กำ�แพงแดง
บทบรรณาธิการ: ‘นอกระบบ’ ถ้าไม่พร้อม ออกไปทำ�ไม หน้า ๒ สารคดี: ๗๕ ปี ความทรงจำ�ในกำ�แพงแดง หน้า ๗ รายงาน: ซามาวีร์ เลิศวัฒนาพร ผู้คว้ารางวัลวาดภาพนานาชาติ หน้า ๘
หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน พุทธศักราช ๒๕๕๔ ราคา ๑๐ บาท
กลับลำ�ไม่ทำ�ประชาพิจารณ์ ‘นอกระบบ’ นักศึกษาไม่เกีย่ ว
กม. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาร่างเสร็จแล้ว พร้อมเสนอรัฐบาลใหม่และสภาฯ แบบม้วนเดียวจบ
รศ. ดร. ณรงค์
กานต์พล
การผลักดันให้ ‘สวนสุนันทา’ เป็นมหาวิทยาลัยใน กำ�กับของรัฐ เป็นความต้องการของ รศ.ดร. ช่วงโชติ พันธุเวช อธิการบดี ทีจ่ ะปฏิรปู มหาวิทยาลัยให้กา้ ว หน้า โดยศึกษามหาวิทยาลัยที่ได้ออกนอกระบบ (มหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ) ไปก่อนแล้ว และ ได้ให้สมั ภาษณ์ ‘กำ�แพงแดง’ ว่าก่อนออกนอกระบบ จะต้องมีการสอบถาม นักศึกษา ผู้ปกครองและ ประชาคมเสียก่อน (‘กำ�แพงแดง’ ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ อ่านต่อหน้า ๑๐ ๒๕ พ.ศ. ๒๕๕๓)
งานใหญ่ถึงขั้นต้องแก้กฎหมาย นักวิชาการเศรษฐศาสตร์เตือน เงินเดือนหมื่นห้าบัณฑิตใหม่ บังคับภาคเอกชนให้รับก็ไม่ได้ แถมกลายเป็นตัวเร่งเงินเฟ้อ แนวทางเพิ่มเงินเดือนขั้นต่ำ� ๑๕,๐๐๐ บาท ให้บัณฑิต จบใหม่เป็นหนึ่งในนโยบายประชานิยมที่โดนใจคนเรียน มหาวิทยาลัย รวมทัง้ ทีจ่ บไปแล้ว ให้เดินเข้าคูหากาคะแนน ให้สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรพรรคเพือ่ ไทย เมือ่ วันอาทิตย์ ที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ที่ผ่านมา จนได้เป็นแกนนำ�จัดตัง้ รัฐบาล แต่นโยบายดังกล่าว กำ�ลังถูกตัง้ คำ�ถามจากประชาชน ถึงความเหมาะสมและเป็นไปได้ เนื่องจากหลายฝ่ายต่าง กังวลว่าจะหาเงินจากที่ไหนมาจ่ายค่าจ้างแก่ข้าราชการ และพนักงานในหน่วยงานของรัฐ ในขณะท่ีรัฐบาลเองก็ ไม่สามารถบังคับให้เอกชนรับเข้าทำ�งานด้วยเงินเดือน อัตราใหม่ได้ เพราะห่างไกลจากอัตราเดิมเกือบครึ่งต่อ ครึ่ง เนื่องจากอัตราเงินเดือนใหม่สามารถจ้างพนักงาน อ่านต่อหน้า ๑๐ ในปัจจุบันได้ถึงสองคน
สาขาวิชาภาพยนตร์รอดตาย สกอ. ให้ผา่ นถ้าผูส้ อนตรงสาย แต่ นศ. อยากได้ครู ‘คอหนัง’ มากกว่านักวิชาการอย่างเดียว
เกิดปัญหาหลักสูตรนิเทศศาสตร์ใหม่ สาขาวิชาการภาพยนตร์ และสื่อสารการแสดง ไม่ผ่านการเห็นชอบจากสำ�นักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา อ้างอาจารย์ประจำ�สาขาไม่ ตรงสาย ส่งผลให้เปิดหลักสูตรใหม่ไม่ทนั ปีการศึกษา ๒๕๕๔ นักศึกษาเอกภาพยนตร์ตดิ ใบปลิวทัว่ มหาวิทยาลัย “คุณจะ ปล่อยให้ภาพยนตร์ตายหรือ” กังวลว่าหลักสูตรจะถูกปิด เพราะอาจารย์ศกั ยภาพไม่เป็นไปตามเงือ่ นไขทีต่ อ้ งมีจ�ำ นวน อย่างต่ำ� ๕ คน คณบดี คณะวิทยาการจัดการ ‘สวนสุนันทา’ รับปากจะหาอาจารย์ตรงสาขามาเพิม่ ให้ ข่าวล่าสุดทาบทาม ได้แล้ว แต่ยงั ไม่มาทำ�สัญญา ส่วนนักศึกษาอยากได้อาจารย์ ที่มีประสบการณ์ดา้ นภาพยนตร์ ซึง่ เป็นตัวจริงเสียงจริงมาก อ่านต่อหน้า ๑๐ กว่ามาจากสายวิชาการล้วน ๆ
กฏ’ หัวตอ: ‘เก้าข้อห้ามปฏิบัติ’ ติดตั้งประตูทางเข้าออก ‘สวนสุนันทา’ กลายเป็นหัวหลักหัวตอ เพราะยังมีนักศึกษาฝ่าฝืนจน กลายเป็นเรื่องปกติ ข้อห้ามที่ถูกฝ่าฝืนมากที่สุดคือ การแต่งเครื่องแบบผิดระเบียบ อาทิ ปล่อยชายเสื้อไว้นอกกระโปรง ซึ่งเป็น เครื่องแบบ ดังในภาพไม่เว้นแม้นักศึกษาชาย รองลงไปเป็นการสูบบุหรี่นอก ‘พื้นที่จัดให้’ โดยเฉพาะในห้องน้ำ� แล้วทิ้ง ก้นบุหรี่ไว้ในโถปัสสาวะจนอุดตัน นอกจากผิดกฎหมายและละเมิดสิทธิของผู้อื่นที่ใช้บริการสุขาไม่ได้แล้ว ยังทำ�ลาย ทรัพย์สินส่วนกลาง ซึ่งเงินส่วนหนึ่งมาจากค่าเล่าเรียนของนักศึกษา ป้านี้กำ�ลังถูกประชาคม ‘สวนสุนันทา’ ตั้งคำ�ถามระหว่าง การรื้อทิ้งไปเสียหรือเข้มงวดกวดขันให้ป้ายนี้ศักดิ์สิทธิ์อย่างจริงจัง ภาพ: โสภณ
นักเรียนสาธิตสวนสุนันทา ชนะเลิศวาดภาพระดับประเทศ และนานาชาติ กวาดรางวัลมากมาย ได้เงินค่าสร้างชื่อเสียง จากกองทุนสวัสดิภาพและพัฒนานักศึกษาของมหาวิทยาลัย เป็นเงินเรือนแสน จนคณะกรรมการกองทุนฯ ต้องปรับ เกณฑ์ใหม่ให้ ๑ คน ได้เงินรางวัลไม่เกิน ๑ ครั้งต่อเทอม ไม่เช่นนั้นเงินรางวัลกินเงินต้น ส่งผลให้ดอกเบี้ยที่นำ�มา อ่านต่อหน้า ๑๑ จ่ายเป็นเงินรางวัลต้องลดลงตามไปด้วย
นั ก ศึ ก ษาพลาดหน่ ว ย กิจกรรมของมหาวิทยาลัย มีเยอะเกินไป จนเข้าไม่ครบ กองพัฒฯ วางแนวทางแก้ไข ไม่ ใ ห้ นัก ศึ ก ษาเสี ย สิ ท ธิ์ ช่วยให้เลือกเก็บกิจกรรม อ่านต่อหน้า ๑๑ ตกค้าง
กองทุนฯ ๓๐ ล้านสัน่ สะเทือน กิจกรรมบังคับ สามเดือนปล่อยสุขาส่งกลิ่น น จำ � เป็ น เด็กสาธิตกวาดรางวัลค่าสร้างชือ่ เยอะเกิ ไม่ ท ำ � ถู ก ‘ตี ต รา’ ฝนรั่วฝาตึกร้าว พื้นสกปรก กฎใหม่จา่ ยลดเหลือเทอมละครัง้ ทรานส์คริพท์ อ้างงบจัดซื้อจัดจ้างเป็นเหตุ ห้องเรียนคณะวิทยาการจัดการ ต่อเติมใหม่แค่ ๓ ปีกว่า เก้าอี้พัง ฝนตก น้ำ�รั่ว นองชั้น อีกฝั่งของตึกรั่วทะลุลงกลาง ห้องบริการวิชาการ ห้องสุขามีเหมือนไม่มีแม่บ้าน ส้วม สกปรก โถปัสสาวะตัน ส่งกลิ่นคลุ้งยิ่งกว่าส้วมสาธารณะ คณบดี วิ ท ยาการจั ดการชีี้ งบประมาณทำ � ความสะอาด และบำ�รุงรักษาถูกดึงไปอยู่ส่วนกลาง ไม่มีอำ�นาจควบคุม อ่านต่อหน้า ๑๑ ฝ่ายบริหารมหาวิทยาลัยเต้นถูกกล่าวหา
กำ�แพงแดง หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน้า ๒
กำ�แพงแดง หนังสือ พิม พ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิ ท ยาลั ยราชภั ฏ สวนสุ น ั น ทา
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน พุทธศักราช ๒๕๕๔ ราคา ๑๐ บาท
‘นอกระบบ’ ถ้าไม่พร้อม ออกไปทำ�ไม มหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ (นอกระบบ) อาจทำ�ให้คนในประชาคมมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนนั ทาเกิดความสับสน โดยเฉพาะนักศึกษา ที่ยังไม่ได้รับรู้ข้อเท็จจริง ขณะที่หลายคนรู้สึก กังวล โดยเฉพาะประเด็นขึ้นค่าเล่าเรียน อันจะ ทำ�ให้พ่อแม่ผู้ปกครองเดือดร้อน ปัจจุบัน มีมหาวิทยาลัยออกนอกระบบแล้ว ๑๔ แห่ง ถ้าการออกนอกระบบเป็นเรื่องไม่ดี ทำ�ไมจึงออกกันไป ขณะที่‘สวนดุสติ ’เป็น‘ราชภัฏ’ แห่งแรกทีส่ ง่ ร่างกฎหมายไปรออยูท่ ค่ี ณะรัฐมนตรี แล้ว ประเด็น จึงน่าจะอยู่ที่ความพร้อมของแต่ละ มหาวิทยาลัยมากกว่าโดยเฉพาะ ‘สวนสุนันทา’ ทีก่ �ำ ลังมีปญ ั หากับคนในประชาคมการยกเหตุผล ว่ามีมาตรการออกมารองรับเมื่อต้องขาดรายได้ จากงบประมาณทีร่ ฐั บาลจัดให้ จึงถูกตัง้ คำ�ถามว่า ถ้าออกไปแล้ว จะได้งบประมาณ 1.6 เปอร์เซ็นต์ ดังทีอ่ ธิการได้กล่าวไว้แน่หรือ จึงถูกประชาคมตัง้ คำ�ถามอีกว่า จะเอาอะไรไปสัง่ รัฐบาล และเอาอะไร ไปบีบบังคับรัฐสภาให้ท�ำ ตามมหาวิทยาลัยฯ โดยเฉพาะทีบ่ อกว่า ถ้าการออกนอกระบบ จะทำ�ให้นกั ศึกษาได้อาจารย์เก่ง ผูบ้ ริหารเก่งและ สุดท้ายนักศึกษาจะเก่งตามนั้น ก็ถูกย้อนถาม กลับว่า การทีอ่ าจารย์ ผูบ้ ริหารและนักศึกษาไม่ เก่ง เพราะยังอยู่ในระบบอย่างนั้นหรือ ถ้าเป็น เช่นนั้นก็เหมือนเป็นการตำ�หนิตนเอง มีขอ้ เท็จจริงทีก่ ารออกนอกระบบคนทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบโดยตรง คือ บุคลากรในมหาวิทยาลัยทุก ฝ่ายและทุกด้าน แต่ทง้ั ๑๔ มหาวิทยาลัยทีอ่ อกนอก ระบบไปแล้ว ยังไม่พบว่าบุคลากรคนใดเสียหรือได้ น้อยกว่าทีเ่ คยได้รบั จะมีกแ็ ต่นกั ศึกษาเท่านัน้ ทีเ่ สีย เพือ่ แลกกับคุณภาพทางการศึกษา กรณี ‘สวนสุนนั ทา’ ก็ถกู ตัง้ คำ�ถามว่าจะได้จริงหรือไม่และได้มากกว่าเสีย แค่ไหน เพราะสิง่ ทีค่ นในประชาคมเห็นและเป็น อยูใ่ นปัจจุบนั คือคำ�ตอบบางประการ โดยเฉพาะ อุปกรณ์การเรียนการสอนที่ควรมีและต้องมีใน รายวิชาที่ต้องฝึกปฏิบตั ิ แต่กลับอัตคัตขาดแคลน จึงถูกย้อนว่าต้องออกนอกระบบอีกใช่ไหมจึงจะมีให้ การเร่งออกนอกระบบ โดยตั้งเป้าไว้ให้แล้ว เสร็จภายในปี ๒๕๕๕ ทำ�ให้เกิดคำ�ถามคาใจ นักศึกษาว่า ทำ�ไม? ดังทีป่ ระธานสภานักศึกษาตัง้ ข้อสังเกตว่าการเร่งออกนอกระบบโดยไม่สอบถาม ประชาคมนั้นเพื่อให้ทันกับวาระของผู้บริหารที่ จะครบหรือไม่ พ ร้ อ มกั บ เรี ย กร้ อ งให้้ อธิการบดี แถลงต่อหน้าประชาคมว่าจะเอาอย่างไรแน่ การออกนอกระบบไม่ใช่เรือ่ งเสียหาย ความ พร้อมของมหาวิทยาลัยต่างหากคือเรือ่ งทีส่ มควร ทบทวน โดยเฉพาะผู้บริหารที่ต้องเปิดใจพูดคุย กับทุกฝ่าย และรับฟังเสียงของทุกกลุม่ อย่างจริงใจ แม้บางเรื่องอาจไม่พร้อมแต่ถ้าคนในประชาคม เข้ า ใจและยอมรั บ ในข้ อ ดี แ ละข้ อ เสี ย เสี ย งที่ คัดค้านอาจเปลีย่ นเป็นร่วมกันฟันฝ่า เพือ่ ออกไป เป็ น มหาวิ ท ยาลั ย ในกำ � กั บ ของรั ฐ และพร้ อ ม รับกับอุปสรรคและปัญหาในอนาคตร่วมกันก็ได้
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน ๒๕๕๔
กานต์พล เรืองอร่าม ประธานสภาฯ
ทศพร อะภัย นายกองค์การนักศึกษา
‘นอกระบบ’ กับการมองต่างมุม
มหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐทีร่ องศาสตราจารย์ ดร. ช่วงโชติ พันธุเวช อธิการบดี มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนนั ทา มอบหมายให้รองศาสตราจารย์ ดร. ณรงค์ พลอยดนัย รองอธิการบดีฝา่ ยบริหาร เป็นผูศ้ กึ ษาและดำ�เนินการ กำ�ลังกลายเป็นประเด็น ขัดแย้งตัง้ แต่ปที ผ่ี า่ นมา และเพิม่ มากขึน้ เมือ่ มีการ ให้สมั ภาษณ์แก่สอ่ื มวลชนว่า ประชาคมส่วนใหญ่ ในมหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบ แต่นกั ศึกษาซึง่ เป็นกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมากที่สุดกลับถูก ละเลย และไม่ให้ความสำ�คัญเท่าใดนักในสายตา ของผู้บริหารระดับสูง ทั้งๆ ที่ ‘ผู้อาศัย’ อย่าง นั ก ศึ ก ษาคือผู้จ่ายเงินค่าเทอมอันเป็นรายได้ ก้อนใหญ่นอกเหนือเงินอุดหนุนทัว่ ไปทีไ่ ด้จากรัฐ และในอนาคตยั ง จะต้ อ งจ่ า ยเพิ่ม ขึ้น เมื่อ ออก นอกระบบไปแล้วจะช้าหรือเร็วเท่านั้น นายกานต์พล เรืองอร่าม เปิดอกกับ ‘กำ�แพงแดง’ ในฐานะประธานสภานักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
กำ�แพงแดง: เหตุผลที่มี การออกมาเรียกร้อง กานต์พล: มีปัจจัยอยู่ สองอย่าง หนึง่ เพือ่ ความ คล่องตัวของผู้บริหาร คือ จะสัง่ การได้โดยไม่ตอ้ งยุ่ง ยากเหมือนระบบราชการ สองเพื่อความเป็นเลิศ กานต์พล ทางวิชาการ แต่จะเห็นว่า วิชาการก็ไม่มอี ะไรเด่นออกมา การออกนอกระบบ คือการเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ แต่บริหาร จัดการเหมือนเอกชนคือคล่องตัวอนุมัติได้ทันที กำ�แพงแดง: ที่ผ่านมามหาวิทยาลัยสามารถ เปิดหลักสูตรต่างๆได้ ไปสร้างอาคารที่ จ.ระนอง ที่จ.สมุทรสงคราม เป็นวิทยาเขตได้ ก็ยังทำ�ได้ กานต์พล: ออกนอกระบบไปแล้วมหาวิทยาลัย ยังได้เงินจากรัฐบาล แต่ที่ออกข่าวว่ารัฐบาลจะ ให้เงินปีการศึกษาละไม่ต่ำ�กว่า ๕๐๐ ล้านบาท นัน้ มีอะไรเป็นหลักประกันว่ารัฐบาลจะให้จริง กำ�แพงแดง: กฎหมายของมหาวิทยาลัยอื่น ที่ออกนอกระบบแล้ว บอกว่ารัฐต้องให้เงิน อุดหนุน กานต์พล: การออกนอกระบบมีแต่จะได้งบ ประมาณเท่าเดิม การทีร่ ฐั สนับสนุนให้ออกนอก ระบบจึงเป็นการผลักภาระให้ประชาชน คือต้อง จ่ายค่าเทอมเพิ่มขึ้น เพราะเงินเดือนอาจารย์ จะเพิ่มขึ้นอธิการบดีจะมีรายได้เป็นแสนๆ กำ�แพงแดง: อธิการบดีคนปัจจุบนั เป็นมาแล้ว ๒ สมัย เป็นต่อไม่ได้แล้ว กานต์พล: การออกนอกระบบเป็นการเริ่มต้น
ใหม่ ถ้าได้เป็นต่อจะทำ�ให้เกิดการผูกขาด ทีท่ �ำ อยู่ ตอนนีม้ นั เหมือนเร่ง อธิการฯ ต้องพูดมาเลยว่า “ผม สนับสนุนให้ออกนอกระบบแต่ผมจะไม่เป็นต่อ” กำ�แพงแดง: นักศึกษาคนอื่นๆ ว่าอย่างไรบ้าง กานต์พล: กำ�ลังจะทำ�ประชาพิจารณ์ของ นักศึกษายื่นต่อนายกสภามหาวิทยาลัย แล้วทำ� ประชามติ และจะเปิดประชาพิจารณ์แต่ละคณะ ให้อธิการบดีพูดถึงข้อดี ข้อเสีย ให้ทุกคนแสดง ความคิดเห็นว่าเห็นด้วยหรือไม่ มีนกั ศึกษาส่วน น้อยที่รู้เรื่องการออกนอกระบบ อาจจะทำ�ใบ ปลิว โปสเตอร์ ให้รวู้ า่ นักศึกษาไม่ได้อยูภ่ ายใต้ อาณัติหัวใจหลักควรจะเป็นการทำ�เพื่อส่วนรวม ไม่ใช่ทำ�เพื่อตนเองหรือพวกพ้อง ๐๐๐ ผูน้ �ำ นักศึกษาอีกคนหนึง่ คือนายทศพร อะภัย นายกองค์การนักศึกษา ทีไ่ ด้ให้ความเห็น กรณี ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ จะออกนอกระบบ กำ�แพงแดง: เห็นด้วยหรือไม่กบั การออกนอก ระบบ ทศพร: ต้องบอกก่อนว่าตอนนีท้ กุ ๆ ความคิดเห็น ไม่มฝี า่ ยไหนถูกหรือผิด แต่อยากฝากให้ทกุ ฝ่าย มองตรงทีว่ า่ ข้อมูลทีเ่ รามีบางทีอาจจะไม่ถกู หมด แล้วก็ไม่ผิดหมด อยากให้รับฟังทั้งสองฝ่ายว่า ออกนอกระบบแล้วดีหรือไม่ดอี ย่างไร เอาทัง้ สอง อย่างทีเ่ รามีมาตระหนักดูวา่ มันจะไปทิศทางไหน หรือว่าจะอยูใ่ นระบบอย่างเดิมหรือก้าวไปข้างหน้า กำ�แพงแดง: เรือ่ งขึน้ ค่าเทอมมีความเห็นอย่างไร ทศพร: ปัญหาหลักในตอนนี้คือนักศึกษาและ ผู้ปกครองมีความกังวลในเรื่องค่าเล่าเรียนที่จะ ตามมา อีกปัจจัยหนึ่งคือเรื่องเศรษฐกิจข้าวของ แพงขึ้น ค่าเทอมอาจจะแพงขึ้นตามไปด้วย กำ�แพงแดง: ความเห็นเกีย่ วกับเรือ่ งการบริหาร ทศพร: เรือ่ งความโปร่ง ใสในการบริหาร จะมีการ ระบุไว้ในกฎหมาย เรื่อง การตรวจสอบ กำ�แพงแดง: นอกจาก เงินอุดหนุน เงินค่าเทอม มีความเห็นอย่างไรกับ รายได้เสริมจากแหล่งอืน่ ทศพร ทศพร: ทราบว่ามีในส่วน ของรายได้เสริมทีท่ างมหาวิทยาลัยจะนำ�มาบวก เพิ่มคือ เปิดศูนย์การศึกษาเพิ่ม ๓ แห่งคือ ที่ จ.ระนอง ซึ่งอยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยว สามารถ เปิดเป็นทีเ่ ช่าอบรม สัมมนาได้ สนามกีฬา ศูนย์ ฝึกอบรม แห่งที่สองคือโรงพยาบาลที่กำ�ลังจะ สร้างอยูท่ ่ี จ.สมุทรสงคราม จะมีการผลิตพยาบาล ออกไปทำ�งาน แห่งที่สามศูนย์นานาชาติกำ�ลัง
จะเปิดเสรีอาเซียน ตรงนี้ก็น่าจะเป็นรายได้อ ี ก ทางหนึง่ ส่วนศูนย์การศึกษาทีศ่ าลายา (จังหวัด นครปฐม) ทีย่ งั ไม่เสร็จ อันนีผ้ มไม่รวู้ า่ เขาจัดการ อย่างไร เพราะปัญหามันอยู่ที่มหาวิทยาลัยเซ็น สัญญากับทางผู้ว่าจ้างอย่างไร กำ�แพงแดง: มีข้อสงสัยว่าถ้าปีนี้ผู้บริหารไม่ พ้นวาระ จะมีการออกนอกระบบไหม ทศพร: “ มันไม่เกีย่ วว่าผูบ้ ริหารจะเกษียณหรือไม่ แต่ผมกลับมองว่าเขามีผลงานขนาดไหน...ที่จะ การันตีวา่ เขาเป็นคนเก่ง...ถ้าเกิดมีการคอรัปชัน่ ขึ้น แล้วสิ่งที่ได้มามันเจริญ ถ้าในทางการเมือง อย่าง ‘ทักษิณ’ มีการคอรัปชั่น...มีความเจริญ มากคือผมนับถือที่เขาบริหารเก่ง แต่อย่างอื่น ผมไม่รู้...” กำ�แพงแดง: แล้วที่ต้องเร่งออกให้ทันก่อน อธิการบดีจะครบวาระล่ะ ทศพร: การออกนอกระบบนีเ่ ราไม่ได้นกึ อยาก จะออกก็ออกได้นะ เราต้องผ่านกระบวนการต่างๆ เยอะมาก แล้วถ้าเรือ่ งขึน้ ไปถึงข้างบนแล้ว เขาจะ มีคณะกรรมการมาตรวจสอบ ดูเราถึงมหาวิทยาลัย เลยว่ า สภาพความเป็ น อยู่ ข องเราพร้ อ มที่ จ ะ ออกนอกระบบหรือไม่ กำ�แพงแดง: มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการออก นอกระบบไหม ทศพร: หนึ่ง อยากให้มีการทำ�ประชาพิจารณ์ เพื่อให้ทุกฝ่ายมาคุยกัน สอง ประเด็นหลักของ พระราชบัญญัติ ที่สำ�คัญคือหลักธรรมาภิบาล ต้องไปในเรือ่ งของนิตธิ รรมและการมีสว่ นร่วมใน ทุกฝ่ายมหาวิทยาลัยควรถือหลักธรรมาภิบาล ทีม่ ภี าคีทง้ั ภายในภายนอก โดยมีหน่วยงานภาคี อิ ส ระมาประเมิ น ผู้ บ ริ ห ารและภาพรวมของ มหาวิทยาลัยต้องระบุอย่างชัดเจนไว้ในกฎหมาย สาม กำ�หนดหน้าที่ขององค์การหรือกรรมการ นักศึกษาในการทำ�งาน สนับสนุนให้มีส่วนร่วม อย่างไร เขียนกำ�กับไว้ในกฎหมายว่า บุคคลทั้ง ภายใน ภายนอก สามารถตรวจสอบองค์กรได้ ควรมี อ งค์ ก รภาคี อิ ส ระที่ ส ามารถเข้ า มา ตรวจสอบความโปร่งใสของผู้บริหารได้ตลอด เวลา ต้องกำ�หนดอย่างชัดเจนว่าจะมีสว่ นในการ เสนอความคิ ด เห็ น ต่ อ มหาวิ ท ยาลั ย อย่ า งไร กำ�แพงแดง: มีความเห็นอย่างไรกับความขัด แย้งที่เกิดขึ้น ทศพร: ทั้งสองฝ่ายต่างเชื่อว่าเอกสารหลักฐาน ที่ตัวเองมีถูกต้อง ผมเลยอยากให้เราเป็นกลาง ก่อน อย่าเพิง่ เชือ่ ข้อมูลทีเ่ รามีอยูร่ อ้ ยเปอร์เซ็นต์ ผมเชื่อว่า ถ้านักศึกษามีความเข้มแข็ง มีความ คิดที่ต้องการนำ�เสนออย่างไร ผมว่าผู้ใหญ่ท่าน ก็ตอ้ งรับฟังเราอยูแ่ ล้ว แต่ตอนนีเ้ รากำ�ลังสับสน ว่าข้อมูลทีไ่ ด้รบั อันไหนจริง อันไหนไม่จริง เลย อยากให้พิจารณากันดีๆ” สัมภาษณ์: นริศรา ศรีโพธิว์ งั / ภาพ: โสภณ เสริมสวัสดิ์
