แนวทางการออกแบบรี สอร์ ทเป็ นมิตรต่ อสิ่งแวดล้ อม : กรณีศกึ ษา หาดคลองม่วง จังหวัดกระบี่
โดย อรกัญญา เอกสกุลกล้ า
วิทยานิพนธ์ทางสถาปั ตยกรรม หลักสูตรสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปั ตยกรรม สถาบันอาศรมศิลป์ ปี การศึกษา 2562
1
สารบัญ 1 บทนำ 1.1 ความเป็ นมาของโครงการ
2
1.2 เป้าหมายเชิงคุณค่าของโครงการ
2
1.3 วัตถุประสงค์ของโครงการ
2
1.4 ขอบเขตของโครงการ
2
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ รับ
2
2 เกณฑ์ ในกำรออกแบบโครงกำร 2.1 ทฤษฎีและเกณฑ์ที่เกี่ยวข้ องในการออกแบบโครงการ
2
2.1.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจโรงแรม
3
2.1.2 แนวคิดและทฤษฎีมาตรฐานของโรงแรมที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม (Green Hotel)
4
2.1.3 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับศึกษาแนวคิดและองค์ประกอบเพื่อความยัง่ ยืน
5-9
2.1.4 สรุปแผนและนโยบายจังหวัดในการพัฒนาการท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้ อง
10
2.2 กฎหมายและเทศบัญญัติที่เกี่ยวข้ อง
10-11
3. การวิเคราะห์ที่ตงของโครงการ ั้ 3.1 วิเคราะห์ทาเลที่ตงโครงการ ั้
11-13
3.2 วิเคราะห์สถานที่ตงโครงการ ั้
14-16
4.กรณีศกึ ษาวิเคราะห์โครงการข้ างเคียง
17-18
5.รายละเอียดโครงการ 5.1 วิเคราะห์ User
19
5.2รายละเอียดโครงการด้ านบริหาร
20
5.3 วิเคราะห์พื ้นที่ใช้ สอยของโครงการ
21
2
1 บทนำ 1.1 ควำมเป็ นมำของโครงกำร จังหวัดกระบี่มีศักยภาพทางการท่องเที่ยวในหลายด้ าน ทัง้ ทางทะเล ทางธรรมชาติ และทางประวัติศาสตร์ ที่ สามารถดึงนักท่องเที่ยวให้ เข้ ามาเยือนจังหวัดกระบี่ได้ จานวนมากจากข้ อมูลทางสถิติของ กรมการท่องเที่ยวปี ในปี พ.ศ. 2560 มีนกั ท่องเที่ยวทังชาวไทยและชาวต่ ้ าง ชาติ 6,588,822 คน และได้ รายได้ จากนักท่องเที่ยวเป็ นมากเป็ นอันดับ 4 ของประเทศ 105 พันล้ านบาท ซึ่งเป็ นอันดับ 2 ทางภาคใต้ มีอัตราการเข้ าพักเฉลี่ยสูงขีน้ 72.2 % และมีสถิติห้องพัก มากขึ ้นถึง 21,647 ห้ อง นอกจากนี ้กระบี่ได้ รับรางวัลด้ านสิ่งแวดล้ อม "Global Low Carbon Ecological Scenic Spot" of Sustainable Cities and Human Settlements Awards 2018 จากองค์การสหประชาชาติ ซึ่งเป็ นรางวัล ที่ชาวกระบี่ ทุกคนได้ ร่วมมือกันดาเนินการในทุกมิติทัง้ ด้ านสิ่งแวดล้ อม พลังงาน ให้ เกิดความยั่งยืน และปั จจุบันจังหวัดกระบี่มี ยุทธศาสตร์ ตามแผนพัฒนาจังหวัดใน 3 ประเด็น คือ ยุทธศาสตร์ ที่ 1 ยกระดับคุณภาพการท่ องเที่ยวทางทะเลเชิ ง อนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสุขภาพ สู่ระดับนานาชาติ ยุทธศาสตร์ ที่ 2 สร้ างความมัน่ คง การผลิตภาค เกษตรอุตสาหกรรมประมง ปศุสตั ว์ และอาหาร และยุทธศาสตร์ ที่ 3 ยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนสู่สงั คมน่าอยู่ ปั จ จุบันความยั่ง ยื นทางการท่องเที่ยวเป็ นประเด็นสาคัญที่ทั่วโลกต่างให้ ความสนใจ ความยั่ง ยืนของการ ท่ อ งเที่ ย วครอบคลุ ม ถึ ง ความยั่ ง ยื น ทางเศรษฐกิ จ สั ง คมและวั ฒ นธรรม และสิ่ ง แวดล้ อมทางธรรมชาติ โดยที่นกั ท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการรักษาสิ่งแวดล้ อม จึงได้ เกิดกลุ่มนักท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ขึ ้นเรี ยกว่า ecotourism นักท่องเที่ยวกลุม่ นี ้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ เกิดความสมดุลระหว่างการรักษาสภาพแวดล้ อมทางธรรมชาติกบั ความต้ องการ ของนักท่องเที่ยว คือการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ที่มีส่วนช่วยให้ นักท่องเที่ยวสร้ างแนวคิดใหม่ในการท่องเที่ยวมากขึน้ ซึ่ง เกี่ยวข้ องกับการเลือกในเรื่ องของสถานที่ ท่องเที่ยว ประเภทของที่พกั รวมถึงการจัดการและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ ้นใน ระหว่ า งการท่ อ งเที่ ย วจึ ง มี วัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึก ษาแนวทางการออกแบบและการให้ บ ริ ก ารรี ส อร์ ท ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้ อม 1.2 เป้ ำหมำยเชิงคุณค่ ำของโครงกำร ธุรกิจรู ปแบบรี สอร์ ทเชิงอนุรักษ์ นนเป็ ั ้ นการดาเนินธุรกิจโดยสร้ างผลกระทบหรื อมลพิษต่อธรรมชาติให้ น้ อยที่สุด เพื่อให้ ธ รรมชาติยัง คงมี ความอุดมสมบูรณ์ งานสถาปั ต ยกรรมจึง ต้ อ งค านึง ถึง ระบบนิเ วศน์ สิ่ง แวดล้ อ ม และมีก ารเน้ น การออกแบบโดยคานึง ถึง ความยั่ง ยืน ของธรรมชาติ โดยมีเ ป้า หมายในการ ออกแบบที ่เ คารพต่อ ที ่ตั ง้ การดูแลรั กษาฟื ้นฟูธ รรมชาติ รี สอร์ ทเชิ ง อนุรักษ์ และสร้ างภาพลักษณ์ ที่ดีให้ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและต่อโครงการ เนื่องจากธุรกิจประเภทรีสอร์ ทมีทงคู ั ้ ่แข่งรายเก่าเป็ นจานวนมากและ มีค่แู ข่งรายใหม่เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง
1.3 วัตถุประสงค์ ของโครงกำร 1.3.1 เพื่อศึกษาพฤติกรรมและความต้ องการของนักท่องเที่ยวเชิงระบบนิเวศน์ 1.3.2 เพื่อศึกษาปัจจัยในการเลือกที่พกั ของนักท่องเที่ยวที่มา จังหวัดกระบี่ 1.3.3 เพื่อเสนอแนวทางการออกแบบอาคาร การบริการ และกิจกรรมสาหรับรีสอร์ ทที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม 1.4 ขอบเขตของโครงกำร ศึกษาข้ อมูลพื ้นฐานเพื่อการออกแบบ รีสอร์ ทเป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม จังหวัดกระบี่ 1.4.1 ศึกษาข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับที่ดิน ราคา กฎหมาย และตาแหน่งที่ตงั ้ 1.4.2 ศึกษาข้ อมูลด้ านการตลาด การเปรี ยบเทียบและประเมินราคาคู่แข่งและความต้ องการห้ องพักของ โครงการ เพื่อความเป็ นไปได้ ของโครงการ 1.4.3 ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการออกแบบรีสอร์ ทเป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม 1.5 ประโยชน์ ท่คี ำดว่ ำจะได้ รับ 1.5.1 เพื่อทราบถึงพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 1.5.2 เพื่อทราบปัจจัยในการเลือกที่พกั ของนักท่องเที่ยวที่เดินทางมา จังหวัดกระบี่ 1.5.3 เพื่อทราบถึงแนวทางในการออกแบบรีสอร์ ทที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม 2 เกณฑ์ ในกำรออกแบบโครงกำร 2.1 ทฤษฎีและเกณฑ์ ท่เี กี่ยวข้ องในกำรออกแบบโครงกำร 2.1.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจโรงแรม 2.1.2 แนวคิดและทฤษฎีมาตรฐานของโรงแรมที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม (Green Hotel) 2.1.3 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับศึกษาแนวคิดและองค์ประกอบเพื่อความยัง่ ยืน 2.1.4 สรุปแผนและนโยบายจังหวัดในการพัฒนาการท่องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้ อง
3
2.1.1 แนวคิดและทฤษฎีท่ ีเกี่ยวกับกำรประกอบธุรกิจโรงแรม การแบ่ ง ตามเป้า หมายด้ า นการตลาด (Hotel Target Markets) เป้า หมายด้ า นการตลาด ของโรงแรมมี ห ลาย ประเภท แบ่งได้ ดงั นี ้ 1. โรงแรมเพื่อการพาณิชย์ (Commercial Hotels) โรงแรมประเภทนี ้โดยส่วนใหญ่จะตัง้ อยู่ในย่านใจกลาง เมืองที่รายล้ อมไปด้ วยองค์กรทางธุรกิจ โดยมีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อให้ แขกเข้ ามาพักชัว่ คราวในการติดต่อธุรกิจ โดย นอกจากห้ องพักแล้ วส่วนใหญ่จะมีห้องประชุม ห้ องจัดเลี ้ยง ร้ านอาหารเพื่อตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าที่เป็ น นักธุรกิจใช้ ในการประชุมและพูด คุยงาน ทังอย่ ้ างเป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ โรงแรมประเภทนี ้ส่วนใหญ่จะมี บริการศูนย์ธุรกิจ (Business Center) ที่ให้ บริการรับส่งจดหมาย อีเมล มีเครื่องคอมพิวเตอร์ ไวไฟ ให้ ใช้ รวมถึงมีสิ่ง อานวยความสะดวกเพื่อการพักผ่อน เช่น สระว่ายน ้า สนามเทนนิส ฟิ ตเนส วิธีการหาลู กค้ าของโรงแรมประเภทนี ้ นอกจากวิธีการที่โรงแรมทั่วไปใช้ แล้ ว การใช้ พนักงานขายเข้ าไปติดต่อกับองค์กรธุรกิจที่อยู่บริ เวณใกล้ เคียงกับ โรงแรมเพื่อทาสัญญาให้ องค์กรธุรกิจส่งลูกค้ าที่เป็ นพนักงานของบริ ษัทหรื อคู่ค้าเข้ ามาใช้ บริ การโดยมีการตกลง อัตราค่าใช้ บริการไว้ ลว่ งหน้ า 2. โรงแรมสนามบิน (Airport Hotels) เป็ นโรงแรมที่ม่งุ กลุ่มลูกค้ าที่ใช้ บริ การสนามบิน โรงแรมประเภทนี ้มัก ตังอยู ้ ่ในพื ้นที่สนามบินหรื อบริ เวณโดยรอบสนามบินที่สามารถเดินทางเข้ าออกสนามบินได้ สะดวก โดยกลุ่มลูกค้ า หลักของโรงแรมประเภทนี ้ ได้ แก่ ผู้โดยสาร พนักงานสายการบิน และผู้ที่ทางานเกี่ยวข้ องกับสนามบิน รวมถึงบริ ษัท ทัวร์ โรงแรมในลักษณะนี ้ส่วนใหญ่จะมีการให้ บริ การเข้ าพักในช่วงเวลาที่สนกว่ ั ้ าปกติเรี ยกว่า day use เช่น การคิด ค่าบริการสาหรับการใช้ 2-3 ชัว่ โมงเข้ ามาเสริมด้ วย โดยบริการดังกล่าวตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าที่ต้องการ พักผ่อนระหว่างรอเปลี่ยนเครื่อง หรือนักท่องเที่ยวที่เดินทางในระยะเวลาหลายชัว่ โมง 3. โรงแรมห้ อ งสูท (Suite Hotels) เป็ น โรงแรมคล้ า ยโรงแรมธุ ร กิ จ ต่ า งมุ่ง เน้ น กลุ่ม ลูก ค้ า ระดับ สูง กว่า ห้ องพักส่วนใหญ่ของโรงแรม หรื อทังหมดจะเป็ ้ นห้ องสูทที่แยกห้ องนอนกับ ห้ องรับแขกออกจากกันโดยบางห้ องอาจ มีขนาดใหญ่มีห้องประชุมขนาดเล็กพร้ อมเคาน์เตอร์ เครื่องดื่มหรือครัวไว้ ในห้ องพักด้ วย 4. โรงแรมเน้ นแขกพักประจา (Residential Hotels) เป็ นโรงแรมที่เน้ นกลุ่มลูกค้ าเข้ า พักในระยะที่ยาวกว่า ลูกค้ าโรงแรมทัว่ ๆ ไป ส่วนใหญ่จะตังอยู ้ ่ในย่านธุรกิจหรื อในเมืองที่เป็ นแหล่งงาน โรงแรมประเภทนี ้ในเมืองไทยนิยม เรี ยกว่า Service Apartment โดยคิดค่าบริ การเป็ นรายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือน โดยมีอัตรารายสัปดาห์หรื อ รายเดือนที่ต่ากว่ารายวันอย่างชัดเจน โรงแรมประเภทนีน้ ิยมรวมอาหารเช้ าไว้ ในค่าบริ การ รวมถึงอาจมีร ถบริ การ รับส่งไปยังศูนย์การค้ าและแหล่งงานสาคัญอีกด้ วย ในห้ องพักของโรงแรมส่วนใหญ่จะมีมมุ ครัว เตาไมโครเวฟ เตา ไฟฟ้า พร้ อมอุปกรณ์เครื่ องครัวจานวนหนึ่งไว้ ให้ ลกู ค้ าด้ วย 5. โรงแรมรี สอร์ ท (Resort Hotels) เป็ นโรงแรมที่ออกแบบสภาพแวดล้ อมและทัศนียภาพให้ เหมาะสมกับ การพักผ่อน ส่วนใหญ่จะอยู่ในเมืองท่องเที่ยวและในพืน้ ที่ที่มีทิวทัศน์สวยงามตามธรรมชาติ เช่น ริ มทะเล โรงแรม ประเภทนีจ้ ะมีพืน้ ที่เปิ ดโล่งในตัวโรงแรมค่อนข้ างมาก โดยตกแต่งเป็ นสระว่ายนา้ สวน รวมถึงการจัดสิ่ งอานวย ความสะดวกที่เหมาะสมกับการพักผ่อน เช่น สปาภายในโรงแรมด้ วย ปัญหาด้ านการตลาดของโรงแรมประเภทนี ้คือ
