“ใบไม้หล่น เมื่อลมพัดผ่าน เป็นสัญญานแห่งความผันเปลี่ยน ทุกๆ สิ่ง คือความหมุนเวียนไม่เที่ยงแท้”
การจากไปของชายผู้ยิ่งใหญ่ ทำ�ให้หัวใจประชาชนคนไทย สั่นคลอนและดวงตานองไปด้วยนำ�้ตา คงไม่อ้างเอ่ยเกินไปมากนัก ที่จะบอกว่า นี่คือช่วงเวลา เปลี่ยนผ่านที่สำ�คัญของประเทศไทยอย่างแท้จริง “ในวันที่พ่อไม่อยู่” เราควรทำ�ตัวกันอย่างไร ในวันที่ประเทศไทยกำ�ลังวิ่งวนอยู่ ในโลกทุนนิยม หา ทางออกยังไม่เจอ จงหยิบภูมิปัญญามรดกชิ้นงามที่ทิ้งไว้ ให้ลูก หลาน “ปรัชญาเศรษฐกิจ” ของท่านมาใช้ ให้เกิดประโยชน์ จดจำ� หลอดยาสีฟันของท่านไว้ จดจำ�การแต่งกายที่เรียบง่ายของท่าน ไว้ อะไรที่ประหยัดได้จงประหยัด อะไรที่พึ่งพาตนเองได้จงพึ่งพา อะไรที่แบ่งปันได้จงแบ่งปัน เมื่อยืนด้วยลำ�แข้งตัวเองได้แล้ว เราจะ พึ่งพาผู้อื่นน้อยลง และอย่าทอดทิ้งคนยากจน จงหยิบยื่นโอกาสให้ ผู้ด้อยกว่า เมื่อมีอำ�นาจจงอย่าใช้ช่องว่างกฎหมายซำ�้เติม และเอา เปรียบผู้อื่น เพราะหนทางชีวิตยังมีอีกยาวไกลเท่าที่ ใจจะไปต่อ ขอให้ขับเคลื่อนชีวิตและการงานด้วยความรัก ความ เมตตาซึ่งกันและกัน ในทุกๆ วันที่ตื่นลืมตา หวังว่า Samutprakan Vision เล่มที่ 2 นี้ จะเป็นแหล่งเติม พลังงานและสร้างแรงบันดาลใจดีๆให้ชาวสมุทรปราการ ไม่มากก็ น้อยครับ บูรไท พัลลภดิษฐ์สกุล
สมุทรปราการ หรือที่เรียกกันจนติดปากว่า “เมืองปากนำ�้” ก็เพราะเมืองแห่งนี้ตั้งอยู่ปากอ่าวไทย ปลายทางของแม่นำ�้เจ้าพระยา คำ�ว่า “สมุทร” แปลว่า “ทะเล” และ “ปราการ” แปลว่า “กำ�แพง” สมุทรปราการจึงมีความหมายว่า กำ�แพงชายทะเล หรือกำ�แพงริมทะเล หรือเมืองหน้าด่านชายทะเล หรืออีกความหมายหนึ่งก็คือ ริมทะเลที่มีกำ�แพงมั่นคงแข็งแรง สมุทรปราการเป็นเมืองสำ�คัญทางประวัติศาสตร์ ซึ่งก่อตั้งมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา นับเป็นเวลากว่า 400 ปีมาแล้ว เดิมสมุทรปราการคือพื้นที่บริเวณตำ�บลปากคลองบางปลากด ซึ่งฝรั่ง ชาวฮอลันดาหรือฮอนแลนด์เดินทางมาติดต่อค้าขายและใช้เป็นคลังสินค้าและที่พำ�นัก เนื่องแต่เป็นพื้นที่ซึ่งมีลำ�คลองธรรมชาติงดงาม ชาว ฮอลันดาจึงขนานนามตำ�บลแห่งนี้ว่า “ นิวอัมสเตอดัม ” ครั้นต่อมาเมื่อประมาณ 200 ปีเศษ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาล ที่ 2 ทรงเห็นว่า หากข้าศึกจะมารุกรานเมืองหลวง ก็จะกระทำ�ได้ โดยง่าย จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองสมุทรปราการขึ้นใหม่ คือตำ�บลปา กนำ�้ ในปัจจุบัน เพื่อใช้เป็นเมืองหน้าด่านป้องกันข้าศึกทางทะเล สมุทรปราการจึงมีความสำ�คัญตลอดมาทุกยุคทุกสมัย ปัจจุบัน สมุทรปราการได้ชื่อว่าเป็นเมืองอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจในทุกๆ ภาคส่วน นอกจากนี้ยังเป็นที่ ตั้งของสนามบินสุวรรณภูมิอันเป็นศูนย์กลางการเดินทางไปทั่วโลก สมุทรปราการหาได้มีเพียงปลาสลิดที่มีรสชาติเป็นหนึ่ง หรือเพียงเฉพาะ สถานที่ท่องเที่ยวเช่นฟาร์มจระเข้และเมืองโบราณ เท่านั้น สมุทรปราการยังมีสถานที่อันน่าสนใจและประเพณีงดงามอีกมากมายที่บุคคล ทั่วไปอาจจะยังไม่เคยได้มีโอกาสสัมผัส เช่น ชาวบ้านริมแม่นำ�้ลำ�คลองยังคงมีวิถีชีวิตการไปมาหาสู่กันโดยทางเรือ ประเพณีสงกรานต์แบบ โบราณของชาวมอญปากลัด ประเพณีการเล่นสะบ้า แห่นก แห่ปลาสะเดาะเคราะห์ รวมถึงสถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีชื่อเสียงกระฉ่อน ไปทั่วโลก คือ ตลาดนำ�้บางนำ�้ผึ้ง ตลาดนำ�้คลองสวน 100 ปี พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร สถานตากอากาศบางปู และวัดวาอารามที่สร้างขึ้นตั้งแต่ สมัยกรุงศรีอยุธยา ตลอดจนศาลเจ้าเก่าแก่อีกมากมาย กระผมในนามของนายกสมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาค จังหวัดสมุทรปราการ ใคร่ขอขอบคุณทุกภาคฝ่ายที่ร่วมกันก่อเกิด นิตยสารสมุทรปราการวิชั่น และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า นิตยสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่าน สุดท้ายนี้ กระผมใคร่ขอกราบอาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย ได้ โปรดดลบันดาลให้นิตยสารสมุทรปราการวิชั่นและทีมงามทุกๆ ท่าน จงประสบ แต่ความสุข ความเจริญและประสบความสำ�เร็จในการจัดทำ�นิตยสารที่ดีและมีประโยชน์ต่อจังหวัดสมุทรปราการ ตลอดไป
ดร.สังวาลย์ เกตุงาม นายกสมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาค
สารจากนายกสมาคมกีฬาฟุตบอลจังหวัดสมุทรปราการ
พีรพัฒน์ ถานิตย์
สวัสดีครับชาวจังหวัดสมุทรปราการที่รักกีฬาโดยเฉพาะอย่างยิ่งกีฬาฟุตบอล ซึ่งเป็นกีฬามหาชน ได้รับความนิยมเป็นอันดับ 1 ใน ปัจจุบัน ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา กีฬาฟุตบอลในประเทศไทย เริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ผลพวงมาจากการได้ยกระดับเป็น กีฬาอาชีพอย่างเต็มตัว มีการร่วมแรงพัฒนาทั้งในด้านนโยบายจากภาครัฐ และเม็ดเงินลงทุนจากทางภาคเอกชน ซึ่งจังหวัดสมุทรปราการ เองก็มีการส่งทีมเข้าร่วมในการแข่งขันฟุตบอลอาชีพดังกล่าวเช่นกัน ปัจจุบันทรัพยากรนักกีฬาฟุตบอลในจังหวัดสมุทรปราการ หลายคนมีความสามารถมาก ติดทีมชาติไทยทั้งในชุดเยาวชน และชุด ใหญ่ หรือแม้แต่ฟุตบอลในระดับโรงเรียนที่หลายโรงเรียนในจังหวัดสมุทรปราการฝีเท้าอยู่ ในระดับแถวหน้าของประเทศ การจัดตั้งสมาคมกีฬาฟุตบอลจังหวัดสมุทรปราการ ขึ้นมานั้นก็เพื่อจัดให้มีการพัฒนาฟุตบอลอย่างเป็นระบบ ทั้งผู้ฝึกสอน นัก ฟุตบอล และผู้ตัดสิน โดยได้มีการทำ�เป็นแผนระยะยาวที่สามารถทำ�ได้จริง โดยมีเป้าหมาย สร้างความยั่งยืนให้กับกีฬาฟุตบอลจังหวัดสมุทรปราการ ด้วยการพัฒนาตามระดับอายุ สร้างผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอลที่มีคุณภาพ และจำ�นวนที่มากขึ้น กระจายตัวตามพื้นที่ต่างๆ ในจังหวัด ในอนาคตเราเชื่อว่าเราจะมีนักกีฬาที่ได้รับการพัฒนาจากเยาวชนที่สามารถก้าวขึ้นไปเล่นในระดับฟุตบอลอาชีพ และสร้างชื่อ เสียงให้กับจังหวัดสมุทรปราการต่อไป หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้รับการสนับสนุนจากชาวสมุทรปราการครับ
พีรพัฒน์ ถานิตย์ นายกสมาคมกีฬาฟุตบอลจังหวัดสมุทรปราการ
โครงการพระราชดำ�ริ...แสงสว่างจากพ่อ ด้านทรัพยากรธรรม-สิ่งแวดล้อม คิดจากการใช้ประโยชน์ของคลองลัดโพธิ์ที่ขุดขึ้นมากว่า 300 คลองลัดโพธิ์.. ปี มาผสานกับหลักวิชาการในการแก้ ไขวิกฤตการณ์นำ�้ท่วม แก้ปัญหานำ�้ท่วมเมือง กรุงเทพฯ ครั้งใหญ่ ถือเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุด มิได้ ปัญหานำ�้ท่วมถือเป็นปัญหาที่พระบาทสมเด็จพระปร “..นำ�้นี้มีคุณหรือมีโทษ ตามความจริงนำ�้ หรืออะไร ทั้งหมดทุกอย่างเป็นธรรมดา ที่มีทั้งคุณและโทษ ถ้าเราใช้ดีๆ มินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีความห่วงใยมาตลอด เพราะ ก็เป็นคุณ ถ้าเราใช้ ไม่ดีก็เป็นโทษ จะค้างว่าเราไม่ ได้ ใช้ ให้นำ�้ ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาชน รวมถึงเศรษฐกิจของ มาท่วมเราก็จริง แต่การที่นำ�้มาท่วมเราก็เป็นความผิดของคน ประเทศ และด้วยลักษณะทางกายภาพของกรุงเทพฯ และ เหมือนกัน บางทีควรจะกักนำ�้เอาไว้เพื่อจะใช้ก็ทิ้งนำ�้ลงไป บางที สมุทรปราการถือเป็นที่ราบลุ่ม มีแม่นำ�้เจ้าพระยาตัดผ่าน ส่ง ควรจะปล่อยนำ�้ออกไป ก็กักเอาไว้ กักเอาไว้ ไม่ ใช่เฉพาะทำ� ผลให้ ในฤดูนำ�้หลากเกิดนำ�้ท่วม เพราะแม่นำ�้เจ้าพระยาเป็นเส้น เขื่อนเก็บนำ�้ แต่กักเอาไว้ โดยทำ�ถนนขวางทางนำ�้ก็ตาม โดยทำ� ทางผ่านของนำ�้จากภาคเหนือที่จะไหลออกสู่ทะเลอ่าวไทยใน บ้านจัดสรรก็ตาม โดยทำ�โรงงานก็ตาม ซึ่งกั้นไม้ ให้นำ�้ ไหล ดัง จังหวัดสมุทรปราการ ด้วยเหตุนี้จึงทรงมอบหมายให้หน่วยงานหลัก 3 หน่วยงาน นั้นนำ�้ที่กักเอาไว้ก็ไปท่วมชาวบ้าน..” พระราชดำ�รัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา คือ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการ ภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานแก่คณะบุคคลที่เข้าเฝ้าฯ ถวาย เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ (กปร.) ชัยมงคล เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ สาลาดุสิ ทำ � การศึ ก ษาหาแนวทางในการจั ด การคลองลั ด โพธิ์ ใ ห้ เ กิ ด ดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต วันที่ 5 ธันวาคม 2538 ประโยชน์สูงสุด โครงการปรับปรุงคลองลัดโพธิ์จึงได้เริ่มขึ้นใน พ.ศ. คลองลัดโพธิ์ เป็นหนึ่งในโครงการตามแนวพระ ราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 2541 เป็นต้นมา โดยกรมชลประทานฐานะหน่วยงานรับผิด ที่พระราชทานไว้ตั้งแต่ พ.ศ.2538 เป็นต้นมา โดยทรงนำ�หลัก ชอบหลักได้สำ�รวจออกแบบและก่อสร้างประตูระบายนำ�้คลอง 16
ประตูระบายนำ�้คลองลัดโพธิ์ ช่วยลัดนำ�้จากแม่นำ�้ เจ้าพระยาออกสู่ทะเล ลดระยะทางและเวลาการไหลของนำ�้ บริเวณพื้นที่กระเพาะหมู จากเดิมต้องไหลอ้อมแม่นำ�้เจ้าพระยา ถึง 18 กิโลเมตร ให้ ไหลลงทะเลได้รวดเร็วขึ้นด้วยระยะทาง เพียง 600 เมตร ช่วยย่นระยะเวลาจาก 5 ชั่วโมง เหลือเพียง 10 นาทีเท่านั้น โดยมีการบริหารจัดการเปิดและปิดประตูระบาย นำ �้ ให้ เ ป็ น ระบบสอดคล้ อ งกั บ ห้ วงเวลาของนำ �้ ขึ้ น-นำ �้ ลงและ นำ�้ทะเลหนุนสูง จึงช่วยบรรเทาปัญหานำ�้ท่วมซ้ำ�ซากในอำ�เภอ พระประแดง ตลอดจนเร่งระบายนำ�้เหนือที่ไหลหลากในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลได้เป็นอย่างดี ในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เวลา 18.00 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จ พระราชดำ�เนินทางชลมารคพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยเรือพระที่นั่งอังสนาที่กองทัพเรือ ลัดโพธิ์ในปี 2545 โดยการขุดลอกและขยายคลองลัดโพธิ์จาก จัดถวาย ทรงทำ�พิธีเปิดประตูระบายนำ�้คลองลัดโพธิ์และสะพาน เดิมที่ตื่นเขินมีความกว้างเพียง 10-15 เมตร เท่านั้น พร้อมทั้ง ภูมิพล 1 สะพานภูมิพล 2 ตำ�บลทรงคนอง อำ�เภอพระประแดง สร้างประตูระบายนำ�้ โดยดำ�เนินการแล้วเสร็จในปี 2549 ด้วยงบ จังหวัดสมุทรปราการ โดยมีประชาชนชาวสมุทรปราการเฝ้ารับ เสด็จเป็นจำ�นวนมาก ประมาณ 578.9 ล้านบาท
ในหลวงในความทรงจำ�.......ผู้ว่าราชการจังหวัด ด้านคมนาคม คมนาคมทั้งทางบก ทางนำ�้ และทางอากาศ แต่ด้วยปริมาณการขนส่งที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ทำ�ให้ โครง ถนนวงแหวนอุตสาหกรรมและสะพานภูมิพล 1-2 ข่ายคมนาคมที่มีอยู่ ไม่เพียงพอ จึงเกิดปัญหาการจราจรในพื้นที่ ถนนวงแหวนอุตสาหกรรมและสะพานภูมิพล 1 รวมถึงรถบรรทุกขนาดใหญ่วิ่งเข้ามาในตัวเมืองมากขึ้น ส่งผล สะพานภูมิพล 2 อันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ เกิดขึ้นหลังจากที่ ให้ถนนหนทางเกิดความเสียหายเกิดผลกระทบต่อประชาชน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทาน โดยรวม ซึ่งหากรถบรรทุกไม่ ใช้เส้นทางถนนจะต้องใช้ทางนำ�้ แนวพระราชดำ�ริกับคณะบุคคลที่เกี่ยวข้อง เมื่อปี 2538 เพื่อ เพื่อข้ามแม่นำ�้เจ้าพระยาโดยแพขนานยนต์ที่ท่าพระประแดง บรรเทาปัญหาการจราจรในพื้นที่กรุงเทพมหานครด้านใต้และ มาขึ้นฝั่งที่ถนนปู่เจ้าสมิงพรายมากขึ้น และจะต้องใช้เส้นทาง จังหวัดสมุทรปราการ ถนนสุขุมวิทสายเก่าที่เล็กและแคบ ซึ่งทำ�ให้เกิดปัญหาการ ที่ สำ � คั ญ คื อ จั ง หวั ด สมุ ท รปราการเป็ น จั ง หวั ด ที่ แ ปร จราจรในตัวเมือง รวมถึงปัญหามลพิษตามมา จึงจำ�เป็นต้อง เปลี่ยนมาเป็นเมืองอุตสาหกรรม ด้วยความเหมาะสมทางด้าน แก้ ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ เพื่อให้สามารถระบายรถบรรทุก ภูมิศาสตร์ที่สามารถเชื่อมต่อกับกรุงเทพฯ และยังเชื่อมต่อไป ที่เข้าออกจังหวัดสมุทรปราการ โดยไม่สลผลกระทบกับเส้น ยังภูมิภาคตะวันออก ซึ่งเป็นแหล่งวัตถุดิบและเป็นที่ตั้งของ ทางในตัวเมือง แนวทางการแก้ ไขปัญหาดังกล่าว จึงเป็นที่มาของ นิคมอุตสาหกรรมหลายแห่ง จึงทำ�ให้สมุทรปราการกลายเป็น ศูนย์กลางการขนส่งสินค้าและการกระจายสินค้า ด้วยโครงข่าย โครงข่ายถนนวงแหวนอุตสาหกรรมและสะพานขึงแฝดข้าม 17
ลำ�นำ�้เจ้าพระยา จึงถูกสร้างขึ้นเพื่อรองรับการขนส่งและการ ลำ�เลียงสินค้าจากท่าเรือต่อเนื่องไปจนถึงพื้นที่อุตสาหกรรมใน จ.สมุทรปราการ และภูมิภาคอื่น ๆ ของประเทศ เพื่อมิให้รถ บรรทุกวิ่งเข้าไปในตัวเมือง อันเป็นสาเหตุของการจราจรติดขัด โดยรอบ ถนนวงแหวนอุตสาหกรรมจึงมีสะพานขึงข้ามแม่นำ�้ เจ้าพระยาสองช่วง ได้รับพระราชทานนามว่า สะพานภูมิพล 1 และสะพานภูมิพล 2 โดยมีรูปแบบการก่อสร้างที่ทันสมัยไม่มี ตอม่อกีดขวางเส้นทางการไหลของแม่นำ�้และเรือเดินสมุทร ขนาดใหญ่ อีกทั้งเป็นเส้นทางที่ไม่ลาดชันมาก
1 สะพานภูมิพล 2 ก่อสร้างแล้วเสร็จและทดลองเปิดใช้ ในปี 2549 และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จราชดำ�เนินเปิดสะพานเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เวลา 16.30 น.
นอกจากนี้ ยังเป็น การเชื่อ มประสานพื้น ที่ก รุ ง เทพฯ และสมุทรปราการเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบ อีกทั้งยังเชื่อม โยงถนนวงแหวนทั้ง 3 วง คือ วงแหวนรัชดาภิเษก วงแหวน กาญจนาภิเษก และวงแหวนอุตสาหกรรม ให้สามารถใช้งาน ร่วมกันได้ โดยถนนวงแหวนอุตสาหกรรมและสะพานภูมิพล 18
19
พระบารมีแผ่ไพศาล สมุทรปราการ..ร่มเย็น ให้เกิดการพัฒนาที่ตรงความประสงค์ของพสกนิกรในพื้นที่อย่าง ดียิ่ง ไม่เว้นแม้แต่จังหวัดสมุทรปราการ ที่พระองค์ ได้ ทรงเสด็จราชดำ�เนินมาเยือนหลายครั้งหลายครา นับเป็นพระ มหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมอย่างหาที่สุดมิได้ ที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ได้ เสด็จพระราชดำ�เนินประกอบพระราชกรณียกิจต่างๆ ในพื้นที่ เพื่ อ ให้ ท่ า นผู้ อ่ า นได้ ท ราบรายละเอี ย ดอย่ า งชั ด เจน กองบรรณาธิการ อบจ.นิวส์ “ฟ้าใหม่” จึงได้รวบรวมข้อมูล การ เสด็จพระราชดำ�เนินมายังจังหวัดสมุทรปราการ ตั้งแต่พระองค์ เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อปีพุทธศักราช 2489 จนถึงปัจจุบัน ดัง ต่อไปนี้..