เจ้าของ: สาขาวิชาวารสารสนเทศ หลักสูตรนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา บรรณาธิการ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา: ผศ. ปาริชาต รัตนสุบรรณ ที่ปรึกษา: หนังสือ พิม พ์ฝึกปฏิ บ ั ติ มหาวิ ท ยาลั ยราชภั ฏ สวนสุ น ั น ทา ...ผศ. สุรสิทธิ์ วิท ยารัฐ อาจารย์เบญจวรรณ สมสิน อาจารย์ณรงค์ อนุรักษ์ อาจารย์เ อกพล เธียรถาวร บรรณาธิการอำ�นวยการ: ทิพธิด า วรรณปะโพธิ์ ...บรรณาธิการบริหาร: จุลภา หัตยะฤทธิ์ หัวหน้าบรรณาธิกร: จุฑาภรณ์ อึงอาคม บรรณาธิการข่าว: ปูชิกา เยาวกุลเจริญ บรรณาธิการบทความ: ธนวันต์ กิจเหมาะ บรรณาธิการข่าวประชาคม: ชนิสรณ์ ปาโมกข์ บรรณาธิการข่าวการศึกษา: ณลิษา แพงเกาะ บรรณาธิการข่าวสิ่งแวดล้อม: จันทร์ตรี ศรีมุกด์ บรรณาธิการข่าววิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศ: นงลักษณ์ คงคาทวีสุข บรรณาธิการสารคดี: วราภรณ์ อ่อนนา บรรณาธิการข่าวเด็กและเยาวชน: วิลาวัณย์ อ่อนสมบูรณ์ บรรณาธิการข่าวเศรษฐกิจ: จุลภา หัตยะฤทธิ์ บรรณาธิการ ศิลปกรรม: สายนภาพร พร้อมมูล หัวหน้าแผนกจัดหน้า: วัลลภา ซุ่นแซ่ล้อ หัวหน้าแผนกออกแบบ: ชยุดา รามบุตร์ บรรณาธิการภาพข่าว: โสภณ เสริมสวัสดิ์ ผู้จัดการฝ่ายบริหาร: น้ำ�ทิพย์ ขุนดี เหรัญญิก: ปูชิกา เยาวกุลเจริญ หัวหน้าแผนกธุรการ: ชยุดา รามบุตร์ ผู้จัดการฝ่ายการตลาด: นนทวัฒน์ แหวนเงิน หัวหน้าแผนกโฆษณา: นฤพนธ์ ชูชีพ หัวหน้าแผนกเผยแพร่และส่งเสริม: ภัทรา สาหร่ายรักษ์ หัวหน้า แผนกจัดจำ�หน่าย: สมนฤมล สีคำ�ดอกแค กองบรรณาธิการ: ห้องปฏิบัติการวารสารสนเทศ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เลขที่ ๑ ถนนอู่ทองนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
กำ�แพงแดง
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน ๒๕๕๔
กำ�แพงแดง หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
สูบบุหรี่ภายในมหาวิทยาลัย แต่ ง กายท้ า ทายกฏระเบี ย บ ‘ป้ายห้ามปฏิบัติ’ไร้ความหมาย
ป้ายบัญญัติ ๙ ประการ หลังประตูเข้าออก ‘สวนสุนันทา’ ถูกนักศึกษา ท้าทายเกือบครบทุกข้อทั้งนุ่งสั้น เสื้อรัดรูป กางเกงยีนส์ขาด เสื้อแขนกุด คอกว้าง รองเท้าแตะ และสูบบุหรี่ ทำ�หมดไม่กลัวถูกหัก คะแนนกิจกรรม ๓ หน่วย ภายในประตูเข้าออกของมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา ๓ จุด คือ ประตูศรีจุฑาภา (ถนนสามเสน) ประตูแก้วเจ้าจอม (ถนนราชวิถี) และประตูสาธิต (ถนนอูท่ องนอก) มีปา้ ยประกาศ สูงใกล้เคียงตัวคนตั้งอยู่ ป้ายดังกล่าวบรรจุ ข้อความเป็นข้อห้ามปฏิบัติ ๙ ข้อ ได้แก่ (๑) ห้ามสวมกระโปรงสั้น (๒) ห้ามสวมเสื้อรัดรูป (๓) ห้ามสวมกางเกงยีนส์ขาด (๔) ห้ามสวม เสื้อแขนกุด (๕) ห้ามสวมเสื้อคอกว้าง (๖) ห้ามสวมชุดนอกที่ไม่เรียบร้อย (๗) ห้ามสวม รองเท้าแตะ (๘) ห้ามสูบบุหรี่ และ (๙) ห้ามดื่ม สุรา แต่ข้อห้ามทั้งเก้า ไม่ได้อยู่ในสายตาของ นักศึกษา ‘สวนสุนันทา’ เท่าใดนัก โดยเฉพาะ การสูบบุหรี่ที่ไม่เพียงเดินสูบเย้ยผู้บริหารของ มหาวิทยาลัยเท่านั้น ยังสูบบุหรี่ในห้องน้�ำ และทิ้งก้นบุหรี่ลงโถปัสสาวะชาย ทำ�ให้เกิด การอุดตัน ผู้สูบจึงไม่เพียงผิดกฎหมาย ต้อง ถูกปรับ ๒,๐๐๐ บาท (มาตรา ๔ มาตรา ๖ และ มาตรา ๑๒ พ.ร.บ. คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. ๒๕๓๕) ยังละเมิดสิทธิส่วนบุคคล และ ทำ�ลายทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยอีกด้วย ป้ายข้อห้ามดังกล่าว นางสาวภุมรินทร์ ห้องสมุดเป็นหนึ่งในองค์ประกอบหลัก ของมหาวิทยาลัยและเป็นเงื่อนไขสำ�คัญใน การเปิดหรือพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ซึง่ นอกจากสาขาทีเ่ ปิดสอน บุคลากร หลักสูตร และสถานทีแ่ ล้ว ข้อกำ�หนดสำ�คัญอีกประการ หนึ่งคือ บรรดาหนังสือและตำ�ราที่เกี่ยวข้อง กับหลักสูตรในห้องสมุดมีมากน้อยเพียงพอ แค่ไหน เพราะเป็นส่วนสำ�คัญสนับสนุนการ เรียนการสอน และเป็นแหล่งค้นคว้าหลักของ ผูเ้ รียนและผูส้ อน จนมีค�ำ กล่าวกันว่า ห้องสมุด นี่ แ หละคื อ หน้ า ตาของสถาบั น การศึ ก ษา ผู้บริหารมหาวิทยาลัยที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล จึงให้หอ้ งสมุดอยูใ่ นระดับต้นๆ ของการพัฒนา ในแต่ละปีงบประมาณ เพื่อให้สามารถรองรับ การใช้งานได้จริงตามหลักสูตรต่างๆ ทุกสาขา วิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดสอน วันนี้ ‘ห้องสมุด’ หายไป มีชื่อใหม่ที่ ฟังแล้วกว้างขวางขึ้น คือ ‘สำ�นักวิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ’ ที่พัฒนามาจาก ห้องสมุดไม่กช่ี น้ั ในอาคารหลังเก่า เป็นบริการ ความรู้ที่ไม่ใช่แค่ตัวหนังสือบนกระดาษ ยังมี ความรู้ที่อยู่ในรูปแบบอื่น อย่างเช่น สื่อโสต ทั้งหลาย ตั้งแต่แผ่นบันทึกข้อมูลทั้ง ซีดี และ ดีวดี ี ไปจนถึงภาพยนตร์และสารคดีทางวิชาการ และทีข่ าดไม่ได้เลยคือ บริการอินเทอร์เน็ต อัน เป็นทางเลือกที่ได้รับความนิยมจากนักศึกษา
ส่งสัมพันธ์สกุล นักวิชาการการศึกษา กองพัฒนา นั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ สวนสุ นั น ทา เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ถึงที่มาของประกาศนี้ ว่า ช่วงปิดเทอมที่ผ่านมา มีนักศึกษามาซ้อม เชียร์ และมีนักศึกษารุ่นพี่ที่แต่งกายไม่สุภาพ นุ่งสั้น สวมรองเท้าแตะ ทำ�ให้มหาวิทยาลัยฯ ต้องออกกฎทำ�ป้ายนี้ขึ้นมา “รอท่านอธิการบดี เซ็นอนุมตั กิ ฎข้อห้ามปฏิบตั นิ อ้ี ยู่ ถ้าเป็นกระโปรง ต้องยาวคลุมเข่า ถ้าสั้นเลยเข่าขึ้นไปก็จะโดน หักคะแนนกิจกรรม ครัง้ ละ ๓ หน่วย” และเปิดเผย ต่อไปว่า จะมีเจ้าหน้าที่พ ร้อมเครื่องอ่าน บัตรนักศึกษา (scan) คอยตรวจแต่ละประตู ช่วงเวลา ๘ นาฬิกา “แต่ถ้าระเบียบออกมา แล้วจะไม่ระบุเวลาถ้าเจอก็ตรวจเลย” สิ่งที่ น.ส. ภุมรินทร์ คาดหวัง คือไม่อยากให้สิ่งที่เป็น ข้อห้ามเหล่านี้เกิดขึ้นภายใน ‘สวนสุนันทา’ อยากให้อาจารย์ช ่วยกัน เพราะเจ้าหน้าที่ กองพัฒนานักศึกษา โดยลำ�พัง ซึง่ มีเพียง ๒๐ คน ไม่สามารถดูแลนักศึกษากว่า ๔,๐๐๐ คนได้ “การทำ�ป้ายเยอะขึ้น ไม่ได้ช่วยอะไร ตราบใดที่ อาจารย์ผู้สอนไม่ได้ช่วยกันกวดขัน” ในฐานะนั ก ศึ ก ษาผู้ ต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม
ป้ายนี้ นายชัชวาล ชัยภานุเกีียรติ เอกดนตรี ปี ๓ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา คิดว่าตั้งไว้เฉยๆ เพราะเห็นบ่อย ครั้งที่นักศึกษาทำ�ผิดกฎ ส่วนการตัดคะแนน กิจกรรมนั้น “คิดว่านักศึกษาไม่ค่อยสนใจ เพราะคะแนนอาจจะหาเพิ่มกับการทำ�กิจกรรม มากขึ้นก็ได้” นายชัชวาล กล่าวกับ ‘กำ�แพงแดง’ หนึ่งในคณะวิชาของ ‘สวนสุนันทา’ ที่นักศึกษา แต่งกายถูกระเบียบคือวิทยาลัยพยาบาล ซึ่ง นายวสันต์ โทอาษา นักศึกษาพยาบาลปี ๑ เปิดเผยกับ ‘กำ�แพงแดง’ ว่า การประกาศข้อห้ามด้วย การทำ�ป้ายมาตัง้ อย่างทีเ่ ห็น กันเป็นสิง่ ทีด่ จี ะได้หา้ มไม่ ให้ผู้แต่งกายผิดระเบียบ เข้ามา“คนที่แ ต่งตัวผิ ด ระเบียบ คิดว่าเขาไม่ให้ เกียรติตัวเองและไม่ให้ วสันต์ เกียรติมหาวิทยาลัยอย่าง คณะของเราที่แต่งตัวเรียบร้อยเสมอ เพราะ คำ�ว่า ‘พยาบาล’ และ ‘จรรยาบรรณ’ จะมา แต่งตัวไม่เรียบร้อย เอาเสื้อออกชายกางเกง และกระโปรง มันไม่เหมาะสม” ในขณะที่นางสาวนวลพรรณ นุ้ยขาว นักศึกษาออกแบบผลิตภัณฑ์ ปี ๔ คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ซึ่งเป็นหนึ่งในผู้แต่งกายผิดระเบียบ ยอมรับกับ ‘กำ�แพงแดง’ ว่า ไม่ได้แต่งตัวถูกระเบียบ เพราะ สาขาที่เรียนเกี่ยวกับงานศิลปะ “มันค่อนข้างที่ ต้องลุยๆ ถ้าแต่งตัวเรียบร้อยมาเรียนสวมกระโปรง ยาวๆ มันก็จะลำ�บาก อย่างคณะครุศาสตร์ เขา ต้องจบไปเขาต้องเป็นแม่พิมพ์ของชาติ จึงต้อง เป็นแบบอย่างที่ดีของลูกศิษย์”
นักศึกษา ‘สวนสุนันทา’ นิยมห้องสมุด
แต่เข้าไปใช้อินเทอร์เน็ตมากกว่าอ่านหนังสือ ผู้ใช้บริการค่อนข้างมากโดยเฉพาะระบบยื ม หนังสือด้วยคอมพิวเตอร์ อย่างไรก็ตาม แม้หอ้ งสมุดจะก้าวหน้าไป แค่ไหน แต่มขี อ้ สงสัยว่า พฤติกรรมการอ่านของ นักศึกษา มาใช้บริการเพิม่ ขีน้ เท่าเดิม หรือน้อย กว่าเดิม ผูไ้ ม่มาเป็นเพราะไม่มเี วลา หรือไม่ชอบ เข้าห้องสมุด หรือเห็นว่าคุณครูที่ชื่อ ‘Google’ ก็เหลือเฟือแล้ว หรือตรงกันข้าม คือไปห้องสมุด มหาวิทยาลัยอืน่ เพราะมีหนังสือให้คน้ คว้ามากกว่า หนึ่ ง ในผู้ เ คยใช้ บ ริ ก ารห้ อ งสมุ ด ‘สวนสุนันทา’ แล้วเว้นวรรคไป คือนายคุณารักษ์ เรนุนันท์ ณ อยุธยา นักศึกษาภูมิศาสตร์ ปี ๔ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ถึงการห่างเหินห้องสมุด ว่า เขาเคย เข้าไปหาหนังสือที่ต้องการค้นคว้า แต่ใช้เวลา นานมากกว่าจะหาพบ เพราะวางไม่คอ่ ยตรงตาม หมวดหมู่ “แต่นั่นไม่เท่ากับอยากได้หนังสือที่ เกีย่ วกับสาขาวิชาของตนเองแล้วไม่มใี ห้ยมื หรือ มีก็น้อยก็เลยไม่อยากเข้าห้องสมุด แล้วหันมาใช้ อินเทอร์เน็ต มันสะดวกกว่า ถ้าจำ�เป็นต้องใช้จริง ๆ ก็จะไปใช้ห้องสมุดอื่นแทน” หนึ่งในห้องสมุดที่ เป็นขวัญใจของนักศึกษาราชภัฏ คือห้องสมุด
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เพราะ นอกจากหนังสือที่มีให้ค้นคว้าอย่างหลากหลาย แล้ว ยังมีที่นั่งให้ค้นคว้าที่เป็นสัดส่วนมากเพียง พอ จนยินดีทจ่ี ะจ่ายค่าบริการครัง้ ละ ๒๐ บาท แต่กใ็ ช่วา่ ห้องสมุด ‘สวนสุนนั ทา’ จะขาด ขาประจำ� อย่างนางสาวสุทธาทิพย์ วงศ์สกุลเกษม นักศึกษาวิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ ปี ๒ ที่บอก ‘กำ�แพงแดง’ ว่าเข้าห้องสมุดเกือบทุกวัน เพราะบรรยากาศดี เย็นสบาย บริการที่ใช้บ่อย คืออินเทอร์เน็ต หรือไม่กช็ มภาพยนตร์ และทีเ่ ป็น ประจำ�คือ เข้ามาอ่านหนังสือแต่เธอก็มีปัญหา เดียวกันกับเพือ่ นนักศึกษาต่างคณะคือ หนังสือที่ สนใจมีไม่มากพอ “อยากให้ ห้องสมุดมี ห นั ง สื อ อ่ า นเล่ น เพิ่ ม ขึ้ น และอยากให้ มี ซี ดี ภาพยนตร์ใหม่ๆ บ้าง” จำ � นวนสถิ ติ ผู้ ใ ช้ บริการห้ อ งสมุ ด ต่ อ วั น ซึ่ ง นางวาศิณี ศรีชเู ปีย่ ม เจ้าหน้า ที่บริหารงานทั่วไปเปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ว่ามีประมาณ ๒,๐๐๐ คน โดยมีอัตราการ
ประชาคม หน้า ๓ ความเห็นของอาจารย์ซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิด นักศึกษาในฐานะผู้สอนต่อการตั้งป้าย “เป็น สิ่งที่นักศึกษาควรทำ� แต่ไม่แน่ใจว่าจะอ่านกัน หรือเปล่า เพราะเล็กไปหน่อย โดยปกติอาจารย์จะ เตือนนักศึกษาทุกวัน แต่นักศึกษาก็ไม่ปฏิบัติ ตามถ้าไม่มีป้าย เลยอาจจะแย่กว่านี้” นางสาวเสาวลักษณ์ แซ่ลี้ อาจารย์ ประจำ�สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ และสั ง คมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภัฏ สวนสุนนั ทา กล่าว พร้อมกับตอบ ‘กำ�แพงแดง’ ถึงข้อโต้แย้งเรื่องจำ�กัดอิสรภาพในการแต่งกาย ว่าข้อเท็จจริงเป็นเรือ่ งของระเบียบวินยั ขัน้ พืน้ ฐาน ที่คนในสังคมต้องมีร่วมกัน “ถ้านักศึกษามา เรียนแล้วจบออกไปโดยไม่เคารพกฎขัน้ พืน้ ฐาน ที่ตัวเองอยู่ เมื่อไปอยู่ที่อื่นก็จะลำ�บาก เพราะว่า นักศึกษาไม่มีการจำ�กัดเสรีภาพ เมื่อเราออกไป อยู่ที่อื่น ที่อื่นก็ต้องมีกฎระเบียบไม่อย่างนั้น คนจะอยู่ร่วมกันไม่ได้” ส่วนบทลงโทษด้วย การตั ด คะแนนหน่ ว ยกิ จ ๓ หน่ ว ยกิ ต นั ้ น อาจารย์เสาวลักษณ์ ย้อนถามว่า นักศึกษา กลัวไหม ถ้าไม่แสดงว่ามาตรการนี้อาจไม่ได้ ผล “เราต้องทำ�ให้นักศึกษาภาคภูมิใจตัวเอง อยูใ่ นระเบียบวินยั ไม่ใช่ในรูปแบบของคะแนน แต่เป็นความมีตัวตนของคนในสังคมได้รับการ ยกย่องมากกว่าเพราะว่าเรามีบรรทัดฐาน ได้ รั บ การสั่ ง สอนมาว่ า เราต้ อ งอยู่ ใ นระเบี ย บ วินัย สิ่งที่อาจารย์อยากจะฝากถึงนักศึกษาคือ ให้รกั ตัวเองมาก ๆ เพราะที่เขาออกกฎมาเขา ไม่ได้ทำ�เพื่อสถาบันร้อยเปอร์เซ็น แต่เขา ทำ�เพื่อให้นักศึกษาไปอยู่ข้างนอกแล้วเป็นที่ ต้องการของคนในสังคมข้างนอกได้” ข่าว: ชนิสรณ์ ปาโมกข์/ ภาพ: นนทวัฒน์ แหวนเงิน
ยืมต่อวันประมาณ ๔๐๐ เล่ม ซึ่งปัจจุบัน ห้องสมุด ‘สวนสุนันทา’ มีหนังสือทั้งหมด ๑๐ หมวดหมู่ ครอบคลุมทุกคณะรวมกันกว่า ๑๐๐,๐๐๐ เล่ม ความเห็นที่นำ�มาถามต่อคือ ไม่มี หนังสือทีต่ อ้ งการให้ยมื นัน้ เจ้าหน้าทีผ่ นู้ ต้ี อบ ว่าเป็นเพราะอาจารย์ผสู้ อนประจำ�วิชาของแต่ ละสาขาไม่ได้แจ้งมายังห้องสมุดว่าต้องการ หนังสืออะไรบ้าง จึงไม่สามารถจัดหามาได้ ในขณะที่ห้องสมุดพร้อมและพยายามที่จะจัด หาหนังสือใหม่ๆ เข้ามาอยู่แล้ว ประเด็นจึงอยู่ เส้นทางระหว่างอาจารย์ผู้สอนในแต่ละสาขา วิ ช ากั บ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบงานห้ อ งสมุ ด จะพบกั น ตรงไหน หรือจะสื่อสารกันอย่างไร โดยมี เป้าหมายเป็นคนกลุ่มเดียวกัน คือ นักศึกษา รายงาน: ศิริวรรณ หล่ำ�แท้/ ภาพ: โสภณ เสริมสวัสดิ์
กำ�แพงแดง หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน้า ๔ การศึกษา
คืนชีพโครงการเงินกู้ กรอ. ลุ้นกลับมาใหม่ไม่เป็นผีดิบ ปรับหนี้ กยศ. ให้เหมือนกัน
นโยบายการศึกษาพรรคเพื่อไทย รัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ปลุกโครงการ เงินกูก้ รอ. กลับมาใหม่ นักการศึกษาหวังไม่ตายเพราะเงินหมดเหมือนคราว แรก นักศึกษาลูกหนี้ กยศ. ได้เฮ รัฐบาลปรับโครงสร้างหนี้ให้เหมือน กรอ. การแถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ โดยนางสาวยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ในด้านการศึกษา กล่าวเฉพาะ ระดับมหาวิทยาลัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อ นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษามี ใ จความสำ � คั ญ โดยสรุ ป ได้ ดังนี้ (๑) จัดให้มีโครงการเงินกู้เพื่อการศึกษา ทีผ่ กู พันกับรายได้ในอนาคต (กรอ.) โดยให้ใช้คนื เมื่อมีรายได้เพียงพอที่จะเลี้ยงตัวได้ ส่วนผู้เป็น หนี้กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ก็ให้พัก ชำ�ระหนี้ โดยปรับเปลีย่ นการชำ�ระหนีเ้ ป็นระบบ ที่ผูกพันกับรายได้ในอนาคต (๒) ปรับปรุงระบบ การคัดเลือกเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาให้มี การกระจายโอกาส โดยจัดให้มรี ะบบคัดเลือกกลาง เพือ่ เข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และเป็นธรรม (๓) โครงการ ๑ อำ�เภอ ๑ ทุน เพื่อ เปิ ด โอกาสให้ ไ ด้ ไ ปเรี ย นต่ อ ต่ า งประเทศ ๔) พั ฒนาระบบ ‘ไซเบอร์โฮม’ (Cyber Home) ทีส่ ามารถส่งความรูม้ ายังผูเ้ รียนด้วยอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูงและ (๕) เร่งดำ�เนินการให้ ‘กองทุ น พัฒนาเทคโนโลยีเพือ่ การศึกษา’ สามารถดำ�เนิน ตามภารกิจได้ ในบรรดานโยบายทั้งหมดที่เกี่ยวกับ การศึกษาที่นักศึกษามีการกล่าวถึงกันค่อนข้าง มากตั้ง แต่ ค รั้ง ใช้ ใ นการหาเสี ย งคื อ โครงการ กรอ. ซึง่ นายรวีโรจน์ สิงห์ล�ำ พอง นักวิชาการ ด้านการศึกษา หั ว หน้ า ฝ่ า ยประชาสั ม พั น ธ์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สวนสุนันทา เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ถึงการนำ�โครงการนีก้ ลับมาอีกครัง้ โดยมีเงือ่ นไขเมือ่ รายได้หลังจบการศึกษาไปแล้ว ถึงเดือนละ ๑๖,๐๐๐ บาท จึงจะเรียกชำ�ระเงินกู้ว่า ถ้าบัณฑิตส่วนใหญ่ยังมีรายได้ไม่ถึงตามเกณฑ์ ที่กำ�หนด กองทุนฯ จะมีวิธีการอย่างไรจึงจะ ไม่ส่งผลกระทบต่อกองทุน เนื่องจากในอดีตที่ ผ่านมา เคยมีปัญหาเงินหมดในสมัยรัฐบาล พันตำ�รวจโท ทักษิณ ชินวัตร มาแล้ว ส่วนนางรัตนา กิจพัฒนาสมบัติ อาจารย์ โรงเรียนสตรีวทิ ยา ๒ ให้ความเห็นเรือ่ งเงินกู้ กรอ. และ กยศ. กล่าวกับ ‘กำ�แพงแดง’ ว่า เด็กไทยขาด โอกาสมากในการเรียนระดับอุดมศึกษา จึงอยาก ให้มกี ารปรับเงินกู้ กรอ. เป็นโครงการถาวร และ กล่ า วถึ ง นโยบายการศึ ก ษาด้ า นที่ เกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศน่าจะมีความเป็นไปได้ มากทีส่ ดุ พร้อมกับตอบคำ�ถามเรื่องการแจก คอมพิวเทอร์มอื ถือ (tablet) แก่เด็กนักเรียนชัน้ ประถมว่า ช่วยเพิ่มโอกาสให้เด็กได้มีความ รูเ้ พิ่มเติมมากขึ้น “แต่คงต้องต้องเตรียมการ ให้นักเรียนได้รู้ถึงประโยชน์ของเทคโนโลยี ซึ่ง เด็กประถมศึกษาปีท่ ่ี ๑ ยังต้องมีการพัฒนาด้าน ร่างกายอีกมาก การให้แท็ปเล็ทเร็วเกินไป อาจ