การมีลกู ค้ าไม่สม่าเสมอ ในช่วงนอกฤดูกาลท่องเที่ยวโรงแรมรี สอร์ ตจึงมักจัดรายการลดราคาเป็ นพิเศษ เพื่อดึงดูด ลูกค้ าเข้ ามาในช่วงนอกฤดูกาล ในเมืองไทยโรงแรมลักษณะนี พ้ บได้ มากแถบจังหวัดชายทะเล เช่น หัวหิน พัทยา และภูเก็ต 6. โรงแรมซึ่งจัดห้ องพักและอาหารเช้ า (Bed and Breakfast) โรงแรมประเภทนี ้ในต่างประเทศอาจเรี ยกว่า Motel หรื อ B&B นิยมทาเป็ นโรงแรมขนาดเล็กไม่ เกิน 100 เตียง หรื อหลายแห่งอาจมีเพียง 20-30 เตียง ส่วนใหญ่ เป็ นโรงแรมที่เจ้ าของและครอบครัวบริ หารเอง โรงแรมประเภทนี ้ในประเทศไทยน่าจะเทียบได้ กบั โรงแรมที่เน้ นกลุม่ นักเดินทางและพนักงานขายที่ต้องขับรถระหว่างจังหวัด ต้ องการที่พกั ราคาถูกและปลอดภัย โรงแรมประเภทนี ร้ าคา เฉลี่ยจะอยู่ประมาณคืนละ 500-700บาท ตัง้ อยู่บริ เวณชานเมื อง มี สิ่ง อานวยความสะดวกค่อนข้ างจ ากัด ใน เมืองไทยส่วนใหญ่จะไม่มีอาหารเช้ าให้ อาจมีเพียงกาแฟให้ บริ การ โรงแรมประเภทนี ้กลุ่ม ปตท. ให้ ความสนใจที่จะ นาไปเปิ ดในสถานีบริ การนา้ มันบางแห่ง ส่วนผู้ประกอบการโรงแรมรายใหญ่ของไทยที่เข้ าไปในตลาดนีแ้ ล้ ว ได้ แก่ กลุม่ ดิเอราวัณกรุ๊ป โดยใช้ ชื่อโรงแรมในลักษณะนี ้ว่า Hop inn 7. โรงแรมคอนโดมิเนียม (Condominium Hotel) เป็ นอาคารชุดที่จดทะเบียนเป็ นโรงแรม โดยมีบางส่วน ขายกรรมสิทธิ์ หรือสิทธิการเช่าออกไปให้ กบั ผู้ซื ้อ และมีบางส่วนที่ผ้ พู ฒ ั นาโครงการเก็บไว้ ให้ บริการเป็ นโรงแรม โดย ผู้บริ หารอาจรับห้ องของผู้ซื ้อมาบริ หารการปล่อยเช่าแบบโรงแรมในช่วงที่เจ้ าของห้ องไม่ไ ด้ เข้ ามาใช้ ในต่างประเทศ โรงแรมลักษณะนีม้ ีการขายกรรมสิทธิ์ร่วมแบบแบ่งปั นเวลาใช้ (Time Sharing) โดยในห้ องชุดห้ องหนึ่งอาจมีผ้ ซู ื ้อ 10 ราย สลับกันใช้ รายละ 30 วัน โดยโครงการเป็ นผู้บริ หารเวลาในการเข้ าใช้ และโครงการนาเวลาอีก 2 เดือนที่ เหลือ สารองไว้ สาหรับการซ่อมบารุง หรือนามาให้ เช่ากับบุคคลภายนอก เพื่อนารายได้ มาใช้ เป็ นค่าบริหารส่วนกลาง แต่กฎหมายของไทยไม่อนุญาตให้ มีการขายในลักษณะกรรมสิทธิ์ร่วมแบบแบ่งปันเวลาใช้ 8. โรงแรมบ่อนการพนัน (Casino Hotels) โรงแรมลักษณะนี ้นิยมสร้ างให้ เป็ นโรงแรมขนาดใหญ่ มีห้องพัก จานวนมาก และมีห้องจัดเลี ้ยงขนาดใหญ่เพื่อรองรับกลุ่มลูกค้ าที่เข้ ามาเล่นการพนันในโรงแรม โรงแรมลักษณะนี ้ นิยมทาการตลาดร่วมกับบ่อนการพนัน เช่น การจัดแพ็กเกจให้ ลกู ค้ าที่เข้ ามาเล่นการพนัน ได้ สิทธิ์พกั ฟรี เมื่อแลกชิป ในปริ มาณที่กาหนดและเป็ นชิปที่ไม่สามารถแลกเป็ นเงินสดคืนได้ โรงแรมลักษณะดังกล่าวในลาสเวกัสนิยมจัด รายการอาหารบุฟเฟต์ในราคาค่อนข้ างต่าเมื่อเทียบกับคุณภาพของอาหาร เพื่อดึงดูดให้ นักท่องเที่ยวเข้ ามาเป็ น ลูกค้ าของโรงแรมโดยอาจยอมรับกาไรต่าหรื อขาดทุนจากรายการอาหาร แต่ได้ กาไรจากบ่อนการพนันเข้ ามาชดเชย โรงแรมบางแห่งใช้ การจัดโชว์ต่างๆ ทังแบบที ้ ่มีการเก็บค่าใช้ จ่ายจากผู้เข้ าชมและการเข้ าชมฟรี ซึง่ ในประเทศไทยยัง ไม่มีโรงแรมลักษณะนี ้ 9. ศูนย์ประชุม (Conference Centers) โรงแรมประเภทนี ้มุ่งเน้ นกลุ่มลูกค้ าที่มาจัดประชุมสัมมนาและงาน แสดงนิทรรศการ โดยปกติแล้ วโรงแรมประเภทนี ้จะมีจานวนห้ องพักค่อนข้ างมาก และมีห้องประชุมสัมมนาทังขนาด ้ ใหญ่และเล็กจานวนมากเพื่อให้ บริ การครบวงจรกับแขกที่เข้ ามาจัดประชุมสัมมนา โดยมีบริ การสิ่งอานวยความ สะดวกคล้ ายกับโรงแรมประเภทธุรกิจ
4
2.1.2 แนวคิดและทฤษฎีมำตรฐำนของโรงแรมที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม (Green Hotel) เกณฑ์การบริการที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมของสถานประกอบการประเภทโรงแรม ครอบคลุมรายละเอียดด้ านต่างๆ ดังนี ้ ประเด็นที่ 1 นโยบายด้ านการบริการที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม หมายถึง หลักการหรื อวิธีปฏิบตั ิที่สถานประกอบการ ใช้ เป็ นแนวทางในการดาเนินงานด้ านการบริการที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม เช่น การจัดซื ้อจัดจ้ างที่เป็ นมิตรกับ สิ่งแวดล้ อม การจัดการสิ่งแวดล้ อม การอนุรักษ์พลังงาน การมีสว่ นร่วมกับท้ องถิ่นและชุมชน เป็ นต้ น โดยผู้บริหาร และพนักงานร่วมดาเนินการให้ บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้ 1.1 การกาหนดนโยบายและเป้าหมายด้ านการบริการที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม 1.2 การกาหนดนโยบายและเป้าหมายด้ านการอนุรักษ์พลังงาน
การแต่งตังผู ้ ้ บริหารร่วมรับผิดชอบด้ านการบริการที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม 1.4 การแต่งตังคณะท ้ างานด้ านสิ่งแวดล้ อม “Green Team”และมีการกาหนดความรับผิดชอบของ แต่ละแผนกเพื่อรองรับการบริการที่ที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม 1.5 มีการประชุมเพื่อกาหนดทิศทางกิจกรรม แผนงานและการติดตามความก้ าวหน้ าในการ ดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง 1.3
ประเด็นที่ 2 การพัฒนาบุคลากร หมายถึง วิธีการหรือกระบวนการ หรือกิจกรรมต่างๆ ทีด่ ำเนินการเพื่อเพิ่มพูนให้ บุคลากรในสถานประกอบการ เกิดความรู้ ความสามารถ และทักษะในการทํางานด้านการบริการที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เช่น การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การจัดการสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์พลังงาน การมีส่วน ร่วมกับท้องถิ่นและชุมชน เป็นต้น เพื่อเสริมสร้างเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานและให้มีการดำเนินงานบรรลุเป้าหมายที่ วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.1 มีการจัดอบรมให้ กบั พนักงาน และหรื อส่งพนักงานไปอบรมเรื่องการบริ การที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมใน สถานประกอบการ ประเภทโรงแรม 2.2 ร้ อยละของพนักงานที่ได้ รับการอบรมเมื่อเทียบกับจานวนพนักงานทังหมด ้ 2.3 มีการจัดการศึกษา / ดูงานให้ กบั คณะทำงำนด้ ำนสิ่งแวดล้ อม “Green Team เรื่องการบริการที่เป็ น มิตรกับสิ่งแวดล้ อมในสถานประกอบการ ประเภทโรงแรม 2.4 ร้ อยละของคณะทางานด้ านสิ่งแวดล้ อม “Green Teamที่ได้ รับการศึกษา/ดูงาน ภายใน 1 ปี ประเด็นที่ 3 การรณรงค์ประชาสัมพันธ์ หมายถึงการสื่อสารข้อมูล และข่าวสารด้านการบริการที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม เช่น การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การจัดการสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์พลังงาน การมีส่วน ร่วมกับท้องถิ่นและชุมชน เป็นต้นไปสู่กลุ่มเป้าหมาย (ผู้บริหาร พนักงาน และผู้ใช้บริการ) เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจอัน ดี ความร่วมมือ และสนับสนุนจากกลุ่มเป้าหมาย และเพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของสถานประกอบการ 3.1 พนักงาน 3.2 ผู้ใช้ บริการทัว่ ไป
