โครงการออกแบบรีสอร์ทที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ กรณีศึกษา Eco Resort หาดคลองม่วง จังหวัดกระบี่ อรกัญญา เอกสกุลกล้า วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์ ปีการศึกษา ๒๕๖๒
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
บทคัดย่อภาษาไทย จังหวัดกระบี่มีศักยภาพทางการท่องเที่ยวในหลายด้าน ทั้งทางทะเล ทางธรรมชาติ และทางประวัติศาสตร์ ที่สามารถดึงนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยเเละชาวต่างชาติให้เข้ามาเยือน จังหวัดกระบี่ได้จ�ำนวนมาก ท�ำให้ด้านการท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่เติบโตขึ้นเป็นอันดับ ๔ ของ ประเทศ เเละเป็นอันดับ ๒ ทางภาคใต้ จึงอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งเเวดล้อมขึ้นได้จากการ ท่องเที่ยวเเละธุรกิจในรูปเเบบของโรงเเรม รีสอร์ท ปัจจุบันความยั่งยืนทางการท่องเที่ยวเป็นประเด็นส�ำคัญที่ทั่วโลกต่างให้ความสนใจ เรื่องของความยั่งยืนของการท่องเที่ยว รวมไปถึงความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ โดยที่นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อม จึงได้เกิด กลุ่มนักท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ขึ้นเรียกว่า ecotourism นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ให้เกิดควาสมดุลระหว่างการรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติกบั ความต้องการของการท่องเที่ยว ซึ่งนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ (ecotourism) จะสร้างแนวคิดใหม่ในการท่องเที่ยวมากขึ้น ซึ่งเกีย่ วข้อง กับการเลือกสถานที่ ท่องเทีย่ ว ประเภทของทีพ่ กั รวมถึงการบริการและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ในระหว่างการท่องเที่ยว โครงการออกเเบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อม จังหวัดกระบี่จึงมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและการให้บริการรีสอร์ทที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ศึกษาความต้องการของนักท่องเทีย่ วเชิงระบบนิเวศน์ (ecotourism) เเละกิจกรรมส�ำหรับรีสอร์ท ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ที่จะสร้างผลกระทบหรือมลพิษต่อธรรมชาติให้น้อยที่สุด เพื่อให้ ธรรมชาติยังคงมีความอุดมสมบูรณ์ โดยมีเป้าหมายในการออกแบบเพื่อความยั่งยืนทั้งในด้าน มิติ สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
ABSTRACT Krabi Province, Thailand is a potential hub location for tourism business including marine, nature and history that can attract a sizeable number of Thai and foreign tourists to visit Krabi Province. According to the fact, tourism in Krabi province has regarded as the 4th largest city in the country and second in the southern region in tourist business, as the result it may cause environmental impact from tourism and business in the form of resort or hotel. Recently, tourism sustainability is a key concerning issue in the world, it is believed that the tourist shall involve in tourism sustainability including but not limited to, economic sustainability, social and culture preservation and the natural environment care for environmental protection. Therefore, a new group of tourists is called ecotourism. This group of tourists aims to create a balance between preserving the natural environment and the needs of tourism. Ecotourism has its purpose to create new concepts in tourism which involves in selecting tourist attractions, types of accommodation including services and various activities that occur during tourism. These all are for the objective of searching the proper design and service guidelines of the resort that is friendly to environment. The key purpose of this thesis is to study the behavior and needs of ecotourism and to propose guidelines for designing buildings, services and activities for the result of having environmentally friendly resorts. The result of this thesis is aimed to create environmentally friendly resorts to impact or produce a pollution to nature at the slimmest percentage so that nature remains abundant due to the goal of designing for sustainability.
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ส�ำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ด้วยการได้รับความกรุณาเป็นอย่างสูงจาก หม่อมหลวงวรุตม์ วรวรรณ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก อาจารย์ประยงค์ โพธิ์ศรีประเสริฐ อาจารย์ทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์รว่ ม อาจารย์รชั ดาพร คณิตพันธ์ ผูอ้ ำ� นวยการหลักสูตรสถาปัตยกรรม ศาสตรบัณฑิต เเละอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน ที่ให้ความช่วยเหลือเเละสละเวลาให้ค�ำเเนะน�ำ ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ขอขอบคุณอาจารย์ที่ปรึกษาทั้งสองอีกครั้ง ขอบพระคุณพี่วินที่รับเป็นที่ปรึกษาให้กับ การท�ำวิทยานิพนธ์ของเบสท์ในครั้งนี้ ที่มอบประสบการณ์ที่ดีให้เเละเเนะน�ำให้ลองคิดลองท�ำสิ่ง ใหม่ๆ ท�ำให้โปรเจคนี้เป็นโปรเจคที่สนุกมากๆค่ะ ถึงเเม้ระหว่างทางในการออกเเบบนั้นจะเเอบ เหนื่อยไปบ้าง เเต่พี่วินก็ยังค่อยกระตุ้นค่อยส่งก�ำลังให้เบสท์ระหว่างทางมาเรื่อยๆจนจบโปรเจค ซึ่งเป็นความทรงจ�ำที่ดีกับการท�ำวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้เเละเบสท์จะเก็บประสบการณ์เเละความ รู้ที่ได้รับไปใช้ต่อในอนาคต เเละขอบพระคุณอาจารย์ตึ๊งอาจารย์ที่ปรึกษาภายในที่รับเป็นที่ ปรึกษาการท�ำวิทยานิพนธ์นี้ อาจารย์คอยให้ค�ำปรึกษาเบสท์ตั้งเเต่เริ่มคิดหัวข้อวิทยานิพนธ์ หา ที่ตั้งโครงการ ถึงเเม้จะโดนดุบ้างเเต่อาจารย์ก็จะคอยช่วยจับประเด็นเเละชี้ทางให้ว่าควรท�ำ อะไรต่อไปจนเป็นวิทยานิพนธ์ที่สมบรูณ์ ขอบพระคุณอาจารย์ธีรพล นิยม ที่ให้ความเมตตากรุณา เสียสละเวลาให้ความรู้อัน เป็นประโยชน์ตลอด ๕ ปีที่ผ่านมา เเละมอบประสบการณ์ที่ดีเเก่การเรียนรู้ทั้งในเเละนอก ห้องเรียน อีกทั้งยังส่งก�ำลังใจเล็กๆด้วยประโยค “สู้ๆ คุณท�ำได้อยู่เเล้ว” กลับกลายเป็นก�ำลังใจที่ ยิ่งใหญ่ที่ท�ำให้เบสท์ผ่านอุปสรรคทางใจไปได้ เเละอยากท�ำผลงานออกมาให้ดีที่สุด ขอบพระคุณอาจารย์ขนุน อาจารย์ท่ีสอนมาตั้งเเต่ปี ๑ ด้วยความรักความห่วงจาก อาจารย์ถึงเเม้จะไม่ใช่ที่ปรึกษาหลัก เเต่อาจารย์ยังคอยดูเเลคอยถามไถ่ ป้อนข้อมูลความรู้ ต่างๆให้การท�ำวิทยานิพนธ์ของเบสท์ในครั้งนี้ เเละเป็นเเรงผลักดันที่ท�ำให้เบสท์ตั้งใจเเละตั้งมั่น ที่จะท�ำวิทยานิพนธ์นี้ออกมาให้ดีที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ ขอบคุณพี่โทที่ให้ค�ำปรึกษาต่างๆในด้านของโรงเเรมรีสอร์ท เรื่องการจัดการ การศึกษา โรงเเรมคู่เเข่ง ความเป็นไปได้ของโครงการ เเละยังได้เเนวคิดดีๆ ที่ท�ำให้โครงการนี้มีความชัดเจน มากขึ้น ขอบคุณครอบครัวที่ให้การสนับสนุน ความห่วงใย ซึ่งเป็นก�ำลังใจที่ดีที่สุดเสมอมา เนื่องจากช่วงเวลาการท�ำวิทยานิพนธ์เป็นช่วงที่โควิดระบาดท�ำให้ต้องท�ำงานที่บ้าน เมื่อคนใน ครอบครัว เห็นเราท�ำงานหนักก็พยายามที่จะยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือในสิ่งที่พอจะช่วยได้ เช่น ช่วยท�ำฐานโมเดล ท�ำต้นไม้ หรือนั่งอยู่ดึกๆเป็นเพื่อน ซึ่งเป็นทั้งก�ำลังเเรงเเละก�ำลังใจที่ดีที่สุดใน ชีวิต
อรกัญญา เอกสกุลกล้า
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
สารบัญ บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญรูปภาพ สารบัญตาราง บทที่ ๑ บทน�ำ
๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔ ๑.๕
ความเป็นมาของโครงการ................................................................................๘ เป้าหมายเชิงคุณค่าของโครงการ.....................................................................๘ วัตถุประสงค์ของโครงการ...............................................................................๙ ขอบเขตของโครงการ......................................................................................๙ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ..............................................................................๙
บทที่ ๒ เกณฑ์ในการออกแบบโครงการ
๒.๑ ทฤษฎีและเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องในการออกแบบโครงการ..................................๑๐ ๒.๑.๑ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจโรงแรม................................๑๐ ๒.๑.๒ แนวคิดและทฤษฎีมาตรฐานของโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Hotel).............................................................................................๑๑ ๒.๑.๓ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับศึกษาแนวคิดและองค์ประกอบ เพื่อความยั่งยืน.............................................................................................๑๒ ๒.๑.๔ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับ การออกเเบบอาคารประหยัดพลังงาน...........๑๓ ๒.๒ กฎหมายและเทศบัญญัติที่เกี่ยวข้อง.............................................................๑๖
บทที่ ๓ การวิเคราะห์ที่ตั้งของโครงการ
๓.๑ ๓.๒ ๓.๓ ๓.๔
วิเคราะห์ท�ำเลที่ตั้งโครงการ..........................................................................๑๘ ความเป็นไปได้ในการลงทุนของโครงการ......................................................๑๘ กรณีศึกษาวิเคราะห์โครงการใกล้เคียง..........................................................๑๙ วิเคราะห์สถานที่ตั้งโครงการ.........................................................................๒๑
๔.๑ ๔.๒ ๔.๓ ๔.๔
รายละเอียดโครงการด้านบริหาร..................................................................๒๕ วิเคราะห์ผู้เข้าใช้โครงการ..............................................................................๒๖ รายละเอียดกิจกรรมในโครงการ...................................................................๒๘ วิเคราะห์พื้นที่ใช้สอยของโครงการ................................................................๒๙
บทที่ ๔ รายละเอียดโครงการ
บทที่ ๕ กรณีศึกษาวิเคราะห์อาคารประเภทเดียวกัน
๕.๑ อาคารกรณีศึกษาภายในประเทศ.................................................................๓๐ ๕.๒ อาคารกรณีศึกษาในต่างประเทศ..................................................................๓๑
บทที่ ๖ ผลงานการออกแบบ
๖.๑ แนวความคิดในการออกแบบ...........................................................................๓๒ ๖.๒ ผลงานการออกเเบบขั้นสมบรูณ์.......................................................................๓๘
บรรณานุกรม.................................................................................................................๗๒
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
สารบัญรูปภาพ บทที่ ๑ บทน�ำ
บทที่ ๖ ผลงานการออกแบบ
รูปที่ ๑.๑.๑ ทัศนียภาพจังหวัดกระบี่......................................................................๘ รูปที่ ๑.๑.๒ ทัศนียภาพจังหวัดกระบี่......................................................................๘ รูปที่ ๑.๑.๓ ทัศนียภาพจังหวัดกระบี่......................................................................๙
บทที่ ๒ เกณฑ์ในการออกแบบโครงการ
รูปที่ ๒.๑.๔.๑ รูปที่ ๒.๑.๔.๒ รูปที่ ๒.๑.๔.๓ รูปที่ ๒.๑.๔.๔ รูปที่ ๒.๑.๔.๕ รูปที่ ๒.๑.๔.๖ รูปที่ ๒.๒.๑
แผนภาพเเสดงการระบายอากาศ (Ventilation)..............................๑๓ แผนภาพเเสดงการสร้างร่มเงา (Shading).......................................๑๓ เเผนภาพเเสดงการอาศัยแสงสว่างจากธรรมชาติ (Daylighting)......๑๔ แผนภาพเเสดงการไหลเวียนของอากาศรอบ ๆ ตัวอาคาร..............๑๔ แผนภาพเเสดงการเปรียบเทียบความเร็วอากาศภายในห้อง...........๑๔ แผนภาพเเสดงการก�ำหนดทิศทางลมด้วยต้นไม้..............................๑๕ ผังเมืองรวมการใช้ประโยชน์ที่ดินจังหวัดกระบี่................................๑๖
บทที่ ๓ การวิเคราะห์ที่ตั้งของโครงการ
รูปที่ ๓.๑.๑ รูปที่ ๓.๓.๑ รูปที่ ๓.๓.๒ รูปที่ ๓.๔.๑ รูปที่ ๓.๔.๒
รูปที่ ๓.๔.๓ รูปที่ ๓.๔.๔ รูปที่ ๓.๔.๕ รูปที่ ๓.๔.๖ รูปที่ ๓.๔.๘ รูปที่ ๓.๔.๙ รูปที่ ๓.๔.๑๐ รูปที่ ๓.๔.๑๑ รูปที่ ๓.๔.๑๒ รูปที่ ๓.๔.๑๓
เเสดงต�ำเเหน่งจังหวัดกระบี่บนเเผนที่ประเทศไทย...........................๑๘ ภาพเเสดงต�ำเเหน่งโรงเเรมที่จะศึกษา..............................................๑๙ ภาพโรงเเรมกรณีศึกษาต่างๆ............................................................๑๙ เเเสดงต�ำเเหน่งที่ตั้งโครงการ หาดคลองม่วง จังหวัดกระบี่..............๒๑ เเผนภาพเเสดงต�ำเเหน่งร้านอาหารบริเวรหาดคลองม่วง (ซ้าย) เเผนภาพเเสดงต�ำเเหน่งโรงเเรมบริเวรหาดคลองม่วง (ขวา)..............๒๒ เเผนภาพแสดงมุมมองของโครงการ.................................................๒๒ มุมมอง A..........................................................................................๒๒ มุมมอง B..........................................................................................๒๒ มุมมอง C..........................................................................................๒๒ มุมมอง D.........................................................................................๒๓ มุมมอง E..........................................................................................๒๓ site contour...................................................................................๒๓ Sun & Wind diagram....................................................................๒๓ รูปต�ำเเหน่งต้นใหญ่เดิมภายในโครงการ...........................................๒๔ รูปต้นไม้ใหญ่ภายในโครงการ...........................................................๒๔
บทที่ ๔ รายละเอียดโครงการ
รูปที่ ๔.๑.๑ ผังโครงสร้างการบริหารจัดการพนักงานของรีสอร์ท.........................๒๕ รูปที่ ๔.๒.๑ เเสดงเเผนผังประเภทกลุ่มนักท่องเที่ยว............................................๒๖
บทที่ ๕ กรณีศึกษาวิเคราะห์โครงการที่ใกล้เคียง