ทำ�ให้การพัฒนาด้านสรีระขาดตอน” ในฐานะตลาดแรงงาน นางนงนุช อนัญญาเขต ผู้เชี่ยวชาญด้านการบัญชี บริษัท ทรูคอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ให้สัมภาษณ์ ‘กำ�แพงแดง’ ถึงมุมมองนโยบายการศึกษาของ รัฐบาล ‘ยิง่ ลักษณ์’ เห็นว่าดีเกือบทุกเรือ่ ง แต่บาง เรือ่ งอาจยากทีจ่ ะทำ�ให้สมั ฤทธิผ์ ล นโยบายทีน่ า่ จะเป็นไปได้คอื การมีงานทำ�และการประกอบอาชีพ “ตลาดแรงงานยังคงต้องการคนทีม่ คี วาสามารถ เข้าไปทำ�งานจริงๆ แต่ตอนนีม้ คี นทีเ่ ลือกงานมาก นักศึกษาบางคนจบมาเข้าทำ�งานได้ไม่นานก็ออก” ข่าว: ณลิษา แพงเกาะ/ ภาพ: นนทวัฒน์ แหวนเงิน
นงนุช
อาจารย์รตั นา
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน ๒๕๕๔
ไม่เปิดหลักสูตรครูพนั ธุใ์ หม่ ๖ ปี ตรีควบโท รองคณบดีครุฯ รับอาจารย์ศักยภาพไม่พร้อม โครงการผลิ ต ครู พั นธุ์ ใหม่ ห ลั ก สู ต ร ปริญญาตรีควบปริญญาโท ๖ ปี ที่ประชุมสภา คณบดีครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย กำ�หนดให้เป็นหลักสูตรเดียว โดยมีอาจารย์ ประจำ�หลักสูตรเพียงชุดเดียวตามหลักเกณฑ์ ปริญญาโท คือ อาจารย์ประจำ�หลักสูตรคุณวุฒิ ปริญญาเอกและหรือรองศาสตราจารย์ ไม่นอ้ ยกว่า ๕ คน และมีอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตรคุณวุฒิ ปริญญาเอกและหรือรองศาสตราจารย์อย่างน้อย ๓ คน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จะเปิด หลักสูตรครู ๖ ปีหรือไม่นน้ั ดร.วิภาดา ประสารทรัพย์ รองคณบดีฝา่ ยวิชาการคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทาเปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ถึงที่ มาของครูหกปีตรีควบโทว่ามีจุดประสงค์เพื่อ (๑)ยกระดับวิชาชีพครูให้นกั เรียนทีจ่ บมัธยมศึกษา ปีที่ ๖ อยากทีจ่ ะเข้ามาเรียนครูเพิ่มขึ้นทำ�ให้ครูที่ จบมาเก่งในด้านนั้นๆ และ (๒) ครูปริญญาตรี ที่ต้องการศึกษาต่อปริญญาโทที่สอนไปเรีย น ไปอาจทำ�ให้ไม่เต็มทีใ่ นการสอน “จึงมีการออก หลักสูตรตรีควบโทนี้ขึ้นมา” พร้อมกับกล่าวถึง ความพร้อมในการจัดทำ�หลักสูตรว่า อาจารย์ ต้ อ งมี คุ ณ วุ ฒิ ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต หรื อ มี ผ ลงานทาง วิชาการขัน้ รองศาสตราจารย์ จึงจะสามารถสอน ได้ แต่ ‘สวนสุนันทา’ มีอาจารย์ไม่เพียงพอ และยั ง อยู่ ใ นช่ ว งปรั บ เปลี่ ย นอาจารย์ ที่ ห มด วาระ “จึงมีการเสนอทางออกว่าอาจมีการแลก เปลี่ยนอาจารย์ระหว่างมหาวิทยาลัยมาสอน เป็นเวลา ๓-๕ ปี มีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผลจากแอดมิสชั่นส์เข้ามหาวิทยาลัย กลายเป็นส่งเสริมเด็กไปเรียนกวดวิชา
ปัจจุบนั สมาคมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (สอท.) ใช้วิธีการรับนักเรียนมัธยมปลายเข้า ศึกษาในมหาวิทยาลัยด้วยระบบระบบกลาง (Central University Admissions System: CUAS) โดยปีการศึกษา ๒๕๕๔ กำ�หนดให้ (๑) ผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า (Grade Point Average X: GPAX) ร้อยละ ๒๐ (๒) ผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้น ฐาน (Ordinary National Educational Test: O–NET) ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่ม ภาษาไทย กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม กลุ่มภาษาต่างประเทศ กลุ่ม คณิตศาสตร์ กลุ่มวิทยาศาสตร์ กลุ่มสุขศึกษา และพลศึกษา กลุม่ ศิลปะ และกลุม่ การงานอาชีพ และเทคโนโลยีร้อยละ ๓๐ (๓) ผลการสอบ ความถนัดทั่วไป (General Aptitude Test: GAT)ตามที่แต่และคณะวิชากำ�หนดไว้ ร้อยละ ๑๐ – ๕๐ (๔) ผลการสอบความถนัดทางวิชา ชีพและวิชาการ (Professional and Academic Aptitude Test: PAT) ๗ ประเภท ได้แก่ ความถนัดทางคณิตศาสตร์ ความถนัดทาง วิทยาศาสตร์ ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ความถนัด
อริณยา
วรรณนิสา
แห่งเดียวที่มีหลักสูตรนี้” นางสาววรรณนิสา ชมทอง นักศึกษา บริหารธุรกิจ ปี ๔ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ในฐานะที่มี โอกาสติดตามข่าวนี้ ให้ความเห็นกับ ‘กำ�แพงแดง’ ว่า ถ้ามีหลักสูตรนี้จะมีส่วนช่วยให้คนทีอ่ ยาก เป็นครูอาจหันมาเรียนมากขึ้นเพราะใช้เวลา และค่าใช้จ่ายน้อย “ส่วนผู้เรียนเพื่อไปเป็นครู แม้หลักสูตรนี้จะเหมาะสมแต่ก็ยังขึ้นอยู่กับคน เรียนว่าจะมีศกั ยภาพแค่ไหนไปสอนเด็ก” ส่วนนางสาวอริณยา งามแม้น นักศึกษา สาขาวิ ช าปฐมวั ย ปี ๓ คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลั ย ราชภั ฏสวนสุ นั นทา เปิ ด เผย ‘กำ�แพงแดง’ ว่า จะเป็นประโยชน์ต่อรุ่นน้อง ซึ่ง เสียเวลาเรียนและค่าใช้จ่ายน้อยลงยังเป็นการ เพิ่มบุคลากรในวิชาชีพครูอีกด้วย เนื่องจากใน ปัจจุบันครูมีจำ�นวนน้อยมาก “น่าเสียดายที่ยัง เปิดไม่ได้ แต่ควรเร่งให้เปิดได้เร็วๆ” ข่าว: สมนฤมล ศรีคำ�ดอกแค/ ภาพ: โสภณ เสริมสวัสดิ์
และบริการ ปี ๑ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ที่ สอดคล้องกันไม่ว่าจะเป็นความยุ่งยาก เวลา และค่าใช้จ่าย “ต้องสอบหลายอย่าง ทั้ง GAT ทั้ง PAT สอบกัน ๔-๕ วิชา แต่ละปีต้องสอบ ถึง ๓ ครั้ง ครั้งหนึ่งต้องจ่ายวิชาละ ๑๕๐ บาท” นางสาวสมพร แซ่เตียว กล่าวกับ ‘กำ�แพงแดง’ ในขณะที่ นางสาวจิตตินันท์ ชินผดุงลาภ เห็น ว่าการสอบตรงน่าจะดีกว่าการสอบระบบกลาง “เพราะเราจะได้รู้ผลเลยว่าสอบได้หรือไม่ได้” การรายงานเรื่องนี้ แม้ไม่มีคำ�ชี้แจง จากฝ่ายผู้รับผิดชอบคือ สอท. แต่อย่างน้อย ผลสะท้อนเล็กๆ จากฝ่ายผูเ้ รียน การตัง้ ระบบ สอบกลางทีซ่ บั ซ้อน แถมยังเปลีย่ นแปลงระบบ บ่อยเกินไปนั้น ส่งผลอะไรบ้าง โดยเฉพาะข้อ สังเกตที่กล่าวว่า admissions คือ การส่งเสริม โรงเรียนกวดวิชาหรือไม่
ทางวิชาชีพครู ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ และความถนัดทางภาษาต่างประเทศร้อยละ ๐ – ๔๐ (๕) ผลการสอบสัมภาษณ์และตรวจร่างกาย เพือ่ หาข้อมูลประกอบการพิจารณาความพร้อม และ ความเหมาะสมเป็นขั้นสุดท้ายก่อนการรับเข้า ศึกษาโดยไม่คิดเป็นค่าน้ำ�หนักคะแนน ปัญหาทีผ่ า่ นมาคือ กระบวนการสอบที่ ซับซ้อนขึน้ จากคะแนนสอบอย่างเดียว เพิม่ คะแนน GPA จนถึงปัจจุบนั ทีเ่ พิม่ O-NET และการทดสอบ ขั้นก้าวหน้า (Advance National Educational Test: A-NET) ไม่เพียงเท่านัน้ ค่าคะแนนของแต่ ละด้านก็ยงั เปลีย่ นแปลงในแต่ละปีการศึกษาอีก ด้วยการเปลีย่ นกฎเกณฑ์ท�ำ ให้นกั เรียนเกิดความ สับสนโดยเฉพาะนักเรียนต่างจังหวัดที่ค่อนข้าง เสียเปรียบเรือ่ งข้อมูลข่าวสารเมือ่ เทียบกับนักเรียน รายงาน: เพ็ญภัสสร พุม่ ภาชี/ ภาพ: นนทวัฒน์ แหวนเงิน ในกรุงเทพฯ แม้แต่ความยากง่ายของข้อสอบก็ถกู ตัง้ ข้อสงสัยเรือ่ งมาตรฐานและยังถูกตั้งข้อสังเกต กรณีโจทย์สอบนัน้ ยากเกินกว่าจะวัดความสามารถ ได้หรือไม่ เพราะมีเวลาตอบข้อละ ๓.๖ นาทีเท่านัน้ อันเป็นสาเหตุส�ำ คัญทีท่ �ำ ให้เยาวชนหันไปแสวงหา เทคนิคการทำ�เฉลยแบบลัดจากโรงเรียนกวดวิชา ปัญหาข้างต้นถูกถ่ายทอดผ่านนางสาว สมพร แซ่เตียวและนางสาวจิตตินนั ท์ ชินผดุงลาภ จิตตินนั ท์ สมพร นักศึกษาการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน ๒๕๕๔
กำ�แพงแดง หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ธนาคารขยะ ‘เจ๋ง’ แต่นักศึกษาไม่สนฯ เข้าร่วมเพราะถูกอาจารย์สั่งหวังคะแนน
หลังดำ�เนินงาน ๒ ปี โครงการจัดการวัสดุรไี ซเคิลล้มเหลว มีแต่แม่บา้ นและ บุคลากร ‘สวนสุนันทา’ ให้ความสนใจ ส่วนนักศึกษาเองถูกกิจกรรมบาง รายวิชาบังคับให้หาขยะมาขาย ‘ธนาคารรีไซเคิล’ ได้คะแนนแล้วเลิก อ้างว่า เงินค่าขยะน้อยจนไม่เกิดแรงจูงใจ เอาเวลาไปทำ�การบ้านส่งอาจารย์ดกี ว่า การบริหารจัดการขยะรีไซเคิล (recycle) เป็นโครงการใหญ่ระดับประเทศ ที่มีการ รณรงค์ให้นักเรียน นิสิต นักศึกษา ทุกระดับ และหลายสถาบันการศึกษาจัดตั้งโครงการนี้ ขึ้น ซึ่งบางมหาวิทยาลัย อาทิ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ผู้ดูแลโครงการคือ รองอธิการบดี ฝ่ายบริหาร ส่วนแนวทางการดำ�เนินงาน ของแต่ละสถาบันใกล้เคียงกัน คือ การจัดตั้ง ธนาคารขยะรีไซเคิล การคัดแยกขยะอย่างเป็น ระบบ การนำ�ขยะที่คัดแยกมาฝากธนาคาร ลักษณะเดียวกันกับธนาคารทั่วไป การมี ร้านค้ามารับซื้อของเก่าและขยะจากธนาคาร ส่วนวัตถุประสงค์โครงการก็ใกล้เคียงกัน คือ จัดการขยะอย่างเป็นระบบ และยังมีทัศนคติ ที่ดีต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะรีไซเคิล ของนักเรียน นิสิต นักศึกษา และบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ก็มีโครงการ จั ดการวั ส ดุ ร ี ไซเคิ ล ด้วยเช่นกัน โดยเปิด ตัวเป็นทางการเมื่อ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๒ เป้าหมายคือการลดจำ�นวนขยะภายในมหาวิทยาลัยฯ ด้วยการรับแลกขยะรีไซเคิล ควบคู่ กับการปลูกจิตสำ�นึกนักศึกษาในการรักษาสิ่ง แวดล้อม โดยรับซื้อขยะทุกวันพุธ บริเวณใต้ ตึก ๒๓ นักศึกษาที่นำ�ขยะรีไซเคิลมาขายจะ ต้องสมัครเป็นสมาชิกฟรี และรับสมุด บันทึกการซื้อขายไป ๑ เล่ม ครั้งแรกให้ นำ�ขยะ ๑ กิโลกรัมมาขาย ครั้งต่อไปเมื่อ นำ�ขยะมาขายอีก ก็รับเงินค่าขยะรีไซเคิลที่ได้ ขายครั้งแรก แล้วบันทึกเป็นรายการอย่างนี้ไป ขยะที่ธนาคารรีไซเคิลรับซื้อ อาทิ กระดาษ ขวดน้ำ� ขวดพลาสติก และบรรดาของที่สามารถ นำ�ไปปรับเปลี่ยนสภาพเพื่อนำ�กลับมาใช้ใหม่ ปัจจุบนั มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา จัดพื้นที่ให้นักศึกษาสูบบุหรี่ไว้ ๕ แห่ง ได้แก่ (๑) หน้าห้องน้ำ�ข้างโรงอาหาร (๒) หลั ง คณะมนุ ษ ย์ ศ าสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ (๓) ข้างคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (๔) หลังคณะวิทยาการจัดการ และ (๕) ด้านใน ของประตูทางเข้ามหาวิทยาลัยถนนราชวิถี แต่จากการสำ�รวจของกองบรรณาธิการ ‘กำ�แพง แดง’ พบว่า มีเพียงส่วนน้อยที่ปฏิบัติตาม ประกาศของมหาวิทยาลัย ภาพนักศึกษาเดิน สูบบุหรี่ หรือสูบในพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งชุมนุม ของนักศึกษาตามคณะวิชาต่าง ๆ ไม่เว้นแม้ ในห้องน้ำ� จึงท้าทายกฎหมายและประกาศ ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยฯ โดยเฉพาะเมื่อ สังเกตเห็นว่าอาจารย์บางคน เมื่อเห็นหรือ เดินสวนนักศึกษาทีส่ บู บุหรี่ ก็ท�ำ เป็นไม่สนใจ หรือเอาหูไปนา เอาตาไปไร่ ประกาศกระทรวง
(recycle) กลุ่มเป้าหมายของโครงการคือ นักศึกษา ‘สวนสุนันทา’ อย่างไรก็ต าม นับ แต่เริ่มโครงการ สมาชิกที่ให้ความสนใจกลาย เป็นแม่บ้านและบุคลากรของมหาวิทยาลัย แต่ กับนักศึกษา กลับไม่ประสบผลสำ�เร็จเท่าใดนัก สาเหตุที่โครงการธนาคารขยะไม่เป็นที่สนใจ ในหมู่นักศึกษา นายกมล หรั่งทอง เจ้าหน้าที่โครงการจัดการวัสดุรีไซเคิล ยอมรับ กับ ‘กำ�แพงแดง’ ว่ามีนักศึกษาเพียงบางคน ที่ เข้ า ร่ ว มโครงการด้ ว ยความสมั ค รใจจริ ง ๆ “ส่ ว นใหญ่ เข้ า ร่ ว มเพราะเป็ น การสั่ ง งาน ของอาจารย์ในวิชาศึกษาทั่วไป อาจจะเป็น เพราะขาดการประชาสัมพันธ์โครงการอย่าง ต่อเนื่อง ประชาสัมพันธ์แค่ช่วงตั้งโครงการ แรก ๆ ด้ ว ยแผ่ น พั บ โปสเตอร์ และเสี ย ง ตามสายของมหาวิทยาลัยฯ และตอนนี้ก็ยัง ไม่มีแผนที่จะทำ�การประชาสัมพันธ์เพิ่มเติม เนื่องจากบุคลากรที่ดูแลโครงการมีน้อย จึง อยากให้นักศึกษามาร่วมโครงการนี้ เพราะ จะได้มีรายได้เพิ่มขึ้น รวมถึงร่วมทำ�กิจกรรม สร้างจิต สำ�นึกในการดูแ ลสิ่งแวดล้อมด้วย” ประเด็ น การประชาสั ม พั น ธ์ เ พื่ อ ให้ คนในประชาคมสวนสุนันทารู้จักนั้น นางสาว อรอนงค์ เพียขันธ์ นักศึกษาคณะมนุษ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทาเปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ว่านักศึกษา ส่วนใหญ่รู้จักโครงการนี้ เพราะต้องทำ�งานใน วิชาศึ ก ษาทั ่ ว ไป “จึงต้องเข้าร่วมโครงการ เพราะเอาคะแนนมากกว่ า เข้ า ร่ ว มโครงการ ด้วยความสมัครใจ” ผู้สื่อข่าวถามว่าเคยร่วม โครงการนีห้ รือไม่ นางสาวอรอนงค์ ตอบว่าร่วม เพราะต้ อ งเก็ บ ขยะไปส่ ง ในวิ ช าศึ ก ษาทั่ ว ไป
สิ่งแวดล้อม หน้า ๕
เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ตนเชื่อว่าโครงการ นี้ น่ า จะมี ส่ ว นช่ ว ยลดขยะในมหาวิ ท ยาลั ย ฯ แต่ ต้ อ งมี ก ารโฆษณาและประชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ นักศึกษามาร่วมโครงการมากกว่านี้ เช่นเดียว กับนางสาวสุจิตรา ฑีฆาวงค์ นักศึกษาสาขาวิชา การจัดการโลจิสติกส์ ปี๑วิทยาลัยนวัตกรรมและ การจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ที่รู้จักโครงการนี้ เพราะต้องทำ�งานวิชาศึกษา ทั่วไป ตนและเพื่อนถ้าไม่ได้เรียนวิชานี้ก็คง จะไม่รู้จักโครงการ อาจจะเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำ�
ข่าว: สกุลตรา สุขทวี
มีระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย แต่ปลาลอยตายในสระ ปัญหาน้�ำ ส่งกลิน่ เหม็น ปลาตาย สวนทางระบบบำ�บัดน้�ำ เสียของมหาวิทยาลัย นักวิชาการชี้ สิง่ แวดล้อมและสัตว์น�ำ้ หนาแน่นเกินไป เนือ่ งจากเป็นเขต อภัยทาน ต้องปล่อยให้ตายเองตามธรรมชาติ แถมบางจุด คนมักง่าย ปล่อยน้ำ�เสียลงสระ แต่ยืนยันคุณภาพน้ำ�มีสภาพดีตรงตามมาตรฐาน นางสาวจินติกานต์ คงพิมลรัตน์ นักศึกษาปี ๒ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ‘สวนสุนันทา’ เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ว่าตนพบปลาตายในสระน้ำ�ของมหาวิทยาลัยฯ จึงสงสัยว่าเป็นเพราะระบบบำ�บัดน้�ำ เสียมีวา่ ปัญหา หรือไม่ โดยเฉพาะบริเวณหน้าตึกวิทยาการจัดการ มีปญ ั หามากกว่าตึกอืน่ ๆ “น้�ำ ในบ่อมีกลิน่ เหม็น บางวันเห็นปลาตายด้วย รวมทั้งที่บริเวณครัว ริมน้ำ� เพราะมีร้านขายอาหารอยู่ตรงนั้นหรือ เปล่าก็ไม่ทราบ” ส่วนนายอภิสิทธิ์ แสงขาว นักศึกษาปี ๑ คณะเทคโนโลยี อ ุ ต สาหกรรม ‘สวนสุนันทา’ ซึ่งก็เห็นปลาตายและสระน้ำ�มี กลิ่นเหม็น เปิดเผย ‘กำ � แพงแดง’ ว่าเคยเห็น นั ก ศึ ก ษาบางคนที่ ทิ้ ง ขยะลงไปในสระน้ำ � รวมทั้งเห็นนักศึกษาที่ให้อาหารเต่าและปลา ในสระ จึงคิดว่าน่าจะเป็นอีกสาเหตุหนึง่ ทีท่ �ำ ให้ น้ำ�เสียได้ “จึงอยากให้มีการพัฒนาระบบ บ่อบำ�บัดน้ำ�เสียให้มีคุณภาพมากขึ้น” ในขณะที่นายศักดิ์นริน ปัญญาสาร นักศึกษาปี ๑ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ‘สวนสุนนั ทา’ กล่าวว่า สระน้�ำ หน้าตึกวิทยาการจัดการ มีกลิ่นเหม็นมากกว่าจุดอื่น และมีขยะด้วย สภาพของน้ำ�ก็เป็นสีเขียวเกือบดำ� ดูเน่าเสีย
นักศึกษาถูกทำ�ร้ายด้วยควันบุหรี่มือสอง สาธารณสุข ฉบับที่ ๑๙ เรื่อง กำ�หนดชื่อหรือ ประเภทของสถานทีส่ าธารณะทีใ่ ห้มกี ารคุม้ ครอง สุขภาพของผูไ้ ม่สบู บุหรี่ และกำ�หนดส่วนหนึง่ ส่วน ใดหรือทั้งหมดของสถานที่สาธารณะดังกล่าว เป็นเขตสูบบุหรีห่ รือเขตปลอดบุหรี่ ตามพระราช บัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ. ๒๕๓๕ ข้อ ๒ (๒.๓) กำ�หนดให้สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษา เฉพาะส่วนที่เป็นอาคารหรือ สิ่งปลูกสร้าง เป็นสถานที่สาธารณะที่ให้มีการ คุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่ เป็นเขตปลอด บุหรี่ทั้งหมด ผู้ฝ่าฝืน ต้องระวางโทษตามมาตรา ๑๒ แห่ง พ.ร.บ. คุม้ ครองสุขภาพของผูไ้ ม่สบู บุหรี่ พ.ศ. ๒๕๓๕ ปรับไม่เกินสองพันบาทมีขอ้ สงสัยว่า การสู บ บุ ห รี่ใ นบริ เวณที่เ ป็ น แหล่ ง ชุ ม นุ ม ของ
