Sustainability
ปกป้องสิง ่ แวดล้อม
ด้วยการปลูกป่าชายเลน การอนุรก ั ษ์สง ิ่ แวดล้อมคือหลักยุทธศาสตร์ดา้ นความยัง ่ ยืนของ พี ซี เอส ประเทศไทย ภายใต้แนวทางการฟื้ นฟู สู่โลกสีเขียว เราได้เพิ่ ม การสนับสนุนนโยบายด้านความยัง ่ ยืนสีเ่ สาหลักอันประกอบไปด้วย การ ขับเคลื่อนทางสังคม การปกป้องสิ่งแวดล้อม การรายงานปริมาณ คาร์บอน รวมไปถึงการสื่อสารเรื่องดังกล่าวและเรื่องอื่น ๆ อย่าง โปร่งใสและชัดเจน ปัจจุบน ั เรากําลังยกระดับมาตรการการอนุรก ั ษ์และดูแลสิง ่ แวดล้อม รวมถึงลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพื่ อขับเคลื่อน เป้าหมายด้านความยั่งยืนของเราให้ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง
โดยมี
“ บริษัทของเราขอทําหน้าที่รับผิด
ชอบต่ อ สั ง คมด้ ว ยการอนุ รั ก ษ์ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละยั บ ยั้ ง ภาวะโลกร้อน - เจมส์ เจสซัป
”
คุณ เจมส์ เจสซัป เป็นผู้นําด้านนโยบายดังกล่าว “บริษัทของเราขอทําหน้าที่รับผิดชอบต่อสังคมด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและยับยั้งภาวะโลกร้อน“ คุณเจมส์กล่าว “เพราะนี่นับ เป็นวิกฤตที่ส่งผลกระทบต่อทุกคนทั่วโลก“ เราได้ดําเนินมาตรการต่าง ๆ มากมายเพื่ อพั ฒนาให้ พี ซีเอส เป็นองค์กรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น โดยประกอบไปด้วยการติดตั้ง แผงโซลาร์เซลล์ การใช้พลังงานอย่างประหยัด และลดการใช้พลาสติก นอกจากนี้ เรายังเชื่อมั่นในสร้างประโยชน์ท่ย ี ั่งยืนภายนอกองค์กรอีก ด้วย บริษัทของเราจึงได้เดินทางไปปลูกป่าชายเลนเพื่ อฟื้ นฟู พรรณพื ช สัตว์ชนิดต่าง ๆ รวมไปถึงส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้คนในท้องถิ่น
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชายฝั่ง ชุมชน และระบบนิเวศท้องถิ่น เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2564 เพื่ อนพนักงานของเราจํานวน 100 คนได้ร่วมมือกันปลูกป่าชายเลนจํานวน 300 ต้น ที่ อําเภอ บางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา อาสาสมัครทุก ๆ คน จากพี ซีเอสเดิน ลุยผ่านหนองนํ้าและดินโคลนท่ามกลางแสงแดดจ้า ทํางานเคียงบ่า เคียงไหล่กับเจ้าหน้าที่จากกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งแห่ง ่ ายฝั่งทะเลทีแ ่ สนเปราะบางเหล่านี้ ประเทศไทย เพื่ อช่วยอนุรก ั ษ์พ้ื นทีช ป่าชายเลนมีบทบาทสําคัญในการปกป้องสิ่งแวดล้อม เปรียบเสมือน ่ ด เป็นหัวใจของระบบนิเวศและมีความหลากหลายทางชีวภาพมากทีส ุ ใน โลก ป่าชายเลนเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตนานาชนิดที่เสี่ยง สูญพั นธุ์