รูปที่ ๕.๑.๑ รูปภาพกรณีศึกษาโครงการ PHULAY BAY......................................๓๐ รูปที่ ๕.๑.๑ รูปภาพกรณีศึกษาโครงการ MAYA UBUD......................................๓๑
รูปที่ ๖.๑.๑ ภาพเเสดงการเชื่อมโยงองค์ประกอบ Holistic Approoach..........................๓๒ รูปที่ ๖.๑.๑.๑ ภาพบรรยากาศหมู่บ้านชาวประมง.................................................................๓๓ รูปที่ ๖.๑.๑.๒ เเสดงต�ำเเหน่งหมู่บ้านชาวประมง...................................................................๓๓ รูปที่ ๖.๑.๑.๓ เเสดงต�ำเเหน่งหมู่บ้านนาตีน...........................................................................๓๔ รูปที่ ๖.๑.๑.๔ ภาพบรรยากาศ เเละผลิตภัณฑ์ชุมชนหมู่บ้านนาตีน.......................................๓๔ รูปที่ ๖.๑.๑.๕ ภาพบรรยากาศ เเละผลิตภัณฑ์ชุมชนหมู่บ้านเกาะกลาง................................๓๕ รูปที่ ๖.๑.๑.๖ เเสดงต�ำเเหน่งหมู่บ้านเกาะกลาง.....................................................................๓๕ รูปที่ ๖.๒.๑.๗ ภาพมุมมองภาพรวมส่วนที่พัก.........................................................................๓๗ รูปที่ ๖.๑.๑.๘ เเผนภาพการตีความพื้นที่ต่างๆจากชุมชน.......................................................๓๘ รูปที่ ๖.๒.๑ Zonning..........................................................................................................๓๙ รูปที่ ๖.๒.๒ Master plan..................................................................................................๔๐ รูปที่ ๖.๒.๓ ภาพมุมมองภายในห้องรับรอง........................................................................๔๑ รูปที่ ๖.๒.๔ ผังอาคารส่วน ห้องรับรอง เเละออฟฟิศ..........................................................๔๒ รูปที่ ๖.๒.๕ รูปด้านอาคารส่วนห้องรับเเขก เเละออฟฟิศ ๑ (ซ้ายบน) รูปด้าน ๒ (ขวาบน) รูปด้าน ๓ (ซ้ายล่าง) รูปด้าน ๔ (ขวาล่าง).......................๔๓ รูปที่ ๖.๒.๖ ผังอาคารส่วนร้านอาหาร.................................................................................๔๔ รูปที่ ๖.๒.๗ รูปด้านอาคารส่วนร้านอาหาร ๑ (ซ้ายบน) รูปด้าน ๒ (ขวาบน) รูปด้าน ๓ (ซ้ายล่าง) รูปด้าน ๔ (ขวาล่าง).......................................................๔๕ รูปที่ ๖.๒.๘ ภาพมุมมองร้านอาหาร....................................................................................๔๖ รูปที่ ๖.๒.๙ ภาพมุมมองภายในร้านอาหาร.........................................................................๔๗ รูปที่ ๖.๒.๑๐ ผังอาคารส่วนนวดเเผนไทย.............................................................................๔๘ รูปที่ ๖.๒.๑๑ รูปด้านอาคารนวดเเผนไทย รูปด้าน ๑ (ซ้ายบน) รูปด้าน ๒ (ขวาบน) รูปด้าน ๓ (ซ้ายล่าง) รูปด้าน ๔ (ขวาล่าง).......................................................๔๙ รูปที่ ๖.๒.๑๒ ผังอาคารส่วนสระว่ายน�้ำ................................................................................๕๐ รูปที่ ๖.๒.๑๓ รูปด้านอาคารส่วนสระว่ายน�้ำ.........................................................................๕๐ รูปที่ ๖.๒.๑๔ ภาพมุมมองสระว่ายน�้ำ...................................................................................๕๑ รูปที่ ๖.๒.๑๕ ภาพมุมมองลานขายอาหารเช้า.......................................................................๕๒ รูปที่ ๖.๒.๑๖ พื้นที่ส�ำหรับจัดกิจกรรม เเละพักผ่อนริมชายหาด...........................................๕๓ รูปที่ ๖.๒.๑๗ ผังอาคารส่วนหลังบ้าน....................................................................................๕๓ รูปที่ ๖.๒.๑๘ ผังอาคารที่พัก Tropical villa.........................................................................๕๔ รูปที่ ๖.๒.๑๙ รูปด้านอาคารที่พัก Tropical villa รูปด้าน ๑ (ซ้ายบน) รูปด้าน ๒ (ขวาบน) รูปด้าน ๓ (ซ้ายล่าง) รูปด้าน ๔ (ขวาล่าง).......................๕๕ รูปที่ ๖.๒.๒๐ ภาพมุมมอง Tropical villa.............................................................................๕๖ รูปที่ ๖.๒.๒๑ ภาพมุมมองภายในห้องน�้ำ Tropical villa......................................................๕๗ รูปที่ ๖.๒.๒๒ ผังอาคารที่พัก Pool villa beach front........................................................๕๘ รูปที่ ๖.๒.๒๓ รูปด้านอาคารที่พัก Pool villa beach front รูปด้าน ๑ (ซ้ายบน) รูปด้าน ๒ (ขวาบน) รูปด้าน ๓ (ซ้ายล่าง) รูปด้าน ๔ (ขวาล่าง).......................๕๙ รูปที่ ๖.๒.๒๔ ภาพมุมมอง Pool villa beach front............................................................๖๐ รูปที่ ๖.๒.๒๕ ภาพมุมมอง Pool villa beach front............................................................๖๑
รูปที่ ๖.๒.๒๖ ผังอาคารที่พัก Pool villa family beach front...........................................๖๒ รูปที่ ๖.๒.๒๗ รูปด้านอาคารที่พัก Pool villa family beach front รูปด้าน ๑ (ซ้ายบน) รูปด้าน ๒ (ขวาบน) รูปด้าน ๓ (ซ้ายล่าง) รูปด้าน ๔ (ขวาล่าง).......................๖๓ รูปที่ ๖.๒.๒๘ ภาพมุมมอง Pool villa family beach front...............................................๖๔ รูปที่ ๖.๒.๒๙ ภาพมุมมองภายใน Pool villa family beach front....................................๖๕ รูปที่ ๖.๒.๓๐ เเสดงเส้นทางสัญจรของเเขกที่เข้าพัก (ซ้าย) เเสดงเส้นทางสัญจรของเเขกที่เข้าเยี่ยมชม (ขวา)............................................๖๖ รูปที่ ๖.๒.๓๑ รูปตัดโครงการ................................................................................................๖๗ รูปที่ ๖.๒.๓๒ รูปเเสดงเเผนภูมิการจัดการน�้ำเสียในโครงการ.................................................๖๘ รูปที่ ๖.๒.๓๓ รูปเเสดงเเผนภูมิเทคโนโลยีทางอาคาร.............................................................๖๙ รูปที่ ๖.๒.๓๔ รูปหุ่นจ�ำลอง....................................................................................................๗๐ รูปที่ ๖.๒.๓๕. ภาพมุมมองภาพรวมส่วนที่พัก........................................................................๗๑
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
สารบัญตาราง บทที่ ๓ การวิเคราะห์ที่ตั้งของโครงการ
ตารางที่ ๓.๒.๑. ตารางเปรียบเทียบข้อมูลสถานพักเเรมปี ๒๕๕๘-๒๕๖๐...............๑๘ ตารางที่ ๓.๒.๒. การค�ำนวนผลตอบเเทนส่วนที่พักของโครงการ............................๑๘ ตารางที่ ๓.๓.๑. ตารางส�ำรวจสิ่งอ�ำนวยความสะดวกโรงแรมข้างเคียง....................๒๐ ตารางที่ ๓.๓.๒. ตารางส�ำรวจโรงแรมข้างเคียง........................................................๒๐
บทที่ ๔ รายละเอียดโครงการ
สารบัญเเผนภูมิ บทที่ ๓ การวิเคราะห์ที่ตั้งของโครงการ
แผนภูมิที่ ๓.๑.๑. สถิติผู้มาเยี่ยมเยียนจังหวัดกระบี่.................................................๑๘ แผนภูมิที่ ๓.๑.๒. สถิติจ�ำนวนห้องพักปี ๒๕๕๒-๒๕๖๐...........................................๑๘ แผนภูมิที่ ๓.๑.๓. สถิติอัตราเข้าพักเฉลี่ยปี ๒๕๕๒-๒๕๖๐......................................๑๘ เเผนภูมิที่ ๓.๓.๑. เเสดงการเปรียบเทียบราคาที่พักทั้งสามหาก...............................๒๐ เเผนภูมิที่ ๓.๓.๒. ส�ำรวจขนาดห้องพักปของเเต่ละประเภท....................................๒๐
ตารางที่ ๔.๑.๑. เเสดงเวลาการใช้งานเเละให้บริการต่างๆ.......................................๒๕ บทที่ ๔ รายละเอียดโครงการ เเผนภูมิที่ ๔.๒.๑. เเสดงเเผนผังประเภทกลุ่มนักท่องเที่ยว.......................................๒๗ ตารางที่ ๔.๒.๑. เเสดงรายการกิจกรรมต่างๆของโครงการเเละเวลาจัด กิจกกรรม.......................................................................................๒๘ ตารางที่ ๔.๔.๑. เเสดงรายละเอียดส่วนต่างๆของโครงการ......................................๒๙
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๑ บทน�ำ ๑.๑ ความเป็นมาของโครงการ จังหวัดกระบี่มีศักยภาพทางการท่องเที่ยวในหลายด้าน ทั้งทางทะเล ทางธรรมชาติ และทางประวัติศาสตร์ ที่สามารถดึงนักท่องเที่ยวให้เข้ามาเยือนจังหวัดกระบี่ได้เป็นจ�ำนวนมาก จากข้อมูลทางสถิติของกรมการท่องเที่ยวปี ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาว ต่างชาติรวม ๖,๕๘๘,๘๒๒ คน และได้รายได้จากนักท่องเที่ยวเป็นมากเป็นอันดับ ๔ ของ ประเทศ ๑๐๕ พันล้านบาท ซึ่งเป็นอันดับ ๒ ทางภาคใต้ มีอัตราการเข้าพักเฉลี่ยสูงขี้น ๘๒.๒ % และมีสถิติห้องพักมากขึ้นถึง ๒๑,๖๔๗ ห้อง นอกจากนี้กระบี่ได้รับรางวัลด้านสิ่งแวดล้อม “Global Low Carbon Ecological Scenic Spot of Sustainable Cities and Human Settlements Awards ๒๐๑๘” จากองค์การสหประชาชาติ ซึ่งเป็นรางวัลที่ชาวกระบี่ทุกคนได้ ร่วมมือกันด�ำเนินการในทุกมิติทั้งด้านสิ่งแวดล้อม พลังงาน ให้เกิดความยั่งยืน และปัจจุบัน จังหวัดกระบี่มียุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัดใน ๓ ประเด็น คือ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยกระดับ คุณภาพการท่องเที่ยวทางทะเลเชิงอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสุขภาพ สู่ระดับ นานาชาติ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ สร้างความมั่นคง การผลิตภาคเกษตรอุตสาหกรรมประมง ปศุสัตว์ และอาหาร และยุทธศาสตร์ที่ ๓ ยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนสู่สังคมน่าอยู่ ปัจจุบันความยั่งยืนทางการท่องเที่ยวเป็นประเด็นสาคัญที่ทั่วโลกต่างให้ความสนใจ ความยั่งยืนของการท่องเที่ยวครอบคลุมถึงความยั่งยืนทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม และ สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ โดยที่นักท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้อม จึงได้เกิดกลุ่ม นักท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ขึ้นเรียกว่า ecotourism นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เกิด ความสมดุลระหว่างการรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติกับความต้องการของนักท่องเที่ยว คือการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ที่มีส่วนช่วยให้นักท่องเที่ยวสร้างแนวคิดใหม่ในการท่องเที่ยวมากขึ้น ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเลือกในเรื่องของสถานที่ ท่องเที่ยว ประเภทของที่พัก รวมถึงการจัดการและ กิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างการท่องเทีย่ ว โครงการออกเเบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิง่ เเวดล้อม จังหวัดกระบี่ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการออกแบบและการให้บริการรีสอร์ทที่เป็นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อม เพื่อความยั่งยืนทั้งในด้านมิติ สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
๑.๒ เป้าหมายเชิงคุณค่าของโครงการ ธุรกิจรูปแบบรีสอร์ทเชิงอนุรักษ์นั้นเป็นการด�ำเนินธุรกิจโดยสร้างผลกระทบหรือมลพิษ ต่อธรรมชาติให้น้อยที่สุด เพื่อให้ธรรมชาติยังคงมีความอุดมสมบูรณ์ งานสถาปัตยกรรมจึงต้อง ค�ำนึงถึงระบบนิเวศน์ สิ่งแวดล้อม และมีการเน้นการออกแบบโดยค�ำนึงถึงความยั่งยืนของ ธรรมชาติ โดยมีเป้าหมายในการออกแบบที่เคารพต่อที่ตั้ง การดูแลรักษาฟื้นฟูธรรมชาติ รีสอร์ท เชิงอนุรักษ์ และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและต่อโครงการ
รูปที่ ๑.๑.๑ ทัศนียภาพจังหวัดกระบี่ ที่มา: www.travel.mthai.com, 2018
8
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๑.๓ วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑.๓.๑ เพื่อศึกษาการใช้งานของนักท่องเที่ยวที่มาจังหวัดกระบี่ ๑.๓.๒ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้งานของนักท่องเที่ยวเพื่อน�ำไปใช้ในการออกเเเบบ ๑.๓.๓ เพื่อศึกษาวิธีการออกแบบอาคาร การบริการ และกิจกรรมส�ำหรับรีสอร์ทที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม
๑.๔ ขอบเขตของโครงการ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานเพื่อการออกแบบ รีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ ๑.๔.๑ ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับที่ดิน ราคา กฎหมาย และต�ำแหน่งที่ตั้ง ๑.๔.๒ ศึกษาข้อมูลด้านการตลาด การเปรียบเทียบและประเมินราคาคู่แข่งและความต้องการ ห้องพักของโครงการ เพื่อความเป็นไปได้ของโครงการ ๑.๔.๓ ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ๑.๔.๔ ด�ำเนินการออกเเบบเเละวางผังโครงการ
๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑.๕.๑ เพื่อทราบถึงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ๑.๕.๒ เพื่อทราบปัจจัยในการเลือกสถานที่ตั้งของโครงการ ๑.๕.๓ เพื่อทราบถึงแนวทางในการออกแบบรีสอร์ทที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
รูปที่ ๑.๑.๒ ทัศนียภาพจังหวัดกระบี่ ที่มา: www.demo-cv.com, 2016
รูปที่ ๑.๑.๓ ทัศนียภาพจังหวัดกระบี่ ที่มา: www.gplace.com, 2019
9
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๒ เกณฑ์ในการออกแบบโครงการ ๒.๑ ทฤษฎีและเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องในการออกแบบโครงการ