ให้นักศึกษาเข้าร่วมน้อย สำ�หรับตนถ้าอาจารย์ ไม่สั่งให้เก็บขยะส่งโครงการนี้ ก็คงจะไม่เข้า ร่วม “เพราะคิดว่าเก็บขวดไปขายก็คงได้ไม่กี่ บาท ถ้าเก็บไปเยอะเงินก็อาจจะได้เยอะจริง แต่ก็คงจะไม่มเี วลามาเก็บขวด เพราะต้องเรียน และทำ�งานด้วย คิดว่าควรจะมีการประชาสัมพันธ์ให้น่าสนใจ จัดกิจกรรมให้น่าสนใจ เช่น จัดการประกวดออกแบบชุดจากขยะรีไซเคิล ก็ได้ค่ะ”
นักศึกษาใต้สิ่งปลูกสร้าง จะถือว่าเป็นการ ขัดต่อประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ ๑๙ หรือไม่และการที่นักศึกษาสูบบุหรี่นอกพื้นที่ ทีจ่ ดั ให้ เช่น สูบบุหรีน่ อกอาคาร และเดินสูบบุหรี่ ตามถนนภายในมหาวิทยาลัย ไม่ผดิ กฎหมาย ใช่หรือไม่ มีรายงานเปิดเผยโดย นางสาว ภุมรินทร์ ส่งสัมพันธ์สกุล นักวิชาการการ ศึกษากองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา กล่าวกับ ‘กำ�แพงแดง’ ว่า รศ. ดร. ช่วงโชติ พันธุเวช อธิการบดี จะออกคำ�สั่งลงโทษนักศึกษาที่ฝ่าฝืนข้อห้าม ต่างๆ ของมหาวิทยาลัย โดยการตัดคะแนน กิจกรรม รายงาน: กศิดิศ ใหม่อินทร์
ซึ่งอาจเกิดจากอาหารที่ให้ปลากับเต่าในสระ เพราะถ้ามากเกินไปจะทำ�ให้เกิดการสะสม เคย เห็นมีคนนำ�ภาชนะไปล้างในสระน้ำ� “อยาก ให้มหาวิทยาลัยถมดินลงไปในสระน้ำ � แล้ว เปลี่ยนเป็นตึกเรียนแทน หรือปรับปรุงให้สระ มีขนาดเล็กกว่านี้ เพื่อง่ายต่อการดูแลสภาพ ของน้ำ� แล้วมีกฎห้ามให้อาหารปลาและเต่า ในสระ ให้เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เท่านั้น อาจจะช่วยลดการเน่าเสียของน้ำ�ได้ส่วนหนึ่ง” นางสาวศิวิมล เชื้อรุ่ง นักวิชาการ สิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ชี ้ แจง ‘กำ�แพงแดง’ ถึงคุณภาพของน้ำ�ใน มหาวิทยาลัยฯ ว่ายังมีสภาพดีตามมาตรฐาน แต่สาเหตุท่ีเกิดปลาตายกรณีแรกนั้น มาจาก จำ � นวนปลาหนาแน่ น มากเกิ น ไปในบางจุ ด ส่วนใหญ่อยู่ในที่ที่ให้อาหาร และเนื่องจากเป็น เขตอภัยทานจึงต้องปล่อยให้ตายเองธรรมชาติ ส่วนกรณีที่สอง มาจากการตรวจวั ด แค่ เวลา กลางวันซึ่งมีการสังเคราะห์แสงของพืชใต้น้ำ� ทำ�ให้มีการเพิ่มออกซิเจน และมีการเติมอากาศ ลงไปในบ่อน้ำ� ซึ่งในเวลากลางคืนอาจจะไม่มี ออกซิเจนในน้ำ�ก็ได้ เคยเขียนแผนงานในการ ตรวจวัดในช่วงเวลากลางคืน แต่ยังไม่ด�ำ เนิน การ เนื่องจากมีผู้ดูแลคือตนเพียงคนเดียว กรณีการทิ้งขยะลงไปในสระ นางสาวศิวิมล กล่าวว่า ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทำ�ให้น้ำ�เสียแต่ก็ มีเจ้าหน้าที่คอยตามเก็บทุกวัน ส่วนสระ น้ ำ � บริ เวณหน้ า ตึ ก ๕๖ ที ่ ม ี ส ภาพแย่ กว่า จุดอื่นนั ้ น คื อ “สาเหตุอาจมาจากความมัก ง่ายของคนที่ปล่อยน้ำ�ใช้แล้วทิ้งลงรางน้ำ� แล้ว น้ำ�ไหลลงในสระ มีแค่บริเวณครัวริมน้ำ�และ อาคาร ๒๔ ที่ยังไม่ได้ติดตั้งระบบบำ�บัดน้ำ� เสีย ซึ่งมีการปรุงอาหาร อยู่ในสภาวะที่ถ้า ไม่ดำ�เนินการจะส่งผลกระทบกับจุดอื่นๆ ด้วย ก็ อ ยู ่ ใ นระหว่ า งรออนุ มั ต ิ ง บประมาณแต่ ทางร้ า นค้ า ก็ มี ก ารบำ � บั ด ทางกายภาพอยู่ แล้ว คือดักไขมันทิ้งทุกวัน เหลือเพียงน้ำ�เสีย ที่ ยั งไม่ ไ ด้ รั บการบำ � บั ด ทางชี ว ภาพเท่ า นั้ น”
ข่าว: จันทร์ตรี ศรีมุกด์
หน้า ๖ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กำ�แพงแดง หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน ๒๕๕๔
ล้างภาพ ‘เรือเกลือ’ Wi-Fi สวนสุนนั ทา มักง่าย! มีให้ใช้แล้วไม่ชว่ ยรักษา อนาคต! นักศึกษาเชื่อมต่อผ่านมือถือได้ ๕๐ สถานีอินเทอร์เน็ตทยอยเสีย
ศูนย์เทคโนโลยี ‘สวนสุนนั ทา’ แก้ปญ ั หาเครือข่ายไร้สายหลุดช้าเป็นเรือเกลือ ‘อินเทอร์เน็ตสเตชัน่ ’ ทีส่ �ำ นักวิทยบริการฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา แม้ไม่เต็มสูบแต่นกั ศึกษาพอใจแม้อยากให้เร็วขึน้ ไปอีกเผยในอนาคตนักศึกษา นำ�ไปติดตั้งตามคณะวิชาต่างๆ จำ�นวน ๕๐ จุด เพื่ออำ�นวยความสะดวก สามารถใช้อนิ เทอร์เน็ตผ่าน Wi-Fi ของมหาวิทยาลัยบนสมาร์ทโฟนได้ดว้ ย แก่นักศึกษา แต่หลังเปิดใช้ได้ไม่นาน จำ�นวนเครื่องที่ใช้งานค่อยๆ ลดลง ่ื เสียบแทนบัตรประจำ�ตัวนักศึกษา ปัญหาระบบเครือข่ายไร้สาย (wire- ของเดิมมี ๑๐๐ เครื่อง กำ�ลังสั่งซื้อมาเพิ่มเติม เหตุมาจากตัวนักศึกษามักง่าย ใช้วสั ดุอน นางสาวศุภนุช ไตรยวงศ์ นักศึกษา net Station) เสียหายจากนายกรกฤช น่วมจิตต์ less fidelity: Wi-Fi) ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ อีก ๒๐ เครื่อง “แต่ละเครื่อง กระจายสัญญาณ สวนสุนนั ทา สัญญาณอ่อน ช้า และหลุดในพืน้ ที่ ทีค่ วรใช้งานได้ โดยเฉพาะแหล่งชุมนุมนักศึกษา ตามคณะวิชาต่าง ๆ ปัญหาดังกล่าว เกิดขึน้ มา นาน โดยกองบรรณาธิการ ‘กำ�แพงแดง’ ได้ติดตามเรื่องนี้ต้งั แต่ปลายปีการศึกษาที่ผ่าน มา(กำ�แพงแดงฉบับที่ ๒๕) และได้รับการ ชี้ แจงจากผู้ รั บ ผิ ด ชอบในขณะนั้ น ว่ า ปั ญ หา เกิ ด มาจากจำ � นวนอุ ป กรณ์ รั บ และกระจาย สัญญาณตามจุดสำ�คัญต่าง ๆ (access point) ภายในมหาวิ ท ยาลั ย ยั ง ไม่ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ หลัก ประกอบกับเมื่อมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ทำ�งานผ่านเครือข่ายไร้สายจำ�นวนมากจนเกิน ขีดความสามารถของอุปกรณ์รับและกระจาย สัญญาณ ก็จะทำ�ให้ความเร็วในการสื่อสาร ช้าลงและมหาวิทยาลัยกำ�ลังดำ�เนินการแก้ไข ความก้าวหน้า ในการแก้ ไขปั ญ หาครั ้ ง นี ้ ผู้สื่อข่าว ‘กำ�แพงแดง’ ได้รับการเปิดเผย จากนายอโณทัย อรุณเรือง ผู้ดูแลระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา ว่า Wi-Fi ของมหาวิทยาลัยฯ ใน ปัจจุบัน ใช้มาตรฐาน IEEE 802.11n ประมาณ ๑๓๐ เมกาไบท์ต่อวินาที ซึ่งเป็นความเร็วล่าสุด ที่มีใช้กันในปัจจุบัน ขึ้นอยู่กับคอมพิวเตอร์ มีความเร็วในการรับและส่งข้อมูลเพียงใด
การไม่ประสบผลสำ�เร็จในครัง้ แรกๆ ไม่ใช่ เรื่องใหญ่ส�ำ หรับบริษทั ยักษ์ใหญ่อย่าง Google ที่ เมือ่ เข็น Google Buzz ออกมาแล้ว ไม่ได้การตอบ รับแบบเปรีย้ งปร้าง เพราะไม่โดนใจวัยโจ๋ในโลก สังคมออนไลน์ ซึง่ ไม่เหมือนกับ ‘เฟสบุค้ ’ Face book ไม่ว่าวัยเล็กหรือวัยใหญ่เห็นขานรับกัน ไปทัว่ และเมือ่ ไม่นานมานี้ Google ก็เปิดตัวใหม่ ด้วย ‘กูเกิลพลัส’ (Google+) ทีเ่ หมือนกับจะ ประกาศศึกโดยตรงกับ Facebook อะไรทำ�นองนัน้ หน้าตาของ Google+ ว่ากันตามแนวคิดเหมือน Facebook ที่มีหน้ากลางแสดงข้อมูล เรียกว่า Facebook มีอะไร Google+ ก็มอี ย่างว่าเพียงแต่ เรียกชื่อต่างกัน โดยคุณสมบัติของบางรายการ อาจมีพฒ ั นาการกว่า เพราะออกมาทีหลังกว่า การเปิดตัวทีหลัง แล้วทำ�อะไรได้บา้ งเมือ่ เทียบ กับ Facebook จึงเป็นเรื่องที่คนในแวดวงสังคม ออนไลน์ให้ความสนใจ โดยมีคณ ุ สมบัตติ า่ ง ๆ ดังนี้ (๑) ‘เซอร์เคิล’ (+Circle) สามารถสร้าง กลุ่มเพื่อนเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ สามารถ กำ�หนดเป็นกลุม่ ๆ ได้ เช่น กลุม่ เพือ่ นสวนสุนนั ทา กลุม่ เพือ่ นจันทรเกษม และสามารถกำ�หนดจำ�นวน เพื่อนคุยในสังคมออนไลน์ได้กว่า ๑๐๐ คน (๒) ‘สปาร์คส์’ (+Sparks) สามารถค้นข้อมูลข่าวสาร ที่สนใจ หรือสามารถสนทนากลุ่มตามความสนใจ โดยกำ�หนดสิ่งที่สนใจเพื่อเข้าไปมีส่วนในการดู ข้อมูล เช่น กล้อง ท่องเที่ยว หากพบข้อมูล ใหม่ๆ +Sparks ก็จะนำ�มาแสดงให้อ่าน
ชั้นปีที่ ๓ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในผู้ ใช้ ส ถานี อิ น เทอร์ เ น็ ต ค่ อ น ข้างบ่อย เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ว่า เพราะจำ�เป็น ต้องใช้ในการค้นคว้าหาข้อมูลและส่งไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ด่วน ทำ�ให้ไม่ต้องไปใช้งานที่ ร้านอินเทอร์เน็ตแถมยังไม่เสียเงินอีกด้วย “แต่ ตอนนี้ตู้อินเทอร์เน็ตของคณะฯ มีเครื่องเสีย เยอะจะใช้บริการก็เจอแต่เครื่องเสีย จึงอยาก ฝากไปถึงผู้แลให้มาแก้ไขเร็วๆ หน่อย” ในขณะ ที่นายชัยภัทร อุไทยธุราทร นักศึกษาชั้นปี ๒ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไม่ค่อยได้ ใช้บริการสถานีอินเทอร์เน็ตเท่าใดนัก เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ว่า แม้ไม่ใช่ขาประจำ�เพราะมี คอมพิวเตอร์โน้ตบุ้คของตนเอง แต่ก็เห็นว่า สถานีอินเทอร์เน็ตเป็นบริการที่มีประโยชน์แก่ นักศึกษามาก “ถ้ามีการ ดูแล และปรับปรุงให้ดี ขึ้นจะช่วยให้นักศึกษาที่ ยังไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์ โน้ตบุค้ ได้รบั ความสะดวก ขึ้น” ‘กำ�แพงแดง’ ได้ รับการเปิดเผยถึงสาเหตุท่ี กรกฤช สถานีอนิ เทอร์เน็ต (Interข่าว: อรอุษา โยธาประเสริฐ
ได้ประมาณ ๕๐ เมตร รัศมีครอบคลุมได้ ๘๐ เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ ขณะนี้อยู่ในขั้นตอน การตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องกระจาย สัญญาณ และการสำ�รวจว่าจุดใดที่สัญญาณ ยังไม่ครอบคลุมก็จะนำ�ไปติดในจุดดังกล่าว” นายอโณทัย อรุณเรือง กล่าวว่า เหตุที่นักศึกษา เชื่ อ มต่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต ช้ า สาเหตุ เ ป็ น เพราะ พื้นที่ที่มีผู้ใช้ Wi-Fi ค่อนข้างมากจะทำ�ให้ การเชื่อมต่อช้าลงเพราะเกิดการแบ่งสัญญาณ “ขณะนี้ได้ปรับปรุงเรียบร้อยและกำ�ลังสำ�รวจ ว่ า มี นั ก ศึ ก ษาที่ ใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ผ่ า นอุ ป กรณ์ ใดบ้างและนำ�มาพัฒนาปรับปรุงต่อไป” ผลการแก้ไข นางสาวจุฑามาศ อุน่ เรือน นักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์ เปิดเผย ‘กำ�แพง แดง’ ว่า ยังช้าอยู่ “ถ้าเร็วขึน้ อีกจะเป็นการดีมาก” ในขณะที่นางสาวศิริวัลย์ จันแดง นักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ กล่าวว่า เมือ่ ก่อนการเชือ่ ม ต่อจะช้าและหลุดบ่อยมาก “แต่ตอนนีก้ ารเชือ่ มต่อ ได้งา่ ย” อย่างไรก็ตาม ‘กำ�แพงแดง’ ได้ทดสอบ พื้นที่สูงตามชั้นต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย โดย เฉพาะชั้น ๔ ของคณะวิทยาการจัดการ ล่าสุด พบว่าไม่สามารถใช้งาน Wi-Fi ได้เลย อีกหลาย พื้นที่ก็ประสบปัญหาเดียวกัน
จับตา Google+ ท้าชน Facebook หรือมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น +Sparks คล้ายการเป็น fan ของ Facebook ที่กด Like เมื่อ ต้นทางมีการปรับปรุงข้อมูล ก็จะได้เห็นด้วยแต่ +Sparks จะดึงข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตที่มากกว่า การ แสดงผลในช่วงเปิดตัว สามารถรองรับได้ถึง ๔๐ ภาษา (๓) ‘แฮงเอาท์’ (+Hangouts) เป็นความสามารถใน การกำ�หนดว่าต้องการจะทำ�อะไร โดยเพื่อนสามารถ เห็นว่า ‘ว่าง’ และพร้อมที่จะชวนเพื่อให้เข้ามา ร่วม หรือใครก็ได้ เข้ามาคุยหน่อย (๔) ‘อินแสตนท์ อัพโหลด’ (+Instant Upload) เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ ทุกภาพที่ถ่ายสามารถนำ� (upload) ขึ้น Google+ได้ โดยอัตโนมัติสามารถเข้าไปเลือกภาพที่เคยถ่ายไว้โด ยไม่ต้องเสียเวลานำ�ขึ้นใหม่ (๕) ‘ฮัดเดิล’ (+Huddle) เหมือน chat ของ Facebook ซึ่ง Google ให้ความ สำ�คัญกับคุณสมบัตินี้พอสมควร สามารถพูดคุย กับกลุ่มเพื่อนใน +Circle เหมาะสำ�หรับการทำ� เป็น ‘ก๊วน’ ผู้ใช้งาน BlackBerry Messenger มาแล้ว จะคุน้ กับการสนทนาเป็น Group messaging ส่วนทีแ่ ตกต่างจาก Facebook คือแถบเครือ่ งมือ ของ Google ซึ่งได้รับความนิยม เช่น กล่อง ค้นหาในหน้าแรก Gmail และ Google Map ช่ ว ยให้ ผู้ ใช้ ส ามารถเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล เหล่ า นี้ ไ ด้ ง่ า ย ขึ้ น และเลื อ กที่ จ ะเข้ า ไปมี ส่ ว นในข้ อ มู ล ดั ง กล่ า วได้
นอกจากนี้ Google+ ยังได้ใส่คุณสมบัติให้ สามารถสนทนา (chat) ผ่านวิดีโอ ด้วยการคุยพร้อม กันแบบการประชุม (conference call) พร้อมกัน ๑๐ คนและยังพร้อมให้นำ�ไปใช้ (download) บนมือ ถือ เรียกว่า +Mobile โดยมีคุณสมบัติต่าง ๆ ดังที่ได้ กล่าวมาข้างต้น และในอนาคตจะเข้าไปอยู่บน Android ระบบปฏิบัติการบนมือถือของ Google อีกด้วย Google+ ในทัศนะของคนรุน่ ใหม่ผอู้ ยูใ่ นโลกสังคม ออนไลน์อย่างนายสมเอก จันทรภาพ นักศึกษา ชั้นปีที่ ๓ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ซึ่งใช้ Facebook มาหลายปี เห็นว่า Facebook สามารถเชื่อมต่อ ให้มีเพื่อนได้มากขึ้น ทั้งเพื่อนเก่าและเพื่อนใหม่ พร้อมทั้งวิธีการเล่นง่ายๆ มีลักษณะเด่นของตัวเอง และอาจเป็นเหตุผลหนึง่ ทีท่ �ำ ให้ Facebook ก้าวเข้า มาครองใจผู้ ใช้ ทั่ ว โลกถึงแม้ช่วงนี้จะได้ยินกระแส ของ Google+ มาแรง แต่กย็ งั ไม่คอ่ ยได้รบั ความนิยม มากในประเทศไทยแล้วคิดว่า Google+ จะสามารถ
ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านคอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ซึ่งได้ดำ�เนินการสำ�รวจตู้อินเทอร์เน็ตทั้งหมด แล้ว พบว่าส่วนใหญ่เกิดจากช่องเสียบบัตรเสีย เนื่องจากพบกระดาษบ้าง เหรียญบ้าง คาอยู่ ภายในเครื่อง ทำ�ให้ใช้งานไม่ได้ พฤติกรรม มักง่ายดังกล่าว ยังทำ�ให้อุปกรณ์เสียบบัตรเสีย หายอีกด้วย ซึ่งศูนย์เทคโนฯ จะดำ�เนินการ ปรับเปลี่ยนที่เสียบบัตรให้ใหม่ และคราวนี้จะ สามารถรองรับเฉพาะบัตรประจำ�ตัวนักศึกษา ที่ มี แ ถบแม่ เ หล็ ก สี ดำ � อยู่ ด้ า นหลั ง เท่ า นั้ น “ตอนนี้ เร่งเปลี่ยนให้เครื่องที่ช่องเสียบบัตร เสียเป็นลำ�ดับแรก และจะถือโอกาสพัฒนาให้ ใช้งานได้ดีขึ้นไปอีก” เมื่อถามว่าสถานีอินเทอร์เน็ตที่ติดตั้ง ตามคณะวิชา ใครเป็นผู้รับผิดชอบ ระหว่าง คณะต่าง ๆ กับสำ�นักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ นายกรกฤช น่วมจิตต์ ตอบว่าสำ�นักฯ มอบให้แต่ละคณะวิชาช่วยดูแล แต่ถ้าเครื่องมี ปัญหา ก็ขอให้ทางคณะแจ้งมาได้เลย “เมื่อ แจ้งก็จะไปแก้ไขให้ เราไม่ได้นิ่งเฉยที่จะรอ ให้ทางคณะแจ้งมาอย่างเดียว ทุก ๆ วันจันทร์ จะมีการลงพื้นที่ไปตรวจด้วย” ข่าว: วณัปติ พัชรวงศ์วาณิชย์/ ภาพ: โสภณ เสริมสวัสดิ์
มาแย่งตำ�แหน่งผูน้ �ำ สังคมออนไลน์อย่าง Facebook ได้หรือไม่ นางสาวนฤพร สิมปักษร นักศึกษา ชั้นปีที่ ๑ วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ ผู้ใช้ Google+ ในปัจจุบัน เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ว่า เหตุที่ต้องรีบสมัครเพราะเห็นว่าเป็นสื่อสังคม ออนไลน์ใหม่ จึงสนใจว่ามีคุณสมบัติเด่นอะไร บ้าง “มี feature ทีเด็ดหลายอย่าง ใช้งานง่าย ไม่ยากอย่างที่คิด” เมื่อถามว่าแตกต่างหรือดีกว่า Facebook ตรงไหน “พูดถึงในด้านของความแตก ต่างด้านลักษณะคงไม่มอี ะไรแตกต่างในด้านทีว่ า่ ดี กว่า Facebook จึงได้ตดั สินใจหันมาเล่น Google+ เพราะความเป็นน้องใหม่ของวงการเลยตัดสินศึกษา ข้อมูลการใช้” นางสาวนฤพร ลิมปักษร ตอบ อย่างรวดเร็วพร้อมกับบอกถึงจุดดีกว่ามีความเป็น ส่วนตัวมากกว่า Facebook การนำ�ภาพสะดวก “รูปภาพก็ไม่ได้ม่ัวซั่วสามารถเลือกกลุ่มได้ว่าเรา จะ upload เข้ากลุม่ ไหนก็จะมีแค่กลุม่ ทีเ่ ลือกให้รูป ที่ upload เท่านั้น ส่วน group video สามารถ คุยกับเพื่อนในกลุ่มเหมือน camfrog ทำ�ให้มี ความเป็นส่วนตัว แต่สดุ ท้ายแล้วมัน่ ใจว่า Google+ สามารถมัดใจคนไทยได้แน่นอนในอนาคต” แม้เปิดให้บริการในวงจำ�กัดแต่ผู้ใช้ก็ ทะลุ ๒o ล้านคนไปแล้ว จึงเป็นที่น่าสนใจใน สังคมออนไลน์ว่า Google+ นั่นจะสามารถ ทำ�ให้ Facebook สั่นคลอนได้หรือไม่ รายงาน: นงลักษณ์ คงคาทวีสุข
