้ เกือบทุก สภาพพื ้นที่ ยกเว้ นพื ้นที่น ้าขัง ดินที่เหมาะสมควรเป็ นดินเหนียวปนทรายอายุ เก็บเกี่ยว 8 เดือน น ้าหนักผลประมาณ 800-2,000 กรัม ต่อผล เนื ้อสีแดงอมส้ ม ไม่เละ เนื ้อหนา 2.5-3.0 เซนติเมตร ความหวานวัดได้ 11-13 องศาบริ กซ์ ผลผลิตต่อต้ น 60-80 กิโลกรัม จุดเด่นที่มองออกง่ายมาก ว่าผลมะละกอฮอลแลนด์เป็ นอย่างไรนัน้ ที่ ป ลายผลจะป้ า นคล้ ายผลฟั กอ่อน ดอกและ เพศของมะละกอ มะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์ ถ้ าเป็ นมะละกอดิบตลาดไม่ค่อยยอมรับ จึงต้ องขายเป็ นมะละกอสุกและขณะนี ้ ผู้บริโภคกาลังนิยมรับประทานพันธุ์นี ้มากขึ ้นเพราะมะละกอพันธุ์นี ้มีเนื ้อหนา รสชาติดี รูปผลได้ สดั ส่วน (อทิพฒ ั น์ ,2552 ) การเปลี่ยนแปลงของพืชหลังการเก็บเกี่ยว การหายใจ เป็ นกระบวนการทางชีวเคมีที่มีความสาคัญมากที่สดุ กระบวนการหนึ่งในสิ่งมีชีวิต เพราะเป็ นกระบวนการที่ พลังงานซึ่งอยู่ในรู ปอาหารสะสมถูกเปลี่ยนไปอยู่ในรู ปพลังงานที่สามารถนาไปใช้ ได้ ทันทีสาหรั บกิ จกรรมต่างๆ เช่น การ 472

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เจริ ญเติบโต แล้ วก็ยงั ต้ องการพลังงานในการรักษาชีวิตให้ คงอยู่ เช่น การรักษาคุณสมบัติในการควบคุมการผ่านเข้ าออกของ สารต่างๆกัน เช่น น ้าตาล แป้ง หรื อไขมัน เมื่ออาหารเหล่านี ้ถูกใช้ ไปในการหายใจพืชก็สามารถสร้ างขึ ้นมาทดแทนใหม่ได้ แต่ หรับผลผลิตที่เก็บเกี่ยวมานานแล้ ว (ซึ่งเป็ นสิ่งมีชีวิตเช่นกัน) อาหารสะสมมีอยู่อย่างจากัดไม่สามารถสร้ างขึน้ มาใหม่ได้ อีก ยกเว้ นในส่วนที่มีสีเขียวอาจมีการสังเคราะห์แสงได้ แต่ไม่มากนัก ถ้ าอาหารในการผลิตถูกใช้ หมดไปความมีชีวิตของผลนันจะ ้ สิ ้นสุด ดังนันอายุ ้ การเก็บเกี่ยวของผลผลิตรวมถึงคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวจึงขึ ้นอยู่กบั อัตราการหายใจเป็ นสิ่งสาคัญ (จริ งแท้ ,2541) อัตราการหายใจของพืชหลังการเก็บเกี่ยวเป็ นสิ่งที่แสดงถึงอายุการเก็บรักษาได้ เป็ นอย่างดี โดยทัว่ ไปพืชที่มีอตั ราการ หายใจสูงจะมีอายุการเก็บรักษาสัน้ ส่วนพืชที่มีอตั ราการหายใจต่าจะมีอายุการเก็บรักษาหลังการเก็บเกี่ยวได้ นาน ซึ่งผลไม้ แต่ ละชนิดมีอตั ราการหายใจไม่เท่ากัน (สายชล, 2528) ทังนี ้ ้เนื่องจากอายุการเก็บเกี่ยวมีอิทธิพลต่อช่วงระยะที่ผลผลิตมีอตั ราการ หายใจสูงสุด องค์ประกอบของบรรยากาศ โดยเฉพาะ O2และCO2มีผลต่อการหายใจ พบว่าการหายใจช้ าลงได้ เมื่อมีความ เข้ มข้ นของ O2ในบรรยากาศสูงไปยับยังการหายใจของพื ้ ชได้ (Kader,1986) การสูญเสียนา้ การสูญเสียนา้ ของผลิตผลที่เก็บเกี่ยวมาแล้ วเป็ นกระบวนการที่นา้ เคลื่อนที่แบบแพร่ กระจายออกจาก ผลผลิต ทาให้ สญ ู เสียนา้ หนักและความกรอบ เกิดอาการเหี่ยวและอาจทาให้ รสชาติของผลิตผลนัน้ เปลี่ยนแปลงไปด้ วย ถ้ า สามารถลดอัตราการระเหยของน ้าลงได้ การสูญเสียน ้าและการหายใจของพืชนันจะลดลงไปด้ ้ วย ซึง่ ทาได้ โดยการควบคุมปั จจัย ต่างๆให้ ผลิตผลกับบรรยากาศภายนอกมีความแตกต่างของความดันไอน ้าน้ อยที่สดุ โดยเริ่ มตังแต่ ้ การเก็บเกี่ยว ต้ องทาด้ วย ความระมัดระวังมิให้ เกิดบอดแผลแล้ วทาให้ เย็นลงอย่างรวดเร็ว จากนั น้ เก็บรักษาไว้ ในสภาพที่มีความชื ้นสูง และมีอณ ุ หภูมิต่า การห่อพืชผลให้ มิดชิดด้ วยกระดาษแก้ วหรื อถุงพลาสติกที่เจาะรู เพื่อให้ ไอนา้ ที่เกิดจากการหายใจของพืชผลออกสู่อากาศ ภายนอกถุงพลาสติกได้ เป็ นการช่วยระบายความร้ อนที่เกิดจกการหายใจของเซลล์ออกด้ วย และทาให้ บรรยากาศรอบพืชผล นันไม่ ้ ชื ้นแฉะจนเน่าเสีย นอกจากนี ้อาจใช้ ภาชนะ หรื อสารเคลือบผิวพวกไข เพื่อเป็ นสิ่งกีดขวางให้ กบั การคายน ้าเพิ่มขึ ้น (จริ ง แท้ , 2541) การเปลี่ยนแปลงของสี ภายหลังการเก็บเกี่ยวผลิตผลต่างๆมักมีการเปลี่ยนสีเกิดขึ ้น โดยเฉพาะสีเขียวจะหายไป มักจะ ปรากฏสีเหลืองหรื อสีแดงแทน สีต่างๆของผลิตผลที่เห็นเกิดจากเม็ดสีหรื อสารสีต่างๆ ที่อยู่ในเซลล์แบ่งออกกเป็ น 2 กลุม่ ใหญ่ๆ คือพวกที่ละลายนา้ พบในแวคิวโอล ได้ แก่ แอนโธไซยานิน อีกพวกจะละลายได้ ในไขมันพบในพลาสติก มีหลายชนิดด้ วยกัน เช่น คลอโรฟิ ลล์ สารสีเหลือง เช่น คาโรทีน และสารสีแดง เช่น ไลโคปี น สารสีเหล่านี ้มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทาให้ สี ของผลิตผลเปลี่ยนไปตามองค์ประกอบของสารเหล่านี ้ ในผักมักจะมีคาโรทีและแซนโทฟิ ลล์ เป็ นองค์ประกอบอยู่ด้วย แต่ถกู สี ของคลอโรฟิ ลล์บดบังไว้ เมื่อผักและผลไม้ เข้ าสูร่ ะยะชราภาพ คลอโรฟิ ลล์จะสลายตัวไป สีของคาโรทีนอยด์จึงปรากฏให้ เห็นโดย ปริ มาณไม่ได้ เพิ่มขึ ้น ระหว่างการเก็บรักษาผักและผลไม้ ส่วนใหญ่ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์จะลดลง แต่รงค์วตั ถุชนิดอื่นจะเพิ่มขึ ้น หรื อลดลงขึ ้นอยูก่ บั อุณหภูมิที่ใช้ ในการเก็บรักษา ความแก่ และพันธุ์(จริงแท้ , 2541) การสุก การสุกของผลไม้ หลังการเก็บเกี่ยวทาให้ มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกี่ยวกับสรี ระและเคมี การเปลี่ยนแปลงนี ้ จะเป็ นตัวกาหนดคุณภาพของผลไม้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ ้นกับผลไม้ มีดงั นี ้ คือ การเปลี่ยนแปลงสี การอ่อนตัวของเนื ้อเยื่อ การสังเคราะห์นา้ ตาล ก๊ าซเอทธิ ลีน และมีอัตราการหายใจที่เปลี่ยนไป การสุกของผลไม้ จะเกี่ยวข้ องเฉพาะไม้ ผลประเภท climacteric เท่านัน้ ผลไม้ ที่สกุ ส่วนมากเนื ้อจะนิ่ม เป็ นผลเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงโมเลกุลต่างๆภายในผนังเซลล์ โดยเฉพาะ เพคติน ซึ่งเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญที่อยู่ในชัน้ middle lamella จากรู ปของ protopectinที่ไม่ละลายน ้าไปอยู่ในรู ป soluble pectin ที่ละลายน ้าได้ ทาให้ ผนังเซลล์ยดึ ติดกันหลวมๆ นอกจากนันยั ้ งเกิดจากแป้งซึง่ สะสมไว้ ในผลเปลี่ยนเป็ นน ้าตาล และเกิด จากการสูญเสียน ้าออกไปจาผลิตผล ส่วนในผลไม้ ประเภทส้ ม ผลที่บริบรู ณ์แล้ วมักมีเนื ้ออ่อนนุ่มและมีปริมาณน ้ามากกว่าในผล ที่ยงั อ่อนอยู่ ทังนั ้ นเพราะมี ้ การสะสมน ้าในผลมากขึ ้น การอ่อนของเนื ้อเยื่อเกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนแปลงของขนาดเซลล์ และ การสูญเสียการเต่ง ซึง่ มีความสัมพันธ์ต่อการสูญเสียความกรอบ และความสดของผักและผลไม้ ในระหว่างการเก็บรักษา (สาย ชล,2528) บทบาทของนา้ ปูนใส (Calcium hydroxide, CaOH2) ปูนขาว และปูนไลม์ ไ ฮดรอลิก ซึ่งอยู่ในรู ปลักษณะต่างๆ กันทัง้ ทางเคมี และกายภาพ ส่วนหินปูน ( Limestone) หมายถึง หินชัน้ หรื อหินตะกอน ที่ประกอบด้ วยแคลเซียมคาร์ บอเนต (CaCO3) เป็ นส่วนใหญ่ เมื่อนาหินปูนมาเผาจะได้ ปูนสุก ที่มีขนาดต่างๆ ขึ ้นกับชนิดหินปูน เตาเผาที่ใช้ และวิธีปฏิบตั ิต่อจากการเผา เมื่อนาปูนสุกมาทาปฏิกิริยากับน ้าจะได้ แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (CaOH2) ส่วนที่เป็ นผงแห้ งก็คือปูนขาว และส่วนที่เป็ นสารแขวนลอยก็คือ น ้าปูนไลม์ (Milkoflime) ซึง่ มีบทบาททัง้ ทางตรงและทางอ้ อม ใช้ ปนู ขาวดูดก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ที่ผกั และผลไม้ สดปล่อยออกมา เพื่อยืดอายุการเก็บ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

473


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ศรี สกุล (2533) การทดลองนาพุทราพันธุ์บอม-แอปเปิ ล้ ไปแช่ในสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ความเข้ มข้ น 0.25, 0.5, 1,2 และ4 เปอร์ เซ็นต์ และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ความเข้ มข้ น 0.08, 0.16, 0.32, 0.64 และ1.28 เปอร์ เซ็นต์ เป็ นเวลา 30 นาที พบว่าการใช้ สารทังสองชนิ ้ ดที่ทกุ ระดับความเข้ มข้ น มีผลทาให้ ความแน่นเนื ้อของพุทราสูงกว่า Control (ไม่มีการแช่สาร) ประ มาน 0.5 กิโลกรัม นันทนา (2546) ทาการทดลองแช่ลาไยในน ้าปูนใสที่เวลา 0, 3, 5 และ 7 นาที และเก็บรักษาในสภาพดัดแปลง บรรยากาศ ที่มีสดั ส่วนของก๊ าซ CO₂: O₂ได้ แก่0:0,0:5, 0:10, 5:5 และ 5:10 PSI พบว่าลาไยมีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนัก สดเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆตามอายุการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้นซึง่ มีคา่ ระหว่าง 0.27- 1.22เปอร์ เซ็นต์ ปริ มาณ TSS เปลี่ยนแปลงมีคา่ อยู่ ระหว่าง 13.33-19.23 brix ส่วนเปอร์ เซ็นต์ TA มีคา่ เฉลี่ยอยู่ในช่วง 0.05 – 0.11 เปอร์ เซ็นต์ ลาไยที่เก็บรักษาในทุกวิธีการมี อายุการเก็บรักษา 6 วัน พิสทิ ธ์ (2546) ทาการทดลองแช่ถวั่ ลันเตาในน ้าปูนใสเป็ นเวลา 0,3,5,7 และ 9 นาที โดยทาการเก็บรักษาถัว่ ลันเตาไว้ ในถุง PE (Polyethylene) ภายในบรรจุก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ต่อ ก๊ าซออกซิเจน 10:5 PSI (ปอนด์ตอ่ ตารางนิ ้ว) ที่อณ ุ หภูมิ ±2 พบว่าถัว่ ลันเตามีปริมาณ TSS และ TA เท่ากับ ระหว่าง 6.5 – 7.97 brix และ 0.49 – 0.73 เปอร์ เซ็นต์ตามลาดับ ถัว่ ลันเตามีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักลดลงเรื่ อยๆ ตามระยะเวลาการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้น และจากการวิเคราะห์ทางสถิติ พบว่า เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสดไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ถัว่ ลันเตาที่แช่น ้าปูนใสนาน 3 นาที มีอายุการเก็บรักษายาวนาน ที่สดุ คือ 15 วัน ส่วนถัว่ ลันเตาที่แช่น ้าปูนใสนาน 0 นาที , 5นาที, 7 นาทีและ 9 นาที มีอายุการเก็บรักษาที่สนที ั ้ ่สดุ คือ 12 วัน

อุปกรณ์ และวิธีการ วิธีการทดลอง นามะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์คดั เอาผลที่มีความสมบูรณ์ ปราศจากตาหนิ นามาล้ างน ้าให้ สะอาด จากนัน้ แบ่งผลมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์ออกเป็ น 5 ชุดการทดลอง โดยวางแผนการทดลองแบบ completely randomized design (CRD) ประกอบด้ วย ชุดการทดลองที่ 1 แช่น ้าปูนใส 0 ชัว่ โมง (ควบคุม) ชุดการทดลองที่ 2 ต้ องทาการแช่ด้วยน ้าปูน ใส 1 ชัว่ โมง ชุดการทดลองที่ 3 ต้ องทาการแช่ด้วยน ้าปูนใส 2 ชัว่ โมง ชุดการทดลองที่ 4ต้ องทาการแช่ด้วยน ้าปูนใส 3 ชัว่ โมง และชุดการทดลองที่ 5 ต้ องทาการแช่ด้วยน ้าปูนใส 4 ชัว่ โมง เตรี ยมน ้าปูนใสโดย นาปูนแดง 1 กิโลกรัมผสมต่อน ้า 8 ลิตร คนให้ เข้ ากันแล้ วปล่อยให้ ปูนแดงตกตะกอนจนได้ นา้ ปูนใส แล้ วตักนา้ ปูนใสที่ได้ มาแช่มะละกอที่ได้ แบ่งไว้ แล้ วนาขึน้ ผึ่งให้ แห้ ง หลัง จากนัน้ น าไปบรรจุใ นถุง พลาสติ ก polyethylene (PE) ผนึ ก ปากถุง ด้ ว ยเครื่ อ งผนึ ก สุญ ญากาศแล้ ว เติ ม ก๊ าซ คาร์ บอนไดออกไซด์ และก๊ าซออกซิเจน แล้ วนาไปเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 14±2 องศาเซลเซียส (Fig.1. Meterials and Methods) และบันทึกผลการทดลองชุดละ 3 ผล ทุกๆ 3 วัน เป็ นเวลา 21 วันดังนี ้ เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสด หาเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสด โดยชัง่ ผลเงาะทุ กครัง้ ที่ทาการวิเคราะห์และ นามาคานวณ ดังสูตรต่อไปนี ้ เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสด = นน.สดก่อนการเก็บรักษา – นน.สดหลังการเก็บรักษา × 100 นน.สดก่อนการเก็บรักษา - ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ (Total soluble solid) นาเนื ้อเงาะมาคันน ้ ้าออก นาน ้าคันมาหยดบน ้ hand refractometer แล้ วอ่านค่า มีหน่อยเป็ น บริ ค (brix) - ปริมาณกรดที่ไตเตรท (Titratable Acidity) นาผลเงาะมาคันน ้ ้าออกจากนันน ้ าน ้าคันปริ ้ มาณ 1 มิลลิลิตรและเติมน ้า กลัน่ เพิ่ม 19 มิลลิลิตร มาเติมสารละลาย phenolpthalain ความเข้ มข้ น 1 เปอร์ เซ็นต์ จานวน 3 หยด เพื่อใช้ เป็ น indicator จากนันไปไทรเทรตด้ ้ วยสารละลายด่างมาตรฐาน (NaOH) ความเข้ มข้ น 0.1N จนกระทัง่ ถึง end point (น ้าคันเป็ ้ นเป็ นสีชมพู ถาวร) บันทึกปริ มาณของสารละลายด่างที่ใช้ เพื่อนามาคานวณหาเปอร์ เซ็นต์กรดซิตริก - คุณภาพทางประสารทสัมผัส โดยการชิมและให้ คะแนน ซึง่ มีระดับคะแนนทังหมด ้ 6 ระดับ คือ 5 คะแนน หมายถึง รสชาติดีมากตรงตามสายพันธุ์ 4 คะแนน หมายถึง รสชาติดีตรงตามสายพันธุ์ 3 คะแนน หมายถึง รสชาติปานกลางตามสายพันธุ์ 2 คะแนน หมายถึง รสชาติดี แต่มีกลิ่นผิดปกติ 1 คะแนน หมายถึง รสชาติผิดปกติ มีกลิ่นหมักหรื อกลิ่นเน่าเสีย 0 คะแนน หมายถึง ไม่สามารถรับประทานได้

474

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

- อายุการเก็บรักษา โดยพิจารณาจากลักษณะคุณภาพของผลมะละกอ ลักษณะอาการที่ผิดปกติของสีเปลือก สีเนื ้อ และ การเน่าเสียของมะละกอ โดยสังเกตจากการให้ คะแนนการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสมากกว่า 3 ถือว่ายอมรับได้ (การ ยอมรับของผู้บริ โภค) - ขันตอนและวิ ้ ธีการในการวิเคราะห์ข้อมูล นาข้ อมูลที่วิเคราะห์ผลทางสถิติโดยใช้ ตาราง analysis of variance (ANOVA) เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี duncan’s new multiple runge test (DNMTR) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 เปอร์ เซ็นต์

คัดผลมะละกอ

แช่น ้าปูนใส เวลา 0, 1, 2, 3 และ 4 ชัว่ โมง

บรรจุในถุง PE

ผนึกปากถุง

เก็บรักษา Fig.1. Meterials and Methods ผลการทดลองและวิจารณ์ เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนัก ในระหว่างการเก็บรักษา พบว่ามะละกอมีการสูญเสียน ้าหนักสดเพิ่มขึ ้นตามอายุการ เก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้น ซึ่งในวันที่ 21 มะละกอที่แช่ในน ้าปูนใสเป็ นเวลา 3 ชัว่ โมง มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักมากที่สดุ ส่วน มะละกอที่แช่ในน ้าปูนใสเป็ นเวลา 3 ชัว่ โมง มีเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสดน้ อยที่สดุ (Table.1) ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้ อย โดยมีแนวโน้ มลดลงเมื่ออายุการเก็บรักษาเพิ่มขึ ้น เนื่องจากในระหว่างการเก็บรักษามะละกอยังคงมีการหายใจ ทาให้ ปริ มาณของแข็งที่ละลายนา้ ได้ ลดลง ส่วนปริ มาณกรดที่ วิเคราะห์ได้ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้ อยหรื อไม่มีการเปลี่ยนแปลง (Table.2) ปริ มาณกรดที่วิเคราะห์ได้ มีค่าลดลงตามอายุการเก็บเกี่ยวที่มากขึ ้นแต่จะมีการลดลงเพียงเล็กน้ อย ตามอายุของ มะละกอ แสดงว่าขณะที่มะละกอยังอ่อนอยู่จะมีรสหวานเพียงเล็กน้ อย เมื่อเพิ่มระเวลาการเก็บรักษามะละกอจะมีความหวาน มากขึ ้นเพราะปริมาณกรดลดลง (Table.3) คุณภาพทางประสาทสัมผัสและอายุการเก็บรักษา หลังจากเก็บรักษามะละกอที่แช่น ้าปูนใสที่ 0 ชัว่ โมง มีอายุการเก็บ รักษาสันที ้ ่สดุ คือ 15 วัน ส่วนมะละกอที่แช่น ้าปูนใสที่ 3 ชัว่ โมง มีอายุการเก็บรักษานานที่สดุ คือ 21 วัน (Table.4) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

475


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table.1 Effects of different soaking period by calcium hydroxide on Fresh weight loss of Holland papaya. Fresh weight loss (%) Treatment 3 day 6 day 9 day 12 day 15 day 18 day 21 day 0 hour

0.69a1/

0.67a1/

0.71a1/

0.73a1/

0.36a

0.53a1/

0.63a

1 hour

0.49a

0.62a

0.66a

0.81a

0.43ab

0.42a

0.57ab

2 hour

0.95a

0.56a

0.65a

0.73a

0.39ab

0.61a

0.57b

3 hour

0.69a

0.64a

0.63a

0.66a

0.31b

0.28a

0.33ab

4 hour

0.62a

0.82a

0.66a

0.65a

0.37b

0.35a

0.57b

F-test

ns

ns

ns

Ns

*

ns

*

47.65

22.72

16.51

16.11

25.47

43.68

30.78

C.V.(%)

476

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table.2 Effects of different soaking period by calcium hydroxide on Total soluble solid of Holland papaya. Treatment

Total soluble solid (brix) 3 day

6 day

9 day

12 day

15 day

18 day

21 day

0 hour

11.86a1/

13.53a1/

13.33a1/

12.86a1/

12.66a1/

12.73a1/

11.46a1/

1 hour

12.73a

12.86a

13.33a

12.00a

12.06a

11.73a

11.40a

2 hour

11.60a

11.66a

13.20a

12.46a

11.80a

11.46a

11.53a

3 hour

12.66a

12.13a

13.40a

11.40a

12.06a

12.13a

11.33a

4 hour

13.13a

12.53a

13.00a

11.66a

12.40a

13.40a

11.60a

F-test

ns

ns

ns

ns

ns

ns

ns

10.23

8.11

4.45

7.58

5.48

8.61

5.92

C.V.(%)

Table.3 Effects of different soaking period by calcium hydroxide on titratable Acidity of Holland papaya. Treatment

Titratable Acidity (%) 3 day

6 day

9 day

12 day

15 day

18 day

21 day

0 hour

0.16a1/

0.14a1/

0.16a1/

0.17a1/

0.08a1/

0.12a1/

0.11a1/

1 hour

0.18a

0.16a

0.13a

0.12a

0.11a

0.10a

0.10a

2 hour

0.21a

0.12a

0.14a

0.16a

0.10a

0.11a

0.10a

3 hour

0.21a

0.12a

0.12a

0.13a

0.09a

0.11a

0.08a

4 hour

0.21a

0.16a

0.11a

0.13a

0.10a

0.12a

0.07a

F-test

ns

ns

ns

ns

ns

ns

ns

31.22

22.72

16.51

16.83

29.09

11.97

32.60

C.V.(%)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

477


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table.4 Effects of different soaking period by calcium hydroxide on Sensory Quality of Holland papaya. Treatment

Sensory Quality 3 day

6 day

9 day

12 day

15 day

18 day

21 day

0 hour

5.00a1/

5.00a1/

4.33a1/

3.50a1/

3.60a1/

2.30a1/

2.30ab

1 hour

5.00a

5.00a

4.67a

4.60a

3.60a

0.80a

2.00a

2 hour

5.00a

5.00a

4.50a

3.80a

4.00a

2.80a

3.10ab

3 hour

5.00a

5.00a

5.00a

3.80a

3.80a

3.60a

2.10a

4 hour

5.00a

5.00a

4.50a

3.50a

3.10a

1.50a

1.30b

F-test

ns

ns

ns

ns

ns

ns

*

C.V.(%)

0

0

7.93

20.30

10.56

65.14

42.72

สรุ ปผลการทดลอง จากการศึกษาผลของน ้าปูนใส ต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของมะละกอในขณะเก็บรักษา ที่ระยะเวลาในการแช่น ้า ปูน ใส 0, 1, 2, 3 และ 4 ชั่วโมง ในถุง พลาสติ ก โพลี เอทธิ ลี น โดยท าการเก็ บ รั กษาที่ 14±2 องศาเซลเซี ย ส ผลปรากฏว่า เปอร์ เซ็นต์ การสูญเสียนา้ หนักสดจะเพิ่มขึน้ ตามอายุการเก็บรั กษาที่เพิ่มขึน้ โดยระยะเวลาในการแช่นา้ ปูนใส มีผลต่อการ สูญเสียนา้ หนักสดของมะละกอ โดยพบว่าการแช่นา้ ปูนใสที่ระยะเวลา3ชั่วโมง มีเปอร์ เซ็นต์ การสูญเสียนา้ หนักน้ อยที่สุด ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ของมะละกอที่ทาการแช่น ้าปูนใสมีแนวโน้ มลดลง เมื่ออายุก ารเก็บรักษาเพิ่มขึ ้น ส่วนปริ มาณ กรดที่วิเคราะห์ได้ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้ อย และอายุการเก็บรักษา พบว่ามะละกอที่ทาการแช่นา้ ปูนใสที่ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง สามารถยืดอายุการเก็บรั กษามะละกอได้ นานที่สุด 21 วัน โดยผลมะละกอที่ทาการแช่นา้ ปูนใสเป็ น ระยะเวลา 3 ชั่วโมง มีลกั ษณะภายนอกและคุณภาพยังเป็ นที่ยอมรับได้ ของตลาดมากที่สดุ ส่วนผลมะละกอที่ทาการแช่น ้าปูน ใสที่ระยะเวลา 0 ชัว่ โมง มีอายุการเก็บรักษาสันที ้ ่สดุ คือ 15 วัน

วิจารณ์ ผลการทดลอง จากการศึกษาผลของน ้าปูนใส ต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลมะละกอในขณะเก็บรักษา ที่ระยะเวลาในการแช่ นา้ ปูนใส 0, 1, 2, 3 และ 4 ชั่วโมง ในถุงพลาสติกโพลีเอทธิ ลีนโดยทาการเก็บรักษาที่ 14±2 องศาเซลเซียส ผลปรากฏว่า เปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักสดจะเพิ่มขึ ้นตามอายุการเก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้น ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ของมะละกอที่ทา การแช่น ้าปูนใสมีแนวโน้ มลดลง เมื่ออายุการเก็บรักษาเพิ่มขึ ้น ส่วนปริ มาณกรดที่วิเคราะห์ได้ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงเพียง เล็กน้ อย เนื่องจากผลไม้ หลังการเก็บเกี่ยวทาให้ มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างเกี่ยวกับสรี ระและเคมี การเปลี่ยนแปลงนี ้จะเป็ น ตัวกาหนดคุณภาพของผลไม้ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ กับผลไม้ ซึง่ มีความสัมพันธ์ต่อการสูญเสียความสดของผักและผลไม้ ใน ระหว่างการเก็บรักษา (สายชล,2528)

478

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง กรมส่งเสริ มอุตสาหกรรม. 2544. รายงานเกณฑ์คณ ุ ภาพและวิธีการตรวจวัดคุณภาพวัตถุดิบมะละกอ.เพื่ออุตสาหกรรมเกษตร. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ. จริ งแท้ ศิริพานิช. 2541. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ .พิมพ์ครัง้ ที่ 2.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . นันทนา หรั่งเจริ ญ. 2546. ผลของระยะเวลาในการแช่น ้าปูนใส และ CO2 : O2ต่อคุณภาพและอายุในการเก็บรักษาลาไย. ปั ญหาพิเศษ ปริ ญญา ตรี . ภาควิชาพืชสวน คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง. ปั ทมา คุ้มวงศ์ดี. 2551. มะละกอในไทย. เคหการเกษตร 32(7): 134-135. เปรม ณ สงขลา. 2552. ลงพื ้นที่ลยุ สวนกับนักวิจยั สกว. เคหการเกษตร 33(5): 141-145. พิสิทธิ์ วิริยะภิรมย์. 2546. ผลของระยะเวลาในการแช่น ้าปูนใสต่อคุณภาพหลังการเก็บรักษาถั่วลันเตา. ปั ญหาพิเศษปริ ญญาตรี .ภาควิชาพืชสวน คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง. ลาแพน ขวัญพูน และคณะ. 2552. การสารวจสายพันธุ์ ระบบการผลิตและการตลาดของมะละกอที่ ปลูกในพื ้นที่จงั หวัดสระแก้ ว. สานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจยั . วรรณภา เสนาดี. 2551. มะละกออุตสาหกรรม เส้ นทางส่งออกอันยิ่งใหญ่. เคหการเกษตร 32(12):69 - 105. ศักดิ์ บวร. 2546. มะละกอ. กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์สมิต. ศรี สกุล อามาระรัตนะ. 2533. ผลของแคลเซียมคลอไรด์และแคลเซียมไฮดรอกไซด์ต่อคุณภาพของพุทราพันธุ์บอม-แอปเปิ ล้ . ปั ญหาพิเศษปริ ญญตรี . กรุงเทพฯ : ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . สายชล เกตุษา. 2528. สรีรวิทยาและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวผักและผลไม้ . กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . สุวรรณา อินทร์ คงแก้ ว. 2539. การปลูกมะละกอ. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. สานักพิมพ์เกษตรสยาม. อดิศร โพธิ์จนั ทร์ . 2547. การเก็บรักษาผลไม้ ในโลกปั จจุบนั . ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร. คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. อทิพฒ ั น์ บุญเพิ่มราศี และคณะ.2552. อุตสาหกรรมมะละกอ-ส้ มตา. เคหการเกษตร 33(11): 77-109. Bangerth, F., D.R. Dilley and D.H. Dewey. 1972. Effect of postharvest calcium treatments on internal breakdown and respiration of apple fruits. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 97(5) : 679-682. Kader, A.A. 1986. “Biochemical and Physiological Basic for Effects of Controlled and Modified Atmospheres on Fruits and Vegetable” Food Technology.40 : 99-104. Lidster, P.D., S.W. porrit and M.A. Tung. 1978. Texture modification of ‘Van’ sweet cherries by postharvest calcium treatments. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 103(4) :527-530. Sams, C.E. and W.S. Conway. 1984. Effect of calcium infiltration on ethylene production, respiration rate, soluble polyuronide content, and quality of ‘Golden Delicious’ apple fruits. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 109(1) : 53-57. Wills, R.B.H., S.I.H. Tirmazi and K.J. Scott. 1977. Use of calcium to delay ripening of tomatoes. Hort. Sci. 12(16) : 551-552.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

479


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ความสัมพันธ์ ระหว่ างลักษณะทางกายภาพและเคมีของกะลากับการแตกในมะพร้ าวอ่ อนเจีย Relation between Physical and Chemical Properties of the Shell and Cracking in Polished Young Coconuts ธนาโชค ตติเจริญ1 อนรรฆ พรรคเจริญ1 และจริงแท้ ศิริพานิช1 Thanachok Taticharoen1 Anark Pakcharoen1 and Jingtair Siriphanich1

บทคัดย่ อ มะพร้ าวน ้าหอมมีมลู ค่าการส่งออกสูงกว่า 1,000 ล้ านบาทในปี 2557 การส่งออกมะพร้ าวในรูปแบบเจียสามารถลด น ้าหนักได้ ถึง 2 ใน 3 ของน ้าหนักผลสด ทาให้ สามารถเพิ่มมูลค่าการส่งออก และลดต้ นทุนในการส่งออกได้ มากขึ ้น แต่ปัญหา หลักของการผลิตมะพร้ าวเจียคือ ปั ญหาการแตกระหว่างและหลังการปอกเจีย การศึกษาปั จจัยลักษณะทางกายภาพของ มะพร้ าวเจีย พบว่าบริเวณกึง่ กลางระหว่างเส้ นผ่านศูนย์กลางกับปลายผลฝั่งคาร์ เพลใหญ่พบการแตกมากที่สดุ และเป็ น ตาแหน่งที่กะลาบางที่สดุ โดยเฉพาะในฤดูฝน ความสัมพันธ์ระหว่างความหนากะลา และเปอร์ เซ็นต์การแตกมีคา่ สัมประสิทธิ์ แสดงการตัดสินใจ (R2) เท่ากับ 0.70 จากการเปรี ยบเทียบผลแตกกับผลปกติ พบว่าผลที่แตกมีกะลาและชันเนื ้ ้อที่บางกว่า แต่ ปริมาณน ้าในกะลาสูงกว่าอย่างมีนยั สาคัญ การวิเคราะห์ปริมาณแคลเซียมภายในกะลาไม่พบความสัมพันธ์กบั อัตราการแตก คาสาคัญ: แคลเซียม, ผลแตก, มะพร้ าวน ้าหอม

Abstract Export value of young coconut is higher than 1,000 million Baht in 2014. Polished form of young coconut reduces weight by 2/3 as compared to the intact fruit, reducing production cost and increasing exportation value. Shell cracking during and after polishing is the main problem for polished young coconut. A study on physical properties of the shell showed that the biggest carpel at midway between the fruit equator and the stylar end had thinnest shell and highest cracking rate, especially in the rainy season, having a correlation of determination (R2) between cracked rate and shell thickness of 0.70. Cracked fruit had thinner shell, higher water content and thinner kernel than non-cracked fruit. Correlation between calcium content in the shell and the cracked rate was not found. Keywords: calcium, young coconut, fruit cracking

คานา มะพร้ าวอ่อนมีมลู ค่าการส่งออกสูงถึงกว่า 1,336 ล้ านบาทในปี 2557 ประเทศที่นาเข้ าสูงสุดได้ แก่ สหรัฐอเมริ กา ออสเตรเลีย และฮ่องกง (กรมศุลกากร, 2558) ลักษณะของมะพร้ าวน ้าหอมที่มีการวางจาหน่ายส่วนใหญ่แบ่งออกเป็ นสอง ลักษณะ คือ มะพร้ าวควัน่ และมะพร้ าวเจีย ในการควัน่ มะพร้ าวสามารถลดน ้าหนักของผลมะพร้ าวสดลงได้ 1 ใน 3 ในขณะที่ การเจียทาให้ สามารถลดน ้าหนักลงได้ ถึง 2 ใน 3 ของผลสด ทาให้ สามารถเพิ่มปริ มาณการส่งออก และสามารถลดต้ นทุนการ ขนส่งได้ มาก แต่จากการสารวจผู้ผลิตมะพร้ าวเจียในพื ้นที่ อ.บ้ านแพ้ ว จ.สมุทรสาคร พบว่า มะพร้ าวเจียมีปัญหาต่างๆ ดังนี ้ 1) การแตกของผลในขณะทาการปอกเปลือก คิดเป็ น 43.7% ของปั ญหาการผลิตมะพร้ าวเจีย 2) ผลผลิตสามารถเก็บรักษาได้ สนั ้ เพียงประมาณ 3 สัปดาห์ คิดเป็ น 12.5 % และ 3) เชื ้อราเข้ าทาลาย คิดเป็ น 6.2% (อนรรฆ และคณะ, 2555) จากข้ อมูลข้ างต้ น จึงเห็นได้ ว่าการแตกของมะพร้ าวเจียเป็ นปั ญหาหลักที่พบมากที่สดุ ในการผลิต ในการผลิตผลไม้ หลายชนิดประสบปั ญหาผล แตกระหว่างกระบวนการผลิตเช่นกัน เช่น มะเขือเทศ ลิ ้นจี่ หรื อ องุ่น (Simon, 2006; Peet, 1992;) ส่งผลให้ เสียคุณค่าและไม่ เป็ นที่ต้องการของตลาด มีอายุในการเก็บรักษาสัน้ เกิดการเข้ าทาลายของเชื ้อจุลินทรี ย์ในระหว่างการเก็บรักษาง่าย และมี รสชาติผิดปกติไปจากผลไม้ ปกติ (Byers, 1990; Peet, 1992; Simon, 2006; Huang et al., 2008) 1

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Department of Horticulture, Faculty of Agriculture at Kamphaeng Saen, Kasetsart University 480

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

แคลเซียมเชื่อกันว่ามีบทบาทเกี่ยวข้ องกับการแตกในผลไม้ เพราะแคลเซียมสามารถเข้ าไปที่ผนังเซลล์และทาหน้ าที่ คล้ ายซีเมนต์ ทาให้ ผนังเซลล์มีความแข็งแรง โมเลกุลของเพกทินเกาะกันมากขึ ้น (Huang et al., 2008) การศึกษาให้ แคลเซียม เข้ าไปทางผล ไม่ว่าจะเป็ นการจุ่มหรื อฉีดพ่น พบว่าสามารถลดการแตกได้ ใน แอปเปิ ล ท้ อ สาลี่ พรุน มะเดื่อ และส้ ม แต่ไม่ สามารถลดการแตกได้ ในองุ่น (Huang et al., 2008) การแตกของผลไม้ สว่ นใหญ่เป็ นผลไม้ เนื ้อนุ่มที่พบการแตกในส่วนของ mesocarp แต่ในกรณีของมะพร้ าวเจียการ แตกเกิดขึ ้นที่ endocarp ลักษณะการแตก และตาแหน่งการแตกรวมถึงปั จจัยที่ทาให้ เกิดการแตกของมะพร้ าวเจียยังไม่ได้ มี การศึกษา ดังนันจึ ้ งได้ ศกึ ษาถึงลักษณะ และตาแหน่งที่แตก รวมถึงลักษณะทางกายภาย และทางเคมี ได้ แก่ปริ มาณแคลเซียม ของกะลาเพื่อเป็ นองค์ความรู้สาหรับการป้องกันการแตกของมะพร้ าวเจียต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ 1) ตาแหน่งที่เกิดการแตกของมะพร้ าวเจีย สุม่ ตรวจการแตกของมะพร้ าวเจีย ณ โรงคัดบรรจุมะพร้ าวเจียแห่งหนึ่งใน อาเภอ บ้ านแพ้ ว จังหวัด สมุทรสาคร ระหว่างเดือนธันวาคม 2554 ถึง กุมภาพันธุ์ 2555 รวม 3 ครัง้ นับจานวนมะพร้ าวเจียผล แตกที่ตาแหน่งต่าง ๆ ได้ แก่ ปลายผล กลางผล และขัวผล ้ ในคาร์ เพลใหญ่ คาร์ เพลซ้ าย และ ขวา (เมื่อมองจากปลายผล เอา คาร์ เพลใหญ่เข้ าหาตัว) คานวณเปอร์ เซ็นต์การแตกในแต่ละตาแหน่ง เทียบกับจานวนผลมะพร้ าวที่แตกทังหมดในแต่ ้ ละครัง้ ประมาณครัง้ ละ 1,500 ผล และเปรี ยบเทียบความแตกต่างของเปอร์ เซ็นต์การแตก โดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test 2) ความหนากะลาตามเส้ นรอบวง และตามความยาวผล สุม่ เลือกมะพร้ าวเจีย 30 ผล จากข้ อ 1 ขนาดเท่าๆกันที่ ระยะบริ บรู ณ์ เนื ้อ 2 ชัน้ อายุประมาณ 6 เดือนครึ่ง นับจากจัน่ บาน ผ่ากลางผลตามแนวเส้ นรอบวง วัดความหนากะลารอบผล ด้ วยเวอร์ เนียคาลิปเปอร์ ตามเส้ นรอบวง จานวน 12 จุด โดยวัดบริ เวณสันคาร์ เพลทังสามและในแต่ ้ ละคาร์ เพล คาร์ เพลละ 3 จุดที่ระยะห่างเท่า ๆ กันโดยให้ ตาแหน่งที่ 1 เป็ นตาแหน่งของสันคาร์ เพลระหว่าง คาร์ เพลเล็กทังสอง ้ จากนัน้ วนตามเข็ม ิ นาฬกาจนครบ 12 จุด และตามความยาวของผลเฉพาะบริ เวณกึ่งกลางคาร์ เพลใหญ่ ที่ตาแหน่งขัวผล ้ จนถึงปลายผลจานวน 15 จุดระยะห่างเท่า ๆ กัน เปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ ยความหนากะลาในแต่ละจุดของแต่ละแนวโดยวิธี Duncan’s Multiple Range Test 3) ความสัมพันธ์ระหว่างคุณสมบัติของกะลากับการแตก เลือกต้ นมะพร้ าวอายุประมาณ 5 ปี จากสวนในพื ้นที่ ต.ขุน พิทกั ษ์ อ.ดาเนินสะดวก จ.ราชบุรีจานวน10 ต้ น ที่มีความสม่าเสมอ ไม่เกิดอาการการขาดคอ (ผลผลิตขาดช่วง) และมีความสูง ใกล้ เคียงกัน ทาการเก็บเกี่ยวมะพร้ าวครัง้ ละ 1 ทะลายต่อต้ น ทุกๆ 1 เดือน เป็ นระยะเวลา 7 เดือน ตังแต่ ้ เดือน สิงหาคม ปี 2555 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ปี 2556 ในแต่ละครัง้ ปอกเจียแล้ วเก็บรักษาไว้ ที่อณ ุ หภูมิห้อง 1 วัน นับและคานวณเปอร์ เซ็นต์การแตก เทียบจานวนผลแตก กับจานวนผลทังหมดหลั ้ งจากปอกเจีย จากนันน ้ ามะพร้ าวเจียทังหมดน ้ ามาตัดชิ ้นส่วนกะลาบริ เวณคาร์ เพลใหญ่ ห่างจากปลายผลเป็ นระยะทาง 1/4 ของความยาวผล ให้ ได้ ขนาดประมาณ 3x3 ซม วัดความหนากะลา วิเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการแตกของผลกับค่าเฉลี่ยความหนากะลาในแต่ละเดือน นาผลมะพร้ าวปกติและผลแตกอย่างละ 60 ผลในการทดลองนี ้ มาวัดความหนาเนื ้อ และนาชิ ้นส่วนกะลา 3x3 ซม ที่ วัดความหนาแล้ ว ไปชัง่ น ้าหนักเริ่ มต้ น อบให้ แห้ งชัง่ น ้าหนัก และทาซ ้าจนน ้าหนักไม่ลดลง คานวณเปอร์ เซ็นต์น ้าในกะลา แล้ ว นาชิ ้นส่วนกะลาไปวิเคราะห์ปริมาณแคลเซียม ตามวิธีของ (ทัศนีย์ และจงรักษ์ , 2542) จากนันวิ ้ เคราะห์ความแตกต่างทางสถิติ ของความหนากะลา ความหนาเนื ้อ ปริมาณน ้าในกะลา และปริ มาณแคลเซียมในกะลา เปรี ยบเทียบระหว่างผลแตกกับผลปกติ โดยวิธี Student’s t distribution

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

481


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลอง

การสารวจตาแหน่งการแตกของผลมะพร้ าวเจียในโรงคัดบรรจุมะพร้ าว พบว่าการแตกส่วนใหญ่เกิดขึ ้นตามแนวขวาง ที่บริ เวณกึ่งกลางระหว่างเส้ นผ่านศูนย์กลางกับปลายผลฝั่ง คาร์ เพลใหญ่ (stylar end) มากถึง 77.5 % ของผลแตกทังหมด ้ รองลงมาเป็ นบริเวณ คาร์ เพลเล็กฝั่งขวาฝั่งปลายผลเช่นกัน ดังแสดงในตารางที่ 1 ความหนากะลาของมะพร้ าวเจียตามเส้ นรอบวงของผล พบว่าบริเวณสันแบ่งคาร์ เพลระหว่างคาร์ เพลเล็กเป็ นบริ เวณที่ มีความหนาที่สดุ 3.16 มิลลิเมตร รองลงมาคือสันระหว่างคาร์ เพลใหญ่และเล็กทังสองหนาประมาณ ้ 2.8 มิลลิเมตร (ตาแหน่งที่ 5 และ9) ส่วนกลางของคาร์ เพลขนาดเล็กทังสองข้ ้ างมีความหนาลดลงมาอยู่ระหว่าง 2.53-2.68 มิลลิเมตร ในขณะที่ความหนา กะลาฝั่งคาร์ เพลใหญ่มีความหนากะลาที่น้อยที่สดุ คือ 2.02-2.16 (ตาแหน่งที่ 6,7 และ8) มิลลิเมตร ซึง่ แตกต่างทางสถิติจาก ส่วนอื่น ๆ อย่างชัดเจน (ตารางที่ 2) Table 1 Young polished coconut cracking percentage at different positions Cracked position Left small carpel Large carpel Right small carpel

Stem end Middle Stylar end Stem end Middle Stylar end Stem end Middle Stylar end

Shell cracking (%) 1.37 bc* 0c 3.39 bc 0.46 bc 4.38 bc 77.50 a 0c 1.27 bc 11.64 b

* Number followed with the same letter are not significantly different by Duncan’s Multiple Range Test (P<0.05)

482

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Shell thickness along the equator of young coconuts Position

Shell thickness (mm)

1 ridge between small carpels

3.16a*

2 in right small carpel

2.53e

3 in right small carpel

2.64c

4 in right small carpel

2.68c

5 ridge between right small carpel and large carpel

2.82b

6 in large carpel

2.08f

7 in large carpel

2.16f

8 in large carpel

2.02f

9 ridge between large carpel and left small carpel

2.80b

10 in left small carpel

2.60c

11 in left small carpel

2.61c

12 in left small carpel

2.55d

* Number followed with the same letter are not significantly different by Duncan’s Multiple Range Test (P<0.05)

เมื่อวัดความหนากะลาตามความยาวผล เริ่ มจากบริ เวณขัวผล ้ (stem end) ที่มีตาพบว่ามีความหนากะลามากที่สดุ คือ 3.03 มิลลิเมตร ถัดลงมาความหนากะลาลดลงจนถึงระยะกึ่งกลางระหว่างกลางผลกับปลายผล พบว่ามีความหนากะลา น้ อยที่สดุ คือ 1.75 มิลลิเมตร จากนันกะลามี ้ ความหนาเพิ่มขึ ้นจนถึงปลายผล (ตารางที่ 3)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

483


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Shell thickness along the length of the large carpel of young coconuts Position from stem end to stylar end

Shell thickness (mm)

0

3.03a*

1

2.60bcd

2

2.72abc

3

2.64bcd

4

2.54bcd

5

2.42cde

6

2.26def

7

2.08efg

8

2.00fg

9

1.86g

10

1.75g

11

1.78g

12

2.33cdef

13

2.35cdef

14

2.65bcd

* Number followed with the same letter are not significantly different by Duncan’s Multiple Range Test (P<0.05)

การเก็บข้ อมูลในช่วงฤดูฝน (สิงหาคม-ตุลาคม) พบว่ากะละมะพร้ าวค่อนข้ างบางมีความหนาเฉลี่ยเพียง 2.0 มิลลิเมตร และมีอตั ราการแตกสูง 12-18% แต่เมื่อเข้ าช่วงฤดูแล้ ง (พฤศจิกายน-กุมภาพันธ์) กะลามะพร้ าวหนาขึ ้นเป็ น 2.2-2.4 มิลลิเมตร ส่วนการแตกลดลงต่ากว่า 10% โดยเฉพาะในเดือนธันวาคม กะลามะพร้ าวมีความหนามากที่สดุ และมีการแตกน้ อย ที่สดุ เพียง 3% เมื่อวิเคราะห์สหสัมพันธ์ ถดถอยระหว่างความหนากะลา และเปอร์ เซ็นต์การแตก พบว่ามีค่าสัมประสิทธิการ ตัดสินใจ (R2) เท่ากับ 0.71 (ภาพที่ 1) เมื่อเปรี ยบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยความหนากะลาระหว่างผลแตก และผลปกติด้วยวิธี Student’s t distribution พบว่า ผลที่แตกมีกะลาบางกว่าผลปกติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง และในทิศทางเดียวกัน ผลแตกมีความหนาของชันเนื ้ ้อ 484

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

มะพร้ าวที่บางกว่าผลปกติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง ในขณะที่เปอร์ เซ็นต์น ้าในกะลาของผลแตกสูงกว่าผลปกติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง เช่นกัน แต่พบว่าปริมาณแคลเซียมในกะลาระหว่างผลแตก และผลปกติไม่แตกต่างกันทางสถิติ (ตารางที่ 4)

Shell cracking (%)

20

R² = 0.7066

Oct

15

Au

10

Se

g

p

5

Nov

Jan

Feb Dec

0 1.9

2

2.1 2.2 2.3 Shell thickness (mm)

2.4

2.5

Figure 1 Relationship between shell cracking percentage and shell thickness, at the middle of the large carpel, mid-way between the stylar end and the equator of polished young coconuts, during a 7 months study period Table 4 Shell thickness, kernel thickness, water content in shell, and calcium content in shell of non-cracked and cracked polished young coconuts Non-cracked

t-test

Cracked

Shell Thickness (mm)

2.18

2.05

**

Kernel Thickness (mm)

3.48

2.57

**

Water content in shell (%)

27.1

30.86

**

Calcium content in shell (% of dry matter)

2.34

2.51

ns

**Statistically significant P<0.01, ns = non-significant

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

485


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

วิจารณ์ บริ เวณที่เกิดการแตกมากที่สดุ คือ บริ เวณถัดจากปลายผลขึ ้นมาเป็ นระยะทางประมาณ ¼ ของความยาวผล ในคาร์ เพลใหญ่ (ตารางที่ 1) เนื่องจากในบริ เวณนี ้กะลาบางที่สดุ ทังในแนวเส้ ้ นรอบวง และแนวความยาวผล (ตารางที่ 2 และ3) และ ผลที่เกิดการแตกพบว่าความหนาของกะลาต่ากว่า มี ความหนาเนื ้อ หรื อความบริ บูรณ์ ที่ต่ากว่า และมีปริ มาณน ้าในกะลาสูง กว่าผลปกติ (ตารางที่ 4) ผลมะพร้ าวที่ยงั ไม่ถกู เจีย หรื อควัน่ จะไม่พบเกิดการแตกเนื่องจากผลมะพร้ าวมีสว่ นของเปลือก หรื อ mesocarp ที่ป้องกันส่วนของกะลาจากทังแรงกระทบจากภายนอก ้ และจากแรงดันน ้าภายในผล ซึ่ง Scholander (1955) รายงานว่าเมื่อมะพร้ าวยังอ่อน ภายในผลมีความดันสูงกว่าบรรยากาศภายนอกประมาณ 2-3 บรรยากาศ การปอกเจียเอาส่วน ของเปลือกออก ทาให้ ส่วนปกป้องกะลาหายไป แรงดันภายในผลประกอบกับกะลาที่แข็งแรงไม่เพียงพอจึงทาให้ เกิดการแตก (Siriphanich et al., 2011) โดยพบการแตกส่วนใหญ่ที่บริ เวณคาร์ เพลใหญ่ฝั่งปลายผล เนื่องจากเป็ นบริ เวณที่กะลาบางที่สดุ ทานองเดียวกับกรณี ของการแตกในผลมังคุดเนื่องจากแรงดันนา้ ภายในเซลล์ที่สงู จึงทาให้ เกิดการแตกและนาไปสู่การเกิด อาการเนื ้อแก้ วยางไหลตามมา (พรรณี และคณะ, 2554) นอกจากนี ้คาดว่า แรงจากภายนอก เช่น แรงกระแทกจากการเจีย และจากการขนส่งมะพร้ าวอาจมีผลให้ เกิดการแตกได้ เช่นเดียวกัน เหตุที่กะลาบริ เวณคาร์ เพลใหญ่บางที่สดุ อาจเป็ นเพราะทัง้ สามคาร์ เพลมีจานวนเซลล์ที่เท่ากัน แต่ที่บริ เวณคาร์ เพลใหญ่มีการขยายขนาดของเซลล์ตามแนว เส้ นรอบวงมากที่สดุ ทาให้ มี ความบางที่สดุ และเห็นได้ ว่าบริ เวณนี ้ยิ่งบางมากในช่วงฤดูฝนที่พบเปอร์ เซ็นต์การแตกสูง (ภาพที 1) เช่นเดียวกับ มังคุด เชอรี และมะเขือเทศซึง่ พบการแตกมากในฤดูฝนเช่นเดียวกัน (พรรณี และคณะ, 2554; Simon, 2006; Peet, 1992) ทังนี ้ ้ในฤดูฝน ต้ นมะพร้ าวได้ รับน ้ามาก ผลรวมทังกะลา ้ จึงสามารถขยายตัวได้ อย่างรวดเร็ ว กะลาจึงบางกว่าและแข็งแรงน้ อยกว่าในฤดูอื่น และสอดคล้ องกับการเกิดอาการแตกของเมล็ดท้ อ ซึ่งเป็ นส่วนของ endocarp เช่นกัน และมักพบการแตกในช่วงที่ endocarp กาลังสะสม lignin ยังไม่แข็งแรงเต็มที่ (Monet and Bastard,1980) นอกจากนันในฤดู ้ ฝนผลมะพร้ าวน่าจะมีแรงดันภายในผล ที่สงู กว่าฤดูอื่นด้ วยจึงพบการแตกมาก ซึง่ จาเป็ นต้ องมีการพิสจู น์ต่อไป ดังนันในการเก็ ้ บเกี่ยวมะพร้ าวเพื่อผลิตมะพร้ าวเจีย จึง ควรเก็บเกี่ยวมะพร้ าวให้ มีความบริ บูรณ์ ที่มากกว่ามะพร้ าวสาหรับควัน่ เพื่อให้ กะลาหนาขึ ้นมี ความแข็งแรงมากขึ ้น และควร ระมัดระวังในการปอกเจียมากขึ ้น นอกจากนันหลั ้ งการเก็บเกี่ยวควรชะลอการปอกเจีย เพื่อให้ มะพร้ าวคายน ้าออกไปบ้ างและ มีความดันภายในผลลดลง การศึกษาปริ มาณแคลเซียมในกะลาไม่พบความแตกต่างทางสถิติระหว่างผลแตกกับผลปกติ ถึงแม้ จะมีแนวโน้ มว่า ค่าเฉลี่ยของปริ มาณแคลเซียมในกะลาของผลแตกสูงกว่าผลปกติ (ตารางที่ 4) ซึง่ อาจเป็ นผลมาจาก ผลแตกมีปริ มาณน ้าใน กะลามากกว่า เมื่อคานวณเป็ นเปอร์ เซ็นต์แคลเซียมต่อมวลแห้ งจึงได้ ค่าสูงขึ ้น ผลการทดลองนี ้ไม่สอดคล้ องกับผลการศึกษาใน เมล็ดท้ อ (Evert et al.,1988) ซึง่ พบแคลเซียมต่าในเมล็ดที่แตก อย่างไรก็ตามปกติแคลเซียมทาให้ ความแข็งแรงของผนังเซลล์ ของพืชสูงขึ ้น เพราะแคลเซียมสามารถเชื่อมต่อโมเลกุลของเพกทินด้ วยพันธะไอออนิก เกิดโครงสร้ าง egg-box ที่แข็งแรง (Huang et al., 2008; Simon, 2006) แต่กะลามะพร้ าว มีโครงสร้ างประกอบด้ วย stone cell ในกลุม่ ของ sclerenchyma มี การสร้ างผนังเซลล์ขนที ั ้ ่สอง (secondary thickening) ซึง่ เกิดจากการสะสมของสารลิกนิน (Fahn,1990) ความแข็งแรงของ กะลามะพร้ าวจึงขึ ้นอยูก่ บั การสะสมของลิกนิน ดังนันปริ ้ มาณแคลเซียมจึงอาจไม่เกี่ยวข้ องกับความแข็งแรงของกะลามะพร้ าว

สรุ ปผลการทดลอง ลักษณะทางกายภาพของกะลาในมะพร้ าวอ่อนมีผลต่อการเกิดการแตกเมื่อทาการเจีย พบการแตกมากที่สดุ บริเวณ คาร์ เพลใหญ่ฝั่งปลายผล ซึง่ เป็ นบริเวณที่กะลามีความบางที่สดุ โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน และมีปริมาณน ้าในกะลาสูงกว่าส่วน อื่น ส่วนปริมาณแคลเซียมในกะลาพบว่าไม่สมั พันธ์กบั การแตกของกะลาในมะพร้ าวเจีย

486

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ บริษัท K fresh ที่อนุเคราะห์ผลมะพร้ าว และอานวยความสะดวกในการเก็บข้ อมูล และสถานที่ในการเก็บ ตัวอย่าง ขอขอบคุณ ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน ที่อานวยความสะดวกในการทาวิจยั อุปกรณ์ สถานที่ และการประสานงาน

เอกสารอ้ างอิง กรมศุลกากร. 2558. สถิติการนาเข้ า-ส่งออก. จากกรมศุลกากร เว็บไซด์ : http://www.custom.go.th/statistic/statisticIndex.jsp ค้ นเมื่อ 16 กรกฏาคม 2558, ทัศนีย์ อัตตะนันท์ และจงรักษ์ จัทร์ เจริ ญสุข. 2542. แบบฝึ กหัดและคูม่ ือปฏิบตั ิการวิเคราะห์ดินและพืช. ภาควิชาปฐพีวิทยา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. พรรณี ชื่นนคร, พรชัยไพบูลย์ และสุนทรี ยิ่งชัชวาล. 2554. อัตราไหลของน ้ากับการเกิดอาการเนื ้อแก้ วยางไหลของผลมังคุด. รายงานการวิจยั ศูนย์ เทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน. อนรรฆ พรรคเจริ ญ, เกรี ยงไกร มีถาวร, และ กิรนันท์ เหมาะประมาณ. (2555). การเกิดและการป้องกันการแตกและกลิ่นผิดปกติในมะพร้ าวน ้าหอม ระหว่างการเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิต่า . รายงานการวิจยั ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน. Byers, R. E., D. H. Carbaugh and C.N. Presley. (1990). ‘Stayman’ fruit cracking as affected by surfactants, plant growth regulators, and other chemicals." J. AMER. SOC. HORT. SCI. 115(3): 405-411. Evert, D. R., Gaines, T. P., & Mullinix, B. G. (1988). Effects of split-pit on elemental concentrations of peach fruit during pit hardening. Scientia Horticulturae, 34(1), 55-65. Fahn A. 1990. Plant Anatomy, 4th ed. Pergamon Press, Oxford. 588p. Huang, X. M., H. C. Wang, W. L. Zhong, W. Q. Yuan, J.M. Lu and J.G. Li. (2008). Spraying calcium is not an effective way to increase structural calcium in litchi pericarp. Scientia Horticulturae. 117(1): 39-44. Monet, R. and Bastard, Y., 1980. Split-pit of peaches. Effect of temperature. Ann. Amelior. Plantes (Paris), 29: 535-544. Peet, M. M. 1992. Fruit cracking in tomato. HortTechnology. 2(2): 216-223. Scholander, P.F. 1955. Hydrostatic pressure in coconuts. Plant Physiology. 30:560-561. Simon, G. 2006. Review on rain induced fruit cracking of sweet cherries (Prunus avium L.), its causes and the possibilities of prevention. International Journal of Horticultural Science. 12(3): 27-35. Siriphanich J., P. Saradhuldhat, T. Romphophak, K. Krisanapook, S. Pathaveerat and S. Tongchitpakdee. 2011. Coconut (Cocos nucifera). pp. 8-35. In E. M. Yahia. (ed.) Postharvest Biology and Technology of Tropical and Subtropical Fruits. Vol. 3. Woodhead Publishing Limited. Cambridge.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

487


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของก๊ าซคลอรีนไดออกไซด์ ต่อกิจกรรมของเอนไซม์ ไคติเนสและกลูคาเนสของผลลาไย หลังเก็บเกี่ยวที่ปลูกเชือ้ Cladosporium sp. Effect of gaseous chlorine dioxide on chitinase and glucanase activities in harvested longan fruits inoculated with Cladosporium sp. นิตยิ า กันธิยะ1 บุญสม บุษบรรณ์ 1 จานงค์ อุทยั บุตร1,2 และกอบเกียรติ แสงนิล1,2 Nitiya Guntiya1 Boonsom Bussaban1 Jamnong Uthaibutra1,2 and Kobkiat Saengnil1,2

บทคัดย่ อ การผลิตเอนไซม์ไคติเนสและกลูคาเนสเป็ นส่วนหนึ่งของกลไกป้องกันตนเองของพืช ต่อการเข้ ารุ กรานของ เชื อ้ โรค การศึก ษาครั ง้ นี เ้ พื่อ แสดงถึง กลไกการลดการเกิด โรคผลเน่าของลาไยโดยก๊ าซคลอรี น ไดออกไซด์ ( ClO2) โดย ศึกษาผลของการรมผลด้ วยก๊ าซ ClO2 ต่อการเกิดโรคและกิจกรรมของไคติเนสและกลูคาเนสของผลลาไยหลังเก็บเกี่ยว ระหว่างเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 25±3ºซ เป็ นเวลา 7 วัน พบว่าผลลาไยที่ปลูกเชื อ้ Cladosporium sp. ซึ่งเป็ นเชื อ้ ราก่อโรค ผลเน่ามีกิจกรรมของไคติเนสและ กลูคาเนสสูงกว่าชุดควบคุมที่ไม่ปลูกเชื อ้ โดยเพิ่มขึน้ สูงสุดในวันที่ 4 และ 5 หลังปลูก เชื อ้ ตามลาดับ จากนัน้ ค่อยๆ ลดต่าลง การรมผลลาไยที่ปลูกเชื อ้ ด้ วยก๊ าซ ClO2 10 มก./ล. เป็ นเวลา 10 นาที กระตุ้น ให้ ผลมีกิจกรรมของไคติเนสและกลูคาเนสเพิ่มสูงขึน้ กว่าชุดควบคุมที่ปลูกเชื อ้ โดยเพิ่มขึน้ ตัง้ แต่วันที่ 2 และ1 ของการ ทดลอง และเพิ่มสูงสุดในวันที่ 4 และ 5 ตามลาดับเช่นกัน ซึ่งกิจกรรมของเอนไซม์ทัง้ สองเพิ่มสูงกว่าประมาณ 54 และ 78% ตามลาดับ ทัง้ นี ้ ClO2 มีป ระสิท ธิ ภ าพในการกระตุ้น กิจ กรรมของกลูค าเนสดีก ว่า ไคติเนส และการเพิ่ม ขึน้ ของ กิจ กรรมของเอนไซม์ทัง้ สองในผลที่ร มด้ ว ย ClO2 ยัง สอดคล้ อ งกับ การลดต่า ลงของการเกิด โรคผลเน่า ด้ ว ย จากผลการ ทดลองดัง กล่า วสัน นิษ ฐานว่า กิจ กรรมของไคติเ นสและกลูค าเนสที ่เ พิ ่ม สูง ขึ น้ ในผลที ่ร ม ด้ ว ย ClO2 เป็ น กลไกการ ตอบสนองของลาไยเพื่อลดการเกิดโรคผลเน่าจากเชือ้ ราก่อโรคนี ้ คาสาคัญ : ไคติเนส กลูคาเนส โรคผลเน่า คลอรี นไดออกไซด์ ลาไย

Abstract Chitinase and glucanase are produced as part of the active plant defense mechanism against pathogen invasion. This study was to demonstrate the mechanism of reduction of fruit rot disease in longan by gaseous chlorine dioxide (ClO 2). The effect of ClO 2 fumigation on the onset of disease and the activities of two plant defense enzymes, chitinase and glucanase in the harvested longan fruits during storage at 25±3ºC for 7 days were then investigated. Inoculation of longan fruits with fungal pathogen Cladosporium sp. resulted in a marked increase in chitinase and glucanase activities. The maximum increase was observed on Days 4 and 5 after inoculation, respectively, when compared with the uninoculated control fruits and gradually decreased thereafter. Fumigation of inoculated fruits with 10 mg/l ClO2 stimulated the increase in chitinase and glucanase from Days 2 and 1 an d reaching maximum on Days 4 and 5, respectively. The increase in enzyme activities was approximately 54 and 78% respectively higher than those in the inoculated control fruits. ClO 2 was more efficient in stimulating the activity of glucanase than that of chitinase. The increase in the activities of both enzymes was in accordance with the reduction of fruit rot disease. Suggesting that the increase in the activities of chitinase and glucanase activated by ClO 2 fumigation is the response mechanism of longan fruits to reduce fungal rot disease caused by the pathogen. Keywords: chitinase, glucanase, fruit rot disease, chlorine dioxide, longan

คานา 1 2

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200 ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200 488

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เซลล์พืช มีร ะบบป้อ งกัน ตนเองเพื่อ ให้ ต้ า นทานหรื อ รอดชีวิต ต่อ เชื อ้ ราที่เ ข้ า รุ ก ราน หนึ่ง ในกลไกป้อ งกัน สาคัญคือการสร้ างโปรตีนเอนไซม์ทาลายผนังเซลล์ของเชื อ้ รา ได้ แก่ เอนไซม์ไคติเนส (chitinase; poly [1,4-(N-acetyl[3-D-glucosaminide] glycanhydrolase, EC 3.2.1.14 ) และกลูคาเนส (-1,3-glucanase, EC 3.2.1.39) ที่ย่อย สลายโพลีแ ซคคาไรด์ ที่เ ป็ น องค์ป ระกอบของผนัง เซลล์ข องเชื อ้ ราให้ เ ป็ น นา้ ตาลโมเลกุล เดี่ย วทาให้ เ ชื อ้ ราถูก ทาลายและตายในที่สุด (van Loon et al., 2006) เอนไซม์ทัง้ สองในพืช ถูก กระตุ้น ให้ สร้ างและทางานแตกต่า งกันขึน้ อยู่กับ ชนิด พืช ชนิด เชื อ้ รา และสภาวะที่ เข้ าทาลาย เช่น ผลเชอร์ รี่ ที่ปลูกเชื อ้ Penicillium expansum มีกิจกรรมของไคติเนสและกลูคาเนสเพิ่ม สูง กว่าชุดควบคุมระหว่างเก็บรักษาผลที่ 20ºซ เป็ นเวลา 4 วัน โดยกลูคาเนสมีกิจกรรมเพิ่ม สูงกว่าไคติเนสประมาณ 2 เท่า (Xu and Tian, 2008) ส่วนผลพีชที่ปลูกเชื อ้ P. expansum ไคติเนสและกลูคาเนสมีกิจกรรมเพิ่มสูง กว่าชุด ควบคุมเช่นกันระหว่างเก็บรักษาผลที่ 20ºซ เป็ นเวลา 6 วัน แต่กิจกรรมของไคติเนสสูงกว่ากลูคาเนสประมาณ 10 เท่า (Yang et al., 2011) ส่วนกิจกรรมของไคติเนสและกลูคาเนสในผลมะม่วงที่ปลูกเชื อ้ Collectrotrichum sp. เพิ่มสูงขึน้ ตัง้ แต่ว ันแรกแล้ วลดต่า ลงช่ว งท้ ายของการเก็บ รัก ษา สัมพันธ์ กับการเกิดโรคที่เพิ่มขึน้ ระหว่า งเก็บรักษาผลที่ 25ºซ เป็ น เวลา 7 โดยกลูคาเนสมีกิจกรรมสูงกว่าไคติเนสประมาณ 5 เท่า (Zhang et al., 2013) การให้ ส ารเคมีจ ากภายนอกแก่พืช สามารถลดการเกิด โรค โดยมีผลเพิ่มกิจกรรมของเอนไซม์ไ คติเนสและกลูก คาเนส ดังเช่นการทดลองจุ่มผลมะม่วงลงในสารละลาย BABA (beta-Aminobutyric acid) 100 มิลลิโมลาร์ ลดการเกิด โรคที่เกิดจากเชือ้ C. gloeosporioides โดยกระตุ้นให้ ผลมี กิจกรรมของไคติเนสและกลูคาเนสสูงกว่าชุดควบคุม 25 และ 37.5% ตามลาดับระหว่างเก็บรักษาที่ 25ºซ เป็ นเวลา 7 วัน (Zhang et al., 2013) เช่นเดียวกับการจุ่มผลเชอร์ รี่ ในสารละลายกรดซาลิไซลิก (SA) 2 มิลลิโมลาร์ ลดการเกิดโรคที่เกิดจากเชื อ้ P. expansum สัมพันธ์ กับกิจกรรมของไค ติเนสและกลูคาเนสที่เพิ่มสูงขึน้ กว่าชุดควบคุม 50 และ 65% ตามลาดับ ระหว่างเก็บรักษาผลที่ 20ºซ เป็ นเวลา 4 วัน (Xu and Tian, 2008) ผลลาไยสดมีปัญหาการเน่าเสียภายหลังเก็บเกี่ยวและระหว่างเก็บรักษาเพื่อจาหน่าย และเชื อ้ Cladosporium sp. เป็ นเชื อ้ ราก่อโรคผลเน่าสาคัญชนิดหนึ่งของลาไย (Jiang et al., 2002) ที่ผ่านมามีการใช้ สารฆ่าเชื อ้ ราและก๊ าซ ซัล เฟอร์ ไ ดออกไซด์เ พื่อ ควบคุม การเกิด โรคผลเน่า ในผลลาไย แต่วิธี ก ารเหล่า นี ม้ ีอ ัน ตรายต่อ ผู้บ ริ โ ภคและสิ่ง แวดล้ อ ม ปั จจุบันมีรายงานว่าการรมผลด้ วยก๊ าซคลอรี นไดออกไซด์ (ClO2) ซึ่งปลอดภัยกว่าสามารถรักษาคุณภาพและลดการเน่า เสียของผลลาไยที่เก็บรักษาที่ 25°ซ ได้ ดี (Saengnil et al., 2014) เนื่องจาก ClO2 มีคุณสมบัติยับยัง้ การเจริ ญของเชื อ้ รา ก่อโรคหลายชนิด (Roberts and Reymond, 1994) ดังมีรายงานในผักผลไม้ บางชนิด เช่น ก๊ าซ ClO2 ยับยัง้ การ เจริ ญเติบโตของเชื อ้ Alternaria alternata และ Stemphylium vesicarium ในผลมะเขือเทศ (Trinetta et al., 2013) รวมถึงเชื อ้ Dothiorella grefaria และ Fusarium tricinctum ในผลเกาลัดได้ (Chen and Zhu, 2011) แต่ทัง้ นี ย้ ังไม่มี การศึกษาผลของก๊ าซ ClO2 เพื่อลดโรคผลเน่าที่เกิดจากเชื อ้ Cladosporium sp. รวมทัง้ กลไกการป้องกันตัวเองของผล ลาไยเกี่ยวกับไคติเนสและกลูคาเนส ดังนัน้ การศึกษาครั ง้ นี จ้ ึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของก๊ าซ ClO2 ต่อกิจกรรมของ เอนไซม์ไ คติเนสและกลูคาเนสของผลลาไย และการเกิดโรคผลเน่าที่ เกิด จาก Cladosporium sp. ของผลลาไยระหว่าง เก็บรักษา

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

489


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการ การเตรี ยมพืชทดลอง คัดเลือกผลลาไยพันธุ์ดอระยะเก็บเกี่ยวเพื่อการค้ าคือ อายุประมาณ 180 วันหลังดอก บาน ที่ไม่มีรอยการเข้ าทาลายของโรคและแมลงจากสวนเกษตรกรในจังหวัดลาพูน ตัดก้ านผลเดี่ยวให้ ยาวประมา ณ 0.5 ซม. ทาความสะอาดแต่ละผลโดยการจุ่มผลลงในเอทานอล 70% เป็ นเวลา 1 นาที แล้ วผึ่งผลให้ แห้ ง การเตรี ยมสปอร์ แขวนลอยของเชือ้ รา แยกเส้ นใยของเชื อ้ บริ สุท ธิ์ ของ Cladosporium sp. ที่เป็ นเชื อ้ ราของโรคผล ลาไยเน่าและเลี ้ยงเชื อ้ บนอาหาร PDA บ่มไว้ ที่อุณหภูมิ 25±3°ซ จนเชื อ้ สร้ างสปอร์ (ประมาณ 14 วัน) จากนัน้ เตรี ยม สปอร์ แขวนลอยในน ้ากลัน่ ให้ ได้ ความเข้ มข้ น 3 x 106 สปอร์ /มล. เพื่อใช้ ในการปลูกเชือ้ ต่อไป แบ่งการทดลองออกเป็ น 2 การทดลองดังนี ้ การทดลองที่ 1 ผลของก๊ าซ ClO2 ต่อการเกิด โรคผลเน่าและกิจ กรรมของเอนไซม์ไ คติเนสและกลู ค าเนสของผลลาไย โดยแบ่ง ผลเป็ น 3 ชุด คือ ชุด ควบคุม ไม่ป ลูก เชื อ้ ราและไม่ร มก๊ า ซ ClO2 (uninoculated control) ชุด ปลูก เชื อ้ รา (inoculated control) และชุดปลูกเชื อ้ ราและ รมก๊ าซ ClO2 (inoculated ClO2) (ชุดปลูกเชื อ้ ราเตรี ยมโดยจุ่มผลลงใน สปอร์ แขวนลอยของ เชื อ้ ราความเข้ มข้ น 3 x 106 สปอร์ /มล. เป็ นเวลา 1 นาที ส่วนชุดรมก๊ าซ ClO2 เตรี ยมโดยรมผล ด้ วยก๊ าซ ClO2 ความเข้ มข้ น 10 มก./ล. เป็ นเวลา 10 นาที) ทาการทดลองชุดละ 480 ผล (3 ซ ้า) จากนัน้ นาผลแต่ละชุด บรรจุในถาดโฟม ถาดละ 20 ผล หุ้มปิ ดถาดด้ วยพลาสติก PVC แล้ วนาไปเก็บรักษาที่ 25±3°ซ เป็ นเวลา 7 วัน ทาการสุ่ม ตัวอย่างผลชุดละ 60 ผลทุกๆ วันมาวิเคราะห์เปอร์ เซ็นต์การเกิดโรค (disease incidence) คานวณจาก (จานวนผลที่ เกิดโรคผลเน่า /จานวนผลทัง้ หมด) x 100 และกิจกรรมของไคติเนสและกลูคาเนสโดยดัดแปลงจากวิธี การของ Wirth and Wolf (1992) การทดลองที่ 2 ผลของก๊ าซ ClO2 ต่อการงอกของสปอร์ ในสภาพ in vitro แบ่งเป็ น สองชุด แต่ละชุดแบ่งเป็ น 2 microwell plate โดยใส่สปอร์ แ ขวนลอยความเข้ มข้ น 1x104 สปอร์ /มล. ลงไปในเพลท 16 หลุม (3 ซ ้า) หลุมละ 200 ไมโครลิตร จากนัน้ นาไปรมก๊ าซ ClO2 0 และ 10 มก./ล. เป็ นเวลา 10 นาที บันทึกเปอร์ เซ็นต์การงอกของสปอร์ ในชั่วโมง ที่ 0, 6, 12, 24 และ 48 การวิเ คราะห์ ผ ลทางสถิติ วางแผนการทดลองแบบสุ่ม สมบูร ณ์ (completely randomized design: CRD) และ วิเคราะห์ความแตกต่างของกรรมวิธีด้วยโปรแกรมสาเร็ จรู ป SPSS for Windows version 17 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์ เซ็นต์

ผลการทดลอง การเกิด โรคผลเน่า ของลาไยเพิ่ม สูง ขึ น้ ตามระยะเวลาที่เ ก็บ รัก ษา โดยชุด ปลูก เชื อ้ Cladosporium sp. มี เปอร์ เซ็นต์การเกิดโรคเพิ่มขึน้ อย่างรวดเร็ วตัง้ แต่วันที่ 2 ของการเก็บรักษาและสูงกว่าชุด ควบคุมไม่ปลูกเชื อ้ ซึ่งทัง้ สองชุด มีเปอร์ เซ็นต์การเกิด โรคสูงสุด (100%) ในวันที่ 5 และ 7 ตามลาดับ ส่วนชุดปลูกเชือ้ ราและรมก๊ าซ ClO2 มีเปอร์ เซ็นต์การ เกิดโรคต่า (<30%) ในช่วง 4 วันแรก หลังจากนัน้ เพิ่มสูงขึน้ จนใกล้ เคียงกับสองชุดแรกในวันที่ 7 ทัง้ นี ช้ ุดนี ม้ ีเปอร์ เซ็นต์ การเกิดโรคต่ากว่าจากชุดควบคุมปลูกเชือ้ อย่างมีนั ยสาคัญตลอด 6 วันแรกของการเก็บรักษา (Figure 1) กิจกรรมของเอนไซม์ไ คติเนสของชุดควบคุม ไม่ป ลูก เชื อ้ และชุด ปลูก เชื อ้ Cladosporium sp. อย่างเดีย วไม่ แตกต่างกันทางสถิติ โดยเพิ่มสูงขึน้ ใน 4 วันแรกจากนัน้ ค่อยๆ ลดต่าลงไปจนถึงวันที่ 7 ส่วนชุดปลูกเชื อ้ และรมก๊ าซ ClO2 มีก ารเปลี่ย นแปลงกิจ กรรมของไคติเ นสคล้ า ยกับ สองชุด แรกแต่ส ูง กว่า อย่า งมีน ัย สาคัญ ตัง้ แต่ว ัน ที่ 2 จนสิ ้นสุด การ ทดลอง โดยเพิ่มขึน้ สูงสุดในวันที่ 4 และสูงกว่าชุดควบคุมปลูกเชือ้ อย่างเดียว 54% (Figure 2a) กิจ กรรมของเอนไซม์ก ลูค าเนสของทัง้ ชุดควบคุม ไม่ปลูก เชื อ้ และชุด ปลูก เชื อ้ อย่างเดียวเพิ่มสูงขึน้ ใน 5 วันแรก และลดต่าลงหลัง จากนัน้ ส่วนชุดปลูกเชื อ้ และรมก๊ าซ ClO2 มีกิจกรรมของกลูคาเนสสูงกว่าสองชุดแรกตัง้ แต่วันที่ 1 และ เพิ่มสูงสุดในวันที่ 5 ของการทดลอง โดยเพิ่มสูงกว่าชุดควบคุมปลูกเชือ้ อย่ างเดียว 78% (Figure 2b) สปอร์ ของเชื อ้ Cladosporium sp. ของชุดควบคุมมีการงอกของสปอร์ เพิ่มขึน้ ตามระยะเวลาที่เพิ่มขึน้ โดยใน ชั่วโมงที่ 24 มีการงอกสูงสุด (95%) ขณะที่ชุดรมก๊ าซ ClO2 มีการงอกของสปอร์ ต่ากว่า (54.58%) (Table 1)

490

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

วิจารณ์ ผล ผลลาไยที่ปลูกเชื อ้ Cladosporium sp. เกิดโรคผลเน่าเพิ่มขึน้ อย่า งรวดเร็ วภายใน 4 วันของการเก็บรักษา (Figure 1) สัมพันธ์ กับ การเพิ่มสูงขึน้ ของกิจกรรมของไคติเนสและกลูคาเนสซึ่งเป็ นกลไกหนึ่งของการป้องกันตนเองของ ผลในช่วง 4 วันแรก หลังจากนัน้ กิจกรรมของเอนไซม์ทัง้ สองลดต่าลงจึงมีผลทาให้ เกิดโรคเพิ่มขึน้ อย่างชัดเจน (Figure 2a และ 2b) การรมผลที่ปลูกเชื อ้ ด้ วยก๊ าซ ClO2 สามารถลดและชะลอการเกิดโรคผลเน่านี ไ้ ด้ โดยมีการเกิดโรคต่ากว่า ชุดควบคุมที่ปลูกเชื อ้ ตลอด 6 วันแรกและมีการเกิดโรคต่ากว่า 30% ในช่วง 4 วันแรก (Figure 1 และ 2) ทัง้ นี ส้ นั นิษฐาน ว่า ClO2 มีผลส่งเสริ ม ระบบป้องกันตนเองของผล โดยทาหน้ าที่ส่งสัญญาณเพื่อกระตุ้นการแสดงออกของยีนในกลุ่มยีน PR (pathogenesis related gene) ให้ เพิ่มสูงขึน้ ซึ่งได้ แก่ยีนที่ ควบคุม การสังเคราะห์ไคติเนสและกลูคาเนส (van Loon et al., 2006) การกระตุ้นโดยให้ สารเคมีจากภายนอกเพื่อป้องกัน โรคที่เกิดจากเชื อ้ รา โดยกลไกการเพิ่มขึน้ ของกิจกรรม ของไคติเนสและกลูคาเนสยังพบในผลส้ มและผลมะม่วงที่ได้ รับ SA และ BABA จากภายนอก ตามลาดับ (Zhou et al., 2014: Zhang et al., 2013) ในการทดลองนีก้ ๊ าซ ClO2 มีผลเพิ่มกิจกรรมของกลูคาเนสดีกว่าไคติเนส อาจเป็ นเพราะสารเคมีแต่ละชนิดมีผล กระตุ้นระบบเอนไซม์ซึ่งเป็ นกลไกในการต้ านทานเชือ้ ก่อโรคได้ แตกต่างกันดังเช่น SA เพิ่มกิจกรรมของไคติเนสของผลส้ ม สูงกว่ากลูคาเนส (Zhou et al., 2014) ซึ่งต่างจากในผลพีช ที่ SA เพิ่มกิจกรรมของกลูคาเนสและไคติเนสใกล้ เคียงกัน (Yang et al., 2011) การรมผลด้ วยก๊ าซ ClO2 ยับยัง้ การงอกของสปอร์ ของเชื อ้ รา Cladosporium sp. ได้ สูงถึง 40% (Table 1) สันนิษฐานว่า ClO2 ทาลายเมมเบรนชัน้ โพลาร์ และนิวเคลียสของสปอร์ ทาให้ เกิดการรั่วไหลของสารต่างๆ ได้ แก่ น ้าตาล โปรตีน ดีเอ็นเอ และไอออนต่างๆ เกิดกระบวนการเมแทบอลิซึมที่ผิดปกติ จึงไม่สามารถงอกได้ เช่นเดียวกับที่สารละลาย ClO2 สามารถยับยัง้ การงอกสปอร์ ของเชื อ้ Nosema bobycis ได้ ดีโดย มีผลส่งเสริ มให้ เกิดลิพิดเปอร์ ออกซิเดชันของ เมมเบรน และการรั่วไหลของประจุไฟฟ้าของเซลล์มากขึน้ (Wang et al., 2010)

สรุ ปผลการทดลอง การรมผลลาไยด้ วยก๊ าซ ClO2 สามารถลดการเกิดโรคผลเน่ าจากเชื อ้ Cladosporium sp. โดยมีผลเพิ่มกิจกรรม ของเอนไซม์ไคติเนสและกลูคาเนสของผล รวมทัง้ ยับยัง้ การงอกของสปอร์ ของเชือ้ ราชนิดนี ้

คาขอบคุณ ขอขอบคุณ คณะวิท ยาศาสตร์ มหาวิท ยาลัย เชีย งใหม่ บัณ ฑิต วิท ยาลัย มหาวิท ยาลัย เชีย งใหม่ และศูน ย์ นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่สนับสนุนทุนการวิจัยและเอื อ้ เฟื ้อสถานที่ในการทาวิจัย ครัง้ นี ้

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

491


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Effect of chlorine dioxide on spore germination of Cladosporium sp. Spore germination (%)

Disease incidence (%)

Time (hr) 0 6 12 18 24 48

Control 7.26 ± 3.73 31.62 ± 3.14 45.94 ± 3.86 81.09 ± 5.87 95.48 ± 2.78 94.28 ± 3.55

Chlorine dioxide 5.89 ± 1.74 a 16.35 ± 3.67 b 26.52 ± 6.25 b 38.54 ± 1.85 b 54.87 ± 1.67 b 53.53 ± 4.11 b

a a a a a a

Uninoculated

% Reduction 18.95 48.29 42.27 52.48 42.53 43.23

Inoculated

Inoculated-Chlorine dioxide c

100 b

50

b

b a

0

a a a

a b a

0

1

a

a

a

2

a

b

a

a a a

b a

a

a

3 4 Day after treatment

5

6

7

Chitinase activity (µmol/mg Protein)

Figure 1 Effect of chlorine dioxide on disease incidence of longan fruits inoculated or uninoculated with Cladosporium sp.

60

Uninoculated

Inoculated

(2a)

a

40 20

Inoculated-Chlorine dioxide

a a a(a)

a a a

b b

a

b b

a

a

b b

b b

4

5

a b b

a

b b

0 Glucanase activity (µmol/mg Protein)

4.00

0

1

2

3

(2b)

2.00 a a

b b a(b)

0

1

a

c b

a

6

c

b

b b

7 a

a

a c b

a

a

b b

b b

6

7

0.00 2

3 4 Day after treatment

5

Figure 2 Effect of chlorine dioxide on chitinase (2a) and glucanase (2b) activities of longan fruit inoculated or uninoculated with Cladosporium sp.

492

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง Chen z. and C. Zhu. 2011. Modelling inactivation by aqueous chlorine dioxide of Dothiorella gregaria Sacc. and Fusarium tricinctum (Coda) Sacc. spores inoculated on fresh chestnut kernel. Applied Microbiology. 52: 676-684. Jiang, Y., Z. Zhang, D.C. Joyce and S. Ketsa. 2002. Postharvest biology and handling of longan fruit (Dimocarpus longan Lour.). Postharvest Biol Technol. 26: 241-252. Roberts, G.R. and S.T. Reymond. 1994. Chlorine dioxide for reduction of postharvest pathogen inoculum during handling of tree fruit. Appl Environ Microbiol. 60: 2864-2868. Saengnil, K., A. Chumyam, B. Faiyue and J. Uthaibutra. 2014. Use of chlorine dioxide fumigation to alleviate enzymatic browning of harvested ‘Daw’ longan pericarp during storage under ambient condition. Postharvest Biol Technol. 91: 49-56. Trinetta, V., R.H. Linton and M.T. Morgan. 2013. Use of chlorine dioxide gas for the postharvest control of Alternaria alternata and Stemphylium vesicarium on roma tomatoes. J Sci Food Agr. 93: 3330-3333. van Loon, L.C., M. Rep and C.M. Pieterse. 2006. Significance of inducible defense-related proteins in infected plants. Annu Rev Phytopathol. 44: 135-162. Wang, Z., F. Liao, J. Lin, W. Li, Y. Zhong, P. Tan and Z. Huang. 2010. Inactivation and mechanisms of chlorine dioxide on Nosema bombycis. J Invertebr Pathol. 104: 134-139. Wirth, S.J. and G.A. Wolf. 1992. Micro-plate colourimetric assay for endo-acting cellulase, xylanase, chitinase, 1,3-beta-glucanase and amylase extracted from forest soil horizons. Soil Biol Biochem. 24: 511-519. Xu, X. and S. Tian. 2008. Salicylic acid alleviated pathogen-induced oxidative stress in harvested sweet cherry fruit. Postharvest Biol Technol. 49: 379-385. Yang, Z., S. Cao, Y. Cai and Y. Zheng. 2011. Combination of salicylic acid and ultrasound to control postharvest blue mold caused by Peniciliium expansum in peach fruit. Innov Food Sci Emerg. 12: 310-314. Zhang, Z., D. Yang, B. Yang, Z. Gao, M. Li, Y. Jiang and M. Hu. 2013.-Aminobutyric acid induces resistance of mango fruit to postharvest antracnose caused by Collectrotrichum gloeosporioides and enhances activity of fruit defense mechanisms. Sci Hortic-Amsterdam. 160: 78-84. Zhou, Y., J. Ming, L. Deng and K. Zeng. 2014. Effect of Pichia membranaefaciens in combination with salicylic acid on postharvest blue and green mold decay in citrus fruit. Biol Control. 74: 21-29

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

493


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการเติมสารอาหารที่ต่างกันต่ อการเกิดสารอะเซทัลดีไฮด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ และสารที่ให้ กลิ่นที่ดใี นไวน์ ขาวที่สร้ างโดยยีสต์ Saccharomyces สองสายพันธุ์ Effect of Different Nutrient Addition on the Formation of Acetaldehyde, Hydrogen sulphide and Desirable Aromatic Compounds by Two Saccharomyces Yeast Strains in White Wine 2

ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ11และ Rauhut, D.2 Srisamatthakarn, P. and Rauhut, D.

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้ ศึกษาการหมักไวน์ขาวจากองุ่นพันธุ์ชอยเรเบ่ (Scheurebe) ด้ วยยีสต์ Saccharomyces ต่างสายพันธุ์ (S. bayanus; Lalvin-EC1118 และ S. cerevisiae; Zymaflore-X5) ร่วมกับการเติมสารอาหารที่ต่างกัน [ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต/ DAP; เซลล์ยีสต์ที่ไม่ทาให้ เกิดการหมัก/IY; IY ผสมผนังเซลล์ยีสต์/IYYW และ DAP ผสมไทอะมิน ผนังเซลล์ยีสต์ และ แอมโมเนียมซัลเฟต/DAPTYA] ปริมาณ 0.3 กรัมต่อลิตร ที่มีผลต่อการเกิดสารอะเซทัลดีไฮด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) และสารที่ ให้ กลิ่นที่ดีในไวน์ ผลการศึกษาพบว่า การเกิดสารประกอบเหล่านี ้ในไวน์ขาว ขึ ้นอยู่สายพันธุ์ยีสต์ที่ใช้ ในการหมัก และแหล่ง อาหารที่เติมลงไปในการหมัก โดยการหมักด้ วยยีสต์พนั ธุ์ X5 ทังที ้ ่ไม่เติมสารอาหาร และเติมสารอาหาร IYYW ส่งผลให้ ไวน์ขาว ที่ได้ มี H2S ในระดับสูง แต่ปริ มาณที่พบมีระดับต่ากว่าความเข้ มข้ นที่ทาให้ เกิดกลิ่นไข่เน่า (50-80 µg/L) ผลการศึกษายังพบว่า ยีสต์สายพันธุ์ EC1118 ไม่ผลิต H2S ในผลิตภัณฑ์ไวน์ขาวเลย แต่ผลิตสารเอสเทอร์ ของกรดอะซีติก (เฟนิล-เอทิลอะซีเตท เมทิล บิวทิล-อะซีเตท) และเอทิลเอสเทอร์ ของกรดไขมันที่มีโมเลกุลยาวปานกลาง (ให้ กลิ่นดอกไม้ และกลิ่นผลไม้ ต่างๆ) ในไวน์ขาว ทังหมดในระดั ้ บสูง ส่วนยีสต์พนั ธุ์ X5 จะผลิตสารเอสเทอร์ เหล่านี ้ระดับสูงในน ้าหมักที่เติม DAPTYA ถึงแม้ ว่า สายพันธุ์ยีสต์ และแหล่งสารอาหารต่างๆ มีผลต่อปริ มาณ H2S และเอสเทอร์ ต่างๆ ในไวน์ขาว แต่ปริ มาณอะเซทัลดีไฮด์ และเฟนิลเอทานอล (ให้ กลิ่นดอกไม้ และกลิน่ คล้ ายดอกกุหลาบ) ในไวน์ขาวทังหมดไม่ ้ แตกต่างกันเลย คาสาคัญ : สายพันธุ์ยีสต์ แหล่งอาหาร อะเซทัลดีไฮด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ สารที่ให้ กลิ่นในไวน์

Abstract The effects of Saccharomyces (S.) bayanus (Lalvin-EC1118) and S. cerevisiae (Zymaflore-X5) in the combination with four nutrient sources [diammonium hydrogen phosphate/DAP; inactivated yeast/IY; IY plus yeast cell walls/IYYW and DAP plus thiamine, yeast cell walls and ammonium sulphate/DAPTYA] at 0.3 g/L and in a control (without nutrient) on the production of acetaldehyde, H2S and positive aroma compounds were examined in the fermentation of grape juice from the white wine variety Scheurebe. The result clearly showed that depending on certain yeast strain utilized, the formation of these compounds in final white wine presented different responses with different nutrient source addition. The X5 strain produced high amounts of H2S in the control and IYYW wines. However, H2S levels were below the threshold value (50-80 µg/L), which excluded the occurrence of an “rotten egg flavour”. Interestingly, the EC1118 strain did not only reveal H2S in final wine under all nutrient conditions, but also was the greatest producer of most acetic acid esters (2-phenyl ethyl acetate, 3methylbutyl acetate) and ethyl esters of medium-chain fatty acids, which play a major role in the fruity and floral aroma of wine. While, these volatile esters produced by strain X5 were most evident in the DAPTYA treatment. Although, yeast strain and nutrient source had various effects on the formation of H2S and volatile esters in white wine, they had no significant effects on the formation of 2-phenyl ethanol (floral and rose-like aromas) and acetaldehyde in white wine. Keywords : pumpkin, antioxidants, native variety, Ohto, commercial variety 1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 202 หมู่ 17 ต. พิชยั อ. เมือง จ. ลาปาง Department of Microbiology and Biochemistry, Hochschule Geisenheim University, Von-Lade-Straße 1, 65366 Geisenheim, Germany 2

494

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา (Introduction) During alcoholic fermentation, Saccharomyces yeasts do not only convert sugars to ethanol and carbon dioxide (Swiegers et al., 2005), they also produce a wide range of metabolites, for example, organic acids, acetaldehyde, pyruvate and ketoglutarate (Antonelli et al., 1999; Ribéreau-Gayon et al., 2006). The pyruvate and -ketoglutarate, so call keto acids, have implications for wine quality and stability due to their abilities of binding compounds with SO2 and phenols (Rankine and Pocock, 1969; Eglinton et al., 2004). A vast number of volatile compounds are also formed and modulated by yeast during alcoholic fermentation which significantly affects the flavour and overall quality of wines (King et al., 2008). It is well-known that some S-containing compounds can be responsible for certain off-flavours (e.g. hydrogen sulphide/H2S, methanethiol/MeSH and thioacetic acid-S-methyl ester/MeSAc) in wine. Intensive research work demonstrated that one of the main causes for off-flavors occurring after fermentation is the chosen yeast strain (Saccharomyces cerevisiae) and its nutrient requirements in the grape musts (Rauhut, 1996, 2009). It has been shown that the use of different Saccharomyces strains for wine fermentation resulted in wines with differing secondary metabolites, through varied relative concentrations of acetic acid esters, fatty acid ethyl esters and higher alcohols as well as Sulphur-containing compounds (Antonelli et al., 1999; Wang et al., 2003S; wiegers et al., 2009). It has been reported that nutrient composition in complex mixtures affects yeast growth rate and favours higher rates than single compounds. Thus, mixtures of amino acids and vitamins give higher growth rates than the most preferred single nitrogen sources (Henschke and Jiranek, 1993; Albers et al., 1996; ter Schure et al., 2000; Beltran et al., 2004, 2005). Thiamine addition effectively reduces keto acid levels by the enzymatic decarboxylation (Delfini & Vormica, 2001; Ribéreau-Gayon et al., 2006a, 2006b). Therefore, this research was aimed to examine the effect of nutrient addition on SO2-binding formation (pyruvate and -ketoglutarate), aroma and undesirable S-containing compounds of the final Scheurebe wine by different yeast strains.

อุปกรณ์ และวิธีการ (Materials and Methods) Fermentations were carried out in fresh Scheurebe grape juice. The properties of initial grape juice were reducing sugar content 176 g/L, pH 3.2, ammonium 0.09 g/L, free alpha amino nitrogen 51.9 mg/L, malic acid 6.1 g/L, tartaric acid 4.4 g/L, acetic acid 0.12 g/L and citric acid 0.2 g/L. Two days before preparation of grape must, 30 mg/L of SO2 were added into the grape juice as potassium metabisulfite (K2S2O5). Duplicate experimental fermentations were carried out in 2.5-liter bottles containing 2.2 L grape juice. Two commercial Saccharomyces yeast strains (Lalvin-EC1118 and Zymaflore-X5) and four different nutrient sources (DAP; inactivated yeast/IY; IY plus yeast cell walls/IYYW and DAP plus thiamine, yeast cell walls and ammonium sulphate/DAPTYA) at 0.3 g/L and the control without nutrient addition were used in this study, thus giving ten treatment combinations. Nutrients were added into the grape juice according to an experimental design. The yeast cultures were rehydrated following the recommendations of the manufacturer prior to inoculation of each strain. The bottles were fitted with airlocks and the fermentations were carried out at 20 oC in a controlled environment. The progress of fermentation was followed by monitoring CO2 production, which was determined by weight loss during fermentation. After the weight losses of the samples were constant, wines were cold stabilized at below 10 oC for 7 days and racked into previously cleaned bottles. Then K2S2O5 was added corresponding to 80 mg/L free SO2 in finished wine and bottled wines were stored at below 15 oC until need. After this, 150 mL wine samples, without SO2 addition, were kept at -18 oC for analysis. The SO2-binding compounds (pyruvate and -ketoglutarate) were determined enzymatically by an UV/VS spectrometer Lambda 2 (Perkin Elmer GmbH, Überlingen, Germany) according to instructions of Boehringer Mannheim GmbH, Germany (1998). Wine samples were extracted according to the 'Kaltron' method การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

495


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

by liquid-liquid extraction with 1,1,2-trifluorotrichloroethane according to a modified procedure from Rapp et al. (1994) and wine aromatic compounds (esters, higher alcohols and fatty acids) were analysed by gas chromatograph (Hewlett-Packard, HP 5890 Series II) equipped with a cooled injection system CIS-3 (Gerstel GmbH, Mülheim an der Ruhr, Germany) and detected by HP 5972 mass selective detector (MSD) operating in electron impact mode. The S-containing compounds were analysed by an HP 6890 gas chromatograph equipped with automatic headspace sampling (Multipurpose Sampler MPS 2) and a cooled injection system CIS-4 (Gerstel GmbH, Mülheim an der Ruhr, Germany) then detected by an OI 5380 pulse flame photometric detector (PFPD) (OI Analytical, USA) according to Rauhut et al. (2005). The ANOVA for factorial design and DMRT were performed using MSTATC statistical program (www.msu.edu/~freed/disks.htm, 1994) to interpret mean differences in mean values at the 95 % confidence level.

ผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง (Results and Discussions) The result in Figure 1 show that different production of SO2-binding compounds by the two yeast strains (EC1118 and X5) varied depending on the nutrient sources, excluding acetaldehyde. Regarding -ketoglutarate, strain EC1118 produced the highest amounts in the IYYW treatment (26.3+0.5 mg/L), while the greatest formation by strain X5 was present in the IY, IYYW and DAP treatments (23.3+3.4, 23.6+1.8 and 24.0+2.6 mg/L, respectively). Strain X5 was the low pyruvate producer (7.8+2.4 to 15.4+0.7 mg/L). On the contrary, strain EC1118 was the high pyruvate producer (20.8+1.0 to 27.6+1.3 mg/L), but its formation tended to decrease with the addition of nutrients, particularly in the DAPTYA treatment. These results show that the addition of DAPTYA significantly reduced the formation of these keto acids. Levels of acetaldehyde were similar among wine treatments ranging from 38.4+0.2 to 48.5+2.0 mg/L. It is likely that nitrogen in grape juice, including control, was sufficient for yeast metabolism of the two yeast strains as concentrations of SO2-binding compounds in wines were less than 100 mg/L (Rankine, 1969; Ribéreau-Gayon et al., 2006b). In addition, the supplementation of DAPTYA, which contains thiamine, significantly reduced both keto acids. In accordance with some studies, thiamine effectively reduces keto acid concentrations by the enzymatic decarboxylation (Delfini & Vormica, 2001; RibéreauGayon et al., 2006a, 2006b; Jackson, 2008).

Figure 1 Concentration of SO2-binding compounds in finished Scheurebe grape wines produced by two yeast strains with four nutrient sources and without nutrient. Vertical bars represent standard deviations from two fermentation replicates. Means followed by different letters on the top of the bar are significantly different (p<0.05) between treatment combinations of each S-binding 496

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

compound, whereas means followed by the same letter are not significantly different (p>0.05) according to the DMRT test. As shown in Figure 2, wines produced by strain EC1118 did not reveal H2S under this fermentation condition, but the X5 strain produced high amounts, particularly in the control and IYYW treatment (2.9+0.1 and 3.0+0.2 µg/L, respectively). Although the X5 strain produced H2S in the final wine, its formation decreased with the addition of DAPTYA, DAP and IY. In addition, its levels were below the threshold value (50-80 µg/L), which excluded the occurrence of an off-flavour of “rotten egg” (Rauhut, 1996; Bell & Henschke, 2005; Rauhut, 2009). In agreement with several studies, addition of nutrient decreased the formation of H2S by yeast (Jiranek et al. 1995, Rauhut, 1996, 2009; Rauhut et al., 2005; Mendes-Ferreira et al., 2009). There was no statistical difference of dimethyl sulphide formations among treatment combinations ranging from 1.1+0.1 to 1.9+0.5 µg/L (Figure 2). Therefore, both yeast strain and nutrient source had no influence on the production of dimethyl sulphide and its levels in most wines were below the aroma threshold of 25 µg/L (Rauhut, 1993, 2009; Swiegers et al., 2005). In addition, the other sulphur compounds like ethanethiol, methanethiol, dimethyl disulphide, thioacetic acid Smethylester and thioacetic acid S-ethylester were not detected in all wine treatments.

Figure 2 Formation of hydrogen sulphide and dimethyl sulphide in finished Scheurebe grape wines produced by two yeast strains with four nutrient sources and without nutrient. Vertical bars represent standard deviations from two fermentation replicates. Means followed by different letters on the top of the bar are significantly different (p<0.05) between treatment combinations of each S-containing compound, whereas means followed by the same letter are not significantly different (p>0.05) according to the DMRT test. The formation of higher alcohols, acetic acid esters, volatile fatty acids and their ethyl esters produced by the two yeast strains varied depending on the nutrient sources. As shown in Figure 3 both yeast strains and nutrient sources had no significant effects on the production of 2-phenyl ethanol (floral and rose-like aromas) ranging from 16.4+1.0 to 24.4+1.4 mg/L. The EC1118 strain seemed to produce higher amounts of acetic acid ethyl ester (50.3+1.5 and 80.2+13.7 mg/L) than the X5 strain and was less response to the nutrient sources. In contrast, strain X5 developed high amounts of this ester in the DAPTYA and control treatments (72.7+3.4 and 60.5+0.3 mg/L). Regarding the other acetic acid esters, the two yeast strains produced different amounts of these esters depending on the nutrient source (Figure 4). การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

497


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Strain EC1118 developed high amounts of 2-methyl propanol and 3-methyl butanol in most nutrient sources (Table 1). This might reflect a less efficient usage of nitrogen, resulting in an increase of carbon flux related to branched-chain amino acid metabolism by this strain (Eden et al., 2001; Ribéreau-Gayon et al., 2006a, 2006b; Carrau et al., 2008). The relationship between higher alcohol production and high nitrogen availability was in agreement with earlier studies (Hernandez-Orte et al., 2005; Vilanova et al., 2007). They suggested that at higher yeast assimilable nitrogen, sufficient nitrogen is available for amino acid biosynthesis, which reduces the surplus of -keto acids and, hence, the higher alcohols produced. The formation of the other higher alcohols was similar among the treatment combinations (Table 1 and Figure 4). Interestingly, concentrations of these higher alcohols were below 300 mg/L that they are usually considered to contribute to a wine’s aromatic complexity as previously reported (Francis & Newton, 2005; Swiegers et al., 2005; Jackson, 2008). In addition, levels of 2-phenyl ethanol, which elicits floral and rose-like aromas, in most wines were above the aroma threshold of 10 mg/L as reported in literatures above.

498

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Concentration of higher alcohols found in finished Scheurebe wines developed by two yeast strains with four nutrient sources and without nutrient. Yeast

EC1118

X5

Nutrient

2-Methyl propanol

Hexanol

3-Methyl butanol (mg/L)

2-Methyl butanol

(mg/L)

(µg/L)

Control

22.5 + 3.9 ab

1991.0 + 83.1 a

134.0 + 12.5 bcd

20.5 + 2.2 a

IY

20.0 + 1.2 abc

2011.5 + 116.8 a

132.5 + 6.1 bcd

21.0 + 1.3 a

IYYW

24.0 + 1.4 a

1972.0 + 10.0 a

150.5 + 9.6 ab

24.0 + 1.3 a

DAP

24.0 + 3.2 a

2062.0 + 9.3 a

142.0 + 12.7 abc

21.0 + 1.5 a

DAPTYA

18.5 + 2.4 abc

2039.0 + 137.2 a

164.0 + 5.1 a

23.0 + 1.4 a

Control

17.0 + 1.5 bc

1826.5 + 109.8 a

113.0 + 9.1 de

21.0 + 2.4 a

IY

17.0 + 2.4 bc

1778.5 + 2.7 a

110.0 + 7.1 de

21.5 + 2.4 a

IYYW

21.0 + 5.8 abc

1627.5 + 161.9 a

117.0 + 23.8 cde

22.5 + 5.1 a

DAP

15.5 + 0.9 c

1808.5 + 126.5 a

105.0 + 6.6 e

19.0 + 1.2 a

DAPTYA

22.5 + 2.1 ab

1913.0 + 10.8 a

156.5 + 2.3 ab

27.0 + 0.9 a

(mg/L)

Each value shows the mean + standard deviation. Values displaying the same letter (only ‘a’) within the same column indicate no significant difference (p>0.05), whereas those displaying different letters are significantly different (p<0.05) according to the DMRT test.

Figure 3 Formation of 2-phenyl ethanol and acetic acid ethyl ester in finished Scheurebe grape wines developed by two yeast strains with four nutrient sources and without nutrient Vertical bars represent standard deviations from two fermentation replicates. Means followed by different letters on the top of the bar are significantly different (p<0.05) between treatment combinations of each compound, whereas means followed by the same letters are not significantly different (p>0.05) according to the DMRT test.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

499


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 4, strain EC1118 seemed to produce the highest amount of acetic acid 3-methylbutyl ester in the DAPTYA sample (691.4+38.7 µg/L), followed by the DAP, IYYW and control treatments (637.3+135.9, 587.2+6.9 and 532.5+24.1 µg/L, respectively), and that of acetic acid 2-phenyl ethyl ester in the control and DAPTYA sample (111.7+6.7 and 110.3+4.5 µg/L, respectively). The X5 strain developed high amounts of these esters in the IYYW (571.4+58.9 and 106.2+0.9 µg/L, respectively) and DAPTYA treatments (744.9+59.6 and 100.1+14.0 µg/L, respectively). Nevertheless, addition of DAPTYA resulted in the highest formation of acetic acid 2-methylbutyl ester by both strains (30.6+2.7 and 36.8+4.2 µg/L, respectively). Both yeast strains produced similar amounts of acetic acid hexyl ester in wines ranging from 87.8+14.9 to 110.3+3.7 µg/L. In this trial condition, the EC1118 strain seemed to be a higher producer of most acetic acid esters than strain X5 with less response to nutrient sources (Figure 3 and 4), while these volatile esters produced by strain X5 were most evident in the DAPTYA variant. It has been shown that the final concentration of acetic acid esters of higher alcohols is the result of the balance between alcohol acyl transferase enzymes promoting acetic acid ester biosynthesis and esterase enzymes promoting their hydrolysis (Fukuda et al., 1998; Viana et al., 2009). Increased nitrogen availability promotes the expression of the ATF1 and ATF2 genes, which encode the alcohol acyl transferase enzymes (Yoshimoto et al., 2002). Some studies have also reported that the increase in ester formation is directly related to a high nitrogen level (Beltran et al., 2004, 2005; Hernández-Orte et al., 2006). Miller et al. (2007) have suggested that when ammonium was added into the juice, the amino acids were not used for cellular structures and growth but, rather, induced the production of secondary metabolites like volatile esters. In addition, when IYYW was added, high amounts of some esters were formed by the two yeast strains. Rosi et al. (2008) have also revealed that organic nitrogen like inactive dry yeast promoted yeast cells to develop high amounts of esters. From a wine maker’s view, the most important esters in wine are acetic acid ethyl ester, acetic acid 2phenyl ethyl ester, acetic acid 3-methylbutyl ester and ethyl esters of medium-chain fatty acids (Francis and Newton, 2005; Ribéreau-Gayon et al., 2006b; Sumby et al., 2009). They play a major role in the fruity and floral aroma of young wines and also positively influence the general quality of the wine. They were prominent in most EC1118 wines as well as the X5 wine with DAPTYA addition and their levels were above the thresholds as reported in literatures above.

500

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 4 Formation of acetic acid esters in finished Scheurebe grape wines developed by two yeast strains with four nutrient sources and without nutrient (*10 = concentration of compound times 10) Vertical bars represent standard deviations from two fermentation replicates. Means followed by different letters on the top of the bar are significantly different (p<0.05) between treatment combinations of each acetic acid ester, whereas means followed by the same letters are not significantly different (p>0.05) according to the DMRT test.

สรุ ปผล (Conclusion) It was observed that the supplemented nutrient sources (control/without nutrient, IY, IYYW, DAP and DAPTYA) in the fermentations of fresh Scheurebe juice strongly modulated the wine composition in a straindependent manner (EC1118 and X5). For some compounds, the influence of the nitrogen source is relatively similar for the two strains, whereas for the other compounds, considerable differences were observed. Although, the X5 strain produced high amounts of H2S in the control and IYYW wines, H2S levels were below the threshold value (50-80 µg/L) without the occurrence of an “rotten egg flavour”. The EC1118 strain did not only reveal H2S in final wine under all nutrient conditions, but also was the greatest producer of most acetic acid esters (2-phenyl ethyl acetate, 3-methylbutyl acetate) and ethyl esters of medium-chain fatty acids, which play a major role in the fruity and floral aroma of wine. In the study, yeast strain and nutrient source had various effects on the formation of H2S and volatile esters in white wine, nevertheless they had no significant effects on the formation of 2-phenyl ethanol (floral and rose-like aromas) and acetaldehyde in white wine. Finally, DAPTYA followed by DAP and IYYW seemed to be the effective nutrients to promote high formations of important wine aromas, but to diminish the formation of SO2-binding compounds for the two strains.

คาขอบคุณ (Acknowledgement) Authors are sincerely grateful to staff members of the Department of Microbiology and Biochemistry, Hochschule Geisenheim University, Germany for their support with technical infrastructure. The Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala Univeristy of Technology Lanna are also gratefully acknowledged for the research financial support.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

501


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง (Referrence) Albers, E., C. Larsson, G. Lidén, C. Niklasson and L. Gustafsson. 1996. Influence of the nitrogen source on Saccharomyces cerevisiae anaerobic growth and product formation. App. Environ. Microbiol. 62: 31873195. Antonelli, A., L. Castellari, C. Zambonelli and A. Carnacini. 1999. Yeast influence on volatile composition of wines. J. Agri. Food Chem. 47, 1139-1144. Bell, S.J. and P.A. Henschke. 2005. Implications of nitrogen nutrition for grapes, fermentation and wine, pp. 45-91. In R.J. Blair, M.E. Francis, I.S. Pretorius (eds.). AWRI, Advances in Wine Science. Commemorating 50 Years of the Australian Wine Research InstituteAustralia. The Australian Wine Research Institute. Beltran, G., B. Esteve-Zarzoso, N. Rozès, A. Mas and J.M. Guillamón. 2005. Influence of the timing of nitrogen additions during synthetic grape must fermentations on fermentation kinetics and nitrogen consumption. J. Agri. Food Chem. 53(4): 996-1002. Beltran, G., M. Novo, N. Rozès, A. Mas, A. and J.M. Guillamón. 2004. Nitrogen catabolite repression in Saccharomyces cerevisiae during wine fermentations. FEMS Yeast Research. 4: 625-632. Boehringer Mannheim. 1998. Methods of Biochemical Analysis and Food Analysis, Boehringer Mannheim GmbH, Mannheim, Germany. Carrau, F.M., K. Medina, L. Farina, E. Boido, P.A. Henschke and E. Dellacassa. 2008. Production of fermentation aroma compounds by Saccharomyces cerevisiae wine yeasts: effect of yeast assimilable nitrogen on two model strains. FEMS Yeast Research. 1-12. Eden, A., L. Van Nedervelde, M. Drukker, N. Benvenisty and A. Debourg. 2001. Involvement of branched-chain amino acid aminotranferases in the production of fusel alcohols during fermentation in yeast. Appl. Microbiol. Biotech. 55: 296-300. Eglinton, J., M. Griesser, P.A. Henschke, M.J. Kwiatkowski, M. Parker and M. Herderich. 2004. Yeast-mediated formation of pigmented polymers in red wine. Proceedings Red Wine Colour: Revealing the Mysteries, ACS Symposium Series 886, Oxford University Press. pp. 7-21. Engel, K.H. and R. Tressl. 1991. Identification of new sulfur-containing volatiles in yellow passion fruits (Passiflora edulis f. flavicarpa). J. Agri. Food Chem. 39: 2249-2252. Delfini, C. and J.V. Vormica. 2001. Wine Microbiology: Science and Technology. New York: Marcel Dekker. Francis, I.L. and J.L Newton. 2005. Determining wine aroma from composition data, pp. 201-212. In R.J. Blair, M.E. Francis and I.S. Pretorius (eds.), Advances in Wine Science-Commemorating 50 Years of The Australian Wine Research Institute, The Australian Wine Research Institute. Fukuda, K., N. Yamamoto, Y. Kiyokawa, T. Yanagiuchi, Y. Wakay, K. Kitamoto, Y. Inoue and A. Kimura. 1998. Balance of activities of alcohol acetyltransferase and esterase in Saccharomyces cerevisiae is important for production of isoamyl acetate. Appl. Environ.l Microbiol. 64: 4076-4078. Henschke, P.A. and V. Jiranek. 1993. Yeast-metabolism of nitrogen compounds, pp. 77-164. In G. H. Fleet (ed.), Wine Microbilology and Biotechnology Chur. Harwood Academic Publishers. Hernández-Orte, P., M.J. Ibarz, J. Cacho and V. Ferreira. 2005. Effect of the addition of ammonium and amino acids to musts of Airen variety on aromatic composition and sensory properties of the obtained wine. Food Chem.. 89: 163-174. Hernández-Orte, P., M. Bely, J. Cacho and V. Ferreira. 2006. Impact of ammonium additions on volatile acidity, ethanol, and aromatic compound production by different Saccharomyces cerevisiae strains during fermentation in controlled synthetic media. Australian J. Grape Wine Res. 12: 150-160. Jackson, R.S. 2008. Chemical constituents of grapes and wines, pp. 270-329. In S.L. Taylor (ed.), Wine Science: Principles and Applications 3rd Ed. Oxford, Great Britain, Academic Press. Jiranek, V., P. Langridge and P.A. Henschke. 1995. Regulation of hydrogen sulfide liberation in wine-producing Saccharomyces cerevisiae strains by assimilable nitrogen. J. Appl.Environ.l Microbiol. 61: 461-467. Jordán, M.J., K.L. Goodner and P.E. Shaw. 2002. Characterization of the aromatic profile in aqueous essence and fruit juice of yellow passion fruit (Passiflora edulis Sims f. flavicarpa Degner) and banana (Musa sapientum L.). J. Agri. Food Chem. 50: 1523-1528. King, S.E., H.J. Swiegers, B. Travis, L.I. Francis, E.P.S. Bastian and I.S. Pretorius. 2008. Coinoculated fermentations using Saccharomyces yeasts affect the volatile composition and sensory properties of Vitis vinifera L. cv. Sauvignon blanc wines, J. Agri. Food Chem. 56: 10829-10837.

502

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Mendes-Ferreira, A. C. Barbosa, V. Falco, C. Leão and A. Mendes-Faia. 2009. The production of hydrogen sulphide and other aroma compounds by wine strains of Saccharomyces cerevisiae in synthetic media with different nitrogen concentrations. J. Indust. Microbiol. & Biotechnol. 36(4): 571-583. Miller, A.C., S.R. Wolff, L.F. Bisson and S.E. Ebeler. 2007. Yeast strain and nitrogen supplementation: Dynamics of volatile ester production in Chardonnay juice fermentations. American J. Enol. Vitic. 58(4): 470-483. Rankine, B.C. and K.F. Pocock. 1969. Influence of yeast strain on binding of sulfur dioxide in wines, and on its formation during fermentation. J. the Sci. Food Agri. 20: 104-109. Rapp A., I. Yavas and H. Hastrich. 1994. Einfache und schnelle Anreicherung („Kaltronmethode“) von Aromastoffen des Weines und deren quantitative Bestimmung mittels Kapillargaschromatographie, Deutsche Lebensmittel-Rundschau. 90: 171-174. Rauhut, D. 1996. Qualitätsmindernde schwefelhaltige Stoffe im Wein: Vorkommen, Bildung, Beseitigung. Dissertation, Justus-Liebig-University Giessen, Geisenheimer Berichte Band 24. Rauhut, D. 2009. Usage and formation of sulphur compounds, pp. 181-207. In H. König, G. Unden, and J. Fröhlich (eds.), Biology of Microorganisms on Grapes, in Must and in Wine Heidelberg, Germany: Springer Verlag GmbH. Rauhut, D., B. Beisert, M. Berres, M. Gawron-Scibek and H. Kürbel. 2005. Pulse flame phytometric detection: an innovative technique to analyse volatile sulphur compounds in wine and other beverages, pp. 363-367. In T. Hofmann, M. Rothe and P. Schieberle (eds.), State-of-the-Art in Flavour Chemistry and Biology Garching, Germany: Deutsche Forschungsanstalt für Lebensmittelchemie. Ribéreau-Gayon, P., D. Dubourdieu, B. Donèche and A. Lonvaud. 2006a. Handbook of Enology Volume 1: The Microbiology of Wine and Vinifications. 2nd Ed. Chichester: John Wiley & Sons. Ribéreau-Gayon, P., Z. Glories, A. Maujean and D. Dubourdieu. 2006b. Handbook of Enology Volume 2: The Chemistry of Wine Stabilization and Treatments. 2nd Ed. Chichester: John Wiley & Sons. Rosi, I.M., M. Bertuccioli and G. Giovani. 2008. Effect of source, amount and timing of nitrogen addition on yeast fermentative: Performance and flavour compound formation in Trebbiano wine, pp. 252-254. In D. Chassagne (ed.), Wine Active Compounds-Proceeding of the WAC 2008 International Conference, 2729 March 2008. Beaune: OenoPluri Media. Sumby, K.M., P.R. Grbin and V. Jiranek. 2009. Microbial modulation of aromatic esters in wine: Current knowledge and future prospects. Food Chem. 121(1): 1-16. Swiegers, J.H., E.J. Bartowsky, P.A. Henschke and I.S. Pretorius. 2005. Yeast and bacteria modulation of wine aroma and flavor, pp. 159-187. In R.J. Blair, M.E. Francis, and I.S. Pretorius (eds.), Advances in Wine Science-commemorating 50 years of The Australian Wine Research Institute, The Australian Wine Research Institute. Swiegers, J.H., R.L Willmott, T.E. Siebert, K. Lattey, B.R. Bramley, I.L. Francis, E.S. King and I.S. Pretorius. 2009. The influence of yeast on the aroma of Sauvignon Blanc wine. Food Microbiol. 26 (2): 204-211. ter Schure, E.G., N.A.W. van Riel and C.T. Verrips. 2000. The role of ammonia metabolism in nitrogen catabolite repression in Saccharomyces cerevisiae. FEMS Microbiology Reviews. 24: 67-83. Vilanova, M., M. Ugliano, C. Varela, T. Siebert, I.S. Pretorius and P.A. Henschke. 2007. Assimilable nitrogen utilisation and production of volatile and non-volatile compounds in chemically defined medium by Saccharomyces cerevisiae wine yeasts. Appl. Microbiol. Biotech. 77: 145-157. Viana, F., V.J. Gil, S. Vallés and P. Manzanares. 2009. Increasing the levels of 2-phenylethyl acetate in wine through the use of mixed culture of Hanseniaspora osmophila and Saccharomyces cerevisiae. International J. Food Microbiol. 135: 68-74. Wang, X.D., J.C. Bohlscheid and C.G. Edwards. 2003. Fermentative activity and production of volatile compounds by Saccharomyces grown in synthetic grape juice media deficient in assimilable nitrogen and/or panthothenic acid. J. Appl. Microbiol. 94: 349-359. Yoshimoto, H., T. Fukushige, T. Yonezawa and H. Sone. 2002. Genetic and physiological analysis of branchedchain alcohols and isoamyl acetate production in Saccharomyces cerevisiae. Appl. Microbiol. Biotechnol. 9: 501-508. www.msu.edu/~freed/disks.htm, 1994.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

503


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เปรียบเทียบคุณภาพทางเคมี-กายภาพ และคุณสมบัตกิ ารต้ านอนุมูลอิสระของฟั กทอง พันธุ์พนื ้ เมือง พันธุ์โอโตะ และพันธุ์ทางการค้ า Comparison of Physico-chemical Quality and Antioxidant Properties in Pumpkin Cultivars from Local, Ohto and Commercial Varieties 11

1

2

ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ จานุลัก1 ษณ์ ขนบดี และ.1 พัชราวดี วัฒนวิกย์ กจิ 2 Srisamatthakarn, P. , Khanobdee, C and Wattanawikkit, P.

บทคัดย่ อ คุณภาพทางกายภาพ-เคมี คุณค่าทางโภชนาการ และสารต้ านอนุมลู อิสระของฟั กทองมีความแปรปรวนขึ ้นอยู่กับ สภาพแวดล้ อมในการปลูก ชนิดและสายพันธุ์ งานวิจยั นี ้ จึงได้ ประเมินคุณสมบัติทางกายภาพ-เคมี และสารต้ านอนุมลู อิสระ เช่น แคโรทีนอยด์ สารประกอบฟี นอลิค และฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระในฟั กทองพื ้นเมือง 5 พันธุ์ และสายพันธุ์โอโตะ (Ohto) 12 สายพันธุ์ เปรี ยบเทียบกับพันธุ์การค้ า 3 พันธุ์ ผลการศึกษาพบว่า ฟั กทองมีคณ ุ ภาพทางกายภาพ-เคมี และคุณสมบัติด้านการ ต้ านอนุมลู อิสระแตกต่างกันไปขึ ้นกับสายพันธุ์ฟักทอง เนื ้อฟั กทองพื ้นเมืองทุกพันธุ์มีค่าความสว่างของสี (L*) และสีเหลือง (b*) มากกว่าสายพันธุ์โอโตะและพันธุ์การค้ าอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p<0.05) สายพันธุ์โอโตะ #6, #8, #11 และ พันธุ์การค้ า #3 มีปริ มาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายได้ ในน ้า ซึง่ เป็ นค่าที่ชี ้ถึงความหวานของเนื ้อฟั กทองมากกว่าพันธุ์อื่นๆ รวมทังค่ ้ าสีแดง (a*) และค่าสีเหลือง (b*) ที่มีระดับสูง ดังนันทั ้ งสามสายพั ้ นธุ์นี ้ จึงมีคณ ุ ภาพที่เ หมาะสมสาหรับบริ โภคสด ด้ านคุณสมบัติการต้ าน อนุมลู อิสระพบว่า สายพันธุ์โอโตะ #12 มีปริมาณสารประกอบฟี นอลิค แคโรทีนอยด์สงู สุด อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p<0.05) ซึง่ สอดคล้ องกับฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระชนิด DPPH ที่มีค่าสูงสุดด้ วย สายพันธุ์โอโตะ #10 และ #11 มีปริ มาณสารประกอบ ฟี นอลิคและแคโรทีนอยด์ระดับสูงด้ วย ดังนันงานวิ ้ จยั นี ้ จึงแสดงให้ เห็นว่าสายพันธุ์ฟักทองโอโตะส่วนใหญ่ประกอบด้ วยสาร ต้ านอนุมลู อิสระที่มีศกั ยภาพโดยเฉพาะสารประกอบฟี นอลิคและแคโรทีนอยด์ แต่มีความแปรปรวนแตกต่างกันขึ ้นกับสายพันธุ์ คาสาคัญ : พันธุ์ฟักทอง พันธุ์พื ้นเมือง พันธุ์โอโตะ คุณสมบัติการต้ านอนุมลู อิสระ

Abstract It has been known that pumpkins have considerable variation in physico-chemical and nutritional quality as well as antioxidant components depending on the cultivation environment, species, or varieties. In this study, the physico-chemical properties and some antioxidants, such as carotenoids, phenolic compounds and antioxidant activity, were evaluated in five local and 12 Ohto lines in comparison to three commercial cultivars. The results demonstrated that the physico-chemical and antioxidant properties of pumpkin fleshes had sinificant differences among diferent cultivars. All pumpkin flesh of local varieties had significantly more bright ness value (L*) and yellow color (b*) than most of Ohto lines and commercial cultivars (p<0.05). The Ohto pumpkin lines of that # 6, #8, #11 as well as the commercial cultivar of #3 had higher total soluble solid, which indicated sweetness of pumpkin flesh, than the others. As regards to antioxidant properties, the highest amounts of phenolic compound and carotenoids were found in the Ohto #12, which related to the greatest scavenging activity against DPPH radical of this cultivar (p<0.05). The Ohto #10 and #11 had also the highest phenolic compound and carotenoid contents. This finding indicated that most pumpkins of Ohto lines contained high potential natural antioxidants, particularly phenolic compounds and carotenoids, however they were considerably different variations depending on their varieties. Keywords : pumpkin cultivar, local variety, Ohto variety, antioxidant properties, 1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 202 หมู่ 17 ต. พิชยั อ. เมือง จ. ลาปาง Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, 202 Moo 17, Pichai, Muang District, Lampang 2 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง กรุงเทพฯ 1 Faculty of Science, Ramkamhaeng University, Bangkok 504

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ฟั กทอง (Cucurbita spp.) เป็ นพืชผักวงศ์แตงที่สามารถปลูกได้ ตลอดปี ในทุกภาคของไทย นิยมบริ โภคทังในส่ ้ วนเนื ้อ และเมล็ดในรู ปอาหารเพื่อสุขภาพ หรื อเป็ นยา (Caili et al., 2006) เนื ้อฟั กทองมีคณ ุ ค่าทางอาหารสูง ประกอบด้ วยโปรตีน ไขมัน เยื่อใย และคาร์ โบไฮเดรท ร้ อยละ 25, 7, 1.1 และ 68 โดยน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ (Robinson and Decker-Walters, 1997) ฟั กทองเป็ นแหล่งของสารต้ านอนุมลู อิสระ (antioxidants) ที่สาคัญหลายชนิด เช่น แคโรทีนอยด์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เบต้ า-แคโรทีน (β-carotene) และวิตะมินเอ (1,600 IU) วิตะมินซี (9 mg/100 g ฟั กทองสด) โฟเลท (folate) และกรด แกมม่าอะมิโนบูไทริ ก (γ-aminobutyric acid, GABA) เป็ นต้ น (Kuhlmann et al., 1999; Murkovic et al., 2002) อีกทังมี ้ การ รายงาน เนื ้อฟั กทอง และเนื ้อในเมล็ดมีประสิทธิภาพในการลดน ้าตาลในเลือดทังในสั ้ ตว์ทดลองปกติ หนูขาว และกระต่ายที่ถกู เหนี่ยวนาให้ เป็ นโรคเบาหวานด้ วย alloxan ได้ (Chen, 2005; Caili et al., 2006) จึงมีการนาฟั กทองมาแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์ อาหารเสริ มสุขภาพหลากหลายชนิด (See et al., 2007; Saeleaw and Schleining, 2011) แต่คณ ุ ค่าทางโภชนาการ และ สารสาคัญในฟั กทองอาจจะแตกต่างกันไปขึ ้นอยู่กบั ชนิดและสายพันธุ์ ดังรายงานของ Gajewski et al. (2008) ที่พบว่า ฟั กทอง พันธุ์ ‘Kroshka’ มีปริ มาณแคโรทีนอยด์ และฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระสูงสุด สายพันธุ์ ‘Kroshka’ and ‘Bambino’ มีปริ มาณ ของแข็งที่ละลายได้ ทงหมดสู ั้ งสุด และยังพบว่าปริ มาณแคโรทีนอยด์ในฟั กทองมีผลในทางบวกต่อฤทธิ์ การต้ านอนุมลู อิสระ (antioxidant activity) ซึง่ คล้ ายคลึงกับผลการศึกษาของ Kim et al. (2012) ที่รายงานว่าฟั กทอง C. maxima มีคาร์ โบไฮเดรท โปรตีน ไขมัน เยื่อใย โทโคฟี รอล และเบต้ า -แคโรทีนมากกว่า C. pepo และ C. moschata แต่ฟักทอง C. pepo มีกรดอะมิโน (amino acid) มากกว่าพันธุ์อื่นๆ ในประเทศไทย ได้ มีการรวบรวม ปรับปรุ ง และคัดเลือกพันธุ์ฟักทองเพื่อเพิ่มผลผลิตและพัฒนาคุณภาพสาหรับการ บริโภคมาตังแต่ ้ พ.ศ. 2534-2551 จนได้ พนั ธุ์ฟักทองที่มีลกั ษณะผลผลิต องค์ประกอบของผลผลิตและมีคณ ุ ภาพสูง จานวน 26 ์ สายพันธุ์ (จานุลกั ษณ์ และพีระศักดิ, 2534; จานุลกั ษณ์ และคณะ, 2546, 2549, 2551) จนถึงปั จจุบนั นี ้ ได้ มีการรายงานถึงผล การรวบรวมเชื ้อพันธุกรรมฟั กทอง และปรับปรุ งพันธุ์เพื่อเพิ่มผลผลิตและพัฒนาคุณภาพสาหรับการบริ โภคอีกจานวนไม่น้อย กว่า 20 สายพันธุ์ (จานุลกั ษณ์ และคณะ, 2554; พรพนา, 2556) แต่ยังขาดข้ อมูลคุณสมบัติการต้ านอนุมูลอิสระของพันธุ์ ฟั กทองที่มีศกั ยภาพเฉพาะสาหรับการบริโภคสด หรื อเหมาะสมกับใช้ ประโยชน์ในการแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์อาหารเสริ มสุขภาพ ต่างๆ ดังนัน้ การประเมินคุณภาพทางกายภาพ-เคมี และคุณสมบัติการต้ านอนุมลู อิสระของฟั กทองสายพันธุ์ต่างๆ ที่ได้ จากการ พัฒนาและปรับปรุ งพันธุ์ดงั กล่าวข้ างต้ น จะทาให้ ได้ ฐานข้ อมูลด้ านคุณภาพผลผลิต และเนื ้อฟั กทองที่สามารถนาไปต่อยอด และประยุกต์ใช้ ในการวิจัยพัฒนา และปรับปรุ งพันธุ์ฟักทองที่มีคุณภาพเหมาะสมและมีศกั ยภาพตรงกับความต้ องการของ เกษตรกร ผู้บริโภค และผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร ทังด้ ้ านการเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มคุณภาพ และ สร้ างมูลค่าเพิ่ม อีกทังเป็ ้ นการเสริ มสร้ างความมัน่ คงและความยัง่ ยืน และเพิ่มมูลค่าของเมล็ดพันธุ์ฟักทอง และอุตสาหกรรม อาหารให้ นาไปสูก่ ารแข่งขันและการพึง่ พาตนเองและพัฒนาสูก่ ารส่งออกได้

อุปกรณ์ และวิธีการ วัตถุดิบ ใช้ ฟักทองสดพันธุ์พื ้นเมือง (Local) 5 สายพันธุ์ พันธุ์โอโตะ (Ohto) 12 สายพันธุ์ และพันธุ์โอโตะทางการค้ า (Commercial Ohto) หรื อ พัน ธุ์ ม าตรฐานอี ก 3 สายพัน ธุ์ ที่ ไ ด้ จ ากแปลงปลูก งานพื ช ผัก สถาบัน วิ จัย เทคโนโลยี เ กษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา โดยศึกษาคุณภาพทางกายภาพ-เคมี คุณสมบัติการต้ านอนุมลู อิสระของเนื ้อฟั กทอง เปรี ยบเทียบกันในด้ านค่าสี (lightness, L*; red-green, a*; yellow-blue, b*) ปริ มาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายได้ ในน ้า (total soluble solid, TSS) โดยใช้ Hand refractometer (Atago Japan, N-1E Brix 0~32%) ค่า pH โดยใช้ pH meter (MP 512 Precision) ปริ มาณแคโรทีนอยด์ (ดัดแปลงจาก Nagata and Yamashita, 1992) และฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ (antioxidant activity) โดยวิธี DPPH (2,2-diphenyl-1-picrylhaydrazyl) assay เทียบกับสารมาตรฐาน Trorox equivalent (ดัดแปลงจาก Manthey, 2004) และสารประกอบฟี นอลิคในรู ปกรดแกลลิค โดยวิธี Folin-Ciocalteu colorimetric method (ดัดแปลงจาก Sellappan et al., 2002) วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จานวน 3 ซ ้า วิเคราะห์ความ แปรปรวนทางสถิติ และความแตกต่างของค่าเฉลี่ยแบบ Duncan’s Multiple Rang Test (DMRT) ที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้ อยละ 95 และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของค่าสีตอ่ ปริ มาณแคโรทีนอยด์ และปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค และแคโรทีนอยด์ต่อฤทธิ์การ ต้ านอนุมลู อิสระที่มีในเนื ้อฟั กทองแต่ละสายพันธุ์

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

505


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลอง และวิจารณ์ คุณภาพด้ านค่าสี พบว่าเนื ้อฟั กทองพันธุ์พื ้นเมือง #5 มีความสว่างของสี (L* เท่ากับ 74.56 ± 0.76) สูงสุด อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่มีค่าไม่แตกต่างในทางสถิติ (p>0.05) กับฟั กทองพี ้นเมืองทุกสายพันธุ์ (Local #1 - #4) และ สายพันธุ์โอโตะ #12 (Table 1) ฟั กทองพันธุ์โอโตะจากแปลงปลูก และพันทางการค้ ามีสีเหลืองอมส้ ม ดังจะเห็นได้ จากค่าสีแดง (a*) ที่มีค่าระหว่าง 4.19 ± 0.30 ถึง 11.67 ± 1.01 โดยที่พนั ธุ์โอโตะทางการค้ า #3 มีค่าสีแดงสูงสุด (a* เท่ากับ 11.67 ± 1.01) แสดงว่า มีสีเหลืองอมส้ มเข้ มกว่าสายพันธุ์อื่นๆ แต่ค่า a* ของฟั กทองพันธุ์นี ้ ไม่แตกต่างกันในทางสถิติกบั พันธุ์โอโตะ #7, #11, #12, #8, #3, #1 และพันธุ์พื ้นเมือง #1 ตามลาดับ อย่างไรก็ตาม มีฟักทองพื ้นเมืองจานวน 2 สายพันธุ์ที่เนื ้อฟั กทองมีสีเหลือ งอมเขียว ได้ แก่ พันธุ์ #3 และ #5 ที่ค่า -a* มีค่าไปทางสีเขียว (-a*) อาจจะเป็ นผลจากฟั กทองที่เก็บเกี่ยวมายังไม่แก่จดั ซึ่ง สอดคล้ องกับปริ มาณความชื ้นที่มีอยู่สงู สุดในฟั กทองทังสองพั ้ นธุ์ นี ้ (ร้ อยละ 87.16 ± 1.29 และ 88.60 ± 0.84 โดยน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ) ส่วนฟั กทองพันธุ์พื ้นเมือง #4 มีปริมาณความชื ้นต่าสุด (ร้ อยละ 78.27 ± 2.07) อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p<0.05) ด้ านปริ มาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายได้ ในน ้า (TSS) พบว่าสายพันธุ์โอโตะ #6, #11 และพันธุ์ทางการค้ า #3 มี ปริ มาณสูงสุด (11.7 ± 0.58, 11.0 ± 0.27 และ 11.1 ± 0.87 oบริกซ์ ตามลาดับ) แสดงว่าฟั กทองทังสามสายพั ้ นธุ์นี ้ มีความหวานมากกว่าพันธุ์ อื่นๆ ดังตารางที่ 1 จากผลการศึกษา จะเห็นได้ ว่าสายพันธุ์โอโตะ #6, #8 และ #11 เป็ นสายพันธุ์ที่เหมาะสาหรับการบริ โภคสด เนื่องจากมีสีเหลืองอมส้ มค่อนข้ างเข้ ม และมีปริมาณ TSS สูงกว่าพันธุ์ฟักทองอื่นๆ และมีคณ ุ ภาพทางกายภาพ-เคมีไม่แตกต่าง จากพันธุ์โอโตะที่จาหน่ายในทางการค้ า (Commercial Ohto# )

506

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Color values, total soluble solid and moisture content of raw pumpkin flesh from different pumpkin lines (dried basis) Pumpkin Lines

L* (Lightness)

a* (Red-Green)

b* (Yellow-Blue)

Total soluble solid (oBrix)

% Moisture content

Local #1

71.64 ± 1.50 abcd

7.27 ± 1.40 abcde

97.01±8.38 a

7.3 ± 0.54 h

86.59 ± 3.92 ab

Local #2

72.93 ± 0.21 abc

0.22 ± 0.10 f

103.98±7.16 a

7.9 ± 0.14 efgh

83.23 ± 0.94 bc

Local #3

73.90 ± 0.59 ab

-1.10 ± 6.13 f

98.76±10.04 a

7.6 ± 0.19 fgh

87.16 ± 1.29 ab

Local #4

70.26 ± 1.94 abcde

5.23 ± 0.53 de

93.66 ± 4.72 a

7.5 ± 0.47 gh

78.27 ± 2.07 d

Local #5

74.56 ± 0.76 a

-1.55 ± 0.84 f

97.17 ± 11.00 a

7.2 ± 0.12 h

88.60 ± 0.84 a

Ohto #1

36.58 ± 0.92 g

8.22 ± 1.57 abcde

19.39 ± 1.60 e

9.3 ± 0.63 def

84.47 ± 3.92 abc

Ohto #2

36.22 ± 3.10 g

5.00 ± 1.66 de

26.79 ± 10.34 de

8.2 ± 0.93 efgh

85.71 ± 2.28 abc

Ohto #3

36.28 ± 0.80 g

7.73 ± 0.47 abcde

28.43 ± 2.21 de

9.1 ± 0.10 defg

85.61 ± 1.00 abc

Ohto #4

36.41 ± 0.33 g

5.69 ± 1.21 cde

36.88 ± 9.86 cd

9.4 ± 0.96 cde

85.22 ± 2.40 abc

Ohto #5

35.19 ± 3.04 g

4.19 ± 0.30 e

42.48 ± 5.37 c

8.8 ± 1.17 defgh

84.86 ± 3.61 abc

Ohto #6

64.06 ± 2.10 f

5.68 ± 1.80 cde

66.37 ± 2.24 b

11.7 ± 0.58 a

81.82 ± 0.28 cd

Ohto #7

67.50 ± 1.99 def

9.82 ± 1.61 abc

69.54 ± 1.24 b

9.7 ± 0.58 bcde

87.09 ± 1.04 ab

Ohto #8

66.36 ± 4.01 ef

9.41 ± 0.80 abcd

68.66 ± 0.20 b

10.3 ± 0.58 abcd

84.15 ± 1.92 abc

Ohto #9

66.96 ± 1.01 ef

7.79 ± 0.58 abcde

70.03 ± 0.16 b

9.0 ± 0.00 defg

87.28 ± 0.52 ab

Ohto #10

69.03 ± 2.89 cde

6.94 ± 1.93 bcde

71.36 ± 1.70 b

9.0 ± 1.00 defg

86.01 ± 1.74 abc

Ohto #11

64.02 ± 0.26 f

10.98 ± 1.78 ab

69.83 ± 1.23 b

11.0 ± 0.27 abc

86.97 ± 1.47 ab

Ohto #12

70.46 ± 2.00 abcde

9.51 ± 1.80 abcd

66.85 ± 7.30 b

9.3 ± 1.40 de

88.81 ± 1.60 a

Commercial Ohto #1

69.78 ± 5.60 bcde

5.01 ± 6.40 de

66.23 ± 10.47 b

9.0 ± 1.03 defg

87.72 ± 4.92 ab

Commercial Ohto #2

69.90 ± 1.29 bcde

0.07 ± 1.21 f

71.17 ± 1.30 b

9.1 ± 2.37 defg

86.26 ± 2.28 abc

Commercial Ohto #3

66.16 ± 2.52 ef

11.67 ± 1.01 a

70.59 ± 3.36 b

11.1 ± 0.87 ab

85.15 ± 2.26 abc

C.V. %

3.76

39.45

9.43

9.76

2.75

LSD (0.05)

3.775

3.833

10.39

1.462

3.881

a, b,...f ตัวอักษรที่ตา่ งกันในแนวตังของฟั ้ กทองแต่ละสายพันธุ์ แสดงถึงความแตกต่างกันในทางสถิติ (p<0.05)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

507


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ด้ านองค์ประกอบทางเคมีที่มีคณ ุ สมบัติเป็ นสารต้ านอนุมลู อิสระ ได้ แก่ สารประกอบฟี นอลิค และแคโรทีน อยด์ พบว่า ฟั กทองพันธุ์โอโตะ #12 และพันธุ์พื ้นเมือง #5 มีปริ มาณสารฟี นอลิคสูงกว่าสายพันธุ์อื่นๆ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p<0.05) (6817.44 ± 1515.10 และ 6656.62 ± 780.29 mg GAE/100 g น ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ) ดัง Table 2 แต่ปริ มาณ สารประกอบฟี นอลิคที่มีอยู่สูงในฟั กทองพืน้ เมื อง #5 อาจจะไม่มีผลต่อฤทธิ์ การต้ านอนุมูลอิสระ (antioxidant activity) เนื่องจากเนื ้อฟั กทองพันธุ์นี ้ มีค่าระดับต่า ส่วนสายพันธุ์โอโตะ #4 มีปริ มาณสารฟี นอลิคต่าสุด (2429.19 ± 350.84 GAE/100 g น ้าหนักแห้ ง) ด้ านปริ มาณแคโรทีนอยด์ พบว่า ฟั กทองสายพันธุ์โอโตะ #9, #12, #10 และ #11 มีค่าสูงกว่าฟั กทองพันธุ์อื่นๆ (2668.79 ± 491.49, 2399.03 ± 313.29, 2096.53 ± 773.49 และ1854.76 ± 241.50 µg TE/100 g น ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ) จะเห็นได้ ว่าฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองทุกสายพันธุ์มีปริ มาณแคโรทีน อยด์ระดับต่ากว่าพันธุ์โอโตะ (ระหว่าง 593.10 ± 206.66 ถึง 1035.39 ± 599.30 µg TE/100 g น ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ) อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p<0.05) ซึ่งสอดคล้ องกับค่าสีเขียว (-a*) ของเนื ้อฟั กทองกลุ่มพันธุ์พื ้นเมืองที่มีค่ามากกว่าพันธุ์โอโตะ ดัง Table 1 และ Figure 1 ด้ านค่า antioxidant activity พบว่า เนื ้อฟั กทองสายพันธุ์โอโตะ #12 มีระดับสูงสุด (757.160 ± 114.24 µg TE/100 g น ้าหนักแห้ ง) อย่างมีนยั สาคัญทาง สถิติ (p<0.05) รองลงมาได้ แก่ สายพันธุ์โอโตะ #10 และ #11 ดังตารางที่ 2 จะเห็นได้ ว่า ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค และ แคโรทีนอยด์ที่พบระดับสูงสุดในฟั กทองสายพันธุ์โอโตะ #12, #10 และ #11 อาจจะมีผลต่อค่า antioxidant activity ที่พบใน ระดับสูงด้ วย ดังนัน้ ฟั กทองสายพันธุ์โอโตะทังสามสายพั ้ นธุ์นี ้ จึงน่าเป็ นพันธุ์ที่มีคณ ุ สมบัติการต้ านอนุมลู อิสระที่เหมาะสม และ มีศกั ยภาพในการนาไปใช้ ประโยชน์ในการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ หรื อในอุตสาหกรรมอาหาร

508

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Phenolic compounds, carotenoids and antioxidant activity found in raw pumpkin flesh from different pumpkin lines (dried basis) Pumpkin Lines

Phenolic compounds

Carotenoids

Antioxidant activity

(mg GAE/100 g Dried weight)

(ug/100 g Dried weight)

(mg TE/100 g Dried weight)

Local #1

4082.91 ± 1774.41 abcdefg

1035.39 ± 599.30 defg

215.16 ± 74.98 fg

Local #2

4024.13 ± 426.07 abcdefg

770.04 ± 373.47 efg

94.95 ± 66.86 hij

Local #3

4647.11 ± 1371.27 abcdefg

725.09 ± 650.15 fg

406.56 ± 13.81 cd

Local #4

2585.19 ± 882.35 ef

593.10 ± 206.66 g

16.89 ± 7.50 j

Local #5

6656.62 ± 780.29 ab

837.67 ± 322.86 efg

199.41 ± 93.98 fgh

Ohto #1

3597.83 ± 1850.39 cdef

1111.92 ± 346.50 defg

64.49 ± 12.78 ij

Ohto #2

3668.60 ± 1436.91 cdef

1493.39 ± 1062.00 bcdefg

196.64 ± 62.81 fgh

Ohto #3

2429.19 ± 350.84 f

1146.47 ± 354.96 defg

105.20 ± 13.39 ghij

Ohto #4

4349.47 ± 2051.91 abcdef

852.71 ± 230.35 efg

51.29 ± 16.92 ij

Ohto #5

3936.95 ± 2481.36 bcdef

1524.29 ± 504.30 bcdefg

220.19 ± 48.87 fg

Ohto #6

3061.850 ± 324.92 def

1026.14 ± 90.47 defg

220.36 ± 74.33 fg

Ohto #7

4913.62 ± 796.18 abcdef

1739.28 ± 186.21 bcde

256.79 ± 37.51 ef

Ohto #8

3582.89 ± 546.56 cdef

1443.90 ± 520.37 cdefg

156.760 ± 62.37 fghi

Ohto #9

5341.31 ± 640.34 abcde

2668.79 ± 491.49 a

186.01 ± 26.37 fgh

Ohto #10

5000.94 ± 347.43 abcdef

2096.53 ± 773.49 abc

518.04 ± 125.63 b

Ohto #11

5458.63 ± 1093.56 abcd

1854.76 ± 241.50 abcd

501.30 ± 77.37 bc

Ohto #12

6817.44 ± 1515.10 a

2399.03 ± 313.29 ab

757.160 ± 114.24 a

Commercial Ohto #1

6033.06 ± 3455.63 abc

1586.94 ± 778.38 bcdef

595.32 ± 72.59 b

Commercial Ohto #2

3192.52 ± 1106.98 cdef

607.250 ± 190.72 g

225.39 ± 31.35 fg

Commercial Ohto #3

3872.96 ± 77.54 bcdef

1125.20 ± 428.38 defg

358.21 ± 11.02 de

% C.V.

32.98

37.11

23.49

LSD (0.05)

2374.00

815.60

103.60

a, b,...f ตัวอักษรที่ตา่ งกันในแนวตังของฟั ้ กทองแต่ละสายพันธุ์ แสดงถึงความแตกต่างกันในทางสถิติ (p<0.05) GAE = Gallic acid equivalent การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

509


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

TE = Trolox equivalent เมื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ของค่าสีแดง-เขียว (a*) ค่าสีเหลือง-น ้าเงิน (b*) และปริ มาณแคโรทีนอยด์ของเนื ้อฟั กทอง พันธุ์พื ้นเมือง พันธุ์โอโตะ และพันธุ์ทางการค้ า (โอโตะ) ทัง้ 20 สายพันธุ์เปรี ยบเทียบกัน พบว่า ค่า a* (Figure 1a) และ b* (Figure 1b) มีการกระจายตัวเป็ นกลุ่มๆ ค่อนข้ างกว้ างแยกตามพันธุ์ของฟั กทอง โดยเนื ้อฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองมีสีอยู่ในกลุ่มสี เหลืองเข้ ม (b*) มากกว่าสายพันธุ์โอโตะ และพันธุ์ทางการค้ า แต่เนื ้อมีสีออกไปทางสีเหลืองอมเขียวมาก (-a*) นอกจากนี ้ จะ เห็นว่า เนื ้อฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองที่มีคา่ a* ไปทางสีเขียว (-a*) มีแนวโน้ มของปริ มาณแคโรทีนระดับต่า ถึงแม้ ว่าค่าสีเหลือง (b*) จะมีในระดับสูง ส่วนสายพันธุ์โอโตะพบว่า ปริ มาณแคโรทีน ของเนื ้อฟั กทองมีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นตามค่าสีแดง (a*) และสีเหลือง (b*) ที่เพิ่มขึ ้น Carotenoids (ug/100g DW)

3500

Figure 1a Red-green (a*)

3000 2500 2000 1500 1000 500 0

-5

0

Carotenoids (ug/100g DW)

Local

5 Ohto

10 Commercial

3500 3000 2500 2000 1500 1000 500 0

15 a* (Red-Green)

Figure 1b Yellow-blue (b*)

0

20

40

60

Local

Ohto

Commercial

80

100

120

b* (Yellow-blue)

Figure 1 Correlations between color values of a* (Figure 1a), b* (Figure 1b) and carotenoid content of raw pumpkin flesh from different pumpkin varieties (dried basis) เมื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ของปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค แคโรทีนอยด์ และฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ (antioxidant activity) ของเนื ้อฟั กทองพันธุ์พื ้นเมือง พันธุ์โอโตะ และพันธุ์ทางการค้ า (โอโตะ) ทัง้ 20 สายพันธุ์เปรี ยบเทียบกัน พบว่า มีการ กระจายตัวเป็ นกลุม่ ๆ ค่อนข้ างกว้ างแยกตามพันธุ์ของฟั กทอง แต่มีคา่ ความแปรปรวนมากกว่าค่าสี (a* และ b* ใน Figure 1a 1b) โดยค่า antioxidant activity ของเนื ้อฟั กทองสายพันธุ์โอโตะส่วนใหญ่มีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นตามปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค และแคโรทีนอยด์ที่เพิ่มขึ ้น (Figure 2) จากรายงานของ Henriques et al. (2012) และ Kim et al. (2012) ที่พบว่าฟั กทองสาย พันธุ์ญี่ปนุ่ C. maxima มีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค แคโรทีนอยด์ และค่า antioxidant activity สูงกว่าฟั กทองพันธุ์อื่นๆ ได้ แก่ C. pepo และ C. moschata สายพันธุ์ฟักทองโอโตะเป็ นชนิด C. moschata ซึ่งพบว่ามีปริ มาณสารสูง นอกจากนี ้ ผลด้ านปริ มาณแคโรทีนอยด์ให้ ผลคล้ ายคลึงกับ Gajewski et al. (2008) ที่รายงานว่า ปริ มาณแคโรทีนอยด์ในฟั กทองมีผลใน ทางบวกต่อฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ (antioxidant activity) อย่างไรก็ตาม คุณสมบัติการต้ านอนุมลู อิสระในฟั กทองนี ้ มี ความ แปรปรวนขึน้ อยู่กับกลุ่มพันธุ์ฟักทอง ผลการศึกษาพบว่าฟั กทองพันธุ์พืน้ เมืองส่วนใหญ่ มีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิคสูง 510

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

(Table 2 และ Figure 2a - 2b) แต่กลับมีคณ ุ สมบัติด้านการต้ านอนุมลู อิสระระดับปานกลาง ซึ่งอาจจะเป็ นผลจากปริ มาณ แคโรทีนอยด์ที่มีปริมาณต่า ซึง่ ส่งผลต่อค่า antioxidant activity ระดับต่าในเนื ้อฟั กทองพันธุ์พื ้นเมืองด้ วย Antioxidant activity (ugTE/100g DW)

1000 800 600 400 200 0

0

1000

Antioxidant activity (ugTE/100g DW)

Local

2000

3000

Ohto

4000

5000

6000

Commercial

7000

8000

9000 10000

Phenolic (mg GAE/100 g DW)

Figure 2a

1000 800 600 400 200

0 0

1000

Local

Ohto

2000

Commercial

3000

4000

Carotenoids (ug/100g DW)

Figure 2b

Figure 2 Correlations between antioxidant activity, phenolic compound (Figure 2a) and carotenoid content (Figure 2b) of raw pumpkin flesh from different pumpkin varieties (dried basis)

สรุ ปผลการทดลอง ฟั กทองมีคณ ุ ภาพทางกายภาพ-เคมี และคุณสมบัติด้านการต้ านอนุมลู อิสระแตกต่างกันไป ขึ ้นกับสายพันธุ์ฟักทอง โดยเนือ้ ฟั กทองพืน้ เมืองทุกพันธุ์มีค่าความสว่างของสี (L*) และสีเหลือง (b*) มากกว่าสายพันธุ์โอโตะและพันธุ์ทางการค้ า ฟั กทองสายพันธุ์โอโตะ #6, #8, #11 และพันธุ์ทางการค้ า #3 มีปริ มาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายได้ ในน ้า ซึ่งเป็ นค่าที่บ่งชี ้ถึง ความหวานของเนื ้อฟั กทองมากกว่าพันธุ์อื่นๆ รวมทังค่ ้ าสีแดง (a*) และค่าสีเหลือง (b*) ที่มีระดับสูง ซึง่ บ่งบอกถึงเนื ้อฟั กทองที่ มีสีเหลืองอมส้ มค่อนข้ างเข้ ม ดังนันทั ้ งสามพั ้ นธุ์นี ้ จึงมีคณ ุ ภาพที่หมาะสมสาหรับการบริโภคสด อีกทังมี ้ คณ ุ ภาพไม่แตกต่างจาก พันธุ์โอโตะที่จาหน่ายทางการค้ า ฟั กทองสายพันธุ์โอโตะ #11 ยังมีคณ ุ สมบัติการต้ านอนุมลู อิสระ ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค แคโรทีนอยด์สงู ด้ วย ฟั กทองสายพันธุ์โอโตะ #12 มีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค แคโรทีนอยด์ และฤทธิ์ การต้ านอนุมลู อิสระ ชนิด DPPH สูงสุด รองลงมาได้ แก่ สายพันธุ์โอโตะ #10 และ #11 จากผลการศึกษา สรุปได้ ว่าฟั กทองสายพันธุ์โอโตะส่วนใหญ่ ประกอบไปด้ วยสารต้ านอนุมลู อิสระที่มีศกั ยภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพันธุ์สายพันธุ์ #12, #10 และ #11 ที่มีคุณภาพการบริ โภค และคุณสมบัติการต้ านอนุมลู อิสระที่เหมาะสม และมีศกั ยภาพในการนาไปใช้ ประโยชน์ในการแปรรู ปผลิตภัณฑ์อาหารเสริ ม สุขภาพ

กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี ้ สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัยงบพัฒนาการศึกษา จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา คณะผู้วิจัย ขอขอบคุณ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา สาหรับสถานที่ และวัสดุ อุปกรณ์ตา่ งๆ ในการดาเนินงาน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

511


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง จานุลกั ษณ์ ขนบดี และพีระศักดิ์ ศรี นิเวศน์. 2534. การคัดเลือกแบบหมู่ของฟั กทองพันธุ์พื ้นเมือง. รายงานการค้ นคว้ าวิจยั ประจาปี 2534. สถาบันวิจยั และฝึ กอบรมการเกษตรลาปาง จังหวัดลาปาง. หน้ า 42-50. จานุลกั ษณ์ ขนบดี สุภาวดี ตังธี ้ ระวัฒนะ ศิริพร มุลาลินน์ และจิรภา พงษ์ จนั ตา. 2546. สายพันธุ์ฟักทองคุณภาพสูง. การประชุมทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 41 (สาขาพืช). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. หน้ า 64-69. จานุลกั ษณ์ ขนบดี. 2549. การสร้ างประชากรพื ้นฐานของฟั กทองคุณภาพสูง ว. วิทย.กษ.37 (6) (พิเศษ): 199-200. จานุลกั ษณ์ ขนบดี. 2551. การคัดเลือกสายพันธุ์ฟักทองให้ มีผลผลิตและคุณภาพสูง. การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครัง้ ที่ 1 (สาขาพืช) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. หน้ า 8. จานุลกั ษณ์ ขนบดี ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน บัวทิพย์ อุบลประเสริ ฐ ปิ ยะวดี เจริ ญวัฒนะ และสมพิศ สามิภกั ดิ์. 2554. หน่วยบริ หารจัดการเชื ้อพันธุกรรม ผักวงศ์แตง. รายงานการวิจยั พัฒนาและวิศวกรรม ฉบับสมบูรณ์.สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ. 100 น. พรพนา จินาวงค์. 2556. การสกัดสายพันธุ์แท้ ของฟั กทองเพื่อให้ ได้ ผลผลิตและคุณภาพสูง. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท สาขา พืชศาสตร์ คณะ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา. 101 น. Caili, F., S. Huan and L. Quanhong. 2006. A Review on pharmacological activities and utilization technologies of pumpkin. Plant Foods Hum Nutr. 61:73-80. Chen, J.G. 2005. Effects of sugar-removed pumpkin zymptic powders in preventing and treating the increase of blood glucose in alloxan-induced diabetic mice. Chin J Clin Rehabil. 9: 94-95. Henriques, F., R., Guiné and M.J. Barroca. 2012. Chemical properties of pumpkin dried by different methods. Croatian J. Food Technol., Biotechnol. Nutri. 7 (1-2), 98-105. Kuhlmann, H., U. Koetter and C. Theurer. 1999. Sterol contents in medicinal pumpkin (Cucurbita pepo convar. citrullinina var. styriaca) depending on genotype and location. Acta Hort. 492: 175-178. Murkovic, M., U. Mulleder and H. Neunteufl. 2002. Carotenoid content in different varieties of pumpkins. J. Food Com. Anal. 15: 633638. Robinson, R.W. and D.S. Decker-Walters. 1997. Cucurbits. CAB International. New York, U.S.A. Saeleaw, P. and G. Schleining. 2011. Composition, physicochemical and morphological characterization of pumpkin flour. In P.S.Taoukis., N.G. Stoforos, V.T. Karathanos, G.D. Saravacos, eds. Proceedings of the ICEF11-11th International Congress on Engineering and Food “FOOD PROCESS ENGINEERING IN A CHANGING WORLD”, April 10-13, Vol. 2 Athens, Greece. p. 869-870. See, E., W.A Wan Nadiah, and A.A. Noor Aziah. 2007. Physico-chemical and sensory evaluation of breads supplemented with pumpkin flour. ASEAN Food Journ. 14: 123-130. Sellappan, S., C.C. Akoh, and G. Krewer. 2002. Phenolic compounds and antioxidant capacity of Georgia-grow blueberries and blackberries. J. Agri. Food Chem. 50: 2432-2438.

