enviroment

Page 1

รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน 4.1

บทนํา

การศึ ก ษาสภาพแวดล อ มป จ จุ บั น เพื่ อ ใช เ ป น ข อ มู ล ประกอบการศึ ก ษาประเมิ น ผลกระทบ สิ่งแวดลอมและสุขภาพที่คาดวาอาจจะเกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการ โดยไดแบงการศึกษาออกเปน 4 ดาน คือ ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ คุณคาการใชประโยชนของมนุษย และคุณคาคุณภาพชีวิต 4.2

ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางกายภาพ

4.2.1 แผนดินไหว การศึกษาดานธรณีวิทยาแผนดินไหว (Earthquake Geology) ในประเทศไทยนั้น เทาที่ปรากฎโดย สวนใหญ เปนการศึกษาธรณีวิทยาแผนดินไหวในภาพกวาง เชน Warnitchai and Lisantono, 1996 ได ทําการศึกษาถึงโครงสรางทางธรณีวิทยาและขอมูลที่เกี่ยวของกับแผนดินไหว โดยจัดทําแผนที่แหลงกําเนิด แผนดินไหวในพื้นที่เอเซียตะวันออกเฉียงใต โดยแบงพื้นที่เปน 12 เขต พบวาประเทศไทยจัดอยูใน Zone F (Tenasserim Range) ทางภาคตะวันตกและ Zone G (Northern Thailand) ทางภาคเหนือของประเทศไทย และ จากการรวบรวมขอมูลการเกิดแผนดินไหว ทั้งจากการบันทึกทางประวัติศาสตรยอนหลัง และจากสถานี ตรวจวัดตางๆ ในชวงเวลา ค.ศ.1910-1983 ในขณะที่ Chuaviroj (1991) จัดทําแผนที่รอยเลื่อนมีพลังใน ประเทศไทย สามารถแบงได 13 รอยเลื่อน ตอมาปญญา จารุศิริ และคณะ (2543) ไดทําการศึกษาสาเหตุของ แผนดินไหวในประเทศไทยที่มีความสัมพันธกับโครงสรางทางธรณีวิทยาของเอเซียตะวันออกเฉียงใต โดย การแปลความหมายจากภาพถายดาวเทียม Landsat 5 TM ผลการศึกษาการแปรสัณฐานเปลือกโลก จุดกําเนิด แผนดินไหวและผลการหาอายุตะกอนดินที่เกี่ยวเนื่องกับรอยเลื่อน ทําใหทราบวารอยเลื่อนที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทยหลายแนวยังมีการเคลื่อนตัวหรือมีพลังอยูที่เรียกวา “Active Fault” (รอยเลื่อนมีพลัง หมายถึง รอยเลื่อนที่จะมีแผนดินไหวเกิดขึ้นอีกในอนาคตอยางนอย 1 ครั้ง ในระยะ 10,000 ป) ไดแก รอยเลื่อนเชียง

4-1


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

แสน รอยเลื่อนแมทา รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ รอยเลื่อนเถิน รอยเลื่อนแพร รอยเลื่อนเมย-อุทัยธานี รอยเลื่อนดาน เจดียสามองค รอยเลื่อนระนอง และรอยเลื่อนคลองมะรุย (รูปที่ 4.2.1-1) แตมีบางรอยเลื่อนที่หมดพลังแลว การศึกษาขอมูลและสถิติตางๆ จากการเผยแพรของกรมอุตุนิยมวิทยา พบวาแผนดินไหวที่มีขนาด 7 ริคเตอรหรือมากกวามักเกิดอยูนอกประเทศไทย สวนใหญเกิดอยูในเขตพรมแดนจีน-พมา ประเทศพมา ประเทศจีน ตอนใต ในทะเลอัน ดามั น และหมูเ กาะสุมาตราตอนเหนือ ซึ่งก็คือสว นหนึ่ ง ของแนวเกิ ด แผนดินไหวภูเขาแอลป-หิมาลัย (Alpine-Himalayan Belt) และอยูในเขตแหลงกําเนิดแผนดินไหว (Seismic Source Zone) อื่นๆ นอกเหนือจากเขตภาคเหนือและตะวันตกของประเทศไทย และจากสถิติการเกิด แผนดินไหวที่สงผลกระทบถึงพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจังหวัดตางๆ ในภาคกลางพบวามีสถิตินอยมาก จากขอมูลระหวางป 2542-2550 ในป พ.ศ.2542-2545 และป 2551 ไมมีเหตุการณแผนดินไหวที่สงผลกระทบ ถึงกรุงเทพมหานคร แตในป 2546 ถึงป 2550 มีเหตุการณแผนดินไหวที่สามารถรูสึกไดที่กรุงเทพมหานคร และพื้นที่ใกลเคียง ดังตารางที่ 4.2.1-1 ซึ่งสวนใหญเปนเพียงการรับรูถึงแรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้น และ สําหรับการเกิดแผนดินไหวที่มีขนาดใหญที่สุดในประเทศไทยเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2526 มีศูนยกลาง อยูที่อําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี วัดขนาดได 5.9 ริคเตอร โดยรูสึกถึงแรงสั่นสะเทือนเปนบริเวณกวาง มีความเสียหายเกิดขึ้นเล็กนอยบริเวณศูนยกลางการเกิดแผนดินไหวและกรุงเทพมหานคร บริ เ วณพื้ น ที่ โ ครงการตั้ ง อยู ใ นพื้ น ที่ เ สี่ ย งภัย แผ น ดิ น ไหวในเขต 2ก ของแผนที่ บ ริ เ วณเสี่ย งภั ย แผนดินไหวในประเทศไทย (ฉบับปรุงปรุง ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2548) ดังแสดงในรูปที่ 4.2.1-2 ซึ่งมีความรุนแรงที่ ระดับ V ถึง VII เมอรคัลลี ซึ่งเปนระดับความรุนแรงที่กอใหเกิดภาวะตกใจและสิ่งกอสรางที่ออกแบบไมดี จะปรากฎความเสียหาย (มีความเสี่ยงในการเกิดความเสียหายในระดับนอยถึงปานกลาง) สําหรับกรณเหตุการณพิบัติภัยคลื่นสึนามิที่เกิดขึ้นครั้งลาสุด เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2547 อัน เนื่องมาจากปรากฎการณแผนดินไหวบริเวณเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียนั้น พบวา พื้นที่ 6 จังหวัดทาง ภาคใตของประเทศไทย ซึ่งประกอบดวย จังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ สตูล และตรัง เปนพื้นที่ที่ไดรับ พิบัติภัยจากคลื่นสึนามิในครั้งนี้ โดยเหตุการณที่เกิดขึ้นกอใหเกิดความเสียหายในระดับรุนแรงทั้งตอชีวิต ทรัพยสิน และอาคารสิ่งปลูกสรางตางๆ จากการรายงานของกรมอุตุนิยมวิทยา (พ.ศ.2548) พบวา ประเทศ ไทยมีผูเสียชีวิตจากเหตุการณดังกลาว กวา 5,000 คน และสูญหายกวา 3,000 คน

4-2


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

รูปที่ 4.2.1-1 รอยเลื่อนที่มีพลังในประเทศไทย

4-3

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.2.1-1 สถิติเกิดแผนดินไหวที่รูสึกไดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจังหวัดสมุทรปราการ (ป พ.ศ.2546-2550) วัน/เดือน/ป

บริเวณที่เกิดแผนดินไหว/ ตําแหนงที่รูสึก

ป พ.ศ.2546 22 ม.ค.2546 บริเวณทะเลเหนือเกาะ สุมาตราประเทศอินโดนีเซีย 10:00 น. หางจากกรุงเทพมหานคร 1,000 กิโลเมตร ไปทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต 5.90N 95.60E 22 ก.ย.2546 บริเวณประเทศพมา 01:16 น. 19.40N 96.20E

ป พ.ศ.2547 17 ก.ย.2547 18:25 น. ป พ.ศ.2548 28 มี.ค.2548 23:10 น.

ทะเลอันดามัน 14.90N 96.30E

ชายฝงตะวันตกของเกาะ สุมาตรา 2.0N 97.00E 19 พ.ศ.2548 เกาะสุมาตราในอินโดนีเซีย 8:55 น. 2.0N 97.00E

บันทึกเหตุการณ

ขนาดที่จุศูนยกลาง (ริคเตอร)

รูสึกไดบนอาคารสูงในหลายพื้นที่ ของกรุงเทพมหานคร รวม ทั้งหลายจังหวัดทางภาคใต

7.0

รูสึกสะเทือนบนอาคารสูงของ อําเภอเมือง อําเภอเชียงดาว จังหวัด เชียงใหม บางแหงของจังหวัด เชียงราย จังหวัดแมฮองสอน และ รูสึกสั่นสะเทือนบนอาคารสูงบาง แหงของกรุงเทพมหานคร

6.7

รูสึกไดบนอาคารสูงในหลายพื้นที่ ของกรุงเทพมหานคร

5.8

รูสึกไดบนอาคารสูงในหลายพื้นที่ ของกรุงเทพมหานคร รวม ทั้งหลายจังหวัดทางภาคใต มีความรูสึกสั่นสะเทือนในจังหวัด ภาคใตตอน ลางไดแก สงขลา ภูเก็ต พังงา และผูอาศัยบนอาคาร สูง กรุงเทพฯ

8.5

4-4

6.8


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.2.1-1 (ตอ) สถิติเกิดแผนดินไหวที่รูสึกไดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจังหวัดสมุทรปราการ (ป พ.ศ.2546-2550) วัน/เดือน/ป

บริเวณที่เกิดแผนดินไหว/ ตําแหนงที่รูสึก

ป พ.ศ.2549 28 มี.ค.2548 08:55 น.

ชายฝงตะวันตกเกาะ สุมาตรา 2.0N 97.00E

19 พ.ค.2548 08:55 น.

เกาะสุมาตรา ประเทศ อินโดนีเซีย 2.0N 97.00E

ป พ.ศ.2550 15 พ.ค.2550 21:35 น.

พรมแดนลาว-พมาหางจาก จังหวัดเชียงราย 97 กม. 20.57N 99.39E 16 พ.ค.2550 พรมแดนลาย-พมา 17:04-17.16 น. 20.00N 100.30E 12 ก.ย.50 18:10 น. 13 ก.ย. 2550 10.35 น. ป พ.ศ. 2551 20 ก.พ.51 15.05 น.

ตอนใตของเกาะสุมาตรา 4.50S 101.1E ตอนใตของสุมาตรา 2.65 S 99.87 E ตอนเหนือเกาะสุมาตรา 2.70N 95.90E

บันทึกเหตุการณ

ขนาดที่จุศูนยกลาง (ริคเตอร)

รูสึกไดบนอาคารสูงในหลายพื้นที่ ของกรุงเทพ มหานคร รวม ทั้งหลายจังหวัดทางภาคใต มีความรูสึกสั่นสะเทือนในจังหวัด ภาคใตตอน ลางไดแก สงขลา ภูเก็ต พังงา และผูอาศัยบนอาคาร สูง กรุงเทพฯ

8.5

รูสึกสั่นสะเทือนไดในจังหวัด เชียงใหม เชียงราย พะเยา และ อาคารสูงในกรุงเทพฯ รูสึกสั่นสะเทือนไดในจังหวัด เชียงใหม เชียงราย พะเยา และ อาคารสูงในกรุงเทพฯ รูสึกไดบนอาคารสูงใน กรุงเทพมหานคร รูสึกสั่นสะเทือนได บนอาคารสูง บางแหง ในกรุงเทพมหานคร รูสึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ และจ.ภูเก็ต อาจเกิดสึนามิขนาด เล็กบริเวณใกลศูนยกลาง

4-5

6.8

5.1

4.7 และ 4.9

7.9 7.1

7.5


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.2.1-1 (ตอ) สถิติเกิดแผนดินไหวที่รูสึกไดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และจังหวัดสมุทรปราการ (ป พ.ศ.2546-2550) วัน/เดือน/ป 12 พ.ค.51 13.27 น.

บริเวณที่เกิดแผนดินไหว/ ตําแหนงที่รูสึก มณฑลเสฉวน ,จีน 31.7 N 102.7 E

21 ส.ค.51 19.24 น.

พรมแดนพมา-จีน 25.1 N 97.82 E

22 ก.ย.51 20.30 น. 30 ก.ย.52 17.16 น.

ชายฝงตอนใตของพมา 15.7 N 96.2 E ตอนกลางเกาะสุมาตรา 1.1S 99.1E

ป พ.ศ.2553 9 พ.ค. 2553 19:59

บันทึกเหตุการณ

ขนาดที่จุศูนยกลาง (ริคเตอร) รูสึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ 7.8 หลายแหง ประเทศจีนมีผูเสียชีวิต ประมาณ 20,000 คน รูสึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ 5.7 หลายแหง ประเทศจีนมีผูเสียชีวิต 1 คน บาดเจ็บหลายคน รูสึกสั่นไหวบนตึกสูงหลายแหง 5.2 ในกรุงเทพ รูสึกสั่นไหวบนตึกสูงในกรุงเทพฯ 7.9 ประเทศอินโดนีเซียมีผูเสียชีวิต ประมาณ 1,000 คน

ชายฝงตอนเหนือของเกาะ สุมาตรา อินโดฯ (3.59N,96.04E)

รูสึกสั่นไหวไดบนอาคารสูงบาง 7.3 แหงใน จ.ภูเก็ต, จ.พังงา, จ.สุราษฎรธานี, จ.สงขลา และ กทม. ที่มา : กรมอุตนุ ิยมวิทยา สํานักแผนดินไหว, 2554 (http://www.seismology.tmd.go.th/earthquakestat.php)

4-6


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

ที่มา : กรมทรัพยากรธรณี

รูปที่ 4.2.1-2 แผนที่บริเวณเสี่ยงภัยแผนดินไหวของประเทศไทย 4-7

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

4.2.2 คุณภาพอากาศ จากการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ บริเวณพื้นที่โครงการและบริเวณโดยรอบจํานวน 4 สถานี ประกอบดวย บริเวณพื้นที่สํานักงานของบริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด สํานักงานเขตลาดกระบัง วัดกิ่งแกว และวัดปลูกศรัทธา ดังแสดงจุดตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศในรูปที่ 4.2.2-1 ดัชนีที่ทํา การตรวจวัด ไดแก ฝุนละอองรวม (TSP) ฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM-10) และกาซไนโตรเจน ไดออกไซด ผลการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศในชวง ป 2551-2553 แสดงในตารางที่ 4.2.2-1 พบวาทุกดัชนีตรวจวัดในทุกสถานีมีคาอยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบั บที่ 10 พ.ศ.2538 เรื่องกํ า หนดคุณ ภาพอากาศในบรรยากาศทั่ว ไป และตามประกาศคณะกรรมการ สิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ.2547 เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป จากลักษณะของลมที่พัดผานประเทศไทยในเดือนตางๆ สวนใหญเปนลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ดัง รูปที่ 4.2.2-2 และจากสถิติภูมิอากาศของสถานีตรวจวัดกรุงเทพมหานคร ซึ่งเปนสถานีตรวจวัดอากาศที่อยู ใกลที่สุดในชวง พ.ศ. 2514-2543 ดังตารางที่ 4.2.2-2 ในชวงเดือนกุมภาพันธ-สิงหาคม ทิศทางลมมาจากทิศ ใต (S) และทิศตะวันตกเฉียงใต (SW) และทิศใต (S) ในเดือนกันยายน ลมจะพัดจากทิศตะวันตก (W) ชวง เดือนตุลาคม-ธันวาคม ทิศลมจะพัดมาจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (NE) ในเดือนมกราคม ลมจะพัดมาจาก ทิศ (E, S) ซึ่งเปนไปตามทิศทางลมมรสุมและทางเดินพายุที่พัดผานประเทศไทยในเดือนตางๆ ที่พัดผาน ประเทศไทย เมื่อพิจารณาจากทิศที่ตั้งโครงการ โดยเฉพาะหนวยผลิตไฟฟาซึ่งตั้งอยูทางทิศเหนือของ Terminal Complex ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ดังรูปที่ 4.2.2-3 เมื่อพิจารณาจากที่ตั้งและทิศทางลมสวนใหญในชวง เดือนกุมภาพันธ-สิงหาคม Terminal Complex ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จะอยูเหนือทิศลมหรืออาจกลาว อีกนัยหนึ่งวาโครงการตั้งอยูทิศใตลม ดังนั้นในชวงเดือนกุมภาพันธ-สิงหาคม Terminal Complex ของทา อากาศยานสุวรรณภูมิ จะอยูใตทิศทางลม ในขณะที่ชวงเดือนมกราคม (ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะมี อิทธิพลตอประเทศไทย) Terminal Complex ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จะอยูใตทิศลมซึ่งอาจจะไดรับ ผลกระทบโดยตรงจากการระบายอากาศทิ้งของโครงการ

4-8


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ที่มา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด

รูปที่ 4.2.2-1 สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศของโครงการ

4-9


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.2.2-1 คุณภาพอากาศในบรรยากาศบริเวณพื้นที่โครงการและบริเวณใกลเคียง ชวงป 2551-2553 จุดเก็บตัวอยาง

ฝุนละอองรวม (มก./ลบ.ม.)