เป็นที่ทราบกันดีว่า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรม หาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงเป็น พระมหากษัตริย์ที่ยึดมั่นในทศพิธราชธรรมและขัตติยวัตรของ พระมหากษัตริย์ทุกประการ ทรงบำ�เพ็ญพระราชกรณียกิจน้อย ใหญ่ ในทุกถิ่นแผ่นดินไทยมาอย่างต่อเนื่อง แม้ แ ต่ ในท้ อ งถิ่ น ทุ ร กั น ดารก็ ท รงพระราชวิ ริ ย ะ อุตสาหะ เสด็จพระราชดำ�เนินโดยมิย่อท้อแต่ประการใด ก่อน เสด็จพระราชดำ�เนินเยี่ยมราษฎร พระบาทสมเด็จพระปรมินท รมหาภูมิพลอดุลยเดชได้ทรงศึกษาเส้นทาง สภาพภูมิประเทศ ตลอดจนปัญหาที่ราษฎรประสบอยู่ โดยได้ทรงวางแผนพัฒนา ไว้อย่างคร่าวๆ ก่อนเดินทางทุกครั้ง และเมื่อได้ทอดพระเนตร สถานที่แท้จริงแล้วจึงทรงปรับแผนให้เหมาะสมอีกครั้ง ยังผล 20
เสด็จเยือนเมืองปากนำ�้ครั้งแรก เยี่ยมราษฎรอำ�เภอพระประแดง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาล ที่ ๙) เสด็จมายังจังหวัดสมุทรปราการครั้งแรกเมื่อ วัน ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2489 เมื่อครั้งที่ยังดำ�รงพระยศเป็น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภูมิพล อดุลยเดช โดยเสด็จ พระราชดำ � เนิ น มาพร้ อ มกั บ พระบาทสมเด็ จ พระปรเมนทร มหาอานันทมหิดลฯ (รัชกาลที่๘) เพื่อเยี่ยมราษฎรอำ�เภอ พระประแดง โดยประทับ ณ ที่ว่าการอำ�เภอพระประแดง สองพระองค์ ได้ทอดพระเนตรการแสดงพื้นบ้านและเปิดโอกาส ให้ราษฎรเข้าเฝ้าอย่างใกล้ชิด ในการนี้สมเด็จพระเจ้าน้องยา เธอเจ้าฟ้าภูมิพล อดุลยเดช ได้แสดงความสามารถด้านการถ่าย ภาพในระหว่างการเสด็จพระราชดำ�เนินครั้งนี้ด้วย เป็นที่ปราบ ปลื้มแก่พสกนิกรที่มาเฝ้ารับเสด็จฯเป็นอย่างยิ่ง
พระคู่หมั้น ด้วยเรือเดินสมุทรซีแลนเดีย เพื่อประกอบพระราช พิธีสำ�คัญ 3 ประการคือ พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรม ศพพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระบรม เชษฐาธิราช พระราชพิธีอภิเษกสมรส และพระราชพิธีพระบรม ราชาภิเษก ทันทีที่เสด็จมาถึงอ่าวไทย กองทัพเรือได้จัดกระบวนเรือและ เครื่องบินรับเสด็จ ที่สันดอนปากแม่นำ�้เจ้าพระยา โดยมีเรือ หลวง 11 ลำ� และเครื่องบินอีก 3 หมู่ มายังเรือรบหลวงสุราษฎร์ ซึ่งเป็นเรือพระที่นั่งสำ�รอง และเสด็จพระราชดำ�เนินสู่เรือ พระที่นั่งศรีอยุธยา ที่จอดอยู่บริเวณหน้าป้อมพระจุลจอมเกล้า แล้วจึงเสด็จเข้าสู่กรุงเทพฯ ปรากฏว่าระหว่างทางเสด็จ พระราชดำ�เนินตลอดสองฝั่งแม่นำ�้คลาคล่ำ�ไปด้วยประชาชน ที่มารอรับเสด็จ โบกธงชาติ พร้อมเปล่งเสียง “ไชโย” ดังกึกก้อง บูชาองค์พระสมุทรเจดีย์ วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2494 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรม หาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ราชินีนาถ เสด็จพระราชดำ�เนินทางเรือกลับจากประเทศ สวิสเซอร์แลนด์ ทางเรืออีกครั้ง หลังจากไปรักษาพระสุขภาพ เรียบร้อยแล้ว โดยลงเรือพระที่นั่งแม่กลองพร้อมด้วยขบวน เรือรับเสด็จฯ ออกเดินทางสู่พระนคร แต่ที่แตกต่างจากการ เสด็จคราวก่อนก็คือ ขณะที่ขบวนเรือพระที่นั่งผ่านจังหวัด สมุทรปราการ ข้าหลวงประจำ�จังหวัดได้ขึ้นไปเข้าเฝ้าทูลละออง ธุลีพระบาทบนเรือพระที่นั่ง ทูลเกล้าฯ ถวายธูปเทียน เพื่อบูชา องค์พระสมุทรเจดีย์ด้วย
ประทับเรือพระที่นั่ง..จอดเทียบท่า หน้าวัดโปรดเกศเชษฐาราม บ่ายวันเดียวกัน หลังจากทั้งสองพระองค์ ได้เสด็จพระราชดำ�เนิน ต่อไปยังวัดโปรดเกศเชษฐาราม ตำ�บลทรงคะนอง อำ�เภอ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นพระอารามหลวงชั้น ตรี และเป็นวัดพุทธไทยเพียงวัดเดียวในย่านพระประแดง ใน ขณะที่วัดอื่นๆ มักจะเป็นวัดพุทธรามัญ วัดแห่งนี้สร้างขึ้นใน สมัยรัชกาลที่ 2 โดยพระยาเพ็ชรพิไชย (เกตุ) ผู้เป็นนายงาน สร้างเมืองนครเขื่อนขันธ์ ทั้งสองพระองค์ ได้เสด็จพระราชดำ�เนินโดยเรือพระที่นั่ง เข้า คลองลัดหลวง ลัดเลาะมาจอดเทียบท่าที่ศาลาเขียว (ศาลา ที่ เ จ้ า จอมมารดาตลั บ และพระราชธิ ด าในพระบาทสมเด็ จ วางศิลาพระฤกษ์ตึกเรียน พระพุทธเจ้าหลวง สร้างไว้บริเวณท่านำ�้ริมคลองลัดหลวง) แล้ว สถานพยาบาลพระประแดง เสด็จไปประทับยืน ทรงปล่อยนกออกจากกรง ณ บริเวณพระ วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2501 พระบาทสมเด็จพระพระปรมิ มณฑปกลางสระนำ�้ วัดโปรดเกศเชษฐาราม นทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ เสด็จพระราชดำ�เนินในการพระราชพิธีวางศิลาพระ นิวัตสู่พระนคร.. ฤกษ์อาคารวิจัยและฝึกอบรมวิชาโรคเรื้อน สำ�หรับอบรมเจ้า กองทัพเรือจัดขบวนเรือรับเสด็จ หน้าที่ ณ สถานพยาบาลพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2493 เป็นอีกหนึ่งวันที่พสกนิกรชาวไทยรอ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงสนพระทัย คอย นั่นคือการเสด็จพระราชดำ�เนินกลับจากประเทศสวิตเซอร์ และให้ความสำ�คัญกับการรักษาผู้ป่วยโรคเรื้อน ที่ผลการ แลนด์เพื่อนิวัติสู่พระนคร โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สำ�รวจในปี 2500 พบว่า มีจำ�นวนสูงถึง 140,000 ราย กระจาย ภูมิพลอดุลยเดช เสด็จมาพร้อมกับ ม.ร.ว.สิริกิติ์ กิตติยากร อยู่ทั่วประเทศ แต่เนื่องจากประเทศไทยยังขาดแคลนบุคลากร 21
ที่มีความเชี่ยวชาญและมีอุปสรรคทางด้านงบประมาณ จึง พระราชทานพระราชทรัพย์จากทุนอานันทมหิดล เพื่อเป็นทุน ในการก่อสร้างอาคารวิจัยและฝึกอบรมวิชาโรคเรื้อน พร้อมทั้ง พระราชทานนามว่า “สถาบันราชประชาสมาสัย” นำ�พระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก เสด็จทอดพระเนตรที่ป้อมพระจุลจอมเกล้า วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2504 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ทรงนำ�พระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดน ทอดพระกฐินต้น..วัดทรงธรรมวรวิหาร มาร์กเสด็จฯทอดพระเนตรป้อมพระจุลจอมเกล้า ตำ�บลแหลม ในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2507 พระบาทสมเด็จพระปรมิ ฟ้าผ่า อำ�เภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ นทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดำ�เนินมาทอดพระกฐินต้น เสด็จราชดำ�เนินตัดลูกนิมิตวัดมหาวงษ์ ในการนี้ได้มีผู้ โดยเสด็จพระราชกุศลเป็นเงินจำ�นวนหนึ่ง ซึ่งได้ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา พระราชทานให้ ใช้สำ�หรับก่อสร้างเมรุถาวรด้วย ภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ� เนินทรงตัดลูก นิมิตอุโบสถที่วัดมหาวงษ์ ตำ�บลปากนำ�้ อำ�เภอเมืองฯ จังหวัด ตรวจการก่อสร้างอาคารเรียนหลังที่ 2 สมุทรปราการ โดยวัดมหาวงศ์ตั้งอยู่บริเวณฝั่งตรงข้ามกับองค์ โรงเรียนราชประชาสมาสัย พระสมุทรเจดีย์ เป็นวัดเก่าแก่ ก่อสร้างโดยชาวมอญมาตั้งแต่ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2507 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปี พ.ศ.2400 แต่ขาดการทนุบำ�รุง ทำ�ให้สภาพทรุดโทรม เจ้า ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เสด็จพระราชดำ�เนินพร้อมด้วย อาวาสและประชาชนจึงเห็นควรให้ปรับปรุงซ่อมแซมใหม่ จึงได้ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เพื่อทรงตรวจการ กราบทูลทูล สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายกเสด็จ ก่อสร้างอาคารเรียนหลังที่สองของโรงเรียนราชประชาสมาสั ทรงเป็นประธานการวางศิลาฤกษ์อุโบสถเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ย ซึ่งได้ โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อพระราชทานการศึกษาแก่ พ.ศ. ๒๕๐๗ และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ ๘ เด็กเยาวชนในอำ�เภอพระประแดง โดยใช้พระราชทรัพย์ส่วน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๘ และ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพล พระองค์สำ�หรับการก่อสร้าง อดุลยเดชเสด็จพระราชดำ�เนินทรงตัดลูกนิมิต เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๔ ทอดพระเนตรการแสดงที่สถานตากอากาศบางปู วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2507 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรม เสด็จทอดพระกฐินต้น..วัดบางพลีใหญ่ ใน หาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม วันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2504 พระบาทสมเด็จพระ ราชินีนาถ เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงทอดพระเนตรการ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ�เนินพร้อมด้วย แสดง “ดอกไม้ฟ้ากาชาด” ซึ่งจัดให้มีขึ้นเพื่อเก็บเงินบำ�รุง สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยเรือพระที่นั่ง สภากาชาดไทย ที่สถานตากอากาศบางปู ตำ�บลบางปู อำ�เภอ ชื่อ “ไอยราพต” มาตามคลองสำ�โรง เพื่อทอดผ้าพระกฐิน เมืองฯ จังหวัดสมุทรปราการ เป็นการส่วนพระองค์ที่วัดบางพลีใหญ่ ใน ในการเสด็จฯครั้งนั้นมีพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าหญิงอุบลรัตน์ (ปัจจุบันคือ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนา พรรณวดี) และพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์ (ปัจจุบนั เสด็จบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ..วัดอโศการาม คือ สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 10) ร่วมเสด็จฯมาด้วย 22
วันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2509 พระบาทสมเด็จพระปรมิ ตำ�บลบางจาก อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ นทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พร้อมด้วยสมเด็จพระนาง เสร็จรับควีนอลิซาเบธที่เมืองโบราณ เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสร็จพระราชดำ�เนินเป็นองค์ วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515 พระบาทสมเด็จพระปร ประธานในการบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในพระธุงตังคเจดีย์ ณ วัดอโศการาม ตำ�บลบางปู อำ�เภอเมืองฯ จังหวัดสมุทรปราการ มินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม ราชินีนาถ เสด็จพระราชดำ�เนินออกรับรองหน้ากำ�แพงเมือง วางศิลาฤกษ์อาคาร..รร.วัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ โบราณ ต้อนรับสมเด็จพระราชินีนาถอลิซาเบธ และเชิญราช วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรม อาคันตุกะเสด็จผ่านประตูเมืองโบราณ ขึ้นรถยนต์พระที่นั่ง ตั้งแต่เจดีย์วัดมหาธาตุ หาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรม ผ่านโบราณวัตถุสถานสำ�คัญต่างๆ ราชินีนาถ เสด็จพระราชดำ�เนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง จาก นครศรีธรรมราช พระธาตุไชยา สุราษฎร์ธานี เป็นต้น จากนั้น พระที่นั่งอัมพรสถาน ไปทรงวางศิลาฤกษ์อาคารเรียนโรงเรียน ทรงเสด็จทอดพระเนตรความเป็นอยู่ของคนไทยสมัยโบราณที่ วัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ และทรงยกช่อฟ้าพระอุโบสถ วัดศรีจันทร์ เรือนทวารวดี และได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในสมุดเยี่ยมเมือง ประดิษฐ์ ตำ�บลบางปูใหม่ อำ�เภอเมืองฯ จังหวัดสมุทรปราการ โบราณ ตำ�บลบางปู อำ�เภอเมืองฯ จังหวัดสมุทรปราการ เปิดโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว วันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2516 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ�เนินไปเป็นองค์ประธานใน พิธีเปิดโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตำ�บล บางแก้ว อำ�เภอเมืองฯ จังหวัดสมุทรปราการ
เสด็จผูกพัทธสีมาฝังลูกนิมิตพระอุโบสถวัดมหาวงษ์ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรม หาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ�เนิน โดยรถยนต์พระที่นั่ง จากพระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน ไปในพิธีผูกพัทธสีมาฝังลูก นิมิตพระอุโบสถวัดมหาวงษ์ ตำ�บลปากนำ�้ อำ�เภอเมืองฯ จังหวัด สมุทรปราการ เปิดอาคารเรียน รร.ราชประสมาสัยฯฝ่ายประถม วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็ จ พระราชดำ � เนิ น ไปทรงเปิ ดอาคารเรี ย นแผนกวิ ช าชี พ โรงเรียนราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ฝ่ายประถม
ครบรอบ10 ปี กำ�เนิด รร.ราชประชาสมาสัยฯฝ่ายประถม วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2516 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำ�เนินไปยังโรงเรียนราชประชาสมาสัย ใน พระบรมราชูปถัมภ์ ฝ่ายประถม อำ�เภอพระประแดง ในวาระ 23
และทรงเยี่ยมราษฎรชาวสมุทรปราการ เปิดอาคารเรียน รร.ราชประชาสมาสัยฯ ฝ่ายมัธยม วันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรม หาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ�เนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง จากพระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิตไปทรงเปิด อาคารเรียนฝ่ายมัธยมรัชดาภิเษก โรงเรียนราชประชาสมาสัย ในพระบรมราชานุเคราะห์ ตำ�บลบางจาก อำ�เภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ พร้อมทั้งทรงเสด็จราชดำ�เนินเยี่ยม ครบ 10 ปี แห่งการพระราชทานกำ�เนิดโรงเรียน ในโอกาสนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยมีพระ ลูกเสือชาวบ้านอำ�เภอพระประแดง ซึ่งคอยเฝ้าทูลละอองธุลี พระบาทอยู่ ณ บริเวณโรงเรียนด้วย ราชดำ�รัส ความตอนหนึ่งว่า “ความเจริญของโรงเรียนนี้เกิดขึ้นจากการร่วมแรง ทอดพระเนตรสภาพนำ�้ท่วมบริเวณคลองสำ�โรง ร่วมใจและความเพียรพยายามของหลายฝ่าย ได้แก่คณะ กรรมการจัดโรงเรียน ครูอาจารย์ และเจ้าหน้าที่ทุกชั้นทุกคน วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2526 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรม ตลอดจนข้าราชการพ่อค้าประชาชนทั่วไป แม้จะมีกำ�ลังคน หาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ�เนินโดยเฮลิคอปเตอร์ กำ�ลังช่วยเหลืออุปถัมภ์และกำ�ลังความเพียรอยู่พร้อมเช่นนี้ ก้อ พระที่นั่งไปทรงทอดพระเนตรสภาพนำ�้ท่วมบริเวณศูนย์วิจัย ยังต้องกินเวลานานถึง 10 ปี กว่าจะดำ�เนินงานก้าวหน้ามาตาม ลาดพร้าว บางกะปิ พระโขนง สำ�โรง ซึ่งมีนำ�้ท่วมขังมาเป็น จุดประสงค์ ได้ ทุกคนจึงควรให้ความเข้าใจโดยตระหนักว่า การ เวลาหนึ่งเดือนเศษแล้ว และทอดพระเนตรสภาพลำ�คลองสามทำ�งานสำ�คัญๆ จึงจำ�เป็นที่จะต้องอาศัยความตั้งใจจริง และ เสน คลองลาดพร้าว คลองแสนแสบ คลองตัน คลองพระโขนง ความเพียรยายามอย่างสม่ำ�เสมอ ไม่ย่อท้อ ยิ่งเป็นการอบรมสั่ง คลองสำ�โรง และคลองผดุงกรุงเกษม ในเขตกรุงเทพฯและ สอนเด็ก ที่ต้องกระทำ�ต่อเนื่องกันอย่างไม่ขาดสาย ยิ่งจำ�เป็นที่ สมุทรปราการ เพื่อหาข้อมูลต่างๆ มาพิจารณาบรรเทาปัญหานำ�้ จะต้องรักษาความตั้งใจและความอุตสาหะพากเพียรไว้ ให้มั่นคง ท่วมขังในบริเวณดังกล่าว ที่สุด” เปิดพลับพลารัชมังคลาภิเษก รร.โรงเรียนราชประชาสมาสัยฯ ฝ่ายประถม เจิมเรือหลวงมกุฎราชกุมาร วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2517 เวลา 10.35 น. พระบาทสมเด็จพระ วันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2532 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จราชดำ�เนินไปทรงเจิมและ ภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ�เนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง ไป พระสุหร่ายเรือหลวงมกุฎราชกุมาร ณ ท่าเทียบเรือโรงเรียนนาย ทรงเปิดพลับพลารัชมังคลาภิเษก ณ โรงเรียนราชประชาสมาสั ย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ฝ่ายประถม ตำ�บลบางจาก อำ�เภอ เรือ ตำ�บลปากนำ�้ อำ�เภอเมืองฯ จังหวัดสมุทรปราการ พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เปิดศาลาการเปรียญวัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ เปิดพระบรมราชานุสาวรีย์รัชกาลที่ 5 ที่ป้อมพระจุลฯ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2518 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรม หาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ�เนินไปประกอบพิธีเปิด วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2536 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ศาลาการเปรียญวัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ และทรงเยี่ยมโรงเรียน ภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงเปิดพระบรมราชา วัดศรีจันทร์ประดิษฐ์ ตำ�บลบางปูใหม่ อำ�เภอเมืองฯ จังหวัด นุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ สมุทรปราการ และพระราชทานธงประจำ�รุ่นแก่ลูกเสือชาวบ้าน 5 ที่ป้อมพระจุลจอมเกล้า ตำ�บลแหลมฟ้าผ่า อำ�เภอพระสมุทร เจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ 24
ภูมิพล 1 และ 2 ถือเป็นการเสด็จพระราชดำ�เนินทางชลมารค เสด็จเป็นองค์ธานสถาปนา ม.หัวเฉียวฯ ครั้งแรกในรอบ 4 ปี วันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2537 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรม หาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ�เนินทรงเป็นองค์ประธาน วางศิลาฤกษ์อาคารผู้ โดยสาร..ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในพิ ธี เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ แ ละสถาปนามหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2554 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรม เฉลิมพระเกียรติ ทรงกดปุ่มเปิดแพรคลุมป้ายชื่อมหาวิทยาลัยฯ หาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ�เนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง พระราชทานทุนการศึกษา พระราชทานเข็มที่ระลึกแก่ผู้ก่อตั้ง ไปทรงวางศิลาฤกษ์อาคารผู้ โดยสารและอาคารเทียบเครื่องบิน มหาวิทยาลัยฯ ทอดพระเนตรแปลนแผนผังมหาวิทยาลัยฯ และ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ถนนบางนา – ตราด กิโลเมตรที่ 15 เสด็จพระราชดำ�เนินทอดพระเนตรอาคารต่างๆ ก่อนเสด็จกลับ อำ�เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ เวลา 17.55 น. เสด็จพระราชดำ�เนินถึงพลับพลาพิธี ได้ทรงปลูกต้นโพธิ์อันเป็นต้นไม้สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เพื่อเป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของชาว สถานที่ก่อสร้างท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ อำ�เภอบางพลี จังหวัด สมุทรปราการ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการ บูชาพระพุทธนว มหาวิทยาลัยต่อไป ราชบพิตร มทรงกราบ ประทับพระราชอาสน์ ทรงศีล พระสงฆ์ เสด็จพระราชดำ�เนินทางชลมารค..เปิดประตูระบายนำ�้คลอง ถวายศีล จากนั้นพระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ พลเอก มงคล อัมพรพิสิฎฐ์ ประธานกรรมการ บริษัท ท่าอากาศยาน สากลกรุงเทพแห่งใหม่ จำ�กัด เข้าเฝ้าทูลละอองธุรีพระบาท ทูลเกล้าฯ ถวายของที่ระลึก เสด็จฯเมืองปากนำ�้ครั้งสุดท้าย.. สถานตากอากาศบางปู วันที่ 4 กรกฎาคมพ.ศ. 2556 เวลา 14.18 น. พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ�เนินลงจากชั้น 16 อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช ประทับรถยนต์ พระที่นั่ง เสด็จพระราชดำ�เนินไปยังสถานตากอากาศบางปู เพื่อทรงทอดพระเนตรโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ�ริ ใน การบริหารจัดการทรัพยากรนำ�้ ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ พร้อมทั้งทรงเปลี่ยนพระอริยาบถ ทอดพระเนตรทัศนียภาพ ของสถานตากอากาศบางปู ตำ�บลบางปู อำ�เภอเมืองฯ จังหวัด สมุทรปราการ