512

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อายุการเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วในบรรจุภณ ั ฑ์ สุญญากาศร่ วมกับวัตถุดดู ซับออกซิเจน Shelf-life of Maprow Keow in vacuum packaging with oxygen absorber ณชยุติ จันท์ โชติกุล1 ณัฐจรีย์ จิรัคคกุล1 นิภาพร เส็งคาปาน1 ศักรินทร์ นนทพจน์ 2 และบังอร เหมัง1 Nachayut Chanshotigul1, Natcharee Jirukkakul1, Nipaporn Sengkhampan1, Sakkarin Nontapot2 and Bung-Orn Hemung1

บทคัดย่ อ มะพร้ าวแก้ วเป็ นอาหารแปรรูปกึง่ แห้ งที่ผลิตจากเนื ้อมะพร้ าวอ่อนที่เคี่ยวกับน ้าตาลแล้ วนาไปเป่ าลมให้ เย็น โดยทัว่ ไป มะพร้ าวแก้ วมีอายุการเก็บรักษาสันประมาณ ้ 1 สัปดาห์ เนื่องจากไม่มีการเติมสารกันบูดลงในบรรจุภณ ั ฑ์ ดังนัน้ การทดลองนี ้ จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อยืดอายุการเก็บมะพร้ าวแก้ วโดยการบรรจุแบบสุญญากาศร่วมกับการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจน มะพร้ าว แก้ ว 300 กรัมบรรจุในถุงพลาสติกโพลีไนลอน โดยที่มีการใส่วตั ถุดดู ซับออกซิเจนเชิงการค้ า จานวน 0 1 2 และ 3 ซอง เก็บ รักษาที่อณ ุ หภูมิห้องเป็ นเวลา 5 สัปดาห์ ติดตามการเปลี่ยนแปลงคุณภาพระหว่างเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วทุกสัปดาห์ พบว่า ความชื ้นลดลงเล็กน้ อย ในขณะที่กิจกรรมของน ้าไม่ได้ รับผลกระทบ ทังนี ้ ้ไม่ขึ ้นกับจานวนวัตถุดดู ซับออกซิเจน เมื่อไม่มีวตั ถุดดู ซับออกซิเจนพบว่าจุลินทรี ย์ทงหมดมี ั้ คา่ เกินมาตรฐานการยอมรับในสัปดาห์ที่ 3 การเพิ่มขึ ้นของยีสต์และรามีแนวโน้ มเป็ นไปใน ทิศทางเดียวกับจุลินทรี ย์ทงหมด ั้ การใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจน 1 ซอง ทาให้ จลุ ินทรี ย์เกินมาตรฐานการยอมรับในสัปดาห์ที่ 4 แสดงถึงความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษา แต่การเพิ่มวัตถุดดู ซับออกซิเจนมากกว่า 1 ซองไม่สง่ ผลดีเพิ่มขึ ้น การ ยอมรับของผู้บริ โภคต่อมะพร้ าวแก้ วทังก่ ้ อนและหลังการเก็บรักษาเป็ นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ ผลจากการศึกษาพบว่าสภาวะที่เหมาะสมต่อการบรรจุมะพร้ าวแก้ วคือการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนเชิง การค้ า 1 ซองต่อหน่วยบรรจุภายใต้ บรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศ เมื่อเก็บรักษา ณ อุณหภูมิห้อง ควรบริโภคผลิตภัณฑ์ภายใน 4 สัปดาห์ภายหลังการผลิตและบรรจุ คาสาคัญ: มะพร้ าวแก้ ว สารดูดซับออกซิเจน อายุการเก็บ การบรรจุสญ ุ ญากาศ

ABSTRACT Maprow Keow is a kind of snack made from coconut pulp, which is saturated with sugar prior drying with air flow to obtain the semi-dried product. It normally has a short shelf-life (1 week) since antimicrobial agent is not added. Therefore, vacuum packaging with oxygen absorber (OA) was studied to extend the shelf-life. Maprow keow (commercial one) was packed under vacuum condition in plastic bag with the OA ranging from 0, 1, 2, and 3 packs per each and kept at room temperature before evaluating the qualities. During storage, moisture content decreased slightly, while water activity of sample was not different regardless the addition of OA. Total plate count of sample without OA was over the standard after storage for 3 weeks. This period could be extended to 4 weeks when a bag of OA was used. This suggested the shelf life was extended by OA addition but it could not be extended more by adding more OA. The consumer preference scores toward the product up to 4 weeks were not different significantly. Based on the study, the suitable condition for packing Maprow Keow under vacuum is using a bag of OA and the best before date should be within 4 weeks after manufacturing and packing. Keywords: Maprow Keow, Oxygen absorber, shelf-life, vacuum packing

1 2

สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย หนองคาย 43000 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ บรู ณาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย หนองคาย 43000

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

513


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

บทนา

มะพร้ าวแก้ ว เป็ นผลิตภัณฑ์มะพร้ าวอ่อนแปรรู ปที่มีลกั ษณะกึ่งแห้ ง รสหวาน เหมาะสาหรับการรับประทานเป็ นขนม ขบเคี ้ยวที่ได้ รับความนิยมจนกลายเป็ นผลิตภัณฑ์ของฝากสาหรับนักท่องเที่ยวในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ได้ แก่ เลย และ หนองคาย เนื่องจากมีพื ้นที่ติดกับแม่น ้าโขงทาให้ มีพื ้นที่ช่มุ น ้า (wet land) ที่เหมาะต่อการเพาะปลูกมะพร้ าวทาให้ มีผลิตผล มะพร้ าวมากพอที่จะนามาเป็ นวัตถุดิบในการแปรรู ปเป็ นมะพร้ าวแก้ ว โดยเฉพาะอาเภอเชียงคานที่มีกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและ กลุ่มแม่บ้านที่รวมตัวกันผลิตมะพร้ าวแก้ วเป็ นอาชีพเสริ มและอาชีพหลัก ซึ่งมีกลุ่มผู้ผลิตและผู้ผลิตรายย่อยมากกว่า 30 ราย กระบวนการผลิตมะพร้ าวแก้ วเริ่ มจากการนาเนือ้ มะพร้ าวอ่อนมาหั่นเป็ นชิน้ ที่มีความหนา 5 มิลลิเมตร แล้ วนามาผสมกับ น ้าตาลด้ วยสัดส่วนของเนื ้อมะพร้ าวต่อน ้าตาล เป็ น 7:3 จากนันน ้ าไปให้ ความร้ อนประมาณ 90 -100 องศาเซลเซียส เพื่อฆ่า เชื ้อเป็ นเวลา 10 นาที ก่อนทาการเคี่ยวที่อณ ุ หภูมิประมาณ 40 องศาเซลเซียส เป็ นเวลาประมาณ 30 นาที นาเนื ้อมะพร้ าวที่ ผ่านการเคี่ยวไปผึง่ ลมให้ เย็นและสลัดผลึกน ้าตาลที่เคลือบผิวด้ านนอกออกจะได้ มะพร้ า วแก้ วที่พร้ อมบรรจุเพื่อจาหน่าย (กลุ่ม วิจยั เศรษฐกิจการค้ าระหว่างประเทศอินโดจีน มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย, 2558) การผลิตมะพร้ าวแก้ วของ กลุม่ แม่บ้านบางกลุม่ ได้ รับการจนได้ รับการรับรองมาตรฐานการผลิตอาหารที่ดี (Good Manufacturing Practice, GMP) การ รับรองมาตรฐานการผลิตอาหารขององค์การอาหารและยา (เครื่ องหมาย อย) เช่น มะพร้ าวแก้ วตรา เคียงเลย (งานบริ การข้ อมูล ผลิตภัณฑ์สขุ ภาพผ่านอินเตอร์ เน็ต, 2558) การจัดชันคุ ้ ณภาพของมะพร้ าวแก้ วจะพิจารณาจากวัตถุดิบที่นามาแปรรูป โดยแบ่งเป็ นมะพร้ าวแก้ วเกรดเอ ได้ จาก เนือ้ มะพร้ าวอ่อ นชัน้ ที่ติดกับกะลา จะทาให้ ได้ มะพร้ าวแก้ วที่มีความนุ่ม ฉ่านา้ และเป็ นที่นิยมทาให้ จาหน่ายได้ ราคาดีที่สุด ส่วนเกรดบี จะได้ จากเนื ้อมะพร้ าวชันถั ้ ดจากเกรดเอ ส่วนชันที ้ ่เหลือจะถูกจัดเป็ นเกรดซี และมะพร้ าวแก้ วทัง้ 3 ประเภทจะมี ความนุ่มลดลงเรื่ อยๆ จากเกรดเอถึงเกรดซี อย่างไรก็ตามผลิตภัณฑ์ มะพร้ าวแก้ วที่วางจาหน่ายทั่วไปมักบรรจุภัณฑ์ ใน ถุงพลาสติกปิ ดผนึกแบบง่ายหรื อแบบปิ ดสนิท ลักษณะดังกล่าวทาให้ มีอายุการเก็บรักษาไม่เกิน 1 สัปดาห์ จึงเป็ นข้ อจากัดใน การขยายตลาดไปสูจ่ ดุ จาหน่ายที่ไกลออกไป และยังก่อให้ เกิดข้ อจากัดในการวางแผนการตลาดสาหรับตลาดที่มีขนาดใหญ่ขึ ้น (กลุม่ วิจยั เศรษฐกิจการค้ าระหว่างประเทศอินโดจีน มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย, 2558) ดังนันการพั ้ ฒนาบรรจุ ภัณฑ์เพื่อยืดอายุการเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วให้ ได้ นานจึงควรได้ รับการศึกษาและถ่ายทอดผลการศึกษาสู่กลุ่มผู้ผลิตมะพร้ าว แก้ วเพื่อเป็ นการเพิ่มศักยภาพทางด้ านการตลาดและเสริ มสร้ างรายได้ ให้ กบั วิสาหกิจชุมชนอันจะนาไปสู่ชมุ ชนเข้ มแข็งที่พึ่งพา ตนเองได้ ในอนาคต Silva et al. (2014) รายงานว่ามะพร้ าวแก้ วเป็ นผลิตภัณฑ์อาหารที่มีน ้าตาลสูงโดยแสดงปริ มาณน ้าตาลในเนื ้อ มะพร้ าวแก้ วในรูปของของแข็งที่ละลายได้ ประมาณ 35 บริ กซ์ (Brix) มีความชื ้นและวอเตอร์ แอคทิวิตี (water activity ;aw) ที่ ค่อนข้ างสูง จึงก่อให้ เกิดการเน่าเสียจากการเจริ ญของจุลินทรี ย์จาพวกยีสต์และราซึ่งเป็ นจุลินทรี ย์ที่ต้องการออกซิเจนในการ เจริ ญเติบโต การควบคุมการเจริ ญของจุลินทรี ย์โดยการลดความชื น้ ของมะพร้ าวแก้ วอาจส่งผลกระทบต่อเนื อ้ สัมผัสของ มะพร้ าวแก้ ว ดังนันการลดปริ ้ มาณออกซิเจนในบรรจุภณ ั ฑ์อาจเป็ นหนึ่งในแนวทางการยืดอายุการเก็บรักษาของมะพร้ าวแก้ ว การใช้ บรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศ (Vacuum pack) เป็ นอีกหนึ่งทางเลือกที่ได้ รับความนิยมในการใช้ บรรจุผลิตภัณฑ์ธัญญชาติ ผัก และผลไม้ แปรรูป เช่น ข้ าวกล้ อง ลาใยอบแห้ ง เป็ นต้ น (ธวัช นุสนธรา, 2557) บรรจุภัณฑ์ สุญญากาศเชิ งการค้ าที่ นิยมในปั จจุบันผลิ ตจากโพลีเอไมด์ (Polyamide, PA) หรื อ โพลีไ นลอน (Polynylon, PN) บางครัง้ อาจมีการผสมโพลีเอทีลีน (Polyethenlene) ไปด้ วย ทัง้ นีท้ งนี ั ้ บ้ รรจุภัณฑ์ดงั กล่าวจะต้ องเป็ นมี คุณภาพที่ใช้ กบั อาหารได้ (Food grade vacuum pack) และมีความหนาที่เหมาะสมซึง่ จะช่วยป้องกันการผ่านเข้ าออกของไอ นา้ รวมทัง้ ก๊ าชต่างๆ ได้ อย่างไรก็ตาม การบรรจุแบบสุญญากาศอาจไม่สามารถกาจัดออกซิเจนได้ อย่างหมดสิ ้นเนื่องจาก ออกซิเจนยังสามารถซึมผ่านเข้ าออกพลาสติกที่นามาใช้ ผลิตบรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศได้ (Lee, 2006) ทาให้ ออกซิเจนยังคงมี หลงเหลือในบรรจุภณ ั ฑ์และอาจส่งเสริ มการเจริ ญของจุลินทรี ย์และปฏิกิริยาเคมีได้ ปั จจุบนั นี ้วัตถุดดู ซับออกซิเจนชนิดที่ใช้ กบั อาหาร (Food grade) ได้ รับการผลิตในทางการค้ าเป็ นที่เรี ยบร้ อย ดังนันการบรรจุ ้ มะพร้ าวแก้ วด้ วยบรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศ ร่วมกับการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนน่าจะมีส่วนช่วยยืดอายุการเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วที่วางจาหน่าย ณ อุณหภูมิห้องได้ ดังนัน้ ผลของจานวนวัตถุดดู ซับออกซิเจนต่ออายุการเก็บรักษาของมะพร้ าวแก้ วเกรดเอ จึงได้ รั บการศึกษา ผลจากการศึกษาสามารถ นาไปถ่ายทอดสูก่ ลุม่ วิสาหกิจชุมชนผู้แปรรู ปมะพร้ าวแก้ ว ตรา เคียงเลย อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลในการ กาหนดวันหมดอายุของมะพร้ าวแก้ วในลาดับถัดไป

514

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง มะพร้ าวแก้ วเชิงการค้ า เกรดเอ ตรา เคียงเลย (อย:42-2-02747-2-0007) ได้ รับความอนุเคราะห์เพื่อเป็ นตัวอย่าง ศึกษาวิจยั จากกลุ่มสตรี และเยาวชนสหกรณ์ผ้ ใู ช้ น ้าบ้ านน้ อย หมู่ 4 ตาบลเชียงคาน อาเภอ เชียงคาน จังหวัดเลย วัตถุดดู ซับ ออกซิเจนเชิงการค้ า (Best Kept®) ที่เป็ นผงเหล็ก (ขนาดซอง เป็ น 40X50 มิลลิเมตร) ที่ใช้ กบั อาหารได้ (อย:73-1-05747-10001) จากบริษัท Alpine Foods จากัด ตัวอย่างมะพร้ าวแก้ ว 300 กรัม ได้ รับการบรรจุแบบสุญญากาศในถุงพลาสติกชนิดโพลีไนลอน ที่มีความหนา 120 ไมโครเมตร ขนาด 8 X12 นิว้ ผลของจานวนซองวัตถุดูดซับออกซิเจน 4 ระดับ (0 1 2 และ 3 ซองต่อหนึ่งถุงบรรจุ ) ต่อการ เปลี่ยนแปลงคุณภาพด้ านเคมี กายภาพ การยอมรับของผู้บริ โภค และจุลินทรี ย์ของมะพร้ าวแก้ วที่เก็บรักษา ณ อุณหภูมิห้อง ได้ รับการประเมินสัปดาห์ละครัง้ เป็ นเวลา 5 สัปดาห์ การตรวจความชื ้น โดยการอบที่ 105 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 12 ชัว่ โมง ด้ วยตู้อบลมร้ อน ตามวิธีการของ AOAC (2000) รายงานผลเป็ นร้ อยละของความชื ้นจากค่าเฉลี่ย 2 ซ ้า การตรวจกิจกรรมของน ้าได้ โดยใช้ เครื่ องวัดค่ากิจกรรมของน ้า (Aqua LAB, Washington, U.S.A) รายงานเป็ น ค่าเฉลี่ยจากการทดลอง 2 ซ ้า การตรวจนับจุลินทรี ย์ทงหมด ั้ โดยการสุ่มมะพร้ าวแก้ ว 10 กรัม มาทุกสั ปดาห์เพื่อตรวจนับจุลินทรี ย์ทงหมดด้ ั้ วยวิธี เพาะเชื ้อในอาหารเลี ้ยงเชื ้อแบบวุ้นแข็ง (Total plat count agar) แบบเทเชื ้อในอาหารเลี ้ยงเชื ้อ (Pour plate) ที่มีการเจือจาง เป็ นลาดับขัน้ (Serial dilution) บ่มอาหารเลี ้ยงเชื ้อที่ 37 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง นั บโคโลนีและรายงานเป็ น โคโลนี ต่อกรัมตัวอย่าง (Colony Forming Unit, CFU/g) ที่เกิดจากการเฉลี่ย 2 ซ ้า การตรวจนับ ยี ส ต์ แ ละรา สุ่ม ตัว อย่า งมะพร้ าวแก้ ว 10 กรั ม สัป ดาห์ ล ะครั ง้ ตรวจนับ จ านวนยี ส ต์ แ ละราด้ ว ยวิ ธี คล้ ายคลึงกับการตรวจนับจุลินทรี ย์ทงหมดแต่ ั้ ใช้ อาหารเลี ้ยงเชื อ้ เป็ น Potato Dextrose Agar (PDA) บ่มตัวอย่างที่สภาวะ เดียวกัน เป็ นเวลา 36 ชัว่ โมง นับโคโลนีและรายงานผลเป็ น CFU/g โดยเฉลี่ยนจากผลการทดลอง 2 ซ ้า การยอมรับของผู้บริ โภค โดยเทคนิคการประเมินทางประสาทสัมผัสด้ วยผู้ทดสอบชิมที่ไม่ได้ ผ่านการอบรมจานวน 6 คน ผู้ทดสอบชิมประเมินการยอมรับที่มีต่อมะพร้ าวแก้ วในด้ านสี เนื ้อสัมผัส กลิ่นรส รสชาติ และการยอมรับโดยรวม ทาการ ประเมินด้ วยแบบทดสอบ Hedonic test แบบ 9 ระดับ การวิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติของค่าเฉลี่ยที่ได้ จากผลการทดสอบ โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) และเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยด้ วยวิธี Duncan ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 %

ผลการทดลองและวิจารณ์ การตรวจวัดปริมาณความชื ้นของตัวอย่างมะพร้ าวแก้ วเกรดเอ พบว่ามีความชื ้นร้ อยละ 18-22 โดยที่การใส่วตั ถุดดู ซับ ออกซิเจนจานวนที่มากขึ ้นไม่ได้ สง่ ผลต่อความชื ้นที่เพิ่มขึ ้นอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ซึ่ งสอดคล้ องกับสมบัติเชิงหน้ าที่ของวัตถุ ดูดซับออกซิเจนที่ทาหน้ าที่ดดู ซับเฉพาะออกซิเจนแต่ไม่ดดู ซับไอน ้าเนื่องจากมีส่วนประกอบของผงเหล็ก (Iron powder) ที่มี ความสามารถในการจับกับออกซิเจนโดยอาศัยปฏิกิริยาออกซิเดชัน (Oxidation) (Yam, 2009) ดังนัน้ การเพิ่มวัตถุดูด ซับ ออกซิเจนจึงไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณความชื ้นในตัวอย่างมะพร้ าวแก้ ว ผลดังกล่าวอาจส่งผลดีต่อการรักษาความฉ่า น ้าของผลิตภัณฑ์ที่มีการบรรจุแบบสุญญากาศร่ วมกับวัตถุดูดซับออกซิเจน อย่างไรก็ตาม การเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ในบรรจุ ภัณฑ์ดงั กล่าวไว้ ที่อณ ุ หภูมิห้องเป็ นเวลา 4 สัปดาห์ ส่งผลให้ ความชื ้นในตัวอย่างมะพร้ าวแก้ วลดลงเล็กน้ อย (Figure 1) การ ลดลงของความชื ้นดังกล่าวอาจเนื่องมาจากการสูญเสียความชื ้นระหว่างการเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิห้องที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ ระหว่าง 27-36 องศาเซลเซียส อุณหภูมิดงั กล่าวก่อให้ เกิดการระเหยของน ้าในตัวอย่างมะพร้ าวแก้ ว ทังนี ้ ้เนื่องจากบรรจุภณ ั ฑ์ ไม่สามารถป้องกันการผ่านเข้ าออกของไอน ้าได้ อย่างสมบูรณ์ถึงแม้ ว่าบรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศจะมีความสามารถต้ านการผ่าน เข้ าออกของไอน ้าได้ ดี ข้ อสันนิษฐานดังกล่าวสอดคล้ องกับรายงานของ Lee (2006) ที่ระบุว่าพลาสติกชนิดโพลีเอไมด์ที่ใช้ ผลิต บรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศมีอตั ราการซึมผ่านของไอน ้าประมาณ 155 กรัมต่อตารางเมตรต่อวัน เมื่อทดสอบที่อณ ุ หภูมิ 38 องศา เซลเซียสและความชื ้นสัมพัทธ์ ร้อยละ 90 ดังนันการเก็ ้ บรักษามะพร้ าวแก้ วที่บรรจุแบบสุญญากาศไว้ เป็ นนานขึ ้นจึงทาให้ เกิด การสูญเสียไอน ้าจนทาให้ มีความชื ้นลดลงเล็กน้ อย

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

515


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Moisture content (%)

60 No oxygen absorber

Oxygen absorber: 1 pack

Oxygen absorber: 2 packs

Oxygen absorber: 3 packs

40

20

0 1 week

2 weeks

3 weeks

4 weeks

Storage time (Week)

Figure 1 Moisture content of Maprow Keow packed in vacuum condition with different amounts of oxygen absorber during storage for 4 weeks. ค่ากิจกรรมของน ้า เป็ นค่าที่แสดงถึงปริ มาณน ้าอิสระที่จลุ ินทรี ย์สามารถนาไปใช้ เพื่อการเจริ ญเติบโตได้ โดยเฉพาะ จุลินทรี ย์ที่ก่อให้ เกิดการเน่าเสียของอาหาร นอกจากนันยั ้ งบ่งบอกถึงศักยภาพในการส่งเสริ มปฏิกิริยาเคมีบางประการ เช่น ปฏิกิริยาออกซิเดชันของกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว นามาซึ่งการเกิดกลิ่นเหม็นหืน (Rancidity) ที่ไม่พึงประสงค์ รวมทังปฏิ ้ กิริยาการ เกิดสีน ้าตาลที่ไม่ได้ เกิดจากการทางานของเอนไซม์ เช่น ปฏิกิริยาเมลลาร์ ด (นิธิยา รัตนาปนนท์ , 2553) ดังนันปริ ้ มาณน ้าอิสระ จึงมีบทบาทสาคัญในการกาหนดอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑ์อาหารที่มีสาเหตุแห่งการเสื่อมเสียจากการเปลี่ยนแปลง ทางด้ านจุลินทรี ย์และการเสื่อมสภาพจากปฏิกิริยาเคมี ผลจากการตรวจวัดกิจกรรมของน ้าในตัวอย่างมะพร้ าวแก้ วพบว่ามีค่า วอเตอร์ แอคทิวิตี ้ (Water activity, aw) อยู่ระหว่าง 0.83-0.84 โดยไม่ขึ ้นกับปริ มาณวัตถุดดู ซับออกซิเจนและระยะเวลาในการ เก็บรักษา (Figure 2) จากการวัดปริ มาณความชื ้นและค่ากิจกรรมของน ้าในตัวอย่างมะพร้ า วแก้ วชี ้ให้ เห็นว่า ผลของการใช้ วตั ถุ ดูดซับออกซิเจนร่ วมกับการบรรจุแบบสุญญากาศไม่ส่งผลต่อเนือ้ สัมผัสของมะพร้ าวแก้ ว โดยเฉพาะเรื่ องของความฉ่ านา้ เนื่องจากปริ มาณนา้ ในผลิตภัณฑ์ไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตามผลการทดลองดังกล่าวชีใ้ ห้ เห็นว่ามะพร้ าวแก้ วเกรด เอ เป็ น ผลิตภัณฑ์อาหารที่มีกิจกรรมของน ้าค่อนข้ างสูงและจึงมีความเสี่ยงต่อการเน่าเสียโดยจุลินทรี ย์ deMan (1990) รายงานว่ายีสต์ รา และ แบคทีเรี ย สามารถเจริ ญได้ ดีในอาหารที่มีค่ากิจกรรมของน ้าระหว่าง 0.8-1.0 ดังนันมะพร้ ้ าวแก้ วจึงเป็ นผลิตภัณฑ์ที่ เสี่ยงต่อการเน่าเสียจากการเจริ ญของ ยีสต์ รา และแบคทีเรี ย จุลินทรี ย์ที่ทาให้ อาหารเน่าเสียบางชนิดสามารถเจริ ญได้ ใน สภาวะที่มีออกซิเจนในอากาศหรื อจุลินทรี ย์แอโรบิค (Aerobic microorganisms) ดังนันการก ้ าจัดออกซิเจนในบรรยากาศ (Head space) ของบรรจุภณ ั ฑ์อาจมีสว่ นช่วยยับยังการเจริ ้ ญของจุลินทรี ย์เน่าเสียเหล่านันได้ ้ การบรรจุและเก็บรักษามะพร้ าว แก้ วในบรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศร่วมกับการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนอาจเป็ นหนึง่ ในแนวทางการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ได้

516

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 2 Water activity of Maprow Keow packed in vacuum condition with different amounts of oxygen absorber during storage for 4 weeks. ปริ มาณจุลินทรี ย์ทงหมดในตั ั้ วอย่างมะพร้ าวแก้ วที่บรรจุแบบสุญญากาศที่ปราศจากการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนเมื่อ เวลาในการเก็บรักษาผ่านไป 1 สัปดาห์พบว่ามีจานวนไม่เกิน 1 x 103 CFU/g ซึง่ ถือว่าเป็ นจานวนจุลินทรี ย์ในช่วงเริ่ มต้ นที่ ไม่ เกินมาตรฐานมะพร้ าวแก้ ว (มผช กาหนดไว้ ว่า จานวนจุลินทรี ย์ทงหมดในมะพร้ ั้ าวแก้ ว ไม่ควรมีเกิน 1x103 cfu/g ประกาศ กระทรวงสาธารณสุข ฉ 355/2556 เรื่ อง อาหารในภาชนะบรรจุปิดสนิท จานวนจุลินทรี ย์ทงหมด ั้ ไม่ควรมีเกิน 1000 ต่อ อาหาร 1 กรัม) และการใส่วตั ถุดดู ซับออกซิ เจนที่เพิ่มขึ ้นไม่ได้ ช่วยยับยังหรื ้ อส่งเสริ มให้ เกิดการเจริ ญเติบโตของจุลินทรี ย์ เนื่องจาก จานวนจุลินทรี ย์ทงหมดมี ั้ ค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (Figure 3) เมื่อเวลาในการเก็บรักษาผ่านไป 4 สัปดาห์ พบว่าจานวนจุลินทรี ย์ทงหมดในตั ั้ วอย่างที่ไม่ใช้ วตั ถุดู ดซับออกซิเจนมีค่ามากกว่า 1 x 106 CFU/g มีรายงานว่าอาหารที่มี จานวนแบคทีเรี ยและยีสต์สงู กว่า 10 6 CFU/g มักก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงด้ านกลิ่น สี เนื ้อสัมผัส และไม่เป็ นที่ต้องการของ ผู้บริโภค (บุษกร อุตรภิชาติ, 2555) ค่าดังกล่าวอาจนามาใช้ เป็ นเกณฑ์ในการกาหนดการยอมรับของผลิตภัณฑ์หรื อกาหนดอายุ การเก็ บ รั ก ษาอาหาร ข้ อ มูล ดัง กล่ า วแสดงให้ เ ห็ น ว่ า การบรรจุม ะพร้ าวแก้ ว ในบรรจุภัณ ฑ์ สุญ ญากาศและเก็ บ รั ก ษาที่ อุณหภูมิห้องโดยไม่มีการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนเกิดการเน่าเสียในสัปดาห์ที่4 นอกจากนันยั ้ งชี ้ให้ เห็นว่า การใช้ วตั ถุดดู ซับออก เจนเพียง 1 ซอง สามารถชะลอการเจริ ญของจุลินทรี ย์ทงหมดได้ ั้ โดยตรวจพบว่าจานวนจุลินทรี ย์ทงหมดในตั ั้ วอย่างมะพร้ าว 6 แก้ วมีค่าน้ อยกว่า 1x10 CFU/g เมื่อเก็บรักษาเป็ นเวลา 4 สัปดาห์เท่ากัน ผลการศึกษาในครัง้ นี ้สอดคล้ องกับกรณีศึกษาการ บรรจุลาใยอบแห้ งที่พบว่าการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนมีส่วนช่วยยับยังการเจริ ้ ญของจุลินทรี ย์ทงหมด ั้ (พรทิพย์ วิสารทานนท์ , 2550) ดังนัน้ การใช้ บรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศร่ วมกับการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนมีส่วนช่วยยืดอายุการเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วได้ เพิ่มขึ ้นอีก 1 สัปดาห์ อย่างไรก็ตามการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนที่มากขึ น้ ไม่ได้ ช่วยยืดอายุการเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วได้ เพิ่มขึ ้น อี ก เนื่ องจากจุลินทรี ย์ทัง้ หมดยังคงมี ค่าเกิ นระดับ ที่ ยอมรั บได้ ใ นสัปดาห์ ที่ 5 ในสภาวะที่ มีวัตถุดูดซับออกเจนถึง 3 ซอง นอกจากนัน้ การใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนเพิ่มขึ ้นนอกจากไม่ช่วยยืดอายุการเก็บรักษาเพิ่มขึ ้นกลับเป็ นการเพิ่มต้ นทุนการผลิต การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

517


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

6 No oxygen absorber Oxygen absorber: 2 packs

Oxygen absorber: 1 pack Oxygen absorber: 3 packs

Total plate count (CFU/g)

5

4

3

2

1

0 1 week

2 weeks

3 weeks

4 weeks

5 weeks

Storage time (Week)

Figure 3 Total plate count of Maprow Kaow packed in vacuum condition with different amounts of oxygen absorber during storage for 5 weeks. ยีสต์และราเป็ นจุลินทรี ย์ที่ต้องการอากาศเพื่อการเจริ ญเติบโต (Aerobic microorganisms) พบว่าทิศทางการ เจริ ญเติบโตของยีสต์และราเป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับการเจริ ญของจุลินทรี ย์ทงหมด ั้ (Figure 4) แสดงว่าจุลินทรี ย์กลุ่มยีสต์ และรายังสามารถเจริ ญได้ ระหว่างการเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วที่บรรจุแบบสุญญากาศร่ วมกับการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจน ทังนี ้ ้ อาจเนื่องมาจากการบรรจุแบบสุญญากาศเพียงอย่างเดียวไม่สามารถกาจัดออกซิเจนออกได้ อย่างสมบูรณ์ การพบการเจริ ญ ของราในผลิตภัณฑ์สอดคล้ องกับรายงานของ พรทิพย์ วิสารทานนท์ (2550) ที่พบการเจริ ญของยีสต์และราในลาใยอบแห้ งที่ บรรจุแบบสุญญากาศ นอกจากนันยั ้ งมีรายงานว่าเชื ้อราสามารถเจริ ญเติบโตได้ แม้ มีปริ มาณออกซิเจนจากัดเพียงร้ อยละ 0.02 ในบรรยากาศ (Nakamura and Hoshino, 1993 อ้ างโดยบริ ษัท ชอบธรรม จากัด) ผลจากการศึกษาในครัง้ นี ้ชี ้ให้ เห็นเพิ่มเติม ว่าการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนควบคู่กบั กับการบรรจุสญ ุ ญากาศทาให้ การเจริ ญเติบโตของยีสต์ราและจุลินทรี ย์ทั ง้ หมดลดลง (Figure 3 and 4) การศึกษาดังกล่าวสอดคล้ องกับรายงานที่พบว่าการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนในบรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศช่วย เพิ่มประสิทธิภาพในการยับยังการเจริ ้ ญของแมลงศัตรูพืช (Sitophilus granarius L.) ซึง่ เป็ นสิ่งมีชีวิตที่ต้องการออกซิเจนในการ เจริ ญเติบโต (Kucerova et al., 2014) ดังนันการใช้ ้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนจึงมีส่วนช่วยเพิ่มความสามารถในการยืดอายุการ เก็บรักษามะพร้ าวแก้ วได้ ยิ่งไปกว่านัน้ การใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนยังช่วยยืดอายุการเก็บรักษาของแอลมอนด์ได้ ด้วย (Mexis and Kontominas, 2010)

518

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Yeast and mold (CFU/g)

8 No oxygen absorber

Oxygen absorber: 1 pack

Oxygen absorber: 2 packs

Oxygen absorber: 3 packs

6

4

2

0 1 week

2 weeks

3 weeks

4 weeks

5 weeks

Storage time (Week)

Figure 4 Yeast and mold count of Maprow Keow packed in vacuum condition with different amounts of oxygen absorber during storage for 5 weeks. ผลการประเมินการยอมรับของผู้บริ โภคโดยใช้ เทคนิคการประเมินทางประสาทสัมผัสโดยประเมินด้ านสี กลิ่นรส เนื ้อ สัมผัส และรสชาติ พบว่าผู้บริโภคให้ คา่ การยอมรับอยูใ่ นช่วง 6-8 (จากคะแนนสูงสุดเป็ น 9) เมื่อเก็บรักษาไว้ ที่อณ ุ หภูมิห้องเป็ น เวลา 1 สัปดาห์ โดยการประเมินด้ าน สี กลิ่นรส เนือ้ สัมผัส และรสชาติ พบว่าได้ คะแนนเกือบทุกด้ านไม่แตกต่างกันมากนัก (Figure 5) ข้ อมูลดังกล่าวแสดงให้ เห็นได้ ชดั ว่า การมีหรื อไม่มีวตั ถุดดู ซับออกซิเจนไม่สง่ ผลกระทบต่อคุณลักษณะของมะพร้ าว แก้ วถึงขันที ้ ่เกิดการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสของผู้บริโภคแต่อย่างใด

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

519


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

12

Sensory score

10

No oxygen absorber Oxygen absorber: 2 packs

Oxygen absorber: 1 pack Oxygen absorber: 3 packs

8 6 4 2 0 Color

Odor

Texture

Flavor

Sensory attribute

Figure 5 Sensory score of Maprow Keow packed in vacuum condition with different amounts of oxygen absorber after storage at room temperature a week. ผลการประเมินการยอมรับผลิตภัณฑ์ในภาพรวม (Overall acceptance) พบว่ามีค่าการยอมรับที่ไม่แตกต่างกันมาก นักไม่ว่าเวลาในการเก็บรักษาจะผ่านไปถึง 3 สัปดาห์และไม่ขึ ้นกับการมีหรื อไม่มีวตั ถุดดู ซับออกซิเจน (Table 1) โดยปกติแล้ ว ผู้บริ โภคไม่สามารถประเมินการเปลี่ยนแปลงทางจุลินทรี ย์ของผลิตภัณฑ์ได้ เว้ นเสียแต่จลุ ินทรี ย์ได้ เพิ่มจานวนมากจนจนสังเกต ได้ ด้วยตาเปล่า จานวนดังกล่าวอาจมีค่ามากเกินกว่าที่มาตรฐานกาหนดให้ มีได้ ข้ อมูลนีแ้ สดงให้ เห็นถึงความเสี่ยงต่อการ บริ โภคผลิตภัณฑ์มะพร้ าวแก้ วที่มีจุลินทรี ย์ทงหมดเกิ ั้ นมาตรฐานโดยไม่ร้ ู ตวั และอาจก่อให้ เกิดโรคจากอาหาร (Food born diseases) การประเมินทางประสาทสัมผัสของมะพร้ าวแก้ วได้ ยตุ ิลงเมื่อจานวนจุลินทรี ย์ทงหมดเกื ั้ อบจะเกินจานวนที่ยอมรับได้ ดังนัน้ ผลการประเมินทางประสาทสัมผัสของตัวอย่างที่ไม่มีแ ละมีวัตถุดูดซับออกซิเจน จึงไม่ปรากฎในสัปดาห์ ที่ 3 และ 5 ตามลาดับ (Table 1) ผลการทดลองในประเด็นนี ้สะท้ อนให้ เห็นความสาคัญของการศึกษาอายุการเก็บรักษาของมะพร้ าวแก้ ว ด้ วยระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ ทังนี ้ ้เพื่อใช้ ในการกาหนดอายุการเก็บรักษาของมะพร้ าวแก้ ว ผลจากการศึกษาชี ้ให้ เห็นอีกว่า อายุการเก็บรักษาของมะพร้ าวขึ ้นอยูก่ บั การเปลี่ยนแปลงจานวนจุลินทรี ย์เป็ นหลัก

520

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Overall acceptance toward Maprow Keow packed in vacuum condition with different amounts of oxygen absorber during storage for 3 weeks. Amount of oxygen absorber

Storage time (Week) Week 1

Week2

Week3

Week4

No oxygen absorber

7.29  0.76

8.00  0.58

**

**

Oxygen absorber: 1 pack

7.29  0.95

7.00  0.58

7.20  0.84

7.67  1.03

Oxygen absorber: 2 packs

7.29  0.76

7.14  0.9

8.00  1.22

7.83  0.98

Oxygen absorber: 3 packs

7.71  0.76

7.14  0.69

7.00  0.71

7.33  0.82

** Data for sample without an oxygen absorber was not available for week 3-4.

สรุ ป มะพร้ าวแก้ วเกรด เอ ตรา เคียงเลย ที่บรรจุแบบสุญญากาศโดยปราศจากการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนโดยใช้ ปริ มาณ จุลินทรี ย์ทงหมดเกิ ั้ นมาตรฐานในสัปดาห์ที่ 4 ยีสต์และราอาจมีบทบาทร่วมในการเน่าเสียของมะพร้ าวแก้ วด้ วย การใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนส่งผลให้ จุลินทรี ย์ทงั ้ หมดเกิ นมาตรฐานในสัปดาห์ที่ 5 แสดงถึงความสามารถในการยืดอายุการเก็บรักษาของ มะพร้ าวแก้ วที่บรรจุในบรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศโดยใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนร่ วมด้ วย โดยที่การใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจนไม่มีผลต่อ ปริ มาณน ้าหรื อความชื ้นและค่ากิจกรรมของน ้า รวมทังยั ้ งไม่ส่งผลกระทบต่อการยอมรั บของผู้บริ โภค อย่างไรก็ตาม การเพิ่ม จานวนวัตถุดูดซับออกซิเจนไม่ช่วยให้ ยืดอายุการเก็บรักษามะพร้ าวแก้ วได้ เพิ่มขึน้ ดังนัน้ การบรรจุมะพร้ าวแก้ ว 300 กรัมใน บรรจุภณ ั ฑ์สญ ุ ญากาศร่ วมกับการใช้ วตั ถุดดู ซับออกซิเจน 1 ซอง ที่เก็บรักษาไว้ ที่อณ ุ หภูมิห้องควรบริ โภคภายในระยะเวลา 4 สัปดาห์

กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจยั ขอขอบคุณ ขอบคุณ นางสาวประภาภรณ์ เทตวงษ์ และ นางสาวสมประสงค์ ปริ วตั ิ เจ้ าหน้ าที่วิทยาศาสตร์ ที่ ดูแลการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีและจุลิทรี ย์ ขอขอบคุณ กลุ่มวิจัยเศรษฐกิจการค้ าระหว่างประเทศอินโดจีน และ โครงการ พัฒนามาตรฐานบรรจุภณ ั ฑ์สินค้ าและของที่ระลึกเพื่อการท่องเที่ยวในพื ้นที่พิเศษเลย สาหรับงบประมาณในการสนับสนุนการ ศึกษาวิจยั ขอบคุณ คณะวิทยาศาสตร์ ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาหรับสาธารณูปโภคเพื่อการ ศึกษาวิจยั

เอกสารอ้ างอิง งานข้ อมูลผลิตภัณฑ์สขุ ภาพผ่านอินเตอร์ เน็ต ออนไลน์. อ้ างถึงวันที่ 5 ตุลาคม 2558. เข้ าถึงจาก : http://fdaolap.fda.moph.go.th/logistics/food/FSerch.asp?id=food.

กลุม่ วิจยั เศรษฐกิจการค้ าระหว่างประเทศอินโดจีน (2558) รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการ พัฒนามาตรฐานบรรจุภณ ั ฑ์สินค้ าและของที่ระลึกเพื่ อ การท่องเที่ยวในพื ้นที่พิเศษเลย มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย นิธิยา รัตนาปนนท์. 2553. เคมีอาหาร Food Chemistry (พิมพ์ครัง้ ที่ 3). กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ บุษกร อุตรภิชาติ. 2555. จุลชีววิทยาทางอาหาร (พิมพ์ครัง้ ที่ 5). สงขลา: บริ ษัท นาศิลป์ โฆษณา จากัด. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

521


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า ธว นุสนธรา. 2557. สรรสาระ: บรรจุภณ ั ฑ์พลาสติกกับคุณภาพอาหารโอทอป, กรมวิทยาศาสตร์ บริ การ, 196, 35-37. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 355 (พ.ศ. 2556) ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 130 ตอนพิเศษ 87 ง (ลงวันที่ 26 มิถนุ ายน 2556) พรทิพย์ วิสารทานนท์. 2550. รายงานวิจยั เรื่ อง การศึกษาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปสินค้ าเกษตรเบื ้องต้ น. ออนไลน์. อ้ างถึงวันที่ 5 ตุลาคม 2558. เข้ าถึงจาก :http://www.doa.go.th/research/files/329-2550.pdf. Silva, W.P., C.M.D.P.S. Silva, J.E. F. Aires and S.F. S. Junior. 2014. Osmotic dehydration and convective drying of coconut slices: Experimental determination and description using one-dimensional diffusion model. J. Saudi Soc. Agric. Sci. 13: 162-168. Dak, M., V.R. Sagar and S.K. Jha. 2014. Shelf-life and kinetics of quality change of dried pomegranate arils in flexible packaging. Food Package. Shelf. 2: 1-6. Lee, K. H. 2006. Plastic packaging of frozen foods. In Handbook of frozen food processing and packaging. Sun E.W. (Ed). CRC Press, Taylor and Francis, Florida, U.S.A. Kucerova, Z., K. Kyhos, R. Aulicky., J. Lukas and V. Stejskal. 2014. Laboratory experiments of vacuum treatment in combination with an O2 absorber for the suppression of Sitophilus granarius infestations in stored grain samples. Crop. Protect. 61:79-83. Mexis, S.F., E. Chouliara and M.G. Kontominas. 2009. Combined effect of an O2 absorber and oregano essential oil on shelf-life extension of Greek cod roe paste (tarama salad) stored at 4 C. Innov. Food Sci.Emerg. 10:572-579. Mexis, S.F. and M.G. Kontominas. 2010. Effect of oxygen absorber, nitrogen flushing, packaging material oxygen transmission rate and storage conditions on quality retention of raw whole unpeeled almond kernels (Prunus dulcis). LWT-Food Sci. Tech. 43:1-11. Prieto, W. H., A.M. Iguti and M. Nitz. 2011. Drying evaluation of green coconut pulp for obtaining a snack-like product. ICEF11. 1:1618-1627.

522

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของอุณหภูมิต่อการสุกและคุณภาพของกล้ วยไข่ Effect of Temperature on Ripening and Quality of ‘Khai’ Banana (Musa AA group) สมคิด ใจตรง1

บทคัดย่ อ ศึกษาผลของอุณหภูมิต่ออัตราการสุก และคุณทางเคมี -กายภาพของกล้ วยไข่ ซึ่งกล้ วยไข่ที่ใช้ ในการวิจยั เป็ นกล้ วยที่ ปลูก ในพื น้ ที่ จัง หวัด สระแก้ ว ระยะบริ บูร ณ์ ท างการค้ า (ระยะบริ บูร ณ์ 80%) น ามาเก็ บ รั ก ษาที่ อุณ หภูมิ ห้ อ ง (30±2ซ) เปรี ยบเทียบกับการเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิเย็น คือ อุณหภูมิ 13ซ นาน 1 สัปดาห์ และปรับอุณหภูมิเป็ น 17±2ซ นาน 2 สัปดาห์ สุม่ วิเคราะห์ผลกล้ วยทุก 2 วัน จนกระทัง่ สุกงอม โดยวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมี-กายภาพ การเกิดโรคขัวหวี ้ เน่า และอัตราการหายใจ พบว่าอุณหภูมิมีผลต่อความเร็วในการสุก ซึง่ ผลกล้ วยที่สกุ ที่อณ ุ หภูมิห้อง มีกระบวนการเปลี่ยนแปลงทาง เคมีเข้ าสู่กระบวนการสุกเกิดขึน้ เร็ วว่าการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ส่วนกล้ วยที่เก็บรักษาที่อุณหภูมิเย็นสุกได้ ปกติ และมี ความแน่ น เนื อ้ อยู่ใ นระดับ ที่ ยอมรั บได้ เริ่ ม พบการเกิ ด โรคขัว้ หวี เ น่า ในวัน ที่ 4 และ 10 ที่ อุณ หภูมิ ห้ อ ง และอุณ หภูมิ เ ย็น ตามลาดับ และอัตราความรุนแรงของโรคเกิดขึ ้นอย่างรวดเร็วเมื่อเข้ าสูร่ ะยะการสุกและการเสื่อมสภาพ ผลกล้ วยที่เก็บรักษาทัง้ สองระดับอุณหภูมิ มีการหายใจแบบไคลแมกเทอริ กสูงที่สดุ และมีปริ มาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายนา้ ได้ เพิ่มสูงขึน้ เมื่อผล กล้ วยอยูใ่ นระยะสุกพร้ อมบริโภค และลดลงเมื่อเข้ าสูร่ ะยะสุกงอม คาสาคัญ: กล้ วยไข่ การสุก คุณภาพทางกายภาพ-เคมี โรคขัวหวี ้ เน่า

Abstract This study was conducted to find out of the effect of temperature on speed of ripening process and quality of ‘Khai’ banana. The orchards used in this study were located in Sakaeo province. Commercial maturity banana (80% mature) were stored at room temperature (30±2C) compared with cool temperature at 13C for one week and at 17C for two weeks. Fruits were randomly analysed every two days until over-ripe. The physicochemical changes, crown rot and respiration rate were analysed. The results showed that the room temperature had faster effect on ripening than at cool temperature, especially on chemical processes. Banana ripened at room temperature had good eating quality in terms of total soluble solids (TSS), firmness and color development. The fruit ripened at cool temperature had acceptable eating quality with firmer pulp. The incidence of crown rot showed at four and ten days after storage at room temperature and cool temperature, respectively. Severity index of crown rot were increased rapidly at ripening and senescence. At ripening stage, the fruits of both treatments reached the peak of climacteric respiration and the high TSS then decreased rapidly with over-ripe. Keywords: Khai banana, ripening, physico-chemical quality, crown rot

คานา กล้ วยเป็ นพืชที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ในประเทศไทยมีกล้ วยที่ปลูกเป็ นการค้ าหลายชนิด ได้ แก่ กล้ วยหอมทอง (AAA group) กล้ วยไข่ (AA group) และกล้ วยน ้าว้ า (ABB group) (National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards, 2005; Department of Agriculture-Thailand, 2007) กล้ วยมีคณ ุ ค่าทางโภชนาการหลายด้ าน เช่น เป็ นสารต้ าน อนุมลู อิสระ มีปริ มาณใยอาหาร และ โพแทสเซียม เป็ นต้ น (Kanazawa and Sakakibara, 2000) ในประเทศไทยมักประสบ ปั ญหาเกี่ยวกับความบริบรู ณ์ของผลกล้ วยซึง่ ส่งผลต่อคุณภาพกล้ วยหลังเก็บเกี่ยว และการส่งออก คุณภาพของกล้ วยสุก ขึ ้นอยู่ กับความบริบรู ณ์ขณะเก็บเกี่ยว ความรวดเร็วในการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว การหลีกเลี่ยงไม่ให้ เกิดความผิดปกติทางสรี รวิทยา และ ใช้ สภาวะที่เหมาะสมสาหรับการจัดการกล้ วย (Sangudom et al., 2014) สาหรับกล้ วยไข่สง่ ออก เก็บเกี่ยวเมื่อผลกล้ วยมี 1

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ ว สระแก้ ว 27160

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

523


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ความบริ บรู ณ์ประมาณ 70-80% (Department of Agriculture-Thailand, 2007) ปั จจัยหลักที่สง่ ผลต่ออัตราการสุกของกล้ วย คือ อุณหภูมิ โดยทัว่ ไปอุณหภูมิที่แนะนาให้ เก็บรักษากล้ วยอยู่ระหว่าง 14-18ซ ถ้ าอุณหภูมิสงู กว่า 18 และสูงถึง 24ซ จะทา ให้ กล้ วยสุกเร็ วขึ ้น (Kader et al., 2010) อุณหภูมิที่ใช้ ในการเก็บรักษามีผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ และความเร็ วของ กระบวนการสุกในกล้ วย (Esguerra et al., 1992) อัตราการหายใจและการสร้ างเอทธิลีนเพิ่มขึ ้น ตามอุณหภูมิที่สงู ขึ ้น ถ้ า อุณหภูมิในการเก็บรักษาสูงเกินไปจะเกิดความเสียหายกับผลกล้ วย (Smith and Thompson, 1987; Semple and Thompson, 1988) อุณหภูมิที่ต่ากว่า 14ซ จะทาให้ กล้ วยมีการสุกผิดปกติ และเกิดอาการสะท้ านหนาว (Ahmad et al., 2001) ในงานวิจยั ครัง้ นี ้ได้ ศึกษาผลของอุณหภูมิต่ออัตราการสุก และคุณภาพทางเคมี -กายภาพ ของกล้ วยไข่ระหว่างการเก็บ รักษา

อุปกรณ์ และวิธีการ กล้ วยไข่ระยะบริ บรู ณ์ประมาณ 70-80% จากสวนเกษตรกร อาเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ ว จากนันน ้ ามาล้ างด้ วย น ้าเพื่อกาจัดยางกล้ วยออก จุ่มในสารกาจัดเชื ้อราคาร์ เบนดาซิม (50% w/v, P.Y. M. Inter product Limited, Bangkok, Thailand) ความเข้ มข้ น 1000 ppm นาน 5 นาที ผึง่ ให้ แห้ ง แล้ วบรรจุในกล่องกระดาษน ้าหนัก 14.5 กิโลกรัม นามาเก็บรักษา ที่อณ ุ หภูมิห้อง (30±2ซ) ความชื ้นสัมพัทธ์ 70±2% เปรี ยบเทียบกับอุณหภูมิต่า คือ อุณหภูมิ13ซ นาน 1 สัปดาห์ จากนันปรั ้ บ อุณหภูมิเป็ น 17ซ ความชื ้นสัมพัทธ์ 80±2% นาน 2 สัปดาห์ เพื่อจาลองการเก็บรักษาผลผลิตและระหว่างขนส่งเพื่อส่งออก สุม่ วิเคราะห์ผลกล้ วยทุก 2 วัน จนกระทัง่ หมดอายุการเก็บรักษา (สุกงอม) โดยวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงระหว่างการสุก คือ วัดสี เปลือกกล้ วย ด้ วยเครื่ องวัดสี (Minolta colorimeter CR-400, Minolta, Japan) ซึง่ ใช้ ระบบสี CIELAB วัดความแน่นเนื ้อด้ วย เครื่ อง Fruit hardness tester (Daiichi FG 520K, Japan และ วิเคราะห์สว่ นประกอบทางเคมีโดยการวัดปริ มาณของแข็ง ทังหมดที ้ ่ละลายได้ ในน ้า (total soluble solids, TSS) ด้ วยเครื่ อง digital refractometer (Pocket refractometer PAL-1, ATAGO, Japan) การเกิดโรคขัวหวี ้ เน่า วัดอัตราการหายใจ ด้ วยเครื่ องCO2/O2 analyzer (Quantek 902D Instruments, USA) วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ วิเคราะห์สถิติ และเปรี ยบเทียบความแตกต่างด้ วย Tukey´s multiple range test ที่ระดับ ความเชื่อมัน่ ร้ อยละ 95 (p 0.05)

ผลการวิจัยและวิจารณ์ กล้ วยไข่ที่เก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิห้องเริ่มเข้ าสูก่ ระบวนการสุก (เปลือกเปลี่ยนจากสีเขียวอ่อนเป็ นเหลืองปนเขียว) ใน วันที่ 4 ของการเก็บรักษา จากนันพั ้ ฒนาสูก่ ารสุก และสุกงอมอย่างรวดเร็วในวันที่ 10 และ 12 ของการเก็บรักษา ตามลาดับ ส่วนกล้ วยที่เก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิเย็น เปลือกกล้ วยเริ่มเปลี่ยนเป็ นสีเหลืองปนเขียว (ระยะเริ่มต้ นของกระบวนการสุก) ในวันที่ 16 ของการเก็บรักษา จากนันพั ้ ฒนาสูก่ ระบวนการสุก และสุกงอม ภายในเวลา 22 และ 24 วัน ตามลาดับ กล้ วยที่สกุ ที่ อุณหภูมิห้อง สีผิวเปลือกจะเป็ นสีเหลืองเข้ มมากกว่ากล้ วยที่สกุ ที่อณ ุ หภูมิเย็น โดยมีคา่ L* และ C* เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องตาม ระยะการสุก และมีคา่ สูงสุดเมื่อกล้ วยสุกเต็มที่ และลดลงเมื่อสุกงอม ขณะที่องศา Hue ลดลงอย่างต่อเนื่องตามระยะการสุก เมื่อค่า Hue เป็ น 90 องศา จะอยูใ่ นช่วงของสีเหลือง ซึง่ ปรากฏเมื่อผลกล้ วยสุกพร้ อมบริโภค (Figure 1) กล้ วยที่เก็บรักษาที่ อุณหภูมิห้อง มีความแน่นเนื ้อระหว่างการสุกลดลง และปริ มาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายน ้าได้ เพิ่มขึ ้น เร็วกว่าที่อณ ุ หภูมิเย็น (Figure 2) การลดลงของความแน่นเนื ้อและการเพิ่มขึ ้นของปริมาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายน ้าได้ มีความเกี่ยวข้ องกับการ สลายตัวของสตาร์ ชเป็ นน ้าตาลซึง่ เกิดขึ ้นเมื่อกล้ วยเข้ าสู่กระบวนการสุก (Pinto et al., 2004) นอกจากนี ้ Siriboon and Banlusilp (2004) ได้ รายงานว่า การสลายตัวของสตาร์ ชเป็ นน ้าตาล มีผลทาให้ ปริมาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายน ้าได้ ของผล กล้ วยเพิ่มขึ ้น การลดลงของความแน่นเนื ้อมีความสัมพันธ์กบั กิจกรรมของเอนไซม์ที่ทาหน้ าที่สลายผนังเซลล์ ทาให้ โครงสร้ าง ของผนังเซลล์ของเซลล์พาเรนไคมาซึง่ พบมากในเนื ้อผลไม้ มีโครงสร้ างเปลี่ยนไป และแยกตัวออกจากเซลล์ข้างเคียงจึงเกิดการ อ่อนตัวของเนื ้อเยื่อ มีผลทาให้ ความแน่นเนื ้อลดลง (Ali et al., 2004) อัตราการหายใจของผลกล้ วยมีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นอย่าง ต่อเนื่อง จากระยะเริ่มแรกของกระบวนการสุก (pre-climacteric) และมีอตั ราการหายใจสูงสุด (climacteric peak) เมื่อผล กล้ วยสุกพร้ อมบริโภค จากนันลดลงเมื ้ ่อเข้ าสูร่ ะยะสุกงอม (Figure 2) เริ่ มพบการเกิดโรคขัวหวี ้ เน่าในวันที่ 4 และ 10 ที่ อุณหภูมิห้อง และอุณหภูมิเย็น ตามลาดับ (Figure 3) และอัตราความรุนแรงของโรคเกิดขึ ้นอย่างรวดเร็วเมื่อเข้ าสูร่ ะยะการสุก และการเสื่อมสภาพ

524

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Cool temperature

A

Room temperature

85 80

L* value

75 70 65 60 55 50 65

B

60 55

C* value

50 45 40 35 30 25

20

C

130 120

Hue angle

110 100

Yellow

90 80 70 60 0

2

4

6

8

10

12

14

16

18

20

22

24

Days of storage

Figure 1 Peel color changes of banana during storage. L* value (A), C* value (B) and Hue angle (C)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

525


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

A

Total soluble solids (%)

30

Cool temperature

25 20 15 10 5 0 0

2

4

6

8

10

12

14

16

18

20

22

24

Days of storage

B

C

Figure 2 Total soluble solids (A), firmness (B) and respiration rate (C) of banana during storage.

526

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Room temperature

5

Crown rot development (scores)

Cool temperature

CR4

4

CR3 3

CR2

2

CR1

1

0 0

2

4

6

8

10

12

14

Days of storage

16

18

20

22

24

CR0

Figure 3 Crown rot (CR) development of ‘Khai’ Banana during storage at room temperature and Cool temperature. Severity index of crown rot of banana hand (CR0-CR4). สรุ ปผลการทดลอง อุณหภูมิที่ใช้ ในการเก็บรักษาผลกล้ วยส่งผลต่อการพัฒนาสู่กระบวนการสุก และการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทางเคมี กายภาพของผลกล้ วย โดยการเปลี่ยนแปลงทางเคมีภายในผลกล้ วยเกิดขึ ้นก่อนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ การเก็บรักษาที่ อุณหภูมิห้องเย็น ช่วยชะลออัตราการหายใจ การเกิดโรค และรักษาความแน่นเนื ้อ ซึ่งเป็ นประโยชน์ในการลดความเสียหาย ระหว่างการขนส่ง

เอกสารอ้ างอิง Ahman, S., A. K. Thompson, I. A. Hafiz and A. A. Asi. 2001. Effect of temperature on the ripening behavior and quality of banana fruit. Int. J. Agri. Biol. 3 (2):224-227. Ali, Z. M., L. Chin, M. Marinuthu and H. Lazan. 2004. Low temperature storage and modified atmosphere packaging on carambola fruit and their effects on ripening related texture changes, wall modification and chilling injury symptoms. Postharvest Biol. Technol. 33:181-192. Esguerra, E. B., K. Kawada and H. Kitagawa. 1992. Ripening behavior of “Senorita” bananas at different temperatures. ASEAN Food. J. 7:79-85. Department of Agricultural-Thailand. 2007. Good Agriculture Practice for “Kluai Khai”. Department of Agriculture, National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards, Bangkok, Thailand. 18 p. Kader, A., B. Mitcham and B. Hess-Pierce. 2010. Optimum procedures for ripening bananas. In: Fruit Ripening & Ethylene Management, Postharvest Horticultural Series No. 9, February 2010, UCDAVIS Postharvest Technology, California, USA. p. 49-59. Kanazawa, K and H. Sakakibara. 2000. High content of adopamine, a strong antioxidant, in Cavendish banana. J. Agric. Food Chem. 48: 844-848. National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards. 2005. Thai Agricultural Standard TAS 6-2005: Banana. The National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards, Ministry of Agriculture and Cooperatives. The Royal Gazette Vol. 122 Section 122D. Pinto, A.C., R.E., Alues and E.C. Pereira. 2004. Efficiency of different heat treatment procedures in controlling disease of mango fruits. Acta Hort. 654: 551-553. Sangudom, T., C. Wongs-Aree, V. Srilaong, S. Kanlayanarat, T. Wasusri, S. Noichinda and W. Markumlai. 2014. Fruit quality and antioxidant properties of “KluaiKhai” banana (Musa AA group) at different stage of harvest maturity. Int Food Res J. 20 (2): 583-588. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

527


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Semple, A. J. and A. K. Thompson. 1988. The influence of the ripening environment on the development of finger drop in banana. J. Food Agri. 46:139-146. Smith, N. J. S. and A. K. Thompson. 1987. The effect of temperature, concentration and exposure time to acetylene on initiation of banana ripening. J. Sci. Food Agric. 40:43-50. Siriboon, N and P. Banlusilp. 2004. A study on the ripening process of “Namwa” banana. AU J.T. 7 (4): 159-164.

528

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การพัฒนาและใช้ ประโยชน์ ผลิตภัณฑ์ เทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี ในขนมไทย Development and Utilization of Fragrant Candle with White Champaca (Michelia alba DC.) Aroma in Thai Dessert. พงศ์ ยุทธ นวลบุญเรือง1 ธัญญลักษณ์ บัวผัน2 และรุ่ งนภา ช่ างเจรจา1 Phongyuth Nualbunruang1 Thanyalak Buaphan2 and Rungnapa Changjeraja1

บทคัดย่ อ การพัฒนาและใช้ ประโยชน์ผลิตภัณฑ์เทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี ในขนมไทย มีเป้าหมายเพื่อเพิ่มความหลากหลาย ของกลิ่นขนมไทย จากการสารวจความต้ องการของผู้บริ โภคในการคัดเลือกชนิดของผลิตภัณฑ์ขนมอบเทียน พบว่า ผู้บริ โภค ต้ องการให้ ใช้ เทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี กบั ขนมไทย 5 ชนิด คือ ขนมกลีบลาดวน ขนมผิง คุกกี ้สิงคโปร์ ลูกชุบ และขนมต้ ม จากการพัฒนาสูตรเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี พบว่า สูตรที่เหมาะสมประกอบด้ วย ขี ้ผึ ้งแท้ ร้ อยละ 69.67 กายานป่ น ร้ อยละ 1.90 พิมเสนป่ น ร้ อยละ 0.50 แก่นจันทน์เทศป่ น ร้ อยละ 15.18 ผิวมะกรูดป่ น ร้ อยละ 1.67 ชะลูดป่ น ร้ อยละ 7.70 และน ้ามัน หอมระเหยกลิ่นดอกจาปี ร้ อยละ 3.50 เทียนอบขนม มีคา่ คุณภาพ คือ มีค่าสี L* a* และ b* เท่ากับ 57.83 10.90 และ26.84 ตามลาดับ มีปริ มาณน ้าอิสระ (Aw) เท่ากับ 0.65 และมีสี กลิ่น การติดแน่นของไส้ เทียน และการใช้ งานตรงตาม มผช. เทียน อบ 988/2548 การทดสอบการยอมรับของผู้บริ โภคแบบ Central Location Test (CLT) จานวน 100 คน กับขนมทัง้ 5 ชนิดคือ ขนมกลีบลาดวน ขนมผิง คุกกี ้สิงคโปร์ ลูกชุบ และขนมต้ ม พบว่า คุณลักษณะทังหมด ้ คือ กลิ่นดอกจาปี กลิ่นควันเทียนอบ กลิ่นรสดอกจาปี กลิ่นรสควันเทียนอบ และความชอบโดยรวม มีคะแนนความชอบเฉลี่ยอยู่ในระดับชอบเล็กน้ อยถึงชอบปาน กลาง (6 -7 จาก 9 คะแนน) โดยให้ การยอมรับและตัดสินใจซื ้อขนมทัง้ 5 ชนิด อยู่ในช่วงร้ อยละ 59.0 – 93.0 ซึง่ ขนมที่ได้ รับ การยอมรับและจะซื ้อมากที่สดุ คือ ขนมกลีบลาดวน และเหตุผลที่ต้องการซื ้อขนมทัง้ 5 ชนิด คือ มีรสชาติดี และมีกลิ่นหอม จากดอกจาปี คาสาคัญ: จาปี เทียนอบขนม Abstract The development and utilization of fragrant candle product with White Champaca aroma in Kanom Gleeb Lam Duan, a Thai shortbread cookie was investigated in order to produce variety of Thai dessert aroma. The consumer survey on choice of dessert product with fragrant candle provided consumer demand of using fragrant candle with White Champaca aroma for five types of Thai dessert, i.e. Kanom Gleeb Lam Duan, Kanom Ping, Cookie Singapore, Look Chup and Kanom Tom. A formula development of fragrant candle product with White Champaca aroma revealed appropriate ingredients as follows: 69.67% of genuine beeswax; 1.90 % of benzoin resin powder; 0.50 % of borneol powder; 15.18 % of nutmeg powder; 1.67 % of kaffir lime peel powder; 7.70% virgate powder and 3.50 % of White Champaca volatile oil. The fragrant candle product showed L*, a* and b* color values of 57.83, 10.90 and 26.84, respectively. The product gave water activity value (Aw) of 0.65 and possessed the quality of color, aroma, candlewick mounting and usability according to TCPS 988-2548 (2005) (Thai): FRAGRANT CANDLE. Central Location Test (CLT), 100 panelists was used for consumer test. The testing of five desserts, i.e. Kanom Gleeb Lam Duan, Kanom Ping, Cookie Singapore, Look Chup and Kanom Tom was carried out. Sensory attributes of White Champaca aroma, scent of fragrant candle, White Champaca flavor, fragrant candle flavor and overall preference were rated for average scores in the range of 6-7 scores. Consumer of 59.0-93.0 % accepted and decided to buy the five desserts. Kanom Gleeb Lam Duan gained the highest numbers of acceptance and buying decision. Moreover, the results indicated the reason of buying was good flavor and White Champaca fragrance. Keywords: White Champaca ,Fragrant Candle.

1 2

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จ.ลาปาง 52000 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง จ.ลาปาง 52000

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

529


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ดอกจาปี (Michelia alba DC.) เป็ นไม้ ดอกอยู่ในวงศ์ Magnoliaceae มีถิ่นกาเนิดในประเทศ จีน มาเลเซีย และ อินโดนีเซีย เป็ นไม้ ยืนต้ นสูง 10-20 เมตร ใบหนาแข็ง ดอกเป็ นดอกเดี่ยวมีกลีบเลี ้ยงเหมือนกลีบดอก มี 8-12 กลีบ ออกดอก ตลอดปี กลิ่นหอมตัง้ แต่ตอนเย็น หอมแรงช่วงค่ า ดอกจาปี เป็ นดอกไม้ หอมชนิ ดหนึ่งที่ นิยมใช้ ในประเทศ มี การน าไป ประยุกต์ใช้ ในอุตสาหกรรมเครื่ องสาอาง มีการใช้ ดอกจาปี แห้ งในการรักษาแบบแพทย์แผนไทย เพื่อบารุ งหัวใจ บารุ งประสาท และลดอาการคลื่นไส้ อาเจียน (วชิรพงศ์, 2544) เทียนอบ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้ จากการนาไขผึ ้งและพาราฟิ น มาผ่านความร้ อนให้ หลอมละลายรวมกันผสมด้ วย เครื่ องหอมบดละเอียด เช่น พิมเสน ผิวมะกรูด ชะลูด แก่นจันทน์เทศ กายาน นามานวดให้ เป็ นเนื ้อเดียวกัน อาจเติมน ้ามันหอม ระเหย แล้ วแผ่เนื ้อเทียนให้ เป็ นแผ่น นาไส้ เทียนที่ผ่านการร่ าวางไว้ ตรงกลาง ทาการฟั่ นเทียน คลึ งเนื ้อเทียนคลุมไส้ เทียนให้ เรี ยบ เนียนเสมอกัน โดยเหลือไส้ เทียนไว้ ทงสองด้ ั้ านตัดแต่งปลายไส้ เทียนแล้ วขดขึ ้นรูปให้ สวยงาม ใช้ จดุ เพื่อให้ ควันสาหรับอบให้ เกิด กลิ่นหอม เช่น อบขนม อบน ้าอบ อบบุหงาชาร่ วย เทียนอบที่ดีต้องมีรูปแบบรู ปทรงที่เหมาะสม ไม่แตก หัก หรื อมีฟองอากาศ ปราศจากตาหนิที่ไม่พึงประสงค์ ส่วนไส้ เทียนต้ องมีขนาดและความยาวที่เหมาะสมกับชิ ้นงาน มีสีและกลิ่นที่ดีตามธรรมชาติ ของเทียนอบปราศจากกลิ่นอื่นที่ไม่พงึ ประสงค์ ไส้ เทียนต้ องไม่หลุดหรื อแยกออกจากเนื ้อเทียน เมื่อจุดไส้ เทียนต้ องติดไฟตลอด จนกระทัง่ เนื ้อเทียนหลอมละลายแปรสภาพไปจากรู ปทรงเดิม อาจมีควันดาได้ เล็กน้ อย และมีกลิ่นหอมของเครื่ องหอม (มผช. เทียนอบ 988/2548) การวิเคราะห์สารประกอบกลิ่นในสารละลายที่ใช้ ดกั ควันจากเทียนอบขนม (วรรณวรางค์และกิตติพงศ์ , 2552) ได้ ศึกษาสารประกอบของควันเทียนอบโดยใช้ เครื่ อง Gas Chromatography-Olfactometry, Aroma Extract Dilution Analysis (AEDA) และ Gas Chromatography-Mass Spectrometry ซึง่ สามารถใช้ จาแนกกลิ่นในควันเทียนโดยจะใช้ สารละลายที่ใช้ ดักควันเทียน 3 ชนิด คือ Propylene glycol, Glycerol และน ้า จากผลการทดลองการวิเคราะห์ด้วยวิธี AEDA พบว่า กลิ่นที่เด่น ที่สดุ ในเทียนอบขนม คือ vinyl ketones (C5-C9), n-aldehydes (C5-C11), (E)-2-unsaturated aldehydes (C8-C11) and ω-1-unsaturated aldehydes (C8 and C9) โดยสารประกอบเหล่านี ้จะพบในปริ มาณสูงที่สดุ เมื่อใช้ Propylene glycol เป็ น สารละลายที่ใช้ ดกั ควันเทียน ตามด้ วย Glycerol และน ้า ตามลาดับ การศึกษาการเก็บกักกลิ่นรสเทียนอบ (ณัฐฌา, 2552) ได้ ศกึ ษาคุณลักษณะด้ านกลิ่นของเทียนอบ ประเมินโดยการ วิเคราะห์ทางประสาทสัมผัสเชิงพรรณนา ประกอบด้ วยคุณลักษณะที่สาคัญ ได้ แก่ กลิ่นไหม้ ฉุน กลิ่นไหม้ กลิ่นเขม่า กลิ่น พาราฟิ น กลิ่นน ้าหอม และกลิ่นหอมหวาน จากการวิเคราะห์ตวั ประกอบ (Principle Component Analysis; PCA) สามารถจัด กลุ่มตัวแปรได้ 2 กลุ่ม โดยกลุ่มแรกประกอบด้ วยกลิ่นเขม่า กลิ่นไหม้ และกลิ่นไหม้ ฉนุ กลุ่มที่สองประกอบด้ วยกลิ่นพาราฟิ น กลิ่นหอมหวาน และกลิ่นน ้าหอม องค์ประกอบของสารให้ กลิ่นหลัก ที่วิเคราะห์ด้วยวิธีแก๊ สโครมาโทกราฟี - แมสส์สเปกโทเมทรี (GC-MS) ได้ แก่ สารประกอบไฮโดรคาร์ บอนประเภทอัลเคนซึ่งมีกลิ่นคล้ ายพาราฟิ น สารลินาลูออลมีลกั ษณะกลิ่นหอมของ ดอกไม้ และสารฟี นิลเมทิลอะซิเตท มีลกั ษณะกลิ่นหอม สูตรที่เหมาะสมในการผลิตไมโครแคปซูลกลิ่นรสเทียนอบประกอบด้ วย กลิ่นรสเทียนอบ กัมอะราบิก และมอลโทเดกซ์ทริ น ร้ อยละ 3.10 6.43 และ 20.47 ตามลาดับ การนา ไมโครแคปซูล กลิ่นรสเทียนอบไปประยุกต์ใช้ ในผลิตภัณฑ์ขนมกลีบลาดวนโดยติดตามการเปลี่ยนแปลงด้ านกลิ่น และ กลิ่นรสในระหว่าง การเก็บรักษาเป็ นเวลา 16 สัปดาห์จากการทดสอบทางประสาทสัมผัสโดยการเปรี ยบเทียบตัวอย่างที่เหมือนกับตัวอย่างควบคุม พบว่า กลิ่นของตัวอย่างที่เติมไมโครแคปซูลกลิ่นรสเทียนอบ แตกต่างจากตัวอย่างควบคุมอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ( p> 0.05) ในช่วงสัปดาห์สดุ ท้ ายของการทดสอบ นอกจากนี ้ ผลิตภัณฑ์ที่เ ติมไมโครแคปซูลกลิ่นรสเทียนอบ มีปริ มาณสารลินาลู ออล เจอรานิออล และวานิลลินมากกว่าการใช้ สารละลายกลิ่นรสเทียนอบ เทียนอบขนมนับว่าเป็ นตัวสาคัญในการอบขนม เพื่อให้ ขนมนันมี ้ กลิ่นหอมน่ารับประทาน ดังนันในงานวิ ้ จยั นี ้จึงได้ ทา การพัฒนาผลิตภัณฑ์เทียนอบขนมขึ ้น โดยใช้ กลิ่นดอกจาปี ผสมลงไปในเทียน เพื่อให้ ขนมอบเทียนมีกลิ่นรส ที่หลากหลายขึ ้น และเพื่อเป็ นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ เป็ นที่ยอมรับของผู้บริโภคมากยิ่งขึ ้น

530

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการ การคัดเลือกสูตรเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี ทาการเตรี ยมน ้ามันดอกจาปี ด้ วยวิธีการที่ดดั แปลงจากวิธีของพรหมมินทร์ (2553) โดยตวงน ้ามันถัว่ เหลืองปริ มาณ 100 มิลลิลิตรลงในขวดที่มีตะแกรงอยู่ภายใน จากนันน ้ าดอกจาปี จานวน 5- 6 ดอกบรรจุลงไป แล้ วปิ ดฝาให้ สนิท ทิ ้งไว้ ที่ อุณหภูมิห้อง นาน 3-4 วันเพื่อให้ น ้ามันดูดกลิน่ จาปี จะได้ น ้ามันดอกจาปี ทาการผลิตเทียนอบขนมกลิน่ ดอกจาปี ตามส่วนผสมเทียนอบขนม (Table 1) โดยดัดแปลงจากสูตรพื ้นฐานในการทา เทียนอบขนม (ศูนย์เรี ยนรู้ ภูมิปัญญาไทยปิ ยะชนก, มปป) แล้ วคัดเลือกสูตรที่ดีที่สดุ ไปพัฒนาต่อไปโดยประเมินผลจากการ ตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพ โดยทาการวัดค่าสีเทียนอบขนมด้ วยระบบ L* a* และb* โดยใช้ เครื่ องวัดสี (ยี่ห้อ Hunter Lab รุ่น ColorQuest XB) เคมี และประสาทสัมผัสดังนี ้ ตรวจสอบคุณภาพทางเคมีโดยทาการวัดค่าปริ มาณน ้าอิสระ (Aw) โดยใช้ เครื่ องวัดปริ มาณน ้าอิสระ (ยี่ห้อ GBX รุ่น FA-st lab) และการประเมินคุณค่าทางประสาทสัมผัสของเทียนอบขนมโดยทาการ คัดเลือกสูตรเทียนอบขนมทัง้ 5 สูตรโดยนาไปทดลองอบกับขนมกลีบลาดวน จากนันน ้ าไปทดสอบความชอบด้ วยวิธี 9 Point Hedonic Scaling test กับผู้บริ โภคกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ผ่านการฝึ กฝนจานวน 30 คน โดยเป็ นนักศึกษาจานวน 15 คน และ บุคลากรในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง จานวน 15 คน วางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ (RCBD; Randomized Complete Block Design) วิเคราะห์ผลการทดสอบโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance : ANOVA) ที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้ อยละ 95 หากพบว่าการวิเคราะห์ความแปรปรวนมีความแตกต่างทางสถิติจะ ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ Least Significant Difference test (LSD) เพื่อคัดเลือกสูตรเทียนอบขนมกลิ่นดอก จาปี มาพัฒนาต่อไป การปรั บปรุ งสูตรเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี นาเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี ที่ผ่านการคัดเลือก นาไปอบกับขนมกลีบลาดวน แล้ วทาการประเมินคุณภาพทาง ประสาทสัมผัสด้ วยวิธี 9 Point Hedonic Scaling test ร่วมกับการวัดความพอดีโดยวิธี Just About Right test (JAR) โดย เกณฑ์การทดสอบจะต้ องมีคะแนนเฉลี่ยความชอบไม่น้อยกว่า 7.00 และร้ อยละความถี่ของความพอดีในแต่ละคุณลักษณะต้ อง มีคะแนนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 70 ทาการทดสอบกับที่ผ้ บู ริ โภคกลุ่มเป้าหมาย จานวน 30 คน นาผลที่ได้ ไปใช้ พิจารณาในการ ปรับปรุงสูตรเทียนอบขนมกลิน่ ดอกจาปี ที่เพื่อให้ ได้ สตู รเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี ที่ดีที่สดุ การตรวจสอบคุณภาพของเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี นาเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี ที่พฒ ั นาได้ มาทาการตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพโดยใช้ การวัดค่าสี ด้วยระบบ L* a* และb* ตรวจสอบคุณภาพทางเคมีโดยวัดปริ มาณน ้าอิสระ (Aw) และตรวจสอบคุณลักษณะของเทียนอบ โดยผู้ใช้ เทียนอบ ขนมในการประกอบอาชีพจานวน 5 คน ตามวิธีการของ มผช.เทียนอบ 988/2548 การทดสอบการยอมรั บของผู้บริโภค ทดสอบการยอมรับของผู้บริโภคที่มีตอ่ เทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี โดยนาไปอบกับขนมไทย 5 ชนิดที่ผ้ บู ริ โภคต้ องการ ให้ อบด้ วยเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี มากที่สดุ จากการทาการสารวจในข้ อ 1 ได้ แก่ ขนมกลีบลาดวน ขนมผิง คุกกี ้สิงคโปร์ ลูก ชุบ และขนมต้ มมาทาการทดสอบแบบ Central Location Test (CLT) กับผู้บริโภคกลุม่ เป้าหมาย คือ ผู้บริ โภคที่เคยรับประทาน ขนมอบเทียน จานวน 100 คน ในเขตพื ้นที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง และบ้ านมิ่งเมืองมูล ต.พิชยั อ. เมือง จ. ลาปาง ด้ วยวิธี 9 Point Hedonic Scaling test วิเคราะห์ผลทางสถิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเร็จรู ป เพื่อหา ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยด้ านความชอบของขนมอบเทียนอบ การยอมรับและการตัดสินใจซื ้อขนมที่อบด้ วยเทียนอบขนมกลิ่น ดอกจาปี ทาการวิเคราะห์ผลทางสถิติโดยใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเร็จรู ป ซึ่งในการประเมินคุณภาพทางด้ านกายภาพ และ ทางเคมี ได้ ใช้ แผนการทดลองแบบสุม่ อย่างสมบูรณ์ (CRD; Completely Randomized Design)ในการประเมินคุณภาพด้ าน ประสาทสัมผัสได้ ใช้ แผนการทดลองแบบสุม่ ในบล็อกสมบูรณ์ (RCBD; Randomized Complete Block Design) วิเคราะห์ผล การทดสอบโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน(Analysis of Variance : ANOVA) ที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้ อยละ 95 หากพบว่า การวิเคราะห์ความแปรปรวนมีความแตกต่างทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ Least Significant Difference test (LSD) และร้ อยละความถี่ในด้ านความพอดี Just About Right test (JAR) และในด้ านการยอมรับของ ผู้บริโภคที่มีตอ่ เทียนอบขนมกลิน่ ดอกจาปี

ผลการทดลอง การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

531


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการคัดเลือกสูตรเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี จากการทาเทียนอบขนมตามสูตรพื ้นฐาน และกรรมวิธีการทาเทียนอบขนม แล้ วนาเทียนอบขนมที่ได้ ไปตรวจสอบ คุณภาพทางกายภาพ เคมี และประสาทสัมผัส ทัง้ 5 สูตร (Table 2) พบว่า ค่าสี L* (ค่าความสว่าง) ค่าสี a* (ค่าระหว่างสีแดงสีเขียว) และค่าสี b* (ค่าระหว่างสีน ้าเงิน-สีเหลือง ) ของเทียนอบขนมทัง้ 5 สูตร มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p≤0.05) โดยเทียนอบขนมทัง้ 5 สูตรมีค่าสี L* อยู่ในช่วง 66.52-54.82 เนื่องจากเทียนอบขนมมีส่วนผสมของขีผ้ ึง้ ซึ่งมี ลักษณะเป็ นสีขาว เหลือง ใส จึงให้ คา่ สีเทียนอบขนมที่สว่าง ค่าสี a* อยูใ่ นช่วง 12.49-10.12 เนื่องจากเทียนอบขนมมีสว่ นผสม ของกายานป่ น และแก่นจันทน์เทศป่ นซึ่งมีลกั ษณะเป็ นสีแดง-ส้ ม จึงให้ ค่าสีเทียนอบขนมเป็ นสีแดง และค่าสี b* อยู่ในช่วง 26.88-23.77 เนื่องจากเทียนอบขนมมีส่วนผสมของขี ้ผึ ้งซึง่ มีลกั ษณะเป็ นสีขาว เหลือง ใส จึงให้ ค่าสีเทียนอบขนมเป็ นสีเหลือง โดยสูตรที่ 2 คือ สูตรที่มีหวั น ้าหอมกลิ่นดอกจาปี มีค่าสี L* และ b* สูงที่สดุ เท่ากับ 66.52 และ 26.88 ตามลาดับ และสูตรที่ 4 คือ สูตรที่มีดอกจาปี อบแห้ ง มีคา่ สี a* สูงที่สดุ เท่ากับ 12.49 ปริมาณน ้าอิสระ (Aw) ของเทียนอบขนมทัง้ 5 สูตร มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (p≤0.05) โดยเทียนอบ ขนมทัง้ 5 สูตรมีปริ มาณน ้าอิสระ (Aw) อยู่ในช่วง 0.53 - 0.62 ซึ่งสุคนธ์ ชื่น (2543) รายงานว่า ปริ มาณน ้าอิสระ (Aw) ของ ผลิตภัณฑ์ที่มีค่าต่ากว่า 0.70 นับว่าอยู่ในขันที ้ ่ปลอดจากเชื ้อจุลินทรี ย์ โดยในสูตรที่ 1 คือ สูตรที่มีน ้ามันหอมระเหยกลิ่นดอก จาปี มีปริมาณ น ้าอิสระ (Aw) สูงที่สดุ เท่ากับ 0.62 (Table 2) ผลการทดสอบคุณภาพทางประสาทสัมผัสด้ วยวิธี 9 Point Hedonic Scaling test กับขนมกลีบลาดวนที่อบด้ วย เทียนอบขนม พบว่า คุณลักษณะทางด้ านกลิ่นดอกจาปี กลิ่นควัน เทียนอบ กลิ่นรสดอกจาปี กลิ่นรสควันเทียนอบ และ ความชอบโดยรวมต่อกลิ่นขนม มี ความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p≤0.05) โดยผู้ทดสอบให้ คะแนนความชอบ โดยรวมต่อกลิ่นขนมอยูใ่ นระดับสูง คือ สูตรพื ้นฐาน และสูตรที่ 1 คือ สูตรที่มีน ้ามันหอมระเหยกลิ่นดอกจาปี (Table 3) ดังนันเมื ้ ่อพิจารณาคุณภาพทางด้ านค่าสี ปริมาณน ้าอิสระ(Aw) และทางด้ าน ประสาทสัมผัส พบว่า สูตรพื ้นฐานและ สูตรที่ 1 คือ สูตรที่มีน ้ามันหอมระเหยกลิ่นดอกจาปี มีค่าคุณภาพใกล้ เคียงกัน แต่เนื่องจากสูตรพื ้นฐานไม่มีกลิ่นดอกจาปี ตามที่ วัตถุประสงค์ได้ กาหนดไว้ จึงได้ นาเทียนอบขนมสูตรที่ 1 ที่มีน ้ามันหอมระเหยกลิ่นดอกจาปี ร้อยละ 2.81 มาทาการศึกษา ต่อไป ผลการปรั บปรุ งสูตรเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี จากการนาเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี ที่ผ่านการคัดเลือก มาทาการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสด้ วยวิธี 9 Point Hedonic Scaling test ร่วมกับการวัดความพอดีโดยวิธี Just About Right test (JAR) กับผู้ทดสอบจานวน 30 คนที่มี อายุ 30 ปี ขึ ้นไป (โดยเกณฑ์การทดสอบจะต้ องมีคะแนนเฉลี่ยความชอบไม่น้อยกว่า 7.00 และร้ อยละความถี่ของความพอดีใน แต่ละคุณลักษณะต้ องมีคะแนนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 70) พบว่า คุณลักษณะทังหมดคื ้ อ กลิ่นดอกจาปี กลิ่นควันเทียนอบ กลิ่นรสดอกจาปี กลิ่นรสควันเทียนอบ และความชอบโดยรวมต่อกลิ่นขนม พบว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ โดยมีคะแนนอยู่ในช่วง ชอบเล็กน้ อยถึงชอบปานกลาง (6.23-7.10 จาก 9 คะแนน) และร้ อยละของความพอดีน้อยกว่าร้ อยละ70 (Table 4) ดังนันจึ ้ ง ต้ องปรับปรุงสูตรเทียนอบขนมโดยเพิ่มปริมาณน ้ามันหอมระเหยกลิ่นดอกจาปี ลงไป จากนันท ้ าการปรับปรุงสูตร โดยการเพิ่มปริมาณน ้ามันหอมระเหยกลิ่นดอกจาปี เป็ นร้ อยละ 3.00 และร้ อยละ 3.50 ซึง่ ได้ เทียนอบขนมเป็ น 2 สูตร จากสูตรก่อนการปรับปรุง (Table 5) แล้ วนามาทดสอบด้ วยวิธี 9 Point Hedonic Scaling test ร่วมกับการวัดความพอดีโดยวิธี Just About Right test (JAR) กับผู้ทดสอบจานวน 30 คน ที่มีอายุ 30 ปี ขึ ้นไปที่เป็ นบุคลากร ในมหาวิทยาลัย (โดยเกณฑ์การทดสอบจะต้ องมีคะแนนเฉลี่ยความชอบไม่น้อยกว่า 7.00 และร้ อยละความถี่ของความพอดีใน แต่ละคุณลักษณะต้ องมีคะแนนไม่น้อยกว่าร้ อยละ 70 ) พบว่า สูตรที่มีน ้ามันหอมระเหยกลิ่นดอกจาปี ร้อยละ 3.00 มี คุณลักษณะที่ผ่านเกณฑ์ คือ กลิน่ รสควันเทียนอบ และความชอบโดยรวมต่อกลิน่ ขนม มีคะแนนอยู่ในช่วงชอบปานกลาง (7.17 - 7.33 จาก 9 คะแนน) และคุณลักษณะที่ไม่ผ่านเกณฑ์ คือ กลิ่นดอกจาปี กลิ่นควันเทียนอบ กลิ่นรสดอกจาปี มีคะแนนอยู่ ในช่วงชอบเล็กน้ อยถึงชอบปานกลาง (6.77 - 7.10 จาก 9 คะแนน) ซึง่ ร้ อยละของความพอดีน้อยกว่าร้ อยละ 70 (Table 6) ในขณะที่สตู รที่มีน ้ามันหอมระเหยกลิ่นดอกจาปี ร้อยละ 3.50 พบว่า คุณลักษณะของเทียนอบขนมทังหมดคื ้ อ กลิ่นดอกจาปี กลิ่นควันเทียนอบ กลิ่นรสดอกจาปี กลิ่นรสควันเทียนอบ และความชอบโดยรวมต่อกลิ่นขนม ผ่านเกณฑ์การปรับปรุ ง มี คะแนนอยูใ่ นช่วงชอบปานกลาง (7.13 -7.50 จาก 9 คะแนน) โดยร้ อยละของความพอดีมากกว่าหรื อเท่ากับร้ อยละ 70 ดังนัน้ จึงนาผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการปรับปรุ ง (Table 7) โดยเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี มีส่วนผสมประกอบด้ วย ขี ้ผึ ้งแท้ ร้ อยละ 69.67 กายานป่ น ร้ อยละ 1.90 พิมเสนป่ น ร้ อยละ 0.49 แก่นจันทน์เทศป่ น ร้ อยละ 15.18 ผิวมะกรูดป่ น ร้ อยละ 1.67 ชะลูดป่ น ร้ อย 532

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ละ7.69 และน ้ามันหอมระเหยกลิ่น ดอกจาปี ร้อยละ 3.50 (Table 8) มาตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพ ทางเคมี และการ ตรวจสอบคุณลักษณะของเทียนอบ (มผช.เทียนอบ 988/2548) ต่อไป ผลการตรวจสอบคุณภาพของเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี จากการนาเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี ที่พฒ ั นาได้ จากข้ อ 2.2 ที่มีน ้ามันหอมระเหยกลิ่นดอกจาปี ร้อยละ 3.50 มาทา การตรวจสอบคุณภาพทางกายภาพ ทางเคมี และคุณลักษณะของ เทียนอบ (มผช.เทียนอบ 988/2548) พบว่า มีค่าสี L* และ b* เท่ากับ 57.83 และ26.84 ตามลาดับ เนื่องจากเทียนอบขนมมีสว่ นผสมของขี ้ผึ ้งซึง่ มีลกั ษณะเป็ นสีขาว เหลือง ใส จึงให้ ค่าสี เทียนอบขนมที่สว่า ง และค่าสีเหลือง ด้ านค่าสี a* เท่ากับ 10.90 เนื่องจากเทียนอบขนมมีส่วนผสมของกายานป่ น และแก่น จันทน์ เทศป่ นซึ่งมีลักษณะเป็ นสีแดง-ส้ ม จึงให้ ค่าสีเทียนอบขนมเป็ นสีแดง ปริ มาณนา้ อิสระ(Aw) มีค่าเท่ากับ 0.65 ซึ่ง สอดคล้ องกับปริ มาณน ้าอิสระ(Aw) ของอาหารกึ่งแห้ ง ที่มีค่าอยู่ในช่วง 0.65 – 0.85 สาหรับคุณลักษณะของเทียนอบตาม มผช.เทียนอบ 988/2548 พบว่า ลักษณะทัว่ ไปของเทียนอบขนมมีรูปร่ างเป็ นรู ปเกือกม้ า เนือ้ เทียนเรี ยบติดกับ ไส้ เทียน ไม่มี ฟองอากาศ สีของ เทียนอบขนม มีสีเหลืองตามธรรมชาติของเทียนอบทัว่ ไป มีกลิ่นหอมจากกลิ่นดอกจาปี และไม่มีกลิ่น ที่ไม่พงึ ประสงค์ เนื ้อเทียนกับไส้ เทียนจะติดกันแน่น ไม่หลุดออกจากกัน จุดติดง่าย มีควันดาเพียงเล็กน้ อย มีกลิ่นหอมดอกจาปี และเครื่ องหอมต่างๆ ซึ่งคุณลักษณะทังหมดตรงตามมาตรฐานที ้ ่ได้ กาหนดไว้ (Table 9) ดังนันเที ้ ยนอบขนมกลิ่นดอกจาปี ที่ ผ่านการพัฒนา โดยมีน ้ามันหอมระเหยกลิ่นดอกจาปี ร้อยละ 3.50 ซึ่งได้ ผ่านการตรวจสอบคุณภาพ จึงนาเทียนอบขนมสูตรนี ้ มาทาการทดสอบการยอมรับของผู้บริโภคต่อไป ผลการทดสอบการยอมรั บของผู้บริโภค จากการทดสอบผลิตภัณฑ์ขนมที่อบด้ วยเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี คือ ขนมกลีบลาดวน ขนมผิง คุกกี ้ สิงคโปร์ ลูกชุบ และขนมต้ ม โดยคุณลักษณะด้ านกลิ่นดอกจาปี กลิ่นควันเทียนอบ กลิ่นรสดอกจาปี กลิ่นรสควันเทียนอบ และความชอบโดยรวม พบว่า ขนม กลีบลาดวนมีคะแนนความชอบเฉลี่ยของทุกคุณลักษณะอยู่ในช่วงชอบปานกลาง (7.35 – 7.52 จาก 9 คะแนน) ขนมผิง มีคะแนนความชอบเฉลี่ยของทุกคุณลักษณะอยู่ในช่วงชอบปานกลาง (7.00 – 7.19 จาก 9 คะแนน) คุกกี ้สิงคโปร์ มีคะแนนความชอบเฉลี่ยของทุกคุณลักษณะอยูใ่ นช่วงชอบเล็กน้ อย (6.46 – 6.55 จาก 9 คะแนน) ลูกชุบ มีคะแนนความชอบเฉลี่ยของทุกคุณลักษณะอยู่ในช่วงชอบเล็กน้ อย (6.52 – 6.61 จาก 9 คะแนน) และขนมต้ ม มีคะแนน ความชอบเฉลี่ยของทุกคุณลักษณะอยูใ่ นช่วงชอบเล็กน้ อยถึงชอบปานกลาง (6.94 – 7.06 จาก 9 คะแนน) (Table 10)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

533


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Basic formulae of fragrant candle and of fragrant candle product with White Champaca aroma Ingredients

Percent (%) Basic formula Formula 1 Formula 2 Formula 3 Formula4

Genuine bee wax

70.26

70.26

70.26

70.26

70.26

Gum benzoin powder

1.90

1.90

1.90

1.90

1.90

Camphor

0.50

0.50

0.50

0.50

0.50

Nutmeg powder

15.18

15.18

15.18

15.18

15.18

Kaffir lime rind powder

1.67

1.67

1.67

1.67

1.67

Sha-lood (Alyxia reinwardtii)

7.70

7.70

7.70

7.70

7.70

Nutmeg oil

2.81

-

-

-

-

Champaca volatile oil

-

2.81

-

-

-

Champaca oil essence

-

-

2.81

-

-

Champaca oil

-

-

-

2.81

-

Champaca flower powder

-

-

-

-

2.81

100

100

100

100

100

sum

Source : modified from Piyachanok Thai Wisdom Information Center (n.d.)

534

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Physicochemical quality of fragrant candle from 5 formulae. Physicochemical quality

Champaca fragrant candle Basic formula

Formula 1

Formula 2

Formula 3

Formula4

L*

58.42 ± 3.04bc

58.38 ± 2.86c

66.52 ± 1.75a

59.32 ± 2.46b

54.82 ± 3.43bc

a*

10.75 ± 0.90b

10.40 ± 0.87b

10.13 ± 0.29b

10.62 ± 0.54b

12.49 ± 0.48a

b*

26.16 ± 1.06a

26.30 ± 0.90a

26.88 ± 1.44a

26.20 ± 0.53a

23.77 ± 1.57b

0.53 ± 0.01d

0.62 ± 0.02a

0.57 ± 0.01b

0.55 ± 0.01cd

0.56 ± 0.01bc

Physical Colour value

Chemical water activity value (Aw)

Remark :

a-d

denotes means within row followed by the same letter are not significantly different (p ≤ 0.05)

formula 1 is White Champaca volatile oil. formula 2 is White Champaca volatile oil essence. formula 3 is White Champaca oil formula 4 is dried White Champaca.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

535


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Sensory quality of Kanom Gleeb Lam Duan using Fragrant Candle with White Champaca aroma from 5-formulae Sensory quality

Fragrant Candle with White Champaca Basic formula

Formula 1

Formula 2

Formula 3

Formula4

Champaca smell

6.17 ± 1.42ab

6.53 ± 1.33a

6.07 ± 1.57ab

5.36 ± 1.43c

5.73 ± 1.39bc

Fragrant candle smell

6.97 ± 1.00a

6.18 ± 1.71b

6.13 ± 1.25b

5.27 ± 1.27c

5.92 ± 1.38bc

Champaca smell

6.26 ± 1.39ab

6.45 ± 1.42a

6.63 ± 1.56a

5.50 ± 1.33c

5.65 ± 1.38bc

6.90 ± 1.16a

6.35 ± 1.50ab

6.06 ± 1.84bc

5.87 ± 1.59bc

5.48 ± 1.82c

6.73 ± 1.01a

6.58 ± 1.31a

6.08 ± 1.74ab

5.56 ± 1.65b

5.51 ± 1.78b

taste Fragrant candle smell taste Overall preferences

Remark :

a-d

denotes means within row followed by the same letter are not significantly different (p ≤ 0.05)

formula 1 is White Champaca volatile oil. formula 2 is White Champaca volatile oil essence. formula 3 is White Champaca oil formula 4 is dried White Champaca.

536

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 4 Average scores and just about right (%) of Kanom Gleeb Lam Duan using fragrant candle with White Champaca aroma by 9 Point Hedonic Scaling test and Just About Right test (JAR)

Attributes

Champaca smell

Average scores

% Just about right (JAR) Too weak

A JAR A Too little little strong to too weak strong

Definition

3.33

33.33

Should be

6.23 ± 1.70

46.70

16.70

0.00

improved Fragrant candle smell

6.97 ± 1.45

0.00

6.70

56.70

36.70

0.00

Should be improved

Champaca smell

6.50 ± 1.55

6.70

33.33

50.00

6.70

3.33

improved

taste Fragrant candle smell

7.10 ± 1.21

0.00

13.30

66.70

20.00

0.00

Should be improved

taste Overall preferences

Should be

6.97 ± 1.43

-

Remark: Average scores were obtained from 30 panelists selected from university personel with age over 30 Average scores > 7.00% denotes passing Average scores < should be improved ± denotes standard deviation

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

537


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 5 Formulae of fragrant candle with White Champaca aroma before and after improvement Ingredients

before improvement (%)

after improvement (%) Formula 1

Formula 2

Genuine bee wax

70.26

70.10

69.67

Gum benzoin powder

1.90

1.90

1.90

Camphor

0.50

0.50

0.50

Nutmeg powder

15.18

15.18

15.18

Kaffir lime rind powder

1.67

1.67

1.67

Sha-lood (Alyxia reinwardtii)

7.70

7.70

7.70

Champaca volatile oil

2.81

3.00

3.50

100.00

100.00

100.00

sum

Remark: Formula 1 formula with volatile oil with White Champaca aroma at 3.00 % (after improvement) Formula 2 formula with volatile oil with White Champaca aroma at 3.50 % (after improvement)

538

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 6 Average scores and just about right (%) of Kanom Gleeb Lam Duan using improved formula fragrant candle (volatile oil with White Champaca aroma at 3.00% by 9 Point Hedonic Scaling test and Just About Right test (JAR)

Attributes

Champaca smell

Average scores

6.77 ± 1.01

% Just about right (JAR) Too weak

A little to weak

JAR

A little too strong

Too strong

Definition

0.00

30.00

56.70

13.30

0.00

Should be improved

Fragrant candle smell

7.10 ± 0.84

0.00

3.30

66.70

30.00

0.00

Should be improved

Champaca smell

6.90 ± 0.80

0.00

26.70

63.30

10.00

0.00

Should be improved

taste Fragrant candle smell

7.33 ± 0.88

0.00

10.00

73.30

16.70

0.00

Passed

taste Overall preferences

7.17 ± 0.95

-

Remark: Average scores were obtained from 30 panelists selected from university personel with age over 30 Average scores > 7.00% denotes passing Average scores < should be improved ± denotes standard deviation

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

539


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 7 Average scores and just about right (%) of Kanom Gleeb Lam Duan using improved formula fragrant candle (volatile oil with White Champaca aroma at 3.50% by 9 Point Hedonic Scaling test and Just About Right test (JAR)

Attributes

Average scores

% Just about right (JAR) Too weak

A little to weak

JAR

A little too strong

Too strong

Definition

Champaca smell

7.13 ± 0.51

0.00

20.00

70.00

10.00

0.00

Passed

Fragrant candle smell

7.30 ± 0.65

0.00

3.30

76.70

20.00

0.00

Passed

Champaca smell

7.23 ± 0.50

0.00

20.00

73.30

6.70

0.00

Passed

7.50 ± 0.57

0.00

6.70

83.30

10.00

0.00

Passed

taste Fragrant candle smell taste Overall preferences

7.40 ± 0.56

-

Remark: Average scores were obtained from 30 panelists selected from university personel with age over 30 Average scores > 7.00% denotes passing Average scores < should be improved ± denotes standard deviation

540

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 8 Formula of fragrant candle product with White Champaca aroma Ingredients

%

Genuine bee wax

69.67

Gum benzoin powder

1.90

Camphor

0.50

Nutmeg powder

15.18

Kaffir lime rind powder

1.67

Sha-lood (Alyxia reinwardtii)

7.70

Champaca volatile oil

3.50

sum

100.00

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

541


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 9 Physicochemical quality of Champaca fragrant candle. Physicochemical quality Physical Colour value L*

57.83 ± 0.96

a*

10.90 ± 0.56

b*

26.84 ± 0.60

Chemical Water activity value (Aw)

0.65 ± 0.01

Remark: ± denotes standard deviation

542

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 10 Average scores of 5 products (Kanom Gleeb Lam Duan, Kanom Ping, Cookie Singapore, Look Chup and Kanom Tom) with Champaca fragant candle using 100 consumers with age over that 20 years Attributes

Overall preferences score Kanom Gleeb Lam Duan

Kanom Ping

Cookie Singapore

Look Chup

Kanom Tom

Champaca smell

7.52 ± 0.67

7.19 ± 0.60

6.55 ± 0.87

6.59 ± 0.90

7.06 ± 0.86

Fragrant candle smell

7.35 ± 0.72

7.00 ± 0.68

6.46 ± 0.86

6.52 ± 0.83

7.02 ± 0.85

Champaca smell

7.46 ± 0.59

7.06 ± 0.72

6.62 ± 0.81

6.61 ± 0.85

6.94 ± 0.87

7.47 ± 0.64

7.04 ±0.70

6.49 ± 0.81

6.57 ± 0.84

6.95 ± 0.95

7.50 ± 0.58

7.12 ± 0.59

6.46 ± 0.77

6.56 ± 0.87

7.02 ± 0.83

taste Fragrant candle smell taste Overall preferences

Remark: ± denotes standard deviation

สรุ ปผลการทดลอง ความเป็ นไปได้ ในการพัฒนาและใช้ ประโยชน์ผลิตภัณฑ์เทียนอบขนมกลิน่ ดอกจาปี ในขนมกลีบลาดวน มีขนตอนการ ั้ ดาเนินงาน คือ สารวจความต้ องการของผู้บริ โภคในการคัดเลือกชนิด ของผลิตภัณฑ์ขนมอบเทียน พัฒนาสูตรที่เหมาะสมใน การทาเทียนอบขนม ตรวจสอบคุณภาพของเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี และทดสอบการยอมรับของผู้บริ โภค ซึง่ สามารถสรุป ผลได้ ดงั นี ้ 1. การสารวจความต้ องการของผู้บริ โภคในการคัดเลือกชนิดของผลิตภัณฑ์ขนมอบเทียน ของผู้บริ โภคในเขตพื ้นที่ ต. พิชยั อ.เมือง จ.ลาปาง จานวน 100 คน พบว่า ผู้บริ โภคส่วนใหญ่อยากให้ เติมกลิ่นดอกไม้ ลงไปในเทียนอบขนม และนาไปใช้ อบขนม 5 ชนิด คือ ขนมกลีบลาดวน ร้ อยละ 80.0 ขนมผิงร้ อยละ 58.0 คุกกี ้สิงคโปร์ ร้ อยละ 50.0 ลูกชุบ ร้ อยละ 48.0 และ ขนมต้ ม ร้ อยละ 43.0 ตามลาดับ 2. สูตรที่เหมาะสมของเทียนอบขนมประกอบด้ วย ขี ้ผึ ้งแท้ ร้ อยละ 69.67 กายานป่ น ร้ อยละ 1.90 พิมเสนป่ น ร้ อยละ 0.50 แก่นจันทน์เทศป่ น ร้ อยละ 15.18 ผิวมะกรูดป่ น ร้ อยละ 1.67 ชะลูดป่ น ร้ อยละ7.70 และน ้ามันหอมระเหยกลิ่นดอกจาปี ร้ อยละ 3.50 3. คุณภาพทางด้ านกายภาพ และด้ านเคมี ของเทียนอบขนมกลิ่นดอกจาปี พบว่า มีค่าสี L* a* และb* เท่ากับ 57.83 10.90 และ 26.84 ตามลาดับ มีปริ มาณน ้าอิสระ(Aw) เท่ากับ 0.65 โดยการตรวจสอบคุณลักษณะของเทียนอบขนม กลิ่นดอกจาปี (มผช.เทียนอบ 988/2548) พบว่าลักษณะทัว่ ไปของเทียนอบขนมมีรูปร่างเป็ นรูปเกือกม้ า เนือ้ เทียนเรี ยบติดกับไส้ เทียน ไม่มีฟองอากาศ เหมือนตามท้ องตลาด สีของเทียนอบขนม มีสีเหลืองตามธรรมชาติของเทียนอบทัว่ ไป มีกลิ่นหอมจาก กลิ่นดอกจาปี และไม่มีกลิ่นที่ไม่พงึ ประสงค์ เนื ้อเทียนกับไส้ เทียนจะติดกันแน่น ไม่หลุดออกจากกัน จุดติดง่าย มีควันดาเพียง เล็กน้ อย และมีกลิ่นหอมดอกจาปี และเครื่ องหอมต่างๆ 4. การทดสอบการยอมรับของผู้บริ โภคแบบ Central Location Test (CLT) โดยกลุม่ ผู้บริ โภคที่เคยรับประทานขนม อบเทียน จานวน 100 คน พบว่า ผู้บริ โภคให้ การยอมรับขนมอบเทียนกลิ่นดอกจาปี ทงั ้ 5 ชนิด โดยขนมกลีบลาดวนได้ รับการ ยอมรับและคิดว่าจะซื ้อมากที่สดุ คิดเป็ น ร้ อยละ 93.0 เหตุผลที่ซื ้อเพราะรสชาติดี คิดเป็ นร้ อยละ 75.0 ขนมผิงได้ รับการ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

543


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ยอมรับและคิดว่าจะซื ้อ คิดเป็ นร้ อยละ 89.0 เหตุผลที่ซื ้อเพราะรสชาติดีและกลิ่นหอมจากดอกจาปี คิดเป็ นร้ อยละ 73.0 คุกกี ้ สิงคโปร์ ได้ รับการยอมรับและคิดว่าจะซื ้อ คิดเป็ นร้ อยละ 59.0 เหตุผลที่ซื ้อเพราะรูปร่าง/สีสนั คิดเป็ นร้ อยละ 52.0 ลูกชุบได้ รับ การยอมรับและคิดว่าจะซื ้อ คิดเป็ นร้ อยละ 62.0 เหตุผลที่ซื ้อเพราะรูปร่าง/สีสนั และรสชาติดี คิดเป็ นร้ อยละ 46.0 และขนมต้ ม ได้ รับการยอมรับและคิดว่าจะซื ้อ คิดเป็ นร้ อยละ 73.0 เหตุผลที่ซื ้อเพราะรสชาติดี คิดเป็ นร้ อยละ 58.0

เอกสารอ้ างอิง นันทวัน บุณยะประภัศร. 2543. สมุนไพรไม้ พื ้นบ้ าน. ประชาชน, กรุงเทพฯ. หน้ า 712. ณัฐฌา เหล่ากุลดิลก. 2552. การเก็บกักกลิ่นรสเทียนอบ. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. พรหมมินทร์ สายนาคา. 2553. การทาน ้ามันดอกจาปี . คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง, ลาปาง. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชน เทียนอบ (มผช. 988/2548). สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม, 2548. วชิรพงศ์ หวลบุตตา. 2544. ดอกไม้ หอมสีขาว 1. คูม่ ือคนรักต้ นไม้ . พิมพ์ครัง้ ที่ 5. อมริ นทร์ พริ น้ ต์ติ ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง, กรุงเทพฯ. หน้ า 20 - 21. วรรณวรางค์ วัชรนานันท์ และกิตติพงศ์ หวงราก. 2552. การวิเคราะห์สารประกอบกลิ่นในสารละลายที่ใช้ ดกั ควันจากเทียน อบขนม. ปั ญหาพิเศษ. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ.

544

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อิทธิพลของไคโตซานและฟิ ล์ มพลาสติกต่ อคุณภาพส้ มโอพันธุ์ทองดีในระหว่ างการเก็บรักษา Effect of chitosan and plastic film on quality of ‘Thong Dee‘ Pummelo during storage ราไพ นามพิลา11 นันท์ นลิน บัวจันทร์1 1 สมยศ มีทา1 สุภ1ทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา1 พงษ์ ศัก1ดิ์ ยั่งยืน1 และสังคม เตชะวงค์ เสถียร1 1 Rumpai Nampila Nammalin Buajan Somyot Meetha Supat Isarangkool Na Ayuttaya Pongsak Yangyuen and Sungcom1 Techawongstien

บทคัดย่ อ ส้ มโอพันธุ์ ‘ทองดี‘ เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 7 เดือนหลังจากดอกบานซึ่งเคลือบด้ วยไคโตซานความเข้ มข้ น 2%และฟิ ล์ม พลาสติกเปรี ยบเทียบกับที่ไม่เคลือบผิว ส้ มโอทุกกรรมวิธีเก็บไว้ ที่ 10 องศาเซลเซียสและอุณหภูมิห้อง (25 องศาเซลเซียส) ผล การศึกษาพบว่าส้ มโอที่เคลือบด้ วยฟิ ล์มพลาสติกและเก็บไว้ ที่อณ ุ หภูมิ 10 องศาเซลเซียส ให้ ผลดีที่สดุ คือมีการสูญเสียน ้าหนัก น้ อยกว่าส้ มโอที่ไม่เคลือบผิว นอกจากนี ้ยังพบว่าส้ มโอที่เคลือบผิวด้ วยไคโตซานและฟิ ล์มพลาสติกมีอายุการเก็บรักษานาน 50 วัน อย่างไรก็ตามส้ มโอที่เคลือบผิวด้ วยไคโตซานและฟิ ล์มพลาสติกไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญกับผลที่ไม่ได้ เคลือบ ต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายน ้าได้ และปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ คาสาคัญ: ส้ มโอ ไคโตซาน ฟิ ล์มพลาสติก

Abstract The ‘Thong Dee‘ pummelo fruits, harvested at 7 months after full bloom were coated with 2% chitosan and plastic film compared with uncoated fruits (control). The pummelo in all treatments were stored at 10 ºC and room temperature (25 ºC). The results showed that pummelo coated with plastic film and stored at 10 ºC had lower weight loss than control. The pummelo fruits coated with chitosan and plastic film had storage time of 50 days. However, pummelo coated with 2% chitosan and plastic film were not significantly different in total soluble solid and titratable acidity. Keywords: pummelo chitosan plastic film

คานา ส้ มโอ (Citrus maxima (Burm.) Merrill.) อยู่ในวงศ์ Rutaceae เป็ นไม้ ผลเศรษฐกิจที่ทกุ คนรู้จกั เนื่องจากสามารถ ปลูกได้ ทุกภาคของประเทศไทยและมีผลผลิตตลอดทังปี ้ มีหลายสายพันธุ์ให้ เลือก เป็ นผลไม้ ที่มีขนาดผลใหญ่ มีคุณค่าทาง อาหารสูง มีรสหวานและมีกลิ่นเฉพาะตัว ส้ มโอยังมีคณ ุ สมบัติพิเศษที่ได้ เปรี ยบผลไม้ ชนิดอื่นๆ คือ มีเปลือกหนาป้องกันการ กระทบกระเทือนได้ ดี ส่วนประกอบของผิวเปลือกมีต่อมน ้ามันช่วยรักษาความสดไว้ ได้ นาน จึงสะดวกในการขนส่ง นอกจากจะ เป็ นที่นิยมบริ โภคกันภายในประเทศแล้ วยังสามารถส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศอีกด้ วย ส้ มโอเป็ นที่นิยมของผู้บริ โภคทัว่ โลก (Kale and Adsule, 1995) และเป็ นพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย มีมลู ค่าการส่งออกมากกว่า 137 ล้ านบาทต่อปี (OAE, 2013) ดังนันจึ ้ งควรหาแนวทางในการยืดอายุการเก็บรักษาส้ มโอ ซึ่งปั ญหาที่สาคัญของส้ มโอในระหว่างการเก็บรักษาและการ ส่งออกคือ การสูญเสียน ้าหนัก ทาให้ ผลเหี่ยว ซึง่ จากการที่ผลส้ มโอเกิดการขาดน ้าทาให้ มีอตั ราการหายใจและอัตราการผลิตเอ ทิลีนเพิ่มขึน้ ทาให้ ไปเร่ งปฏิกิริยาการทางานของเอมไซม์ที่เกี่ยวข้ องกับการเสื่อมสภาพ เปลือกผลเปลี่ยนสีจากสีเขียวเป็ นสี เหลืองและการเกิดโรค การเก็บรักษาที่อุณหภูมิเหมาะสมเป็ นปั จจัยหนึ่งในการยืดอายุการเก็บรักษาผลิตผลสด การใช้ สาร เคลือบผิวจึงเป็ นวิธีหนึง่ ที่ช่วยยืดอายุการเก็บรักษาและลดการเสื่อมคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวได้ สารเคลือบผิวผักและผลไม้ ที่ใช้ กนั ในปั จจุบนั มักเป็ นสารที่ได้ จากธรรมชาติเช่น จากพืชและสัตว์ นิยมใช้ กบั ผลผลิต ทางการเกษตรหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อให้ ผลผลิตมีความมันเงาดึงดูดใจผู้ซื ้อ การใช้ สารเคลือบผิวส้ มโอนอกจากจะช่วยให้ ผิวส้ ม โอสดและสวยงามแล้ ว สามารถยืดอายุการเก็บรักษาส้ มโอได้ ด้วย โดยทัว่ ไปการเคลือบผิวส้ มโอเป็ นการใช้ สารประเภทขีผ้ ึ ้ง (wax) สาหรับสารเคลือบผิวที่นิยมใช้ กบั พืชตระกูลส้ มจะเป็ นพวกสารเคลือบสังเคราะห์เช่น Citrus shine และ Stra-Fresh 360 (ดวงพร, 2541) แต่สารเคลือบผิวนี ้มีราคาแพงและผู้บริ โภคยังมีความสงสัยเกี่ยวกับความปลอดภัยเมื่อนาผลไม้ ไปบริ โภค จึง 1

สาขาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น 40002

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

545


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ได้ เกิดแนวความคิดที่จะใช้ สารเคลือบผิวที่บริ โภคได้ ซงึ่ เป็ นผลิตภัณฑ์จากพืชและสัตว์เช่น แป้ง น ้ามันพืช และเจลาติน เป็ นต้ น ไคโตซาน (Chitosan) เป็ นสารพอลิเมอร์ ที่ ผลิตขึ ้นจากวัสดุธรรมชาติพบมากในโครงสร้ างของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น เปลือกปู กุ้ง หรื อแกนปลาหมึก เป็ นวัสดุเหลือใช้ จากอุตสาหกรรมอาหารทะเล มี คุณสมบัติเหมาะต่อการทาสารเคลือบผิว เนื่องจากเป็ นสารธรรมชาติมีความสามารถในการเกิดฟิ ล์มที่ดี มีคณ ุ สมบัติในการกันการซึมผ่านก๊ าซได้ ดีแต่มีคณ ุ สมบัติกนั การ ซึมผ่านไอน ้าได้ ต่า (Chieng et al., 2007; Eissal, 2007) อุณหภูมิเป็ นปั จจัยหนึง่ ที่สาคัญต่อการเก็บรักษาคุณภาพของส้ มโอเพื่อการส่งออก เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง ซึง่ แปร ผันตามอุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิสงู ทาให้ อตั ราการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีภายในเซลล์สงู ขึ ้น ส่งผลให้ อายุการเก็บรักษาผลไม้ ลดลง ดังนันการเก็ ้ บรักษาส้ มโอที่อณ ุ หภูมิต่าจึงเป็ นอีกช่องทางในการรักษาคุณภาพทางกายภาพและเคมีของส้ มโอ ถ้ าเก็บผลผลิตที่ ผ่านการเคลือบผิวไว้ ในอุณหภูมิสงู หรื อเก็บรักษานานเกินไปจะทาให้ เกิดกระบวนการหายใจแบบไม่ใช้ ออกซิเจนและจะส่งผล ให้ เกิดการ สะสมเอทานอลในผล (ดนัย, 2534) แต่ถ้าเก็บที่อณ ุ หภูมิต่าเกินไป จะทาให้ ส้มโอเกิดอาการสะท้ านหนาว (chilling injury) ดังนัน้ การเก็บรักษาส้ มโอจึงควรเก็บรักษาไว้ ในสภาพที่มีอุณหภูมิต่าที่สุดที่จะไม่เกิดอันตรายหรื อก่อให้ เกิดการ เปลี่ยนแปลงอื่นๆ การใช้ ไคโตซานและอุณหภูมิต่ากับผลไม้ สดหลังการเก็บเกี่ยวแสดงให้ เห็นว่ามีแนวโน้ มในการรักษาคุณภาพและยืด อายุผลิตผลสดได้ โดยมีการนาไคโตซานมาใช้ เป็ นสารเคลือบผิว เพื่อชะลอการสุกและการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลิตผลสด ซึ่งสามารถช่วยลดการเน่าเสียหรื อเสื่อมสภาพได้ เช่น ในกล้ วยไข่ (มยุรี และสุธิกา, 2551) การใช้ ไคโตซานความเข้ มข้ นสูง สามารถช่วยยืดอายุการเก็บรักษามะละกอที่อณ ุ หภูมิ 12 ºC ได้ นาน 5 สัปดาห์ (Warsi, 2012) การใช้ ไคโตซานเพื่อช่วยยืดอายุ การเก็บรักษามังคุดที่ 13 ºC ได้ นาน 30 วัน (ชัยรัตน์และคณะ, 2543) ช่วยยืดอายุการเก็บรักษาสับปะรดพันธุ์ตราดสีทองที่ 18 ºC ได้ นาน 10-12 วัน (รัตตาและคณะ, 2550) และสามารถยืดอายุการเก็บรักษาสตรอเบอร์ รี่ที่ 1 ºC ได้ นาน 12 วัน (กมลวรรณ , 2543) นอกจากนี ้การเคลือบผิวเงาะด้ วยไคโตซานความเข้ มข้ น 0.75% ช่วยรักษาคุณภาพเงาะเก็บที่ 13 ºC ได้ นาน 14-16 วัน (พูนทรัพย์ , 2544) ไคโตซานช่วยลดการสูญเสียนา้ หนักสดในเงาะได้ เมื่อเก็บในอุณหภูมิ 25 และ 10 ºC (MartinezCastellanos et al., 2009) ในการทาการวิจยั ในครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของไคโตซานและฟิ ล์มเคลือบผิวต่อคุณภาพส้ มโอพันธุ์ทองดีที่ การเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิตา่ งกัน เพื่อสามารถนาไปประยุกต์กบั การเก็บรักษาส้ มโอในเชิงการค้ าและใช้ เป็ นข้ อมูลประกอบในการ นาสารเคลือบผิวไปประยุกต์กบั พืชชนิดอื่น ๆต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ นาผลิตผลส้ มโอพันธุ์ทองดี จากสวนเกษตรกร อาเภอบ้ านแท่น จังหวัดชัยภูมิ คัดเลือกผลส้ มโอที่มีความแก่ 80% มี สภาพสมบูรณ์ ไม่มีตาหนิและร่องรอยการทาลายของแมลง และนาส้ มโอมาล้ างทาความสะอาด โดยวางแผนการทดลองแบบ completely randomized design (CRD) มี 6 กรรมวิธีคือ 1) ไม่เคลือบผิว (25 ºC) (control) 2) ไคโตซานที่ความเข้ มข้ น 2% (25 ºC) 3) ฟิ ล์มพลาสติกชนิดยืด (25 ºC) 4) ไม่เคลือบผิว (10 ºC) 5) ไคโตซานที่ความเข้ มข้ น 2% (10 ºC) 6) ฟิ ล์มพลาสติก ชนิดยืด (10 ºC) บรรจุในตะกร้ าพลาสติกนาไปเก็บที่อณ ุ หภูมิห้ อง (25 ºC ) และส่วนหนึ่งนาไปวางที่อณ ุ หภูมิ 10 ºC ความชื ้น 90-95% สุม่ ส้ มโอมาวิเคราะห์คณ ุ ภาพทุก 10 วัน กรรมวิธีละ 3 ซ ้า แล้ วนามาวิเคราะห์คณ ุ ภาพ ได้ แก่ การวิเคราะห์การสูญเสีย น ้าหนัก (% weight loss) การเปลี่ยนแปลงสี โดยการวัดค่า L* a* และ b* ปริ มาณกรดที่ไทเทรตได้ (titratable acidity) และ ปริมาณของแข็งละลายน ้าได้ (total soluble solids)

546

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ การเก็บรักษาส้ มโอพันธุ์ทองดีทกุ การทดลองเกิดการสูญเสียน ้าหนักโดยแปรผันตามระยะเวลาและอุณหภูมิของการ เก็บรักษาที่เพิ่มขึ ้น การเคลือบผิวส้ มโอด้ วยไคโตซานความเข้ มข้ น 2% และฟิ ล์มพลาสติกชนิดยืด สามารถลดการสูญเสียน ้าใน ผลเช่นเดียวกับการใช้ สารเคลือบผิวไคโตซานในส้ มสายน ้าผึ ้งที่ช่วยลดการสูญเสียน ้าหนักและปริ มาณก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ภายในผลน้ อย (กฤติพงษ์ และ ธนะชัย, 2553) โดยพบว่า เมื่อเก็บนาน 30 วัน ส้ มโอที่ไม่ได้ เคลือบผิว (control) มีการสูญเสีย น ้าหนักมากที่สดุ รองลงมาคือ ไคโตซานความเข้ มข้ น 2% และฟิ ล์มพลาสติกชนิดยืด ตามลาดับ (Figure 1A) คุณภาพทางเคมี ส้ มโอในทุกกรรมวิธีมีคณ ุ ภาพทางเคมีไม่แตกต่างกัน โดยพบว่าเมื่อเก็บรักษานาน 20 วัน ส้ มโอมีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้า ได้ 12.3 ºBrix สอดคล้ องกับรายงานของกฤติพงษ์ และ ธนะชัย (2553) ที่ว่าสารเคลือบผิวส้ มไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าเมื่อเปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม และปริมาณกรดที่ไตเตรทได้ 0.63 (Figure 1B,C) สอดคล้ องกับการ ทดลองของปรี ดา (2536) และ กฤติพงษ์ และ ธนะชัย (2553) รายงานว่า การเคลือบใช้ สารเคลือบผิวส้ ม ไม่ทาให้ ปริ มาณกรดที่ ไทเทรตได้ ในน ้าส้ มคันแตกต่ ้ างจากชุดควบคุม การเปลี่ยนแปลงสีส้มโอพันธุ์ ทองดี มีผลเป็ นสีเขี ยวเหลืองตัง้ แต่ขณะที่ เก็บเกี่ ยวดังนัน้ จึงมี การเปลี่ยนสีผิวเพี ยง เล็กน้ อยระหว่างการเก็บรักษา โดยค่า L* a* และ b* ของส้ มโอในแต่ละกรรมวิธีไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยค่า L* จะ เพิ่มขึ ้นเมื่อเก็บรักษานานขึ ้น โดยเมื่อเริ่มต้ นเก็บรักษามีค่า L* 53.43 และเมื่อเก็บนาน 50 วัน ค่า L* เพิ่มขึ ้นเป็ น 55.18 (Figure 2A) ซึง่ แสดงให้ เห็นว่ามีค่าความสว่างเพิ่มขึ ้น ค่า a* และ b* ก็จะเพิ่มขึ ้นเมื่อระยะเวลาการเก็บรักษานานขึ ้น โดยค่า a* เพิ่ม จาก -6.67 เป็ น -1.45 (Figure 2B) และค่า b* เพิ่มจาก 34.32 เป็ น 38.66 (Figure 2C) ซึง่ หมายถึงเมื่อเก็บนานขึ ้นผลส้ มโอจะ มีสีเหลืองเพิ่มมากขึ ้น (Figure 3) สอดคล้ องกับรายงานของกฤติพงษ์ และ ธนะชัย (2553) พบว่าเก็บรักษาผลส้ มไว้ เป็ น ระยะเวลา 12 วัน ส้ มที่เคลือบด้ วยสารเคลือบผิวไม่มีการเปลี่ยนแปลงของสีผิว สารเคลือบผิวสามารถชะลอการเปลี่ยนแปลงสี จากสีเขียนเป็ นสีเหลืองได้ เสาวภา และ ธีรพงษ์ (2551)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

547


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

1.4

A

Weight loss (%)

1.2

Control (25 ºC)

1 0.8

Chitosan (25 ºC)

0.6

Film (25 ºC)

0.4

Control (10 ºC)

0.2

Chitosan (10 ºC)

0 10 days 20 days 30 days 40 days 50 days

Film (10 ºC)

Days after storage

0.7

B

Titratable acidity

0.6

Control (25 ºC)

0.5 0.4

Chitosan (25 ºC)

0.3

Film (25 ºC)

0.2

Control (10 ºC)

0.1

Chitosan (10 ºC)

0 10 days 20 days 30 days 40 days 50 days

Film (10 ºC)

Days after storage

Total soluble solids (˚Brix)

C

14 12

Control (25 ºC)

10 8

Chitosan (25 ºC)

6

Film (25 ºC)

4

Control (10 ºC)

2

Chitosan (10 ºC)

0 10 days 20 days 30 days 40 days 50 days

Film (10 ºC)

Days after storage

Figure 1 Weight loss percentage (A) Titrable Acidity (B) and Total Soluble Solid (C) in ‘Thong Dee’ pummelo fruit coated with chitosan and films coating during storage at 10 and 25 ºC for 50 days.

548

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

A

70 60

Control (25 ºC)

L*

50 40

Chitosan (25 ºC)

30

Film (25 ºC)

20

Control (10 ºC)

10

Chitosan (10 ºC)

0 10 days 20 days 30 days 40 days 50 days

Film (10 ºC)

Days after storage

B

10 5

Control (25 ºC)

0

a*

-5

Chitosan (25 ºC)

-10

Film (25 ºC)

-15

Control (10 ºC)

-20

Chitosan (10 ºC)

-25

Film (10 ºC)

-30

Days after storage

50 40

Control (25 ºC)

30

Chitosan (25 ºC)

20

Film (25 ºC)

b*

C

10 days 20 days 30 days 40 days 50 days

Control (10 ºC)

10

Chitosan (10 ºC)

0 10 days 20 days 30 days 40 days 50 days

Film (10 ºC)

Days after storage

Figure 2 L* (A) a* (B) and b* (C) in ‘Thong Dee’ pummelo fruit coated with chitosan and films coating during storage at 10 and 25 ºC for 50 days.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

549


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Control (25 °C)

Chitosan (25 °C)

Film (25 °C)

Control (10 Film (10 Chitosan (10 °C) and films coating during Figure 3 Peel°C) and pulp colour in ‘Thong Dee’ pummelo fruit coated with chitosan storage at 10 and 25 ºC for 50 days.

สรุ ปผลการทดลอง การเคลือบผิวส้ มโอด้ วยสารเคลือบผิวไคโตซานความเข้ มข้ น 2% และฟิ ล์มพลาสติกชนิดยืดเก็บที่อณ ุ หภูมิ 10 ºC ช่วย ลดการสูญเสียน ้าหนัก ปริ มาณกรดที่ไตเตรทได้ และปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ สามารถรักษาคุณภาพของส้ มโอได้ ดีกว่าการ ไม่เคลือบผิว โดยตลอดระยะเวลาเก็บรั กษาไม่พบกลิ่นและรสชาติที่ผิดปรกติ ส้ มโอที่เคลือบด้ วยฟิ ล์มพลาสติกชนิดยืดเก็บที่ อุณหภูมิ 10 ºC สามารถรักษาคุณภาพของส้ มโอได้ ดีที่สดุ และเมื่อเก็บที่อณ ุ หภูมิห้อง (25 ºC) ส้ มโอที่เคลือบผิวด้ วยไคโตซาน ความเข้ มข้ น 2% และฟิ ล์มพลาสติกชนิดยืด ไม่พบการเน่าของผลเมื่อเก็บนาน 50 วัน ส่วนส้ มโอที่ไม่ได้ เคลือบผิวสามารถเก็บได้ 30 วัน ในขณะที่ส้มโอที่เคลือบด้ วยฟิ ล์มพลาสติกชนิดยืดเก็บที่อณ ุ หภูมิ 10 ºC สามารถเก็บรักษาได้ นาน 50 วัน

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณกลุม่ วิจยั ไม้ ผลสาหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และโครงการระบบการผลิตส้ มโอ คุณภาพดีเพื่อสร้ างอัตลักษณ์ของส้ มโอชัยภูมิ ซึง่ ได้ รับการสนับสนุนจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) ที่สนับสนุน ทุนและเครื่ องมือ อุปกรณ์ตา่ งๆ สาหรับการทาวิจยั นี ้

เอกสารอ้ างอิง กฤติพงษ์ ไพบูลย์สมบัติ และธนะชัย พันธ์เกษมสุข. 2553. ผลของสารเคลือบผิวต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของส้ มพันธุ์สายน ้าผึ ้ง. วารสารเกษตร. 26 (1): 69-78. กมลวรรณ ชูชีพ. 2543. ผลของสารเคลือบผิวไคโตแซนต่อคุณภาพของสตรอเบอร์ รี่หลังการเก็บเกี่ยว. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี, กรุงเทพฯ. จรัญญา พงโศธร, ผ่องเพ็ญ จิตอารี ย์รัตน และ อภิรดี อุทยั รัตนกิจ. 2550. ผลของสารเคลือบผิวต่อคุณภาพการเก็บรักษาขิงที่อณ ุ หภูมิต่า. วารสาร วิทยาศาสตร์ เกษตร. 38 (6): 226-229. ชัยรัตน์ นันทภัทร์ ดวงพร สาระมาศ และอนุรดี วิทยาปั ญญานนท์. 2543. การเคลือบผิวมังคุดด้ วยไคโตซาน. ปั ญหาพิเศษ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ , มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี, กรุงเทพฯ ดวงพร อมัติรัตนะ. 2541. วิทยาการก่อนและหลังเก็บเกี่ยวส้ มโอ. ศูนย์วิจยั พืชสวนพิจิตร. กรมวิชาการเกษตร. หน้ า. 64-87. พูนทรัพย์ พาติกะบุตร. 2544. ผลของความชื ้นสัมพัทธ์และสารเคลือบผิวต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาเงาะพันธุ์โรงเรี ยน. วิทยานิพนธ์วิทยา ศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี,กรุงเทพฯ มยุรี กระจายกลาง และสุธิกา สมวรรณ. 2551. ผลของไคโตซานต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผลกล้ วยไข่. วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร. 39 (3 พิเศษ): 9-12. รัตตา สุทธยาคม อารี รัตน์ การุณสถิตย์ชยั และประจักร์ อุดมศร. 2550. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อยืดอายุการเก็บรักษาสับปะรดพันธุ์ตราดสี ทอง. รายงานผลงานวิจยั เรื่ องเต็ม ปี 2550. สานักวิจยั และพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร กรมวิชาการ เกษตร, กรุงเทพฯ. หน้ า 200-211 เสาวภา ไชยวงศ์ และ ธีรพงษ์ เทพกรณ์. 2551. ผลของสภาพบรรยากาศดัดแปลงต่อคุณภาพของส้ มโอพันธุ์ทองดีในระหว่างการเก็บรักษา. วารสาร วิทยาศาสตร์ เกษตร. 39 (3 พิเศษ): 287-290 Chieng, P.J., F. Sheu and F.H. Yang. 2007. Effects of edible chitosan coating on quality and shelf life of sliced mango fruit. Journal of Food Engineering. 78: 225-229. EissaI, H.A.A. 2007. Effect of Chitosan Coating on Shelf Life and Quality of Fresh-cut Mushroom. Journal of Food Quality. 30: 623-645. Martinez-Castellanos, G., K. Shirai, P C. elayo-Zaldivar, L.J. Perez-Flores and J.D. Sepulveda-Sanchez. 2009. Effect of Lactobacillus plantarum and Chitosan in the Reduction of Browning of Pericarp Rambutan (Nephelium lappaceum), Food Microbiology. 26: 444-449. Warsi, A.A. 2012. Novel Edible Coating for Tropical Fruits as an Alternative to Synthetic Fungicide. The University of Notthingham, Malaysia 550

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

551


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

552

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการใช้ ป๋ ุยนา้ ชีวภาพจากมูลสัตว์ ต่อการเจริญเติบโตของผักสลัดที่ปลูกในระบบไฮโดรพอนิกส์ Effects of Using Liquid Bio-fertilizer Derived from Manure on Growth of Lettuce Grown in Hydroponics ชัยอาทิตย์ อิ่นคา1 และโสระยา ร่ วมรังษี1, 2 Chaiartid Inkham1 and Soraya Ruamrungsri2

บดคัดย่ อ การใช้ ปยน ุ๋ ้าชีวภาพจากมูลสัตว์เป็ นแหล่งของธาตุอาหารพืชทดแทนการใช้ ปยเคมี ุ๋ ในกระบวนการผลิตผักแบบไฮโดรพอนิกส์ได้ มีการศึกษาขึน้ เพื่อให้ ได้ แนวทางในการผลิตผักอินทรี ย์ในระบบไฮโดรพอนิ กส์ โดยผักสลัดกรี นโอ๊ คจะถูกปลูกใน ระบบ Dynamics Root Floating system (DRF) เป็ นระยะเวลา 3 สัปดาห์ วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ประกอบด้ วย 5 กรรมวิธีทดลอง กรรมวิธีละ 3 ซ ้า ได้ แก่ กรรมวิธีที่ 1 ให้ พืชได้ รับสารละลายธาตุอาหารสูตร CMU#2 (ชุดควบคุม) กรรมวิธีที่ 2 ให้ พืชได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลค้ างคาว (LB-bat) กรรมวิธีที่ 3 ให้ พืชได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลไส้ เดือนดิน (LB-earthworm) กรรมวิธีที่ 4 ให้ พืชได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลหนอนไหมที่เลี ้ยงด้ วยใบละหุ่ง (LB-silk worm#1) และกรรมวิธีที่ 5 ให้ พืชได้ รับปุ๋ ย น ้าชีวภาพจากมูลหนอนไหมที่เลี ้ยงด้ วยใบมันสาปะหลัง (LB-silk worm#2) ควบคุมค่า E.C. ให้ อยู่ในช่วง 0.5-1.0 mS/cm และ pH ให้ อยู่ในช่วง 5.5-6.5 กาหนดอัตราส่วนของปุ๋ ยน ้าชีวภาพต่อน ้าเท่ากับ 1:250 (v/v) จากผลการทดลองพบว่าที่ระยะเก็บ เกี่ยว กรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลไส้ เดือนดินให้ ความสูงต้ นที่น้อยที่สดุ ในขณะที่กรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูล หนอนไหมที่เลี ้ยงด้ วยใบละหุ่งให้ จานวนใบต่อต้ น และนา้ หนักแห้ งที่มากกว่ากรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยนา้ ชีวภาพจากมูลค้ างคาว อย่างไรก็ตามพบว่านา้ หนักสดของทุกกรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยนา้ ชีวภาพไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ นอกจากนัน้ ยังพบว่าทุก กรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพให้ การเจริญเติบโตและผลผลิตที่ต่ากว่าชุดควบคุม (CMU#2) คาสาคัญ: ปุ๋ ยน ้าชีวภาพ,มูลสัตว์, ไฮโดรพอนิกส์, อินทรี ย์, ผักสลัด

Abstract Using of liquid bio-fertilizer (LB) derived from manure (animal excrement) as nutrient source for lettuce growing was studied to provide guideline for organics hydroponics production. Green oak lettuce were grown in Dynamics Root Floating system (DRF) for 3 weeks. The experimental design was completely randomized design with 5 treatments, 3 replications. The 5 different nutrient solution treatments were T1) CMU #2 formula (as control treatment), T2) LB derived from bat excrement (LB-bat), T3) LB derived from earthworm excrement (LBearthworm), T4) LB derived from silk worm excrement feeding by castor leaf (LB-silk worm#1) and T5) LB derived from silk worm excrement feeding by cassava leaf (LB - silk worm#2) LB treatments were supplied at 1:250 ratio of liquid bio-extract: water (v/v) with E.C. 0.5-1.0 mS/cm and pH 5.5-6.5. At harvest stage, the results showed that plant grown in DRF by using LB-earthworm as nutrient solution showed the lowest in plant height while plant supplied with LB-silk worm#1 was higher in number of leaves per plant and total plant dried weight than supplied with LB-bat. Nevertheless, there were no significantly different among LB treatments on total plant fresh weight. In addition, plant supplied with LB derived from manure showed lower results in plant growth and yield than the control (CMU#2). Keywords: liquid bio-fertilizer, manure, hydroponics, organics, lettuce

คานา ปุ๋ ยน ้าชีวภาพ คือ ปุ๋ ยอินทรี ย์ในรูปของเหลวที่ได้ มาจากการย่อยสลายวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตรจากพืชหรื อสัตว์ ซึง่ ในปั จจุบนั เกษตรกรเริ่มให้ ความสนใจ ใช้ ปยน ุ๋ ้าชีวภาพทดแทนปุ๋ ยเคมีในการปลูกพืชผักมากขึ ้น เพราะราคาถูก สามารถทาได้ 1

หน่วยวิจยั ธาตุอาหารพืชและการปลูกพืชแบบไม่ใช้ ดิน สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ Plant Nutrition and Hydroponics Research Unit, Science and Technology Research Institute Chiang Mai University, Chiang Mai 2 ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 Department of Plant and Soil Science, Faculty of Agriculture, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

553


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอง และที่สาคัญคือมีความปลอดภัยสูงเพราะเป็ นปุ๋ ยที่ผลิตมาจากธรรมชาติ เกษตรกรนิยมใช้ ปยน ุ๋ ้าชีวภาพกับการผลิตผัก อินทรี ย์ เพื่อเพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิต โดยในตลาดจะพบว่ามีสตู รปุ๋ ยน ้าชีวภาพอยูม่ ากมาย ซึง่ แต่ละสูตรก็จะมี ส่วนประกอบที่แตกต่างกันขึ ้นอยู่กบั วัตถุดิบที่เลือกใช้ ในการผลิต ส่วนประกอบหลักที่พบในปุ๋ ยน ้าชีวภาพที่พบโดยทัว่ ไป ได้ แก่ คาร์ โบไฮเดรต (carbohydrates) กรดอินทรี ย์ (organics acids) กรดอะมิโน (amino acids) กรดฮิวมิก (humic acid) น ้าย่อย (enzymes) วิตามิน (vitamins) ฮอร์ โมน (growth hormones) และแร่ธาตุ (minerals) ซึง่ ปริมาณของสารอินทรี ย์ และธาตุ อาหารที่เป็ นประโยชน์ตอ่ การเจริญเติบโตของพืชนัน้ จะแตกต่างไปในแต่ละสูตรกันตามวัตถุดิบที่เลือกใช้ จากการศึกษาของชัย อาทิตย์ และโสระยา (2556) ที่ได้ วิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารที่พบในปุ๋ ยน ้าชีวภาพที่ผลิตจากพืชและสัตว์ พบว่า ปุ๋ ยน ้าชีวภาพ จากสัตว์จะมีปริ มาณธาตุอาหารที่สงู กว่าพืช โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน ซึง่ เป็ นธาตุที่มีบทบาทสาคัญมากในการเจริญเติบโตของ พืชผัก ผักที่ขาดไนโตรเจน จะแสดงอาการใบเหลือง และต้ นแคระแกร็น ทาให้ ผลผลิตลดลง ซึง่ ในการผลิตผักอินทรี ย์นนั ้ นอกจากการให้ ปยน ุ๋ ้าชีวภาพเสริมให้ กบั พืชแล้ ว การให้ ปยคอก ุ๋ หรื อมูลสัตว์ เป็ นอีกวิธีหนึ่งที่เกษตรผู้ปลูกผักอินทรี ย์มีการ ปฏิบตั ิเพื่อเสริมธาตุอาหารให้ กบั ผัก เนื่องจากว่าในมูลสัตว์จะมีปริมาณธาตุอาหารหลักที่จาเป็ นต่อการเจริ ญเติบโตของพืชสูง ตัวอย่างของมูลสัตว์ที่นิยมนามาทาเป็ นปุ๋ ยอินทรี ย์ ได้ แก่ มูลไก่ มูลวัว มูลสุกร มูลค้ างคาว และ มูลไส้ เดือนดิน ฯลฯ อย่างไรก็ ตามแม้ มลู สัตว์จะมีปริมาณธาตุอาหารที่สงู แต่ยงั พบว่าการนาเอามูลสัตว์มาสกัดเป็ นปุ๋ ยน ้าชีวภาพนันยั ้ งมีน้อยมาก ประกอบ กับการปลูกพืชอินทรี ย์ในดินมักประสบปั ญหาในเรื่ องของการจัดการโรคและแมลงที่มีอยูใ่ นดิน ส่งผลให้ ปริ มาณผักอินทรี ย์ใน แต่ละรอบการผลิตไม่มีความสม่าเสมอ และไม่เพียงพอต่อความต้ องการของตลาดที่มีแนวโน้ มจะเพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ ดังนันการวิ ้ จยั ในครัง้ นี ้จึงมุง่ เน้ นศึกษาการนาเอามูลสัตว์มาทาเป็ นปุ๋ ยน ้าชีวภาพ พร้ อมกับทาการทดสอบประสิทธิภาพโดยการทดลองใช้ ปยุ๋ น ้าชีวภาพ ทดแทนสารละลายธาตุอาหารในการปลูกพืชในระบบไฮโดรพอนิกส์ ซึง่ เป็ นระบบการปลูกพืชที่มีความสะอาด สามารถผลิตผักได้ อย่างมีประสิทธิภาพทังในด้ ้ านของปริมาณและคุณภาพ เพื่อเพิ่มแนวทางการใช้ ประโยชน์มาปุ๋ ยน ้าชีวภาพ ได้ มากขึ ้น และเพื่อเป็ นแนวทางสาหรับการผลิตผักอินทรี ย์ในระบบไฮโดรพอนิกส์ตอ่ ไป

อุปกรณ์ และวิธีการ การศึกษาผลของการใช้ ปยน ุ๋ ้าชีวภาพจากมูลสัตว์เป็ นแหล่งของธาตุอาหารทดแทนการใช้ ปยเคมี ุ๋ ในการปลูกผักสลัด แบบไฮโดรพอนิกส์ ดาเนินการทดลองโดยการปลูกผักในในระบบ Dynamics Root Floating (DRF) ในเดือน ตุลาคม 2557 ทา การเพาะเมล็ดผักสลัดโดยใช้ ฟองน ้าเป็ นวัสดุเพาะ เมื่อต้ นกล้ าอายุประมาณ 3 สัปดาห์ จึงย้ ายลงระบบปลูกแบบไฮโดรพอนิกส์ และเริ่มให้ กรรมวิธีทดลอง โดยวางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (Complete Randomized Design; CRD) ประกอบด้ วย 5 กรรมวิธีทดลอง กรรมวิธีละ 3 ซ ้า ได้ แก่ กรรมวิธีที่ 1 ให้ พืชได้ รับสารละลายธาตุอาหารสูตร CMU#2 (ชุดควบคุม ใช้ ปยเคมี ุ๋ ใน การเตรี ยม) กรรมวิธีที่ 2 ให้ พืชได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลค้ างคาว (LB-bat) กรรมวิธีที่ 3 ให้ พืชได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูล ไส้ เดือนดิน (LB-earthworm) กรรมวิธีที่ 4 ให้ พืชได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลหนอนไหมที่เลี ้ยงด้ วยใบละหุง่ (LB-silk worm#1) และกรรมวิธีที่ 5 ให้ พืชได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลหนอนไหมที่เลี ้ยงด้ วยใบมันสาปะหลัง (LB-silk worm#2) โดยสารสกัด ชีวภาพจากมูลสัตว์สตู ร เตรี ยมได้ จาก การหมักวัตถุดิบต่างๆ ตามอัตราส่วน ได้ แก่ มูลสัตว์แห้ ง 1 กิโลกรัม: น ้าเปล่า 15 ลิตร: กากน ้าตาล 0.5 ลิตร: สารเร่งซุปเปอร์ พ.ด. 2 1 ซอง (25 กรัม) ทาการหมักเป็ นระยะเวลานาน 14 วัน จากนันท ้ าการกรองเอา กากออก แล้ วนาสารละลายสีน ้าตาลที่ได้ ไปใช้ ในการทดลอง ระหว่างการปลูกในระบบไฮโดรพอนิกส์ กรรมวิธีที่ใช้ ปยน ุ๋ ้าชีวภาพ จากมูลสัตว์จะมีการควบคุมค่า E.C. ให้ อยูใ่ นช่วง 0.5-1.0 mS/cm และ pH ให้ อยูใ่ นช่วง 5.5-6.5 โดยใช้ ความเข้ มข้ นของปุ๋ ยน ้า ชีวภาพต่อน ้าที่ 1:250 (v/v) ทาการเก็บข้ อมูลการเจริญเติบโตของพืชทุกๆ สัปดาห์ ได้ แก่ ความสูงต้ น (วัดจากโคนต้ นจนถึง ปลายใบสูงสุด) จานวนใบต่อต้ น และปริมาณคลอโรฟิ ลล์ ด้ วยเครื่ องวัดปริมาณคลอโรฟิ ลล์ รุ่น SPAD 502 (Minolta Camera Co., Japan) ที่ระยะเก็บเกี่ยว 3 สัปดาห์หลังจากได้ รับกรรมวิธี ทาการเก็บข้ อมูลพื ้นที่ใบรวมด้ วยเครื่ องวัดพื ้นที่ใบ (LI 3100C Area meter, Lincoln, Nebraska USA) และทาการวัดน ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ งของพืช (นาตัวอย่างสดไปอบที่อณ ุ หภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 7 วัน) วิเคราะห์ผลทางสถิติด้วยโปรแกรม Statistic 8 (SXW Tallahassee, FL, USA) และ เปรี ยบเทียบความแตกต่างของข้ อมูลโดยใช้ คา่ Least Significant Difference (LSD) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95%

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากผลการทดลองพบว่าที่ระยะเก็บเกี่ยว (3 สัปดาห์หลังจากได้ รับกรรมวิธี) ผักสลัดกรี นโอ๊ คที่ได้ รับสารละลายธาตุ อาหารสูตร CMU#2 (ชุดควบคุม เตรี ยมจากปุ๋ ยเคมี) ให้ การเจริญเติบโตในด้ าน ความสูงต้ น จานวนใบต่อต้ น และปริมาณ 554

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คลอโรฟิ ลล์ สูงกว่ากรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลสัตว์อย่างมีนยั สาคัญทางสถิต (Table 1) ทังนี ้ ้อาจเป็ นเพราะว่า สารละลายธาตุอาหารในชุดควบคุมนัน้ มีปริ มาณธาตุอาหารที่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของผักสลัดมากกว่าปุ๋ ยน ้าชีวภาพ จากมูลสัตว์ ซึง่ ปุ๋ ยสูตร CMU#2 นัน้ มีความเข้ มข้ นของธาตุตา่ งๆ ตามที่แสดงไว้ ใน Table 2 และเมื่อเปรี ยบเทียบการ เจริญเติบโตของพืชในกลุม่ ของกรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลสัตว์ พบว่า LB-silk worm#1 และ 2 ให้ ความสูงต้ นที่ มากกว่า กรรมวิธีที่ได้ รับ LB-earthworm นอกจากนัน้ LB-silk worm#1 ยังให้ จานวนใบต่อต้ นที่สงู กว่า กรรมวิธีที่ได้ รับ LB-Bat และ LB-earthworm อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (Table 1) ทังนี ้ ้อาจเป็ นเพราะว่า LB-silk worm#1 มีปริมาณธาตุไนโตรเจนที่สงู กว่า ได้ รับ LB-Bat และ LB-earthworm จากการวิเคราะห์ปยน ุ๋ ้าชีวภาพในแต่ละสูตรจะเห็นได้ วา่ แต่ละสูตรมีปริมาณธาตุ อาหารที่แตกต่างกันไป เมื่อทาการเปรี ยบเทียบในส่วนของความเข้ มข้ นของธาตุไนโตรเจนในแต่ละสูตรจะพบว่า LB-silk worm#1 มีความเข้ มข้ นของธาตุไนเจนที่มากที่สดุ ตามมาด้ วย LB-silk worm#1, LB-Bat และ LB-earthworm โดยให้ คา่ เท่ากับ 0.160, 0.106, 0.061 และ 0.053 เปอร์ เซ็นต์ไนโตรเจน ตามลาดับ (Table 3) แม้ วา่ LB-silk worm#1 จะให้ คา่ ไนโตรเจนที่สงู กว่าปุ๋ ยน ้าชีวภาพสูตรอื่นๆ แต่ก็เป็ นปริมาณที่ยงั ไม่พอต่อการใช้ ในการเจริญเติบโตของผักสลัด ดังจะเห็นได้ จาก การเจริญเติบโตของกรรมวิธีที่ได้ รับ LB-silk worm#1 ยังถือว่าน้ อยมากเมื่อเทียบกับชุดควบคุมที่ใช้ ปยเคมี ุ๋ (N = 143 mgL-1) ซึง่ จากการผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่า ธาตุไนโตรเจนมีความสาคัญมากต่อการเจริญเติบโตของผักสลัด โดยเปอร์ เซ็นต์ของ ไนโตรเจนในปุ๋ ยน ้าชีวภาพที่ตา่ งกันเพียง 0.099 เปอร์ เซ็นต์ มีผลทาให้ จานวนใบต่อต้ นของผักสลัดแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ ทางสถิติ พิทยา (2555) ได้ รายงานว่า ในพืชจะมีปริมาณธาตุไนโตรเจนอยูร่ ้ อยละ 2-6 ของน ้าหนักแห้ ง โดยอยูใ่ นรูปสารอินทรี ย์ ที่มีหน้ าที่สาคัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการแบ่งเซลล์และการขยายขนาดของเซลล์ และเป็ นองค์ประกอบของเอ็นไซม์ จึงทาให้ ธาตุไนโตรเจนมีบทบาทอย่างมากต่อกระบวนการเมแทบอลิซมึ และการเจริญเติบโตของพืช อย่างไรก็ตามในการทดลองนี ้พบว่า ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ของกลุม่ กรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลสัตว์ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

555


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Plant height (cm), number of leaves per and chlorophyll content (SPAD unit), of lettuce after supplied with differences treatments for 3 weeks (harvest stage) Treatments Plant height (cm) Leaves number Chlorophyll (SPAD Unit) CMU#2 17.95a 27.00a 24.52a LB-bat 14.80bc 10.20c 6.33b LB-earthworm 13.65c 10.10c 6.51b LB-silk worm#1 16.25b 12.20b 8.74b LB - silk worm#2 15.60b 10.90bc 7.38b %CV 11.18 11.84 36.98 LSD0.05 1.5766 1.5012 3.5628 Means with the same letters in the same column are not significantly different at LSD0.05 Table 2 Concentration of each nutrient in CMU#2 formula. Nutrients N P K Ca Mg S concentrations 143 37 186 85 63 83 (mg L-1)

B

Mn

Zn

Cu

Mo

Fe

0.21

0.04

0.02

0.01

005

3.81

Table 3 Analysis of liquid bio-extract derived from animal excrements Liquid bio-extract Nutrients LB-bat LB-earthworm LB-silk worm#1 Nitrogen (%) 0.061 0.053 0.160 Phosphorus (mg/kg) 0.035 0.165 0.077 Potassium (%) 0.185 0.290 0.258 Calcium (mg/kg) 1692.0 2191.5 1469.8 Magnesium (mg/kg) 291.2 562.1 543.8 Iron (mg/kg) 131.30 36.00 35.75 Manganese (mg/kg) 145.4 51.30 15.22 Zinc (mg/kg) 6.14 6.84 2.02 Copper (mg/kg) 0.585 0.530 0.735 Sulphur (mg/kg) 155.4 610.9 651.5 Boron (mg/kg) 2.57 7.58 4.08 EC (dS/m) 8.92 12.21 10.98 pH 4.03 5.03 4.12

LB - silk worm#2 0.106 0.022 0.251 651.3 530.2 51.85 24.57 1.20 0.530 1195.0 3.75 9.48 4.00

จากผลการทดลองพบว่าที่ระยะเก็บเกี่ยว (3 สัปดาห์หลังจากได้ รับกรรมวิธี) ผลผลิตของผักสลัดกรี นโอ๊ ค ในด้ าน พื ้นที่ ใบรวม น ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ ง ในกรรมวิธีที่ได้ รับสารละลายธาตุอาหารสูตร CMU#2 ให้ คา่ ที่สงู กว่ากรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้า ชีวภาพจากมูลสัตว์อย่างมีนยั สาคัญทางสถิต (Table 4) ทังนี ้ ้อาจเป็ นเพราะว่า สารละลายธาตุอาหารในชุดควบคุมนัน้ มีการ 556

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เจริญเติบโต ในด้ านความสูงต้ น จานวนใบต่อต้ น และปริมาณของคลอโรฟิ ลล์ที่มากกว่า (Table 1 และ Figure 1) ซึง่ การ เจริญเติบโตและผลผลิตที่สงู ของพืชที่ปลูกในชุดควบคุม เป็ นผลมาจากการที่พืชได้ รับธาตุอาหารในปริมาณที่ครบถ้ วนและใน ระดับที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต อย่างไรก็ตามเมื่อเปรี ยบเทียบการเจริ ญเติบโตของพืชในกลุม่ ของกรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้า ชีวภาพจากมูลสัตว์ พบว่าข้ อมูลในส่วนของพื ้นที่ใบของแต่ละกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่มีแนวโน้ มที่กรรมวิธีที่ ได้ รับ LB-silk worm#1 จะให้ คา่ ของพื ้นที่ใบรวมที่สงู กว่ากรรมวิธีอื่นๆ (185.82 ตารางเซนติเมตร) และกรรมวิธีที่ได้ รับ LBearthworm มีแนวโน้ มที่ให้ คา่ พื ้นที่ใบรวมน้ อยที่สดุ ในกลุม่ ปุ๋ ยน ้าชีวภาพ (47.90 ตารางเซนติเมตร) เช่นเดียวกันกับผลของ น ้าหนักสดที่มีแนวโน้ มของค่า สูงสุด-ต่าสุด คล้ ายกับผลของค่าพื ้นที่ใบรวม อย่างไรก็ตามข้ อมูลในส่วนของน ้าหนักแห้ งพบว่า ค่าน ้าหนักแห้ งของกรรมวิธีที่ได้ รับ LB-silk worm#1 มีคา่ ของน ้าหนักแห้ งที่มากกว่ากรรมวิธีที่ได้ รับ LB-Bat อย่างมีนยั สาคัญ ทางสถิติ โดยให้ คา่ เท่ากับ 1.26 และ 0.65 กรัมน ้าหนักแห้ ง ตามลาดับ หรื อมากกว่าประมาณหนึง่ เท่า ซึง่ ส่วนหนึง่ อาจเป็ น เพราะว่ากรรมวิธีที่ได้ รับ LB-silk worm#1 มีจานวนใบต่อต้ นที่มากกว่ากรรมวิธีที่ได้ รับ LB-Bat เนื่องมาจากมีปริมาณไนโตรเจน ที่มากกว่า และอาจเป็ นไปได้ วา่ ในปุ๋ ยน ้าชีวภาพสูตร LB-silk worm#1 มีฮอร์ โมนออกซิน และไซโตไคนินที่มากกว่าปุ๋ ยน ้า ชีวภาพสูตรอื่นๆ เพราะว่าออกซินเป็ นสารเคมีที่มีผลส่งเสริมกระตุ้นการแบ่งเซลล์ และ การยืดตัวของเซลล์ และไซโตไคนิน ซึง่ เป็ นกลุม่ ของสารควบคุมการเจริ ญเติบโตที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุมการแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของ เซลล์พืช โดยในฮอร์ โมนทังสองกลุ ้ ม่ พบว่ามีไนโตรเจนเป็ นองค์ประกอบในโมเลกุลด้ วย จากการทดลองของ Duhoky and Rasheed (2010) ได้ ทาการศึกษาเกี่ยวกับระดับของ BA และ IAA ต่อการขยายพันธุ์แบบเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อของ Gardenia jasminoides ผลปรากฏว่าการใส่ 3 mgL-1 BA + 0.9 mgL-1 IAA ลงในอาหารเลี ้ยงเชื ้อให้ การเจริญเติบโตของพืชมากที่สดุ ใน ด้ านของจานวนหน่อและจานวนใบต่อกอ อย่างไรก็ตามจากผลการทดลองพบว่าผลผลิตของผักสลัดในกรรมวิธีที่ให้ ด้วยปุ๋ ยน ้า ชีวภาพจากมูลสัตว์ยงั มีปริมาณน้ อยมากเมื่อเทียบกับชุดควบคุมที่เป็ นปุ๋ ยเคมี ทังนี ้ ้อาจต้ องมีการทดลองเพิ่มเติมในเรื่ องของ อัตราส่วนที่เหมาะสมของปุ๋ ยน ้าชีวภาพ และวิธีการสกัดธาตุอาหารจากมูลสัตว์เพื่อให้ วตั ถุดิบที่ใช้ ปลดปล่อยธาตุอาหารออกมา ในปริมาณที่มากที่สดุ และอยูใ่ นรูปที่เป็ นประโยชน์ตอ่ พืช รวมถึงการเพิ่มวัตถุดิบที่มีปริมาณไนโตรเจนสูง เพื่อให้ ไ ด้ สตู รปุ๋ ยน ้า ชีวภาพที่มีไนโตรเจนสูง เพื่อเป็ นแนวทางในการปรับใช้ ปยน ุ๋ ้าชีวภาพทดแทนปุ๋ ยเคมีในการปลูกพืชแบบไฮโดรพอนิกส์ Table 4 Leaf area (cm2), fresh weight (g) and dry weight (g) of lettuce after supplied with differences treatments for 3 weeks (harvest stage) Treatments Leaf area (cm2) Fresh weight (g) Dry Weight (g) CMU#2 1817.10a 148.30a 5.32a LB-bat 82.00b 8.00b 0.65c LB-earthworm 47.90b 5.73b 0.78bc LB-silk worm#1 185.80b 12.35b 1.26b LB - silk worm#2 140.80b 8.16b 0.80bc %CV 47.13 45.24 30.62 LSD0.05 282.73 14.876 0.4858 Means with the same letters in the same column are not significantly different at LSD0.05

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

557


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Growth of lettuce after supplied with differences treatments for 3 weeks (harvest stage)

สรุ ป จากการทดสอบการใช้ ปยน ุ๋ ้าชีวภาพจากมูลสัตว์เป็ นแหล่งของธาตุอาหาร ทดแทนการใช้ สารละลายธาตุอาหารที่เป็ น เคมีในการผลิตผักสลัดกรี นโอ๊ คในระบบไฮโดรพอนิกส์ สามารถสรุปได้ วา่ ปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูลสัตว์ในแต่ละสูตรที่เลือกใช้ ยงั ให้ การเจริญเติบโตและผลผลิตที่น้อยกว่าชุดควบคุม (ใช้ ปยเคมี ุ๋ ) อย่างไรก็ตามเมื่อเปรี ยบเทียบภายในกลุม่ ปุ๋ ยน ้าชีวภาพจากมูล สัตว์ พบว่าปุ๋ ยน ้าชีวภาพที่ผลิตจากมูลหนอนไหมกินใบละหุง่ มีแนวโน้ มให้ การเจริญเติบโตและผลผลิตที่สงู กว่าสูตรอื่นๆ จึง อาจใช้ ข้อมูลนี ้เป็ นพืชฐานในการปรับสูตรปุ๋ ยน ้าชีวภาพ ทังในส่ ้ วนของความเข้ มข้ นที่เหมาะสม และเพิ่ม แหล่งของวัตถุดิบที่มี ไนโตรเจนสูง เพื่อให้ ได้ สตู รปุ๋ ยน ้าชีวภาพที่เหมาะสมสาหรับใช้ ทดแทนสารละลายธาตุอาหารเคมีในการปลูกพืชในระบบไฮโดร พอนิกส์ตอ่ ไป

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณโครงการ “การผลิตปุ๋ ยนา้ อินทรี ย์จากมูลหนอนไหมอีรี่ ” ทุนจาก สวทช ภาคเหนือ : สานักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ ในการสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินงานวิจยั

เอกสารอ้ างอิง ชัยอาทิตย์ อิ่นคา และ โสระยา ร่วมรังษี. 2557. ผลของการใช้ สารสกัดชีวภาพเป็ นแหล่งของธาตุอาหารต่อการเจริ ญเติบโตของผักสลัดที่ปลูกใน ระบบไฮโดรพอนิกส์. วารสารแก่นเกษตร 42 ฉบับพิเศษ 3: 906- 911. พิทยา สรวมศิริ. 2555. ธาตุอาหารในการผลิตพืชสวน. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 326 หน้ า Duhoky M.M.S. and K. A. Rasheed. 2010. Effect of different concentration of BA and IAA on micropropagation of Gardenia jasminoides. Mesopotamia J. of Agric. 38(2): 16-30.

558

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการงดนา้ ในช่ วงก่ อนการเก็บเกี่ยวต่ อคุณภาพในผลเมล่ อน Effect of stop watering during pre-harvest on fruit quality of melon นรกมล ขาวารี1 และลาแพน ขวัญพูล1 Narakamon Khamwaree1 and Lampan Khurnpoon1

บทคัดย่ อ การงดนา้ ก่อนการเก็บเกี่ยวผลผลิตเป็ นปั จจัยสาคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพของผลผลิตในพืชหลายชนิด สาหรับการ ทดลองครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการงดการให้ น ้าก่อนการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพของผลเมล่อนหลังเก็บเกี่ยว โดยทา การปลูกต้ นเมล่อนพันธุ์ Crystal 705 ลงในดินที่ผสมขุยมะพร้ าวอัตราส่วน 3:1 บรรจุลงในถุงปลูกต้ นไม้ หนัก 7 กิโลกรัม ปลูกถุง ละ 1 ต้ น จานวน 12 ต้ นต่อชุดการทดลอง ให้ น ้าด้ วยระบบน ้าหยด 1 ครัง้ ต่อวันเป็ นเวลา 30 นาที ทาการบันทึกผลการทดลอง ทางด้ านการเจริญเติบโตหลังจากการย้ ายปลูกต้ นเมล่อน 40 วัน จากนันท ้ าการงดการให้ น ้าแก่ต้น เมล่อนเป็ นเวลา 5 และ 10 วัน ก่อนการเก็บเกี่ยวเปรี ยบเทียบกับชุดการทดลองที่ให้ น ้าตามปกติ (ไม่งดน ้า) เมื่อต้ นอายุ 95 วัน หลังย้ ายปลูกจึงเก็บเกี่ยว ผลผลิตแล้ วนามาวิเคราะห์ข้อมูลทางด้ านคุณภาพของผล ได้ แก่ ความหนาของเนื ้อผล ความแน่นเนื ้อของผล จานวนเมล็ดต่อ ผล ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ที่เนื ้อผล น ้าหนักผลสด เส้ นรอบวงของผล และค่าสีของเนื ้อผลเมล่อน (L*a*b*) จากผลการ ทดลองพบว่า การให้ น ้าตามปกติหรื อการงดน ้า 5 วันก่อนการเก็บเกี่ยวส่งผลให้ ความหนาของเนื ้อผลไม่แตกต่างกันและพบว่ามี ความหนาของเนื ้อผลมากกว่าการงดน ้า 10 วันก่อนการเก็บเกี่ยวอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ในขณะที่การงดน ้า 10 วันก่อนการ เก็บเกี่ยวส่งผลให้ ค่าความแน่นเนื ้อของผล จานวนเมล็ดต่อผลและค่า L* ของเนื ้อผลมีค่ามากกว่าชุดการทดลองอื่นๆอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ นอกจากนี ้ยังพบว่า การงดน ้า 5 หรื อ 10 วันก่อนการเก็บเกี่ยวไม่ส่งผลต่อปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ น ้าหนักผลสด เส้ นรอบวงของผล ค่า a* และค่า b* เมื่อเปรี ยบเทียบกับผลเมล่อนที่ให้ น ้าตามปกติ คาสาคัญ : เมล่อน การงดน ้า คุณภาพของผล

Abstract Plants stop watering before harvest was important factor that effect on fruit quality in many plants. The objective of this study was to determine the effect of stop watering during pre-harvest on fruit quality of melon (Cucumis melo L.) cv. Crystal 705. Seeds of melon were planted in grow bag contained 7 kilograms of soil mixed with coconut fiber at 3:1 ratio. Plants were irrigated by drip method once per day about 30 minute. Plants growth and development at 40 days after transplantwere recorded. After that the treatments were set up by stop watering at 0 (non-stop watering), 5 and 10 days during pre-harvest. Fruit quality; pulp thickness, pulp firmness, number of seed per fruit, total soluble solid contents, fruit weight, circumference, L*, a* and b* values were record. Plants after stop watering 5 days before harvest or non-stop watering had the higher pulp thickness and significant different from fruit that stop watering 10 days before harvest. Plants after stop watering 10 days before harvest had highest in pulp firmness, number of seed and L* value with significantly difference from plants that stop watering 5 days before harvest. In addition, total soluble solid contents, fruit weight, circumference, a* and b* values were not affect by stop watering before harvest when compare to non-stop watering. Keywords : melon, stop watering, quality of fruit

1

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

559


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา เมล่อน (Cucumis meloL.) เป็ นพืชในตระกูลแตงมีถิ่นกาเนิดจากแอฟริ กาและเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ เมล่อนเป็ นพืช ที่ตอบสนองต่อน ้าไวมากและต้ องการน ้าในการเจริ ญเติบโตตามช่วงอายุการให้ น ้าในปริ มาณที่มากจนเกินไปอาจเป็ นอันตราย ต่อต้ นเมล่อน โดยจะชักนาให้ ผลผลิตลดลง (Sensoy et al., 2007) เช่นเดียวกับการขาดน ้าหรื อได้ รับน ้าที่น้อยกว่าความ ต้ องการของพืชจะส่งผลให้ การเจริ ญเติบโตและผลผลิตลดลงในเมล่อน (Hartz, 1997) น ้าเป็ นชีวโมเลกุลที่พบมากที่สดุ ในพืช พบได้ ทกุ ส่วนของพืช เช่นในราก (70-90%) ลาต้ น (50-80%) ใบ (75-90%) ผล (80-95%) และเมล็ด (5-15%) หากเกิด การขาดน ้าในพืชจะส่งผลให้ เกิดความเครี ยด (stress) เนื่องจากอัตราการคายน ้า (transpiration) ของพืชมากกว่าอัตราการดูด น ้า เป็ นผลให้ ปริ มาณน ้าในพืชลดลงเมื่อเกิดสภาวะเครี ยดจากการขาดนา้ หากพืชสูญเสียน ้ามากขึน้ ความเข้ มข้ นของตัวถูก ละลายในเซลล์จะเพิ่มสูงขึ ้น เยื่อหุ้มเซลล์จะหนาขึ ้นและอัดตัวกันมากขึ ้นดังนันเมื ้ ่อพืชขาดน ้า เส้ นผ่าศูนย์กลางของลาต้ น พื ้นที่ ใบ ความสูงของลาต้ น น ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งของต้ นจะลดลงตามปริ มาณน ้าที่ขาด ซึ่งได้ มีการศึกษาในพริ ก (พวงเพชร และสุชีลา, 2551) เมล่อน (Zeng et al., 2008; Yildirim et al., 2009; Mirabad et al., 2013) การตอบสนองทางสรี รวิทยาต่อ การขาดน ้าของพืชต่อการเจริญเติบโตทางด้ านผลผลิต โดยหากเกิดในระยะแก่ซงึ่ เป็ นระยะช่วงหลังจากการเจริ ญเติบโตพบว่ามี กิจกรรมของเอนไซม์ sucrose phosphate synthase (SPS) เพิ่มขึ ้นพร้ อมกับพบการสะสมซูโครสในผลของมะละกอและแตง ซึง่ ไม่มีการสะสมแป้งภายในผลขณะที่เจริ ญเติบโต จะเคลื่อนย้ ายน ้าตาลที่ได้ จากกระบวนสังเคราะห์ด้วยแสงในรูปของซูโครส เข้ าไปในผลแล้ วอาศัยเอมไซม์ acid invertaseเปลี่ยนซูโครสไปอยู่ในรู ปของกลูโคสและฟรุ กโตสก่อน เมื่ อถึงระยะบริ บูรณ์ กิจกรรมของเอมไซม์ acid invertase จะลดลงในขณะที่กิจกรรมของเอนไซม์ SPS จะเพิ่มสูงขึ ้น ซึง่ ทาให้ ผลที่บริ บรู ณ์มีซูโครส สูง (จริ งแท้ , 2550) หากพืชได้ รับการขาดน ้าก่อนระยะแก่หรื อระยะบริ บรู ณ์ เพียงไม่กี่วนั จะส่งผลต่อปริ มาณการเคลื่อนย้ าย น ้าตาลเข้ าไปในผล โดยพบว่าเมื่อได้ รับการขาดน ้าช่วงก่อนการเก็บเกี่ยวจะส่งผลให้ มีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ เพิ่มสูงขึ ้น ในขณะที่มีผลกระทบเพียงเล็กน้ อยทางด้ านน ้าหนักของผลเมล่อน (Yildirim et al., 2009) ในงานทดลองนี ้จึงมีความสนใจที่จะ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของผลเมล่อนและตรวจสอบคุณภาพของผลผลิตที่ได้ รับการขาดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยว

อุปกรณ์ และวิธีการ วางแผนการทดลองแบบ Complete Randomize Design (CRD) โดยแต่ละชุดการทดลองมี 4 ซ ้า โดยเริ่ มจากเพาะ เมล็ดเมล่อน พันธุ์ Crystal 705 โดยนาเมล็ดเมล่อนแช่ในน ้าเป็ นเวลา 1 คืน จากนันน ้ าเมล็ดวางในกระดาษเพาะกล้ าหรื อผ้ า ขาวบางชุ่มน ้า แล้ วจึงห่อเมล็ด ทิ ้งไว้ 2 วัน หลังจากนันน ้ าเมล็ดมาหยอดลงในถาดเพาะที่บรรจุพีทมอส เมื่อต้ น กล้ าเมล่อน อายุ 14 วัน ทาการย้ ายกล้ าปลูกลงดินในถุงที่ผสมขุยมะพร้ าวอัตราส่วน 3:1 บรรจุลงในถุงกระสอบหนัก 7กิโลกรัม ปลูกถุงละ 1 ต้ น จานวน 12 ต้ นต่อชุดการทดลอง ให้ นา้ ด้ วยระบบนา้ หยด 1 ครั ง้ ต่อวันเป็ นเวลา 30 นาที ทาการบันทึกผลการทดลอง ทางด้ านการเจริ ญเติบโตหลังจากการย้ ายปลูกต้ นเมล่อน 40 วัน ไว้ กิ่งแขนงที่ข้อ 9-12 เพื่อใช้ เป็ นแขนงสาหรับการผสมเกสร และเลี ้ยงผลเมล่อน โดยหลังจากผสมเกสรจนกระทัง่ ติดผลจะเลือกผลที่สมบูรณ์ ที่สดุ ในแต่ละต้ นไว้ เพียงผลเดียว จากนันท ้ า การงดน ้าต้ นเมล่อนก่อนการเก็บเกี่ยว 5 และ 10 วัน และแบ่งชุดการทดลองที่ให้ น ้าตามปกติ (ไม่งดน ้า) เมื่อครบกาหนด 95 วัน ทาการเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยคัดเลือกเก็บผลเมล่อนจานวน 5 ผลต่อชุดการทดลอง นามาวิเคราะห์ข้อมูลทางด้ านคุณภาพ ของผล ได้ แก่ การชั่งนา้ หนักผลสด วัดเส้ นรอบวงของผลด้ วยสายวัดมีหน่วยเป็ นเซนติเมตร วัดความหนาของเนือ้ ผลวัดด้ วย สเกลเวอร์ เนียร์ มีหน่วยเป็ นมิลลิเมตรทาการวัดค่าสีของเนื ้อผลเมล่อน (L*a*b*) ด้ วยเครื่ อง Colorflex วัดความแน่นเนื ้อของผล ด้ วยเครื่ อง Penetrometer นับจานวนเมล็ดต่อผล และวัดปริ มาณของแข็งที่ละลายนา้ ได้ (TSS) ที่เนือ้ ผลวัดด้ วยเครื่ อง Handheld refractometer ข้ อมูลที่ได้ นามาวิเคราะห์ทางสถิติโดยวิธี Analysis of Variance (ANOVA) เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ย แบบ Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 เปอร์ เซ็นต์

560

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลอง จากการศึกษาเส้ นรอบวงและน ้าหนักของผลของเมล่อน พบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยที่การงดน ้าก่อน การเก็ บ เกี่ ย ว 5 วัน มี ค วามยาวเส้ น รอบวงและน า้ หนัก ของผลเมล่อ นมากที่ สุด คื อ 33.67 เซนติเ มตร และ 527.43 กรั ม ตามลาดับ ในขณะที่ชดุ การทดลองที่ได้ รับน ้าตามปกติจนกระทัง่ เก็บเกี่ยวมีความยาวเส้ นรอบวงและน ้าหนักของผลเมล่อนน้ อย ที่สดุ คือ 28.10 เซนติเมตร และ 313.26 กรัม ตามลาดับ (Figure 1A, 1B)

Figure 1 Circumference (A) and weight (B) of melon fruit from stop watering at 0, 5 and 10 days before harvest. การศึกษาคุณภาพของผลเมล่อนเมื่องดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยวที่ 0, 5 และ 10 วัน พบว่าต้ นเมล่อนที่งดน ้าก่อนการเก็บ เกี่ ยว 5 วัน มีค่าความหนาของเนื อ้ ผลมากที่สุดเท่ากับ 32.3 มิลลิเมตร และแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อ เปรี ยบเทียบกับผลจากต้ นเมล่อนที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยว 10 วัน ซึง่ มีค่าความหนาของเนื ้อผลเท่ากับ 24.3 มิลลิเมตร แต่ไม่ แตกต่างกับผลเมล่อนจากต้ นที่ได้ รับน ้าตามปกติจนกระทัง่ เก็บเกี่ยว (Figure 2A) จากการทดลองพบว่าเมื่องดน ้าต้ นเมล่อนก่อนการเก็บเกี่ยว 10 วัน มีคา่ ความแน่นเนื ้อของผลสูงที่สดุ เท่ากับ49.16 นิว ตันและแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบกับต้ นเมล่อนที่งดนา้ ก่อนการเก็บเกี่ยว 5 วันและต้ นเมล่อนที่ ได้ รับน ้าตามปกติจนกระทัง่ เก็บเกี่ยวมีค่าความแน่นเนื ้อเท่ากับ 28.43 และ 33.25 นิวตันตามลาดับ นอกจากนี ้ยังพบว่าความ แน่นเนื ้อของผลเมล่อนที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยวเป็ นเวลา 5 วัน มีค่าความแน่นเนื ้อไม่แตกต่างกันทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบกับ ค่าความแน่นเนื ้อของผลเมล่อนจากต้ นที่ได้ รับน ้าตามปกติจนกระทัง่ เก็บเกี่ยว (Figure 2B)

Figure 2 Pulp thickness (A) and pulp firmness (B) of melon fruit from stop watering at 0, 5 and 10 days before harvest. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

561


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

จากการวัดสีเนื ้อของผลเมล่อนเมื่องดการให้ น ้าก่อนการเก็บเกี่ยว พบว่าเนื ้อผลของเมล่อนจากต้ นที่งดน ้าก่อนการเก็บ เกี่ยวเป็ นเวลา 5 และ 10 วัน มีคา่ ความสว่าง (L*) ประมาณ 74.47 และ 72.89 ตามลาดับ ส่วนค่าสีของเนื ้อผล เมล่อนจาก ต้ นที่ได้ รับน ้าตามปกติจนกระทัง่ เก็บเกี่ยวมีค่า L* ประมาณ 68.23 เมื่อวิเคราะห์ค่าทางสถิติพบว่าเนื ้อผล เมล่อนจากต้ นที่ งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยวเป็ นเวลา 10 วัน มีค่า L* ของเนื ้อผลแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ เมื่อเปรี ยบเทียบกับเนื ้อผลเม ล่อนจากต้ นที่ได้ รับน ้าตามปกติจนกระทัง่ เก็บเกี่ยวแต่ไม่แตกต่างกันกับเนื ้อผลเมล่อนจากต้ นที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยวเป็ นเวลา 5 วัน สาหรับค่า a* พบว่าในส่วนของเนื ้อผลเมล่อนที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยวเป็ นเวลา 5 วันมีค่ามากที่สดุ แต่ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับชุดการทดลองที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยวเป็ นเวลา 10 วันและชุดการทดลองที่ได้ รับน ้าตามปกติ จนกระทัง่ เก็บเกี่ยว ขณะที่คา่ b* พบว่าเนื ้อผลเมล่อนจากต้ นที่ได้ รับน ้าตามปกติจนกระทัง่ เก็บเกี่ยวมีค่ามากกว่าชุดการทดลอง ที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยวเป็ นเวลา 5 และ 10 วัน แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติในทัง้ 3 ชุดการทดลอง (Table 1) Table 1 Flesh color (L*a*b* values) of melon fruit from stop watering at 0, 5 and 10 days before harvest. Day from stop watering 0 5 10 C.V. (%)

L* value 68.23±3.82b 72.89±1.89ab 74.47±1.89a 3.86

Color indices a* value -6.85±0.62a -7.52±0.41a -6.46±1.26a 12.86

b *value 29.77±1.89a 28.46±1.36a 26.78±4.20a 10.27

Means in the same column followed by the same letter are not significantly different at p = 0.05 by Duncan's Multiple Range Test

จากการศึกษาปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ (TSS) ในส่วนเนื ้อของผลเมล่อนทัง3 ้ ชุดการทดลอง พบว่าในเนื ้อของ ผลเมล่อนนันมี ้ ค่า TSS ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยในเนื ้อของผลเมล่อนที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยว 10 วัน มี ค่า TSS เฉลี่ยประมาณ 11.2%brix (Figure 3A) ซึง่ มีค่ามากที่สดุ ในขณะที่ปริ มาณ TSS ในเนื ้อของผลเมล่อนที่ชดุ การทดลอง งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยว 5 วันและชุดการทดลองที่ได้ รับน ้าตามปกติจนกระทัง่ เก็บเกี่ยวมีค่า TSS เฉลี่ยประมาณ 10.6และ 9.2 %brix ตามลาดับ ในส่วนของรก พบว่ามีคา่ TSS ในชุดการทดลองที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยว 5 วัน มีคา่ มากที่สดุ (Figure 3B)

Figure 3 Total soluble solids (TSS) content in flesh (A) and placenta (B) of melon fruit from stop watering at 0, 5 and 10 days before harvest. เมื่อนับจานวนเมล็ดต่อผลของเมล่อนในชุดการทดลองงดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยวเป็ นเวลา 10 วัน พบว่ามีจานวนเมล็ด เฉลี่ยเท่ากับ 328 เมล็ด ในขณะที่เมล็ดในผลของต้ นเมล่อนที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยว 5 วันและเมล็ดในผลของต้ น เมล่อนที่ ได้ รับน ้าจนกระทัง่ เก็บเกี่ยวมีจานวนเมล็ดเท่ากับ 182 และ 105 เมล็ดตามลาดับ เมื่อวิเคราะห์ค่าทางสถิตพบว่าผลจากต้ นเม

562

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ล่อนที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยว 10 วัน มีจานวนเมล็ดมากที่สดุ และแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติเมื่ อเปรี ยบเทียบเมล็ด ในผลของต้ นเมล่อนที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยว 5 วันและเมล็ดในผลของต้ นเมล่อนที่ได้ รับน ้าจนกระทัง่ เก็บเกี่ยว (Figure 4)

Figure 4 Number of seed per fruit from stop watering at 0, 5 and 10 days before harvest.