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน ๒๕๕๔
กำ�แพงแดง หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
สารคดี หน้า ๗
๗๕ ปี แห่งความทรงจำ�ใน “กำ�แพงแดง”
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทาในอดีต คื อ สถานที่ แ สดงออกถึ ง ความรั ก ที่ ‘ สมเด็ จ พระพุทธเจ้าหลวง’ พระบาทสมเด็จพระจุลจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงมีต่อสมเด็จ พระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี เจ้ า นายที่ ส วรรคาลั ย พร้อมพระราชธิดาจาก อุบัติเหตุเรือพระที่นั่งล่มกลางลำ�น้ำ�เจ้าพระยา โดยปี ๒๔๕๑ โปรดเกล้าฯ ให้ขยายเขตพระ ราชฐานด้านหลังของพระราชวังดุสิตเป็นเขต พระราชอุทยานส่วนพระองค์ ‘สวนสุนันทา’ พร้อมกับสร้างที่ประทับถาวรของพระราชธิดา ที่อยู่ของเจ้าจอมมารดา เจ้าจอม และข้าราช บริพาร ได้อยู่อาศัยแต่การก่อสร้างยังไม่ทันได้ แล้วเสร็จ ก็เสด็จสวรรคตเสียก่อนเมื่อปี ๒๔๕๓ พระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่หัว รัชกาลที่ ๖ จึงทรงรับเป็นพระราชธุระ
ดำ�เนินการต่อจนแล้วเสร็จในปี ๒๔๖๖ ได้ใช้เป็น ที่ประทับของพระมเหสี พระราชธิดา พระบรม วงศานุวงศ์ เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอม ใน สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง ๓๒ ตำ�หนัก สวนสุนันทาภายในรั้ว‘กำ�แพงแดง’มี ชีวิตชีวาเมื่อพระวิมาดาเธอ พระองค์เจ้าสาย สวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหา ราชปดิวรัดา พระอัครชายาเธอในสมเด็จ พระพุทธเจ้าหลวง ทรงดำ�ริว่า ธิดาผู้มียศถา บรรดาศักดิ์เข้ามาถวายตัวเป็นข้าหลวง เพื่อ เรี ย นรู้ กิ ริ ย ามารยาทและการบ้ า นการเรื อ น เป็นจำ�นวนมาก แต่สิ่งที่ควรจะเรียนรู้เพิ่มเติม ก็คือการอ่านออกเขียนได้ ปี ๒๔๗๙ จึงทรง ก่ อ ตั้ ง โรงเรี ย นนอกระบบ‘นิ ภ าคาร’ซึ่ ง เป็ น พระนามของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า นิภานภดล วิมลประภาวดี กรมขุนอู่ทอง
นอกระบบ: โรงเรียนนิภาคาร สถาบันการศึกษานอกระบบแห่งแรกของไทย ทีพ่ ระองค์เจ้าสายสวลีภริ มย์ กรมพระสุทธาสินนี าฏ ทรงก่อตัง้ เมือ่ ปี ๒๔๗๙ เพือ่ สอนกิรยิ ามารยาทและการบ้านการเรือนแก่ธดิ าผูม้ ยี ศ ถาบรรดาศักดิ์
สมเด็จพระนางเจ้าสุนนั ทากุมารีรตั น์ พระบรมราชเทวี
พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์ กรมพระสุทธาสินีนาฏ ปิยมหาราชปดิวรัดา
เขตขัตติยนารี พระราชธิดาองค์ที่ ๓ ใน สมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงกับพระวิมาดาเธอฯ หลังกรมพระสุทธาสินีนาฏ สิ้นพระชนม์ กรม ขุนอู่ทองเขตขัตตยนารี ทรงรับเป็นพระราช ภาระในการดูแลต่อ จนโรงเรียนนิภาคารเป็น สถาบันการศึกษาอบรมบุตรละธิดาที่มีช่อื เสียง ในสมัยนั้นแต่ ก ารเปลี่ ย นจาก‘สมบู ร ณาญา สิทธิราชย์’ มาเป็น ‘ประชาธิปไตย’ (แบบไทย ๆ) ในปี ๒๔๗๕ ส่งผลให้โรงเรียนนิภาคารจำ�ต้อง ถูกทิ้งให้รกร้าง เนื่องจากเจ้านายต่างเสด็จออก ไปประทับยังต่างประเทศบ้าง ตามหัวเมือง ต่าง ๆ บ้าง เพราะทรงเกรงภัยจากการเมือง ๒๔๘๐ คณะรัฐมนตรีมีมติให้ใช้‘สวนสุนันทา’ ซึ่งอยู่ในสภาพรกร้างมาบูรณะเป็นสถานศึกษา แห่งชาติ โดยกันพื้นที่บางส่วน อาทิ พระที่นั่ง นงคราญสโมสรและบางตำ�หนักออกไป แล้วก่อ
ตั้งเป็นโรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัย มีนางนิร รัตน์ บรรณดิษย์วรศาสตร์ เป็นอาจารย์ใหญ่คน แรก แบ่งส่วนทิศเหนือเป็นโรงเรียนการเรือน (มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ปัจจุบัน) แบ่ง ส่วนทิศใต้เป็นโรงเรียนการปกครอง โดย ทรัพย์สนิ ยังคงเป็นของพระมหากษัตริย์ ปี ๒๕๐๐ ยกฐานะขึ้ น เป็ น วิ ท ยาลั ย ครู ส วนสุ นั น ทา มีคุณหญิงกรองแก้ว ปทุมานนท์ เป็นผู้อำ�นวย การคนแรก ปี ๒๕๓๘ ปรับเป็นสถาบันราชภัฏ สวนสุนันทา ตามพระราชบัญญัติสภาสถาบัน ราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๓๘ มีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปรางค์ศรี พาณิชกุล เป็นอธิการบดีคนแรก ๒๕๔๗ เปลี่ยนสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา ตามพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ จนถึงปัจจุบัน รายงาน: ธนพร หมูเ่ จริญทรัพย์
ในความทรงจำ�ของ...แจ่มจันทร์ ทองเสริม อาจารย์แจ่มจันทร์ ทองเสริม อดีตรองอธิการ ฝ่ายกิจการนักศึกษา วิทยาลัยครูสวนสุนันทา อดีตนักเรียนเก่าโรงเรียนสวนสุนนั ทาวิทยาลัย วัย ๗๖ ปี บอกเล่าประสบการณ์ในรั้ว ‘กำ�แพงแดง’ ที่ยังคงชัดเจนในความทรงจำ� พร้ อ มรอยยิ้ ม เมื่ อ นึ ก ย้ อ นกลั บ ไปในสมั ย ที่อาจารย์ยังเยาว์ “สมัยนั้นสวนสุนันทาไม่มี ขนมขาย ถ้าใครอยากซื้อต้องพายเรือไปที่ โรงเรียนการเรือน เป็นบึงน้ำ�ขนาดใหญ่ ตอนกลางวั น ต้ อ งพายเรื อ ออกไปซื้ อ ขนม เพราะออกประตูไม่ได้ต้องนั่งเรือพายไปที่ โรงเรี ย นการเรื อ น ก็เป็นมหาวิท ยาลัย ราชภัฏสวนดุสิตตอนนี้” อาจารย์แจ่มจันทร์ ทองเสริม บอกเล่า พร้อมกับบรรยายภาพว่า หัวมุมที่มีต้นไทรในสมัยนั้น ซึ่งเป็นสะพาน เข้าคณะมนุษยศาสตร์ในสมัยนี้ น้ำ�ลึกมาก เพื่อนของอาจารย์คนหนึ่ง ชื่อเจิดจันทร์ (จุล สมัย)วัชรพรรณ อดีตนักกรีฑาทีมชาติไทย เรียนหนังสือเก่ง “แต่พายเรือไม่เป็น ขากลับ
มาจากซื้อขนมเรือเกิดล่ม เจิดจันทร์ไม่ห่วง ตัวเองแต่กลับเป็นห่วงขนม พุ้ยน้ำ�ไปชูขนม ไว้บนหัวไป จนมีคนลงมาช่วยฉุดขึ้นจากน้ำ�” สมัยนี้ไม่ค่อยได้ยินเท่าใดนัก แต่สมัยก่อน ‘ฉายา’ เป็นเรื่องที่ต้องนำ�มาใช้เรียกขานกันใน หมู่เพื่อนที่มีพฤติกรรมโดดเด่น ซึ่งไม่เว้นแม้ อาจารย์ที่ก็อาจโดนลูกศิษย์แอบตั้งฉายาเอาได้ รองศาสตราจารย์สุนีย์ สินธุเดชะ อธิการบดี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต ซึ่งเป็นเพื่อนใหม่ ของอาจารย์แจ่มจันทร์ จึงหนีไม่พ้น เพราะขี้แง เอาแต่ร้องไห้ได้ทุกวัน “เลยเรียกกันว่าไอ้แหง่ ประมาณว่าเป็นลูกแหง่ ก็เลยเรียกกันแบบนี้” ละครประจำ � ปี เ ป็ น งานใหญ่ ข องชาวสวนสุ นันทาวิทยาลัย ปีที่อาจารย์แจ่มจันทร์ ตื่นเต้น เป็นพิเศษคือการได้บทอำ�มาตย์ในละคร เรื่อง พระนล พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๖ เมื่อเป็น มหาวิทยาลัยราชภัฏฯ ในปัจจุบัน เข้าใจว่า คณะศิลปกรรมศาสตร์คงรับช่วงบทบาทนี้ไป เท็ จ จริ ง คงต้ อ งไปถามคณบดี สัก วั น กั บ ความ
เจริญภายในรั้ว ‘กำ�แพงแดง’ อาจารย์ แจ่มจันทร์ เห็นว่าในสมัยที่รองศาสตราจารย์ ดร. ช่วงโชติ พันธุเวช ดำ�รงตำ�แหน่งอธิการบดี มีการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างมาก “แล้วก็ยังเป็น ช่วงที่มีการแข่งขันในระดับการศึกษาเดียวกัน มากที่สุด ก็คงต้องรักษามหาวิทยาลัยให้คงอยู่ ได้ เนื่องจากเงินอุดหนุนจากรัฐบาลโดยลำ�พัง คงไม่เพียงพอ แต่อันที่จริงแล้ว มหาวิทยาลัยฯ ก็ มี ก ารพั ฒ นามาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งอยู่ แ ล้ ว นะ” ‘สวนสุนันทา’ ในอนาคตจะเป็นอย่างไรนั้น “มันก็ต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา การเป็นมหาลัยราชภัฎอันดับ ๑ นั้นง่าย แต่ ถ้าจะรักษาความเป็นที่ ๑ นั้นยากกว่า สิ่งที่ สำ�คัญที่สุดคือความรักเป็นอันดับแรก อยาก ให้นักศึกษาและอาจารย์ทุกคนรักสวนสุนันทา ประพฤติดี มีจริยธรรม มีความปรองดอง มี ความรักใคร่ต่อกัน จะทำ�ให้มหาวิทยาลัยเจริญ รุ่งเรืองยิ่งขึ้น อยากให้คงความเป็นเอกลักษณ์ ของสวนสุนันทาเอาไว้ และอยากให้มีการ
กีฬามากขึ้น การเล่นกีฬาเป็นสิ่งสำ�คัญมาก อยากให้ นั ก ศึ ก ษาออกกำ � ลั ง กายกั น บ้ า ง ทำ�ให้ร่างกายแข็งแรง และมีความสามัคคี เพราะความสามัคคีทำ�ให้รักกัน” สัมภาษณ์: วราภรณ์ อ่อนนา/ ภาพ: นนทวัฒน์ แหวนเงิน
หน้า ๘ เด็กและเยาวชน
กำ�แพงแดง หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน ๒๕๕๔
“ชีวิตคือการเรียนรู้ ถ้าไม่เรียน ชีวิตก็ไม่มีอะไรเกิดประโยชน์” ซามาวีร์ เลิศวัฒนาพร สาธิตสวนสุนันทา ผู้คว้ารางวัลวาดภาพนานาชาติ
ข่าวหน้า ๑ หนังสือพิมพ์กำ�แพงแดงฉบับ นี้ พาดหัวว่า ‘กองทุนฯ ๓๐ ล้าน สั่นสะเทือน เด็กสาธิตกวาดรางวัลค่าสร้างชือ่ กฎใหม่จา่ ยลด เหลือเทอมละครัง้ ’ ทำ�ให้โต๊ะข่าวหน้าอืน่ ๆ ในกอง บรรณาธิการ ถามหาเด็กสาธิตในข่าวนีว้ า่ เพราะ เหตุใด ถึงได้ทำ�ให้กองทุนสวัสดิภาและพัฒนา นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ต้อง ทบทวนระเบียบการให้รางวัลกันใหม่ ซึง่ หนึง่ ใน กลุม่ นักเรียนทีว่ า่ นีก็คือ ้ ‘ซาร่า’ ซามาวีร์ เลิศวัฒนาพร มัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนนั ทา หลั ง กลั บ จากเรียนพิเศษในวันหยุด ซาร่าจึงมีเวลาพูดคุยกับ ‘กำ�แพงแดง’ ถึงที่มา ซึ่งทำ�ให้กองทุนฯ ๓๐ ล้าน สั่นสะเทือน เนื่อง จากไปชนะเลิศวาดภาพในระดับต่างๆ หลาย สนามและระเบียบกองทุนฯ ระบุว่านักเรียน สาธิตและนักศึกษา ‘สวนสุนนั ทา’ ทีส่ ร้างชือ่ เสียงให้มหาวิทยาลัยฯจะได้รับเงินรางวัลทุก ครัง้ ทีไ่ ปชนะเลิศมา ประการสำ�คัญ สนาม แข่งขันใหญ่ขน้ึ เท่าใด เช่น ระดับนานาชาติ เงิน รางวัลก็จะมากขึน้ เป็นเงาตามตัวไปด้วย “วาด รูปเป็นการผ่อนคลาย เป็นโลกทีอ่ สิ ระได้ท�ำ อย่างทีอ่ ยากทำ� ได้เป็นอย่างทีอ่ ยากเป็น ได้ เห็นสิง่ ทีอ่ ยากเห็น” ซาร่าบอก‘กำ�แพงแดง’ ถึง แรงจูงใจทีท่ �ำ ให้ผกู พันอยูก่ บั การวาดรูป ซาร่าเริ่มวาดภาพครั้งแรกเมื่อครั้งยัง เรียนอยู่ชั้นอนุบาล ๓ แต่มาเริ่มส่งประกวดครั้ง แรกเมือ่ อยูช่ น้ั ประถม ๔ หลังวาดภาพส่งอาจารย์ ในชั่วโมงเรียน “อาจารย์เห็นภาพที่วาดก็เรียก ตัวมาฝึกซ้อม” และตั้งแต่นั้นมา ก็มีโอกาส วาดภาพส่งประกวดมาตลอด“การวาดรูปต้อง ใช้สมาธิ เวลามีอะไรมารบกวนสมาธิ จะเริ่ม ต้นใหม่ แล้วจะวาดภาพนั้นจนเสร็จ” ทำ�ได้ อย่างไรนั้น “ก็ให้ใจจดจ่ออยู่กับงาน ไม่ วอกแวกกับสิ่งรอบข้าง เพราะถ้าไม่มีสมาธิ งานก็จะไม่เสร็จ” ผลของสมาธิที่ได้จากการวาดภาพ ยัง ช่วยให้ซาร่าซึ่งปกติเป็นคนใจร้อนให้เย็นขึ้น “ตอนแรกที่ทำ�ข้อสอบ บางข้อก็ไม่ควรจะทำ�ผิด
แต่เมื่อวาดรูปมาเรื่อย ๆ ทำ�ให้คิดรอบคอบมาก ขึ้นเวลาทำ�ข้อสอบ” ระหว่ า งเรี ย นหนั ง สื อ กั บ วาดรู ป ล่ ะ “ชอบวาดรูปมากกว่า” ตอบโดยไม่ลงั เล “เพราะ วาดรูปใช้ความคิดและใช้จินตนาการของเราที่ จะวาดหรือใส่อะไรลงไปก็ได้ในกระดาษ” เอา อะไรมาวาดนั้น ซาร่าเล่าว่าได้มาจากสิ่งที่เห็น อยู่ทุกๆ วัน แล้วมีเบื่อบ้างไหม เวลานั่งวาดนาน ๆ “เป็นชั่วโมงหรือครึ่งวันก็ไม่เบื่อ เพราะเป็นงาน ที่ชอบและรัก แต่อาจจะพักบ้าง ก็ไปนั่งเล่นเกม เพื่อผ่อนคลาย แล้วจะกลับมาวาดต่อจนเสร็จ แต่ถา้ เป็นเรือ่ งเรียน บางครัง้ เวลาคิดไม่ออกก็จะ เครียด เพราะเราไม่สามารถใส่ความคิดของเรา ลงไปได้เหมือนการวาดรูป” แล้ววาดรูปตอน แข่งขัน ไม่เครียดบ้างหรือนั้น ซาร่ายอมรับว่า เครียดเพราะกลัวว่าจะทำ�ไม่ได้ แต่จะใช้วธิ หี นั ไป คุยกับเพื่อนหรือฟังเพลง เพื่อผ่อนคลายแทน อะไรคื อ อุ ป สรรคจากการแข่ ง ขั น “จำ�รายละเอียดของการวาดภาพไม่ได้” ซาร่า ตอบ “ก็จะแก้ด้วยประสบการณ์ที่เคยไปแข่งมา แล้วดูว่าตรงไหนผิด เราก็จะเอามาแก้ตรงส่วน นั้น” แต่ซาร่าก็ยังตอบแบบถ่อมตนว่า ยังเก่ง ไม่พอ แม้จะได้รางวัลมาเยอะ “ยังต้องปรึกษา อาจารย์ คุณแม่ก็มีส่วนช่วยมาก เพราะตอน อนุบาล ๓ ขอคุณแม่เรียนพิเศษเกี่ยวกับการ วาดภาพ เพราะหลักสูตรไม่ได้บรรจุวิชาศิลปะ ไว้ เป็นเพียงวิชาเสริม ถ้าแม่ไม่ให้เรียนก็ไม่รู้ ว่าวันนี้จะทำ�ได้หรือเปล่า” ถึงจะมีพรสวรรค์แต่ก็ไม่สามารถอ่อน ซ้อม “ก่อนซ้อมตอนเย็นทุกวัน อาจารย์จะถาม ว่ามีการบ้านหรือเปล่า อาจารย์จะให้ท�ำ การบ้าน ให้เสร็จก่อน จึงจะมาซ้อมได้ บางครั้งที่นั่งฝึก วาดรูปอยู่ที่บ้าน พ่อกับแม่ก็มานั่งดูเราวาดรูป ด้วย” แล้วยากที่สุดอยู่ตรงไหน “ตอนแข่งสด อย่างการประกวดในงานกล้วยไม้ โจทย์ที่ได้คือ วาดกล้วยไม้ในจินตนาการ ต้องดีไซน์ แล้ววาด ออกมาให้ถูกใจกรรมการ” แล้วรางวัลไหนที่ ภูมิใจ “ที่ไต้หวันได้ที่ ๓ แต่ก็ภูมิใจ เพราะเกี่ยว
วันที่รอคอยของเด็กที่บ้านราชวิถี
ได้มีบัตรประชาชนเหมือนลูกนายกฯ ปัจจุบนั พระราชบัญญัตบิ ตั รประจำ�ตัว ประชาชน (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๕ กำ�หนดให้ผู้มีสัญชาติไทยอายุเจ็ดปีบริบูรณ์ แต่ ไม่เกินเจ็ดสิบปีบริบรู ณ์ และมีชอ่ื ในทะเบียนบ้าน ต้องมีบัตรประจำ�ตัวประชาชน มีผลบังคับใช้ ตั้งแต่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ที่ผ่านมา ซึ่งใน ช่วงเวลาดังกล่าว บรรดาพ่อแม่ผปู้ กครองต่างพา ลูกหลานไปทำ�บัตรประชาชนกันอย่างคึกคัก รวมทั้งเด็กชายศุภเสกข์ อมรฉัตร วัย ๙ ปี บุตรนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี กับนายอนุสรณ์ อมรฉัตร แต่เด็กไทยทุกคน
ไม่ได้มีโอกาสเหมือนลูกนายกรัฐมนตรี และ ลูกคนมีพอ่ แม่ หรือมีชอ่ื ในทะเบียนบ้าน ยังมีเด็ก ไม่ทราบจำ�นวนที่ใต้สะพานคือบ้าน โชคดีขึ้น มาหน่อย ได้อยู่สถานสงเคราะห์ซึ่งไม่รู้ว่าจะมี โอกาสเหมือนเด็กมีบ้านหรือไม่ การไม่รู้อย่าง ‘บอล’ เด็กหญิงเร่รอน ตอบ ‘กำ�แพงแดง’ ว่าถึงรู้ก็ไม่สนใจ เพราะไม่รู้ ว่าจะเอาไปทำ�อะไร “มีไปก็เท่านัน้ ” ตรงข้ามกับ เด็กหญิงซีนา อายุ ๑๒ ปี ชั้นประถม ๕ อยู่บ้าน ราชวิถีมา ๖ ปี ยังไม่มีนามสกุล และยังไม่มีเลข ๑๓ หลัก ซึ่งเป็นเลขสำ�คัญใช้แสดงตัวตนเป็น
กับประเพณีไทย” (งานวัดที่มีคนฝังลูกนิมิต) เงินเยอะๆ เอาไปทำ�อะไร ซาร่าตอบว่าฝากไว้ เป็นทุนเรียนหนังสือต่อ ทุกครั้งที่เข้าแข่งขัน คาดหวังไว้อย่างไร นั้น “ก็คาดหวัง แต่ก็ไม่คิดว่าต้องได้ที่หนึ่ง แค่ ขอให้ติดรอบคัดเลือกก็ดีใจแล้ว” ถ้าไม่ได้ล่ะ “ก็ไม่เป็นไร แค่รู้สึกว่าต้องพยายามให้มากขึ้น อีกในครั้งต่อไป เพราะเรายังทำ�ไม่ดีพอ ก็จะนำ� สิ่งที่ผิดพลาดไปทำ�ให้เต็มที่ในการประกวดครั้ง ต่อไป คุณแม่ก็จะคอยให้กำ�ลังใจ ส่วนคุณพ่อ จะคอยดูอยู่ห่าง ๆ คอยไปรับไปส่งเวลาไปแข่ง” เห็นบางคนวาดรูปแล้วก็ยังไม่ดีก็ยังไม่พอใจ “ถ้าชอบจริงๆ แต่ยังวาดออกมาไม่ดีพอ ขอให้ ฝึกวาดไปเรื่อยๆ อย่าหยุด เดี๋ยวผลงานก็จะ ออกมาดีเอง” เรื่องเรียนล่ะ เสียเพราะไปเอาดีทาง วาดรูปหรือไม่ “ไม่ทิ้งเรียน แต่จะไม่เลือกเรียน ศิลปะตอนเข้ามหาวิทยาลัย เพราะอาจมีทางที่ เราไปได้ดีกว่านี้ ไกลกว่านี้ “ยังมองการวาดรูป เป็นงานอดิเรก ไม่ได้คิดว่าจะยึดตลอดไป การ ได้วาดเป็นแค่สิ่งเล็กๆ ที่เลือกทำ� อนาคตต้องมี อะไรใหม่ๆ ให้ลองให้รู้เสมอ แต่ตอนนี้มีความ สุขกับการวาดรูป ขอแค่ได้ทำ�ก็พอ” แล้วทำ�ไม ไม่ไปวิ่งเล่นเหมือนเพื่อน ๆ คนอื่น “ชีวิตคือการ เรียนรู้ถ้าไม่เรียน ชีวิตก็ไม่มีอะไรเกิดประโยชน์ เอาแต่วิ่งเล่น ก็ไม่เกิดประโยชน์อะไรขึ้น” คงมีบ้างที่ต้องเบื่อต้องท้อ “บางครั้ง ทำ�แล้วโดนอาจารย์ติเกี่ยวกับงาน บางครั้งก็ ท้อ แต่อกี แง่มมุ หนึง่ ก็ดี เราจะได้รบั รูจ้ ดุ บกพร่อง ที่ทำ�ไม่ดี แล้วนำ�คำ�ตินั้นไปแก้ไขในงานชิ้น ต่อไป ถ้าเครียดก็จะนั่งวาดรูปก้างๆ รูปตลกๆ เพื่อเป็นการผ่อนคลายให้ตนเอง” ส่วนการเปิดโอกาสให้ลกู ได้วาดภาพนัน้ นางอ้อยทิพย์ เลิศวัฒนาพร มารดาของซาร่า ตอบ ‘กำ�แพงแดง’ ว่า ภาพช่วยพัฒนาซาร่าได้ ทั้งอารมณ์และสมาธิ เพราะการวาดภาพต้อง ใช้เวลาค่อนข้างมากต้องใช้ความละเอียดอ่อน และต้องใช้ความอดทนสูงมาก ช่วงวันหยุดถ้าไม่ เรียนพิเศษ ก็จะออกไปดูงานศิลป์ตามที่ต่างๆ คนไทย และได้ใช้สทิ ธิอย่างถูกต้องตามกฎหมาย เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ เมื่อครูบ้านราชวิถีมาแจ้ง ว่าจะทำ�เลข ๑๓ หลัก และจะหานามสกุลให้ว่า ดีใจ โดยเฉพาะได้มีนามสกุลเหมือนคนอื่นเขา “เพราะจะได้มหี ลักฐานแสดงว่าหนูเป็นคนไทย และในอนาคตจะได้มีงานที่ดีทำ�” เช่นเดียวกับเด็กหญิงขวด อายุ ๑๕ ปี ชั้นประถม ๕ เพิ่งอยู่บ้านราชวิถีได้ ๒ ปี คนจังหวัดเพชรบุรี ที่ถูกมารดาหลอกว่าจะพา ไปเที่ยว แล้วให้ขึ้นไปรอบนรถโดยสาร “หลัง จากนั้นก็ไม่ได้เจอแม่อีกเลย” ด.ญ. ขวด บอก ‘กำ�แพงแดง’ ส่วนเหตุที่ได้มาอยู่บ้านราชวิถี เพราะมีคนโทรศัพท์แจ้งตำ�รวจว่ามีเด็กหลง และ ศูนย์ประชาบดีพามาส่งที่บ้านราชวิถี “ดีใจที่จะ ได้ทำ�บัตรประชาชน แต่ตอนนี้ยังไม่มีเลข ๑๓