เครื่องดื่มหรือครัวไว้ในห้องพักด้วย ๔. โรงแรมเน้นแขกพักประจ�ำ (Residential Hotels) เป็นโรงแรมที่เน้นกลุ่มลูกค้าเข้า พักในระยะที่ยาวกว่าลูกค้าโรงแรมทั่วๆ ไป ส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ในย่านธุรกิจหรือในเมืองที่เป็น ประกอบด้วยประเด็นต่าง ๆ ตังต่อไปนี้ แหล่งงาน โรงแรมประเภทนี้ในเมืองไทยนิยมเรียกว่า Service Apartment โดยคิดค่าบริการ ๒.๑.๑ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจโรงแรม ๒.๑.๒ แนวคิดและทฤษฎีมาตรฐานของโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green เป็นรายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือน โดยมีอัตรารายสัปดาห์หรือรายเดือนที่ต�่ำกว่ารายวัน อย่างชัดเจน โรงแรมประเภทนี้นิยมรวมอาหารเช้าไว้ในค่าบริการ รวมถึงอาจมีรถบริการรับส่งไป Hotel) ยังศูนย์การค้าและแหล่งงานส�ำคัญอีกด้วย ในห้องพักของโรงแรมส่วนใหญ่จะมีมุมครัว เตา ๒.๑.๓ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับองค์ประกอบเพื่อความยั่งยืน ไมโครเวฟ เตาไฟฟ้า พร้อมอุปกรณ์เครื่องครัวจ�ำนวนหนึ่งไว้ให้ลูกค้าด้วย ๒.๑.๔ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับ การออกเเบบอาคารประหยัดพลังงาน ๒.๑.๕ สรุปแผนและนโยบายจังหวัดในการพัฒนาการท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ๕. โรงแรมรีสอร์ท (Resort Hotels) เป็นโรงแรมที่ออกแบบสภาพแวดล้อมและ ทัศนียภาพให้เหมาะสมกับการพักผ่อน ส่วนใหญ่จะอยู่ในเมืองท่องเที่ยวและในพื้นที่ที่มีทิวทัศน์ ๒.๑.๑ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจโรงแรม โครงการออกเเบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิง่ เเวดล้อมจังหวัดกระบี่ การจ�ำเเนกประเภทของ สวยงามตามธรรมชาติ เช่น ริมทะเล โรงแรมประเภทนี้จะมีพื้นที่เปิดโล่งในตัวโรงแรมค่อนข้าง โรงเเรมโดยจ�ำเเนกตามเป้าหมายด้านการตลาด สามารถเเบ่งได้ดงั รายละเอียดดังต่อไปนี้ (ศ.วิทวัส มาก โดยตกแต่งเป็นสระว่ายน�้ำ สวน รวมถึงการจัดสิ่งอ�ำนวยความสะดวกที่เหมาะสมกับการ พักผ่อน เช่น สปาภายในโรงแรมด้วย ปัญหาด้านการตลาดของโรงแรมประเภทนี้คือการมีลูกค้า รุ่งเรืองผล, ๒๕๖๑) ไม่สม�่ำเสมอ ในช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยวโรงแรมรีสอร์ตจึงมักจัดรายการลดราคาเป็นพิเศษ เพื่อ ในเมืองไทยโรงแรมลักษณะนี้พบได้มากแถบจังหวัด ๑. โรงแรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Hotels) โรงแรมประเภทนี้โดยส่วนใหญ่จะ ดึงดูดลูกค้าเข้ามาในช่วงนอกฤดูกาล ตั้งอยู่ในย่านใจกลางเมืองที่รายล้อมไปด้วยองค์กรทางธุรกิจ โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้แขก ชายทะเล เช่น หัวหิน พัทยา และภูเก็ต เข้ามาพักชั่วคราวในการติดต่อธุรกิจ โดยนอกจากห้องพักแล้วส่วนใหญ่จะมีห้องประชุม ห้องจัด ๖. โรงแรมซึ่งจัดห้องพักและอาหารเช้า (Bed and Breakfast) โรงแรมประเภทนี้ใน เลี้ยง ร้านอาหารเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่เป็นนักธุรกิจใช้ในการประชุมและพูด คุยงานทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ โรงแรมประเภทนี้ส่วนใหญ่จะมีบริการศูนย์ ต่างประเทศอาจเรียกว่า Motel หรือ B&B นิยมท�ำเป็นโรงแรมขนาดเล็กไม่เกิน ๑๐๐ เตียง หรือ ธุรกิจ (Business Center) ที่ให้บริการรับส่งจดหมาย อีเมล มีเครื่องคอมพิวเตอร์ ไวไฟ ให้ใช้ หลายแห่งอาจมีเพียง ๒๐-๓๐ เตียง ส่วนใหญ่เป็นโรงแรมที่เจ้าของและครอบครัวบริหารเอง รวมถึงมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพื่อการพักผ่อน เช่น สระว่ายน�้ำ สนามเทนนิส ฟิตเนส วิธีการหา โรงแรมประเภทนี้ในประเทศไทยน่าจะเทียบได้กับ โรงแรมที่เน้นกลุ่มนักเดินทางและพนักงาน ลูกค้าของโรงแรมประเภทนี้ นอกจากวิธีการที่โรงแรมทั่วไปใช้แล้ว การใช้พนักงานขายเข้าไป ขายที่ต้องขับรถระหว่างจังหวัด ต้องการที่พักราคาถูกและปลอดภัย โรงแรมประเภทนี้ราคา ติดต่อกับองค์กรธุรกิจที่อยู่บริเวณใกล้เคียงกับโรงแรมเพื่อท�ำสัญญาให้องค์กรธุรกิจส่งลูกค้าที่ เฉลี่ยจะอยู่ประมาณคืนละ ๕๐๐-๗๐๐บาท ตั้งอยู่บริเวณชานเมือง มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก ค่อนข้างจ�ำกัด ในเมืองไทยส่วนใหญ่จะไม่มีอาหารเช้าให้อาจมีเพียงกาแฟให้บริการ โรงแรม เป็นพนักงานของบริษัทหรือคู่ค้าเข้ามาใช้บริการโดยมีการตกลงอัตราค่าใช้บริการไว้ล่วงหน้า ประเภทนี้กลุ่ม การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) ให้ความสนใจที่จะน�ำไปเปิดในสถานี ๒. โรงแรมสนามบิน (Airport Hotels) เป็นโรงแรมที่มุ่งกลุ่มลูกค้าที่ใช้บริการสนามบิน บริการน�้ำมันบางแห่ง ส่วนผู้ประกอบการโรงแรมรายใหญ่ของไทยที่เข้าไปในตลาดนี้แล้ว ได้แก่ โรงแรมประเภทนี้มักตั้งอยู่ในพื้นที่สนามบินหรือบริเวณโดยรอบสนามบินที่สามารถเดินทางเข้า กลุ่มดิเอราวัณกรุ๊ป โดยใช้ชื่อโรงแรมในลักษณะนี้ว่า Hop inn ออกสนามบินได้สะดวก โดยกลุ่มลูกค้าหลักของโรงแรมประเภทนี้ ได้แก่ ผู้โดยสาร พนักงานสาย ๗. โรงแรมคอนโดมิเนียม (Condominium Hotel) เป็นอาคารชุดที่จดทะเบียนเป็น การบิน และผู้ที่ท�ำงานเกี่ยวข้องกับสนามบิน รวมถึงบริษัททัวร์ โรงแรมในลักษณะนี้ส่วนใหญ่จะ มีการให้บริการเข้าพักในช่วงเวลาที่สั้นกว่าปกติเรียกว่า day use เช่น การคิดค่าบริการส�ำหรับ โรงแรม โดยมีบางส่วนขายกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิการเช่าออกไปให้กับผู้ซื้อ และมีบางส่วนที่ผู้ การใช้ 2-3 ชั่วโมงเข้ามาเสริมด้วย โดยบริการดังกล่าวตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ พัฒนาโครงการเก็บไว้ให้บริการเป็นโรงแรม โดยผู้บริหารอาจรับห้องของผู้ซื้อมาบริหารการ ต้องการพักผ่อนระหว่างรอเปลี่ยนเครื่อง หรือนักท่องเที่ยวที่เดินทางในระยะเวลาหลายชั่วโมง ปล่อยเช่าแบบโรงแรมในช่วงที่เจ้าของห้องไม่ได้เข้ามาใช้ ในต่างประเทศโรงแรมลักษณะนี้มีการ ขายกรรมสิทธิ์ร่วมแบบแบ่งปันเวลาใช้ (Time Sharing) โดยในห้องชุดห้องหนึ่งอาจมีผู้ซื้อ ๑๐ ๓. โรงแรมห้องสวีท (Suite Hotels) เป็นโรงแรมคล้ายโรงแรมธุรกิจต่างมุ่งเน้นกลุ่ม ราย สลับกันใช้รายละ ๓๐ วัน โดยโครงการเป็นผู้บริหารเวลาในการเข้าใช้ และโครงการน�ำเวลา ลูกค้าระดับสูงกว่า ห้องพักส่วนใหญ่ของโรงแรม หรือทั้งหมดจะเป็นห้องสวีทที่แยกห้องนอนกับ อีก ๒ เดือนที่เหลือ ส�ำรองไว้ส�ำหรับการซ่อมบ�ำรุง หรือน�ำมาให้เช่ากับบุคคลภายนอก เพื่อน�ำ ห้องรับแขกออกจากกันโดยบางห้องอาจมีขนาดใหญ่มีห้องประชุมขนาดเล็กพร้อมเคาน์เตอร์ รายได้มาใช้เป็นค่าบริหารส่วนกลาง แต่กฎหมายของไทยไม่อนุญาตให้มีการขายในลักษณะ 10
กรรมสิทธิ์ร่วมแบบแบ่งปันเวลาใช้ ๘. โรงแรมบ่อนการพนัน (Casino Hotels) โรงแรมลักษณะนี้นิยมสร้างให้เป็นโรงแรม ขนาดใหญ่ มีห้องพักจ�ำนวนมาก และมีห้องจัดเลี้ยงขนาดใหญ่เพื่อรองรับกลุ่มลูกค้าที่เข้ามาเล่น การพนันในโรงแรม โรงแรมลักษณะนี้นิยมท�ำการตลาดร่วมกับบ่อนการพนัน เช่น การจัดแพ็ก เกจให้ลูกค้าที่เข้ามาเล่นการพนัน ได้สิทธิ์พักฟรีเมื่อแลกชิปในปริมาณที่ก�ำหนดและเป็นชิปที่ไม่ สามารถแลกเป็นเงินสดคืนได้ โรงแรมลักษณะดังกล่าวในนครลาสเวกัสนิยมจัดรายการอาหาร บุฟเฟต์ในราคาค่อนข้างต�่ำเมื่อเทียบกับคุณภาพของอาหาร เพื่อดึงดูดให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเป็น ลูกค้าของโรงแรมโดยอาจยอมรับก�ำไรต�่ำหรือขาดทุนจากรายการอาหาร แต่ได้ก�ำไรจากบ่อน การพนันเข้ามาชดเชย โรงแรมบางแห่งใช้การจัดโชว์ต่างๆ ทั้งแบบที่มีการเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้เข้า ชมและการเข้าชมฟรี ซึ่งในประเทศไทยยังไม่มีโรงแรมลักษณะนี้ ๙. ศูนย์ประชุม (Conference Centers) โรงแรมประเภทนี้มุ่งเน้นกลุ่มลูกค้าที่มาจัด ประชุมสัมมนาและงานแสดงนิทรรศการ โดยปกติแล้วโรงแรมประเภทนี้จะมีจ�ำนวนห้องพัก ค่อนข้างมาก และมีห้องประชุมสัมมนาทั้งขนาดใหญ่และเล็กจ�ำนวนมากเพื่อให้บริการครบวงจร กับแขกที่เข้ามาจัดประชุมสัมมนา โดยมีบริการสิ่งอ�ำนวยความสะดวกคล้ายกับโรงแรมประเภท ธุรกิจ โครงการออกเเบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อมจังหวัดกระบี่ เป็นโครงการโรงเเรมประเภทรีสอร์ทที่เป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อม โดยมีเเนวทางการออก เเบบดังต่อไปนี้
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๑.๑.๒ แนวคิดและทฤษฎีมาตรฐานของโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Hotel)
สร้างความเข้าใจอันดี ความร่วมมือ และสนับสนุนจากกลุ่มเป้าหมาย และเพื่อเสริมสร้างภาพ ลักษณ์ที่ดีของสถานประกอบการ ๓.๑ การรณรงค์ประชาสัมพันธ์แก่พนักงาน โรงเเรมเป็นสถานประกอบการที่ให้บริการเเก่ผู้มาพักหรือผู้ใช้บริการ มุ่งเน้นให้ ๓.๒ การรณรงค์ประชาสัมพันธ์แก่ผู้ใช้บริการทั่วไป ความสะดวกสบายเเละสร้างความพึงพอใจเเก่ผู้ใช้บริการ ประกอบกับกระเเสการเติบโตของ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (Ecotourism หรือ Green Travel) เเละการบริการสีเขียว (Green Service) ซึ่งให้ความส�ำคัญกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน อย่างยั่งยืน ควบคู่กับมาตาร ประเด็นที่ ๔ การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หมายถึง การจัดซื้อหรือจัดจ้าง ฐานการบริการที่ดีจึงต้องศึกษาเกณฑ์การบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบ ผลิตภัณฑ์หรือบริการ ซึ่งค�ำนึงถึงความเหมาะสมด้านคุณภาพ ราคา ระยะทาง การส่งมอบ การประเภทโรงแรม ครอบคลุมรายละเอียดด้านต่างๆ ดังนี้ (โครงการส่งเสริมโรงเเรมที่เป็นมิตร สินค้าหรือบริการตามที่ก�ำหนด และการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการผลิตและ บริการ โดยพิจารณาตลอดทั้งวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์การจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว กับสิ่งเเวดล้อม Green Hotel, ๒๕๖๒) ๔.๑ มีการใช้สินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยพิจารณาจากผลิตภัณฑ์ที่ มีการแสดงฉลากหรือข้อเท็จจริงของผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม เช่น ประเด็นที่ ๑ นโยบายด้านการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หมายถึง หลักการหรือวิธี ฉลากเขียว ฉลาก eco product และหรือผลิตภัณฑ์ที่ทางโรงแรมผลิตเอง เช่น ปฏิบัติที่สถานประกอบการใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินงานด้านการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่ง EM น�้ำยาล้างจาน เป็นต้น แวดล้อม เช่น การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การจัดการสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ ๔.๒ มีการคัดเลือกและซื้อผลิตภัณฑ์หรือวัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น หรือในจังหวัดที่สถาน พลังงาน การมีส่วนร่วมกับท้องถิ่นและชุมชน เป็นต้น โดยผู้บริหาร และพนักงานร่วมด�ำเนินการ ประกอบการตั้งอยู่ โดยแบ่งเป็นข้าว อาหารสด อาหารแห้ง ผัก และผลไม้ ให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ๔.๓ มีการรายงานข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๑.๑ การก�ำหนดนโยบายและเป้าหมายด้านการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ต่อผู้บริหารของโรงแรม ๑.๒ การก�ำหนดนโยบายและเป้าหมายด้านการอนุรักษ์พลังงาน ๑.๓ การแต่งตั้งผู้บริหารร่วมรับผิดชอบด้านการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๑.๔ การแต่งตั้งคณะท�ำงานด้านสิ่งแวดล้อม “Green Team”และมีการก�ำหนดความ ประเด็นที่ ๕ การจัดการสิ่งแวดล้อมและพลังงาน หมายถึง การด�ำเนินงานใดๆ ที่สามารถใช้ ทรัพยากรได้แบบยั่งยืน หรือมีการก�ำจัดของเสียและมลพิษให้หมดไป หรือเสื่อมสภาพไป หรือ รับผิดชอบของแต่ละแผนกเพื่อรองรับการบริการที่ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๑.๕ มีการประชุมเพื่อก�ำหนดทิศทางกิจกรรม แผนงานและการติดตามความก้าวหน้า ไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมโดยรอบ เช่น การลดการใช้น�้ำ การอนุรักษ์พลังงาน การ จัดการพื้นที่สีเขียว การบ�ำบัดน�้ำเสีย การลดและก�ำจัดขยะ การป้องกันมลภาวะทางอากาศและ ในการด�ำเนินงานอย่างต่อเนื่อง เสียง อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ๕.๑ การจัดการน�้ำที่มีประสิทธิภาพ ประเด็นที่ ๒ การพัฒนาบุคลากร หมายถึง วิธีการหรือกระบวนการ หรือกิจกรรมต่างๆ ที่ ๕.๒ การจัดการน�้ำเสียที่มีประสิทธิภาพ ด�ำเนินการเพื่อเพิ่มพูนให้บุคลากรในสถานประกอบการ เกิดความรู้ ความสามารถ และทักษะใน ๕.๓ การจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ การทํางานด้านการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อเสริมสร้างเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน ๕.๔ การจัดการพลังงานที่มีประสิทธิภาพ และให้มีการด�ำเนินงานบรรลุเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ๕.๕ การจัดการอากาศและเสียง ๒.๑ มีการจัดอบรมให้กับพนักงาน และหรือส่งพนักงานไปอบรมเรื่องการบริการที่ ๕.๖ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ ประเภทโรงแรม ๕.๗ การจัดการพื้นที่สีเขียวและภูมิทัศน์ ๒.๒ ร้อยละของพนักงานที่ได้รับการอบรมเมื่อเทียบกับจ�ำนวนพนักงานทั้งหมด ๒.๓ มีการจัดการศึกษา / ดูงานให้กับคณะท�ำงานด้านสิ่งแวดล้อม “Green Team” เรื่องการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการ ประเภทโรงแรม ประเด็นที่ ๖ การมีส่วนร่วมกับท้องถิ่นและชุมชน หมายถึง การมีส่วนร่วมของสถานประกอบ ๒.๔ ร้อยละของคณะท�ำงานด้านสิ่งแวดล้อม “Green Teamที่ได้รับการศึกษา/ดูงาน การกับท้องถิ่นและชุมชนในพื้นที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ ทั้งการร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมด�ำเนิน การ ในกิจกรรมด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การอนุรักษ์และฟื้นฟู ภายใน ๑ ปี ทรัพยากรธรรมชาติ การรักษาสิ่งแวดล้อม และการสร้างคุณค่าด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่น หรือ ประเด็นที่ ๓ การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ หมายถึงการสื่อสารข้อมูล และข่าวสารด้านการบริการ ศิลปวัฒนธรรม หรือเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ๖.๑ มีพนักงานที่มีภูมิล�ำเนาในจังหวัดที่สถานประกอบการตั้งอยู่ หรือส่งเสริมให้ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม น�ำไปสู่กลุ่มเป้าหมาย (ผู้บริหารพนักงาน และผู้ใช้บริการ) เพื่อเสริม
พนักงานมีการย้ายทะเบียนบ้านเข้าภายใน อปท. ที่โรงแรมตั้งอยู่ ไม่น้อยกว่าร้อย ละ ๑๐ ๖.๒ มีส่วนร่วมและสนับสนุนกิจกรรมของท้องถิ่นและชุมชนด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม หรืออนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ๖.๓ มีส่วนร่วมและสนับสนุนกิจกรรมของท้องถิ่นและชุมชนด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ประเพณีหรือศิลปวัฒนธรรม หรือเอกลักษณ์ของท้องถิ่น ๖.๔ มีการใช้ผลิตภัณฑ์ภายในโรงแรม/ของที่ระลึกที่เป็นของพื้นเมืองหรือหาได้ใน ท้องถิ่นแต่ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์จากป่าหรือทะเล
11
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๒.๑.๓ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับ องค์ประกอบเพื่อความยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาที่สนองตอบต่อความ ต้องการในปัจจุบัน โดยที่ไม่กระทบต่อความสามารถในการที่จะตอบสนองความต้องการในอนาคต ในปัจจุบันวงการสถาปัตยกรรมได้ให้ความสนใจในเรื่องสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงได้ถูกรวมเข้ากับงาน สถาปัตยกรรม ซึ่งเป็นงานสถาปัตยกรรมที่ค�ำนึงถึงระบบนิเวศน์เเละสิ่งแวดล้อม เป็นการออกเเบบที่ ให้ความส�ำคัญกับความยั่งยืนของธรรมชาติ โดยมีเป้าหมายในการออกแบบที่ส่งผลกระทบต่อสิ่ง แวดล้อมน้อยที่สุด พร้อมทั้งสร้างสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ส่งผลดีต่อสุขภาพของผู้อยู่อาศัย ซึ่ง เป็นการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อให้เกิดความสมดุลทั้ง ๓ ด้าน ได้แก่ สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และ วัฒนธรรม เกิดเป็นแนวคิดของสถาปัตยกรรมยัง่ ยืน (องค์กรพันธมิตรเพือ่ ความยัง่ ยืนด้านสิง่ แวดล้อม,