วิจารณ์ ผลการทดลอง จากการศึกษาผลของการงดน ้าในช่วงก่อนการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพของผลเมล่อนโดยแบ่งออกเป็ น 3 ชุดการทดลอง คือ 1) งดการให้ น ้าแก่ต้นเมล่อนก่อนการเก็บเกี่ยวเป็ นเวลา 5 วัน 2) งดการให้ น ้าแก่ต้นเมล่อนก่อนการเก็บเกี่ยวเป็ นเวลา 10 วันและ 3) ให้ น ้าแก่ต้นเมล่อนตามปกติจนกระทัง่ เก็บเกี่ยวผลผลิต พบว่าน ้าหนักของผลสดในชุดการทดลองที่งดน ้าก่อนการ เก็บเกี่ยว 5 และ 10 วัน ไม่แตกต่างกันอย่างมี นยั สาคัญทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบกับผลเมล่อนจากต้ นที่ได้ รับน ้าตามปกติ จนกระทัง่ เก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งสอดคล้ องกับการทดลองของ Yildirim et al. (2009) ที่พบว่าการขาดน ้าก่อนการเก็บส่งผล กระทบเพียงเล็กน้ อยทางด้ านนา้ หนักผลของเมล่อน ซึ่งผลของนา้ หนักสดนัน้ มีค่าสอดคล้ องกับค่าเส้ น รอบวงของผล เมื่อ ศึกษาความหนาของเนื ้อผลของเมล่อน พบว่ามีค่าลดลงเมื่องดการให้ น ้าก่อนการเก็บเกี่ยวในระยะเวลาที่นานขึ ้นซึ่งสอดคล้ อง กันผลการทดลองของ Ibrahim and Ramadan (2013) ที่ทาศึกษาความสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์ในเมล่อน ภายใต้ การชลประทานและสภาวะแล้ ง พบว่าเมื่อเมล่อนอยูใ่ นสภาวะแล้ ง จะส่งผลให้ ความหนาของเนื ้อลดลง นอกจากนี ้ Nerd and Nobel (2000) ยังพบว่าความหนาของเปลือกลดลงเมื่อพืชได้ รับการขาดน ้าโดยเปรี ยบเทียบกับชุดการทดลองที่ให้ น ้าทุก วันในช่วงผลเจริ ญเติบโตเต็มที่ในผลกระบองเพชร จะเห็นได้ ว่าค่าความแน่นเนือ้ ของผลมีค่าลดลงเมื่อขาดนา้ นอกจากนี ้ยัง พบว่าการงดนา้ ก่อนการเก็บเกี่ยวเป็ นเวลา 10 วัน ส่งผลให้ เมล่อนมีค่าความแน่นเนือ้ สูงสุดเท่ากับ 49.16 นิวตัน เมื่อ เปรี ยบเทียบกับชุดการทดลองที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยว 5 วันและชุดการทดลองที่ให้ น ้าตามปกติจนกระทัง่ เก็บเกี่ยว สอดคล้ อง กับการศึกษาของ Al-Mefleh et al. (2012) ที่พบว่าหากต้ นเมล่อนขาดน ้าจะส่งผลให้ ความแน่นเนื ้อของผลเมล่อนจะมีค่าสูงขึ ้น แต่ Miller et al. (1998) รายงานว่าต้ นกีวี่ภายใต้ สภาวะขาดน ้ามีค่าความแน่นเนื ้อลดลง ซึง่ จะเห็นได้ ว่าค่าความหนาของเนื ้อ ผลนันมี ้ ค่าลดลงเมื่อมีการงดน ้าในขณะที่มีค่าความแน่นเนื ้อเพิ่มสูงขึ ้นเมื่อมีการงดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยว ซึ่งเป็ นผลมาจากการ เกิดสภาวะเครี ยดจากการขาดน ้า ทาให้ ปริ มาณน ้าในพืชลดลง ส่งผลทาให้ เซลล์ของพืชเหี่ยวและผนังเซลล์มีปริ มาตรลดลง ทา ให้ พืชสูญเสียความเต่ง หากพืชสูญเสียน ้ามากขึ ้น เยื่อหุ้มเซลล์จะหนาขึ ้นและอัดตัวกันมากขึ ้น (ลิลลี่ และคณะ, 2556 ) และ เมื่อศึกษาค่าสีของเนื ้อผล พบว่าผลของเมล่อนจากต้ นที่งดน ้าเป็ นเวลา 10วันมีค่าความสว่าง (L*) มากที่สดุ และแตกต่างอย่าง มีนยั สาคัญทางสถิติระหว่างชุดการทดลองในขณะที่ค่า a* และค่า b* พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติซงึ่ สอดคล้ องกับผลงานวิจยั ของ Bordonaba and Terry (2010) ได้ รายงานว่า เมื่อสตรอเบอร์ รี่ได้ รับความเครี ยดจากการขาดน ้า ส่งผลทาให้ มีค่าความสว่างของเนื ้อผลสูงขึ ้นอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ในส่วนของปริ มาณ TSS พบว่าการงดน ้าก่อนการเก็บ เกี่ยวไม่สง่ ผลต่อปริ มาณ TSS แต่การศึกษาของ Yildirim et al. (2009) พบว่าเมล่อนที่ได้ รับการขาดน ้าก่อนระยะแก่หรื อระยะ บริ บูรณ์ เพียงไม่กี่วนั จะส่งผลต่อปริ มาณการเคลื่อนย้ ายน ้าตาลเข้ าไปในผล โดยพบว่าเมื่อได้ รับการขาดนา้ ช่วงก่อนการเก็บ เกี่ยวจะส่งผลให้ มีระดับปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ เพิ่มสูงขึ ้น Mattheis and Fellman (1999) และ Gil et al. (2000) รายงานว่าการให้ น ้าช่วงใกล้ เก็บเกี่ยวผลผลิตเป็ นสาเหตุทาให้ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ในผลสดของเมล่อนลดลงและยัง พบว่าการให้ น ้าในปริมาณที่จากัดสามารถช่วยเพิ่มปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลจานวนเมล็ดต่อผล พบว่า การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

563


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของเมล่อนที่งดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยวเป็ นเวลา 10 วัน มีจานวนเมล็ดต่อผลมากที่สดุ เมื่อ เปรี ยบเทียบกับชุดการทดลองที่งด น ้าก่อนการเก็บเกี่ยว 5 วันและชุดการทดลองที่ได้ รับนา้ ตามปกติจนกระทัง่ เก็บเกี่ย ว อาจเป็ นผลมากจากการปรับตัว ทาง สรี รวิทยาของพืชในสภาวะขาดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยวเพื่อหนีแล้ ง โดยจะมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเป็ นความสามารถของพืชที่ทา ให้ พืชเจริญครบวงจรได้ รวดเร็วขึ ้น เมื่อพืชได้ รับผลกระทบจากสภาวะเครี ยดจากการขาดน ้า (สายัณห์, 2534) ซึง่ เมล่อนเป็ นพืช ล้ มลุกชนิ ดหนึ่งมี ถิ่นกาเนิดในเขตร้ อนกึ่งแห้ งแล้ ง โดยพืชล้ มลุกจะเริ่ มการเสื่อมสภาพหลังจากเริ่ มติดเมล็ดซึ่งจะเริ่ มเกิ ด กระบวนการ mobilization และ translocation สารอาหารจากส่วนต่างๆของลาต้ นเพื่อนามาพัฒนาเมล็ด การเริ่ มกระบวนการ ดังกล่าวนี ้ถูกชักนาหรื อถูกเร่งโดยปั จจัยทางสภาพแวดล้ อมจากภายนอก (Woolhouse, 1983) นอกจากนี ้ Aronson et al. (1992) ได้ รายงานว่าภายใต้ สภาวะเครี ยดจากการขาดน ้าจะส่งผลให้ พืชตอบสนองทางสรี รวิทยาโดยเกิดการเสื่อมสภาพของ เซลล์ อ ย่ า งรวดเร็ ว การตอบสนองดัง กล่ า วจะช่ ว ยให้ เ กิ ด การ remobilization ของแหล่ ง อาหารเร็ ว ขึ น้ เมื่ อ เข้ าสู่ กระบวนการพัฒนาเมล็ดภายใต้ สภาวะเครี ยดจากสิ่งแวดล้ อม โดยในขันต้ ้ นพืชจะมีตวั รับหรื อส่งสัญญาณเพื่อให้ พืชสามารถ คาดการณ์ตอ่ สภาพสิง่ แวดล้ อมต่างๆ และยังแสดงให้ เห็นว่าพืชเหล่านี ้มี phenotypic plasticity อยู่ในระดับที่ต่า นอกจากนี ้พืช ยังมีการปรับตัวต่อสภาวะเครี ยดน ้าเมื่อเกิดขึ ้นซ ้ากันหลายๆครัง้ ในสภาวะที่มีน ้าอย่างจากัด การเกิดกระบวนการดังกล่าวส่งผล ให้ พืชมีการเจริ ญเติบโตครบวงจรอย่างรวดเร็ วภายใต้ สภาวะเครี ยดจากน ้า ซึ่งผลการทดลองการขาดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยวที่ ส่งผลต่อเมล็ด จากการศึกษาครัง้ นีท้ าให้ ทราบถึงคุ ณภาพของผลผลิตเมื่อถูกงดนา้ ก่อนการเก็บเกี่ยวในเมล่อนสาหรับเป็ น ข้ อมูลพื ้นฐานในการศึกษาต่อไปในอนาคตทางด้ านการพัฒนาคุณภาพของผลผลิตให้ เป็ นที่ต้องการของตลาดเพิ่มมากขึ ้น

สรุ ปผลการทดลอง จากการศึกษาผลของการงดนา้ ในช่วงก่อนการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพในผลเมล่อนสรุ ปได้ ว่า การงดน ้าก่อนการเก็บ เกี่ยวเป็ นเวลา 5 วัน นันส่ ้ งผลให้ เมล่อนมีความหนาของเนือ้ ผลมากที่สดุ ในขณะที่การงดน ้า 10 วัน ก่อนการเก็บเกี่ยวส่งผล ให้ ผลของเมล่อนนันมี ้ ปริมาณเมล็ดต่อผล ความแน่นเนื ้อของผลและค่าความสว่างมากที่สดุ ซึง่ การขาดน ้าก่อนการเก็บเกี่ยวนัน้ ไม่สง่ ผลกระทบต่อน ้าหนักของผลสด เส้ นรอบวงของผล และปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ แต่อย่างใด

เอกสารอ้ างอิง จริ งแท้ ศิริพานิช. 2550. ชีววิทยาหลังการเก็บเกี่ยวและการวายของพืช. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. โรงพิมพ์ศนู ย์สง่ เสริ มและฝึ กอบรมการเกษตรแห่งชาติ, นครปฐม. 453 หน้ า. พวงเพชร พิมพ์จนั ทร์ และสุชีลา เตชะวงค์เสถียร. 2551. การตอบสนองของพริ กต่อสภาพขาดน ้า. วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร. 39(3): 273276. ลิลี่ กาวีต๊ะ, มาลี ณ นคร, ศรี สม สุวรรณวงศ์, สุรียา ตันติวิวฒ ั น์ และณรงค์ วงศ์กนั ทรากร. 2556.สรี รวิทยาของพืช. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพมหานคร. 273 หน้ า. สายัณห์ สดุดี. 2537. สภาวะขาดน ้าในการผลิตพืช ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ. 202 หน้ า. Al-Mefleh, N.K., N. Samarah, S. Zaitoun, and A. Al-Ghzawi. 2012. Effect of irrigation levels on fruit characteristics, total fruit yield and water use efficiency of melon under drip irrigation system. JFAE. 10(2): 540-545. Aronson, J., J. Kigel, A. Shmida and J. Klein. 1992. Adaptive phenology of desert and Mediterranean populations of annual plants grown with and without water stress. Oecologia. 89: 17-26. Bordonaba, G.J. and L.A. Terry. 2010. Manipulating thetaste-related composition of strawberry fruits (Fragaria x ananassa) from different cultivars using deficit irrigation. Food Chem. 122: 1020-1026. Gil, J..A., N. Montano and L. Khan. 2000. Effect of four irrigation strategies on the yield and its components in two cultivars of melon (Cucumis melo L.). RABSU. 1: 48-52. Hartz, T.K. 1997. Effects of drip irrigation scheduling on muskmelon yield and quality. Sci. Hort. 69:117-122. Ibrahim, E.A. and A.Y. Ramadan. 2013. Correlation and path coefficient analyses in sweet melon (Cucumis melo Var. Aegyptiacus L.) under irrigated and drought conditions. PJBS. 16(23): 610-616. Mattheis, J.P. and J.K. Fellman. 1999. Preharvest factors influencing flavor of fresh fruit and vegetables. Postharvest Bio. and Tech. 15: 227-232. Miller, S.A., G.S. Smith, H.L. Boldingh and A. Johansson. 1998. Effects of water stress on fruit quality attributes of kiwifruit. Annals of Botany. 81: 73-81. Mirabad, A.A., M. Lotfi. and M.R. Roozban. 2013. Impact of water-deficit stress on growth, yield and sugar content of cantaloupe (Cucumis melo L.). IJACS. 22(5): 2778-2782. 564

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Nerd, A. and P.S. Nobel. 2000. Water relations during ripening for fruit of well-watered versus water-stressed Opuntia ficus indica. J. Amer. Soc. Hort. Sci. 125(5): 653-657. Sensoy, S., A. Ertek, I. Gedik and C. Kucukyumuk 2007. Irrigation frequency and amount affect yield and quality of field-grown melon (Cucumis melo L.). Agri. Wat. Manag. 88: 269-274. Yildirim, O., N. Halloran, S. Cavusoglu and N. Sengül. 2009. Effects of different irrigation programs on the growth, yield and fruit quality of drip-irrigated melon. Turk. J. Agric. 33: 243-255. Woolhouse, H.W. 1983. Hormonal control of senescence allied to reproduction in plant. In: Meudt WJ (ed) Strategies of plant reproduction. BARC, Washington DC, pp 201-23. Zeng, C.Z., Z.L. Bie and B.Z. Yuan. 2008. Determination of optimum irrigation water amount for drip-irrigated muskmelon (Cucumis melo L.) in plastic greenhouse. Agr. Water. Manage. 96(4): 595-602.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

565


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อิทธิพลของสีม้ ุงตาข่ ายต่ อการเจริญเติบโตและคุณภาพผลเมล่ อน Influence of Nylon Net-house Color on Growth and Quality for Melon Fruit ปวีณา รุ่ งรักษาธรรม1 และลาแพน ขวัญพูล1 Paweena Rungruksatham1 and Lampan Khurnpoon1

บทคัดย่ อ การเจริ ญเติบโตของต้ นพืชแต่ละชนิดมีความต้ องการความเข้ มแสงแตกต่างกัน การทดลองครัง้ นี ้ใช้ ต้นเมล่อนพันธุ์ Crystal 705 ปลูกภายใต้ สีม้ งุ แตกต่างกันได้ แก่ สีน ้าเงิน สีแดง และสีขาว โดยปลูกด้ วยดินผสมขุยมะพร้ าวอัต ราส่วน 3:1 หนัก 7 กิโลกรัม ในถุงกระสอบ จานวน 20 ต้ นต่อสีม้ งุ โดยปลูกเมล่อน 1 ต้ นต่อถุงกระสอบ และให้ น ้าด้ วยระบบมินิสปริ งเกลอร์ วนั ละ 1 ครัง้ นาน 10 นาที หลังย้ ายปลูกเป็ นเวลา 40 วัน จึงทาการบันทึกอัตราการเจริ ญเติบโตทางลาต้ นได้ แก่ ความสูง พื ้นที่ใบ (ความกว้ างและความยาวของใบ) และคลอโรฟิ ลล์ จนกระทัง่ ต้ นเมล่อนอายุ 60 วันหลังย้ ายปลูก (ผลเมล่อนมีขนาดเส้ นรอบวง ประมาณ 20 เซนติเมตร) จึงหยุดวัดอัตราการเจริ ญเติบโต จากการทดลองพบว่าความเข้ มแสงภายในมุ้งสีขาวมีค่ามากกว่ามุ้ง สีแดงและมุ้งสีน ้าเงิน อีกทังยั ้ งพบว่าการปลูกเมล่อนในมุ้งตาข่ายทังสามสี ้ มีความสูงไม่มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทาง สถิติ อย่างไรก็ตามการปลูกเมล่อนภายในมุ้งสีขาวทาให้ ความยาวปล้ อง ความยาวของใบ และความกว้ างของใบ มากที่สดุ และมีความแตกต่างกับการปลูกเมล่อนภายในมุ้งสีน ้าเงินอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ เมื่อวัดคุณภาพของผลเมล่อนพบว่า การ ปลูกเมล่อนภายในมุ้งสีขาวและสีแดงมีน ้าหนักของผล เส้ นรอบวงผล ปริ มาตรของผล จานวนเมล็ดต่อผล และปริ มาณของแข็ง ที่ละลายน ้าได้ ในส่วนของรกแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติจากการปลูกเมล่อนภายในมุ้งสีน ้าเงิน คาสาคัญ : ความเข้ มแสง คุณภาพของผล เมล่อน สีม้ งุ ตาข่าย

Abstract Plant require different light intensity for growth and development. Melon (Cucumis melo L.) cv. Crystal 705 were planted under different color of nylon-net house include blue, red and white. Plant were grown in 7 kilogram of soil mixed with coconut fiber at 3:1 ratio in sack of about twenty plant per nylon-net house. Plant were irrigated by mini sprinkler, every day once per day for 10 minutes. Plant height, leaf area (leaf length and leaf width) and total chlorophyll, during 40-60 days after transplant (20 cm of fruit circumference) were recorded. The results showed that light intensity inside white net-house showed higher than in red or blue net-house. Melon grown in these three net-house showed no significantly different in development. However, melon grown in white net-house showed high internode length, leaf length and leaf width, significantly different from plant grown under blue net-house. The results in fruit qualities showed that melon grown in white or red net-house had significantly different in fruit weight, circumference, volume, number of seed per fruit and total soluble solids content of placenta from melon grown in blue net-house. Keywords: light intensity, fruit quality, melon, nylon net-house

1

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 566

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา เมล่อน (Cucumis melo L.) อยู่ในตระกูล Cucurbitaceae มีถิ่นกาเนิดในทวีปแอฟริ กา จัดเป็ นผลไม้ ประเภท nonclimacteric สามารถเจริ ญเติบโตได้ ดีในสภาพเขตร้ อนที่มีแสงแดดจัดและมีอายุตงแต่ ั ้ เพาะปลูกจนกระทัง่ เก็บเกี่ยวผลผลิต เพียง 65-85 วันหลังปลูก ก็สามารถนาผลผลิตเข้ าสูท่ ้ องตลาดได้ และมีราคาแพงกว่าผลไม้ ในกลุม่ เดียวกัน จึงทาให้ เกษตรกร ไทยมีความสนใจปลูกพืชชนิดนี ้มากขึ ้น แต่เมล่อนเป็ นพืชที่มีการเข้ าทาลายของโรคและแมลงค่อนข้ างมากเมื่อเปรี ยบเทียบกับ ผลไม้ ชนิดอื่นๆ เพื่อรักษาผลผลิตและคุณภาพของผลเมล่อนเกษตรกรส่วนใหญ่ต้องใช้ สารกาจัดโรคและศัตรู พื ชจานวนมาก เพื่อควบคุมโรคและแมลง นอกจากนี ้สภาพภูมิอากาศในระหว่างการเพาะปลูกมีผลกระทบต่อการเจริ ญเติบโตและคุณภาพผล อย่างมาก เมื่อต้ นเมล่อนในระยะใกล้ เก็บเกี่ยวผลผลิตได้ รับนา้ ฝนปริ มาณมากๆ ส่งผลให้ ต้นและผลเมล่อนเกิดการแตกได้ (Sensoy et al., 2007) เนื่องจากพืชแต่ละชนิดมีความต้ องการปั จจัยการเจริ ญเติบโตในเรื่ องของแสง อุณหภูมิ และน ้าแตกต่าง กัน เช่น ต้ นเมล่อนในระยะต้ นกล้ ามีความต้ องการน ้าเพื่อการเจริ ญเติบโตทางลาต้ นเพียงอย่างเดียว แต่ต้นเมล่อนในระยะผล พัฒนามีความต้ องการนา้ เพื่อการเจริ ญเติบโตทางลาต้ นและการพัฒนาผล (นิตย์, 2542) จึงกล่าวได้ ว่าต้ นเมล่อนที่มีการ เจริญเติบโตสมบูรณ์ปราศจากการเข้ าทาลายของโรคและแมลง ผลเมล่อนที่ได้ มีกลิ่นหอม เนื ้อนุ่ม และรสหวาน ซึง่ เป็ นคุณภาพ ที่ผ้ บู ริ โภคต้ องการ อย่างไรก็ตามเพื่อแก้ ไขปั ญหาข้ างต้ นเกษตรกรบางรายจึงหันมาปลูกเมล่อนในโรงเรื อน เพื่อป้องกันการเข้ า ทาลายของเชือ้ โรคและแมลง อีกทังสามารถจั ้ ดการเรื่ องของการให้ นา้ และปุ๋ ย ทาได้ ง่ายกว่าการปลูกพืชในสภาพแปลงเปิ ด สาหรับการปลูกในโรงเรื อนต่างประเทศเพื่อป้องกัน นก ลูกเห็บ ลม และพายุ ที่เป็ นอันตรายต่อพืช รวมทังภายในโรงเรื ้ อนมี อุณหภูมิลดลงและความชื ้นสัมพัทธ์ ของอากาศเพิ่มขึ ้น (Stamps, 1994; Perez et al., 2006) อย่างไรก็ตามมีงานวิจยั ต่างประเทศสาหรับการเลือกใช้ โรงเรื อนตาข่ายสีต่างๆ ให้ เหมาะสมต่อการเจริ ญเติบโตของพืช เช่น การปลูกต้ นบลูเบอร์ รี่ ภายใต้ ตาข่ายสีขาวมีน ้าหนักผลมากที่สดุ (Retamales et al., 2008) ในขณะที่การปลูกมะเขือเทศภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีแดงมี คุณภาพผลมากที่สดุ (Ilic et al., 2014) สาหรับประเทศไทยมีการประยุกต์ใช้ โรงเรื อนมุ้งตาข่ายสีขาว สีแดง และสีน ้าเงิน สาหรับการปลูกผักกาดหอมพบว่า การปลูกผักกาดหอมภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายแดงมีการเจริ ญเติบโตมากที่สดุ (บัณฑูร และคณะ, 2555) จะเห็นได้ วา่ โรงเรื อนตาข่ายแต่ละสีมีผลต่อการเจริญเติบโตของต้ นพืช แต่ยงั ไม่มีการทดลองศึกษาผลของสีม้ งุ ตาข่ายต่อ การเจริ ญเติบโตและการพัฒนาของต้ นเมล่อน ดังนันงานทดลองครั ้ ง้ นี ้จึงต้ องการศึกษาผลของสีม้ งุ ตาข่ายต่อการเจริ ญเติบโต และคุณภาพของผลเมล่อน เพื่อใช้ เป็ นข้ อมูลพื ้นฐานสาหรับการปลูกเมล่อนภายในโรงเรื อนต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ การทดลองครัง้ นี ้ได้ วางแผนแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยทาการเพาะเมล็ดเมล่อนสายพันธุ์ Crystal 705 ลงในถาดเพาะกล้ าด้ วยดินผสม จนกระทัง่ ต้ นเจริ ญเติบโตมีใบจริ งจานวน 2 ใบ จึงย้ ายต้ นกล้ าเมล่อนจานวน 60 ต้ น ลงปลูกในถุงกระสอบที่มีดินผสมกับขุยมะพร้ าว ในอัตราส่วน 3 : 1 น ้าหนัก 7 กิโลกรัม จานวน 1 ต้ นต่อถุงกระสอบ โดย ปลูก 20 ต้ นต่อทรี ตเมนต์ (สีม้ งุ ) ภายใต้ สีม้ งุ 3 สี ได้ แก่ สีน ้าเงิน สีแดง และสีขาว ให้ น ้าด้ วยระบบมินิสปริ งเกลอร์ ทกุ วันๆ ละ 1 ครัง้ นาน 10 นาที ในระหว่างที่ต้นกาลังเจริ ญเติบโตทาการตัดแขนงบริ เวณข้ อทิ ้งและไว้ แขนงข้ อที่ 9 ถึง 12 เพื่อใช้ เป็ นแขนง สาหรับการผสมเกสรและเลี ้ยงผลเมล่อน และเมื่อต้ นเมล่อนเจริ ญเติบโตจนถึงใบที่ 25 ทาการเด็ดยอดทิ ้งเพื่อให้ ลาต้ นหยุดการ เจริญเติบโตแล้ วส่งอาหารจากใบไปยังผลเมล่อน โดยไว้ ผลเมล่อน 1 ผลต่อต้ น จนต้ นเมล่อนอายุ 40 วันหลังย้ ายปลูก จึงทาการ บันทึกอัตราการเจริ ญเติบโตทางลาต้ น ความสูงของต้ น ความยาวของปล้ อง ความยาวของใบ ความกว้ างของใบ และปริ มาณ คลอโรฟิ ลล์ ทุก 10 วัน จนต้ นเมล่อนอายุ 60 วันหลังย้ ายปลูก โดยความสูงของต้ นเริ่ มวัดตังแต่ ้ ระดับผิวดินถึงใบที่ 25 และ ความยาวปล้ องของแต่ละต้ นวัดระหว่างข้ อที่ 10 กับข้ อที่ 11 ด้ วยสายวัดในหน่วยเซนติเมตร ความยาวและความกว้ างของใบ วัดด้ วยสายวัดมีหน่วยเป็ นเซนติเมตร และวัดปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ด้วยเครื่ อง Minolta chlorophyll meter SPAD-502 มีหน่วย เป็ น SPAD unit จากนันเมื ้ ่อต้ นเมล่อนอายุ 80 วันหลังย้ ายปลูก ทาการเก็บเกี่ยวและบันทึกคุณภาพของผลเมล่อน น ้าหนักผล เส้ นรอบวงผล ปริ มาตรของผล ความหนาของเนื ้อ ความแน่นเนื ้อ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ในส่วนของเนื ้อและรก และ จานวนเมล็ดต่อผล โดยนา้ หนักผลวัดด้ วยเครื่ องชั่งนา้ หนักมีหน่วยเป็ นกรั ม เส้ นรอบวงของผลวัดด้ วยสายวัดมีหน่วยเป็ น เซนติเมตร ปริ มาตรของผลมีหน่วยเป็ นลูกบาศก์เซนติเมตร ความหนาของเนือ้ วัดด้ วยสเกลเวอร์ เนียร์ มีหน่วยเป็ นมิลลิเมตร ความแน่นเนือ้ วัดด้ วย Penetrometer มีหน่วยเป็ นนิวตัน ปริ มาณของแข็งที่ละลายนา้ ได้ ในส่วนของเนือ้ และรกวัดด้ วย Handheld Refractometers B-32 ยี่ห้อ Optik มีหน่วยเป็ นเปอร์ เซ็นต์บริ กซ์ จากนันท ้ าการเปรี ยบเทียบความแตกต่างของ ข้ อมูลที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้ อยละ 95 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

567


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์

Light intensity (lux x 103)

ความเข้ มแสง (Figure 1) ภายในมุ้งตาข่ายสีขาวและสีน ้าเงิน ในช่วงเวลา 9:00 น. ถึง 12:00 น. มีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้น อย่างต่อเนื่อง โดย ณ เวลา 12.00 น. พบว่าในมุ้งตาข่ายสีขาวมีความเข้ มแสงมากกว่ามุ้งตาข่ายสีน ้าเงินและสีแดงตามลาดับ โดยมีค่าความเข้ มแสงเท่ากับ 57,500, 31,143 และ 6,490 ลักซ์ตามลาดับ หลังจากนันความเข้ ้ มแสงภายในมุ้งตาข่ายสีขาว และสีน ้าเงินมีค่าลดลงและต่าสุดเมื่อเวลา 16.00 น. โดยมีความเข้ มแสงเท่ากับ 6,835 และ 9,957 ลักซ์ตามลาดับ สาหรับ ความเข้ มแสงภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีแดงมีค่าเพิ่มขึ ้นในช่วงเวลา 9.00 ถึง 10.00 น. โดยมีค่าสูงสุดเท่ากับ 33,303 ลักซ์ ณ เวลา 10.00 น. หลังจากนันความเข้ ้ มแสงภายในมุ้งตาข่ายสีแดงมีแนวโน้ มลดลงและต่าสุดเมื่อเวลา 16.00 น. เช่นเดียวกับความเข้ ม แสงภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีขาวและสีน ้าเงิ น จากการทดลองของ บัณฑูรและคณะ (2555) พบว่า สีของมุ้งตาข่ายสามารถลด ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์และพลังงานแสงได้ โดยภายในมุ้งตาข่ายสีแดงมีปริ มาณรังสีจากดวงอาทิตย์และพลังงานแสงน้ อย กว่าสีฟ้าและสีขาว ขณะที่ Chen et al. (2008) รายงานว่า ความเข้ มแสงเป็ นปั จจัยสาคัญสาหรับการสังเคราะห์แสงของพืช การพัฒนาของผล และการสะสมน ้าตาลในผลเมล่อน การปลูกต้ นเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีน ้าเงินมีความสูงของต้ นเมล่อน อายุ 40, 50 และ 60 วันหลังปลูก น้ อยกว่าการปลูกต้ นเม ล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีแดงและสีขาว แต่ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติระหว่างการปลูกเมล่อนภายในมุ้งตา ข่ายทังสามสี ้ (Figure 2A) การปลูกต้ นเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีแดงและสีขาว เมื่อต้ นเมล่อนมีอายุ 50 และ 60 วันหลังปลูก พบว่ามีความยาวปล้ องมากกว่ามุ้งตาข่ายสีน ้าเงินอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (Figure 2B) ซึง่ อาจเกิดจากความเข้ มแสงที่สอ่ ง ผ่านภายในมุ้งตาข่ายแต่ละสีมี ความแตกต่างกัน โดยการทดลองของ Reltmales et al. (2008) พบว่าความยาวปล้ องของ ต้ นบลูเบอร์ รี่ภายใต้ ตาข่ายสีขาวและสีแดงไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ต้ นเมล่อนอายุ 60 วันหลังปลูก ที่เจริ ญเติบโตภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีขาวและสีแดงมีความยาว (Figure 3A) และความกว้ างของใบ (Figure 3B) แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบกับการปลูกเมล่อนภายในมุ้งตาข่ายสีน ้าเงิน ในขณะที่ ความยาวและความกว้ างของใบเมล่อนอายุ 40 และ 50 วันหลังปลูก ที่เจริญเติบโตภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีขาวมีค่ามากที่สดุ และไม่ มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติเมื่อปลูกภายใต้ สีแดงและสีน ้าเงิน ซึ่งสอดคล้ องกับการทดลองของ บัณฑูร และ คณะ (2555) พบว่า การปลูกผักกาดหอมภายใต้ โรงเรื อนมุ้งตาข่ายสีแดงมีความกว้ างใบ ความยาวใบ ความสูงต้ น และน ้าหนัก ต้ นมากที่สดุ และไม่แตกต่างกับการปลูกผักกาดหอมภายในมุ้งตาข่ายสีน ้าเงิน และมีรายงานว่าการใช้ ตาข่ายสีแดงสามารถ กระตุ้นการเจริญเติบโตทาให้ ใบกุหลาบไพรด่างมีขนาดใหญ่ (Shahak, 2003)

80 60

blue red white

40 20 0 9:00 10:00 12:00 14:00 16:00 Time

Figure 1 Light intensity inside different color of nylon net-house during 9.00 am - 16.00 pm

568

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


Blue Red aaa aaa

White aaa

Height (cm)

200 100 0 A

40

50 60 Day after planting

Internode length (cm)

วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Blue

15 10

a aa

Red a

ab b

White a

bb

5 0 B

40

50 60 Day after planting

Figure 2 Plant height (A) and Internode length (B) of melon grown under different color of nylon net-house ต้ นเมล่อนมีอายุ 40 วันหลังย้ ายปลูกพบว่า ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ (Figure 3C) ในใบเมล่อนของต้ นเมล่อนที่ปลูก ภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีขาวมีปริ มาณคลอโรฟิ ลล์มากที่สดุ และไม่มีความแตกต่างทางสถิติกบั การปลูกเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีน ้า เงิน ในขณะที่การปลูกเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีแดงมีคา่ น้ อยที่สดุ และมีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติกบั การปลูกเม ล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีขาว ในขณะที่การปลูกเมล่อนอายุ 50 และ 60 วันหลังปลูก ภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีขาวมีปริ มาณ คลอโรฟิ ลล์มากที่สดุ และไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติกบั การปลูกเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีน ้าเงินและสี แดง ซึง่ ให้ ผลการศึกษาคล้ ายคลึงกับการทดลองของ Ilic et al. (2014) พบว่า การปลูกมะเขือเทศภายใต้ ตาข่ายสีน ้าเงินมี ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ภายในใบไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ เมื่อเปรี ยบเทียบกับการปลูกต้ นมะเขือเทศ ภายใต้ ตาข่ายสีแดง ซึง่ แสดงให้ เห็นว่าความเข้ มแสงไม่มีผลต่อปริมาณคลอโรฟิ ลล์ในใบเมล่อน การพัฒนาผลเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีแดงและสีขาวมี น ้าหนักผล (Figure 4A) เส้ นรอบวงผล (Figure 4B) ปริ มาตร ผล (Figure 4D) และจานวนเมล็ดต่อผล (Figure 4F) ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ และมีค่ามากกว่าการพัฒนาผลเมล่อน ภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีน ้าเงินอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ สาหรับ ความหนาเนื ้อ (Figure 4C) ความแน่นเนื ้อ (Figure 4E) และ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ในส่วนของเนื ้อ (Figure 4G) จากผลที่พฒ ั นาภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีน ้าเงิน สีแดง และสีขาว ไม่มี ความแตกต่างกันทางสถิติ นอกจากนี ้ยังพบว่าการพัฒนาผลเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีขาวมีปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ใน ส่วนของรก (Figure 4H) มากกว่าการพัฒนาผลเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีน ้าเงินและสีแดงอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ จากการ ทดลองอาจกล่าวได้ วา่ การปลูกเมล่อนภายใต้ ความเข้ มแสงสูงมีแนวโน้ มทาให้ ผลเมล่อนสะสมน ้าตาลในผลเพิ่มขึ ้นเช่นเดียวกับ รายงานของ Chen et al. (2008) ในขณะที่ Ilic et al. (2014) กล่าวว่า ต้ นมะเขือเทศที่ปลูกภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีน ้าเงินได้ รับ ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์น้อยกว่ามุ้งตาข่ายสีแดง แต่เมื่อศึกษาองค์ประกอบอื่นๆ พบว่าการปลูกต้ นมะเขือเทศภายใต้ ม้ งุ ตา ข่ายสีแดงมีดชั นีพื ้นที่ใบ ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ น ้าหนักผล จานวนเมล็ดต่อผล และความหนาของเนื ้อผลมากกว่าการ ปลูกต้ นมะเขื อเทศภายใต้ ม้ ุงตาข่ายสีนา้ เงิน ซึ่งมีผลการทดลองทางด้ านคุณภาพของผลคล้ ายคลึงกับการศึกษาในครั ง้ นี ้ กล่าวคือการปลูกเมล่อนภายในมุ้งตาข่ายสีแดงและสีขาวมีน ้าหนักผล เส้ นรอบวงผล ปริ มาตรผล และจานวนเมล็ดต่อผล ไม่มี ความแตกต่างกันทางสถิติ แต่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติกบั การพัฒนาผลเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีน ้าเงิน

สรุ ปผลการทดลอง จากการทดลองปลูกเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีน ้าเงิน สีแดง และสีขาว สรุปได้ วา่ 1. การปลูกต้ นเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีขาวและสีแดงทาให้ การเจริ ญเติบโตทางลาต้ น ความสูงต้ น ความกว้ างของ ใบ ความยาวของใบ และปริมาณคลอโรฟิ ลล์มากกว่าการปลูกต้ นเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีน ้าเงิน 2. การพัฒนาผลเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีขาวและสีแดงมีน ้าหนักผล เส้ นรอบวง ปริ มาตรผล จานวนเมล็ดต่อผล และปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ในส่วนของรกมากกว่าการปลูกต้ นเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีน ้าเงิน 3. การปลูกเมล่อนภายใต้ ม้ งุ ตาข่ายสีขาว สีแดง และสีน ้าเงิน มีความหนาเนื ้อ ความแน่นเนื ้อ และปริ มาณของแข็งที่ ละลายน ้าได้ ในส่วนของเนื ้อไม่มีความแตกต่างกัน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

569


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

A blue

Leaf length (cm)

40

a a a a CB a

30 20

red a

white bb a

10 0 40

50 60 Day after planting B

Leaf width (cm)

30 20

aa

a

a

a

a a

ab b

10 0

Chlorophyll content (SPAD unit)

40

50 60 Day after planting C

60 40

ab b a

aaa

aa

a

20 0 40

50 60 Day after planting

Figure 3 Leaf length (A), width (B) and chlorophyll content (C) of melon grown under different color of nylon nethouse.

570

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Weight (g)

b

600 400

b Circumference (cm)

A

800 a

200 0

40 30 20 10 0

3 2

a

a

1 0

500

a

a

a a

0

a

a

c a

5 0 Blue Red White Nylon Net-house color

c

400 200

b

b

a

0 Blue Red White Nylon Net-house color

TSS content of placenta (%brix)

G

F

600 No. of seed / fruit

Flesh firmness (N)

b

250

Blue Red White Nylon Net-house color TSS content of flesh (%brix)

b

Blue Red White Nylon Net-house color

E

20

10

b

0

40

15

D

750

Blue Red White Nylon Net-house color

60

a

1000 Volume (cm3)

Flesh thickness (cm)

C a

b

Blue Red White Nylon Net-house color

Blue Red White Nylon Net-house color 4

B

H

15 10

a

ca

b

5 0 Blue Red White Nylon Net-house color

Figure 4 Fruit weight (A), circumference (B), flesh thickness (C), volume (D), flesh firmness (E), No. of seed per fruit (F), total soluble solid (TSS) of flesh (G) or placenta (H) of melon fruit grown under different color of nylon nethouse.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

571


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง นิตย์ ศกุนรักษ์ . 2542. สรี รวิทยาของพืช. 2. นพบุรีการพิมพ์, เชียงใหม่. 237 หน้ า. บัณฑูร ชุนสิทธิ์ , จุฑามาศ บุญมา และ จริ ภรณ์ ก่อแก้ ว . 2555. อิทธิพลของสีม้ งุ ตาข่ายที่มีต่อการสภาพแวดล้ อมและการเจริ ญเติบโตของ ผักกาดหอมพันธุ์แกรนด์แรปปิ ดส์ในโรงเรื อน. การประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทยครัง้ ที่ 13. เชียงใหม่. หน้ า 794-801. Chen, N., C. AN, C. Fang, Y. Zhang and S. Yang. 2008. Effects of Light Intensity on Fruit Size and Sugar Accumulation of Melon. Master's thesis. Gansu Agricultural University. Zhangye. Ilic, Z. S., L. Milenkovic, L. Sunic and E. Fallik. 2014. Effect of Coloured Chade-Nets on Plant Leaf Parameters and Tomato Fruit Quality. J Sci Food Agric. Available Source: http://www.onlinelibrary.wiley.com. 27 March 2015. Perez, M., B. M. Plaza, S. Jimenez, M. T. Lao, J. Barbero and J. L. Bosch. 2006. The radiation spectrum through ornamental net houses and its impact on the climate generated. Acta Hort. 719: 631–636. Retamales, J. B., J. M. Montecino, G. A. Lobos and L. A. Rojas. 2008. Color shading Nets Increase Yields and Profitability of Highbush Blueberries. Acta Hort. 770: 193-197. Sensoy, S., A. Ertek, I. Gedik and C. Kucukyumuk. 2007. Irrigation frequency and amount affect yield and quality of field-grown melon (Cucumis melo L.). Agri. Wat. Manag. 88: 269-279. Shahak, Y. 2003. Colored shade nets: a new agro-technology. Current research in ornamentals. Agric. Hortic. 10: 26-29. Stamps, R. H. 1994. Evapotranspiration and nitrogen leaching during leather leaf fern production in shade houses. SJRWMD Spec. Publ. SJ94- SP10. St. Johns River Water Management District, Palatka, FL .

572

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ศึกษาวิธีการปั กชาของพิทเู นียในสภาพเหมาะสม The Study of Appropriate Method for Cutting and Rooting of Petunia สุมิตรา สุปินราช1 อิศร์ สุปินราช2 และศิโรจน์ ทิมภู่ 3 Sumidtra Supinrach Iss Supinrach and Siroj Thimphoo

บทคัดย่ อ พิทเู นีย (Petunia spp.) เป็ นไม้ ดอกเมืองหนาวที่นิยมปลูกเป็ นไม้ กระถางและตกแต่งบริ เวณ เป็ นพันธุ์ไม้ ที่มีการใช้ งานเป็ นปริ มาณมากในแต่ละปี โดยทัว่ ไปพิทเู นียขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด ส่วนการปั กชามีการใช้ น้อย ดังนันงานวิ ้ จยั นี ้จึง สนใจศึกษาการปั กชาพิทเู นีย โดยศึกษาการใช้ สว่ นต่างๆ ของกิ่ง 2 ส่วน ได้ แก่ โคนยอด และโคนกิ่ง ร่วมกับ วัสดุชา 3 ชนิดคือ ตารับที่ 1 (ดินดา 2 ส่วน:ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน) ตารับที่ 2 (แกลบดา) และตารับที่ 3 (ทราย 1 ส่วน:ขุยมะพร้ าว 1 ส่วน) โดยวาง แผนการทดลองแบบ 2x4 Factorial Completely randomized design (CRD) ทรี ทเมนต์ละ 20 ซ ้า วิเคราะห์ผลการทดลอง โดยวิธี Analysis of variance และเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s new multiple range (DMRT) หลังจากทดลองเป็ น เวลา 35 วัน พบว่าการปั กชาพิทูเนียในวัสดุปักชาตารับที่ 3 ทาให้ มีจานวนราก ความยาวราก ความสูงต้ นมากที่สดุ มีความ แตกต่างทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ แต่การปั กชาพิทเู นียด้ วยโคนยอดและโคนกิ่งไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ส่วนการปั กชา ส่วนโคนกิ่งในตารับที่1ทาให้ อตั ราการรอดตายมากที่สดุ คือ 100 เปอร์ เซ็นต์ คาสาคัญ: พิทเู นีย ปั กชากิ่ง ไม้ ดอกเมืองหนาว

Abstract Petunia spp. is a temperate flowering plant that normally planted in pots for decoration. There is high demand for Petunia in each year. The popular propagation method for Petunia is seeding. There are few reports about cutting and rooting of Petunia. Therefore, this research focused on finding the appropriate technique for cutting and rooting of Petunia. Two parts of plant, which are terminal and basal parts, were used. The different potting media, media mixture 1 (top soil 2: coconut coir 2: manure 1), media mixture 2 (rice husk charcoal) and media mixture 3 (sand 1: coconut coir 1) were also investigated. Completely randomized design (CRD) was used with 2x4 factorial treatments (20 replicates for each treatment). The analysis of variance was performed and compared by Duncan’s new multiple range (DMRT). After 35 days of cutting, it was found that the media mixture 3 yield the best results in root numbers, root length and plant height. The part of plant showed no significant different. However, the rate of survival was the highest the terminal part (100%). Keywords: petunia, cutting, temperate flowering plant

คานา พิทเู นีย มาจากคาว่า Petun ภาษาบราซิลแปลว่าต้ นยาสูบ ชื่อวิทยาศาสตร์ Petunia hybrida ชื่อสามัญ Petunia อยู่ ในวงศ์ Solanaceae ต้ นของพิทเู นียมีลกั ษณะคล้ ายต้ นยาสูบซึ่งเป็ นพืชอยู่ในวงศ์เดียวกัน ในธรรมชาติมีพิ ทเู นีย 37 ชนิด แต่ที่ ปลูกในปั จจุบนั มาจาก 2 ชนิดคือ Petunia integrifolio ดอกสีม่วงบานเย็นอ่อนๆ และ Petunia axillaris ดอกสีขาว ความสูง ของต้ นพิทเู นียทัว่ ไปมีขนาด 30 เซนติเมตร (ซม.) ใบคล้ ายใบยาสูบแต่มีขนาดเล็กกว่า ใบกว้ างประมาณ 5 ซม. ยาว 8-10 ซม.มี ขนอยูท่ วั่ ไปตามผิวใบ ทังด้ ้ านหน้ าและด้ านหลัง ลักษณะใบเป็ นรูปไข่ ปลายใบแหลม เนื ้อใบอ่อนขอบใบเรี ยบ ดอกมีรูปร่างเป็ น รูปกรวย ดอกเป็ นดอกเดี่ยวมีทงชนิ ั ้ ดดอกซ้ อนและดอกชันเดี ้ ยว ก้ านดอกเกิดที่ยอดหรื อตามส่วนของต้ น กลีบรองดอกแยกกัน 5 แฉก มีคอดอกยาว กลีบดอกมี 5 กลีบ มีเกสรตัวผู้ 5 อัน ขนาดดอกและสีแตกต่างกันออกไปตามประเภทและพันธุ์ เมล็ดพิ ทเู นีย มีลกั ษณะเป็ นเมล็ดกลมขนาดเล็ก ฝักหนึ่งๆ อาจจะมีตงแต่ ั ้ 100-300 เมล็ด พิทเู นียชอบที่โล่งมีแดดจัด ดินควรมีระบายน ้าดี 1

อาจารย์ประจาสาขาวิชาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง rungpop116@gmail.com อาจารย์ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีภมู ิทศั น์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง eedsara@gmail.com 3 นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง neverdie_13_13@hotmail.com 2

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

573


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การปลูกพิทเู นียในร่ มเงาทาให้ ต้น ยาวและยืด สถานที่ที่ปลูกไม่ควรมีลมแรง เนื่องจากพิทเู นียมีกลีบบอบบาง หากถูกลม กรรโชกหรื อขาดน ้าดอกจะเหี่ยวง่าย (ธัญญะ, 2545) พิทเู นียนิยมปลูกเป็ นไม้ กระถาง และนามาตกแต่งสวน โดยเฉพาะในช่วง ฤดูหนาวมีความต้ องการใช้ พิทเู นียจานวนมาก ส่วนใหญ่ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด (อภินนั ท์, 2555) การปั กชากิ่งอ่อนและไม้ พ่มุ เนื ้ออ่อน เป็ นการปั กชากิ่งยอดที่มีสีเขียว โดยทัว่ ไปมักออกรากได้ ง่ายและเร็ วกว่าการปั กชาแบบ อื่นๆ แต่คอ่ นข้ างต้ องการความเอาใจใส่และใช้ อปุ กรณ์มาก ควรมีใบติดด้ วยทุกครัง้ มิให้ ใบหรื อกิ่งเหี่ยว ปั กชาภายใต้ สภาพที่มี ความชื ้นสูงสม่าเสมอมีแสงแดดเต็มที่ ความยาวของกิ่งยอดที่ใช้ ปักชา โดยทัว่ ไปใช้ กิ่งยาว 3-5 นิ ้ว (สมเพียร, 2522) การปั กชา คาร์ เนชัน่ ควรตัดกิ่งยาว 7.5-10 ซม. หากยาวกว่านี ้ กิ่งมีโอกาสเน่าง่าย และอาจเกิดดอกที่ยอด (นันทิยา, 2533) ส่วนการปั กชา เบญจมาศใช้ กิ่งยาว 5 ซม. ปลายกิ่งเฉือนเป็ นรูปปากฉลาม ปลิดใบล่างออกเพื่อไม่ให้ ใบเน่าและเกิดโรค ควรจุ่มยากันรา และ จุ่มฮอร์ โมนเร่งรากเพื่อให้ ออกรากเร็วขึ ้น ปั กชาที่โปร่ง ระบายน ้าระบายอากาศและเก็ บความชื ้นได้ ดี เช่น ทรายหยาบ แกลบดา ขุยมะพร้ าว หรื อ ทรายหยาบผสมขี ้เถ้ าแกลบ (1:1) ระยะปั กชา 2.5x5 ซม. ลึก 1-2.5 ซม. รดน ้าให้ ช่มุ 1-2 สัปดาห์ จึงแตกราก ใหม่ (เศรษฐพงศ์, 2548) การปั กชาพิทเู นียควรตัดยอดยาวประมาณ 2.5 ซม. วัสดุปักชาได้ แก่ ขุยมะพร้ าวผสมทราย (1:1) รด น ้าวัสดุให้ ช่มุ ก่อนแล้ วแล้ วจึงปั กชากิ่งพิทเู นีย เมื่อปั กชาเสร็จแล้ วคลุมถาดเพาะด้ วยด้ วยพลาสติกใส เพื่อป้องการคาย เมื่อครบ 5 วัน ค่อยๆ เปิ ดพลาสติกใสออกประมาณ 20 เปอร์ เซ็นต์ (%) เมื่อยอดเริ่ มอวบใส จึงเปิ ดออก 100 % แล้ วรดน ้าตามปกติ ประมาณ 20 วัน กิ่งชาจะแข็งแรง รอดตายเกิน 90 % (Handsome old, 2552) ดัง นัน้ การทดลองนี จ้ ึง มี วัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ ศึก ษาการปั ก ช ากิ่ ง ของต้ น พิ ทูเ นี ย และวัส ดุปั ก ช าที่ เ หมาะสมต่ อ การ เจริญเติบโตของพิทเู นีย และเพื่อเป็ นข้ อมูลสาหรับการขยายพันธุ์พิทเู นียในเชิงพาณิชย์ในอนาคต

Figure 1 Petunia

อุปกรณ์ และวิธีการ การวิจยั ครัง้ นี ้ จัดแผนการทดลองแบบ factorial in Completely Randomized Design (CRD) สิ่งทดลองคือ กิ่ง พันธุ์พิทเู นียที่ได้ จากต้ นแม่พนั ธุ์ที่มีอายุประมาณ 90 วัน จานวน 120 กิ่ง แบ่งเป็ นส่วนโคนยอด 60 กิ่ง ส่วนโคนกิ่ง 60 กิ่ง เตรี ยมกิ่งพันธุ์โดย ตัดแต่ละส่วนยาว 5 ซม. ตัดใบออกครึ่งใบเพื่อลดการคายน ้า เหลือใบติดไว้ 3-4 ใบ จุ่มยากันรา 10 กรัมต่อ น ้า 20 ลิตร นาน 5 นาที และจุ่มฮอร์ โมน NAA 5 ซีซี. ต่อน ้า 1 ลิตร นาน 10 นาที จานวน 2 ปั จจัยคือ 1) ส่วนของกิ่ง 2 ส่วนคือ ส่วนโคนยอดและส่วนโคนกิ่ง 2) วัสดุปักชา 3 ตารับคือ ตารับที่ 1 (ดินดา 2 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 2 ส่วน: ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน) ตารับที่ 2 (แกลบดา) และตารับที่ 3 (ทราย 1 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 1 ส่วน) บรรจุวสั ดุปักชาลงในแก้ วพลาสติกใสขนาด 6 ออนซ์รดน ้าให้ ชุ่มก่อนปั กชา จากนันน ้ ากิ่งพันธุ์ส่วนยอดและส่วนโคนปั กชาลึก 2.5 ซม. ในแก้ วพลาสติกใส แล้ วบรรจุลงในถุงชืน้ ขนาด 71X76 เซนติเมตร รัดปากถุงเพื่อควบคุมความชื ้นอีกชันหนึ ้ ่ง ในแต่ละการทดลองมี 6 กรรมวิธี มี 20 ซ ้าๆ ละ 1 กิ่ง ทาการ บันทึกข้ อมูลในแปลงทดลองในโรงเรื อนไม้ ประดับพรางแสง 50 % สาขาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง ระหว่างวันที่ 20 เมษายน 2557 ถึงวันที่ 25 พฤษภาคม 2557 รวมระยะเวลา 35 วัน วิเคราะห์ผลการทดลองโดยวิธี Analysis of variance (ANOVA) และเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s new

574

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

multiple range (DMRT) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% สุม่ สิ่งทดลองในแต่ละชนิดกิ่งพันธุ์และชนิดวัสดุปักชาโดยวิธีสมุ่ อย่างง่าย โดยการจับฉลากไม่คืนกลับ สังเกตและบันทึกผลการทดลองดังนี ้ (1) จานวนราก โดยนับจานวนรากที่เกิดขึ ้น (ราก) (2) ความยาวราก โดยวัด ความยาวรากที่ยาวที่สดุ (เซนติเมตร) (3) น ้าหนักสด โดยการชัง่ น ้าหนักสดเฉลี่ย ( กรัม) (4) เปอร์ เซ็นต์การรอดตาย โดยนับ จานวนต้ นที่รอดตาย (%) (5) จานวนใบ โดยนับจานวนใบที่เกิดขึ ้น (ใบ) บันทึกข้ อมูลทุก 14,21,28 และ 35 วัน

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการทดลอง การปั กชากิ่งพันธุ์พิทเู นียในวัสดุชาต่างชนิดกัน ทาการศึกษา 6 กรรมวิธี โดยการใช้ สว่ นต่างๆ ของกิ่ง 2 ส่วน ได้ แก่ ส่วนโคนยอดและโคนกิ่ง ร่วมกับวัสดุชา 3 ชนิดคือ ตารับที่ 1 (ดินดา 2 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 2 ส่วน: ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน) ตารับที่ 2 (แกลบดา) และตารับที่ 3 (ทราย 1 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 1 ส่วน) ระยะเวลา 14, 21, 28 และ 35 วัน ได้ ผลการทดลองดังนี ้ จานวนรากของต้ น การทดลองการปั กชากิ่งพันธุ์พิทเู นีย เพื่อเปรี ยบเทียบส่วนโคนยอดและส่วนโคนกิ่ง พบว่า หลังจากปั กชาได้ 14, 21, 28 และ 35 วัน ค่าเฉลี่ยของจานวนราก ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ แต่การปั กชาด้ วยโคนยอดระยะเวลา 21 วัน มีแนวโน้ มให้ จานวนรากมากที่สดุ คือ 24.267 ราก ส่วนวัสดุปักชา 3 ตารับคือ ตารับที่ 1 (ดินดา 2 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 2 ส่วน: ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน) ตารับที่ 2 (แกลบดา) และตารับที่ 3 (ทราย 1 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 1 ส่วน) พบว่า หลังจากปั กชาได้ 14, 21 และ 28 วัน ค่าเฉลี่ย ของจานวนรากไม่มีความแตกต่างทางสถิติ แต่การปั กชาลงในวัสดุปักชาตารับที่ 3 (ทราย 1: ขุยมะพร้ าว 1) มีค่าเฉลี่ยของ จานวนรากมากที่สดุ เท่ากับ 17.80 ราก มีความแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ อาจเป็ นเพราะว่าในส่วนผสมของวัสดุปัก ชาดังกล่าวมีสดั ส่วนของธาตุอาหารที่เหมาะสมลงตัวในการเจริ ญเติบโตของกิ่งพันธุ์ พิทเู นียซึ่งได้ แก่ ขุยมะพร้ าว มี คุณสมบัติคือ pH 6-7 ซึ่งมีคณ ุ สมบัติที่เหมาะสมต่อการเจริ ญเติบโตของพืช ขุยมะพร้ าวมีการอุ้มน ้าดีมาก มีการแลกเปลี่ยน ประจุมีค่าสูง ความพรุ นสูง สลายตัวได้ ดี ส่วนทรายหยาบ ระบายน ้าได้ ดี ความพรุนต่า เป็ นสารเฉื่อ ยไม่ทาปฏิกิริยาเคมี (อิทธิ สุนทร, 2556) ส่วนผลของความสัมพันธ์ ระหว่างส่วนของกิ่งชา(ส่วนโคนยอดและส่วนโคนกิ่ง) และวัสดุปักชา 3 ตารับ นั ้นไม่มี ความแตกต่างทางสถิติ (Table 1) ความยาวรากของต้ น การปั กชากิ่งพันธุ์พิทเู นีย เพื่อเปรี ยบเทียบส่วนโคนยอดและส่วนโคนกิ่ง พบว่าหลังจากปั กชาได้ 14, 21, 28 และ 35 วัน ค่าเฉลี่ยของความยาวราก ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ส่วนการปั กชาในวัสดุชา 3 ตารับคือ ตารับที่ 1 (ดินดา 2 ส่วน: ขุย มะพร้ าว 2 ส่วน : ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน) ตารับที่ 2 (แกลบดา) และตารับที่ 3 (ทราย 1 ส่วน : ขุยมะพร้ าว 1 ส่วน) ปรากฏว่า เมื่อปั ก ชาได้ 14 วันและ 35 วัน การปั กชาในตารับที่ 3 มีความยาวรากสูงสุดคือ 4.63 ซม. และ 9.80 ซม. ตามลาดับ มีความแตกต่าง กันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ เนื่องจากพิทเู นียเป็ นไม้ ดอกเมืองหนาวที่ชอบความชุ่มชื ้น วัสดุปักชาที่ใช้ ได้ ดีในการขยายพันธุ์พิ ทูเนียคือขุยมะพร้ าวผสมกับทราย จะเจริ ญเติบโตได้ ดีที่สดุ (อภินนั ท์, 2555) ส่วนผลของความสัมพันธ์ ระหว่างส่วนของกิ่งชา (ส่วนโคนยอดและส่วนโคนกิ่ง) และวัสดุปักชา 3 ตารับ นันไม่ ้ มีความแตกต่างทางสถิติ (Table 2) จานวนใบของต้ น การปั กชากิ่งพันธุ์พิทเู นีย เพื่อเปรี ยบเทียบส่วนโคนยอดและส่วนโคนกิ่ง พบว่าหลังจากปั กชาได้ 14, 21, 28 และ 35 วัน ค่าเฉลี่ยของจานวนใบ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ส่วนการเปรี ยบเทียบวัสดุชา 3 ชนิดคือ ตารับที่ 1 (ดินดา 2 ส่วน: ขุย มะพร้ าว 2 ส่วน: ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน) ตารับที่ 2 (แกลบดา) และตารับที่ 3 (ทราย 1 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 1 ส่วน) พบว่า หลังจากปั กชา ได้ 14, 21, 28 และ 35 วัน ค่าเฉลี่ยของจานวนใบ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ และผลของความสัมพันธ์ระหว่างส่วนของกิ่งชา (ส่วนโคนยอดและส่วนโคนกิ่ง) และวัสดุปักชา 3 ตารับ นันไม่ ้ มีผลต่อจานวนใบคือ ค่าเฉลี่ยของจานวนใบ ไม่ มีความแตกต่าง ทางสถิติ (Table 3)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

575


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Effects of cutting and media on roots number (no.) of petunia cuttings at 14, 21, 28 and 35 days. Cutting (A)

media (B)

roots no. (roots) 14 days 11.06

21 days 24.26

28 days 8.86

35 days 13.86

13.82

15.34

10.86

11.13

clay loam 2:coir 2:manure 1

6.30

14.25

5.70

husk charcoal

13.30

22.60

6.90

5.70b1/ 14.00ab

sand 1: coir 1

17.74

22.56

17.00

17.80a

F-test A

ns

ns

ns

ns

F-test B

ns

ns

ns

*

F-test A*B

ns

ns

ns

ns

66.46

11.88

71.17

50.97

tip cuttings Basal cuttings

cv (%)

ns = non-significant * = significant at the 0.5 level 1/ Means in the same column followed by the same letter (s) are not significant different at p<0.05 by Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT)

นา้ หนักสดของต้ น การปั กชากิ่งพันธุ์พิทเู นีย เพื่อเปรี ยบเทียบส่วนโคนยอดและส่วนโคนกิ่ง พบว่าหลังจากปั กชาได้ 14, 21, 28 และ 35 วัน ค่าเฉลี่ยของน ้าหนักสด ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ส่วนการเปรี ยบเทียบวัสดุชา 3 ชนิด คือ ตารับที่ 1 (ดินดา 2 ส่วน: ขุย มะพร้ าว 2 ส่วน: ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน) ตารับที่ 2 (แกลบดา) และตารับที่ 3 (ทราย 1 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 1 ส่วน) พบว่า หลังจากปั กชา ได้ 14, 21, 28 และ 35 วัน ค่าเฉลี่ยของน ้าหนักสด ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ และผลของความสัมพันธ์ ระหว่างส่วนของกิ่งชา (โคนยอดและโคนกิ่ ง) และวัสดุชา 3 ตารับ นัน้ ไม่มีผลต่อน ้าหนักสดคือค่าเฉลี่ยของน ้าหนักสด ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (Table 4) ความสูงของต้ น การปั กชากิ่งพันธุ์พิทเู นีย เพื่อเปรี ยบเทียบส่วนโคนยอดและส่วนโคนกิ่ง พบว่าหลังจากปั กชาได้ 35 วัน ค่าเฉลี่ยของ ความสูงต้ น ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ ส่วนการเปรี ยบเทียบวัสดุชา 3 ชนิดคือ ตารับที่ 1 (ดินดา 2 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 2 ส่วน: ปุ๋ ยคอก 1 ส่วน) ตารับที่ 2 (แกลบดา) และตารับที่ 3 (ทราย 1 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 1 ส่วน) พบว่า หลังจากปั กชาได้ 35 วัน ค่าเฉลี่ยของความสูงต้ น มีความแตกต่างอย่างมี นยั สาคัญทางสถิติ และผลของความสัมพันธ์ระหว่างส่วนของกิ่งชา (โคนยอด และโคนกิ่ง) และวัสดุชา 3 ตารับ นันไม่ ้ มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของความสูงของต้ น คือ ค่าเฉลี่ยของความสูงต้ น ไม่มีความ แตกต่างทางสถิติ (Table 5)

576

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Effects of cutting and media on roots length of petunia cuttings at 14, 21, 28 and 35 days. Cutting (A)

media (B) 14 days

tip cuttings Basal cuttings clay loam 2:coir 2:manure 1 husk charcoal sand 1: coir 1 F-test A F-test B F-test A*B cv (%)

2.57 3.36 0.63b 3.65ab 4.63a ns * ns 68.94

roots length (cm) 21 days 28 days 4.50 4.32 2.77 5.15 5.18 ns ns ns 2.21

2.27 3.07 1.49 2.70 3.83 ns ns ns 65.34

35 days 5.18 7.08 2.52b1/ 6.07ab 9.80a ns * ns 63.43

ns = non-significant * = significant at the 0.5 level 1/ Means in the same column followed by the same letter (s) are not significant different at p<0.05 by Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT)

อัตราการรอดตายของต้ น จากการทดลองการปั กชากิ่งพันธุ์พิทเู นีย เพื่อเปรี ยบเทียบอัตราการรอดตายปรากฏผลดังนี ้ เมื่อปั กชาระยะเวลา 14 วัน พบว่าการใช้ สว่ นโคนยอดและส่วนโคนกิ่งปั กชาลงในวัสดุปักชาตารับที่ 3 (ทราย 1: ขุยมะพร้ าว 1) มีผลทาให้ อตั ราการรอดตายสูงที่สดุ คือ 100 % สอดคล้ องกับเพ็ญพิชญา (2556) รายงานว่า การปั กชากิ่งอ่อนมะนาวซึ่งมี วิธีการคล้ ายกับการปั กชาพิทเู นีย ใช้ เวลา 15 วันออกราก สาหรับการใช้ สว่ นโคนกิ่งปั กชาลงในวัสดุปักชาตารับที่ 1 (ดินดา 2: ขุยมะพร้ าว 2: ปุ๋ ยคอก 1) มีผลทาให้ อตั ราการรอดตายต่าที่สดุ คือ 40 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อปั กชาได้ 21 วัน พบว่าการใช้ สว่ นโคนยอด ปั กชาลงในวัสดุปักชาตารับที่ 2 (แกลบดา) ตารับที่ 3 (ทราย 1: ขุยมะพร้ าว 1) และส่วนโคนกิ่งปั กชาในตารับที่ 1 (ดินดา 2: ขุย มะพร้ าว 2: ปุ๋ ยคอก 1) มีผลทาให้ อตั ราการรอดตายสูงที่สดุ คือ 100 เปอร์ เซ็นต์ สาหรับการใช้ สว่ นโคนกิ่งปั กชาลงในวัสดุปักชา ตารับที่ 2 (แกลบดา) มีผลทาให้ อตั ราการรอดตายต่าที่สดุ คือ 40 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อปั กชาได้ 28 วัน พบว่าการใช้ สว่ นโคนกิ่งปั กชา ลงในวัสดุปักชาตารับที่ 3 (ทราย 1: ขุยมะพร้ าว 1) มีผลทาให้ อตั ราการรอดตายสูงที่สดุ คือ 100 เปอร์ เซ็นต์ สาหรับการใช้ สว่ น โคนกิ่งปั กชาลงในวัสดุปักชาตารับที่ 1 (ดินดา 2: ขุยมะพร้ าว 2: ปุ๋ ยคอก 1) และตารับที่ 2 (แกลบดา) มีผลทาให้ อตั ราการรอด ตายต่าที่สดุ คือ 20 เปอร์ เซ็นต์ เมื่อปั กชาได้ 35 วัน พบว่าการใช้ ส่วนโคนกิ่งปั กชาลงในวัสดุปักชาตารับที่ 1 (ดินดา 2: ขุย มะพร้ าว 2: ปุ๋ ยคอก 1) มีผลทาให้ อตั ราการรอดตายสูงที่สดุ คือ 100 เปอร์ เซ็นต์ สาหรับการใช้ ส่วนโคนยอดปั กชาลงในวัสดุปัก ชาตารับที่ 1 (ดินดา 2: ขุยมะพร้ าว 2: ปุ๋ ยคอก 1) และใช้ สว่ นโคนกิ่งปั กชาลงในวัสดุปักชาตารับที่ 2 (แกลบดา) มีผลทาให้ อตั รา การรอดตายต่าที่สดุ คือ 40 เปอร์ เซ็นต์ (Table 6) การวัดอัตราการรอดตายนันเป็ ้ นการสุม่ วัดทุก 2 สัปดาห์เมื่อวัดแล้ วไม่นามา วัดซ ้าอีกในสัปดาห์ตอ่ ไป

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

577


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table Effects of cutting and media on leaves no. of petunia cuttings at 14, 21, 28 and 35 days. Cutting (A)

media (B)

tip cuttings Basal cuttings clay loam 2:coir 2:manure 1 husk charcoal sand 1: coir 1 F-test A F-test B F-test A*B cv (%)

14 days 6.43 5.26 4.70 6.50 6.30 ns ns ns 54.68

leaves no. 21 days 15.70 8.91 11.60 13.11 13.55 ns ns ns 41.93

(leaves) 28 days 7.00 8.13 6.40 5.30 11.00 ns ns ns 7.18

35 days 12.60 10.46 6.60 13.70 14.30 ns ns ns 25.15

ns = non-significant Table 4 Effects of cutting and media on weight of petunia cuttings at 14, 21, 28 and 35 days. Cutting (A)

media (B)

tip cuttings Basal cuttings clay loam 2:coir 2:manure 1 husk charcoal sand 1: coir 1 F-test A F-test B F-test A*B cv (%)

14 days 0.80 1.29 1.15 1.23 0.77 ns ns ns 129.05

weight (gram) 21 days 28 days 1.30 1.03 1.06 0.75 0.93 0.47 1.32 0.62 1.30 1.59 ns ns ns ns ns ns 1.85 1.55

35 days 1.21 0.98 0.68 1.24 1.38 ns ns ns 44.4

ns = non-significant

578

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 5 Effects of cutting and media on weight of petunia cuttings at 35 days. Cutting (A)

media (B)

Stem height (cm) 35 days 8.08 8.82 4.73b1/ 9.38ab 11.25a ns * ns 67.88

tip cuttings Basal cuttings clay loam 2:coir 2:manure 1 husk charcoal sand 1: coir 1

F-test A F-test B F-test A*B cv (%) ns = non-significant * = significant at the 0.5 level 1/ = means in the same column followed by the same letter (s) are not significant different at p<0.05 by Duncan’s New Multiple Range Test (DMRT)

Table 6 Effects of cutting and media on percentage of survival of petunia at 35 days Treatment Percentage of survival of Petunia (%)

Factors A 1 tip cuttings+ Factors B 1 (clay loam 2:coir 2:manure 1)

14 days 80

21 days 80

28 35 days days 40 40

Factors A 1 tip cuttings +Factors B 2 (husk charcoal)

80

100

60

80

Factors A 1tip cuttings + Factors B 3 (sand 1: coir 1)

100

100

80

80

Factors A 2 basal cuttings+ Factors B 1 (clay loam 2:coir 2:manure 1) 40

100

20

100

Factors A 2 basal cuttings + Factors B 2ตารับที่ 2 (husk charcoal)

60

40

20

40

Factors A 2 basal cuttings + Factors B 3 (sand 1: coir 1)

100

80

100

80

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

579


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ป การปั กชาโคนยอดระยะเวลา 21-35 วัน มีผลทาให้ จานวนราก ความยาวราก จานวนใบ ความสูงกิ่งชา ดีที่สดุ ส่วน วัสดุปักชาที่ดีที่สดุ 2 ชนิด ได้ แก่ 1) ทราย 1 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 1 ส่วน 2) แกลบดา สาหรับอัตราการรอดตายการปั กชาด้ วยโคน ยอดและโคนกิ่ง ระยะเวลา 14-35 วัน ปั กชาใน ทราย 1 ส่วน: ขุยมะพร้ าว 1 ส่วน มีผลทาให้ อตั ราการรอดตาย 80-100 เปอร์ เซนต์

กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจยั ขอขอบคุณโครงการยกระดับปริ ญญานิพนธ์เป็ นงานวิจยั ตีพิมพ์ งานสร้ างสรรค์และงานบริ การ วิชาการสูช่ มุ ชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ที่สนับสนุนงบประมาณ

เอกสารอ้ างอิง จิรา ณ หนองคาย. 2545. หลักและเทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืชในประเทศไทย. สานักพิมพ์ดวงกมล จากัด, กรุงเทพฯ. 191 หน้ า. ชูชาติ แสงภูพาท. 2554. การตัดชา. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แหล่งที่มา: http://choochattt.blogspot.com/p/blogpage_846.html. 24 มีนาคม 2556 ธัญญะ เตชะศีลพิทกั ษ์ . 2545. ดอกไม้ ไว้ อ่านเล่น. บ้ านและสวน. กรุงเทพฯ. 137 หน้ า นันทิยา สมานนท์. 2535. คูม่ ือการปลูกไม้ ดอก. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ , กรุงเทพฯ. 94-97 หน้ า. ประทุมพร กันทพนม. 2538. ผลของสารควบคุมการเจริ ญเติบโตที่มีต่อการตอน การปั กชา และการเลี ้ยงเนื ้อเยื่อของประยงค์. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์ ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่. 142 หน้ า. วัลลภ พรหมทอง. 2544. เคล็ดลับการขยายพันธุ์พืชเป็ นอาชีพ. สานักพิมพ์มติชน. กรุงเทพฯ. 120 หน้ า. สงกรานต์ กันทเสนและกัลยา แก้ วมา. 2546. ผลของ IBA ต่อการปั กชาผักหวานบ้ าน. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตลาปาง. 23 หน้ า. สมเพียร เกษมทรัพย์. 2522. การปลูกไม้ ดอก. ฟั นนี่พลับลิชชิ่ง. กรุงเทพฯ. 446 หน้ า. เศรษฐพงส เลขะวัฒนะ. 2548. การผลิตเบญจมาศตัดดอก. (หนังสืออิเลคทรอนิกส์) กรมส่งเสริ มการเกษตร. กรุงเทพฯ. 152 หน้ า. อิทธิสนุ ทร นันทกิจ 2556. การปลูกพืชในวัสดุปลูก (Substrate culture). ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเทคโนโลยีการเกษตร. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง. สมุทรปราการ. 47 หน้ า. อภินนั ท์ เมฆบังวัน. 2550. เอกสารประกอบการอบรมการปลูกไม้ ดอกเมืองหนาว. สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง. 10 หน้ า. เพ็ญพิชญา เตียว. 2556. ชายอดอ่อนควบแน่น เคล็ดวิชาปราชญ์ชาวบ้ าน. หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ. ฉบับวันที่ 26 สิงหาคม 2556. Handsome old. 2552. วิธีชาพิทเู นียให้ ได้ 98 %. htpp://www.topicstock.pantip.com. 27 ก.พ. 2557

580

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การประเมินความต้ องการธาตุอาหารของมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกและพันธุ์สปุนต้ า Estimate Nutrient Requirements of ‘Atlantic’ and ‘Spunta’ Potato ทิวาพร ผดุง1 ภาณุมาศ โคตรพงศ์ 2 ปั ญจพร เลิศรัตน์ 1 ศุภกาญจน์ หล่ ายแปด1 และการิตา จงเจือกลาง2 Thiwaporn Phadung1 Panumas Kotepong2 Panjaporn Lertrat1 Suphakarn Laipad1 and Karita Chongchuaklang2

บทคัดย่ อ มันฝรั่งมีปริมาณและลักษณะทางคุณภาพของผลผลิตสัมพันธ์กบั ปริ มาณธาตุอาหารที่ได้ รับ การวิเคราะห์ธาตุอาหาร แต่ละระยะการเจริ ญเติบโตและปริ มาณธาตุอาหารที่สญ ู เสียไปกับผลผลิตสามารถประเมินความต้ องการธาตุอาหารและวาง แผนการจัดการปุ๋ ยที่มีประสิทธิภาพได้ จากการศึกษาปริมาณธาตุอาหารของมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกและพันธุ์สปุนต้ า ที่ปลูกใน ดินร่วนปนทราย มีคา่ pH 5.95-6.75 ปริมาณอินทรี ยวัตถุในดินสูง ค่าการนาไฟฟ้าในสารละลายดินอยู่ในช่วง 0.30-0.89 dS/m มีฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ โพแทสเซียม แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ปานกลางและแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ สงู พบว่า ในส่วน ของลาต้ น รากและผลผลิตของมันฝรั่งทัง้ 2 พันธุ์ มีปริ มาณโพแทสเซียม (K) สูงที่สดุ รองลงมาคือ ไนโตรเจน (N) แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) และฟอสฟอรัส (P) โดยมันฝรั่งมีความต้ องการ N-P-K ในสัดส่วน 4:1:7 มันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกที่ให้ ผลผลิต 2.54 ตันต่อไร่ มีความต้ องการใช้ ธาตุอาหารเพื่อสร้ างส่วนต่างๆ ของต้ น คิดเป็ นปริ มาณธาตุอาหารในรูปของปุ๋ ยธาตุ อาหารหลัก N P2O5 และ K2O เท่ากับ 7.61 1.40 และ 14.57 กิโลกรัมต่อไร่ โดยช่วงที่หวั มันฝรั่งขยายขนาดมีการดูดใช้ N และ K2O สูงที่สดุ และมีปริ มาณธาตุอาหารในรู ปของปุ๋ ยธาตุอาหารหลัก N P2O5 และ K2O ที่สญ ู เสียไปกับผลผลิต เท่ากับ 5.57 1.86 และ 10.03 กิโลกรัมต่อไร่ สาหรับมันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ าที่ให้ ผลผลิต 2.04 ตันต่อไร่ มีความต้ องการปริ มาณธาตุอาหารใน การเจริ ญเติบโตและสร้ างผลผลิตน้ อยกว่ามันฝรั่งพันธุ์ แอตแลนติก โดยมีการดูดใช้ ธาตุอาหารเพื่อสร้ างส่วนต่างๆ ของต้ น คิด เป็ นปริมาณธาตุอาหารในรูปของปุ๋ ยธาตุอาหารหลัก N P2O5 และ K2O เท่ากับ 6.98 1.16 และ 12.19 กิโลกรัมต่อไร่ มีการใช้ N และ K2O มากที่สดุ ในช่วงที่หวั กาลังขยายขนาด และมีปริ มาณธาตุอาหารในรูปของปุ๋ ยธาตุอาหารหลัก N P2O5 และ K2O ที่ สูญเสียไปกับผลผลิต เท่ากับ 3.37 1.38 และ 5.68 กิโลกรัมต่อไร่ คาสาคัญ: ความต้ องการธาตุอาหาร มันฝรั่ง แอตแลนติก สปุนต้ า

Abstract Potato nutrient management has influence on yield and quality characteristics. Analysis nutrient contents through the growth stages and nutrient removal from yield can determine to assess nutrient requirements and provide for efficient fertilizer application. In this study, field experiment was sandy loam, pH range of 5.95-6.75, high level of organic matter, electrical conductivity of soil solution extraction range 0.30-0.89 dS/m, moderate level of available P, exchangeable K, Mg and high in exchangeable Ca. The results show that, the stem root and tuber of both potato cultivars had the highest potassium (K) followed by nitrogen (N) calcium (Ca) magnesium (Mg) and phosphorus (P). The ratio of N-P-K uptake was 4:1:7. The average amounts of N P2O5 and K2O required for growth and development of Atlantic potato yield 2.54 tons/rai was 7.61 1.40 and 14.57 kg/rai , while N P2O5 and K2O removed with tuber yield was 5.57 1.86 and 10.03 kg/rai. The maximum rate of N and K2O uptake were very high during tuber bulking. Spunta potato required nutrient for growth and produced tuber less than Atlantic potato. The average amounts of N P2O5 and K2O of yield 2.04 tons/ rai was 6.98 1.16 and 12.19 kg/rai , while N P2O5 and K2O removed with tuber yield was 3.37 1.38 and 5.68 kg/rai. In addition, peak of N and K2O uptake occurred at bulking stage as well. Keywords: nutrient requirements, potato, Atlantic, Spunta

1 2

กองวิจยั พัฒนาปั จจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900 กองวิจยั และพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

581


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา มันฝรั่ง (Solanum tuberosum)เป็ นพืชเศรษฐกิจสาคัญในภาคเหนือที่ ให้ ผลตอบแทนต่อไร่สงู เมื่อเปรี ยบเทียบกับการ ปลูกพืชชนิดอื่น โดยแหล่งปลูกมันฝรั่งอยู่ในจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ พะเยา ลาพูนและตาก ในปี 2558 มีพื ้นที่ปลูกมันฝรั่ง 45,497 ไร่ ปริ มาณผลผลิต 120,699 ตัน (สานักเศรษฐกิจการเกษตร, 2558) และมีการคาดการณ์ว่าจะมีการขยายพื ้นที่ปลูก เพิ่มขึ ้นเพื่อเพิ่มปริ มาณผลผลิตให้ เพียงพอกับความต้ องการของตลาด พันธุ์ที่เกษตรกรนิยมปลูก ได้ แก่ พันธุ์แอตแลนติกเป็ น พันธุ์ที่เหมาะสาหรับการแปรรูปและพันธุ์สปุนต้ าเป็ นพันธุ์ที่ใช้ ในการบริโภคสด มันฝรั่งเป็ นพืชที่มีอายุปลูกสัน้ สามารถเก็บเกี่ยว ผลผลิตได้ หลังจากปลูก 100-120 วัน การเจริญเติบโตของมันฝรั่งมีความสัมพันธ์กบั ธาตุอาหารที่ได้ รับและมีผลกับปริ มาณและ คุณภาพของผลผลิตโดยตรง มันฝรั่งต้ องการธาตุอาหารในการเจริ ญเติบโตสูง รวมทังปริ ้ มาณธาตุอาหารที่สะสมอยู่ในต้ นจะถูก นาออกไปจากแปลงเมื่อมีการเก็บเกี่ยวผลผลผลิต (Mikkelson, 2006) ดังนันการวางแผนให้ ้ ปยในปริ ุ๋ มาณ สัดส่วนที่เหมาะสม และตรงกับความต้ องการของพืชจึงเป็ นสิ่งสาคัญ ปั จจุบนั พบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้ ปยเคมี ุ๋ ในอัตราที่มากกว่าคาแนะนาและมี วิธี การใช้ ที่ไ ม่ถูกต้ อง แม้ ว่าจะมี การแนะนาให้ เกษตรกรส่งตัวอย่างดินเพื่ อวิเคราะห์ ปริ มาณธาตุอาหารก่อนปลูกพื ช แต่ เนื่องจากห้ องปฏิบัติการวิเคราะห์ดินมีจากัดประกอบกับค่าใช้ จ่ายในการวิเคราะห์ค่อนข้ างสูงจึงทาให้ เกษตรกรไม่นิยมส่ง ตัวอย่างดินวิเคราะห์ การวิเคราะห์ธาตุอาหารในพืชเป็ นอีกวิธีหนึ่งที่นามาใช้ ในการจัดการธาตุอาหาร สามารถนามาสนับสนุนผลการ วิเคราะห์ดินและพัฒนาการจัดการธาตุอาหารได้ สะดวกและรวดเร็วขึ ้น (Synder, 1998) ปริ มาณธาตุอาหารในพืชจะสัมพันธ์ กับปริ มาณธาตุอาหารในดินที่พืชเจริ ญอยู่ขณะนัน้ ดังนันปริ ้ มาณธาตุอาหารพืชจึงสามารถใช้ ประเมินความอุดมสมบูรณ์ของ ดินและพืชที่ปลูกอยู่ได้ นอกจากนี ้ยังทาให้ เกษตรกรคาดการณ์ได้ ว่าพืชขาดธาตุอาหารหรื อไม่ และสามารถประมาณผลผลิตที่ จะได้ ในแต่ละฤดูปลูกได้ ยิ่ง ไปกว่านัน้ ผลการวิเคราะห์ ธ าตุอาหารในพื ชยังสามารถน าม าใช้ แ นะน าการใส่ปุ๋ ยได้ อ ย่า งมี ประสิทธิภาพอีกด้ วย (ศรี สม, 2544) นอกจากนี ้การวิเคราะห์พืชยังมีข้อได้ เปรี ยบในแง่ที่ธาตุอาหารที่วิเคราะห์ได้ จะแสดงให้ เห็น ถึงปริ มาณที่แท้ จริ งของธาตุอาหารนันๆ ้ ซึ่งพืชได้ รับจากดินในสภาพแวดล้ อมหรื อสภาวะที่พืชนันขึ ้ ้นอยู่ ในแง่ของการวิเคราะห์ ดินอย่างเดียวไม่สามารถบอกได้ อย่างถูกต้ องเพราะการวิเคราะห์ดินไม่ได้ ประเมินอิทธิพลของสภาพภูมิอากาศที่มีผลต่อการ เจริ ญเติบโตของพืชและชนิดพืชเข้ าไปด้ วย (จงรักษ์ , 2549) Li and Jin (2012) กล่าวว่า การวิเคราะห์ธาตุอาหารเพื่อติดตาม สถานะธาตุอาหารของมันฝรั่ง มีความสัมพันธ์ กบั ความเข้ มข้ นของธาตุอาหารในส่วนต่างๆ ของต้ น อัตราการเจริ ญเติบโตและ ปริ มาณผลผลิต ในหัวมันฝรั่งพันธุ์ Russet Burbank 10 ตัน ต้ องการธาตุอาหาร ไนโตรเจน 43 กิโลกรัม ฟอสฟอรัส 6 กิโลกรัม โพแทสเซียม 58 กิโลกรัม แคลเซียม 9 กิโลกรัม และแมกนีเซียม 7 กิโลกรัม ในระยะที่หวั ขยายขนาด (tuber bulking) มีอตั รา การดูดใช้ ไนโตรเจนและโพแทสเซียม 40-50 เปอร์ เซ็นต์ ฟอสฟอรัสและซัลเฟอร์ 30-40 เปอร์ เซ็นต์ หลังจากนันอั ้ ตราการดูดใช้ ธาตุอาหารจะลดลงพร้ อมๆ กับการบริ บรู ณ์ของหัว (Stark et al., 2004) เช่นเดียวกับ Westerman (2005) ที่รายงานว่า ใน หัวมันฝรั่งมีปริ มาณไนโตรเจนและโพแทสเซียมในปริ มาณมาก รองลงมาคือ แคลเซียมและแมกนีเซียม เมื่อถึงระยะเก็บเกี่ยว พบว่า ธาตุอาหารที่เคลื่อนย้ ายได้ ในท่ออาหารจะสะสมอยู่มากในหัว ส่วนธาตุที่เคลื่อนย้ ายไม่ได้ จะสะสมอยู่ในส่วนของต้ น ดังนันการทราบประมาณการธาตุ ้ อาหารที่พืชใช้ ในการเจริ ญเติบโตและการสร้ างผลผลิตจึงเป็ นข้ อมูลสาคัญที่สามารถนาไปใช้ วางแผนการจัดการธาตุอาหารที่ดีได้ (Weinbun, 1992) จากรายงานที่กล่าวมาข้ างต้ นแสดงให้ เห็นว่า ความต้ องการธาตุอาหาร ของมันฝรั่งเกี่ยวข้ องอัตราการเจริ ญเติบโต ระยะการเจริ ญเติบโต สภาพแวดล้ อมและพันธุ์ อีกทังยั ้ งสัมพันธ์ กบั ลักษณะทาง คุณภาพและปริ มาณผลผลิต การจัดการธาตุอาหารที่มีประสิทธิภาพช่วยทาให้ มนั่ ใจได้ ว่าความเป็ นประโยชน์ของธาตุอาหารมี ปริมาณเพียงพอและตรงกับระยะเวลาที่พืชต้ องการในการเจริญเติบโตของลาต้ นและหัว (Lang et al., 1999) ดังนันการทดลอง ้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อประเมินความต้ องการปริ มาณธาตุอาหารในแต่ละระยะการเจริ ญเติบโตและปริ มาณธาตุอาหารที่สญ ู เสีย ไปกับผลผลิตของมันฝรั่งเพื่อนาไปใช้ สนับสนุนข้ อมูลการวิเคราะห์ดินและเป็ นแนวทางพิจารณาการให้ ปยมั ุ๋ นฝรั่งต่อไป

582

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการ คัดเลือกแปลงปลูกมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกและพันธุ์สปุนต้ า จานวนพันธุ์ละ 3 แปลง ในอาเภอพบพระ จังหวัดตาก เก็บตัวอย่างดินปลูกพืชที่ระดับความลึก 0-15 และ 0-30 เซนติเมตร ด้ วยวิธีแบบ composite sample หลังจากนันน ้ าตัวอย่าง ดินมาผึง่ ให้ แห้ งในที่ร่ม เมื่อตัวอย่างดินแห้ งแล้ วทาการแยกเศษพืชและกรวดออก แล้ วนาตัวอย่างดินไปร่อนผ่านตะแกรงขนาด 2 มิลลิเมตร เพื่อวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพและทางเคมีของดิน ได้ แก่ เนื ้อดิน ปฏิกิริยาดิน (pH) ค่าการนาไฟฟ้า (EC) อินทรี ยวัตถุ (OM) ฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ (available P) โพแทสเซียม แคลเซียมและแมกนีเซีย มที่แลกเปลี่ยนได้ (exchangeable K Ca Mg) ตามวิธีของ กลุม่ งานวิจยั เคมีดิน (2544) ปลูกมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกและพันธุ์สปุนต้ า ระยะปลูก 20 x 90 เซนติเมตร จานวน 1 หัวต่อหลุม การปฏิบตั ิดแู ล รักษาแปลงเป็ นไปตามวิธีของเกษตรกร โดยก่อนปลูกรองก้ นหลุมด้ วยปุ๋ ยสูตร 15-15-15 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อต้ นมีอายุ 25-30 วัน ให้ ปยสู ุ๋ ตร 13-13-21 อัตรา 150 กิโลกรัมต่อไร่ โดยใส่เป็ นแถวข้ างต้ นแล้ วพูนดินกลบ ทาการให้ น ้า 3-5 วันต่อครัง้ ทา การเก็บตัวอย่างมันฝรั่ง 3 ระยะ ได้ แก่ ระยะการเจริญเติบโตทางลาต้ น (30 วันหลังปลูก) ระยะหัวขยายขนาด (60 วันหลังปลูก) และระยะเก็บเกี่ยว (90 วันหลังปลูก) แปลงละจานวน 30 ต้ นต่อครัง้ แยกตัวอย่างพืชเป็ นส่วน ได้ แก่ ลาต้ น ใบ รากและผลผลิต ชัง่ นา้ หนักสดแล้ วนาไปอบที่อณ ุ หภูมิ 65-70 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 3-5 วัน จนตัวอย่างพืชมีนา้ หนักคงที่ นามาชั่งน ้าหนัก แห้ ง แล้ ว ประเมิ น ค่ า ร้ อยละมวลแห้ ง ต่ อ มวลสด หลัง จากนัน้ น าตัว อย่ า งพื ช ไปวิ เ คราะห์ ป ริ ม าณไนโตรเจน ฟอสฟอรั ส โพแทสเซียม แคลเซียมและแมกนีเซียม ตามวิธีของ กลุ่มงานวิจัยเคมีดิน (2544) เพื่อนาผลวิเคราะห์ความเข้ มข้ นของธาตุ อาหารไปคานวณหาปริมาณธาตุอาหารที่มนั ฝรั่งต้ องการใช้ ในการเจริญเติบโตและสร้ างผลผลิต

ผลและวิจารณ์ 1. การวิเคราะห์ สมบัตดิ นิ 1.1 ผลวิเคราะห์ดินแปลงปลูกมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติก สมบัติของดินก่อนการทดลอง เนื ้อดินเป็ นดินร่วนปนทราย ปฏิกิริยาดินเป็ นกรดเล็กน้ อย (pH 6.23) ดินไม่เค็ม (ค่า การนาไฟฟ้า 0.89 dS/m) ปริ มาณอินทรี วตั ถุในดินสูง (5.53%) มีฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ โพแทสเซียมและแมกนีเซียมที่ แลกเปลี่ยนได้ ในระดับปานกลาง แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ อยูใ่ นระดับสูง (Table 1) หลังการทดลอง pH และค่าการนาไฟฟ้าของดินลดลง ส่วนปริ มาณอินทรี ยวัตถุที่เพิ่มขึ ้นน่าจะเกิดจากการสลายตัว ของเศษซากพืชที่เหลือตกค้ างอยูใ่ นแปลงปลูก ฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ มีปริ มาณเพิ่มขึ ้นอาจ เป็ นเพราะการใช้ ปยเคมี ุ๋ ของเกษตรกร ซึง่ ในการปลูกมันฝรั่งมีการใช้ ปยุ๋ 15-15-15 อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ และปุ๋ ย 13-13-21 อัตรา 150 กิโลกรัมต่อไร่ แคลเซียมและแมกนีเซียมที่แลกปลี่ยนได้ มีปริมาณเพิ่มขึ ้นอยูใ่ นระดับสูง (Table 1) 1.2 ผลวิเคราะห์ดินแปลงปลูกมันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ า สมบัติของดินก่อนการทดลอง เนื ้อดินเป็ นดินร่ วนปนทราย ปฏิกิริยาดินเป็ นกลาง (pH 6.75) ดินไม่เค็ม (ค่าการนา ไฟฟ้า 0.83 dS/m) ปริมาณอินทรี วตั ถุในดินสูง (4.87%) มีฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ โพแทสเซียมและแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยน ได้ ในระดับปานกลาง แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ อยูใ่ นระดับสูง (Table 2) หลังการทดลอง pH และค่าการนาไฟฟ้าของดินลดลง อินทรี ยวัตถุมีปริ มาณเพิ่มขึ ้นจากการสลายตัวของเศษซากพืช ที่ยงั คงเหลืออยู่ในแปลงปลูก ฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ มีปริ มาณเพิ่มขึ ้นอยู่ในระดับสูงมาก น่าจะเป็ นผลจากการใส่ปยเคมี ุ๋ ในระหว่างการปลูกมันฝรั่งซึ่งมีการใช้ ปยเคมี ุ๋ ปริ มาณค่อนข้ างสูง แคลเซียมและแมกนีเซียมที่ แลกเปลี่ยนได้ มีปริมาณเพิ่มขึ ้นแต่ยงั คงอยู่ในระดับเดิม (Table 2)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

583


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Soil properties before planting and after harvesting Atlantic and Sputa potato. Cultivar pH ECe OM (%) P K (dS/m) (mg/kg) (mg/kg) Atlantic Before planting 6.23 0.89 5.21 13.61 88.99 After harvesting 6.54 0.30 6.61 54.29 154.85 Spunta Before planting 6.75 0.83 4.87 16.42 72.42 After harvesting 5.95 0.43 6.61 67.01 154.77

Ca (mg/kg) 1,167.51 1,646.55 1,314.66 1,357.10

Mg (mg/kg) 192.16 383.52 252.21 306.65

2. การวิเคราะห์ ธาตุอาหารในพืช 2.1 ความเข้ มข้ นธาตุอาหารของมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติก ความเข้ มข้ นของ N P K Ca และ Mg ในส่วนลาต้ น ใบ และรากของของมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติก พบว่า ในระยะการ เจริญเติบโตทางลาต้ น ส่วนของลาต้ นและใบ มีความเข้ มข้ นของ K สูงที่สดุ เฉลี่ย 7.82% รองลงมาคือ N 5.37% Ca 0.91% Mg 0.62% และ P 0.39% ในส่วนของราก พบว่า มีความเข้ มข้ นของ K สูงที่สดุ เช่นเดียวกัน โดยมีค่าเฉลี่ย K 4.68% รองลงมาคือ N 3.51% Ca 0.68% Mg 0.42% และมี P น้ อยที่สดุ 0.29% (Table 2) ระยะที่หวั มันฝรั่งขยายขนาด N P และ K ในส่วนของลาต้ นและใบมีความเข้ มข้ นลดลงจากระยะการเจริ ญเติบโตทาง ลาต้ น ขณะที่ Ca และ Mg มีความเข้ มสูงขึ ้น แต่อย่างไรก็ตาม K ยังคงมีความเข้ มข้ นเฉลี่ยสูงที่สดุ คือ 6.42% รองลงมาคือ N 3.76% Ca 1.53% Mg 0.75% และ P 0.28% ในส่วนของรากมีความเข้ มข้ นของธาตุอาหารลดลงจากจากระยะการเจริ ญเติบโต ทางลาต้ นเช่นเดียวกัน โดยมีความเข้ มข้ นเฉลี่ยของ K 2.01% N 1.82% Ca 0.25% P 0.22% และ Mg 0.21% (Table 2) ระยะเก็บเกี่ยวผลผลิตไม่สามารถเก็บตัวอย่างส่วนของลาต้ นและใบได้ เนื่องจากต้ นมันฝรั่งที่แก่จะเปลี่ยนเป็ นสีเหลือง ลาต้ นจะ ล้ มเอนราบไปกับพื ้นดิน ซึ่งการเก็บเกี่ยวมันฝรั่งจะขุดหัวเมื่อต้ นและใบเริ่ มแห้ งตาย หากเก็บ เกี่ยวในช่วงที่ต้นยังเขียวอยู่จะทา ให้ ได้ หวั มันฝรั่งที่ด้อยคุณภาพ มีปริมาณน ้าตาลสูงและปริมาณแป้งต่าไม่เป็ นที่ต้องการของตลาด (วินิจ, 2551) จากการทดลอง พบว่า หัวมันฝรั่งมีความเข้ มข้ นเฉลี่ยของ K สูงที่สดุ 1.84% รองลงมาคือ N 1.23% P 0.18% Ca 0.09% และมีความเข้ มข้ น เฉลี่ยของ Mg ต่าสุด 0.07% (Table 2) Table 2 Means of nutrient concentration in different parts of Atlantic potato during the growing season. Growth stages Plant part Nutrient concentration (%) N P K Ca Mg Vegetative growth stem and leaf 5.37 0.39 7.82 0.91 0.62 root 3.51 0.29 4.68 0.68 0.42 total 8.88 0.68 12.50 1.59 1.04 Tuber bulking stem and leaf 3.76 0.28 6.42 1.53 0.75 root 1.82 0.22 2.01 0.25 0.21 total 5.58 0.50 8.43 1.78 0.96 Harvesting tuber 1.23 0.18 1.84 0.09 0.07 2.2 ความเข้ มข้ นธาตุอาหารของมันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ า ความเข้ มข้ นของ N P K Ca และ Mg ในส่วนลาต้ น ใบ และรากของของมันฝรั่งพันธุ์ สปุนต้ า พบว่า ในระยะการ เจริ ญเติบโตทางลาต้ น ส่วนของลาต้ นและใบ มีความเข้ มข้ นของ K สูงที่สดุ เฉลี่ย 7.56% รองลงมาคือ N 5.91% Ca 0.75% Mg 0.48% และ P 0.37% เช่นเดียวกับส่วนของราก พบว่า มีความเข้ มข้ นของ K สูงที่สดุ เช่นเดียวกัน โดยมีค่าเฉลี่ย K 5.66% รองลงมาคือ N 3.40% Ca 0.60% Mg 0.29% และ P 0.23% (Table 3) ระยะหัวมันฝรั่งขยายขนาดยังคงมีความเข้ มข้ นของ K สูงที่สดุ เฉลี่ย 6.79% รองลงมาคือ N 4.40% Ca 0.95% Mg 0.51% และ P 0.32% ในรากมีความเข้ มข้ นของธาตุอาหารเฉลี่ย N 2.89% K 2.79% Ca 0.45% P 0.30% และ Mg 0.28% (Table 3) 584

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ระยะเก็บเกี่ยวผลผลิตหัวมันฝรั่ง พบว่ามีความเข้ มข้ นของ K สูงสุดเฉลี่ย 1.72% รองลงมาคือ N 1.23% P 0.22% Mg 0.09% และ Ca 0.04% (Table 3) Table 3 Means of nutrient concentration in different parts of Spunta potato during the growing season. Growth stage Plant part Nutrient concentration (%) N P K Ca Mg Vegetative growth stem and leaf 5.91 0.37 7.56 0.75 0.48 root 3.40 0.23 5.66 0.60 0.29 total 9.31 0.60 13.22 1.35 0.77 Tuber bulking stem and leaf 4.40 0.32 6.79 0.95 0.51 root 2.89 0.30 2.79 0.45 0.28 total 7.29 0.62 9.58 1.40 0.79 Harvesting tuber 1.23 0.22 1.72 0.04 0.09 3. การประเมินปริมาณธาตุอาหาร 3.1 การประเมินปริมาณธาตุอาหารของมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติก มันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกมีปริ มาณ K เป็ นองค์ประกอบในต้ นมากที่สดุ รองลงมาคือ N Ca Mg และ P ตามลาดับ ใน ระยะการเจริ ญเติบโตทางลาต้ น พบว่า มีปริ มาณ K มากกว่า N 1.4 เท่า โดยมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติก 1 ต้ น มีปริ มาณ N 0.160 กรัม P 0.012 กรัม K 0.231 กรัม Ca 0.027 กรัม และ Mg 0.018 กรัม ในระยะหัวมันฝรั่งขยายขนาดมีปริ มาณ K มากกว่า N 1.6 เท่า ซึง่ มันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติก 1 ต้ น มีปริ มาณ N 0.697 กรัม P 0.057 กรัม K 1.124 กรัม Ca 0.253 กรัม และ Mg 0.130 กรัม ระยะเก็บเกี่ยวผลผลิต พบว่า มันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติก 1 ต้ น มีปริ มาณ N 0.625 กรัม P 0.091 กรัม K 0.931 กรัม Ca 0.016 กรัม และ Mg 0.037 กรัม (Table 4) การสูญเสียธาตุอาหารไปกับผลผลิต พบว่า ปริ มาณ N P K Ca และ Mg ที่สญ ู เสียไปกับผลผลิตทุกๆ 1 ตัน เท่ากับ 2.19 0.32 3.26 0.06 และ 0.13 กิโลกรัม ตามลาดับ คิดเป็ นปริ มาณธาตุอาหารในรูปปุ๋ ยธาตุอาหารหลัก N P2O5 และ K2O เท่ากับ 2.19 0.73 และ 3.95 กิโลกรัมต่อผลผลิตสด 1 ตัน จากการทดลองนี ้หากพิจารณาความต้ องการปุ๋ ยในแต่ละระยะการ เจริ ญเติบโตของมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติก ที่ปลูกในพื ้นที่ 1 ไร่ ปริ มาณผลผลิต 2.54 ตัน พบว่า ในช่วงที่หวั มันฝรั่งขยายขนาดมี การนา N และ K2O ไปใช้ มากที่สดุ คือ 6.19 และ 12.09 กิโลกรัมต่อไร่ (Table 5) สอดคล้ องกับ Horncek and Rosen (2008) ที่รายงานว่า มันฝรั่งพันธุ์ Russet Burbank ที่มีการเจริ ญเติบโตดีให้ ผลผลิต 8-10 ตันต่อไร่ มีความต้ องการ K2O 0.9-2.52 กิโลกรัมต่อไร่ ต่อวัน และต้ องการ N 0.7-1.3 กิโลกรัมต่อไร่ ต่อวัน ดังนันจึ ้ งควรให้ ปยุ๋ N และ K2O ตังแต่ ้ ก่อนปลูกเพื่อให้ มนั ฝรั่ง นาธาตุอาหารไปใช้ ได้ ทนั ตามความต้ องการ จากข้ อมูลการประเมินปริ มาณธาตุอาหารที่มนั ฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกต้ องการใน 1 ฤดูปลูก คิดเป็ นปริ มาณธาตุอาหาร ในรูปปุ๋ ยธาตุอาหารหลักที่นาไปใช้ ในการเจริ ญเติบโตเท่ากับ N 7.61 กิโลกรัมต่อไร่ P2O5 1.40 กิโลกรัมต่อไร่ และ K2O 14.57 กิโลกรัมต่อไร่ และมีปริ มาณธาตุอาหารในรู ปปุ๋ ยธาตุอาหารหลัก ที่สญ ู เสียไปกับผลผลิตเท่ากับ N 5.57 กิโลกรัมต่อไร่ P2O5 1.86 กิโลกรัมต่อไร่ และ K2O 10.03 กิโลกรัมต่อไร่ รวมเป็ นปริ มาณธาตุอาหารในรูปปุ๋ ยธาตุอาหารหลัก N P2O5 และ K2O เท่ากับ 13.18 3.36 และ 24.60 กิโลกรัมต่อไร่ (Table 6) คิดเป็ นสัดส่วนปุ๋ ยประมาณ 4:1:7

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

585


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 4 Means of nutrient content in different parts of Atlantic potato during the growing season. Growth stage Plant part Nutrient content (g/plant) N P K Ca Vegetative growth stem and leaf 0.147 0.011 0.215 0.025 root 0.013 0.001 0.017 0.002 total 0.160 0.012 0.231 0.027 Tuber bulking stem and leaf 0.587 0.043 1.002 0.238 root 0.110 0.013 0.122 0.015 total 0.697 0.057 1.124 0.253 Harvesting tuber 0.625 0.091 0.931 0.016

Mg 0.017 0.002 0.018 0.118 0.013 0.130 0.037

Table 5 Estimated rates of N P2O5 and K2O fertilizer for Atlantic potato during the growing season. Growth stage Nutrient content (g/plant) N P2O5 K2O Vegetative growth 1.42 0.24 2.48 Tuber bulking 6.19 1.16 12.09 Harvesting 5.57 1.86 10.03 Table 6 Nutrient uptake and removal of Atlantic potato during the growing season. Nutrient Nutrient uptake Removed with tubers Total (kg/ rai) (kg/ rai) (kg/ rai) N 7.61 5.57 13.18 P2O5 1.40 1.86 3.26 K2O 14.57 10.03 24.60 3.2 การประเมินปริมาณธาตุอาหารของมันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ า มันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ ามีปริ มาณ K เป็ นองค์ประกอบมากที่สดุ เช่นเดียวกับมันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติก สอดคล้ องกับ Mikkelsen (2006) รายงานว่า มันฝรั่งมีความต้ องการ K เป็ นจานวนมาก เนื่องจาก K มีหน้ าที่สาคัญในการเคลื่อนย้ ายน ้าตาล จากใบไปยังหัวและยังมีบทบาทเกี่ยวข้ องกับการเปลี่ยนรู ปของน ้าตาลให้ กลายเป็ นแป้งในหัวมันฝรั่ง ในระยะการเจริ ญเติบโต ทางลาต้ นมี K มากกว่า N 1.3 เท่า โดยมันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ า 1 ต้ น มี N 0.147 กรัม P 0.010 กรัม K 0.190 กรัม Ca 0.019 กรัม และ Mg 0.012 กรัม ในระยะที่หวั มันฝรั่งขยายขนาด มีปริ มาณ K มากกว่า N 1.5 เท่า ซึง่ มันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ า 1 ต้ น มีปริ มาณ N 0.638 กรัม P 0.048 กรัม K 0.944 กรัม Ca 0.134 กรัม และ Mg 0.072 กรัม ระยะเก็บเกี่ยวผลผลิต มันฝรั่งพันธุ์ สปุนต้ า 1 ต้ น มีปริมาณ N 0.380 กรัม P 0.068 กิโลกรัม K 0.529 กรัม Ca 0.012 กรัม และ Mg 0.026 กรัม (Table 7) ผลผลิตมันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ า 1 ตัน มีปริ มาณ N P K Ca และ Mg ที่สญ ู เสียไปกับผลผลิตเท่ากับ 1.65 0.30 2.30 0.05 และ 1.12 กิโลกรัม ตามลาดับ คิดเป็ นปริ มาณธาตุอาหารในรูปปุ๋ ยธาตุอาหารหลัก N P2O5 และ K2O เท่ากับ 1.65 0.68 และ 2.78 กิโลกรัมต่อผลผลิตสด 1 ตัน จากการทดลองมันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ า ที่ปลูกในพื ้นที่ 1 ไร่ ให้ ผลผลิต 2.04 ตัน มีการใช้ N และ K2O มากที่สดุ ในช่วงที่หวั กาลังขยายขนาด คือ 5.67 และ 10.15 กิโลกรัมต่อไร่ (Table 8) สอดคล้ องกับ Horncek and Rosen (2008) ที่รายงานว่ามันฝรั่งพันธุ์ Russet Burbank มีการสะสมน ้าแห้ งเพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็วในระยะ 40-100 วันหลังปลูก ซึง่ เป็ น ระยะที่หวั มันฝรั่งกาลังพัฒนาและขยายขนาด โดย N ประมาณสองในสามส่วนจะถูกนามาใช้ ในการเจริ ญเติบโตของส่วนลาต้ น และสร้ างหัว เมื่อหัวพัฒนาเข้ าสู่ช่วงขยายขนาด N จะเคลื่อนย้ ายไปสะสมอยู่ที่หวั ทาให้ N ในส่วนของลาต้ นค่อยๆ ลดลง จนกระทัง่ ถึงระยะเก็บเกี่ยว สาหรับ K2O พบว่า มันฝรั่งมีความต้ องการในปริมาณมากกว่า N ประมาณ 2 เท่า สาหรับปริมาณธาตุอาหารที่มนั ฝรั่งพันธุ์สปุนต้ าต้ องการใน 1 ฤดูปลูก คิดเป็ นปริ มาณธาตุอาหารในรูปปุ๋ ยธาตุอาหาร หลักที่นาไปใช้ ในการเจริ ญเติบโตเท่ากับ N 6.98 กิโลกรัมต่อไร่ P2O5 1.16 กิโลกรัมต่อไร่ และ K2O 12.19 กิโลกรัมต่อไร่ และมี ปริมาณธาตุอาหารในรูปปุ๋ ยธาตุอาหารหลักที่สญ ู เสียไปกับผลผลิตเท่ากับ N 3.37 กิโลกรัมต่อไร่ P2O5 1.38 กิโลกรัมต่อไร่ และ 586

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

K2O 5.68 กิโลกรัมต่อไร่ รวมเป็ นปริ มาณธาตุอาหารในรูปปุ๋ ยธาตุอาหารหลัก N P2O5 และ K2O เท่ากับ 10.35 2.54 และ 17.86 กิโลกรัมต่อไร่ (Table 7) คิดเป็ นสัดส่วนปุ๋ ยประมาณ 4:1:7 Table 7 Means of nutrient content in different parts of Spunta potato during the growing season. Growth stage Plant part Nutrient content (g/plant) N P K Ca Vegetative growth stem and leaf 0.139 0.009 0.178 0.018 root 0.007 0.001 0.012 0.001 total 0.147 0.010 0.190 0.019 Tuber bulking stem and leaf 0.580 0.042 0.888 0.125 root 0.058 0.006 0.056 0.009 total 0.638 0.048 0.944 0.134 Harvesting tuber 0.380 0.068 0.529 0.012

Mg 0.011 0.001 0.012 0.067 0.006 0.072 0.026

Table 8 Estimated rates of N P2O5 and K2O fertilizer for Spunta potato during the growing season. Growth stage Nutrient content (kg/plant) N P2O5 K2O Vegetative growth 1.31 0.18 2.04 Tuber bulking 5.67 0.98 10.15 Harvesting 3.37 1.38 5.68 Table 9 Nutrient uptake and removal of Spunta potato during the growing season. Nutrient Nutrient uptake Removed with tubers Total (kg/ rai) (kg/ rai) (kg/ rai) N 6.98 3.37 10.35 P2O5 1.16 1.38 2.54 K2O 12.19 5.68 17.87 จากการประเมินปริ มาณธาตุอ าหารที่มนั ฝรั่งนาไปใช้ ในการเจริ ญเติบโตและสร้ างผลผลิต โดยคานวณจากความ เข้ มข้ นของธาตุอาหารในส่วนของลาต้ น ราก และผลผลิตร่ วมกับน ้าหนักแห้ งของส่วนนันๆ ้ พบว่า มันฝรั่งทัง้ 2 พันธุ์ มีความ ต้ องการธาตุอาหารในสัดส่วนที่เท่ากัน คือ 4:1:7 แต่มนั ฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกมีความต้ องการปริ มาณธาตุอาหารสูงกว่ามันฝรั่ง พันธุ์สปุนต้ าทุกระยะการเจริ ญเติบโต เนื่องจากความแตกต่างกันของการสะสมนา้ หนักสดและนา้ หนักแห้ ง เมื่อสังเกตการ เจริ ญเติบโตภายในแปลงจะเห็นได้ ชัดว่าที่อายุต้นเท่ากัน มันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกมีขนาดต้ นและจานวนใบมากกว่ามันฝรั่ง พันธุ์สปุนต้ า ดังนันเมื ้ ่อคานวณปริมาณธาตุอาหารทังหมดในส่ ้ วนต่างๆ ของต้ น จึงทาให้ ปริ มาณธาตุอาหารที่มนั ฝรั่งแต่ละพันธุ์ ต้ องการมีปริมาณมากน้ อยต่างกัน อีกทังมั ้ นฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกยังให้ ผลผลิตสูงกว่ามันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ าจึงทาให้ มีการสูญเสีย ธาตุอาหารไปกับผลผลิตมากขึ ้นตามไปด้ วย นอกจากนี ้ยังเป็ นที่น่าสังเกตว่ามันฝรั่งมีความต้ องการ K มากกว่า N ประมาณ เกือบ 2 เท่า เช่นเดียวกับที่มีรายงานว่ามันฝรั่งต้ องการ K มากกว่าธาตุอาหารอื่น โดยเฉพาะในช่วงที่เริ่ มมีการสร้ างหัวและระยะ ที่หวั มีการขยายขนาด (Lang et al., 1999; Mikkelsen, 2006; Horncek and Rosen, 2008) และจากการทดลองนี ้เห็นได้ ชัดเจนว่าพืชชนิดเดียวกันแต่ต่างพันธุ์กนั ถึงแม้ จะมีสดั ส่วนความต้ องการธาตุอาหารเท่ากันแต่ก็ต้องการปริ มาณธาตุอาหารที่ ต่างกัน สอดคล้ องกับ Lang et al. (1999) ที่กล่าวว่า การให้ ธาตุอาหารควรอยู่บนพื ้นฐานความต้ องการของพืชซึง่ เกี่ยวข้ องกับ อัตราปุ๋ ย ระยะการเจริ ญเติบโต สภาพแวดล้ อมและพันธุ์พืช โดยปริ มาณธาตุอาหารที่มนั ฝรั่งต้ องการมีความสัมพันธ์ กับ ปริ มาณผลผลิตจริ งที่ได้ รับ การให้ ปยมั ุ๋ นฝรั่งจึงควรคานึงถึงความสามารถของดินในการให้ ธาตุอาหาร การสูญเสียธาตุอาหาร ทางดินและศักยภาพของพืชในการดูดใช้ ธาตุอาหารด้ วย ซึง่ ปริมาณธาตุอาหารที่มนั ฝรั่งใช้ ในการเจริ ญเติบโต สร้ างผลผลิตและ น ้าหนักรวมของผลผลิตที่ได้ สามารถนาไปใช้ ประกอบการพิจารณาเป็ นข้ อมูลประกอบการตัดสินใจให้ ปยตามความต้ ุ๋ องการของ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

587


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

มันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติกและพันธุ์สปุนต้ าได้ แม่ นยาขึ ้น อีกทังช่ ้ วยลดการใส่ปยมากเกิ ุ๋ นความจาเป็ นซึ่งนอกจากเป็ นการเพิ่ม ต้ นทุนการผลิตแล้ วยังอาจก่อให้ เกิดภาวะเสียสมดุลของธาตุอาหารในดินและลดความเป็ นประโยชน์ของธาตุอาหารในดินได้

สรุ ป ปริมาณธาตุอาหารที่มนั ฝรั่งต้ องการใช้ เพื่อการเจริ ญเติบโตและสร้ างผลผลิตสามารถประเมินได้ จากความเข้ มข้ นของ ธาตุอาหารที่อยู่ในต้ นและผลผลิตโดยน ้าหนักแห้ ง โดยมันฝรั่งทัง้ 2 พันธุ์ มีความต้ องการธาตุอาหารในสัดส่วน 4:1:7 มันฝรั่ง พันธุ์แอตแลนติกที่ให้ ผลผลิต 2.54 ตันต่อไร่ มีการดูดใช้ ธาตุอาหารเพื่อสร้ างส่วนต่างๆ ของต้ น คิดเป็ นปริ มาณธาตุอาหารในรูป ของปุ๋ ยธาตุอาหารหลัก N P2O5 และ K2O เท่ากับ 7.61 1.40 และ 14.57 กิโลกรัมต่อไร่ และคิดเป็ นปริ มาณ N P2O5 และ K2O ที่สญ ู เสียไปกับผลผลิต เท่ากับ 5.57 1.86 และ 10.03 กิโลกรัมต่อไร่ โดยช่วงที่หวั ขยายขนาด (31-60 วันหลังปลูก) มันฝรั่งพันธุ์ แอตแลนติกมีความต้ องการใช้ N และ K สูงที่สดุ สาหรับมันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ าที่ให้ ผลผลิต 2.04 ตันต่อไร่ มีความต้ องการ ปริ มาณธาตุอาหารในการเจริ ญเติบโตและสร้ างผลผลิตน้ อยกว่ามันฝรั่งพันธุ์แอตแลนติก โดยมีการดูดใช้ ธาตุอาหารเพื่อสร้ าง ส่วนต่างๆ ของต้ น คิดเป็ นปริ มาณธาตุอาหารในรูปของปุ๋ ยธาตุ อาหารหลัก N P2O5 และ K2O เท่ากับ 6.98 1.16 และ 12.19 กิโลกรัมต่อไร่ และคิดเป็ นปริ มาณ N P2O5 และ K2O ที่สญ ู เสียไปกับผลผลิต เท่ากับ 3.37 1.38 และ 5.68 กิโลกรัมต่อไร่ โดย ช่วงที่หวั ขยายขนาด (31-60 วันหลังปลูก) มันฝรั่งพันธุ์สปุนต้ ามีความต้ องการใช้ N และ K สูงสุดเช่นเดียวกับมันฝรั่งพันธุ์ แอตแลนติก

เอกสารอ้ างอิง กลุม่ งานวิจยั เคมีดิน. 2544. คูม่ ือ การวิเคราะห์ดินและพืช. กองปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรุงเทพฯ. จงรักษ์ จันทร์ เจริ ญสุข, ชัยฤกษ์ สุวรรณรัตน์, แสงดาว เขาแก้ ว, สมชาย กรี ฑาภิรมย์ และ ปิ ยนาถ นุชนิยม. 2549. การศึกษาปริ มาณธาตุอาหารใน ผลส้ มโอเพื่อการจัดการธาตุอาหารในดิน. ว. วิทย. กษ. 37(6): 535-544. สานักเศรษฐกิจการเกษตร. 2558. ข้ อมูลการผลิตสินค้ าเกษตร. สานักเศรษฐกิจการเกษตร, กรุงเทพ. แหล่งที่มา: http://www.oae.go.th/download/prcai/vegetable/potato.pdf. ศรี สม สุวรรณวงศ์. 2544. การวิเคราะห์ธาตุอาหารพืช. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. Horncek, D. and C. Rosen. 2008. Measuring nutrient accumulation rates of potatoes-tools for better management. Better Crops. 92(1): 4-6. Lang, N.S., R.G. Stevens, R.E. Thornton, W.L. Pan and S. Victory. 1999. Potato nutrient management for Central Washington. Washington St Available Source: ate University. Available Source: http://potatoes.wsu.edu/wpcontent/uploads/2014/11/lang.pdf. Mikkelsen, R.L. 2006. Best management practices for fertilizer. Available Source: http://www.ipni.net/ppiweb/ppinews.nsf/9463c42dbf74a30f852571240074cff9/$file/west+bmps.pdf. Li, S. and J. Jin. 2012. 4R nutrient management practices for potato production in China. Better Crops. 96 (1): 20-23. Stark. J., D. Westermann and B. Hopkins. 2004. Nutrient management guidelines for Russet Burbank potatoes. Bulletin 840. University of Idaho. Available Source: http://cals.uidaho.edu/edcomm/pdf/BUL/BUL0840.pdf Snyder. C.S. 1998. Plant tissue analysis- A Valuable Nutrient Management Tool. A regional newsletter. Potash and Phosphate Institute (PPI) of Canada. Tisdale,S., W.L. Nelson, J.D. Beaton. 1985. Soil Fertility and Fertilizers. McMillian Publishing Comp. New York, USA. Weinbum, S.A., R.S. Johnson and T.M. Delong.1992.Cause and consequence of over fertilization in orchards. HortTechnology. 2(1): 112-121. Westerman, D.T.2005. Nutritional requirements of potatoes. Amer. J. of Potato Res. 82:301-307.

588

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การใช้ แหนแดงเป็ นวัสดุดนิ ผสมเร่ งการเติบโตของต้ นอ่ อนกล้ วยนา้ ว้ าปากช่ อง 50 จากการเพาะเลีย้ งเนือ้ เยื่อ Azolla in Soil-mix Accelerates Growth of Banana ‘Namwa Pakchong 50’ Micro-propagated Plantlets ศิริลักษณ์ แก้ วสุรลิขิต1 ประไพ ทองระอา1 กัลยาณี สุวิทวัส3 กานดา ฉัตรไชยศิริ2 นิศารัตน์ ทวีนุต1 ภาสันต์ ศารทูลทัต4 และ พิมพ์ นิภา เพ็งช่ าง3 1 Sirilak Kaewsuralikhit Praphai Thongra-ar1 Kunlayanee Suvittawat2 Kanda Chatchaisiri3 Nisarat Thaweenut1 Parson Saradhuldhat4 and Pimnipa Phengchang2

บทคัดย่ อ

ศึกษาการใช้ แหนแดงเป็ นวัสดุปลูกเพื่อผลิตต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าพันธุ์ปากช่อง 50 ที่ได้ จากต้ นเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อพืช โดยทดลองใส่แหนแดงแห้ งร่วมกับวัสดุดินผสม (ดิน:ขุยมะพร้ าว:ถ่านแกลบ 2:1:1 โดยปริมาตร) อัตรา 0 8 16 และ 24 กรัม/กก. วัสดุดินผสม พบว่าต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าที่ใส่แหนแดงแห้ งอัตรา 16 และ 24 กรัม มีการเจริญเติบโตสูงที่สดุ แตกต่างทางสถิติจาก ที่ใส่แหนแดงแห้ ง 0 และ 8 กรัม คือมีความสูง เท่ากับ 24.12 25.62 6.90 และ 15.76 ซม. และเส้ นผ่าศูนย์กลางต้ น 16.51 16.44 13.23 และ 10.13 มม. ตามลาดับ และเพื่อเป็ นการเพิ่มการเจริญเติบโตและลดระยะเวลาการผลิตต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ า จึง เลือกผลการทดลองที่ใส่แหนแดงแห้ ง 16 กรัม มาทาการทดลองร่วมกับการใช้ ปยเคมี ุ๋ เปรี ยบเทียบกับวิธีทวั่ ไปที่ใช้ ปยเคมี ุ๋ เพียง อย่างเดียว โดยใช้ ปยเคมี ุ๋ สตู ร 15-15-15 ใส่สปั ดาห์ละ 1 ครัง้ ๆ ละ 0.4 กรัม/กก.วัสดุดินผสม หลังปรับสภาพต้ นแล้ วหนึง่ เดือน พบว่าที่ระยะเวลา 45 วันหลังจากนาต้ นกล้ าออกจากขวด การใส่แหนแดงร่วมกับปุ๋ ยเคมีทาให้ ต้นกล้ ามีการเจริญเติบโต แตกต่างจากที่ไม่ใส่แหนแดงทังด้ ้ านความสูงต้ น เส้ นผ่าศูนย์กลางต้ น และน ้าหนักอย่างชัดเจน ซึง่ วิธีนี ้สามารถลดระยะเวลา การชาต้ นกล้ ากล้ วยให้ ได้ ขนาดพร้ อมปลูกได้ เร็วขึ ้นกว่าวิธีทวั่ ไป 15 วัน คาสาคัญ : วัสดุปลูก วัสดุดินผสม แหนแดง

Abstract Azolla enriched with plant nutrients is probably used as plant growing media. To investigate how azolla in soil-mixes accelerate plant growth during acclimatization, micro-propagated plantlets of banana ‘Namwa Pakchong 50’ were grown in soil-mix (topsoil: coco-coir: rice husk charcoal = 2:1:1 by volume) supplemented with dry azolla at 0, 8, 16 or 24 g/kg-soil mix. The plantlets in the media mixed with 16 and 24 g azolla/kg-soil mix were remarkably grown as 24.12 and 25.62 cm in height and 16.51 and 16.44 mm in stem diameter over those in 0 and 8 g azolla/kg-soil mix (6.90, 15.76 cm in height and 13.23 and 10.13 mm in diameter), respectively. To speed up the plantlets with fertilizer after a month of acclimatization, 16 g azolla/kg-soil mix and soil mix alone were compared for plant growth. The media were applied weekly with 15-15-15 fertilizer at 0.4g/kg-soil mix. At 45 days after transferring and planting, the plantlets in the azolla-mix were significantly grown by means of stem height, diameter and weight over those in media without azolla. This indicated that azolla in soil mix can expedite the banana plantlets in nursery period at least 15 days shorter. Keywords: plant growing media, soil mix, azolla

1

กลุม่ งานวิจยั จุลินทรี ย์ดิน กลุม่ วิจยั ปฐพีวิทยา กองวิจยั พัฒนาปั จจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร 10900 สานักวิจยั และพัฒนาหม่อนไหม กรมหม่อนไหม แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 3 สถานีวิจยั ปากช่อง คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา 30130 4 ศูนย์วิจยั และพัฒนาไม้ ผลเขตร้ อน ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อ.กาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 2

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

589


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ต้ นอ่อนกล้ วยที่ได้ จากการเพาะเลีย้ งเนื อ้ เยื่อมีขนาดเริ่ มต้ นที่เล็กและอ่อนแอ ระบบท่อลาเลียง ผิวเคลือบคิวทิน (cuticle) และการทางานของปากใบพัฒนายังไม่สมบูรณ์ (Varma and Schuepp, 1995; Majada et al., 1998) จึงจาเป็ น ต้ องมีการปรับสภาพเพื่อให้ พืชสามารถปรับตัวเข้ ากับสภาพแวดล้ อม การนาต้ นกล้ าลงปลูกในวัสดุปลูกที่เหมาะสมเพื่อให้ มี อัตราการรอดตายสูงและเจริญเติบโตได้ อย่างรวดเร็วนัน้ วัสดุปลูกต้ องมีสมบัติทางกายภาพและเคมีที่เหมาะสม เนื่องจากวัสดุ ปลูก เป็ นส่วนสาคัญที่ทาให้ ได้ ต้นกล้ าที่มีคณ ุ ภาพ (Baiyeri, 2005; Sahin et al., 2005; Agbo and Omalika, 2006) โดยทัว่ ไป วัสดุที่ใช้ ในการเพาะกล้ าจะเป็ นส่วนของดินชันบนที ้ ่ยงั มีอินทรี ยวัตถุสงู ผสมกับปุ๋ ยคอก ซึ่งนับวันจะหาดินที่มีคณ ุ ภาพยากขึ ้น และดินที่ได้ มามักจะมีคุณภาพไม่คงที่ หากใช้ ดินเป็ นส่วนประกอบหลักของวัสดุ ปลูกอาจทาให้ ได้ คุณภาพของต้ นกล้ าไม่ แน่นอน (Sahin et al., 2005) ซึ่งปั ญหาในส่วนนี ้อาจแก้ ไขได้ โดยการเติมวัสดุต่างๆ ที่มีธาตุอาหารพืชสูง หรื อวัสดุที่สามารถ ปรับโครงสร้ างวัสดุปลูกให้ มีความเหมาะสมต่อต้ นกล้ า แหนแดง (Azolla spp.) เป็ นพืชที่มีไนโตรเจนเป็ นองค์ประกอบสูง โดยไนโตรเจนที่ได้ มาจากกระบวนการตรึงไนโตรเจน ของสาหร่ ายสีเขียวแกมน ้าเงิน (cyanobacteria) ที่อาศัยอยู่ในโพรงใบของแหนแดง ซึง่ สามารถตรึงไนโตรเจนได้ ถึง 5-10 กก. ไนโตรเจน/ไร่ (Singh, 1979; Watanabe et al., 1980) และเปลี่ยนเป็ นสารประกอบไนโตรเจนให้ แหนแดงนาไปใช้ ในการ เจริ ญเติบโต ซึง่ ทาให้ แหนแดงสามารถเจริ ญเติบโตได้ อย่างรวดเร็ว และมีน ้าหนักเพิ่มขึ ้นหนึ่งเท่าตัวภายใน 3-6 วัน (Watanabe and Ramirez, 1984) มีน ้าหนักสดสูงถึง 3 ตันต่อไร่ ภายใน 30 วัน ด้ วยอัตราเริ่ มต้ นของแหนแดงเพียง 100 กก./ไร่ (ประยูร, 2542) แหนแดงมีสดั ส่วน C:N ต่า (Lumpkin and Plucknett, 1982) จึงถูกย่อยสลายและปลดปล่อยไนโตรเจนออกมาให้ พืชได้ ใช้ อย่าง รวดเร็ ว และจากการที่แหนแดงสามารถเพิ่มมวลชีวภาพได้ อย่างรวดเร็ วจึงเป็ นการช่วยเพิ่มอินทรี ยวัตถุในดิน รวมถึงมีโปรตีนและ กรดอะมิโนชนิดต่างๆ เป็ นองค์ประกอบในปริมาณสูง อีกทังแหนแดงสามารถผลิ ้ ตได้ เร็วในปริ มาณไม่จากัดและมีราคาถูก สาหรับ แหนแดงสายพันธุ์ที่กรมวิชาการเกษตรทาการปรับปรุงพันธุ์ (Azolla microphylla) นัน้ สามารถเจริ ญเติบโตได้ อย่างรวดเร็วใน ประเทศไทย เมื่อเพาะเลี ้ยงในพื ้นที่ 1 ตร.ม. จะเก็บเกี่ยวได้ น ้าหนักสดประมาณ 2-2.5 กก. ดังนันการน ้ าแหนแดงสายพันธุ์ ดังกล่าวมาใช้ เป็ นส่วนผสมของวัสดุปลูกเพื่อการผลิตต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าที่ได้ จากการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ จึงเป็ นแนวทางหนึ่งใน การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าให้ ได้ คณ ุ ภาพสูงขึ ้น

อุปกรณ์ และวิธีการ การเตรี ยมแหนแดงแห้ งสาหรับใช้ ในการทดลอง โดยทาการเพาะเลี ้ยงแหนแดงในกระชังขนาด 4x8 ตร.ม. ใช้ แม่พนั ธุ์ แหนแดง 300 กรัม/ตร.ม. เมื่อแหนแดงเจริ ญเติบโตขยายเต็มพื ้นที่ซงึ่ ใช้ ระยะเวลาประมาณ 7-10 วัน จากนันเก็ ้ บเกี่ยวแหนแดง ขึ ้นจากกระชัง นามาตากแดดให้ แห้ ง โดยแหนแดงสด 15 กก. จะได้ แหนแดงแห้ ง 1 กก. เก็บแหนแดงที่ได้ ไว้ ในที่ร่มและแห้ งเพื่อ นามาทาการทดลองต่อไป นาต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าพันธุ์ปากช่อง 50 ที่ได้ จากการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ ออกจากขวดและล้ างวุ้นที่รากให้ สะอาด ชาลง ในวัสดุปลูก คือ ดิน:ขุยมะพร้ าว:ถ่านแกลบ 2:1:1 ที่ผสมด้ วยแหนแดงแห้ ง อัตรา 0 8 16 และ 24 กรัม ต่อวัสดุปลูก 1 กิโลกรัม จากนันย้ ้ ายลงถุงพลาสติกดา ขนาด 3.5x6 นิ ้ว ดูแลรดน ้าตามกาหนด ทาการวิเคราะห์สมบัติทางเคมีของแหนแดงแห้ ง ได้ แก่ ปริ มาณอินทรี ยวัตถุ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและ โพแทสเซียม ความเป็ นกรด-ด่าง Proximate analysis (AOAC, 2004) ได้ แก่ เปอร์ เซ็นต์วตั ถุแห้ ง โปรตีน เยื่อใย เถ้ า และลิกนิน วิเคราะห์สมบัติทางกายภาพของแหนแดงแห้ ง ได้ แก่ ความสามารถซึมได้ ของน ้า(permeability) การจัดชันความสามารถซึ ้ มได้ ของน ้า(class) และ ความหนาแน่นรวม(bulk density) และวิเคราะห์สาร คล้ ายฮอร์ โมนพืชในกลุม่ Free IAA Free GA3 และ Free Cytokinins โดยวิธี High-performance liquid chromatography (HPLC) เมื่อต้ นกล้ าเจริญเติบโตครบ 60 วัน ทาการบันทึกข้ อมูลการเจริ ญเติบโตของต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าในวัสดุปลูก ผสมอัตรา ต่างๆ ได้ แก่ น ้าหนักสด น ้าหนักแห้ ง ความสูง จานวนใบ เส้ นผ่าศูนย์ก ลางลาต้ น ขนาดพื ้นที่ใบ และความเขียวของใบโดยใช้ SPAD-502 meter (Konica-Minolta, Japan) คัดเลือกกรรมวิธีที่เหมาะสมจากการทดลองข้ างต้ น มาทดสอบร่วมกับการใส่ปยเคมี ุ๋ สตู ร 15-15-15 อัตรา 0.4 กรัม/1 กก.ของวัสดุดินผสม เปรี ยบเทียบกับกรรมวิธีที่ไม่ใส่แหนแดงร่ วมกับการใส่ปยเคมี ุ๋ อตั ราเดียวกัน เพื่อเป็ นการเร่ งการเจริ ญเติบ โตของต้ นกล้ า เมื่อต้ นกล้ ามีขนาดความสูงประมาณ 20 ซม. ทาการบันทึกข้ อมูลการเจริ ญเติบโตของต้ นกล้ า ได้ แก่ น ้าหนักสด น ้าหนักแห้ ง ความสูง และเส้ นผ่าศูนย์กลางลาต้ น

590

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ วางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) ข้ อมูลทังหมดแสดงเป็ ้ น ค่าเฉลี่ยของการวิเคราะห์ จานวน 8 ซ ้า วิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ (Analysis of variance, ANOVA) และทดสอบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ยด้ วยวิธีทางสถิติแบบ Duncan’s New Multiple Range (DMRT) และ t-test analysis

ผลการวิจัยและวิจารณ์ การศึกษาสมบัตทิ างเคมีและกายภาพของแหนแดงแห้ ง แหนแดง (Azolla microphylla Kaulf.) ที่ใช้ ในการศึกษา มีปริ มาณไนโตรเจนทังหมด ้ 4.69% ปริ มาณฟอสฟอรัส ทังหมด ้ 0.65% ปริ มาณโพแทสเซียมทังหมด ้ 5.01% ปริ มาณแคลเซียมทังหมด ้ 2.46% ปริ มาณแมกนีเซียมทังหมด ้ 3.37% ปริ มาณเหล็กทังหมด ้ 0.20% ปริ มาณแมงกานีสทังหมด ้ 0.18% ปริ มาณทองแดงทังหมด ้ 13.78 มก./กก. และปริ มาณสังกะสี ทังหมด ้ 59.66 มก./กก. วัตถุแห้ ง 86.4% เถ้ า 13.4% และลิกนิน 24.2% (ตารางที่ 1) จากการศึกษาสมบัติทางเคมีของแหน แดง ทาให้ ทราบว่าแหนแดงมีปริ มาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรอง สูงกว่าใบพืชทัว่ ไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งไนโตรเจน ซึ่ง เป็ นธาตุอาหารหลักที่พืชใช้ ในการเจริ ญเติบโต อีกทังมี ้ สดั ส่วนของคาร์ บอนต่อไนโตรเจน (C:N) ค่อนข้ างแคบ คือ 12.97 จึงทา ให้ แหนแดงสามารถปลดปล่อยธาตุอาหารได้ อย่างรวดเร็ ว แต่เมื่อพิจารณาองค์ประกอบทางเคมีในส่วนของลิกนินและเถ้ า พบว่ามีปริ มาณสูงถึง 24.2 และ 13.4% ตามลาดับ ซึ่งองค์ประกอบดังกล่าวอาจจะพบได้ ในส่วนของแกนใบของแหนแดง จึง อาจมีผลทาให้ การปลดปล่อยธาตุอาหารเป็ นไปได้ ช้าลง สอดคล้ องกับ Kenneth and Hans-Joachim (1996) รายงานว่าจะพบ ลิกนินในส่วนที่ยอ่ ยยากของพืชมากกว่าในส่วนใบพืชและ Jin et al. (2006) พบว่าในส่วนแกนใบของแปะก๊ วยมีลิกนินสูงกว่าใน ส่วนของใบ Table 1 Chemical properties of azolla (by dry weight) Total N (%) Total P (%) Total K (%) Total Ca (%) Total Mg (%) Fe (%) Cu (mg/kg) Zn (mg/kg) Mn (%) pH OM (%) C:N ratio Dry matter (%) Crude protein (%) Crude fiber (%) Ash (%) Lignin (%)

4.69 0.65 5.01 2.46 3.37 0.20 13.78 59.66 0.18 5.9 22.3 12.97 86.4 19.5 12.9 13.4 24.2

เมื่อนาแหนแดงแห้ งมาวิเคราะห์ สมบัติทางกายภาพ ซึ่ง ประกอบด้ วยความสามารถซึมได้ ข องนา้ (permeability) พร้ อมการจัดชันความสามารถซึ ้ มได้ ของน ้า(class) และ ความหนาแน่นรวม(bulk density) ดังตารางที่ 2 พบว่าแหนแดงมี ความสามารถซึมได้ ของน ้า 0.58 มม./ชม. การจัดชันพบว่ ้ าแหนแดงมีคณ ุ สมบัติในการให้ น ้าซึมผ่านได้ ต่า และมี ความหนาแน่น รวมเท่ากับ 0.19 กรัม/ลบ.ซม. ซึ่งสมบัติทางกายภาพของวัสดุปลูกที่เหมาะสมคือ สามารถซาบซึมน ้าได้ ดี และสามารถรักษา ความชื ้นได้ เพียงพอและเหมาะสม จากผลค่าวิเคราะห์ของความสามารถซึมได้ ของน ้าและความหนาแน่นรวมของแหนแดงแห้ ง การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

591


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

พบว่ามีความสามารถในการซึมผ่านน ้าได้ น้อย และมีความหนาแน่นรวมน้ อย จึงทาให้ เก็บกักน ้าอุ้มน ้าไว้ ได้ มาก ซึง่ เมื่อนาแหน แดงแห้ งผสมกับวัสดุปลูกชนิดอื่นๆ ในสัดส่วนที่เหมาะสม จะทาให้ วสั ดุปลูกมีคณ ุ สมบัติดีขึ ้น Table 2 Some physical properties of azolla (by dry weight) Permeability Class (mm/hr) 0.58 Slow

Bulk Density (g/cm3) 0.19

ผลการวิเคราะห์สารคล้ ายฮอร์ โมนพืชในแหนแดงพบว่า แหนแดงมีปริ มาณออกซิน (IAA) 0.118 มก./ล. ไซโตไคนิน (CKs) 0.010 มก./ล. และจิบเบอเรลลิน (GA3) 0.123 มก./ล. ดังตารางที่ 3 ซึง่ ปริ มาณที่ตรวจวิเคราะห์ได้ นนั ้ อาจจะทาให้ แหน แดงมีผลไปกระตุ้นหรื อส่งเสริมให้ รากกล้ วยในระยะกล้ าเจริญเติบโตได้ เพิ่มขึ ้น Table 3 Analysis of plant growth regulators in azolla Free IAA Free CKs (mg/L) (mg/L) 0.118 0.010 IAA: Indole-3-acetic acid, CKs: Cytokinins, GA3: Gibberellic acid

Free GA3 (mg/L) 0.123

การศึกษาผลของแหนแดงแห้ งที่ใช้ เป็ นวัสดุปลูกกล้ ากล้ วยนา้ ว้ าปากช่ อง 50 จากผลของการใช้ แหนแดงแห้ งปริ มาณ 0 8 16 และ 24 กรัม/กก. วัสดุดินผสม ที่ผสมในวัสดุปลูกต่อการ เจริญเติบโตของต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าพันธุ์ปากช่อง 50 ที่ได้ จากการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ โดยหลังจากย้ ายปลูกต้ นกล้ าเป็ นเวลา 60 วัน พบว่าการใช้ แหนแดงแห้ งปริมาณต่างๆ มีผลให้ ต้นกล้ ามีการเจริ ญเติบโตที่แตกต่างกัน โดยการใช้ แหนแดงแห้ งปริ มาณ 24 กรัม ทาให้ น ้าหนักสดต้ น น ้าหนักสดรวม น ้าหนักแห้ งต้ น น ้าหนักแห้ งราก และน ้าหนักแห้ งรวมเท่ากับ 62.12 89.94 2.83 4.01 และ 6.83 กรัม ตามลาดับ ซึง่ ให้ ผลไม่แตกต่างทางสถิติกบั การใช้ แหนแดงแห้ งในปริ มาณ 16 กรัม แต่แตกต่างจากการใช้ แหนแดงแห้ งปริมาณ 0 และ 8 กรัม (ตารางที่ 4) Table 4 Effects of dry azolla on fresh weight and dry weight of banana ‘Namwa Pakchong 50’ plantlets at 60 days after transplanting Dry azolla Fresh weight (g) Dry weight (g) (g) Shoot Root Total Shoot Root Total 0 8.88c 10.56a 20.08c 0.61c 0.79b 1.39b 8 27.70b 23.82a 51.84b 1.59b 3.09ab 4.69a 16 49.56a 27.14a 79.50a 2.62a 3.43a 6.26a 24 62.12a 29.74a 89.94a 2.83a 4.01a 6.83a CV% 25.99 40.30 28.85 31.03 60.19 44.36 Means in a column followed by different letters are significantly different at  0.05 by DMRT.

สาหรับความสูงต้ น และเส้ นผ่าศูนย์กลางของต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าปากช่อง 50 เมื่ออายุ 60 วัน หลังออกจากขวด พบว่าการใช้ แหนแดงปริ มาณต่างๆ มีผลให้ ความสูงต้ น และเส้ นผ่าศูนย์กลางของต้ นกล้ าแตกต่างกัน โดยการใช้ แหนแดงแห้ ง ปริ มาณ 16 และ 24 กรัม มีผลให้ ต้นกล้ ากล้ วยมีความสูงต้ น และเส้ นผ่าศูนย์กลางต้ นสูงใกล้ เคียงกัน และไม่แตกต่างกันทาง สถิติ แต่แตกต่างกับกรรมวิธีที่ใช้ แหนแดงแห้ งปริ มาณ 0 และ 8 กรัม โดยมีความสูงเท่ากับ 24.12 และ 25.62 ซม. และ เส้ นผ่าศูนย์กลางต้ นเท่ากับ 16.51 และ 16.44 มม. ตามลาดับ (ตารางที่ 5) ซึง่ เป็ นขนาดที่เหมาะสมสาหรับย้ ายปลูกลงแปลง ส่วนพื ้นที่ใบพบว่าการใช้ แหนแดงแห้ งปริ มาณ 24 กรัม มีผลให้ ต้นกล้ า มีพื ้นที่ใบสูงที่สดุ เท่ากับ 192.35 ตร.ซม. รองลงมาได้ แก่ การใช้ แหนแดงแห้ งปริ มาณ 16 และ 8 กรัม คือ 147.65 และ 96.52 ตร.ซม. ตามลาดับ สาหรับความเขียวของใบนัน้ พบว่าการ ใช้ แหนแดงแห้ ง 16 กรัม มีค่าความเขียวของใบสูงที่สดุ คือ 35.73 รองลงมาคือ แหนแดงแห้ ง 24 กรัม คือ 34.59 ส่วนต้ นกล้ าที่ 592

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ไม่ได้ ใส่แหนแดงมีค่าความเขียวของใบ 31.26 ซึง่ ให้ ผลไม่แตกต่างกับที่ใส่แหนแดงแห้ งปริ มาณ 8 กรัม คือ 31.03 (ตารางที่ 5 และภาพที่ 1) ทังนี ้ ้อาจเนื่องมาจากปริ มาณแหนแดงแห้ งที่ 16 และ 24 กรัม มีความเหมาะสมทังทางด้ ้ านสมบัติทางเคมีและ กายภาพ รวมถึงอาจมีปริ มาณของสารคล้ ายฮอร์ โมนที่เหมาะสมต่อการใช้ เป็ นวัสดุปลูก ของต้ นกล้ า ซึ่งสอดคล้ องกับการ ทดลองของ Awodan (2008) พบว่า เมื่อใส่แหนแดงแห้ งอัตรา 60-80 กรัม/กก.ของดินร่วนปนทราย มีผลช่วยลดความหนาแน่น รวม และเพิ่มความพรุนของดิน เมื่อวิเคราะห์ปริมาณไนโตรเจนในวัสดุปลูกกล้ ากล้ วยน ้าว้ าปากช่อง 50 ที่ระยะ 60 วัน หลังการย้ ายกล้ า พบว่าการใช้ แหนแดงแห้ งปริ มาณ 24 กรัม มีปริ มาณไนโตรเจนเฉลี่ยในวัสดุปลูกสูงที่สดุ เท่ากับ 1.14% ซึง่ ไม่แตกต่างจากการใช้ แหนแดง แห้ งปริ มาณ 16 กรัม คือ 1.13% สาหรับปริ มาณไนโตรเจนในใบ พบว่าการใช้ แหนแดงแห้ งปริ มาณต่างๆ ทาให้ ปริ มาณ ไนโตรเจนในใบไม่แตกต่างกัน แต่พบว่าการใส่แหนแดงแห้ งที่ระดับ 16 กรัม มีปริ มาณไนโตรเจนในใบของกล้ ากล้ วยน ้าว้ าปาก ช่อง 50 สูงกว่าที่ระดับอื่นๆ คือ 1.81% (ตารางที่ 6) ซึง่ สอดคล้ องกับค่าความเขียวของใบดังกล่าวข้ างต้ น Table 5 Effects of dry azolla on plant height, shoot diameter, leaf number, leaf area and leaf greenness of banana ‘Namwa Pakchong 50’ plantlet at 60 days after transplanting Dry azolla Plant Shoot diameter (g) height (cm) (mm) 0 8 16 24 CV(%)

6.90c 15.76b 24.12a 25.62a 10.39

10.13c 13.23b 16.51a 16.44a 13. 41

Leaf number 6.2 8.0 7.2 7.0 13.91

Leaf area (cm2) 26.19d 96.52c 147.65b 192.35a 28.38

Leaf greenness (SPAD-unit) 31.26c 31.03bc 35.73a 34.59ab 8.24

Means in a column followed by different letters are significantly different at  0.05 by DMRT.

Figure 1 The effect of different dry azolla proportion on growth of banana ‘Namwa Pakchong 50’ plantlet

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

593


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 6 Effects of dry azolla on nitrogen concentration of soil-mix and leaf of banana ‘Namwa Pakchong 50’ plantlet at 60 days after transplanting Dry azolla (g) 0 8 16 24 CV%

Nitrogen concentration (%) Soil-mix Leaf 0.90c 1.36 1.11b 1.68 1.13a 1.81 1.14a 1.64 4.17 24.07

Means in a column followed by different letters are significantly different at  0.05 by DMRT.

จากกรรมวิธีการทดลองข้ างต้ น พบว่าการใส่แหนแดงแห้ งที่ 16 และ 24 กรัม ให้ ผลการเจริ ญเติบโตไม่แตกต่างกันทาง สถิติ จึงคัดเลือกกรรมวิธีที่ใช้ แหนแดงแห้ ง 16 กรัม/กก.วัสดุดินผสม มาทดสอบร่วมกับการใส่ปยเคมี ุ๋ สตู ร 15-15-15 เพื่อเร่งการ เจริ ญเติบโตของต้ นกล้ าหลังจากย้ ายปลูกต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าไปแล้ ว 1 เดือน โดยใส่ปยเคมี ุ๋ อตั รา 0.4 กรัม/กก. ทุกสัปดาห์ สัปดาห์ละครัง้ เปรี ยบเทียบกับวัสดุดินผสมที่ไม่ใส่แหนแดงแห้ ง พบว่าวิธีการที่ใส่แหนแดงแห้ ง 16 กรัม ร่ วมกับการใส่ปยเคมี ุ๋ ทาให้ การเจริ ญเติบโตของต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าพันธุ์ปากช่อง 50 มีขนาดที่เหมาะสมต่อการย้ ายปลูกลงแปลงเร็วขึ ้น โดยสามารถ ย้ ายปลูกลงแปลงได้ ในระยะเวลาเพียง 45 วัน โดยวิธีการที่ใช้ แหนแดง มีขนาดความสูงต้ น 19.6 ซม. เส้ นผ่าศูนย์กลาง 13.61 มม. และมีน ้าหนักสดมากกว่าวิธีการไม่ใส่แหนแดงประมาณ 4 เท่า ซึง่ ให้ ผลเช่นเดียวกันกับน ้าหนักรากสด น ้าหนักต้ นแห้ งและ น ้าหนักรากแห้ ง (ภาพที่ 2) ซึ่งโดยทัว่ ไปต้ นกล้ ากล้ วยที่มีขนาดความสูงต้ นประมาณ 20 ซม. ต้ องใช้ ระยะเวลาในการดูแลใน โรงเรื อนเพาะชามากกว่า 60 วัน เช่นเดียวกับรายงานของ Perez and Hooks (2008) รายงานว่าขนาดต้ นกล้ ากล้ วยหอมที่ได้ จากการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อที่เหมาะสมที่จะย้ ายลงแปลงปลูกต้ องมีความสูงประมาณ 20 ซม. ซึง่ ใช้ ระยะเวลา 60 วัน หลังย้ าย ออกจากขวดเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ

Figure 2 Effects of 16 g dry azolla/kg soil-mix on height (cm), diameter (mm), shoot fresh weight (SFW, g), root fresh weight (RFW, g), shoot dry weight (SDW, mg) and root dry weight (RDW, mg) of banana ‘Namwa Pakchong 50’ plantlet at 45 days after transferred Remark * P value  0.05, values are expressed in Mean + SE (n=20). Error bars represent standard errors. According to t-test significance difference.