ลัดโพธิ์-สะพานภูมิพล 1 และ 2 วันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินทาง ชลมารค เพื่อทรงเปิดประตูระบายนำ�้คลองลัดโพธิ์และสะพาน
จากการเสด็จพระราชดำ�เนินมาปฏิบัติพระราชกรณียกิจในจังหวัดสมุทรปราการ นำ�มาซึ่งความปลื้มปีติของพสกนิกรชาว สมุทรปราการอย่างสูงสุด นอกจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ได้เสด็จฯ เยือนสมุทรปราการแล้ว พระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ยังเสด็จ พระราชดำ�เนินมาประกอบพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ ในจังหวัดสมุทรปราการอย่างต่อเนื่องอีกด้วย..
25
กราบแทบฝ่าพระบาท ส่งเสด็จสู่สวรรคาลัย น้อมรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ และร่วมถวายความอาลัยแด่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
28
29
30
31
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 26 ตุลาคม 2560 ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นวันสำ�คัญยิ่งของประเทศไทย และปวงชนชาวไทย ที่ประวัติศาสตร์ไทย และประวัติศาสตร์โลกต้องจารึก ด้วยพสกนิกรจากทั่วทุกสารทิ ศ ร่ ว มงานพระราชพิ ธ ี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู ม ิ พ ลอดุ ล ยเดช มหาราช ผู้เป็นที่รักยิ่งของชาวไทย
32
33
ขณะเดียวกัน ประชาชนตามต่างจังหวัด รวมถึงต่างประเทศทั่วโลก ก็ได้เดินทางไปยังสถานที่ที่จัดเตรียมไว้ เพื่อร่วมวางดอกไม้ จันทน์ถวายความอาลัยแด่พระองค์อย่างสมพระเกียรติสูงสุด และเพื่อน้อมสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่หาที่สุดมิได้ โดยไม่มี อุปสรรคใด ๆ ที่สามารถขัดวางความรัก ความจงรักภักดีของพสกนิกรไทย ภายใต้ร่มพระบรมโพธิสมภารของในหลวง รัชกาลที่ 9 พระ ผู้เสด็จสู่สวรรคาลัย พระผู้สถิตอยู่ในดวงใจไทยตราบนิรันดร์ได้
34
35
36
ด้ ว ยสำ � นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ ค ุ ณ เป็ น ล้ น พ้ น อั น หาที ่ ส ุ ด มิ ไ ด้ ต่ อ พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู ม ิ พ ลอดุ ล ยเดช มหาราชของไทย พระมหากษั ต ริ ย ์ ผ ู ้ ย ิ ่ งใหญ่ ในใจคนทั ่ ว โลก และนี ่ ค ื อ ภาพประวั ต ิ ศ าสตร์ เมื ่ อ ชาว จ.สมุ ท รปราการ ร่ ว มถวายดอกไม้ จ ั น ทน์ เ พื ่ อ ถวายความอาลั ย ในหลวง รั ช กาลที ่ 9 ณ พระเมรุ ม าศจำ � ลองก่ อ นอั ญ เชิ ญ พระโกศ และถุ ง บรรจุ เ ถ้ า ดอกไม้ จ ั น ทน์ ล อย ณ ปากอ่ า วไทย
37
“นมัสการองค์พระสมุทรเจดีย์” ประเพณีสืบทอดนับร้อยปี ของชาวสมุทรปราการ
42
43
44
ชาวบ้านร่วมแห่ผ้าแดงสู่องค์เจดีย์
พระสมุ ท รเจดี ย์ เ ป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องจั ง หวั ด สมุทรปราการ มักถูกเรียกว่า “พระเจดีย์กลางนำ�้” เพราะ เดิมตั้งอยู่บนเกาะที่มีนำ�้ล้อมรอบ ต่อมาชายตลิ่งฝั่งขวาของ แม่นำ�้ตื้นเขินมากขึ้นเรื่อยๆ จนเชื่อมติแผ่นดินกับเกาะที่ตั้ง ของพระเจดีย์ มีผู้คนนิยมมาเคารพสักการะบูชา
45
46
นำ�ผ้าแดงขึ้นสู่องค์พระสมุทรเจดีย์
ตามประวั ติ พ ระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลัย รัชกาลที่ 2 โปรดเกล้าฯให้สร้างเมืองสมุทรปราการ ขึ้นตำ�บลปากนำ�้ และทรงสร้างพระมหาเจดีย์ขึ้นที่เกาะกลาง นำ�้แล้วพระราชทานนามว่า “พระสมุทรเจดีย์” การสร้างยัง มิทันเสร็จได้เสด็จสวรรคตเสียก่อน พระสมุทรเจดีย์ ได้สร้าง ต่อจนสำ�เร็จในรัชสมัยรัชกาลที่ 3
47
48
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง มีพระราชประสงค์จะสถาปนาให้สูงขึ้นไปอีก ให้นายช่าง จัดการสร้างพระเจดีย์แบบลอมฟางแบบที่ที่กรุงศรีอยุธยา ครอบพระเจดีย์เดิม นอกจากนี้ยังทรงสร้างศาลาเก๋งจีน หอ เทียน หอระฆัง พระวิหาร และพระพุทธรูป ปางห้ามสมุทร พร้อมหลักผูกเรือริมนำ�้รอบองค์พระสมุทรเจดีย์ และได้ อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ 12 องค์ จากพระบรมมหาราช วัง องค์พระเจดีย์สูงจากฐานจนถึงยอด 27.75 เมตร มี กำ�แพงแก้วสองศอกคืบล้อมรอบองค์พระเจดีย์ มีศาลาทั้งสี่ ทิศ ก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2371 กระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงปฏิสังขรณ์พระ สมุทรเจดีย์ ให้สูงขึ้นตามแบบอยุธยา พระสมุทรเจดีย์อยู่ ในความดูแลของวัดพระสมุทร เจดีย์ ทุกๆ ปี ในวันแรม 5 ค่ำ� เดือน 11 จะมีงานใหญ่ก็คือ งานนมัสการองค์พระสมุทรเจดีย์ประจำ�ปี ที่มีพิธีนำ�ขบวน แห่ผ้าแดงเพื่อนำ�ไปห่มองค์พระสมุทรเจดีย์ เป็นประเพณี สำ�คัญในทุกๆ ปีของชาวสมุทรปราการ ทั้งนี้ผ้าแดงที่ปรากฏอยู่บนรอบคอระฆังองค์พระ เจดีย์ ตรงปากแม่นำ�้เจ้าพระยา ซึ่งเป็นเส้นทางเข้าออก ประเทศสยาม ยังเป็นสัญลักษณ์แห่งความงดงาม เป็นสี แห่งความเป็นชาติ และสีแห่งความเป็นมงคลของชาวไทย เชื้อสายจีนอีกด้วย ขอบคุณภาพถ่ายโดย คุณโต้ กิติคุณ วิวัฒนธนกิจ 49
สุนัขว่ายนำ�้ดีอย่างไร!? “ว่ายนำ�้” เป็นการออกกำ�ลังกายที่นิยมมากอีกชนิดหนึ่งของมนุษย์ และ สัตว์อย่างสุนัขเนื่องจากสามารถช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้กับร่างกาย ช่วยเสริมสุขภาพที่ดี อีกทั้งยังช่วยผ่อนคลายความเครียดให้สุนัขได้อีก ด้วย... ประโยชน์จากการว่ายนำ�้ของสุนัข 1. การออกกำ�ลังกายที่มีแรงกระแทกต่ำ� การว่ายนำ�้เป็นการ ออกกำ�ลังกายที่ช่วยกระตุ้นหัวใจ แต่ไม่ส่งผลต่อกระดูก ข้อต่อ และ กล้ามเนื้อของสุนัขของท่าน ซึ่งต่างจากการวิ่ง หรือกิจกรรมที่มุ่งเน้น ความแข็งแรง และความเร็ว สุนัขที่ป่วยเป็นไขข้ออักเสบ หรือ ข้อเสื่อม ก็สามารถว่ายได้ จะช่วยให้อาการอักเสบของไขข้อนั้นดีขึ้น 2. เสริมสร้างกล้ามเนื้อหัวใจ บริหารหัวใจ แม้ว่าการว่ายนำ�้จะ เป็นการออกกำ�ลังกายที่มีแรงกระแทกต่ำ� แต่กลับได้ผลลัพธ์ที่คุ้มค่ามาก เพราะการออกกำ�ลังกายในนำ�้ ที่ต้องใช้แรงต้านระดับปานกลางก็สามารถ ช่วยเสริมสร้างกล้ามเนื้อของสุนัขได้ อีกทั้งยังช่วยในเรื่องความสมดุล และสุขภาพกระดูกของสุนัข ทำ�ให้ร่างกายของสุนัขแข็งแรง และอายุยืน
การบำ�บัดสุนัขด้วยการว่ายนำ�้ ธาราบำ � บั ด เป็ น ศาสตร์ อ ย่ า งหนึ่ ง ในการรั ก ษาโรคในกลุ่ ม เวชศาสตร์ฟื้นฟู โดยใช้นำ�้ช่วยในการพยุงตัว ส่งผลต่อกระดูก กล้าม เนื้อ และข้อต่อการเคลื่อนไหวได้เต็มที่ อย่างอิสระ และสม่ำ�เสมอ ทั้ง ยังช่วยบีบกล้ามเนื้อ เป็นการออกกำ�ลังกายโดยไม่เจ็บปวด เพิ่มการไหล เวียนเลือด และลดการบวมของเนื้อเยื่อ โรคหรือความผิดปกติที่สามารถรักษาได้ด้วยธาราบำ�บัด ได้แก่ การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ หรือการฟกช้ำ�ของกล้ามเนื้อหลังการผ่าตัด โรคหมอนรองกระดูกเคลื่อน กระดูกสันหลังหัก เคลื่อน หรือ เสื่อม และ ได้รับการผ่าตัดแก้ไขแล้ว โรคข้อกระดูกสะโพกผิดปกติ หรือ ข้อสะโพก เสื่อม การอักเสบของเส้นเอ็นกล้ามเนื้อ และข้อต่อ เป็นต้น ในสัตว์เลี้ยงปกติการว่ายนำ�้การว่ายนำ�้สม่ำ�เสมอเป็นการออก กำ�ลังกายทางหนึ่ง ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง และลดโอกาสการเกิดความ ผิดปกติของโครงสร้างร่างกายได้ดีกว่าการออกกำ�ลังกายด้วยวิธีอื่น การทำ�ธาราบำ�บัดต้องอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของผู้เชี่ยวชาญ โดยมี สัตวแพทย์เป็นผู้ให้คำ�แนะนำ�อย่างใกล้ชิด การนำ�สุนัขลงว่ายนำ�้ ก่อนการว่ายนำ�้จะมีการพาสุนัขเดินเล่นเพื่อผ่อนคลาย และ ขับถ่ายให้เรียบร้อยจากนั้นจะนำ�สุนัขอาบนำ�้ชำ�ระร่างกาย และขนให้สะอาด สวมเสื้อชูชีพให้เรียบร้อย แล้วพาสุนัขลงสระ โดยจะใช้เวลาว่ายนำ�้ครั้ง ละ 4-5 นาที จากนั้นพักเป็นเวลา 2-5 นาที โดยทำ�ซ้ำ�เช่นนั้น 3-4 ครั้ง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของสุนัข หลังจากว่ายนำ�้เสร็จก็จะพาสุนัขอา บนำ�้ชำ�ระร่างกายอีกครั้ง ข้อควรระวังของสุนัขในการลงว่ายนำ�้ 1. สุนัขต้องไม่เป็นโรคผิวหนัง หรือมีพยาธิภายนอก เช่น ภูมิแพ้, เห็บ, หมัด, ไรขี้เรื้อน เป็นต้น 2. สุนัขที่มีความเสี่ยงสูงต่อการออกกำ�ลังกาย เช่น โรคหัวใจ, โรคลมชัก ควรรับคำ�ปรึกษาจากสัตวแพทย์ก่อนพาสุนัขลงว่ายนำ�้ 3. สุนัขต้องไม่อยู่ระหว่างตั้งท้อง หรือติดสัด 4. ไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรง กรณีต่างๆ ที่แนะนำ�ให้ว่ายนำ�้ เพื่อฟื้นฟูการเดินภายหลังการผ่าตัดกระดูก พบว่าภายหลังการ ผ่าตัดบางครั้งสุนัขจะมีอาการเจ็บปวดขาที่ผ่าตัด ไม่ยอมลุกเดินจนส่งผล ให้มีการยึดของข้อต่อที่ไม่ได้ใช้งาน การว่ายนำ�้จะช่วยให้ขาสุนัขที่ผ่าตัดได้ มีการเคลื่อนไหวในนำ�้ โดยไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวด ลดโอกาสการยึดข้อ ต่อตามมา
3. รักษาสุขภาพปอด เมื่อปอดแข็งแรง ร่างกายของสุนัข ก็สามารถรับ และระบายออกซิเจนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่ง หมายความว่าสุนัขจะไม่หายใจหอบ หรือ ติดขัด นอกจากนี้ปอดที่แข็งแรง ยังช่วยขจัดโรคภัยออกไปได้ด้วย 4. นำ�้ช่วยในการผ่อนคลาย นำ�้เป็นสัญลักษณ์ของการฟื้นฟู ซึ่งมีผลวิจัยรองรับด้วยการศึกษาชี้ว่าการอยู่ใกล้กับธาตุนำ�้นั้นมีอิทธิพล ต่อสมอง ช่วยให้สมองได้รับการพักผ่อนจากการถูกกระตุ้นมากเกินไป ของสุนัข ข้อดีที่สุดคือกระบวนการรับรู้ของสุนัขจะได้รับประโยชน์จาก การว่ายนำ�้ และออกกำ�ลังกายไปพร้อมกัน 50
: petopia-th www.petopia-th.com
SWEET BREW CAFE
คาเฟ่ของคนรักสุนัข บนพื้นที่ PETOPIA ในบรรยากาศที่สบายตา โดยรอบเป็นกระจก สามารถมองเห็นบรรยากาศทั้งภายใน-ภายนอกได้เป็นอย่าง ดี และยังสามารถ มองเห็นกิจกรรมของสัตว์เลี้ยงแสนรักได้อย่างรอบด้าน
ผมอาจไม่ได้เกิดที่นี่ แต่ทุกวันนี้ ก็เหมือนเป็นสมุทรปราการไปแล้ว… คุณอริญชย์วิทย์ ยุกตะนันทน์
กรรมการบริหาร บริษัท ยิ่งเจริญบางพลี จำ�กัด
“คุณหน่อง” คุณอริญชย์วิทย์ ยุกตะนันทน์
กรรมการบริหาร บริษัท ยิ่งเจริญบางพลี จำ�กัด
ผู้นำ�เยส บางพลี สู่ตลาดใหญ่เพื่อชุมชน ผมเป็นคนกรุงเทพฯ ที่ทำ�งานต่างจังหวัด ก่อนจะมาอยู่ที่บางพลี ผมต้องกราบขอบคุณผู้ใหญ่หลายท่านมาก อย่าง พี่ จวบ (ประจวบ ลีลาภัทรากร) อดีตนายกเทศมนตรีบางเสาธง ที่เสียไปแล้ว ท่านมีความสนิทสนมกับครอบครัวผม ให้ความดูแล อย่างดีในช่วงที่มาอยู่ใหม่ๆ กระทั้งทุกวันนี้กับ พี่นอม (ประนอม แซ่ลี้) นายกเทศมนตรีตำ�บลบางเสาธง ที่เราช่วยเหลือกันอย่างดี มาตลอด เช่นกันกับ นายกยงยุทธ (ยงยุทธ สุวรรณบุตร นายกเทศมนตรีตำ�บลแพรกษา) ที่พร้อมช่วยเหลือกัน รวมถึงคนใน พื้นที่ตรงนี้ที่มีไมตรีดีๆ ให้กับผมทั้งหมด ผมอาจไม่ได้เกิดที่นี่ แต่ทุกวันนี้ก็เหมือนกับคนที่สมุทรปราการไปแล้ว … คุณอริญชย์วิทย์ ยุกตะนันทน์ ในฐานะกรรมการบริหาร บริษัท ยิ่งเจริญบางพลี จำ�กัด กับการเข้ามาบริหารงานที่ Yes บางพลี - ผมเติบโตขึ้นมากับศูนย์การค้า หลังจบจากอังกฤษได้ โอกาสมาทำ�หน้าที่การตลาดที่พันทิปพลาซ่า จากนั้นได้ โอกาส มาทำ�งานที่เดอะมอลล์ กว่า 17-18 ปี ที่นี่คือโรงเรียนชั้นดีที่ คอยเปลี่ยนบทบาทการทำ�งาน ช่วยให้ผมมีประสบการณ์ และรู้ กระบวนการทุกอย่างตั้งแต่เริ่มต้นจนสินค้าถึงมือลูกค้า แนวคิด ของผมคือตลาดชุมชน เพราะวิถีชีวิตเรียบง่ายเน้นสะดวกสบายเป็น หลัก เราอาศัยแนวคิดนี้ ในการทำ�ที่ Yes บางพลี
ซึ่งเดิมทีพื้นที่ตรงนี้เป็นของการเคหะฯ ซึ่งเจ้าของเดิม ชื่อคุณยุทธ แกเช่าพื้นที่ทำ�พลาซ่าขึ้นมา แต่ตลอดระยะเวลา 5 ปี มันไม่ประสบความสำ�เร็จ เลยขายต่อให้กับกลุ่มตลาดยิ่งเจริญ คุณ ปริญญา ธรรมวัฒนะ ในที่สุด แต่ระยะเวลา 3 ปี ที่เข้ามามีการปรับ เปลี่ยน รีโนเวทใหม่ แต่มันยังไม่ดีขึ้น จนคุณปริญญา ได้มาปรึกษา กับผมให้เขามาช่วยดูให้ ซึ่งเราก็ดูแลศูนย์การค้าเอสเค ปาร์ค อุบลราชธานี อยู่ เราก็ตกลงมาเป็นหุ้นส่วนกัน ผมมีแนวคิดอย่างคือก่อนจะทำ�อะไรเราต้องรู้สิ่งนั้นอย่าง จริงจัง แรกเริ่มเลย คือผมมานอนที่นี่ มาใช้ชีวิตดูว่าวิถีชีวิตรอบๆ
54
ว่าเป็นอย่างไร ให้เห็นภาพรวม ทำ�ให้การทำ�งานในปีที่ 4 ซึ่งเป็นปี แรกที่ผมเข้ามาทำ� มันเหมือนจะไปถูกทาง เรามีการรีโนเวทอะไรที่ เรามองว่าไม่ ใช่ออกไป แม้คุณปริญญาจะเพิ่งลงมือรีโนเวทไปกว่า 100 ล้านบาทก็ตาม ซึ่งผมมีหลักคิดแบบนักธุรกิจ เมื่อขาดทุนไป ถึงจุดหนึ่งแล้ว หากทนต่อไปสุดท้ายธุรกิจจะไปไม่รอด มันต้องหยุด แล้วเริ่มต้นใหม่ เหมือนๆ กับศูนย์การค้าทั่วๆ ไป ที่ทุกๆ 4-5 ปีจะ มีการรีโนเวทใหม่ ซึ่งลักษณะที่นี่ก็คล้ายกัน จากที่ขาดทุนก็เริ่มมามี กำ�ไรบ้าง คือคนส่วนใหญ่มักเข้าใจผิดว่า เราทำ�ตลาด เราต้องเอา ตลาดวางไว้ข้างถนน หากคุณเคยผ่านมาเมื่อก่อนนี้ รอบๆ Yes บางพลี มันไม่มีอะไร แต่ข้างในเราเริ่มโต เพราะเราเอาห้างร้านที่ รื้อทิ้ง แล้วเอาตลาดนัดไปใส่ไว้ข้างใน จนเติบโตอย่างทุกวันนี้ และ โชคดีของผมคือตลาดเรามีหลังคา ทุกหน้าฝนมันกลายเป็นเรื่องที่ดี กลุ่มเปิดท้ายที่ค้าขายไม่ได้ จะเข้ามาหาเรา ซึ่งเรามีบริการต่างๆ ที่ ดี สถานที่สะอาด พอมาอยู่แล้วมันก็ติด กลายเป็นขายประจำ�กันที่นี่ มันเป็นจุดแข็งที่ทำ�ให้เราเติบโตขึ้น ทุกวันนี้มันดีขึ้นมาก แต่ก็ต้อง ปรับอีกเยอะ ปัจจุบันด้วยสภาพเศรษฐกิจ และสังคมที่เปลี่ยนไป Yes บางพลี มีการปรับนโยบายอย่างไรเพื่อก้าวตามสังคมยุคใหม่ - เราไม่เคยปรับค่าเช่า ตั้งแต่วันแรกที่ผมมาบริหารจน ปัจจุบัน ผมกล้ายืนยันว่าที่ Yes บางพลี เราค่าเช่าถูกมาก อีกอย่าง ที่เราเห็นได้ชัดว่าวิถีของคนทำ�งานที่ส่วนใหญ่อยู่ตามอพาร์ตเมนท์ ทุกวันนี้ ไม่ทำ�กับข้าว นั่นก็ทำ�ให้ธุรกิจร้านอาหารในพื้นที่เราเติบโต ขึ้นเรื่อยๆ แม้เราจะไม่โดนผลกระทบตามภาวะเศรษฐกิจ แต่เรา ยังต้องปรับตัวตาม เช่นในเรื่องความสะอาดของสถานที่, ห้องสุขา ต่างๆ อีกอย่างคือเราต้องมีที่จอดรถให้ลูกค้าอย่างเพียงพอ นั่นคือ กลไกสำ�คัญที่ช่วยดึงคนเข้ามาสู่ Yes บางพลี
ทำ�โซนนิ่งร้านค้าให้เป็นหมวดหมู่ และเรามีการเปิดโซนคลองถม เพิ่มเติมด้วย เช่นกันกับพื้นที่ด้านหน้าห้างเราจะทำ�ให้เป็นพื้นที่ ให้ ตอบโจทย์กลุ่มวัยรุ่นมากขึ้น แตกต่างจากด้านหลังห้างจะเป็นพวก Street Food แน่นอนว่าหัวใจสำ�คัญของเราคือความสะดวกสบาย ของลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการ เราคงไม่ไปแข่งกับบิ๊กซี โลตัส แต่เรามีสิ่งหนึ่งที่จะกลาย เป็นจุดแข็งของเรา ในอนาคตคือ ALL D ที่เป็นซูเปอร์มาร์เก็ต จำ�หน่ายสินค้าราคาถูกกว่าท้องตลาดมาก มันช่วยตอบโจทย์กลุ่ม ลูกค้าได้ว่าทำ�ไมเราต้องใช้ของแพง ในเมื่อสินค้าที่นี่ราคาถูก ซึ่ง สาขาที่ yes บางพลี เป็นที่แรก และอีกสิ่งที่ต้องพยายามผลักดันให้ ได้ ในอนาคต คือเรา อยากเปลี่ยนพื้นที่บ่อนำ�้ของเคหะฯ เป็นตลาดนำ�้บางเสาธง โดยนำ� สินค้าพื้นเมือง สินค้าโอท็อป มาขาย กลุ่มลูกค้าที่ผมมองไว้คือพวก ทัวร์ ด้วยว่าเราอยู่ ใกล้สนามบินสุวรรณภูมิ ทัวร์สามารถมาดร็อป ช็อปปิ้ง ทานข้าว ก่อนเข้าสนามบินได้ ซึ่งหากสำ�เร็จมันช่วยสร้าง รายได้ ให้กับสังคมได้อีกมาก Yes บางพลี กับแนวคิดการสร้างสรรค์สังคม และชุมชน - ผมมี ค วามสนิ ท สนมกั บ ท่ า นนายกเทศมนตรี ตำ � บล บางเสาธง (ประนอม แซ่ลี้) เรามีการทำ�กิจกรรมร่วมกันกับเทศบาล อย่างสม่ำ�เสมอ อีกทั้ง yes บางพลี ยังเปิดพื้นที่ฟรี สำ�หรับหน่วย งานราชการที่สนใจมาจัดประชาสัมพันธ์ต่างๆ ด้วย ผมพยายามหาโอกาสช่วยสังคม ก็ ได้มีโอกาสคุยกับ พี่ นอม (ประนอม แซ่ลี้) ว่าพื้นที่ตรงไหนที่ยังเสื่อมโทรม เราก็จะหา วิธีการเข้าไปทำ�ให้มันดีขึ้น เพื่อปิดจุดบอดในสังคม คือไม่ ใช่จำ�เป็น ว่าจะต้องที่ yes บางพลี ไม่ว่าคุณจะไปอยู่พื้นที่ ไหนในชุมชน มัน ต้องดีหมด ซึ่งตรงนี้จะช่วยให้สังคมโดยรอบเราเจริญขึ้น
ทิศทาง และแนวโน้ม Yes บางพลี ในอนาคต - ทุกวันนี้ yes บางพลี มันเป็นไปในทิศทางที่เราคาดหวัง เพียง 60% เรามีการประสานงานกับการเคหะ ที่เราอยากจะเช่า พื้นที่เพิ่มเติมอีก 10 กว่าไร่ เพื่อรองรับพื้นที่ลานจอดรถ รวมถึงการ
55
56
“ตลาดโบราณบางพลี”
ชุมชนคนตลาดแห่งนี้ มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย และมีวัฒนธรรมที่ดีงามสั่งสมอยู่ มากมาย หนึ่งในวิถีนั้นคือ ประเพณีรับบัว หรือโยนบัว ที่พอถึงวันขึ้น 14 ค่ำ� เดือน 11 ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในละแวกชุมชนตลาดนำ�้ ก็จะตื่นเช้าออกมาร่วมกันโยนบัว เพื่อ สักการะองค์หลวงพ่อโตที่ล่องเรือมาตามลำ�คลองสำ�โรง 57
ปฏิเสธไม่ ได้เลยว่าปัจจุบันจังหวัดสมุทรปราการ ถูก ความเจริญเข้ามาเปลี่ยนให้วิถีชีวิตผู้คนให้เป็นไปอย่างรีบเร่ง แข่งกับเวลา จนแทบไม่แตกต่างจากกรุงเทพมหานคร แต่ ใน ขณะที่ทุกสิ่งทุกอย่างเร่งรีบไปอย่างไม่หยุดยั้งนั้น ยังมีมุมเล็กๆ ริมฝั่งคลองสำ�โรง ที่กาลเวลายังแทบจะไม่หมุนไปไหน ผู้คนใน พื้นที่ต่างยังคงวิถีแบบชุมชนริมนำ�้ดั้งเดิม ความเรียบง่าย ที่คง ไว้อยู่อย่างครบถ้วนนั้นเป็นเสน่ห์ ให้ “ตลาดโบราณบางพลี” แห่ง นี้ยังคงมีแขกแวะเวียนมาเยือนอย่างไม่ขาดสาย “ตลาดโบราณบางพลี” มีพื้นที่ติดกับ วัดบางพลีใหญ่ ใน ปัจจุบัน ยังคงรักษารูปทรงทางสถาปัตยกรรมแบบเรือนโบราณ ลักษณะเป็นห้องแถวไม้ โบราณ 2 ชั้น ปลูกติดต่อกันเป็นความ ยาวกว่า 500 เมตร มีเก้าอี้ไม้ ให้ ได้นั่งรับลมเย็นๆ ริมตลิ่งคลอง สำ�โรง และอย่างที่บอกวิถีชีวิตของชุมชนชาวตลาดที่ยังคง กลมกลืนกับสายนำ�้ เฉกเช่นเมื่อครั้งอดีตกาล เดิมนั้นตลาดแห่งนี้ชื่อ “ศิริโสภณ” สันนิษฐานกันว่า ได้มีชาวจีนเข้ามาเปิดร้านในตลาดนี้ราว พ.ศ.2400 เป็นตลาด โบราณริมคลองสำ�โรงเพียงแห่งเดียว ที่รอดพ้นจากไฟไหม้ และ ยังคงสภาพเดิมเหมือนแรกสร้าง มีความรุ่งเรืองมากในอดีต เป็นตลาดขนส่งสินค้า และผู้ โดยสาร จากภาคตะวันออกชายฝั่ง ทะเลสู่กรุงเทพฯ นั่นเพราะการเดินทางในสมัยก่อน ใช้เรือเป็น พาหนะเดินทางโดยการแจว พาย และแล่นใบเดินทางมาค้าขาย แลกเปลี่ยนสินค้าจะอยู่ ในคลองสำ�โรง ปัจจุบันตลาดโบราณแห่งนี้ ยังได้รับความนิยมจาก ผู้คนแวะเวียนมาเยือนอย่างไม่ขาดสาย โดยเฉพาะวันหยุด สุดสัปดาห์ หรือวันพระใหญ่ บรรยากาศการจับจ่ายซื้อขายยัง คึกคัก เต็มไปด้วย สินค้าที่หลากหลาย อาทิ เครื่องครัว อุปกรณ์ การเกษตร ของใช้เบ็ดเตล็ด ก๋วยเตี๋ยวสูตรโบราณ ขนมหวาน ต้นตำ�รับ ฯลฯ ที่ล้วนมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว 58
นอกจากนั้นบริเวณกลางตลาดยังมีนิทรรศการ “ภาพ เก่าเล่าเรื่อง” โดยการจัดสร้างของชาวชุมชนบางพลี ซึ่งจัด แสดงภาพถ่ายสมัยเก่าเมื่อเริ่มแรกตั้งตลาด พร้อมกับเล่า ประวัติความเป็นมา และวัฒนธรรมสำ�คัญไว้อย่างน่าสนใจ ชุมชนคนตลาดแห่งนี้ มีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย และมี วัฒนธรรมที่ดีงามสั่งสมอยู่มากมาย หนึ่งในวิถีนั้นคือ ประเพณี รับบัว หรือโยนบัว ที่พอถึงวันขึ้น 14 ค่ำ� เดือน 11 ชาวบ้านที่ อาศัยอยู่ ในละแวกชุมชนตลาดนำ�้ ก็จะตื่นเช้าออกมาร่วมกัน โยนบัว เพื่อสักการะองค์หลวงพ่อโตที่ล่องเรือมาตามลำ�คลอง สำ�โรง เสน่ห์อีกอย่างหนึ่งของตลาด แห่งนี้ คือเรือชักข้าม คลองสำ�โรง ที่ตั้งอยู่บริเวณท้ายตลาด เนื่องด้วยบริเวณตลาด ไม่มีสะพานข้าม ชาวบ้านจึงนำ�เรือ 2 ลำ�มาต่อกันเป็นสะพานเรือ เพื่อใช้ข้ามคลองไปยังฝั่งตรงข้าม โดยคิดค่าบริการเพียงครั้งละ 1 บาทเท่านั้น ซึ่งถ้าใครอยากจะ ทดลองข้ามดูสักรอบสองรอบก็ เพลิดเพลินดีไม่น้อย นับว่าเป็นตลาดไม้เก่าแก่ริมคลองที่อยู่คู่กับชาวบางพลี มา ช้านาน เปรียบเสมือนสถานที่บันทึกเรื่องราวสำ�คัญในวัน วาน อันเต็มเปี่ยมไปด้วยเสน่ห์เฉพาะตัว ที่หาดูหาชมได้ยากใน ปัจจุบัน ที่ตั้ง: ตลาดโบราณบางพลี ถนนสุขาภิบาล 3 ตำ�บลบางพลีใหญ่ อำ�เภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ ติดต่อ: เทศบาลตำ�บลบางพลี โทร. 0-2337-3086, 0-2751-2494 ต่อ 15 การเดินทาง: จากกรุงเทพ ฯ มุ่งหน้าสู่จังหวัดสมุทรปราการ ใช้ถนนสุขุมวิท เลี้ยวซ้าย ที่สี่แยกบางนา จากนั้นใช้ถนนบางนาตราด ขับตรงไปประมาณ 12 กิโลเมตร กลับรถ เพื่อตัดเข้าถนนกิ่งแก้ว – บางพลี (ประมาณ 2 กิโลเมตร) เลี้ยวซ้าย ถึงวัดบางพลีใหญ่ ใน เดินเท้าอีกนิดไปที่ท้ายวัดจะถึงตัวตลาดนำ�้ โบราณบางพลี นักท่องเที่ยวสามารถนำ� รถไปจอดได้ที่ วัดบางพลีใหญ่ ใน และบิ๊กซีบางพลี ช่วงเวลาท่องเที่ยว: ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.00-16.00 น.