กาซไนโตรเจนไดออกไซด (สวนในลานสวน)

0.025-0.139

ฝุนละอองขนาดเล็ก กวา 10 ไมครอน (มก./ลบ.ม.) 0.013-0.068

บริเวณพืน้ ที่สาํ นักงาน บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ํา เย็น จํากัด บริเวณสํานักงานเขต ลาดกระบัง บริเวณวัดกิ่งแกว บริเวณวัดปลูกศรัทธา มาตรฐาน

0.020-0.125

0.007-0.097

0.0010-0.0896

0.011-0.293 0.016-0.182 0.331/

0.021-0.119 0.012-0.099 0.121/

0.0015-0.0837 0.0001-0.0682 0.172/

0.0010-0.0994

หมายเหตุ : ป 2551 ตรวจวัดเมื่อ 27 เมษายน – 4 พฤษภาคม และเมื่อ 25 ตุลาคม- 1 พฤศจิกายน ป 2552 ตรวจวัดเมื่อ 16 – 23 เมษายน และเมื่อ 8 -15 ธันวาคม ป 2553 ตรวจวัดเมื่อ 19 – 26 เมษายน และเมื่อ 4 -11 ตุลาคม มาตรฐาน: 1/ มาตรฐานคาเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 24 พ.ศ.2547 เรื่อง กําหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป 2/ มาตรฐานเฉลี่ย 1 ชั่วโมง ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ.2538 เรื่องกําหนดคุณภาพอากาศในบรรยากาศทั่วไป ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

4 - 10


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ที่มา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด

รูปที่ 4.2.2-2 แผนที่แสดงทิศทางของลมมรสุมที่มีอิทธิพลตอประเทศไทย

4 - 11


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.2.2-2 สถิติภูมิอากาศของสถานีตรวจวัดกรุงเทพมหานครในชวง พ.ศ.2514-2543

4 - 12


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ที่มา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด

รูปที่ 4.2.2-3 ที่ตั้งหนวยผลิตไฟฟาของโครงการ และ Terminal Complex ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ 4 - 13


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

4.2.3 เสียง จากการตรวจวัดระดับเสียงทั่วไปเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (Leq 24 hr.) บริเวณพื้นที่โครงการและบริเวณ โดยรอบจํานวน 4 สถานี ประกอบดวย บริเวณพื้นที่โครงการของบริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด บริเวณ พื้นที่จัดสรรหมู 3 ชซอยลาดกระบัง 40 บริเวณวัดลาดกระบัง และบริเวณวัดกิ่งแกว ดังแสดงจุดตรวจวัด คุณภาพอากาศในบรรยากาศในรูปที่ 4.2.3-1 ป 2551-2553 แสดงในตารางที่ 4.2.3-1 พบวาระดับเสียงมีคาอยู ในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ.2540 เรื่อง มาตรฐาน ระดับเสียงโดยทั่วไป คือมีคาไมเกิน 70 เดซิเบล เอ สําหรับผลการตรวจวัดระดับเสียงบริเวณริมรั้วรอบโครงการ ในชวงป 2551-2553 สรุปไดดังตาราง ที่ 4.2.3-2 พบวาระดับเสียงสวนใหญ มีคาอยูในเกณฑมาตรฐาน คือมีคาไมเกิน 70 เดซิเบล เอ โดยผลการ ตรวจวัดเมื่อวันที่ 28-29 เมษายน 2551 ที่ริมรั้วดานทิศตะวันตก มีคาระดับเสียงสูงถึง 84.5 เดซิเบล เอ 4.2.4 คุณภาพน้ํา (1)

คุณภาพน้ําของคลองระบายน้ําดานในรอบทาอากาศยาน

จากการเก็บตัวอยางและวิเคราะหคุณภาพน้ําของคลองระบายน้ําดานในรอบทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ จํานวน 2 สถานี ไดแก บริเวณระยะ 500 เหนือที่ตั้งโครงการ และบริเวณ 500 เมตรทายที่ตั้ง โครงการ ตามมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําของโครงการ ในชวงป 2552 -2553 โดยเก็บตัวอยางทุก 1 เดือน สามารถสรุปไดดังตารางที่ 4.2.4-1 และ ตารางที่ 4.2.4-2 ตามลําดับ สรุปไดดังนี้ คุณภาพน้ําในคลองระบายน้ําบริเวณ 500 เมตร เหนือที่ตั้งโครงการ ลาสุดในป 2553 สวนใหญมีคาใกลเคียงกับผลการตรวจวัดในครั้งที่ผานมา ยกเวน คาความเปนกรด-ดาง (pH) อุณหภูมิ (Temperature) สารละลายรวม (TDS) และความสกปรกในรูปบีโอดี (BOD5) มีคาลดลง สวนคาสาร แขวนลอยรวม (TSS) และเหล็ก (Total Fe) มีคาเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับผลการตรวจวัดครั้งที่ผานมา คุณภาพน้ําในคลองระบายน้ําบริเวณ 500 เมตร ทายที่ตั้งโครงการ ลาสุดในป 2553 สวนใหญ มีคาใกลเคียงกับผลการตรวจวัดในครั้งที่ผานมา ยกเวน คาความเปนกรด-ดาง (pH) สารละลายรวม (TDS) คาสารแขวนลอยรวม (TSS) มีคาลดลง สําหรับคาทองแดง (Cu) ) มีคาเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับผลการ ตรวจวัดครั้งที่ผานมา

4 - 14


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ที่มา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด

รูปที่ 4.2.3-1 สถานีตรวจวัดระดับเสียงของโครงการ

4 - 15


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.2.3-1 ระดับเสียงทั่วไป บริเวณพื้นที่โครงการและบริเวณใกลเคียง ชวงป 2551-2553

วันที่ตรวจวัด 27-28 เม.ย. 2551 28-29 เม.ย. 2551 29-30 เม.ย. 2551 25-26 ต.ค. 2551 26-27 ต.ค. 2551 27-28 ต.ค. 2551 17-18 เม.ย. 2552 18-19 เม.ย. 2552 19-20 เม.ย. 2552 9-10 ธ.ค. 2552 10-11 ธ.ค. 2552 20-21 เม.ย. 2553 21-22 g,.p. 2552 21-22 เม.ย. 2553 22-23 เม.ย. 2553 6-7 ก.ย. 2553 7-8 ก.ย. 2553 8-9 ก.ย. 2553 มาตรฐาน*

ผลการตรวจวัดระดับเสียงทัว่ ไป ; Leq 24 hr (เดซิเบล เอ) บริเวณพืน้ ที่ บริเวณจัดสรรหมู 3 บริเวณ บริเวณ โครงการ ซ.ลาดกระบัง 40 วัดลาดกระบัง วัดกิ่งแกว 66.8 51.0 55.2 56.7 67.7 58.7 54.4 55.5 69.4 56.7 54.7 56.0 67.0 58.7 67.8 59.6 67.0 55.4 64.8 59.4 67.5 58.5 63.9 59.9 70.0 58.2 62.9 56.5 69.9 60.2 64.5 55.6 70.0 57.7 63.0 52.6 71.6 57.8 69.2 55.6 71.9 59.2 68.0 55.4 71.5 59.4 68.4 58.8 67.1 55.3 63.2 53.8 66.7 55.0 63.9 53.9 65.8 54.3 63.8 55.4 67.3 61.0 63.2 54.2 66.5 58.8 64.1 54.4 66.5 54.8 62.9 55.8 70 70 70 70

หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ.2540 เรื่องมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

4 - 16


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.2.3-2 ระดับเสียงทั่วไป บริเวณริมรั้วรอบพื้นที่โครงการ ชวงป 2551-2553

วันที่ตรวจวัด 28-29 เม.ย. 2551 27-28 ต.ค. 2551 21-22 เม.ย. 2552 9-10 เม.ย. 2552 20-21 เม.ย. 2553 6-7 ก.ย. 2553 คามาตฐาน*

ผลการตรวจวัดระดับเสียงทัว่ ไป ; Leq 24 hr (เดซิเบล เอ) บริเวณพืน้ ที่ บริเวณจัดสรรหมู 3 บริเวณ บริเวณ โครงการ ซ.ลาดกระบัง 40 วัดลาดกระบัง วัดกิ่งแกว 62.1 69.3 71.5 84.5 64.9 68.5 72.4 66.3 58.2 67.2 69.6 64.8 64.0 69.4 71.6 63.5 66.7 68.2 67.1 60.5 66.6 68.1 67.3 65.6 70 70 70 70

หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 15 พ.ศ.2540 เรื่องมาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

4 - 17


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.2.4-1 ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําในคลองระบายน้ําทาอากาศยานฯ บริเวณ 500 เมตร เหนือที่ตั้งโครงการ พารามิเตอร

หนวย

ผลการวิคราะหคุณภาพน้ําในคลองระบายน้ํา คา ม.ค.-มิ.ย. 52 ก.ค.-ธ.ค. 52 ม.ค.-มิ.ย. 53 ก.ค.-ธ.ค.53 มาตรฐาน*

ความเปนกรด-ดาง (pH) อุณหภูมิ (Teperature) สารละลายรวม (TDS) สารแขวนลอยรวม (TSS) คลอรีนตกคาง (Residual Chlorine) บีโอดี (BOD5) น้ํามันและไขมัน (Oil&Grease) ตะกั่ว (Pb)

๐ C มก./ลิตร มก./ลิตร

7.70-8.50 32.0-36.0 1,773-3,412 24.3-55.5

7.60-8.02 29.4-32.9 594-2,605 13.8-44.0

7.65-8.14 29.0-37.6 1,002-3,153 13.0-87.0

7.22-7.71 25.5-30.0 952-2,928 10.0-57.8

5.5-9.0 40.0 3,000 50

มก./ลิตร

<0.25-0.25

<0.1-0.25

<0.25

<0.25

1.0

มก./ลิตร มก./ลิตร

3.0-24.0 <2.0

02.0-14.0 <2.0-3.0

2.0-24.0 <2.0

2.0-6.0 <2.0-2.0

20 5.0

มก./ลิตร

<0.005

<0.005

มก./ลิตร

<0.003

<0.003

<0.0050.009 <0.003

0.2

ทองแดง (Cu)

2.0

ปรอท (Hg) เหล็ก (Tatal Fe)

มก./ลิตร มก./ลิตร

<0.0005 0.53-1.20

<0.0005 0.45-1.20

<0.0050.012 <0.0030.004 <0.0005 0.43-0.94

<0.0005 0.53-1.10

0.005 -

หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2539 เรื่อง มาตรฐานน้ําทิ้งที่ระบายออกจาก โรงงาน ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

4 - 18


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.2.4-2 ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําในคลองระบายน้ําทาอากาศยานฯ บริเวณ 500 เมตร ทายที่ตั้งโครงการ พารามิเตอร

หนวย

ผลการวิคราะหคุณภาพน้ําในคลองระบายน้ํา คา ม.ค.-มิ.ย. 52 ก.ค.-ธ.ค. 52 ม.ค.-มิ.ย. 53 ก.ค.-ธ.ค.53 มาตรฐาน*

ความเปนกรด-ดาง (pH) อุณหภูมิ (Teperature) สารละลายรวม (TDS) สารแขวนลอยรวม (TSS) คลอรีนตกคาง (Residual Chlorine) บีโอดี (BOD5) น้ํามันและไขมัน (Oil&Grease) ตะกั่ว (Pb)

๐ C มก./ลิตร มก./ลิตร

8.98-9.30 33.0-37.0 577-924 11.2-61.5

8.11-8.71 31.0-37.0 583-1,111 24.3-61.5

7.64-8.74 29.0-34.5 722-1,228 13.8-41.5

7.44-8.52 25.6-31.0 623-1,004 9.5-39.2

5.5-9.0 40.0 3,000 50

มก./ลิตร

<0.25-0.25

<0.1-0.25

<0.25-0.25

<0.25

1.0

มก./ลิตร มก./ลิตร

2.0-8.0 <2.0

1.0-4.0 <2.0-2.0

2.0-4.0 <2.0

1.0-5.0 <2.0

20 5.0

มก./ลิตร

<0.005

<0.005

มก./ลิตร มก./ลิตร มก./ลิตร

<0.0030.014 <0.0005 0.12-1.30

2.0

ปรอท (Hg) เหล็ก (Tatal Fe)

<0.0030.011 <0.0005 0.27-1.00

<0.0050.005 0.006-0.012

0.2

ทองแดง (Cu)

<0.0050.007 <0.0030.014 <0.0005 0.52-1.10

<0.0005 0.46-0.89

0.005 -

หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2539 เรื่อง มาตรฐานน้ําทิ้งที่ระบายออกจาก โรงงาน ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

4 - 19


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

(2)

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

คุณภาพน้ําแหลงน้ําผิวดิน

จากการเก็บตัวอยางและวิเคราะหคุณภาพน้ําของคลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา) และ คลองลาดกระบั ง บริ เ วณท า ยสถานี สู บ น้ํา ของท า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ดั ง แสดงในรู ป ที่ 4.2.4-1 ตาม มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ําของโครงการ ในชวงป 2552 -2553 สามารถสรุปไดดังตารางที่ 4.2.4-3 และ ตารางที่ 4.2.4-4 ตามลําดับ สรุปไดดังนี้ ผลการตรวจวิเคราะหคุณภาพน้ําของคลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา) ลาสุด สวนใหญมีคาใกลเคียงกับคาเดิม ยกเวนคา อุณหภูมิ สารละลายรวม สารแขวนลอยรวม และคาความสกปรก ในรูปบีโอดี มีคาลดลง สวนคาออกซิเจน มีคาเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับผลการตรวจวัดที่ผานมา ผลการตรวจวิ เ คราะห คุ ณ ภาพน้ํ า ของคลองลาดกระบั ง ล า สุ ด ส ว นใหญ มี ค า ใกลเคียงกับคาเดิม ยกเวนคา อุณหภูมิ สารละลายรวม สารแขวนลอยรวม และคาความสกปรกในรูปบีโอดี มี คาลดลง สวนคาโคลิฟอรมแบคทีเรียรวม และคาฟคอลโคลิฟอรมแบคทีเรีย มีคาเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับผลการ ตรวจวัดที่ผานมา คุณภาพน้ําของคลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา)และคลองลาดกระบังลาสุด สวนใหญมีคา อยูในเกณฑมาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ.2537 เรื่อง มาตรฐาน คุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดิน ยกเวนคาความสกปรกในรูปบีโอดีของคลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา)และ คลองลาดกระบัง มีคาเปนมีคาเปน 5.9 และ 5.3 มิลลิกรัม/ลิตร ตามลําดับ ซึ่งเกินจากเกณฑมาตรฐานคุณภาพ น้ําผิวดินประเภทที่ 4 ที่กําหนดไวไมเกิน 4 มิลลิกรัม/ลิตร ทั้งนี้มาตรฐานคุณภาพน้ําผิวดินประเภทที่ 4 หมายถึงแหลงน้ําที่ไดรับน้ําทิ้งจากกิจกรรม บางประเภท และสามารถเปนประโยชนเพือ่ การอุปโภคบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรคตามปกติ และผานกระบวนการ ปรับปรุงคุณภาพน้ําเปนพิเศษกอน การอุตสาหกรรม

4 - 20


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

จุดเก็บตัวอยางน้ําคลองบางโฉลง

จุดเก็บตัวอยางน้ําคลองลาดกระบัง

ที่มา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด

รูปที่ 4.2.4-1 สถานีเก็บตัวอยางน้ําผิวดิน คลองลาดกระบังและคลองบางโฉลง

4 - 21


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.2.4-3 ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําในคลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา) บริเวณทายสถานีสบู น้ําของทาอากาศยานฯ พารามิเตอร

หนวย

ความเปนกรด-ดาง (pH) อุณหภูมิ (Teperature) สารละลายรวม (TDS) สารแขวนลอยรวม (TSS) ออกซิเจนละลาย (DO) บีโอดี (BOD5) น้ํามันและไขมัน (Oil&Grease) ตะกั่ว (Pb) ทองแดง (Cu) ปรอท (Hg) แคดเมี่ยม (Cd)