594

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ปผล แหนแดงแห้ ง มี คุณ สมบัติ ที่ เ หมาะสมที่ จ ะใช้ ผสมร่ ว มกับ วัส ดุป ลูก ส าหรั บ ต้ น กล้ า กล้ ว ยน า้ ว้ า พัน ธุ์ ป ากช่ อ ง 50 เนื่องจากมีธาตุอาหารต่างๆ รวมถึงสารคล้ ายฮอร์ โมนพืช และยังมีสมบัติทางกายภาพที่ดี คือ มีความหนาแน่นรวมน้ อย และมี ความสามารถในการซึมผ่านน ้าได้ น้อย จึงทาให้ เก็บกักน ้าอุ้มน ้าไว้ ได้ ดี แหนแดงแห้ งที่อตั รา 16–24 กรัม/กก.วัสดุดินผสม มี ความเหมาะสมในการใช้ ผสมในวัสดุปลูกสาหรับเพาะชาต้ นกล้ ากล้ วยน ้าว้ าที่ได้ จากการเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อ และเมื่อนาแหนแดง แห้ ง 16 กรัม/กก.วัสดุดินผสม มาใช้ ร่วมกับปุ๋ ยเคมีสตู ร 15-15-15 อัตรา 0.4 กรัม ทุกสัปดาห์ สัปดาห์ละครัง้ หลังจากย้ ายกล้ า ออกจากขวดหนึ่งเดือน พบว่าการใช้ แบบผสมผสานดังกล่าวสามารถทาให้ ต้นกล้ ากล้ วยนา้ ว้ าพันธุ์ปากช่อง 50 มีขนาด เหมาะสมที่จะนาออกปลูกในแปลงได้ ในระยะเวลาภายใน 45 วัน ซึง่ จะทาให้ ลดค่าใช้ จ่ายในการดูแลรักษาต้ นกล้ าลงประมาณ 15 วัน

กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจยั ขอขอบคุณ ศ.เบญจมาศ ศิลาย้ อย และคุณภาวนา ลิกขนานนท์ ที่ปรึกษางานวิจยั เป็ นอย่างสูงที่ได้ ให้ คาปรึกษาแนะนา และขอขอบคุณสานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ ที่ให้ ทนุ อุดหนุนการวิจยั จากสานักงานคณะกรรมการ วิจยั แห่งชาติ ประจาปี งบประมาณ 2557

เอกสารอ้ างอิง ประยูร สวัสดี. 2542. แหนแดง-การใช้ ประโยชน์. หน้ า 146-163. ใน เอกสารวิชาการปุ๋ ยอินทรี ย์และปุ๋ ยชีวภาพ กลุ่มงานวิจยั จุลินทรี ย์ดิน กอง ปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร Agbo, C.U. and C.M. Omaliko. 2006. Initiation and growth of shoots of Gongronema latifolia Benth stem cuttings in different rooting media. Afri. J. Biotech. 5: 425-428. AOAC. 2004. Official methods of Analysis, 15th ed. Association of Official Analytical Chemist, Washington, D.C. Awodan, M.A. 2008. Effect of Azolla (Azolla apecies) on physiochemical properties of the soil. World J. Agri. Sci. 4(2): 157-160. Baiyeri, K.P. 2005. Response of Musa species to macro-propagation. II: The effects of genotype initiation and weaning media on sucker growth and quality in the nursery. Afr. J. Biotech. 4: 229-234. Jin, Z., Y. Mathumoto, S. Shao, T. Akiyama, K. Iiyama and S. Watanabe. 2006. Structural difference between leaf blade and petiole of original and mulched leaf litter of Ginkgo biloba. Bull. Tokyo Univ. For. 115: 51-64. Kenneth, J.M. and G.J. Hans-Joachim. 2001. Lignin and fiber digestion. J. Range Manage. 54: 420-430. Lumpkin, T.A. and D.L. Plucknett. 1982. Azolla as a green manure: Use and management in crop production. Westview Tropical Agriculture. Series No. 5. 81 p. Majada, J.P., M.L. Centeno, I. Feito, B. Fernandez and R. Sanchez-Tames. 1998. Stomatal and cuticular traits on carnation tissue culture under different ventilation conditions. Plant Growth Reg. 25:113-121. Perez, E.A. and C.R. Hooks. 2008. Preparing Tissue-Cultured Banana Plantlets for Field Planting. Cooperative Extension Service/ CTAHR, University of Hawaii at Mänoa, Honolulu, Hawaii 3 p. Sahin, U., S. Ors, S. Ercisl, O. Anapali and A. Esitken. 2005. Effect of pumice amendment on physical soil properties and strawberry plant growth. J. Central Europ. Agri. 6: 36-366. Singh, P.K. 1979. Use of Azolla in rice production in India. pp. 407-418. In Nitrogen and Rice. IRRI Los Bafios Laguna Philippines Varma, A. and H. Schuepp. 1995. Mycorrhization of the commercially important micropropagated plants. Crit. Rev. Biotech. 15: 313-328. Watanabe, I. and C. Ramirez. 1984. Relationship between soil phosphorus availability and Azolla growth. Soil Sci. Plant Nutr. 30: 595-598. Watanabe, I., N.S. Berja and D.C. del Rosario. 1980. Growth of Azolla in paddy field as affected by phosphorus fertilizer. Soil Sci. Plant Nutr. 26: 30-307.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

595


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเพิ่มผลผลิตเห็ดนางรม โดยใช้ อุณหภูมิต่าและสารกระตุ้นการเจริญ Increase oyster mushrooms by using low temperature and growth hormone วิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก1* และชัยพร จันคง1 Wipornpan Nuangmek1* and Chaiyaporn Junkong1

บทคัดย่ อ การทดสอบผลของอุณหภูมิต่าต่อการเพิ่มผลผลิตของเห็ดนางรม โดยแช่น ้าเย็นที่อณ ุ หภูมิ 20°C นาน 2 ชัว่ โมงก่อน เปิ ดดอก พบว่าให้ ผลผลิตมากที่สดุ เฉลี่ยเท่ากับ 109.64 กรั ม/ถุง และมากกว่าชุดควบคุมอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ในขณะที่ การใช้ สารกระตุ้นการออกดอกต่อผลผลิตของเห็ดนางรม โดยใช้ สารทดสอบต่างๆ ได้ แก่ ฮอร์ โมนทางการค้ า ฮอร์ โมนชีวภาพ (ฮอร์ โมนน ้าขาว) น ้าส้ มควันไม้ ยูเรี ย และน ้าเปล่า พบว่าการใช้ ฮอร์ โมนชีวภาพ (ฮอร์ โมนน ้าขาว) อัตรา 1 มล./น ้า 1 ลิตร ให้ ผลผลิตมากที่สดุ โดยมีน ้าหนักสดเฉลี่ยเท่ากับ 107.71 กรัมต่อถุง สรุปได้ ว่าเมื่อกระตุ้นการออกดอกที่อณ ุ หภูมิ 20°C และการ ใช้ ฮอร์ โมนชีวภาพ (ฮอร์ โมนน ้าขาว) สามารถเพิ่มผลผลิตให้ กบั เห็ดนางรมได้ คาสาคัญ: เห็ดนางรม, อุณหภูมิต่า, สารกระตุ้นการเจริญ, น ้าส้ มควันไม้ , ยูเรี ย

Abstract The effect of low temperature for increasing oyster mushroom production was tested. Mushroom spawn were dipped in cool water (20°C) for two hours before open. It was found that, oyster mushroom yield that treated with cool water had higher significantly fresh weight (109.64 gram/spawn) than control. Growth promoting agents including trade hormone, biological hormone, wood vinegar, urea and water were also tested for increasing oyster mushroom. The results showed that, biological hormone treatment (1 ml./1 liter) had highest fresh weight (107.71 gram/spawn) than other promoting agents. It can conclude that, dipping in cool water and using biological hormone could increase oyster mushroom yield. Keywords: Oyster mushroom, low temperature, growth hormone, wood vinegar, urea

คานา เห็ดเป็ นเชื ้อราขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ซึ่งในโลกนี ้มีเห็ดมากกว่า 350 ชนิด แต่มีเพียง 20 กว่าชนิด ที่สามารถนามา เพาะเลี ้ยงได้ เห็ดเป็ นอาหารที่มีความปลอดภัย เนื่องจากใช้ วตั ถุอนั ตรายทางการเกษตรน้ อย และมี คณ ุ ค่าทางโภชนาการสูง โดยเห็ดสดมีปริมาณโปรตีน 3-5 เปอร์ เซ็นต์ และเมื่อนามาอบแห้ งจะมีปริมาณโปรตีนสูงถึง 30-40 เปอร์ เซ็นต์ ทาให้ เป็ นที่นิยม บริ โภคกันทัว่ ไป ซึ่งประเทศไทยมีศกั ยภาพในการผลิตเห็ดได้ หลายชนิด เห็ดที่สามารถนามาเพาะเลี ้ยงได้ ตลอดปี เช่น เห็ด นางฟ้า เห็ดนางรม เห็ดเป๋ าฮื ้อ เห็ดหูหนู และเห็ดหอม (ณัฐภูมิ และ คมสันต์ , 2552) ซึ่งเห็ดสกุลนางรมเป็ นเห็ดที่นิยมของ ตลาด ใช้ พื ้นที่ไม่มาก และ เหมาะสมกับสภาพอากาศในประเทศไทย เห็ดนางรมเป็ นเห็ดที่นิยมของตลาด เนื ้อแน่น รสชาติอร่อย มีคณ ุ ค่าทางอาหารสูง มีไขมันต่า ปลอดภัยจากสารพิษ สามารถเก็บไว้ ในตู้เย็นได้ หลายวัน และสามารถปรุงอาหารได้ หลายอย่างเช่นเดียวกับเห็ดชนิดอื่น ๆ การเพาะเห็ดนางรมใช้ พื ้นที่ไม่มาก สามารถผลิตเพื่อบริ โภคในครัวเรื อนและทาเป็ นธุรกิจชุมชนได้ และมีการเพาะกันทัว่ ไปเกือบทังประเทศ ้ เห็ด นางรมเจริญเติบโตได้ ดีในสภาพอากาศที่มีอณ ุ หภูมิระหว่าง 24–33 °C และความชื ้นสัมพัทธ์ 70–80 เปอร์ เซ็นต์ ใช้ เวลาในการ บ่มเส้ นใย 1-1.5 เดือน (เติมพงศ์, 2552) ปั จจัยที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของเห็ดนางรม คือ อุณหภูมิ ซึ่งเป็ นปั จจัยที่สาคัญต่อการเจริ ญของเส้ นใยและการ เจริ ญเติบโตของเห็ด โดยระดับอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริ ญของเส้ นใยเห็ดนางรมจะอยู่ที่ประมาณ 25–35 °C ส่วนระดับ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริ ญเติบโตของดอกเห็ดนางรมจะอยู่ระหว่าง 20–30 °C ซึ่งเห็ดนางรมจะมีดอกขนาดใหญ่และ 1

คณะเกษตรศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา ต.แม่กา อ.เมือง จ.พะเยา 56000 Agriculture and Natural Resources, University of Phayao, Maka, Munag, Phayao 56000 *Corresponding author: wipornpannuangmek@gmail.com 596

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ให้ ผลผลิตมาก หากอุณหภูมิต่ากว่า 15 °C หรื อสูงกว่า 35 °C เห็ดนางรมจะไม่ออกดอก แต่การให้ ก้อนเชื ้อได้ รับอุณหภูมิต่า กว่า 20 °C ในระยะเวลาสัน้ ๆ หรื อได้ รับอุณหภูมิต่าในช่วงกลางคืน จะช่วยให้ การชักนาให้ การออกดอกเห็ดดีขึ ้น (ปั ญญา และ กิตติพงษ์ , 2538) งานวิจัยนี จ้ ึงมี วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิแ ละสารกระตุ้นการออกดอกต่อการเจริ ญเติบโตและเพิ่ม ผลผลิต เพื่อนาผลการวิจยั ที่ได้ ไปใช้ เป็ นแนวทางในการศึกษาหาวิธีการเพาะเห็ดนางรมให้ ได้ ผลผลิตเพิ่มขึ ้นและมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ ้น

อุปกรณ์ และวิธีการ การทดลองที่ 1 ศึกษาผลของอุณหภูมติ ่ อการกระตุ้นการออกดอกของเห็ดนางรม สูตรอาหารเพาะเห็ด ขี ้เลื่อยยางพารา 100 กิโลกรัม ยิบซัม่ (แร่โลหะ) 1 กิโลกรัม ปูนขาว 1 กิโลกรัม ดีเกลือ 0.3 กิโลกรัม ราข้ าวละเอียด 6 กิโลกรัม น ้า 7-8 บัวรดน ้า การทาก้ อนเชือ้ เห็ด นาส่วนผสมทุกอย่างมาผสมคลุกเคล้ าให้ เข้ ากัน เติมน ้าลงไปให้ มีความชื ้น 50-60 เปอร์ เซ็นต์ จากนันน ้ าส่วนผสมไป บรรจุในถุงพลาสติกที่ทนร้ อน ขนาด 6.5x12.5 นิ ้ว หนา 0.8-1.10 มิลลิเมตร ประมาณ 800-1,000 กรัม อัดให้ แน่นพอสมควร จากนันใส่ ้ คอขวด แล้ วปิ ดปากขวดด้ วยฝาจุกสาลี นาไปนึง่ ฆ่าเชื ้อด้ วยถังนึง่ เป็ นเวลาประมาณ 3 ชัว่ โมง ทิ ้งก้ อนเชื ้อไว้ ให้ เย็น การถ่ ายหัวเชือ้ ลงบนถุงอาหารเพาะ ใช้ เข็มเขี่ยที่ลนไฟฆ่าเชื ้อแล้ วเขี่ยเมล็ดข้ าวฟ่ างในขวดหัวเชื ้อให้ กระจาย จากนันเทหั ้ วเชื ้อลงในถุงเพาะเห็ดประมาณ 15-20 เมล็ดต่อถุง อย่างรวดเร็ว ปิ ดจุกสาลีที่ปากถุงเพื่อป้องกันไม่ให้ ปนเปื อ้ นเชื ้ออื่น ๆ แล้ วเขย่าถุงก้ อนเชื ้อเบาๆ ให้ เมล็ดข้ าว ฟ่ างกระจายออกเต็มหน้ าก้ อนเชื ้อ หุ้มปากถุงด้ วยกระดาษ รัดด้ วยยางรัด แล้ วนาก้ อนเชื ้อเข้ าห้ องบ่มเชื ้อต่อไป การบ่ มเส้ นใยเห็ด นาก้ อนเชื ้อไปบ่มในโรงเรื อน ที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก ควบคุมอุณหภูมิอยูร่ ะหว่าง 25-30 °C บ่มเส้ นใยใช้ เวลา 11.5 เดือน กระตุ้นการออกดอกของเห็ดนางรม วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (Completely randomized design; CRD) แบ่งออกเป็ น 2 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 10 ถุง ได้ แก่ กรรมวิธีที่ 1 ชุดควบคุม และกรรมวิธีที่ 2 แช่ก้อนเห็ดในน ้าเย็นที่อณ ุ หภูมิ 20°C นาน 2 ชัว่ โมงก่อนเปิ ดดอก จากนันน ้ าไปบ่มต่อในโรงเรื อน การเปิ ดดอกเห็ดและการดูแลรั กษา เปิ ดดอกเห็ดโดยดึงจุกที่อดุ ปากถุงออก รดน ้าให้ ความชื ้นภายในโรงเรื อน รักษาความชื ้นสัมพัทธ์ในอากาศ 70-90 เปอร์ เซ็นต์ บันทึกผลหลังจากเปิ ดถุงได้ 7-14 วัน โดยเก็บข้ อมูลของผลผลิต ได้ แก่ น ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ ง ตลอดระยะเวลา การให้ ผลผลิต การทดลองที่ 2 ศึกษาผลของสารกระตุ้นการออกดอกต่ อผลผลิตของเห็ดนางรม ทาก้ อนเชื ้อและดูแลรักษาเช่นเดียวกับการทดลองที่ 1 เมื่อถึงระยะออกดอกและเปิ ดก้ อนเห็ด ทาการฉีดพ่นสารกระตุ้น การออกดอก โดยแบ่งการทดลองออกเป็ น 5 กรรมวิธีกรรมวิธีละ 10 ถุง ได้ แก่ กรรมวิธีที่ 1 ชุดควบคุม (ฉีดพ่นด้ วยน ้ากลัน่ ที่ฆ่าเชื ้อแล้ ว) กรรมวิธีที่ 2 ฉีดพ่นด้ วยปุ๋ ยยูเรี ย 5 กรัม ต่อน ้า 1 ลิตร กรรมวิธีที่ 3 ฉีดพ่นด้ วยน ้าส้ มควันไม้ 100 มล. ต่อน ้า 20 ลิตร กรรมวิธีที่ 4 ฉีดพ่นด้ วยฮอร์ โมนกระตุ้นการออกดอกทางการค้ า (มัลติโกล์) อัตรา 20 มล. ต่อ น ้า 20ลิตร กรรมวิธีที่ 5 ฉีดพ่นด้ วยฮอร์ โมนกระตุ้นการออกดอกทางชีวภาพ (ฮอร์ โมนน ้าขาว) อัตรา 20 มล. ต่อ น ้า 20ลิตร การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

597


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ดูแลรักษาก้ อนเห็ดและบันทึกผลเช่นเดียวกับการทดลองที่ 1 จากนันน ้ าผลมาวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of variance; ANOVA) และเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan Multiple Range Test (DMRT) ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

ผลการทดลองและวิจารณ์ การศึกษาผลของอุณหภูมติ ่ อการกระตุ้นการออกดอกของเห็ดนางรม หลังจากกระตุ้นการออกดอกเห็ด โดยแช่ก้อนเพาะเห็ดในน ้าเย็นที่อณ ุ หภูมิ 20 °C นาน 2 ชัว่ โมง พบว่าน ้าหนักสดของ เห็ดนางรมในกรรมวิธีที่กระตุ้นโดยแช่ในน ้าเย็นที่อณ ุ หภูมิ 20 °C มีน ้าหนักมากที่สดุ เท่ากับ 109.64 กรัม ซึง่ มากกว่าชุด ควบคุมอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ในขณะที่น ้าหนักแห้ งของเห็ดนางรมทัง้ 2 กรรมวิธี ไม่แตกต่างกัน (ตารางที่ 1) ทังนี ้ ้อาจเป็ น เพราะที่อณ ุ หภูมิ 20 °C มีความเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเห็ดนางรม ซึง่ สอดคล้ องกับบริรักษ์ (2544) ที่กล่าวไว้ วา่ อุณหภูมิที่เหมาะสมสาหรับการเจริญในระยะเส้ นใยและการสร้ างดอกเห็ดอยูใ่ นช่วง 15-20 °C ซึง่ จะทาให้ เส้ นใยเจริญเติบโต อย่างรวดเร็ว ตารางที่ 1 น ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ งของเห็ดนางรมหลังจากการกระตุ้นที่อณ ุ หภูมิต่า 20 °C กรรมวิธี ชุดควบคุม อุณหภูมติ ่า 20 °C t-test CV%

นา้ หนักสด (กรั ม) 100.50b 109.64a * 7.14

นา้ หนักแห้ ง (กรั ม) 14.45 14.85 ns 8.42

หมายเหตุ: ตัวอักษรภาษาอังกฤษเหมือนกันในคอลัมน์เดียวกันแสดงว่าค่าเฉลี่ยไม่มีความแตกต่างอย่างมนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

การศึกษาผลของสารกระตุ้นการออกดอกต่ อผลผลิตของเห็ดนางรม การใช้ สารกระตุ้นการออกดอกเพื่อเพิ่มผลผลิตเห็ดนางรม พบว่าน ้าหนักสดของเห็ดนางรมในกรรมวิธีที่ 2 (ฮอร์ โมนน ้า ขาว) มีแนวโน้ มให้ น ้าหนักสดมากที่สดุ เท่ากับ 107.71 กรัม แต่ไม่แตกต่างจากกรรมวิธีอื่น ๆ ในขณะที่น ้าหนักแห้ งของเห็ด นางรม พบว่ากรรมวิธีที่ 2 มีแนวโน้ มให้ น ้าหนักแห้ งมากที่สดุ เท่ากับ 15.67 กรัม ซึง่ มากกว่ากรรมวิธีที่ 1 (ฮอร์ โมนทางการค้ า) และกรรมวิธีที่ 4 (ยูเรี ย) อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (ตารางที่ 2) ฮอร์ โมนชีวภาพ (ฮอร์ โมนน ้าขาว) ให้ ผลผลิตสูงที่สดุ ทังน ้ ้าหนัก สดและน ้าหนักแห้ ง เนื่องจากในฮอร์ โมนนันมี ้ ปริ มาณธาตุอาหารที่จาเป็ นต่อการเจริ ญของดอกเห็ด และมีปริ มาณธาตุอาหาร เหมาะสมมากกว่าสารตัวอื่น ๆ ซึง่ ในฮอร์ โมนน ้าขาวนันมี ้ องค์ประกอบธาตุอาหาร เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และ มีกรดอะมิโน ตลอดจนฮอร์ โมนต่างๆ ซึ่งเส้ นใยเห็ดสามารถย่อยสลายและนาไปใช้ ได้ ดี จึงทาให้ เห็ดสร้ างเส้ นใยได้ สมบูรณ์ (ทิพวรรณ, 2551) และในงานวิจยั ของ โชลม (2554) เปรี ยบเทียบผลผลิตสดของเห็ดนางฟ้าที่เพาะในน ้าหมักชีวภาพชนิดต่าง ๆ พบว่าน ้าหมักชีวภาพจากมูลค้ างคาวให้ ผลผลิตสดของเห็ดสูงที่สดุ ทังนี ้ ้เพราะว่าน ้าหมักชีวภาพจากมูลค้ างคาวมีองค์ประกอบ ธาตุอาหาร เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และมีกรดอะมิโน ตลอดจนฮอร์ โมนต่าง ๆ ซึง่ เส้ นใยเห็ดสามารถย่อยสลาย และนาไปใช้ ได้ ดี และสังเกตเห็นว่าเห็ดนางฟ้าสร้ างเส้ นใยหนาแน่นเต็มถุงก่อนน ้าหมักชนิดอื่น

598

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ตารางที่ 2 น ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ งของเห็ดนางรมหลังจากใช้ สารกระตุ้น กรรมวิธี 1 ฮอร์ โมนทางการค้ า 2 ฮอร์ โมนนา้ ขาว 3 นา้ ส้ มควันไม้ 4 ยูเรี ย 5 ชุดควบคุม t-test CV%

นา้ หนักสด (กรั ม) 98.35 107.71 100.87 101.86 100.32 ns 13.31

นา้ หนักแห้ ง (กรั ม) 13.97b 15.67a 14.40ab 13.77b 14.63ab * 9.13

หมายเหตุ: ตัวอักษรภาษาอังกฤษเหมือนกันในคอลัมน์เดียวกันแสดงว่าค่าเฉลี่ยไม่มีความแตกต่างอย่างมนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับนัยสาคัญ 0.05

สรุ ปผลการทดลอง การทดลองผลของอุณหภูมิตอ่ การกระตุ้นการออกดอกของเห็ดนางรมสรุปได้ วา่ การกระตุ้นด้ วยอุณหภูมิ 20 °C ก่อนเปิ ดดอกจะให้ ผลผลิตสูงที่สดุ โดยมีน ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งเฉลี่ยเท่ากับ 109.64 และ 14.85 กรัม ในขณะที่การใช้ สาร กระตุ้นการออกดอกพบว่าฮอร์ โมนน ้าขาวให้ ผลผลิตสูงที่สดุ ทังน ้ ้าหนักสด และน ้าหนักแห้ ง เฉลี่ยเท่ากับ 107.71 และ 15.67 กรัม

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณคณะเกษตรศาสตร์ และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา ที่สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์ และสถานที่ใน การดาเนินงานวิจยั นี ้

เอกสารอ้ างอิง โชลม จิตรมัน่ . 2554. ประสิทธิภาพของน ้าหมักชีวภาพในการเพาะเห็ด. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการและนาเสนอผลงานวิจยั “มสธ. วิจยั ประจาปี 2554”. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.หน้ า 289-299. ณัฐภูมิ สุดแก้ ว และ คมสันต์ หุตะแพทย์. 2552. การเพาะเห็ดสวนครัว. สานักพิมพ์เกษตรธรรมชาติ, กรุงเทพฯ. เติมพงศ์ แสงปกรณ์กิจ. 2552. เห็ดนางฟ้า. สานักพิมพ์เกษตรสยามบุ๊ค, กรุงเทพฯ. ทิพวรรณ สิทธิรังสรรค์. 2551. เกษตรธรรมชาติ. โอเดียนสโตร์ , กรุงเทพฯ. บริ รักษ์ ธรรมสิทธิ์. 2544. การเพาะเห็ดนางรม (Pleurotus ostreatus) โดยใช้ กากมัสตาร์ ด ปั ญหาพิเศษวิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาจุลชีววิทยา). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. ปั ญญา โพธิ์ฐิติรัตน์ และ กิตติพงษ์ ศิริวานิชกุล. 2538. เทคโนโลยีการเพาะเห็ด. สานักพิมพ์รัว้ เขียว, กรุงเทพฯ.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

599


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การให้ ผลผลิตและความงอกของเหง้ าข้ าวเย็นใต้ (Dioscorea membranacea Pierre ex Prain & Burkill) Yield Performance and Rhizome Sprouting of Khoa-Yen-Tai (Dioscorea membranacea Pierre ex Prain & Burkill) นิชาภา บุญบริวารกุล1 ภาณุมาศ ฤทธิไชย1* และเยาวพา จิระเกียรติกุล1 Nichapa Bunborriwankul1 Panumart Rithichai1* and Yaowapha Jirakiattikul1

บทคัดย่ อ ข้ าวเย็นใต้ (Dioscorea membranacea Pierre ex Prain & Burkill) เป็ นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่งที่ใช้ สว่ นของเหง้ านาไป ผลิตเป็ นยารักษาโรคได้ หลายชนิด เช่น โรคมะเร็ง โรคเอดส์ และโรคน ้าเหลืองเสีย เป็ นต้ น โดยทัว่ ไป การเก็บเกี่ยวพืชที่มีอาหาร สะสมในลาต้ นใต้ ดิน ควรเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ งเมื่อลาต้ นเหนือดินเหี่ ยวและแห้ ง แต่การปลูกเพื่อผลิตเหง้ าข้ าวเย็นใต้ ยงั มี ข้ อมูลค่อนข้ างจากัด ดังนันในการทดลองนี ้ ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการให้ ผลผลิตและการงอกของเหง้ าข้ าวเย็นใต้ ในช่วงฤดู แล้ ง โดยปลูกเหง้ าในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 และเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ งในเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ และมีนาคม พ.ศ. 2558 พบว่า ผลผลิตเหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนต่าง ๆ ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยเหง้ าที่เก็บเกี่ยวใน เดือนกุมภาพันธ์ มีน ้าหนักแห้ งสูงสุด 113.59 กรัมต่อต้ น รองลงมาคือเดือนมีนาคม และมกราคม มีน ้าหนักแห้ งเหง้ า 100.29 และ 85.94 กรัมต่อต้ น ตามลาดับ หลังจากนันเก็ ้ บรักษาเหง้ าที่อณ ุ หภูมิห้อง (30°C) บันทึกความงอกหลังการเก็บเกี่ยวทุกเดือน จนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 หรื อ หลังเก็บเกี่ยวแล้ ว 2 - 4 เดือน พบว่าเหง้ าที่เก็บรักษาเริ่ มงอกหลังเก็บเกี่ยวแล้ ว 2 เดือน เหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนมี นาคม มีความงอกสูงสุด 66.67 % ส่วนเหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนมกราคม มีความงอกต่าที่สดุ 33.33 % คาสาคัญ: Dioscorea membranacea การงอก การให้ ผลผลิต

Abstract Khao-Yen-Tai (Dioscorea membranacea Pierre ex Prain & Burkill) is one of the medicinal plants which its rhizomes are used for the treatment of various diseases such as cancer, AIDS, and lymphopathy etc. Normally, the underground shoots should be harvested during dry season when aboveground shoots wither and dry. However, information of Khao-Yen-Tai rhizome production was quite limited, therefore, the objective of this study was to determine yield performance and rhizome sprouting of Khao-Yen-Tai during dry season. The rhizomes were planted on November 2012 and harvested in January, February and March 2015. Results showed that rhizome yield was not significantly different among the harvesting times. Rhizomes harvested in February exhibited the highest yield as 113.59 g DW plant-1, followed by those harvested in March and January as 100.29 and 85.94 g DW plant-1, respectively. Then, the rhizomes were kept at room temperature (30°C). Sprouting was examined monthly after harvesting until May 2015 or 2 – 4 months after harvest. Results indicated that the rhizomes started to sprout at 2 months after harvest. Rhizome harvested in March showed the highest sprouting percentage as 66.67 % while those in January revealed the lowest sprouting percentage as 33.33 %. Keywords: Dioscorea membranacea, sprouting, yield performance

1

ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปทุมธานี 12120 Department of Agricultural Technology, Faculty of Science and Technology, Thammasat University, Pathumthani 12120 * Correspondent author: panumart@tu.ac.th 1

600

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ข้ าวเย็นใต้ (Dioscorea membranacea) มีชื่อเรี ยกหลายชื่อ เช่น หัวยาจีน มันหมู ข้ าวเย็นโคกขาว เครื อเต่าให้ และ ยาหัวข้ อ เป็ นต้ น (วุฒิ, 2540) ข้ าวเย็นใต้ เป็ นพืชใบเลี ้ยงเดี่ยว อยู่ในวงศ์ Dioscoreaceae มีลกั ษณะเป็ นไม้ เลื ้อยไม่มีเนื ้อไม้ มี เหง้ าสะสมอาหาร มีผิวเป็ นสีดา มีปมนู ุ่ นรอบๆ เนื ้อข้ างในมีลกั ษณะอ่อนและเปราะ สีเหลืองอ่อน ใบเป็ นใบเดี่ยวเรี ยงสลับ ใบมี ขนาดใหญ่เป็ นรูปหัวใจ 3-5 แฉก (Boonyaratanakornkit and Chantarateptawam, 1993) ข้ าวเย็นใต้ เป็ นพืชสมุนไพรชนิด หนึ่งที่แพทย์แผนโบราณใช้ กนั อย่างแพร่ หลาย โดยนาส่วนของเหง้ าไปใช้ ร่วมกับสมุนไพรชนิดต่าง ๆ เพื่อรั กษาโรคหลายชนิด เช่น โรคมะเร็ง โรคเอดส์ และโรคน ้าเหลืองเสีย เป็ นต้ น (แก้ ว, 2547; Itharat et al., 2004) การผลิตข้ าวเย็นใต้ ในปั จจุบนั ยังไม่มีการทาเป็ นเชิงพาณิชย์ ส่วนมากเหง้ าที่นามาใช้ ได้ จากป่ าตามธรรมชาติ การนา ออกมาใช้ อย่างต่อเนื่องอาจทาให้ เกิดการสูญพันธุ์ใ นที่สุด ดังนัน้ จึงจาเป็ นต้ องมีการขยายพันธุ์ เพื่อนาเหง้ าเหล่านีม้ าเพิ่ม จานวนต้ นและสกัดเป็ นยาต่อไปในอนาคต การขยายพันธุ์พืชในสกุล Dioscorea อาจใช้ หวั พันธุ์ทงหั ั ้ วหรื อนาหัวพันธุ์มาแบ่งให้ ติดส่วนที่มีจดุ เจริ ญอยู่ (ทิพวรรณ และ เทวิน, 2544) ซึง่ ภาณุมาศ และ อรุณพร (2554) รายงานว่า การเพาะเหง้ าข้ าวเย็นใต้ โดยไม่ตดั แบ่งในดินใบก้ ามปูหมัก และพรางแสง 50 % เหง้ าจะเริ่ มงอกเมื่ออายุ 14 วันหลังเพาะ มีความงอก 50.9 % ข้ าวเย็นใต้ มีการเจริญเติบโตของลาต้ นเหนือดินในช่วงฤดูฝนและฟุบเมื่อถึงฤดูแล้ ง โดยทัว่ ไปเหง้ าจะพักตัวอยู่ในดินและจะงอก ใหม่เมื่อได้ รับความชื ้น (ณรงค์, 2538) ซึ่งระยะเวลาการเจริ ญเติบโตจนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิตของพืชในสกุล Dioscorea แต่ละ ชนิดจะแตกต่างกัน เช่น D. alata มีช่วงเวลาการปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว 220-300 วัน D. Cayenensis 280-350 วัน D. esculenta 200-300 วัน (Opara, 1999) และจากการศึกษาการเจริ ญเติบโตของข้ าวเย็นใต้ ของ Rithichai et al. (2013) โดยนา เหง้ าจากป่ ามาปลูก พบว่าต้ องปลูกอย่างน้ อย 450 วัน จึงจะได้ เหง้ าที่มีปริ มาณสารสาคัญมากพอเพื่อสกัดเป็ นยาได้ Onwueme (1978) กล่าวว่า การเก็บเกี่ยวพืชที่มีการสะสมอาหารในลาต้ นใต้ ดินควรเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ งที่ลาต้ นเหนือดินฟุบ อย่างไรก็ตาม ระยะการเก็บเกี่ยวในฤดูแล้ งและการเก็บรักษาเหง้ าของข้ าวเย็นใต้ เพื่อการขยายพันธุ์ยงั มีข้อมูลค่อนข้ างจากัด ดังนันในการทดลองนี ้ ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการให้ ผลผลิตเมื่อเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ งในเดือนที่ แตกต่างกันรวมถึงการงอก ของเหง้ าข้ าวเย็นใต้

อุปกรณ์ และวิธีการ นาหัวพันธุ์ข้าวเย็นใต้ จากป่ าในอาเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ์ มาปลูกในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ในกระถาง พลาสติกที่มีเส้ นผ่านศูนย์กลาง 50 ซม. โดยมีวสั ดุปลูกคือ ดินใบก้ ามปูหมัก ทรายหยาบ ดินผสม ปุ๋ ยคอก และถ่านแกลบ อัตราส่วน 2:2:1:1:1 โดยปริ มาตร บรรจุวสั ดุปลูกกระถางละ 35 กก. ใส่ปยุ๋ 16-16-16 อัตรา 10 กรัมต่อกระถาง ในวันปลูกและ หลังปลูกทุกๆ เดือน วางกระถางปลูกในโรงเรื อนที่มีการพรางแสง 50 % ทาการปั กค้ าง ให้ น ้าทุกวันและในเดือนพฤจิกายน พ.ศ. 2557 งดการให้ น ้าเพื่อเลียนแบบสภาพธรรมชาติในป่ า การทดลองมีทงหมด ั้ 5 ซ ้า ซ ้าละ 3 ต้ น โดยเก็บเกี่ยวผลผลิตเหง้ า ข้ าวเย็นใต้ เมื่อลาต้ นเหนือดินแห้ งในเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ และ มีนาคม พ.ศ. 2558 บันทึกน ้าหนักสดโดยชัง่ เหง้ าทังหมด ้ เหง้ าส่วนที่ไม่มีจดุ เจริญ จะนาไปฝานบางๆ และนาไปอบที่อณ ุ หภูมิ 50 °C นาน 72 ชัว่ โมง เพื่อหาน ้าหนักแห้ ง เหง้ าข้ าวเย็นใต้ ที่มีจดุ เจริ ญเก็บรักษาไว้ ที่อณ ุ หภูมิห้อง (30 °C) บันทึกจานวนเหง้ าที่งอก เมื่อลาต้ นเหนือดินงอกและ มีความสูง 10 – 15 ซม. ในขณะเก็บรักษาทุกเดือนจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 และในวันสิ ้นสุดการทดลอง บันทึก จานวนหัวพันธุ์ที่พกั ตัว และหัวพันธุ์ที่ฝ่อ การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ นาข้ อมูลมาวิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of variance) ตามวิธี CRD เปรี ยบเทียบ ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี DMRT ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 % โดยใช้ โปรแกรม SAS

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

601


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการปลูกข้ าวเย็นใต้ ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 และเก็บเกี่ยวในช่วงฤดูแล้ งในเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ และ มีนาคม พ.ศ. 2558 พบว่าเหง้ าที่เก็บเกี่ ยวในเดือนกุมภาพันธ์ มีผลผลิตนา้ หนักสดและนา้ หนักแห้ งของเหง้ าสูงที่สุด 560.00 และ 113.59 กรัมต่อต้ น รองลงมาคือเหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนมีนาคม 500.00 และ 100.29 กรัมต่อต้ น และเหง้ าที่เก็บ เกี่ยวในเดือนมกราคม 380.00 และ 85.94 กรัมต่อต้ น ตามลาดับ ซึ่งไม่ว่าจะเก็บผลผลิตในเดือนใดก็ตาม การให้ ผลผลิตเหง้ า ทังน ้ ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งเหง้ าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิ ติ (Table 1) เหง้ าที่เก็บเกี่ยวในการทดลองนี ้ มีอายุ 26 27 และ 28 เดือนหลังปลูก เมื่อเก็บเกี่ยวในเดือนมกราคม กุมภาพันธ์ และมีนาคม พ.ศ. 2558 ตามลาดับ ในช่วงเวลา ดังกล่าวลาต้ นเหนือดินแห้ งเนื่องจากงดการให้ น ้าตังแต่ ้ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2557 ประกอบกับสภาพอากาศที่เริ่ มเย็นและ แห้ งแล้ งไม่มีฝน (Figure 1) เหง้ าที่ปลูกมีระยะเวลายาวนานพอในการเจริ ญเติบโตและสะสมอาหาร จึงมีผลผลิตค่อนข้ างสูง เมื่อเปรี ยบเทียบกับรายงานของ Rithichai et al. (2013) ที่เก็บเกี่ยวเหง้ าอายุ 15 เดือน มีน ้าหนักแห้ งเหง้ าเพียง 41.8 กรัมต่อ ต้ น จะเห็นได้ ว่าการเก็บเกี่ยวเหง้ าในช่วงฤดูแล้ งของปี ที่ 2 (Figure 1) ของการปลูก การเก็บเกี่ยวเร็วหรื อช้ าไม่มีผลต่อการให้ ผลผลิต Table 1 Effect of harvesting time on fresh weight and dry weight of Khao-Yen-Tai (Dioscorea membranacea) rhizomes. Harvesting time January February March F-test C.V. (%) ns: non-significant

Fresh weight (g plant-1) 380.00 560.00 500.00 ns 29.44

Dry weight (g plant-1) 85.94 113.59 100.29 ns 29.92

เมื่อนาเหง้ าส่วนที่มีจดุ เจริ ญมาเก็บรักษาไว้ ที่อณ ุ หภูมิห้อง (30 °C) เพื่อเตรี ยมเพาะในแปลงปลูกในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 พบว่า เหง้ าที่เก็บรักษาในทุกอายุของการเก็บเกี่ยว มีการงอกของลาต้ นเหนือดินภายใน 2 เดือนหลังการเก็บรักษา การงอกเกิดขึ ้นอย่างต่อเนื่อง และในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 พบว่าเหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนมีนาคมมีความงอกสูงที่สดุ คือ 66.67 % รองลงมาคือเดือนกุมภาพันธ์ 46.67 % และเหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนมกราคมมีความงอกต่าที่สดุ 33.33 % อย่างไรก็ ตาม เปอร์ เซ็นต์ความงอกของเหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนต่างกันไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (Table 2) Opara (1999) ได้ รายงานไว้ ว่า สภาพที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาหัวหรื อลาต้ นใต้ ดินของพืชในสกุล Dioscorea แตกต่างกันตามชนิด (species) เช่น การเก็บรักษา D. alata และ D. trifida ที่อณ ุ หภูมิ 12.5 และ 3 °C ทาให้ สามารถเก็บรักษาหัวได้ นาน 2 และ 1 เดือน ตามลาดับ แต่การงอกในระหว่างการเก็บรักษาจะเกิดขึ ้นเมื่อเก็บรั กษาในสภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น ในระหว่างการเก็บ รักษาหัว D. trifida ที่อณ ุ หภูมิ 20-29 °C ความชื ้นสัมพัทธ์ 46-62 % จะทาให้ หวั เริ่ มงอกภายใน 3 สัปดาห์ (Thompson, 1996) ดังนันอาจเป็ ้ นไปได้ ว่าการเก็บรักษาข้ าวเย็นใต้ ที่อณ ุ หภูมิห้อง (30 °C) อาจยังไม่ใช่สภาพที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาหัวพันธุ์ นอกจากนี ้เหง้ าข้ าวเย็นใต้ เป็ นพืชที่งอกได้ เร็ วตามธรรมชาติ เหง้ าที่เก็บเกี่ยวจึงมีการพักตัวค่อนข้ างต่า จากการทดลองของ ภาณุมาศ และอรุณพร (2554) พบว่าเมื่อนาข้ าวเย็นใต้ (D. membranacea) จากป่ ามาเพาะทังเหง้ ้ า มีระยะเวลาเฉลี่ยในการ งอกสันเพี ้ ยง 19.9 – 23.4 วัน เช่นเดียวกับพืชในสกุล Dioscorea บางชนิดที่มีระยะเวลาในการงอกสัน้ เช่น 30 - 35 วัน ใน D. opposite (Kim et al., 2005) 30 วัน ใน D. japonica (Yoshida et al., 2007) ซึง่ แตกต่างจากการทดลองของ ปิ ยาภัทร และ คณะ (2556) ได้ เพาะเหง้ า D. birmanica เก็บมาจากป่ า พบว่าเหง้ างอกช้ า มีระยะเวลาเฉลี่ยในการงอกยาวนาน 90.3 ถึง 105.0 วันหลังเพาะ ในระหว่างการเก็บรักษาพบว่าเหง้ าบางส่วนเริ่ มฝ่ อ โดยเหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนกุมภาพันธ์ มีเหง้ าฝ่ อมากที่สดุ 33.33 % รองลงมาคือเหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนมกราคมมีเหง้ าฝ่ อ 13.33 % และไม่พบเหง้ าที่ฝ่อเมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตในเดือนมีนาคม (Table 2) เหง้ าข้ าวเย็นใต้ มีเนื ้อในเหง้ าค่อนข้ างนิ่มและเปลือกเหง้ าเปราะบาง ทาให้ เหง้ าฝ่ อหรื อเน่าบางส่วน ซึ่งมักเกิดจาก การเข้ าทาลายของเชื ้อจุลินทรี ย์ โดยเหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนกุมภาพันธ์ มีจานวนเหง้ าที่ฝ่อและเน่ามากกว่าในเดือนมกราคม 602

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

(Table 1) อาจเป็ นเพราะเหง้ าเหล่านี ้มีขนาดใหญ่และเนื ้อของเหง้ ามาก โอกาสในการเข้ าทาลายของเชื ้อจุลินทรี ย์จะมากกว่า เหง้ าที่มีเนื ้อเหง้ าน้ อย ซึง่ โรคหลังการเก็บเกี่ยวที่มกั เกิดกับพืชในสกุล Dioscorea คือ โรค tuber rot สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจาก เชื ้อรา โดยจะเกิดการเปลี่ยนแปลงเฉพาะเนื ้อเยื่อภายในหัว แต่ลกั ษณะของหัวภายนอกยังสมบูรณ์ ซึง่ การเปลี่ยนแปลงมีหลาย ลักษณะขึ ้นอยู่กบั เชื ้อก่อโรค เช่น จากรายงานของ Nwauzer and Fawole (1981) พบอาการ dry rot ในหัวแก่ของ D. alata และ D. rotundata โดยหัวที่ติดเชื ้อจาก Rosselinia spp. เนื ้อเยื่อภายในหัวจากเนื ้อแน่นจะเปลี่ยนลักษณะเป็ นครี มและมีสี เหลืองอ่อนจากนันเปลี ้ ่ยนเป็ นสีน ้าตาลอ่อนและสีค่อย ๆ เข้ มขึ ้นจนเป็ นสีดา ส่วนเชื ้อราก่อโรค Sphaerostilbe อาการของโรค เมื่อติดเชื ้อจะส่งผลให้ เนื ้อเยื่อเปลี่ยนเป็ นสี น ้าตาลและส่งกลิ่นเหม็น (Amusa et al., 2003) และจากรายงานของ Adesiyan and Odihirin (1975) เชื ้อ Scutellonena bradys สามารถทาให้ หวั กลอย (D. rotundata) เกิดความเสียหายในระหว่างการเก็บ รักษาได้ มากถึง 80 - 100 % นอกจากนี ้เชื ้อ Fusarium spp. เป็ นเชื ้อสาเหตุที่ทาให้ เกิดอาการ dry rot เช่นกัน โดยจะชักนาให้ เนื ้อเยื่อที่ติดเชื ้อเปลี่ยนเป็ นสีชมพูและมีขอบหนาสีเหลือง (Ogundana et al.,1970) ส่วนเหง้ าที่พกั ตัว พบว่าเหง้ าที่เก็บเกี่ยวใน เดือนมกราคมมีการพักตัวมากที่สดุ 53.33 % รองลงมาคือ เหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนมีนาคมและกุมภาพันธ์ 33.33 และ 20.00 % ตามลาดับ (Table 2) จากการทดลองเหง้ าที่เก็บเกี่ยวในเดือนมีนาคม ไม่พบเหง้ าที่ฝ่อพบเฉพาะเหง้ าที่พกั ตัวเท่านัน้ อาจ เป็ นเพราะเหง้ าเหล่านีม้ ีอายุการเก็บรักษาน้ อยกว่าเหง้ าในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ ทาให้ การเจริ ญของจุลินทรี ย์ยงั ไม่ พัฒนาในระหว่างบันทึกผลการทดลอง จึงทาให้ เหง้ าส่วนใหญ่ที่เก็บเกี่ยวเป็ นเหง้ าที่พกั ตัว Table 2 Percentages of accumulative sprouting, dormant rhizome and degraded rhizome of Khao-Yen-Tai (Dioscorea membranacea) rhizomes during storage at room temperature (30°C). Accumulative sprouting (%) MAR APIRL MAY 13.33 13.33 33.33 0.00 20.00 46.67 0.00 0.00 66.67 F-test ns C.V. (%) 66.00 ns: non-significant Harvesting time January February March

Dormant rhizome (%) 53.33 20.00 33.33

Degraded rhizome (%) 13.33 33.33 0.00

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

603


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ปผลการทดลอง 1) เหง้ าข้ าวเย็นใต้ ที่เก็บเกี่ยวในเดือนที่แตกต่างกันในช่วงฤดูแล้ งของปี ที่ 2 ของการปลูก ให้ ผลผลิตน ้าหนักสดและ น ้าหนักแห้ งของเหง้ า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ 2) การเก็บรักษาเหง้ าที่มีจดุ เจริ ญ ที่อณ ุ หภูมิ 30 °C เหง้ าสามารถงอกได้ ภายใน 2 เดือนในระหว่างการเก็บรักษา

กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั นี ้ได้ รับการสนับสนุนจาก โครงการส่งเสริมงานวิจยั ในอุดมศึกษาและการพัฒนา มหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติ ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

เอกสารอ้ างอิง แก้ ว กาญจนา. 2547. สูตรลับตารับสมุนไพรรักษาโรคมะเร็ง. นีออน บุ๊ค มีเดีย. กรุงเทพฯ. 102 น. ณรงค์ นิยมวิทย์. 2538. ธัญชาติและพืชหัว. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. 235 น. ทิพวรรณ มาเสมอ และ เทวิน พร้ อมพวก. 2544. ศึกษาการขยายพันธุ์ของกลอยโดยใช้ หวั พันธุ์แบบต่างๆ. ปั ญหาพิเศษ คณะวิชาพืชศาสตร์ สถาบัน เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตจันทบุรี. ปิ ยาภัทร เข็มวิชยั ภาณุมาศ ฤทธิไชย เยาวพา จิระเกียรติกลุ และ อรุณพร อิฐรัตน์ . 2556. การเจริ ญเติบโตของหัวข้ าวเย็น (Dioscorea birmanica Prain & Burkill) และฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระที่อายุเก็บเกี่ยวต่างๆ. ว. วิทย์. กษ. (พิเศษ). 44: 117-120. ภาณุมาศ ฤทธิไชย และ อรุณพร อิฐรัตน์ . 2554. ผลของวัสดุเพาะต่อการงอกของเหง้ าข้ าวเย็นใต้ (Dioscorea membranacea). ว. วิทย์. กษ. (พิเศษ). 42: 135-138. วุฒิ วุฒิธรรมเวช. 2540. เภสัชกรรมไทยรวมสมุนไพร ฉบับปรังปรุงใหม่. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ . กรุงเทพฯ. 480 น. Adesiyan, S.O. and R.A. Odihirin. 1975. Histopathology studies of yam tuber (Dioscorea rotundata Roir) infected with Scutellonena bradys (Steiner&Hettew). International Biodeterioration Bulletin. 11: 48-55. Amusa, N.A., A.A. Adegbite, S. Muhammed and R.A. Baiyewu. 2003. Yam diseases and its management in Nigeria. Afr. J. Biotechnol. 2: 497-502. Boonyaratanakornkit, L. and V. Chantarateptawam. 1993. Identification and specification of Khaao-Yen-Neua, Khaao-Yen-Tai. Thai J. Pharm. Sci. 17: 79-90. Itharat, A., P.J. Houghton, E.E. Ammgusye, P.J. Burke, J.H. Sampson and A. Raman. 2004. In vitro cytotoxic activity of Thai medicinal plants used traditionally to treat cancer. J Ethnopharmacol. 90: 33-38. Kim, S.K., T.K. Shon, S.Y. Park, S.C. Lee, H.Y. Kim, E.Y. Sohn, S.W. Jang, Y.S. Choo, K.U. Kim and I.J. Lee. 2005. Endogenous gibberellins in bulbils of Chinese yam during growth and storage. Plant Prod. Sci. 8: 181-185. Nwauzer, E.C. and B. Fawole. 1981. Root-knot nematodes on yams in eastern Nigeria. Proceedings of the 3rd Research Planning Conference on Root-Knot Nematodes, Meloidyginy spp. Regine lV and V. Ibadan Nigeria. pp. 161-167. Ogundana S.K., S.H. Naqui and J.A. Ekundayo. 1970. Fungi associated with soft rot of yam (Dioscorea spp.) in Nigeria. Trans Br Mycol Soc. 54: 445-451. Onwueme, I.C. 1978. The Tropical Tuber Crops: Yams, Cassava, Sweet potato, and Cocoyams. John Wiley & Sons Inc. New York. 248 p. Opara, L.U. 1999. Yam storage. CIGR Handbook of Agricultural Engineering Volume IV Agro Processing. The American Society of Agricultural Engineers, St. Joseph, MI. pp. 182-214. Rithichai, P., A. Itharat, Y. Jirakiattikul and S. Ruangnoo. 2013. Growth of Dioscorea membranacea Pierre ex Prain & Burkill and dioscorealide B content at different harvest times. Phamacologyonline. 1: 225-229. Thompson, A.K. 1996. Postharvest Technology of Fruit and Vegetables. Blackwell Science, London. 410 p. Yoshida, Y., H. Takahashi, H. Kanda and K. Kanahama. 2007. Effect of seed tuber weights on the development of tubers and flowering spikes in Japanese yams (Dioscorea japonica) grown under different photoperiods and with plant growth regulators. J. JPN. Soc. Hortic. Sci. 76: 230-236.

604

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า mm

max

°C

mean min Rainfall

2013

2014

2015

Figure 1 Total rainfall (mm), maximum, mean and minimum temperatures (°C) at Pathumthani during January 2013 to July 2015. (Info: Thai Meteorological Department)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

605


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของปุ๋ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดต่ ออัตราการเติบโต ผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ปริมาณธาตุอาหาร ในใบและในดิน และฤทธิ์การต้ านอนุมูลอิสระในผักเชียงดา Effects of Pellets Vermicompost on Growth Rate, Consumable Parts, Nutrient Concentration and Antioxidant Activities in Gymnema inodorum (Lour.) Decne. ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 1* ชิติ ศรีตนทิพย์ 1 และทิพย์ วรรณ ทูเดอะ2 Parinyawadee Sritontip1*, Chiti Sritontip1 and Thippawan Tudue2

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อหาอัตราที่เหมาะสมของปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดในการผลิตผักเชียงดาให้ มีคณ ุ ภาพ ทาการทดลองที่ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จ.ลาปาง ระยะเวลาตัง้ แต่เดือน พฤศจิกายน 2556 ถึง เดือนพฤษภาคม 2557 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) จานวน 3 ซา้ ได้ แก่ ปุ๋ ยหมักมูล ไส้ เดือนดินอัดเม็ด (แม่โจ้ ®) จานวน 5 อัตรา คือ 0 0.5 1.0 1.5 และ 2.0 ตันต่อไร่ ใส่เพียงครัง้ เดียวในขันตอนการเตรี ้ ยมดิน ก่อนปลูก พืชทดลองใช้ ผกั เชียงดาสายต้ นที่ 6 ที่มีอายุ 1 ปี จากการทดลองพบว่าการใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดทุกอัตรา ไม่มีผลต่ออัตราการเติบโตด้ านเส้ นผ่าศูนย์กลางลาต้ น ความกว้ างของทรงพุ่ม ค่าดัชนีความเขียวของใบ และน ้าหนักยอดรวม ต่อต้ นต่อเดือน การใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนอัดเม็ดอัตรา 2.0 ตันต่อไร่ มีผลต่อการเติบโตความสูงของต้ น การใส่ปยหมั ุ๋ กมูล ไส้ เดือนชนิดเม็ดอัตรา 1.5 - 2.0 ตันต่อไร่ มีปริ มาณฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ในดินและปริ มาณฟอสฟอรัสในใบสูงที่สดุ ส่วน ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ สารประกอบฟี นอลิก ฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ และค่า IC50 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ คาสาคัญ : ผักเชียงดา ปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดิน ผลผลิตส่วนที่บริ โภคได้ ฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ

Abstract The research aimed to study on optimum rate of compost pellets vermicompost to develop yield and the quality of Gymnema inodorum (Lour.) Decne. was conducted at Agricultural Technology Research Institute (ATRI), RMUTL, Lampang province. The experimental design used was a CRD consisted of 5 treatments and each with 3 replications. The treatments were 5 rates of pellets vermicompost (Maejo®) i.e., 0, 0.5, 1.0, 1.5 and 2.0 ton/rai were applied to soil before planting. The clone number 6 was employed for this study and were approximately 1 year after transplanting. The result showed that all of the treatments had no effect on stem diameter, canopy width, leaf chlorophyll content and shoot weight per plant per month. The vermicompost application at the rate of 2.0 ton/rai greatly improved plant height. The appropriate treatments were the 1.5 – 2.0 ton/rai which showed the highest nutrient content in leaf and soil (P). Application compost of vermicompost with different rate did not affect total chlorophyll, total phenolic content, antioxidant activities and IC50. Keywords : Gymnema inodorum (Lour.) Decne., vermicompost, consumable parts, antioxidant activities

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000 Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, Thailand 52000 2 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 Faculty of Agricultural Science and Technology, Rajamangala University of Technology Lanna Lampang, Thailand 52000 * Corresponding author: parinyawadee@rmutl.ac.th 606

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ประโยชน์และความสาคัญของปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดินในทางเกษตรนัน้ นอกจากช่วยปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของ ดินและช่วยเพิ่มธาตุอาหารให้ แก่ดิน (อาณัฐ, 2550) การใช้ ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินร่วมกับปุ๋ ยเคมีหรื อใช้ ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดิน เพียงอย่างเดียวส่งผลให้ ดินมีปริ มาณอินทรี ยวัตถุ ไนโตรเจนที่เป็ นประโยชน์ต่อพืช ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม มีการสะสม และหลงเหลืออยู่ในดินหลังปลูกมากกว่าการใส่ปยเคมี ุ๋ เพียงอย่างเดียว อีกทังส่ ้ งผลต่อการเจริ ญเติบโตของกระเจี๊ยบเขียวและ พริ กหนุ่มเขียว (วีณา, 2556) การใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนอัตรา 1 ตันต่อไร่ ร่วมกับการฉีดน ้าหมัก สามารถเพิ่มผลผลิตข้ าวโพด หวานใกล้ เคียงกับการใส่ปยเคมี ุ๋ มากที่สดุ และยังสามารถเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินและปรับสภาพดินให้ เหมาะสมกับการ ปลูกพืชได้ ดีกว่าการใส่ปยเคมี ุ๋ (สุลีลกั และสุชาดา, 2556) ผักเชียงดา Gymnema inodorum (Lour.) Decne. (เต็ม, 2554) เป็ นผักพื ้นบ้ านภาคเหนือที่มีผลช่วยลดความเสี่ยงจากโรครู มาตอยด์และเกาต์ (Shimizu et al. 1997) โรคเบาหวาน (Shanmugasundaram et al. 1990; Shimizu et al. 2001) ลดระดับน ้าตาลในเลือด (Daisy et al. 2009) ช่วยเพิ่มสารต้ าน อนุมลู อิสระในร่างกาย (ธีรวัลย์และปั ทมา. 2552 Klungsupya et al. 2008 and Kang et al. 2012) ช่วยในการละลายลิ่มเลือด (Hong et al. 2004) การทดลองนี ้เพื่อหาอัตราที่เหมาะสมของปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดในการผลิตผักเชียงดา ข้ อมูลที่ได้ จะเป็ นประโยชน์โดยใช้ เป็ นแนวทางในการผลิตผักเชียงดาอินทรี ย์ นอกจากจะมุ่งเน้ นเรื่ องปริ มาณผลผลิตแล้ วยังสามารถผลิต ผักเชียงดาที่มีคณ ุ ภาพสูงและเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้ อม

อุปกรณ์ และวิธีการ ทาการทดลอง ณ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จังหวัดลาปาง ระหว่าง เดือนพฤศจิกายน 2556 ถึง เดือนพฤษภาคม 2557 วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (CRD) มีทงหมด ั้ 5 กรรมวิธี ๆ ละ 3 ซ ้า ใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดอัตรา 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 ตันต่อไร่ ทาการทดลองในกระถางพลาสติกสีดาขนาด 12 นิ ้ว การเตรี ยมดินสาหรับการทดลองให้ ใส่ดินกระถางละ 8 กิโลกรัม ใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดตามกรรมวิธีที่ทดลองคือ 0, 25, 50, 75 และ 100 กรัมต่อกระถาง ผสมให้ เป็ นเนื ้อเดียวกัน ปริ มาณปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดที่ใส่คานวณจากดิน 1 ไร่ หนัก 3.126 x 105 กิโลกรัม (ดิน 1 ไร่ ลึก 0.15 เมตร มีพื ้นที่ 1,600 ตารางเมตร มีความหนาแน่น 1.34 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร มีน ้าหนัก 0.15 เมตร x 1,600 x 1.34 x 10-3 กิโลกรัม ต่อ 10 ลูกบาศก์เมตร เท่ากับ 3.126 x 105 กิโลกรัม) นอกจากนี ้ได้ ผสม วัสดุปลูกอื่น ๆ ในอัตราส่วนดิน : แกลบ : กาบมะพร้ าวสับ คือ 1 : 2 : 1 ผสมคลุกเคล้ าให้ เข้ ากัน แล้ วนาต้ นผักเชียงดาไปย้ าย ปลูกใส่ในกระถางในเดือนพฤศจิกายน 2556 ปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนอัดเม็ดใช้ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มีปริมาณอินทรี ยวัตถุ 22.9 เปอร์ เซ็นต์ ปริ มาณไนโตรเจนทังหมด ้ (Total Nitrogen) 1.15 เปอร์ เซ็นต์ ฟอสฟอรัส (P2O5) 2.03 เปอร์ เซ็นต์ โพแทสเซียม (K2O) 2.50 เปอร์ เซ็นต์ ปริ มาณทังหมดของ ้ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) เหล็ก (Fe) ได้ แก่ 3.32, 0.61, 0.47 เปอร์ เซ็นต์ สังกะสี (Zn) และโบรอน (B) 108.8 และ 15.9 mg kg-1 ตามลาดับ และแสดงสมบัติเป็ นด่าง มีคา่ pH 8.78 (วีณา, 2557) พืชทดลองคือผักเชียงดาสายต้ นที่ 6 เป็ นพันธุ์ที่ทาการรวบรวมและคัดเลือกจากงานวิจยั ของสถาบันวิจยั เทคโนโลยี เกษตร อายุต้น 1 ปี ขยายพันธุ์โดยการปั กชา มีลกั ษณะกิ่งและต้ นที่สมบูรณ์ ลักษณะทรงพุ่มใกล้ เคียงกัน ความสูงของต้ น ประมาณ 40 เซนติเมตร ปราศจากโรคและแมลงทาลาย ให้ นา้ วันละ 1 ครัง้ ควบคุมปริ มาณการให้ นา้ ต้ นละ 1 ลิตร โดยใช้ กระบอกตวงในการวัดปริมาณการให้ น ้า ข้ อมูลที่ทาการบันทึกได้ แก่ 1. การเจริญเติบโตทางลาต้ น ได้ แก่ ความสูงของลาต้ น (เซนติเมตร) วัดจากโคนต้ นถึงปลายยอดของต้ น ขนาดของลา ต้ น (มิลลิเมตร) วัดข้ อมูล 2 ด้ านของลาต้ นแล้ วนามาหาค่าเฉลี่ย ความกว้ างของทรงพุ่ม (เซนติเมตร) วัดส่วนที่กว้ างที่สดุ ของ ทรงพุ่มเป็ น 2 แนวตังฉากกั ้ นแล้ วนามาหาค่าเฉลี่ยของข้ อมูล ทาการเก็บข้ อมูลทุก ๆ เดือน เริ่ มบันทึกข้ อมูลในเดือนธันวาคม 2556 ถึงเดือน พฤษภาคม 2557 แล้ วนามาหาอัตราการเจริญตามสูตรของ Shabana et al. (1981) คือ R= โดยที่

(Xt - Xo) x 100 Xo R = อัตราการเติบโตเป็ นร้ อยละ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

607


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Xt = ค่าการวัดครัง้ หลัง Xo = ค่าการวัดครัง้ แรก 2. การเปลี่ยนแปลงความเขียวใบ โดยใช้ ใบคู่ที่ 3 ซึ่งเป็ นยอดผักเชียงดาที่ทาการเก็บเกี่ยวสาหรับบริ โภค ทาการวัด ข้ อมูลสัปดาห์ละสองครัง้ โดยการใช้ เครื่ องมือ chlorophyll meter (SPAD-502) วัดใบด้ านขวาและซ้ ายของเส้ นกลางใบข้ างละ 2 จุด ไม่ให้ โดนเส้ นใบ วัดพื ้นที่ใบคู่ที่ 3 ใช้ เครื่ องวัด Laser Leaf Area Meters รุ่น CI – 202 จากนันน ้ าใบผักเชียงดาไปอบที่ อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 72 ชัว่ โมง นาไปชัง่ บันทึกน ้าหนักแห้ ง แล้ วนาไปวิเคราะห์หาปริ มาณไนโตรเจนโดยวิธีการ ทาให้ เกิดสี (นันทรัตน์, 2542) 3. ข้ อมูลผลผลิตยอดสดในส่วนที่บริ โภคได้ ทาการเก็บผลผลิตจากปลายยอดลงมาจานวน 3 คู่ใบ สัปดาห์ละสองครัง้ เก็บข้ อมูลในเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม 2557 ข้ อมูลที่บนั ทึก ได้ แก่ ให้ น ้าหนักยอดรวมต่อต้ นต่อเดือน จานวนยอดรวมต่อต้ น ต่อเดือน น ้าหนักต่อยอด ความยาวยอด และความเขียวของยอด ใช้ เครื่ องวัด chlorophyll meter รุ่น SPAD – 502 จากนันน ้ า ตัวอย่างส่วนยอดและใบ 3 คู่นบั จากปลายยอด ไปวิเคราะห์หาปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ ทาการวัดการส่องผ่านของแสงด้ วยเครื่ อง spectrophotometer ช่วงความยาวคลื่น 664.20 นาโนเมตร ตามวิธีการของ Lichtenthaler and Buschmann (2001) ปริ มาณ สารประกอบฟี นอลิกในรูปกรดแกลลิกในตัวอย่างพืชสกัดได้ โดยวิธี Folin-Ciocalteu (ดัดแปลงจาก Sellappan et al., 2002) ทาการวัดการส่องผ่านของแสงด้ วยเครื่ อง spectrophotometer ช่วงความยาวคลื่น 750 นาโนเมตร และทดสอบฤทธิ์การต้ าน อนุมลู อิสระด้ วยวิธี DPPH (Manthey, 2004) ทาการวัดการส่องผ่านของแสงด้ วยเครื่ อง spectrophotometer ช่วงความยาว คลื่น 517 นาโนเมตร และค่า IC50 ในสารสกัดผักเชียงดาสด (ความเข้ มข้ นของตัวอย่างที่ต้านอนุมลู อิสระชนิด DPPH สูงสุดได้ ร้ อยละ 50)

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. อัตราการเติบโตทางลาต้ นของผักเชียงดา การใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดอัตรา 0 – 2.0 ตันต่อไร่ ไม่สง่ ผลต่ออัตราการเติบโตด้ านเส้ นผ่าศูนย์กลางของลา ต้ น ความกว้ างของทรงพุม่ และความเขียวของใบ ระยะเวลาหลังจากใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดตังแต่ ้ 30 ถึง 105 วัน ผัก เชียงดามีอตั ราการเติบโตด้ านความสูงของต้ นไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่หลังจากใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดเป็ น เวลา 120 วัน เป็ นต้ นไป การใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดในอัตรา 2.0 ตันต่อไร่ มีอตั ราการเติบโตด้ านความสูงของต้ นสูง ที่สดุ (Figure 1) ส่วนค่าความเขียวใบนันการใส่ ้ ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดทุกอัตราไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่หลังจากใส่ ปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดเป็ นระยะเวลา 1 เดือน ค่าความเขียวของใบจะเริ่ มมีค่าลดลง หลังจากใส่ปยไปแล้ ุ๋ วประมาณ 2 เดือน ค่าความเขียวของใบจะมีค่าค่อนข้ างคงที่ (Figure 1) ดังนันการรั ้ กษาคุณภาพด้ านความเขียวของผักเชียงดาอาจต้ องใส่ ปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดทุกเดือน

608

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

a)

b)

c)

d) Figure 1 Effects of different rate pellets vermicompost on growth rate of stem diameter (a), canopy width (b), plant height (c) and chlorophyll content (d) of Gymnema inodorum (Lour.) Decne.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

609


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การที่ อัต ราการเติบ โตด้ า นเส้ น ผ่า ศูนย์ ก ลางของล าต้ น ไม่เ ปลี่ ย นแปลงมากนัน้ น่า จะมาจากปั จจัย ลั ก ษณะการ เจริ ญเติบโตของพืช ในส่วนการเจริ ญเติบโตของพืชนันเนื ้ ่องจากการขยายขนาดในส่วนขนาดของลาต้ นผักเชียงดาเป็ นไปอย่าง ช้ า ๆ ส่วนความกว้ างของทรงพุม่ เนื่องจากมีการเก็บผลผลิตส่วนที่บริโภคได้ ตลอดที่ทาการทดลอง จึงทาให้ ขนาดของทรงพุ่มไม่ ต่างกัน (ปริญญาวดี, 2557) ส่วนผลของปุ๋ ยนันน่ ้ าจะมาจากอัตราที่ทาการทดลองนันไม่ ้ เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของผักเชียง ดา โดยจากรายงานการใช้ ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนในทางการเกษตรนัน้ มีการใช้ ในอัตราที่สงู อีกทังมี ้ การใช้ ร่วมกับปุ๋ ยเคมีจึงจะ ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต เช่นจากการทดลองของ วีณา (2556) พบว่าในการปลูกกระเจี๊ยบเขียว พริ กหนุ่ม ดาวเรื อง และเบญจมาศ การใช้ ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดิน (250 กรัมต่อต้ น) ร่วมกับปุ๋ ยเคมี (ปุ๋ ยสูตร 15-15-15 ใช้ 2.7 กรัมต่อต้ น) จะส่งผล ให้ การเจริ ญเติบโตด้ านความสูง ความกว้ างทรงพุ่ม จานวนผลผลิตสูงกว่าการใช้ ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดิน (500 กรัมต่อต้ น) หรื อ ปุ๋ ยเคมีเพียงอย่างเดียว (ปุ๋ ยสูตร 15-15-15 ใช้ 5.43 กรัมต่อต้ น หรื อ 20 กิโลกรัมต่อไร่) ส่วนการปลูกข้ าวโพดหวานการใส่ปยุ๋ หมักมูลไส้ เดือนดิน อัตรา 1 ตันต่อไร่สามารถเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยได้ ใกล้ เคียงกับการใส่ปยเคมี ุ๋ ปุ๋ ยสูตร 15-15-15 ใช้ 50 กิโลกรัม ต่อไร่ และจากรายงานของ วีณา (2557) ใช้ ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินและน ้าหมักมูลไส้ เดือนดินร่วมในการปลูกไม้ ดอกทัง้ 4 ชนิด กุหลาบ ชวนชม โป๊ ยเซียน และมะลิ พบว่ามีผลให้ การเจริ ญเติบโตของดอกในด้ านขนาด จานวนดอก จานวนช่อและน ้าหนัก รวมเพิ่มขึ ้นอย่างมีนัยสาคัญ แต่สง่ ผลที่ไม่ชดั เจนนักต่อการเจริ ญเติบโตด้ านความกว้ างและสูงของทรงพุ่ม ในการทดลองนี ้ใช้ ปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดในอัตราต่าในการผลิตผักเชียงดา เพราะอัตราสูงสุดที่ใช้ คือ 5 ตันต่อไร่ (100 กรัมต่อต้ น) แต่จาก รายงานในพืชอื่นต้ องใช้ ถึง 500 กรัมต่อต้ น จึงจะส่งผลกับพืช เนื่องจากต้ องคานึงถึงต้ นทุนในการผลิตพืช ดังนันหากเกษตรกร ้ จะใช้ ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินในการเพาะปลูกถ้ าหากซื ้อมาใส่จะเพิ่มต้ นทุนที่สงู มาก แต่หากผลิตได้ เองก็เป็ นผลพลอยได้ จากการ กาจัดขยะไปด้ วย 2. ผลผลิตและองค์ ประกอบผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ของผักเชียงดา การใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ด อัตรา 0 – 2.0 ตันต่อไร่ ไม่มีผลทาให้ น ้าหนักยอดรวมต่อต้ นต่อเดือน จานวนยอด รวมต่อต้ นต่อเดือน น ้าหนักต่อยอด ความยาวยอด พื ้นที่ใบคู่ที่สาม และค่าความเขียวใบ มีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยมี น ้าหนักยอดรวมต่อต้ นต่อเดือนมีค่าเฉลี่ย 7.03 - 10.10 กรัม จานวนยอดรวมต่อต้ นต่อเดือนมีค่าเฉลี่ย 4 – 5 ยอด น ้าหนักต่อ ยอดมีค่าเฉลี่ย 2.11 - 2.40 กรัม ความยาวยอดมีค่าเฉลี่ย 6.52 - 7.65 เซนติเมตร พื ้นที่ใบคู่ที่สามมีค่าเฉลี่ย 14.39 - 15.7 ตารางเซนติเมตร และค่าความเขียวใบมีคา่ เฉลี่ย 29.63 - 31.94 SPAD value (Table 1) Table 1 shoot weight per plant per month, shoot number per plant per month, shoot weight, shoot length, leaf area of the 3rd pair leaves and chlorophyll content of shoot (fresh weight) Pellets shoot weight shoot number weight per shoot Leaf area chlorophyll vermicompost per plant per per plant per shoot length of the 3rd content of (ton/rai) month month (g) (cm) pair leaves shoot 2 (g) (shoot) (cm ) (SPAD unit) 0 7.20±0.77 4.±0.34 2.26±0.20 7.52±0.56 14.47±0.71 30.53±0.82 0.5 8.04±2.65 4±0.45 2.26±0.03 7.01±0.71 15.93±0.11 30.81±1.91 1.0 10.10±3.83 5±2.31 2.40±0.33 6.52±0.66 14.45±2.89 31.94±2.31 1.5 7.99±3.04 4±1.14 2.34±0.51 6.53±1.45 17.79±1.34 29.63±5.19 2.0 7.03±1.58 4±0.68 2.11±0.40 7.65±0.93 14.39±2.39 30.81±2.44 F - test ns ns ns ns ns ns ns indicate non – significant

610

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

3. ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค คลอโรฟิ ลล์ ทัง้ หมด สารต้ านอนุ มูลอิสระ และค่ า IC50 (50% Inhibitory Concentration) ในสารสกัดผักเชียงดาสด การใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดไม่มีผลต่อปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค คลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ ฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระและค่า IC50 ในผักเชียงดาสด โดยปริ มาณสารประกอบฟี นอลิคมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 6.99 – 7.51 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม โดย น ้าหนักเปี ยก คลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 142.51 – 169.02 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม โดยน ้าหนักเปี ยก สารต้ านอนุมลู อิสระมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 42.81 – 64.40 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัม โดยน ้าหนักเปี ยก ส่วนค่า IC50 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 56.32 – 71.44 มิลลิกรัมต่อ100 กรัม โดยน ้าหนักเปี ยก (Table 2) Table 2 total phenolic, total chlorophyll, antioxidant content and IC50 Pellets vermicompost total phenolic total chlorophyll antioxidant activity IC50 (ton/rai) (mg/100g FW) (mg/100g FW) (TEmg/100g FW) (TEmg/100g FW) 0 7.42±1.43 154.99±17.44 42.81±11.2 56.32±6.33 0.5 7.10±0.11 160.06±27.99 64.40±30.38 61.30±6.89 1.0 6.99±0.75 142.51±18.88 49.01±5.29 71.44±7.11 1.5 7.10±0.35 144.75±23.66 63.59±32.20 67.84±5.49 2.0 7.51±0.65 169.02±17.32 62.66±33.85 62.85±3.71 F - test ns ns ns ns ns indicate non – significant 4. คุณสมบัตทิ างเคมีของดิน สมบัติของชุดดินที่นามาศึกษามีปฏิกิริยาเป็ นด่าง (pH) เท่ากับ 7.95 มีปริ มาณอินทรี ยวัตถุเท่ากับ 1.79 เปอร์ เซ็นต์ มี ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ 58.12 หนึง่ ต่อล้ านส่วน และมีโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ 24.62 หนึง่ ต่อล้ านส่วน หลังการใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ด อัตรา 0 - 2.0 ตันต่อไร่ ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมีของดินบาง ประการ โดยค่าความเป็ นกรดเป็ นด่างมีค่าเฉลี่ย 5.85 – 6.39 ปริ มาณอินทรี ยวัตถุมีค่าเฉลี่ย 1.65 – 1.84 เปอร์ เซ็นต์ และ ปริ มาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ มีค่าเฉลี่ย 31.01 – 44.83 หนึ่งต่อล้ านส่วน การใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ด อัตรา 2.0 และ 1.5 ตันต่อไร่ มีปริ มาณฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์สงู สุดมีค่าเฉลี่ย 72.78 และ 70.56 หนึ่งต่อล้ านส่วน ตามลาดับ การใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดอัตรา 0 ตันต่อไร่ มีปริ มาณฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ต่าที่สดุ มีค่าเฉลี่ย 34.19 (Table 3) 5. ปริมาณธาตุอาหารในใบผักเชียงดา ปริ มาณธาตุไนโตรเจนในใบผักเชียงดา หลังจากใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ ชนิดอัดเม็ดอัตรา 0 - 2.0 ตันต่อไร่ ไม่มีความ แตกต่างกันทางสถิติ ส่วนการใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินชนิดอัดเม็ดอัตรา 1.0 – 2.0 ตันต่อไร่ มีปริ มาณธาตุฟอสฟอรัสในใบ มากกว่าการใส่ปยในอั ุ๋ ตราอื่น มีคา่ เฉลี่ย 0.17 - 0.19 เปอร์ เซ็นต์ (Table 3)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

611


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Chemical properties of soil and nutrient concentration in leaf affect by different rates chicken manure. Pellets Nutrient content in soil Nutrient content in leaf vermicompost pH (1:1 H2O) Organic Available P Exchangeable N (%)5 P (%) 2 1 4 (ton/rai) matter (%) (Bray II, ppm) K (ppm) 3

0 5.86±0.26 1.65±0.15 34.19c±7.90 40.56±0.26 2.76±0.30 0.14c±0.01 0.5 5.85±0.24 1.69±0.07 43.22b±3.01 37.63±0.24 3.23±0.34 0.16c±0.02 1.0 6.04±0.13 1.71±0.13 69.83b±1.51 44.83±0.13 3.29±0.43 0.19a ±0.01 1.5 5.95±0.18 1.77±0.20 70.56a±0.51 40.86±0.18 3.15±0.39 0.19ab±0.00 2.0 6.39±0.30 1.84±0.10 72.78a±2.67 31.01±0.30 3.11±0.07 0.17bc±0.01 F - test ns ns ** ns ns ** ns, ** indicate non – significant and significant at p<0.01, respectively. Means in the same column with the different letters are significantly different at P<0.01 1.Walkley and Black Titration (Walkley and Black, 1934) 2. pH meter (ดินต่อน ้า เท่ากับ 1:1) 3.Bray II (Bray and Kurtz, 1945) 4. NH4OAc (Pratt, 1965) 5. นันทรัตน์ (2542) จากการทดลองนี ้จะเห็นได้ ว่าไม่มีความจาเป็ นต้ องใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดให้ กบั ผักเชียงดา เนื่องจากการใส่ ปุ๋ ยอัตรา 0 – 2.0 ตันต่อไร่ ไม่มีผลต่อการให้ ผลผลิต (Table 1) และฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระในส่วนที่บริ โภคได้ (Table 2) การ ใส่ปยเป็ ุ๋ นการเพิ่มต้ นทุนการผลิต ราคาประมาณตันละ 6,500 บาท (อ้ างอิงราคาจากมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ) หากมีการใส่ในอัตรา 0.5 – 2.0 ตันต่อไร่ จะมีต้นทุนเฉลี่ย 3,250 – 13,000 บาท ดังนันการผลิ ้ ตผักเชียงดาในระบบเกษตรอินทรี ย์จึงมีความเป็ นไปได้ สูง เพราะในกรรมวิธีที่ไม่ใส่ปยก็ ุ๋ ให้ ผลผลิตได้ และถ้ ามองระบบการผลิตในระยะยาวนันจะพบว่ ้ าผักเชียงดาให้ ผลผลิตเป็ นเวลา 10 ปี ไม่ต้องลงทุนในด้ านการเตรี ยมพื ้นที่และต้ นพันธุ์

สรุ ปผลการทดลอง

การใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ด 0 – 2.0 ตันต่อไร่ ไม่สง่ ผลต่อการเจริ ญเติบโต ผลผลิตส่วนที่บริ โภคได้ ฤทธิ์การ ต้ านอนุมลู อิสระ ส่วนการใส่ปยหมั ุ๋ กมูลไส้ เดือนดินอัดเม็ดอัตรา 1.5 - 2.0 ตันต่อไร่ มีปริ มาณฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ในดิน และในใบสูงสุด

กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจยั ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ที่สนั บสนุนให้ มีการเผยแพร่ ผลงานวิชาการสู่ระดับ สากล "โครงการวิจัยนีไ้ ด้ รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณโครงการยกระดับปริ ญญานิพนธ์ เป็ นงานวิจัยตีพิมพ์ งาน สร้ างสรรค์ และงานบริการวิชาการสูช่ มุ ชน ประจาปี 2557"

เอกสารอ้ างอิง เต็ม สมิตินนั ทน์. 2544. ชื่อพรรณไม้ แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ ป่าไม้ สานักวิชาการป่ าไม้ กรมป่ าไม้ . 810 น. ทัศนีย์ อัตตะนันท์ และจงรักษ์ จันทร์ เจริ ญสุข. 2542. การวิเคราะห์ดินและพืช. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน และปั ทมา ไทยอู่. 2552. ผลของชนิดผักเชียงดา (Gymnema inodorum Decne.) และอุณหภูมิการอบแห้ งต่อคุณภาพและ ฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ. การประชุมวิชาการประจาปี อุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคเหนือครัง้ ที่ 1. 138 น. นันทรัตน์ ศุภกาเนิด. 2542. การวิเคราะห์แอมโมเนียมไนโตรเจนโดยการทาให้ เกิดสี. เอกสารเผยแพร่ของศูนย์วิจยั พืชสวนเชียงราย. เชียงราย. 2 น. ยงยุทธ โอสถสภา อรรถศิษฐ์ วงศ์มณีโรจน์ และชวลิต ฮงประยูร. 2554. ปุ๋ ยเพื่อการเกษตรยัง่ ยืน. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน. 519 น. 612

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า วีณา นิลวงศ์. 2556. การศึกษาคุณภาพปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดินและการใช้ ประโยชน์ทางการเกษตร. รายงานผลการวิจยั คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ . เชียงใหม่. 52 น. วีณา นิลวงศ์. 2557. การศึกษาคุณภาพปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดินและการใช้ ประโยชน์ทางการเกษตร. รายงานผลการวิจยั คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ . เชียงใหม่. 60 น. สุลีลกั อารักษณ์ธรรม และสุชาดา สานุสนั ต์. 2556. อิทธิพลของปุ๋ ยหมักมูลไส้ เดือนดินจากไส้ เดือนดินต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางฟิ สิกส์ดิน และการปรับปรุงโครงสร้ างของดิน. รายงานผลการวิจยั คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ . เชียงใหม่. 52 น. อาณัฐ ตันโช. 2550. ไส้ เดือนดิน. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. บริ ษัท ทรี โอ แอดเวอร์ ไทซิ่ง แอนด์ มีเดีย จากัด. เชียงใหม่. 259 น. Bray, R.H. and L.T. Kurtz. 1945. Determination of total organic and available forms of phosphorus in soil. Soil Science. 59:39-45. Daisy, P., J. Eliza and K.A. Mohamed Farook. 2009. A novel dihydroxy gymnemic triacetate isolated from Gymnema sylvestre possessing normoglycemic and hypolipidemic activity on STZ-induced diabetic rats. Journal of Ethnopharmacology. 126: 339 - 344. Hong, J.H., B. Manochai, G. Trakoontivakorn and V. Na Thalang. 2004. Fibrinolytic activity of Thai indigenous vegetables. Kasetsart Journal. 38: 241 - 246. Kang, M.H., M.S. Lee, M.K. Choi, K.S. Min and T. Shibamoto. 2012. Hypoglycemic activity of Gymnema sylvestre extracts on oxidative stress and antioxidant status in diabetic rats. Journal of Agriculture and Food Chemistry. 60(10): 2517 - 2524. Klungsupya, P., T. Muangman, N. Theangtrong, A. Khayungarnnawee, W. Phatvej, K. Thisayakorn, U. Rerk-Am, T. Sematong, S. Trangvacharakul and V. Arunpairojana. 2008. Antioxidant and antihyperglycemic activities of Gymnema inodorum Dence. Proceeding of “The 8th NRCT-JSPS Joint Seminar Innovation Research in Natural Products for Sustainable Development”, Chulalongkorn University, 3 - 4 December 2008, pp. 207 - 209. Lichtenthaler, H.K. and C. Buschman. 2001. Chlorophyll and carotenoids: measurement and characterization by UV-VIS spectroscopy. Current Protocols in Food analytical Chemistry F4.3.1 – F4.3.8. Manthey, J.A. 2004. Fractionation of orange peel phenols in ultra filtered molasses and mass balance studies of their antioxidant levels. Journal of Agriculture and Food Chemistry. 52(25): 7586 – 7592. Pratt, P.F. 1965. Potassium. In C.A. Black (ed.). Methods of Soil Analysis. Part 2. Amer. Soc. of Agron, Inc. Madison, Wisconsin. pp. 1022-1030. Sellappan, S., C.C. Akoh and G. Krewer. 2002. Phenolic compounds and antioxidant capacity of Goorgia – grow blueberries and blackberries. Journal of Agriculture and Food Chemistry. 50: 2432 – 2438. Shabana, H.R., N.D. Benjamin and S. Mohammed.1981. Pattern of growth and development in date palm fruit. The Plant Journal. 1(1): 32-42. Shimizu, K., M. Ozeki, A. Iino, S. Nakajyo, N. Urakawa and M. Atsuchi. 2001. Structure-activity relationships of triterpenoid derivatives extracted from Gymnema indorum leaves on glucose absorption. The Japan Journal of Pharmacol. 86: 223 - 229. Shimizu, K., M. Ozeki, K. Tanaka, K. Iton, S. Nakajyo, N. Urakawa, and M. Atsuchi. 1997. Suppression of glucose absorption by extracts from the leaves of Gymnema inodorum. Journal of Veterinary Medical Science 59(9): 753 - 757. Walkley, A. and C.A. Black. 1934. An examination of degtareff method for determining soil organic matter and a proposed modification of the chroma acid titration method. Soil Science. 37:29-35.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

613


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของปุ๋ยมูลไก่ ต่ออัตราการเติบโต ผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ปริมาณธาตุอาหารในใบและในดิน และฤทธิ์การต้ านอนุมูลอิสระในผักเชียงดา Effects of Chicken manure on Growth Rate, Consumable Parts, Nutrient Concentration and Antioxidant Activities in Gymnema inodorum (Lour.) Decne. ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 1* ชิติ ศรีตนทิพย์ 1 และมยุรี โมงปั นแก้ ว2 Parinyawadee Sritontip, Chiti Sritontip and Mayuree Mongpunkaew

บทคัดย่ อ งานวิจยั นีม้ ีวตั ถุประสงค์เพื่อหาอัตราที่เหมาะสมของปุ๋ ยมูลไก่ในการผลิตผักเชียงดาให้ มีคณ ุ ภาพ ทาการทดลองที่ สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จ.ลาปาง ระยะเวลาตังแต่ ้ เดือนพฤศจิกายน 2556 ถึง เดือน พฤษภาคม 2557 วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (CRD) จานวน 3 ซ ้า ได้ แก่ ปุ๋ ยมูลไก่ 5 อัตรา คือ 0 0.5 1.0 1.5 และ 2.0 ตันต่อไร่ ปุ๋ ยที่ใช้ เป็ นปุ๋ ยมูลไก่เก่า ใส่เพียงครัง้ เดียวในขันตอนการเตรี ้ ยมดินโดยผสมให้ เข้ ากันกับดินก่อนปลูก พืชทดลอง ใช้ ผักเชี ยงดาสายต้ นที่ 6 ที่ มีอายุ 1 ปี จากการทดลองพบว่าการใส่ปุ๋ยมูลไก่ทุกอัตราไม่มีผลต่ออัตราการเติบโตด้ าน เส้ นผ่าศูนย์กลางลาต้ น ความสูงของต้ น และความกว้ างของทรงพุ่ม การใส่ปยมู ุ๋ ลไก่อตั รา 2.0 ตันต่อไร่ มีผลต่อค่าดัชนีความ เขียวของใบหลังจากใส่ปยไปจนถึ ุ๋ งระยะเวลา 45 วันหลังจากใส่ปยุ๋ แต่หลังจากนันไม่ ้ มีความแตกต่างกันทางสถิติ และมีผลทา ให้ นา้ หนักยอดรวมต่อต้ นต่อเดื อน ปริ มาณฟอสฟอรั ส ที่ เป็ น ประโยชน์ ใ นดิน และอิ นทรี ย วัตถุใ นดินสูงที่ สุด ส่วนปริ มาณ คลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ สารประกอบฟี นอลิก ฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ และค่า IC50 ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ คาสาคัญ : ผักเชียงดา ปุ๋ ยมูลไก่ ผลผลิตส่วนที่บริ โภคได้ ฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ

Abstract This research aimed to investigate the optimum rate of chicken manure for increase yield and quality of Gymnema inodorum (Lour.) Decne. It was conducted at Agricultural Technology Research Institute (ATRI), RMUTL, Lampang province. The experimental design of CRD 5 treatments with 3 replications, was used in the study. The treatments were the rate of chicken manure i.e., 0, 0.5, 1.0, 1.5 and 2.0 ton/rai. Soil was mixed with those manure rates before planting. The no. 6 of G. inodorum clone, 1 year after transplantation, was employed in this study. The results showed that the stem diameter, plant height and canopy width of G. inodorum were not affected by the different rate of manure. The application of manure at the rate of 2.0 ton/rai greatly improved leaf chlorophyll content during 45 days after applying manure. After that, there was no significant difference in all treatments. Furthermore, the highest shoot weight gain per plant per month, soil available phosphorus content and soil organic matter content were influenced by the rate of 2.0 ton/rai manure application. It should be noted that total chlorophyll content, total phenolic content, antioxidant activities and IC50 of G. inodorum were not affected by the different rate of manure. Keywords : Gymnema inodorum (Lour.) Decne., chicken manure, consumable parts, antioxidant activities

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000 Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, Thailand 52000 2 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง 52000 Faculty of Agricultural Science and Technology, Rajamangala University of Technology Lanna Lampang, Thailand 52000 * Corresponding author: parinyawadee@rmutl.ac.th 614

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา การนามูลสัตว์มาใช้ เป็ นปุ๋ ยคอกจะช่วยเพิ่มผลิตภาพของดินให้ สงู ขึ ้น ทังนี ้ ้เนื่องจากปุ๋ ยคอกมีธาตุหลัก ธาตุรองและจุล ธาตุ พืชจะได้ รับประโยชน์จากการใส่ปยคอก ุ๋ คือ ธาตุอาหารพืชรูปที่เป็ นประโยชน์อย่างช้ า ๆ และต่อเนื่องด้ วยกิจกรรมการย่อย ของจุลินทรี ย์ และปรับปรุงสมบัติทางเคมี ฟิ สิกส์และชีวภาพของดิน ปุ๋ ยมูลไก่มีความเข้ มข้ นของธาตุอาหารส่วนมากสูงกว่ามูล สัตว์เลี ้ยงอื่น ๆ มีปริ มาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมประมาณ 4.4 2.1 และ 2.6 เปอร์ เซ็นต์ โดยการใส่ในอัตราไร่ ละ 1500 กิโลกรัม (น ้าหนักแห้ ง) ให้ ธาตุอาหาร 43.3 กิโลกรัมไนโตรเจน 16 กิโลกรัมฟอสฟอรัส และ 26.4 กิโลกรัมโพแทสเซียม ซึง่ เพียงพอสาหรับพืชไร่หลายชนิด (ยงยุทธ และคณะ, 2554) จากการทดลองใส่ปยมู ุ๋ ลไก่เป็ นระยะเวลา 7 ปี พบว่ ามีการสะสม ของอินทรี ยวัตุ ปริ มาณฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียมเพิ่มขึ ้น แต่พืชสามารถใช้ ไนโตรเจน จากปุ๋ ยมูลไก่ได้ เพียงเล็กน้ อยเมื่อเทียบการเจริ ญเติบโตของพืชกับการใส่ปยเคมี ุ๋ (Wang, 2014) จากการทดลองใส่ปยมู ุ๋ ลไก่ 2.5% ปุ๋ ยคอก 2.5% ดินร่ วน 5% ร่ วมกับของเสียจากการทาเหมืองแร่ เหมืองแร่ ในประเทศอินเดีย พบว่าในการปลูกตะไคร้ (Cymbopogon citratus) และหญ้ าแฝก (Chrysopogon zizanioides) นันพื ้ ชทังสองชนิ ้ ดมีการเจริ ญเติบโตและมีน ้าหนักแห้ ง สูงที่สดุ (Kumar and Maiti, 2015) จะเห็นได้ ว่าการใส่ปยมู ุ๋ ลสัตว์นอกจากจะช่วยปรับปรุงคุณสมบัติของดินให้ ดีขึ ้น หากใส่ใน อัตราที่เหมาะสมก็จะช่วยส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตของพืชได้ แต่เนื่องพืชแต่ละชนิดมีรูปแบบการเจริ ญเติบโตและการให้ ผลผลิต ที่แตกต่างกัน การตอบสนองต่อปุ๋ ยมูลสัตว์จึงมีความแตกต่างกัน ผักเชียงดา Gymnema inodorum (Lour.) Decne. (เต็ม, 2544) เป็ นผักพื ้นบ้ านภาคเหนือที่มีผลช่วยลดความเสี่ยงจากโรครูมาตอยด์และเกาต์ (Shimizu et al.1997) โรคเบาหวาน (Shanmugasundaram et al. 1990; Shimizu et al. 2001) ลดระดับน ้าตาลในเลือด (Daisy et al. 2009) ช่วยเพิ่มสารต้ าน อนุมลู อิสระในร่างกาย (ธีรวัลย์และปั ทมา. 2552 Klungsupya et al. 2008 and Kang et al. 2012) ช่วยในการละลายลิ่มเลือด (Hong et al. 2004) การทดลองนี ้เพื่อหาอัตราที่เหมาะสมของปุ๋ ยมูลไก่ในการผลิตผักเชียงดา ข้ อมูลที่ได้ จะเป็ นประโยชน์โดย ใช้ เป็ นแนวทางในการผลิตผักเชี ยงดาอินทรี ย์ นอกจากจะมุ่งเน้ นเรื่ องปริ มาณผลผลิตแล้ วยังสามารถผลิตผักเชี ยงดาที่ มี คุณภาพสูงและเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้ อม

อุปกรณ์ และวิธีการ ทาการทดลอง ณ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จังหวัดลาปาง ระหว่าง เดือนพฤศจิกายน 2556 ถึง เดือนพฤษภาคม 2557 วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (CRD) มีทงหมด ั้ 5 กรรมวิธี ๆ ละ 3 ซ ้า ใส่ปยมู ุ๋ ลไก่เก่าอัตรา 0, 0.5, 1.0, 1.5 และ 2.0 ตันต่อไร่ ทาการทดลองในกระถางพลาสติกสีดาขนาด 12 นิ ้ว การเตรี ยมดิน สาหรับการทดลองให้ ใส่ดินกระถางละ 8 กิโลกรัม ใส่ปยมู ุ๋ ลไก่ตามกรรมวิธีที่ทดลองคือ 0, 25, 50, 75 และ 100 กรัมต่อกระถาง ผสมให้ เป็ นเนื ้อเดียวกัน ปริ มาณปุ๋ ยมูลไก่ที่ใส่คานวณจากดิน 1 ไร่ หนัก 3.126 x 105 กิโลกรัม (ดิน 1 ไร่ ลึก 0.15 เมตร มีพื ้นที่ 1,600 ตารางเมตร มีความหนาแน่น 1.34 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร มีน ้าหนัก 0.15 เมตร x 1,600 x 1.34 x 10-3 กิโลกรัม ต่อ 10 ลูกบาศก์เมตร เท่ากับ 3.126 x 105 กิโลกรัม) นอกจากนี ้ได้ ผสมวัสดุปลูกอื่น ๆ ในอัตราส่วนดิน : แกลบ : กาบมะพร้ าวสับ คือ 1 : 2 : 1 ผสมคลุกเคล้ าให้ เข้ ากัน แล้ วนาต้ นผักเชียงดาไปย้ ายปลูกใส่ในกระถางในเดือนพฤศจิกายน 2556 พืชทดลองคือผักเชียงดาสายต้ นที่ 6 เป็ นพันธุ์ที่ทาการรวบรวมและคัดเลือกจากงานวิจยั ของสถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร อายุ ต้ น 1 ปี ขยายพันธุ์โดยการปั กชา มีลกั ษณะกิ่งและต้ นที่สมบูรณ์ ลักษณะทรงพุ่มใกล้ เคียงกัน ความสูงของต้ นประมาณ 40 เซนติเมตร ปราศจากโรคและแมลงทาลาย ให้ น ้าวันละ 1 ครัง้ ควบคุมปริ มาณการให้ น ้า ต้ นละ 1 ลิตร โดยใช้ กระบอกตวงใน การวัดปริมาณการให้ น ้า ข้ อมูลที่ทาการบันทึกได้ แก่ 1. การเจริญเติบโตทางลาต้ น ได้ แก่ ความสูงของลาต้ น (เซนติเมตร) วัดจากโคนต้ นถึงปลายยอดของต้ น ขนาดของลา ต้ น (มิลลิเมตร) วัดข้ อมูล 2 ด้ านของลาต้ นแล้ วนามาหาค่าเฉลี่ย ความกว้ างของทรงพุ่ม (เซนติเมตร) วัดส่วนที่กว้ างที่สดุ ของ ทรงพุ่มเป็ น 2 แนวตังฉากกั ้ นแล้ วนามาหาค่าเฉลี่ยของข้ อมูล ทาการเก็บข้ อมูลทุก ๆ เดือน เริ่ มบันทึกข้ อมูลในเดือนธันวาคม 2556 ถึงเดือน พฤษภาคม 2557 แล้ วนามาหาอัตราการเจริญตามสูตรของ Shabana et al. (1981) คือ R= โดยที่

(Xt - Xo) x 100 Xo R = อัตราการเติบโตเป็ นร้ อยละ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

615


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Xt = ค่าการวัดครัง้ หลัง Xo = ค่าการวัดครัง้ แรก 2. การเปลี่ยนแปลงความเขียวใบ โดยใช้ ใบคู่ที่ 3 ซึง่ เป็ นยอดผักเชียงดาที่ทาการเก็บเกี่ยวสาหรับบริโภค ทาการวัด ข้ อมูลสัปดาห์ละสองครัง้ โดยการใช้ เครื่ องมือ chlorophyll meter (SPAD-502) วัดใบด้ านขวาและซ้ ายของเส้ นกลางใบข้ างละ 2 จุด ไม่ให้ โดนเส้ นใบ วัดพื ้นที่ใบคูท่ ี่ 3 ใช้ เครื่ องวัด Laser Leaf Area Meters รุ่น CI – 202 จากนันน ้ าใบผักเชียงดาไปอบที่ อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 72 ชัว่ โมง นาไปชัง่ บันทึกน ้าหนักแห้ ง แล้ วนาไปวิเคราะห์หาปริมาณไนโตรเจนโดยวิธีการ โดยการทาให้ เกิดสี (นันทรัตน์, 2542) 3. ข้ อมูลผลผลิตยอดสดในส่วนที่บริ โภคได้ ทาการเก็บผลผลิตจากปลายยอดลงมาจานวน 3 คู่ใบ สัปดาห์ละสองครัง้ เก็บข้ อมูลในเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม 2557 ข้ อมูลที่บนั ทึก ได้ แก่ ให้ น ้าหนักยอดรวมต่อต้ นต่อเดือน จานวนยอดรวมต่อต้ น ต่อเดือน น ้าหนักต่อยอด ความยาวยอด และความเขียวของยอด ใช้ เครื่ องวัด chlorophyll meter รุ่น SPAD – 502 จากนันน ้ า ตัวอย่างส่วนยอดและใบ 3 คู่นบั จากปลายยอด ไปวิเคราะห์หาปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ ทาการวัดการส่องผ่านของแสงด้ วยเ ครื่ อง spectrophotometer ช่วงความยาวคลืน่ 664.20 นาโนเมตร ตามวิธีการของ Lichtenthaler and Buschmann (2001) ปริ มาณ สารประกอบฟี นอลิกในรูปกรดแกลลิกในตัวอย่างพืชสกัดได้ โดยวิธี Folin-Ciocalteu (ดัดแปลงจาก Sellappan et al., 2002) ทาการวัดการส่องผ่านของแสงด้ วยเครื่ อง spectrophotometer ช่วงความยาวคลื่น 750 นาโนเมตร และทดสอบกิจกรรมต้ าน อนุมลู อิสระด้ วยวิธี DPPH (Manthey, 2004.) ทาการวัดการส่องผ่านของแสงด้ วยเครื่ อง spectrophotometer ช่วงความยาว คลื่น 517 นาโนเมตร และค่า IC50 ในสารสกัดผักเชียงดาสด (ความเข้ มข้ นของตัวอย่างที่ ต้านอนุมลู อิสระชนิด DPPH สูงสุดได้ ร้ อยละ 50)

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. อัตราการเติบโตทางลาต้ นของผักเชียงดา การใส่ปยมู ุ๋ ลไก่อตั รา 0 0.5 1.0 1.5 และ 2.0 ตันต่อไร่ ไม่มีผลต่ออัตราการเติบโตด้ านเส้ นผ่าศูนย์กลางของลาต้ น อัตราการเติบโตด้ านความสูงของต้ น และอัตราการเติบโตด้ านความกว้ างของทรงพุ่ม (Figure 1) ในระหว่างเดือนธันวาคม 2556 - มกราคม 2557 เป็ นระยะเวลา 30 - 75 วัน หลังจากใส่ปยุ๋ ผักเชียงดามีอตั ราการเติบโตด้ านความกว้ างของทรงพุ่ม ลดลง เนื่องจากใบผักเชียงดาเกิดการร่วงหล่นบางส่วน โดยมีการแตกช่อยอดใหม่ในเดือนกุ มภาพันธ์ 2557 เป็ นระยะหลัง 90 วัน หลังจากใส่ปยุ๋ ทาให้ อตั ราการเติบโตด้ านความกว้ างของทรงพุม่ เพิ่มขึ ้น และเริ่มทาการเก็บผลผลิตส่วนที่บริโภคได้

616

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

a)

b)

c)

d) Figure 1 Effects of different rate chicken manure on stem diameter (a), canopy width (b), plant height (c) and chlorophyll content (d) of Gymnema inodorum (Lour.) Decne..

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

617


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ส่วนการใส่ปยมู ุ๋ ลไก่อตั รา 0 ตันต่อไร่ มีแนวโน้ มทาให้ อตั ราการเติบโตด้ านความกว้ างของทรงพุ่มสูงกว่าการใส่ปยมู ุ๋ ล ไก่ในอัตราอื่น ๆ เนื่องจากมีผลผลิตน้ อยกว่าการใส่ปยในอั ุ๋ ตราอื่น (Table 1) ทาให้ อตั ราการเติบโตในด้ านความกว้ างของทรง พุ่มค่อนข้ างคงที่ (Figure 1) ความเขียวใบ หลังจากใส่ปยมู ุ๋ ลไก่เป็ นเวลา 30 - 45 วัน พบว่าความเขียวของใบมีความแตกต่าง กันอย่างมีนยั สาคัญยิ่งทางสถิติ โดยการใส่ปยมู ุ๋ ลไก่ ในอัตรา 2.0 ตันต่อไร่ มีความเขียวของใบสูงที่สดุ เฉลี่ย 49.18 และ 46.11 SPAD value ตามลาดับ ส่วนการใส่ปยอั ุ๋ ตรา 0 ตันต่อไร่ มีความเขียวของใบต่าที่สดุ เฉลี่ย 41.80 และ 38.59 SPAD value ตามลาดับ แต่หลังจากใส่ปยมู ุ๋ ลไก่เป็ นเวลา 60 - 180 วัน พบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (Figure 1) 2. ผลผลิตและองค์ ประกอบผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ของผักเชียงดา จากการทดลองพบว่า น ้าหนักยอดรวมต่อต้ นต่อเดือนของผักเชียงดามีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ โดยการใส่ปยมู ุ๋ ลไก่ อัตรา 0. 5 - 2.0 ตันต่อไร่ ส่งผลให้ ผกั เชียงดามีน ้าหนักยอดสูงที่สดุ มีค่าเฉลี่ย 13.83 - 19.07 กรัมต่อต้ น และการใส่ปยอั ุ๋ ตรา 0 ตันต่อไร่ มีน ้าหนักยอดต่าที่สดุ มีค่าเฉลี่ย 11.02 กรัมต่อต้ น ส่วนการใส่ปยมู ุ๋ ลไก่ อัตรา 0 – 2.0 ตันต่อไร่ ไม่มีผลทาให้ จานวนยอดรวมต่อเดือน น ้าหนักต่อยอด ความยาวยอด พื ้นที่ใบคู่ที่ 3 และความเขียวใบ คู่ที่ 3 มีความแตกต่างกันทาง สถิติ โดยมีจานวนยอดรวมต่อเดือน มีค่าเฉลี่ย 4 - 7 ยอดต่อต้ น น ้าหนักต่อยอดมีค่าเฉลี่ย 2.54 - 3.03 กรัม ความยาวยอดมี ค่าเฉลี่ย 6.11 - 6.86 เซนติเมตร พื ้นที่ใบ คู่ที่ 3 มีค่าเฉลี่ย 12.33 – 15.14 ตารางเซนติเมตร ความเขียวใบ คู่ที่ 3 มีค่าเฉลี่ย 30.48 – 32.19 SPAD value (Table 1)

618

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 shoot weight per plant per month, shoot number per plant per month, shoot weight, shoot length, leaf area of the 3rd pair leaves and chlorophyll content of shoot (fresh weight) chicken shoot weight shoot number weight per shoot Leaf area chlorophyll manure per plant per per plant per shoot length of the 3rd content of (ton/rai) month month (g) (cm) pair leaves shoot (g) (shoot) (cm2) (SPAD unit) 0 11.02b±2.37 4±1.10 2.58±0.10 6.11±0.41 12.40±2.63 30.69±2.49 ab 0.5 13.83 ±4.00 5±1.30 2.54±0.17 6.57±0.93 13.95±0.93 31.01±0.54 a 1.0 17.89 ±3.65 6±1.40 2.78±0.10 6.44±0.51 12.33±2.10 31.57±1.41 ab 1.5 14.49 ±1.92 5±1.36 3.03±0.96 6.86±0.86 15.14±1.47 30.48±0.30 a 2.0 19.07 ±0.93 7±0.56 2.80±0.10 6.38±0.31 14.51±1.05 32.19±1.17 F - test * ns ns ns ns ns ns, * indicate non – significant and significant at p<0.05, respectively. Means in the same column with the different letters are significantly different at P<0.05 3. ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค คลอโรฟิ ลล์ ทัง้ หมด สารต้ านอนุ มูลอิสระ และค่ า IC50 (50% Inhibitory Concentration) ในสารสกัดผักเชียงดาสด จากการวิเคราะห์หาปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค คลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ ฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ และค่า IC50 ในสาร สกัดผักเชียงดาสดหลังจากใส่ปยมู ุ๋ ลไก่ทกุ อัตราไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ พบปริ มาณสารประกอบฟี นอลิคมีค่าเฉลี่ ย 6.98 - 7.34 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมโดยน ้าหนักเปี ยก คลอโรฟิ ลล์ทงหมดมี ั้ ค่าเฉลี่ย 112.36 - 124.49 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมโดย น ้าหนักเปี ยก สารต้ านอนุมลู อิสระมีค่าเฉลี่ย 47.87 – 60.73 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมโดยน ้าหนักเปี ยก ส่วนค่า IC50 มีค่าเฉลี่ย 55.35 - 70.35 มิลลิกรัมต่อ 100 กรัมโดยน ้าหนักเปี ยก (Table 2) จากการทดลองถึงแม้ ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิค คลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ สารต้ านอนุมลู อิสระ และค่า IC50 จะไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่จากข้ อมูลจะเห็นได้ ว่าการไม่ใส่ปยุ๋ มูลไก่มีแนวโน้ มทาให้ ผกั เชียงดามีปริมาณสารประกอบฟี นอลิคและสารต้ านอนุมลู อิสระสูงกว่าการใส่ปยุ๋ และมีค่า IC50 ต่า นัน่ แสดงว่าในผักเชียงดามีความเข้ มข้ นของตัวอย่างมีแนวโน้ มสูงกว่า

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

619


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 total phenolic, total chlorophyll, antioxidant content and IC50 chicken manure total phenolic total chlorophyll antioxidant content IC50 (ton/rai) (mg/100g FW) (mg/100g FW) (mg/100g FW) (mg/100g FW) 0 7.00±0.26 112.46±13.79 60.73±19.58 55.35±5.87 0.5 7.21±0.26 115.19±9.40 48.73±10.17 60.64±8.49 1.0 7.34±0.58 112.36±9.68 48.37±3.38 60.27±11.46 1.5 7.24±0.44 115.91±13.25 53.13±12.69 64.86±7.55 2.0 6.98±0.01 124.49±3.14 47.87±2.60 70.35±6.24 F - test ns ns ns ns ns, * and ** indicate non – significant and significant at p<0.05, p<0.01, respectively. Means in the same column with the different letters are significantly different at P<0.01 and 0.05 4. คุณสมบัตทิ างเคมีของดิน สมบัติของชุดดินที่นามาศึกษามีปฏิกิริยาเป็ นด่าง (pH 7.95) มีปริ มาณอินทรี ยวัตถุเท่ากับ 1.79 เปอร์ เซ็นต์ มีปริ มาณ ฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์ 58.12 หนึง่ ต่อล้ านส่วน และมีโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ 24.62 หนึง่ ต่อล้ านส่วน การใส่ปุ๋ ยมูล ไก่อัตรา 2 ตันต่อไร่ มี ป ริ มาณอิน ทรี ย วัตถุแ ละฟอสฟอรั สที่ เ ป็ นประโยชน์ สูงที่ สุด มี ค่า เฉลี่ ย 2.05 เปอร์ เซ็นต์ และ 213.89 หนึ่งต่อล้ านส่วน ตามลาดับ ความเป็ นกรดเป็ นด่างและปริ มาณโพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ มีคา่ เฉลี่ย 7.14 – 7.42 และ 24.26 – 33.49 หนึง่ ต่อล้ านส่วน ตามลาดับ (Table 3) 5. ปริมาณธาตุอาหารในใบผักเชียงดา พบว่าการใส่ปยมู ุ๋ ลไก่อตั รา 0 – 2.0 ตันต่อไร่ มีปริ มาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในใบผักเชียงดาไม่มีความแตกต่าง กันทางสถิติ โดยปริ มาณธาตุไนโตรเจนมีค่ าเฉลี่ย 2.35 – 2.75 เปอร์ เซ็นต์ และปริ มาณธาตุฟอสฟอรัสมีค่าเฉลี่ย 0.16 - 0.19 เปอร์ เซ็นต์ (Table 3)

620

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Chemical properties of soil and nutrient concentration in leaf affect by different rates chicken manure. chicken manure Nutrient content in soil Nutrient content in leaf (ton/rai) pH (1:1 H2O) Organic Available P Exchangeable N (%)5 P (%) 2 1 3 4 matter (%) (Bray II, ppm) K (ppm) 0 6.24±0.44 1.50c±0.13 56.48c±17.822 25.74±3.70 2.35±0.22 0.17±0.01 0.5 6.63±0.63 1.62bc±0.04 110.03bc±10.28 33.49±5.67 2.52±0.34 0.16±0.02 1.0 6.24±0.21 1.67bc±0.17 104.96bc±45.64 24.26±5.96 2.68±0.22 0.16±0.01 1.5 6.25±0.39 1.86ab±0.13 160.41ab±38.88 29.58±5.51 2.75±0.10 0.19±0.01 2.0 6.65±0.25 2.05a±0.17 213.89a±56.89 27.81±4.47 2.74±0.46 0.18±0.02 F - test ns ** ** ns ns ns ns, ** indicate non – significant and significant at p<0.01, respectively. Means in the same column with the different letters are significantly different at P<0.01 1.Walkley and Black Titration (Walkley and Black, 1934) 2. pH meter (ดินต่อน ้า เท่ากับ 1:1) 3.Bray II (Bray and Kurtz, 1945) 4. NH4OAc (Pratt, 1965) 5. นันทรัตน์ (2542)

ผลจากการทดลองนี ้พบว่าการใส่ปยมู ุ๋ ลไก่ อัตรา 0. 5 - 2.0 ตันต่อไร่ ส่งผลให้ ผกั เชียงดามีน ้าหนักยอดสูงกว่ากรรมวิธี ที่ไม่ใส่ปยุ๋ (table 1) แต่เมื่อคานึงถึงต้ นทุนในการผลิตและค่าตอบแทนต่อไร่ตอ่ เดือนที่แสดงในตารางที่ 4 จะเห็นได้ วา่ ควรใส่ปยุ๋ มูลไก่อตั รา 1.0 ตันต่อไร่ ในการผลิตผักเชียงดา เนื่องจากให้ ผลตอบแทนสูงที่สดุ Table 4 Net profit of G. inodorum (Lour.) Decne. affect by different rates chicken manure. chicken manure manure cost shoot weight per yield per rai yield sold net profit 1/ 2/ 3/ (ton/rai) (bath/rai) plant per month (g) (kg) (bath/rai) (bath/rai) 0 0 11.02 47.01 2,350.57 2,350.57 0.5 500 13.83 59.00 2,949.94 2,449.94 1.0 1,000 17.89 76.32 3,815.94 2,815.94 1.5 1,500 14.49 61.81 3,090.72 1,590.72 2.0 2,000 19.07 81.35 4,067.63 2,067.63 หมายเหตุ 1/ ราคาปุ๋ ยมูลไก่กิโลกรัมละ 1 บาท 2/ ใช้ ระยะปลูกระหว่างต้ น 50 เซนติเมตร ระหว่างแถว 75 เซนติเมตร จะได้ จานวนต้ นต่อไร่เท่ากับ 4,266 ต้ น 3/ราคาจาหน่ายผลผลิต 50 บาท/กิโลกรัม

สรุ ปผลการทดลอง การใส่ปยมู ุ๋ ลไก่อตั รา 0.5 - 2.0 ตันต่อไร่ มีผลทาให้ น ้าหนักยอดรวมต่อต้ นต่อเดือนสูงกว่าการไม่ใส่ปยุ๋ การใส่ปยมู ุ๋ ล ไก่อตั รา 2.0 ตันต่อไร่ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็ นประโยชน์และปริมาณอินทรี ยวัตถุในดินสูงที่สดุ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

621


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจัยขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ที่สนับสนุนให้ มีการเผยแพร่ ผลงานวิชาการสู่ระดับ สากล "โครงการวิจัยนีไ้ ด้ รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณโครงการยกระดับปริ ญญานิพนธ์ เป็ นงานวิจัยตีพิมพ์ งาน สร้ างสรรค์ และงานบริการวิชาการสูช่ มุ ชน ประจาปี 2557"

เอกสารอ้ างอิง เต็ม สมิตินนั ทน์. 2544. ชื่อพรรณไม้ แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ ป่าไม้ สานักวิชาการป่ าไม้ กรมป่ าไม้ . 810 น. ทัศนีย์ อัตตะนันท์ และจงรักษ์ จันทร์ เจริ ญสุข. 2542. การวิเคราะห์ดินและพืช. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพฯ. ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน และปั ทมา ไทยอู่. 2552. ผลของชนิดผักเชียงดา (Gymnema inodorum Decne.) และอุณหภูมิการอบแห้ งต่อคุณภาพและ ฤทธิ์การต้ านอนุมลู อิสระ. การประชุมวิชาการประจาปี อุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคเหนือครัง้ ที่ 1. 138 น. นันทรัตน์ ศุภกาเนิด. 2542. การวิเคราะห์แอมโมเนียมไนโตรเจนโดยการทาให้ เกิดสี. เอกสารเผยแพร่ของศูนย์วิจยั พืชสวนเชียงราย. เชียงราย. 2 น. ยงยุทธ โอสถสภา อรรถศิษฐ์ วงศ์มณีโรจน์ และชวลิต ฮงประยูร. 2554. ปุ๋ ยเพื่อการเกษตรยัง่ ยืน. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน. 519 น. Bray, R.H. and L.T. Kurtz. 1945. Determination of total organic and available forms of phosphorus in soil. Soil Science. 59:39-45. Daisy, P., J. Eliza and K.A. Mohamed Farook. 2009. A novel dihydroxy gymnemic triacetate isolated from Gymnema sylvestre possessing normoglycemic and hypolipidemic activity on STZ-induced diabetic rats. Journal of Ethnopharmacology. 126: 339 - 344. Hong, J.H., B. Manochai, G. Trakoontivakorn and V. Na Thalang. 2004. Fibrinolytic activity of Thai indigenous vegetables. Kasetsart Journal. 38: 241 - 246. Kang, M.H., M.S. Lee, M.K. Choi, K.S. Min and T. Shibamoto. 2012. Hypoglycemic activity of Gymnema sylvestre extracts on oxidative stress and antioxidant status in diabetic rats. Journal of Agriculture and Food Chemistry. 60(10): 2517 - 2524. Klungsupya, P., T. Muangman, N. Theangtrong, A. Khayungarnnawee, W. Phatvej, K. Thisayakorn, U. Rerk-Am, T. Sematong, S. Trangvacharakul and V. Arunpairojana. 2008. Antioxidant and antihyperglycemic activities of Gymnema inodorum Dence. Proceeding of “The 8th NRCT-JSPS Joint Seminar Innovation Research in Natural Products for Sustainable Development”, Chulalongkorn University, 3 - 4 December 2008, pp. 207 - 209. Kumar, A and S.K. Maiti. 2015. Effect of organic manures on the growth of Cymbopogon citratus and Chrysopogon zizanioides for the phytoremediation of chromite-asbestos mine waste: a pot scale experiment. INTERNATIONAL JOURNAL OF PHYTOREMEDIATION 17(5): 437-447. Lichtenthaler, H.K. and C. Buschman. 2001. Chlorophyll and carotenoids: measurement and characterization by UV-VIS spectroscopy. Current Protocols in Food analytical Chemistry F4.3.1 – F4.3.8. Manthey, J.A. 2004. Fractionation of orange peel phenols in ultra filtered molasses and mass balance studies of their antioxidant levels. Journal of Agriculture and Food Chemistry. 52(25): 7586 – 7592. Pratt, P.F. 1965. Potassium. In C.A. Black (ed.). Methods of Soil Analysis. Part 2. Amer. Soc. of Agron, Inc. Madison, Wisconsin. pp. 1022-1030. Sellappan, S., C.C. Akoh and G. Krewer. 2002. Phenolic compounds and antioxidant capacity of Goorgia – grow blueberries and blackberries. Journal of Agriculture and Food Chemistry. 50: 2432 – 2438. Shabana, H.R., N.D. Benjamin and S. Mohammed.1981. Pattern of growth and development in date palm fruit. The Plant Journal. 1(1): 32-42. Shimizu, K., M. Ozeki, A. Iino, S. Nakajyo, N. Urakawa and M. Atsuchi. 2001. Structure-activity relationships of triterpenoid derivatives extracted from Gymnema indorum leaves on glucose absorption. The Japan Journal of Pharmacol. 86: 223 - 229. Shimizu, K., M. Ozeki, K. Tanaka, K. Iton, S. Nakajyo, N. Urakawa, and M. Atsuchi. 1997. Suppression of glucose absorption by extracts from the leaves of Gymnema inodorum. Journal of Veterinary Medical Science 59(9): 753 - 757. Walkley, A. and C.A. Black. 1934. An examination of degtareff method for determining soil organic matter and a proposed modification of the chroma acid titration method. Soil Science. 37:29-35. Wang, C.H.. 2014. Farming methods effects on the soil fertility and crop production under a rice-vegetables cropping seguences. Journal of Plant Nutrition. 37(9): 37 1498-1513.

622

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการขาดนา้ ต่ อการเติบโตของตายอด ส่ วนที่บริโภคได้ และกิจกรรมต้ านอนุมูลอิสระในผักเชียงดา Effects of Water-deficit Stress on Terminal buds Growth, Edible Parts and Antioxidant Activities in Gymnema inodorum (Lour.) Decne. ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ 1* และชิติ ศรีตนทิพย์ 1 Parinyawadee Sritontip1* and Chiti Sritontip1

บทคัดย่ อ งานวิจยั นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการขาดน ้าและอายุของต้ นที่มีต่อการเติบโตของตายอด ส่วนที่บริ โภคได้ และกิจกรรมต้ านอนุมลู อิสระในผักเชียงดา ทาการทดลองที่สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้ านนา จ.ลาปาง ระยะเวลาตังแต่ ้ เดือนมกราคม 2554 ถึง เดือนพฤศจิกายน 2554 วางแผนการทดลองแบบ 2x12Factorial in CRD จานวน ซ ้า โดยมีสองปั จจัย ได้ แก่ สายต้ นผักเชียงดาจานวน 2 สายต้ น คือ สายต้ นที่ 4 และ 6 และอายุของต้ น คือ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12 เดือน หลังย้ ายปลูก โดยให้ น ้า15 วันสลับกับงดให้ น ้า 15 วัน พบว่าสายต้ นที่ 6 มี จานวนและน ้าหนักยอดทังหมดที ้ ่เก็บได้ ต่อต้ นต่อเดือนมากกว่าสายต้ นที่ 4 แต่สายต้ นที่ 4 มีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกและ ์ ฤทธิต้านอนุมลู อิสระสูงกว่าสายต้ นที่ 6 การเจริ ญเติบโตของยอดในต้ นที่มีอายุ 1-4 เดือน ตายอดจะแห้ งและตายในช่วงที่งดให้ น ้า ต้ นที่มีอายุ 5 -12 เดือน ตายอดจะหยุดการเจริ ญเติบโตแต่ไม่ตายและให้ ผลผลิตสูงกว่าต้ นที่มีอายุน้อยกว่า ในต้ นที่มีอายุ ตังแต่ ้ 7 เดือนขึ ้นไปมีปริมาณคลอโรฟิ ลล์ทงหมดและสารประกอบฟี ั้ นอลิกสูงกว่าต้ นที่มีอายุน้อยกว่าแต่ผกั เชียงดาจะมีกิจกรรม ต้ านอนุมลู อิสระสูงที่สดุ ในต้ นที่มีอายุ 11 – 12 เดือน คาสาคัญ: ผักเชียงดา การขาดน ้า การเติบโต ส่วนที่บริโภคได้ กิจกรรมต้ านอนุมลู อิสระ

Abstract This research aimed to investigate the effect of water stress at short period of each age range on terminal buds growth, edible parts and antioxidant activities of Gymnema inodorum (Lour.) Decne. (GI) was conducted at Agricultural Technology Research Institute (ATRI), RMUTL, Lampang province from January to November 2011. The experimental design of 2X12 factorial in CRD with 3 replications were investigated by 2 GI clones ( no.4 and 6) at the age of 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 and 12 months after transplanting. The GI was fed with water for 15 days and then unfed every other 15 days intervals at all the experimental period. The result showed that the amount of harvested shoot per month and shoot weight per plant of no.6 clone were higher than no. 4 clone however the clone no. 4 had greater amount of phenolic compound and antioxidant activities than those of the no. 4. The terminal buds of 1 - 4 months age plants were dried and broken down during water cessation, while the plant of 5 - 12 months of age were just stopped growing and gave higher yields than 4 months age. More ever, the GI plants of over 7 month’s age contained more total chlorophyll than younger plants. Furthermore, the treatments with 11 – 12 month had the highest on antioxidant activities. Keywords: Gymnema inodorum (Lour.) Decne., water-deficit stress, terminal buds growth, edible parts, antioxidant activities

1

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา 52000 Agricultural Technology Research Institute, Rajamangala University of Technology Lanna, Thailand 52000 * Corresponding author: parinyawadee@rmutl.ac.th การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

623


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ผักเชียงดา Gymnema inodorum (Lour.) Decne. (เต็ม, 2544) เป็ นผักพื ้นบ้ านภาคเหนือที่มีผลช่วยลดความเสี่ยง จากโรครูมาตอยด์และเกาต์ (Shimizu et al.,1997) โรคเบาหวาน (Shanmugasundaram et al., 1990; Shimizu et al., 2001) ลดระดับน ้าตาลในเลือด (Daisy et al., 2009) ช่วยในการละลายลิ่มเลือด (Hong et al,. 2004) ด้ านปริ มาณสารต้ านอนุมลู อิสระและฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระของผักเชียงดานัน้ พบว่าผักเชียงดาประกอบด้ วยสารต้ านอนุมลู อิสระ ได้ แก่ สารประกอบฟี นอลิก คาโรทีนอยด์ คลอโรฟิ ลล์ และวิตามินอี ที่มีฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระหรื อค่า IC50 อยู่สงู (ธัญญาลักษณ์ , 2548; ธัญชนก, 2550; ธีรวัลย์และปั ทมา, 2552; ประไพภัทรและคณะ, 2553; Chanwitheesuk et al,. 2005; Tangkanakul et al,. 2005, Kang et al,. 2012 and Rachh et al., 2009) การหาวิธีการเพื่อเพิ่มปริ มาณสารออกฤทธิ์ในการผลิตผักเชียงดา เช่น สารต้ าน อนุมลู อิสระและสารประกอบฟี นอลิก เป็ นอีกแนวทางหนึ่งในการเพิ่มคุณภาพผักเชียงดาให้ สงู ขึ ้น จากการรายงานในผลทับ ทิม พบว่าปริ มาณสารฟี นอลิกขึ ้นอยู่กบั พันธุ์ พื ้นที่ปลูก สภาพอากาศ สภาพการขาดน ้าและการจัดการดูแลรักษา (Poyrazoglu et al,. 2002) นอกจากนี ้ความเครี ยดจากการขาดน ้าสามารถทาให้ ปริ มาณสารฟี นอลิกในพริ กไทยเพิ่มขึ ้นได้ (Estiarte et al., 1994) Scalabrelli et al. (2007) รายงานว่าการที่ต้นองุ่นได้ รับความเครี ยดจากการขาดน ้าทาให้ ปริ มาณสารฟี นอลิกในผล เพิ่มขึ ้น ดังนัน้ การศึกษาผลของปั จจัยแวดล้ อม เช่น การขาดน ้า น่าจะได้ ข้อมูลที่สง่ ผลให้ ปริ มาณผลผลิตคุณภาพและสารต้ าน อนุมลู อิสระในผักเชียงดาเพิ่มขึ ้น ซึง่ ข้ อมูลเหล่านี ้สามารถใช้ ในการพัฒ นาเทคโนโลยีการผลิต และเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนา ให้ เป็ นพืชอุตสาหกรรมและส่งเสริ มให้ เกษตรได้ เพาะปลูกเพื่อเพิ่มรายได้ อีกทังเป็ ้ นการอนุรักษ์ ผกั พืน้ บ้ านและส่งเสริ มการ ผู้บริโภคให้ เพิ่มมากขึ ้น

อุปกรณ์ และวิธีการ ทาการทดลอง ณ โรงเรื อนของสถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา จังหวัดลาปาง ระหว่างเดือนมกราคม 2554 ถึง เดือนพฤศจิกายน 2554 วางแผนการทดลองแบบ 2x12 Factorial in CRD จานวน ซ ้า โดย มีสองปั จจัย ได้ แก่ สายต้ นผักเชียงดาจานวน 2 สายต้ น คือ สายต้ นที่ 4 และ 6 และอายุของต้ น คือ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12 เดือน หลังย้ ายปลูก พืชทดลอง ต้ นผักเชียงดา 2 สายต้ น คือ สายต้ นที่ 4 และสายต้ นที่ 6 เป็ นพันธุ์ที่ทาการคัดเลือกจากงานวิจยั ของ สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร โดยให้ ผลผลิตและสารต้ านอนุมลู อิสระสูง จากการรวบรวมและคัดเลือกในเขตภาคเหนือ โดยทั ง้ สองพันธุ์มีลกั ษณะทางการเกษตรที่แตกต่างกัน โดยสายพันธุ์ที่ 4 มีลกั ษณะใบเป็ นรูปหัวใจ (cordate) สายพันธุ์ที่ 6 มีลกั ษณะ ใบเป็ นรูปไข่ (elliptic) ขยายพันธุ์โดยการปั กชาจากข้ อที่ 4 จานวน 1 ข้ อ ในแกลบดา เป็ นเวลา 45 วัน แล้ วนาไปย้ ายลงปลูกใน ถุงดา ขนาด 3 X 7 นิ ้ว ที่มีดินผสมแกลบดิบเป็ นวัสดุปลูก เอาไปไว้ ในโรงเรื อนเพาะชา 45 วัน โดยใช้ เวลาประมาณ 3 เดือนใน การเตรี ยมต้ นพันธุ์ จากนันน ้ าต้ นพันธุ์ที่ได้ ไปปลูกในกระถางขนาด 17 นิ ้ว โดยใช้ ดินผสม โดยมีสว่ นผสมระหว่างดิน : แกลบดิบ: และเปลือกถัว่ ในอัตราส่วน 2: 1: 1 ผสมคลุกเคล้ าให้ เข้ ากัน การนับอายุของต้ นนันใช้ ้ การนับเวลาหลังจากย้ ายปลูกผักเชียงดา ลงในกระถาง ต้ นที่มีอายุมากที่สดุ จะเตรี ยมต้ นก่อน โดยลาดับในการเตรี ยมต้ น คือ ต้ นที่มีอายุ 12, 11,10, 9, 8 7, 6, 5, 4, 3, 2 และ 1 เดือน ตามลาดับ วิธีการให้ น ้าแก่ต้นผักเชียงดาที่ทาการทดลองโดยให้ น ้าทุกวันโดยระบบน ้าหยดวันละ 2 ชัว่ โมง เป็ น เวลา 15 วัน หลังจากนันงดให้ ้ น ้าแก่ผกั เชียงดาเป็ นเวลา 15 วัน สลับกันในช่วงระหว่างที่ทาการทดลอง ข้ อมูลที่ทาการบันทึกได้ แก่ 1. ลักษณะอาการขาดน ้าที่เห็นด้ วยตา เช่น ลักษณะลาต้ น ใบ การพัฒนาตายอด โดยสังเกตลักษณะต่าง ๆ หลังจาก ทาการทดลอง 2. ข้ อมูลผลผลิตยอดสดในส่วนที่บริ โภคได้ ทาการเก็บผลผลิตจากปลายยอดลงมาจานวน 3 คู่ใบ สัปดาห์ละสองครัง้ ทาการเก็บผลผลิตในเดือนกันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน 2554 หลังจากข้ อมูลที่บนั ทึก ได้ แก่ ให้ น ้าหนักยอดรวมต่อต้ นต่อเดือน จานวนยอดรวมต่อต้ นต่อเดือน น ้าหนักต่อยอด จากนันน ้ าตัวอย่างส่วนยอดและใบ 3 คู่นบั จากปลายยอด ไปวิเคราะห์หา ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ ทาการวัดการส่องผ่านของแสงด้ วยเครื่ อง spectrophotometer ช่วงความยาวคลื่น 664.20 นาโนเมตร ตามวิธีการของ Lichtenthaler and Buschmann (2001) ปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกในรู ปกรดแกลลิกในตัวอย่างพืชสกัดได้ โดยวิธี Folin-Ciocalteu (ดัดแปลงจาก Sellappan et al., 2002) ทาการวัดการส่องผ่านของแสงด้ วยเครื่ อง spectrophotometer ช่วงความยาวคลื่น 750 นาโนเมตร และทดสอบกิจกรรมต้ านอนุมลู อิสระด้ วยวิธี DPPH (Manthey, 624

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

2004) ทาการวัดการส่องผ่านของแสงด้ วยเครื่ อง spectrophotometer ช่วงความยาวคลื่น 517 นาโนเมตร และค่า IC50 ในสาร สกัดผักเชียงดาสด (ความเข้ มข้ นของตัวอย่างที่ต้านอนุมลู อิสระชนิด DPPH สูงสุดได้ ร้อยละ 50)

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. ลักษณะต้ นผักเชียงดา ลักษณะต้ นผักเชียงดาหลังจากที่ทาการทดลอง พบว่าผักเชียงดาทังสายต้ ้ นที่ 4 และ 6 ที่มีอายุต้น 1 – 4 เดือน ตา ยอดจะแห้ งและตายในช่วงที่งดให้ น ้า 15 วัน และเมื่อกลับมาให้ น ้าปกติจะมีการแตกยอดและให้ ผลผลิต แต่ต้องใช้ เวลาในการ ฟื น้ ตัวและสร้ างตายอดใหม่ ส่วนต้ นที่มีอายุ 5- 12 เดือน ตายอดจะหยุดการเจริ ญเติบโตแต่ไม่ ตาย (Figure 1) เมื่อให้ น ้าปกติ จะมีการแตกยอดและให้ ผลผลิตได้ เร็วกว่าต้ นที่มีอายุน้อย

2 month

the terminal buds of 1 - 4 months age plants were dried and broken down

5 month

the terminal buds of 5 - 12 months of age were just stopped growing Figure 1 Growth of plant with the response water stress and terminal buds growth. 2. ผลผลิตและองค์ ประกอบผลผลิตส่ วนที่บริโภคได้ ของผักเชียงดา หลังจากงดให้ น ้าผักเชียงดาตามกรรมวิธีที่ทดลอง พบว่า สายต้ นที่ 6 มีจานวนยอดทังหมดที ้ ่เก็บได้ ต่อต้ นต่อเดือน และน ้าหนักยอดทังหมดที ้ ่เก็บได้ ตอ่ ต้ นต่อเดือนมากกว่าสายต้ นที่ 4 โดยมีค่าเฉลี่ย คือ 20 ยอด และ 45 กรัม ตามลาดับ (Table 1) ส่วนน ้าหนักต่อยอดไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ต้ นผักเชียงดาที่มีอายุ 1 – 3 เดือน หลังย้ ายปลูก ยังไม่สามารถเก็บผลผลิตส่วนที่บริ โภคได้ เนื่องจากต้ น มีขนาดเล็ก และจานวนช่อยอดต่อต้ นจะมีอยูป่ ระมาณ 1 – 2 ช่อ ซึง่ โดยปกติจะเริ่ มเก็บผลผลิตผักเชียงดาเมื่อย้ ายปลูกได้ ประมาณ 4 เดือน ดังนันในการทดลองนี ้ ้ในช่วงแรกจึงไม่มีข้อมูลผลผลิตผักเชียงดา และเมื่อเริ่ มเก็บผลผลิตได้ ในเดือนที่ 4 หลังย้ ายปลูกพบว่า ต้ น ที่มีอายุ 4 เดือน ซึ่งมีอายุน้อยที่สดุ มีจานวนยอดทังหมดและน ้ ้าหนักยอดทังหมดที ้ ่เก็บได้ ต่อต้ นต่อเดือนต่าที่สดุ มีค่าเฉลี่ย 5 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

625


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ยอด และ 12.1 กรัม ตามลาดับ ส่วนต้ นที่มีอายุ 5 - 12 เดือน มีจานวนยอดทังหมด ้ และน ้าหนักยอดทังหมดที ้ ่เก็บได้ ต่อต้ นต่อ เดื อนไม่แ ตกต่างกันทางสถิ ติ มี ค่าเฉลี่ย 14 – 20 ยอด และ 30.3 – 44.8 กรั ม ตามลาดับ ส่วนนา้ หนักต่อยอดไม่มีความ แตกต่างกันทางสถิติ มีค่าเฉลี่ย 2.2 – 2.3 กรัม เนื่องจากการเก็บข้ อมูลผลผลิตในส่วนที่บริ โภคได้ จะทาการทยอยเก็บยอดที่ใช้ สาหรับบริโภค ซึง่ มีจานวน 3 คูใ่ บ ทาให้ ได้ น ้าหนักที่ใกล้ เคียงกัน ไม่พบอิทธิพลร่วมกันระหว่างสายต้ นและอายุต้นผักเชียงดาใน ส่วนของผลผลิตส่วนที่บริโภคได้ Table 1 shoot number per plant per month (shoot), shoot weight per plant per month (g) and weight per shoot (g) Treatments shoot number per plant shoot weight per plant weight per shoot per month (shoot) per month (g) (g) Cultivar (A) #4 12 b 27.0 b 2.2 #6 20 a 45.0 a 2.2 Plant age (B) 4 month 5b 12.1 b 2.3 5 month 19 a 43.1 a 2.2 6 month 17 a 38.7 a 2.2 7 month 14 a 30.3 a 2.2 8 month 17 a 39.5 a 2.3 9 month 20 a 44.8 a 2.3 10 month 18 a 39.9 a 2.2 11 month 16 a 34.5 a 2.3 12 month 18 a 37.8 a 2.2 F - test Cultivar (A) ** ** ns Plant age (B) * * ns Interaction (A X B) ns Ns ns ns and * ** indicate non – significant, significant at p<0.05 and p<0.01, respectively. Means in the same column with the different letters are significantly different at p<0.05 and P<0.01. 3. ปริมาณคลอโรฟิ ลล์ a คลอโรฟิ ลล์ b คลอโรฟิ ลล์ ทัง้ หมด สารประกอบฟี นอลิค และกิจกรรมต้ านอนุมูลอิสระ ใน ผักเชียงดา เมื่อมีการขาดน ้าช่วงระยะเวลาสัน้ ๆ ในผักเชียงดาที่มีอายุต้นต่างกัน พบว่าผักเชียงดาสายต้ นที่ 4 และ 6 มีปริ มาณ คลอโรฟิ ลล์เอ คลอโรฟิ ลล์บี คลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่สายต้ นที่ 4 มีปริ มาณสารประกอบฟี นอลิก และกิจกรรมต้ านอนุมลู อิสระ สูงกว่าสายต้ นที่ 6 (Table 3) เนื่องจากระดับการทางานหรื อปริ มาณสารต้ านอนุมลู อิสระมีความ แตกต่างกันออกไปตามชนิดของพืช (Smirnoft, 1993; Zhang and Kirkham, 1994) หรื อแม้ กระทัง่ ในพืชเดียวกันแต่พนั ธุ์ ต่างกัน (Bartoli et al., 1999) ต้ นที่มีอายุ 5 เดือนขึ ้นไปมีมีปริ มาณคลอโรฟิ ลล์เอสูงกว่าต้ นที่มีอายุ 4 เดือน ส่วนปริ มาณ คลอโรฟิ ลล์บี คลอโรฟิ ลล์ทงหมด ั้ และปริ มาณสารประกอบฟี นอลิก ในต้ นที่มีอายุตงแต่ ั ้ 7 เดือนขึ ้นไปมีปริ มาณมากกว่าต้ นที่มี อายุ 4 - 6 เดือน และมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญยิ่งทางสถิติ กิจกรรมต้ านอนุมลู อิสระเพิ่มขึ ้นตามอายุของต้ นผักเชียง ดา (Table 3) เช่นเดียวกับ Jung (2003) พบว่าระยะการเจริญเติบโตของพืชมีผลต่อสารต้ านอนุมลู อิสระ 626

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Chlorophyll A (mg/100 g), Chlorophyll B (mg/100 g), Total Chlorophyll (mg/100 g), Phenolic compound (mg/100 g) and Antioxidant Activity (TE mg/100 g) Treatments Chlorophyll A Chlorophyll B Total Phenolic Antioxidant (mg/100 g) (mg/100 g) Chlorophyll compound Activity (mg/100 g) (mg/100 g) (TE mg/100 g) Cultivar (A) #4 49.25 39.91 89.15 97.50 a 194.97 a #6 50.20 41.68 91.88 88.93 b 116.50 b Plant age (B) 4 month 39.87 c 18.00 b 57.87 d 66.73 c 90.23 d 5 month 52.52 ab 21.46 b 73.98 cd 71.69 c 88.53 d 6 month 53.34 a 27.52 b 80.84 bc 85.51 bc 102.11 d 7 month 50.84 ab 51.79 a 102.62 a 96.05 ab 121.22 cd 8 month 52.18 ab 56.44 a 108.62 a 101.03 ab 118.92 cd 9 month 50.51 ab 43.70 a 94.21 ab 101.47 ab 161.65 bc 10 month 52.07 ab 54.31 a 106.37 a 99.48 ab 202.70 b 11 month 49.24 ab 48.18 a 97.42 ab 112.25 a 258.97 a 12 month 46.96 b 45.77 a 92.73 ab 101.86 ab 267.26 a F - test Cultivar (A) ns ns ns * ** Plant age (B) ** ** ** ** ** AXB * * * * ns ns and * ** indicate non – significant, significant at p<0.05 and p<0.01, respectively. Means in the same column with the different letters are significantly different at p<0.05 and P<0.01. พบอิทธิ พลร่ วมกันระหว่างสายต้ นและอายุต้นผักเชียงดาในด้ านปริ มาณคลอโรฟิ ลล์เอ คลอโรฟิ ลล์บี คลอโรฟิ ลล์ ทังหมด ้ และปริ มาณสารประกอบฟี นอลิกในผักเชียงดา แต่ไม่พบอิทธิพลร่วมกันระหว่างสายต้ นและอายุต้นผักเชียงดาในด้ าน กิจกกรมต้ านอนุมลู อิสระ (Table 3) พบความสัมพันธ์ในเชิงบวก คือ ถ้ าปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ และปริ มาณสารประกอบฟี นอลิก สูง กิจกรรมต้ านอนุมลู อิสระของผักเชียงดาก็จะสูงตามไปด้ วย ในกรณีที่ต้นพืชขาดน ้าจึงเป็ นไปได้ ว่ากิจกรรมต้ านอนุมลู อิสระ ขึ ้นอยู่กบั ปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ และปริ มาณสารประกอบฟี นอลิก สภาพการขาดน ้าทาให้ เพิ่มปริ มาณสารฟี นอลิกในพืช โดยการ ขาดน ้าจะไปเพิ่มประสิทธิภาพกลไกต่าง ๆ ของต้ นพืช (Chalher-Scott and Fuchigami, 1989; Dixon and Paiva, 1995; Solecka, 1997) จากการรายงานในผลทับทิมพบว่าปริ มาณสารฟี นอลิกขึ ้นอยู่กบั สภาพการขาดน ้าและการจัดการดูแลรักษา (Poyrazoglu et al., 2002) นอกจากนี ้ความเครี ยดจากการขาดน ้าสามารถทาให้ ปริ มาณสารฟี นอลิกในพริ กไทยได้ (Estiarte et al., 1994) ต้ นองุ่นได้ รับความเครี ยดจากการขาดน ้าทาให้ ปริ มาณสารฟี นอลิกในผลเพิ่มขึ ้น (Scalabrelli et al., 2007) ในข้ าว สาลีและข้ าวโพด ระดับการขาดน ้าปานกลางและสูงมีการทางานหรื อประมาณสารต้ านอนุมลู อิสระแตกต่างกัน (Nayyar and Gupta, 2005)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

627


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ปผลการทดลอง สายต้ นที่ 6 มีจานวนและนา้ หนักยอดทังหมดที ้ ่เก็บได้ ต่อต้ นต่อเดือนมากกว่าสายต้ นที่ 4 แต่สายต้ นที่ 4 มีปริ มาณ สารประกอบฟี นอลิกและกิจกรรมต้ านอนุมลู อิสระสูงกว่าสายต้ นที่ 6 การเจริ ญเติบโตของยอดในต้ นที่มีอายุ 1-4 เดือน ตายอด จะแห้ งและตายในช่วงที่งดให้ น ้า ต้ นที่มีอายุ 5 - 12 เดือน ตายอดจะหยุดการเจริญเติบโตแต่ไม่ตายและให้ ผลผลิตสูงกว่าต้ นที่มี อายุน้อยกว่า ในต้ นที่มีอายุตงแต่ ั ้ 7 เดือนขึ ้นไปมีปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ทงหมดและสารประกอบฟี ั้ นอลิกสูงกว่าต้ นที่มีอายุน้อย กว่า แต่ผกั เชียงดาจะมีกิจกรรมต้ านอนุมลู อิสระสูงที่สดุ ในต้ นที่มีอายุ 11 – 12 เดือน

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนาที่สนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจยั งบประมาณแผ่นดินประจาปี พ.ศ. 2554 – 2555 ในการดาเนินการโครงการวิจยั เรื่ องผลของธาตุอาหาร การขาดน ้า และไมคอร์ ไรซา ต่อปริ มาณผลผลิตและ สารต้ านอนุมลู อิสระในการผลิตผักเชียงดา (Gymnema inodorum Decne.) อยู่ภายใต้ แผนงานวิจยั โครงการการพัฒนา คุณภาพเชียงดา (Gymnema inodorum (Lour.) Decne.) เพื่อใช้ ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์เสริ มอาหารต้ านอนุมลู อิสระเชิง พาณิชย์

เอกสารอ้ างอิง เต็ม สมิตินนั ทน์. 2544. ชื่อพรรณไม้ แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ ป่าไม้ สานักวิชาการป่ าไม้ กรมป่ าไม้ . 810 น. ธัญญาลักษณ์ เมืองแมน. 2548. การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระของสารสกัดจากผักเชียงดาต่อการป้องกัน การแตกตัวของเม็ดเลือดแดงและการ เสียหายของดีเอ็นเอในเซลล์เม็ดเลือดขาว มนุษย์ชนิด TK6. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล. ธัญชนก เมืองมัน่ , นลินี จงวิริยะพันธุ์, ชฎา พิศาลพงศ์, นพวรรณ ภู่มาลา มอราเลส, ประไพภัทร คลังทรัพย์. 2550. การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระ ของผักเชียงดา (Gymnema inodorum Dence.). ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน และปั ทมา ไทยอู่. 2552. ผลของชนิดผักเชียงดา (Gymnema inodorum Decne.) และอุณหภูมิการอบแห้ งต่อคุณภาพและ ฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระ. การประชุมวิชาการประจาปี อุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคเหนือครัง้ ที่ 1. หน้ า 138. ประไพภัทร คลังทรัพย์ วิมลศรี พรรธนประเทศ ภูษิตา วรรณิสสร อุบล ฤกษ์ อ่า กฤติยา ทิสยากร วิภาพร พัฒน์เวช อมรรัตน์ ขยันการนาวี เตือน ตา เสมาทอง สรี ยา เรื องพัฒนาพงศ์ พงศธร หลิมศิริวงษ์ วิเชียร เขยนอก ประไพศรี ไม้ สนธิ์ สุพจน์ ประทีบถิ่นทอง ศรี ศกั ดิ์ ตรังวัชระกุล และวัลล ภา อรุณไพโรจน์. 2553. วิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพจากสารต้ าน อนุมลู อิสระจากผักพื ้นบ้ าน ผลไม้ และวัสดุเหลือจากอุตสาหกรรมแปรรูปผลไม้ . โครงการวิจยั ที่ ภ.50-02/ย.1/รายงาน ฉบับที่ 1 (ฉบับสมบูรณ์). สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย, กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี. กรุงเทพฯ. Bartoli., C.G., M. Simontacchi, E. Tambussi, J. Beltrano, E. Motaldi and S. Puntarulo. 1999. Drought and watering-dependent oxidative stress: effect on antioxidant content in Triticum aestivum L. leaves. Journal Experimental Botany. 50:375 - 383. Chalher - Scott, L. and L.H. Fuchigami. 1989. The role of phenolic compounds in plant stress response. In: PH Li (ed) Low Temperature Stress Physiology in Crops, CRC Press, Boca Raton. Chanwitheesuk, A., A. Teerawutgulrag and N. Rakariyatham. 2005. Screening of antioxidant activity and antioxidant compounds of some edible plants of Thailand. Food Chemistry 92 (3): 491-497. Daisy, P., J. Eliza and K.A. Mohamed Farook. 2009. A novel dihydroxy gymnemic triacetate isolated from Gymnema sylvestre possessing normoglycemic and hypolipidemic activity on STZ-induced diabetic rats. Journal of Ethnopharmacology 126: 339 - 344. Dixon, R.A. and N.L.Paiva, 1995. Stress – Induce PhenylPropanoid Metabolism. Plant cell. 7(7): 1085 – 1097. Estiarte, M., I. Filella, J. Serra and J. Pefiuelas. 1 994. Effects of nutrient and water stress on leaf phenolic content of peppers and susceptibility to generalist herbivore Helicoverpa armigera (Hubner). Oecologia. 99: 387-391. Hong, H.J., B. Manochai, G. Trakoontivakorn and V.Na Thalang. 2004. Fibrinolytic activity of Thai indigenous vegetables. Kasetsart Journal 38: 241 - 246. Jang, S. 2003. Variation in antioxidant metabolism of young and mature leaves of Arabidopsis thaliana subjected to drough. Plant Science. 166: 459 – 466. Kang, M.H., M.S. Lee, M.K. Choi, K.S. Min and T. Shibamoto. 2012. Hypoglycemic activity of Gymnema sylvestre extracts on oxidative stress and antioxidant status in diabetic rats. Journal of Agriculture and Food Chemistry 60(10): 2517 - 2524. Lichtenthaler, H.K. and C. Buschman. 2001. Chlorophyll and carotenoids: measurement and characterization by UV-VIS spectroscopy. Current Protocols in Food analytical Chemistry F4.3.1 – F4.3.8. Manthey, J.A. 2004. Fractionation of orange peel phenols in ultra filtered molasses and mass balance studies of their antioxidant levels. Journal of Agricultural and Food Chemistry. 52(25): 7586 – 7592. 628

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Nayyar, H. And D. Gupta. 2005. Differential sensitivity of C3 and C4 plants to water deficit stress: Association with oxidative stress and antioxidants. Environmental and Experimental Botany. 58: 106 – 113. Poyrazoglu, E., V. Gokmen and N. Artik. 2002. Organic acids and phenolic compounds in pomegranates (Punica granatum L.) grown in Turkey. Journal of Food Composition and analysis. 15: 567–575. Rachh, P.R., S.R. Patel, H.V. Hirpara, M.T. Rupareliya, M.R. Rachh, A.S. Bhargava, N.M. Patel and D.C. Modi, 2009. In vitro evaluation of antioxidant activity of Gymnema sylvestre R. Br. leaf extract. Romanian Journal of Biology-Plant Biology 54(2): 141148. Scalabrelli, G., E. Saracini, D. Remorini, R. Massai and M. Tattini, 2007. Change in leaf phenolic compound in two grapevine varieties (Vitis vinfera L.) growth in different water conditions. Acta Horticultuae. (ISHS) 754: 295-300. Sellappan, S., C.C. Akoh and G. Krewer. 2002. Phenolic compounds and antioxidant capacity of Goorgia – grow blueberries and blackberries. Journal of Agricultural and Food Chemistry. 50: 2432 – 2438. Shimizu, K., M. Ozeki, A. Iino, S. Nakajyo, N. Urakawa and M. Atsuchi. 2001. Structure-activity relationship of triterpenoid derivatives extracted from Gymnema inodorum leaves on glucose absorption. The Japanese Journal Phamacology. 86 (2): 223-229. Shimizu, K., M. Ozeki, K. Tanaka, K. Iton, S. Nakajyo, N. Urakawa, and M. Atsuchi. 1997. Suppression of glucose absorption by extracts from the leaves of Gymnema inodorum. Journal of Veterinary Medical Science 59(9): 753 - 757. Shanmugasundaram, E.R.B., G. Rajeswari, K. Baskaran, B.R. Rajesh Kumar, K. Radha, K.R. Shanmugasundaram and B.K. Arhmath. 1990. Use of Gymnema sylvestre leaf extract in the control of blood glucose in insulin-dependent diabetes mellitus. Journal of Ethnopharmacology 30: 281 - 294. Smirnoft, N. 1993. The role of active oxygen in the responses of plants to water deficit and desiccation. New Phytologist. 125: 27 – 58. Tangkanakul, P., G. Trakoontivakorn and C. Jariyavattanavijit. 2005. Extracts of Thai indigeneous vegetable as rancid inhibitor in a model system. Kasetsart Journal 39: 274-283. Zhang, J.X. and M.B. Kirkham. 1994. Drought-stress-induced changes in actives of superoxide dismutase, catalase and peroxidase in wheat species. Plant & Cell Physiology. 35: 785 – 791.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

629


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของสารเคมีต่อการยับยัง้ การแตกใบอ่ อนของลาไย Effect of Some Chemicals on Leaf Flushing Inhibition in Longan (Dimocarpus longan Lour) ชิติ ศรีตนทิพย์ 1 สันติ ช่ างเจรจา1 ยุทธนา เขาสุเมรุ 1 และรัตนชัย พรมเทพอานวย2 Chiti Sritontip1, Sunti Changjeraja1, Yuttana Khaosumain1 and Rattanachai Phomthephamnoy2

บทคัดย่ อ การศึกษาการใช้ สารเคมีตอ่ การยับยังการแตกใบอ่ ้ อน ทดลองกับต้ นลาไยพันธุ์ดออายุ 17 ปี วางแผนการทดลองแบบ สุม่ สมบูรณ์ (CRD) มี 5 กรรมวิธี 4 ซ ้า ๆ ละ 1 ต้ น ได้ แก่ 1.) ไม่พ่นสารเคมี 2) การพ่นปุ๋ ย 0-52-34 ความเข้ มข้ น 2.5 % จานวน 2 ครัง้ 3) การพ่นสารเอทีฟอน 200 มก./ล. จานวน 1 ครัง้ 4) การพ่นสารแพคโคบิวทราโซล 200 มก./ล จานวน 1 ครัง้ และ 5) การพ่นสารโพแทสเซียมครอเรต 2,000 มก./ล. จานวน 1 ครัง้ หลังพ่นสาร 1 สัปดาห์ ราดโพแทสเซียมคลอเรตทางดินอัตรา 10 ก./ม2 ผลการทดลองพบว่าการพ่นสารแพคโคบิวทราโซลมีระยะเวลาการแตกช่อช้ าที่สดุ แต่การไม่พ่นสารเคมีมีการแตกช่อใบ มากที่สดุ และมีการแตกช่อดอกน้ อยที่สดุ การพ่นสารเอทธีฟอนและสารแพคโคบิว ทราโซลมีจานวนใบประกอบต่อช่อมากที่สดุ ในขณะที่การให้ สารเคมีไม่มีผลต่อความยาวของช่อใบ เส้ นผ่าศูนย์กลางของช่อใบ ความกว้ างของใบ ความยาวของใบ ความ ยาวช่อดอกและเส้ นผ่าศูนย์กลางของช่อดอก คาสาคัญ ลาไย การแตกช่อใบ การออกดอก

Abstract Effect of some chemicals leaf flushing inhibition was investigated in the 17 year old of “Daw” longan trees The experiment was designed base on CRD including 5 treatments, 4 replications (1 longan tree/replication) i.e. 1) Control 2) 0-52-34 (2.5 %, 2 times) 3) ethephon (200 mg./l., 1 time) 4) placlobutrazol (200 mg./l., 1 time) and 5) potassium chlorate (KClO3). (2,000 mg./l., 1 time). After 7 day chemical, longan trees were treated by 10 g./m2 KClO3. The result showed that placlobutrazol treatment was able to delay terminal budbreak. The control had leaf flushing the highest while lower flowering. The chemicals had no effect on shoot length, shoot diameter, leaf length, leaf width, panicle length and panicle diameter. Keywords : Longan, Leaf flushing, Flowering

คานา การแตกยอดใหม่ข องล าไยมี ผ ลต่อ การออกดอกโดยเฉพาะในการผลิ ต ล าไยนอกฤดู (พาวิ น และคณะ, 2547) ถึงแม้ ว่าการให้ สารโพแทสเซียมคลอเรตทางดินและทางใบสามารถกระตุ้นให้ ต้นลาไยออกดอกนอกฤดูกาลได้ แต่ถ้าต้ นลาไยมี การแตกใบอ่อนไม่พร้ อมกันจะทาให้ การราดสารโพแทสเซียมคลอเรตไม่สามารถกระตุ้นให้ ต้นลาไยออกดอกพร้ อมกันได้ หรื อ การผลิตลาไยนอกฤดูในช่วงฤดูฝนบางครัง้ อาจไม่ประสบผลสาเร็ จ ถ้ าหลังการให้ สารมีฝนตกทาให้ เกิดการชะล้ างสารหรื อต้ น ลาไยมีการแตกใบอ่อนได้ อย่างรวดเร็ ว (ชิติ, 2556) การใช้ สารยับยังการแตกใบอ่ ้ อนน่าจะเป็ นแนวทางในการลดการแตกใบ อ่อนก่อนการให้ สารโพแทสเซียมคลอเรตกับต้ นลาไย ซึง่ การใช้ ปยุ๋ 0-52-34 ความเข้ มข้ น 0.5 % สามารถยับยังการแตกใบอ่ ้ อน ในระยะการแทงช่อดอกได้ ทาให้ ลิ ้นจี่ออกดอกเพิ่มขึ ้น (Sethpakde, 2002) และการใช้ สารพาโคลบิวทราโซลความเข้ มข้ น 500 มิลลิกรัมต่อลิตรกับลิ ้นจี่พนั ธุ์ฮงฮวย แล้ วตามด้ วยเอทีฟอนความเข้ มข้ น 300 มิลลิกรัมต่อลิตร จานวน 2 ครัง้ พบว่าสามารถชัก นาการออกดอกของลิ ้นจี่เพิ่มขึ ้นถึง 3 เท่า เมื่อเปรี ยบเทียบกับต้ นที่ ไม่ได้ ฉีดพ่น (Chaitrakulsub et al., 1992) นอกจากนี ้การ ราดโพแทสเซียมคลอเรตทางดิน อัตรา 15 กรัมต่อตารางเมตร ร่วมกับพ่นทางใบด้ วยปุ๋ ย 0-52-34 (โมโนโพแทสเซียมฟอสเฟส) ความเข้ มข้ น 1 % ผสมกับเอทธีฟอน ความเข้ มข้ น 400 มิลลิกรัมต่อลิตร สามารถกระตุ้นให้ ออกดอกในฤดูฝนได้ เร็วกว่าการราด โพแทสเซียมคลอเรตทางดิน อัตรา 15 กรัมต่อตารางเมตรถึง 7 วัน และมีปริ มาณการออกดอก 86 % เป็ นช่อดอกทัง้ หมด 1 2

สถาบันวิจยั เทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา อ.เมือง จ. ลาปาง 52000 สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา ลาปาง อ.เมือง จ. ลาปาง 5200 630

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

(วิชชุดา และคณะ, 2556) ในการผลิตไยนอกฤดูกาลนัน้ จะต้ องควบคุมให้ ต้นลาไยไม่มีการแตกใบอ่อน จึงจะสามารถใช้ สาร โพแทสเซียมคลอเรตกระตุ้นการออกดอกได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สดุ ต้ นลาไยที่มีการออกดอกมากจะส่งผลให้ มีผลผลิต มากเช่นกัน ดังนันในการทดลองในครั ้ ง้ นี ้เพื่อศึกษาผลของสารเคมีบางชนิดที่มีผลยับยังการแตกใบของล ้ าไย

อุปกรณ์ และวิธีการ ดาเนิ นการทดลองกับต้ น ลาไยพันธุ์ ดอ อายุ 17 ปี ที่ มีระยะปลูก 5x10 เมตร ณ สถานบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้ านนา อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง ระหว่างเดือนสิงหาคม 2557 ถึง กุมภาพันธ์ 2558 ทาการคัดเลือกต้ นลาไยที่มีขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางทรงพุ่ม 5-6 เมตร โดยเป็ นต้ นลาไยที่มีการให้ สารโพแทสเซียมคลอ เรตติดต่อกันเป็ นปี ที่ 2 และตัดแต่งกิ่งลักษณะเปิ ดกลางทรงพุ่ม ในเดือนกันยายน วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (CRD) มี 5 กรรมวิธี มี 4 ซ ้า ดังนี ้ กรรมวิธีที่ 1 ไม่พน่ สารเคมี กรรมวิธีที่ 2 การพ่นปุ๋ ย 0-52-34 ความเข้ มข้ น 2.5 % จานวน 2 ครัง้ ห่างกันเป็ นระยะเวลา7 วัน กรรมวิธีที่ 3 การพ่นสารเอทีฟอน ความเข้ มข้ น 200 มิลลิกรัมต่อลิตร กรรมวิธีที่ 4 การพ่นสารแพคโคบิวทราโซลความเข้ มข้ น 200 มิลลิกรัมต่อลิตร กรรมวิธีที่ 5 การพ่นสารโพแทสเซียมคลอเรต ความเข้ มข้ น 2,000มิลลิกรัมต่อลิตร ทาการพ่นสารหลังต้ นลาไยมีการแตกช่อชุดที่ 2 เมื่อใบลาไยมีอายุ 30 วัน หลังจากนัน้ 7 วันทุกกรรมวิธีทาการราดสาร โพแทสเซียมคลอเรตทางดินในอัตรา 10 กรัมต่อตารางเมตร ในเดือนธันวาคม 2557 การบันทึกข้ อมูลได้ แก่ ระยะเวลาการแตกช่อใหม่ การแตกช่อใบ การแตกช่อดอก การศึกษาการเจริ ญของช่อใบใหม่ วัด การเจริ ญเติ บ โตของช่ อ ใหม่ (หลัง จากมี ก ารผลิ ช่ อ ใบ 30 วัน ) ได้ แ ก่ จ านวนใบประกอบต่อ ช่อ ความยาวของช่ อ ใหม่ เส้ นผ่าศูนย์กลางของช่อใหม่ ความกว้ างและความยาวของใบประกอบ และ การเจริ ญเติบโตของช่อดอก ได้ แก่ ความยาวของ ช่อดอกและเส้ นผ่านศูนย์กลางของช่อดอก นาข้ อมูลทังหมดวิ ้ เคราะห์ความแปรปรวน (analysis of variance) และเปรี ยบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ย โดยวิธี Duncan’s multiple range test (DMRT)

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการศึกษาระยะเวลาการแตกช่อใหม่หลังการให้ สารเคมีพบว่า กรรมวิธี การพ่นสารแพคโคบิวทราโซล มีระยะเวลา การแตกช่อช้ าที่สดุ ที่ 36.75 วัน ในด้ านการออกดอกพบว่ากรรมวิธีที่มีการให้ สารเคมีมีการออกดอกมากกว่าต้ นลาไยที่ไม่มีการ ให้ สารเคมี และต้ นลาไยมีการพ่นสารเคมีมีผลทาให้ การแตกช่อใบลดลง (Tab. 1) Table 1 Effect of chemicals on period of terminal bud break, flowering and leaf flushing Treatments Time of terminal bud Flowering Leaf flushing break (Days) (%) (%) Control 31.75b 76.55 b 23.45 a 0-52-34 31.25b 99.58 a 0.42 b Ethephon 31.75b 98.21 a 1.79 b Pacloblutrazol 36.75a 92.70 a 7.30 b KClO3 30b 100.00 a 0.00 b F-test * * * * Mean within column with different alphabets differ significantly at p0.05 as determined by DMRT, NS=Non significant การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

631


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การพ่นสารเอทีฟอนและสารแพคโคบิวทราโซลมีจานวนใบประกอบมากกว่ากรรมวิธีไม่พ่นสาร พ่นสารโพแทสเซียม คอลเรต และการพ่นปุ๋ ย 0-52-34 ส่วนในด้ านความยาวของช่อใบ เส้ นผ่านศูนย์กลางของช่อใบ ความกว้ างของใบ และความ ยาวของใบของช่อที่แตกใหม่ให้ ผลไม่แตกต่างกัน (Tab.2) Table 2 Effect of chemicals on number of compound leaf per shoot, shoot length, shoot diameter, leaf width and leaf length Treatments Number of Shoot Shoot Leaf Leaf length compound length diameter width (cm.) Control 6.68ab 16 3.34 3.51 10.59 leaf 6.43b per shoot (cm.) (mm.) (cm.) 0-52-34 16.16 3.87 3.70 11.42 Ethephon 7.12a 19.46 3.69 3.37 10.51 Pacloblutrazol

7.12a

22.46

3.31

3.5

10.5

KClO3

6.5b

15.90

3.67

3.71

11.39

F-test

*

ns

ns

ns

ns

* Mean within column with different alphabets differ significantly at p0.05 as determined by DMRT, NS=Non significant การพ่นปุ๋ ย 0-52-34 เอทีฟอน แพคโคบิวทราโซล โพแทสเซียมคลอเรตและไม่พ่นสารเคมีไม่มีผลต่อความยาวช่อดอก และเส้ นผ่าศูนย์กลางของช่อดอก (Tab. 3) Table 3 Effect of chemicals on panicle length and panicle diameter Treatments Panicle length (cm.) Control 12.46 0-52-34 15.43 Ethephon 11.75 Pacloblutrazol 14.25 KClO3 13.37 F-test ns NS=Non significant

Panicle diameter (cm.) 2.68 2.75 2.60 2.99 2.47 ns

จากการศึกษาผลของสารเคมีต่อการยับยังการแตกใบอ่ ้ อนของลาไย พบว่า การพ่นปุ๋ ย 0-52-34 สารเอทีฟอน สาร แพคโคบิวทราโซล สารโพแทสเซียมคลอเรต ทางใบสามารถยับยังการแตกช่ ้ อใบได้ ดี เมื่อเปรี ยบเทียบกับไม่พ่นสารและยังส่งผล ให้ ต้นลาไยที่มีการออกดอกมากกว่าต้ นที่ไม่พ่นสารเคมี สอดคล้ องกับการทดลองของนภดล (2551) รายงานว่า การใช้ ปยสู ุ๋ ตร 0-52-34 สารโพแทสเซียมคลอเรต สารแพคโคบิวทราโซลและสารเอทีฟอน มีผลต่อการเพิ่มการออกดอก นอกจากนี ้การใช้ สาร เอทีฟอนความเข้ มข้ น 48 % อัตราการใช้ 100 มิลลิลิตรต่อน ้า 200 ลิตร พ่นทางใบให้ กบั ต้ นลาไย หรื อใช้ สารเอทีฟอนปริ มาณ 100 มิลลิลิตร ผสมกับสารโพแทสเซียมคลอเรต 300 กรัมต่อน ้า 200 ลิตรฉีดพ่น 3-7 วันหลังการให้ สารทางดิน การพ่นสาร กลุ่มคลอเรตจะช่วยให้ ต้นลาไยออกดอกมากขึน้ โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนหรื อถ้ าพ่นสารอย่างเดียวก็ให้ พ่นมากกว่า 2 ครั ง้ นอกจากนี ้การพ่นสารเอทีฟอนสามารถช่วยให้ ใบอ่อนของลิ ้นจี่ร่วงมีผลทาให้ ลิ ้นจี่มีการออกดอกได้ เพิ่มขี ้น (Davenport and 632

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Stern, 2005) โดยการใช้ สารแพคโคลบิวทราโซลสาหรับการชะลอการแตกช่อและยับยังการยื ้ ดยาวของช่อใบ ซึง่ สารนี ้มีผลใน การยับยังการสร้ ้ างจิบเบอเรลลินในส่วนของยอดลาไย ในช่วงที่ต้นลาไยมีการแตกช่อใบจะมีปริ มาณสารออกซินและจิบเบอ เรลลินสูง และการใช้ ปยุ๋ 0-52-34 ฉีดพ่นหลังให้ สารคลอเรต สามารถช่วยเพิ่มการออกดอกของลาไยได้ (ชิติ, 2556)

สรุ ปผลการทดลอง การพ่นปุ๋ ย 0-52-34 สารเอทีฟอน โพแทสเซียมคลอเรตและไม่พน่ สารเคมีมีการแตกช่อเร็วกว่าการพ่นสารแพคโคบิวท ราโซล แต่การไม่พ่นสารเคมีมีการแตกช่อใบมากที่สดุ แต่มีการแตกช่อดอกน้ อยที่สดุ การพ่นสารเอทีฟอนและสารแพคโคบิวท ราโซลมีจานวนใบประกอบต่อช่อมากที่สดุ ในขณะที่การให้ สารเคมีไม่มีผลต่อความยาวของช่อใบ เส้ นผ่าศูนย์กลางของช่อใบ ความกว้ างของใบ ความยาวของใบ ความยาวช่อดอกและเส้ นผ่าศูนย์กลางของช่อดอก

กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจยั นีไ้ ด้ รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณโครงการยกระดับปริ ญญานิพนธ์ เป็ นงานวิจยั ตีพิมพ์ งาน สร้ างสรรค์ และงานบริการวิชาการสูช่ มุ ชน ประจาปี 2557

เอกสารอ้ างอิง ชิติ ศรี ตนทิพย์. 2556. การผลิตลาไยนอกฤดู. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. ศิลปะการพิมพ์. ลาปาง 124 น. นภดล จรัสสัมฤทธิ์. 2251. การจัดการการออกดอกที่เหมาะสมสาหรับการจัดการทรงต้ นลาไย. รายงานผลการวิจยั มหาวิทยาลัยแม้ โจ้ , เชียงใหม่. 26 น. พาวิน มะโนชัย ยุทธนา เขาสุเมรุ ชิติ ศรี ตนทิพย์ และสันติ ช่างเจรจา. 2547. เทคโนโลยีการผลิตลาไย. พิมพ์ครัง้ ที่ 1 หจก.สานักพิมพ์ ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ. 128 น. วิชชุดา ตองอ่อน นุดี เจริ ญกิจ และพิทยา สรวมศิริ. 2556. การใช้ เอทิฟอนและโมโนโพแทสเซียมฟอสเฟตร่ วมกับโพแทสเซียมคลอเรต เพื่อกระตุ้น การออกดอกนอกฤดูของลาไยพันธ์ดอในฤดูฝน. วารสารเกษตร 29(1); 13-18. Chaitrakulsup, T., S., Subhadrabandhu., T., Powsung, R., Ogota. and H., Gemma. 1992. Effect of paclobutrazol with ethephon on flowering and leaf flushing of lychee CV. Hong Huay. Acta Hort.321:303-308. Davenport, T.L. and R. A. Stern. 2005. Flowering. pp 87-113. In C.M. Menzel and G.K. Waite eds., Litchi and Longan: Botany, Production and Uses. CABI Publishing, Oxfordshire, UK. 305 p. Sethpakde, R. 2002. Lychee production in Thailand, pp. 106-113. In M. K. Papademetriou and F. J. Dent. eds., Lychee Production in the Asia-Pacific Region. Food and Agriculture Organization of the United Nations Regional Office for Asia and the Pacific, Bangkok, Thailand. 128 p.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

633


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของนา้ หมักชีวภาพต่ อการเจริญเติบโตและคุณภาพของผักสลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮดและเรดคอเรล Effect of Bio-extracts on the Growth and Quality of Butter Head and Red Coral Lettuces เยาวรัตน์ วงศ์ ศรีสกุลแก้ ว1 สรศักดิ์ ทวีสิน1 สุชาทัศน์ คงเจริญ1 และคณพศ ศรีรุวัฒน์ 1 Yaowarat Wongsrisakulkaew1 Sorasak Taweesin1 Suchatath Kongcharoen1 and Kanapot Sriruwat1

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของนา้ หมักชีวภาพต่อการเจริ ญเติบโตของผักสลัด พันธุ์บตั เตอร์ เฮดและพันธุ์เรดคอเรล วางแผนการ ทดลองแบบ RCBD (Randomized Complete Block Design) มี 3 สิ่งทดลอง จานวน 4 ซ ้า ได้ แก่ ปุ๋ ยเคมีสตู ร 16-16-16 น ้า หมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ น และน ้าหมักชีวภาพสูตรกากถัว่ เหลือง ในผักสลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮดพบว่าน ้าหมักชีวภาพสูตรกาก ปลาป่ นและนา้ หมักชีวภาพสูตรกากถั่วเหลือง ให้ ผลการเจริ ญเติบโตใกล้ เคียงกันกับ ปุ๋ ยเคมีสตู ร 16-16-16 โดยไม่มีความ แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ส่วนผักสลัดพันธุ์เรดคอเรลพบว่าน ้าหมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ น และน ้าหมักชีวภาพสูตร กากถัว่ เหลือง ให้ ผลการเจริญเติบโตใกล้ เคียงกันกับปุ๋ ยเคมีสตู ร 16-16-16 โดยไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ น ้าหมักชีวภาพ สูตรกากปลาป่ นมีผลทาให้ สีใบของผักสลัดพันธุ์เรดคอเรลและพันธุ์บตั เตอร์ เฮดมีสีที่เข้ มกว่าน ้าหมักชีวภาพสูตรกากถัว่ เหลือง และปุ๋ ยเคมีสตู ร 16-16-16 ตามลาดับ คาสาคัญ: น ้าหมักชีวภาพ ผักสลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮด ผักสลัดพันธุ์เรดคอเรล

Abstract Study on effect of bio-extracts on growth and quality of butter head and red coral lettuces was determined. The experimental design was RCBD (Randomized Complete Block Design) with 3 treatments and 4 replications include chemical fertilizer (16-16-16), bio-extract of fish meal and bio-extract of soybean meal. The result of this study showed that the vegetative yield of butter head lettuces treated with bio-extract of fish meal and soybean meal was similar to chemical fertilizer. There was no statistically difference on the vegetative yield of red coral lettuces. Bio-extract of fish meal could increase the color of leaves in red coral and butter head lettuces than bio-extract of soybean meal and chemical fertilizer respectively. Keywords : bio-extract, red coral lettuces, butter head lettuces

คานา ผักเป็ นพืชที่ทกุ คนต้ องบริ โภคเป็ นประจาทุกวันไม่มากก็น้อยแตกต่างกันไป เนื่องจากผักประกอบไปด้ วยสารอาหารที่ จาเป็ นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์หลายอย่าง ได้ แก่ วิตามินและแร่ ธาตุต่าง โดยเฉพาะธาตุเหล็ก และแคลเซียม แป้งและ น ้าตาลจะเป็ นแหล่งพลังงานและให้ ความอบอุน่ แก่ร่างกายเซลลูโลสและไฟเบอร์ ซงึ่ ช่วยในระบบการย่อยอาหารและขับถ่ายของ ร่ างกาย ช่วยให้ เกิดพลังงานให้ มีความต้ านทานต่อโรคภัยไข้ เจ็บต่างๆ ของร่ างกายและยังช่วยให้ ร่า งกายฟื น้ หายจากโรคได้ อย่างรวดเร็ว (นิรนาม, 2551) การได้ บริ โภคผักต่างๆ ที่ปลอดภัยจากสารพิษในปริ มาณที่เหมาะสมเป็ นประจาจะช่วยให้ ร่ างกายมีสขุ ภาพที่ดีและแข็งแรง ไม่เจ็บป่ วยง่ายมีคณ ุ ภาพชีวิตที่ดีขึ ้น ในทางตรงกันข้ ามหากร่ างกายขาดอาหารประเภทผัก หรื อได้ รับไม่เพียงพอหรื อบริ โภคผักที่มีสารพิษตกค้ างในปริ มาณมากเข้ าไปจะทาให้ ร่างกายอ่อนแอ ระบบต่างๆ ของร่ างกาย ทางานได้ ไม่ปกติอาจเกิดอาการผิดปกติขึ ้นทาให้ ความต้ านทานโรคต่างๆของร่ างกายลดลง เพราะฉะนันผั ้ กจึงเป็ นพืชที่นิยม บริ โภคกันทุกครัวเรื อน โดยจะสังเกตได้ จากอาหารเกือบทุกชนิดจะต้ องมีผกั เป็ นส่วนประกอบในการชูรสอาหารจานโปรดให้ มี รสชาติดีขึ ้น หรื อใช้ ประดับจานอาหารให้ สวยงามน่ ารับประทานมากยิ่งขึ ้น เนื่องจากค่านิยมในการบริ โภคผักของประชาชน โดยทั่วไปมักจะเลือกบริ โภคผักที่สวยงามไม่มีร่องรอยการทาลายของหนอนและแมลงศัตรู พืช จึงทาให้ เกษตรกรที่ปลูกผัก จะต้ องทาให้ ผกั สวยงามตามความต้ องการของผู้บริ โภค เมื่อผู้ซื ้อนาผักมาบริ โภคอาจจะได้ รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้ างอยู่ ในผักนันได้ ้ (ชมรมเกษตรปลอดสารพิษ, 2558) 1

สาขาการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปทุมธานี 12130 634

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ปั จจุบนั ได้ มีการนาน ้าหมักชีวภาพมาใช้ ประโยชน์ทางการเกษตรในหลายด้ านโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการผลิตพืชผั ก สารสกัดจากพืชหรื อสัตว์จะมีน ้าเป็ นองค์ประกอบในเซลล์พืชหรื อสัตว์อยู่มากเมื่อนามาหมักร่ วมกับน ้าตาลที่ละลายในน ้าเป็ น ลักษณะน ้าเชื่อมหรื ออาจใช้ กากนา้ ตาลซึ่งเป็ นสารละลายที่มีความเข้ มข้ นสูงกว่าน ้าภายในเซลล์ของพืชหรื อสัตว์ ทาให้ ผนัง เซลล์สญ ู เสียสภาพหรื อที่เรี ยกว่าเซลล์แตก อินทรี ย์สารที่อยูใ่ นเซลล์จึงละลายรวมอยู่ในน ้าเชื่อมเหล่านัน้ ขณะเดียวกันจุลินทรี ย์ ที่มีอยู่ทั่วไปในธรรมชาติจะเข้ ามาช่วยสลายเศษซากพืชหรื อสัตว์ด้วย ดังนัน้ อินทรี ย์สารที่ได้ จากการย่อยสลายจึงมีทงั ้ จาก ของเดิมที่ได้ จากพืชและของใหม่ที่ได้ จากการสังเคราะห์โดยจุลินทรี ย์ขณะที่เกิดกระบวนการย่อยสลาย อินทรี ย์สารที่ถกู ย่อย สลายจะมีโมเลกุลขนาดเล็กทาให้ พืชดูดซึมได้ ง่าย (ยงยุทธ, 2542) สุริยา(2542) กล่าวว่าน ้าหมักชีวภาพ เป็ นน ้าหมักที่ได้ จาก การย่อยสลายเศษวัสดุเหลือใช้ จากส่วนต่างๆของพืชหรื อสัตว์ โดยผ่านกระบวนการหมักในสภาพที่ไม่มีออกซิเจน (anaerobic condition) มีจลุ ินทรี ย์ทาหน้ าที่ย่อยสลายเศษซากพืชและซากสัตว์เหล่านันให้ ้ กลายเป็ นสารละลาย รวมถึงการใช้ เอนไซด์ที่เกิดขึ ้น เองตามธรรมชาติหรื อมีการเติมเอนไซด์เพื่อเร่ งการย่อยสลายได้ อย่างรวดเร็ วยิ่งขึ ้น น ้าหมักชีวภาพจะช่วยปรับสภาพความเป็ น กรด-ด่างในดินและน ้า ช่วยสร้ างฮอร์ โมนของพืชช่วยย่อยสลายอินทรี ยวัตถุในดินเป็ นต้ น (กองเกษตรเคมี, 2545) ในการผลิตพืชปริ มาณมากๆ จาเป็ นต้ องใช้ สารเคมีในปริ มาณที่สงู อันเป็ นเหตุให้ เกิดอันตรายต่อผู้บริ โภคและผู้ผลิต การใช้ สารเคมีอย่างรู้ เท่าไม่ถึงการณ์ ในการทาการเกษตรจะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศทัง้ ทางด้ านกายภาพและชี วภาพ โดยเฉพาะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของมนุษย์ การใช้ สารเคมีมีความสะดวกในการใช้ งานหาง่ายในท้ องตลาดและสามารถเพิ่ม ผลผลิตให้ แก่พืชอย่างรวดเร็ ว ในทางตรงกันข้ ามสารเคมีที่ใช้ ในการเกษตรจะสลายตัวช้ า จึงเกิดการสะสมและกระจายเป็ น มลพิษต่อสิ่งแวดล้ อม ทาลายสมดุลธรรมชาติทางดิน น ้า อากาศและจะถ่ายทอดเข้ าสู่วงจรอาหาร ทังยั ้ งมีสารเคมีตกค้ างใน ผลผลิตทางการเกษตรต่างๆ สารเคมีที่ตกค้ างเป็ นเวลานานทาให้ แมลงศัตรู พืชเกิดการปรับตัวและดื ้อยา เกิดการระบาดของ ศัตรู พืชทาความเสียหายแก่ผลิตผลทางการเกษตร ทาให้ พื ้นที่ทาการเกษตรเกิดความเสื่อมโทรม (กองอนุรักษ์ ดินนา้ , 2545) จึงเป็ นจุดเริ่ มต้ นในการนานา้ หมักชี วภาพมาใช้ เพื่อทดแทนสารเคมีเพื่อสร้ างความปลอดภัยแก่ผ้ ูผลิตและผู้บริ โภค ดังนัน้ การศึกษาการใช้ น ้าหมักชีวภาพเพื่อการผลิตผัก สลัด อาจช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตพืชผักได้ อย่างปลอดภัย และ เป็ นการช่วยลดต้ นทุนการผลิตพืช ผักได้ อีกทางหนึ่งด้ วย เนื่องจากผักสลัดเป็ นที่นิยมในการบริ โภคอย่างแพร่ หลายในกลุ่ม ผู้บริโภคที่รักสุขภาพ

อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง ทาการทดลองในผัก สลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮดและเรดคลอเรลโดยในแต่ละชนิดวางแผนการทดลงแบบ Randomized Complete Block (RCBD) ทดลอง (Treatment) จานวน 4 ซ ้า ดังนี ้ 1.น ้าหมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ น 2.น ้าหมักชีวภาพสูตรกากถัว่ เหลือง 3.ปุ๋ ยเคมี สูตร 16-16-16 เพาะเมล็ดผักสลัดในถาดเพาะเมล็ดที่ใส่พีทมอสไว้ แล้ วนาถาดเพาะเมล็ดไปวางไว้ ในโรงเรื อนคลุมด้ วยผ้ าทึบแสงเพื่อ กระตุ้นการงอกของเมล็ด รดน ้าให้ ช่มุ ทุกวันเช้ า-เย็น หลังจากเพาะเมล็ดได้ 3 วันเมล็ดจะเริ่ มงอก ทาการย้ ายปลูกเมื่อต้ นกล้ ามี อายุ 15-20 วัน เตรี ยมวัสดุปลูกใส่กระถางขนาด 6 นิ ้ว กระถางละเท่า ๆ กัน จานวนชนิดละ 36 กระถางๆ ละ 1 ต้ น รดน ้า สม่าเสมอ คอยควบคุมโรคและแมลงที่รบกวน ให้ ปยเคมี ุ๋ สตู ร 16-16-16 น ้าหมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ นและน ้าหมักชีวภาพ สูตรกากถัว่ เหลือง สัปดาห์ละครัง้ จนครบอายุการเก็บเกี่ยวที่อายุ 5 สัปดาห์หลังย้ ายปลูก บันทึกข้ อมูลการเจริ ญเติบโตของผัก สลัดทุกสัปดาห์โดยเก็บข้ อมูลต่างๆดังนี ้ 1. ความกว้ างทรงพุ่ม ใช้ ไม้ บรรทัดวัดความกว้ างทรงพุ่มของต้ นผักสลัดจากปลายใบข้ างหนึ่งถึงอีกข้ างหนึ่งที่กว้ าง ที่สดุ วัดในลักษณะรูปกากบาท 2. ความสูงทรงพุม่ ใช้ ไม้ บรรทัดวัดความสูงทรงพุม่ ของต้ นผักสลัดจากโคนต้ นถึงปลายยอดของต้ นผัก 3. จานวนใบ นับจานวนใบต่อต้ นของผักสลัดทังหมดตั ้ งแต่ ้ โคนต้ นจนถึงยอด 4. น ้าหนักต้ น ใช้ เครื่ องชัง่ ๆ ผลผลิตน ้าหนักต้ นของผักสลัด 5. สีใบ วัดสีใบของผักสลัดด้ วยกระดาษเทียบสี (Colour Chart) ทาการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) หากมีความแตกต่างจึงวิเคราะห์วิธีเปรี ยบเทียบ ระหว่างสิ่ง ทดลองด้ วย Duncan’s new multiple range test (DMRT) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