59
60
หมายเหตุปากนำ�้ ๑๙-พลาดิศัย สิทธิธัญกิจ
เทวรูปศักดิสิทธิ์”พญาแสนตา-พญาบาทสังกร” กรุงครั้งแรกเมื่อพ.ศ.๒๑๑๒ เมื่อถอยทัพกลับไปเมืองละแวก นั้นได้อัญเชิญเทวรูป สององค์นี้ ไปด้วย เทวรูปสององค์นี้ กล่าวกันว่า เป็นเทวรูปศักดิ์สิทธิ์นัก ซึ่งคนรุ่นเก่าในสมัยนั้น นับถือยกย่องมาก จึงมีคำ�ยกย่องเรียกขานเป็นภาษาเขมรซึ่ง ถือเป็นคำ�ศักดิ์สิทธิ์ว่า “กัมรเตง (กุมฤาแดง)” แล้วชื่อ” กัมร เตง”นี้แหละเมื่อถูกเรียกบ่อยครั้งเข้าในไม่ช้าก็เพี้ยนเสียงมา เป็นชื่อ “พระประแดงหรือ บาแดง อันตรงกับความหมายว่า ท่าเรือ ด้วย’ สมเด็จเจ้าฟ้า กรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ ทรงมี สาส์นไปถึงสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ�รงราชา นุภาพ (สาส์นสมเด็จ ลงวันที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ.๒๔๘๐) ซึ่ง ทรงอธิบายคำ�ว่า “ กุมฤาแดงแต่นั้นมา ”และมีความตอนหนึ่ง ว่า “ ที่ใต้ปากคลองเตยลงไปหน่อยเดียวมีวัดหน้าพระธาตุ มี ศาลเจ้าพระประแดง และเจ๊กทำ�ไร่ที่หน้าบ้านขุดได้ทวนเล่ม หนึ่ง เกล้ากระหม่อมได้ซื้อไว้ แปลกกว่าทวนสามัญที่เขาเซาะ คมมีลักษณะดุจตีนกา ถ้าดูตัดขวางจะเป็นดังนี้ .ประโยชน์จะ ใช้ ได้อย่างทวนสามัญ แต่จะเบากว่าเท่านั้น จะเป็นของใครครั้ง ไหนสุดคาด แต่เข้าใจว่าน่าจะได้เป็นสนามรบกันที่นั่น ทั้งสาม สิ่งที่กราบทูลมาแล้วนี้ ทำ�ให้คิดว่าเมืองพระประแดงเดิมอยู่ที่ คลองเตย ไม่ ใช้ที่ปากลัด ที่วัดและศาลเกล้ากระหม่อมก็เคยไป เห็น ” ดังนั้นสรุปได้ว่าเมืองพระประแดงเดิมที่ตั้งขึ้นในอดีตนั้น ก็คือบริเวณคลองเตยที่เป็นท่าเรือกรุงเทพในปัจจุบันนั่นเอง
เมืองพระประแดง เดิมตั้งอยู่ริมแม่นำ�้พระประแดง ฝั่งซ้าย คือ ฝั่งตะวันออกแถวศาลพระประแดงหรือบรืเวณ คลองเตย ที่ปัจจุบันเป็นท่าเรืออยู่ทุกวันนี้ เมืองนี้เป็นเมือง ที่เคยตั้งอยู่ปากนำ�้มาตั้งแต่ครั้งขอมเป็นใหญ่ จึงมีการก่อ กำ�แพงเมืองเป็นหลักฐาน เพิ่งมารื้อออกเสียเมื่อเกิดแผ่นดิน งอกใหม่ จนทำ�ให้อ่าวไทยหรือทะเลถอยห่างออกไปทุกที ครั้น เมื่อมีการตั้งเมืองปากนำ�้ที่ตำ�บลบางเจ้าพระยาขึ้นในสมัยพระ นารายณ์นั้นได้ เรียก เมืองว่า เมืองปากนำ�้บางเจ้าพระยา ส่วน เมืองพระประแดงนั้นก็คงเป็นเมืองอยู่ระหว่างเมืองปากนำ�้บาง เจ้าพระยากับเมืองธนบุรีศรีสมุทร โดยเรียกแม่นำ�้ตรงที่ตั้ง เมืองนั้นว่า ปากแม่นำ�้บางเจ้าพระยา พอนานเข้าก็เรียกกร่อน เป็น แม่นำ�้เจ้าพระยา ที่ถูกนำ�ไปเรียก แม่นำ�้นั้นทั้งสายในเวลา ต่อมา ชื่อเจ้าพระยา ที่ถูกนำ�มาเรียกชื่อแม่นำ�้เจ้าพระยา นั้น น่าจะมีเหตุมาจากเทวรูปสององค์ ที่สร้างเป็นศิลปขอม แบบ เมืองละโว้หรือลพบุรี อันเป็นสิ่งศักดิ์ที่เกิดขึ้นในบริเวณนี้ กล่าวคือคำ�ว่า”เจ้า”นั้นหมายถึง เทวรูป ศิลปะขอมที่สร้างโดย เจ้าหรือวรมัน ส่วนคำ�ว่า” พระยา”นั้นหมายถึง พญาแสนตา และพญาบาทสังฆกร เทวรูปศิลปขอมที่ขุดพบในคลองสำ�โรง ระหว่าง พ.ศ. ๒๐๓๔-๒๐๗๒ ซึ่งอัญเชิญมาประดิษฐานโดยสร้าง ศาลไว้ ให้เป็นที่เคารพนับถือโดยทั่วไป ต่อมา พระยาละแวกได้ยกทัพมาตีอยุธยา หลังจากเสีย 61
รถไฟสายปากนำ�้ จังหวัดสมุทรปราการ ถือเป็นเมืองหน้าด่านที่มีประวัติ มาอย่างยาวนาน นับแต่สมัยลพบุรี สมัยสุโขทัย สมัยกรุง ศรีอยุธยา สมัยธนบุรี จนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ปัจจุบัน มีแหล่ง โบราณคดีสำ�คัญ คือ ป้อมปราการสำ�คัญที่บันทึกเรื่องราวแห่ง ประวัติศาสตร์ที่ยังคงความสมบูรณ์ และหลงเหลืออยู่เพียงไม่กี่ แห่ง ที่เป็นปูชนียสถานสำ�คัญคู่เมืองสมุทรปราการ รวมทั้ง ยัง เป็นจุดเริ่มต้นการคมนาคมทางรถไฟแห่งแรกของไทย เส้นทาง สายแรกคือ ปากนำ�้ – หัวลำ�โพง ทางรถไฟสายปากนำ�้ ถือเป็นก้าวสำ�คัญที่นำ�พาความ เจริญสู่สมุทรปราการอย่างรวดเร็ว ช่วยร่นระยะเวลาการเดิน ทางระหว่างสมุทรปราการสู่กรุงเทพมหานคร ให้สั้นลง และเดิน ทางได้อย่างสะดวกสบายยิ่งขึ้น เมื่อความเจริญเข้ามาแน่นอนว่าสภาพเศรษฐกิจของ จังหวัดก็ดีขึ้นตามไปด้วย รอบสถานีปากนำ�้ กลายเป็นตลาด เกิดโรงแรม ภัตตาคาร ร้านจำ�หน่ายสินค้าที่ระลึก เพื่อรองรับนัก ท่องเที่ยวที่แวะเวียนเข้ามาอย่างไม่ขาดสาย จนเมื่อรถรางสายปากนำ�้เลิกกิจการ หันมาใช้เส้นทาง ถนนแทนนั้น การคมนาคมจากสมุทรปราการ สู่เมืองหลวง จึง
ได้กลับสู่ความยากลำ�บาก และปัจจุบันแทบไม่เหลือเค้าโครงว่า จังหวัดสมุทรปราการเรานี้ ครั้งหนึ่งเคยมีสถานีรถไฟสายแรก ของประเทศไทยอยู่เลย... ย้อนกลับไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 มีชาวต่างชาติเข้ามาขอพระบรมราชานุ ญาตสร้างทางรถไฟสายปากนำ�้ โดยเริ่มต้นที่สถานีหัวลำ�โพง ไป สิ้นสุดที่ปากนำ�้ สมุทรปราการ ทางรถไฟสายนี้จึงเป็นทางรถๆฟ สายแรกของเมืองไทย ที่ก่อตั้งขึ้นโดยเอกชนในรูปแบบของ บริษัท เรียกกันในสมัยนั้นว่า “กอมปานี (Company) รถไฟ” หรือ “บริษัทรถไฟปากนำ�้” รับทำ�สัญญาสัมปทาน เมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ.2429 ตลอดระยะทางมี 10 ระยะ (10 สถานี) คิดระยะละ 1 เฟื้อง จากสถานีหัวลำ�โพง รถจะหยุดรับส่งผู้ โดยสารที่ศาลาแดง บ้านกล้วย พระโขนง บางนา สำ�โรง ศรีษะจระเข้ (หัวตะเข้) บาง นางเกรง มหาวงษ์ แล้วก็ไปสิ้นสุดปลายทางเป็นโรงสังกะสี ขนาดใหญ่ที่ปากนำ�้ ระยะทางทั้งสิ้น 21 กิโลเมตร เมื่อวันที่ 11 เมษายน พ.ศ.2436 (ร.ศ.112) พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จโดยเรือพระที่นั่งมหา
62
จักรี และเสด็จโดยเรือพระที่นั่งกรรเชียง เทียบที่ท่าสะพานหน้า ศาลากลาง จังหวัดสมุทรปราการ ทรงพระดำ�เนินไปโดยทาง ลาดพระบาท ประทับในสเตชั่นรถไฟ (คำ�ที่ใช้ ในสมัยนั้น หมาย ถึง สถานีรถไฟ) ประทับเสวย ณ พลับพลาที่ประทับ ข้างสถานี รถไฟปากนำ�้ ทรงเจิมที่รถไฟ แล้วเสด็จขึ้นประทับในขบวน รถไฟพระที่นั่งพร้อมด้วยพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการ ตามจดหมายเหตุกล่าว่า “...พอเวลา 5 โมงเช้า นายกลเปิดหวูดใช้รถจักรแล่น รถไฟ จูงรถพระที่นั่งขึ้นมาตามทางรางเหล็ก ถึงสเตชั่นที่พัก หัวลำ�โพง เวลาเช้า 5 โมง 45 นิมิต...” ต า ม สั ญ ญ า บ ริ ษั ท ร ถ ไ ฟ ป า กนำ�้ ครบกำ�หนดสัมปทานเป็นเวลา 50 ปี ในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2497 จากนั้ น รั ฐ บาลได้ ซื้ อ ทรั พ ย์ สิ น ของ บริษัททั้งหมด แล้วพัฒนาให้เป็นราง ไฟฟ้า ซึ่งเป็นโอกาสดีที่ทำ�ให้ชาว สมุทรปราการได้มีไฟฟ้าใช้ แต่เมื่อ เข้ า สู่ ร ะบบราชการกิ จ การกลั บ เริ่ ม ประสบปัญหาขาดทุนสะสม จนกระ ทั้งในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ.2503 รถ รางสายนี้ก็ยกเลิกการให้บริการในที่สุด ขอบคุณภาพถ่าย โดย “คุณธี” ธีรภาพ เมธาวี 63
คุณโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์
ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ศูนย์การค้าอิมพีเรียล เวิลด์ สำ�โรง
- กลยุทธที่ ใช้เพื่อครองใจคนสมุทรปราการ อิมพีเรียล เวิล์ด อยู่คู่กับคนสมุทรปราการมานานถึง 35 ปี เราวางตัวเรา เองให้เป็น “ศูนย์แห่งชุมชน” เพื่อชาวสมุทรปราการ การเป็นศูนย์แห่งชุมชนนั้น ไม่ได้เป็นได้ง่ายๆ เราต้องรู้จักชุมชน และชุมชนต้องรู้จักเรา เราพยายามศึกษา ทำ�ความเข้าใจกับความต้องการและวิถีชีวิตของชุมชน พยายามสรรหาสินค้า บริการ และกิจกรรมที่ชุมชนต้องการ พยายามมีส่วนร่วมกับชุมชน และ ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมกับเรา นอกจากจะทำ�หน้าที่ตามบทบาท และ ลักษณะของศูนย์การค้าที่ดีแล้ว เรายังมีส่วนเข้าไปพัฒนาชุมชน สร้าง งาน สร้างโอกาสให้กับประชากรของชุมชน เรามีทีมงาน “อิมอาสา” ที่เข้าไปร่วมกิจกรรม ร่วมทำ�งานกับชุมชนอย่างใกล้ชิด ทั้งด้านการ ศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม กีฬา ฯลฯ กลยุทธหลักง่ายๆ ของเราก็ คือ เราวางตัวเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ร่วมพัฒนา ร่วมใจ ร่วม ตอบสนองความต้องการของชุมชนให้ดีที่สุดเท่าที่เราจะทำ�ได้ - กลยุทธการรับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ในรอบ 4-5 ปี ทีผ่านมา จะเห็นว่าเศรษฐกิจมี ผลกระทบกับชีวิตความเป็นอยู่ของคนทุกระดับ ตั้งแต่เศรษฐกิจ โลกมาจนถึงเศรษฐกิจท้องถิ่น ทีมงานของอิมพีเรียล เวิล์ด จับตา ดูสภาวะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิด และพยายาม ปรับเปลี่ยนกลยุทธอยู่ตลอดเวลา เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง เหล่านี้ ในภาวะที่ทุกคนต้องรัดเข็มขัด เราพยายามสรรหาสินค้า บริการที่จะเข้ามาช่วยเหลือภาระของประชาชน โดยการคัดเลือก สินค้าคุณภาพแต่ราคาประหยัด ในลักษณะการบริหารราคา (Price Point) ที่ประชาชนรับได้ หรือ การจัดโปรโมชั่นราคาพิเศษกับสินค้า คุณภาพ การจัดกิจกรรมบันเทิงต่างๆ เพื่อให้ครอบครัวได้ ใช้เวลา ว่างร่วมกัน โดยไม่มีค่าใช้จ่าย เราต้องการให้ประชากรของจังหวัด สมุทรปราการ สามารถมาใช้ชีวิตในศูนย์การค้าของเราได้อย่างมี คุณภาพ และสามารถจับจ่ายใช้สอยได้อย่างคุ้มค่า เมื่อเศรษฐกิจค่อยๆ ฟื้นตัวขึ้น อิมพีเรียลก็จะมีการปรับปรุง ศูนย์การค้าปรับปรุงกลุ่มสินค้า และบริการให้ตรงกับวิถีชีวิต (Lifestyle) ของกลุ่มลูกค้าของเรา จะเห็นว่าอิมพีเรียล มีการพัฒนา ปรั บ ปรุ ง ตั ว เองอยู่ ต ลอดเวลามากบ้ า งน้ อ ยบ้ า งตามภาวะของ เศรษฐกิจ และความต้องการของลูกค้า
- การเข้ามาของรถไฟฟ้า การเข้ามาของรถไฟฟ้า นำ�การเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ ชัดกับชีวิตประจำ�วันของชาวสมุทรปราการ รถไฟฟ้าช่วยให้ชุมชน เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำ�ให้เกิดที่อยู่อาศัยจำ�นวนมากทั้งด้าน คอนโดมิเนียม บ้านพัก สถานประกอบการ สำ�นักงาน และที่อยู่ อาศัยประเภทต่างๆ การคมนาคมที่สะดวก สบายมากขึ้น ทำ�ให้วิถี ชีวิตของคนเปลี่ยนไป ดังนั้น อิมพีเรียล เวิล์ด จึงต้องปรับปรุงตัว เอง เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว รถไฟฟ้าสามารถนำ�ลูกค้า กลุ่มใหม่ที่มี ไลฟ์สไตล์แตกต่างจากเดิมเข้ามายังศูนย์การค้าเรา เราได้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ และกำ�ลังพัฒนาโซนสินค้า ใหม่ ตั้งแต่ชั้นใต้ดิน ชั้นหนึ่ง ชั้นสอง และชั้นสาม เพื่อให้สามารถ ตอบสนองกลุ่มลูกค้าดังกล่าวได้ดีขึ้น เรามีการปรับปรุงโซนแฟชั่นที่ หลากหลายมากขึ้น นอกจากนี้ เพื่อให้บริการพิเศษกับลูกค้าที่ ไม่ต้องการขับรถเข้าเมือง โดยมาใช้รถไฟฟ้าแทน เราก็จัดบริการ Park and Ride (จุดจอดแล้ว จร) ในที่จอดรถของเรา โดยบริการนี้สามารถจอดรถได้ 24 ชั่วโมง
68
- การพัฒนาของจังหวัดสมุทรปราการและแนวโน้มการแข่งขัน ธุรกิจค้าปลีกของสมุทรปราการ (ขอตอบรวมข้อ 4 กับ 6 เข้าด้วยกัน เพราะเนื้อหาเกี่ยวโยงกัน) นับตั้งแต่การเปิดสนามบินสุวรรณภูมิเป็นต้นมา เราก็ ได้ เห็นการเปลี่ยนแปลงหลายประการในจังหวัดสมุทรปราการ การ เปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัด คือ การเติบโตและเปลี่ยนแปลงทางด้าน ธุรกิจที่มีธุรกิจบริการ และการท่องเที่ยวเข้ามาแทนที่อุตสาหกรรม ที่ค่อยๆ เปลี่ยนแปลงไป การเชื่อมโยงของรถไฟฟ้าจากใจกลางกรุงเทพ ทำ�ให้สภาพ เมืองรอบนอกของจังหวัดสมุทรปราการเปลี่ยนไป ความสะดวกใน การคมนาคม ทำ�ให้สมุทรปราการกลายเป็น “ประตูสู่ชีวิตสังคม เมือง” ที่ชัดเจนขึ้น สภาพเกตเวย์ (Gateway) เป็นสภาพสำ�คัญที่จะ ดึงดูดการลงทุนทั้งด้านธุรกิจบริการ การท่องเที่ยว อสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจโลจิสติกส์ และธุรกิจใหม่ๆ อีกหลายประเภท มาสู่จังหวัด สมุทรปราการ เป็นการเติบโตทางคุณภาพที่น่าสนใจ เพราะเราจะ เห็นคนทำ�งาน และครอบครัวระดับกลางไปจนถึงครอบครัวระดับ สูงมาทำ�งาน ลงทุนและใช้ชีวิตในจังหวัดสมุทรปราการเพิ่มขึ้น ค่ายค้าปลีกใหญ่ๆ ทุกรายจับตามองการเติบโตของ สมุทรปราการ และทุกค่ายมีแผนการมาลงทุน ขยายสาขาใน บริเวณแถบนี้ นอกจากค่ายเดิมๆ แล้วก็ยังมีนักลงทุนหน้าใหม่ ที่มาทำ�ธุรกิจค้าปลีก ตั้งแต่ขนาดเล็ก ร้านสะดวกซื้อที่เป็น Chain และไม่ ใช่ Chain ธุรกิจ Community Mall ไปจนถึงธุรกิจอื่นๆ อีก หลายอย่าง การแข่งขันเหล่านี้ เป็นประโยชน์ต่อการเจริญเติบโต และ การพัฒนาของจังหวัด ประชากรสมุทรปราการเองก็ ได้ประโยชน์ จากการแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นด้านราคา ด้านความหลากหลายของ สินค้า และด้านการบริการ ทุกๆ ค่ายก็คงจะมองหาแนวทางที่จะ เจาะตลาดในรูปแบบของตน เพื่อสร้างฐานลูกค้าที่มั่นคงกับชาว สมุทรปราการ - การสนับสนุนด้านกีฬา เรามองเห็นความสำ�คัญของกีฬาที่มีต่อเยาวชน ทั้งด้าน การพัฒนาการทางกาย ทางจิตใจ และทางจิตวิญญาณ กีฬา คือ การบริการสำ�คัญในการต่อสู้กับยาเสพติด อาชญากรรม และความ รุนแรง และเห็นว่าลำ�พังภาครัฐเองคงจะช่วยส่งเสริมการกีฬาได้
เพียงระดับหนึ่งเท่านั้น ถ้าองค์กรเอกชนเข้ามามีบทบาทส่งเสริม การกีฬามากขึ้น เราก็จะมองเห็นอนาคตที่สดใสของเยาวชนไทย เยาวชนสมุทรปราการมากขึ้น อิมพีเรียล เวิล์ดเอง พยายามให้การส่งเสริมด้านกีฬา เท่าที่เราพอจะมีส่วนร่วมได้ ทั้งระดับจังหวัดและระดับโรงเรียน โครงการกีฬาที่เราเข้าไปร่วมส่งเสริมมีพอสังเขป ดังนี้ 1.ทีมฟุตบอลและทีมลักบี้โรงเรียนเทพศิรินทร์สมุทรปราการ 2.สนับสนุนชมรมว่ายนำ�้ 3.เอื้อเฟื้อสถานที่ ให้ทีมกีฬาปิงปองฝึกซ้อมกีฬาเยาวชนระดับจังสู่ ระดับประเทศ - ฝากถึงคนสมุทรปราการเกี่ยวกับโครงการต่างๆ ในอนาคต ดังที่ ได้เรียนให้ทราบตั้งแต่ต้นแล้วว่า อิมพีเรียล เวิล์ด เป็นส่วนหนึ่งของจังหวัดสมุทรปราการ ดังนั้น โครงการต่างๆ ที่ เราจัดทำ�ขึ้น ส่วนใหญ่ก็เพื่อมุ่งส่งเสริม พัฒนาการร่วมกันระหว่าง ศูนย์การค้ากับชุมชนคนสมุทรปราการ อย่างเช่น การจัดงาน Imperial Music Awards “คนวัยมันส์สายพันธุ์ดนตรี” ที่เพิ่งจบไป ก็ เพื่อส่งเสริมเยาวชนชาวสมุทรปราการและเยาวชนทั่วๆ ไปได้ ใช้ เวลาว่างให้เกิดประโยชน์กับกิจกรรมที่เขารัก เช่น กิจกรรมดนตรี ที่ สามารถแปรเปลี่ยนไปเป็นอาชีพได้ ในอนาคต ซึ่งโครงการส่งเสริม เยาวชนแบบนี้ เราคงจะจัดต่อๆ ไป และคงจะปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น เรื่อยๆ โครงการที่ เ รายั ง สนั บ สนุ น อยู่ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งก็ คื อ โครงการ OTOP ของชาวสมุทรปราการ ที่สามารถนำ�สินค้าท้องถิ่น ระดับฝีมือมานำ�เสนอกับลูกค้าประชาชนทั่วไป ศูนย์การค้าเองก็จะมีการปรับปรุงให้ ใหม่ สดใส และทันสมัยอยู่ ตลอดเวลา ในระยะ 2-3 ปีข้างหน้าเราจะมีการปรับปรุงโซนต่างๆ เพื่อรองรับการเข้ามาของรถไฟฟ้า และกลุ่มลูกค้าใหม่ๆ และใน ระยะเวลา 3-5 ปีข้างหน้า เราจะมีการปรับปรุงครั้งใหญ่ เพื่อรองรับ ความเป็น Gateway ของจังหวัดสมุทรปราการ และรองรับวิถีชีวิต คนเมือง (Urban Lifestyle) ที่จะมีความต้องการที่ถูกต้องและหลาก หลายมากขึ้น ไม่ว่าเราจะพัฒนาตัวเองไปเพียงใดก็ตาม เราไม่เคยลืมว่า ลูกค้ากลุ่มหลักของเราคือชาวสมุทรปราการ และเราจะเติบโตคู่กัน ไปกับการเติบโตในอนาคตของจังหวัดสมุทรปราการ
69
70
71
72
73
74
75
‘ขอทำ�ดี ตามรอยพ่อ’ คุณศิริภัสสร ปิยนันทวารินทร์
ผู้บริหารบริษัท ปิยะ–ซัน อินเตอร์กรุ๊ป จำ�กัด
78
นับเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้สัมภาษณ์ “พี่ใจ” คุณศิริภัสสร ปิยนันทวารินทร์ ผู้หญิง เก่งท่านหนึ่งของจังหวัด สมุทรปราการ เล่าให้ฟังได้ไหมครับว่า ทุกวันนี้นอกจากบทบาทการเป็น ภรรยา เป็นแม่ที่ดีของลูกแล้ว “พี่ใจ” ยังมีบทบาทหน้าที่อะไรบ้าง ทั้งภาคธุรกิจ และภาคสังคม บ้าง “ปัจจุบันดำ�รงตำ�แหน่งเป็นรองประธานบริษัท ปิยะ – ซัน อินเตอร์กรุ๊ป จำ�กัด ที่ ประกอบธุรกิจอุปกรณ์ไฟฟ้า โรงงานทุกชนิด โดยเรามีหน้าที่ดูแลให้นโยบาย มุ่งเน้นถึงความถูก ต้อง และสุจริต ด้วยสินค้าที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน ที่เราประกอบธุรกิจมากว่า 30 ปี ซึ่งการ ประกอบธุรกิจมานาน เมื่อถึงจุดที่เราคิดว่าสมควรแก่เวลาแล้ว เราพร้อมที่จะคืนกำ�ไรสู่สังคมบ้าง โดยช่วยสังคมทั้งกำ�ลังกาย และกำ�ลังทรัพย์ ตามความถนัด และความสามารถของเรา ที่ทำ�ให้เรา รู้สึกภูมิใจ สุขใจ และเป็นการตอบแทนสังคมทางหนึ่งด้วย” “นอกจากนี้เรายังประกอบธุรกิจอีกหลายอย่าง อาทิเช่น สถานีปั้มน้ำ�มันบางจาก (แพ รกษา), โรงงานประกอบ AGV เป็นลักษณะเหมือนพาเลท เอาไว้ขนย้ายสินค้าในโรงงาน, ทำ�ธุรกิจ รีสอร์ทที่จังหวัดลำ�พูน (เวียงศิริ ลำ�พูน รีสอร์ท), สนามฟุตบอลหญ้าเทียม เดอะบลู อารีน่า ฯลฯ” “จากความที่อยากจะเข้ามาช่วยสังคม ทำ�ให้เราเลือกตัดสินใจสมัครสอบเข้ามาทำ�หน้าที่ ผู้พิพากษาสมทบ ศาลเยาวชน และครอบครัวจังหวัดสมุทรปราการ ที่เราเลือกมาทำ�หน้าที่นี่ เพราะเยาวชนเป็นอนาคตของชาติ ปัจจุบันเด็ก และเยาวชนมีปัญหากันมาก หากเราปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเด็ก และเยาวชน ให้เป็นคนดีได้ ก็จะช่วยสังคม และประเทศชาติได้อีกทางหนึ่ง” ธุรกิจที่ “พี่ใจ” ทำ�อยู่ทุกวันนี้ มีอะไรบ้าง และมีโครงการอะไรที่จะทำ�ในอนาคต “มันถึงจุดอิ่มตัวที่เราจะทำ�ธุรกิจทั่วๆ ไปที่เขาทำ�กัน เรามองหาธุรกิจที่การแข่งขันต่ำ� เพราะ ว่าทุกวันนี้ไม่ว่าเราจะไปจับธุรกิจอะไรก็แล้วแต่ ที่มันพอจะมีช่องทางทำ�รายได้ ก็จะมาการเลียนแบบ กัน การแข่งขันในตลาดเองก็มีสูงขึ้นเกือบทุกอย่าง แต่ที่มองๆ ไว้บ้างคือในเรื่อง อสังหาริมทรัพย์ เพราะที่ผ่านมาเรามักซื้อที่ทางไว้เพื่อต่อยอดธุรกิจในด้านนี้ในอนาคต” เป็นผู้หญิงเก่งของจังหวัด ในมุมมอง “พี่ใจ” คิดว่า จังหวัดสมุทรปราการจะพัฒนาไป ในทิศทางใด และควรเร่งปรับปรุงเรื่องใด “การจราจรในจังหวัดเรา การไปมาหาสู่กันมันไม่สะดวก แม้ในอนาคตมันน่าจะดีขึ้นเมื่อรถไฟฟ้าเข้ามา แต่ระหว่างนี้ปัญหาเรื่องนี้คือสิ่งที่สมควรมีการแก้ไขที่สุด และเชื่อว่าถ้าแก้ได้จังหวัดเราจะน่าอยู่ขึ้น อีกเยอะเลย” ท้ายสุด “พี่ใจ” ยังกล่าวถึงความภูมิใจและสำ�นึกในมหากรุณาธิคุณของรัชกาลที่ 9 ที่ ทรงมีพระราชดำ�ริ ให้มีโครงการต่าง ๆ ในจังหวัดสมุทรปราการ เช่น โครงการลูกพระดาบด, โครงการประตูระบายน้ำ�คลองลัดโพธิ์ ซึ่งโครงการนี้แก้ภัยน้ำ�ท่วม ในจังหวัด ได้เป็นอย่างดี และ ขอน้อมนำ�ทำ�ความดีสืบต่อไป 79