๐ C มก./ลิตร มก./ลิตร

7.15 31 677 41

6.94 29.6 328 27.5

7.23 31.0 635 35.8

7.43 30.4 311 20.0

5.0-9.0 ธรมชาติ -

มก./ลิตร

2.9

5.9

4.1

4.8

2.0

มก./ลิตร มก./ลิตร

5.4 <2.0

3.9 <2.0

7.3 <2.0

5.9 <2.0

4.0 -

มก./ลิตร มก./ลิตร มก./ลิตร มก./ลิตร MPN/100 ml

<0.005 <0.003 <0.0005 <0.003 ≥240,000

<0.005 <0.003 <0.0005 <0.003 46,000

0.007 <0.003 <0.0005 <0.003 2,400

<0.005 <0.003 <0.0005 <0.003 4,300

0.05 0.1 0.002 0.005 -

MPN/100 ml

110,000

1,500

930

900

-

โคลิฟอรมแบคทีเรีย ทั้งหมด (TCB) ฟคอลโคลิฟอรม แบคทีเรีย (FCB)

ผลการวิคราะหคุณภาพน้ําในคลองบางโฉลง คา ม.ค.-มิ.ย. 52 ก.ค.-ธ.ค. 52 ม.ค.-มิ.ย. 53 ก.ค.-ธ.ค.53 มาตรฐาน*

หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ.2537 เรื่อง มาตรฐานคุณภาพน้ํา ในแหลงน้ําผิวดิน ประเภทที่ 4 ธรรมชาติ หมายถึงอุณหภูมิของน้ําจะตองไมสูงกวาอุณหภูมิตามธรรมชาติเกิน 3 องศาเซลเซียส ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

4 - 22


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.2.4-4 ผลการวิเคราะหคุณภาพน้ําในคลองลาดกระบัง บริเวณทายสถานีสูบน้ําของทาอากาศยานฯ พารามิเตอร

หนวย

ความเปนกรด-ดาง (pH) อุณหภูมิ (Teperature) สารละลายรวม (TDS) สารแขวนลอยรวม (TSS) ออกซิเจนละลาย (DO) บีโอดี (BOD5) น้ํามันและไขมัน (Oil&Grease) ตะกั่ว (Pb) ทองแดง (Cu) ปรอท (Hg) แคดเมี่ยม (Cd)

๐ C มก./ลิตร มก./ลิตร

7.2 31.0 474.0 31.8

7.93 29.5 353 36.0

7.33 32.0 649 28.0

7.25 30.3 282 13.5

5.0-9.0 ธรมชาติ -

มก./ลิตร

3.6

6.9

4.0

4.0

2.0

มก./ลิตร มก./ลิตร

4.3 <2.0

3.2 <2.0

10.0 <2.0

5.3 <2.0

4.0 -

มก./ลิตร มก./ลิตร มก./ลิตร มก./ลิตร MPN/100 ml

<0.005 <0.003 <0.0005 <0.003 ≥240,000

<0.005 <0.003 <0.0005 <0.003 46,000

<0.005 0.003 0.0005 <0.003 24,000

<0.005 <0.0003 <0.0005 <0.003 46,000

0.05 0.1 0.002 0.005 -

MPN/100 ml

≥240,000

24,000

9,300

24,000

-

โคลิฟอรมแบคทีเรีย ทั้งหมด (TCB) ฟคอลโคลิฟอรม แบคทีเรีย (FCB)

ผลการวิคราะหคุณภาพน้ําในคลองลาดกระบัง คา ม.ค.-มิ.ย. 52 ก.ค.-ธ.ค. 52 ม.ค.-มิ.ย. 53 ก.ค.-ธ.ค.53 มาตรฐาน*

หมายเหตุ : * มาตรฐานตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ ฉบับที่ 8 พ.ศ.2537 เรื่อง มาตรฐานคุณภาพน้ํา ในแหลงน้ําผิวดิน ประเภทที่ 4 ธรรมชาติ หมายถึงอุณหภูมิของน้ําจะตองไมสูงกวาอุณหภูมิตามธรรมชาติเกิน 3 องศาเซลเซียส ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

4 - 23


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4.3

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ทรัพยากรสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ

4.3.1 นิเวศวิทยาทางน้ํา จากการเก็บตัวอยางและวิเคราะหนิเวศวิทยาทางน้ํา ประกอบดวย แพลงกตอนพืช แพลงกตอนสัตว และสัตวหนาดิน ของคลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา) และคลองลาดกระบัง บริเวณทายสถานีสูบน้ําของ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งเปนจุดเก็บตัวอยางเดียวกับการวิเคราะหคุณภาพน้ําผิวดิน ตามมาตรการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพน้ําของโครงการ เมื่อเดือนธันวาคม 2553 ดังแสดงในตารางที่ 4.3.1-1 ถึงตารางที่ 4.3.1-3 สรุปไดดังนี้ (1)

คลองบางโฉลง (คลองหนองงูเหา) - แพลงกตอนพืช พบ 14 ชนิด ความหนาแนนรวม 3,268,905 เซลล/ลบ.ม. ดัชนีความ หลากหลาย (Diversity Indices) เทากับ 2.11 - แพลงกตอนสัตว พบ 5 ชนิด ความหนาแนนรวม 306,573 เซลล/ลบ.ม. ดัชนีความ หลากหลาย (Diversity Indices) เทากับ 1.86 - สัตวหนาดินพบ 3 ชนิด ความหนาแนนรวม 217 ตัว/ตารางเมตร ดัชนีความหลากหลาย (Diversity Indices) เทากับ 1.31

(2)

คลองลาดกระบัง - แพลงกตอนพืช พบ 14 ชนิด ความหนาแนนรวม 1,410,709 เซลล/ลบ.ม. ดัชนี ความหลากหลาย (Diversity Indices) เทากับ 1.93 - แพลงกตอนสัตว พบ 6 ชนิด ความหนาแนนรวม 143,115 เซลล/ลบ.ม. ดัชนีความ หลากหลาย (Diversity Indices) เทากับ 2.22 - สัตวหนาดินพบ 2 ชนิด ความหนาแนนรวม 184 ตัว/ตารางเมตร ดัชนีความหลากหลาย (Diversity Indices) เทากับ 0.94

ทั้งนี้ ดัชนีทางชีวภาพของ Wilhm and Dorris (ค.ศ.1986) กําหนดไวดังนี้ Diversity Indices < 1 = แหลงน้ําไมเหมาะสมสําหรับการอยูอาศัยของสิ่งมีชีวติ 1.0 ≤ Diversity Indices ≤ 3.0 = แหลงน้ํานัน้ มีคุณสมบัตทิ ี่สิ่งมีชีวิตจะอาศัยอยูได Diversity Indices > 1 = สิ่งแวดลอมเหมาะสมสําหรับการอยูอาศัยของสิ่งมีชีวติ

4 - 24


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.3.1-1 ผลการตรวจวิเคราะหแพลงกตอนพืช ของคลองบางโฉลง และคลองลาดกระบัง เมื่อธันวาคม 2553 ไฟลัม/ชนิด

ความหนาแนน (เซลล/ลบ.ม.) คลองบางโฉลง คลองลาดกระบัง

Cyanophyta Microcystis aeruginosa Oscillatoria sp. Spirulina platensis Coelosphaerium Chlorophyta Actinas trum Closterium ralfsii Euglena acus Euglena cauaata Euglena fusca Euglena oxyuris Euglena subehrenbergii Pediastrum duplex Pediastrum simplex Phacus angulatus Phacus longicauaa Phacus tortus Stauvastrum Strombomonas gibbeerosa Ulothrix variabills Volvox aureus Scenedesmus incvassulatus รวมแพลงกตอนพืช

71,296 1,939,241 363,608 -

885,953 238,526 6,815

28,518 103,379 384,996 3,565 3,565 106,943 10,694 135,462 32,083 81,990 3,565 3,268,905

13,630 27,260 74,965 6,815 6,815 6,815 13,630 13,630 27,260 74,260 13,630 1,410,709

หมายเหตุ : - หมายถึงสํารวจไมพบ ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

4 - 25


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.3.1-2 ผลการตรวจวิเคราะหแพลงกตอนสัตว ของคลองบางโฉลง และคลองลาดกระบัง เมื่อธันวาคม 2553 ไฟลัม/ชนิด

ความหนาแนน (เซลล/ลบ.ม.) คลองบางโฉลง คลองลาดกระบัง

Roifera Brachionus calyciflorus Brachionus vubens Rotaria rotaria Polyarthra vulgaris Arthropoda Nauplius Order Cyclopoida Protozoa Tintinnopsis รวมแพลงกตอนสัตว

139,027 3,565 -

13,630 6,815 54,520

89,120 53,472

34,075 27,260

21,389 306,573

6,815 143,115

หมายเหตุ : - หมายถึงสํารวจไมพบ ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

4 - 26


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.3.1-3 ผลการตรวจวิเคราะหสัตวหนาดิน ของคลองบางโฉลง และคลองลาดกระบัง เมื่อธันวาคม 2553 กลุม/ชนิดสัตวหนาดิน

ความหนาแนน (ตัว/ตารางเมตร) คลองบางโฉลง คลองลาดกระบัง

ไฟลัม ANNELIDA Class Oligochaeta Family Tubificidae ไฟลัม MOLLUSCA Class Gastropada Order Mesogastropada Family Viviparidae Filopaludina sp. Family Thiaridari Semisulospira รวมสัตวหนาดิน

100

117

100

67

17 217

184

หมายเหตุ : - หมายถึงสํารวจไมพบ ที่มา : รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการปองกัน แกไข และลดผลกระทบ โครงการฯ, เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2553

4 - 27


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4.4

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

คุณคาการใชประโยชนของมนุษย

4.4.1 การใชน้ํา แหลงน้ําใชของโครงการ เปนน้ําประปาจากระบบจายน้ําสวนกลางของทาอกาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่ง รับน้ํามาจากการประปานครหลวง (กปน.) สาขามีนบุรี กปน. สาขามีนบุรี มีหนาที่รับผิดชอบในการผลิตและ จําหนายน้ําประปาใหกับประชาชนครอบคลุมพื้นที่บริการ 248.75 ตร.กม. ดังแสดงในรูปที่ 4.4.1-1โดยจะรับ น้ําจากโรงงานผลิตน้ําบางเขน โดยโรงงานผลิตน้ําบางเขนเปนโรงงานผลิตน้ําแหงที่ 3 ของการประปานคร หลวง ตั้งอยู แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร เปนโรงงานผลิตน้ําขนาดใหญ สามารถผลิตน้ํา ไดวันละประมาณ 3,600,000 ลบ.ม. ใชน้ําดิบจากแมน้ําเจาพระยา เขตพื้นที่จายน้ําใหบริการในพื้นที่สวน ใหญของกรุ งเทพมหานคร คื อตั้งแตเขตดอนเมือง บางเขน นนทบุรี ปากเกร็ด บางซื่อ จตุจักร พญาไท ดินแดง หวยขวาง พระนคร ปอมปราบศัตรูพาย สัมพันธวงศ บางรัก ปทุมวัน สาธร บางคอแหลม ยานนาวา คลองเตย สวนหลวง ลาดพราว บางกะป บึงกุม ลาดกระบัง ประเวศ พระโขนง พระประแดง สมุทรปราการ บางกอกใหญ ราษฏรบูรณะ และจอมเทียน การประปานครหลวง สาขามีนบุรี มีปริมาณน้ําผลิตจําหนาย 89.43 ลานลบ.ม./ป มีปริมาณน้ําที่ จําหนาย 68.88 ลานลบ.ม./ป และมีอัตราการสูญเสียน้ํารอยละ 22.97 การจายน้ําใหทาอากาศยานสุวรรณภูมิ จะจายน้ําผานทางอุโมงคสงน้ําใตดินขนาดเสนผาศูนยกลาง ประมาณ 1.50 เมตร ที่อยูบริเวณทางเขาหลักดาน ทิศเหนือของทาอากาศยานสุวรรณภูมิเพื่อสงไปยังสถานีสูบจายน้ํา (Water Supply Station) ของทาอากาศ ยานสุ ว รรณภู มิ ทั้ ง นี้ อุ โ มงค ส ง น้ํ า ใต ดิ น ดั ง กล า วจะรั บ น้ํ า มาจากสถานี สู บ จ า ยน้ํ า ลาดกระบั ง โดยมี ความสามารถในการจายน้ําประมาณ 0.166 ลานลบ.ม./วัน สําหรับสถานีสูบจายน้ําลาดกระบังจะรับน้ําจาก โรงผลิตน้ําบางเขนที่มีความสามารถในการผลิตน้ําไดเฉลี่ยประมาณวันละ 3.360 ลานลบ.ม.

4 - 28


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

ที่มา : การประปานครหลวง (http://www.mwa.co.th/kbr53.html)

รูปที่ 4.4.1-1 พื้นที่ใหบริการประปาของสํานักงานประปาสาขามีนบุรี

4 - 29

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

4.4.2 การใชประโยชนที่ดิน จากการสํา รวจรู ป แบบการใชที่ ดิน ของพื้ น ที่ ใ กลเ คีย งที่ ตั้ง โครงการรั ศมี 5 กิ โ ลเมตร จากที่ตั้ ง โครงการ เมื่อวันที่ 1-3 กันยายน 2551 ตามรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิ เนี ย ริ่ ง แอนด แมเนจเมนท จํ ากั ด ผลจากการสํ า รวจพื้ น ที่ ใ นรั ศมี 5 กิ โ ลเมตร จากที่ตั้ ง โครงการ ที่ ดิ น ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 49,087.39 ไร พบรูปแบบการใชที่ดินที่มีการเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่ทางการเกษตร และพื้นที่รกรางถูกนํามาใชประโยชนที่ดินเปนพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง ไดแก พื้นที่พาณิชยกรรม พื้นที่ ชุมชน พื้นที่สถานศึกษา และพื้นที่ศาสนสถาน มากขึ้น ดังตารางที่ 4.4.2-1 และรูปที่ 4.4.2-1 สามารถจําแนก ประเภทการใชประโยชนที่ดินออกเปน 4 ประเภท สรุปไดดังนี้ •

พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง : มีพื้นที่ประมาณ 9,725.69 ไร คิดเปนรอยละ 19.81 ของพื้นที่

ศึกษา • พื้นที่เกษตรกรรม : มีพื้นที่ประมาณ 13,603.86 ไร คิดเปนรอยละ 27.71 ของพื้นที่ศึกษา สวน ใหญเปนพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (บอปลาสลิด จีน นิล ตะเพียน และกุง) รองลงมา เปนที่นาขาว และพื้นที่ไม ผลผสม ตามลําดับ • พื้น ที่ อื่น ๆ : ได แ ก สวนสาธารณะ สนามกอลฟ และที่รกร า งไม ได ทําประโยชน มีพื้น ที่ ประมาณ 11,642.54 ไร คิดเปนรอยละ 23.72 ของพื้นที่ศึกษา สวนใหญเปนพื้นที่รกรางไมไดทําประโยชน รองลงมา เปนพื้นที่สนามกอลฟเดอะรอยัลกอลฟ แอนด คันทรีคลับ และพื้นที่สวนสาธารณะลาดกระบัง ที่ตั้งอยูในแขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ ตามลําดับ • พื้นที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ : มีพื้นที่มากที่สุดประมาณ 14,115.30 ไร คิดเปนรอยละ 28.76 ของพื้นที่ศึกษา เนื่องจากพื้นที่โครงการตั้งอยูในพื้นที่ดานเหนือของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งเปนเขตจังหวัด สมุทรปราการ ปจจุบันมีผังเมืองรวมสมุทรปราการ ที่ประกาศใชบังคับ เมื่อ 22 มิถุนายน 2544 เลมที่ 118 และหมดอายุลงวันที่ 21 มิถุนายน 2549 ตอมาไดมีการปรับปรุง/ขยาย ครั้งที่ 2 เมื่อ 1 พฤษภาคม 2550 หมดอายุเมื่อ 21 มิถุนายน 2551 ตามผังเมืองรวมสมุทรปราการ กําหนดใหพื้นที่บริเวณทาอากาศยานสุวรรณ ภูมิเ ปนพื้ นที่สีน้ําเงิน ซึ่งมี การใช ประโยชนเ ปนที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการ ดังแสดงในรูปที่ 4.4.2-2