635


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. พันธุ์บัตเตอร์ เฮด 1.1 ขนาดทรงพุ่ม ผัก สลัด พัน ธุ์ บัต เตอร์ เ ฮดที่ ไ ด้ รั บ น า้ หมัก ชี ว ภาพสูต รกากถั่ว เหลื อ งให้ ขนาดทรงพุ่ม เฉลี่ ย กว้ า งที่ สุด คื อ 27.03 เซนติเมตร รองลงมาได้ แก่ ปุ๋ ยเคมีสูตร16-16-16 และน ้าหมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ น โดยมีความกว้ างของขนาดทรงพุ่มเฉลี่ย คือ 21.1 และ 20.33 เซนติเมตร ตามลาดับ ซึง่ ไม่มีความแตกต่างทางนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% (Table 1) 1.2 จานวนใบ ผักสลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮดที่ได้ รับปุ๋ ยเคมีสตู ร 16-16-16 มีจานวนใบเฉลี่ยสูงที่สดุ คือ 19.66 ใบ รองลงมาคือน ้าหมัก ชีวภาพสูตรกากปลาป่ น และน ้าหมักชีวภาพสูตรกากถัว่ เหลือง โดยมีจานวนใบเฉลี่ยคือ 15.58 และ 15.08 ใบ ตามลาดับ ซึ่ง ไม่มีความแตกต่างทางนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% (Table 1) 1.3 ความสูงของต้ น ผัก สลัด พัน ธุ์ บัต เตอร์ เ ฮดที่ ไ ด้ รั บ น า้ หมัก ชี ว ภาพสูต รกากถั่ว เหลื อ งมี ค วามสูง เฉลี่ ย สูง ที่ สุด คื อ 2.12 เซนติ เ มตร รองลงมาได้ แก่ ปุ๋ ยเคมีสตู ร16-16-16 และน ้าหมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ น โดยมีความสูงเฉลี่ยคือ 21.80 และ 18.99เซนติเมตร ตามลาดับ ซึง่ มีความแตกต่างทางนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% (Table 1) 1.4 นา้ หนักสดของต้ น ผักสลัดพันธุ์บัตเตอร์ เฮดที่ได้ รับนา้ หมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ นให้ นา้ หนักสดของต้ นเฉลี่ยสูงที่สุดคือ 53.49 กรัม รองลงมาได้ แก่ น ้าหมักชีวภาพสูตรกากถัว่ เหลืองและปุ๋ ยเคมีสตู ร16-16-16 โดยมีน ้าหนักสดของต้ นเฉลี่ยคือ 50.27 และ 47.60 กรัม ตามลาดับ ซึง่ ไม่มีความแตกต่างทางนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% (Table 1) 1.5 สีของใบ จากการประเมิน ด้ ว ยสายตาด้ านสีข องใบผัก สลัด พัน ธุ์ บัตเตอร์ เฮดพบว่าไม่ มี ความแตกต่า งระหว่างสิ่ง ทดลอง สามารถประเมินได้ โดยใช้ กระดาษเทียบสี (RHS) ไปเทียบกับสีใบของผักสลัดพันธุ์ บัตเตอร์ เฮด พบว่าผักสลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮด เมื่ อ ได้ รั บ น า้ หมัก ชี ว ภาพสูต รกากปลาป่ นและสูต รกากถั่ว เหลื อ งมี ผ ลของสี ใ บเท่ า กัน คื อ อยู่ใ นช่ ว งของสี เ ขี ย ว ( Green Group)(Table 3) 2. พันธุ์เรดคอเรล 2.1 ขนาดทรงพุ่ม ผักสลัดพันธุ์เรดคอเรลที่ได้ รับน ้าหมักชีวภาพสูตรกากถัว่ เหลืองให้ ขนาดทรงพุ่มเฉลี่ยกว้ างที่สดุ คือ 27.35 เซนติเมตร รองลงมาได้ แก่ ปุ๋ ยเคมีสตู ร16-16-16 และน ้าหมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ น โดยมีความกว้ างของทรงพุ่มเฉลี่ยคือ 21.16 และ 20.33 เซนติเมตร ตามลาดับ ซึง่ ไม่มีความแตกต่างทางนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% (Table 2) 2.2 จานวนใบ ผักสลัดพันธุ์เรดคอเรลที่ได้ รับนา้ หมักชีวภาพสูตรกากถั่วเหลือง มีจานวนใบเฉลี่ยสูงที่สุดคือ 10.41 ใบ รองลงมาได้ แก่นา้ ปุ๋ ยเคมีสตู ร 16-16-16 และน ้าหมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ น โดยมีจานวนใบเฉลี่ยคือ 10.16 และ 9.57 ใบ ตามลาดับ ซึ่งไม่มี ความแตกต่างทางนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% (Table 2) 2.3 ความสูงของต้ น ผักสลัดพันธุ์เรดคอเรลที่ได้ รับน ้าหมักชีวภาพสูตรกากถัว่ เหลืองมีความสูงเฉลี่ยสูงที่สดุ คือ 13.66 เซนติเมตร รองลงมา ได้ แก่นา้ หมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ น และปุ๋ ยเคมีสูตร 16-16-16 โดยมี ความสูงเฉลี่ยคือ 12.41 และ 11.91 เซนติเมตร ตามลาดับ ซึง่ ไม่มีความแตกต่างทางนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% (Table 2) 2.4 นา้ หนักสดของต้ น ผักสลัดพันธุ์เรดคอเรลที่ได้ รับนา้ หมักชีวภาพสูตรกากถั่วเหลืองให้ นา้ หนักสดของต้ นเฉลี่ยสูงที่สุดคือ 16.93 กรัม รองลงมาได้ แก่ปยเคมี ุ๋ สตู ร 16-16-16 และน ้าหมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ น โดยมีน ้าหนักสดของต้ นเฉลี่ยคือ 15.39 และ 12.01 กรัม ตามลาดับ ซึง่ ไม่มีความแตกต่างทางนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% (Table 2) 2.5 สีของใบ จากการประเมินด้ วยสายตาด้ านสีของใบผักสลัดพันธุ์เรดคลอเรล พบว่ามีความแตกต่างระหว่างสิ่งทดลองซึง่ สามารถ ประเมินได้ โดยใช้ กระดาษเทียบสี (RHS) ไปเปรี ยบเทียบกับสีใบของผักสลัดพันธุ์เรดคอเรล พบว่าสีใบของผักสลัดพันธุ์เรดคอ 636

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เรลอยู่ในช่วงสีม่วง-แดง (Greyed-Red Group) ส่วนต้ นที่ได้ รับน ้าหมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ นจะมีสีเข้ มกว่าน ้าหมักชีวภาพ สูตรกากถัว่ เหลือง (Table 4) Table 1 The vegetative yield of butter head lettuces treated with chemical fertilizer, bio-extract of fish meal and soybean meal. Vegetative yield

Treatment

Chemical fertilizer(16-16-16) Bio-extract of fish meal Bio-extract of soybean meal CV (%)

Height (cm.) 21.80a 18.99b 22.12a * 5.41

Number of leaves 19.66a 15.58a 15.08a ns 14.14

Shrub width Fresh weight (cm.) (gram) 21.16a 47.60a 20.33a 53.49a 27.03a 50.27a ns ns 6.10 12.40

* = significantly different at P≤0.05 ns = non-significantly different at P≤0.05

Table 2 The vegetative yield of red coral lettuces treated with chemical fertilizer, bio-extract of fish meal and soybean meal. Vegetative yield

Treatment Chemical fertilizer(16-16-16) Bio-extract of fish meal Bio-extract of soybean meal CV (%)

Height (cm.) 11.91a 12.41a 13.66a ns 10.59

Number of leaves 10.16a 9.57a 10.41a ns 17.99

Shrub width (cm.) 21.16a 20.33a 27.35a ns 18.88

Fresh weight (gram) 15.39a 12.01a 16.93a ns 22.94

ns = non-significantly different at P≤0.05

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

637


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 The color of leaves in butter head lettuces (Green Group) Replication Treatment

1

2

3

Chemical fertilizer(16-16-16)

141A

139A

141B

Bio-extract of fish meal

138A

138A

138A

Bio-extract of soybean meal

138A

138A

138A

Table 4 The color of leaves in red coral lettuces (Greyed-Red Group) Treatment

638

Replication 1

2

3

Chemical fertilizer(16-16-16)

178A

178A

178B

Bio-extract of fish meal

182A

182A

182A

Bio-extract of soybean meal

181B

181C

181B

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Chemical fertilizer (16-16-16)

Bio-extract of fish meal

Bio-extract of soybean meal Figure 1 The color of leaves in butter head lettuces (Green Group)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

639


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Chemical fertilizer (16-16-16)

Bio-extract of fish meal

Bio-extract of soybean meal Figure 2 The color of leaves in red coral lettuces (Greyed-Red Group) โดยรวมน ้าหมักชีวภาพมีผลต่อการเจริ ญเติบโตทางด้ านลาต้ นของผัก สลัดได้ แก่ ความสูงต้ น ทรงพุ่ม จานวนใบ และ น ้าหนักสด โดยน ้าหมักชีวภาพสูตรกากถัว่ เหลืองให้ ผลดีในทุกด้ าน น ้าหมักชีวภาพทังสองสู ้ ตรมีแนวโน้ มใช้ ทดแทนปุ๋ ยเคมีสตู ร 16-16-16 ที่ใช้ เปรี ยบเทียบได้ โดยรดทางดิน สีใบของผักสลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮดและพันธุ์เรดคอเรลที่ได้ รับน ้าหมักชีวภาพสูตร กากปลาป่ นและสูตรกากถัว่ เหลือง มีแนวโน้ มทาให้ สีใบเข้ มขึ ้น

สรุ ปผลการทดลอง จากการศึกษาชนิดของน ้าหมักชีวภาพต่อการเจริ ญเติบโตและคุณภาพของผักสลัด โดยเปรี ยบ เทียบน ้าหมักชีวภาพ 2 ชนิดและปุ๋ ยเคมีสูตร 16-16-16 ได้ แก่ นา้ หมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ น และนา้ หมักชีวภาพสูตรกากถั่วเหลืองในผักสลัด พันธุ์บตั เตอร์ เฮดและพันธุ์ เรดคอเรล พบว่าในผักสลัดพันธุ์ บตั เตอร์ เฮด ที่ได้ รับนา้ หมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ นและนา้ หมัก ชีวภาพสูตรกากถัว่ เหลือง ให้ ผลการเจริญเติบโตใกล้ เคียงกันเมื่อเปรี ยบเทียบกับปุ๋ ยเคมีสตู ร 16-16-16 โดยไม่มีความแตกต่าง 640

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ทางสถิติและมีแนวโน้ มใช้ ทดแทนปุ๋ ยเคมีได้ โดยการรดทางดิน ส่วนผักสลัดพันธุ์เรดคอเรล พบว่าน ้าหมักชีวภาพสูตรกากปลา ป่ น และน ้าหมักชีวภาพสูตรกากถัว่ เหลือง ให้ ผลการเจริญเติบโตใกล้ เคียงกัน รวมถึงปุ๋ ยเคมีสตู ร 16-16-16 ที่ใช้ เปรี ยบเทียบ แต่ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ และมีแนวโน้ มใช้ ทดแทนปุ๋ ยเคมีได้ นอกจากนี ้ผลจากการใช้ น ้าหมักชีวภาพ 2 ชนิดนี ้พบว่าสีใบ ของผักสลัดพันธุ์บตั เตอร์ เฮดและพันธุ์เรดคอเรล ที่ได้ รับน ้าหมักชีวภาพสูตรกากปลาป่ นและสูตรกากถัว่ เหลืองมีสีใบที่เข้ มขึ ้น

เอกสารอ้ างอิง กองอนุรักษ์ ดินน ้า. 2545. การผลิตและการใช้ ปยอิ ุ๋ นทรี ย์น ้าเพื่อการปรับปรุงบารุงดิน. กรมพัฒนาที่ดินกระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพ ฯ. กองเกษตรเคมี. 2545. ฮอร์ โมนพืชและธาตุอาหารพืชในน ้าสกัดชีวภาพ. กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. กรมพัฒนาที่ดิน. 2557. กากปลาป่ น. แหล่งที่มา: [http://www.organicthailand.com]. พฤษภาคม 2558 ชมรมเกษตรปลอดสารพิษ. 2558. หลักการผลิตผักปลอดสารพิษ. แหล่งที่มา:[http://www.thaigreenagro.com]. พฤษภาคม 2558. นิรนาม. 2551. ฐานข้ อมูลพืชผัก บทความเกษตร. แหล่งที่มา: [http://www.th.vegetweb.com]. พฤษภาคม 2558 นิสิต คาหล้ า. 2550. บทบาทของนา้ หมักชีวภาพต่อกระบวนการทางานของจุลินทรี ย์ดินและต่อการเจริ ญเติบโตของพืช. วิทยานิพนธ์ ปริ ญญ า ปรั ชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาพืชไร่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.แหล่งที่มา: [http://www.rgj.trf.or.th/abstract/th]. พฤษภาคม 2558 ประสงค์ วงศ์ชนะภัย,อุดม วงศ์ชนะภัย และพูลสวัสดิ์ อาจละกะ. 2547. การขยายผลโดยใช้ น ้าหมักชีวภาพในกลุ่มเกษตรกรรายย่อยภาคตะวันออก กรณีศกึ ษาจังหวัดสระแก้ ว. แหล่งที่มา: [http://www.rivermool.exteen.com]. พฤษภาคม 2558. สุริยา สาสนรักกิจ. 2542. ปุ๋ ยน ้าชีวภาพ. ฝ่ ายเทคโนโลยีชีวภาพ สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. ยงยุทธ โอสถสภา. 2542. ธาตุอาหารพืช. สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. วรรลดา สุนนั ทพงศ์ศกั ดิ์. 2543. ศึกษาเรื่ องน ้าสกัดชีวภาพ. แหล่งที่มา: [http://www.tnrr.in.th]. พฤษภาคม 2558

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

641


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การใช้ ประโยชน์ ของปุ๋ยแคลเซียมซิลิเกตต่ อการผลิตกล้ ามะเขือเทศ Utilization of Calcium Silicate Fertilizer on Tomato Seedling Production กมลวรรณ คงสุดรู้ 1, ศุภชัย อาคา1,* ธงชัย มาลา1 และ พรไพรินทร์ รุ่ งเจริญทอง2 Kamolwan Kongsudru1, Suphachai Amkha1,* Thongchai Mala1and Pornpairin Rungcharoenthong2

บทคัดย่ อ มะเขือเทศเป็ นพืชเศรษฐกิจที่นิยมผลิตกล้ า ซึ่งเมล็ดพั นธุ์มีค่าสูงและมะเขือเทศมีการสูญเสียซิลิคอนโดยติดไปกับ ผลผลิตมะเขือเทศ 5 กก.Si/ไร่ จึงสนใจที่จะศึกษาการใช้ ประโยชน์ของการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางใบและทางดินต่อการผลิต กล้ ามะเขือเทศ มี 2 การทดลอง คือการทดลองที่1) เป็ นการศึกษาผลของการใช้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์ และการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางใบ วางแผนการทดลองแบบ 2x6 Factorial in Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้ วย ปั จจัยที่ 1 การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ คือ การเคลือบเมล็ดพันธุ์และไม่เคลือบเมล็ดด้ วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต และปั จจัย ที่ 2 ระยะเวลาการให้ แคลเซียมซิลิเกตที่ความเข้ มข้ น 6 กรัม/ลิตร คือ 0,1,2,3,5 และ 7วัน/ครัง้ ผลการทดลองพบว่า การเคลือบ เมล็ดพันธุ์ด้วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต หรื อการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกต 1 วัน/ครัง้ หรื อการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับการให้ ปยุ๋ แคลเซียมซิลิเกต 1 วัน/ครัง้ ส่งเสริมให้ กล้ ามะเขือเทศมีการเจริญเติบโตดีทงด้ ั ้ านความสูง ความยาวราก น ้าหนักสดและน ้าหนัก แห้ งต้ น การทดลองที่ 2) เป็ นการศึกษาผลของการใช้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์และการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิ เกตทางดิน วางแผนการทดลองแบบ 2x6 Factorial in CRD ประกอบด้ วย ปั จจัยที่ 1 การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ คือ การเคลือบเมล็ด พันธุ์และไม่เคลือบเมล็ดด้ วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต และปั จจัยที่ 2 อัตราการใส่ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางดิน คือ 0, 5, 10, 15, 20 และ 25 กิโลกรัม/ไร่ ผลการทดลองพบว่า การเคลือบเมล็ดพันธุ์ด้วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต หรื อการให้ ปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกตอัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ หรื อการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตอัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ ส่งเสริ มให้ กล้ ามะเขือเทศมี การเจริ ญเติบโตดีทงด้ ั ้ านความสูง ความยาวราก น ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งต้ น ดังนันจากผลการศึ ้ กษาทัง้ 2 การทดลอง ชี ้ให้ เห็นว่าปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกตสามารถนามาประยุกต์ใช้ ในการผลิตกล้ ามะเขือเทศได้ ทงการให้ ั้ ทางใบและทางดิน คาสาคัญ: เคลือบเมล็ดพันธุ์, แคลเซียมซิลิเกต, มะเขือเทศ, ต้ นกล้ า

Abstract The studies of calcium silicate fertilizer utilization by foliar and soil drench method was tomato seedling production and into two experiments. The 1st experiment was effects of seed coating by calcium silicate and foliar application of calcium silicate. The experiment was using 2x6 factorial in CRD, as consists of factor A (seed coating and non-seed coating by calcium silicate) and factor B (time application of calcium silicate at 0 day, every day, every other day, every 2, 5 and 7 days). The results that seed coating by calcium silicate fertilizer or every day of calcium silicate application and seed coating with every day of calcium silicate application enhanced the good of plant growth seedling such as seedling plant height, seedling fresh and dry weight and root length. The 2nd experiment was effects of seed coating by calcium silicate and soil drench application of calcium silicate. The experiment was using 2x6 factorial in CRD, as consists of factor A (seed coating and non-seed coating by calcium silicate) and factor B (calcium silicate application at 0, 5, 10, 15, 20 and 25 kg/rai). The results that seed coating by calcium silicate fertilizer or calcium silicate application at 10 kg/rai and seed coating with calcium silicate application at 10 kg/rai enhanced the good of plant growth seedling such as seedling plant height, seedling fresh and dry weight and root length. Then, calcium silicate fertilizer can use for tomato seedling production both of foliar and soil drench application methods. Keywords: seed coating, calcium silicate, tomato, seedling 1

ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 Department of Soil Science, Faculty of Agriculture at KamphaengSaen, Kasetsart University, KamphaengSaen Campus, Nakhon pathom 73140 2 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 2 Department Botany, Faculty of Liberal Arts and Science, Kasetsart University, KamphaengSaen Campus Nakhonpathom 73140 * Corresponding author: agrscak@ku.ac.th 1

642

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา (Introduction) มะเขือเทศเป็ นพืชที่มีความสาคัญในด้ านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ มีผลผลิต 56,967.2 ตัน ต่อปี (กรม ส่งเสริมการเกษตร, 2556) และมูลค่าการส่งออก 316.5 ล้ านบาท (กรมศุลกากร, 2556) การนาวิทยาการเทคโนโลยีการเคลือบ เมล็ดพันธุ์ (seed coating) เป็ นการนาสารสะสมที่มีลกั ษณะบางเบาฉาบยึดเกาะให้ สม่าเสมอไปบนผิวของเมล็ดพันธุ์ โดยไม่ ทาให้ โครงสร้ างและรูปร่างเมล็ดเปลี่ยนแปลงไป (ภาณี และคณะ, 2540) ซึง่ บุญมี (2546) รายงานว่าการเคลือบเมล็ดพันธุ์เป็ น เทคโนโลยีที่นามาใช้ กับเมล็ดพันธุ์ ที่มีมูลค่าสูง เนื่องจากเมล็ดเหล่านีส้ ามารถเพิ่มองค์ ประกอบอื่ นๆได้ เช่น ธาตุอาหาร ฮอร์ โมน สารกระตุ้นการงอก สารกาจัดวัชพืช สารป้องกันเชื ้อรา สารป้องกันแมลง และอื่นๆ )การเคลือบเมล็ดพันธุ์ด้วยปุ๋ ยทาให้ พืชได้ รับธาตุอาหารเพื่อนาไปใช้ ในการเจริ ญเติบโตในขณะเกิดขบวนการงอกของพืชได้ (Asano et al.,1996) จะช่วยให้ พืช ได้ รับปริ มาณธาตุ อาหารตามความต้ องการในการเจริ ญเติบโต (Wertz et al.,2005) เนื่องจากปุ๋ ยละลายอยู่ในรัศมี ของราก พืชจึงสามารถนาปุ๋ ยไปใช้ ได้ ทนั ที โดยไม่สญ ู หายไปกับกระบวนการต่าง ๆ (ภานี และคณะ, 2540) นอกจากนี ้มีการใช้ ปยแคม ุ๋ เซียมซิลิเกตที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืช โดยมีองค์ประกอบของ แคลเซียม (Ca) เป็ นธาตุที่มีความสาคัญต่อเสถียรภาพ ของเยื่อและบูรณภาพของเซลล์ (cell integrity) และการเคลื่อนย้ ายแป้งจากแหล่งสะสมไปยังส่วนอื่นของพืช ซึง่ สอดคล้ องกับ Hao and Papadopoulos (2004) พบว่า ธาตุแคลเซียมที่ความเข้ มข้ น 300 มิลลิกรัมต่อลิตร ส่งผลให้ มะเขือเทศมีผลผลิตรวม และน ้าหนักผลแห้ งเพิ่มขึ ้น นอกจากนี ้ยังช่วยย่อยแป้งในเอนโดสเปิ ร์มของเมล็ดให้ มีโมเลกุลเล็กลงสาหรับใช้ ในกระบวนการ งอกของเมล็ด(Hodson,1984) อย่างไรก็ตามเนื ้อเยื่อพืชเมื่อขาดธาตุแคลเซียมรุนแรงจนโครงสร้ างของเยื่อเสื่อมสลาย จะมีสาร ต่างๆ ที่มีขนาดโมเลกุลเล็กรั่ วไหลออกมาจากเซลล์ และเซลล์ก็ไม่อาจจัดแบ่งสารต่างๆ ไว้ เป็ นสัดส่วนได้ อย่างเหมาะสม (Hirschi, 2004) จึงอาจส่งผลให้ คณ ุ ภาพเมล็ดพันธุ์ลดลง ส่วนซิลิคอน (Si) ไม่ได้ จดั เป็ นธาตุอาหารพืชที่จาเป็ น แต่จดั เป็ นธาตุ เสริ มประโยชน์ (beneficent element) Synder et al. (2007) กล่าวว่าซิลิคอนมีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืช เช่น การพัฒนา ราก การเจริ ญของผล และการเพิ่มผลผลิตพืช นอกจากนี ้ซิลิคอนยังช่วยปกป้องพืชจากสภาพแวดล้ อมที่ไม่เหมาะสม และจาก การทาลายของศัตรู พืช และเมื่อพืชดูดซิลิคอนเข้ าไปในเซลล์พืช ซิลิคอนถู กเปลี่ยนอยู่ในรู ปของแข็งตามผนังเซลล์ ซึ่งทาให้ โครงสร้ างของผนังเซลล์แข็งแรงขึ ้นทนต่อการเข้ าทาลายของโรคและแมลงอีกด้ วย (Marschner, 1995) ดังนันการปลู ้ กมะเขือเทศจึงมีความต้ องการใช้ เมล็ดให้ เกิดการสูญเสียน้ อย รวมทัง้ การจั ด การธาตุ อ าหารพื ช ให้ มะเขือเทศมีการเจริ ญเติ บโตที่แข็งแรง โดยเริ่ มตัง้ แต่การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ปลูก และการผลิตต้ นกล้ าให้ แข็งแรงเพื่อช่วยลด ปริมาณการใช้ เมล็ดพันธุ์ ดังนันการวิ ้ จยั นี ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ ประโยชน์ของการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางใบและ ทางดินต่อการผลิตกล้ ามะเขือเทศ ซึง่ เป็ นการประยุกต์ใช้ แคลเซียมซิลิเกตกับมะเขือเทศได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด

อุปกรณ์ และวิธีการ (Materials and Methods) การทดลองนี ้แบ่งออกเป็ น 2 การทดลอง คือ การทดลองที่1) เป็ นการศึกษาผลของการใช้ ประโยชน์แคลเซียมซิลิเกต ในการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับระยะเวลาการให้ ทางใบต่อ การผลิตกล้ ามะเขือเทศ วางแผนการทดลองแบบ 2x6 Factorial in CRD จานวน 4 ซ ้า ประกอบด้ วย 2 ปั จจัย ได้ แก่ ปั จจัยที่ 1 การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ คือ การเคลือบเมล็ดพันธุ์และไม่เคลือบเมล็ด ด้ วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต และปั จจัยที่ 2 ระยะการให้ แคลเซียมซิลิเกตที่ความเข้ มข้ น 6 กรัม/ลิตร คือ 0,1,2,3,5,7วัน/ครัง้ และ การทดลองที่ 2) เป็ นการศึกษาผลของการใช้ ประโยชน์แคลเซียมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับอัตราการให้ แคลเซียมซิ ลิเกตทางดินต่อการผลิตกล้ ามะเขือเทศ วางแผนการทดลองแบบ 2x6 Factorial in CRD จานวน 4 ซ ้า ประกอบด้ วย ปั จจัยที่ 1 การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ คือ การเคลือบเมล็ดพันธุ์และไม่เคลือบเมล็ดด้ วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต และปั จจัยที่ 2 อัตราการใส่ปุ๋ย แคลเซียมซิลิเกตทางดิน คือ 0, 5, 10, 15, 20 และ 25 กิโลกรัม/ไร่ ทาการเพาะเมล็ดมะเขือเทศที่เคลือบด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกตและไม่เคลือบเมล็ด เพาะในถาดหลุมเพาะกล้ า ขนาด 72 หลุม เมื่อต้ นกล้ าอายุ 14 วันหลังเพาะ ให้ ปยสู ุ๋ ตรเสมอ 15-15-15 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ ซึง่ การให้ แคลเซียมซิลิเกต ที่อตั ราความเข้ มข้ น 6 กรัม/ลิตรด้ วยการฉีดพ่นทางใบตามช่วงระยะเวลาที่กาหนดไว้ ในแผนการทดลอง คือ ไม่ใส่แคลเซียมซิลิ เกต และให้ แคลเซียมซิลิเกต 1, 2, 3, 5 และ 7 วัน/ครัง้ จนต้ นกล้ ามะเขือเทศมีอายุครบ 28 วันหลังเพาะ ขณะที่การให้ ปยุ๋ แคลเซียมซิลิเกตทางวัสดุปลูก โดยผสมแคลเซียมซิลิเกตกับวัสดุปลูก (พีท) เริ่ มต้ นก่อนการเพาะเมล็ดในอัตราที่แตกต่างกันใน แต่ละตารับการทดลอง คือ 0, 5, 10, 15, 20 และ 25 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อต้ นกล้ ามะเขือเทศอายุ 28 วันหลังเพาะเมล็ด ทาการเก็บข้ อมูลการเจริญเติบโตดังนี ้คือ ความสูงต้ น ความยาวราก นา้ หนักสด นา้ หนักแห้ งต้ น และวิเคราะห์ปริ มาณซิลิคอนในต้ นพืช โดยนาตัวอย่างพืชส่วนต้ นไปรอบแห้ งที่อุณหภูมิ 70 °C การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

643


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ระยะเวลา 48 ชัว่ โมง หรื อจนกว่าตัวอย่างพืชแห้ ง แล้ วจึงนาตัวอย่างมาชัง่ น ้าหนักแห้ ง และนาตัวอย่างพืชแห้ งมาบดให้ ละเอียด เพื่อวิเคราะห์ปริมาณซิลคิ อนทังหมด ้ (total SiO2) ด้ วยวิธีของจงรักษ์ (2542) ข้ อมูลที่ได้ จากการทดลองนามาวิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ (analysis of variance) ด้ วยโปรแกรม R เพื่อหา ค่า F-test หากข้ อมูลแสดงความแตกต่างที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 และ 99 เปอร์ เซ็นต์ นามาเปรี ยบเทียบหาความแตกต่างโดย ใช้ DMRT (Duncan’s Multiple Range Test )

ผลการทดลองและวิจารณ์ (Results and Discussion) ผลของการใช้ ป๋ ุยแคลเซียมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์และการให้ ป๋ ุยแคลเซียมซิลิเกตทางใบ จากการศึกษาคุณภาพของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศที่ผ่านการเคลือบด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกตและการให้ ปุ๋ย แคลเซียมซิลิเกตทางใบ โดยการฉีดพ่น พบว่าให้ คา่ ความสูงของต้ นกล้ ามะเขือเทศมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (ตารางที่ 1) กล่าวคือ เมล็ดพันธุ์มะเขือเทศที่ผ่านการเคลือบด้ วยวิธี coating มีความสูงมากกว่าเมล็ดที่ไม่ผ่านการเคลือบ โดย ความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิเกตที่ฉีดพ่นทางใบความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิเกต 6 กรัม/ลิตร ที่ฉีดพ่น1 และ 2 วัน/ครัง้ ให้ ความสูงของต้ นกล้ าดี อย่างไรก็ตามไม่มีความแตกต่างทางสถิติเมื่อเทียบกับการฉีดพ่นแคลเซียมซิลิเกต 3 วัน/ครัง้ สาหรับความยาวรากของต้ นกล้ ามะเขือเทศมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (ตารางที่ 1) กล่าวคือ เมล็ด พันธุ์มะเขือเทศที่ผ่านการเคลือบ มีความยาวรากมากกว่าเมล็ดที่ไม่ผ่านการกระตุ้นการงอก โดยความเข้ มข้ นของสารละลาย แคลเซียมซิลิเกตที่ฉีดพ่นทางใบความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิเกต 6 กรัม/ลิตร ที่ฉีดพ่น 1 วัน/ครัง้ มีค่าความยาวราก สูง อย่างไรก็ตามไม่มีความแตกต่างทางสถิติเมื่อเทียบกับการฉีดพ่นแคลเซียมซิลิเ กต 2 และ 3 วัน/ครัง้ สาหรับน ้าหนักสดต้ น ของต้ นกล้ ามะเขือเทศมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (ตารางที่ 2) กล่าวคือการเคลือบของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศ ด้ วยแคลเซียมซิลิเกตมีนา้ หนักสดต้ นของมะเขือเทศสูงกว่าเมล็ดที่ไม่ได้ เคลือบ โดยการฉี ดพ่นแคลเซียมซิลิเกต 1วัน/ครัง้ มี น ้าหนักสดต้ นสูง อย่างไรก็ตามไม่มีความแตกต่างทางสถิติเมื่อเทียบกับฉีดพ่น 2 และ 3 วัน/ครัง้ สาหรับน ้าหนักแห้ งของต้ นกล้ า มะเขือเทศมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (ตารางที่ 2) กล่าวคือ เมล็ดพันธุ์มะเขือเทศที่ผ่านการเคลือบ มีความ สูงมากกว่าเมล็ดที่ไม่ผ่านการกระตุ้นการงอก โดยความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิเกตที่ฉีดพ่นทางใบความเข้ มข้ นของ สารละลายแคลเซียมซิลิเกต 6 กรัม/ลิตร ที่ฉีดพ่น1และ 2วัน/ครัง้ มีค่าน ้าหนักแห้ งของต้ นมะเขือเทศสูง อย่างไรก็ตามไม่มีความ แตกต่างทางสถิติเมื่อเทียบกับการฉี ดพ่นแคลเซียมซิ ลิเกต 2 วัน/ครั ง้ สาหรับปริ มาณซิลิคอนในต้ นกล้ ามะเขื อเทศมีความ แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ(ตารางที่ 3) กล่าวคือ เมล็ดพันธุ์มะเขือเทศที่ผ่านการเคลือบ มี ปริ มาณซิลิคอนในต้ นพืช มากกว่าเมล็ดที่ไม่ผ่านการกระตุ้นการงอก โดยความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิเกตที่ฉีดพ่นทางใบความเข้ มข้ นของ สารละลายแคลเซียมซิลิเกต 6 กรัม/ลิตร ที่ฉีดพ่น1และ 2วัน/ครัง้ มีปริ มาณซิลิคอนสูงอย่างไรก็ตามไม่มีความแตกต่างทางสถิติ เมื่อเทียบกับฉีดพ่น 3และ 5 วัน/ครัง้

644

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


6.96de

7.99cd

6.29de

5.44ef

6.48de

6.23B

1 day/time

2 day/time

3 day/time

5 day/time

7 day/time

Average (A)

** ** 21.61

B

AxB

C.V (%)

6.59Y

7.47XY

8.11WX

9.22W

9.43W

4.59Z

Average(B)

10.33B

9.14d

10.36bcd

11.32bcd

11.13bcd

9.99cd

10.04cd

Non-coating

22.17

*

**

**

12.38A

11.68bcd

11.46bcd

12.64bc

13.10b

15.76a

9.65d

Coating

Seed preparation (A)

Seedling root length (cm)

10.41YZ

10.91YZ

11.98XY

12.11XY

12.88X

9.84Z

Average (B)

Seedling fresh weight (g)

Seedling dry weight (g)

**: significantly different at P≤0.01, *: significantly different at P≤0.05 Variable mean within column and row followed by same upper case letter were not significantly different by DMRT at p ≤0.01 Table 2 Seedling dry weight (g) and Seedling root length (cm) by calcium silicate fertilizer with foliar method on tomato seedling production. Table 2 Seedling dry weight (g) and Seedling root length (cm) by calcium silicate fertilizer with foliar method on tomato seedling production.

**

8.91A

6.71de

9.50bc

9.94b

10.46ab

11.89a

4.96ef

Coating

A

F-test

4.23f

Non-coating

Seed preparation (A)

Non-Ca2SiO4

Application times (B)

Factors

Seedling height (cm)

Table 1 Seedling height (cm) and Seedling root length (cm) by calcium silicate fertilizer with foliar method on tomato seedling production.


0.680f 1.076cd 1.122c 1.107c 0.966cdf 0.813cdf 0.961B ** ** * 24.01

0.695df 1.958a 1.667ab 1.572b 1.486b 1.073cd 1.408A

Seed preparation (A) Non-coating Coating

0.687Z 1.517W 1.394WX 1.339WX 1.226X 0.943Y

Average(B)

0.083e 0.136cd 0.144cd 0.113de 0.119de 0.132cd 0.121B ** ** ** 21.98

0.102de 0.248a 0.205b 0.198b 0.166bc 0.139cd 0.176A

Seed preparation (A) Non-coating Coating

0.093Z 0.192W 0.175WX 0.156XY 0.142Y 0.136Y

Average (B)

**: significantly different at P≤0.01, *: significantly different at P≤0.05 Variable mean within column and row followed by same upper case letter were not significantly different by DMRT at p ≤0.01.

Application times (B) Non-Ca2SiO4 1 day/time 2 day/time 3 day/time 5 day/time 7 day/time Average (A) F-test A B AxB C.V (%)

Factors


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Total Si by calcium silicate fertilizer with foliar method on tomato seedling production. Factors

Seed preparation (A)

Average

- Ca2SiO4

+Ca2SiO4 6,000 mg L-1

(B)

Non-Ca2SiO4

0.056f

0.091cde

0.074Z

1 day/time

0.074ef

0.145a

0.109X

2 day/time

0.081def

0.130ab

0.105X

3 day/time

0.073ef

0.112bc

0.093XY

5 day/time

0.079def

0.104bcd

0.092XY

7 day/time

0.060f

0.106bcd

0.083Y

Average (A)

0.121B

0.176A

Application times (B)

F-test A B AxB C.V (%)

** ** ns 13.2

**: significantly different at P≤0.01, ns: significantly different at P≤0.05 Variable mean within column and row followed by same upper case letter were not significantly different by DMRT at p ≤0.01

ผลของการใช้ ป๋ ุยแคลเซียมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์และการให้ ป๋ ุยแคลเซียมซิลิเกตทางดิน จากการศึกษาคุณภาพของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศที่ผ่านการเคลือบด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกตและการให้ ปุ๋ย แคลเซียมซิลิเกตทางดิน พบว่าให้ คา่ ความสูงของต้ นกล้ ามะเขือเทศมีค่าไม่แตกต่างกัน (ตารางที่ 4) กล่าวคือ เมล็ดพันธุ์มะเขือ เทศที่ผ่านการเคลือบด้ วยวิธี coating มีความสูงมากไม่แตกต่างกับเมล็ดที่ไม่ผ่านการเคลือบ สาหรับความยาวรากของต้ นกล้ า มะเขือเทศมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (ตารางที่ 4) กล่าวคือ เมล็ดพันธุ์มะเขือเทศที่ผ่านการเคลือบ มีความ ยาวรากมากกว่าเมล็ดที่ไม่ผ่านการเคลือบ โดยความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิเกตต่อความยาวรากของต้ นกล้ ามะเขือ เทศที่ความเข้ มข้ นของสารละลายแคลเซียมซิลิเกต 5,10 และ 15 กรัม/ลิตร มีค่าความยาวรากสูงกว่าอัตราความเข้ มข้ นอื่น สาหรับน ้าหนักสดต้ นของต้ นกล้ ามะเขือเทศมีค่าไม่แตกต่างกัน (ตารางที่ 5) กล่าวคือการเคลือบของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศด้ วย แคลเซียมซิลิเกตมีน ้าหนักสดต้ นของมะเขือเทศไม่แตกต่างกับเมล็ดที่ไม่ได้ เคลือบ สาหรับน ้าหนักแห้ งของต้ นกล้ ามะเขือเทศมี ค่าไม่แตกต่างกัน (ตารางที่ 5) กล่าวคือ เมล็ดพันธุ์มะเขือเทศที่ผ่านการเคลือบ มีความสูงไม่แตกต่างกับเมล็ดที่ไม่ผ่านการ เคลือบ สาหรับปริ มาณซิลิคอนในต้ นกล้ ามะเขือเทศมีความแตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ(ตารางที่6)กล่าวคือ เมล็ด พันธุ์มะเขือเทศที่ผ่านการเคลือบ มี ปริ มาณซิลิคอนในต้ นพืชสูง กว่าเมล็ดที่ไม่ผ่านการกระตุ้นการงอก โดยความเข้ มข้ นของ ส า ร ล ะ ล า ย แ ค ล เ ซี ย ม ซิ ลิ เ ก ต ต่ อ ป ริ ม า ณ ซิ ลิ ค อ น ใ น ส่ ว น ข อ ง ต้ น ก ล้ า ม ะ เ ขื อ เ ท ศ ที่ ค ว า ม เ ข้ ม ข้ น ข อ ง สารละลายแคลเซียมซิลิเกต 10 กรัม/ลิตร มีค่าความยาวรากสูงกว่าอัตราความเข้ มข้ นอื่น อย่างไรก็ตามการใส่แคลเซียมซิลิ เกตทางดินมีค่าไม่แตกต่างจากอัตราการใส่อื่น เนื่องด้ วยผลทางกายภาพของเม็ดปุ๋ ยที่มีความแข็ง จึงทาให้ ตวั แคลเซียมและ ซิลิคอนละลายและปลดปล่อยออกมาได้ ช้า จึงทาให้ การใส่ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางดินไม่แตกต่างกัน

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

647


2.05

2.39

2.38

2.03

1.75

2.14

5 kg/rai

10 kg/rai

15 kg/rai

20 kg/rai

25 kg/rai

Average (A)

ns ns 14.55

B

AxB

C.V (%)

1.85

2.19

2.55

2.28

2.25

2.58

Average(B)

6.501B

6.490def

7.065cdef

7.355cde

7.573bcde

5.025ef

5.500f

Non-coating

22.17

*

**

**

8.842A

7.710 bcde

8.663bcd

8.925bc

9.663ab

11.038a

7.053cdef

Coating

Seed preparation (A)

Seedling root length (cm)

7.100YZ

7.864Y

8.140Y

8.618Y

8.031Y

6.276Z

Average (B)

**: significantly different at P≤0.01, ns: significantly different at P≤0.05, *: significantly different at P≤0.05 Variable mean within column and row followed by same upper case letter were not significantly different by DMRT at p ≤0.01

ns

2.43

1.95

2.36

2.72

2.17

2.46

2.95

Coating

A

F-test

2.22

Non-coating

Seed preparation (A)

Non-Ca2SiO4

Application times (B)

Factors

Seedling height (cm)

Table 4 Seedling height (cm) and Seedling root length (cm) by calcium silicate fertilizer in soil method on tomato seedling production.


0.179c

0.262abc

0.220bc

0.263abc

0.206bc

0.219

5 kg/rai

10 kg/rai

15 kg/rai

20 kg/rai

25 kg/rai

Average (A)

ns * 23.97

B

AxB

C.V (%)

0.205

0.28

0.269

0.275

0.275

0.194

Average(B)

0.029

0.028bc

0.033abc

0.031bc

0.034abc

0.023c

0.025c

Non-coating

21.78

*

ns

ns

0.037

0.031bc

0.043ab

0.037abc

0.035abc

0.048a

0.028bc

Coating

Seed preparation (A)

Seedling dry weight (g)

0.029

0.038

0.034

0.034

0.035

0.027

Average (B)

ns: significantly different at P≤0.05, *: significantly different at P≤0.05 Variable mean within column and row followed by same upper case letter were not significantly different by DMRT at p ≤0.01

ns

0.28

0.204bc

0.297abc

0.319ab

0.287abc

0.370a

0.204bc

Coating

A

F-test

0.185c

Non-coating

Seed preparation (A)

Non-Ca2SiO4

Application times (B)

Factors

Seedling fresh weight (g)

Table 5 Seedling dry weight (g) and Seedling root length (cm) by calcium silicate fertilizer in soil method on tomato seedling production.


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 6 Total Si by calcium silicate fertilizer in soil method on tomato seedling production. Factors

Seed preparation (A)

Average

- Ca2SiO4

+Ca2SiO4 6,000 mg L-1

(B)

Non-Ca2SiO4

0.028bc

0.032bc

0.030Z

5 kg/rai

0.051a

0.073a

0.062XY

10 kg/rai

0.066ab

0.077a

0.071X

15 kg/rai

0.009c

0.057ab

0.033YZ

20 kg/rai

0.029bc

0.074a

0.051XY

25 kg/rai

0.055ab

0.052ab

0.053XY

Average (A)

0.041B

0.059A

Application rates (B)

F-test A B AxB C.V (%)

** ** ** 11.61

**: significantly different at P≤0.01 Variable mean within column and row followed by same upper case letter were not significantly different by DMRT at p ≤0.01

ดังนันการเคลื ้ อบเมล็ดพันธุ์ด้วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต หรื อการให้ ปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต1วัน/ครัง้ หรื อการเคลือบเมล็ด พันธุ์ร่วมกับการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกต1วัน/ครัง้ ส่งเสริ มให้ กล้ ามะเขือเทศมีการเจริ ญเติบโตดี ทังนี ้ เ้ พราะการที่สารละลาย Ca2SiO4 มีแคลเซียมเป็ นองค์ประกอบ ซึ่งสามารถละลายนา้ ได้ มีผลช่วยในการกระตุ้นการงอกของเมล็ด เนื่องมาจาก แคลเซียมเป็ น co-factor ของเอมไซม์ แอลฟา-อะไมเลส มีสว่ นช่วยในการย่อยแป้งในเอนโดสเปิ ร์มของเมล็ดให้ มีขนาดโมเลกุล เล็กลง เป็ นการส่งเสริ มการงอกของเมล็ด (Hanson, 1984)สอดคล้ องกับการศึกษาของ พงศกรและคณะ (2558) รายงานว่า การเคลือบเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์ด้วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต (Ca2SiO4) ที่ 2 กรัม/ลิตร ส่งผลให้ เมล็ดมีคณ ุ ภาพของเมล็ด พันธุ์สงู ที่สดุ คือมี ดัชนีการงอก และ ความสูงของต้ นกล้ าสูง ซึง่ ยุพา (2549) ศึกษาบทบาทของซิลิคอนต่อการผลิตสตรอเบอรี่ 2 สายพันธุ์ พบว่าพันธุ์พระราชทาน 50 ตารับที่ให้ ซิลิคอน 200 มิลลิกรัม/ลิตร มีพืน้ ที่ใบมากที่สุด ทาให้ สามารถส่งเสริ มการ เจริ ญเติบโตของสตรอเบอรี่ และการสะสมของซิลิคอนสูงตามไปด้ วย สอดคล้ องกับการศึกษาของ กุลินดา และคณะ (2557) พบว่าเมล็ดพันธุ์ที่ผ่านการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ด้วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกต ที่ความเข้ มข้ น 2 กรัม/ลิตร ร่วมกับการฉีดพ่นด้ วย สารละลายแคลเซียมซิลิเกต ที่ความเข้ มข้ น 4 กรัม/ลิตร ทาให้ ต้นกล้ ามีคณ ุ ภาพสูงที่สดุ และการเคลือบเมล็ดพันธุ์ด้วยปุ๋ ย แคลเซียมซิลิเกต หรื อการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตอัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ หรื อการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิ ลิ เกตอัตรา 10 กิโลกรัม/ไร่ ส่งเสริ มให้ กล้ ามะเขือเทศมีการเจริ ญเติบโตดีทงด้ ั ้ านความสูง ความยาวราก น ้าหนักสดและน ้าหนัก แห้ งต้ น ทัง้ นีอ้ าจเนื่องมาจากซิลิคอน ซึ่งช่วยกระตุ้นการเจริ ญเติบโตของพืช เนื่ องจากเป็ นองค์ประกอบในผนังเซลล์ และ โครงสร้ างทางสรี รวิทยาของพืช รวมทังสะสมในผนั ้ งเซลล์ของเนือ้ เยื่อชันผิ ้ ว มีลกั ษณะเป็ นชันบางๆ ้ เรี ยกว่าชันซิ ้ ลิกา (silica layer) ทาให้ ใบพืชมีความแข็งแรง (Epstein and Bloom, 2005) และช่วยในการเพิ่มพื ้นที่ของใบพืชและความหนาของใบมาก ขึ ้น จึงมีผลต่อประสิทธิภาพการสังเคราะห์แสงของใบ (Gang et al., 2003) และจากการศึกษาพบว่า ซิลิคอนมีบทบาทเพิ่มการ เจริ ญเติบโต การกระตุ้นการสังเคราะห์แสง การเพิ่มประสิทธิภาพความแข็งแรงของเนื ้อเยื่อ และลดลงของอัตราการคายน ้าพืช การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

650


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

(Ma and Takahashi 2002) รวมทังการใส่ ้ โพแทสเซียมซิลิเกตอัตรา 120 มิลลิกรัมซิลิคอน/ดิน 1 กิโลกรัม สามารถทาให้ แตงกวาสามารถลดการคายน ้าได้ Ma (2004) กล่าวว่า การคายน ้าลดลงจึงมีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืชที่เพิ่มขึ ้น จึงส่งเสริ ม ให้ กล้ ามะเขือเทศมีการเจริ ญเติบโตที่ดี เมื่อเปรี ยบเทียบกันทัง้ 2 การทดลองจะเห็นได้ ว่าการทดลองที่ 1 ให้ ค่าความสูง ความ ยาวราก น ้าหนักสดน ้าหนักแห้ ง และปริ มาณซิลิคอน สูงกว่าการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินเพราะการให้ ทางใบพืชการรับธาตุ อาหารทังทางใบและทางดิ ้ นโดยตรง ส่วนการใส่ทางดินปุ๋ ยเกิดการละลายและปลดปล่อยช้ า จึงทาให้ ทางใบเห็นผลได้ ดีกว่า

สรุ ป เมล็ดพันธุ์มะเขือเทศที่ผ่านการเคลือบด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกต ร่ วมกับการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบทุกวัน จัด เป็ น ปริ ม าณที่มีค วามเหมาะสมต่อ การผลิต กล้ า มะเขือ เทศ ในขณะที่เ มล็ด พัน ธุ์ ม ะเขือ เทศที่ผ่า นการเคลือบด้ ว ย สารละลายแคลเซียมซิลิเกต ร่ วมกับการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางวัสดุปลูก 10 กิโลกรัม/ไร่ เป็ นปริ มาณที่เหมาะสมต่อการผลิต กล้ ามะเขือเทศ

กิตติกรรมประกาศ ข อ ข อ บ พ ร ะ คุ ณ โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า วิ ช า ก า ร ร ะ ห ว่ า ง ภ า ค วิ ช า ป ฐ พี วิ ท ย า ค ณ ะ เ ก ษ ต ร ก า แ พ ง แ ส น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และบริษัทเจียไต๋ จากัด ที่สนับสนุนทุนวิจยั

เอกสารอ้ างอิง กรมส่งเสริ มการเกษตร.2557.ข้ อมูลการเกษตร,ระบบสารสนเทศการผลิตทางด้ านการเกษตร.แหล่งที่มา:http://production.doae.go.th/, มกราคม พ.ศ. 2557 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557. กรมศุลกากร. 2556. สถิติการนาเข้ า-ส่งออก. แหล่งที่มา: http://www.customs.go.th/Statistic/ Statisticindex.jsp, 24 มีนาคม 2556 กุลินดา แท่นจันทร์ , ศุภชัย อาคา, ธงชัย มาลา และ พรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง. 2556. ผลของแคลเซียมซิลิเกตที่มีต่อการกระตุ้นความงอกของ เมล็ดพันธุ์และการผลิตกล้ าพริ กหวาน. การประชุมวิชาการแห่งชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ครัง้ ที่ 10. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม. 2341-2351.จงรักษ์ จันทร์ เจริ ญสุข. 2541. การวิเคราะห์ดินและ พืชทางเคมี. ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพฯ. บุญมี ศิริ.2546.วิทยาการเมล็ดพันธุ์.ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. พงศกร นิตย์มี, พรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง, ศุภชัย อาคา และ ธงชัย มาลา. 2558. ผลของการเคลือบเมล็ดด้ วยแคลเซียมซิลิเกตและการให้ ทางดินต่อ การเจริ ญเติบโตของต้ นกล้ าข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์. แก่นเกษตร 43 ฉบับพิเศษ 1:76-82 ภาณี ทองพานัก, วุฒิชยั ทองดอนแอ, ประภาส ประเสริ ฐสูงเนิน,กนิษฐา,สังคะหะ และญาณี มัน่ อ้ น. 2540. การเคลือบและการพอกเมล็ดพันธุ์พืช และการใช้ ประโยชน์.รายงานผลวิจยั ประจาปี 2540.ฝ่ ายปฏิบตั ิการวิจยั และเรื อนปลูกพืชทดลองสถาบันวิจยั และพัฒนาแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน. 38 หน้ า. ยุพา ขันคา. 2549. บทบาทซิลิคอนและแคลเซียมต่อการผลิตสตรอเบอรี่ . วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยแม่โจ้ . สมาคมการค้ าเมล็ดพันธุ์ไทย.2557.ปริ มาณและมูลค่าการส่งออกเมล็ดพันธุ์ควบคุมประจาปี 2557.แหล่งข้ อมู http://www.oae.go.th/download/FactorOfProduct/ValueExportSeed47-52.html ค้ นเมื่อ 14 พฤษภาคม 2558. Asano, T.,Maeda, M. and Takaki,M. .1996. Wastewater reclamation and reuse in Japan: Overview and implementation. Water, Science and Technology, 34(11): 219-226. Dhillon, N.P.S. 1995. Seed priming of male sterile muskmelon (Cucurmis melo L.) Seed Sci. & Technol. 23: 881-884. Epstein, E. and A.J. Bloom. 2005. Mineral nutrition of plants: principles and perspectives. 2nd ed. Sunderland (MA): Sinauer Associates, Sunderland, MA. Gong, H., K. Chen, G. Chen, S. Wang, and C. Zhang. 2003. Effects of silicon on growth of wheat under drought. J. Plant Nutr. 26:1055–1063. Hanson, J.B.1984. The function of calcium in plant nutrition. In Advances in Plant Nutrition (P.B. Tinker and A. Louchlieds.) Praeger Publishers. New York. International Seed Testing Association (ISTA), 2013. Hao, X. and A. P. Papadopoulos. 2004. Effects of calcium and magnesium on plant growth, biomass partitioning and fruit yield of winter greenhouse tomato. Hort Science 39 (3):512-515. Hirschi, K.D. 2004. The calcium conundrum. Both versatile nutrient and specific signal. Plant Physiology 136: 2438-2442. Ma, J. F. and E. Takahashi. 2002. Soil, fertilizer and plant silicon research in Japan, Elsevier Science, Amster¬dam, The Netherlands. Marschner, H. 1995. Mineral Nutrition of Higher Plants. 2nd ed. Academic Press, New York. pp. 405-435.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

651


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Synder, G.H., V.V. Matichenkov and L.E. Datnoff. 2007. Silicon. In Handbook of Plant Nutrition. (A.V. Barker and D.J. Pilbleam eds.), CRC Press, Tayor and Francis Group, New York. Wertz, S.L., K. Gabrielson, J. Wright, P. Baxter, J. Knight and C.R. Davis. 2005. Slow release nitrogen seed coat. pp. 1-7. U.S. Patent 6,936,681 B1. August 30, 2005.

652

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับวิธีการให้ ป๋ ุยด้ วยแคลเซียมซิลิเกต ต่ อการผลิตกล้ าผักกาดหัว Effects of Seed Coating with Fertilizer Application Methods by Calcium Silicate On Radish Seedling Production รังสินี ประเสริฐวัฒนะ1, ศุภชัย อาคา1,* ธงชัย มาลา1และ พรไพรินทร์ รุ่ งเจริญทอง2 Rungsinee Prasertwattana1, Suphachai Amkha1,* Thongchai Mala1and Pornpairin Rungcharoenthong2

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของการเคลือบเมล็ดพันธุ์กบั วิธีการให้ ปยด้ ุ๋ วยแคลเซียมซิลิเกตต่อการผลิตกล้ าผักกาดหัว มี 2 การ ทดลอง ได้ แก่1) ผลของการใช้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์และการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางใบ วางแผนการ ทดลองแบบ 2x6 Factorial in Completely Randomized Design (CRD) ประกอบด้ วย ปั จจัยที่ 1 การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ คือ การเคลือบเมล็ดพันธุ์และไม่เคลือบเมล็ดด้ วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต และปั จจัยที่ 2 ระยะเวลาการให้ แคลเซียมซิลิเกตที่ความ เข้ มข้ น 2กรัม/ลิตร คือ ไม่ให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกต, 1, 2, 3, 5 และ 7 วันต่อครัง้ ผลการทดลองพบว่า การเคลือบเมล็ดพันธุ์ ร่วมกับการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตอย่างน้ อยทุก 7 วันต่อครัง้ ส่งเสริมให้ กล้ าผักกาดหัวมีการเจริ ญเติบโตดี และ2) ผลของการใช้ ปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์และการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางดิน วางแผนการทดลองแบบ 2x6 Factorial in CRD ประกอบด้ วย ปั จจัยที่ 1 การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ คือ การเคลือบเมล็ดพันธุ์และไม่เคลือบเมล็ดด้ วยปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต และ ปั จจัยที่ 2 อัตราการใส่ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางดิน คือ 0, 5, 10, 15, 20 และ 25 กิโลกรัม/ไร่ ผลการทดลองพบว่า การเคลือบ เมล็ดพันธุ์ร่วมกับการให้ ปุ๋ยแคลเซียมซิลิเกตอัตรา 5 กิโลกรัม/ไร่ ส่งเสริ มให้ กล้ าผักกาดหัวมีการเจริ ญเติบโตดี ดังนัน้ ปุ๋ ย แคลเซียมซิลิเกตสามารถประยุกต์ใช้ ร่วมกับการผลิตกล้ าผักกาดหัวทังการให้ ้ ทางใบและทางดิน คาสาคัญ: เคลือบเมล็ดพันธุ์, แคลเซียมซิลิเกต, ผักกาดหัว

Abstract The studies of calcium silicate fertilizer utilization by foliar and soil drench method was radish seedling production and into two experiments. The 1st experiment was effects of seed coating by calcium silicate and foliar application of calcium silicate. The experiment was using 2x6 factorial in CRD, as consists of factor A (seed coating and non-seed coating by calcium silicate) and factor B (time application of calcium silicate at 0, 1, 2, 3, 5 and 7 day/time). The results that seed coating by calcium silicate fertilizer with less than 7 day/time by foliar method of calcium silicate application enhanced the good of plant growth seedling. The 2nd experiment was effects of seed coating by calcium silicate and soil drench application of calcium silicate. The experiment was using 2x6 factorial in CRD, as consists of factor A (seed coating and non-seed coating by calcium silicate) and factor B (calcium silicate application at 0, 5, 10, 15, 20 and 25 kg/rai). The results that seed coating by calcium silicate fertilizer with calcium silicate application at 5-10 kg/rai enhanced the good of plant growth. Then, calcium silicate fertilizer can use for radish seedling production both of foliar and soil drench application methods. Keywords: seed coating, calcium silicate, radish

1

ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 Department of Soil Science, Faculty of Agriculture at KamphaengSaen, Kasetsart University, KamphaengSaen Campus, Nakhonpathom, 73140 2 ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จ.นครปฐม 73140 2 Department of Botany, Faculty of Liberal Arts and Science, Kasetsart University, KamphaengSaen Campus, Nakhonpathom, 73140 *Corresponding author: agrscak@ku.ac.th 1

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

653


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา (Introduction) ผักกาดหัว (Raphanus sativus L.) เป็ นพืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ ในประเทศไทยมีพื ้นที่ปลูกผักกาดหัว ประมาณ 18,276 ไร่ ผลิตผักกาดหัวเฉลี่ย 3.2 ตัน/ไร่ (กรมส่งเสริ มการเกษตร, 2549) มีการนาเข้ าเมล็ดผักกาดหัว 91.59 ตัน มูลค่าประมาณ 20.59 ล้ านบาท (กรมวิชาการเกษตร, 2558) วิธีปลูกปลูกที่นิยมในปั จจุบนั นี ้ คือ การโรยเป็ นแถว และ การ หยอดเมล็ด ซึง่ การปลูกผักกาดหัวทังสองแบบนี ้ ้ จะต้ องทาการถอนแยก เมื่อต้ นกล้ าผักกาดหัวมีอายุ 7–10 วันหลังปลูกหรื อต้ น กล้ าเริ่ มงอกมีใบจริ ง 2–3 ใบ จึงทาให้ ต้องใช้ เมล็ดพันธุ์มาก และสิ ้นเปลืองเมล็ดพันธุ์รวมทังอาจส่ ้ งผลให้ ต้นทุนการผลิตสูง อย่างไรก็ตามหากเพาะกล้ าที่แข็งแรง แล้ วย้ ายปลูกก็จะสามารถทาให้ ประหยัดค่าเมล็ดพันธุ์ไปได้ ดังนันควรหาวิ ้ ธีการผลิตกล้ า ผักกาดหัวที่มีความแข็งแรง สามารถทนต่อสภาพแวดล้ อมที่ไม่เหมาะสม ซิลิคอน (Si) เป็ นธาตุเสริ มประโยชน์( Beneficial mineral elements) ซึง่ ช่วยกระตุ้น (stimulate) การเจริ ญเติบโตของพืช เนื่องจากเป็ นองค์ประกอบในผนังเซลล์ และโครงสร้ าง ทางสรี รวิทยาของพืช ช่วยลดการบรรเทาความเครี ยดจากปั จจัยชีวนะ (biotic stress) และปั จจัยอชีวนะ (abiotic stress) และ ผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืช เช่น การพัฒนาของราก องค์ประกอบในผนังเซลล์ โดยกรดโมโนซิลิซิก (H4SiO4) ที่รากพืชดูดได้ จะเคลื่อนยายทางไซเล็ มไปยังส่วนเหนือดิน สะสมในผนังเซลล์ของเนือ้ เยื่อชัน้ ผิว มีลกั ษณะเป็ นชัน้ บางๆ เรี ยกว่าชัน้ ซิลิกา (silica layer) ทาให้ ใบพืชมีความแข็งแรง (Epstein and Bloom, 2005) และธาตุซิลิคอนมีบทบาทช่วยในการเพิ่มพื ้นที่ของใบ พืชและความหนาของใบมากขึ ้นจึงมีผลต่อประสิทธิภาพการสังเคราะห์แสงและลดความเสื่อมสภาพของใบ (Gong et al., 2003) รวมทังสุ ้ รชัยและคณะ (2558) พบว่าการใส่ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางวัสดุปลูกทางระบบรากในปริ มาณ 8 กิโลกรัม/ไร่ ส่งเสริมการเจริญเติบโตดี และสะสมซิลคิ อนในกล้ าเมล่อน ขณะที่พงศกรและคณะ (2558) พบว่าการเคลือบเมล็ดพันธุ์ข้าวโพด เลี ้ยงสัตว์ด้วยสารละลาย Ca2SiO4 ความเข้ มข้ น 2 กรัม/ลิตร ร่วมกับการให้ Ca2SiO4ทางดิน ที่อตั รา 5-10 กิโลกรัม/ไร่ ส่งผลให้ น ้าหนักแห้ งและความสูงต้ นของต้ นกล้ าข้ าวโพดสูงที่สดุ อย่างไรก็ตามการปลูกผักกาดหัวเกิดการสูญเสียซิลิคอนโดยติดไปกับ ผลผลิตประมาณ 11 กก./ไร่ ด้ วย ดังนันจึ ้ งเล็งเห็นประโยชน์ของปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกต ซึง่ ปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกตจะประกอบไปด้ วย แคลเซียม ซิลิคอน และ แมกนีเซียม รวมทังแคลเซี ้ ยม (Ca) เป็ นธาตุที่มีบทบาทสาคัญในกระบวนการแบ่งเซลล์ของพืช มีสว่ น เกี่ยวข้ องกับการสร้ างเส้ นใยไมโทซิสและเป็ นองค์ ประกอบของแคลเซียมเพกเตทในมิดเดิลลาเมลลาของเซลล์เพลทในช่วงของ การแบ่งเซลล์ ทาให้ เยื่อหุ้มเซลล์มีความแข็งแรง ดังนันการทดลองนี ้ ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ และวิธีการให้ ปยุ๋ แคลเซียมซิลิเกตที่เหมาะสมต่อการผลิตกล้ าผักกาดหัว

อุปกรณ์ และวิธีการ (Materials and Methods) การทดลองนี ้แบ่งออกเป็ น 2 การทดลอง คือ 1) ผลของการใช้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์และการให้ ปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกตทางใบ โดยวางแผนการทดลองแบบ 2x6 Factorial in CRD จานวน 4 ซ ้า และประกอบด้ วย 2 ปั จจัย ได้ แก่ ปั จจัยแรกคือการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ ได้ แก่เมล็ดผักกาดหัวที่ไม่เคลือบและเคลือบด้ วยสารละลายแคลเซียม และปั จจัยที่สองคือ ระยะเวลาการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบ 6 ช่วงเวลา ได้ แก่ ไม่ให้ สารละลายแคลเซียมซิลิเกตทางใบ, ให้ สารละลายแคลเซียมซิ ลิเกตทางใบ 1, 2, 3, 5 และ 7 วันต่อครัง้ และ 2) ผลของการใช้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์และการให้ ปยุ๋ แคลเซียมซิลิเกตทางดิน โดยวางแผนการทดลองแบบ 2x6 Factorial in CRD จานวน 4 ซ ้า และประกอบด้ วย 2 ปั จจัย ได้ แก่ ปั จจัยแรกคือการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ ได้ แก่เมล็ดผักกาดหัวที่ไม่เคลือบและเคลือบด้ วยสารละลายแคลเซียม และปั จจัยที่สองคือ การให้ แคลเซียมซิลิเกตทางวัสดุปลูก 6 อัตรา ได้ แก่ 0, 5, 10, 15, 20 และ 25 กิโลกรัมต่อไร่ นาเมล็ดพันธุ์ผกั กาดหัวมาเคลือบด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกตที่ความเข้ มข้ น 2 กรัมต่อลิตร และเมล็ดพันธุ์ ผักกาดหัวที่ไม่เคลือบด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกต มาเพาะในถาดเพาะที่ใช้ พีทเป็ นวัสดุปลูก โดยใช้ พีทปริ มาตร 4 ลิตร หรื อประมาณ 1.5 กิโลกรัม ใส่ในถาดเพาะ 72 หลุม ขนาด 28x54 เซนติเมตร โดยหยอด 1 เมล็ดต่อหลุมในถาดเพาะในโรงเรื อน และให้ น ้าตามความต้ องการของพืช การให้ ปุ๋ยแคลเซียมซิลิเกตทางใบ ทาการฉี ดพ่นด้ วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกตทางใบตามระยะเวลาการให้ แคลเซียมซิลิเกตในแต่ละตารับการทดลองคือ การไม่ให้ สารละลายแคลเซียมซิลิเกตทางใบ, ให้ สารละลายแคลเซียมซิลิเกตทาง ใบ 1, 2, 3, 5 และ 7 วันต่อครัง้ เมื่อต้ นกล้ าอายุ 14 วันหลังเพาะเมล็ดร่วมกับให้ ปยสู ุ๋ ตรเสมอ 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ทุกตารับการทดลอง และการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางวัสดุปลูก โดยผสมแคลเซียมซิลิเกตกับวัสดุปลูก (พีท) เริ่ มต้ นก่อนการ เพาะเมล็ดในอัตราที่แตกต่างกันในแต่ละตารับการทดลอง คือ 0, 5, 10, 15, 20 และ 25 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อกล้ าอายุ 14 วันหลัง เพาะเมล็ดให้ ปยสู ุ๋ ตรเสมอ 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ทกุ ตารับการทดลอง 654

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เมื่อต้ นกล้ าอายุ 28 วันหลังเพาะเมล็ด ทาการบันทึกเก็บข้ อมูลดังนี ้คือ ความสูงต้ น ความยาวราก น ้าหนักสดน ้าหนัก แห้ งต้ น โดยนาตัวอย่างพืชส่วนต้ นไปรอบแห้ งที่อณ ุ หภูมิ 70 °C ระยะเวลา 48 ชัว่ โมง หรื อจนกว่าตัวอย่างพืชแห้ ง แล้ วจึงนา ตัวอย่างมาชัง่ น ้าหนักแห้ ง และปริ มาณธาตุซิลิคอน(Si)ในต้ นพืช โดยนาตัวอย่างพืชส่วนต้ นไปอบแห้ งที่อณ ุ หภูมิ 70 °C เป็ น ระยะเวลา 48 ชัว่ โมง หรื อจนกว่าตัวอย่างพืชแห้ ง แล้ วบดตัวอย่างพืชให้ ละเอียด แล้ นาไปวิเคราะห์หาปริ มาณซิลิคอนทังหมด ้ ในพืช ข้ อมูลที่ได้ จากการทดลองนามาวิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ (analysis of variance) ด้ วยโปรแกรม R เพื่อหาค่า F-test หากข้ อมูลแสดงความแตกต่างที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 และ 99 เปอร์ เซ็นต์ นามาเปรี ยบเทียบหาความแตกต่างโดยใช้ DMRT (Duncan’s Multiple Range Test )

ผลการทดลองและวิจารณ์ (Results and Discussion) 1.ผลของการใช้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตในการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์และการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางใบต่อการเจริ ญเติบโตของกล้ า ผักกาดหัว 1.1ความสูงของกล้ า การเคลือบเมล็ดหรื อไม่เคลือบเมล็ด ด้ วยแคลเซียมซิลิเกตไม่มีผลให้ ความสูงของต้ นกล้ าผักกาดหัวมีนยั สาคัญทาง สถิติ (Table1) ส่วนการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบพบว่า ความสูงของต้ นกล้ ามีความแตกต่างกันทางสถิติโดยการให้ แคลเซียม ซิลิเกตทางใบ 1, 2, 3 และ 5 วันต่อครัง้ ให้ ความสูงของต้ นกล้ าผักกาดหัวที่ดี และเมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการเตรี ยม เมล็ดพันธุ์และการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบ พบว่า มีปฏิสมั พันธ์ กัน โดยเมล็ดที่เคลือบด้ วยแคลเซียมซิลิเกตร่ วมกับทุกช่วง ระยะเวลาการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบส่งเสริ มให้ ต้นกล้ าผักกาดหัวมีความสูงมากกว่าเมล็ดที่ไม่เคลือบด้ วยแคลเซียมร่วมกับ ระยะเวลาการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

655


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table1 Height (cm/plant) of Chinese Radish seedling treated with calcium silicate fertilizer. preparation of seeds (A) Factors non-coating coating Application times (B) Non-Ca2SiO4 1.50 c 1.54 c 1 day/time 1.71 ab 2.04 a 2 days/time 1.76 ab 1.90 a 3 days/time 1.80 abc 1.83 ab 5 days/time 1.69 b 1.86 ab 7 days/time 1.49 c 1.82 ab Average (A) 1.65 Y 1.83 X F-test A ns B ** A×B * CV. (%) 10.84

Average (B) 1.52 1.87 1.83 1.82 1.76 1.50

C A AB AB AB C

**: significantly different at P≤0.01, *: significantly different at P≤0.05 **Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.01 * Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.05

1.2 ความยาวรากของกล้ า การเคลือบเมล็ด หรื อไม่เคลือบเมล็ด ด้ วยแคลเซียมซิลิเกตไม่มีผลให้ ความยาวรากของต้ นกล้ าผักกาดหัว มีความ แตกต่างกันทางสถิติ (Table 2) ส่วนการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบพบว่า ความยาวของรากกล้ าผักกาดหัวมีความแตกต่า งกัน ทางสถิติ โดยการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบ 1, 2, 3 และ 5 วันต่อครัง้ ให้ ความยาวรากของกล้ าผักกาดหัวยาวที่สดุ และเมื่อ พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์และการให้ แคลเซียมซิลเิ กตทางใบ พบว่า ไม่มีปฏิสมั พันธ์กนั

656

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Root length (cm/plant) of Chinese Radish seedling treated with calcium silicate fertilizer. preparation of seeds (A) Factors Average (B) non-coating coating Application times (B) Non-Ca2SiO4 5.34 6.73 6.04 C 1 day/time 10.29 11.64 10.97 A 2 days/time 10.18 11.03 10.61 A 3 days/time 9.99 10.95 10.47 A 5 days/time 9.26 10.74 10.00 B 7 days/time 8.76 9.45 9.11 B Average (A) 8.97 10.09 F-test A ns B ** A×B ns CV. (%) 19.44 **: significantly different at P≤0.01 **Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.01

1.3 น ้าหนักสดของกล้ า การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ส่งผลให้ น ้าหนักสดของกล้ าผักกาดหัวมีความแตกต่างกันทางสถิติโดยวิธีการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ ด้ วยการเคลือบเมล็ดด้ วยแคลเซียมซิลิเกตส่งผลให้ น ้าหนักสดของกล้ าผักกาดหัวมากกว่าเมล็ดที่ไม่เคลือบด้ วยแคลเซียมซิลิเกต (Table 3) เช่นเดียวกันระยะเวลาการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบก็สง่ ผลให้ น ้าหนักสดของกล้ ามีความแตกต่างกันทางสถิติ โดย การให้ แคลเซียมซิลิเกต 1, 2 หรื อ 3 วันต่อครัง้ ให้ น ้าหนักสดของกล้ าสูงที่สุด และเมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ ระหว่างการ เตรี ยมเมล็ดพันธุ์ร่วมกับการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบพบว่า มีปฏิสมั พันธ์ กนั คือเมล็ดที่เคลือบด้ วยแคลเซียมซิลิเกตร่วมกับทุก ช่วงระยะเวลาการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบส่งเสริ ม ให้ ต้นกล้ าผักกาดหัวมีน ้าหนักสดของกล้ ามากกว่าเมล็ดที่ไม่เคลือบด้ วย แคลเซียมร่วมกับระยะเวลาการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

657


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Fresh weight (g/plant) of Chinese Radish seedling treated with calcium silicate fertilizer. preparation of seeds (A) Factors Average (B) non-coating coating Application times (B) Non-Ca2SiO4 10.06 b 16.09 a 13.08 B 1 day/time 18.99 a 22.27 a 20.63 A 2 days/time 17.92 a 21.94 a 19.93 A 3 days/time 16.64 a 20.22 a 18.43 A 5 days/time 12.46 b 19.45 a 15.96 B 7 days/time 10.96 b 17.23 a 14.10 B Average (A) 14.50 Y 19.53 X F-test A ** B ** A×B * CV. (%) 23.75 **: significantly different at P≤0.01, *: significantly different at P≤0.05 **Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.01 * Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.05

1.4 น ้าหนักแห้ งของกล้ า การเคลือบเมล็ด หรื อไม่เ คลือบเมล็ด ด้ วยแคลเซี ยมซิลิเกตไม่มีผ ลให้ น า้ หนัก แห้ ง ของต้ นกล้ าผักกาดหัว มี ความ แตกต่างกันทางสถิติ (Table 4) ส่วนการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบพบว่า น ้าแห้ งของกล้ าผักกาดหัวมีความแตกต่างกันทาง สถิติ โดยการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบ 1 และ 2 วันต่อครัง้ ให้ น ้าหนักแห้ งของกล้ าผักกาดหัวมากที่สดุ และเมื่อพิจารณา ความสัมพันธ์ระหว่างการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์และการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบ พบว่า ไม่มีปฏิสมั พันธ์กนั 1.5 ปริมาณซิลคิ อน (Si) ในต้ นกล้ า การเคลือบเมล็ด หรื อไม่เคลือบเมล็ด ด้ วยแคลเซียมซิลิเกตไม่มีผลให้ นา้ หนักแห้ ง ของต้ นกล้ าผักกาดหัว มี ความแตกต่างกันทางสถิติ (Table 5) เช่นเดียวกันกับการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบ และเมื่ อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการ เตรี ยมเมล็ดพันธุ์และการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางใบพบว่าไม่มีปฏิสมั พันธ์กนั

658

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 4 Dry weight (g/plant) of Chinese Radish seedling treated with calcium silicate fertilizer. preparation of seeds (A) Factors non-coating coating Application times (B) Non-Ca2SiO4 2.23 2.98 1 day/time 3.30 3.45 2 days/time 3.43 3.24 3 days/time 3.02 3.07 5 days/time 3.00 3.04 7 days/time 2.55 2.79 Average (A) 2.92 3.10 F-test A ns B * A×B ns CV. (%) 11.73

Average (B) 2.61 3.38 3.34 3.05 3.02 2.67

C A A B B C

**: significantly different at P≤0.01, *: significantly different at P≤0.05 **Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.01 * Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.05

ดังนัน้ จะเห็นได้ ว่าการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์โดยวิธีการเคลือบเมล็ดพันธุ์ ด้วยสารละลายแคลเซียมซิลิเกตที่ระดับความ เข้ มข้ น 2 กรัม/ลิตร หรื อ การให้ แคลเซียมซิลิเกตฉีดพ่นทางใบ 1, 2, 3 และ 5 วันต่อครัง้ หรื อ วิธีการเคลือบเมล็ดพันธุ์ด้วย สารละลายแคลเซียมซิลิเกตที่ระดับความเข้ มข้ น 2 กรัม/ลิตร ร่วมกับการให้ แคลเซียมซิลิเกตฉีดพ่นทางใบ1, 2, 3, 5 และ 7 วัน ต่อครัง้ ส่งเสริ มให้ กล้ าผักกาดหัวมี ความสูง และนา้ หนักสดของต้ นกล้ าผักกาดหัวที่ดี ทัง้ นีอ้ าจเนื่องมาจากซิลิคอน ซึ่งช่วย กระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจากเป็ นองค์ประกอบในผนังเซลล์ และโครงสร้ างทางสรี รวิทยาของพืช รวมทังสะสมในผนั ้ ง เซลล์ของเนื ้อเยื่อชันผิ ้ ว มีลกั ษณะเป็ นชันบางๆ ้ เรี ยกว่าชันซิ ้ ลิกา (silica layer) ทาให้ ใบพืชมีความแข็งแรง (Epstein and Bloom, 2005) และช่วยในการเพิ่มพื ้นที่ของใบพืชและความหนาของใบมากขึ ้น จึงมีผลต่อประสิทธิภาพการสังเคราะห์แสงของ ใบ (Gang et al., 2003) และการเพิ่มประสิทธิภาพความแข็งแรงของเนื ้อเยื่อพืช (Ma and Takahashi, 2002) จึงส่งเสริ มให้ กล้ าผักกาดหัวมีการเจริญเติบโตที่ดี

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

659


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 5 Total silicon (%Si/plant) of Chinese Radish seedling treated with calcium silicate fertilizer. preparation of seeds (A) Factors non-coating coating Application times (B) Non-Ca2SiO4 0.326 0.333 1 day/time 0.301 0.245 2 days/time 0.273 0.254 3 days/time 0.252 0.255 5 days/time 0.245 0.279 7 days/time 0.300 0.280 Average (A) 0.283 0.274 A ns B ns A×B ns %cv 18.19

Average (B) 0.329 0.273 0.264 0.254 0.262 0.290

2.ผลของการใช้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตในการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์และการให้ ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิเกตทางดินต่อการเจริ ญเติบโตของกล้ า ผักกาดหัว 2.1ความสูงของกล้ า การเคลือบเมล็ดหรื อไม่เคลือบเมล็ดด้ วยแคลเซียมซิลิเกตไม่มีผลให้ ความสูงของต้ นกล้ าผักกาดหัวมีความแตกต่างกัน ทางสถิติ (Table 5) ส่วนการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินพบว่า ความสูงของกล้ าผักกาดหัวมีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยการ ให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินในอัตรา 5, 10 และ 15 กิโลกรัม/ไร่ ให้ ความสูงของกล้ าผักกาดหัวมากที่สดุ รองลงมาคือ 20 และ 25 กิโลกรัม/ไร่ และการไม่ให้ แคลเซียมซิลิเกต และเมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์และการให้ แคลเซียมซิลิ เกตทางดิน พบว่าไม่มีปฏิสมั พันธ์กนั

660

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 6 Height (cm/plant) of Chinese Radish seedling treated with calcium silicate fertilizer. Factors preparation of seeds (A) non-coating coating Application rate (B) Ca2SiO4 0 kg/rai 1.24 1.36 Ca2SiO4 5 kg/rai 1.50 1.59 Ca2SiO4 10 kg/rai 1.51 1.56 Ca2SiO4 15 kg/rai 1.46 1.54 Ca2SiO4 20 kg/rai 1.38 1.39 Ca2SiO4 25 kg/rai 1.28 1.36 Average (A) 1.40 1.47 F-test A ns B ** A×B ns CV. (%) 7.96

Average (B)

1.30 1.55 1.54 1.50 1.39 1.32

B A A A B B

**: significantly different at P≤0.01 **Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.01

2.2 ความยาวรากของกล้ า การเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ส่งผลให้ ความยาวรากของกล้ าผักกาดหัวมีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยวิธีการเตรี ยมเมล็ด พันธุ์ ด้วยการเคลือบเมล็ด ด้ วยแคลเซี ยมซิลิเกตส่งผลให้ ความยาวรากของกล้ าผักกาดหัวมากกว่าเมล็ดที่ ไ ม่เคลือบด้ วย แคลเซียมซิลิเกต (Table 6) เช่นเดียวกันกับอัตราการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินก็ส่งผลให้ ความยาวรากของกล้ ามีความ แตกต่างกันทางสถิติ โดยการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินให้ ความยากรากมากกว่าการไม่ให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดิน อย่างไรก็ ตามพบว่าการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินในอัตราที่แตกต่างกันไม่สง่ ผลให้ ความยาวรากของต้ นกล่าผักกาดหัวมีความแตกต่าง กันทางสถิติ เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ร่วมกับการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดิน พบว่ามีปฏิสมั พันธ์ กัน กล่าวคือเมล็ดพันธุ์ที่เคลือบด้ วยแคลเซียมซิลิเกตร่ วมกับการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินในอัตรา 5 และ 10 กิโลกรัม/ไร่ ส่งเสริมให้ ความยาวของรากของต้ นกล้ าผักกาดหัวมีความยาวรากของกล้ าผักกาดหัวยาวดี

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

661


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 7 Root length (cm/plant) of Chinese Radish seedling treated with calcium silicate fertilizer. preparation of seeds (A) Factors Average (B) non-coating coating Application rates (B) Ca2SiO4 0 kg/rai 9.98 c 10.40 b 10.19 B Ca2SiO4 5 kg/rai 10.49 b 13.16 a 11.83 A Ca2SiO4 10 kg/rai 10.64 b 13.35 a 12.00 A Ca2SiO4 15 kg/rai 11.50 ab 11.83 ab 11.67 A Ca2SiO4 20 kg/rai 11.40 ab 11.46 ab 11.43 A Ca2SiO4 25 kg/rai 11.33 ab 11.34 ab 11.34 A Average (A) 10.89 Y 11.92 X F-test A ** B * A×B * CV. (%) 8.99 **: significantly different at P≤0.01, *: significantly different at P≤0.05 **Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.01 * Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.05

2.3 น ้าหนักสดของกล้ า การเคลือบเมล็ดหรื อไม่เคลือบเมล็ดด้ วยแคลเซียมซิลิเกตไม่มีผลให้ น ้าหนักสดของต้ นกล้ าผักกาดหัวมีความแตกต่าง กันทางสถิติ (Table 7) ส่วนการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินพบว่า น ้าหนักสดของกล้ าผักกาดหัวมีความแตกต่างกันทางสถิติ โดยการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินในอัตรา 10 และ 15 กิโลกรัม/ไร่ ให้ น ้าหนักสดของกล้ าผักกาดหัวมากที่สดุ รองลงมาคือ 5, 20 และ 25 กิโลกรัม/ไร่ และการไม่ให้ แคลเซียมซิลิเกต และเมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์และการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดิน พบว่าไม่มีปฏิสมั พันธ์กนั

662

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 8 Fresh weight (g/plant) of Chinese Radish seedling treated with calcium silicate fertilizer. preparation of seeds (A) Factors non-coating coating Application rates (B) Ca2SiO4 0 kg/rai 5.53 6.16 Ca2SiO4 5 kg/rai 9.27 9.39 Ca2SiO4 10 kg/rai 10.22 12.03 Ca2SiO4 15 kg/rai 9.08 11.59 Ca2SiO4 20 kg/rai 9.06 9.15 Ca2SiO4 25 kg/rai 8.80 8.90 Average (A) 8.66 9.54 F-test A ns B ** A×B ns CV. (%) 21.21

Average (B) 5.85 9.33 11.13 10.34 9.11 8.85

D B A AB B C

**: significantly different at P≤0.01 **Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.01

2.4 น ้าหนักแห้ งของกล้ า การเคลือบเมล็ด หรื อไม่เ คลือบเมล็ด ด้ วยแคลเซี ยมซิลิเกตไม่มีผ ลให้ น า้ หนัก แห้ ง ของต้ นกล้ าผักกาดหัว มี ความ แตกต่างกันทางสถิติ (Table 8) ส่วนการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินพบว่า น ้าหนักแห้ งของกล้ าผักกาดหัวมีความแตกต่างกัน ทางสถิติ โดยการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินในอัตรา 10 และ 15 กิโลกรัม/ไร่ ให้ น ้าหนักสดของกล้ าผักกาดหัวมากที่สดุ รองลงมาคือ 5, 20 และ 25 กิโลกรัม/ไร่ และการไม่ให้ แคลเซียมซิลิเกต และเมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการเตรี ยมเมล็ด พันธุ์และการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดิน พบว่าไม่มีปฏิสมั พันธ์กนั 2.5 ปริมาณซิลคิ อน (Si) ในต้ นกล้ า การเคลือบเมล็ด หรื อไม่เคลือบเมล็ด ด้ วยแคลเซียมซิลิเกตไม่มีผลให้ นา้ หนักแห้ ง ของต้ นกล้ าผักกาดหัว มี ความ แตกต่างกันทางสถิติ (Table 10) ส่วนการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดิน พบว่าปริ มาณซิลิคอนในต้ นกล้ าผักกาดหัวมีความ แตกต่างกันทางสถิติ โดยการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินให้ ปริมาณซิลคิ อนในต้ นกล้ าผักกาดหัวมากกว่าการไม่ให้ แคลเซียมซิลิ เกต และเมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์และการให้ แคลเซียมซิลเิ กตทางดิน พบว่าไม่มีปฏิสมั พันธ์กนั

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

663


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 9 Dry weight (g/plant) of Chinese Radish seedling treated with calcium silicate fertilizer. preparation of seeds (A) Factors non-coating coating Ca2SiO4 concentration (B) Ca2SiO4 0 kg/rai 1.63 1.71 Ca2SiO4 5 kg/rai 1.74 1.81 Ca2SiO4 10 kg/rai 2.14 2.13 Ca2SiO4 15 kg/rai 1.82 2.13 Ca2SiO4 20 kg/rai 1.8 1.93 Ca2SiO4 25 kg/rai 1.32 1.53 Average (A) 1.74 1.87 A ns B ** A×B ns %cv 13.88

Average (B) 1.67 1.78 2.14 1.98 1.87 1.43

BC B A AB AB C

**: significantly different at P≤0.01 **Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.01

ดังนันจะเห็ ้ นได้ ว่าการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินในอัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ด้วยการผสมกับวัสดุปลูก คือ พีท ส่งเสริ ม ให้ กล้ าผักกาดหัวมีการเจริ ญเติบโตที่ดีทงด้ ั ้ านความสูง, ความยาวราก, น ้าหนักสด, น ้าหนักแห้ งและปริ มาณซิลิคอนที่สะสมใน ต้ นกล้ าของผักกาดหัว ทังนี ้ ้เนื่องมาจากในแคลเซียมซิลิเกตมีองค์ประกอบของแคลเซียม ซึง่ เป็ นองค์ประกอบของแคลเซียมเพก เตทในมิดเดิลลาเมลลาของเซลล์เพลทในช่วงของการแบ่งเซลล์ ทาให้ เยื่อหุ้มเซลล์มีความแข็งแรง (Epstein and Bloom, 2005) รวมทังซิ ้ ลิคอนสะสมในผนังเซลล์ของเนื ้อเยื่อชันผิ ้ ว มีลกั ษณะเป็ นชันบางๆ ้ เรี ยกว่าชันซิ ้ ลิกา (silica layer) ทาให้ ใบพืชมีความ แข็งแรง (Epstein and Bloom, 2005) และช่วยในการเพิ่มพื ้นที่ของใบพืชและความหนาของใบมากขึ ้น จึงมีผลต่อประสิทธิภาพ การสังเคราะห์แสงของใบ (Gong et al., 2003) และการเพิ่มประสิทธิภาพความแข็งแรงของเนื ้อเยื่อพืช (Ma and Takahashi, 2002) จึงส่งเสริ มให้ กล้ าผักกาดหัวมีการเจริ ญเติบโตที่ดี ซึง่ สอดคล้ องกับสุรชัยและคณะ (2558) พบว่าการใส่ปยแคลเซี ุ๋ ยมซิลิ เกตทางวัสดุปลูกทางระบบรากในปริ มาณ 8 กิโลกรัม/ไร่ ส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตดี และสะสมซิลิคอนในกล้ าเมล่อน ขณะที่ พงศกรและคณะ (2558) พบว่าการเคลือบเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี ้ยงสัตว์ด้วยสารละลาย Ca2SiO4 ความเข้ มข้ น 2 กรัม/ลิตร ร่วมกับการให้ Ca2SiO4ทางดิน ที่อตั รา 5-10 กิโลกรัม/ไร่ ส่งผลให้ น ้าหนักแห้ งและความสูงต้ นของต้ นกล้ าข้ าวโพดสูง อย่างไรก็ ตามมีข้อสังเกตพบว่าการให้ แคลเซียมซิลิเกตทางดินในอัตราที่สงู ส่งผลให้ การเจริ ญเติบโตของต้ นกล้ าผักกาดหัวลดลง ทังนี ้ ้ อาจจะเนื่องมาจากปริ มาณแคลเซียมที่สงู มากเกินไป ทาให้ สมดุลธาตุอาหารพืชไม่เหมาะสม รวมทังอาจเป็ ้ นเพราะปริ มาณ ซิลิคอนที่สงู มากเกินไปจนเป็ นพิษกับต้ นกล้ าได้

664

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 10 Total silicon (%Si/plant) of Chinese Radish seedling treated with calcium silicate fertilizer. preparation of seeds (A) Factors Average (B) non-coating coating Ca2SiO4concentration (B) Ca2SiO4 0 kg/rai 0.320 0.258 0.289 B Ca2SiO4 5 kg/rai 0.418 0.277 0.348 A Ca2SiO4 10 kg/rai 0.406 0.385 0.396 A Ca2SiO4 15 kg/rai 0.250 0.424 0.337 A Ca2SiO4 20 kg/rai 0.464 0.267 0.366 A Ca2SiO4 25 kg/rai 0.466 0.238 0.352 A Average (A) 0.387 0.308 A ns B * A×B ns %cv 27.82 *: significantly different at P≤0.05 * Variable means within column and row followed by same letter were not significantly different by DMRT at p ≤ 0.05

สรุ ป (Summary) การใช้ แคลเซียมซิลิเกตในการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับการฉีดพ่นทางใบอย่างน้ อยทุก 7 วันต่อครัง้ และการไม่เคลือบ เมล็ดพันธุ์ร่วมกับการฉีดพ่นทางใบอย่างน้ อยทุก 3 วันต่อครัง้ หรื อการการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับการให้ ทางดินอัตรา 5-10 กิโลกรัม/ไร่ และการไม่เคลือบเมล็ดพันธุ์ ร่วมกับการให้ ทางดินอัตรา 15-25 กิโลกรัม/ไร่ ส่งเสริ มให้ กล้ าผักกาดหัวมีการ เจริ ญเติบโตดี ก็สง่ เสริ มให้ กล้ าผักกาดหัวมีการเจริ ญเติบโตดี ดังนันจะเห็ ้ นได้ ว่าแคลเซียมซิลิเกตสามารถนาไปประยุ กต์ใช้ ใน การผลิตกล้ าผักกาดหัวทังการให้ ้ ทางใบและทางดิน

กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) ขอขอบพระคุณโครงการพัฒนาวิชาการระหว่าง ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และบริษัทเจียไต๋ จากัด ที่สนับสนุนทุนวิจยั

เอกสารอ้ างอิง (Literature cited) กรมวิชาการเกษตร. 2558. ปริ มาณและมูลค่าการนาเข้ าเมล็ดพันธุ์ควบคุมเพื่อการค้ า ปี 2553-2557, ฝ่ ายพันธุ์พืช สานักควบคุมพืชและวัสดุเกษตร. แหล่งที่มา:http://www.oae.go.th, 7 พฤษภาคม 2558. กรมส่งเสริ มการเกษตร. 2549. ข้ อมูลการเกษตร, ระบบสารสนเทศการผลิตทางด้ านการเกษตร. แหล่งที่มา: http://production.doae.go.th/, 24 มีนาคม 2550. พงศกร นิตย์มี, พรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง, ศุภชัย อาคา และ ธงชัยมาลา. 2558. ผลของการเคลือบเมล็ดด้ วยแคลเซียมซิลิเกตและการให้ ทางดินต่อ การเจริ ญเติบโตของต้ นกล้ าข้ าวโพดเลี ้ยงสัตว์. แก่นเกษตร 43 (พิเศษ1): 76-82 สุรชัย พิริยวิรุตม์, ศุภชัย อาคา, ธงชัย มาลา และ พรไพริ นทร์ รุ่งเจริ ญทอง. 2558. ผลของปุ๋ ยแคลเซียมซิลิเกตต่อการกระตุ้นการงอกของเมล็ดพันธุ์ และการผลิตกล้ าเมล่อน. แก่นเกษตร 43 (พิเศษ1): 349-353 Epstein, E. and A.J. Bloom. 2005. Mineral nutrition of plants: principles and perspectives. 2nd ed. Sunderland (MA): Sinauer Associates, Sunderland, MA. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

665


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Gong, H., K. Chen, G. Chen, S. Wang, and C. Zhang. 2003. Effects of silicon on growth of wheat under drought. J. Plant Nutr. 26:1055–1063. Ma, J. F. and E. Takahashi. 2002. Soil, fertilizer and plant silicon research in Japan, Elsevier Science, Amsterdam, The Netherlands.

666

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อิทธิพลของการพรางแสงต่ อการเจริญเติบโตและผลผลิตของบัวบก (Centella asiatica (L.) Urb.) ในช่ วงปลายฤดูหนาว Effect of Shading on Growth and Yield of Asiatic Pennywort (Centella asiatica (L.) Urb.) in late Winter. บุษบา บัวคา1 และ รักเกียรติ แสนประเสริฐ2 Budsaba Buakum1 and Rugkeart Sanprasert 2

บทคัดย่ อ บัวบกมักมีราคาตกต่าในช่วงฤดูหนาว การเลื่อนเวลาปลูกไปในปลายฤดูหนาวอาจช่วยแก้ ปัญหานี ้ได้ แต่การศึกษา เกี่ยวกับการเขตกรรมของการปลูกบัวบกในช่วงนี ้ยังไม่มีการศึกษามากนัก โดยเฉพาะเกี่ยวกับการพรางแสง ดังนันการศึ ้ กษานี ้ จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของการพรางแสงที่มีต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของบัวบกที่ปลูกในช่วงปลายฤดูหนาว โดยทาการทดลองในช่วง กุมภาพันธ์ -เมษายน 2558 ซึ่งช่วงนี เ้ ป็ นช่วงฤดูหนาวเข้ าสู่ฤดูร้อน โดยวางแผนการทดลองแบบ RCBD มี 5 กรรมวิธี ๆ ละ 4 ซ ้า โดยกรรมวิธีการทดลอง ได้ แก่ ไม่มีการพรางแสง พรางแสง 80 และ 50 % เป็ นเวลาหนึ่งเดือน และพรางแสง 80 และ 50 % ตลอดฤดูปลูกหรื อเป็ นเวลาสามเดือน จากผลการทดลองพบว่า การพรางแสงที่แตกต่างกันไม่ทา ให้ การเจริ ญเติบโตของบัวบกมีความแตกต่างกันมากนัก และปริ มาณ Asiaticoside ที่เป็ นสารสาคัญในบัวบกยังไม่มีความ แตกต่างทางสถิติอีกด้ วย ดังนันในการปลู ้ กบัวบกในช่วงฤดูหนาวเข้ าสูฤ่ ดูร้อนของเกษตรกรจึงไม่จาเป็ นต้ องมีการพรางแสง คาสาคัญ: บัวบก ความเข้ มแสง การเจริญเติบโต ผลผลิต ปลายฤดูหนาว

Abstract Asiatic pennywort can yield more than the market needs during winter and then the price is depressed from oversupply. One approach to solve the problem is to delay the planting date to late winter. But, suitable cultural practice for Asiatic pennywort planted in this period has not been studied much, especially about the effects of shading. Thus, this study aimed to determine the effects of shading on growth and yield of Asiatic pennywort planted in late winter. The experiment was conducted in late winter during February to April 2015. The experimental design was RCBD with 5 treatments and 4 replications. The treatments included no shading, shading 80 and 50 % for 1 month and shading 80 and 50 % for 3 month. The results showed that growth and yield of Asiatic pennywort under different shading conditions did not differ consistently. The amount of Asiaticoside in Asiatic pennywort under different shading conditions was also not significantly different. So, farmers do not need to shade Asiatic pennywort grown in late winter and this will help farmers to reduce costs. Keywords: Gotu kola, light intensity, late winter, growth, yield

คานา บัวบก (Centella asiatica (Linn.) Urban ) เป็ นผักพื ้นบ้ านที่พบเห็นได้ ทวั่ ไป คนไทยนิยมบริ โภคบัวบกมานาน ซึง่ บัวบกมี ฤทธิ์ในการสมานแผลและลดการอักเสบ สารสกัดจากต้ นบัวบกด้ วยน ้ามีฤทธิ์ฆ่าเชื ้อแบคทีเรี ยและเชื ้อรา สามารถใช้ พอกรักษา โรคผิวหนัง (psoriasis) สารสกัดจากผลแห้ งของบัวบกมีฤทธิ์ในการรักษาแผลในกระเพาะอาหาร นอกจากนี ้สารสกัดจากใบ บัวบกมีฤทธิ์ยบั ยังการแบ่ ้ งตัวของเซลล์มะเร็ งบางชนิด รักษาแผลเรื อ้ รังเพราะมีสารสาคัญ เช่น เอเซียติโคไซด์ (Asiaticoside) และกรดแมดิแคสซิค (Madecassic acids) เป็ นต้ น และยังสามารถรักษาเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ส่งเสริ มการทางานของสมอง สารสาคัญในบัวบกมีฤทธิ์ในการเร่งสร้ างเนื ้อเยื่อและคอลลาเจน จึงช่วยสมานแผล ทาให้ เลือดไหลเวียนดี แก้ เส้ นเลือดขอด เป็ น ยาบารุงแก้ อ่อนเพลีย รักษาแผลภายนอกโดยใช้ ทา นอกจากนี ้ยังมีรายงานที่ใช้ รักษานิ่วในระบบทางเดินปั สสาวะ ขับปั สสาวะ แก้ หดั ลดความดันโลหิต อีกทังยั ้ งสามารถแก้ ตบั อักเสบ ช่วยให้ ผมดกดาและแก้ ศีรษะล้ าน (สาระ-พรรณ์, 2554) 1 2

ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34190 สานักงานไร่ฝึกทดลองและห้ องปฏิบตั ิการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34190

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

667


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

จากคุณสมบัติของบัวบกที่สามารถใช้ ประโยชน์ทงจากผลผลิ ั้ ตสด ที่สามารถนาไปประกอบอาหารและเครื่ องดื่ม และการ ใช้ ผลผลิตแห้ งเพื่อใช้ ผลิตยาสมุนไพรและเครื่ องสาอาง จึงทาให้ บวั บกเป็ นผักพื ้นบ้ านที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจอีกชนิ ดหนึ่ง เนื่องจากตลาดมีความต้ องการสูง โดยพื ้นที่หนึ่งที่เกษตรกรให้ ความสนใจปลูกบัวบกมานานและสามารถเพิ่มรายได้ ให้ กับ เกษตรกรเป็ นอย่างมาก คือพื ้นที่บ้านวังยาง ตาบลบุง่ หวาย อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี ซึง่ เกษตรกรบ้ านวังยางเริ่ ม มี ก ารปลูกบัว บก ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2530 มาจนถึง ปั จ จุบัน โดยมี ตลาดท้ อ งถิ่ น เป็ น ตลาดหลัก และตลาดต่างจัง หวัด ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี ้ยังมีการส่งออกไปยังประเทศเพื่อนบ้ านในปริ มาณไม่มากนัก และประเทศญี่ปนุ่ โดยพ่อค้ าคน กลางในกรุงเทพมหานคร (จงจิตต์และคณะ, 2547; บุญส่งและทวีศกั ดิ์, 2550; กิตติภณ, 2556) ซึง่ จากการสารวจการปลูกผัก พื ้นบ้ านเชิงเศรษฐกิจในจังหวัดอุบลราชธานีระหว่างเดือนตุลาคม 2550 ถึงกันยายน 2551 พบว่า เกษตรกรที่ปลูกบัวบกได้ รับ ผลตอบแทนต่อพื ้นที่มากถึง 176,995 บาทต่อปี (บุญส่ง, 2552) ดังนัน้ บัวบกจึงเป็ นสมุนไพรพื ้นบ้ านที่มีความน่าสนใจที่ จะ ส่งเสริ มให้ เกษตรกรปลูกเพื่อเพิ่มรายได้ อีกพืชหนึ่ง อย่างไรก็ตามพบว่าในฤดูหนาวปริ มาณผลผลิตมากกว่าความต้ องการของ ตลาด จึงทาให้ ราคาตกต่า แนวทางหนึ่งในการแก้ ปัญหาคือการเลื่อนเวลาการปลูกให้ ช้ากว่าปกติโดยปลูกประมาณปลายฤดู หนาว แต่การศึกษาเกี่ยวกับการเขตกรรมของการปลูกบัวบกในช่วงนี ้ยังไม่มีการศึกษามากนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับการ พรางแสง ซึ่งเป็ นการควบคุมความเข้ มแสงที่พืชได้ รับ เนื่องจากในการเลื่อนเวลาปลูกไปทาการปลูกในปลายฤดูหนาว บัวบก อาจประสบกับปั ญหาความเข้ มแสงและอุณหภูมิที่สงู เกินไปในช่วงปลายฤดูปลูกที่เป็ นช่วงฤดูร้อนของประเทศไทย ความเข้ มแสง (light intensity) คือ ปริ มาณพลังงานแสงต่อหนึ่งหน่วยพื ้นที่ ซึ่งความเข้ มแสงมีผลต่อการเจริ ญและ กระบวนการสร้ างอาหารในพืช ถ้ าพืชได้ รับความเข้ มแสงสูงหรื อต่าเกินปริ มาณความต้ องการ จะมีผลทาให้ พืชไม่เจริ ญเติบโต และให้ ผลผลิต โดยถ้ าความเข้ มแสงที่พืชได้ รับมากเกินกว่าจุดอิ่มตัวแสง (light saturation point) อาจทาให้ ใบไหม้ เกรี ยมและ ตายได้ แต่ถ้าปริ มาณความเข้ มแสงต่าเกินไป พืชจะมีอตั ราการสังเคราะห์แสงต่ากว่าอัตราการหายใจ ซึ่งจะทาให้ พืชไม่เจริ ญ และตายในที่สดุ (สมบุญ, 2548) โดย Wankhar and Tripathi (1990) รายงานว่าความเข้ มแสงเป็ นสิ่งที่มีความสาคัญเป็ นอย่าง ยิ่งในการเจริ ญเติบโตและการสืบพันธุ์ของบัวบก ซึ่งบัวบกที่เจริ ญเติบโตภายใต้ สภาพที่มีความเข้ มแสงสูงมีจานวนใบ จานวน ไหล พื ้นที่ใบและน ้าหนักแห้ งที่มากกว่า แต่มีก้านใบที่สนกว่ ั ้ าบัวบกที่เจริญเติบโตภายใต้ สภาพที่มีความเข้ มแสงต่า อย่างไรก็ตาม การศึกษาถึงอิทธิ พลของการพรางแสงที่มีต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของบัวบกที่ทาการปลูกในช่วง ปลายฤดูหนาวยังมีการศึกษาน้ อยมาก ดังนันในการศึ ้ กษาวิจยั ในครัง้ นี ้ จึงต้ องการที่จะทาการศึกษาถึงอิทธิพลของการพราง แสงที่มีตอ่ การเจริญเติบโตและผลผลิตของบัวบกที่ปลูกในช่วงปลายฤดูหนาว

อุปกรณ์ และวิธีการ ทาการทดลองปลูกบัวบก (Centella asiatica (Linn.) Urban) ในช่วงปลายฤดูหนาว ณ แปลงไม้ ผล สานักงานไร่ฝึก คณะ เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ซึ่งดินที่ใช้ ทาการทดลองเป็ นดินทรายร่ วน โดยดาเนินการทดลองในช่วงระหว่างวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558 ถึงวันที่ 28 เมษายน 2558 เป็ นเวลา 12 สัปดาห์ หรื อ 3 เดือน ซึ่งช่วงนี ้เป็ นช่วงฤดูหนาวเข้ าสู่ฤดูร้อน โดย วางแผนการทดลองแบบสุม่ บล็อกสมบูรณ์ (Randomized complete block design, RCBD) มี 5 กรรมวิธีการทดลอง กรรมวิธี ละ 4 ซ ้า โดยกรรมวิธีการทดลอง ได้ แก่ 1. ไม่มีการพรางแสง หรื อได้ รับแสงแดดปกติตลอดฤดูปลูก (No shading) 2. พรางแสงด้ วยตาข่ายพลาสติกที่สามารถกรองแสงได้ 80 % ในช่วงหนึ่งเดือนแรกของฤดูปลูกเท่านัน้ [Shading 80 % (1 month)] 3. พรางแสงด้ วยตาข่ายพลาสติกที่สามารถกรองแสงได้ 50 % ในช่วงหนึ่งเดือนแรกของฤดูปลูกเท่านัน้ [Shading 50 % (1 month)] 4. พรางแสงด้ วยตาข่ายพลาสติกที่สามารถกรองแสงได้ 80 % ตลอดฤดูปลูกเป็ นเวลา 3 เดือน [Shading 80 % (3 month)] 5. พรางแสงด้ วยตาข่ายพลาสติกที่สามารถกรองแสงได้ 50 % ตลอดฤดูปลูกเป็ นเวลา 3 เดือน [Shading 50 % (3 month)] สาหรับการเตรี ยมต้ นกล้ าที่ใช้ ในการทดลองนี ้ทาได้ โดยการปั กชาไหลจากบัวบกสายต้ นอุบลราชธานีในลงวัสดุปลูกใน กระถางขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 5 นิ ้ว เมื่อต้ นกล้ ามีอายุ 45 วัน หรื อ มีการแตกใบประมาณ 4-5 ใบ จึงย้ ายปลูกลงในกระถาง ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 12 นิ ้ว โดยวัสดุสาหรับปลูกประกอบด้ วยดิน แกลบดิบ แกลบเผา ปุ๋ ยคอกขี ้วัว และปูนขาวในอัตราส่วน 668

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

5:4:3:1:0.5 โดยปริ มาตร ในแต่ละกระถางมีการใส่วสั ดุปลูกจานวน 6 กิโลกรัม เท่าๆ กัน หลังจากใส่วสั ดุปลูกแล้ วจึงย้ ายกล้ า บัวบกลงปลูกในกระถาง โดยทาการปลูกบัวบก 1 ต้ นต่อกระถาง เมื่อทาการปลูกแล้ วเสร็จ บัวบกในแต่กระถางมีการควบคุมให้ ได้ รับความเข้ มแสงตามกรรมวิธีที่ได้ รับ ซึ่งในกรรมวิธีที่มีการควบคุมให้ มีการพรางแสง 50 และ 80 % ของความเข้ มแสงปกติ ได้ รับการคลุมด้ วยตาข่ายพลาสติกสีดา ที่สามารถกรองแสงได้ 50 และ 80 % ตามลาดับ ตามระยะเวลาที่กาหนด หลังจากย้ าย ปลูก 3 สัปดาห์มีการใส่ปยยู ุ๋ เรี ยและปุ๋ ยสูตร 16-16-16 ในอัตรา 2 กรัมต่อกระถาง โดยตลอดฤดูปลูกมีการรดน ้าอย่างสม่าเสมอ ทุกวันวันละ 300 มิลลิลิตรต่อกระถาง นอกจากนี ้ยังมีการกาจัดวัชพืชโดยใช้ แรงงานคน และมีการป้องกันกาจัดศัตรู พืชตาม ความเหมาะสม ในระหว่างทาการทดลองมีการวัดความเข้ มแสงที่ตกกระทบบัวบกที่ได้ รับการพรางแสงที่ระดับที่แตกต่างกันในแต่ละ หน่วยทดลองโดยเครื่ อง Steady state Porometer (Model LI-1600) นอกจากนี ้ยังทาการสุม่ เก็บตัวอย่างต้ นบัวบกจากทุก กรรมวิธีการทดลองที่อายุ 4 8 และ 12 สัปดาห์หลังย้ ายปลูก เพื่อวัดประสิ ทธิภาพของการสังเคราะห์ด้วยแสง (Fv/Fm) โดยใช้ เครื่ องวัดคลอโรฟิ ลล์ฟลูออเรสเซนซ์ (Chlorophyll Fluorescence Measurement) Model Handy – PEA เมื่อวัดประสิทธิภาพ การสังเคราะห์ด้วยแสงแล้ วเสร็ จ จึงทาการเก็บตัวอย่างต้ นบัวบกโดยการถอนออกจากกระถาง ตัดรากที่ติดมากับต้ นทิ ง้ ด้ วย กรรไกร แล้ วนาตัวอย่างไปล้ างทาความสะอาดด้ วยน ้า จากนันน ้ าตัวอย่างไปชัง่ ด้ วยเครื่ องชัง่ ทศนิยมสองตาแหน่ง เพื่อหาค่า น ้าหนักสดส่วนเหนือดิน (shoot fresh weight) พร้ อมทังวั ้ ดความยาวไหล (stolon length) โดยวัดจากโคนต้ นแม่ถึงส่วนที่ยาว ที่สดุ ของไหลด้ วยไม้ บรรทัด เมื่อเสร็จแล้ วนาตัวอย่างเข้ าไปอบในตู้อบลมร้ อน (hot air oven) ที่อณ ุ หภูมิ 80 องศาเซลเซียส เป็ น เวลา 48 ชัว่ โมง แล้ วนามาชัง่ เพื่อหาค่าน ้าหนักแห้ งส่วนเหนือดิน (shoot dry weight) ด้ วยเครื่ องชัง่ ทศนิยมสองตาแหน่ง เมื่อได้ น ้าหนักแห้ งส่วนเหนือดินแล้ ว นาค่าที่ได้ ไปคานวณหาอัตราการเจริ ญเติบโตสัมพัทธ์ (Relative growth rate, RGR) โดย คานวณได้ จากสูตร (เฉลิมพล, 2535) RGR = (lnW2 – lnW1)/(T2 – T1) โดย W คือ น ้าหนักแห้ งส่วนเหนือดิน T คือ จานวนเวลาหลังวันที่ปลูกพืชหรื องอกพ้ นผิวดิน W2 และ W1 คือ น ้าหนักแห้ งของต้ นพืชที่เวลา T2 และ T1 ตามลาดับ โดยเมื่อบัวบกมีอายุ 12 สัปดาห์หลังย้ าย มีการสุม่ เก็บตัวอย่างใบของบัวบกจากทุกกรรมวิธีการทดลอง แล้ วนาไปอบด้ วย ตู้อบที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 45 ชั่วโมง จากนัน้ นาตัวอย่างแห้ งไปวิเคราะห์ หาปริ มาณสารเอเชี ยติ โคไซด์ (Asiaticoside) ด้ วยเครื่ อง High Performance Liquid Chromatography (HPLC) โดยคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี นาข้ อมูลการเจริญเติบโตที่ได้ จากการเก็บตัวอย่างและสารเอเชียติโคไซด์ที่ได้ จากการวิเคราะห์ของบัวบก และข้ อมูลความ เข้ มแสง ไปทาการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of variance, ANOVA) และเปรี ยบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย ของแต่ละกรรมวิธีโดยวิธี Least significant difference (LSD) ที่ระดับความเชื่อมัน่ ร้ อยละ 95 โดยใช้ โปรแกรม STATISTIX 8

ผลการทดลองและวิจารณ์ ความเข้ มแสงที่บัวบกได้ รับและอุณหภูมใิ นช่ วงที่ทาการทดลอง จากผลการทดลองพบว่า บัวบกที่มีการพรางแสงแตกต่างกันในสัปดาห์ที่ 12 หลังย้ ายปลูกได้ รับความเข้ มแสงที่ แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่ง โดยบัวบกที่ไม่มีการพรางแสง พรางแสง 80 และ 50 % เป็ นเวลา 1 เดือน ได้ รับความ เข้ มแสงสูงที่สดุ โดยมีคา่ อยูร่ ะหว่าง 1,507 - 1,510 µmol m-2 s-1 รองลงมาคือบัวบกที่มีการพรางแสง 50 และ 80 ตลอดฤดูปลูก โดยมีคา่ เท่ากับ 615 และ 441 µmol m-2 s-1 ตามลาดับ (Figure 1) จากข้ อมูลของสถานีอตุ นุ ิยมวิทยา สานักงานไร่ ฝึก คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พบว่าอุณหภูมิในช่วง ระหว่างทาการทดลอง ณ สานักงานไร่ ฝึก คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีความแตกต่างกันในช่วงต้ นฤดูและ ช่วงท้ ายฤดูปลูก โดยในช่วงต้ นฤดูปลูกเป็ นช่วงปลายฤดูหนาวที่มีอณ ุ หภูมิที่ต่ากว่าในช่วงท้ ายฤดูปลูกที่เป็ นช่วงกลางฤดูร้อน ซึ่งในช่วงสัปดาห์แรกมีอณ ุ หภูมิเฉลี่ยต่า ที่สดุ เท่ากับ 23.3 องศาเซลเซียส หลังจากนันอุ ้ ณหภูมิจึงค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ ้น โดยที่ 11 และ 12 สัปดาห์หลังย้ ายปลูก มีอณ ุ หภูมิเฉลี่ยเท่ากับ 30.7 และ 29.9 องศาเซลเซียส ตามลาดับ (Figure 2)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

669


Light intensity (µmol m-2 s-1)

วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 1600 1400 1200 1000 800 600 400 200 0

a

a

a**

b c

No shading

Shading 80 % Shading 50 % Shading 80 % Shading 50 % (1 month) (1 month) (3 month) (3 month) Shading

Figure 1 Light intensity of Asiatic pennywort with different shading at 12 weeks after transplanting. Bars with the same letter are not significantly different at P≤0.05 by LSD. **, significantly different at P≤0.01

35

Average temperature (°C)

30 25

20 15 10

5 0 0

14

21

28

5

42

49

5

0

84

Days after transplanting

Figure 2 Average temperature during growing season of Asiatic pennywort with different shading.

670

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเจริญเติบโตและผลผลิตของบัวบก อัตราการเจริ ญเติบโตสัมพัทธ์ (RGR) ของบัวบกที่ได้ รับการพรางแสงที่แตกต่างกันที่อายุ 4 – 8 และ 8 - 12 สัปดาห์หลัง ย้ ายปลูกมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ โดยบัวบกที่อายุ 4 - 8 สัปดาห์หลังย้ ายปลูกที่ได้ รับการพรางแสง 80 % เป็ น เวลาหนึ่งเดือนมีค่า RGR ต่ากว่ากรรมวิธีการพรางแสงอื่น ส่วนที่อายุ 8 - 12 สัปดาห์หลังย้ ายปลูก บัวบกที่ได้ รับการพรางแสง 80 และ 50 % เป็ นเวลาหนึ่งเดือน และ 80 % ตลอดฤดูปลูก มีค่า RGR มากกว่าบัวบกที่ได้ รับการพรางแสงกรรมวิธีการอื่น (Table 1) สาหรับปริมาณสาร Asiaticoside ซึง่ เป็ นสารสาคัญที่มีอยู่ในบัวบก โดยได้ ทาการวิเคราะห์ที่อายุ 12 สัปดาห์หลังย้ ายปลูก นัน้ พบว่า บัว บกที่ ไ ด้ รั บ การพรางแสงที่ แ ตกต่า งกัน มี ป ริ ม าณสาร Asiaticoside ที่ ไ ม่แ ตกต่า งกัน ทางสถิ ติ โดยมี ป ริ ม าณ Asiaticoside อยูร่ ะหว่าง 0.340 – 0.484 มิลลิกรัมใน 1 กรัมผงใบแห้ ง (Table 1) Table 1 Relative growth rate (RGR) at 4-8 and 8-12 weeks after transplanting and amount of Asiaticoside at 12 weeks after transplanting of Asiatic pennywort with different shading. RGR Shading

(% week-1) 4-8

8-12

Amount of Asiaticoside (mg in 1 g dry powder)

No shading

27.8ab

16.9c

0.340

Shading 80 % (1 month)

17.1b

44.5a

0.369

Shading 50 % (1 month)

34.4a 29.4abc

0.484

Shading 80 % (3 month)

33.7a

0.372

34.9ab

0.387 Shading 50 % (3 month) 39.3a 26.5bc F-test * * ns CV 29.3 34.8 18.5 means followed by the same letter are not significantly different at P≤0.05 by LSD. ns = non-significantly different at P≤0.05, * = significantly different at P≤0.05 นา้ หนักสดส่วนเหนื อดินของบัวบกที่ได้ รับการพรางแสงที่แตกต่างกันที่ 4 8 และ 12 สัปดาห์หลังย้ ายปลูกไม่มีความ แตกต่างทางสถิติ โดยน ้าหนักสดส่วนเหนือดินที่ 4 8 และ 12 สัปดาห์หลังย้ ายปลูกมีค่าอยู่ระหว่าง 2.77 - .9 .42 – 14.63 และ 17.16 - 36.14 กรัมต่อต้ น ตามลาดับ (Table 2) สาหรับน ้าหนักแห้ งส่วนเหนือดินของบัวบกที่ได้ รับการพรางแสงที่ แตกต่างกันพบว่าที่ 4 และ 12 สัปดาห์หลังย้ ายปลูกไม่มีความแตกต่างทางสถิติโดยมีค่าอยู่ระหว่าง 0.46 - 0.70 และ 4.65 9.00 กรัมต่อต้ น ตามลาดับ ส่วนที่ 8 สัปดาห์ หลังย้ ายปลูกพบว่าน ้าหนักแห้ งส่วนเหนือดินมีความแตกต่างกันทางถิติอย่างมี นัยสาคัญ โดยน ้าหนักแห้ งส่วนเหนือดินของบัวบกที่มีการพรางแสง 80 % เป็ นเวลาหนึ่งเดือน มีน ้าหนักแห้ งต้ นต่ากว่ากรรมวิธี การอื่นอย่างมีนยั สาคัญ (Table 2) สาหรับความยาวไหลของบัวบกที่ได้ รับการพรางแสงที่แตกต่างกันที่ 4 และ 8 สัปดาห์หลังย้ ายปลูกไม่มีความแตกต่างทาง สถิติโดยมีค่าอยู่ระหว่าง 13.2 - 22.2 และ 33.1 – 51.8 เซนติเมตร ตามลาดับ แต่ความยาวไหลของบัวบกที่ 12 สัปดาห์หลัง ย้ ายปลูกมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ โดยบัวบกที่มีการพรางแสงที่ 80 % เป็ นเวลาหนึ่งเดือน และการพรางแสงที่ 80 และ 50 % เป็ นเวลาสามเดือน มีความยาวไหลที่สงู ที่สดุ (Table 2) ประสิทธิภาพของการสังเคราะห์ด้วยแสง (Fv/Fm) ของบัวบกที่ได้ รับการพรางแสงที่แตกต่างกันที่อายุ 4 สัปดาห์หลังย้ าย ปลูก พบว่าไม่มีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ โดยมีค่าอยู่ในช่วงระหว่าง 0.647 - 0.791 แต่ประสิทธิภาพของการ สังเคราะห์ด้วยแสงของบัวบกที่ 8 และ 12 สัปดาห์หลังย้ ายปลูกมีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญ โดยที่ 8 สัปดาห์ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

671


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

หลังย้ ายปลูก บัวบกที่มีการพรางแสงที่ 50 % เป็ นเวลาหนึ่งเดือน และการพรางแสงที่ 80 และ 50 % เป็ นเวลาสามเดือนมี ประสิทธิภาพของการสังเคราะห์ด้วยแสงที่สงู ที่สดุ แต่บวั บกที่ไม่ได้ รับการพรางแสงมีประสิทธิภาพของการสังเคราะห์ด้วยแสงที่ ต่าที่สดุ ส่วนที่ 12 สัปดาห์หลังย้ ายปลูก บัวบกที่มีการพรางแสงที่ 80 และ 50 % เป็ นเวลาสามเดือนมีประสิทธิภาพของการ สังเคราะห์ด้วยแสงที่สงู ที่สดุ แต่บวั บกที่ไม่ได้ รับการพรางแสงและพรางแสงที่ 80 % เป็ นเวลาหนึ่งเดือนมีประสิทธิภาพของการ สังเคราะห์ด้วยแสงที่ต่าที่สดุ (Table 2) Table 2 Shoot fresh weight, shoot dry weight, stolon length and photosynthetic efficiency (Fv/Fm) of Asiatic pennywort with different shading at 4, 8 and 12 weeks after transplanting. Shoot fresh weight

Shoot dry weight

Stolon length

Photosynthetic efficiency

(g plant-1)

(g plant-1)

(cm)

(Fv/Fm)

Shading 4 No shading Shading 80 % (1 month) Shading 50 % (1 month) Shading 80 % (3 month) Shading 50 % (3 month) F-test

8

12

4

8

12

4

8

12

4

8

48.2b

0.647

0.661c

0.534c

3.94 12.20 17.16

0.70

2.15a 4.65

13.2 36.4

3.96

0.56

1.05b 6.26

17.2 51.8 76.1ab

0.748 0.679bc

0.551c

7.42 25.20

2.77 11.41 23.49

0.46 1.79ab 5.90

18.5 40.8

62.1b

0.736 0.724abc

0.573bc

3.70 12.92 31.89

0.62

2.17a 9.00

20.5 33.1

93.8a

0.687

0.769a

0.703a

2.87 14.63 36.14

0.52

2.53a 7.25

22.2 43.8

98.5a

0.791 0.738ab

0.689ab

ns

ns

ns

ns

*

ns

ns

ns

*

CV 39.3 25.6 33.7 33.9 25.2 31.7 35 31 25 means followed by the same letter are not significantly different at P≤0.05 by LSD.

ns

*

*

11.7

6.1

13.8

ns = non-significantly different at P≤0.05 จากผลการทดลองจะเห็นได้ ว่า ถึงแม้ การพรางแสงที่แตกต่างกันทาให้ อตั ราการเจริ ญเติบโตสัมพัทธ์ (RGR) น ้าหนัก แห้ งส่วนเหนือดิน ที่ 8 สัปดาห์หลังย้ ายปลูก ความยาวไหลที่ 12 สัปดาห์หลังย้ ายปลูก และประสิทธิภาพการสังเคราะห์ด้วย แสง (Fv/Fm) ที่ 8 และ 12 สัปดาห์หลังย้ ายปลูก เกิดความแตกต่างทางสถิติ แต่การพรางแสงที่แตกต่างกันนี ไ้ ม่ได้ ทาให้ การ เจริ ญเติบโตของบัวบกที่ปลูกมีความแตกต่างกันมากนัก โดยเห็นได้ จากน ้าหนัก สดส่วนเหนือดินที่ 4 8 และ 12 สัปดาห์หลัง ย้ ายปลูก และปริ มาณ Asiaticoside ที่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ นอกจากนี ้จะเห็นได้ จากน ้าหนักแห้ งส่วนเหนือดินที่ 4 และ 12 สัปดาห์หลังย้ ายปลูกที่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติเช่นกัน สาเหตุที่การพรางแสงที่แตกต่างกันไม่มีผลทาให้ การเจริ ญเติบโต ของบัวบกแตกต่างกันมากนักนัน้ อาจเป็ นผลมาจากช่วงเวลาของการปลูกบัวบก ที่เริ่ มทาการทดลองในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ซงึ่ ยังเป็ นช่วงฤดูหนาวของประเทศไทยและสิ ้นสุดการทดลองในช่วงเดือนเมษายนซึง่ เป็ นช่วงฤดูร้อน โดยการเริ่ มปลูกบัวบกในช่วง ฤดูหนาวซึง่ อากาศยังคงไม่ร้อนจัดและความเข้ มแสงจากดวงอาทิตย์ยงั ต่านี ้ เป็ นผลดีต่อบัวบกที่กาลังย้ ายปลูกทาให้ ตงตั ั ้ วได้ ดี ถึงแม้ จะมีหรื อไม่มีการพรางแสงก็ตาม จึงส่งผลให้ การเจริ ญเติบโตในช่วงแรกของบัวบกที่ได้ รับการพรางแสงที่แตกต่างกันไม่มี ความแตกต่างทางสถิติ ถึงแม้ ว่าในช่วงต่อมาของฤดูปลูกอากาศเริ่ มเข้ าสูฤ่ ดูร้อนที่อากาศเริ่ มร้ อนขึ ้นและความเข้ มแสงสูงขึ ้น ก็ ไม่ได้ สง่ ผลให้ การเจริญเติบโตของบัวบกที่ได้ รับการพรางแสงที่แตกต่างกันเกิดความแตกต่างทางสถิติ อาจเพราะบัวบกมีการตัง้ ตัวได้ เร็วและดีในช่วงแรกที่มีสภาพอากาศเหมาะสมต่อการเจริ ญเติบโต จึงส่งผลให้ ถึงแม้ อากาศจะไม่เหมาะสมในช่วงหลังก็ไม่ 672

12

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ส่งผลต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของบัวบกมากนัก โดย Nelson and Larson (1984) รายงานว่า การที่พืชสามารถตังตั ้ ว และเริ่ ม การสัง เคราะห์ ด้ ว ยแสงอย่า งรวดเร็ ว ในช่ ว งแรกของการปลูก เป็ น ผลดี ต่อ พื ช เป็ น อย่า งมาก นอกจากนี ้ Organic agriculture centre of Canada (2008) รายงานว่า การตังตั ้ วของพืชเป็ นปั จจัยสาคัญที่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืช เพราะ การตังตั ้ วของพืชมีผลต่อความสามารถในการแก่งแย่งแข่งขันของพืชปลูก การแตกกอ วันเก็บเกี่ยวและผลผลิต โดยการที่พืชตัง้ ตัวได้ เร็ วจะทาให้ พืชมีความสามารถในการแก่งแย่งแข่งขันกับวัชพืชได้ ดี และส่งผลต่อความสม่าเสมอในการเจริ ญเติบโตและ การสุก แก่ ซึ่ง สุด ท้ า ยจึง ส่ง ผลท าให้ พื ช มี ผ ลผลิ ต ที่ เ หมาะสมในที่ สุด แต่ผ ลการทดลองนี ไ้ ม่ส อดคล้ อ งกับ การศึก ษาของ Srithongkul et al. (2011) ที่พบว่าความเข้ มแสงมีผลต่อการเจริ ญเติบโตของบัวบกที่ปลูกในจังหวัดปทุมธานีในช่วงเดือน สิงหาคม 2008 โดยบัวบกที่ได้ รับความเข้ มแสงสูงมีพื ้นที่ใบและความยาวก้ านใบต่ากว่าบัวบกที่ได้ รับความเข้ มแสงต่า แต่ น ้าหนักสดและน ้าหนักแห้ งกลับลดลง ส่วนปริ มาณสารเอเซียติโคไซด์ (Asiaticoside) และแมดิแคสโซไซด์ (Madecassoside) ลดต่าลงเมื่อบัวบกได้ รับความเข้ มแสงลดลง ซึ่งสาเหตุที่มีผลการทดลองที่แตกต่างกันอาจเนื่องจากมีช่วงเวลาปลูกที่แตกต่าง นอกจากนี ้ยังไม่สอดคล้ องกับ Mathur et al. (2000) ที่พบว่าบัวบก 16 สายต้ นที่ปลูกที่ประเทศอินเดียที่ได้ รับความเข้ มแสง เพียง 50 % มีการเจริญเติบโตและปริมาณสารสาคัญที่สงู กว่าบัวบกที่ได้ รับแสงเต็มที่ ซึง่ บัวบก 13 สายต้ นจาก 16 สายต้ น ต้ อง ได้ รับความเข้ มแสงต่าจึงจะให้ น ้าหนักสด น ้าหนักแห้ งและปริ มาณสารเอเซียติโคไซด์ (Asiaticoside) ที่สงู ส่วน Wankhar and Tripathi (1990) ยังรายงานว่าบัวบกที่มีอายุ 225 วันหลังปลูกที่เจริญเติบโตภายใต้ สภาพที่มีความเข้ มแสงสูง (50,800 ลักซ์) มี จานวนใบ จานวนไหล พื ้นที่ใบและน ้าหนักแห้ งที่มากกว่า แต่มีก้านใบที่สนกว่ ั ้ าบัวบกที่เจริ ญเติบโตภายใต้ สภาพที่มีความเข้ ม แสงต่า (ความเข้ มแสงลดลง 50 %) ส่วนในสภาพที่มีความเข้ มแสงต่า ต้ นแม่ของบัวบกจะมีการเจริ ญเติบ โตมาก แต่ในสภาพที่ มีความเข้ มแสงสูง บัวบกมีการแตกไหลและออกดอกมาก

สรุ ป จากการศึกษาการปลูกบัวบกในช่วงปลายฤดูหนาวเข้ าสู่ฤดูร้อน (กุมภาพันธ์ -เมษายน) ภายใต้ สภาพอากาศของ จังหวัดอุบลราชธานี พบว่าการพรางแสงที่แตกต่างกันไม่ทาให้ การเจริญเติบโตของบัวบกที่ปลูกมีความแตกต่างกันมากนัก และ ปริมาณ Asiaticoside ที่เป็ นสารสาคัญในบัวบกยังไม่มีความแตกต่างทางสถิติอีกด้ วย สาเหตุที่การพรางแสงไม่มีผลมากนักต่อ การเจริญเติบโตของบัวบกอาจเกิดจากช่วงเวลาที่ปลูกเป็ นช่วงฤดูหนาวของประเทศไทยที่อากาศเย็นและความเข้ มแสงจากดวง อาทิตย์ต่า จึงทาให้ บวั บกที่ย้ายปลูกตังตั ้ วได้ ดีถึงแม้ ไม่มีการพรางแสงก็ตาม และการที่บวั บกมีการตังตั ้ วได้ เร็วและดีในช่วงแรก ที่มีสภาพอากาศเหมาะสมต่อการเจริญเติบโต จึงส่งผลให้ ถงึ แม้ อากาศจะไม่เหมาะสมในช่วงหลัง ก็ไม่สง่ ผลต่อการเจริ ญเติบโต และผลผลิตของบัวบกมากนัก ดังนัน้ ในการปลูกบัวบกในช่วงฤดูหนาวเข้ าสู่ฤดูร้อนของเกษตรกรภายใต้ สภาพอากาศของ จังหวัดอุบลราชธานีจึงไม่จาเป็ นต้ องมีการพรางแสง เพราะการเจริ ญเติบโตและสารสาคัญของบัวบกไม่มีความแตกต่างกันเมื่อ ได้ รับการพรางแสงที่แตกต่างกัน ซึง่ จะเป็ นการช่วยลดค่าใช้ จ่ายของเกษตรกรในการพรางแสงลงได้ อีกด้ วย

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ผู้สนับสนุนเงินทุนสาหรับทางานวิจยั ในครัง้ นี ้ โดยงานวิจยั นี ้ได้ รับการสนับสนุนทุนวิจยั จากงบประมาณเงินรายได้ คณะเกษตรศาสตร์ ประจาปี พ.ศ. 2558 ในโครงการวิจยั อิทธิพลของ การพรางแสงต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของบัวบก (Centella asiatica (L.) Urb.)

เอกสารอ้ างอิง กิตติภณ เรื องแสน. 2556. เกษตรกรบ้ านวังยางอยู่อย่างพอเพียงเลี ้ยงชีพด้ วยการปลูกบัวบกขายสร้ างรายได้ งดงาม. หนังสือพิมพ์บ้านเมือง. แหล่งที่มา: http://www.banmuang.co.th/oldweb/2013/04/เกษตรกรบ้ านวังยาง-อยู่อ/, 15 กรกฏาคม 2556. จงจิตต์ สังข์ทอง นิตยา ขวัญนู ผ่องศรี หนูน้ ยุ มัลลิกา นิ่มนวล วัลย์วลี แก่นลา วิราวรรณ บุญอุทยั วิไล พลพันธ์ สุทธิรา ขานถม สุปราณี ขานทะราชา พนมพร สารพิศ และ แก้ วสรรค์ ฤทธิ์เปี่ ยม. 2547. รายงานการวิจยั การศึกษาการปลูกผักบัว บกในเชิงธุรกิจของชุมชนบ้ านวัง ยาง ต. บุง่ หวาย อ.วาริ นชาราบ จ. อุบลราชธานี. คณะวิทยาการ, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. เฉลิมพล แซมเพชร. 2535. สรี รวิทยาการผลิตพืชไร่ (Crop physiology). สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ . กรุงเทพฯ. 188 น. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

673


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า บุญส่ง เอกพงษ์ . 2552. รายงานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมฉบับสมบูรณ์โครงการการสารวจวัฒนธรรมการ ปลูกผักพื ้นบ้ านเชิงเศรษฐกิจในจังหวัดอุบลราชธานี. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. อุบลราชธานี. 85 น. บุญส่ง เอกพงษ์ และทวีศกั ดิ์ วิยะชัย. 2550. รายงานการวิจยั การผลิตเมล็ดบัวบก (Centella asiatica (L.) Urb.) คุณภาพสูงสาหรับเกษตรกรชุมชน บ้ านวังยาง อ.วาริ นชาราบ จ.อุบลราชธานี. คณะเกษตรศาสตร์ , มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 33 น. สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์. 2548. สรี รวิทยาของพืช (Plant physiology). พิมพ์ครัง้ ที่ 4. ภาควิชาพฤษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . กรุงเทพ ฯ. 252 น. สาระ-พรรณ์. 2554. ปลูกผักข้ างรัว้ ไม่ต้องกลัวสารพิษ. สานักพิมพ์ดีดี. กรุงเทพ ฯ. 176 น. Mathur, S., R.K. Verma, M.M. Gupta, M. Ram, S. Sharma and S. Kumar. 2000. Screening of genetic resources of the medicinalvegetable plant Centella asiatica for herb and asiaticoside yields under shaded and full sunlight conditions. J. Hortic. Sci. Biotech. 75(5): 551-554. Nelson, C.J. and K.L. Larson. 1984. Seedling growth, pp. 93-129. In M.B. Tesae, ed. Physiological basis of crop growth and development. The American Society of Agronomy, Inc., and the Crop Science Society of America, Inc., Wisconsin. 341 p. Organic agriculture centre of Canada. 2008. Crop establishment and soil fertility on maritime organic grain farms. Final Research Report E2008-41. Available Source:http://www.organicagcentre.ca/Docs/TechnicalBulletins08/TechnicalBulletin41web_ grain.pdf, July 6, 2015. Srithongkul, J., S. Kanlayanarat, V. Srilaong, A. Uthairatanakij and P. Chalermglin. 2011. Effects of light intensity on growth and accumulation of triterpenoids in three accessions of Asiatic pennywort (Centella asiatica (L.) Urb.). J. Food Agric. Environ. 9(1): 360-363. Wankhar, B. and R.S. Tripathi. 1990. Growth and reproductive allocation pattern of Centella asiatica raised from stem cuttings of different sizes in relation to light regimes, soil texture and soil moisture. Acta Oecol. 11: 683-692.

674

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อิทธิพลของการผสมข้ ามที่มีผลต่ อการติดผลของส้ มโอทองดี Influence of Cross Pollination on Fruit setting of Pummelo cv. Thong Dee ประวิทย์ ธรรมทะ¹, สมยศ มีทา¹, ราไพ นามพิลา¹, สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา¹ สุชีลา เตชะวงค์ เสถียร¹ และสังคม เตชะวงค์ เสถียร¹

บทคัดย่ อ ส้ ม โอเป็ น พื ช ผสมข้ า มที่ มี ค วามส าคัญ ในพื น้ ที่ เ ขตร้ อนและกึ่ ง ร้ อน มี ก ารปลูก เป็ น ระบบเชิ ง เดี่ ย วจึง ไม่มี ค วาม หลากหลายทางสายพันธุกรรมภายในสวน เนื่องจากความหลากหลายทางพันธุกรรมในสวนต่าจึงทาให้ อตั ราการติดผลลดลง ดังนันเพื ้ ่อให้ การติดผลที่เพิ่มขึ ้นจะต้ องมีการผสมข้ ามระหว่างสายพันธุ์ที่แตกต่างกัน จึงได้ มีการวางแผนการผสมข้ ามในส้ มโอ 3 สายพันธุ์ คือ พันธุ์ทองดี (ผสมภายในต้ น), พันธุ์ทองดีผสมข้ ามกับพันธุ์ทองดีต่างต้ นกัน, พันธุ์ทองดีผสมข้ ามกับพันธุ์ทบั ทิม สยาม และพันธุ์ทองดีผสมข้ ามกับพันธุ์มณีอีสาน วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ภายในบล็อค (Randomized complete block design : RCBD) จานวน 4 ซ ้าๆ ละ 10 ดอก ทาการเก็บผลเปอร์ เซ็นต์การติดผล 8 สัปดาห์หลังการผสมเกสร พบว่า พันธุ์ทองดีผสมข้ ามกับพันธุ์มณีอีสาน มีการติดผลที่สงู ที่สดุ และการผสมภายในต้ นของพันธุ์ทองดี การติดผลที่น้อยที่สดุ ซึ่ง แสดงให้ เห็นว่าส้ มโอพันธุ์ทองดีต้องได้ รับการผสมข้ ามพันธุ์จึงจะเพิ่มการติดผล โดยพันธุ์มณีอีสานเป็ นพันธุ์ที่ถ่ายละอองเกสร แล้ วทาให้ มีอตั ราการติดผลเพิ่มขึ ้น คาสาคัญ : ส้ มโอพันธุ์มณีอีสาน ปฏิสนธิ พัฒนาผล

Abstract Pummelo is an important cross pollination fruit in tropical and subtropical areas. The monoculture system, of pummelo cv. Thong Dee, Which is not diverse cultivar in the grower orchardI. Due to low genetic diverse , resulted the rate in fruit setting low. Thus, to facilitate fruit setting, cross pollination of 3 pummelo cultivars were designed, ie. cv. Thong Dee (selfing), cv. Thong Dee x cv. Thong Dee(cross-pollination), cv. Thong Dee x cv. Ruby of Siam and cv. thong Dee x cv. Manee Esaan. The experiment was conducted in Randomized Complete Block Design (RCBD) with four replications, 10 flowers per replication. Percentage of fruit setting were observed at 4 and 8 week after pollination. The results showed that the cv.Thong Dee x cv. Manee Esaan exhibited highest fruit setting while self pollination gave lowest. This finding indicated that cv. Thong Dee need to cross pollination for enhance fruit setting and cv. Manee Ee-saan showed the good pollinator cultivar for Thong Dee. Keywords : pummelo cv. Manee Ee-saan, fertilization, fruit development

บทนา ส้ มโอพันธุ์ทองดี เป็ นพันธุ์ที่นิยมปลูกในประเทศไทย โดยมีพื ้นที่ปลูกประมาณ 5 หมื่นไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 4-5 หมื่นตัน/ปี (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ , 2555) แต่มีปริ มาณผลผลิตเพียง 10-20 เปอร์ เซ็นต์ของการออกดอกเท่านัน้ ซึง่ การได้ ผลผลิตต่า เป็ นปั ญหามาจาก การติดผลจานวนน้ อย และการร่วงของผลอ่อน เกษตรกรแก้ ปัญหาโดยปลูกส้ มโอทองดีเป็ นระบบเชิงเดี่ยว เพื่อให้ ได้ ปริ มาณผลผลิตที่สงู ขึ ้นและง่ายต่อการจัดการ ส่งผลให้ ขาดหลากหลายทางพันธุกรรมภายในสวน ซึง่ ต้ องการละออง เกสรจากสายพันธุ์อื่นกระตุ้นเพื่อการพัฒนาผล เมื่อขาดความหลากหลายทางพันธุกรรมจึงทาให้ ผลอ่อนร่วง การติดผลของส้ ม โอในฤดูกาลปกติ 1 เดือนแรกจะติดผล 100% หลังจากนันจะหลุ ้ ดร่วงเพิ่มสูงขึ ้น (รัตวุฒิ, 2553) ไม้ ผลส่วนใหญ่ต้องการการ ถ่ายเรณูผสมข้ าม (cross pollination) จึงเกิดการติดผลและให้ ผลที่สมบรูณ์ (ทรงพล, 2530) โดยเฉพาะส้ มโอที่ได้ รับการถ่าย ละอองเกสรของส้ มโอต่างสายพันธุ์จะมีการปฏิสนธิและติดผลที่สงู เช่น ส้ มโอพันธุ์หอมหาดใหญ่ (วิจิตต์, 2539) ปั จจัยที่มีผล ต่อการติดผลของส้ มโอพบการศึกษา ลักษณะชีววิทยาของดอก ที่เหมาะแก่การถ่ายละอองเกสร (วิจิตต์และไมตรี , 2537) ความ มีชีวิตของละอองเกสร (สุทินและรดาพร, 2554) กระบวนการเกิดการปฏิสนธิ (ลักขณา, 2546) และสภาพแวดล้ อมที่มีผลต่อ การติดผล แต่การที่จะทาการปลูกส้ มโอต่างสายพันธุ์เพื่ อให้ ถ่ายละอองเกสรให้ กบั ส้ มโอทองดี ต้ องมีการศึกษาว่าสายพันธุ์ใดที่ จะเหมาะสมที่จะทาให้ ส้มโอทองดีติดผลเพิ่มขึ ้นและมีคณ ุ ภาพที่ดี ซึ่งวัตถุประสงค์ของการศึกษาครัง้ นี ้เพื่อศึกษาอิทธิพลของ

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

675


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การผสมข้ ามที่มีผลต่อการติดผลของส้ มโอทองดีเพื่อตรวจสอบการถ่ายเรณู แบบผสมตัวเองและการผสมข้ ามพันธุ์ เพื่อเพิ่ม ปริมาณผลผลิตของส้ มโอทองดี

อุปกรณ์ และวิธีการ ผสมส้ มโอโดยการถ่ายละอองเกสรด้ วยมือ (hand pollination) โดยใช้ ส้มโอทองดี ในแปลงของเกษตรกร อาเภอ เกษตรสมบรู ณ์ จัง หวัด ชัย ภูมิ เป็ น ต้ น แม่ แ ละพัน ธุ์ พ่ อ ใช้ ล ะอองเกสรของส้ ม โอพัน ธุ์ ม ณี อี ส านและพัน ธุ์ ทับ ทิ ม สยาม ดัง รายละเอียดของหน่วยทดลอง กรรมวิธีที่ 1 ส้ มโอพันธุ์ทองดี x ส้ มโอพันธุ์ทองดี (ผสมภายในต้ น) กรรมวิธีที่ 2 ส้ มโอพันธุ์ทองดี x ส้ มโอพันธุ์ทองดี (ต่างต้ น) กรรมวิธีที่ 3 ส้ มโอพันธุ์ทองดี x ส้ มโอพันธุ์ทบั ทิมสยาม กรรมวิธีที่ 4 ส้ มโอพันธุ์ทองดี x ส้ มโอพันธุ์มณีอีสาน วางแผนการทดลองแบบ Randomized complete block design : RCBD จานวน 4 ซ ้า ซ ้าละ 10 ดอก ในช่วงเดือน กุมภาพันธ์ - เมษายน 2558 โดยสารวจต้ นที่สมบรูณ์และคัดเลือกดอกที่สมบรูณ์พร้ อมบานในอีก 1-2 วัน หลังจากนันท ้ าการ ตอนดอก (emasculation) โดยใช้ ปากคีบ (forceps) ดึงอับเรณูเพศผู้ที่อยู่รอบเกสรเพศเมียออกให้ หมด (Lupe et.al, 1991) เพื่อป้องกันการผสมข้ ามที่ไม่ต้องการด้ วยการใช้ สาลีคลุมไว้ การเก็บรวบรวมเรณูของต้ นพ่อ ทาการเก็บจากดอกที่กาลังบาน และปล่อยเรณูแล้ ว และเก็บรักษาในสภาพอุณหภูมิต่าจนกว่าจะทาการผสม (สุทินและรดาพร, 2554) ขันตอนการผสมข้ ้ าม ทา การเปิ ดสาลีที่คลุมดอกส้ มโอทองดีที่เป็ นพันธุ์แม่ออกแล้ วทาการนาเรณูที่เตรี ยมไว้ โดยการถ่ายเรณูลงบนปลายยอดเกสรเพศ เมียของดอกส้ มโอพันธุ์ทองดี แล้ วคลุมสาลีอย่างเดิมเพื่อป้องกันการผสม ทาเครื่ องหมายคู่ผสม วันและเวลาในการผสมข้ าม ทาจนครบทุกคูผ่ สม การประเมินการติดผล โดยเก็บข้ อมูลเฉพาะผลที่มีการพัฒนาผลที่สมบรูณ์ เป็ นเวลา 8 สัปดาห์ นาข้ อมูลที่ได้ หา ค่าเฉลี่ยของการติดผลในแต่ละละคู่ผสม วิเคราะห์ความแปรปรวน และเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี Least Significant Difference (LSD) โดยใช้ โปรแกรม STAT 8

ผลและวิจารณ์ การทดลอง เปอร์ เซ็นต์การติดผลของการผสมข้ ามที่มีผลต่อการติดผลของส้ มโอทองดี พบว่าการติดผลในสัปดาห์ที่ 4 หลังการ ผสมข้ าม คู่ผสมที่ 3 (ส้ มโอทองดีผสมข้ ามกับส้ มโอมณีอีสาน) และ คู่ผสมที่ 4 (ส้ มโอทองดีผสมข้ ามกับส้ มโอทับทิมสยาม) ให้ ค่าการติดผลสูงที่สดุ คือ 77.5% และ 70.0% ตามลาดับ และในสัปดาห์ที่ 8 หลังการผสมข้ าม คู่ผสมที่ 4 ให้ ค่าการติดผลสูงสุด 75.0% ในขณะที่การผสมภายในสายพันธุ์ (คูผ่ สมที่ 1 และ 2) ให้ คา่ การติดผลที่น้อยที่สดุ 5.0% และ 10.0% (Table 1)

676

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Percentage of fruit setting of four crosses at four and eight weeks afterpollination at Pummelo Chaiyaphum orchard, Chaiyaphum Province, Thailand during February - April 2014

cross pollination 1 2 3 4

fruit setting (%)

week 4 cv. Thong Dee (selfing) 47.50 b cv. Thong Dee x cv. Thong Dee (cross-pollination) 45.00 b cv. Thong Dee x cv. Ruby of siam 70.00 a cv. thong Dee x cv. Manee Ee-saan 77.50 a CV % 22.82 LSD 0.05 2.11

week8 5.00 c 10.00 c 37.50 b 75.00 a 23.53 1.15

การติดผลของส้ มโอทองดีในฤดูกาลปกติ พบว่าในเดือนแรกจะมีการติดผล 100% หลังจากนันการหลุ ้ ดร่ วงจะเพิ่ม สูงขึ ้น (รัตวุฒิ, 2553) โดยเฉพาะคู่ผสมที่ผสมภายในสายพันธุ์เดียวกันผลจะหลุดร่วงสูงกว่าคู่ผสมข้ ามสายพันธุ์ วิจิตต์ (2539) พบว่าการผสมข้ ามระหว่างส้ มโอหอมหาดใหญ่กบั ส้ มโอพันธุ์คลาน มีการติดผลสูงกว่าการผสมภายในสายพันธุ์ HeslopHarrison (1980) พบการถ่ายเรณูแบบผสมตัวเองหรื อต้ นเดียวกัน จะให้ ติดผลน้ อยกว่าการผสมข้ าม ดังนันการผสมข้ ้ ามจึง เหมาะกับส้ มโอ ซึง่ โดยธรรมชาติการผสมข้ ามจะเกิดขึ ้นโดยอาศัยแมลงในการผสมข้ าม โดยดอกส้ มโอจะมีน ้าหวานภายในดอก ล่อแมลงที่ช่วยผสมเกสรคือ แมลงวันผลไม้ ชันโรง (อิสมะแอและวิจิตต์, 2550) และปั จจัยที่มีผลต่อการผสมข้ าม คือ ช่วง ระยะเวลา ซึง่ เกสรเพศผู้จะพร้ อมในการถ่ายเรณูในช่วงเวลา 10.00น. แต่เกสรเพศเมียจะพร้ อมรับการผสมในช่วงเวลา 14.00 น. โดยมีการหลัง่ สารเมือก (exudate) บริ เวณยอดเกสรเพศเมีย (stigma) (วิจิตต์และไมตรี , 2537) การผสมข้ ามทาให้ เกิดการ ติดเมล็ดและส้ มโอที่ได้ รับการผสมข้ ามมีการหลุดร่วงน้ อย (วิจิตต์, 2535) นอกจากนี ้ วิจิตต์ (2539) รายงานว่า การผสมข้ าม ของส้ มโอหอมหาดใหญ่ที่ได้ รับการถ่ายเรณูกบั ส้ มโอพันธุ์คลานและส้ มโอพันธุ์สีดอกคาให้ คา่ การติดผลสูงสุดเช่นกัน

สรุ ปผลการทดลอง ส้ มโอพันธุ์ทองดีเหมาะกับการผสมข้ ามกับส้ มโอมณีอีสาน การผสมข้ ามเป็ นวิธีที่เหมาะสาหรับการผลิตส้ มโอให้ ได้ ผลผลิตที่สงู ขึ ้น และการผสมภายในสายพันธุ์ของส้ มโอทองดีสง่ ผลให้ ปริ มาณผลิตต่า

กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั นี ้ได้ รับสนับสนุนงบประมาณจากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.)

เอกสารอ้ างอิง ทรงพล สมศรี . 2530. การศึกษาการผสมเกสรทุเรี ยนชะนี ก้ านยาวโดยใช้ เกสรตัวผู้พนั ธุ์ต่างๆ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 60 หน้ า รัตวุฒิ พึง่ ไทย. 2553. ลักษณะช่อดอกต่อการติดผลของส้ มโอพันธุ์ทองดี. ปั ญหาพิเศษปริ ญญาตรี ภาควิชาพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . นครปฐม. ลักขณา รักษ์ พนั ธ์ เสาวลักษณ์ สุริยาภณานนท์ และวิทยา สุริยาภณานนท์. 2546. กระบวนการการเกิดปฏิสนธิใน รังไข่ส้มโชกุน. การประชุมทาง วิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 41 วันที่ 3-7 กุมภาพันธ์ 2546 กรุงเทพฯ หน้ า 109-116.วิจิตต์ วรรณชิต. 2539. ผลของ การถ่ายละอองเกสรที่มีผลต่อการปฎิสนธิและการติดผลของส้ มโอหอมหาดใหญ่. วารสาร สงขลานคริ นทร์ วทท.18(3) : 287-292 วิจิตต์ วรรณชิตและไมตรี แก้ วทับทิม.2537. ลักษณะสัณฐานวิทยา และชีววิทยาของดอกส้ มโอพันธุ์หอมหาดใหญ่. วารสารสงขลานคริ นทร์ 16(3) : 335-341 สุทิน พรหมโชติ และรดาพร พยัฆฑา. 2554. ความมีชีวิตของการงอกของละอองเกสรส้ มโอพันธุ์ขาวใหญ่เพื่อเก็บ รักษาที่อณ ุ หภูมิต่ํา. วารสาร วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 13(3) : 26-30 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

677


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า อิสมะแอ เจ๊ ะหลง และวิจิตต์ วรรณชิต. 2550. ชีววิทยาดอกและการถ่ายละอองเรณูของส้ มจุก. ว. เกษตร 25(1): 58-73 Heslop- Harrison, J 1980. Selfincompatibity: Phenomenology and physiology. Proc. Roy. Soc. London. Series B. 218: 371-395 Lupe; A., D.Eisikowitch, and P. Brosh. 1991. Pollination in Murcott cultivar of citrus the influence on seed number and productivity. Acta Horticulture. 288 : 275-277

678

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การศึกษาผลของวัสดุรองรับต่ อการเปลี่ยนแปลงจานวนประชากร Trichoderma harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียน Effects of Supporting Material on Trichoderma harzianum Population in the Re-Circulating Nutrient Solution คเณศ ใจเก่ งกาจ1ชิตพ ิ นั ธ์ ทองเจริญสุขชัย1 และ พรหมมาศ คูหากาญจน์ 1* 1 Kanet Jaikengkaj Chitipan Thongcharoensukchai1 and Prommart Koohakan1*

บทคัดย่ อ

ทาการทดสอบในระบบสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียน ที่มีขวด PET (Polyethylene terephthalate) บรรจุวสั ดุรองรับ ได้ แก่ เพอร์ ไลท์และเวอร์ มิคไู ลท์ 1 ลิตรผสมกับชีวผลิตภัณฑ์ Trichoderma harzianum ในอัตรา 50 กรัม สาหรับกรรมวิธีควบคุมมี เฉพาะสารละลายธาตุอาหารผสมกับชีวผลิตภัณฑ์ในอัตราส่วนเดียวกัน ให้ สารละลายธาตุอาหารไหลผ่านวัสดุรองรับลงสูก่ ระบะ สารละลาย และหมุนเวียนอย่างต่อเนื่อง การทดลองแบ่งออกเป็ น 3 ระยะคือ ระยะแรกตรวจสอบความมีชีวิตรอดของจานวน ประชากร T. harzianum เป็ นเวลา 7 สัปดาห์ ระยะที่สองผลของพืชต่อจานวนประชากร T. harzianum โดยใส่ผกั สลัดกรี นโอ๊ คลงไปใน ระบบเป็ นเวลา 4 สัปดาห์ ระยะสุดท้ ายตรวจสอบความมีชีวิตรอดของ T. harzianum หลังจากทาการเก็บผลผลิตแล้ ว จากการตรวจ นับจานวนประชากร T. harzianum ในวัสดุรองรับและสารละลายในกระบะทุกสัปดาห์ พบว่าจานวนประชากร T. harzianum ใน ภาชนะที่มีวสั ดุรองรับมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก โดยพบในช่วง 5.3-5.2 log cfu/ml ทังกรรมวิ ้ ธีที่ใช้ เพอร์ ไลท์และเวอร์ มิคไู ลท์เป็ นวัสดุ รองรับ ส่วนในกรรมวิธีควบคุมมีอตั ราลดลงอย่างรวดเร็วจาก 5.3 log cfu/ml เป็ น 2.7 log cfu/ml ระยะที่สองในวัสดุรองรับทังสองลดลง ้ เล็กน้ อยในช่วง 4.9-5.0 log cfu/ml ส่วนในกรรมวิธีควบคุมลดลงเหลือ 2.6 log cfu/ml ระยะสุดท้ ายในวัสดุรองรับทังสองลดลง ้ เล็กน้ อย 4.7-4.8 log cfu/ml ส่วนในกรรมวิธีควบคุมลดลงเหลือ 2 cfu/ml สาหรับจานวนประชากร T. harzianum ในกระบะ สารละลายของวัสดุรองรับทังสองชนิ ้ ดพบจานวนประชากร T. harzianum อยู่ในช่วง 3.5-3.0 log cfu/ml ซึ่งมากกว่าในกรรมวิธี ควบคุมที่พบอยู่ในช่วง 2.5-2.0 log cfu/ml ผลการทดลองดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่า ในระบบหมุนเวียนสารละลายธาตุอาหารที่มีวสั ดุ รองรับสามารถรักษาระดับจานวนประชากรของ T. harzianum ให้ มากกว่ากรรมวิธีควบคุมได้ คาสาคัญ: เชื ้อราไตรโคเดอร์ มา่ , ไฮโดรโพนิกส์, เพอร์ ไลท์, เวอร์ มิคไู ลท์

Abstract

This experiment was done in the re-circulating nutrient solution (NS). Installed with PET bottle (Polyethylene terephthalate) containing supporting material (perlite or vermiculite) at the volume of 1 L mixed with 50 g of Trichoderma biocontrol product. For control, it was PET accessory with 1 L of NS and biocontrol product without supporting material. NS was passed through the accessory and ran off into the NS tank in re-circulation. Population of T. harzianum in supporting material and NS tank were weekly detected throughout 3 periods. At the 1stperiod, the survival of T. harzianum in the system was detected for 7 weeks. In the 2nd period, effect of green oak lettuce on T. harzianum population was evaluated for 4 weeks. Then it was continuously detected for 3 weeks in the last period without plant. The result showed that, T. harzianum population in perlite and vermiculite of the 1st period was rather stable.It found in range of5.3-5.2 log cfu/ml, while in control it reduced rapidly from 5.3 to 2.7 log cfu/ml. In the 2nd period, T. harzianum population in perlite and vermiculite slightly decreased to 4.9-5.0log cfu/ml, but in control it was decreased to 2.6 log cfu/ml. In the last period T. harzianum population in supporting materials stilled higher than that of control, it was by 4.7-4.8log cfu/ml. while in control was 2.0 log cfu/ml. For the population in the NS tank, system with supporting material was detected in the range of 3.5-3.0 log cfu/ml. which higher than control that was detected at 2.5-2.0 log cfu/ml. These result dedicated effect of supporting material to maintain T. harzianum in higher population than that of control. Keywords: Trichoderma sp., Hydroponics, vermiculite, perlite 1

สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบังกรุงเทพฯ 10520 *Corresponding author: E-mail: kkpromma@kmitl.ac.th การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

679


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ปั จจุบนั ระบบการปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดินได้ รับความนิยมกันอย่างแพร่ หลาย เนื่องจากสามารถลดปั ญหาการปลูกพืชใน สภาพพื ้นที่ที่ดินไม่เหมาะสมกับการปลูกพืช นอกจากนี ้ยังสามารถปลูกได้ ในพื ้นที่ขนาดเล็กและยังให้ ผลผลิตต่อหนึ่งหน่วยพื ้นที่สงู กว่าการปลูกพืชในดิน อีกทังยั ้ งสามารถหลีกเลี่ยงความเสียหายที่เกิดจากเชื ้อจุลินทรี ย์สาเหตุโรคพืชที่แพร่ระบาดและติดต่อทางดิน (พรหมมาศ, 2548) อย่างไรก็ตามระบบการปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดินเป็ นการปลูกในสารละลายธาตุอาหารที่หมุนเวียนอยู่ในระบบอย่าง ตลอดเวลา (Jensen, 1991) จึงมีข้อควรระวังคือถ้ าหากเกิดการปนเปื อ้ นจากเชือ้ สาเหตุโรคพืชลงสู่ระบบจากการปฏิบตั ิที่ไม่ เหมาะสมหรื อวิธีใดๆ ก็ตาม จะทาให้ เกิดความเสียหายกับพืชทังหมดได้ ้ ซึ่งส่งผลให้ เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างมาก วิธีการป้องกันกาจัดที่เห็นผลง่ายที่สดุ คือการใช้ สารเคมีควบคุม แต่ยงั คงมีข้อจากัดบางประการ เช่น ความห่วงใยในเรื่ องผลกระทบ โดยตรงต่อสุขภาพของเกษตรกร และส่งผลทางอ้ อมต่อผู้บริโภคคือสารพิษจะสะสมในร่างกาย (ศักดา, 2546) โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน พืชผักที่ใช้ ในการบริโภคจะไม่อนุญาตให้ ใช้ สารเคมีใส่ลงไปในระบบหมุนเวียนสารละลายธาตุอาหาร (JETRO, 2011) ทางเลือกอีก หนึง่ ทางที่กาลังได้ รับความนิยมคือ การควบคุมโดยชีววิธีโดยการใส่เชื ้อจุลินทรี ย์ปฏิปักษ์ ลงไปในระบบ เช่น เชื ้อรา Trichoderma sp. และเชื ้อแบคทีเรี ย Bacillus subtilis โดยมีรายงานว่าเชื ้อจุลินทรี ย์เหล่านี ้จะสามารถป้องกันกาจัดเชื ้อสาเหตุโรคพืชได้ แล้ ว ยังส่งผล ทาให้ พืชเจริ ญเติบโตได้ ดีขึ ้น (Gul et al., 2008; Vinale et al., 2009) นอกจากนี ้ยังมีส่วนช่วยในการกระตุ้นให้ พืชเกิดความ ต้ านทานต่อโรคได้ อีกด้ วย (Cai et al., 2013; Nawrocka and Malolepzsa, 2013) ในการใส่เชื ้อราปฏิปักษ์ เช่น Trichoderma sp. ลงไปในระบบอาจมีผลในเรื่ องการเปลี่ยนแปลงจานวนประชากร โดยอาจทาให้ จานวนประชากรของเชื ้อรา Trichoderma sp. ลดลง เรื่ อยๆ จนในที่สดุ จานวนประชากรอาจเหลือน้ อยและไม่มีผลใดๆ กับพืช ทาให้ ต้องใส่บ่อยครัง้ ขึ ้น ในขณะเดียวกันหากใส่ปริ มาณ มากๆ ในคราวเดียว อาจส่งผลให้ เป็ นอันตรายต่อรากพืชได้ เช่นกัน (พรหมมาศ และ อิทธิ สนุ ทร, 2548) ซึ่งนับเป็ นปั ญหาสาคัญ ประการหนึ่งที่จะต้ องเร่ งหาแนวทางการแก้ ไข ดังนัน้ จึงมีความจาเป็ นที่จะต้ องหาแนวทางในการคงระดับจานวนประชากร หรื อ รักษาความมีชีวิตรอดของเชื ้อปฏิปักษ์ ให้ อยู่ในภาวะที่มีอย่างเพียงพอในระบบสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียนของระบบปลูกพืช โดยไม่ใช้ ดิน โดยการหาวัสดุรองรับเพื่อเป็ นแหล่งพักพิงให้ กับเชือ้ ซึ่งอาจทาให้ มีอตั ราการอยู่รอดเพิ่มขึน้ หรื อคงระดับจานวน ประชากรไว้ ให้ ยาวนานขึ ้นได้ ทังนี ้ ้ได้ มีการศึกษาไว้ ในเบื ้องต้ นแล้ วว่าวัสดุรองรับสามารถจะช่วยให้ ประชากรของเชื ้อราปฏิปักษ์ มี อัตราการลดลงช้ ากว่าเดิมได้ (Jaikengkaj et al., 2015) ส่วนในด้ านของการป้องกันกาจัดโรค อาจทาให้ เพิ่มกิจกรรมการยับยัง้ ภายในวัสดุรองรับโดยเชื ้อปฏิปักษ์ ซึง่ จะส่งผลดีในการลดการเกิดโรคลงได้ มากขึ ้น ด้ วยเหตุผลดังกล่าวจึงทาการศึกษาผลของวัสดุ รองรับอินทรี ย์ และอนินทรี ย์บางชนิดต่อจานวนประชากร Trichoderma harzianum เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการควบคุมโรคโดย ชีววิธีในระบบการปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดินต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง 1. การศึกษาผลของวัสดุรองรั บต่ อจานวนประชากรของเชือ้ รา T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียน ทาการทดสอบความมีชีวิตรอดของจานวนประชากรเชื ้อรา T. harzianum จากชีวผลิตภัณฑ์ชนิดผง โดยนาผลิตภัณฑ์ ดังกล่าวมาผสมกับน ้าที่ทาการฆ่าเชื ้อแล้ วในอัตราส่วน 1:100 จากนันท ้ าการเจือจางลาดับส่วนให้ ได้ ความเข้ มข้ น 10-1, 10-2,10-3, 10-4และ 10-5กรัมต่อมิลลิลิตร ของผลิตภัณฑ์ดงั กล่าว จากนันท ้ าการตรวจนับเชื ้อโดยใช้ วิธี pour plate technique ในอาหาร เลี ้ยงเชื ้อ Trichoderma selective media (TSM; Elad et al., 1981) โดยในแต่ละความเข้ มข้ นให้ ทา 3 ซ ้า วัดผลโดยการตรวจ นับจานวนโคโลนีและนามาคานวณจานวนประชากรดังนี ้ จานวนประชากร T. harzianum =

จานวนโคโลนีที่นบั ได้ ค่าความเข้ มข้ นเริ่มต้ น

× dilution factor

หลังจากนันท ้ าการเตรี ยมระบบสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียน โดยใช้ ขวด PET ขนาด 1.5 ลิตร ตัดก้ นขวดพลาสติกออก แล้ วบรรจุวสั ดุรองรับที่ใช้ ในการทดลอง ได้ แก่ เพอร์ ไลท์ และเวอร์ มิคไู ลท์จานวนอย่างละ1 ลิตร ผสมกับชีวผลิตภัณฑ์ไตรโคเดอร์ ม่า ปริมาณ 50 กรัม (จากการคานวณข้ างต้ น) ใส่ลงไปในขวด PET แขวนขวดไว้ ในลักษณะคว่าขวดลง จากนันน ้ าก้ นขวดที่ตดั และเจาะรู มาปิ ดด้ านบนอีกครัง้ เพื่อป้องกันไม่ให้ วัสดุรองรับลอยนา้ และไหลออก สารละลายธาตุอาหารจะไหลผ่านภาชนะนีแ้ ล้ วไหลลงสู่ กระบะใส่สารละลายธาตุอาหารปริ มาณ 15 ลิตร ที่มีปัม้ สารละลายทาหน้ าที่ปัม้ สารละลายให้ ไหลผ่านภาชนะที่มีวสั ดุรองรับที่ใช้ ใน การทดลองอยู่ตลอดเวลา ส่วนกรรมวิธีควบคุมให้ กกั น ้าให้ อยู่ในขวดโดยมีปริ มาตรคงที่จานวน 1 ลิตร ผสมกับชีวผลิตภัณฑ์ไตรโค เดอร์ ม่าปริ มาณ 50 กรัม โดยไม่มีวสั ดุรองรับ ทาการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) โดยในแต่ละกรรมวิธีให้ 680

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ทา 3 ซ ้า การวัดผลโดยการเก็บตัวอย่างวัสดุรองรับ และสารละลายในกระบะเป็ นประจาทุกสัปดาห์เป็ นระยะเวลา 7 สัปดาห์ มาตรวจ นับจานวนประชากรเชื ้อรา T. harzianum โดยวิธี pour plate technique ในอาหารเลี ้ยงเชื ้อ TSM แล้ วนามาคานวณหาจานวน ประชากร 2. การศึกษาผลของพืชต่ อจานวนประชากรของเชือ้ รา T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียน ดาเนินการหลังจากที่ทาการทดลองแรกแล้ วเป็ นระยะเวลา 7 สัปดาห์ โดยทาการปรับค่าความเข้ มข้ นของสารละลายโดยใช้ ค่า การนาไฟฟ้า (Electric Conductivity: EC) เป็ นตัววัด และค่า pH ของสารละลายธาตุอาหารให้ อยู่ในระดับที่เหมาะสมกับการ เจริ ญเติบโตของพืช จากนัน้ ทาการใส่ผักสลัดกรี นโอ๊ ค ที่อายุ 3 สัปดาห์ ลงไปในระบบ ตรวจนับจานวนประชากรของเชื อ้ รา T. harzianum ในวัสดุรองรับและสารละลายธาตุอาหารเช่นเดียวกับข้ อ 1 เป็ นระยะเวลา 4 สัปดาห์ และในสัปดาห์ที่ 4 ให้ ทาการเก็บข้ อมูล เพิ่มเติม ได้ แก่ การเจริ ญเติบโตของพืช (น ้าหนักต้ นและน ้าหนักราก) พร้ อมกับตรวจนับจานวนประชากรของเชื ้อราดังกล่าวในรากพืช ทดสอบ 3. การศึกษาจานวนประชากรของเชือ้ รา T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียนที่ปราศจากพืช ทาการทดลองต่อจากการทดลองที่ 2 โดยตรวจนับจานวนประชากรของเชื ้อรา T. harzianum ในวัสดุรองรับ และ สารละลายในกระบะ หลังจากเก็บพืชออกไปแล้ วทุก ๆ สัปดาห์ต่อเนื่องอีกเป็ นระยะเวลา 3 สัปดาห์ เพื่อดูจานวนประชากรเชื ้อ ราดังกล่าวหลังจากการเก็บพืช

ผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง 1. การศึกษาผลของวัสดุรองรั บต่ อจานวนประชากรของเชือ้ รา T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียน จากการทดสอบความมีชีวิตรอดของเชื ้อรา T. harzianum จากชีวผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่ง ที่ระบุจานวนสปอร์ 2×108 สปอร์ ต่อกรัม และระบุวนั หมดอายุไว้ ที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2558 พบว่ามีจานวนประชากร T. harzianum ที่มีชีวิตรอดจานวน 1.85×106 สปอร์ ต่อกรัม จึงใช้ ค่า นี ้เพื่อใช้ ในเตรี ยมการทดลอง จากการใช้ ชีวผลิตภัณฑ์ T. harzianum ใส่ลงไปในระบบในอัตรา 50 กรัม และจากการศึกษาผลของวัสดุรองรับ ต่อจานวนประชากรของเชื ้อรา T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียนพบว่า จานวนประชากร T. harzianum ในภาชนะที่มีเพอร์ ไลท์เป็ นวัสดุรองรับมีอตั ราค่อนข้ างคงที่ โดยตรวจพบจานวนประชากรในสัปดาห์ที่ 1-7 คงที่อยู่ในระดับประมาณ 5.0-5.3 log cfu/ml (Fig. 1) และเป็ นไปในทานองเดียวกันกับกรรมวิธีที่มีเวอร์ มิคไู ลท์เป็ นวัสดุรองรับ โดยตรวจพบจานวนประชากรของ T. harzianum ได้ เท่ากับ 5.0-5.3 log cfu/ml เช่นกัน ในขณะที่กรรมวิธีควบคุมมีอตั ราลดลงอย่างชัดเจน เห็นได้ จากจานวนประชากร T. harzianum ในภาชนะที่ไม่มีวสั ดุ รองรับ (เก็บตัวอย่างจากสารละลายที่กกั อยู่ในภาชนะ) พบว่าในช่วงสัปดาห์ที่ 2 มีจานวนประชากรอยู่ในระดับ 3.3 log cfu/ml จากปกติ 5.3 log cfu/ml และหลังจากนันค่ ้ อยๆ ลดลงอย่างต่อเนื่อง จนมีจานวนประชากรคงที่ที่ระดับ 2.6 log cfu/ml (Fig. 1) สาหรับจานวนประชากร T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหารที่เก็บตัวอย่างจากกระบะใส่สารละลาย พบจานวนประชากรของ T. harzianum ต่ากว่าที่พบในส่วนแรก โดยกรรมวิธีที่มีเพอร์ ไลท์เป็ นวัสดุรองรับพบจานวนประชากรในสารละลายเท่ากับ 3.4 log cfu/ml ในสัปดาห์ที่ 2 จากนันลดลงเพี ้ ยงเล็กน้ อย เป็ น 3 log cfu/ml ในสัปดาห์ที่ 3 และคงที่จนถึงในสัปดาห์ที่ 7 เช่นเดียวกันกับกรรมวิธีที่มีเวอร์ มิคไู ลท์เป็ นวัสดุรองรับ ส่วนในกรรมวิธี ควบคุม พบจานวนประชากร T. harzianum ต่าที่สดุ โดยมีการลดลงจาก 2.5 log cfu/ml ในช่วงสัปดาห์ที่ 2-3 ไปเป็ น 2.1 log cfu/ml จนถึง สัปดาห์ที่ 7 (Fig. 2) ผลการทดลองดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่าวัสดุรองรับมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงจานวนประชากร T. harzianum โดยใน กรรมวิธีที่มีวสั ดุรองรับทังสองชนิ ้ ดมีจานวนประชากรเชื ้อราดังกล่าวสูงกว่าในกรรมวิธีควบคุมถึง 10 เท่า

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

681


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Trichoderma population (log cfu/ml)

6 5 4

control

3

perlite

2

vermiculite

1 0

1

2

3

4

5

6

7

week

Trichoderma population (log cfu/ml)

Figure 1 Population dynamic of T. harzianum in supporting material during 1st period (without plant in the system). 6

5 4

control

3

perlite

2

vermiculite

1 0 1

2

3

4

5

6

7

week

Figure 2 Population dynamic of T. harzianum in nutrient solution tank during 1st period (without plant in the system). 2. ผลของพืชต่ อจานวนประชากรของเชือ้ รา T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียน จากการศึกษาผลของพืชต่อการเปลี่ยนแปลงจานวนประชากรของเชือ้ รา T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหาร หมุนเวียนพบว่า เมื่อมีพืชอยูใ่ นระบบจานวนประชากรของ T. harzianum ลดลง แต่กรรมวิธีที่มีวสั ดุรองรับจานวนประชากรในวัสดุ รองรับจะลดลงไม่มากนักเมื่อเปรี ยบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม (Fig.3) เป็ นที่น่าสังเกตว่าในกรรมวิธีที่มีวสั ดุรองรับจะมีมากกว่าใน กรรมวิธีที่ไม่มีวสั ดุรองรับถึง 27 เท่า ผลการทดลองดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่าวัสดุรองรับยังสามารถรักษาระดับจานวนประชากร T. harzianum ได้ สอดคล้ องกับ Singh et al. (2007) ที่ได้ รายงานถึงประสิทธิภาพของวัสดุเหลือใช้ ทางการเกษตรชนิดต่างๆ ได้ แก่ ซัง ข้ าวโพด ซังข้ าวโพดป่ น แกลบ ขี ้เลื่อย เมล็ดข้ าวฟ่ าง ราข้ าวสาลี ราข้ าวสาลีผสมขี ้เลื่อย และใบชาสามารถเพิ่มจานวนประชากร T. harzianum ได้ ในส่วนของจานวนประชากรในสารละลายธาตุอาหารจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงในทุกกรรมวิธี (Fig. 4) สาหรับจานวน ประชากร T. harzianum ในรากพืชทดสอบของแต่ละกรรมวิธี พบว่ากรรมวิธีที่มีเวอร์ มิคไู ลท์เป็ นวัสดุรองรับจานวนประชากรของ T. harzianum ในรากพืชมีมากที่สดุ รองลงมาคือกรรมวิธี ที่มีเพอร์ ไลท์เป็ นวัสดุรองรับ และกรรมวิธีควบคุมโดยมีจานวนประชากร เท่ากับ 3.7,3.6, 3.4 log cfu/ml ตามลาดับ (Fig. 5) สันนิษฐานได้ ว่าประชากรของเชื ้อดังกล่าวถูกดึงดูดโดยสารขับราก และเข้ าสู่ ราก ดังการรายงานของ Badri et al. (2009) ที่รายงานว่า พืชหลัง่ สารประกอบต่าง ๆ ผ่านทางราก ส่งผลต่อการดึงดูดจุลินทรี ย์ บริเวณรอบ ๆ รากพืช ในส่วนของการเจริ ญเติบโตของผักสลัดดกรี นโอ๊ ค พบว่าในเวอร์ มิคไู ลท์มีการเจริ ญเติบโตที่ดีที่สดุ เห็นได้ จาก มีน ้าหนักต้ นและน ้าหนักรากมากที่สดุ โดยมีน ้าหนักเฉลี่ยอยูท่ ี่ 41.0 และ 13.2 กรัม ตามลาดับ (Fig. 7, Table 1) ในทานองเดียวกัน จานวนประชากร T. harzianum ในรากของพืชเวอร์ มิคไู ลท์มีอตั ราสูงที่สดุ เช่นกัน รองลงมาคือเพอร์ ไลท์และกรรมวิธีควบคุม ทังนี ้ ้ ในส่วนของรากพืชก่อนทาการใส่ลงในระบบไม่มีประชากรของ T. harzianum (Fig. 5, 6) แสดงให้ เห็นว่าการเจริ ญเติบโตที่สงู นี ้เป็ น ผลมาจากเชื ้อรา T. harzianum ที่มีอยู่ในระบบที่มีเวอร์ มิคไู ลท์เป็ นวัสดุรองรับในอัตราที่สงู กว่าในกรรมวิธีอื่นๆ จึงเป็ นผลให้ อตั รา การเจริ ญเติบโตที่สงู ที่สดุ ตามไปด้ วย สอดคล้ องกับ Vinale et al. (2009) ที่ได้ รายงานว่าเชื ้อรา T. harzianum สร้ างสาร harzianic acid ซึง่ เป็ นสารทุติยภูมิในการช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช 682

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Trichoderma cfu/ml) Trichodermapopulation population(log(logcfu/ml)

6 5 4 3 2 1 0

6 5

4

control control

3

perlite perlite

2

vermiculite vermiculite

1 0

7

7

8

8

9

9

10 10

11 week 11

Trichoderma population (log cfu/ml)

Figure 3 Population dynamic of T. harzianum in supporting material during 2nd period (with plant in the system). 6 5 4

control

3

perlite

2

vermiculite

1

week

0 7

8

9

10

11

Population

Figure4 dynamic of T. harzianum in nutrient solution tank during 2nd period (with plant in the system). 4

Trichoderma population (log cfu/ml)

3.5 3

2.5

2

1.5 1

0.5 0

non treated plant

control

perlite

vermiculite

Treatment

Figure 5The amount of T. harzianum in lettuce roots grown in each nutrient solution.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

683


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 6 Colony characteristic of T. harzianum isolated from lettuce root on Trichoderma selective media; A: non treated plant; B: grown in control nutrient solution; C: grown in perlite nutrient solution ;D: grown in vermiculite nutrient solution Table1 Effect of T. harzianum on the growth of green oak lettuce. Treatment Control With perlite as supporting material With vermiculite as supporting material *

shoot 24.59c* 34.50b 41.03a

Fresh weight (g)

root 10.15b 12.88a 13.17a

Means in the same column with different letters are significant difference (P<0.05)follow by Duncan’s multiple range test (DMRT)

control

perlite

vermiculite

Figure 7 Size of green oak lettuce grown in each treatment.