๒๐๑๘) มีประเด็นสรุปได้ดังต่อไปนี้ ๑. เคารพในที่ตั้ง รักษาแผ่นดินและพืชพรรณ (Ecological concern) ๒. ค�ำนึงถึงสภาพอากาศในท้องถิ่น ไม่สร้างมลภาวะทางอากาศ (Climate concern) ๓. การประหยัดพลังงาน การใช้พลังงานทดแทน (Energy Efficiency) ๔. ค�ำนึงถึงความสบายของผูใ้ ช้อาคารปลอดมลภาวะทางเสียงและทัศนียภาพ (User Concern) ๕. ใช้วัสดุอย่างมีประสิทธิภาพการน�ำวัสดุกลับมาใช้ใหม่ไม่ใช้วัสดุที่เป็นพิษต่อผู้อาศัย (Material Efficiency) ๖. ใช้น�้ำอย่างมีประสิทธิภาพไม่สร้างมลภาวะทางน�้ำ (Water Efficiency) จากเเนวคิดสถาปัตยกรรมยั่งยืนจะสามารถจ�ำเเนก ดังต่อไปนี้ ๑. Nature – Driven Technologies เป็นการพึ่งพาธรรมชาติเพื่อน�ำมาใช้ประโยชน์ทางตรงและทาง อ้อม โดยน�ำเทคโนโลยีเครื่องกลมาใช้ให้น้อยที่สุด เน้นการพึ่งพาสิ่งแวดล้อมธรรมชาติให้มากที่สุด สามารถแบ่งออกเป็นประเด็นต่างๆ ดังนี้ ๑.๑ การป้องกันแสงแดดและใช้ประโยชน์จากกระแสลม โดยการอาศัยต้นไม้อุปกรณ์บัง แสงแดด และการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อควบคุมทิศทางกระแสลม ๑.๒ การอาศัยแสงสว่างจากธรรมชาติ เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ๑.๓ การใช้ฉนวนเพื่อป้องกันความร้อนถ่ายเทเข้าสู่อาคาร ทั้งผนังและหลังคา ๑.๔ การน�ำแหล่งพลังงานที่มีอยู่มาใช้ เช่น พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์มาแปลงเป็น พลังงานไฟฟ้า เป็นต้น ๑.๕ การหมุนเวียนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อาทิ กักเก็บน�้ำฝนเพื่อน�ำมารดน�้ำ ต้นไม้ ท�ำความสะอาดบ้านเรือน ๑.๖ การน�ำลมธรรมชาติมาช่วยถ่ายเทอากาศภายในอาคารให้บริสุทธิ์ขึ้น และการ ใช้ต้นไม้ช่วยกรองฝุ่นละอองและดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในเวลากลางวัน ๒. Technology – Driven Strategies เป็นการน�ำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ และมี ประสิทธิภาพสูงทีส่ ดุ โดยดัดแปลงให้เหมาะสมเพือ่ ประหยัดพลังงาน สามารถแบ่งออกเป็นประเด็นต่างๆ 12
ดังนี้
๒.๑ การคัดเลือกท�ำเลที่ตั้งที่เพื่อเอื้อประโยชน์ในด้านสาธารณูปโภคต่าง ๆ ตลอจนลดการ สิ้นเปลืองพลังงานในการเดินทางและติดต่อ ๒.๒ การควบคุมแสงสว่างที่ใช้ในอาคารให้เหมาะสม โดยการอาศัยมนุษย์และอุปกรณ์กล ๒.๓ การใช้วัสดุอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่ต้องพึ่งพาวัสดุธรรมชาติ อาทิ วัสดุสังเคราะห์ที่มีคุณภาพ ๒.๔การให้ความร้อนและเย็นภายในอาคาร โดยการน�ำพลังงานจากสภาวะแวดล้อมมาใช้ ๒.๕ การลดปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยการน�ำทรัพยากรมาหมุนเวียนใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์ เพื่อลดพลังงานในการจัดเก็บและท�ำลาย
ส�ำหรับการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อมสามารถแบ่งออกเป็น ๖ หัวข้อหลัก ดังต่อไปนี้ ๑. Building Ecology ได้เเก่ การปรับเปลี่ยนและเลือกใช้วัสดุที่ไม่มีผลข้างเคียง รวมไปถึง ระบบระบายอากาศทั้งแบบธรรมชาติ และระบบเครื่องจักรกลสามารถออกแบบให้มีการ หมุนเวียนเอาอากาศบริสุทธิ์เข้ามาในอาคารมากที่สุดและลดภาวะที่จะท�ำให้เกิดเชื้อราหรือ ความเหม็นอับให้น้อยที่สุด ๒. Energy Efficiency ได้เเก่ การออกแบบให้อาคารใช้ประโยชน์จากพลังงานธรรมชาติ ลดภาระการผลิตพลังงาน ทั้งยังเป็นรักษาพลังงานไว้ใช้ในยามจ�ำเป็น อาทิการใช้ Thermal Mass ของอาคารเพื่อเก็บหรือระบายความร้อน การใช้ระบบฉนวนให้เหมาะสมกับการใช้ งาน การใช้ระบบควบคุมการเปิดปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า หรือระบบท�ำความเย็น ๓. Materials ได้เเก่ วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างบางชนิดอาจจะส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม ไม้บางชนิดได้มาจากการตัดไม้ในป่าที่ไม่สามารถปลูกทดแทนได้ วัสดุบางอย่างได้มาโดย กระบวนการที่สร้างมลภาวะ หรือสร้างสารพิษออกมาในขั้นตอนการแปรรูป ดังนั้นควรใช้ วัสดุที่ผลิตมาจากแหล่งทรัพยากรที่สามารถทดแทนได้ มีความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมใน ขั้นตอนการผลิตโดยมีผลกระทบต่อการด�ำรงชีวิตน้อยที่สุด ๔. Building Form ได้เเก่ รูปทรงของอาคารควรค�ำนึงต่อสภาพแวดล้อมข้างเคียง ไม่ว่า จะเป็น ที่ดิน ต้นไม้ หรือสภาพอากาศโดยรอบ ให้เอื้อต่อการหมุนเวียนของการวัสดุทรัพยากร ลดการใช้ทรัพยากรและพลังงานในอาคาร เพิ่มความน่าอยู่ให้แก่ผู้ใช้ และมีความปลอดภัย ๕. Good Design ได้เเก่ การออกแบบที่ดีต้องค�ำนึงถึงผลที่จะตามมา อาทิอาคารที่คงทน ถาวรง่ายต่อการใช้สามารถน�ำเอาวัสดุเก่ากลับมาใช้ใหม่ได้ พร้อมทั้งมีความสวยงามมีความ ต้องการพลังงานน้อยลง ซ่อมบ�ำรุงใช้วสั ดุทมี่ คี ณ ุ ภาพตอบสนองต่อแนวความคิดของสถาปัตยกรรม แบบยั่งยืน ๖. ในระยะยาวการออกแบบเพื่อความยั่งยืนมีวัตถุประสงค์เพื่อลดการท�ำลายและการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติให้มากที่สุด พร้อมทั้งเป็นการสร้างตัวอย่างที่ดี เพื่อสร้างจิตส�ำนึกใน การค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อมให้เกิดแก่สังคม
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๒.๑.๔ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับ การออกเเบบอาคารประหยัดพลังงาน
จากรูปที่ ๒.๑.๔.๑ สภาวะสบาย (Comfort Zone) สามารถหาได้จาก ธรรมชาติรอบ ๆ ตัว เช่น เเหล่งน�ำ้ ต้นไม้ ภูเขา ทีช่ ว่ ยสร้างร่มเงาเเละปรับเปลีย่ น อุณหภูมขิ องอากาศก่อนพัดเข้าสูต่ วั อาคารเพือ่ ท�ำให้เกิดสภาวะสบายต่อผูอ้ ยูอ่ าศัย รูปที่ ๒.๑.๔.๑ ท�ำเลที่ตั้ง (Site Plan) ที่มา: Zbigniew Bromberek. (2009). ECO-RESOR planning and design for the tropics. (p. 103). USA: Elsevier
จากรูปที่ ๒.๑.๔.๒ การไหลเวียนของอากาศรอบ ๆ ตัวอาคาร เเบบที่ (๑) การวางกลุม่ อาคารขนานกับลมท�ำให้เกิดจุดอับลม เเบบที่ (๒) การวางกลุม่ อาคาร สลับกันท�ำให้ประสิทธิภาพการไหลเวียนของลมดียง่ิ ขึน้ (๑)
(๒) รูปที่ ๒.๑.๔.๒ แผนภาพเเสดงการไหลเวียนของอากาศรอบ ๆ ตัวอาคาร ที่มา: Zbigniew Bromberek. (2009). ECO-RESOR planning and design for the tropics. (p. 103). USA: Elsevier
13
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
จากรูปที่ ๒.๑.๔.๓ การใช้ต้นไม้ที่สูง เช่น ต้นปาล์มช่วยให้ร่มเงา และให้อากาศไหลเวียนได้อย่างอิสระรอบ ๆ อาคาร และยังสามารถก�ำหนด ทิศทางของลมด้านข้างของอาคาร เนื่องจากการวางต�ำแหน่งต้นไม้มีผลต่อ การไหลเวียนของลมรอบ ๆ ตัวอาคาร เเละสามารถช่วยเรื่องความเร็วลม การดักทิศทางลมให้อากาศไหลเวียนเข้าสู่อาคาร รูปที่ ๒.๑.๔.๓ แผนภาพเเสดงการก�ำหนดทิศทางลมด้วยต้นไม้ ที่มา: Zbigniew Bromberek. (2009). ECO-RESOR planning and design for the tropics. (p. 104-107). USA: Elsevier
จากรูปที่ ๒.๑.๔.๔ การอาศัยแสงสว่างจากธรรมชาติ (Day lighting) เพื่อลดการใช้พลังงานจากแสงประดิษฐ์ในช่วงเวลากลางวันโดยการใช้การ สะท้อนแสงเข้าสู่อาคาร วิธีนี้ช่วยให้ภายในอาคารได้รับเเสงสว่างจากดวง อาทิตย์ เเละยังช่วยให้ภายในอาคารไม่ร้อนเนื่องจากป้องกันรังสีความร้อน จากดวงอาทิเข้าสู่ตัวอาคารโดยตรง รูปที่ ๒.๑.๔.๔ เเผนภาพเเสดงการอาศัยแสงสว่างจากธรรมชาติ (Daylighting) ที่มา: Zbigniew Bromberek. (2009). ECO-RESOR planning and design for the tropics. (p. 84-85). USA: Elsevier
14
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
จากรูปที่ ๒.๑.๔.๕ การสร้างร่มเงา (Shading) การออกเเบบอาคารที่ช่วยบังเเสงอาทิตย์ที่จะส่องถึง ตัวอาคารโดยตรง การยืน่ ชายคาให้ตำ�่ (๑) การสร้างร่ม เงาในเเนวตัง้ โดยการยืน่ พื้นชั้นบนเพื่อบังเเสงเเดด (๒) เเละในเวลาเดียวกันองค์ประกอบเหล่านี้ยังสามารถ ช่วยป้องกันฝนหรือพายุได้อกี ด้วย (๒)
(๑)
รูปที่ ๒.๑.๔.๕ แผนภาพเเสดงการสร้างร่มเงา (Shading) ที่มา: Zbigniew Bromberek. (2009). ECO-RESOR planning and design for the tropics. (p. 59-62). USA: Elsevier
บทสรุป จาก ๒.๑.๑ - ๒.๑.๔ โครงการออกเเบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อม จังหวัดกระบี่ ได้ออกเเบบเพื่อให้เกิดความยั่งยืนดังต่อไปนี้ ๑. ด้านการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนี้ ๑.๑ การมีส่วนร่วมกับท้องถิ่นเเละชุมชน มีการคัดเลือกซื้อผลิตภัณฑ์หรือวัสดุที่หาได้ ในท้องถิ่น หรือในจังหวัดกระบี่ เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการผลิต และบริการ ๑.๒ การจัดการสิง่ แวดล้อมและพลังงาน ได้เเก่ การจัดการน�ำ้ เสีย การจัดการขยะ การ ใช้พลังงานสะอาด เเละรับผิดชอบต่อสิ่งเเวดล้อมรอบ ๆ โครงการ ๑.๓ การรักษาสิง่ แวดล้อม และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ได้เเก่ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของบุคคลากรกับเเขกทีเ่ ข้าพักในรีสอร์ท ในการมีสว่ นร่วมการท�ำความสะอาดชายหาด ๒. ด้านการออกเเบบสถาปัตยกรรมยั่งยืน ดังนี้ ๒.๑ การเคารพในที่ตั้ง ได้เเก่ การรักษาเเผ่นดิน เเละรักษาต้นไม้ใหญ่ภายในโครงการ ทั้งหมด ๒.๒ การออกเเบบให้อาคารใช้ประโยชน์จากพลังงานธรรมชาติ ได้เเก่ การระบาย ความร้อนภายในอาคาร การใช้เเสงสว่างจากดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน ๒.๓ การประหยัดพลัง ได้เเก่ การใช้พลังงานทดเเทนเเละพลังงานหมุมเวียน เช่น การใช้พลังงานจากดวงอาทิตย์ การใช้เทคโนโลยีในการผลิตน�้ำอุ่นจากการระบาย ความร้อนของเเอร์ เเละการบ�ำบัดน�้ำเสียเพื่อน�ำกลับมาใช้ในการอุปโภค ๒.๔ การเลือกใช้วสั ดุทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ เเวดล้อม ได้เเก่ การใช้ไม้ ดิน เเละวัสดุสังเคราะห์ ที่ไม่สร้างมลภาวะต่อสิ่งเเวดล้อม
จากรูปที่ ๒.๑.๔.๖ การระบายความร้อนใน อาคาร ออกเเบบทีเ่ อือ้ ต่อการสร้างสภาวะสบาย โดย การระบายความร้อนภายในอาคารผ่านช่องใต้หลังคา (๑) เเละการระบายความร้อนด้วยท่อเย็นใต้ดนิ (๒) (๑)
(๒) รูปที่ ๒.๑.๔.๖ แผนภาพเเสดงการระบายอากาศ (Ventilation) ที่มา: Zbigniew Bromberek. (2009). ECO-RESOR planning and design for the tropics. (p. 62-69). USA: Elsevier
15
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๒.๒ กฎหมายและเทศบัญญัติที่เกี่ยวข้อง
กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมจังหวัดกระบี่พ.ศ. ๒๕๕๙
ทีต่ งั้ หาดคลองม่วง หมูท่ ี่ ๒ บ้านคลองม่วง ต�ำบลหนองทะเล อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ ข้อ ๑๐ ที่ดินประเภทอนุรักษ์สภาพแวดล้อมเพื่อการท่องเที่ยว ให้ใช้ประโยชน์ที่ดิน เพื่อการท่องเที่ยว นันทนาการ การรักษาสภาพแวดล้อม สถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และการสาธารณูปการส�ำหรับการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ เพือ่ กิจการอืน่ ให้ดำ� เนินการหรือประกอบ กิจการได้ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน ๑๖ เมตร การวัดความสูงของอาคารให้วัดจากระดับพื้น ดินที่ก่อสร้างถึงพื้นดาดฟ้าส�ำหรับอาคารทรงจั่วหรือปั้นหยาให้วัดจากระดับพื้นดินที่ก่อสร้างถึง ยอดผนังของชั้นสูงสุดที่ดินประเภทนี้ ห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการตามที่ก�ำหนด ดังต่อไปนี้
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๙
เรื่อง ก�ำหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในท้องที่อ�ำเภออ่าวลึก อ�ำเภอเมือง กระบี่ อ�ำเภอเหนือคลอง อ�ำเภอคลองท่อม และอ�ำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๕ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และโดยอนุมัติจากคณะ รัฐมนตรี จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ในประกาศนี้ “แนวชายฝั่งทะเล” หมายความว่า แนวที่น้ําทะเลขึ้นสูงสุดตามปกติทาง (๑) โรงงานทุกจ�ำพวกตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน เว้นแต่โรงงานตามประเภท ชนิด ธรรมชาติ “ชายหาด” หมายความว่า พื้นที่ภายในแนวที่น้ําทะเลขึ้นสูงสุดตามปกติทาง และ จ�ำพวกที่ก�ำหนดให้ด�ำเนินการได้ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้ และโรงงานบ�ำบัดน�้ำ ธรรมชาติจนถึง แนวที่น้ําทะเลลงต่ําสุดตามปกติทางธรรมชาติ และให้หมายความรวมถึงบริเวณ เสียรวมของชุมชน พื้นที่ซึ่งอยู่ติดกับชายหาด ซึ่งเป็นพื้นที่สาธารณะที่สงวนไว้ให้ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน (๒) คลังน�้ำมันและสถานที่เก็บรักษาน�้ำมัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้วยการ ควบคุมน�้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อการจ�ำหน่าย ข้อ ๔ ในพื้นที่ตามข้อ ๓ การก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคาร ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังต่อไป (๓) คลังก๊าซปิโตรเลียมเหลว สถานที่บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงบรรจุ นี้ (๑) ต้องมีระยะห่างจากแนวชายฝั่งทะเลไม่น้อยกว่า ๓๐ เมตร หรือมีความลาดชันไม่เกิน สถานที่ บรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทห้องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียม ร้อยละ ๓๕ เว้นแต่การก่อสร้างตามข้อ ๖ (๑) (จ) เหลวประเภทโรงเก็บตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมน�้ำมันเชื้อเพลิง (๒) พื้นที่แนวชายฝั่งทะเลหรือที่ริมตลิ่งของปากแม่น้ําเข้าไปในแผ่นดิน ที่มีความสูงจาก ระดับ (๔) เลี้ยงม้า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสัตว์ป่าตามกฎหมาย น้ําทะเลปานกลางไม่เกิน ๔๐ เมตร และมีความลาดชันไม่เกินร้อยละ ๒๐ เว้นแต่การก่อสร้าง ว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้า ตามข้อ ๖ (๑) (จ) ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ (๕) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้วยสุสานและฌาปนสถาน เว้นแต่เป็นการ (ก) ในระยะ ๒๐ เมตรต่อจากพื้นที่ตาม (๑) ตลอดแนวชายฝั่งทะเลหรือพื้นที่ในเกาะ ก่อสร้างทดแทนสุสานหรือฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม ต่าง ๆ เว้นแต่พื้นที่ตาม (๖) ให้ทําได้เฉพาะอาคารที่มีความสูงไม่เกิน ๗ เมตร และมีพื้นที่ว่าง (๖) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ ของที่ดินแปลงที่ขออนุญาต (๗) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ (ข) ในระยะ ๑๕๐ เมตรต่อจากพื้นที่ตาม (ก) ให้ทําได้เฉพาะอาคารที่มีความสูงไม่ (๘) ก�ำจัดมูลฝอย เกิน ๑๒ เมตร และมีพื้นที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ของที่ดินแปลงที่ขออนุญาต (๙)ซื้ อ ขายหรื อ เก็ บ เศษวั ส ดุ ก ารใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ริ ม ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข (ค) ในระยะต่อจากพื้นที่ตาม (ข) ไปจนสุดแนวเขตพื้นที่ตามข้อ ๓ เว้นแต่พื้นที่ตาม ๔๐๓๔ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๒๐๑ (ง) ให้ทําได้เฉพาะอาคารที่มีความสูงไม่เกิน ๑๖ เมตร และมีพื้นที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ ๔๐ ของที่ดิน แปลงที่ขออนุญาต ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๒๐๒ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๒๐๓ ทางหลวง แผ่นดิน หมายเลข ๔๒๐๔และถนนบ้านศาลาด่าน - บ้านสังกาฮู้ ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมเขตทางไม่ น้อยกว่า ๖ เมตรการใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งแม่น�้ำ ล�ำคลอง หรือแหล่งน�้ำสาธารณะ ที่มีความ กว้างน้อยกว่า๑๐ เมตร ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริมฝั่งตามสภาพธรรมชาติของแม่น�้ำ ล�ำคลอง หรือแหล่งน�้ำสาธารณะไม่น้อยกว่า ๓ เมตร และการใช้ประโยชน์ที่ดินริมฝั่งแม่น�้ำ ล�ำคลอง หรือu3649 แหล่งน�้ำสาธารณะที่มีความกว้างตั้งแต่ ๑๐ เมตรขึ้นไป ให้มีที่ว่างตามแนวขนานริม ฝั่งตามสภาพธรรมชาติของแม่น�้ำล�ำคลอง หรือแหล่งน�้ำสาธารณะไม่น้อยกว่า ๖ เมตร ทั้งนี้ เว้น แต่เป็นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมทางน�้ำหรือการสาธารณูปโภค