80
81
82
83
84
85
คุณพงศ์ศิริ ปิยนันทวารินทร์ ผู้บริหาร สนามเดอะบลู อารีน่า
86
87
จับเข่าคุย
‘นายอนันตชัย คุณานันทกุล’
ประธานกรรมการ บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีสมุทรปราการ (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำ�กัด
กับพันธกิจในการขับเคลื่อนชุมชนสมุทรปราการ สู่ความยั่งยืน
“ประชารัฐเริ่มต้นโดยนโยบายของรัฐบาลปัจจุบัน โดยริเริ่มโดย นายกพล เอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา และรองนายกสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เห็นว่าระบบขับเคลื่อน ของส่วนราชการมีปัญหา และอุปสรรคมากมาย ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของความต่อ เนื่อง ระเบียบการใช้ งบประมาณ รวมทั้งทัศนคติของข้าราชการที่มาจากฝั่งปกครอง มากกว่าฝ่ายบริหาร และเศรษฐกิจ จึงได้สนับสนุนให้มีการก่อตั้ง บริษัท ประชารัฐ ประจำ�จังหวัดทุกจังหวัด ถือเป็นบริษัทเพื่อสังคม ฉะนั้นเราจึงใช้คำ�ว่า บริษัท ประชา รัฐรักสามัคคีสมุทรปราการ (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำ�กัด โดยมีนักธุรกิจ ข้าราชการ นัก วิชาการ และประชาชน ร่วมกันก่อตั้งขึ้น ตามแนวคิดของรัฐที่อยากให้มีความทั่วถึง ให้ มีทุกกลุ่มเข้ามาเพื่อให้เกิดความร่วมมือ และแนวทางของบริษัท ก็จะก้าวไปสู่ บริษัท (มหาชน) ในที่สุด เพราะขณะนี้ บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีสมุทรปราการฯ เรามีผู้ถือ หุ้นอยู่ 300 กว่าราย ซึ่งถือเป็นความหลากหลาย เพราะมีคนจากหลากหลายสาขาอาชีพ มาอยู่ ในกลุ่มนี้ด้วย” “ที่สำ�คัญ บริษัท ประชารัฐรักสามัคคี นั้นการลงทุนคือการเข้ามาสนับสนุน ลักษณะกึ่งบริจาค ถ้าเข้ามาถือหุ้นโดยนิติบุคคลแล้ว สามารถนำ�ไปหักเป็นค่าใช้จ่าย ได้ เป็นส่วนที่ก่อให้เกิดความรู้สึกเหมือนการบริจาค แล้วบริษัทนี้ทำ�อะไรบ้าง ภายใต้ นโยบายรัฐบาลกำ�หนดไว้ ให้เราเป็นศูนย์วิชาการที่จะสนับสนุนให้ชุมชนมีความเข้ม แข็งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องการวิจัย ส่งเสริม การช่วยเหลือ ซึ่งส่วนนี้จะช่วยให้ชุมชน ต่างๆ มีความเข้มแข็งขึ้น เพื่อที่จะช่วยเหลือตัวเองได้ และเมื่อช่วยตัวเองได้แล้วเขาก็จะ สามารถต่อยอดได้” “ประชารัฐได้ศึกษาแล้วว่าเราจะสามารถช่วยเหลือสังคมในส่วนไหนได้บ้าง จะเห็นได้ว่าหน่วยงานต่างๆ ของทางรัฐบาล ก็ ได้มีการช่วยเหลือเฉพาะหน้าอยู่ต่อ
เนื่อง อาทิ การจัดตลาดนัด หาตลาดให้ชุมชน แต่ผมในฐานะ บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีสมุทรปราการ (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำ�กัด เห็นว่าจังหวัดสมุทรปราการเป็นจังหวัดใหญ่ เรามีสนามบิน ระดับอินเตอร์เนชั่นแนลในจังหวัด และจังหวัดสมุทรปราการเรามี ความแตกต่างจากจังหวัดอื่นๆ หลายประการ คือ เรามีชุมชนเมือง กับชุมชนชนบท เรามีภาคเกษตร อุตสาหกรรม ฉะนั่นมันมีความ หลากหลายมาก ทั้งนี้ทำ�ให้เรามีกลุ่มเกษตรกรที่ต้องดูแลพอสมควร รวมถึงผู้ผลิตรายย่อย (SME) อีกไม่น้อย แต่อาจจะค่อนข้างเล็กส่วน ใหญ่อยู่ ในพื้นที่เช่า กลุ่มเหล่านี้มันจะหมุนเวียนตลอด” “ที่นี้เราจะช่วยเหลืออย่างไร คือหนึ่งเราต้องให้ความรู้ สองคือพยายามทำ�ให้เขารวมตัวให้ ได้ ในฐานะที่เป็นวิสาหกิจชุมชน อย่างแท้จริง เพื่อให้แบ่งหน้าที่กันทำ� แทนที่จากที่ต่างคนต่างแย่ง กันทำ� ถ้าเรารวมตัวกันได้มันจะช่วยให้คนทำ�งานเหลือน้อยลง จะ เหลือกลุ่มที่ ไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม หรือร่วมทุนกัน มันก็จะช่วย ให้เติบโตขึ้น มีตลาดที่ดีขึ้น มีข้อต่อรองมากขึ้น โดยเฉพาะในส่วน ของราชการที่จะมีงบลงมาสนับสนุน มันก็จะผ่านเข้ามาถึงวิสาหกิจ ชุมชนได้ จะช่วยในเรื่องสภาพคล่องได้บ้าง ด้วยความชัดเจนเพราะ รัฐเองจะให้เข้ามาช่วยเหลือเป็นรายบุคคลก็คงลำ�บาก ฉะนั้นสิ่งที่ สำ�คัญคือทำ�อย่างไรให้เป็นวิสาหกิจชุมชนให้ ได้” “ปัญหาคือคนกลุ่มนี้ ไม่ค่อยอยากรวมตัวเป็นชุมชน ไม่ รวมเป็นวิสาหกิจ โดยยังมีความเชื่อที่ว่ามันไม่ ใช่สิ่งจำ�เป็น ต่างคน ต่างทำ�ดีกว่า แต่นั่นคือสิ่งที่ไม่ถูกนัก เพราะความที่ต่างคนต่างทำ�
มันทำ�ให้กลายเป็นแข่งขัน อีกทั้งเงินทุนในแต่ละครัวเรือนก็ ไม่ ได้ สูงนัก การพัฒนาสินค้า สถานที่ หรือจำ�นวนการผลิต มันก็เป็น ไปได้ยากลำ�บาก ฉะนั้นสิ่งที่เราช่วยได้ ในเบื้องต้นคือทำ�อย่างไรให้ เปลี่ยนความคิดคนกลุ่มนี้ ให้เขาหันมารวมตัวกัน” “ประชารัฐรักสามัคคีสมุทรปราการ ส่งเสริมให้กลุ่มปลา สลิดเป็นลำ�ดับหนึ่งก่อน เพราะเล็งเห็นว่าปลาสลิดบางบ่อเป็น ผลิตภัณฑ์ที่มีชื่อเสียงมาก แต่ว่ากระจัดกระจายไปหมด กลายเป็น ว่าไปที่ไหนเขาก็เรียกปลาสลิดบางบ่อไปเสียหมด ทั้งที่ความจริงอาจ ไม่จริงก็ ได้ ซึ่งผู้ซื้ออาจเจอสินค้าดีบ้าง แย่บ้าง ก็อาจทำ�ให้เลือกที่จะ ไม่ซื้อสินค้าของชุมชนบางบ่ออีกต่อไป” “อี ก ทั้ ง เรามองในเรื่ อ งวิ ธี ก ารผลิ ต เป็ น เรื่ อ งที่ สำ � คั ญ ปัจจุบันบางชุมชนอาจยังมีกระบวนการผลิตที่ถูกสุขลักษณะน้อย เกินไป โดยนำ�เครื่องจักรเข้ามาช่วย ซึ่งมันเกินกำ�ลังของกลุ่มคนใน ชุมชนอีก แต่ถ้าเราเชื่อมเป็นรัฐวิสาหกิจชุมชน แน่นอนว่ามันจะ เติบโตขึ้น เช่นกันกับการลงทุนที่ทำ�ได้ง่ายขึ้น ซึ่งเวลานี้เรารวม กลุ่มวิสาหกิจชุมชนแล้วที่บางบ่อ แต่กำ�ลังขยายให้เป็นเกษตรแปลง ใหญ่ ซึ่งเป็นนโยบายของกระทรวงเกษตรฯ หากเราทำ�ได้ทางภาค รัฐก็จะมีเงินเข้ามาให้กู้ ให้สามารถทำ�ธุรกิจได้ง่ายขึ้น แต่เรื่องนี้ยาก มาก เพราะในชุมชนเองกว่าจะรวมเป็นกลุ่มได้ก็มีความลำ�บากมาก เพราะส่วนใหญ่ยังมีปัญหาในเรื่องปล่อยค้างที่ดินเช่า เช่าไม่ยั่งยืนก็ มี รวมทั้งการเช่าปากเปล่าก็มี พอเข้าไปศึกษาทำ�ให้เราได้รู้ว่าปัญหา ชุมชนมีมากมายทีเดียว เพราะอย่างในเรื่องสัญญาเช่าปากเปล่านี้
90
ไม่สามารถนำ�มาเป็นเงื่อนไขตั้งวิสาหกิจชุมชนได้ เพราะขาดความ ชัดเจน ไม่มีหลักฐานในการครอบครองที่ดิน ฉะนั้นเรื่องเหล่านื้คือ สิ่งที่ประชารัฐจะเข้าไปช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด” “ปัจจุบันเราจะเข้าไปศึกษาวิธีการผลิต ที่จะทำ�ให้สินค้า เป็นที่น่าเชื่อถือ ซึ่งผมได้วิเคราะห์ และเห็นสมควรว่า บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีสมุทรปราการ (วิสาหกิจเพื่อสังคม) จำ�กัด จะ เข้าไปช่วยแก้ปัญหา ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการท่องเที่ยว การผลิต การ แปรรูป จริงๆ แล้วเกษตรกร 1 รายจะ ไปยุ่งเกี่ยวกับหลายส่วนเหลือเกิน ยก ตัวอย่างคนเลี้ยงปลาสลิด ตอนเลี้ยง ขึ้นกับกรมประมง พอแปรรูปก็ ไปขึ้นกับ พัฒนาชุมชน พอเข้าสู่ตลาด ก็จะมาเข้า กับกระทรวงพาณิชย์ สรุปคือมันเป็น ความต่างคนต่างทำ� ประชาชนไม่ได้รับ ประโยชน์เท่าที่ควร ตรงนี้คือข้อดีประชารัฐที่จะเข้าไปช่วยทำ�ให้เขา มีระบบตั้งแต่เลี้ยง แปรรูป และไปสู่การตลาด โดยเรานำ�เอาระบบ การท่องเที่ยวเข้ามาด้วยเพื่อให้ครบวงจร” “บริษัท ประชารัฐรักสามัคคีสมุทรปราการ (วิสาหกิจเพื่อ สังคม) จำ�กัด จะเป็นตัวนำ�ในการหาที่ดินสักแปลง สร้างเป็นศูนย์ เรียนรู้การเลี้ยงปลาสลิด หรือปลาชนิดต่างๆ ก็ดี แล้วก็มีการ แปรรูป และสร้างความน่าเชื่อถือให้กับผู้บริโภค ว่าการแปรรูปเหล่า นั้นเป็นระบบ มีความสะอาดบริสุทธิ์ รวมถึงมีความอร่อย เพื่อให้ ประชาชนได้ ใช้พื้นที่ตรงนี้อย่างเต็มที่ นี่คือส่วนหนึ่งที่ประชารัฐจะ เข้าไปทำ� รวมถึงส่งเสริมการท่องเที่ยวที่อำ�เภอพระสมุทรเจดีย์ คือ เราใช้แนวทางเดียวกันในการพัฒนา เพราะแต่ละท้องถิ่นมีสิ่งที่น่า สนใจแตกต่างกันไป” “ประชารัฐรักสามัคคี จดทะเบียนขึ้นตามนโยบายรัฐบาล คือจำ�นวน 4 ล้านบาท หากว่าตามจริงแล้วเงินจำ�นวนนี้ทำ�อะไร ไม่ ได้ เนื่องจากเราศึกษาแล้วว่าเราจะทำ�ให้ชุมชนยั่งยืนได้อย่างไร เราต้องสร้างการตลาดให้ชุมชน ฉะนั้นการสร้างศูนย์กระจาย สินค้าหรือศูนย์เรียนรู้ รวมทั้งการผลิตแปรรูป รวมไปถึงการท่อง เที่ยว ทำ�ให้เราได้ประสานกับพัฒนาชุมชนจังหวัด เพราะตอนนี้ทาง รัฐบาล และราชการจังหวัดได้สร้างศูนย์กระจายสินค้า OTOP ไว้ที่ อำ�เภอบางพลี ซึ่งสร้างมาแล้วหลายปียังไม่ได้ ใช้งาน เหตุผลที่ยัง ไม่สามารถใช้งานได้เนื่องจากว่าข้อกฎหมาย และแนวคิด รวมถึง บุคคลมันเปลี่ยนไปเรื่อย ฉะนั้นทำ�ให้มีปัญหามาตลอด ทำ�ให้ประชา
รัฐยื่นเรื่องขอที่ดินแปลงนี้ และอาคารนี้ เพื่อเข้ามาบริหาร” “ปัจจุบันหน่วยงานที่ดูแล มีข้อตกลงเรียบร้อยแล้วว่าให้ ทางประชารัฐรักสามัคคีสมุทรปราการเข้าไปบริหารแทน คาดว่าเรา จะเปิดศูนย์นี้ ได้ภายในปีนี้ หรือถ้าเป็นไปได้คือช่วงเดือนตุลาคม แต่ส่วนสำ�คัญคือเราจำ�เป็นต้องใช้งบประมาณค่อนข้างเยอะในการ ไปใช้พื้นที่ตรงนั้น ในเรื่องการพัฒนา และสรรหาสินค้าชุมชนเข้า มา โดยเฉพาะเราไม่สามารถมีเครดิตได้ เราต้องช่วยสังคม ชุมชน ด้วยการซื้อเงินสด แต่ด้วยเงินทุนที่จด ทะเบี ย นไว้ ไม่ ส ามารถทำ � อะไรได้ ม าก ขณะนี้เราตั้งมาเกือบ 1 ปีแล้ว เราได้ ศึกษารอบด้านแล้ว และกำ�ลังเดินหน้า ในเรื่องการลงมือปฏิบัติให้มากขึ้น แต่ ทั้ ง นี้ มั น ยั ง ต้ อ งใช้ เ งิ น อี ก พอสมควร ฉะนั้ น บริ ษั ท ประชารั ฐ รั ก สามั ค คี สมุทรปราการ จึงได้ทำ�การประชุมผู้ถือหุ้นครั้งที่ผ่านมา เราได้ขอม ติผู้ถือหุ้นในการเพิ่มทุนจาก 4 ล้านบาทเป็น 10 ล้านบาท” “ภายในปีนี้เราจะมีจุดกระจายสินค้าถาวร ทำ�ให้ชุมชนมี รายได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย ส่วนชุมชนไหนที่สินค้ายังไม่ได้มาตรฐาน เราก็จะลงไปช่วยทำ�ให้เขาเกิดมาตรฐานที่สูงขึ้น ประชารัฐมีหน้าที่ ทำ�ให้ผู้ผลิต และผู้บริโภค พึงพอใจ และปลอดภัย มันไม่ ใช่แค่ซื้อ มาแล้วขายไป นอกจากวิเคราะห์เรื่องผลิตภัณฑ์แล้ว วิเคราะห์เรื่อง การแปรรูปแล้ว ยังวิเคราะห์เรื่องแพคเกจจิ้ง การตลาด ฉะนั้นสิ่ง ที่ประชารัฐ จะทำ�มีอยู่ 2-3 ประเด็น 1.คือเรื่องการวิจัย หาหน่วย งานรัฐต่างๆ เข้ามาช่วย ทำ�ให้สินค้าได้มาตรฐาน 2.คือหาตลาด ซึ่งสุดท้ายจะเป็นการช่วยประชารัฐด้วย เพราะประชารัฐเองก็ต้องมี รายได้เข้ามาเลี่ยง มาหมุนเวียน จากนั้นคือการสร้างศูนย์กระจาย สินค้าให้กับชุมชน เป็นหัวใจสำ�คัญ” “ปัจจุบันไม่มีอะไรที่ดีเกินกว่าการส่งเสริมการท่องเที่ยว เพราะการส่งเสริมด้านนี้ช่วยพัฒนาแบบครบวงจร เกษตรกรจะ มีรายได้จากสินค้า ทำ�ให้รายได้ท้องถิ่นมีการหมุนเวียนมากขึ้น ฉะนั้นหัวใจสำ�คัญคือสร้างเส้นทางท่องเที่ยวทั้งฝั่งตะวันออก และ ฝั่งตะวันตก ส่งเสริมทั้งเส้นทางทางน้ำ� และทางบก ซึ่งปากน้ำ�มี ความโดดเด่น ซึ่งเราจะเช้าไปส่งเสริมในเรื่องการท่องเที่ยวตรงนี้ ที่ จะเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างรายได้ และในอนาคตเราเล็งสร้างศูนย์ กระจายสินค้าครบวงจรที่บางปูอีกที่หนึ่งด้วย”
91
92
ดร.สังวาลย์ เกตุงาม
นายกสมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาค ประวัติความเป็นมา และที่มาของสมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาค สมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาค ก่อตั้งขึ้นเมื่อ วัน ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560 โดยการรวมตัวกันของกลุ่มนักข่าวใน จังหวัดสมุทรปราการ โดยประกอบไปด้วยหนังสือพิมพ์ 4 หัว ดังนี้ 1. อินไซด์ทูเดย์ 2. สามสมุทรนิวส์ 3. ปากนำ�้โพสต์ 4. สมุทรปราการโพสต์ โดยมีความตั้งใจที่จะยกระดับอาชีพสื่อสารมวลชน เป็น สื่อกลางในการสร้างสรรค์และช่วยเหลือสังคม ภายใต้แกนนำ�ของ ดร.สังวาลย์ เกตุงาม มุมมองของนายกสมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาค ต่อสื่อในปัจจุบัน การพัฒนาของเทคโนโลยีสื่อสารในปัจจุบัน ถือว่าเป็นการ พัฒนาที่ก้าวกระโดดและรวดเร็วอย่างมาก ในยุคแรกเริ่ม การ สื่อสารข่าวสารนั้นเน้นหลักไปที่การสื่อสารแบบทางเดียวคือนัก ข่าวส่งสารไปยังผู้รับสารหรือประชาชนทั่วไป แต่ ในปัจจุบันหลัง จากการเข้ามาของอินเทอร์เน็ตและการพัฒนาเทคโนโลยีทางการ สื่อสารข่าว ทำ�ให้เกิดการสื่อสารข่าวที่สามารถโต้ตอบกันได้มาก ขึ้น ผู้ส่งสารนั้นอาจไม่ ใช่นักข่าวเพียงฝ่ายเดียวอีกต่อไป ประชาชน ทุกคนมีสิทธิ์เข้าถึงข่าวสารได้ง่ายและสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ทุก คนสามารถกำ�หนดการรับรู้ข่าวสารได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องรอให้ สำ�นักข่าวหรือบรรณาธิการจากสื่อต่างๆ มาคอยกำ�หนดทิศทาง การรับรู้ข่าวสารอีกต่อไป อยากรู้หรือสนใจเรื่องไหน เวลาใดก็
สามารถเข้าดูได้ทันที เมื่อสื่อกลายเป็นช่องทางที่สะดวกและรวดเร็ว มีอิสระในการรับรู้ข่าวสารและแสดงความคิดเห็น จึงไม่ ใช่เรื่อง แปลกที่คนจะให้ความสนใจในจำ�นวนที่เพิ่มมากขึ้น ในฐานะสื่อเราควรเตรียมความพร้อม รับมือกับการ พัฒนาของเทคโนโลยีการสื่อสารที่นับวันมีแนวโน้มที่จะพัฒนามาก ยิ่งขึ้นและไม่มีที่สิ้นสุด การทำ�ความเข้าใจในการใช้สื่อ การเรียนรู้ ขอบเขต พลังอำ�นาจและข้อดีข้อเสียของสื่อ ถือเป็นสิ่งสำ�คัญที่นัก ข่าวจะสามารถเตรียมความพร้อมและรับมือกับการทำ�หน้าที่สื่อได้ อย่างเต็มประสิทธิภาพและเกิดความน่าเชื่อถือในการใช้สื่อ
บทบาทหน้าที่ สมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาคในจังหวัด สมุทรปราการ และภูมิภาค บทบาทหน้ า ที ข องสมาคมนั ก ข่ า วหนั ง สื อ พิ ม พ์ ส่ ว น ภูมิภาค ทั้งในจังหวัดสมุทรปราการและภูมิภาคนั้นเราสามารถดูได้ จากความหมายของ LOGO ของสมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์ส่วน ภูมิภาค ดังต่อไปนี้ 1. รูปจับมือบนพื้นสีส้ม หมายถึง การให้ความช่วยเหลือผู้สื่อข่าวให้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2. รูปจับมือบนพื้นสีม่วง หมายถึง การให้ความช่วยเหลือสังคมและ
93
ในปัจจุบันสื่อสารมวลชน หันมามุ่งเน้นด้านออนไลน์มากขึ้น สมาคมให้การสนับสนุนและส่งเสริมด้านนี้อย่างไรบ้าง ทางสมาคมกำ�ลังมีช่อง SP ONE ซึ่งเป็นช่องของ สมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาค โดยจะมีการเผยแพร่ทาง ช่องออนไลน์ ในไม่ช้านี้คงเป็นธูปธรรมที่เห็นชัดขึ้น ทุกวันนี้สื่อ หนังสือพิมพ์เองก็ทยอยปิดตัวเองมากขึ้น ฉะนั้นจะอยู่ ในยุคนี้ ได้ก็ต้องใช้สื่อออนไลน์ แม้กระทั่งถามตัวเราเองยังไม่อยากอ่าน หนังสือพิมพ์ นี่คือสิ่งที่เราต้องปรับตัว และยอมรับกับสถานการณ์ ปัจจุบันสมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาค ทำ�งานร่วมกับ ที่เปลี่ยนแปลง เราต้องก้าวไปถึง 4.0 ถ้าเรายังอยู่ที่ 1.0 เราก็คงอยู่ องค์กร หน่วยงานหรือสื่อใดบ้าง ในสังคมยาก ปัจจุบันสมาคมนักข่าวมีการทำ�งานร่วมกับองค์กร หน่วย งานและสื่อต่างๆมากมาย อาทิ มูลนิธิร่วมกุศลสมุทรปราการ ในฐานะเป็นหนึ่งในหัวเรือใหญ่ของสื่อใน ชมรมชาวสมุทรปราการ กาชาดจังหวัดสมุทรปราการ ฯลฯ เป็นต้น จังหวัด คิดว่าจะใช้สื่อเข้ามาช่วยพัฒนา ตัวอย่างเช่นมูลนิธิร่วมกุศล สมุทรปราการ ในตัวมูลนิธิเองก็เป็น จังหวัด ให้ดีขึ้นได้อย่างไร ผู้ที่มีความพร้อมในการช่วยเหลือทางสังคมอยู่แล้ว ทางสมาคม ที่ผ่านมาเกือบหนึ่งปี ทาง เป็ น เพี ย งผู้ ชี้ แ ละแจ้ ง เบาะแสซึ่ ง ที่ ผ่ า นมาทางมู ล นิ ธิ ร่ ว มกุ ศ ล สมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาค ก็ สมุทรปราการให้การตอบรับ และสนับสนุนที่ดี ในทุกเรื่อง เรา พยายามที่จะดำ�เนินการให้ตรงไปตามวิสัย เปรียบเสมือนโซ่ขอ้ กลางเป็นตัวเชือ่ มให้แก่ผู้ ให้ และผูร้ บั ได้เจอกัน นัน้ คือ ทัศน์ นโยบาย และวัตถุประสงค์ของสมาคมให้ สิง่ ทีส่ มาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์สว่ นภูมภิ าคได้ท�ำ อยู่ในตอนนี้ ได้มากทีส่ ดุ เพราะถ้าเราทำ�ได้ ตามที่กำ�หนดไว้ผลที่ ได้รับจะ วิสัยทัศน์ และแนวทางการพัฒนาสื่อ ภายใต้การนำ�ของ สมาคมนัก เกิดขึน้ กับทุกระดับ ตัง้ แต่ ข่าวหนังสือพิมพ์ส่วนภูมิภาค ในอนาคต สถาบันครอบครัว ไล่ขน้ึ ไป เนื่องจากปัจจุบันทางสมาคมพึ่งก่อตั้งมาได้ ไม่ครบปี จึง จนถึงสถาบันชาติก็ย่อมได้ ยังพยายามพลักดันให้ดำ�เนินงานไปตามแนวทางที่ ได้วางแผนและ ประโยชน์ ไปตามระบบ ประชุมกันไว้ ให้ ได้ก่อน โดยประกอบไปด้วย เพราะทุกอย่างเกี่ยวข้อง วิสัยทัศน์ของสมาคม คือ ยกระดับอาชีพสื่อสารมวลชน เชือ่ มโยงกันหมด เป็นสื่อกลางในการสร้างสรรค์ และช่วยเหลือสังคม นโยบายของสมาคม คือ ( 3 ส.) สร้างสรรค์ สรรหา และ ส่งเสริม วัตถุประสงค์ของสมาคม คือ 1. เพื่อให้ผู้สื่อข่าวยึดมั่นในชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ 2. ผู้ประกอบวิชาชีพสื่อสารมวลชน ดำ�รงซึ่งจรรยาบรรณที่ดี 3. เพื่อกำ�หนดนโยบาย การนำ�เสนอ ข่าวสารอย่างสร้างสรรค์ 4. เพื่อรวบรวมกลุ่มสื่อมวลชนที่มีอุดมการณ์เดียวกัน 5. เพื่อดำ�เนินการหรือร่วมมือกับองค์กร การกุศล จัดกิจกรรม สาธารณะประโยชน์เพื่อสังคม สาธารณประโยชน์ 3. รูปแผนที่ประเทศไทย บนพื้นสีแดง หมายถึงความสามัคคี การ ดำ�เนินการด้วยความเป็นธรรมและทั่วถึง 4. รูปกล้องถ่ายรูป บนพื้นสีเหลือง หมายถึง การปฏิบัติหน้าที่โดย ยึดหลักจริยธรรม 5. รูปนกพิราบ บนพื้นสีนำ�้เงิน หมายถึง เป็นสื่อสารมวลชนที่มี คุณธรรม