3. จานวนประชากรของเชือ้ รา T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียนที่ปราศจากพืช จากการศึกษาจานวนประชากรของเชื ้อรา T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียนที่ป ราศจากพืช โดยทา การทดลองต่อเนื่องจากการทดลองที่ 2 เป็ นระยะเวลาอีก 3 สัปดาห์ พบว่าเมื่อไม่มีพืชปลูกอยู่ในระบบในกรรมวิธีที่มีวสั ดุ รองรับทัง้ 2 ชนิด มีจานวนประชากรเชื ้อราดังกล่าวลดลงเล็กน้ อย โดยในเพอร์ ไลท์มีจานวนประชากร 4.8 log cfu/ml จากนัน้ ลดลงจนกระทัง่ สัปดาห์สดุ ท้ ายเหลือเพียง 4.7 log cfu/ml ในส่วนของวัสดุรองรับเวอร์ มิคไู ลท์ก็ได้ ผลในทานองเดียวกัน สาหรับ ในส่วนของกรรมวิธีควบคุมคงที่มีจานวนประชากรต่าสุดอยู่ในระดับ 2 log cfu/ml (Fig. 8) ในส่วนของจานวนประชากรเชื ้อรา ในสารละลายธาตุอาหารยังคงที่ต่อเนื่องอยู่ในระดับ 3.0 log cfu/ml มีเพียงกรรมวิธีควบคุมซึง่ ลดลงจาก 2.1 log cfu/ml เหลือ เพียง 2 log cfu/ml (Fig. 9) ซึง่ เป็ นค่าที่น้อยที่สดุ ที่สามารถจะทาการตรวจนับได้

684

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


Trichoderma population (log cfu/ml)

วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

6 5 4

control

3

perlite

2

vermiculite

1

week

0 11

12

13

14

Trichoderma population (log cfu/ml)

Figure 8 Population dynamic of T. harzianum in supporting material during 3rd period (without plant in the system)

6 5 4

control

3

perlite

2

vermiculite

1

week

0 11

12

13

14

Figure 9 Population dynamic of T. harzianum in nutrient solution tank during 3rd period (without plant in the system)

สรุ ปผลการทดลอง จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงจานวนประชากร T. harzianum ในสารละลายธาตุอาหารหมุนเวียนตลอดระยะเวลา 14 สัปดาห์ พบว่า ประชากรของเชื ้อรา T. harzianum ยังคงมีอยูใ่ นระบบแต่มีอตั ราที่แตกต่างกันออกไป โดยในกรรมวิธีที่มีวสั ดุ รองรับทังสองชนิ ้ ด ได้ แก่เพอร์ ไลท์และเวอร์ มิคไู ลท์ มีอตั ราการลดลงอย่างช้ าๆ จากเริ่ มต้ น ที่ 5.3 log cfu/ml เป็ น 5.2 log cfu/ml ในขณะเดียวกันกรรมวิธีควบคุมซึง่ ไม่มีวสั ดุรองรับนันมี ้ อตั ราการลดลงอย่างรวดเร็ว โดยลดลงจาก 5.3 log cfu/ml ใน ตอนเริ่ มต้ นเหลือเพียง 3.3 log cfu/ml เพียงแค่ช่วงระยะเวลา 1 สัปดาห์ ซึ่งในสัปดาห์สดุ ท้ ายของการทดลองจะเห็นความ แตกต่างระหว่างจานวนประชากร T. harzianumอย่างชัดเจน โดยในระบบที่มีวสั ดุรองรับจะมีมากกว่าในกรรมวิธีควบคุมถึง 24 เท่า เช่นเดียวกันกับจานวนประชากรในสารละลาย ที่สงู กว่ากรรมวิธีควบคุม 10 เท่า ดังนั ้ นจะเห็ ้ นได้ ว่าการมีวสั ดุรองรับจะ สามารถรักษาจานวนประชากรของเชื ้อราดังกล่าวได้ ทาให้ มีอตั ราการลดลงที่ช้ากว่าปกติ ส่งผลดีตอ่ การปลูกพืชโดยเห็นได้ จาก กรรมวิธีที่มีเวอร์ มิคไู ลท์เป็ นวัสดุรองรับซึง่ มีจานวนประชากร T. harzianum อยู่ในระบบมากที่สดุ ส่งผลต่อเนื่องไปยังพืชที่ปลูก ในระบบทาให้ มีอตั ราการเจริ ญเติบโตที่มากที่สดุ เช่นเดียวกัน การทดลองดังกล่าวนีแ้ สดงให้ เห็นถึงความเป็ นไปได้ ของวัส ดุ รองรับในการคงระดับหรื อการเป็ นถิ่นที่อยู่อาศัยให้ กบั T. harzianum ซึง่ เป็ นการเสริ มประสิทธิภาพของการควบคุมโรคโดยชีว วิธีในระบบการปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดินต่อไป

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบังที่สนับสนุนการดาเนิน งานวิจยั และให้ ทนุ ในการนาเสนอผลงานวิจยั ครัง้ นี ้

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

685


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง พรหมมาศ คูหากาญจน์ และ อิทธิสนุ ทร นันทกิจ. 2548. ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี ในการควบคุมโรครากเน่าของผักสลัดที่เกิด จากเชื ้อ Pythium ในระบบปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดิน. วิทยาศาสตร์ เกษตร 36 (5-6): 1191-1194. พรหมมาศ คูหากาญจน์. 2548. ศักยภาพของแบคทีเรี ยบริ เวณเขตรากพืชในการควบคุมโรครากเน่าของผักสลัดที่เกิดจากเชื ้อPythium myriotylum ในระบบ NFT. หน้ า 1082-1902. ใน การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติครัง้ ที่ 7, เชียงใหม่. ศักดา ศรี นิเวศน์. 2546. ผลกระทบของสารเคมีที่มีต่อสุขภาพ. ส่วนบริ หารศัตรูพืช. สานักพัฒนาคุณภาพสินค้ าเกษตร กรมส่งเสริ มการเกษตร. กรุงเทพมหานคร. Badri D. V., Weir T. L., Van der Lelie D. and Vivanco J. M. 2009. Rhizosphere chemical dialogues: plant-microbe interaction. Biotechnology 20: 642-650. Cai F., Yu G., Wang P., Wei Z., Fu L., Shen Q. and Chen W. 2013. Harzianolide, a novel plant growth regulator and systemic resistance elicitor form Trichoderma harzianum. Plant Physiology and Biochemistry 73: 106-113. Elad Y., Chet I. and Henis Y. 1981. Selective media for improving quantitative isolation of Trichoderma spp. from soil. Phytoparasitica 9(1): 59-67. Gul A., Kidogin F., Tuzel Y. and Tuzel H. I. 2008.Effect of Bacillus amyloliquefaciens on tomato (Solanum lycopersicum L.) growing in perlite. Spainish Journal of Agricultural Research 6(3): 422-429. Jaikengkaj K., Koohakan P. and Jeanaksorn T. 2015. Comparisonof Trichoderma population in the re-circulating nutrient solution with and without supporting material. page 177-180. 2nd International symposium on Agricultural Technology. 1-4 July 2015. A-one the royal cruise hotel, Chonburi. Japan External Trade Organization (JETRO). 2011. Guidebook for Export to Japan (Food Articles). Jensen M.H 1991. Hydroponics culture for the tropics opportunity and alternatives. Food and Fertilizer Technology centre. University of Arizona, Tucson, USA.15 p. Nawrocka J. and Malolepsza U. 2013. Diversity in plant systemic resistance induced by Trichoderma. Biological Control 67: 149-156. Singh A., Sriastava S. and Singh S. B. 2007. Effect of substrate on growth and shelf life of Trichoderma harzianum and it use biocontrol of disease. Bioresource Technology 98: 470-473. Trade and Economic Coopelation Department. Akasaka, Tokyo, Japan. Vinale F., Flematti G., Sivasithamparum K., Lorito M., Marra R., Skelton B. W. and Ghisalberti E. L. 2009. Harzianic acid, an antifungal and plant growth promoting metabolite from Trichoderma harzianum. Journal of Natural Products 72: 2032-2035.

686

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของ 6-Benzyl-aminopurine (BAP) ต่ อการเจริญของตาที่ก้านช่ อดอก กล้ วยไม้ ฟาแลนนอปซิสสายพันธุ์เวดดิง้ พรอมมะเนด Effects of 6-Benzyl-aminopurine (BAP) on The Growth of Phalaenopsis amabilis var. wedding promenade Inflorescence Bud สุเมธ ตรี ศักดิ์ศรี1*และ ดวงตา จวนเจริญ2 Sumet treesaksri 1and Doungtha juanchareon2

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของ 6-Benzyl-aminopurine (BAP) ที่ระดับความเข้ มข้ นต่าง ๆ ต่อการเจริ ญของตาที่ก้านช่อดอก กล้ วยไม้ ฟาแลนนอปซิ ส สายพันธุ์ เวดดิ ง้ พรอมมะเนด ท าการทดลองโดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) มี 4 วิธีการทดลอง ๆ ละ 3 ซ ้า ๆ ละ 4 ตา โดยทาการป้ายตาที่ก้านช่อดอกของกล้ วยไม้ สกุลฟาแลน นอปซิสสายพันธุ์เวดดิ ้งพรอมมะเนด ด้ วย BAP ในลาโนลินที่ระดับความเข้ มข้ น 1 2.5 5 และ 10 กรัมต่อกิโลกรัม หลังจากป้าย ตาเป็ นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่า BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 2.5, 5 และ 10 กรัมต่อกิโลกรัม ทาให้ กล้ วยไม้ ฟาแลนอปซีสมีการ แตกตาดีที่สดุ ร้ อยละ 100 และ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัม ทาให้ ตาที่ก้านช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซีสมี ความยาวตามากที่สดุ คือ 8.09 เซนติเมตร คาสาคัญ : ไซโตไคนิน, ตาดอก

ABSTRACT Effect of different concentrations of 6-Benzyl-aminopurine (BAP) on the growth of inflorescence bud of Phalaenopsis amabilis var. wedding promenade were studies. The experiment was a completely randomized design (CRD) with four treatments and three replications with 4 inflorescence buds per replications. The mixture of BAP in lanoline paste at 1 2.5 5 and 10 g/kg were treated on inflorescence bud of Phalaenopsis Wedding Promenade. After 8 week applications. The result show that 2.5 5 and 10 g/kg BAP in lanoline paste treatments induced 100 percent of inflorescence budding. The longest inflorescence buds at 8.09 centimeters were found in 5 g/kg BAP in lanoline paste treatment. KeyWords: BAP , plant growth regulator

1*

Corresponding author; e-mail address: ktsumet@kmitl.ac.th ภาควิชาครุศาสตร์ เกษตร คณะครุศาสตร์ อตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 1 Department of Agricultural Education, Faculty of Industrial Education, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang 10520 2 นักศึกษาปริ ญญาตรี ภาควิชาครุศาสตร์ เกษตร คณะครุศาสตร์ อตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 2 Bachelor student of Department of Agricultural Education, Faculty of Industrial Education, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang 10520 1

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

687


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา กล้ ว ยไม้ ส กุล ฟาแลนนอปซิ ส เป็ นกล้ ว ยไม้ ที่ มีการเจริ ญเติบ โตและรู ป ทรง ซึ่ง จัด อยู่ในประเภทโมโนโพเดี ย ล มี แหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ กระจายพันธุ์กว้ างขวางอยู่ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ และหมู่เกาะใกล้ เคียงในมหาสมุทร แปซิฟิก ซึ่งมีสภาพแวดล้ อมเป็ นเขตร้ อน เช่น ฟิ ลิปปิ นส์ บอร์ เนียว สุมาตรา มาเลเซีย ไทย พม่า เป็ นต้ น (ระพี, 2516) กล้ วยไม้ สกุลนีเ้ ป็ นที่ร้ ู จักกันดีและนิยมปลูกกันมาก โดยการจาหน่ายกล้ วยไม้ ในสหรัฐอเมริ การ้ อยละ 75 เป็ นกล้ วยไม้ สกุล ฟาแลนนอปซิส (Griesbapch, 2002) ซึง่ กล้ วยไม้ ชนิดนี ้มีก้านช่อดอกยาว ดอกจะทยอยกันบานจากโคนไปหาปลาย (สโมสร กล้ วยไม้ บางเขน, 2519) การขยายพันธ์กล้ วยไม้ ฟาแลนอปซีสสามารถทาได้ 2 วิธี คือ การขยายพันธุ์แบบอาศัยเพศสามารถทา ได้ โดยการเพาะเมล็ด และการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศสามารถทาได้ โดยการแยกกอปลูกหรื อการแยกต้ นที่เกิดจากตาที่ก้าน ช่อดอก (อรดี, 2518) ซึง่ สามารถตัดแยกต้ นนันออกจากก้ ้ านช่อดอกไปปลูกได้ โดยอาจมี ปัจจัยบางประการทาให้ ตาซึง่ อยู่ที่ข้อ ของก้ านช่อดอกนันมี ้ ทงตาดอกและตาหน่ ั้ อ โดยแทนที่จะเกิดเป็ นตาดอกแต่เกิดเป็ นตาหน่อเจริ ญขึ ้นมาแทน (ระพี, 2516) ต่อมามีการนาเทคนิคเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อซึง่ เป็ นเทคนิคที่สามารถขยายพันธุ์พืชได้ ในปริมาณมากในระยะเวลาอันสันมาปรั ้ บใช้ ใน การขยายพันธุ์กล้ วยไม้ หลายสายพันธุ์ (กรมส่งเสริ มการเกษตร, 2546) โดยกล้ วยไม้ สกุลฟาแลนนอปซิสนี ้ถ้ านาเอาตายอดหรื อ ตาข้ างมาฟอกฆ่าเชื ้อโรคด้ วยน ้ายาคลอรอกซ์แล้ วเลี ้ยงด้ วยอาหารวิทยาศาสตร์ เนื ้อเยื่อจากตายอดหรื อตาข้ างเหล่านี ส้ ามารถ จะเจริ ญเติบโตกลายเป็ นโปรโตคอร์ ม มีใบ และรากเกิดขึน้ กลายเป็ นต้ นใหม่จานวนมากในระยะเวลาอันรวดเร็ ว จึงได้ นา เทคนิคเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อนี ้มาใช้ ในการขยายพันธุ์กล้ วยไม้ สกุลฟาแลนนอปซิส แต่จะได้ ลกู ของกล้ วยไม้ สกุลฟาแลนนอปซิสใน ขวด ซึง่ ลักษณะใบของกล้ วยไม้ สกุลฟาแลนนอปซิสมีความกว้ างและเปราะ เวลานาออกจากขวดเพาะเลี ้ยงถ้ าไม่ระมัดระวังใบ จะหักและชา้ เป็ นสาเหตุให้ อัตราร้ อยละของการเน่าตายสูง (สโมสรกล้ วยไม้ บางเขน,2519) จากที่กล่าวมาข้ างต้ นกล้ วยไม้ สกุลฟาแลนนอปซิสสามารถขยายพันธุ์โดยใช้ ตาที่ก้านช่อดอกได้ โดยไซโตไคนินสามารถกระตุ้นให้ ตาข้ างเจริ ญออกมาเป็ นกิ่ง ได้ นอกจากนี ้ยังใช้ กระตุ้นตาที่นาไปขยายพันธุ์ด้วยวิธีติดตา (Budding) ให้ เจริ ญออกมาเป็ นกิ่งใหม่เร็วขึ ้น โดยการทาสารที่ตา ซึ่งติดสนิทดีแล้ วจึงทาให้ ตานันเจริ ้ ญออกมาภายใน 7-14 วัน ภายหลังการให้ สารในกลุ่มไซโตไคนิน ซึ่งที่นิยมใช้ กรณี นี ้ คือ 6-Benzyl-aminopurine (BAP) โดยนามาผสมกับลาโนลิน (lanolin) เพื่อให้ อยู่ในรูปครี มซึง่ สะดวกแก่การใช้ (พีรเดช , 2537) ดังนันจึ ้ งทาการศึกษาผลของ 6-Benzyl-aminopurine (BAP) ที่ระดับความเข้ มข้ นที่เหมาะสมต่อการเจริ ญของตาที่ก้านช่อดอก กล้ วยไม้ สกุลฟาแลนนอปซิสสายพันธุ์เวดดิ ้งพรอมมะเนด เพื่อศึกษาลักษณะการเจริ ญเติบโตและการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัย เพศ และเป็ นแนวทางในการขยายพันธุ์ของกล้ วยไม้ สกุลฟาแลนนอปซิสต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ การศึกษาผลของ 6-Benzyl-aminopurine (BAP) ที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ ต่อการเจริ ญของตาที่ก้านช่อดอก กล้ วยไม้ สกุลฟาแลนนอปซิสสายพันธุ์เวดดิ ้งพรอมมะเนดทาการทดลองโดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design : CRD) มี 4 วิธีการทดลอง ๆ ละ 3 ซ ้า ๆ ละ 4 ตา โดยมีวิธีการทดลองคือ วิธีการทดลองที่ 1 BAP ความ เข้ มข้ น 1 กรัมต่อกิโลกรัม วิธีการทดลองที่ 2 BAP ความเข้ มข้ น 2.5 กรัมต่อกิโลกรัม วิธีการทดลองที่ 3 BAP ความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัม และ วิธีการทดลองที่ 4 BAP ความเข้ มข้ น 10 กรัมต่อกิโลกรัม ทาการเตรี ยม BAP ในรู ปครี มโดยผสมกับ ลาโนลินในแต่ละวิธีการทดลองตามวิธีการของ Mitchel and Livingston (1968) จากนันน ้ า BAP ในลาโนลินที่ได้ ไปป้ายที่ตา ของกล้ วยไม้ สกุลฟาแลนนอปซิสสายพันธุ์เวดดิ ้งพรอมมะเนด (wedding promenade) ที่มีลกั ษณะตามที่ต้องการ คือ มีจานวน ตาที่ก้านช่อดอกจานวน 4 ตาขึน้ ไป โดยใช้ มีดสะกิดเบา ๆ ที่เยื่อหุ้มตาแล้ วป้าย BAP ในลาโนลินที่ความเข้ มข้ นต่างๆ ตาม วิธีการทดลองลงไปบริ เวณตาโดยใช้ ช้อนตักสารในปริ มาณที่เท่า ๆ กัน แล้ วใช้ พ่กู นั จุ่มเพื่อป้ายโดยรอบที่ตาพืช ในระหว่างการ ทดลองทาการรดน ้าต้ นกล้ วยไม้ สปั ดาห์ละ 2 ครัง้ และทาการป้ายสาร BAP ในรูปครี มซ ้า สัปดาห์ละ 1 ครัง้ ทาการบันทึกผล การทดลอง คื อ จ านวนตาที่ แ ตก ความยาวของตาที่ แ ตก และร้ อยละการแตกตาเป็ น เวลา 8 สัป ดาห์ น าข้ อ มูล ที่ ไ ด้ ม า เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยของแต่ละวิธีการทดลองด้ วยวิธี Duncan’new multiple range test ที่ ระดับความเชื่อมัน่ 95 เปอร์ เซนต์

ผลและวิจารณ์ ผลการทดลอง จานวนของตาดอก จากการทดลองพบว่าในสัปดาห์ที่ 1 วิธีการทดลองที่ 3 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัม) กับ วิธีการ ทดลองที่ 4 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 10 กรัมต่อกิโลกรัม) ให้ ค่าเฉลี่ยจานวนตาดอกที่แตกตาออกมามากที่สดุ 4 ตา 688

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

รองลงมา คือ วิธีการทดลองที่ 2 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 2.5 กรัมต่อกิโลกรัม) และ วิธีการทดลองที่ 1 (BAP ในลาโนลิน ความเข้ มข้ น 1 กรัมต่อกิโลกรัม) ให้ ค่าเฉลี่ยจานวนตาดอก เท่ากับ 3 และ 2.33 ตา ตามลาดับ ในสัปดาห์ที่ 8 พบว่า วิธีการ ทดลองที่ 2, 3 และ 4 ให้ ค่าเฉลี่ยจานวนตาดอกที่แตกออกมามากที่สดุ เท่ากับ 4 ตา และวิธีการทดลองที่ 1 ให้ ค่าเฉลี่ยจานวน ตาดอกน้ อยที่สดุ คือ 3.33 ตา จากการวิเคราะห์ผลทางสถิติพบว่า วิธีการทดลองทัง้ 4 วิธีการทดลองไม่แตกต่างทางสถิติ (Table 1) กล่าวคือ เมื่อใช้ สารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืชแก่กล้ วยไม้ สกุลฟาแลนนอปซิส ในสัปดาห์ที่ 1 หลังจากที่ กล้ วยไม้ ได้ รับสารแล้ ว พบว่า การใช้ สารควบคุมการเจริ ญเติบโต BAP มีผลต่อจานวนการแตกตาของตาที่ก้านช่อดอก โดย การใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัม และ ความเข้ มข้ น 10 กรัมต่อกิโลกรัม ให้ ผลใกล้ เคียงกันและให้ ผล ดีกว่าการใช้ BAP ในลาโนลินความความเข้ มข้ น 2.5 กรัมต่อกิโลกรัม ทังนี ้ ้การใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 2.5 กรัมต่อ กิโลกรัมให้ ผลดีกว่าการใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 1 กรัมต่อกิโลกรัม และเมื่อใช้ สารควบคุมการเจริ ญเติบโต BAP นาน 8 สัปดาห์แล้ ว พบว่าการใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 2.5 , 5 และ 10กรัมต่อกิโลกรัมจะให้ ผลดีกว่าการใช้ BAP ในลาโนลิน ความเข้ มข้ น 1 กรัมต่อกิโลกรัม ซึง่ จะสังเกตเห็นว่าการใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 และ 10 กรัมต่อกิโลกรัม จะส่งเสริ ม ให้ ตาที่ก้านช่อดอกแตกออกเร็วที่สดุ คือหลังจากป้าย BAP เพียง 1 สัปดาห์ และการใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 2.5 และ 1 กรัมต่อกิโลกรัม จะส่งเสริมให้ ตาที่ก้านช่อดอกแตกออกหลังจากป้าย BAP เป็ นเวลา 3 สัปดาห์ โดยในสัปดาห์ที่ 5 พบว่า ตาที่ ได้ รับ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 1 กรัมต่อกิโลกรัม เริ่มมีการตายเกิดขึ ้นและมีการตายเพิ่มมากขึ ้นในสัปดาห์ที่ 6 ถึง 8 Table 1 Effect of BAP on number of buds sprouted of phaleanopsis for 8 week Treatments(g/kg) 1 2.5 5 10 F-test

week1 2.33 3.00 4.00 4.00 ns

week 2 3.33 3.67 4.00 4.00 ns

week 3 4.00 4.00 4.00 4.00 ns

number of buds sprouted week 4 week 5 4.00 3.67 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 4.00 ns ns

week 6 3.33 4.00 4.00 4.00 ns

week 7 3.33 4.00 4.00 4.00 ns

week 8 3.33 4.00 4.00 4.00 ns

ความยาวของตาดอก

จากการทดลองพบว่า ในสัปดาห์ที่ 1 วิธีการทดลองที่ 3 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัม) ให้ ค่าเฉลี่ย ความยาวของตาดอกมากที่สดุ เท่ากับ 0.28 เซนติเมตร รองลงมา คือ วิธีการทดลองที่ 4 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 10 กรัม ต่อกิโลกรัม) วิธีการทดลองที่ 1(BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 1 กรัมต่อกิโลกรัม) และ วิธีการทดลองที่ 2 (BAP ในลาโนลิน ความเข้ มข้ น 2.5 กรัมต่อกิโลกรัม) ให้ ค่าเฉลี่ยความยาวของตาดอก เท่ากับ 0.18 , 0.09 และ 0.09 เซนติเมตร ตามลาดับ จาก การวิเคราะห์ผลทางสถิติพบว่า วิธีการทดลองที่ 3 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัม) มีความแตกต่างกันทาง สถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 99 เปอร์ เซนต์ กับทุกวิธีการทดลอง (Table 2) หลังจากการเลี ้ยงต้ นกล้ วยไม้ เป็ นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่า วิธีการทดลองที่ 3 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัม) ให้ ค่าเฉลี่ยความยาวของตาดอกมากที่สดุ เท่ากับ 8.09 เซนติเมตร รองลงมา คือ วิธีการทดลองที่ 4 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 10 กรัมต่อกิโลกรัม) วิธีการทดลองที่ 1(BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 1 กรัมต่อกิโลกรัม) และ วิธีการทดลองที่ 2 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 2.5 กรัมต่อกิโลกรัม) ให้ ค่าเฉลี่ยความยาวของตาดอก เท่ากับ 5.50, 4.55 และ 3.76 เซนติเมตร ตามลาดับ จากการวิเคราะห์ผลทางสถิติพบว่า มีความแตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 99 เปอร์ เซนต์ กับทุกวิธีการทดลอง (Table 2) กล่าวคือ การใช้ BAP ในลาโน ลินความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัม ส่งเสริมให้ ตาที่ก้านช่อดอกยาวกว่าการใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 10 กรัมต่อกิโลกรัม นอกจากนี ้การใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัมยังส่งเสริ มให้ ตาที่ก้านช่อดอกแตกออกเร็ วกว่าและมี ความ ยาวมากกว่าทุกวิธีการทดลอง

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

689


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Effect of BAP on the length of sprouting of phaleanopsis for 8 week the length of the sprouting (cm) Treatments(g/kg) week 1 week 2 week 3 week 4 week 5 week 6 1 0.09 0.31 0.61 1.08 2.30 3.19 2.5 0.09 0.34 0.63 1.09 2.00 2.89 5 0.28 0.54 1.48 3.31 6.07 6.71 10 0.18 0.42 0.87 1.56 3.05 4.41 F-test ** ** ** ** ** *

week 7 4.15 3.40 7.45 5.15 *

week 8 4.55 3.76 8.09 5.50 *

ร้ อยละการแตกตา

จากการทดลองพบว่าในสัปดาห์ที่ 1 วิธีการทดลองที่ 3 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัม) กับ วิธีการ ทดลองที่ 4 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 10 กรัมต่อกิโลกรัม) ให้ ค่าเฉลี่ยการแตกตาร้ อยละ 100 รองลงมา คือ วิธีการทดลองที่ 2 (BAP ในลาโนลิน ความเข้ มข้ น 2.5 กรัมต่อกิโลกรัม) และวิธีการทดลองที่ 1 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 1 กรัมต่อกิโลกรัม) ให้ ค่าเฉลี่ยการแตกตาเท่ากับร้ อยละ 75 และ 58.33 ตามลาดับ ในสัปดาห์ที่ 8 พบว่า วิธีการทดลอง 2 (BAP ในลาโนลิน ความ เข้ มข้ น 2.5 กรัมต่อกิโลกรัม) วิธีการทดลองที่ 3 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัม) และวิธีการทดลองที่ 4 (BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 10 กรัมต่อกิโลกรัม) ให้ ค่าเฉลี่ยการแตกตาร้ อยละ 100 ส่วนวิธีการทดลองที่ 1 (BAP ในลาโนลิน ความเข้ มข้ น 1 กรัมต่อกิโลกรัม) ให้ ค่าเฉลี่ยการแตกตาน้ อยที่สดุ คือ ร้ อยละ 83.33 จากการวิเคราะห์ผลทางสถิติพบว่า วิธีการ ทดลองทัง้ 4 วิธีการทดลองไม่แตกต่างกันทางสถิติ (Table 3) กล่าวคือ เมื่อให้ สารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืชนาน 1 สัปดาห์ พบว่า การใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัม และการใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 10 กรัมต่อ กิโลกรัมให้ ค่าเฉลี่ยการแตกตาเท่ากันคือ ร้ อยละ 100 หรื อแตกตาทุกตา และเมื่อให้ สารควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืชนาน 8 สัปดาห์พบว่า การใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 2.5 , 5 และ 10 กรัมต่อกิโลกรัม ให้ ค่าเฉลี่ยการแตกตาร้ อยละ 100 ซึง่ ดีกว่าการใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 1 กรัมต่อกิโลกรัมที่มีค่าเฉลี่ยการแตกตาร้ อยละ 83 ทังนี ้ ้แม้ ว่าการใช้ สาร BAP ใน ลาโนลินความเข้ มข้ น 2.5 กรัมต่อกิโลกรัมจะให้ ผลเทียบเท่ากับการใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 และ 10 กรัมต่อกิโลกรัม แต่ต้องใช้ ระยะเวลานานกว่าในการส่งเสริ มการแตกตาโดยจะทาให้ ตาที่ก้านช่อดอกแตกออกร้ อยละ 100 หลังจากป้ายตาไป แล้ ว 3 สัปดาห์ ขณะที่การใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 และ 10 กรัมต่อกิโลกรัมจะทาให้ ตาที่ก้านช่อดอกแตกออกร้ อย ละ 100 หลังจากการตังแต่ ้ สปั ดาห์แรก นอกจากนี ก้ ารใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 1 กรัมต่อกิโลกรัม ให้ ค่าเฉลี่ยการแตก ตาต่ากว่าการใช้ BAP ในลาโนลินทุกความเข้ มข้ น และสังเกตุพบการตายของตาในสัปดาห์ที่ 5 เป็ นต้ นไป

690

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Effect of BAP on percentage of buds sprouted of phaleanopsis for 8 week percentage of buds sprouted Treatments(g/kg) week 1 week 2 week 3 week 4 week 5 week 6 1 58.88 83.33 100 100 91.66 83.33 2.5 75 91.66 100 100 100 100 5 100 100 100 100 100 100 10 100 100 100 100 100 100 F-test ns ns ns ns ns ns

week 7 83.33 100 100 100 ns

week 8 83.33 100 100 100 ns

วิจารณ์ ผล จากการศึกษาผลของ 6-Benzyl-aminopurine (BAP) ที่ระดับความเข้ มข้ นต่าง ๆ ต่อการเจริ ญของตาที่ก้านช่อดอก กล้ วยไม้ ฟาแลนนอปซิสสายพันธุ์เวดดิ ้งพรอมมะเนด เป็ นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่า การใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 2.5 5 และ 10 กรัมต่อกิโลกรัม ทาให้ ก้านช่อดอกกล้ วยไม้ ฟาแลนอปซีส มีจานวนการแตกตาและร้ อยละการแตกตาสูงกว่าการใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 1 กรัมต่อกิโลกรัม ส่วนความยาวของตาดอกพบว่าการใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 กรัม ต่อกิโลกรัมมีความยาวตาดอกดีที่สดุ และการใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 2.5 กรัมต่อกิโลกรัมมีความยาวตาดอกต่าที่สดุ อาจเป็ นผลเนื่องมาจาก BAP เป็ นสารที่สามารถทาให้ ส่วนของพืชได้ รับสาร BAP นัน้ ดึงเอากรดอะมิโนและอาหารต่าง ๆ จาก ส่วนอื่น ๆ ของลาต้ นมายังส่วนที่ได้ รับสาร ซึง่ ผลอันนี ้ทาให้ พืชมีการแบ่งเซลล์เพิ่มขึ ้นและผลอีกอย่างหนึ่งของ BAP ซึง่ เกี่ยวข้ อง กับเรื่ องนี ้โดยตรง คือ BAP สามารถทาให้ แตกตาข้ างได้ โดยไม่จาเป็ นต้ องทาการตัดยอดทิ ้ง (วรวัฒน์ , 2527) และการใช้ BAP ในลาโนลินความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัมป้ายบริ เวณตาที่สว่ นกลางของลาต้ นโป๊ ยเซียนทาให้ ทงการแตกของตาข้ ั้ างและความ ยาวของกิ่งมากกว่าการใช้ ลาโนลินเปล่า (สมลาภ, 2539 ) นอกจากนี ้ยังพบว่า การใช้ BAP ในลาโนลินทาให้ มีการเจริ ญตาข้ าง เป็ นหน่อ (ระพี , 2516) เนื่องมาจากสภาพแวดล้ อมบางแฟคเตอร์ ทาให้ ตาซึง่ อยู่ที่ข้อของก้ านช่อนัน้ ซึง่ มีทงตาดอกและตาหน่ ั้ อ แทนที่จะเกิดเป็ นตาดอกแต่ตาหน่อเจริญมาแทน

สรุ ป การศึกษาผลของ 6-Benzyl-aminopurine (BAP) ที่ระดับความเข้ มข้ นต่าง ๆ ต่อการเจริ ญของตาที่ก้านช่อดอก กล้ วยไม้ ฟาแลนนอปซิสสายพันธุ์เวดดิ ้งพรอมมะเนด โดยใช้ BAP ในรูปครี มที่ระดับความเข้ มข้ นต่าง ๆ หลังจากป้ายตาที่ก้าน ช่อดอกเป็ นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่าการใช้ BAP ในรูปครี มความเข้ มข้ น 2.5 กรัมต่อกิโลกรัม 5 กรัมต่อกิโลกรัม และ 10 กรัมต่อ กิโลกรัม มีผลทาให้ กล้ วยไม้ ฟาแลนอปซีสสายพันธุ์เวดดิ ้งพรอมมะเนดมีการแตกตาดีที่สดุ ร้ อยละ 100 ส่วนการใช้ BAP ในรูป ครี มความเข้ มข้ น 5 กรัมต่อกิโลกรัมมีผลทาให้ กล้ วยไม้ ฟาแลนอปซีสสายพันธุ์เวดดิ ้งพรอมมะเนดมีความยาวตาดีที่สดุ คือ 8.09 เซนติเมตร

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

691


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Inflorescence bud characteristics of Phalaenopsis Wedding Promenade on different concentrations of 6-Benzyl-aminopurine (BAP)

เอกสารอ้ างอิง กรมส่งเสริ มการเกษตร.2546. การเพาะเลี ้ยงเนื ้อเยื่อกับการขยายพันธ์พืช. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. 180 น. พีรเดช ทองอาไพ. 2537. ฮอร์ โมนพืชและสารสังเคราะห์ : แนวทางการใช้ ประโยชน์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์วิชยั การพิมพ์. 196 น. ระพี สาคริ ก. 2516. การเพาะปลูกกล้ วยไม้ ในสภาพแวดล้ อมของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์. 850 น. วรวัฒน์ สุวรรณสิทธิ์. 2527. ผลของสาร 6-benzylamino purine ที่มีต่อการแตกตาของมะม่วงน ้าดอกไม้ ทวายเบอร์ 4 บนต้ นตอมะม่วงแก้ ว. กรุงเทพ ฯ : ปั ญหาพิเศษวิทยาศาสตร์ บณ ั ฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . 10 น. สโมสรกล้ วยไม้ บางเขน. 2519. คูม่ ือกล้ วยไม้ ภาคปฏิบตั ิ. กรุงเทพฯ : สโมสรกล้ วยไม้ บางเขน. 572 น. สมลาภ ตังจิ ้ รโชติ. 2539. ผลของ BAP, GA3 และไทโอยูเรี ยต่อการแตกตาข้ างของโป๊ ยเซียน. กรุงเทพ ฯ : ปั ญหาพิเศษวิทยาศาสตร์ บณ ั ฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . 15 น. อรดี สหวัชริ นทร์ . 2518. การขยายพันธุ์กล้ วยไม้ ฟาแลนนอปซิสจากก้ านช่อดอก ใน รายงานการประชุมทางวิชาการเกษตรศาสตร์ และ ชีววิทยา แห่งชาติ ครัง้ ที่ 14 สาขาพืช ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2-4 กุมภาพันธ์ 2518. กรุงเทพฯ : หน้ า 260-268 (498 หน้ า) Griesbapch, R.J. 2002. Development of Phalaenopsis Orchids for the Mass-Market. p. 458–465. In: J. Janick and A. Whipkey (eds.), Trends in new crops and new uses. ASHS Press, Alexandria, VA. Mitchell, J. W. and Livingston, G. A. 1968. Methods of Studying Plant Hormones and Growth-Regulating substances. U.S. Government Printing Office . Washington, D.C. 145p.

692

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการห่ อผลต่ อคุณภาพผลผลิตส้ มโอพันธุ์ทองดีและมณีอสี าน Effect of fruit bagging on qualities of pummelo cvs. Thong Dee and Manee-Esan สมยศ มีทา1* สุภทั ร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา1 พงษ์ ศักดิ์ ยั่งยืน1 ราไพ นามพิลา1 และสังคม เตชะวงค์ เสถียร1 Somyot Meetha Supat Isarangkool Na Ayutaya1 Pongsak Yangyuen1 Rampai Nampila 1 and Sungcom Techawongstein1 1*

บทคัดย่ อ การศึกษาผลของการห่อผลต่อคุณภาพบางประการของผลผลิตส้ มโอ (Citrus grandis (L.) Osbeck) พันธุ์ทองดีและ พันธุ์มณีอีสาน การศึกษาในครัง้ นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ ทราบผลของการห่อผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสีผิวและคุณภาพภายใน ของผลผลิตส้ มโอ ทาการศึกษาในสวนของเกษตรกร อาเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ มีการห่อผลส้ มโอโดยใช้ ถงุ ห่อผลทาง การค้ า ห่อผลที่อายุ 3 เดือน เปรี ยบเทียบกับการไม่ได้ รับการห่อผล พบว่าการห่อผลมีผลทาให้ สีผิวมีความสม่าเสมอมากขึ ้น น ้าหนักผล เส้ นรอบวงผล และปริ มาตรผล ไม่มีความแตกต่างกันเมื่อระยะเก็บเกี่ยว ปริ มาณของแข็งที่ละลายในน ้าได้ ปริ มาณ กรดที่ไทเทรตได้ และวิตามินซี ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบระหว่างการห่อผลและการไม่หอ่ ผล คาสาคัญ: ส้ มโอ การห่อผล คุณภาพผลผลิต

Abstract The effect of fruit bagging on qualities of pummelo (Citrus grandis (L.) Osbeck) cvs. Thong Dee and Manee-Esan was studied. The aim of this work was to study the peel colorsation and internal qualities of fruit. The experiment was conducted in farmer's orchard at Kasetsombon, Chaiyaphum province. Pummelo fruits were bagged by commercial bags compared with non-bagging treatment. The results showed that the bagging improved the peel color. The bagging had no effect on fruit weight, circumference and volume at harvesting stage. Also, there were not differences were on the total soluble solids, titratable acidity and vitamin c content in both treatments. Keywords: Pummelo, bagging treatment, fruit quality

คานา ส้ มโอเป็ นพืชตระกูลส้ มที่สามารถปลูกได้ ทวั่ ทุกภาคของประเทศไทย และมีพนั ธุ์ต่างๆ มากมาย ซึ่งมีลกั ษณะทรงผล รู ปร่ าง ขนาดของผล สีเปลือก การกระจายตัวของต่อมนา้ มัน และลักษณะอื่นๆ แตกต่างกันไปตามพันธุ์ พื ้นที่อาเภอเกษตร สมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ เกษตรกรชาวสวนปลูกส้ มโอหลายสายพันธุ์ และมีการศึกษาส้ มโอพื ้นเมืองพันธุ์ "มณีอีสาน" ที่มีเนื ้อสี แดงเข้ ม ส่วนสีเปลือกระยะแรกจะมีสีเขี ยว เมื่อผลแก่เปลือกจะเปลี่ยนเป็ นสีเหลืองทอง ซึ่งสีของผิวผลส้ มโอไม่สม่าเสมอ เนื่องจากเกษตรกรในกลุ่มนี ้มีการใช้ ปยเคมี ุ๋ และสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรู พืชค่อนข้ างน้ อยจนถึงไม่ได้ ใช้ เลย ทาให้ ได้ ผลผลิต ขนาดไม่สม่าเสมอ มีร่องรอยการทาลายของแมลง และมีผลร่ วงเป็ นจานวนมาก จากรายงานของสมยศ และคณะ (2554) พบว่า การห่อผลส้ มโอพันธุ์ทองดี สามารถช่วยปรับปรุงคุณภาพของสีผิวภายนอก ลดการเข้ าทาลายของโรคแมลง และลดการ ใช้ สารเคมีในการกาจัดโรคแมลงศัตรู นอกจากนันในไม้ ้ ผลหลายๆ ชนิด การห่อผลช่วยเพิ่มคุณภาพของผลผลิต และลดการ ตกค้ างจากการใช้ สารเคมี (Estrada, 2004) ช่วยให้ มีสีผิวนวลสวยงาม (รัตนรักษ์ และพีระศักดิ์, 2554) อย่างไรก็ตามยังไม่มี รายงานการศึก ษาการห่อผลส้ มโอที่ มี ลักษณะของสีผิ วเปลือ กผลเป็ นสีเหลื องเป็ น ที่ ทราบแน่ชัด ดังนัน้ คณะผู้วิ จัยจึงได้ ทาการศึกษาผลของการห่อผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสีผิวภายนอกและคุณภาพภายในบางประการของส้ มโอพันธุ์มณีอีสาน โดยเปรี ยบเทียบกับส้ มโอพันธุ์ทองดี เพื่อเป็ นแนวทางในการวิจยั การจัดการให้ ได้ ผลผลิตส้ มโอที่มีคณ ุ ภาพดีตอ่ ไป

1 1

สาขาพืชสวน ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 40002 Horticultural section, Department of plant Science and Agricultural Resources, Faculty of Agriculture, Khon Kean University, Khon Kean, 40002.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

693


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการ ดาเนินการทดลองในสวนส้ มโอของเกษตรกร พื ้นที่บ้านบุ่งสิบสี่ อาเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ เลือกต้ นส้ มโอ 2 สายพันธุ์ คือพันธุ์ทองดีและพันธุ์มณี อีสาน (เบอร์ เดิม 003) สายพันธุ์ละ 4 ต้ น ที่มีขนาดทรงพุ่มและความสมบูรณ์ ของต้ น ใกล้ เคียงกัน อายุประมาณ 9 ปี สุ่มเลือกผลส้ มโอที่มีขนาดของเส้ นรอบวงผลประมาณ 10 นิ ้ว อายุของผลประมาณ 3 เดือน จานวนต้ นละ 30 ผล กระจายทัว่ ทรงพุม่ ดาเนินการห่อผลจานวน 15 ผลต่อต้ น โดยใช้ กระดาษห่อผลไม้ ตรา "ซุนฟง" สีขาว ก่อน การห่อมีการฉีดพ่นยาคอนฟิ ดอร์ เพื่อป้องกันกาจัดเพลี ้ยไฟ ยาไพริ ดาแบน เพื่อป้องกันกาจัดไร และยาแมนโคเซบ เพื่อป้องกัน กาจัดเชื ้อรา วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (Completely Randomized Design; CRD) มี 2 กรรมวิธี คือ การไม่ห่อผล (ชุดควบคุม) และการห่อผล บันทึกข้ อมูลสีผิวผลและคุ ณภาพผลผลิต ประกอบด้ วย น ้าหนักต่อผล เส้ นรอบวง ปริ มาตร ความ กว้ าง ความสูง ความแน่นเนื ้อ ปริ มาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายในน ้าได้ ปริ มาณกรดที่ไทเทรตได้ และวิตามินซี นาข้ อมูลมา วิเคราะห์เปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยโดยวิธี LSD

ผลการทดลองและวิจารณ์ การศึกษาลักษณะของสีผิวผลและสีของเนื ้อส้ มโอพันธุ์ทองดีและมณีอีสาน พบว่า สีของผิวผลภายนอกของส้ มโอทัง้ สองสายพันธุ์ไม่แตกต่างกันมากนัก ส่วนสีเนื ้อภายในผลของส้ มโอพันธุ์มณีอีสาน (003) จะมีสีแดงเข้ ม ส้ มโอพันธุ์ทองดีจะมีสี ชมพูออ่ น (Figure 1) เมื่อเปรี ยบเทียบระหว่างการไม่หอ่ ผล และการห่อผลด้ วยกระดาษห่อผลไม้ สีขาว ผลของการห่อส้ มโอพันธุ์ มณีอีสาน ทาให้ สีผิวมีความสว่าง (L*) มากกว่าการไม่ห่อผล ผลที่ได้ รับการห่อมีแนวโน้ มของค่า a* ที่ติดลบมากกว่าผลที่ไม่ห่อ แสดงว่าการห่อผลช่วยให้ ผลมีสีเขียวขึ ้นเล็กน้ อย แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ อย่างไรก็ตามยังไม่พบความแตกต่างระหว่างการ ห่อและไม่หอ่ ผลต่อสีของเนื ้อผลของส้ มโอทังสองพั ้ นธุ์ (Table 1)

Figure 1 Effect of bagging on fruit color of Thong Dee and Manee-Esan pummelo.

694

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Effect of bagging on color (L* a* b*) in peel and pulp of Thong Dee and Manee-Esan pummelo. Cultivars Treatments L* a* b* Peel Pulp Peel Pulp Peel Pulp Manee-Esan Non58.17±0.8 b 35.44±1.04 -2.92±1.43 17.76±1.23 35.98±1.93 6.06±1.31 bagged Bagged 63.54±0.6 a 36.58±0.89 -4.22±1.02 16.21±0.65 40.73±0.64 6.22±0.33 F-test ** ns ns ns ns ns Thong Dee Non58.70±0.4 a 45.86±1.03 -2.88±1.08 2.07±0.61 40.36±0.80 11.41±0.75 bagged Bagged 53.8±20.9 b 45.33±0.62 -3.02±1.36 3.49±0.54 38.010.65 9.90±0.11 F-test ** ns ns ns ns ns The values are the means ± standard deviations (n=4) ns and ** = not significant, significant at P ≤ 0.01, respectively. The different letters with in the same column are significantly different at P ≤ 0.01 by LSD

ผลที่ห่อและไม่ห่อผลไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติของลักษณะต่างๆ ที่ทาการศึกษา อย่างไรก็ตามมี แนวโน้ มที่การ ห่อผลในส้ มโอทังสองสายพั ้ นธุ์ส่งผลให้ ขนาดของผล น ้าหนักผล และปริ มาตรลดลงเล็กน้ อย (Table 2) สอดคล้ องกับรายงาน ของสมยศ และคณะ (2554) พบว่าการห่อผลส้ มโอพันธุ์ทองดีทาให้ ปริ มาตรของผลลดลง แต่ไม่มีผลกระทบต่อคุณภาพภายใน ของผล ได้ แก่ ความแน่นเนื ้อ ปริ มาณของแข็งทังหมดที ้ ่ละลายในน ้าได้ ปริ มาณกรดที่ไทเทรตได้ และวิตามินซี (Table 3) แต่มี แนวโน้ มทาให้ ปริ มาณวิตามินซีในเนื ้อส้ มโอทังสองพั ้ นธุ์จะลดลงเล็กน้ อยเมื่อได้ รับการห่อผล สอดคล้ องกับการทดลองของ Xie et al. (2013) ทาการห่อผลส้ ม 3 ชนิด (Tarocco, Cara cara และ Lane late) พบว่า การห่อผลมีผลทาให้ ปริ มาณวิตามินซี ลดลง ในส้ มทัง้ 3 ชนิด แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ Table 2 Effect of bagging on fruit weight, circumference, volume, fruit width and fruit length of Thong Dee and Manee-Esan pummelo fruit. cultivars Treatments Fruit weight Circumference Volume Fruit Fruit width length (g/fruit) (cm) (ml) (cm) (cm) Manee-Esan Non-bagged 1,255.8±99.1 50.05±1.5 1,885.0±162.7 15.08±0.2 13.02±0.2 Bagged 1,227.7±80.9 48.45±1.4 1,736.5±153.6 15.45±0.4 13.03±0.3 F-test ns ns ns ns ns Thong Dee Non-bagged 1,516.6±33.24 51.63±1.2 2,035.0±57.1 16.07±0.1 14.82±0.2 Bagged 1,442.0±145.6 51.18±0.9 2,015.9±142.4 16.02±0.3 14.19±0.3 F-test ns ns ns ns ns The values are the means ± standard deviations (n=4) ns = not significant,

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

695


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Effect of bagging on some qualities of Thong Dee and Manee-Esan pummelo fruit. Cultivars Treatments Axis width Pulp Total soluble Titratable Vitamin C thickness solids acidity (mg/100g fresh (cm) (N) (◦ Brix) (%) weight) Manee-Esan Non-bagged 3.45±0.39 18.37±1.05 10.57±0.41 0.67±0.04 1.43±0.04 Bagged 3.22±0.32 18.62±0.51 10.57±0.13 0.68±0.04 1.39±0.02 F-test ns ns ns ns ns Thong Dee Non-bagged 2.81±0.21 18.62±0.52 11.55±0.06 0.48±0.07 1.58±0.03 Bagged 3.15±0.21 17.96±0.75 11.25±0.26 0.47±0.05 1.53±0.03 F-test ns ns ns ns ns The values are the means ± standard deviations (n=4) ns = not significant.

สรุ ป การห่อผลทาให้ สีของผลมีความสว่างมากขึ ้นและมีความสม่าเสมอทัว่ ทังผล ้ สามารถลดปริ มาณการใช้ สารเคมีได้ เป็ น อย่างดี ไม่มีผลกระทบต่อคุณภาพภายในของผลส้ มโอ โดยที่ส้มโอพันธุ์มณีอีสาน จะมีสีเหลืองอมเขียวหรื อมีสีเหลืองทองมาก ขึ ้น ซึง่ ไม่กระทบต่อลักษณะของสีแดงของเนื ้อผล ส่วนทางด้ านเคมี การห่อผลมีแนวโน้ มที่ปริ มาณวิตามินซีในเนื ้อส้ มโอทังสอง ้ พันธุ์จะลดลงเล็กน้ อย แต่ไม่มีความต่างทางสถิติ

กิตติกรรมประกาศ คณะผู้ วิ จั ย ขอขอบคุ ณ ส านั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย (สกว) และกลุ่ ม วิ จั ย ไม้ ผลส าหรั บ ภาค ตะวันออกเฉี ยงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในการให้ ทุนสนับสนุนงานวิจัยในครั ง้ นี ้ และขอขอบคุณนายเสมียน นราพล เกษตรกรเจ้ าของสวนส้ มโอ อาเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ที่ให้ ความอนุเคราะห์พื ้นที่สาหรับงานวิจยั เป็ นอย่างดียิ่ง

เอกสารอ้ างอิง รัตนรักษ์ บารุง และพีระศักดิ์ ฉายประสาท. 2554. ผลของการห่อผลที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงปริ มาณคลอโรฟิ ลล์ ปริ มาณแคโรทีนอยด์ และคุณภาพ หลังการเก็บเกี่ยวของผลมะม่วงน ้าดอกไม้ สีทองซึง่ เก็บรักษาอุณหภูมิต่างๆ. วิทยาศาสตร์ เกษตร. 42(3) (พิเศษ) : 216-219. สมยศ มีทา เสกสรรค์ น้ อยแวงพิม พงษ์ ศกั ดิ์ ยัง่ ยืน และสังคม เตชะวงค์เสถียร. ระยะเวลาการห่อผลต่อสีและคุณภาพบางประการของผลส้ มโอ. แก่นเกษตร. 39 (พิเศษ): 154-158. Estrada, E.G. 2004. Effect of fruit bagging on sanitation and pigmentation of six mango cultivars. Acta Hortic. 645: 195-199. Xie, R.J., L. Zheng., L. Jing., S.L. He., W.P. Xi., Q. Lv., S.L. YI., Y.Q. Zheng and L. Deng. 2013. The effect of cultivars and bagging on physicochemical properties and antioxidant activity of tree sweet orange cultivars (Citrus sinensis (L.) Osbeck). American-Eurasian J. Agric. & Environ. Sci. 13 (2): 139-147.

696

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเจริญเติบโตของปลีและประสิทธิภาพของสารฆ่ าแมลงในการควบคุมเพลีย้ ไฟ (Thrips hawaiiensis (Morgan)) ในกล้ วยไข่ (Musa accuminata, AA group) Flower Development and Insecticide Efficacy in Controlling Thrips (Thrips hawaiiensis (Morgan)) of Khai Banana (Musa accuminata, AA group) ยศพล ผลาผล1, ประสิทธิ์ ดีวัฒนวงศ์ 1 และ,เจตนา ทองแย้ ม Yosapol Palapol1, Prasit Deewatthanawong1 and Jettana Thongyam1

บทคัดย่ อ การศึกษาการเจริญเติบโตของปลีกล้ วยไข่ (Musa accuminata, AA group) และการทดสอบประสิทธิภาพของ สารเคมีกาจัดแมลงในปลีกล้ วยไข่ 4 กรรมวิธี ได้ แก่ imidacloprid 0.025 กรัมต่อน ้า 1 ลิตร fipronil 1 มิลลิลิตรต่อน ้า 1 ลิตร thiamethoxam + lambda-cyhalothrin 0.4 มิลลิลติ รต่อน ้า 1 ลิตร และน ้าเป็ นตัวควบคุม (control) ทาการพ่นสารวันเว้ นวัน ตังแต่ ้ ระยะใบสุดท้ ายจนถึงระยะหวีสดุ ท้ าย จากผลการทดลองพบว่า การพัฒนาของดอกตังแต่ ้ ระยะใบสุดท้ ายจนถึงระยะหวี สุดท้ ายใช้ ระยะเวลาเฉลี่ย 17 วัน สาหรับการทดสอบประสิทธิภาพของสารเคมีกาจัดเพลี ้ยไฟพบว่า Fipronil สามารถกาจัด เพลี ้ยไฟได้ ดีที่สดุ โดยพบจานวนเพลี ้ยไฟ (Thrips hawaiiensis (Morgan))ในปลีกล้ วยต่าที่สดุ (P<0.001) และพบจุดบน เปลือกผลกล้ วยไข่ต่าที่สดุ (P<0.001) ซึง่ ส่งผลทาให้ ผลกล้ วยไข่มีคณ ุ ภาพภายนอกดีที่สดุ คาสาคัญ : กล้ วยไข่ (Musa accuminata, AA group) เพลี ้ยไฟ (Thrips hawaiiensis (Morgan)) สารฆ่าแมลง

Abstract Flower development and efficacy of insecticides for controlling thrips in khai banana were studied. Applications of 0.025 g/L imidacloprid, 1 mL/L Fipronil, and 0.4 mL/L of a mixture of Thiamethoxam+Lambdacyhalothrin were compared with water (control). Treatments were sprayed every other day from the last fully expanded leaf to the last hand of the banana bunch. The result showed that average time of flower development from the last fully expanded leaf to the last hand of the banana bunch was 17 days. For insecticide applications, Fipronil was the best in controlling thrips compared with other treatments as shown by the lowest numbers of thrips (Thrips hawaiiensis (Morgan)) in banana flowers (P<0.001) and spot on fruit peel (P<0.001), resulting in the best external qualities. Keywords : khai banana (Musa accuminata, AA group), thrips (Thrips hawaiiensis (Morgan)), chemical insecticide

คานา กล้ วยไข่ (Musa accuminata, AA group), เป็ นไม้ ผลเศรษฐกิจที่สาคัญชนิดหนึง่ ของประเทศไทย มีรสชาติดี มี ลักษณะการเรี ยงตัวของผล และสีของผลสวยงาม ปั จจุบนั มีการส่งออกกล้ วยไข่ไปจาหน่ายยังต่างประเทศมากขึ ้นทุกปี ตลาดที่ สาคัญ คือ จีนและฮ่องกง นอกจากนี ้ยังได้ มีการขยายตลาดไปยังเกาหลี ญี่ปนุ่ และยุโรปด้ วย ราคาของกล้ วยไข่ที่สง่ ออก ประมาณกิโลกรัมละ 20 - 60 บาทขึ ้นอยูก่ บั ช่วงเวลา ความชานาญ และพัฒนาการในการปลูกกล้ วยไข่ของเกษตรกร ซึง่ หาก เกษตรกรสามารถผลิตกล้ วยไข่ที่มีคณ ุ ภาพสาหรับการส่งออกได้ เกษตรกรจะมีรายได้ เพิ่มสูงขึ ้นเกือบ 2 เท่า ในการผลิตกล้ วย ไข่เพื่อการส่งออกพบอาการ “ผลจุดลาย” บนผลกล้ วยไข่ตงแต่ ั ้ ระยะผลอ่อนไปจนกระทัง่ เก็บเกี่ยว ทาให้ ไม่สามารถส่งออกได้ สาเหตุเกิดจากเพลี ้ยไฟเข้ าทาลายในระยะแทงปลี (จริยา, 2552) ส่งผลให้ เกษตรกรจาหน่ายกล้ วยไข่เกรดส่งออกได้ ในปริมาณ น้ อยรวมถึงราคากล้ วยไข่ก็มีแนวโน้ มราคาตกต่าลง เกษตรกรสูญเสียรายได้ เป็ นจานวนมาก ในการผลิตกล้ วยไข่มีสารเคมี ป้องกันกาจัดเพลี ้ยไฟจาหน่ายเป็ นจานวนมาก การเลือกใช้ ชนิดของสารเคมีที่มีประสิทธิภาพระยะเวลาการฉีดพ่นและความ เข้ มข้ นของสารเคมีที่เกษตรกรเลือกใช้ มีความสาคัญเพื่อให้ สามารถควบคุมและกาจัดเพลี ้ยไฟเพื่อแก้ ปัญหาผลลายของกล้ วย 1 1

สาขาเทคโนโลยีการเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี 22170 Division of Agricultural Technology, Faculty of Science and Arts, Burapha University Chanthaburi Campus, Chanthaburi 22170

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

697


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ไข่ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีสภาพแวดล้ อมเป็ นปั จจัยที่สง่ ผลกระทบต่อการระบาดของเพลี ้ยไฟรวมทังสภาพการผลิ ้ ตอีก ด้ วย การศึกษาการพัฒนาของปลีกล้ วยไข่และการป้องกันและกาจัดเพลี ้ยไฟให้ มีประสิทธิภาพเพื่อลดการสูญเสียและแก้ ปัญหา ที่ถกู วิธี ทาให้ การผลิตกล้ วยไข่มีประสิทธิภาพสูงสุด ดังนันงานทดลองครั ้ ง้ นี ้จึงได้ ทาการพ่นสารเคมีปอ้ งกันกาจัดเพลี ้ยไฟที่นิยม ใช้ ในการผลิตไม้ ผล ซึง่ คาดว่าจะสามารถลดความเสียหายจากอาการผลจุดลายได้

อุปกรณ์ และวิธีการ ทาการสุม่ ต้ นกล้ วยไข่ที่มีความสมบูรณ์ใกล้ เคียงกันและใช้ ในการทดลองต่างๆ ดังนี ้ การทดลองที่ 1 การศึกษาการเจริญเติบโตของดอก (ปลี) กล้ วยไข่ บันทึกการเจริ ญเติบโตของปลีกล้ วยไข่ตงแต่ ั ้ ระยะใบสุดท้ ายจนถึงระยะติดหวีสดุ ท้ าย โดยใช้ สายวัด วัดความยาว ตังแต่ ้ คอกล้ วยไข่จนถึงปลายปลีกล้ วยไข่ การทดลองที่ 2 ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงในการควบคุมเพลี ้ยไฟในกล้ วยไข่ วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (Completely Randomized Design: CRD) ทาการพ่นสารฆ่าแมลงตังแต่ ้ ระยะ ใบสุดท้ ายจนถึงระยะหวีแรก ประกอบด้ วย 4 กรรมวิธี กรรมวิธีการละ 7 ซ ้า ซ ้าละ 1 ต้ น โดยมีรายละเอียดดังนี ้ กรรมวิธีที่ 1: พ่นน ้า (control) กรรมวิธีที่ 2: พ่นสารฆ่าแมลง imidacloprid (70% WG) 0.025 กรัมต่อน ้า 1 ลิตร กรรมวิธีที่ 3: พ่นสารฆ่าแมลง fipronil (5% SC) 1 มิลลิลิตรต่อน ้า 1 ลิตร กรรมวิธีที่ 4: พ่นสารฆ่าแมลง thiamethoxam + lambda-cyhalothrin (14.1%/10.6% ZC) 0.4 มิลลิลิตรต่อน ้า 1 ลิตร ในทุกกรรมวิธีมีการปฏิบตั ิร่วมกับการดูแลรักษากล้ วยไข่ของเกษตรกรโดยการผสมสาร chlorothalonil 50% W/V SC) 0.2 มิลลิลิตรต่อน ้า 1 ลิตร เพื่อป้องกันการเกิดเชื ้อรา และมีการใช้ gibberellic acid (2% w/v SL) 0.4 มิลลิลิตรต่อน ้า 1 ลิตร และมีการใช้ vitamins-hormones (ทรานสิท) 0.4 มิลลิลิตรต่อน ้า 1 ลิตร โดยทาการพ่นสาร 4 ชนิด แบบวันเว้ นวัน จานวน 8 ครัง้ และเมื่อกล้ วยไข่ออกหวีสดุ ท้ ายจึงตัดปลีกล้ วยไข่ออกเพื่อนับจานวนเพลี ้ยไฟ โดยทาการแยกกาบปลีกล้ วยไข่ออกเป็ น จานวน 4 ชัน้ เพื่อนับจานวนเพลี ้ยไฟที่พบแต่ละปลี และบันทึกจานวนเพลี ้ยไฟในปลีกล้ วยไข่ในแต่ละกรรมวิธี หลังจากผลกล้ วยไข่มีอายุ 30 วัน หลังตัดปลีกล้ วยไข่ ทาการเก็บเกี่ยวผล และบันทึกผลการทดลองดังนี ้ ระดับความรุ นแรงของการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟ โดยนับจุดนูนที่พบบนผลกล้ วยไข่ จานวนต้ นละ 2 หวี หวีละ 5 ผล บริ เวณ กึง่ กลางผลด้ านบนในพื ้นที่ 4 ตารางเซนติเมตร โดยแบ่งระดับการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟเป็ น 6 ระดับ ดังนี ้ ระดับ 1 ไม่พบการเข้ าทาลาย ระดับ 2 พบการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟ 1-5 จุด ระดับ 3 พบการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟ 6-10 จุด ระดับ 4 พบการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟ 11-15 จุด ระดับ 5 พบการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟ 16-20 จุด ระดับ 6 พบการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟ 21-25 จุด ภายหลังจากการบันทึกข้ องมูลการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟ นาผลกล้ วยทังหมดมาท ้ าความสะอาดและวัดค่าสีของผล กล้ วยไข่ โดยใช้ เครื่ องวัดสี และรายงานผลเป็ นค่า L*, a*, b* และ hue

ผลการทดลอง 1. การศึกษาการเจริญเติบโดของดอก (ปลี) กล้ วยไข่ จากการศึกษาการเจริ ญและพัฒนาของไข่ตงแต่ ั ้ ระยะใบสุดท้ ายจนถึงระยะหวีสดุ ท้ ายพบว่าการเจริ ญและพัฒนาของ ปลีกล้ วยไข่สามารถแบ่งออกเป็ น 8 ระยะ โดยการพัฒนาของดอก (ปลี) จนถึงระยะหวีสดุ ท้ ายใช้ เวลานาน 17 วัน (Figure 1) และพบว่าปลีกล้ วยไข่ในระยะแทงดอก (ปลี) มีการแยกออกซึ่งเป็ นช่องทางที่เพลี ้ยไฟสามารถเข้ าไปด้ านในของปลีกล้ วยไข่ได้ (Figure 2) โดยมีระยะเวลาการพัฒนาตังแต่ ้ ระยะใบธง (b) จนถึงระยะแทงดอก (ปลี) (c) กล้ วยไข่ใช้ เวลาเพียง 1 วัน

698

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Flower development of Khai banana

a

b Figure 2 Opened flower of Khai banana (a=front view and b= top view)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

699


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

2. ประสิทธิภาพของสารฆ่ าแมลงในการควบคุมเพลีย้ ไฟในกล้ วยไข่ จากการศึ ก ษาการก าจั ด เพลี ย้ ไฟในกล้ วยไข่ โ ดยการพ่ น สา รฆ่ า แมลง ได้ แก่ imidacloprid, fipronil, thiamethoxam+lambda-cyhalothrin และเปรี ยบเทียบกับการฉีดพ่นด้ วยน ้าเปล่า ทาการฉีดพ่นสารเคมีวนั เว้ นวัน ตังแต่ ้ ระยะ ใบสุดท้ ายถึงระยะหวีสดุ ท้ ายแล้ วตัดปลีกล้ วยไข่เพื่อนับจานวนเพลี ้ยไฟในปลีกล้ วยไข่จานวน 4 ชัน้ พบว่า การใช้ สารฆ่าแมลง fipronil มีประสิทธิภาพในการกาจัดเพลี ้ยไฟดีที่สดุ โดยพบจานวนเฉลี่ยเพลี ้ยไฟในชันปลี ้ กล้ วยไข่ 8.67 ตัว แตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติยิ่ง (P<0.001) เมื่อเทียบกับการฉีดพ่นสาร imidacloprid และ control โดยมีคา่ เฉลี่ยการเข้ าทาลายในชันปลี ้ เท่ากับ 13.00 และ 35.33 ตัว ตามลาดับ (Table 1) Table 1 Thrips number in flower of khai banana Treatment Control

35.33a+1.33

Imidacloprid

13.00b+0.38

Fipronil

8.67c+0.44

Thiamethoxam+Lambda-cyhalothrin F-test CV (%) 1

Thrips number in flower of khai banana 1

12.00bc+0.38 *** 9.66

Means in a column followed by a different letter not significantly different (DMRT; P >0.05).

3. การเข้ าทาลายของเพลีย้ ไฟที่ผลกล้ วยไข่ จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร ก า จั ด เ พ ลี ย้ ไ ฟ ใ น ก ล้ ว ย ไ ข่ โ ด ย ก า ร ฉี ด พ่ น ส า ร เ ค มี ไ ด้ แ ก่ imidacloprid, fipronil, thiamethoxam+lambda-cyhalothrin และเปรี ยบเทียบกับการฉีดพ่นด้ วยน ้าเปล่า โดยทาการฉีดพ่นสารเคมีวนั เว้ นวัน ตังแต่ ้ ระยะใบสุดท้ ายถึงระยะหวีสดุ ท้ าย หลังจากตัดปลีกล้ วยไข่ประมาณ 30 วัน จึงเก็บเกี่ยวผลผลิต สุม่ บันทึกผลกล้ วยหวี ที่ 2 และ 3 โดยนับจุดบนผลกล้ วยไข่ พบว่า การฉีดพ่นสารเคมี fipronil มีการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟในผลกล้ วยไข่โดยเฉลี่ยน้ อยที่สดุ คือ 2.34 จุด และคะแนนการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟในผลกล้ วยไข่เท่ากับ 1.89 คะแนน แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติยิ่ง (P<0.001) เมื่อเทียบกับการฉีดพ่นสารเคมี imidacloprid และ control (น ้า) โดยมีค่าเฉลี่ยการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟในผล กล้ วยเท่ากับ 3.28, 3.77 และ 12.37 จุด ตามลาดับ และมีคะแนนการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟในผลกล้ วยเฉลี่ย เท่ากับ 1.91, 2.14 และ 3.77 คะแนน ตามลาดับ (Table 2)

700

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Spot number and damage level of fruit peel in Khai banana Treatment Spot number on fruit peel

Damage Level of fruit peel

Control

12.37a+0.20

3.77a+0.07

imidacloprid

3.77b+0.13

2.14b+0.06

Fipronil

2.34d+0.14

1.89c+0.06

thiamethoxam+lambda-cyhalothrin F-test

3.28c+0.10 ***

1.91c+0.04

CV (%) 1

***

6.99

6.13

Means in a column followed by a different letter are not significantly different (DMRT; P >0.05).

4. คุณภาพของสีผลกล้ วยไข่ ระยะผลดิบ ค่า L* ภายหลังจากการเก็บเกี่ยวผลกล้ วยไข่นามาวัดค่าความสว่าง (1-100: ค่า L* มากหมายถึงความสว่างมาก) โดย ผลกล้ ว ยไข่ ที่ ไ ด้ รับ สาร fipronil มี ค่าสูงสุดเท่า กับ 65.31 แตกต่างอย่างมี นัย สาคัญ ทางสถิ ติ (P<0.01) เมื่ อเที ย บกับ thiamethoxam+lambda-cyhalothrin, น ้า (control) และ imidacloprid มีค่าเท่ากับ 60.63, 60.39 และ 58.64 ตามลาดับ (Table 3) ค่า a* ภายหลังจากการเก็บเกี่ยวผลกล้ วยไข่นามาวัดค่าบวกหมายถึงสีแดง ค่าเป็ นลบหมายถึงสีเขียวโดยผลกล้ วยไข่ ที่ ไ ด้ รั บ สาร fipronil มี ค่า สูง สุด เป็ น 9.86 ไม่แ ตกต่า งกัน ทางสถิ ติ (P>0.05) เมื่ อ เที ย บกับ thiamethoxam+lambdacyhalothrin, imidacloprid และ control (น ้า) มีคา่ เท่ากับ 9.69, 9.48 และ 8.50 ตามลาดับ (Table 3) ค่า b* ภายหลังจากการเก็บเกี่ยวผลกล้ วยไข่นามาวัดค่าบวกหมายถึงสีเหลือง ค่าเป็ นลบหมายถึงสีน ้าเงินโดยผล กล้ ว ยไข่ ที่ ไ ด้ รั บ สาร fipronil มี ค่ า สูง สุด เป็ น 32.00 แตกต่ า งอย่ า งมี นัย ส าคัญ ทางสถิ ติ (P<0.01) เมื่ อ เที ย บกั บ thiamethoxam+lambda-cyhalothrin, น ้า (control) และ imidacloprid มีค่าเท่ากับ 28.62, 28.54 และ 27.67 ตามลาดับ (Table 3) ค่า hue ภายหลังจากการเก็บเกี่ยวผลกล้ วยไข่นามาวัดค่าตังแต่ ้ 0-360 ตามลักษณะของสีต่างๆโดยผลกล้ วยไข่ที่ ได้ รับสาร น ้า (control) มีค่าสูงสุดเป็ น 119.10 ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) เมื่อเทียบกับ imidacloprid, fipronil และ thiamethoxam+lambda-cyhalothrin มีคา่ เท่ากับ 118.98, 118.77 และ 118.00 ตามลาดับ (Table 3) Table 3 Peel Color of Khai banana Treatment Control

L* 60.39b+0.97

a* 8.50+0.23

b* 28.54b+0.63

hue 119.10+0.37

Imidacloprid

58.64b+1.44

9.48+0.22

27.67b+1.05

118.98+0.39

Fipronil

65.31a+0.53

9.86+0.21

32.00a+0.43

118.77+1.48

60.63b+1.56

9.69+0.20

28.62b+1.18

118.00+0.39

**

ns

**

ns

4.85

6.11

7.47

1.44

Thiamethoxam +lambda-cyhalothrin F-test CV (%)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

701


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

วิจารณ์ ผล จากการศึก ษาการเจริ ญ เติ บ โตของปลี ก ล้ ว ยไข่ และเข้ า ท าลายของเพลี ย้ ไฟในกล้ ว ย ไข่ โดยท าการศึก ษาการ เจริญเติบโตของปลีกล้ วยไข่ตงแต่ ั ้ ระยะใบสุดท้ ายจนถึงระยะหวีสดุ ท้ ายพบว่า การเจริ ญเติบโตและพัฒนาของปลีกล้ วยไข่ แบ่ง ออกเป็ น 8 ระยะ ใช้ ระยะเวลานาน 17 วัน ดังนี ้ ระยะใบสุดท้ ายใช้ เวลาในการพัฒนาสมบูรณ์ 5 วัน ระยะใบธงและระยะแทงปลี มีการพัฒนาสมบูรณ์ นาน 1 วัน ระยะปลีเจริ ญเติบโตใช้ เวลาในการพัฒนาสมบูรณ์ 2 วัน ระยะปลีโค้ ง ระยะปลีห้อย และระยะ หวีแรกมีการพัฒนาสมบูรณ์ นาน 1 วัน และระยะหวีสดุ ท้ ายใช้ เวลาในการพัฒนาสมบูรณ์ นาน 6 วัน ซึ่งสอดคล้ องกับ คาปั น (2552) รายงานว่าปลีกล้ วยไข่เริ่ มบานถึงระยะหวีสดุ ท้ านใช้ เวลานาน 7-10 วัน และพบเห็นผลกล้ วยไข่เล็ก ๆ เป็ นจานวนมาก เป็ นหวี ๆ อย่างชัดเจน จากการศึกษาประสิทธิ ภาพของสารฆ่าแมลงในการควบคุม เพลี ้ยไฟในกล้ วยไข่โดยพ่นสารฆ่าแมลงตังแต่ ้ ระยะใบ สุดท้ ายจนถึงระยะหวีสดุ ท้ ายจานวน 8 ครัง้ มีการพ่นสารฆ่าแมลงทังหมด ้ 4 กรรมวิธี คือ พ่นน ้า (control) imidacloprid อัตรา 0.025 กรัมต่อน ้า 1 ลิตร fipronil อัตรา 1 มิลลิลิตรต่อน ้า 1 ลิตร และ thiamethoxam + lambda-cyhalothrin อัตรา 0.4 มิลลิลิตรต่อน ้า 1 ลิตร พ่นสารฆ่าแมลงวันเว้ นวันพบว่า การพ่นสาร fipronil มีประสิทธิภาพดีที่สดุ ช่วยลดจานวนเพลี ้ยไฟในปลี กล้ วยไข่ได้ ดีที่สดุ โดยมีค่าเฉลี่ยเพียง 8.67 ตัว และพบร่ องรอยการเข้ าทาลายรวมถึงคะแนนการเข้ าทาลายบนผิวผลกล้ วยไข่ น้ อยที่สดุ ซึ่งเกษตรกรสามารถนาไปใช้ ในการผลิตกล้ วยไข่สง่ ออกได้ ดี ซึง่ สอดคล้ องกับการรายงานของ สุเทพ (2556) สารฆ่า แมลง fipronil เป็ นสารที่กาจัดแมลงได้ หลายชนิด จัดอยู่ในสารกาจัดแมลงกลุ่มที่ 2บี โดยออกฤทธ์ ยับยัง้ กาบาคลอไรด์ (GABA-chloride channel) ไม่มีความต้ านทานข้ ามไปยังสารฆ่าแมลงกลุม่ อื่น ๆ ที่มีอยู่ในปั จจุบนั สามารถฆ่าศัตรูพืชได้ ด้วย การสัมผัส การกินและการดูดซึม มีประสิทธิ ผลสาหรับศัตรู พืชที่มีความต้ า นทาน และมีความไวในการสัมผัสกับฟอสฟอรัส อินทรี ย์ อินทรี ย์คลอรี น กรดอะมิโน เอสเทอร์ เป็ นต้ น และจากงานวิจยั ของ สุเทพ (2552) ได้ ทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลง ของกะเพราและโหระพาพบว่า การใช้ สารฆ่าแมลง fipronil (Ascend 5 %SC) 20 มิลลิลิตรต่อน ้า 20 ลิตร มีประสิทธิภาพใน การป้องกันกาจัดเพลี ้ยไฟในโหระพาได้ ดีที่สดุ รองลงมาคือ imidacloprid นอกจากนี ้กรรมวิธีที่พ่นด้ วยสารฆ่าแมลงมีคณ ุ ภาพ ของผิวผลกล้ วยไข่ดิบดีกว่ากรรมวิธีควบคุม ลักษณะผิวของผลกล้ วยไข่ในกรรมวิธีควบคุมมี ร่องรอยทาลายของเพลี ้ยไฟ ทาให้ เนื ้อเยื่อเปลี่ยนสี เป็ นจุดสีน ้าตาล อย่างไรก็ตามการใช้ สารฆ่าแมลง fipronil ในการกาจัดเพลี ้ยไฟในปลีกล้ วยไข่พบว่า ผิวของ ผลกล้ วยไข่มีคณ ุ ภาพดีที่สดุ เมื่อเทียบกับกรรมวิธีอื่น โดยพบจุดการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟในผลของกล้ วยไข่น้อยที่สดุ เพียง 2.34 จุด คะแนนการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟในผลกล้ วยไข่เพียง 1.89 คะแนนและคุณภาพของสีผิวกล้ วยไข่ในระยะดิบมีค่า L*, a* และ b* สูงสุดซึ่งแสดงถึงกล้ วยไข่มีคณ ุ ภาพดี ซึ่งสอดคล้ องกับการทดลองของสุกญ ั ญา และ สุวริ นทร์ (2551) ทดสอบ ประสิทธิภาพของวิธีการควบคุมเพลี ้ยไฟศัตรูบวั หลวงในสภาพแปลงปลูก พบว่า กรรมวิธีที่พ่นสารฆ่าแมลงและวิธีผสมผสานมี แนวโน้ มทาให้ เพลี ้ยไฟลดลงและส่งผลให้ คณ ุ ภาพของดอกบัวมีคณ ุ ภาพดีกว่าชุดควบคุม

สรุ ปผล จากการศึกษาการเจริญเติบโตของปลีกล้ วยไข่และสารกาจัดเพลี ้ยไฟในกล้ วยไข่พบว่า 1. ปลีกล้ วยไข่ใช้ เวลาเติบโตตังแต่ ้ ใบสุดท้ ายจนถึงหวีสดุ ท้ ายเป็ นเวลานานประมาณ 17 วัน 2. การศึกษาประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงในการควบคุม เพลี ้ยไฟในกล้ วยไข่ พบว่าสารฆ่าแมลงที่ได้ ผลดีที่สดุ คือ fipronil พบการเข้ าทาลายเพียง 8.67 ตัวต่อดอก (ปลี) และพบว่า fipronil สามารถลดร่องรอยการเข้ าทาลายของเพลี ้ยไฟบนผล กล้ วยไข่ดีที่สดุ ซึง่ มีแผลจากการเข้ าทาลาย 2.34 จุด คะแนนในการเข้ าทาลายเพียง 1.89 คะแนน และมีคณ ุ ภาพสีผลกล้ วยไข่ ในระยะดิบดีที่สดุ

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั ที่สนับสนุนงบประมาณในการทางานวิจยั ครัง้ นี ้

702

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง คาปั น นพพันธ์,. 2552. การปลูกกล้ วยไข่ในภาคกลาง ใน จริ ยา วิสิทธิ์พานิช. คูม่ ือการผลิตกล้ วยไข่คณ ุ ภาพ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . ฝ่ ายเกษตร น. 40 จริ ยา วิสิทธิ์พานิช. 2552. คูม่ ือการผลิตกล้ วยไข่คณ ุ ภาพ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั . ฝ่ ายเกษตร 118 น. สุกญ ั ญา คลังสินศิริกลุ และ สุวริ นทร์ บารุงสุข (2551) การเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพของวิธีการควบคุมเพลี ้ยไฟศัตรูบวั หลวงในสภาพแปลงปลูก. วารสารพระจอมเกล้ าลาดกระบัง 16(1):59-64สุเทพ สหายา. 2552. การทดสอบประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงป้องกันกาจัดแมลงศัตรู สาคัญของ กะเพราและโหระพา. ฐานข้ อมูลผลงานวิจยั กรมวิชาการเกษตร . 2556. สารป้องกันกาจัดแมลงและไรศัตรูพืช. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่ อง การใช้ สารเคมีอย่างถูกต้ องและปลอดภัย. สานักวิจยั พัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

703


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของปุ๋ยอินทรีย์นา้ ต่ อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดฮ่ องเต้ Effects of Liquid Organic Fertilizer on Growth and Yield of Pak Choi จุฑามาส คุ้มชัย1, ศรสวรรค์ ศรีมา1, ชลธิชา วัดแป้ น1 Jutamas Kumchai1, Sornsawan Srima1, Chonticha Watpan1

บทคัดย่ อ งานทดลองนี ม้ ีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของปุ๋ ยอินทรี ย์นา้ ที่มีขายในท้ องตลาด ต่อการเพิ่มการเจริ ญเติบโตและ ผลผลิตของผักกาดฮ่องเต้ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ในบล็อค จานวน 3 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 3 ซ ้า ผลทดลองพบว่า การให้ ปยอิ ุ๋ นทรี ย์น ้าไคโตซานร่วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต และปุ๋ ยอินทรี ย์น ้าสเต็มเซลล์พืชร่วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต ไม่ มีผลต่อการเจริ ญเติบโตทางด้ านความสูงของลาต้ น ความกว้ างทรงพุ่ม ความยาวและความกว้ างของใบผักกาดฮ่องเต้ เมื่อ เปรี ยบเที ยบกับกรรมวิธี ควบคุม ในขณะที่จานวนใบจากกรรมวิธี ของปุ๋ ยอินทรี ย์ นา้ สเต็มเซลล์พืช และกรรมวิธี ควบคุมไม่ แตกต่างกันทางสถิติ แต่จานวนใบจากกรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าสเต็มเซลล์พืชมีมากกว่าผักกาดฮ่องเต้ ที่ได้ กรรมวิธีจากปุ๋ ยอินทรี ย์ นา้ ไคโตซาน นอกจากนีย้ งั พบว่า นา้ หนักผลผลิตของผักกาดฮ่องเต้ ในทุกๆกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ จากการ ทดลองนี ้ชี ้ให้ เห็นว่าปุ๋ ยอินทรี ย์น ้าทังสองชนิ ้ ดไม่มีผลต่อการเพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดฮ่องเต้ คาสาคัญ: ผักกาดฮ่องเต้ ปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต ปุ๋ ยอินทรี ย์น ้า

Abstract This research purpose was to study the effects of liquid organic fertilizers that sell in the market for enhancing growth and yield of Pak Choi. The experimental design was using Randomized Complete Block Design (RCBD) with three treatments and three replications. The result found that liquid organic chitosan fertilizer combined with 21-0-0 and liquid organic stem cell fertilizer combined with 21-0-0 did not affect growth, plant height, canopy width, leaf length and leaf width of Pak Choi. While, the leaf number of liquid organic stem cell fertilizer combined with 21-0-0 treatment and control were not significantly different. However, the leaf number of Pak Choi, which treated liquid organic stem cell fertilizer combined with 21-0-0 was higher than the treatment of liquid organic chitosan fertilizer combined with 21-0-0. Moreover, yield weights of Pak Choi of all treatments were not significantly different. It indicated that both liquid organic fertilizers did not increase growth and development and productivity of Pak Choi. Keywords: Pak Choi, ammonium sulfate fertilizer, liquid organic fertilizer

คานา ผักกาดฮ่องเต้ จดั อยู่ในวงศ์ Brassicaceae (Cruciferae / Mustards family) มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Brassica campestris var. chinensis ชื่อสามัญ Pak Choi (George, 2010) มีถิ่นกาเนิดอยูท่ ี่ประเทศจีน ญี่ปนและเอเชี ุ่ ยกลาง ก้ านใบมี สีเขียวอ่อน และแบน โคนก้ านใบจะขยายกว้ างและหนา ปลายใบมน ไม่หอ่ หัว เป็ นผักที่นิยมบริโภค เนื่องจากปลูกง่าย สามารถ ปลูกได้ ตลอดทังปี ้ มีการเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ ว อายุการเก็บเกี่ยวสันประมาณ ้ 40-50 วันหลังจากเพาะเมล็ด เป็ นผักที่มีรส หวาน กรอบ มีกากใยอาหารและมีคณ ุ ค่าทางอาหารสูง เช่น วิตามินซี แคลเซียม และเบต้ าแคโรทีน รวมทังช่ ้ วยบารุ งสายตา เสริ มสร้ างภูมิค้ มุ กันให้ กบั ร่ างกาย และมีไขมันต่า นิยมนามาประกอบอาหารประเภทผัด แกงจืด ผักจิ ้ม เป็ นต้ น (สถาบันวิจยั และพัฒนาพื ้นที่สงู , 2555; Cao et al., 2006) สาหรับการเก็บเกี่ยวผักกาดฮ่องเต้ จะตัดต้ นระดับเหนือดินเล็กน้ อย เด็ดใบ ด้ านล่างหรื อใบเหลือง และใบที่มีตาหนิทิ ้ง (ไฉน, 2542)

1

สาขาวิชาพืชสวน ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 704

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การให้ ปุ๋ ยนา้ โดยวิธี ฉี ดพ่น ให้ ท างใบเป็ นอี ก ทางเลือ กหนึ่งส าหรั บการให้ ปุ๋ยแก่พืช เป็ นวิธี การที่ ประหยัด และมี ประสิทธิภาพค่อนข้ างสูงสาหรับช่วยเสริมการเจริญเติบโตของพืชนอกเหนือจากการให้ ปยทางดิ ุ๋ น ปั จจุบนั ชาวสวนผักและไม้ ผล นิยมให้ ปยน ุ๋ ้า ทางใบพืชเนื่องจากพืชสามารถนาไปใช้ ได้ รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูง (พินิจและคณะ, 2555) ในปั จจุบนั ปุ๋ ยอินทรี ย์น ้าทางใบมีขายอยู่หลากหลายชนิด ส่วนใหญ่เป็ นสารสกัดจากธรรมชาติ มีความปลอดภัยต่อ มนุษย์ สัตว์ และสิง่ แวดล้ อม สามารถผลิตได้ ในปริมาณมาก มีปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรอง ได้ แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม ธาตุเหล็ก โบรอน และมีฮอร์ โมนต่างๆ ซึง่ ปุ๋ ยอินทรี ย์น ้าแต่ละชนิดจะมีธาตุ อาหารนปริ มาณท่แตกต่างกันไปขึ ้นอยู่กบั อินทรี ยวัตถุที่นามาหมักหรื อสกัด สามารถนามาใช้ กบั พืชผักและพืชอื่นๆได้ ดี ช่วย ปรับปรุงบารุงดิน เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม ปลอดภัยทังต่ ้ อผู้ผลิต และผู้บริ โภค (ยงยุทธ, 2549) ตัวอย่างของปุ๋ ยอินทรี ย์น ้า ได้ แก่ ไคโตซาน เป็ นสารกลัดชี วภาพที่ ไ ด้ มาจากการหมักหรื อสกัด จากโครงสร้ างของสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่นแมลง กุ้ง ปู ปลาหมึก และส่วนประกอบของเปลือกแข็งที่ห้ มุ เซลล์ของรา ยีสต์ และจุลินทรี ย์อื่นๆ (Kumar, 2000) นอกจากนี ้ยังพบว่าสาร สกัดชีวิภาพ ที่ใช้ กนั ในรูปปุ๋ ยอินทรี ย์น ้าได้ แก่ สเต็มเชลล์พืช ผลิตมาจากส่วนของหน่ออ่อน ซึง่ มีเซลล์ต้นกาเนิด หรื อ สเต็มเซลล์ นัน่ เอง มีธาตุอาหารสูตรเข้ มข้ นทังธาตุ ้ อาหารหลักและรอง เหมาะกับการบารุงต้ น โดยฉีดพ่นให้ ทางใบพืช (Organic1healthy, 2555) ดังนัน้ การทดลองนี ไ้ ด้ นาปุ๋ ยอินทรี ย์นา้ ไคโตซาน และสเต็มเซลล์พืช ที่มีขายอยู่ทวั่ ไปในท้ องตลาดมาใช้ กับผักกาด ฮ่องเต้ เพื่อเพิ่มการเจริ ญเติบโตและน ้าหนักของผลผลิตผักกาดฮ่องเต้ สาหรับเป็ นแนวทางในการตัดสินใจเลือกซื ้อปุ๋ ยอินทรี ย์ น ้าที่มีขายอยูใ่ นท้ องตลาดให้ เกิดประโยชน์สงู สุดต่อพืช ต้ นทุนการผลิตต่า และปลอดภัยต่อทังผู ้ ้ ผลิตและผู้บริโภค

วิธีการทดลอง ปลูกผักกาดฮ่องเต้ ของบริ ษัทเพื่อนเกษตรกร พันธุ์TenderTA087 มีลกั ษณะเด่นคือ ใบกลมเล็กมีสีเขียวอ่อนปกคลุม ลาต้ น มีเส้ นกลางใบมองเห็นน้ อยที่สดุ ซึ่งให้ ผลผลิตสูงจึงเป็ นพันธุ์ที่เกษตรกรนิยมปลูก โดยเพาะเมล็ดลงในถาดหลุมที่บรรจุ ด้ วยวัสดุปลูกพีทมอส เมื่อต้ นกล้ ามีอายุ 20 วันหลังเพาะมล็ด ย้ ายลงแปลงปลูก โดยปลูกระยะห่างระหว่างต้ น 30 x 30 เซนติเมตร การเตรี ยมแปลงปลูกใส่ปุ๋ยรองพืน้ สูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรั ม/ไร่ และปุ๋ ยคอกอัตรา 20 กิโลกรั ม/ไร่ วาง แผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ภายในบล็อค (Randomized Complete Block Designs; RCBD) ประกอบด้ วย 3 กรรมวิธี ดังนี ้ กรรมวิธีที่ 1 กรรมวิธีควบคุม (ใส่ปยแอมโมเนี ุ๋ ยมซัลเฟต (21-0-0)) กรรมวิธีที่ 2 ใส่ปยอิ ุ๋ นทรี ย์น ้าไคโตซานร่ วมกับปุ๋ ย แอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0) และกรรมวิธีที่ 3 ใส่ปยปุ๋ ุ๋ ยอินทรี ย์น ้าสเต็มเซลล์ร่วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0) กรรมวิธี ละ 3 ซ ้า หลังจากย้ ายปลูกได้ 1 สัปดาห์ เริ่ มให้ ปยอิ ุ๋ นทรี ย์น ้าตามกรรมวิธีต่างๆ สัปดาห์ละหนึ่งครัง้ และหยุดให้ ปยอิ ุ๋ นทรี ย์น ้า ทุกกรรมวิธีก่อนเก็บเกี่ยว 1 สัปดาห์ ผักกาดฮ่องเต้ เก็บผลผลิตได้ เมื่อพืชมีอายุ 30 วันหลังจากย้ ายกล้ าลงแปลงปลูก บันทึกผล ดังนีค้ ือ ความสูงต้ น (วัดจากลาต้ นเหนือดินถึงปลายใบรวบ) ความกว้ างทรงพุ่ม ความยาวใบ ความกว้ างใบ (วัดจากส่วนที่ กว้ างที่สดุ ) และนับจานวนใบ และชัง่ น ้าหนักผลผลิตสดหลังจากตัดแต่งใบ เก็บข้ อมูลซ ้า 6 ต้ น ระยะเวลาทาการทดลองตังแต่ ้ 14 ตุลาคม - 10 ธันวาคม 2557

ผลและวิจารณ์ จากการทดสอบปุ๋ ยอินทรี ย์นา้ ทัง้ สองชนิดทางด้ านการเจริ ญเติบโต ความสูงของต้ น ความกว้ างของทรงพุ่ม และ น ้าหนักผลผลิตหลังจากตัดแต่งใบแล้ ว พบว่าทุกกรรมวิธีไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 % จานวนใบต่อต้ น ของผักกาดฮ่องเต้ ที่ได้ รับปุ๋ ยอินทรี ย์น ้าสเต็มเซลล์ร่วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต และชุดควบคุมมีจานวนใบต่อต้ นมากและไม่ แตกต่างกันทางสถิติ ในขณะที่ปยอิ ุ๋ นทรี ย์น ้าสเต็มเซลล์ร่วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟตมีผลให้ ผกั กาดฮ่องเต้ มีจานวนใบมากกว่า ปุ๋ ยอินทรี ย์ไคโตซานร่วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต และแตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (Table 1, Figure1) สาหรับความ ยาว(Table 2)และความกว้ าง(Table 3) ของทัง้ 4 ใบในทุกกรรมวิธีไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 % ในการ ทดลองนี ้แสดงให้ เห็นว่าการใช้ ปยอิ ุ๋ นทรี ย์น ้าทังสองชนิ ้ ดไม่มีผลต่อการเพิ่มการเจริ ญเติบโตและผลผลิต ปุ๋ ยอินทรี ย์น ้าที่สกัดได้ จากอินทรี ย์วตั ถุ เช่นไคโตซานพบว่ามีธาตุไนโตรเจน และสารอาหารอื่นๆ ในปริ มาณน้ อยมาก หรื อไม่พบเลย (สุดาพร และคณะ, 2554) ดัง นัน้ การเจริ ญ เติ บ โตจึ ง เป็ น ผลมาจากอิ ท ธิ พ ลและปริ ม าณของปุ๋ ยแอมโมเนี ย มซัล เฟตที่ เ ท่ า กัน ทุก กรรมวิ ธี ซึ่ง แอมโมเนี ยมซัลเฟตเป็ นปุ๋ ยที่มี ส่วนประกอบของไนโตรเจน 21 % เพียงพอต่อการเจริ ญเติบโตของพืชผักที่มีอายุสนั ้ (International plant nutrition institute, 2015) และพืชผักที่กินผลเช่นมะเขือเทศ จากรายงานของ Hozhabryan และ Kazemi การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

705


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

(2014) พบว่า ปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟตทาให้ มะเขือเทศมีการเจริ ญเติบโตที่ดี มีวิตามินซีในปริ มาณมาก และให้ ผลผลิตสูง นอกจากนี ้ Rantao (2013) รายงานว่าแหล่งไนโตรเจนจากปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต ทาให้ หวั บีทมีการเจริ ญเติบโตดี และให้ ผล ผลิตสูงกว่าไนโตรเจนจากแหล่งอื่นๆ ดังนันผั ้ กใบที่มีอายุการปลูกและเก็บเกี่ยวสัน้ ควรให้ ปยที ุ๋ ่มีแหล่งของไนโตรเจนในปริ มาณ ที่ไม่สงู มากนักเพื่อไม่เกิดการสะสมของไนโตรเจนที่ใบมากเกินไป ในทางตรงกันข้ ามกลับมีผลทาให้ พืชมีการเจริ ญเติบโตที่ดี และช่วยลดต้ นทุนการผลิตเพราะปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟตมีราคาถูกและเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืชผักใบทุกชนิด Table 1 Growth and yield of Pak Choi at 30 days after transplanting. Treatments Plant height Canopy width Leaves Number Yield (g/plant) (cm) (cm) (leaves) Control 18.68 ± 1.94 31.50 ± 2.07 22.50ab ± 1.38 240.83 ± 65.78 b Liquid organic chitosan fertilizer 19.83 ± 2.31 31.58 ± 2.94 21.17 ± 1.22 292.50 ± 61.29 a Liquid organic stem cell fertilizer 18.75 ± 1.25 32.17 ± 1.17 23.50 ± 1.76 231.67 ± 78.48 F-test ns ns * ns C.V. (%) 11.15 5.73 5.69 10.89 * Means followed by the same letters in a column are not significantly different by LSD test at P ≤ 0.05 (n=3). Table 2 Leaf length of Pak Choi at 30 days after transplanting. Treatments Leaf length (cm) First Leaf Second Leaf Third Leaf Control 12.75 ± 1.51 12.42 ± 0.74 12.25 ± 1.50 Liquid organic chitosan fertilizer 12.75 ± 1.46 12.75 ± 1.25 13.00 ± 0.86 Liquid organic stem cell fertilizer 12.67 ± 1.29 12.67 ± 0.61 12.50 ± 1.10 F-test ns ns ns C.V. (%) 8.78 7.98 8.13 ns is not significantly different by LSD test at P ≤ 0.05 (n=3). Table 3 Leaf width of Pak Choi at 30 days after transplanting. Treatments Leaf length (cm) First Leaf Second Leaf Third Leaf Control 9.83 ± 0.88 9.67 ± 1.47 9.83 ± 1.29 Liquid organic chitosan fertilizer 10.25 ± 1.56 9.83 ± 0.98 9.75 ± 1.03 Liquid organic stem cell fertilizer 9.50 ± 1.05 9.75 ± 0.52 10.00 ± 1.41 F-test ns ns ns C.V. (%) 12.41 10.3 13.91 ns is not significantly different by LSD test at P ≤ 0.05 (n=3).

706

Fourth Leaf 12.42 ± 1.13 12.50 ± 1.44 12.50 ± 1.66 ns 9.87

Fourth Leaf 9.75 ± 1.78 10.08 ± 0.68 9.75 ± 1.21 ns 10.5

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1. The comparison of three treatments of Pak Choi at 30 days after transplanting.

สรุ ป การให้ ปยแอมโมเนี ุ๋ ยมซัลเฟตร่วมกับปุ๋ ยอินทรี ย์น ้าทังสองชนิ ้ ด ไม่มีผลต่อการเพิ่มขึ ้นของการเจริ ญเติบโตและผลผลิต ของผักกาดฮ่องเต้ ดังนันการเจริ ้ ญเติบโตและน ้าหนักผลผลิตที่ได้ ไม่ได้ เกิดจากผลของปุ๋ ยอินทรี ย์น ้าที่ใช้ ทงสองชนิ ั้ ด แต่ปัจจัยที่ มีผลต่อการเจริ ญเติบโตของผักกาดฮ่องเต้ คือผลจากแอมโมเนีย มซัลเฟตซึ่งทุกกรรมวิธีได้ รับในปริ มาณที่เท่ากันทาให้ ผลการ ทดลองในทุกกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ

กิตติกรรมประกาศ ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่สนับสนุนเครื่ องมือและอุปกรณ์ใน การทาวิจยั ในครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง ไฉน ยอดเพชร. 2542. พืชผักในตระกูลครูซิเฟอร์ . รัว้ เขียว, กรุงเทพฯ. 195น. พินิจ จันทร สาราญ สัมฤทธิสวุ รรณ บุญทัน ดอกไธสง ชาญชัย อาจินสมาจาร สุนทร โคตรบรรเทา อบรม สินรม สินภาล ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี ไกร คุง อนัคฆกุล ประเวศน์ มหารัตน์สกุล และ พิเชษฐ์ วงศ์เกีย รติ์ขจร. 2555. มหัศจรรย์ปยไทย ุ๋ สูตรพิเศษใช้ เฉพาะทางใบแบบทาเอง. ปั ญญาชน, กรุงเทพฯ. 152น. ไพลิน แก้ ว อิ นถา. 2554. ความรู้ และการปฏิ บัติของเกษตรเกี่ ยวกับการใช้ ส ารธรรมชาติท างการเกษตรในการผลิตผัก อ.สารภี จ.เชี ยงใหม่ . วิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์ ) (สาขาวิชาส่งเสริ มการเกษตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 87น. ยงยุทธ โอสถสภา. 2549. การให้ ปยทางใบ ุ๋ (พิมพ์ครัง้ ที่2). สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ , กรุงเทพมหานคร 164น. สถาบันวิจยั และพัฒนาพื ้นที่สงู . 2555. ผักกาดฮ่องเต้ เล็ก. แหล่งที่มา: http://mis.hrdi.or.th/inforcenter/xml_km/shdet.aspx?mnuid=17 (5 พฤษภาคม 2557). สุดาพร ตังควนิช สุนทร วรหา พิริยาภรณ์ แก้ วศรี และศิราพันธ์ ฐานทอง. 2554. การวิจยั และพัฒนาคุณ ุ ภาพปุ๋ ยอินทรี ย์สาหรับการเกษตรกรรมแบบ ยัง่ ยืน. วารสารศรี วนาลัยวิจยั , 2: 20-28. Cao J.S, X.L. Yu, W.Z. Ye, G. Lu and X. Xiang. 2006. Functional analysis of a novel male fertility CYP86MF gene in Chinese cabbage (Brassica campestris L. ssp. chinensis makino). Plant Cell Rep. 24: 715-723. George, R.A.T. 2010. Vegetable Seed Production, 3rd Edition. Printed and bound in the UK by MPG Books Group, Bodmin. 329p. Hozhabryan, M. and S. Kazemi. 2014. Effects of ammonium sulphate and urea fertilizers on the growth and yield of tomato. J. Nov. Appl. Sci. 3(2): 148-150. International plant nutrition institute. 2015. Nutrient source specifics. Available Source: www.ipni.net (28 สิงหาคม 2558). Knorr, D.C. 1984. Use of chitinous polymer in food. Tech. 38(1): 85-97. Kumar, M.N.V.R. 2000. A review of chitin and chitosan applications. React. Funct. Polym. 46(1): 1-27. Rantao, G. 2013. Growth, yield and quality response of beet (Beta vulgaris L.) to nitrogen. Submitted in fulfilment of the requirements for the degree of Magister Scientiae Agriculturae Department of Soil, Crop and Climate Sciences, Faculty of Natural and Agricultural Sciences, University of the Free State Bloemfontein. 107p.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

707


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของปุ๋ยอินทรีย์นา้ ต่ อการเจริญเติบโตและผลผลิตคะน้ า Effects of Liquid Organic Fertilizer on Growth and Yield of Chinese kale พฤกษา วังแสง1, ศรสวรรค์ ศรีมา1, จุฑามาส คุ้มชัย1 Prueksa Wangsang 1, Sornsawan Srima1, Jutamas Kumchai1

บทคัดย่ อ การให้ ปยอิ ุ๋ นทรย์น ้าในพืชผัก โดยการฉีดพ่นทางใบ จะช่วยให้ พืชนาไปใช้ ประโยชน์ได้ รวดเร็ ว ในการทดลองครัง้ นี ้มี จุดประสงค์เพื่อศึกษาความเข้ มข้ นที่เหมาะสมและชนิดของปุ๋ ยอินทรย์น ้าในการใช้ ร่วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟตเพื่อที่จะช่วย เพิ่มการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของคะน้ า โดยวางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ในบล็อค 6 กรรมวิธี กรรมวิธีละ 4 ซ ้า ดังนี ้ ชุดควบคุม (แอมโมเนียมซัลเฟต, 21-0-0) อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ ปุ๋ ยอินทรย์น ้าสเต็มเซลล์พืช อัตราส่วน 1:100, 1:250, 1:500 1:750 และ ปุ๋ ยอินทรย์น ้าหมักชีวภาพ อัตรา 1:500 ร่วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ จากการทดลองพบว่า การให้ ปยอิ ุ๋ นทรย์น ้าทังสองชนิ ้ ดร่ วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟตทุกความเข้ มข้ น ไม่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตในสัปดาห์สดุ ท้ าย ก่อนการเก็บเกี่ยว และไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติกบั ชุดควบคุม ทางด้ านความสูงของลาต้ น ความกว้ างทรงพุ่ม ความกว้ าง ใบ จานวนใบต่อต้ นและเส้ นผ่าศูนย์กลางลาต้ นของคะน้ า ในขณะที่น ้าหนักผลผลิตของคะน้ า มีค่าอยู่ในช่วง 128.27-190.55 กรัมต่อต้ น ปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต ร่ วมกับปุ๋ ยอินทรย์น ้าหมักชีวภาพ ทุกความเข้ มข้ น ให้ น ้าหนักผลผลิตไม่แตกต่างจากชุด ควบคุม การทดลองนี ้ชี ้ให้ เห็นว่า ปุ๋ ยอินทรย์น ้าหมักชีวภาพ และ ปุ๋ ยอินทรย์น ้าสเต็มเซลล์พืช ไม่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตและ น ้าหนักผลผลิตของคะน้ า การใช้ ปยแอมโมเนี ุ๋ ยมซัลเฟตเพียงอย่างเดียวมีความเพียงพอต่อการเจริ ญเติบโตทางลาต้ น จานวน ใบ และน ้าหนักผลผลิตของคะน้ าเนื่องจาก มีธาตุอาหารที่จาเป็ นคือไนโตรเจนซึง่ มีความสาคัญในระยะแรกของการเจริ ญเติบโต โดยเฉพาะในผักใบที่มีอายุการเก็บเกี่ยวสัน้ คาสาคัญ: ผักคะน้ า แอมโมเนียมซัลเฟต ไนโตรเจน

Abstract The liquid organic fertilizers were applied on leaves of vegetables. Foliar application on nutrient uptake is easily absorbed and quickly translocate in plants. The purpose of this research was to study the suitable concentration of liquid organic fertilizers, which would increase growth and yield weight of Chinese kale. The experimental design was randomized complete block design (RCBD) with six treatments and four replications. There were control (ammonium sulfate fertilizer, 21-0-0), 21-0-0 at rate 20 kilograms per rai combined with liquid organic stem cell fertilizer, 1:100, 1:250, 1:500 and 1:750 and liquid organic bio-extract fertilizer, 1:500. The result found that all concentration of two liquid fertilizers combined with 21-0-0 did not affect growth, plant height, canopy width, leaf width, the number of leaves per plant and stem width. While, yield weight of Chinese kale ranged from 128.27–190.55 gram per plant, which all concentration of liquid organic stem cell fertilizer combined with 21-0-0 were not significantly different with a control treatment. It indicated all concentration of two liquid organic fertilizers were not effect on growth and yield. The using only ammonium sulfate was enough of vegetative growth and yield of Chinese kale. It contains 21% nitrogen, which an essential for the first stage of leafy vegetables growth and short harvested leafy vegetables. Keywords: Chinese kale, ammonium sulfate fertilizer, nitrogen

1

สาขาวิชาพืชสวน ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ 50200 708

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา คะน้ าเป็ นผักที่รับประทานใบ ก้ านใบและลาต้ นหรื อที่เรี ยกว่าผักกินใบ มีชื่อสามัญว่า Kailan, Chinese kale และ Kale ชื่อวิทยาศาสตร์ Brassica oleracea var. alboglabra (ไฉน, 2542; George, 2010) อยูใ่ นวงศ์ Brassicaceae มีถิ่น กาเนิดในทวีปเอเชีย ประเทศไทยสามารถปลูกได้ ตลอดทังปี ้ และเจริญเติบโตได้ ในดินแทบทุกชนิด ให้ ผลผลิตมากที่สดุ ในช่วงฤดู หนาว อุณหภูมิเฉลี่ย 20 องศาเซลเซียส ต้ องการแสงแดดเต็มที่ (อร่าม, 2543; Zhang and Zhang, 2014) คะน้ าที่คนไทนิยม รับประทานคือ ลาต้ นเป็ นลาต้ นเดี่ยว อวบ มีสว่ นกลางลาต้ นที่ป่องใหญ่ ใบเรี ยบ มีปลายใบที่แหลมตังชี ้ ้ขึ ้น ก้ านใบบาง มีช่วง ข้ อยาว และน ้าหนักในส่วนที่เป็ น ลาต้ นและก้ านมากกว่าใบ คะน้ ามีลาต้ นสูงประมาณ 30.44 เซนติเมตร ขนาด เส้ นผ่าศูนย์กลางของลาต้ นที่ใหญ่ที่สดุ ประมาณ 2 เซนติเมตร จานวนใบเฉลีย่ ต่อต้ น 9 ใบ และน ้าหนักเฉลี่ยต่อต้ น 143 กรัม (เมฆ, 2541) คะน้ าเป็ นผักที่มีคณ ุ ค่าทางอาหารสูงโดยเฉพาะ แคลเซียม ฟอสฟอรัส และวิตามินซี (กระยาทิพย์ , 2537) คุณค่า ทางอาหารในสัดส่วนที่บริโภคได้ 100 กรัม คือ โปรตีน 2.3 กรัม แคลเซียม 173 มิลลิกรัม ธาตุเหล็ก 1.4 มิลลิกรัม และวิตามิเอ 1000 มิลลิกรัม วิตามินซี 140 มิลลิกรัม (ยุพยงษ์ , 2546) นอกจากนี ้คะน้ ายังมีประโยชน์ทางยา คือ ช่วยระบายเพราะมีเส้ นใย อาหารมากจึงช่วยรักษาโรคท้ องผูก ช่วยลดระดับคลอเลสเตอรอล และบารุงผิวพรรณ (กระยาทิพย์, 2537) คะน้ าเป็ นผักที่มี อายุสนั ้ อายุประมาณ 45-55 วัน สามารถเก็บเกี่ยวได้ เป็ นระยะที่คะน้ าโตเต็มที่และเป็ นที่ต้องการของตลาด ถ้ าคะน้ าขาดน ้าจะ ชะงักการเจริญเติบโต มีเส้ นใยมาก รสชาติไม่อร่อย (สถาบันวิจยั และพัฒนาพื ้นที่สงู , 2555; ไฉน, 2542) เนื่องจากคะน้ าเป็ นผัก กินใบและลาต้ นจึงควรใส่ปยที ุ๋ ่มีธาตุไนโตรเจนสูง หรื ออาจจะใส่ปยบ ุ๋ ารุงเพิ่มเติม เช่น ปุ๋ ยยูเรี ย ปุ๋ ยแอมโมเนียไนเตรท โดยให้ ทางรากหรื อละลายน ้าในอัตราประมาณ 3-4 ช้ อนต่อน ้า 1 ปี๊ บ ฉีดพ่นทางใบ (สุนิสา, 2551) สารสกัดชีวภาพ (Bio-extract) คือ น ้าที่ได้ จากการหมักดองสัตว์และพืชอวบน ้า (ผัก ผลไม้ ) ซึ่งเศษพืชและสัตว์นี ้จะถูก ย่อยสลายด้ วยจุลินทรี ย์ โดยใช้ กากน ้าตาลหรื อน ้าตาลชนิดอื่น (น ้าตาลทราย) เป็ นแหล่งพลังงานของจุลินทรี ย์ สามารถหมักทิ ้งไว้ ในสภาพที่มีและไม่มีออกซิเจน น ้าสกัดชีวภาพที่ได้ จึงประกอบไปด้ วยจุลินทรี ย์ ธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองที่พืชต้ องการ นาไปใช้ ในการเจริ ญเติบโตและช่วยปรับปรุงดิน และมีสารอินทรี ย์หลายชนิดที่เป็ นประโยชน์ต่อการเจริ ญเติบโตและการให้ ผลผลิต ซึง่ ปริ มาณสารอาหารที่มีในปุ๋ ยมีปริ มาณแตกต่างกันขึ ้นอยู่กบั วัตถุดิบที่นามาใช้ ในการหมักดอง สารสกัดชีวภาพสะอาดปลอดภัย ต่อชีวิตและสิ่งแวดล้ อมเหมาะสาหรับเกษตรอินทรี ย์และการทาเกษตรแบบธรรมชาติ ปั จจุบนั เกษตรกรมีการใช้ สารสกัดชีวภาพกัน อย่างแพร่หลาย ใช้ โดยการรดหรื อฉีดพ่นให้ กบั ผักผลไม้ ในอัตรา 1:500 ถึง 1:1000 (ประดิษฐ์ , 2544; วิทยาวัฒน์, 2544; สมเกียรติ, 2548) จากการทดลองของ ชัยอาทิตย์ และโสระยา(2557) พบว่า สารสกัดชีวภาพ อัตรา 1:250 และ 1:500 ให้ น ้าหนักสดของผัก สลัดอินทรี ย์ที่ปลูกโดยระบบไฮโดรพอนิกส์ มีค่ามากที่สดุ นอกจากนี ้ที่ความเข้ มข้ น 1:500 ยังมีผลให้ ผกั สลัดอินทรี ย์ที่ปลูกโดย ระบบไฮโดรพอนิกส์ มีความสูงของต้ น และจานวนใบมากที่สดุ นอกจากนี ้ยังพบว่าสารสกัดจากอินทรี ย์วตั ถุ สามารถนาไปใช้ ได้ ใน การเกษตร ปุ๋ ยน ้าสเต็มเซลล์พืช Plant Stem Cell (เซลล์ต้นกาเนิดจากพืช) หรื อ Plant Placenta (รกพืช) เนื่องจากมีธาตุอาหารสูตรเข้ มข้ น เป็ นปุ๋ ยน ้าสูตรบารุ งต้ นและทางใบ เหมาะสาหรับเกษตรอินทรี ย์และการทาเกษตรแบบธรรมชาติ สารอาหารประกอบไปด้ วยธาตุ อาหารหลักและธาตุอาหารรอง ได้ แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม ธาตุเหล็ก และโบรอน เป็ นต้ น โดยมี ผลต่อพืชผักคือ ช่วยเร่ งการเจริ ญเติบโต เร่งการติดดอกออกผล และสร้ างความแข็งแรงให้ กบั พืช (Organic1healthy, 2555) จาก การทดลองของ Noisopa et al. (2010) รายงานว่าการใช้ สารสกัดจากพืชผัก โดยเฉพาะจากถัว่ เหลืองช่วยเพิ่มการเจริ ญเติบโตและ ผลผลิตของคะน้ า นอกจากนีย้ งั เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม ปลอดภัยต่อเกษตรกรผู้ปลูก ปลอดภัยต่อเกษตรกรผู้ปลูกและผู้บริ โภค ราคาถูก และยังเป็ นการนาเศษวัสดุที่เหลือจากการเกษตรมาใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ดังนัน้ ในการทดลองจึงนีไ้ ด้ นาปุ๋ ยอินทรย์ นา้ สเต็มเซลล์พืชที่ซื ้อจากตลาด โดยใช้ อตั ราความเข้ มข้ นต่างๆกัน เนื่องจากไม่ทราบความเข้ มข้ นที่เหมาะสมสาหรับผักคะน้ า และปุ๋ ย อินทรย์นา้ หมักชีวภาพที่ใช้ ในการทดลองของชัยอาทิตย์ และโสระยา(2557) ซึ่งนาเอาความเข้ มข้ นที่ดีที่สดุ ที่ทาให้ ผักมีการ เจริ ญเติบโตดีมาทดสอบ โดยปุ๋ ยอินทรี ย์น ้าทังสองชนิ ้ ดนี ้นามาใช้ ร่วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต เพื่อเปรี ยบเทียบการเจริ ญเติบโต และผลผลิตของคะน้ ากับชุดควบคุมซึง่ ให้ เพียงปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟตเพียงอย่างเดียว

วิธีการทดลอง วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ในบล็อค (Randomized complete block design; RCBD) 6 กรรมวิธี กรรมวิธี ละ 4 ซ ้า ดังนี ้ กรรมวิธีที่ 1 : ชุดควบคุม (ปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต; 21-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่) กรรมวิธีที่ 2 : 21-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ + ปุ๋ ยอินทรย์น ้าสเต็มเซลล์ อัตรา 1:100 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

709


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

กรรมวิธีที่ 3 : 21-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ + ปุ๋ ยอินทรย์น ้าสเต็มเซลล์ อัตรา 1:250 กรรมวิธีที่ 4 : 21-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ + ปุ๋ ยอินทรย์น ้าสเต็มเซลล์ อัตรา 1:500 กรรมวิธีที่ 5 : 21-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ + ปุ๋ ยอินทรย์น ้าสเต็มเซลล์ อัตรา 1:750 กรรมวิธีที่ 6 : 21-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ + ปุ๋ ยอินทรย์น ้าหมักชีวภาพ อัตรา 1:500 เพาะเมล็ดลงในถาดหลุม เมื่อต้ นกล้ ามีอายุ 25 วันย้ ายลงแปลงปลูก ในขันตอนการเตรี ้ ยมแปลงปลูก หว่านปุ๋ ยรอง พื ้นสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ และปุ๋ ยคอกอัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่ หลังจากย้ ายปลูก 1 สัปดาห์ เริ่ มใส่ปยในแต่ ุ๋ ละ กรรมวิธี สัปดาห์ละหนึง่ ครัง้ พร้ อมกับบันทึกการเจริญเติบโตอาทิตย์ละครัง้ โดยวัดความสูงต้ น ความกว้ างทรงพุ่ม ความยาวใบ และความกว้ างใบ (วัดจากส่วนที่กว้ างที่สดุ ) หลังจากย้ ายกล้ าปลูกได้ 30 วันเก็บเกี่ยวผลผลิต ชัง่ น ้าหนักผลผลิตสด นับจานวน ใบ และวัดเส้ นผ่าศูนย์กลางลาต้ น

ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลการทดลองการใส่ปยอิ ุ๋ นทรย์นา้ สเต็มเซลล์ ในอัตราส่วนที่แตกต่างกันร่ วมกับปุ๋ ยแอมโมเนีย มซัลเฟต และปุ๋ ย อินทรย์นา้ หมักชีวภาพร่ วมกับปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต พบว่าการเจริ ญเติบโตทางด้ านลาต้ นคือความสูง ความกว้ างทรงพุ่ม ความยาวใบ ความกว้ างใบ จานวนใบ และขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางลาต้ น ของสัปดาห์สดุ ท้ ายก่อนการเก็บเกี่ยว ในทุกกรรมวิธี ไม่แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95 % (Table 1, Table 2) น ้าหนักผลผลิตของคะน้ า อยู่ในช่วง 128.27-190.55 กรัม/ต้ น จากผลการทดลองพบว่าน ้าหนักผลผลิตของคะน้ าที่ได้ รับปุ๋ ยอินทรย์น ้าสเต็มเซลล์ ทุกความเข้ มข้ น ไม่แตกต่างกันทาง สถิติกบั ชุดควบคุมซึง่ ให้ เพียงแอมโมเนียมซัลเฟตเพียงอย่างเดียว แต่ปยอิ ุ๋ นทรย์น ้าสเต็มเซลล์พืช อัตราส่วน 1:100, 1:500 และ 1:750 .ให้ น ้าหนักผลผลิตมากกว่าคะน้ าที่ได้ รับ ปุ๋ ยอินทรย์น ้าหมักชีวภาพอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ (Table 2) ผลการทดลอง ชี ้ให้ เห็นว่าธาตุอาหารที่คะน้ านามาใช้ สาหรับการเจริ ญเติบโตนัน้ ก็คือธาตุไนโตรเจนซึ่งพบทังในปุ๋ ้ ยเคมี และปุ๋ ยอินทรี ย์น ้า แต่ ในกรรมวิธีควบคุมให้ ปยเคมี ุ๋ เพียงอย่างเดียวก็ให้ ผลผลิตไม่ต่างกับกรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยอินทรี ย์นา้ ดังนัน้ ปริ มาณไนโตรเจนที่ เหมาะสมสาหรับการเจริ ญเติบโตของคะน้ าได้ มาจากปุ๋ ยแอมโนเนียมซัลเฟต ซึ่ง ปุ๋ ยแอมโมเนียมซัลเฟต มีธาตุอาหารที่จาเป็ น คือ ไนโตรเจนปริมาณ 21 % ซึง่ มีบทบาทในทางเมแทบอลิซมึ และการเจริ ญเติบโตอยู่ในรูปสารอินทรี ย์ที่ทาหน้ าที่สาคัญต่อการ แบ่งและขยายขนาดของเซลล์ นอกจากนี ้ยังเป็ นสารประกอบของเอนไซม์ ดังนันการให้ ้ ปยไนโตรเจนในปริ ุ๋ มาณที่เพียงพอจะทา ให้ พืชมีการแตกใบอ่อนได้ มาก และใบมีขนาดใหญ่ แต่การให้ ปยที ุ๋ ่มีปริ มาณไนโตรเจนสูงมากเกินไป ส่งผลให้ พืชมีการเจริ ญ ทางกิ่งและใบมากเกินไปจนทาให้ คณ ุ ภาพผลผลิตลดลง ลาต้ นอ่อนแอต่อการเข้ าทาลายของโรคและแมลง นอกจากนี ้ก็ยงั เกิด การสะสมของไนโตรเจนที่ใบมากเกินไป (พิทยา, 2554) การใส่ปยแอมโมเนี ุ๋ ยมซัลเฟตในอัตราส่วนที่เหมาะสม ร่วมกับ Borax มี ส่วนช่วยในการเจริ ญเติบโตของพืชในระยะแรก จนกระทัง่ เริ่ มแทงช่อดอกจึงหยุดให้ (Spini and Kerr, 2000) USAID (2012) รายงานว่าคะน้ าเป็ นพืชอายุสนเก็ ั ้ บผลผลิตเร็ว สาหรับการจัดการปุ๋ ย จะให้ ปยที ุ๋ ่มีธาตุไนโตรเจน 203 กิโลกรัม/เฮกตาร์ ซึง่ ให้ ใน ปริ มาณมากกว่าธาตุอาหารชนิดอื่นๆเพื่อเร่งการเจริ ญเติบโตทางด้ านลาต้ น จากการทดลองของ บัญชา (2556) พบว่าผักกาด เขียวกวางตุ้งที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ ที่ได้ รับ ปุ๋ ยเคมีมีการเจริญเติบโตที่ดี และให้ ผลผลิตสูงกว่ากรรมวิธีที่ได้ รับปุ๋ ยจากสาร สกัดชีวภาพ และปุ๋ ยจากสารสกัดชีวภาพร่ วมกับปุ๋ ยเคมี ดังนันการใช้ ้ ปยแอมโมเนี ุ๋ ยมซัลเฟต ที่มีธาตุอาหารหลักคือไนโตรเจน เป็ นองค์ประกอบ เพียงพอต่อการเจริ ญเติบโตของผักคะน้ า สาหรับการลดต้ นทุนการผลิตผักคะน้ า ปุ๋ ยเสริ ม หรื อฮอร์ โมนอื่นๆ อาจจะไม่จาเป็ นเนื่องจากคะน้ าเป็ นผักอายุสนั ้ (จินดารัฐ และคณะ, 2541)

710

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Plant growth parameters and number of leaves per plant of Chinese kale at 30 days after transplanting. Treatments Plant height Canopy width Leaf width Leaf length Number of Leaves (cm) (cm) (cm) (cm) per plant (Leaves) Control 41.10 36.68 13.34 18.80 8.63 Liquid organic stem cell fertilizer 1:100 42.25 35.78 13.97 18.96 9.25 Liquid organic stem cell fertilizer 1:250 40.06 37.08 13.55 17.92 8.38 Liquid organic stem cell fertilizer 1:500 38.94 37.88 14.09 18.68 7.88 Liquid organic stem cell fertilizer 1:750 42.10 34.46 13.85 19.07 8.75 Liquid organic bio-extract fertilizer 1:500 37.48 32.71 13.46 17.24 7.88 F-test ns ns ns ns ns C.V. (%) 11.04 17.70 13.83 13.79 12.11 ns is not significantly different by LSD test at P ≤ 0.05 (n=3). Table 2 Stem diameter and yield of Chinese kale at 30 days after transplanting. Treatments Stem diameter (cm) Yield (g/plant) Control 22.55 161.30ab Liquid organic stem cell fertilizer 1:100 23.49 190.55a Liquid organic stem cell fertilizer 1:250 21.93 158.28ab Liquid organic stem cell fertilizer 1:500 20.68 177.33a Liquid organic stem cell fertilizer 1:750 22.21 172.73a Liquid organic bio-extract fertilizer 1:500 22.15 128.27b F-test ns * C.V. (%) 8.16 15.05 * Means followed by the same letter in a column are not significantly different by LSD test at P ≤ 0.05 (n=3).

Figure 1 The comparison of six treatments of Chinese kale at 30 days after transplanting.

สรุ ป การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

711


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

จากการทดลองสรุปได้ ว่าการใช้ ปยแอมโมเนี ุ๋ ยมซัล เฟตร่วมกับปุ๋ ยอินทรย์น ้าสเต็มเซลล์พืช ที่อตั ราส่วนต่างๆกัน และ ปุ๋ ยอินทรย์น ้าหมักชีวภาพจากสัตว์ ไม่มีผลต่อการเจริ ญเติบโตทางด้ านความสูง ความกว้ างทรงพุ่ม ความกว้ างใบ ความยาวใบ จานวนใบต่อต้ น และขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางลาต้ น ในขณะที่น ้าหนักผลผลิตคะน้ าที่ได้ รับปุ๋ ยน ้าชนิดที่สองมีค่ามากกว่า ปุ๋ ย อินทรย์น ้าหมักชีวภาพจากสัตว์ อย่างไรก็ตามคะน้ าที่ได้ รับปุ๋ ยอินทรย์น ้าสเต็มเซลล์พืช ในอัตราส่วนต่างๆ มีน ้าหนักผลผลิตไม่ แตกต่างกับชุดควบคุม(แอมโมเนียมซัลเฟต)

กิตติกรรมประกาศ ภาควิชาพืชศาสตร์ และปฐพีศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่สนับสนุนเครื่ องมือและอุปกรณ์ใน การทาวิจยั ในครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง กระยาทิพย์ เรื อนใจ. 2537. มหัศจรรย์พืชสวนครัว การปลูกและการปรุงอาหารอย่างรู้คณ ุ ค่า. สานักพิมพ์ต้นธรรม, กรุงเทพฯ. 152น. จินดารัฐ วีระวุฒิ จวงจันทร์ ดวงพัตรา เจริ ญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์ พร รุ่งแจ้ ง อภิพรรณ พุกภัคดี อัมพร สุวรรณเมฆ อิสรา สุขสถาน และ เอ็จ สโรบล. 2541. หลักการผลิตพืช.โรงพิมพ์ศนู ย์สง่ เสริ มและฝึ กอบรมการเกษตรแห่งชาติ สานักส่งเสริ มและฝึ กอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางแสน. นครปฐม. 270น. ไฉน ยอดเพชร. 2542. พืชผักในตระกูลครูซิเฟอร์ . สานักพิมพ์รัว้ เขียว, กรุงเทพฯ. 195น. ชัยอาทิตย์ อิ่นคา และ โสระยา ร่วมรังษี. 2557. ผลของการใช้ สารสกัดชีวภาพเป็ นแหล่งของธาตุอาหารต่อการเจริ ญเติบโตของผักสลัดที่ปลูกใน ระบบไฮโดรพอนิกส์. วารสารแก่นเกษตร 42 ฉบับพิเศษ 3. 906-911. บัญชา รัตนีท.ู 2556. ผลของน ้าสกัดชีวภาพจากมูลวัวต่อการเจริ ญเติบโตและผลผลิตของผักกาดเขียวกวางตุ้งที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์. Princess of Naradhiwas University Journal. 2: 76-82. ประดิษฐ์ บุญอาพล. 2544. ตามกระแส “น ้าหมัก”. วารสารนนทรี ปี ที่ 48, ฉบับเมษายน-มิถนุ ายน. 27-28. พิทยา สรวมศิริ. 2554. ธาตุอาหารพืชในการผลิตพืชสวน. วนิดาการพิมพ์, เชียงใหม่. 314น. เมฆ จันทร์ ประยูร. 2541. ผักสวนครัว. สานักพิมพ์ไททรรศน์, กรุงเทพฯ. 144น. ยุพยงษ์ ทัพสิงห์. 2546. คะน้ า. สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์ , กรุงเทพฯ. 48น. สถาบันวิจยั และพัฒนาพื ้นที่สงู . 2555. ผักกาดฮ่องเต้ เล็ก. แหล่งที่มา: http://mis.hrdi.or.th/inforcenter/xml_km/shdet.aspx?mnuid=17 (5 พฤษภาคม 2557). สุนิสา ประไพตระกูล. 2551. พืชตระกูลกะหล่า (คะน้ า, ผักกาดกวางตุ้ง): คู่มือนักวิชาการส่งเสริ มการเกษตร.กรมส่งเสริ มการเกษตร สานักส่งเสริ ม และจัดการสินค้ าเกษตร. 40น. สมเกียรติ สุวรรณคีรี. 2548. เกษตรอินทรี ย์ชีวภาพแนวใหม่ “สารสกัดชีวภาพ” กับการพัฒนางานวิจยั ด้ านการเกษตรและสิ่งแวดล้ อมสูช่ มุ ชน. รายงานการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ศนู ย์วิจยั เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 25น. อร่าม คุ้มทรัพย์. 2543. เกษตรธรรมชาติแบบไทยไทย: พืชผัก. โรงพิมพ์อกั ษรไทย, กรุงเทพฯ. 115น. Organic1healthy. 2555. “สเต็มเซลล์พืช.” แหล่งที่มา: http://www.shoppingmall.co.th/organic1healthy?page=product&rp=info&pl= 17435 (28 เมษายน 2557). George, R.A.T. 2010. Vegetable seed production, 3rd Edition. Printed and bound in the UK by MPG Books Group, Bodmin. 329p. Noisopa C., Prapagdee B., Navanugraha C. and Hutacharoen R. 2010. Effects of bio-extracts on the growth of Chinese Kale. Kasetsart J. 44: 808-815. Spini, V.B.M.G. and W.E. Kerr. 2000. Genetic analysis of a cross of gaillon (Brassica oleracea var. alboglabra) with cauliflower (B.oleracea var. botrytis). Genet Mol Biol. 23(1): 221-222. USAID. 2012. Knowing Your Crop Chinese Kale. Available Source: http://pdf.usaid.gov/pdf_docs/PA00K8XH.pdf (28 สิงหาคม 2558). Zhang, J. and L.G. Zhang. 2014. Evaluation of genetic diversity in Chinese kale (Brassica oleracea L. var. alboglabra Bailey) by using rapid amplified polymorphic DNA and sequence-related amplified polymorphism markers. Genet Mol Res. 13(2): 3567-3576.

712

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ประสิทธิภาพการเข้ าทาลายของไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงต่ างชนิดในแมลงวันผลไม้ ศัตรูพริก (Bactocera latifrons: Diptera;Tephitidae) Efficacy of Different Speies of Entomopathogenic Nematode for Controlling Chilli Fruit Fly(Bactrocera latifrons: Diptera: Tephritidae) ภานุพงศ์ แสนบุดดา1 นุชรีย์ ศิริ1,2และประกายจันทร์ นิ่มกิ่งรัตน์ 1,2 Panupong Seanbudda1 Nutcharee Siri1,2 and Prakaijan Nimkingrat1,2

บทคัดย่ อ การศึกษาประสิทธิภาพการเข้ าทาลายแมลงวันผลไม้ ศัตรู พริ ก Bactrocera latifrons ของไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงมี วัต ถุป ระสงค์ เ พื่ อ ทดสอบวัย ของแมลงวัน ผลไม้ ศัต รู พ ริ ก ที่ อ่ อ นแอต่ อ การเข้ า ท าลายของไส้ เ ดื อ นฝอยและเปรี ย บเที ย บ ประสิทธิภาพของไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง 4 ชนิด ได้ แก่ Steinernema carpocapsae, Steinernema siamkayai, Steinernema feltiae และ Heterorhabditis bacteriophora ต่อเปอร์ เซ็นต์การตายของหนอนแมลงวันผลไม้ ศตั รู พริ กวัยสุดท้ าย จากผลการ ทดลองพบเปอร์ เซ็นต์การตายในระยะหนอนวัยสุดท้ ายสูงกว่าระยะดักแด้ อย่างมีนยั สาคัญ (P≤0.05) เมื่อพ่นที่ระดับความ เข้ มข้ นของไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง1,000 ตัวต่อแมลงอาศัย ไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงสายพันธุ์ไทย S. siamkayai สามารถทาให้ หนอนตายได้ สงู ถึงร้ อยละ 94.44 รองลงมาคือ S. carpocapsae, S. feltiae และ H. bacteriophora โดยมีร้อยละการตาย 85.55, 67.77 และ 67.77 ตามลาดับ นอกจากนี ้ S. siamkayai ยังแสดงค่า LD50 และ LD90 ต่าสุดที่ 1,246 และ 2,327 ตัวต่อ หนอนหนึ่งตัว ตามลาดับ เมื่อเปรี ยบเทียบกับไส้ เดือนฝอยศัตรู แมลงชนิดอื่น ๆ การทดลองนี ้แสดงให้ เห็นว่าไส้ เดือนฝอยศัตรู แมลง S. siamkayai มีประสิทธิภาพสูงสุดเมื่อเทียบกับไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงชนิดอื่น ๆ และมีความเหมาะสมที่จะนามาใช้ ควบคุมประชากรแมลงวันผลไม้ ศตั รูพริกเพื่อลดการใช้ สารเคมีในแปลงปลูกต่อไป คาสาคัญ : พริก แมลงวันผลไม้ ศตั รูพริก ไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง

Abstract The study on efficacy of entomopathogenic nematodes (EPNs) for the control of chili fruit fly, Bactrocera latifrons, was carried out with the following objectives: 1) to test which developmental stage of chili fruit fly is the most sensitive to EPNs and 2) to compare the susceptibilities of four different EPNs species (Steinernema carpocapsae, Steinernema siamkayai, Steinernema feltiae and Heterorhabditis bacteriophora) on last instar larvae. The first result showed that the last larval stage of chili fruit fly is more sensitive to EPNs than pupal stage (P≤ 0.05) when treated with 1,000 IJ/larva. The results from using four different species of EPNs revealed that S. siamkayai was greatly superior for control last larval instar to others with the mortality rate of 94.44 followed by S. carpocapsae, S. feltiae and H. bacteriophora with the mortality rates at 85.55, 67.77 and 67.77%, respectively. The LD50 and LD90 values of S. siamkayai exhibited the lowest value at 1,246 and 2,327 IJ/larva, respectively. Therefore, we concluded that S. siamkayai is suitable species to control the final instar larvae of chili fruit fly. Keywords : chili, Bactrocera latifrons, entomopathogenic nematode

1 2

สาขาวิชากีฏวิทยา ภาควิชาพืชศาสตร์ และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40002 ศูนย์วิจยั ควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรี ย์แห่งชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มหาวิทยาลัยขอนแก่น จ.ขอนแก่น 40002

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

713


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

บทนา พริ กเป็ นพืชสวนครัวเศรษฐกิจที่สาคัญและนิยมปลูกทัว่ ทังประเทศเพื ้ ่อใช้ บริ โภคทังภายในและส่ ้ งออกไปต่างประเทศ จากสถิติการส่งออกพริ กสดและแช่เย็นพบว่าปริ มาณการส่งออกในปี พ.ศ. 2557 มีมลู ค่าสูงถึง 190 ล้ านบาท ซึง่ สูงกว่าปี 2556 ถึง 56 ล้ านบาท (กระทรวงพาณิชย์ , 2557) พื ้นที่เพาะปลูกพริ กโดยส่วนใหญ่อยู่ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ถัดมาคือ ภาคเหนือ และภาคตะวันออก จังหวัดที่ปลูกพริ กมากที่สดุ สามอันดับ ได้ แก่ นครราชสีมา เพชรบูรณ์ และเชียงใหม่ ผลผลิตรวม 46,166 ตัน คิดเฉลี่ยเป็ น 305 กิโลกรัม/ไร่ ปริ มาณการส่งออกโดยรวมของพริ กตลอดทังปี ้ เท่ากับ 11,229,210 กิโลกรัม คิดเป็ น มูลค่าเท่ากับ 391,802,118บาท (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร,2557) ถึงแม้ ว่าจะมีพื ้นที่เพาะปลูกพริ กได้ เป็ นจานวนมากแต่ พบว่าผลผลิตบางส่วนเกิดความเสียหายระหว่างกระบวนการผลิตโดยมีสาเหตุหลักมาจากแมลงศัตรูพืช พริ กนับได้ ว่าเป็ นพืชที่ มีแมลงศัตรู เข้ าทาลายหลากหลายสูงกว่า 35 ชนิด นุชรี ย์ และคณะ (2553) รายงานรายชื่อศัตรู พริ กในประเทศไทยที่สาคัญ ได้ แก่ ไรขาว แมลงหวี่ขาว เพลี ้ยไฟ เพลี ้ยอ่อน เพลี ้ยแป้ง หนอนกระทู้ และแมลงวันผลไม้ เป็ นต้ น ปั จจุบนั แมลงที่เป็ นปั ญหา สาคัญและมีแนวโน้ มที่จะสร้ างความเสียหายรุนแรงมากขึ ้นเรื่ อย ๆ คือ แมลงวันผลไม้ ศตั รูพริ ก Bactrocera latifrons (Diptera: Tephritidae) ซึง่ เป็ นแมลงที่ถกู จัดให้ อยู่ในรายชื่อแมลงศัตรูพืชสาคัญระดับโลก Shimizu et al. (2007) รายงานว่าแมลงวัน ผลไม้ ศตั รู พริ กสามารถสร้ างความเสียหายต่อผลผลิตได้ สงู ถึงร้ อยละ 60-80 โดยที่การทาลายของแมลงวันผลไม้ ศตั รูพริ กส่ง ผลกระทบโดยตรงทังต่ ้ อคุณภาพและปริ มาณผลผลิต เนื่องจากแมลงวันผลไม้ ศตั รู พริ กเข้ าทาลายพริ กในระยะติดผล โดยตัว หนอนจะชอนไชกัดกินอยู่ภายในผล สามารถพบร่ องรอยการทาลายเป็ นทางภายในผล เนื ้อภายในถูกกัดกินจนหมดเหลือแต่ เปลือก ผลกลวงและเน่าเสีย ส่งผลให้ โรคหรื อแมลงชนิดอื่น ๆ สามารถเข้ าทาลายซ ้าได้ อีก สุดท้ ายแล้ วผลพริ กจะร่วงหล่นทาให้ ไม่สามารถเก็บผลผลิตได้ (Stonehouse et al., 2004) ลักษณะอาการของพริ กที่ถกู แมลงวันผลไม้ ศตั รูพริ กเข้ าทาลายในระยะ เริ่ มแรกนันสั ้ งเกตได้ ยากเนื่องจากตัวหนอนนันเจริ ้ ญเติบโตภายในผลพริ ก ทาให้ เกษตรกรไม่สามารถทาการป้องกันกาจัดได้ ทันท่วงที แต่จากรายงานของ สัญญาณี และคณะ (2551) พบว่าหนอนวัยสุดท้ ายจะดีดตัวออกมาจากผลพริ กเพื่อเข้ าดักแด้ ภายในดิน ดังนัน้ หนึ่งในแนวทางป้องกันกาจัดดักแด้ ในดินจึงเป็ นอีกทางเลือกที่สามารถนามาใช้ เพื่อตัดวงจรชีวิตตัวเต็มวัย ไม่ให้ เพิ่มปริ มาณสูงขึ ้นในรุ่นถัดไปได้ หรื อกาจัดในระยะตัวเต็มวัยเพื่อไม่ให้ สามารถผสมพันธุ์ วางไข่ และเพิ่มปริ มาณต่อไปได้ โดยปกติแล้ วเมื่อเกษตรกรพบการเข้ าทาลายของแมลงวันผลไม้ ศตั รู พริ กมักจะเลือกใช้ สารเคมีในการป้องกันกาจัด ส่งผลให้ ต้ นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ ้นและยังสามารถส่งผลเสียต่อสุขภาพผู้ผลิต ผู้บริ โภค สิ่งแวดล้ อม ศัตรู ธรรมชาติในแปลงและที่สาคัญ สารเคมีที่ใช้ ยงั ไม่มีประสิทธิภาพในการกาจัดหนอนในผลพริ กได้ เลย ดังนัน้ เพื่อเป็ นการส่งเสริ มให้ เกษตรกรหันมาลดการใช้ สารฆ่าแมลงเพื่อผลิตพริ กปลอดภัยมากขึ ้น การป้องกันกาจัด โดยชีววิธีจึงเป็ นอีกทางเลือกที่น่าสนใจและเห็นควรส่งเสริ มให้ มี การนาไปใช้ อย่างแพร่หลาย ไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง (entomopathogenic nematode) เป็ นหนึ่งในศัตรูธรรมชาติที่ได้ รับความ สนใจและนิยมนามาใช้ ควบคุมแมลงศัตรู พืชที่มีแหล่งอาศัยหลากหลายและที่ซ่อนเร้ นต่าง ๆ เช่น โพรงไม้ กลีบดอก เป็ นต้ น มี รายงานประสิทธิภาพการใช้ ไส้ เดือนฝอยในการควบคุมแมลงศัตรูพืชหลากชนิดทัว่ โลกโดยเฉพาะแมลงที่มีแหล่งอาศัยหลักอยู่ ในดิน (วัชรี และคณะ, 2529, 2534ก ,2534ข ; Grewal et al., 2005) ข้ อดีของไส้ เดือนฝอยนอกเหนือจากสามารถเข้ าทาลาย แมลงได้ รวดเร็วแล้ วยังสามารถเพิ่มปริมาณได้ เองในธรรมชาติ ส่งผลให้ การควบคุมปริมาณแมลงเป็ นไปอย่างต่อเนื่องและยัง่ ยืน ถึงแม้ จะมีรายงานการใช้ ไส้ เดือนฝอยในประเทศไทยว่าสามารถควบคุมแมลงศัตรูพืชและแมลงวันผลไม้ ชนิดอื่น ๆ หลากหลาย ชนิดแต่ก็ยงั ไม่พบรายงานการควบคุมแมลงวันผลไม้ ศตั รูพริ กมาก่อน ดังนันการทดลองนี ้ ้จึงมีวตั ถุประสงค์เพื่อที่จะทดสอบและ เปรี ยบเทียบประสิทธิภาพการเข้ าทาลายของไส้ เดือนฝอยต่างชนิด เพื่อใช้ ในการควบคุมแมลงวันผลไม้ ศตั รู พริ ก รวมถึงอัตรา ความเข้ มข้ นที่เหมาะสมที่ใช้ ในการป้องกันกาจัดต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ 1. การเลี ้ยงเพิ่มปริมาณแมลงวันผลไม้ ศตั รูพริก Bactrocera latifrons นาพริกหนุ่มผลสดมาให้ ตวั เต็มวัยแมลงวันผลไม้ ศตั รูพริ กวางไข่ประมาณ 1-2 วัน จากนันย้ ้ ายผลพริกไปวางบน ตะแกรงสูงเหนือแกลบดาประมาณ 1 ซม. ที่บรรจุในกล่องพลาสติกสี่เหลี่ยมขนาด 30x25x12 ซม. เพื่อให้ หนอนวัยสุดท้ าย สามารถเคลื่อนที่ลงสูแ่ กลบดาเพื่อเข้ าดักแด้ ตอ่ ไป เมื่อแมลงวันผลไม้ ศตั รูพริกออกจากดักแด้ และเจริญเป็ นตัวเต็มวัยจะให้ อาหารที่มีสว่ นผสมของยีสต์และน ้าผึ ้ง ในอัตราส่วน 3 ต่อ 1 ตัวเต็มวัยที่ได้ จะถูกนามาผสมพันธุ์ ลูกในรุ่นถัดไปจะถูกนามาใช้ ใน การทดลอง

714

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

2. การเลี ้ยงเพิ่มปริมาณไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง วิธีการนี ้เป็ นวิธีการเลี ้ยงเพิ่มปริมาณบนตัวแมลง (in vivo) โดยนาไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงจานวน 4 สายพันธุ์ ได้ แก่ Steinernema siamkayai, Steinernema carpocapsae, Steinernema feltiae และ Heterorhabditis bacteriophora มาเพิ่ม ปริมาณด้ วยวิธี paper assay โดยนากระดาษกรองขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 90 มม. วางลงในฝา Petri dish ขนาด เส้ นผ่าศูนย์กลาง 10 ซม. และใส่หนอนกินรังผึ ้งจานวน 10 ตัวต่อ Petri dish หยดไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงด้ วยอัตรา 1,000 ตัว (ไส้ เดือนฝอย 100 ตัวต่อหนอน 1 ตัว) ปิ ดด้ วยพาราฟิ ล์ม หลังจากนัน้ 5 วัน เตรี ยมกระดาษกรองขนาด 55 มม. วางบนฝา Petri dish ขนาด 50 มม. แล้ วนาไปวางไว้ ใน Petri dish ขนาด 10 ซม. หล่อน ้าด้ านล่าง จากนันน ้ าหนอนกินรังผึ ้งที่ตายวางบน กระดาษกรองที่ช่มุ น ้า เรี ยกวิธีการแยกไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงออกจากซากแมลงนี ้ว่า White trap (White, 1927) นา Petri dish ไปเก็บในที่ห้องมืดเพื่อให้ ไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงวัยที่ 3 เคลื่อนที่ออกจากซากหนอนลงสูน่ ้า นาน ้าที่มีไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงไป ล้ างให้ สะอาดแล้ วกรองไส้ เดือนฝอยไปเก็บที่อณ ุ หภูมิ 8 – 12 ๐C ไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงที่ได้ นี ้จะถูกนามาใช้ ในการทดลอง ภายใน 1 สัปดาห์เพื่อให้ ได้ ไส้ เดือนฝอยที่แข็งแรงและมีประสิทธิภาพดี 3. ทดสอบวัยของแมลงวันผลไม้ ศตั รูพริกและชนิดไส้ เดือนฝอยที่เหมาะสม ทาการทดสอบไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง 4 ชนิด ในระยะการเจริญที่แตกต่างกันของแมลงวันผลไม้ ศตั รูพริก ได้ แก่ หนอนระยะสุดท้ าย และระยะดักแด้ โดยทดสอบด้ วยวิธี sand assay เริ่มจากนาทรายมาร่อนด้ วยตะแกรงความถี่ขนาด 2 มม. แล้ วนาไปอบที่อณ ุ หภูมิ 90 ๐C เป็ นเวลา 6 ชม. เพื่อไล่ความชื ้นและฆ่าเชื ้อโรค จากนันน ้ าทรายที่ได้ มาเติมน ้าให้ ได้ ความชื ้นที่ 10 % จากนันน ้ าทรายปริมาตร 20 กรัม ใส่ลงใน Petri dish ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 55 มม. นาหนอนวัยสุดท้ ายและดักแด้ แยก ใส่ลงไปใน Petri dish แล้ วพ่นไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงแต่ละชนิดลงไป วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (Completely Randomized Design: CRD) 5 กรรมวิธี ๆ ละ 3 ซ ้า ๆ ละ 30 ตัว โดยมีกรรมวิธีดงั นี ้คือ กรรมวิธีที่ 1 หน่วยควบคุม พ่นด้ วยน ้าเปล่า กรรมวิธีที่ 2 พ่นด้ วย S. siamkayai อัตรา 1,000 ตัว/หนอนและดักแด้ 1 ตัว กรรมวิธีที่ 3 พ่นด้ วยS. carpocapsae อัตรา 1,000 ตัว/หนอนและดักแด้ 1 ตัว กรรมวิธีที่ 4 พ่นด้ วย S. feltiae อัตรา 1,000 ตัว ตัว/หนอนและดักแด้ 1 ตัว กรรมวิธีที่ 5 พ่นด้ วย H. bacteriophora อัตรา 1,000 ตัว/หนอนและดักแด้ 1 ตัว ใช้ กล้ องสเตอริโอส่องดูตรวจสอบลักษณะการตายของหนอนวัยสุดท้ ายและดักแด้ ว่าตายด้ วยสาเหตุจากไส้ เดือน ฝอยหรื อไม่ แมลงที่ตายด้ วยไส้ เดือนฝอยจะเน่าเละและมีไส้ เดือนฝอยอาศัยอยู่ภายในลาตัว บันทึกจานวนตัวตายทุก 24 ชัว่ โมง เป็ นเวลา 5 วัน นาข้ อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติตามแผนการทดลองแบบ CRD และเปรี ยบเทียบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ยในแต่ละกรรมวิธีด้วยโปรแกรม XLSTAT 2006 (XLSTAT, New York, NY, USA) โดยวิธี Tukey’s HSD test (P ≤ 0.05) 4. ทดสอบอัตราและชนิดของไส้ เดือนฝอยที่เหมาะสมต่อหนอนวัยสุดท้ ายในห้ องปฏิบตั ิการ ทดสอบไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง 4 ชนิด ได้ แก่ S. siamkayai, S. carpocapsae, S. feltiae และ H. bacteriophora ที่อตั ราความเข้ มข้ นแตกต่างกันตามกรรมวิธีข้างล่างในหนอนวัยสุดท้ าย ทาการเปรี ยบเทียบอัตราและชนิดของไส้ เดือนฝอย ด้ วยวิธีการ sand assay ตามวิธีการดังข้ อ 3 วางแผนการทดลองแบบสุม่ สมบูรณ์ (Completely Randomized Design: CRD) มี 6 กรรมวิธี ๆ ละ 3 ซ ้า ๆ ละ 30 ตัว โดยมีกรรมวิธีดงั นี ้คือ กรรมวิธีที่ 1 หน่วยควบคุม พ่นด้ วยน ้าเปล่า กรรมวิธีที่ 2 พ่นไส้ เดือยฝอยศัตรูแมลง อัตรา 1,000 ตัว/หนอน 1 ตัว กรรมวิธีที่ 3 พ่นไส้ เดือยฝอยศัตรูแมลง อัตรา 1,500 ตัว/หนอน 1 ตัว กรรมวิธีที่ 4 พ่นไส้ เดือยฝอยศัตรูแมลง อัตรา 2,000 ตัว/หนอน 1 ตัว กรรมวิธีที่ 5 พ่นไส้ เดือยฝอยศัตรูแมลง อัตรา 2,500 ตัว/หนอน 1 ตัว กรรมวิธีที่ 6 พ่นไส้ เดือยฝอยศัตรูแมลง อัตรา 3,000 ตัว/หนอน 1 ตัว บันทึกจานวนตัวตายทุก 24 ชัว่ โมง เป็ นเวลา 5 วันโดยใช้ กล้ องสเตอริโอส่องดูลกั ษณะการตาย นาข้ อมูลที่ได้ มา วิเคราะห์หาค่า LD50 และ LD90 โดยใช้ โปรแกรม Probit analysis และเปรี ยบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยในแต่ละกรรมวิธี ด้ วยโปรแกรม XLSTAT 2006 (XLSTAT, New York, NY, USA) โดยวิธี Tukey’s HSD test (P ≤ 0.05) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

715


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์

1.การทดสอบวัยของแมลงวันผลไม้ ศตั รูพริกและชนิดไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงที่เหมาะสม เมื่อเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพการเข้ าทาลายของไส้ เดือนฝอยศัตรู แมลง 4 ชนิด ในระยะหนอนวัยสุดท้ ายพบว่า เปอร์ เซ็นต์การตายของหนอนด้ วยไส้ เดือยฝอยศัตรูแมลง S. carpocapsae, S. siamkayai, S. feltiae, H. bacteriophora และกลุม่ ควบคุม มีคา่ เท่ากับร้ อยละ 44.44, 47.77, 34.44, 35.55 และ 3.33 ตามลาดับ ส่วนในระยะดักแด้ พบการตายเป็ นร้ อย ละ 18.88, 17.77, 18.88, 16.66 และ 0 ตามลาดับ จากผลการทดลองนี ้สามารถสรุปได้ ว่าหนอนวัยสุดท้ ายมีความอ่อนแอต่อ การเข้ าทาลายของไส้ เดือนฝอยศัตรู แมลงมากกว่าระยะดักแด้ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ถึงแม้ ว่าไส้ เดือนฝอยศัตรู แมลงทัง้ 4 ชนิดจะสามารถเข้ าทาลายได้ ทงระยะตั ั้ วหนอนและดักแด้ ไม่แตกต่างกันในทางสถิติแต่ไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง S. siamkayai สามารถเข้ าทาลายหนอนวัยสุดท้ ายได้ ดีที่สดุ รองลงมาคือ S. carpocapsae, H. bacteriophora และ S. feltiae ส่วนในระยะ ดักแด้ นนไส้ ั ้ เดือนฝอยศัตรู แมลง S. carpocapsae และ S. feltiae สามารถทาให้ ดกั แด้ ตายได้ สงู กว่าเมื่อเทียบกับ S. siamkayai และ H. bacteriophora ถึงแม้ วา่ ร้ อยละของการตายของระยะหนอนวัยสุดท้ ายและดักแด้ จะไม่มีความแตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญในทุกกรรมวิธีที่พ่นด้ วยไส้ เดือนฝอยศัตรู แมลงต่างชนิดกันแต่สามารถพบความแตกต่างเมื่อเปรี ยบเทียบกับ กลุ่มควบคุมที่ไม่พบเปอร์ เซ็นต์การตายเลย (Table 1) ผลที่ได้ จากการทดลองนีม้ ีความสอดคล้ องกับผลการทดลองของ Mahmoud and Osman (2007) ที่ทดสอบการเข้ าทาลายของไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง S. feltiae ในหนอนวัยสุดท้ ายและระยะ ดักแด้ แมลงวันผลไม้ Bactrocera zonata โดยพบเปอร์ เซ็นต์การตายระหว่าง 4 - 56% และ 20 - 32% ตามลาดับ เช่นเดียวกับ ผลการทดลองของ Langford et al. (2014) ที่ทาการทดสอบไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง 3 ชนิด ได้ แก่ S. carpocapsae, S. feltiae และ H. bacteriophora ในหนอนวัยสุดท้ ายและระยะดักแด้ ของแมลงวันผลไม้ Bactrocera tryoni พบว่าไส้ เดือนฝอยศัตรู แมลงทัง้ 3 ชนิด มี ประสิ ทธิ ภาพในการเข้าทาลายสูงในระยะหนอนวัยสุดท้ ายเมื่อเทียบกับระยะดักแด้

716

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1. Mortality rates of different developmental stages of chili fruit fly after treated with different species of entomopathogenic nematode. Developmental stages

Mortality rates of fruit fly (±SD) /1

Ftest

CV%

Control

Steinernema carpocapsae

Steinernema siamkayai

Steinernema feltiae

Heterorhabditis bacteriophora

Larval

3.33C/a

44.44±1.5275A/a

47.77±1.5275A/a

34.44±1.5275B/a

35.55±1.1547B/a

*

13.078

Pupal

0B/a

18.88±1.5275A/b

17.77±1.1547A/b

18.88±3.0550A/b

16.66±1.7320A/b

Ns

41.281

F-test

Ns

**

**

**

**

CV(%)

141.2414

16.07921

13.76956

30.19037

18.79098

/1

Means followed by the same letter in the same column and row are not significantly different by Tukey’s HSD test at P≤ 0.05. 2. การทดสอบอัตราและชนิดของไส้ เดือนฝอยที่เหมาะสมต่อหนอนวัยสุดท้ ายในห้ องปฏิบตั ิการ หลังจากพ่นไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง 4 ชนิด ในอัตราที่แตกต่างกันดังนี ้ 0, 1,000, 1,500, 2,000, 2,500 และ 3,000 ตัว ต่อหนอนวัยสุดท้ าย 1 ตัว พบว่าค่า LD50 และ LD90 ของไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ ไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง S. siamkayai ให้ คา่ LD50 และ LD90 ต่าสุดเมื่อเทียบกับไส้ เดือนฝอยชนิดอื่นๆ โดยมีคา่ เท่ากับ 1246 และ 2327 ตามลาดับ รองลงมาคือไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงชนืด S. carpocapsae มีคา่ เท่ากับ 1,710 และ 3,428 ถัดมาคือ H. bacteriophora มีคา่ เท่ากับ 2,074 และ 4,260 และสุดท้ ายคือ S. feltiae มีคา่ เท่ากับ 2,076 และ 4,100 ตามลาดับ (Table 2) เช่นเดียวกับผลของ Nouh and Husseine (2014) ที่ได้ ทาการทดสอบประสิทธิภาพไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง 2 ชนิด ได้ แก่ S. carpocapsae และ H. bacteriophora ที่อณ ุ หภูมิ 25 °C และพบว่าไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง S. carpocapsae สามารถเข้ า ทาลายได้ ดีกว่า H. bacteriophora โดยมีคา่ LC50 ในหนอนวัยสุดท้ ายและระยะดักแด้ ของแมลงวันผลไม้ B. zonata เท่ากับ 2040, 2562 และ 2260, 2889 ตามลาดับ ขณะที่ Fetoh et al. (2010) ได้ ศกึ ษาค่า LC50 ในหนอนวัยสุดท้ ายของ B. zonata ด้ วยไส้ เดือนฝอย S. carpocapsae และ H. bacteriophora และได้ คา่ ที่ต่ากว่ามากที่ 325.3 และ 540.2 ตามลาดับ Table 2. Lethal doses of different entomopathogenic nematode species on last instar larva of chili fruit fly, Bactrocera latifrons. Nematode species LD501/ LD901/ Steinernema carpocapsae

1,710b

3,428b

Steinernema siamkayai

1,246a

2,327a

Steinernema feltiae

2,076c

4,100c

Heterorhabditis bacteriophora

2,074c

4,260d

/1

Means followed by the same letter in the same column are not significantly different by Tukey’s HSD test at P≤ 0.05.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

717


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

หลังจากนาข้ อมูลจานวนตัวตายที่ได้ จากการเข้ าทาลายไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงต่างชนิดมาหาค่าเปอร์ เซ็นต์การตายพบว่า ไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงทัง้ 4 ชนิด มีประสิทธิภาพในการเข้ าทาลายหนอนวัยสุดท้ าย โดยที่ไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลง S. siamkayai มีการเข้ าทาลายหนอนวัยสุดท้ ายได้ ดีกว่า S. carpocapsae, S. feltiae และ H. bacteriophora อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติในทุก ความเข้ มข้ นและกลุ่มควบคุม และเมื่อเปรี ยบเทียบระดับความเข้ มข้ นของไส้ เดือนฝอยศัตรู แมลงทัง้ 4 ชนิด ที่ระดับ 0, 1,000, 1,500, 2,000, 2,500 และ 3,000 ตัว/หนอน 1 ตัว พบว่าทุกไส้ เดือนฝอยศัตรูแมลงทุกชนิดสามารถทาให้ หนอนมีเปอร์ เซ็นต์การ ตายได้ กึ่งหนึ่งเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม ที่ระดับความเข้ มข้ นสูงสุดไส้ เดือนฝอย S. siamkayai สามารถทาให้ หนอนตายได้ ร้อย ละ 94 รองลงมาคือ S. carpocapsae, S. feltiae และ H. bacteriophora โดยมีร้อยละการตายอยู่ที่ 85.55, 67.77 และ 67.77 ตามลาดับ (Table 3) Table 3. Mortality rates of last instar larva of chili fruit fly after treated with different species of entomopathogenic nematode. Mortality rate of fruit fly ±SD /1 Concentrations

Steinernema carpocapsae

Steinernema siamkayai

Steinernema feltiae

Heterorhabditis bacteriophora

F - CV% test

Control

2.22±0.5773A/e

1.11±0.5773A/e

1.11±0.5773 A/e

3.33±1 A/e

Ns

121.21

1,000

41.33±1.5275AB/d

47.77±1.5275A/d

34.44±1.5275C/d

35.55±1.1547BC/d

*

11.86

1,500

48.88±0.5773B/cd

62.22±1.1547A/c

43.33±1.7320B/c

44.44±1.5275B/cd

**

10.2272

2,000

53.33±1B/c

82.22±2.3094A/b

48.88±0.5773B/cb

48.88±2.0816B/bc

**

9.4760

2,500

64.44±0.5773B/b

93.33±1.5773A/a

56.66±1.730BC/b

54.44±1.5275C/b

**

6.4016

3,000

85.55±1.5275B/a

94.44±0.5773A/a

67.77±1.5275C/a

67.77±1.5275C/a

**

5.7211

F-test

**

**

**

**

CV%

7.0534

6.9970

10.8980

11.8629

/1

Means followed by the same letter in the same column and row are not significantly difference by Tukey’s HSD test at P≤ 0.05.