รูปที่ ๒.๒.๑ ผังเมืองรวมการใช้ประโยชน์ที่ดินจังหวัดกระบี่
16
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๑๗) พระราชบญัญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พุทธศักราช ๒๔๗๙
ข้อ ๓ จ�ำนวนที่จอดรถยนต์ ต้องจัดให้มีตามก�ำหนดดังต่อไปนี้ (ข) โรงแรมที่มีห้องพักไม่เกิน ๑๐๐ ห้อง ให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า ๕ คัน ส�ำหรับ ห้องพัก ๓๐ ห้องแรก ส่วนที่เกิน ๓๐ ห้อง ให้คิดอัตรา ๑ คัน ต่อ ๑๐ ห้อง เศษของ ๑๐ ห้อง ให้ คิดเป็น ๑๐ ห้อง (ช) ห้องโถงของโรงแรม ภัตตาคาร หรืออาคารขนาดใหญ่ตามข้แ ๒ (๘) ให้มีที่จอด รถยนต์ไม่น้อยกว่า ๑ คัน ต่อพื้นที่ห้องโถง ๓๐ ตารางเมตร เศษของ ๓๐ ตารางเมตร ให้คิดเป็น ๓๐ ตารางเมตร ข้อ ๕ ที่จอดรถยนต์ ๑ คัน ต้องเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้างไม่น้อยกว่า ๒.๕๐ เมตรยาวไม่น้อยกว่า ๖ เมตร โดยต้องท�ำเครื่องหมายแสดงลักษณะและขอบเขตของที่จอดรถไว้ให้ปรากฏ
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๔ (พ.ศ. ๒๕๓๘) พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒
ข้อ ๓ อาคารประเภทและลักษณะดังต่อไปนี้ ต้องจัดให้มีระบบบ�ำบัดน�้ำเสียที่มีประสิทธิภาพ เพียงพอในการปรับปรุงน�้ำเสียจากอาคารให้เป็นน�้ำทิ้งที่มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ใน ข้อ ๔ ก่อนที่จะระบายลงสู่แหล่งรองรับน�้ำทิ้ง (ข) โรงแรมตามกฎหมายว่าด้วยโรงแรม ที่มีจ�ำนวนห้องพักรวมกันทุกชั้นในอาคารหลัง เดียวกันหรือหลายหลังรวมกันไม่เกิน ๖๐ ห้อง ข้อ ๑๐ อาคารที่ใช้เป็นตลาดโรงแรม ภัตตาคาร หรือสถานพยาบาล ต้องจัดให้มีที่รองรับขยะ มูลฝอยและสิ่งปฏิกลู โดยมีลักษณะดังต่อไปนี้ (๑) ผนังต้องท�ำด้วยวัสดุถาวรและทนไฟ (๒) พื้นผิวภายใน ต้องเรียบและกันน�้ำซึม (๓) ต้องมีการป้องกันกลิ่นและน�้ำฝน (๔) ต้องมีการระบายน�้ำเสียจากขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกลูลงสู่ระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย (๕) ต้องมีการระบายอากาศ และป้องกันน�้ำเข้า (๖) ต้องมีความจุไม่น้อยกว่า ๑.๒ ลิตร ต่อพื้นที่ของอาคารหนึ่งตารางเมตร (๗) ต้องจัดไว้ในที่ที่สามารถขนย้ายขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลได้โดยสะดวกและต้อง มีระยะห่างจากสถานที่ประกอบอาหารและสถานที่เก็บอาหารไม่น้อยกว่า ๔ เมตรแต่ถา้ ทีร่ องรับ ขยะมูลฝอยและสิง่ ปฏิกลู มีขนาดความจุเกินกว่า ๓ ลูกบาศก์เมตร ต้องมีระยะห่างจากสถานที่ดัง กล่าวไม่น้อยกว่า ๑๐ เมตร
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๕๕ (พ.ศ. ๒๕๔๓) พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
สรุปแผนและนโยบายจังหวัดในการพัฒนาการท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง
ตามแผนพัฒนาจังหวัดกระบีป่ ี พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๑ ได้กำ� หนดวิสยั ทัศน์เพือ่ ก�ำหนดทิศทาง การพัฒนา ดังนี้ ส่วนที่ ๒ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นการท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) พื้นที่ภายในอาคาร ข้อ ๒๑ ช่องทางเดินในอาคาร ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่าตามที่ก�ำหนดไว้ดังต่อไปนี้ เพิม่ ศักยภาพให้ได้มาตรฐานในระดับสากล และเชือ่ มโยงการท่องเทีย่ วระดับภูมภิ าคและนานาชาติ อาคารอยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก ส�ำนักงาน อาคารสาธารณะ อาคาร มีกลยุทธ์ที่เกี่ยวข้อง ดังต่่อไปนี้ ๑.พัฒนาเเหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ศิลปะ วัฒนธรรม วิถีชุมชน ประวัติศาสตร์ เเละ พาณิชย์ โรงงาน อาคารพิเศษ ความกว้าง ๑.๕๐ เมตร สุขภาพ ข้อ ๒๒ ห้องหรือส่วนของอาคารที่ใช้ในการท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ต้องมีระยะดิ่งไม่น้อย ๒. อนุรักษ์เเละฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติเเละสิ่งเเวดล้อม กว่าตามที่ก�ำหนดไว้ดังต่อไปนี้ ๑. ห้องที่ใช้เป็นที่พักอาศัย บ้านแถว ห้องพักโรงแรม ห้องเรียนนักเรียนอนุบาล ครัวส�ำหรับ อาคารอยู่อาศัย ห้องพักคนไข้พิเศษ ช่องทางเดินในอาคาร ระยะดิ่ง ๒.๖๐ เมตร ๒. ห้องที่ใช้เป็นส�ำนักงาน ห้องเรียน ห้องอาหาร ห้องโถงภัตตาคาร โรงงาน ระยะดิ่ง ๓.๐๐ ประเด็นยุทธศาสตร์อื่นๆ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ ยกระดับขีดความสามารถในการผลิตด้านการเกษตรและแปรรูปสินค้า เมตร ระยะดิ่งตามวรรคหนึ่งให้วัดจากพื้นถึงพื้น ในกรณีของชั้นใต้หลังคาให้วัดจากพื้นถึง เกษตรอย่างครบวงจร ควบคู่กับการพัฒนาอุตสาหกรรมสะอาดและพลังงานทางเลือก ยอดฝาหรือยอดผนังอาคาร และในกรณีของห้องหรือส่วนของอาคารที่อยู่ภายในโครงสร้างของ หลั ง คาให้ วั ด จากพื้ น ถึ ง ยอดฝาหรื อ ยอดผนั ง ของห้ อ งหรื อ ส่ ว นของอาคารดั ง กล่ า วที่ ไ ม่ ใช่ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนสู่สังคมน่าอยู่ และปรับตัวรองรับต่อการ เปลี่ยนแปลง โครงสร้างของหลังคา ห้องในอาคารซึ่งมีระยะดิ่งระหว่างพื้นถึงพื้นอีกชั้นหนึ่งตั้งแต่ ๕ เมตรขึ้นไป จะท�ำพื้น ชั้นลอยในห้องนั้นก็ได้ โดยพื้นชั้นลอยดังกล่าวนั้นต้องมีเนื้อที่ไม่เกินร้อยละสี่สิบของเนื้อที่ห้อง ระยะดิ่งระหว่างพื้นชั้นลอยถึงพื้นอีกชั้นหนึ่งต้องไม่น้อยกว่า ๒.๔๐ เมตร และระยะดิ่งระหว่าง พื้นห้องถึงพื้นชั้นลอยต้องไม่น้อยกว่า ๒.๔๐ เมตร ด้วยห้องน�้ำ ห้องส้วม ต้องมีระยะดิ่งระหว่าง พื้นถึงเพดานไม่น้อยกว่า ๒ เมตร ส่วนที่ ๓ บันไดของอาคาร ข้อ ๒๓ บันไดของอาคารอยู่อาศัยถ้ามีต้องมีอย่างน้อยหนึ่งบันไดที่มีความกว้างสุทธิไม่ น้อยกว่า ๘๐ เซนติเมตร ช่วงหนึ่งสูงไม่เกิน ๓ เมตร ลูกตั้งสูงไม่เกิน ๒๐ เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อ หักส่วนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออกแล้วเหลือความกว้างไม่น้อยกว่า ๒๒ เซนติเมตร และต้องมีพื้น หน้าบันไดมีความกว้างและยาวไม่น้อยกว่าความกว้างของบันได บันไดที่สูงเกิน ๒ เมตร ต้องมีชานพักบันไดทุกช่วง ๓ เมตร หรือน้อยกว่านั้น และชาน พักบันไดต้องมีความกว้างและยาวไม่น้อยกว่าความกว้างของบันได ระยะดิ่งจากขั้นบันไดหรือ ชานพักบันไดถึงส่วนต�่ำสุดของอาคารที่อยู่เหนือขึ้นไปต้องสูงไม่น้อยกว่า ๑.๙๐ เมตร หมวด ๔ แนวอาคารและระยะต่าง ๆ ของอาคาร ข้อ ๔๒ ส�ำหรับอาคารที่ก่อสร้างหรือดัดแปลงใกล้แหล่งน�้ำสาธารณะขนาดใหญ่ เช่น บึง ทะเลสาบ หรือทะเล ต้องร่นแนวอาคารให้ห่างจากเขตแหล่งน�้ำสาธารณะนั้นไม่น้อยกว่า ๑๒ เมตร ทั้งนี้ เว้นแต่ สะพาน เขื่อน รั้ว ท่อระบายน�้ำ ท่าเรือ ป้าย อู่เรือ คานเรือ หรือที่ว่างที่ใช้ เป็นที่จอดรถไม่ต้องร่นแนวอาคาร
17
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๓. การวิเคราะห์ท�ำเลที่ตั้งของโครงการ ๓.๑ ข้อมูลจังหวัดกระบี่
ข้อมูลทั่วไป สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของจังหวัดกระบี่ ทางตอนเหนือประกอบด้วยเทือกเขายาว ทอดตัวไปในแนวเหนือใต้ สลับกับสภาพพื้นที่แบบลูกคลื่นลอนลาด และลอนชัน มีที่ราบชายฝั่ง ทะเลด้านตะวันตก บริเวณทางใต้ มีสภาพภูมิประเทศเป็นภูเขากระจัดกระจาย สลับกับพื้นที่ แบบลูกคลื่น ส่วนบริเวณทางตอนใต้สุดและตะวันตกเฉียงใต้ มีสภาพพื้นที่เป็นแบบลูกคลื่นลอน ลาดจนถึงค่อนข้างเรียบ และมีภูเขาสูงๆต�่ำๆ สลับกันไป บริเวณด้านตะวันตกมีลักษณะ เป็น ชายฝั่งติดกับทะเลอันดามันยาวประมาณ ๑๖๐ กิโลเมตร ประกอบด้วยหมู่เกาะน้อยใหญ่ ประมาณ ๑๓๐ เกาะ แต่เป็นเกาะที่มีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ ๑๓ เกาะ เกาะที่ส�ำคัญได้แก่ เกาะลันตา เป็นที่ตั้งของอ�ำเภอเกาะลันตา และเกาะพีพี ซึ่งอยู่ในเขตอ�ำเภอเมือง เป็นสถานที่ ท่องเที่ยวที่สวยงามติดอันดับของโลก บริเวณตัวเมืองมีแม่น�้ำกระบี่ ยาวประมาณ ๕ กิโลเมตร ไหลผ่านลงสู่ทะเลอันดามัน ที่ ต�ำบลปากน�้ำ นอกจากนี้ยังมีคลองปกาสัย คลองกระบี่ใหญ่ และ คลองกระบี่น้อย ซึ่งมี่ต้นก�ำเนิดมาจากเทือกเขาพนมเบญจา เทือกเขาที่สูงที่สุดในจังหวัดกระบี่
ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก
ข้อมูลเชิงสถิติการท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่
๓.๒ ความเป็นไปได้ในการลงทุนของโครงการ
จากการค�ำนวณ โดยการใช้ข้อมูลผลจากผลการส�ำรวจสถิติประช�ำกรนักท้องเที่ยวจ.กระบี่ ซึ่งจัดท�ำโดยกองสถิติ การ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ปี ๒๕๕๘ – ๒๕๖๐ โดยใช้สูตรของการค�ำนวณหาจ�ำนวนนักท่อง เที่ยวของโรงแรมและรีสอร์ทและความ ต้องการของห้องพัก ความต้องการห้องพัก = จ�ำนวนนักท่องเที่ยว × วันพักเฉลี่ย × 100 จ�ำนวนคนต่อห้องพัก × 365 × อัตราเข้าพัก
แผนภูมิที่ ๓.๑.๑ สถิติผู้มาเยี่ยมเยียนจังหวัดกระบี่
จดจังหวัดพังงา และจังหวัดสุราษฎร์ธานี จดจังหวัดตรัง และทะเลอันดามัน จดจังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดตรัง จดจังหวัดพังงา และทะเลอันดามัน
ตารางที่ ๓.๒.๑ ตารางเปรียบเทียบข้อมูลสถานพักเเรมปี ๒๕๕๘-๒๕๖๐ ที่มา; ส�ำนักงานสถิติจังหวัดกระบี่
ความต้องการของห้องพักคิดจากปี (พ.ศ. ๒๕๖๐) ความต้องการห้องพัก = 4,127,038 × 4.5 × 100 2.5 ×365 × 72.2 = 28,189
แผนภูมิที่ ๓.๑.๒ สถิติจ�ำนวนห้องพักปี ๒๕๕๒-๒๕๖๐
จากการค�ำนวนแสดงว่าตลาดการท่องเที่ยวของจังหวัดกระบี่ นักท่องเที่ยวมีแนวโน้มสูงขึ้นอยาง ต่อเนื่อง และจากการประมาณการความต้องการห้องพักในปี ๒๕๖๐ คาดว่ามีความต้องการ ห้องพักประมาณ ๒๘,๑๘๙ ห้อง ซึ่งยังขาด ห้องพักตามความต้องการ ๖,๕๔๒ ห้อง ดังนั้นจึงมี ความเป็นไปได้ที่จะสร้างโครงการโรงแรมในจังหวัดกระบี่ ตารางเเสดงรายละเอียดของรายรับส่วนที่พักของโครงการ
ตารางที่ ๓.๒.๒ การค�ำนวนผลตอบเเทนส่วนที่พักของโครงการ
รูปที่ ๓.๑.๑ เเสดงต�ำเเหน่งจังหวัดกระบี่บนเเผนที่ประเทศไทย
18
แผนภูมิที่ ๓.๑.๓ สถิติอัตราเข้าพักเฉลี่ยปี ๒๕๕๒-๒๕๖๐
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๓.๓ ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบโครงการโรงเเรมพักตากอากาศ จังหวัดกระบี่
หาดทับเเขก ประกอบด้วย ๑. Amari Vogue Krabi ๒. The Tubkaak Krabi Boutique Resort การศึกษาวิเคราะห์โครงการทีพ่ กั ตากอากาศ จังหวัดกระบี่ เเบ่งเป็น ๒ ลักษณะ ๓. Phulay Bay, A Ritz Carlton Reserve ๑. ประเภทของโครงการทีพ่ กั ตากอากาศคูเ่ เข่งทีอ่ ยูใ่ นบริเวณทีต่ งั้ โครงการ จังหวัดกระบี่ หาดคลองม่วง ประกอบด้วย ๑. Sofitel Krabi Phokeethra Golf & Spa Resort ๒. ประเภทของโครงการที่พักตากอากาศที่มีลักษณะที่ตั้งเเละราคาใกล้เคียงกับ ๒. Beyond Resort Krabi โครงการ หาดอ่าวนาง ประกอบด้วย ๑. Holiday Inn Resort Krabi Ao Nang Krabi ๒. Centara Grand Beach Resort and Villas ๑. ประเภทของโครงการทีพ่ กั ตากอากาศคูเ่ เข่งทีอ่ ยูใ่ นบริเวณทีต่ งั้ โครงการ จังหวัดกระบี่ ๓. Rayavadee Hotel พื้นที่ที่ท�ำการศึกษา ได้เเก่ หาดทับเเขก หาดคลองม่วง หาดอ่าวนาง
เกณฑ์ในการคัดเลือกกรณีศึกษา ได้เเก่ ๑. รีสอร์ทติดทะเล ๒. มาตราฐาน ๔ - ๕ ดาว ๓. มีกิจกรรมรองรับในรีสอร์ท ประเด็นในการศึกษา ได้เเก่ ๑. สิ่งอ�ำนวยความสะดวก (โครงการข้างเคียง หาดคลองม่วงและทับแขก) ๒. ราคาห้องพัก ๓. ขนาดห้องพัก โดยข้อมูลการศึกษาวิเคราะห์ ปรากฎดังตารางที่ ๕.๒.๑ เเละ เเผนภูมิที่ ๕.๒.๑ - ๕.๒.๒
Centara Grand Beach Resort and Villas Holiday Inn Resort Krabi Ao Nang Krabi Amari Vogue Krabi Phulay Bay, A Ritz Carlton Reserve
Rayavadee Hotel
The Tubkaak Krabi Boutique Resort
Sofitel Krabi Phokeethra Golf & Spa Resort
Beyond Resort Krabi
รูปที่ ๓.๓.๑ ภาพเเสดงต�ำเเหน่งโรงเเรมที่จะศึกษา
หาดทัทับบเเขก แขก Krabi
Amari Vogue Krabi
The Tubkaak Krabi Boutique Resort
Phulay Bay, A Ritz Carlton Reserve
หาดคลองม่ คลองม่วงวง Krabi
Sofitel Krabi Phokeethra Golf & Spa Resort
Beyond Resort Krabi
วนาง หาดอ่อ่าาวนาง Holiday Inn Resort Krabi Ao Nang Centara Grand Beach Resort and Rayavadee Hotel Krabi Villas รูปที่ ๓.๓.๒ ภาพโรงเเรมกรณีศึกษาต่างๆ
19
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
3 ไร่ 57 ห้อง 5ดาว 5,000-20,000 บาท
3 ไร่ 57 ห้อง 5ดาว 5,000-20,000 บาท
56 ไร่ 54 ห้อง 5 ดาว 12,000-68,000บาท
120 ไร่ 276 ห้อง 5 ดาว 4,000-36,000บาท
Amari Vogue
The Tubkaak
Phulay Bay
Sofitel HONEYMOON
๒. ประเภทของโครงการที่พักตากอากาศที่มีลักษณะที่ตั้งเเละราคาใกล้เคียงกับโครงการ พื้นที่ที่ท�ำการศึกษา เกาะพีพีดอน ประกอบด้วย ๑. Coco Beach Resort ๒. Villa 360 Phi Phi Island ๓. Phi Phi Island Village Beach Resort ๔. Zeavola Resort เกณฑ์ในการเลือกกรณีศึกษา ๑. โครงการมีหาดส่วนตัว ๒. ที่พักเป็น Villa ทั้งหมด ประเด็นในการศึกษาข้อมูล ๑. ประเภทของห้องพัก ๒. ขนาดห้องพัก ๓. ราคาห้องพัก
16 ไร่ 173 ห้อง 4 ดาว 2300-40,000บาท Beyond Resort HONEYMOON
หาดส่วนตัว สระว่ายนํ�า ภัตตาคาร สปา ห้องออกกําลังกาย ร้านค้า ร้านขายของที�ระลึก ห้องประชุม
เเผนภูมิที่ ๓.๓.๑ เเสดงการเปรียบเทียบราคาที่พักทั้งสามหาด
ห้องสมุด เรียนทําอาหาร กิจกรรมริมชายหาด
เรือคายัค
กีฬาทางนํ�า
กีฬาทางนํ�า
NAME
กีฬาทางนํ�า
บริการท่องเที�ยว บริการพี�เลี� ยงเด็ก บริการรถรับส่ง บริการเรือ กิจกรรมเสริม
เสียค่าใช้จ่าย ไป-กลับเกาะห้อง
เช่าเรือ สนามกอล์ฟ สนามเทนนิ ส มวยไทย
ตารางที่ ๓.๓.๑ ตารางส�ำรวจสิ่งอ�ำนวยความสะดวกโรงแรมข้างเคียง
สนามวอลเล่บอล
LOCATION (BEACH FRONT)
Coco Beach Resort
/
Villa 360 Phi Phi Island
/
Phi Phi Island Village Beach Resort
/
Zeavola Resort
/
ARCHITECTUR E
ROOM TPYE
1 2 3 4 5 /
/
PRICE
1 2 3 4 5
/
36 56
/
/
ROOM SIZE SQ.M.