ประเด็นที่ 4 การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หมายถึง การจัดซื้อหรือจัดจ้างผลิตภัณฑ์หรือบริการ ซึ่ง คำนึงถึงความเหมาะสมด้านคุณภาพ ราคา ระยะทาง การส่งมอบสินค้าหรือบริการตามที่กำหนด และการลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการผลิตและบริการ โดยพิจารณาตลอดทั้งวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์การจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว 4.1 มีการใช้ สินค้ าและบริการที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม โดยพิจารณาจากผลิตภัณฑ์ที่มีการแสดงฉลากหรื อข้ อเท็จจริงของ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้ องกับสิง่ แวดล้ อม เช่น ฉลากเขียว ฉลาก eco product และหรื อผลิตภัณฑ์ที่ทางโรงแรมผลิตเอง เช่น EM น ้ายาล้ างจาน เป็ นต้ น 4.2 มีการคัดเลือกและซื ้อผลิตภัณฑ์หรื อวัสดุที่หาได้ ในท้ องถิ่น หรื อในจังหวัดที่สถานประกอบการตั ้งอยู่ โดยแบ่งเป็ นข้ าว อาหารสด อาหารแห้ ง ผัก และผลไม้ 4.3 มีการรายงานข้ อมูลการจัดซื ้อจัดจ้ างสินค้ าและบริการทีเ่ ป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้ อมต่อผู้บริหารของโรงแรม
ประเด็นที่ 5 การจัดการสิ่งแวดล้อมและพลังงาน หมายถึง การดำเนินงานใดๆ ที่สามารถใช้ทรัพยากรได้แบบยั่งยืน หรือมีการกำจัดของเสียและมลพิษให้หมดไป หรือเสื่อมสภาพไป หรือไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมโดยรอบ เช่น การลดการใช้น้ำ การอนุรักษ์พลังงาน การจัดการพื้นที่สีเขียว การบำบัดน้ำเสีย การลดและกำจัดขยะ การป้องกัน มลภาวะทางอากาศและเสียง อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 5.1 การจัดการน ้าที่มีประสิทธิภาพ 5.2 การจัดการน ้าเสียที่มีประสิทธิภาพ 5.3 การจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ 5.4 การจัดการพลังงานที่มีประสิทธิภาพ 5.5 การจัดการอากาศและเสียง 5.6 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 5.7 การจัดการพื ้นที่สีเขียวและภูมิทศั น์ ประเด็นที่ 6 การมีส่วนร่วมกับท้องถิ่นและชุมชน หมายถึง การมีส่วนร่วมของสถานประกอบการกับท้องถิ่นและชุมชน ในพื้นที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ ทั้งการร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมดำเนินการ ในกิจกรรมด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ การรักษาสิ่งแวดล้อม และการ สร้างคุณค่าด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่น หรือศิลปวัฒนธรรม หรือเอกลักษณ์ของท้องถิ่น 6.1 มีพนักงานที่มีภมู ิลาเนาในจังหวัดที่สถานประกอบการตังอยู ้ ่ หรื อส่งเสริมให้ พนักงานมีการย้ าย ทะเบียนบ้ านเข้ าภายใน อปท. ที่โรงแรมตังอยู ้ ่ ไม่น้อยกว่าร้ อยละ 10 6.2 มีสว่ นร่วมและสนับสนุนกิจกรรมของท้ องถิ่นและชุมชนด้ านการรักษาสิ่งแวดล้ อม หรืออนุรักษ์ และฟื น้ ฟู ทรัพยากรธรรมชาติ 6.3 มีสว่ นร่วมและสนับสนุนกิจกรรมของท้ องถิ่นและชุมชนด้ านประวัติศาสตร์ ท้องถิ่น ประเพณีหรือ ศิลปวัฒนธรรม หรื อเอกลักษณ์ของท้ องถิ่น 6.4 มีการใช้ ผลิตภัณฑ์ภายในโรงแรม/ของที่ระลึกที่เป็ นของพื ้นเมืองหรือหาได้ ในท้ องถิ่น แต่ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ จากป่ าหรือทะเล
5
2.1.3 แนวคิดและทฤษฎีท่ ีเกี่ยวกับศึกษำแนวคิดและองค์ ประกอบเพื่อควำมยั่งยืน การพัฒนาที่ยงั่ ยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาที่สนองตอบต่อความต้ องการในปัจจุบนั โดยที่ไม่กระทบต่อความสามารถในการที่จะตอบสนองความต้ องการในอนาคต ในปัจจุบนั วงการสถาปั ตยกรรมได้ ให้ ความสนใจในเรื่ องสิ่งแวดล้ อมมากขึ ้น จึงได้ ถกู รวมเข้ ากับงาน สถาปั ตยกรรม ซึง่ เป็ นงานสถาปั ตยกรรมที่คานึงถึงระบบนิเวศน์ สิ่งแวดล้ อม และมีการเน้ นการออกแบบโดย คานึงถึงความยัง่ ยืนของธรรมชาติ โดยมีเป้าหมายในการออกแบบที่สง่ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมน้ อยที่สดุ พร้ อมทัง้ สร้ างสภาพแวดล้ อมที่น่าอยู่สง่ ผลดีต่อสุขภาพของผู้อยู่อาศัย ซึง่ มีการออกแบบสถาปั ตยกรรมทาให้ เกิดความสมดุล ขึ ้น 3 ด้ าน ได้ แก่ สภาพแวดล้ อม เศรษฐกิจ และสังคม เกิดเป็ นแนวคิดของสถาปั ตยกรรมยัง่ ยืน แนวคิดสถาปัตยกรรมยัง่ ยืน (Sustainable Architecture) 1. Ecological concern เคารพในที่ตงั ้ รักษาแผ่นดินและพืชพรรณ 2. Climate concern คานึงถึงสภาพอากาศในท้ องถิ่น ไม่สร้ างมลภาวะทางอากาศ 3. Energy Efficiency การประหยัดพลังงาน การใช้ พลังงานทดแทน 4. User Concern คานึงถึงความสบายของผู้ใช้ อาคารปลอดมลภาวะทางเสียงและทัศนียภาพ 5. Material Efficiency ใช้ วสั ดุอย่างมีประสิทธิภาพการนาวัสดุกลับมาใช้ ใหม่ไม่ใช้ วสั ดุที่เป็ นพิษต่อผู้ อาศัย 6. Water Efficiency ใช้ น ้าอย่างมีประสิทธิภาพไม่สร้ างมลภาวะทางน ้า สามารถจาแนกหลักการที่นาไปสูส่ ถาปั ตยกรรมยัง่ ยืนได้ 2 วิธี คือ Nature – Driven Technologies เป็ นการพึง่ พาธรรมชาติเพื่อนามาใช้ ประโยชน์ทางตรงและทางอ้ อม โดยนา เทคโนโลยีเครื่องกลมาใช้ ให้ น้อยที่สุด เน้ นการพึง่ พาสิ่งแวดล้ อมธรรมชาติให้ มากที่สดุ สามารถแบ่งออกเป็ นประเด็น ต่างๆ ดังนี ้ 1. การป้องกันแสงแดดและใช้ ประโยชน์จากกระแสลม โดยการอาศัยต้ นไม้ อุปกรณ์บงั แสงแดด และ การจัดสภาพแวดล้ อมเพื่อควบคุมทิศทางกระแสลม 2. การอาศัยแสงสว่างจากธรรมชาติ เพื่อลดการใช้ พลังงานไฟฟ้า 3. การใช้ ฉนวนเพื่อป้องกันความร้ อนถ่ายเทเข้ าสู่อาคาร ทังผนั ้ งและหลังคา 4. การนาแหล่งพลังงานที่มีอยู่มาใช้ เช่น พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์มาแปลงเป็ นพลังงานไฟฟ้า เป็ นต้ น 5. การหมุนเวียนการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ อาทิ กักเก็บน ้าฝนเพื่อนามารดน ้าต้ นไม้ ทาความสะอาด บ้ านเรื อน 6. การนาลมธรรมชาติมาช่วยถ่ายเทอากาศภายในอาคารให้ บริ สทุ ธิ์ขึ ้น และการใช้ ต้นไม้ ช่วยกรองฝุ่น ละอองและดูดก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ในเวลากลางวัน
Technology – Driven Strategies เป็ นการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ ให้ เกิดประโยชน์ และมีประสิทธิภาพสูงที่สดุ โดยดัดแปลงให้ เหมาะสมเพื่อประหยัดพลังงาน สามารถแบ่งออกเป็ นประเด็นต่างๆ ดังนี ้ 1. การคัดเลือกทาเลที่ตงที ั ้ ่เพื่อเอื ้อประโยชน์ในด้ านสาธารณูปโภคต่าง ๆ ตลอดจนลดการสิ ้นเปลือง พลังงานในการเดินทางและติดต่อ 2. การควบคุมแสงสว่างที่ใช้ ในอาคารให้ เหมาะสม โดยการอาศัยมนุษย์และอุปกรณ์กล 3. การใช้ วสั ดุอปุ กรณ์อื่นๆ ที่ไม่ต้องพึง่ พาวัสดุธรรมชาติ อาทิ วัสดุสงั เคราะห์ที่มีคณ ุ ภาพ 4. การให้ ความร้ อนและเย็นภายในอาคาร โดยการนาพลังงานจากสภาวะแวดล้ อมมาใช้ 5. เป็ นการลดปัญหาสิ่งแวดล้ อม โดยการนาทรัพยากรมาหมุนเวียนใช้ ใหม่ให้ เกิดประโยชน์ เพื่อลด พลังงานในการจัดเก็บและทาลาย สาหรับการออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้ อมสามารถแบ่งออกเป็ น 5 หัวข้ อหลัก ได้ แก่ 1. Building Ecology การปรับเปลี่ยนและเลือกใช้ วสั ดุที่ไม่มีผลข้ างเคียง รวมไปถึงระบบระบาย อากาศทังแบบธรรมชาติ ้ และระบบเครื่องจักรกลสามารถออกแบบให้ มีการหมุนเวียนเอาอากาศ บริ สทุ ธิ์เข้ ามาในอาคารมากที่สดุ และลดภาวะที่จะทาให้ เกิดเชื ้อราหรื อความเหม็นอับให้ น้อยที่สดุ 2. Energy Efficiency การออกแบบให้ อาคารใช้ ประโยชน์จากพลังงานธรรมชาติ ลดภาระการผลิต พลังงาน ทังยั ้ งเป็ นรักษาพลังงานไว้ ใช้ ในยามจาเป็ น อาทิ การใช้ Thermal Mass ของอาคารเพื่อ เก็บหรื อระบายความร้ อน การใช้ ระบบฉนวนให้ เหมาะสมกับการใช้ งาน การใช้ ระบบควบคุมการ เปิ ดปิ ดเครื่องใช้ ไฟฟ้า หรื อระบบทาความเย็น 3. Materials วัสดุที่ใช้ ในการก่อสร้ างบางชนิดอาจจะส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้ อม ไม้ บางชนิดได้ มา จากการตัดไม้ ในป่ าที่ไม่สามารถปลูกทดแทนได้ วัสดุบางอย่างได้ มาโดยกระบวนการที่สร้ าง มลภาวะ หรือสร้ างสารพิษออกมาในขันตอนการแปรรู ้ ป ดังนันควรใช้ ้ วสั ดุที่ผลิตมาจากแหล่ง ทรัพยากรที่สามารถทดแทนได้ มีความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้ อมในขันตอนการผลิ ้ ต โดยมี ผลกระทบต่อการดารงชีวิตน้ อยที่สดุ 4. Building Form รูปทรงของอาคารควรคานึงต่อสภาพแวดล้ อมข้ างเคียง ไม่ว่าจะเป็ นที่ดิน ต้ นไม้ หรือสภาพอากาศโดยรอบ ให้ เอื ้อต่อการหมุนเวียนของการวัสดุ ทรัพยากร ลดการใช้ ทรัพยากรและ พลังงานในอาคาร เพิ่มความน่าอยู่ให้ แก่ผ้ ใู ช้ และมีความปลอดภัย 5. Good Design การออกแบบที่ดีต้องคานึงถึงผลที่จะตามมา อาทิ อาคารที่คงทนถาวร ง่ายต่อการ ใช้ สามารถนาเอาวัสดุเก่ากลับมาใช้ ใหม่ได้ พร้ อมทังมี ้ ความสวยงาม มีความต้ องการพลังงาน น้ อยลง ซ่อมบารุง ใช้ วสั ดุที่มีคณ ุ ภาพ ตอบสนองต่อแนวความคิดของสถาปั ตยกรรมแบบยัง่ ยืน 6. ในระยะยาวการออกแบบเพื่อความยัง่ ยืนมีวตั ถุประสงค์เพื่อลดการทาลายและการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติให้ มากที่สดุ พร้ อมทังเป็ ้ นการสร้ างตัวอย่างที่ดี เพื่อสร้ างจิตสานึกในการ คานึงถึงสภาพแวดล้ อมให้ เกิดแก่สงั คม
6
แนวความคิดทางด้ านสถาปั ตยกรรม Ventilation การนาลมธรรมชาติเข้ ามาใช้ ในอาคารเพื่อให้ เกิดภาวะน่าสะบายและระบายความภายในอาคาร
Shading การป้องกันความร้ อนจากแสงอาทิตย์
7
8
Lighting การนาแสงสว่างเข้ ามาใช้ ในตัวอาคารและป้องกันรังสีความร้ อนเข้ าสู่ตวั เอาคาร
Site planing air fllow การจัดวางอาคารไม่ให้ ขวางทางลม
9
การวางตาแหน่งต้ นไม้ ก็มีผลต่อการไหลเวียนของลม สามารถเร่งความเร็วลมได้ ดักทิศทาง ลมได้ ข้ อควรระวังถ้ ามีต้นไม้ อยู่ด้านหลังของอาคารจะมีแรงดันสูงทาให้ อากาศไม่ไหลเวียน
10
2.1.4 สรุปแผนและนโยบำยจังหวัดในกำรพัฒนำกำรท่ องเที่ยวและธุรกิจที่เกี่ยวข้ อง ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาการท่องเที่ยวให้ เป็ นการท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) เพิ่มศักยภาพให้ ได้ มาตรฐานในระดับสากล และเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระดับภูมิภาคและนานาชาติ
ประเด็นยุทธศาสตรอื่นๆ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 ยกระดับขีดความสามารถในการผลิตด้ านการเกษตรและแปรรูปสินค้ าเกษตร อย่างครบวงจร ควบคู่กบั การพัฒนาอุตสาหกรรมสะอาดและพลังงานทางเลือก ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนสูส่ งั คมน่าอยู่ และปรับตัวรองรับต่อการ เปลี่ยนแปลง
2.2 กฎหมำยและเทศบัญญัติท่เี กี่ยวข้ อง
11