94
นอกจากการรับหน้าทีเ่ ป็นนายกสมาคมนักข่าวหนังสือพิมพ์สว่ น ภูมภิ าค บทบาททางสังคมนอกจากนีม้ อี ะไรบ้าง (ธุรกิจทีท่ �ำ ) ปัจจุบันเป็นประธานกรรมการ บริษัท เอส.เจ. อินดัสเต รียล 2000 (ประเทศไทย) จำ�กัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2533 โดยประกอบกิจการประเภทอุตสาหกรรมแม่พิมพ์พลาสติก รับ ฉีดพลาสติก ชิ้นส่วนเครื่องจักรในอุตสาหกรรม และงาน Machine Parts ตามความต้องการของลูกค้า
สมุทรปราการ ผมมีลูกสาว 2 คน หลานสาว 2 คน เราต้องปลูกฝัง ด้วยการกระทำ�ไว้ ให้ดูเป็นตัวอย่าง นอกจากนี้ตอนเย็นก็มีการออกกำ�ลังกายร่วมกัน ส่วนวัน อาทิตย์ก็จะออกไปทานข้าวร่วมกัน สำ�หรับผมสถาบันครอบครัวต้อง มาก่อน ซึ่งตรงนี้ผมยึดถือปฏิบัติเสมอมา
อยากให้ฝากข้อคิดเตือนใจกับผู้คนในสังคม ในยุคที่สื่อ มีอิทธิพลกับ ชีวิตประจำ�วันมากเหลือเกิน อยากให้ประชาชนทุกคนเสพข่าวอย่างมีสติ ต้องกลั่น เล่าชีวิตส่วนตัวให้ฟังหน่อย เป็นอย่างไรบ้าง กรองก่อน ถ้าไม่แน่ ใจต้องสืบถามไปยังต้นตอก่อน หรือผู้ที่มี (อุปนิสัย ใจคอ งานอดิเรก) คือผมเป็นคนที่ไม่ชอบนอนดึก จะมีความสุขที่สุดก็ต่อเมื่อ ความรู้จริงเสียก่อน เพราะถ้าเมื่อไหร่เราไม่รู้เท่าทันสื่อที่เสพ ก็ ได้อยู่กับบ้านกับครอบครัว เพราะฉะนั้นเราจะมีเพื่อนที่เรียน จะทำ�ให้สังคมข่าวแย่ลง ในฐานะผู้เสพข่าว เราต้องเป็นผู้คัดกรอง จากสถาบันเดียวกัน เพื่อนทางธุรกิจ และเพื่อนในชมรมชาว สังเคราะห์ ด้วยสติ และเหตุผล
95
ณ ลานกิจกรรมชั้น 3 ศูนย์การค้าโรบินสัน สมุทรปราการ นางจิตลดา สิทธิเลิศจรรยา ผู้ถือลิขสิทธิ์ ได้จัดการประกวด Miss Supranational samutprakan Thailand 2017 เพื่อเฟ้นหาสาวงาม เป็นตัวแทนจังหวัดสมุทรปราการไปประกวด Miss Supranational Thailand 2017 ระหว่างวันที่ 23 สิงหาคม– 3 กันยายน 2560 นี้ โดยในงานมีนายสยาม ศิริมงคล รอง ผวจ.สมุทรปราการ เป็น ประธานเปิดงาน มี พล.ร.ต.เชษฐา ใจเปี่ยม ผู้บัญชาการกองเรือ
ทุ่นระเบิด นายต่อศักดิ์ อัศวเหม รองประธานกรรมการบริหาร กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครสมุทรปราการ และคณะ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสาขาต่างๆ รวมทั้งสิ้น 9 ท่าน มีสาวสวยเข้า ประกวดทั้งสิ้นรวม 23 คน โดยการประกวดครั้งนี้ ได้ต่อยอดแนวคิดจากกองประกวด Miss Supranational Thailand เพื่อค้นหาสาวงามสู่เวทีระดับโลก ต้องควบคู่ ไปกับการดำ�เนินกิจกรรมเพื่อสังคม พร้อมร่วมส่งเสริม
96
วัฒนธรรมและสร้างความภูมิใจในอัตลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่น ภายใต้แนวคิด มีเหลือเพื่อแบ่ง ปัน สำ�หรับในอัตลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่นทางกองประกวดได้ยกเอกลักษณ์อันดีงามของชาว ไทยรามัญ พระประแดงมานำ�เสนอ และกิจกรรมมีเหลือเพื่อแบ่งปันก็ ได้สนับสนุนนโยบาย ของทางภาครัฐที่เชิญร่วมให้ประชาชนร่วมกันปลูกดอกดาวเรืองซึ่งเป็นดอกไม้ประจำ�จังหวัด สมุทรปราการ เพื่อเป็นการแสดงความจงรักภักดี และรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ โดยวางเป้า หมายว่าให้ออกดอกบานทั่วแผ่นดินทันช่วงวันที่ 25-26 ตุลาคม ซึ่งเป็นช่วงพระราชพิธีถวายพระ เพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช งานแถลงข่าวครั้งนี้มีการเดินแบบชุดไทยรามัญ ชุดราตรี สำ�หรับประกวดวันตัดสิน และ เปิดตัวบรรดาสาวงามที่เข้าร่วมประกวดมิสซูปร้าสมุทรปราการ รวมทั้งมีการแจกเมล็ดพันธ์ดอก ดาวเรืองให้กับผู้ร่วมงานและประชาชนทั่วไปด้วย ด้าน นางจิตลดา สิทธิเลิศจรรยา ผู้ถือลิขสิทธิ์จัดการประกวด มิสซูปร้าสมุทรปราการ “การเข้ามาถือสิทธิ์ซูปร้าเมเนเจอร์ (SupraManager หรือ SM) ในครั้งนี้ก็เพื่อโอกาสของจังหวัด และเป็นการเปิดโอกาสให้น้องๆ ได้ ใช้เวทีนี้สร้างชื่อเสียงให้กับจังหวัดสมุทรปราการในโอกาสต่อ ไป ซึ่งเวทีประกวดมิสซูปร้าสมุทรปราการ อาจเป็นน้องใหม่ที่เพิ่งจัดเป็นปีแรก ซึ่งรู้สึกดี ใจ และ ปราบปลื้มใจ ที่การประกวดมิสซูปร้าสมุทรปราการ ได้รับความสนใจจากน้องๆ ที่ ให้ความสนใจ เข้าประกวดทุกคน” “การที่ได้รับการสนับสนุนอย่างมากมายจากทุกฝ่าย นั่นเป็นเพราะการจัดการประกวดใน ครั้งนั้นก็เพื่อสร้างชื่อเสียงให้กับจังหวัดสมุทรปราการที่เรารัก และทุกภาคส่วนต่างเล่นเห็นความ สำ�คัญในการประชาสัมพันธ์จังหวัดสมุทรปราการเราจากการจัดงานในครั้งนี้ โดยยกเอกลักษณ์ อันดีงามของชาวไทยรามัญ พระประแดง มาเป็นจุดประชาสัมพันธ์” สำ�หรับผู้คว้าตำ�แหน่ง Miss Supranational samutprakan Thailand 2017 ได้แก่ น้อง แจมมี่ น.ส.นรันดร์จุฑา ปัญญาสุข อายุ 22 ปี จบการศึกษาเกียรตินิยมอันดับ 1 คณะดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้สมัครหมายเลข 10 ครองตำ�แหน่ง มิสซูปร้าสมุทรปราการ ได้ครองมงกุฎ สายสะพายและเงินสด 20,000 บาท ส่วนรองอันดับ 1 คือ น.ส.ทิทพย์ชยา ณ์ นาคสมบูรณ์ ผู้สมัครหมายเลข 15 รองอันดับ 2 คือ น.ส.ชญาน์นันท์ พุ่มพิบูลย์ ผู้สมัครหมายเลข 6 รองอันดับ 3 คือ น.ส.นันทิตา สงพรามหรามณ์ ผู้สมัครหมายเลข 14 และรองอันดับ 4 คือ น.ส.พัฒธาวินท์ รัตนะ ผู้สมัครหมายเลข 1 ทั้งนี้ผู้ชนะการประกวดทั้ง 4 คน จะได้รางวัลเป็นเงินสด และสายสะพาย โดยผู้ ได้อันดับ 1 เป็นมิสซูปร้าสมุทรปราการ เป็นตัวแทนไปประกวดเพื่อชิงตำ�แหน่งมิสซูปร้า เนชั่นแนล ไทยแลนด์ 2017 ในระหว่างวันที่ 23 สิงหาคม – 2 กันยายน 2560 นี้ เพื่อหาผู้ชนะไปประกวดมิสซูปร้า เนชั่นแนล ที่ประเทศ โปแลนด์ต่อไป 97
98
99
ท่องโลกประวัติศาสตร์ เคล้าธรรมชาติปราการเก่า ณ ป้อมผีเสื้อสมุทร
สัญลักษณ์อย่างหนึ่งที่ทำ�ให้จังหวัดสมุทรปราการได้รับ การจดจำ�คือพระเจดีย์กลางนำ�้ ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และพระพุทธรูปปางห้ามสมุทร อันเป็นที่เคารพสักการะของ ประชาชนทั่วไป ถือเป็นสถานที่ที่ทรงคุณค่าทางพุทธศาสนาและ ประวัติศาสตร์อย่างยิ่ง ถัดไปเพียงไม่กี่ก้าว ยังมีสถานที่อีกแห่งหนึ่ง
ซึ่งเปรียบดังผู้พิทักษ์ดินแดนสยามประจำ�ปากอ่าวไทย ให้พ้นภัย ข้าศึกในวิกฤตการณ์ ร.ศ.112.. แม้ล่วงเลยมาเกือบสองศตวรรษ แต่ “ป้อมผีเสื้อสมุทร” ก็ยังคงสภาพสมบูรณ์ ใกล้เคียงในอดีต เนื่องจากเคยเป็นดินแดน หวงห้ามทางการทหาร ห้ามไม่ ให้บุคคลภายนอกล่วงล้ำ�เข้าไป จน กระทั่งมีการปรับเปลี่ยนนโยบายพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เปิด ให้บุคคลภายนอกเข้าเยี่ยมชมเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ พร้อม สัมผัสบรรยากาศใกล้ชิดธรรมชาติ กันแบบเต็มอิ่ม จุดกำ�เนิดของป้อมผีเสือ้ สมุทรนัน้ เริม่ สร้างในปี พ.ศ.2362 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 บน เกาะในแม่นำ�้เจ้าพระยาทางทิศใต้ขององค์พระสมุทรเจดีย์ โดยมี กำ�แพงป้อม 2 ชั้น ต่อมา พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทรงมีพระราชดำ�ริให้ปรับปรุงใหม่ จนกระทั่ง พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้แก้ ไขอีกครั้ง ซึ่งเปลี่ยนตัวป้อมให้มีลักษณะคล้ายผีเสื้อ
102
โดยใช้ส่วนหางเป็นทางเข้า และทรงนำ�ปืนใหญ่ขนาด 6 ลำ�กล้อง จากประเทศอังกฤษมาใช้แทนปืนโบราณ สำ�หรับเหตุการณ์สำ�คัญอันถูกจารึกหน้าประวัติศาสตร์ เมืองปากนำ�้ ได้ปะทุขึ้นในช่วงหัวค่ำ�ของวันที่ 13 กรกฎาคม ร.ศ. 112 (พ.ศ.2436) ในขณะที่เรือรบฝรั่งเศส 2 ลำ� ทำ�การยิงต่อสู้กับ ทหารบริเวณป้อมพระจุลจอมเกล้าอย่างดุเดือด เมื่อเรือแล่นฝ่า แนวป้องกันจนมาถึงป้อมผีเสื้อสมุทร ฝ่ายตรงข้ามไม่รอช้าและ เปิดฉากโจมตีไม่ยั้ง ฝั่งป้อมผีเสื้อสมุทรก็ส่งกระสุนปืนโต้กลับไป เช่นกัน เนื่องจากเป็นเวลากลางคืน ทำ�ให้ยุทธนาวีครั้งนี้ ไม่สร้าง โศกนาฏกรรมที่รุนแรงแก่ทั้งสองฝ่าย หลังทราบที่มาเบื้องต้นแล้ว คราวนี้มาเอาใจขาลุยกันบ้าง โดยเส้นทางผจญภัยเริ่มกันที่สะพานเชื่อมระหว่างฝั่งองค์พระสมุทร เจดีย์ ไปยังฝั่งเกาะผีเสื้อสมุทร บนความยาว 60 เมตร กว้าง 2.50 เมตร และสูง 5 เมตรจากระดับนำ�้ทะเล ทิวทัศน์รอบข้างจึงสงบ หากมาในเวลาเช้าจะพบท้องฟ้าสดใส สบายตา สบายใจ มองเห็น เรือลำ�น้อยใหญ่แล่นผ่าน ทั้งเรือโดยสาร และเรือหาปลาของชาว ประมงพื้นบ้าน เดินพอเรียกเหงื่อสักนิดตรงทางลงที่คดเคี้ยว ก็จะ เข้าสู่บรรยากาศเขียวขจีสุดจะพรรณนา ภาพ/เนื้อหา: นิตยาสาร “ฟ้าใหม่” 103
เดินต่อมาเรื่อยๆ บนสะพานศึกษา ธรรมชาติ รอบข้างมีต้นไม้นานาชนิด ชมสัตว์ ที่อาศัยอยู่ ในป่าชายเลน หรือถ้าโอกาสดีอาจได้ พบค้างคาวแม่ไก่ ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ ใหญ่ที่สุด ในโลก ว่ากันว่า ป่าชายเลนในป้อมผีเสื้อสมุทร นับว่าอุดมสมบูรณ์มากทีเดียว หากรู้สึกเมื่อยล้า สามารถแวะพักริมทางในศาลาที่คอยบริการนัก ท่องเที่ยวได้เช่นกัน
ถ้ า ใครที่ ม าป้ อ มผี เ สื้ อ สมุ ท รเป็ น ครั้ ง แรก อาจต้องแปลกใจที่สภาพไม่ทรุดโทรมมาก นักเมื่อเทียบกับระยะเวลาที่สร้างมา ซึ่งปัจจุบัน ได้ทำ�การปรับปรุงให้ดีขึ้น แต่ ในขณะเดียวกัน ก็ยังคงความดั้งเดิมเอาไว้ ไม่ว่าจะเป็นคลังทุ่น ระเบิด ในสมัยก่อนเคยเป็นที่เก็บวัตถุระเบิดและ ดอกไม้เพลิง ปืนเสือหมอบ จำ�นวน 3 กระบอก ที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ 5 ทรงสั่งซื้อมาจากประเทศอังกฤษ ซึ่งถือว่า ทันสมัยที่สุดในยุคนั้น เพราะได้บรรจุกระสุนท้าย กระบอก 104
หากเงยหน้ า ขึ้ น ไปจะเห็ น เสาทรงสู ง สี ข าวที่ ยื่ น ขึ้ น มา เหนืออาคารเก็บยุทโธปกรณ์ต่างๆ ลักษณะเป็นรูตรงส่วนหัวทำ�ให้ เข้าใจว่าเป็นลำ�โพง ซึ่งความจริงแล้วคือท่อระบายความชื้นจากตัว อาคารนั่นเอง มากกว่ า เรื่ อ งราวทางประวั ติ ศ าสตร์ แ ละธรรมชาติ อั น หลากหลาย ป้อมผีเสื้อสมุทรแห่งนี้ยังมีที่ยึดเหนี่ยวจิตใจประชาชน ด้วยศาลเจ้าแม่ผีเสื้อสมุทรและศาลเจ้าพ่อลิ้นทะเลดำ� รวมถึงศาล โขนเรือปาราวาตี คอยปกป้องคุ้มครองภัย คิดสิ่งใดก็สมปรารถนา ปิดท้ายด้วยการสูดอากาศบริสุทธิ์ ให้เต็มปอดบริเวณสะพานท่า เทียบเรือ ชิดริมแม่นำ�้เจ้าพระยา ด้วยความยาว 101.20 เมตร ใน
อดีตใช้สำ�หรับเทียบเรือรบและลำ�เลียงทุ่นระเบิด ปัจจุบันได้กลาย เป็ น แหล่ ง พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจที่ ส วยงามอี ก แห่ ง หนึ่ ง ในฝั่ ง อำ � เภอ พระสมุทรเจดีย์เลยก็ว่าได้ มองออกไปก็จะเห็นศาลากลางจังหวัด สมุทรปราการ และหอชมเมืองฯ ในฝั่งอำ�เภอเมืองฯ พร้อมลมพัด เย็นสบายคลายความเมื่อยล้าที่สะสมทั้งวันให้หมดไปเลยทีเดียว ป้อมผีเสื้อสมุทร: ตั้งอยู่บนเกาะในแม่นำ�้เจ้าพระยา อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ เปิดทุกวัน เวลา 08.00-19.00 น. โทร. 0-2425-8419 ภาพ/เนื้อหา: นิตยาสาร “ฟ้าใหม่”
105
106
สัมผัส 4 อารมณ์ ชมนกนางนวล..ที่สมุทรปราการ เมื่ อลมหนาวมาเยื อนหลายคนคงกำ � ลั งมองหาสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วเพื่ อ ดื่มด่ำ�บรรยากาศใหม่ๆ อะไรจะดีไปกว่าการหาแหล่งท่องเที่ยวใกล้ๆ ที่ ไม่ต้องฝ่า รถติดไปไกลถึงต่างจังหวัด เพราะสมุทรปราการก็ขึ้นชื่อว่ามีสถานที่พักตากอากาศที่ ไม่เหมือนใคร โดยเฉพาะช่วงฤดูหนาวนี้ เป็นโอกาสดีที่จะได้ชมนกชมไม้ผ่อนคลาย อารมณ์ โดยเฉพาะการได้ชมนกนางนวล ที่สมุทรปราการ นับเป็นอีกบรรยากาศ ที่น่าจดจำ� นอกจากที่สถานตากอากาศบางปูที่ขึ้นชื่อเรื่องแหล่งชมนกนางนวลแล้ว สมุทรปราการ ยังมีอีกหลายสถานที่ที่นักท่องเที่ยวสามารถเข้ามาชมบรรยากาศนก นางนวลที่แตกต่างกัน.. สนุก-หวาดเสียว ให้อาหารนกแบบลอยฟ้า..ที่ตากอากาศบางปู เข้าสู่หน้าหนาวหลายคนคงนึกอยากพักผ่อนกับครอบครัว แต่สำ�หรับรุ่น เล็กรุ่นใหญ่ที่ชอบชมบรรยากาศริมทะเลใกล้กรุง พร้อมสัมผัสความหวาดเสียวแล้ว ล่ะก็ อันดับแรกคงนึกถึงสถานตากอากาศบางปู ที่มีฝูงนกนางนวลนับพันบินวน เหนือผิวนำ�้ทะเลรอต้อนรับที่เข้ามาเที่ยวชม ไฮไลต์ของที่นี่คือ การให้อาหารนก นางนวลแบบใกล้ชิด โดยใช้กากหมูที่มีจำ�หน่ายบริเวณนั้น หยิบชูขึ้นไปบนท้องฟ้า เพียงชั่วอึดใจนกนางนวลก็จะบินโฉบนำ�กากหมูนั้นไปกิน ซึ่งบางคนอาจจะยัง กล้าๆ กลัวๆ จนบางทีก็ ไม่ยอมปล่อยมือจากกาหมูให้นกเลยทีเดียว นับว่าเรียก ความตื่นเต้น หวาดเสียวให้กับผู้ที่ไม่เคยลองทำ�อะไรแบบนี้ ได้ดี และสำ�หรับที่นี่ สามารถพาครอบครัว ไปเดินเล่นพักผ่อนได้ตลอดทั้งวัน เพราะมีนกนางนวลให้ ได้ ชมแน่นอน 107
108
บินอวดโฉมล้อมรอบเรือ..ที่ปากนำ�้ หากใครที่ไม่มีเวลามากพอ ก็สามารถชมนกนางนวลได้เช่นกัน ในขณะ ที่นั่งเรือข้ามฟากจากท่าเรือวิบูลย์ศรี ฝั่งปากนำ�้ ไปยังฝั่งอำ�เภอพระสมุทรเจดีย์ ก็ จะสังเกตเห็นกลุ่มนกนางนวลฝูงใหญ่บินล้อมากับเรือ ให้ผู้ โดยสารได้ตื่นตาตื่นใจ เสมือนว่าได้เดินทางร่วมกับนกนางนวลเหล่านี้ จนทำ�ให้เพลิดเพลินไปกับการดูนก ระหว่างทางพร้อมเก็บภาพสุดแปลกบรรดานกที่บินล้อมเรือทำ�ให้ ไม่รู้สึกเบื่อกับการ เดินทาง จนลืมเวลาว่านั่งอยู่บนเรือมานานแค่ไหนแล้ว ชมนกบินร่อนลม..อิ่มอร่อย..ที่ตาก๊กบางปู ช่วงเวลาเที่ยงจนถึงบ่าย หลานคนคงจะเริ่มหิวกันแล้ว และมันจะดีแค่ ไหนถ้าเราได้นั่งทานอาหารแบบอิ่มท้องและอิ่มใจไปกับบรรยากาศนั่งมองนก นางนวลบินโฉบไปมา ซึ่งสถานที่ตอบโจทย์ความรู้สึกเหล่านี้อยู่ที่ร้านอาหารสุด ฟ้าลาตะวัน ที่ ไม่เพียงแต่มีอาหารรสชาติอร่อยให้ ได้ลิ้มชิมรสชาติ ยังเต็มไปด้วย บรรยากาศที่มองออกไปจากตัวร้านจะเห็นกลุ่มนกนางนวลเสมือนว่ากำ�ลังลอยนั่ง สงบอยู่บนผิวนำ�้ ทำ�ให้ ได้อารมณ์ของการมองภาพถ่ายที่สวยงามเบื้องหน้า แต่หาก อยากสัมผัสให้ ใกล้ชิดกว่าเดิม ก็สามารถเดินย่อยไปตามสะพาน รับลมเย็นๆ และ ชื่นชมกับฝูงนกนางนวลได้ ไม่แน่ว่า มันอยากจะพร้อมใจกันบินขึ้นจากนำ�้จนทำ�ให้ เราได้ตื่นตาก็เป็นได้ นอกจากนี้ ช่วงบรรยากาศดีๆ อากาศเย็น บริเวณเขื่อนหน้าศาลากลาง จังหวัดก็อาจจะได้เห็นฝูงนกนางนวลบินอวดโฉม เป็นจำ�นวนมากทั้งบินวนอยู่กลาง แม่นำ�้เจ้าพระยา บ้างก็เกาะกลุ่มกันลอยอยู่ผิวนำ�้ จะสวยงามหรือหน้าตื่นตาเพียง ใดคงต้องลองแวะเข้ามาชมนกนางนวลที่สมุทรปราการกันดู... ภาพ/เนื้อหา: นิตยาสาร “ฟ้าใหม่” 109
เปิดมุมใหม่บนถนนปู่เจ้าฯ เคล้าบรรยากาศรื่นรมย์ ชมประเพณีชุมชนวัดแหลม
110
เชื่อว่าชาวสมุทรปราการหรือผู้ ใช้รถใช้ถนนเป็นประจำ� คงคุ้นเคยถนนปู่เจ้าสมิงพราย หรือทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3113 เป็นอย่างดี ด้วยระยะทางประมาณ 6.3 กิโลเมตร ตั้งแต่ ถนนสุขุมวิทบริเวณสำ�โรงเหนือจรดท่านำ�้พระประแดง ริมฝั่งแม่นำ�้ เจ้าพระยา เชื่อมต่อเส้นทางหลายสาย สะดวกสบายต่อการเดินทาง ยวดยานน้อยใหญ่ที่สัญจรไปมาอาจเป็นภาพชินตาของใครหลายคน ครั้งนี้จึงขอพามาสัมผัสแง่มุมใหม่ๆ ผ่านประเพณีท้องถิ่นอย่างก่อ พระเจดีย์ทรายวัดแหลม ศูนย์รวมความสนุกสุขใจในชุมชนกันบ้าง แล้วคุณจะรู้ว่า..ที่นี่ไม่ ได้มีดีแค่เพียงทางผ่านแน่นอน.. ประเพณีก่อพระเจดีย์ทราย เป็นประเพณีที่เดินทางผ่าน กาลเวลาขนานไปกับถนนปู่เจ้าสมิงพรายมาอย่างยาวนาน ตาม ความเชื่อโบราณที่ว่า เมื่อเราก้าวออกจากวัด เศษดินทรายก็ติด เท้าเราออกไปด้วย การก่อพระเจดีย์ทรายจึงเปรียบดังการนำ�ทราย กลับมาถวายคืนแก่วัดสำ�หรับสร้างสาธารณประโยชน์ และยังเป็น กุศโลบายให้คนในชุมชนได้พบปะสังสรรค์ สร้างสัมพันธภาพ และ ความสามัคคีระหว่างคนในชุมชน 111
ด้วยเหตุผลบางประการที่ทำ�ให้ขาดช่วงไประยะหนึ่ง จน เมื่อ 9 ปีก่อน ผู้มีจิตศรัทธาได้รื้อฟื้นประเพณีชุมชนวัดแหลมขึ้น มาอีกครั้ง โดยจัดวันอาทิตย์ ในสัปดาห์สุดท้ายของเดือนพฤษภาคม หรือสัปดาห์แรกของเดือนมิถุนายน ต่อจากวัดท้องคุ้ง และ วัดบางหญ้าแพรกตามลำ�ดับ จากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป เมื่อก่อนชาว บ้านจะขนทรายเข้ามาเอง เปลี่ยนเป็นนำ�ทรายที่ทางวัดเตรียมไว้ มาก่อพระเจดีย์รูปแบบต่างๆ นอกจากนี้ ยังเพิ่มการแห่ยอดพระ เจดีย์ทราย ลักษณะคล้ายทอดผ้าป่า และนำ�ปัจจัยที่ได้มาบูรณ ปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุต่อไป
เริ่ ม ต้ น ประเพณี ด้ ว ยการก่ อ พระเจดี ย์ ท รายภายในวั ด แหลม ชุมชนและหน่วยงานต่างๆ ประชันความคิดสร้างสรรค์ด้วย ความประณีต ประดับด้วยธง ดอกไม้ หรือพานพุ่ม วางเรียงราย ตรงข้ามอุโบสถ ใครที่ผ่านไปผ่านมาก็แวะชมและเก็บภาพน่าจดจำ� เอาไว้ ยามอาทิตย์เคลื่อนย้ายสู่บ่ายแก่ พุทธศาสนิกชนมากหน้า หลายตา แต่งองค์ทรงเครื่องด้วยอาภรณ์สีสวยสด บางคนเรียก เสียงฮือฮาด้วยการสวมชุดแฟนซี รวมตัวกันแห่ต้นเงินที่เกิดจาก แรงศรัทธาบริเวณหน้าชุมชนหรือหน่วยงานของตนเอง ขบวนขยับ ไปตามจังหวะครื้นเครง บรรดายานพาหนะต่างหยุดชม บ้างร้องรำ� ทำ�เพลงยิ้มร่า สร้างสีสันให้ถนนเส้นเดิมแปลกตากว่าที่เคย และแล้ ว ขบวนแห่ ต้ น เงิ น หรื อ ที่ เ รี ย กว่ า ยอดพระเจดี ย์ ทรายก็เดินทางมาถึงภายในวัดแหลม ครั้นเข้าฤกษ์งามยามดี ประธานในพิธีนำ�โดยรองผู้ว่าราชการจังหวัดฯ หัวหน้าส่วนราชการ ได้เปิดงานอย่างเป็นทางการ ขบวนแห่ไม่รอช้า ได้เดินไปรอบ อุโบสถอย่างสนุกสนาน แจกจ่ายความบันเทิงด้วยเสียงเพลงอีก เช่นเคย หลังพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์เรียบร้อย ชาวบ้านจะ นำ�ปัจจัยปักไว้บนยอดพระเจดีย์ทราย บางคนร่วมทำ�บุญตามกำ�ลัง ศรัทธา ไหว้ขอพร เพื่อให้ชีวิตประสบแต่ความสวัสดี ประเพณีก่อพระเจดีย์ทรายวัดแหลม ประจำ�ปี 2560 จบ ลงไปแล้วด้วยความสุข เหนือสิ่งอื่นใด หากไม่มีประเพณีชุมชนเช่น นี้ เราอาจไม่ฉุกคิดเลยว่า ถนนปู่เจ้าสมิงพรายสายนี้ก็มีความงาม ซุกซ่อนอยู่เช่นกัน..