7,500-11,000
/
7,500
59/79/110
/
16,000-25,00
60-120
/
10,000-28,000
ตารางที่ ๓.๓.๒ ตารางส�ำรวจโรงแรมข้างเคียง เเผนภูมิที่ ๓.๓.๒ ส�ำรวจขนาดห้องพักปของเเต่ละประเภท
บทสรุป
จาก ๓.๓ ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบโครงการประเภทรีสอร์ท ลักษณะเด็นของหาดคลองม่วง เป็นหาดทีม่ คี วามเงียบสงบเเละห่างไกลจากความวุน่ วาย ท�ำให้หาดคลองม่วงนัน้ เหมาะส�ำหรับผูท้ ตี่ อ้ งการมาพักผ่อนในระยะยาว รีสอร์ทบริเวณหาดคลอง ม่วงจึงมีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก เเละกิจกรรมต่าง ๆ ให้บริการเเก่เเขกที่เข้าพักอาศัย จึงท�ำให้ รีสอร์ททีต่ งั้ อยูบ่ นหาดคลองม่วงนัน้ มีราคาเริม่ ต้นทีค่ อ่ นข้างสูงกว่าหาดอืน่ ๆ
20
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๓.๔ วิเคราะห์สถานที่ตั้งโครงการ โครงการออกเเบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อม จังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่ทหี่ าดคลองม่วง หมูท่ ี่ ๒ บ้านคลองม่วง ต�ำบลหนองทะเล อ�ำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เป็นหาดทรายขาวนวล ทอดตัวยาวจากหาดอ่าวเสี้ยวทางด้านใต้ไปจนจรดหาดทับแขกทางทิศเหนือ เป็นหาดที่มีความ สวยงามในบรรยากาศเงียบสงบ อีกทั้งยังคงมีวิถีชีวิต เเละวัฒนธรรมพื้นถิ่นอยู่ที่หาดคลองม่วง เนื่องจากหาดคลองม่วงยังเป็นพื้นที่ที่มีชุมชนตั้งอยู่ ชาวบ้านส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ท�ำ อาชีพประมง ขายอาหารพืน้ ถิน่ ร้านเล็ก ๆ เเละรับจ้างขับเรือให้นกั ท่องเทีย่ วไปตามหมูเ่ กาะต่าง ๆ นอกจากการท่องเทีย่ วทางทะเล จังหวัดกระบีย่ งั มีสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วตามเเหล่งธรรมชาติอกี มากมาย เช่น น�้ำตก ป่าชายเลน สระมรกต ภูเขา เป็นต้น
รูปที่ ๓.๔.๑ เเเสดงต�ำเเหน่งที่ตั้งโครงการ หาดคลองม่วง จังหวัดกระบี่
จากรูปที่ ๓.๒.๒ วิเคราะห์สิ่งอ�ำนวยความสะดวกรอบที่ตั้งโครงการในรัศมี ๖ กิโลเมตร บริเวณหาดคลองม่วงไม่มสี ถานบันเทิงหรือบาร์มากนักมีเพียงร้านอาหารและบาร์เล็กๆ หาดคลอง ม่วงอยู่ห่างไกลจากความวุ่นวายและยังมีจ�ำนวนห้องพักไม่มากนัก จึงท�ำให้หาดคลองม่วงเหมาะ ส�ำหรับผู้ที่รักธรรมชาติและต้องการความเงียบสงบ รูปที่ ๓.๔.๒ เเผนภาพเเสดงต�ำเเหน่งร้านอาหารบริเวรหาดคลองม่วง (ซ้าย) เเผนภาพเเสดงต�ำเเหน่งโรงเเรมบริเวรหาดคลองม่วง (ขวา)
21
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๓.๔.๔ มุมมอง A
A
รูปที่ ๓.๔.๕ มุมมอง B
B
D
C E
รูปที่ ๓.๔.๓ เเผนภาพแสดงมุมมองของโครงการ
22
รูปที่ ๓.๔.๖ มุมมอง C
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
ขอบเขตที่ดินและระดับความสูงที่ดิน ลักษณะที่ดินทางภูมิศาสตร์ เป็นที่ดินไล่ระดับจากระดับน�้ำทะเลไปจนถึง ระดับสูงสุดที่ ๑๐ เมตรบริเวณริมถนนหน้าโครงการ
รูปที่ ๓.๔.๗ มุมมอง D
รูปที่ ๓.๔.๑๐ site contour
รูปที่ ๓.๔.๘ มุมมอง D
รูปที่ ๓.๔.๙ มุมมอง E
รูปที่ ๓.๔.๑๑ Sun & Wind diagram
23
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๓.๔.๑๒ รูปต�ำเเหน่งต้นใหญ่เดิมภายในโครงการ
รูปที่ ๓.๔.๑๓ รูปต้นไม้ใหญ่ภายในโครงการ
ต้นมะพร้าว 24
ต้นหูกวาง
ต้นมะขาม
ระบบนิเวศน์ของโครงการ ระบบนิเวศน์ภายในโครงการในปัจจุบันไม่มีระบบนิเวศน์ใดที่ซับซ้อน มีเพียงวัชพืชรกร้างที่ขึ้น ปกคลุมหน้าดิน ต้นกล้วย ฯลฯ เเละต้นไม้ใหญ่ เช่น ต้นมะพร้าว ต้นหูกวาง ต้นมะขาม เป็นต้น ต้นไม่ใหญ่เดิมที่เกิดขึ้นในโครงการจะเก็บรักษาไว้ทั้งหมด ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์หลักของโครงการ ที่จะสร้างสรรค์งานสถาปัตยกกรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อม คือ การเคารพต่อบริบทที่ตั้ง
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๔.รายละเอียดโครงการ ๔.๑ รายละเอียดโครงการด้านบริหาร เนื่องจากโครงการออกเเบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อม จังหวัดกระบี่ เป็นรีสอร์ท ที่มีห้องพักให้บริการ ๔๐ ห้อง โดยมีระบบการบริหารจัดการดังรูป ๔.๑.๑ รายละเอียดข้อมูล จากสมาคมโรงเเรมไทย เเละข้อมูลช่วงเวลาการให้บริการกิจกรรมต่างๆ ดังตารางที่ ๔.๑.๑
รูปที่ ๔.๑.๑ ผังโครงสร้างการบริหารจัดการของรีสอร์ท ที่มา: สมาคมโรงเเรมไทย, ๒๕๖๑
ตารางที่ ๔.๑.๑ เเสดงเวลาการใช้งานเเละให้บริการต่างๆ
25
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๔.๒ วิเคราะห์พฤติกรรมผู้เข้าใช้โครงการ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ (Ecotoursim) การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ หมายถึง รูปแบบการท่องเที่ยวทางธรรมชาติอย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ในการได้รับประสบการณ์สัมผัสกับธรรมชาติ การเรียนรู้ธรรมชาติ หรือมีการ จัดการที่ควบคุมการส่งผลกระทบต่อธรรมชาติ ให้น้อยที่สุด ในลักษณะการมีส่วนร่วมในการ อนุรักษ์และดูแลรักษาพื้นที่ทางธรรมชาตินั้นๆ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์จะช่วยลดผลกระทบ ด้านลบของการท่องเทีย่ วรูปแบบดัง้ เดิม ส่งเสริมทางวัฒนธรรมและสนับสนุนเศรษฐกิจในท้องถิน่
บริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม คือ กระบวนการผลิต (process) กระบวนการใช้ (usage) ที่ท�ำลายสิ่งแวดล้อมและปล่อยมลพิษน้อยที่สุด • ภาชนะท�ำจากวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ง่าย อาคารที่มีการออกแบบให้ประหยัด พลังงาน • การบริการทีค่ ำ� นึงถึงปัญหาสิง่ แวดล้อม เช่น ร้านอาหารหรือธุรกิจโรงแรม ทีม่ กี ระบวนการ คัดแยะขยะ หรือ มาตรการบ�ำบัดน�ำ้ เสียก่อนระบายสูแ่ หล่งสาธารณะ
Green Tourism
Green Hotel รูปที่ ๔.๒.๑ เเสดงเเผนผังประเภทกลุ่มนักท่องเที่ยว ที่มา: www.tourismnotes.com, 2018
26
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
โครงการออกเเบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อม จังหวัดกระบี่ มีกลุ่มลูกค้า ที่เป็นเป้าหมายหลัก คือ นักท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ที่มาในรูปเเบบของคู่รักที่มีช่วงอายุ มากกว่า ๒๐ ปีขึ้น เเละรูปเเบบของครอบครัวที่มีเป็นผู้ใหญ่อายุมากว่า ๓๐ ปี เเละมีลูกเล็กที่มีอายุไม่ เกิน ๑๕ ปี เนื่องจากโครงการเหมาะส�ำหรับเเขกที่ต้องการเดินทางมาพักผ่อนช่วงวันหยุดยาว ในบรรยากาศที่เงียบสงบที่โอบกอดด้วยธรรมชาติ ได้สัมผัสกับวิถีชีวิต เเละวัฒนธรรมพื้นบ้าน ของจังหวัดกระบี่
เปอร์เซ็นช่วงวัยของแขกที่เข้าพัก 10
40
50
วัยรุน่
ผูใ้ หญ่
สูงอายุ
ชาวยุโรป ชาวเอเชีย
90 % 10 %
เเผนภูมิที่ ๔.๒.๑ เเสดงเเผนผังประเภทกลุ่มนักท่องเที่ยว
COUPLE Age | > 20 yrs
FAMILY Age | < 15 yrs. > 30 yrs
27
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๔.๓ รายละเอียดกิจกรรมในโครงการ
กิจกรรม
04.00 06.00 08.00 10.00 12.00 14.00 16.00 18.00 20.00 22.00 24.00 02.00 06.00 08.00 10.00 12.00 14.00 16.00 18.00 20.00 22.00 24.00 02.00 04.00
วิธีประมงพื้นบ้าน
หัตกรรมพื้นบ้าน
ท�ำขนมพื้นถิ่น
นวดแผนไทย
ท�ำความสะอาดชาดหาด ตารางที่ ๔.๓.๑ เเสดงรายการกิจกรรมต่างๆของโครงการเเละเวลาจัดกิจกกรรม
28
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๔.๔ รายละเอียดโครงการด้านพื้นที่ใช้สอย FRONT - OF –THE HOUSE องค์ประกอบ
BACK – OF- THE HOUSE จ�านวน (คน)
จ�านวน (หน่วย)
พืน้ ที่หน่วย (ตร.ม.)
executive officer
1
1
25
25
secretary office
1
1
16
16
accounting officer
1
1
16
16
Meeting Room
10
1
30
30
Panty
1
8
8
Storage
1
5
5
Restrooms
2
12
24
CCTV Room
1
15
15
Equipment Room
1
15
15
Linen Room
1
30
30
Panty
1
8
8
Restrooms
6
1.5
9
maintenance shop
1
25
25
electrical system
1
32
32
Generator
1
28
28
Water System
1
30
30
sanitary system
1
30
30
90
garbage
1
25
25
ห้องพักช่าง
1
25
25
Restrooms
6
1.5
9
General Parking
14
12.5
175
Staff Parking
10
12.5
125
Service Parking
2
30
60
พืน้ ที่รวม (ตร.ม.)