4 - 30


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.4.2-1 การใชประโยชนที่ดิน รัศมีประมาณ 5 กิโลเมตร บริเวณรอบพื้นที่ โครงการ ประเภทของการใชที่ดิน U พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง U1 ยานพาณิชยกรรม U2 ชุมชนเมือง U3 ชุมชนชนบท U4 สถานที่ราชการ U5 สถาบันการศึกษา U6 สถานที่สําคัญทางศาสนา U7 โรงพยาบาล U8 โรงงานอุตสาหกรรม

ป 2551 ไร รอยละ

ป 2548 ไร รอยละ

278.45 4,674.96 1,548.80 1,016.82 904.05 99.24 2.65 1,200.72

0.53 9.52 3.16 2.05 1.83 0.2 0.01 2.45

261.77 4,671.66 1,548.80 1,016.82 899.93 98.46 2.65 1,200.72

0.53 9.52 3.16 2.05 1.83 0.20 0.01 2.45

9,725.69

19.81

9,700.81

19.76

รวมพื้นที่ U A พื้นที่เกษตรกรรม A1 นาขาว A2 ไมผลผสม A3 ที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (ปลาสลิด ปลาจีน ปลานิล ปลาตะเพียน และกุง)

1,930.17 121.95 1,1551.74

4.1 0.25 23.37

2,013.47 121.95 11,471.74

4.10 0.25 23.37

รวมพื้นที่ A

13,603.86

27.71

13,607.16

27.72

4 - 31

หมายเหตุ • สถานที่ราชการมี 10 แหง ไดแก 1. สถานีรับสัญญาณดาวเทียม สํารวจทรัพยากรสภาวิจัย แหงชาติ 2. สถานีตํารวจนครบาลลาดกระบัง 3. กองกํากับการตํารวจนครบาล 8 4. สํานักงานเขตลาดกระบัง 5. ชุมสายโทรศัพทลาดกระบัง 6. สถานีไฟฟายอยออนนุช การไฟฟานครหลวง 7. หนวยบํารุงทาง หมวดบางกะป 8. สถานีตํารวจจระเขนอย 9. สถานีตํารวจลาดกระบัง 10. สถานีบรรจุและแยกสินคากลอง (ICD) • สถาบันการศึกษามี 15 แหง ไดแก 1. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) 2. วิทยาลัยชางศิลปลาดกระบัง 3. โรงเรียนพรตพิทยพยัต 4. โรงเรียนมาเรียลัย 5. โรงเรียนยอดดวงใจ 6. โรงเรียนวัดพลมานีย 7. โรงเรียนวัดหัวคู 8. โรงเรียนวัดปลูกศรัทธา 9. โรงเรียนวัดลาดกระบัง 10. โรงเรียนวัดสังฆราชา


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.4.2-1 (ตอ) การใชประโยชนที่ดิน รัศมีประมาณ 5 กิโลเมตร บริเวณรอบพื้นที่ โครงการ ประเภทของการใชที่ดิน

ป 2551 ไร รอยละ

ป 2548 ไร รอยละ

หมายเหตุ

11. โรงเรียนชางกอสรางศิริวิทยา 46.79 0.1 46.79 0.10 12. โรงเรียนวัดเทพศิรินทรรมเกลา 603.46 1.23 603.46 1.23 13. โรงเรียนวัดบํารุงรื่น 9,944.29 20.3 9,965.87 20.30 14. โรงเรียนวัดสุทธาโภชน 15. โรงเรียนพรหมพิกุลทอง M4 ที่จัดสรรของทาอากาศยาน 405.00 0.83 405.00 0.83 • สถานที่สําคัญทางศาสนามี 8 แหง พื้นที่ถนน 643.00 1.31 643.00 1.31 ไดแก 1. วัดพลมานีย 2. วัดคาธอลิคหัวตะเข รวมพื้นที่ M 11,642.54 23.72 11,664.12 23.76 3. วัดหัวคูวราราม พื้นที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ 14,115.30 28.76 14,115.30 28.76 รวมพื้นที่ทั้งสิ้น 49,087.39 100.00 49,087.39 100.00 4. วัดลาดกระบัง 5. วัดปลูกศรัทธา 6. วัดสังฆราชา 7. วัดบํารุงรื่น 8. วัดสุทธาโภชน • โรงพยาบาล 1 แหง ไดแก 1. โรงพยาบาลชุมชนลาดกระบัง • สวนสาธารณะ 1 แหง ไดแก 1. สวนลาดกระบัง • สนามกอลฟ 1 แหง ไดแก 1. เดอะรอยัลกอลฟ แอนด คันทรี คลับ ที่มา : จากการสํารวจภาคสนาม บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมนจเมนท จํากัด, 1-3 กันยายน 2551 รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 M พื้นที่อื่นๆ M1 สวนสาธารณะ M2 สนามกอลฟ M3 ที่รกรางไมไดทําประโยชน

4 - 32


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ที่มา : จากการสํารวจภาคสนาม บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมนจเมนท จํากัด, 1-3 กันยายน 2551 รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552

รูปที่ 4.4.2-1 แผนที่การใชประโยชนที่ดนิ ในรัศมีประมาณ 5 กิโลเมตร รอบที่ตั้งโครงการ 4 - 33


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

ที่มา : กรมโยธาธิการและผังเมือง (http://www.dpt.go.th/lawmap/law_map/Samut_Prakan/result_Samut_Prakan.htm)

รูปที่ 4.4.2-2 ผังเมืองรวมเมืองสมุทรปราการ

4 - 34

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

4.4.3 การจัดการขยะมูลฝอย (1)

พื้นที่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร

สําหรับพื้นที่ศึกษาของโครงการบางสวนอยูในเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ หนาที่ในการจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่บริเวณดังกลาวอยูในความรับผิดชอบของฝายรักษาความสะอาด และสวนสาธารณะ ของสํานักงานเขตลาดกระบัง ซึ่งรับผิดชอบในการจัดเก็บขยะมูลฝอยครอบคลุมพื้นที่ ภายในเขตลาดกระบังทั้งหมด มีเนื้อที่ประมาณ 123 ตร.กม. (77,406 ไร) ในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของฝายรักษาความสะอาดและสวนสาธารณะ สํานักงานเขต ลาดกระบัง จะใชเจาหนาที่ปฏิบัติการเก็บขนขยะมูลฝอย ซึ่งประกอบดวย พนักงานขับรถและเจาหนาที่เก็บ ขนขยะมูลฝอย จํานวน 140 คน โดยมีวิธีการเก็บขนขยะมูลฝอย ดังนี้ การจัดเก็บขยะมูลฝอยจากบานเรือนประชาชนทั่วไป ตรอก ซอย ชุมชน หมูบาน ใช รถเก็บขนขยะมูลฝอยแบบอัด ขนาด 12 ตัน จํานวน 3 คัน ขนาด 5 ตัน จํานวน 13 คัน ขนาด 2 ตัน จํานวน 4 คัน รวม 20 คัน โดยวิ่ง 2 รอบ จํานวน 5 คัน วิ่งคาบเกี่ยว 2 ถนน จํานวน 8 คัน วิ่งคาบเกี่ยว 3 ถนน จํานวน 1 คัน เก็บขยะมูลฝอยทุกวัน โดยกําหนดใหประชาชนนําขยะมูลฝอยใสถุงและมัดปากถุงใหแนนวาง ณ จุดพัก ขยะมูลฝอยบริเวณริมถนนใหญ ตั้งแตเวลา 19.00-03.00 น. และจัดใหมีเจาหนาที่จัดเก็บขยะมูลฝอยตั้งแต เวลา 03.00-06.00 น. ตามถนนสายตางๆ ภายในพื้นที่ การจัดเก็บขยะมูลฝอยจากตลาด วัด โรงเรียน และสถานประกอบการ จะใชรถเก็บ ขนขยะมูลฝอยแบบยกภาชนะขนาด 1.5 ตัน และขนาด 4 ตัน รวม 11 คัน เก็บขนขยะมูลฝอยเปนประจํา 2-3 วัน/ครั้ง สํานักงานเขตลาดกระบัง จะมีการตรวจงานเก็บขนขยะมูลฝอยโดยใชรถเปดขาง ขนาด 1.5 ตัน จํานวน 2 คัน วิ่งสํารวจ นอกจากนี้ จะมีชุดปฏิบัติงานเรงดวนซึ่งใชรถดัมพในการออกเก็บขนขยะมูลฝอย โดยชุดปฏิบัติงานนี้จะออกทําการเก็บขนกรณีที่มีขยะมูลฝอยตกคาง ซึ่งจะออกปฏิบัติงานตั้งแตเวลา 03.0019.00 น. ของทุกวัน สําหรับขยะมูลฝอยที่เก็บขนไดทั้งหมดจากพื้นที่เขตลาดกระบังจะถูกขนสงไปกําจัดที่ โรงงานกําจัดมูลฝอยออนนุช ทั้งนี้ปริมาณขยะมูลฝอยที่ทางสํานักงานเขตลาดกระบังรวบรวมเก็บขนไดในป 2553 รวม 50,309 ตัน หรือเฉลี่ยประมาณ 137.8 ตัน/วัน ปจจุบันศูนยกาํ จัดมูลฝอยออนนุชมีระบบการกําจัดมูลฝอย 3 แบบ ดังนี้

4 - 35


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

การฝงกลบมูลฝอย : การฝงกลบมูลฝอยที่ขนสงมาจากสถานีขนถายมูลฝอยออนนุช โดยกรุงเทพมหานครไดวาจางหางหุนสวนจํากัด ไพโรจนสมพงษพาณิชย ดําเนินการขนมูลฝอยจากสถานี ขนถายมูลฝอยออนนุชวันละไมนอยกวา 1,800 ตัน โดยการอัดและหอขยะดวยพลาสติก(Wrapping) เพื่อ ปองกันกลิ่นเหม็นและน้ําชะมูลฝอย จากนั้นขนสงไปฝงกลบอยางถูกสุขลักษณะที่ตาํ บลทาถาน อําเภอพนม สารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา การหมักทําปุย : กรุงเทพมหานครไดวาจางบริษัท ยูโรเวสทเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด ให ดําเนินการกําจัดมูลฝอยโดยการหมักทําปุย และกากมูลฝอยที่เหลือจะถูกสงไปฝงกลบอยางถูกสุขลักษณะ ที่ อําเภอพนมสารคามจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยโรงงานผลิตปุยสามารถรองรับมูลฝอยไดวนั ละไมเกิน 1,200 ตัน/ วัน การเผามูลฝอยติดเชื้อ : กรุงเทพมหานครไดวาจางบริษัท กรุงเทพธนาคม จํากัด เปน ผูดําเนินการเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อจากสถานพยาบาลสาธารณสุขทุกประเภท โดยเก็บขนและกําจัดมูลฝอยติด เชื้อโดยการเผาดวยเตาเผาไดเดือนละไมนอยกวา 435 ตัน (2)

พื้นที่กิ่งอําเภอบางเสาธง และอําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

สําหรับพื้นที่กิ่งอําเภอบางเสาธง และอําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ปจจุบันสวน ใหญการจัดเก็บขยะมูลฝอยภายในพื้นที่แตละตําบล จะอยูในความรับผิดชอบขององคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ทั้งนี้ ในภาพรวมของการจัดการขยะมูลฝอยโดยองคการบริหารสวนตําบลในแตละพื้นที่ยังพบวา มี ปญหาในดานการจัดการไดแก ปญหาในดานความไมพรอมของอุปกรณ เครื่องมือ ยานพาหนะ บุคลากร งบประมาณ รวมถึงพื้นที่กําจัดโดย อบต.ทุกแหงในพื้นที่ศึกษาไดมอบหมายใหหนวยงานเอกชนเขามา ดําเนินการแทน โดยมีรายละเอียดการจัดการขยะมูลฝอยของแตละพื้นที่ ดังนี้ 1) พื้นที่ในเขต อบต.ราชาเทวะ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ อบต.ราชาเทวะ ไดอนุญาตให หจก.ศรีประสิทธิ์ เขามาเปนผูดําเนินการเก็บขนขยะมูล ฝอยจากครั ว เรื อ น และพื้ น ที่ บ ริ ก ารต า งๆ เช น สถานประกอบ ตลาด โรงเรี ย น อพาร ท เมนท เป น ต น ครอบคลุมทั้งพื้นที่ตําบลราชาเทวะ ทั้งนี้ทางหนวยงานจะจัดเก็บขยะมูลฝอยทุกวันโดยไมใหมีขยะมูลฝอย เหลือตกคาง โดยจัดใหมีรถขยะมูลฝอยแบบอัดทายและแบบเททาย จํานวน 4 และ 1 คัน ตามลําดับ โดยขยะ มูลฝอยที่จัดเก็บได หจก.ศรีประสิทธิ์ จะนําไปฝงกลบที่พื้นที่ฝงกลบขยะมูลฝอยของเอกชนที่ตําบลบางปลา อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการตอไป

4 - 36


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

2) พื้นที่ในเขต อบต.หนองปรือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ การจั ดการขยะมูลฝอยภายในพื้นที่ตําบลหนองปรือ ทาง อบต.ไดใ หเอกชนเขามา ดําเนินการจัดเก็บขยะมูลฝอยจากครัวเรือนและพื้นที่บริการตางๆ ภายในพื้นที่ อบต. ขยะมูลฝอยที่จัดเก็บได มีปริมาณเฉลี่ย 1-2 ตัน/เดือน ซึ่งมีปริมาณคอนขางนอย เนื่องจากครัวเรือนสวนใหญจะกําจัดขยะมูลฝอยเอง โดยใชวิธีการฝง และเผา จะมีครัวเรือนเพียงบางสวนที่รอใหเอกชนที่ไดรับอนุญาตจาก อบต.มารับไปกําจัด โดยเอกชนจะใชรถ 6 ลอ แบบเปดขาง จํานวน 2 คัน โดยจัดเก็บ 2 ครั้ง/สัปดาห ขยะมูลฝอยที่จัดเก็บไดจะ นําไปทิ้งที่พื้นที่กําจัดขยะมูลฝอยที่ตําบลแพรกษาใหม อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 3) พื้นที่ในเขต อบต.ศีรษะจรเขนอย อําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ ปจจุบัน อบต.ศีรษะจรเขนอย ไดมอบหมายใหเอกชนเขามาดําเนินการเก็บขนขยะมูล ฝอยจากครัวเรือนและพื้นที่บริการตางๆ ภายในพื้นที่ อบต. ปริมาณจัดเก็บไดมีประมาณ 1 ตัน/วันโดยเอกชน จะใชรถเก็บขนขยะมูลฝอยขนาด 6 ลอ แบบเททาย 1 คัน ขยะมูลฝอยที่จัดเก็บไดจะขนสงไปกําจัดที่ตําบล บางปลา อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 4.4.4 การคมนาคมขนสง ในการศึกษาการคมนาคมทางบก เปนการศึกษาที่ทําการรวบรวมขอมูบปริมาณจราจรเฉลี่ยตอวัน ตลอดปของเสนทางคมนาคมสายหลักรอบโครงการ จากรายงานปริมาณจราจรบนทางหลวง สํานักอํานวย ความปลอดภัย (กองวิศวกรรมจราจร) ระหวางป พ.ศ. 2549-2553 โดยเสนทางที่ใชในการศึกษาขอมูล ปริมาณจราจรเปนเสนทางที่อาจจะไดรับผลกระทบจากการดําเนินการโครงการดังนี้ - ทางหลวงหมายเลข 3119 (ถนนรมเกลา) ชวงมีนบุร-ี ลาดกระบัง ที่ กม. 1+500 - ทางหลวงหมายเลข 3256 (ถนนกิ่งแกว) ชวงแยกบางปู – ออนนุช (ลาดกระบัง) ที่ กม.21+570 - ทางหลวงหมายเลข 34 (ถนนบางนา-ตราด) ชวงแยกทางหลวงหมายเลข 3 (บางนา) – กม.35+600 ที่ กม.3+904 - ทางหลวงพิเศษกรุงเทพฯ-ชลบุรี ดานทิศเหนือ (ทางหลวงหลวงหมายเลข 7) ถนนศรีนครินทร-กม. 41+500 ที่ กม.25+900

4 - 37


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

(1)