ซามาวีร์ ที่อาจารย์บอกมา “ศิลปะทำ�ให้ใจเย็นขึ้น เมื่อ ก่อนน้องซาร่าเป็นคนใจร้อน แต่การวาดภาพ ทำ�ให้ลูกมีสมาธิมากขึ้น มีความอดทนมากขึ้น” คุณแม่เล่าอย่างสบายใจว่าวันนี้ซาร่าเป็นคนมี นิสัยร่าเริง สนุกสนาน ชอบช่วยเหลือเพื่อนๆ ส่วนตารางชีวิตของลูก “ไม่ค่อยได้เข้าไปยุ่งมาก นัก” คุณแม่ตอบ “เพราะน้องสามารถจัดตาราง ของตัวเองได้ว่าเวลาไหนควรทำ�อะไร” สำ�หรับนายพิชัย นิยมธรรม อาจารย์ สอนศิลปะ โรงเรียนสาธิต ผู้เปิดโอกาสให้ซาร่า ได้แสดงศักยภาพ บอก ‘กำ�แพงแดง’ ถึงการ คัดเลือกเด็กมาฝึกวาดภาพว่า ดูจากตัวนักเรียน และการสนับสนุนจากผู้ปกครอง “เราจึงจะส่ง เสริมเด็กต่อไป” อาจารย์พชิ ยั เล่าว่าการวาดภาพ เป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาค่อนข้างมาก หลังเลิก เรียนก็ไม่พอ ต้องซ้อมในวันหยุด ผู้ปกครองจึง ต้องมีใจให้ด้วย “เด็กที่จะเข้ามาทำ�ตรงนี้ได้ ต้องมีเวลา และที่สำ�คัญต้องใจรัก” รายงาน: วิลาวัณย์ อ่อนสมบูรณ์ ภาพ: โสภณ เสริมสวัสดิ์
หลัก แต่ทางบ้านราชวิถีบอกว่ากำ�ลังหาเลข ๑๓ หลักให้ ส่วนนามสกุล จะได้ใช้ว่าบ้านลาด” เลข ๑๓ หลัก และบัตรประชาชน จะถึง มือเด็กบ้านราชวิถีหรือไม่และเมื่อใดนั้น นาง สุวรรณา ปิ่นแก้ว ผู้ปกครองสถานสงเคราะห์ เด็กหญิงบ้านราชวิถี เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ว่า ปัจจุบันมีเด็กอายุ ๗ – ๑๕ ปี จำ�นวน ๒๖๙ คน จะได้สิทธิเหมือนเด็กไทยมีบ้านคนอื่นๆ ตนได้ ทำ�หนังสือไปยังกรมการปกครองเพื่อขอความ ร่ ว มมื อ ในการส่ ง เจ้ า หน้ า ที่ เข้ า มาทำ � บั ต รถึ ง บ้านราชวิถี “ถ้าจะให้พาเด็กออกไปสิบยี่สิบคน คงนานและคงวุน่ วายกันทัง้ เขต” ส่วนเด็กเร่รอ่ น ที่ไม่ได้อยู่ในสถานสงเคราะห์ นางสุวรรณา กล่าวว่ายังไม่สามารถดำ�เนินการได้ ข่าว: น้ำ�ทิพย์ ขุนดี
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน ๒๕๕๔
กำ�แพงแดง หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
เศรษฐกิจ หน้า ๙
ศูนย์หนังสือไม่นำ�ตำ�รามาวางขาย เบเกอรี่สวนสุนันทาเน้นรสชาติ นักศึกษาต้องออกไปซื้อภายนอก ไม่หวัน่ ทีม่ ยี อดขายต่�ำ กว่าสวนดุสติ ตำ�ราเรียนตามหลักสูตรแท้ๆ แต่ไม่มขี ายในศูนย์หนังสือ นักศึกษาต้องออกไป ผู้บริหารเบเกอรี่สวนสุนันทาแจงเน้นคุณค่ามากกว่ารสชาติ ทำ�ขายกัน หาซือ้ ตามห้างร้านนอกมหาวิทยาลัย ผูจ้ ดั การแจง ศูนย์หนังสือเพิง่ ย้ายไปอยู่ แค่ภายในเท่านัน้ ไม่คดิ จะลงสนามแข่งกับมหาวิทยาลัยเพือ่ นบ้าน อนาคต ทีใ่ หม่ได้ ๑ ปี ติดทีป่ ระชาสัมพันธ์และตัวนักศึกษาเอง ปีหน้าสัญญาว่าจะมีขาย หวังเจาะตลาดใหม่ขยายกิจการแนวฝรั่งเศสและเยอรมนี เพื่อเพิ่มมูลค่า ถ้าไม่ใช่การยืมอ่านแล้ว ศูนย์หนังสือ ได้ขายก็จะรับสั่งตามจำ�นวนที่ต้องการไว้เพราะ แม้ จ ะยั ง ไม่ อ อกนอกระบบเป็ น โครงการปรับเปลีย่ นมุมมองของร้านในปัจจุบนั ของมหาวิ ท ยาลั ย คื อ แหล่ ง ความรู้ แ ห่ ง แรกที่ นักศึกษาจะเข้าไปซื้อหา โดยเฉพาะตำ�ราเรียน ทีต่ อ้ งใช้ประกอบการเรียนตามรายวิชา เช่นเดียว กับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ อาทิ ศูนย์หนังสือจุฬาฯ ที่ประกาศว่า เป็นแหล่งรวมหนังสือภาษาไทย และภาษาต่างประเทศกว่า ๑๐๐,๐๐๐ รายการ ซึ่งยังไม่รวม CD-ROM วีดทิ ศั น์การสอน วัสดุ อุปกรณ์การศึกษา ไปจนถึงเครื่องใช้สำ�นักงาน อีกต่างหากซึง่ การบริหารจัดการทีด่ ี ศูนย์หนังสือ ก็จะเป็นศูนย์ธุรกิจอีกแห่งหนึ่งที่สามารถสร้าง กำ�ไรให้มหาวิทยาลัยได้ แต่นกั ศึกษาต้องผิดหวัง เพราะไม่มีหนังสือให้ซื้อทั้ง ๆ ที่เป็นตำ�ราใน หลักสูตร นายธนวุฒิ ไตรสีห์ นักศึกษาคณะ มนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ เปิ ด เผย ‘กำ�แพงแดง’ ว่า ตนเป็นหนึ่งในหมู่เพื่อนที่ผิด หวังจากศูนย์หนังสือ เพราะไม่มีหนังสือเรียน ในหลักสูตรให้ซื้อ “ต้องไปซื้อหนังสือตามร้าน หนังสือในห้างบางครั้งอาจารย์ก็ให้หนังสือไป ถ่ายเอกสารก่อน แล้วค่อยไปซือ้ ” เช่นเดียวกับ นางสาวสกาวเดือน ลือประดิษฐ์ นักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ว่าต้องถ่ายเอกสารหรือ ขอรุน่ พีเ่ พราะไม่มีขายในศูนย์หนังสือ “บางครัง้ เป็นของหลักสูตรเก่าหาซือ้ ไม่คอ่ ยได้ จะรอหนังสือ ก็นานเกินไป” ปัญหาไม่มหี นังสือขาย นางสาวบุพชาติ สุดใจ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปศูนย์หนังสือ ชี้แจง ‘กำ�แพงแดง’ ว่า ส่วนใหญ่นักศึกษาจะเข้า มาเพื่อซื้อตำ�ราเรียนอยู่แล้ว แต่หนังสืออื่นที่ไม่
ถ้าขายหนังสือนั้นไม่ได้ ก็เหมือนการนำ�ทุนไป ทิ้งเปล่า ส่วนนางสาวปัณฑิมา วันลักษณ์ ผู้จัดการศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา ชี้แจงเพิ่มเติมกรณีหนังสือเรียนที่ ไม่มีในหลักสูตรว่าหนังสือในศูนย์หนังสือเป็น ระบบฝากขาย มีทั้ง จากอาจารย์และจาก บุคคลภายนอกโดย แบ่งเป็นเปอร์เซ็นต์ ฝากขายต่างกัน ถ้าเป็น อาจารย์เปอร์เซ็นต์การ ฝากขายร้อยละ ๑๕ ถ้าเป็นหนังสือภายนอก ปัณฑิมา จะพิจารณาความน่า สนใจเปอร์เซ็นต์ฝากขายจะอยูท่ ร่ี อ้ ยละ ๒๐ กรณี นั ก ศึ ก ษาหาซื้ อ หนังสือไม่ได้หรือเป็นหนังสือ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ว างขายผู้ จั ด การศู น ย์ ห นั ง สื อ ชี้ แ จง ว่า ศูนย์ฯ เพิ่งย้ายมาจากโรงอาหารกลางเพียง ปีเศษอาจไม่พร้อมด้านหนังสือแต่ก็มีบริการ รองรับ สั่งหนังสือให้ โดยบอกชื่อหนังสือที่ ต้องการก็จะสัง่ มาให้มบี คุ ลากรทีเ่ พียงพอ “แต่ที่ ไม่สามารถทำ�เป็นรูปธรรมได้เพราะโดยมาก นั ก ศึ ก ษาแค่ ม าถามชื่ อ หนั ง สื อ ที่ ต้ อ งการ ถ้าไม่มีก็ไม่สั่งซื้อ และยังไม่มีการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบการสั่งซื้อหนังสือแก่นักศึกษา” พร้อมกับกล่าวว่า ปีหน้าหนังสือเรียนจะมีการ ติดต่อประสานกับอาจารย์ของแต่ละคณะ เกี่ยว กับรายชื่ อ หนั ง สื อ ในหลั ก สู ต รที่ ใช้ เ พื่ อ สั่ ง มา ขายให้ตรงกับนักศึกษามากที่สุด ข่าว: ณัฐปิยะ เหหาสุข/ ภาพ: นนทวัฒน์ แหวนเงิน
เปลี่ยนสุขภัณฑ์ค่าน้ำ�ลด แต่ FT ต้นเหตุค่าไฟเพิ่ม เครือ่ งสุขภัณฑ์และการรณรงค์ ได้ผล ค่าน้ำ�ประปา ‘สวนสุนันทา’ ปี ๒๕๕๓ ลดลงจากปี ๕๒ ถึงร้อยละ ๑๓.๒ แต่ค่าไฟ แม้ควบคุมการใช้ใน ห้องเรียนด้วยบัตรกุญแจ แต่ก็ยัง เพิ่มขึ้น ๑๖.๔ เปอร์เซ็นต์ เหตุเพราะ ค่าไฟฟ้าผันแปร แล้วยังมาเจอการ จัดงานต่าง ๆ รวมทั้งจำ�นวนเครื่อง ใช้อิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มขึ้น ปีงบประมาณ ๒๕๕๓ ที่ผ่านมา ค่าใช้
จ่าย ๓๐.๑๑ ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ ๑๖.๔ โดยเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๓ สูงสุด ๔.๖ ล้าน บาท และเดือนพฤษภาคม ค่าไฟน้อยที่สุด ๑.๒ ล้านบาท ส่วนค่าน้ำ�ประปาในปีงบประมาณ เดียวกัน มียอดรวม ๓.๕๖ ล้านบาท เฉลี่ย เดือนละกว่า ๓๐๐,๐๐๐ บาท เทียบกับปี ๒๕๕๓ ซึ่งมียอดรวม ๔.๐๓ ล้านบาท ลดลงร้อยละ ๑๓.๒ โดยเดือนธันวาคม ๒๕๕๓ มียอดค่าใช้จ่าย สูงสุดกว่า ๓๕๐,๐๐๐ บาท และเดือนเมษายน ๒๕๕๓ น้อยที่สุด ๒๔๐,๐๐๐ บาท เหตุ ค่ า ไฟเพิ่ ม ขึ้ น และค่ า น้ำ � ลดลง นายไพรัตน์ ฤทัยประเสริฐศรี ผู้อำ�นวยการ สำ�นัก งานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏ จ่ายของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เป็น สวนสุนันทา เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ในส่วนที่ ที่ค่าไฟฟ้า ๓๕.๔๘ ล้านบาท เฉลี่ยเดือนละกว่า เป็นค่าไฟฟ้าว่า เพราะค่าไฟฟ้าผันแปร (Fuel ๓ ล้านบาท เทียบกับปี ๒๕๕๒ ซึ่งมียอดค่าใช้ Transfer: Ft) ที่ต่างกันในแต่ละปี ทำ�ให้ค่า
มหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ แต่พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๑๓ (๕) ก็ยังเปิดโอกาสให้ มหาวิ ทยาลัยราชภัฏ สวนสุนนั ทา หารายได้หรือผลประโยชน์ทไ่ี ด้จาก การลงทุนและจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย เพื่อนำ�มาเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ อาทิ โรงน้ำ�ดื่มแก้วเจ้าจอม โรงแรมแก้วเจ้าจอม เป็นต้น และเช่นเดียวกันกับธุรกิจเบเกอรี่ที่คน ส่วนใหญ่เมื่อมีโอกาสได้รับประทานแล้ว ล้วน ยอมรับในรสชาติและฝีมอื ขนมเค้ก ‘สวนสุนนั ทา’ แต่เป็นทีน่ า่ แปลกใจว่า ทำ�ไมจึงไม่คกึ คักเหมือน เค้กของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ซึ่งดูขัด แย้งและสวนทางกัน ส่วนเรือ่ งของความอร่อยนัน้ นายกณัศ ปัทมพรหม ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายทรัพย์สนิ และรายได้ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา เปิดเผย ‘กำ�แพง แดง’ ถึงรสชาติอันเป็นที่ยอมรับ สำ�หรับผู้มี โอกาสได้รับประทานเบเกอรี่ของมหาวิทยาลัยฯ ว่า มาจากการใช้วตั ถุดบิ ค่อนข้างดี “เน้นคุณภาพ ไม่เน้นปริมาณ แต่ราคาต้องไม่แพงเกินไป” ราคาที่ส วนทางกั บ คุ ณ ภาพและความอร่ อ ย จะส่งผลต่อกำ�ไรจากยอดขายได้สักแค่ไหนนั้น ผู้อำ�นวยการฝ่ายทรัพย์สินฯ ตอบว่า ตนไม่เคย คิดถึงยอดขายเพราะราคาจะส่งผลกระทบไปที่ นักศึกษา “ขอยืนยันคำ�เดิมว่าไม่คิดแข่งขันกับ สวนดุสติ ต้องแยกให้ออกว่า ‘ดี’ กับ ‘อร่อย’ มันต่าง กันของบางอย่างอร่อยแต่ไม่ดี ของเรานี่ดี คือ วัตถุดิบดี นโยบายการผลิตดี” และแม้ไม่ คิดถึงยอดขาย แต่ก็ยังเปิดใจถึงแผนในอนาคต ของ ‘Bread It’s Best by SSRU’ ซึ่งเป็น
เป็นแนวฝรั่งเศสและเยอรมนีเพื่อเจาะอีกตลาด หนึ่ง “ซึ่งตอนนี้อยู่ในขั้นเตรียมการ และกำ�ลัง ขอสถานที่ฝึกปฏิบัติงานร้านขนมปังภายใน มหาวิทยาลัย” จากการสังเกตของผู้สื่อข่าว พบว่า สถานที่ขายเบเกอรี่สวนสุนันทา นอกจากคับ แคบแล้ว ยังอยู่ในมุมอับสายตาของคนทั่วไป ในขณะที่คนทั่วไปรู้จักและยอมรับภาพลักษณ์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ซึ่งเจ้าหน้าที่ เบเกอรี่สวนสุนันทาผู้หนึ่งเปิดเผยว่า คนมักนำ� มาเปรียบเทียบ แต่กป็ ฏิเสธว่าเบเกอรีส่ วนสุนนั ทา ไม่ได้ซบเซาตามที่เข้าใจกัน พร้อมกับอ้างตัวเลข รายได้ต่อเดือนไม่ต่ำ�กว่า ๖ หลัก ส่วนเหตุที่ไม่ โด่งดัง เป็นเพราะไม่ได้เปิดสู่โลกภายนอก ไม่ เกี่ยวกับคุณภาพหรือรสชาติแต่ประการใด นางสาวทัศนีย์ พิชหอม นักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาลัยวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา ยอมรับกับ ‘กำ�แพงแดง’ ว่าเคยซื้อ เบเกอรี่ ‘สวนดุสิต’ เพราะชื่อเสียงและค่านิยม แต่เมื่อกลับมากินของ ‘สวนสุนันทา’ ก็เห็นว่า รสชาติ ไ ม่ ไ ด้ แ ตกต่ า งกั น จึ ง เข้ า ใจว่ า เบเกอรี่ ‘สวนสุนนั ทา’ ทำ�ขายคนในด้วยกัน แต่กแ็ ปลกใจ ว่าทำ�ไมจึงไม่ส่งเสริม ในเมื่อรสชาติไม่ด้อยไป กว่าผูอ้ น่ื และมีความเห็นว่า หากต้องปรับเปลีย่ น แก้ไขควรคำ�นึงถึงการส่งเสริม “เบเกอรี่ เราไม่ ได้แพ้เขาเลย อร่อยทุกอย่าง เพียงแต่ว่าการ ประชาสัมพันธ์และการตลาดของเรายังสู้เขา ไม่ได้แค่นั้นเอง ถ้าปรับปรุงเรื่องนี้ เชื่อว่า เบเกอรี่ของเราจะต้องบูมแน่นอน”
กระแสไฟฟ้าสูงขึ้น แม้ว่าจะใช้จำ�นวนเท่าเดิม ก็ตาม การมีเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มาก ขึ้น มีส่วนทำ�ให้ค่าไฟฟ้าสูงขึ้นทั้งสิ้น ส่วนค่า น้ำ�ประปาที่ลดลงนั้น ผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน อธิการบดี ตอบว่าการเปลี่ยนแปลงสุขภัณฑ์ ช่วยให้ประหยัดน้ำ�มากขึ้น รวมไปถึงการช่วย รณรงค์ ก ารใช้ ท รั พ ยากรน้ำ � ในมหาวิ ท ยาลั ย ผู้ สื่ อ ข่ า วถามว่ า ค่ า ไฟฟ้ า และค่ า น้ำ � ประปาใช้งบอะไรมาจ่าย ได้รับคำ�ตอบว่า เป็น งบประมาณค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภค ซึ่งได้ รับจัดสรรจาก ๒ ส่วน ทัง้ ส่วนทีเ่ ป็นงบประมาณ แผ่นดินและส่วนทีเ่ ป็น รายได้ของมหาวิทยาลัย “นอกจากค่าลงทะเบียน เรียนของนักศึกษาแล้ว ยังได้จากสินค้าและ อ. ไพรัตน์ บริการของมหาวิทยาลัย
เช่น โรงแรม โรงน้�ำ เบเกอรี่ ซึง่ กำ�ไรจากการขาย สินค้าและบริการดังกล่าวร้อยละ ๒๐ จะหักเข้า มหาวิทยาลัย เพื่อใช้ในการพัฒนา รวมถึงนำ� มาจ่ายค่าสาธารณูปโภคด้วย” นายอัมรินทร์ คำ�เผือก ประธานสโมสร นักศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทาเปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ว่า สโมสรนั ก ศึ ก ษาฯ มี ก ารรณรงค์ ผ่ า นป้ า ย ประชาสัมพันธ์ให้นักศึกษาช่วยกันประหยัดน้ำ� และไฟ “เราเรียนถึงระดับปริญญาตรีนักศึกษา แต่ละคนย่อมมีความรักต่อสถาบัน จึงควรช่วย กันประหยัดน้ำ�และไฟ เพราะมหาวิทยาลัย เปรียบเสมือนบ้านหลังที่สอง ถ้าประหยัดได้ งบประมาณในส่วนนี้ จะได้น�ำ มาพัฒนากิจการ ของนักศึกษาให้ดีขึ้น และยังลดภาวะโลกร้อน ไปในตัวด้วย”
ข่าว: กันติกร ธะนีบุญ
ข่าว: อนิรุจน์ แก้วเทียมทอง/ ภาพ: นนทวัฒน์ แหวนเงิน
กำ�แพงแดง หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน้า ๑๐ ข่าวต่อ
กลับลำ� ไม่ทำ�ประชาพิจารณ์
ความคื บ หน้ า การออกนอก ระบบมีรายงานว่าร่างพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสวนสุนนั ทาพ.ศ.....พร้อมทีจ่ ะ เสนอรัฐบาลและรัฐสภาเพือ่ ตราเป็นกฎหมาย ทำ�ให้นกั ศึกษาทีท่ ราบข่าวนีต้ กใจและ สงสัยว่าทำ�ไมฝ่ายบริหารของมหาวิทยาลัย จึงต้องเร่งรีบทั้ง ๆ ที่อธิการบดีเคยให้ สัมภาษณ์วา่ จะทำ�การสอบถามนักศึกษา ผูป้ กครอง และประชาคมก่อน ในขณะทีม่ ี ข่าวจากสือ่ มวลชน อ้างการให้สมั ภาษณ์ ของ รศ. ดร. ณรงค์ พลอยดนัย รอง อธิการบดีฝ่ายบริหาร อาทิ หนังสือพิมพ์ ข่าวสด (ฉบับวันที่ ๙ มิถนุ ายน ๒๕๕๔) ว่า ได้เตรียมความพร้อมมาตั้งแต่ปี ๒๕๕๑ โดยมุ่งเน้นสร้างความเข้าใจแก่บุคลากร จนถึงตอนนี้ ทุกคนเข้าใจสถานะของ มหาวิทยาลัยและไม่ได้ทว้ งติงหากจะออก นอกระบบทั้ง ๆ ที่ยังไม่ปรากฏการทำ� ประชาพิจารณ์อย่างเป็นทางการโดยมี นักศึกษาซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาก ที่สุดในการเข้าไปมีส่วนร่วมรับฟังและ แสดงความคิดเห็น ประธานสภา นศ. “ทำ�ไมต้องเร่ง” นายกานต์พล เรืองอร่าม ประธานสภานักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา กล่าวแสดงความกังวลกับ ‘กำ�แพงแดง’ ว่า เมื่อออกนอกระบบแล้ว จะเป็นเลิศทางวิชาการจริงหรือไม่ “เขาจะ รับประกันได้อย่างไร อธิการบดีเป็นมา แล้ว ๘ ปี ผมอยู่มา ๔ ปี วิชาการก็ยัง ไม่มีอะไรเด่นออกมาเลย แล้วคิดหรือ ว่าอีก ๘ ปี เมือ่ ออกนอกระบบไปแล้วจะดี จริง รัฐบาลให้งบประมาณมาปีละ ๕๐๐ ล้านบาทแล้ว คิดว่ารัฐบาลจะให้ต่อไป ไหมขณะทีจ่ ฬุ าฯได้ปลี ะ ๘,๐๐๐ ล้านบาท ส่วนต่างก็เห็นกันอยู่แล้ว จุฬาฯ ยังมี สยามสแควร์ มีที่ให้เช่าเยอะแยะ แต่ มหาวิทยาลัยของเรามีอะไร เบเกอรี่ โรงทำ� น้�ำ ดืม่ โรงแรมสุนนั ทา แล้วเขาก็อา้ งว่าเดีย๋ ว จะมีโรงพยาบาลที่จงั หวัดสมุทรสงคราม ตอนนี้ยังสร้างไม่เสร็จ เขาบอกว่าจะสร้าง ไว้เก็บเงินคนทีม่ ารักษาเพือ่ นำ�มาจุนเจือ มหาวิทยาลัยในส่วนที่ขาดหาย” (งบประมาณ ๒๕๕๔ ‘สวนสุนนั ทา’ ได้รับงบประมาณจากรัฐบาล ๔๖๕.๖๐ ล้านบาท แบ่งเป็นงบฯ สนับสนุนการจัด การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ๑๕ปี๗.๖๓ ล้านบาท งบฯ ขยายโอกาสและพัฒนาการศึกษา ๔๔๓.๖๒ ล้านบาท งบฯ ส่งเสริมและ พัฒนศาสนาศิลปะ และวัฒนธรรม ๑.๘๕ ล้านบาท และงบฯ วิจัยพัฒนาประเทศ ๑๒.๕๐ ล้านบาทโดยจุฬาฯ ได้รบั งบฯจาก การออกนอกระบบ ๔,๑๖๔.๔๘ ล้านบาท) กรณีอธิการบดีคนปัจจุบันจะ ครบวาระการดำ�รงตำ�แหน่งสมัยที่ ๒ อีกไม่ กีป่ ขี า้ งหน้า แต่เมือ่ เป็นมาแล้ว ๒ สมัย ๘ ปี จะสมัครต่อไม่ได้ ยกเว้นเป็นมหาวิทยาลัย ในกำ�กับฯ อันเป็นการเริม่ ต้นใหม่เหมือน ‘ล้างไพ่’ ซึง่ สังเกตว่าจะนำ�ไปสูเ่ ส้นทางแห่ง ศูนย์อำ�นาจที่ยืนยาวจนอาจกลายเป็น การผูกขาดการเร่งออกนอกระบบจึงถูกตัง้ ข้อสงสัยว่าเร่งออกไปเพื่อให้ทันกับวาระ ที่กำ�ลังจะครบหรือไม่อธิการบดีจึงควร