112
ภาพ/เนื้อหา: นิตยาสาร “ฟ้าใหม่”
113
114
115
60 ปี อนุสรณ์สถานแห่งการดูแลสุขภาพ สุขศาลาหลังสุดท้ายในสมุทรปราการ
สุขศาลา สถานพยาบาลที่เคยให้บริการด้านสุขภาพแก่ ประชาชนในอดีต ซึ่งหลายๆ ท่านอาจะหลงลืมไปแล้วว่าเคยมีสถาน ที่แห่งนี้อยู่หรือแม้แต่คนรุ่นใหม่ก็ ไม่เคยรู้จักมาก่อน เนื่องจากได้ พัฒนามาเป็นสถานีอนามัย และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล แต่สำ�หรับชาวบ้านสาขลา ตำ�บลนาเกลือ อำ�เภอพระสมุทรเจดีย์ กลับไม่เคยลืม ถึงแม้ว่ากาลเวลาจะผันผ่านไปนานแค่ไหนก็ตาม อบจ. “นิวส์ฟ้าใหม่” จะขอพาทุกท่านมาตามรอยอดีตกับสุขศาลา หลังสุดท้ายในจังหวัดสมุทรปราการ หมู่บ้านสาขลาหรือหมู่บ้านสาวกล้า ชุมชนโบราณที่มีอายุ มามากกว่า 200 ปี อยู่ติดกับปากอ่าวไทย ชุกชุมไปด้วยสัตว์ทะเล หลากหลายาชนิดไม่ว่าจะเป็น กุ้ง หอย ปู ปลา นานาพันธุ์ ราย ล้อมไปด้วยป่าแสม ไม่มีถนนสำ�หรับรถยนต์เข้าถึงหมูบ้าน ผู้คน ส่วนใหญ่ ใช้การสัญจรกันทางนำ�้ซึ่งจะใช้คลองสรรพสามิตเป็นเส้น
ทางหลักในการสัญจรและชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพประมง ชาวบ้าน ส่วนใหญ่ ใช้ชีวิตกันอย่างเรียบง่าย เมื่อปี พ.ศ.2498 นายนารถ ผลัดรื่นหรือพระครูนารถ อดีต เจ้าอาวาสวัดสาขลาและเป็นหมอแผนไทยคอยรักษาโรคต่างๆ อีก ทั้งเป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้านสาขลาในขณะนั้นได้มีความคิด
116
ที่จะสร้างสุขศาลาประจำ�หมู่ขึ้น เพื่อที่จะได้มีสถานพยาบาลประจำ� หมู่บ้านโดยที่ชาวบ้านจะได้ ไม่ต้องออกไปรักษากับโรงพยาบาล นอกหมู่บ้านให้ลำ�บาก และเมื่อพระครูนารถมีแนวคิดที่จะสร้างสุข ศาลาขึ้น ท่านจึงได้นำ�แนวคิดนี้ ไปปรึกษากับนายหวล ปรีหะจินดา ผู้ ใหญ่บ้านหมู่บ้านสาขลาในสมัยนั้น เพื่อที่จะหาที่ดินเพื่อปลูกสร้าง สุขศาลา จนในที่สุดนางสาวบุญธรรม บุญทู้ (คุณยายจู) ได้มอบ ที่ดินจำ�นวน 4 ไร่ โดยด้านหน้าติดกับลำ�คลอง หลังจากได้ที่ดิน มาแล้วชาวบ้านสาขลาจึงได้ระดมทุน ด้วยวิธีการทอดผ้าป่าเพื่อ ใช้ ในการจัดสร้างสุขศาลาขึ้น ซึ่งได้เงินบริจาคมาทั้งหมด จำ�นวน 50,760 บาท หลังจากได้รับเงินบริจาคมาก่อสร้างเป็นอาคารเรือน ไม้ ซึ่งไม้ที่นำ�มาสร้างนั้นเป็นไม้เนื้อแข็งมีทั้ง ไม้สัก ไม้แดง และไม้
สำ�หรับวิธีการสร้างนั้นใช้วิธีแบบโบราณคือ จะต้องว่าง ฐานรากอาคารด้วยวิธีการใส่แระ (ตอหม้ออาคาร) เพื่อป้องกัน การทรุดตัวของอาคาร ส่วนผนังและพื้นของอาคารจะใช้การเข้า ไม้ด้วยวิธีต่อชนบ่าบาก ทำ�ให้ ไม้แต่ละแผ่นที่นำ�มาวางเรียงต่อกัน ได้ โดยไม่ต้องใช้ตะปูแม้แต่ตัวเดียว โดยอาคารสุขศาลาหลังนี้สร้าง
เป็นอาคารไม้สูงสองชั้น กว้าง 9 เมตร ยาว 25 เมตร ด้านซ้าย มือเป็นห้องตรวจโรคทำ�แผล ทำ�คลอด ส่วนด้านขวามือเป็นห้อง ทำ�งานของเจ้าหน้าที่ เมื่อปี พ.ศ.2499 ขณะที่รูปแบบของอาคาร ชาวบ้านได้ระดมสมองช่วยกันคิด และเป็นผู้ออกแบบ โดยชาวบ้าน ได้ออกแรงร่วมใจกันมาช่วยก่อสร้างจนแล้วเสร็จ และใช้เป็นสถาน พยาบาลในชุมชนมากว่า 40 ปี ซึ่งอาคารหลังดังกล่าวเป็นความ ภาคภูมิ ใจของชาวบ้านสาขลาเป็นอย่างมาก ถึงแม้ว่าในปัจจุบันอาคารหลังนี้จะไม้ ได้ ใช้งานดังเดิม แต่ เต็งรัง โดยที่ชาวบ้านล่องเรือไปขนไม้มาจากอยุธยา ล่องมาตามแม่ ความผูกพันที่มีมาตลอด 60 ปี จึงชาวบ้านบ้านสาขลาไม่อาจทน นำ�้เจ้าพระยาเข้าหมู่บ้านทางคลองสรรพสามิต เห็นอาคารหลังนี้พังสลายไปต่อหน้าต่อตา จึงทำ�ให้ชาวบ้านร่วม แรงร่วมใจกันบูรณะสุขศาลาให้อยู่คู่ชุมชนไปอีกนานแสนนาน ภาพ/เนื้อหา: นิตยาสาร “ฟ้าใหม่” 117
วิถีประมงคลองด่าน.. กับการเปลี่ยนแปลงในรอบศตวรรษ นานนับศตวรรษที่ชาวคลองด่านยึดอาชีพประมงในการ ดำ�รงชีวิต ซึ่งความอุดมสมบูรณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่มาจากการพัดพา ตะกอนเล็กๆ จำ�พวกทรายและโคลนมาในปริมาณมากจากแม่นำ�้ เจ้าพระยาจนเกิดดินดอนสามเหลี่ยมรูป ใบพัดแล้วไหลลงสู่คลอง
ด่านซึ่งเป็นพื้นที่ปลายนำ�้ ส่งผลให้มีระบบนิเวศแบบ 3 นำ�้ ได้แก่ นำ�้จืด นำ�้เค็ม และนำ�้กร่อย ที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุ ดึงดูดสัตว์นำ�้ หลายประเภท เช่น ปลาอินทรี ปลาเก๋า ปลากะพงดำ� กุ้ง เคย หอย แครง หอยแมลงภู่ หอยพิมพ์ หอยหลอด ปูม้า ปูทะเล ปลาสลิด
หรือแม้แต่ปลาทูต่างก็อพยพมารวมตัวกัน กลายเป็นแหล่งประมง อันล้ำ�ค่าที่เลื่องชื่ออีกแห่งในประเทศไทย “หลายคนอาจเคยได้ยินว่าปลาสลิดบางบ่ออร่อยสุดใน เมืองไทย แต่ความจริงแล้ว คลองด่านบ้านเรายังมีปลาทูที่เป็น สินค้าดีขึ้นชื่ออีกอย่างหนึ่งด้วย โดยที่นี่จะเลือกแต่ปลาทูสาว เนื้อ ขาว ตัวไม่โตมาก ผิวจึงไม่เหี่ยวย่น รสชาติออกหอมมัน เหมาะ กับการนำ�ไปทำ�ปลาทูเค็ม ซึ่ง 1 หลัว (ตะกร้าพลาสติกขนาดใหญ่) ราคาแค่ 10-15 บาทเท่านั้น” นายสมชาย ปลูกปลื้ม อดีตชาว ประมงย้อนอดีตถึงผลผลิตชั้นดีที่คลองด่าน คำ�บอกเล่าของชาวประมงทำ�ให้เรานึกภาพความอุดม สมบูรณ์ ในคลองด่านได้อย่างชัดเจน แต่ทุกอย่างต้องหยุดลงแค่ นั้น เพราะนายจรูญ เรืองแจ่ม ชาวประมงอีกคนร่วมเสริมทัพ ว่าทั้งหมดเป็นเพียงอดีตไปแล้ว หลายปีที่ผ่านมา คลองด่านเจอ ปัญหานำ�้เสียอย่างหนัก ลูกนำ�้เค็มหลายชีวิตคาดการณ์ว่า สาเหตุ มาจากโรงงานอุตสาหกรรมลักลอบปล่อยนำ�้เสียลงคลองด่าน เมื่อ ปล่อยมากๆ เข้าก็เกิดปรากฏการณ์ขี้ปลาวาฬหรือแพลงก์ตอนบลูม ขึ้น ทำ�ให้ ไนโตรเจนและออกซิเจนหายไป สัตว์นำ�้ก็ตายกันเป็นเบือ
118
ประกอบกับพระราชกำ�หนดประมง ปี 2558 ที่จำ�กัดพื้นที่ ให้เรือเล็ก ออกจากฝั่งไม่เกิน 3 ไมล์ทะเล หรือประมาณ 5 กิโลเมตร แม้จะ ดูเหมือนเป็นการกำ�หนดพื้นที่กันอย่างชัดเจน แต่พื้นที่ 3 ไมล์นั้น เป็นแหล่งอนุบาลสัตว์นำ�้วัยอ่อน ซึ่งมีความสำ�คัญต่อระบบนิเวศ ระยะยาวในท้องทะเลไม่น้อยทีเดียว จากการสำ � รวจปริ ม าณสั ต ว์ นำ �้ ท ะเลของสะพานปลา สมุทรปราการ ในปี 2558 พบว่า มีจำ�นวน 12,099 เมตริกตัน มูลค่า 522,920,750 บาท หากย้อนกลับไปเมื่อปี 2549 หรือ ประมาณ 10 ปีมาแล้วจะเห็นว่า มีจำ�นวน 42,308 เมตริกตัน มูลค่า 3,201,398,501 บาท ซึ่งลดลงไปมากกว่าครึ่ง นับเป็นผลลัพธ์ที่น่า วิตกกังวลไม่น้อยเลยทีเดียว “เมื่อก่อนเราหาปลาใช้วิธีการดูนำ�้ ดูทิศ ดูลม เวลาออกเรืออวน
ปลาชัดเจน ต่างจากปัจจุบันที่หันมาใช้ซาวเดอร์ (sounder) ในการ วัดระยะความลึกของนำ�้ก่อนแล้วถึงจับปลาได้ นั่นเท่ากับว่า ปัจจุบัน สัตว์นำ�้มีปริมาณลดลงอย่างเห็นได้ชัด” นายประจวบ เรืองแจ่ม ชายสูงวัยผู้ยึดอาชีพชาวประมงมากกว่าครึ่งชีวิตเล่าถึงชะตากรรมที่ มิอาจหลีกเลี่ยงได้
จากเสียงสะท้อนของชาวประมงที่ต้องเผชิญปัญหาและ ความเปลี่ยนแปลงบนผืนนำ�้อันเปรียบดังบ้านและแหล่งทำ�กินแห่ง นี้ มักมีต้นสายปลายเหตุมาจากการกระทำ�ของมนุษย์แทบทั้งสิ้น เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป คลองด่านในวันนี้จะแตกต่างกันจากเมื่อร้อย ปีก่อนไปมาก จากเดิมที่เป็นศูนย์กลางอาหารทะเลเต็มเปี่ยมไปด้วย คุณภาพ จะกลายเป็นพื้นที่ทำ�ประมงที่ได้ผลกระทบต่างๆ จนแทบ ไม่เหมือนเดิม แต่ชาวบ้านหลายคนที่ยังยืนหยัดในอาชีพนี้ก็ต้อง ล้อม จะนำ�ทางมะพร้าวผูกหินแล้วโยนลงไปในนำ�้เป็นเหยื่อล่อ เมื่อ ปรับตัวเพื่อให้เข้ากับสภาพแวดล้อมพร้อมทุกทุกสถานการณ์ ถึง ปลามารวมกลุ่มกันก็จะใช้อวนล้อมไว้ ที่เป็นแบบนี้ ได้เพราะ เมื่อ ผลผลิตจะไม่มากมายดังเดิมแล้วก็ตาม.. ก่อนนำ�้ ใสและมีความอุดมสมบูรณ์เป็นอย่างมาก จึงมองเห็นตัว
ภาพ/เนื้อหา: นิตยาสาร “ฟ้าใหม่” 119
120
สำ�รวจรูปปั้นวัดไพชยนต์ฯ คาดเป็นเทวดาประดับเมรุวังหน้า ร.3 ใครก็ตามที่มาเยือนนครเขื่อนขันธ์ สิ่งหนึ่งที่ ไม่ควร พลาดเลยก็คือการกราบสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และชมความงดงาม จากวัดวาอารามหลายแห่ง ที่มากด้วยเสน่ห์ ในมิติทางศิลปกรรม และประวัติศาสตร์ ไม่เว้นแม้แต่วัดไพชยนต์พลเสพย์ราชวรวิหาร ที่นอกจากจะโดดเด่นด้วยสถาปัตยกรรมอันวิจิตรแล้ว ภายในพระ วิหารยังมีรูปปั้นแปลกตา ตั้งอยู่บริเวณฐานพระประธานปางมาร วิชัย ทั้งสิ้น 8 องค์ ที่ดูไม่เข้ากันกับศิลปกรรมต่างๆ ภายในวัด จาก ลักษณะเทพพนม ทำ�ให้ตั้งข้อสังเกตว่า อาจเป็นเทวรูปประดับพระ เมรุของวังหน้าในรัชกาลที่ 3 และคำ�ถามต่อมาคือ แล้วเหตุใดกลุ่ม รูปปั้นเหล่านี้ถึงมาอยู่ที่นี่ได้? สำ�หรับการพิสูจน์ข้อสมมติฐานดังกล่าว เริ่มต้นจาก สังเกตลักษณะของรูปปั้นทั้ง 8 องค์ ซึ่งสิ่งที่พบเห็นเด่นชัด คือ มี สีกายต่างๆ เช่น เขียว แดง ดำ� ชมพู รวมถึงมีพระพรหมสี่หน้า ท่าทางนั่งพนมมือไว้ระดับอก พระพักตร์อารมณ์ยิ้มแย้มแจ่มใส พระวรกายอยู่ ในสัดส่วนที่เหมาะสม พร้อมทรงเครื่องประดับ มากมาย อาทิ ชฎา กรองศอ ตาบหน้า สังวาล กำ�ไล ข้อมือ และ ภูษา จากสิ่งที่ปรากฏตรงหน้าทำ�ให้พิจารณาได้ว่า รูปปั้นเหล่านี้ เหล่านี้อาจเป็นศิลปะในช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีความคล้ายคลึง กับพระพุทธรูปในสมัยรัชกาลที่ 3 ที่มีรูปลักษณ์งดงาม ดังที่เรียกว่า “พระพักตร์ดูเยาว์วัย”1 พุทธศิลป์ที่ปรากฏได้สอดคล้องกับประวัติการสร้างวัดที่ เริ่มขึ้นในช่วงปลายรัชกาลที่ 2 เมื่อปี 23652 โดยสมเด็จพระบวร ราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ ซึ่งในขณะนั้นคือกรมหมื่นศักดิพลเสพ ต่อ มา ได้รับอุปราชาภิเษกเป็นพระมหาอุปราช ตำ�แหน่งวังหน้า ใน รัชกาลที่ 3 จากลักษณะรูปปั้น เป็นที่มาของข้อสังเกตได้ว่า กลุ่มรูป ปั้นเหล่านี้สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 3 เช่นกัน ข้อสังเกตต่อไปคือ เทวรูปทั้ง 8 องค์ สร้างขึ้นเพื่อประดับ พระเมรุของสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ วังหน้าใน
รัชกาลที่ 3 จริงหรือไม่ จากคำ�อธิบายของสมเด็จฯ กรมพระยา ดำ�รงราชานุภาพ ที่ทรงกล่าวถึงคติทางศาสนาพราหมณ์กับสถานะ ของพระมหากษัตริย์ว่า พระเจ้าแผ่นดินเป็นดังพระนารายณ์มา บำ�รุงโลก เมื่อสิ้นชีพแล้ว ย่อมกลับคืนสู่สวรรคเทวโลกตามเดิม3 สอดคล้องกับคำ�ให้การของขุนหลวงหาวัด ซึ่งได้บันทึกไว้ ในหนังสือ เล่มเดียวกัน ยังระบุไว้ว่า พระเมรุสำ�หรับพระบรมวงศานุวงศ์และ ขุนนาง จะมีรูปเทพพนมรอบด้าน เปรียบดังสรวงสวรรคที่รายล้อม ไปด้วยเทพยดามากมาย4 ประเด็นนี้จึงเป็นข้อมูลที่น่าเชื่อถือไม่ น้อยทีเดียว ประกอบการพบหลั ก ฐานชิ้ น สำ � คั ญ ที่ ไ ด้ บ รรจุ พ ระบร มอัฏฐิพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ รวมถึงพระเจ้าราชวรวงศ์ เธอพระองค์เจ้ากำ�ภู พระโอรส บริเวณใต้ฐานพระประธานในพระ วิหาร มีนำ�้หนักพอจะสนับสนุนข้อสงสัยว่า รูปปั้นเหล่านี้คือเทวดา ที่ ใช้ประดับพระเมรุของวังหน้า รัชกาลที่ 3 และนำ�กลับมาไว้ ในวัดที่ ท่านได้สร้างขึ้นนั่นเอง อย่างไรก็ตาม นี่เป็นเพียงข้อสันนิษฐานเบื้องต้นจากการ วิเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และการสังเกตลักษณะภายนอก ของกลุ่มรูปปั้นนี้เท่านั้น แต่เชื่อว่า นี่อาจเป็นจุดเริ่มต้นในการ บันทึกประวัติศาสตร์ที่เคยตกหล่นให้สมบูรณ์อีกครั้ง 1 จากบทความ การดูรูปแบบพระพุทธรูปสมัยต่างๆ โดย รศ.ดร. ศักดิ์ชัย สายสิงห์ 2 เฉลิม สุขเกษม. สมุทรปราการ. กรุงเทพฯ, 2515, น.155 3 นนทพร อยู่มั่งมี. ธรรมเนียมพระบรมศพและพระศพเจ้านาย. กรุงเทพฯ, 2559, น.215 4 นนทพร อยู่มั่งมี. ธรรมเนียมพระบรมศพและพระศพเจ้านาย. กรุงเทพฯ, 2559, น.230 ภาพ/เนื้อหา: นิตยาสาร “ฟ้าใหม่”
121
สัมภาษณ์
นายแพทย์ สุวัช เซียศิริวัฒนา ผู้อำ�นวยการ โรงพยาบาลสินแพทย์
ประวัติความเป็นมา และวิสัยทัศน์ของโรงพยาบาลสินแพทย์ • รพ.สินแพทย์ เทพารักษ์ เป็นโรงพยาบาลลูกของ รพ.สินแพทย์ ใหญ่ ที่รามอินทรา อีกแห่งคือ รพ.เสรีรักษ์ ที่เป็นแห่งที่ 2 และที่ นี่คือแห่งที่ 3 ที่อยู่ ในเครือสินแพทย์ แต่ ในลักษณะการทำ�งานโรง พยาบาลสินแพทย์ ก็อยู่ ในเครือของ รพ.รามคำ�แหง ที่ประกอบด้วย โรงพยาบาลใหญ่ๆ คือ รามคำ�แหง, วิภาวดี, วิภาราม, สินแพทย์ และเสรีรักษ์ ฉะนั้นโรงพยาบาลในเครือเราทั้งหมดมีอยู่ด้วยกัน 30 กว่าโรง แต่สำ�หรับในชื่อของสินแพทย์ เรานั่นเพิ่งจะเริ่มต้น ที่เพิ่ง ขยายเข้ามาสู่พื้นที่ จ.สมุทรปราการ ก็ถือเป็นอีกทางเลือกหนึ่งใน พื้นที่เฉพาะเทพารักษ์ ซึ่งเหตุที่ทางเครือมองว่าตรงนี้ เป็นชุมชนดั้งเดิม ที่มี ผู้คนอาศัยหนาแน่น เส้นทางการคมนาคมค่อนข้างสะดวก โดย เราเน้นการรักษาผู้ป่วยทั่วไป เนื่องจากทางสมุทรปราการเองก็มี รพ. ดีๆ อยู่หลายแห่งอยู่แล้ว เรามาในจุดที่เป็นอีกทางเลือก โดย เราไม่ได้ ไปเน้นในเรื่องของกลุ่มบัตรทอง หรือ กลุ่มประกันสังคม แต่เราเน้นในเรื่องการให้บริการโดยทั่วไป ที่เรายึดมั่นในหลัก อุ่น ใจ ทันสมัย ใกล้บ้าน คิดว่ามันเป็นประโยชน์สำ�หรับคนในพื้นที่ จ.สมุทรปราการ ในการเลือกดูแลรักษา โดยที่ราคาทุกคนสามารถ เข้าถึงได้
การเข้ามาขยายเครือข่ายในพื้นที่ จ.สมุทรปราการ • สาเหตุที่เราเข้ามาพื้นที่ตรงนี้ คือ 1.ความหนาแน่นของคนใน พื้นที่ 2.คือมีประชากรที่ไม่ ใช่คนพื้นที่เข้ามาทำ�งานค่อนข้างเยอะ 3.คือเท่าที่เมืองสมุทรปราการกำ�ลังขยายตัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งมี สนามบินสุวรรณภูมิ ซึ่งอยู่ไม่ไกลนัก ตรงนี้มองว่าเป็นโลเคชั่นที่ เหมาะ เพราะว่าตอนนี้การคมนาคมเข้าสู่ ใจกลางกรุงเทพเป็นเรื่อง ที่ ใช้เวลาค่อนข้างนาน แต่กลับกันจากสนามบินมาที่เรานั้นก็ ไม่ เกิน 30 นาที ซึ่งเป็นความสะดวกสบายในอนาคต ที่เรามองถึงกลุ่ม ลูกค้าที่รองรับนโยบาย เมดิคอลฮับ ของทางรัฐบาล ซึ่งเรามองว่า เป็นจุดที่น่าสนใจ ความโดดเด่น และเชี่ยวชาญของโรงพยาบาลสินแพทย์ • ในเรื่องบริบทการให้บริการเราวางไว้เป็นลำ�ดับขั่น ตามระยะ เวลา ระยะแรกเราเพิ่งเปิดใหม่ ที่เราวางการให้บริการทัดเทียมกับ รพ.ตติยภูมิ โดยทั่วไป คือมีแพทย์เฉพาะทางครบทุกสาขา และเปิด ให้บริการตลอด 24 ชม. อันนี้คือจุดที่เราวางไว้ ในระยะแรก โดยใน สาขาที่สำ�คัญๆ ไม่ว่าจะเป็น อายุรกรรม, กุมารกรรม, สูติ-นรีเวช, ศัลยกรรม รวมถึงในเรื่องของศัลยกรรมกระดูกและข้อ ฯลฯ นี่คือ สาขาหลักๆ ที่ครบครัน ตอนนี้เรามีแพทย์ประจำ�หลักๆ 18 ท่าน แพทย์พาร์ทไทม์ อีก 90 กว่าท่าน เพราะฉะนั้นเราพร้อมทั้งในเรื่องการให้บริการ และรองรับในเรื่องของผู้ป่วย นี่คือเฟสแรก ส่วนในลำ�ดับต่อไปเรา จะให้บริการในโรคที่ยากขึ้น ในเรื่องของโรคเฉพาะทาง เช่น ใน อนาคตเราอาจมีบริการล้างไตสำ�หรับผู้ป่วยที่เป็นโรคไตวายเรื้อรัง บริการส่วนหัวใจสำ�หรับผู้ป่วย หรือแม้แต่ ในเรื่องของผิวพรรณ ความงาม ตรงนี่คือจุดที่เรามองตลาดอยู่ ซึ่งเราต้องดูก่อนว่ากลุ่มผู้ ป่วย มีความต้องการด้านไหนอย่างไร โดยดูจากข้อมูลการให้บริการ ณ ตอนนี้ ซึ่งเท่าที่ผ่านมา ในช่วง 4-5 เดือน ก็มีผู้เข้ามารับบริการ อยู่จำ�นวนหนึ่ง ซึ่งเป็นแนวโน้มที่ดีที่ผู้คนเริ่มรู้จัก และเข้ามาใช้ บริการสำ�หรับแพทย์เฉพาะทางในสาขาต่างๆ
แต่ทั่งนี้ ในเบื้องต้นคือเรามีพร้อมในระดับตติยภูมิ แต่ ถ้าเกิดผู้ป่วยมีความต้องการที่มากกว่า เราก็มีความโชคดีที่เรา มี รพ.แม่ คือ รพ.สินแพทย์ รามอินทรา และรพ.เสรีรักษ์ ในการ รองรับเพราะทั้งสองที่นี้ ให้บริการมาร่วม 30 ปี อีกแห่งก็ 10 กว่า ปี ฉะนั้นในเรื่องความพร้อมต่างๆ จะมีมากกว่า ฉะนั้นเราสามารถ ดูแลผู้ป่วยได้แบบครบวงจรเพียงแต่ว่าบางเคสเราอาจต้องส่งต่อไป ยังโรงพยาบาลเครือข่าย โรงพยาบาลสินแพทย์ ในฐานะโรงพยาบาลเอกชน ซึ่งเป็นธุรกิจ ประเภทหนึ่ง มีมุมมองต่อศักยภาพของจังหวัดสมุทรปราการ อย่างไร • จ.สมุทรปราการ อยู่ ในเขตปริมณฑล ซึ่งมีความคล้ายคลึงเกือบจะ เหมือนกรุงเทพ แต่มีความโดดเด่นคือมีโรงงานอุตสาหกรรมเยอะ มีความหนาแน่นของชุมชนที่มีศักยภาพทั้งในแง่เศรษฐกิจ และ วัฒนธรรม รวมถึงในเรื่องการท่องเที่ยวต่างๆ จ.สมุทรปราการ มี ความน่าสนใจ เพราะฉะนั้นเราก็มองว่าจะทำ�อย่างไร ที่จะสามารถ ให้บริการ สอดคล้องความต้องการกับชุมชนได้ ตรงนี้เราพยายามที่ จะดูว่าแนวคิดการให้บริการของเราต้องมีคุณภาพพอสมควร เพราะ ด้วยการให้บริการของเราคือธุรกิจประเภทหนึ่ง และ รพ.เอกชน ใน จังหวัดสมุทรปราการ ก็มีค่อนข้างเยอะ และเราคืออีกแห่งที่เพิ่ม เติมเข้ามาในเรื่องของธุรกิจของการดูแลสุขภาพ เราจะมาเสริม ในส่วนที่โรงพยาบาลอื่นอาจมีแล้ว แต่คนไข้บางส่วนอาจมีความ ต้องการเพิ่มเติมขึ้นเราก็จะเพิ่มเติมในส่วนนี้ ให้เขาเพื่อเป็นทาง เลือก ตรงนี้เราจะทำ�อย่างไรในการดูแล เรามองว่าเราพยายาม ใส่ ใจในทุกรายละเอียดของคนไข้ ในการให้บริการที่ดีขึ้น หรือ ดี กว่า ด้วยความที่เราเป็น รพ.ใหม่ แน่นอนว่าผู้เข้ามารับบริการจะ มีความคาดหวังที่มากกว่า ตรงนี้เราจะพยายามเติมเต็มในเรื่องการ ให้บริการที่ดีขึ้นในทุกครั้งที่เข้ามารับบริการ เพราะฉะนั้นเราต้อง ดูแลในรายละเอียดของคนไข้แต่ละคน ทั้งนี้ทั้งนั้นเนื่องจากว่าในตอนนี้เรามีเทคโนโลยี ในเรื่อง ระบบสารสนเทศ มารองรับตรงนี้ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ป่วย และญาติ