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

เสนทางคมนาคมที่สามารถเขา-ออกพื้นที่โครงการ

เสนทางคมนาคมสายหลัก และเสนทางคมนาคมสายรองที่สามารถเขา-ออกพื้นที่ทาอากาศ ยานสุวรรณภูมิที่สามารถเขาถึงพื้นที่โครงการ แสดงดังรูปที่ 4.4.4-1 โดยมีเสนทางคมนาคมรวม 5 เสนทาง ใน 5 ทิศทางคือ ทางหลวงแผนดินหมายเลข 34 (ทางหลวงบางนา-ตราด) โดยใชเสนทางดานทิศใต (ทางเขา-ออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิหมายเลข 3) ไดแก ถนนเชื่อมตอทาอากาศยานสุวรรณภูมิกับทางหลวง บางนา-ตราด และทางดานบูรพาวิถี ทางหลวงพิเศษระหวางเมือง กรุงเทพฯ-ชลบุรี ดานทิศเหนือ (ทางหลวงหมายเลข 7) เปนถนนยกระดับจากทางหลวงพิเศษกรุงเทพฯ-ชลบุรี ทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3256 (ถนนกิ่งแกว) สามารถเขา-ออกทาอากาศยานฯ ทางดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (ทางเขา-ออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิหมายเลข 2) ไดแก ถนนเชื่อมตอกับ สะพานขามทางแยกกิ่งแกว และทางดานทิศตะวันตก (ทางเขา-ออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิหมายเลข 5) ไดแก ถนนเชื่อมตอถนนกิ่งแกว ถนนลาดกระบั ง ทางด า นทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ (ทางเข า -ออกท า อากาศยาน สุวรรณภูมิหมายเลข 4) ไดแก ถนนเชื่อมตอถนนลาดกระบัง ทางหลวงหมายเลข 3119 (ถนนรมเกลา) ทางดานทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (ทางเขาออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิหมายเลข 2) ไดแก ถนนเชื่อมตอกับทางยกระดับรมเกลา ทั้ ง นี้ เส น ทางดั ง กล า วสามารถเดิ น ทางไปยั ง พื้ น ที่ โ ครงการได ทั้ ง สิ้ น สํ า หรั บ เส น ทาง คมนาคมสายหลักที่สามารถเดินทางไปยังพื้นที่โครงการ คือ ถนนยกระดับจากทางหลวงพิเศษระหวางเมือง กรุงเทพฯ-ชลบุรี (สายใหม) ซึ่งจะเปนเสนทางที่อยูใกลกับบริเวณพื้นที่โครงการที่สุด สวนเสนทางที่เหลือ เปนเสนทางสายรอง (2)

ปริมาณการจราจรโดยรอบพื้นที่โครงการ

จากการรวบรวมขอมูลปริมาณจราจรบนเสนทางคมนาคมสายหลักโดยรอบพื้นที่โครงการ และขอมูลการสํารวจปริมาณจราจรบริเวณถนนเทางเขา-ออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ไดดําเนินการมี รายละเอียดดังนี้

4 - 38


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ที่มา : รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โครงการ DCS&PP (ขอเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ และ ขยายกําลังการผลิต), 2552 ศึกษาโดย บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด

รูปที่ 4.4.4-1 เสนทางคมนาคมสายหลัก และเวนทางเขา-ออกทาอากาศยานสุวรรณภูมิ และพื้นที่โครงการ

4 - 39


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

1) จากขอ มูล ปริ ม าณจราจรเฉลี่ ย ต อวั น ตลอดป ข องเสน ทางคมนาคมสายหลั ก รอบ โครงการ จากรายงานปริมาณจราจรบนทางหลวง สํานักอํานวยความปลอดภัย ป พ.ศ.2549-2553 สรุปได ดังนี้ - ทางหลวงหมายเลข 3119 (ถนนรมเกลา ) ชวงมีน บุรี-ลาดกระบั ง ที่ กม.1+500 สภาพถนนเปนพื้นลาดยางแอสฟลท จํานวน 8 ชองจราจร (ไป-กลับ ขางละ 4 ชองจราจรแบบแยกทิศทาง) ปริมาณจราจรตั้งแตป พ.ศ.2549-2553 ดังตารางที่ 4.4.4-1 ปริมาณจราจรของรถทุกประเภทและมีแนวโนม สูงขึ้นในป 2550 เนื่องจากเปนชวงที่ทาอากาศยานสุวรรณภูมิเปดดําเนินการปแรก และมีสัดสวนลดลงจนถึง ป 2553 ตารางที่ 4.4.4-1 ปริมาณจราจรเฉลี่ยตอวันตลอดปบนทางหลวงหมายเลข 3119 (ถนนรมเกลา) ชวงมีนบุรี-ลาดกระบัง ระหวาง พ.ศ.2549-2553 ประเภท รถยนตนั่งสวนบุคคลและแท็กซี่ รถโดยสารขนาดเล็ก รถโดยสารขนาดกลาง รถบรรทุกขนาดเล็ก (4 ลอ) รถบรรทุกขนาด 2 เพลา (6 ลอ) รถบรรทุกขนาด 3 เพลา (10 ลอ)

2549 63.78 2.43 3.40 16.37 5.65 8.38

2550 69.46 1.67 2.98 13.56 5.67 6.67

2551 66.36 2.31 2.34 16.67 6.42 6.09

2552 67.29 2.36 2.70 15.78 6.15 5.72

2553 65.85 5.72 5.80 7.63 5.91 9.09

- ทางหลวงหมายเลข 3256 (ถนนกิ่งแกว) ชว งแยกบางปู-ออนนุช (ลาดกระบัง ) บริเวณที่สํารวจหลักกิโลเมตรที่ 21+570 สภาพถนนเปนพื้นลาดยางแอสฟลท จํานวน 8 ชองจราจร (ไป-กลับ ขางละ 4 ชองจราจร) ปริมาณจราจรตั้งแตป พ.ศ. 2549-2553 ดังตารางที่ 4.4.4-2 จากปริมาณจราจรของ รถยนตนั่งสวนบุคคลและรถแท็กซี่มีแนวโนมสูงมากขึ้นตั้งแตป 2550-2553 สวนรถบรรทุกขนาด 6 ลอมี แนวโนมลดลง

4 - 40


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.4.4-2 ปริมาณจราจรเฉลี่ยตอวันตลอดปบนทางหลวงหมายเลข 3256 (ถนนกิ่งแกว) ชวงแยกบางปู-ออนนุช (ลาดกระบัง) ระหวาง พ.ศ.2549-2553 ประเภท รถยนตนั่งสวนบุคคลและแท็กซี่ รถโดยสารขนาดเล็ก รถโดยสารขนาดกลาง-ใหญ รถบรรทุกขนาดเล็ก (4 ลอ) รถบรรทุกขนาด 2 เพลา (6 ลอ) รถบรรทุกขนาดมากกวา 6 ลอ

2549 58.75 0.71 2.46 17.90 9.00 11.18

2550 60.45 0.33 3.13 19.62 7.70 8.77

2551 63.15 0.25 3.06 15.50 8.12 9.92

2552 61.27 0.35 3.12 18.02 6.74 10.49

2553 73.04 0.97 2.55 8.61 3.99 10.85

- ทางหลวงหมายเลข 34 (ถนนบางนา-ตราด) ชวงแยกทางหลวงหมายเลข 3 (บาง นา)-กิโลเมตรที่ 35+600 (แขวงการทางชลบุรี 1) บริเวณกิโลเมตร 3+904 สภาพถนนเปนพื้นที่ลาดยางแอส ฟลท จํานวน 12 ชองจราจร (ไป-กลับ ขางละ 6 ชองจราจร) ปริมาณจราจรตั้งแตป พ.ศ.2549-2553 ดังตาราง ที่ 4.4.4-3 ปริมาณจราจรเฉลี่ยโดยรวมมีแนวโนมลดลง ตั้งแตป 2550 ปริมาณจราจรที่เพิ่มขึ้นเปนปริมาณ จราจรของรถยนตนั่งสวนบุคคลและรถแท็กซี่ ตารางที่ 4.4.4-3 ปริมาณจราจรเฉลี่ยตอวันตลอดปบนทางหลวงหมายเลข 34 (ถนนบางนา-ตราด) ชวงแยก ทางหลวงหมายเลข 3 (บางนา) – กิโลเมตรที่ 35+600 ระหวาง พ.ศ.2549-2553 ประเภท รถยนตนั่งสวนบุคคลและแท็กซี่ รถโดยสารขนาดเล็ก รถโดยสารขนาดกลาง-ใหญ รถบรรทุกขนาดเล็ก (4 ลอ) รถบรรทุกขนาด 2 เพลา (6 ลอ) รถบรรทุกขนาดมากกวา 6 ลอ

2549 73.77 0.24 3.6 12.47 3.04 6.87

2550 71.30 0.16 2.98 15.17 3.84 6.55

4 - 41

2551 74.06 0.24 3.29 14.83 2.32 5.27

2552 76.21 0.40 3.37 13.04 1.63 5.35

2553 77.90 0.68 3.58 9.68 1.98 6.17


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

- ทางหลวงพิเศษระหวางเมือง กรุงเทพฯ-ชลบุรี (ทางหลวงหมายเลข 7) โดยมีชวงที่ ทําการตรวจนับปริมาณจราจรชวงถนนศรีนครินทร-กม.41+500 ที่ กม.25+900 ทางหลวงพิเศษระหวางเมือง สายนี้ อยูดานทิศเหนือ ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ และเปนเสนทางหลักในการเขาสูทาอากาศยานสุวรรณ ภูมิ สภาพถนนเปนพื้นคอนกรีตลาดยางแอสฟลท จํานวน 4-6 ชองจราจรตอ 1 ทิศทาง ปริมาณจราจรป พ.ศ. 2549-2553 ดังตารางที่ 4.4.4-4 ตารางที่ 4.4.4-4 ปริมาณจราจรเฉลี่ยตอวันตลอดปบนทางหลวงพิเศษระหวางเมืองกรุงเทพฯ-ชลบุรี (สายใหม) ชวงถนนศรีนครินทร-กม. 41+500 (กม.25+900) ระหวาง พ.ศ.2549-2553 ประเภท รถยนตนั่งสวนบุคคลและแท็กซี่ รถโดยสารขนาดเล็ก รถโดยสารขนาดกลาง-ใหญ รถบรรทุกขนาดเล็ก (4 ลอ) รถบรรทุกขนาด 2 เพลา (6 ลอ) รถบรรทุกขนาดมากกวา 6 ลอ

2549 70.91 0.18 5.14 2.67 7.62 13.49

2550 59.52 0.11 4.58 17.62 6.22 11.96

2551 60.91 0.71 4.32 18.56 3.57 11.93

2552 54.96 0.57 2.42 26.81 4.23 11.01

2553 62.96 0.55 1.63 22.93 4.16 7.78

เพื่อใหทราบถึงสภาพความคลองตัวตอการใชเสนทางตางๆ ที่อยูโดยรอบในปจจุบัน ซึ่ง พิจารณาดังนี้ - คา PCE Factor ของยานพาหนะแตละประเภท ดังนี้ ชนิดยานพาหนะ รถยนตนั่งสวนบุคคลและแท็กซี่ รถโดยสารขนาดเล็ก รถโดยสารขนาดใหญ รถบรรทุกขนาดเล็ก รถบรรทุกขนาดกลาง รถบรรทุกขนาดใหญ รถจักรยานยนต

คา Passenger Car Equivalent Factor (PCE Factor)

1.00 1.25 2.00 1.50 1.75 2.00 0.33

ที่มา : เผาพงศ นิลจันทรพันธุศรี, 2540

4 - 42


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

คา PCE Factor จะใชเปนคาถวงน้ําหนักในการคํานวณหาคายานพาหนะแตละประเภทตอวัน ใหอยูใ นรูปของ Passenger Car Unit หรือ PCU ซึ่งสามารถแบงตามประเภทของยานพาหนะ ดังนี้ - ปริมาณจราจรในป 2553 เฉลี่ยตอปในหนึ่งวัน ของทางหลวงหมายเลข 34 (ถนนบางนาตราด) ทางหลวงหมายเลข 3119 (ถนนรมเกลา) ทางหลวงหมายเลข 3256 (ถนนกิ่งแกว) และทางหลวงพิเศษ ระหวางเมือง กรุงเทพฯ-ชลบุรี (สายใหม) (ทางหลวงหมายเลข 7) และคา PCU/ชม. ของถนนแตละเสนทาง ดังนี้ ประเภทยานพาหนะ

รถยนตนั่งรถแท็กซี่ รถโดยสารขนาดเล็ก รถโดยสารขนาดใหญ รถบรรทุกขนาดเล็ก (4 ลอ) รถบรรทุกขนาดกลาง (6 ลอ) รถบรรทุกขนาดใหญ (6 ลอ) ขึ้นไป รถจักรยานยนต รวม

PCE ทางหลวงสาย 34 ทางหลวงสาย 3119 ทางหลวงสาย 7 ทางหลวงสาย 3256 Factor คัน/ชม. PCU/ชม. คัน/ชม. PCU/ชม. คัน/ชม. PCU/ชม. คัน/ชม. PCU/ 1.00 1.25 2.00 1.50 1.75 2.00 0.33

4,778 42 219 593 122 379 835 6,968

4,778 52 439 890 213 759 276 7,405

698 61 61 81 63 96 343 1,403

698 76 123 121 110 193 113 1,433

1,442 13 37 525 95 178 2,290

1,442 16 75 788 167 356 2,843

1,475 20 51 174 81 219 788 2,807

ชม. 1,475 24 103 261 141 438 260 2,701

เมื่อพิจารณาถนนหรือทางหลวงที่คาดวาจะใชเปนเสนทางในการขนสงและความสามารถใน การรองรับปริมาณจราจรในปจจุบัน สรุปไดดังนี้ ถนน

ชวงที่สํารวจ

ชวงการจราจร ความสามารถในการรองรับ (C) (C) * (PCU/ชม.) 12 ชองจราจร(ไป-กลับขาง 24,000 ละ 6 ชองจราจร)

ถนนศรีนครินทร - กม.ที่ ทางหลวงพิเศษระหวาง 41+500 (กม. 25+900) เมืองกรุงเทพฯ-ชลบุรี (ทางหลวงหมายเลข 7) ทางหลวงหมายเลข 34 แยกบางนา – กม.ที่ 46+000 12 ชองทางจราจร (ไป-กลับ (ถนนบางนา-ตราด) ขางละ 6 ชองจราจร) ทางหลวงหมายเลข 3119 มีนบุรี – ลาดกระบัง 6 ชองทางจราจร (ไป-กลับ (ถนนรมเกลา) ขางละ 2 ชองจราจร) ทางหลวงหมายเลข 3256 หลักกิโลเมตรที่ 22+058 8 ชองทางจราจร (ไป-กลับ (ถนนกิ่งแกว) ขางละ 4 ชองจราจร) หมายเหตุ : * ถนนหลายชองทางจราจรมีเกาะกลาง คา PCU/hr = 2,000/1 ชองจราจร ที่มา : เผาพงศ นิลจันทรพันธุศรี, 2540

4 - 43

24,000 12,000 16,000


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

สามารถคํานวณหาสัดสวนปริมาณจราจร (V/C Ratio) ไดดังนี้ ทางหลวงหมายเลข 34 (แยกบางนา-กม.ที่ 46+000), V/C Ratio

=

ทางหลวงหมายเลข 3119 (มีนบุรี-ลาดกระบัง, V/C Ratio

=

ทางหลวงหมายเลข 7 (ถนนศรีนครินทร-กม.41+500), V/C Ratio

=

ทางหลวงหมายเลข 3256 (แยกออนนุช ลาดกระบัง-บางพลี), V/C Ratio =

7,405 = 0.31 24,000 1,433 = 0.12 12,000 2,843 = 0.12 24,000 2,701 = 0.17 16,000

จากคาสัดสวนปริมาณจราจร (V/C Ratio) ของทางหลวงที่อยูโดยรอบพื้นที่โครงการ มีคาอยูในชวง 0.12-0.31 แสดงวาการจราจรมีความคลองสูงมาก ดังนี้ อัตราสวนของปริมาณจราจร (V/C Ratio) 0.88-1.00 0.67-0.88 0.52-0.67 0.36-0.52 0.20-0.36

ระดับ สภาพการจราจรติดขัดอยางรุนแรง สภาพการจราจรติดขัดมาก การเคลื่อนตัวของสภาพจราจรพอใช สภาพการจราจรมีความคลองตัว สภาพการจราจรมีความคลองตัวสูงมาก

ที่มา : เผาพงศ นิลจันทรพันธุศรี, 2540

4 - 44


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

4.5

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

คุณคาคุณภาพชีวิต

4.5.1 สภาพเศรษฐกิจ สังคม โดยรวม (1)

เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 1) ประวัติความเปนมา

เดิมเปนอําเภอแสนแสบ จังหวัดมีนบุรี ตอมาไดเปลี่ยนชื่อเปนอําเภอลาดกระบัง และ เมื่อมีการยุบจังหวัดมีนบุรีไปขึ้นกับจังหวัดพระนคร อําเภอลาดกระบังจึงไดขึ้นกับจังหวัดพระนคร ตอมาเมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2481 กระทรวงมหาดไทย ไดลดฐานะจากอําเภอลาดกระบังเปนกิ่งอําเภอลาดกระบัง จนเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ.2500 จึงมีฐานะเปนอําเภอลาดกระบังอีกครั้งหนึ่ง เมื่อมีการยุบนครหลวงกรุงเทพ ธนบุรีเปนกรุงเทพมหานคร และมีประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 335 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2515 และให เรียกคําวา อําเภอ เปน เขต จึงเรียก อําเภอลาดกระบัง เปน เขตลาดกระบัง ตั้งแตวันที่ 14 ธันวาคม 2515 เปน ตนมา 2) สภาพพื้นที่ สภาพภูมิศาสตรโดยทั่วไปเปนทองทุง ประชาชน 2 ใน 3 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยอาศัยคูคลองในพื้นที่ซึ่งมีอยูทั้ง 46 คลอง เปนเสมือนเสนเลือดใหญ หลอเลี้ยงพืชพรรณเรื่อยมา และยัง ไดอาศัยคูคลองเหลานั้นในการสัญจรไปมาอีกดวย ลักษณะสําคัญอีกประการหนึ่งของพื้นที่เขตลาดกระบัง คือ เปนเขตรับน้ําฝงตะวันออก เนื่องจากเปนที่ราบลุมคลายแองกระทะ จึงมักเกิดปญหาน้ําทวมเปนประจํา 3) การแบงเขตการปกครองและประชากร เขตลาดกระบัง มีพื้นที่ 123.859 ตารางกิโลเมตร แบงการปกครองออกเปน 6 แขวง ไดแก แขวงลาดกระบัง แขวงคลองสองตนนุน แขวงคลองสามประเวศ แขวงลําปลาทิว แขวงทับยาว และ แขวงขุมทอง เมื่อเดือนธันวาคม 2553 มี จํานวนประชากรรวม 157,477 คน จํานวนบานรวม 69,336 หลัง ดัง แสดงในตารางที่ 4.5.1-1

4 - 45


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.5.1-1 พื้นที่ ประชากร และจํานวนบาน ในพื้นที่เขตลาดกระบัง ป 2553 แขวง แขวงลาดกระบัง แขวงคลองสองตนนุน แขวงคลองสามประเวศ แขวงลําปลาทิว แขวงทับยาว แขวงขุมทอง รวม

พื้นที่ (ตร.กม.) 10.823 14.297 17.458 33.752 25.834 21.695 123.859

ชาย 13,958 30,321 7,194 9,160 11,471 3,559 75,663

ประชากร (คน) หญิง รวม 15,146 29,104 33,045 63,366 7,870 15,064 9,750 18,910 12,262 23,733 3,741 7,300 81,814 157,477

จํานวนบาน (หลัง) 11,802 27,655 7,212 8,295 12,316 2,056 69,336

ที่มา : สํานักงานปกครองและทะเบียน สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร, ธันวาคม 2553

4) การคมนาคม เสนทางหลักทีใ่ ชในการคมนาคม แบงได 2 ประเภท คือ - เสนทางคมนาคมในเขต เดิมประชาชนสวนใหญจะใชเสนทางน้ําเปนหลัก แตใน ปจจุบัน การคมนาคมไดพัฒนาไปมาก มีการกอสรางถนนสายตาง ๆ เพื่อใหประชาชนสามารถเดินทาง ติดตอกันไดสะดวกยิ่งขึน้ ดังนั้น ประชาชนจึงหันมาใชการเดินทางโดยรถยนตมากกวาทางเรือ แตยังมีบาง ทองที่ที่ยังใชการเดินทางเรืออยู เนื่องจากยังไมมีถนนตัดผาน - เสนทางคมนาคมระหวางเขตกับภายนอกเขต ประชาชนสวนใหญจะใชเสนทาง รถยนตและทางรถไฟในการเดินทางเขาสูใจกลางกรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกลเคียง 5) การประกอบอาชีพ ลักษณะภูมิประเทศของเขตลาดกระบัง เหมาะแกการทําเกษตรกรรม แตเนื่องจากมีการ ตั้งนิคมอุตสาหกรรมขึ้นในพื้นที่โดยการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ประกอบกับการเขามาลงทุน ของภาคเอกชน มีการสรางโรงงานอุตสาหกรรมหลายแหง ประชาชนสวนใหญจึงหันมาประกอบอาชีพ รับจาง รองลงมาไดแกอาชีพเกษตรกรรม คาขาย ธุรกิจสวนตัวและอื่นๆ 4 - 46


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

6) สถานที่สําคัญทางศาสนา สถานที่สําคัญทางศาสนา มีวัด 14 วัด ไดแก วัดลานบุญ วัดสังฆราชา วัดปลูกศรัทธา วัดลาดกระบัง วัดพลมานีย วัดราชโกษา วัดขุมทอง วัดอุทยั ธรรมาราม วัดสุทธาโภชน วัดทิพพาวาส วัดบึง บัว วัดปากบึง วัดบํารุงรื่น และวัดเฉลิมพระเกียรติ มีมัสยิด จํานวน 7 แหง ไดแก มัสยิดนาฟอะห (ลํานายโส) แขวงคลองสองตนนุน มัสยิดดารุลมูฮีบบีน แขวงคลองสองตนนุน มัสยิดอันนูร แขวงคลองสองตนนุนมัสยิดมานารุลฮุดา แขวงขุม ทอง มัสยิดมูฮายีรีน แขวงขุมทอง มัสยิดดารุลมุกีม แขวงขุมทอง และมัสยิดซิรอตุลญันนะห แขวงขุมทอง มีโบสถ จํานวน 1 แหง คือ วัดพระแมประจักษเมืองลูดร และมีศาลเจา 4 แหง ไดแก ศาลเจาปงเถา ศาลเจาแปะกง โรงเจเฮงตั้ว และโรงเจเทียงปอฮุกติ้ง 7) สถานพยาบาล ในพื้นที่เขตลาดกระบัง มีสถานพยาบาล จํานวน 11 แหง คือ 1. โรงพยาบาลลาดกระบังกรุงเทพมหานคร สังกัดสํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร 2. ศูนยบริการสาธารณสุข สังกัดสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร จํานวน 8 แหง - ศูนยบริการสาธารณสุข 45 รมเกลา ลาดกระบัง - ศูนยบริการสาธารณสุข 45 ศูนยสาขาคลองสองตนนุน - ศูนยบริการสาธารณสุข 45 ศูนยสาขาคลองสามประเวศ - ศูนยบริการสาธารณสุข 46 กันตารัติอุทิศ เขตลาดกระบัง - ศูนยบริการสาธารณสุข 46 ศูนยสาขาลําปลาทิว - ศูนยบริการสาธารณสุข 46 ศูนยสาขาบึงบัว - ศูนยบริการสาธารณสุข 46 ศูนยสาขาขุมทอง - ศูนยบริการสาธารณสุข 46 ศูนยสาขาทับยาว 3. โรงพยาบาลเอกชน จํานวน 2 แหง - โรงพยาบาลลาดกระบัง - โรงพยาบาลจุฬารัตน 8

4 - 47


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

8) สถาบันการศึกษา ในพื้ น ที่ เ ขตลาดกระบั ง มี ส ถาบั น การศึ ก ษารวม 37 แห ง ประกอบด ว ย โรงเรี ย น ประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จํานวน 20 แหง โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) จํานวน 3 แหง โรงเรียนเอกชน จํานวน 8 แหง วิทยาลัย จํานวน 4 แหง และมหาวิทยาลัย จํานวน 1 แหง นอกจากนี้ศูนยพัฒนาเด็กกอนวัยเรียน อยูในความดูแลรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร อีกจํานวน 16 แหง (2)

องคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 1) ประวัติความเปนมา

องคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการ บริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2540 อยูในเขตการปกครองตําบลหนองปรือ อําเภอ บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ มีพื้นที่ทั้งหมด 23.64 ตารางกิโลกเมตร หรือประมาณ 14,775 ไร โดย พื้นที่ในเขตสนามบินสุวรรณภูมิมี 18.504 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 11,565.664 ไร ตั้งอยูทางทิศ ตะวันตกเฉียงเหนือของอําเภอบางพลี ระยะหางจากอําเภอประมาณ 20 กิโลเมตร ระยะหางจากจังหวัด สมุทรปราการ ประมาณ 34 กิโลเมตร 2) การแบงเขตการปกครองและประชากร องคการบริหารสวนตําบลหนองปรือมีพื้นที่อยูในความรับผิดชอบ ทั้งสิ้น 3 หมูบาน ไดแก หมูที่ 1 บานคลองหนองงูเหา หมูที่ 2 บานคลองทองคุง และหมูที่ 3 บานรวมใจพัฒนา ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 2553 องคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ มีจํานวนประชากรรวม 2,422 คน แบงเปนชาย 1,180 คน หญิง 1,242 คน จํานวนบาน 1,038 หลัง

4 - 48


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

3) การคมนาคม - การคมนาคมทางบก มีถนนสายหลัก คือ ถนนวัดศรีวารีนอย เชื่อมระหวางถนน ออนนุช ทางดานทิศเหนือ และบางนา – ตราด ทางดานทิศใต ถนนสายยอยภายในตําบล คือ ถนนหนอง ปรือรวมใจพัฒนา, ถนนหนองปรือพัฒนา1, ถนนหนองปรือพัฒนา2, ถนนเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา, ถนนหนองปรือเฉลิมพระเกียรติ สวนใหญเปนถนนคอนกรีต มีถนนในซอยติดตอกันทุกหมูบาน มีรถ โดยสารประจําทาง จํานวน 1 สาย - การคมนาคมทางน้ํา ในเขตตําบลหนองปรือ มีแหลงน้ําธรรมชาติ คือ ลําคลอง จํานวน 9 คลอง ไดแก คลองหนองงูเหา คลองชวดทองคุง คลองบางนา คลองควาย คลองหนองโพรง คลองบางน้ําจืด คลองตันแยกคลองชวดทองคุง คลองชวดกํานันพุก คลองตันแยกคลองบางน้ําจืด 4) การใชไฟฟาและประปา การใชไฟฟา ทุกครัวเรือนไดรับการบริการไฟฟาอยางครอบคลุมทั้ง 3 หมูบาน และ ไดดําเนินการติดตั้งไฟฟาสาธารณะตามถนนสายหลักและชุมชน สวนการใหบริการประปาในพื้นที่องคการ บริหารสวนตําบล เปนระบบประปาหมูบาน (บอบาดาล) จํานวน 13 บอ ครอบคลุมทุกครัวเรือน 5) การประกอบอาชีพ ที่ดินในเขตตําบลหนองปรือเหมาะแกการเพาะปลูก แตสวนมากถูกเวนคืนเพื่อกอสราง สนามบินสุวรรณภูมิ ประชากรในเขตตําบลหนองปรือ สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน ปลูกผัก กระเฉด เลี้ยงปลา ทําสวนมะมวง รองลงมาคือ รับจางในโรงงานอุตสาหกรรม และทํางานในสนามบิน สุวรรณภูมิ 6) ศาสนา ประเพณี และวัฒนธรรม ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธ มีวัด 1 แหง คือวัดราษฎรนิมิตศรัทธาธรรม (วัดหนองปรือ) อยูในพื้นที่หมูที่ 1 งานประเพณีที่สําคัญ ไดแก ประเพณีสงกรานต และงานประเพณีรับ บัว ซึ่งรวมจัดกับอําเภอบางพลี

4 - 49


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

7) การศึกษา มีศูนยพัฒนาเด็กเล็ก จํานวน 1 แหง และโรงเรียนราชวินิตสุวรรณภูมิ อยูในพื้นที่ หมู ที่ 2 จํานวน 1 แหง 8) สถานบริการดานสาธารณสุข มีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล อยูในพื้นที่ หมูที่ 3 จํานวน 1 แหง (3)

องคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 1) ประวัติความเปนมา

เมื่อประมาณป พ.ศ.2420 สมิงราชาเทวะและครอบครัวไดอพยพมาจากปากเกร็ดมาตั้ง บานเรือนที่คลองเทวะคลองตรง โดยประกอบอาชีพทํานา จนสามารถเปนตัวอยางของชาวบานได เปนผูมี มนุษยสัมพันธดีและไดรับการยกยองจากชาวบานใหเปนหัวหนาหมูบาน ตอมาเมื่อทางราชการไดตั้งเขตการ ปกครองขึ้นเปนตําบล ก็อาศัยนามของสมิงราชาเทวะ มาตั้งชื่อของตําบลวา "ตําบลราชาเทวะ" แบงเขตการ ปกครองเปน 15 หมูบาน 2) สภาพพื้นที่ องคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะมีสภาพภูมิประเทศเปนที่ราบ พื้นที่สวนใหญเปน สถานที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมมีถนนสายหลัก คือ ถนนกิ่งแกว – ลาดกระบัง มีคลองสายหลักคือ คลอง ลาดกระบัง คลองชวดลาดขาว คลองบัวเกาะ และมีคลองสายยอยอีกหลายสาย และในปจจุบันพื้นที่บางสวน ของตําบลราชาเทวะ ใชเปนพื้นที่สนามบินสุวรรณภูมิ

4 - 50


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

3) การแบงเขตการปกครองและประชากร เขตองคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ มีพื้นที่ทั้งหมด 31 ตารางกิโลเมตร คิดเปน 19,375 ไร (ในจํานวนนี้ใชเปนพื้นที่สนามบินสุวรรณภูมิ จํานวน 9,451 ไร) มีจํานวนหมูบานทั้งหมด 15 หมู บ า น ได แ ก หมู ที่ 1 บ า นคลองลาดกระบั ง หมู ที่ 2 บ า นคลองลาดกระบั ง หมู ที่ 3 บ า นคลอง ลาดกระบัง หมูที่ 4 บานคลองหนองบอน หมูที่ 5 บานคลองลาดกระบัง หมูที่ 6 บานคลองลาดกระบัง หมูที่ 7 บานคลองลาดกระบัง หมูที่ 8 บานคลองบัวเกราะ หมูที่ 9 บานคลองตาพุก หมูที่ 10 บานเทวะคลองตรง หมูที่ 11 บานคลองขันแตก หมูที่ 12 บานคลองชวดลากขาว หมูที่ 13 บานบานวัดกิ่งแกว หมูที่ 14 บาน คลองบัวลอย และหมูที่ 15 บานคลองบัวลอย ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 2553 องคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ มีจํานวนประชากร รวม 24,093 คน แบงเปนชาย 11,485 คน หญิง 12,608 คน จํานวนบาน 13,577 หลัง 4) การประกอบอาชีพ ราษฎรตําบลราชาเทวะสวนใหญประกอบอาชีพเปนพนักงานตามสถานประกอบการ อุตสาหกรรมตางๆ เพราะพื้นที่ตําบลราชาเทวะและพื้นที่ ใกลเคียงเปนพื้นที่ที่มีโรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู เปนจํานวนมาก ราษฎรจึงไมประสบกับภาวะการวางงาน 5) การศึกษา ในเขตพื้ น ที่ อ งค ก ารบริ ห ารส ว นตํ า บลราชาเทวะ มี โ รงเรี ย นประถมศึ ก ษา 4 แห ง โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนตน 1 แหง ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 1 แหง 6) สถานที่สําคัญทางศาสนา ในเขตพื้นที่องคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ มีวัด 1 แหง ไดแก วัดกิ่งแกว และมี ศาลเจา อีก 1 แหง

4 - 51


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

7) สถานบริการดานสาธารณสุข มีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล จํานวน 1 แหง สถานพยาบาลเอกชน 3 แหง และ รานขายยาแผนปจจุบัน 6 แหง (4)

องคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย อําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ 1) ประวัติความเปนมา

เมื่อประมาณ 100 ปที่ผานมา บริเวณพื้นที่ของตําบลศีรษะจรเขนอย โดยเฉพาะลําคลอง จรเขที่ผานพื้นที่ตําบลศีรษะจระเขนอยถึงตําบลศีรษะจระเขใหญ จะมีจระเขอาศัยอยูในลําคลองเปนจํานวน มาก เนื่องจากพื้นที่ในสมัยกอนมีน้ําเค็มทวมถึง ผูอาวุโสเลาวามีจระเขซึ่งเปนซากที่นอนตายอยูในดินลึก ประมาณ 1 เมตร เพราะสาเหตุนี้ จึงไดมีการตั้งชื่อวา "ตําบลศีรษะจรเขนอย" 2) สภาพพื้นที่ สภาพพื้นที่ขององคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย เปนที่ราบลุม ไมมีภูเขา ไมมี ปาไม มีชลประทานทั่วถึง ตั้งหางจากที่วาการอําเภอบางเสาธง ระยะทาง 15 กิโลเมตร เปนพื้นที่ที่อาณาเขต ติดตอกับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งจะสามารถพัฒนาที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย เพื่อรองรับกับการขยายตัว เมืองและเศรษฐกิจไดเปนอยางดี 3) การแบงเขตการปกครองและประชากร องคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอยมีเนื้อที่ โดยประมาณ 24.10 ตารางกิโลเมตร หรือ 15,055 ไร มีจํานวนหมูบานเต็มทั้งหมูบานจํานวน 12 หมูบาน ขอมูล ณ เดือนธันวาคม 2553 องคการ บริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย มีจํานวนประชากรรวม 7,715 คน แบงเปนชาย 3,768 คน หญิง 3,947 คน จํานวนบาน 3,613 หลัง