สรุ ป จากผลการทดลองสามารถสรุ ปได้ ว่าวัยที่อ่อนแอของแมลงวันผลไม้ ศตั รู พริ กต่อการเข้ าทาลายของไส้ เดือนฝอยมาก ที่สดุ คือ ระยะหนอน เมื่อเทียบกับระยะดักแด้ ที่มีผิวหนังหนาทาให้ ไส้ เดือนฝอยยากต่อการชอนไชเข้ าสู่ช่องว่างกลางลาตัว ถึงแม้ ว่าช่วงอายุที่เหมาะสมในการใช้ ไส้ เดือนฝอยสมควรจะเป็ นระยะดักแด้ เนื่องจากมีแหล่งอาศัยในดิน แต่หนอนวัยสุดท้ าย จะเคลื่อนที่ออกจากผลพริ กและลงสู่ดินและใช้ เวลาเพื่อเข้ าสู่ระยะดักแด้ ทาให้ เกิดความเป็ นไปได้ ในการป้องกันกาจัดใน ช่วงเวลานี ้ ชนิดของไส้ เดือนฝอยที่มีความรุนแรงและเหมาะสมที่จะนามาใช้ ปอ้ งกันกาจัดหนอนวัยสุดท้ ายได้ แก่ S. siamkayai รองลงมาคือ S. carpocapsae, S. feltiae และ H. bacteriophora ตามลาดับ ผลของงานวิจยั นี ้ทดสอบในห้ องปฏิบตั ิการ เพียงอย่างเดียวจึงเห็นสมควรให้ มีการทดสอบในสภาพไร่ก่อนส่งเสริมให้ เกษตรนาไปใช้ ตอ่ ไป

กิตติกรรมประกาศ ขอบคุณมหาวิทยาลัยขอนแก่นและศูนย์วิจยั ศัตรูพืชโดยชีวินทรี ย์แห่งชาติ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนที่ สนับสนุนทุนวิจยั ในครัง้ นี ้ 718

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง กระทรวงพาณิชย์. 2557. ปริ มาณการส่งออกพริ กสดและพริ กแช่เย็นของประเทศไทยประจาปี 2557. แหล่งที่มา: http://www.ops3.moc.go.th/infor/MenuComTH/stru1_export_topn_report.asp. ค้ นเมื่อ 1 กรกฏาคม 2558. นุชรี ย์ ศิริ จุรีรัตน์ รัตนทิพย์ และอโนทัย วิงสระน้ อย. 2553. ศัตรูพริ กและศัตรธรรมชาติ. ว.แก่นเกษตร. 38(1): 1-2. วัชรี สมสุข วินยั รัชตปกรณ์ชยั และพิมลพร นันทะ. 2534ก. การใช้ ไส้ เดือนฝอย Steinnernema carpocapsae (Weiser) ควบคุมด้ วงหมัดผักใน ผักกาดหัว. ว. กีฏ. สัตว. 13: 183 – 188. วัชรี สมสุข สุธน สุวรรณบุตร และพิมลพร นันทะ. 2534ข. ศึกษาการใช้ ไส้ เดือนฝอย Steinnernema carpocapsae(Weiser) ในการควบคุมด้ วงงวง มันเทศในสภาพธรรมชาติ. รายงานผลวิจยั ประจาปี 2534. กองกีฏและสัตววิทยา. กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพ๚. วัชรี สมสุข อัจฉรา ตันติโชดก และอุทยั เกตุนตุ ิ. 2529. ไส้ เดือนฝอยควบคุมหนอนกินใต้ ผิวเปลือกไม้ สกุลลางสาด. ว. กีฏ. สัตว. 8(3): 115-119. สัญญาณี ศรี คชา วิภาดา ปลอดครบุรี และ เกรี ยงไกร จาเริ ญมา. 2551. การศึกษาชีววิทยาของแมลงวันผลไม้ ชนิด Bactrocera latifrons (Hendel) รายงานผลงานวิจยั ประจาปี 2551. กลุม่ กีฏและสัตววิทยา สานักวิจยั พัฒนาการอารักขาพืช, กรุงเทพ๚. หน้ า 256-266. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2557. ปริ มาณการส่งออกพริ กแห้ งของประเทศไทยปี 2557. http://www.oae.go.th/main.php?filename=index, ค้ นเมื่อ 9 ตุลาคม 2558 Langford, E.A., U.N. Nielsen, S.N. Johnson and M. Reigler. 2014. Susceptibility of Queensland fruit fly Bactocera tryoni (Froggatt) (Diptera: Tephritidae) to entomopathogenic nematodes. Biological Control. 69: 34-39. Fetoh, B.S.A., A.A.A. Gawad, F.F. Shalaby and M.F. Elyme. 2011. Pathogenic and lethal effects of the entomopathogenic nematodes on the peach fruit fly, Bactocera zonata (Saunders) and the cucurbit fruit fly, Dacus ciliatus (Loew) (Diptera: Tephritidae). Egypt. J. Agri-sci. 98: 1-16 Nouh, G.m. and M.a. Hussein. 2014. The role of entomopathogenic nematodes as biocontrol agents against some tephritid flies. Advances in Biological Research 8(6): 301-306. Grewal P.S., R.U., Ehlers. and D.I. Shapiro-Ilan. 2005. Nematodes as biological control agents. CAB International, Wallingford. UK. 505 pp. Mahmoud, M.F. and M.A.M. Osman. 2007. Use of the nematode Steinernema feltiae Cross N 33 as a biological control agent against the peach fruit fly, Bactrocera zonta, Tunisian Journal of Plant Protection. 2: 109-115. Shimizu, Y., T. Kohama, T. Uesato, T. Matsuyama and M. Yamagishi. 2007. Invasion of solanum fruit fly Bactrocera latifrons (Diptera: Tephritidae) to Yonaguni Island, Okinawa Prefecture, Appl. Japan. Entomol.Zool. 42: 269-275. Stonehouse, J., J. Mumford, A. Poswell, R. Mahmood, A.H. Makhdum, Z.M. Chaudhary, K.N. Baloch, G. Mustafa and M. McAllister. 2004. The accuracy and bias of visual assessments of fruit infestation by fruit flies (Diptera: Tephritidae). Crop Protection. 23: 293-296. White, G.F. 1927. A method for obtaining infective nematode larvae from cultures. Science. 66: 302-303.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

719


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การศึกษาตัวทาละลายอินทรีย์ท่ เี หมาะสมในการสกัดสารอัลลีโลพาทีจากใบเลี่ยน Studies on Optimal Organic Solvents for the Extraction of Allelochemicals from Melia azedarach L. Leaves ภัทริน วิจติ รตระการ1 มณทินี ธีรารักษ์ 1 และจารู ญ เล้ าสินวัฒนา1 Pattharin Wichittrakarn1 Montinee Teerarak1 and Chamroon Laosinwattana1

บทคัดย่ อ การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบเลี่ยน (Melia azedarach L.) ที่สกัดด้ วยตัวทาละลายเอทานอลต่อน ้าที่ อัตราส่วน 0:100, 25:75, 50:50, 75:25 และ 100:0 (ปริ มาตรต่อปริ มาตร) ที่ระดับความเข้ มข้ น 1,250, 2,500, 5,000 และ 10,000 ppm ต่อการการงอกและการเจริ ญเติบโตของถัว่ ผี (Phaseolus lathyroides L.) โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นกรรมวิธีควบคุม พบว่า ที่อตั ราส่วน 0:100 (เอทานอลต่อน ้า) ที่ระดับความเข้ มข้ น 10,000 ppm มีผลในการยับยังการงอกสู ้ งสุด และสามารถ ยับยังการเจริ ้ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ โดยสมบูรณ์ รองลงมาคือ 25:75, 75:25, 50:50 และ 100:0 ตามลาดับ โดยการเพิ่มระดับ ความเข้ มข้ นของสารสกัดให้ ผลในการยับยังเพิ ้ ่มขึ ้น และปริมาณของสารสกัดขึ ้นอยูก่ บั สัดส่วนของตัวทาละลาย เมื่อทาการสกัด ์ แยกกลุม่ สารออกฤทธิจากใบเลี่ยนตามลาดับความมีขวของตั ั้ วทาละลาย (Sequential solvent extraction) เรี ยงลาดับจากสาร ที่มีขวน้ ั ้ อยไปหามาก คือ เฮกเซน (Hexane) ไดคลอโรมีเทน (CH2Cl2) และ เอทิลอะซิเตท (EtOAc) ตามลาดับ จากผลการ ทดลองพบว่า สารสกัดหยาบจากไดคลอโรมีเทน ที่ระดับความเข้ มข้ น 10,000 ppm มีผลต่อการยับยัง้ การงอกถัว่ ผีได้ โดย สมบูรณ์ และที่ระดับความเข้ มข้ น 5,000 ppm ขึ ้นไป สามารถยับยังการเจริ ้ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ โดยสมบูรณ์ รองลงมาคือ สาร สกัดหยาบจากเอทิลอะซิเตท และเฮกเซน เมื่อเปรี ยบเทียบกับกรรมวิธีควบคุม ผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่า ใบเลี่ยนมีสาร อัลลีโลพาที ซึง่ ใช้ เป็ นข้ อมูลเบื ้องต้ นในการใช้ ประโยชน์ตอ่ ไปในอนาคต คาสาคัญ: เลี่ยน สารสกัดหยาบ การงอกและการเจริญเติบโต

Abstract To study the efficacy of extract from Melia azedarach L. leaf by using ethanol:water extraction at the ratio 0:100 25:75 50:50 75:25 and 100:0 were tested at the concentrations of 1,250, 2,500, 5,000 and 10,000 ppm on seed germination and seedling growth of Phaseolus lathyroides L. The distilled water was used as the control. The result showed that at the concentration of 10,000 ppm of crude extract at ratio of 0:100 had the highest inhibitory effects on seed germination and completely inhibited seedling growth of P. lathyroides, followed by the ratio at 25:75, 75:25, 50:50 and 100:0, respectively. The effect was increased when the higher concentrations were applied. Partially separation of active compounds was done by sequential solvent extraction using hexane dichloromethane and ethylacetate, respectively. Results revealed that dichloromethane fraction at concentrations of 10,000 ppm completely inhibited seed germination and the concentrations of 5,000 ppm completely inhibited seedling growth of P. lathyroides, followed by ethylacetate and hexane fraction when compared with the control. These results indicated that M. azedarach has allelochemicals and are the primary basis of data on developing in the future. Keywords: Melia azedarach L., crude extract, germination and seedling growth

1

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 720

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ปั ญหาสาคัญของเกษตรกรในการเพาะปลูกคือ การระบาดของศัตรูพืช การใช้ สารเคมีในการป้องกันและกาจัดโรคพืช แมลง และวัชพืช ยังคงมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาการทางด้ านการเกษตรเพื่อให้ ได้ ผลผลิตสูง เนื่องจากเป็ นวิธีที่ สะดวก รวดเร็ ว ประหยัดแรงงาน ต้ นทุน และมีประสิทธิภาพสูง ซึ่งการใช้ สารเคมีจะก่อให้ เกิดปั ญหาตามมาด้ วย ไม่ว่าจะเป็ นสารพิษ ตกค้ างในดิน น ้า อากาศ ทาให้ ความสมดุลธรรมชาติ เสียหาย ระบบวนเกษตรถูกรบกวน (กมล และคณะ, 2553) นอกจากนี ้ยัง มีการตรวจพบสารพิษตกค้ างในผลผลิตทางการเกษตรของประเทศไทย พบว่า ผลผลิตมีสารพิษตกค้ างอยู่สงู จนในผลผลิตบาง ชนิดไม่ผ่านมาตรฐานมีผลกระทบต่อการส่งออกสินค้ าเกษตรของไทย นอกจากนี ้การที่คนไทยบริ โภคผลผลิตที่มีสารพิษตกค้ าง อยู่ทาให้ มีการสะสมสารพิษในร่างกายเป็ นระยะเวลานาน และเกิดการเจ็บป่ วย เช่น โรคภูมิแพ้ โรคเครี ยด และโรคมะเร็ ง เป็ น ต้ น (วัชราพร และคณะ, 2558) ซึ่งเป็ นอันตรายต่อตัวเกษตรกรและประชาชนผู้บริ โภคอีกด้ วย จากผลกระทบที่เกิดขึ ้น การใช้ สารเคมีทางการเกษตร นับว่า เป็ นปั ญหาที่หลายฝ่ ายควรให้ ความสาคัญ ซึ่งเป็ นสาเหตุหนึ่งของความไม่ยงั่ ยืนของผลผลิตทาง การเกษตร ด้ วยความตระหนักถึงพิษภัยและอันตรายที่เกิดขึ ้น จึงได้ มีการศึกษา ค้ นคว้ า และวิจยั แนวทางเลือกใหม่หนั มาใช้ การทาเกษตรอินทรี ย์กนั มากขึ ้น โดยการนาสารสกัดจากธรรมชาติมาใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ลดปริ มาณ หรื อทดแทนการใช้ สารเคมี สร้ างความปลอดภัยต่อระบบนิเวศเกษตร และเป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม พืชหลายชนิดมีฤทธิ์ทางอัลลีโลพาที (allelopathy) ซึ่ง เป็ นปฏิกิริยาทางชีวเคมีระหว่างพืชด้ วยกันโดยการปลดปล่อยสารบางชนิดออกมาแล้ วมีผลต่อการเจริ ญเติบโตของพืชที่อยู่ ใกล้ เคียงและแสดงผลจาเพาะเจาะจงกับพืชเป้าหมาย (พรชัย , 2540) ทั้งทางด้านบวกและด้านลบต่อพืชและจุลินทรีย์ (อานุช และคณะ, 2556) ผลทางด้านบวก เช่น กระตุ้นการงอกของเมล็ดหรือส่งเสริมการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตของพืชและจุลินทรีย์ (ชัด และปราโมทย์, 2553) ผลทางด้านลบ ได้แก่ ยับยั้งการเจริญเติบโตของพืชต้นอื่นรวมทั้งจุลินทรีย์ด้วย (Cheng, 1989) สารที่ พืชปลดปล่อยออกมาเรียกว่าสารอัลลีโลเคมิคอล (allelochemicals หรื อ allelopathic substances) จากงานวิจยั ก่อนหน้ านี ้ การ สกัดสารที่มีอยู่ในพืชด้ วยตัวทาละลายชนิดต่างๆ ซึง่ เป็ นวิธีที่ใช้ กนั อย่างกว้ างขวาง เนื่องจากทาได้ ง่าย รวดเร็ว และมีค่าใช้ จ่าย ไม่สงู เพื่อทดสอบความเป็ นไปได้ ของพืชที่มีความสามารถในการยับยังการเจริ ้ ญเติบโตของพืชชนิดอื่นๆ สามารถตรวจสอบโดย การวัดอัตราการงอก การเจริญเติบโตของพืชที่ต้องการทดสอบ (Chon and Kim, 2002) จากรายงานการวิจยั ก่อนหน้ านี ้ พบว่า สารสกัดจากชะอม (Acacia pennata (L.) Willd. subsp.insuavis Nielsen) ดาวเรื อง (Tagetes erecta L.) ต้ อยติ่ง (Ruellia tuberosa) ข่า (Alpinia galangal L.) ผักเสี ้ยนดอกม่วง (Cleome rutidosperma DC.) ใบพืชวงศ์กะเพรา (Lamiaceae) หยีน ้า (Millettia pinnata (L.) Panigrahi) และก้ นจ ้าขาว (Bidens pilosa L.) (กนกพร และคณะ, 2553; ภัทริ น และคณะ, 2555; อัญชลี และอมรทิพย์, 2556; สุพตั รา และคณะ, 2557; สุขมุ าลย์, 2558; บุญรอด และคณะ, 2557; ขวัญกมล และคณะ, 2556; ไพรินทร์ และคณะ, 2555) สามารถยับยังการงอกของเมล็ ้ ด และยับยังการเจริ ้ ญเติบโตของพืชทดสอบได้ และ Phuwiwat et al. (2012) ได้ ศกึ ษาผลของสารสกัดจากใบเลี่ยนต่อการยับยังการงอกและการเจริ ้ ญเติบโตของหญ้ าข้ าวนก (Echinochloa crusgalli (L.) Beauv.) และถัว่ ผี (Phaseolus lathyroides L.) วัตถุประสงค์ในการศึกษาครัง้ นี ้จึงศึกษาสารสกัดโดยใช้ ตวั ทาละลาย อินทรี ย์ที่เหมาะสมในการสกัดสารอัลลีโลพาทีจากใบเลี่ยน ที่มีผลต่อการงอกและการเจริญเติบโตของถัว่ ผี

อุปกรณ์ และวิธีการ การทดลองที่ 1 การศึกษาเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพของตัวทาละลายอินทรี ย์ (เอทานอล:นา้ ) ในการสกัดสารออก ฤทธิ์จากใบเลี่ยน นาใบเลี่ยนมาอบให้ แห้ งที่อณ ุ หภูมิ 45 องศาเซลเซียส ตัดใบเป็ นชิ ้นเล็กๆ ชัง่ น ้าหนักสกัดด้ วยตัวทาละลายเอทานอล ต่อน ้าที่อตั ราส่วน 0:100, 25:75, 50:50, 75:25 และ 100:0 (ปริ มาตรต่อปริ มาตร) สกัดทิ ้งไว้ 72 ชัว่ โมง จากนันกรอง ้ สารละลายผ่านกระดาษกรอง แยกส่วนกาก (residue) สกัดอีก 3 รอบ แล้ วนาสารสกัดที่ได้ ในแต่ละรอบระเหยออกให้ แห้ งด้ วย เครื่ องระเหยสุญญากาศ การทดสอบในจานทดลอง นาสารสกัดหยาบที่ได้ ในแต่ละตัวทาละลายเอทานอลต่อน ้า มาเจือจางให้ ได้ ที่ระดับความเข้ มข้ น 1,250, 2,500, 5,000 และ 10,000 ppm โดยใส่สารสกัดปริ มาตร 5 มิลลิลิตร ในจานทดลองขนาดเส้ น ผ่านศูนย์กลาง 9 เซนติเมตร ซึง่ รองพื ้นจานทดลองด้ วยกระดาษเพาะเมล็ดเพื่อเป็ นวัสดุดดู ซับความชื ้น ปล่อยให้ สารสกัดถูกดูด ซึม และกระจายในจานทดลองอย่างสม่าเสมอ โดยใช้ น ้ากลัน่ เป็ นวิธีการควบคุม ทาการทดสอบกับเมล็ดถัว่ ผี นาเมล็ดถัว่ ผีที่ คัดเลือกแล้ วมาจัดเรี ยงวางจานวน 20 เมล็ดต่อจานทดลอง โดยให้ มีระยะห่างระหว่างเมล็ดเท่าๆ กัน ปิ ดฝาครอบจานทดลอง เพื่อป้องกันการระเหยของสารสกัด นาจานทดลองทังหมดวางไว้ ้ ในตู้ควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืช วางแผนการทดลองแบบ completely randomized design จานวน 4 ซ ้า ทาการตรวจนับจานวนการงอกและการเจริ ญเติบโตของเมล็ดพืชทดสอบที่ 7 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

721


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

วันหลังจากทาการทดสอบ นาข้ อมูลมาวิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ (ANOVA) และเปรี ยบเทียบความแตกต่างของ ค่าเฉลี่ยโดยวิธี Tukey’s Studentized Range Test ที่ระดับ ความเชื่อมัน่ 95% การทดลองที่ 2 การศึกษาสารสกัดด้ วยตัวทาละลายอินทรี ย์ชนิดต่ างๆ ต่ อการงอกและการเจริ ญเติบโตของพืช ทดสอบ นาใบเลี่ยนแห้ งมาบดให้ เป็ นชิน้ ขนาดเล็ก สกัดใบเลี่ยนด้ วยวิธีการสกัดตามลาดับความมีขัว้ ของตัวทาละลาย (Sequential solvent extraction) โดยนาใบเลี่ยนแห้ งแช่ในตัวทาละลายอินทรี ย์ 3 ชนิด เรี ยงลาดับจากสารที่มีขวน้ ั ้ อยไปหา มาก คือ เฮกเซน (Hexane) ไดคลอโรมีเทน (CH2Cl2) และเอทิลอะซิเตท (EtOAc) ตามลาดับ (ภาพที่ 1)โดยสกัดในตัวทา ละลายแต่ละชนิดเป็ นเวลา 5 วัน เมื่อครบกาหนดเวลา นาสารสกัดที่ได้ มากรองผ่านผ้ าขาวบาง และกรองด้ วยกระดาษกรอง เบอร์ 93 จากนันน ้ าสารสกัดที่ได้ นาไประเหยด้ วยเครื่ องระเหยสุญญากาศ ซึง่ จะได้ สารสกัดหยาบจากเฮกเซน ไดคลอโรมีเทน และเอทิลอะซิเตท นาสารสกัดมาเจือจางด้ วยตัวทาละลาย ที่ระดับความเข้ มข้ น 1,250, 2,500, 5,000 และ 10,000 ppm ใส่ สารสกัดแต่ละความเข้ มข้ น 5 มิลลิลิตร ในจานทดลอง ปล่อยให้ สารดูดซึมและกระจายในจานทดลองอย่างสม่าเสมอ ปล่อยให้ ตัวทาละลายระเหย จนแห้ ง จากนันเติ ้ มน ้ากลัน่ ปริ มาตร 5 มิลลิลิตร ในแต่ละจานทดลอง โดยใช้ น ้ากลัน่ เป็ นวิธีการควบคุม ทา การทดสอบกับเมล็ดถัว่ ผี จัดเรี ยงวางจานวน 20 เมล็ดต่อจานทดลอง ปิ ดฝาครอบจานทดลองเพื่อป้องกันการระเหยของสาร สกัด นาจานทดลองทังหมดวางไว้ ้ ในตู้ควบคุมการเจริ ญเติบโตของพืช วางแผนการทดลองแบบ completely randomized design จานวน 4 ซ ้า ทาการตรวจนับจานวนการงอกและการเจริ ญเติบโตของเมล็ดพืชทดสอบที่ 7 วันหลังจากทาการทดสอบ นาข้ อมูลมาวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางสถิติ (ANOVA) และเปรี ยบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี Tukey’s Studentized Range Test ที่ระดับ ความเชื่อมัน่ 95% Dry Leave Residues Extract with Hexane Filterring through sheetcloth Hexane solution Filterring through Whatman no.93

Dry Leave Residues Extract with Dichloromethane Filterring through sheetcloth

Hexane fraction

Bioassay

Dichloromethane solution Filterring through Whatman no.93

Dry Leave Residues Extract with Ethyl Acetate Filterring through sheetcloth

Dichloromethane fraction

Bioassay

Ethyl acetate solution Filterring through Whatman no.93 Ethylacetate fraction

Plant meterial residues

Discard

Bioassay

Figure 1 Flow chart for sequential solvent extraction from dried leaves of Melia azedarach L.

722

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ การทดลองที่ 1 การศึกษาเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพของตัวทาละลายอินทรี ย์ (เอทานอล:นา้ ) ในการสกัดสารออก ฤทธิ์จากใบเลี่ยน จากผลการศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบเลี่ยน ที่สกัดด้ วยตัวทาละลายเอทานอลต่อน ้าที่อตั ราส่วน 0:100, 25:75, 50:50, 75:25 และ 100:0 (ปริ มาตรต่อปริ มาตร) ที่ระดับความเข้ มข้ น 1,250, 2,500, 5,000 และ 10,000 ppm ต่อการ การงอกและการเจริ ญเติบโตของถัว่ ผี โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นกรรมวิธีควบคุม พบว่า ที่ระดับความเข้ มข้ น 10,000 ppm อัตราส่วนเอ ทานอลต่อน ้าที่ 0:100 ให้ ผลในการยับยังการงอกสู ้ งสุด มีเปอร์ เซ็นต์การงอกเท่ากับ 55.00 เปอร์ เซ็นต์ และสามารถยับยังการ ้ เจริ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ โดยสมบูรณ์ รองลงมาคือ อัตราส่วนเอทานอลต่อน ้าที่ 25:75, 75:25, 50:50 และ 100:0 เปอร์ เซ็นต์การ งอกเท่ากับ 71.25, 97.50, 98.75 และ 98.75 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ส่วนการเจริ ญเติบโตด้ านความยาวต้ นและความยาวราก ให้ ผลไปในทิศทางเดียวกับเปอร์ เซ็นต์การงอก ซึง่ พบว่า ทุกอัตราส่วนเอทานอลต่อน ้า มีความยาวต้ นและความยาวรากจะลดลง ตามระดับความเข้ มข้ นที่เพิ่มมากขึ ้น เมื่อเปรี ยบเทียบกับวิธีการควบคุม (Table 1) ซึง่ ให้ ผลเช่นเดียวกับ Maneechan et al. (2011) ศึกษาสารสกัดจากใบพุดจักร(Tabernaemontana pandacaqui Lam.) ด้ วยตัวทาละลายอัตราส่วนเอทานอลต่อน ้าที่ 0:100 สามารถยับยังการงอกและการเจริ ้ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ มากที่สดุ และให้ ผลแตกต่างจาก Wichittrakarn et al. (2011) พบว่า สารสกัดจากใบดาวเรื องที่ใช้ ตวั ทาละลายอัตราส่วนเอทานอลต่อน ้าที่ 75:25 สามารถยับยังการงอกและการเจริ ้ ญเติบโต ของหญ้ าข้ าวนกได้ มากที่สดุ และงานวิจยั ของ Laosinwattana et al. (2014) พบว่า ใบแห้ งของกระถินไทยที่สกัดด้ วย อัตราส่วนเอทานอลต่อน ้า 50:50 มีประสิทธิภาพในการยับยังการงอกของ ้ หญ้ าข้ าวนกและโสนได้ ดีที่สดุ การทดลองที่ 2 การศึกษาสารสกัดด้ วยตัวทาละลายอินทรี ย์ชนิดต่ างๆ ต่ อการงอกและการเจริญเติบโตของพืช ทดสอบบ จากการทดสอบการสกัดแยกกลุ่มสารออกฤทธิ์ จากใบเลี่ยนตามลาดับความมี ขัว้ ของตัวทาละลาย (Sequential solvent extraction) เรี ยงลาดับจากสารที่มีขวน้ ั ้ อยไปหามาก คือ เฮกเซน ไดคลอโรมีเทน และเอทิลอะซิเตท ตามลาดับ ที่มีผล ต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของถัว่ ผี ที่ระดับความเข้ มข้ น 1,250, 2,500, 5,000 และ 10,000 ppm ซึง่ มีน ้ากลัน่ เป็ นวิธีการ ควบคุม จากผลการทดลองพบว่า สารสกัดหยาบจากไดคลอโรมีเทน ที่ระดับความเข้ มข้ น 10,000 ppm มีผลต่อการยับยังการ ้ งอกและการเจริ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ โดยสมบูรณ์ และที่ระดับความเข้ มข้ น 5,000 ppm มีเปอร์ เซ็นต์การงอกเท่ากับ 30.00 เปอร์ เซ็นต์ และสามารถยับยังการเจริ ้ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ โดยสมบูรณ์ รองลงมาคือ สารสกัดหยาบจากเอทิลอะซิเตท และเฮ กเซน โดยที่ระดับความเข้ มข้ น 10,000 ppm มีเปอร์ เซ็นต์การงอกเท่ากับ 71.25 และ 97.50 เปอร์ เซ็นต์ ด้ านการเจริ ญเติบโต พบว่า สารสกัดหยาบจากเอทิลอะซิเตท และเฮกเซน ที่ระดับความเข้ มข้ น 10,000 ppm มีความยาวต้ นเท่ากับ 2.51 และ 7.94 เซนติเมตร มีความยาวรากเท่ากับ 1.07 และ 2.08 เซนติเมตร ตามลาดับ เมื่อเปรี ยบเทียบกับวิธีการควบคุม (ภาพที่ 2) ซึง่ ให้ ผล แตกต่าง จากงานวิจยั ของ Chotsaeng et al. (2012) ศึกษาสารสกัดจาก Phormidium angustissimum และใบพลูเขียว (Piper betle L.) (ปริ ยาภรณ์ และคณะ, 2556) พบว่า สารสกัดหยาบจากเอทิลอะซิเตท สามารถยับยังการงอกและการ ้ เจริญเติบโตของพืชทดสอบได้ มากที่สดุ ส่วน งานวิจยั ของ ภาวิณี และคณะ (2556) พบว่าสารสกัดหยาบจากเอทาอลของใบปอ ขี ้ไก่ สามารถยับยังการงอกและการเจริ ้ ญเติบโตของพืชทดสอบได้

สรุ ป จากการทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบเลี่ยน (Melia azedarach L.) ที่สกัดด้ วยตัวทาละลายเอทานอลต่อ น ้าที่อตั ราส่วน 0:100 ให้ ผลในการยับยังการงอกสู ้ งสุด และสามารถยับยังการเจริ ้ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ โดยสมบูรณ์ โดยการเพิ่ม ระดับความเข้ มข้ นของสารสกัดให้ ผลในการยับยังเพิ ้ ่มขึ ้น และปริ มาณของสารสกัดขึ ้นอยู่กบั สัดส่วนของตัวทาละลาย เมื่อทา ์ การสกัดแยกกลุม่ สารออกฤทธิจากใบเลี่ยนตามลาดับความมีขวของตั ั้ วทาละลาย (Sequential solvent extraction) พบว่า สาร สกัดหยาบจากไดคลอโรมีเทน สามารถยับยังการงอกและการเจริ ้ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ โดยสมบูรณ์ รองลงมาคือ สารสกัดหยาบ จากเอทิลอะซิเตท และเฮกเซน ผลการทดลองแสดงให้ เห็นว่า ใบเลี่ยนมีสารอัลลีโลพาที ซึ่งใช้ เป็ นข้ อมูลเบือ้ งต้ น ในการใช้ ประโยชน์ตอ่ ไปในอนาคต

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

723


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Effect of extract from Melia azedarach L. leaf by using ethanol:water extraction on seed germination and seedling growth of P. lathyroides at 7 days after treatment. Ethanol:water extraction Germination (%) Shoot length (cm.) Root length (cm.) a abc Control 100.00 7.18 2.82a 0:100 1,250 ppm 100.00a 7.41abc 2.81a 2,500 ppm 90.00a 5.75bc 1.48ab 5,000 ppm 61.25d 1.51d 0.42b 10,000 ppm 55.00d 0.00d 0.00b 25:75 1,250 ppm 100.00a 7.21abc 3.08a 2,500 ppm 97.50ab 7.30abc 2.84a 5,000 ppm 82.50bc 5.33c 1.59ab 10,000 ppm 71.25cd 0.73d 0.41b 50:50 1,250 ppm 100.00a 7.93a 3.09a 2,500 ppm 98.75ab 7.83ab 2.87a 5,000 ppm 98.75ab 7.29abc 2.51a 10,000 ppm 98.75ab 7.04abc 2.17a 75:25 1,250 ppm 98.75ab 7.98a 2.77a 2,500 ppm 98.75ab 7.62ab 2.55a 5,000 ppm 98.75ab 7.61ab 2.27a 10,000 ppm 97.50ab 7.21abc 2.14a 100:0 1,250 ppm 100.00a 8.58a 2.58a 2,500 ppm 100.00a 8.64a 2.47a 5,000 ppm 100.00a 7.76ab 2.39a 10,000 ppm 98.75ab 7.25abc 2.27a Note: In each column, means having the same letter are not significantly different according to Tukey’s Studentized Range Test at P < 0.05 level.

724

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Effects of Sequential solvent extraction from Melia azedarach L. on seed germination, shoot length and root length of P. lathyroides at 7 days after treatment. Faction Germination (%) Shoot length (cm.) Root length (cm.) a a Control 100.00 8.37 2.74abc Hexane 1,250 ppm 100.00a 8.43a 3.37a 2,500 ppm 98.75a 8.602a 3.30a 5,000 ppm 98.75a 8.21ab 3.13a 10,000 ppm 97.50ab 7.94ab 2.08bcd Dichloromethane 1,250 ppm 82.50abc 6.41c 2.69abc 2,500 ppm 73.75bc 0.82e 0.39ef 5,000 ppm 30.00d 0.00e 0.00f 10,000 ppm 0.00e 0.00e 0.00f Ethylacetate 1,250 ppm 98.75a 7.99ab 2.82ab 2,500 ppm 95.00abc 7.20abc 1.99bcd 5,000 ppm 93.75abc 6.75bc 1.73cd 10,000 ppm 71.25c 2.51d 1.07de Note: In each column, means having the same letter are not significantly different according to Tukey’s Studentized Range Test at P < 0.05 level.

กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจยั นี ้ ได้ รับการสนับสนุนทุนวิจยั จากเงินงบประมาณประจาปี 2558 ผ่านคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

เอกสารอ้ างอิง กนกพร ช้ างเสวก จารูญ เล้ าสินวัฒนา และมณทินี ธีรารักษ์ . 2553. ศักยภาพของสารสกัดจากชะอมในการยับยังการงอกการเจริ ้ ญเติบโต และการ แบ่งเซลล์ของพืชทดสอบ. วารสารเกษตรพระจอมเกล้ า. 28(2): 65-73. กมล เลิศรัตน์, มนัชญา งามศักดิ์ และอานุภาพ สังข์ศรี อินทร์ . 2553. R&D เพื่อการบริ โภคผักและผลไม้ : บนเส้ นทางสูค่ ณ ุ ภาพชีวิต. โรงพิมพ์คลัง นานาวิทยา ขอนแก่น. ขวัญกมล ทวายตาคา สรัญญา วัชโรทัย และณัฏฐา เสนีวาส. 2556. ผลของสารสกัดจากใบของหยีน ้า (Millettia pinnata (L.) Panigrahi) ต่อการ งอกและการเจริ ญเติบโตของต้ นกล้ าของพืชบางชนิด. ว.วิทย.กษ. 44(2)(พิเศษ): 73-76. ชัด หนูเหมือน และ ปราโมทย์ พรสุริยา. 2553. การประมาณค่าอัตราพันธุกรรมอย่างแคบของลักษณะผลในประชากรมะระขี ้นกจากพันธุ์พื ้นเมือง. วารสารวิจยั มทร.ตะวันออก. 3(2): 89-95. บุญรอด ชาติยานนท์ เฉลิมชัย วงศ์วฒ ั นะ และ สมเกียรติ พรพิสทุ ธิมาศ. 2557. ผลของสารสกัดด้ วยน ้าจากใบพืชวงศ์กะเพราบางชนิดต่อการงอก ของเมล็ด และการเจริ ญเติบโตของต้ นกล้ าหญ้ าขจรจบดอกเหลือง (Pennisetum setosum L.). วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราช นคริ นทร์ . 6(3): 121-132. ปริ ยาภรณ์ เนตรสว่าง ภัทริ น วิจิตรตระการ จารูญ เล้ าสินวัฒนา และมณทินี ธีรารักษ์ . 2556. ผลของสารสกัดจากพืชวงศ์ Piperaceae ต่อการยับยัง้ การงอกและการเจริ ญเติบโตของพืชทดสอบ. ในเรื่ องเต็มการประชุมอารักขาพืช ครัง้ ที่ 11. เซ็นทาราคอนเวนชันเซนเตอร์ ขอนแก่น. หน้ า 1447-1453. พรชัย เหลืองอาภาพงศ์. 2540. วัชพืชศาสตร์ . ภาควิชาพืชไร่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่. 585 หน้ า.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

725


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า ไพริ นทร์ กร่ าศรี ธนัชสัณฑ์ พูนไพบูลย์พิพฒ ั น์ จารูญ เล้ าสินวัฒนา มณทินี ธีรารักษ์ และอาพร สุวรรณเมฆ. 2555. ผลทางอัลลีโลพาธีและการแยก กลุม่ สารออกฤทธิ์ของก้ นจ ้าขาว. ในเรื่ องเต็มการประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครัง้ ที่ 10 มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก หน้ า 138-144. ภัทริ น วิจิตรตระการ มณทินี ธีรารักษ์ พัชนี เจริ ญยิ่ง และ จารูญ เล้ าสินวัฒนา. 2555. ผลในการยับยังการงอกของสารสกั ้ ดน ้าจากดาวเรื องและการ แยกกลุม่ สารออกฤทธิ์. วารสารเกษตรพระจอมเกล้ า. 30:3 (87-94). ภาวิณี คาแสน จารูญ เล้ าสินวัฒนา และ มณทินี ธีรารักษ์ . 2556. ผลของสารสกัดจากปอขี ้ไก่ต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของหญ้ าข้ าวนกและ ถัว่ ผี. ในเรื่ องเต็มการประชุมอารักขาพืช ครัง้ ที่ 11. เซ็นทาราคอนเวนชันเซนเตอร์ ขอนแก่น. หน้ า 1439-1445. สุขมุ าลย์ เลิศมงคล. 2558. ผลทางอัลลิโลพาธิกของผักเสี ้ยนดอกม่วงต้ นสดและต้ นแห้ งต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของหญ้ าข้ าวนกและผักโขม หนาม. วารสารวิจยั 8(1): 1-6. สุพตั รา คาเรี ยง วรรทณา สินศิริ นริ ศ สินศิร และวรัญญู แก้ วดวงตา. 2557. ผลของสารสกัดหยาบจากข่าต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของพืชปลูก และวัชพืชบางชนิด. แก่นเกษตร. 42(1)(พิเศษ): 57-62. อัญชลี จาละ และอมรทิพย์ วงศ์สารสิน. 2556. ผลของสารอัลลีโลพาทีจากต้ อยติ่งที่มีต่อการงอกของเมล็ดไมยราบ ผักเสี ้ยนผี และผักโขมหิน. วารสารวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี. 21(6)(พิเศษ): 558-564. อานุช คีรีรัฐ นิคม ทิพย์ทิวา สัมพันธมิตร จุรีพร แสงแก้ ว และศศิธร ณ พิชยั . 2556. ความหลากหลายชนิดของพันธุ์ไม้ และปริ มาณคาร์ บอนสะสมของ ป่ าชุมชนบ้ านพานแพ อาเภอบางขัน จังหวัดนครศรี ธรรมราช. วารสารวิจยั มทร.ตะวันออก. 6(1): 56-62. Cheng, H.H. 1989. Assessment of the fate and transport of allelochemicals in the soil. In C.H. Chou and G.R. Waller, eds. Phytochemical Ecology: Allelochemicals, Mycotoxins and Insect Pheromones and Allomones. Academia Sinica Monograph Ser. No.9, Acad. Sinica, Taipei, ROC. pp. 209-216. Chon, S.U. and J.D. Kim. 2002. Biological activity and quantification of suspected allelochemicals from alfalfa plant parts. J. Agronomy & Crop Science. 188: 281-285. Chotsaeng, N., C. Laosinwattana, S. Ruangsomboon and P. Charoenying. 2012. Allelopathic Potential of Phormidium angustissimum. Pak. J. Weed Sci. Res. 18: 159-168. Laosinwattana, C. and M. Teerarak. 2014. Allelopathic activities of white leadtree (Leucaena eucocephala) and its potential use as a natural herbicide. In proceeding Seoul International Conference on Biological Engineering and Natural Science, Korea. pp. 449-458. Maneechan, S., W. Phuwiwat, C. Laosinwattana and M. Teerarak. 2011. Solvent extraction method and partial separation of active compound from banana bush (Tabernaemontana pandacaqui Lam.). In proceeding The 6th World Congress on Allelopathy. Guangzhou, China. pp. 146-152. Phuwiwat, W., W. Wichittrakarn, C. Laosinwattana and M. Teerarak. 2012. Inhibitory effects of Melia azedarach L. leaf extracts on seed germination and seedling growth of two weed species. Pak. J. Weed Sci. Res.18: 485-492. Wichittrakarn, W., C. Laosinwattana, M. Teerarak and P. Charoenying. 2011. Optimal extraction conditions use for allelchemical extract from Tagetes erecta Linn. In proceeding The 6th World Congress on Allelopathy. Guangzhou, China. pp. 153157. วัชราพร ศรี สว่างวงศ์, ปริ ยานุช สายสุพรรณ์ และจารุพงศ์ ประสพสุข. 2558. จดหมายข่าวผลิใบก้ าวใหม่การวิจยั และพัฒนาการเกษตร. กรม วิชาการเกษตร. http://www.doa.go.th/pibai/pibai/n15/v_5-june/korkui.html

726

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การสารวจโรคใบจุดในแปลงกล้ วยหอมทองอินทรีย์เพื่อการส่ งออก ความสามารถในการก่ อโรค และการควบคุมเชือ้ สาเหตุโดยชีววิธี Survey of Hom Thong Banana Leaf Spot Disease under Organic Agriculture for Export, Pathogenicity and Biocontrol of Its Causal Agents อทิตยา ปาลคะเชนทร์ 1สมศิริ แสงโชติ1และวีระณีย์ ทองศรี11 Atittaya Palakachain1Somsiri Sangchote1 and VeeraneeTongsri

บทคัดย่ อ โรคใบจุดเป็ นโรคที่มีความสาคัญในการผลิตกล้ วยหอมทองในระบบเกษตรอินทรี ย์เพื่อการส่งออก ซึ่งถ้ าหากเกิดการ ระบาดแล้ วจะทาให้ เกิดความเสียต่อผลิตผลเป็ นจานวนมาก เนื่ องจากไม่สามารถใช้ สารเคมีกาจัดโรคได้ ในงานวิจัยนี ม้ ี วัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความสามารถในการก่อโรคของเชื ้อสาเหตุ ลักษณะอาการ และทดสอบการควบคุมเชื ้อสาเหตุโรคโดย ใช้ เชื ้อรา Trichoderma sp. โดยทาการเก็บตัวอย่างใบกล้ วยที่เป็ นโรคจากสวนกล้ วยหอมทองอินทรี ย์ อาเภอหนองแค จังหวัด สระบุรี และแยกเชื ้อด้ วยวิธี tissue transplanting technique พบว่าแยกเชื ้อราได้ 13 ไอโซเลท แต่มี 6 ไอโซเลทที่ก่อให้ เกิดโรค คือ เชื ้อรา Curvularia spp. 2 ไอโซเลท (HC011 และ HC022) เชื ้อรา Alternaria spp. 3 ไอโซเลท (HR023-1, HR023-3 และ HY022) และ เชื ้อรา Nigrospora sp. 1 ไอโซเลท (HB023) โดยลักษณะอาการมีทงจุ ั ้ ดกระสีน ้าตาลเข้ มและจุดตายสีดา ซึง่ เชื ้อ รา Alternariasp. HR023-1ทาให้ เกิดแผลจุดตายสีดามีขนาดใหญ่ที่สดุ (เส้ นผ่าศูนย์กลาง 2.4 ซม.) รองลงมา คือ Curvularia sp. HC022 ทาให้ เกิดแผลจุดตายสีดา (เส้ นผ่าศูนย์กลาง 1.5 ซม.) ส่วนการควบคุมเชื ้อสาเหตุโรคด้ วยเชื ้อราTrichoderma sp. โดยวิธี dual culture พบว่าสามารถยับยังการเจริ ้ ญของเชื ้อรา Alternaria sp. HR023-3 และ Nigrospora sp. HB023 ได้ มาก ที่สดุ (95.5 และ 93.3% ตามลาดับ) แต่ยบั ยังเชื ้ ้อ Alternaria sp. HR023-1 ได้ น้อยที่สดุ (47.2%)ซึง่ จากการทดลองนี ้แสดงให้ เห็นว่าอาการใบจุดของกล้ วยหอมทองมีสาเหตุจากเชื ้อราหลายชนิด และเชื ้อรา Trichoderma sp. สามารถยับยังเชื ้ ้อก่อโรคได้ แตกต่างกันในสภาพห้ องปฏิบตั ิการ จึงควรมีการทดสอบให้ มีการใช้ เชื ้อจุลินทรี ย์ปฏิปักษ์ ดงั กล่าวในสภาพแปลงปลูกต่อไป คาสาคัญ : ใบจุดกล้ วย Curvularia sp. Alternaria sp. Nigrospora sp. Trichoderma sp.

Abstract Leaf spot is the important diseases in organic banana production for export. Since organic plantation is not allowed to chemical use, disease outbreak in the field can causes a huge loss of banana yield. Objectives of this study were to determine pathogenicity test, disease symptom and in vitro biocontrol of pathogens by Trichoderma sp. Disease samples were collected from organic Hom Thong banana orchard located at Nongkhae district, Saraburi province and isolated by tissue transplanting technique. The result showed that 13 isolates of fungi were obtained, but 6 isolates could cause disease on banana leaf. These pathogens were 2 isolates of Curvularia spp. (HC011 and HC022), 3 isolates of Alternaria spp. (HR023-1, HR023-3 and HY022), and 1 isolate of Nigrospora sp. (HB023). These pathogens caused symptom as dark brown freckle and black necrotic spots on the leaf. Alternaria sp. HR023-1 presented the largest area of necrotic spots (2.4 cm in diameter), followed by Curvularia sp. HC022 (1.5 cm in diameter of necrotic spots). Additionally, the control of these pathogens usingTrichoderma sp.was conducted by dual culture technique. The result revealed that mycelial growth of Alternaria sp. HR023-3 and Nigrospora sp. HB023 were most inhibited by 95.5 and 93.3%, respectively, while Alternaria sp. HR023-1 was less inhibited (47.2% inhibition). This study indicated that leaf spot disease of organic banana was caused by various pathogenic fungi. Trichoderma sp. displayed pathogen growth inhibition by different levels in vitro. Disease inhibition by this antagonist should be conducted in the field. Keywords : banana leaf spot, Curvularia sp., Alternaria sp., Nigrospora sp., Trichoderma sp.

1

ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

727


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา กล้ วย (Musa acuminata L.) เป็ นไม้ ผลที่ปลูกมากในแถบประเทศเขตร้ อน และเป็ นพืชที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ เป็ นอันดับต้ นๆ ของประเทศไทย เนื่องจากสามารถส่งออกไปจาหน่ายยังต่างประเทศได้ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกล้ วยหอมทอง ซึง่ เป็ นพันธุ์ที่ตา่ งประเทศมีความต้ องการบริโภคค่อนข้ างสูงในแต่ละปี สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2556) รายงานว่า ประเทศไทยมีการส่งออกกล้ วยหอมทอง มูลค่า 46.07 ล้ านบาท มีค่คู ้ าที่สาคัญ คือ ญี่ปนุ่ ฮ่องกง และสิงคโปร์ ซงึ่ ผลผลิตที่ ส่งออกทังหมดเป็ ้ นกล้ วยหอมทองอินทรี ย์ อย่างไรก็ตาม การผลิตกล้ วยหอมทองอินทรี ย์ในประเทศไทยมักประสบปั ญหาหลาย ด้ าน หนึง่ ในปั ญหาที่มีความสาคัญเป็ นอันดับต้ นๆ นัน่ คือ การระบาดของโรคใบจุด ซึง่ ถ้ าหากเกิดการระบาดแล้ วทาจะให้ พื ้นที่ ใบที่ใช้ ในการปรุงอาหารลดลง เป็ นผลให้ ผลผลิตลดลงถึง 50% โดยทัว่ ไปแล้ วเชื ้อราที่ก่อให้ เกิดโรคใบจุดของกล้ วยในประเทศ ไทย มักพบรายงานว่าเกิดจากเชื ้อรา Pseudocercospora musae ซึง่ เป็ นสาเหตุโรคใบจุดซิกาโตก้ าสีเหลือง โดยพบว่าใน แปลงที่เป็ นโรครุนแรง จะทาให้ น ้าหนักเฉลี่ยต่อเครื อลดลงมากกว่า 5 กิโลกรัม(จริยา, 2553) นอกจากนี ้ยังมีรายงานการพบโรค ใบจุดยูมิวเซ ซึง่ มีสาเหตุจากเชื ้อรา P. eumusae ในบางแหล่งปลูกของประเทศไทยเช่นเดียวกัน (Queensland Government, 2014)ในด้ านการจัดการโรคใบจุดของกล้ วยมีรายงานการใช้ สารสกัดจากพืชควบคุมโรคที่เกิดจากเชื ้อรา Mycosphaerella eumusae (ระยะ teleomorph ของ P. eumusae)ซึง่ สามารถลดการเจริญของเส้ นใยและการงอกของสปอร์ ได้ รวมถึงสามารถ ลดความรุนแรงของโรคได้ 55%(Thangavelu et al., 2013) รวมทังมี ้ การนาเซลล์แขวนลอยของเชื ้อแบคทีเรี ยปฏิปักษ์ Bacillus subtilis strain 106 ที่แยกได้ จากดินบริเวณรอบๆ รากของต้ นกล้ วยมาควบคุมโรคใบจุดที่เกิดจากเชื ้อรา P. musae และโรค แอนแทรคโนสหลังการเก็บเกี่ยวที่เกิดจากเชื ้อรา Colletotrichum musae พบว่าสามารถลดการเกิดโรคใบจุดในสภาพโรงเรื อน ได้ 72% และลดการเกิดโรคในสภาพไร่ได้ 48% (Fu et al., 2010) การใช้ จลุ ินทรี ย์ปฏิปักษ์ ที่มีแหล่งอาศัยในแปลงปลูกพืชชนิด นันๆ ้ มาควบคุมโรค กาลังได้ รับความสนใจจากนักวิจยั และผู้ประกอบการมากขึ ้น เนื่องจากเชื ้อจุลินทรี ย์เหล่านันไม่ ้ ต้องใช้ เวลา ในการปรับตัวเพื่อความอยูร่ อดในสภาพแวดล้ อมที่แตกต่างไปจากเดิม จึงไม่ทาให้ เกิดการสูญเสียศักยภาพในการควบคุมโรคลง ดังมีรายงานสนับสนุนความสาเร็จจากรายงานของ Alvindia and Natsuaki (2009) ว่าเชื ้อแบคทีเรี ยปฏิปักษ์ B. amyloliquefaciens DGA14 ที่แยกได้ จากผิวของผลกล้ วยสามารถควบคุมโรคขัวหวี ้ เน่าของกล้ วยที่มีสาเหตุจากเชื ้อราหลาย ชนิด ได้ แก่ Lasiodiplodia theobromae, Thielaviopsis paradoxa, Colletotrichum musae และ Fusarium verticillioides ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนันในงานวิ ้ จยั นี ้มีวตั ถุประสงค์เพื่อทดสอบความสามารถในการเกิดโรคของเชื ้อราที่แยกได้ จาก อาการแผลจุด จาแนกชนิดของเชื ้อสาเหตุและทดสอบการควบคุมเชื ้อสาเหตุด้วยเชื ้อรา Trichoderma sp. ซึง่ เป็ นเชื ้อรา ปฏิปักษ์ ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมเชื ้อราสาเหตุโรคพืชหลายชนิดและยังช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตให้ แก่พืช (สายทอง, 2555)เช่น โรคโคนเน่าของถัว่ ฝักยาวที่เกิดจากเชื ้อรา Sclerotium rolfsii (จิระเดช และคณะ, 2544) โรคใบจุดของยาสูบที่เกิด จากเชื ้อรา Alternaria alternata (Gveroska and Ziberoski, 2012) โรคใบจุดตานกของสตรอเบอร์ รี่ที่เกิดจากเชื ้อรา Ramularia tulasnei โรคใบไหม้ ของสตรอเบอร์ รี่ที่เกิดจากเชื ้อรา Phomopsis obscurans (ยอดชาย, 2544) และโรคใบจุดของ ปาล์มน ้ามันที่เกิดจากเชื ้อรา Curvularia oryzae (จิตรา และคณะ, 2557) เป็ นต้ น

อุปกรณ์ และวิธีการ การเก็บตัวอย่ างและแยกเชือ้ สาเหตุโรคใบจุดกล้ วย สุม่ เก็บอย่างตัวใบกล้ วยพันธุ์หอมทองที่แสดงอาการโรคใบจุดที่ปลูกในระบบเกษตรอินทรี ย์แบบยกร่อง อาเภอหนอง แค จังหวัดสระบุรี จานวน 5 แถวๆ ละ 20 ต้ น นามาแยกเชื ้อด้ วยวิธี tissue transplanting technique โดยตัดบริเวณรอยต่อ ของเนื ้อเยื่อที่เป็ นโรคกับเนื ้อเยื่อปกติ เป็ นชิ ้นเล็กๆ ขนาด 5×5 มม.ฆ่าเชื ้อบริเวณผิวรอบนอกด้ วย Clorox10% เป็ นเวลา 5 นาที ล้ างด้ วยน ้ากลัน่ นึง่ ฆ่าเชื ้อผึง่ ไว้ ให้ แห้ งในตู้ปลอดเชื ้อจากนันน ้ าไปวางบนจานอาหาร Potato Dextrose Agar (PDA) บ่มไว้ ที่ อุณหภูมิห้อง (25-30°C) เป็ นเวลา 5 วัน จนเส้ นใยของเชื ้อราเจริญออกมาจากชิ ้นส่วนพืช ตัดส่วนปลายของเส้ นใยมาเลี ้ยงบน จานอาหาร PDA และเก็บเชื ้อไว้ ใน agar slant เพื่อไว้ สาหรับการศึกษาในขันตอนต่ ้ อไป

728

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การทดสอบความสามารถในการเกิดโรค ทดสอบความสามารถในการเกิดโรคบนใบกล้ วยหอมทองในห้ องปฏิบตั ิการโดยวิธีทาแผล โดยใช้ cork borer ขนาด เส้ นผ่าศูนย์กลาง 5 มม. ตัดบริเวณส่วนปลายของเส้ นใยและนาไปปลูกลงบนใบกล้ วยที่บริ เวณหลังใบ โดยวิธี detached leaf ซึง่ ผ่านการทาแผลด้ วยเข็มเขี่ยเชื ้อจานวน 1 แผลจากนันน ้ าไปบ่มในกล่องพลาสติกชื ้นที่อณ ุ หภูมิห้อง เป็ นเวลา 7 วัน วาง แผนการทดลองแบบ CRD จานวน 3 ซ ้าๆ ละ 12 แผล บันทึกลักษณะอาการของโรคที่เกิดขึ ้นและวัดเส้ นผ่าศูนย์กลางแผล จากนันน ้ าเชื ้อราที่ก่อให้ เกิดโรคทุกไอโซเลท การทดสอบการควบคุมการเจริญของเชือ้ สาเหตุโรคด้ วยเชือ้ Trichoderma sp. การทดสอบประสิทธิภาพของเชื ้อรา Trichoderma sp. ซึง่ เป็ นเชื ้อราปฏิปักษ์ ที่แยกได้ จากใบกล้ วยหอมทองในแปลง ปลูกโดยวิธี dual culture technique โดยใช้ cork borer ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 5 มม. ตัดส่วนปลายเส้ นใยของเชื ้อรา Trichoderma sp. มาวางบนจานอาหาร PDA ให้ มีระยะห่างจากขอบจาน1.5 ซม.ส่วนอีกด้ านหนึง่ ของจานให้ วางเชื ้อราสาเหตุ โรคโดยให้ มีระยะห่างจากขอบจานเท่ากัน บ่มเชื ้อในอุณหภูมิห้อง เป็ นเวลา 5 วัน วางแผนการทดลองแบบ CRD จานวน 3 ซ ้าๆ ละ 3 จาน วัดรัศมีการเจริญของเชื ้อราสาเหตุโรค และคานวณเปอร์ เซ็นต์ยบั ยังการเจริ ้ ญเติบโตของเชื ้อรา (PG) โดยใช้ สตู ร PG = [(RC-RT)/RC]x100 โดย RC =ค่าเฉลี่ยรัศมีการเจริญของเชื ้อราสาเหตุโรคในชุดควบคุม (ไม่มีเชื ้อรา Trichoderma sp.) RT =ค่าเฉลี่ยรัศมีการเจริญของเชื ้อราสาเหตุโรคในจานที่มีเชื ้อรา Trichoderma sp.

ผลการทดลองและวิจารณ์ การเก็บตัวอย่ างและแยกเชือ้ สาเหตุโรคใบจุดกล้ วย จากการแยกเชื ้อราสาเหตุโรคใบจุดของกล้ วยหอมทองด้ วยวิธี tissue transplanting technique พบว่าสามารถแยก ได้ เชื ้อรา จานวน13 ไอโซเลทและเมื่อนาเชื ้อราทุกไอโซเลทมาทดสอบความสามารถในการเกิดโรคบนใบกล้ วยหอมทองโดยวิธี ทาแผลในห้ องปฏิบตั ิการ พบว่า มีเชื ้อรา 6 ไอโซเลทเท่านันที ้ ่ก่อให้ เกิดโรค ซึง่ ได้ แก่ เชื ้อราAlternaria spp. จานวน 3 ไอโซเลท (HY022, HR023-1 และ HR023-3) เชื ้อรา Curvularia spp. จานวน 2 ไอโซเลท (HC011 และ HC022) และเชื ้อรา Nigrospora sp.จานวน 1 ไอโซเลท (HB023) โดยแต่ละไอโซเลทมีลกั ษณะโคโลนีของเชื ้อราบนอาหาร PDA ดังนี ้ Alternaria ไอโซเลท HY022 มีลกั ษณะเส้ นใยฟูสีขาว เมื่ออายุมากขึ ้นจะเปลี่ยนเป็ นสีเหลืองหม่น และมีการสร้ าง pigment สีเหลืองบน อาหาร ไอโซเลท HR023-1 มีลกั ษณะเส้ นใยฟูเล็กน้ อย สีขาวหม่น เส้ นใยบางส่วนจะจับกันเป็ นก้ อน และมีการสร้ าง pigment สีแดงบนอาหาร ไอโซเลทHR023-3 มีลกั ษณะเส้ นใยฟูละเอียด สีเทาอ่อน เมื่ออายุมากขึ ้นจะเปลี่ยนเป็ นสีเทาเข้ ม และสร้ าง pigment สีแดงบนอาหาร โดยสปอร์ ของทังสามไอโซเลทมี ้ รูปร่างคล้ ายกระบอง สีเข้ ม มีผนังกันทั ้ งตามยาวและตามขวาง ้ (longitudinal and transverse septa) (Figure 1) (Laemmlen, 2001) ส่วนเชื ้อรา Curvularia ไอโซเลท HC011 มีลกั ษณะ เส้ นใยฟูสีเขียวมะกอก เมื่ออายุมากขึ ้นจะเปลี่ยนเป็ นสีเขียวมะกอกเข้ มเกือบดา และไอโซเลท HC022 เส้ นใยมีลกั ษณะหยาบฟู สีเทาอ่อน เมื่ออายุมากขึ ้นจะเปลี่ยนเป็ นสีเทาเข้ ม รูปร่างของสปอร์ มีลกั ษณะโค้ งงอสีน ้าตาลอ่อนถึงเข้ ม มี 4 เซลล์ เซลล์ตรง กลางมีสีเข้ มและขนาดใหญ่กว่าหัวและท้ าย (Figure 2) (Levetin, 2015) ในส่วนของเชื ้อรา Nigrospora ไอโซเลท HB023เส้ น ใยมีลกั ษณะหยาบ ฟูเล็กน้ อย มีสีเทาอ่อนแซมดา รูปร่างสปอร์ กลมค่อนข้ างแบน มีสีดา (Figure 2) มักพบในสภาพอากาศ อบอุน่ (Levetin, 2015)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

729


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การทดสอบความสามารถในการเกิดโรค จากการทดสอบความสามารถในการเกิดโรคของเชื ้อราทัง้ 6 ไอโซเลท บนใบกล้ วยหอมทอง โดยวิธี detached leaf และทาแผล หลังจากปลูกเชื ้อเป็ นเวลา 4 วัน พบว่า เชื ้อรา Alternaria sp. ไอโซเลท HR023-1 ทาให้ เกิดโรครุนแรงที่สดุ ต่อมา แผลมีลกั ษณะจุดตายสีดา ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 2.4 ซม. และมีวงแหวนสีเหลืองล้ อมรอบเมื่ออายุแผลมากขึ ้น รองลงมา คือ Curvularia sp. ไอโซเลท HC022 ทาให้ เกิดแผลมีลกั ษณะจุดตายสีดาเช่นเดียวกัน โดยมีเส้ นผ่าศูนย์กลาง 1.5 ซม. (Figure 3 and Figure 4) แต่มีบางไอโซเลท คือ Alternaria sp. ไอโซเลท HR023-3 เมื่ออายุแผลมากขึ ้นที่ 6 วันจะมีลกั ษณะอาการเป็ น จุดกระสีน ้าตาลเข้ มเชื ้อรา Alternaria สามารถก่อให้ เกิดโรคกับไม้ ผลอีกหลายชนิด ได้ แก่ โรคใบไหม้ และผลจุดของแอปเปิ ล ผล เน่าในสตรอเบอร์ รี่ และเชอรี่ (Harteveld et al., 2014) เมื่อเชื ้อราเหล่านี ้เข้ าทาลายพืชจะมีการสร้ างสารพิษ (Phytotoxin) ขึ ้น โดยพบว่าเชื ้อรา Curvularia บาง species ผลิตสารพิษชื่อว่า 1-O-β-D (14-hydroxy-4,12-eicosadienoyl)-glucoside ซึง่ ทา ให้ เกิดความเป็ นพิษต่อเนื ้อเยื่อพืช (Alam et al., 1997) ในขณะที่ Meredith (1962) รายงานว่าได้ พบเชื ้อรา Nigrospora sp. อยูใ่ นเศษซากของใบกล้ วยที่เน่าทับถมกัน การทดสอบการควบคุมการเจริญของเชือ้ สาเหตุโรคด้ วยเชือ้ Trichoderma sp. จากการทดสอบประสิทธิภาพของเชื ้อรา Trichoderma sp. ในการยับยังการเจริ ้ ญของเส้ นใยของเชื ้อราสาเหตุโรคทัง้ 6 ไอโซเลทในห้ องปฏิบตั ิการ โดยวิธี dual culture พบว่า เชื ้อรา Trichoderma sp. สามารถยับยังการเจริ ้ ญของเส้ นใยของเชื ้อ รา Alternaria sp. ไอโซเลท HR023-3 และ Nigrospora sp. ไอโซเลท HB023 ได้ มากที่สดุ 95.5 และ 93.3% ตามลาดับ รองลงมาคือ เชื ้อรา Curvularia sp. ไอโซเลท HC022 โดยยับยังได้ ้ 80.3% ส่วนไอโซเลทที่ถกู ยับยังได้ ้ น้อยที่สดุ คือ Alternaria sp. ไอโซเลท HR023-1 ซึง่ ถูกยับยังได้ ้ เพียง 47.2% (Figure 5, 6 and 7) สอดคล้ องกับรายงานของ Ambuse et al. (2012) ที่ เชื ้อรา Alternaria tenuissima ถูกยับยังด้ ้ วยเชื ้อรา Trichoderma viride ได้ ถึง 80% และถูกยับยังด้ ้ วย T. harzianum ได้ 66.7% ในขณะที่ Sneha and Satya (2014) ได้ ใช้ T. aureoviride ควบคุมเชื ้อรา Curvularia clavata ได้ 55% แต่ควบคุมเชื ้อ รา Fusarium solani ได้ เพียง 35%

Figure 1 Morphological characteristics of Alternaria spp. isolates HY022, HR023-1 and HR023-3 causing leaf spot disease on Hom Thong banana, cultured on PDA for 7 days, scale bar = 20 µm.

730

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 2 Morphological characteristics of Curvularia spp. isolates HC011, HC022 and Nigrospora sp. isolateHB023 causing leaf spot disease on Hom Thong banana, cultured on PDA for 7 days ,scale bar = 20µm.

Lesion diameter (cm)

3

2.5 2 1.5 1 0.5 0 HY022

HR023-1

HR023-3

HC011

HC022

HB023-1

Pathogen isolates Figure 3 Lesion diameters of leaf spot on Hom Thong banana inoculated by different isolates of plant pathogenic fungi at 4 days after inoculation in vitro. Vertical bars in columns represent standard errors of means. HY022 = Alternaria sp. isolate HY022, HR023-1 = Alternaria sp. isolate HR023-1, HR023-3 = Alternaria sp. isolate HR023-3, HC011 = Curvularia sp. isolate HC011, HC022 = Curvularia sp. isolate HC022 and HB023 = Nigrospora sp. isolate HB023.Vertical bars in columns represent error at 5%.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

731


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 4 Disease characteristics of banana leaf spot inoculated by different isolates of plant pathogenic fungi at 4 days after inoculation. HY022 = Alternaria sp. isolate HY022, HR023-1 = Alternaria sp. isolate HR023-1, HR023-3 = Alternaria sp. isolate HR023-3, HC011 = Curvularia sp. isolate HC011, HC022 = Curvularia sp. isolate HC022 and HB023 = Nigrospora sp. isolate HB023.

inhibition of mycelial growth (%)

120 100 80

60 40 20 0 HY022

HR023-1

HR023-3

HC011

HC022

HB023-1

Pathogen isolates Figure 5 Mycelial growth inhibition of various isolates of pathogens causing leaf spot on Hom Thong banana by dual culture technique using Trichoderma sp. as biocontrol agent. Dual culture plates incubated at room temperature (25-30°C) for 5 days. Vertical bars in columns represent standard errors of means. HY022 = Alternaria sp. isolate HY022, HR023-1 = Alternaria sp. isolate HR023-1, HR023-3 = Alternaria sp. isolate HR023-3, HC011 = Curvularia sp. isolate HC011, HC022 = Curvularia sp. isolate HC022 and HB023 = Nigrospora sp. isolate HB023.

732

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 6 Dual culture assay between antagonist Trichoderma sp. and Alternaria spp. isolates HY022, HR023-1 and HR023-1on PDA, incubated for 5 days at room temperature (28-32°C).

Figure 7 Dual culture assay between antagonist Trichoderma sp. and Curvularia spp. isolate HC011, HC022 andNigrospora sp. isolate HB023 on PDA, incubated for 5 days at room temperature (28-32°C).

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

733


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ปผลการทดลอง จากการแยกเชื ้อราสาเหตุโรคใบจุดของกล้ วยหอมทองด้ วยวิธี tissue transplanting technique และนามาทดสอบ ความสามารถในการเกิดโรคบนใบกล้ วยหอมทองโดยวิธีทาแผลในห้ องปฏิบตั ิการ พบว่า มีเชื ้อรา 6 ไอโซเลทที่ก่อให้ เกิดโรค คือ Alternaria spp. จานวน3 ไอโซเลท (HY022, HR023-1 และ HR023-3) เชื ้อรา Curvularia spp. จานวน 2 ไอโซเลท (HC011และ HC022) และเชื ้อรา Nigrospora sp.จานวน 1 ไอโซเลท (HB023) โดยเชื ้อราAlternaria sp.HR023-1ทาให้ เกิด โรครุนแรงที่สดุ รองลงมา คือ Curvularia sp. HC022 และจากการทดสอบประสิทธิภาพของเชื ้อราTrichoderma sp. ในการ ยับยังการเจริ ้ ญของเชื ้อราสาเหตุโรคโดยวิธี dual cultureพบว่า เชื ้อรา Trichoderma sp. สามารถยับยังการเจริ ้ ญของเชื ้อราทุก ไอโซเลทได้ มากกว่า80% ยกเว้ น Alternaria sp. HR023-1ซึง่ ถูกยับยังน้ ้ อยที่สดุ (47.2%) ดังนันจึ ้ งควรทาการทดลองปลูกเชื ้อ โดยไม่ทาแผล และทดสอบประสิทธิภาพของเชื ้อรา Trichoderma sp. ในแปลงทดลองและในสภาพไร่ตอ่ ไป

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณคุณสุรวิชและคุณกรชินนั ท์ปณ ุ ธนาลัยเกษตรกรเจ้ าของสวนกล้ วยหอมทองอินทรี ย์ จังหวัดสระบุรี ที่อนุเคราะห์ให้ ใช้ พื ้นที่ในการสารวจโรคและเก็บตัวอย่าง

อาเภอหนองแค

เอกสารอ้ างอิง จริ ยา วิสิทธิ์พานิช. 2553. รายงานวิจยั โครงการการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตกล้ วยไข่คณ ุ ภาพเพื่อการส่งออก. http://elibrary.trf.or.th/project_content.asp?PJID=RDG5020048, 15 สิงหาคม 2558. จิตรา กิตติโมรากุล วสันณ์ เพชรรัตน์ และ เสมอใจ ชื่นจิตต์. 2557. การควบคุมเชื ้อCurvularia oryzaeสาเหตุโรคใบจุดในปาล์มน ้ามัน โดยการใช้ สารเคมีและชีววิธี. วารสารพืชศาสตร์ สงขลานคริ นทร์ . 2557: 39-47. จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไลอินทนูและถวัลย์ค้ มุ ช้ าง. 2544. ประสิทธิภาพของเชื ้อราTrichoderma harzianum สูตรสาเร็จต่างๆในการควบคุมโรค โคนเน่าของถัว่ ฝักยาวที่เกิดจากเชื ้อราSclerotium rolfsii. การประชุมทางวิชาการประจาปี ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครัง้ ที่ 39. กรุงเทพฯ. 236-242. ยอดชาย นิ่มรักษา. 2544. การควบคุมโรคใบจุดและใบไหม้ ของสตรอเบอร์ รี่โดยใช้ จลุ ินทรี ย์ปฏิปักษ์ . วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (โรค พืช). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สายทอง แก้ วฉาย. 2555. การใช้ ไตรโคเดอร์ มาในการควบคุมโรคพืช. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนคริ นทร์ . 2555:108-123. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2556. สถิติการเกษตรของประเทศไทย. http://www.oae.go.th/download/download_journal/yearbook56.pdf, 9 สิงหาคม 2558. Ambuse, G.M., V. S. Chatage and U. N. Bhale. 2012. Influence of Trichoderma spp. against Alternaria tenuissima inciting leaf spot of Rumexa cetosa L. Bioscience Discovery 3(2): 259 -262. Alam, M., A. Sattar, PK. Chaudhuri, K.K. Janardhanan and A. Husain.1997. Isolation, purification and characterization of a phytotoxin produced by Curvularia andropogonis. Plant Science 123: 47-55. Alvindia, D.G. and K.T. Natsuaki. 2009. Biocontrol activities of Bacillus amyloliquefaciens DGA14 isolated from banana fruit surface against banana crown rot-causing pathogens. Crop Protection 28: 236–242. Fu, G., S. Huang, Y. Ye, Y. Wu, Z. Cen and S. Lin. 2010. Characterization of a bacterial biocontrol strain B106 and its efficacy in controlling banana leaf spot and post-harvest anthracnose diseases. Biological Control 55: 1–10. Gveroska, B., and J. Ziberoski. 2012. Trichoderma harzianum as a biocontrol agent against Alternaria alternata on tobacco. Applied Technologies & Innovations 7:67-76. Harteveld, D.O.C., O.A. Akinsanmi, S. Dullahideand A. Drenth. 2014. Sources and seasonal dynamics of Alternaria inoculum associated with leaf blotch and fruit spot of apples. Crop Protection 59: 35-42. Sneha, R. and S., Prasad. 2014. Antagonistic of Trichoderma aureoviride against Fusariumsolani and Cuvularia clavata. Journal of international academic research for multidisciplinary 2: 422-427. Laemmlen, F. 2001. Alternaria Diseases.University of California Agriculture and Natural Resource.http://anrcatalog.ucanr.edu/pdf/8040.pdf. 18 August 2015. Levetin, E. 2015. Basic Aeroallergen Course Fungal Spore Morphology. https://aaaai.confex.com/aaaai/2013/recordingredirect.cgi/oid/Handout296/Spore%20Morphology%20Handout.pdf. 18 August 2015. Meredith. D.S. 1962.Some fungi on decaying banana leaves in Jamaica. Trans. Brit. mycol. Soc. 45 (3), 335-347. Thangavelu, R., P. Ganga Devi, M. Gopi and M.M. Mustaffa. 2013. Management of Eumusae leaf spot disease of banana caused by Mycosphaerella eumusae with Zimmu (Allium sativum x Allium cepa) leaf extract. Crop Protection 46: 100-105. Queensland Government.2014. Eumusae Leaf Spot; Plant Health Australia.Fact Sheet. http://www.planthealthaustralia.com.au/, 15 August 2015. 734

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อิทธิพลของนา้ คัน้ ชุมเห็ดเทศ (Cassia alata L.) ต่ อเชือ้ ราปฏิปักษ์ และเชือ้ ราสาเหตุโรคพืชผัก Effect of Pressed Juice of Ringworm Bush (Cassia alata L.) on Antagonistic Fungi and Plant Pathogenic Fungi Causing Vegetable Diseases สุริยสิทธิ์ สมนึก1 ไพลิน เนินหาด1 ทิพประภา เมฆพัฒน์ 1 และถนิมนันต์ เจนอักษร1 Suriyasit Somnuek1 Pailin Noenhat1 Thippapha Mekkaphat1 and Tanimnun Jaenaksorn1

บทคัดย่ อ ในการควบคุมโรคพืชโดยใช้ วิธีบูรณาการร่ วมระหว่างสารสกัดจากพืชและเชือ้ ราปฏิปักษ์ (Biocontrol agents; BCAs) ควรทาการประเมินอิทธิ พลของสารสกัดว่ามีพิษต่อการเจริ ญของเชือ้ ราปฏิปักษ์ หรื อไม่ รวมทังมี ้ ผลในการยับยังการ ้ เจริ ญของเชื ้อราสาเหตุโรคพืชเพียงใด ดังนันวั ้ ตถุประสงค์ของการศึกษานี ้เพื่อประเมินอิทธิพลของน ้าคันใบและน ้ ้าคันดอกของ ้ ชุมเห็ดเทศ (Cassia alata L.) ที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ (5000, 10000 และ 20000 ppm) ต่อการเจริ ญทางเส้ นใยและ การงอกของสปอร์ ของเชื ้อรา Trichoderma spp. จานวน 5 ไอโซเลท และเชื ้อราสาเหตุโรคผัก จานวน 5 สกุล ได้ แก่ Alternaria sp., Curvularia sp., Fusarium sp., Pestalotia sp. และ Rhizoctonia sp. จากนันน ้ าเชื ้อรา Trichoderma spp. ที่ทนทานต่อน ้า คันข้ ้ างต้ นและเชื ้อรา Fusarium oxysporum F221-B (เชื ้อราช่วยส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตของพืช ; PGPF) มาทดสอบความ ทนทานต่อน ้าคันที ้ ่ระดับความเข้ มข้ นสูงขึ ้น 40000 ppm ผลการทดลองพบว่า น ้าคันใบและน ้ ้าคันดอกในทุ ้ กความเข้ มข้ นไม่มี ผลต่อการเจริ ญของเชื ้อรา Trichoderma spp. ในทุกไอโซเลท ในขณะที่น ้าคันดั ้ งกล่าวมีผลยับยังการเจริ ้ ญทางเส้ นใยของเชื ้อ ราสาเหตุโรคผัก (1.4-20.9 เปอร์ เซ็นต์) และการงอกของสปอร์ (64-94เปอร์ เซ็นต์) โดยประสิทธิภาพของน ้าคันใบให้ ้ ผลยับยัง้ ดีกว่าน ้าคันดอก ้ และยิ่งเพิ่มความเข้ มข้ นของน ้าคันให้ ้ สงู ขึ ้นจะยิ่งเพิ่มเปอร์ เซ็นต์การยับยังให้ ้ มากขึ ้น และเชื ้อรา Trichoderma spp. มีความทนทานต่อน ้าคันถึ ้ งระดับความเข้ มข้ น 40000 ppm ในขณะที่ เชื ้อรา F. oxysporum (F221-B) สามารถทนทานได้ ที่ ระดับความเข้ มข้ น 10000 ppm เท่านัน้ คาสาคัญ : Cassia alata L. ไตรโคเดอร์ มา ชุมเห็ดเทศ เชื ้อราสาเหตุโรคพืช

Abstract Before using plant extracts integrated with biological control agents (BCAs) to control plant diseases, it is necessary to determine whether such plant extracts are toxic to BCAs or not as well as to assess their efficacy against plant pathogens. Therefore, aim of our study was to investigate the in vitro effect of freshly pressed juice of ringworm bush at different concentrations (5000, 10000 and 20000 ppm) on mycelial growth and spore germination of 5 isolates of antagonistic Trichoderma spp. and 5 genera of fungi, the causative agents of vegetable diseases including Alternaria sp., Curvularia sp., Fusarium sp., Pestalotia sp. and Rhizoctonia sp. Furthermore, the selected tolerant isolates of Trichoderma spp. and Fusarium oxysporum F221-B (plant growth promoting fungus; PGPF) were further determined in order to obtain the promising tolerant isolates to the pressed juice with higher concentration at 40000 ppm. The results revealed that leaf and flower pressed juice at the tested concentrations were less or not toxic to either mycelial growth or spore germination of all isolates of Trichoderma spp. while the both of pressed juice showed efficiency of antifungal activities against mycelial growth of all fungal pathogens (in the range of 1.4-20.9 percent) and spore germination (in the range of 64-94 percent). The leaf pressed juice had more potential to inhibit the pathogen growth than that of flower pressed juice. Increasing concentration of the pressed juice, higher percentage inhibition of the pathogens has been presented. Moreover, it revealed that all isolates of Trichoderma spp. were tolerant to the pressed juice at higher concentration of 40000 ppm of the leaf pressed juice while F221-B could tolerate only at 10000 ppm. Keywords : Cassia alata L., Trichoderma spp., plant pathogenic fungi, Ringworm bush 1

ภาควิชาเทคโนโลโยการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

735


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา การบริโภคผักเพื่อสุขภาพนันนั ้ บเป็ นอีกหนึง่ ตัวเลือกที่กาลังได้ รับความสนใจเป็ นอับดับต้ นๆ ซึง่ ส่งผลให้ มีการเพาะปลูก ผักเป็ นจานวนมากเพื่อให้ เพียงพอต่อความต้ องการของตลาด แต่การปลูกพืชผักมักจะพบปั ญหาการเข้ าทาลายและการระบาด ของเชื ้อราที่เป็ นสาเหตุของโรคซึง่ สร้ างความเสียหายให้ แก่พืชผักเป็ นอย่างมาก ตัวอย่างเชื ้อราที่เข้ าทาลายพืชผักที่สาคัญได้ แก่ เชื ้อ Alternaria sp. สาเหตุโรคใบจุดของคะน้ า กวางตุ้ง กะหล่า (Pattanmahakul and Strange,1999) เชื ้อ Fusarium sp. สาเหตุโรคเหี่ยวและเชื ้อ Curvularia sp. สาเหตุโรคใบจุดของผักสลัด (ธิติ และคณะ, 2556) รวมทังเชื ้ ้อ Rhizoctonia sp. ที่เข้ า ทาลายพืชผักได้ ตงแต่ ั ้ เริ่มปลูก (จิระเดช, 2547) ดังนันเกษตรกรจึ ้ งต้ องหาวิธีในการป้องกันกาจัดโรคที่เกิดจากเชื ้อราดังกล่าวซึง่ วิธีที่ได้ รับความนิยมและได้ ผลอย่างรวดเร็ว คือการใช้ สารเคมีในการป้องกันกาจัดเชื ้อราสาเหตุโรค แต่อย่างไรก็ตามวิธีนี ้ก็ยงั คง แฝงอันตรายจากสารเคมีที่ตกค้ างในพืชผักเหล่านัน้ ซึง่ ส่งผลเสียต่อเกษตรกรผู้บริโภคและสิ่งแวดล้ อมมากกว่าประโยชน์ที่จะ ได้ รับ และด้ วยเหตุนี ้ จึงมีรายงานการวิจยั เพื่อลดและทดแทนการใช้ สารเคมีปอ้ งกันกาจัดโรคพืช โดยนาการควบคุมโรคพืชด้ วย ชีววิธีมาใช้ ได้ แก่ การใช้ เชื ้อรา Trichoderma sp. เพื่อควบคุมโรคเหี่ยวในผักสลัดที่มีสาเหตุจาก F. oxysporum f. sp. lactucae ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และยังสามารถควบคุมเชื ้อ Alternaria sp. ได้ อีกด้ วย (ธิติ และคณะ, 2556) และ Jat and Agalave (2013) ได้ รายงานว่าการใช้ Trichoderma harzianum และ T. Viride สามารถยับยังการเจริ ้ ญของเชื ้อราสาเหตุโรคของเมล็ด พืชน ้ามัน (Aspergillus flavus, Alternaria alternata, Curvularia lunata, F. moniliforme, F. oxysporum, Rhizopus nigricans, Penicillium notatum และ P. chrysogenum) ได้ เป็ นอย่างดี นอกจากการใช้ จลุ ินทรี ย์ปฏิปักษ์ ในการควบคุมโรค พืชแล้ วยังมีการนาสารสกัดจากพืชมาใช้ และได้ ผลดีเช่นกัน เช่นการใช้ ชมุ เห็ดเทศ (Ringworm bush: Cassia alata) ที่เป็ น วัชพืชและพบได้ ทวั่ ไปในที่ชื ้นแฉะ อีกทังยั ้ งเป็ นพืชสมุนไพร รักษาโรคคนและโรคพืชได้ (Abubacker et al., 2008) ตัวอย่างเช่น การศึกษาของ พรประพา (2546) พบว่าสารสกัดจากใบชุมเห็ดเทศสามารถยับยังการเจริ ้ ญของเชื ้อ Pythium aphanidermatum, Phytophthora parasitica และ F. oxysporum ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี ้การใช้ ดอกจากชุมเห็ดเทศบดละเอียด สามารถควบคุมเชื ้อ As. flavus, As. parasitica, F. oxysporum และ Helminthosporium oryzae ได้ เป็ นอย่างดี (Abubacker et al., 2008) ซึง่ การใช้ จลุ ินทรี ย์ปฏิปักษ์ และสารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมเชื ้อราสาเหตุโรคพืชนันมี ้ ความปลอดภัย ต่อผู้บริโภคและสภาพแวดล้ อมสาหรับสารสกัดจากพืชที่จะนามาใช้ นนั ้ ผู้วิจยั มีแนวความคิดในการใช้ วิธีคนั ้ มาแทนวิธีการสกัด สารจากพืช เนื่องจากการคันเป็ ้ นวิธีที่ง่ายและสะดวกในการเตรี ยมและหากพบว่ามีประสิทธิภาพดี จะได้ แนะนาให้ เกษตรกร นาไปใช้ ประโยชน์จากน ้าคันได้ ้ อีกทางหนึง่ โดยทัว่ ไป แนวทางการควบคุมโรคพืชเพื่อให้ ได้ ผลดีที่สดุ ควรใช้ หลายวิธีร่วมกันและ ก่อนจะนาน ้าคันจากพื ้ ชมาใช้ ร่วมกับเชื ้อราปฏิปักษ์ น ้าคันจากพื ้ ชนัน้ ควรมีประสิทธิภาพในการยับยังเชื ้ ้อราสาเหตุโรคพืชได้ ดี และไม่ควรมีผลยับยังต่ ้ อการเจริ ญของเชื ้อราปฏิปักษ์ เลย หรื อมีผลยับยังน้ ้ อยมาก และกล่าวอีกนัยหนึง่ คือ เชื ้อราปฏิปักษ์ ที่จะ นามาใช้ ร่วมกับน ้าคันจากพื ้ ชควรมีคณ ุ สมบัติทนทานต่อสารจากพืชนันๆ ้ ในการทดลองนี ้จึงมุง่ ประเด็นเบื ้องต้ นถึงการศึกษาความเป็ นไปได้ ของการนาน ้าคันชุ ้ มเห็ดเทศมาใช้ ประโยชน์ และ อิทธิพลของน ้าคันจากใบและดอกของพื ้ ชดังกล่าวที่ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ ต่อการยับยัง้ เจริญทางเส้ นใยและการงอกของ สปอร์ ของเชื ้อราปฏิปักษ์ และเชื ้อราสาเหตุโรคพืชผักที่สาคัญโดยเน้ นประเด็นความทนทานของเชื ้อราปฏิปักษ์ ตอ่ น ้าคันเป็ ้ น หลัก เพื่อนาข้ อมูลไปใช้ พิจารณาถึงความเป็ นไปได้ ในการป้องกันกาจัดโรคพืชผักต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ เชือ้ ราปฏิปักษ์ และเชือ้ ราสาเหตุโรคพืชผัก เชื ้อราปฏิปักษ์ ที่ใช้ ในการทดลองครัง้ นี ้คือ เชื ้อรา Trichoderma spp. จานวน 5 ไอโซเลท ได้ แก่ T114Kb, T121Kh, T112Sc, T114So และ T.com ที่แยกได้ จากแหล่งต่างๆ ในประเทศไทย (Somneuk et al., 2015) และ สาหรับเชื ้อราสาเหตุโรค พืชผัก ใช้ เชื ้อรา 5 ชนิด คือ Alternaria sp. และ Curvularia sp. (สาเหตุโรคใบจุด), Fusarium sp. (สาเหตุโรคเหี่ยว), Pestalotia sp. และ Rhizoctonia sp. (สาเหตุโรคใบไหม้ ) ซึ่งได้ รับอนุเคราะห์จากห้ องปฏิบัติการโรคพืช คณะ เทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง การเตรี ยมนา้ คัน้ จากใบและดอกของชุมเห็ดเทศ นาใบสดของชุมเห็ดเทศ ล้ างให้ สะอาดด้ วยน ้านึ่งฆ่าเชื ้อ ผึ่งให้ แห้ ง แล้ วนามาปั่ นด้ วยเครื่ องปั่ นไฟฟ้าและคั ้นผ่าน ผ้ าขาวบาง จากนันน ้ าน ้าคันที ้ ่ได้ มาปั่ นเหวี่ยงด้ วยเครื่ อง centrifuge ที่ความเร็ว 7,000 รอบ/นาที เป็ นเวลา 40 นาที จานวน 2 736

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ครัง้ และนาส่วนใสที่ได้ กรองผ่านกระดาษกรอง Whatman เบอร์ 1 และ syringe micro filter (minisart sartorius stedim biotech) ที่มีขนาดรู กรอง 0.2 ไมโครเมตร เพื่อแยกตะกอนพืชและทาให้ ปราศจากเชื ้อปนเปื อ้ น สาหรับดอกของชุมเห็ดเทศเตรี ยม เช่นเดียวกับใบสด เพื่อหาแนวทางการบูรณาการใช้ สารที่ได้ จากพืชร่ วมกับเชื อ้ ราปฏิปักษ์ จึงทาการทดสอบอิทธิ พลของนา้ คัน้ ของ ชุมเห็ดเทศต่อการเจริ ญของเชื ้อราปฏิปักษ์ และเชื ้อราราสาเหตุโรคพืช จากนันท ้ าการคัดเลือกเชื ้อราปฏิปักษ์ ไปทดสอบความ ทนทานต่อความเข้ มข้ นของน ้าคันชุ ้ มเห็ดเทศ โดยมีการทดลอง ดังนี ้ 1. การศึกษาอิทธิพลของนา้ คัน้ จากใบและดอกของชุมเห็ดเทศต่ อการเจริญของเชือ้ รา Trichoderma spp. โดยการทดลองจะแบ่งออกเป็ น 2 ขันตอนดั ้ งนี ้ 1.1 ศึกษาอิทธิพลของน ้าคันใบและดอกของชุ ้ มเห็ดเทศต่อการเจริ ญทางเส้ นใยของเชื ้อรา Trichoderma spp. ด้ วยวิธี Poisoned food assayและวางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) จานวน 5 ซ ้าโดยการนา น ้าคันใบและน ้ ้าคันดอกชุ ้ มเห็ดเทศที่เตรี ยมไว้ ผสมกับอาหารเลี ้ยงเชื ้อ Potato dextrose agar (PDA) ให้ ได้ ความเข้ มข้ น 5000,10000 และ 20000 ppm และเทลงจานอาหารเลี ้ยงเชื ้อ จากนันน ้ าชิ ้นวุ้นที่ได้ จากการใช้ cork borer ขนาดเส้ นผ่าน ศูนย์กลาง 0.5 เซนติเมตร เจาะบริเวณขอบของโคโลนีของเชื ้อราทดสอบอายุ 3 วัน และย้ ายชิ ้นวุ้นเชื ้อราดังกล่าวทัง้ 5 ไอโซเลท ไปวางบนผิวอาหารเลี ้ยงเชื ้อที่เตรี ยมไว้ สาหรับในชุดควบคุม (Control) ให้ เลี ้ยงบนอาหาร PDA ปกติแทน บันทึกผลการทดลอง โดยวัดขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางของโคโลนีเชือ้ ราทดสอบทุกวัน พร้ อมทัง้ คานวณค่าเปอร์ เซ็นต์การยับยัง้ การเจริ ญ (Growth Inhibition : GI) ในวันสุดท้ าย ตามสูตร GI = (R1-R2)/R1×100 โดย R1 = ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางของโคโลนีเชื ้อราทดสอบในชุด ควบคุม และ R2 = ขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลางของโคโลนีเชื ้อราทดสอบในอาหารผสมน ้าคันในแต่ ้ ละความเข้ มข้ น 1.2 ศึกษาอิทธิพลของน ้าคันใบและดอกของชุ ้ มเห็ดเทศต่อการงอกของสปอร์ ของเชื ้อรา Trichoderma spp. ด้ วยวิธี spore germination assay โดยการเตรี ยม spore suspension ของเชื ้อราดังกล่าวทัง้ 5 ไอโซเลท ให้ มีความเข้ มข้ นเท่ากับ 1x108 spore /ml จากนันผสม ้ spore suspension ของเชื ้อราทดสอบลงในหลอด microtube ปริ มาณ 1 มิลลิลิตร กับน ้าคันใบ ้ หรื อน ้าคันดอกของชุ ้ มเห็ดเทศ ปริ มาณ 1 มิลลิลิตร ให้ ได้ ความเข้ มข้ นของน ้าคัน้ 5000, 10000 และ 20000 ppm บ่มที่ อุณหภูมิห้อง สาหรับชุดควบคุมให้ ใช้ น ้านึ่งฆ่าเชื ้อแทนน ้าคัน้ บันทึกผลการทดลองโดยดูด spore suspension ลงในสไลด์หลุม เมื่อครบ 6, 12, 18 และ 24 ชัว่ โมง เพื่อนาไปส่องดูภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์ สังเกตการงอกของสปอร์ ของเชื ้อรา Trichoderma spp. จากนันท ้ าการคัดเลือกเชื ้อรา Trichoderma spp. เพื่อไปทาการทดสอบต่อในข้ อ 3 โดยพิจารณาจากผลการทดลอง ข้ อ 1.1 และ 1.2 เพื่อให้ ได้ เชื ้อรา Trichoderma spp. ที่ยงั คงความสามารถในการเจริ ญเติบโตได้ ดี ทังทางเส้ ้ นใยและการงอก ของสปอร์ บนอาหารเลี ้ยงเชื ้อผสมน ้าคันใบและดอกชุ ้ มเห็ดเทศ 2. การศึกษาอิทธิพลของนา้ คัน้ จากใบและดอกของชุมเห็ดเทศต่ อการเจริญของเชือ้ ราสาเหตุโรคพืชผัก เมื่อทาการศึกษาอิทธิพลของน ้าคันของชุ ้ มเห็ดเทศทังสองส่ ้ วนต่อการเจริ ญของเชื ้อรา Trichoderma spp. แล้ ว จึงทา การทดสอบอิทธิพลของน ้าคันดั ้ งกล่าวต่อการเจริ ญทางเส้ นใยและการงอกของสปอร์ เชื อ้ ราสาเหตุโรคพืชผัก โดยวางแผนการ ทดลองทางสถิติและดาเนินการทดลองเหมือนข้ อ 1 แต่เปลี่ยนจากเชื ้อรา Trichoderma spp. เป็ นเชื ้อราสาเหตุโรคพืชผักแทน 3. การศึกษาความทนทานของเชือ้ ราปฏิปักษ์ ต่อระดับความเข้ มข้ นของนา้ คัน้ จากใบและดอกของชุมเห็ดเทศ การทดลองนี ้ เป็ นการศึกษาต่อยอดจากการทดลองที่ 1 เพื่อทดสอบความทนทานของเชื ้อราปฏิปักษ์ ต่อน ้าคันจากใบ ้ และดอกของชุมเห็ดเทศ ว่าสามารถทนทานสูงสุดเพียงใด โดยใช้ วิธี poisoned food assay วางแผนการทดลองทางสถิติ เหมือนดังข้ อที่ 1 และเพิ่มความเข้ มข้ นของน ้าคันใบและน ้ า้ คันดอกของชุ ้ มเห็ดเทศอี กหนึ่งระดับ (10000, 20000 และ 40000 ppm) สาหรับเชื ้อราปฏิปักษ์ ที่นามาทดสอบ คือ Trichoderma spp. ที่คดั เลือกมาจากการทดลองที่ 1 ที่น ้าคันใบและ ้ น ้าคันดอกไม่ ้ มีผลต่อการเจริญทางเส้ นใยและการงอกของสปอร์ ของเชื ้อราดังกล่าว นอกจากนี ้ ยังนาเชือ้ รา non-pathogenic Fusarium oxysporum F221-B ซึ่งเป็ นเชือ้ ราที่ช่วยส่งเสริ มการ เจริ ญเติบโตของพืช (plant growth promoting fungus; PGPF) (ธิติ และคณะ, 2556) และสามารถยับยังเชื ้ ้อราสาเหตุโรคพืช ได้ หลายชนิด (Thongkumngam et al., อยู่ระหว่างการตีพิมพ์) ที่มีแนวโน้ มที่จะนาไปใช้ ร่วมกับ น ้าคันดั ้ งกล่าว มาทาการ ทดสอบเพิ่มด้ วย

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

737


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. ผลการศึกษาอิทธิพลของนา้ คัน้ จากใบและดอกของชุมเห็ดเทศต่ อการเจริญของเชือ้ รา Trichoderma spp. จากการศึกษาอิทธิพลของน ้าคันใบและน ้ ้าคันดอกชุ ้ มเห็ดเทศ จานวน 3 ความเข้ มข้ น (5000, 10000 และ 20000 ppm) ต่อการเจริญทางเส้ นใยและการงอกของสปอร์ ของเชื ้อรา Trichoderma spp. 5 ไอโซเลท ในสภาพห้ องปฏิบตั ิการ โดยวิธี poisoned food assay น ้าคันใบในทุ ้ กความเข้ มข้ นสามารถชะลอการเจริญทางเส้ นใยของเชื ้อรา Trichoderma spp. ทุกไอโซ เลทได้ อย่างมีความแตกต่างกันทางสถิติ หลังจากปลูกเชื ้อเพียง 1 วัน ยกเว้ น T.com แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อสิ ้นสุดการทดลองที่ 3 วันหลังการปลูกเชื ้อน ้าคันใบในทุ ้ กความเข้ มข้ นไม่มีผลในการยับยังการเจริ ้ ญของเชื ้อรา Trichoderma spp. ในทุกไอโซเลทเลย ยกเว้ น T112Sc กล่าวคือ เชื ้อรา Trichoderma spp. สามารถเจริญเต็มจานอาหารที่ผสมน ้าคันใบทุ ้ กระดับได้ โดยไม่แตกต่าง ทางสถิติกบั ชุดควบคุม สาหรับไอโซเลท T112Sc พบว่าในวันที่ 4 วันหลังการปลูกเชื ้อเชื ้อราดังกล่าวยังคงสามารถเจริญบน อาหารเลี ้ยงเชื ้อผสมน ้าคันต่ ้ อไปได้ และไม่แตกต่างจากชุดควบคุมเช่นกันส่วนการทดสอบน ้าคันดอกชุ ้ มเห็ดเทศ ผลการทดสอบ เป็ นไปในทิศทางเดียวกันกับน ้าคันใบชุ ้ มเห็ดเทศ คือ ทุกความเข้ มข้ นของน ้าคันดอกชุ ้ มเห็ดเทศไม่มีผลต่อการเจริญทางเส้ นใย ของเชื ้อรา Trichoderma spp. ทุกไอโซเลท (Table 1, Figure 1 และ Figure 3A) สาหรับการทดสอบการงอกของสปอร์ ของเชื ้อรา Trichoderma spp. ในน ้าคันใบและดอกชุ ้ มเห็ดเทศ พบว่า เมื่อ สิ ้นสุดการทดลอง น ้าคันดั ้ งกล่าวทุกความเข้ มข้ นที่ทดสอบ ไม่มีผลในการยับยังการงอกของสปอร์ ้ เชื ้อรา Trichoderma spp. และไม่แตกต่างทางสถิติเมื่อเปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม (Table 1, Figure 1 และ Figure 3A) จากผลการทดลองข้ างต้ น พบว่า สอดคล้ องกับรายงานของพรประพา (2546) ที่ระบุเช่นกันว่าชุมเห็ดเทศ (แต่เป็ น รูปแบบสารสกัดความเข้ มข้ น 1000 ppm โดยมี น ้า เฮกเซนและเมทธานอลเป็ นตัวทาละลาย) ไม่สง่ ผลต่อการเจริ ญทางเส้ นใย และการสร้ างสปอร์ ของเชื ้อรา Trichoderma sp. นอกจากนี ้ยังมีการรายงานว่า เชื ้อรา Trichoderma sp. ทนทานต่อสารสกัด สมุนไพรอื่นๆ ได้ เช่น สาบเสือ ยี่หร่า และตะไคร้ (Omorusi et al., 2014) จากผลการทดลองนี ้ แสดงให้ เห็นว่า เชื ้อรา Trichoderma sp. ทัง้ 5 ไอโซเลท มีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ นที่สามารถเจริญบน อาหารที่ผสมน ้าคันชุ ้ มเห็ดเทศได้ ดี ดังนันจึ ้ งคัดเลือกตัวแทนเชื ้อรา Trichoderma sp. จานวน 2 ไอโซเลท คือ T114Kb และ T112Sc ที่คดั แยกจากดินป่ า และ ดินนาที่ใช้ สารเคมี ตามลาดับไปทาการทดสอบในข้ อ 3 เนื่องจากเชื ้อราทัง้ 2 ไอโซเลท เป็ น สายพันธุ์ท้องถิ่น และยังไม่มีการพัฒนาในเชิงการค้ า ในขณะที่ T.com, T114So และ T121Kh เป็ นสายพันธุ์ที่แยกได้ จาก ผลิตภัณฑ์ทางการค้ า และพื ้นที่ที่ใช้ ผลิตภัณฑ์ทางการค้ า ซึง่ มีการพัฒนาสายพันธุ์แล้ ว 2. ผลการศึกษาอิทธิพลของนา้ คัน้ จากใบและดอกของชุมเห็ดเทศต่ อการเจริญของเชือ้ ราสาเหตุโรคพืชผัก จากการทดสอบน ้าคันใบและน ้ ้าคันดอกจากชุ ้ มเห็ดเทศ ที่ความเข้ มข้ น 3 ระดับ (5000, 10000, และ 20000 ppm) ต่อ การเจริญทางเส้ นใย และการงอกของสปอร์ ของเชื ้อราสาเหตุโรคพืชผัก 5 ชนิด โดยวิธี poisoned food assay พบว่า ในช่วงแรก (1-5 วันหลังการปลูกเชื ้อ) น ้าคันใบชุ ้ มเห็ดเทศทัง้ 3 ระดับความเข้ มข้ น สามารถยับยังการเจริ ้ ญทางเส้ นใยของเชื ้อราสาเหตุโรค พืชทุกชนิดได้ แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติ ยกเว้ น เชื ้อรา Fusarium sp. ซึง่ ไม่ถกู ยับยังเลย ้ และเมื่อสิ ้นสุดการทดลอง (13 วันหลังการปลูกเชื ้อ) พบว่าน ้าคันใบในทุ ้ กความเข้ มข้ นมีผลยับยังการเจริ ้ ญทางเส้ นใยของเชื ้อราทังหมดที ้ ่ทดสอบได้ โดยสามารถ ยับยังเชื ้ ้อรา Fusarium sp. ได้ ดีที่สดุ (7.3-18.2 เปอร์ เซ็นต์) รองลงมา คือ Alternaria sp., Curvularia sp., Pestalotia sp.และ Rhizoctonia sp. อยูใ่ นช่วง 6.7-8.0, 5.3-20.8, 9.7-17.2 และ 8.6-17.8เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ ซึง่ แตกต่างอย่างมีนยั สาคัญทาง สถิติเมื่อเปรี ยบเทียบกับชุดควบคุม โดยยิ่งเพิ่มระดับความเข้ มข้ นให้ สงู ขึ ้น ก็จะยิ่งควบคุมได้ มากขึ ้นสาหรับการทดสอบน ้าคัน้ ดอกชุมเห็ดเทศในช่วงแรกไม่สามารถยับยังการเจริ ้ ญของเชื ้อราสาเหตุโรคพืชได้ แต่เมื่อสิ ้นสุดการทดสอบ พบเปอร์ เซ็นต์การ ยับยังการเจริ ้ ญทางเส้ นใยของเชื ้อราทังหมดอยู ้ ่ในช่วง 5.4 -12.5เปอร์ เซ็นต์ โดยเชื ้อ Rhizoctonia sp. ถูกยับยังมากที ้ ่สดุ ที่ระดับ ความเข้ มข้ น 20000 ppm (Table 2, Figure 2 และ Figure 3B) สาหรับการทดสอบการงอกของสปอร์ ของเชื ้อราสาเหตุโรคพืชเมื่อสิ ้นสุดการทดสอบที่ 42 ชัว่ โมงหลังการปลูกเชื ้อ ทัง้ น ้าคันใบและดอกในทุ ้ กระดับความเข้ มข้ นสามารถยับยังการงอกของสปอร์ ้ ของเชื ้อราสาเหตุโรคพืชทังหมดได้ ้ โดยยับยังอย่ ้ างมี นัยสาคัญทางสถิติ อยูใ่ นช่วง 64-92 และ 75-94 เปอร์ เซ็นต์ (น ้าคันใบและน ้ ้าคันดอก ้ ตามลาดับ) และยังส่งผลทาให้ สปอร์ ของ เชื ้อรามีความผิดปกติไป คือ ผนังเซลล์ของสปอร์ เกิดความเสียหาย และไซโทพลาสซึมเกิดการรวมตัวกัน และบวมโดยเฉพาะที่ ความเข้ มข้ น 20000 ppm จะทาให้ เกิดความผิดปกติมากที่สดุ (Table 2, Figure 2 และ Figure 3B) จากผลการทดลองข้ างต้ น พบว่า น ้าคันชุ ้ มเห็ดเทศมีประสิทธิภาพในการยับยังการเจริ ้ ญทางเส้ นใยและการงอกของ สปอร์ ของเชื ้อราสาเหตุโรคแต่ละชนิดได้ แตกต่างกันและพบว่าสปอร์ ถกู ยับยังมากกว่ ้ าเส้ นใย ซึง่ น่าจะมีผลมาจากสปอร์ ของเชื ้อ ราดังกล่าวถูกแช่และสัมผัสโดยตรงกับน ้าคันชุ ้ มเห็ดเทศ จึงทาให้ มีโอกาสแสดงประสิทธิภาพที่ชดั เจนกว่าและจากผลการ 738

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ทดสอบประสิทธิภาพน ้าคันใบและน ้ ้าคันดอกข้ ้ างต้ น พบว่าสอดคล้ องกับรายงาน Lubaina and Murugan (2013) ที่รายงานว่า ใบชุมเห็ดเทศบดผสมน ้าที่ความเข้ มข้ น 10000 ppm สามารถยับยังการเจริ ้ ญทางเส้ นใยของเชื ้อ Alternaria sesame ได้ เป็ น อย่างดีโดยสามารถวัดบริเวณยับยังได้ ้ 17 มิลลิเมตร และยับยังการเกิ ้ ดโรคได้ 65.5 เปอร์ เซ็นต์ และ Abubacker et al. (2008) ที่ ได้ รายงานดอกชุมเห็ดเทศ (บดและผสมอาหารเลี ้ยงเชื ้อ PDA) ความเข้ มข้ น 10 และ 15 มิลลิกรัมต่อมิลลิลติ ร สามารถยับยังการ ้ เจริญทางเส้ นใยของเชื ้อรา As. flavus (NCBT 101), As. parasiticus (NCBT 128), F. oxysporum (NCBT 156) และ H. oryzae (NCBT 165) ได้ 100 เปอร์ เซ็นต์ ในขณะที่ พรประพา (2546) รายงายว่าสารที่ได้ จากใบชุมเห็ดเทศ (ในรูปแบบสารสกัด ความเข้ มข้ น 1,000 ppm) สามารถยับยังการสร้ ้ างสปอร์ ของ F. oxysporum, Pythium sp. และ Phytophthora sp. ได้ 70-100 เปอร์ เซ็นต์ Table 1 Effect of leaf and flower pressed juice of ringworm bush on mycelium growth and spore germination of Trichoderma spp. Diameter of colony (cm) GI (%) Spore germination (%) Concn (ppm) 1 day 3day 4 day 4 day 12 h 18 h 21h Control 2.76a1/ 9a 9a 0a 73 100 100a 5,000 2.65a 9a 9a 0a 70 100 100a T.com 10,000 2.57a 9a 9a 0a 67 96 100a 20,000 2.36a 9a 9a 0a 64 98 100a Control 4.59a 9a 9a 0a 69 100 100a 5,000 4.46ab 9a 9a 0a 70 100 100a T121Kh 10,000 4.3ab 9a 9a 0a 65 100 100a 20,000 4.19b 9a 9a 0a 59 95 100a Control 5.13a 9a 9a 0a 71 100 100a Leaf 5,000 4.14b 9a 9a 0a 68 100 100a pressed T114Kb 10,000 3.83c 9a 9a 0a 57 96 100a juice 20,000 3.11d 9a 9a 0a 63 93 100 Control 2.93a 9a 9a 0a 65 100 100a 5,000 2.4b 7.77b 9a 0a 70 89 100a T112Sc 10,000 2.31b 7.04bc 9a 0a 67 82 100a 20,000 2.19b 6.35c 9a 0a 69 94 100a Control 3.11a 9a 9a 0a 68 100 100a 5,000 2.75b 9a 9a 0a 72 100 100a T114So 10,000 2.26c 9a 9a 0a 59 87 100a 20,000 2.16c 9a 9a 0a 63 96 100a Control 2.7a 9a 9a 0a 73 100 100a 5,000 2.64a 9a 9a 0a 67 96 100a T.com 10,000 2.61a 9a 9a 0a 68 100 100a 20,000 2.6a 9a 9a 0a 70 98 100a Control 4.0a 9a 9a 0a 67 100 100a 5,000 4.02a 9a 9a 0a 59 97 100a T121Kh 10,000 3.8a 9a 9a 0a 55 89 100a 20,000 3.9a 9a 9a 0a 69 100 100a Control 3.35ab 9a 9a 0a 69 100 100a Flower 5,000 2.97b 9a 9a 0a 61 93 100a pressed T114Kb 10,000 3.45a 9a 9a 0a 66 100 100a juice 20,000 3.72a 9a 9a 0a 69 100 100a Control 2.86a 9a 9a 0a 72 100 100a 5,000 2.98a 9a 9a 0a 67 98 100a T112Sc 10,000 3.14a 9a 9a 0a 68 100 100a 20,000 2.76a 9a 9a 0a 62 97 100a Control 3.19a 9a 9a 0a 63 100 100a 5,000 3.09ab 9a 9a 0a 72 100 100a T114So 10,000 3.05ab 9a 9a 0a 58 96 100a 20,000 2.9b 9a 9a 0a 60 100 100a 1/ Values are means of five replicates. Values in each column within Trichoderma isolate followed by the same letter are not significantly different according to Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) (P≤ 0.05) 2/ Growth inhibition = (R1-R2)/R1×100: R1 is diameter of colony of Trichoderma spp. in control; R2 is diameter of colony of Trichoderma spp. within pressed juice of ringworm bush. Ringworm bush

Trichoderma spp.

Table 2 Effect of leaf and flower pressed juice of ringworm bush on mycelium growth and spore germination of plant pathogenic fungi การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

739


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Diameter of colony Spore germination (%) SGI3/ Concn 2/ GI (%) (ppm) 5 day 9 day 13 day 30 h 36 h 42 h (%) Control 3.92a1/ 6.75a 9.00a 0a 70 87 100 0a 5,000 3.51b 6.46b 8.32b 7.55b 17 20 25 75b Alternaria sp. 10,000 3.47b 6.04c 8.39b 6.77b 14 15 17 83c 20,000 3.38b 5.99c 8.28b 8b 10 12 13 87d Control 5.29a 9.00a 9.00a 0a 85 100 100 0a 5,000 4.96ab 8.52b 8.52b 5.33b 25 31 36 64b Curvularia sp. 10,000 4.69ab 8.04c 8.04c 10.66c 5 10 10 90c 20,000 4.85b 7.12d 7.12d 20.88d 7 5 8 92d Control 6.87a 9.00a 9.00a 0a 78 89 100 0a Leaf 5,000 6.69a 8.34ab 8.34ab 7.33ab 23 27 33 67b pressed Fusarium sp. 10,000 6.47a 7.58bc 7.58bc 15.77bc 20 25 29 71c juice 20,000 6.29a 7.36c 7.36c 18.22c 13 15 19 81d Control 6.77a 9.00a 9.00a 0a 69 100 100 0a 5,000 6.09b 8.12b 8.12b 9.77b 29 35 32 68b Pestalotia sp. 10,000 5.59c 7.63c 7.63c 15.22c 32 38 20 80c 20,000 5.56c 7.45c 7.45c 17.22c 12 10 9 91d Control 8.44a 9.00a 9.00a 0a 5,000 7.64b 8.22b 8.22b 8.66b Rhizoctoniasp. 10,000 7.14c 8.03c 8.03c 10.77c 20,000 6.76c 7.39c 7.39c 17.88c Control 3.9a 6.93a 9.00a 0a 60 79 100 0a 5,000 3.88a 6.81a 8.87ab 1.44ab 15 17 22 78b Alternaria sp. 10,000 3.86a 6.35a 8.50bc 5.55bc 6 9 11 89c 20,000 3.84a 6.30a 8.21c 8.77c 8 5 7 93d Control 5.52a 9.00a 9.00a 0a 80 92 100 0a 5,000 5.41a 8.38a 8.38a 6.88a 15 9 8 92b Curvularia sp. 10,000 5.30a 8.11a 8.11a 9.88a 8 5 9 91c 20,000 5.28a 8.03a 8.03a 10.77a 7 5 6 94d Control 7.46a 9.00a 9.00a 0a 73 90 100 0a Flower 5,000 7.33a 8.51b 8.51b 5.44b 12 14 18 82b pressed Fusarium sp. 10,000 7.41a 8.59b 8.59b 4.55b 5 9 12 88c juice 20,000 7.04a 8.38b 8.38b 6.88b 9 8 7 93d Control 7.4a 9.00a 9.00a 0a 53 86 100 0a 5,000 7.24ab 8.75ab 8.75ab 2.77ab 28 35 25 75b Pestalotia sp. 10,000 7.18ab 8.79ab 8.79ab 2.33ab 12 17 20 80c 20,000 6.94b 8.55b 8.55b 5b 6 10 13 87d Control 8.59a 9.00a 9.00a 0a 5,000 7.85a 8.10ab 8.10ab 10ab Rhizoctoniasp. 10,000 7.80a 8.01b 8.01b 11b 20,000 7.60a 7.87b 7.87b 12.55b 1/ Values are means of five replicates. Values in each column within pathogen followed by the same letter are not significantly different according to Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) (P≤ 0.05) 2/ Growth inhibition = (R1-R2)/R1×100: R1 is diameter of colony of pathogens in control; R2 is diameter of colony of pathogens withinpressed juice of ringworm bush. 3/ SGI = Spore germination inhibition Ringworm bush

740

Pathogen

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

T.com T121kh T114Kb T112Sc

T114So 5,000 ppm 10,000 ppm 20,000 ppm 5,000 ppm 10,000 ppm 20,000 ppm Leaf pressed juice Flower pressed juice Figure 1 Effect of leaf and flower pressed juice of ringworm bush on mycelium growth of Trichoderma spp. at 4 day after inoculation (DAI) Isolate

control

Alt. Cur. Fus.

Pes.

Rhi. Pathogen

5,000 ppm 10,000 ppm 20,000 ppm 5,000 ppm 10,000 ppm 20,000 ppm Leaf pressed juice Flower pressed juice Figure 2 Effect of leaf and flower pressed juice of ringworm bush on mycelium growth of plant pathogenic fungi at 13 DAI; Alt. = Alternaria sp., Cur. = Curvularia sp., Fus. = Fusarium sp., Pes. = Pestalotia sp. and Rhi. = Rhizoctonia sp. control

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

741


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 3 Effect of 20000 ppm of leaf and flower pressed juice of ringworm bush on spore germination; A = Isolate Trichoderma spp. and B = plant pathogenic fungi at 42 h (Alt. = Alternaria sp., Cur. = Curvularia sp., Fus. = Fusarium sp., Pes. = Pestalotia sp. and Rhi. = Rhizoctonia sp.); 40x magnification 3. ผลการศึกษาความทนทานของเชือ้ ราปฏิปักษ์ ต่อระดับความเข้ มข้ นของนา้ คัน้ จากใบและดอกของชุมเห็ดเทศ จากการทดสอบความทนทานของเชื ้อรา Trichoderma spp. จานวน 2 ไอโซเลท (T114Kb และ T112Sc) และ เชื ้อรา non-pathogenic Fusarium oxysporum F221-B ต่อน ้าคันใบและน ้ ้าคันดอกชุ ้ มเห็ดเทศ ที่ระดับความเข้ มข้ น 10000, 20000 และ 40000 ppm โดยวิธี Poisoned food assay พบว่า การเจริญทางเส้ นใยของเชื ้อราปฏิปักษ์ ยงั คงเป็ นไปในทิศทาง เดียวกับการทดสอบข้ างต้ น คือ ช่วงแรกของการทดสอบ (1 วันหลังการปลูกเชื ้อ) น ้าคันทั ้ งใบและดอกมี ้ ผลชะลอการเจริญของ เชื ้อราไอโซเลท T114Kb, T112Sc และ F221-B ซึง่ แตกต่างทางสถิติจากชุดควบคุม แต่เมื่อสิ ้นสุดการทดลอง พบว่าไอโซเลท T114Kb และ T112Sc สามารถเจริญเต็มจานอาหารเลี ้ยงเชื ้อที่ผสมทังน ้ ้าคันใบและดอกที ้ ่ความเข้ มข้ น 10000 และ 20000 ppm (3 วันหลังปลูกเชื ้อ) และที่ความเข้ มข้ น 40000 ppm (5 วันหลังการปลูกเชื ้อ)ได้ และไม่แตกต่างทางสถิติเมื่อเทียบกับชุดควบคุม จากผลการทดลองดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่า เชื ้อรา Trichoderma spp. สามารถทนทานต่อน ้าคันใบและดอกของชุ ้ มเห็ดเทศได้ สาหรับเชื ้อราไอโซเลท F221-B สามารถทนทานต่อน ้าคันจากใบที ้ ่ระดับความเข้ มข้ น 10000 ppm และ น ้าคันจากดอก ้ ที่ระดับ ความเข้ มข้ น 20000 ppm ได้ เท่านัน้ (Table 3 และ Figure 4) และพบการรายงานความทนทานของเชื ้อรา Trichoderma spp. ต่อ สารเคมีที่ใช้ ในการป้องกันกาจัดศัตรูพืชได้ เช่น Chakravarthy et al. (2011) รายงานว่า Trichoderma sp. จานวน 20 ไอโซเลท สามารถทนทานสารกาจัดแมลงที่สกัดจากพืช (Azadirachtin, Monocrotophos และ Endosulfan) ได้ โดยพบการเจริญทาง เส้ นใยสูงถึง 66.7 – 97.8 เปอร์ เซ็นต์ และ Chaparro et al. (2011) รายงานว่า เชื ้อรา T. harzianum จานวน 2 ไอโซเลท และ T. asperelloides จานวน 3 ไอโซเลท สามารถทนทานต่อสารเคมีปอ้ งกันกาจัดเชื ้อรา Captan, Thiabendazol และ CaptanCarboxin ที่ระดับ 5-2000 ppm และยังมีรายงานของ Tapwal et al. (2012) พบว่า T. viride สามารถทนทานต่อ Blue copper และ Captaf (Captafol) ที่ระดับความเข้ มข้ น 50-300 ppm นอกจากนี ้ เชื ้อรา Trichoderma sp. สามารถทนทานต่อ สาร crude oil, naphthalene, phenanthrene (250-3000 mg L-1) and benzo[a]pyrene (10-100 mg L-1) ได้ เป็ นอย่างดี (Rosalba et al., 2012)

742

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Effect of leaf and flower pressed juice of ringworm bush tolerance on mycelium growth of antagonistic fungi Diameter of colony (cm) Concn GI2/ (%) (ppm) 1day 3day 5 day Control 4.9a1/ 9a 9a 0a 10,000 3.81b 9a 9a 0a T114Kb 20,000 3.03c 9a 9a 0a 40,000 2.61d 7.7b 9a 0a Control 4.4a 9a 9a 0a Leaf 10,000 4.2b 9a 9a 0a pressed T112Sc 20,000 4.06c 9a 9a 0a juice 40,000 3.81d 7.86b 9a 0a Control 3.11a 6.43aa 9a 0a 10,000 2.1a 5.36b 9a 0a F221-B 20,000 1.81b 4.85c 8.16b 9.33b 40,000 1.06d 3.31d 6.76c 24.88c Control 4.7a 9a 9a 0a 10,000 4.5b 9a 9a 0a T114Kb 20,000 4.4bc 9a 9a 0a 40,000 4.26c 9a 9a 0a Control 4.38a 9a 9a 0a Flower 10,000 4.23b 9a 9a 0a pressed T112Sc 20,000 4.19b 9a 9a 0a juice 40,000 4.0c 9a 9a 0a Control 2.26a 6.53a 9a 0a 10,000 2.16a 6.36b 9a 0a F221-B 20,000 2.03b 6.28b 9a 0a 40,000 1.93b 6.15c 8.43a 6.3a 1/ Values are means of five replicates. Values in each column within antagonistic fungi followed by the same letter are not significantly different according to Duncan’s Multiple Range Test (DMRT) (P≤ 0.05) 2/ Growth inhibition = (R1-R2)/R1×100: R1 is diameter of colony of antagonistic fungi in control; R2 is diameter of colony of antagonistic fungi within pressed juice of ringworm bush. Ringworm bush

Antagonistic fungi.

T114Kb T112Sc F221-B Antagonist

control

10,000 ppm 20,000 ppm 40,000 ppm 10,000 ppm 20,000 ppm 40,000 ppm

Leaf pressed juice

Flower pressed juice

Figure 4 Effect of fresh leaf and flower pressed juice of ringworm bush tolerance on mycelium growth of antagonistic fungi

สรุ ป จากแนวความคิดของคณะผู้วิจยั ในการนาน ้าคันใบและน ้ ้าคันดอกชุ ้ มเห็ดเทศมาใช้ ทดแทนสารสกัดจากพืชดังกล่าว เพื่อ ใช้ ในการป้องกันกาจัดโรคพืชผักนัน้ มีแนวทางความเป็ นไปได้ ที่จะนามาใช้ ได้ ในระดับหนึง่ แต่ยงั คงพบประสิทธิภาพของน ้าคันที ้ ่ ไม่สงู มากนักกล่าวคือ น ้าคันชุ ้ มเห็ดเทศที่ทดสอบมีผลยับยังการเจริ ้ ญของเชื ้อราสาเหตุโรคพืชผักทัง้ 5 ชนิด (Alternaria sp., Curvularia sp., Fusarium sp., Pestalotia sp. และ Rhizoctonia sp.)ได้ โดยน ้าคันชุ ้ มเห็ดเทศสามารถยับยังการเจริ ้ ญทางเส้ นใย ของเชื ้อราสาเหตุโรคพืชผัก อยู่ในช่วง 6.8-20.9 เปอร์ เซ็นต์ และสามารถยับยังการงอกของสปอร์ ้ เชื ้อราทดสอบทัง้ 4 ชนิด อยู่ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

743


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ในช่วง 64-94 เปอร์ เซ็นต์ แต่สาหรับการทดสอบอิทธิพลของน ้าคันดั ้ งกล่าวต่อการเจริ ญของเชื ้อราปฏิปักษ์ พบว่า ผลการทดลอง เป็ นไปตามที่คาดหวัง คือ น ้าคันไม่ ้ มีผลยับยังการเจริ ้ ญทางเส้ นใยและการงอกของสปอร์ ของเชื ้อรา Trichoderma spp. หรื ออีกนัย หนึง่ คือ เชื ้อรา Trichoderma spp. สามารถทนทานต่อระดับความเข้ มข้ นของน ้าคันได้ ้ ถึง 40000 ppm ส่วนเชื ้อรา F. oxysporum F221-B สามารถทนทานต่อระดับน ้าคันได้ ้ เพียง 10000 – 20000 ppm เท่านัน้ และจากที่กล่าวมา แสดงให้ เห็นว่า ถึงแม้ ประสิทธิภาพของการใช้ น ้าคันชุ ้ มเห็ดเทศเพียงอย่างเดียว ในการยับยังเชื ้ ้อราสาเหตุโรคพืชผักในสภาพห้ องปฏิบตั ิการไม่สงู มากนัก แต่น ้าคันดั ้ งกล่าวไม่มีผลต่อการเจริ ญของเชื ้อปฏิปักษ์ ดังนัน้ ควรนาน ้าคันชุ ้ มเห็ดเทศไปศึกษาต่อยอดสาหรับนามาใช้ ร่วมกับเชื ้อราปฏิปักษ์ ในสภาพห้ องปฏิบตั ิการก่อน และนาไปทดสอบในสภาพจริ ง เพื่อเป็ นแนวทางในการป้องกันกาจัดโรคพืชผัก อย่างบูรณาการและยัง่ ยืนต่อไป

กิตติกรรมประกาศ ขอบคุณคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง สาหรับอุปกรณ์ และ เครื่ องมือในการดาเนินงานวิจยั ครัง้ นี ้ และขอขอบคุณนายธิติ ทองคางาม สาหรับความอนุเคราะห์ เชื ้อรา non-pathogenic Fusarium oxysporum F221-B

เอกสารอ้ างอิง จิระเดช แจ่มสว่าง. 2547. การควบคุมโรคผักโดยชีววิธี. เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตร “การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธีในการปลูกผักระบบไม่ใช้ ดิน และภายในโรงเรื อน”. วันที่ 13 กุมภาพันธ์2547 ณ. อาคารเจ้ าคุณทหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ. ธิติ ทองคางาม พรหมมาศ คูหากาญจน์ และถนิมนันต์ เจนอักษร. 2556. การประเมินความสามารถในการเป็ นเชื ้อราปฏิปักษ์ ในสภาพ ห้ องปฏิบตั ิการของ Trichodermaไอโซเลท ต่อเชื ้อรา Fusarium oxysporum f. sp. lactucae สาเหตุโรคเหี่ยวของผักสลัดที่ปลูกใน ระบบไฮโดรโพนิกส์. วารสารเกษตรพระจอมเกล้ า 31 (3): 57-67. ธิติ ทองคางาม พรหมมาศ คูหากาญจน์ และถนิมนันต์ เจนอักษร. 2556. ประสิทธิภาพของเชื ้อรา Fusarium oxysporum (F 221-B) ในด้ านส่งเสริ ม การเจริ ญเติบโตของพืช 6 ชนิด ในระบบไฮโดรโปนิกส์ และลักษณะการเจริ ญของเชื ้อราบนอาหารเลี ้ยงเชื ้อ. การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ครัง้ ที่ 6. โรงแรมชลจันทร์ พัทยา รี สอร์ ท ชลบุรี. หน้ า 46-51. พรประพา คงตระกูล. 2546. การศึกษาศักยภาพการปลูกโรค และแนวทางการป้องกันกาจัดเชื ้อราสาเหตุโรคที่พบของโหระพา (Ocimum basilicum L.) ในระบบปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดินแบบ Deep Flow Technique (DFT). วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการ จัดการศัตรูพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง. Abubacker, M. N., R. Ramanathan and S. T. Kumar. 2008. In vitro antifungal activity of Cassia alata Linn. flower extract. Natural Product Radiance 7(1): 6-9. Chakravarthy, K. S., A. Nagamani, R. Y. Ratnakumari and S. Bramarambha. 2011. Antagonistic ability against Rhizoctonia solani and pesticide tolerance of Trichoderma strains. Advances in Environmental Biology 5(9): 2631-2638. Chaparro, A. P., L. H. Carvajal and S. Orduz. 2011. Fungicide tolerance of Trichoderma asperelloides and T. harzianum strains. Agricultural Science Journal 2(3): 301-307. Jat, J. G. and H. R. Agalave. 2013. Antagonistic properties of Trichoderma species against oilseed-borne fungi. Science Research Reporter 3(2): 171-174. Lubaina, A. S. and K. Murugan. 2013. Physiological and biochemical characterization of Senna alata (L.) Roxb .leave extract- A plant based fungicide against Alternaria leaf spot in sesame. World Journal of Pharmacy and Pharmaceutical Sciences 2(6): 5790-5801. Omorusi, V. I., B. O. Bosah, I. O. Eguavoen, O. Osemwengie, N. O. Ogbebor and C. L. Igeleke. 2014. Inhibitory efficacy of some potential leaf extract on some root pathogens. America Journal of Research Communication 2(11): 114-125. Pattanamahakul, P. and R. N. Strange. 1999. Identification and toxicity of Alternaria brassicicola, the causal agent of dark leaf spot disease of Brassica species grown in Thailand. Plant pathology 48: 749-755. Rosalba, A., A. Alejandro, F. Ronald, J. A. Juan and J. P. Juan. 2012. Tolerance and growth of 11 Trichoderma strains to crude oil, naphthalene, phenanthrene and benzo[a]pyrene. Journal of Environmental Management 95: S291- S299. Somnuek S., P. Kongtragoul and T. Jaenaksorn. 2015. Assessment of the Antagonistic Activity of Trichoderma spp. from Five Different Habitats on Plant Pathogenic Fungi. Proc. the 2nd International Symposium on Agricultural Technology at A-One the Royal Cruise Hotel Pattaya, Thailand. pp. 153-156. Tapwal, A., R. Kumar, N. Gautam and S. Pandey. 2012. Compatibility of Trichoderma viride for selected fungicides and botanicals. International Journal of Plant Pathology.

744

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

พฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี. Mushroom Grower’s Behaviors for Pesticide Application at Chom Bueng District, Ratchaburi Province and Wihan Daeng District, Saraburi Province. อุดมพร จอมพงษ์ 1 จรงค์ ศักดิ์ พุมนวน2 และอามร อินทร์ สังข์ 2 Udomporn Jompong1*, Jarongsak Pumnuan2, and Ammorn Insung2

บทคัดย่ อ

การศึกษาพฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรู พืชของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี ภายในเดือนมกราคม – มีนาคม 2558 โดยการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง รวม 60 หลังคาเรื อน เครื่ องมือที่ใช้ เป็ นแบบสัมภาษณ์ ซึง่ แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็ นการสัมภาษณ์ข้อมูลพื ้นฐาน ส่วนที่ 2 เป็ นการสัมภาษณ์ข้อมูลการเพาะ เห็ด และส่วนที่ 3 เป็ นแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการใช้ สารเคมีของเกษตรกร นาข้ อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์ทางสถิติพบว่า เกษตรกรผู้เพาะ เห็ดส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา มีรายได้ เฉลี่ย 5,000-10,000 บาทต่อเดือน มีอาชีพเพาะเห็ดมาไม่น้อยกว่า 5 ปี มีโรงเรื อนประมาณ 5-10 โรงเรื อน ร้ อยละ 93.3 เห็ดที่เกษตรกรนิยมปลูกได้ แก่ เห็ดนางฟ้า และเห็ดหูหนูดา ร้ อยละ 58.9 และ 43.3 ตามลาดับ ปั ญหาที่พบในการเพาะเห็ดคือ แมลง และไรศัตรู เห็ด สภาพดินฟ้าอากาศ และเห็ดไม่ออกดอก ซึ่งเกษตรกรมีวิธีจดั การ ศัตรูเห็ดโดยการใช้ สารเคมี ร้ อยละ 75.6 สารเคมีที่ใช้ ได้ แก่ คาร์ บาริ ล, คาร์ โบซัลแฟน, ไซเพอร์ เมทริ น, อะบาเม็กติน, มาลาไทออน, อา มีราช และ อะเซททามิพริ ด โดยหาซื ้อจากร้ านค้ าใกล้ บ้าน เนื่องจาก เป็ นวิธีที่สะดวกรวดเร็ ว เห็นผลทันที มีอตั ราการใช้ 3 ครัง้ ต่อ เดือน เกษตรกรร้ อยละ 63.3 จะเว้ นระยะหลังการฉีดพ่นครัง้ สุดท้ ายก่อนที่จะเก็บผลผลิต 3 วัน เกษตรกรร้ อยละ 83.5 จะมีการเปลี่ยน สารเคมีที่ใช้ ทนั ทีเมื่อสังเกตว่าแมลงมีความต้ านทาน และเกษตรกรที่ใช้ สารเคมีส่วนใหญ่ไม่มีอาการเกิดพิษจากการใช้ มีเพียง ร้ อย ละ 14.2 เท่านันที ้ ่แสดงอาการเล็กน้ อย คือ คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ ปวดกล้ ามเนื ้อ และอ่อนเพลีย เป็ นต้ น ผลการศึกษาครัง้ นี ้ สามารถนามาใช้ ในการบริหารจัดการแมลง และไรศัตรูเห็ด คาสาคัญ : สารกาจัดศัตรูพืช แบบสัมภาษณ์ แมลงและไรศัตรูเห็ด เห็ดนางฟ้า เห็ดหูหนูดา

Abstract

Study on mushroom grower’s behaviors for pesticide application was investigated at Chom Bueng district, Ratchaburi province and Wihan Daeng district, Saraburi province, during January to March, 2015, by questionnaire and interview from 60 selected households. The questionnaire was divided into three parts, the first part was personal data, the second part was mushroom cultivation and the last one was the pesticide application. Statistic analysis was used to analyze the data. The results revealed that all grower mostly graduated in primary school, and income per month ranged from 5,000 to 10,000 TH Baht. The most of them were more than 5 years experience mushroom grower and had 5 to 10 green houses for mushroom cultivation. The most mushroom cultivations grown were oyster and jew’s ear mushrooms, showing 58.9 and 43.3%, respectively. Insect and mite pests, weather and low mushroom product were important problems. All grower preferred to control insect and mite pests by using chemical pesticides because of convenience and quick knockdown. Besides, 75.6% chemical pesticide was used in mushroom cultivation such as carbaryl, carbosulfan, cypermethrin, abamectin, malathion, amitraz and acetamiprid and most of chemical pesticides were purchased from local store. The grower used chemical pesticides for insect and mite pests control 3 times per month. 63.3% grower stopped chemical application 3 days before mushroom harvesting. When insect and mite resistance appeared, 83.5% grower, changed the group of chemical pesticides for good option to pest control. 14.2% grower showed side effect of pesticide application such as nausea, vomiting, dizziness, fatigue, and muscle aches. Our data showed new knowledge for pest control in mushroom cultivation. Keywords : pesticide, structure interview, insect and mite pests, oyster mushrooms, jew's ear mushrooms 1 นักศึกษาปริ ญญาโท คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 2

ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

745


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ปั จจุบนั การเพาะเห็ดในประเทศไทยเพิ่มมากขึ ้น ทังเป็ ้ นอาชีพหลัก และอาชีพเสริ ม ทาให้ การเพาะเห็ดเป็ นการค้ าเพิ่ม มากขึ ้น ปั จจุบนั สามารถเพาะเห็ดเลียนแบบธรรมชาติ เนื่องจากสภาพดินฟ้าอากาศของประเทศไทยเหมาะกับการเจริ ญเติบโต ของเห็ดเศรษฐกิจเกือบทุกชนิด เช่น เห็ดฟาง เห็ดนางรม เห็ดเป๋ าฮื ้อ เห็ดหูหนู เห็ดแชมปิ ญอง และเห็ดหอม จนพัฒนาเป็ น การค้ าทัว่ โลก (อนงค์ , 2541) ทาให้ ปัจจุบนั การส่งออกเห็ดมีการเพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ ว และมีแนวแนวโน้ มที่จะเพิ่มขึ ้นอย่าง ต่อเนื่อง มีการจาหน่ายผลผลิตทังในประเทศ ้ และต่างประเทศ (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2558) เห็ดให้ คณ ุ ค่าทาง โภชนาการและมีสรพคุณทางยา ซึ่งมีคณ ุ สมบัติที่ช่วยเสริ มภูมิค้ มุ กันให้ กบั ร่ างกาย และช่วยลดอัตราความเสี่ยงจากโรคร้ าย ต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคมะเร็ ง หลอดเลือดหัวใจอุดตัน และความดันโลหิตสูง เห็ดจัดเป็ นอาหารประเภทผักที่ปรา ศจาก ไขมัน มีปริ มาณน ้าตาลและเกลือค่อนข้ างต่า และยังเป็ นแหล่งโปรตีนที่ดี เมื่อเทียบกับผักอีกหลายชนิด อีกทังยั ้ งมีรสชาติและ กลิ่นที่ชวนรับประทาน ซึ่งรสชาติที่โดดเด่นนี ้ มาจากการที่เห็ดมีกรดอะมิโนกลูตามิคเป็ นองค์ประกอบ ซึ่งทาหน้ าที่ช่วยกระตุ้น ประสาทการรับรู้รสอาหารของลิ ้นให้ ไวกว่าปกติ และทาให้ มีรสชาติคล้ ายกับเนื ้อสัตว์ (ปองใจ, 2557) อย่างไรก็ตามอุปสรรคที่เกษตรกรผู้เพาะเห็ดพบอย่างมากคือ การเข้ าทาลายของแมลงและไรศัตรูเห็ด ซึง่ เป็ นปั ญหาที่มี ความรุ นแรงอย่างมาก ได้ แก่ หนอนแมลงวันเซียริ ด (Lycoriella sp.) หนอนแมลงวันฟอริ ด (Megasellia sp.) แมลงวันซีซิด (Heteropeza sp.) แมลงหวี่เห็ด (Scatopse sp.) หนอนผีเสื ้อกินเห็ด (Dasyses rugosella) มอดหลินจือ (Cis chinensis Lawrence) มอดยาสูบ (Lasioderma serricorne) ไรไข่ปลา (Luciaphorus perniciosus Rach.) ไรดีด (Formicomotes heteromorphy Magowshi ) ไรลูกโป่ ง (Dolichocybe indica Mahunka) และไรขาวใหญ่ (Histiostoma bakeri Hug) (กอบ เกียรติ์ และคณะ, 2544 ; เทวินทร์ , 2546 ) ซึง่ ทางเลือกที่เกษตรกรนามาใช้ กาจัดศัตรูเห็ดคือ การใช้ สารเคมี จากรายงานขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติเมื่อปี พ.ศ.2543 พบว่าในโลกมี สารเคมีที่มนุษย์ผลิตขึ ้น มากกว่า 6 ล้ านชนิด ประมาณร้ อยละ10 ของจานวนสารเคมีทงหมด ั้ มีสารเคมีที่เกิดขึ ้นใหม่ปีละ1,000 ชนิด ในประเทศไทยมี พื ้นที่ทาการเกษตรกรรมอันดับที่ 48 ของโลกใช้ สารเคมีกาจัดแมลงมากเป็ นอันดับ 5 ของโลก ในประเทศไทยมีผ้ ปู ่ วยเนื่องจาก สารเคมีปีละ 750,000 คน ในจานวนนันเสี ้ ยชีวิตปี ละ 50,000 คน สาเหตุมาจากการใช้ สารเคมีทาให้ ภมู ิต้านทานในร่ างกาย ลดลง มีสารเคมีตกค้ างในร่ างกายก่อให้ เกิดโรคมะเร็ ง (พิพฒ ั น์ และคณะ, 2547) ปั จจุบนั ประเทศไทยมีปริ มาณการนาเข้ า สารเคมีกาจัดศัตรูพืชทางการเกษตรเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง จากข้ อมูลการนาเข้ าสารเคมีกาจัดศัตรูพืชในระหว่างปี 2556 พบว่ามี ปริ มาณการนาเข้ ามากถึง 34,672 ตัน (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2558) จากข้ อมูลดังกล่าวแสดงให้ เห็นว่าเกษตรกรมี การใช้ สารเคมีในการกาจัดศัตรู พืชจานวนมาก โดยเกษตรกรนาสารเคมีกาจัดศัตรู พืชมาใช้ เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ควบคุมและกาจัดศัตรูพืช ซึง่ การใช้ ในแต่ละครัง้ นันส่ ้ งผลให้ ศตั รู พืชมีการต้ านฤทธิ์ หรื อการดื ้อต่อสารเคมีกาจัดศัตรูพืชทาให้ ใน ครัง้ ต่อไปที่มีการฉีดพ่นสารเคมีกาจัดศัตรู พืชจะไม่มีประสิทธิภาพเท่ากับการฉีดพ่นในครัง้ ที่ผ่านมา เกษตรกรจาต้ องเปลี่ยนไป ใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพืชที่มีฤทธิ์รุนแรงกว่าเดิม (สุภาพร, 2549) ซึง่ เหตุผลที่เกษตรกรเลือกใช้ สารเคมีคือ สารเคมีสามารถกาจัด ศัตรูพืชได้ ผลจริ ง หาซื ้อได้ ง่าย และทันเวลา (ชนิกานต์ และสุดารัตน์ , 2557) ทังนี ้ ้การใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพืชยังส่งผลกระทบ ต่อระบบนิเวศน์ การใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพืชในปริ มาณที่มากเกินความจาเป็ น รวมทังการใช้ ้ สารเคมีรวมกันหลายชนิดหรื อการ เก็บผลผลิตก่อนครบระยะเวลาที่กาหนดหลังจากการใช้ สารเคมีจงึ ส่งผลให้ เกิดสารเคมีตกค้ างในผัก ผลไม้ และมีโอกาสเกิดการ สะสมในร่ างกายของผู้บริ โภค เมื่อได้ รับสารเคมีดงั กล่าวเข้ าไปในปริ มาณน้ อย ๆ แต่บ่อยครัง้ เป็ นเวลานาน และจะสะสมเพิ่ม ปริ มาณ มากขึ ้นจนทาให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงของเซลล์จนกลายเป็ นเซลล์มะเร็ งลุกลามไปยังส่วนต่างๆ ของร่ างกายได้ เช่น มะเร็งของตับ และมะเร็งของลาไส้ เป็ นต้ น (สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2552) ในอาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี มีการปลูกเห็ดตลอดทังปี ้ ดังนันจ ้ าเป็ นต้ องศึกษา เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด ซึง่ ผลการศึกษาครัง้ นี ้ทาให้ ทราบถึงปั จจัยที่ทาให้ เกษตรกร เลือกใช้ สารกาจัดศัตรูพืช ประเภทของสารกาจัดศัตรูพืช พฤติกรรมก่อนการใช้ สารกาจัดศัตรูพืช พฤติก รรมหลังการใช้ สารกาจัด ศัตรู พืช และอาการเกิดพิษจากการใช้ สารกาจัดศัตรู พืช ข้ อมูลการศึกษาครัง้ นี ย้ งั สามารถนามาใช้ ในการบริ หารจัดการแมลง และไรศัตรูเห็ดต่อไป

อุปกรณ์ และวิธีการ การศึกษาครัง้ นี ้เป็ นการวิจยั เชิงสารวจ (survey research หรื อ exploratory studies) โดยการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง (Purposive sampling) ของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัด 746

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สระบุรี รวม 60 หลังคาเรื อน ภายในเดือนมกราคม – มีนาคม 2558 โดยเก็บรวบรวมข้ อมูลโดยใช้ เทคนิคการสัมภาษณ์ ตาม แบบสอบถาม และนาข้ อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์ทางสถิติ โดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS การสัมภาษณ์ถกู แบ่งออกเป็ น 3 ส่วน ได้ แก่ ส่วนที่ 1 เป็ นการสัมภาษณ์ข้อมูลพื ้นฐาน ได้ แก่ เพศ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได้ ตอ่ เดือน และประสบการณ์ ในการเพาะเห็ด ส่วนที่ 2เป็ นการสัมภาษณ์ ข้อมูลการเพาะเห็ด ได้ แก่ พื ้นที่เพาะปลูก จานวนโรงเรื อน ความจุของโรงเรื อน ชนิดของเห็ดที่ปลูก ค่าใช้ จ่ายในการผลิต ปั ญหาที่พบในการเพาะเห็ด ชนิดของแมลง และไรที่พบ วิธีการจัดการแมลง และไร และชนิดของ สารเคมี ส่วนที่ 3 เป็ นการสัมภาษณ์ข้อมูลการใช้ สารเคมีของเกษตรกร ได้ แก่ แหล่งที่มาของสารเคมี เหตุผลที่เลือกใช้ สารเคมี ความถี่ของการ ใช้ สารเคมี การเว้ นระยะเวลาหลังการฉีดพ่นครัง้ สุดท้ ายก่อนเก็บผลผลิต การประยุกต์วิธีการอื่นแทนการใช้ สารเคมี การ ปฏิบตั ิตนก่อน และหลังใช้ สารเคมี วิธีการแก้ ปัญหาเมื่อแมลงมีความต้ านทานต่อสารเคมี และอาการเกิดพิษจากการใช้ สารเคมี

ผลการทดลอง ผลการศึกษาพฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรู พืชของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี จากการเก็บรวบรวมข้ อมูลจากแบบสัมภาษณ์ ซึ่งแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็ นการสัมภาษณ์ข้อมูลพื ้นฐาน ส่วนที่ 2 เป็ นการสัมภาษณ์ข้อมูลการเพาะเห็ด และส่วนที่ 3 เป็ นแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการใช้ สารเคมีของเกษตรกร และนาเสนอ ข้ อมูลตามลาดับดังนี ้ 1. ข้ อมูลพืน้ ฐานของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี จากการศึกษาข้ อมูลพื ้นฐานพบว่า เป็ นเพศชาย ร้ อยละ 31.1 เพศหญิง ร้ อยละ 68.9 ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส ร้ อยละ 90.0 จบการศึกษาชันประถมศึ ้ กษา ร้ อยละ 63.3 มีรายได้ เฉลี่ยอยู่ที่ 5,001-10,000 บาทต่อเดือนต่อครอบครัว มีประสบการณ์ในการเพาะ เห็ดมาไม่น้อยกว่า 10 ปี ร้ อยละ 78.9 (Table 1)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

747


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Demographic information of mushroom cultivation in Ratchaburi and Saraburi provinces, Thailand. (n=30) Average percentage Demographic information Ratchaburi provinces (n=30) Saraburi provinces (n=30) Total (n=60) 1. Sex Male 30.0 36.7 31.1 Female 70.0 63.3 68.9 2. Marital status Single 3.3 16.7 10.0 Married 96.7 83.3 90.0 3. General level of education Lower than grade 6 3.3 10.0 5.5 Primary school 56.7 63.3 63.3 Lower secondary school 3.3 10.0 7.8 High school 20.0 16.7 12.2 Diploma 6.7 0.0 6.7 Bachelor Degree 10.0 0.0 4.4 4. The average salary THB/month/family < 5,000 THB 10.0 3.3 6.7 5,001 – 10,000 THB 46.7 60.0 45.6 10,001 – 15,000 THB 16.7 23.3 24.4 15,001 – 20,000 THB 3.3 2.7 8.7 > 20,000 THB 23.3 6.7 13.3 5. Professional experience in mushroom farming < 5 years 46.7 93.3 51.1 5-10 years 50.0 6.7 27.8 > 15 years 3.33 0.0 7.8 2. ข้ อมูลการเพาะเห็ดของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี จากการศึกษาข้ อมูลการเพาะเห็ดของเกษตรกรพบว่า เกษตรกรเป็ นเจ้ าของที่ดินของตนเอง ร้ อยละ 90.0 โดยส่วนใหญ่ มี โรงเรื อนเพาะเห็ดไม่เกิน 10 โรงเรื อน ร้ อยละ 93.3 ซึง่ ขนาดของโรงเรื อนจะบรรจุได้ 1,501-2,500 ก้ อนต่อโรงเรื อน ร้ อยละ 64.5 เห็ดที่ เกษตรกรนิยมปลูกได้ แก่ เห็ดนางฟ้า และเห็ดหูหนูดา ร้ อยละ 58.9 และ 43.3 ตามลาดับ ขณะที่เกษตรกรมีค่าใช้ จ่ายในการเพาะเห็ด ทังหมดเท่ ้ ากับ 10,000-20,000 บาทต่อโรงเรื อน ร้ อยละ 81.1 ปั ญหาที่พบในการเพาะเห็ดคือ แมลง และไร สภาพดินฟ้าอากาศ และ เห็ดไม่ออกดอก ซึ่งเกษตรกรมีวิธีการจัดการศัตรู เห็ดโดยการใช้ สารเคมี ร้ อยละ 75.6 สารเคมีที่ใช้ ได้ แก่ carbaryl, carbosulfan, cypermethrin, abamectin, ,malathion, amitraz และ acetamiprid (Table 2)

748

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Information on the mushroom farming in Ratchaburi and Saraburi provinces, Thailand. (n=30) percentage Information of mushroom farming Ratchaburi provinces (n=30) Average Saraburi provinces (n=30) Total (n=60) 1. Cultivation area own lands 96.7 80.0 90.0 rentals 3.3 20.0 10.0 2. Number of mushroom houses < 5 houses 46.7 93.3 62.2 5-10 houses 50.0 6.7 31.1 > 15 houses 3.3 0.0 2.2 3. Size of mushroom houses < 1,500 cubes per houses 3.3 66.7 26.7 1,501 - 2,000 cubes per houses 40.0 26.7 25.6 2,100 - 2,500 cubes per houses 50.0 6.7 38.9 > 2,500 cubes per houses 6.7 0.0 8.9 4. Mushroom species (Answer more than 1) Oyster mushroom 66.7 13.3 58.9 Jew’s ear mushroom 33.3 3.3 43.3 Straw mushroom 3.3 70.0 24.4 Long white fungi 3.3 16.7 6.7 5. Production costs per houses < 10,000 THB 16.7 63.3 30.0 10,0001-20,000 THB 56.7 30.0 51.1 20,001– 0,000 THB 16.7 0.0 11.1 > 30,000 THB 10.0 6.7 7.8 6. Problem and solution in mushroom cultivation(Answer more than 1) Insects and mites 23.3 20.0 51.1 Mushroom diseases 26.7 13.3 46.7 Not flowering 36.7 33.3 56.7 Weeds 3.3 3.3 35.5 Weathers 6.6 20.0 42.2 7. Observable mushroom insects and mites (Answer more than 1) Formicomotes sp. 26.7 13.3 35.6 Histiostoma sp. 3.3 0.0 2.2 Luciaphorus sp. 3.3 3.3 30.0 Scatopse sp. 26.7 33.3 53.3 Thysanoptera 16.7 6.7 8.9 Formicidae (ant) 0.0 6.7 18.9 Coleoptera 3.3 0.0 10.0 Larvae of lepidoptera 20.0 13.3 42.2 Diptera (Lycoriela sp., Megasellia sp., 3.3 33.3 16.6 Heteropeza sp.) Table 2 (continue). 8. Management of insects and mites in mushroom (Answer more than 1) Biological control 10.0 3.3 4.4 Pesticides 76.7 60.0 75.6 Medicinal plant extracts 3.3 33.3 32.2 Cultural 10.0 3.3 6.8 9. Pesticides 1.Carbaryl 1.Carbaryl 1.Carbaryl 2.Carboosulfan 2.Cypermethrin 2.Carboosulfan 3.Cypermethrin 3.Abamectin 3.Cypermethrin 4.Abamectin 4.Amitraz 4.Abamectin 5.Amitraz 5.Amitraz 6.Malathion 6.Malathion 7.Acetamiprid 7.Acetamiprid 8.Chlorpyrifos

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

749


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

3. ข้ อมูลพฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรู พืชของเกษตรกรผู้ เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี จากการศึกษาข้ อมูลพฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรพบว่า เกษตรกรจะหาซื ้อสารเคมีจากร้ านค้ าใกล้ บ้าน ร้ อย ละ 82.7 เนื่องจากเป็ นวิธีที่สะดวกรวดเร็ว เห็นผลทันที ร้ อยละ 53.2 และ 42.1 ตามลาดับ มีอตั ราการใช้ 3 ครัง้ ต่อเดือน ร้ อยละ 52.0 ซึ่งเกษตรกรร้ อยละ 63.3 จะเว้ นระยะหลังการฉี ดพ่นครั ง้ สุดท้ ายก่อนที่จะเก็บผลผลิต 3 วัน เกษตรกรจะอ่านฉลากก่อนใช้ สวม อุปกรณ์ป้องกันตนเอง ร้ อยละ 89.2 และ 88.0 ตามลาดับ และจะทาความสะอาดร่างกายทุกครัง้ หลังฉีดพ่น ซึง่ อุปกรณ์ที่ใช้ ป้องกัน ได้ แก่ ผ้ าปิ ดจมูก สวมเสื ้อแขนยาว และกางเกงขายาว เกษตรกรร้ อยละ 83.5 จะมีการเปลี่ยนสารเคมีที่ใช้ ทนั ทีเมื่อสังเกตว่าแมลงมี ความต้ านทาน และเกษตรกรที่ใช้ สารเคมีส่วนใหญ่ไม่มีอาการเกิดพิษจากการใช้ มีเพียง ร้ อยละ 14.2 เท่านันที ้ ่แสดงอาการเล็กน้ อย คือ คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ ปวดกล้ ามเนื ้อ และอ่อนเพลีย เป็ นต้ น (Table 3) Table 3 Information on the pesticides using behaviors in Ratchaburi and Saraburi provinces, Thailand. (n=30) Information on the pesticides using behaviors

Average percentage

Ratchaburi provinces (n=30) Saraburi provinces (n=30) Total (n=60) 1. Sources of pesticides (Answer more than 1) Local store 80 86.7 82.7 Sales 30 13.3 28 2. Using reasons (Answer more than 1) Immediate effects 33.3 30 42.1 Convenience 43.3 53.3 53.2 Preferenceproposedbycommunityleaders 13.3 6.7 21.5 Buy easy 13.3 13.3 23.7 3. Frequency 1Time 17.4 16.7 20 2Times 17.7 16.7 18.9 3Times 52.2 66.7 52 4Times 13 0 9.3 4. Pre-harvest exemption 1 day 23.3 0 16.4 2 days 40 13.3 23.9 3 days 6.7 36.7 33 > 3 days 30 50 26.7 Table 3 (continue). 5. Application Read the application guidelines 90.7 77.7 89.2 Take into account the harvesting period 23.3 27.8 25.7 Using more protection outfits 90 77.7 88 Cleaned themselves after applications 100 100 100 6. Protection -conton mash -conton mash -conton mash -long sleeved shirt -long sleeved -long sleeved shirt -long trousers shirt -long trousers -long trousers 7. Reaction to resistance

Change the product (regardless of name) 91.3 Theothercompoundsweremixed(regardlessofname) 4.3 The use of herbal mixed with chemicals 8.7 8.Symptoms of toxicity from the use of pesticides health effect Non observable effects 87.0 Not severe symptoms such as nausea, vomiting, dizziness, drowsiness, muscle 13.0 aches, fatigue, sweating more than usual. 750

77.7 16.7 16.7

83.5 13.2 14.6

100.0

89.5

0.0

14.2

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ปและวิจารณ์ ผลการทดลอง

จากการศึกษาพฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี ภายในเดือนมกราคม – มีนาคม 2558 จานวน 60 หลังคาเรื อน พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ เป็ นผู้หญิ ง ร้ อยละ 68.9 สถานะภาพสมรสแล้ ว การศึกษาส่วนใหญ่อยู่ในระดับชันประถมศึ ้ กษา ร้ อยละ 63.3 ซึง่ ระดับการศึกษาถือเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญ ที่สง่ ผลต่อพฤติกรรมสุขภาพของบุคคลให้ มีความแตกต่างกันโดยบุคคลที่มีระดับการศึกษาสูงย่อมมีโอกาสในการรับรู้ และการปฏิบตั ิ ตนด้ านสุขภาพที่ถกู ต้ องและเหมาะสมกว่าบุคคลที่มีระดับการศึกษาต่ากว่า (ประภาเพ็ญ และสวิง, 2532) จากรายงานของ วิรัชฎ์ และวิ ลาวรรณ (2540)พบว่ าเกษตรกรที่ มี ระดับการศึกษาแตกต่ างกันมี ความต้ องการการได้ รั บความรู้ เกี่ ยวกับสารเคมี จาก หนังสือพิมพ์ เอกสารคาแนะนา และการได้ รับการฝึ กอบรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยเกษตรกรที่มี ระดับการศึกษาขัน้ มัธยมศึกษา และประกาศนี ยบัตรวิชาชี พมีค่าเฉลี่ยความต้ องการมากกว่าเกษตรกรที่มีระดับการศึกษาขัน้ ประถมศึกษา และจากการศึกษาครัง้ นี ้พบว่าเกษตรกรมีรายได้ จากการเพาะเห็ด 5,000-10,000 บาทต่อเดือน ซึง่ เกษตรกรส่วนใหญ่จะ มีประสบการณ์ในการเพาะเห็ดมาไม่น้อยกว่า 10 ปี ร้ อยละ 78.9 สอดคล้ องกับการศึกษาของสกุลรัตน์ และคณะ (2539) ที่ศกึ ษา ถึงการเฝ้าระวัง และติดตามการรักษาตนเองของ เกษตรกร อาเภอหนองเรื อ จังหวัดขอนแก่น จากการเกิดพิษจากสารปราบ ศัตรูพืช ที่พบว่าเกษตรกรส่วนมากเคยผ่านการพ่นสารกาจัดศัตรูพืชมากกว่า 5 ปี จากการศึกษาข้ อมูลการเพาะเห็ดของเกษตรกรครัง้ นี ้ยังพบว่าเกษตรกรทาการเพาะปลูกบนพื ้นที่ของตนเอง ร้ อยละ 90 และมี การสร้ างโรงเรื อนไม่เกิน 10 โรงเรื อนต่อครอบครัว ซึ่งขนาดของโรงเรื อนนันจะสามารถบรรจุ ้ ได้ 1,500-2,500 ก้ อนต่อโรงเรื อน เห็ดที่ เกษตรกรนิยมปลูกมากได้ แก่ เห็ดนางฟ้า และเห็ดหูหนูดา ร้ อยละ 58.9 และ 43.3 ตามลาดับ โดยค่าใช้ จ่ายในการผลิตทังหมดจะอยู ้ ่ ที่ 10,000-20,000 บาท ซึ่งปั ญหาที่เกษตรพบในการเพาะเห็ดนันคื ้ อ การเข้ าทาลายของแมลง และไรศัตรูเห็ด สภาพดินฟ้าอากาศ และเห็ดไม่ออกดอก โดยเกษตรกรจะมีวิธีการจัดการกับศัตรู เห็ดโดยการใช้ สารเคมีฉีดพ่น ร้ อยละ 75.6 สารเคมีที่ใช้ อยู่ในกลุ่มของ carbamates, organophosphate, pyrethroides และ formamidine ซึง่ สอดคล้ องกับจรงค์ศกั ดิ์ (2546) ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ สารฆ่า แมลงในสวนผักกระเฉด อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ พบว่า สารฆ่าแมลงที่ เกษตรกรส่วนใหญ่ ใช้ เป็ นสารในกลุ่มของ organophosphate, pyrethroides และ carbamates ขณะที่ชนิกานต์ และสุดารัตน์ (2557) ศึกษาพฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรูพืช ของเกษตรกรผู้ปลูกข้ าวในตาบลจอมทอง อาเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก พบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้ สารกาจัดแมลงในกลุ่มคาร์ บา เมต (carbamate) ร้ อยละ 88 ซึง่ เห็นได้ ว่าสารเคมีที่เกษตรกรผู้เพาะเห็ดใช้ กาจัดศัตรูเห็ดนันเป็ ้ นสารเคมีในกลุม่ เดียวกันกับที่เกษตร ใช้ ในสวนผักกระเฉดและแปลงเพาะปลูกข้ าว ซึง่ มีเพียงสารเคมีบางกลุม่ ที่ใช้ แตกต่างกัน จากการศึกษาข้ อมูลการใช้ สารกาจัดศัตรู พืชของเกษตรกรพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ซื ้อสารเคมีจากร้ านค้ าใกล้ บ้าน ร้ อยละ 82.7 โดยให้ เหตุผลที่เลือกใช้ สารเคมีเป็ นวิธีที่สะดวกรวดเร็ ว เห็นผลทันที และหาซื ้อได้ ง่าย มีอตั ราการใช้ 3 ครัง้ ต่อเดือน เกษตรกร ร้ อยละ 63.3 จะเว้ นระยะหลังการฉีดพ่นครัง้ สุดท้ ายก่อนที่จะเก็บผลผลิต 3 วัน และจะมีการเปลี่ยนสารเคมีที่ใช้ ทนั ทีเมื่อสังเกตว่า แมลงมีความต้ านทาน เกษตรกรจะอ่านฉลากฉลากก่อนใช้ สวมอุปกรณ์ปอ้ งกันตนเอง ร้ อยละ 89.2 และ 88.0 ตามลาดับ และจะทา ความสะอาดร่ างกายทุกครั ง้ หลังการใช้ ซึ่งเป็ นการปฏิบัติที่ถูกต้ อง สอดคล้ องกับจารุ วรรณ และคณะ (2557) ได้ ศึกษาความรู้ ทัศนคติ และพฤติ กรรมการใช้ สารเคมี ก าจัดศัตรู พื ชของเกษตรกร บ้ านห้ วยสามขา ต าบลทัพรั ง้ อ าเภอพระทองค า จังหวัด นครราชสีมา พบว่า ก่อนการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรู พืช เกษตรกรมีการตรวจสอบอุปกรณ์การฉีดพ่นให้ อยู่ในสภาพดีก่อนนามาใช้ งาน มีการสวมกางเกงขายาวขณะฉีดพ่นสารเคมีกาจัดศัตรู พืช จากการศึกษาครัง้ นี ้พบว่าหลังการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรู พืช เกษตรกรจะ อาบนา้ ฟอกสบู่ก่อนที่จะรับประทานอาหารทุกครัง้ ขณะที่วรเชษฐ์ และคณะ (2553) ที่พบว่ากลุ่มเกษตรกรต้ นนา้ ชาวเขาเผ่าม้ ง จังหวัดพะเยา สวมเสื ้อแขนยาว กางเกงขายาว และสวมถุงมือ ถุงเท้ า รองเท้ าบู๊ทในขณะใช้ สารเคมี หลังจากใช้ สารเคมีเกษตรกรจะ อาบน ้า สระผม ฟอกสบู่ และเปลี่ยนชุดที่สวมในการฉีดพ่นสารเคมีปอ้ งกันกาจัดศัตรูพืชทันที จากการศึกษาครัง้ นี ้พบว่าเกษตรกรที่ใช้ สารเคมีส่วนใหญ่ไม่มีอาการเกิดพิษจากการใช้ มีเพียง ร้ อยละ 14.2 เท่านันที ้ ่แสดงอาการเล็กน้ อย คือ คลื่นไส้ อาเจียน เวียนศีรษะ ปวดกล้ ามเนื ้อ และอ่อนเพลีย สอดคล้ องกับการรายงานของสิริภณ ั ฑ์กญ ั ญา และยรรยงค์ (2553) ในการศึกษาผลกระทบของการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพืชต่อสุขภาพของเกษตรกรผู้ปลูกยาสูบ ในตาบลลาห้ วยหลัว อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ พบว่า เกษตรกรจะมี อาการวิงเวียนศีรษะ และอาการปวดศีรษะ ขณะที่รายงานของ Jors et al (2010) พบว่าเกษตรกรจะมีอาการปวดศีรษะ มีอาการ วิงเวียน และอาการอ่อนเพลีย หลังสัมผัสสารเคมี ซึง่ การที่เกษตรกรสวมอุปกรณ์ป้องกันตนเองขณะใช้ สารเคมี และทาความสะอาด ร่ างกายหลังการใช้ สารเคมีทนั ทีนนจะช่ ั ้ วยลดอาการเกิดพิษได้ มีเพียงบางส่วนที่แสดงอาการเกิดพิษเล็กน้ อยซึ่งจะเกิดหลังจากที่ เกษตรกรใช้ สารเคมี ผลการศึกษาแสดงให้ เห็นว่าเกษตรกรมีพฤติกรรมที่ถูกต้ องในการใช้ สารกาจัดศัตรู พืช คื ออ่านฉลากก่อนใช้ สวม อุปกรณ์ปอ้ งกันตนเอง แม้ เกษตรกรจะมีการใช้ อปุ กรณ์ปอ้ งกันแต่เป็ นการใช้ อปุ กรณ์ที่ไม่ครบชุ ด และหลังจากการใช้ สารกาจัด การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

751


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ศัตรูพืชทุกครัง้ เกษตรกรจะอาบน ้าทาความสะอาดร่างกาย เป็ นการปฏิบตั ิที่ถกู ต้ อง อาจจะทาให้ เกษตรกรปลอดภัยจากอาการ เกิดพิษเป็ นได้ โดยวิธีการที่จะทาให้ เกษตรกรปฏิบตั ิตนได้ อย่างถูกต้ องทังก่ ้ อน และหลังการใช้ สารกาจัดศัตรูพืช มีการให้ ความรู้ โดยวิธีการต่างๆ และการใช้ สื่อที่เกี่ยวข้ องกับการป้องกันตนเองของเกษตรกรด้ วยความสม่าเสมอหรื อบ่อยครัง้ เพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของเกษตรกรให้ มีการปฏิบตั ิที่ถกู ต้ องเพื่อความปลอดภัยต่อตนเอง และบุคคลรอบข้ าง

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจยั ฉบับนี ้สาเร็ จลุล่วงไปด้ วยดีเนื่องจากผู้วิจยั ได้ รับความช่วยเหลือ ความร่ วมมือ จากเกษตรกรผู้เพาะเห็ด อาเภอ จอมบึง จังหวัดราชบุรี และอาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี ผู้วิจยั รู้สกึ ซาบซึ ้งในความกรุณาเป็ นอย่างยิ่ง และขอขอบพระคุณเป็ น อย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี ้ การวิจัยครัง้ นีไ้ ด้ รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหาร ลาดกระบัง งบประมาณปี 2559 โครงการวิจยั เรื่ อง ปริ มาณสารกาจัดแมลงตกค้ างในเห็ดจากตลาดกรุ งเทพมหานคร และ ระยะเวลาการเป็ นพิษตกค้ าง

เอกสารอ้ างอิง

กอบเกียรติ์ บันสิทธิ์ พรทิพย์ วิสารทานนท์ ฉัตรไชย ศฤงฆไพบูลย์ และสัจจะ ประสงค์ทรัพย์. 2544. แมลง-ไรศัตรูเห็ดในประเทศ ไทย. โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพร้ าว กรุงเทพมหานคร. 80 หน้ า. ์ จรงค์ศกั ดิ พุมนวน. 2546. การใช้ สารฆ่าแมลงในสวนผักกระเฉด: กรณีศกึ ษา อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารเกษตรพระ จอมเกล้ า กันยายน-ธันวาคม 2546. 21(3). หน้ า 88. จารุ วรรณ ไตรทิพย์สมบัติ เพลินพิศ จับกลาง สุวิมล บุญเกิด และอัญชลี อาบสุวรรณ์ . 2557. การศึกษาความรู้ ทัศนคติ และ พฤติกรรมการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรบ้ านห้ วยสามขา ตาบลทัพรัง้ อาเภอพระทองคา จังหวัดนครราชสีมา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. ศรี นครินทร์ เวชสาร 2557. 29(5): 429-434. ชนิกานต์ คุ้มนก และสุดารัตน์ พิมเสน. 2557. พฤติกรรมการใช้ สารกาจัดศัตรู พืชของเกษตรกรตาบลจอมทอง อาเภอเมือง จังหวัด พิษณุโลก. ราชภัฏเพชรบูรณ์สาร. 16(1): 56-67. เทวินทร์ กุลปิ ยะวัฒน์. 2546. ไรศัตรู เห็ด. เอกสารประกอบการอบรมเรื่ อง แมลงศัตรู พืชและการ้ องกันกาจัด ครัง้ ที่ 12 วันที่ 24-28 มีนาคม 2546 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนพรรษา. กลุม่ กีฏและสัตววิทยา, สานักวิจยั และพัฒนาการอารักขา พืช, กรุงเทพมหานคร. ประภาเพ็ ญ สุวรรณ และสวิ ง สุวรรณ. 2532. พฤติ กรรมศาสตร์ พฤติ กรรมสุขภาพและสุขศึกษา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ . มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร. 360 หน้ า. ปองใจ จันมุณี. 2557. สารพัดประโยชน์เห็ดนานาชนิด. Available from: [Online]: http://www.narathiwat.doae.go.th (ค้ น เมื่อ 10 กรกฎาคม 2558) พิพฒ ั น์ ชนาเทพาพรและคณะ. 2547 รายงานการวิจยั และพัฒนาการผลิตพืชผักปลอดสารพิษ.เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏ เพชรบูรณ์. วรเชษฐ์ ขอบใจ อารักษ์ ดารงสัตย์ พิทกั ษ์ พงศ์ ปั นต๊ ะ และเดช ดอกพวง. 2553. พฤติกรรมการใช้ สารเคมีป้องกันกาจัดศัตรู พืชและ ระดับเอนไซม์โคลีนเอสเตอเรสในเลือดของกลุม่ เกษตรกรต้ นน ้า: กรณีศกึ ษาชาวเขาเผ่าม้ ง จังหวัดพะเยา. วารสารวิจยั ทาง วิทยาศาสตร์ สขุ ภาพ กรกฎาคม-ธันวาคม 2553. 4(2): 37-46. วิรัชฎ์ คงคะจันทร์ และวิลาวรรณ ปิ ตธวัชชัย. 2540. การใช้ สารเคมีเพื่อป้องกันกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรในการปลูกพืชหลังฤดูเก็บ เกี่ยว. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สกุลรัตน์ อุษณาวรงค์ รังสิมา เศวตสุทธิ พนั ธ์ และโควิน ขึงภูเขียว. 2539. การเฝ้าระวังและติดตามการรักษาตนเองของเกษตรกร (อาเภอนองเรื อ จังหวัดขอนแก่น) จากการเกิดพิษจากสารปราบศัตรูพืช. วารสารวิจยั มหาวิทยาลัยขอนแก่น กรกฎาคมธันวาคม 2539. 1(2): 41-48. สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. 2552. อันตรายที่เกิดจากสารเคมีกาจัดศัตรู พืชทางการเกษตร. Available from: [Online]: http://www.oryor.com (ค้ นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2558) สานักงานเศรษฐกิ จการเกษตร. 2558. ปริ มาณและมูลค่าการน าเข้ าสารกาจัดศัตรู พืช. กรมวิชาการเกษตร กรุ งเทพมหานคร. Available from: [Online]: http://www.oae.go.th (ค้ นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2558) 752

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สิริภณ ั ฑ์กัญญา เรื องไชย และยรรยง อินทร์ ม่วง. 2553.ผลกระทบจากการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรู พืชต่อสุขภาพของเกษตรกรผู้ปลูก ยาสูบในตาบลลาห้ วยหลัว อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์. สานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น ตุลาคม 2553-มกราคม 2554. 18(1): 49-60. สุภาพร ใจการุ ณ. 2549. พฤติกรรมการใช้ สารเคมีกาจัดศัตรู พืชของเกษตรกร บ้ านบึงใคร่ น่นุ ตาบลบึงเนียม อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่ น รายงานวิ จัย.แผนงานวิ จยและพัฒนา นโยบายสาธารณะและการประเมิ นผลกระทบทางสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข อนงค์ จันทร์ ศรี กลุ . 2541. เห็ดเมืองไทย. สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพมหานคร. Jors, E., Morant, CR., Aguilar, CG., Huici, O., Lander, F., Baelum, J. and Konradsen, F. 2010. Occupational pesticide intoxications among farmers in Bolivia: a cross-sectional study. Environmental Health: A Global Access Science Source 2006, 5:10.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

753


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ศักยภาพทางอัลลีโลพาทีจากใบปอขีไ้ ก่ ต่อการงอกและการเจริญเติบโตของพืชทดสอบ Allelopathic Potential from Marachra capitata L. on Seed Germination and Seedling Growth of Bioassay Plants Test ณัฐนันท์ บุญยะพันธ์ 1 ภาวิณี คาแสน1 ภัทริน วิจติ ระการ1 จารู ญ เล้ าสินวัฒนา1 และมณทินี ธีรารักษ์ 1 Nuttanun Boonyapant1 Phawinee Kamsan1 Pattharin Wichittrakarn1 Chamroon Laosinwattana1 and Montinee Teerarak1

บทคัดย่ อ

การศึกษาผลของคุณสมบัติการเลือกทาลายของสารสกัดน ้าของใบปอขีไ้ ก่ที่มีต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของ เมล็ดวัชพืช (หญ้ าข้ าวนก ถัว่ ผี และผักโขม) และพืชปลูก (ข้ าวโพด ข้ าว แตงกวา กะหล่าปลี และกวางตุ้ง ) ที่ระดับความเข้ มข้ น 1.25, 2.5, 5 และ 10 เปอร์ เซ็นต์ โดยน ้าหนัก พบว่า ฤทธิ์ของสารสกัดในการยับยังการงอกและการเจริ ้ ญเติบโตต่อพืชทดสอบ ของพืชแต่ละชนิดแตกต่างกัน ที่ระดับความเข้ มข้ น 5 เปอร์ เซ็นต์ สารสกัดน ้าจากใบปอขี ้ไก่มีผลในการยับยังการงอกสู ้ งสุด โดย สามารถยับยังการรอดชี ้ วิตและการเจริญเติบโตของ แตงกวา กวางตุ้ง ผักโขม และถัว่ ผี ได้ อย่างสมบูรณ์ รองลงมาคือ กะหล่าปี หญ้ าข้ าวนก ข้ าว และข้ าวโพด ตามลาดับ โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นวิธีการควบคุม จากนันศึ ้ กษาผลของผลิตภัณฑ์กาจัดวัชพืชจากปอ ขี ้ไก่แห้ ง ที่มีผลต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของหญ้ าข้ าวนกและถัว่ ผี ที่อตั รา 25, 50, 100 และ 200 มิลลิกรัมต่อจานเพาะ พบว่า ผลิตภัณฑ์กาจัดวัชพืชจากปอขี ้ไก่แห้ งที่อตั รา 200 มิลลิกรัมต่อจานเพาะ ให้ ผลยับยังการงอกของหญ้ ้ าข้ าวนกและถัว่ ผี ได้ ดีที่สดุ โดยสามารถยับยังการงอกและการเจริ ้ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ โดยสมบูรณ์ คาสาคัญ : ปอขี ้ไก่ การงอกและการเจริญเติบโต สารสกัด ผลิตภัณฑ์จากปอขี ้ไก่

Abstract Effects of aqueous extracts from Marachra capitata on germination and seedling growth of weed (Echinochloa crus-galli, Phaseolus lathyroides, Amaranthus gracilis) and crop (Zea mays, Oryza sativa, Cucumis sativus, Brassica oleracea, Brassica chinensis Jusl var parachinensis) were evaluated at the concentration of 1.25, 2.5, 5 and 10%. The distilled water was used as control. The result showed that aqueous extract at the concentration of 5% completely inhibited seed survival and seedling growth of C. sativus, B. chinensis A. gracilis, and P. lathyroides and highly inhibition effect on B. oleracea, E. crus-galli, O. sativa and Z. mays, respectively. In addition, efficacy of the natural herbicide product from M. capitata dried leaf on germination and seedling growth of E. crus-galli and P. lathyroides at the rates of 25, 50, 100 and 200 mg/petri-dish were tested. The result found that natural herbicide product at 200 mg/plate had completely inhibited on seed germination of wild pea. Key words: Marachra capitata L, germination and seedling growth, product from Marachra capitata L.