ข้ อ ๑๐ ที่ดินประเภทอนุรักษ์สภาพแวดล้ อมเพื่อการท่องเที่ยว ให้ ใช้ ประโยชน์ที่ดิน เพื่อการท่องเที่ยว นันทนาการ การรักษาสภาพแวดล้ อม สถาบันราชการ กาสาธารณูปโภคและการสาธารณูปการ สาหรับการใช้ ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการอื่น ให้ ดาเนินการหรื อประกอบกิจการได้ ในอาคารที่มีความสูงไม่เกิน ๑๖ เมตร การวัดความสูงของอาคารให้ วดั จากระดับพื ้นดินที่ก่อสร้ างถึงพื ้นดาดฟ้าสาหรับอาคารทรงจัว่ หรื อปั น้ หยาให้ วัดจากระดับพืน้ ดินที่ก่อสร้ างถึง ยอดผนังของชัน้ สูง สุดที่ดินประเภทนี ้ ห้ ามใช้ ประโยชน์ ที่ดินเพื่อกิจ การตามที่ กาหนด ดังต่อไปนี ้ (๑) โรงงานทุก จ าพวกตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงงาน เว้ น แต่ โ รงงานตามประเภท ชนิ ด และจ าพวกที่ กาหนดให้ ดาเนินการได้ ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี ้ และโรงงานบาบัดน ้าเสียรวมของชุมชน (๒) คลังน ้ามันและสถานที่เก็บรักษาน ้ามัน ลักษณะที่สาม ตามกฎหมายว่าด้ วยการควบคุมน ้ามันเชื ้อเพลิง เพื่อการจาหน่าย (๓) คลัง ก๊ า ซปิ โ ตรเลี ย มเหลว สถานที่ บ รรจุก๊ า ซปิ โ ตรเลี ยมเหลวประเภทโรงบรรจุ สถานที่ บ รรจุก๊าซ ปิ โตรเลียมเหลวประเภทห้ องบรรจุ และสถานที่เก็บรักษาก๊ าซปิ โตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บตามกฎหมาย ว่าด้ วยการควบคุมน ้ามันเชื ้อเพลิง (๔) เลี ้ยงม้ า โค กระบือ สุกร แพะ แกะ ห่าน เป็ ด ไก่ งู จระเข้ หรื อสัตว์ป่าตามกฎหมายว่าด้ วยการสงวน และคุ้มครองสัตว์ป่า เพื่อการค้ า (๕) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าด้ วยสุสานและฌาปนสถาน เว้ นแต่เป็ นการก่อสร้ างทดแทน สุสานหรือฌาปนสถานที่มีอยู่เดิม (๖) จัดสรรที่ดินเพื่อประกอบอุตสาหกรรม (๗) การอยู่อาศัยหรือประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารสูงหรื ออาคารขนาดใหญ่ (๘) กาจัดมูลฝอย (๙) ซื ้อขายหรื อเก็บเศษวัสดุการใช้ ประโยชน์ที่ดินริ มทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๐๓๔ ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๔๒๐๑ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๒๐๒ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๔๒๐๓ ทางหลวง แผ่นดินหมายเลข ๔๒๐๔และ ถนนบ้ านศาลาด่าน - บ้ านสังกาฮู้ ให้ มีที่ว่างตามแนวขนานริ มเขตทางไม่น้อยกว่า ๖ เมตรการใช้ ประโยชน์ที่ดินริ ม ฝั่ งแม่นา้ ลาคลอง หรื อแหล่งนา้ สาธารณะ ที่มีความกว้ างน้ อยกว่า๑๐ เมตร ให้ มีที่ว่างตามแนวขนานริ มฝั่ ง ตาม สภาพธรรมชาติของแม่นา้ ลาคลอง หรื อแหล่งนา้ สาธารณะไม่น้อยกว่า ๓ เมตร และการใช้ ประโยชน์ที่ดินริ มฝั่ ง แม่น ้า ลาคลอง หรื อu3649 แหล่งน ้าสาธารณะที่มีความกว้ างตังแต่ ้ ๑๐ เมตรขึ ้นไป ให้ มีที่ว่างตามแนวขนานริ มฝั่ง ตามสภาพธรรมชาติของแม่นา้ ลาคลอง หรื อแหล่งนา้ สาธารณะไม่น้อยกว่า ๖ เมตร ทัง้ นี ้ เว้ นแต่เป็ นการก่อสร้ าง เพื่อการคมนาคมทางน ้าหรือการสาธารณูปโภค
3. กำรวิเครำะห์ ท่ตี ัง้ ของโครงกำร 3.1 วิเคราะห์ ทาเลที่ตัง้ สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของจังหวัดกระบี่ ทางตอนเหนือประกอบด้ วยเทือกเขายาวทอดตัวไปในแนว เหนือใต้ สลับกับสภาพพื ้นที่แบบลูกคลื่นลอนลาด และลอนชัน มีที่ราบชายฝั่งทะเลด้ านตะวันตก บริ เวณทางใต้ มี สภาพภูมิอากาศเป็ นภูเขากระจัดกระจาย สลับกับพื ้นที่แบบลูกคลื่น ส่วนบริ เวณทางตอนใต้ สุดและตะวันตกเฉียง ใต้ มีสภาพพื ้นที่เป็ นแบบลูกคลื่นลอนลาดจนถึงค่อนข้ างเรี ยบ และมีภเู ขาสูงๆต่าๆ สลับกันไป บริเวณด้ านตะวันตก มีลกั ษณะ เป็ นชายฝั่งติดกับทะเลอันดามันยาวประมาณ 160 กิโลเมตร. ประกอบด้ วยหมู่เกาะน้ อยใหญ่ประมาณ 130 เกาะ แต่เป็ นเกาะที่มีประชากรอาศัยอยู่ประมาณ 13 เกาะ เกาะที่สาคัญได้ แก่ เกาะลันตา เป็ นที่ตงของอ ั้ าเภอ เกาะลันตา และเกาะพีพี ซึง่ อยู่ในเขตอาเภอเมือง เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงามติดอันดับของโลก บริเวณตัวเมือง มีแม่น ้ากระบี่ ยาวประมาณ 5 กิโลเมตร. ไหลผ่านลงสู่ทะเลอันดามัน ที่ ตาบลปากน ้า นอกจากนี ้ยังมีคลองปกาสัย คลองกระบี่ใหญ่ และคลองกระบี่น้อย ซึง่ มี่ต้นกาเนิดมาจากเทือกเขาพนมเบญจา เทือกเขาที่สงู ที่สดุ ในจังหวัดกระบี่ ทิศเหนือ จดจังหวัดพังงา และจังหวัดสุราษฎร์ ธานี ทิศใต้ จดจังหวัดตรัง และทะเลอันดามัน ทิศตะวันออก จดจังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดตรัง ทิศตะวันตก จดจังหวัดพังงา และทะเลอันดามัน
12
สภาพภูมิอากาศ จังหวัดกระบี่ มีภมู ิอากาศแบบมรสุมเขตร้ อน ซึง่ ได้ รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ ทาให้ มีฝนตกชุกตลอดปี และมีเพียง 2 ฤดู คือ ปี
2556
2557
2558
2559
2560
ปริมำณเที่ยวบิน
11,904
21,678
28,060
27,803
29,778
จังหวัดกระบี่มีสนามบินนานาชาติ 1 แห่งคือท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดกระบี่ สังกัดกรมการบินพล เรื อน ตัง้ อยู่ในเขตอาเภอเหนือคลอง ห่างจากตัวเมืองไปทางทิศตะวันออก เป็ นระยะทางประมาณ 13 กิโลเมตร ท่าอากาศยานกระบี่มีบทบาทสาคัญที่สามารถรองรับกิจการการขนส่งทางอากาศของจัง หวัด กระบี่ มีความสะดวกสบายและเป็ นการส่งเสริ มและการพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดกระบี่อีก ด้ วย ปัจจุบัน ท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดกระบี่สามารถให้บริการรองรับผู้โดยสารได้ประมาณ 36,000 คนต่อวัน มีสายการบินภายในประเทศให้ บริ การจานวน 6 สายการบิน สายการบินต่างประเทศจานวน 11 สายการ บิน และสายการบินเช่าเหมาลาจากต่างประเทศ (Charter Flight) จานวน 18 สายการบิน