4 - 52


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

4) การประกอบอาชีพ ราษฎรส ว นใหญ ใ นเขตองคก ารบริ ห ารสว นตํ า บลศีร ษะจรเข น อย ประกอบอาชี พ ทางการเกษตร เลี้ยงปลา ทําสวนผลไม (มะมวง) ปลูกผักกระเฉด และรับจาง ในโรงงานอุตสาหกรรม 5) การศึกษา ในเขตองคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย มีศูนยเด็กเล็กกอนเกณฑ 1 แหง และมี โรงเรียนประถมศึกษา จํานวน 2 แหง 6) สถานที่สําคัญทางศาสนา ในเขตองคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอยมีวัดจํานวน 2 แหง ไดแกวัดใหมปาก คลองมอญ หมูที่ 7 และวัดหัวคู หมูที่ 1 7) สถานบริการดานสาธารณสุข มีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล จํานวน 1 แหง

4 - 53


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

4.5.2 การสํารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ 4.5.2.1 บทนํา จากการสํ ารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคม และขอมูลสุขภาพรายบุ คคล ที่ อาศัยอยู ในชุมชน รัศมี 5 กิโลเมตร รอบโครงการ โดยใชแบบสอบถามรายบุคคล (ดังภาคผนวกที่ จ) โดยแบบสอบถามแบงเปน สวนที่ 1 ขอมูลผูใหสัมภาษณ สวนที่ 2 ขอมูลเศรษฐกิจ และสังคมของครอบครัว สวนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพที่อาจจะเกิดจากโครงการฯ สวนที่ 4 ขอมูลสุขภาพรายบุคลล สวนที่ 5 ชองทางประชาสัมพันธ หลักการคํานวณจํานวนตัวอยางประชากร ใชวิธี Taro Yamane (อางโดย สําเริง จันทรสุวรรณ และ สุวรรณ บัวบาน, 2536) n=

เมื่อ

N (1+Nd2)

n = จํานวนตัวอยางหรือขนาดของกลุมประชากร N = จํานวนทั้งหมด หรือขนาดของกลุมประชากร d = คาสัดสวนที่ตองการใหสัดสวนตัวอยางตางไปจากสัดสวนประชากร ความผิดพลาดที่ยอมให เกิดไดเทากับ 0.05

การเก็บขอมูลสภาพเศรษฐกิจ สังคม และขอมูลสุขภาพรายบุคคล ดําเนินการสํารวจชุมชนที่อยูใน รัศมี 5 กิโลเมตรรอบโครงการ อยูการในปกครองสวนทองถิ่น ดังนี้ 1) สํานักงานเขตลาดกระบัง มี จํานวน 22 ชุมชน 2) องคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ ไดแก หมูที่ 6, 7, 8, 9, 11,14 และ15 3) องคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ ไดแก หมูที่ 1, 2 และ 3 4) องคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย ไดแก หมูที่ 1, 2, 3, 4, 8, 9 และ 10

4 - 54


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

จากการคํานวณจํานวนตัวอยางดวยวิธี Taro Yamane สามารถสรุปจํานวนแบบสอบถามได ทั้งหมด 608 ชุด ซึ่ง มีรายละเอียด จํานวนแบบสอบถามแบงตามจํานวนประชากรในชุมชนได ดังตารางที่ 4.5.2-1 ตารางที่ 4.5.2-1 จํานวนแบบสอบถามรายบุคคล ชุมชน

ชุมชนหมูบานเคหะนคร 2 ชุมชนรวมใจพัฒนา ชุมชนหมูบานสมนึก ชุมชนเทอดศาสนา ชุมชนมิตรปลูกศรัทธา ชุมชนประชารวมใจ ชุมชนศิลาภิรัตนอุปถัมภ ชุมชนบํารุงรื่น ชุมชนวัดสังฆราชา ชุมชนสองฝงคลอง ชุมชนวัดพลมานีย ชุมชนซอยธรรมนูญ ชุมชนมาเรียลัย ชุมชนหลวงพรต-ทานเลี่ยม ชุมชนคลองหนึ่ง ชุมชนรมเกลา 1 ชุมชนหลังวัดลานบุญ ชุมชนหมูบานลานบุญ ชุมชนจิตรา ชุมชนรักสามัคคี ชุมชนทวีปญญารักษ ชุมชนรุงเรืองพัฒนา

จํานวนประชากร (คน) คาที่คํานวณได ชุมชนในสํานักงานเขตลาดกระบัง1/ 3000 26.48 669 5.90 199 1.76 390 3.44 2455 21.67 1276 11.26 635 5.60 681 6.01 741 6.54 363 3.20 889 7.85 4200 37.07 1733 15.29 857 7.56 1282 11.31 594 5.24 789 6.96 921 8.13 174 1.54 408 3.60 1968 17.37 337 2.97 4 - 55

จํานวนแบบสอบถาม ที่เก็บ (ชุด) 30 10 10 10 23 15 10 10 15 10 10 40 20 10 15 10 10 10 10 10 20 10


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

ชุมชน

จํานวนประชากร (คน) คาที่คํานวณได

ชุมชนในองคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย2/ หมูที่ 1 บานหัวคู 2248 19.84 หมูที่ 2 บานคลองจรเข 950 8.38 หมูที่ 3 บานคลองจรเข 304 2.68 หมูที่ 4 บานคลองจรเข 529 4.67 หมูที่ 8 บานคลองบางนา 269 2.37 หมูที่ 9 บานคลองปากน้ํา 423 3.73 หมูที่ 10 บานหนองงูเหา 796 7.02 ชุมชนในองคการบริหารสวนตําบลราชาเทวะ3/ หมูที่ 6 บานคลองลาดกระบัง 1359 11.99 หมูที่ 7 บานคลองลาดกระบัง 888 7.84 หมูที่ 8 บานคลองบัวเกราะ 6058 53.46 หมูที่ 9 บานคลองตาพุก 822 7.25 หมูที่ 11 บานคลองขันแตก 812 7.17 หมูที่ 14 บานคลองบัวลอย 1947 17.18 หมูที่ 15 บานคลองบัวลอย 1506 13.29 ชุมชนในองคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ4/ หมูที่ 1 บานคลองหนองงูเหา 762 6.72 หมูที่ 2 บานคลองทองคุง 965 8.52 หมูที่ 3 บานรวมใจพัฒนา 479 4.23 รวม 45,678 403.12 ที่มา :

1/

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

จํานวนแบบสอบถาม ที่เก็บ (ชุด) 25 15 10 10 10 10 10 13 20 65 10 10 29 21 10 12 10 608

สํานักงานเขตลาดกระบัง ขอมูล ณ วันที่ 8 มีนาคม 2554 2/ แผนพัฒนาสามป (พ.ศ. 2554-2556) ขององคการบริหารสวนตําบลศีรษะจรเขนอย โดย สํานักบริหาร การทะเบียน กรมการปกครอง ขอมูล ณ เดือนกันยายน 2553 3/ สํานักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ขอมูล ณ เดือนตุลาคม 2553 4/ แผนพัฒนาสสามป (พ.ศ. 2554-2556) ขององคการบริหารสวนตําบลหนองปรือ โดย สํานักบริหารการ ทะเบียน กรมการปกครอง ขอมูล ณ เดือนกันยายน 2553

4 - 56


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

4.5.2.2 ผลการสํารวจสภาพเศรษฐกิจ สังคม และขอมูลสุขภาพรายบุคคลจากแบบสอบถาม ผลการสํารวจขอมูลจากแบบสอบถาม ทั้ง 5 สวน ไดแก สวนที่ 1 ขอมูลผูใหสัมภาษณ สวนที่ 2 ขอมูลเศรษฐกิจ และสังคมของครอบครัว สวนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพที่ อาจจะเกิดจากโครงการฯ สวนที่ 4 ขอมูลสุขภาพรายบุคลล สวนที่ 5 ชองทางประชาสัมพันธ สามารถ สรุป ไดดังนี้ (รายละเอียดในภาคภนวก จ -6) สวนที่ 1 ขอมูลผูใหสัมภาษณ ผูใหสัมภาษณ มีจํานวนทั้งหมด 608 คน แบงเปน เพศชาย จํานวน 298 คน หรือรอยละ 49.01 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ และเพศหญิง จํานวน 310 คน หรือรอยละ 50.99 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ สวนใหญมีอายุอยูระหวาง 31-40 ป มากที่สุด รองลงมา คือ 41 -50 ป เทากับรอยละ 27.47 และรอยละ 20.56 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ ผูใหสัมภาษณสวนใหญมีอาชีพรับจางทั่วไปและธุรกิจสวนตัว เทากับ รอยละ20.89 และรอยละ 19.41 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ ทั้งนี้นับถือศาสนพุทธ มากที่สุด และ รองมา คือ อิสลาม เทากับรอยละ95.23 และรอยละ 2.63 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ รวมทั้งสวน ใหญมีการศึกษาอยูในระดับมัธยมปลาย มากที่สุด และรองลงมา คือ มัธยมตน เทากับรอยละ 31.91 และรอย ละ 26.15 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ และมีภูมิลําเนาอยูกรุงเทพฯ มากที่สุด สวนที่ 2 ขอมูลเศรษฐกิจ และสังคมของครอบครัว ผูใหสัมภาษณสวนใหญเปนหัวหนาครอบครัว รองลงมา คือ บุตรธิดา เทากับรอยละ 26.15 และรอยละ 22.20 ตามลําดับ อาชีพหลักของครอบครัว คือ รับจางทั่วไป และอาชีพหลักรองลงมา คือ พนักงานโรงงาน เทากับรอยละ 34.37 และรอยละ 15.62 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ รายไดหลัก ของผูใหสัมภาษณ สวนใหญอยูในชวง 5,000-10,000 บาท เทากับรอยละ 44.57 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ และรายไดของครอบครัว อยูในชวง 25,001-50,000 บาท เทากับรอยละ 48.36 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ซึ่ง ใหญเพียงพอแตไมเหลือเก็บ รอยละ 51.64 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ทั้งนี้สวนใหญไมมีความคิดที่จะยาย ออกไปอยูที่อื่น รอยละ 81.91 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ สวนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพที่อาจจะเกิดจากโครงการฯ ความเห็นเกี่ยวกับผลกระทบดานทรั พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล อมที่ อาจจะเกิดจาก โครงการฯ ในระยะกอสราง และดําเนินการ พบวา สวนใหญหวงกังวล รอยละ 58.72 และ 58.06 ของ

4 - 57


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

จํานวนผูใหสัมภาษณ ซึ่งหวงกังวลในเรื่องคุณภาพอากาศมากที่สุด รอยละ 59.36 และรอยละ 85.84 ของ จํานวนผูใหสัมภาษณ ความเห็นเกี่ยวกับผลกระทบดานสุขภาพที่อาจจะเกิดจากโครงการฯ ในระยะกอสราง และ ดําเนินการ พบวา สวนใหญหวงกังวล รอยละ 56.41 และ 55.59 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ ซึ่งหวง กังวลในเรื่องอุบัติเหตุและความปลอดภัย มากที่สุด ทั้งในระยะกอสรางและระยะดําเนินการ เทากับรอยละ 42.27 และรอยละ 48.52 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ ความเห็ น เกี่ ย วกั บ ผลกระทบด า นสาธารณู ป โภคที่ อ าจจะเกิ ด จากโครงการฯ ในระยะ กอสราง และดําเนินการ พบวา สวนใหญไมหวงกังวล รอยละ 50.82 และ 50.99 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ สําหรับผูใหสัมภาษณที่หวงกังวล จะหวงในเรื่องการคมนาคมไมสะดวก ทั้งในระยะกอสรางและ ระยะดําเนินการ ความเห็ น เกี่ ย วกั บ ผลกระทบดา นเครื อ ข า ยสัง คมที่ อาจจะเกิ ด จากโครงการฯ ในระยะ กอสราง และดําเนินการ พบวา สวนใหญหวงกังวล รอยละ 67.11 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ (เทากันทั้งสอง ระยะ) สวนใหญหวงกังวลในเรื่องอาชญากรรม ทั้งในระยะกอสรางและระยะดําเนินการ เทากับรอยละ 54.41 และรอยละ 51.96 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ตามลําดับ สวนที่ 4 ขอมูลสุขภาพรายบุคลล ขอมูลดานสุขภาพในเรื่องอาการทางกาย ผูใหสัมภาษณสวนใหญ ไมเคยสูบบุหรี่ รอยละ 67.60 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ และสวนใหญไมดื่มแอลกอฮอล รอยละ 55.10 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ อาหารที่รับประทานจะเปนการปรุงเอง รอยละ 73.68 ของจํานวผูใหสัมภาษณ หากมีอาการปวยสวนใหญจะ พบแพทย รอยละ 62.17 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ สวนใหญผูใหสัมภาษณไมมีโรคประจําตัว รอยละ 72.86 หากเปนโรคประจําตัวพบวาเปน โรคความดันและเบาหวาน นอกจากนี้พบวาสวนใหญผูใหสัมภาษณจะมีอาการปวยดวยโรคระบบทางเดิน หายใจ นาน ๆ ครั้ง คิดวาสาเหตุมาจาก ฝุนละออง และมลพิษ ทั้งนี้พบวาผูใหสัมภาษณสวนใหญไมมีการ ระคายเคืองตา รอยละ 68.26 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ

4 - 58


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

-

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ขอมูลดานสุขภาพจิต พบวาสวนใหญอยูในเกณฑดี กลาวคือ ความพึงพอใจในชีวิต ระดับมาก รอยละ 72.37 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ความรูสึกสบายใจ ระดับมาก รอยละ 72.37 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ความรูสึกทอแทกับการดําเนินชีวิตประจําวัน ระดับเล็กนอย รอยละ 50.49 ของจํานวนผูให สัมภาษณ ความรูสึกผิดหวังกับตนเอง ระดับไมเลย รอยละ 67.27 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ความรูสึกวาชีวิตมีแตความทุกข ระดับไมเลย รอยละ 58.88 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ความสามารถทําใจยอมรับไดสําหรับปญหาที่ยากจะแกไข ระดับเล็กนอย รอยละ 51.48 ของ จํานวนผูใหสัมภาษณ ความมั่นใจวาจะสามารถควบคุมอารามณไดเมื่อมีเหตุการณคับขันหรือรายแรงเกิดขึ้น แกไข ระดับเล็กนอย รอยละ 48.68 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ความมั่นใจวาจะเผชิญเหตุการณรายแรงที่เกิดขึ้นในชีวิต ระดับมาก รอยละ 57.24 ของ จํานวนผูใหสัมภาษณ ความรูสึกเห็นใจเมื่อผูอื่นมีทุกข ระดับมาก รอยละ 55.76 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ความรูสึกเปนสุขในการชวยเหลือผูอื่นที่มีปญหา ระดับมาก รอยละ 51.15 ของจํานวนผูให สัมภาษณ ใหความชวยเหลือแกผูอื่นเมื่อมีโอกาส ระดับมาก รอยละ 48.19 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ความรูสึกภูมิใจในตัวเอง ระดับมาก รอยละ 71.38 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ ความมั่นคงปลอดภัยเมื่ออยูในครอบครัว ระดับมาก รอยละ 75.16 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ หากเจ็บปวยเชื่อวาครอบครัวจะดูแลไดเปนอยางดี ระดับมาก รอยละ 64.97 ของจํานวนผูให สัมภาษณ สมาชิกในครอบครัวมีความรรักและผูกพันตอกัน ระดับมาก รอยละ 62.50 ของจํานวนผูให สัมภาษณ