คานา

ประเทศไทยมีการนาสารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชมาใช้ อย่างแพร่ หลายในด้ านเกษตรกรรม และพบว่าการนาเข้ า สารเคมีปอ้ งกันกาจัดวัชพืชมีแนวโน้ มเพิ่มสูงขึ ้นทุกๆ ปี (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2558) ซึง่ สารเคมีปอ้ งกันกาจัดวัชพืชที่ ใช้ ในปริ มาณมากก่อให้ เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตรกร ผู้ผลิต และผู้บริ โภค การที่ได้ รับสารป้องกันกาจัดวัชพืชเข้ าสู่ ร่างกาย ได้ ทงทางปาก ั้ ผิวหนัง และการหายใจ ซึง่ มีผลทาให้ เกิดการเจ็บป่ วยทังในระยะสั ้ นและระยะยาว ้ สารเคมีกาจัดศัตรูพืช แสดงถึงความสัมพันธ์กบั โรคหลายชนิด อาทิ โรคมะเร็งโรคที่เกี่ยวข้ องกับระบบสืบพันธุ์ โรคที่เกี่ยวข้ องกับระบบ ประสาท และ โรคอื่นๆ หรื อจะเป็ นการปนเปื อ้ นในอาหารโดยเกษตรกรผู้ผลิตนันใช้ ้ สารเคมีกาจัดวัชพืชเกินความจาเป็ นโดยการใช้ โดยตรงกับ ผลผลิต ซึ่งไม่คาดว่าจะเป็ นอันตรายต่อผู้บริ โภคได้ จากการตรวจสารเคมีกาจัดศัตรู พืชตกค้ างในผักและผลไม้ ช่วงเดือน พฤษภาคม 2557 โดยเครื อข่ายเตือนภัยสารเคมีกาจัดศัตรูพืชและมูลนิธิเพื่อผู้บริ โภค พบว่าร้ อยละ 46.6 ของผัก และผลไม้ มี สารเคมีกาจัดศัตรูพืชตกค้ างในระดับสูงกว่าค่า MRLs :Maximum Residue Limits ตามประกาศของ สานักงานมาตรฐาน 1

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 754

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สินค้ าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) และสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) (เครื อข่ายเตือนภัยสารเคมีกาจัด ศัตรูพืช (Thailand Pesticide Alert Network: Thai-PAN), 2558) และยังเกิดปั ญหาการตกค้ างของสารเคมีในสิ่งแวดล้ อม ซึง่ สาเหตุเกิดจากการแพร่กระจายของสารเคมีในระหว่างการใช้ สารป้องกันกาจัดวัชพืช เนื่องจากสารเคมีสว่ นใหญ่จะกระจายจาก บริ เวณของพืชลงสู่พื ้นดินและบางส่วนระเหยอยู่ในอากาศทาให้ มีการสะสมอยู่ในพื ้นดินและในน ้า ซึ่งเป็ นที่อยู่อาศัยของสัตว์ เลี ้ยงทังบนบกและในน ้ ้า และสัตว์ในธรรมชาติตลอดจนจะส่งผลให้ เกิดการ สะสมของสารเคมีเกิด ขึ ้นในระบบห่วงโซ่อาหารและ ทาให้ สิ่งมีชีวิตในระบบห่วงโซ่อาหารทุกระดับได้ รับผลกระทบ อัลลีโลพาที (allelopathy) เป็ นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติอีกรู ปแบบหนึ่ง ซึ่งจะก่อให้ เกิดการบาดเจ็บ อันตราย (harmful) หรื อความเป็ นประโยชน์ (beneficial) ทังโดยทางตรงและทางอ้ ้ อมโดยพืชชนิดหนึ่ง (รวมทังจุ ้ ลินทรี ย์) ที่มีต่อพืชอีก ชนิดหนึ่งโดยผ่านทางสารเคมีที่ปล่อยสู่สภาพแวดล้ อม (Rice, 1984) สารอัลลีโลพาทีมีความน่าสนใจและได้ รับความสนใจ อย่างมากเนื่องจากเป็ นสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่ได้ จากพืชหรื อจุลินทรี ย์ ซึง่ สารเหล่านี ้มีความปลอดภัยต่อสภาพแวดล้ อมสูง ซึง่ สามารถนามาใช้ ในแนวทางในการไปใช้ ในระบบการจัดการวัชพืชแบบยัง่ ยืน ปอขี ้ไก่หรื อ ปอคัน Marachra capitata L. อยู่ในวงศ์ Malvaceae ไม้ ล้มลุกอายุปีเดียวหรื อหลายปี มีขนสาก หรื อ หนาม ใบเป็ นเหลี่ยมหรื อหยักเป็ นพู ดอกออกตามซอกใบ หรื อ ปลายกิ่ง เป็ นกระจุกแน่น บนใบประดับ ขนาดใหญ่ ไม่มีริว้ ประดับ กลีบเลี ้ยง และกลีบดอกมีจ้านวนอย่างละ 5 กลีบ ก้ านชูอบั เรณูเชื่อมติดกัน เป็ น เส้ าเกสร ปลายแยกเป็ น 5 แฉก ก้ าน เกสรเพศเมียแยกเป็ น 10 แฉก ผล แห้ งแยกเป็ น 5 ส่วน สกุลปอขี ้ไก่มีประมาณ 12 ชนิดส่วนมากมีเขตกระจายพันธุ์ในอเมริ กา ในไทยพบขึน้ เป็ นวัชพืชเพียงชนิดเดียว (สานักงานหอพรรณไม้ สานักวิจัยการอนุรักษ์ ป่าไม้ และพันธุ์พืช สารานุกรมพืชใน ประเทศไทย, 2556)

อุปกรณ์ และวิธีการ การทดลองที่ 1 การศึกษาผลของสารสกัดนา้ ของใบปอขีไ้ ก่ ท่ ีมีผลต่ อการงอกและการเจริญเติบโตของเมล็ดวัชพืช และพืชปลูกบางชนิด นาใบปอขี ้ไก่ มาล้ างทาความสะอาด อบให้ แห้ ง จากนันท ้ าการสกัดโดยใช้ สว่ นใบของปอขี ้ไก่ 10 กรัม ต่อน ้ากลัน่ 90 มิลลิลิตร ปิ ดภาชนะเพื่อป้องกันการระเหย เก็บในที่อณ ุ หภูมิต่า (~8 องศาเซลเซียส) เป็ นเวลา 3 วัน แล้ วจึงนามากรองผ่านผ้ า ขาวบางแล้ วกรองซ ้าด้ วยกระดาษกรอง จะได้ สารสกัดด้ วยน ้าตังต้ ้ น (stock solution) ที่มีความเข้ มข้ น 10 เปอร์ เซ็นต์ นาสารตัง้ ต้ นมาเจือจางให้ ได้ ความเข้ มข้ น 1.25, 2.5, 5 และ 10 เปอร์ เซ็นต์ ตามลาดับ โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นวิธีการควบคุม ปริ มาตร 5 มิลลิลิตร ในจานเพาะเมล็ดขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 9 เซนติเมตร รองด้ วยกระดาษเพาะเมล็ด จากนันวางเมล็ ้ ดวัชพืช 3 ชนิด คือ หญ้ าข้ าวนก(Echinochloa crus-galli (L.) Beauv.) ถัว่ ผี (Phaseolus lathyroides L.) และผักโขม (Amaranthus gracilis) และพืชปลูก 5 ชนิดคือ ข้ าวโพด (Zea mays) ข้ าว (Oryza sativa) แตงกวา (Cucumis sativus) กะหล่าปลี (Brassica oleracea) และกวางตุ้ง (Brassica chinensis Jusl var parachinensis) วางเรี ยงในจานเพาะเมล็ด จานละ 20 เมล็ด ปิ ดฝาครอบ และนาไปวางในตู้ Growth Chamber โดยใช้ แผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design จานวน 4 ซ ้า เมื่อครบ 7 วัน นับจานวนเมล็ดที่งอก และวัดอัตราการเจริ ญเติบโตในด้ านความยาวต้ นและราก นาข้ อมูลที่ได้ ไป วิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ และเปรี ยบเทียบ ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี Tukey’s Studentized Range Test ที่ ระดับความเชื่อมัน่ 95% การทดลองที่ 2 การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ จากใบปอขีไ้ ก่ แห้ ง ที่มีผลต่ อ การงอกและการเจริ ญเติบโต ของพืชทดสอบในจานทดลอง นาใบปอขี ้ไก่ มาล้ างทาความสะอาด อบให้ แห้ ง จากนันน ้ าไปอบให้ แห้ งนาปอขี ้ไก่มาปั่ นหรื อบดให้ เป็ นชิ ้นขนาดเล็ก เตรี ยมผลิตภัณฑ์จากใบปอขีไ้ ก่แห้ ง อัตราส่วนการทาผลิตภัณฑ์ดงั นี ้ ปูนขาว 25 กรัม แป้งมัน 25 กรัม ใบปอขีไ้ ก่แห้ ง บดละเอียด 50 กรัม โดยเริ่ มจากนาแป้งมันมาละลายกับน ้า โดยคานวณให้ ใช้ น ้า 3 มิลลิลิตร ต่อส่วนผสมทังหมด ้ 10 กรัม แล้ ว นาไปตังไฟอ่ ้ อน เคี่ยวจนเหนียวเป็ นแป้งเปี ยกใส่ปนู ขาวลงไป คนให้ เข้ ากัน ทิ ้งไว้ ให้ เย็น จากนันใส่ ้ ใบปอขี ้ไก่แห้ ง นาไปผึง่ ลมให้ แห้ ง ก่อนนาไปทดสอบในจานเพาะเมล็ด โดยใส่ผลิตภัณฑ์ที่อตั รา 25, 50, 100 และ 200 มิลลิกรัมต่อจานเพาะเมล็ด โดยใช้ น ้ากลัน่ เป็ นวิธีการเปรี ยบเทียบ วางเมล็ดหญ้ าข้ าวนก และถัว่ ผี เรี ยงในจานเพาะเมล็ด จานละ 20 เมล็ด ปิ ดฝาครอบ และนาไป วางในตู้ Growth Chamber โดยใช้ แผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design จานวน 4 ซ ้า เมื่อครบ 7 วัน นับ จานวนเมล็ดที่งอก และวัดอัตราการเจริ ญเติบโตด้ านความยาวต้ นและราก นาข้ อมูลที่ได้ ไปวิเคราะห์ความแปรปรวนทางสถิติ และเปรี ยบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี Tukey’s Studentized Range Test ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

755


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลการทดลอง การทดลองที่ 1 การศึกษาผลของสารสกัดนา้ ของใบปอขีไ้ ก่ ท่ ีมีผลต่ อการงอกและการเจริ ญเติบโตของเมล็ดวัชพืช และพืชปลูกบางชนิด จากการศึกษาผลของสารสกัดน ้าจากใบปอขี ้ไก่ที่มีผลต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของหญ้ าข้ าวนก ถัว่ ผี ผักโขม ข้ าวโพด ข้ าว แตงกวา กะหล่าปลี และกวางตุ้ง ที่ระดับความเข้ มข้ น 1.25, 2.5, 5 และ 10 เปอร์ เซ็นต์ โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นวิธีการ ควบคุม พบว่า ที่ระดับความเข้ มข้ น 5 เปอร์ เซ็นต์ สารสกัดน ้าจากใบปอขี ้ไก่มีผลในการยับยังการงอกสู ้ งสุด โดยสามารถยับยัง้ การรอดชีวิตและการเจริญเติบโตของ แตงกวา กวางตุ้ง ผักโขม และถัว่ ผี ได้ อย่างสมบูรณ์ รองลงมาคือ กะหล่าปลี หญ้ าข้ าวนก ข้ าว และข้ าวโพด ตามลาดับ โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นวิธีการควบคุม ซึง่ สอดคล้ องกับ Laosinwattana et al. (2007) ได้ ศกึ ษาสารสกัด ด้ วยน ้าจากหญ้ าแฝกพันธุ์นครสวรรค์ (Vetiveria nemoralis (balansa) A. Camus Nakhon Sawan ecotype) ที่ระดับความ เข้ มข้ น 100 มิลลิกรัมต่อมิลลิลติ ร ต่อการงอกของพืชทดสอบ 15 ชนิด พบว่า ที่ระดับการงอก 0-20 เปอร์ เซ็นต์ ได้ แก่ ผักกาดหัว (Raphanus sativus) หญ้ าไข่มกุ (Pennisetum americanum L.) และคะน้ า (Brassica oleracea var. alboglabra) ที่ระดับ การงอก 21-40 เปอร์ เซ็นต์ ได้ แก่ ผักโขม (Amaranthus viridis L.) ขจรจบดอกใหญ่ (Pennisetum polystachyon) ผักบุ้ง (Ipomoea aquatica Forsk.) และ ถัว่ ผี ที่ระดับการงอก 41-60 เปอร์ เซ็นต์ ได้ แก่ ข้ าว หญ้ าข้ าวนก มะเขือเทศ (Lycopersicon esculentum) และต้ อยติ่ง (Ruellia tuberosa L.) ที่ระดับการงอก 61-80 เปอร์ เซ็นต์ ได้ แก่ ถัว่ ฝักยาว (Vigna sinensis Savia) และ บวบเหลี่ยม (Luffa acutangula Roxh.) ที่ระดับการงอก 81-100 เปอร์ เซ็นต์ ได้ แก่ ไมยราบยักษ์ (Mimosa pigra) และถัว่ เหลือง (Glycine max) แสดงให้ เห็นว่าสารสกัดมีความจาเพาะต่อพืชทดสอบบางชนิดเท่านัน้ Table 1 Effect of aqueous extracts from Marachra capitata leaf on weeds test. Inhibition percentage of control (%) Concentration Germination Shoot length Root length Echinochloa crus-galli (L.) Beauv.) Control 0.00b 0.00b 0.00d 1.25% 0.00b 8.73b 4.33d 2.5% 0.00b 3.14b 15.97c 5% 0.00b 14.33b 76.87b 10% 63.75a 92.72a 100.00a Phaseolus lathyroides L. Control 0.00c 0.00b 0.00d 1.25% 0.00c 3.99b 8.08d 2.5% 0.00c 17.45c 23.99c 5% 28.75b 100.00a 100.00a 10% 100.00a 100.00a 100.00a Amaranthus gracilis Control 0.00c 0.00c 0.00d 1.25% 0.00c 4.00c 37.72c 2.5% 28.75b 30.40b 61.08b 5% 100.00a 100.00a 100.00a 10% 100.00a 100.00a 100.00a Note: the values represent treatment means. Different letters indicate significance differences (p<0.05) between treatments.

756

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Effect of aqueous extracts from Marachra capitata leaf on crop test. Inhibition percentage of control (%) Concentration Germination Shoot length Root length Zea mays 0.00a 0.00d 0.00e Control 0.00a 8.41d 5.05d 1.25% 0.00a 26.56c 21.67c 2.5% 0.00a 50.77b 53.56b 5% 3.75a 64.91a 81.00a 10% Oryza sativa 0.00b 0.00b 0.00e Control 0.00b -0.81b 38.22d 1.25% 1.25b 1.27b 50.22c 2.5% 3.75b 6.24b 88.51b 5% 87.50a 100.00a 100.00a 10% Cucumis sativus 0.00b 0.00b 0.00d Control 0.00b 4.03b 31.65c 1.25% 0.00b 8.85b 56.79b 2.5% 100.00a 100.00a 100.00a 5% 100.00a 100.00a 100.00a 10% Brassica oleracea 0.00c 0.00c 0.00b Control 5.00c 39.97b 63.33c 1.25% 32.50b 44.25b 72.44b 2.5% 97.50a 100.00a 100.00a 5% 100.00a 100.00a 100.00a 10% Brassica chinensis Jusl var parachinensis 0.00c 0.00c 0.00c Control 0.00c -1.13c 73.97b 1.25% 15.00b 26.55b 85.86b 2.5% 100.00a 100.00a 100.00a 5% 100.00a 100.00a 100.00a 10% Note: the values represent treatment means. Different letters indicate significance differences (p<0.05) between treatments.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

757


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การทดลองที่ 2 ศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ จากใบปอขีไ้ ก่ แห้ ง ที่มีผลต่ อ การงอกและการเจริ ญเติบโตของ พืชทดสอบในจานทดลอง จากการศึกษาผลของผลิตภัณฑ์จากปอขี ้ไก่แห้ ง ที่มีผลต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของหญ้ าข้ าวนกและถัว่ ผี ที่ อัตรา 25, 50, 100 และ 200 มิลลิกรัมต่อจานเพาะ โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นวิธีการควบคุม พบว่า ผลิตภัณฑ์จากปอขี ้ไก่แห้ งที่อตั รา 200 มิลลิกรัมต่อจานทดลอง มีผลในการยับยังการงอกและการเจริ ้ ญเติบโตของพืชทดสอบได้ สงู สุด โดยผลิตภัณฑ์จากปอขี ้ไก่ แห้ งที่อตั รา 200 มิลลิกรัมต่อจานเพาะ ให้ ผลในการยับยังการงอกของหญ้ ้ าข้ าวนกได้ ดีที่สดุ มีเปอร์ เซ็นต์ยบั ยังการงอกเท่ ้ ากับ 17.50 เปอร์ เซ็นต์ และสามารถยับยังการงอกและการเจริ ้ ญเติบโตของถัว่ ผีได้ โดยสมบูรณ์ ซึ่งสอดคล้ องกับการทดลองของ ธีรวัฒน์ (2552) ได้ ทาการศึกษาเปรี ยบเทียบผลของผลิตภัณฑ์จากชะอมรูปแบบผง ที่ระดับความเข้ มข้ น 6.25, 12.5, 25 และ 50 มิลลิกรัม (สารออกฤทธิ์) ต่อมิลลิลิตร ต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของถัว่ ผี และหญ้ าข้ าวนก โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นวิธีการ ควบคุม พบว่า ผลิตภัณฑ์ ป้องกันกาจัดวัชพืชจากชะอมรู ปแบบผง ที่ระดับความเข้ มข้ น 25 มิลลิกรัม (สารออกฤทธิ์ ) ต่อ มิลลิลิตร สามารถยับยังการงอกของถั ้ ว่ ผีได้ อย่างสมบูรณ์ และสามารถยับยังการงอกของหญ้ ้ าข้ าวนกได้ 90 เปอร์ เซ็นต์ และ เมื่อความเข้ มข้ นของผลิตภัณฑ์จากชะอมรู ปแบบผงเพิ่มสูงขึน้ ความยาวต้ นและความยาวรากของถัว่ ผี และหญ้ าข้ าวนกจะ ลดลง Table 3 Effect of natural herbicide product from M. capitata dried leaf on germination and seedling growth of seeds test Inhibition percentage of control (%) natural herbicide product (mg/petri-dish) Germination Shoot length Root length Echinochloa crus-galli (L.) Beauv.) control 0.00c 0.00c 0.00c 25 0.00c 3.84c 10.25c 50 0.00c 6.81c 33.05b 100 10.00b 24.70b 43.47b 200 17.50a 43.47a 95.17a Phaseolus lathyroides L. 0.00b 0.00d 0.00e control 0.00b 22.17c 27.99d 25 2.50b 16.97cd 65.32c 50 8.75ab 46.45b 80.40b 100 18.75a 100.00a 100.00a 200 Note: the values represent treatment means. Different letters indicate significance differences (p<0.05) between treatments.

สรุ ป

จากการศึกษาผลของสารสกัดน ้าจากใบปอขี ้ไก่ที่มีผลต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของหญ้ าข้ าวนก ถัว่ ผี ผักโขม ข้ าวโพด ข้ าว แตงกวา กะหล่าปลี และกวางตุ้ง ที่ระดับความเข้ มข้ น 1.25, 2.5, 5 และ 10 เปอร์ เซ็นต์ โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นวิธีการ ควบคุม พบว่า ที่ระดับความเข้ มข้ น 5 เปอร์ เซ็นต์ สารสกัดน ้าจากใบปอขี ้ไก่มีผลในการยับยังการงอกสู ้ งสุด โดยสามารถยับยัง้ การงอกที่ระดับ 0-20 เปอร์ เซ็นต์ ได้ แก่ หญ้ าข้ าวนก ข้ าว และข้ าวโพด และสามารถยับยังการงอกที ้ ่ระดับ 81-100 เปอร์ เซ็นต์ ได้ แก่ แตงกวา กวางตุ้ง ผักโขม ถัว่ ผี และ กะหล่าปลี ตามลาดับ โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นวิธีการควบคุม แสดงให้ เห็นว่าสารสกัดมี ประสิทธิ ภาพต่อการยับยัง้ การงอกและการเจริ ญเติบโตของพืชทดสอบแต่ละชนิดแตกต่างกัน และจากการศึกษาผลของ ผลิตภัณฑ์จากปอขี ้ไก่แห้ ง ที่มีผลต่อการงอกและการเจริ ญเติบโตของหญ้ าข้ าวนกและถัว่ ผี ที่อตั รา 25, 50, 100 และ 200 มิลลิกรัมต่อจานเพาะ โดยมีน ้ากลัน่ เป็ นวิธีการควบคุม พบว่า ผลิตภัณฑ์จากปอขี ้ไก่แห้ งที่อตั รา 200 มิลลิกรัมต่อจานเพาะ มี ผลในการยับยังการงอกและการเจริ ้ ญเติบโตของพืชทดสอบได้ สงู สุด

758

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง เครื อข่ายเตือนภัยสารเคมีกาจัดศัตรูพืช (thai-pan). 2558. [online] Avaible: http:// http://www.thaipan.org/info/stat ธีรวัฒน์ คาหนัก มณทินี ธีรารักษ์ และจารูญ เล้ าสินวัฒนา. 2552. ผลทางอัลลีโลพาทีของชะอมต่อการเจริ ญเติบโตของพืชทดสอบ. วารสาร วิทยาศาสตร์ เกษตร. ปี ที่ 3 (40) ฉบับพิเศษ : 78-81. สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2558. ปริ มาณและมูลค่าการนาเข้ าสารกาจัดวัชพืช. [online] Avaible: http://www.oae.go.th/ewt_news.php?nid=146 สานักงานหอพรรณไม้ สานักวิจยั การอนุรักษ์ ป่าไม้ และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติสตั ว์ป่าและพันธุ์พืช. 2556. สารานุกรมพืชในประเทศไทย [online] Avaible: http://web3.dnp.go.th/botany/dictindex.aspx. Laosinwattana C., Phuwiwat, W. and Charoenying, P. 2007. Assessment of allelopatic potential of Vetivergrass (Vetiveria spp.) ecotypes.” Allelopathy Journal. 19 (2) : 469-478. Rice, E.L. 1984. Allelopathy. 2nd ed. Academic Press, Inc., Orlando, U.S.A. 422 p.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

759


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของนา้ มันหอมระเหยจากพืชต่ อตัวเต็มวัยไรแดงแอฟริกัน (Eutetranychus africanus (Tucker )) Effect of Plant Essential Oils on Adult of African Red Mite (Eutetranychus africanus (Tucker)) สุชีรา ด่ านอรุ ณ0F1ภัทราภรณ์ หอมคง1จรงค์ ศักดิ์ พุมนวน2 และ อามร อินทร์ สังข์ 2 Sucheera Danarun1, Phattaraporn Homkong1, JarongsakPumnuan2 and Ammorn Insung2

บทคัดย่ อ การทดสอบผลของน ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร 14 ชนิด โดยวิธีการจุ่มใบ (leaf dipping method) ต่อตัวเต็มวัย ของไรแดงแอฟริ กนั (Eutetranychus africanus (Tucker)) ที่ความเข้ มข้ น 2% ตรวจนับอัตราการตายที่ 24 ชัว่ โมง พบว่า น ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร 5 ชนิด ได้ แก่ ขมิ ้นชัน (Curcuma longa Linn.) ตะไคร้ บ้าน (Cymbopogon citratus (DC. exNees)) ตะไคร้ หอม (Cymbopogon nardus (L.) Rendle) อบเชย (Cinnamomum verum JS. Presl) และกานพลู (Syzygium aromaticum Merr.&L.M. Perry) มีประสิทธิภาพในการฆ่าตัวเต็มวัยไรแดงแอฟริ กนั ค่อนข้ างสูง สามารถฆ่าได้ มากกว่า 35% เมื่อนาน ้ามันหอมระเหยสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพสูงมาทดสอบต่อที่ความเข้ มข้ น 0 (5% Tween-20 ในน ้า), 1, 2, 3, 4 และ 5% ผลการทดลองพบว่าน ้ามันหอมระเหยจากขมิ ้นชันมีประสิทธิภาพในการฆ่าตัวเต็มวัยของไรแดงแอฟริ กนั ได้ ดี ที่สดุ ที่ความเข้ มข้ น 5% สามารถฆ่าตัวเต็มวัยของไรได้ เท่ากับ 100% โดยมีค่า LC50เท่ากับ 1.66% ขณะที่น ้ามันหอมระเหย จากตะไคร้ หอม ตะไคร้ บ้าน อบเชย และกานพลู สามารถฆ่าตัวเต็มวัยของไรได้ เท่ากับ 91.6, 90.7, 86.4 และ 87.4% ตามลาดับ โดยมีคา่ LC50เท่ากับ 2.37, 2.43, 2.89 และ 3.05% ตามลาดับ คาสาคัญ : น ้ามันหอมระเหยจากพืช, ขมิ ้นชัน, ไรแดงแอฟริกนั , พืชสมุนไพร, วิธีการจุ่มใบ

Abstract Plant essential oils obtained from 14 medicinal plants at 2% concentrations were tested against adult of African red mite (Eutetranychus africanus (Tucker)) by leaf dipping method. The mortality was recorded at 24 hours. The result showed that essential oils from turmeric (Curcuma longa Linn.), lemon grass (Cymbopogon citratus (DC. ex Nees)), citronella grass (Cymbopogon nardus (L.) Rendle), cinnamon (Cinnamom umverum JS.Presl) and clove (Syzygium aromaticum Merr.& L.M. Perry) were relatively highly effective to adult of African red mite, with more than 35% mortality. Then, the highly effective essential oils at concentrations of 0 (5% Tween-20 in water), 1, 2, 3, 4 and 5% were tested against E. africanus. The results showed that 5% C. longa essential oil was the most effective acaricide with 100%mortality and LC50 value of 1.66%, followed by essential oils from C. nardus, C. citratus, C. verum and S. aronation with 91.6, 90.7, 86.4 and 87.4% mortality and LC50value of 2.37, 2.43, 2.89 and 3.05%, respectively. Key words: plant essential oils, Curcuma longa, African red mite, medicinal plants, leaf dipping method

1 2

นักศึกษาปริ ญญาโท คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 760

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ไรแดงแอฟริ กนั (Eutetranychus africanus (Tucker)) เป็ นศัตรู ที่สาคัญต่อพืชเศรษฐกิจ สร้ างความเสียหายแก่ ผลผลิตทางการค้ า เช่น ส้ มโอ ส้ มเขียวหวาน ทุเรี ยน และมะละกอ เป็ นต้ น โดยเฉพาะในสภาพพื ้นที่ปลูกที่แห้ งแล้ งและขาดการ ให้ น ้าอย่างทัว่ ถึง (วัฒนา และคณะ, 2531) ลักษณะการเข้ าทาลายของไรแดงแอฟริ กนั ทังตั ้ วอ่อนและตัวเต็มวัย ดูดกินน ้าเลี ้ยง บริเวณด้ านหน้ าหรื อด้ านบนของใบ ตลอดจนผลก็ถกู ทาลายโดยไรชนิดนี ้เช่นกัน ใบที่ถกู ดูดกิน ปรากฏเป็ นจุดสีซีดจางกระจาย อยูท่ วั่ ทาให้ ใบสูญเสียคลอโรฟิ ลล์ ซึง่ มีธาตุไนโตรเจนเป็ นองค์ประกอบ (Kulpiyawat et al., 1993) หากมีการระบาดรุนแรงอาจ ทาให้ ใบและผลร่วงในที่สดุ (เทวินทร์ และคณะ, 2534) สาหรับในทุเรี ยน ไรแดงแอฟริ กนั จะดูดกินน ้าเลี ้ยงอยู่บริ เวณผิวใบ ทาให้ เกิดเป็ นจุดปะ สีขาวกระจายอยู่ทวั่ บนใบ ต่อมาจุดปะสีขาวจะแผ่ขยายออกไปเป็ นบริ เวณกว้ าง จนใบมีอาการขาวซีดและมี คราบสีขาวเกาะติดเป็ นผงขาวๆ คล้ ายฝุ่ นจับหากเมื่อระบาดรุนแรงและต่อเนื่องจะทาให้ ใบร่วงและมีผลกระทบต่อการออกดอก และติดผลของทุเรี ยน (ชลิดา, 2532) ไรแดงแอฟริ กนั มีการเจริ ญเติบโต 5 ระยะ คือ ระยะไข่ 4-5 วัน ตัวอ่อน 3-6 วัน ตัวเต็มวัย 6-16 วัน ตัวเต็มวัยเพศเมีย 1 ตัว วางไข่ได้ 13-56 ฟอง (ลายอง และวินยั , 2556) ปั จจุบนั มีการใช้ สารเคมีในการควบคุมไรแดงแอฟริ กันมาก เช่น propargite, hexythiazox และ amitraz เป็ นต้ น (มานิตา และคณะ, 2553) เกษตรกรนิยมใช้ สารเคมีกาจัดไร เนื่องจากเห็น ผลได้ ทนั ที มีความสะดวกสบาย และเป็ นวิธีเดียวที่สามารถลดจานวนประชากรของไรได้ อย่างรวดเร็ ว Kulpiyawat (2001) รายงานว่า ปั จจุบันบางพื น้ ที่ ที่ทาการปลูกส้ มในประเทศไทย สารฆ่าไรไม่สามารถมี ฤทธิ์ ในการป้องกันกาจัดและควบคุม ปริ มาณไรศัตรู พืชได้ เนื่องจากการปรับตัวเพื่อต้ านทานต่อสารเคมีของไรศัตรู พืช และยังนามาซึ่งอันตรายต่อผู้ใช้ สารเคมี ต่อ ผู้บริ โภคและสภาพแวดล้ อมอีกด้ วย ด้ วยเหตุผลดังกล่าวแนวทางในการป้องกันจากัดไรแดงแอฟริ กนั โดยน ้ามันหอมระเหยจาก พืชสมุนไพรเพื่อบริ หารจัดการ จึงเป็ นทางเลือกที่สาคัญ ปั จจุบนั มีการศึกษาถึงประสิทธิภาพการใช้ น ้ามันหอมระเหยจากพืชใน การป้องกันกาจัดแมลงและไรศัตรู พืชหลายชนิดได้ แก่ การใช้ น ้ามันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชย ในการฆ่าไรในโรงเก็บ (Suidasia pontifica Oudemans) (จรงค์ศกั ดิ์ และอามร, 2555) น ้ามันหอมระเหยจากตะไคร้ บ้าน ตะไคร้ หอมและกานพลู มี ประสิทธิภาพในการไล่ไรดีด (Formicomotes heteromorphus Magowski) และไรไข่ปลา(Luciaphorus perniciosus Rack) (จรงค์ศกั ดิ์ และคณะ, 2553) น้ํ ามันหอมระเหยจากขมิ ้นชัน และโหระพา มีประสิทธิภาพในการฆ่าด้ วงงวงข้ าวโพด (ศศธร และ คณะ, 2550) น ้ามันหอมระเหยจากใบยูคาลิปตัสมีประสิทธิภาพในการฆ่าหนอนกระทู้ผกั (Spodoptera litura Fabricius) (นันทิยา และศิริพรรณ, 2547) ประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยจากเหง้ าสดของพืชตระกูลขิง 3 ชนิด คือ ข่าลิง กระทือควาย และว่านขมิ ้นในการเป็ นสารไล่ด้วงงวงข้ าวโพด (S. zeamais) และมอดแป้ง (Tribolium castaneum (Herbst)) (ดวงสมร และ คณะ, 2554) วัตถุประสงค์ของการทดลองครัง้ นี ้เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยจากพืช 14 ชนิด ต่อตัวเต็มวัยไรแดง แอฟริ กนั (Eutetranychus africanus (Tucker)) โดยวิธีการจุ่มใบ (leaf dipping method) ในห้ องปฎิบตั ิการ และหาระดับ ความเป็ นพิษของน ้ามันหอมระเหยจากพืชที่มีประสิทธิภาพสูงในการกาจัดไรแดงแอฟริกนั

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

761


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

อุปกรณ์ และวิธีการ 1. การเตรี ยมพืชสมุนไพร การคัดเลือกพืชสมุนไพรที่นามาใช้ ในการทดลองเพื่อกาจัดตัวเต็มวัย ไรแดงแอฟริ กนั (E. africanus) จากพืช 14 ชนิด (Table1) โดยมีแนวทางในการคัดเลือกจากการศึกษาผลงานวิจยั และเอกสารทางวิชาการที่มีการนาพืชสมุนไพรมาใช้ ทดสอบ ประสิทธิภาพกับไรและแมลง ดาเนินการตรวจสอบชนิดของสมุนไพรโดยผู้เชี่ยวชาญทางด้ านพฤกษศาสตร์ Table1. Medicinal plant essential oils used in experiments to test against the African red mite, ( Eutetranychus africanus (Tucker)) Family/ Scientific name Common name Thai name Plant part MYRTACEAE 1. Syzygium aromaticum (L.) Merr.&L.M. Perry) Clove tree กานพลู Dried flower bud 2. Eucalyptus globulus Labill. Blue ยูคาลิปตัส Fresh leaf PIPERACEAE 3.Piper nigrum Linn. Perper พริกไทย Dried seed GRAMINEAR 4.Cymbopogon nardus (Linn.) Rendle Citronella grass ตะไคร้ หอม Fresh leaf 5.Cymbopogon citratus (Dc.ex.Nees) Lemon grass ตะไคร้ บ้าน Fresh leaf RUTACEAE 6.Citrus hystrix DC. Kaffir lme มะกรูด Fresh peel LABIATE 7.Ocimum basilicum L. Sweet Basil โหระพา Fresh leaf ZINGIBERACEAE 8.Zingiber officinale Roscoe Ginger ขิง Fresh rhizome 9..Amomum krervanh Pierre Siam cardamom กะวาน Dried seed 10.Curcuma longa Linn. Turmaric ขมิ ้นชัน Fresh rhizome 11.Zingiber cassumunar Roxb Cassumunar ginger ไพล Fresh rhizome ILLICIACEAE 12.llicium verum Hook.f. Chinese star anise จันทร์ แปดกลีบ Dried flower bud LAURACEAE 13.Cinnamomum verum JS. Presl Cinnamon อบเชย Fresh leaf UMBELLIFERAE 14.Foeniculum vulgare Miller subsp. var. vulgare Fennel เทียนข้ าวเปื อก Dried seed 2. การสกัดนา้ มันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร นาส่วนต่างๆ ของพืชสมุนไพรแต่ละชนิดมาสกัดด้ วยเครื่ องสกัดน ้ามัน โดยวิธี กลัน่ ด้ วยน ้า (water distillation) โดย เติมน ้าพอท่วม ต้ มจนเดือดเป็ นเวลา 3-6 ชัว่ โมง ไขส่วนที่เป็ นน ้ามันหอมระเหยกรองผ่าน anhydrous sodium sulfateและเก็บ ไว้ ในภาชนะทึบแสงในตู้เย็นอุณหภูมิ 12°C เพื่อใช้ ในการทดสอบกับไรแดงแอฟริกนั ต่อไป 3. การเพาะเลีย้ งไรแดงแอฟริกัน ทาการเพาะเลี ้ยงไรแดงแอฟริกนั บนใบหม่อนที่วางบนสาลีชบุ น ้าวางในถาดขนาด 9.5 x13.7 cm ในห้ องปฎิบตั ิการ ที่ อุณหภูมิ 25±2°C โดยทาการปล่อยไรแดงแอฟริ กนั เพศผู้และเพศเมีย เพศละ 50 ตัว ลงบนใบหม่อนเมื่อเพศเมียวางไข่ แยกตัว 762

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เต็มวัยออกจากไข่ ปล่อยให้ ไข่ฟักเป็ นตัวอ่อนและลอกคราบเป็ นตัวเต็มวัยตามลาดับ นาไรแดงแอฟริ กนั ตัวเต็มวัยเพศเมียที่มี อายุ 4-5 วัน มาทดสอบกับน ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรต่อไป 4. การทดสอบประสิทธิภาพของนา้ มันหอมระเหยจากพืชต่ อไรแดงแอฟริกันในห้ องปฎิบัตกิ าร จากการทดสอบประสิ ท ธิ ภ าพของน า้ มัน หอมระเหยที่ ส กัด จากพื ช เบื อ้ งต้ น 14 ชนิ ด โดยวิ ธี ก ารจุ่ ม ใบ (leaf dipping method) ต่อตัวเต็มวัยของไรแดงแอฟริ กนั โดยตัดใบหม่อนเป็ นวงกลมขนาดเส้ นผ่าศูนย์กลาง 1 cm จานวน 3 ใบ จากนันน ้ าใบหม่อนที่ตดั แล้ วจุ่มลงในน ้ามันหอมระเหยจากพืชแต่ละชนิดในเบื ้องต้ นทาการทดสอบที่ความเข้ มข้ น 2% จุ่มไว้ นาน 1 นาที ทิ ้งใบหม่อนให้ แห้ งในที่ร่ม10 นาที ที่อณ ุ หภูมิห้องปล่อยไรแดงแอฟริ กนั ตัวเต็มวัยเพศเมีย ลงไป 10 ตัว ต่อใบ ตรวจ นับอัตราการตายที่ 24 ชัว่ โมง หลังจากนันท ้ าการคัดเลือกน ้ามันหอมระเหยที่มีประสิทธิภาพในการฆ่าตัวเต็มวัยของไรแดงแอฟ ริ กนั สูงสุด 5 ชนิด ไปทดสอบต่อเพื่อหาระดับความเป็ นพิษของน ้ามันหอมระเหยจากพืชที่ความเข้ มข้ น 0 (5% Tween-20 ใน น ้า), 1, 2, 3, 4 และ 5% ต่อไป โดยวิธีการทดสอบแบบเดียวกับการทดลองข้ างต้ น 5. การวิเคราะห์ ข้อมูล วางแผนการทดลองแบบ CRD (completely randomized design) คานวณหาเปอร์ เซ็นต์การตายที่แท้ จริ งตามสูตร ของ Abbott’s formula (Abbott, 1925) นาข้ อมูลที่ได้ ทงหมดมาวิ ั้ เคราะห์ความแปรปรวน ANOVA และวิเคราะห์แตกต่างทาง สถิติโดยเปรี ยบเทียบค่าเฉลี่ยด้ วยวิธีการ DMRT (Duncan’s multiple range test) ที่ระดับความเชื่อมัน่ 95% ใช้ โปรแกรม สาเร็จรูป SAS (Statistical Analysis System) และ คานวณหาค่า LC50 และ LC90 โดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS probit analysis

ผลการทดลองและวิจารณ์ จากการทดสอบประสิทธิ ภาพในรู ปของสารฆ่า ของนา้ มันหอมระเหยจากพืช 14 ชนิด ได้ แก่ ตะไคร้ หอม พริ กไทย ขมิ ้นชัน ยูคาลิปตัส จันทร์ แปดกลีบ ตะไคร้ บ้าน ขิง อบเชย การพลู เทียนข้ าวเปลือก มะกรูด ไพล กระวาน และ โหระพา โดย ในเบื ้องต้ นทาการทดสอบที่ความเข้ มข้ น 2% ต่อตัวเต็มวัยไรแดงแอฟริ กนั (E. africanus (Tucker )) โดยวิธีการจุ่มใบ ตรวจนับ อัตราการตายที่ 24 ชัว่ โมง พบว่าน ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพร 5 ชนิด ได้ แก่ ขมิ ้นชัน ตะไคร้ บ้าน ตะไคร้ หอม อบเชย และ กานพลู มีประสิทธิภาพในการฆ่าตัวเต็มวัยไรแดงแอฟริ กนั สูง สุดสามารถฆ่าได้ 70.7, 58.5, 49.0, 40.7 และ 35.3% ตามลาดับ ขณะที่น ้ามันหอมระเหยจากยูคาลิปตัส โหระพา จันทร์ แปดกลีบ ไพล มะกรู ด ขิง กระวาน พริ กไทย และเทือนข้ าวเปื อก มี ประสิทธิภาพต่าในการฆ่าไรแดงแอฟริกนั คือสามารถฆ่าได้ เพียง 19.2-29.7% เท่านัน้ (Figure 1) เมื่อนาน ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพสูง ในการฆ่าไรแดงแอฟริ กนั ได้ แก่ น ้ามันหอมระเหยจาก ขมิ ้นชัน ตะไคร้ บ้าน ตะไคร้ หอม อบเชย และกานพลู มาทดสอบต่อที่ความเข้ มข้ น 0 (5% Tween-20 ในน ้า), 1, 2, 3, 4 และ 5% ตรวจนับอัตราการตาย 24 ชัว่ โมง ผลการทดลองพบว่าน ้ามันหอมระเหยจากขมิ ้นชันมีประสิทธิภาพในการฆ่าตัวเต็มวัยของ ไรแดงแอฟริ กนั ได้ ดีที่สดุ โดยที่ความเข้ มข้ น 2% มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรแดงแอฟริ กนั ได้ มากกว่า 70% สูงกว่าน ้ามันหอม ระเหยจาก ตะไคร้ บ้าน ตะไคร้ หอม กานพลู และอบเชย แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ความเชื่อมัน่ 95% ขณะที่ความ เข้ มข้ น 4% มีประสิทธิภาพในการฆ่าไรแดงแอฟริกนั ได้ มากกว่า 90% สูงกว่าน ้ามันหอมระเหยจากตะไคร้ บ้าน และตะไคร้ หอม ที่สามารถฆ่าไรแดงแอฟริกนั ได้ มากกว่า 80% ไม่แตกต่างทางสถิติ ที่ความเชื่อมัน่ 95% และ น ้ามันหอมระเหยขมิ ้นชัน ที่ความ เข้ มข้ น 5% สามารถฆ่าตัวเต็มวัยของไรได้ เท่ากับ 100% โดยมีค่า LC50 เท่ากับ 1.655% ขณะที่นา้ มันหอมระเหยจากตะไคร้ บ้ าน ตะไคร้ หอม กานพลู และอบเชย ที่ความเข้ มข้ น 5% สามารถฆ่าตัวเต็มวัยของไรแดงได้ เท่ากับ 90.7, 91.6, 87.4 และ 86.4% ตามลาดับ โดยมีคา่ LC50 เท่ากับ 2.43, 2.37, 2.89 และ 3.05% ตามลาดับ (Table 2) การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

763


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

จากการทดสอบแสดงให้ เห็นว่านา้ มันหอมระเหยจากขมิน้ ชัน มีประสิทธิ ภาพในการฆ่าไรแดงแอฟริ กันได้ ดีที่สดุ มี รายงานว่าน ้ามันหอมระเหยจากขมิ ้นชันมีประสิทธิภาพในการป้องกันกาจัดแมลงอีกหลายชนิดได้ แก่ ศศธร และคณะ (2550) รายงานว่าน ้ามันหอมระเหยจากขมิ ้นชันความเข้ มข้ น 15 μl/cm2 สามารถฆ่าด้ วงงวงข้ าวโพด (S. zeamais) ได้ 100% ขณะที่ วัชนีย์ (2538) รายงานว่าน ้ามันหอมระเหยจากขมิ ้นชัน ที่ความเข้ มข้ น 50% สามารถไล่ยงุ ลาย (Ae. aegypti) ได้ นาน 2 ชัว่ โมง และ Tripathi et al. (2002) รายงานว่าน ้ามันหอมระเหยจากชมิ ้นชันมีประสิทธิภาพในการฆ่าแมลงในโรงเก็บโดยวิธีสมั ผัสและ วิธีการรม และยังมีผลต่อการวางไข่และการฟั กไข่ของแมลงอีกด้ วย ซึ่งการพัฒนาน ้ามันหอมระเหยจากขมิ ้นชันเพื่อเป็ น ทางเลือกในการฆ่าแมลงในโรงเก็บเป็ นทางเลือกที่น่าสนใจ (Alietal, 2014) ส่วนประสิทธิภาพน ้ามันหอมระเหยจากตะไคร้ บ้าน ที่ความเข้ มข้ น 10% มีประสิทธิภาพในการฆ่าตัวอ่อนและตัวเต็มวัยแมลงสาบอเมริ กนั (Periplaneta americana (Linnaeus)) ได้ 100% (นิติกรณ์ และมยุรา, 2555) นอกจากนันยั ้ งมีรายงานว่าน ้ามันหอมระเหยจากตะไคร้ หอมและกานพลู มีประสิทธิภาพ ในการไล่ศตั รูเห็ด 2 ชนิด ได้ แก่ ไรดีด (F. heteromorphus) และไรไข่ปลา (L. perniciosus ) อีกด้ วยโดยมีเปอร์ เซ็นต์ดชั นีการ ไล่ (%RI) เท่ากับ 60.3-66.25% (จรงค์ศกั ดิ์ และคณะ, 2553) และ น ้ามันหอมระเหยจากตะไคร้ หอมมีประสิทธิภาพในการฆ่า ไรไข่ปลา L. perniciosus โดยที่ความเข้ มข้ น 1.2 μg/cm3 สามารถฆ่าไรไข่ปลาได้ 92.90% (พิฆเนศ และคณะ, 2552) จาก การทดลองพบว่าน ้ามันหอมระเหยจากขมิ ้นชันมีประสิทธิภาพในการฆ่าไรแดงแอฟริ กนั มากที่สดุ ในห้ องปฏิบตั ิการรองลงมาคือ น ้ามันหอมระเหยจากตะไคร้ หอม ตะไคร้ บ้าน อบเชยและกานพลู ตามลาดับ มีความเป็ นไปได้ ที่จะนาน ้ามันหอมระเหยดังกล่าว จัดทาเป็ นสูตรน ้ามันหอมระเหยจากพืช ในการกาจัดไรแดงแอฟริ กนั ในสภาพแปลงต่อไป ทังนี ้ ้ควรให้ มีน ้ามันหอมระเหยจาก ขมิ ้นเป็ นองค์ประกอบหลักและมีน ้ามันหอมระเหย ตะไคร้ หอม ตะไคร้ บ้าน อบเชย หรื อกานพลู เป็ นองค์ประกอบรอง 100 70.7

60

49.0

40

29.7

21.9

20

35.5 24.3

40.7 25.0 19.2 22.6 23.2 22.0

22.0

Sweet basil

Siam cardamom

Kaffir lime

Cassumunar ginger

Plant essential oils

Fennel

Clove

Cinnamon

Ginger

Lemon grass

Chinese star anise

Blue gum

Turmeric

Citronella grass

0.0 Control

0

58.5

Pepper

% Mortality

80

Figure 1 Mortality percentages of adult of African red mite (Eutetranychus africanus (Tucker)) after treated with medicinal plant essential oils at 2% concentrations by leaf dipping method at 24 h.

764

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Mortality percentages of adult of African red mite (Eutetranychus africanus (Tucker)) after treated by leaf dipping method with medicinal plant essential oils at various concentrations at 24 h. % Mortality1 Concentration (%) 2 3 4 Bc Bb 51.8±5.4 70.0±7.5 84.4±6.7ABa 72.3±5.6Ac 85.6±6.2Ab 92.2±6.7Aab

LC50

LC90

slope

SE

%cv

5 91.6±7.3Aa 2.37 100.0±0.0Aa 1.66

4.33 3.22

0.57 0.82

0.05 0.05

11.6 8.9

51.8±5.4Bc 68.5±9.5Bb 80.5±6.7ABab

90.7±8.1Aa

4.5

0.62

0.04

13.7

Cinnamon 0.0±1.6d 10.7±6.2BCd 37.0±2.8Cc 57.6±6.0Bb 74.0±13.0Ba 86.4±14.0Aa 2.89 4.97 0.62 0.04 Clove 0.0±1.6e 4.0±0.7Ce 33.5±8.0Cd 55.6±9.1Bc 69.9±4.6Bb 87.4±12.6Aa 3.05 4.97 0.63 0.05 %cv 37.89 11.48 11.54 10.09 10.67 1 Means in column followed by the same capital letter and means in row followed by the common letter were not significantly different (P<0.005) according to DMRT.

19.6 19.7

Medicinal plant essential oils

0 1 e Citronella grass 0.0±1.6 17.9±6.2Bd Turmeric 0.0±1.6e 36.9±9.0Ad Lemon grass

0.0±1.6e

19.0±8.2Bd

2.43

สรุ ปผลการทดลอง จากการทดสอบประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยจากพืชต่อตัวเต็มวัยไรแดงแอฟริ กนั (Eutetranychus africanus (Tucker)) โดยวิธีการจุ่มใบในห้ องปฏิบตั ิการ พบว่าน ้ามันหอมระเหยจากขมิ ้นชัน มีประสิทธิภาพในการฆ่าตัวเต็มวัยของไรแดง แอฟริ กนั ได้ ดีที่สดุ โดยที่ความเข้ มข้ น 5% สามารถฆ่าได้ 100% และมีค่า LC50 เท่ากับ 1.66% ซึ่งมีความเป็ นไปได้ มากที่สดุ ที่ จะสามารถพัฒนาไปสูก่ ารใช้ ประสิทธิภาพจากขมิ ้นชันในการกาจัดไรแดงแอฟริกนั ในสภาพแปลงต่อไป

เอกสารอ้ างอิง จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน พิฆเนศ รองพล และอามร อินทร์ สงั ข์. 2553. ประสิทธิภาพการไล่ของน ้ามันหอมระเหยจากพืชต่อไรดีด (Formicomotes heteromorphus Magowski) และไรไข่ปลา (Luciaphorus perniciosus Rack). วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร. 41(2): (พิเศษ) 633636. จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และอามร อินทร์ สงั ข์. 2555. ประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยจากกานพลูและอบเชยในการควบคุม ไร Suidasia pontifica Oudemans ในการผลิตในโรงเก็บ. วารสารวิทยาศาสตร์ . มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 40(4): 1205-1213. ชลิดา อุณหวุฒิ. 2532. แมลงศัตรูทเุ รี ยน. โรคแมลง และการบารุงรักษาไม้ ผล (เงาะ มังคุด ทุเรี ยน และลองกอง). หน้ า 63- 69. ใน โครงการ พัฒนาและฟื น้ ฟูพื ้นที่ภาคใต้ ที่ประสบอุทกภัย. กรมวิชาการเกษตร. ดวงสมร สุทธิสทุ ธิ์, Paul G. Fields และอังศุมาลย์ จันทราปั ตย์. 2554.ประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยจากพืชตระกูล ขิงในการไล่ด้วงงวง ข้ าวโพด (Sitophilus zeamais Motschulsky) และมอดแป้ง (Tribolium castaneum (Herbst)).วารสารแก่นเกษตร. 39: 345-358. เทวินทร์ กุลปิ ยะวัฒน์ ฉัตรชัย ศฤงฆไพบูลย์ วัฒนา จารณศรี มานิตา คงชื่นสิน มารศรี จีระสมบัติ และนวลศรี วงศ์ศิริ. 2534. การวัดความเสียหาย จากส้ มโอที่เกิดจากไรแดงแอฟริ กนั . หน้ า 6-11. ใน รายงานผลการค้ นคว้ าและวิจยั ประจาปี 2534. กลุม่ งานอนุกรมวิธาน และวิจยั ไร, กองกีฏและสัตววิทยา, กรมวิชาการเกษตร. นิติกรณ์ เผือกบัวขาว และมยุรา สุนย์วีระ. 2555. ผลของน ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรต่อการตายของตัวอ่อนและตัวเต็มวัยแมลงสาบอเมริ กนั (Periplaneta americana). ใน การประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติครัง้ ที่ 10, 22-24 กุมภาพันธุ์ 2555, เชียงใหม่. นันทิยา จิตธรรมมา และศิริพรรณ ตันตาคม. 2547. ประสิทธิภาพในการเป็ นสารฆ่าแมลงของน ้ามันหอมระเหยจากใบยูคาลิปตัส (Eucalyptus camaldulensis Dehnh) ต่อหนอนกระทู้ผกั (Spodoptera litura Fabricius). ใน รายงานผลการค้ นคว้ าและวิจยั ปี 2547. ภาควิชากีฏ วิทยา คณะเกษตร กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน นครปฐม. พิฆเนศ รองพล จรงค์ศกั ดิ์ พุมนวน และอามร อินทร์ สงั ข์. 2552. ผลของการรมน ้ามันหอมระเหยจากพืชสมุนไพรต่อไรไข่ ปลา (Luciaphorus perniciosus Rack). วารสารวิจยั และส่งเสริ มการเกษตร. 26(3) : 20-25. มานิตา คงชื่นสิน ฉัตรไชย ศฤงฆไพบูลย์ วัฒนา จารณศรี เทวินทร์ กุลปิ ยวัฒน์ และมารศรี จีระสมบัติ. 2553. ประสิทธิภาพของสารฆ่าไรบางชนิดใน การป้องกันกาจัดไรแดง Eutetranychus africanus (Tucker) ในทุเรี ยน. ใน รายงานผลการค้ นคว้ าและวิจยั ปี 2533. กลุม่ งาน อนุกรมวิธานและวิจยั ไร กองกีฎและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

765


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า ลายอง ครี บผา และ วินยั ขยันยิ่ง. 2556. ข่าวพยากรณ์และเตือนภัยการระบาดศัตรูพืชไรแดงแอฟริ กนั สานักงานเกษตร จังหวัดตราดลดต้ นทุนและปลอดภัย หากเกษตรกรใช้ การจัดการศัตรู พืชแบบผสมผสานประจาเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 (ฉบับที่ 2/2).กลุม่ อารักขาพืช, สานักงานเกษตรจังหวัดตราด. วัชนีย์ รุ่งอินทร์ . 2538. ประสิทธิภาพของน ้ามันหอมระเหยจากพืชบางชนิดในการป้องกัน ยุงลาย (Aedes aegypti Linnaeus). วิทยานิพนธ์ ปริ ญญาวิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์ ) สาขาวิชาเอกโรคติดเชื ้อ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. 91 หน้ า. วัฒนา จารณศรี ฉัตรชัย ศฤงฆไพบูลย์ มานิตา คงชื่นสิน เทวินทร์ กุลปิ ยะวัฒน์ และนวลศรี วงศ์ศิริ. 2531. การศึกษาลักษณะทางอนุกรมวิธานของ ไรศัตรูส้มเขียวหวานในประเทศไทย. หน้ า 133-177. ใน รายงานผลการค้ นคว้ าและ วิจยั ประจาปี 2531. กลุม่ งานอนุกรมวิธานและวิจยั ไร, กองกีฏและสัตววิทยา, กรมวิชาการเกษตร. ศศธร สิงขรอาจ ณัฏฐา เลาหกุลจิตต์ อรพิน เกิดชูชื่น และ พรทิพย์ ศิริสนุ ทราลักษณ์ . 2550. การเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพ ของน ้ามันหอมระเหย จากพืช 5 ชนิด ต่อการควบคุมด้ วงงวงข้ าวโพด.วารสารวิทยาศาสตรเกษตร. 38(6) (พิเศษ): 295-298. Abbott, W.S. 1925. A method of computing the effectiveness of an insecticidc. Journal of Economic Entomology. 18: 265-267. Ali, S., Sagheer, M., Hassan, M., Abbas, M., Hafeez, F., Farooq, M., Hussain, D., Saleem, M. and A. Ghaffar. 2014. Insecticidal activity of turmeric (Curcma longa) and garlic (Alliium sativum) extracts against red flour beetle, Tribolium castaneum: A safe alternative to insecticides in stored commodities. Jounal of Entomology and Zoology Studies. 2(3): 201-205. Kulpiyawat, T., Charanasri, V., Saringkhaphaibul, C., Kongchuensin,. M. and M. Jeerasombat. 1993. Relationships of Eutetranychus africanus (Tucker) to pummelo damage. Annu. Rep. of the year 1993. Entomology and Zoology Division, Department of Agriculture. pp. 98-99. Kulpiyawat, T. 2001. Resistance and resistant mechanisms of some acaricides in African red mite, Eutetranychus africanus (Tucker). Ph.D. Dissertation. Kasetsart University, Bangkok. Tripathi, A. K., Prajapati, V., Verma, N., Bahl, J. R., Khanuja, S.P.S. and S. Kumar. 2002. Bioactivities of the leaf essential oil of Curcuma longa (Var. Ch-66) on three species of store-product beetles (Coleoptera). Journal of Economic Entomology. 95: 183-189.

766

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การศึกษาประชากรแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนในแปลงพริก Study on Fruit Fly Populations and Their Insect Parasitoids on Chill Pepper Crops อโนทัย วิงสระน้ อย1* และศรีสุภา ลีทอง1 Anothai Wingsanoi1*, and Srisupha Leethong1

บทคัดย่ อ แมลงวันผลไม้ เป็ นศัตรูสาคัญในแปลงปลูกพริ ก การทาลายส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพผลผลิต ผลผลิตต่อพื ้นที่ และการ ส่งออกผลผลิตพริ ก เนื่องจากแมลงวันผลไม้ ทาลายพริ กในระยะติดผล การสารวจชนิดของแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนใน แปลงปลูกพริ ก 2 จังหวัด คือ จังหวัดสกลนคร (จานวน 4 แห่ง 2 อาเภอ: อาเภอเมือง และอาเภอพังโคน) และจังหวัดชัยภูมิ (3 อาเภอ: อาเภอเกษตรสมบูรณ์ อาเภอจัตรุ ัส และอาเภอบาเหน็จณรงค์) ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน 2557 จังหวัด สกลนครพบผลพริ กทุกแห่งถูกแมลงวันผลไม้ เข้ าทาลาย โดยผลพริ กสายพันธุ์แชมป์ เปี ย้ นฮอทถูกทาลายสูงสุด โดยพบสูงถึง 174 ตัว/ 20 ต้ น ในเดือนเมษายน และพบแมลงเบียนเข้ าทาลายแมลงวันผลไม้ จานวน 10 ตัว/ 20 ต้ น ที่อาเภอพังโคน ส่วน จังหวัดชัยภูมิเกษตรกรปลูกพริ กพันธุ์แชมป์ เปี ย้ นฮอทเท่านัน้ อาเภอบาเหน็จณรงค์พบผลพริ กถูกทาลายสูงสุดและมีดักแด้ แมลงวันผลไม้ จานวน 310 ดักแด้ / 20 ต้ น ส่วนแมลงเบียนพบที่อาเภอบาเหน็จณรงค์ที่เดียวเท่านันจ ้ านวนถึง 65 ตัว/ /20 ต้ น การจาแนกชนิดแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียน พบแมลงวันผลไม้ 1 ชนิดคือ แมลงวันผลไม้ ชนิด Bactrocera latifrons (Hendel) และแมลงเบียน 2 ชนิด คือ แมลงเบียน Diachasmimorpha longicaudata (Ashmead) โดยมีการเบียนแมลงวัน ผลไม้ 1.15 และ 20.97% ในจังหวัดสกลนครและชัยภูมิ ตามลาดับ และแมลงเบียน Psyttalia fletcheri (Silvestri) มีการเบียน 4.60% ในจังหวัดสกลนคร คาสาคัญ : แมลงเบียน การเบียน ความหลากหลายชนิด แมลงวันผลไม้ พริก Abstract Tephritid fruit fly is the most important pest of chili pepper crops. The fly infested chili pepper in fruiting stage and caused the quality, yield loss and impact of chili pepper export. Fruit fly species and their parasitoids were investigated on chili pepper crops in 2 provinces including Sakon Nakhon province (4 sites, 2 districts as Mueang and Phang Khon) and Chaiyaphum province (3 sites, 3 districts as Kaset Sombun, Chatturat, and Bamnet Narong), during February to April 2014. In Sakon Nakhon province, the chili pepper fruits were infested by fruit flies in all sites. The fruit of Champion Hot cultivar was the highest damage. However, the fruit flies were found only in Phang Khon district that the highest fly was 174 adults per 20 plants on April and the fruit fly parasitoid was found 10 adults per 20 plants. For Chaiyaphum province, the famers cultivated only Champion Hot cultivar. The highest number of chili pepper fruit fly infestation was found in Bamnet Narong and the number of fruit fly pupa was 310 pupae per 20 plants. The fruit fly parasitoids were found only in Bamnet Narong, 65 adults per 20 plants. Identification of fruit flies and their parasitoids demonstrated one fruit fly species as Bactrocera latifrons Hendel and two parasitoids as Diachasmimorpha longicaudata (Ashmead), with 1.15 and 20.97% parasitization in Sakon Nakhon and Chaiyaphum, respectively. Moreover, Psyttalia fletcheri (Silvestri) was found on Sakon Nakhon with 4.60% parasitization. Key words : insect parasitoids, parasitization, species diversity, fruit flies, chili pepper

1 *

สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร อ.พังโคน จ.สกลนคร 47160 Correspondent Author: Anothai Wingsanoi E-mail: ano_pla8@hotmail.com, Anothai.wi@rmuti.ac.th

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

767


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

บทนา พริ กเป็ นพืชเศรษฐกิจที่ใช้ บริ โภคทังภายในและภายนอกประเทศ ้ ในการผลิตประสบปั ญหาเรื่ องแมลงวันผลไม้ เข้ า ทาลายในระยะติดผล มีรายงานแมลงวันผลไม้ เข้ าทาลายผลพริ กถึง 23 ชนิด ในต่างประเทศพบแมลงวันผลไม้ เข้ าทาลายพริ ก พันธุ์ Capsicum annuum คือ Bactrocera latifrons, Bactrocera cucurbitae และ Bactrocera dorsalis พริ ก Capsicum frutesens พบ B. latifrons, B. cucurbitae และ Ceratitis capitata (Liquido et al., 1994) ประเทศไทยพบแมลงวันผลไม้ 4 ชนิด คือ B. latifrons B. cucurbitae B. dorsalis และ Atherigona orientalis (จิราพร, 2553) หลายประเทศที่ตงอยู ั ้ ่บนหมู่ เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกพบความเสียหายที่เกิดจากการเข้ าทาลายของแมลงวันผลไม้ ในพริ กสูงถึง 89-97% (Allwood and Leblance, 1997) ในประเทศไทยพบแมลงวันผลไม้ ระบาดในทุกแหล่งปลูกพริ ก (กองกีฏและสัตววิทยา, 2544) แมลงวันผลไม้ มีแมลงเบียนเข้ าทาลายทุกระยะการเจริ ญเติบโต ระยะตัวหนอนของแมลงเบียนกัดกินเนื ้อภายในของเหยื่อ ทาให้ ไม่สามารถ พัฒนาเป็ นตัวเต็มวัยและตายในที่สดุ แมลงวันผลไม้ เกือบทุกชนิดมีแมลงเบียนเข้ าทาลายมากถึง 42 ชนิด (Bateman,1972; Wharton and Gilstrap, 1983) Bokonon-Ganta et al. (2006) สารวจและเก็บตัวอย่างผล Turkeyberry ในฮาวายพบว่า มี แมลงเบียนเข้ าทาลายแมลงวันผลไม้ B. latifrons 5 ชนิดคือ Fopius arisanus, Psyttalia incisi, Diachasmimorpha tryoni, Diachasmimorpha longicaudata และ Tetrastichus giffardianus ส่วนแมลงวันผลไม้ B. dorsalis พบแมลงเบียน เข้ าทาลายจานวน 3 ชนิด คือ F. arisanus P. incisi และ D. longicaudata ส่วนประเทศกรี ซและอิตาลีพบแมลงเบียนใน วงศ์ Eupelmidae เข้ าทาลายแมลงวันผลไม้ B. oleae (Delrio, 1978) ในประเทศไทย โกศล และวิวฒ ั น์ (2538) รายงานว่า แมลงเบียนแมลงวันผลไม้ ที่สารวจพบในประเทศไทยมี 11 ชนิด อยู่ในกลุ่มวงศ์ Chalcidoidea และ Ichneumonoidea ในขณะที่ ณรงค์ (2540) พบ 4 ชนิด และอาทิตยา (2545) พบ 5 ชนิด อยู่ในวงศ์ Eulophidae และ Braconidae ได้ แก่ แมลง เบียน Tetrastichus sp., D. longicaudata, Opius fletcheri, Diachasmimorpha arisanus และ Cratospila sp. ข้ อมูล เกี่ยวกับแมลงเบียนในพริ กในประเทศไทยมีน้อยมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรายงานชนิดแมลงเบียนที่พบในพริ กแต่ละสาย พันธุ์และต่างพื ้นที่ปลูกแทบจะไม่มีเลย ดังนันการศึ ้ กษาครัง้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ การสารวจประชากรแมลงวันผลไม้ และแมลง เบียนในแปลงพริก ซึง่ จะเป็ นข้ อมูลพื ้นฐานในการควบคุมแมลงวันผลไม้ ในแปลงพริกโดยชีววิธีและในด้ านอื่น ๆ ต่อไป

อุปการณ์ และวิธีการ 1. การสารวจและรวบรวมแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนในแปลงพริก การสารวจชนิดของแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนในแปลงปลูกพริ ก 2 จังหวัด คือ 1) จังหวัดสกลนคร สารวจจานวน 4 แห่ง จาก 2 อาเภอคือ อาเภอเมือง และอาเภอพังโคน และ 2) จังหวัดชัยภูมิ ประกอบด้ วย 3 อาเภอคือ อาเภอเกษตรสมบูรณ์ อาเภอจัตุรัส และอาเภอบาเหน็จณรงค์ โดยสารวจชนิดและปริ มาณแมลงตังแต่ ้ พริ กเริ่ มติดผลจนกระทัง่ เก็บเกี่ยวผลผลิต ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายน 2557 สุม่ สารวจต้ นพริ กต้ นละ 4 ทิศ ๆ ละ 1 ช่อผล สุม่ จานวน 20 ต้ น/แปลง เมื่อพบ ผลพริ กถูกทาลายจากหนอนแมลงวันพริ ก เก็บรวบรวมผลพริ กที่ถูกทาลายจากแมลงวันผลไม้ นากลับมาศึกษาต่อใน ห้ องปฏิบตั ิการ การสารวจทาเดือนละ 1 ครัง้ 2. การจาแนกชนิดของแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนแมลงวันผลไม้ นาผลพริ กที่ถกู ทาลายจากแมลงวันผลไม้ มาแยกใส่ตะกร้ าวางลงในกล่องพลาสติกรองก้ นกล่องด้ วยแกลบดา เพื่อให้ หนอนแมลงวันผลไม้ เข้ าดักแด้ เลี ้ยงจนกระทัง่ ตัวหนอนเข้ าดักแด้ จงึ ร่อนเก็บดักแด้ นาไปเก็บในกล่องพลาสติกเพื่อรอฟั กเป็ นตัว เต็มวัยของแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียน จากนัน้ นาตัวเต็มวัยของแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนที่ฟักมาจาแนกชนิดจาก ลักษณะภายนอก ภายใต้ กล้ องจุลทรรศน์ stereo microscope การตรวจสอบลักษณะทางอนุกรมวิธานใช้ เอกสารแนวทางการ 768

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

วินิจฉัยชนิดของแมลงวันผลไม้ ของยุวริ นทร์ และคณะ (มปป.),Drew and Hancock (1994) และ White and Elson-Harris (1992) ส่วนทางการวินิจฉัยชนิดของแมลงเบียนแมลงวันผลไม้ อ้างอิงเอกสารของ Carmichael et al. (2005) Waterhouse (1993) และ Wharton and Yoder (2014)

ผลการทดลองและวิจารณ์ 1. การสารวจและรวบรวมแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนในแปลงพริก จากการสารวจแปลงปลูกพริ กในจังหวัดสกลนคร 4 แห่ง ซึง่ ปลูกพริ กพันธุ์ C. annuum สายพันธุ์ เหลืองทอง ยอดสน และแชมป์ เปี ย้ นฮอท พบผลพริ กในแปลงปลูกทุกแห่งถูกทาลายโดยแมลงวันผลไม้ โดยบ้ านแร่ อาเภอพังโคน พบผลพริ กถูก ทาลายสูงสุดจานวน 232 ผล ในพริ กสายพันธุ์ แชมป์ เปี ย้ นฮอท รองลงมาคือ บ้ านโนนขมิ ้น บ้ านหนองหอยใหม่ และบ้ านคาไฮ อาเภอเมือง ในพริ กพันธุ์ยอดสนและเหลืองทอง ตามลาดับ อาเภอพังโคนพบแมลงวันผลไม้ ทงที ั ้ ่บ้านโนนขมิ ้นและบ้ านแร่ โดย บ้ านโนนขมิ ้นพบประชากรแมลงวันผลไม้ ตลอดฤดูกาลปลูกแต่พบในจานวนที่ต่าเพียง 3-7 ตัวเท่านัน้ ในขณะที่บ้านแร่ พบ แมลงวันผลไม้ เข้ าทาลายผลพริกสายพันธุ์แชมป์ เปี ย้ นฮอทถูกทาลายสูงสุดในเดือนเมษายน ซึง่ มีปริ มาณประชากรของแมลงวัน ผลไม้ สงู ถึง 174 ตัว/ 20 ต้ น (Table 1) เมื่อดักแด้ ฟักเป็ นตัวเต็มวัยพบเป็ นแมลงวันผลไม้ B. latifrons ในทัง้ 2 แห่ง การสารวจ ครัง้ นี ้พบมีดกั แด้ แมลงวันผลไม้ ที่ได้ จากบ้ านแร่ อาเภอพังโคนไม่ฟักเป็ นตัวเต็มวัยจานวน 24 ตัว เนื่องจากถูกแมลงเบียนเข้ า ทาลายแมลงวันผลไม้ จานวน 10 ตัว/20 ต้ น (Table 2) Table 1 Number of fruit flies and fruit fly parasitoids on chili pepper crops in Sakon Nakhon province during February to April 2014. No. fruit flies1/ No. fruit fly parasitoids1/ Location Feb. Mar. Apr. Feb. Mar. Apr. Mueang district Ban Nong Hoi Mai 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 Ban Kam Hai 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 Phang Khon district Ban None Ka-Min 3.00 4.00 7.00 0.00 0.00 0.00 Ban Rae 0.00 0.00 174.00 0.00 0.00 10.00 1/ Means from 20 replications

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

769


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Fruit flies and fruit fly parasitoids from chili pepper fruits at four sites in Sakon Nakhon province. Location

Cultivars

No. of fruits1/

Total no. puparia1/

Fruit fly species

Adult flies1/

Unemerged puparia1/

Fruit fly parasitoid species

No. parasitized puparia by species1/

Parasitism (%)1/

45

0

-

-

-

-

-

-

31

0

-

-

-

-

-

-

119

14

Bactrocera latifrons

10

4

Diachasmimorpha longicaudata Psyttalia fletcheri Diachasmimorpha longicaudata Psyttalia fletcheri

0

0

0 2

0 1.15

8

4.60

Mueang district

Ban Leung Nong Hoi Thong Mai Ban Kam Leung Hai Thong Phang Khon district Ban Yod Son None KaMin Ban Rae Champion Hot

232

174

Bactrocera latifrons

150

24

1/

Total from 20 replications

สาหรับจังหวัดชัยภูมิ พบแปลงปลูกพริ ก 3 อาเภอ ปลูกพริ กพันธุ์ C. annuum สายพันธุ์แชมป์ เปี ย้ นฮอทเท่านัน้ พบ แมลงวันผลไม้ เข้ าทาลายผลพริกในแปลงปลูกทุกอาเภอ อาเภอบาเหน็จณรงค์พบผลพริ กถูกทาลายสูงสุด จานวน 310 ผล และ มีดกั แด้ แมลงวันผลไม้ จานวน 310 ตัว/20 ต้ น รองลงมาคือ อาเภอจัตรุ ัส และเกษตรสมบูรณ์ ตามลาดับ พบตัวของแมลงวัน ผลไม้ บางเดือน โดยพบในเดือนพฤศจิกายนที่อาเภอจัตรุ ัสและอาเภอเกษตรสมบูรณ์ ส่วนเดือนธันวาคมพบแมลงวัน ผลไม้ ใน อาเภอจัตรุ ัสและอาเภอบาเหน็จณรงค์ และเดือนมกราคมพบแมลงวันผลไม้ ในอาเภอบาเหน็จณรงค์เท่านัน้ เนื่องจากที่อาเภอ อื่นได้ เก็บเกี่ยวผลผลิตและรื อ้ ถอนแปลงปลูกเรี ยบร้ อยแล้ ว โดยแมลงวันผลไม้ สงู ถึง 276 ตัว/20 ต้ น (Table 3, 4) เมื่อดักแด้ ฟัก เป็ นตัวเต็มวัยพบเป็ นแมลงวันผลไม้ B. latifrons ส่วนแมลงเบียนพบที่อาเภอบาเหน็จณรงค์ที่เดียวเท่านัน้ ในเดือนมกราคม เท่านันจ ้ านวน 65 ตัว/20 ต้ น (Table 4)

770

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Table 3 Number of fruit flies and fruit fly parasitoids on chili pepper crops in Chaiyaphum province during November 2014 to January 2015. Location Chatturat district Kaset Sombun district Bamnet Narong district

Nov. 10.00 8.00 0.00

No. fruit flies1/ Dec. 1.00 0.00 34.00

Jan. 0.00 0.00 276.00

No. fruit fly parasitoids1/ Nov. Dec. Jan. 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 65.00

1/

Total from 20 replications

2. การจาแนกชนิดของแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนแมลงวันผลไม้ การนาแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนที่พบในผลพริกมาจาแนกชนิดพบว่า มีแมลงวันผลไม้ ที่เข้ าทาลายผลพริ กเพียง 1 ชนิดคือ แมลงวันผลไม้ B. latifrons ซึง่ ตัวเต็มวัยมีขนาดลาตัว 4.0-5.0 มม. ส่วนอกสีดา มีแถบสีเหลือง ด้ านสันหลังของส่วนอก มีแถบสีเหลืองข้ างละแถบ (postsutural yellow vittae) ส่วนของ scutellum มีสีเหลือง ส่วนท้ องสีน ้าตาลแดง ท้ องปล้ องที่ 1 และ 2 มีสีจาง ไม่มีแถบบนท้ องปล้ องที่ 4 (tergite IV) และไม่มีแถบสีดาพาดผ่านตรงกลาง (dark medial strip) ตัวเต็มวัยเพศ เมียมีอวัยวะวางไข่ (ovipostor) ส่วนเพศผู้ปลายท้ องมน มีหนวดแบบ arista สีนา้ ตาล ขามีสีนา้ ตาล ปี กเป็ นแบบบางใส (membrance) ปี กคู้หน้ าปลายปี กมีจดุ สี (stigma) ขยายใหญ่คร่อมเส้ นปี ก R4+5ข้ างละ 1 จุด (Figure 1) และแมลงเบียนที่พบ เข้ าทาลายแมลงวันผลไม้ B. latifrons มี 2 ชนิดคือ แมลงเบียน D. longicaudata และแมลงเบียน Psyttalia fletcheri (Silvestri) โดยแมลงเบียนทัง้ 2 ชนิดจัดอยู่ในวงศ์ Braconidae (Figure 2) ซึง่ เป็ นแมลงเบียนที่เข้ าทาลายแมลงวันผลไม้ ใน ระยะตัวหนอนและเจริ ญเติบโตเป็ นตัวเต็มวัยในระยะดักแด้ ของแมลงวันผลไม้ (larval-pupal parasitoid) ระยะตัวหนอนของ แมลงเบียนกัดกินอยู่ภายในลาตัวของหนอนแมลงวันผลไม้ จัดเป็ นแมลงเบียนภายใน (endoparasitoid) โดยจะพบแมลงเบียน เพียง 1 ตัว ฟั กออกมาจากดักแด้ แมลงวันไม้ เรี ยกว่าเป็ นแมลงเบียนแบบ solitary parasitoid พบแมลงเบียน D. longicaudata และแมลงเบียน P. fletcheri ที่บ้านแร่ อาเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร จานวน 2 ตัว และ 8 ตัว โดยมีการเบียนเท่ากับ 1.15 และ 4.60% ตามลาดับ (Table 2) ส่วนจังหวัดชัยภูมิพบดักแด้ แมลงวันผลไม้ ไม่ฟักเป็ นตัวเต็มวัยจานวน 144 ตัว เพราะถูกแมลง เบียน D. longicaudata เข้ าทาลายจานวน 65 ตัว โดยมีการเบียนเท่ากับ 20.97% (Table 4)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

771


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 4 Fruit flies and fruit fly parasitoids from chili pepper fruits at three sites in Chaiyaphum province. Location

Cultivars

Chatturat Champion district Hot Kaset Champion Sombun Hot District Bamnet Champion Narong Hot District 1/ Total from 20 replications

No. of fruits1/

Total no. puparia1/

11

11

8

8

310

310

Fruit fly species

Bactrocera latifrons Bactrocera latifrons Bactrocera latifrons

a

e

Adult flies1/

Unemerged puparia1/

-

-

-

7

1

-

-

-

166

144

Diachasmimorpha longicaudata

65

20.97

b

f

Fruit fly parasitoid species

c

g

No. parasitized puparia by species1/ -

Parasitism (%)1/

-

d

h

Figure 1 Morphology of the fruit flies infested chili pepper fruits. a. body: dorsal b. body: lateral c. antenna d. thorax: dorsal e. female abdomen: ovipositor f. male abdomen g. hind leg h. fore wing

772

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Male

Female

Diachasmimorpha longicaudata (Ashmead)

Male Psyttalia fletcheri (Silvestri)

Female

Figure 2 Species of fruit fly parasitoids parasitized fruit flies in chili pepper crop. การสารวจแปลงปลูกพริ กทัง้ 4 แห่งในจังหวัดสกลนคร พบผลพริ กในแปลงปลูกทุกแห่งถูกทาลายจากแมลงวันผลไม้ แต่พบสูงในพริ กสายพันธุ์แชมป์ เปี ย้ นฮอทที่ปลูก ณ บ้ านแร่ อาจเพราะแปลงดังกล่าว ปลูกพริ กแบบพริ กไร่ และไม่มีการใช้ สาร ฆ่าแมลงหรื อวิธีการใดในการกาจัดศัตรู พืช จึงเป็ นสาเหตุให้ พบผลพริ กถูกทาลายโดยแมลงวันผลไม้ และมีปริ มาณแมลงวัน ผลไม้ สงู กว่าแห่งอื่น แต่ในขณะเดียวกันทาให้ พบแมลงเบียน ซึ่งเป็ นศัตรู ธรรมชาติที่สาคัญของแมลงวันผลไม้ เนื่องจากระบบ นิเวศในแปลงปลูกบ้ านแร่ ไม่ถกู รบกวน ทาให้ สารวจพบทังแมลงศั ้ ตรู พืชและศัตรู ธรรมชาติ การสารวจพบประชากรแมลงวัน ผลไม้ สงู ถึง 174 ตัว ในเดือนเมษายน ทังนี ้ ้เนื่องจากช่วงเดือนดังกล่าวพริ กมีการติดผลเป็ นจานวนมาก เพราะปริ มาณแมลงวัน ผลไม้ ชนิด B. latifrons มีความสัมพันธ์กบั การติดผลของพืช (Harris et al., 2003) โดยมีปริ มาณดักแด้ ของแมลงวันผลไม้ B. latifrons แปรตามระยะเวลาการติดผลและจานวนผลของพืชที่เพิ่มขึ ้น (Mc Quate et al., 2007) การสารวจพบแมลงวันผลไม้ B. latifrons เพียงชนิดเดียวเท่านันที ้ ่เข้ าทาลายผลพริ ก สอดคล้ องกับการสารวจพริ ก 3 ชนิดคือ C. annuum, Capsicum frutesence และ Capsicum baccatum รวม 6 สายพันธุ์ ในอาเภอจัตรุ ัส จังหวัดชัยภูมิของอโนทัย และคณะ (2554) และ สัญญาณี และคณะ (2551) ซึง่ เก็บรวบรวมผลพริ กที่ถกู แมลงวันผลไม้ เข้ าทาลายจากแปลงปลูกของเกษตรในจังหวัดนครปฐม และกาญจนบุรี พบเพียงแมลงวันผลไม้ B. latifrons ชนิดเดียวเท่านัน้ Harris et al. (2003) กล่าวว่า แมลงวันผลไม้ B. latifrons มีความเฉพาะเจาะจงต่อพืชในวงศ์ Solanaceae มากกว่าแมลงวันผลไม้ ชนิดอื่น แต่ผลการสารวจในครัง้ นี ้ขัดแย้ งกับ รายงานของจิราพร (2553) ซึง่ พบมีแมลงวันผลไม้ จานวน 4 ชนิดเข้ าทาลายผลพริ กคือ แมลงวันผลไม้ B. latifrons แมลงวัน ผลไม้ B. dorsalis แมลงวันผลไม้ B. cucurbitae และแมลงวันผลไม้ Atherigona orientalis นอกจากนี ้การสารวจยังพบแมลง เบียนเข้ าทาลายแมลงวันผลไม้ B. latifrons พบ 2 ชนิดคือ แมลงเบียน D. longicaudata และแมลงเบียน P. fletcheri แต่จาก การรวบรวมข้ อมูลของนักวิจยั ในประเทศไทยมีพบแมลงเบียนเข้ าทาลายระยะไข่ ตัวหนอน และระยะดักแด้ ของแมลงวันผลไม้ B. latifrons ถึง 10 ชนิด ได้ แก่ D. longicaudata, Fopius vandenboschi, F. arisanus, Fopius deeralensis, P. fletcheri, P. incisi, Psyttalia makii, Psyttalia sp. nr. fletcheri, Psyttalia sp. nr. makii และ Utetes bianchii (จิราพร, 2553; สัญญาณี และคณะ, 2551; Chinajariyawong et al., 2000) ทังนี ้ ้อาจเพราะสถานที่ ระยะเวลา ฤดูกาลและชนิดของพืชอาหาร ที่สารวจแตกต่างกัน จึงทาให้ พบชนิดของแมลงวันผลไม้ และแมลงเบียนต่างกัน โดยทัว่ ไปแล้ วชนิดและปริ มาณของแมลงมี ความแปรปรวนตลอดเวลาขึ ้นอยู่กบั พืชอาหาร สภาพแวดล้ อม สภาพอากาศ ฤดูกาลและช่วงเวลาเป็ นสาคัญ มีผลทาให้ ชนิด และปริ มาณของแมลงที่สารวจในแต่ละปี แตกต่างกัน ดังนัน้ งานด้ านการสารวจแมลงศัตรู พืชและศัตรู ธรรมชาติจึงมักมีการ ดาเนินการอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอเพื่อให้ ได้ ข้อมูลที่แม่นยา สามารถนาไปพยากรณ์การระบาดของชนิดแมลงศัตรูพืชและ ได้ ข้อมูลศัตรู ธรรมชาติที่คอยควบคุมแมลงศัตรู พืช เพื่อจะนาข้ อมูลที่ได้ ไปประยุกต์ใช้ ในการควบคุมแมลงศัตรู พืชโดยชีววิธี ต่อไป การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

773


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

สรุ ป แมลงวันผลไม้ เป็ นศัตรูพืชที่มีบทบาทสาคัญต่อการผลิตพริ ก การสารวจแปลงปลูกพริ ก 4 แห่งในจังหวัดสกลนคร พบ ผลพริ กทุกแห่งถูกแมลงวันผลไม้ เข้ าทาลาย โดยผลพริ กสายพันธุ์แชมป์ เปี ย้ นฮอทถูกทาลายสูงสุด แต่พบแมลงวันผลไม้ เฉพาะ บ้ านโนนขมิ ้นและบ้ านแร่ อาเภอพังโคน โดยพบสูงที่บ้านแร่ในเดือนเมษายนถึง 174 ตัว/ต้ น ส่วนแมลงเบียนที่เข้ าเบียนแมลงวัน ผลไม้ พบเฉพาะที่บ้านแร่เท่านันจ ้ านวน 10 ตัว ส่วนการสารวจในจังหวัดชัยภูมิเกษตรกรปลูกพริ กพันธุ์แชมป์ เปี ย้ นฮอทเท่านัน้ พบแมลงวันผลไม้ เข้ าทาลายผลพริ กในแปลงปลูกทุกอาเภอ แต่ที่อาเภอบาเหน็จณรงค์พบผลพริ กถูกทาลายสูงสุดและมีดกั แด้ แมลงวันผลไม้ จานวน 310 ดักแด้ การจาแนกชนิดของแมลงวันผลไม้ พบคือ แมลงวันผลไม้ B. latifrons ในทัง้ 2 จังหวัด ส่วนแมลงเบียนพบมี 2 ชนิดคือ แมลงเบียน D. longicaudata และแมลงเบียน P. fletcheri โดยที่บ้านแร่ อาเภอพังโคน จังหวัด สกลนคร พบแมลงเบียน D. longicaudata และแมลงเบียน P. fletcheri มีการเบียน 1.15 และ 4.60% ตามลาดับ ส่วนจังหวัด ชัยภูมิพบการเบียนของแมลงเบียน D. longicaudata 20.97% ที่อาเภอบาเหน็จณรงค์

กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจยั ขอขอบคุณสานักงานบริ หารโครงการส่งเสริ มการวิจยั ในสถาบันอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจยั แห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ที่สนับสนุนงบประมาณในการวิจยั ในครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง กองกีฏและสัตววิทยา. 2544. แมลงวันผลไม้ ในประเทศไทย. เอกสารวิชาการ. กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ. 244 หน้ า. โกศล เจริ ญสม และวิวฒ ั น์ เสือสะอาด. 2538. ศัตรูธรรมชาติของแมลงศัตรูพืชในประเทศไทย. ศูนย์วิจยั ควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรี ย์แห่งชาติ ภาค กลาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน, นครปฐม. ณรงค์ พลซา. 2540. ความสัมพันธ์ระหว่างพืชอาศัย แมลงเบียน และแมลงวันทอง. โครงการงานวิจยั ทางชีววิทยา ตามหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ. จิราพร เพชรรัตน์. 2553. การสารวจศัตรูธรรมชาติของแมลง ไรศัตรูพริ ก และการควบคุมโดยชีววิธี. ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่,สงขลา ยุวริ นทร์ บุญทบ ศิริณี พูนไชยศรี ชลิดา อุณหวุฒิ ลักขณา บารุงศรี และสิทธิศิโรดม แก้ วสวัสดิ์. มปป. อนุกรมวิธานแมลงวันผลไม้ สกุล Bactrocera. กลุม่ กีฏและสัตววิทยา สานักวิจยั พัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. สัญญาณี ศรี คชา วิภาดา ปลอดครบุรี และเกรี ยงไกร จาเริ ญมา. 2551. การศึกษาชีววิทยาแมลงวัน-ทองมะเขือ, Bactrocera latifrons (Hendel). วารสารกีฏและสัตววิทยา. 26: 3-10. อโนทัย วิงสระน้ อย และนุชรี ย์ ศิริ. 2554. การทาลายของแมลงวันพริ ก Bactrocera latifrons (Diptera: Tephritidae) ในผลพริ ก 8 สายพันธุ์. วารสารแก่นเกษตร 39(1): 25-32. อาทิตยา ธัญญกรรม. 2545. ความหลากหลายและการทดลองเลี ้ยงแมลงเบียนบางชนิดของแมลงวันทองในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริ ญญา โท. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. Allwood, A. J. and L. Leblance. 1997. Losses caused by fruit flies (Diptera: Tephritidae) in seven Pacific Island countries, pp. 208211. In A.J. Allwood and R.A.I. Drew. ed. Proc. Management of Fruit Flies in the Pacific, A Regional Symposium. Nadi, Fiji. Bokonon-Ganta, A. H., G. T. Mc Quate and R. H. Messing. 2006. Natural establishment of a parasitoid complex on Bactrocera latifrons (Diptera: Tephritidae) in Hawaii. Biological Control. 42: 365–373. Carmichael, A. E., R. A. Wharton and A. R. Clark. 2005. Opiine parasitoids (Hymenoptera: Braconidae) of tropical fruit flies (Diptera: Tephritidae) of the Australian and South Pacific region. Bulletin of Entomological Research. 95: 545-569. 774

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า Chinajariyawong, A., A. R. Clarke, M. Jirasurat, S. Kritsaneepiboon, H. A. Lahey, S. Vijaysegaran, and G.H. Walter. 2000. Survey of opiine parasitoids of fruit flies in Thailand and Malaysia. The Raffles Bulletin of Zoology. 48(1): 71-101. Delrio, G. 1978. Fattori di regolazione delle popolazioni di Dacus oleae Gmelin nella Sardegna nord-occidentale. Not. Mal. Piante. 9899: 27-45. (in English abstract). Drew, R. A. I. and D. L. Hancock. 1994. The Bactrocera dorsalis complex of fruit flies (Diptera: Tephritidae: Dacinae) in Asia. Bulletin Entomological of Research Suppelement Series. 2: 1-68. Harris, E.J., N.J. Liquido and C. Y. L. Lee. 2003. Patterns in appearance and fruit host utilization of fruit flies (Diptera: Tephritidae) on the Kalaupapa Peninsula, Molokai, Hawaii. Proceedings of the Hawaiian Entomological Society. 36: 69–78. Liquido, N. J., E. J. Harris and L. A. Dekker. 1994. Ecology of Bactrocera latifrons (Diptera: Tephritidae) populations: host plants, natural enemies, distribution and abundance. Annals of the Entomological Society of America. 87(1): 71-84. Mc Quate, G. T., A. H. Bokonon-Ganta and S. L. Peck. 2007. Population biology and prospects for suppression of the solanaceous fruit fly, Bactrocera latifrons (Diptera: Tephritidae). Proceedings of the Hawaiian Entomological Society. 39: 111-115. Waterhouse, D. F. (eds.). 1993. Biological control: Pacific prospects, Supplement 2. Australian Centre for International Agricultural Research, Canberra. Wharton, R. A. and F. E. Gilstrap. 1983. Key to the status of opiine braconid (Hymenoptera) parasitoids used in biological control of Ceratitis capitata and Dacus s.l. (Diptera: Tephritidae). Annals of the Entomological Society of America. 76: 721-742. Wharton, R. A. and M. J. Yoder. 2014. Parasitoids of fruit–infesting Tephritidae. Available source: http//:22paroffit.org, October 24, 2014. White, I. M. and M. M. Elson-Harris. 1992. Fruit Flies of Economic Significance: Their Identification and Bionomics. CABI International, Wallingford. 601 pp.

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

775


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของการใช้ เชือ้ รา Trichoderma sp. ต่ อการส่ งเสริมการเจริญเติบโตของว่ านหางจระเข้ Effect of Trichoderma sp. Application for the Growth Promotion of Aloe ปวีณา บัญญัติ และศิริวรรณ แดงฉ่า1 PaweenaBanyat and Siriwan Dangcham1

บทคัดย่ อ

ว่านหางจระเข้ มีการปลูกมากในพื ้นที่จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์เพื่อส่งเข้ าโรงงานแปรรูป และส่งออกใบสด แต่เกษตรกร ประสบปั ญหาผลผลิตลดลงเนื่องจากโรคเน่า งานวิจยั นี ้จึงได้ ศกึ ษาผลของการใช้ เชื ้อราไตรโคเดอร์ มาต่อการส่งเสริ มการเจริ ญเติบโต ของว่านหางจระเข้ ณ แปลงทดลองสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี โดยทา การปลูกว่านหางจระเข้ ในกระถางพลาสติกสีดาขนาด 15 นิ ้ว และใช้ เชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดที่เลี ้ยงในข้ าวเปลือก อัตรา 100 กรัมผสมน ้า 20 ลิตร วางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) ประกอบด้ วย 4 กรรมวิธี ได้ แก่ 1) ปลูกแบบปกติ(ชุดควบคุม) 2) ปลูกแบบปกติ และฉีดพ่นด้ วยเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด ทุก 2 สัปดาห์ 3) แช่หน่อว่านหาง จระเข้ ในเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดเป็ นเวลา1ชัว่ โมงก่อนการปลูกและ 4) แช่หน่อว่านหางจระเข้ ในเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิด สด เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ก่อนการปลูก และฉีดพ่นด้ วยเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด ทุก 2 สัปดาห์ ผลการวิจยั พบว่า การใช้ เชื ้อรา ไตรโคเดอร์ มาในทุกกรรมวิธีมีการเจริญเติบโตในด้ านความยาว ความหนา และความกว้ างของใบไม่แตกต่างกัน แต่มีแนวโน้ ม ว่า การแช่หน่อว่านหางจระเข้ ในเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาก่อนปลูกเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง และฉีดพ่นทุก 2 สัปดาห์ ทาให้ มีขนาดของใบ จานวนใบและจานวนหน่อที่เพิ่มขึ ้นมากกว่ากรรมวิธีอื่นๆ รวมทังพบอาการโรคเน่ ้ าน้ อยกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ คาสาคัญ:ว่านหางจระเข้ , เชื ้อราไตรโคเดอร์ มา, การส่งเสริมเจริญเติบโต

Abstract

Aloe plants were grown in Prachuap Khirikhan area for processing and fresh leaves export. But the growers found the decreased products caused from rot disease. This study, the effect of Trichoderma sp. application for the growth promotion of Aloe was conducted at Agriculture experimental field, Faculty of Agricultural Technology, Phetchaburi Rajabhat University. Aloes were planted in 15 inch black plastic pot, and used the fresh Trichoderma sp. that cultured on paddy rice in the ratio of 100 gram per 20 liters of water. The experimental design was completely randomized design (CRD) with 4 treatments including 1) normal planting (control) 2) normal planting and sprayed with Trichoderma sp. every 2 weeks 3) soaked the sucker for 1 hr before planting and 4) soaked the sucker for 1 hr before planting and sprayed with Trichoderma sp. every 2 weeks. The vegetative growth of Aloe was subsequently measured. The results showed that length, thickness and width of leaves in all treatments were similar. Fortunately, in the last treatment, it was capable of increasing the size and number of new leaves, as well as new shoots of the plants. This treatment also gave the reduction of rot symptom more than that of other treatments. Key words: Aloe, Trichoderma sp., Growth promotion

1 1

คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี อ.เมือง จ.เพชรบุรี 76000 Faculty of Agricultural Technology, Phetchaburi Rajabhat University, Phetchaburi 76000 776

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

คานา ว่านหางจระเข้ เป็ นพืชที่ปลูกง่ายสามารถปลูกได้ ดีในดินทรายเป็ นพืชที่ชอบน ้าแต่ต้องมีการระบายน ้าดีและสามารถ อุ้มน ้าได้ ดีพอสมควร เพื่อป้องกันรากเน่า (ภัคจีรา, 2537) ในประเทศไทยหน่วยงานภาครัฐและเอกชนได้ ให้ ความสนใจ และ นามาพัฒนาเป็ นผลิตภัณฑ์ สาเร็ จรู ปทัง้ ด้ านยา เครื่ องสาอาง และแชมพูสระผม ส่วนหน่วยงานด้ านสาธารณสุข ได้ แ ก่ โรงพยาบาลชุมชนและสถานีอนามัยหลายแห่งได้ ใช้ วา่ นหางจระเข้ ในการรักษาแผลไฟไหม้ น ้าร้ อนลวก แผลไหม้ จากท่อไอเสีย ของรถยนต์ รถมอเตอร์ ไซด์ (ยุวดี, 2553) พบมีการปลูกว่านหางจระเข้ มากในจังหวัดกาญจนบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ และราชบุรี โดยมีการตังโรงงานแปรรู ้ ป และรับซื ้อว่านหางจระเข้ เพื่อทาเป็ นผลิตภัณฑ์จาหน่ายทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ และมีการ ส่งออกในรู ปใบสดด้ วย ว่านหางจระเข้ เป็ นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ นิยมปลูกมากที่สดุ มีปริ มาณการ ผลิตและการส่งออกสูงเป็ นอันดับต้ นๆ ของจังหวัด โดยเฉพาะในตาบลบ่อนอก อาเภอเมืองจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ปี พ.ศ. 2557มีพื ้นที่ปลูกว่านหางจระเข้ 2,151 ไร่ คิดเป็ น65 %ของพืชที่ปลูก (โครงการพัฒนาชุมชนตาบลบ่อนอก อาเภอเมืองจังหวัด ประจวบคีรีขนั ธ์, 2557) พรพรรณ และณรงค์ (2546)ได้ ศึกษาประสิทธิ ภาพของเชื ้อรา Trichoderma harzianum ในการควบคุมเชือ้ รา Pythium sp. สาเหตุโรคเน่าระดับดินของผักกาดเขียวกวางตุ้ง โดยใช้ เชื ้อรา T. harzianum ในปริ มาณที่แตกต่างกัน พบว่าการ ใช้ เชื ้อรา T. harzianum ปริ มาณ 4 จานอาหารเลี ้ยงเชื ้อต่อถุง มีเปอร์ เซ็นต์การงอกของเมล็ด และเปอร์ เซ็นต์การรอดตายของ ต้ นกล้ าสูงกว่าการใช้ ปริ มาณอื่นๆ และยังช่วยเพิ่มการเจริ ญเติบโตด้ านความสูงของต้ น ความยาวของราก น ้าหนักสดของต้ น และรากให้ สงู กว่าการไม่ใช้ เชื ้อรา T. harzianum การแช่เมล็ดมะเขือเทศในspore suspension ของT. harzianum (T-50)เป็ น เวลา 30 นาทีก่อนการปลูก ร่ วมกับการใช้ แคลเซียมคลอไรด์ทาให้ น ้าหนักสดของราก ลาต้ น และผลผลิตเพิ่มขึ ้น และการรด ด้ วย spore suspension ของT. harzianum (T-50) ปริ มาณ 5 มิลลิลิตร ทุก 2 สัปดาห์ ร่วมกับการใช้ แคลเซียมคลอไรค์ทาให้ มีขนาดต้ นสูงสุด (Ridthaisong, 2005) เนื่องจากเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาสามารถเจริ ญเติบโตได้ อย่างรวดเร็ ว สร้ างสปอร์ ได้ ใน ปริมาณมาก สามารถแข่งขันกับเชื ้อราสาเหตุโรคพืชหรื อจุลินทรี ย์อื่นๆ ที่อยูร่ อบข้ าง ปรับตัวเข้ ากับสภาพแวดล้ อมได้ ดี ทนทาน ต่อสภาพแวดล้ อมไม่เหมาะสม และสารเคมีในดินได้ ดี สามารถเจริ ญเติบโตร่ วมกับรากพืชและช่วยส่งเสริ มการเจริ ญเติบโต ของพืชด้ วย (สายทอง, 2555) ปั จจุบนั เกษตรกรผู้ปลูก ว่านหางจระเข้ พบปั ญหาโรคเน่าซึ่งมีสาเหตุจากเชื ้อราทาให้ ว่านหางจระเข้ ไม่เจริ ญเติบโต ต้ นเน่าตายผลผลิตลดลง เชื ้อรานี ้จะทาลายทังส่ ้ วนรากและลาต้ น โดยพบระบาดในพื ้นที่ที่มีการปลูกว่านหางจระเข้ ซ ้าในที่เดิม หลายๆ ครัง้ และการให้ น ้าในปริ มาณมาก และมีน ้าท่วมขังทังนี ้ ม้ ีการใช้ เชื ้อราไตรโคเดอร์ มาในการป้องกันโรครากและลาต้ น เน่าในว่านหางจระเข้ แต่ยงั ไม่มีการรายงานผลการวิจยั ในเชิงวิชาการ ผู้วิจยั จึงสนใจศึกษาการใช้ เชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด เพื่อส่งเสริ มการเจริ ญเติบโตรวมทัง้ ป้องกัน โรครากและลาต้ น เน่าในต้ นว่านหางจระเข้ เพื่อเป็ นแนวทางในการลดการใช้ สารเคมี มีความปลอดภัยต่อผู้ปลูก และผู้บริโภค

อุปกรณ์ และวิธีการ ทาการปลูกหน่อว่านหางจระเข้ พนั ธุ์บาร์ บาเดนซิส (Barbadensis) ที่มีความสูงประมาณ 30 เซนติเมตร ในกระถาง พลาสติกสีดาขนาด 15 นิ ้ว โดยใช้ วสั ดุปลูก ได้ แก่ กาบมะพร้ าวสับ ถ่านแกลบ ดิน อัตรา 2:2:1 ณ แปลงทดลองสาขาวิชา เกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 ถึง เดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2558 วางแผนการทดลองแบบ Completely randomized design (CRD) จานวน 3 ซ ้าๆ ละ 5 ต้ น โดยใช้ เชื ้อราไตรโค เดอร์ มาชนิดสดที่เลี ้ยงในข้ าวเปลือกอัตรา 100 กรัมผสมน ้า 20 ลิตร ประกอบด้ วย 4 กรรมวิธี ดังนี ้ กรรมวิธีที่ 1) ปลูกว่านหาง จระเข้ แบบปกติ (ชุดควบคุม, T1) กรรมวิธีที่ 2) ปลูกแบบปกติ และฉีดพ่นด้ วยเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด ทุก 2 สัปดาห์ (T2) กรรมวิธีที่ 3) แช่หน่อว่านหางจระเข้ ในเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ก่อนการปลูก (T3) และกรรมวิธีที่ 4) แช่ หน่อว่านหางจระเข้ ในเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง ก่อนการปลูก และฉีดพ่นด้ วยเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด ทุก 2 สัปดาห์ (T4) ทังนี ้ ้ทาการแช่หน่อว่านหางจระเข้ ในเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสด เฉพาะส่วนรากเท่านัน้ บันทึกข้ อมูลทุก 2 สัปดาห์ โดยวัดความยาวของใบที่ยาวที่สดุ วัดความหนาและความกว้ างของใบ (ใบเดิมที่ใช้ วดั ความยาว) โดยใช้ เวอร์ เนียคา ลิปเปอร์ นับจานวนใบที่เพิ่มขึ ้นจากการปลูกครัง้ แรก และจานวนหน่อที่เกิดใหม่ ตลอดจนสังเกตอาการของโรคเน่าโดยการ ประเมินผลด้ วยสายตา ทาการบันทึกข้ อมูลตังแต่ ้ ปลูกจนถึงระยะเก็บเกี่ยว (7 เดือน หลังการปลูก)

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

777


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

นาข้ อมูลที่ได้ มาวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of variance, ANOVA) และเปรี ยบเทียบความแตกต่าง ของค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s multiple range test (DMRT) ด้ วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเร็จรูป

ผลการทดลองและวิจารณ์ การเจริญเติบโตของต้ นว่ านหางจระเข้

การใช้ เชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดต่อการเจริ ญเติบโตของว่านหางจระเข้ พบว่าในทุก กรรมวิธีทาให้ ความยาว ความ หนา และความกว้ างของใบว่านหางจระเข้ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ แต่มีแนวโน้ มว่าการแช่หน่อว่านหางจระเข้ ในเชื ้อราไตร โคเดอร์ มาก่อนปลูกเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง และฉีดพ่น ทุก 2 สัปดาห์ (T4)มีการเจริญเติบโตของต้ นและใบดีที่สดุ (Table1) หลังการปลูกเป็ นเวลา 7 เดือน พบว่า ว่านหางจระเข้ มีความยาวใบเฉลี่ย 43.78±0.60 เซนติเมตร ความหนาใบ 2.37±0.10เซนติเมตร และความกว้ างใบ 6.57±0.47 เซนติเมตรแต่น ้าหนักใบยังไม่ถึง 0.5 กิโลกรัม ซึ่งยังไม่สามารถจาหน่าย เข้ าส่งโรงงานอุตสาหกรรมได้ เนื่องจาก สานักวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร (2549) ระบุว่าใบว่านหางจระเข้ ต้องมีน ้าหนักตังแต่ ้ 0.5 กิโลกรัมมีอายุตงแต่ ั ้ 6-8 เดือน ขึ ้นไปมีลาต้ นอวบใหญ่ใบกว้ างตังแต่ ้ 2 เซนติเมตรขึ ้นไป จากการทดลองครัง้ นี ้ไม่สามารถ ผลิตใบว่านหางจระเข้ ได้ ตามที่กาหนดอาจเนื่องจากในช่วงที่ทาการทดลองอากาศร้ อนจัด และเป็ นการปลูกในกระถาง จึงอาจ จากัดการเจริญเติบโตของต้ นว่านหางจระเข้ ให้ น้อยกว่าการปลูกในแปลง นอกจากนี ้ยังพบว่าการแช่หน่อว่านหางจระเข้ ในเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาก่อนปลูกเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง และฉีดพ่น ทุก 2 สัปดาห์ (T4) มีการเกิดโรคเน่าน้ อยที่สดุ (Data not showed) ซึง่ สอดคล้ องกับ วิพรพรรณ์ และคณะ (2557) ที่พบว่าต้ นแคน ตาลูปที่ใส่เชือ้ ราไตรโคเดอร์ มารองก้ นหลุมก่อนปลูก มีการเจริ ญเติบโตทางลาต้ นมากที่สดุ เมื่อพิจารณาจากความสูงและ จานวนข้ อ และพบว่ามีลาต้ นที่แข็งแรงสมบูรณ์ การเข้ าทาลายของโรคและแมลงลดน้ อยลง

จานวนใบ และจานวนหน่ อที่เพิ่มขึน้

ผลของการใช้ เชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดต่อการเจริ ญเติบโตของว่านหางจระเข้ ด้านจานวนใบที่เพิ่มขึ ้น พบว่า ในแต่ ละกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างทางสถิติ แต่มีแนวโน้ มว่า การแช่หน่อว่านหางจระเข้ ในเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาก่อนปลูกเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมงและฉีดพ่น ทุก 2 สัปดาห์ (T4) จะมีจานวนใบที่เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อเปรี ยบเทียบกับ กรรมวิธีอื่นๆ (Table2) สาหรับ จานวนหน่อที่เพิ่มขึ ้นนัน้ พบหน่อใหม่เกิดขึ ้นตังแต่ ้ สปั ดาห์ที่ 16 หลังการปลูก แต่ยงั มีขนาดเล็ก จึงยังไม่ได้ ทาการบันทึกข้ อมูล และพบมีการเกิดหน่อเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน โดยเฉพาะในการแช่หน่อก่อนปลูก และฉีดพ่นเชือ้ ราไตรโคเดอร์ มาทุก 2 สัปดาห์ มีการเกิดหน่อ 6.83±0.65 หน่อ ในสัปดาห์ที่ 28 หลังการปลูก (Table3)

778

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 1 Growth of Aloe leaves treated with Trichoderma sp. in different methods Treatment

Weeks after planting Started 26.88±0.94

4 27.69±0.65

8 29.59±0.42

12 30.14±0.52

16 31.47±0.43

20 37.55±0.63

24 40.33±0.72

28 43.78±0.60

Length

Control(T1)

27.00±0.91

27.82±0.51

28.87±0.63

29.93±1.25

30.10±0.49

34.66±0.75

38.66±1.47

42.91±1.53

27.34±2.20

28.81±2.30

30.76±2.31

32.43±3.83

32.82±4.00

37.55±2.33

41.89±2.84

43.90±3.17

26.45±0.95

28.78±0.09

30.04±1.31

32.49±0.85

33.10±1.17

38.01±0.78

41.32±1.16

43.04±0.10

Thickness

Sprayed every 2 weeks (T2) Soaked before planting (T3) Soaked before planting and sprayed every 2 weeks (T4) Control(T1)

0.97±0.09

0.99±0.11

1.41±0.11

1.67±0.14

1.73±0.08

2.01±0.07

2.10±0.11

2.37±0.08

Sprayed every 2 weeks (T2) Soaked before planting (T3) Soaked before planting and sprayed every 2 weeks (T4) Control(T1) Sprayed every 2 weeks (T2) Soaked before planting (T3) Soaked before planting and sprayed every 2 weeks (T4)

0.87±0.08

0.79±0.03

1.49±0.15

1.59±0.12

1.71±0.01

2.10±0.04

1.76±0.09

2.15±0.11

0.89±0.07

0.97±0.08

1.45±0.08

1.70±0.21

1.64±0.16

2.08±0.15

2.15±0.13

2.34±0.26

0.96±0.21

0.71±0.19

1.35±0.41

1.33±0.38

1.42±0.47

1.73±0.53

1.51±0.49

2.37±0.10

2.21±0.03

2.42±0.04

3.27±0.03

4.08±0.23

4.51±0.07

5.59±0.22

6.17±0.09

6.37±0.16

2.09±0.19

2.31±0.11

3.01±0.11

3.73±0.06

3.91±0.16

5.30±0.22

5.87±0.33

6.05±0.13

1.32±0.04

2.36±0.12

3.30±0.30

3.88±0.42

4.29±0.43

5.58±0.39

6.34±0.68

6.44±0.57

0.90±0.04

2.39±0.12

3.40±0.20

4.39±0.12

4.36±0.13

5.78±0.20

6.65±0.22

6.57±0.47

Width

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

779


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Number of new leaves in Aloe treated with Trichoderma sp. in different methods Treatment Control(T1) Sprayed every 2 weeks (T2) Soaked before planting (T3) Soaked before planting and sprayed every 2 weeks (T4)

4 0.40±0.27

8 1.73±0.14

Weeks after planting 12 16 20 2.53±0.32 3.87±0.28 5.33±0.39

0.40±0.27 0.40±0.27 0.75±0.25

1.73±0.25 1.73±0.14 1.93±0.25

2.73±0.27 2.37±0.17 3.23±0.11

3.60±0.40 3.63±0.04 3.97±0.19

5.13±0.38 5.20±0.15 5.50±0.45

24 6.80±0.30

28 8.27±0.27

6.00±0.49 6.50±0.14 6.87±0.35

7.33±0.51 7.93±0.18 8.40±0.30

Table 3 Number of new shoots in Aloe treated with Trichoderma sp. in different methods Treatment 20 0.00±0.00 0.07±0.07 0.20±0.22 1.06±0.22

Control(T1) Sprayed every 2 weeks (T2) Soaked before planting (T3) Soaked before planting and sprayed every 2 weeks (T4)

Weeks after planting 24 0.13±0.10 0.07±0.07 0.33±0.24 3.00±0.45

28 0.93±0.25 0.53±0.30 0.73±0.37 6.83±0.65

สรุ ป การใช้ เชื ้อราไตรโคเดอร์ มาชนิดสดในการส่งเสริ มการเจริ ญเติบโต ของต้ นว่านหางจระเข้ มีแนวโน้ มว่าการแช่หน่อว่าน หางจระเข้ ในเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาก่อนปลูกเป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง และฉีดพ่นทุก 2 สัปดาห์ มีขนาดของใบจานวนใบและจานวนหน่อ ที่เพิ่มขึ ้นมากกว่ากรรมวิธีอื่นๆ และพบอาการของโรคเน่าน้ อยกว่ากรรมวิธีอื่น ๆ

เอกสารอ้ างอิง โครงการพัฒนาชุมชนตาบลบ่อนอกอาเภอเมืองจังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ .2557.[ออนไลน์].สืบค้ นได้ จาก: http://mueang.prachuap.doae.go.th/contents/06.54.pdf. [2558, มิถนุ ายน 15]. พรพรรณ อู่สวุ รรณ และณรงค์ บัวเจริ ญ. 2546. ประสิทธิภาพของเชื ้อรา Trichodermaharzianumในการควบคุมเชื ้อรา Pythium sp. สาเหตุโรค เน่าระดับดินของผักกาดเขียวกวางตุ้ง. ปั ญหาพิเศษปริ ญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏนครปฐม. ภัคจีรา ศุภวิชชา. 2537. ว่านหางจระเข้ สมุนไพรใกล้ ตวั และสุดยอดเมนูบารุงร่างกาย. ยูโรปา เพรส บริ ษัทจากัด. ยุวดีจอมพิทกั ษ์ . 2553. ว่านหางจระเข้ . [ออนไลน์]. สืบค้ นได้ จาก : http://www.ajareeherb.com/2010-06-10-03-39-49/2010-06-25-10-20-11.html. [2558, มิถนุ ายน15]. วิพรพรรณ์ เนื่องเม็ก ประสิทธิ์ ผาผ่องและ มนัส ทิตย์วรรณ. 2557. ผลของเชื ้อราไตรโคเดอร์ มาต่อการเจริ ญเติบโตและควบคุมโรคของแคนตาลูป ในแปลงปลูก. แก่นเกษตร.42, (พิเศษ 3): 680-685. สายทองแก้ วฉาย. 2555. การใช้ เชื ้อไตรโคเดอร์ มาในการควบคุมโรคพืช.[ออนไลน์].สืบค้ นได้ จาก: http://journal.pnu.ac.th/ojs/index.php/pnujr/article/download/197/162.[2557, กันยายน 3]. สานักวิจยั เศรษฐกิจการเกษตร. 2549. การศึกษาวิจยั เศรษฐกิจสมุนไพรไทย กรณีศกึ ษา :ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร ตะไคร้ หอม. สานักงาน เศรษฐกิจการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์. [ออนไลน์].สืบค้ นได้ จาก:http://www.oae.go.th/download/resech/edu_49.PDF. [2558, มิถนุ ายน 22]. Ridthaisong, W. 2005. Integrated Control of Pythium Damping-off and Root Rot of Tomato with Trichoderma spp. and Calcium Chloride or Silicon. Master Thesis, Department of Plant Pathology, Kasetsart University

780

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ผลของไคโตซานนา้ หนักโมเลกุล ต่า ปานกลาง และ สูง ต่ อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวผักงอกไควาเระ Effect of low, medium and high molecular weight chitosan on postharvest quality of kaiwere sprout ณภัทร ขวัญช่ วย1 และ พรประพา คงตระกูล1 Napat Khwanchuay1 and Pornprapa Kongtragoul1

บทคัดย่ อ ศึกษาผลของไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลต่า (40,000 Da), กลาง (48,000 Da) และสูง (850,000 Da) ต่อคุณภาพหลัง การเก็บเกี่ยวผักงอกไควาเระ โดยแช่เมล็ดหัวไชเท้ าสาหรับการผลิตผักงอกไควาเระในสารละลายไคโตซานแต่ละชนิดที่ระดับ ความเข้ มข้ น 0 (ชุดควบคุม), 200, 400 และ 800 ppm เป็ นเวลา 12 ชัว่ โมง หลังจากนันน ้ าเมล็ดเพาะบนฟองน ้าบ่มที่ อุณหภูมิห้อง ผลปรากฏว่าหลังทาการเก็บเกี่ยวผักงอกไควาเระ ชนิดไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลต่างๆ และความเข้ มข้ นมี ปฏิสมั พันธ์ทางสถิติต่อ น ้าหนักสด และค่าของแข็งที่ละลายน ้าได้ (TSS) โดยพบว่าไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลสูง ที่ความเข้ มข้ น 400 ppm มีคา่ TSS มากที่สดุ คือ 3.86% Brix หลังจากนันบรรจุ ้ ผกั งอกไควาเระในกล่องพลาสติกใส (85*135*50 มม.) เก็บ รักษาที่อณ ุ หภูมิ 5 องศาเซลเซียสเป็ นเวลา 8 วัน พบว่าไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลต่า และไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลสูง ที่ความ เข้ มข้ น 800 และ 400 ppm ผักงอกมีคา่ TSS เพิ่มขึ ้น แต่อย่างไรก็ตาม ไคโตซานไม่มีผลแตกต่างทางสถิติต่อการสูญเสีย น ้าหนักของผักงอกไคเวระ คาสาคัญ : ของแข็งที่ละลายน ้าได้ , น ้าหนักโมเลกุลไคโตซาน, ผักงอก

Abstract The effect of low (40,000 Da), medium (48,000 Da) and high (850,000 Da) molecular weight chitosan was studied on postharvest quality of kaiware sprout. Radish seed for kaiware production were soaked in chitosan solution at 0 (control), 200, 400 and 800 ppm for 12 hours then germinated on sponge at room temperature. The result showed that after harvesting the kaiware spout, there was interaction between difference molecular weight chitosan and concentration on fresh weight and total soluble solid (TSS). It revealed that the soaked seed in the high molecular weight of chitosan solution at 400 ppm was the most effective of TSS at 3.86% Brix. Afterward, kaiware sprout were packed in transparent plastic box (85*135*50 mm) then stored at 5OC for 8 days. The low and high molecular weight chitosan at 800 and 400 ppm were shown the increasing for TSS of the sprout. However, chitosan treatments were no significant on the loss weight of kaiware sprout. Key words : total soluble solid, chitosan molecular weight, sprout

คานา ผักงอกไควาเระ หรื อต้ นอ่อนหัวไชเท้ างอก (kaiware sprout) เพาะจากเมล็ดหัวไชเท้ าซึง่ อยูใ่ นตระกูลกะหล่า มีชื่อ วิทยาศาสตร์ วา่ Raphanus sativus L. เมื่องอกเป็ นต้ นอ่อนมีลกั ษณะลาต้ นยาวสีขาวทรงกระบอก ใบเลี ้ยงคูเ่ ดียวเป็ นสีเขียว อ่อน มีรสชาติกรอบหวาน เผ็ดร้ อนเล็กน้ อย (Katsunari et al., 2007) ได้ รับความนิยมบริโภคกันอย่างกว้ างขวางในประเทศ ญี่ปนุ่ และ อีกหลายประเทศ รวมทังประเทศไทย ้ เพราะประกอบด้ วยคุณค่าทางโภชนาการหลายประการ เช่น วิตามินเอ วิตามินบี และวิตามินซี รวมถึงแร่ธาตุตา่ งๆ เช่น แคลเซียม แมกนีเซียม เหล็ก ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม สักกะสี และยังมีแคโรทีน คลอโรฟี ลล์ ตลอดจนโปรตีน เป็ นต้ น (สุพรรณ, 2555; จาเลียง, 2556) โดยมักพบปั ญหาจากเมล็ดงอกไม่สม่าเสมอ บางครัง้ เกิดการเน่าเสีย ซึง่ ปั ญหาส่วนใหญ่เกิดจากเชื ้อจุลินทรี ย์ตา่ งๆ ที่ติดมากับเมล็ด ส่งผลต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยว การทดลอง ครัง้ นี ้จึงนาไคโตซานซึง่ มีคณ ุ สมบัติเป็ นสารประกอบพอลิเมอร์ ที่ได้ จากธรรมชาติ เป็ นอนุพนั ธ์ของไคตินที่กาจัดหมูอ่ ะซิทิลออก เกิดเป็ นพอลิเมอร์ ของน ้าตาลกลูโคซาลีน ซึง่ มีการรายงานว่าไคโตซานช่วยให้ พืชมีการเจริญเติบโตที่ดีขึ ้น ช่วยเสริมสร้ างความ 1

หลักสูตรพืชสวน ภาควิชาเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตรชุมพรเขตอุดมศักดิ์ จังหวัด ชุมพร 86160

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

781


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

แข็งแรงให้ แก่ ต้ นพืช ผัก ผลไม้ และไม้ ดอกไม้ ประดับ กระตุ้นการสร้ างภูมิต้านทานให้ แก่เมล็ดพืชที่จะนาไปทาการเพาะ ขยายพันธุ์ทาให้ มีอตั ราการขยายพันธุ์ที่เพิ่มขึ ้น (ภาสกร และหทัยชนก, 2557) นอกจากนันไคโตซานยั ้ งทาให้ พืชมีความ ต้ านทานต่อศัตรูพืชเพิ่มขึ ้น โดยการกระตุ้นให้ พืชสร้ าง phytoalexin ยับยังการเจริ ้ ญของเชื ้อจุลินทรี ย์ รวมถึงป้องกันการเกิดโรค จากเชื ้อจุลินทรี ย์ได้ ด้วย และมีการใช้ ไคโตซานเป็ นสารเคลือบเมล็ดพืชเพื่อป้องกันการเสียหายของเมล็ดพันธุ์ เนื่องจากฟิ ล์ม ไคโตซานมีลกั ษณะยืดหยุน่ แข็งแรง ยึดเกาะกับผิวเมล็ดพันธุ์ได้ ดี (จุฬารัตน์ และ ศศิธร, 2552) นอกจากนี ้ได้ มีการวิจยั ผลของ น ้าหนักโมเลกุลและไคโตซานต่อการยับยังจุ ้ ลินทรี ย์ และอายุการเก็บรักษาผักและผลไม้ (Zheng and Zhu, 2003; HernandezLauzardo et all. 2008) อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพของไคโตซานขึ ้นอยูก่ บั หลายปั จจัย ได้ แก่ ชนิดน ้าหนักโมเลกุล ความ เข้ มข้ น วิธีการนาไปใช้ รวมทังชนิ ้ ดของผลผลิต การนาไคโตซานมาใช้ ประโยชน์จงึ จาเป็ นต้ องศึกษาปั จจัยดังกล่าวข้ างต้ น สาหรับงานวิจยั ครัง้ นี ้ได้ ศกึ ษาผลของไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลต่า กลาง และสูง ต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวและระหว่างการ เก็บรักษาผักงอกไควาเระ

อุปกรณ์ และวิธีการ

นาเมล็ดพันธุ์หวั ไชเท้ าที่ใช้ สาหรับผลิตผักงอกไควาเระ แช่ในสารละลายไคโตซานน ้าหนักโมเลกุล ต่า กลาง และสูง ที่ ระดับความเข้ มข้ นต่างๆ วางแผนการทดลองแบบ 3x4 Factorial in completely randomized design (CRD) จานวน 5 ซ ้า โดยใช้ เมล็ดพันธุ์หวั ไชเท้ าซ ้าละ 20 กรัม ดังนี ้ ปั จจัยที่ 1 คือ ชนิดของไคโตซานมี 3 ชนิด 1. Low molecular weight (40,000 Da) 2. Medium molecular weight (48,000 Da) 3. High molecular weight (850,000 Da) ปั จจัยที่ 2 คือ ระดับความเข้ มข้ นของไคโตซานมี 4 ระดับ 1. 0 ppm 2. 200 ppm 3. 400 ppm 4. 800 ppm เตรี ยมสารละลายไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลต่า กลาง และสูง จากการละลายผลิตภัณฑ์ไคโตซานชนิดผง No. 44,8869, 44,887-7 และ 41,941-9 ของ Aldrich® ตามลาดับ แต่ละชนิดละลายด้ วย acetic acid ความเข้ มข้ น 1% จนได้ สารละลาย ไคโตซาน และปรับระดับความเข้ มข้ นตามการทดลอง นาเมล็ดพันธุ์หวั ไชเท้ าที่เตรี ยมไว้ แช่ในไคโตซานกรรมวิธีตา่ งๆ เป็ นเวลา 12 ชัง่ โมง เมื่อครบเวลาจึงนาเมล็ดไปเพาะบนฟองน ้าในตะกร้ าเพาะที่วางบนถาดเพาะ ให้ ความชื ้นฟองน ้าเพาะโดยการเติมน ้า ในถาดเพาะ จากนันโรยเมล็ ้ ดพันธุ์หวั ไชเท้ าที่ผ่านกรรมวิธีข้างต้ นให้ ทวั่ ฟองน ้า ปิ ดเมล็ดหัวไชเท้ าด้ วยกระดาษ พ่นน ้าเปล่าด้ วย เครื่ องพ่นฝอยจนกระดาษชื ้น พ่นน ้าวันละ 2 ครัง้ เช้ า-เย็น เมื่อครบ 2 วัน ทาการเปิ ดกระดาษ เมล็ดหัวไชเท้ าเริ่มงอก ดูแลจนได้ อายุเก็บเกี่ยวเมื่ออายุครบ 7 วัน จึงทาการเก็บเกี่ยวผลผลิตผักงอกไควาเระบันทึก น ้าหนักสดของต้ นกล้ า และวัดปริมาณ ของแข็งที่ละลายน ้าได้ ด้ วยเครื่ อง pocket refractometer และทาการตรวจสอบคุณภาพผักงอกไควาเระ ระหว่างการเก็บรักษา ในกล่องพลาสติกใสขนาด 85*135*50 มม. ชัง่ น ้าหนักบรรจุลงกล่องละ 20 กรัม เก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 5 องศาเซลเซียส เป็ น เวลา 8 วัน ทาการวัดค่า TSS และชัง่ น ้าหนักของผลผลิตเพื่อคานวณเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนัก ระหว่างการเก็บรักษาทุก 2 วัน จานวน 4 ครัง้

ผลการทดลองและวิจารณ์ ผลของนา้ หนักโมเลกุลไคโตซานต่ อนา้ หนักสดและปริมาณของแข็งที่ละลายนา้ ได้ จากการทดลองแช่เมล็ดหัวไชเท้ าในสารละลายไคโตซานชนิด น ้าหนักโมเลกุลต่า กลาง และสูง ที่ระดับความเข้ มข้ น 0, 200, 400 และ 800 ppm เป็ นเวลา 12 ชัว่ โมง หลังจากทาการเก็บเกี่ยวผลผลิต เมื่ออายุครบ 7 วัน ชัง่ น ้าหนักสด และ ปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ พบว่า น ้าหนักโมเลกุลไคโตซานและความเข้ มข้ นของไคโตซาน มีปฏิสมั พันธ์ทางสถิติอย่างมี นัยสาคัญยิ่งต่อน ้าหนักสดของผักงอกไควาเระ ขณะที่ระดับความเข้ มข้ นของไคโตซานไม่มีความแตกต่างทางสถิติต่อน ้าหนัก สดของผัก ไควาเระ โดยพบว่ากรรมวิธีแช่เมล็ดในสารละลายไคโตซานชนิดน ้าหนักโมเลกุลต่า ที่ระดับความเข้ มข้ น 200 และ 400 ppm มีน ้าหนักสดสูงสุดคือ 147.83 และ 135.93 กรัมต่อน ้าหนักเมล็ดพันธุ์ 20 กรัม ตามลาดับ (Table 1) จากผลการ 782

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ทดลองสอดคล้ องกับ จุฬารัตน์ และ ศศิธร (2552) ได้ ทาการศึกษาแช่เมล็ดข้ าวพันธุ์หลวงสันป่ าตองในสารละลายไคโตซาน พบว่า เมล็ดข้ าวมีอตั ราการงอก ความยาวรากและลาต้ นเพิ่มขึ ้น ขณะที่ บัณฑิตา และ คณะ (2550) ได้ ทาการแช่เมล็ด แพงพวย ในสารละลายไคโตซานก่อนนาไปเพาะในพีทมอส พบว่าเมล็ดแพงพวยมีดชั นีการงอก และ ความสูงของต้ นกล้ า ดีกว่าเมล็ดแพงพวยที่ไม่ได้ ผ่านการแช่เมล็ดในสารละลายไคโตซาน อย่างไรก็ตามพบรายงานว่าไคโตซานชนิดน ้าหนักโมเลกุล ต่ามีประสิทธิภาพต่อการยับยังจุ ้ ลินทรี ย์ได้ ดีกว่าไคโตซานชนิดน ้าหนักโมเลกุลสูง(Zheng and Zhu, 2003; HernandezLauzardo et all. 2008) นอกจากนี ้พบว่าน ้าหนักโมเลกุลของไคโตซาน และระดับความเข้ มข้ นของไคโตซาน มีปฏิสมั พันธ์ทาง สถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่งต่อเปอร์ เซ็นต์ของแข็งที่ละลายน ้าได้ และยังพบว่าน ้าหนักโมเลกุลไคโตซานกับระดับความเข้ มข้ นของ ไคโตซานมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่งต่อเปอร์ เซ็นต์ของแข็งที่ละลายน ้าได้ โดยกรรมวิธีแช่เมล็ดในสารละลาย ไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลสูง ที่ระดับความเข้ มข้ น 400 ppm มีเปอร์ เซ็นต์ของแข็งที่ละลายน ้าสูงที่สดุ คือ 3.86 % brix(Table 1) Table 1 Effect of chitosan at different molecular weight and concentration on fresh weight and total soluble solid content of kaiware production. Fresh weight Chitosan type Concentration TSS (%) (g/ 20 g of dry seed) Low molecular weight 0 85.13 bc 2.78 def 200 147.83 a 2.42 f 400 135.93 a 3.12 bcd 800 101.77 b 2.98 bcde Medium molecular weight 0 85.13 bc 2.78 def 200 54.89 d 3.26 bc 400 92.87 b 2.94 bcde 800 92.06 b 2.62 ef High molecular weight 0 85.13 bc 2.78 def 200 66.91 cd 2.88 cde 400 52.03 d 3.86 a 800 97.29 b 3.36 b chitosan type (a) ** ** concentration (b) ns ** a*b ** ** ** = F-test significant at P<0.01; ns= F-test not significant at P>0.05 values in the same column followed by different are significantly different by LSD0.05

ผลของนา้ หนักโมเลกุลไคโตซานต่ อการสูญเสียนา้ หนักระหว่ างการเก็บรั กษา หลังจากบรรจุผกั ไควาเระใส่กล่องพลาสติกขนาด 85*135*50 มม. กล่องละ 20 กรัม เก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 5OC ทา การชัง่ น ้าหนักสดเพื่อคานวณเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนัก และวัดปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ ระหว่างการเก็บรักษาทุก 2 วันจนครบ 8 วัน พบว่าน ้าหนักโมเลกุลไคโตซานและระดับความเข้ มข้ นของไคโตซาน ไม่มีปฏิสมั พันธ์ทางสถิติและไม่พบว่า น ้าหนักโมเลกุลไคโตซานกับความเข้ มข้ นของไคโตซานมีผลทางสถิติ ต่อเปอร์ เซ็นต์การสูญเสียน ้าหนักของผักไควาเระ ตลอด การเก็บรักษา 8 วัน (Table 2) ซึง่ ไม่สอดคล้ องกับการศึกษาของปรางค์ทองและเบญจมาส (2557) ที่ได้ ทาการฉีดพ่น สารละลายไคโตซานลักษณะเป็ นละอองบนผิวชมพู่พนั ธุ์ทองสามสี ตรวจสอบคุณภาพการเก็บรักษาชมพู่ พบว่าไคโตซานขนาด โมเลกุล 100,000 Da หรื อ 50,000 Da ที่ระดับความเข้ มข้ น 10 และ 50 ppm มีแนวโน้ มช่วยลดการสูญเสียน ้าหนักระหว่างการ เก็บรักษานาน 15 วัน ซึง่ น่าจะมีสาเหตุจากวิธีการใช้ สารละลายไคโตซานที่ใช้ เวลาในการแช่เมล็ดผักในไคโตซานเป็ นเวลา 12 ชัว่ โมง จึงนาไปเพาะและเก็บเกี่ยวเมื่อครบ 7 วัน อาจเป็ นผลให้ ไคโตซานไม่สง่ ผลต่อการสูญเสียน ้าหนักสาหรับการศึกษา ในครัง้ นี ้ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

783


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Effect of chitosan at different molecular weight and concentration on weigh loss of kaiware production between storage at 5oC for 8 days. Percentage of weight loss Chitosan type Concentration 2 4 6 8 days Low molecular weight 0 0 0 0 0 200 0 0 0 2.55 400 0.25 0.6 1.17 4.68 800 0 0.18 2.86 6.77 Medium molecular weight 0 0 0 0 0 200 0 0.22 2.82 6.31 400 0 0 0 0 800 0 0 0.17 1.74 High molecular weight 0 0 0 0 0 200 0.98 1.37 1.59 2.6 400 0 0 0.05 2.16 800 1.08 1.78 2.61 4.43 chitosan type(a) ns ns ns ns concentration(b) ns ns ns ns a*b ns ns ns ns ns= F-test not significant at P>0.05

ผลของนา้ หนักโมเลกุลไคโตซานต่ อค่ าเปอร์ เซ็นต์ ของแข็งที่ละลายนา้ ได้ ระหว่ างการเก็บรั กษา จากการเก็บรักษาผักงอกไควาเระเป็ นระยะเวลา 2 และ 4 วัน พบว่า น ้าหนักโมเลกุลไคโตซานและระดับความ เข้ มข้ นของไคโตซานไม่มีปฏิสมั พันธ์ ทางสถิติ ต่อค่าปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ แต่พบว่า ในวันที่ 2 ของการเก็บรักษา ระดับความเข้ มข้ นของไคโตซานมีความแตกต่างทางสถิติต่อ ค่าปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ และพบว่าน ้าหนักโมเลกุลของ ไคโตซานและระดับความเข้ มข้ นของไคโตซานมีปฏิสมั พันธ์ แตกต่างทางสถิติอย่างมีนยั สาคัญยิ่งในวันที่ 6 และ 8 โดยพบว่า หลังจากเก็บรักษาเป็ นเวลา 6 วัน ผักงอกไควาเระจากกรรมวิธีแช่เมล็ดพันธุ์ในสารละลายไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลปานกลาง ที่ระดับความเข้ มข้ น 200 ppm และสารละลายไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลสูงที่ระดับความเข้ มข้ น 200 และ 400 ppm มี ปริ มาณของแข็งที่ละลายน ้าได้ เท่ากับคือ 5.02 , 5 และ 5.02 % brix ตามลาดับ และเมื่อทาการเก็บรักษาครบ 8 วัน พบว่า ผลผลิต ผักงอกไควาเระจากกรรมวิธีแช่เมล็ดพันธุ์ในสารละลายไคโตซาน น ้าหนักโมเลกุลต่าที่ระดับความเข้ มข้ น 800 ppm และสารละลายไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลสูงที่ระดับความเข้ มข้ น 400 ppm มีค่าเปอร์ เซ็นต์ของแข็งที่ละลายน ้าสูงที่สดุ คือ 5.26 และ 5.22 % brix ตามลาดับ (Table 3) ซึ่งสอดคล้ องกับ ณัฐชยา และคณะ (2555) ได้ ทาการทดลอง ผลของคลอรี น กรดแอสคอร์ บิก และไคโตซานต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาลิ ้นจี่ พบว่าการเคลือบผิวลิ ้นจี่ด้วยไคโตซาน 0.5 เปอร์ เซ็นต์ แล้ วนามาเก็บรักษาที่อณ ุ หภูมิ 5 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 30 วันมีค่าของแข็งที่ละลายน ้าได้ สงู ที่สดุ คือ 16.53 % brix ซึ่งจาก งานทดลองนี ้แสดงให้ เห็นว่าลิ ้นจี่ที่ผ่านการเคลือบผิวด้ วยไคโตซานจะมีค่าของแข็งที่ละลายน ้าได้ เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องตาม อายุการเก็บรักษา

สรุ ปผลการทดลอง จากการแช่เมล็ดพันธุ์หวั ไชเท้ าจานวน 20 กรัม ในสารละลายไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลต่าที่ระดับความเข้ มข้ น 200 และ 400 ppm สามารถผลิตผักงอกไควาเระได้ น ้าหนักสดผลผลิตมากที่สดุ คือ 147.83 และ 135.93 กรัม และการแช่เมล็ดใน สารละลายไคโตซานน ้าหนักโมเลกุลสูงที่ระดับความเข้ มข้ น 400 ppm มีปริมาณของแข็งที่ละลายน ้าสูงที่สดุ คือ 3.86 % brix ส่วนน ้าหนักโมเลกุลไคโตซานไม่มีผลแตกต่างทางสถิติต่อการสูญเสียน ้าหนักของผักงอกไควาเระ

784

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Effect of chitosan molecular weight on total soluble solid (TSS) of kawaire production after storage at 5oC for 2, 4, 6 and 8 days. total soluble solids (TSS) Chitosan type Concentration 2 4 6 8 days /1 Low molecular weight 0 3.514 b 4.898 4.284 b 3.98 bc 200 3.56 b 3.94 3.34 c 3.5 c 400 4.02 ab 4.26 3.5 c 3.98 bc 800 3.84 ab 5.24 4.64 ab 5.26 a Medium molecular weight 0 3.514 b 4.898 4.284 b 3.98 bc 200 4.46 a 4.94 5.02 a 4.58 ab 400 4.16 ab 5.32 4.8 ab 4.2 bc 800 4.18 ab 5.02 4.66 ab 4.38 b High molecular weight 0 3.514 b 4.898 4.284 b 3.98 bc 200 3.84 ab 4.82 5a 3.96 bc 400 3.84 b 5.34 5.02 a 5.22 a 800 4.42 a 4.98 4.6 ab 4.48 ab chitosan type(a) ns ns ** ns concentration(b) * ns ns ** a*b ns ns ** ** * = F-test significant at P <0.05; ** = F-test significant at P<0.01; ns= F-test not significant at P>0.05 values in the same column followed by different are significantly different by LSD0.05

กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจยั ขอขอบคุณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพรเขตอุดมศักดิ์ จังหวัดชุมพร ที่ สนับสนุนการทดลองครัง้ นี ้

เอกสารอ้ างอิง จุฬารัตน์ ไชยนันท์ และ ศศิธร วงศ์เรื อง. 2552. ผลของไคโตซานต่อการงอกของเมล็ดข้ าวพันธุ์หลวงสันป่ าตองและการยับยังเชื ้ ้อราที่ติดมากับเมล็ด. ว.วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 17(1): 78-86. จาเลียง หมื่นวัน. 2556. ถัว่ งอกมากคุณค่า. [ออนไลน์] สืบค้ นจาก: http://www.pathumthani.doae.go.th/WebsiteProduction/Production Group/info/News/16-10-56%20sprout%20beans.pdf. สืบค้ นวันที่ 11 ตุลาคม 2558. ภาสกร นันทพานิช และ หทัยชนก นันทพานิช. 2557. ไคโตซาน. (แผ่นพับ). คลินิกเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี บัณฑิตา ยงค์, วัชรา ทะมะละ และ อภิรดี อุทยั รัตนกิจ. 2550. ผลของสารไคโตซานต่อการงอกของเมล็ดแพงพวยลูกผสม. วารสาร วิทยาศาสตร์ เกษตร. 38(6) (พิเศษ): 193-196 ปรางค์ทอง กวานห้ อง และ เบญจมาส รัตนชินกร. 2557. ผลของไคโตซานความเข้ มข้ นต่าต่อคุณภาพการเก็บรักษาชมพู่พนั ธุ์ทองสามสี. แก่นเกษตร. 42(3)(พิเศษ): 180-185. ณัฐชยา ใจดี , ศรัญญู บุญต่อ, กานต์พิชชา ปั ญญา และ วาสนา พิทกั ษ์ พล. 2555. ผลของคลอรี น กรดแอสคอร์ บิก และไคโทซานต่อคุณภาพ และ อายุการเก็บรักษาลิ ้นจี่. หน้ า 66-37. ใน รายงานการประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยพะเยาวิจยั ครัง้ ที่ 1: ปั ญญาเพื่อความเข้ มแข็งของ ชุมชน. 12-13 มกราคม 2555. อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร มหาวิทยาลัยพะเยา, พะเยา. สุพรรณี เทพอรุณรัตน์. 2555. ถัว่ งอกปลอดเชื ้อโรค. วารสารกรมวิทยาศาสตร์ บริ การ 60(189): 47: 49. Hernandez-Lauzardo, A. N.,Bautista-Banos, S., Velazquez-del Valle, M.G., Mendez- Montealvo, M. G., Sanchez-Rivera, M. M., and Bello-Perez, L. A. (2008). Antifungal effects of chitosan with different molecular weights on in vitro development of Rhizopus stolonifer (Ehrenb.:Fr.) Vuill. Carbohydrate Polymers, 73, 541-547. Katsunari, I., Atsuko T., Hidekazu I., Hideki H. and Keiko A. 2007. Antioxidative effects of daikon sprout (Raphanus sativus L.) and ginger (Zingiber officinale Roscoe) in rats. Food Chemistry. 102: 237–242 Zheng, L., and Zhu, J. 2003. Study on antimicrobial activity of chitosan with different molecular weights. Carbohydrate Polymers, 54, 527-530 การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

785


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การทดสอบความสามารถในการเป็ นปฏิปักษ์ ของเชือ้ รา Trichoderma จากวัสดุรองรับ ต่ อเชือ้ Pythium sp. Evaluation of antagonistic activity of Trichoderma from supporting materials against Pythium sp. ทักษพร ช้ างม่ วง1 ปาณิศา ประสม1 และ พรหมมาศ คูหากาญจน์ 1* Taksaporn Changmuang1 Panisa Prasom1 and Prommart Koohakan1*

บทคัดย่ อ

การรักษาระดับประชากรของจุลินทรี ย์ปฏิปักษ์ ให้ อยู่ในระดับที่เหมาะสม เป็ นปั จจัยหนึ่งที่ทาให้ การควบคุมโดยชีววิธี ประสบผลสาเร็ จ เราได้ ทดลองพบว่าวัสดุรองรับสามารถที่จะรักษาระดับประชากรของ Trichoderma harzianum ให้ อยู่ใน สารละลายธาตุอาหารหมุนเวียนได้ มากกว่าระบบที่ปราศจากวัสดุรองรับ ในการทดลองนี ้ได้ ขยายขอบเขตของการทดลองไปยัง วัสดุรองรับประเภทอินทรี ย์สารชนิดอื่นๆ ได้ แก่ แกลบ ขุยมะพร้ าว รา เปลือกไม้ สบั เวอร์ มิคไู ลท์ (vermiculite) พีทมอส (peat moss) และ สแฟกนัม่ มอส (sphagnum moss) โดยเน้ นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของ T. harzianum จากวัสดุ รองรับดังกล่าวข้ างต้ น ในด้ านการเจริ ญของเส้ นใย การสร้ างส่วนขยายพันธุ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยา รวมถึงประสิทธิภาพใน การยับยังการเจริ ้ ญเติบโตของเชื ้อ Pythium sp. ที่เป็ นสาเหตุสาคัญของการเกิดโรครากเน่าในระบบปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดิน ซึง่ จะ รายงานผลให้ ทราบจากการทดลองในครัง้ นี ้ คาสาคัญ : Trichoderma sp. วัสดุรองรับ การปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดิน

Abstract One key for biological control achievement is maintaining population of antagonistic microorganism in a suitable level. Our study revealed that supporting material could maintain the population of Trichoderma harzianum in the re-circulated nutrient solution system at the higher level than that without supporting material. In this experiment we expanded the study to other organic supporting materials namely; rice hulls, coconut-husk dust, rice bran, chopped bark, vermiculite, peat moss and sphagnum moss, and focused on the properties of T. harzianum re-isolated from those supporting materials. The biological properties including hyphal growth, sporulation, morphological characteristics and antagonistic activity against Pythium sp. known as major causal agent of root rot disease in hydroponics will be reported in this article. Key words : Trichoderma sp., supporting materials, hydroponics

คานา

การปลูกพื ชโดยไม่ใช้ ดิน (Hydroponics) เป็ นระบบปลูกพื ชรู ปแบบหนึ่งที่ ไม่ใช้ ดินในการปลูก แต่อาจมี วัสดุปลูก (substrate) เพื่อทาหน้ าที่พยุงราก และกักเก็บนา้ หรื อสารละลายธาตุอาหาร ระบบปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดินมีห ลายเทคนิคและ วิธีการ (Resh, 2013) ในกรณีของพืชผักนิยมปลูกในสารละลายธาตุอาหารโดยตรง โดยใช้ เทคนิคที่เรี ยกว่า nutrient film technique (NFT) หรื อ deep flow technique (DFT) (อิทธิสนุ ทร, 2557) เนื่องจากเป็ นระบบปลูกพืชที่ปราศจากดินจึงสามารถ หลีกเลี่ยงเชื ้อสาเหตุโรคทางดินได้ หลายชนิด อย่างไรก็ตามยังมีสารละลายธาตุอาหารที่สามารถเป็ นตัวกลางในการส่งผ่านเชื ้อ สาเหตุโรคพืชไปยังพืชต้ นอื่นๆได้ หากมีการปนเปื อ้ นของเชื ้อเข้ าไปในระบบ ด้ วยเหตุผลนี ้จึงยังไม่สามารถควบคุมเชื ้อสาเหตุโรค ได้ อย่างสมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื ้อจุลินทรี ย์บางชนิดที่ชอบสภาพที่มีน ้า เช่น เชื ้อ Pythium sp. (Stanghellini and Rasmussen, 1994) ซึ่งเชื ้อดังกล่าวเป็ นสาเหตุโรครากเน่าที่สาคัญในระบบปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดินทาให้ เกิดความเสียหายต่อ ผลผลิตได้ มาก (พรหมมาศ, 2546; Koohakan et al., 2008 ) ด้ วยเหตุผลดังกล่าว จึงควรมีการป้องกันกาจัดเชื ้อสาเหตุโรค โดย การป้องกันกาจัดนัน้ มี หลายวิธี ทัง้ การใช้ สารเคมี และวิธีทางชี วภาพ แต่การใช้ สารเคมีจะส่งผลกระทบต่อทัง้ ผู้บริ โภคและ เกษตรกร ดังนัน้ วิธีทางชีวภาพจึงเป็ นที่ทางเลือกที่ดี การเลือกใช้ จุลินทรี ย์ปฏิปักษ์ เป็ นอีกหนึ่งทางเลือกของวิธีทางชี วภาพ ดัง รายงานวิจยั พบว่าเชื ้อรา Trichoderma harzianum เป็ นปฏิปักษ์ กบั เชื ้อ Rhizoctonia sp. Sclerotium sp และ. Pythium sp. 1

สาขาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ 10520 *Corresponding author: E-mail: kkpromma@kmitl.ac.th 786

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

(Elad et al., 1980; Sivan et al., 1984) เชื ้อรา T. harzianum เป็ นจุลินทรี ย์ที่พบได้ ตามธรรมชาติ เช่น ในดิน ซากพืช ซากสัตว์ และอินทรี ย์วตั ถุ มีกลไกในการควบคุมโรคพืชหลายกลไก ได้ แก่ สร้ างสารปฏิชีวนะเพื่อยับยังการเข้ ้ าทาลายของเชื ้อสาเหตุโรคพืช (antibiosis) การเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ วเพื่อแย่งแหล่งอาหาร และพื ้นที่เพื่อใช้ ในการเจริ ญเติบโต (competition) และการชักนา ให้ พืชมีความต้ านทานโรค (Kamala and Indira, 2011) ในปั จจุบนั มีการนาเชื ้อรา T. harzianum มาผลิตเป็ นชีวผลิตภัณฑ์และ นิยมใช้ กนั อย่างแพร่ หลาย มีการพัฒนาให้ สามารถปรับใช้ กบั ระบบการปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดิน เพื่อยับยังจุลินทรี ย์ก่อโรคในระบบ (จิระเดช, 2547) อย่างไรก็ตามการนาเชื ้อรา T. harzianum มาใส่ลงในระบบสารละลายหมุนเวียนธาตุอาหารโดยตรง อาจส่งผล กระทบต่อรากพืช โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบบที่ปราศจากวัสดุปลูก ดังนันจึ ้ งได้ มีการทดลองหาวัสดุรองรับเพื่อคงระดับจานวน ประชากรเชื ้อรา T. harzianum จากการได้ ทดลองเบื ้องต้ นพบว่าวัสดุรองรับสามารถรักษาระดับจานวนประชากรของเชื ้อรา T. harzianum ได้ ดีกว่าระบบที่ปราศจากวัสดุปลูก (Jaikengkaj et al., 2015) ในการทดลองครัง้ นี ้จึงขยายขอบเขตการศึกษาไปยัง วัสดุรองรับประเภทอินทรี ย์สารชนิดอื่นๆ ได้ แก่ แกลบ (rice husk) ขุยมะพร้ าว (coconut fiber) เปลือกไม้ สบั (bark) เวอร์ มิ คูไลท์ (vermiculite) พีทมอส (peat moss) สแฟกนัม่ มอส (sphagnum moss) และ รา (rice bran) ซึง่ บทความวิจยั นี ้ได้ เสนอผล เกี่ยวกับคุณสมบัติของเชื ้อรา T. harzianum ที่แยกจากวัสดุรองรับ ในด้ านต่างๆ เช่น การเจริ ญเติบโต ลักษณะสัณฐานวิทยา ตลอดจนถึงประสิทธิภาพการยับยังเชื ้ ้อ Pythium sp. ว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปหรื อไม่ เมื่อเปรี ยบเทียบกับ T. harzianum ที่แยก ใหม่จากชีวผลิตภัณฑ์

อุปกรณ์ และวิธีการ 1. เชือ้ จุลินทรีท่ ีนามาทดลอง 1) การแยกเชือ้ รา T. harzianum และการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา ทาการแยกซ ้า (re-isolated) เชื ้อรา T. harzianum จากวัสดุรองรับประเภทอินทรี ย์ที่ได้ ผสมชีวผลิตภัณฑ์ T. harzianum ซึง่ ผ่าน การใช้ ในระบบปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดินมาแล้ ว 6 สัปดาห์ ได้ แก่ แกลบ (rice husk) ขุยมะพร้ าว (coconut fiber) เปลือกไม้ สบั (bark) เวอร์ มิคไู ลท์ (vermiculite) พีทมอส (peat moss) สแฟกนัม่ มอส (sphagnum moss) และ รา (rice bran) โดยนา ตัวอย่างวัสดุรองรับดังกล่าววางลงบนอาหารเลี ้ยงเชื ้อ Trichoderma selective medium (TSM; Elad et al., 1981) บ่มไว้ ที่ อุณหภูมิห้อง ในที่มืดเป็ นเวลา 3 วัน หลังจากนันเมื ้ ่อเส้ นใยเจริ ญฟูออกจากวัสดุรองรับ จึงย้ ายลงบนอาหาร potato dextrose agar (PDA) จนได้ เชื ้อที่บริ สทุ ธิ์ ส่วนกรรมวิธีควบคุม (control) ได้ แก่ T. harzianum จากชีวผลิตภัณฑ์ที่แยกใหม่ โดยการโรย ผงผลิตภันฑ์ลงบนอาหาร TSM เมื่อมีโคโลนีเกิดขึ ้นจึงย้ ายลงอาหาร (PDA) แล้ วแยกเชื ้อให้ บริ สทุ ธิ์ ทาการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเชื ้อรา T. harzianum ที่แยกซ ้าจากวัสดุรองรับที่ผ่านการทดลองแล้ วเปรี ยบเทียบ กับ T. harzianum ที่แยกใหม่จากชีวผลิตภัณฑ์ (control) ได้ แก่ ลักษณะโคโลนีบนอาหาร PDA อัตราการเจริ ญเติบโต ขนาด ของสปอร์ ขนาดของ phialide และจานวนสปอร์ ของเชื ้อรา T. harzianum 2) การแยกเชือ้ Pythium sp. และการทดสอบความสามารถในการก่ อโรค แยกเชื ้อ Pythium sp. จากตัวอย่างวัสดุเพาะกล้ าที่พบการเกิดโรคโคนเน่าจากตลาดต้ นไม้ สมบัติบรุ ี อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี ด้ วยวิธี modify baiting technique (พรหมมาศ, 2539) โดยนาวัสดุเพาะกล้ าใส่ลงในผลแตงกวาที่นาไส้ ออกแล้ ว หลังจากนัน้ ทาการให้ ความชืน้ และรอจนเส้ นใยเจริ ญฟูออกมา จากนัน้ จึงย้ ายเส้ นใยต่อลงบนอาหาร PDA จนได้ เชือ้ บริ สทุ ธิ์ จากนัน้ ทาการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและทดสอบความสามารถในการทาให้ เกิดโรค การทดสอบความสามารถในการก่อโรคทาโดยเลี ้ยงเชื ้อ Pythium sp. ในอาหารเลี ้ยงเชื ้อ PDA เป็ นเวลา 5 วัน จากนันน ้ าเชื ้อ ดังกล่าวผสมดินที่ผ่านการนึ่งฆ่าเชื ้อ กระถางละ 1 จานอาหารเลี ้ยงเชื ้อ ทาการปลูกแตงกวา เปรี ยบเทียบกับกรรมวิธีที่ไม่ได้ รับ เชื ้อ Pythium sp. ทาการทดลอง 3 ซ ้า เก็บข้ อมูลการเกิดโรควันที่ 3 และ 5 แล้ วคานวณเป็ นเปอร์ เซ็นต์การเกิดโรค (Disease incidence) ดังสูตร Disease incidence=

จานวนต้ นที่เป็ นโรค จานวนต้ นทังหมด ้

× 100

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

787


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

2. การทดสอบประสิทธิภาพของเชือ้ รา T. harzianum ในการยับยัง้ การเจริญของเชือ้ Pythium sp. ทาการทดสอบด้ วยวิธี dual-culture test โดยวางแผนการทดลองแบบ completely randomize design (CRD) กรรมวิธีละ 3 ซ ้า โดยนา cork borer ตัดบริเวณปลายเส้ นใยเชื ้อ Pythium sp. และเชื ้อรา T. harzianum ที่มีอายุ 3 วัน แล้ วนามาวางบนจาน อาหารเลี ้ยงเชื ้อ PDA ตรงข้ ามกัน โดยให้ มีระยะห่างจากขอบของจานทดลอง 1.5 เซนติเมตร บ่มไว้ ที่อณ ุ หภูมิห้อง เป็ นเวลา 5 วัน วัดผลโดยวัดเส้ นผ่าศูนย์กลางของโคโลนีของเชือ้ ราทัง้ สอง แล้ วนามาคานวณหาเปอร์ เซ็นต์การยับยัง้ การเจริ ญเติบโต (Growth Inhibition = GI) โดยใช้ สตู ร GI= (R1 – R2)/R1x100 R1 = ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางโคโลนีของเชื ้อราในจานอาหารควบคุม (control) R2 = ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางโคโลนีของเชื ้อราในจานอาหารทดสอบ

ผลการทดลองและวิจารณ์ ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเชือ้ รา T. harzianum จากการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเชื ้อรา T. harzianum ทัง้ 8 ไอโซเลท คือเชื ้อรา T. harzianum ที่แยกได้ จากชีว ผลิตภัณฑ์, T_product (control); เชื ้อรา T. harzianum ที่แยกได้ จากขุยมะพร้ าว, T_coconut fiber; เชื ้อรา T. harzianum ที่ แยกได้ จากเวอร์ มิคไู ลท์ , T_vermiculite; เชื ้อรา T. harzianum ที่แยกได้ จากพีทมอส, T_peat moss; เชื ้อรา T. harzianum ที่ แยกได้ จากแกลบ, T_rice husk; เชื ้อรา T. harzianum ที่แยกได้ จากเปลือกไม้ สบั , T_bark; เชื ้อรา T. harzianum ที่แยกได้ จาก สแฟกนัม่ มอส, T_sphagnum moss และเชื ้อรา T. harzianum ที่แยกได้ จากรา, T_rice bran พบว่าลักษณะโคโลนีของ เชื ้อรา T. harzianum ทุกไอโซเลท มีสีขาว ฟู สามารถเจริ ญได้ อย่างรวดเร็ว จากนันเปลี ้ ่ยนเป็ นสีเขียว และเต็มจานอาหารเลี ้ยงเชื ้อ ภายใน 3 วัน โดยทุกไอโซเลทมีการเจริ ญเติบโตได้ ดีไม่ต่างจาก T_product (control) (Table 1) เมื่อตรวจสอบภายใต้ กล้ อง จุลทรรศน์ พบเส้ นใยมีลกั ษณะใส (hyaline) มีผนังกัน้ สร้ าง phialide ขนาด 4.90, 4.33, 4.20, 3.64, 4.67, 4.82, 4.8 และ 4.7 ไมครอน ตามลาดับ และสร้ าง conidia สีเขียวรูปร่างกลม ผิวเรี ยบขนาดประมาณ 1.68, 1.71, 1.74, 1.64, 1.64, 1.67, 1.74 และ 1.5 ไมครอน ตามลาดับ เมื่อเปรี ยบเทียบกับชีวผลิตภัณฑ์ ขนาด phialide และ conidia ของ T_rice bran, T_bark และ T_rice husk ไม่แตกต่างกัน (Table 2, Figure 1) Table 1 Growth rate of 8 isolates of T. harzianum re-isolated from each supporting material Growth rate (cm.) Treatment Day 1 Day 2 T_product (control) 2.68 7.35 T_coconut fiber 2.72 7.45 T_vermiculite 2.80 7.42 T_peat moss 2.78 7.50 T_rice husk 2.58 7.38 T_bark 2.62 7.18 T_sphagnum moss 2.73 7.40 T_rice bran 2.68 7.22 NS NS

Day 3 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 9.00 NS

NS = Non-significant at p>0.05

788

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 2 Morphology of 8 isolates of T. harzianum re-isolated from each supporting material Treatment T_product (control) T_coconut fiber T_vermiculite T_peat moss T_rice husk T_bark T_sphagnum moss T_rice bran

Size of phialide (µm) 4.90a 4.33b 4.20b 3.64c 4.67a 4.82a 4.86a 4.79a *

Size of conidia (µm) 1.68bc 1.71ab 1.74a 1.64c 1.64c 1.67bc 1.74a 1.50bc *

* = significant difference at p>0.05

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

789


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Figure 1 Colony (left), phialide (middle) and conidia (right) of T. harzianum 8 isolate (A= T_product, B= T_coconut fiber, C= T_vermiculite, D= T_peat moss, E= T_rice husk, F= T_bark, G= T_sphagnum moss, H= T_rice bran)

790

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของเชือ้ Pythium sp. และความสามารถในการทาให้ เกิดโรค จากการแยกเชื อ้ Pythium sp. พบว่าเชื อ้ ดังกล่าว สร้ างเส้ นใยสีข าว ฟู เจริ ญเต็มจานอาหารเลีย้ งเชื อ้ ภายใน 1-2 วัน เมื่อนามาตรวจสอบด้ วยกล้ องจุลทรรศน์พบว่า เส้ นใยเป็ นแบบไม่มีผนังกัน้ (coenocytic hypha) มีการสร้ าง sporangium ทัง้ บริ เวณปลายเส้ นใย และระหว่า งเส้ นใย นอกจากนี ้ ยังพบการสร้ างส่ว นสืบ พันธุ์ แ บบใช้ เพศ คื อ oogonium และ antheridium ก่อนจะพัฒนาเป็ น oospores (Figure 2) ในส่วนของการทดความสามารถในการก่อโรค พบว่าเชื ้อดังกล่าว สามารถก่อโรคกับแตงกวาได้ โดยสังเกตจากไม่มีการงอกของเมล็ด และพบเส้ นใยสีขาวเจริ ญคลุมเมล็ด เปรี ยบเทียบกับต้ นที่ ไม่มีการปลูกโรค(control) (Figure 3) มีเปอร์ เซ็นต์การเกิดโรคคือ 91.66 เปอร์ เซ็นต์

Figure 2 Morphology of Pythium sp (A =colony B =oogonium and antheridium C =oospore)

Figure 3 Damping-off on cucumbers seedling caused by Pythium sp. at 3 and 5 days after inoculation (A and C = control; B and D = inoculation with Pythium sp.) ประสิทธิภาพของเชือ้ รา T .harzianum ในการยับยัง้ การเจริญของเชือ้ Pythium sp. จากการทดสอบประสิทธิภาพในการเป็ นปฏิปักษ์ ของเชื ้อรา T. harzianum ที่แยกซ ้าจากวัสดุรองรับอินทรี ย์ ที่นาไปใช้ ร่วมกับการ ปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดินมาแล้ ว 1 ฤดูปลูก พบว่า ทุกไอโซเลท ยังคงมีความสามารถในการยับยังการเจริ ้ ญของเส้ นใยเชื ้อ Pythium sp. ได้ ไม่แตกต่างกับเชื ้อรา T. harzianum ที่แยกใหม่จากชีวผลิตภัณฑ์ (control) จึงเป็ นเครื่ องยืนยันให้ เห็นว่าวัสดุรองรับ มีสว่ น ช่วยในการคงระดับความอยู่รอด และคงประสิทธิภาพในการยับยังเชื ้ ้อสาเหตุ โรคพืชได้ สอดคล้ องกับที่ Jaikengkaj et al., (2015) ได้ รายงานไว้ ทังนี ้ ้พบว่าเชื ้อรา T. harzianum ที่มีเปอร์ เซ็นต์การยับยังดี ้ ที่สดุ ได้ แก่เชื ้อรา T. harzianum ที่แยกจากแกลบ (T_rice husk) รองลงมาคือ เชื ้อรา T. harzianum ที่แยกจากเวอร์ มิคไู ลท์ (T_vermiculite) เชื ้อรา T. harzanum ที่แยกจากเปลือก ไม้ สบั (T_bark) และเชื ้อรา T. harzianum ที่แยกจาก สแฟกนัมมอส (T_sphagnum moss) ซึง่ มีเปอร์ เซ็นต์การยับยัง้ 42.22, 40.36, และ 39.63 เปอร์ เซ็นต์ (Table 3) ตามลาดับ เช่นเดียวกับรายงานของ Patil et al. (2012) ที่ระบุว่าเชื ้อ T. harzianum สามารถยับยังการเจริ ้ ญของเชื ้อ Pythium sp.ได้ 55.60 เปอร์ เซ็นต์ นอกจากนี ้ยังพบว่าจานวนสปอร์ ของเชื ้อรา T. harzianum ไอโซเลทดังกล่าวที่ยงั คงมีปริมาณอยูส่ งู เมื่อเทียบกับ control จากการศึกษากลไกยับยังที ้ ่ตรวจพบในครัง้ นี ้พบว่า มี 2 กลไก คือ การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

791


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

การเจริ ญคลุมทับโคโลนีของเชื ้อราสาเหตุโรค ซึง่ เป็ นการแสดงออกของกลไก competition (Figure 4) อีกกลไกหนึ่งที่สามารถ ตรวจพบได้ โดยการตรวจสอบบริ เวณที่เส้ นใยของเชื ้อราปฏิปักษ์ ชนกับเชื ้อราสาเหตุโรค (interaction zone) ภายใต้ กล้ อง จุลทรรศน์ พบกลไกแบบ parasitism (Figure 5) ซึง่ จากรายงานของ Kamala and Indira (2011) พบกลไกดังกล่าวเช่นกัน เป็ นไปได้ วา่ เชื ้อรา T. harzianum เจริญเข้ ายึดเกาะและดูดกินสารอาหารของเส้ นใยของเชื ้อ Pythium sp.

Figure 4 Dual-culture of representative isolates of T. harzianum isolated from organic supporting materials against Pythium sp. at 3 days after incubation (A= T_product, B= T_coconut fiber, C= T_vermiculite, D= T_peat moss, E= T_rice- husk, F= T_bark, G= T_sphagnum moss, H= T_rice bran) 792

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

Table 3 Antagonistic trait of 8 isolates of T. harzianum re-isolated from each supporting material to suppress the growth of Pythium sp. Number of spore Treatment Colony (cm.) Growth inhibition (%)1 (106 conidia/ml) T_product 7.73 38.14b 1.19 ab T_coconut fiber 7.83 38.14b 1.10ab T_vermiculite 7.43 40.37ab 0.97b T_peat moss 8.27 37.77b 1.23 a T_rice husk 8.17 42.22a 1.00a T_bark 7.90 39.63ab 0.95b T_sphagnum moss 8.00 39.63ab 1.10ab T_rice bran 7.70 38.14b 0.97b NS2 *3 * 1

Growth inhibition = (R1 – R2/ R1) × 100: R1= diameter of radial growth of Pythium sp. in mono culture ; R2 = diameter of radial growth of Pythium sp. in dual culture 2 NS = Non-significant at p>0.05 3 * = significant difference at p>0.05

Figure 5 hyphal interactions as mycoparasitism between T. harzianum. (T) and Pythium sp. (P)

สรุ ป จากการศึกษาในครัง้ นี ้พบว่า เชื ้อรา T. harzianum ที่แยกซ ้าจากวัสดุรองรับมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางสัณฐานวิทยาน้ อย มากเมื่อเปรี ยบเทียบกับ T. harzianum ที่แยกได้ ใหม่จากชีวผลิตภัณฑ์ (control) ในส่วนของการเป็ นปฏิปักษ์ พบว่าทุกไอโซเลท ยังคงมีประสิทธิภาพในการยับยังเชื ้ ้อ Pythium sp. ได้ ดี เมื่อเปรี ยบเทียบกับ control โดยมีค่าการยับยังอยู ้ ่ในช่วง 38-42 เปอร์ เซ็นต์ ดังนันการพั ้ ฒนาวัสดุรองรับ เพื่อเป็ นแหล่งอาศัยของเชื ้อรา T. harzianum สามารถกระทาได้ และมีความเหมาะสม ที่จะนาไปประยุกต์ใช้ กบั ระบบปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่ ง ในระบบที่ปราศจากวัสดุปลูก เพื่อคงระดับประชากร ของเชื ้อรา T. harzianum ให้ ทาหน้ าที่ควบคุมจุลินทรี ย์สาเหตุโรคพืชได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณคณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง สาหรับการสนับสนุนการ ดาเนินงานวิจัย ขอบคุณคุณสุริยสิทธิ์ สมนึก คุณธิ ติ ทองคางาม และคุณคเณศ ใจเก่งกาจ ที่มีส่วนช่วยให้ คาแนะนาและ สนับสนุนการใช้ เครื่ องมือวิทยาศาสตร์

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558

793


วารสารเกษตรพระจอมเกล้า

เอกสารอ้ างอิง จิระเดช แจ่มสว่าง. 2547. การควบคุมโรคผักโดยชีววิธี. ใน เอกสารประกอบการอบรมการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี ในการปลูกผักระบบไม่ใช้ ดิน และภายในโรงเรื อนรุ่นที่1. คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า เจ้ าคุณทหารลาดกระบัง พรหมมาศ คูหากาญจน์. 2539. เรื่ องน่ารู้บางประการเกี่ยวกับเชื ้อ Pythium sp. (ตอนที่ 1). วารสารเกษตรพระจอมเกล้ า 14(3): 41-45. พรหมมาศ คูหากาญจน์. 2546. โรคของพืชในระบบปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดิน และการควบคุมโรค. วารสารเกษตรพระจอมเกล้ า 21(3): 76-87 พรหมมาศ คูหากาญจน์ และ อิทธิสนุ ทร นันทกิจ. 2548. ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี ในการควบคุมโรครากเน่าของผักสลัด ที่เกิดจากเชื ้อ Pythium sp. ในระบบการปลูกพืชโดยไม่ใช้ ดิน. วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร 36(5-6): 1191-1194. อิทธิสนุ ทร นันทกิจ. 2557. ระบบการปลูกพืชและความเหมาะสมในการนาไปประยุกต์ใช้ . ใน เอกสารประกอบการอบรมหลักสูตรการปลูกพืชโดยไม่ ใช้ ดิน รุ่นที่16. คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ Elad, Y., I. Chet and kartan J. 1980. Trichoderma harzianum, a biocontrol agent effective against Sclerotium rofii and Rhizoctonia solani. Phytopathology 70: 119-121. Elad, Y., I. Chet and Y. Henis. 1981. Selective media for improving quantitative isolation of Trichoderma spp. from soil. Phytoparasitica 9(1): 59-67. Jaikengkaj, K., Jaenaksorn T. and Koohakan P. 2015. Comparison of Trichoderma population in the re-circulating nutrient solution with and without supporting material. International Symposium on Agricultural Technology (ISAT2015): 177-180 Kamala, Th. and Indira, S. 2011. Evaluation of indigenous Trichoderma isolates from Manipur as biocontrol agent against Pythium aphanidermatum on common beans. Biotechnology 1: 217-225. Koohakan, P., Jaenaksorn, T. and Nantagij, I. 2008. Major disease of lettuce grown by commercial nutrient film technique in Thailand. KMITL Science and. Technology Journal 8(2): 56-63. Patil, A., laddha, A., lunge, A., Paikrao, H. and Mahada, S. 2012. Invitro antagonistic properties of selected Trichoderma species against tomato root rot causing Pythium species. International Journal of Science Environment and Technology 1(4): 302315. Resh, H.M. 2013. Hydroponic food produce: A definitive quidebook for the advance home gardener and the commercial hydroponic grower, 7th edition. CRC press, 524 pp. Sivan, a., Elad, Y. and Chet, I. 1984. Biological control effects of a new isolate of Trichoderma hazianum on Pythium aphanidermatum. Phytopathology 74: 498-501. Stanghellini, M.E. and Rasmussen S.L. 1994. Hydroponics : A solution for zoosporic pathogen. Plant Disease 78: 1129-1138.

794

การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 14 “พืชสวนไทย ไร้พรมแดน” 18-20 พฤศจิกายน 2558


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.