ฤดูร้อน มี 4 เดือน เริ่มตังแต่ ้ เดือนพฤศจิกายน ไปจนถึงเดือนเมษายน ฤดูฝน มี 8 เดือน เริ่มตังแต่ ้ เดือนพฤษภาคม ไปจนถึงเดือนตุลาคม การคมนาคม จังหวัดกระบี่มีเส้ นทางคมนาคม 3 ทาง ได้ แก่ ทางบก ทางน ้า ทางอากาศ โดยมีเส้ นทางดังนี ้ 1.การคมนาคมทางบก ทางรถยนต์ จากกรุงเทพฯ ใช้ เส้ นทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 ผ่านจังหวัดเพชรบุรี – ประจวบคีรีขันธ์ – ชุมพร – ระนอง – พังงา – กระบี่ รวมระยะทางประมาณ 946 กิโลเมตร หรื อใช้ เส้ นทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 4 ถึงจังหวัดชุมพรต่อด้ วยทางหลวงหมายเลขแผ่นดินหมายเลข 41 ผ่านอาเภอ หลังสวน จังหวัดชุมพร เข้ าอาเภอ ไชยา อาเภอเวียงสระ จังหวัดสุราษฎร์ ธานี จากนัน้ ใช้ เส้ นทางหลวง หมายเลข 4035 ผ่านอาเภออ่าวลึก และใช้ ทางหลวงหมายเลข 4 อีกครัง้ เข้ าสู่จังหวัดกระบี่ รวมระยะทาง 814 กิโลเมตร ถ้ าเดินทางจากภูเก็ต ใช้ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 402 ต่อด้ วยทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข 4 ผ่านตาบลโคกกลอย อาเภอ ตะกัว่ ทุ่ง อาเภอทับปุด จังหวัดพังงา เข้ าอาเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่รวมระยะทางประมาณ 185 กิโลเมตร 2. การคมนาคมทางน ้า จังหวัดกระบี่มีท่าเรื อ 3 ประเภท คือ ท่าเทียบเรื อโดยสารเพื่อการท่องเที่ยว ท่าเทียบเรื อพาณิชย์ และท่า เทียบเรือประมง มีจานวนดังนี ้ ประเภทท่าเทียบเรือ ท่องเที่ยว พาณิชย์ ประมง 3. การคมนาคมทางอากาศ
จานวน (ท่า) 22 3 26
ปริมำณเที่ยวบิน ณ ท่ ำอำกำศยำนนำนำชำติจังหวัดกระบี่ ไฟฟ้ า
การใช้ ไฟฟ้าของภาคประชาชนและภาคธุรกิจต่างๆ ในจังหวัดกระบี่ มีจานวนผู้ใช้ ไฟฟ้าทั ้งหมด 143,587 ราย ซึ่งผู้ใช้ ไฟฟ้าส่วนใหญ่จะเป็ นภาคสถานธุรกิจและอุตสาหกรรม รองลงมา คือที่อยู่ อาศัย สถานที่ราชการและสาธารณะ และอื่นๆ ตามลาดับ ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ใช้ ในจังหวัด รวม 777,506,062.45 กิโลวัตต์ /ชั่วโมง สามารถให้ บริ การไฟฟ้าครอบคลุมทั ้ง ๘ อาเภอ และสถานที่ ท่องเที่ยวที่สาคัญของจังหวัด ปะปา จานวนผู้ใช้ นา้ ประปาของการประปาส่วนภูมิภาคในพื ้นที่จังหวัดกระบี่ จานวน 32,483 ครัวเรื อน คิดเป็ น ร้ อยละ 23.98 ส่วนการให้ บริ การในพืน้ ที่ห่างไกล องค์การบริ หารส่วนตาบลในพืน้ ที่ดาเนินการให้ ความ ช่วยเหลือ และหมู่บ้านที่ไม่มีนา้ ประปาใช้ จานวน 12 หมู่บ้าน ซึ่งสานักงานส่งเสริ มการท้ องถิ่นจัง หวัด และองค์การบริหารส่วนตาบล อยู่ระหว่างดาเนินการให้ ความช่วยเหลือ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หญ้ าทะเล แหล่งหญ้ าทะเลบริ เวณชายฝั่งทะเลจังหวัดกระบี่อยู่ในพื ้นที่ใกล้ เคียงกัน พื ้นที่สว่ นใหญ่อยู่บริเวณ บ้ านท่า เลน บ้ านเตาถ่าน บ้ านเขาท่องใต้ บ้ านหลุมถ่าน อ่าวนาง ของอาเภอเมือง และบริ เวณเกาะจา เกาะศรี บอยา เกาะแล้ ง เกาะต่อ ของอาเภอเหนือคลอง พบได้ ว่าจัง หวัดกระบี่ มี ส ภาพพืน้ ที่ในท้ องทะเลที่ เหมาะสมกับการเจริ ญเติบโตของหญ้ าทะเลที่สาคัญมาก สารวจพบชนิดพันธุ์ของหญ้ าทะเลมากที่สุดในประเทศ ไทย จานวน ๘ ชนิด ชนิดที่พบมากที่สุดคือ Halophila ovalis ซึ่งเป็ นแหล่งของหอย ชักตีน หอยแครงและ อาหารของพะยูนอีกด้ วย สาเหตุของความเสื่อมโทรมของหญ้ าทะเลได้ แก่ การทาประมงในแหล่งหญ้ าทะเล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้ เครื่ องมือ อวนรุน อวนลาก การทานากุ้ง ส่งผลให้ น ้าทะเลมีปริ มาณตะกอนสูง มี ผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของหญ้ าทะเล
13
ข้ อมูลเชิงสถิติจังหวัดกระบี่
ความเป็ นไปได้ของโครงการ
จากการคานวณ โดยการใช้ ข้อมูลผลจากผลการสารวจสถิติประชากรนักท้ องเที่ยว จ.กระบี่ ซึง่ จัดทาโดยกองสถิติ การท่องเที่ยวแห่ง ประเทศไทย ปี 2558 – 2560 โดยใช้ สตู รของการคานวณหาจานวนนักท่องเที่ยวของโรงแรมและรี สอร์ ทและความ ต้ องการของห้ องพัก ความต้ องการห้ องพัก =
สถิติจำนวนห้องพัก ปี 2552-2560 25000 20000
จานวนนักท่องเที่ยว × วันพักเฉลี่ย × 100 จานวนคนต่อห้ องพัก × 365 × อัตราเข้ าพัก
ข้ อมูลสถำนพักแรม
2558(2015)
2559(2016)
2560(2017)
จำนวนสถำนพักแรม(แห่ ง)
499
516
587
จำนวนห้ องพัก(ห้ อง)
19020
18904
21647
อัตรำเข้ ำพักเฉลี่ย(ร้ อยละ)
62.8
70.1
72.2
จำนวนนักท่ องเที่ยวที่พักในโรงแรม (คน) 3,482,186
3673635
4127038
ระยะเวลำพักเฉลี่ย(วัน)
4.5
4.5
15000 10000
4.46
5000 0
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560
ความต้ องการของห้ องพักคิดจากปี (พ.ศ. 2560)
Series 1 124461080815529186921812218607190201890421647
สถิติอตั รำเข้ ำพักเฉลี่ย(ร้ อยละ) ปี 2550-2560
𝟒,𝟏𝟐𝟕,𝟎𝟑𝟖 × 𝟒.𝟓 × 𝟏𝟎𝟎 𝟐.𝟓 ×𝟑𝟔𝟓 × 𝟕𝟐.𝟐
= 28,189
80 70
แสดงว่าตลาดการท่องเทีย่ วของจังหวัดกระบี่ นักท่องเทีย่ วมีแนวโน้มสูงขึน้ อยางต่อเนื่อง และจากการประมาณการความ ต้องการห้องพักในปี 2560 คาดว่ามีความต้องการห้องพักประมาณ 28,189 ห้อง ซึ่งยังขาด ห้องพักตามความต้องการ 6,542 ห้อง ดังนัน้ จึงมีความเป็ นไปได้ทจ่ี ะสร้างโครงการโรงแรมในจังหวัดกระบี่
60 50 40 30 20 10 0
ความต้ องการห้ องพัก =
2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560
Series 1 52.83 41.34 41.83 44.41 56.67 59.51 62.81 70.1 72.2
14
3.2 วิ เคราะห์สถานที่ตงั ้ โครงการ
6 KM. ร้ านอาหาร / คาเฟ่ /บาร์
หาดไร่เลย์
หาดแหลมป่ อง