Accommodation Tropical Villa
24
54
1,296
Grand Villa
14
82
1,607.2
Pool Villa
2
199
468 100
Main Lobby
50
1
100
-Front Reception
3
1
12
-Waiting Area
25
1
30
1
9
1
3
1
9
-Storage -Bell man station
2
-Luggage Storage
Housekeeping Department 63
WC (Man)
6
6
4
24
WC (Woman)
6
6
4
24
Swimming Pool
1
300
300
Pool Bar
1
12
12
Souvenir Shop
1
40
40
-Main Kitchen
1
30
-Main storage
1
60
1
150
150
Bar
1
25
25
Staff Area
1
12
12
Loading
1
12
12
Storage
1
12
12
Food Preparation Department
Restaurant
100
WC (Man)
6
6
4
24
WC (Woman)
6
6
4
24
-Handicraft
20
1
30
30
-Local Cooking
20
1
30
30
-Local Massage
5
1
30
30
-Waiting Area
20
1
30
30
1
12
12
Activities
-Storage
Service
Parking
740 Circulation 30%
222
รวม
962 ตารางที่ ๔.๔.๑ เเสดงรายรายละเอียดพื้นที่ใช้สอยโครงการ
4,415 Circulation 30%
1,324.56
รวม
5,739.56
29
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๕. กรณีศึกษาวิเคราะห์อาคารประเภทเดียวกัน ๕.๑ อาคารกรณีศึกษาภายในประเทศ
PHULAY BAY สถาปนิก Bunnag Architects ที่ตั้ง Krabi, Thailand ขนาดที่ดิน ๖๒ ไร่ ปีก่อสร้าง พ.ศ. ๒๕๕๒ แนวความคิดในการวางผังบริเวณและผังพื้น การวางผังโครงการมีแนวความคิดในการเปิดมุมมองทะเล เนือ่ งจากทีต่ งั้ โครงการอยูต่ ดิ ชายทะเลเป็นแหลมยื่นออกไป สามารถมองเห็นวิวทะเลได้หลายทิศทาง ท�ำให้การวางตัวอาคาร เป็นแบบหลังเล็กๆ เป็นกลุ่มอาคารตามประเภทของห้องพัก จะกระจายตัวอาคารทั่วบริเวณ มี ทิศทางเปิดมุมมองสู่ทะเล มีการเชื่อมต่อส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยทางเดินที่ลัดเลาะไปตามภูมิปะเทศ ของที่ดิน พื้นที่ดินมีความชันที่ไม่มาก แนวความคิดในการออกแบบประโยชน์ใช้สอย ผู้พักจะสัมผัสกับส่วนต้อนรับที่เป็นศาลาไทย มีรูปแบบสถาปัตยกรรมที่น่าสนใจ เชื่อม ต่อกันส่วนสนับสนุนและส่วนบริการต่าง ๆ มีทางเชื่อมไปยังส่วนห้องพักแต่ละประเภทที่กระจาย อยู่ภายในโครงการ ส่วนบริการ อาทิ ศาลาพักผ่อน ร้านอาหาร สระว่ายน�้ำ ถูกจัดวางให้เห็นวิว ทะเลและแทรกตัวอยู่พื้นที่ ส่วนห้องพักมีทั้งที่เป็นอาคารสองชั้น และเป็นวิลล่าหลังเล็ก ๆ จะ สามารถมองเห็นวิวทะเลได้หมด แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปัตยกรรม ถ่ายทอดรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบไทยดั้งเดิมแต่ผสมผสานความเรียบง่ายของสมัย ใหม่ เปิดการรับรู้ที่ว่างตรงส่วนทางเข้าหลักได้อย่างน่าสนใจ ด้วยก�ำแพงทึบสูงเข้าสู่พื้นที่ต้อนรับ ที่เป็นศาลากลางน�้ำ สร้างความประทับใจให้เกิดขึ้น ภายในโครงการมีการวางต�ำแหน่งที่ว่าง แทรกตัวไปกับส่วนที่พักแบบต่าง ๆ มีการใช้โครงสร้างอาคารไม้ โครงสร้างหลังคาไม้ เพื่อ สะท้อนความเป็นสถาปัตยกรรมแบบดัง้ เดิม แต่กย็ งั มีการผสมผสานกับคอนกรีตอย่างลงตัว มีการ ให้สีวัสดุ และการเปิดช่องแสงในแบบต่าง ๆ ที่สร้างบรรยากาศไปในตัว
รูปที่ ๕.๑.๑ รูปภาพกรณีศึกษาโครงการ PHULAY BAY ที่มา: www.ritzcarlton.com, 2019
30
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๕.๒ อาคารกรณีศึกษาในต่างประเทศ MAYA UBUD สถาปนิก Denton Corker Marshal ที่ตั้ง Bali, Indonesia ขนาดที่ดิน ๑๐ acres (๒๕.๓ ไร่) ปีก่อสร้าง ไม่ปรากฏ แนวความคิดในการวางผังบริเวณและผังพื้น ที่ตั้งโครงการตั้งอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ กลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวกัน การวางผังของ โครงการถอดตัวยาวทางทิศเหนือจรดทิศใต้ เปิดมุมมองที่เป็นจุดส�ำคัญสองด้าน คือ ทางด้านทิศ ตะวันออกที่มีล�ำธารไหลเล็ก ๆ ไหลผ่าน แวดล้อมด้วยธรรมชาติ และทิศตะวันตกที่ติดกับพื้นที่ แปลงนาท�ำการเกษตรกรรม ภาพรวมของการวางผังบริเวณ ทางเข้าหลักของโครงการเข้ามายัง ส่วนพื้นที่ส่วนกลางที่อยู่บริเวณโซนกลางแล้วแจกสู่บริเวณส่วนต่าง ๆ และส่วนห้องพักปีกซ้าย และขวากระจายตัวยาวเพื่อความเป็นส่วนตัวของห้องพัก ไม่บดบังทัศนียภาพกัน ทางเดินเชื่อม ส่วนต่าง ๆ ลัดเลาะไปตามภูมิประเทศ เปิดมุมมองของธรรมชาติที่น่าสนใจ ส่วนสปาตั้งอยู่ติดกับ ริมลาธาร ลักษณะทางภูมิประเทศของที่ดินโดยทั่วไป มีความชันที่ไล่ระดับจากบริเวณโซนส่วน กลางลงไปสู่ส่วนห้องพัก แนวความคิดในการออกแบบประโยชน์ใช้สอย ทางเข้าหลักของโครงการลัดเลาะ ขนาบด้วยต้นไม้ น�ำผู้พักเข้าสู่ส่วนต้อนรับที่ถูกวาง อยู่บริเวณสูงสุดของโครงการและบริเวณโซนกลาง เปิดมุมมองให้เห็นภาพรวมทั้งหมดที่แวดล้อม ด้วยธรรมชาติ ซึ่งส่วนกลางจะประกอบด้วย ส่วนสนับสนุนต่าง ๆ อาทิ ส่วนต้อนรับ บาร์ ห้อง อาหาร ห้องดูหนัง ห้องสมุด เลาจน์ สระว่ายน�้ำ เป็นต้น ส่วนสนับสนุนเพิ่มเติม อาทิ สนาม เทนนิส ส่วนฟิตเนสและโยคะ ส่วนสปา จะกระจายตัวอยู่กับส่วนห้องพัก จากส่วนกลางแจกสู่ ส่วนห้องพัก เชื่อมต่อด้วยทางเดินไปตามลักษณะภูมิประเทศ ซึ่งห้องพักจะแทรกตัวอยู่กับ ธรรมชาติ เพิ่มความเป็นส่วนตัวและเปิดมุมมองได้ทุกห้อง แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงและที่ว่างสถาปัตยกรรม รูปแบบทางสถาปัตยกรรม tropical แบบบาหลีดั้งเดิม แสดงเอกลักษณ์ของบ้านพื้น เมืองบาหลี โดยมีแกนยึดในการวางผังโดยรวม เน้นการเปิดโล่ง เปิดมุมมอง สลับกับจังหวะของ เสาไม้ที่รับโครงสร้างหลังคา ส่วนหลังคาโดยรวมเป็นทรงปั้นหยามีชายค�ำยื่น มีการเน้นส่วน ต้อนรับด้วยการสร้างการรับรู้ด้วยภาษาทางสถาปัตยกรรมที่แตกต่าง รูปแบบหลังคาที่ดูน่าสนใจ มีความสูงชันและแตกต่างจากส่วนอื่น ๆ บริเวณส่วนสนับสนุนที่ไม่ต้องการเปิดมุมมองจะเป็น โครงสร้างผนังทึบ ส่วนห้องพักจะมีซุ้มประตูทางเข้าเป็นตัวบ่งบอก การสร้างที่ว่างของโครงการ จะกระจายพื้นที่เปิดโล่งเป็นกลุ่ม ๆ อาคารตามประเภทของห้องพักสลับกับทางเดินที่แทรกตัว กับธรรมชาติ โดยจะแทรกส่วนสนับสนุนเพิ่มเดิมเข้าไปในแต่ละบริเวณ
รูปที่ ๕.๑.๒ รูปภาพกรณีศึกษาโครงการ MAYA UBUD ที่มา: www.mayaresorts.com, 2019
31
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๖ ผลงานการออกแบบ ๖.๑ แนวความคิดในการออกแบบ
Concept : Holistic Approoach การหลอมรวมสิ่งเเวดล้อมต่างๆเข้าด้วยกันอย่างเป็นองค์รวม ๑. ด้านการท่องเที่ยว รองรับนักท่องเที่ยวที่มีความสนใจในการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ๒. ด้านสิ่งแวดล้อม บริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กระบวนการผลิต (process) กระบวนการใช้ (usage) ที่ท�ำ ลายสิ่งแวดล้อมและปล่อยมลพิษมน้อยที่สุด ๓. ด้านชุมชน ส่งเสริมผลผลิตในท่องถิ่นจากการน�ำสินค้ามาขายและใช้ในโครงการ Thesis question : รีสอร์ทสามารถอยู่ร่วมกับสภาพแวดล้อมได้อย่างยั่งยืนอย่างไร ? Thesis value : เนื่องจาก site ไม่มีระบบนิเวศน์ที่ซับซ้อนดังนั้น eco รีสอร์ทนี้คือ ๑. การบริหารจัดการในเรื่องของการใช้ทรัพยากร / การปล่อยน�้ำเสีย / ขยะ / การเลือกใช้วัสดุ / การใช้น�้ำฝน เพื่อให้การท�ำลายธรรมชาตินั้นน้อยลง ๒. การใช้พลังงานสะอาด ๓. การมีส่วนร่วมทั้งนักท่องเที่ยวและบุคคลากร
รูปที่ ๖.๑.๑ ภาพเเสดงการเชื่อมโยงองค์ประกอบ Holistic Approoach ที่มา: www.interaction-design.com, 2016
32
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๖.๑.๑.กระบวนการท�ำงาน ลงพื้นที่ส�ำรวจชุมชนรอบ ๆ ของโครงการ เนื่องจากการออกแบบเพื่อความยั่งยืนมีทั้งด้านสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
การออกเเบบรีสอร์ทที่เป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อมนั้น ต้องให้ความส�ำคัญของการมีส่วนร่วมของชุมชน กระบวนการท�ำงานของโครงการออกเเบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิง่ เเวดล้อม จึงต้องมีการลงพืน้ ทีส่ ำ� รวจชุมชน พื้นที่ที่ท�ำการลงส�ำรวจ ได้เเก่ ๑. หมู่บ้านชาวประมง ๒. หมู่บ้านนาตีน ๓. หมู่บ้านเกาะกลาง วัตถุประสงค์ของการลงชุมชน ๑. การส�ำรวจกายภาพ ๒. การส�ำรวจวิถีชีวิต ๓. การส�ำรวจภูมิปัญญา วิธีการที่ใช้ส�ำรวจ ๑. การส�ำรวจกายภาพ โดย การพูดคุยกับคนในพื้นที่ เเละการสังเกตุ ๒. การส�ำรวจวิถีชีวิต โดย การพูดคุยกับคนในพื้นที่ เเละส�ำรวจกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชน ๓. การส�ำรวจภูมิปัญญา โดย การพูดคุยกับคนในพื้นที่ เเละส�ำรวจผลิตภัณฑ์ในชุนชน ๑. หมู่บ้านชาวประมง
เนื่องจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก�ำหนดเขตพื้นที่และมาตรการ คุ้มครองสิ่งแวดล้อมบริเวณหาดคลองม่วง ห้ามใช้เครื่องมือท�ำประมงในเชิงพาณิชย์ที่ท�ำลายท้อง ทะเล จึงท�ำให้หมู่บ้านชาวประมงหาดคลองม่วงที่ยังคงมีวิถีชีวิตการท�ำประมงเเบบพื้นบ้านไว้ ออกเรือตามฤดูกาลส่วนใหญ่เป็นเรือไดร์หมึก เเละเรือปลากระตัก หมู่บ้านชาวประมงอยู่ห่าง จากโครงการเพียง ๔๐๐ กิโลเมตร กิจกรรม สัมผัสวิถีชีวิตของชาวประมงพื้นบ้าน ผลิตภัณฑ์ชุมชน อาหารทะเล
400 ม.
รูปที่ ๖.๑.๑.๑ ภาพบรรยากาศหมู่บ้านชาวประมง
รูปที่ ๖.๑.๑.๒ เเสดงต�ำเเหน่งหมู่บ้านชาวประมง หมู่บ้านชาวประมง ที่ตั้งโครงการ
33
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
หมู่บ้านนาตีน หมู่บ้านนาตีน ต�ำบลอ่าวนาง อ�ำเภอเมือง ท�ำอาชีพสวนยางและท�ำประมงเป็นอาชีพ เสริม ภายหลังเมื่อเมื่อการท่องเที่ยวเริ่มเข้ามาหมู่บ้านนาตีนได้พัฒนาเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์มีโฮมสเตย์บริการนักท่องเที่ยว รวมทั้งผลิตหัตถกรรมของที่ระลึก โดยการกลุ่มเยาวชน และชาวบ้าน หมู่บ้านนาตีนอยู่ห่างจากโครงการ ๘ กิโลเมตร กิจกรรม ๑. สัมผัสวิถีชีวิตของชาวประมงพื้นบ้าน ๒. สาธิตวิธีการท�ำอาหารและขนมพื้นบ้าน ๓. สาธิตการกรีดยางพารา ๔. ท�ำของที่ระลึกจากกะลามะพร้าว ๕. ท�ำผ้าปาเต๊ะ ผลิตภัณฑ์ชุมชน ๑. ผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว ๒. ผ้าปาเต๊ะ ๓. เครื่องจักสานเตยปาหนัน ๔. ผลิตกระดาษใยสับปะรด ๕. เรือหัวโทงจ�ำลอง 8 กม.
รูปที่ ๖.๑.๑.๓ เเสดงต�ำเเหน่งหมู่บ้านนาตีน หมู่บ้านนาตีน ที่ตั้งโครงการ
34
รูปที่ ๖.๑.๑.๔ ภาพบรรยากาศ เเละผลิตภัณฑ์ชุมชนหมู่บ้านนาตีน ที่มา: www.right-livelihoods.org
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
หมู่บ้านเกาะกลาง บ้านเกาะกลาง ต�ำบลคลองประสงค์ เกาะใหญ่กลางแม่น�้ำกระบี่ แหล่งท่องเที่ยววิถี ชุมชนใกล้ตัวเมืองกระบีที่ยังคงวิถีชีวิตดั้งเดิม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่อยู่ท่ามกลางธรรมชาติ ของป่าโกงกางและทิวทัศน์ของแม่น�้ำกระบี่ หมู่บ้านเกาะกลางอยู่ห่างจาก ๒๔ กิโลเมตร กิจกรรม ๑. การท�ำนาข้าว ๒. การเลี้ยงผึ้งโพรง ๓. การท�ำประมงโป๊ะน�้ำตื้น ๔. การสักหอย ๕. การลอบปู ผลิตภัณฑ์ชุมชน ๑. ผ้าปาเต๊ะ ๒. การท�ำเรือหัวโทงจ�ำลอง ๓. ข้าวสังข์หยด ๔. อาหารทะเล 23 กม. เรือข้ามฝั่ ง 5 นาที 1 กม.
รูปที่ ๖.๑.๑.๖ เเสดงต�ำเเหน่งหมู่บ้านเกาะกลาง หมู่บ้านเกาะกลาง ที่ตั้งโครงการ
บทสรุป ข้อมูลที่ได้จากการลงพื้นที่ส�ำรวจชุมชนรอบ ๆ ของโครงการ น�ำมาใช้ในรีสอร์ท ดังนี้ ๑. ผลิตภัณฑ์ที่น�ำมาใช้ในรีสอร์ท ได้เเก่ ๑.๑ อาหารทะเล ข้าวสังข์หยด สมุนไพรพื้นบ้าน ๑.๒ ผลิตภัณฑ์ ได้เเก่ ผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว เครือ่ งจักสาน ผ้าปาเต๊ะ ๒. กิจกรรมการมีส่วนร่วมกับชุมชน ๒.๑ จัดตลาดเช้าเพือ่ ให้ชาวบ้าน น�ำอาหาร เเละขนมพืน้ ถิน่ เข้ามาขายในรีสอร์ท ๒.๒ จัดจ้างชาวบ้านเข้ามาท�ำกิจกรรม สอนท�ำผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว เครื่องจักสาน ขนนพื้นถิ่น เเละเรียนรู้วิถีชีวิตชาวประมงพื้นบ้าน ๒.๓ ให้บริการนวดเเผนไทย เเละประคบด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน รูปที่ ๖.๑.๑.๕ ภาพบรรยากาศ เเละผลิตภัณฑ์ชุมชนหมู่บ้านเกาะกลาง ที่มา: www.chailaibackpacker.com
35
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
บทสรุป ที่ตั้งโครงการ โครงการออกเเบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อม จังหวัดกระบี่ ตั้งอยู่ทหี่ าดคลองม่วง หมูท่ ี่ ๒ บ้านคลองม่วง ต�ำบลหนองทะเล อ�ำเภอ เมือง จังหวัดกระบี่ เป็นหาดทรายขาวนวลทอดตัวยาวจากหาดอ่าวเสี้ยว ทางด้านใต้ไปจนจรดหาดทับแขกทางทิศเหนือเป็นหาดที่มีความสวยงาม ในบรรยากาศเงียบสงบ อีกทั้งยังคงมีวิถีชีวิต เเละวัฒนธรรมพื้นถิ่นอยู่ที่ หาดคลองม่วงเนือ่ งจากหาดคลองม่วงยังเป็นพืน้ ทีท่ ี่มชี มุ ชนตัง้ อยู่ ชาวบ้าน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ท�ำอาชีพประมง ขายอาหารพื้นถิ่นร้าน เล็ก ๆ เเละรับจ้างขับเรือให้นกั ท่องเทีย่ วไปตามหมูเ่ กาะต่าง ๆ นอกจาก การท่องเที่ยวทางทะเล จังหวัดกระบี่ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวตามเเหล่ง ธรรมชาติอีกมากมาย เช่น น�้ำตก ป่าชายเลน สระมรกต ภูเขา เป็นต้น
ชุมชน
ข้อมูลที่ได้จากการลงพื้นที่ส�ำรวจชุมชนรอบ ๆ ของโครงการ น�ำมาใช้ใน รีสอร์ท ดังนี้ ๑. ผลิตภัณฑ์ที่น�ำมาใช้ในรีสอร์ท ได้เเก่ ๑.๑ อาหารทะเล ข้าวสังข์หยด สมุนไพรพื้นบ้าน ๑.๒ ผลิตภัณฑ์ ได้เเก่ ผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว เครือ่ งจักสาน ผ้าปาเต๊ะ ๒. กิจกรรมการมีส่วนร่วมกับชุมชน ๒.๑ จัดตลาดเช้าเพื่อให้ชาวบ้าน น�ำอาหาร เเละขนม พืน้ ถิน่ เข้ามาขายในรีสอร์ท ๒.๒ จัดจ้างชาวบ้านเข้ามาท�ำกิจกรรม สอนท�ำผลิตภัณฑ์ จากกะลามะพร้าว เครื่องจักสาน ขนนพื้นถิ่น เเละ เรียนรู้วิถีชีวิตชาวประมงพื้นบ้าน ๒.๓ ให้บริการนวดเเผนไทน เเละประคบด้วยสมุนไพร พื้นบ้าน เเนวความคิดในการออกเเบบที่ได้จากการลงพื้นที่ จากการลงส�ำรวจชุมชนรอบ ๆ โครงการ ได้มีสังเกต space ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน ซึ่งเป็นความไม่สมบรูณ์เเบบที่ไม่ได้เกิดจาก ฝีมือสถาปนิก เเละน�ำการตีความพื้นที่ต่าง ๆ นี้มาใช้ในโครงการ เพื่อให้ รีสอร์ทนั้นมีความเป็นมิตรเเละกลมกลืนกับชุมชนรอบ ๆ ดังนี้ ๑. ผังเเม่บท ความไม่เป็นระเบียบของผังที่ไม่ได้เกิดจากจัดการ ของสถาปนิก ๒. เส้นทางสัญจร ทางเดินที่ไม่ได้เป็นเส้นตรง ซึ่งเกิดจากการจัดผังที่ ไม่เป็นระเบียบ ๓. ขอบเขต ไม่มีการใช้รั่ว สูง ทึบ ในการสร้างขอบเขต 36