แถลงให้ประชาคมทราบอย่างชัดเจนว่าจะ เอาอย่างไร “หรือพูดมาเลยว่าผมสนับสนุน ให้ออกนอระบบ แต่ผมจะไม่เป็นต่อ” นอกระบบ ‘ดี’ แต่พร้อมแล้วหรือยัง ร่างพระราชบัญญัตมิ หาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนนั ทา ทีม่ ขี า่ วว่าร่างเสร็จแล้ว นั้น ประธานสภานักศึกษากล่าวว่านักศึกษา ไม่มีโอกาสได้ทราบเลยว่าร่างไปถึงไหน เหมือนปิดหูปดิ ตานักศึกษา เรือ่ งการทำ� ประชาพิจารณ์กบั นักศึกษาก็เช่นเดียวกัน อธิการบดีบอกว่าไม่ตอ้ งเพราะไม่เกีย่ วกับ นักศึกษา “มันไม่ใช่อธิการฯบอกไม่เกีย่ ว นักศึกษาทีร่ ขู้ า่ วนอกระบบมีนอ้ ยส่วนมาก ยังไม่รู้ ไม่ใช่วา่ สภานักศึกษาจะมีอาจารย์ ท่านใดมาจูงจมูก นักศึกษามีความคิดเป็น ของตัวเอง แต่ละคนรูว้ า่ อะไรถูกผิด อธิการฯ เลยบอกว่างัน้ จะเอานักศึกษาสัก ๓๐๐ คน มาสำ�รวจ” พร้อมกับกล่าวว่ามหาวิทยาลัยฯ มีนกั ศึกษากว่าสองหมืน่ คน ถ้า ๓๐๐ คน รู้ ข้อมูลทีแ่ ท้จริงรูท้ ม่ี าทีไ่ ปได้ใช้ความคิดของ ตัวเองจริง ๆ ก็อีกเรื่องหนึ่ง ตนจะเสนอ นายกสภามหาวิทยาลัยให้มปี ระชาพิจารณ์ แต่ละคณะวิชาแล้วเสนอให้อธิการบดีมา ชี้แจงข้อดีและข้อเสียให้ประชาคมเข้าใจ และให้ทกุ คนคิดเองว่าสิง่ ไหนดี เนือ่ งจาก ความคิดของแต่ละคนไม่เหมือนกัน กรณีอธิการบดีประกาศว่าใคร พาดพิงจะฟ้องนัน้ ประธานสภานักศึกษา ‘สวนสุนันทา’ ตอบ ‘กำ�แพงแดง’ ว่า ขณะ นี้มีเรื่องที่หน่วยงานของรัฐซึ่งเกี่ยวข้อง กับคดีพเิ ศษกำ�ลังดำ�เนินการสอบสวนอยู่ พร้อมกับเสนอว่าก่อนออกนอกระบบควร พัฒนามหาวิทยาลัยให้ดีเสียก่อนเพราะ หัวใจหลักคือนักศึกษา พอไปถามเรือ่ งค่า เทอมก็ไม่ได้ค�ำ ตอบว่าเพิม่ หรือไม่ ถ้าเพิม่ จะเพิม่ จากส่วนไหน สิง่ ทีอ่ ยากฝากเพือ่ น นักศึกษาคืออยากให้เขารูว้ า่ สิทธิของเขา คืออะไร “ผมไม่ได้ตอ้ งการให้คณ ุ เห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วย แต่ผมแค่อยากให้รู้ว่า ออกนอกระบบคืออะไร ประโยชน์สงู สุดคือ อะไร การออกนอกระบบดีไหม ส่วนตัวก็ เห็นว่าดี แต่มหาวิทยาลัยเราพร้อมหรือยัง พร้อมทีจ่ ะยืนบนลำ�แข้งของตัวเอง บริหาร งานจัดการด้วยตัวเอง อำ�นาจการจัดการ ต้องมีการถ่วงดุลไม่อย่างนั้นเราจะเป็น มหาวิทยาลัยเผด็จการ ผมจะจบแล้ว แต่ มั น รู้ สึ ก ดี ที่ อ ย่ า งน้ อ ยได้ ทำ � อะไรเพื่ อ มหาวิทยาลัยเพื่อส่วนรวม” นศ. คัดค้านไม่ผิด แต่ได้ข้อมูลผิด รศ. ดร. ณรงค์ พลอยดนัย รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร เปิดเผยกับ ‘กำ�แพงแดง’ ถึงกรณีทม่ี นี กั ศึกษาออกมา คัดค้านว่าไม่ผิดแต่นักศึกษาได้ข้อมูล ทีผ่ ดิ การออกนอกระบบต้องผ่านขัน้ ตอน มากมายแล้วทีเ่ ข้าใจผิดกันว่าจุฬาฯ ออกได้ เพราะมีทส่ี ามย่าน มหิดลและมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ออกได้เพราะมีแพทย์ หรือแม้แต่ สวนดุสิตที่ออกได้เพราะมีเบเกอรี่ และ โรงแรมที่เยี่ยมยอด “แต่กับสวนสุนันทา มีเบเกอรีก่ ระจอก ๆ มีโรงแรมเล็กๆ แล้วก็ มีน�ำ้ ห่วย ๆ” พร้อมกับกล่าวต่อไปว่าขณะนี้ ‘สวนสุนนั ทา’ มีหน่วยงานทีอ่ อกนอกระบบ ได้แก่ วิทยาลัยนวัตกรรมและการจัดการ
วิทยาลัยนานาชาติและวิทยาลัยพยาบาล และสุขภาพซึ่งผู้อำ�นวยการวิทยาลัยได้ เงินเดือน ๑๕๐,๐๐๐บาท ขณะทีอ่ ธิการบดี ได้เงินเดือน ๕๐,๐๐๐บาทแต่ผอู้ �ำ นวยการ วิทยาลัยต้องหารายได้เข้ามหาวิทยาลัย ถ้าไม่มนี กั ศึกษาก็เปิดหลักสูตรไม่ได้ เมือ่ ‘สวนสุนนั ทา’สามารถออกนอกระบบได้ก็ จะสามารถจ้างบุคลากรทีม่ คี วามสามารถ ได้ ส่วนปัญหาในเรื่องของค่าเทอมนั้น รศ.ดร. ณรงค์ พลอยดนัย กล่าวว่าง่าย นิดเดียวเมื่อมีกฎหมาย ก็ต้องมีระเบียบ ข้อบังคับ เมือ่ ถึงเวลานัน้ นักศึกษาต้องบอก ให้เขียนไม่ขึ้นค่าเทอม ๕ ปี ๑๐ ปี“แต่ถ้า บอกไม่ขน้ึ ค่าเทอมเลยมันเป็นไปไม่ได้” พร้อมกับกล่าวว่า ตนได้น�ำ ข้อดีของกฎหมายมหาวิทยาลัยต่าง ๆ มาใส่ไว้ ซึง่ ขณะ นีร้ า่ งเสร็จแล้ว “เราพยายามทีจ่ ะเขียนให้ นักศึกษาได้ประโยชน์” อย่างไรก็ตาม แม้ประธานสภา นักศึกษาให้สมั ภาษณ์วา่ อธิการบดีจะไม่ ทำ�ประชาพิจารณ์เพราะไม่ใช่เรื่องของ นักศึกษา แต่รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร กล่าวว่าจะนำ�ร่างกฎหมายมหาวิทยาลัยฯ ออกมาให้ นัก ศึ ก ษาและบุ ค ลากรใน มหาวิทยาลัยอ่านคราวละ ๑๐ มาตรา “ใครจะแก้อะไรก็แก้มา แล้วจะนำ�เข้า กรรมการเพราะบางมาตราแก้ได้ แต่ถ้า กระทบกับมาตราอื่น เราก็ต้องมาดูกัน” ถ้ามีความสามารถควรบริหารต่อ รศ. ดร. ช่ ว งโชติ พั น ธุเวช อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ให้สมั ภาษณ์ ‘กำ�แพงแดง’ กรณีทถ่ี กู มองว่า การเร่งออกนอกระบบก็เพือ่ จะสมัครเป็น อธิการบดีสมัยต่อไปว่าเมือ่ ‘สวนสุนนั ทา’ เป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐได้จริง คณะผู้บ ริ ห ารหรื อ ตั ว อธิ ก ารบดี ก็ต้อ ง เปลี่ยนเพราะกฎหมายระบุ เ อาไว้ แ ล้ ว “แต่ถา้ ถามว่าจะต้องเปลีย่ นทัง้ หมดไหม อาจไม่จ�ำ เป็น เพราะหากผูบ้ ริหารบางคน ทีม่ คี วามสามารถพัฒนามหาวิทยาลัยให้ ก้าวหน้าต่อไปได้ก็ควรที่จะต้องอยู่ต่อ ที่ สำ�คัญตอนนีม้ หาวิทยาลัยมีเงินทุนสำ�รอง เกื อ บพั น ล้ า นบาทในการที่ จ ะเป็ น มหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐบาล ขณะที่ สวนดุสิตมีแค่สองร้อยล้าน แต่เรื่องของ สวนดุสิตกลับอยู่ในสภาแล้ว” ข่าว: จุฑาภรณ์ อึงอาคม ภาพ: โสภณ เสริมสวัสดิ์
งานใหญ่ถึงขั้นต้องแก้กฏหมาย ปัจจุบนั ฐานเงินเดือนข้าราชการ ปริญญาตรีบรรจุที่ ๙,๑๔๐ บาท การปรับ เงินเดือนเป็น ๑๕,๐๐๐ บาท ตามนโยบาย ของรัฐบาลในปัจจุบนั จะต้องจ่ายเงินเพิม่ ขึ้นร้อยละ ๖๘ ส่งผลให้โครงสร้างบัญชี เงินเดือนข้าราชการบิดเบือน เนื่องจาก ฐานเงิ น เดื อ นขั้ น ต่ำ � ของข้ า ราชการที่ บรรจุในอัตราปริญญาโทคือ ๑๒,๖๐๐ บาท และอัตราปริญญาเอก ๑๖,๒๐๐ บาท ซึง่ มี รายงานว่ า สำ � นั ก งานคณะกรรมการ ข้าราชการพลเรือน (กพ.) อาจเสนอคณะ รัฐมนตรีให้ใช้วธิ ปี รับเพิม่ ค่าครองชีพเป็น การชัว่ คราว เพราะไม่ขดั พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน ๒๕๕๔ ที่ไม่ให้ปรับเกินร้อยละ ๑๐ แล้วเร่งแก้ กฎหมายปรับโครงสร้างเงินเดือนในภาพ รวม เพือ่ เพิม่ เงินเดือนให้ผจู้ บปริญญาโท และปริญญาเอกตามสัดส่วน นายอภิชาติ กำ�ภูมิประเสริฐ ผูช้ ว่ ยอธิการบดีฝา่ ยวิชาการและอาจารย์ ประจำ � สาขาวิ ช าเศรษฐศาสตร์ ธุ ร กิ จ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ กรณีเงินเดือนข้าราชการ ว่าถ้ารัฐบาลจะทำ�จริงๆ ก็ท�ำ ได้ปัญหาอยูท่ ่ี มีงบประมาณเพียงพอหรือไม่ เพราะงบ ประมาณตามพระราชบัญญัตงิ บประมาณ รายจ่ายประจำ�ปีงบประมาณ ๒๕๕๔ มีไม่ พอเนื่องจากไม่ได้เตรียมไว้ในเรื่องนี้เลย ผลดีของนโยบายเงินเดือนปริญญาตรี ๑๕,๐๐๐ บาท รศ.ดร. ปริณภา จิตราภัณฑ์ อาจารย์ประจำ�สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธรุ กิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา กล่าวกับ ‘กำ�แพงแดง’ ว่า บัณฑิตที่ได้ทำ�งานในหน่วยงานของรัฐ จะได้รบั เงินเดือนเพิม่ ขึน้ เกือบเท่าตัว แต่ สำ�หรับภาคเอกชนแล้ว คงต้องคิดมากหาก จะรับบัณฑิตจบใหม่ “บัณฑิตอาจหางาน ทำ�ในภาคเอกชนได้ยากขึ้น” พร้อมกับ เป็นห่วงว่าจะส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบ การภาคเอกชน และการควบคุมตัวแปร อัตราเงินเฟ้อของประเทศ ในประเด็นเงิน เฟ้อ อาจารย์อภิชาติ กำ�ภูมปิ ระเสริฐ กล่าว เสริมว่า จะส่งผลต่อค่าครองชีพและปัญหา เศรษฐกิจในระยะยาว เนือ่ งจากต้นทุนการ ผลิตสูงขึ้น สิ่งที่ทุกคนคาดหวังในฐานะ ผูบ้ ริโภคคือค่าครองชีพทีส่ งู น้อยกว่าค่าเงิน ทีไ่ ด้รบั “แต่ใครจะเป็นคนตอบว่าค่าครองชีพ จะขึน้ กีเ่ ปอร์เซ็นต์ ไม่มีใครบอกได้ว่าอัน ไหนจะมากกว่า ระหว่างเงินเดือนกับอัตรา ค่าครองชีพ ผูบ้ ริโภคอาจไม่เหลืออะไรเลย ก็ได้ ถ้าค่าครองชีพเพิม่ ขึน้ ในอัตราทีม่ าก กว่าเงินเดือนใหม่ที่ได้รับ” ข่าว: เสกสรร เพ็งรักษา
สาขาวิชาภาพยนตร์รอดตาย ๒๕๕๔ เป็นปีการศึกษาที่เริ่ม ต้นหลักสูตรนิเทศศาสตร์ใหม่ทกุ สาขาวิชา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาซึ่ง ได้เตรียมการกันตัง้ แต่ปกี ารศึกษา๒๕๕๓ สาขาวิชาโดยส่วนใหญ่สอบผ่าน ยกเว้น สาขาวิชาการภาพยนตร์และสื่อสารการ แสดงซึง่ เป็นหลักสูตรใหม่ ถูกสำ�นักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ตีกลับอ้างว่าอาจารย์ศกั ยภาพไม่ตรงสาขา ทำ�ให้ไม่สามารถเปิดได้ทนั กับปีการศึกษา ปัจจุบนั หากยังหาไม่ได้ สกอ.ก็จะไม่อนุมตั ิ ทำ�ให้นักศึกษาสาขาวิชาภาพยนตร์วิตก กังวลว่าจะถูกปิดถึงกับตระเวณติดใบปลิว ทั่ ว มหาวิ ท ยาลั ย ว่ า “คุ ณ จะปล่ อ ยให้ ภาพยนตร์ตายหรือ” ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ ปริญญาตรี พุทธศักราช ๒๕๔๘ ซึ่งเป็น เกณฑ์ท่ใี ช้ประกอบการพัฒนาหลักสูตร ระดับอุดมศึกษาในปัจจุบนั ข้อ ๙ ระบุวา่ “จำ�นวนและคุณวุฒิของอาจารย์ ต้องมี อาจารย์ประจำ�หลักสูตรตลอดระยะเวลาที่ จัดการศึกษาตามหลักสูตรนัน้ ซึง่ มีคณ ุ วุฒิ ตรงหรือสัมพันธ์กบั สาขาวิชาทีเ่ ปิดสอนไม่
ต่�ำ กว่า ๕ คนและในจำ�นวนนัน้ ต้องเป็นผู้ มีคณ ุ วุฒไิ ม่ต�ำ่ กว่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือเป็นผูด้ �ำ รงตำ�แหน่งทางวิชาการไม่ต�ำ ่ กว่า ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อย่างน้อย ๒ คน ทัง้ นี้ อาจารย์ประจำ�ในแต่ละหลักสูตรจะเป็น อาจารย์ประจำ�เกินกว่า๑หลักสูตรในเวลา เดียวกันไม่ได้ แต่จากหลักสูตรใหม่ทส่ ี ง่ ไปยัง สกอ. เปลี่ยนชื่อสาขาจากเดิม ‘สาขาวิชา ภาพยนตร์’ เป็น ‘สาขาวิชาการภาพยนต์และ สือ่ สารการแสดง’ พบว่า มีเพียงนายวิชชา สันทนาประสิทธิ์ ซึ่งจบปริญญาตรีศลิ ปการแสดงและปริญญาโทการสือ่ สารมวลชน จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเพียงคนเดียว ทีจ่ บตรงสาขาวิชาตามเงือ่ นไขของ สกอ. นายสมศักดิ์ คล้ายสังข์ อาจารย์ หัวหน้าสาขาวิชาภาพยนตร์ หลักสูตรนิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนนั ทา ยอมรับกับ ‘กำ�แพงแดง’ ว่า อาจารย์สาขาภาพยนตร์มจี �ำ นวนค่อน ข้างน้อยจึงต้องพัฒนาหลักสูตรใหม่ โดยนำ� เอกภาพยนตร์และเอกการแสดง มารวม เป็นหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การภาพยนตร์และสือ่ สารการแสดง ทาง สาขาฯ พยายามชี้แจงให้ สกอ. ทราบว่า อาจารย์สาขาภาพยนตร์คอ่ นข้างหายาก แม้อาจารย์บางคนจบไม่ตรงสาย แต่มี ประสบการณ์ทางวิชาชีพ ซึง่ ในทีส่ ดุ สกอ. เห็นชอบให้มอี าจารย์ศกั ยภาพได้ ๒ คน คือตนกับนายพงศวีร์ สุภานนท์ จึงเหลืออีก ๒ คน “ทางคณะ (วิทยาการจัดการ) ให้ นโยบายไว้ชดั เจนว่าจะมีอาจารย์ตรงสาขา มาเพิม่ จากอังกฤษ ๑ คน และในเมืองไทย อีก ๑ คนเราก็จะมีอาจารย์ประจำ�รวม ๕คน ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ แต่ตอนนี้ยงั ไม่ ทราบชือ่ เนือ่ งจากยังไม่มารายงานตัวและ ทำ�สัญญากับมหาวิทยาลัย”พร้อมกับกล่าว ว่า ผูจ้ บด้านภาพยนตร์โดยตรงจะให้มาเป็น อาจารย์ทั้งหมดนับว่ายากที่จะเป็นไปได้ นายสมถวิล สุวรรณกูฏ อาจารย์ พิเศษ สาขาวิชาภาพยนตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนนั ทา เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ใน เรื่องที่ต้องมีอาจารย์ประจำ�สาขาให้ครบ ๕ คน ว่า “ถ้ารวมสองอย่างเข้าด้วยกัน ไม่ตอ้ งถึง ๕ คนก็ได้ จบตรงสาขา ๒ คน แล้วเชิญคนมีประสบการณ์ทางด้านนัน้ ๆ อีก ๒ คน ก็ช่วยเสริมกันมันเป็นสิ่งที่ดี สำ�หรับตัวนักศึกษานะ” นายภานุวตั รใคร่ครวญ นักศึกษา นิเทศศาสตร์ ปี ๓ สาขาวิชาภาพยนตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนนั ทากล่าวกับ‘กำ�แพงแดง’ว่าอยาก ให้มอี าจารย์ประจำ�ทีจ่ บทางด้านภาพยนตร์ จริงๆสักคนสองคนก็ยงั ดีเพราะอยากให้ เอกภาพยนตร์ดีขึ้น “วันนี้ยังรู้สึกว่าขาด คุณภาพ” ในขณะที่ นายสุทธิพนั ธ์ ชวศิลป นักศึกษานิเทศศาสตร์ ปี ๓ สาขาวิชา ภาพยนตร์ เห็นว่า ถ้าหลักสูตรใหม่จะ ต้องถูกปิดก็ไม่เป็นอะไร“แต่ถา้ กลับมาเปิด ใหม่ก็ขอให้พร้อมทั้งอาจารย์และอุปกรณ์ มันคงเป็นเรือ่ งทีด่ กี ว่า” ส่วนข่าวทีก่ �ำ ลังได้ อาจารย์ใหม่ นายสุทธิพนั ธ์ ชวศิลป์ กล่าวว่า เพือ่ น ๆ หลายคนยินดี แต่กห็ วังว่า จะเป็น ‘ครูหนัง’ อย่างเต็มที่ “ขอให้เขามีความเป็น คุณครูตดิ มาด้วยก็แล้วกัน เพราะคนทีจ่ ะ สอนคนได้นน้ั ไม่ใช่เรือ่ งง่ายๆ โดยเฉพาะ
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน ๒๕๕๔ การสอนคนทำ�หนัง มันต้องทุ่มเททั้งใจ” เลิศการแข่งขัน จะได้เงินรางวัลจากกอง ทุน ๑,๐๐๐ บาท รองชนะเลิศอันดับ ๑ ข่าว: นฤพนธ์ ชูชีพ ได้เงิน ๕๐๐ บาท รองชนะเลิศอันดับ ๒ กองทุนฯ ๓๐ ล้าน สั่นสะเทือน ได้เงิน ๓๐๐ บาท ประเภททีมตั้งแต่ ๒ คน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ขึน้ ไป ชนะเลิศ เงินรางวัลคนละ ๕๐๐ บาท ได้ก�ำ หนด ‘เกณฑ์การพิจารณาให้รางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๑ คนละ ๓๐๐ บาท แก่นักเรียนและนักศึกษาที่สร้างชื่อเสียง รองชนะเลิศอันดับ ๒ คนละ ๒๐๐ บาท นางสาวชญาภา แจ่มใส ผูอ้ �ำ นวย มาสู่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา พ.ศ. ๒๕๔๘’ โดยอาศัย ‘ระเบียบสภา การกองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ว่าด้วย ราชภัฎสวนสุนนั ทาเปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ กองทุนสวัสดิภาพและพัฒนานักศึกษา นับตัง้ แต่มหาวิทยาลัยฯ จัดตัง้ กองทุนฯ พ.ศ. ๒๕๔๘ ข้อ ๕ (๔) สนับสนุนส่งเสริม เมือ่ ปี ๒๕๔๘ มีนกั เรียนและนักศึกษาได้ นั กศึ ก ษาที่ส ร้ า งชื่อ เสี ย งด้ า นกิ จ กรรม รับรางวัลเพิ่มมากขึ้น จึงมีเหตุที่จะต้อง วิชาการ ดนตรี ศิลปะ และ (๖) สนับสนุน ปรับเปลี่ยนเพื่อให้สอดคล้องและสะดวก ส่งเสริมกิจกรรมของนักศึกษาในเรือ่ งการ กับการดำ�เนินงาน โดยเกณฑ์ใหม่ยงั คงให้ ประชุมสัมมนา การฝึกอบรม การศึกษาดูงาน รางวัลเหมือนเดิม แต่เพิม่ ในส่วนทีน่ กั เรียน การเข้าร่วมกิจกรรม การประกวด การแข่งขัน นักศึกษาจะได้รบั รางวัลด้านละไม่เกิน ๑ ครัง้ และการเข้าร่วมในโครงการเกีย่ วกับการ และเสนอขอรางวัลจากกองทุนฯ ได้เพียง ประดิษฐ์คดิ ค้นทางวิชาการ’เพือ่ นำ�ดอกผล ๑ ครัง้ ต่อภาคเรียนการศึกษาของปีลา่ สุด สองในกลุ่มเด็กสาธิต ผู้สั่น จากกองทุนก่อตัง้ ๓๐ ล้านบาท มาจัดสรร เป็นเงินรางวัลซึง่ ทีผ่ า่ นมา มีนกั เรียนและ สะเทือนกองทุน ๓๐ ล้าน คือเด็กหญิงลลิดา นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัย ธนวิจติ รพันธ์ ชัน้ มัธยมต้น และเด็กหญิง ได้รับรางวัลจากกองทุนเพิ่มมากขึ้นเป็น กัณฐกานต์ จิตวิไล ชั้นประถมต้น ซึ่ง ลำ�ดับ ต่อมานักเรียนสาธิตสวนสุนนั ทากลุม่ นายพิชัย นิยมธรรม อาจารย์ประจำ�วิชา หนึง่ ซึง่ มีความสามารถในการวาดภาพ ไป ศิลปศึกษา โรงเรียนสาธิตฝ่ายมัธยม แข่งขันชนะเลิศระดับชาติ กวาดเงินรางวัล มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนนั ทา เปิดเผย จากกองทุนฯ ค่าสร้างชือ่ เสียงให้มหาวิทยาลัย ‘กำ�แพงแดง’ ว่า ด.ญ. ลลิตา ธนวิจติ รพันธ์ กว่า ๑๗๒,๐๐๐ บาท ในขณะทีร่ างวัลของ ซึ่งชนะเลิศการประกวดวาดภาพระดับ นักศึกษาทุกคณะวิชาที่ไปชนะเลิศการ ประเทศและนานาชาติมาแล้ว ๙ ครัง้ ได้รบั แข่งขันด้านต่าง ๆ ก็ยงั มีมลู ค่ารวมไม่ถงึ และ เงินรางวัลจากกองทุนฯ คนเดียว ๕๐,๐๐๐ ล่าสุดนักเรียนสาธิตกลุ่มนี้ ไปชนะเลิศ บาท “แต่การทีจ่ ะได้รางวัลต่างๆ ก็ตอ้ งเกิด นานาชาติในระดับภูมภิ าคซึง่ เมือ่ พิจารณา จากการฝึกฝนให้ตัวเองเก่งขึ้นและต้อง ตามเกณฑ์แล้ว จะได้รบั เงินรางวัลจากกองทุนฯ แบ่ ง เวลาเรี ย นกั บ เวลาทำ � กิ จ กรรมว่ า เป็นมูลค่ารวมกันหลายแสนบาทมากกว่า สิ่ง ไหนสำ � คั ญ กว่ า กั น เป็ น อั น ดั บ แรก” ส่วน ด.