โรงแรม / รี สอร์ ท วิเคราะห์สิ่งอานวยความสะดวกรอบที่ตั ้งโครงการในรัศมี 6 กิโลเมตร หาดคลองม่วง ห่างจากอ่าวนางประมาณ 12 กิโลเมตร เป็ นหาดทรายขาวนวลทอดตัว ยาวจาดหาดอ่าวเสี ้ยวทางด้ านใต้ ไปจนจรดหาดทับแขกทางทิศเหนือเป็ นหาดที่มีความ สวยงามในบรรยากาศเงียบสงบ สามารถเล่นน ้าได้ บริเวณหาดคลองม่วงไม่มีสถาน บันเทิงหรื อบาร์ มากนักมีเพียงร้ านอาหารและบาร์ เล็กๆ หาดคลองม่วงอยู่ห่างไกลจาก ฝูงชนและยังมีจานวนห้ องพักไม่มากนัก จึงทาให้ หาดคลองม่วงเหมาะสาหรับผู้ที่รัก ธรรมชาติและต้ องการความเงียบสงบ
15
ที่ตงั ้
หาดคลองม่วง ที่ตงหมู ั ้ ่ที่ 2 บ้ านคลองม่วง ตาบลหนองทะเล อาเภอเมือง จังหวัด กระบี่ ลักษณะหาดจะเป็ นชายหาดโค้ งไม่มากกินบริเวณมากกว่า 3 กิโลเมตร
เนื ้อที่ 22 ไร่
ภาพแสดง บรรยากาศถนนก่อนถึงโครงการ
ภาพแสดง บรรยากาศทีต่ ั ้งโครงการจากถนนหน้ าโครงการ
ภาพแสดง บรรยากาศถนนหน้ าโครงการ
16
ขอบเขตที่ดินและระดับความสูงที่ดิน ลักษณะที่ดินทางภูมิศาสตร์ เป็ นที่ดินไล่ระดับจากระดับน ้าทะเลไปจนถึง ระดับสูงสุดที่ 10 เมตรบริเวณริมถนนหน้ าโครงการ
427.5
82.3 290
264
17
4.กรณีศึกษำวิเครำะห์ โครงกำรข้ ำงเคียง
Centara Grand Beach Resort and Villas Holiday Inn Resort Krabi Ao Nang Krabi
Amari Vogue Krabi Phulay Bay, A Ritz Carlton Reserve
Rayavadee Hotel
The Tubkaak Krabi Boutique Resort
Sofitel Krabi Phokeethra Golf & Spa Resort
Beyond Resort Krabi
ทับแขก Amari Vogue
The Tubkaak Krabi Boutique Resort Phulay Bay, A Ritz Carlton Reserve
คลองม่วง Sofitel Krabi Phokeethra Golf & Spa Resort
Beyond Resort Krabi
Holiday Inn Resort Krabi Ao Nang Krabi
Centara Grand Beach Resort and Villas
อ่าวนาง Rayavadee Hotel
18
- สิ่งอานวยความสะดวก (โครงการข้ างเคียง หาดคลองม่ วงและทับแขก) - ราคา (เปรียบเทียบราคาห้ องพัก 3 หาด อ่ าวนาง คลองม่ วง ทับแขก) - ขนาดห้ องพัก
9.5 ไร่
56 ไร่
120 ไร่
16 ไร่ (ขอบเขตไม่ชดั )
57 ห้อง 5ดาว
59 ห้อง 5ดาว
54 ห้อง 5 ดาว
276 ห้อง 5 ดาว
173 ห้ อง 4 ดาว
5,000-20,000 บาท
5,000-24,000บาท บาท
12,000-68,000บาท
4,000-36,000บาท
2300-40,000บาท
120 84
40
67
82
82
66
ขนำด (ตำรำงเมตร)
120
170
เป รี ยบ เที ย บ ข นา ด ห้ องพั ก ป ระเภทเดี ยว กั น
5.3 ไร่
DELUXE
SUITE
POOL VILLA
ประเภทห้องพัก
เปรี ยบเทียบรำคำ 80000 70000
รำคำห้องพัก
60000 50000 40000 30000 20000 10000 0
ทับเเขก
คลองม่วง
อ่างนาง
Series 1
20000
36000
27000
Series 2
24000
37000
46000
Series 3
68000
70000
หำด
ตารางสารวจสิ่งอานวยความสะดวกโรงแรมข้ างเคียง
19
5.รายละเอียดโครงการ 5.1 วิเคราะห์ User
GREEN HOTEL
GREEN TOURISM
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ (Ecotoursim) การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ หมายถึง รูปแบบการท่องเที่ยวทางธรรมชาติอย่างยัง่ ยืนวัตถุประสงค์ในการได้ รับ ประสบการณ์สมั ผัสกับธรรมชาติ การเรี ยนรู้ธรรมชาติ หรื อมีการจัดการที่ควบคุมการส่งผลกระทบต่อธรรมชาติ ให้ น้ อยที่สดุ ในลักษณะการมีสว่ นร่วมในการอนุรักษ์ และดูแลรักษาพื ้นที่ทางธรรมชาตินนั ้ ๆการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์จะ ช่วยลดผลกระทบด้ านลบของการท่องเที่ยวรูปแบบดังเดิ ้ ม ส่งเสริมทางวัฒนธรรมและสนับสนุนเศรษฐกิจในท้ องถิ่น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์จะช่วยลดผลกระทบด้ านลบของการท่องเที่ยวรู ปแบบดัง้ เดิม ส่งเสริ มทางวัฒนธรรมและ สนับสนุนเศรษฐกิจในท้ องถิ่น “บริการที่เป็ นมิตรต่อสิ่งแวดล้ อม” กระบวนการผลิต (process) กระบวนการใช้ (usage) ที่ทาลายสิ่งแวดล้ อมและปล่อยมลพิษมน้ อยที่สดุ • ภาชนะทาจากวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ ง่าย อาคารที่มีการออกแบบให้ ประหยัดพลังงาน • การบริ การที่คานึงถึงปัญหาสิ่งแวดล้ อม เช่น ร้ านอาหารหรือธุรกิจโรงแรม ที่มีกระบวนการคัดแยะขยะ หรื อ มาตรการบาบัดน ้าเสียก่อนระบายสูแ่ หล่งสาธารณะ วิเคราะห์พฤติกรรมผู้เข้ าใช้ โครงการ
20
5.2รายละเอียดโครงการด้ านบริหาร
งานแผนกต่างๆ ของโรงแรม (Front - of –the House) โรงแรม งานส่วนหน้ าบ้ าน • งานบริการ สัมภาระและการ รับใช้ • งานส่วนหน้ า • งานแม่บ้าน • งานจองห้ องพัก • งานภัตตาคาร • งานบาร์ • งานจัด • งานประชุม • งานอานวยความ สะดวกด้ าน นันทนาการ
(Back – of- the House) • งานบัญชี • งานเตรียมอาหาร • คลังพัสดุ • งานล้ างจาน • งานรักษาความ ปลอดภัย • งานช่าง/งาน บารุงรักษา • งานซักรีด • งานบุคคล • งานฝึ กอบรม
21
5.3 วิเคราะห์ พืน้ ที่ใช้ สอยของโครงการ
พืน้ ที่ใช้ สอยโครงการ (FRONT - OF –THE HOUSE) ส่ วนห้ องพัก • Hotel • Pool villa กิจกรรมนันทนำกำร • ห้ องเก็บของ • ห้ องน ้า • เคาน์เตอร์ • Staff room • Service area สปำ • โถงตอนรับ • ส่วนพักคอย • ห้ องน ้าพนักงาน • ห้ องน ้าแขก • ส่วนนวดผ่อนคลายเท้ า • ห้ องสปา • ห้ องเก็บของ พืน้ ที่ส่วนกลำง ส่วนต้ อนรับ • โถง • Lobby • ส่วนพักคอย • ห้ องน ้า สระว่ายน ้า • สระผู้ใหญ่ • สระเด็ก • ห้ องน ้า • ห้ องเครื่อง พื ้นที่สีเขียว
Food & Beverage ส่วนร้ านอาหาร • ห้ องอาการ • ห้ องน ้า Lounge • Lounge • ห้ องน ้า ส่วนครัว • จุดตรวจเช็คอาหาร • Chef office • ห้ องน ้าพนักงาน • ส่วนอุปกรณ์ • ส่วนเตรียมอาหาร • ครัวทาของว่าง • ห้ องเก็บอาหารและน ้า • ห้ องเก็บขยะ ส่วนขายของ • shop • ห้ องเก็บของ (Back – of- the House) Service • ห้ องพักช่าง • ห้ องน ้า • ห้ องเก็บขยะ • ห้ องเก็บของแม่บ้าน • ห้ องงาระบบไฟฟ้า • ห้ องงานระบบน ้า • บ่อบาบัด Admin • ห้ องทางาน
• ห้ องประชุม • ห้ องเก็บของ • ห้ องน ้า • pantry ที่จอดรถ • สาหรับแขก • สาหรับพนักงาน • สาหรับ service
22