สวนที่ 5 ชองทางประชาสัมพันธ ผูใหสัมภาษณสวนใหญไมรูจักโครงการ รอยละ 53.78 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ และ ตองการรับขาวสารจากโครงการ รอยละ 94.90 ของจํานวนผูใหสัมภาษณ โดยตองการทราบขอมูลผานทาง ประธานชุ ม ชนหรื อ ผู ใ หญ บ า น มากที่ สุ ด รองลงมาคื อ สํ า นั ก งานเขตหรื อ อบต. และช อ งทางที่ คิ ด ว า ติดตอกันเจาหนาที่ไดสะดวกที่สุด คือ ผานประธานชุมชนหรือผูใหญบาน รองลงมา คือ ทางโทรศัพทหรือ โทรสาร 4 - 59


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

4.5.3 การสาธารณสุขและสุขภาพ 4.5.3.1 เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร (1)

สถานพยาบาลและจํานวนเตียง

สถานพยาบาลในเขตลาดกระบั ง ที่ สํ า คั ญ ได แ ก โรงพยาบาลลาดกระบั ง สั ง กั ด สํ า นั ก การแพทย กรุงเทพมหานคร มีจํานวนเตียงรวม 60 เตียง ดังแสดงในตารางที่ 4.5.3-1 ตารางที่ 4.5.3-1 จํานวนเตียงของโรงพยาบาลลาดกระบัง ปงบประมาณ 2553 หอผูปวย อายุรกรรม ศัลยกรรม ศัลยกรรมกระดูก สูตินรีเวชกรรม กุมารเวชกรรม รวม

สามัญ 23 7 3 9 13 55

จํานวน (เตียง) พิเศษ 3 2 -

รวม 26 9 3 9 13 60

ที่มา : ฝายแผนงาน กองวิชาการ สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร

(2)

ผูปวยนอก

จํานวนผูปวยนอกแยกตามกลุมงานของโรงพยาบาลลาดกระบัง ในปงบประมาณ 25512553 สวนใหญเปนผูปวยจากกลุมงานอายุรกรรม และอุบัติเหตุและนิติเวชวิทยา แสดงดังตารางที่ 4.5.3-2

4 - 60


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.5.3-2 จํานวนผูป วยนอกแยกตามกลุมงานของโรงพยาบาลลาดกระบัง ปงบประมาณ 2551-2553 กลุมงาน อายุรกรรม สูติ-นรีเวชกรรม กุมารเวชกรรม ศัลยกรรม ศัลยกรรมกระดูก ทันตกรรม เวชกรรมฟนฟู จักษุวิทยา จิตเวช อื่น ๆ รวม

ป 2551 2,203 565 979 398 248 21 56 191 4,661

จํานวนผูปวยนอก ป 2552 2,150 655 1,162 221 192 1 15 4,396

ป 2553 1,804 429 627 225 199 1 2 3,287

ที่มา : ฝายแผนงาน กองวิชาการ สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร

(3)

ผูปวยใน

จํานวนผูปวยในแยกตามกลุมงานของโรงพยาบาลลาดกระบัง ในปงบประมาณ 2551-2553 สวนใหญเปนผูปวยจากกลุมงานอายุรกรรม และกุมารเวชกรรม แสดงดังตารางที่ 4.5.3-3

4 - 61


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.5.3-3 จํานวนผูป วยในแยกตามกลุม งานของโรงพยาบาลลาดกระบัง ปงบประมาณ 2551-2553 กลุมงาน อายุรกรรม อุบัติเหตุและนิติเวชวิทยา สูติ-นรีเวชกรรม กุมารเวชกรรม ศัลยกรรม ศัลยกรรมกระดูก ทันตกรรม เวชกรรมฟนฟู จักษุวิทยา อนามัยชุมชน โสต-ศอ-นาสิก ลาริงซวิทยา จิตเวช อื่น ๆ รวม

ป 2551 49,071 43,639 5,860 9,592 3,122 5,823 763 681 24,044 1,622 203 2,758 147,178

ที่มา : ฝายแผนงาน กองวิชาการ สํานักการแพทย กรุงเทพมหานคร

4 - 62

จํานวนผูปวยใน ป 2552 51,115 45,247 6,475 12,330 3,526 4,616 801 546 15,956 1,508 167 2,741 145,028

ป 2553 53,226 46,665 5,838 11,560 52 4,248 8,149 587 605 13,071 714 99 2,598 147,412


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

4.5.3.2 อําเภอบางพลี อําเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการ (1) โรงพยาบาลและจํานวนเตียง ในพื้นที่อําเภอบางพลี และอําเภอบางเสาธง มีโรงพยาบาลที่สําคัญ ประกอบดวยโรงพยาบาล ของรัฐ 1 แหง ไดแก โรงพยาบาลลาดกระบัง และโรงพยาบาลเอกชน จํานวน 9 แหง ดังแสดงในตารางที่ 4.5.3-4 ตารางที่ 4.5.3-4 โรงพยาบาลและจํานวนเตียง ในพืน้ ที่อําเภอบางพลี และอําเภอบางเสาธง ป 2552 สถานพยาบาล อําเภอบางพลี 1.โรงพยาบาลบางพลี 2.โรงพยาบาลจุฬารัตน 3 3.โรงพยาบาลจุฬารัตน 9 4.โรงพยาบาลเซ็นทรัลปารค 5.โรงพยาบาลปยะมินทร 6.สถานพยาบาลจุฬารัตน 7.สถานพยาบาลบางนา 3 8.สถานพยาบาลจุฬารัตน สุวรรณภูมิ อําเภอบางเสาธง 1.โรงพยาบาลบางนา 2 2.สถานพยาบาลจุฬารัตน 5 รวม (2)

หนวยงาน

จํานวน (เตียง)

รัฐบาล เอกชน เอกชน เอกชน เอกชน เอกชน เอกชน เอกชน

60 134 100 120 200 26 10 26

เอกชน เอกชน

100 26 802

ผูปวยนอก

จากรายงานผูปวยนอกตามกลุมสาเหตุ 21 กลุมโรค (รง.504) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวม แมขาย-ลูกขาย) ในปงบประมาณ 2552-2553 พบวาสวนใหญปวยดวยกลุมโรคระบบทางเดินหายใจ และ กลุมโรคระบบไหลเวียนเลือด ดังแสดงในตารางที่ 4.5.3-5 4 - 63


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.5.3-5 ผูปวยนอกตามกลุมสาเหตุ 21 กลุมโรค (รง.504) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขา ย-ลูกขาย) ปงบประมาณ 2552-2553 กลุมโรค จํานวน (ราย) ป 2552 ป 2553 1.โรคติดเชื้อและปรสิต 18,675 19,955 2.เนื้องอก (รวมมะเร็ง) 1,187 1,007 3.โรคเลือดและอวัยวะสรางเลือด และความผิดปกติเกีย่ วกับภูมิคุมกัน 1,847 4,689 4.โรคเกี่ยวกับตอมไรทอและโภชนาการ และเมตะบอลิสัม 36,550 38,581 5. ภาวะแปรปรวนทางจิตและพฤติกรรม 2,475 2,461 6.โรคระบบประสาท 2,220 3,650 7.โรคตารวมสวนประกอบของตา 3,531 3,745 8.โรคหูและปุม กกหู 2,017 2,020 9.โรคระบบไหลเวียนเลือด 44,787 44,856 10.โรคระบบหายใจ 49,718 49,025 11.โรคระบบยอยอาหาร รวมโรคชองปาก 30,378 32,149 12.โรคผิวหนัง และเนื้อเยื่อใตผิวหนัง 5,192 5,855 13.โรคระบบกลามเนื้อ รวมโครงสราง และยึดเสริม 15,282 17,930 14.โรคระบบสืบพันธุรวมกับปสสาวะ 6,305 8,065 15.ภาวะแทรกในการตั้งครรภ การคลอดฯและระยะหลังคลอด 1,361 1,725 16.ภาวะผิดปรกติของทารกทีเ่ กิดขึ้นในระยะปริกําเนิด 340 394 17.รูปรางผิดปรกติแตกําเนิด การพิการจนผิดรูปแตกําเนิดและ 403 245 โครโมโซมผิดปกติ 18.อาการ อาการแสดง และสิ่งผิดปรกติที่พบไดจากการตรวจ 35,111 37,816 ทางคลินิคและทางหองปฏิบัติการฯ 19.การเปนพิษและผลที่ตามมา 4,812 890 20.อุบัติเหตุจากการขนสงและผลที่ตามมา 313 960 21.สาเหตุภายนอกอื่นๆ ที่ทาํ ใหปวยหรือตาย 5,318 6,805 รวม 267,822 282,823 ที่มา : สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ

4 - 64


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

(3)

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ผูปวยใน

จากรายงานผูปวยในรายโรค (รง.505) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขาย-ลูกขาย) ใน ปงบประมาณ 2552-2553 พบวาสวนใหญปวยดวยโรคอาการ อาการแสดง และสิ่งผิดปกติที่พบไดจากการ ตรวจทางคลินิกและหองปฏิบัติการที่มิไดระบุไวที่อื่นใด และการคลอดเดี่ยว (คลอดปกติ) ดังแสดงในตาราง ที่ 4.5.3-6 ตารางที่ 4.5.3-6 ผูปวยในรายโรค (รง.505) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขาย-ลูกขาย) ในปงบประมาณ 2552-2553 กลุมโรค 1.ไขรากสาดนอย ไขรกสาดเทียม และการติดเชื้อซัลโมเนลลา 2.โรคติดเชื้ออื่นๆ ของสําไส 3.วัณโรค 4.โรคเรื้อน 5.สมองอักเสบจากเชื้อไวรัส 6.ไขเลือดออกจากเชื้อแดงกี่ และไขเลือดออกจากเชื้อไวรัส 7.ตับอักเสบจากเชื้อไวรัส 8.โรคภูมิคุมกันบกพรองจากเชื้อไวรัส (เอชไอวี) 9.มาลาเรีย 10.โรคติดเชื้อและปรสิตอื่นๆ 11.เนื้องอกรายที่ตับ 12.เนื้องอกรายที่ปอด 13.เนื้องอกรายที่เตานม 14.เนื้องอกรายที่มดลูก 15.โรคเลือดและอวัยวะสรางเลือดและความผิดปกติบางชนิดที่เกีย่ วกับ ระบบภูมิคมุ กัน 16.ธาลัสซีเมีย 17.ความผิดปกติปกติของตอมไทรอยด 18.โรคเบาหวาน 4 - 65

จํานวน (ราย) ป 2552 ป 2553 3 2 350 446 31 58 1 289 292 2 4 53 47 15 16 231 226 6 7 23 27 5 11 4 11 169 182 25 3 106

12 18 117


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.5.3-6 (ตอ) ผูปวยในรายโรค (รง.505) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขาย-ลูกขาย) ในปงบประมาณ 2552-2553 กลุมโรค 19.ความผิดปกติเกีย่ วกับตอมไรทอ โภชนาการและเมตะบอลิสัมอื่นๆ 20.ความผิดปกติทางจิตใจทีม่ ีสาเหตุจากโรคทั้งกลุมอาการของโรค 21.ความผิดปกติทางจิตใจและพฤติกรรมที่มีสาเหตุจากสารออกฤทธิ์ ทางจิตประสาท 22.ความผิดปกติทางจิตใจ จิตเภทและประสาทหลอน 23.ความผิดปกติทางอารมณ (สะเทือนอารมณ) 24.ความผิดปกติจากโรคประสาท ความเครียด และอาการ ทางกายที่หาสาเหตุไมได 25.โรคปญญาออน 26.โรคลมบาหมู 27.โรคของประสาทอื่นๆ 28.โรคตาและสวนผนวก 29.โรคหูและปุมกกหู 30.ไขรูหมาติกเฉียบพลัน 31.โรคหัวใจรูหมาติกเรื้อรัง 32.โรคความดันโลหิตสูง 33.โรคหัวใจขาดเลือด 34.โรคหัวใจและโรคของการไหลเวียนเลือดผานปอดอื่นๆ 35.โรคหลอดเลือดสมองใหญ 36.โรคอื่นๆ ของระบบไหลเวียนเลือด 37.ระบบการหายใจสวนบนติดเชื้อเฉียบพลัน และโรคอื่นของระบบ หายใจสวนบน 38.ไขหวัดใหญ 39.ปอดอักเสบ 40.โรคเรื้อรังของระบบหายใจสวนลาง 4 - 66

จํานวน (ราย) ป 2552 ป 2553 117 58 8 10 8 2 7 6

2 2 6

1 36 24 2 2 108 35 170 51 8 44

7 30 34 3 3 2 93 36 157 84 44 53

15 414 118

39 572 144


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.5.3-6 (ตอ) ผูปวยในรายโรค (รง.505) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขาย-ลูกขาย) ในปงบประมาณ 2552-2553 กลุมโรค 41.โรคหืดและโรคหืดชนิดเฉียบพลันรุนแรง 43.โรคอื่นๆ ของระบบหายใจ 43.โรคแผลในกระเพาะอาหารและลําไสสวนตน 44.โรคของไสติ่ง 45.ไสเลื่อน 46.โรคอื่นๆ ของลําไสและเยื่อบุชองทอง 47.ลําไสอัมพาต และสําไสมีการอุดตันโดยไมมีไสเลื่อน 48.โรคตับจากแอลกฮอล 49.โรคนิ่วในถุงน้ําดีและถุงน้ําดีอักเสบ 50.โรคอื่นของระบบยอยอาหาร 51.โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใตผิวหนัง 52.โรคของระบบกลามเนื้อรวมโครงราง 53.ความผิดปกติของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน 54.ไตวายเฉียบพลัน 55.ไตวายเรื้อรัง 56.นิ่วในไต 57.โรคของอวัยวะสืบพันธุชาย 58.ความพิการของเตานม 59.โรคเกี่ยวกับอวัยวะเชิงกรานหญิงอักเสบ และความผิดปกติ 60.โรคอื่นของระบบสืบพันธุรวมปสสาวะ 61.การตั้งครรภแลวแทง 62.การคลอดเดี่ยว (คลอดปกติ) 63.โรคแทรกซอนในการตั้งครรภ การเจ็บครรภ การคลอด ระยะ หลังคลอดและภาวะอืน่ ๆ ทางสูติกรรมที่มิไดระบุไวที่อื่น

4 - 67

จํานวน (ราย) ป 2552 ป 2553 92 163 109 81 152 133 50 65 19 32 4 3 5 7 1 4 112 144 87 103 143 272 16 8 18 23 2 1 4 204 193 117 31 1,753 1,756 130


รายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสุขภาพ โครงการผลิตและจําหนายไฟฟาและน้าํ เย็นสําหรับทาอากาศยานสุวรรณภูมิ บริษัท ผลิตไฟฟาและน้ําเย็น จํากัด

บทที่ 4 สภาพแวดลอมปจจุบัน

ตารางที่ 4.5.3-6 (ตอ) ผูปวยในรายโรค (รง.505) ของโรงพยาบาลบางพลี (รวมแมขาย-ลูกขาย) ในปงบประมาณ 2552-2553 กลุมโรค 64.การบาดเจ็บจากการคลอด 65.ความผิดปกติอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในระยะปริกําเนิด 66.รูปรางผิดปกติ การพิการจนผิดรูปแตกาํ เนิด และโครโมโซมผิดปกติ 67.อาการ อาการแสดง และสิ่งผิดปกติที่พบไดจากการตรวจทาง คลินิกและหองปฏิบัติการที่มิไดระบุไวที่อื่นใด 68.คนเดินเทาและขี่จักรยานบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจากการขนสง 69.ผูขับขี่จักรยานยนตไดรับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจากการขนสง 70.อุบัติเหตุจากการขนสงอื่นๆ และผลที่ตามมาของอุบัติเหตุจากการ ขนสงทั้งหมด 71.การเปนพิษ และผลพิษจากอุบัติเหตุ การทํารายตัวเอง ถูกผูอื่น ทํารายและการบาดเจ็บทีไ่ มระบุแนชดั วาเปนอุบัติเหตุหรือการจงใจ 72.เหตุการณภายนอกอืน่ ๆ ของการบาดเจ็บโดยอุบัติเหตุ และผลตาม มายกเวนการเปนพิษ 73.การฆาตัวตาย หรือการทํารายตัวเอง ยกเวนการวางยาพิษตนเอง 74.การถูกฆาตาย และถูกผูอนื่ ทําราย ยกเวนโดยใชยา สารเคมี หรือวัตถุมพี ิษ 75.สาเหตุภายนอกอื่นๆ ของการเจ็บปวย การตาย และผลที่ตามมาที่มิได ระบุไวที่อนื่ ใด รวม ที่มา : สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ

4 - 68

จํานวน (ราย) ป 2552 ป 2553 15 45 1 491 779 19 23

1 38 23

50

50

127

125

43 23

63 14

-

-

6,100

7,212


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.