พื้ นที่สีเขียวเหล่านี้ทําหน้าที่เป็นแหล่งอนุบาลและบ้านพั ก
ของพื ชและสัตว์หลากหลายชนิด เช่น ลิง เสือ และสัตว์นา้ํ เปลือกแข็ง ต่าง ๆ ดังนั้น ป่าชายเลนจึงกลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ที่เปิดโอกาสให้นักเดินทางสามารถเข้ามาศึกษาชีวิตของสัตว์หายาก และน่าสนใจได้อย่างใกล้ชิด
่ ําเป็นต่อ ใบและรากของต้นโกงกางในป่าชายเลนยังมอบสารอาหารทีจ การหล่อเลี้ยงชีวิตทั้งบนบกและในทะเล
ซึ่งช่วยทําให้มีปลาจํานวน
มากพอต่อการทําประมงในภูมภ ิ าคเขตร้อนอีกด้วย ป่าชายเลนจึงถือ ว่ า เป็ น กระดู ก สั น หลั ง ของเศรษฐกิ จ ทั้ ง ในระดั บ ท้ อ งถิ่ น และระดั บ ภูมิภาคเลยทีเดียว นอกจากนี้ ต้นโกงกางยังช่วยลดปริมาณของก๊าซคาร์บอนไดออก ไซด์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ป่าชายเลนในจังหวัดฉะเชิงเทราสามารถ ดักจับคาร์บอนไดออกไซด์ได้มากถึงประมาณ 9 ตันต่อไร่ นอกจากนี้ ป่าชายเลนยังช่วยปกป้องแนวชายฝั่งจากการกัดเซาะและสึกกร่อน รวมถึงช่วยปกป้องชุมชนท้องถิ่นจากภัยนํ้าท่วม
พายุเฮอริเคน
และสึนามิ ด้วยเหตุนี้
ถึงแม้ต้นกล้าโกงกางแต่ละต้นที่เราลงมือปลูกอาจจะดู
เล็กจ้อย
แต่แท้จริงแล้วกลับมีบทบาทสําคัญในการต่อสู้กับการ
เปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศเช่นกัน
การดําเนินธุรกิจอย่างยัง ่ ยืนเพื่ ออนาคต ที่ดีกว่า พี ซีเอส
ประเทศไทย
ได้ร่วมมือกันปลูกป่าชายเลนในครั้งนี้เพื่ อ
ปกป้องและอนุรก ั ษ์สง ิ่ แวดล้อม ระบบศ และชุมชนในจังหวัดฉะเชิงเทรา ในระยะยาวแล้ว แต่เรายังต้องการสร้างประโยชน์สู่สังคมให้ผลลัพธ์ นั้นจับต้องได้จริง
ไม่ใช่เพี ยงฉาบฉวยหรือลงมือทําแค่ครั้งเดียว
แล้วจากไป
วมมือกับผู้นําชุมชนท้อง “ เราจะร่ ถิ่ น และหน่ ว ยงานภาครั ฐ ต่ อ ไป เพื่ อรักษาทัง ้ ผืนป่าชายเลนและสาย สัมพั นธ์ท่ีพวกเราได้สร้างขึ้นไว้ ด้วยกัน - นิธินันท์ ธรรมหทัย
คุณ นิธินันท์ ธรรมหทัย ผู้นําฝ่ายการอนุรักษ์ส่ง ิ แวดล้อม ตั้งใจว่า
”
พี ซี เ อสจะกลั บ มาอี ก ครั้ ง ในปี ห น้ า เพื่ อดู แ ลรั ก ษาผื น ป่ า ชายเลนนี้ ที่เพื่ อนพนักงานได้ร่วมมือกันปลูกเอาไว้ “เราจะร่วมมือกับผู้นําชุมชนท้องถิ่นและหน่วยงานภาครัฐต่อไป เพื่ อ รั ก ษาทั้ ง ผื น ป่ า ชายเลนและสายสั ม พั นธ์ ท่ี พ วกเราได้ ส ร้ า งขึ้ น ไว้ ด้วยกัน” คุณนิธินันท์กล่าว
โครงการที่กําลังดําเนินอย่างต่อเนื่องนี้สอดคล้องกับค่านิยมของ พี ซีเอส ประเทศไทย ที่ต้องการขับเคลื่อนนโยบายด้านความยั่งยืน ให้เป็นรูปธรรม
องค์กรของเรามุ่งมั่นที่จะส่งมอบประสบการณ์และ
บริการที่ดีเยี่ยมให้กับลูกค้าและสังคมส่วนรวมอยู่เสมอ หากต้องการทราบข้อมูลเพิ่ มเติมว่าพี ซเี อสได้ดําเนินการสร้างอนาคต ที่ดีกว่าอย่างไร คลิกที่น่ี