องค์ประกอบของความยั่งยืน โครงการออกเเบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อม จังหวัดกระบี่ ได้ออกเเบบเพื่อให้เกิดความยั่งยืนดังต่อไปนี้ ๑. ด้านการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนี้ ๑.๑ การมีส่วนร่วมกับท้องถิ่นเเละชุมชน มีการคัดเลือกซื้อ ผลิตภัณฑ์หรือวัสดุที่หาได้ในท้องถิ่น หรือในจังหวัดกระบี่ เพื่อลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการผลิต และบริการ ๑.๒ การจัดการสิง่ แวดล้อมและพลังงาน ได้เเก่ การจัดการน�ำ้ เสีย การจัดการขยะ การใช้พลังงานสะอาด เเละรับผิดชอบต่อสิง่ เเวด ล้อม รอบ ๆ โครงการ ๑.๓ การรักษาสิง่ แวดล้อม และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ ได้เเก่ ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของบุคคลากรกับเเขกทีเ่ ข้าพักในรีสอร์ท ในการมีสว่ น ร่วมการท�ำความสะอาดชายหาด ๒. ด้านการออกเเบบสถาปัตยกรรมยั่งยืน ดังนี้ ๒.๑ การเคารพในที่ตั้ง ได้เเก่ การรักษาเเผ่นดิน เเละรักษา ต้นไม้ใหญ่ภายในโครงการทั้งหมด ๒.๒ การออกเเบบให้อาคารใช้ประโยชน์จากพลังงานธรรมชาติ ได้เเก่ การระบายความร้อนภายในอาคาร การใช้เเสงสว่างจากดวง อาทิตย์ในเวลากลางวัน ๒.๓ การประหยัดพลังงาน ได้เเก่ การใช้พลังงานทดเเทนเเละ พลังงานหมุมเวียน เช่น การใช้พลังงานจากดวงอาทิตย์ การใช้เทคโนโลยี ในการผลิตน�้ำอุ่นจากการระบายความร้อนของเเอร์ เเละการบ�ำบัดน�้ำ เสียเพื่อน�ำกลับมาใช้ในการอุปโภค ๒.๔ การเลือกใช้วสั ดุทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ เเวดล้อม ได้เเก่ การใช้ไม้ ดิน เเละวัสดุสังเคราะห์ที่ไม่สร้างมลภาวะต่อสิ่งเเวดล้อม
เเนวความคิดในการออกเเบบ
ที่ตั้ง หาดคลองม่วง หมูท่ ี่ ๒ บ้านคลองม่วง ต�ำบลหนองทะเล อ�ำเภอ เมือง จังหวัดกระบี่ การเลือกที่ตั้งนี้อันเนืองมาจาก โครงการออกเเบบรี สอร์ทเป็นมิตรต่อสิง่ เเวดล้อม จะต้องมีธรรมชาติทอี่ ดุ มสมบรูณเ์ เละสวยงาม โดยมีเป้าหมายการออกเเบบให้ท�ำลายธรรมชาติให้ได้น้อยที่สุด กิจกรรม ๑. เรียนรู้วิถีชีวิตการท�ำประมงเเบบพื้นบ้าน ๒. สอนท�ำหัตกรรมพื้นบ้าน ๓. สอนท�ำขนมพื้นถิ่น ๔. นวดเเผนไทย ๕. การมีส่วนร่วมท�ำความสะอาดชายหาด การออกเเบบผัง ๑. ออกเเบบต�ำเเหน่งของอาคาร เเละเส้นทางสัญจร ให้รู้สึก ผ่อนคลาย เเละไม่เป็นเส้นตรง ๒. ใช้พชื พรรณ ต้นไม้ ในการเเสดงขอบเขต เเละจัดทัศนียภาพ ทีส่ วยงาม ๓. จัดวางผังอาคารให้เอือ้ ต่อการมองเห็นวิวทะเลทุกอาคาร ๔. ออกเเบบผังเพื่อให้สะดวกต่อการใช้งานเเละการรักษาความ ปลอดภััย การออกเเบบงานสถาปัตยกกรม ๑. รูปเเบบงานสถาปัตยกรรม ๑.๑ ออกเเบบรูปทรงเเละตกเเต่งภายในที่เรียบง่าย เเละมีกลิ่นอายความเป็นพื้นถิ่น ๑.๒ ออกเเบบให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ เช่น หลัง คายื่นเเละต�่ำ เพื่อป้องกันเเสงเเดด เเละป้องกันฝนใน ช่วงมรสุม ๒. การออกเเบบให้อาคารใช้ประโยชน์จากพลังงานธรรมชาติ ๒.๑ การระบายความร้อนภายในอาคาร ๒.๒ การใช้เเสงสว่างจากดวงอาทิตย์ในเวลากลางวัน ๓. การออกเเบบคารประหยัดพลังงาน ๓.๑ การใช้พลังงานจากดวงอาทิตย์ ๓.๒ การใช้เทคโนโลยีในการผลิตน�้ำอุ่นจากการ ระบายความร้อนของเเอร์ ๓.๓ การเก็บน�้ำฝนเพื่อใช้ลดน�้ำต้นไม้ ๓.๔ การบ�ำบัดน�้ำเสียเพื่อน�ำกลับมาใช้ในการอุปโภค ๔. การเลือกใช้วสั ดุทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ เเวดล้อมเเละหาได้ในท้องถิน่ ไม้ ไม้ไผ่ ดิน เเละวัสดุสงั เคราะห์
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๑.๑.๗ ภาพมุมมองภาพรวมส่วนที่พัก
37
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
Design concept
จากการลงส�ำรวจชุมชนรอบ ๆ โครงการ ได้มีสังเกต space ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน ซึ่งเป็นความไม่สมบรูณ์เเบบที่ไม่ได้เกิดจากฝีมือสถาปนิก เเละน�ำการตีความพื้นที่ต่าง ๆ นี้มาใช้ ในโครงการ เพื่อให้รีสอร์ทนั้นมีความเป็นมิตรเเละกลมกลืนกับชุมชนรอบ ๆ ดังนี้ ๑. ผังเเม่บท ความไม่เป็นระเบียบของผังที่ไม่ได้เกิดจากจัดการของสถาปนิก ๒. เส้นทางสัญจร ทางเดินที่ไม่ได้เป็นเส้นตรง ซึ่งเกิดจากการจัดผังที่ไม่เป็นระเบียบ ๓. ขอบเขต ไม่มีการใช้รั่ว สูง ทึบ ในการสร้างขอบเขต
ผังเเม่บท
เส้นทางสัญจร
ขอบเขต รูปที่ ๖.๑.๑.๘ เเผนภาพเเสดงการตีความพื้นที่ต่างๆจากชุมชน
38
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
๖.๒ ผลงานการออกเเบบขั้นสมบรูณ์
จากรูปที่ ๖.๒.๑ การจัด Zonning ภายในโครงการ ส่วนของพื้นที่ public จะอยู่กลาง site เนื่องจากชายหาดบริเวณนี้มีโขดหินค่อนข้างเยอะซึ่งไม่สามารถเล่นน�้ำได้ จึงใช้เป็นพื้นที่ ส�ำหรับท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ในส่วนของห้องพักจะเป็นสองฝัง่ โดยทีท่ กุ หลังสามารถมองเห็นวิวทะเลเเละ บริเวณชายหาดสามารถเล่นน�้ำได้ สุดท้ายส่วนของ service จะอยู่ใกล้กับถนนเพื่อง่ายต่อการ เข้าถึงเเละสะดวกต่อการรักษาความปลอดภัย
LOBBY RESTAURANT / CAFE / POOL
ACTIVITIES ACCOMMODATION SERVICE รูปที่ ๖.๒.๑ Zonning
PARKING
39
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
11
12
13
10
3 1
4
9 8
2
14 3
7 6
5
10 12 13 11
KEY PLAN 1. DROP OFF 2. RECEPTION 3.BACK OF THE HOUSE 4. RESTAURANT 5. SPA
6. SEIMMING POOL 7. RECEPTION 8. ACTIVITIES 9. QUAY 10. POOL VILLA FAMILY
11. POOL VILLA 12. TROPICAL VILLA 13. M&E 14. CAR PARK รูปที่ ๖.๒.๒ Master plan
40
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๓ ภาพมุมมองภายในห้องรับรอง
41
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
3
10
9 2
MASTER PLAN
10 KEY PLAN 1. Reception 2. Waiting Area 3. Bell man station
4. Luggage Storage 5. Storage 6. Living Room
42
7. Meeting Room 8. Office 9. Panty
1
4 5
10
8 6
7
10. Toilet
รูปที่ ๖.๒.๔ ผังอาคารส่วน ห้องรับรอง เเละออฟฟิศ
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๕ รูปด้านอาคารส่วนห้องรับเเขก เเละออฟฟิศ ๑ (ซ้ายบน) รูปด้าน ๒ (ขวาบน) รูปด้าน ๓ (ซ้ายล่าง) รูปด้าน ๔ (ขวาล่าง)
โถงต้อนรับ
เเนวคิดในการออกเเบบ อาคารตอนรับจะอยู่บริเวณหน้าโครงการ เพื่อสะดวกต่อการติดต่อกับ reception โดย ทีเ่ เขกทีม่ าเข้าพัก หรือเเขกทีม่ าเยีย่ มชมจะต้องผ่านอาคารต้อนรับทัง้ หมด การออกเเบบผังอาคาร จะเเยกส่วนของห้องน�้ำเเละออฟฟิศออกจากส่วนโถงต้อนรับ เพื่อให้อาคารนั้นไม่ใหญ่จนเกินไป เเละเพื่อให้การใช้งานเเต่ละส่วนนั้นสามารถสัมผัสกับธรรมชาติได้มากขึ้น ในส่วนของโถงต้อน รับเมื่อเเขกเข้ามาถึงก็สามารถมองเห็นวิวทะเลได้จากระยะไกล เเละ space ภายในอาคารส่วน ของทางเดินตรงกลางจะยกระดับหลังคาขึ้นเพื่อให้รู้สึกโปร่งโล่ง
43
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
6
6 6
6
4 5 1
3
2
MASTER PLAN
KEY PLAN 1. Reception 4. Main Kitchen 2. Drink Bar 5. Staff Area 3. Dining Area 6. Toilet
44
รูปที่ ๖.๒.๖ ผังอาคารส่วนร้านอาหาร
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๗ รูปด้านอาคารส่วนร้านอาหาร ๑ (ซ้ายบน) รูปด้าน ๒ (ขวาบน) รูปด้าน ๓ (ซ้ายล่าง) รูปด้าน ๔ (ขวาล่าง)
ร้านอาหาร
เเนวคิดในการออกเเบบ อาคารร้านอาหาร ตัง้ อยูใ่ กล้รมิ ชายหาดเพือ่ ให้เเขกได้เห็นวิวทะเล เเละสัมผัสกับลมทะเล ได้อย่างเต็มที่ การออกเเบบผังอาคารบริเวณกลางอาคารจะมี court ต้นไม้ ส่วนหลังคาด้านบน จะมี sky light เพื่อให้ต้นไม้กลางอาคารได้รับเเสง เเละท�ำให้อาคารสว่างในช่วงเวลากลางวัน
45
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๘ ภาพมุมมองร้านอาหาร
46
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๙ ภาพมุมมองภายในร้านอาหาร
47
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
6
2
5
4
1
3
MASTER PLAN
KEY PLAN 1. Reception 2. Waiting Area 3. Spa
48
4. Panty 5. Storage 6. Toilet
รูปที่ ๖.๒.๑๐ ผังอาคารส่วนนวดเเผนไทย
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๑๑ รูปด้านอาคารนวดเเผนไทย รูปด้าน ๑ (ซ้ายบน) รูปด้าน ๒ (ขวาบน) รูปด้าน ๓ (ซ้ายล่าง) รูปด้าน ๔ (ขวาล่าง)
สปา
เเนวคิดในการออกเเบบ อาคารสปา เป็นการให้บริการนวดเเผนไทย เเละประคบด้วยสมุนไพร การออกเเบบ อาคารต้องการให้เเขกที่มาใช้บริการนั้นได้สัมผัสกับธรรมชาติได้อย่างเต็มที่ การจัดผังอาคารจึง ให้สว่ นของห่้องนวดเเละห้องสปาได้เห็นวิวทะเล บรรยากาศภายในอาคารจะจัดสวนทีใ่ ช้ปลูก สมุนไพรไว้ตรงกลาง เเล้วให้พื้นที่ใช้สอยอื่น ๆ ล้อมรอบ เพื่อให้เเขกที่มีใช้บริการได้เห็นที่มาของ ผลิตภัณฑ์เเละได้เรียนรู้เรื่องสมุนไพร
49
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
4
2
3
4
1
รูปที่ ๖.๒.๑๒ ผังอาคารส่วนสระว่ายน�้ำ
MASTER PLAN
KEY PLAN 1. Pool Bar 4. Toilet 2. Swimming Pool 3. Reception
50
รูปที่ ๖.๒.๑๓ รูปด้านอาคารส่วนสระว่ายน�้ำ
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๑๔ ภาพมุมมองสระว่ายน�้ำ
51
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๑๕ ภาพมุมมองลานขายอาหารเช้า
52
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
ACTIVITIES
GARBAGE WATER SYSTEM
ELECTRICAL SYSTEM GENERATOR
HOUSEKEEPING
HOT
MAINTENANCE STORAGE SHOP
LOCKER
รูปที่ ๖.๒.๑๖ พื้นที่ส�ำหรับจัดกิจกรรม เเละพักผ่อนริมชายหาด
COLD
LOCKER
รูปที่ ๖.๒.๑๗ ผังอาคารส่วนหลังบ้าน
53
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
ที่พัก
โครงการรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งเเวดล้อมจังหวัดกระบี่ มีห้องพักทั้งหมด ๓ ประเภท ดังต่อไปนี้ ๑. Tropical Villa ๒. Pool Vill Beach Front ๓. Pool Villa Family Beach Front
TROPICAL VILLA
ขนาด | ๕๔ ตร.ม. ราคา | ๘,๕๐๐ บาท / คืน
54
รูปที่ ๖.๒.๑๘ ผังอาคารที่พัก Tropical villa
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๑๙ รูปด้านอาคารที่พัก Tropical villa รูปด้าน ๑ (ซ้ายบน) รูปด้าน ๒ (ขวาบน) รูปด้าน ๓ (ซ้ายล่าง) รูปด้าน ๔ (ขวาล่าง)
55
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๒๐ ภาพมุมมอง Tropical villa
56
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๒๑ ภาพมุมมองภายในห้องน�้ำ Tropical villa
57
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
POOL VILLA BEACH FRONT ขนาด ราคา
58
| ๘๒ ตร.ม. | ๑๖,๐๐๐ บาท / คืน
รูปที่ ๖.๒.๒๒ ผังอาคารที่พัก Pool villa beach front
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๒๓ รูปด้านอาคารที่พัก Pool villa beach front รูปด้าน ๑ (ซ้ายบน) รูปด้าน ๒ (ขวาบน) รูปด้าน ๓ (ซ้ายล่าง) รูปด้าน ๔ (ขวาล่าง)
59
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๒๔ ภาพมุมมอง Pool villa beach front
60
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๒๕ ภาพมุมมอง Pool villa beach front
61
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
POOL VILLA FAMILY BEACH FRONT ขนาด | ๑๙๙ ตร.ม. ราคา | ๒๕,๐๐๐ บาท / คืน
62
รูปที่ ๖.๒.๒๖ ผังอาคารที่พัก Pool villa family beach front
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๒๗ รูปด้านอาคารที่พัก Pool villa family beach front รูปด้าน ๑ (ซ้ายบน) รูปด้าน ๒ (ขวาบน) รูปด้าน ๓ (ซ้ายล่าง) รูปด้าน ๔ (ขวาล่าง)
63
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๒๘ ภาพมุมมอง Pool villa family beach front
64
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๒๙ ภาพมุมมองภายใน Pool villa family beach front
65
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
GUEST GUEST SERVIC
66
GUEST SERVIC SERVICE
รูปที่ ๖.๒.๓๐ เเสดงเส้นทางสัญจรของเเขกที่เข้าพัก (ซ้าย) เเสดงเส้นทางสัญจรของเเขกที่เข้าเยี่ยมชม (ขวา)
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
SECTION
ต้นมะขาม ต้นหูกวาง ต้นมะพร้าว
BOUNDARY รูปที่ ๖.๒.๓๑ รูปตัดโครงการ
67
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
68
รูปที่ ๖.๒.๓๒ รูปเเสดงไดอาเเกรมการจัดการน�้ำเสียในโครงการ
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
NATURAL VENTILATION WOOD
RAMMED EARTH
SOLAR PANEL
DAY LIGHTING
MATERIALS
EXTERIOR SHADING
FRIENDLY MATERIALS
RIAN WATERS
ECO ENERGY
รูปที่ ๖.๒.๓๓ รูปเเสดงไดอาเเกรมเทคโนโลยีทางอาคาร
69
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๓๔ รูปจ�ำลอง
70
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
รูปที่ ๖.๒.๓๕ ภาพมุมมองภาพรวมส่วนที่พัก
71
โครงการออกแบบรีสอร์ทเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จังหวัดกระบี่ | Eco Resort Krabi
บรรณานุกรม กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม. (๒๕๖๒). โครงการโรงแรมทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม (Green Hotel) สืบค้นเมือ่ วันที่ มิถนุ ายน ๑๗, ๒๕๖๒, จาก http://www.greenhotel.deqp.go.th/ public/mainfile/evaluation กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมเมืองกระบี่ ฉบับที่๔. (๒๕๕๙). สืบค้นเมือ่ วันที่ มิถนุ ายน ๑๗, ๒๕๖๒, จาก https://www.reic.or.th/Upload/55_70006_1539150658_4325.PDF ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (๒๕๕๙). กําหนดเขตพื้นที่และ มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมในท้องที่อําเภออ่าวลึก อําเภอเมืองกระบี่ อําเภอเหนือคลอง อําเภอคลองท่อม และอําเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี.่ สืบค้นเมือ่ วันที่ มกราคม ๑๕, ๒๕๖๒, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2559/E/076/18.PDF ศ.วิทวัส รุง่ เรืองผล. (๒๕๖๑). แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย่ วกับการประกอบธุรกิจโรงแรม. สืบค้น เมือ่ วันที่ มิถนุ ายน ๑๗, ๒๕๖๒, จาก https://marketeeronline.co/archives/68468 ส�ำนักงานสถิติจังหวัดกระบี่. (๒๕๖๑). สถิตินักท่องเที่ยวจังหวัดกระบี่. สืบค้นเมื่อวันที่ มิถุนายน ๑๗, ๒๕๖๒, จาก http://krabi.old.nso.go.th/main.jsp องค์กรพันธมิตรเพื่อความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม. 2018. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับองค์ ประกอบเพื่อความยั่งยืน สืบค้นเมือ่ วันที่ มิถนุ ายน ๑๗, ๒๕๖๒, จาก http://alliancees.org/ leed-for-homes/ Interaction Design Foundation. (2016). Holistic Design - Design That Goes Beyond The Problem. Retrieved January 16, 2020 from https://www.interaction-design.org/literature/article/holistic-design-design-that-goes-beyond-the-problem Zbigniew Bromberek. (2009). ECO-RESOR planning and design for the tropics. USA: Elsevier.
72