124
สามารถร่วมตัดสินใจกับแพทย์ ได้ โดยเราจะนำ�ข้อมูลลงระบบไอ แพด ทำ�ให้คนไข้สามารถรับรู้ข้อมูล ภาพเอกซเรย์ หรือการทำ�ซีที สแกนแล้ว มีความผิดปกติตรงไหน ทำ�ให้สามารถร่วมกันประเมิน แนะนำ�แนวทาง และให้ทางเลือกในการรักษาได้ ตรงนี้เป็นการ วางแผนดูแลผู้ป่วยที่เราเข้ามาในการเติมเต็มบางส่วน ซึ่งบางที คนไข้อาจมีความต้องการทางเลือกใหม่ๆ ในการรักษา จังหวัดสมุทรปราการ เป็นเมืองอุตสาหกรรม อยากให้ฝากแนวทาง การดูแลสุขภาพให้คนสมุทรปราการ • จ.สมุทรปราการ เป็นเมืองอุตสาหกรรมแรกๆ ของประเทศ เพราะฉะนั้นผมเชื่อมั่นว่าโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดก็มีการ ปรับตัว เยอะพอสมควร ในการปรับเข้ากับโหมดไทยแลนด์ 4.0 ที่ สำ�คัญคือการที่เราจะเข้าไปดูแลตรงนี้ ได้ ในเรื่องการให้การดูแล สุขภาพของคนงาน หรือผู้ประกันตน ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ ในนิคม อุตสาหกรรม ตรงนี้มันมีบริการอยู่ 2-3 อย่างที่เกี่ยวข้องกัน คือ 1.การบริการในโรงงานอุตสาหกรรมเอง ที่เราพร้อมให้การบริการ อยู่แล้ว ในเรื่องการตรวจก่อนเข้างาน หรือตรวจเฉพาะสำ�หรับ งาน ที่เราสามารถตรวจให้ ได้ 2.คือการเข้าไปดูแลหน้างานเป็นงาน ชีวอนามัย โดยนำ�บุคลากรทางการแพทย์ ไปให้บริการ ณ โรงงาน ซึ่งจะสะดวกในแง่การเดินทาง สามารถที่จะให้บริการในการตรวจ และบอกในเรื่องความเสี่ยงจุดไหนอย่างไร ใครที่อยู่ ในกลุ่มที่จะต้อง รับการรักษา หรือต้องเปลี่ยนพฤติกรรมทางด้านสุขภาพ นอกจาก นั้นแล้วด้วยความที่เป็นเมืองอุตสาหกรรม เพราะฉะนั้นในเรื่อง การเกิดโรคที่เกี่ยวกับการทำ�งานในด้านนี้ เครื่องมือที่เรามีอยู่ เรา คิดว่าเราสามารถให้คำ�ตอบผู้ป่วยได้ดีขึ้นเร็วขึ้น เพราะต้องยอมรับ ว่าทุกวันนี้โรคมีการเปลี่ยนแปลง ตามพฤติกรรมการใช้ชีวิต ซึ่งเรา เข้ามาเสริมในเรื่องการดูแลสุขภาพ รวมถึงป้องกันตัวเองจากโรค ภัยได้ดีขึ้น เป้าหมาย และวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร และทิศทางการพัฒนาโรง พยาบาลสินแพทย์ ในอนาคต • ด้วยคำ�ว่า สินแพทย์ ในเรื่องงานอนามัย แม่ และเด็ก เรามี บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในด้านนี้อยู่ค่อนข้างเยอะ ที่เราให้ความ สนใจค่อนข้างมาก แต่ ในเบื้องต้นระยะแรกคือให้บริการตติยภูมิ ครบทุกสาขา ต่อไปคือการดูแลทั้งนี้เราจะพัฒนาในโรคยากต่อไป ซึ่งไม่ ใช่แค่อาศัยแพทย์แค่เฉพาะทาง แต่ต้องเฉพาะโรค นี่คือเป้า หมายที่เรามองไว้ ส่วนในอนาคตเราดูว่าประเทศเรากำ�ลังเปิดรับ
AEC ทำ�ให้เรามองไปที่การรองรับผู้ป่วยตรงนี้ รวมถึงในเรื่องของ เมดิคอลฮับ ตรงนี้มีความเหมาะสมด้วยระยะทางที่ ใกล้กับสนามบิน สุวรรณภูมิ ซึ่งตรงนี้เป็นเป้าหมาย และวิสัยทัศน์ ระยะยาวที่เรา มองไว้ รพ.เราเป็นธุรกิจการให้บริการในเรื่องการดูแลสุขภาพ ที่ พยายามจะน้อมนำ�พระราชดำ�รัสในหลวงรัชกาลที่ 9 ในเรื่องของ เศรษฐกิจพอเพียงที่จะนำ�มาปรับใช้กับการให้บริการแก่ผู้ป่วย ใน เรื่องความพอเพียง พอประมาณ คือการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ด้วยการดูแลตามมาตรฐานทางการแพทย์ที่ไม่มากเกินไป แต่ ไม่ น้อยเกินไป คนไข้ต้องได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง ตามเหตุ และผล ทางการแพทย์ อีกเรื่องคือในเรื่องของภูมิคุ้มกัน ถ้าเราสามารถ บอกความเสี่ยงของคนไข้ ได้เร็ว คนไข้ก็มีโอกาสปรับเปลี่ยนใน เรื่องพฤติกรรม ป้องกันโรคได้ เรามีทั้งวัคซีน มีความรู้ต่างๆ ที่ พร้อมมอบให้กับประชาชน อีกเรื่องคือเทคโนโลยีที่เรามีที่ช่วยให้ คนไข้สามารถรู้ โรคได้เร็ว ซึ่งจะช่วยรักษาได้เร็วขึ้น เป็นการนำ�เอา เทคโนโลยี มาประยุคต์ ใช้ และสุดท้ายในเรื่องจริยธรรมทางการ แพทย์ ของเราแม้จะเป็นโรงงานเอกชน แต่เราก็ยึดตามกฎหมาย ที่กระทรวงสาธารณสุขกำ�หนด เราให้ความสำ�คัญ แพทย์ของเรา ต้องให้บริการที่ไม่ก่อให้เกิดความเสี่ยง และตามจริยธรรมทางการ แพทย์ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางของพระองค์ท่านได้ ให้ ไว้เกี่ยว กับเศรษฐกิจพอเพียง และน้อมนำ�ตรงนี้มาประยุคต์ ใหญ่เพื่อให้ บริการแก่ประชาชนต่อไป
โรงพยาบาลเราเป็นอีกทางเลือก โดยมีมอตโต้ว่า อุ่นใจ ทันสมัย ใกล้บ้าน และเราจะใส่ ใจดูแลในทุกรายละเอียดของผู้ป่วย ทั้งนี้เราจะพยายามให้บริการที่ดี สำ�หรับผู้มารับบริการทุกท่าน อย่างเท่าเทียมกันตามมาตรฐานวิชาชีพ
125
128
สโมสรฟุตบอลจังหวัดสมุทรปราการ 30 ตุลาคม ปี 2009 สโมสรฟุตบอลจังหวัด สมุทรปราการ ก่อตั้งขึ้นโดยเป็นสโมสรสมาชิกของสมาคม กีฬาจังหวัดสมุทรปราการ เลขที่สมาชิก 1507 พร้อมการ ลงนามรับรองจากท่านผู้ว่าราชการจังหวัดอย่างถูกต้อง ให้ สิทธิ์เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจังหวัดสมุทรปราการ พร้อมกับ สมัครเข้าเป็นสมาชิกของสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อเข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลลีกอาชีพ ครั้งแรกของจังหวัดสมุทรปราการ ในรายการ “ลีกภูมิภาค ดิวิชั่น 2” ประจำ�ปี 2009 และนี่คือทีมฟุตบอลอาชีพทีมแรกใน จังหวัดสมุทรปราการ ทีมตัวแทนจังหวัด ทีมที่เต็มไปด้วยเรื่อง ราวต่างๆ มากมาย ทั้งนี้ สมุทรปราการเอฟซี ได้ทำ�การจดทะเบียน บริษัทขึ้นมาในชื่อ “บริษัท สโมสรฟุตบอลจังหวัดสมุทรปราการ จำ�กัด” เพื่อการบริหารจัดการสู่ธุรกิจฟุตบอลอาชีพอย่าง แท้จริง มีหลักฐานการทำ�ทีมทุกอย่างที่โปร่งใส และสามารถ ตรวจสอบได้ โดยรายได้หลักของสโมสรฯ จะเกิดจากผลงาน ในสนาม อันจะนำ�มาซึ่งแฟนคลับ ก่อนกระจายออกวงกว้าง สู่การได้รับการสนับสนุนจากสปอนเซอร์ และต่อยอดไปสู่การ เป็น “แบรนด์” ชั้นนำ� ที่สามารถยืนอยู่ได้ด้วยตัวเอง ตาม แบบฉบับของทีมฟุตบอลอาชีพ 129
สโมสรฟุตบอลจังหวัดสมุทรปราการ ยังเดินหน้า พัฒนาอย่างเป็นระบบ ด้วยการดำ�เนินการจดแจ้งสโมสรกีฬา อาชีพ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมลีกอาชีพ กับการกีฬาแห่ง ประเทศไทย โดยเป็นสมาชิกเลขที่ 062 เพื่อให้ ได้มาตรฐาน คลับไลเซนซิ่ง หรือ ข้อกำ�หนดที่สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) ทีมสร้างผลงานเป็นที่ประจักษ์ ไม่น้อย ไล่เรียงจาก ตำ�แหน่งแชมป์โซนตะวันออก (ฤดูกาล 2009), รองแชมป์ โซนตะวันออก (ฤดูกาล 2010), ลงแข่งในนามสมาคมกีฬา แห่งจังหวัดสมุทรปราการ คว้าถ้วยพระราชทานสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ‘’มวก. นนทบุรี คัพ’’ ครั้งที่ 24 ได้สำ�เร็จ ปัจจุบันเกิดการเปลี่ยนแปลงระบบแข่งขันลีกอาชีพ อีกครั้ง ในยุคการบริหารงานของ พลตำ�รวจเอก สมยศ พุ่ม พันธุ์ม่วง นายกสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย มีการ แบ่งระบบลีกอาชีพเสียใหม่ภายใต้การจัดของ บริษัท ไทย ลีก จำ�กัด ตั้งแต่ฤดูกาล 2017 จะแบ่งออกเป็น 4 ระดับ โดย สมุทรปราการเอฟซี อยู่ ในไทยลีก 4 โซนกรุงเทพปริมณฑล และนี่คือเรื่องราวบนหน้าประวัติศาสตร์ปีที่ 9 ของ สโมสรฟุตบอลจังหวัดสมุทรปราการ
130
LEG 1 เป็นขวบปีที่ดูน่าคึกคัก เมื่อ “บิ๊กอาร์ท” เอกสิทธิ์ คุณานันทกุล ประธานบริหารฯ, “บิ๊กโอ๊ต” อภิชัจ อินสว่าง รอง ประธานบริหารฯ นำ�ผู้สนับสนุนเอกชนเข้ามาสู่ทีม อาทิ อิออน ธน สินทรัพย์, เอเจเติมสบาย, ไมอามี่ บางปู, รพ.จุฬารัตน์ 3, สาหร่าย ซิลิโกะ และข้าวตราไทไท, ฮานามิ, สยามอีสเทิร์นอินดัสเตรียล พาร์ค ฯลฯ พร้อมได้แบรนด์เสื้อกีฬาน้องใหม่อย่าง บริษัท ซักกา กู๊ดดี ไซน์ จำ�กัด สนับสนุนชุดแข่งขันให้กับ ทัพ “ป้อมปราการ” สมุทรปราการ เอฟซี ทีมในไทยลีก 4 โซนกรุงเทพปริมณฑล ใน ฤดูกาล 2017 โดยล่าสุดอวดโฉมชุดแข่งขันเป็นที่เรียบร้อย ในคอน เซปต์ “9 together” ด้านขุมกำ�ลังในทีมก็ถือว่าพร้อมไม่น้อย เมื่อได้ “โค้ช เบื้อก” ธนบูรณ์ คณะโต กุนซือเจ้าของสถิติชนะติดต่อกันสูงสุดของ
หน้าประวัติศาสตร์สโมสรฯ (ฤดูกาล 2015) มากุมบังเหียน บวกกับ การผสมผสานแข้งเก่าใหม่ที่ลงตัว อาทิ อิศราธร ปั้นบุญชู, ภาคภูมิ มะลิรุ่งเรือง, เมธี พรศรี, กาเบรียล มินตา, พรชัย พูลผล, ฮามีรูล เจ๊ะอาแซ, กฤษณพงศ์ ชุมมวล และวีระยุทธ แจ่มเจริญ, ฮัวคิน กา เซียร์ บาเบโร่ ฯลฯ ความคาดหวังดีดตัวสูงขึ้น อย่างไรก็ตามการที่ทีมถูกย้าย เข้าโซนกรุงเทพหนแรก ไม่งา่ ยอย่างทีค่ ดิ เมือ่ ทีมต้องอาศัยเวลาปรับ ตัวอยูเ่ ดือนเศษๆ กว่าจะหยิบชัยนัดแรกก็ปาเข้าไปเกมที่ 6 ในเกมดาร์บ้ี แมตช์นดั ประวัตศิ าสตร์ แน่นอนมันช่วยปลุกให้ “ป้อมปราการ” ดีขึ้น ในอีก 3-4 เกมต่อมา และช่วยให้ทีมประคองตัวอยู่ที่ 5 เก็บชัยในลีก ได้เพียง 3 จาก 10 นัด และห่างจากพื้นที่ ชปล. 6 แต้มด้วยกัน
®
131
132
ด า ร์ บี้ แ ม ต ช์ เ มื อ ง ป า ก นำ �้
ท่ามกลางผลงานออกสตาร์ทที่ไม่สู้ดีสวนทางกับ แรงคาดหวัง ในที่สุดทัพ “ป้อมปราการ” ก็มาปลดล็อค คว้าชัยนัดแรกของฤดูกาลจนได้ ใน “ดาร์บี้แมตช์” เมือง ปากนำ�้ เหนืออริร่วมเมืองอย่าง “ปีศาจปู” สมุทรปราการ ยูไนเต็ด ด้วยสกอร์ 2-1 นับเป็นชัยชนะนัดที่ 90 จากการลงสนามในลีก จำ�นวน 234 นัด นับแต่ปี 2009 (รวมรอบมินิลีก หรือ ชปล. ในปัจจุบัน) และเป็นชัยชนะนัดที่ 50 ยามลงเล่นในบ้าน ของทัพ “ป้อมปราการ” นับแต่ก่อตั้งสโมสรฯ
133
134
LEG 2 สถานการณ์วนลูปกลับมาคล้ายกับช่วงออกสตาร์ทเลก แรก ผลงานที่ไม่สู้ดี ก็นำ�พาปัญหามาสู่ทีมอย่างต่อเนื่อง กระทั้ง เมื่อจบครึ่งฤดูกาลแรก ทีมจมอยู่ ในอันดับค่อนล่างของตาราง คะแนนไทยลีก 4 โซนกรุงเทพปริมณฑล ห่างพื้นที่ ชปล. 10 แต้ม และห่างจ่าฝูงถึง 15 แต้ม จนที่สุดแล้วก็เกิดการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทีมได้ผู้สนับสนุนกลุ่มทุนไม่ประสงค์ออกนามเข้ามา พร้อมด้วย กาแฟพูเพียง แบรนด์กาแฟอาราบิก้า เกรดพรีเมี่ยม จากที่ราบสูง โบลาเวน สปป.ลาว เข้ามาเป็นสปอนเซอร์คาดอกบนเสื้อแข่งขัน ทีมสมุทรปราการเอฟซี เช่นกันกับหัวหน้าผู้ฝึกสอนคนใหม่ที่ได้ “มา ตูร์” มาติอัส กัสตอน กอนเด้ มิรัสโซ่ โค้ชหนุ่มชาวสเปน วัย 32 ปี มารับเผือกร้อนแทน สมุทรปราการเอฟซี ได้สมาชิกใหม่มาร่วมหัวจมท้ายอีก 9
รายด้วยกันคือ เดนนิส บอร์กีเต้ บอร์เตียร์ (สระแก้ว เอฟซี), เดวิด เมกิทท์ (กรุงธนบุรี เอฟซี), วรินทร์ นฤหล้า, ศักดิ์เกษม พจนพร พันธุ์ (สิงห์บุรี บางระจัน เอฟซี), ซัจจาด กาเซ็ม เนชาด กับ มานะ ศักดิ์ ใจทน (สมุทรปราการ ยูไนเต็ด), เกริกพล วันประโคน (วานา นาวา หัวหิน ซิตี้), อำ�นาจ ผ่องแผ้ว (ตาก ซิตี้), ณรงค์ศักดิ์ เล้าพา นิชวัฒนา แน่นอนว่าความหวังครั้งใหม่เกิดขึ้น โดยที่แทบไม่มีแรง คาดหวังใดๆ ท่ามกลางข้อกังขา “มาตูร์” พาทีมเก็บชัยชนะเรื่อยๆ แม้ผลงานที่ยังกระท่อนกระแท่นในช่วงแรก หลายแมตช์ดูจะต้อง ใช้ โชคดวงเข้ามาหนุน อย่างไรก็ตามทีมเริ่มเก็บแต้มได้อยู่มือขึ้น ประกอบกับทีมในกลุ่มนำ�เริ่มฟอร์มดร็อปดื้อๆ นั่นทำ�ให้ทีมเริ่มเดิน ไปในทิศทางที่ดีขึ้น รั้งอันดับ 4 ห่างพื้นที่ ชปล. 3 แต้ม และห่าง จากอันดับหนึ่ง 6 แต้มด้วยกัน
135
136
พัฒนาเยาวชน สโมสรฟุตบอลจังหวัดสมุทรปราการ มีนโยบายใน การบริหารจัดการทีมให้อยู่ได้อย่างยั่งยืนด้วยการสร้างนัก ฟุตบอลตั้งแต่ระดับเยาวชนขึ้นไป โดยเริ่มจากจับมือกับ 3 สถาบัน ได้แก่ ศูนย์ฝึกทักษะฟุตบอลกระทุ่มราย (รุ่นอายุไม่เกิน 13 ปี), โรงเรียนราชวินิตบางเขน (รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี, 17 ปี) และวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการาชดำ�เนิน (รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี) เข้าร่วมแข่งขัน Thailand Youth League ลีกเยาวชนแห่งชาติ ประจำ�ฤดูกาล 2017-2018 โดยได้บริษัท ซักกา กู๊ดดีไซน์ จำ�กัด สนับสนุนชุดแข่งขันแก่ น้องๆ เยาวชนในนามทีมสมุทรปราการเอฟซี ที่เข้าร่วมแข่ง ขันยูธลีกในทุกรุ่น รวมถึงจัดโครงการช้างเผือก ร่วมกับสถาบันต่างๆ ใน พืน้ ที่ จ.สมุทรปราการ เพือ่ เฟ้นหาดาวรุง่ สายเลือดใหม่ตอ่ ไป
137
LEG 3 แม้ความหวังมีเต็มในหัวใจใครหลายคน...แต่คงมี ไม่กี่คน ที่เชื่อว่าทีมจะบรรลุเป้าหมายที่รอมานานได้สำ�เร็จ จริงๆ ใครจะ เชื่อว่า “ป้อมปราการ” จะโกยแต้มเข้ากระเป๋าแบบที่หลายทีมอาจม องค้อน โดยเฉพาะกับในเกมที่ สมุทรปราการเอฟซี ไล่ตามตีเสมอ “อาชาผยอง” ม.นอร์ทกรุงเทพ ในวินาทีท้ายทำ�ให้ โมเมนตั้ม มัน เหวี่ยงมาเข้าทางชนิดที่หลังจากนั้นก็แทบไม่มีทีมใดหยุดได้อยู่ สถิติระบุว่าทีมคว้าชัย 7 เสมอ 2 นัด แพ้ 1 ยิงได้ 27 ประตู เสียเพียง 10 ประตู เก็บได้ 23 จาก 30 แต้มเต็ม เมื่อบวกรวมนับ แต่เริ่มครึ่งฤดูกาลหลังเป็นต้นมา “ป้อมปราการ” นี่แหละคือทีมที่
เหมาะสมด้วยประการทั้งปวงกับการกลับไปสู่รอบ ชปล. อีกครั้ง แม้ ในตอนจบวันสุดท้ายของฤดูกาลมันไม่สุดการแข่งขัน ถูกเลื่อนออกไปหลังพายุฝนกระหน่ำ� ส่ง ม.นอร์ทกรุงเทพ เล่นเกม ส่งท้ายโดยไร้แรงกดดัน และคว้าแชมป์โซนกรุงเทพฯ ได้สำ�เร็จใน บั้นปลาย แต่จากผลงานที่ทัพ “ป้อมปราการ” ทำ�มาตลอดฤดูกาล ก็เพียงพอให้ทีมจบที่ 2 ในไทยลีก 4 โซนกรุงเทพปริมณฑล พร้อม คว้าสิทธิ์ ไปเล่นในรอบแชมเปี้ยนส์ ลีก ครั้งแรกในรอบ 7 ปี เพื่อลุ้น เลื่อนชั้นไปสู่ไทยลีก 3 ต่อไป
138
หลังจากที่บากบั่น ฟันฝ่าทุกอุปสรรค มาตลอดปี ในที่สุด ทีมก็กลับมาสู่การแข่งขันในรอบแชมเปี้ยนส์ ลีก ได้สำ�เร็จอีกครั้งใน รอบ 7 ปี โดยในรอบน็อคเอาท์ เหย้า-เยือน ทีมต้องมาเจอกระดูก ชิ้นโต “ช้างเผือก” เจแอล เชียงใหม่ ยูไนเต็ด ทีมเงินถังเจ้าของ ตำ�แหน่งแชมป์โซนเหนือ แน่นอนว่าถ้าเทียบกันปอนด์ต่อปอนด์ ทัพ “ป้อมปราการ” ไม่อาจเทียบเคียงคู่แข่งจากดินแดนล้านนาได้ เลย ผลในยกที่ 1 แม้ สมุทรปราการเอฟซี จะสามารถต่อกรได้ อย่างไม่เป็นรองใน 90 นาทีแรกที่เคหะเมืองใหม่บางพลี รังเหย้า ของ “ป้อมปราการ” ทว่าประตูผีจับยัดของ ทากุ อิโตะ ที่ยิงมุมแคบ เข้าไปก็ทำ�ให้ทีมพ่าย 0-1 และเสียอเวย์ โกลไปในเกมแรกไป
CPL 2017
ทว่าบอร์ดบริหาร ทีมสตาฟฟ์ นักกีฬา สมุทรปราการ เอฟซี ไม่ถอดใจเดินทางไปแข่งขันนัดที่ 2 ที่สนามเทศบาลนคร เชียงใหม่ ด้วยความเชื่อมั่นที่เต็มเปี่ยม แต่อย่างไรก็ตามบทสรุปที่ จ.เชียงใหม่ เกินคาด สมุทรปราการเอฟซี ทีมเยือนเก็บอเวย์ โกลคืน ได้อย่างรวดเร็ว แต่มันไม่เพียงพอให้ทีมได้ ไปต่อ เมื่อทีมมาเหลือผู้ เล่นน้อยกว่า และเสียอีกหนึ่งจุดโทษตั้งแต่ 10 นาทีท้ายของครึ่ง แรก นั่นทำ�ให้เกมฟุตบอลแมตช์นี้หมดสนุกแทบจะทันที สุดท้ายทีม ไม่อาจต้านทานความแข่งแกร่งของทัพ “ช้างเผือก” ได้เลยสุดท้าย ต้องยอมศิโรราบไป 4-1 สกอร์รวม 2 นัดแพ้ 5-1 ยุติเส้นทาง ชปล. 2017 ไว้เพียงเท่านี้
139
140
เ ก ม แ ห่ ง ฤ ดู ก า ล
นี่คือเกมที่เต็มไปด้วยอารมณ์เข้มข้นที่สุดนัดหนึ่งใน ซีซั่นนี้ แม้คู่แข่งขันอย่าง ม.นอร์ทกรุงเทพ ที่แม้ไม่มีประวัติ ความเป็นคู่แค้นกันมาก่อน แต่ทว่าด้วยอันดับบนตาราง คะแนนที่ไล่เบียดกันมาทำ�ให้อัตราความตึงเครียดทวีตัวขึ้น อย่างเลี่ยงไม่ได้ แม้เจ้าบ้าน “อาชาผยอง” มาเสียเปรียบเรื่อง ตัวผู้เล่นตั้งแต่ 35 นาทีแรกของเกม ทว่ากลับมาทำ�ประตู ออกนำ�ไปก่อนจากจุดโทษในนาทีสุดท้ายของครึ่งแรก ก่อนที่ จะมาโดนบวกประตูเพิ่มในช่วง 3 นาทีท้ายให้ ม.นอร์ทฯ ฉีก หนีเป็น 2-0 ทว่าช่วงทดเวลานาทีที่ 1 เจ้าบ้านมาเสียจุดโทษ และ เสียใบเหลืองแดงที่ 2 ทำ�ให้เหลือแข้ในสนามเพียง 9 คน เป็น สิทธิศักดิ์ ศรีวิศร ที่รับหน้าที่สังหารให้ “ป้อมปราการ” ไล่ ขึ้นมาเป็น 2-1 แต่ความดราม่ายังไม่จบเพียงเท่านั้นเมื่อใน นาทีที่ 90+2 สมุทรปราการเอฟซี ก็มาได้ประตูตีเสมอแบบ เหลือเชื่อจากลูกโขกของ “ซุปเปอร์ซับ” ณรงค์ศักดิ์ เล้าพา นิชวัฒนา นี่คือ 1 แต้มสำ�คัญที่ส่งให้ทีมเดินหน้าแบบหยุดไม่ อยู่ และคว้าตั๋วไปรอบ ชปล. ได้สำ�เร็จในท้ายที่สุด
141
142
143
144
145
146
147