ญ. กัณฐกานต์ จิตวิไล ดอกผลที่ได้รับต่อปี จึงส่งผลกระทบต่อ เงินกองทุน อันเนือ่ งมาจากการ ‘กินตัว’ ได้รบั เงินรางวัลจากกองทุนฯ ๓๙,๐๐๐ บาท อันจะทำ�ให้ดอกผลในปีต่อไปลดน้อยลง “เขามีการฝึกฝน และหัดวาดเป็นประจำ� เพราะเงินต้นลดลง คณะกรรมการกอง บางครั้งก็อ่านหนังสือพิมพ์และจำ�ภาพ ทุนฯ จึงมีมติทบทวนเกณฑ์การพิจารณา เหตุการณ์ต่างๆ มาวาด แต่ถ้ามีการบ้าน ให้ ร างวั ล แก่ นัก เรี ย นและนั ก ศึ ก ษาฯ ก็จะทำ�การบ้านให้เสร็จก่อน และมีเด็ก ผลการประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ที่ยังฝึกหัดอยู่หลายคน บางคนได้ ๒-๓ ครัง้ ล่าสุดเมือ่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๔ รางวัล แล้วแต่ความสามารถของเด็กและ ได้ กำ� หนดให้ นัก เรี ย นและนั ก ศึ ก ษามี การฝึกฝน” ข่าว: คมเดช นาบำ�รุง สิทธิขอรับเงินรางวัลที่สร้างชื่อเสียงแก่ มหาวิทยาลัย ดังนี้ (๑) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ประเภทบุคคล เงินรางวัล กิจกรรมบังคับเยอะเกินจำ�เป็น ๕,๐๐๐ บาท ประเภททีมตัง้ แต่ ๒ คนขึน้ ไป คนละ ๓,๐๐๐ บาท (๒) ด้านอนุรกั ษ์ แนวปฏิ บั ติ โ ครงการพั ฒ นา ศิลปวัฒนธรรมระดับประถมศึกษาและ ด้านบุคลิกภาพคุณธรรม จริยธรรม และ มัธยมศึกษา ประเภทบุคคล ชนะเลิศ เงิน สุขภาพนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ รางวัล ๕,๐๐๐ บาท รองชนะเลิศอันดับ ๑ สวนสุนนั ทา กำ�หนดให้นกั ศึกษาต้องเข้า เงินรางวัล ๓,๐๐๐ บาท รองชนะเลิศอันดับ ๒ ร่วมกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น เช่น เงินรางวัล ๒,๐๐๐ บาทประเภททีมตัง้ แต่ วันสงกรานต์ วันสำ�คัญของชาติ การบำ�เพ็ญ ๒ คนขึน้ ไปรางวัลชนะเลิศ คนละ ๓,๐๐๐ ประโยชน์ตามสถานที่ต่าง ๆ เป็นต้น บาทรองชนะเลิศอันดับ ๑ คนละ ๒,๐๐๐ หน่วยกิตทีน่ กั ศึกษาต้องเข้าร่วมกิจกรรม บาท รองชนะเลิศอันดับ ๒ คนละ ๑,๐๐๐ กรณีนักศึกษาชั้นปีที่ ๑ ต้องไม่ต่ำ�กว่า บาท (๓) ด้านวิชาการ ระดับประถมศึกษา ๖ กิจกรรม (๕๐หน่วยชัว่ โมง) ชัน้ ปีท่ี ๒ และ และมัธยมศึกษาประเภทบุคคล ชนะเลิศ ชัน้ ปีท่ี ๓ ไม่ต�ำ่ กว่าชัน้ ปีละ ๔ กิจกรรม เงินรางวัล๕,๐๐๐บาทรองชนะเลิศอันดับ๑ (๒๕ หน่วยชัว่ โมง) รวม ๑๐๐ หน่วยชัว่ โมง ได้เงิน ๓,๐๐๐ บาท รองชนะเลิศอันดับ ๒ (หน่วยกิต) ทัง้ สามชัน้ ปี ต้องทำ�กิจกรรม ได้เงิน๒,๐๐๐บาทประเภททีมตัง้ แต่ ๒ คน ภาคบังคับ ซึง่ เป็นกิจกรรมหลักทีน่ กั ศึกษา ขึน้ ไป ชนะเลิศ คนละ ๓,๐๐๐ บาท รอง จะต้องเข้าร่วมตามปฏิทินกิจกรรมที่ทาง ชนะเลิศอันดับ ๑ คนละ ๒,๐๐๐ บาท มหาวิทยาลัยประกาศตอนต้นปีการศึกษา รองชนะเลิศอันดับ ๒ คนละ ๑,๐๐๐ บาท และต้องทำ�กิจกรรมเลือกซึง่ สามารถเลือก และ (๔) ด้านกีฬาประเภทบุคคล ชนะ เข้าร่วมได้ตามความเหมาะสมโดยไม่ ติ ด
กำ�แพงแดง หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การเรียน ถ้าไม่ครบ ๑๐๐ หน่วยกิต จะถูก ประทั บ ตราบนใบแสดงผลการศึ ก ษา (transcript) ว่าไม่ผา่ นกิจกรรมอันจะเป็น อุปสรรคสำ�คัญในการสมัครงาน ซึ่งก็มี นักศึกษาที่ชั่วโมงกิจกรรมไม่ครบและ หวัน่ เกรงว่า จะถูก ‘ตีตรา’ บนทรานส์คริพท์ ตอนจบและจะมีปญ ั หาเวลาไปสมัครงาน หนึง่ ในนักศึกษาทีม่ ปี ญ ั หา คือ นายอัครพล จันทร์มศี รี ปี ๓ สาขาวิชาดนตรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนนั ทา ทีไ่ ม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรม ได้ครบเนื่องจากความจำ�เป็นส่วนตัวและ รูส้ กึ ว่ามีกจิ กรรมเยอะไป ซึง่ เมือ่ เทียบกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ ทีต่ ลอด ๔ ปี มีเพียง ๒๐ กิจกรรม เฉลีย่ ปีละ ๕ กิจกรรม ส่ ว นมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ บ้ า นสมเด็ จ เจ้าพระยากำ�หนดให้นกั ศึกษาปี ๑ ทำ� ๑๒ กิจกรรม แต่ปี ๒ และปี ๓ ก็เพียงตามเก็บ กิจกรรมทีย่ งั ไม่เคยทำ�ในปี๑ให้ครบเท่านัน้ จึงรู้สึกว่า ‘สวนสุนันทา’ มีกิจกรรมมาก เกินไป “เรามีเรื่องที่ต้องทำ�เยอะ อย่าง การบ้านงานพิเศษ เลยทำ�ให้พลาดการ เก็บหน่วยชัว่ โมงกิจกรรม บางกิจกรรม เราก็ไม่คอ่ ยรูเ้ รือ่ งว่ามีการจัดกิจกรรมนี”้ นายศุภฤกษ์ ทับไทร นักศึกษา ปี ๒ สาขาวิชานิตศิ าสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต เปิดเผย ‘กำ�แพงแดง’ ถึง กิจกรรมของ ‘สวนดุสิต’ ว่า มีไม่มากและ มีการแบ่งเวลาที่ไม่ทำ�ให้นักศึกษาปี ๑ ต้องกระทบกับการเรียน มหาวิทยาลัยฯ ไม่สนับสนุนให้มีกิจกรรมทับซ้อนกับ การเรียน กิจกรรมของมหาวิทยาลัยที่ นักศึกษารู้สึกว่าเยอะเกินไปจนมีปัญหา การทำ�ให้ครบนัน้ นายนิพนธ์ ชัยพฤษทล หัวหน้างานกิจกรรมนักศึกษา กองพัฒนา นักศึกษา มหาวิยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ชี้แจง ‘กำ�แพงแดง’ ถึงการจัดกิจกรรมว่า เริม่ มาตัง้ แต่ปี ๒๕๔๘ โดยมหาวิทยาลัยฯ ได้ออก ‘แนวปฏิบตั โิ ครงการพัฒนาด้าน บุคลิกภาพคุณธรรม จริยธรรม และ สุขภาพนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา’ โดยเน้น ๓ ด้าน คือภาษา เทคโนโลยี สารสนเทศ และคุณธรรม จริยธรรม ซึง่ แตกต่างจากทีอ่ นื่ กรณีทถี่ กู นั ก ศึ ก ษามองว่ า กิ จ กรรมเยอะเกิ น ไป นัน้ หัวหน้างานกิจกรรมนักศึกษาอธิบาย ว่า เพื่อช่วยให้นักศึกษามีโอกาสได้เลือก เข้า“ถ้าเราไม่ว่างกิจกรรมนี้ ก็สามารถ เข้ากิจกรรมอืน่ ได้ ไม่ได้แปลว่าจะต้องเข้า ทุกกิจกรรม อย่างกิจกรรมรับน้อง ถ้าน้อง ๆ เข้าก็ได้ ๑๒หน่วยกิต และอีกเล็กๆน้อยๆ ซึง่ มันไม่ใช่เรือ่ งยากทีจ่ ะผ่านกิจกรรม” กรณี ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สวนดุสติ มีกจิ กรรมน้อยกว่า หัวหน้างาน กิจกรรมนักศึกษาตอบ ‘กำ�แพงแดง’ ว่า ถ้าเทียบกันแล้วก็เท่า ๆ กัน ตนพยายาม จัดกิจกรรมให้หลากหลาย และเปิดโอกาส ให้นกั ศึกษาทีพ่ ลาดการเก็บหน่วยกิตจาก ปีก่อน ได้มาเลือกเก็บในปีนี้ และชี้แจง ปัญหาที่นักศึกษาส่งบัตรกิจกรรม แต่ หน่วยไม่ขน้ึ ตนกำ�ลังดำ�เนินการปรับปรุง ส่วนนักศึกษาบางคนที่ไม่รู้ว่ามีการจัด กิจกรรมก็มกี ารปรับแผนใหม่ อาจมีการ
ข่าวต่อ หน้า ๑๑ ส่งข้อความแจ้งเตือน มีป้าย inkjet ติด ตามคณะต่าง ๆ และยังมีป้าย LED ขนาด ใหญ่ติดอยู่หน้าตึกพยาบาล โดยจะจัด กิจกรรมให้พอกับจำ�นวนของนักศึกษา “และเราจะจัดกิจกรรมไม่ให้กระทบต่อ เวลาเรียนของนักศึกษาให้มากที่สุด” ข่าว: กันตพิชญ์ เล่ห์มงคล
สามเดือนปล่อยสุขาส่งกลิ่น เหตุ ก ารณ์ ฝ นตกน้ำ� ท่ ว มห้ อ ง เรียนและรัว่ ใส่หอ้ งบริการวิชาการ รวมทัง้ ห้องสุขาและห้องเรียนสกปรก เป็นสภาพที่ เกิดขึ้นในอาคาร ๕๖ คณะวิทยาการจัด การมา ๓ เดือนเต็ม ซึ่ง ดร. สมเดช รุ่ง ศรีสวัสดิค์ ณบดี ในฐานะเจ้าของสถานที่ ชี้แจง‘กำ�แพงแดง’ เรื่องบริการทำ�ความ สะอาดอาคาร โดยเฉพาะห้องน้ำ� ว่า เดิม มหาวิทยาลัยมอบหมายให้คณะดำ�เนิน การจึงสามารถกำ�กับดูแลคนทำ�ความ สะอาดได้โดยตรง ต่อมาฝ่ายบริหารของ มหาวิทยาลัยเห็นว่าการจัดซื้อจัดจ้างทั้ง หมดควรมาอยูท่ สี่ ว่ นกลาง จึงดึงกลับไป บริหารเอง มีการเปิดประมูลให้เอกชนเข้า มาแข่งขัน รายแรกอยู่ได้ไม่นานก็เลิก ไปรายถัดมามหาวิทยาลัยไม่เปิดประมูล แต่ใช้วธิ กี ารตกลงราคา ซึง่ ผลก็ไม่ตา่ งกัน เมื่อครั้งที่คณะฯ ดูแล เคยทำ�สัญญาให้ พนักงานทำ�ความสะอาดเริ่มงาน ๖ ถึง ๑๘ นาฬิกาแต่ที่มหาวิทยาลัยฯ จัดจ้าง เริม่ งาน ๗–๑๖ นาฬิกาอ้างว่าเพือ่ เป็นการ ประหยัดแต่แม้จะลดชัว่ โมงงาน ก็มคี น มาทำ�ความสะอาดไม่ครบตามจำ�นวนใน สัญญา และยังไม่สะอาดเหมือนเดิม “หลัง ๑๖ นาฬิกา เป็นช่วงที่ห้องสุขาสกปรก มากอาจารย์ นักศึกษาและบุคลากร เข้าใจว่าคณะฯ ไม่ดแู ลรับผิดชอบแต่ทจ่ี ริง ไม่ใช่ อำ�นาจในส่วนนีม้ หาวิทยาลัยเป็น ผู้ดูแล ยอมรับว่าลำ�บากใจ” คณบดีวิทยาการจัดการกล่าว ต่อว่า ทีป่ ระชุมคณะกรรมการประจำ�คณะ ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริหารคณะ และ ที่ป ระชุ ม กรรมการสโมสรนั ก ศึ ก ษามี มติให้คณะฯ แจ้งมหาวิทยาลัย และเพือ่ ให้ มีการแก้ไขโดยเร็ว ขอให้คณบดีไปหารือ กับฝ่ายบริหารของมหาวิทยาลัย ผลการ หารือก็คือ มหาวิทยาลัยจะดูแลการทำ� ความสะอาดห้องเรียนและห้องสุขาให้มี ประสิทธิภาพ อย่างอืน่ ไม่เปลีย่ นแปลง โดยหลัง ๑๖ นาฬิกา ทางคณะฯ จะจ้าง แม่บ้านทำ�งานล่วงเวลาด้วยงบประมาณ ของนักศึกษาภาคสมทบ เริ่มเมื่อ ๑ สิงหาคมที่ผ่านมา “หากการทำ�ความ สะอาดยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ทางคณะฯจะมีมติด�ำ เนินการจัดจ้างเอง” อีกปัญหาหนึง่ คือการบำ�รุงรักษา ห้องเรียนและอาคารสถานที่ ซึ่งขณะนี้ ชำ�รุดทรุดโทรมเกินเวลา อันเนือ่ งมาจาก ฝนตก น้ำ�รั่วซึมเข้ามาภายใน คณบดี วิทยาการจัดการ เปิดเผยว่า ตนมีอ�ำ นาจ อนุมตั งิ บประมาณไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท เกินกว่านัน้ เป็นอำ�นาจอธิการบดี จึงอยาก ให้มีการกระจายอำ�นาจในเรื่องการดูแล บำ�รุงรักษาอาคาร ผูส้ อ่ื ข่าวถามว่า ปัญหา ทีเ่ กิดขึน้ ตอนนีจ้ ะทำ�อย่างไร ได้รบั คำ�ตอบ ว่า เสนอไปแล้ว มหาวิทยาลัยอ้างว่ากำ�ลัง
ดำ�เนินการเขียนแบบโครงการซ่อมแซม กรณีการจัดจ้างเอกชนทำ�ความ สะอาด รศ. ดร. ณรงค์ พลอยดนัย รอง อธิการบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนนั ทา กล่าวกับ ‘กำ�แพง แดง’ ว่า เป็นการเข้าใจผิดทีม่ หาวิทยาลัยฯ ดึงงบจัดจ้างบริษัททำ�ความสะอาด “แต่ มหาวิทยาลัยให้คณะฯ ส่งเงินคืนมายัง กองกลาง เพราะการที่ต่างคนต่างจ้าง ทำ�ให้เกิดปัญหาหลายอย่าง เช่น อัตราค่าจ้างทีต่ า่ งกันของแต่ละคณะ ซึง่ ตามระเบียบพัสดุ มหาวิทยาลัยเดียวกัน ควรจะมีอตั ราค่าจ้างของแต่ละคณะเท่ากัน หรือปัญหาจำ�นวนคนทำ�ความสะอาดทีเ่ รา โดนหลอกด้วยวิธกี ารทีบ่ ริษทั หมุนคนจาก คณะอืน่ มาใช้ เมือ่ จำ�นวนคนไม่พอ บาง คณะไม่สามารถควบคุมคนทำ�ความสะอาดได้ เราจึงต้องทำ�การคัดเลือกบริษทั ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ใหม่ โดยมีเงื่อนไขห้ามรับคนทำ�ความ สะอาดเก่ามาทำ�งานเกินสีส่ บิ คน” ส่วนงบประมาณที่นำ�มาใช้ใน การจัดจ้าง รองอธิการบดีฝา่ ยบริหาร ‘สวนสุนนั ทา’ กล่าวว่า ส่วนหนึง่ มาจาก ค่าลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาทีต่ ดั เข้า กองกลางร้อยละ ๒๐ เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย ของมหาวิทยาลัย ทีร่ วมงบซ่อมบำ�รุง อีก ร้อยละ ๘๐ ให้คณะบริหารจัดการ อัน เป็นส่วนทีใ่ ช้ในการจัดจ้างเอกชนทำ�ความ สะอาด และเป็นส่วนทีใ่ ห้คณะส่งเงินคืน มายังกองกลางตามอัตราทีไ่ ด้วา่ จ้าง และ ตนไม่เห็นด้วยที่คณะวิทยาการจัดการ จะจัดจ้างแม่บ้านมาทำ�งานล่วงเวลาใน ช่วงเย็น เนื่องจากการทำ�ความสะอาด หลัง ๑๖ นาฬิกา ถึง ๒๐ นาฬิกา ยังคง มีนักศึกษาภาคสมทบเรียนอยู่ แม่บ้าน ไม่ส ามารถเข้ า ไปทำ � ความสะอาดได้ “แล้วเพราะอะไรเราจึงจะต้องนำ�เงินของ นักศึกษาไปเสียเป็นค่าจ้างด้วย หากให้ แม่บา้ นเข้าทำ�งานเจ็ดโมงเช้า เลิกสีโ่ มงเย็น แล้วเข้าทำ� OT (overtime) หกโมงเย็น เลิก สามทุม่ ยังจะเหมาะสมเสียกว่า เพราะ นักศึกษาภาคสมทบเรียนเสร็จสองทุ่ม แม่บา้ นมีเวลาทำ�ความสะอาดหนึง่ ชัว่ โมง” ประเด็นความไม่โปร่งใสงบจัด จ้างเอกชนทำ�ความสะอาดนั้น รศ. ดร. ณรงค์ พลอยดนัย ยืนยันว่าไม่มีใคร สามารถทุจริตเงินส่วนนี้ได้ เพราะมี หลักฐานทีเ่ ป็นเอกสารและตัวเงินชัดเจน ส่วนงบประมาณบำ�รุงรักษาอาคาร เป็น เรื่องของฝ่ายอาคารสถานที่ ใช้เงินจาก ค่าลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาทีต่ ดั เข้า กองกลางร้อยละ ๒๐ กรณีอาคารคณะ วิทยาการจัดการที่ต้องมีการซ่อมแซม สาเหตุมาจากการที่คณะฯ ไปจัดการต่อ เติมกันเอง จึงทำ�ให้เกิดปัญหาน้ำ�ท่วม อาคารร้าว จนถึงทุกวันนี้ “เป็นทีน่ า่ สงสัย กว่าว่า มีอะไรหรือไม่ เพราะเหตุใดทีจ่ ะ ต้องไปจัดการซื้อเอง ทำ�เอง” อนึ่ง ณ ขณะปิดข่าว (๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๔) ยังไม่มีการดำ�เนินงาน ใด ๆ จากทางมหาวิทยาลัย ยิ่งทำ�ให้ อาคารทรุดโทรมเร็วขึน้ เนือ่ งจากปัญหา น้ำ � ท่ ว มขั ง ในขณะที่ ห้ อ งสุ ข าก็ ไ ม่ ไ ด้ มี ความสะอาดแต่อย่างใด ข่าว: ภัทรา สาหร่ายรักษ์
กำ�แพงแดง หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน้า ๑๒ ปิดข่าว
“ไม่อนุมัติจนกว่าจะรู้ว่านอกระบบดีอย่างไร” กร ทัพพะรังสี นายกสภาฯ ‘สวนสุนันทา’
การเร่งเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ (นอกระบบ) ของผูบ้ ริหารมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา แบบไม่เปิดทำ�ประชาพิจารณ์ประชาคม โดยเฉพาะ นั ก ศึ ก ษาซึ่ ง เป็ น ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย กลุ่ ม ใหญ่ ที่ สุ ด ในมหาวิ ท ยาลั ย ซึ่งถูกอ้างว่าไม่เกี่ยว ได้ก่อให้เกิดปฏิกริยาต่อต้านทัว่ มหาวิทยาลัยขึน้ แล้ว
ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒๖ ประจำ�เดือนกันยายน ๒๕๕๔
เมือ่ วันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๔ เวลา ประมาณ ๑๒ นาฬิกา นักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา และตัวแทนนักศึกษาจาก มหาวิทยาลัยอื่น (ไม่เปิดเผยชื่อมหาวิทยาลัย) ได้รวมตัวกันกว่า ๕๐๐ คน นำ�โดยนายกานต์พล เรืองอร่าม ประธานสภานักศึกษา ยืน่ แถลงการณ์ คัดค้านการออกนอกระบบต่อนายกร ทัพพะรังสี นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา หลังรับหนังสือ นายกรได้ให้แง่คิดแก่นักศึกษา
ว่า แทนที่จะพูดว่า ไม่อยากนออกนอกระบบ ทำ�ไมไม่ตั้งคำ�ถามกับผู้บริหารว่า ถ้าออกนอก ระบบแล้ว วิถีชีวิตของนักศึกษาจะดีขึ้นตรง ไหน อยู่นอกระบบดีกว่าระบบอย่างไร ดีกว่า จริงหรือ “การออกนอกระบบจะไม่เกิดขึ้น ถ้า สภามหาวิทยาลัยฯ ไม่อนุมตั ิ และจะไม่อนุมตั ิ จนกว่านายกสภาฯ จะรู้ว่าออกนอกระบบดี อย่างไรเพราะตอนนีย้ งั ไม่รู้ การออกนอกระบบ เป็นเรื่องไกลตัว” ในระหว่างนัน้ นายประพจน์ ณ บางช้าง จากสภาคณาจารย์และข้าราชการ ได้เข้าร่วม ยื่นแถลงการณ์แสดงจุดยืนของคณาจารย์และ ข้าราชการ และยังได้ยื่นจดหมายให้ตรวจสอบ การจ้างอดีตข้าราชการมหาวิทยาลัยฯ ทีเ่ กษียณ อายุรับเงินบำ�นาญ แต่ยังมีการจ้างกลับเข้ามา กินเงินเดือน ซึง่ เป็นเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย อีก ๙๐,๐๐๐ บาท จากนั้น เวลาประมาณ ๑๔ นาฬิกา ๓๐ นาที กลุ่มนักศึกษาได้เคลื่อนขบวน จากมหาวิทยาลัยไปยังรัฐสภา เพื่อยื่นหนังสือ ต่อนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ขอให้รัฐบาลทบทวนแนวทางการผลักดันให้ มหาวิทยาลัยเร่งออกนอกระบบ นายกานต์พล เรืองอร่าม ประธานสภา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กล่าวกับ ‘กำ�แพงแดง’ ถึงสาเหตุของการออกมาเรียกร้อง ว่า ต้องการเรียกร้องสิทธิเสรีภาพของนักศึกษา ซึ่งตอนนี้ถูกคุกคาม ลิดรอนสิทธิ รวมถึงกีดกัน การรับรูข้ า่ วสาร ไม่วา่ จะทางตรงหรือทางอ้อมจาก อาจารย์และผูบ้ ริหารระดับสูงทีม่ อี �ำ นาจเหนือกว่า และเพือ่ แสดงเจตนารมณ์ของนักศึกษาว่าไม่เห็น ด้วยกับการนำ�มหาวิทยาลัยออกนอกระบบ ข่าว: กีรติ น้อยกมล/ ภาพ: โสภณ เสริมสวัสดิ์
กองบัญชาการกองทัพไทย
FARMACHINE TECHNOLOGY Co.,Ltd.
ROYAL THAI ARMED FORCES HEADQUARTERS เป็นองค์กรหลักที่สร้างความเชื่อมั่นศรัทธาในการป้องกันประเทศจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ
เลขที่ ๑๒๗ หมู่ ๓ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐ www.rtarf.mi.th
881 Moo 5 Kanchanapisak RD., Laksong Bangkae Bangkok 10160 Thailand Tel (662)-455-5810-11, Fax (662)-455-5829